รายงานฉบับสมบูรณ์

Page 1


รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง ผลกระทบของนโยบายการคาเสรีตอเศรษฐกิจไทย : กรณีการนําเขาผักและผลไมจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน Impact of Trade Liberalization Policy on Thai Economy : A Case of Imported Vegetables and Fruits from People's Republic of China โดย ดร.กนก คติการ นางนารีณัฐ รุณภัย ผศ.สุภาวดี โพธิยะราช นางสาวราตรี เมนประเสริฐ ดร.ภูมิศักดิ์ ราศรี นางสาวขวัญ เพชรสวาง

ที่ปรึกษาโครงการวิจัย ที่ปรึกษาโครงการวิจัย หัวหนาโครงการวิจัย นักวิจัย นักวิจัย นักวิจัย

สิงหาคม 2553 ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ และผลงานนี้เปนความรับผิดชอบของนักวิจัยแตผูเดียว ปงบประมาณ 2552



iii

รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการวิจัย เรื่อง ผลกระทบของนโยบายการคาเสรีตอเศรษฐกิจไทย : กรณีการนําเขาผักและผลไมจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน Impact of Trade Liberalization Policy on Thai Economy : A Case of Imported Vegetables and Fruits from People's Republic of China …………………………………… ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ประจําป 2552 จํานวนเงิน 3,000,000 บาท ระยะเวลาทําการวิจัย 1 ป กันยายน 2552 - สิงหาคม 2553 ที่ปรึกษาโครงการวิจัย ดร.กนก คติการ

นางนารีณัฐ รุณภัย ผูวิจัย ผศ.สุภาวดี โพธิยะราช หัวหนาโครงการวิจัย นางสาวราตรี เมนประเสริฐ นักวิจัย

-ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ -อดีตเลขาธิการ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร -ผูทรงคุณวุฒศิ ูนยวิจัยเศรษฐศาสตรธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม - ผูทรงคุณวุฒคิ ณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รองเลขาธิการ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ดร.ภูมิศักดิ์ ราศรี นักวิจัย

ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตรธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม เศรษฐกร ชํานาญการพิเศษ สํานักวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ผอ.ศูนยปฏิบัติการเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

อาจารยขวัญ เพชรสวาง นักวิจัย

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม

โทรศัพท/โทรสาร 02-5791111 ตอ 2379 E-mail : supawadee.ph@hotmail.com โทรศัพท 02-5790612 โทรสาร 02-5614736 E-mail: ratree-m@oae.go.th โทรศัพท 02-9406487-8 โทรสาร 02-9406487 E-mail: bhumisak@oae.go.th โทรศัพท/โทรสาร 02-5791111 ตอ 2379 E-mail : kwan.ph@spu.ac.th


iv

บทคัดยอ การศึกษาผลกระทบของนโยบายการคาเสรีตอเศรษฐกิจไทย : กรณีการนําเขาผักและผลไม จากประเทศจีน มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการนําเขา ระบบการตลาด โซอุปทาน สัดสวนการครองตลาด ชองทางการกระจายสินคา ความสามารถในการแขงขันของผักและผลไมจากจีน รวมทั้งพฤติกรรมการบริโภค ของผูบริโภคในตลาดสด ตลาดคาชายแดนและตลาดการคาสมัยใหม ทั้งในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด ป จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ การบริ โ ภคและความพึ ง พอใจในการบริ โ ภคผั ก และผลไม ข องชาวไทย รวมทั้ ง ความคิดเห็นของผูประกอบการ ซึ่งพบวา การนําเขาผัก ผลไมจากประเทศจีนสวนใหญนิยมขนสงโดยใช เสนทางเรือเดินทะเลมากกวาทางแมน้ําโขงและทางบก สําหรับการสงออกสินคาผัก ผลไมจากไทยไปจีน นิยมสงทางเรือเดินทะเล (รอยละ 98.80 ) และทางบกโดยเสนทาง R9 (รอยละ 1.20) ทั้งนี้ การสงออกผักของ ไทยไปจีนมีปริมาณนอยมากเมื่อเปรียบเทียบกับการนําเขา ผลไมที่มีการนําเขาจากจีนสูงสุดในป 2552 ไดแก แอปเปลสด ปริมาณ 38,786 ตัน มูลคา 1,156 ลานบาท แพรและควินสสด (สาลี่) 19,327 ตัน มูลคา 429 ลานบาท สวนองุน สมเปลือกบางและสมแมนดาริน มีแนวโนมเพิ่มขึ้นมาก โดยไทยนําเขาผลไมจากจีนได ตลอดทั้งป สําหรับการวิเคราะหจุดแข็ง พบวา ไทยมีเทคโนโลยีการผลิตผลไมนอกฤดูซึ่งคนจีนนิยมบริโภค เชน ทุเรียน ลําไย มังคุด และกลวยไข ที่ไทยเปนผูผลิตและสงออกรายใหญของโลก จึงเปนโอกาสของ เกษตรกรที่จะขายผลผลิตไดในราคาสูงขึ้น และประเทศไทยมีจุดออนที่ผลิตผลไมเมืองรอนที่ขึ้นอยูกับ ฤดูกาลและสภาพภูมิอากาศซึ่งเนาเสียงาย ตนทุนการผลิตสูงกวาประเทศจีน โดยจีนมีศักยภาพในการผลิต พืชผักเปนอันดับ 1 ของโลก ซึ่งไทยยังไมสามารถแขงขันไดในขณะนี้ สวนระบบ Logistic ภายในประเทศ ไทยและประเทศจีน ยั งเป นอุ ปสรรคและขอจํากัดตอการเคลื่ อนย ายผลไมจากแหล งผลิ ตไปสูผูบริโ ภค ปลายทาง ผูบริโภคตัดสินใจซื้อเพราะผัก ผลไมจีนเพราะราคาถูกกวาของไทย รวมทั้งมีความสด รสชาติ อรอย แตผูบริโภคสวนใหญก็ยังนิยมบริโภคผลไมไทยที่ออกตามฤดูกาล ผักไทยที่ผูบริโภคนิยมซื้อมาก ที่สุด คือ กะหล่ําปลี ผักกาดขาว กระเทียม คะนา และหอมหัวใหญ ผักจีนที่ผูบริโภคนิยมซื้อมากที่สุด คือ แครอท บล็อกเคอรี่ หอมหัวใหญ ผลไมไทยที่ผูบริโภคนิยมซื้อมากที่สุด คือ มะมวง เงาะ มังคุด ทุเรียน สม และฝรั่ง ผลไมจีนที่ผูบริโภคนิยมซื้อมากที่สุด คือ แอปเปล สาลี่ สม และองุน ทั้งนี้ ผูบริโภคสวนใหญยัง คํานึงในเรื่องความปลอดภัยและสุขอนามัย สําหรับผลกระทบจากการนําเขาผักและผลไมตอคนไทย กรณีการบริโภครวมกัน พบวา ถาผักจีน มีราคาถูกกวาผักไทย ผูบริโภครอยละ 37.50 จะซื้อผักไทยลดลง อีกรอยละ 62.50 ยังคงซื้อผักไทยเทาเดิม ถาผลไมจีนมีราคาถูกกวาผลไมไทย ผูบริโภครอยละ 67.50 จะซื้อผลไมไทยลดลง อีกรอยละ 32.50 ยังคงซื้อ ผลไมไทยเทาเดิม โดยมีเหตุผลวา ผัก ผลไมไทยมีคุณภาพ มั่นใจวาปลอดสารพิษ และมีรสชาติอรอยกวาของ จีน หาซื้อไดงาย และชวยเหลือเกษตรกรไทย สวนกรณีการบริโภคทดแทนกัน พบวา รอยละ 67.50 ของ


v

ผูบริโภค เห็นวาราคาผักไทยไมแพง สวนที่เหลือรอยละ 32.50 เห็นวาราคาผักของไทยแพงมากไป จึงตอง บริโภคผักจีน สําหรับความคิดเห็นตอราคาผลไมไทย พบวารอยละ 75.00 เห็นวาราคาผลไมของไทยไมแพง สวนที่เหลือรอยละ 25.00 เห็นวาราคาผลไมของไทยแพงมากไป จึงตองบริโภคผลไมจากจีน ทั้งนี้ ผูบริโภค สวนใหญรอยละ 82.50 เห็นวา การที่ผักและผลไมที่นําเขาจากประเทศจีนมีราคาถูกกวาของไทยจะสงผล กระทบตอการผลิตผักและผลไมในประเทศไทยเปนอยางมาก เพราะผักและผลไมของจีนที่มีราคาถูกกวาทํา ใหผูบริโภคชาวไทยตองหันไปไปซื้อของถูก เกษตรกรไทยขายผลผลิตลําบาก ดังนั้น จึงควรปรับราคา และ เนนคุณภาพการผลิตเพื่อใหแขงขันกับผักผลไมของจีน และยังนิยมนําผลไมมงคลของจีนมาใชทดแทน ผลไมมงคลของไทยในเทศกาลสําคัญกันมาก เชนเทศกาลตรุษจีน สารทจีนจะใชผลไม 5 ประเภท ซึ่งที่นิยม มาก คือ แอปเปล(จีน) สาลี่(จีน) องุน(จีน) กลวย(ไทย) และสม(ไทย หรือจีน) เปนตน สวนปญหาการคาผักและผลไมของพอคาไทยในประเทศจีน คือ ตองเสียภาษีมูลคาเพิ่มรอยละ 13 และตองมีใบอนุญาตการนําเขาเพราะจีนไมอนุญาตใหชาวตางชาติทําการคาปลีกในจีน และรัฐบาลจีนมี นโยบายสงเสริมใหเอกชนเปนผูบริหารจัดการโดยรัฐบาลเปนผูสนับสนุนดานเงินทุนและการอํานวยความ สะดวกในการสงออก โดยการยกเวนภาษีและสงเสริมการผลิต มีบริการแบบ One Stop Service รวมทั้งการ สนับสนุนเงินกูสําหรับการรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรเพื่อเสริมสภาพคลอง ผู ป ระกอบการที่ จํ า หน า ยผั ก ผลไม ทั้ ง ในกรุ ง เทพมหานครและต า งจั ง หวั ด ประสบป ญ หา ดานการคาเพราะขณะนี้มีพอคาจีนเขามาทําธุรกิจคาผัก ผลไมในประเทศไทยจํานวนมาก อีกทั้งมีตนทุนคา ขนสงและคาใชจายสูงกวาประเทศจีน จึงทําใหราคาผัก ผลไมของจีนถูกกวาของไทยมาก ประกอบกับพอคา สงออกชาวไทยตองเผชิญกับกฎ ระเบียบ ขอจํากัดของจีน ทั้งในดานภาษีและกฏหมายที่เขมงวด ดังนั้น รัฐบาลควรเรงใหความชวยเหลือเกษตรกรผูผลิตเพื่อเนนการผลิตสินคาที่มีคุณภาพ สรางมูลคาเพิ่ม ยกระดับ ตลาด โดยการเรงประชาสัมพันธใหชาวตางชาติรูจักผลไมไทยดวยการขยายตลาดตางประเทศใหมากขึ้น พรอมทั้งปรับแนวทางการสนับสนุนการสงออก


vi

ABSTRACT A study of the Impact of Trade Liberalization Policy on Thai Economy : A Case of Imported Vegetables and Fruits from China aimed to examine importing, marketing system, supply chain, market share, distribution channels, competitiveness of fruits and vegetables, consumption behavior of Thai consumers in both Bangkok and upcountry, Thai consumer satisfaction, and opinions of entrepreneurs. It could be found that maritime routes were more popular for shipping fruits and vegetables from China to Thailand than the Mekong River route and land transport. In 2552, fresh apple, fresh pear, fresh Chinese pear (Sali), grapes, orange peel, and Mandarin orange were imported from China to Thailand in significantly high amount. Moreover, Most Chinese fruits were imported by Chinese merchants throughout the year as a result Chinese merchants could control the pricing of the fruits in Thai market. The Thai importers or traders were unfavorable because they faced with higher costs and less networks in business than Chinese. In China, there were 2 systems of the vegetables and fruits production namely; (1) mass production (such as garlic, carrots and apples) which establishing regulatory associations which were supported by the Chinese government and managed by private sectors (2) the production of general farm (for example the different types of vegetables from Yunnan) which was encouraged the production and export by the Chinese government. Strength analysis showed that firstly, the wage levels in China are low relative to industrial countries, as the result, products made in China had strong international competitiveness. Secondly, there were many productivity areas for agriculture developing in China. Thirdly, the Chinese government's policy supported farmers and exporters in systematically. On the other hand, the country still had plenty of weaknesses. Firstly, the Chinese trading system was weak and not ready to trade liberalization because the rules of doing business in China were different in each area. Secondly, logistics companies in China were still not linked to the whole network. Thirdly, the very cold weather was not suitable for growing tropical fruits such as durian, mangosteen, and rambutan which were the most imported Thai fruits to China. In the view of China opportunities, China were beneficial from trade liberalization and Chinese temperate fruits which can be fresh collected over long years. Furthermore, Chinese traders also profited from playing their significant roles in importing and marketing management throughout the supply chain. In contrast, the barriers of Chinese were (1) water transportation from China to Thailand had shallow channel problem and (2) dam construction in China created the decreased amount of water in the Mekong.


vii

The education of vegetables and fruits consumption of Thai people found that most consumers were satisfied that China vegetables and fruits were cheap, fresh and diverse. However, they also concerned regarding contamination and safety in these fruits and vegetables. It could be showed that agricultural products imported from China had increasing trend. The vegetable and fruit imports could be divided into three categories: 1) general green vegetables such as cabbage, carrot, broccoli and onion 2) local Thai vegetables such as Tamlung, morning glory and cucumber and 3) Thai herbs including lemon grass, galangal, kaffir lime leaves and basil. Firstly, for general green vegetables, Thai farmers might be affected by the free trade market. Secondly, Thai farmers would not be affected for trading local Thai vegetables. Therefore, consumers should be campaigning for Thai vegetables without chemicals and pesticides. Thirdly, Thai herbs which had been popular were not affected. In conclusion, the trade liberalization was beneficial to consumers in having a variety of quality products and price fairness. Nonetheless, the free trade could affect the agricultural production sector. There were following suggestions: 1) the responsible authority of Thailand should stringent ensure fruits and vegetables from China for safety 2) the acknowledge of the advantages of Thai vegetables especially Thai herbs 3) the organization of International Distribution Centre 4) the government should support the development of Thai products, systems and supply chain for example, Thai fruit exports should be conducted urgently by studying the company conducted "ZESPRI" of New Zealand kiwi fruit as an example and 5) the other options such as research and development, for example creating system of orchid as “orchid industry� like the industrial Tulip flowers of Holland.


viii

สารบัญ บทที่

บทที่ 1

บทที่ 2

บทที่ 3

บทที่ 4

กิติกรรมประกาศ รายละเอียดเกีย่ วกับโครงการวิจัย บทคัดยอ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทนํา 1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหา 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1.3 องคประกอบของรายงานการวิจัย ระเบียบวิธีการวิจัย 2.1 วิธีการศึกษา 2.2 ขอบเขตการศึกษา 2.3 กรอบแนวคิดการวิจยั วรรณกรรม ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของ 3.1 ทบทวนวรรณกรรม 3.2 ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของ 3.2.1 ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค 3.2.2 วิถีการตลาด 3.2.3 ทฤษฎีสวนผสมทางการตลาด 3.2.4 กลยุทธการตลาด 3.2.5 โครงสรางการตลาด 3.2.6 การดําเนินการทางการตลาด 3.2.7 หวงโซอุปทาน และโลจิสติกสผัก ผลไม การเปดเสรีการคาและสถานการณการผลิต การตลาด ผัก-ผลไมของจีน 4.1 การเจรจาเปดเสรีการคา 4.1.1 กรอบความตกลงการเปดเสรีการคาอาเซียน – จีน (AFTA) 4.1.2 กรอบความตกลงการเปดเสรีการคาไทย-จีน 4.2 สถานการณการผลิต การตลาดและการคา ผัก-ผลไมของประเทศจีน 4.2.1 สถานการณการผลิตพืชผักและราคาที่เกษตรกรขายไดของจีน

หนา ii iii iv viii xii xiv 1 1 2 3 4 4 6 7 9 9 16 16 16 16 17 18 18 18 20 20 20 20 21 21


ix

สารบัญ (ตอ) บทที่ บทที่ 4 (ตอ)

หนา

4.2.2 สถานการณการผลิตผลไม และราคาที่เกษตรกรขายไดของโลกและของจีน 4.2.3 สถานการณการตลาดและการคาผัก ผลไมของประเทศจีน บทที่ 5 กฎ ระเบียบ เงื่อนไขและขั้นตอนในการนําเขาผัก ผลไม ภายใตการเปดเสรีการคา 5.1 พิธีสารไทย-จีน ขอกําหนดดานสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช การนําเขา – สงออก ผัก-ผลไมสด 5.1.1 ผักสด 5.1.2 ผลไมสด 5.2 ขั้นตอนและวิธีการตรวจสอบผัก-ผลไมนําเขาของไทย 5.2.1 ชนิดของผัก-ผลไมจากประเทศจีน ที่ไทยอนุญาตใหนําเขา 5.2.2 ขั้นตอนปฏิบัติในการขอนําเขาผัก – ผลไม จากจีนของไทย 5.2.3 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และวิธีการตรวจสอบการนําเขาผัก – ผลไม ของไทย 5.3 ขั้นตอนและวิธีการตรวจสอบผัก - ผลไมนําเขาของจีน 5.3.1 ชนิดของผัก – ผลไม ที่จีนอนุญาตใหนําเขาจากไทย 5.3.2 ขั้นตอนการปฏิบัติในการขอสงออกผัก - ผลไมของไทยไปจีน 5.4 ความกาวหนาในการดําเนินการเปดเสรีการคาของไทย 5.4.1 สถานะการเจรจาเปดเสรีการคา 5.4.2 สรุปผลของ FTA ที่มีผลบังคับใชแลว: กรณีสินคาเกษตร 5.4.3 FTA อาเซียน – จีน (ACFTA) 5.4.4 FTA ไทย - จีน 5.5 ปญหาและอุปสรรคในการเขาสูตลาดของจีนและไทย 5.5.1 ปญหาและอุปสรรคในการเขาสูตลาดจีนของไทย 5.5.2 ปญหาและอุปสรรคในการนําเขาผักและผลไมของไทย บทที่ 6 หวงโซอุปทาน ชองทางการนําเขา ระบบตลาดและการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและ ขอจํากัดในการคาผักและผลไมของประเทศจีน 6.1 หวงโซอุปทานและชองทางการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน 6.1.1 การจัดการโซอุปทานและระบบโลจิสติกส 6.1.2 หวงโซอุปทานและกิจกรรมโลจิสติกสการนําเขาผัก – ผลไมจากประเทศจีน 6.1.3 ชองทางการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน

28 38 51 51 51 53 58 58 59 59 71 71 73 79 79 80 81 82 83 83 86 88 88 88 89 91


x

สารบัญ (ตอ) บทที่ บทที่ 6 (ตอ) 6.1.4 เปรียบเทียบสัดสวนในการนําเขาและสงออกผักและผลไมระหวางไทยกับจีน ในแตละชองทาง 6.1.5 ชนิด ปริมาณ-มูลคาและชวงเวลาในการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน ในแตละชองทาง 6.2 ระบบตลาดผัก ผลไมที่นาํ เขาจากประเทศจีน

หนา

6.2.1 วิถีการตลาดผัก ผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน 6.2.2 โครงสรางการตลาดผัก ผลไมที่นาํ เขา 6.2.3 พฤติกรรมตลาด (Market Behavior) 6.2.4 การจัดการหวงโซอุปทานและโลจีสติกส ผักและผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน 6.3 การวิเคราะหจดุ แข็ง จุดออน โอกาสและขอจํากัดในการคาผักและผลไมของประเทศจีน ภายใตการเปดเสรีการคา 6.3.1 การวิเคราะหจุดแข็ง (Strength) 6.3.2 การวิเคราะหจุดออน (Weakness) 6.3.3 การวิเคราะหโอกาส (Opportunity) 6.3.4 การวิเคราะหอุปสรรค/ขอจํากัด (Threat) บทที่ 7 พฤติกรรมการบริโภคผักและผลไมของคนไทย และความคิดเห็นของผูป ระกอบการ 7.1 พฤติกรรมการบริโภคผักและผลไมของผูบริโภคชาวไทย 7.1.1 ความถี่ในการซื้อผัก 7.1.2 ความถี่ในการซื้อผลไม 7.1.3 เวลาที่ซื้อผักและผลไมเปนประจํา 7.1.4 สถานที่ซื้อผักและผลไมเปนประจํา 7.1.5 การพิจารณาเลือกซื้อผักและผลไม 7.1.6 การปฏิบัติหลังการซื้อผักและผลไม 7.2 ปจจัยที่มผี ลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมของผูบริโภค 7.3 ความพึงพอใจของผูบริโภคผักและผลไม 7.4 ผลกระทบจากการนําเขาผักและผลไมของคนไทย 7.4.1 ผลกระทบตอการบริโภค (กรณีการใชบริโภครวมกัน และการบริโภคทดแทน) 7.4.2 ผลกระทบตอราคาผักและผลไมของไทย

108 109 111 111 113

92 93 108

113 114 115 116 117 117 117 121 124 127 130 133 136 139 144 144 147


xi

สารบัญ (ตอ) บทที่ บทที่ 7 (ตอ) 7.5 ผลการสัมภาษณหนวยงานที่เกี่ยวของและผูประกอบการ/ผูนําเขาผักและผลไมจากจีนของ ประเทศไทย 7.5.1 หนวยงานของประเทศไทยที่เกี่ยวของกับการนําเขาผักและผลไม 7.5.2 ผูประกอบการ/ผูนําเขาผักและผลไมชาวไทย 7.6 ผลการสัมภาษณหนวยงานที่เกีย่ วของและผูประกอบการ/ผูสงออกผักและผลไมของ ประเทศจีน 7.6.1 หนวยงานของประเทศจีนที่เกี่ยวของกับการสงออกผักและผลไม 7.6.2 ผูประกอบการ/ผูสงออกนําเขาผักและผลไมชาวจีน 7.7 สรุปผลการประชุมระดมความคิดเห็น

หนา

7.7.1 สรุปผลการประชุมระดมความคิดเห็น ครั้งที่ 1 7.7.2 สรุปผลการประชุมระดมความคิดเห็น ครั้งที่ 2 บทที่ 8 สรุปและขอเสนอแนะ 8.1 สรุป 8.2 ขอเสนอแนะ เอกสารอางอิง

172 174 175 175 179 183

148 148 149 158 158 163 172


xii

สารบัญตาราง ตารางที่ 3-1 4-1 4-2 4-3 4-4 4-5 4 -6 4-7 4-8 4-9 4-10 4-11 4-12 4-13 4-14 4-15 4-16 4-17 4-18 4-19 5-1

แนวคิดกลยุทธสวนประสมการตลาดทั้ง 4 ประการ การผลิตพืชผักที่สําคัญ 5 อันดับแรกของโลก ชนิดและปริมาณการผลิตพืชผักที่สําคัญของจีนป 2550 พื้นที่ปลูก ผลผลิต และผลผลิตเฉลี่ย การปลูกพืชผักในแหลงผลิตที่สําคัญของประเทศจีน เปรียบเทียบป 2550 และป 2551 ราคาที่เกษตรกรขายได พืชผักที่สําคัญของประเทศจีน ป 2546 – 2550 ชนิด แหลงผลิต ฤดูกาลเก็บเกี่ยวและราคาทีเ่ กษตรกรขายไดพืชผักที่สําคัญ ของไทยเปรียบเทียบ กับของจีน ชนิดและปริมาณการผลิตผลไมที่สําคัญของจีน ป 2550 แหลงผลิตและปริมาณการผลิตผลไมเมืองหนาวที่สําคัญของจีนป 2551 แหลงผลิตและปริมาณการผลิตผลไมเมืองรอนและกึ่งรอนที่สําคัญของจีนป 2551 ราคาที่เกษตรกรขายได ผลไมที่สําคัญของประเทศจีน ป 2546 – 2550 ฤดูกาลเก็บเกีย่ วผลไมเมืองหนาวที่สําคัญของจีน ชนิด แหลงผลิต ฤดูกาลเก็บเกี่ยวและราคาที่เกษตรกรขายได ผลไมเมืองรอนและกึ่งรอน ที่ สําคัญของไทยเปรียบเทียบกับจีน ตลาดสงออกผัก – ผลไมที่สําคัญของจีน การคาสินคาเกษตรระหวางไทยกับจีน ป 2546 – 2552 การคาสินคาในหมวดผัก (รหัส 07) ระหวางไทยกับจีน ป 2546 – 2552 ปริมาณและมูลคาการสงออกสินคาในหมวดผัก (รหัส 07) รายชนิด ไปยังประเทศจีน ป 2550 – 2552 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสินคาในหมวดผัก (รหัส 07) รายชนิด จากประเทศจีน ป 2550 – 2552 การคาสินคาในหมวดผลไม (รหัส 08) ระหวางไทยกับจีน ป 2546 – 2552 ปริมาณและมูลคาการสงออกสินคาในหมวดผลไม (รหัส 08) รายชนิด ไปยังประเทศจีน ป 2550 – 2552 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสินคาในหมวดผลไม (รหัส 08) รายชนิดจากประเทศจีน ป 2550 – 2552 จํานวนและรายชื่อผลไมที่ประเทศจีนอนุญาตใหนําเขาจากประเทศตางๆ

หนา 17 22 23 24 25 27 29 32 33 34 36 37 42 44 45 46 47 48 49 50 72


xiii

สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ 6-1 เปรียบเทียบสัดสวนในการนําเขา-สงออกผักและผลไมระหวางไทย – จีนในแตละชองทาง 6-2 ปริมาณและมูลคาการนําเขาผัก-ผลไมสด แหง แปรรูป จากประเทศจีนที่ตรวจปลอย ภายใตพื้นที่ศลุ กากรทาเรือกรุงเทพ ป2550-2552 6-3 ปริมาณและมูลคาการนําเขาผักสดที่สําคัญจากประเทศจีนผานทาเรือกรุงเทพ รายเดือน ป 2552 6-4 ปริมาณและมูลคาการนําเขาผลไมสดที่สําคัญจากประเทศจีนผานทาเรือกรุงเทพ รายเดือน ป 2552 6-5 ปริมาณและมูลคาการนําเขาผลไมแหงและผลไมแปรรูปที่สําคัญจากประเทศจีน ผานทาเรือกรุงเทพรายเดือน ป 2552 6-6 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสงออกพืชผักและผลไม ผานทาเรือ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย ป 2550 – 2552 6-7 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสงออกพืชผักและผลไมจากประเทศจีนผานดาน เชียงของ จังหวัดเชียงราย ป 2550 – 2552 6-8 ชนิด ปริมาณและมูลคาการนําเขาพืชผักและผลไมที่สําคัญจากประเทศจีนผานดานเชียงของ จังหวัดเชียงราย รายเดือน ป 2553 6-9 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสงออกพืชผักและผลไมระหวาง ไทย-จีน ผานดานมุกดาหาร (เสนทาง R9) ป 2550 – 2552 7-1 ความถี่ในการซื้อผักของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด 7-2 ความถี่ในการซื้อผลไมของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด 7-3 เวลาที่ซื้อผักและผลไมของผูบริโภคผักและผลไมในเขตกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด 7-4 สถานที่ซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด 7-5 การพิจารณาเลือกซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ณ ตลาดตางๆ 7-6 การปฏิบัติหลังการซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด 7-7 ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ในตลาดตางๆ 7-8 ความพึงพอใจของผูบริโภคผักและผลไมในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด 7-9 ปริมาณการซื้อและความนิยมในการบริโภคผักไทย-ผักจีน (กรณีการบริโภครวมกัน ) 7-10 ปริมาณการซื้อและความนิยมในการบริโภคผลไมไทย-ผลไมจีน(กรณีการบริโภครวมกัน ) 7-11 ชนิด ความหมายและการทดแทนกันของผลไมมงคลของจีนและไทย

หนา 93 96 97 98 99 102 105 106 107 119 122 125 128 131 134 137 143 145 145 146


xiv

สารบัญภาพ ภาพที่ 2-1 4-1 4-2 5-1 5-2 5-3 5-4 5-5 5-6 5-7 5-8 5-9 5-10 5-11 6-1 6-2 6-3 6-4 7-1 - 7-3 7-4 – 7-6 7-7 – 7-9 7-10 – 7-12 7-13 – 7-15 7-16 – 7-18 7-19 – 7-21 7-22 – 7-24

กรอบแนวคิดการวิจยั สัดสวนการสงออกกระเทียมของจีน สัดสวนการสงออกแอปเปลของจีน ขั้นตอนการปฏิบัติงานในการนําเขา – นําผานพืช สิ่งตองหามตาม พ.ร.บ. กักพืชพ.ศ. 2507 ของกรมวิชาการเกษตร ขั้นตอนการปฏิบัติงานในการนําเขา – นําผานพืช สิ่งกํากัด ตาม พ.ร.บ.กักกันพืช พ.ศ. 2507 ของกรมวิชาการเกษตร ขั้นตอนการปฏิบัติงานในการนําเขาพืช สิ่งไมตองหาม ตาม พ.ร.บ.กักกันพืช พ.ศ. 2507 ของกรมวิชาการเกษตร พิธีการศุลกากรนําเขาทางอิเล็กทรอนิกส (E-import) ของกรมศุลกากร ขั้นตอนการตรวจวิเคราะหตวั อยางสินคานําเขาของกรมศุลกากร ขั้นตอนตรวจสอบการนําเขาผัก ผลไมสด ของดานอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข โครงสรางหนวยงานหลักของ General Administration of Quality Supervision, Inspection and Quarantine of The People’s Republic of China (AQSIQ) กระบวนการทางการตรวจสอบและกักกันสินคา กระบวนการปฏิบัติในการขนสงผลไมไทยไปจีน ขั้นตอนการปฏิบัติของบริษัทที่ไดใบอนุญาตนําเขา การตรวจสอบการนําเขาผลผลิตและดานกักกันพืช CIQ ณ ทาเรือขาเขา หวงโซอุปทานและกิจกรรมโลจิสติกสในการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน สูผูบริโภคไทย ชองทางและสัดสวนการนําเขาสินคาผักจากประเทศจีน ป 2552 ชองทางและสัดสวนการนําเขาผลไมสดและแปรรูปจากประเทศจีน ป 2552 วิถีการตลาดผักและผลไมทนี่ ําเขาจากประเทศจีน ความถี่ในการซื้อผักของผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร ความถี่ในการซื้อผักของผูบริโภคในตางจังหวัด ความถี่ในการซื้อผลไมของผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร ความถี่ในการซื้อผลไมของผูบริโภคในตางจังหวัด เวลาที่ซื้อผักและผลไมเปนประจําของผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร เวลาที่ซื้อผักและผลไมเปนประจําของผูบริโภคในตางจังหวัด สถานที่ซื้อผักและผลไมเปนประจํา ของผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร สถานที่ซื้อผักและผลไมเปนประจํา ของผูบริโภคในตางจังหวัด

หนา 8 43 43 63 64 65 66 67 68 74 75 76 77 78 90 91 92 109 120 120-121 122-123 123 125-126 126 128-129 129


xv

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ 7-25 – 7-27 7-28 – 7-30 7-31 – 7-33 7-34 – 7-36 7-37 – 7-39 7-40 – 7-42

การพิจารณาเลือกซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร การพิจารณาเลือกซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในตางจังหวัด การปฏิบัติหลังการซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร การปฏิบัติหลังการซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในตางจังหวัด ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในตางจังหวัด

หนา 131-132 132 134-135 135 137-138 138


รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหา การเปดเสรีทางการคาสงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยทั้งในระดับอาเซียน และองคการ การคาโลก โดยเฉพาะการคาแบบทวิภาคีเปนเรื่องที่นาสนใจเปนอยางยิ่ง ซึ่งจะเห็นไดจากผลกระทบที่เกิด จากการนําเขาสินคาเกษตรกรรมจากประเทศคูคาที่สําคัญคือ ประเทศจีน ทั้งนี้ขอตกลงเขตการคาเสรีไทย-จีน ที่อยูภายใตกรอบการเปดเขตการคาเสรีอาเซียน-จีน ที่ไดตกลงใหมีการเปดเสรีบางสาขา ที่มีความพรอมกอน (Early Harvest) ครอบคลุมในพิกัด HS 01-08 มีผลบังคับใชแลวเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2547 แตในสวนของไทย และจีนไดมีการเรงลดภาษีศุลกากรสินคาผักและผลไมตามพิกัดศุลกากร HS 07-08 เชน มะเขือเทศ กระเทียม หัวหอม พืชผักเมืองหนาว ลําไย มังคุด ทุเรียน เปนตน รวมทั้งสิ้น 116 รายการใหเหลือรอยละ 0 มีผลบังคับใช แลวเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2546 ซึ่งเปนการลดภาษีกอนอาเซียน-จีน และไดมีพิธีลงนามความตกลงระหวาง รัฐบาลไทยกับรัฐบาลจีนใน Agreement on Expanding Bilateral Economic and Trade Cooperation Between Thailand - China : EDBEC วาดวยการขยาย ความรวมมือทวิภาคีทางเศรษฐกิจการคาและการลงทุนระหวาง ประเทศใน 10 กลุมสินคา ไดแก เกษตรกรรม การขนสง โครงสรางพื้นฐาน ทรัพยากรและแรธาตุตางๆ เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสงเสริมศักยภาพผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ภาคพลังงาน ภาคบริการ เชน การทองเที่ยว รานอาหาร เปนตน สวนกรอบการลดภาษีศุลกากรตาม ขอตกลง FTA ไทย-จีนในป 2553 ประเทศไทยจะตองลดภาษีใหเหลือรอยละ 0 ในสินคานําเขาจากจีน กวารอยละ 90 ของจํานวนรายการสินคานําเขาทั้งหมด จึงคาดการณไดวา มูลคาการคาระหวางไทยและ จีนจะมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางมาก ตั้งแตป 2553 เปนตนไป ขอตกลงเขตการคาเสรีนี้ไดสงผลใหการคาระหวางไทยและจีนมีการขยายตัวมากขึ้น การคา สินคาเกษตรในภาพรวมระหวางไทยและจีนในระยะ 7 ปที่ผานมา(2546 - 2552) มีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดย ไทยมีการสงออกเพิ่มขึ้นจากปริมาณ 4.006 ลานตัน มูลคา 67,330 ลานบาท ในป 2546 เปน 8.797 ลานตัน มูลคา 150,768 ลานตัน ในป 2552 ปริมาณการสงออกเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 6.79 ตอป มูลคาเพิ่ม ขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 14.09 ตอป ขณะที่การนําเขาสินคาเกษตรจากประเทศจีน มีแนวโนมเพิ่มขึ้นใน อัตราที่สูงกวาการสงออก กลาวคือ ในป 2546 มีการนําเขา 0.694 ลานตัน มูลคา 27,362 ลานบาท เพิ่มขึ้น เปน 2.061 ลานตัน มูลคา 58,810 ลานบาท ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 21.24 และ 16.44 ตอป ตามลํา ดับ อยางไรก็ตามเมื่อเปรียบเทีย บมูลคาการนําเขาและสงออก พบวาไทยยังได ดุลการคาในการคาสินคาเกษตรกับประเทศจีนโดยดุลการคามีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 11.92 ตอป จาก 39,968 ลานบาท ในป 2546 เปน 91,958 ลานบาท ในป 2552 สําหรับการสงออก

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

1


2

รายงานฉบับสมบูรณ์

2

สินคาผัก ผลไมจากไทยไปจีน นิยมสงทางเรือเดินทะเล (รอยละ 98.80 ) และทางบกโดยเสนทาง R9 (รอยละ 1.20) ทั้งนี้ การสงออกผักของไทยไปจีนมีปริมาณนอยมากเมื่อเปรียบเทียบกับการนําเขา ผลไม ที่มีการนําเขาจากจีนสูงสุดในป 2552 ไดแก แอปเปลสด ปริมาณ 38,786 ตัน มูลคา 1,156 ลานบาท แพร และควินสสด (สาลี่) 19,327 ตัน มูลคา 429 ลานบาท สวนองุน สมเปลือกบางและสมแมนดาริน ก็มี แนวโนมเพิ่มขึ้นมาก โดยไทยนําเขาผลไมจากจีนไดตลอดทั้งป สําหรับผักที่มีการนําเขาจากจีนมากที่สุด ในป 2552 คือ แครอท ปริมาณ 56,348 ตัน มูลคา 933 ลานบาท เห็ดมัชรูมในตระกูลอะการทัส ปริมาณ 1,932 ตัน มู ลค า 295 ล า นบาท กระเที ยมสดหรือแชเย็น ปริมาณ 36,498 ตัน มูลคา 269 ลานบาท บร็อคโคลี่สดหรือแชเย็น ปริมาณ 13,049 ตัน มูลคา 269 ลานบาท สวนผักชนิดอื่นๆ ไดแก มันฝรั่ง หอมหัวใหญ และเห็ดชนิดตางๆ เปนตน ตางก็มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเชนกัน ทั้งนี้จากการเปดเสรีการคาระหวางประเทศไทยกับประเทศจีนดังกลาวไดกอใหเกิดผลกระทบ โดยตรงกับการบริโภคของคนไทย กลาวคือ ผูบริโภคชาวไทยมีทางเลือกในการบริโภคผักและผลไม ไดมากชนิดขึ้น เนื่องจากผักและผลไมจากจีนมีความไดเปรียบในดานราคา รสชาติ ความสดและคุณภาพ เปนผลใหเกิดการทดแทนกันไดอยางสมบูรณ แตก็ยังมีผูบริโภคบางกลุมที่ยังใหความนิยมบริโภคผัก ผลไมของไทย เนื่องจากไดคํานึงถึงเรื่องสุขอนามัยของตนเอง ซึ่งหนวยงานภาครัฐควรใหความสนใจ ในเรื่องการตรวจสอบคุณภาพของผัก ผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน เพื่อปองกันปญหาดานสุขอนามัย สําหรับภาคการผลิตและการประกอบธุรกิจการคาผักและผลไมจะไดรับผลกระทบในวงกวาง ทั้งใน ด า นการทดแทนกั น ของสิ น ค า การเข า มาแทนที่ ผั ก และผลไม ข องไทย อั น จะนํ า ไปสู ป ญ หาการ เสียเปรียบทางการคา การประกอบอาชีพของเกษตรกรไทยในระยะยาว ดังนั้น ภาครัฐจึงควรกําหนด นโยบายสงเสริม สนับสนุนใหภาคการเกษตรมีการพัฒนาระบบการผลิต การคาสินคาภาคการเกษตร ของไทยใหมี คุณภาพและมาตรฐานสากลเทียบเทาประเทศผูสงออกรายใหญ อื่นๆ เพื่ อใหสามารถ ปองกันและแกไขปญหาผลกระทบดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งเรงขยายชองทางการกระจาย ผักและผลไมไทยไปยังประเทศจีนและตลาดอื่นๆใหมากขึ้น 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาภาพรวมของการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน 2. เพื่อศึกษาระบบการตลาด โซอุปทาน ระบบโลจิสติกส สัดสวนการครองตลาด ชองทาง การกระจายสินคา และความสามารถในการแขงขันของผักและผลไมจากประเทศจีน 3. เพื่ อศึ ก ษาพฤติ ก รรมการบริ โภค และปจ จัย ที่มี อิทธิพ ลตอการบริ โภคผั ก และผลไมข อง ผูบริโภคชาวไทย รวมทั้งความคิดเห็นของผูคา ผูประกอบการที่มีตอการนําเขาผักและผลไมจากประเทศ จีน ทั้งในตลาดสด ตลาดคาชายแดนและตลาดการคาสมัยใหม 4. เพื่อเสนอแนะแนวทางการปรับตัวของผูคาและผูบริโภคที่ไดรับผลกระทบจากการนําเขาผัก และผลไมจากประเทศจีน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 3 3

1.3 องคประกอบของรายงานการวิจัย รายงานการวิจัยนี้มีดวยกัน 8 บท ประกอบดวยบทที่ 1 กลาวถึงความสําคัญและที่มาของ การศึกษา วัตถุประสงค และองคประกอบของรายงาน บทที่ 2 กลาวถึงระเบียบวิธีวิจัย ซึ่งครอบคลุม ถึงวิธีการศึกษา ขอบเขตการศึกษาและกรอบแนวคิดการวิจัย สวนบทที่ 3 เปนการทบทวนวรรณกรรม ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของกับการศึกษา สําหรับผลการศึกษาไดรายงานตามวัตถุประสงคของการศึกษา ดังนี้ บทที่ 4 ได นํ า เสนอข อ มู ล และภาพรวมของการเป ด เสรี ก ารค า และสถานการณ ก ารผลิ ต การตลาด ผัก-ผลไมของจีนซึ่งสอดคลองกับวัตถุประสงคขอที่ 1 บทที่ 5 ไดกลาวถึงกฎ ระเบียบ เงื่อนไขและขั้นตอนในการนําเขาผัก ผลไม ภายใตการเปดเสรี การคา ระบบการตลาด โซอุปทาน ระบบโลจิสติกส สัดสวนการครองตลาด ชองทางการกระจายสินคา และความสามารถในการแขงขันของผักและผลไมจากประเทศจีน ซึ่งสามารถตอบวัตถุประสงคขอที่ 2 บทที่ 6 เปนการรายงานผลการศึกษาดานระบบการตลาด หวงโซอุปทาน ชองทางการนําเขา ระบบตลาดและการวิเ คราะห จุ ดแข็ ง จุ ด ออน โอกาสและขอจํากัด และความสามารถในการแขงขัน ในการคาผักและผลไมของประเทศจีนซึ่งสามารถตอบวัตถุประสงคขอที่ 2 ไดเชนกัน บทที่ 7 กลาวถึงพฤติกรรมการบริโภค และปจจัยที่มีอิทธิพลตอการบริโภคผักและผลไมของ ผูบริโภคชาวไทย รวมทั้งความคิดเห็นของผูคา ผูประกอบการที่มีตอการนําเขาผักและผลไมจากประเทศ จีน ทั้งในตลาดสด ตลาดคาชายแดนและตลาดการคาสมัยใหม ซึ่งสามารถตอบวัตถุประสงคขอที่ 3 บทที่ 8 เปนการสรุปผลการศึกษา รวมทั้งขอเสนอแนะแนวทางการปรับตัวของผูคาและ ผูบริโภคที่ไดรับผลกระทบจากการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน โดยเปนการตอบวัตถุประสงคขอที่ 4

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


4

รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 2 ระเบียบและวิธีการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ ใชระเบียบและวิธีการวิจัยที่ประกอบดวยขั้นตอนที่สําคัญ ดังนี้ 2.1 วิธีการศึกษา 2.1.1 การเก็บรวบรวมขอมูล 1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary data) โดยการศึกษาดูงาน การสํารวจภาคสนามและการ สัมภาษณเชิงลึก(In-depth Interview) สําหรับผูบริโภค ผูประกอบการ ผูแทนจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งในประเทศไทยและประเทศจีน รวมทั้งการจัดประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อสอบถามความคิดเห็น ของผูมีสวนเกี่ยวของ 2) ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary data) โดยการเก็บรวบรวมขอมูลดานเศรษฐกิจการคา ระหวางประเทศไทย-จีน การเปดเสรีการคาและสถานการณการผลิต การตลาดผัก ผลไมของจีน รวมทั้ง กฎ ระเบียบ เงื่อนไข และขั้นตอนในการนําเขาผัก ผลไม ภายใตการเปดเสรีการคา 2.1.2 การวิเคราะหขอมูล 1) การวิเคราะหเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) ซึ่งเปนการอธิบายขอมูลทั่วไปที่ ไดจากการสัมภาษณผูบริโภคผักและผลไมจากจีน ผูที่บริโภคผักและผลไมเมืองหนาวของไทยในตลาด คาสง-คาปลีกขนาดใหญ ตลาดคาชายแดนและตลาดสมัยใหมซึ่งเปนขอมูลเชิงคุณภาพ รวมทั้งการ สังเคราะหความคิดเห็นของผูเกี่ยวของที่เขารวมประชุม 2) การวิเคราะหเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) และการวิเคราะหเชิงปริมาณ (Quantities Analysis) เพื่ออธิบายพฤติกรรมการซื้อและการบริโภคผักและผลไมของผูบริโภคในตลาดคา สง-คาปลีกขนาดใหญ ตลาดคาชายแดนและตลาดสมัยใหม โดยใชสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงปริมาณ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) ไดแก การแจกแจงความถี่ การหาคาเฉลี่ยและ คารอยละ ประกอบดวย (1) วิธีอัตราสวนรอยละ (Percentage) เพื่ออธิบายพฤติกรรมการซื้อผักและผลไม ของผูบริโภคในตลาดคาสง ตลาดคาชายแดนและตลาดสมัยใหม (2) วิธีหาคาเฉลี่ย (Mean) เพื่ออธิบายถึงพฤติกรรมผักและผลไมของผูบริโภคใน ตลาดคาสง ตลาดคาชายแดนและตลาดสมัยใหม โดยใชสูตรการหาคาเฉลี่ย (กานดา, 2530:44) ดังนี้

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 5 5

x

= fx N โดยที่ fx คือ ผลรวมของขอมูลทั้งหมด N คือ จํานวนขอมูลทั้งหมด X คือ คาเฉลี่ยความพึงพอใจของผูตอบแบบสอบถามในดานตางๆ สถิติเชิงปริมาณ (Quantities Analysis) โดยจะทําการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการ ตัดสินใจซื้อสินคาผักและผลไม โดยใชคาเฉลี่ย (Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ซึ่งใชวิธีการวัดแบบ Likert’s Scale กําหนดระดับความพึงพอใจเปน 5 ระดับ ดังนี้ ระดับความสําคัญ ระดับความสําคัญมากที่สุด ระดับความสําคัญมาก ระดับความสําคัญปานกลาง ระดับความสําคัญนอย ระดับความสําคัญนอยที่สุด

กําหนดคะแนน 5 4 3 2 1

โดยกําหนดเกณฑในการพิจารณาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมจากจีน ดังนี้ ระดับ = (คาน้ําหนักสูงสุด – คาน้ําหนักต่าํ สุด) จํานวนชั้น

คาเฉลี่ย 4.21-5.00 3.41-4.20 2.61-3.40 1.81-2.60 1.00-1.80

=

5 1 5

=

0.8 ระดับความสําคัญ ความสําคัญมากที่สุด ความสําคัญมาก ความสําคัญปานกลาง ความสําคัญนอย ความสําคัญนอยที่สุด

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


6

รายงานฉบับสมบูรณ์

6

2.2 ขอบเขตของการศึกษา 2.2.1 ศึกษาภาพรวมของการนําเขาผักและผลไมที่สําคัญ จากประเทศจีน ดังนี้ 1) ผักและผลไมที่เปนคูแขงสําคัญโดยทําใหไทยไดรับผลกระทบมาก ไดแก กระเทียม และแครอท 2) ผลไมเมืองหนาวชนิดอื่นๆที่ไทยนําเขาเปนจํานวนมาก โดยเขามาแขงขันและมีสวนแบง ทางการตลาดสูง จนกลายเปนสินคาทดแทนในการบริโภคผลไมภายในประเทศไทย ไดแก แอปเปล 2.2.2 ศึกษาระบบการตลาด ระบบและวิธีการจัดสง (Logistics) รวมทั้งสวนครองตลาด ชองทาง การกระจายผักและผลไม รวมทั้งขีดความสามารถในการแขงขันการคาผักและผลไมของประเทศจีนโดย กําหนดใหมีการสํารวจขอมูลเชิงพื้นที่ ดังนี้ 1) การสัมภาษณผูที่สามารถใหขอมูลที่เปนประโยชนตอ การศึกษา อาทิ  การสัมภาษณทูตพาณิชย ณ นครคุนหมิง สัมภาษณ CIQ คุนหมิง  สัมภาษณสมาคมหอการคา (Sale Chamber)  รับฟงการบรรยายสรุปสถานการณและภาพรวมดานการคาไทย-จีน จากกงสุล ใหญ ณ สถานกงสุลไทย ประจํามหานครเซี่ยงไฮ 2) การศึกษาดูงานแหลงผลิตผักและผลไม ที่สําคัญของประเทศจีน ไดแก  ศึกษาดูงานศูนยรวมสินคาเกษตรในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษฝงผูซี ณ ตลาดหลงอู  ศึกษาดูงานดานการลงทุน การจําหนายและการสงออกผลิตภัณฑการเกษตร ของบริษัท Chai Tai Group เครือเจริญโภคภัณฑ (ซี พี) เซี่ยงไฮ  ศึกษาดูงานทาเรือเมืองเหลียนหยุนกั่ง  ศึกษาดูงานการผลิตกระเทียมของเกษตรกรในสังกัดบริษัท Xuzhou Liming Food Co., Ltd, ในมณฑลผีโจว  ศึกษาดูงานดานการสงออกผัก ผลไมและการแปรรูปผลิตภัณฑการเกษตร ที่มีมูลคาการสงออกมากที่สุดในมณฑลซานตงบริษัท Shandong Star International Trade Co., LTD 3) ศึกษาดูงานดานการสงมอบสินคา การบรรทุก-ระวางสินคา ระบบการบริหารจัดการ ดา นการจัด ส ง และการกระจายสิ น ค า ที่ ต ลาดปลายทาง ณ ตลาดคา ชายแดน เชน ตลาดเชีย งแสน จ.เชียงราย ตลาดอินโดจีน จ.มุกดาหาร และ จ.หนองคาย 2.2.3 ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไมของผูบริโภคชาวไทย รวมทั้งความคิดเห็นของ ผูคา ผูประกอบการที่มีตอการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน ทั้งในตลาดสดขนาดใหญ ตลาดคา ชายแดนและตลาดการคาสมัยใหม (modern trade) ดังนี้

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 7 7

1) ตลาดคาสง-คาปลีกขนาดใหญ ไดแก ตลาดเมืองใหม จ.เชียงใหม,ตลาดไทและตลาดสี่ มุมเมือง กรุงเทพมหานคร 2) ตลาดคาชายแดน ไดแก ตลาดเชียงแสน จ.เชียงราย ตลาดอินโดจีน จ.มุกดาหาร และ จ.หนองคาย 3) ตลาดการคาสมัยใหม (modern trade)ไดแก หางสรรพสินคาแม็คโคร โลตัส บิ๊กซี เลมอนฟารม และโกลเดนเพลส เปนตน 2.3 กรอบแนวความคิดของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ จะทําการศึกษาผลลัพธที่เกิดจากการเปดเสรีทางการคาระหวางไทย-จีน ซึ่งเปน ผลใหมีการนําเขาผักและผลไมจากจีนเขามาเปนจํานวนมาก โดยจะมีผลตอภาคการผลิต การคาผักและ ผลไมไทยเปนอยางมาก ทั้งนี้ จะไดศึกษาระบบการขนสง (Logistics) ผักและผลไมจากจีนเขามายัง ประเทศไทย และศึกษาชองทางการกระจายสินคา หวงโซอุปทาน (Supply chain) ของผักและผลไมจาก จีน อีกทั้งศึกษาความสามารถ ศักยภาพและความไดเปรียบในดานการผลิต การคาผักและผลไมของ ประเทศจีน พรอมทั้งนําขอมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิที่ได ทําการวิเคราะหขอมูลโดยประยุกตการวิเคราะห แบบ SWOT Analysis ไดแก จุดแข็ง (S) จุดออน (W) โอกาส (O) และอุปสรรค (T) ของการดําเนินธุรกิจ ผักและผลไมของจีนที่ครอบคลุมการตลาดที่เกี่ยวของกับ 4 P’s (Product, Price, Place, Promotion) สําหรับประเทศไทย จะทําการศึกษาตลาดผักและผลไมแตละตลาดทั้งในสวนของตลาดคาสง ตลาดคา ปลีกขนาดใหญ รวมทั้งตลาดชายแดนโดยเนนการศึกษาปจจัยที่กําหนดพฤติกรรมการบริโภค ปจจัยที่มี อิทธิพลตอการบริโภคผักและผลไม ของผูบริโภคชาวไทย รวมทั้งความคิดเห็นของผูคา ผูประกอบการ ชาวจีนที่มีตอการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน (Demand side) ประกอบดวยเหตุผลของการ บริโภค สาเหตุของการตัดสินใจซื้อ เมื่อนิยมบริโภคผักและผลไมจากจีนแลวจะเกิดผลกระทบตอใคร บาง การทดแทนกันของสินคาเปนเชนใด เพื่อใหสามารถนํามาปรับปรุงและพัฒนาดานการผลิตผักและ ผลไมของไทย (Supply side)ไดเปนอยางดี นอกจากนี้ยังศึกษาถึงระบบผักและผลไมเมืองหนาวของ ไทยรวมทั้งปจจัยสําคัญที่สามารถทําใหผักและผลไมเมืองหนาวของไทยสามารถ อยูได ดังรูปที่ 1

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


8

รายงานฉบับสมบูรณ์

8

ระบบ Logistics พืชผัก-ผลไมจากจีนมายังไทย ประเทศไทย ผูซื้อ/บริโภคพืชผัก-ผลไม (Demand)

ประเทศจีน ผูผลิตพืชผัก-ผลไม (Supply)

ตลาดแตละตลาด

1.ขนสงผานชองทาง ตางๆสูป ระเทศไทย 2. ความสามารถ/ศักยภาพ/ ความไดเปรียบในดานการ ผลิต/การคา

หวงโซผักและผลไม (Supply Chain)

การกําหนดกลยุทธใหพืชผัก/ ผลไม ของไทยอยูไดภายใต

กลุมผูซื้อ/ผูบริโภค สาเหตุของการตัดสินใจซื้อ

เกิดผลกระทบตอใคร การทดแทนกันของสินคา เหตุผลของการบริโภค พืชผัก-ผลไมเมืองหนาว ปจจัยที่พืชผัก-ผลไม เมืองหนาวสามารถอยูได

รูปที่ 2-1 กรอบแนวความคิดของการวิจัย

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 3 วรรณกรรม ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของ 3.1 ทบทวนวรรณกรรม สามารถทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวของ โดยอาศัยเนื้อหาสาระของการทําการวิจัย ที่ผานมาในเรื่องที่เกี่ยวของกับการคาไทย-จีน และการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน เครื่องมือหรือ วิธีการดําเนินการวิจัย ตลอดจนผลของการวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี้ กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ (2548) “ ศึกษาวิเคราะหแนวทางเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขันเพื่อรองรับการที่จีนเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลกและการจัดทําเขตการคาเสรีอาเซียน – จีน ” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา วิเคราะหและประเมินประโยชน รวมถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการที่จีน เขาเปนสมาชิ กองค การการคาโลกและจัดทําเขตการคาเสรีอาเซียนและจีน รวมทั้งประเมินขีด ความสามารถในการแขงขันของไทยเปรียบเทียบกับประเทศคูแขงในตลาดจีน และเปรียบเทียบกับจีน ในตลาดไทย ผลไมเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของไทย โดยผลไมสามารถทํารายไดเขาประเทศปละหลายพัน ลานบาท และผลไมไทยยังเปนที่นิยมบริโภคกันทั่วไปทั้งในประเทศและตางประเทศ นอกจากนี้ความ ตองการบริโภคผลไมนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น เนื่องมาจากสาเหตุหลักคือจํานวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นและ ความสนใจในสุขภาพก็มีมากขึ้นดวย ในการผลิตผลไมถือไดวาไทยเปนประเทศที่มีสภาพพื้นที่และ ภูมิอากาศที่เหมาะสมตอการผลิตผลไมเมืองรอนหลากหลายชนิดตั้งแตภาคเหนือจนถึงภาคใตสวนฤดูกาล ใหผลผลิตผลไมแตละชนิดก็ยังแตกตางกันไปในแตละสภาพพื้นที่ของแตละภาค จึงเปนขอดีประการ หนึ่งที่สงผลใหไทยมีผลไมหลากหลายชนิดหมุนเวียนออกสูตลาดตลอดทั้งป แหลงนําเขาผลไมไทยที่ สําคัญของจีนอยูในเขตมณฑลกวางตุง โดยเฉพาะอยางยิ่งในตลาดขายสงผลไมหนานไห ซึ่งเปนตลาด นําเขาผลไมที่ใหญที่สุดของจีน โดยผูนําเขาผลไมของจีนจะมีตัวแทนรับซื้อรวมทุนกับฝายไทยในการ รวบรวมผลไมไทยกอนสงมายังจีน ซึ่งสวนใหญจะเปนการสงผานทางฮองกงการคาผลไมสดระหวางไทย และจีนคอนขางมีการแบงแยกตลาดที่ชัดเจน กลาวคือ ประเทศไทย สวนใหญมีการผลิตผลไมเมืองรอน จึงมีการสงออกผลไมเมืองรอนเปนหลัก เชน ลําไย ทุเรียน เงาะ มังคุด ลิ้นจี่ และฝรั่ง ในขณะที่ประเทศจีน สวนใหญก็มีการผลิตผลไมเมืองหนาว ซึ่งมีการผลิตผลไมเมืองรอน แตก็ยังไมมีมากนักในปจจุบัน จีนจึง สงออกผลไมเมืองหนาวเปนหลัก อาทิเชน แอปเปล แพร เปนตน ดังนั้นในอุตสาหกรรมผลไมจึงอาจ กลาวไดวาไทยและจีนมีลักษณะเปนคูคากันมากกวาคูแขงในการสงออกผลไมของไทยไปยังจีนภายหลัง จีนเขาเปนสมาชิกขององคการการคาโลกจะมีการลดอัตราภาษีศุลกากรของทุเรียนลงมาจากรอยละ 28 เหลือรอยละ 20 ลําไยจากรอยละ 24 เหลือรอยละ 12 และลิ้นจี่จากรอยละ 42 เหลือรอยละ 30 จะเห็นไดวา

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

9


10

รายงานฉบับสมบูรณ์

10

มีการลดภาษีคอนขางมาก ซึ่งการลดภาษีดังกลาวจะทําใหตลาดผลไมสดในจีนมีการขยายตัวมากขึ้น เนื่องจากการที่ผูบริโภคสามารถซื้อสินคาเหลานี้ไดในราคาที่ถูกลงถือเปนโอกาสดีที่จะชวยสนับสนุนให ผูบริโภคกลุมใหม ซึ่งยังไมรูจักผลไมไทยเหลานี้มีความกลาลองมากขึ้นดวย นอกจากนี้ การที่จีนเขาเปน สมาชิกขององคการการคาโลกนาจะทําใหเศรษฐกิจโดยรวมของจีนดีขึ้น ซึ่งจะสงผลทางออมตอการคา ผลไมดวย เนื่องจากผลไมเปนสินคาจําเปนโดยเฉพาะอยางยิ่งกับชาวจีนที่ใหความสําคัญกับเรื่องสุขภาพ คอนขางมาก การที่เศรษฐกิจโดยรวมของจีนดีขึ้น จึงนาจะทําใหอุตสาหกรรมผลไมเติบโตขึ้นตามไปดวย ทั้งจากการซื้อเพื่อการบริโภคเองและการซื้อใหเปนของขวัญในเทศกาลตางๆ คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2549) ได ศึกษาผลกระทบที่เกิดจากการเปดเสรี การคาอาเซียนและจีน โดย มีวัตถุประสงค เพื่อติดตามและประเมินผลกระทบการเปดเสรีภายใตกรอบ อาเซียนและจีน ในสวนที่ไดดําเนินการไปแลวรวมทั้งที่กําลังจะเปดเสรีตอไปประมวลผลประโยชนที่จะ ไดรับปญหา อุปสรรคตอการสงออก พรอมเสนอแนะยุทธศาสตรและแนวทางการแกไขปญหาเพื่อให ประเทศไทยไดรับประโยชนจากการเปดเสรีมากที่สุด วิธีการศึกษาประกอบไปดวยการวิเคราะหเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) โดย แบบจําลอง Global Trade Analysis Project (GTAP) และการวิเคราะหเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) ผลการศึกษาการวิเคราะหเชิงปริมาณพบวา การคาเสรีอาเซียน-จีน มิไดสงผลกระทบตอตัว แปรทางเศรษฐกิจมหภาคของประเทศไทยมากนัก อยางไรก็ตามผลของขอตกลงฯจะสงผลใหผลิตภัณฑ มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของไทยเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นโดยรวมรอยละ 0.13 ทั้งนี้การเพิ่มขึ้นของ ผลิตภัณฑมวลรวมดังกลาวจะเกิดขึ้นในชวงที่มีการลดภาษีสําหรับกลุมสินคาปกติเปนหลัก คือระหวาง ป 2548-2553 เมื่อพิจารณาการสงออกของประเทศไทยหลังการเปดการคาเสรี พบวา ประเทศไทยจะมี การสงออกสินคาไปจีนเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 23.62 แตในขณะเดียวกัน ประเทศไทยจะสงออกไป ประเทศ กลุมอาเซียน และประเทศคูคาอื่นในตลาดโลกลดลงดวยอัตรารอยละ 0.62 และรอยละ0.26 ตามลําดับ ผลตอภาวะการนําเขา แสดงใหเห็นวา ประเทศไทยจะมีการนําเขาจากจีนเพิ่มขึ้นถึงอัตรา รอยละ 95.79 แตจะนําเขาลดลงจากกลุมประเทศอาเซียนและประเทศอื่นๆซึ่งอยูในอัตรารอยละ 4.25 และ 2.92 ตามลําดับ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม(2552) ไดศึกษา เรื่อง ศักยภาพและความสามารถใน การแขงขันของสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยในตลาดจีน ซึ่งพบวา ผลไมของไทยเปนสินคาที่มีศักยภาพ เพราะมีความสามารถในการแขงขันสูงในทุกตลาดที่ทําการศึกษา คือตลาดจีน ฮองกง และอินโดนีเซีย โดยเฉพาะในตลาดจีน ไทยสามารถครองสวนแบงการตลาดไดสูงสุด โดยมีประเทศในกลุมอาเซียนคือ เวียดนาม นอกจากนี้ยังพบวาการคาระหวางจีนและไทย มีแนวโนมสูงขึ้นในอนาคตและคาดวาจีนจะ สงออกสินคาผักและผลไม รวมทั้งอาหารแปรรูปสูประเทศไทยมากขึ้น ขณะเดียวกันก็จะนําเขาขาวเจา

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 11 11

ผักและผลไมเมืองรอน น้ําตาลและอาหารแปรรูปจากไทย จึงนับเปนโอกาสที่ดีสําหรับประเทศไทยใน การไดรับประโยชนจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีน การคาทางการเกษตรที่ขยายตัวขึ้นจะทําใหจีน ลดการสงออกสินคาเกษตรสูประเทศไทย และเพิ่มการนําเขาเปนจํานวนมาก ซึ่งภาคการเกษตรของไทย นาจะไดรับประโยชนในการสงออกไปยังประเทศจีนเพิ่มขึ้น สุภาวดี โพธิยะราชและคณะ (2552)ไดศึกษา ผลกระทบของนโยบายการคาเสรีตอเศรษฐกิจ ไทย โดยการใชแบบจําลองการคํานวณทางเศรษฐกิจการคาโลก(Global Trade Analysis Project--GTAP) แบบจําลองการคํานวณดุลยภาพทั่วไปทางเศรษฐกิจมหภาค(Computable General Equilibrium Models-CGE) และแบบจําลองเศรษฐมิติมหภาค (Macro-econometric Model--MMs) เพื่อเชื่อมโยงใหเห็นถึง ผลกระทบของการคาระหวางประเทศที่มีตอเศรษฐกิจของประเทศไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ พบวา 1) การเปลี่ยนแปลงมาตรการดานภาษีจากขอตกลงการเปดเสรีทางการคาจะสงผลกระทบตอขีดความสามารถใน การแขงขัน ดังนั้น ทุกประเทศตางมีมาตรการปกปองทางการคาสินคาเกษตรเพียงแตมากหรือนอยเทานั้น 2) ประเทศไทยไดรับประโยชนโดยรวมจากขอตกลงการเปดเสรีทางการคา โดยจะเห็นไดจากมูลคาผลิตภัณฑ ภายในประเทศ (ณ ป 2544) เพิ่มขึ้นรอยละ11.5 เพราะการเปดเสรีการคา ทําใหราคาสินคาเกษตรของไทยทุก กลุมสูงขึ้นกวากรณีไมมีการเจรจาขอตกลง 3) หลังการเปดเขตการคาเสรีสินคาเกษตรไดแก ขาวเปลือก ขาวสารและผลิตภัณฑขา วและน้ําตาล มีมูลคาการสงออกสูงขึ้นและมีการเปลี่ยนแปลงในทางบวก สวนกลุม สินคาที่มีมูลคาการสงออกต่ําและมีการเปลี่ยนแปลงในทางลบและมีอัตราสูงมาก ไดแก สาขานมสด ขนสัตว ไหมและธัญพืชอื่นๆ และ 4) ผลตอเศรษฐกิจรายสาขาโดยการพิจารณาปจจัยการผลิตขั้นตน พบวา การจาง แรงงานแตละสาขาการผลิตมีแนวโนมเพิ่มขึ้นและมีการใชที่ดินเพิ่มขึ้นทุกสาขาการผลิต รวมทั้งการใชทุน หรือการลงทุ น ในแต ละสาขาการผลิตมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเชนกัน โดยเฉพาะสาขาการคาสงและคาปลีก 5) ผลตอเศรษฐกิจมหภาคของไทย ประกอบดวยเศรษฐกิจภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร ซึ่งภาวะเศรษฐกิจ การเกษตรมีการขยายตัวรอยละ 0.3 สาขาพืชขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 0.3 สาขาปศุสัตวมีมูลคาผลผลิตขยายตัว รอยละ 0.4 สาขาประมงขยายตัวรอยละ 0.7 สาขาปาไมมีมูลคาผลผลิตขยายตัวรอยละ 0.2 และสาขาบริการ การเกษตรและการแปรรูปเกษตรอยางงาย ซึ่งมีมูลคาผลผลิตขยายตัวรอยละ 0.3 ทั้งนี้เปนผลจากการนําปจจัย การผลิตทางการเกษตรมาเพิ่มมูลคา (value added) ใหแกภาคการเกษตร นอกจากนี้การเปดเสรีทางการคายัง ส งผลให สิ นค าเกษตรหลายชนิ ดได รั บผลกระทบอย างมาก เนื่ องจากต นทุ นการผลิ ตของไทยสู งกว า ตางประเทศ ดังนั้น เพื่อเปนการชวยเหลือเกษตรกรที่ไดรับผลกระทบดังกลาว จึงมีแนวทางและขอเสนอแนะ ดังนี้

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


12

รายงานฉบับสมบูรณ์

12

1) สนับสนุนใหกระทรวงเกษตรและสหกรณโดยสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และ กระทรวงพาณิชยโดยกรมการคาตางประเทศจัดตั้งกองทุนเพื่อชวยเหลือผูที่ไดรับผลกระทบนี้ ไดแก กองทุนปรับโครงสรางการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแขงขันของประเทศ และกองทุน FTA 2) เรงพัฒนาระบบมาตรฐานทางการคาของไทย เชน มาตรฐานสุขอนามัย มาตรฐานสินคา การตรวจสอบและสิ่งแวดลอมเพื่อคุมครองผูบริโภค ที่อาจไดรับความเสียหายจากการนําเขาสินคาที่มี มาตรฐานต่ํา และยกระดับมาตรฐานสินคาไทยสูสากล 3) กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับแหลงกําเนิดของสินคา (Rules of Origin) 4) มาตรการการพัฒนาสินคาเกษตรที่ควรพิจารณาถึงปจจัยทางดานอุปสงคของตลาด ซึ่ง แบงออกเปน 2 ระดับคือ (1) การผลิตสินคาเพื่อจําหนายใหกับกลุมลูกคาแบบเฉพาะเจาะจง ( Niche Market) และควรสงเสริมการผลิตสินคาแบบคลัสเตอร (cluster) เพื่อใหเปนการผลิตที่ครบวงจรและ สามารถเชื่ อ มโยง สนั บ สนุ น เกื้ อ กู ล กั น ซึ่ ง จะเป น ผลให ก ารกํ า หนดยุ ท ธศาสตร สู ก ารปฎิ บั ติ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (2) สินคาหลายประเภทที่ผลิตจํานวนมากตามความตองการของอุปสงคตลาด ขนาดใหญ (mass market) ตองประสบกับปญหาอุปสรรคในการสงออก ดังนั้นสินคาเหลานี้ตองมีการ ปรับตัวเปนอยางมาก โดยการผลิตตองคํานึงถึงความตองการของตลาดเปนสําคัญทั้งในเรื่องของปริมาณ และคุณภาพของสินคา สวนผลการศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพในการสงออกสินคาไปยังประเทศจีนโดยผานเสนทาง การขนสงทางบกนั้น สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (2552) ไดศึกษาเรื่อง ระบบ Logistics และ Supply Chain สินคาเกษตรเพื่อขยายตลาดสงออกไปประเทศในเอเชีย ป 2551 : กรณีศึกษาการสงออกผลไมและผลิตภัณฑไปสาธารณรัฐประชาชนจีน ตามเสนทาง R9 และ R12 โดย พบวา ทางเลือกในการขนสงทางถนนผานประเทศลาวและเวียดนามตามเครือขายเชื่อมโยง GMS ที่มีอยู ไปยังทานําเขาใหมในเขตการปกครองอิสระกวางสี ทางตะวันตกเฉียงใตของประเทศจีนกําลังเปน ทางเลือกใหมที่จะนําสูการพัฒนาการคา ซึ่งทางเลือกใหมนี้จะชวยลดปญหาการสงออกผลไมไทยไปจีน ทางทะเลในปจจุบัน ซึ่งจํากัดเฉพาะในมณฑลชายฝงตะวันออกที่ร่ํารวยเทานั้นรวมทั้งไดทําการวิเคราะห Value Chain 2 เสนทาง คือ เสนทางการสงออกทางทะเลที่มีอยูเดิมและการพัฒนาเสนทางใหมทางถนน ซึ่งผลจากการศึกษาวิเคราะหเปรียบเทียบตนทุนใน Value Chain ผูประกอบการสามารถนําไปใช ประกอบการตัดสินใจในแตละขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อการสงออก ผลการศึกษาสรุปไดวา การขนสงเพื่อการสงออกตองมีความเชื่อมโยงอยางเปนระบบ ทัง้ การ ขนสงภายในประเทศและตางประเทศ และพบวาสัดสวนของตนทุนโลจิสติกสในการขนสงทางถนน จากแหลงผลิตไปยังทาที่ทําการสงออกและจากทานําเขาไปยังตลาดปลายทางคอนขางสูง อยางไรก็ตาม คาขนสงระหวางประเทศที่ผานประเทศลาว เวียดนาม และประเทศจีนในอนาคตสามารถลดตนทุนใน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 13 13

สว นนี้ไ ด ซึ่ ง จะทํ า ให ก ารขนส ง ทางบกได เ ปรีย บเชิ ง เปรี ย บเที ย บเมื่อ เที ย บกับ การขนสง ทางทะเล นอกจากนั้นการขนสงทางบกยังมีความไดเปรียบในเรื่องความรวดเร็วจากการยนระยะเวลาการขนสงลง ทํ า ให คุ ณ ภาพของสิ น ค า เมื่ อ ถึ ง ตลาดปลายทางดีขึ้ น การปรั บ ตั ว ของราคาขึ้ น -ลงของตลาดทั น ต อ สถานการณ ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่จะสรางกําไรใหแกผูที่เกี่ยวของทุกระดับ โดยเฉพาะเกษตรกรซึ่งมี สัดสวนของตนทุนในหวงโซมูลคาสูงที่สุดไมวาจะเปนการขนสงทางบกหรือทางทะเล ดังนั้น การศึกษา ขั้นตอไปควรทําการศึกษาตนทุนและผลตอบแทนของผูเกี่ยวของ ทุกระดับ และการเปรียบเทียบผลการ ดําเนิ นการด านโลจิสติก ส ของทั้งสองเสนทาง รวมทั้งการศึก ษาลูทางการขยายตลาดผลไมไทยใน ประเทศจีนผานเสนทางบกไปยังมณฑลดานตะวันตกและภาคกลางของประเทศจีน นอกจากนี้ ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตรประยุกต คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2553) ยังไดศึกษาเรื่อง ระบบ Logistics และ Supply Chain ผลไมและผลิตภัณฑเพื่อขยายตลาดสงออก ไปประเทศในเอเชีย ป 2552 : กรณีศึกษาเสนทาง R3E และ R3W โดยพบวา 1) ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ในช ว งเวลา 10 ป ที่ ผ า นมา การบริ โ ภคภายใน ครัวเรือนเพิ่มขึ้น 5 เทา การสะสมทุนเพิ่มขึน้ 10 เทา สภาพการผลิตสินคาเกษตร จากขอมูลสถิติองคการ อาหารโลก ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน สามารถผลิตผลไมและพืชผัก คิดเปนมูลคาสูงที่สุดใน บรรดาผลิตผลดานการเกษตรที่เปนอาหารที่ผลิตได 2) ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในชวง 5 ปที่ผานมา ประเทศสปป. ลาว พบวาสินคาเกษตรประเภทอาหาร สปป.ลาว มีความจําเปนตองนําเขาเกือบทั้งหมด ยกเวนสินคา ประเภทธัญพืชที่มีบางชนิดสงออกแตมีปริมาณนอย 3) ประเทศเมียนมาร ระบบเศรษฐกิจและสังคม ยังเปนระบบปด ดังนั้นระบบการจัดเก็บ ขอมูลยังมีจํานวนนอย จากสถิติดานอาหาร ประเทศเมียนมารผลิตอาหารประเภทธัญพืชมากที่สุด สวน ใหญประเทศเมียนมารนําเขาสินคาอาหารมากกวาการสงออก ยกเวนสินคาประเภทธัญพืชและสินคา ประเภทน้ําตาล ประเทศเมียนมารสงออกมากกวานําเขา การขนสงผลไมตามเสนทาง R3E เปนการขนสงผลไมจากแหลงผลิตในแตละพื้นที่ เชน ลําไย ลิ้นจี่จากภาคเหนือจังหวัดเชียงใหม ลําพูน ทุเรียน มังคุด กลวยไข จากจังหวัดระยอง จันทบุรี ของภาค ตะวันออก และจังหวัดชุมพร นครศรีธรรมราชจากภาคใต มายังอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย โดยการ ลากตูคอนเทนเนอร หลังจากนั้นจะขามแพขนานยนตไปยังหวยทราย แขวงบอแกวของประเทศ สปป.ลาว แลวขนสงตอไปยังชายแดนประเทศ สปป.ลาว/ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่เมืองบอเต็น/บอหาน โดยผูนําเขาของจีนจะนํารถมาขนถายสินคาที่เมืองบอหาน แลวขนตอไปยังเมืองจิ่งหงหรือเชียงรุงเขาสู ตลาดคาสงที่เมืองคุนหมิง กอนกระจายสินคาไปสูผูบริโภคตามเมือง/มณฑลตางๆ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


14

รายงานฉบับสมบูรณ์

14

การขนส ง ผลไม ต ามเส น ทาง R3W เปน การขนส งผลไมจ ากแหล งผลิ ตด ว ยการลากตู คอนเทนเนอรไปยังอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย หลังจากนั้นจะทําการขนถายสินคาใสรถกระบะ ลําเลียงไปยังทาขี้เหล็กของประเทศเมียนมาร และเปลี่ยนถายใสรถบรรทุก 10 ลอ(ธรรมดาไมมีหองเย็น) ของเมียนมาร ความจุประมาณ 30 ตัน หางจากทาขี้เหล็กประมาณ 5 กิโลเมตร เพื่อขนสงตอไปยัง ชายแดนเมียนมาร-สาธารณรัฐประชาชนจีน ที่เมืองลา- ตาลั่ว โดยรถบรรทุกของจีนจะมารอรับสินคาที่ ชายแดนเมืองตาลั่ว เพื่อขนสงตอไปยังเมืองเชียงรุง และคุนหมิง กอนจะกระจายไปสูผูบริโภคตามเมือง/ มณฑลตางๆ ที่ใกลเคียง การขนสงผลไมตามเสนทางแมน้ําโขง เปนการขนสงจากแหลงผลิตดวยการลากตูคอนเทนเนอร ไปยังทาเรือเชียงแสน จังหวัดเชียงราย หลังจากนั้นจะทําการขนถายสินคาลงเรือเพื่อขนสงไปยังทาเรือ กวนเหลย เขตสิบสองปนนาของประเทศจีน โดยผูนําเขาของจีนจะนํารถบรรทุกมารอรับเพื่อทําการ ขนสงตอไปยังเมืองเชียงรุง และคุนหมิง ซึ่งสวนใหญจะใชรถบรรทุกธรรมดา คลุมผาใบ ยกเวนผลไมที่ บอบช้ํางายและมีมูลคาสูง เชน ชมพู จะใชรถบรรทุกหองเย็น ขอเสนอแนะ ในการเตรียมการผลไมเพื่อการสงออกในระบบ Supply Chain ผลไมเพื่อสงออกควรให ความสําคัญกับคุณภาพผลไม โดยเฉพาะอยางยิ่งตองปฏิบัติตามแนวทางการเกษตรดีที่เหมาะสม (Good Agricultural Practice : GAP) โดยการรวมกลุมกันรับการถายทอดความรูและรวมมือกันเปน ประชาสังคม สรางความเชื่อถือในการเตรียมการสงมอบผลไม เพื่อใหผลไมมีคุณภาพที่จะนําไปสูการ สรางระบบคุณภาพและปริมาณที่จะทําตลาดได จะไดผลตอบแทนราคาที่ดีขึ้น ปญหาขอจํากัดในการเคลื่อนยายผลไมไทยไปจีน ทั้งในเรื่องความปลอดภัย การจายคาผาน แดนที่ไมเปนทางการ และการเรียกคาคุมครอง ทั้งเสน R3E, R3W และแมน้ําโขง ตลอดจนกฎ ระเบียบ ที่ยังไมเอื้อในการเคลื่อนยายผลไมไทยไปจีน ในเรื่องนี้ควรใชกรอบการเจรจาโครงการพัฒนาความ รวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion : GMS) และ AFTA+3 เรงรัดความรวมมือระหวางประเทศ ประเด็นสําคัญในเรื่องโครงสรางพื้นฐานที่รองรับการพัฒนา South-North Corridor ที่จะ เชื่อมตอไปยังประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร ควรจะพิจารณาศูนยกลางการขนสง (HUB) ศูนยกลางการ กระจายสินคาระหวางประเทศ (International Distribution Center) และพื้นที่ควบคุมรวมกัน (Common Control Area : CCA) ถาหากพิจารณาเสน R3E จะเปนเสนทางที่เชื่อมตอไปยังประเทศเพื่อนบานโดย ประเทศไทยเปนประเทศที่สาม ดังนั้นเชียงของควรเปนศูนยกลางการกระจายสินคาภายในประเทศและ ระหวางประเทศ และควรพิจารณาพื้นที่ควบคุมรวมกัน ซึ่งจะชวยอํานวยความสะดวกใหแกการขนสง ขามพรมแดน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 15 15

ประเด็นผลกระทบตอสภาพสังคม-เศรษฐกิจ บนเสน R3E ประเทศไทยควรจะพิจารณาการ ขยายพื้นที่ปลูกยางพาราในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในเรื่องอุปสงค อุปทาน รวมถึงให ความสํ า คั ญ ต อ การขยายพื้ น ที่ ป ลู ก ยางพาราในพื้ น ที่ จี น ตอนใต สปป.ลาว ตอนบนและเวี ย ดนาม การทองเที่ยว ควรวางแผนพัฒนาการทองเที่ยว ประเทศไทยโดยเฉพาะอยางยิ่งภาคเหนือตอนบน ควรจะ พัฒนาบุคลากรรุนใหมท่ีมีความรูภาษาจีน และรูขอมูลพื้นฐานในการทําธุรกิจในภูมิภาคนี้ตอไปใน อนาคต สําหรับการศึกษาเศรษฐกิจการผลิตและการตลาดสินคาเกษตรของโครงการหลวงนั้น ศูนยวิจัย เศรษฐศาสตรประยุกต คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2552) ไดศึกษาเรื่อง การศึกษา สถานภาพการแขงขันของสินคาพืชผัก ผลไมและกาแฟของมูลนิธิ โครงการหลวงภายใตเขตการคาเสรี เนื่องจากการจัดทําเขตการคาเสรี (FTA) สินคาพืชผัก ผลไม และกาแฟที่ประเทศไทยไดลงนามไวกับ ประเทศตางๆไดกอใหเกิดการขยายตัวของการสงออก กลุมสินคาดังกลาวของไทยชากวาการขยายตัว ของการนําเขา เปนผลใหความไดเปรียบดุลการคาของไทยทั้งผัก ผลไม และกาแฟ มีแนวโนมลดลง การศึกษาสถานภาพในการแขงขันของสินคาพืชผัก 5 ชนิด ซึ่งไดแกผักกาดหอมหอ บลอคโคลี่ แครอท มะเขือเทศ และมันฝรั่ง พบวา ผักกาดหอมหอ บลอคโคลี่ แครอท และมันฝรั่ง มีการนําเขา ขยายตัวสูงขึ้นกวาการสงออกในทุกปทําใหมูลคาการคาขาดดุล โดยการคามีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นอยาง ตอเนื่อง สวนมะเขือเทศเปนพืชผักชนิดเดียวในกลุมที่ศึกษาที่ประเทศไทยมีความไดเปรียบดุลการคา สวนผลไม 7 ชนิดที่ศึกษา ไดแก สตรอเบอรี่ พลับ พีช อะโวกาโด กีวีฟรุต องุน และแอปเปล พบวา ประเทศไทยมีการนําเขามากกวาการสงออกและมีการขาดดุลการคาผลไมดังกลาวเพิ่มขึ้นทุกป อยางไรก็ตาม การผลิตสตรอเบอรี่สด พลับ และพีชสดของโครงการหลวงนั้นเปนการผลิตเพื่อ ปอนตลาดภายในประเทศเปนสําคัญและมีฤดูกาลใหผลผลิตแตกตางจากสินคาประเภทเดียวกันทีน่ ําเขา ทําใหสถานภาพการแขงขันของสินคาดังกลาวไมรุนแรงและไมถูกกระทบจากการนําเขาอันเปนผลจาก การเปดเขตการคาเสรี การกาวไปสูนโยบายการคาเสรีกับกลุมประเทศดังกลาวมีผลตอการปรับลดอัตราภาษี ในกลุม ผักและผลไมหลายชนิดใหเปนศูนยหรือเกือบเปนศูนย พรอมกับมีการพัฒนากฎระเบียบและมาตรการ ดานสุขอนามัยของประเทศผูนําเขาสินคาผักและผลไม ซึ่งผูสงออกจะตองถือปฏิบัติอยางเครงครัด เพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอการสงออก มาตรการดานสุขอนามัยนั้นครอบคลุมถึงระบบการผลิตภายใต มาตรฐาน GAP และระบบการบรรจุและแปรรูปภายใตมาตรฐาน GMP และ HACCP เปนฐานสําคัญ การศึกษาในเรื่องนี้ไดรวมถึงนําเสนอรูปแบบกลยุทธในการจัดการหวงโซอุปทานสินคาพืชผัก ผลไม และกาแฟของโครงการหลวง ผลการศึกษาทั้งหมดนี้จะเปนประโยชนตอการวางแผนการดําเนินงาน รวมทั้งเปนแนวทาง สําคัญตอการศึกษาผลกระทบของนโยบายการคาเสรีตอเศรษฐกิจไทย : กรณีศึกษาการนําเขาผักและ ผลไมจากประเทศจีนในครั้งนี้ไดเปนอยางดี

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


16

รายงานฉบับสมบูรณ์

16

3.2 ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของ 3.2.1 ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค การศึ ก ษาพฤติ ก รรมการบริ โ ภคผั ก และผลไม ข องผู บ ริ โ ภคชาวไทยในครั้ ง นี้ เป น การศึกษากระบวนการตัดสินใจซื้อ รวมทั้งการบริโภคผักและผลไมของผูบริโภคโดยยึดแนวทางการ วิเคราะหพฤติกรรมของผูบริโภค ประกอบดวย 1) พฤติกรรมการซื้อและการใชของผูบริโภค 2) ปจจัยที่มี อิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค โดยเปนการศึกษาความรูสึกนึกคิดของผูซื้อทําให และลักษณะ ของผูซื้อที่ไดรับอิทธิพลจากปจจัยทางดานวัฒนธรรม ปจจัยดานสังคม ปจจัยสวนบุคคล และปจจัยดาน จิตวิทยา และ 3) ขั้นตอนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค ( Kotler, 2000 ) 3.2.2 วิถีการตลาด (Marketing channels) วิถีการตลาด หรืออาจเรียกวา ครรลองการตลาด หรือชองทางกาตลาด หมายถึง การแสดง ใหทราบวา สินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง เมื่อเคลื่อนยายจากผูผลิตแลว ไปสูคนกลางประเภทใดบาง กอน สินคานั้นไปสูมือผูบริโภคคนสุดทาย ปริมาณสินคาที่ไปสูคนกลางประเภทตางๆ โดยปกติคิดเทียบเปน รอยละของปริมาณที่เขาสูตลาดทั้งหมด อยางไรก็ตาม สินคาเกษตรโดยทั่วไปเมื่อเคลื่อนยายจากผูผลิต มักจะมีลักษณะหนึ่ง แตเมื่อไปถึงมือผูบริโภคเปนอีกลักษณะหนึ่ง ที่คนกลางทําหนาที่การตลาดใน สินคานั้นตรงกับความตองการของผูบริโภค ในการวิเคราะหวิถีการตลาด จึงจําเปนตองยึดถือลักษณะใด ลักษณะหนึ่งเปนหลัก แลวเทียบลักษณะที่ไมเหมือนกันนั้น ใหมาเปนหนวยเดียวกันกับลักษณะที่ยึดถือ เปนหลัก นั่นคือ จะตองทราบอัตราการแปรรูปหรืออัตราการเปลี่ยนแปลงจากวัตถุดิบมากลายเปน ผลิตภัณฑเปลี่ยนแปลงจากวัตถุดิบมากลายเปนผลิตภัณฑ (สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ์ ; หลักการตลาดสินคา เกษตร,2546) 3.2.3 ทฤษฎีสวนประสมทางการตลาด สวนประสมทางการตลาด คือ ตัวแปรทางการตลาดที่ควบคุมไดเพื่อสรางความพึงพอใจ ใหแกกลุมเปาหมาย ( Kotler, 2000) ซึ่งหมายถึง 4P’s ประกอบดวย 1) ผลิตภัณฑ (Product) 2) ราคา (Price) 3) ชองทางการจัดจําหนาย (Place) และ (4) การสงเสริมการตลาด (Promotion) โดยการใช แนวคิด หรือกลยุทธในการผสมผสานสวนประสมทางการตลาดทั้ง 4 ประการ เพื่อใหสอดคลองกับ ผลิตภัณฑแตละประเภท ดังตารางที่ 3-1

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 17 17

ตารางที่ 3-1 แนวคิดกลยุทธสวนประสมการตลาดทั้ง 4 ประการ แนวคิดสวนประสมการตลาด แนวคิดที่หนึง่ : 4P’s แนวคิดที่สอง : 3P’s กับ 1C แนวคิดที่สาม : รูปแบบความคิด (Paradigm)

แนวคิดที่สี่ : 8P’s

ประกอบดวย (1) ผลิตภัณฑ (Product) (2) ราคา (Price) (3) การจัดจําหนาย (Place) (4) การสงเสริมการตลาด (Promotion) (1) ผลิตภัณฑ (Product) (2) ราคา (Price) (3) การจัดจําหนาย (Place) (4) การติดตอสื่อสาร(Communication) ผลของการติดตอสื่อสารที่มีผลตอผลิตภัณฑ ราคา และชองทางการ จั ด จํ า หน า ยประกอบด ว ย (1) การสื่ อ สารที่ ส ง ผลต อ ผลิ ต ภั ณ ฑ (Product) (2) การสื่อสารที่สงผลตอราคา (Price) (3) การสื่อสารที่ สงผลตอชองทางการจัดจําหนาย (Place) (4) การสงเสริมการตลาด (Promotion) (5)การสรางภาพพจนบริษัท (Corporate Image)(6) ภาพพจนตราสินคา (Brand Image) ทั้งภาพพจนบริษัทและภาพพจน ตราสิ น ค า นั้ น เป น ฐานล า ง (7) มี ร ะบบการจั ด การข อ มู ล ที่ ดี [Management of Information System (MIS)] (1) ผลิตภัณฑ (2) ราคา (3) การจัดจําหนาย (4) การสงเสริมการตลาด (5) การบรรจุภัณฑ (6) พนักงาน (People) (7) อํานาจ (Power) (8) การประชาสัมพันธ [Public Relations (PR)]

ที่มา : เสรี วงษมณฑา ,2542 3.2.4 กลยุทธการตลาด กลยุทธการตลาดเปนสิ่งสําคัญในการดําเนินธุรกิจ เพราะการแขงขันเพื่อที่จะชวงชิงลูกคา หรือตองการใหลูกคาเกิดความพึงพอใจ ตองอาศัยกลยุทธทางการตลาดที่เหมาะสมกับสถานการณตางๆ โดยการนําสวนประสมการตลาด (Marketing Mix) ที่เปนเครื่องมือทางการตลาดที่ตอบสนองความ ตองการและสรางความพึงพอใจแกกลุมลูกคาเปาหมาย สวนผสมการตลาด“4 P’s” ประกอบดวย ผลิ ต ภั ณ ฑ (Product) ราคา (Price) การจั ด จํ า หน า ย (Place) และการส ง เสริ ม การตลาด (Promotion) (Kotler, 2545) นอกจากนี้ยังแบง“กลยุทธสวนประสมการตลาด’’ ออกเปน 4 แนวคิด คือ แนวคิดแบบ 4P’s, แนวคิด 3P’s กับ 1C แนวคิด (Paradigm) และแนวคิด 8 P โดยตองเนนใหมีความสัมพันธกัน ระหว า งการติ ด ต อ สื่ อ สาร (Communication) ที่ มี ต อ ผลิ ต ภั ณ ฑ (Product) ราคา (Price) และการจั ด จําหนาย (Place) ซึ่งผลของการติดตอสื่อสารจะทําใหผูบริโภคทราบถึงขอมูลของสินคาหรือบริการได

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


18

รายงานฉบับสมบูรณ์

18

เปนอยางดี (เสรี วงษมณฑา ,2542) อยางไรก็ตาม 4P’s เปนมุมมองของผูขาย ไมใชมุมมองของ ผูซื้อ ดังนั้นในมุมมองของผูซื้อแลว แนวคิด 4P’s จะถูกอธิบายไดดวยแนวคิด 4C’s ดังนี้ 4P’s 4C’s ผลิตภัณฑ ทางออกของลูกคา ราคา ตนทุนของลูกคา การจัดจําหนาย ความสะดวกสบาย การสงเสริมการตลาด การติดตอสื่อสาร 3.2.5 โครงสรางการตลาด โครงสรางการตลาด ประกอบดวย ผูผลิต ผูคาสง ผูคาปลีก และผูซื้อ ซึ่งเมื่อผูผลิตไดทํา การผลิตสินคาแลว จะเลือกชองทางการตลาดเพื่อการจําหนายสินคาใหกับผูคาสง หรือผูคาปลีกที่ทํา หนาที่เปนคนกลางในการกระจายสินคาไปยังผูบริโภค หรือลูกคา 3.2.6 การดําเนินกิจกรรมทางการตลาด การดําเนินกิจกรรมทางการตลาดมีวัตถุประสงค เพื่อ การเคลื่อนยายผลผลิตอุปโภค บริโภคและบริการจากผูผลิตสูผูบริโภคหรือผูใชบริการ และกระบวนการแลกเปลี่ยนจากสิ่งหนึ่งเพื่อ สิ่งใดสิ่งหนึ่งตามแตประสงค เพื่อใหบรรลุความตองการทั้งผูผลิต และผูบริโภค 3.2.7 หวงโซอุปทาน และโลจิสติกสผัก ผลไม การจัดการโซอุปทาน (Supply Chain Management) คือ กระบวนการที่กลาวถึง กิจกรรมตาง ๆ ที่แสดงถึงการไหลของสินคาตั้งแตยังเปนวัตถุดิบจนกระทั่งกลายเปนสินคาที่ผลิตเสร็จ จนถึงมือผูบริโภคคนสุดทาย นอกจากนี้การจัดการโซอุปทานยังกลาวถึงการไหลเวียนของขอมูลขาวสาร จากผูบริโภคคนสุดทายยอนกลับไปยังซัพพลายเออรรายแรก โซอุปทานจะประกอบดวยขั้นตอนทุกๆขั้นตอนที่เกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออมที่มี การตอบสนองความตองการของลูกคา ซึ่งไมเพียงแตอยูในสวนของผูผลิตและผูจัดสงวัตถุดิบเทานั้น แต รวมถึ ง ส ว นของผู ข นส ง คลั ง สิ น ค า พ อ ค า คนกลาง และลู ก ค า ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในทุ ก ขั้ น ตอนต า งๆ ของโซ อุ ป ทาน ในการตั ด สิ น ใจต า งๆที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ โซ อุ ป ทานนั้ น จะมี ผ ลกระทบอย า งมากต อ ความสําเร็จหรือความลมเหลวของหนวยธุรกิจ เพราะสิ่งเหลานั้นจะมีผลตอทั้งการสรางรายไดและ คาใชจายที่เกิดขึ้น การบริหารโซอุปทานใหประสบความสําเร็จนั้น ตองพยายามจัดการทั้งการไหลของ ผลิตภัณฑ ขอมูลและเงินทุนใหสามารถตอบสนองระดับความตองการของลูกคาไดเปนอยางดี ในขณะที่ พยายามใหเกิดคาใชจายนอยที่สุดและลดความสูญเสียโดยไมจําเปน ซึ่งการจัดการโซอุปทานใหประสบ ความสําเร็จนั้นตองอาศัยการตัดสินใจตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการไหลของขอมูลผลิตภัณฑและเงินทุน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 19 19

การจัดการระบบโลจิสติกส (Logistics Management) เปนกระบวนการในการวางแผน ดําเนินงานควบคุมการไหลและการจัดเก็บวัตถุดิบ สินคากึ่งสําเร็จรูปและสินคาพรอมขอมูลตั้งแตจุดผลิต ถึงผูบริโภคเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเสียคาใชจายต่ําสุด โดยที่การจัดระบบการกระจายสินคาเปน การดํ าเนิ นการเคลื่ อนย ายสิ นค าทั้ งภายในและภายนอกองค การและผ านช องทางการจัด จํ า หนา ยเพื ่อ ตอบสนองและสรา งความพอใจใหก ับ ลูก คา ซึ่ง ใชห ลัก การวิเ คราะหเ กี่ย วกับ ความสัมพันธของ ระบบโลจิ สติ กส กั บต นทุ นที่ เกิ ดจากการใช ระบบโลจิ สติ กส โดยต นทุ นรวมในการกระจายสิ น ค า ประกอบดวย ตนทุนการขนสง ตนทุนคลังสินคา ตนทุนในการดําเนินการสั่งซื้อและสารสนเทศ ตนทุนในการผลิต ปริมาณที่กําหนด คาใชจายในการเก็บรักษาสินคาคงคลัง ระดับการบริการลูกคา

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


20

รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 4 การเปดเสรีการคาและสถานการณการผลิต การตลาดผัก - ผลไมของจีน 4.1 การเจรจาเปดเสรีการคา 4.1.1 กรอบความตกลงการเปดเสรีการคาอาเซียน – จีน (AFTA) อาเซียน ซึ่งประกอบดวย 10 ประเทศ (ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส บรูไน เวียดนาม พมา ลาวและกัมพูชา) และจีนมีการลงนามกรอบความตกลงวาดวยความรวมมือทาง เศรษฐกิจอาเซียน-จีน (Framework Agreement on ASEAN –China Comprehensive Economic Cooperation) เมื่ อ วั น ที่ 4 พฤศจิ ก ายน 2545 เพื่ อ ใช เ ป น แนวทางสํ า หรั บ การเจรจาตั้ ง เขตการค า เสรี อ าเซี ย น-จี น ซึ่งครอบคลุมทั้งดาน การคาสินคา การบริการ การลงทุนและความรวมมือทางเศรษฐกิจในสาขาตาง ๆ ภายใต ก รอบการค า เสรี อ าเซี ย น-จี น ด า นสิ น ค า ได กํ า หนดให ลดภาษี ภ ายในวั น ที่ 1 มกราคม 2548 และเสร็จสมบูรณภายในป 2553 สําหรับอาเซียนเดิม 6 ประเทศ และจีน และภายในป 2558 สําหรับอาเซียนใหม 4 ประเทศ (กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม) โดยกําหนดใหอัตราภาษีปกติลดลงป สุดทายเหลือ 2 อัตรา คือ 0 % และ 5% และไดกําหนดใหเริ่มลดภาษีสินคาบางรายการลงทันที (Early Harvest : EH) ของสินคาเกษตรทุกรายการในตอนที่ 01-08 ไดแก สัตวมีชีวิต เนื้อสัตวใชบริโภค ปลาและ สัตวน้ํา ผลิตภัณฑนม ผลิตภัณฑจากสัตวอื่น ตนไม และพืชที่มีชีวิต พืชผักใชบริโภค และผลไม โดยให ลดภาษีภายในวั นที่ 1 มกราคม 2547 ให เป น 0 ภายในป 2549 สําหรับอาเซียนเดิม 6 ประเทศ (ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส บรูไน) และจีน สวนอาเซียนใหม 4 ประเทศภายในป 2553 4.1.2 กรอบความตกลงการเปดเสรีการคาไทย-จีน ตามกรอบของ Early Harvest ไทยและจีนไดลงนามขอตกลงเขตการคาเสรีสินคาผัก และผลไม เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2546 โดยใหลดภาษีศุลกากรในการนําเขาผักและผลไมของ 2 ประเทศ ใหเหลือรอยละ 0 มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2546 เปนตนมา การลงนามดังกลาวนับเปนการนํารอง ของการเปดเสรีทางการคาสินคาเกษตรระหวางกัน ซึ่งเปนประเด็นสําคัญในการเจรจาเขตการคาเสรี ระหวางไทย-จีน โดยนับวาเปนการเจรจาในระดับทวิภาคีและเปนการเปดเสรีทางการคากอนที่ทั้งไทย และจีนตองปฏิบัติตามกรอบขององคการการคาโลก ซึ่งแมวาผลดีของการลดภาษีนําเขาของจีนนั้นจะทํา ใหไทยมีโอกาสในการสงออกผลไมและผลิตภัณฑไปยังตลาดจีนไดมากขึ้น โดยเฉพาะลําไยสด ลําไย อบแหง มังคุดและทุเรียน แตในอีกดานหนึ่งอาจสงผลกระทบตอผูประกอบการที่เกี่ยวของกับธุรกิจผักผลไมของไทย คือ จะมีสินคาผัก-ผลไมและผลิตภัณฑจากจีนเขามาในตลาดมากขึ้น สงผลกระทบโดยตรง กับเกษตรกรที่ปลูกผัก-ผลไมเมืองหนาวของไทย และสงผลกระทบทางออมกับเกษตรกรผูปลูกผัก-ผลไม

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 21 21

เมืองรอนของไทยดวย เนื่องจากราคาผัก-ผลไมเมืองหนาวจะมีราคาลดลง ทําใหคนไทยบางสวนหันไป บริโภคสินคาที่นําเขา และลดการบริโภคผัก-ผลไมจากไทย นอกจากนี้การที่ประเทศจีนมีพื้นที่กวางใหญ สามารถปลูกผักและผลไมไดทั้งเมืองหนาวและเมืองรอน มีโอกาสที่จะทําใหจีนกลายเปนคูแขงแยงสวน แบงตลาดผัก-ผลไมเมืองรอนของไทยโดยอาศัยขอไดเปรียบในเรื่องตนทุนการผลิตที่ต่ํากวา สงผลให ไทยตองเผชิญปญหาการแขงขันอยางรุนแรงยิ่งขึ้นในการสงออกผัก-ผลไมและผลิตภัณฑในอนาคต 4.2 สถานการณการผลิต การตลาดและการคา ผัก-ผลไมของประเทศจีน 4.2.1 สถานการณการผลิตพืชผักและราคาที่เกษตรกรขายไดของจีน 1) การผลิตพืชผักของโลก จากข อ มู ล สถิ ติ ข ององค ก ารอาหารและเกษตรแห ง สหประชาชาติ ป 2550 (FAOSTAT,data 2007) พบวา ประเทศที่เปนแหลงผลิตพืชผักที่สําคัญของโลก 5 อันดับแรกไดแก 1. จีน สามารถผลิตพืชผักไดมากที่สุดในโลก โดยในป พ.ศ. 2550 ผลิตได 423.369 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 146.903 ลานตันของป 2547 ถึงรอยละ 188.2 2. อินเดีย สามารถผลิตพืชผักไดเปนอันดับสองของโลก รองจากประเทศจีน โดยในป พ.ศ. 2550 ผลิตได 29.117 ลานตัน ลดลงจากปริมาณ 80.529 ลานตันในป 2547 ถึงรอยละ 63.8 3. เวียดนาม ในป พ.ศ. 2550 ผลิตพืชผักได 6.600 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก 6.450 ลานตัน ในป 2547 รอยละ 2.3 4. ฟลิปปนส ในป พ.ศ. 2550 ผลิตพืชผักได 4.400 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 3.800 ลานตัน ในป 2547 รอยละ 15.8 5. ไนจีเรีย ในป พ.ศ. 2550 ผลิตพืชผักได 4.285 ลานตัน ลดลงจาก 4.845 ลานตัน ในป 2547 รอยละ 11.6 โดยชนิดของพืชผักที่มีการผลิตมาก 5 อันดับแรกของโลก ไดแก ออย ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันฝรั่ง หัวบีท และถั่วเหลือง รายละเอียดตามตารางที่ 4-1

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


22

รายงานฉบับสมบูรณ์

22

ตารางที่ 4-1 การผลิตพืชผักที่สําคัญ 5 อันดับแรกของโลก หนวย : ลานตัน ป 2547

ป 2550

(%)

1. จีน

146.903

423.369

188.2

2. อินเดีย

80.529

29.117

-63.8

3. เวียดนาม

6.450

6.600

2.3

4. ฟลิปปนส

3.800

4.400

15.8

5. ไนจีเรีย

4.845

4.285

-11.6

ประเทศ

ที่มา : FAOSTAT,data 2007 หมายเหตุ :

พืชผักหมายรวมถึง ออย ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันฝรั่ง หัวบีท ถั่วเหลือง และผักสดเพื่อการ บริโภค

2) การผลิตพืชผักของจีน ในบรรดาพืชผักที่ใชเพื่อการบริโภคสําหรับมนุษย จีนเปนประเทศที่มีศักยภาพในการผลิต จากขอมูลสถิติของ FAO ป 2550 พบวา ชนิดของพืชผักที่จีนสามารถผลิตไดเปนอันดับ 1 ของโลก เรียง ตามลําดับปริมาณการผลิต ไดแก มันเทศมากที่สุด 75.8 ลานตัน รองลงมาไดแก มันฝรั่ง 72.0 ลานตัน กะหล่ําปลี 36.335 ลานตัน มะเขือเทศ 33.597 ลานตัน แตงกวา 28.026 ลานตัน หอมหัวใหญ 20.567 ลานตัน มะเขือมวง 18.026 ลานตัน กระเทียม 12.065 ลานตัน ผักขม 12.012 ลานตัน ผักกะหล่ํา 12.005 ลานตัน แครอท 9.086 ลานตัน บรอคโคลี่และกะหล่ําดอก 8.068 ลานตัน ฟกทอง 6.310 ลานตัน ถั่วลันเตา 2.507 ลานตัน และเห็ด 1.569 ลานตัน ในขณะที่สามารถผลิตตนหอมและหอมแดงได 0.810 ลานตัน เปน อันดับ 2 ของโลก รองจากประเทศญี่ปุนที่ผลิตได 1.265 ลานตัน (ตารางที่ 4 – 2 ) 3) แหลงผลิตและฤดูกาลเก็บเกี่ยวพืชผักที่สําคัญของจีน มณฑลซานตงเปนแหลงผลิตพืชผักที่สําคัญที่สุดของประเทศจีน โดยในป 2551 มีพื้นที่ ปลูกพืชผักรวม 10.782 ลานไร ผลผลิต 86.350 ลานตัน ผลผลิตเฉลี่ย 8 ตัน/ไร เมื่อเปรียบเทียบกับป 2550 ซึ่งมีพื้นที่ปลูก 10.654 ลานไร ผลผลิต 83.423 ลานตัน ผลผลิตเฉลี่ย 7.8 ตัน/ไร ทั้งพื้นที่ปลูก ผลผลิต และ ผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นรอยละ 1.2 , 3.5 และ 2.6 ตามลําดับ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 23 23

ตารางที่ 4-2 ชนิดและปริมาณการผลิตพืชผักที่สําคัญของจีนป 2550 ผลผลิต (ลานตัน)

ลําดับที่ของโลก

1. มันเทศ

75.800

1

2. มันฝรั่ง

72.000

1

3. กะหล่ําปลี

36.335

1

4. มะเขือเทศ

33.597

1

5. แตงกวา

28.050

1

6. หอมหัวใหญ

20.567

1

7. มะเขือมวง

18.026

1

8. กระเทียม

12.065

1

9. ผักขม

12.012

1

10. ผักกะหล่ํา

12.005

1

11. แครอท

9.086

1

12. บรอคโคลี่+กะหล่ําดอก

8.068

1

13. ฟกทอง

6.310

1

14. ถั่วลันเตา

2.507

1

15. เห็ด

1.569

1

16. ตนหอม+หอมแดง

0.810

2

ชนิด

ที่มา : FAOSTAT,data 2007 มณฑลเหอเปย เปนแหลงผลิตพืชผักที่สําคัญอันดับ 2 ของประเทศจีน ดวยพื้นที่ปลูก 6.884 ลานไร ผลผลิต 66.846 ลานตัน ผลผลิตเฉลี่ย 9.7 ตัน/ไร ในป 2551 โดยมีมณฑลเหอหนานและ มณฑลเจียงซู ซึ่งสามารถผลิตพืชผักได 63.943 และ 35.447 ลานตัน คิดเปนลําดับที่ 3 และ 4 ของ ปริมาณการผลิตพืชผักทั้งหมดของประเทศจีน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

24

24

นอกจากนั้นแหลงผลิตพืชผักที่สําคัญของจีน อื่นๆ ไดแก มณฑลหูเปย หูหนาน กวางตุง ยูนนาน และอื่นๆ ซึ่งจากรายละเอียดในตารางที่ 4-3 พบวามีการขยายพื้นที่ปลูกพืชผักเพิ่มขึ้นในป 2551 ในทุกมณฑลที่เปนแหลงผลิตที่สําคัญ ในอัตรารอยละ 1.2 – 10.7 โดยมณฑลหูเปย เปนแหลงผลิตที่มีการ ขยายพื้นที่ปลูกสูงสุดถึงรอยละ 10.7 ในขณะที่ปริมาณผลผลิตในทุกแหลงผลิต ยกเวนมณฑลหูหนาน เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 1.5 – 13.8 โดยเฉพาะในมณฑลเสฉวนซึ่งมีอัตราการขยายเพิ่มขึ้นของผลผลิต สูงสุดถึงรอยละ 13.8 ทั้งนี้เนื่องจากสามารถพัฒนาใหผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 4.1 เปน 4.5 ตัน/ไรเฉลี่ย ตารางที่ 4-3 พื้นที่ปลูก ผลผลิต และผลผลิตเฉลี่ย การปลูกพืชผักในแหลงผลิตที่สําคัญของประเทศจีน เปรียบเทียบป 2550 และป 2551 ป 2551

ป 2550 พื้นที่ปลูก

ผลผลิต

(ลานตัน)

ผลผลิต/ไร (ตัน)

(ลานไร)

10.782

86.350

8.0

2. เหอเปย

6.884

66.846

3. เหอหนาน

10.711

4. เจียงซู

อัตราเปลี่ยนแปลง ป 50-51(%) พื้นที่ปลูก

ผลผลิต

(ลานตัน)

ผลผลิต/ไร (ตัน)

(ลานไร)

(ลานตัน)

ผลผลิต/ไร (ตัน)

10.654

83.423

7.8

1.2

3.5

2.6

9.7

6.719

64.407

9.6

2.5

3.8

1.0

63.943

60.

10.552

62.355

5.9

1.5

2.5

1.7

6.834

35.447

5.2

6.515

33.180

5.1

4.9

6.8

2.0

5. เสฉวน

6.888

30.783

4.5

6.534

27.053

4.1

5.4

13.8

9.7

6. หูเปย

6.350

28.906

4.6

5.738

26.553

4.6

10.7

8.9

คงที่

7. หูหนาน

6.269

25.782

4.1

6.149

26.522

4.3

1.9

-2.8

-4.6

8. เหลียวหนิง

2.429

24.383

10.0

2.350

22.320

9.5

3.4

9.2

5.3

9. กวางตุง

6.954

24.314

3.5

6.656

23.515

3.5

4.5

3.4

คงที่

10.กวางสี

5.994

20.152

3.4

5.849

19.860

3.4

2.5

1.5

คลที่

11.ยูนนาน

3.646

11.666

3.2

3.513

11.133

3.2

3.8

4.8

คงที่

มณฑล

พื้นที่ปลูก

ผลผลิต

(ลานไร) 1. ซานตง

ที่มา : http:/www.agri.gov.cn/sjzl/2008/95.htm หมายเหตุ : พืชผักหมายถึงพืชผักที่ใชสําหรับการบริโภคของมนุษย 4) ราคาพืชผักของประเทศจีนที่เกษตรกรขายได จากขอมูลสถิติราคาที่เกษตรกรขายไดพืชผักที่สําคัญของประเทศจีนของ FAO ณ วันที่ 15 มิถุนายน 2553 ในตารางที่ 4-4 พบวา ในระยะ 5 ปที่ผานมา คือตั้งแตป 2546 ซึ่งเปนปแรกที่ไทยเปดการคา

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 25 25

เสรีกับประเทศจีนในหมวดผัก (รหัส 07) จนถึงป 2550 พบวา ราคาที่เกษตรกรขายไดพืชผักที่สําคัญของจีน ได แ ก แครอทและเทอนิ ฟ มั น ฝรั่ ง หน อ ไม ฝ รั่ ง บรอคโคลี่ แ ละกะหล่ํ า ดอก แตงกวา มะเขื อ ม ว ง กระเทียม ผักกะหล่ํา ตนหอม หอมหัวใหญ ฟกทองและมะเขือเทศ มีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกชนิดในอัตราเฉลี่ยรอยละ 6.32 – 8.29 ตอป โดยพืชผักที่เกษตรกรขายไดสูงสุด ไดแก หนอไมฝรั่ง ถึงตันละ 1,793.76 เหรี ย ญสหรั ฐ ในป 2550 1/ หรื อ 61,578.17 บาท/ตั น หรื อ 61.58 บาท/กิ โ ลกรั ม รองลงมาได แ ก ผักกะหล่ํา (Lettuce) 685.13 เหรียญสหรัฐ/ตัน หรือ 23,519.99 บาท/ตัน กระเทียม 482.02 เหรียญสหรัฐ/ ตัน หรือ 16,547.31 บาท/ตัน หอมหัวใหญ 227.37 เหรียญสหรัฐ/ตัน หรือ 7,805.41 บาท/ตัน ตนหอม 161.19 เหรียญสหรัฐ/ตัน หรือ 5,533.51 บาท/ตัน ตามมาดวย มะเขือเทศ ฟกทอง มะเขือมวง มันฝรั่ง แตงกวา แครอท บรอคโคลี่และกะหล่ําดอก โดยราคาที่เกษตรกรไดรับคือ 125.74 , 123.69 ,119.07, 107.31,106.70 ,78.66 และ 74.93 เหรียญสหรัฐ/ตัน ตามลําดับ ตารางที่ 4-4 ราคาที่เกษตรกรขายได พืชผักที่สําคัญของประเทศจีน ป 2546 – 2550 หนวย : เหรียญสหรัฐ/ตัน

2546

2547

2548

2549

2550

อัตราเพิ่ม (%)

1. แครอทและเทอนิฟ

56.63

59.95

62.67

68.88

78.66

8.29

2. มันฝรั่ง

81.67

87.82

87.65

93.92

107.31

6.32

1,291.63 1,367.30 1,429.59 1,571.06 1,793.76

8.28

ชนิดผัก

3. หนอไมฝรั่ง 4. บรอคโคลี่และกะหล่ําดอก

54.16

57.34

59.95

65.89

74.93

8.20

5. แตงกวา แตงเกอกิ้น

76.84

81.34

85.05

93.46

106.70

8.28

6. มะเขือมวง

85.74

91.97

94.91

104.29

119.07

8.28

7. กระเทียม

367.41

347.08

384.16

422.17

482.02

7.67

8. ผักกะหล่ํา

493.34

522.24

546.03

600.07

685.13

8.28

9. ตนหอม

120.33

127.38

131.27

140.67

161.19

7.08

10. หอมหัวใหญ

163.73

173.32

181.21

199.14

227.37

8.28

11. ฟกทอง

92.30

97.72

100.72

107.93

123.69

7.09

12. มะเขือเทศ

90.54

95.85

100.20

110.13

125.74

8.28

ที่มา : FAOSTAT/FAO Statistics Division/15 June 2010 1/

อัตราแลกเปลี่ยนป 2550 $ US = 34.3291 บาท

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


26

รายงานฉบับสมบูรณ์

26

5) เปรียบเทียบแหลงผลิต ฤดูกาลเก็บเกี่ยว และราคาที่เกษตรกรขายไดของพืชผักที่เปนคูแขง ระหวางประเทศจีนและประเทศไทย จีน เป น ประเทศที่ มีพื้ น ที่ ก วางขวางถึง 9.561 ลานตารางกิโลเมตร จึงทําใหเกิดความ แตกตางในดานสภาพอากาศ ทําใหสามารถผลิตพืชผักไดหลากหลายชนิด ทั้งผักเมืองรอน กึ่งรอน และ ผักเมืองหนาว ดังนั้นจึงมีพืชผักหลายชนิดที่ประเทศจีนผลิตไดเชนเดียวกับประเทศไทย ที่สําคัญและ กอใหเกิดการแขงขันไดแก กระเทียม มันฝรั่ง หอมหัวใหญ แครอท ผักกินใบทั้งเมืองหนาวและเมืองรอน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบแหลงผลิตพบวา พืชผักที่ปลูกในเชิงการคาที่เปนคูแขงกับจีน จะอยูในภาคเหนือของ ไทยเป น สว นใหญ ขณะที่ ข องจี น ปลู ก ได ก ว า งขวางทั้ ง ตอนเหนือ เช น มองโกเลีย เจี ย งซู ซานตง ตอนกลาง เชน กวางตุง เสิ่นเจิ้น เหอหนาน และ ตอนใต เชน ยูนนาน ฟูเจี้ยน และเมื่อเปรียบเทียบกับชวง ฤดูกาลเก็บเกี่ยว พบวาพืชผักบางชนิดเก็บเกี่ยวในชวงเดียวกัน เชน มันฝรั่ง และถึงแมจะเก็บเกี่ยวเหลื่อม เวลากันบาง เชน กระเทียม หอมหัวใหญ แครอท แตจีนจะมีการเก็บรักษาในหองเย็น ทําใหสามารถ ทยอยจําหนายออกสูตลาดไดตลอดทั้งป ขณะที่ของไทยยังขาดแคลนหองเย็นในการเก็บรักษา นอกจากนั้น เมื่อเปรียบเทียบราคาที่เกษตรกรไดรับในพืชผักชนิดเดียวกันและเวลาเดียวกัน พบวาราคาที่เกษตรกรจีนไดรับ ต่ํากวาของไทยคอนขางมาก เชน มันฝรั่งในป 2550 เกษตรกรจีนขายได 3.68 บาท/กก. แตราคาที่เกษตรกรไทยไดรับ 7.17 (บริโภคสด) – 7.84 (โรงงาน) บาท/กก. กระเทียมแหง ของไทย 34.21 – 50.00 บาท/กก. ของจีน 16.55 บาท/กก. แครอท ของจีน 2.70 บาท/กก. ของไทย เฉลี่ย 15.88 บาท/กก. ยกเวนหอมหัวใหญ ของจีนสูงกวาคือ 7.80 บาท/กก. ขณะที่ของไทย 5.50 บาท/กก. ทั้งนี้ เนื่องจากตนทุนการผลิตของจีนต่ํากวาไทยมาก โดยเฉพาะคาจางแรงงาน รวมทั้งผลผลิตตอหนวยสูงกวา และคุณภาพคอนขางดี จึงทําใหจีนไดเปรียบในการแขงขันดานการตลาด (ตารางที่ 4-5)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 27 27

ตารางที่ 4-5 ชนิด แหลงผลิต ฤดูกาลเก็บเกี่ยวและราคาที่เกษตรกรขายไดพืชผักที่สําคัญ ของไทยเปรียบเทียบกับของจีน ชนิดพืชผัก

แหลงผลิตที่สาํ คัญ

ฤดูกาลเก็บเกี่ยว

ราคาที่เกษตรกรไดรับ ป 2550 (บาท/กก.)

ไทย มันฝรั่ง

เชียงใหม ตาก ลําพูน เชียงราย ลําปาง

ก.ค. – พ.ค.

7.17 – 7.84

กระเทียม

ภาคเหนือ : เชียงใหม ลําพูน เชียงราย พะเยา

ก.พ. – เม.ย.

34.211/

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ศรีสะเกษ

ธ.ค. – ม.ค.

38.351/

ภาคเหนือ : เชียงใหม เชียงราย นครสวรรค

ธ.ค. – ม.ค.

5.502/

ภาคตะวันตก : กาญจนบุรี

ม.ค. – มี.ค.

14.20

ภาคเหนือ : โครงการหลวง

ธ.ค. – ม.ค.

หอมหัวใหญ แครอท

เขาคอ จ. เพชรบูรณ

ธ.ค. – ม.ค.

15.88

จีน ส.ค. , มี.ค. – เม.ย.

3.68

พ.ค. – มิ . ย. แต เ ก็ บ ในหองเย็นไดทั้งป

2.70

พ.ค. – มิ.ย.

7.80

ส.ค. – ก.ย. แตเก็บ ในหองเย็นไดทั้งป

16.55

ยูนนาน

ทั้งป

2.57 – 23.52

กวางตุง เสิ่นเจิ้น

ทั้งป

3.66 – 4.09

มันฝรั่ง

ยูนนาน มองโกเลียใน

แครอท

มองโกเลีย เหอหนาน ซานตง ฟูเจี้ยน

หอมหัวใหญ

มองโกเลีย ยูนนาน ซานตง

กระเทียม

เจียงซู ซานตง ซูโจ เหอหนาน

ผักเมืองหนาว ผักอื่นๆเชน แตงกวา มะเขือมวง

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และ FAOSTAT, 2010 หมายเหตุ : 1/ กระเทียมแหงใหญคละ 2/ หอมหัวใหญเบอร1

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


28

รายงานฉบับสมบูรณ์

28

4.2.2 สถานการณการผลิตผลไม และราคาที่เกษตรกรขายไดของโลกและของจีน 1) การผลิตผลไมของโลก (1) พื้นที่ปลูก ผลผลิตและประเทศที่ผลิต จากขอมูลสถิติของ FAO ป 2550 พบวามีพื้นที่ การผลิตผลไมของโลกรวมประมาณ 295 ลานไร ผลผลิตรวมประมาณ 500 ลานตัน จีนเปนประเทศที่มี พื้นที่ปลูกและปริมาณผลผลิตมากที่สุดในโลก ดวยพื้นที่ปลูกประมาณ 60 ลานไร ผลผลิตประมาณ 94 ลานตัน คิดเปนรอยละ 20 และ 19 ของพื้นที่ปลูกและผลผลิตโลก ประเทศที่มีผลผลิตรองลงมาไดแก อินเดีย บราซิล สหรัฐอเมริกา อิตาลี สเปน เม็กซิโก ตุรกี อิหราน อินโดนีเซีย และฟลิปปนส ขณะที่พื้นที่ ปลูกของไทยจัดอยูในอันดับที่ 16 ของโลก หรือ รอยละ 1.4 ผลผลิตจัดอยูในอันดับที่ 18 หรือรอยละ 1.5 ของผลผลิตโลก (2) ชนิดผลไมที่สําคัญ ผลไมที่มีพื้นที่ปลูกมากที่สุดในโลก ไดแก องุน จํานวน 47 ลานไร หรือรอยละ 16 ของพื้นที่ปลูกของโลก รองลงมาไดแก กลวย แอปเปล มะมวง และสมตามลําดับ สวน ผลไมท่มี ีปริมาณผลผลิตมากที่สุดในโลกในป 2550 ไดแก แอปเปล จํานวน 94 ลานตัน หรือรอยละ 19 ของผลผลิตทั้งหมดของโลก รองลงมาไดแก แอปริคอต อโวคาโด และกลวย ตามลําดับ สําหรับผลไม ในกลุมของ ทุเรียน ลําไย มังคุด เงาะ ลองกอง ซึ่งประเทศไทย มีศักยภาพในการผลิตและสงออก จัดเปน ผลไมในกลุมของ Tropical exotic fruit ซึ่งมีสัดสวนนอยมากเมื่อเปรียบเทียบกับ ผลไมชนิดที่สําคัญของโลก 2) การผลิตผลไมของจีน จีนสามารถผลิตผลไมไดหลากหลายชนิด ทั้งผลไมเมืองรอน – กึ่งรอน (Tropical and Sub Tropical Fruit) และผลไมเมืองหนาว (1) ผลไมเมืองรอนและกึ่งรอน ที่จีนสามารถผลิตไดมากที่สุดเปนอันดับ 1 ของโลก ใน ป 2550 ไดแ ก แตงโม และส ม ชนิ ด Orange โดยผลิต แตงโมไดถึ ง 62.257 ลา นตัน ขณะที่ผลิ ตส ม (Orange) ได 15.185 ลานตัน สําหรับผลไมเมืองรอนและกึ่งรอนที่สามารถผลิตไดมากเปนอันดับ 2 ของ โลก ไดแ ก องุ น มะม ว ง และกล ว ยหอม โดยในป 2550 ผลิต ได 6.787 , 3.715 และ 8.038 ลา นตั น ตามลําดับ นอกจากนั้นจีนยังสามารถผลิตสม (Tangerine) ไดเปนอันดับ 5 ของโลก ดวยปริมาณ 3.173 ลานตัน รวมทั้งผลไมเมืองรอนชนิดอื่นๆที่สําคัญไดแก พุทรา สับปะรด และมะละกอ เปนตน (2) ผลไมเมืองหนาว จีนเปนประเทศที่มีศักยภาพเปนอยางมากในการผลิตผลไมเมืองหนาว ผลไมเมืองหนาวที่จีนสามารถผลิตไดมากเปนอันดับ 1 ของโลก ในป 2550 ไดแก แอปเปล ผลิตได 27.866 ลานตัน สาลี่ 13.045 ลานตัน ทอ 8.028 ลานตัน ลูกไหน 4.826 ลานตัน แคนตาลูป 14.338 ลานตัน และ persimmon 2.333 ลานตัน นอกจากนั้น จีนยังมีศักยภาพผลิตผลไมเมืองหนาวอื่นๆ ไดอีกมากมาย หลายชนิด เชน สตรอเบอรี่ เชอรี่ กีวี่ และ แอปริคอต เปนตน (ตารางที่ 4-6)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 29 29

ตารางที่ 4 -6 ชนิดและปริมาณการผลิตผลไมที่สําคัญของจีน ป 2550 ผลผลิต (ลานตัน)

ลําดับที่ของโลก

1. แตงโม

62.257

1

2. สม (Orange)

15.185

1

3. สม (Tangerine)

3.173

5

4. องุน

6.787

2

5. มะมวง

3.715

2

6. กลวยหอม

8.038

2

7. แอปเปล

27.866

1

8. สาลี่ (pear)

13.045

1

9. ทอ (peach)

8.028

1

10. ลูกไหน (plum)

4.826

1

11. persimmon

2.333

1

12. แคนตาลูป

14.338

1

ชนิด ผลไมเมืองรอน – กึ่งรอน

ผลไมเมืองหนาว

ที่มา : FAOSTAT,data 2007 3) แหลงผลิตและปริมาณการผลิตผลไมที่สําคัญของจีน (1) ผลไมเมืองหนาว จากตารางที่ 4-7 ซึ่งแสดงถึงแหลงผลิตและปริมาณการผลิตผลไม เมืองหนาวที่สําคัญของจีน ป 2551 ดังนี้ แอปเปล ป 2551 จีนประมาณการวาจะสามารถผลิตแอปเปลได 29.847 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก 27.866 ลานตัน ในป 2550 รอยละ 7.11 โดยแหลงผลิตที่สําคัญที่สุดไดแก มณฑลซานตง ผลิตไดถึง 7.632 ลานตัน หรือคิดเปนรอยละ 25.57 ของผลผลิตทั้งหมดของประเทศจีน รองลงมาไดแก มณฑลสานซี 7.455 ลานตัน หรือรอยละ 24.98 นอกจากนั้นที่สําคัญ ไดแก มณฑลเหอหนาน เหอเปย และซานซี ผลิตได 3.744 ,2.616 และ 2.299 ลานตัน หรือคิดเปนรอยละ 12.54,8.76 และ7.46 ของผลผลิต ทั้งหมดตามลําดับ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


30

รายงานฉบับสมบูรณ์

30

สาลี่ ป 2551 ประมาณการวาจะผลิตได 13.538 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 13.045 ลานตัน ในป 2550 รอยละ 3.78 โดยแหลงผลิตที่สําคัญที่สุด ไดแก มณฑลเหอเปย ผลิตได 3.540 ล า นตั น คิ ด เป น ร อ ยละ 26.1 ของผลผลิ ต ทั้ ง หมดของประเทศจี น รองลงมา ได แ ก มณฑลซานตง เหลียวหนิง และเหอหนาน ผลิตได 1.190 , 0.938 และ 0.877 ลานตัน หรือคิดเปนรอยละ 8.79 ,6.93 และ 6.48 ของผลผลิตทั้งหมด ตามลําดับ ทอ ป 2551 ประมาณการวาจะผลิตได 9.534 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก 8.028 ลานตัน ในป 2550 รอยละ 18.76 โดยมีแหลงผลิตที่สําคัญที่สุดไดแก มณฑลซานตง 2.438 ลานตัน หรือคิดเปน รอยละ 25.57 ของผลผลิตทั้งหมดของประเทศจีน รองลงมาไดแก มณฑลเหอเปย และเสฉวน 1.430 และ 1.312 ลานตัน หรือรอยละ 15.0 และ 13.76 ของผลผลิตทั้งหมด ตามลําดับ เปอซิมมอน ป 2551 ประมาณการวาจะผลิตได 2.711 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก 2.333 ลานตัน ในป 2550 รอยละ 16.20 โดยมีแหลงผลิตที่สําคัญที่สุดอยูในมณฑลเหอเปย ผลิตได 0.410 ลานตัน หรือคิดเปนรอยละ 15.12 ของผลผลิตทั้งหมดของประเทศจีน รองลงมาไดแก มณฑลเหอหนาน และสานซี 0.364และ 0.277 ลานตัน หรือรอยละ 13.43 และ 10.22 ของผลผลิตทั้งหมดตามลําดับ (2) ผลไมเมืองรอนและกึ่งรอน จากตารางที่ 4-8 ซึ่งแสดงแหลงผลิตและปริมาณการผลิต ผลไมเมืองรอนและกึ่งรอนที่สําคัญของจีน ป 2551 ดังนี้ พืชตระกูลสม ป 2551 จีนประมาณการวาจะผลิตพืชตระกูลสมชนิด Orange ได 16.578 ลานตัน สมชนิด Tangerine หรือเปลือกลอนได 3.937 ลานตัน และสมโอได 2.518 ลานตัน โดยปริมาณการผลิตสม Orange และ Tangerine เพิ่มขึ้นจาก 15.185 และ 3.173 ลานตันของป 2550 รอยละ 9.17 และ 24.08 โดยมณฑลหูหนานสามารถผลิตสม Orange ไดมากที่สุด 2.575 ลานตัน หรือรอยละ 15.53 ของผลผลิตทั้งหมด รองลงมาไดแก มณฑลหูเปย เจอเจียง และกวางตุง 2.279 , 2.110 และ 2.087 ลานตัน หรือรอยละ 13.75 ,12.73 และ 12.59 ของผลผลิตทั้งหมดตามลําดับ สําหรับสม Tangerine พบวา มณฑลเจียงซี สามารถผลิตไดมากที่สุดถึง 1.007 ลานตัน หรือรอยละ 25.58 ของผลผลิตทั้งหมด ขณะที่ มณฑลฟูเจี้ย น เป นแหล งผลิต ส มโอที่ สํา คัญที่สุด ถึง 0.849 ลานตัน หรือรอยละ 33.72 ของผลผลิต ทั้งหมดของประเทศจีน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 31 31

องุน ป 2551 ประมาณการวาจะผลิตได 7.151 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก 6.787 ลานตัน ของป 2550 รอยละ 5.36 มณฑลซินเจียง นับเปนแหลงผลิตองุนที่สําคัญที่สุดของจีน สามารถผลิตองุน ได 1.649 ลานตัน หรือรอยละ 23.06 ของผลผลิตทั้งหมด รองลงมาไดแก มณฑลเหอเปยและซานตง 0.988 และ 0.905 ลานตัน หรือรอยละ 13.82 และ 12.65 ของผลผลิตทั้งหมด ตามลําดับ กลวยหอม ป 2551 ประมาณการวาจะผลิตได 7.834 ลานตัน ลดลงจาก 8.038 ลานตัน ของป 2550 รอยละ 2.54 มณฑลกวางตุง เปนแหลงผลิตกลวยหอมที่สําคัญที่สุดของประเทศจีน ดวยปริมาณการผลิตถึง 3.481 ลานตัน หรือรอยละ 44.43 ของผลผลิตทั้งหมด รองลงมา ไดแก ไหหนาน 1.516 ลานตัน และยูนนาน 0.948 ลานตัน หรือ คิดเปนรอยละ 19.35 และ 12.10 ของผลผลิตทั้งหมด ตามลําดับ พุทรา ป 2551 คาดวาจะผลิตได 3.634 ลานตัน โดยมีแหลงผลิตที่สําคัญที่สุด ไดแก มณฑลซานตง ผลิตได 0.993 ลานตัน หรือรอยละ 27.33 ของผลผลิตทั้งหมดของประเทศจีน รองลงมา ไดแก มณฑลเหอเปยและสานซี ซึ่งผลิตได 0.930 และ 0.515 ลานตัน หรือคิดเปนรอยละ 25.59 และ 14.17 ของผลผลิตทั้งหมดตามลําดับ ลําไย มณฑลกวางตุง เปนแหลงผลิตลําไยที่สําคัญที่สุดของประเทศจีน ในป 2551 ผลิตได 0.575 ลานตัน หรือรอยละ 45.24 ของผลผลิตทั้งหมด รองลงมา ไดแก เขตการปกครอง ตนเองกวางสีและมณฑลฟูเจี้ยน ซึ่งผลิตได 0.398 และ 0.251 ลานตัน หรือ คิดเปนรอยละ 31.31 และ 19.75 ของผลผลิตทั้งหมด ตามลําดับ ลิ้นจี่ แหลงผลิตที่สําคัญที่สุด ไดแก มณฑลกวางตุง โดยในป 2551 ประมาณ การวาจะผลิตได 0.917 ลานตัน หรือรอยละ 60.85 ของผลผลิตทั้งหมดของประเทศจีน (1.507 ลานตัน) รองลงมา ไดแก เขตการปกครองตนเองกวางสี และมณฑลฟูเจี้ยน 0.318 และ 0.164 ลานตัน หรือ รอยละ 21.10 และ 10.88 ของผลผลิตทั้งหมดตามลําดับ สั บ ปะรด แหล ง ผลิต สั บ ปะรดที่สํ า คัญ ที่ สุด ของประเทศจีน ได แ ก มณฑล กวางตุง โดยในป 2551 ผลิตได 0.556 ลานตัน หรือคิดเปนรอยละ 59.53 ของผลผลิตทั้งหมด (0.934 ลานตัน) รองลงมา ไดแก มณฑลไหหนาน 0.281 ลานตัน หรือรอยละ 30.09 ของผลผลิตทั้งหมด

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


32

รายงานฉบับสมบูรณ์

32

ตารางที่ 4-7 แหลงผลิตและปริมาณการผลิตผลไมเมืองหนาวที่สําคัญของจีนป 2551 แอปเปล

สาลี่

ทอ

หนวย : ลานตัน เปอซิมมอน

ปกกิ่ง

0.120

0.152

0.404

0.061

เหอเปย

2.616

3.540

1.430

0.410

ซานซี

2.229

0.379

0.210

0.073

เหลียวหนิง

1.709

0.938

0.461

-

เจียงซู

0.575

0.639

0.434

0.109

อันฮุย

0.304

0.629

0.326

0.127

ซานตง

7.632

1.190

2.438

0.150

เหอหนาน

3.744

0.877

0.851

0.364

เสฉวน

0.389

0.821

1.312

0.040

สานซี

7.455

0.854

0.441

0.277

กานซู

1.641

0.285

0.153

0.022

ซินเจียง

0.435

0.693

0.061

-

อื่นๆ

0.998

2.841

1.013

1.078

29.847

13.538

9.534

2.711

แหลงผลิต

รวม

ที่มา : http://www.agri.gov.cn/sjzl/2008/150,109.htm หมายเหตุ : ตัวเลขประมาณการ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 33 33

ตารางที่ 4-8 แหลงผลิตและปริมาณการผลิตผลไมเมืองรอนและกึ่งรอนที่สําคัญของจีนป 2551 หนวย : ลานตัน แหลงผลิต

พืชตระกูลสม Orange Tangerine Pumello

องุน

กลวยหอม

พุทรา

ลําไย

ลิ้นจี่

สับปะรด

เหอเปย

-

-

-

0.988

-

0.930

-

-

-

เหลี่ยวหนิง

-

-

-

0.614

-

0.120

-

-

-

เจอเจียง

2.110

0.021

0.233

0.332

-

-

-

-

-

ฟูเจี้ยน

1.487

0.200

0.849

0.096

0.882

-

0.251

0.164

0.041

เจียงซี

1.396

1.007

0.036

0.016

-

-

-

-

-

ซานตง

-

-

-

0.905

-

0.993

-

-

-

เหอหนาน

0.040

-

-

0.437

-

0.367

-

-

-

หูเปย

2.279

0.224

0.032

0.098

-

0.023

-

-

-

หูหนาน

2.575

0.318

0.083

0.073

-

0.022

-

-

-

กวางตุง

2.087

0.226

0.492

-

3.481

-

0.575

0.917

0.556

กวางสี

1.569

0.676

0.410

0.171

0.970

0.019

0.398

0.318

0.027

ไหหนาน

0.006

0.031

0.001

-

1.516

-

0.030

0.091

0.281

เสฉวน

1.485

0.695

0.251

0.202

0.027

0.010

0.006

0.008

-

ยูนนาน

0.273

0.039

0.008

0.128

0.948

0.007

0.010

0.009

0.029

สานซี

0.230

-

-

0.217

-

0.515

-

-

-

ซินเจียง

-

-

-

1.649

-

0.131

-

-

-

1.041

0.480

0.123

1.225

0.010

0.497

0.001

-

-

16.578

3.937

2.518

7.151

7.834

3.634

1.271

1.507

0.934

อื่นๆ รวม

ที่มา : http://www.agri.gov.cn/sjzl/2008/107,109.htm หมายเหตุ : ตัวเลขประมาณการ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

34

34

4) ราคาผลไมของประเทศจีนที่เกษตรกรขายได จากขอมูลสถิติราคาที่เกษตรกรขายไดผลไมที่สําคัญของประเทศจีนของ FAO ณ วันที่ 15 มิถุนายน 2553 ในตารางที่ 4-9 พบวา ในระยะ 5 ปที่ผานมา (2546 - 2550) ราคาผลไมที่สําคัญที่เกษตรกร ไดรับ ทั้งผลไมเมืองหนาวและผลไมเมืองรอนและกึ่งรอน มีแนวโนมสูงขึ้นคอนขางมากเกือบทุกชนิด ผลไมที่มีราคาสูงขึ้นมากที่สุด ไดแก พุทรา รอยละ 16.37 จาก 482.06 เหรียญสหรัฐ/ตัน ในป 2546 เปน 935.71 เหรียญสหรัฐ/ตัน ในป 2550 รองลงมาไดแก แอปเปล รอยละ 14.98 จาก 408.36 เหรียญสหรัฐ/ตัน ในป 2546 เปน 698.85 เหรี ยญสหรั ฐ/ตัน ในป 2550 นอกจากนั้น ไดแก สม (Tangerine+Mandarin) รอยละ 8.54 กลวย รอยละ 7.72 องุนและสม (Orange) รอยละ 6.97 สมโอ รอยละ 6.57 แตงโม รอยละ 6.46 สาลี่รอยละ 6.21 สําหรับทอและเนคทารีน พบวาราคาที่เกษตรกรไดรับ มีแนวโนมลดลงรอยละ 10.16 จาก 592.00 เหรียญสหรัฐ/ตัน ในป 2546 เหลือ 416.24 เหรียญสหรัฐ/ตัน ในป 2550 ตารางที่ 4-9 ราคาที่เกษตรกรขายได ผลไมที่สําคัญของประเทศจีน ป 2546 – 2550 หนวย : เหรียญสหรัฐ/ตัน 2546

2547

2548

2549

2550

อัตราเพิ่ม(%)

1. แอปเปล

408.36

434.95

452.81

599.54

698.85

14.98

2. พุทรา

482.06

669.34

651.75

809.00

935.71

16.37

3. กลวย

339.49

366.08

349.07

407.64

466.52

7.72

4. องุน

342.89

376.92

363.14

410.32

460.31

6.97

5. สม (Orange)

146.37

160.91

155.02

175.16

196.49

6.97

6. สม(Tangerine+Mandarin)

187.39

207.53

215.86

231.31

267.44

8.54

7. สมโอ

255.77

265.09

273.14

292.68

333.73

6.51

8. สาลี่ (Pears)

314.57

345.80

333.15

376.43

405.72

6.21

9. ทอและเนคทารีน

592.00

548.52

911.72

380.04

416.24

-10.16

88.32

91.80

94.17

100.92

115.17

6.46

ชนิดผลไม

(Peaches & Nectarins) 10. แตงโม

ที่มา : FAOSTAT/FAO Statistics Division/15 June 2010

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 35 35

5) เปรียบเทียบแหลงผลิต ฤดูกาลเก็บเกี่ยวและราคาที่เกษตรกรขายไดของผลไมที่เปนคูแขง ระหวางประเทศจีนและประเทศไทย (1) ฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลไมของจีน แอปเปล สาลี่ ทอ แคนตาลูปและกีวี เปนผลไมเมืองหนาวที่ประเทศจีนมีศักยภาพใน การผลิต โดยเฉพาะแอปเปลและสาลี่ที่มีหลายชนิดพันธุ แตที่สําคัญไดแก แอปเปลพันธุฟูจิ พันธุดาวแดง (Red Star) พันธุชิงกวน(Qinguan) พันธุจีกวน(Jiguan) แอปเปลเขียว(Green) แอปเปลกาลา(Gala) แอปเปล ควาหนิว(Huaniu) สาลี่หอม(Fragrant) สาลี่เปด(Year) สาลี่ถวาย(Royal Pear) ซึ่งฤดูกาลเก็บเกี่ยวจะ แตกตางกันไปตามชนิดและสายพันธุ ทําใหจีนมีผลไมเมืองหนาวกระจายออกสูตลาดตลอดทั้งป โดยจะ กระจุกตัวในชวงเดือนกันยายน – พฤศจิกายน และคอนขางเบาบางในชวงเดือนธันวาคม – สิงหาคม ซึ่ง ในชวงเวลาดังกลาวเปนชวงที่ผลไมเมืองรอนและกึ่งรอนของจีน เชน สม ลิ้นจี่ ลําไย ออกสูตลาด รวมถึง สมโอ กลวยหอม แตงโม ที่มีการเก็บเกี่ยวตลอดทั้งป และแอปเปลพันธุฟูจิ ชิงกวน และสาลี่หอม ที่สามารถ เก็บเขาหองเย็นจําหนายไดตลอดป จึงทําใหชาวจีนมีผลไมที่ผลิตไดเองบริโภคไดตลอดทั้งป (ตารางที่ 4-10 และ 4-11) (2) เปรียบเทียบชนิด แหลงผลิต ฤดูกาลเก็บเกี่ยวและราคาที่เกษตรกรขายได ผลไมเมืองรอนและกึ่งรอนที่ประเทศจีนและประเทศไทยผลิตไดที่สําคัญไดแก สม ลําไย ลิ้นจี่ กลวยหอม แตงโม โดยเฉพาะสม ลําไยและลิ้นจี่ ซึ่งถือเปนทั้งประเทศคูคาและคูแขง ที่จะ สงผลกระทบตอเกษตรกรผูปลูกของไทย จากการเปรียบเทียบแหลงผลิต ฤดูกาลเก็บเกี่ยวและราคาที่ เกษตรกรขายได ตามตารางที่ 4-11 จะพบวา แหลงผลิตของไทยสวนใหญจะอยูในภาคเหนือ ภาคใตและ ภาคกลาง ขณะที่ของจีนแหลงผลิตจะอยูในมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต เชน กวางตุง กวางสี ฟูเจี้ยน โดยชวงฤดูกาลเก็บเกี่ยวจะใกลเคียงกัน แตเมื่อเปรียบเทียบราคาที่เกษตรกรขายได พบวาสวนใหญ เกษตรกรชาวจีนไดรับราคาที่สูงกวาเกษตรกรไทย โดยเฉพาะลําไย

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


36

รายงานฉบับสมบูรณ์

36

ตารางที่ 4-10 ฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลไมเมืองหนาวที่สําคัญของจีน ชนิด/เดือน แอปเปล พันธุฟูจิ

มค.

กพ.

มีค.

เมย.

พค.

มิย.

กค.

กย.

ตค.

พย.

ธค.

พันธุ Red Star พันธุ Qinguan

สค.

พันธุ Jiguan

พันธุ Green พันธุ Gala พันธุ Huaniu สาลี่หอม (Fragrant)

สาลี่เปด (Year)

สาลี่ถวาย (Royal pear)

ทอ แคนตาลูป กีวี่

√ √

ที่มา : บริษัทซานตงสตาร หมายเหตุ : แอปเปลพันธุฟูจิ พันธุชิงกวน และสาลี่หอม สามารถเก็บในหองเย็นจําหนายไดทั้งป

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


สมุทรสงคราม

เชียงใหม เชียงราย พะเยา

จันทบุรี

เชียงใหม ลําพูน เชียงราย

ผลิตมาก ยโสธร แมฮองสอน

ผลิตไดทุกภาค

หนองคาย สุราษฎรธานี

ชุมพร เพชรบุรี สระบุรี

นครศรีธรรมราช ชัยนาท

สมุทรสงคราม พิจิตร ชุมพร

เชียงราย แพร

เชียงใหม กําแพงเพชร สุโขทัย

แหลงผลิตที่สําคัญ

ออกมาก พค. – มิย.

เมย. – กค.

ออกมาก ก.ค. – ส.ค.

ทั้งป

ออกมาก มค.-เมย.

ทั้งป

ทั้งป

ทั้งป

ออกมาก พย. - กพ.

ทั้งป

ฤดูกาลเก็บเกี่ยว

7.93 5/

10.08 4/

3.06

4.04

กวางตุง กวางสี ฟูเจี้ยน

กวางตุง กวางสี ฟูเจี้ยน

หนิงเซีย

กวางตุง ไหหนาน ยูนนาน

ฟูเจี้ยน กวางตุง กวางสี เสฉวน

เจียงซี เสฉวน กวางสี หูหนาน

11 – 76 1/ 4.76 2/

แหลงผลิตที่สําคัญ

ราคาที่เกษตรกร ขายไดป 2550

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และ FAOSTAT หมายเหตุ : 1 / สมเขียวหวานคละ , 2/ สมโอพันธุทองดีขนาดคละ , 3/ กลวยหอมเซียงเจียว , 4/ ลําไยคละ , 5/ ลิ้นจี่คละ

ลิ้นจี่

ลําไย

แตงโม

กลวยหอม

สมโอ

+Mandarin)

สม (Tangerine

ชนิด

ไทย

เมย. – กค.

กค. – กย.

ทั้งป

ทั้งป

กย. – กพ.

ตค. – มีค.

ฤดูกาลเก็บเกี่ยว

จีน

ตารางที่ 4-11 ชนิด แหลงผลิต ฤดูกาลเก็บเกี่ยวและราคาที่เกษตรกรขายได ผลไมเมืองรอนและกึ่งรอน ที่สําคัญของไทยเปรียบเทียบกับจีน

5.74

18.00

6.46

7.72 3/

6.51

9.18

ราคาที่เกษตรกร ขายไดป 2550

หนวย : บาท/กก.

37

รายงานฉบับสมบูรณ์

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

37

37


38

รายงานฉบับสมบูรณ์

38

4.2.3 สถานการณการตลาดและการคาผัก ผลไมของประเทศจีน 1) การดําเนินธุรกิจผักและผลไมในประเทศจีน ธุรกิจสงออกผัก – ผลไม ของจีนนั้นยังมีจุดแข็งที่ไดเปรียบคือ ตนทุนการผลิตที่อยูใน เกณฑต่ํา ซึ่งจะเห็นไดจากราคาขายสงผัก – ผลไม ที่อยูในเกณฑต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับหลายประเทศใน โลก กลาวคือ ราคาขายสงผัก-ผลไมในกรุงปกกิ่ง คิดเปนเพียง1/10 – 1/3 ของราคาขายสงผัก-ผลไม ในหลายประเทศ ทําใหภาคเอกชนของจีน รวมทั้งนักลงทุนจากตางประเทศ ซึ่งเขามาลงทุนในกิจการ ผักผลไมของจีน เนื่องจากจีนมีความไดเปรียบทางดานตนทุนการผลิต โดยเฉพาะตนทุนทางดานคาจาง แรงงาน ทําใหผลผลิตผัก-ผลไมของจีนเพิ่มขึ้นอยางมาก รวมถึงปริมาณการสงออกผัก-ผลไมของจีน อีก ดว ย ปจ จุ บัน จี น ส ง ออกผั ก สดถึ ง 1.3 ลานตัน ตอป และมีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 10 สวนการสงออกผักสดและผักแหงของจีนประมาณ 0.7 ลานตันตอป และมีอัตราการขยายตัวประมาณ รอยละ 10 เชนกัน ตลาดหลักในการสงออกผัก-ผลไมของจีน คือ ญี่ปุน ฮองกง รัสเซีย เกาหลีใตและสิงคโปร อย า งไรก็ ต ามธุ ร กิ จ ผั ก -ผลไม ข องจี น นั้ น ก็ มี จุ ด อ อ นหลายประการเช น กั น กล า วคื อ ปจจุบันประเภทของผัก-ผลไมที่มีการผลิตในลักษณะธุรกิจขนาดใหญเพื่อการสงออกนั้น มีอยูเพียงไมกี่ ประเภทและ อุตสาหกรรมผัก-ผลไมในจีน ยังไมมีการนําระบบมาตรฐานการผลิตมาใช ซึ่งปญหานี้ รัฐบาลจีนกําลังดําเนินการปรับปรุงและแกไขปญหารวมกับกระทรวงเกษตรของสหรัฐฯ นอกจากนี้ ปจจุบันจีนยังไมมีการกําหนดมาตรฐานทางการตลาดอยางเปนทางการ โดยเฉพาะการบรรจุหีบหอและ รูปแบบของบรรจุภัณฑที่เปนมาตรฐาน รวมทั้งการประชาสัมพันธเกี่ยวกับผลิตภัณฑทําไดอยางจํากัด และเปนไปไดยากในทางปฏิบัติ เนื่องจากยังไมมีการกําหนดคุณภาพของผลิตภัณฑทางดานการคาที่ ชัดเจน (เชน ขนาดมาตรฐาน การกําหนดลักษณะมาตรฐาน เปนตน) ซึ่งในหลายประเทศที่ประสบ ความสําเร็จในการสงออกสินคาผัก-ผลไมและผลิตภัณฑ นั้น ผูประกอบการในอุตสาหกรรมจะรวมมือ กันในการประชาสัมพันธและการใหขอมูลที่สําคัญในทางการคา เพื่อชวยกระตุนใหเกิดการซื้อสินคา แตปจจุบันกิจกรรมดังกลาวในจีนนั้น ยังมีการดําเนินการที่จํากัดโดยเปนเพียงการดําเนินการของบริษัท ผูสงออกแตละรายเทานั้น รัฐบาลจีนตระหนักถึงจุดออนของธุรกิจผัก-ผลไม ของจีนเปนอยางดี ทําใหในปจจุบัน จีนมีการปรับปรุงทั้งในดานการผลิตการตลาด โดยตั้งแตป 2542 รัฐบาลจีนอนุญาตใหบริษัทการคาหรือ นักลงทุนจากตางประเทศเขามาลงทุนในธุรกิจผัก-ผลไมตั้งแตการปลูกไปจนถึงการขนสงผัก-ผลไม ทั้งนี้เพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคทั้งในประเทศและตางประเทศ นับวาเปนสิ่งที่ จับตามองสําหรับคนไทยและประเทศตางๆ ในเอเชีย เนื่องจากในอนาคตอันใกลนี้จีนจะกลายเปนคูแขง ที่มีศักยภาพอยางมากในธุรกิจผัก-ผลไมและผลิตภัณฑ ทั้งนี้แรงจูงใจใหเขาไปลงทุนในธุรกิจผัก-ผลไม ในจี น คื อ รั ฐ บาลให สิ ท ธิ พิ เ ศษหลายประการ เช น การยกเว น ภาษี ก ารประกอบธุ ร กิจ 2 ป เป น ต น ตัวอยางการลงทุนจากตางประเทศในธุรกิจผัก-ผลไมคือ นักลงทุนจากสิงคโปรสรางโรงเรือนกระจกและ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

39

โรงงานบรรจุภัณฑขนาดใหญ ทางตะวันตก ของเมืองชิงเตาในมณฑลซานตง ที่อยูทางตะวันออกของจีน ซึ่ง จะสงผั ก ประเภท สแปนนิ ช ผั ก กาดหอม แตงโมและคื่น ฉายฝรั่ ง ไปยังตลาดญี่ปุน และสิงคโปร นักลงทุนจากสิงคโปร อีกกลุมหนึ่งมีสัญญา 15 ป ในการลงทุนปลูกองุนแดง 167 เฮกตาร(1,044 ไร) ในมณฑลซานตง และมีการสงองุนสดไปยังตลาดสิงคโปร มาเลเซีย และยุโรป ปจจุบันการปรับปรุงการผลิตและการตลาดผัก-ผลไมของจีน ทําใหจีนผงาดขึ้นมาเปนผู สงออกผัก-ผลไมและผลิตภัณฑที่สําคัญของโลก โดยฟูจิแอปเปลที่ผลิตในจีนสามารถเขาไปตีตลาด แอปเปลนําเขาในฮองกง จากเดิมที่ตลาดนี้วอชิงตันแอปเปลของสหรัฐฯเคยเปนผูครอบครองตลาดสวน ใหญอยูในญี่ปุน บลอคโคลี่ที่ปลูกในสหรัฐฯ ก็ตองเผชิญปญหาการแขงขันกับบลอคโคลี่จากจีน สําหรับ กรณีประเทศไทยแลวผัก-ผลไมของจีนเขามาตีตลาดผัก-ผลไมนําเขา ซึ่งผูบริโภคอาจจะไดรับประโยชน จากราคาสินคาที่มีแนวโนมลดลง แตสําหรับสินคาของจีนจะเขามาเปนคูแขงทางตรงของการผลิตผักผลไมเมืองหนาวของไทย รวมทั้งยังจะทําใหคนไทยหันไปบริโภคผัก-ผลไมนําเขาเพิ่มขึ้นเทากับเปน คูแขงทางออมของเกษตรกรผูปลูกผัก-ผลไมของไทยดวยเชนกัน นอกจากนี้ยังเปนที่หวั่นเกรงวาในอนาคตระดับราคาสินคาผัก-ผลไมในตลาดโลกจะมี แนวโนมลดลงเนื่องจากผลผลิตผัก-ผลไมของจีนจะออกสูตลาดในชวงที่ผลผลิตผัก-ผลไมของประเทศ ตางๆในทางตอนเหนือของโลกออกสูตลาดดวย อันเปนผลมาจากชวงฤดูเก็บเกี่ยวที่ใกลเคียงกัน ซึ่ง ปริมาณผัก-ผลไมจากจีนที่เ ขาสูตลาดเพิ่มขึ้นจะเปนปจจัยสําคัญในการดึงราคาสินคาผัก -ผลไมและ ผลิตภัณฑในตลาดโลก ซึ่งจะมีผลให ประเทศผูสงออกผัก-ผลไมและผลิตภัณฑจะตองเผชิญกับการ แขงขันที่รุนแรงยิ่งขึ้นในตลาดโลก โดยจีนเขามาแยงสวนแบงของตลาด โดยจีนมีปจจัยหนุนสําคัญคือ ตนทุนการผลิตที่อยูในเกณฑต่ํากวาเมื่อเปรียบเทียบกับผูผลิตรายอื่นๆ ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ ใ นการค า ผั ก ระหว า งไทยและจี น ถื อ ว า เปน คู แ ข ง มากกว า คู ค า เนื่ อ งจากจี น มี ก ารปลู ก พื ช ชนิ ด เดี ย วกั บ ไทยที่ มี ก ารผลิ ต อยู เช น กระเที ย ม หอมหั ว ใหญ มั น ฝรั่ ง บลอคโคลี่และแครอทเปนตน 2) สถานการณการสงออกผัก-ผลไมของประเทศจีน (1) ผักและผลไมแปรรูป การสงออกผัก-ผลไมของประเทศจีน สวนใหญสงออกในรูปของผลิตภัณฑที่ผาน ขบวนการแปรรูปแลวถึงรอยละ 60 ของมูลคาการสงออกผัก-ผลไม ทั้งหมด เฉลี่ยในป 2545 – 2547 และ คิดเปนรอยละ12 ของการสงออกในภาพรวมทั้งหมดของประเทศจีน โดยการสงออกผลิตภัณฑผักและ ผลไมเพิ่มขึ้นจากในชวงป 2535 – 2537 มากกวา 2 เทา ผลิตภัณฑหลักไดแก ผักปรุงแตง(prepared and preserved) ผักแชแข็ง(frozen) และเห็ดชนิดตางๆ สําหรับผลไมการสงออกในรูปผลิตภัณฑมีแนวโนม

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

39


40

รายงานฉบับสมบูรณ์

40

เพิ่มขึ้นไมมาก สวนใหญจะเปนการสงออกในรูปผลไมแชแข็ง เชน สตรอเบอรี่และแอปริคอตแชแข็ง และผลิตภัณฑผลไมจําพวก แยม เยลลี่ สมและองุนแหง ซึ่งแนวโนมการสงออกเพิ่มขึ้นคอนขางมาก (2) ผักและผลไมสด การสงออกของจีนในรูปผัก-ผลไมสด นับวามีความสําคัญรองจากการสงออก ผลิตภัณฑแปรรูป โดยมีการสงออกผักสดในป 2545 – 2547 เพิ่มขึ้นเกือบ 3 เทา จากชวงป 2535 – 2537 มากเปนอันดับ 2 ดวยมูลคาประมาณรอยละ 16 ของการสงออกผัก-ผลไม และ รอยละ 5 ของการ สงออกทั้งหมดของจีน ที่สําคัญไดแก กระเทียมและเห็ดชนิดตางๆ ซึ่งคิดเปนมูลคามากกวาครึ่งหนึ่งของ การสงออกผักสดทั้งหมด 481 ลานเหรียญสหรัฐ(ประมาณ15,000 ลานบาท) ในชวงป 2545 – 2547 รองลงมาไดแก หอมหัวใหญ แครอทและผักเรสดิส ทํานองเดียวกัน การสงออกผลไมสดของจีน จากชวง ป 2535 – 2537 มีมูลคาเพิ่มขึ้นกวา 3 เทาในชวงป 2545 – 2547 ประมาณรอยละ 8 ของการสงออกผักผลไมทั้งหมดของจีน ผลไมสดสงออกที่สําคัญที่สุดไดแก แอปเปล ซึ่งมีมูลคาการสงออกมากกวารอยละ 50 ของการสงออกผลไมทั้งหมดแตละป รองลงมาไดแก สาลี่และสม (3) น้ําผักและผลไม จีนมีการสงออกน้ําผักและผลไมประมาณรอยละ 6 ของการสงออกผักและผลไม ทั้งหมด น้ําผลไมที่ทําการสงออกไดแก น้ําแอปเปล ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางมากและกาวขึ้นมาเปน คูแขงที่สําคัญในการผลิตน้ําผลไมของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยในป 2547 จีนมีการสงออกน้ําแอปเปล เขมขนเกือบรอยละ 90 ของการสงออกน้ําผลไมทั้งหมด สําหรับมูลคาการสงออกพบวาเพิ่มขึ้นเปนอยาง มาก จาก 5 ลานเหรียญสหรัฐ(ประมาณ 180 ลานบาท) ในป 2535 – 2537 เปน 251 ลานเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 9,000 ลานบาท) ในป 2545 – 2547 มีผลใหสวนแบงการตลาดน้ําแอปเปลของจีนเพิ่มขึ้นจาก นอยกวารอยละ 1 เปนมากกวารอยละ18 ของตลาดโลกและจีนกลายเปนผูนําการสงออกน้ําผลไมของโลก 3) ตลาดสงออก ผัก-ผลไมของจีน ตลาดสงออกผัก-ผลไมของจีนสวนใหญอยูในทวีปเอเชีย โดยตลาดผัก-ผลไมแปรรูป ที่สําคัญ ไดแก ญี่ปุน คิดเปนมูลคากวารอยละ 40 ของผัก-ผลไมแปรรูปทั้งหมด สําหรับการสงออกผักสด ในป 2545 – 2547 มีมูลคาเฉลี่ย 843 ลานเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 34,908 ลานบาท) ตลาดหลักที่สําคัญ ไดแก ญี่ปุน รอยละ 31 กลุมประเทศอาเซียนหรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต รอยละ 25 เกาหลีใต รอยละ 7 และฮองกง รอยละ 6 โดยชนิดของผักสงออกที่สําคัญที่สุดไดแก กระเทียม มูลคา 373 ลานเหรียญสหรัฐ (15,446 ลานบาท) หรือร อยละ 44.25 ของมูลคาการสงออกผักสดทั้งหมดของจีน รองลงมา ไดแ ก เห็ดชนิดตางๆ 108 ลานเหรียญสหรัฐ (4,472 ลานบาท) หอมหัวใหญ 73 ลานเหรียญสหรัฐ (3,023 ลาน บาท) แครอท 46 ลานเหรียญสหรัฐ (1,905 ลานบาท) และผักเรสดีส 43 ลานเหรียญสหรัฐ (1,781 ลาน บาท) หรือคิดเปนรอยละ 12.81 ,8.66 ,5.46 และ 5.10 ของการสงออกผักสดทั้งหมดของจีน ตามลําดับ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

41

โดยตลาดสงออกกระเทียมที่สําคัญรอยละ 39 ไดแก 10 ประเทศในกลุมเอเชียตะวันออกเฉียงใตหรือ อาเซียน (บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมาร ฟลิปปนส สิงคโปร ไทยและเวียดนาม) สําหรับเห็ด หอมหัวใหญ แครอท และเรสดีส ประเทศนําเขาที่สําคัญ ไดแก ญี่ปุน คิดเปนรอยละ 84, 51, 27 และ 63 ของมูลคาการสงออกทั้งหมดของจีน ตามลําดับ (ตารางที่ 4-12) การสงออกผลไมสดของจีนเฉลี่ยในชวงป 2545 – 2547 มีมูลคา 405 ลานเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 16,771 ลานบาท ตลาดหลัก ไดแก กลุมประเทศอาเซียน รองลงมา ไดแก รัสเซีย ฮองกง แคนาดา ชนิดผลไมสงออกที่สําคัญที่สุด ไดแก แอปเปล มูลคา 211 ลานเหรียญสหรัฐ (8,737 ลานบาท) หรือคิดเปนรอยละ 52.10 ของมูลคาการสงออกทั้งหมด โดยสงออกไปยังกลุมประเทศอาเซียนถึงรอยละ 56 รองลงมาไดแก สาลี่ สม (Tangerine) และสม (Orange) มูลคา 77, 65 และ 8 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ ประมาณ 3,189, 2,692 และ 331 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 19.01 , 16.05 และ 1.97 ของมูลคาการ สงออกผลไมสดของจีนทั้งหมด โดยตลาดหลัก ไดแก กลุมประเทศอาเซียน ถึงรอยละ 56 , 70 และ 26 ของการสงออกผลไมแตละชนิด ตามลําดับ รองลงมา ไดแก รัสเซีย ฮองกง และ แคนาดา ในขณะที่ ตลาดหลักของการสงออกน้ําแอปเปลของจีนไดแก สหรัฐอเมริกา ญี่ปุนและแคนาดา ปจจุบันจีน เปน คูแขงที่สําคัญของสหรัฐอเมริกาในการสงออก แอปเปลสด รวมทั้งผักในหลายๆรูปแบบในตลาดอาเซียน ถึงแมวาการสงออกผักและผลไมแปรรูปของจีน จะไมใชคูแขงที่สําคัญของสหรัฐอเมริกา เนื่องจาก ผลิตภัณฑมีลักษณะแตกตางกัน (Huang,2002) แตการเพิ่มขึ้นของการสงออกผักสดและแอปเปลของจีน สงผลใหสวนแบงการตลาดของสหรัฐอเมริกาในกลุมประเทศอาเซียนลดลง

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

41


42

รายงานฉบับสมบูรณ์

42

ตารางที่ 4-12 ตลาดสงออกผัก – ผลไมที่สําคัญของจีน หนวย : ลานเหรียญสหรัฐ รายการ ผักสด กระเทียม

มูลคาเฉลี่ย ป 2545 – 2547

ตลาดสงออกที่สําคัญ

843

ญี่ปุน (31%) อาเซียน (25%) เกาหลีใต (7%)

373

อาเซียน (39%) สหภาพยุโรป (7%) สหรัฐอเมริกา (7%) เกาหลีใต (4%)

เห็ด

108

ญี่ปุน (84%) สหภาพยุโรป (8%) สหรัฐอเมริกา (4%)

หอมหัวใหญ

73

ญี่ปุน (51%) รัสเซีย (26%) อาเซียน (15%) เกาหลีใต (5%)

แครอท

46

ญี่ปุน (27%) เกาหลีใต (23%) ฮองกง (21%)

แรสดิส

43

ญี่ปุน (63%) เกาหลีใต (32%)

405

อาเซียน รัสเซีย ฮองกง

211

อาเซียน 1 (56%) รัสเซีย (13%)

ผลไมสด แอปเปล

สหภาพยุโรป (12%) สาลี่

77

อาเซียน (56%) รัสเซีย (12%) แคนาดา (7%)

สม (Tangerine)

65

อาเซียน (70%) รัสเซีย (12%) แคนาดา (10%)

สม (Orange)

8

ฮองกง (65%) อาเซียน (26%)

ที่มา : USDA, Foreign Agricultural Service, Global Agricultural Trade System หมายเหตุ : 1/ เฉพาะประเทศ เมียนมาร อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทยและเวียดนาม อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยป 2545 – 2547 1 เหรียญสหรัฐ = 41.4094 บาท

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

43

ภาพที่ 4-1 สัดสวนการสงออกกระเทียมของจีน

EU 7%

สหรัฐอเมริกา 7%

เกาหลีใต 4% อื่นๆ 43%

อาเซียน 39%

ที่มา : ตารางที่ 4-12 ภาพที่ 4-2 สัดสวนการสงออกแอปเปลของจีน

รัสเซีย 13%

อื่นๆ 19%

EU 12%

อาเซียน 56%

ที่มา : ตารางที่ 4-12

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

43


44

รายงานฉบับสมบูรณ์

44

4) สถานการณการคาสินคาเกษตรระหวางไทยกับจีน การคาสินคาเกษตรในภาพรวมระหวางไทยและจีนในระยะ 7 ปที่ผานมา(2546 - 2552) มีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยไทยมีการสงออกเพิ่มขึ้นจากปริมาณ 4.006 ลานตัน มูลคา 67,330 ลานบาท ในป 2546 เปน 8.797 ลานตัน มูลคา 150,768 ลานบาท ในป 2552 ปริมาณการสงออกเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย รอยละ 6.79 ตอป มูลคาเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 14.09 ตอป ขณะที่การนําเขาสินคาเกษตรจาก ประเทศจีน มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกวาการสงออก กลาวคือ ในป 2546 มีการนําเขา 0.694 ลานตัน มูลคา 27,362 ลานบาท เพิ่มขึ้นเปน 2.061 ลานตัน มูลคา 58,810 ลานบาท ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นใน อัตราเฉลี่ยรอยละ 21.24 และ 16.44 ตอป ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาและ สงออก พบวาไทยยังไดดุลการคาในการคาสินคาเกษตรกับประเทศจีน โดยดุลการคามีแนวโนมเพิ่มขึ้นใน อัตราเฉลี่ยรอยละ 11.92 ตอป จาก 39,968 ลานบาท ในป 2546 เปน 91,958 ลานบาท ในป 2552 (ตารางที่ 4-13) ตารางที่ 4-13 การคาสินคาเกษตรระหวางไทยกับจีน ป 2546 – 2552 ปริมาณ : ตัน ; มูลคา : ลานบาท ป

นําเขา

สงออก

ดุลการคา

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

2546

694,103

27,362

4,006,348

67,330

3,312,245

39,968

2547

993,934

33,381

5,791,594

82,985

4,797,660

49,604

2548

907,718

36,636

5,607,876

89,051

4,700,158

52,415

2549

1,233,457

45,598

7,279,428

126,033

6,045,971

80,435

2550

1,966,877

56,027

6,281,580

127,865

4,314,704

71,838

2551

1,956,941

72,139

4,217,759

130,881

2,260,818

58,742

2552

2,061,297

58,810

8,797,257

150,768

6,735,960

91,958

อัตราเจริญเติบโต

21.24

16.44

6.79

14.09

1.94

11.92

ที่มา : กรมศุลกากร 5) สถานการณการคาผัก-ผลไมระหวางไทยกับจีน (1) ผัก การคาสินคาในหมวดผัก (รหัส 07) ในภาพรวมระหวางไทยกับจีนในระยะ 7 ป ที่ ผานมา (2546 - 2552) มีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยไทยมีการสงออกเพิ่มขึ้นจากปริมาณ 1.831 ลานตัน มูลคา 5,406 ลานบาท ในป 2546 เปน 4.197 ลานตัน มูลคา 19,718 ลานบาท ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตรา

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

45

เฉลี่ยรอยละ 3.56 และ 13.27 ตอป ขณะที่มีการนําเขาเพิ่มขึ้นอยางมากจาก 87,071 ตัน มูลคา 825 ลานบาท ในป 2546 เปน187,747 ตัน มูลคา 3,851 ลานบาท ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 11.57 และ 25.93 ตอป ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาและสงออกพบวา ไทยยังไดดุลการคาในอัตราเฉลี่ยรอยละ 9.28 ตอป จาก 4,581 ลานบาท ในป 2546 เปน 15,867 ลานบาท ในป 2552 (ตารางที่ 4 -14) ตารางที่ 4-14 การคาสินคาในหมวดผัก (รหัส 07) ระหวางไทยกับจีน ป 2546 – 2552 ปริมาณ : ตัน ; มูลคา : ลานบาท ป

สงออก

นําเขา

ดุลการคา

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

2546

1,831,103

5,406

87,071

825

4,581

2547

2,787,843

8,600

114,471

1,443

7,157

2548

2,764,447

11,911

144,361

1,972

9,939

2549

3,921,897

16,203

155,984

2,629

13,575

2550

2,931,949

12,146

146,141

2,809

9,337

2551

1,273,720

6,992

165,073

3,023

3,970

2552

4,197,293

19,718

187,747

3,851

15,867

อัตราเจริญเติบโต

3.56

13.27

11.51

25.93

9.28

ที่มา : กรมศุลกากร อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาปริมาณและมูลคาการสงออกในหมวด 07 รายสินคาของ ไทยไปประเทศจีน พบวากวารอยละ 99 ของมูลคาการสงออกทั้งหมดเปนผลิตภัณฑมันสําปะหลังที่ สําคัญ ไดแก มันสําปะหลังฝานหรือทําเปนเพเลตเปนแผนบางแหงถึงรอยละ 92.7 มีการสงออกผักสด ไดแก หนอไมฝรั่ง ถั่วบีน และผักอื่นๆเพียงเล็กนอย(ตารางที่ 4-15) และเมื่อพิจารณาปริมาณและมูลคา การนําเขาในหมวด 07 เชนเดียวกันของไทยจากประเทศจีนพบวา ปริมาณการนําเขาสวนใหญเปนการ นําเขาพืชผักเกือบทั้งหมด โดยพืชผักที่มีปริมาณการนําเขามาก ไดแก แครอท ถึงรอยละ 30.9 รองลงมา ไดแก กระเทียม บลอคโคลี่ หอมหัวใหญ และมันฝรั่ง แตเมื่อพิจารณามูลคาการนําเขา พบวา การนําเขา แครอทมี สั ด ส ว นสู ง สุ ด ร อ ยละ 23.5 รองลงมา ได แ ก เห็ ด มั ช รู ม ในตระกู ล อะการิ ทั ส บลอคโคลี่ กระเทียม เห็ดชนิดอื่นๆ และพืชผักอื่นๆ รวมทั้งพืชผักตางๆ ผสมกัน (ตารางที่ 4- 16)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

45


675 286 257 6 2 3 3 10 12,146

159,883 75,911 64,234 193 104 72 71 511 2,931,949

มันสําปะหลังฝาน หรือทําเปนเพลเลต

มันสําปะหลังอัดเม็ด ฝาน หรือทําเปนเพลเลต

มันสําปะหลังอื่นๆ

พืชผักตระกูลถั่วอื่นแหง

หนอไมฝรั่งสดหรือแชเย็น

ถั่วบีน (ชนิดวิกนาและชนิดฟาซิโอลัส)

เผือก

พืชผักอื่นๆ สด หรือแชเย็น

อื่นๆ

1,273,720

389

4

316

96

102

193

29,573

33,118

79,012

1,130,917

ปริมาณ

ที่มา : กรมศุลกากร , หมายเหตุ : 1/ คํานวณจากมูลคาสงออกเฉลี่ย ป 2550 – 2552

รวม

10,904

มูลคา

2,630,970

ปริมาณ

2550

เปนแผนบางแหง

มันสําปะหลังฝาน หรือทําเปนเพลเลต

รายการ

2551

6,992

14.6

0.4

3

4

2

7

163

202

442

6,154

มูลคา

ตารางที่ 4-15 ปริมาณและมูลคาการสงออกสินคาในหมวดผัก (รหัส 07) รายชนิด ไปยังประเทศจีนป 2550 – 2552

4,197,293

625.5

31

-

-

26.5

473

10

172,079

-

4,024,048

ปริมาณ

2552

19,718

20

0.5

-

-

0.5

28

2

704

-

18,963

มูลคา

100

0.1

0.01

0.008

0.02

0.01

0.1

1.1

3.1

2.9

92.7

สัดสวน 1/ (%)

ปริมาณ : ตัน ; มูลคา : ลานบาท

46

46 รายงานฉบับสมบูรณ์ 46

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


592 505 168 193 163 84 143 63 56 843 2,809

46,667 2,414 15,154 10,147 1,550 529 5,239 6,133 12,166 45,875 146,141

แครอทสดหรือแชเย็น

เห็ดมัชรูมในตระกูลอะการทัส

กระเทียมสดหรือแชเย็น

บร็อคโคลี่สด หรือแชเย็น

เห็ดหูหนู

เห็ดชนิดอื่นๆ

พืชผักอื่นๆ รวมทั้งพืชผักตางๆผสมกัน

มันฝรั่งทั้งหัว

หอมหัวใหญสด/แชเย็น

อื่นๆ

165,073

46,750

13,441

8,419

5,273

869

1,480

10,817

25,073

1,884

51,067

ปริมาณ

ที่มา : กรมศุลกากร , หมายเหตุ : 1 คํานวณจากมูลคาสงออกเฉลี่ย ป 2550 – 2552

รวม

มูลคา

ปริมาณ

รายการ

2550

2551

3,023

860

69

83

168

158

167

213

230

319

756

มูลคา

ตารางที่ 4-16 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสินคาในหมวดผัก (รหัส 07) รายชนิด จากประเทศจีนป 2550 – 2552

187,749

48,253

12,493

11,877

4,242

1,798

1,259

13,049

36,498

1,932

56,348

ปริมาณ

2552

3,851

1,121

61

149

207

394

153

269

269

295

933

มูลคา

28.3

7.6

5.3

2.9

0.6

0.9

6.9

15.4

1.2

30.9

ปริมาณ

100

29.2

1.9

3.0

5.3

6.6

5.0

7.0

6.9

11.5

23.5

มูลคา

สัดสวน 1 (%)

ปริมาณ : ตัน ; มูลคา : ลานบาท

47

รายงานฉบับสมบูรณ์

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

47 47


48

รายงานฉบับสมบูรณ์

48 (2) ผลไม การคาสินคาในหมวดผลไม (รหัส 08) ในภาพรวมระหวางไทยกับจีน ในระยะ 7 ปที่ผานมา (2546 - 2552) มีแนวโนมเพิ่มขึ้นมากกวาในหมวดผัก (รหัส 07) โดยไทยมีการสงออกเพิ่มขึ้นจาก ปริมาณ 87,369 ตัน มูลคา 2,823 ลานบาท ในป 2546 เปน 426,812 ตัน มูลคา 6,815 ลานบาท ในป 2552 หรือ เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 23.30 และ 14.62 ตอป ขณะที่มีการนําเขาเพิ่มขึ้นจาก 95,681 ตัน มูลคา 2,475 ลานบาท ในป 2546 เปน 254,463 ตัน มูลคา 6,428 ลานบาท ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 15.56 และ 17.57 ตอป ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาและสงออกพบวา ยังไดดุลการคาจํานวน 386 ลานบาท ในป 2552 หลังจากขาดดุลการคาจํานวน 222 ลานบาท ในป 2551 (ตารางที่ 4-17) อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาปริมาณและมูลคาการสงออกในหมวด 08 รายสินคาของไทย ไปประเทศจีน พบวา สวนใหญเปนการสงออกผลไมสดและผลไมแหง โดยผลไมที่มีปริมาณและมูลคา การสงออกมากที่สุด ไดแก ลําไยอบแหง ถึงรอยละ 30.7 และ 32.3 รองลงมา ไดแก ทุเรียนสด รอยละ 29.5 และ 30.4 ลําไยสด รอยละ 16.9 และ 16.8 มังคุดสด รอยละ 8.9 และ 8.3 ทุเรียนแชแข็ง รอยละ 2.3 และ1.7 กลวยไขสด รอยละ 3.0 และ 1.1 และ ทุเรียนอบแหง รอยละ 0.05 และ 1.1 ของปริมาณและ มูลคาการสงออกทั้งหมด ตามลําดับ (ตารางที่ 4-18) และ เมื่อพิจารณาปริมาณและมูลคาการนําเขาของ ไทยจากประเทศจีน พบวา ผลไมที่มีการนําเขามากที่สุด ไดแก แอปเปลสด ถึงรอยละ 41.5 และ 40.48 ของปริมาณและมูลคาการนําเขาทั้งหมดเฉลี่ยป 2550 – 2552 รองลงมา ไดแก แพรและควินซสด รอยละ 20.27 และ 16.82 องุนสด รอยละ 8.28 และ 13.84 สมแมนดาริน รอยละ 8.92 และ 8.58 เมล็ดเกาลัด รอยละ 1.31 และ 2.35 ลูกพลับ รอยละ 1.31 และ 1.48 (ตารางที่ 4-19) ตารางที่ 4-17 การคาสินคาในหมวดผลไม (รหัส 08) ระหวางไทยกับจีน ป 2546 – 2552 ปริมาณ : ตัน ; มูลคา : ลานบาท ป

สงออก

นําเขา

ดุลการคา

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

2546

87,369

2,823

95,681

2,474

349

2547

173,687

2,934

120,584

2,703

230

2548

260,907

3,912

134,352

2,937

975

2549

219,658

3,732

138,509

3,544

188

2550

268,598

4,425

166,038

4,223

202

2551

297,656

4,967

189,314

5,190

-222

2552

426,812

6,815

254,463

6,428

386

อัตราเจริญเติบโต

23.30

14.62

15.56

17.57

ที่มา : กรมศุลกากร ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


1,357 1,342 851 319 29 29 72 8 52 40 326 4,425

82,483 75,182 49,208 21,501 2,751 118 11,662 1,496 3,575 2,262 18,360 268,598

ลําไยแหง

ทุเรียนสด

ลําไยสด

มังคุดสด

ทุเรียนแชแข็ง

ทุเรียนอบแหง

กลวยไขสด

กลวยหอมสด

สมโอ

ลิ้นจี่สด

อื่นๆ

297,656

16,979

1,787

3,981

4,752

8,949

311

9,165

20,973

52,493

93,889

84,377

ปริมาณ

ที่มา : กรมศุลกากร , หมายเหตุ : 1/ คํานวณจากมูลคาสงออกเฉลี่ย ป 2550 – 2552

รวม

มูลคา

ปริมาณ

รายการ

2550

2551

4,967

242

36

44

48

59

75

99

346

861

1,552

1,605

มูลคา

ปริมาณ

426,812

16,212

4,417

5,060

6,730

9,174

97

11,469

45,722

66,312

123,892

137,727

ตารางที่ 4-18 ปริมาณและมูลคาการสงออกสินคาในหมวดผลไม (รหัส 08) รายชนิด ไปยังประเทศจีนป 2550 – 2552 2552

6,815

331

84

62

44

49

76

156

684

1,009

2,040

2,280

มูลคา

100

5.2

0.9

1.3

1.3

3.0

0.05

2.3

8.9

16.9

29.5

30.70

ปริมาณ

100

5.7

1.0

1.0

0.6

1.1

1.1

1.7

8.3

16.8

30.4

32.3

มูลคา

สัดสวน 1/ (%)

ปริมาณ : ตัน ; มูลคา : ลานบาท

49

รายงานฉบับสมบูรณ์ 49 49

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


1,770 787 532 271 81 34 11 157 34 50 496 4,223

74,436 38,451 11,160 9,272 1,794 1,588 385 12,253 1,588 1,665 12,996 166,038

แอปเปลสด

แพรและควินซ

องุนสด

สมแมนดาริน

เมล็ดเกาลัด

ลูกพลับ

สมเปลือกบาง

ผลไมสด อื่นๆ

ลูกนัต อื่นๆ

ผลไมและลูกนัดที่ทําเอาไวไมใหเสียชั่วคราว

อื่นๆ

ที่มา : กรมศุลกากร , หมายเหตุ : 1/ คํานวณจากมูลคาสงออกเฉลี่ย ป 2550 – 2552

รวม

มูลคา

ปริมาณ

รายการ

2550

189,314

6,310

2,505

3,836

13,703

1,784

3,836

2,476

15,170

14,056

42,107

83,531

ปริมาณ

2551

5,190

328

84

79

252

45

79

113

423

678

932

2,177

มูลคา

ตารางที่ 4-19 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสินคาในหมวดผลไม (รหัส 08) รายชนิดจากประเทศจีนป 2550 – 2552

254,463

18,770

2,600

2,155

24,997

3,241

6,103

3,690

29,942

24,819

43,062

95,084

ปริมาณ

2552

6,428

514

73

71

335

75

122

178

665

983

946

25,466

มูลคา

100

6.24

1.11

1.24

8.36

0.89

1.89

1.31

8.92

8.28

20.27

41.50

ปริมาณ

100

8.45

1.31

1.16

4.70

0.83

1.48

2.35

8.58

13.84

16.82

40.48

มูลคา

สัดสวน 1/ (%)

ปริมาณ : ตัน ; มูลคา : ลานบาท

50

50 รายงานฉบับสมบูรณ์

50

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 5 กฎ ระเบียบ เงื่อนไข และขั้นตอนในการนําเขาผัก – ผลไม ภายใตการเปดเสรีการคาไทย-จีน 5.1 พิธีสารไทย-จีน ขอกําหนดดานสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช การนําเขา – สงออก ผัก-ผลไมสด 5.1.1 ผักสด พิธีสารไทย-จีน ขอกําหนดดานสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช การนําเขา - สงออกผักสด เป น การส ง เสริ ม การค า ผั ก ระหว า งสองฝ า ย ซึ่ ง รั บ รองภายใต บั น ทึ ก ความเข า ใจร ว มกั น ว า ด ว ย ความรวมมือดานสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช โดยเปนขอกําหนดระหวางกระทรวงเกษตรและสหกรณ แหงราชอาณาจักรไทย (MOAC) และสํานักควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกันโรคแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน (AQSIQ) ลงนามเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2547 เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในสินคาผักสด โดยมี ขอกําหนดรวมกัน ดังนี้ มาตรา 1 ผักทีน่ ําเขาและสงออกระหวางทัง้ สองฝายตามพิธีสารฉบับนี้ หมายถึง ผัก 5 กลุม ไดแก 1) ผักรับประทานหัว ราก และหัวกลีบ 2) ผักรับประทานผลและถั่ว 3) ผักรับประทานใบและดอก 4) เห็ด 5) ผักรับประทานหนอ มาตรา 2 ทั้ ง สองฝ า ยเห็ น พ อ งร ว มกั น ว า ประเด็ น ด า นการกั ก กั น และตรวจสอบใดๆ ที่เกิดขึ้นจากการนํ าเขาและสงออกผักจะไดรับการแกไขอยางรวดเร็วบนพื้นฐานของผลประโยชน รวมกัน ความรวมมือ การปรึกษาหารือ และขอมูลทางวิทยาศาสตร มาตรา 3 ทั้งสองฝายเห็นพองรวมกันในการสนับสนุนการแลกเปลี่ยนขอมูล การแจงขอมูล ดานกฎหมาย ระเบียบ มาตรฐาน และสถานะของศัตรูพืชในผักของแตละฝายในชวงเวลาที่เหมาะสม โดยผานคณะทํางานผูเชี่ยวชาญ ซึ่งจะกําหนดโดย MOAC และ AQSIQ มาตรา 4 เพื่อสรางความมั่นใจวาการสงออกผักเปนไปตามขอกําหนดของประเทศผูนําเขา และอยูบนพื้นฐานของมาตรฐานระหวางประเทศ ทั้งสองฝายเห็นพองรวมกันวาผักที่สงออกจะตอง

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

51


52

รายงานฉบับสมบูรณ์

52

มาจากฟารม และโรงบรรจุหีบหอที่จดทะเบียน ซึ่งประเทศผูสงออกจะเปนผูเก็บรักษาทะเบียนดังกลาว และสามารถชี้แจงไดเมื่อมีการรองขอจากประเทศผูนําเขา มาตรา 5 ทั้ ง สองฝ า ยเห็ น พ อ งร ว มกั น ว า ผั ก ส ง ออกจะต อ งมี ใ บรั บ รองสุ ข อนามั ย พื ช (Phytosanitary Certification) แนบ และสารตกคางจะตองไมเกินระดับมาตรฐานที่ประเทศผูนําเขา กําหนด ซึ่งอางอิงมาตรฐาน CODEX มาตรา 6 เมื่อผักมาถึงที่ทาประเทศผูนําเขาจะตรวจความถูกตองของใบรับรองสุขอนามัยพืช เพื่อความถูกตองและสมบูรณของตูระวางสินคา และจะมีการปลอยสินคาภายหลังจากสุมตัวอยางเพื่อ การตรวจสอบทางดานกักกันแลว มาตรา 7 ทั้งสองฝายเห็นพองรวมกันวา หากมีปญหาดานการตรวจสอบกักกันใดๆ ในการ นําเขาผักจากอีกฝายหนึ่งจะมีการเพิ่มการสุมตัวอยางจากผักนําเขาของผูสงออกรายเดิมหรือจากผักชนิด เดียวกัน ซึ่งประเทศผูสงออกจะตองไดรับแจงทันทีโดยไมชักชา และจะตองดําเนินมาตรการตางๆ เพื่อ แกไ ขปญ หาโดยเร็ ว ที่ สุด หากพบป ญ หาการส ง ออกผัก ที่ไ มเป น ไปตามขอ ตกลงในพิ ธีส ารฉบับ นี้ บอยครั้งใหประเทศผูนําเขาระงับการนําเขาสินคาจากผูสงออกรายนั้น ซึ่งทั้งสองฝายจะไดหารือกันอยาง ใกลชิดโดยทันทีผานคณะทํางานผูเชี่ยวชาญเพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้น และเมื่อปญหาการตรวจสอบ กัก กันไดรับการแก ไขโดยคณะทํางานผูเชี่ยวชาญแลว ประเทศผูนําเขาจะตองอนุ ญาตใหนําเขาได เหมือนเดิม มาตรา 8 พิธีสารฉบับนี้จะมีผลบังคับใชหลังจากการลงนามแลว 6 เดือนและจะมีระยะเวลา บังคับใช 2 ป โดยจะขยายเวลาบังคับใชครั้งละ 2 ป โดยอัตโนมัติหากไมมีฝายใดแจงความประสงค ขอแกไขหรือยกเลิกพิธีสารเปนการลวงหนากอนพิธีสารสิ้นสุด 6 เดือน ทั้งนี้กระทรวงเกษตรและสหกรณของไทย และกระทรวงควบคุมคุณภาพและตรวจสอบ กักกันโรคของสาธารณรัฐประชาชนจีน (AQSIQ) ไดมีการแกไขและรวมลงนามในพิธีสารวาดวย ขอกําหนดดานสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชของการนําเขาและสงออกผักสด เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2548 มีสาระสําคัญ ดังนี้ (1) ผักสดมี 5 กลุม ไดแก - ผักรับประทานหัว ราก และหัวกลีบ - ผักรับประทานผล และถั่ว - ผักรับประทานใบและดอก - เห็ด - ผักรับประทานหนอ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 53 53

(2) ผักสงออกตองมาจากฟารมและโรงคัดบรรจุหีบหอที่ขึ้นทะเบียน (GAP และ GMP) (3) ผักที่สงออกตองมีใบรับรองสุขอนามัยพืชแนบ และมีสารตกคางไมเกินคามาตรฐานที่ กําหนด 5.1.2 ผลไมสด 1) พิธีสารไทย-จีน ขอกําหนดดานสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช การนําเขา - สงออก ผลไมสด ตามพิธีสารฯ ดังกลาว กระทรวงเกษตรและสหกรณของไทยและสํานักควบคุมคุณภาพ และตรวจสอบกักกันโรคสาธารณรัฐประชาชนจีน(AQSIQ) ไดลงนามในพิธีสาร วาดวยขอกําหนดดาน การกั ก กั น โรคและตรวจสอบสํ า หรั บ สิ น ค า ผลไม เ มื อ งร อ นที่ ส ง ออกไปจากประเทศไทยไปยั ง สาธารณรัฐประชาชนจีน และผลไมที่สงออกจากสาธารณรัฐประชาชนจีนมาไทย เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2547 และเริ่ ม มี ผ ลบั ง คั บ ใช 6 เดื อ นหลั ง จากลงนามในพิ ธี สาร ซึ่ ง ครอบคลุ ม เกี่ ย วกั บ ข อกํ า หนด มาตรการดําเนินการดานศัตรูพืชและสารตกคางตางๆ ในผลไม 5 ชนิด ไดแก มังคุด ลําไย ลิ้นจี่ มะมวง และทุเรียน และจากจีนมาไทย 5 ชนิด ไดแก แอปเปล แพร พืชตระกูลสม พุทราและองุน ทั้งนี้ไดมีการ แกไขขอกําหนดหลายประการในการส งออกผลไมไทยไปจีน เชน เดิมมีการจํากัดสวนสงออกของ ทุเรียนและมะมวง แตในพิธีสารฉบับใหมไมไดระบุจํานวนสวนสงออก โดยกําหนดใหเปนสวนที่ จดทะเบียนกับกรมวิชาการเกษตรเทานั้น รวมทั้งไมตองใชมาตรการพิเศษใดๆ ในการกําจัดศัตรูพืช มะม ว งที่ ส ง ออกไปจี น เพี ย งแค ต อ งผ า นการรั บ รองว า ปลอดแมลงวั น ผลไม เ ท า นั้ น เป น ต น ในขณะเดียวกัน การนําเขาผลไมทั้ง 5 ชนิดจากจีน จะไดดําเนินการในลักษณะเดียวกัน เชน ตองเปน สวนจดทะเบียนกับกระทรวงควบคุมคุณภาพและกักกันโรคพืช เปนตน ซึ่งขอกําหนดที่ตองปฏิบัติ มีดังนี้ (1) แอปเปล สาลี่ องุน พุทรา พืชตระกูลสม (สม สมโอ สมแทงเจอรีน มะนาว) - ต องปราศจาก กิ่ง ใบ ดิน และศัตรูพืช สําหรับพื ชตระกูลสมตองปลอดจาก แมลงวันผลไมชนิด B.correcta หรือ B . minax หรือ tsuneonis - “ฉลาก” ปดภาชนะบรรจุตอ งระบุขอความ ดังนี้ Name the exporting company : ชื่อผูสงออก Fruit type : ชนิดของผลไม Orchard register number: เลขทะเบียนสวนผลไม Packing house register number: เลขทะเบียนโรงบรรจุ Packing date : วันที่บรรจุ Export to the Kingdom of Thailand : สงออกไปประเทศไทย

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


54

รายงานฉบับสมบูรณ์

54

- ใบรับรองสุขอนามัยพืช (Phytosanitary Certificate) ที่กํากับไปกับผลไม 5 ชนิด ตองระบุขอความในชอง ADDITIONAL DECLARATION คือ “THIS FRUIT IS IN COMPLIANCE WITH THE PROTOCOL ON INSPECTION AND QUARANTINE CONDITIONS OF TROPICAL FRUITS TO BE EXPORTED FROM CHINA TO THAILAND” - กรณีที่ตรวจพบ กิ่ง ใบ ดิน และศัตรูพืชควบคุม สินคาจะถูกทําลาย หรือกําจัด ศัตรูพืชโดยเจาของเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย - กรณีที่ตรวจพบแมลงวันผลไม สินคานั้นจะถูกทําลายหรือสงกลับทันที หรือ ผานขั้นตอนการกําจัดศัตรูพืชในสถานที่ที่เหมาะสม โดยผูนําเขาหรือเจาของเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย -กรณีที่ตรวจพบสารกําจัดศัตรูพืช และสารเคมีตกคางเกินคาที่กําหนด สินคานั้น จะถูกสงกลับหรือสงตอไปยังจุดหมายอื่นหรือทําลาย (2) ลําไยและลิ้นจี่ - กรณีที่ตรวจพบสารกําจัดศัตรูพืช และสารเคมีตกคางเกินคาที่กําหนด สินคานั้น จะถูกสงกลับหรือสงตอไปยังจุดหมายอื่นหรือทําลาย - ต อ งขึ้ น ทะเบี ย นสวน (GAP) ทะเบี ย นผู ส ง ออกลํ า ไย (OR-XX-XXX) และ ทะเบียนโรงบรรจุหีบหอสินคา (GMP) (Mathamidophos)

-

ต อ งตรวจสารตกค า งก อ นส ง ออก และต อ งไม พ บสารเมธามิโ ดฟอส

- ลําไยตองผานการตรวจสอบสารซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) โดยมีคา SO2 ในเนื้อ ไมเกิน 50 ppm. และตองมีใบรับรองวิเคราะห SO2 แนบไปกับสินคาทุก lot - ตองไมมีดิน ใบ และกิ่ง - กานติดผลยาวไมเกิน 15 ซม. - ภาชนะบรรจุตองใหม สะอาด และระบุขอความตามกําหนด ดังนี้ Name of the exporting company : ........................................................... Fruit type : .............................................................................................. Orchard register number : ....................................................................... Packing house register number : ............................................................. Packing date : ......................................................................................... Export to the People’s Republic of China

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 55 55

(3) ทุเรียน มังคุด และมะมวง - ตองขึ้นทะเบียนสวน ทะเบียนผูสงออก (เฉพาะทุเรียน # DU-XX-XXX) และ ทะเบียนโรงบรรจุหีบหอสินคา (GMP) (Mathamidophos)

-

ต อ งตรวจสารพิ ษ ตกค า งก อ นส ง ออก และต อ งไม พ บสารเมธามิ โ ดฟอส

- ตองไมมีดิน ใบ และกิ่ง - สํ า หรั บ มะม ว งที่ จ ะส ง ออกต อ งปราศจากแมลงวั น ผลไม ช นิ ด Bactrocera carambolae หรือ B. correcta หรือ B. papayae หรือ B. zonata - ภาชนะบรรจุตองใหม สะอาด และระบุขอความตามกําหนด ดังนี้ Name of the exporting company : ........................................................... Fruit type : .............................................................................................. Orchard register number : ....................................................................... Packing house register number : ............................................................. Packing date : ......................................................................................... Export to the People’s Republic of China

หมายเหตุ ใบรับรองสุขอนามัยพืชที่กํากับไปกับผลไม 5 ชนิดขางตน ตองระบุขอความในชอง addition declaration ดังนี้ This fruit is in compliance with the protocol on inspection and quarantine conditions of tropical fruits to be exported from Thailand to China ทั้งนี้ การปฏิบัติเกี่ยวกับการสงออกผลไมอื่นๆ ที่ยังไมไดทําพิธีสาร แตมีการคาขาย กันอยูแลว ใหถือปฏิบัติดังเชนปจจุบันไปกอน โดยจีนจะไมใชมาตรการพิเศษใดๆ ที่จะเปนอุปสรรค กับการคาของไทย เพื่อไมใหเกิดการหยุดชะงักทางการคา 2) พิธีสารวาดวยข อกํ าหนดในการกักกันโรคและตรวจสอบสําหรับการขนสงผลไมไทยที่ ส งออกผ านประเทศที่ สามเข าสู สาธารณรั ฐประชาชนจี นระหว างกระทรวงเกษตรและสหกรณ แห ง ราชอาณาจักรไทยและกระทรวงควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกันโรคแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน ดวยความประสงคที่จะสรางความเชื่อมั่นในคุณภาพและความปลอดภัยของผลไมไทยที่ สงออกไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน จากการหารืออยางสันถวไมตรีระหวางกระทรวงเกษตรและ สหกรณกับกระทรวงควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกันโรค ไดบรรลุถึงขอกําหนดในการกักกันโรค และตรวจสอบสําหรับการขนสงผลไมไทยที่สงออกผานประเทศที่สาม เขาสูสาธารณรัฐประชาชนจีน ดังนี้

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


56

รายงานฉบับสมบูรณ์

56

มาตรา 1 ผลไมที่สงออกจากประเทศไทยจะตองเปนผลไมชนิดที่กระทรวงควบคุม คุณภาพและตรวจสอบกักกันโรคอนุญาตใหนําเขาไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน กระทรวงเกษตรและ สหกรณจะตองจัดสงขอมูลทะเบียนรายชื่อสวน โรงบรรจุหีบหอและผูสงออกสินคา ซึ่งไดรับการขึ้น ทะเบียนจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ รวมทั้ง รายชื่อบริษัทผูขนสงพรอมตัวอยางการปดผนึกที่จะ ใชกับตูคอนเทนเนอรผลไมใหกับกระทรวงควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกันโรค หากมีการรองขอ มาตรา 2 ผลไมตองไดรับการบรรจุในบรรจุภัณฑใหม สะอาดและอยูในตูควบคุม อุณหภูมิระหวางการขนสง ทั้งนี้ กลองบรรจุผลไมตองระบุพื้นที่ปลูก หมายเลขสวน หมายเลขสถานที่ บรรจุหีบหอ และหมายเลขผูสงออก และระบุขอความเปนภาษาอังกฤษหรือภาษาจีนวา “Export to the People’ Republic of China” มาตรา 3 กอนการสงออกกระทรวงเกษตรและสหกรณจะสุมเก็บตัวอยางของผลไมเพื่อ ทําการตรวจสอบ และจะออกใบรับรองปลอดศัตรูพืชหากเปนไปตามเงื่อนไข โดยในใบรับรองตองมี การระบุขอความ “ This fruit is in compliance with the protocol on the inspection and Quarantine Conditions of Tropical Fruits to be Exported from Thailand to China and the protocol on Inspection and Quarantine Requirements for Thai Fruit Export from Thailand to China through Territories of Third Countries ” และออกใบรับรองซัลเฟอรไดออกไซด ในกรณีการสงออกลําไยสด ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณจะทําการปดผนึกตูสินคา ระบุหมายเลขตูสินคา รวมทั้งหมายเลขกํากับการปดผนึก ตูสินคาในใบรับรองสุขอนามัยพืชที่มีผลบังคับใช 7 วัน กระทรวงเกษตรและสหกรณ (ดานตรวจพืชมุกดาหาร) จะสงสําเนาใบรับรองปลอด ศัตรูพืชใหกับดานนําเขาของจีน (ณ สํานักงานควบคุมตรวจสอบและกักกันโรคผิงเสียง) ทราบโดยทาง ไปรษณียอิเลคทรอนิกส หรือโทรสาร กอนที่สินคาดังกลาวจะเขาทางดานโหยวอี้กวานของสาธารณรัฐประชาชนจีน มาตรา 4 หามมิใหมีการเปดตูผลไมระหวางการขนสงผลไมผานประเทศที่สาม โดย กําหนดใหใชเสนทางการขนสงทางบก ตามรายละเอียด ดังนี้ จังหวัดมุกดาหาร (ไทย) – สะหวันนะเขต/สะหวัน-เวโน (ลาว) –ดาขา เบ/แดนสะหวัน ลาวบาว (เวียดนาม) –ฮาติน-เถื่อนฮวา – กรุงฮานอย-หลั่งเซิน-ดานโหยวอี้กวาน (จีน) ดานของสาธารณรัฐประชาชนจีนที่อนุญาตใหมีการนําเขาผลไมจากประเทศไทย ไดแก ดานโหยวอี้กวานของเขตปกครองตนเองกวางซีจวง มาตรา 5 หลังจากผานการพิจารณาหารือและเห็นชอบจากทั้งสองฝายแลว สามารถเพิ่ม เสนทางการขนสงผลไมไทยเขาสูสาธารณรัฐประชาชนจีนตามเสนทางอื่นๆ ได

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 57 57

มาตรา 6 เมื่ อ ผลไม ถึ ง ด า นนํ า เข า ที่ ส าธารณรั ฐ ประชาชนจี น สํ า นั ก งานควบคุ ม ตรวจสอบและกักกันโรคประจําทองถิ่นจะตรวจสอบความสมบูรณของการปดผนึกตูสินคา ใบรับรอง ปลอดศัตรูพืชและเอกสารที่เกี่ยวของตามที่ไดรับแจงขอมูลลวงหนาจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ ตามมาตรา 3 ยอหนา 2 รวมทั้งสุมเก็บตัวอยางเพื่อทําการตรวจสอบ ในกรณีที่ใบรับรองปลอดศัตรูพืชไมสอดคลองกับขอมูลในเอกสารที่กระทรวงเกษตรและสหกรณไดจัดสงใหลวงหนา หรือมีการปลอมแปลงใบรับรองปลอดศัตรูพืช หรือใบรับรองปลอด ศัตรูพืชหมดอายุ สินคาดังกลาวจะถูกปฏิเสธการนําเขา ในกรณีที่สินคานั้นไมสอดคลองกับที่ระบุไวในใบรับรองศัตรูพืช หรือการปดผนึกไม สมบูรณ หรือมีการปลอมปนผลไมจากประเทศอื่น สินคาดังกลาวจะถูกปฏิเสธการนําเขาหรือทําลาย ในกรณีที่มีการตรวจพบสารกํ าจัดศัตรูพืช หรือสารเคมีตกคางมีปริมาณเกินกวาคา มาตรฐานของจีน คามาตรฐานกําหนดโดยองคการมาตรฐานอาหารระหวางประเทศ หรือคามาตรฐาน อื่นที่กระทรวงเกษตรและสหกรณและกระทรวงควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกันโรคเห็นชอบ รวมกัน หรือมีการตรวจพบศัตรูพืชกักกัน หรือการปฏิบัติอื่นที่ไมสอดคลองกับพิธีสารกระทรวงควบคุม คุณภาพและตรวจสอบกั กกันโรค จะปฏิบัติตามวิธีการที่ระบุไวในมาตรา 12 ของพิธีสารวาดวยขอ กําหนดการกักกันโรคและตรวจสอบสําหรับผลไมเมืองรอนจากประเทศไทยไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน (ฉบับลงนามเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2547) ทั้งนี้ กระทรวงควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกันโรคจะตองแจงขอมูลปญหาการ ปฏิบัติที่ไมสอดคลองใหกระทรวงเกษตรและสหกรณทราบโดยเร็วที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อใหฝายไทย สืบคนหาสาเหตุขอเท็จจริงของปญหาและกําหนดมาตรการเพื่อแกไขปญหาอยางมีประสิทธิภาพโดย เรงดวน โดยทั้งสองฝายจะมีการหารือกันอยางใกลชิดโดยทันที ในกรณี ที่ ส ถานการณ ข า งต น เกิ ด ขึ้ น เป น ประจํ า กระทรวงควบคุ ม คุ ณ ภาพและ ตรวจสอบกักกันโรคจะระงับการนําเขาผลไมจากสวน โรงบรรจุหีบหอ หรือบริษัทสงออกนั้นเปนการ ชั่วคราว และหากสถานการณมีความรุนแรง ฝายจีนจะระงับการนําเขาผลไมไทยที่สงผานประเทศที่สาม ไปยังจีน มาตรา 7 กอนเริ่มการสงออกผลไมจากประเทศไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณจะ เชิญผูเชี่ยวชาญจากสาธารณรัฐประชาชนจีนไปเยือนประเทศไทย เพื่อตรวจสอบขั้นตอนการสงออก ผลไมของไทยตามที่ไดกําหนดไวในพิธีสารนี้ และศึกษาเสนทางการขนสงผลไมผานประเทศที่สาม โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณจะรับผิดชอบคาใชจายทั้งหมด มาตรา 8 ในกรณีที่สถานการณมีการเปลี่ยนแปลงไป หากมีความจําเปนแลวทั้งสองฝาย สามารถปรึกษาหารือและปรับแกไขขอกําหนดตามพิธีสารนี้ได

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


58

รายงานฉบับสมบูรณ์

58

พิ ธี ส ารฉบั บ นี้ จะมี ผ ลบั ง คั บ ใช ทั น ที ที่ มี ก ารลงนาม และจะมี ผ ลต อ เนื่ อ งตลอด ระยะเวลา 2 ป และจะตออายุไปอีก 2 ป โดยอัตโนมัติหากไมมีขอคัดคานจากอีกฝาย หากฝายใดฝายหนึ่ง ตองการแกไขหรือยกเลิกพิธีสารฉบับนี้ ตองทําหนังสือเปนทางการแจงใหอีกฝายหนึ่งทราบไมนอยกวา 6 เดือนลวงหนากอนวันหมดอายุ 5.2 ขั้นตอนและวิธีการตรวจสอบผัก-ผลไมนําเขาของไทย 5.2.1 ชนิดของผัก-ผลไมจากประเทศจีน ที่ไทยอนุญาตใหนําเขา เดิมการนําเขา ผักและผลไม จากประเทศจีน สามารถนําเขาไดทุกชนิดโดยไมตองผาน การวิเคราะหความเสี่ยงกอน เพียงแตตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติกักพืช (ฉบับที่3) พ.ศ. 2551 โดยมีการกําหนดหลักเกณฑในการประกาศใหพืช ศัตรูพืช และพาหะ เปนสิ่งตองหามและแกไขหลักเกณฑการนําเขาหรือนําผานซึ่งสิ่งตองหาม สิ่งกํากัด และสิ่งไมตองหาม รวมทั้งเพิ่มเติมการควบคุมดูแลพืชที่สงออกไปนอกราชอาณาจักรใหเหมาะสม สอดคลองกับสภาพการณปจจุบันและอนุสัญญาวาดวยการอารักขาพืชระหวางประเทศ ตลอดจนแกไข อํานาจของพนักงานเจาหนาที่ในการปองกันและควบคุมโรคและศัตรูพืชใหมีความเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งเพิ่มเติมคาธรรมเนียมใบรับรองที่กําหนดขึ้นใหม ดังนั้น เพื่อใหแนวทางปฏิบัติสอดคลองตามพระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 ซึ่งแกไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกักพืช (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551 ที่กําหนดใหการนําเขาหรือนําผานสิ่งของ ตองหามเพื่อการคาจะตองผานการวิเคราะหความเสี่ยงศัตรูพืชอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติดังกลาว อธิบดีกรมวิชาการเกษตรจึงไดออกประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่องสิ่งตองหามที่ผานการวิเคราะห ความเสี่ยงศัตรูพืช เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ 2552 กําหนดชนิดพืชที่สามารถนําเขาจากสาธรารณรัฐประชาชนจีนได จํานวน 28 ชนิด ที่ไดผานการวิเคราะหความเสี่ยงศัตรูพืชแลว ดังนี้ 1) ผลไมในลักษณะผลสด จํานวน 19 ชนิด ไดแก กีวี มะละกอ พืชวงศดูเดอรบิตาซีอี้ พลับ สตรอเบอรี่ พืชสกุลไฮโลเซอเรียส ลิ้นจี่ มะมวง เรดพิทายา อะโวคาโด ทับทิม แอปริคอต เชอรี่ ทอ เนคทารีน ผรั่ง ราสเบอรี่ และเยลลี่พิทายา 2) ผัก จํานวน 4 ชนิด ไดแก - พริก ในลักษณะผลแหงและเมล็ดพันธุ - มะเขือเทศ ในลักษณะเมล็ดพันธุ - มะเขือ ในลักษณะเมล็ดพันธุ - มันฝรั่ง ซึ่งใชหัว สําหรับบริโภคและแปรรูป

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 59 59

3) พืชอื่นๆ จํานวน 5 ชนิด ไดแก - ชา

ไดแก ตนกลา

- มันสําปะหลัง

ไดแก หัวสําหรับบริโภค

- ยาสูบ

ไดแก ใบบมแหง

- ขาวฟาง

ไดแก เมล็ดพันธุ

- ขาวโพด

ไดแก เมล็ดพันธุ

ทั้งนี้ ในการนําเขา ตองปฏิบัติตามประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่องหลักเกณฑ วิธีการ และ เงื่อนไขการนําเขาหรือนําผาน ซึ่งสิ่งของตองหาม สิ่งกํากัดและสิ่งไมตองหาม พ.ศ. 2551 5.2.2 ขั้นตอนปฏิบัติในการขอนําเขาผัก – ผลไม จากจีนของไทย 1) ตรวจสอบรายชื่อชนิดของผักและผลไมที่ตองการนําเขาวาอยูในรายการที่ไดทําการ ตกลงกับประเทศจีนแลวหรือยัง 2) ขอใบอนุญาตนําเขา (Import Permit) โดยผูนําเขาจะตองขอใบอนุญาตนําเขาจาก กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 3) ผูนําเขาตองมีใบรับรองดานสุขอนามัยพืช ตามประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง สิ่งตองหามที่ผานการวิเคราะหความเสี่ยงศัตรูพืช โดยในการนําเขาตองปฏิบัติตามประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการนําเขาหรือนําผาน ซึ่งสิ่งตองหาม สิ่งกํากัด และสิ่งไม ตองหาม พ.ศ. 2551 4) ปฏิบัติตามพิธีสารไทย-จีน 5.2.3 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และวิธีการตรวจสอบการนําเขาผัก – ผลไม ของไทย หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งในการขอนํ า เข า และการตรวจสอบการนํ า เข า ผั ก – ผลไม ของไทย ประกอบดวย 3 หนวยงาน ไดแก 1) กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะตอง เปนไปตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 แตจะแตกตางกันตามประเภทของพืชที่ขอ นําเขา – นําผาน ดังนี้ (1) สิ่งตองหาม หมายถึง พืช ศัตรูพืช และพาหะ ที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณประกาศกําหนดในราชกิจานุเบกษาใหเปนสิ่งตองหาม โดยผูนําเขาหรือนําผาน สินคา ตองไปแจงความประสงคขอ นําเขา – นําผาน ตามแบบ พ.ก.7 เพื่อใหเจาหนาที่ตรวจสอบความ ถูกตองของเอกสาร โดยถาเปนการนําเขาสิ่งตองหาม จะตองประกอบดวยเอกสาร ดังนี้ - ใบอนุญาตใหนําเขา ตามแบบ พ.ก. 2

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


60

รายงานฉบับสมบูรณ์

60 - บัตรอนุญาตใหนําเขาตามแบบ พ.ก.3 ติดบนหีบหอในที่ที่เห็นชัดเจน - ใบรับรองปลอดศัตรูพืช (Phytosanitary Certificates) จากเจาหนาที่ประเทศ

ผูสงออก - เงื่อนไขตามที่อธิบดีกรมวิชาการเกษตรกําหนด แตถาเปนการนําผานสิ่งตองหาม ตองประกอบดวยเอกสาร ดังนี้ - ใบอนุญาตใหนําผาน ตามแบบ พ.ก. 5 - บัตรอนุญาตใหนําผานตามแบบ พ.ก.6 ติดบนหีบหอในที่ที่เห็นชัดเจน - ใบรับรองปลอดศัตรูพืช (Phytosanitary Certificates) จากเจาหนาที่ประเทศ ผูสงออก - เงื่อนไขตามที่อธิบดีกรมวิชาการเกษตรกําหนด ซึ่งถาเปนการนําเขาและเอกสารถูกตองทั้งหมด จะเสนอไปยังฝายกักกันพืช เพื่อ ดําเนินการตอไป แตถาหากตรวจพบไมถูกตอง เจาหนาที่จะทําการยึดสินคาและแจงความดําเนินคดีตอ พนักงานสอบสวนใหดําเนินคดีทันที แตถาเปนการนําผานและจากการตรวจสอบเอกสารถูกตองหมด จะออกหนังสือ อนุญาตตามแบบ พ.ก.8 ให หากไมถูกตองเจาพนักงานสอบสวนจะดําเนินคดีทันที (แผนภาพที่ 5-1) ทั้ ง นี้ ผลไม ซึ่ ง เป น สิ่ งต อ งห า มตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ ต าม พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2550 ที่ไดรับการยกเวนนําเขา แตตองปฏิบัติตามพิธี สารระหว างกระทรวงควบคุ มคุ ณ ภาพและตรวจสอบกั กกั นโรคแห งสาธารณรั ฐประชาชนจี นและ กระทรวงเกษตรและสหกรณแหงราชอาณาจักรไทย วาดวยขอกําหนดการกักกันโรคและตรวจสอบ สําหรับสินคาผลไมที่สงออกจากสาธารณรัฐประชาชนจีนไปประเทศไทย (ผลไมสด) ไดแก 1. แอปเปล

2. สาลี่

3. องุน

4. พุทรา 5. พืชตระกูลสม (สม Citrus sinensis, สมโอ C.paradisi, สมแทงเจอรีน C.recticulata และมะนาว C. limon ) สําหรับผักที่จัดเปนสิ่งตองหามที่ไดรับการยกเวนการนําเขา แตตองปฏิบัติตามพิธี สารวาดวยวาดวยขอกําหนดทางสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชของการนําเขาและสงออกพืชผัก ระหวาง กระทรวงเกษตรและสหกรณแหงราชอาณาจักรไทย และสํานักควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกันโรค แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน ไดแก

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 61 61

1. Solanaceous vegetables 2. Cucurbitae vegetables (เฉพาะผลที่เปนสิ่งตองหาม) นอกจากนั้นสิ่งตองหามตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณตามพระราชบัญญัติ กักกันพืชพ.ศ. 2507 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2550 ที่สาธารณรัฐประชาชนจีนยื่นคําขออนุญาตผอนผันการนําเขา และไดรับการผอนผันใหนําเขาไดตามบทเฉพาะกาลขอ 1 กรณีผลไมสด ไดแก 1. กีวี

2. มะมวง

3. แตงเทศ

4. สตรอเบอรรี่

5. ราสพเบอรรี่

6. ทับทิม

7. พลับ

8. มะละกอ

9. ทอ

10. ฝรั่ง

11. เชอรรี่

12. แอปริคอท

13. แกวมังกร

14. เนคทารีน

15. บลูเบอรรี่

16. อโวกาโด

17. ลิ้นจี่

(2) สิ่งตองกํากัด หมายถึง พืช ศัตรูพืช และพาหะ ที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณประกาศในราชกิจานุเบกษาใหเปนสิ่งกํากัด โดยผูนําเขาหรือนําผานสินคา ตองไปแจง ความประสงคขอ นําเขา – นําผาน ตามแบบ พ.ก.7 เพื่อใหเจาหนาที่ตรวจสอบความถูกตองของเอกสาร โดยถาเปนการนําเขาหรือนําผานสิ่งกํากัดเพื่อใชทําพันธุ ตองประกอบดวยเอกสาร ดังนี้ - ใบรับรองปลอดศัตรูพืช (Phytosanitary Certificates) จากเจาหนาที่ประเทศ ผูสงออก - เอกสาร non GMOS จากประเทศผูสงออก - เงื่อนไขตามที่อธิบดีกรมวิชาการเกษตรกําหนด ทั้งนี้ถาเปนการนําเขา – นําผานสิ่งกํากัด เพื่อทําพันธุ เจาหนาที่ตรวจสอบจะปฏิบัติ ตามเงื่อนไขทางวิชาการ และนําเสนอฝายกักกันพืชเพื่อดําเนินการตอไป แตหากเปนการนําเขาเพื่อ อุปโภคบริโภค เจาหนาที่จะทําการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช ซึ่งหากพบศัตรูพืชที่สําคัญ จะดําเนินการกําจัด ศัตรูพืชกอนแลวจึงจะออกหนังสืออนุญาต ตามแบบ พ.ก.8 (แผนภาพที่ 5-2) (3) สิ่งไมตองหาม หมายถึง พืชอยางอื่นที่ไมเปนสิ่งตองหามหรือสิ่งกํากัด ผูนําเขา ตองไปยื่นความประสงคขอนําเขาตามแบบ พ.ก.7 เพื่อใหเจาหนาที่ตรวจสอบความถูกตองของเอกสาร ซึ่งถาเปนการนําเขาสิ่งไมตองหามเพื่อใชทําพันธุตองประกอบดวยเอกสาร GMOS และแหลงที่มาโรค SALB แตถาเปนการนําเขาเพื่ออุปโภคบริโภค เจาหนาที่จะทําการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช หากไมพบจะออก

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


62

รายงานฉบับสมบูรณ์

62

ใบอนุญาตให หากพบศัตรูพืชที่สําคัญจะแจงไปยังฝายกักกันพืชเพื่อดําเนินคดีทันทีหากพบศัตรูพืชไม สําคัญจะทําการกําจัดศัตรูพืชกอนออกใบอนุญาตให (แผนภาพที่ 5-3) 2) กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง (1) พิธีการศุลกากร การผานพิธีการศุลกากร เปนไปตามหลักเกณฑการผานพิธีการ ศุลกากรนําเขาทางอิเล็คทรอนิคทั่วไป โดยเครื่องคอมพิวเตอรของศุลกากรจะทําการตรวจสอบความ ถูกตองของใบขนสินคา แฟมขอมูลอางอิง และบัญชีสินคา พรอมทั้งแจงใหผูประกอบการชําระคาภาษี อากร หรือยกเวนอากร กรณีสินคาที่ตองเช็คตรวจระบบจะสงขอมูลเตรียมของใหโรงพักสินคาพรอมทัง้ แจงใหผูประกอบการติดตอโรงพักสินคาเพื่อเตรียมของ หลังจากนั้นโรงพักสินคาสงขอมูลแจงของ พรอมตรวจของตามหลักเกณฑที่กําหนดและบันทึกผลการตรวจปลอยดวยระบบคอมพิวเตอรสงขอมูล ใบสั่งปลอยใหโรงพักสินคาและแจงใหผูประกอบการไปติดตอขอรับสินคาและนําของออกจากอารักขา ศุ ล กากร หลั ง จากส ง มอบของแล ว โรงพั ก สิ น ค า จะส ง ข อ มู ล การส ง มอบด ว ยระบบคอมพิ ว เตอร (แผนภาพที่ 5-4) (2) ขั้นตอนการตรวจวิเคราะหตัวอยางสินคานําเขา เนื่องจาก ผัก – ผลไม เปน สินคาควบคุมตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 มาตรา 18 โดยกําหนดใหกอนการนําเขาจะตองผานการ ตรวจและไดรับการอนุญาตจากเจาหนาที่กรมวิชาการเกษตรกอน ดังนั้นหากมีการนําเขาผัก-ผลไม เมื่อ ผูนําเขาสงขอมูลนําเขาในระบบและไดรับเลขที่ใบขนสินคาแลว กอนจะทําการตรวจปลอยสินคาออก จากอารั ก ขาศุ ล กากร จะต อ งนํ า ใบขนฯพร อ มตัว อย า งสิ น ค า ส งให แ ก เ จ า หน า ที่ข องด า นตรวจพื ช กรมวิชาการเกษตรทําการตรวจสอบ หากตรวจสอบแลวไมมีขอติดขัดประการใด เจาหนาที่จะทําการ ลงลายมือชื่อประทับตราชื่อและตราของหนวยงานลงบนสําเนาใบขนฯ สงคืนมายังฝายบริการศุลกากร โดยฝายบริหารศุลกากรจะเก็บสําเนาใบขนฯ ที่มีการลงลายมือชื่อและประทับตราดังกลาว สงไปยังสวน ควบคุมศุลกากร เพื่อดําเนินการตรวจปลอยตอไป (แผนภาพที่ 5-5)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 63 63

ภาพที่ 5-1 ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านในการนํ า เข า – นํ า ผ า นพื ช สิ่ ง ต อ งห า ม ตาม พ.ร.บ. กั ก พื ช พ.ศ. 2507 ของกรมวิชาการเกษตร รับแจงตามแบบ พ.ก.7

การนําเขา

พนักงานเจาหนาที่ตรวจเอกสาร (10 – 15 นาที)

การนําผาน

- ใบอนุญาตใหนําเขาตามแบบ พ.ก.2 - บัตรอนุญาตใหนําเขาตามแบบ พ.ก.3 ติดบนหีบหอในที่ที่เห็นชัดเจน - ใบรับรองปลอดศัตรูพืช (Phytosanitary Certificates) จากเจาหนาที่ประเทศผูสงออก

- ใบอนุญาตใหนําเขาตามแบบ พ.ก.5 - บัตรอนุญาตใหนําเขาตามแบบ พ.ก.6 ติดบนหีบหอในที่ที่เห็นชัดเจน - ใบรับรองปลอดศัตรูพืช (Phytosanitary Certificates) จากเจาหนาที่ประเทศผูสงออก

- เงื่อนไขตามที่อธิบดีกําหนด

- เงื่อนไขตามที่อธิบดีกําหนด

ถูกตอง

1 วันทําการ

ฝายกักกันพืช

ไมถูกตอง

ถูกตอง

ยึดและแจงความดําเนินคดีตอ พนักงานสอบสวนใหเจาหนาที่ ดําเนินคดี (ดําเนินคดีทันที)

ออกหนังสืออนุญาตตาม แบบ พ.ก.8 (5 นาที)

ไมถูกตอง

เจาพนักงานสอบสวน ดําเนินคดี (ดําเนินการทันที)

ที่มา : สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


64

รายงานฉบับสมบูรณ์

64

ภาพที่ 5-2 ขัน้ ตอนการปฏิบัติงานในการนําเขา – นําผานพืช สิง่ กํากัด ตาม พ.ร.บ.กักกันพืช พ.ศ. 2507 ของกรมวิชาการเกษตร รับแจงตามแบบ พ.ก.7

สิ่งกํากัด เพื่อทําพันธุ

พนักงานเจาหนาที่ตรวจเอกสาร (10 – 15 นาที)

สิ่งกํากัด เพื่อบริโภคหรืออุปโภค

ใบรับรองปลอดศัตรูพืช (Phytosanitary Certificates) จากเจาหนาที่ประเทศผูสงออก

- ใบรับรองปลอดศัตรูพืช (Phytosanitary

Certificates) จากเจาหนาที่ประเทศผูสงออก - เอกสาร non GMOS จากประเทศผูสงออก

พนักงานเจาหนาที่ตรวจวินิจฉัย (30 นาที – 1 ชั่วโมง)

- เงื่อนไขตามที่อธิบดีกําหนด

พนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบ และปฏิบัติตามเงื่อนไขทางวิชาการ ( 15 - 30 นาที ) 1 วันทําการ

พบศัตรูพืช

ศัตรูพืชที่สําคัญ (ดําเนินการทันที)

ฝายกักกันพืช

ปลอดศัตรูพืช

ศัตรูพืชที่ไมสําคัญ

กํากัดศัตรูพืช (1 – 2 วันทําการ)

ออกหนังสืออนุญาต ตามแบบ พ.ก.8 (5 นาที)

ที่มา : สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 65

65

ภาพที่ 5-3 ขัน้ ตอนการปฏิบัติงานในการนําเขาพืช สิ่งไมตองหาม ตาม พ.ร.บ.กักกันพืช พ.ศ. 2507 ของกรมวิชาการเกษตร รับแจงตามแบบ พ.ก.7

สิ่งไมตองหาม เพื่อทําพันธุ

ตรวจเอกสาร GMOS

พนักงานเจาหนาที่ตรวจเอกสาร (5 – 10 นาที)

จากแหลงอื่น

สิ่งไมตองหาม เพื่อบริโภคหรืออุปโภค

พนักงานเจาหนาที่ตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช (30 นาที – 1 ชั่วโมง)

จากแหลงที่มาโรค SALB พบศัตรูพืช

พนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบ และปฏิบัติตามเงื่อนไขทาง วิชาการ(15 - 30 นาที) 1 วันทําการ

ปลอดศัตรูพืช

ศัตรูพืชที่ไมสําคัญ ศัตรูพืชที่สําคัญ (ดําเนินการทันที)

ฝายกักกันพืช

กํากัดศัตรูพืช (1 – 2 วันทําการ)

ออกหนังสืออนุญาต ตามแบบ พ.ก.8 (5 นาที)

ที่มา : สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


66

รายงานฉบับสมบูรณ์

66

ภาพที่ 5-4 พิธีการศุลกากรนําเขาทางอิเล็กทรอนิกส (E-import) ของกรมศุลกากร ผูประกอบการสงขอมูลใบขนสินคาขาเขา

เครื่องคอมพิวเตอรของศุลกากร ตรวจสอบความถูกตองของใบขนสินคา กับ แฟมขอมูลอางอิง และบัญชีสินคา

ชําระคาภาษีอากรหรือยกเวนอากร

ระบบสงขอมูลเตรียมของใหโรงพักสินคา และแจงผูประกอบการ

เปดตรวจ

ผูประกอบการติดตอโรงพักสินคาเพื่อเตรียมของ โรงพักสินคาสงขอมูลแจงของพรอมตรวจมายังกรมฯ

ระบบคอมพิวเตอรของศุลกากร กําหนดชื่อนายตรวจโดยอัตโนมัติ

นายตรวจไปตรวจของตามหลักเกณฑ ที่กําหนดและบันทึกผลการ ตรวจปลอยในระบบคอมพิวเตอร

ดําเนินการตาม คําสั่งการตรวจ

ยกเวนตรวจ

ระบบคอมพิวเตอรของศุลกากรสง ขอมูลใบสั่งปลอยใหโรงพักสินคา และแจงผูประกอบการใหไปรับของ

ผูประกอบการติดตอโรงพักสินคาเพื่อ ออกของและนําของออกจากอารักขา

โรงพักสินคาสงขอมูลการสงมอบของ มายังระบบคอมพิวเตอรของศุลกากร เมื่อสงมอบของแลว

ที่มา : กรมศุลกากร

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบู67รณ์ 67

67

ภาพที่ 5-5 ขัน้ ตอนการตรวจวิ ตอนการตรวจวิเเคราะห ภาพที คราะหตตัวัวอยอยาางสิงสินนคคานํานําเขาเขาของกรมศุ าของกรมศุลกากร ลกากร ธุธุรรการตรวจความถู รณรขณอง การตรวจความถูกตกอตงอสมบู ง สมบู ของ เรืเรื่อ่อง/ใบขนฯ/ตั ากัาบกัสิบนสิคนาคา ง/ใบขนฯ/ตัวอย วอยาง/เอกสารกํ าง/เอกสารกํ ไมถถูกูกตตอองครบถ งครบถววนน ไม

ถูกถูตกอตงครบถ วน วน องครบถ

หนววยงาน ยงาน เจ เจาาของเรื คืคืนนหน ของเรื่อ่องง

ธุรธุการ ดสบ. กวส. ลงทะเบี ยนรัยบนรับ รการ ดสบ. กวส. ลงทะเบี ใบขนฯ/เรื่อง/ตัวอยาง ใบขนฯ/เรื่อง/ตัวอยาง ฝายที่รับผิดชอบประเภทพิกัดฯของสินคา ฝายที่รับผิดชอบประเภทพิกัดฯของสินคา กําหนดชื่อนักวิทยาศาสตรผูรับผิดชอบ กําหนดชื่อนักวิทยาศาสตรผูรับผิดชอบ ธุรการ รับเรื่องและสงให การ รับเรืร่อับงและส นักวิธุทรยาศาสตร ผิดชอบงให นักวิทยาศาสตรรับผิดชอบ นักวิทยาศาสตรรับเรื่อง นักจวิารณาดํ ทยาศาสตร ับเรื่อง และพิ าเนินรการ และพิจารณาดําเนินการ

สามารถดําเนินการไดเอง สามารถดําเนินการไดเอง นวศ. พิจารณาและตรวจวิเคราะหและพิจารณา นวศ. พิจารณาและตรวจวิ ตามกฎหมายอื่นทีเคราะห ่เกี่ยวขอแงละพิจารณา ตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ นวศ.บันทึกผลการ พินวศ.บั จารณาหลั ใบขนฯ นทึกงผลการ

ไมสามารถดําเนินการได ไมสามารถดําเนินการได

มีปญหา

มีปญหา

พิจารณาหลังใบขนฯ

ผลการวิเคราะหไมตรง ตามสําแดงและต ผลการวิ เคราะหไอมงตรง ปฏิตามสํ บัติตามกฎหมายอื าแดงและตอ่นง

สงหนวยงานรับผิดชอบ

ปฏิบัติตามกฎหมายอื่น

สงหนวยงานรับผิดชอบ

เสนอหนวยงานที่เกี่ยวของ หนวยงานเจ าของเรื ง อง เสนอหน วยงานที ่เกี่ย่อวข (กพก./สทก./สกม. ฯลฯ) หนวยงานเจาของเรื ่อง

เก็บเงินคาธรรมเนียมสงวิเคราะหหนวยงานภายนอก เก็บเงิจํนานวน คาธรรมเนี งวิเคราะห 2,000 ย–มส 3,000 บาทตอหตันววอยยงานภายนอก าง จํานวน 2,000 – 3,000 บาทตอตัวอยาง ธุรการ ดสบ. ออกเอกสารใหชําระเงินคาวิเคราะห ธุรการ ดสบ. ออกเอกสารใหชําระเงินคาวิเคราะห หัวหนาฝายฯลงนามเรียกเก็บเงิน ยมการวิเคราะห หัควาธรรมเนี หนาฝายฯลงนามเรี ยกเก็บเงิน

คาธรรมเนียมการวิเคราะห ผูนําเขา/ตัวแทนออกของชําระ คาธรรมเนี ที่กองเก็บาอากร ผูนยํามการวิ เขา/ตัวเคราะห แทนออกของชํ ระ

คาธรรมเนียมการวิเคราะหที่กองเก็บอากร นวศ. ดําเนินการสงวิเคราะห (กพก./สทก./สกม. ฯลฯ) และแจงผลการวิเคราะห ที่มา : งานดานสนับสนุนและบริการวิเคราะหสินคา นวศ. ดําเนินการสงวิเคราะห และแจงผลการวิเคราะห ที่มา : งานดานสนับสนุนและบริการวิเคราะหสินคา ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


68

รายงานฉบับสมบูรณ์

68

3) สํานักงานอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ขั้นตอนในการตรวจสอบผัก – ผลไมสด นําเขาของดานอาหารและยา เปนการ ตรวจหลักฐานนําเขาที่ทําใหเชื่อมั่นวา ผักและผลไมสดปลอดภัยจากสารพิษตกคาง เชน หนังสือรับรอง จากหนวยงานราชการประเทศผูสงออก หรือใบรับรองผลการวิเคราะห เปนตน ซึ่งหากไมมีหลักฐาน ดังกลาวเจาหนาที่ดานจะสุมเก็บตัวอยางเพื่อทําการทดสอบเบื้องตนโดยใช Test Kit หากผลการ ตรวจสอบเปนบวกจะสงตัวอยางดังกลาวไปตรวจวิเคราะหที่หองปฏิบัติการดวยเครื่อง GC และหากผล ยังไมผานมาตรฐานจะทําการเรียกคืนสินคา แจงเตือนผูบริโภคดําเนินคดีเพื่อเปรียบเทียบปรับกับผูนําเขา พรอมทั้งนําเขาระบบกักกันสําหรับการนําเขาครั้งตอไป โดยบันทึกผลการตรวจลงฐานขอมูลและเมื่อมี การนําเขาครั้งตอไปเจาหนาที่จะเก็บตัวอยางไปตรวจสอบเบื้องตนพรอมเก็บการอายัดสินคาไวที่บริษัท เพื่อดูผลการตรวจวิเคราะห วาผานเกณฑมาตรฐานหรือไม หากทําการตรวจสอบผานเกณฑมาตรฐาน 3 ครั้งติดตอกันจะหลุดจากระบบกักกัน (แผนภาพที่ 5-6) ภาพที่ 5-6 ขั้นตอนตรวจสอบการนําเขาผัก ผลไมสด ของดานอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ผักและผลไมสด ตรวจสอบหลักฐานการนําเขา หลักฐานที่ทําใหเชื่อมั่นวา ผัก ผลไมสด ปลอดภัยจากสารพิษ ตกคาง 4 กลุมเชน - หนังสือรับรองจากหนวยงานราชการฯ ประเทศผูสงออก หรือ - ใบรับรองผลการวิเคราะห (Certificate of Analysis) - ฯลฯ

ไมมีหลักฐาน

มีหลักฐาน

สุมตัวอยางทดสอบเบื้องตน

ตรวจผานดานอาหารและยา

ไมตองรอผล นําไปวิเคราะหเพื่อนําผลมาใชในการ พิจารณาตรวจสอบนําเขาครั้งตอไป

ตรวจผานดานอาหารและยา

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 69 69

ภาพที่ 5-6 ขั้นตอนตรวจสอบการนําเขาผัก ผลไมสด ของดานอาหารและยา (ตอ) ใช Test Kit ตรวจสอบเบื้องตน ผลตรวจสอบเมื่อเห็นเปนบวก

สงตัวอยางวิเคราะหที่หองปฏิบัติการ

ผลตรวจสอบเมื่อเห็นเปนลบ

บันทึกผลการตรวจลงฐานขอมูล ตรวจวิเคราะหดวยเครื่อง GC

ผลไมผานมาตรฐาน

นําเขาระบบกักกัน สําหรับการนําเขาครั้งตอไป

เรียกคืน/ เตือนผูบริโภค

ผลผานมาตรฐาน

ดําเนินคดี (เปรียบเทียบปรับ)

บันทึกผลการตรวจลงฐานขอมูล

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


70

รายงานฉบับสมบูรณ์

70

ภาพที่ 5-6 ขั้นตอนตรวจสอบการนําเขาผัก ผลไมสด ของดานอาหารและยา (ตอ) นําเขาครั้งตอไป ตรวจสอบหลักฐานการนําเขา เก็บตัวอยางทดสอบเบื้องตน อายัดไวที่บริษัท ผลตรวจสอบเมื่อเห็นเปนลบ

3 ครั้งติดตอกันหลุด จากระบบกักกัน

ผลตรวจสอบเมื่อเห็นเปนบวก

ใช Test Kit ตรวจสอบเบื้องตน

บันทึกผลการตรวจ ลงฐานขอมูล ผลไมผานมาตรฐาน

สงตัวอยางวิเคราะหที่หองปฏิบัติการ

ตรวจวิเคราะหดวย เครื่อง GC

ผลผานมาตรฐาน 3 ครั้งติดตอกันหลุด จากระบบกักกัน

นําเขาระบบกักกัน สําหรับการนําเขาครั้งตอไป

เรียกคืน/ เตือนผูบริโภค

ดําเนินคดี (เปรียบเทียบปรับ)

บันทึกผลการตรวจ ลงฐานขอมูล

ที่มา : สํานักงานอาหารและยา

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 71 71

5.3 ขั้นตอนและวิธีการตรวจสอบผัก - ผลไมนําเขาของจีน 5.3.1 ชนิดของผัก – ผลไม ที่จีนอนุญาตใหนําเขาจากไทย 1) ขั้นตอนการขออนุญาตสงออก ในการสงออกผัก – ผลไม ไปยังประเทศจีน ประเทศผู ส ง ออกจะต อ งแจ ง ชนิ ด ของผั ก และผลไม ที่ ต อ งการส ง ออกไปยั ง สํ า นั ก งานควบคุ ม คุ ณ ภาพและ ตรวจสอบกักกันโรคแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน หรือ AQSIQ ที่ปกกิ่ง เมื่อ AQSIQ พิจารณาเรียบรอย แลว กรมวิชาการเกษตรจะตองสงขอมูล เพื่อประกอบการวิเคราะหความเสี่ยงดานศัตรูพืช (Quarantine Pest Risk Analysis) ไปให AQSIQ ตรวจสอบวาจะอนุญาตใหนําเขาไดหรือไม (ซิงชิง ทองดี และคณะ รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาวิจัยระบบ Logistic และ Supply Chain สินคาเกษตรเพื่อการขยาย ตลาดสงออกไปยังประเทศในเอเชีย ป 2551, หนา 114) 2) ชนิดของผักที่จีนอนุญาตใหนําเขา ไดแก พืชผัก 5 ประเภท ตามพิธีสารฯ เชน พืชผัก ตระกูลถั่ว หนอไมฝรั่ง ถั่วบีน เผือก พริกขี้หนู มะนาว ใบมะกรูด กะเพรา โหระพา และพืชผักอื่นๆสด และแชเย็น 3) ชนิดของผลไมที่จีนอนุญาตใหนําเขา ปจจุบันมีจํานวน 23 ชนิด ไดแก กลวย มะเฟอง สมโอ สม มะพราว นอยหนา ทุเรียน ฝรั่ง ขนุน ลองกอง ลําไย ลิ้นจี่ มะมวง มังคุด มะละกอ เสาวรส สับปะรด เงาะ ละมุด แอปเปล มะขาม สมเขียวหวานและชมพู ซึ่งจากการประชุม ASIAN SUMMIT ครั้งที่ 15 เมื่อวันที่ 21 – 22 ตุลาคม 2552 ที่โรงแรม ดุสิตธานีหัวหิน-ชะอํา จังหวัดประจวบคีรีขันธ ฝายไทยยืนยันขอใหมีการปรับแกรายการผลไมจากแอปเปล เปนสละ เนื่องจากแอปเปลเปนผลไมเมืองหนาวไทยไมมีการผลิตและไมมีตัวเลขทางสถิติของกรมศุลกากรวามีการสงออกแอปเปลจากไทยไปจีน ขณะที่ไทยมีการนําเขาแอปเปล จากจีนเปนจํานวนมาก ในแตละป ทั้งนี้หากจีนถือวาเปนสินคาตัวใหมและตองทําการ Pest Risk Analysis (PRA) ใหม ไทยพรอมที่จะจัดสง PRA โดยขอใหฝายจีนเรงรัดดําเนินการเชนเดียวกับที่ไทยเรงรัดการทํา PRA สินคา พืชจํานวน 28 ชนิด ตาม พ.ร.บ. กักกันพืชฉบับใหมใหเปนพิเศษโดยถือวาไทยและจีนมีความสัมพันธ อันดีตอกัน ทั้งนี้ ไทยเปนประเทศที่จีนอนุญาตใหนําเขาผลไมไดมากชนิดที่สุดรองลงมาไดแก ไตหวัน 16 ชนิด นิวซีแลนด 9 ชนิด เวียดนาม พมา และสหรัฐอเมริกา ประเทศละ 8 ชนิด (ตารางที่ 5-1)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


72

รายงานฉบับสมบูรณ์

72

ตารางที่ 5-1 จํานวนและรายชื่อผลไมที่ประเทศจีนอนุญาตใหนําเขาจากประเทศตางๆ ประเทศผูสงออก ไทย

จํานวนชนิด 23

มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม พมา ฟลิปปนส ญี่ปุน ปากีสถาน อินเดีย อิสราเอล ไตหวัน

7 3 8 8 4 2 2 2 4 16

อเมริกา

8

เม็กซิโก 2 ปานามา 1 เอกวาดอร 1 โคลัมเบีย 1 คอสตาริกา 1 อุรุกวัย 4 อารเจนตินา 3 ชิลี 5 เปรู 2 ฝรั่งเศส 1 สเปน 4 แอฟริกาใต 5 อียิปต 4 ออสเตรเลีย 5 นิวซีแลนด 9 ที่มา : AQSIQ 2005. , APEC 2005.

ชนิดของผลไม มะขาม สม ลองกอง นอยหนา เกรฟฟรุต สมโอ มะละกอมะเฟอง ฝรั่ง เงาะ ชมพู ขนุน มะพราว สับปะรด ละมุด กลวยเสาวรส ลําไย ทุเรียน มะมวง ลิ้นจี่ มังคุด สละ ลําไย มังคุด ลิ้นจี่ มะพราว แตงโม มะละกอ เงาะ กลวย ลําไย มังคุด มะมวง ลําไย กลวย ลิ้นจี่ แตงโม มะละกอ เงาะ ลําไย มังคุด เงาะ ลิ้นจี่ มะมวง แตงโม แตงอื่นๆ พุทรา สับปะรด กลวย มะมวง มะละกอ แอปเปล ลูกแพร มะมวง สม (Citrus) มะมวง องุน สม Grapefruit สมเขียวหวาน มะนาว สับปะรด กลวย มะพราว นอยหนา มะละกอ มะเฟอง มะมวง ฝรั่ง ชมพู หมาก สม Grapefruit พลัม โลควอท(LoQuat) ลูกพลับ ลูกพีช พลัม(แคลิฟอเนีย) เชอรรี่ (วอชิงตัน โอเรกอน แคลิฟอเนีย ไอดาโฮ) องุน (แค ลิฟอเนีย) แอปเปล(สีแดง สีทองสองสายพันธรัฐวอชิงตัน) มะขาม สม สมโอ มะนาว (แคลิฟอเนีย ฟลอริดา อริโซนา เท็กซัส) อะโวคาโด องุน กลวย กลวย กลวย กลวย มะขาม สม Grapefruit มะนาว สม Grapefruit มะขาม กีวี แอปเปล องุน พลัม เชอรรี่ องุน มะมวง แอปเปล มะขาม สม Grapefruit มะนาว มะขาม สม Grapefruit มะนาว องุน มะขาม สม Grapefruit มะนาว มะขาม สม Grapefruit มะนาว มะมวง มะขาม สม มะนาว แอปเปล เชอรรี่ องุน กีวี ลูกแพร พลัม

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 73 73

5.3.2 ขั้นตอนการปฏิบัติในการขอสงออกผัก - ผลไมของไทยไปจีน 1) AQISQ หรือ General Administration of Quality Supervision and Quarantine of The People’s Republic of China เปนหนวยงานหลักที่ทําหนาที่ในดานการควบคุมคุณภาพและตรวจสอบ กักกันโรค สําหรับสินคาอาหารที่จะนําเขาสูประเทศจีน ซึ่งประเทศจีนไดจัดตั้งขึ้นมาเพื่อรองรับการเขา รวมเปนสมาชิกองคการการคาโลก(WTO) โดยองคกรดังกลาวประกอบดวยหนวยงาน ดานกฎหมาย วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การตรวจสอบและบริหารจัดการดานคุณภาพ ความปลอดภัยในดานนําเขา – สงออกอาหาร ตลอดจนความรวมมือระหวางประเทศ (แผนภาพที่ 5 - 7) 2) ขั้นตอนการสงออก ผัก – ผลไมไปจีน (1) ผูสงออกตองจดทะเบียนกับกรมวิชาการเกษตร ซึ่งกรณีการสงออกผลไมไปจีน ผานประเทศที่ 3 มีเพียง บริษัท ไทย-ฮง บริษัทเดียวที่จดทะเบียนแลว (2) ผู นํ า เข า ของจี น ต อ งจดทะเบี ย นและได รั บ ใบอนุ ญ าต ให เ ป น ผู นํ า เข า (Import License) พรอมทั้งตองมีใบอนุญาตนําเขาดานสุขอนามัยพืช(Quarantine Import Permit ; QIP) ซึ่งออก โดย AQSIQ (3) ตรวจสอบชนิดของผัก – ผลไม ที่จีนอนุญาตใหนําเขา รวมทั้งขั้นตอนการปฏิบัติ ตามพิธีสารไทย – จีน (4) ผูสงออกยื่นคํารองขอรับใบรับรองสุขอนามัยพืช (PC) ที่ดานตรวจหรือกลุมบริการ สงออก (5) พนักงานเจาหนาที่ของกรมวิชาการเกษตรนัดหมายไปตรวจสินคา ซึ่งสินคาตอง เปนไปตามพิธีสารรวมระหวางกระทรวงเกษตรและสหกรณของไทยและสํานักงาน AQISQ ของจีน คือ ตองมาจากสวนและโรงคัดบรรจุที่ขึ้นทะเบียนไวกับกรมวิชาการเกษตรและจะตองติด Label ตามที่ได ตกลงในพิธีสาร (6) เมื่อเจาหนาที่ตรวจสินคาไมพบศัตรูพืชกักกันของจีนและเปนไปตามพิธีสารแลว จะตอง Seal ตูคอนเทนเนอร โดย Seal สีเหลืองมีตรากรมวิชาการเกษตรและมีหมายเลข Seal กํากับ (7) การกรอกใบ PC ใหเขียนขอความตามพิธีสารและตองมีหมายเลขตูคอนเทนเนอร และหมายเลข Seal ในกรณีการสงออกผลไมไปจีนผานประเทศที่ 3 จะตองขนสงโดยใชตูคอนเทนเนอร ควบคุมอุณหภูมิเทานั้น และเมื่อผูสงออกไดรับใบ PC จากกรมวิชาการเกษตรแลวตองนําใบ PCไปยื่น เจาหนาที่ดานตรวจพืชมุกดาหารเพื่อสง Fax ใหดานผิงเสียง โดยใบ PC ที่ลงวันที่แลวตองถึงดานผิงเสียง ภายใน 7 วัน สําหรับรายละเอียดกระบวนการทางการตรวจสอบและกักกันสินคาของกรมวิชาการเกษตร กระบวนการปฏิบัติในการขนสงผัก – ผลไมไทยไปจีน ขั้นตอนการปฏิบัติของบริษัทที่ไดรับใบอนุญาต

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


74

รายงานฉบับสมบูรณ์

74

นําเขา รวมทั้งขั้นตอนการตรวจสอบการนําเขาผลผลิตและดานกักกันพืช CIQ (China Inspection Quarantine) ณ. ทาเรือขาเขา ดังแผนภาพที่ 5 – 8 , 5 – 9 , 5– 10 และ 5 - 11 ภาพที่ 5-7 โครงสรางหนวยงานหลักของ General Administration of Quality Supervision, Inspection and Quarantine of The People’s Republic of China (AQSIQ)

AQSIQ

Department

Bureau

Department of Legislation

Department of Supervision on Health Quarantine

Department of Quality Management

Department of Supervision on Animal and Plant Quarantine

Department of Metrology Department of Inspection and Quarantine Clearance Department of Law Enforcement and Supervision

Department of Supervision on Inspection

Bureau of Import and Export Food Safety Bureau of Special Equipment Safety Supervision

Department of Supervision on Product Quality Department of Supervision on Food Production

Department of International Cooperation Department of Science and Technology ที่มา : WWW.AQSIQ.GO.CN

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์75 75

ภาพที่ 5-8 กระบวนการทางการตรวจสอบและกักกันสินคา

การจัดการขนสง

ผูสงออก

ขอตกลงทางธุรกรรมระหวาง ผูสงออก-ผูซื้อจีน

ใบรับรองจาก กวก.

Form E ของกรมการคาตางประเทศ

สําหรับทุเรียน การสุมตัวอยาง

ลําไย ยื่นขอใบรับรอง ความสุก-แก

การตรวจสอบความ สุก-แก และออก ใบรับรอง (กวก.)

ไมผาน ไมอนุญาต ใหสงออก

ไมผาน

การวิเคราะห สารตกคาง SO2 ออกใบรับรองการ ตกคางของ SO2 (ไมเกิน 50 ppm.) ไมอนุญาต ใหสงออก ผาน

เอกสารขนสงพรอม (เอกสาร,B/L,L/C, ใบแจงหนี้)

ไมผาน

ไมอนุญาต สงออก

การวิเคราะหทาง หองปฏิบัติการ

สินคา พรอม สงออก

การตรวจโรคแมลงสารตกคาง ผาน การออกใบรับรอง สุขอนามัยพืช

ไมผาน

ไมอนุญาตให สงออก

ผาน

ผาน การตรวจสอบเอกสาร

การตรวจสอบเอกสาร ขาออก : ศุลกากร ผาน

ไมผาน

ไมอนุญาตให สงออก

Form E ที่ใช ณ ขาออก

อนุญาตให สงออก แจงผูนําเขาของ จีนที่มีใบอนุญาต ผูสงออกจายคาขนสง ที่มา : จากการสอบถาม

ขนสงทางเรือ เขาทาเรือในจีน ผูบริโภคชาวจีน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


76

รายงานฉบับสมบูรณ์

76

ภาพที่ 5-9 กระบวนการปฏิบัติในการขนสงผลไมไทยไปจีน ผูสงออกไทยและผูซื้อจีนตกลงทางธุรกรรม (ปริมาณ คุณภาพ ฯลฯ) ผูสงออกไทยรวบรวมใบรับรองสุขอนามัยพืช ฟอรม E , และจัดการขนสง ทาเรือขาออก : การตรวจสอบเอกสาร ทาเรือขาออก : พิธีการทางศุลกากร ทาเรือขาเขา ผูนําเขาจีนที่ไดรับอนุญาตยื่นเรื่องใหศุลกากร และดานกักกันทําการตรวจสอบ/กักกันสินคา พิธีการศุลกากรในดานประเมิน VAT และการตรวจสอบ/กักกันสินคา สําหรับการขนผานฮองกง ผูนําเขาจะตองมี เอกสารรับรองจาก CIC (ณ ฮองกง)

ตูคอนเทนเนอรเปลากลับ สูเสนทางการขนสง ผูซื้อจีนจัดการใบอนุญาต นําเขาสําหรับการ แลกเปลี่ยนสกุลเงินและ การทําธุรกรรมทางการเงิน ใหแกผูสงออกไทย

ผูสงออกไทย/ผูซื้อจีนตกลงจายคาบริการ (คาธรรมเนียมรถบรรทุก, ตูขนสงสินคา ขนาดยาว,ภาษี ,ภาษีมูลคาเพิ่ม ฯลฯ) ผูนําเขาจีนแสดงสินคาและจัดการสงไปยัง ผูคาสงในกวางโจว การซื้อขาย ณ ตลาดคาสง การกระจายสินคาไปสูพอคาปลีก/ผูบริโภค

ที่มา : จากการสอบถาม

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 77 77

ภาพที่ 5-10 ขั้นตอนการปฏิบัติของบริษทั ที่ไดใบอนุญาตนําเขา ใบอนุญาตนําเขาไดรับการอนุมัติ

ใบสมัครถูกตรวจสอบ/การอนุมัติไมเปนไป โดยอัตโนมัติ (มีขอจํากัดนอยลงสําหรับการคา ผานแดน และเขตปกครองตนเอง)

ยื่นขอใบอนุญาตทําธุรกิจในฐานะบริษัทนําเขา (อนุญาตโดยกระทรวงพาณิชย)

บริษัทนําเขาจีนที่มีใบอนุญาต

สงคํายื่นขอรับใบอนุญาตนําเขาสินคาที่ตองกักกัน (อนุมัติโดย AQSIQ ปกกิ่ง ซึ่งตองมีการ พิจารณากอน)

ยื่นเรื่องใบอนุญาตนําเขาสินคาที่ตองกักกัน (ผาน CIQ ทองถิ่น มีการประเมินเบื้องตน)

ยื่นเรื่องเขารับการตรวจสอบจาก CIQ สําหรับ สินคาเขา ณ ทาขาเขา

แสดงสินคาและจัดการขนสงตูขนสงสินคาโดย รถบรรทุกไปยังตลาดคาสงในกวางโจว

ยื่นเรื่องเพื่อดําเนินการแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศ

ที่มา : จากการสอบถาม ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


78

รายงานฉบับสมบูรณ์

78

ภาพที่ 5-11 การตรวจสอบการนําเขาผลผลิตและดานกักกันพืช CIQ ณ ทาเรือขาเขา ● ใบอนุญาตนําเขาจากดานกักกัน

ยื่นเรื่องขอรับการตรวจสอบ

● ใบรับรองสุขอนามัยพืช

ไมอนุญาตนําเขา

● ใบรับรองแหลงกําเนิด ● เอกสารอื่นๆ(B/L, packing list

L/C หรือใบกํากับสินคาถามี) ● ใบรับรองการตกคาง SO2 ในลําไย

เอกสารขาด หรือไมสมบูรณ

ตรวจเอกสาร เอกสารผาน

ขั้นตอน ลาชา

เอกสารสมบูรณภายหลัง รับการยื่นเรื่อง

เอกสาร ยังไมผาน

เอกสารเรียบรอย

การประเมินมูลคาของศุลกากร และรับคาตรวจสอบจากผูนําเขา

ตรวจสอบพืช ณ สถานี

ผาน

สถานีใกลเคียง ที่เกี่ยวของ

หรือ

หรือ

สถานี ในพื้นที่

ตรวจสอบ

การวิเคราะห ในหองทดลอง

เก็บตัวอยาง

ตรวจสอบ/กักกัน ไมผาน ผาน ผานการ ตรวจ 3 ครั้ง ไมผาน

ผาน

อนุญาตใหกระจาย สินคา/บริโภค

เปนไปตาม กฎเกณฑ/ขอบังคับ ผาน

ไมเปนไปตาม กฎเกณฑ/ขอกําหนด ไมผาน

สงคืนผูเปนเจาของ หรือ ทําลายสินคา

ขึ้นบัญชีเตือน ที่มา : The 2 nd China - ASEAN EXPO, Guide Book Inspection & Quarantine Nanning, China October 19 – 22, 2005

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 79 79

5.4 ความกาวหนาในการดําเนินการเปดเสรีการคาของไทย 5.4.1 สถานะการเจรจาเปดเสรีการคา ไทยไดมีการเจรจาการคาเสรีกับ 17 คูเจรจา โดยสถานการณเจรจาสรุปได 5 กลุม ดังนี้ กลุมที่ 1 เจรจาแลวเสร็จ/เสร็จบางสวน มีผลบังคับใชแลว รวม 6 คูเจรจา คือ 1) อาเซียน - จีน (ไทย-จีน ลดภาษีผักและผลไมเหลือรอยละ 0 ตั้งแต 1 ตุลาคม 2546 และทยอยลดภาษีสินคาที่ไมออนไหวจนเหลือรอยละ 0 ในวันที่ 1 มกราคม 2553) 2) ไทย - ออสเตรเลีย (เริ่ม 1 มกราคม 2548) 3) ไทย - นิวซีแลนด (เริ่ม 1 กรกฎาคม 2548) 4) ไทย - อินเดีย (เริ่มลดภาษีเพียงสินคาเกษตร 11 รายการ ตั้งแต 1 กันยายน 2547) 5) ไทย - ญี่ปุน (เริ่มลดภาษีในบางสินคา ตั้งแต 1 พฤศจิกายน 2550) 6) อาเซียน - ญี่ปุน (AJCEP): 1 มิถุนายน 2552 กลุมที่ 2 เจรจาแลวเสร็จ และจะเริ่มมีผลบังคับใชในป พ.ศ. 2553 มี 3 คูเจรจาคือ 1) อาเซียน - เกาหลี (AKFTA): เริ่มใช 1 มกราคม 2553 2) อาเซียน - อินเดีย (AIFTA): เริ่มใช 1 มกราคม 2553 3) อาเซียน - ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด (ASEAN-CER): เริ่มใช 12 มีนาคม 2553 กลุมที่ 3 อยูระหวางการเจรจา / การเจรจาชะงักงัน มี 4 คูเจรจาคือ 1) B IMSTEC (ไทย บังกลาเทศ อินเดีย ศรีลังกา เมียนมาร เนปาล และภูฏาน) 2) อาเซียน - สหภาพยุโรป 3) ไทย - EFTA (สวิสเซอรแลนด นอรเวย ไอซแลนด และลิกเทนสไตน) 4) ไทย - สหรัฐอเมริกา กลุมที่ 4 ริเริ่มการเจรจา / อยูระหวางการขอความเห็นชอบกรอบเจรจา มี 2 คูเจรจาคือ 1) ไทย – สหภาพยุโรป 2) ไทย-ชิลี กลุมที่ 5 เจรจาเสร็จบางสวน แตไมมีผลบังคับใช มี 2 คูเจรจาคือ 1) ไทย-บาหเรน (มีขอตกลง Early Harvest แตไมมีผลทางปฏิบัติ) 2) ไทย-เปรู (ตามขอตกลงจะตองลดภาษีตั้งแต 1 มกราคม 2553 แตยังไมมีผลในทาง ปฏิบัติ เนื่องจากติดปญหาแหลงกําเนิดของสินคาประมง) 5.4.2 สรุปผลของ FTA ที่มีผลบังคับใชแลว: กรณีสินคาเกษตร 1) อาเซียน-จีน (การคาผักผลไม)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


80

รายงานฉบับสมบูรณ์

80

- ในชวงป 2546-2552 พบวา ไทยไดเปรียบดุลการคาเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 8 ตอป - กอนมี FTA ไทยไดเปรียบ 4,900 ลานบาท/ป - หลังจากมี FTA ครบ 6 ป (2547-2552) ไทยไดเปรียบเพิ่มขึ้นเปน 3,700-16,300 ลานบาท/ป โดยปลาสุด ไทยไดเปรียบสูงถึง 16,254 ลานบาท เนื่องจากการสงออกมันสําปะหลังเพิ่ม 2) ไทย-ญี่ปุน (JTEPA) - กอนมี JTEPA ไทยไดเปรียบ 81,000 ลานบาท/ป - หลังจากมี JTEPA ครบ 2 ป ไทยไดเปรียบเพิ่มขึ้นเปน 102,000-108,000 ลานบาท/ป - สินคาที่นําเขาคือ สินคาประมง ซึ่งนํามาใชเปนวัตถุดิบ และตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2553 ไทยสามารถเลือกใชประโยชนจากความตกลง FTA อาเซียน-ญี่ปุน ในสินคาที่ญี่ปุนเปดตลาดมากกวา เชน ปลาซารดีนกระปอง ปลาหมึกกระปอง 3) ไทย-ออสเตรเลีย - กอนมี FTA ไทยไดเปรียบดุลการคา 3,800 ลานบาท/ป - หลังจากมี FTA ครบ 5 ป ไทยไดเปรียบเพิ่มขึ้นเปน 2,400-7,500 ลานบาท/ป โดยป ลาสุด (2552) ไทยไดเปรียบ 5,900 ลานบาท - ไทยสงออกทูนากระปอง และขาวเพิ่มขึ้น และนําเขาขาวสาลี และขาวมอลตเพิ่มขึ้น 4) ไทย-นิวซีแลนด - กอนมี FTA ไทยเสียเปรียบดุลการคา 4,600 ลานบาท/ป จากการนําเขานมผง อาหาร เลี้ยงทารก - หลังจากมี FTA ครบ 4 ป 6 เดือน ไทยเสียเปรียบเพิ่มขึ้นเปน 4,900-7,500 ลานบาท/ป โดยปลาสุด (2552) ไทยเสียเปรียบลดลงเหลือเพียง 3,800 ลานบาท เนื่องจากการนําเขานมผงลดลง 5) ไทย-อินเดีย - การคาสินคาเกษตร Early Harvest 11 รายการ คือ ผลไม อาหารปรุงแตง และธัญพืช - กอนมี FTA ไทยไดเปรียบดุลการคา 5.6 ลานบาท/ป และหลังมี FTA ในชวง 3 ปแรก ไทยไดเปรียบดุลการคาเพิ่มขึ้นเปน 6.1-8.9 ลานบาท/ป แตในปที่ 4 (2551) ไทยเริ่มไดเปรียบดุลการคา ลดลงเหลือ 3.4 ลานบาท และขาดดุลการคา 3.6 ลานบาทในปที่ 5 (2552) เนื่องจากเริ่มมีการนําเขา องุนสดจากอินเดียเพิ่มขึ้น

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 81 81

5.4.3 FTA อาเซียน – จีน (ACFTA) 1) แนวคิดในการเจรจา เนื่องจากเปนการเจรจาภายใตหมวกของ “อาเซียน” ซึ่งตองใชรูปแบบการเปดตลาดที่ เห็ น พ องกั น ทั้ ง 10 ประเทศ จึ ง ใช รู ป แบบ “การเป ดเสรี เชิ งรั บ” ซึ่ งยั งไม ลดภาษี ใ ห เ หลื อร อยละ 0 ในทุกสินคา ดังนั้น ไทยจึงไมสามารถใชวิธีเจรจาแบบ “แลกเปลี่ยน” กับจีนในสินคาที่สนใจภายใต กรอบ ACFTA ได 2) ผลการเจรจา - ไทยและจีน ลดภาษีแบบ Early Harvest ในสินคาผักและผลไมเหลือรอยละ 0 ทันที ตั้งแต 1 ตุลาคม 2546 - ทยอยลดสินคาที่ไมออนไหวตั้งแตกลางป 2548 จนเหลือภาษีรอยละ 0 ในป 2553 - ใชรูปแบบการเจรจาแบบ “ตารางลดภาษี” และ “จัดกลุมสินคา” จึงมีชองทางให ชะลอผลกระทบ โดย จัดเปน “สินคาออนไหว” ซึ่งยังไมเริ่มลดภาษี และภาษีสุดทายไมใชรอยละ 0 - สินคาออนไหวของไทย เชน สินคาโควตาภาษี TRQ (กระเทียม หอมหัวใหญ ชา ฯลฯ) ทั้งนี้ การลดภาษีกระเทียม หอมหัวใหญ ของไทยนั้น เปนเพียงการลดเฉพาะภาษีในโควตาเหลือรอยละ 0 เทานั้น แตยังเก็บภาษีนอกโควตาเทาเดิม ซึ่งปริมาณโควตานอยมากเมื่อเทียบกับปริมาณนําเขา เชน กระเทียม โควตาเพียง 65 ตัน/ป แตนําเขาจากจีน 20,000 - 45,000 ตัน/ป ดังนั้นการนําเขาที่เพิ่มขึ้นไมใช ผลจาก FTA - สินคาออนไหวของจีน เชน สินคาโควตาภาษี TRQ (ขาว ขาวโพด น้ํามันถั่วเหลือง น้ํามันปาลม) 1) การคาสินคาเกษตร (ตอนที่ 01-24) ระหวางไทย-จีน มูลคา ไทยสงออก ไทยนําเขา ดุลการคาของไทย

2549 41,446 14,831 26,615

2550 36,443 18,176 18,267

2551 29,657 22,502 7,155

2552 48,049 23,671 24,378

เฉลี่ย/ป 38,899 19,795 19,104

หนวย: ลานบาท Growth (%) 2 17 -11

- ไทยสงออก มันสําปะหลัง ขาว ปลา/กุง น้ํามันปาลม น้ําตาล กุง ผลไมเมืองรอน (ลําไย ทุเรียน มังคุด) - ไทยนําเขา ผลไมเมืองหนาว (แอปเปล แพร สาลี่ องุน สม) แครอท แปงสาลี ปลาสคิปแจ็ก/แมคเคอเรล

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


82

รายงานฉบับสมบูรณ์

82

5.4.4 FTA ไทย - จีน ผักและผลไม เปนกลุมที่เปนผลจาก FTA ที่ชัดเจนที่สุด และเปนกลุมที่มีการคาระหวางกัน มากที่สุดในสินคาเกษตร และลดภาษีมาแลวเปนระยะเวลากวา 6 ป โดยมูลคาการคาไทย-จีนสําหรับ สินคาผัก (พิกัด 07) สรุปดังนี้ หนวย: ลานบาท กอน FTA หลัง FTA Growth มูลคา เฉลี่ย/ป (%) 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 ไทยสงออก 5,406 8,600 11,911 16,203 12,146 6,992 19,718 11,568 13 ไทยนําเขา 840 1,443 1,972 2,629 2,809 3,023 3,851 2,528 15 ดุลการคาไทย 4,566 7,157 9,939 13,574 9,337 3,969 15,867 9,040 13 ไทยสงออกเพิ่มเฉลี่ยรอยละ 13 ตอป โดยกอน FTA 5,406 ลานบาท/ป และหลัง FTA: เพิ่มขึ้นทุกปเปน 8,600-19,718 ลานบาท/ป ยกเวนป 2551 ลดลงกวาครึ่ง เหลือ 6,992 ลานบาท เนื่องจาก สงออกมันสําปะหลังลดลง (มูลคาสงออกมันสําปะหลัง คิดเปนกวารอยละ 99 ของมูลคาสงออก ผักทั้งหมดจากไทยไปจีน) สินคาอื่น เชน ถั่ว ไทยนําเขาเพิ่มเฉลี่ยรอยละ 15 ตอป โดยกอน FTA มูลคา 840 ลานบาท/ป และหลัง FTA เพิ่มขึ้นทุกปเปน 1,443-3,851 ลานบาท/ป ชนิดสินคา เชน แครอท เห็ด บลอคโคลี่ กระเทียม มันฝรั่ง ไทยไดเปรียบดุลการคาเพิ่มเฉลี่ยรอยละ 13 ตอป โดยกอน FTA มูลคา 4,566 ลานบาท/ป และหลัง FTA เพิ่มขึ้นทุกปเปน 7,157-15,867 ลานบาท/ป ยกเวนป 2551 ลดลงมาก เหลือ 3,969 ลานบาท เนื่องจากสงออกมันสําปะหลังลดลง และนําเขาแครอทและกระเทียมเพิ่มมากขึ้น อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาการนําเขา-สงออกเฉพาะผัก โดยไมรวมผลิตภัณฑมันสําปะหลัง พบวาไทยขาดดุลการคาเฉลี่ยรอยละ 26 ตอป จาก 1,424 ลานบาทในป 2547เปน3,801 ลานบาทในป 2552 มูลคาการคาไทย-จีนสําหรับสินคาผัก(พิกัด 07) โดยตัดมันสําปะหลังออก สรุปดังนี้ หนวย: ลานบาท กอน FTA หลัง FTA Growth มูลคา เฉลี่ย/ป (%) 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 ไทยสงออก ไทยนําเขา ดุลการคาไทย

19 840 -821

19 23 41 24 31 50 29 1,443 1,972 2,629 2,809 3,023 3,851 2,367 -1,424 -1,949 -2,588 -2,785 -2,992 -3,801 -2337

15 26 -

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 83 83

มูลคาการคาไทย-จีนสําหรับสินคาผลไม (พิกัด 08) สรุปดังนี้ มูลคา ไทยสงออก ไทยนําเขา ดุลการคาไทย

กอน FTA 2546 2547 2,822 2,934 2,479 2,703 343 231

2548 3,912 2,937 975

หลัง FTA 2549 2550 3,732 4,425 3,544 4,223 188 202

2551 4,967 5,190 -223

หนวย: ลานบาท Growth เฉลี่ย/ป ( %) 2552 6,815 4,385 11 6,428 3,995 15 387 391 -

ไทยสงออกเพิ่มเฉลี่ย รอยละ 11 ตอป โดยกอน FTA มูลคา 2,822 ลานบาท/ป และหลัง FTA เพิ่มขึ้นเปน 2,934-6,815 ลานบาท/ป ชนิดผลไมที่สําคัญ เชน ลําไย ทุเรียน มังคุด กลวยไข มะขามหวาน ขณะที่ไทยนําเขาเพิ่มเฉลี่ยรอยละ15 ตอป โดยกอน FTA มูลคา 2,479 ลานบาท/ป และหลัง FTA เพิ่มขึ้นเปน 2,703-6,428 ลานบาท/ป ชนิดผลไมนําเขาที่สําคัญ เชน แอปเปล สาลี่ องุน สม เกาลัด ไทย ไดเปรียบดุลการคาเกือบทุกป แตลดลงจากกอน FTA โดยกอน FTA มูลคา 343 ลานบาท/ป และ หลัง FTA มูลคา 188-975 ลานบาท/ป ยกเวนป 2551 ขาดดุล 223 ลานบาท เนื่องจากสงออกลําไยลดลง กวาครึ่ง และนําเขาสมเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น อาจกลาวโดยสรุปไดวา ในแงของดุลการคาของไทยพบวา FTA อาเซียน–จีนไดสงผล ประโยชนตอไทย โดยเฉพาะการสงออกมันสําปะหลังและผลไมเมืองรอนแตในขณะเดียวกัน FTA ยอม กอใหเกิดผลกระทบอยางหลีกเลี่ยงไมได โดยผูที่ไดผลกระทบทางตรงคือเกษตรกรที่ปลูกผลไมบาง ชนิด (สม) และผลกระทบทางออมในเชิงของการบริโภคทดแทนกัน (ผลไมเมืองหนาว: แอปเปล สาลี่) แนวทางแก ไขป ญหาเพื่ อให สามารถใช ประโยชนจากความตกลงไดสูงสุด คือ ไทยตองเรงรัดการ กระจายสินคาผลไมจากไทยไปจีน โดยใชประโยชนจากชวงเวลาผลผลิตที่เหลื่อมกับผลผลิตของจีน (กรณีของลิ้นจี่) และเครือขายคมนาคมทั้งทางทะเลและทางบก (เสนทางNorth-South Economic Corridor และEast-West Economic Corridor) และการใชประโยชนจากกองทุน FTA 5.5 ปญหาและอุปสรรคในการเขาสูตลาดของจีนและไทย 5.5.1 ปญหาและอุปสรรคในการเขาสูตลาดจีนของไทย ในการคาผลไมระหวางไทยและจีน แมจะไดทําการลงนามในขอตกลงการเรงลดภาษี สินคาผักและผลไมระหวางไทยและจีน ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 โดยลดภาษี สินคาผักและผลไมใหเหลือรอยละ 0 แตในทางปฏิบัติแลวการสงออกผลไมของไทยยังพบกับอุปสรรค ทางการคาตางๆ ที่ประเทศจีนกําหนดไวกับสินคานําเขาจากตางประเทศ ดังนี้

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


84

รายงานฉบับสมบูรณ์

84

1) การเก็บภาษีมูลคาเพิ่มของจีน จีนไดมีการนําระบบภาษีมูลคาเพิ่ม (VAT) มาใช ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2547 เปนตนมา โดยจะมีการเก็บภาษีมูลคาเพิ่มจากการนําเขาสินคา การขาย สินคา การดําเนินการและการปฏิบัติการตางๆ ภาษีมูลคาเพิ่มที่จีนจัดเก็บมี 4 อัตรา ไดแก รอยละ 17 สําหรับสินคาแปรรูปและสินคาอุตสาหกรรมทั่วไป รอยละ 13 สําหรับสินคาเกษตร น้ํา และกาซรอยละ 4 สําหรับผูประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมของจีน และรอยละ 6 สําหรับผูคาที่ไมไดทําการ ผลิต เชน หางสรรพสินคาตางๆ ทั้งนี้สินคาเกษตรที่เกษตรกรจีนทําการผลิตและสงออกเองจะไดรับการ ยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม การจัดเก็บภาษีดังกลาวจะจัดเก็บ ณ ดานศุลกากร โดยบังคับใชทั้งระดับรัฐบาล กลางและระดับมณฑล ซึ่งการจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่มดังกลาวเปนการเพิ่มตนทุนการนําเขา ทําใหสินคา นําเขามีขีดความสามารถในการแขงขันลดลง 2) การขอใบอนุญาตการนําเขา ในการขออนุญาตเปนผูประกอบการนําเขาสินคาสด ของจีนกําหนดใหผูนําเขาตองเปนบริษัทที่ไดรับอนุญาตจากรัฐบาลจีนเทานั้น ซึ่งในการขอใบอนุญาต นําเขา ( Import License) จะตองมีเงินทุนจดทะเบียน โดยในป 2545 กําหนดใหผูขออนุญาตตองเปนคน จีน และตองมีเงินทุนจดทะเบียนถึง 30 ลานหยวน หรือประมาณ 150 ลานบาท ทําใหผูนําเขาที่ไดรับ ใบอนุญาตมีจํานวนนอย ปจจุบันไดมีการปรับลดเงินทุนจดทะเบียนลงเหลือเพียง 500,000 หยวน สําหรับ ผูขออนุญาตที่เปนชาวจีน และ 800,000 หยวน สําหรับผูขออนุญาตที่เปนชาวตางชาติ ทั้งนี้เพื่อเปนการ รองรับการขยายตัวทางการคาภายใตนโยบายการคาเสรี นอกจากใบอนุญาตนําเขา (Import License) แลว ผูนําเขาสินคาเกษตรตองมีใบอนุญาต นําเขาดานสุขอนามัยพืช (Quarantine Import Permit : QIP) ประกอบดวย ซึ่งการขอใบ QIP ที่ผานมา ตองขอที่ AQSIQ ที่ปกกิ่ง หลังจากเดือนพฤศจิกายน 2547 ผูนําเขาสามารถขอใบ QIP ไดโดยตรงจาก สํานักงาน CIQ ในพื้นที่ หรือสามารถยื่นใบขอผานทางอินเตอรเน็ต (Internet) ได โดยในใบอนุญาตตอง ประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับชนิดสินคา ปริมาณการนําเขา ระยะเวลานําเขา (ภายใน 6 เดือน) ทาเรือหรือ ดานที่จะนําเขา หลังจาก CIQ ในพื้นที่ตรวจสอบแลวซึ่งจะใชเวลาประมาณ 2 วัน จะสงขอมูลไปยัง AQSIQ ในสวนที่ดูแลดานสุขอนามัยพืช (Division of Plant Quarantine) ภายใต Department for Supervision on Animal and Plant Quarantine ทางอินเตอรเน็ต ซึ่งจะใชเวลาในการดําเนินการไมเกิน 30 วัน ในการตอบรับใบคําขอ อยางไรก็ตามการตัดสินใจที่จะใหใบ QIP หรือไมหรือเลื่อนการใหออกไปเปน อํานาจของ AQSIQ ที่สามารถทําไดโดยไมตองประกาศใหพอคารับทราบหรือชี้แจงเหตุผลใด ๆ ทําให พอคารูสึกถึงความไมเปนธรรม และถือเปนการกีดกันทางการคาภายใตนโยบายการคาแบบเสรีของจีน 3) การผูกขาดของทานําเขาสินคา เดิมการนําเขาสินคาประเภทของสดรวมถึงผลไม สูประเทศจีนจะนําเขาผานทางฮองกงเปนหลัก เนื่องจากเปนเมืองทาปลอดภาษี โดยทาที่นําเขาผลไมสด มากที่สุด ไดแก เหวินจิ่นตู สวนทา Lok Ma Chau เปนทาที่มีการนําเขาอาหารแหงและแชแข็งมากที่สุด สวนการนําเขาผลไมผานทาที่เมืองเซิ่นเจิ้น ซึ่งเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษทางตอนใตของมณฑลกวางตุง และการนําเขาผานเมืองทาที่เซีย่ งไฮ อยางไรก็ตามหลังจากที่จีนเขาเปนสมาชิก WTO รวมถึงนโยบาย

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 85 85

ปรับลดอัตราภาษีนําเขาในหมวดผักผลไมเปนศูนยทําใหความสําคัญของการนําเขาผานทางฮองกง ลดนอยลง โดยผลไมสดจากสหรัฐอเมริกา เชน สม-112องุน แอปเปล และมันฝรั่งแปรรูปจะนําเขาสูประเทศ จีนโดยตรง โดยผานทาเรือที่อยูทางตอนเหนือของประเทศจีน ขณะที่การนําเขาผลไมสดจากฟลิปปนส เชน กลวย จะนําเขาผานทาที่เมืองเซี่ยงไฮแทน ปจจุบันการนําเขาผลไมเมืองรอนของจีนจะนําเขาผานทาไหนก็ไดแตอนุญาตใหผานดาน ศุลกากรไดเพียง 10 ดาน ไดแก ดานศุลกากรเซิ่นเจิ้น ดานศุลกากรกวางโจว ดานศุลกากรหวงพู และดาน ศุ ล กากรกงเป ย ในมณฑลกวางตุ ง ด า นศุ ล กากรสื อ เจี ย จวงในมณฑลเหอเป ย ด า นศุ ล กากร ตาเหลียน มณฑลเหลียวหนิง ดานศุลกากรเซี่ยงไฮ มหานครเซี่ยงไฮ ดานศุลกากรหนานหนิง เขตการ ปกครองตนเองกวางสี ดานศุลกากรเทียนสิน และดานศุลกากรคุนหมิง มณฑลยูนนาน 4) การเก็ บ ค า ธรรมเนี ย มและการตรวจสอบทางด า นสุ ข อนามั ย พื ช จากเงื่ อ นไข ที่กําหนดใหผูนําเขาสินคาเกษตรตองมีทั้ง Import License และ Quarantine Import Permit ทําใหผูนําเขา บางราย ซึ่งมีเพียงใบ Import License ตองจายเงินคาบริการใหแกบริษัทที่มี QIP ซึ่งปจจุบันคิดในอัตรา 400 หยวน หรือประมาณ 2,000 บาทตอครั้งในการนําเขา และคิดคาธรรมเนียม 1,500 หยวน (ประมาณ 7,500 บาท) สําหรับพิธีการศุลกากรหลังจากประเมินภาษีมูลคาเพิ่มแลว จากนั้นตองไปติดตอ CIQ เพื่อตรวจสอบดานสุขอนามัยพืช ซึ่งในการตรวจสอบจะคิดคาธรรมเนียมรอยละ 8 ของภาษีมูลคาเพิ่ม และสําหรับพ อค าที่ ไม มี ธุรกิ จขนส งเป นของตนเองตองติดตอขอใชบริการดานโลจิสติก สเ พื ่อ ทํา การ ขนสงสิน คาไปยังตลาดหรือประเทศจีน ซึ่งหากเปนการขนสงผานฮองกงบริษัท China Inspection Limited Co. หรือ CIC จะทําหนาที่ในการตรวจสอบเอกสาร 3”O” ไดแก Origin Container, Certificate of Origin และ Original Phytosanitary Certificate ซึ่งเอกสารทุกฉบับตองเปนตัวจริง รวมทั้งดําเนินการขนสง ตูคอนเทนเนอรจากฮองกงไปยังตลาดเจียงหนาน เมืองกวางโจว ซึ่งถาเปนการขนสงทางถนนจะผาน ทาเหวินจิ่นตูในเซิ่นเจิ้น หรืออาจขนสงทางน้ําจากทาฮองกงไปตามแมน้ําไขมุกไปขึ้นที่ทาฝอซัน หรือ หัวตู เมืองกวางโจว โดย CIC จะคิดคาบริการเหมาจาย 1,250 เหรียญฮองกง หรือประมาณ 6,250 บาท ตอตูคอนเทนเนอรขนาด 40 ฟุต ซึ่งเปนขนาดตูมาตรฐานที่ขนสงทางเรือ 5) โครงสร า งการตลาด จากนโยบายของรั ฐ บาลจี น ท อ งถิ่ น ของมณฑลกวางตุ ง ที่ สนับสนุนให ผลไมที่นําเข าต องผ านตลาดคาสงของจีน เปน อัน ดับแรกกอนกระจายไปสูพอคาและ ผูบริโภคทุกพื้นที่ของประเทศจีน ทําใหตลาดคาสงมีบทบาทสําคัญมากในการกระจายสินคาในประเทศจีน ปจจุบัน “เจียงหนาน” (Jiangnan) ถือไดวาเปนตลาดคาสงผักและผลไมที่ใหญที่สุดของ ประเทศจีน เดิมตลาดแหงนี้เปนเพียงตลาดคาขายผักสดในเมืองกวางโจวมาเปนเวลากวา 10 ป และในป 2546 รัฐบาลทองถิ่นเมืองกวางโจวไดสนับสนุนเงินทุนในการรื้อถอนสิ่งปลูกสรางเกาและสรางตลาดใหม ขึ้นมาเพื่อเปนการอํานวยความสะดวกทางการคา โดยมณฑลกวางตุงรวมกับรัฐบาลทองถิ่นเมืองกวางโจว และภาคเอกชนรวมกันบริหารจัดการ โดยมุงหวังพัฒนาใหเปนตลาดซื้อขายลวงหนา (Future Market) ในอนาคต เนื่องจากตลาดเจียงหนานกําหนดผูนําเขาที่จะนําสินคาเขาสูตลาดเจียงหนานไวเพียง 2-3 ราย

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


86

รายงานฉบับสมบูรณ์

86

ทําใหผูนําเขาที่ไมมีธุรกิจขนสงตองติดตอบริษัทขนสงที่มีใบอนุญาตใหเขาตลาดเจียงหนานไดเทานั้น สําหรับผูสงออกของไทยการเลือกใชบริการขึ้นอยูกับความเชื่อใจกันเปนปจจัยหลัก โดยบริษัทที่ทํา หนาที่นําเขาจะจัดเตรียมบริการไวใหรวมถึงจายคาธรรมเนียมตาง ๆ และภาษีมูลคาเพิ่ม ยกเวนคาบริการ ที่ทาเรือฮองกงและคาธรรมเนียม CIC ซึ่งการเก็บคาธรรมเนียมตาง ๆ จะแตกตางกันไปขึ้นอยูกับ ประเภท ชนิด และน้ําหนักของผลไมที่ขนสง 6) ใบผ า นแดนประกอบการนํ า เข า หากสิ น ค า ส ง ออกไม ไ ด ส ง ตรงไปจี น ศุ ล กากร สวนกลางของจีน ไดประกาศใหสินคาที่สงผานฮองกงและมาเกาเขาสูจีนตองผานการตรวจสอบและ รับรองสินคา (ใบตราสงสินคา) และมี Certification of Non-Manipulation จากผูประกอบการฮองกงหรือ มาเกา ซึ่งจดทะเบียนกับรัฐบาลจีนในฐานะเปนผูตรวจสอบรับรองสินคาและออกใบรับรองผานแดนเพื่อ เปนหลักฐานทางพิธีการศุลกากรและรับรองวามิไดดัดแปลงสภาพสินคาเมื่อสินคาผานฮองกงและมาเกา กอนสงเขาจีน 7) เสียคาใชจายในการออกแบบเหมารวม ขอคืนภาษีมูลคาเพิ่ม ปญหาการคาแบบฝากขาย ทําใหผูคาฝายไทยเสียเปรียบมีการตั้งราคากลางในการประเมิน VAT 13% สูงกวาราคาจริงที่ขายได 8) หนวยงานตรวจสอบ CIQ ยังแจงวา พบศัตรูพืชที่ยังมีชีวิต เชน มดดํา (มังคุด) เพลี้ยแปง (ลําไย) เพลี้ยหอย (ทุเรียน) เปนศัตรูพืชกักกันของจีน รวมทั้งสูงกวาที่จีนกําหนดและมีปญหา การปลอมแปลงแหล ง กํ า เนิ ด สิ น ค า โดยมี ผู นํ า เข า ผลไม เ วี ย ดนามแล ว แอบอ า งว า เป น ผลไม ไ ทย ทางดานผิงเสีย มณฑลกวางสี เนื่องจากเวียดนามไดรับอนุญาตใหนําเขาผลไมไดเพียง 8 ชนิด ขณะที่ ผลไมไทยไดรับอนุญาตมากถึง 23 ชนิด ดานผูขายพบวาไดนําผลไมชาติอื่นมาจําหนายในนามผลไมไทย เนื่องจากไดราคาดีกวาแตคุณภาพไมดีทําใหเสียชื่อผลไมไทย 9) ปญหาเสนทางขนสงโลจิสติกสที่ยังมีปญหาการกระจุกตัว ของจุดนําเขาสินคามุง กระจายสินคาสูภาคเหนือและภาคตะวันตกของจีน ผูสงออกไทยควรเลือกใชเสนทางโลจิสติกสใหมๆ เชน เสนทางขนสงทางบก ไดแก สาย R3E ประมาณ 2,272 กิโลเมตร ( กทม. – เชียงราย – คุนหมิง- เฉิงตู ) กับสาย R9 ประมาณ 1,150 กิโลเมตร (มุกดาหาร-ลาว-เวียดนาม-ดานผิงเสียง กวางสี) เสนทางขนสงทาง น้ํา – ทาเรือ เสอโขว และการขนสงทางอากาศ 5.5.2 ปญหาและอุปสรรคในการนําเขาผักและผลไมของไทย 1) ปญหาในการนําเขาผักและผลไมจากจีน คือ การผลิตของจีนมีปญหาในเรื่องมาตรฐาน คุณภาพ จากขอมูลการตรวจอาหารนําเขาของดานอาหารและยาเชียงแสนจังหวัดเชียงรายป 2547 -2550 จํานวน 11,473 ตัวอยาง พบปญหาตางๆ ไดแก สารตกคางจากยาฆาแมลงในผักกาดขาว ลูกแพร ผัก สลัดครอส คะนา ผักปวยเลง รากบัว แครอท เซอรรารี่ ซัลเฟอรไดออกไซด ปริมาณสูงในผักแหง เชน ดอกไมจีน เห็ดหูหนูขาว เยื่อไผแหง ดอกเกกฮวยแหง สตรอเบอรรี่ในน้ําเกลือ สีสังเคราะห ทั้งชนิด ที่ไมอนุญาตใหใช เชน Allura red, Quinolene Yellow ในลูกอมและหมากฝรั่ง เครื่องดื่มบรรจุภาชนะ ปดสนิท ช็อกโกแลต เปนตน และสีที่อนุญาตใหใชแตใชในปริมาณสูงกวาเกณฑกําหนด

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 87 87

นอกจากนี้ยังพบการปนเปอนสารความหวานในน้ําตาล (ซัคคารีน) ในผลไมแหง เชน บวยแหง เปลือกสมแหง กิมจอ ผลเบยปรุงรส พลัม สารอะฟลาทอกซินในอาหารแหง เชน Pop corn พริกแหง และพบสารปรอทเกินมาตรฐานกําหนด ในหัวปลาเกา ปลาดาบ เนื้อปลาทูนา ปลาหมึกแหง เห็ดหอม เยื่อไผแหง ตะกั่วเกินมาตรฐานกําหนดในหูฉลามแหง สาหรายปรุงรส ผลิตภัณฑเสริมอาหาร เห็ดหูหนู แหง คลอแรมฟนิคอล ในนมแพะผง Bacillus cereus ในนมดัดแปลงสําหรับทารก อาหารสําเร็จรูป (อูดง เตาเจี้ยว) สิ่งปรุงแตงอาหาร เตาหูยี้ น้ําผึ้ง และยังพบเชื้อราในเครื่องดื่มบรรจุภาชนะปดสนิท องุน ดองเค็มดวย ซึ่งสารตกคางที่ตรวจพบในผักและผลไม หากเขาสูรางกายทําใหเกิดปญหาระบบทางเดิน อาหาร ระบบประสาท และเมื่อสะสมเปนเวลานานอาจกอใหเกิดโรคมะเร็งได 2) อุปสรรคในการนําเขาผัก-ผลไมจากจีน พบนอยมาก เนื่องจาก (1) ระเบียบและขั้นตอนในการนําเขาของไทยไมยุงยากซับซอน (2) ไมเขมงวดเรื่องการตรวจสอบดานสุขอนามัยพืช (3) ไมมีการเก็บภาษีมูลคาเพิ่ม (Value Added) จากผูนําเขา

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


88

รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 6 หวงโซอุปทาน ชองทางการนําเขา ระบบตลาด และการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและขอจํากัดในการคาผักและผลไมของประเทศจีน 6.1 หวงโซอุปทานและชองทางการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน 6.1.1 การจัดการโซอุปทานและระบบโลจิสติกส 1) การจัดการโซอุปทาน (Supply Chain Management) คือกระบวนการที่กลาวถึง กิจกรรมตางๆที่แสดงถึงการไหลของสินคาตั้งแตยังเปนวัตถุดิบจนกระทั่งกลายเปนสินคาที่ผลิตเสร็จ จนถึงมือผูบริโภคคนสุดทาย นอกจากนี้การจัดการโซอุปทานยังกลาวถึงการไหลเวียนของขอมูลขาวสาร และเงินทุนจากผูบริโภคคนสุดทายยอนกลับไปยังผูจัดสงรายแรก โซอุปทานประกอบดวยขั้นตอนทุกๆขั้นตอนที่เกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออมที่มี การตอบสนองความตองการของลูกคา ซึ่งไมเพียงแตอยูในสวนของผูผลิตและผูจัดสงทางวัตถุดิบเทานั้น แตรวมถึงสวนของผูขนสง คลังสินคา พอคาคนกลาง และลูกคาที่เกิดขึ้นในทุกขั้นตอนตางๆของโซ อุปทาน ในการตัดสินใจตางๆที่เกี่ยวของถึงโซอุปทานนั้นจะมีผลกระทบอยางมากตอความสําเร็จหรือ ความลมเหลวของหนวยธุรกิจ เพราะสิ่งเหลานั้นจะมีผลตอทั้งการสรางรายได และคาใชจายที่เกิดขึ้น การบริหารโซอุปทานใหประสบความสําเร็จนั้น ตองพยายามจัดการทั้งการไหลของผลิตภัณฑ ขอมูล ขาวสารและเงินทุนใหสามารถตอบสนองระดับความตองการของลูกคาไดเปนอยางดี ในขณะที่พยายาม ให เ กิ ด ค า ใช จ า ยน อ ยที่ สุ ด และลดความสู ญ เสี ย โดยไม จํ า เป น ซึ่ ง การจั ด การโซ อุ ป ทานให ป ระสบ ความสําเร็จนั้นตองอาศัยการตัดสินใจตางๆที่เกี่ยวของกับการไหลของขอมูลผลิตภัณฑและเงินทุน จุดหมายของโซอุปทานคือ การทําใหโซอุปทานทั้งสายเกิดผลกําไรมากที่สุด ผลกําไร ของทั้งโซอุปทานคือความแตกตางระหวางรายไดที่เกิดขึ้นจากการสั่งซื้อของลูกคากับคาใชจายทั้งหมด (สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร,2552) 2) การจัดการระบบโลจิสติกส (Logistics Management) เปนกระบวนการในการ วางแผนดําเนินงานควบคุมการไหลและการจัดเก็บวัตถุดิบ สินคากึ่งสําเร็จรูป และสินคาพรอมขอมูล ตั้งแตจุดผลิตถึงผูบริโภคเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเสียคาใชจายต่ําสุด กระบวนการดังกลาวจะ เริ่มจากปจจัยที่นําเขามาในระบบโลจิสติกส เชน ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรการเงิน และขอมูลตางๆ หลังจากนั้นจะเปนการจัดสงโดยผูจัดสงวัตถุดิบ/สินคาเขาสูกระบวนการดานการจัดการ การวางแผน การทําใหเปนผลและการควบคุม ซึ่งในขั้นตอนนี้จะมีกิจกรรมที่เกี่ยวของกับ โลจิสติกส ไดแก การบริการลูกคา การพยากรณความตองการ การสื่อสารในการกระจายสินคา การควบคุมสินคา คงคลัง การยกขนวัสดุ กระบวนการสั่งซื้อ การสนับสนุนอะไหล และการบริการ การเลือกที่ตั้งโรงงาน และคลังสินคาการจัดซื้อจัดหา การหีบหอ การจัดการสินคาสงคืน การทําลายและการนํากลับมาใชใหม

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 89 89

การจราจรและการขนส ง คลัง สิ น ค าและการเก็ บรักษาสิน คาซึ่งกิจกรรมดังกลาวจะมีตน ทุน เขามา เกี่ย วของทั้ ง สิ้ น อย า งไรก็ ต ามการจั ด ระบบการกระจายสิน คาเปนการดําเนินการเคลื่อนยา ยสิน ค า ทั้งภายในและภายนอกองคการและผานชองทางการจัดจําหนายเพื่อตอบสนองและสรางความพอใจ ใหกับลูกคาซึ่งใชหลักการวิเคราะหเกี่ยวกับความสัมพันธของระบบโลจิสติกสกับตนทุนที่เกิดจากการ ใชระบบโลจิสติกส สําหรับกระบวนการไหลของกิจกรรมในระบบโลจิสติกส จะเริ่มจากผูจัดสงวัตถุดิบไป ยังฝายจัดหา เขาสูการดําเนินการของระบบการผลิต เมื่อทําการผลิตเสร็จแลวจะเขาสูกระบวนการจัดสง ไปยังลูกคาปลายทางซึ่งหมายถึงผูบริโภค และสุดทายขอมูลขาวสารความตองการของลูกคาจะไหล ยอนกลับไปยังจุดเริ่มตน (สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร,2552) 6.1.2 หวงโซอุปทานและกิจกรรมโลจิสติกสการนําเขาผัก – ผลไมจากประเทศจีน จากกรอบแนวคิดในเรื่องการจัดการหวงโซอุปทานและระบบโลจิสติกส เมื่อนํามาประยุกตใช กับการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีนพบวาผูเกี่ยวของในหวงโซแบงเปน 3 กลุมไดแก (แผนภาพที่ 6 – 1) 1) ผูนาํ เขา ซึ่งหมายถึงพอคาที่เปนคนไทยหรือคนจีนที่อาศัยอยูในประเทศไทยแลวทํา หนาที่เปนผูประกอบการนําเขาเพื่อจําหนายโดยตรง หรือผานพอคาจากประเทศจีนที่เขามารวมลงทุนหรือ ลงทุนประกอบการคาในไทย โดยทําหนาที่จัดหาและสงออกผัก-ผลไมมายังไทย พรอมทั้งสงตัวแทนมา ทําหนาที่นําเขา เก็บรักษาและจัดจําหนายในประเทศไทยดวย ซึ่งการดําเนินการในลักษณะดังกลาวนี้ ปจจุบันมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจนอาจกลาวไดวา การคาผัก-ผลไมที่นําเขาจากจีนอยูภายใตการบริหารจัดการ ของพอคาชาวจีนที่เขามามีบทบาทเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทําใหผูนําเขาโดยตรงโดยเฉพาะที่เปนคนไทย และไมมี เครือขายโยงใยกับการคาในประเทศจีนไดรับผลกระทบ เนื่องจากตนทุนในการดําเนินการสูงกวาทําให ความสามารถในการแขงขันดานราคาลดต่ําลง กิจกรรมโลจิสติกสที่ผูนําเขาหรือตัวแทนนําเขาตองดําเนินการก็คือ การจัดการเอกสาร ตางๆในการนําเขา การจัดการหองเย็นหรือโกดังในการเก็บรักษา การจัดการตูคอนเทนเนอร/รถ รวมทั้ง การจัดการขนสง ซึ่งในการตัดสินใจเลือกเสนทางการขนสงในการนําเขาวาควรจะเปนทางบก ทางเรือ เดินทะเล ทางแมน้ําโขงหรือทางอากาศ มักจะพิจารณาจาก (ซิงชิง ทองดีและคณะ 2552) (1) แหลงผลิตของผัก-ผลไมที่จะนําเขา ที่จะชวยผอนระยะทางและระยะเวลาการ ขนสงมายังตลาดปลายทางได (2) อายุการเก็บรักษาของสินคา ผัก-ผลไมแตละชนิดจะมีอายุการเก็บรักษาหลังเก็บ เกี่ยวแตกตางกัน ผัก-ผลไมที่มีอายุหลังเก็บเกี่ยวสั้น ถาใชระยะเวลาในการขนสงยาวนานจะทําให ผลผลิตไดรับความเสียหาย ดังนั้นชองทางการขนสงที่สามารถยนระยะเวลาในการขนสงลงได จะทําให

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


90

รายงานฉบับสมบูรณ์

90

โอกาสทางการตลาดของพืชที่มีอายุการวางจําหนายสั้นเพิ่มสูงขึ้น การเลือกเสนทางที่เหมาะสมในการ ขนสงสินคาแตละประเภทจึงมีความจําเปนมาก (3) ตลาด ในการนําเขาจะตองคํานึงถึงจุดที่จะทําการกระจายผลผลิตไปยังตลาด ตางๆ ซึ่งจะตองพิจารณาระยะทางกอนเพราะตนทุนในการขนสงมีความสําคัญ (4) ราคา ในการเลือกใชเสนทางการขนสง ควรคํานึงถึงราคาสินคาที่จะทําการ ขนสงดวยวามีความคุมคาหรือไม เชน ผัก-ผลไม ที่มีราคาแพงแตบอบช้ํางาย การขนสงทางอากาศที่มี ความรวดเร็วถึงแมคาใชจายจะสูงกวาเสนทางอื่นๆก็มีความเหมาะสมได 2) ผูประกอบการคา ไดแกพอคาคนกลางประเภทตางๆที่จะทําหนาที่ในการเก็บรักษา สินคา ดําเนินการขนสง และกระจายผัก-ผลไมไปสูผูบริโภค ประกอบดวย (1) พอคาขายสงกรุงเทพฯ ที่สําคัญไดแก พอคาตลาดไท ตลาดสี่มุมเมือง ตลาด ปากคลองตลาด ตลาดหมานาค เปนตน (2) พอคาขายสงตางจังหวัดทั่วประเทศ (3) หางสรรพสินคาและ Modern Trade ตางๆ (4) พอคาขายปลีกทั่วไป ซึ่งรวมถึงพอคาตลาดสด ตลาดนัดตางๆ หาบเร แผงลอย และรถเร 3) ผูบริโภค ซึ่งพฤติกรรมและรสนิยมในการบริโภคจะแตกตางกันไป ภาพที่ 6-1 หวงโซอุปทานและกิจกรรมโลจิสติกสในการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน สูผูบริโภคไทย ผูนําเขา / ตัวแทน จําหนาย

ขนสง

- จัดการเอกสารตางๆ - จัดการหองเย็น/โกดังเก็บรักษา - เลือกเสนทางการขนสง - จัดการตูคอนเทนเนอร/รถบรรทุก - จัดการขนสง

ผูประกอบการคา (พอคาประเภทตางๆ)

ผูบริโภคคนสุดทาย ขนสง

- เก็บรักษาสินคา - บรรจุหบี หอ - จัดการกระจายสินคาสูผูบริโภคปลายทาง - จัดการขนสง

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 91 91

6.1.3 ชองทางการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน ในการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน มีชองทางการนําเขาหลายชองทาง ทั้งทางเดินเรือ ทะเล ทางบก ทางแมน้ําโขง และทางอากาศซึ่งมีปริมาณนอยมากเนื่องจากคาระวางขนสงแพง จึงไมเปน ที่นิยม 1) ชองทางการนําเขาผัก จากแผนภาพที่ 6-2 ซึ่งแสดงชองทางและสัดสวนในการ นําเขาสินคาพืชผักในรหัส 07 ไมรวมผลิตภัณฑมันสําปะหลังจากประเทศจีนในป 2552 พบวารอยละ 73.4 ของปริมาณการนําเขาทั้งหมด เปนการนําเขาผานทางเรือเดินทะเล รอยละ 10.0 นําเขาทางบก และ รอยละ 16.6 เปนการนําเขาทางแมน้ําโขงผานทาเรือเชียงแสนโดยในการนําเขาทางเรือเดินทะเลพบวา รอยละ 39.1 มาขึ้นที่ทาเรือกรุงเทพฯ รอยละ 34.3 ขึ้นที่ทาเรืออื่นๆเชน แหลมฉบัง สําหรับการนําเขาทาง บกเปนการนําเขาโดยรถบรรทุกผานเสนทาง R9 [ผิงเสียง (จีน) – ลาวบาว (เวียดนาม) – สะหวันนะเขต (ลาว) – มุกดาหาร (ไทย)] รอยละ 1.7 เสนทาง R3A [สิบสองปนนา(จีน) – แขวงบอแกว(ลาว) – อ. เชียง ของ จ. เชียงราย] รอยละ 7.7 ที่เหลือเปนการนําเขาผานดานชายแดนอื่นๆเชน หนองคาย นครพนม บึงกาฬ เปนตน แผนภาพที่ 6-2 ชองทางและสัดสวนการนําเขาสินคาผักจากประเทศจีน ป 2552 ผักนําเขาจากจีน 100% 73.4%

10.0%

เรือเดินทะเล

39.1% ทาเรือกรุงเทพฯ

16.6%

ถนน

34.3% ทาเรืออื่นๆ

แมน้ําโขง

1.7% R9

7.7% R3A

0.6% อื่นๆ

ที่มา : จากการคํานวณ โดยใชขอมูลสถิติการนําเขาของกรมศุลกากร

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


92

รายงานฉบับสมบูรณ์

92

2) ชองทางการนําขาผลไม จากแผนภาพที่ 6-3 ซึ่งแสดงชองทางและสัดสวนในการ นําเขาสินคาผลไมสดและแปรรูปของไทยจากประเทศจีน ในป 2552 พบวามีการนําเขาผลไมทางเรือเดิน ทะเลมากที่สุดคิดเปนรอยละ 83.2 โดยนํามาขึ้นที่ทาเรือกรุงเทพรอยละ 27.6 0และทาเรืออื่นๆรอยละ 55.6 รองลงมาเปนการนําเขาทางแมน้ําโขงจากทาเรือกวนเหลยในสิบสองปนนามายังทาเรือเชียงแสนรอยละ 1 3 . 8 0 น อ ก จ า ก นี้ เ ป น ก า ร นํ า เ ข า ทางบกร อยละ 3.0 แ ย ก เ ป น นํ า เ ข า ต า ม เ ส น ท า ง R3A [สิบสองปนนา (จีน) – แขวงบอแกว(ลาว) – อ. เชียงของ จ. เชียงราย] รอยละ 2.6 และเสนทาง R9 [ผิงเสียง (จีน) – ลาวบาว (เวียดนาม) – สะหวันนะเขต(ลาว) – มุกดาหาร(ไทย)] รอยละ 0.2 ที่เหลืออีกรอยละ 0.2 เปนการนําเขาผานดานชายแดนอื่นๆ เชน ดานสะเดาจังหวัดสงขลา ภาพที่ 6-3 ชองทางและสัดสวนการนําเขาผลไมสดและแปรรูปจากประเทศจีน ป 2552

ผลไมนําเขาจากจีน 100 % 83.2 %

3.0 %

เรือเดินทะเล

27.6 % ทาเรือกรุงเทพฯ

13.8 %

ถนน

55.6 % ทาเรืออื่นๆ

แมน้ําโขง

0.2 % R9

2.6 % R3A

0.2 % อื่นๆ

ที่มา : จากการคํานวณโดยใชขอมูลสถิติการนําเขาของกรมศุลกากร 6.1.4 เปรียบเทียบสัดสวนในการนําเขาและสงออกผักและผลไมระหวางไทยกับจีนในแตละชองทาง จากตาราง 6-1 จะพบว าในการนําเขาสิน คาผัก จากประเทศจีนสวนใหญนิยมขนสงโดยใช เสนทางเรือเดินทะเลรอยละ 73.4 รองลงมารอยละ 16.6 ขนสงทางแมน้ําโขงและรอยละ 10.0 ขนสงทางบก ในขณะที่ถาเปนการสงออกสินคาผักจากไทยไปจีน จะทําการสงทางเรือเดินทะเลถึงรอยละ 98.8 และ ทางบกโดยเส นทาง R9 รอยละ 1.2 ทั้งนี้การสงออกผักของไทยไปจีนพบวามีปริมาณนอยมากเมื่อ เปรียบเทียบกับการนําเขา

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 93 93

อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาการนําเขา-สงออกผลไมสด แหงและแปรรูประหวางไทยกับจีนพบวา ในการนําเขายังใชเดินทางเรือเดินทะเลถึงรอยละ 55.6 รองลงมาเปนการขนสงทางแมน้ําโขง ณ. ทาเรือ เชียงแสน จังหวัดเชียงรายรอยละ 13.8 และการนําเขาทางบกซึ่งเปนเสนทางใหม รอยละ 3.0 ขณะที่การ สงออกผลไมของไทยไปจีนรอยละ 88.8 ขนสงทางเรือเดินทะเลโดยเกือบทั้งหมดผานทาเรือแหลมฉบัง และเริ่มมีการขนสงทางบกโดยใชเสนทาง R3A และ R9 เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.8 สําหรับการขนสงทาง แมน้ําโขงมีเพียงรอยละ 2.4 โดยเปนการขนสงลําไยอบแหงทั้งหมด ตารางที่ 6-1 เปรียบเทียบสัดสวนในการนําเขา-สงออกผักและผลไมระหวางไทย – จีน ในแตละชองทาง หนวย : รอยละ ผัก ผลไม ชองทาง นําเขา สงออก นําเขา สงออก 73.40 98.80 83.20 88.80 ทางเรือเดินทะเล - ทาเรือกรุงเทพฯ 39.10 11.20 27.60 0.03 - ทาเรือแหลมฉบัง + อื่นๆ 34.30 87.60 55.60 88.77 10.00 1.20 3.00 8.80 ทางบก - R3A 7.70 2.60 2.80 - R9 1.70 1.20 0.20 4.80 - อื่นๆ 0.60 0.20 1.20 16.60 13.80 2.40 ทางแมน้ําโขง (ทาเรือเชียงแสน) 100.00 100.00 100.00 100.00 รวม ที่มา : จากการคํานวณโดยใชขอมูลสถิติการนําเขา-สงออกของกรมศุลกากร ป 2552 6.1.5 ชนิ ด ปริ มาณ-มู ลคาและชวงเวลาในการนํา เขาผักและผลไม จากประเทศจีนในแตละ ชองทาง 1) ทางเรือเดินทะเล ทาเรือที่ใชในการนําเขาผักและผลไมที่สําคัญจากประเทศจีน ไดแก ทาเรือกรุงเทพฯ ซึ่งจะคลอบคลุมพื้นที่ดานตรวจปลอยสินคาทาเรือตางๆในกรุงเทพ เชน ทาเรือ คลองเตย และดานตรวจปลอยสินคาสมุทรปราการ จากรายละเอียดในตารางที่ 6-2 พบวาการนําเขาผัก และผลไมสดรวมทั้งผลไมแปรรูปผานทาเรือกรุงเทพมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ดังนี้ (1) ผักสด ปริมาณและมูลคาเพิ่มขึ้นจาก 57,998 ตัน 1,254 ลานบาท ในป 2550 เปน 73,350 ตัน มูลคา 1,714 ลานบาท ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 12.5 และ 16.9 ตอป ชนิด ผักสดที่มีการนําเขาสูงสุดในป 2552 ไดแก แครอท ปริมาณ 43,276 ตัน มูลคา 692 ลานบาท หรือรอยละ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


94

รายงานฉบับสมบูรณ์

94

59.0 และ 40.4 ของปริมาณและมูลคาการนําเขาผักสดทั้งหมดจากประเทศจีน รองลงมาไดแก เห็ดชนิด ตางๆ ไดแก เห็ดมัชรูมในตระกูลอะการิทัส เห็ดหูหนู เห็ดทัฟเฟล และเห็ดชนิดอื่นๆ ปริมาณ 3,953 ตัน มูลคา 846 ลานบาท นอกจากนั้นเปนการนําเขากระเทียม ปริมาณ 21,719 ตันมูลคา 146 ลานบาท เพิ่มขึ้น อยางมากจากปริมาณ 4,223 ตันมูลคา 55 ลานบาทในป 2550 และหอมหัวใหญ 4,402 ตันมูลคา 30 ลานบาท ลดลงจากปริมาณ 9,793 ตัน มูลคา 44 ลานบาท ในป 2550 สําหรับชวงเวลาในการนําเขาทั้งแครอท เห็ดชนิดตางๆ และกระเทียมจะมีการนําเขา ตลอดทั้งป ขณะที่หอมหัวใหญนําเขาในชวงครึ่งปหลังตั้งแต เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม ซึ่งเปนชวง เดียวกับที่มีการนําเขาแครอทและกระเทียมในปริมาณมาก (ตารางที่ 6-3) (2) ผลไมสด ปริมาณและมูลคาการนําเขาเพิ่มขึ้นจาก 62,093 ตัน 1,618 ลานบาท ในป 2550 เป น 63,012 ตั น มู ลค า 1,808 ล า นบาท ในป 2550 โดยการนํ า เขา ในชว งป 2551 ลดลง คอนขางมากเหลือเพียง 54,701 ตันมูลคา 1,606 ลานบาท ทําใหอัตราเพิ่มของการนําเขาเฉลี่ยเพิม่ ขึ้นเพียง รอยละ 0.8 และ 5.7 ตอป เนื่องจากอยูในชวงภาวะเศรษฐกิจซบเซา ชนิดของผลไมที่มีการนําเขาสูงสุด ในป 2552 ไดแก แอปเปลสด ปริมาณ 38,786 ตันมูลคา 1,156 ลานบาท ปริมาณลดลงจาก 40,057 ตัน แตมูลคาเพิ่มขึ้นจาก 1,021 ลานบาทของป 2550 รองลงมาไดแก แพรและควินสสด 19,327 ตันมูลคา 429 ล า นบาท ทั้ ง ปริ ม าณและมู ลค า เพิ่ มขึ้ น เฉลี่ย ร อ ยละ 6.5 และ 12.2 ตอ ป ขณะที่ก ารนํ า เข า องุ น ผานเสนทางนี้มีแนวโนมลดลงถึงรอยละ 11.8 และ 14.1 แตการนําเขาสมเปลือกบางและสมแมนดาริน กลับมีแนวโนมเพิ่มขึ้นคอนขางมาก (ตารางที่ 6-2) สําหรับชวงเวลาในการนําเขาพบวาสามารถนําเขาไดตลอดทั้งป โดยเฉพาะแอปเปล แพรและควินซสด (สาลี่) และองุน โดยแอปเปลและสาลี่จะมีการนําเขามากในชวงเดือน กันยายน – มกราคม องุนสดนําเขามากในชวงเดือน มีนาคม – มิถุนายน และตุลาคม – พฤศจิกายน และสมสดนําเขา มากในชวงเดือน สิงหาคม – พฤศจิกายน (ตารางที่ 6-4) (3) ผลไม แ ห ง และผลไม แ ปรรู ป ผลไม แ ห ง ที่ นํ า เข า จากประเทศจี น ผ า นท า เรื อ กรุงเทพฯ มีเพียงชนิดเดียวคือองุนแหง ซึ่งในระยะ 3 ปที่ผานมา (2550-2552) ทั้งปริมาณและมูลคามี แนวโนมลดลงรอยละ 12.8 และ 0.5 ตามลําดับจาก 1,131 ตันมูลคา 48 ลานบาทในป 2550 เหลือ 861 ตัน มูลคา 47 ลานบาท ในป 2552 ปริมาณนําเขาลดลงคอนขางมากแตมูลคาลดลงเพียงเล็กนอย เนื่องจาก ราคาเฉลี่ยองุนแหงนําเขามีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 42.44 บาทในป 2550 เปนกิโลกรัมละ 54.59 บาทในป 2552 สําหรับการนําเขาผลไมแปรรูปสวนใหญเปนการนําเขาน้ําผลไมชนิดตางๆไดแก น้ําองุน น้ําสม และน้ําแอปเปล โดยแนวโนมการนําเขาในภาพรวมชวงป 2550-2552 ปริมาณเพิ่มขึ้น เฉลี่ยรอยละ 2.9 ตอปจาก 5,836 ตันในป 2550 เปน 6,184 ตันในป 2552 สวนมูลคาเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 3.2 ตอปจาก 331 ลานบาทในป 2550 เปน 353 ลานบาทในป 2552 ทั้งนี้เมื่อพิจารณาการนําเขาน้ําผลไม แตละชนิดพบวา มีน้ําองุนเพียงชนิดเดียวที่มีการนําเขาเพิ่มขึ้นคอนขางมาก โดยปริมาณเพิ่มขึ้นรอยละ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 95 95

51.6 จาก 1,097 ตันในป 2550 เปน 2,522 ตันในป 2552 ขณะที่มูลคาเพิ่มขึ้นถึง รอยละ 67.3 จาก 60 ลานบาทในป 2550 เปน 167 ลานบาทในป 2552 สําหรับน้ําแอปเปลและน้ําสม การนําเขามีแนวโนม ลดลง โดยเฉพาะน้ํ า ส ม แช เ ย็ น ลดลงจากปริ ม าณ 2,305 ตั น มู ล ค า 158 ล า นบาทในป 2550 เหลื อ 2,030 ตัน มูลคา 120 ลานบาทในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉลี่ยรอยละ 6.1 และ 12.8 ตอปตามลําดับ (ตารางที่ 6-2) ชวงเวลาในการนําเขาผลไมแหงและแปรรูปพบวามีการนําเขาตอเนื่องตลอดทั้งป โดยองุนแหงมีการนําเขามากชวงเดือนสิงหาคม – กุมาพันธ น้ําองุนนําเขามากชวงเดือน มิถุนายน – ธันวาคม และน้ําสมชวงเดือน มกราคม – พฤษภาคม (ตารางที่ 6-5)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


96

รายงานฉบับสมบูรณ์

96

ตารางที่ 6-2 ปริมาณและมูลคาการนําเขาผัก-ผลไมสด แหง แปรรูป จากประเทศจีนที่ตรวจปลอย ภายใตพื้นที่ศลุ กากรทาเรือกรุงเทพ ป2550-2552 ปริมาณ : ตัน มูลคา : ลานบาท ป 2550 ป 2551 ป2552 อัตราเพิ่ม (%) ชื่อสินคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ผักสด 57,998 1,254 60,242 1,261 73,350 1,714 12.46 16.91 แครอท 40,654 533 41,965 619 43,276 692 3.17 13.95 เห็ดชนิดอื่น 283 42 556 88 1,637 359 140.57 192.45 เห็ดชนิดมัชรูม 2,183 458 1,734 296 1,466 265 -18.05 -24.01 ในตระกูลอะการิทัส เห็ดชนิดทัฟเฟล 137 26 160 20 455 148 82.10 139.71 กระเทียมอื่นๆ 4,223 55 11,071 107 21,719 146 126.79 62.45 เห็ดหูหนู (ชนิดออริคูลาเรีย) 724 96 695 99 395 75 -26.16 -11.37 หอมหัวใหญสดหรือแชแข็ง 9,793 44 4,061 32 4,402 30 -32.95 -17.72 ผลไมสด 62,093 1,618 54,701 1,606 63,102 1,808 0.81 5.71 แอปเปลสด 40,054 1,021 36,103 1,087 38,786 1,156 -1.60 6.43 แพรและควินซสด 17,020 341 15,412 354 19,327 429 6.56 12.18 องุนสด 4,665 247 2,661 149 3,628 182 -11.82 -14.15 สมเปลือกบางอื่นๆ 151 3 277 9 879 30 141.32 193.49 สมแมนดาริน 203 6 248 7 482 11 54.01 34.66 ผลไมแหง องุนแหง 1,131 48 1,202 59 861 47 -12.76 -0.54 ผลไมแปรรูป 5,836 331 5,784 351 6,184 353 2.93 3.21 น้ําองุนอื่นๆ 1,097 60 1,908 101 2,522 167 51.59 67.27 น้ําสมแชเย็น 2,305 158 1,876 116 2,030 120 -6.15 -12.82 น้ําแอปเปลอื่นๆ 1,941 85 1,369 86 1,298 46 -18.24 -26.53 น้ําสมออเรนจชนิดอื่นๆ 383 25 515 43 226 13 -23.25 -26.55 น้ําแอปเปลคาบริกซไมเกิน20 110 3 117 5 108 6 -0.83 34.36 ที่มา : จากการคํานวณโดยใชขอมูลของกรมศุลกากร

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 97 97

ตารางที่ 6-3 ปริมาณและมูลคาการนําเขาผักสดที่สําคัญจากประเทศจีนผานทาเรือกรุงเทพรายเดือน ป 2552 ปริมาณ : ตัน มูลคา : ลานบาท แครอท เห็ดชนิดตางๆ กระเทียมอื่นๆ หอมหัวใหญ รายการ ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา 3,513 32.99 322 77.17 432 5.13 25 0.31 ม.ค. 3,363 53.66 89 22.45 1,386 11.98 ก.พ. 4,720 77.74 279 68.97 2,085 16.74 มี.ค. 2,006 31.53 264 68.25 1,356 10.26 เม.ย. 2,819 52.99 385 62.67 2,374 13.97 พ.ค. 2,453 48.63 390 71.10 2,107 12.95 มิ.ย. 5,578 102.69 501 85.21 2,745 17.31 311 1.62 ก.ค. 2,846 52.25 456 74.76 1,968 13.58 636 4.95 ส.ค. 3,463 58.70 332 76.76 2,283 14.19 663 6.87 ก.ย. 3,601 54.05 355 79.30 1,653 10.94 564 2.77 ต.ค. 4,547 63.27 219 57.30 1,425 8.45 1,097 7.08 พ.ย. 4,367 63.67 361 102.05 1,906 10.88 1,107 6.26 ธ.ค. รวม 43,276 692.17 3,953 845.99 21,719 146.37 4,402 29.84 ที่มา : จากการคํานวณโดยใชขอมูลของกรมศุลกากร

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


98

รายงานฉบับสมบูรณ์

98

ตารางที่ 6-4 ปริมาณและมูลคาการนําเขาผลไมสดที่สําคัญจากประเทศจีนผานทาเรือกรุงเทพ รายเดือน ป 2552 ปริมาณ : ตัน มูลคา : ลานบาท แอปเปล แพรและควินซสด องุนสด สมสด รายการ ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา 5,569 154.23 3,265 67.74 51 2.47 269 5.66 ม.ค. 2,328 65.47 908 19.61 184 8.83 ก.พ. 5,818 167.79 2,099 45.05 459 24.14 มี.ค. 1,754 52.66 928 19.94 433 19.53 เม.ย. 1,435 44.85 791 22.71 397 20.39 18 0.56 พ.ค. 933 32.60 743 19.71 365 19.79 18 0.49 มิ.ย. 1,219 47.15 325 11.00 78 3.17 31 0.87 ก.ค. 1,344 48.39 1,534 37.67 27 1.37 122 4.08 ส.ค. 4,510 134.13 2,607 61.10 149 8.49 174 5.74 ก.ย. 4,438 125.15 2,562 52.17 1,028 50.66 377 14.59 ต.ค. 4,893 150.01 1,494 29.03 385 18.53 231 5.95 พ.ย. 4,546 133.58 2,071 42.94 70 4.78 120 2.86 ธ.ค. รวม 38,786 1,156.01 19,327 428.65 3,628 182.14 1,361 40.79 ที่มา : จากการคํานวณโดยใชขอมูลของกรมศุลกากร หมายเหตุ : สมไดแกสมแมนดารินและสมเปลือกบางอื่นๆ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 99 99

ตารางที่ 6-5 ปริมาณและมูลคาการนําเขาผลไมแหงและผลไมแปรรูปทีส่ ําคัญจากประเทศจีน ผานทาเรือกรุงเทพรายเดือน ป 2552 ปริมาณ : ตัน มูลคา : ลานบาท องุนแหง น้ําองุน น้ําแอปเปล 1/ น้ําสม 2/ รายการ ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา 112 5.38 130 8.10 90 5.76 282 17.67 ม.ค. 95 4.23 184 11.56 36 1.16 256 15.02 ก.พ. 41 1.21 186 10.36 112 4.36 98 6.17 มี.ค. 18 1.08 112 6.32 105 3.92 288 18.06 เม.ย. 18 1.43 145 7.79 161 7.12 388 27.04 พ.ค. 48 3.59 221 14.30 87 3.51 96 4.54 มิ.ย. 41 1.16 312 21.97 100 2.70 150 8.06 ก.ค. 90 4.52 219 13.88 160 5.34 83 3.65 ส.ค. 124 8.07 283 21.15 144 5.51 184 10.41 ก.ย. 80 3.17 245 18.50 151 4.21 109 5.52 ต.ค. 71 4.79 260 17.44 144 4.71 182 9.74 พ.ย. 123 8.65 226 15.88 116 3.71 139 7.55 ธ.ค. รวม 861 47.26 25,522 167.24 1,406 52.00 2,256 133.42 ที่มา : จากการคํานวณโดยใชขอมูลของกรมศุลกากร หมายเหตุ : 1/ หมายถึง น้ําแอปเปลคาบริกซไมเกิน 20 และน้ําแอปเปลอื่น 2/ หมายถึง น้ําสมแชเย็นและ น้ําสมออเรนจชนิดอื่นๆ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


100

รายงานฉบับสมบูรณ์

100

2) ทางแมน้ําโขง การขนสงผักและผลไมสดจากประเทศจีนมายังประเทศไทยทาง แมน้ําโขง นับวาเปนเสนทางที่ไดรับความนิยมเปนลําดับที่สองรองจากการขนสงทางทะเล เนื่องจาก คาใชจายต่ําและขนสงไดในปริมาณมากประมาณเที่ยวละ 80-150 ตัน โดยการขนสง สวนใหญมักจะ ลงเรือที่ทาเรือกวนเหลยและทาเรือจิ่งหง(เชียงรุง) เมืองสิบสองปนนา มณฑลยูนนาน ลองมาตามแมน้ํา โขง ผานประเทศลาวและประเทศเมียนมารมาขึ้นที่ทาเรือเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ซึ่งเปนทาเรือสากล แหงเดียวของไทยตั้งอยูริมแมน้ําโขง (Inland Water Port) ระยะทางจากทาเรือกวนเหลย ถึงทาเรือ เชียงแสนประมาณ 263 กิโลเมตร ระยะเวลาขนสงเพียง 11-12 ชั่วโมง เนื่องจากเปนการลองเรือตามน้ํา แตอาจจะลาชาบางในชวงฤดูแหง ซึ่งปริมาณน้ําลดนอยลง หลังจากสินคาเทียบทาแลว จะตองผานขั้นตอน ในการนําเขาตางๆของไทยซึ่งเปนลักษณะ One Stop Service ทั้งดานอาหารและยา ดานกักกันพืช และ พิธีการศุลกากรกอนตรวจปลอยสินคา เนื่องจากเรือที่ใชในการขนสง เปนเรือที่ไมมีการปรับอุณหภูมิ ดังนั้นในการขนสงผักสด จะใชวิธีบรรจุลงในกลองโฟม รองดวยขวดที่บรรจุน้ําแชจนเปนน้ําแข็ง ซีลปดฝาใหสนิท เพื่อชวยรักษา ความสดของผักในชวงเดินทาง แตถาเปนผลไมสดมักจะหอผลดวยตาขายโฟมกอนบรรจุในกลอง กระดาษลูกฟูกเปนชั้นๆกลองละประมาณ 10 กิโลกรัม หลังจากบรรทุกสินคาจนเต็มลําเรือแลวจะใช ผ า ห ม หนาๆชุ บ น้ํ า ให เ ป ย กชุ ม คลุ ม ด า นบนไว อี ก ชั้ น หนึ่ ง อย า งไรก็ ต ามผลไม ที่ ข นส ง ด ว ยวิ ธี นี้ มักจะคุณภาพไมดีนักเมื่อเปรียบเทียบกับผลไมที่ทําการขนสงดวยตูคอนเทนเนอรปรับอุณหภูมิทางเรือ เดินทะเล จากตารางที่ 6-6 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสงออกพืชผักและผลไมผานทาเรือเชียงแสน ป 2550-2552 พบวาการนําเขาผักสดมีแนวโนมลดลงขณะที่มีการนําเขาผลไมสดเพิ่มขึ้นดังนี้ (1) พืชผัก การนําเขาพืชผักจากประเทศจีนผานทาเรือเชียงแสน ปริมาณมีแนวโนม ลดลงจาก 34,487 ตันในป 2550 เหลือ 31,216 ตัน ในป 2552 หรือลดลงเฉลี่ยรอยละ 4.9 ตอป ขณะที่ มูลคาการนําเขามีแนวโนมเพิ่มขึ้นเล็กนอย เฉลี่ยรอยละ 0.7 ตอปจาก 425 ลานบาทในป 2550 เปน 431 ลานบาทในป 2552 ชนิดของพืชผักที่มีการนําเขามากที่สุดไดแก ผักสด รองลงมาไดแก กระเทียม และเมล็ ด ทานตะวั น โดยปริ ม าณและมู ล ค า ผั ก สดที่ นํ า เข า มี แ นวโน ม ลดลงร อ ยละ 7.5 และ 5.9 จาก 26,602 ตั น มู ล ค า 298 ล า นบาทในป 2550 เหลื อ 17,609 ตัน มู ล ค า 264 ล า นบาท ในป 2552 กระเทียมลดลงจาก 7,843 ตันมูลคา 64 ลานบาทในป 2550 เหลือ 6,426 ตันมูลคา 53 ลานบาทในป 2552 เมล็ดทานตะวันลดลงจาก 3,744 ตันมูลคา 34 ลานบาท เหลือ 3,638 ตันมูลคา 28 ลานบาท ในป 2552 (2) ผลไม ผลไมที่นําเขาตามเสนทางนี้เปนผลไมสดทั้งหมดไดแก แอปเปล แพร หรือสาลี่ และทับทิม โดยการนําเขาในภาพรวมมีแนวโนมเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 18.1 และ 26.4 ตอปจาก 25,129 ตันมูลคา 286 ลานบาทในป 2550 เปน 35,031 ตันมูลคา 457 ลานบาทในป 2552 ซึ่งเมื่อพิจารณา รายละเอียดในแตละชนิดผลไมพบวา มีการนําเขาทับทิมเพิ่มขึ้นอยางมากถึงรอยละ 81.3 และ 84.5 จาก ปริมาณ 5,178 ตันมูลคา 74 ลานบาท ในป 2550 เปน 17,015 ตันมูลคา 252 ลานบาทในป 2552 ขณะที่

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 101 101

การนําเขาแอปเปลคอนขางคงที่ประมาณปละ 13,000 ตันและการนําเขาสาลี่ลดลงรอยละ 17.0 และ 20.0 จาก 6,638 ตันมูลคา 86 ลานบาท เหลือ 4,572 ตันมูลคา 55 ลานบาทในป 2552 ทั้งนี้จะเห็นไดวาผลไม ที่นําเขามีราคาสูงขึ้นทุกป อยางไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบกับการสงออกในเสนทางเดียวกันจากไทยไปประเทศ จีนพบวา ไมมีการสงออกพืชผักผานเสนทางนี้เลย ขณะที่มีการสงออกผลไมเพียงชนิดเดียว คือ ลําไย อบแหง ซึ่งปริมาณและมูลคาการสงออกมีแนวโนมลดลงถึงรอยละ 56.4 และ 48.8 จาก 53,943 ตัน 1,006 ลานบาท ในป 2550 เหลือ 10,256 ตัน มูลคา 264 ลานบาทในป 2552 เนื่องจากผูสงออกหันไปใช เสนทางอื่นๆ เชน R9 R3A แทน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


102

รายงานฉบับสมบูรณ์

102

ตารางที่ 6-6 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสงออกพืชผักและผลไม ผานทาเรือ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย ป 2550 – 2552 ปริมาณ : ตัน มูลคา : ลานบาท 2550 2551 2552 อัตราเพิ่ม (%) ชนิด ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา การนําเขา พืชผัก 34,487 425 36,675 460 31,216 431 -4.86 0.70 ผักสด1/ 20,602 298 24,342 340 17,609 264 -7.55 -5.88 กระเทียม 7,843 64 6,688 58 6,426 53 -9.48 -9.00 เมล็ดทานตะวัน 3,744 34 4,400 33 3,638 28 -1.43 -9.25 หอมแบง 2,037 18 เมล็ดฟกขาว 261 11 เมล็ดแตงโม - 1,245 29 923 20 -25.86 31.03 เมล็ดฟกทอง 327 25 (แกะเปลือก) มันฝรั่ง - 2,293 41 ผลไม 25,129 286 21,895 261 35,031 457 18.07 26.41 แอปเปล 13,313 126 5,945 68 13,444 150 0.49 9.11 แพรหรือสาลี่ 6,638 86 3,946 52 4,572 55 -17.01 -20.03 ทับทิม 5,178 74 12,004 141 17,015 252 81.27 84.54 รวม 59,616 711 58,570 721 66,247 888 5.41 11.76 การสงออก ไมมี พืชผัก 53,943 1,006 13,825 287 10,256 264 -56.40 -48.77 ผลไม ลําไยอบแหง 53,943 1,006 13,825 287 10,256 264 -56.40 -48.77 ที่มา : ที่มา : จากการรวบรวมโดยใชขอมูลของกรมศุลกากร หมายเหตุ : 1/ ผักสดที่นําเขาผานทาเรือเชียงแสนและเชียงของไดแก บลอคโคลี่ กะหล่ําดอก ผักสลัดแกว ถั่วลันเตา กะหล่ํามวง ผักกาดขาว คะนา ปวยเลง ผักสลัดคอส กะหล่ําป ผักเซอรรารี่ ผักกาด ฮองเต กะหล่ําเจดีย ผักกวางตุง ผักชี หนอไมฝรั่ง รากบัว พริกหวาน แตงกวา หัวไชเทา มะนาว มะเขือเทศ หนอไมน้ํา และพาสเลย

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 103 103

3) ทางบก การขนสงทางบกเปนการบรรทุก (ผัก-ผลไม) ดวยระบบรถบรรทุกหองเย็น หรือหัวลากตูคอนเทนเนอรปรับอุณหภูมิ ซึ่งเสนทางที่ทําการขนสงมี 2 เสนทางไดแก (1) เสนทาง R3A จากสิบสองปนนาประเทศจีนมายัง เมืองหลวงน้ําทา แขวงบอแกว ประเทศลาว และ อ.เชียงของ จังหวัดเชียงรายของไทย สินคาที่มีการนําเขาจากประเทศจีนสูประเทศไทย ตามเสนทางนี้ ไ ดแ ก พื ชผัก สด ผลไม สด และแหง รวมทั้งไมดอกไมประดับ ซึ่งปริมาณและมูลคา โดยรวมเพิ่ ม ขึ้ น อย า งมากจาก 199 ตั น มู ล ค า 2.3 ล า นบาทในป 2550 เป น 23,644 ตัน มู ล ค า 531 ลานบาทในป 2552 แยกเปน (ตารางที่ 6-7) พื ช ผั ก สด ที่ สํ า คั ญ ได แ ก ถั่ ว ลั น เตา บลอคโคลี่ กะหล่ํ า ดอก กระเที ย ม สลัดแกวและปวยเลง ซึ่งปริมาณและมูลคามีแนวโนมขึ้นอยางมากจาก 172 ตัน มูลคา 1.6 ลานบาท ในป 2550 เปน 14,460 ตัน มูลคา 230 ลานบาท ในป 2552 ปริมาณเพิ่มขึ้น 84 เทา ขณะที่มูลคาเพิ่มขึ้นถึง 144 เทา อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาถึงชนิด ปริมาณและมูลคาการนําเขาพืชผักผานเสนทาง ดังกลาวในชวงเดื อนมกราคม – พฤษภาคม 2553 พบวามีการนําเขาแลวจํานวน 16,237 ตัน มูลคา 204 ลานบาท โดยสวนใหญนําเขาในชวงเดือน มีนาคม – พฤษภาคม ชนิดของผักที่มีการนําเขาสูงสุด ไดแก บลอคโคลี่ ปริมาณ 5,064 ตัน มูลคา 95 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 31.2 และ 46.6 ของปริมาณ และมูลคาการนําเขาพืชผักทั้งหมด รองลงมาไดแก ถั่วลันเตา 2,898 ตัน มูลคา 33 ลานบาท กะหล่ําดอก นอกจากนั้นไดแก ผักกะหล่ําตางๆ กระเทียมและผักสดอื่นๆ (ตารางที่ 6-8) ผลไมสดและแหง ปริมาณและมูลคาการนําเขามีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางมาก จาก 27 ตัน มูลคา 0.7 ลานบาทในป 2550 เปน 6,545 ตันมูลคา 128 ลานบาทในป 2552 สําหรับการ นําเขาในชวง 5 เดือนแรกของป 2553 พบวามีปริมาณ 1,427 ตัน มูลคา 21.7 ลานบาท ผลไมที่มีการ นําเขามากที่สุดไดแก ทับทิม 845 ตัน มูลคา 12.5 ลานบาท รองลงมาไดแก เกาลัด สม สาลี่ แอ็ปเปล และพลับ ซึ่งมีปริมาณไมมากเนื่องจากมักจะนําเขาในชวงเดือน พฤศจิกายน – มกราคม (ตารางที่ 6-7 และ 6-8) ไมดอกไมประดับ พบวาเริ่มมีการนําเขาผานเสนทาง R3A ในป 2551 เปนตน มา อยางไรก็ตามการนําเขาในป 2552 ปริมาณ 2,639 ตัน มูลคา 173 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 638 ตัน มูลคา 45 ลานบาทในป 2551 ประมาณ 4 เทา ไมดอกสําคัญที่นําเขา ไดแก กุหลาบ คารเนชั่นและลิลลี่ (ตาราง ที่ 6-7) เมื่อเปรียบเทียบกับการสงออกของไทยไปจีนตามเสนทาง R3A พบวามีปริมาณนอย กวาการนําเขามากโดยสินคาสงออกสวนใหญเปนผลไมสด เชน มะขาม กลวยไข มังคุด ลําไย ทุเรียน ขนุน ผลไมแหงไดแก ลําไยอบแหง รวมทั้งซากกลวยไมและดอกกลวยไม (ตารางที่ 6-7)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


104

รายงานฉบับสมบูรณ์

104

(2) เสนทาง R9 เปนการขนสงจากชายแดนดานผิงเสียง เขตการปกครองตนเอง กวางสี ประเทศจีน มายังลาวบาว ประเทศเวียดนาม สะหวันนะเขต ประเทศลาว และจังหวัดมุกดาหาร ของไทย พืชผัก การนําเขาพืชผักตามเสนทางนี้ ในชวงป 2550-2552 พบวาปริมาณ เพิ่มขึ้นเล็กนอย แตมูลคาลดลงถึงรอยละ 26.2 เนื่องจากการนําเขาผักสดลดลงจนไมมีการนําเขาเลย ในป 2552 ขณะที่มีการนําเขากระเทียมเพิ่มขึ้นจาก 1,655 ตัน มูลคา 16 ลานบาท ในป 2550 เปน 2,862 ตัน มูลคา 29 ลานบาทในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 31.5 และ 34.6 ตอป สําหรับหอมหัวใหญพบวา มีการนําเข า เพิ่ มขึ้ น ค อ นข างมากจาก 55 ตัน มูลคา 0.3 ลานบาทในป 2550 เปน 298 ตัน มูลคา 1.7 ลานบาทในป 2552 ผลไม การนําเขาผลไมตามเสนทางนี้มีแนวโนมลดลงจาก 2,300 ตัน มูลคา 29 ลานบาทในป 2550 เหลือ 407 ตัน มูลคา 9 ลานบาทในป 2552 หรือลดลงรอยละ 57.9 และ 44.2 ตอป ผลไมที่นําเขาผานเสนทางนี้ไดแก แอปเปล และมะขาม อยางไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบกับการสงออก ผัก-ผลไม ของไทยไปจีนพบวา มีการสงออกผลไม สดผา นเสน ทางนี้ เ พิ่ มขึ้ น จาก 7,587 ตั น มูลคา 50 ลานบาท ในป 2550 เปน 20,426 ตัน มูลคา 188 ลานบาทในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 64.1 และ 93.9 ตอป ขณะที่เริ่มมีการสงออกลําไย อบแหงในป 2552 และไมมีการสงออกพืชผักผานเสนทางนี้เลย (ตารางที่ 6-9)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 105 105

ตารางที่ 6-7 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสงออกพืชผักและผลไมจากประเทศจีนผานดาน เชียงของ จังหวัดเชียงราย ป 2550 – 2552 ปริมาณ : ตัน มูลคา : ลานบาท 2550 2551 2552 อัตราเพิ่ม (%) ชนิด ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา การนําเขา 199 2.3 1,957 76 23,644 531 1092.75 2019.14 - พืชผักสด 172 1.60 557 7 14,460 230 816.90 1,098.96 - ผลไมสด +แหง 27 0.70 762 24 6,545 128 1,456.94 1,252.25 - ไมดอกไมประดับ 638 45 2,639 173 313.64 284.44 การสงออก 707 5.6 211.5 6.104 13,513 172 437.48 609.70 - พืชผักสด 0.50 0.004 - ผลไมสด +แหง 371 3.60 22 0.50 11,958 129 467.73 498.61 - ซากกลวยไม+ 336 2.00 189 5.60 1,555 43 115.13 363.68 กลวยไม ที่มา : จากการรวบรวมโดยใชขอมูลของกรมศุลกากร หมายเหตุ : 1) ยังไมมีการเก็บขอมูลแยกเปนรายชนิด เริ่มดําเนินการในป 2553 2) พืชผักสําคัญที่นําเขาไดแก ถั่วลันเตา บลอคโคลี่ กะหล่ําดอก กระเทียม สลัดแกว และ ปวยเลง 3) ผลไมที่นําเขาไดแก ทับทิมสด เกาลัดสด สม ลูกพลับ สาลี่และแอปเปล 4) ไมดอกสําคัญที่นําเขาไดแก กุหลาบ คารเนชั่นและลิลลี่ 5) ผลไมสงออกที่สําคัญไดแก มะขาม กลวยไข มังคุด ลําไย ทุเรียนและขนุน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


ตารางที่ 6-8 ชนิด ปริมาณและมูลคาการนําเขาพืชผักและผลไมที่สําคัญจากประเทศจีนผานดานเชียงของ จังหวัดเชียงราย รายเดือน ป 2553 ปริมาณ : ตัน ; มูลคา : ลานบาท ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. รวม ชนิด ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา พืชผัก 2,577 35.80 2,607 33.10 4,199 42.00 3,041 42.30 3,813 50.80 16,237 204.00 1. บลอคโคลี่ 1,030 19 855 16 969 18 1034 19 1,175 22 5,064 95 2. ถั่วลันเตา 537 6 481 5 548 6 538 7 793 9 2,898 33 3. กะหล่ําดอก,เจดีย 201 2 210 2 294 3 244 3 447 5 1,395 15 4. กระเทียม 128 1 234 2 482 4.50 534 5 134 1 1,512 14 5. ผักกาดขาว,เบบี้หางหงษ 130 1.40 151 2 71 0.80 103 1.10 163 1.80 617 7 6. กะหล่ําปลี,กะหล่ําดาว 132 1.50 113 1.30 131 1.50 94 1.00 110 1.20 579 6 7. สลัดแกว 181 2.00 198 2.20 177 2.00 193 2.10 195 2.10 945 10 8. ปวยเลง 38 0.40 48 0.50 69 0.80 109 1.30 124 1.40 387 4.50 9. ผักอื่นๆ 200 2.50 317 2.10 1,458 5.40 192 2.80 672 7.30 2,840 19.50 ผลไม 860 12.30 257 3.90 255 4.10 55 1.50 - 1,427 21.70 1. ทับทิมสด 663 9.60 182 2.90 845 12.50 2. เกาลัดสด 26 0.50 30 0.40 202 3.40 55 1.50 313 5.80 3. ลม 110 1.50 45 0.60 155 2.10 4. สาลี่ 19 0.30 35 0.50 54 0.70 5. แอปเปล+พลับ 42 0.40 18 0.20 60 0.60 ที่มา : จากการรวบรวมโดยใชขอมูลของกรมศุลกากร

106

106 รายงานฉบับสมบูรณ์

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 107 107

ตารางที่ 6-9 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสงออกพืชผักและผลไมระหวาง ไทย-จีน ผานดานมุกดาหาร (เสนทาง R9) ป 2550 – 2552 ปริมาณ : ตัน มูลคา : ลานบาท 2550 2551 2552 อัตราเพิ่ม (%) ชนิด ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา การนําเขา พืชผัก 3,082 56 1,615 17 3,160 31 1.26 -26.16 ผักสด 1,372 40 76 1 -94.46 -97.50 กระเทียม 1,655 16 1,395 15 2,862 29 31.50 34.63 หอมหัวใหญ 55 0.3 144 0.8 298 1.7 132.77 138.05 พริกหวาน 14 0.2 ผลไม 2,300 29 1,352 5 407 9 -57.93 -44.22 แอปเปล 891 24 201 8 มะขาม 1,409 4.6 1,352 4.5 206 0.9 -61.76 -55.77 รวม 5,382 84.90 2,967 21.30 3,581 39.80 -18.43 -31.53 การสงออก ไมมี พืชผัก ผลไมสด 7,587 50 12,666 82 20,426 188 64.08 93.91 ลําไยอบแหง 179 3 รวม 7,587 50 12,666 82 20,605 191 64.80 95.45 ที่มา : จากการรวบรวมโดยใชขอมูลของกรมศุลกากร

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


108

รายงานฉบับสมบูรณ์

108

6.2 ระบบตลาดผัก ผลไมที่นาํ เขาจากประเทศจีน 6.2.1 วิถีการตลาดผัก ผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน จากแผนภาพที่ 5-4วิถีการตลาดผัก ผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน พบวา กวารอยละ 95 ของผัก ผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน นําเขาผาน 3 ชองทาง คือ ทางเรือเดินทะเล ทางแมน้ําโขง และทางบก โดยผัก ผลไมที่นําเขาทางเรือเดินทะเลจะถูกสงไปยังลง/ตัวแทนจําหนายกอนแลวกระจายตอไปยัง พอคาขายสงในกรุงเทพมหานคร พอคาขายสงตางจังหวัดหางสรรพสินคาสมัยใหม รวมทั้งพอคาปลีก โดยลงหรือตัวแทนจําหนายจะมีโกดังเก็บของหรือหองเย็นในการเก็บรักษาเพื่อทยอยนําสินคาออก สูตลาด สําหรับชองทางการนําเขาทางแมน้ําโขง พบวา จะมีผูประกอบการหรือตัวแทนของผูนําเขา ไปรอรับและบริหารจัดการเมื่อสินคามาถึงที่ทาเรือเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดยกระจายสินคาไปยัง พอคาขายสงตางจังหวัดซึ่งเปนตัวแทนจําหนายในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลงหรือ ตัวแทนจําหนายซึ่งมักตั้งอยูบริเวณรอบๆตลาดไท เพื่อกระจายตอไปยังพอคาขายสงที่กรุงเทพมหานคร และพอคาขานสงตางจังหวัด ทั้งนี้ ยังพบวา การคาตามชองทางนี้เปนลักษณะการซื้อมา ขายไป จะมีการ เก็บสินคาในโกดังของทาเรือเชียงแสนก็ตอเมื่อตลาดปลายทางคอนขางซบเซา โดยสินคาที่เนาเสียงาย เชน องุน จะเก็บไวในหองเย็น แตแอปเปล ทับทิม สาลี่ จะเก็บในโกดังที่ไมมีการควบคุมอุณหภูมิ เพื่อประหยัดคาใชจาย โดยเก็บไวไมเกิน 1 สัปดาห สําหรับสินคาที่ไมเนาเสียงาย เชน กระเทียม จะเก็บ ไวนานจนกวาจะทยอยออกสูตลาด สวนการนําเขาทางบก ผานเสนทาง R9 พบวา สวนใหญเปนการนําเขากระเทียมและหอมหัวใหญ ซึ่งตัวแทนผูนําเขาจะมีโกดังเก็บสินคาที่จังหวัดมุกดาหาร กอนกระจายผลผลิตไปยังลง/ตัวแทนจําหนาย และพ อ ค า ขายส ง ในกรุ ง เทพมหานคร รวมทั้ ง พ อ ค า ขายส ง ต า งจั ง หวั ด สํ า หรั บ ผลไม จะส ง ผ า นมายั ง ล ง /ตั ว แทนผู นํ า เข า ที่ ก รุ ง เทพมหานคร ก อ นกระจายไปสู พ อ ค า ขายส ง ทั้ ง ใน กรุงเทพมหานครและตางจังหวัด สําหรับการนําเขาผานเสนทาง R 3 พบวา สวนใหญเปนการนําเขาผัก กระเทียมและผลไมสด ซึ่งจะตองกระจายสินคาใหหมด เนื่องจากไมมีหองเย็นในการเก็บรักษาสินคาที่ดานเชียงของ ดังนั้น สินคา สวนใหญจะถูกสงตรงมายังลง/ตัวแทนจําหนาย ซึ่งเปนผูประกอบการชาวจีนคอยรับที่ตลาดไท ซึ่งจะมี หองเย็นในการเก็บรักษาสินคา พรอมๆกับการกระจายสินคาไปยังพอคาขายสงในกรุงเทพมหานคร รวมทั้งพอคาขายสงตางจังหวัด

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 109 109

แผนภาพที่ 6-4 วิถีการตลาดผักและผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน ทางแมน้ําโขง/ทาเรือเชียงแสน (มีโกดังเก็บสินคา

พอคาขายสงกทม. (ตลาดไท/สี่มุมเมือง) หางสมัยใหม Modern Trade

ผูนําเขา

ทาเรือเดินทะเล (ทาเรือกรุงเทพฯ)

ลง/ตัวแทนจําหนาย มีหองเย็นเก็บรักษา

R9 มีโกดังเก็บสินคา ที่มุกดาหาร

ผูบริโภค

พอคาขายปลีก

พอคาขายสงตางจังหวัด

ทางบก R3A ทาเรือเชียงของ ไมมีโกดังเก็บสินคา

ที่มา : จากการศึกษา 6.2.2 โครงสรางการตลาดผัก ผลไมที่นําเขา การศึ ก ษาโครงสร า งการตลาดผั ก ผลไม นํ า เข า ในที่ นี้ ได พิ จ ารณาถึ ง จํ า นวนผู ซื้ อ ผู ข าย ความแตกตางของสินคา และความยากงายในการเขาออกธุรกิจ โดยพิจารณาในภาพรวมทั้งผักและผลไม 1) จํานวนผูซื้อ ผูขาย จํานวนผูซื้อและผูขาย สามารถระบุไดวาตลาดแตละระดับมีลักษณะเปนอยางไร ใคร เปนผูมีอิทธิพลทางการตลาด หรือทุกคนมีอิทธิพลเทาเทียมกัน จากการสํารวจผูประกอบการคาผัก ผลไมนําเขา นับตั้งแตผูนําเขา และ/หรือตัวแทนผูนําเขา ลงหรือตัวแทนจําหนาย พอคาขายสงกรุงเทพ เชน ตลาดไท ตลาดสี่มุมเมือง พอคาขายสงตางจังหวัด รวมทั้งหางสรรพสินคา พอคาขายปลีก และ ผูบริโภค พบว า ผูนําเข า และ/หรื อตั วแทนผูนําเขา ลงหรือตัวแทนจําหนาย มีจํานวน 30 ราย ซึ่ง มากกวาครึ่งหนึ่งดําเนินการโดยผูประกอบการชาวจีน และคนไทยเชื้อสายจีน สําหรับพอคาขายสง กรุงเทพและตางจังหวัด มีจํานวนราว 200 ราย ขณะที่พอคาขายปลีกและ หางสรรพสินคาตางๆมีอยู ทั่ ว ไปทั้ ง กรุ ง เทพและต า งจั ง หวั ด ซึ่ ง จากการสํ า รวจวิ ถี ก ารตลาด พบว า ไม ว า จะเป น การนํ า เข า

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


110

รายงานฉบับสมบูรณ์

110

ในชองทางใดจะตองผานลง/ตัว แทนจําหนายของผูนําเขา กอนการกระจายไปยังพอคาระดับตางๆ ซึ่งลงหรือตั วแทนจํ าหนายของผูนํ าเขารายใหญมีประมาณ 10 ราย มูลคาการคามากกวารอยละ 50 ของการนําเขาทั้งหมดจากประเทศจีน ดังนั้น จึงกลาวไดวา โครงสรางการตลาดการนําเขาผักและผลไม จากประเทศจีน เปนแบบผูนําเขานอยราย หรือ Oligopoly ซึ่งกลุมผูนําเขารายใหญเหลานี้เปนคนจีนจึง เปนผูที่มีอิทธิพลตอการกําหนดราคาในตลาด โดยมีพอคาในระดับตางๆเปนผูรับและสงผานราคาไปยัง ผูบริโภคคนสุดทาย 2) ความแตกตางของสินคา ความแตกตางของสินคา พิจารณาไดจากคุณภาพ บริการ วิธีการจําหนายสินคา การ บรรจุหีบหอ/การบรรจุภัณฑ ตราหรือสัญลักษณ การโฆษณาและการวางจําหนายในสถานที่ตางๆกัน ซึ่ ง นั บ เป น กลยุ ท ธ อ ย า งหนึ่ ง ของผู ค า ในการขยายตลาดหรื อ หาลู ก ค า ประจํ า จากการศึ ก ษา พบว า ความแตกต างของสิน ค าขึ้ น กับคุ ณภาพ โดยเฉพาะผลไมจะเห็นไดชัดเจน กลาวคือ ถาเปนผลไม ที่ขนสงดวยตูคอนเทนเนอรทางเรือเดินทะเล จะมีคุณภาพดีกวาผลไมที่ขนสงทางเรือแมน้ําโขงและ ทางบก (ซึ่งผลไมไดรับความเสียหายราว รอยละ 30 ) เนื่องจากลักษณะของตลาดมีความเปนสากล มากกวา ทําใหการจัดเกรดสินคาและการบรรจุภัณฑดีกวา ความบอบช้ําจากการขนสงจึงมีนอยกวา เพราะไมมีการเปลี่ยนถายสินคาระหวางการเดินทาง 3) ความยากงายในการเขาออกธุรกิจ ความยากงายในการเขามาทําธุรกิจเปนสวนหนึ่งในการกําหนดวาลักษณะตลาดเปน เช น ใด หากธุ ร กิ จ นั้ น บุ ค คลอื่ น นอกจากผู ที่ทํ า ธุร กิ จ อยู แ ล ว เข า มาได ย าก ตลาดของสิ น ค า ชนิ ด นั้ น จะเปนตลาดผู ขายนอยราย หรือตลาดผู กขาด หากธุรกิจ นั้น ใครๆก็สามารถเขาไปทํ าธุรกิจไดงาย ตลาดนั้นจะเปนตลาดที่มีการแขงขันมาก ซึ่งปจจัยที่เปนตัวกําหนดความยากงายในการเขามาทําธุรกิจ มีหลายประการ เชน ขนาดของธุรกิจ ประสบการณทางการคา ความแตกตางของสินคาและตนทุน ที่แทจริง จากการสํารวจพบวา พอคาระดับทองที่/ทองถิ่น และผูนําเขาที่เปนชาวจีน สามารถเขา สูตลาดผักและผลไมไดงาย เนื่องจาก (1) ใชเงินลงทุนไมสูงมาก แตอาจมีความเสี่ยง เนื่องจากผักและผลไมเนาเสียงาย (2) ใชเทคโนโลยีไมสูงนัก เพียงแตผูประกอบการตองมีความรอบรูเรื่องคุณภาพ และมีประสบการณทางการคา (3) สินคามีลักษณะไมแตกตางกันมากนักในทัศนะของผูบริโภค จึงไมกอใหเกิด อุปสรรคในการเขาสูธุรกิจ ดัง นั้ น เมื่ อพิ จารณาโครงสรางตลาดของผัก ผลไม ที่นําเขาจากประเทศจีน แลว ถึงแมคุณภาพของสินคาจะแตกตางกันบาง และสามารถเขาออกธุรกิจไดงายก็ตาม แตจํานวนผูนําเขาที่มี อิทธิพลตอตลาดมีจํานวนนอยราย เมื่อเปรียบเทียบกับผูคาระดับอื่นๆ จึงอาจกลาวไดวาโครงสรางของ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 111 111

ตลาดผักและผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน มีลักษณะที่คอนขางผูกขาดโดยพอคาชาวจีนที่นําเขาและ เปนผูจัดจําหนายเอง 6.2.3 พฤติกรรมตลาด (Market Behavior) พฤติกรรมตลาด ประกอบดวยนโยบายของหนวยธุรกิจที่มีตอสินคาที่จําหนาย และจะมี ผลกระทบตอคูแขง พฤติกรรมตลาดเปนไปตามโครงสรางตลาด กลาวคือ ถาลักษณะตลาดเปนตลาดที่มี การแขงขันมาก ตลาดจะเปนผูกําหนดราคาสินคา หนวยธุรกิจไมมีอิทธิพลตอราคา และจําเปนตองลด ตนทุนตางๆเทาที่จะทําได เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน แตถาลักษณะตลาดเปนแบบผูกขาด ทางเลือของผูผูก ขาดมีหลายทาง เชน อาจกําหนดราคา และปริมาณที่ไมใชทําใหไดรับกําไรสูงสุด แต เ พื่ อ ความเหมาะสมบางอย า ง หรื อ อาจมี เ ป า หมายอื่ น เช น เพื่ อ ขยายธุ ร กิ จ ให ก ว า งขวางยิ่ ง ขึ้ น ซึ่งพฤติกรรมเหลานี้ อาจแสดงออกในดานการกําหนดราคา การคัดคุณภาพ การพิจารณาผลิตภัณฑ การใหบริการและการกีดกันคูแขงขัน การกํ า หนดราคา นั บ เป น สิ่ ง สํา คัญ ในพฤติก รรมตลาด ในกรณีก ารนํ า เข าผั ก ผลไม จ าก ประเทศจีน ซึ่งดําเนินการนําเขาโดยพอคาชาวจีนเปนสวนใหญ ทําใหพอคาชาวจีนเปนผูมีอิทธิพล ตอการกําหนดราคา ทั้งราคานําเขาและราคาจําหนายในประเทศไทย ซึ่งจะสงผลใหผูนําเขา/ผูคาซึ่งเปน คนไทยเสียเปรียบ เพราะตองเผชิญกับตนทุนที่สูงกวา เครือขายในการทําธุรกิจมีนอยกวา ซึ่งจะสงผล อย า งมากต อ ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น และหากสถานการณ ยั ง เป น เช น นี้ คื อ ชาวจี น เข า มา มีบทบาทในการนําเขาและบริหารจัดการตลาดตลอดหวงโซอุปทาน (Supply Chain) พอคาชาวไทย จะเปนเพียงผูรับจางขายใหพอคาชาวจีน โดยไมมีบทบาทและอํานาจตอรองใดๆทางการตลาด ทั้งที่ เปนตลาดของประเทศไทย 6.2.4 การจัดการหวงโซอุปทานและโลจีสติกส ผักและผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน 1) แหลงผลิต ผักใบเขียวที่นําเขาจากประเทศจีน มีแหลงผลิตในแถบมณฑลฝง ตะวันตกโดยเฉพาะมณฑลยูนนาน สําหรับ มันฝรั่ง แครอท กระเทียมและหอมหัวใหญ มักอยูทาง เหนือของจีนแถบมณฑลซานตง เจียงซู มองโกเลีย สวนผลไมเมืองหนาวที่สําคัญ เชน แอปเปล สาลี่ จะมีแ หลงผลิตในมณฑลส านซี ซานตง เหอหนานและเหอเปย ขณะที่ผลไมกึ่งรอน เชน ทับทิม มีแหลงผลิตในมณฑลกวางตุง หูหนาน หูเปยและเจอเจียง ทั้งนี้แหลงผลิตพุทรา สวนใหญมาจาก มณฑลซานตงและเหอเปย 2) ระบบการผลิตและการกระจายสินคา การผลิตผักและผลไมของจีน มี 2 รูปแบบ ดังนี้ (1) การผลิตขนาดใหญ (Plantation) เชน กระเทียม แครอท แอปเปล โดยผักและ ผลไมแตละชนิด จะมีการจัดตั้งสมาคมโดยเฉพาะขึ้นมากํากับดูแลตั้งแตชนิดพันธุ การวางแผนการผลิต การถายทอดเทคโนโลยี การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษา สําหรับในเรื่องการตลาด และ การจัดจําหนายจะมีภาคเอกชนโดยการสนับสนุนจากรัฐบาลจีนเขามาบริหารจัดการ รวมทั้งเสริมสภาพ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


112

รายงานฉบับสมบูรณ์

112

คลองดวยการใหกูยืมเงินเพื่อรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรเพื่อการสงออก และงดเวนการจัดเก็บภาษี สงออก อํานวยความสะดวกในเรื่องขั้นตอนและกระบวนการตางๆในการสงออก เปนตน ซึ่งการดําเนินการ ดังกลาว ทําใหประเทศจีนสามารถควบคุมทั้งปริมาณและคุณภาพผลผลิตได รวมทั้งการผลิตในลักษณะ ฟารมขนาดใหญ ทําใหเกิดประสิทธิภาพในการผลิตสูงโดยตนทุนการผลิตต่ํา เปนผลใหเกิดการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแขงขันในตลาดโลกเพิ่มขึ้นอีกดวย (2) การผลิตของเกษตรกรโดยทั่วไป ซึ่งพบเห็นไดในการผลิตผักชนิดตางๆของ มณฑลยูนนาน การผลิตลักษณะนี้เกษตรกรจะทําการผลิตและเก็บผลผลิตมาขายใหแกบริษัทที่รับซื้อ เพื่อจําหนายในประเทศและสงออก ซึ่งนอกจากบริษัทจะรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรแลว บางบริษัทยัง ทําการผลิตเองดวยเพื่อทําการสงออก ในกรณีนี้รัฐบาลจีนยังมีมาตรการสงเสริมดานการผลิต การคา และการสงออก กลาวคือ บริษัทที่รับซื้อผลผลิตจากเกษตรกร ซึ่งนอกจากจะรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกร ทั่วไป รวมทั้งเกษตรกรลูกไรที่ทํา Contract Farming แลว บริษัทตองมีพื้นที่ปลูกของตนเองดวย สวนหนึ่ง โดยรัฐบาลจะใหการสนับสนุนในเรือ่ งการเงิน และการลดหยอนภาษี รวมทั้งการอํานวยความ สะดวกในดานตางๆ 3) การจัดการตลาด (1) ลักษณะการซื้อขาย การนําเขาผักและผลไมของไทยจากจีนเปนลักษณะซื้อขาด คือมีการตกลงกันในเรื่องปริมาณและราคาไวลวงหนาแลว ขณะที่ผักและผลไมไทยที่สงไปจีนเปน ลักษณะการฝากขาย โดยผูรับฝากขายเมื่อจําหนายเสร็จแลวจะหักคาใชจายทั้งหมดในการขาย รวมทั้ง คานายหนา สวนที่เหลือจึงจะโอนใหผูสงออกของไทย จะเห็นไดวาพอคาชาวไทยมีความเสียเปรียบ เพราะตองรับภาระความเสี่ยงทุกอยาง รวมทั้งภาษีมูลคาเพิ่มที่จีนเรียกเก็บจากผูนําเขาอีกรอยละ 13 (2) การกําหนดใหเขาสูตลาดกลางคาสงของจีน ผักและผลไมของไทยที่สงไปขายที่จีน จะตองผานตลาดกลางคาสงของจีน เชน ตลาดเจียงหนานที่กวางโจว มณฑลกวางตุง ตลาดอินฟาตี้ ที่ปกกิ่ง และตลาดหลงอูที่เซี่ยงไฮ เปนตน หลังจากนั้น ตลาดกลางจะทําหนาที่เปนศูนยกลางในการ กระจายสินคาทั้งผักและโดยเฉพาะผลไมไทยที่สงไปจีน ตองผานตลาดกลางดังกลาว ในขณะที่ผัก และผลไมของจีนที่สงออกจะมีการแบงแยกตลาดเปน segment โดยใชคุณภาพของสินคา ความตองการ บรรจุภัณฑ และกําลังซื้อของประชากรของประเทศผูนําเขาเปนตัวกําหนด

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 113 113

6.3 การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและขอจํากัดในการคาผักและผลไมของประเทศจีนที่มีตอ ประเทศไทยภายใตการเปดเสรีการคา ในส ว นนี้ เ ป น การวิ เ คราะห จุ ด แข็ ง จุ ด อ อ น โอกาสและข อ จํ า กั ด ในการค า ผั ก และผลไม ของประเทศจีนที่มีตอประเทศไทยภายใตการเปดเสรีการคาในมุมมองของผูศึกษา ซึ่งเปนการวิเคราะห จากสภาพที่ เ ป น จริ ง บนพื้ น ฐานข อ มู ล สถิ ติ การสั ม ภาษณ ร วมทั้ ง การสํ า รวจข อ มู ล เชิ ง พื้ น ที่ แ ละ การจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากผูเกี่ยวของ โดยสามารถสรุปประเด็นที่สําคัญๆเพื่อเปนประโยชน ตอการพัฒนาศักยภาพทางดานการคาใหกับประเทศไทยไดดังนี้ 6.3.1 การวิเคราะหจุดแข็ง (Strength) 1) ตนทุนการผลิตผัก ผลไมของประเทศจีนต่ํากวาของไทย ไดแก คาจางแรงงาน และราคา ป จจั ยการผลิ ตอื่ นๆ เช น ปุ ยเคมี สารป องกั นและกํ าจั ดโรค/แมลง จึ งทํ าให ไทยต องนํ าเข าผั ก ผลไม จากประเทศจีนเปนจํานวนมาก 2) พื้นที่อันกวางใหญไพศาลของประเทศจีนสามารถพัฒนาประสิทธิภาพดานการผลิต ของภาคการเกษตรไดอยางครบวงจร 3) รัฐบาลจีนสนับสนุนใหมีการผลิตในลักษณะ Plantation ซึ่งมีการควบคุมดูแล อยางเปนระบบ ครบวงจร รวมทั้งมีระบบหองเย็นในการเก็บรักษาอยางทั่วถึง รวมทั้งสงเสริมในเรื่อง การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตในภาคการเกษตรอยางตอเนื่องจึงทําใหผลผลิตมีคุณภาพในระดับ มาตรฐานสากล 4) สภาพภูมิอากาศของประเทศจีนสามารถผลิตไดทั้งผลไมเมืองรอน กึ่งรอนและเมือง หนาว โดยเปนประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตพืชผักเปนอันดับ 1 ของโลก ซึ่งไทยยังไมสามารถแขงขัน ไดในขณะนี้ โดยประเทศไทยมีศักยภาพเฉพาะการผลิตผลไมเมืองรอนเทานั้น 5) ผลไมเมืองหนาวที่จีนผลิตได สามารถจัดเก็บไวไดนาน และมีความไดเปรียบใน การขนสงทางเรือ (แมน้ําโขง) ที่ใชเวลาเพียง 12 ชั่วโมง จึงทําใหผัก ผลไมจีนสามารถรักษาความสด จนถึงประเทศไทย 6) จีนกําหนดใหสินคาเกษตรนําเขาทุกชนิดตองเขาสูตลาดกลางคาสงของจีน ซึ่งผัก และผลไมของไทยที่สงไปขายที่จีน จะตองผานตลาดกลางคาสงของจีน เชน ตลาดเจียงหนานที่กวางโจว มณฑลกวางตุง ตลาดอินฟาตี้ ที่ปกกิ่ง และตลาดหลงอูที่เซี่ยงไฮ เปนตนหลังจากนั้น ตลาดกลางจะทํา หนาที่เปนศูนยกลางในการกระจายสินคา ทําใหจีนเปนผูกําหนดตลาด ราคา และวิธีการจัดจําหนายได ทั้งหมด 7) การใชมาตรการที่มิใชภาษีของจีน สงผลกระทบตอการนําเขาผลไมจากไทย ไดแก (1) ภายใตระบบ Food Safety ซึ่งจีนใหความสําคัญมาก โดยกําหนดใหมีการ ตรวจสอบและกักกันโรคสําหรับผักและผลไมเขตรอนที่นําเขาจากไทยอยางเขมงวด ทําใหผัก ผลไมของ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


114

รายงานฉบับสมบูรณ์

114

ผูสงออกไทยไดรับความเสียหาย เพราะตองเสียเวลาในการตรวจสอบหลายวัน ดังนั้น จึงเสมือนเปนการ ปกปองการนําเขาสินคาเกษตรของจีน (2) หนวยงานของประเทศจีนที่รับผิดชอบดําเนินการตามระบบ Food Safety ยังมี ความสับสนในการใชกฎระเบียบมาตรฐานบางประการ สงผลใหเปนอุปสรรคตอผูสงออกผลไมชาวไทย ซึ่งผลกระทบนี้ ทําใหจีนซื้อผลไมไทยในจํานวนไมมาก (3) นโยบายการเก็บภาษีมูลคาเพิ่มผักและผลไมจากผูนําเขาของจีนในอัตรารอยละ 13 ของราคาประเมิน ทําใหไทยเสียเปรียบเพราะทําใหตนทุนการสงออกพอคาชาวไทยสูงขึ้น ราคา ผลไมไทยในจีนจึงแพงในสายตาคนจีน ในขณะที่ประเทศไทยไมมีการจัดเก็บภาษีนําเขานี้เลย 8) ประเทศจีนมีนโยบายที่แข็งแกรงในการสงเสริมภาคการเกษตร โดยการสนับสนุน ใหเกษตรกรรวมกลุมการผลิต เนนคุณภาพเพื่อการสงออก รวมทั้งสงเสริมการสงออกสินคาเกษตรดวย การลดหยอนภาษีและอุดหนุนเงินทุนแกเกษตรกร ผูประกอบการ และผูสงออก 9) ราคาผลไมไทยที่จําหนายในประเทศจีนคอนขางแพงเมื่อเปรียบเทียบกับผลไมที่ ผลิตในประเทศจีน ทําใหความตองการบริโภคจํากัดเฉพาะชนชั้นกลางขึ้นไป ในขณะที่ประชากรสวน ใหญของจีนยังอยูระดับลาง 6.3.2 การวิเคราะหจุดออน (Weakness) 1) ระบบโลจิสติกสของจีนยังไมสามารถเชื่อมโยงไดทั้งโครงขาย โดยเฉพาะเสนทาง จากลาวมายังไทยยังมีอุปสรรคในการขนสง 2) จีนยังไมพร อมรั บการเปดเสรีการคา ซึ่งกฎระเบียบในการดําเนินธุรกิจของจีน ยังมีความแตกตางกันในแตละมณฑล 3) ประเทศจีนมีอากาศหนาวเย็นมาก ไมสามารถผลิตผลไมเมืองรอนที่เปนที่นิยมของ ชาวจีน ไดแก ทุเรียน มังคุด เงาะ ประกอบกับประเทศอื่นๆที่สามารถผลิตผลไมประเภทนี้ได เชน เวียดนาม มาเลเซียอินโดนีเซีย ยังมีคุณภาพไมดีเทากับของไทย ดังนั้น จีนยังมีความตองการบริโภค ผลไมดังกลาวนี้อีกมาก 4) จีนนําเขาลําไยจากไทยมากที่สุด ถึงแมจีนจะปลูกไดแตแหลงผลิตลําไยของจีนอยู ทางเหนือของประเทศไทย ผลผลิตลําไยของจีนเปนไปตามฤดูกาลตามธรรมชาติ มักไดรับความเสียหาย เนื่องจากสภาพอากาศหนาวเย็นเกินไป จึงตองนําเขาจากไทยเพิ่มขึ้น 5) ประเทศจีน ขาดแคลนผลไมใ นช ว งเดือ นพฤศจิก ายน – กุ มภาพั น ธ ซึ่ ง เปน ชว ง ฤดูหนาว โดยผลไมของไทยสวนใหญออกสูตลาดในชวงเดือนเมษายน – กันยายน จึงทําใหจีนตองการ นําเขาผลไมจากไทยเปนจํานวนมาก 6) ผั ก ผลไม จี น ที่ สง มาขายยั ง ประเทศไทย ตามตลาดสด ตลาดค า ชายแดนต า งๆ ยังมีภาพลักษณของความไมปลอดภัย ไมถูกสุขลักษณะอยูมาก เปนผลใหคนไทยระมัดระวังเรื่องการ บริโภค

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์ 115 115

6.3.3 การวิเคราะหโอกาส (Opportunity) 1) จีนไดประโยชนจากการเปดเสรีทางการคา เพราะภาษีนําเขาของไทยเปนศูนย 2) ผลไมเมืองหนาวของจีนมีความสด เก็บไดนานขามป ทําใหเปนโอกาสในการขยาย ตลาดสงออกไปยังตางประเทศรวมทั้งประเทศไทย 3) ผลไมของไทยสวนใหญผลิตโดยเกษตรกรรายยอย ทําใหการควบคุมมาตรฐานคุณภาพ ทํ าได ยาก ประกอบกั บ การกระจายผลผลิ ต โดยใช เ ทคโนโลยี ส มั ย ใหม ยั ง ไม แ พร ห ลาย รวมทั้ ง ยั ง ขาดแคลนเทคโนโลยีการยืดอายุ ขณะที่การผลิตพืชผัก ผลไมของจีนมีความไดเปรียบมากกวา 4) ระบบ Logistic ตามเสนทาง R 3 และ R 9 สงผลใหประเทศจีนไดพัฒนาศักยภาพ ในการสงออกผัก ผลไมมายังประเทศไทยและประเทศอื่นๆไดมากขึ้น 5) ระบบ Logistic ของประเทศไทยยังไมสามารถเชื่อมตอกับประเทศจีนได จึงทําให การเคลื่อนยายผลไมจากประเทศไทยไปยังผูบริโภคของประเทศจีนไมไดรับความสะดวก ลาชาและมี ตนทุนสูงและไมสามารถรักษาความสดและคุณภาพผลไม ทําใหปจจุบันผลไมไทยมีจําหนายเฉพาะใน เมืองและมณฑลใหญๆของจีนเทานั้น เชน มณฑลกวางตุง 6) พอคาชาวจีนเขามามีบทบาทในการนําเขาและบริหารจัดการตลาดตลอดหวงโซ อุปทาน (Supply Chain) พอคาชาวไทยจะเปนเพียงผูรับจางขายใหพอคาชาวจีน โดยไมมีบทบาทและ อํานาจตอรองใดๆทางการตลาด ทั้ ง ที่ เ ปนตลาดของประเทศไทย ทําใหสามารถบริห ารการตลาด กําหนดราคา รวมทั้งมีระบบการจัดเก็บผลไมสําคัญดวยอุตสาหกรรมหองเย็นที่มีประสิทธิภาพ จึงทําให ผลไมจากจีนมีจําหนายในประเทศไทยตลอดทั้งป 6.3.4 การวิเคราะหอุปสรรค/ขอจํากัด (Threat) 1) การขนส ง ทางน้ํ า จากจี น มายั ง ไทยประสบป ญ หาร อ งน้ํ า ตื้ น จึ ง ต อ งส ง ไปยั ง อินโดนีเซียกอนและจึงสงทางเรือเล็กมายังไทย 2) การกอสรางเขื่อนกักเก็บน้ําเพื่อผลิตกระแสไฟฟาของประเทศจีน จึงจําเปนตอง ปลอยน้ําเปนเวลา ทําใหปริมาณน้ําในแมน้ําโขงลดลงมาก เปนผลใหผัก ผลไมจากประเทศจีนเขาสู ประเทศไทยนอยลงกวาเดิมมาก 3) ผลไมจีนที่ขนสงทางเรือแมน้ําโขงและทางบก ไดรับความเสียหายราว รอยละ 30 เพราะไดรับความบอบช้ําจากการเปลี่ยนถายสินคาระหวางการเดินทาง 4) ผลไมเมืองรอนของไทยมีคุณภาพดี เปนที่ยอมรับของผูบริโภคชาวจีนโดยเฉพาะ มังคุด ทุเรียน ลําไย กลวยไข ซึ่งไทยเปนผูผลิตและสงออกรายใหญของโลก 5) ปจจุบันประเทศไทยมีเทคโนโลยีในการผลิตผลไมนอกฤดู ทั้งทุเรียนและลําไย ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายในการสงเสริมการกระจายผลผลิตใหสอดคลองกับความตองการของ ตลาด รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพผลผลิต จึงเปนโอกาสที่เกษตรกรไทยจะขายผลผลิตใหกับประเทศจีน ไดในราคาที่สูงขึ้น

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


116

รายงานฉบับสมบูรณ์

116

6) ปจจุบันไทยมีระบบการจัดการคุณภาพในการผลิตและการแปรรูป (GAP และ GMP) เพื่อใหผลผลิตไดมาตรฐาน “Q” เปนการสรางความเชื่อมั่นใหแกผูบริโภคและประเทศคูคา 7) การเปดเสรีการคาระหวางไทย-จีน โดยเฉพาะในหมวดผัก – ผลไม (07 – 08) ชวย เพิ่มโอกาสในการขยายการสงออกผักและผลไมของไทยไปยังประเทศจีน เพราะประเทศจีนมีประชากร ราว 1,400 ลานคน หากไทยทําการประชาสัมพันธอยางตอเนื่องใหชาวจีนในมณฑลตางๆ รูจักผักและ ผลไมไทยกวางขวางมากขึ้น จะทําใหไทยสามารถขยายตลาดผลไมไปยังประเทศจีนไดมากขึ้น 8) ปจจุบันกระทรวงเกษตรและสหกรณของประเทศไทยไดดําเนินการจัดทํา MRA ใน ดานมาตรฐานสุขอนามัย และสุขอนามัยพืชระหวางไทย – จีน เพื่อลดอุปสรรคทางการคาที่ผูสงออกไทย ตองเผชิญในประเทศจีน 9) การเจรจาเปดเสนทางการขนสงผักและผลไม เสนทางใหมทางถนนระหวางไทยกับ จีน( R9 ลงนามแลวเมื่อ 24 มิถุนายน 2552 เฉพาะผลไม และเสนทาง R3 อยูระหวางยกรางขอตกลงทั้ง ผักและผลไม) เปนโอกาสใหผลไมจากประเทศไทยสงไปยังประเทศจีนไดรวดเร็วยิ่งขึ้น ทําใหผลไม ไทยสามารถไปถึงประเทศจีนไดสะดวกขึ้น และผูบริโภคชาวจีนไดบริโภคผลไมไทยที่สดและมีคุณภาพ มากขึ้น

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

117

บทที่ 7 พฤติกรรมการบริโภคผักและผลไมของคนไทย และความคิดเห็นของผูประกอบการ 7.1 พฤติกรรมการบริโภคผักและผลไมของผูบริโภคชาวไทย การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไม และความคิดเห็นของผูบริโภคและผูประกอบการ/ผูนําเขาผักและผลไมจากจีนใชวิธีการสัมภาษณแบบ เฉพาะเจาะจงกลุมผูบริโภครวมทั้งกลุมผูประกอบการ/ผูนําเขาผักและผลไมในตลาดคาสง-คาปลีกขนาดใหญ ตลาดสมัยใหม ทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด รวมทั้งตลาดคาชายแดน โดยในการสัมภาษณ ดังกลาวมีจํานวนกลุมตัวอยางในแตละตลาด ดังนี้ กรุงเทพมหานคร

ตางจังหวัด

กรุงเทพมหานคร ตางจังหวัด

กลุมผูบริโภค 1.ตลาดคาสง-คาปลีกขนาดใหญ 2.ตลาดสมัยใหม 3.ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว 1.ตลาดคาสง-คาปลีกขนาดใหญ 2.ตลาดสมัยใหม 3.ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว กลุมผูประกอบการ 1.ตลาดคาสง-คาปลีกขนาดใหญ 2.ตลาดสมัยใหม 1.ตลาดคาสง-คาปลีกขนาดใหญ 2.ตลาดคาชายแดน

จํานวนตัวอยาง (คน) 80 50 56 20 50 30 จํานวนตัวอยาง (คน) 40 2 4 4

ทั้งนี้ การอภิปรายผลดวยการแบงกลุมผูบริโภคออกเปน 2 กลุมใหญ คือ ในกรุงเทพมหานคร และตางจังหวัด โดยแยกตามประเภทของตลาดตามที่ระบุไวขางตน ซึ่งสรุปเฉพาะประเด็นที่สําคัญๆ สวนรายละเอียดทั้งหมดแสดงไวในตาราง และภาพประกอบ ดังนี้ 7.1.1 ความถี่ในการซื้อผัก จากการสํารวจ พบวา กลุมผูบริโภคในตลาดตางๆมีความถี่ในการซื้อผักแตกตางกันไป โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (ตารางที่ 7-1 )

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


118

รายงานฉบับสมบูรณ์

118

1) กรุงเทพมหานคร กลุ มผู บ ริ โ ภคในตลาดค า สง ค า ปลีก ส ว นใหญ ซื้อ ผั ก ทุ ก วั น (คิด เปน รอ ยละ 51.25) รองลงมาซื้อวันเวนวัน(คิดเปนรอยละ 15) ซื้อสัปดาหละ1ครั้ง/มากกวา 2 สัปดาหเปนจํานวนเทากัน (คิดเปนรอยละ12.50) ซื้อสัปดาหละ 2 ครั้ง (คิดเปนรอยละ6.25) และ 2 สัปดาหซื้อ 1 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 2.50) (ภาพที่ 7-1 – 7-3) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญซื้อผักซื้อสัปดาหละ 1 ครั้ง(คิดเปนรอยละ 34) รองลงมาซื้อสัปดาหละ 2 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 24) และ 2 สัปดาหซื่อ 1 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 22) ซื้อวัน เวนวัน (คิดเปนรอยละ 14) และซื้อทุกวัน (คิดเปนรอยละ 6) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว สวนใหญซื้อผักสัปดาหละ 2 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 30.36) รองลงมาซื้อสัปดาหละ 1 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 19.64 ) ซื้อมากกวา 2 สัปดาหตอครั้ง (คิดเปนรอยละ 17.86) ซื้อสัปดาหละ 2 ครัง้ (คิดเปนรอยละ 12.50) ซื้อทุกวัน(คิดเปน รอยละ 10.72) และ สวนที่เหลือซื้อผักวันเวนวัน (คิดเปนรอยละ 8.92) 2) ตางจังหวัด กลุ ม ผู บ ริ โ ภคในตลาดค า ส ง ค า ปลี ก ส ว นใหญ ซื้ อ ผั ก ทุ ก วั น (คิ ด เป น ร อ ยละ 44) รองลงมาซื้อวันเวนวันและสัปดาหละ 2 ครั้งเปนจํานวนเทากัน (คิดเปนรอยละ 22) ผูบริโภคสวนที่เหลือ ซื้อผักสัปดาหละ 1 ครั้ง, 2 สัปดาหซื้อ 1 ครั้ง และมากกวา 2 สัปดาหตอครั้งเปนจํานวนเทากัน (คิดเปน รอยละ 4) (ภาพที่ 7-4 - 7-6) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญซื้อผักวันเวนวัน (คิดเปนรอยละ 60) รองลงมา ซื้อผักสัปดาหละ 2 ครั้ง(คิดเปนรอยละ 28 ) ซื้อทุกวัน (คิดเปนรอยละ 10) และผูบริโภคจํานวนนอยที่ซื้อ ผักในตลาดสมัยใหมมากกวา 2 สัปดาหตอครั้ง (คิดเปนรอยละ 2) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว สวนใหญซื้อทุกวัน และซื้อวัน เวนวันเปนจํานวนเทากัน (คิดเปนรอยละ 30) รองลงมาซื้อสัปดาหละ 2 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 22.50 ) ซื้อสัปดาหละ 1 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 15) และสวนที่เหลือซื้อ 2 สัปดาหตอครั้ง (คิดเปนรอยละ 2.50)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

119

119

ตารางที่ 7-1 ความถี่ในการซื้อผักของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด รายการ

ความถี่ในการซื้อผัก ตลาดคาสง คาปลีก

ทุกวัน วันเวนวัน สัปดาหละ 2 ครั้ง สัปดาหละ 1 ครั้ง 2 สัปดาห ซื้อ1ครั้ง มากกวา 2 สัปดาห ตอครั้ง รวม

กรุงเทพมหานคร ตลาดสมัยใหม ตลาดสมัยใหม ที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

ตลาดคาสง คาปลีก

ตางจังหวัด ตลาดสมัยใหม

ตลาดสมัยใหม ที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

41 12

51.25 15.00

3 7

6.00 14.00

6 5

10.72 8.92

22 11

44.00 22.00

5 30

10.00 60.00

12 12

30.00 30.00

5

6.25

12

24.00

17

30.36

11

22.00

14

28.00

9

22.50

10

12.50

17

34.00

11

19.64

2

4.00

-

-

6

15.00

2

2.50

11

22.00

7

12.50

2

4.00

-

-

1

2.50

10

12.50

-

-

10

17.86

2

4.00

1

2.00

-

-

80

100.00

50

100.00

56

100.00

50

100.00

50

100.00

40

100.00

ที่มา : จากการสํารวจ (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2552)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


120

รายงานฉบับสมบูรณ์

120

ภาพที่ 7-1 – 7-3 ความถี่ในการซื้อผักของผูบ ริโภคในเขตกรุงเทพมหานครแยกตามตลาดตางๆ ทุกวัน

2.50%

22%

14%

สัปดาหละ2ครั้ง

12.50%

1

สัปดาห1ครั้ง

51.25%

6.25% 15%

วันเวนวัน

6%

วันเวนวัน

12.50%

ทุกวัน

0%

24%

34%

สัปดาห1ครั้ง 2 สัปดาหซื้อ1ครั้ง

2 สัปดาหซอื้ 1ครั้ง

ความถี่ในการซือ้ ผักของผูบริโภค ตลาดคาสง/คาปลีก กทม.

สัปดาหละ2ครั้ง

ความถี่ในการซื้อผักของผูบริโภค ตลาดสมัยใหม กทม.

มากกวา2สัปดาห ตอครัง้

ภาพที่ 7-1

มากกวา2สัปดาหตอ ครั้ง

ภาพที่ 7-2 ทุกวัน 17.86%

10.72% 8.92%

12.50%

วันเวนวัน สัปดาหละ2ครั้ง

30.36%

19.64%

สัปดาห1ครั้ง 2 สัปดาหซื้อ1ครั้ง

ความถี่ในการซือ้ ผักของผูบริโภคตลาดที่ จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว กทม.

มากกวา2สัปดาหตอ ครั้ง

ภาพที่ 7-3

ภาพที่ 7-4 – 7-6 ความถี่ในการซื้อผักของผูบ ริโภคในตางจังหวัดแยกตามตลาดตางๆ

4% 4% 22%

ทุกวัน

4%

44%

วันเวน วัน

ทุกวัน

4% 0% 16% 18%

วันเวนวัน สัปดาหละ2ครั้ง

สัปดาหละ2ครัง้ สัปดาห1ครั้ง

22% ความถี่ในการซื้อผลไมของ ผูบริโภค ณ ตลาดคาสงคา ปลีก

ภาพที่ 7-4

2 สัปดาหซอื้ 1ครั้ง มากกวา2สัปดาหตอ ครัง้

24.%

38%

สัปดาห1ครั้ง 2 สัปดาหซื้อ1ครั้ง

ความถี่ในการซื้อผลไมของ ผูบริโภคณ ตลาดสมัยใหม

มากกวา2สัปดาห ตอครั้ง

ภาพที่ 7-5

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

121

17.85% 12.50% 19.64%

ทุกวัน

10.71% 8.92% 30.35%

ความถี่ในการซือ้ ผลไมของผูบริโภค ณ ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

วันเวนวัน สัปดาหละ2ครั้ง สัปดาห1ครั้ง 2 สัปดาหซื้อ1ครั้ง มากกวา2สัปดาหตอ ครั้ง

ภาพที่ 7-6

7.1.2 ความถี่ในการซื้อผลไม (รายละเอียดดังตารางที่ 7-2 ) 1) กรุงเทพมหานคร กลุมผูบริโภคในตลาดคาสงคาปลีก สวนใหญซื้อผลไมมากกวา 2สัปดาห (คิดเปนรอยละ 25) รองลงมาซื้อทุกวัน (คิดเปนรอยละ 23.75) ซื้อสัปดาหละ1ครั้ง (คิดเปนรอยละ18.75) ซื้อสัปดาหละ 2 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 15) ซื้อวันเวนวัน (คิดเปนรอยละ 12.50) สวนที่เหลือซื้อสัปดาหละ 1 ครั้ง (คิดเปน รอยละ 5) (ภาพที่ 7-7 – 7-9) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญซื้อผลไมสัปดาหละ 2 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 38) ซื้อวันเวนวัน (คิดเปนรอยละ 24) สัปดาหละ 1 ครั้ง(คิดเปนรอยละ 18) ซื้อทุกวัน (คิดเปนรอยละ16) สวนที่เหลือซื้อสัปดาหละ 1 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 4) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผลไมเมืองหนาว สวนใหญซื้อผลไมสัปดาหละ 2 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 30.35) รองลงมาซื้อสัปดาหละ 1 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 19.64 )ซื้อมากกวา 2 สัปดาหตอครั้ง (คิดเปนรอยละ 17.85) ซื้อทุกวัน (คิดเปนรอยละ 10.71) สวนที่เหลือซื้อผลไมวันเวนวัน (คิดเปนรอยละ 8.92) 2) ตางจังหวัด กลุมผูบริโภคในตลาดคาสงคาปลีก สวนใหญซื้อผลไมวันเวนวันและสัปดาหละ 2 ครั้ง เปนจํานวนเทากัน (คิดเปนรอยละ 32) รองลงมาซื้อทุกวัน (คิดเปนรอยละ16) ผูบริโภคสวนที่เหลือซื้อผลไม สัปดาหละ 1 ครั้ง (คิดเปนรอยละ14) และมากกวา 2 สัปดาหตอครั้ง(คิดเปนรอยละ 6) (ภาพที่ 7-10 - 7-12) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญซื้อผลไมทุกวัน (คิดเปนรอยละ 48) รองลงมา ซื้อวันเวนวัน (คิดเปนรอยละ 26) ซื้อผลไมสัปดาหละ 2 ครั้ง(คิดเปนรอยละ 20 ) ผูบริโภคสวนที่เหลือซื้อ ผลไมสัปดาหละ 1 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 6) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผลไมเมืองหนาว สวนใหญซื้อทุกวัน และซื้อ วันเวนวันเปนจํานวนเทากัน (คิดเปนรอยละ 30) รองลงมาซื้อสัปดาหละ 2 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 22.50 ) ซื้อสัปดาหละ 1 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 15) และสวนที่เหลือซื้อ 2 สัปดาหตอครั้ง (คิดเปนรอยละ 2.50) ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

121


122

รายงานฉบับสมบูรณ์

122

ตารางที่ 7-2 ความถี่ในการซื้อผลไมของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด รายการ

ความถี่ในการซื้อผลไมของผูบริโภคผักและผลไม กรุงเทพมหานคร ตางจังหวัด ตลาดสมัยใหม ตลาดสมัยใหม ตลาดคาสง ตลาดสมัยใหม ที่จําหนายผัก คาปลีก ผลไมเมืองหนาว

ตลาดคาสง คาปลีก จํานวน

ทุกวัน วันเวนวัน สัปดาห ละ2ครั้ง สัปดาห ละ1ครั้ง 2 สัปดาห ซื้อ1ครั้ง มากกวา2 สัปดาห ตอครั้ง รวม

รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน

รอยละ

จํานวน รอยละ

19 10

23.75 12.50

8 12

16.00 24.00

6 5

10.71 8.92

8 16

12

15.00

19

38.00

17

30.35

15

18.75

9

18.00

11

4

5.00

2

4.00

20

25.00

-

80

100.00

50

ตลาดสมัยใหม ที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

16.00 32.00

24 13

48.00 26.00

12 12

30.00 30.00

16

32.00

10

20.00

9

22.50

19.64

7

14.00

3

6.00

6

15.00

7

12.50

-

-

-

-

1

2.50

-

10

17.85

3

6.00

-

-

-

-

100.00

56

100.00

50

100.00

50

100.00

40

100.00

ที่มา : จากการสํารวจ (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2552) ภาพที่ 7-7 – 7-9 ความถี่ในการซื้อผลไมของผูบริโภคในกรุงเทพมหานครแยกตามตลาดตางๆ ทุกวัน

25%

23.75%

วันเวนวัน

ทุกวัน

18% 4% 0% 16%

วันเวนวัน

สัปดาหละ2ครั้ง

5% 18.75%

15%

ความถี่ในการซือ้ ผลไมของ ผูบริโภค ณ ตลาดคาสงคาปลีก

ภาพที่ 7-7

12.50% สัปดาห1ครั้ง 2 สัปดาหซื้อ1ครั้ง มากกวา2สัปดาห ตอครั้ง

24.%

38% ความถี่ในการซือ้ ผลไมของ ผูบริโภค ณ ตลาดสมัยใหม

สัปดาหละ2ครั้ง สัปดาห1ครั้ง 2 สัปดาหซื้อ1ครั้ง มากกวา2สัปดาห ตอครั้ง

ภาพที่ 7-8

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

123

17.85% 12.50%

123

ทุกวัน

10.71% 8.92%

วันเวนวัน สัปดาหละ2ครั้ง

30.35%

19.64%

สัปดาห1ครั้ง

ความถี่ในการซือ้ ผลไมของผูบริโภค ณ ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก ผลไม เมืองหนาว

2 สัปดาหซื้อ1ครั้ง มากกวา2สัปดาหตอ ครั้ง

ภาพที่ 7-9

ภาพที่ 7-10 – 7-12 ความถี่ในการซื้อผลไมของผูบ ริโภคตางจังหวัดแยกตามตลาดตางๆ 14% 0% 6%

ทุกวัน

16%

20%

วันเวนวัน สัปดาหละ2ครั้ง

32%

32%

6% 0%0%

48%

26%

สัปดาห1ครั้ง 2 สัปดาหซื้อ1ครั้ง

ความถี่ในการซือ้ ผลไมของ ผูบริโภค ณ ตลาดคาสงคาปลีก

ทุกวัน

สัปดาหละ2ครั้ง สัปดาห1ครั้ง

ความถี่ในการซือ้ ผลไมของ ผูบริโภค ณ ตลาดสมัยใหม

มากกวา2สัปดาห ตอครั้ง

วันเวนวัน

ภาพที่ 7-10

2 สัปดาหซ ื้อ1ครั้ง มากกวา 2สัปดาห ตอครั้ง

ภาพที่ 7-11

15% 2.50%0% 22.50%

ทุกวัน

30%

วันเวนวัน สัปดาหละ2ครั้ง

30%

ความถี่ในการซือ้ ผลไมของ ผูบริโภค ณ ตลาดสมัยใหมที่ จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

สัปดาห1ครั้ง 2 สัปดาหซื้อ1ครั้ง มากกวา2สัปดาหตอ ครั้ง

ภาพที ภาพที ่ 7-12 ่ 12

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


124

รายงานฉบับสมบูรณ์

124

7.1.3 เวลาที่ซื้อผักและผลไมเปนประจํา จากตารางที่ 7-3 ผูบริโภคที่เปนกลุมตัวอยางในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด มีเวลาใน การซื้อผักและผลไมที่แตกตางกัน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) กรุงเทพมหานคร กลุมผูบ ริโภคในตลาดคา สงค าปลีก สวนใหญซื้อผักและผลไมในเวลาเย็น (คิดเปน ร อ ยละ 32.50) รองลงมาซื้ อ เวลาเช า (คิ ด เป น ร อ ยละ 27.50) ซื้ อ เวลาค่ํ า (คิ ด เป น ร อ ยละ 12.50) นอกจากนั้นซื้อในเวลาบาย/ไมมีเวลาแนนอน (คิดเปนรอยละ 10) สวนที่เหลือซื้อเวลาสาย (คิดเปนรอยละ 7.50) (ภาพที่ 7-13– 7-15) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญซื้อผักและผลไมในเวลาค่ํา (คิดเปนรอยละ 28) รองลงมาซื้อเวลาเย็น (คิดเปนรอยละ 26) และซื้อเวลาเชา (คิดเปนรอยละ 12) สวนที่เหลือซื้อผักและผลไม ตอนบาย และเวลาสาย คิดเปนรอยละ 10 และรอยละ 8 ตามลําดับ) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว สวนใหญซื้อผักและผลไมใน เวลาค่ํา (คิดเปนรอยละ 37.71) รองลงมาซื้อในเวลาเย็น (คิดเปนรอยละ 26.79) ไมมีเวลาแนนอนในการซือ้ (คิดเปนรอยละ 14.29) และซื้อเวลาบาย (คิดเปนรอยละ 12.50) สวนที่เหลือซื้อผักและผลไมในเวลาสาย และชวงเชา (คิดเปนรอยละ 7.14 และรอยละ 3.57 ตามลําดับ) 2) ตางจังหวัด กลุ มผู บริ โภคในตลาดค าส งค าปลี ก ส วนใหญ ซื้ อผั กและผลไม ในเวลาเย็ น (คิ ดเป น รอยละ 40) รองลงมาซื้อเวลาเชา (คิดเปนรอยละ 28) ซื้อเวลาค่ํา (คิดเปนรอยละ 16) นอกจากนั้นซื้อในเวลา สาย/ไมมีเวลาแนนอน (คิดเปนรอยละ 6) สวนที่เหลือซื้อเวลาบาย (คิดเปนรอยละ 4) (ภาพที่ 7-16 – 7-18 ) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญซื้อผักและผลไมในเวลาเย็น(คิดเปนรอยละ 66) รองลงมาซื้อเวลาค่ํา (คิดเปนรอยละ 18) และซื้อเวลาเชา (คิดเปนรอยละ 8) สวนที่เหลือซื้อผักและผลไม โดยไมมีเวลาแนนอนและซื้อ ชวงบาย (คิดเปนรอยละ 6 และรอยละ 2ตามลําดับ) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว สวนใหญซื้อผักและผลไมใน เวลาเย็น (คิดเปนรอยละ 60) รองลงมาซื้อในเวลาค่ํา (คิดเปนรอยละ 15) ซื้อในเวลาเชา (คิดเปนรอยละ 12.50) ไม มี เ วลาแน น อนในการซื้ อ (คิ ด เป น ร อ ยละ 10)ส ว นที่ เ หลื อ ซื้ อ ผั ก และผลไม ใ นเวลาสาย (คิดเปนรอยละ 2.50)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

125

125

ตารางที่ 7-3 เวลาที่ซื้อผักและผลไมของผูบริโภคผักและผลไมในเขตกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด เวลาที่ซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ณ ตลาดตางๆ กรุงเทพมหานคร ตางจังหวัด รายการ

ตลาดคาสง คาปลีก

ตลาดสมัยใหม

ตลาดสมัยใหม ที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

ตลาดคาสง คาปลีก

ตลาดสมัยใหม

ตลาดสมัยใหม ที่จําหนายผัก ผลไมเมือง หนาว

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

22

27.50

6

12.00

2

3.57

14

28.00

4

8.00

5

12.50

6

7.50

4

8.00

4

7.14

3

6.00

-

-

1

2.50

8

10.00

5

10.00

7

12.50

2

4.00

1

2.00

-

-

26

32.50

13

26.00

15

26.79

20

40.00

33

66.00

24

60.00

10

12.50

14

28.00

20

37.71

8

16.00

9

18.00

6

15.00

ไมมีเวลาแนนอน

8

10.00

8

16.00

8

14.29

3

6.00

3

6.00

4

10.00

รวม

80

100.00

50

100.00

56

100.00

50

100.00

50

100.00

40

100.00

เชา (05:00-09:00น.) สาย (09:00-12:00น.) บาย (12:00-15.00น.) เย็น (15:00-18:00น.) ค่ํา (18:00-21:00น.)

ที่มา : จากการสํารวจ (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2552) ภาพที่ 7-13 – 7-15 เวลาที่ซื้อผักและผลไมของผูบ ริโภคในกรุงเทพมหานคร 12.50%

10%

32.50%

27.50% 7.50% 10%

เวลาที่ซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ผักและผลไมในตลาดคาสงคาปลีก

ภาพที่ 7-13

เชา (05:0009:00น.) สาย(09:0012:00น.) บา ย(12:0015.00น.) เย็น(15:0018:00น.) ค่ํา(18:00-21:00น.) ไมมีเวลาแนนอน

16% 28%

12%

26% เวลาที่ซื้อผักและผลไมของ ผูบริโภค ณ ตลาดสมัยใหม

8% 10%

เชา(05:0009:00น.) สาย(09:0012:00น.) บาย(12:0015.00น.) เย็น(15:0018:00น.) ค่ํา(18:0021:00น.) ไมมีเวลาแนนอน

ภาพที่ 7-14

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


126

รายงานฉบับสมบูรณ์

126

14.29%

3.57% 7.14% 12.50%

35.71%

26.79%

เวลาที่ซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ณ ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

เชา(05:00-09:00น.) สาย(09:00-12:00น.) บาย(12:00-15.00น.) เย็น(15:00-18:00น.) ค่ํา(18:00-21:00น.) ไมมีเวลาแนนอน

ภาพที่ 7-15

ภาพที่ 7-16 – 7-18 เวลาที่ซื้อผักและผลไมของผูบ ริโภคตางจังหวัด

16%

6%

เชา (05:00-09:00น.)

28%

สาย(09:00-12:00น.)

6% 4%

40% เวลาที่ซื้อผักและผลไมของ ผูบริโภคในตลาดคาสงคาปลีก

16%

6% 28% 6% 4%

บา ย(12:00-15.00น.)

40%

เย็น(15:00-18:00น.) ค่ํา(18:00-21:00น.)

เวลาที่ซื้อผักและผลไมของผูบริโภคผัก และผลไมในตลาดสมัยใหม

ไมมีเวลาแนนอน

เชา(05:00-09:00น.) สาย(09:0012:00น.) บาย(12:0015.00น.) เย็น(15:0018:00น.) ค่ํา(18:00-21:00น.) ไมมีเวลาแนนอน

ภาพที่ 7-17

ภาพที่ 7-16

10% 12.50%2.50% 0% 15% 60% เวลาที่ซอื้ ผักและผลไมของผูบริโภค ผักและผลไมในตลาดสมัยใหมที่ จําหนายผัก และผลไมเมืองหนาว

เชา(05:00-09:00น.) สาย(09:0012:00น.) บาย(12:0015.00น.) เย็น(15:0018:00น.) ค่ํา (18:00-21:00น.) ไมมีเวลาแนนอน

ภาพที่ 7-18

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

127

7.1.4 สถานที่ซื้อผักและผลไมเปนประจํา ผูบริโภคที่เปนกลุมตัวอยางในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด นิยมซื้อผักและผลไมใน สถานที่ที่มีความแตกตางกัน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (ตารางที่ 7-4) 1) กรุงเทพมหานคร กลุมผูบริโภคในตลาดคาสงคาปลีก สวนใหญซื้อผักผลไมที่ตลาดคาสง(คิดเปนรอยละ 50) รองลงมาซื้อที่ตลาดสด/ตลาดนัด (คิดเปนรอยละ38.75) หางสรรพสินคา/ซุปเปอรมารเก็ต (คิดเปนรอยละ6.25 ) และซื้อที่รถยนตเคลื่อนที่/รานคายอย (คิดเปนรอยละ 5 ) (ภาพที่ 7-19– 7-21) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญซื้อผักผลไมที่ตลาดสด/ตลาดนัด (คิดเปนรอยละ 44) รองลงมาซื้อที่หางสรรพสินคา/ซุปเปอรมารเก็ต (คิดเปนรอยละ 34) และซื้อที่รถยนตเคลื่อนที่/รานคายอย (คิดเปนรอยละ 22 ) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว สวนใหญซื้อผักผลไมที่ตลาด สด/ตลาดนัด (คิดเปนรอยละ 37.71) ซื้อที่หางสรรพสินคา/ซุปเปอรมารเก็ต (คิดเปนรอยละ 48.21) และ ซื้อที่อื่นๆ(คิดเปนรอยละ 16.08 ) 2) ตางจังหวัด กลุมผูบริโภคในตลาดคาสงคาปลีก สวนใหญซื้อผักผลไมที่ตลาดสด/ตลาดนัด (คิดเปน รอยละ 72) รองลงมาซื้อที่ตลาดคาสง (คิดเปนรอยละ 14) หางสรรพสินคา/ซุปเปอรมารเก็ต ( คิดเปน รอยละ 12) และอื่นๆ(คิดเปนรอยละ 2) (ภาพที่ 7-22 – 7-18 ) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญซื้อผักผลไมที่ตลาดคาสง(คิดเปนรอยละ 16) ตลาด สด/รองลงมาซื้อที่ตลาดนัด (คิดเปนรอยละ 50 ) และหางสรรพสินคา/ซุปเปอรมารเก็ต (คิดเปนรอยละ 34) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว สวนใหญซื้อผักผลไมที่ตลาด สด/ตลาดนัด (คิดเปนรอยละ57.50) รองลงมาซื้อที่หางสรรพสินคา/ซุปเปอรมารเก็ต (คิดเปนรอยละ 37.50) และตลาดคาสง(คิดเปนรอยละ 5)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

127


รายงานฉบับสมบูรณ์

128

128

ตารางที่ 7-4 สถานที่ซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด สถานที่ซื้อผักและผลไมของผูบริโภค กรุงเทพมหานคร รายการ

ตลาดคาสง คาปลีก

หางสรรพ สินคา/ซุปเปอร มารเก็ต ตลาดสด/ ตลาดนัด ตลาดคาสง รถยนตเคลือ่ นที่/ รานคายอย อื่นๆ รวม

ตางจังหวัด

ตลาดสมัยใหม

ตลาดสมัยใหม ที่จําหนายผัก ผลไมเมือง หนาว

ตลาดคาสง คาปลีก

ตลาดสมัยใหม

ตลาดสมัยใหม ที่จําหนาย ผัก ผลไม เมืองหนาว

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

รอยละ

5

6.25

17

34.00

27

48.21

6

12.00

17

34.00

15

37.50

31

38.75

22

44.00

20

37.71

36

72.00

25

50.00

23

57.50

40

50.00

-

-

-

-

7

14.00

8

16.00

2

5.00

4

5.00

11

22.00

-

-

-

-

-

-

-

-

80

100.00

50

100.00

9 56

16.08 100.00

1 50

2.00 100.00

50

100.00

40

100.00

ที่มา : จากการสํารวจ (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2552) ภาพที่ 7-19 – 7-21 สถานที่ซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร หางสรรพสินคา/ ซุปเปอรมารเก็ต

5% 0%6.25%

ตลาดสด/ตลาดนั ด

50%

38.75% สถานที่ซื้อผักและผลไม เปนประจําในตลาดคาสงคาปลีก

ตลาดคาสง รถยนตเคลื่อนที่ / รานคายอย

22% 0%

0%

34%

หางสรรพสินคา/ซุปเปอร มารเก็ต ตลาดสด/ตลาดนัด ตลาดคาสง

44% สถานที่ซื้อผักและผลไมเปน ประจําในตลาดสมัยใหม

รถยนตเคลื่อนที่/รานคา ยอย อื่นๆ

อื่นๆ

ภาพที่ 7-19

ภาพที่ 7-20

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

129

หางสรรพสินคา/ ซุปเปอรมารเก็ต

0% 16.08% 0%

48.21%

ตลาดสด/ตลาดนัด

35.71%

ตลาดคาสง รถยนตเคลื่อนที่/ รานคายอย

สถานที่ซื้อผักและผลไมเปน ประจําในตลาดสมัยใหมที่ จําหนายผัก และผลไมเมืองหนาว

อื่นๆ

ภาพที่ 7-21

ภาพที่ 7-22 – 7-24 สถานทีซ่ ื้อผักและผลไมของผูบ ริโภคในตางจังหวัด

14%

0% 2% 12%

หางสรรพสินคา/ ซุปเปอรมารเก็ต

0% 0%

16%

34%

ตลาดสด/ตลาดนัด ตลาดค าสง

72% สถานที่ซื้อผักและผลไมเปน ประจําในตลาดคาสงคาปลีก

รถยนตเคลื่อนที่/ รา นคายอย

หางสรรพสินคา/ ซุปเปอรม ารเก็ต ตลาดสด/ตลาดนัด

50%

ตลาดคาสง

สถานที่ซื้อผักและผลไมเปน ประจําในตลาดสมัยใหม

อื่นๆ

รถยนตเคลื่อนที่/ รานคายอย อื่นๆ

ภาพที่ 7-22

ภาพที่ 7-23

5% 0% 0%

37.50%

หางสรรพสินคา/ ซุปเปอรมารเก็ต ตลาดสด/ตลาดนัด

57.50%

ตลาดคาสง สถานที่ซื้อผักและผลไมเปน ประจําในตลาดสมัยใหม ที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

รถยนตเคลื่อนที่/ รานคายอย อื่นๆ

ภาพที่ 7-24

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

129


130

รายงานฉบับสมบูรณ์

130

7.1.5 การพิจารณาเลือกซื้อผักและผลไม ผูบริโภคที่เปนกลุมตัวอยางในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด มีการพิจารณาเลือกซื้อ ผักผลไม ตามความสด ความอรอย คุณคาทางโภชนาการ สี ความปลอดภัยจากสารตกคาง รวมทั้ง พิจารณาจากสวนอื่นๆ ที่มีความแตกตางกัน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (ตารางที่ 7-5) 1) กรุงเทพมหานคร กลุมผูบริโภคในตลาดคาสงคาปลีก สวนใหญพิจารณาจากความสด (คิดเปนรอยละ 58.30) รองลงมาพิจารณาที่ความอรอย (คิดเปนรอยละ 16.70 ) นอกจากนี้ยังดูที่สี (คิดเปนรอยละ 15) รวมทั้งคํานึงถึงคุณคาทางโภชนาการ (คิดเปนรอยละ 10 ) (ภาพที่ 7-25 – 7-27) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญพิจารณาจากความสด (คิดเปนรอยละ 43.83) รองลงมาพิจารณาที่ ความอรอย (คิดเปนรอยละ 37.62 ) นอกจากนี้ยังดูที่ คุณคาทางโภชนาการ (คิดเปน รอยละ 10.96) รวมทั้งคํานึงถึงสวนอื่นๆ (คิดเปนรอยละ 9.59) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว จะเห็นไดวาผูบริโภคกลุมนี้ เลื อ กพิ จ ารณาซื้ อ โดยคํ า นึ ง ถึ ง เรื่ อ งความปลอดภัย จากสารตกค า งเป น สํ า คั ญ (คิ ด เป น ร อ ยละ 51.78) รองลงมาดูที่ความสด (คิดเปนรอยละ 26.79) รวมทั้งพิจารณาจากสวนอื่นๆ (คิดเปนรอยละ 14.28) นอกจากนี้ยังพิจารณาที่ความอรอย (คิดเปนรอยละ 7.37) และคุณคาทางโภชนาการ (คิดเปนรอยละ 1.78) 2) ตางจังหวัด กลุ ม ผู บ ริ โ ภคในตลาดค า ส ง ค า ปลี ก ส ว นใหญ ดู ที่ ค วามสด (คิ ด เป น ร อ ยละ 66) รวมทั้งพิจารณาจากสวนอื่นๆ (คิดเปนรอยละ 20) ความอรอย (คิดเปนรอยละ 4) คุณคาทางโภชนาการ (คิดเปนรอยละ 8) และดูที่สี (คิดเปนรอยละ 2 ) (ภาพที่ 7-28 – 7-30) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญดูที่ความสด (คิดเปนรอยละ 60) รองลงมา พิจารณาจากความอรอย (คิดเปนรอยละ 20 ) คุณคาทางโภชนาการ (คิดเปนรอยละ 16) และสี (คิดเปน รอยละ 4 ) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว ผูบริโภคสวนใหญพิจารณาจาก ความสด (คิดเปนรอยละ 55) คุณคาทางโภชนาการ (คิดเปนรอยละ 27.50) รวมทั้งพิจารณาจากสวนอื่นๆ (คิดเปนรอยละ 20) ความอรอย (คิดเปนรอยละ 7.50) และสี (คิดเปนรอยละ 10) ทั้งนี้ผูบริโภคกลุมนี้ให เหตุผลวามีความมั่นใจในการบริโภคผักและผลไมในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาวอยูแลว

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูร131 ณ์

131

ตารางที่ 7-5 การพิจารณาเลือกซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ณ ตลาดตางๆ

รายการ

ตลาดคาสงคา ปลีก

ความสด ความอรอย คุณคาทาง โภชนาการ สี ความปลอด ภัยจากสารตกคาง สวนใหญพิจารณา จาก อื่นๆ รวม

การพิจารณาเลือกซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ณ ตลาดตางๆ กรุงเทพมหานคร ตางจังหวัด ตลาดสมัยใหม ตลาดคาสงคา ตลาดสมัยใหม ตลาดสมัยใหม ที่จําหนายผัก ปลีก ผลไมเมืองหนาว

ตลาดสมัยใหม ที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

จํานวน 24 6

รอยละ 58.30 16.70

จํานวน 32 26

รอยละ 43.83 37.62

จํานวน 15 3

รอยละ 26.79 7.37

จํานวน 33 2

รอยละ 66.00 4.00

จํานวน 30 10

รอยละ 60.00 20.00

จํานวน 22 3

รอยละ 55.00 7.50

4

10.00

8

10.96

1

1.78

4

8.00

8

16.00

11

27.50

6

15.00

-

-

-

-

1

2.00

2

4.00

4

10.00

-

-

-

-

29

51.78

-

-

-

-

-

-

-

-

7

9.59

8

14.28

10

20.00

-

-

-

-

40

100.00

50

100.00

56

100.00

50

100.00

50

100.00

40

100.00

ที่มา : จากการสํารวจ (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2552) ภาพที่ 7-25 – 7-27 การพิจารณาเลือกซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร

10%

15% 0%

16.70%

0%

ความสด ความอรอย

58.30%

การพิจารณาเลือกซื้อผักและ ผลไมของผูบริโภคผักและผลไม ในตลาดคาปลีกคาสง

ภาพที่ 7-25

คุณคาทาง โภชนาการ สี ความปลอดภัยจาก สารตกคาง สวนใหญพจิ ารณา จากอื่นๆ

0% 0% 10% 10.96%

ความสด

43.83%

ความอรอย คุณคาทาง โภชนาการ สี

35.62% การพิจารณาเลือกซื้อผัก และผลไมของผูบริโภคผัก และผลไม ในตลาดสมัยใหม

ความปลอดภัยจาก สารตกคาง สวนใหญพิจารณา จากอื่นๆ

ภาพที่ 7-26

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


132

รายงานฉบับสมบูรณ์

132

28%

ความสด

26.79% 5.37% 1.78% 0%

ความอรอย คุณคาทาง โภชนาการ สี

51.78% การพิจารณาเลือกซื้อผักและ ผลไมของผูบริโภคผักและผลไม ในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก และผลไมเมืองหนาว

ความปลอดภัยจาก สารตกคาง สวนใหญพิจารณา จากอื่นๆ

ภาพที่ 7-27

ภาพที่ 7-28 – 7-30 การพิจารณาเลือกซื้อผักและผลไมของผูบ ริโภคในตางจังหวัด 0%

16%

ความสด

20%

4% 0% 0%

ความสด

ความอรอย

2% 8%4%

66%

การพิจารณาเลือกซื้อผักและ ผลไมของผูบริโภคผักและผลไม ในตลาดคาสงคาปลีก

ความอรอย

20%

คุณคาทาง โภชนาการ สี ความปลอดภัยจาก สารตกคาง สวนใหญพิจารณา จากอื่นๆ

60%

การพิจารณาเลือกซื้อผักและ ผลไมของผูบริโภคผักและผลไม ในตลาดสมัยใหม

ภาพที่ 7-28

คุณคาทาง โภชนาการ สี ความปลอดภัยจาก สารตกคาง สวนใหญพิจารณา จากอื่นๆ

ภาพที่ 7-29

10%

0% 0%

ความสด ความอรอย

27.50%

55%

7.50% การพิจารณาเลือกซื้อผักและ ผลไมของผูบริโภคผักและผลไม ในตลาดสมัยใหมที่จําหนาย ผัก และผลไมเมืองหนาว

คุณคาทาง โภชนาการ สี ความปลอดภัยจาก สารตกคาง สวนใหญพิจารณา จากอื่นๆ

ภาพที่ 7-30

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

133

7.1.6 การปฏิบตั ิหลังการซื้อผักและผลไม ผูบริโภคที่เปนกลุมตัวอยางในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด มีการปฏิบัติหลังการซื้อ ผักและผลไม ทั้งการทานสดทันที การปรุงอาหารทันที การแชเย็นเก็บไว และอืน่ ๆ ที่มีความแตกตางกัน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (ตารางที่ 7-6) 1) กรุงเทพมหานคร กลุมผูบริโภคในตลาดคาสงคาปลีก ผูบริโภคกลุมนี้สวนใหญนิยมทานสดทันที (คิดเปน รอยละ 47.50) รองลงมานํามาแชเย็นเก็บไว (คิดเปนรอยละ 30) รวมทั้งมีการปรุงอาหารทันที (คิดเปน รอยละ 21.25) และอื่นๆ (คิดเปนรอยละ 1.25) (ภาพที่ 7-31 – 7-33) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญนํามาแชเย็นเก็บไว (คิดเปนรอยละ 42) รองลงมานิยมทานสดทันที (คิดเปนรอยละ 30) รวมทั้งนํามาปรุงอาหารทันที (คิดเปนรอยละ 28 ) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว สวนใหญนิยมนํามาแชเย็นเก็บไว (คิดเปนรอยละ 57.14 ) สวนที่เหลือจะนํามาทานสดทันที (คิดเปนรอยละ 42.86 ) 2) ตางจังหวัด กลุมผูบริโภคในตลาดคาสงคาปลีก ผูบริโภคกลุมนี้สวนใหญนิยมนํามาแชเย็นเก็บไว (คิดเปนรอยละ 48) รองลงมาทานสดทันที (คิดเปนรอยละ 34) รวมทั้งมีการปรุงอาหารทันที (คิดเปน รอยละ 14) และอื่นๆ(คิดเปนรอยละ 4 ) (ภาพที่ 7-34 – 7-36) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม สวนใหญนํามาแชเย็นเก็บไว (คิดเปนรอยละ 54) รองลงมานิยมทานสดทันที (คิดเปนรอยละ 36) รวมทั้งนํามาปรุงอาหารทันที (คิดเปนรอยละ 10) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว สวนใหญนิยมนํามาแชเย็นเก็บไว (คิดเปนรอยละ 37.50) สวนที่เหลือจะนํามาทานสดทันที (คิดเปนรอยละ 32.50) รวมทั้งนํามาปรุงอาหาร ทันที (คิดเปนรอยละ 30)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

133


134

รายงานฉบับสมบูรณ์

134

ตารางที่ 7-6 การปฏิบัติหลังการซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด การปฏิบัติหลังการซื้อผักและผลไมของผูบริโภค กรุงเทพมหานคร ตางจังหวัด รายการ

ตลาดคาสง คาปลีก จํานวน

ตลาดสมัยใหม ที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

ตลาดสมัยใหม

รอยละ

จํานวน

รอยละ

จํานวน

ทานสดทันที 38 47.50 15 30.00 24 ปรุงอาหารทันที 17 21.25 14 28.00 แชเย็นเก็บไว 24 30.00 21 42.00 32 อื่นๆ 1 1.25 รวม 80 100.00 50 100.00 56 ที่มา : จากการสํารวจ (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2552)

รอยละ

42.86 57.14 100.00

ตลาดคาสง คาปลีก

ตลาดสมัยใหม

ตลาดสมัยใหม ที่จําหนาย ผัก ผลไม เมืองหนาว

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

17 7 24 2 50

34.00 14.00 48.00 4.00 100.00

18 5 27 50

36.00 10.00 54.00 100.00

13 12 15 40

ภาพที่ 7-31 – 7-33 การปฏิบัติหลังการซือ้ ผักและผลไมของผูบ ริโภคในกรุงเทพมหานคร

30%

1.25%

47.50%

0% ทานสดทันที ปรุงอาหารทันที

21.25%

30%

42%

ทานสดทันที

28%

แชเย็นเก็บไว

แชเย็นเก็บไว

การปฏิบัติหลังการซื้อผักและ ผลไมของผูบริโภคผักและผลไม ในตลาดคาสงคาปลีก

ภาพที่ 7-31

อื่นๆ

ปรุงอาหารทันที

การปฏิบัติหลังการซื้อผักและ ผลไมของผูบริโภคผักและ ผลไม ในตลาดสมัยใหม

อื่นๆ

ภาพที่ 7-32

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

32.50 30.00 37.50 100.00


รายงานฉบับสมบูรณ์

135

0%

42.86%

57.14%

ทานสดทันที ปรุงอาหาร ทันที แชเย็นเก็บไว

0%

การปฏิบัติหลังการซื้อผักและ ผลไมของผูบริโภคผักและผลไม ในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

อื่นๆ

ภาพที่ 7-33

ภาพที่ 7-34– 7-36 การปฏิบัติหลังการซือ้ ผักและผลไมของผูบ ริโภคตางจังหวัด 4% 48%

0%

34%

36%

ทานสดทันที 54%

ปรุงอาหารทันที

14%

ปรุงอาหาร ทันที แชเย็นเก็บไว

แชเย็นเก็บไว การปฏิบัติหลังการซื้อผักและ ผลไมของผูบริโภคผักและผลไม ในตลาดคาสงคาปลีก

10%

ทานสดทันที

การปฏิบัติหลังการซื้อผักและ ผลไมของผูบริโภคผักและ ผลไม ในตลาดสมัยใหม

อืน่ ๆ

ภาพที่ 7-34

อื่นๆ

ภาพที่ 7-35

0% 37.50%

32.50%

30% การปฏิบัติหลังการซื้อผักและ ผลไมของผูบริโภคผักและผลไม ในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

ทานสดทันที ปรุงอาหารทันที แชเย็นเก็บไว อื่นๆ

ภาพที่ 7-36

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

135


136

รายงานฉบับสมบูรณ์

136

7.2 ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมของผูบ ริโภค ปจจัยสําคัญที่มผี ลตอการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคที่เปนกลุมตัวอยางทั้งในกรุงเทพมหานคร และตางจังหวัด ประกอบดวยปจจัยที่สําคัญ คือ ชนิดของผักและผลไม ราคา รายได คุณภาพและอื่นๆ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (ตารางที่ 7-7) 1) กรุงเทพมหานคร กลุมผูบริโภคในตลาดคาสงคาปลีก ปจจัยสําคัญที่ผูบริโภคตัดสินใจซื้อผักและผลไม คือ ชนิดของผักและผลไมที่ซื้อ (คิดเปนรอยละ 27.50 ) รองลงมาคือ คุณภาพ (คิดเปนรอยละ 37.50 ) ราคา (คิดเปนรอยละ 23.75 ) และรายได (คิดเปนรอยละ 11.25 ) (ภาพที่ 7-37 – 7-39) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม ปจจัยสําคัญที่ผูบริโภคตัดสินใจซื้อผักและผลไม คือ ชนิดของผักและผลไมที่ซื้อ (คิดเปนรอยละ 18) รองลงมาคือราคา (คิดเปนรอยละ 15)รายได (คิดเปน รอยละ 13) และคุณภาพ (คิดเปนรอยละ 5) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว ปจจัยสําคัญที่ผูบริโภคกลุมนี้ ตัดสินใจซื้อ คือ คุณภาพของผักและผลไม (คิดเปนรอยละ 53.57) รองลงมา คือ ชนิดของผักและผลไมที่ ซื้อ (คิดเปนรอยละ 25.00) และราคา(คิดเปนรอยละ 14.29 ) สําหรับรายไดและอื่นๆนั้นผูบริโภคกลุมนี้ให ความสําคัญเทากัน (คิดเปนรอยละ 3.57) 2) ตางจังหวัด กลุมผูบริโภคในตลาดคาสงคาปลีก ปจจัยสําคัญที่ผูบริโภคตัดสินใจซื้อผักและผลไม คือ ราคา (คิดเปนรอยละ 38) รองลงมาคือชนิดของผักและผลไมที่ซื้อ (คิดเปนรอยละ 34) รวมทั้งคุณภาพ (คิด เปนรอยละ 24 ) และปจจัยอื่นๆ (คิดเปนรอยละ 4 ) (ภาพที่ 7-40 – 7-42) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหม ปจจัยสําคัญที่ผูบริโภคตัดสินใจซื้อผักและผลไม คือ ราคา (คิดเปนรอยละ 54) รองลงมาคือ คุณภาพ (คิดเปนรอยละ 26) ชนิดของผักและผลไมที่ซื้อ (คิดเปน รอยละ 16 ) และรายได (คิดเปนรอยละ 4 ) กลุมผูบริโภคในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักเมืองหนาว ปจจัยสําคัญที่ผูบริโภคตัดสินใจ ซื้อผักและผลไม คือ ราคา (คิดเปนรอยละ 52.50) รองลงมาคือ ชนิดของผักและผลไมที่ซื้อ (คิดเปนรอยละ 30) รวมทั้งคํานึงถึงคุณภาพ (คิดเปนรอยละ 17.50)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

137

137

ตารางที่ 7-7 ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมของผูบ ริโภค ในตลาดตางๆ

รายการ

ตลาดคาสง คาปลีก

จํานวน

ชนิดของผัก และผลไม

รอยละ

22 19 9 30 80

ราคา รายได คุณภาพ อื่นๆ รวม

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมของผูบริโภค กรุงเทพมหานคร ตางจังหวัด ตลาดสมัยใหม ตลาดสมัยใหม ตลาดคาสง ตลาดสมัยใหม ที่จําหนาย คาปลีก ผัก ผลไม เมืองหนาว จํานวน

27.50 23.75 11.25 37.50 100.00

35 30 25 10 50

รอยละ

18.00 15.00 13.00 5.00 100.00

จํานวน

รอยละ

จํานวน

14 25.00 8 14.29 2 3.57 30 53.57 2 3.57 56 100.00

รอยละ

จํานวน

17 34.00 19 38.00 12 24.00 2 4.00 50 100.00

รอยละ

ตลาดสมัยใหม ที่จําหนาย ผัก ผลไม เมืองหนาว จํานวน

8 16.00 27 54.00 2 4.00 13 26.00 50 100.00

12 30.00 21 52.50 7 17.50 40 100.00

ที่มา : จากการสํารวจ (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2552)

ภาพที่ 7-37 – 7-39 ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมของผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร

5%

0%

13%

18%

15%

ชนิดของผักและ ผลไม ราคา

5%

0%

18%

13% 15%

รายได

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ ซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ในตลาดคาสงคาปลีก

ภาพที่ 7-37

คุณภาพ อืน่ ๆ

ชนิดของผัก และผลไม ราคา รายได

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ ซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ในตลาดสมัยใหม

รอยละ

คุณภาพ อื่นๆ

ภาพที่ 7-38

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


138

รายงานฉบับสมบูรณ์

138

3.57%

25% 14.29% 3.57%

53.57%

ชนิดของผัก และผลไม ราคา รายได คุณภาพ

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ ซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

อื่นๆ

ภาพที่ 7-39

ภาพที่ 7-40 – 7-42 ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมของผูบริโภคตางจังหวัด 24% 0%

4%

38%

34%

ชนิดของผักและ ผลไม ราคา

26%

0%

16%

4% 54%

รายได

รายได คุณภาพ

คุณภาพ

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ ซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ในตลาดคาสงคาปลีก

ชนิด ของผักและ ผลไม ราคา

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ ซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ในตลาดสมัยใหม

อื่นๆ

ภาพที่ 7-40

อื่นๆ

ภาพที่ 7-41

0% 17.50%

0%

30%

52.50%

ชนิดของผักและ ผลไม ราคา รายได

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ ซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ในตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว

คุณภาพ อื่นๆ

ภาพที่ 7-42

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

139

7.3 ความพึงพอใจของผูบริโภคผักและผลไม การศึกษาความพึงพอใจของผูบริโภคผักและผลไมครั้งนี้ไดแบงการศึกษาความพึงพอใจของ ผูบริโภค 4 ดาน คือ ดานผลิตภัณฑ ดานราคา ดานชองทางการกระจายสินคาและดานการสงเสริมการขาย ซึ่งไดทําการสัมภาษณผูบริโภคกลุมเดียวกับการศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคในขอ 7.4 ดังนี้ 1) กลุมผูบริโภคในกรุงเทพมหานคร ประกอบดวย ผูบริโภคในตลาดคาสง-คาปลีก ขนาดใหญ (80 คน) ผูบริโภคตลาดสมัยใหม (50 คน) และผูบริโภคตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักและผลไม เมืองหนาว (56 คน) 2) กลุมผูบริโภคตางจังหวัด ประกอบดวย ผูบริโภคในตลาดคาสง-คาปลีกขนาดใหญ (20 คน) ผูบริโภคตลาดสมัยใหม (50 คน) และ ผูบริโภคตลาดสมัยใหมที่จําหนายผัก ผลไมเมืองหนาว (30 คน) โดยเปนการนําเสนอเฉพาะคาเฉลี่ย ( x ) เพื่อแสดงระดับความสําคัญที่ผูบริโภคแตละกลุมมี ความพึง พอใจตอ การบริ โ ภคผั ก และผลไมทั้ง 4 ดา น ดั งที่ก ลา วมาแลว ซึ่ง ระดั บ ความพึง พอใจแบ ง ออกเปน 5 ระดับ ดังนี้ คาเฉลี่ย ระดับความสําคัญ 4.21-5.00 ความสําคัญมากที่สุด 3.41-4.20 ความสําคัญมาก 2.61-3.40 ความสําคัญปานกลาง 1.81-2.60 ความสําคัญนอย 1.00-1.80 ความสําคัญนอยที่สุด ดานผลิตภัณฑ 1) กรุงเทพมหานคร (1) ตลาดคาสงคาปลีก ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอผลิตภัณฑในภาพรวมในระดับ มาก ( x =3.80) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความสด ( x =4.14) รองลงมา คือ รสชาติและความอรอย ( x =3.97) คุณคาทางโภชนาการ ( x =3.85) และความสะอาด/มั่นใจวาปลอดเชื้อโรค/ปลอดสารตกคาง ( x =3.25) ตารางที่ 7-8 (2) ตลาดสมัยใหม ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอผลิตภัณฑในภาพรวมในระดับมาก ( x =3.90) โดยใหความสําคัญกับความสะอาด/มั่นใจวาปลอดเชื้อโรค/ปลอดสารตกคาง และรสชาติและ ความอรอย ในระดับที่เทากัน ( x =3.94) รองลงมา คือ คุณคาทางโภชนาการ ( x =3.90) และความสด ( x =3.80)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

139


140

รายงานฉบับสมบูรณ์

140

(3) ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักและผลไมเมืองหนาว ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอ ผลิตภัณฑในภาพรวมในระดับมากที่สุด ( x =4.55) รวมทั้งใหความสําคัญตอทุกๆดานมากที่สุดโดยสามารถ เรียงลําดับไดดังนี้ ความสด ( x =4.60) รสชาติ/ความอรอย และคุณคาทางโภชนาการ ( x =4.57) และความ สะอาด/มั่นใจวาปลอดเชื้อโรค/ปลอดสารตกคาง ( x =4.46) 2) ตางจังหวัด (1) ตลาดคาสงคาปลีก ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอผลิตภัณฑในภาพรวมใน ระดับมาก ( x =3.48) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับคุณคาทางโภชนาการ ( x =3.76) รองลงมา คือ ความสะอาด/มั่นใจวาปลอดเชื้อโรค/ปลอดสารตกคาง( x =3.70) ความสด ( x =3.56) และรสชาติและ ความอรอย ( x =2.88) (2) ตลาดสมัยใหม ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอผลิตภัณฑในภาพรวมในระดับมาก ( x =4.20) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความสะอาด/มั่นใจวาปลอดเชื้อโรค/ปลอดสารตกคาง( x =4.40) รองลงมา คือ ความสดมากที่สุด ( x =4.28) รองลงมา คือ รสชาติและความอรอย ( x =4.14) และคุณคาทาง โภชนาการ ( x =3.96) (3) ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักและผลไมเมืองหนาว ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอ ผลิตภัณฑในภาพรวมในระดับมาก ( x =4.14) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับรสชาติและความอรอย ( x =4.32)รองลงมา คือ ความสดมากที่สุด ( x =4.22) ความสะอาด/มั่นใจวาปลอดเชื้อโรค/ปลอดสารตกคาง ( x =4.10) และคุณคาทางโภชนาการ ( x =3.93) ดานราคา 1) กรุงเทพมหานคร (1) ตลาดคาสงคาปลีก ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอราคาในภาพรวมในระดับมาก ( x =3.48) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความเหมาะสมของราคาที่ซื้อ( x =3.69) รองลงมา คือ สามารถ ตอรองได( x =3.38) และการปดปายแสดงราคา/น้ําหนัก( x =3.34) (2) ตลาดสมัยใหม ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอราคาในภาพรวมในระดับปานกลาง ( x =3.14) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความเหมาะสมของราคาที่ซื้อ( x =3.62) รองลงมา คือ การปด ปายแสดงราคา/น้ําหนัก( x =3.34) และสามารถตอรองได( x =2.46) (3) ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักและผลไมเมืองหนาว ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอ ราคาในภาพรวมในระดับปานกลาง ( x =3.38) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับการปดปายแสดงราคา/ น้ําหนักในระดับมาก ( x =4.02) รองลงมา คือ ความเหมาะสมของราคาที่ซื้อ( x =3.91) รองลงมา คือ สามารถตอรองได( x =2.21) 2) ตางจังหวัด (1) ตลาดคาสงคาปลีก ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอราคาในภาพรวมในระดับมาก ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

141

( x =3.60) โดยลํ าดั บแรกให ความสํ าคั ญกั บการป ด ป า ยแสดงราคา/น้ํ า หนั ก ( x =3.68) รองลงมา คื อ ความเหมาะสมของราคาที่ซื้อ( x =3.69) และสามารถตอรองได( x =3.508) (2) ตลาดสมัยใหม ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอราคาในภาพรวมในระดับปานกลาง ( x =3.23) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับการปดปายแสดงราคา/น้ําหนัก( x =3.34) รองลงมา คือ ความเหมาะสมของราคาที่ซื้อ( x =3.26) และสามารถตอรองได( x =3.08) (3) ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักและผลไมเมืองหนาว ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจ ตอราคาในภาพรวมในระดับปานกลาง ( x =3.26) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความเหมาะสมของราคา ที่ซื้อ( x =3.58)รองลงมา คือการปดปายแสดงราคา/น้ําหนัก( x =3.33) และสามารถตอรองได( x =2.88) ดานชองทางการกระจายสินคา 1) กรุงเทพมหานคร (1) ตลาดคาสงคาปลีก ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอชองทางการกระจายสินคา ในภาพรวมในระดับปานกลาง ( x =3.56) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความสะดวกในการเดินทาง ( x =3.4.01) รองลงมา คือบรรจุภัณฑที่ทันสมัย ( x =3.61) สถานที่จอดรถเพียงพอ( x =3.55)และ ความสะอาดของสถานที่( x =3.08) (2) ตลาดสมั ยใหม ผู บริ โภคกลุ มนี้ ให ความพึ งพอใจต อช อ งทางการกระจายสิ น ค า ในภาพรวมในระดับมาก ( x =4.10) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความสะดวกในการเดินทาง ( x =4.36) รองลงมา คื อ สถานที่ จ อดรถเพี ย งพอ( x =4.16) ความสะอาดของสถานที่ ( x =4.08) และบรรจุ ภั ณ ฑ ที่ทันสมัย ( x =3.80) (3) ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักและผลไมเมืองหนาว ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจ ตอชองทางการกระจายสินคาในภาพรวมในระดับมากที่สุด ( x =4.28) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับ ความสะอาดของสถานที่( x =4.55) รองลงมา คือบรรจุภัณฑที่ทันสมัย ( x =4.32) ความสะดวก ในการเดินทาง ( x =4.21) และสถานที่จอดรถเพียงพอ( x =4.02) 2) ตางจังหวัด (1) ตลาดคาสงคาปลีก ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอชองทางการกระจายสินคา ในภาพรวมในระดับปานกลาง ( x =3.41) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความสะดวกในการเดินทาง ( x =3.62) รองลงมา คือ ความสะอาดของสถานที่( x =3.56) สถานที่จอดรถเพียงพอ ( x =3.36) และบรรจุ ภัณฑที่ทันสมัย ( x =3.14) (2) ตลาดสมั ยใหม ผู บริ โภคกลุ มนี้ ให ความพึ งพอใจต อช อ งทางการกระจายสิ น ค า ในภาพรวมในระดับปานกลาง ( x =4.10) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับสถานที่จอดรถเพียงพอ( x =2.98) รองลงมา คือความสะดวกในการเดินทาง ( x =2.90) ความสะอาดของสถานที่( x =2.88) และบรรจุภัณฑ ที่ทันสมัย ( x =2.56) ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

141


142

รายงานฉบับสมบูรณ์

142

(3) ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักและผลไมเมืองหนาว ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอ ชองทางการกระจายสินคาในภาพรวมในระดับปานกลาง ( x =3.00) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับ ความสะดวกในการเดินทาง ( x =3.18) รองลงมา คือ สถานที่จอดรถเพียงพอ( x =3.10) ความสะอาด ของสถานที่( x =2.90) และบรรจุภัณฑที่ทันสมัย ( x =2.85) ดานการสงเสริมการขาย 1) กรุงเทพมหานคร (1) ตลาดคาสงคาปลีก ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอการสงเสริมการขายใน ภาพรวมในระดั บมาก ( x =3.42) โดยลํา ดับแรกใหความสําคัญกับความถูกตองของตาชั่ง/ปริมาณผั ก และผลไมครบถวน( x =3.63) รองลงมา คือ จัดรายการสงเสริมการขาย/ลดราคา( x =3.59) ความนาเชื่อถือ ของคนขาย( x =3.48) การใหสิทธิแกสมาชิกพิเศษ( x =3.51) และรูปแบบการชําระเงินหลากหลาย ( x =2.89) (2) ตลาดสมัยใหม ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอการสงเสริมการขายในภาพรวม ในระดับมาก ( x =3.56) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความถูกตองของตาชั่ง/ปริมาณผักและผลไม ครบถวน( x =3.70) รองลงมา คือ รูปแบบการชําระเงินหลากหลาย( x =3.66) การใหสิทธิแกสมาชิกพิเศษ ( x =3.62) ความนาเชื่อถือของคนขาย( x =3.58) และ จัดรายการสงเสริมการขาย/ลดราคา( x =3.26) (3) ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักและผลไมเมืองหนาว ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจ ตอการสงเสริมการขายในภาพรวมในระดับมาก ( x =3.95) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความนาเชื่อถือ ของคนขาย( x =4.34) รองลงมา คือ ความถูกตองของตาชั่ง/ปริมาณผักและผลไมครบถวน( x =4.18) รูปแบบการชําระเงินหลากหลาย( x =4.00) จัดรายการสงเสริมการขาย/ลดราคา( x =3.79) และการใหสิทธิ แกสมาชิกพิเศษ ( x =3.43) 2) ตางจังหวัด (1) ตลาดคาสงคาปลีก ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอการสงเสริมการขายในภาพรวม ในระดับปานกลาง ( x =3.31) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความถูกตองของตาชั่ง/ปริมาณผักและผลไม ครบถวน( x =3.54) รองลงมา คือ จัดรายการสงเสริมการขาย/ลดราคา( x =3.36) ความนาเชื่อถือ ของคนขาย( x =3.34) การใหสิทธิแกสมาชิกพิเศษ( x =3.22) และรูปแบบการชําระเงินหลากหลาย ( x =3.08) (2) ตลาดสมัยใหม ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจตอการสงเสริมการขายในภาพรวม ในระดับปานกลาง ( x =2.80) โดยลําดับแรกใหความสําคัญกับความถูกตองของตาชั่ง/ปริมาณผักและผลไม ครบถวน( x =3.78) รองลงมา คือ ความนาเชื่อถือของคนขาย , รูปแบบการชําระเงินหลากหลาย( x =2.58) และ จัดรายการสงเสริมการขาย/ลดราคา , การใหสิทธิแกสมาชิกพิเศษ( x =2.52) (3) ตลาดสมัยใหมที่จําหนายผักและผลไมเมืองหนาว ผูบริโภคกลุมนี้ใหความพึงพอใจ ต อ การส งเสริ มการขายในภาพรวมในระดั บปานกลาง ( x =2.74) โดยลํ า ดั บ แรกให ค วามสํ า คั ญ กั บ ความถูกตองของตาชั่ง/ปริมาณผักและผลไมครบถวน( x =3.03) รองลงมา คือ ความนาเชื่อถือของคนขาย ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

143

143

( x =2.83) จัดรายการสงเสริมการขาย/ลดราคา( x =2.78) รูปแบบการชําระเงินหลากหลาย( x =2.55) และ การใหสิทธิแกสมาชิกพิเศษ( x =2.48) ตารางที่ 7-8 ความพึงพอใจของผูบริโภคผักและผลไมในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด คะแนนความสําคัญ รายการ

1.ดานผลิตภัณฑ 1.1 ความสะอาด/มั่นใจวาปลอดเชื้อ โรค/ปลอดสารตกคาง 1.2 ความสดของผักและผลไม 1.3 รสชาติและความอรอย 1.4 คุณคาทางโภชนาการ 2.ดานราคา 2.1 ความเหมาะสมของราคาที่ซื้อ 2.2 สามารถตอรองได 2.3 การปดปายแสดงราคา / น้ําหนัก 3.ดานชองทางการกระจาย 3.1 ความสะดวกในการเดินทาง 3.2 สถานที่จอดรถเพียงพอ 3.3 ความสะอาดของสถานที่ 3.4 บรรจุภัณฑที่ทันสมัย 4.ดานสงเสริมการขาย 4.1 ความนาเชื่อถือของคนขาย 4.2 จัดรายการสงเสริมการขาย/ลด ราคา 4.3 การใหสิทธิแกสมาชิกพิเศษ 4.4 รูปแบบการชําระเงินหลากหลาย 4.5 ความถูกตองของตาชั่ง/ปริมาณผัก และผลไมครบถวน

กรุงเทพมหานคร ตลาดคาสง ตลาด ตลาดสมัยใหม คาปลีก สมัยใหม ที่จําหนายผัก ผลไมเมือง หนาว

ตางจังหวัด ตลาดคาสง ตลาด คาปลีก สมัยใหม

3.80 3.25

3.90 3.94

4.55 4.46

3.48 3.70

4.20 4.40

ตลาด สมัยใหม ที่จําหนาย ผัก ผลไม เมืองหนาว 4.14 4.10

4.14 3.94 3.85 3.47 3.69 3.38 3.34 3.56 4.01 3.55 3.08 3.61 3.42 3.48 3.59

3.80 3.94 3.90 3.14 3.62 2.46 3.34 4.10 4.36 4.16 4.08 3.80 3.56 3.58 .26

4.61 4.57 4.57 3.38 3.91 2.21 4.02 4.28 4.21 4.02 4.55 4.32 3.95 4.34 3.79

3.56 2.88 3.76 3.59 3.60 3.50 3.68 3.41 3.62 3.36 3.56 3.14 3.31 3.34 3.36

4.28 4.14 3.96 3.23 3.26 3.08 3.34 2.83 2.90 2.98 2.88 2.56 2.80 2.58 2.52

4.22 4.32 3.93 3.26 3.58 2.88 3.33 3.00 3.18 3.10 2.85 2.90 2.74 2.83 2.78

3.51 2.89 3.63

3.62 3.66 3.70

3.43 4.00 4.18

3.22 3.08 3.54

2.52 2.58 3.78

2.48 2.55 3.03

ที่มา : จากการคํานวณ ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


144

รายงานฉบับสมบูรณ์

144

7.4 ผลกระทบจากการนําเขาผักและผลไมของคนไทย 7.4.1 ผลกระทบตอการบริโภค 1) กรณีการบริโภครวมกัน จากการศึกษาภาพรวมของการบริโภคผัก ผลไมไทยและจีน ของผูบริโภคที่เปนกลุมตัวอยาง ณ ตลาดคาสง คาปลีกขนาดใหญในกรุงเทพมหานคร จํานวน 80 คน พบว า ผูบ ริ โ ภคส ว นใหญ ซื้ อ ทั้ ง ผั ก ผลไม ข องไทยและจี น เพื่ อ การบริ โ ภคร ว มกั น โดยในแต ละเดื อ น ผูบริโภค มีสัดสวนการซื้อผักและผลไมไทยและจีน รวมทั้งมีความนิยมในการซื้อผักและผลไมชนิดตางๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) การบริโภคผัก ก. การบริโภคผักไทย ผูบริโภคซื้อผักไทยตอเดือนในปริมาณ 6 - 10 กิโลกรัม คิดเปน รอยละ 35.00 ซื้อนอยกวา 5 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 27.50 ซื้อปริมาณ 16 - 20 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 17.50 ซื้อปริมาณ 11 - 15 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 12.50 และซื้อในปริมาณ 21 กิโลกรัม ขึ้นไปคิดเปน รอยละ 7.50 ผักไทยที่ผูบริโภคนิยมซื้อมากที่สุด คือ กะหล่ําปลี ผักกาดขาว กระเทียม คะนา และ หอมหัวใหญ ตามลําดับ ตารางที่ 7-9 ข. การบริโภคผักจีน ผูบริโภคซื้อผักจีนตอเดือนปริมาณที่นอยกวา 5 กิโลกรัม คิดเปน รอยละ 47.5 สําหรับผูที่ไมบริโภคผักจีนเลย คิดเปนรอยละ 30 บริโภคมากกวา 21 กิโลกรัม ขึ้นไป คิดเปน รอยละ 12.50 และบริโภค 6 - 10 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 10 ตามลําดับ ผักจีนที่ผูบริโภคนิยมซื้อมากที่สุด คือ แครอท บรอดโคลี่ และหอมหัวใหญตามลําดับ (2) การบริโภคผลไม ก. การบริโภคผลไมไทย ผูบริโภคซื้อผลไมไทยตอเดือนในปริมาณ 6 - 10 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 45.0 ซื้อนอยกวา 5 กิโลกรัม และมากกวา 21 กิโลกรัมขึ้นไปมีจํานวนเทากัน คิดเปนรอยละ 17.50 ซื้อในปริมาณ 11 - 15 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 12.50 ซื้อในปริมาณ 16 – 20 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 5 และไมบริโภคผลไมไทยเลย คิดเปนรอยละ 2.50 ตามลําดับ ผลไมไทยที่ผูบริโภคนิยมซื้อมากที่สุด คือ มะมวง เงาะ มังคุด ทุเรียน สม และฝรั่ง ตามลําดับ ตารางที่ 7-10 ข. การบริโภคผลไมจีน ผูบริโภคซื้อผลไมจีนนอยกวา 5 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 40 บริโภคปริมาณ 6 - 10 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 37.50 ไมบริโภคผลไมจีนคิดเปนรอยละ 12.5 บริโภค 21 กิโลกรัม ขึ้นไป คิดเปนรอยละ 7.50 และบริโภค 11 – 15 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 2.50 ตามลําดับ ผลไมจีนที่ผูบริโภคนิยมซื้อมากที่สุด คือ แอปเปล สาลี่ สม และองุน ตามลําดับ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

145

ตารางที่ 7-9 ปริมาณการซือ้ และความนิยมในการบริโภคผักไทย-ผักจีน (กรณีการบริโภครวมกัน ) ปริมาณการซื้อผักไทย (กิโลกรัม/เดือน) ซื้อนอยกวา 5 กก. ซื้อ 6 - 10 กก. ซื้อ 11 - 15 กก. ซื้อ 21 กก. ขึ้นไป ซื้อ 16 - 20 กก.

% 27.50 35.00 12.50 7.50 17.50

ผักไทย ที่ผูบริโภคนิยมซื้อ 1. กะหล่ําปลี 2. ผักกาดขาว 3. กระเทียม 4. คะนา 5.หอมหัวใหญ

ปริมาณการซื้อผักจีน (กิโลกรัม/เดือน) ซื้อนอยกวา 5 กก. ซื้อ 6 - 10 กก. ไมซื้อเลย ซื้อ 21 กก. ขึ้นไป

%

ผักจีน ที่ผูบริโภคนิยมซื้อ 47.50 1.แครอท 10.00 2.บลอดเคอรี่ 30.00 3.หอมหัวใหญ 12.50

ที่มา : จากการสํารวจ ตารางที่ 7-10 ปริมาณการซื้อและความนิยมในการบริโภคผลไมไทย-ผลไมจีน(กรณีการบริโภครวมกัน ) ปริมาณการซื้อ ผลไมไทย (กิโลกรัม/เดือน) ซื้อนอยกวา 5 กก. ซื้อ 6 - 10 กก. ซื้อ 11 - 15 กก. ซื้อ 16-20 กก. ซื้อ 21 กก. ขึ้นไป ไมซื้อเลย

%

17.50 45.00 12.50 5.00 17.50 2.50

ผลไมไทย ที่ผูบริโภคนิยมซื้อ 1. มะมวง 2. เงาะ 3. มังคุด 4. ทุเรียน 5. สม 6. ฝรั่ง

ปริมาณการซื้อ ผลไมจีน (กิโลกรัม/เดือน) ซื้อนอยกวา 5 กก. ซื้อ 6 -10 กก. ซื้อ 11 - 15 กก. ซื้อ 21 กก ขึ้นไป ไมซื้อเลย

%

40.00 37.50 2.50 7.50 12.50

ผลไมจีน ที่ผูบริโภคนิยมซื้อ 1. แอปเปล 2. สาลี่ 3. สม 4. องุน

ที่มา : จากการสํารวจ 2) กรณีการบริโภคทดแทน จากการสํ า รวจพฤติ ก รรมการซื้ อ ผั ก และผลไม ข องผู บ ริ โ ภคที่ เ ป น กลุ ม ตั ว อย า ง พบว า ผักและผลไมของไทยกับของจีนบางชนิดสามารถใชบริโภคทดแทนกันได บางชนิดทดแทนกันไมได โดยสามารถสรุปประเด็นที่สําคัญๆไดดังนี้ (1) การบริโภคที่ทดแทนกันได ก. ผัก ประเทศจีนมีศักยภาพในการเพาะปลูกผักเปนอันดับ 1 ของโลก โดยพืชผักของ จีนที่มีการนําเขามายังประเทศไทยจํ านวนมาก ไดแก กระเทียม แครอท หอมหัวใหญ ซึ่งมีคุณภาพดี ผลขนาดใหญ และมีราคาถูกกวาที่ผลผลิตของไทยมาก รวมทั้งผักอื่นๆโดยเฉพาะผักใบเขียวจากประเทศ จี น ที่ ส ามารถส ง ตรงมายั ง ประเทศไทยโดยใช เ วลาเพี ย ง 10-12 ชั่ ว โมงเท า นั้ น ทํ า ให ผั ก มี ค วามสด กรอบ อรอย ดังนั้น ผักจากประเทศจีนจึงเปนที่นิยมของผูบริโภคชาวไทยและสามารถทดแทนผักชนิด เดียวกันของประเทศไทย ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

145


146

รายงานฉบับสมบูรณ์

146

ข. ผลไม เนื่องจากประเทศจีนผลิตผลไมเมืองหนาวที่มีคุณภาพ รสชาติดี มีความสด อาทิ แอปเปล สาลี่ องุน พลับ สม ทับทิม เปนตน และไดสงมาขายในประเทศไทยจนเปนที่นิยมกันมาก นอกจากนี้ ยั งมี เรื่ องของวั ฒนธรรมเข ามาเกี่ ยวข อง โดยคนไทยนิ ยมนํ าผลไม ที่ นํ าเข า จากประเทศจีนไปใชในเทศกาลสําคัญๆ รวมทั้งพิธีการและงานมงคลตางๆ ไดแก การไหวเจาชวงสารทจีน ตรุษจีน และงานมงคลอื่นๆ อาทิ พิธีมงคลสมรส การทําบุญขึ้นบานใหม การบวช การจัดกระเชาผลไม ในเทศกาลปใหม วันเกิด การเยี่ยมคนปวย และการอวยพรตางๆ เปนตน จึงเปนผลใหมีการนําผลไมมงคล ของประเทศจีนมาใชทดแทนผลไมมงคลของไทยสําหรับพิธีสําคัญๆดังกลาว ซึ่งในสมัยกอนนิยมนําผลไม มงคลของไทย ไดแก กลวย สมโอ ลําไย ลิ้นจี่ และสับปะรด มาใชในการประกอบพิธีสําคัญๆ แตปจจุบัน เมื่อมีการเปดเสรีการคาแลว จึงมีการนําเขาผลไมจากประเทศจีนมากขึ้น ทําใหคนไทยสวนใหญนิยมนําผลไม มงคลของจีนไดแก สาลี่ องุน แอปเปล สม ทับทิม ผลทอ เกาลัดและพุทธา มาใชแทนที่ผลไมไทยกันอยาง แพรหลาย ดังจะเห็นไดวาคนไทยเชื้อสายจีนนิยมใชผลไม 5 ประเภท เพื่อทําการไหวเจาในเทศกาลตรุษจีน สารทจีน ไดแก แอปเปล (จีน) สาลี่ (จีน) องุน (จีน) กลวย (ไทย) และสม (ไทย หรือจีน) ตารางที่ 7-11 ชนิด ความหมายและการทดแทนกันของผลไมมงคลของจีนและไทย ผลไมมงคล ความหมาย ผลไมมงคล ความหมาย ของไทย ของจีน กลวย ตัวแทนแหงการขยายสาขา กิจการ การมี สาลี่ การรั ก ษาคุ ณ งามความดีเ อาไว อ ย า ง บุตรสืบสกุล มีบริวารมาก มั่นคง หรือรักษาซึ่งโชคลาภเงินทองมิ ใหเสื่อมถอย สับปะรด สายตากว า งไกลรอบคอบ รอบรู ใ น องุน ความเจริญ รุง เรืองทั้ งหน าที่ก ารงาน กิจการ และชีวิตครอบครัว ทุเรียน ความฉลาดหลักแหลม เขมแข็ง สามารถ แอปเปล การมีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ ปองกันตนเองได ลําไย ความรั ก ความหวานชื่ น สํ า หรับ หนุ ม สม ความมีโชค ลาภ ประสบแตสิ่งดีๆ สาวใชในงานพิธีมงคล เปนสิริมงคลแกตนและครอบครัว ลิ้นจี่ สีแดงสด เปนสีแหงความเปนสิริมงคล พลับ มีจิตใจหนักแนนตั้งอยูในธรรม ลวง พนอุปสรรคนานาไดอยางราบรื่น ทับทิม คุ ม ครองภั ย กั น ภู ต ผี ป ศ าจ มี ลู ก ชาย มากๆ ผลทอ ความยั่งยืน เปนผลไมชั้นสูง สําหรับ บูชาเทพบนสวรรค เกาลัดและ ไดบุตรที่ดี กิริยามารยาทสุภาพ พุทรา ที่มา : จากการสํารวจ ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

147

(2) การบริโภคที่ทดแทนกันไมได ก. ผั ก พื ช ผั ก และสมุ น ไพรไทยดั้ ง เดิ ม อาทิ ข า ตระไคร มะเขื อ ขมิ้ น มะกรู ด มะนาว กระเพรา โหระพา ใบแมงลัก สะตอ ฯลฯ ซึ่งประเทศจีนไมสามารถผลิตได โดยพืชผักเหลานี้ ยังคงไดรับความนิยมในกลุมคนไทยเปนอยางมาก เนื่องจากเปนสมุนไพรไทย มีสรรพคุณเปนยารักษาโรค และเปนสินคาที่มีลักษณะจําเพาะ ดังนั้น จึงไมมีพืช ผักใดๆของประเทศจีนสามารถทดแทนได ข. ผลไม ประเทศไทยมีผลไมที่ออกตามฤดูกาล ตามสภาพภูมิอากาศและมีความ หลากหลาย เชน ภาคเหนือมี ลําไย ลิ้นจี่ สม รวมทั้งผลไมเมืองหนาว ภาคใตและภาคตะวันออก มี เ งาะ ลองกอง ทุ เ รี ย น มั ง คุ ด ภาคกลาง มี ม ะม ว ง ส ม โอ มะพร า วอ อ น กล ว ยหอม ภาค ตะวั น ออกเฉี ย งเหนือ มี ม ะขามหวาน เป น ตน ซึ่ งผลไม สํา คัญ ในแต ละภาคของประเทศไทยผลผลิ ต จะทยอยออกสูตลาดคนละชวงเวลากัน และคนไทยมักนิยมบริโภคผลไมตามฤดูกาล ดังนั้น ในชวงฤดู ผลไมไทยออกสูตลาด ทําใหยอดจําหนายผลไมจีนลดลงอยางเห็นไดชัด จึงสรุปไดวา ผลไมจีนบางชนิดที่ ออกพรอมกับฤดูกาลของผลไมไทยใชบริโภคทดแทนกันไมได 7.4.2 ผลกระทบตอราคาผักและผลไมของไทย ผลกระทบที่มีตอผูบริโภคของไทยในกรณีของการบริโภคผักและผลไมที่มีการนําเขามาจาก จีน พบวา ความพึงพอใจของผูบริโภคมีมากกวา เพราะสินคานําเขามามีราคาที่ถูกกวา แตยังเปนหวงในเรื่อง ของสารปนเปอนและความปลอดภัยในผักและผลไม รวมถึงปริมาณการบริโภคโดยเฉลี่ยตอเดือนเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับชวงที่ยังไมมีการนําเขาผักและผลไมเขามา ดังนั้นจึงเห็นไดวา ผูบริโภคมีความพึงพอใจใน การบริโภคผักและผลไมนําเขาจากจีน และยังคงมีแนวโนมสูงขึ้น หากระดับราคานําเขาต่ํากวาราคาผักผลไม ที่ผลิตภายในประเทศ ทั้งนี้ พืชผักที่ไดรับผลกระทบจากการนําเขา สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภทที่ สําคัญคือ 1) พืชผักสีเขียวโดยทั่วไป ไดแก กระหล่ําปลี แครอท บรอคโคลี่ หอมหัวใหญ และ ผักอื่นๆ เปนตน ที่มีการนําเขามาเปนจํานวนมาก เกษตรกรไทยผูปลูกสินคาเหลานี้ อาจไดรับผลกระทบ จากการเปดตลาดการคาเสรีทางการเกษตร 2) พืชผักพื้นบานโดยทั่วไป ไดแก ตําลึง ผักบุง แตงกวา และผักอื่นๆ เปนตน ที่เปนสินคา พื้นเมืองของไทย เกษตรกรไทยผูปลูกพืชผักเหลานี้ จะไมไดรับผลกระทบเลย นอกจากนี้ยังสามารถชวย รณรงคใหคนไทยหันมาบริโภคผักไทยที่ปราศจากสารเคมีและยาฆาแมลง ไดอีกดวย 3) พืชผักสมุนไพรไทยโดยทั่วไป ไดแก ขา ตะไคร ใบมะกรูด กระเพรา และผักอื่นๆ เปนตน ที่เปนพืชสมุนไพรมาแตโบราณ ยังคงไดรับความนิยมในการบริโภคของคนไทยทั่วไป จึงไมไดรับ ผลกระทบและยังเปนแรงกระตุนใหผูบริโภคจํานวนมากใหความสําคัญกับพืชผักสมุนไพรไทยมากขึ้น สําหรับผลกระทบที่มีตอราคาผักและผลไมภายในประเทศจากที่มีการนําเขามาจากจีน เปนผลใหระดับราคาผักและผลไมภายในประเทศมีราคาไมสูงมากนัก เพราะแหลงผลิตและประเภทของ สินคาภายในประเทศ สามารถสนองความตองการของผูบริโภคไดอยางเพียงพอ และมีความหลากหลาย ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

147


148

รายงานฉบับสมบูรณ์

148

ของประเภทสิน คา จึงไมสงผลตอระดับราคาสินคาภายในประเทศมากนัก ประกอบกับคุณภาพและ ความปลอดภัยของสินคาภายในประเทศไทยยังไดรับความนาเชื่อถืออยู แมวาหลายฝายยังมีความกังวลวา จะสงผลกระทบตอราคาภายในประเทศ ซึ่งขึ้นอยูกับชนิดและประเภทของผักและผลไมนั้น โดยเฉพาะ หอม และกระเทียม ที่สงผลตอระดับราคาสินคาภายใน หากจะพิจารณาใหดีจะพบวา คุณภาพของสินคา นั้นมีความแตกตางกันอยางสิ้นเชิง เชน กระเทียมไทยมีคุณสมบัติในการรักษาและบํารุงรางกาย เปนพืช สมุนไพรที่มีความจําเปนตอรางกาย โดยการแพทยใหการยอมรับ เปนตน 7.5 ผลการสัมภาษณหนวยงานที่เกี่ยวของและผูประกอบการ/ผูนําเขาผักและผลไมจากจีนของประเทศไทย 7.5.1 หนวยงานของประเทศไทยที่เกี่ยวของกับการนําเขาผักและผลไม 1) สัมภาษณเจาหนาที่ศุลกากร จังหวัดหนองคาย ลักษณะสินคาผานดาน ผักและผลไมที่นําเขาจากจีน โดยผานเสนทาง R8 ไมมีการนําเขา มา จะมีก็แตผลไมจากลาวที่แปรรูปแลว คือ ลูกชิดเชื่อม ลูกหยีตาแหง ที่นําเขามาโดยผานดานศุลกากร จังหวัดหนองคาย สวนมากสินคาที่นําเขามาจากลาว คือ ไมแปรรูป ชุดสายไฟอิเล็คทรอนิคในโรงงาน ประกอบรถยนต และสินคาที่สงออกไปโดยผานดานศุลกากรหนองคายจะเปนน้ํามันเชื้อเพลิง รถยนต สําเร็จรูปพวงมาลัยซาย (รถตรวจการ รถกระบะ รถขับเคลื่อน4 ลอ) การเขา-ออกของคนมีวันละ 2,000 กวาคน ปญหาดานการคาไทย-ลาว นักธุรกิจไทย-ลาว ไมมีความไวเนื้อเชื่อใจกัน การคาขายใช เงินสด และคนไทยถูกหลอกลวงบอยและมีการคานอกระบบ โดยสินคาที่ออกจากไทยถูกกฏหมาย แต ตอนเขาลาวจะถูกหลบเลี่ยง และมีการนําเขามอเตอรไซดจากจีนจํานวนมาก (ราคาที่จีนคันละ 15,000 บาท เขามาขายในไทย คันละ 35,000 บาท) สินคาหนีภาษีในดานหนองคายไมคอยมีมากนัก แตจะมีการลักลอบ สงออกหมู วัว ควาย การจัดเก็บภาษี เมื่อเปดเสรีการคา FTA ทําใหเก็บภาษีไดในป 2551-2552 นอยลงกวา ประมาณการ 40 % โดยในป 2553 สินคา 1,000 กวารายการจะไดรับการยกเวนภาษี ผูคาพืชผลการเกษตร ไดรับการยกเวนตามสิทธิ AMEC สวนภาษีศุลกากรที่เก็บได มี 2 ชนิด คือ หนังโค และไมแปรรูป 2) สัมภาษณเจาหนาที่ดานตรวจพืชหนองคาย ดานตรวจพืชหนองคาย มีหนาที่รับผิดชอบตามพระราชบัญญัติกักพืช พ.2507 ควบคุม การเคลื่อนยายพืช และพาหนะจากตางประเทศที่นําเขาและนําผานราชอาณาจักร โดยทางรถยนตหรือเรือ ขามฝากระหวางประเทศไทย-สปป.ลาว ใหเปนไปตามกฎระเบียบขอบังคับที่กฎหมายกําหนด และ กําหนดใหถูกตองตามหลักวิชาการ เพื่อปองกันไมใหศัตรูพืชที่รายแรงจากตางประเทศ แพรระบาดเขามา ในราชอาณาจั ก ร และตรวจพื ช ผลิ ต ผลพื ช เพื่ อ ออกใบรั บ รองปลอดศั ต รู พื ช ให กั บ พื ช ที่ ส ง ออกไป ตางประเทศ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

149

จากการใหสัมภาษณ จากหัวหนาตานตรวจพืชหนองคาย พบวาสินคาที่นําเขาโดยผาน ดานศุลกากรหนองคายนั้น จะเปนไมแปรรูป ไมปูพืช ไมทอน ไมสําเร็จรูป ซึ่งไมพบวามีสินคาที่เปนผัก และผลไมจากจีน และสินคาที่สงออก คือ มะมวง (เขียวเสวย มัน) และลําไยอบแหง ไปขายที่เวียดนาม (ผานเวียงจันทน) นอกจากนี้ยังมีทุเรียน สมโอ สมเขียวหวาน ลิ้นจี่ ลําไยอบแหง และยังมีตนกลาพืชชนิด ตางๆ เชน ตนกลายูคาลิปตัส ตนไทรยอดทอง ตนบานบุรี เปนตน ซึ่งสินคาที่จะสงออกนั้นจะมีใบรับรอง ปลอดศัตรูพืชจากดานตรวจพืชหนองคาย เสนทาง R8 เปนเสนทางที่เริ่มจากจุดเขตชายแดนหนองคายขามสะพานมิตรภาพไทย-ลาว เขาฝงเวียงจันทนไปจนถึงดานน้ําพาวชายแดนของลาวที่เชื่อมตอกับดาน Cau Treo ของเวียดนาม ชวงกอน ถึงดานชายแดนในฝงลาว และเขามาในดานชายแดนกวางสีของประเทศจีน 3) สัมภาษณเจาหนาที่ดานตรวจพืชมุกดาหาร ในป 2552 มูลคาการนําเขาที่ดานมุกดาหาร 29 ลานบาท มูลคาสงออก 288 ลานบาท โดย มีพอคา 6-7 รายนําเขากระเทียมและหอมหัวใหญ สวนแอปเปลมีบริษัทไทฮง เปนผูนําเขาเพียงบริษัทเดียว ซึ่งมาทางเสนทาง R 9 ซึ่งในป 2553 ภาษีเปนศูนย การเก็บภาษีสินคาในโควตาและนอกโควตา จะมี องคการคลังสินคาเปนผูจัดสรรโควตา โดยพิจารณาประวัติผูนําเขา สิ น ค า ที่ ส ง ออกไปจี น (อยา งถูก กฏหมาย) กรมวิ ชาการเกษตรจะตรวจสุข อนามัย พื ช ที่ตนทางและปดกลองเพื่อไปเปดที่จีนทีเดียว จากดานมุกดาหารไปจีน ใชเวลา 2 วัน (มุกดาหาร-ดานผิง เสียง ระยะทาง 1,290 กม.) ผลไมที่สงผานดานมุกดาหาร ไปเวียดนาม 80% ผลไมไทยที่สงไปจีน (โดยการ หลบเลี่ยงภาษีจะผานดานนครพนม ตามเสนทาง R 12) เมื่อผานลาว – เวียดนาม จะมีการแปลงสัญชาติ เพื่อสงเขาจีน การเก็บภาษีของลาว เสนทาง R 9 : ไทย - ลาว – เวียดนามจะมีการเก็บภาษีที่ลาว 10 % และ มีการใช ระบบการค้ํ า ประกั น ผ า นแดน โดยหอการคา ไทย-ลาว-เวีย ดนาม ยังไม ยอมปฏิบั ติ ซึ่ง ADB เปนเจาภาพสนับสนุนงบประมาณในการจัดใหมีการประชุม และกําหนดขอตกลงใหมีการใชพื้นที่ควบคุม รวมกัน (Common Central Area : CCA) และกําหนดนํารองที่มุกดาหาร แตขณะนี้กฏหมายยังไมมีผล บังคับใช สวนเวียดนามไดรับสิทธิยกเวนภาษีไปจีน 20 % ซึ่งจีนเก็บภาษีสินคาจากไทย 50 % เมื่อเปด บอนแลว ทําใหมีคนผานเขา-ออกดานมุกดาหาร เพิ่มขึ้น 6-7 เทาตัว ปญหาดาน Logistics ซึ่งขณะนี้มีความ พรอมดานถนน รถ อุปกรณที่ทันสมัย แตยังมีอุปสรรคในดานคาธรรมเนียม คาผานทาง ทําใหคาขนสง ทางถนนมีคาใชจายสูงมาก ดังนั้น จึงนิยมขนสงทางเรือ(ทาเรือแหลมฉบัง) 7.5.2 ผูประกอบการ/ผูนําเขาผักและผลไมชาวไทย จากการสั ม ภาษณ ผู ป ระกอบการ/ผู นํ า เข า ผั ก และผลไม ช าวไทย ณ ตลาดค า ปลี ก -ค า ส ง ขนาดใหญในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) กลุมประกอบการ/ผูนาํ เขาในตลาดคาปลีก-คาสงขนาดใหญในกรุงเทพมหานคร จากการสัมภาษณผูประกอบการ/ผูนําเขาผักและผลไมจํานวน 40 คน พบวา

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

149


150

รายงานฉบับสมบูรณ์

150

ขอมูลทั่วไป อายุ ผูประกอบการสวนใหญมีอายุ 31-40 ป การศึกษา ระดับปวช. ปวส. รายไดตอเดือน เดือนละ 80,000-90,000 บาทมากที่สุด จํานวนแรงงานในราน มีคนงานราว 3-4 คน เวลาที่ประกอบอาชีพคาผัก ผลไม สวนใหญคาผัก ผลไมมาแลว 8-9 ป แหลงที่ซื้อผัก ผลไม ผูประกอบการมักเลือกซื้อผัก ผลไมจากฟารมหรือสวนเกษตร รวมทั้ง เกษตรกรรายยอยทั่วไป นอกจากนี้ยังซื้อจากพอคาคนกลาง และซื้อจากฟารมหรือสวนเกษตรที่มีขอตกลง การคาแบบ contract farming ซึ่งจะเปนฟารมหรือสวนเกษตรที่ไดรับใบรับรองกระบวนการผลิต( GAP) จากกรมวิชาการเกษตร วิธีการซื้อผักและผลไมจากจีน ผูประกอบการสวนใหญซื้อ-ขายผานพอคาชาวไทย ซึ่งบาง รายซื้อขายโดยตรง และซื้อขายผานพอคาชาวจีน วิธีการตั้งราคาผักและผลไมที่นําเขาจากจีน ผูประกอบการใชวิธีตั้งราคาตามราคาตลาดและ ไดมีการรวมตัวกันในกลุมผูคาเพื่อกําหนดราคา โดยตั้งตามราคานําเขาที่บวกสวนตางกําไรแลว ความคิดเห็นของผูประกอบการตอการปรับเปลี่ยนราคาผักและผลไมของไทยและจีน ผูประกอบการที่เห็นวาผักและผลไมไทยมีราคาแพง ดังนั้น เพื่อใหผัก ผลไมไทยสามารถ แขงขันกับของจีนได จึงมีความเห็นใหมีการลดราคาลงอีก 10-20% ในทุกฤดูกาล ผู ป ระกอบการที่ เ ห็ น ว า ผั ก จี น มี ร าคาแพง จึ ง มี ค วามเห็ น ให มี ก ารลดราคาลง 21-30% สวนผูประกอบการที่เห็นวาผลไมจีนมีราคาแพง จึงมีความเห็นวาควรลดราคาลง 10-20% ในทุกฤดูกาล ความคิดเห็นของผูประกอบการ/ผูนําเขาผักและผลไมตอการนําเขาผักและผลไมจากจีน ผูประกอบการในกรุงเทพมหานครไดเสนอประเด็นที่สําคัญของปญหาที่เกิดขึ้นจากการนําเขา ผัก ผลไมจากประเทศจีนและแนวทางแกไข ดังนี้ ความคิดเห็นของผูประกอบการ/ผูนําเขาผักและผลไมที่มีตอการนําเขาผักและผลไมจากจีน ผูประกอบการในกรุงเทพมหานครไดเสนอประเด็นที่สําคัญของปญหาที่เกิดขึ้นจากการ นําเขาผัก ผลไมจากประเทศจีนและแนวทางแกไข ดังนี้

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

151

ประเด็นสําคัญ 1. ดานการตลาด

2. ดานราคา

ปญหา

ผูบริโภคนิยมบริโภคผัก ผลไมของจีน ควรมีการรณรงคใหประชาชนหัน ตามกระแสความนิยม มาบริโภคผลไมในประเทศ เชน การประชาสัมพันธใหประชาชน ไดทราบเกี่ยวกับคุณคา/ประโยชน ของผักและผลไมไทย ราคาผัก ผลไมของจีนถูกกวาของไทย -รัฐบาลควรพิจารณาเกี่ยวกับเรื่อง การลงนามการคาเสรี (FTA)ให ถี่ถวนกวานี้อีก เนื่องจาก ประชาชนและเกษตรกรเดือดรอน เนื่องจากเมื่อเปดFTA แลวเปนผล ใหราคาผัก ผลไมที่นําเขา มีราคา ถูกกวาของไทยอยากใหรัฐบาล คํานึงถึงเกษตรกรเปนหลัก

3. ดานการติดตอประสานงาน ขาดการประสานงานที่ดี ทําใหเกิด ความลาชา กับพอคาชาวจีน

4. ดานตนทุน คาใชจาย การดําเนินการ 5. ดานกฎ ระเบียบ ขอจํากัด ของไทย

แนวทางแกไข

1.ใหมีการตรวจสอบ สินคาครั้ง เดียว 2.จัดตั้งกลุมทีม่ ีทั้งตัวแทนรัฐ เอกชน ที่เปนตัวแทนการ ดําเนินการเจรจา ฯลฯ ที่เกีย่ วกับ FTA โดยเฉพาะ มีการปรับปรุงกระบวนการขนสง เพื่อลดตนทุน

ตนทุนสวนใหญมาจากคาขนสงซึ่ง ในฤดูฝนถนนระหวางไทย-ลาว จะขาด กําหนดมาตรฐานใหเปนสากล 1.ไทยมีการใชพิธีสารวาดวยการ กักกันโรคและตรวจสอบผลไมจาก จีนมาไทย ไดแก แอปเปล ลูกแพร สม องุน และพุทรา 2. เกิดความเขาใจไมตรงกันดวย ปญหาที่ตางคนตางใชกฎของตน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

151


152

รายงานฉบับสมบูรณ์

ประเด็นสําคัญ 6. ดานกฎ ระเบียบ ขอจํากัด ของ จีน(ภาษี)

7. ดานการตั้งราคาผักและ ผลไมในไทย

8. ดานการขนสง

152

ปญหา 1.ความเหลื่อมล้ําของการเก็บภาษี เพราะ จีนยังคงเก็บภาษีสินคาเขา จากไทยในขณะที่ไทยใหการยกเวน 2.การตรวจสอบมาตรฐานตาม สุขอนามัยที่เขมงวด 3.ผูประกอบการบางรายไมมคี วามรู ในดานกฎระเบียบ

แนวทางแกไข 1. ปรับกลยุทธทางการคา

2. ประสานงานกับหนวยงานของ ประเทศจีน 3. ใหความรู ความเขาใจแกพอ คา ไทย

1. รัฐเขามาดูแลดานราคา 1.ผักและผลไมจีนบางชนิดยังมี ราคาที่แพง 2. ไมมีการตั้งราคากลาง 3.ถึงแมผักและผลไมไทยจะมีราคา แพงกวาของจีนแตมีมูลคาการคา มากกวาเนื่องจากมีความหลากหลาย 1. รัฐเขามาดูแลในสวนของการ 1.จีนมีความไดเปรียบในเสนทาง ขนสงขามแดน ขนสงสินคา(ทางแมน้ําโขง) 2. จีนมีจุดออนดานการจัดการระบบ ขนสงที่ยังไมเปนระบบเดียวกัน

2) กลุมผูประกอบการ/ผูนําเขาในตลาดคาปลีก-คาสงขนาดใหญในตางจังหวัด โดยไดดําเนินการสัมภาษณผูประกอบการรายใหญในจังหวัดเชียงใหม จํานวน 4 ราย ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ ลักษณะของผูประกอบการคาปลีกและคาสงผักและผลไม : รานคาปลีกในตลาดจะมีการรับสินคา มาจากรานคาสงในตางจังหวัด รานคาสงจะรับสินคามาจากทาเรือเชียงแสน สัดสวนการนําเขาผักและผลไมจากจีน ผลไม (1) แอปเปล สาลี่ มีสัดสวนการนําเขาใกลเคียงกัน รอยละ 60 (2) ทับทิม ลูกพลับ มีสัดสวนการนําเขา รอยละ 40 (3) องุน มีสัดสวนการนําเขา รอยละ 10 (เกรดเอ จะมีการนําเขามาจากสหรัฐอเมริกา สวนเกรดรองลงมาจะนําเขาจากจีน)

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

153

ผัก (1) กระเทียม มีสัดสวนการนําเขา รอยละ 60 (2) หอมหัวใหญ มีสัดสวนการนําเขารอยละ 50 ( รอยละ30 นําเขามาจากอินโดนีเซียรอยละ 20 นําเขามาจากจีน) (3) พริกแดง เปนพริกที่นําเขามาจากอินเดีย (4) บลอคโคลี่ และแครอท มีสัดสวนการนําเขาใกลเคียงกัน แหลงการนําเขาและการขนสงผักและผลไม ผลไม (1) แอปเปล สาลี่ ทับทิม และลูกพลับ มีการนําเขาทั้งทางทาเรือเชียงแสน และแมสาย สินคาที่นําเขามาทางทาเรือเชียงแสนมีความเสียหายถึงรอยละ 30 โดยที่ไมสามารถเลือกดูสินคาที่บรรจุใน กลองได (2) องุน มีการนําเขามาจากอเมริกาและจีน ซึ่งสินคาที่นําเขามาจากอเมริกามากวาจีน องุนที่นําเขา มาจากจีนเปนสินคาเกรดA สวนสินคาที่นําเขามาจากจีนมีเกรดที่ต่ํากวาทางดานของจีน(ทาเรือเชียงแสน) ผัก (1) กระเทียมที่นําเขามาจากจีน (ทาเรือเชียงแสน) (2) หอมหัวใหญ นําเขามาทางตลาดไทและตลาดสี่มุมเมืองเปนสวนใหญ โดยมีสัดสวนการ นําเขาจากอินโดนีเซีย (มาทางเรือเดินทะเล) มากกวาจีน (ทางทาเรือเชียงแสน) (3) บรอคโคลี่ และแครอท มีการนําเขามาทางทาเรือเชียงแสน ราคาสินคาและกลไกตลาด ราคาของสิ น ค า ผั ก และผลไม ที่ นํา เข า มาจากจี น จะมี ร าคาที่ ถู ก กว า สิ น ค า ภายในประเทศ ซึ่งจะเห็นไดจากสินคากระเทียมที่มาจากจีนมีราคา 40 – 50 บาท แตกระเทียมที่เปนผลผลิตในประเทศมี ราคา 100 บาท ปจจัยที่กําหนดราคาสินคา คือ (1) ความตองการบริโภคสินคา (Demand) ของผูบริโภค (2) ผลไมจีนที่นําเขาตรงกับฤดูกาลผลไมไทย จะทําใหราคาผลไมจีนถูกลงกิโลกรัมละ12-13 บาท แตในชวงนอกฤดูผลไมไทย ทําใหผลไมจีนมีราคาแพงขึ้นซึ่งเคยแพงสูงสุดถึงกิโลกรัมละ 60 บาท (3) คาจางแรงงานของจีนต่ํากวาคาจางแรงงานของไทยมากจึงมีความไดเปรียบในดานราคา ทําใหราคาผัก ผลไมจีนถูกกวาของไทย (4) ผัก ผลไมของจีนมีความสมบูรณมากกวาสินคาในประเทศ เชน กระเทียมมีขนาดใหญ กวาของจังหวัดศรีษะเกษ ผูบ ริโภคจึงเลือกที่จะบริโภคสินคาที่นําเขามาจากจีน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

153


154

รายงานฉบับสมบูรณ์

154

3) กลุมผูประกอบการในตลาดคาปลีก-คาสงขนาดใหญในตลาดคาชายแดน โดยไดดําเนินการสัมภาษณผูประกอบการรายใหญในตลาดคาชายแดนจังหวัดอุดรธานี หนองคาย มุกดาหาร และเชียงราย จํานวน 8 ราย ซึ่งมีรายละเอียดสรุปไดดังนี้ ตลาดคาชายแดน จังหวัดอุดรธานี หนองคายและมุกดาหาร ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมจากจีนเพื่อมาจําหนาย ประกอบดวย (1) ราคา ราคามีผลตอการตัดสินใจของผูประกอบการในการนําผักและผลไมจากจีน มาจํ า หน า ย ซึ่ ง จะเห็ น ได ว า ประเทศจี น มี ภู มิ ป ระเทศที่ เ อื้ อ อํ า นวยต อ การปลู ก พื ช มาก มี พื้ น ที่ ที่ อุดมสมบูรณเปนอยางมากเหมาะกับการทําเกษตรกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งการปลูกพืชผักเมืองหนาว อีกทั้งรัฐบาลของประเทศจีนก็สนับสนุนในภาคเกษตรกรรม จึงสงผลใหภาคเกษตรกรรมโดยเฉพาะ การปลูกพืชผักเมืองหนาวมีมากขึ้น รวมทั้งการที่มีตนทุนในการผลิตต่ํา ทําใหการผลิตแตละครั้งมีปริมาณ มาก สงผลใหไดผลผลิตตอไรสูงขึ้น ทําใหตนทุนตอหนวยลดลง จึงทําใหสินคาผักและผลไมจากจีน มีราคาถูกลง และผลจากการเปดเขตการคาเสรีไทย- จีน(FTA) นั่นเองจึง สงผลใหผักและผลไมที่ นําเขาจากจีนมีราคาถูก ซึ่งเปนสวนหนึ่งในการตัดสินใจของผูประกอบการในการเลือกซื้อผักและผลไม จากจีนไปจําหนายใหแกผูบริโภค (2) คุณภาพของสินคา คุณภาพของสินคาเปนสวนหนึ่งในการชวยตัดสินใจในการเลือก ซื้อผักละผลไมจากจีนมาจําหนายใหแกผูบริโภค จะเห็นไดวาการที่ประเทศจีนผลิตผักและผลไมได คุ ณ ภาพดี เป น เพราะว า ประเทศจี น นั้ น มี ภู มิ ป ระเทศที่ เ อื้ อ อํ า นวยต อ ภาคเกษตรกรรมเป น อย า งมาก ภาคพื้นดินมีความอุดมสมบูรณพรอมกับมีสภาพอากาศที่คอนขางไดเปรียบ เมื่อทําเกษตรกรรมก็สงผลให ไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี จากการสัมภาษณผูประกอบการทําใหทราบวา ผูประกอบการใชในเรื่องคุณภาพ มาเป น ตั ว ช ว ยในการตั ด สิ น ใจเลื อ กซื้ อ ผั ก และผลไม จ ากจี น มาจํ า หน า ย เพราะผั ก และผลไม จ ากจี น มีคุณภาพดีกวา คงทนตอสภาพดิน ฟา อากาศ สามารถเก็บไวไดนาน (3) ดูกาล เนื่องจากผลไมของจีนมีออกมาทุกฤดูกาลตั้งแตเดือน มกราคม - ธันวาคม ดังนั้นผูประกอบการจึ งเลื อ กที่จ ะนํามาจํ าหนายใหแ กลูก คา โดยเฉพาะ แอปเปลและสาลี่ซึ่งจะมีมา จําหนายตลอดทุกฤดูกาล (4) รสนิยมผูบริภค / ประเพณี / และวัฒนธรรม ในการตัดสินใจของผูประกอบการจาก การที่ ไ ด สั ม ภาษณ ม านั้ น รสนิ ย มของผู บ ริ โ ภคในขณะนั้ น ก็ เ ป น ตั ว ช ว ยในการตั ด สิ น ใจของ ผูประกอบการในการเลือกซื้อผักและผลไมจากจีนมาจําหนายใหแกผูบริโภค คือ เนื่องจากผลไมจีนมีเขา มาประเทศไทยมานาน ผูบริโภคบางกลุมเลือกที่จะบริโภคผลไมจีนมากกวาผลไมไทย เพราะ ผลไมจีน มีรสชาติดี หาซื้อไดงาย และราคาถูก มีทุกฤดูกาล ถาผลไมชนิดใดขายไดดี ผูประกอบการก็จะนํามา จําหนายในปริมาณมากกวาชนิดอื่น อีกทั้งในเรื่องของประเพณีและวัฒนธรรมตางๆ โดยเฉพาะประเพณี ของผู บ ริ โ ภคเชื้ อ สายจี น เช น วั น ตรุ ษ จี น ,วั น สารทจี น ต า งก็ มี ข องเซ น ไหว ต า งๆและที่ ข าดไม ไ ด ก็คือ ผลไม ซึ่งผลไมที่นิยมก็จะเปนผลไมมงคลของจีน เชน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

155

 สาลี่ หมายถึง การรักษาคุณงามความดีเอาไวอยางมั่นคง หรือรักษาซึ่งโชคลาภเงิน ทองมิใหเสื่อมถอย ฯลฯ  องุน หมายถึง ความเจริญรุงเรืองทั้งหนาที่การงานและชีวิต  แอปเปล หมายถึง การมีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ  สม หมายถึง ความมีโชคดี ประสบแตสิ่งดีๆ เปนสิริมงคลแกตนและครอบครัว  พลับ หมายถึง จิตใจที่หนักแนน (อยูในธรรม) อยางมั่นคง สามารถลวงพนอุปสรรค นานาไดอยางราบรื่น มีควมขยันมั่นเพียรเปนที่ตั้ง  ทับทิม คนจีนเรียกวา "เจี๊ยะลิ้ว" กิ่งใบทับทิมเปนใบไมสิริมงคล และมีไวติดตัวเพื่อ คุมครองกันภัย ภูตผีปศาจ เปนพันธุไมที่ถูกนํามาเผยแพรในเมืองจีนและดวยความที่ ทับทิมมีเมล็ดมากจึงสื่อ ความหมายถึงใหมีลูกชายมากๆ  ผลทอ เปนเครื่องหมายแหงความยั่งยืน เปนผลไมชั้นสูง สําหรับบูชาเทพบนสวรรค  กลวย เปนผลไมมงคลแหงการแตกหนอ แตกสาขา กิจการตางๆ จะเห็นไดวาผลไมมงคลสวนใหญของคนเชื้อสายจีนที่ใชในการเซนไหว ก็จะใชผลไมจากจีน เปนสวนใหญ ผลไมไทยจะใชนอยมาก ดังนั้น ทั้งหมดนี้เปนตัวชวยในการตัดสินใจของผูประกอบการ ในการที่จะเลือกซื้อผลไมจากจีนมาจําหนายใหแกผูบริโภค โดยเฉพาะประเพณีหรือเทศกาลตางๆ ซึ่งจะ ขายดีมากในชวงเวลานั้นๆ วิธีการซื้อสินคา ผูประกอบการรายใหญ เลือกรับของจากตลาดไทมาจําหนายโดยนิยมไปรับสินคาจากตลาดไท ดวยตัวเอง ซึ่งสินคาที่นํามาจําหนายก็จะบวกในเรื่องของคาใชจายที่ใชในการเดินทาง เปนตนทุนในการ ขนสง โดยผลไมที่นํามาจําหนายจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับชนิด ฤดูกาล รวมถึงรสนิยมในการบริโภคของ ผูบริโภคในชวงนั้นๆ ผูประกอบการรายอื่นๆ ใชวิธีการโทรสั่งสินคาจากพอคาคนกลางที่ตลาดไท แลวใหนํามาสง ถึงที่โดยพอคาคนกลางจะคิดคาใชจายเพิ่มในการขนสง ความคิดเห็นตอราคาผักละผลไมจากจีน ผูประกอบการมีความเห็นวา “ ราคาผักและผลไม จากจีน ถูกกวาของไทย” ซึ่งเปนผลจากการเปดเขตการคาเสรี ไทย – จีน ซึ่งกอใหเกิดผลกระทบ ดังนี้ ผลกระทบตอผลไมไทย ผูประกอบการเห็นวาการนําเขาผลไมจากจีนเพื่อมาจําหนายได สงผลกระทบตอผลไมไทยเปนบางประเภทเทานั้น เนื่องจากผลไมไทยออกสูตลาดเปนฤดูกาลและมีความ หลากหลาย ดังนั้น คนไทยจํานวนมากมีความนิยมบริโภคผลไมไทยตามฤดูกาล ซึ่งเปนผลใหยอดขาย ผลไมจีนในชวงเวลานั้นลดลง แตเมื่อผลไมไทยตามฤดูกาลลดลง ผลไมจีนก็จะกลับขายดี ซึ่งก็ขึ้นอยูกับ ฤดูกาลของผลไมจีนดวย ที่สําคัญคือ ผลไมจีน เชน แอปเปล สาลี่ สม สามารถ เก็บไดนานกวา

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

155


156

รายงานฉบับสมบูรณ์

156

ชองทางในการนําเขาผักและผลไมจากจีนเพื่อจําหนายในไทย มี 2 ชองทาง คือ (1) รับมาจากทาเรือ หรือ ตลาดไท ซึ่งจะไดของที่มีคุณภาพดีกวา มีมาตรฐานกวา การ ชําระสินคามีดวยกันหลายวิธี เปนวิธีที่สะดวกที่สุด ซึ่งผูประกอบการบางรายก็จะมารับสินคาเอง หรือ บางรายก็จะโทรสั่งสินคากับพอคาคนกลางอีกรอบแลวใหไปสงถึงที่ โดยมีวิธีการ 2 แบบ คือ ก. ผูคาสงที่เดินทางไปรับสินคาที่ตลาดไทดวยตัวเอง ซึ่งสินคาที่นํามาขายก็จะบวก ในเรื่องก็คาใชจายเพิ่มขึ้น เปนตนทุนในการขนสง โดยผลไมที่นํามาจําหนายจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับ ชนิด ฤดูกาล รวมถึงรสนิยมในการบริโภคในชวงนั้น ข. ผูคาสงรายที่ใชวิธีการโทรสั่งสินคา จากพอคาคนกลางที่ตลาดไท แลวนํามาสงถึง ที่โดยพอคาคนกลางคิดคาใชจายเพิ่มในการขนสง (2) รับมาโดยตรงจากจีน โดยผานพอคาคนกลางที่ประเทศลาวซึ่งวิธีนี้ไมคอยเปนทีน่ ยิ ม เพราะไมเห็นสินคา โดยตองจายเปนเงินสดเทานั้น ซึ่งของที่ไดรับมาไมมีคุณภาพเทาที่ควร สินคาที่มีการลักลอบน้ําเขามาก ไดแก กระเทียม และหัวหอมใหญ โดยมีพอคาคน กลางชาวตางประเทศเปนผูเคลื่อนยายสินคา สําหรับการนําเขาผัก ผลไมจากจีนโดยทางบกนั้น จะใช เสนทาง จากจีนผานเวียดนาม ลาว ซึ่งการสั่งของแตละครั้งจะใชวิธีการโทรสั่งและจายในรูปของเงินสด แลวขนสงผานทางเรือขนาดเล็กเขามาทางจังหวัดมุกดาหาร โดยกระเทียมจะสั่งมามากกวาหอมหัวใหญ เมื่อไดรับสินคาแลวจะเก็บไวที่โกดังสินคา จากนั้นจะมีผูประกอบการมารับไปจําหนายอีกที หรือมี ผูประกอบการบางรายที่โทรสั่ง จากนั้นก็จะรับไปสงถึงที่ สินคาจะกระจายไปตามจั งหวัดขอนแกน กาฬสินธุและ มหาสารคาม เปนตน ตลาดคาชายแดน ณ ทาเรือเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตนทุนการนําเขาผักและผลไม 1) ตนทุนในประเทศจีน ประกอบดวย คาภาษีนําเขา เปน 0 % ตามขอตกลง AFTA คาธรรมเนียม และคาขนสงทางเรือเดินทะเล โดยมี Shipping ที่ทาเรือเปนผูดําเนินการ 2) ตนทุนในประเทศไทย ประกอบดวย คาภาษีการนําเขา 0 % คาธรรมเนียม คิดตาม กฎหมายภาษีรายได คาขนสง เปนการขนสงทางตูคอนเทนเนอรและคาจางแรงงานคิดตามคาจางขั้นต่ํา ปญหาของผูประกอบการการติดตอประสานงานกับจีน ผูประกอบการสวนใหญไมมีปญหาใน ดานตนทุน คาใชจายการดําเนินงาน รวมทั้งกฏระเบียบและขอจํากัดทั้งประเทศจีนและไทย แตมีการตั้ง ราคาและผักผลไม โดยคิดราคาจากประเทศจีน + ตนทุน + กําไรที่ตองการ ซึ่งการตั้งราคาจะเปนไปตาม กลไกตลาด ทั้งนี้ ราคาของสินคาก็จะมีการขึ้นลงตามปริมาณความตองการและฤดูกาลของสินคาชนิด นั้นๆ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

157

การติดตอซื้อขายกับพอคาชาวจีน ลักษณะการซื้อขายจะมี 3 ลักษณะ 1) การติ ด ตอซื้ อสิ น ค า โดยตรงกับทางพ อคาจีน ซึ่งพอคาสงชาวไทยจะไปดูสิน คาที่ ประเทศจีนและมีการตกลงซื้อขายกับทางชาวสวนหรือพอคาของชาวจีนเลย 2) พอคาสงจะซื้อสินคาที่ทาเรือเชียงแสน และแมสาย 3) พอคาสงจะมีการซื้อขายสินคาแบบแลกเปลี่ยนสินคากัน ( Barter System) ตนทุนคาขนสงและลักษณะการขนสง 1) การขนสงทางเสนทาง R3A ระยะทาง 493 กิโลเมตร โดยเดินทางจากคุนหมิง-เชียงรุงบัวแกว-เชียงราย ระยะเวลาในการเดินทาง 28 ชม  คาภาษีในการขนสง 10,000 บาท ตอ 1 คัน  คาผานทางจากเชียงรายถึงคุนหมิง จํานวน 18,000 – 20,000 บาท เปนการเก็บ คาผานทางแตละแขวงในประเทศลาว  รวมคาขนสงในเสนทาง R3A จํานวน 30,000 – 40,000 บาท 2) การขนสงทางเสนทาง R3B ระยะทาง 380 กม. โดยเดินทางจากแมสาย – ทาขี้เหล็ก – เชียงตุง – เมืองลา – เชียงรุง – คุนหมิง ใชเวลาเดินทาง 20 ชม.  คาภาษีและคาผานทาง รวม 10,000 บาท ตอ 1 คัน  การขนสงจากเชียงรายผานพมาจะตองมีการเปลี่ยนรถเปนรถปกอัพของพมาและ จะคิดคาใชจายเปนตะกรา 3) การขนสงทางเรือ ระยะทาง 344 กม. โดยเดินทางจากคุนหมิง – เชียงรุง – เชียงแสน 1 วัน  การขนสงทางเรือจะมีการคิดตามคาระวาง การเก็บภาษีของทางรัฐบาลจีน  รัฐบาลกลางเปด FTA เสียภาษี 0 เปอรเซ็นต  การเสียภาษี VAT การเสียภาษีในแตละมณฑล 13 เปอรเซ็นต การขอเคลื่อนยายสินคา  การขอเคลื่อนยายกระเทียม จะตองมีการปฏิบัติตามขั้นตอนการขอเคลื่อนยายสินคา การทํางานของ Shipping  การจดทะเบียนของ Shipping จะตองเปนคนไทยแตสวนใหญเจาของจริงคือคนจีน ซึ่งจะเอื้อเฟอตอพอคาจีนใหมีตนทุนที่ถูกลงและสะดวกตอการขนสง  การทํางานของ Shipping จะมีการตกลงราคาการสงสินคาที่จะนําเขาหรือสงออก ซึ่ง Shipping จะเปนผูควบคุมการเคลื่อนยายสินคา จากทางบกสูทางเรือ ปญหาและอุปสรรค  การตี ต ลาดของสิ น ค า จากจี น ทํ า ให สิ น ค า ไทยค อ ยๆถู ก ทดแทนที่ ไ ปโดยปริ ย าย เนื่องจากราคาสินคาถูกกวาเพราะแรงงานของจีนมีคาจางถูก ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

157


158

รายงานฉบับสมบูรณ์

158

 เมื่อมีการนําเขาสินคาจากจีนและสินคาในประเทศมีผลผลิตออกมา จนทําใหเกิด ภาวะสินคาลนตลาดและทําใหราคาสินคาถูกลง  การขนสงสินคาทาง R3B มีระยะทางใกลกวา R3A แต R3B ไมเปนที่นิยม  การขนสงทางเรือจะมีตารางเวลาในการปลอยน้ําแตจีนมักจะไมปลอยตามตารางเวลา เนื่องจากจีนตองการน้ําไวเพื่อผลิตกระแสไฟฟาในแตละเขื่อน ซึ่งเขื่อนในประเทศจีนมีทั้งหมด 11 เขื่อน  การเดินเรือในแมน้ําโขงจะตองใชความสามารถสวนบุคคล  การซื้อสินคาตามแนวชายแดนนั้นไมสามารถเลือกดูสินคาได  การคาตามแนวชายแดนสวนใหญเปนการจายเงินสดและการใชเครดิตสวนตัวหรือ ความเชื่อใจ  ตูคอนเทนเนอรไมสามารถสงมาทางเชียงแสนไดเนื่องจากไมคุมกับการขนสงที่มี ความเสี่ยงกับการลองน้ําโขงที่ตองใชความสามารถเฉพาะตัวสําหรับการเดินเรือ 7.6 ผลการสัมภาษณหนวยงานที่เกีย่ วของและผูป ระกอบการ/ผูสง ออกผักและผลไมของประเทศจีน 7.6.1 หนวยงานของประเทศจีนที่เกี่ยวของกับการสงออกผักและผลไม 1) สัมภาษณกงสุลไทยประจําเมืองคุนหมิง เสนทางการขนสงสินคาไทย-จีน (คุนหมิง) เสนทางที่ใชในการขนสงผลไมไปจีน ไดแก เสนทาง R3 ที่เขาทางคุนหมิงเปนการนําเขา ผานฮองกงแลวตรงไปเจียงหนาน ซึ่งรูปแบบการคาขายเปนแบบฝากขายทั้งหมด และการขนสงสินคา ผานทางเสนทาง R3 ตลาดที่เปนศูนยกลางในการขนสงควรจะอยูระหวางเชียงแสนกับเชียงของ และควร มีการอนุโลมใบอนุญาตนําเขา (QIP) ในเรื่องรัศมีของทาที่นําเขา ระยะเวลา และจํานวนชนิดของสินคาที่ นําเขาดวย โดยเสน ทางที่ใ ชข นสง จากไทยไปจีน ซึ่ง ผา นประเทศลาว (R3A) นั้น จะตอ งเสีย คาธรรมเนียม คาผานดานมาก เนื่องจากมีการสุมตรวจและรมแมทธิวโปรไมล ณ จุดขนถายบอหาน และ หากเสนทาง R3A เปดแลว จะทําใหการขนสงทางเรือที่ผานทางแมน้ําโขงลดลง ทั้งนี้ เนื่องจากมีปญหา เรื่องปริมาณน้ํา และโดยเฉพาะถาสินคาชนิดไหนมีราคา (มูลคา) จะทําการขนสงทางรถแทนทางแมน้ําโขง สําหรับผลไมที่นําเขาจากไทยสวนใหญจะมาตามเสนทาง R3W เนื่องจากการเก็บคาผาน ดานของพมาจะนอยกวาลาว โดยมี CCA (Common Control Area) ซึ่งเปนกระทรวงคมนาคมของพมาเปน ผูกํากับดูแล โดยเฉพาะในชวงฤดูกาลจะขนสงผลไมผานทางเมืองเสี่ยวลาหรือตาลั่วของประเทศพมาเปน จํานวนมากในรูปแบบไมเปนทางการ

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

159

ชนิดสินคาและลักษณะการสงออก จากการประชุมสุดยอดอาเซียน หรือ อาเซียน ซัมมิท ครั้งที่ 14 (14th Asean Summit Hua Hin) ที่หัวหิน จีนไดเสนอขอนําเขาผัก-ผลไมมาไทย 28 ชนิด ซึ่งในขณะที่ไทยสามารถสงออกไป จีนไดเพียง 23 ชนิดเทานั้น ในการสงอาหารทะเลไปยังจีน เชน กุง และปลา ลักษณะการสงออกจะใชวิธีการนอค แลวมาฟนที่จีน เพราะคนจีนนิยมบริโภคอาหารทะเลที่ยังมีชีวิตอยู โดยเปนการขนสงทางเครื่องบิน สวน ใหญอาหารทะเลที่ยูนนานจะนําเขาจากไทยและเวียดนาม ซึ่งหากประเทศไทยทําการประชาสัมพันธให มากขึ้ น จะทํ า ให ก ารส ง ออกอาหารทะเลไปจี น ได ม ากกว า นี้ เช น เดี ย วกั บ ข า วและผลไม ที่ มี ก าร ประชาสัมพันธ และสงเสริมการตลาดอยางตอเนื่อง จึงทําใหตลาดการสงออกของสินคาทั้งสองชนิดไปได ดี สวนตลาดในการคาขายดอกไม ไดแก ตลาดตงหนาน และมีฟารมเฉินหลง เปนฟารม Packing House ไมดอกรายใหญ อยูในเมืองเฉินกง ผลไมที่นําเขาจีน กรมศุลกากรของจีนยังไมมีการจดบันทึกทางสถิติไว เนื่องจากยังไมมี การขอ ใบอนุญาต QIP แตในการนําเขามีการเก็บภาษีมูลคาเพิ่มในอัตรารอยละ 13 ซึ่งหากเปนการนําเขา ตามเสนทาง GMS จะคิดภาษีมูลคาเพิ่มในอัตรารอยละ 5 สวนสินคาที่มีพิกัดศุลกากรในรายการ 07-08 จะ คิดอัตราภาษีเปนศูนย รวมถึงประเทศไทย ลาว และทุกประเทศในกลุม GMS และสําหรับปญหาและ อุปสรรคในการขนสงสินคาไปจีน สวนใหญจะเปนเรื่องกฎระเบียบการนําเขา 2) สัมภาษณ CIQ คุนหมิง การดําเนินงานของ CIQ ที่คุนหมิง การดําเนินงานของ CIQ สวนใหญจะเปนการขออนุญาตนําเขาสินคาประเภทผัก ผลไม และไมดอก ซึ่งในการขอใบอนุญาตนําเขา QIP การอนุมัติจะขึ้นอยูกับ AQSIQ ดังนั้น ในการดําเนินงาน AQSIQ ตองรับฟงความคิดเห็นของ CIQ ในพื้นที่ดวย สถานการณการคาระหวางไทย-จีน (คุนหมิง) แนวทางในการคาขายระหวางไทยและจีนตองทําในรูปแบบการคาที่ไปดวยกันหรือ รวมมือกัน ไมใชการแขงขันกัน จึงจะทําใหการสนับสนุนทางดานการคาของทั้ง 2 ประเทศเกิดประโยชน โดยการคาระหวางไทย-จีน สําหรับผักและไมดอก จีนนําเขาจากไทย และการคาผลไมไทยสงออกไปจีน ซึ่งผลไมที่จีน นําเขาจะมาตามเสนทาง R3A ซึ่งมีขอผูกพันพิเศษ และจากการลงนาม MOU ในเสนทาง R9 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2552 ซึ่งเปนขั้นตอนที่สําคัญ แตก็ยังไมมีการกลาวถึงรายละเอียดของเสนทาง R3 หากไดทําขอตกลงในเสนทาง R3 ก็ควรจะยึดหลักตามเสนทาง R9 และหลังจากการประชุมที่อาเซียน หัวหินตองเรงเปดเสนทาง R3A ซึ่งในขณะนี้ยังไมไดรางขอตกลงในการขอใหกระทรวงเกษตรฯ เรงรัด ดําเนินการราง MOU สําหรับการสงออกผัก-ผลไมของจีนมาไทยและมาเลเซีย พบวา มีปริมาณการสงออก เพิ่มขึ้นอยางมาก โดยในเดือนสิงหาคม 2550 จีนไดสงผัก-ผลไมมาไทยในปริมาณ 44,000 ตัน คิดเปน 460 ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

159


160

รายงานฉบับสมบูรณ์

160

ชิปเมนท หรือ มากกวา 10,000 ตัน และจีนมีปริมาณการนําเขาจากไทยเพิ่มขึ้น โดยนําเขากวา 50 ชิปเมนท หรือมากกวา 1,000 ตัน ตามใบ QIP และการสงออกไมดอกของจีนมาไทยในชวงเดือนมกราคมถึงเดือน ธันวาคม 2550 มีปริมาณการสงออก 435 ชิปเมนท มูลคา 493,000 ดอลลาสหรัฐ และจีนไดนําเขา ไมดอกจากไทยเพิ่มขึ้นในปริมาณ 410 ชิปเมนท โดยเปนการขนสงตามเสนทาง R3A ซึ่งจากเดิมจะทําการ ขนสงทางเครื่องบิน แตเนื่องจากในปจจุบันการขนสงตามเสนทางนี้มีความสะดวกมากขึ้น โดยใชตูคอนเทน เนอรที่ควบคุมความเย็นในการขนสง ซึ่งดอกไมที่จีนสงมาไทยนั้นจะเขามาทางภาคเหนือและสงตอมาที่ กรุงเทพ แตในการขนสงของสดนั้นจะมีความเสียเปรียบกวาการขนสงของแหง เนื่องจากตองมีขั้นตอนใน การ clear สินคา และตองทําการประสานงานผานทูตเกษตรที่ปกกิ่งตลอดเวลา ในปจจุบันจีนไดนําเขาไมตัดดอกจากไทยมาก เชน แคทลียา โดยนําเขามาทางเครื่องบิน และไปลงที่ปกกิ่ง สําหรับ ลิลลี่ กุหลาบ คารเนชั่น จีนจะสงมาไทยตลอดทั้งป โดยแหลงผลิตประมาณ รอยละ 60-70 ของทั้งหมดจะอยูที่ยูนนาน และผลไม เชน แอปเปล สาลี่ ก็สงมาไทยดวยเชนเดียวกัน ซึ่ง ผลไมที่สงมาไทยประมาณรอยละ 50 เปนผลไมที่มาจากยูนนานรวมถึงมณฑลอื่นๆ ดวย สําหรับผักที่คุนหมิง ผลิตได เชน ผักใบเขีย ว คะนา แครอท และบลอคโคลี่ สว นพวกกระเทีย ม ผลิต ที่ม ณฑลซานตง หอมหัว ใหญ แครอท ผลิต ที่ฮุยชี้ ทงไหเยี้ยน และองุน ทับทิม สม ผลิตที่ยูนนาน ซึ่งผลิตไดรองจาก คุนหมิง ในการคาขายระหวางไทย-จีน ไดมีการติดตอประสานงานหรือดําเนินธุรกิจรวมกัน ซึ่ง การสรางความสัมพันธดังกลาวจะทําใหมีการคาขายระหวางกันไดมากยิ่งขึ้น แตสําหรับเรื่องการขอให CIQ ของจีนที่คุนหมิงพิจารณาเรื่องการขยายชนิดสินคาและระยะเวลาในการขอใบอนุญาต QIP ซึ่งฝายจีน ไดขอใหไทยเรงการลงนาม MOU เนื่องจากฝายไทยไมมีความกระตือรือรนในขณะที่ยูนนานมีความ ตองการนําเขาผลไมจากไทย และหลังจากที่ไดลงนามกันแลว จีนตองการใหไทยเชิญ CIQ ของคุนหมิงมาดู งานที่ไทยดวย ซึ่งที่ผานมาไทยไดเชิญมาเฉพาะที่ปกกิ่ง และตองการใหมีความยืดหยุนทางดานระเบียบ กฎเกณฑสําหรับประเทศในกลุม GMS ซึ่งไมควรใชกฎเกณฑแบบเขมงวดมากเกินไป สําหรับการรมแมทธิวโปรไมลของจีนจะรมเฉพาะเมื่อตรวจพบโรค/แมลงเชนเดียวกับของไทย 3) สัมภาษณสมาคมหอการคา (Sale Chamber) บทบาทหนาที่ของสมาคม ผลไมแตละชนิดจะมีสมาคมคอยกํากับดูแล เชน อ.ปงฉวนไปตาหลี มีการผลิตองุนสีแดง จึงมีการจัดตั้งสมาคมองุนสีแดง มีสมาคมแอปเปล โดยสมาคมยูนนานจะเปนผูดูแลสมาคมเล็กๆ ซึ่งจะ ดูแลในเรื่องการอบรม การใชเทคโนโลยี และการสงนักสงเสริมไปดูแลในฟารมของเกษตรกร รวมทั้ง การหาตลาดใหเกษตรกรดวย นอกจากนี้ยังมีบริการใหเชาหองเย็น โดยมีอัตราคาเชาดังนี้ - แอปเปลและสาลี่ คิดคาเชา 55 หยวน/ตัน/15 วัน - มะขามหวาน คิดคาเชา 1 หยวน/กลอง (10 กิโลกรัม+น้ําหนักกลอง 1 กิโลกรัม)/1 เดือน - ลําไยสด คิดคาเชา 50 หยวน/ตัน/15 วัน ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

161

รูปแบบการขนสงและการเก็บรักษา โดยผลไม เชน ลําไย มังคุด ชมพู มะขามหวานจะนําเขาจากไทย ซึ่งมังคุดจะขายสดหมด ไมเก็บไวในหองเย็น สวนลําไยสด ผูประกอบการบางรายจะเชาหองเย็นเปนเดือน หรือบางรายเชาเปน โกดังและเก็บไวทั้งป ซึ่งการขนสงผลไมเขามานั้น ถาเปนทุเรียนและลําไยสดสวนใหญจะสงมาทางทะเล และเขาที่กวางตุง ถาเปนมะขาม มังคุด และชมพูจะสงมาทางรถตามเสนทาง R3 โดยเชาหองเย็นของ เอกชน ทําใหการขนสงไมมีปญหา โดย - ชมพูไมมีปญหาเมื่อถึงปลายทาง เนื่องจากมีการบรรจุหีบหออยางดี (บรรจุกลองเล็ก ซอนอยูในกลองใหญอีกชั้น) - มังคุดบรรทุกมา 2,733 ตะกรา ๆ ละ 10 กิโลกรัม เสียคาขนสง 31,000 หยวน ในการ ขนสงจะใชรถตูขนาดบรรทุก 27 ตัน แตถาเปนผลไมบอบบาง จะใชรถบรรทุก หองเย็น ซึ่งจะเสียคา ขนสงมากกวา โดยมีคาขนสงจากบอเต็นไปคุนหมิง 230 หยวน/ตัน หรือ 13 หยวน/กลอง (11 กิโลกรัม) รวมคาธรรมเนียม ซึ่งคนไทยเปนผูจายดวย โดยใชเวลาในการเดินรถประมาณ 7-10 ชั่วโมง สําหรับ รถบรรทุกธรรมดา - มะขามหวานที่นําเขามาจะสงตอไปยังปกกิ่ง เซี่ยงไฮ และเสฉวน - แอปเปลและสาลี่ประมาณรอยละ 60 จะใชหองเย็นในการขนสง - เกาลัดแกวมังกร และพุทราประมาณรอยละ 40 ที่เก็บในหองเย็นโดยการเดินทางจาก คุนหมิงไปปกกิ่ง และเทียนสินจะใชเวลา 5 วัน ปญหาอุปสรรคในการขนสงสินคา การขนสงสินคาผานลาว ผูประกอบการบางรายสามารถเปลี่ยนถายสินคาแบบตูชนตูได แตใน บางรายตองใชคนในการเปลี่ยนถาย และถนนในลาวไมดี โดยเฉพาะในชวงหนาฝน ซึ่งที่ผานมาฝนตก หนักทําใหการสงทับทิมและทอมาไทยติดคางอยูบนถนน 1 อาทิตย สงผลใหสินคาเสียหายหมด การขนสงในลาวมีเวลา เปด-ปดดาน แตเจาหนาที่มักไมทํางานตามเวลา ทําใหตองเสียเวลารอนาน ทั้งนี้ตองขึ้นอยูกับความสนิทสนมหรือความสัมพันธ แตมีคาลวงเวลาคอนขางแพง 4) การบรรยายสรุปสถานการณและภาพรวมดานการคาไทย-จีน ณ สถานกงสุลไทย ประจํามหา นครเซี่ยงไฮ ภาพรวมการคาระหวางไทย-จีน ไทยทําการคาขายกับจีนและมีความสัมพันธกันมานานถึง 35 ป การคาที่ผานมาในชวงป 2551-2552 ไทยขาดดุล โดยโครงสรางการสงออกไทย-จีน เปนการคาสินคาเกษตร สินคาที่จีนสงออก มายังไทยสวนใหญเปนประเภทคอมพิวเตอร อิเล็กทรอนิกส และสินคาที่จีนนําเขาจากไทยเปนประเภท Raw Material เพื่อเปนวัตถุดิบ เชน ยางพารา และมันสําประหลัง เปนตน เนื่องจากปจจุบันเปนที่ตองการ ของตลาดอุตสาหกรรมการผลิตรถยนตและอุตสาหกรรมอื่นๆ ซึ่งจีนผลิตไดไมเพียงพอกับความตองการ จึงไดไปเชาพื้นที่ปลูกยางพาราในประเทศลาว และอินโดนีเซียเพิ่ม นอกจากนี้ ยางพาราจากไทยมีคุณภาพ ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

161


162

รายงานฉบับสมบูรณ์

162

และเทคโนโลยีดีกวา จึงทําใหความตองการนําเขาจากไทยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แตในชวงที่เกิดภาวะวิกฤต เศรษฐกิจจีนนําเขายางพาราจากไทยลดลง สําหรับการนําเขามันสําประหลังจีนนําเขาเพื่อผลิตเอทานอล ถึงแมวาจีนจะนําขาวโพดมาใชทดแทนมันสําประหลัง แตราคาขาวโพดแพงกวาจีนจึงตองนําเขามันสําประหลังจากไทย อีกทั้ง จีนยังมีเมืองอี้อู ซึ่งเปนเมืองคาสงที่ใหญที่สุดในโลกตั้งอยูในมณฑลเจอเจียงของจีน ดังนั้นการนําเขาสงออกที่สําคัญที่สุดของจีนคือ คอมพิวเตอร รองลงมาเปนยางพารา สําหรับผักผลไม ในป 2551 จีนนําเขาจากไทยคิดเปน 150 ลานเหรียญสหรัฐ และป 2552 คิด เปน 198 ลานเหรียญสหรัฐ โดยหลังจากการทํา FTA ไทย-จีน ภายใตกรอบอาเซียน-จีน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2546 ไทยไดสงผลไมเมืองรอนมาที่จีน และจีนสงผลไมเมืองหนาวมายังไทย ซึ่งทุเรียนไทย ยังคงมีจําหนายในตลาดจีน โดยการกระจายผักผลไมของจีนมาไทย ผานทางดานเชียงแสนแลวสามารถ กระจายตอไปถึงหาดใหญ และปตตานีทางภาคใตของไทย สวนการกระจายผลผลิตของไทยไปจีนสวน ใหญจะเขาตลาดเจียงหนาน เมืองกวางโจว แลวจึงกระจายตอไปยังตลาดในมณฑลตางๆ ซึ่งเปนไปตาม กฎระเบียบตางๆ ที่จีนใชควบคุมการนําเขา โดยระบบการคาขายเปนแบบขายขาด สําหรับการนําเขาจีน โดยผานตลาดฮองกงจะมีความเปนระบบระเบียบ และนําเขาไดอยางรวดเร็วกวา สําหรับภาคการลงทุนของจีนในป 1997 จีนไดลงทุนดานโครงสรางพื้นฐาน (infrastructure) เพื่อเปนฐานในการพัฒนาประเทศ และไดใชงบประมาณ 4 ลานลานหยวน ในภาคการผลิตและอื่นๆ เพื่อ กระตุนการผลิตภายในประเทศ ในการปรับคาเงินหยวนของจีนจะปรับตามความเหมาะสมมากกวาตาม กระแส หากจีนลดคาเงินหยวนจะเปนการทํารายประเทศอื่นๆ ไปดวย ซึ่งคาเงินหยวนจะอยูที่ประมาณ 7.5 ไมเกิน 6 หยวนตอ 1 เหรียญสหรัฐ และในความเปนจริงคาเงินหยวนควรจะแข็งคามากกวานี้ ตลาดเจียงหนาน เมืองกวางโจว ซึ่งเปนศูนยกลางการนําเขาสงออกผักผลไมของจีน สามารถ รองรับผลไมแตละวันไดหลายรอยตู และกระจายไปทั่วประเทศจีน ในขณะที่ตลาดหลงอู เปนตลาดกลาง ในนครเซี่ยงไฮ มีขีดความสามารถในการรองรับผลไมแตละวันนอยรับไดวันละไมกี่ตู และปจจุบันคน จีนตื่นตัวในการเรียนภาษาไทย โดยเฉพาะที่ ABAC ขณะที่ไทยไมใหความสําคัญเทาที่ควร ภาพรวมการคาขายในนครเซี่ยงไฮ นครเซีย่ งไฮใหญเปนอับดับ 2 ของจีน และยังมีมณฑลที่สําคัญ เชน มณฑลเจอเจียง มณฑล เจียงซู ซึ่งทั้ง 3 มณฑลอยูในเขตลุมแมน้ําแยงซี สําหรับชองทางการจําหนายผลไมไทยในนครเซี่ยงไฮ ซึ่งมีหลายชองทาง ไดแก ตลาดคาสงผักผลไมขนาดใหญ ซุปเปอรมาเก็ตขนาดใหญ การคาขายแบบ E-Commerce (การทําธุรกรรมผานสื่ออิเล็กทรอนิกส) และ หาง Modern Trade (การคาปลีกสมัยใหม) ใน รูปแบบ หางเทสโก ซึ่งจะซื้อผานศูนยรับซื้อกอนที่จะกระจายสินคาไปทั่วประเทศจีน หางโลตัส หางโอชอง (ธุรกิจคาปลีกในรูปไฮเปอรมารเก็ต) ดีมารท นอกจากนี้ นครเซี่ยงไฮยังมีตลาดหลงอู ซึ่งเปนตลาดคาสง ที่ใหญที่สุด ในนครเซี่ยงไฮ มีการใหบริการแบบ One Stop Service มีหองเย็นที่กวางถึง 1,800 ตารางเมตร และปจจุบันรัฐบาลไดเพิ่มตลาดซีเจียวใหเปนศูนยกลางตลาดคาสงผลไมในเขตลุมแมน้ําแยงซี ซึ่งเริ่มเปด เมื่ อ เดื อ นมี น าคม 2553 ที่ ผ า นมา แต มี ข อ จํ ากั ด คื อ ค า เช า ในตลาดค อ นข า งแพง และมีก ารคั ด เลื อ ก ผูประกอบการเขาไปขายในตลาด โดยตั้งอยูในทําเลที่สามารถกระจายสินคาไปที่อื่นๆ ไดงาย จีนไดเปด ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

163

ชองทางใหไทยทําการคาขายกับจีนในรูปแบบการจัดตั้งเปนองคกรเล็ก ๆ ในลักษณะของหุนสวนทาง การคา โดยเครือขายการคาขายในจีนจะมีพอคาทําหนาที่เปนผูกระจายสินคา ปญหาการคาผักผลไมของไทยในจีน 1) ปญหาดานการนําเขาสงออกผักผลไม ซึ่งผูนําเขาตองเสียภาษีมูลคาเพิ่มรอยละ 13 และตองมีใบอนุญาตการนําเขา ไมอนุญาตใหชาวตางชาติทําการคาปลีกในจีน ระบบการตรวจสอบ คุณภาพ SPS ซึ่งกฎระเบียบของแตละมณฑลและการปฏิบัติของทาเรือแตกตางกัน ดังนั้น สวนใหญจึง นําเขาทางทาเรือฮองกง เนื่องจากการตรวจสอบเปนระบบมากกวา และมีเที่ยวเรือมากกวา นอกจากนี้ ระบบการคาของจีนมีกฎระเบียบเพื่อปกปอง ในขณะที่ของไทยไมมี ทําให จีนสามารถเชื่อมตอ Supply Chain ไดตลอดสาย แตของไทยไมสามารถทําได เพราะยังเปนระบบการ ฝากขาย ซึ่งไมสามารถคาปลีก และนําเขาไดเนื่องจากตองมีใบอนุญาตนําเขา 2) ปญหาดานเทคนิค เชน อายุของผลไมที่ไมสามารถยืดอายุการเก็บรักษา/การวาง จําหนายไดนาน และความคุนเคยของผูบริโภคจีนทําใหเกิดความรูสึกวารับประทานยาก เชน ทุเรียน ซึ่ง จาก อุปสรรคดังกลาว ไทยจึงไดผลักดันใหเปนสินคาเชิงพาณิชย โดยการประชาสัมพันธดานการตลาด การจัดงานแสดงสินคาใหลูกคาชิมฟรี สาธิตวิธีการบริโภค และการเขารวมงาน EXPO ของจีนซึ่งมี ระยะเวลาการจัดงาน 6 เดือน (1 พ.ค. – 31 ต.ค. 53) โดยจะนําอาหารและผลไมไทยไปจัดแสดงในงาน 3) ผูประกอบการมีลูกคาในระดับสูง แตไมสามารถหาซื้อผลไมคุณภาพของไทยได ซึ่งผลไมที่ผานเขาทางตลาดเจียงหนานคุณภาพไมดี และพฤติกรรมการบริโภคผลไมของคนจีนนิยม บริโภคผลไมสดมากกวาแปรรูป เชน ทุเรียนทอดกรอบ เนื่องจากมีราคาคอนขางแพง 4) การแกไขปญหาผักและผลไม มีการจัดการปญหาโดยจัดใหจีนมาดูงานที่ไทย และ ไทยไปดูงานที่จีน เปนการแลกเปลี่ยนกัน สรุป 1) ภาพรวมการคาขายระหวางไทย-จีน แบงสินคาไดเปน 2 กลุม คือ กลุมสินคาบริโภค ไดแก ผัก และผลไม และกลุมสินคาอุตสาหกรรมตอเนื่อง ไดแก ยางพารา ซึ่งสามารถขยายตลาดไดเรื่อยๆ 2) ผู บริโภคในนครเซี่ย งไฮจ ะอยูแถบชายทะเล ซึ่งตองพิ จารณาการจัดการ Supply Chain และการจัดระบบ Modern Trade 3) มีการเปดตลาดโดยการสงออกสินคาจีนมายังไทย เชน กระเทียม สงมาทางแมน้ําโขง สวนผลไมตองพิจารณาระบบการจัดการดาน Logistics 7.6.2 ผูประกอบการ/ผูสงออกนําเขาผักและผลไมชาวจีน 1) สัมภาษณและศึกษาดูงานตลาดหลงอู (พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษฝงผูซี หรือฝงเกา) ลักษณะของตลาด ตลาดหลงอูเปนตลาดคาสงสินคาเกษตรที่นําเขาผักและผลไมซึ่งมีตู คอนเทนเนอร และโกดังเก็บผักผลไมขนาดใหญ มีหองเย็นขนาด 1,800 ตร.ม. มีพื้นที่จอดรถขนาด 800 คัน สามารถรองรับตูคอนเทนเนอรขนาด 40 ฟุตได 150 ตู รวมถึงมีหนวยงานดานศุลกากร หนวยงาน ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

163


164

รายงานฉบับสมบูรณ์

164

ตรวจสอบและกักกันโรค (CIQ) ของนครเซี่ยงไฮ ตัวแทนขาย ตัวแทนกรมพาณิชยที่ออกใบอนุญาต และหนว ยงานบริก ารดา นโลจิสติกส และตูขนสงเก็บความเย็น ตั้งอยูภายในตลาดเพื่อใหบริการแบบ ครบวงจรแกสินคานําเขา-สงออกทั้งหลาย เวลาเปดทําการ 9.00-12 .00 น. กิจกรรมหลักของตลาด ไดแก การนําเขาผักและผลไม ไทยเปนประเทศที่สําคัญประเทศหนึ่งในการนําเขาผลไมของจีน โดยในป 2552 ตลาดหลงอูไดนําเขาผลไมจากประเทศตางๆ จํานวน 3,000 ตูคอนเทนเนอร โดยนําเขาผลไมจากไทย ประมาณรอยละ 27 ไดแก ลําไย มังคุด ทุเรียน สมโอ มะมวง (พันธุน้ําดอกไม) และสม ซึ่งนําเขาผานทาง ทาเรือเซี่ยงไฮ และอีกรอยละ 73 เปนการนําเขาผลไมจากอเมริกา ชิลี นิวซีแลนด ออสเตรเลีย และ แอฟริกาใต และกลวยนําเขาจากฟลิปปนส ซึ่งผลไมที่นําเขามาสวนใหญจะสงตอไปยังตลาดในเซี่ยงไฮ หรือ รอบ ๆ เซี่ยงไฮ และมณฑลเจอเจียง การดําเนินงานของตลาด บริษัทจีนที่นําเขาผลไมมายังตลาดหลงอูมีเพียงบริษัทเดียวใน ลักษณะของผูที่มีใบอนุญาต และ QIP ซึ่งผลไมที่นําเขาจากไทยรอยละ 27 นั้น สวนใหญนําเขาทางทาเรือ เซี่ยงไฮโดยตรง แตมีบางสวนที่มาทางทาเรือกวางเจา ในกรณีที่เกิดปญหาผลไมไดรับความเสียหาย หรือ ปญหาการตกลงราคาซื้อขายระหวางกัน ผูสงออกและผูนําเขาจะเปนผูตกลงราคากันเอง ตลาดไมไดเขา ไปดําเนินการหรือยุงเกี่ยวใด ๆ ในการจําหนายผลไมที่นําเขาจากไทยมีการจําหนาย 3 รูปแบบ ดังนี้ (1) แบบฝากขาย (2) แบบรวมกันขาย หารตนทุนและกําไรกันคนละครึ่ง (3) แบบซื้อขาด คือ ตัวแทนรับซื้อมาแลวขายเอง ซึ่งการรับซื้อแตละแบบไมแนนอนขึ้นอยูกับชนิดของผลไมและฤดูกาล รวมทั้งขอตกลงระหวาง ผูสงออกและผูนําเขาตัวจริง โดยตลาดเปนเพียงตัวกลางที่ขอใชใบอนุญาตและ QIP ในการนําเขาเทานั้น ฉะนั้น ในเรื่องการกําหนดราคาสินคาตลาดจะไมไดเขาไปเกี่ยวของ เปนการตกลงกันเองระหวางผูสงออก และนําเขา ซึ่งอาศัยความเชื่อใจกันของทั้งสองฝาย การแลกเปลี่ยนสินคาระหวางกันมีบางแตไมเปนที่ นิยม เนื่องจากการดําเนินกิจกรรมของผูสงออกจะไมทําธุรกิจนําเขา สวนผูนําเขาจะไมทําธุรกิจสงออก จากผลการเปด FTA มีผลตอการคาผลไมบางแตไมมาก การคิดคาบริการของตลาดหลงอู คาเขาตลาด 30 หยวน/ตัน คาพื้นที่ 50 หยวน/ตู และคาเสียบปลั๊ก 180 หยวน/ตู สําหรับตลาดคาสงของผูสงออกในเซี่ยงไฮไมมี เนื่องจากผูสงออกเมื่อรับผลผลิตจากสวนแลว สามารถดําเนินการสงสินคาตอไปยังทาเรือ และสงออกไดเลย ไมจําเปนตองมีโกดังเก็บสินคา ซึ่งจีนได สงออกผลไมจําพวกแอปเปล และ สาลี่เปนจํานวนมาก การตรวจสอบคุณภาพของตลาด สําหรับการตรวจสอบคุณภาพหลังจากสินคามาถึง ทาเรือแลวสงตอมายังตลาด ผูตรวจสอบจะเปดตูคอนเทนเนอรตรวจสอบ และเมื่อสินคาเขาสูมาตลาด แลวจึงจะทําการสุมตรวจในหองวิจัยอีกครั้ง ซึ่งปญหาการนําเขาผลไมจากไทยที่พบสวนใหญจะเปนเรื่อง การนําเขาลําไยที่มีสารซัลเฟอรไดออกไซด (So2) ที่เกินคามาตรฐาน (50 ppm) โดยสวนหนึ่งจะสงกลับ ไทย และอีกสวนจะนํามาลางสาร So2 ออก แลวจําหนายตอไป สวนผลไมชนิดอื่นไมมีปญหา ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

165

2) สัมภาษณและศึกษาดูงานดานการลงทุน การจําหนายและการสงออกผลิตภัณฑการเกษตร ของบริษัท Chai Tai Group เครือเจริญโภคภัณฑ (ซี พี) เซี่ยงไฮ การดําเนินงานของบริษัท ในป 1997 หาง Lotus ไดเปดตัวในธุรกิจขายปลีกอยางเปน ทางการครั้งแรกในฝงฝูตง นครเซี่ยงไฮของจีน ซึ่งเปนการนําผลไมไทยในเครือบริษัทซี พี มาขายในจีน ปจจุบัน Lotus มี 73 สาขาทั่วประเทศ ครอบคลุม 14 มณฑล ไดใหบริการมากกวา 150 ลานคนทั่วประเทศ จีน มีพนักงานทั้งสิ้น 30,000 คน โดยมีสํานักงานใหญอยูที่เซี่ยงไฮ ผลประกอบการของบริษัทคิดเปน 1,500 ลานหยวน/ป มีจุดกระจายสินคาอาหารแหง รวมทั้ง ป 2553 กําลังสรางจุดกระจายสินคาอาหาร สดที่กวางโจวดวย ซึ่งผลไมที่นําเขารอยละ 60-70 จะถูกกระจายไปที่กวางโจวกอน นโยบายของรัฐบาลจีน จากการดําเนินนโยบายของรัฐบาลจีนแบบพรรคการเมืองเดียว ทํา ใหน โยบายมี ค วามต อ เนื่ อ ง ผู นํ า มี ก ารออกไปพบปะกั บ ประชาชนรากหญา ก อให เ กิด การพั ฒ นา โครงสรางพื้นฐานอยางตอเนื่อง เชน การสรางสะพานเชื่อมตอระหวางเกาะ การสรางทาเรือขนาดใหญ และทันสมัย เพื่อสงเสริมดานการสงออก เชน ที่เมืองตาเหลียน เซิ่นเจิ้น และกวางโจว และทาเรือในเซี่ยง ไฮมีถึง 5 ทา เปนตน นอกจากนี้จีนยังไดพัฒนารถไฟที่มีความเร็วสูง ซึ่งราคาตั๋วถูกกวาราคาเครื่องบิน ทํา ใหสะดวกตอการขนสง และการสนับสนุนใหใชพลังงานทดแทนอยางจริงจัง เชน การใชกังหันลม ทั้งนี้ เนื่องจากมีกระแสวิพากษวิจารณจากทั่วโลกวาการพัฒ นาอุต สาหกรรมของจีน ทํา ใหส ภาพแวดลอ ม ไดรับความเสีย หาย โดยจีนสามารถผลิตกังหันลมได 25 กิกะวัตต เปนอันดับสองของโลกรองจาก เยอรมัน ดานการสื่อสารของจีนมีความครอบคลุมและทั่วถึง ไมมีปญหาดานการติดตอสื่อสาร ซึ่งเปน การสรางเวทีโลกโดยใหประชาชนในประเทศเปนผูแสดงออก สินคาของจีน การสราง Brand ของตนเอง อีกทั้ง ผูนําไดสนับสนุนใหใชสินคาที่ผลิตในจีน เยาวชนจีนตอตานสินคาตางประเทศ และมีความเปน ชาตินิยมสูง เช น การผลิตรถยนตใช ในประเทศ การใชภาษาจีน ซึ่งไดมีกฎหมายหามผูประกาศขาว รายงานขาวโดยใชภาษาจีนปะปนกับภาษาอังกฤษ การสนับสนุนภาคการผลิตของจีน การสนับสนุนใหภาคเอกชนและประชาชนมีความ อยูดีกินดี เชน การดําเนินงานของตลาดแครอท ซันหลง เมืองไคฟง มณฑลเหอหนาน ซึ่งเปนตลาดกลาง ที่รัฐบาลทองถิ่นสรางขึ้นมา เพื่อเปนศูนยกลางในการคาขายแครอท โดยการลงทะเบียนซื้อขายกับ ตัวแทนของรัฐ จีนสงออกแครอทเปนอันดับ 1 ของโลก คิดเปนรอยละ 34 ของโลก (8.4 ลานตัน) รัสเซีย เปนอันดับ 2 คิดเปนรอยละ 7 ของโลก (1.7 ลานตัน) และสหรัฐอเมริกาประมาณรอยละ 7 ของโลก (1.6 ลานตัน) ซึ่งอันดับ 1 และ 2 มีปริมาณการสงออกที่แตกตางกันมาก (1) การดําเนินงานของตลาดซันหลง ซึ่งมีกระบวนการ ดังนี้ หลังจากที่รัฐรับซื้อผลผลิต มาแลว เกษตรกรจะนําผลผลิตมาเทกองรวมกัน ชาวบานจะถูกจางมาคัดคุณภาพและลางทําความสะอาด แลวจึงทําการชั่งน้ําหนัก คัดเลือกคุณภาพ และตัดแตงกอนลาง แลวจึงใชเครื่องลางทําความสะอาด มีก ารตรวจสอบระบบปุ ย และสารตกค า งในห อง Lap คัด เลื อกคุ ณ ภาพกอ นทํ า การบรรจุ หี บห อ โดยน้ําหนักใน 1 ถุงบรรจุ 20 กิโลกรัม หรือการบรรจุใสกลองเพื่อเพิ่มมูลคา เก็บรักษาไวกอนนําบรรทุก ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

165


166

รายงานฉบับสมบูรณ์

166

รถสงตอไปยังตลาดเจียงหนาน เมืองกวางโจว เพื่อสงออกตอไป ในการดําเนินกิจกรรมดังกลาวรัฐบาล ทองถิ่น/ผูใหญบาน CEO/เกษตรกรตําบล จะเปนผูดูแลสงเสริมการปลูก จัดหาตลาด และรับซื้อทั้งหมด ซึ่งการดําเนินโครงการตาง ๆ ของจีนจะอยูในรูปแบบของธุรกิจ ภาคเอกชนสามารถติดตองานกับรัฐบาล ไดเลย ผลผลิตแครอทที่ไดสามารถนําไปบริโภคสด หรือ แปรรูปเปนน้ําแครอท ซึ่งแครอท สามารถเก็บไดนาน 3-4 เดือน ราคาที่เกษตรกรขายไดสําหรับผลสด 1 หยวน/กิโลกรัม และ ราคาขาย ปลีกของหาง Lotus 20 หยวน/กิโลกรัม สวนแครอทตกเกรดราคา 1 หยวน/40 กิโลกรัม/ถุง โดยแหลง ผลิตที่สําคัญอยูทางภาคเหนือของมองโกเลย ภาคกลางของมณฑลเหอหนาน และภาคใตที่มณฑลฟูเจี้ยน โดยใน 1 ป จะปลูกแครอทได 1 ครั้ง (2) การรับซื้อผลผลิตภายในประเทศจีน การรับซื้อแอปเปล สวนใหญภาคเอกชนเปน ผูรับซื้อ เพื่อเพื่อเขาไปชวยพยุงราคาผลผลิตภายในประเทศ ในชวงที่ผลผลิตออกสูตลาดมาก และในขณะ ที่การผลิตยางพาราของจีนสามารถผลิตไดเพียง 0.5 ลานตัน แตมีความตองการใชถึง 2.7 ลานตัน จึงทําให จีนตองนําเขายางพาราจากไทย คาแรงงานตอวันของจีนคิดเปน 40-50 หยวน/วัน โดยรัฐบาลเปนผูจัดสรร พื้นที่เพาะปลูกใหกับเกษตรกร ภาษีสินคาของจีน การคิดอัตราภาษีสําหรับสินคาที่ไมใชกลุมอาหารของจีน คิดในอัตรารอยละ 17 และสินคาสําหรับกลุมอาหารคิดในอัตรารอยละ 13 เสียภาษีในขณะที่ขายสินคา การพัฒนาสินคาสดเพื่อตลาดจีน เปนการรวมพัฒนากับผูประกอบการจีน ตัวอยางเชน แอปเปล ภาคเอกชน (Lotus) จะชวยออกแบบดานการบรรจุหีบหอ บารโคด เพื่อสะดวกในการซื้อของ ผูบริโภค และสรางความนาเชื่อถือของผลิตภัณฑ การบรรจุหีบหอจะบรรจุตามความตองการของลูกคา มี การคัดคุณภาพทุก ผล และชั่ งน้ําหนักทุ กถุง จัดทําแผนปายโฆษณาเพื่อสงเสริมการขาย การจัดงาน ประชาสัมพันธใหชมและชิม การตรวจสอบความหวาน ซึ่งคนจีนชอบผลผลิตที่เปนธรรมชาติ ไมเคลือบผิว ใน1 ถุงบรรจุ 6 ผล น้ําหนัก 1.2 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาจําหนาย 19.5 หยวน ระยะเวลาวางจําหนาย 3 วัน หากเปนแอปเปลธรรมดาตามตลาดทั่วไปราคาขายประมาณ 4 หยวน/กิโลกรัม หาง Lotus มีการนําเขา แอปเปลจากยุโรปบางแตไมมาก ศูนยกระจายสินคาสดในจีน ซึ่งมีพื้นที่ 4,000 ตารางเมตร 22,000 กลอง 36 รานคา ใน 2 มณฑล หาง Lotus ถือวา เปนผูคารายเดียวที่ทําจุดกระจายสินคาเอง และไดรับอนุญาตใหเปนผูสงสินคาโดยตรงอยางเปนทางการ ในงานแสดงสินคา EXPRO ซึ่งในจีนจะเนนเรื่องความปลอดภัยดานอาหาร (Food safety) มีการ ตรวจสอบยอนกลับไปถึงแหลงผลิต เพื่อดูกระบวนการผลิต ดูวันหมดอายุ ควบคุมทุกกระบวนการ ซึ่ง ในงาน EXPO จีนมีความเขมงวดมาก โดย หาง Lotus มีมาตรฐานในการรับซื้อสินคาจากผูผลิต มี QA และ QC ทําการตรวจสอบคุณภาพ มีการตรวจสอบความหวาน สารตกคาง โดยมีบุคคลที่ 3 เปนผู ควบคุม และมีระบบฐานขอมูลการตรวจสอบซึ่งจะออนไลนตลอดเวลา จากประสบการณในการจัดงาน แสดงสินคาที่ผานมาของหาง Lotus ทําใหผูบริโภคชาวจีนรูจักผลไมไทยมากขึ้น เชน ทุเรียน คนจีนจะ ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

167

ชอบทุเรียนที่สุกงอม เละๆ หรือที่เรียกวา “ทุเรียนปลารา” ซึ่งเคยจัดงานแสดงสินคา 6 วัน สามารถ จําหนา ยทุเรีย นได 15 ตัน ในราคา 33.10 หยวน /ผล/2 กิโลกรัม แตหากแกะเปลือกบรรจุเปน แพ็ค จําหนายในราคา 10-15 หยวน/1-2 พู ในจํานวน 20 สาขาของหาง Lotus และทําจุดกระจายสินคาเอง 36 รานใน 2 มณฑล ปริมาณจําหนาย 22,000 กลอง/วัน นอกจากนี้ ยังนําทุเรียนแปรรูปอื่น ๆ ออกมา จําหนายดวย เชน ทุเรียนกวน ทุเรียนทอด เปนตน ซึ่งเปนที่ชื่นชอบของผูบริโภคชาวจีน แตยังมีราคาแพง เกินไป ดานการพัฒนาบุคลากรของหาง Lotus ใชระบบ “CP see you” เชนเดียวกับ 7-11 ในประเทศไทย 3) สัมภาษณและศึกษาดูงานทาเรือเมืองเหลียนหยุนกั่ง ศักยภาพของทาเรือ เปนทาเรือน้ําลึก 16.5 เมตร รองรับสินคาได 120,000 ตัน ทาเรือ แหงนี้มีทั้งการนําเขาและสงออกโดยสินคาที่สงมาทาเรือแหงนี้สวนใหญมาจากนครเซี่ยงไฮ การนํ าเข า สิ น ค า สิ น ค า ที่นํ าเขาผานทางท าเรือนี้สว นใหญเปน จําพวกถานหิน ตา งๆ แรเหล็ก และ มันสําประหลัง ซึ่งแรเหล็กและมันสําประหลังนําเขามาโดยการบรรจุในตูคอนเทนเนอร เนื่องจากการบรรจุในรูปแบบดังกลาวมีราคาถูก โดยมันสําประหลังจะนําเขามาจากไทยเปนจํานวนมาก ซึ่งความตองการของตลาดจีนมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ในชวงเดือนมกราคม-มีนาคมมีการนําเขามากที่สุดใน ปริมาณ 850,000 ตัน รวมทั้งยางพาราดวย เนื่องจากจีนมีโรงงานผลิตยางรถยนตหลายแหงรอบๆ ทาเรือ สําหรับแรเหล็กที่นําเขามาจะถูกสงตอไปยังภาคตะวันตกของจีนทางรถไฟ เนื่องจากระหวางเสนทางการ ขนสงจะมีโรงงานที่ตองการใชแรเหล็กตั้งอยูเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ จีนยังมีความตองการนําเขากรด มะนาวดวย การสงออกสินคา สินคาที่สงออกสวนใหญเปนแรอะลูมิเนียม ซอสมะเขือเทศ และผัก ตางๆ ซึ่งทาเรือมีห องเย็ นสํ าหรับใช เก็ บสินคา โดยผักจะสงออกไปยัง เอเชี ยใต ญี่ปุน เกาหลี และ กระเทียมสงออกไปอินโดนีเซีย และไทย แตสงกระเทียมไปอินโดนีเซียมากกวาไทย ระยะเวลาที่ใชใน การขนสงสงไปอินโดนีเซียประมาณ 12 วัน การสงออกกระเทียมของทาเรือนี้ สามารถสงไดถึง 200,000300,000 ตัน/ป นอกจากนี้ ยังมีการสงออกแอปเปล และสาลี่ ไปยุโรปประมาณ 5,000-6,000 ตัน/ป โดย จะสงออกในชวงเดือนกรกฎาคม-กันยายน เนื่องจากเปนชวงที่ทําการเก็บเกี่ยวผลไม และสงออกมะเขือเทศ ไดประมาณ 60,000 ตัน/ป และในป 2553 ตั้งเปาไววาจะสงออกมะเขือเทศใหได 100,000 ตัน เสนทางการขนสง เนื่องจากรองน้ําในประเทศไทยตื้นเขินไมสามารถรองรับการขนสง ทางทะเลได ดังนั้น การขนสงสินคาจากจีนมาไทย จึงมีนอยมากซึ่งสวนใหญสินคาจะถูกสงไปที่ประเทศ อินโดนีเซียกอน แลวจึงสงทางเรือเล็กมาไทย และทาเรือฯกําลังมีโครงการที่จะทําเสนทางการคาระหวาง เวียดนาม ไทยและทาเรือเหลียนหยุนกั่ง โดยขณะนี้โครงการอยูระหวางการพิจารณา สําหรับระยะทางจาก แหลงผลิตของเกษตรกรมายังทาเรือจะอยูระหวาง 200-380 กิโลเมตร ซึ่งถือวาใกลที่สุด บริษัทที่สงออก กระเทียมรายใหญที่สุด คือ บริษัท Xuzhou Liming Food Co., Ltd, และจํานวนบริษัททั้งหมดที่ทําการ สงออกไปตางประเทศมีประมาณ 17-16 ราย โดยคิดคาขนสงเปนตูคอนเทนเนอร ผูซื้อผูขายตกลงราคา ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

167


กระเทียมที่สงมายังทาเรือเพื่อทําการสงออกหรือกระจายสินคาตอไปนั้น สวนใหญม 168 รายงานฉบับสมบูรณ์ มณฑลซินเจียง ซานตง และผีโจว ซึ่งเปนแหลงผลิตกระเทียมที่มากที่สุดในจีน 168 4) สัมภาษณและศึกษาดูงานบริษัท Xuzhou Liming Food Co., Ltd, ในม กันเอง โดยมีบริษัทของทาเรือเปนผูจัดการคาขนสง หรืการประกอบธุ อ Shipping รทกิาจเรืของบริ อฯ มีปษลั๊กัทเสีเปยบตู นบริคอนเทนเนอร ษัทคาสงกระเทียมที่ใหญที่สุด ประมาณ 1,600 ตู คาบริการคิดเปน 450 ปลั๊ก/3ง วั100,000 น ที่ผหยวน/1ตู านมาสงออกถึ ตัน มณฑลที่ทําการเพาะปลูกกระเทียม ไดแก เคอนาน ด า นศุ ล กากรที่ ท า เรืโดยมณฑลผี อ เหลี ย นหยุโนจวทํ กั่ งาการผลิ ด า นศุตลคิกากรทํ รวจสอบสิ น คนา มณฑลที ซึ่ ง ่มีระยะทางหา ดเปนราอหน ยละา ที40่ ตของจี น และเป มณฑลซานตงและผี าการผลิ เพื่อสมงออกเป นหลั ก ตโดยส กระเทียมที่สงมายังทาเรือเพื่อทําการสซึง่ ออกหรื อกระจายสินโคจวจะทํ าตอไปนั ้น สวตนใหญ าจากแหล งผลิ ใน งออกผานทางทา าการผลิ ตเพืน่อบริโภคภายในประเทศ มณฑลซินเจียง ซานตง และผีโจว ซึในขณะที ่งเปนแหล่มงณฑลเคอนานจะทํ ผลิตกระเทียมที่มากที ่สุดในจี การผลิตLiming กระเทียFood มของเกษตรกรในเมื องผีโจวโจวมณฑลเจียงซู 4) สัมภาษณและศึกษาดูงานบริษัท Xuzhou Co., Ltd, ในมณฑลผี ต มณฑลเจี ยงซูทเี่สปุดนในจี แหลนงผลิโดยป ตกระเที การประกอบธุรกิจของบริษัท เปนบริ(1) ษัทการผลิ คาสงกระเที ยมที่ใหญ 2552ยมที่มีคุณภาพดีที่สุด รอนกว มณฑลเหอหนานและซานตง การเพาะปลู กกระเที ยมมี ที่ผานมาสงออกถึง 100,000 ตัน มณฑลที ่ทําาการเพาะปลู กกระเทียม ไดแก เคอนาน ซานตง และผี โจว2 สายพันธุ ไดแก ษณะกระเที ยมขาวจะไม เผ็ด าผลใหญ น้ําเยอะ่สเปลื โดยมณฑลผีโจวทําการผลิตคิดเปนรอกระเที ยละ 40ยมแดง ของจีนลักและเป นมณฑลที ่มีระยะทางห งจากไทยมากที ุด อกบาง สําหรับ ผิวตมีเพื ลัก่อษณะเส นสีนแดง ออกชมพู ขนาดเล็ ก ารสชาติ กวานกระเที ซึ่งมณฑลซานตงและผีโจวจะทําการผลิ สงออกเป หลักๆ โดยส งออกผ านทางท เรือเหลีเผ็ยดนหยุ กั่ง ยมขาว ระยะเว ่ยวใช เวลา 9 เดือน ตั้งแตเดือนกันยายน-เดือนพฤษภาคม ในเดือนเก็บเกี่ยวเปนชว ในขณะที่มณฑลเคอนานจะทําการผลิตเก็เพืบ่อเกีบริ โภคภายในประเทศ ขาวสาลี หรือองผี มีกโจว ารปลู กสลับยกังซู บขาวจาวและขาวสาลี โดยระยะเวลาการเพาะปลูก การผลิตกระเทียมของเกษตรกรในเมื มณฑลเจี แตกต เนื้องทีผลิ่เพาะปลู นธุ่มสีคแุณดงจะมากกว สีข่อาวงจากมี ซึ่งในการเก็ ยงซูางกั เปนแหล ตกระเทีกพัยมที ภาพดีที่สุดาเนื อากาศ บเกี่ยวจะใชแรงง (1) การผลิต มณฑลเจี ที่ 6,000 หมูก กระเที จะมีเกษตรกรเพาะปลู และเป นลูกไรยปมขาว ระมาณ รอนกวามณฑลเหอหนานและซานตงเนื้อการเพาะปลู ยมมี 2 สายพันธุก ได แก กระเที และ3,000 กวาครัวเรือน คน) เนื งจักรกล กระเทียมแดง ลักษณะกระเทียมขาวจะไม เผ็่อดงจากไม ผลใหญมีเครื น้ํา่อเยอะ เปลือกบาง สําหรับกระเทียมพันธุแดง เทคโนโลยี ลังการเก็ บเกี่ยว เกษตรกรจะจํ ผิวมีลักษณะเสนสีแดง ๆ ออกชมพู ขนาดเล็ก รสชาติ(2) เผ็ดกว ากระเทียหมขาว ระยะเวลาการเพาะปลู กถึงาหนายกระเทียมใ งจากบริอษนพฤษภาคม ัทรับซื้อมาแลในเดื วจะนํอนเก็ ามาตากแห งคับดการปลู คุณภาพก โดยสวนหนึ่งบริษ เก็บเกี่ยวใชเวลา 9 เดือน ตั้งแตเดือนกันหลัยายน-เดื บเกี่ยวเปงกนอชนแล วงเดีวยจึวกั เองาวและข และ อีกาสวสาลี วนหนึโดยระยะเวลาการเพาะปลู ่งจะแนะนําใหเกษตรกรเปนกผูของทั ตากแห ขาวสาลี หรือมีการปลูกสลับกับขาวจ ้ง 2ง (มี พันลธุูกไไรม 6,000 คน) โดยวิธ ตากแดด แตาจสีะผึ ม ในสถานที ี่มีลมพัแดรงงานจํ ผาน และต องมีสถานที่ตากขนาดใหญ แตกตางกัน เนื้อที่เพาะปลูกพันธุสีแดงจะมากกว ขาว่งในร ซึ่งในการเก็ บเกี่ย่ทวจะใช านวนมากโดย สงออกหลั ่ยว 3 เดื3,000 อนสามารถเก็ องเย็น10,000 ไดเพื่อไมใหกระเทียมงอ เนื้อที่ 6,000 หมู จะมีเกษตรกรเพาะปลู กและเปงนการเก็ ลูกไรบปเกีระมาณ กวาครัวบเรืไวอน อกห (ประมาณ คน) เนื่องจากไมมีเครื่องจักรกล ไปเก็บไวในหองเย็นที่มีอุณหภูมิ-3 ถึง - 5 องศาเซลเซียส ตั้งแตเดือนกันยายนจนถึงเด ดไป ซึบ่งเกีใน่ยว1 หเกษตรกรจะจํ องจะเก็บไดปาระมาณ 30 ตันยมในรูปกระเทียมสด (2) เทคโนโลยีหลังถัการเก็ หนายกระเที นการผลิ ของเกษตรกร เปนตนทุงนคาพันธุ คาปุยแ หลังจากบริษัทรับซื้อมาแลวจะนํามาตากแหงกอนแลวจึ(3) งคัดตคุนณทุภาพ โดยสตวนหนึ ่งบริษัทจะนํคิาดมาตากแห ตนทุน 1,000 หมูลูกและ 1 หมูคน) ผลิตได 1 ตัธนีการตากแหงจะไม เอง และ อีกสวนหนึ่งจะแนะนําใหเกษตรกรเป นผูตหยวน/1 ากแหง (มี ไร 6,000 โดยวิ (4) อราคาและความต องการของตลาด วามตองการทั้ง 2 พัน ตากแดด แตจะผึ่งในรม ในสถานที่ที่มีลมพัดผาน และต งมีสถานที่ตากขนาดใหญ หากยัตลาดมี งไมทําคการ ผลผลิบตไว และเนื ้อทีอ่เงเย็ พาะปลู น การเพาะปลู กของเกษตรกรจะพิ จารณาตาม สงออกหลังการเก็บเกี่ยว 3 เดือนสามารถเก็ นอกห นไดเกพืใกล ่อไมเคีใหยงกั กระเที ยมงอก จากนั ้นจึงนําเขา ราคาพันธุยสสีแดงจะถู าสีขนาวยายนจนถึ ราคาซืง้อเดืขายเป ่วไป สําห ไปเก็บไวในหองเย็นที่มีอุณหภูมิ-3 ถึตลาด ง - 5 องศาเซลเซี ตั้งแตเดืกอวนกั อนมินถไปตามตลาดสากลทั ุนายนของป ถัดไป ซึ่งใน 1 หองจะเก็บไดประมาณ 30 ตัน (3) ตนทุน การผลิตของเกษตรกร คิดเปนตนทุนคาพันธุ คาปุยและสารเคมี โดยมี ตนทุน 1,000 หยวน/1 หมู และ 1 หมูผลิตได 1 ตัน (4) ราคาและความตองการของตลาด ตลาดมีความตองการทั้ง 2 พันธุ โดยทั้ง 2 พันธุมี ผลผลิตและเนื้อที่เพาะปลูกใกลเคียงกัน การเพาะปลูกของเกษตรกรจะพิจารณาตามความตองการของ ตลาด ราคาพันธุสีแดงจะถูกวาสีขาว ราคาซื้อขายเปนไปตามตลาดสากลทั่วไป สําหรับราคารับซื้อจาก ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

169

เกษตรกร 8 หยวน/กิโลกรัม (แหง) แตถาหากไปรับซื้อในชวงนี้ (เดือนเมษายน) จะซื้อในราคา 12 หยวน/ กิโลกรัม ถือไดวาปนี้ (ป 2553) ราคาดีที่สุด การรับซื้อสวนใหญจะซื้อจากเกษตรกร และมีสวนนอยที่รับซื้อจากตัวแทนจําหนาย (5) การคัดขนาด บริษัทจะคัดเลือกกระเทียมตามขนาดโดยใชเกณฑมาตรฐาน 5 ซม. +/ไมเกิน 0.5 ซม. ซึ่งบริษัททําการคัดเกรดอยางเดียวไมไดแปรรูป และรับซื้อในรูปผลสด และสงไปตรวจ CIQ ที่ผีโจว (6) การบรรจุหีบหอ จากนั้นจึงทําการบรรจุหีบหอตามขนาดเสนผาศูนยกลางโดยใน 1 แพ็ค จะบรรจุ 50 ถุง และ 1 ถุงมี 20 กิโลกรัม แลวจึงบรรจุใสตูคอนเทนเนอร ซึ่งในตูคอนเทนเนอรจะมี 8 พาเลซ โดยใน 1 ตูคอนเทนเนอรสามารถบรรจุได 28-29 ตัน แตบริษัททําการบรรจุเพียง 24-25 ตัน หาก น้ําหนักบรรจุเกินรอยละ 20 ที่กําหนดไว บริษัทจะถูกปรับ 200-300 หยวน และหากเกินรอยละ 30-50 จะ ถูกปรับ 500-1,000 หยวน ลักษณะการบรรจุหีบหอบางครั้งขึ้นอยูกับความตองการของลูกคา อาจจะบรรจุ ในลักษณะ 3 หัว หรือ 5 หัว หรือลักษณะเปนกลองกระดาษปริมาณ 5 กิโลกรัม/กลอง เปนตน สงออกไป ยังทาเรือเพื่อทําการสงออกไปตางประเทศตอไป ตลาดสงออก โดยผลผลิตบริษัทฯ จะสงออกทั้งหมด ไมเหลือไวบริโภคภายในประเทศ ดังนั้น ผูนําเขาตองการสินคาเมื่อใดก็มีสินคาใหเมื่อนั้น โดยบริษัทเปนผูติดตอหาตลาดสงออกเอง มีการ จัดงานแสดงสินคาทั้งในและตางประเทศทั่วโลก ในรูปของผลผลิตที่ยังไมแปรรูป ซึ่งสงออกพันธุสีแดง ประมาณรอยละ 60 และที่เหลือสงออกสีขาว ซึ่งสงออกไปทั้งหมด 29 ประเทศ ในป 2552 สงออกไป ทั้งหมด 100,000 ตัน ตลาดสงออกสําคัญ ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย สําหรับอินโดนีเซียสงออกมาก ที่สุดประมาณ 40,000 ตัน/ป และสงออกมาไทยในปริมาณนอยมากเพราะยังไมมีเรือตอตรงไปที่เซี่ยงไฮ และบริษัทผูนําเขาของไทยมีนอยราย และทําการติดตอกับบริษัทจีนโดยตรง โดยขนาดของกระเทียมที่สง มาไทยประมาณ 55 หรือ 60 มิลลิเมตร นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีสาขาที่ตา งประเทศในอินโดนีเซียและดูไบ การสงออกกระเทียมจีนไปสหรัฐตองเสียภาษีในอัตราทีส่ ูง ดังนั้น จึงตองทําการสงออกผานดูไบ ราคาสงออกของกระเทียมทั้งสองพันธุประมาณ 1,890 เหรียญสหรัฐ/ 1 ตัน (เปนราคาที่รวม คาขนสงจนกระทั่งไปถึงทาเรือของไทย) ซึ่งมีขึ้นลงตามชวงเวลา ซึ่งเปนราคาสงออกยึด ณ วันที่ตกลงกัน ในการสงออกจะตกลงราคากันกอนลวงหนา 2 เดือน แลวจึงสงออก ในการสงออกกระเทียมไปประเทศมาเลเซีย จะสงออกทางเรือ อาทิตยละ 3 เที่ยว ยังไมมีการ สงออกตามเสนทาง R3 และ R9 เนื่องจากมีตนทุนสูง สวนอินโดนีเซียสงออกไปอาทิตยละ 4 เที่ยว การคาหลังเปด FTA หลังจากเปดการคาเสรีระหวางไทย-จีน ไดมีการกําหนดโควตาปริมาณ การสงออกกระเทียมไปไทย จึงทําใหสงออกมาไทยไดนอยในปริมาณที่จํากัด แตสําหรับการสงออกไป อินโดนีเซียและมาเลเซียไมมีการกําหนดโควตา จึงสงไปไดสะดวกกวา ดังนั้น หากจะสงกระเทียมไปไทย จึงตองทําการสงผานอินโดนีเซียและมาเลเซียบรรจุในตูคอนเทนเนอรมายังตลาดไท โดยสงออกจาก

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

169


170

รายงานฉบับสมบูรณ์

170

ทาเรือเหลียนหยุนกั่ง –มาเลเซีย-ไทย ซึ่งใชเวลาในการขนสงประมาณ 8 วัน รูปแบบการคาขายผูซื้อตอง ชําระเงินกอนจึงจะทําการสงออก ปญหาดานคุณภาพการสงออก จากการดําเนินงานที่ผานมาบริษัทฯ ยังไมพบปญหาดานการ ตรวจสอบคุณภาพ SPS หรือดานความนาเชื่อถือ และเนื่องจากเปนบริษัทเอกชนขนาดใหญในจีนที่ทํา การสงออกจึงไมคอยมีปญหา การสนับสนุนจากรัฐบาลจีน รัฐบาลจีนมีนโยบายสนับสนุนการสงออก โดยการยกเวนภาษี และสงเสริมการผลิต ซึ่งในกระบวนการสงออกตองผานหนวยงานตางๆ ของรัฐ ทําใหลดขั้นตอน และมี บริการที่สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้นแบบ One Stop Service และรัฐยังไดสนับสนุนเงินกูสําหรับการรับซื้อ ผลผลิตจากเกษตรกรเพื่อเสริมสภาพคลองในอัตราเงินกูรอยละ 5 และในอัตราสูงสุดรอยละ 30 ในชวงที่ รัฐมีการสนับสนุนดานการสงออกและการผลิตในระดับที่เกินมาตรฐาน สําหรับชวงนี้ (เดือนเม.ย. 53) อัตราดอกเบี้ยอยูที่รอยละ 5 สวนเกษตรกร เกษตรกรทําการเก็บเกี่ยวผลผลิตหอมใหญเพื่อนําไปจําหนายเปนตนกลา ใหกับเกษตรกร ซึ่งจําหนายในราคา 2 หยวน/กิโลกรัม หรือ 3,000 กวาหยวน/ 1 หมู ตนทุนการผลิต 1,000 หยวน/ไร ในการผลิตของเกษตรกรไมตองเสียภาษี *หมายเหตุ : อัตราการคิด 666 ตารางเมตร = 1 หมู 2.4 หมู = 1 ไร 5) ศึกษาดูงานบริษัท Shandong Star International Trade Co., LTD การประกอบธุรกิจของบริษัท เปนบริษัทสงออกผักและผลไม และแปรรูปผลิตภัณฑ การเกษตรที่มีมูลคาการสงออกมากที่สุดในมณฑลซานตง ซึ่งเปนมณฑลที่มีการเพาะปลูกแอปเปล และ สาลี่มากที่สุดในประเทศจีน การผลิตแอปเปลของมณฑลซานตงคิดเปนรอยละ 50 ของจีน สวนสาลี่มีการ ผลิตมากที่สุดที่มณฑลเหอเปย และกลวยหอมผลิตมากที่สุดที่มณฑลไหหนาน การรั บ ซื้ อ ผลผลิ ต บริ ษั ท ฯ รั บ ซื้ อ ถั่ ว ผั ก ผลไม จากเกษตรกรโดยตรง ซึ่ ง จี น ได มี กฎหมายบังคับสําหรับบริษัทที่จะทําการนําเขา-สงออกตองมีพื้นที่ปลูกผักผลไมแตละชนิดไมต่ํากวา 500 หมู - รูปแบบการจัดการฟารม มี 2 รูปแบบ คือ บริษัทฯ มีฟารมผักผลไมของตัวเอง แลวจางเจาหนาที่มาดูแล กับอีกลักษณะคือ การเชาพื้นที่เพาะปลูกของเกษตรกร แลวจางเกษตรกรมาดูแล ในรูปแบบ Contract Farming แตการบริหารฟารมทั้งหมดอยูภายใตการดูแลของบริษัทฯ - การเก็บรักษาผลผลิต โดยเฉพาะแอปเปลสามารถเก็บรักษาไดนานถึง 1 ป แตระยะเวลาในการเก็บรักษาที่ดีที่สุดประมาณ 6 เดือน - ช ว งการรั บ ซื้ อ ผลผลิ ต บริ ษั ท ฯ จะรั บ ซื้ อ แอปเป ล และสาลี่ ป ระมาณเดื อ น พฤษภาคม แตเนื่องจาก ป 2553 นี้อากาศหนาวมากจึงเลื่อนเวลาการรับซื้ออกไปเปนเดือนมิถุนายน ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

171

- โดยในป 2552 บริ ษั ท ฯ รั บ ซื้ อ แอปเป ล จากเกษตรกรในราคา 6.4 หยวน/ กิโลกรัม ในช ว งที่ ผลผลิ ต แอปเป ลออกสูตลาดมากผลขนาดกลางราคาจะลดลงต่ําสุด ถึง 1.5 หยวน/ กิโลกรัม สวนรสชาติของแอปเปลในขนาดตางๆ ไมแตกตางกัน - พันธุแอปเปลที่รับซื้อมีหลายชนิด แตละชนิดอายุการเก็บรักษาแตกตางกัน เมื่อรับซื้อมาแลวจะสงออกเลย พันธุที่นิยมหรือเปนที่ตองการของตลาดมากที่สุด ไดแก พันธุฟูจิ สามารถ เก็บไดนาน 3 เดือน แลวจึงสงออก การสงออก ผลไมหลัก ที่บริษัททําการสงออก ไดแก แอปเปล และสาลี่ สวนผัก ไดแ ก กระเทียม ขิง ตนหอมใหญ และแครอท - ตลาดสงออกผลไมที่สําคัญ ไดแก อินเดีย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย แตบริษัทฯ สง แอปเปลมาไทยในปริมาณที่นอยมากไมถึงรอยละ 1 ประมาณ 700 ตูคอนเทนเนอร/ป เนื่องจากการ สงออกมาไทยจะมีความเขมงวดมากกวาสงไปประเทศอื่นทั้งดานคุณภาพและขนาด การสงออกบริษัท ฯ จะเปนผูติดตอกับพอคาไทยโดยตรง (คนไทยเชื้อสายจีน) ซึ่งบริษัทในมณฑลซานตงที่ทําการสงออกผัก ผลไมมีมากกวา 1,000 บริษัท เนื่องจากปจจุบันใบอนุญาตสามารถใชไดนาน 1 ป มีขั้นตอนการขอไม ยุงยาก โดยระยะเวลาในการตรวจสอบคุณภาพผลไมประมาณ 3-5 วัน ซึ่งเสียคาใชจายในการตรวจสอบ 700-1,000 หยวน/ตู - สําหรับการสงออกแอปเปลไปรัสเซีย จะสงแอปเปลขนาดใหญ มีราคาแพง ผลขนาด กลางสงไปประเทศในเอเชียใต ราคาสงออก (FOB) 3-9 หยวน/กิโลกรัม และสงไปอินเดียจะเปนผลขนาดเล็ก ซึ่งทั้ง 3 ขนาดราคาจะแตกตางกันเปน 2 เทา - การสงออกสาลี่สวนใหญสงออกไปประเทศอื่นไมมีสงไทย สวนกระเทียมสงออกไป ยังอินโดนีเซีย ซาอุดิอาระเบีย และแอฟริกา โดยกระเทียมมีราคาขายปลีก 32 หยวน/กิโลกรัม - ทาเรือสงออกบริษัทฯ จะใชทาเรือชิงเตาเปนทาเรือสงออก เนื่องจากทาเรือเรื่อเจา และ ทาเรือเหลียนหยุนกั่งมีขนาดเล็ก โดยทาเรือเหลียนหยุนกั่งจะเล็กวาทาเรือเรื่อเจา แตก็เปนแหลงนําเขาแร เหล็กและมันสําประหลังที่ใหญที่สุด ระยะทางจากโรงงานของบริษัทฯ ไปทาเรือชิงเตาประมาณ 120 กิโลเมตร คาขนสงจากบริษัทฯ ไปทาเรือ 1,300 หยวน/ตูค อนเทนเนอร โดยคายกสินคา ณ ทาเรือคิดเปน 0.4 หวยน/กิโลกรัม และ 1,400-2,300 เหรียญสหรัฐ/ตู สําหรับการสงออกจากทาเรือชิงเตาไปอินโดนีเซีย การนําเขา บริษัทนําเขามันสําปะหลังจากไทย และมีแนวโนมความตองการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพื่อนํามาผลิตแอลกอฮอล ซึ่งมีการนําเขามันสําปะหลังมากกวาผลไม เนื่องจากมีความยุงยากนอยกวา นโยบายการสนับสนุนของรัฐบาลจีน รัฐจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่มในการซื้อผักผลไมสดจาก เกษตรกรในอัตรารอยละ 13 แตถาหากบริษัทฯ สงออกในรูปผลสดจะคืนภาษีใหรอยละ 5 และหากบริษัทฯ รับซื้อผลผลิตมาเพื่อการแปรรูปจะคืนภาษีใหรอยละ 13

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

171


172

รายงานฉบับสมบูรณ์

172

ปญหาที่พบในการสงออก บริษัทฯ เคยมีปญหาการสงแอปเปลไปขายตางประเทศ มีปญหา แอรในตูคอนเทนเนอรเสีย หรือมีความเย็นไมสม่ําเสมอ ทําใหแอปเปลเสียหาย สวนปญหาเรื่องสารเคมี เกินคามาตรฐานนั้นไมพบปญหา เนื่องจากจีนมีการตรวจสอบเขมงวดอยูแลว ซึ่งเปนไปไมไดที่ผลไมใน จีนจะมีสารตกคาง การผลิตผักของจีนสามารถแบงลักษณะการบริหารจัดการ Supply Chain ได 2 รูปแบบ ดังนี้ 1) รัฐบาลเปนผูบริหารจัดการโดยตรง เชน ตลาดแครอท 2) เอกชนเปนผูบริหารจัดการ โดยรัฐบาลเปนผูสนับสนุนดานเงินทุนและการอํานวย ความสะดวกในการสงออก เชน การผลิตและสงออกกระเทียม 3) แบบทั่วไป เชน การวางจําหนายตามทองตลาด 7.7 สรุปผลการประชุมระดมความคิดเห็น 7.7.1 สรุปผลการประชุมระดมความคิดเห็น ครั้งที่ 1 การจัดประชุมความคิดเห็น ครั้งที่ 1 เรื่อง “โอกาสและผลกระทบของการนําเขาและสงออกผัก และผลไม : ภาพรวมและ R 3 A” ในวันที่ 18 พ.ย.2552 ณ หองบงกช อาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยมีผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ และผูประกอบการที่เกี่ยวของเขารวมประชุม จํานวน 41 คน โดยสรุปประเด็นความคิดเห็นไดดังนี้ 1) ดานการพัฒนาระบบการขนสง เสนทาง R9 ในปจจุบันยังไมมีการขนสงมากนัก โดยเปดใชกลางป 2552 สวนเสนทาง R3 เกิดประโยชนกับจีนมากที่สุด สถาพถนน R3 แบงเปน 2 สวน คือในจีนและไทย พบวา ในจีนถนนตัด ตรง สภาพถนนสมบูรณ แตในไทยถนนคดโคง สภาพทรุดโทรม ทําใหเกิดอุบัติเหตุ โดยจีนใชเสนทางนี้ เปนทางผานในการขนสงสินคาไปยังประเทศอื่นๆ เชน สิงคโปรและตอไปยังยุโรป สวนไทยเคยใช เสนทางนี้แตไมประสบผลสําเร็จ สําหรับการขนสงทางน้ํามีขอจํากัดในชวงฤดูน้ําหลากและฤดูน้ําแหง ไทย – ควรใชประโยชนจากประเทศที่ผานเสนทาง R3E เชน ลาว และ พมา การขนสง – จีน ไดเปรียบใน การขนสงทางน้ํา (ตนทุนต่ํา) สวนไทย เสียเปรียบในการขนสง เนื่องจากใชระยะเวลานาน และไมรูโลจิสติกสใน จีน ดังนั้นจึงควรใชการขนสงของจีนและควรสนับสนุน เสนทาง R9, R12 และ R3A 2) ดานการบริหารจัดการของพอคาชาวจีน สิ่งที่นาสังเกต คือ ประเทศจีน มีนอมินีในไทย เชน ธุรกิจหองเย็น การสั่งซื้อสินคาของ จีน เชน ลําไย ซึ่งในอดีตจีนซื้อราคา FOB ณ กทม. แตปจจุบันจีนเขาไปซื้อที่แหลงผลิต(สวน) ทําใหจีน สามารถควบคุมราคาและคาใชจายในการขนสง การบริหารจัดการไดทั้งหมด 3) รัฐบาลจีนใหเงินอุดหนุนแกผูประกอบการและเกษตรกร (1) สินคาจากจีนเขามายังไทย  ภาษี 0 % ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

173

 มีตัวแทน/พอคาชาวจีนเขามาทําธุรกิจการคาในประเทศไทย  ราคาสินคาถูกกวาไทย เนื่องจาก ตนทุนแรงงานต่ํากวา  มีความสะดวกในการนําเขา สามารถขนสงไดภายใน 1 วันทําใหสินคาสด  การตรวจสอบคุณภาพของไทย ไมรัดกุม (2) สินคาจากไทยสงไปยังจีน  ภาษีนําเขา 0 % แต ภาษีมูลคาเพิ่ม 13 %  การตรวจสอบสินคาละเอียด ใชเวลา 2-3 วัน  ใชวิธีการฝากขาย  การขนสงใชเวลานาน และไมสามารถทราบไดวาเมื่อเขาไปที่จีนแลว ไปยัง แหลงใดบาง เชน ทางน้ํา เดินทาง 2 วัน + ตรวจสอบ 2 วัน ทําใหสินคาไมสด  จีนเชาเมืองตางๆของประเทศเพื่อนบานไทย เชน ลาว พมา เพื่อสะดวกในการ ขนสง ดังนั้น ไทยควรมีจุดรวบรวมสินคา เพื่อชวยผลักดันการคา ซึ่งปจจุบัน จะรวมอยูที่ตลาดไท และกระจายไปยังภาคตางๆ ดังนั้น แตละภาคควรมีจุด รวบรวมสินคา 4) สินคาที่มีศักยภาพ ควรสนับสนุน สินคาที่ควรสงออกสูจีน ไดแก กุง อาหารทะเลทั้งน้ํากรอยและน้ําเค็ม สู ยูนาน ซึ่ง สามารถขนสงได 2 ทาง ไดแก ทางอากาศ และ ผานสิบสองปนนา ในอนาคตการคาจะเปนแบบ Single Market เนื่องจากไมมีภาษี การแขงขันจะอยูที่ คุณภาพและตนทุน รวมทั้งมาตรฐาน ซึ่งประเทศเกาหลีไมสนับสนุน FTA แตไดมีการเตรียมการรองรับ ในเรื่อง สหกรณและการทํา R&D 5) ขอจํากัดของผัก ผลไมไทยที่สงไปขายยังประเทศจีน การคาเสรีเกิดขึ้นเพื่อสรางประโยชนใหกับตนเอง ซึ่งการคาผัก ผลไม หลังจากการเปด การคาเสรีไทย-จีน พบวา การสงออกจากไทยไปจีนขยายตัวรอยละ 20 สวนการนําเขาสินคาจีนของไทย ขยายตัวรอยละ 70 เนื่องจาก ผัก ผลไมไทยเปนผลิตผลเกษตรเมืองรอน ไมสามารถเก็บไดนาน สวนของจีน เปนพืชเมืองหนาว จึงเก็บไดนาน ผลิตผลโครงการหลวงเนนกลุมลูกคาตลาดบน สวนจีน เนนตลาดลาง ทั้งนี้ ไทยไมมีการใช Non-tariff Barrier แตจีนใช ดังนั้น สิ่งสําคัญที่ควรพิจารณาคือไทยตองเนนคุณภาพ และมาตรฐานสินคา และใหความสําคัญกับกลไกตลาดมากขึ้น เชน ตลาดกลาง Distribution Center, Trade Center และควรกําหนด Definition ใหแนนอน ของ ตลาดกลาง Hub และ Center 6) เพิ่มมาตรการตรวจสอบมาตรฐานสินคา เสนอให มกอช.เพิ่มการสุมตรวจสอบสินคานําเขาจากจีน เนื่องจากระบบการ ตรวจสอบสินคาจากจีนยังไมรัดกุมนัก เพราะยังมีอิทธิพลของการเมืองและปญหาระหวางประเทศ ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

173


174

รายงานฉบับสมบูรณ์

174

สิน คาจากจีน ส ว นใหญ มี ปญหาสารพิ ษ ตกคาง ซึ่งจีน อางวาไมสามารถสงสิน คามีคุณ ภาพใหไทยได เนื่องจากอํานาจซื้อของไทยต่ํา ไมใชเหตุผลในเรื่องการผลิตของจีน เพราะจีนยังมีการสงออกสูประเทศอื่น เชน แคนาดา 7.7.2 สรุปผลการประชุมระดมความคิดเห็น ครั้งที่ 2 ในการประชุมความคิดเห็น เรื่อง “จะรับมือผักและผลไมจากจีนกัน อยางไร” ในวันที่ 1 มิถุนายน 2553 ณ หองบงกช อาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยมีผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ และผูประกอบการที่เกี่ยวของเขารวมประชุม จํานวน 32 คน โดยสรุปประเด็นความคิดเห็น ไดดังนี้ 1) การปรับปรุงระบบการผลิต การตลาดผักและผลไมของประเทศไทย  Infrastructure สําหรับโครงสรางตลาดผลไม เชน รัฐบาลจับมือกับตลาดไท  Future market link to International  Market structure เชน ตลาดขายสง  Price determination  Quality control (lead to Barrier)  Niche Market ตลาดเฉพาะ เชน กระเทียม ศรีสะเกษ  Supply Chain  ไทยเปน Niche market แตยากในการทํา supply chain เชน ปริมาณผลไมที่ ผลิตไดไมเพียงพอ 2) การเนนมาตรการสุขอนามัยเพื่อปองกันมิใหผัก และผลไมจากจีนเขามามากเกินไป  การลักลอบนําเขา เชน กระเทียม  ควรมีการวิเคราะหตนทุนของผัก+ผลไมจีน เพื่อปองการการทุมตลาดโดยการ ลดราคาต่ํากวาตนทุน  เนนการตรวจสอบคุณภาพของผัก+ผลไมจีน โดยเพิ่มที่ดานกระบวนการผลิต เชน พริกแหง  อย.ตรวจวิเคราะหการปนเปอน ในผักจะมากกวาผลไมมีการพบโซเดียมไซตาเมท จากสินคาอบแหงจากจีน ซึ่งเปนสารตองหาม  สินคาที่เขามาสูไทยเปนสินคาที่คุณภาพต่ํา จึงราคาถูก  การนําเขาเกิดปญหาเรื่องอายุในการเก็บรักษาผัก+ผลไม หนวยงานที่ทําหนาที่ดูแล การเก็บรักษา ควรตรวจสอบการจัดเก็บสินคาในหองเย็น  ศึกษาการแกไขการลักลอบนําเขาสินคา  ปญหาศูนยกระจายสินคาศูนยกระจายสินคาสงของหาง จะมีสวนรวมในการ แกไขปญหาตรงนี้หรือไม อยางไร ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

บทที่ 8 สรุป และขอเสนอแนะ 8.1 สรุป การศึกษาครั้งนี้ ทําใหทราบภาพรวมการนําเขาผัก ผลไมจากประเทศจีน หวงโซอุปทาน และกิจกรรมโลจิสติกสในการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีนสูผูบริโภคไทย และระบบตลาด ทั้งหมด ประกอบดวย ชองทางการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน ระบบตลาดผัก ผลไมที่นําเขาจาก ประเทศจีน วิถีการตลาดผัก ผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน โครงสรางการตลาดผัก ผลไมที่นําเขา พฤติกรรมตลาด (Market Behavior) ระบบการผลิตและการกระจายสินคา นอกจากนี้ยังไดผลการ วิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและขอจํากัดในการคาผักและผลไมของประเทศจีนที่มีตอประเทศไทย ภายใตการเปดเสรีการคา รวมทั้งการศึกษาดานผูบริโภคชาวไทย ไดแก พฤติกรรมการบริโภคผักและ ผลไมของผูบริโภคชาวไทย ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผักและผลไมของผูบริโภค ความพึงพอใจ ของผูบริโภคผักและผลไม ผลกระทบจากการนําเขาผักและผลไมของคนไทย รวมทั้ง ขอมูลที่ไดจาก การศึกษาดูงาน การสัมภาษณผูประกอบการในประเทศจีนซึ่งเปนประโยชนตอการกําหนดนโยบาย สงเสริม สนับสนุนภาคการเกษตรไทย ใหผลิตสินคาที่มีคุณภาพ และมาตรฐานสากลเทียบเทาประเทศผู สงออกรายใหญอื่นๆรวมทั้งประเทศไทยสามารถปรับตัวใหสอดคลองกับการรุกตลาดของประเทศจีน ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยในบทนี้จะสรุปประเด็นที่สําคัญ ดังนี้ 8.1.1 ภาพรวมการนําเขาผัก ผลไมจากประเทศจีน การคา สิ น ค า ในหมวดผั ก (รหัส 07) มี แ นวโนม เพิ่มขึ้น โดยไทยมีการส งออกเพิ่ มขึ้น จาก ปริมาณ 1.831 ลานตัน มูลคา 5,406 ลานบาท ในป 2546 เปน 4.197 ลานตัน มูลคา 19,718 ลานบาท ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 3.56 และ 13.27 ตอป ขณะที่มีการนําเขาเพิ่มขึ้นอยางมาก จาก 87,071 ตัน มูลคา 825 ลานบาท ในป 2546 เปน187,747 ตัน มูลคา 3,851 ลานบาท ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 11.57 และ25.93 ตอป ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาและสงออก พบว า ไทยยั ง ได ดุ ล การค า ในอั ต ราเฉลี่ ย ร อ ยละ 9.28 ต อ ป จาก 4,581 ล า นบาท ในป 2546 เป น 15,867 ลา นบาท ในป 2552 โดยดุ ลการคาที่ เกิด ขึ้น มาจากการสงออกผลิ ตภัณ ฑมั น สําปะหลังถึ ง รอยละ 99 และเมื่อนําผลิตภัณฑมันสําปะหลังออกไปพบวา ไทยขาดดุลการคาในหมวดผัก (รหัส 07 ) เปนอยางมากเฉลี่ย รอยละ 26 ตอป จาก 1,424 ลานบาทในป 2547 เปน 3,801ลานบาทในป 2552 สําหรับการคาสินคาในหมวดผลไม (รหัส 08) มีแนวโนมเพิ่มขึ้นมากกวาในหมวดผัก (รหัส 07) โดยไทยมี การส ง ออกเพิ่ ม ขึ้ น จากปริมาณ 87,369 ตัน มูล คา 2,823 ลา นบาท ในป 2546 เป น 426,812 ตัน มูลคา 6,815 ลานบาท ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 23.30 และ 14.62 ตอป ขณะที่มีการนําเขาเพิ่มขึ้นจาก 95,681 ตัน มูลคา 2,475 ลานบาท ในป 2546 เปน 254,463 ตัน มูลคา 6,428 ลานบาท ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 15.56 และ 17.57 ตอป ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบ ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

175


176

รายงานฉบับสมบูรณ์

176

มูลคาการนํ า เข าและส งออกพบว า ยั ง ไดดุลการคาจํา นวน 386 ลานบาท ในป 2552 หลังจากขาด ดุลการคาจํานวน 222 ลานบาท ในป 2551 8.1.2 การจัดการหวงโซอุปทานและโลจิสติกส ผักและผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน 1) แหลงผลิตผักและผลไมของประเทศจีน ผักใบเขียวที่นําเขาจากประเทศจีน มีแหลง ผลิตในแถบมณฑลฝงตะวันตก โดยเฉพาะมณฑลยูนนาน สําหรับ มันฝรั่ง แครอท กระเทียมและ หอมหัวใหญ มักอยูทางเหนือของจีนแถบมณฑลซานตง เจียงซู มองโกเลีย สวนผลไมเมืองหนาวที่ สําคัญ เชน แอปเปล สาลี่ จะมีแหลงผลิตในมณฑลสานซี ซานตง เหอหนานและเหอเปย ขณะที่ ผลไมกึ่งรอน เชน ทับทิม มีแหลงผลิตในมณฑลกวางตุง หูหนาน หูเปยและเจอเจียง ทั้งนี้แหลงผลิต พุทรา สวนใหญมาจากมณฑลซานตงและเหอเปย 2) ระบบการผลิตและการกระจายสินคา ประเทศจีนมีระบบการผลิตผักและผลไม 2 ประเภท คือ (1) การผลิตขนาดใหญ เชน กระเทียม แครอท แอปเปล โดยการจัดตั้งสมาคมเฉพาะ เพื่อกํากับดูแลชนิดพันธุ การวางแผนการผลิต การถายทอดเทคโนโลยี การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการเก็บรักษา โดยรัฐบาลจีนสนับสนุนใหภาคเอกชนบริหารจัดการดานการตลาด รวมทั้งเสริม สภาพคลองดวยการใหกูยืมเงินเพื่อรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรเพื่อการสงออก และงดเวนการจัดเก็บภาษี สงออก ทําให การผลิต ในฟาร มขนาดใหญของประเทศจี นสามารถควบคุมทั้งปริมาณและคุณ ภาพ ผลผลิ ต ด ว ยต น ทุ น การผลิ ต ที่ ต่ํ า นั บ เป น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น ในตลาดโลก (2) การผลิตของเกษตรกรโดยทั่วไป เชน การผลิตผักชนิดตางๆของมณฑลยูนนาน ซึ่งเกษตรกรจะทํา การผลิตและเก็บผลผลิตมาจําหนายใหแกบริษัทที่รับซื้อเพื่อจําหนายในประเทศและสงออก ซึ่งนอกจาก บริษัทจะรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรแลว บางบริษัทยังทําการผลิตเองดวยเพื่อการสงออก นอกจากนี้ รัฐบาลจีนยังมีมาตรการสงเสริมดานการผลิต การคา และการสงออก กลาวคือ บริษัทที่รับซื้อผลผลิตจาก เกษตรกร ซึ่ ง นอกจากจะรั บ ซื้ อ ผลผลิ ต จากเกษตรกรทั่ ว ไป รวมทั้ ง เกษตรกรลู ก ไร ที่ ทํ า Contract Farming แลว บริษัทตองมีพื้นที่ปลูกของตนเองดวยสวนหนึ่ง โดยรัฐบาลจะใหการสนับสนุนในเรื่อง การเงิน และการลดหยอนภาษี รวมทั้งการอํานวยความสะดวกในดานตางๆ 3) ชองทางการนําเขา การนําเขาสินคาผักจากประเทศจีนสวนใหญนิยมขนสงโดยใช เสนทางเรือเดินทะเล(73.40%) โดยขึ้นที่ทาเรือกรุงเทพฯ (39.1 %) ขึ้นที่ทาเรือแหลมฉบัง (34.3%) ขนสง ทางแมน้ําโขงผานทาเรือเชียงแสน(16.60%) และขนสงทางบก (10%) ซึ่งนําเขาโดยรถบรรทุกผาน เสนทาง R9 [ผิงเสียง (จีน) – ลาวบาว (เวียดนาม) – สะหวันนะเขต (ลาว) – มุกดาหาร (ไทย)] รอยละ 1.7 เสนทาง R3A [สิบสองปนนา(จีน) – แขวงบอแกว(ลาว) – อ. เชียงของ จ. เชียงราย รอยละ 7.7 ที่เหลือ เปนการนําเขาผานดานชายแดนอื่นๆเชน หนองคาย นครพนม บึงกาฬ 4) ดานการตลาดผัก ผลไมที่นําเขาจากประเทศจีน นําเขาผัก ผลไมจากประเทศจีนดําเนินการนําเขาโดยพอคาชาวจีนเปนสวนใหญ โดยมี อิทธิพลตอการกําหนดราคา ทั้งราคานําเขาและราคาจําหนายในประเทศไทย ทําใหผูนําเขา/ผูคาคนไทย ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

177

เสียเปรียบ เพราะตองเผชิญกับตนทุนที่สูงกวา เครือขายในการทําธุรกิจมีนอยกวา และหากสถานการณ ยังเปนเชนนี้ คือ ชาวจีนเขามามีบทบาทในการนําเขาและบริหารจัดการตลาดตลอดหวงโซอุปทาน (Supply Chain) พอคาชาวไทยจะเปนเพียงผูรับจางขายใหพอคาชาวจีน โดยไมมีบทบาทและอํานาจ ตอรองใดๆทางการตลาด ทั้งที่เปนตลาดของประเทศไทย 5) นโยบายการสงเสริมภาคการเกษตรและการสงออกของรัฐบาลจีน การผลิตผัก ผลไมของจีนสามารถแบงลักษณะการบริหารจัดการ Supply Chain ได 3 รูปแบบ คือ 1) รัฐบาลเปนผูบริหารจัดการโดยตรง เชน ตลาดแครอท 2) เอกชนเปนผูบริหารจัดการ โดยรัฐบาลเปน ผูสนับสนุนดานเงินทุนและการอํานวยความสะดวกในการสงออก เชน การผลิตและสงออกกระเทียม และ3) แบบทั่วไป เชน การวางจําหนายตามทองตลาด ซึ่งหลังจากเปดการคาเสรีระหวางไทย-จีน ไดมี การกําหนดโควตาปริมาณการสงออกกระเทียมจากจีนมายังไทยที่ระดับอัตราภาษี 0 ทําใหผูสงออกจีน สงมายังไทยโดยผานอินโดนีเซียและมาเลเซีย (ซึ่งไมมีการกําหนดโควตา) กอนขนสงตอมายังตลาด ไท ทั้งนี้ รัฐบาลจีนมีนโยบายสนับสนุนการสงออก โดยการยกเวนภาษีและสงเสริมการผลิต รวมทั้งลด ขั้นตอนในกระบวนการสงออกทีต่ องผานหนวยงานตางๆ ของรัฐในลักษณะ One Stop Service ทําให การสงออกสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น และรัฐยังไดสนับสนุนเงินกูสําหรับการรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกร เพื่อเสริมสภาพคลองในอัตราเงินกูขั้นต่ํารอยละ 5 ในชวงที่รัฐตองการสนับสนุนดานการสงออก และใน อัตราสูงสุดรอยละ 30 ในชวงที่ผลผลิตมีนอยเพื่อใหเพียงพอตอการบริโภคภายในประเทศ 6) การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและขอจํากัด สรุปไดดังนี้ (1) จุดแข็งของประเทศจีน ไดแก 1) คาจางแรงงานต่ํา เปนผลใหมีตนทุนการ ผลิตต่ํา 2) พื้นที่อันกวางใหญไพศาลของประเทศจีนสามารถพัฒนาประสิทธิภาพดานการผลิตของ ภาคการเกษตรได อย า งครบวงจร 3) มี อ ากาศหนาวเย็ น ที่ ทํ า ให ผ ลิ ต ผลการเกษตรมี ค วามสมบู ร ณ และเปนประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตพืชผักและผลไมเปนอันดับ 1 ของโลก ผลไมเมืองหนาวของจีน สามารถเก็บไวไดนาน 4) รัฐบาลจีนสนับสนุนใหมีการผลิตในลักษณะ Plantation ซึ่งมีการควบคุมดูแล อยางเปนระบบ ครบวงจร รวมทั้งมีระบบหองเย็นในการเก็บรักษาอยางทั่วถึง รวมทั้งสงเสริมในเรื่อง การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตในภาคการเกษตรอยางตอเนื่องจึงทําใหผลผลิตมีคุณภาพในระดับ มาตรฐานสากล (2) จุดออน คือ 1) จีนยังไมพรอมรับการเปดเสรีการคา ซึ่งกฎระเบียบในการ ดําเนินธุรกิจของจีนยังมีความแตกตางกันในแตละมณฑล 2) ระบบโลจิสติกสของจีนยังไมสามารถ เชื่อมโยงไดทั้งโครงขาย โดยเฉพาะเสนทางจากลาวมายังไทย 3) ประเทศจีนมีอากาศหนาวเย็นมากไม สามารถผลิตผลไมเมืองรอนที่เปนที่นิยมของชาวจีน ไดแก ทุเรียน มังคุด เงาะ และ จีนนําเขาลําไยจากไทย มากที่สุด 4) ชวงเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ ซึ่งเปนชวงฤดูหนาวทําใหจีนตองนําเขาลําไยอบแหง จากไทยเปนจํานวนมาก 5) ผัก ผลไมจีนที่สงมาจําหนายยังประเทศไทย ตามตลาดสด ตลาดคาชายแดน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

177


178

รายงานฉบับสมบูรณ์

178

ตางๆยังมีภาพลักษณของความไมปลอดภัย ไมถูกสุขลักษณะอยูมาก เปนผลใหคนไทยระมัดระวังเรื่อง การบริโภคผักผลไมจากจีนมากขึ้น (3) โอกาส คื อ 1) จีน ไดประโยชนอยางมากจากการเปดเสรี ทางการค า 2) ผลไมเมืองหนาวของจีนมีความสด เก็บไดนานขามป ทําใหเปนโอกาสในการขยายตลาดสงออกไปยัง ตางประเทศรวมทัง้ ประเทศไทย 3)ระบบ Logistic ตามเสนทาง R 3 และ R 9 สงผลใหประเทศจีนได พัฒนาศักยภาพในการสงออกผัก ผลไมมายังประเทศไทยและประเทศอื่นๆไดมากขึ้น 4) พอคาชาวจีน เขามามีบทบาทในการนําเขาและบริหารจัดการตลาดตลอดหวงโซอุปทาน (Supply Chain) พอคาชาว ไทยจะเปนเพียงผูรับจางขายใหพอคาชาวจีน (4) อุปสรรค/ขอจํากัด คือ 1) การขนสงทางน้ําจากจีนมายังไทยประสบปญหารอง น้ําตื้น จึงตองสงไปยังอินโดนีเซียกอนและจึงสงทางเรือเล็กมายังไทย 2) ประเทศไทยมีเทคโนโลยี การผลิตผลไม น อกฤดู ทั้ ง ทุ เ รี ย น ลํ า ไย ซึ่ งผลไมเมื องรอนของไทยมี คุณ ภาพดี เปน ที่ย อมรับ ของ ผูบริโภคชาวจีนโดยเฉพาะ มังคุด ทุเรียน ลําไย กลวยไข ซึ่งไทยเปนผูผลิตและสงออกรายใหญของโลก 3) การกอสรางเขื่อนกักเก็บน้ําเพื่อผลิตกระแสไฟฟาของประเทศจีน จึงจําเปนตองปลอยน้ําเปนเวลา ทําใหปริมาณน้ําในแมน้ําโขงลดลงมาก เปนผลใหผัก ผลไมจากประเทศจีนเขาสูประเทศไทยนอยลง กวาเดิมมาก 4) ผลไม จี น ที่ ข นสง ทางเรือแมน้ําโขงและทางบก ไดรับความเสีย หายราวรอยละ 30 เพราะไดรับความบอบช้ําจากการเปลี่ยนถายสินคาระหวางการเดินทาง 7) ผลกระทบตอการบริโภคของผูบ ริโภคชาวไทย ผลกระทบที่มีตอผูบริโภคของไทยในกรณีของการบริโภคผักและผลไมที่มีการนําเขามา จากจีน พบวา ความพึงพอใจของผูบริโภคมีมากกวา เพราะสินคานําเขามามีราคาที่ถูกกวา แตยังเปนหวงใน เรื่องของสารปนเปอนและความปลอดภัยในผักและผลไม รวมถึงปริมาณการบริโภคโดยเฉลี่ยตอเดือน เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับชวงที่ยังไมมีการนําเขาผักและผลไมเขามา ดังนั้นจึงเห็นไดวา ผูบริโภคมีความ พึงพอใจในการนําเขาสินคาผักและผลไมจากจีน และมีแนวโนมที่สูงขึ้น หากระดับราคานําเขายังถูกกวา ราคาผักผลไมที่ผลิตภายในประเทศ ทั้งนี้พืชผักที่อาจไดรับผลกระทบจากการนําเขา สามารถแบงออกได เปน 3 ประเภทหลักดังนี้ (1) พืชผักสีเขียวโดยทั่วไป ไดแก กระหล่ําปลี แครอท บลอคโคลี่ หอมหัวใหญ และผักอื่นๆ เปนตน ที่มีการนําเขามาเปนจํานวนมาก เกษตรกรไทยผูปลูกสินคาเหลานี้ อาจไดรับผลกระทบ จากการเปดตลาดการคาเสรีทางการเกษตร (2) พื ชผั กพื้นบ านโดยทั่วไป ไดแก ตําลึง ผักบุง แตงกวา และผักอื่นๆ เปนตน ที่เปนสินค าพื้ นเมืองของไทย เกษตรกรไทยผูปลูกพืชผักเหลานี้ จะไม ไดรับผลกระทบเลย นอกจากนี้ ยังสามารถชวยในการรณรงคใหคนไทยหันมาบริโภคผักไทยที่ปราศจากสารเคมีและยาฆาแมลง ไดอีกดวย (3) พืชผักสมุนไพรโดยทั่วไป ไดแก ขา ตะไคร ใบมะกรูด กระเพรา และผัก อื่นๆ เปนตน ที่เปนพืชสมุนไพรมาแตโบราณ ยังคงไดรับความนิยมในการบริโภคของคนโดยทั่วไป ซึ่ง

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

179

จะไมไดรับผลกระทบเลย และจะยังเปนแรงกระตุนใหผูบริโภคจํานวนมากใหความสําคัญกับพืชผัก สมุนไพรไทยมากขึ้น 8.2 ขอเสนอแนะ โดยภาพรวมการเปดการคาเสรีจะมีประโยชนแกผูบริโภค ที่ไดบริโภคสินคาที่มีคุณภาพมีความ หลากหลายและราคาที่เปนธรรม สวนผูผลิตสินคาที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอมในแตละพื้นที่และความ ไดเปรียบโดยเปรียบเทียบดานเศรษฐกิจ (Comparative Advantage) ตลอดจน การพัฒนาระบบ Logistics จะสงผลไมเฉพาะการคาแตจะเปนประโยชนในดานเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคงในแตละ ภูมิภาคอีกดวย จากผลของการศึกษาวิจัยโครงการผลกระทบของนโยบายการคาเสรีตอเศรษฐกิจไทย : กรณีการนําเขาผักและผลไมจากประเทศจีน มีขอเสนอแนะ ดังนี้ 8.2.1 ดานการตรวจสอบผัก – ผลไมนําเขาจากประเทศจีน ผลจาการศึกษาเปรียบเทียบ มาจากการนําเขา – การสงออก ผัก – ผลไมจากประเทศไทยไปประเทศจีน และประเทศจีนมายังไทย โดยพิจารณามาตรการที่มิใชภาษี (NBT) จีนกําหนดใหมีการตรวจสอบและกักกันโรค สําหรับผักและ ผลไมเขตรอนที่ประเทศไทยสงออกไปยังประเทศจีนคอนขางเขมงวด เมื่อเปรียบเทียบการนําเขาผัก – ผลไมจากจีนมายังประเทศไทยที่มีเงื่อนไขไมมากและคอนขางจะอลุมอลวย ซึ่งจากการสุมตรวจประเภท ผักสดบางครั้งพบสารตกคางจากยาฆาแมลง ในผักแหงพบสาร ซัลเฟอรไดออกไซดในปริมาณมาก ใน ผลไมแหงจะพบสารปนเปอนความหวานในน้ําตาล (ซัคคารีน) ซึ่งในกรณีดังกลาวขางตน ถึงแม ผูบริโภคจะสามารถซื้อสินคา ผัก – ผลไม ทั้งสดและแหงไดในราคาถูก แตเมื่อคํานึงถึงความปลอดภัย ของผูบริโภค จะมีผลเสียมากกวาดานราคาที่ถูกลงเมื่อเปรียบเทียบกับกอนเปดการคาเสรี ดังนั้นในการ ดําเนินการตรวจสอบการนําเขาผัก – ผลไม ทั้งสดและแหง หนวยงานที่เกี่ยวของ ดังเชน สํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา (อ.ย.) กรมศุลกากรและกรมวิชาการเกษตร ควรจะกําหนดขั้นตอนปฏิบัติ ในการตรวจสอบใหมีเอกภาพครอบคลุมทุกพื้นที่ที่มีการนําเขาสินคาผัก – ผลไม ซึ่งโดยภาพรวมแลว ในเรื่องนี้ ไดมีกฎหมาย พ.ร.บ. กําหนดกฎระเบียบ ขั้นตอนในการปฏิบัติของแตละหนวยงานอยูแลว แตการจัดระบบขั้นตอนการปฏิบัติยังไมเปนเอกภาพในการตรวจสอบและไมครอบคลุมทุกพื้นที่และ คอนขางอลุมอลวย ในการนําเขาจึงควรจัดระบบขั้นตอนปฏิบัติในความรับผิดชอบ (Accountability) ตามอํานาจหนาที่และการประสานงานระหวางหนวยงานในการดําเนินการตรวจสอบผัก – ผลไมจาก ประเทศจีนมายังประเทศไทยใหเขมงวดมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อเปนประโยชนแกผูบริโภคในเรื่องความ ปลอดภัยในการบริโภคพืชผัก – ผลไมจากจีนมายังประเทศไทย 8.2.2 ดานพฤติกรรมของผูบริโภค ผลจากการศึกษาการนําเขาผัก – ผลไมจากประเทศจีน โดยภาพรวมผลไมจะมีผลกระทบทดแทนผลไมประเทศไทยไมมากนักเนื่องจากฤดูกาลเก็บเกี่ยวของ ผลไมประเทศไทยและประเทศจีนจะออกสูตลาดเหลื่อมฤดูกาล ยกเวน แอปเปลที่มีการบริหารจัดการ หวงโซอุปทาน (Supply Chain) ทําใหประเทศจีนสามารถเก็บรักษาและจําหนายแอปเปลไดตลอดทั้งป

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

179


180

รายงานฉบับสมบูรณ์

180

ส ว นพื ช ผั ก จะมี ผ ลกระทบต อ พื ช ผั ก ที่ ป ลู ก ในประเทศไทยค อ นข า งมากเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ผลไม โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง กระเที ย ม ซึ่ ง ประเทศจี น จะเก็ บ รั ก ษากระเที ย มไว ใ นห อ งเย็ น ได ต ลอดทั้ ง ป เชนเดียวกับแอปเปล ซึ่งผลกระทบดานพืชผักจะกระทบรุนแรงมากขึ้น ถาหากการขนสงขนยายผักสด ตาม เสนทาง R3B R3A และแมน้ําโขง สามารถขนยายมายังประเทศไทยไดสะดวกขึ้น ทั้งนี้เนื่องจาก การขนยายผักสดบนเสนทาง R3B R3A และแมน้ําโขงจะรวดเร็วและประหยัดกวาเสนทางเรือ (ทางทะเล) ดังนั้นถาจะแบงกลุมผูบริโภคพืชผักในประเทศไทย สามารถแบงออกได 3 กลุม (segment) ดังนี้ กลุมแรก ผูบริโภคพืชผักพื้นบาน กลุมที่สอง ผูบริโภคพืชผักในตลาดคาสง คาปลีก และตลาดตางจังหวัด กลุมที่สาม ผูบริโภคในตลาดสมัยใหมทั้งในตลาดกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด ทั้งนี้ กลุมผูบริโภคกลุมที่สอง จะมีผลกระทบคอนขางมากจากการนําเขาผักจากประเทศจีนสู ประเทศไทย ผูบริโภคกลุมนี้จะมีความพึงพอใจในราคาผักนําเขาที่ถูกลง (โดยเปรียบเทียบกอนการคา เสรี) และมีความสด โดยใหความสําคัญในเรื่องคุณคาทางโภชนาการนอยกวาผูบริโภคกลุมที่สาม สําหรับกลุมผูบริโภคกลุมแรกเปนผูบริโภคพืชผักพื้นบาน จะไมไดรับผลกระทบจากการนําเขาพืชผัก จากประเทศจีน สวนผูบริโภคกลุมที่สามใหความสําคัญกับคุณคาทางโภชนาการของพืชผัก สําหรับ ความเห็นในการเขาไปใชบริการรานคา สินคาโครงการพืชผัก – ผลไมเมืองหนาว ซึ่งเปนสินคาที่มี คุณภาพและมีความหลากหลาย พบวาผูบริโภคมีความพึงพอใจมากกวาจะใชบริการในรานคาขายสง และขายปลีก จากขอมูลพฤติกรรมของผูบริโภคดังกลาว จะเห็นวามีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองใหความรู และประชาสัมพันธพืชผักของประเทศไทย ซึ่งเปนประเทศที่มีความหลากหลายทางธรรมชาติและ สิ่ ง แวดล อ ม พื ช ผั ก หลายชนิ ด มี ก ารปลู ก ตั้ ง แต บรรพบุ รุ ษ และมี คุ ณ ค า ด า นสมุ น ไพร ด ัง นั้ น ควรมี การศึกษาและใหความรูในดานคุณคาของพืชผักของไทย ทั้งในดานอาหารและคุณคาดานสมุนไพร ซึ่งการใหความรูดานนี้ควรดําเนินการอยางลึกซึ้งและกวางขวางมากยิ่งขึ้น 8.2.3 การจัดตั้งศูนยกลางการขนสง (HUB) ศูนยกลางการกระจายสินคาระหวาง ประเทศ (International Distribution Centre) เปนประเด็นสําคัญในเรื่องโครงสรางพื้นฐานที่จะ รองรับการพัฒนา South – North Corridor ที่จะเชื่อมตอไปยังประเทศมาเลเซียและสิงคโปร จึงควรจะ พิ จ ารณาศู น ย ก ลางการกระจายสิ น ค า ระหว า งประเทศ (HUB) ศู น ย ก ลางสิ น ค า ระหว า งประเทศ (International Distribution Centre) และพื้นที่ควบคุมรวมกัน (Common Control Area : CCA) โดย คํานึงถึงเสนทางเชื่อมตอจากประเทศจีนไปยังประเทศเพื่อนบาน โดยประเทศไทยเปนประเทศที่สาม ซึ่งในอนาคตในเรื่องนี้จะมีความสําคัญมากยิ่งขึ้น จึงควรเตรียมการรองรับเรื่องนี้ตั้งแตตน

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

181

8.2.4 ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ จากการศึกษาโครงการนี้ ทําใหทราบถึงระบบการสงเสริม ภาคเอกชนของประเทศจี น เพื่ อ ให มี ค วามได เ ปรี ย บในการผลิ ต และการส ง ออกผั ก – ผลไม ออกสูตางประเทศ โดยรัฐจัดสรรที่ดินในการปลูกพืชผัก – ผลไมใหเอกชนในการผลิตเพื่อสงออก รายละไมต่ํากวา 500 หมู (ประมาณ 200 ไร) ใหเอกชนไดบริหารจัดการหวงโซอุปทาน (Supply Chain) เพื่อสงออก สนับสนุนดานการเงิน สนับสนุนดานการลดหยอนภาษีสงออก ภาษีสินคา สนับสนุนในการ สรางเครือขายแกภาคเอกชนในการผลิตและสงออกผัก – ผลไม ซึ่งตางกับประเทศไทยในอดีต รัฐจะเขา ไปเปนผูกําหนดระบบตลาด เชน การรับจํานําสินคาเกษตร เปนตน ซึ่งเปนอุปสรรคสําคัญ ในการพัฒนา ระบบตลาดสินคาเกษตรทําใหระบบธุรกิจ สินคาเกษตรสงออกไมเขมแข็ง ซึ่งจากผลของการศึกษา พบวาผลไมไทยสงออกไปยังประเทศจีน จะเปนระบบฝากขาย ดังนั้นควรมีการพัฒนาระบบสินคา เกษตรไทยทั้งระบบตลอดหวงโซอุปทาน (Supply Chain) โดยเฉพาะผลไมไทยควรดําเนินการอยาง เรงดว น โดยศึ ก ษารู ป แบบการดํ า เนิ น การของบริษั ท “ZESPRI” ผลไม กีวี ของประเทศนิว ซีแ ลนด เปนตัวอยาง 8.2.5 ทางเลือกอื่นๆที่ควรพิจารณา ในการแกไขปญหาผูปลูกผักที่ไดรับผลกระทบจากการ นําเขาผักจากประเทศจีน จากขอเสนอแนะขอที่ 6.2.2 จึงควรติดตามพฤติกรรมของผูบริโภค ทั้ง 3 กลุม ที่กลาวมาแลวในขอ 6.2.2 ที่จะเปลี่ยนแปลงการบริโภคในอนาคต อันเกิดจากการนําเขาพืชผักจาก ประเทศจีน ซึ่งจะมีผลกระทบตอเกษตรกรผูปลูกผักในประเทศไทย จากการศึกษาดูงานในประเทศจีน ทางเลือกที่นาจะศึกษารายละเอียด คือกรณีกลวยไม ซึ่งเปนสินคาที่มีความตองการของจีนมากขึ้นเปน ลําดับและพื้นที่เพาะปลูกภาคตะวันออกของประเทศไทยในอดีตเคยปลูกพืชผักปจจุบัน บางสวนได เปลี่ยนมาปลูกกลวยไม ซึ่งหากภาครัฐมีการสงเสริมดานการพัฒนาและวิจัย จัดระบบกลวยไมใหเปน “อุตสาหกรรมกลวยไม” เชนเดียวกับระบบ “อุตสาหกรรมดอกทิวลิป” ของประเทศฮอลแลนด ก็จะ เปนทางเลือกอีกทางเลือกหนึ่ง ที่ควรนํามาใชในการแกไขปญหาการนําเขาพืชผักของจีนที่มีผลกระทบ ตอเกษตรกรผูปลูกพืชผักของไทย

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

181


บรรณานุกรม


รายงานฉบับสมบูรณ์

183

เอกสารอางอิง ภาษาไทย กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ . 2548 ศึกษาวิเคราะหแนวทางเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันเพื่อรองรับการที่จีนเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลกและการจัดทําเขตการคา เสรีอาเซียน-จีน . กรุงเทพฯ.รายงานการวิจัย. กรมวิชาการเกษตร. พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 แกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. กักพืช (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551 กรมศุลกากร . สถิติขอมูลการนําเขา สงออก ผักและผลไม รหัส 07 – 08 ป 2546 – 2552 คีรีรัตน อยูนาค. อภิชาติ โสภาแดง. ประเมินประสิทธิภาพโลจิสติกสไทยบนเสนทางไทย-จีน : Logistics Thailand. January 2009. ไอทีแอล เทรด มีเดีย. กรุงเทพฯ. คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย . 2549 . ผลกระทบที่เกิดจากการเปดเสรีการคาอาเซียน และจีน . กรุงเทพฯ.รายงานการวิจัย. ดานอาหารและยาเชียงแสนจังหวัดเชียงราย . ขอมูลการตรวจมาตรฐานคุณภาพอาหารนําเขา ป 2547 – 2552 รุธิร พนมยงค, ไพฑูรย วราเดชสถิตวงศ, ศิริวรรณ ไชยสูรยกานต .2550. การจัดหาและการบริหาร ความสัมพันธกับผูสงมอบในโซอุปทาน .ไอทีแอลเทรด มีเดีย , กรุงเทพฯ. วันรักษ มิ่งมณีนาคิน . 2548 คูมือสําหรับนักธุรกิจไทย สารานุกรมเศรษฐกิจจีน ผูจัดการ กรุงเทพฯ. ยุทธศาสตรการจัดการโลจิสติกส : Sourcing & Supplier Relationship Management in the Supply Chain. ไอทีแอล เทรด มีเดีย , กรุงเทพฯ. ธนิต โสรัตน . 2549 .เมื่อประเทศไทยเปนศูนยกลางโลจิสติกสของภูมิภาคอินโดจีนและจีนตอนใต : โลจิสติกส : Logistics HUB กรุงเทพฯ : พราวเพรส (2002) จํากัด. ธเนศ สิริสุวรรณกิจ, 2549 วิทยานิพนธ การวางแผนระบบโลจิสติกสเพื่อการสงออกผลไม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. ศูนยอินโดจีนศึกษา, 2552 ขอมูลพื้นฐานสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มหาวิทยาลัยบูรพา . ชลบุรี.

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

183


184

รายงานฉบับสมบูรณ์

184

ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตรประยุกต คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร . 2552 . การศึกษาสถานภาพการแขงขันของสินคาพืชผัก ผลไมและกาแฟของมูลนิธิ โครงการหลวง ภายใตเขตการคาเสรี . กรุงเทพฯ.รายงานการวิจัย. ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตรประยุกต คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2553. โครงการ ศึกษาวิจัยระบบ Logistics และ Supply Chain ผลไมและผลิตภัณฑเพื่อขยายตลาดสงออกไป ประเทศในเอเชีย ป 2552 ( กรณีศึกษาเสนทาง R3E และ R3W ) กรุงเทพฯ.รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม . 2552 . ศักยภาพและความสามารถในการแขงขันของ สินคาเกษตรที่สําคัญของไทยในตลาดจีน . กรุงเทพฯ.รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. 2552. โครงการศึกษาวิจัยระบบ Logistics และ Supply Chain สินคาเกษตรเพื่อขยายตลาดสงออกไปประเทศในเอเชีย ป 2551 (กรณีศึกษาการสงออกผลไมและผลิตภัณฑไปสาธารณรัฐประชาชนจีน ตามเสนทางสาย R 9 และ R 12) . กรุงเทพฯ.รายงานการวิจัย. สถาบันการขนสง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย . October 2008 . กลยุทธรับมือการเปดเสรีทางการคา บริการขนสงทางถนน : Logistics Thailand. กรุงเทพฯ.ไอทีแอล เทรด มีเดีย . สมพร อิศวิลานนท . 2552 . การคาผักและผลไมของประเทศไทย. กรุงเทพฯ.รายงานการวิจัย. สีดา สอนศรี, 2543. เอเชียตะวันออกเฉียงใต : นโยบายตางประเทศในยุคโลกาภิวัตน กรุงเทพฯ. คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. เสรี วงษมณฑา .2542.การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค . Diamond in business world, 2542. กรุงเทพฯ.สํานักพิมพพิมพลักษณ. สุภาวดี โพธิยะราชและคณะ. 2552 . ผลกระทบของนโยบายการคาเสรีตอเศรษฐกิจไทย . กรุงเทพฯ. รายงานการวิจัย. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2549. ศักยภาพผลไมไทยหลังเปด FTA ไทย – จีน . เอกสารวิชาการเลขที่ 306 . สิงหาคม 2549 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2550. พฤติกรรมการบริโภคผลไมของคนไทย เอกสารวิชาการเลขที่ 105.มีนาคม 2550 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2552. ระบบโลจิสติกสและหวงโซอุปทานผลไมสดภาคตะวันออก เอกสารวิจัยเศรษฐกิจการเกษตรเลขที่ 101. มีนาคม 2552 อักษรศรี พานิชสาสน. October 2008. ประตูโลจิสติกส เสนทางเชื่อมเศรษฐกิจไทย-จีนตะวันตก : Logistics Thailand.. กรุงเทพฯ.ไอทีแอล เทรด มีเดีย. ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานฉบับสมบูรณ์

185

อักษรศรี พานิชสาสน. April 2009. มองจีนมองเวียดนาม : Logistics Thailand. กรุงเทพฯ. ไอทีแอลเทรด มีเดีย ไอทีแอล เทรด มีเดีย. February 2009. ระบบบริหารจัดการโซอุปทาน Supply Chain Management : Logistics Thailand .กรุงเทพฯ. ภาษาอังกฤษ FAO Statistic Yearbook, 2004 FAOSTAT, data 2007 FAOSTAT/FAO Statistics Division/15 June 2010 The 2nd China- Asian Expo, Guide Book Inspection & Quarantine Nanning, China October 19 – 22 , 2005 World Bank Population Projection. 1994-1995 Website www.agi.gov.cn/2008/95,107,109,150.htm www. AQSIQ.GO.CN

ผลกระทบของนโยบายการค้าเสรีต่อเศรษฐกิจไทย : กรณีการน�ำเข้าผักและผลไม้จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

185



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.