OIE SHARE ฉบับที่ 12

Page 1

สำนักงาน OFFICE เศรษฐกิจอุตสาหกรรม OF INDUSTRIAL ECONOMICS

ยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) พ.ศ. 2556 – 2561

: ขับเคลื่อนประเทศไทยสูการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยืน

ปที่ 2 ฉบับที่ 12 เดือนมีนาคม 2556


Contents

03

11

Econ Focus

03

Econ Review

07

Sharing

09

Life

12

Movement

15

ÂØ·¸ÈÒʵà »ÃÐà·È (Country Strategy) ¾.È. 2556 – 2561 : ¢Ñºà¤Å×è͹»ÃÐà·Èä·ÂÊÙ‹¡ÒÃà¾ÔèÁ¢Õ´¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃᢋ§¢Ñ¹Í‹ҧÂÑè§Â×¹

ÊÃػʶҹ¡Òó ¡ÒüÅÔµÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁ à´×͹Á¡ÃÒ¤Á 2556

·íÒ¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ñ¡ “¤ÇÒÁµ¡Å§à¾×èÍ¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁáÅФ،Á¤Ãͧ¡ÒÃŧ·Ø¹¢Í§ä·Â ¡Ñºµ‹Ò§»ÃÐà·È” (Agreement for the Promotion and Protection of Investments) µÅÒ´¹íéÒÍâ¸ÂÒ

Editor’s Note

14

·Õè»ÃÖ¡ÉÒ

ÊÇÑʴդЋ ¤Ø³¼ÙÍŒ Ò‹ ¹·Ø¡·‹Ò¹ ÊíÒËÃѺ©ºÑº¹Õé Econ Focus Ë·Ñ ÍÙ‹ä·Â Ãͧ¼ÙŒÍíҹǡÒÃÊíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ·‹Ò¹¨Ðä´Œ·ÃÒº¶Ö§ÂØ·¸ÈÒʵà »ÃÐà·È (Country Strategy) ¾ÔªÂÑ µÑ§é ª¹ÐªÑÂ͹ѹµ Ãͧ¼ÙÍŒ Òí ¹Ç¡ÒÃÊíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ¾.È. 2556-2561 «Öè§ÃÑ°ºÒŨÐ㪌໚¹ÂØ·¸ÈÒʵà ¢Ñºà¤Å×è͹ ¡ÒþѲ¹Ò»ÃÐà·Èã¹ÃÐÂÐ 5 »‚ µ‹Í¨Ò¡¹Õé ʋǹʶҹ¡Òó ºÃóҸԡÒúÃÔËÒà ¡ÒüÅÔµÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁ»ÃШíÒà´×͹Á¡ÃÒ¤Á 2556 ÇÒÃÕ ¨Ñ¹·Ã ๵à ¨Ð໚¹Í‹ҧäþÅԡࢌÒä»´Ùä´ŒàŤ‹Ð áÅÐÁÒ·íÒ¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ñ¡ “¤ÇÒÁµ¡Å§à¾×Íè ¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁáÅФØÁŒ ¤Ãͧ¡ÒÃŧ·Ø¹¢Í§ä·Â ¡Í§ºÃóҸԡÒà ¡Ñºµ‹Ò§»ÃÐà·È” 㹤ÍÅÑÁ¹ Sharing ÊØ´·ŒÒ¾ÅÒ´äÁ‹ä´Œ ÈØÀ´Ô Ò àÊÁÁÕ梯 , ÈØÀªÑ ÇѲ¹ÇÔ¡Â ¡ÃÃÁ , ªÒÅÕ ¢Ñ¹ÈÔÃ,Ô ÊÁÒ¹Åѡɳ µÑ³±Ô¡ÅØ , ¡Ñº¤ÍÅÑÁ¹ Life ·Õè¨Ð¾Ò¤Ø³¼ÙŒÍ‹Ò¹ä»·‹Í§à·ÕèÂÇ·ÕèµÅÒ´¹íéÒ ¢ÑµµÔÂÒ ÇÔÊÒÃѵ¹ , ÈÑ¡´Ôªì ÂÑ ÊÔ¹âÊÁ¹ÑÊ, ¡ØŪÅÕ âËÁ´¾ÅÒÂ, ºØÞ͹ѹµ àÈǵÊÔ·¸Ô,ì Íâ¸ÂÒ áÅЩºÑº¹ÕéàÃÒÂѧ໠´ÃѺ¤ÇÒÁ¤Ô´àË繢ͧ·‹Ò¹ ÇÃÒ§¤³Ò ¾§ÈÒ»Ò¹ ·Ø¡ª‹Í§·Ò§ ¾º¡Ñ¹ãËÁ‹©ºÑºË¹ŒÒ ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð

OIE SHARE

ÂÔ¹´ÕÃѺ¿˜§¤ÇÒÁ¤Ô´àËç¹ ¤íÒªÕéá¹Ð áÅТ‹ÒÇ»ÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ µ‹Ò§æ µÔ´µ‹Íä´Œ·Õè¡Í§ºÃóҸԡÒà OIE SHARE ¡ÅØ‹Á»ÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ áÅкÃÔ¡ÒÃˌͧÊÁØ´ ÊíҹѡºÃÔËÒáÅÒ§ Êíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ¶¹¹¾ÃÐÃÒÁ·Õè 6 á¢Ç§·Ø‹§¾ÞÒä· à¢µÃÒªà·ÇÕ ¡ÃØ§à·¾Ï 10400 ÍÕàÁÅ : OIESHARE@oie.go.th

¢ŒÍ¤ÇÒÁ·Õè»ÃÒ¡¯ã¹ OIE SHARE ໚¹·ÑȹТͧ¼ÙŒà¢Õ¹


ยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) พ.ศ. 2556 – 2561 : ขับเคลื่อนประเทศไทยสูการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยืน

• Êíҹѡ¹âºÒÂÍصÊÒË¡ÃÃÁÁËÀÒ¤

ปจจุบนั โลกมีการเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ประเทศตางๆ ตองเผชิญกับความทาทายใหมๆ ทีเ่ กิดจากกระแสโลกาภิวตั นอยางหลีกเลีย่ งไมได รวมถึงประเทศไทย ซึง่ ตองเผชิญกับบริบทการเปลีย่ นแปลงใหมๆ ทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะการเปนประชาคมอาเซียนในป 2558 การเปลีย่ นแปลงเหลานีย้ อ ม สงผลกระทบตอทิศทางการสรางฐานเศรษฐกิจทีม่ นั่ คงและยัง่ ยืนในอนาคต ในขณะเดียวกัน สถานการณดา น เศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดลอมของประเทศ ก็สะทอนใหเห็นปญหาเชิงโครงสรางของระบบเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม รวมถึงการบริหารจัดการประเทศที่ไมเอื้อตอการพัฒนา เพื่อเปนการแกปญหาเชิงโครงสรางและเตรียมพรอมรับมือกับความทาทายภายใตบริบทใหม ประเทศไทยจึงจําเปนตองกําหนด ยุทธศาสตรประเทศ ตามกรอบแนวคิดและทิศทางการสรางฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน ภายใตการเติบโตรูปแบบใหม (New Growth Model) ซึ่งประกอบดวย 4 ประเด็นหลัก ไดแก 1) การเติบโตและแขงขันได (Growth and Competitiveness) คือ มีโครงสรางเศรษฐกิจ ที่มีคุณภาพ พึ่งพาตนเอง และสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคอาเซียนแบบหุนสวนการพัฒนา บนพื้นฐานผลประโยชนรวมกัน 2) การลดความเหลื่อมลํ้า (Inclusive Growth) คือ มีระบบที่เอื้อใหทุกคนเขาถึงบริการสังคมที่ทั่วถึงและมีคุณภาพ เสมอภาค และเทาเทียม มีโอกาสในการสรางอาชีพและรายได 3) การเติบโตอยางเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม (Green Growth) คือ การเปนเศรษฐกิจและสังคมคารบอนตํา่ มีระบบการผลิตที่เปนมิตรกับชุมชนและสิ่งแวดลอม ลดการปลอยกาซเรือนกระจกและมลพิษ ทําใหคนในสังคมอยูในสภาวะแวดลอมที่ดี ตลอดจนยกระดับความสามารถในการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ และ 4) การสรางสมดุลและ ปรับระบบบริหารจัดการภายในภาครัฐ (Internal Process) คือ มีโครงสรางระบบราชการทีส่ ามารถดําเนินการเชิงบูรณาการรวมกันไดอยาง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีกําลังคนและกฎระเบียบที่สอดคลองกับทิศทางการสรางฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน เพื่อใหเกิดการบูรณาการในการขับเคลื่อนการเติบโตรูปแบบ ใหมตามแนวทางขางตน ภาครัฐภายใตการระดมความคิดเห็นและ บูรณาการทํางานรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง ไดรวมกันกําหนดยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) พ.ศ. 2556 – 2561 เพื่อขับเคลื่อนประเทศในระยะ 5 ปตอจากนี้ และใชเปนกรอบในการจัดสรรงบประมาณประจําป 2557 แบงเปน 4 ยุทธศาสตร ทีส่ อดคลองกับกรอบแนวคิดการเติบโตรูปแบบใหม โดย แตละยุทธศาสตรประกอบดวยประเด็นหลักและแนวทางดําเนินการ ดังนี้

03


ยุทธศาสตรที่ 1 การเพิม่ ขีดความสามารถ ในการแขงขันของประเทศเพื่อหลุดพน จากประเทศรายไดปานกลาง มีแนวทาง ดําเนินการที่สําคัญ ไดแก 1) การจั ด ทํ า แผนที่ ก ารใช ที่ ดิ น (Zoning) เพือ่ เสริมสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันของภาคเกษตร อุตสาหกรรม ทองเทีย่ ว รวมทัง้ การเพิม่ ศักยภาพของเมือง เพือ่ เชือ่ มโยงโอกาสจากอาเซียน โดยแบงเปน 7 กลุม ไดแก เมืองหลวง เมืองอุตสาหกรรม เมืองทองเที่ยว เมืองการศึกษานานาชาติ เมื องชายแดนเพื่ อการค า และการลงทุ น เมื องบริ ก ารสุ ข ภาพเพื่ อ เชื่ อ มโยงอาเซี ย น และเมื อ งเกษตรเพื่ อ เชือ่ มโยงอาเซียน 2) การพัฒนาผลิตภาพการผลิตเพือ่ สรางมูลคาเพิม่ ใหกบั ภาค การผลิตและบริการ (Productivity) ไดแก การพัฒนาอุตสาหกรรม อาหารตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้า การกําหนดและสงเสริมอุตสาหกรรม ในอนาคต การเพิม่ ขีดความสามารถทางการทองเทีย่ ว การพัฒนาไทย เปนศูนยกลาง Medical Tourism ของภูมิภาค การนําทุนทาง วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นมาเพิ่มมูลคา 3) การเชือ่ มโยงในภูมภิ าคอาเซียน ไดแก การเสริมสรางความ สามารถในการแขงขันของสินคา บริการและการลงทุน ทั้งการเรง พัฒนาความสามารถเพื่อใชโอกาสจากอาเซียนกาวสูเวทีโลก โดยให ความสําคัญกับการพัฒนาสิง่ อํานวยความสะดวกทางการคา/การลงทุน และการเสริมสรางศักยภาพภาคการผลิตและบริการเพื่อรองรับการ เขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมุงเนนการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต การพัฒนามาตรฐานสินคา พัฒนาหองปฏิบัติการทดสอบ และมาตรวิทยา การสรางภาพลักษณสนิ คาไทย รวมทัง้ การสรางความ สัมพันธและความรวมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพือ่ นบาน 4) การเพิ่มขีดความสามารถใหวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม (SMEs) และการผลิตสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) สูส ากล โดยเพิม่ ผลิตภาพ สนับสนุนการรวมกลุม ในลักษณะ เครือขายวิสาหกิจ เพิ่มศักยภาพในการเขาถึงแหลงเงินทุน 5) การสงเสริมการลงทุนทั้งในและตางประเทศ ดึงดูดการ ลงทุนจากตางประเทศ โดยใหความสําคัญกับการลงทุนทีเ่ ปนมิตรตอ สิง่ แวดลอมและชุมชน การลงทุนฐานปญญาทีใ่ ชเทคโนโลยีขนั้ สูง ควบคู กับการสงเสริมนักลงทุนและผูป ระกอบการไปลงทุนในตางประเทศ 6) การพัฒนาปจจัยสนับสนุน ทั้งการพัฒนาแรงงาน ระบบ โลจิสติกสและโครงสรางพืน้ ฐาน การเชือ่ มโยงนิคมอุตสาหกรรมทวาย และพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard) การลงทุน การใหบริการและใชประโยชนจากโครงขายโทรคมนาคม พัฒนา โครงสรางพื้นฐานดานพลังงานโดยมุงเนนการลงทุนเพื่อความมั่นคง ของพลังงานและพลังงานทดแทน พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบโดยมุงเนนกฎหมายที่สอดคลองกับพันธกรณีและพรอม

04

เขาสูประชาคมอาเซียน การยกระดับการวิจัยและพัฒนา ตลอดจน การพัฒนาการสรางแบรนดประเทศไทยใหเปน Modern Thailand เพื่อใหไทยมีภาพลักษณและอัตลักษณที่ชัดเจน เปนหนึ่งเดียว ยุทธศาสตรที่ 2 การลดความเหลือ่ มลํา้ มีแนวทางดําเนินการทีส่ าํ คัญ ไดแก 1) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการปฏิรูปการศึกษา รวมทั้งการพัฒนาภาคการศึกษารองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน เพื่อเตรียมความพรอมดานบุคลากรและแรงงานใหสอดคลองกับ ตลาดแรงงาน การเคลื่อนยายแรงงานในภูมิภาค และการเปดเสรี ทางการศึกษา 2) การยกระดับคุณภาพชีวติ และมาตรฐานบริการสาธารณสุข โดยการจัดระบบบริการ กําลังคน และงบประมาณเพื่อใหประชาชน เขาถึงบริการคุณภาพไดในทุกระดับ การพัฒนาระบบคุม ครองผูบ ริโภค พรอมเขาสูประชาคมอาเซียน รวมทั้งการพัฒนาความรวมมือกับ ประเทศสมาชิกอาเซียนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3) การจัดสวัสดิการสังคมใหทวั่ ถึงและเปนธรรม โดยเฉพาะ การดูแลผูสูงอายุ เด็ก สตรี ผูดอยโอกาส โดยการพัฒนาระบบ สวัสดิการ และการพัฒนากองทุนสตรี 4) การสรางโอกาสและรายไดแกวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม และเศรษฐกิจชุมชน ผานกองทุนตัง้ ตัวได กองทุนหมูบ า น โครงการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมูบานและชุมชน (SML) และ โครงการรับจํานําสินคาเกษตร 5) การปรั บ ปรุ ง ช อ งทางเพื่ อ สร า งโอกาสการเข า ถึ ง กระบวนการยุตธิ รรมของประชาชนทุกกลุม เพือ่ สรางความเทาเทียม ในกระบวนการยุติธรรม 6) การตอตานคอรรัปชั่น สรางธรรมาภิบาลและความ โปรงใส ผานกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน โดยการรณรงค และสร า งแนวร ว มในสั ง คม การเสริ ม สร า งธรรมาภิ บ าลรองรั บ ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการสรางองคความรูเรื่องอาเซียนใหแก ภาคประชาชน ภาคแรงงานและผูประกอบการ และภาครัฐ


ยุทธศาสตรที่ 3 การเติบโตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มีแนวทาง ดําเนินการที่สําคัญ ไดแก 1) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อพัฒนาพื้นที่ อุตสาหกรรมหนาแนนใหเปนเมืองอุตสาหกรรมนิเวศตนแบบ มีการ บริหารจัดการวัตถุดบิ และของเสียอยางเปนระบบครบวงจร ตลอดจน การสรางความรูค วามเขาใจและกระบวนการมีสว นรวมของภาคีในพืน้ ที่ เพื่อรองรับการขยายตัวของภาคการผลิตที่สามารถอยูรวมกับชุมชน และสิ่งแวดลอมไดอยางเหมาะสมและยั่งยืน 2) การลดการปล อ ยก าซเรื อ นกระจก (GHG) โดยการ ประหยั ด พลั ง งาน โดยเฉพาะการลดการใช พ ลั ง งานในภาค อุตสาหกรรมและภาคการขนสง รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ อนุรักษพลังงาน การปรับกฎระเบียบ เชน Green Building Code ตลอดจนการสงเสริมการดําเนินงาน CSR เพื่อลดการปลอยกาซ เรือนกระจก โดยเนนการสรางความรวมมือระหวางภาคการผลิตภายใน หวงโซอุปทาน ภาคประชาชน ทองถิ่นและสถาบันการศึกษา 3) การส ง เสริ ม มาตรการทางการคลั ง เพื่ อ สิ่ ง แวดล อ ม โดยการพัฒนาระบบภาษีสงิ่ แวดลอม การสนับสนุนการจัดซือ้ จัดจาง สีเขียวในภาครัฐ 4) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการบริหารจัดการนํา้ โดยการปลูกปาและการคุมครองปองกันรักษาปา การจัดการนํ้า อยางบูรณาการและยัง่ ยืน รวมทัง้ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน 5) การปองกันและปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะ ภูมิอากาศ ทั้งการปองกันผลกระทบและปรับตัว โดยใหความสําคัญ กับการพัฒนาเครือ่ งมือ/กลไกการบริหารจัดการเพือ่ ลดการปลอยกาซ เรือนกระจก สงเสริมการผลิต/การบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การเพิม่ ศักยภาพในการปองกัน เฝาระวังและเตือนภัย และการพัฒนา บุคลากร องคกร การวิจัยและพัฒนา เพื่อรับมือกับปญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ควบคูกับการปองกันและบรรเทาภัย พิบตั ธิ รรมชาติ เพื่อเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศดานการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ยุทธศาสตรที่ 4 การสรางสมดุลและปรับระบบบริหารจัดการ ภายในภาครัฐ มีแนวทางดําเนินการที่สําคัญ ไดแก 1) การกําหนดกรอบแนวทางและปฏิรูปกฎหมาย โดยการ ปรับกรอบแนวทางระบบกฎหมายของประเทศ การเพิม่ ประสิทธิภาพ บุ คลากรและองค ก รด า นยุ ติธ รรม รวมทั้ ง การปรั บ ปรุ ง ระเบี ย บ ขอกฎหมายที่เปนขอจํากัดตอการพัฒนาประเทศ 2) การปรับโครงสรางระบบราชการ โดยการเพิม่ ประสิทธิภาพ องคกรภาครัฐและพัฒนารูปแบบการทํางานของภาครัฐ ดวยการสราง ความพรอมในการบริหารจัดการแบบบูรณาการโดยมีประชาชนเปน ศูนยกลาง การปองกันและปราบปรามทุจริตคอรรปั ชัน่ และการเพิม่ ประสิทธิภาพการใหบริการประชาชนดวยระบบ E-Service

3) การพั ฒ นาและบริ ห ารกํ า ลั ง คนภาครั ฐ โดยบริ ห าร กํ า ลั ง คนให ส อดคล อ งกั บ บทบาทภารกิ จ ที่ มี อ ยู  ใ นป จ จุ บั น และ เตรียมพรอมสําหรับอนาคต รวมทั้งการพัฒนาทักษะและศักยภาพ กําลังคนภาครัฐและเตรียมพรอมบุคลากรภาครัฐสูป ระชาคมอาเซียน 4) การปรับโครงสรางภาษีทั้งระบบใหเอื้อตอการกระจาย รายไดและเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน เพือ่ ลดความเหลือ่ มลํา้ เพิม่ โอกาสการแขงขัน ขยายฐานภาษี และสนับสนุนใหเกิดการดึงดูด แรงงานฝมอื จากตางประเทศเขามาทํางานในไทย อันจะทําใหเกิดการ ถายทอดความรูและเทคโนโลยี 5) การจั ด สรรงบประมาณแบบมี ส  ว นร ว มให เ อื้ อ ต อ การปฏิ บั ติ ง านตามนโยบายของรั ฐ บาล เพื่ อ ลดความซํ้ า ซ อ น เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสรร และเพื่อใหมีระบบติดตามประเมิน ผลการทํางานของรัฐที่มีประสิทธิภาพ 6) การพั ฒ นาสิ น ทรั พ ย ร าชการที่ ไ ม ไ ด ใช ง านให เ กิ ด ประโยชนสูงสุด เชน ที่ราชพัสดุ เพื่อรองรับโครงการเชิงสังคมและ เชิงพาณิชย และเพื่อเพิ่มมูลคา 7) การแกไขปญหาความมัน่ คงจังหวัดชายแดนภาคใต และ เสริมสรางความมั่นคงในอาเซียน โดยการประสานบูรณาการงาน รักษาความสงบและสงเสริมการพัฒนาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต ภายใตกรอบนโยบายความมั่นคงแหงชาติป 2555-2559 รวมทั้งการเสริมสรางความมั่นคงของประชาคมอาเซียน เพื่อสราง ความรวมมือดานการเมือง ความมั่นคง และใหภูมิภาคมีบรรทัดฐาน มีเอกภาพและสันติภาพรวมกัน 8) การปฏิรูปการเมือง โดยกระจายอํานาจใหแกองคกร ปกครองสวนทองถิน่ (อปท.) เพือ่ สนับสนุนใหประชาชนมีสว นรวมใน การปกครองและดูแลตนเอง เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตรและแนวทางดําเนินการที่สําคัญ ขางตนสูการปฏิบัติ นายกรัฐมนตรีไดมอบหมายใหแตละกระทรวง จัดทําแผนปฏิบัติการภายใตยุทธศาสตรประเทศ โดยบูรณาการรวม กับหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ และจัดทําโครงการสําคัญ (Flagship Project) เสนอสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ (สศช.) เพื่อนําไปใชเปนกรอบในการจัดสรรงบ ประมาณประจําป 2557 ตอไป ทัง้ นี้ ตามขอสัง่ การของนายกรัฐมนตรี โครงการที่ ห น ว ยงานเสนอจะต อ งตอบสนองต อ เป า หมายเชิ ง ยุทธศาสตรของประเทศใน 4 ดาน คือ การเพิ่มรายไดจากฐานเดิม การสรางรายไดจากโอกาสใหม การเพิ่มประสิทธิภาพในการแขงขัน และการลดรายจาย ในสวนของกระทรวงอุตสาหกรรม ไดมกี ารดําเนินการในเรือ่ งนี้ มาอยางตอเนื่อง โดยจากการพิจารณาประเด็นยุทธศาสตรและ แนวทางการดําเนินการภายใตยุทธศาสตรประเทศ จะเห็นไดวา กระทรวงอุตสาหกรรม มีสว นเกีย่ วของในประเด็นตางๆ เกือบทัง้ หมด โดยมี ร ะดั บ ความเกี่ ย วข อ งมากน อ ยแตกต า งกั น อย า งไรก็ ต าม

05


จากประเด็นยุทธศาสตรทั้งหมด มีประเด็นที่กระทรวงอุตสาหกรรม ไดรบั มอบหมายใหเปนหนวยงานเจาภาพ ซึง่ ถือเปนประเด็นนโยบาย ที่ตองใหความสําคัญเปนลําดับตนๆ ไดแก • การจัดทําแผนที่การใชที่ดินเพื่ออุตสาหกรรม มีโครงการ สําคัญ ไดแก โครงการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมอยางมีศักยภาพ เพื่อรองรับการลงทุน มุงเนนพื้นที่ที่มีการเติบโตของอุตสาหกรรมใน ระดับสูง และพื้นที่อุตสาหกรรมหนาแนน โดยกําหนดแผนและ แนวทางการพัฒนาในอุตสาหกรรมนํารอง เชน พลาสติก วัสดุอปุ กรณ การแพทย • การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้า มี โ ครงการสํ า คั ญ ได แ ก โครงการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมอาหาร ครอบคลุมตั้งแตตนนํ้า โดยการพัฒนาวัตถุดิบ บุคลากรภาคเกษตร การวิจัยสายพันธุ พัฒนามาตรฐานวัตถุดิบ กลางนํ้า โดยการพัฒนา บุคลากร/สถานประกอบการแปรรูป การวิจัยเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม พัฒนาระบบคุณภาพมาตรฐานการแปรรูปและการผลิต และปลายนํา้ โดยการสรางตราสินคา สรางภาพลักษณ เพิ่มชองทางการจําหนาย และการประชาสัมพันธ • การกําหนดและสงเสริมอุตสาหกรรมในอนาคต สํานักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม ไดกาํ หนดแนวทางดําเนินการเพือ่ ผลักดันการ พัฒนาอุตสาหกรรมอนาคต โดยบูรณาการการดําเนินงานรวมกับ หนวยงานทีเ่ กีย่ วของอยางตอเนือ่ ง โดยมีกลุม อุตสาหกรรมเปาหมาย อาทิ อุตสาหกรรมชีวภาพ (เคมี/ วัสดุ/ พลาสติกชีวภาพ) อุตสาหกรรม อากาศยาน อุตสาหกรรมผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพ เปนตน • การนําทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยมาเพิ่มมูลคา มีโครงการสําคัญ ไดแก โครงการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมโดยใชทุน ทางวัฒนธรรมและภูมิปญญา มีเปาหมายเพื่อสงเสริมและพัฒนา เครือขายสรางสรรค พัฒนาศักยภาพการผลิตและการบริหารจัดการ ของผูผลิต รวมทั้งสงเสริมดานการมาตรฐานสําหรับผลิตภัณฑชุมชน • การเพิ่มขีดความสามารถให SMEs และ OTOP สูสากล มีโครงการสําคัญ ประกอบดวย โครงการพัฒนาผลิตภาพ SMES และ OTOP ซึง่ มีเปาหมายในการเพิม่ ศักยภาพและขีดความสามารถในการ แขงขันของ SMEs และ OTOP กวา 10,000 รายตอป ในอุตสาหกรรม เปาหมายทั้งอุตสาหกรรมเดิมและอุตสาหกรรมอนาคตที่มีศักยภาพ โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต โดยการจัดตั้งศูนยทดสอบ ภาพประกอบจาก : http://jordbruketisiffror.files.wordpress.com http://www.relaisquebec.com (cover) http://www.all-flags-world.com

06

และวิจัยพัฒนายานยนตและชิ้นสวนยานยนต โครงการเตรียมความ พรอมภาคอุตสาหกรรมในการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประกอบด ว ย การเตรี ย มความพร อ มผู  ป ระกอบการและธุ ร กิ จ อุตสาหกรรม และการเตรียมความพรอมดานการมาตรฐาน โครงการ ยกระดับความสามารถการบริหารจัดการโลจิสติกสและโซอปุ ทานของ ภาคอุ ต สาหกรรม มี เ ป า หมายเพื่ อ ลดต น ทุ น โลจิ ส ติ ก ส ภ าค อุตสาหกรรมตอ GDP และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส และโซอุปทานของภาคอุตสาหกรรม รอยละ 15 และรอยละ 10 ตามลําดับ ภายในป 2559 • การเสริมสรางความสามารถในการแขงขันของสินคา บริการและการลงทุนเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน มีโครงการ สํ า คั ญ ได แ ก โครงการส ง เสริ ม และพั ฒ นาการลงทุ น ไทยใน ตางประเทศ โดยการจัดตั้งศูนยพัฒนาการลงทุนไทยในตางประเทศ • การพัฒนาตัวอยางเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มีโครงการ สํ า คั ญ ได แ ก โครงการพั ฒ นาเมื อ งอุ ตสาหกรรมเชิงนิเวศ ซึ่งมี เปาหมายเพื่อจัดทําแผนแมบทในการพัฒนาอุตสาหกรรมเขาสูเมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ครอบคลุมพืน้ ทีท่ มี่ อี ตุ สาหกรรมหนาแนนและ พื้นที่ใกลเคียง พัฒนายกระดับนิคมอุตสาหกรรม รวมถึงกลุมนิคม อุตสาหกรรมและทาเรือในพื้นที่มาบตาพุด นอกจากนี้ กระทรวงอุตสาหกรรม ยังเสนอโครงการสําคัญ เพือ่ บูรณาการในประเด็นยุทธศาสตรการแกปญหาความมั่นคงจังหวัด ชายแดนภาคใต คื อ โครงการส ง เสริ ม และพั ฒ นาศั ก ยภาพ อุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มรายไดและการลงทุนในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต โดยมีเปาหมายเพือ่ พัฒนาผูป ระกอบการ SMEs และวิสาหกิจ ชุมชนในสาขาเปาหมาย 3 สาขา ไดแก ฮาลาล เสื้อผาเครื่องแตงกาย และผลิตภัณฑยาง/ไมยางพารา กวา 5,000 ราย ทั้งนี้ เมื่อคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบแผนปฏิบัติการ และ โครงการสําคัญของกระทรวงตางๆ แลว ก็จะเขาสูก ระบวนการจัดทํา คํ า ของบประมาณและการพิ จ ารณาจั ด สรรงบประมาณประจํ า ปงบประมาณ พ.ศ. 2557 เพื่อผลักดันและขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ และโครงการสําคัญดังกลาวใหเกิดผลในทางปฏิบตั อิ ยางเปนรูปธรรม ภายใตการบูรณาการของหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ อันจะสงผลใหเกิดการ ขับเคลื่อนประเทศสูการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันอยาง ยั่งยืน ตามเปาประสงคที่กําหนดไวตอไป http://test.crmholding.pl http://unitedxpress.net http://reporter.it


ÊÃػʶҹ¡Òó ¡ÒüÅÔµ ÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁ à´×͹Á¡ÃÒ¤Á 2556 Èٹ ÊÒÃʹà·ÈàÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ÊíҹѡÇÔ¨ÑÂàÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁ การผลิตอุตสาหกรรมสําคัญในเดือนมกราคม 2556 ขยายตัว ตอเนื่องนับตั้งแตเดือนตุลาคม 2555 จากอุตสาหกรรมสวนใหญ สามารถกลับมาผลิตไดเต็มกําลังการผลิตหลังจากฟน ฟูโรงงานทีไ่ ดรบั ความเสียหาย และฐานตัวเลขทีต่ าํ่ ในปกอ น ประกอบกับนโยบายของ รัฐบาลซึ่งกระตุนการใชจายภายในประเทศ โดยอุตสาหกรรมการ ผลิตเครือ่ งใชไฟฟาภายในบาน ดัชนีผลผลิตขยายตัวรอยละ 12.40 และอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสขยายตัวรอยละ 7.87 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน สําหรับอุตสาหกรรม การผลิต Hard Disk Drive ดัชนีผลผลิตขยายตัวเล็กนอยที่ระดับ รอยละ 1.36 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจากความ ตองการในตลาดโลกลดลง

ารผลิตภาคอุตสาหกรรมในเดือนมกราคม 2556 ขยายตัวรอยละ 10.10 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ของปกอน เปนการขยายตัวตอเนื่องติดตอกัน 4 เดือน เนื่องจากการผลิตในหลายอุตสาหกรรมสําคัญที่ไดรับ ความเสียหายจากนํ้าทวมกลับมาผลิตไดเต็มกําลังการ ผลิต และฐานทีต่ าํ่ ในปกอ น สําหรับอัตราการใชกาํ ลังการ ผลิตในเดือนมกราคม 2556 อยูที่รอยละ 67.05

อุตสาหกรรมการผลิตรถยนตในเดือนมกราคม 2556 ดัชนี ผลผลิตขยายตัวรอยละ 72.42 เมือ่ เทียบกับเดือนเดียวกันของปกอ น จากการเรงผลิตจากคําสั่งซื้อที่ยังคงคางอยูตามนโยบายรถคันแรก สํ า หรั บ การผลิ ต เหล็ ก มี ดั ช นี ผ ลผลิ ต ขยายตั ว ร อ ยละ 28.30 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจากความตองการเหล็ก แผนทีใ่ ชในอุตสาหกรรมตอเนือ่ งอยางอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต และการผลิตเครื่องใชไฟฟา ประกอบกับความตองการเหล็กในกลุม ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ใช ใ นการก อ สร า งเพิ่ ม ขึ้ น ตามการขยายตั ว ของภาค อสังหาริมทรัพย

07


httpwww.itsolution.co.th การผลิตเสือ้ ผาสําเร็จรูป ดัชนีผลผลิตหดตัวรอยละ 16.08 จากการยายฐานการผลิตของผูป ระกอบการทีป่ ระสบกับปญหาตนทุนแรงงาน ทีส่ งู ขึน้ สําหรับการผลิตสิง่ ทอตนนํา้ ดัชนีผลผลิตขยายตัวรอยละ 20.72 เปนการขยายตัวอยางตอเนือ่ งติดตอกันนับตัง้ แตเดือนกันยายน 2555 การจําหนายสินคาอุตสาหกรรมในเดือนมกราคม 2556 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ นมีระดับเพิม่ ขึน้ เปนไปตามสถานการณการผลิต โดยดัชนีการสงสินคาเพิ่มขึ้นรอยละ 19.37 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน สวนดัชนีสินคาสําเร็จรูปคงคลังเพิ่มขึ้นรอยละ 8.66 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน จากที่อุตสาหกรรมสําคัญสวนใหญสามารถกลับมาผลิตไดเต็มกําลังการผลิตนั้น ทําใหดัชนีแรงงานใน อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นรอยละ 8.63 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน สําหรับอัตราการใชกําลังการผลิตในเดือนมกราคม 2556 อยูที่ รอยละ 67.05

08


·íÒ¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ñ¡ “ความตกลงเพื่อการสงเสริมและ คุมครองการลงทุนของไทยกับตางประเทศ” (Agreement for the Promotion and Protection of Investments)

• ÊíҹѡàÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È

ความตกลงเพื่อการสงเสริมและคุมครองการลงทุน (Agreement for the Promotion and Protection of Investments) เปนหนังสือสัญญาระหวางประเทศของไทยที่มีวัตถุประสงคเพื่อคุมครอง การลงทุ น ของนั ก ลงทุ น ไทยในต า งประเทศและผู  รั บ การลงทุ น ในไทย โดยเฉพาะการลงทุ น ทางตรง (Foreign Direct Investment : FDI) เปนการสรางเกราะคุมครองใหนักลงทุนสําหรับการไปลงทุนใน ตางประเทศ ที่อาจตองเผชิญกับความเสี่ยงและความไมแนนอน ซึ่งเปนผลกระทบจากมาตรการที่ออกโดย รัฐเทานั้น ไดแก ความไมมั่นคงทางการเมือง สภาวะจลาจลหรือความวุนวายตางๆ รวมถึงความไมแนนอน ของระบบกฎหมายและกฎระเบียบของประเทศตางๆ เปนตน ซึง่ ความตกลงนี้ จะเปนเครือ่ งมือเพือ่ สรางความ มัน่ ใจใหกบั ทัง้ นักลงทุนของไทยในตางประเทศและนักลงทุนตางประเทศในไทยวา การลงทุนของตนจะไดรบั การคุมครองจากความเสี่ยงตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นในประเทศนั้นๆ ในระดับมาตรฐานสากล ทั้งนี้ในปจจุบัน กฎหมายที่เกี่ยวของกับการลงทุนของไทย สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท ไดแก 1.) ความตกลงตามขอบทการลงทุนทีเ่ กีย่ วของกับการเปดเสรี ภายใตความตกลงการคาเสรี (Free Trade Agreement : FTA) ของ ไทยกับคูภาคีตางๆ โดยกระทรวงพาณิชยเปนหนวยงานหลัก 2.) การสงเสริมการลงทุนในไทยของคณะกรรมการสงเสริมการ ลงทุน โดยสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนเปนหนวยงานหลัก 3.) การคุมครองการลงทุน โดยการจัดทําความตกลงเพื่อการ สงเสริมและคุมครองการลงทุนแบบทวิภาคีระหวางไทยกับประเทศ ตางๆ โดยกระทรวงการตางประเทศเปนหนวยงานหลัก

โดยปจจุบัน หนวยงานภาครัฐของไทย ไดผลักดันการออก นโยบายในการสงเสริมใหนักลงทุนไทยออกไปลงทุนยังตางประเทศ เพิ่มมากขึ้น โดยมีเปาหมาย คือ อินโดนีเซีย เมียนมาร เวียดนาม กัมพูชา จีน อินเดีย อาเซียน ตะวันออกกลาง เอเชียใต และ แอฟริกา ตามลําดับ1 ในขณะเดียวกัน ก็ไดรบั แจงปญหาและขอพิพาทจากการ ลงทุนของนักลงทุนไทยในตางประเทศมากขึ้นดวยเชนกัน โดยภาค เอกชนตองการใหภาครัฐมีบทบาทในการคุม ครองและดูแลนักลงทุน ไทยที่ประสบปญหาในตางประเทศ ดังนั้น หนวยงานภาครัฐตางๆ

09


ทีเ่ กีย่ วของ จึงจําเปนตองทราบขอมูล สิทธิประโยชนและการใหความ คุม ครองนักลงทุนไทยในตางประเทศ นอกเหนือไปจากความคุม ครอง ตามขอ 1.) และ 2.) โดยเฉพาะอยางยิ่งภายใตกลไกความตกลงเพื่อ การสงเสริมและคุมครองการลงทุนทวิภาคี (Bilateral Investment Treaties : BITs) ที่นักลงทุนของไทยเริ่มมีศักยภาพไปลงทุนใน ตางประเทศเพิ่มมากขึ้น ในสวนประเทศไทย ไดมกี ารจัดทําความตกลงเพือ่ การสงเสริม และคุมครองการลงทุนทวิภาคี (BITs) กับประเทศตางๆ มาตั้งแต ป 2505 จนถึง มกราคม 2554 มีความตกลง BITs ที่มีผลบังคับใช แลวจํานวน 36 ฉบับ อยูใ นระหวางดําเนินการใหมผี ลบังคับใชจาํ นวน 5 ฉบับ และที่อยูในระหวางการเจรจาจํานวน 6 ฉบับ นอกจากนี้ ยังมีความตกลงฯ ที่อยูในระหวางการแลกเปลี่ยนรางความตกลงฯ ที่จะเจรจาเพิ่มเติมกับอีกหลายประเทศ จํานวน 38 ฉบับ โดย วัตถุประสงคสําคัญของความตกลง BITs คือการคุมครองการลงทุน ของนักลงทุนไทยในประเทศภาคีในเรื่องหลักๆ ไดแก การประกัน วาการลงทุนจะไดรับการประติบัติอยางเทาเทียมและเปนธรรม และไดรับการประติบัติเยี่ยงคนชาติ การคุมครองการเวนคืนและ

1

ขอมูลจากสานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน

10

การชดเชยค า เสี ย หายจากการเวนคื น การชดเชยความสู ญ เสี ย จากเหตุการณรุนแรงที่เกิดในประเทศที่ลงทุน การโอนเงินลงทุน และผลตอบแทนเขา-ออกไดโดยเสรี การรับชวงสิทธิตามความตกลงฯ และ การระงับขอพิพาทระหวางรัฐกับเอกชน และระหวางรัฐกับรัฐ เปนตน โดยความตกลง BITs จะมีลักษณะตางตอบแทน กลาวคือ ประเทศไทยจะใหความคุม ครองการลงทุนของนักลงทุนประเทศภาคี ในขณะเดียวกัน นักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในประเทศภาคีก็จะไดรับ การคุม ครองเชนเดียวกัน โดยขอพิพาททีอ่ าจเกิดขึน้ จะตองเปนกรณี ระหวางนักลงทุนประเทศภาคีกับหนวยงานของรัฐภายใตสัญญา สัมปทานหรือสัญญาที่ทํากับรัฐ หรือการที่รัฐออกมาตรการหรือ กระทํ า การที่ ส  ง ผลอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ต อ การลงทุ น เท า นั้ น ได แ ก มาตรการเพื่อรักษาสิ่งแวดลอม กฎระเบียบเพื่อสงเสริมสุขภาพ อนามัยและความปลอดภัย หรือเปนการกระทําที่ไมชอบธรรม เชน การยกเลิกใบอนุญาตโดยไมมีเหตุอันควร การยกเลิกสัญญา การผิด พันธะสัญญา เปนตน ทั้งนี้ ความตกลง BITs จะชวยสรางความมั่นใจ ใหกบั นักลงทุนทัง้ ไทยและตางชาติ เพือ่ เปนหลักประกันวาการลงทุน ของตนในประเทศที่เขาไปลงทุนจะไดรับการคุมครองในระดับที่เปน มาตรฐานสากล อีกทั้งเปนเครื่องมือสําคัญที่จะชวยคุมครองและ ปกปองนักลงทุนในตางประเทศไดเปนอยางดี สําหรับกลไกที่จะคุมครองการลงทุนภายใตความตกลง BITs ในสวนของประเทศไทย จะจํากัดเฉพาะการลงทุนโดยตรง (Foreign Direct Investment : FDI) โดยแบงออกเปน 2 ประเภท คือ


1.) การลงทุนทีไ่ ดรบั การคุม ครองโดยอัตโนมัติ คือ ก.) การลงทุน ที่ ไ ด รั บ อนุ ญ าตจากรั ฐ มนตรี ห รื อ อธิ บ ดี ก รมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค า ตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542 ข.) การลงทุนทีไ่ ดรบั บัตรสงเสริมการลงทุน และ ค.) การลงทุนภายใต สัญญาสัมปทานจากหนวยงานของรัฐ โดยใหถอื วาใบอนุญาตจากทัง้ 3 กรณี มีผลใหการลงทุนดังกลาวไดรบั การคุม ครองภายใตความตกลง BITs 2.) การลงทุนทางตรงอื่นๆ ที่ไมเขาขายกฎเกณฑขางตน จะมี กลไกในการขอใบรับรองการใหความเห็นชอบใหความคุมครองการ ลงทุน (Certificate of Approval for Protection : C.A.P.) ทั้งนี้ เพื่อใหสามารถกลั่นกรองและสงวนสิทธิ์ในการใหความคุมครอง เฉพาะประเภทการลงทุนทีจ่ ะเปนประโยชนตอ การพัฒนาประเทศไทย โดยคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบใหกระทรวงการตางประเทศเปน หนวยงานหลักรับผิดชอบกลไกการออกใบรับรองดังกลาว เพื่อเปนการเตรียมความพรอมของนักลงทุนไทยสําหรับการ ออกไปลงทุนยังตางประเทศ นอกจากขอมูลเชิงลึกดานปริมาณการ คา เศรษฐกิจระหวางประเทศ และนโยบายการลงทุนของประเทศ เปาหมายที่ไทยมีศักยภาพจะไปลงทุน โดยเฉพาะในแถบประเทศ เพือ่ นบานแลว นักลงทุนของไทยโดยเฉพาะอยางยิง่ ภาคอุตสาหกรรม การผลิตที่ไดเริ่มไปดําเนินกิจการในตางประเทศเพิ่มมากขึ้น จําเปน อยางยิง่ ทีจ่ ะตองทราบถึงขอมูลสิทธิประโยชนสาํ คัญทีจ่ ะไดรบั ความ คุมครองภายใตความตกลง BITs นอกเหนือจากขอมูล เชิงลึกดาน อื่นๆ โดยสามารถขอคําปรึกษาแนะนําเพิ่มเติมไดจากหนวยงานภาค รัฐตางๆที่เกี่ยวของ และ กรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ กระทรวง การตางประเทศ (www.mfa.go.th)

ภาพประกอบจาก : http://au7.ru http://www.sbs.edu.gr http://ppic16.nipic.com http://www.alazmenah.com http://www.emailzdirect.com http://blog.bicycletheory.com http://www.eliteoptiontrading.com

ขอมูลอางอิง :

1. กระทรวงการตางประเทศ (www.mfa.go.th) 2. ชาลี ขันศิริ, เอกสารขอเสนอแนวความคิด/ วิธีการเพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผลงานเรื่อง แนวทางการจัดทําขอเสนอความ ตกลงเพื่อการสงเสริมและคุมครองการลงทุนทวิภาคีของไทยกับ ประเทศตางๆ (Bilateral Investment Treaties : BITs)

11


ตลาดนํ้าอโยธยา • สํานักบริหารกลาง

สวั ส ดี ค  ะ ท า นผู  อ  า นทุ ก ท า น สํ า หรั บ OIE SHARE ฉบั บ นี้ จะขอแนะนําสถานที่ทองเที่ยวเปนตลาดยอนยุคแบบโบราณ แวดลอม ไปดวยธรรมชาติ นั่นก็คือ “ตลาดนํ้าอโยธยา” เปนแหลงทองเที่ยว แหงใหม ตัง้ อยูบ นเนือ้ ที่ 60 ไร อยูท เี่ ดียวกับปางชางอโยธยาขางวัดมเหยงคณ นอกจากจะเปนตลาดนํ้าที่ ใหญที่สุดในเมืองอยุธยาแลวยังถือไดวาเปน สถานทีท่ อ งเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ ใหผมู าเยือนไดศกึ ษาเรียนรูช วี ติ ความเปนอยู อยางไทย และเห็นคุณคาของศิลปวัฒนธรรมไทย แผนดินอันอบอุน ของไทย ทีบ่ รรพชนรุน กอนไดเคยตอสู เพือ่ ใหอนุชนรุน หลังไดมที อี่ ยูอ าศัย และรักษาไวตราบเทานาน ถาจะพูดถึงสิ่งที่นาสนใจ ในตลาดนํ้าอโยธยาบอกไดเลยนะคะวามีสิ่งที่นาสนใจ อยูมาก เมื่อมาถึงตลาดนํ้าอโยธยาก็ไมควรพลาดนั่งเรือชมบรรยากาศของตลาดนํ้า นักทองเที่ยวทานใดที่ไดนั่งเรือชมตลาดนํ้า จะไดรับบรรยากาศไปอีกแบบ ทําใหรู ถึงวิถีชีวิตของบรรพชนรุนกอน การเดินชมถายรูปตามมุมและรานคาตางๆ มีมุม สวยนารักใหเลือกมากมาย เริ่มตั้งแตเดินมาถึงบริเวณทางเขาดานหนากับปายชื่อ

12


“ตลาดนํ้าอโยธยา” ที่จําลองกําแพงเมืองเกามาตั้งไวที่นี่ รวมถึง รูปปนเด็กไทยโบราณตัวใหญและสะพานไมขามรองนํ้า ที่มีอยูตาม มุมตางๆ ก็นา ดึงดูดไมนอ ย นอกจากนีย้ งั มีรา นคาเกๆ ใหเราไดถา ยรูป อีกหลายรานดวยคะ การเดินชมตลาดนํา้ ยังมีอาหารรสชาติอรอยๆ เลียบคลองยาว ใหแวะชิม หรือจะซื้อหาของกินของฝากจากรานคาที่ตั้งเรียงราย

อยูใ นเรือนไทยอันงดงามรอบตลาดนํา้ อโยธยา ทีค่ ดั สรรของอรอยทัว่ เมืองไทยมารวมไว ก็เพลินไมแพกัน มีทั้งโซนรับประทานอาหารและ รานคาพรอมกับมุมของกินริมนํ้าที่พอคาแมคาพายเรือมาขาย และ ยังมีโตะที่นั่งใหเราไดนั่งกินอยางสะดวกสบายหลายจุดดวยกัน ตลาดนํ้าอโยธยา ยังมีสินคานานาชนิดใหนักทองเที่ยวได เลือกซื้อ เริ่มตั้งแตสินคาอินเทรนด เกไก เสื้อผา เครื่องประดับ

13


กระเปา รวมถึงสินคาประเภท OTOP เครื่องจักสาน งานหัตถกรรม ประเภทเฟอรนเิ จอร และผลิตภัณฑเพือ่ สุขภาพ ทีน่ กี่ ม็ ใี หเลือกซือ้ กัน มากมายเชียวคะ นักทองเที่ยวทานใดที่สนใจอยากจะขี่ชางชมโบราณสถาน ซึง่ อยูโ ซนเดียวกับปางขุนชางอยุธยา คาบริการคนละ 100 บาทตอรอบ ใชเวลาประมาณ 20 นาที ก็ถือวาคุมคาในการขี่ชางเพื่อชมโบราณ สถานนะคะ ตลาดนํ้าอโยธยายังมีกิจกรรมอีกมากมาย ทั้งการแสดง พืน้ บานตางๆ รอบตลาด การแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย เชน โขน รําไทย และในชวงเวลายามคํ่าคืนยังมีการแสดง มินิไลท แอนด ซาวน ใหนักทองเที่ยวไดชมกันอีกดวยคะ นีก่ ค็ อื ความสวยงามรวมถึงวัฒนธรรมไทยยอนยุคแบบโบราณ ที่ชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดจัดเตรียมความสุขเหลานี้ไวให นักทองเที่ยวผูมาเยือน หวังวานักทองเที่ยวทุกทานจะไดรับความสุข กลับไปอยางเต็มที่นะคะ ลองหาวันวางๆ มาเที่ยวกันคะ

การเดินทางไปตลาดนํ้าอโยธยา

1. โดยรถยนตสวนตัว มาตามเสนทางถนนสายเอเชีย เลี้ยวซายเขาเมืองอยุธยาแลว มุงหนาไปตามถนนโรจนะโดยขับตรงไปถึงเจดียวัดสามปลื้ม กอนขึ้น สะพานขามแมนํ้าเจาพระยา จากนั้นวนรอบเจดีย และเลี้ยวขวาไป ทางวัดมเหยงคณ จะพบตลาดนํ้าอโยธยา โดยจะมีจุดจอดรถภายใน ตลาดนํ้า เสียคาบริการ 20 บาท ซึ่งหากจะจอดดานใน ตองฝารถติด พอสมควร แนะนําวาหากไมมีผูสูงอายุมาดวย จอดรถไวดานนอกซึ่ง ก็มีใหจอดหลายจุดเชนกัน ทั้งของเอกชนที่เสียเงิน และบริเวณวัดที่ อยูตรงขามกัน แลวคอยเดินเขามาในตลาด ซึ่งเดินไมไกลมาก เพียง 500 เมตร เทานั้น 2. โดยรถสาธารณะ จากสถานีหมอชิตใหม มีบริการรถโดยสารธรรมดาและโดยสาร ปรับอากาศไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาทุกวัน วันละหลายเที่ยวทั้ง รถปรับอากาศชั้น 1 กรุงเทพ-พระนครศรีอยุธยา และโดยสารปรับ อากาศชั้น 2 กรุงเทพ-ศูนยศิลปาชีพบางไทร พระนครศรีอยุธยา สอบถามเพิ่มเติมไดที่ โทร. 0 2936 2852-66 หรือรถตูโดยสารจาก อนุสาวรียชัยสมรภูมิและฟวเจอรปารค รังสิต นั่งรถมาลงสุดสาย จากนั้นตอรถมอเตอรไซตหรือรถตุก ตุก ลงตลาดนํ้าอโยธยา

ที่มาขอมูล : ภาพประกอบจาก :

14

http://www.ayothayafloatingmarket.com http://www.pixpros.net httpwww.mowhoop.com httpwww.thaitourthai.net http://3.bp.blogspot.com mparu3hm.blogspot.com http://www.paiduaykan.com

แผนที่ตลาดนํ้าอโยธยา

http://hataboyz.multiply.com http://www.jkreviews.net/travel/ http://tourismindustrydpu0004sariya.blogspot.com http://www.bloggang.comdatattoytokyopicture1284859053.jpg


MOVEMENT

ดร.ณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ ผูอ าํ นวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปนประธานในงานเสวนาทิศทางและแนวโนมการผลิตเมือ่ เขาสู AEC พรอมทั้งปาฐกถาพิเศษ INDUSTRIAL ENGINEERING FORUM หัวขอ “การพัฒนาระบบการผลิตภาคอุตสาหกรรมไทยใหสามารถแขงขัน ไดกับชาติอาเซียนเมื่อ AEC มีผลบังคับใช” ในงาน Thailand Industrial Fair 2013 & Food Pack Asia 2013 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2556 ณ หองแกรนด ฮอลล 203 ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดจัดงานประชุมวิชาการ เรื่อง “กาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” โดยมี นายอนุสรณ เอีย่ มสะอาด ผูช ว ยเลขานุการรัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรมเปนประธานเปดการประชุมทางวิชาการ และการบรรยายพิเศษ โดยนายหทัย อูไทย รองผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และวิทยากรผูทรงคุณวุฒิจากสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปนผูถายทอดความรูใหกับผูประกอบการอุตสาหกรรม จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2556 ณ โรงแรมพลอยพาเลซ จังหวัดมุกดาหาร

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดจัดงานประชุมวิชาการ เรื่อง “กาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” โดยมี นายอนุสรณ เอีย่ มสะอาด ผูช ว ยเลขานุการรัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรมเปนประธานเปดการประชุมทางวิชาการ และการบรรยายพิเศษ โดยนายหทัย อูไทย รองผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และวิทยากรผูทรงคุณวุฒิจากสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปนผูถายทอดความรูใหกับผูประกอบการอุตสาหกรรม จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ 2556 ณ โรงแรมอรัญเมอรเมด จังหวัดสระแกว

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดจัดงานประชุมวิชาการ เรื่อง “กาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” โดยมี นายไพบูลย พิมพพสิ ฐิ ถาวร ทีป่ รึกษารัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงอุตสาหกรรมเปนประธานเปดการประชุม และเสวนารวมกับนายหทัย อูไ ทย รองผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และวิทยากรผูทรงคุณวุฒิจากสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปนผูถายทอดความรู ใหกับผูประกอบการอุตสาหกรรม จัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2556 ณ โรงแรมราชศุภมิตร จ.กาญจนบุรี


Industrial Intelligence Unit (IIU)

ระบบเครือขายขอมูลเพื่อการชี้นําและเตือนภัยของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งประกอบไปดวย 9 ระบบขอมูล หรือ 9 IIU ไดแก 

อุตสาหกรรมไทยในภาพรวม

อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม

อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา

อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส

http://iiu.oie.go.th 

http://iiu.oie.go.th/food/default.aspx

http://iiu.oie.go.th/Textile/default.aspx 

http://iiu.oie.go.th/electronics/default.aspx 

อุตสาหกรรมพลาสติก

http://iiu.oie.go.th/ptit/default.aspx

http://iiu.oie.go.th/iron/default.aspx 

อุตสาหกรรมอาหาร

ฐานขอมูลดานการรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

http://iiu.oie.go.th/ISO/default.aspx

ฐานขอมูลดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมในภูมิภาคอาเซียน

http://iiu.oie.go.th/IUasean/default.aspx

อุตสาหกรรมยานยนต

http://iiu.oie.go.th/Automotive/default.aspx

สำนักงาน OFFICE OF INDUSTRIAL ECONOMICS เศรษฐกิจสํอุาตนั สาหกรรม กงาน OFFICE

เศรษฐกิจอุตสาหกรรม OF INDUSTRIAL ECONOMICS ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2202 4274, 0 2202 4284 โทรสาร 0 2644 7023 www.oie.go.th, www.facebook.com/oieprnews, http://twitter.com/oie_news


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.