แผนปฏิบัติการประจำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Page 1

สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

แผนปฏิบัติการประจำ�ปี 2556 ส่วนแผนงานและงบประมาณ สำ�นักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์



แผนปฏิบัติการประจำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์



คำนำ

แผนปฏิ บั ติ ก ารประจำปี 2556 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉ บั บ นี้ ครอบคลุ ม แผนงาน/โครงการต่ า งๆ ตามพั น ธกิ จ และนโยบาย การพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทั้งการพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร การพัฒนาการผลิต และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ ปัจจัยสนับสนุน โดยยึดแผนการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล (พ.ศ. 2555-2558) ภายใต้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ที่เกี่ยวข้องใน 3 นโยบายหลัก คือ นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจภาคเกษตร และนโยบายอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภายใต้ แผนงานตามยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 มุ่งสู่วิสัยทัศน์ “เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประชาชนมีความมั่นคง ด้านอาหาร เป็นฐานสร้างรายได้ให้แผ่นดิน” และใช้เป็นเอกสารประกอบการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลดำเนินงานของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และเงิน กองทุนในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมทั้งเผยแพร่และเอื้อประโยชน์แก่หน่วยงานและผู้สนใจทั่วไป สำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตุลาคม 2555



สารบัญ

❍ วิสัยทัศน์ 1 . ❍ พันธกิจ 1 . ❍ เป้าหมายการให้บริการและตัวชี้วัด 1 . ❍ โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2556 2 . ❍ สรุปแผนปฏิบัติการปี 2556 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3 . ❍ รายละเอียดแผนปฏิบัติการปี 2556 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 8 . ข้อ 1. การสร้างรากฐานการพัฒนาที่สมดุลสู่สังคม 8 . ข้อ 1.4 ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ 8 . 1) โครงการจัดหาแหล่งน้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน 8 . 2) โครงการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา (งานจัดรูปที่ดินและคันคูน้ำ) 10 . 3) โครงการป้องกันและบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้ง 11 . 4) โครงการจัดหาแหล่งน้ำในระดับไร่นาและชุมชน 11 . ข้อ 1.5 แก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 12 . โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ 12 . ข้อ 1.6 ฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาค 13 . โครงการเสริมสร้างความรู้เพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน 13 . ข้อ 1.8 ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน 15 . การให้ความช่วยเหลือด้านหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกร 15 . ข้อ 1.10 เสริมสร้างเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร 15 . สนับสนุนการรับจำนำสินค้าเกษตร 15 . ข้อ 1.13 พัฒนาศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน 16 . โครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรม ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร 16 .

หน้า 1 1 1 2 3 8 8 8 8 10 11 11 12 12 13 13 15 15 15 16 16


สารบัญ (ต่อ)

ข้อ 3. การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน 16 . ข้อ 3.2 ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่มภาคเกษตร 16 . ✪ การพัฒนาการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม 16 . 1) การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของสินค้าเกษตรที่สำคัญ 16 . (1) ครัวไทยสู่ครัวโลก 16 . (1.1) การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานในการผลิต การบริหารจัดการเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน 16 . - เพิ่มศักยภาพปัจจัยในการผลิต 16 . - พัฒนาคุณภาพมาตรฐาน 17 . (1.2) การส่งเสริมภาพลักษณ์ อัตลักษณ์ครัวไทยสู่ครัวโลก และเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้านการตลาด 19 . (1.3) การพัฒนาบุคลากร การจัดการองค์ความรู้ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศ 20 . (2) อาหารฮาลาล 21 . (3) การผลิตสินค้าเกษตรอื่นๆ 22 . - ข้าว 22 . - ยางพารา 23 . - ปาล์มน้ำมัน 24 . - กล้วยไม้ 25 . - กาแฟ 25 . - ถั่วเหลือง/ถั่วเขียว 25 . - มะพร้าว 25 . - หม่อนไหม 26 . - พืชทดแทนพลังงาน 27 . - โคเนื้อ 28 . - ปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ 28 .

หน้า 16 16 16 16 16 16 16 17 19 20 21 22 22 23 24 25 25 25 25 26 27 28 28


สารบัญ (ต่อ)

(4) การเพิ่มผลผลิต (ผลิตพันธุ์ดี วิจัยพัฒนา) 28 . (4.1) ผลิตพันธุ์ดี 28 . (4.2) วิจัยพัฒนา 29 . (5) การลดต้นทุนการผลิต (ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ของเกษตรกร) 30 . (6) การพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน (Food Safety) 31 . (6.1) การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์มาตรฐาน ความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหาร 31 . (6.2) การพัฒนามาตรฐาน พัฒนาระบบ และตรวจสอบรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร 33 . (6.3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ 33 . (6.4) ควบคุมการระบาดของโรค 34 . (6.5) ลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช 34 . (7) โครงการจัดระบบตลาดสินค้าเกษตรในระดับพื้นที่ 34 . 2) การส่งเสริมและพัฒนาการผลิตของพื้นที่เฉพาะ 35 . (1) การบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร 35 . (2) นิคมเกษตร 36 . (3) โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 37 . (4) โครงการจัดระบบการปลูกข้าว 37 . 3) การรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและลดโลกร้อน 38 . 4) การสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจภูมิภาคและระหว่างประเทศ 39 . 5) โครงการการพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (National Single Window) 39 . 6) สนับสนุนการดำเนินมาตรการเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า 40.

หน้า 28 28 29 30 31 31 33 33 34 34 34 35 35 36 37 37 38 39 39 40


สารบัญ (ต่อ)

✪ การพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร 40. 1) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาคเกษตร 40 . (1) อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน 40 . (2) อาสาสมัครเกษตรอื่นๆ 40 . (3) โทรทัศน์เพื่อการเกษตร 41 . (4) จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกร 41 . 2) โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ 41 . 3) โครงการพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน 42 . (1) การพัฒนาธุรกิจสหกรณ์/วิสาหกิจชุมชน 42 . (2) ส่งเสริมและพัฒนาระบบสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร 42 . (3) ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร บัญชีครัวเรือนเกษตรกร 43 . 4) สนับสนุนสภาเกษตรกรแห่งชาติ 45 . 5) ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่โดยการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 45 . (1) การพัฒนาการเกษตรตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 45 . (2) ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 45 . 6) สนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 46 . (1) ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 46 . (2) โครงการพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ตามแนวพระราชดำริ 47 . (3) การสนับสนุนการดำเนินงานของสำนักราชเลขาธิการในการจัดทำโครงการพัฒนาตามพระราชดำริ 48 . (4) โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช 48 . (5) โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช 49 . (6) พัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 49 .

หน้า 40 40 40 40 41 41 42 42 42 43 45 45 45 45 46 46 47 48 48 49 49


สารบัญ (ต่อ)

(7) ดำเนินงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 50 . (8) ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 51 . (9) กองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน 51 . ✪ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยสนับสนุน 51 . 1) โครงการฟื้นฟูและปรับปรุงคุณภาพดิน 51 . 2) จัดที่ดินทำกิน 52 . ✪ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเกษตรและสหกรณ์ 53 . 1) อำนวยการและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเกษตร 53 . 2) ระบบสารสนเทศการเกษตร 54 . 3) ชดเชยภาระการชำระหนี้ 55 . ข้อ 5. การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 56 . ข้อ 5.1 แผนงานอนุรักษ์และบริหารการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 56 . (1) การจัดการให้เกิดผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติ 56 . ❍ ภาคผนวก 59 . ภาคผนวก 1 สรุปงบประมาณของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตามกลุ่มภารกิจ ปี 2555 - 2556 61 . ภาคผนวก 2 คำย่อหน่วยงาน 63 .

หน้า 50 51 51 51 51 52 53 53 54 55 56 56 56 59 61 63


❍ วิสัยทัศน์

เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประชาชนมีความมั่นคงด้านอาหาร เป็นฐานสร้างรายได้ให้แผ่นดิน

❍ พันธกิจ

1. ส่งเสริมให้เกษตรกรมีการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ส่งเสริมให้มีการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารที่มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงานอย่างเหมาะสมและยั่งยืน สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และมีมาตรฐานปลอดภัยต่อผู้บริโภคทั้งภายในและต่างประเทศ 3. ส่งเสริมให้มีการจัดสรรทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร และโครงสร้างพื้นฐานการเกษตรอย่างเพียงพอ มีประสิทธิภาพยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. ส่งเสริมให้มีการวิจัย พัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่เหมาะสม

❍ เป้าหมายการให้บริการและตัวชี้วัด

ในปี 2556 กระทรวงเกษตรฯ ได้กำหนดเป้าหมายการให้บริการและตัวชี้วัดในแต่ละเป้าหมายการให้บริการ ดังนี้ เป้าหมายการให้บริการ ตัวชี้วัด 1. มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคการเกษตรเพิ่มขึ้น - มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสาขาเกษตร 1.47 ล้านล้านบาท 2. เกษตรกรในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการพัฒนาศักยภาพ - เกษตรกรได้รับการพัฒนาและส่งเสริมด้านการเกษตร 47,295 ราย 3. ขยายพื้นที่ชลประทานไม่น้อยกว่าปีละ 2 แสนไร่ - จำนวนพื้นที่ชลประทาน 196,703 ไร่ 4. เกษตรกรเกิดความมั่นคงในอาชีพและรายได้ทางการเกษตร - ร้อยละ 100 ของครัวเรือนเกษตรกรที่ได้รับใบรับรองการปลูกพืชเศรษฐกิจ - ครัวเรือนเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนการปลูกพืชเศรษฐกิจ จำนวน 5.05 ล้านครัวเรือน 5. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพมาตรฐานและเพียงพอต่อความ - จำนวนฟาร์มที่ได้รับการรับรองคุณภาพ 182,900 ฟาร์ม ต้องการ - จำนวนโรงงานที่ได้รับการรับรองคุณภาพ 2,923 โรงงาน 6. พื้นที่ทำการประมงและแหล่งอาศัยสัตว์น้ำได้รับการบริหารจัดการ - พื้นที่ทำการประมงที่ได้รับการบริหารจัดการ 8.80 ล้านไร่ - จำนวนแหล่งอาศัยสัตว์น้ำ 10 แห่ง 7. เกษตรกรได้รับการแก้ไขปัญหาหนี้สินและฟื้นฟูอาชีพ - เกษตรกรที่ได้รับการแก้ไขปัญหาหนี้สินและฟื้นฟูอาชีพ 85,378 ราย 8. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือด้านการเกษตรกับประเทศในภูมิภาค - ความสำเร็จของการดำเนินการด้านเกษตรตามข้อผูกพันไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 9. เกษตรกรได้รับความรู้และทักษะประกอบอาชีพด้านหัตถกรรมพื้นบ้าน - เกษตรกรได้รับการส่งเสริมอาชีพด้านหัตถกรรมพื้นบ้าน 1,160 ราย 1


2

โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 77,137.97 ล้านบาท

ส่วนราชการ 72,882.91 ล้านบาท

รัฐวิสาหกิจ 3,642.05 ล้านบาท

กองทุน 613.00 ล้านบาท

หน่วยงาน

กลุ่มอำนวยการ

กลุ่มพัฒนาการผลิต

กลุม่ บริหารจัดการ กลุม่ ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร ทรัพยากรเพือ่ การผลิต และระบบสหกรณ์

4,724.23 ล้านบาท

14,984.44 ล้านบาท

42,522.96 ล้านบาท

10,651.29 ล้านบาท

หน่วยงาน

หน่วยงาน

หน่วยงาน

หน่วยงาน

หน่วยงาน

ชป. 35,493.34 ลบ. พด. 5,337.84 ลบ. สปก. 1,691.77 ลบ.

ตส. 1,138.06 ลบ. กสก. 5,397.20 ลบ. กสส. 4,116.03 ลบ.

สกย. 1,222.99 ลบ. อสย. 120.57 ลบ. อตก. 2,298.50 ลบ.

สป.กษ 3,256.60 ลบ. มกอช. 279.11 ลบ. สศก. 583.17 ลบ. สวพส. 420.90 ลบ. พกฉ. 184.45 ลบ.

กป. ปศ. วก. กข. มม.

3,585.33 ลบ. 5,404.99 ลบ. 3,780.21 ลบ. 1,726.71 ลบ. 487.19 ลบ.

เพือ่ การกูย้ มื ฯ จัดรูปทีด่ นิ พัฒนาสหกรณ์ ปรับโครงสร้าง

190.00 ลบ. 300.00 ลบ. 65.00 ลบ. 58.00 ลบ.


สรุปแผนปฏิบัติการประจำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ รวม รายจ่ายดำเนินการ รายจ่ายประจำขั้นต่ำ รวมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 77,137.97 56,598.42 20,539.55 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ 42,433.94 35,463.14 6,970.80 ข้อ 1.4 แผนงานส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ 38,143.35 31,182.73 6,960.62 1) โครงการจัดหาแหล่งน้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน 31,420.76 25,064.12 6,356.64 2) โครงการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา (งานจัดรูปที่ดินและคันคูน้ำ) 300.00 300.00 - 3) โครงการป้องกันและบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้ง 4,930.07 4,326.09 603.98 4) โครงการจัดหาแหล่งน้ำในระดับไร่นาและชุมชน 1,492.52 1,492.52 - ข้อ 1.5 แผนงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1,067.55 1,065.35 2.20 โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 1,067.55 1,065.35 2.20 ข้อ 1.6 แผนงานฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาค 267.47 267.47 - โครงการเสริมสร้างความรู้เพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน 267.47 267.47 - ข้อ 1.8 แผนงานยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน 1,279.82 1,279.82 - การให้ความช่วยเหลือด้านหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกร 1,279.82 1,279.82 - ข้อ 1.10 แผนงานการเสริมสร้างเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร 1,590.83 1,590.83 - สนับสนุนการรับจำนำสินค้าเกษตร 1,590.83 1,590.83 - ข้อ 1.13 แผนงานการพัฒนาศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน 84.92 76.93 7.99 โครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรม ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร 84.92 76.93 7.99

3


4 สรุปแผนปฏิบัติการประจำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพและยัง่ ยืน ข้อ 3.2 แผนงานส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพิม่ ภาคเกษตร ✪ ด้านพัฒนาการผลิตและสร้างมูลค่าเพิม่ 1) การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตของสินค้าเกษตรทีส่ ำคัญ (1) ครัวไทยสูค่ รัวโลก (1.1) การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานในการผลิต การบริหารจัดการเพือ่ สร้างความสามารถในการแข่งขัน - เพิม่ ศักยภาพปัจจัยในการผลิต - พัฒนาคุณภาพมาตรฐาน (1.2) การส่งเสริมภาพลักษณ์ อัตลักษณ์ครัวไทยสูค่ รัวโลก และเพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันด้านการตลาด (1.3) การพัฒนาบุคลากร การจัดการองค์ความรู้ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือทัง้ ในและต่างประเทศ (2) อาหารฮาลาล (3) การผลิตของสินค้าเกษตรอืน่ ๆ - ข้าว - ยางพารา - ปาล์มน้ำมัน - กล้วยไม้ - กาแฟ - ถัว่ เหลือง/ถัว่ เขียว - มะพร้าว - หม่อนไหม

หน่วย : ล้านบาท รวม 33,509.96 33,509.96 15,670.08 14,197.22 3,260.91 2,897.92 210.93 2,686.98 141.45 221.53 13.51 3,379.33 1,305.56 1,370.28 38.85 70.22 12.70 6.08 36.15 471.69

งบประมาณ รายจ่ายดำเนินการ รายจ่ายประจำขั้นต่ำ 20,359.22 13,150.74 20,359.22 13,150.74 10,675.73 4,994.34 9,329.99 4,867.23 2,469.88 791.03 2,106.89 791.03 210.93 - 1,895.96 791.03 141.45 - 221.53 - 13.51 - 2,621.16 758.17 715.93 589.63 1,370.28 - 38.85 - 70.22 - 12.70 - 6.08 - 36.15 - 303.16 168.54


2)

- พืชพลังงานทดแทน - โคนม/โคเนือ้ - ปลาสวยงามและพรรณไม้นำ้

สรุปแผนปฏิบัติการประจำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวม

(4) การเพิม่ ผลผลิต (ผลิตพันธุด์ ี วิจยั พัฒนา) (4.1) ผลิตพันธุด์ ี (4.2) วิจยั พัฒนา (5) การลดต้นทุนการผลิต (ลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ของเกษตรกร) (6) การพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน (Food Safety) (6.1) การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์มาตรฐาน ความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหาร (6.2) การพัฒนามาตรฐาน พัฒนาระบบ และตรวจสอบรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร (6.3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภณ ั ฑ์ (6.4) ควบคุมการระบาดของโรค (6.5) ลดความเสีย่ งเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพชื (7) โครงการจัดระบบตลาดสินค้าเกษตรในระดับพืน้ ที่ การส่งเสริมและพัฒนาการผลิตของพืน้ ทีเ่ ฉพาะ (1) การบริหารจัดการน้ำเพือ่ การเกษตร (2) นิคมการเกษตร (3) โครงการพัฒนาพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำปากพนังอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ (4) โครงการจัดระบบการปลูกข้าว

5

9.68 28.12 30.00 3,909.66 1,687.57 2,222.09 158.17 3,441.32 318.73 381.49 32.68 2,607.27 101.14 34.32 655.89 14.82 163.80 172.08 305.20

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ รายจ่ายดำเนินการ รายจ่ายประจำขั้นต่ำ 9.68 - 28.12 - 30.00 - 2,400.25 1,509.41 1,038.37 649.20 1,361.88 860.21 158.17 - 1,632.70 1,808.62 135.34 183.39 297.31 84.18 32.68 - 1,066.23 1,541.05 101.14 - 34.32 - 655.89 - 14.82 - 163.80 - 172.08 - 305.20 -


6 สรุปแผนปฏิบัติการประจำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ รวม รายจ่ายดำเนินการ รายจ่ายประจำขั้นต่ำ 3) การรองรับการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศและลดโลกร้อน 262.99 262.99 - 4) การสร้างความเชือ่ มโยงกับเศรษฐกิจภูมภิ าคและระหว่างประเทศ 459.32 332.21 127.12 5) โครงการการพัฒนาระบบเชือ่ มโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (National Single Window) 36.65 36.65 - 6) สนับสนุนการดำเนินมาตรการเพือ่ รองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า 58.00 58.00 - ✪ ด้านพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร 11,151.30 5,303.57 5,847.73 1) โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริการจัดการภาคเกษตร 300.29 291.81 8.47 (1) อาสาสมัครเกษตรหมูบ่ า้ น 86.93 86.93 - (2) อาสาสมัครเกษตรอิน่ ๆ 74.58 66.11 8.47 (3) โทรทัศน์เพือ่ การเกษตร 25.00 25.00 - (4) จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกร 113.77 113.77 - 2) โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุน่ ใหม่ 171.30 171.30 - 3) โครงการพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน 7,950.22 2,567.27 5,382.95 (1) การพัฒนาธุรกิจสหกรณ์/วิสาหกิจชุมชน 83.96 83.96 - (2) ส่งเสริมและพัฒนาระบบสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกร 6,755.27 1,855.25 4,900.02 (3) ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร บัญชีครัวเรือนเกษตรกร 1,110.99 628.06 482.93 4) สนับสนุนสภาเกษตรกรแห่งชาติ 170.58 170.58 - 5) ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่โดยการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 181.36 181.36 - (1) การพัฒนาการเกษตรตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 94.20 94.20 - (2) ศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 87.15 87.15 -


สรุปแผนปฏิบัติการประจำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ รวม รายจ่ายดำเนินการ รายจ่ายประจำขั้นต่ำ 6) สนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ 2,377.56 1,921.25 456.30 (1) ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรตามโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ 815.59 686.78 128.81 (2) โครงการพัฒนาชนบทเชิงพืน้ ทีป่ ระยุกต์ตามแนวพระราชดำริ 27.00 27.00 - (3) สนับสนุนการดำเนินงานของสำนักราชเลขาธิการในการจัดทำโครงการพัฒนาตามพระราชดำริ 19.24 19.24 - (4) โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช 31.07 31.07 - (5) โครงการคลินกิ เกษตรเคลือ่ นทีใ่ นพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช 147.72 123.35 24.37 (6) พัฒนาพืน้ ทีโ่ ครงการหลวง 538.60 459.39 79.21 (7) ดำเนินงานพิพธิ ภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั 184.45 136.86 47.59 (8) ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 402.23 233.58 168.65 (9) กองทุนหมุนเวียนเพือ่ การกูย้ มื แก่เกษตรกรและผูย้ ากจน 211.66 203.98 7.68 ✪ ด้านพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและปัจจัยสนับสนุน 4,180.69 2,647.79 1,532.89 1) โครงการฟืน้ ฟูและปรับปรุงคุณภาพดิน 2,781.37 2,101.46 679.91 2) จัดทีด่ นิ ทำกิน 1,399.32 546.34 852.98 เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเกษตรและสหกรณ์ 2,507.90 1,732.12 775.78 1) อำนวยการและเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเกษตร 1,323.14 560.31 762.83 2) ระบบสารสนเทศการเกษตร 58.68 45.73 12.95 3) ชดเชยภาระการชำระหนี้ 1,126.08 1,126.08 - ยุทธศาสตร์ที่ 5 การอนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 1,194.07 776.07 418.00 ข้อ 5.1 แผนงานอนุรักษ์และบริหารการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 1,194.07 776.07 418.00 การจัดการให้เกิดผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติ 1,194.07 776.07 418.00

7


8 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน รวมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างรากฐานการพัฒนาที่สมดุลสู่สังคม 1.4 แผนงานส่งเสริมการบริหารจัดการน�้ำอย่างบูรณาการ 1) โครงการจัดหาแหล่งน�้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน (1) การจัดการน�้ำชลประทาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบชลประทานและการ บริหารจัดการน�้ำ ให้เกษตรกรในเขตพื้นที่ชลประทานสามารถได้รับน�้ำอย่าง ทั่วถึงและเป็นธรรม โดยบริหารการส่งน�้ำและระบายน�้ำ อาทิ ส�ำรวจออกแบบ ชลประทาน การจัดท�ำรายงานความเหมาะสม ศึกษาวางระบบและติดตั้งระบบ โทรมาตรเพือ่ พยากรณ์นำ�้ และเตือนภัย บ�ำรุงรักษาและปรับปรุงระบบชลประทาน อาทิ ซ่อมแซมบ�ำรุงรักษาโครงการชลประทาน ซ่อมแซมคลองส่งน�้ำ ท่อส่ง น�้ำ ซ่อมแซมโครงการเนื่องจากอุทกภัย ขุดลอกคลอง อ่างเก็บน�้ำ ก�ำจัดวัชพืช ปรับปรุงทางและสะพาน ปรับปรุงระบบ ส่งน�้ำ ระบายน�ำ้ และพัฒนาองค์กรผูใ้ ช้น�้ำ แยกเป็น - การบริหารการส่งน�้ำ ระบายน�้ำและบ�ำรุงรักษาระบบชลประทาน - การปรับปรุงระบบชลประทาน (2) การสนับสนุนโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ - การสนับสนุนแหล่งน�้ำ อาทิ ก่อสร้างระบบส่งน�้ำและระบบกระจายน�้ำ อาคาร บังคับน�ำ้ ท่อส่งน�ำ้ บ่อพักน�ำ้ ฝาย ท�ำนบดิน เพือ่ จัดหาน�ำ้ สนับสนุนแก่ โครงการ หลวง โครงการขยายผลโครงการหลวงและโครงการรักษ์น�้ำเพื่อพระแม่ของ แผ่นดิน - การสนับสนุนการพัฒนา การพัฒนาการเกษตร ป้องกันและฟืน้ ฟูสภาพป่าต้นน�ำ้ ตามพระราชด�ำริ ได้แก่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระ ราชด�ำริ โครงการพัฒนาพืน้ ทีป่ า่ ขุนแม่กวงอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ ศูนย์ศึกษา การพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และพัฒนาแหล่งน�้ำตามแผน พัฒนาอาชีพและส่งเสริมรายได้โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง

จ�ำนวน

หน่วยนับ

24.52

ล้านไร่

62

แห่ง

4

แห่ง

พื้นที่ด�ำเนินการ

77 จังหวัด

พื้นที่โครงการหลวง และ พื้นที่โครงการขยายผล โครงการหลวง

รวม 77,137.97 42,433.94 38,143.35 31,420.76 12,842.47

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 56,598.42 20,539.55 35,463.14 6,970.80 31,182.73 6,960.62 25,064.12 6,356.64 8,530.96 4,311.51 - สามารถบริ ห ารจั ด การน�้ ำ ได้ อ ย่ า งมี ชป. ประสิทธิภาพ มีปริมาณน�้ำต้นทุนเพิ่ม ขึ้ น อาคารชลประทานอยู ่ ใ นสภาพ พร้อมใช้งานทางสัญจร ทางล�ำเลียงอยู่ ในสภาพใช้งานได้ดี และช่วยบรรเทา อุทกภัยที่จะเกิดขึ้น

8,468.62 4,373.85 1,076.12 847.00

6,845.16 1,685.81 1,049.98 841.12

229.12

208.85

1,623.46 2,688.05 26.14 - เกษตรกรและราษฎรในเขตพื้ น ที่ 5.88 โครงการหลวง และโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริ ได้รบั น�ำ้ อย่างทัว่ ถึง

20.26

ชป.

ชป.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน (3) ก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดต่างๆ (3.1) ก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดกลาง (3.2) ก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดเล็ก ประกอบด้วย - ก่อสร้างแหล่งน�้ำและระบบส่งน�้ำ - ก่อสร้างแหล่งน�ำ้ และระบบส่งน�ำ้ ในพืน้ ทีห่ มูบ่ า้ นป้องกันตนเองชายแดน - ก่อสร้างสถานีสูบน�้ำด้วยไฟฟ้า (3.3) ก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดใหญ่ ก่อสร้างโครงการกิ่วคอหมา จังหวัดล�ำปาง - ก่ อ สร้ า งระบบชลประทานกิ่ ว ลม 3 ระยะ 3 คลองสายใหญ่ ยาว 24.20 กิโลเมตร - ก่ อ สร้ า งระบบชลประทานแจ้ ห ่ ม ระยะที่ 2 คลองสายใหญ่ ยาว 19.86 กิโลเมตร ก่อสร้างโครงการพัฒนาลุ่มน�้ำ ตาปี-พุมดวง จังหวัดสุราษฎร์ธานี : ก่อสร้างระบบสูบน�้ำและระบบส่งน�้ำ MC1 พร้อมอาคารประกอบ ก่อสร้างโครงการผันน�้ำจากพื้นที่จังหวัดจันทบุรีไปยังแหล่งกักเก็บน�้ำ จังหวัดระยอง - ก่อสร้างสถานีสูบน�้ำและระบบท่อส่งน�้ำพร้อมอาคารประกอบ ส่วนที่ 1 - ก่อสร้างระบบท่อส่งน�้ำพร้อมอาคารประกอบ ส่วนที่ 2 ก่อสร้างโครงการผันน�้ำจากพื้นที่ลุ่มน�้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก-อ่างฯ บางพระ - ก่อสร้างระบบท่อส่งน�้ำคลองพระองค์ไชยานุชิตอ่างเก็บน�้ำบางพระ และอาคารประกอบ สัญญาที่ 1 - ก่อสร้างระบบท่อส่งน�้ำคลองพระองค์ไชยานุชิตอ่างเก็บน�้ำบางพระ และอาคารประกอบสัญญาที่ 2

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

61 โครงการ ครอบคลุมทุกภูมิภาค 130 โครงการ ครอบคลุมทุกภูมิภาค

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 17,502.17 15,483.18 2,018.99 8,697.98 7,321.35 1,376.63 - สามารถเพิ่ ม พื้ น ที่ ช ลประทานได้ ชป. 47,791 ไร่ 3,409.62 2,863.72 545.90 - สามารถเพิ่ ม พื้ น ที่ ช ลประทานได้ ชป. 129,912 ไร่

53 โครงการ 21 โครงการ 56 โครงการ

19

ร้อยละ

28

ร้อยละ

3

ร้อยละ

21

ร้อยละ

35

ร้อยละ

บ้านห้วยสะเหน้า ต.ปงคอน อ.แจ้ห่ม จ.ล�ำปาง

ต�ำบลบางงอน อ�ำเภอ พุนพิน จังหวัดสุราษฏร์ธานี จังหวัดจันทบุรี – จังหวัด ระยอง

จังหวัดสมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา - ชลบุรี 20

ร้อยละ

25

ร้อยละ

9

5,394.57 342.89

5,298.12 330.23

96.46 - เพิ่ ม พื้ น ที่ ช ลประทานจากโครงการ 12.66 ชลประทานขนาดใหญ่ทั้งสิ้น 848,146 ไร่ โดยในปี 2556 ส่วนทีด่ ำ� เนินการแล้ว เสร็จ จะสามารถเพิ่มพื้นที่ชลประทาน ได้ 19,000 ไร่ และมีปริมาณน�้ำเก็บกัก เพิ่มขึ้น 98 ล้านลูกบาศก์เมตร

190.69

174.11

16.58

ชป.

862.48

854.41

8.07

ชป.

928.15

918.12

10.03

ชป.

ชป.


10 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน ก่อสร้างโครงการอ่างเก็บน�้ำคลองหลวง จังหวัดชลบุรี - ก่อสร้างเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบ พร้อมส่วนประกอบอื่น - ก่อสร้างระบบส่งน�้ำและระบบระบายน�้ำ ฝั่งขวา ก่อสร้างโครงการเขื่อนทดน�้ำผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์ - ก่อสร้างเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบ พร้อมส่วนประกอบอื่น - ก่อสร้างระบบส่งน�้ำสายใหญ่ฝั่งขวา พร้อมอาคารประกอบ ส่วนที่ 1 ก่ อ สร้ า งโครงการห้ ว ยโสมงอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ จั ง หวั ด ปราจีนบุรี: ก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน�้ำและอาคารประกอบอื่น ก่อสร้างโครงการอ่างเก็บน�้ำมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี: ก่อสร้างเขื่อน หัวงานและอาคารประกอบ พร้อมส่วนประกอบอื่น ก่อสร้างโครงการอ่างเก็บน�้ำห้วยน�้ำรีอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ : ก่ อ สร้ า งเขื่ อ นหั ว งานและอาคารประกอบ พร้อมอุโมงค์ส่งน�้ำ 2) โครงการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา (งานจัดรูปที่ดินและคันคูน�้ำ)

จ�ำนวน

หน่วยนับ 49 20 19 20 29 17 11

พื้นที่ด�ำเนินการ

อ�ำเภอเกาะจันทร์ จังหวัด ร้อยละ ชลบุรี ร้อยละ อ�ำเภอเมือง จังหวัด ร้อยละ อุตรดิตถ์ ร้อยละ ร้อยละ อ�ำเภอนาดี และอ�ำเภอ กบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี ร้อยละ อ�ำเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี ร้อยละ ต�ำบลจริม อ�ำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์

(1) ด�ำเนินการจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดย - ออกโฉนดที่ดิน และก่อสร้างจัดรูปที่ดิน - ออกแบบจัดรูปที่ดิน

20,937

ไร่

3,890

ไร่

จังหวัดสกลนคร มหาสารคาม พิษณุโลก สุพรรณบุรี จังหวัดสกลนคร

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 846.10 838.53 7.57

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ ชป.

696.48

690.26

6.22

ชป.

637.79

632.52

5.27

ชป.

648.44

624.63

23.81

ชป.

241.56

235.31

6.25

ชป.

300.00

300.00

-

300.00

300.00

- - ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ น�้ ำ ในภาพรวม ของโครงการจะเพิ่มขึ้นจากเดิม 45% เป็น 60% เนือ่ งจากมีระบบกระจายน�ำ้ ในระดับไร่-นาที่สมบูรณ์ มีถนนเข้าถึง แปลงเพาะปลูกทุกแปลง ท�ำให้สะดวก ต่อการขนย้ายปัจจัยการผลิต ผลผลิต และเครือ่ งจักรเครือ่ งมือทางการเกษตร ลดปัญหาและความรุนแรงของน�้ำท่วม ในช่ ว งฤดู ฝ น เนื่ อ งจากมี ร ะบบการ ระบายน�้ำที่สมบูรณ์

ชป.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน 3) โครงการป้องกันและบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้ง (1) ป้องกันและบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่เขตเศรษฐกิจ โดย จัดการด้านความปลอดภัยเขื่อน (จัดหาและพัฒนาระบบการตรวจวัดพฤติกรรม เขื่อน ปรับปรุงเพื่อเสริมประสิทธิภาพของเขื่อนและอาคารประกอบ ซ่อมแซม โครงการเนื่องจากอุทกภัย ปรับปรุงไหล่เขา) ก่อสร้างประตูระบายน�้ำ คันกั้นน�้ำ แก้มลิง ก�ำแพงป้องกันตลิ่ง และขุดลอกคลอง (2) ก่อสร้างโครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองจันทบุรี (แผนระยะที่ 2)

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ

65 รายการ ครอบคลุมทุกภูมิภาค

- ขุดคลองผันน�้ำ สถานีสูบน�้ำ และประตูระบายน�้ำพร้อมอาคารประกอบ สัญญาที่ 1 - ขุดคลองผันน�้ำ สถานีสูบน�้ำ ประตูระบายน�้ำ และอาคารประกอบพร้อมส่วน ประกอบอื่นๆ สัญญาที่ 2

15

ต�ำบลจันทนิมิต เกาะขวาง ร้อยละ คลองนารายณ์ พลับพลา นารายณ์ จังหวัดจันทบุรี

21

ร้อยละ

(3) การปฏิบัติการฝนหลวงและบริการด้านการบิน - ปฏิบัติงานตามขั้นตอนการปฏิบัติการฝนหลวงให้บรรลุเป้าหมาย - ศึกษาวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติการฝนหลวง - บริการด้านการบิน โดยให้การสนับสนุนอากาศยานในการปฏิบตั งิ านด้านต่างๆ 4) โครงการจัดหาแหล่งน�้ำในระดับไร่นาและชุมชน (1) การก่อสร้างแหล่งน�้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน

230 96 100 85

(2) พัฒนาแหล่งน�้ำชุมชน

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 4,930.07 4,326.09 603.98 2,877.20 2,448.34 428.85 - พื้นที่การเกษตรที่ได้รับความเสียหาย ชป. จากอุทกภัยลดลง 0.06 ล้านไร่

445.96

431.78

1,445.97 1,271.90 5.00 169.07 1,492.52 1,424.00 68.52

80,000

บ่อ

1,606.91 1,324.20 5.00 277.71 1,492.52 1,424.00

10

แห่ง

68.52

ล้านไร่ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

ทั้งประเทศในพื้นที่ที่มีผู้ ขอรับบริการ

11

14.18 - พื้นที่การเกษตรที่ได้รับความเสียหาย ชป. จากอุทกภัยลดลง 0.06 ล้านไร่ เมื่อโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จ จะช่วย บรรเทาความเสียหายจากเหตุอุทกภัย ในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยัง ป้องกันการรุกล�้ำของน�้ำเค็มเข้ามาใน บริเวณพื้นที่โครงการทั้งทางด้านท้าย ประตูระบายน�้ำคลองตะเคียนประตู ระบายน�้ำคลองสระบาป และ ประตู ระบายน�ำ้ คลองข่า ในช่วงฤดูแล้ง ท�ำให้ บริเวณพื้นที่โครงการเป็นบริเวณน�้ำจืด ตลอดทั้งปี 160.94 - มีฝนตกในพืน้ ทีเ่ ป้าหมายทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ สป.กษ. 52.30 ลดและบรรเทาภาวะภัยแล้งทีเ่ กิดขึน้ ใน - ทุกภาคของประเทศไทย และช่วยลด 108.64 ภาวะหมอกควันในภาคเหนือ - - แหล่งน�ำ้ ในไร่นานอกเขตชลประทานได้ รับการพัฒนา - - แหล่งน�้ำชุมชนได้รับการพัฒนา

พด. พด.


12 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน 1.5 แผนงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ทีส่ อดคล้องกับศักยภาพของพืน้ ที่ วิถชี วี ติ โดยยึดตามความต้องการของ เกษตรกรผ่านการท�ำประชาคม เพื่อให้เกษตรกรมีอาชีพ/สร้างรายได้ โดย (1) ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพด้านการเกษตร ด้านพืช ประมง ปศุสัตว์ - ส่งเสริมการปลูกยางพาราในพืน้ ทีว่ า่ งเปล่า โดยให้ความช่วยเหลือเกษตรกรด้วย การถ่ายทอดความรู้การท�ำสวนยาง และสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการท�ำสวนยาง

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

สงขลา ปัตตานี ยะลา สตูล นราธิวาส 2,958 ราย 696 หมู่บ้าน

- ให้บริการความรู้แก่เกษตรกรด้านการผลิตพืช โดยการฝึกอบรมถ่ายทอด เทคโนโลยี และจัดท�ำแปลงต้นแบบ / แปลงทดสอบร่วมกับเกษตรกร 7 กิจกรรม ประกอบด้วย การผลิตยางพารา ลองกอง/ไม้ผล ปาล์มน�้ำมัน พืชไร่เศรษฐกิจ พืชไร่อาหารสัตว์ พืชท้องถิ่น พืชเศรษฐกิจอื่นๆ - ถ่ายทอดความรู้ในการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว และการผลิตข้าว ปลอดสารพิษ ข้าวอินทรีย์พร้อมสนับสนุนเมล็ดข้าวพันธุ์ดีและปุ๋ย

15,000

ราย

4,000 3,000 3,000 2,000 1,000 1,000 1,000 3,750 15,000

ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ไร่

- ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำพร้อมสนับสนุนปัจจัยการผลิต - ถ่ายทอดความรูด้ า้ นปศุสตั ว์ให้แก่เกษตรกรตามผลประชาคม พัฒนาแม่โคเนือ้ พื้นฐานด้วยการผสมเทียม พัฒนาฟาร์มเกษตรกรให้เป็นฟาร์มสาธิตเพื่อเป็น แบบอย่าง - ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร โดยพัฒนาอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน พัฒนา งานด้านแม่บา้ นเกษตรกรและยุวเกษตรกร การพัฒนาเจ้าหน้าที่ ติดตามความ ก้าวหน้าและประเมินผล

6,700 ราย 18,000 ครัวเรือน 6,590

ราย

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 1,067.55 1,065.35 2.20 1,067.55 1,065.35 2.20

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

- เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาค ใต้ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ 2.20 ด้านการเกษตร และสามารถน�ำความ - รู้เพื่อน�ำไปประกอบอาชีพเพิ่มรายได้ โดยการพัฒนาการผลิตและการแปรรูป เพื่อลดต้นทุน/เพิ่มผลผลิต และเพิ่ม - มู ล ค่ า ผลผลิ ต ให้ เ กษตรกรสามารถ เลีย้ งตัวเองได้ และมีความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ รวมทั้งมีแหล่งอาศัยสัตว์ทะเลเพื่อเป็น แหล่งเพาะพันธุข์ องสัตว์นำ�้ วัยอ่อนเพิม่ ขึ้น เพื่อฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น�้ำชายฝั่ง ให้มีความอุดมสมบูรณ์

หน่วยงาน รับผิดชอบ

227.53 2.41

225.34 2.41

34.00

34.00

18.19

18.19

-

กข.

31.06 110.50

31.06 108.30

2.20

กป. ปศ.

31.37

31.37

-

กสก.

สกย. วก.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน (2) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน - การปรับปรุงระบบชลประทาน - การจัดการงานก่อสร้างโครงการเพื่อเพิ่มพื้นที่ชลประทาน - การจัดการงานก่อสร้างแหล่งน�้ำและระบบส่งน�้ำเพื่อชุมชน/ชนบท - ป้องกันและบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่เขตเศรษฐกิจ - ปรับปรุงนาร้างเพื่อปลูกปาล์มน�้ำมัน/ปลูกข้าว - จัดตั้งตลาดน�้ำยางสดระดับท้องถิ่น โดยการถ่ายทอดเทคโนโลยี ติดตามให้ค�ำ แนะน�ำและสนับสนุนปัจจัยการผลิต - จัดท�ำแหล่งอาศัยสัตว์ทะเลเพื่อฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น�้ำชายฝั่งให้มีความอุดม สมบูรณ์ (3) เพิ่มศักยภาพเครือข่ายกลุ่มอาชีพการเกษตรของสถาบันเกษตรกร โดยสร้าง เครือข่ายกลุ่มอาชีพทั้งระดับจังหวัดและภายในจังหวัด (4) พัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารและเผยแพร่ข้อมูลด้านการเกษตร โดยจัดท�ำศูนย์ ปฏิบัติการข้อมูลด้านการเกษตร อาสาสมัครเกษตรและสหกรณ์ระดับต�ำบล หมู่บ้านเกษตรต้นแบบ และการท�ำฟาร์มตัวอย่าง 1.6 แผนงานฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาค โครงการเสริมสร้างความรู้เพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน เพื่อจัดท�ำ Road Map ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทั้งเชิงรุกและเชิงรับเพื่อรองรับการ เป็นประชาคมอาเซี่ยน โดยครอบคลุมการปฏิบัติตามพันธกิจ การเตรียมความพร้อมภาค เกษตรให้ตระหนักรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซี่ยน ผลกระทบและทิศทางการเปลี่ยนแปลงที่จะ เกิดขึ้น พร้อมทั้งสร้างเสริมศักยภาพบุคลากร การผลิตและเพิ่มมูลค่าสินค้าในภาพกว้าง โดย (1) ศึกษาผลกระทบต่อภาคเกษตรเพื่อเสนอแนะนโยบายและมาตรการการเป็น ประชาคมอาเซียนในปี 2558 (2) การเตรียมความพร้อมภาคเกษตรให้ตระหนักรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซี่ยน โดย - จัดท�ำแผนรองรับตรียมการเป็นประชาคมอาเซียน อบรมเจ้าหน้าที่และ เกษตรกร ประชาสัมพันธ์

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ

รวม 796.46 132.86 141.10 184.00 174.00 139.50 9.00

19 รายการ 2 โครงการ 10 แห่ง 8 แห่ง 27,000 ไร่ 364 กลุ่ม

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 796.46 132.86 141.10 184.00 174.00 139.50 9.00 -

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ ชป. ชป. ชป. ชป. พด. สกย.

5

แห่ง

16.00

16.00

-

กป.

680

ราย

8.87

8.87

-

กสส.

325

ราย

34.68

34.68

-

สป.กษ.

267.47 267.47

267.47 267.47

-

ทั่วประเทศ

5

เรื่อง

8.39

8.39

-

-

10.00

10.00

13

- มีทศิ ทางและแผนปฏิบตั กิ ารในการเตรียม ความพร้ อ มเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น ข้ า ราชการ และผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งในภาค เอกชน กลุ่ม หรือสถาบันเกษตรกรได้ - รับการเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และมีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียน ท�ำให้ เกิ ด ความตระหนั ก และมี ก ารเตรี ย ม - ความพร้ อ มในการเข้ า สู ่ ป ระชาคม อาเซียน รวมทัง้ มีขอ้ มูลส�ำหรับใช้อา้ งอิง ในการก�ำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหาร และมีการรับรองระบบงาน

สศก. สป.กษ.


14 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ประชุมเจรจาและศึกษาดูงานประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเตรียมความพร้อม การเข้าสู่ AEC รวมทั้งการเตรียมความพร้อมให้กับบุคลากร - ส่ ง เสริ ม การรั บ รู ้ สู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (AEC) พั ฒ นาบุ ค ลากร หม่อนไหมเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน - ด�ำเนินการตามพันธกรณี/ความร่วมมืออืน่ ๆ พร้อมทัง้ เตรียมการรองรับภายใน ประเทศเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในด้านการประมง แยกเป็น ให้ความรู้ผู้ประกอบการประมง พัฒนาการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ อย่างเข้มข้นเชิงพาณิชย์เพือ่ การแข่งขันในตลาด อาเซียนแก่ผู้ประกอบการ (3) การพัฒนามาตรฐานและตรวจสอบรับรองสินค้าเกษตร - พัฒนาห้องปฏิบตั กิ าร ตรวจวิเคราะห์ชนั สูตรโรคสัตว์ทดี่ า่ นกักกันสัตว์ทสี่ ำ� คัญ ตามแนวชายแดน 19 แห่ง - จัดประชุมกับประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อสร้างความร่วมมือในการจัดท�ำ มาตรฐาน และการรับรองระบบงาน

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 6.63 6.63 -

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

3,000

คน

2,730

ราย

3.50

3.5025

-

มม.

5,050

ราย

49.48

49.48

-

กป.

5,000 50

ราย ราย

147.71

147.71

-

1.10

1.10

-

22,600 ตัวอย่าง ด่านกักกันสัตว์ที่ส�ำคัญ ตามแนวชายแดน 19 แห่ง 3 ครั้ง กรุงเทพฯ

- การเตรียมความพร้อมด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช

-

-

กรุงเทพฯ

2.15

2.15

-

- การเสริมสร้างความเข้มแข็งกระบวนการแจ้งเตือนความปลอดภัยอาหารและ อาหารสัตว์ในภูมิภาคอาเซียน โดยขยายผลการด�ำเนินงานสู่ประเทศสมาชิก ในภูมิภาคอาเซียน - การร่วมจัดงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจด้านมาตรฐานและการรับรอง ระบบงาน รวมถึงการสร้างและพัฒนาผู้ตรวจประเมินและหน่วยตรวจ

-

-

กรุงเทพมฯ

2.00

2.00

-

-

-

กรุงเทพฯ และประเทศ ในภูมิภาคอาเซียน

5.00

5.00

-

- การศึกษาและพัฒนาเกี่ยวกับการจัดท�ำมาตรฐาน และการรับรองระบบงาน เพื่อให้ได้ข้อมูลมาใช้อ้างอิงในการก�ำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร รวมถึงการรับรองระบบงาน

4

เรื่อง

กรุงเทพฯ

6.50

6.50

-

กสก.

การส่งออกสินค้าปศุสัตว์เพิ่มมากขึ้น และสินค้าน�ำเข้าและส่งออกมีคุณภาพ ความเป็ น ผู ้ น� ำ ด้ า นมาตรฐานสิ น ค้ า เกษตรและการรับรองระบบงานของ ไทยในเวทีอาเซียน ปกป้องและรักษาผลประโยชน์สินค้า เกษตรและอาหารของไทย สร้างความเชื่อมั่นในการบริโภคอาหาร ที่ปลอดภัยแก่ผู้บริโภค มาตรฐานสินค้าเกษตรและการรับรอง ของไทยเป็นที่ยอมรับในเวทีอาเซียน มากขึ้น ความเป็ น ผู ้ น� ำ ด้ า นมาตรฐานสิ น ค้ า เกษตรและการรับรองระบบงานของ ไทยในเวทีอาเซียน

ปศ. มกอช.

มกอช. มกอช.

มกอช.

มกอช.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน (4) จัดงานแสดงสินค้าและเพิม่ ช่องทางตลาดสินค้าสหกรณ์ โดยจัดแสดงและจ�ำหน่าย สินค้าสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค และเตรียมสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1.8 แผนงานยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน การให้ความช่วยเหลือด้านหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกร เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาหนี้สินให้กับสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้สามารถกลับเข้าสู่ การท�ำเกษตรกรรมเป็นปกติ โดยการพักช�ำระหนี้ไว้ และให้มีเงินลงทุนกลับไปฟื้นฟูอาชีพ เกษตรกรรมของตนเอง และเข้าสู่เกษตรกรรมปกติใน ๓ ปี ข้างหน้า แยกเป็น (1) ช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ปี 2553 โดยชดเชยดอกเบี้ยและพักช�ำระต้นเงินเป็นเวลา 3 ปี ตามมติคณะรัฐมนตรี 18 มกราคม 2554 (ปีนี้เป็นปีที่ 3) (2) ช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ปี 2554 โดยชดเชยดอกเบี้ยและพักช�ำระต้นเงินเป็นเวลา 3 ปี (ปีที่ 1) 1.10 แผนงานการเสริมสร้างเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร สนับสนุนการรับจ�ำน�ำสินค้าเกษตร เพื่อให้ความช่วยเหลือเกษตรกรกรณีราคาสินค้าเกษตรตกต�่ำ และเป็นการยกระดับรายได้ ให้กับเกษตรกร โดย (1) ด�ำเนินโครงการสร้างความมั่นคงในอาชีพทางการเกษตร ด้วยการ ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจจ�ำนวน ๓ ชนิด ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ และ มันส�ำปะหลัง (2) ด�ำเนินโครงการรับจ�ำน�ำผลผลิตทางการเกษตร ด้วยการ - รับฝากและเก็บรักษาสินค้าตามโครงการรับจ�ำน�ำผลผลิตทางการเกษตร ปี 2551/2552 (ส�ำหรับระยะเวลา เมย.54-กย.55) - เก็บรักษาข้าวสารโครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปรังปี 2552 (ส�ำหรับระยะ เวลา เมย.54-กย.55)

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ 1

ครั้ง

กรุงเทพฯ

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 25.00 25.00 -

1,279.82 1,279.82

1,279.82 1,279.82

65,760

ราย

53 จังหวัด

562.45

562.45

85,378

ราย

65 จังหวัด

717.37

717.37

1,590.83 1,590.83

1,590.83 1,590.83

142.72 142.72

142.72 142.72

ทั่วประเทศ 5,050,000 ครัวเรือน

299,992

ตัน

ทั่วประเทศ

1,448.11 58.14

1,448.11 58.14

348,163

ตัน

59.61

59.61

15

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ กสส.

-

- สมาชิ ก สหกรณ์ ที่ ป ระสบอุ ท กภั ย มี โ อกาสน� ำ เงิ น ที่ ไ ม่ ต ้ อ งช� ำ ระหนี้ ค่ า ดอกเบี้ ย ในแต่ ล ะปี ที่ มี ก ารพั ก - ช�ำระหนีไ้ ปฟืน้ ฟูอาชีพและเกษตรกรรม ในพื้ น ที่ ข องตนเอง ให้ ก ลั บ มาเป็ น ปกติ และมีความสามารถสร้างในการ ช�ำระหนี้ในอนาคตได้ -

กสส.

กสส.

-

- - ภาครั ฐ สามารถใช้ ฐ านข้ อ มู ล ในการ - ด�ำเนินงานตามมาตรการโครงการรับ จ�ำน�ำผลผลิตทางการเกษตร -

อตก.

-

อตก.

กสก.


16 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - รับฝากและเก็บรักษาสินค้าตามโครงการรับจ�ำน�ำผลผลิตทางการเกษตร ปี 2554/55 (ส�ำหรับระยะเวลา ตค.55-กย.56) - รับฝากและเก็บรักษาข้าวปีการผลิต 55/56 (ส�ำหรับระยะเวลา ตค.55- กย.56) - รับฝากและเก็บรักษาสินค้าตามโครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปรังปี 2555 (ส�ำหรับระยะเวลา มีค.55-กย.56) 1.13 แผนงานการพัฒนาศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน โครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรม ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร - พัฒนาองค์ความรู้ พัฒนารายแปลง พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานส่งเสริมการรวม กลุ่มอาชีพ ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำข้อกฎหมายและงานปฏิรูปที่ดิน

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

1,240,000

ตัน

5,500,000 1,600,000

ตัน ตัน

1,096.83 129.70

1,096.83 129.70

ราย

84.92 84.92 84.92

76.93 76.93 76.93

1,160

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน ข้อ 3.2 แผนงานส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่มภาคเกษตร การพัฒนาการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม 1) การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของสินค้าเกษตรที่ส�ำคัญ (1) ครัวไทยสู่ครัวโลก (1.1) การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานในการผลิต การบริหารจัดการ เพื่อสร้าง ความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มศักยภาพปัจจัยในการผลิต - ส่งเสริมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี

- สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าวให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ที่มีปัญหาและถ่ายทอด เทคโนโลยีด้านเมล็ดพันธุ์ - วิ จั ย และพั ฒ นาพั น ธุ ์ ส่ ง เสริ ม และถ่ า ยทอดเทคโนโลยี เ พื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการผลิตข้าว

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 103.84 103.84 -

33,509.96 20,359.22 33,509.96 20,359.22 15,670.08 10,675.73 14,197.22 9,329.99 3,260.91 2,469.88 2,897.92 2,106.89

22

1,000,000

ศูนย์

ไร่

5 จังหวัด ได้แก่ ร้อยเอ็ด สุรินทร์ มหาสารคาม ยโสธร และศรีสะเกษ ภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ

19 โครงการ กทม. และศูนย์วิจัยข้าว 27 แห่ง

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.99 7.99 7.99 - เพิ่มรายได้แก่เกษตรกร และเป็นศูนย์ รวบรวมและอนุรักษ์ศิลปหัตกรรมพื้น บ้านจากทุกภาคของประเทศ 13,150.74 13,150.74 4,994.34 4,867.23 - มีการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหาร 791.03 ของไทยเพิ่มขึ้น การผลิตสินค้าเกษตร 791.03 ปลอดจากสารตกค้าง มีมาตรฐานด้าน ความปลอดภัยอาหาร เกิดเครือข่าย - ผู้บริโภคปลอดภัย รวมทั้งเสริมสร้าง ความเข้มแข็งในการควบคุมคุณภาพ - และความปลอดภั ย ของอาหารของ ประเทศ

หน่วยงาน รับผิดชอบ อตก. อตก. อตก.

สปก.

210.93

210.93

7.05

7.05

61.25

61.25

-

กข.

48.51

48.51

-

กข.

กข.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - วิจัยและพัฒนาพันธุ์สับปะรดที่ใช้ในอุตสาหกรรมกระป๋อง/เทคโนโลยี เครื่องจักรกลเกษตรส�ำหรับสับปะรด - วิ จั ย และพั ฒ นามั น ส� ำ ปะหลั ง ที่ ผ ลิ ต แป้ ง สู ง /เครื่ อ งจั ก รกลเกี่ ย วกั บ มันส�ำปะหลัง - ศึกษาวิจัยเกษตรอินทรีย์และติดตามประเมินผลเกษตรอินทรีย์ - วิจัยและพัฒนาไม้ผล 6 ชนิด (ล�ำไย มังคุด ทุเรียน เงาะ ลิ้นจี่ ลองกอง) - ปรับโครงสร้างสินค้ากุ้ง พัฒนาการผลิตกุ้งทะเลคุณภาพเพื่อรักษา สายพันธุ์ - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชสมุนไพร ด้วยการสร้างแหล่งผลิตวัตถุดิบ สมุนไพร ผลิตและขยายพันธุ์สมุนไพรเศรษฐกิจ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน

จ�ำนวน

หน่วยนับ 2 โครงการ

พื้นที่ด�ำเนินการ

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 5.37 5.37 -

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ วก.

2 โครงการ

32.58

32.58

-

วก.

1 เรื่อง 8 โครงการ 3 ชนิด

1.00 20.58 23.62

1.00 20.58 23.62

-

สศก. วก. กป.

10.98

10.98

-

กสก.

2,686.98

1,895.96

791.03

95,500 ตัวอย่าง

1,095.69

561.64

534.05

กป.

35,000 ตัวอย่าง

65.51

65.51

-

กป.

400 ตัวอย่าง 1,500 ตัวอย่าง

18.00 9.51

18.00 9.51

-

กป. กป.

35.31

32.75

2.56

กป.

4,500

ราย

ด้านประมง - - - - -

ตรวจสอบและรับรองคุณภาพสินค้าประมง โดยด�ำเนินงานตรวจสอบและ รับรองคุณภาพสินค้าประมงให้ได้มาตรฐานตลอดทั้งกระบวนการผลิต จากต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ ควบคุมและตรวจติดตามคุณภาพและความปลอดภัยในแหล่งเพาะเลีย้ ง จัดท�ำฟาร์มคอมพาร์ทเมนต์กุ้งทะเลและเฝ้าระวังโรคสัตว์น�้ำชายฝั่ง เฝ้าระวังโรคกุ้งทะเล ปลาทะเล และหอยนางรม โครงการเฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพแหล่งเพาะเลี้ยง โครงการควบคุ ม และตรวจติ ด ตามคุ ณ ภาพและความปลอดภั ย ใน แหล่ ง เลี้ ย ง/แหล่ ง ผลิ ต หอยสองฝา โดยการวิ เ คราะห์ ตั ว อย่ า งน�้ ำ และหอยสองฝา ด�ำเนินการเพื่อรองรับกฎระเบียบของประเทศคู่ค้า เพื่อด�ำเนินการตาม มติคณะรัฐมนตรีแห่งสหภาพยุโรป โดยก�ำหนดให้สนิ ค้าประมงทีส่ ง่ ออก ต้องมีใบรับรองการจับสัตว์น�้ำ เพื่อยืนยันว่าสินค้าดังกล่าวไม่ได้มาจาก การท�ำประมงที่ผิดกฎหมาย

13,400

ฉบับ

17


18 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน ด้านปศุศัตว์ - ตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ ให้บริการตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์ม/โรงงาน และร้านค้าจ�ำหน่าย สินค้าปศุสัตว์/ตรวจรับรองความปลอดภัย ตรวจวิเคราะห์คุณภาพสินค้าปศุสัตว์ - ให้บริการตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์ม/โรงงาน/ตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพ/ ตรวจประเมินระบบคอมพาร์ทเมนต์ - ให้บริการตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์ม/โรงงาน/ตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพ/ ตรวจรับรองฟาร์มปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย

จ�ำนวน 40,353

หน่วยนับ แห่ง

พื้นที่ด�ำเนินการ

77 จังหวัด

330,535 ตัวอย่าง 77 จังหวัด 113 คอมพาร์ท 77 จังหวัด เมนต์ 300 ฟาร์ม ภาคตะวันออก 8 จังหวัด (นครนายก ปราจีนบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา จันทบุรี สระแก้ว ชลบุรี และระยอง)

ด้านพืช 140,000 ราย - ตรวจสอบปัจจัยการผลิต/ศัตรูพชื ออกใบอนุญาตและควบคุมก�ำกับดูแล 50,000 ราย ตาม พ.ร.บ. ๖ ฉบับ (พ.ร.บ.พันธุพ์ ชื พ.ร.บ.ปุย๋ พ.ร.บ.กักพืช พ.ร.บ.ยาง 335,000 ฉบับ พ.ร.บ.วัตถุอันตราย และพ.ร.บ.คุ้มครองพันธุ์พืช) รวมทั้งเฝ้าระวัง 1,200 ครั้ง และติดตามคุณภาพการผลิตในแหล่งผลิต - ส่งเสริมระบบมาตรฐานการผลิตข้าว ตรวจสอบรับรองการผลิตข้าว 55,000/90/15 แปลง/ ทั่วประเทศ ตามระบบ GAP และ GMP โรงสีข้าว กลุ่ม/โรง - จดทะเบี ย นตรวจสอบสิ น ค้ า เกษตร/ตรวจสอบปั จ จั ย การผลิ ต 126,000/700 ฟาร์ม/โรง ทัว่ ประเทศ และออกใบรับรองเพื่อการส่งออก รวมทั้งควบคุมดูแลตาม พ.ร.บ. - ตรวจรับรองมาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย์ 1,700 ฟาร์ม 65 จังหวัด (ยกเว้น กรุงเทพมหานคร อยุธยา นนทบุรี อ่างทอง สมุทรปราการ ระยอง ฉะเชิงเทรา ชลบุรี พิจิตร สุโขทัย สมุทรสาคร สมุทรสงคราม)

รวม

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

811.36 -

727.70 -

83.66 -

11.82

11.82

-

ปศ.

51.01

51.01

-

ปศ.

216.16

46.95

169.21

วก.

81.49

81.49

-

กข.

262.13

260.58

1.55

วก.

15.00

15.00

-

วก.

ปศ.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน ด้านพัฒนาระบบ - พัฒนาประสิทธิภาพของผู้ตรวจประเมิน และหน่วยตรวจ - ขยายผลการรับรองฟาร์มมาตรฐานแบบกลุ่ม - ศึกษา วิเคราะห์ขอ้ มูลการบริโภคอาหารของคนไทย เพือ่ น�ำมาใช้ประโยชน์ ในการจัดท�ำมาตรฐานสินค้า (1.2) การส่งเสริมภาพลักษณ์ อัตลักษณ์ครัวไทยสู่ครัวโลก และเพิ่มศักยภาพ ในการแข่งขันด้านการตลาด - ร่วมจัดนิทรรศการในงานส�ำคัญ ๆ ในต่างประเทศที่กระทรวงพาณิชย์ หรือกระทรวงการต่างประเทศเป็นเจ้าภาพ - ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าประมงโดยจัดนิทรรศการในต่างประเทศ - เพิ่มศักยภาพธุรกิจสหกรณ์โค โดย เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการและธุรกิจโคนมระดับประเทศ เชื่อมโยงเครือข่ายกลุ่มผู้ผลิตอาหารสัตว์และผู้เลี้ยงโคนม และเพิ่ม ศักยภาพการแข่งขันด้วยการสร้างเครือข่ายธุรกิจ เสริมสร้างและพัฒนาเครือข่ายธุรกิจโคเนื้อคุณภาพของสหกรณ์ - พัฒนาคุณภาพและการบริหารจัดการธุรกิจรวบรวมผลไม้ของสถาบัน เกษตรกร โดยสร้างเครือข่ายผู้ผลิต วางแผนการรวบรวมผลไม้ เจรจา จ�ำหน่ายผลไม้ ส่งเสริมการตลาดและการขาย รวมทั้งอบรมการผลิตผลไม้ คุณภาพแก่เกษตรกร - พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ผเู้ ลีย้ งสุกรและสัตว์ปกี โดยสร้างการเชือ่ มโยงเครือข่าย ธุรกิจ และเพิ่มช่องทางการตลาดและสนับสนุนกิจกรรมการตลาดชุมชน -

ส่งเสริมการผลิตและการตลาดสินค้าข้าวของสถาบันเกษตรกร ในโครงการ ผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งสัมฤทธิ์และการสร้างเครือข่ายข้าวสาร โดยแนะน�ำ ส่งเสริมและพัฒนาสมาชิกสหกรณ์ ผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพ โดยการ ถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิตและส่งเสริมช่องทางการตลาด สนับสนุนการ สร้างเครือข่ายข้าวสารระหว่างสหกรณ์ ผู้ผลิตและผู้บริโภค

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ 4 15 1

5 6 160 97 43

สาขา กลุ่ม เรื่อง

ครั้ง

กรุงเทพฯ ต่างจังหวัด กรุงเทพฯ

ประเทศคู่ค้า

ครั้ง กรุงเทพฯ สหกรณ์ แห่ง 34 จังหวัด แห่ง 22 จังหวัด

20 90

แห่ง แห่ง

12 จังหวัด 18 จังหวัด

8

ครั้ง

36 จังหวัด และ กรุงเทพฯ 2 พื้นที่

3

สหกรณ์ จ.นครราชสีมา

19

รวม

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

4.00 5.00 5.00

4.00 5.00 5.00

-

มกอช. มกอช. มกอช.

141.45

141.45

-

5.00

5.00

-

มกอช.

10.00 30.12

10.00 30.12

-

กป. กสส.

4.87

4.87

-

กสส.

1.71

1.71

-

กสส.

4.15

4.15

-

กสส.


20 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ส่งเสริมการผลิตและการตลาดสินค้าข้าวของสถาบันเกษตรกร โดยแนะน�ำ ส่งเสริมและพัฒนาคลัสเตอร์กลุม่ ข้าวหอมมะลิทงุ่ กุลาร้องไห้และให้ความรู้ ลูกค้าสัมพันธ์ CRM - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต/การตลาดและสร้างเครือข่ายสินค้าประมงของ สหกรณ์ โดยศึกษาระบบการสร้างเครือข่ายการตลาดสินค้าประมง อบรม เทคโนโลยีการผลิตและสนับสนุนอุปกรณ์การตลาดและการผลิตสินค้า ประมง - จัดตลาดและระบบสารสนเทศยุทธศาสตร์ผลไม้ - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ผล เพิ่มปริมาณผลผลิตนอกฤดู พัฒนา การจัดการคุณภาพผลผลิตหลังเก็บเกี่ยว พัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มผู้ผลิต และเครือข่ายการผลิตการตลาด รณรงค์ส่งเสริมการบริโภคผลไม้ไทย (1.3) การพัฒนาบุคลากร การจัดการองค์ความรู้ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ทั้งในและต่างประเทศ - จัดท�ำแปลงต้นแบบระบบการให้น�้ำ ฝึกอบรมเรื่องระบบการให้น�้ำส่งเสริม การผลิตตามระบบความปลอดภัยของอาหาร การควบคุมป้องกันก�ำจัด ศัตรูพชื (โรคเหีย่ วสับปะรด ) การเพิม่ ประสิทธิภาพด้านการจัดการการผลิต และการตลาดสับปะรด การเสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กรเกษตรกร - ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดยสร้างเครือข่ายผู้ผลิตสินค้า เกษตรปลอดภัย กลุม่ เรียนรูก้ ารผลิตและเพิม่ มูลค่าผลผลิต ถ่ายทอดความรู้ การผลิตพืชผักปลอดภัย ส่งเสริมการผลิตข้าวโพดหวาน - สร้างเครือข่าย และอบรมศึกษาดูงานเทคโนโลยีการผลิตมันส�ำปะหลัง ที่ประสบความส�ำเร็จเพื่อน�ำไปพัฒนาในแหล่งผลิตของสหกรณ์อื่น - สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ภายใต้เครื่องหมาย Q - พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร (GAP) โดยการให้ความรูใ้ นการผลิต แก่เกษตรกรที่ต้องการเข้าสู่ระบบมาตรฐาน GAP

จ�ำนวน

หน่วยนับ 19

35

1 23,500

พื้นที่ด�ำเนินการ

สหกรณ์ จังหวัดร้อยเอ็ด สุรินทร์ ศรีสะเกษ ยโสธร มหาสารคาม สหกรณ์ 25 จังหวัด

แห่ง ราย

กรุงเทพฯ

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 0.59 0.59 -

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ กสส.

14.92

14.92

-

กสส.

2.19 67.91

2.19 67.91

-

อตก. กสก.

221.53

221.53

-

5,400

ราย

10.92

10.92

-

กสก.

17,640

ราย

54.30

54.30

-

กสก.

1

ครั้ง

จ.นครราชสีมา

0.25

0.25

-

กสส.

1

ครั้ง

กรุงเทพฯ

10.00

10.00

-

มกอช.

30,300

ราย

26.50

26.50

-

กสก.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - สนับสนุน/พัฒนาความรู้เกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิล เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ GAP พร้อมทั้งส่งเสริมการส่งออก - ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับ GAP ด้านพืช ประมง และปศุสัตว์

- สร้างและสนับสนุนแหล่งเรียนรู้ข้าวอินทรีย์ครบวงจร

- อบรมเกษตรกรด้านการท�ำปศุสัตว์อินทรีย์

- อบรมเกษตรกรและจัดท�ำแปลงสาธิตการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำอินทรีย์ - อบรมและศึกษาดูงาน จัดท�ำแปลงเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ - การส่งเสริมการบริโภคและการใช้วัตถุดิบคุณภาพ - พัฒนาความรู้เกษตรกรในการผลิตน�้ำผึ้งให้ได้คุณภาพ พัฒนาสู่มาตรฐาน ฟาร์มผึ้ง (GAP) ฟาร์มผึ้งอินทรีย์ แปรรูปเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผึ้ง ส่งเสริม หมู่บ้านการเกษตรผึ้งโพรงไทยน�้ำผึ้งคุณภาพ ส่งเสริมแมลงเศรษฐกิจ (2) อาหารฮาลาล เพื่อพัฒนาโรงฆ่าและสถานจ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ให้มีแบบการผลิตเป็นไปตามหลักการ ฮาลาล เกิดการยอมรับของผู้บริโภคและประเทศคู่ค้า - ให้บริการตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์ม/โรงงาน และร้านค้าจ�ำหน่าย สินค้าปศุสัตว์ - ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนาอาหารฮาลาล

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ

1200

ฟาร์ม

2,000

ราย

ทั่วประเทศ

10

แห่ง

4,060

ราย

6 จังหวัด (พะเยา บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี อุดรธานี และพัทลุง) 65 จังหวัด (ยกเว้น กรุงเทพมหานคร อยุธยา นนทบุรี อ่างทอง สมุทรปราการ ระยอง ฉะเชิงเทรา ชลบุรี พิจิตร สุโขทัย สมุทรสาคร สมุทรสงคราม)

20 2,000 77 1,450

ฟาร์ม ราย จังหวัด ทั่วประเทศ ราย

ทั่วประเทศ 1

เรื่อง

21

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 40.00 40.00 -

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ กป.

5.00

5.00

-

มกอช.

29.16

29.16

-

กข.

8.39

8.39

-

ปศ.

12.54 7.87 7.60 8.99

12.54 7.87 7.60 8.99

-

กป. กสก. มกอช. กสก.

13.51

13.51

-

13.41

13.41

0.10

0.10

- - สินค้าปศุสัตว์ได้มาตรฐานการรับรอง อาหาร ฮาลาลสามารถแข่ ง ขั น กั บ - ตลาดโลกได้

ปศ. สศก.


22 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน (3) การผลิตสินค้าเกษตรอื่นๆ ข้าว - วิจยั และพัฒนาพันธุ์ ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การผลิตข้าว - ผลิตเมล็ดพันธุ์คัด พันธุ์หลัก พันธุ์ขยาย พันธุ์จ�ำหน่าย

- พัฒนาและส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าข้าวในระดับชุมชน

- ส�ำรองเมล็ดพันธุ์ข้าว เพื่อสนับสนุนให้แก่เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจาก ภัยธรรมชาติ โดยด�ำเนินการตามระเบียบกรมการข้าว - ป้องกันก�ำจัดเพลี้ยกระโดดสีน�้ำตาล

- ส่งเสริมสืบสานอาชีพและวัฒนธรรมการท�ำนา - ศูนย์บริการชาวนา

- บริหารจัดการองค์กร

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

55 โครงการ กทม. และศูนย์วิจัยข้าว 27 แห่ง 100,000

4

ตัน

แหล่ง

ทั่วประเทศ

พื้นที่ 11 จังหวัดในศูนย์ ข้าวชุมชน

500

ตัน

27

จังหวัด

56 จังหวัด

10,000

ราย

ทั่วประเทศ

110,000

ราย

ศูนย์วิจัยข้าว 27 แห่ง และ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว 23 แห่ง

6

รายการ

ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว 23 แห่ง

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 3,379.33 2,621.16 758.17 1,305.56 715.93 589.63 237.16 237.16 - - ได้ อ งค์ ค วามรู ้ แ ละนวั ต กรรมข้ า วที่ กข. ตรงตาม ความต้องการของประเทศ และสามารถน� ำ ไปปรั บ ใช้ ไ ด้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ 816.77 227.14 589.63 - เกษตรกรมี เ มล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วคุ ณ ภาพดี กข. ไว้ใช้อย่างทั่วถึง ท�ำให้ผลผลิตข้าวมี คุณภาพดีเพิ่มขึ้น 4.99 4.99 - - สามารถผลิตสินค้าข้าวและผลิตภัณฑ์ กข. แปรรู ป ข้ า วที่ มี คุ ณ ภาพ และได้ มาตรฐานการผลิตสินค้าข้าว 14.50 14.50 - - มีเมล็ดพันธุ์ข้าวเก็บส�ำรองไว้ส�ำหรับ กข. บรรเทา ฟืน้ ฟู เมือ่ เกิดภาวะฉุกเฉินจาก เหตุภัยพิบัติหรือประโยชน์เพื่อความ มั่นคงของประเทศ 5.25 5.25 - - เกษตรกรมีความรู้และความเข้าใจใน กข. การป้องกันและก�ำจัดเพลี้ยกระโดดสี น�้ำตาล ศัตรูข้าวอื่นๆ แบบถูกวิธี เพื่อ ลดความเสียหายของผลผลิตข้าวในนา 9.88 9.88 - - สามารถสืบสานประเพณี วัฒนธรรม กข. ข้าวในพื้นที่ต้นแบบระดับชุมชน 4.02 4.02 - - เป็นศูนย์ประสานงาน และแหล่งข้อมูล กข. ด้านข้าวในระดับพื้นที่ที่เป็นประโยชน์ ต่อชาวนา 212.99 212.99 กข.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ

ยางพารา - ส่งเสริมการปลูกยางพันธุ์ดีและไม้ยืนต้นที่มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ โดย ติดตาม ตรวจสอบการปฏิบตั งิ านและให้ความรูด้ า้ นวิชาการแก่เกษตรกร ที่ไม่เคยมีสวนยางมาก่อนในแหล่งปลูกยางใหม่ ติดตาม ตรวจสอบการปฏิบตั งิ านและให้ความรูก้ ารบ�ำรุงรักษาสวนและ การกรีดยางอย่างถูกวิธีแก่เกษตรกรในโครงการปลูกยางเพื่อยกระดับ รายได้และความมั่นคงให้แก่เกษตรกรในแหล่งปลูกยางใหม่ระยะที่ 1 อบรมครูยางโดยด�ำเนินการพัฒนาให้เกษตรกรที่มีความสามารถได้รับ การคัดเลือกท�ำหน้าที่ครูยางเป็นผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ สกย. - การจัดตลาดยางพาราแบบครบวงจร โดยให้ขอ้ มูลข่าวสารการตลาดประมูล ยาง ที่ใช้ระบบซื้อขายโดยไม่ต้องขนสินค้ามาตลาด - ด�ำเนินโครงการปลูกยางเพือ่ ยกระดับรายได้และความมัน่ คงให้กบั เกษตรกร ในแหล่งปลูกยางใหม่ ระยะที่ 1 โดยติดตาม ตรวจสอบการปฏิบัติงานและ ให้ความรู้เจ้าของสวน - ด�ำเนินโครงการฝึกอบรมช่างกรีดยาง โดยคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายและฝึก อบรมเกษตรกรภายใต้โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนังฯ - ด�ำเนินโครงการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม - ด�ำเนินโครงการปลูกยางพาราในที่แห่งใหม่ ระยะที่ 3 พ.ศ. 2553-2555 โดยให้การสงเคราะห์การปลูกยางพันธุ์ดีในพื้นที่ที่เหมาะสม ตาม พ.ร.บ. กองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยาง มาตรา 21 ทวิ - ด�ำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพือ่ รักษาเสถียรภาพราคายาง โดยให้ความช่วยเหลือสถาบันเกษตรกรสามารถรักษาเสถียรภาพราคายาง - ด�ำเนินโครงการบริหารจัดการโรงงานต้นแบบเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจาก ยางพารา โดย

78,388

ราย

ทั่วประเทศ

120,537

ราย

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ

5,040

ราย

108

ตลาด

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ทั่วประเทศ

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 1,370.28 1,370.28 - - เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการ 74.60 74.60 - ปลูกสร้างสวนยางอย่างถูกวิธี และต้น 31.52 31.52 - ยางเจริญเติบโตได้ดี สามารถเปิดกรีดได้ สกย. ตามระยะเวลาที่ก�ำหนด และ มีทักษะ ในการกรีดยาง สามารถแปรรูปน�้ำยาง 31.03 31.03 สกย. มีการรวมกลุ่มขายยาง และการจัดตั้ง ตลาดประมูลยางได้ 12.05

12.05

-

สกย.

29.89

29.89

-

สกย.

120,357

ไร่

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ

24.65

24.65

-

สกย.

60

ราย

จังหวัดนครศรีธรรมราช

0.12

0.12

-

สกย.

2,543

ราย

ภาคใต้

14.60

14.60

-

สกย.

378,000

ไร่

ทั่วประเทศ

1,053.08

1,053.08

-

สกย.

ทั่วประเทศ

4.63

4.63

-

สกย.

จังหวัดนครศรีธรรมราช

2.00

2.00

-

20,500

ราย

23


24 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน บริหารจัดการโรงงานต้นแบบผลิตวัสดุปลูกเสริมฟอสเฟตจากกาก ขี้แป้งของโรงงานน�้ำยางข้นเพื่อใช้แทนปุ๋ยฟอสเฟต บริหารจัดการโรงงานต้นแบบบ�ำบัดน�ำ้ ทิง้ แบบชีววิธดี ว้ ยการใช้สาหร่าย เซลล์เดียวและไรแดง บริ ห ารจั ด การเครื่ อ งต้ น แบบการผลิ ต น�้ ำ ยางข้ น จากกระบวนการ ครีมมิ่งในระดับอุตสาหกรรมและต้นแบบการประยุกต์ใช้งานในการท�ำ น�้ำยางเคลือบสระน�้ำและสายยางยืด บริหารจัดการโรงงานต้นแบบการขยายส่วนการเตรียมกราฟต์โคพอลิเมอร์ ของยางธรรมชาติกับพอลิเมทิลเมทาคริเลทเป็นสารตั้งต้นในการผลิต กาวยางเพื่อใช้งาน - ด�ำเนินโครงการบริหารจัดการศูนย์เครือข่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีด้าน ยางพาราครบวงจร โดย เชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกร สถาบันเกษตรกรด้านยางพาราครบวงจร เผยแพร่ความรูด้ า้ นยางพาราเกีย่ วกับการสร้างสวนยาง การแปรรูปยาง เบื้องต้น และการจ�ำหน่ายผลผลิต บริหารจัดการศูนย์เรียนรู้และพัฒนาเกษตรกรด้านยางพาราครบวงจร - ด�ำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพือ่ รักษาเสถียรภาพราคา ยาง โดยบริหารจัดการโครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพือ่ รักษา เสถียรภาพราคายาง - ฝึกอบรมการจัดท�ำบัญชีแก่เกษตรกรที่ปลูกยางพารา - วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์ยางพาราให้เหมาะสมกับพื้นที่ และสภาพแวดล้อม ปาล์มน�้ำมัน - ส่งเสริมการผลิตปาล์มน�้ำมันในพื้นที่ทุ่งรังสิต จ.ปทุมธานี

- วิจัยและพัฒนาปาล์มน�้ำมันลูกผสมให้มีทะลายมาก

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 0.30 0.30 -

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

1,500

ราย

4,000

ราย

0.20

0.20

-

อสย.

5,500

ราย

0.50

0.50

-

อสย.

9,500

ราย

1.00

1.00

-

อสย.

35,900

ราย

21.57

21.57

-

14,000 21,000

ราย ราย

14.00 3.00

14.00 3.00

-

อสย. อสย.

900 1,000,000

ราย ราย

4.57 97.00

4.57 97.00

-

อสย. อสย.

1,000 คน จังหวัดทีม่ กี ารปลูกยางพารา 1 เทคโนโลยี

1.50 46.64

1.50 46.64

-

ตส. วก.

1,200

38.85 8.92

38.85 8.92

27.19

27.19

ราย

1 เทคโนโลยี

61 จังหวัด

ทั่วประเทศ

จังหวัดปทุมธานี

- - เกษตรกรในพี้นที่มีรายได้เพิ่มขึ้น และ - สามารถใช้ประโยชน์ในพื้นที่อย่างเต็ม ประสิทธิภาพ มีการบันทึกต้นทุน

อสย.

กสก. วก.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ฝึกอบรมการจัดท�ำบัญชีแก่เกษตรกรที่ปลูกปาล์มน�้ำมัน

กล้วยไม้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มขีดความสามารถด้านการตลาด และปรับ ระบบการบริหารจัดการกล้วยไม้ โดย - วิจัยและพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้พันธุ์ใหม่ - ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ที่มีคุณภาพ สร้างคลัสเตอร์กล้วยไม้ที่เข้มแข็ง พัฒนาศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีและฝึกอาชีพกล้วยไม้ ส่งเสริมภาพลักษณ์ กล้วยไม้ไทย จัดงานแสดงนวัตกรรมกล้วยไม้นานาชาติศึกษาปัญหาและ แนวทางพัฒนาระบบโลจิสติกส์กล้วยไม้ ศึกษาเทคโนโลยีเพื่อลดผลเสีย หายของสวนกล้วยไม้จากภัยธรรมชาติ - ศูนย์บริการด้านการตลาดกล้วยไม้ - ปรับปรุงพื้นที่ตลาด อ.ต.ก. ย่านพหลโยธิน (ส่วนต่อขยายอาคารตลาด กล้วยไม้) กาแฟ - วิจัยและพัฒนาการเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน / เทคโนโลยีการ แปรรูป กาแฟ และหลังการเก็บเกี่ยว สร้างเครือข่ายข้อมูลกาแฟ ถั่วเหลือง - จัดท�ำแปลงต้นแบบศูนย์เมล็ดพันธุ์พืชไร่ชุมชน (ถั่วเหลือง) มะพร้าว - ส่งเสริมการปลูกมะพร้าว โดย ส่งเสริมการปลูกมะพร้าวพันธุ์ดีทดแทนมะพร้าวเสื่อมโทรม อบรม เกษตรกรหลักสูตรการจัดการสวนมะพร้าวที่ถูกต้อง ส่งเสริมการปลูกพืชเสริมรายได้ในสวนมะพร้าว การป้องกันก�ำจัดศัตรู มะพร้าว

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ

850

คน

จังหวัดที่มีการปลูกปาล์ม น�้ำมัน

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 2.74 2.74 -

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

70.22

70.22

15.89 31.22

15.89 31.22

กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

3.34 19.77

3.34 19.77

-

จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย 1 เทคโนโลยี เพชรบูรณ์ ชุมพร

12.70 12.70

12.70 12.70

- - เกษตรกรได้องค์ความรูใ้ นการลดต้นทุน - และ เพิ่มผลผลิตในกาแฟ

6.08

6.08

6.08 36.15 36.15

6.08 36.15 36.15

- - มี พั น ธุ ์ ถั่ ว เหลื อ งพอเพี ย งกั บ ความ ต้องการของเกษตรกร - - เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการ - ควบคุมป้องกันก�ำจัดศัตรูมะพร้าว

1 เทคโนโลยี 1,200 ราย

1 1

แห่ง แห่ง

1,300

ราย

6,000

ราย

12,000

ราย

- - เกษตรกรผู ้ ป ลู ก เลี้ ย งกล้ ว ยไม้ แ ละ ผู้ประกอบการกล้วยไม้ได้รับความรู้ ด้านการผลิต การพัฒนาพันธุ์ และการ - ตลาดกล้วยไม้ สามารถพัฒนาการผลิต ุ ภาพดี ซึง่ ท�ำให้กล้วยไม้ - กล้วยไม้ให้มคี ณ ส่งออกของไทยมีคุณภาพสูงขึ้น

หน่วยงาน รับผิดชอบ ตส.

วก. กสก.

อตก. อตก.

วก.

กสก.

กสก.

25


26 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน

จัดท�ำฐานข้อมูลขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกมะพร้าว หม่อนไหม อนุรักษ์และคุ้มครองหม่อนไหม - อนุรักษ์พันธุ์หม่อน ไหม ไม้ย้อมสี ผ้าไหม ภูมิปัญญาหม่อนไหม และการพัฒนาบุคลากร - ตรวจสอบ/ประเมินคุณภาพเส้นไหมไทยให้ได้มาตรฐาน - จัดตั้งธนาคารเชื้อพันธุกรรมไหม - ศูนย์เรียนรู้เชิงอนุรักษ์ภูมิปัญญาหม่อนไหม ผลิตพันธุ์หม่อนไหมและวัสดุย้อมสี - ผลิตไข่ไหม - ผลิตกิ่งช�ำหม่อน - ผลิตต้นพันธุ์หม่อนในถุงช�ำ - ผลิตไม้ย้อมสี - ผลิตวัสดุย้อมสีชนิดแห้ง - ให้บริการปัจจัยการผลิต(พันธุ์หม่อน-ไข่ไหม-ไม้ย้อมสี-วัสดุย้อมสี) ให้เกษตรกร บริการวิชาการถ่ายทอดเทคโนโลยีและส่งแสริมการผลิตหม่อนไหม - - - -

ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี เ พื่ อ พั ฒ นาการผลิ ต ไหมพั น ธุ ์ ไ ทยคุ ณ ภาพดี และพัฒนาบุคลากร พัฒนาน�ำร่องระบบอัจฉริยะไหมไทย (Smart Thai Silk) ร่วมกับศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิคส์ (Nectec) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบ การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตเชิงธุรกิจของกลุ่ม เครือข่ายวิสาหกิจไหม หมู่บ้านต้นแบบผลิตหม่อนไหม

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

21 ศูนย์ทั่วประเทศ

รวม

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่

471.69

303.16

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

168.54 - เกษตรกรเกิดความเชื่อมั่นและยอมรับ ในการน�ำพันธุ์หม่อน ไข่ไหม และวัสดุ 34.25 ย้อมสีของทางราชการไปใช้ประโยชน์ สามารถเลี้ ย งไหมได้ ผ ลผลิ ต รั ง ไหม - และเส้นไหมเพิ่มขึ้น มีปริมาณหม่อน - และเส้นไหมที่มีคุณภาพและมาตรฐาน เข้าสู่ระบบตลาดของประเทศ สามารถ ผลิตผ้าไหมย้อมสีธรรมชาติเพิ่มมาก 41.72 ขึ้น สามารถด�ำรงชีพและมีรายได้อย่าง สม�่ำเสมอ ไม่ต้องละทิ้งถิ่นฐานที่อยู่ อาศัย

หน่วยงาน รับผิดชอบ

31

แห่ง

74.69

40.44

มม.

260 5 10

ครั้ง แห่ง แห่ง

1.00 8.35 4.45 121.22

1.00 8.35 4.45 79.50

119,500 1,400,000 200,000 500 200 4,500

แผ่น ต้น ถุง ต้น ซอง ราย

1,100

ราย

103.77

54.74

49.04

มม.

5

ศูนย์

5.00

5.00

-

มม.

250

ราย

3.66

3.66

-

มม.

210

ราย

3.50

3.50

-

มม.

มม. มม. มม. มม.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ถ่ า ยทอดความรู ้ ใ นการจั ด การระบบการผลิ ต หม่ อ นไหมเพื่ อ ปรั บ โครงสร้างการผลิตหม่อนไหมและส่งเสริมการผลิตไหมอุตสาหกรรม - ส�ำรวจและติดตามสถานการณ์โรคแมลงศัตรูหม่อนไหม - บริการและติดตามผลต่อเนื่องการใช้เครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ ผ้าไหมไทย (ตรานกยูงพระราชทาน) ส่งเสริมเศรษฐกิจและการตลาดหม่อนไหม - ฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า หม่อนไหม - ประชาสัมพันธ์ จัดงานไหมไทยเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ - การผลั ก ดั น สิ น ค้ า ไหมไทยสู ่ ต ลาดโลกและรณรงค์ ส ่ ง เสริ ม การใช้ ผ้าไหมไทย - การพัฒนาสินค้าและการตลาดไหมไทย ภายใต้สงิ่ บ่งชีท้ างภูมศิ าสตร์ (GI) วิจัยและพัฒนาหม่อนไหม - ศึกษาวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตและพัฒนาพันธุ์ การแปรรูป หม่อนไหม และการน�ำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ และการบริหารงาน วิจัยด้านหม่อนไหม - วิจัยและพัฒนาการผลิตวัสดุย้อมสีธรรมชาติต้นแบบ - ความร่วมมือในการสร้างสรรค์และออกแบบผลิตภัณฑ์ไหมไทย

พืชพลังงานทดแทน - การทดสอบและพั ฒ นาการปลู ก พื ช ทดแทนพลั ง งานเพื่ อ ผลิ ต ไบโอดีเซล เอทานอล (ระยะที่ 2) โดยจัดท�ำแปลงทดสอบและพัฒนา การผลิตพืชทดแทนพลังงาน (ปาล์มน�้ำมัน)

จ�ำนวน

หน่วยนับ

500

ราย

250 80,000

ราย เมตร

พื้นที่ด�ำเนินการ

5/21 เขต/ศูนย์

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 5.00 5.00 -

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ มม.

2.38 12.91

2.38 12.91

-

มม. มม.

0.47

0.47

-

มม.

1

ครั้ง

9.99

9.99

-

มม.

21

ศูนย์

13.20

13.20

-

มม.

5

แห่ง

1.00

1.00

-

มม.

40

เรื่อง

99.26

55.73

43.53

มม.

1

แบบ

0.65

0.65

-

มม.

6

แบบ

1.20

1.20

-

มม.

9.68 9.68

9.68 9.68

- - เกษตรกรได้ ใช้ มั น ส� ำ ปะหลั ง พั น ธุ ์ ดี ท่อนพันธุ์ที่สะอาด และมีระบบบริหาร จั ด การปาล์ ม น�้ ำ มั น อย่ า งครบวงจร มีผลผลิตเพิ่มขึ้น

1

รูปแบบ ชุมพร ระนอง พังงา สุราษฏร์ธานี กระบี่ นครศรีธรรมราช

27

วก.


28 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน โคเนื้อ - ด�ำเนินโครงการเร่งรัดการผลิตโคเนื้อคุณภาพสูง โดย จัดตั้งกลุ่มผสมเทียม โคเนื้อคุณภาพ ให้บริการสมาชิกกลุ่ม ผสมเทียมด้วยน�้ำเชื้อพ่อพันธุ์ ชาโร เลย์หรือแองกัส ให้กับโคแม่พันธุ์ของเกษตรกร ติดตามผลการผสมเทียม ตรวจท้อง ติดตามลูกเกิด และท�ำทะเบียนประวัติ ประสานงานผู้ประกอบ การเลี้ยงโครุ่น โคขุน เพื่อการจัดการด้านการตลาด ปลาสวยงามและพรรณไม้น�้ำ พัฒนาการเพาะเลี้ยง ส่งเสริมการตลาด และให้เกษตรกรมีรายได้จากธุรกิจปลา สวยงามและพรรณไม้ โดย - สร้างอาชีพเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น�้ำรวมรวบปลาสวยงาม และพรรณไม้น�้ำ - ส่งเสริมธุรกิจการค้าปลาสวยงามและพรรณไม้น�้ำโดยประชาชนมีส่วนร่วม - ติดตามประเมินผลและประชาสัมพันธ์โครงการ (4) การเพิ่มผลผลิต (ผลิตพันธุ์ดี วิจัยพัฒนา) (4.1) ผลิตพันธุ์ดี - ผลิตพันธุพ์ ชื และปัจจัยการผลิต ผลิตเมล็ดพันธุค์ ดั / เมล็ดพันธุห์ ลัก / เมล็ด พันธุ์ขยายและปัจจัย การผลิต ดังนี้ พืชไร่พันธุ์ดี (ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วหรั่ง ถั่วพุ่ม ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ทานตะวัน งา ฝ้าย ท่อนพันธุอ์ อ้ ย และท่อนพันธุม์ นั สัมปะหลัง) พืชสวนพันธุ์ดี (ทุเรียน ล�ำไย มังคุด ลองกอง มะไฟจีน ส้มเขียวหวาน ส้มโอ มะขามเปรีย้ ว มะนาว มะม่วง มะละกอ ท้อ อโวกาโด ชาจีน กาแฟ ปาล์มน�้ำมัน มะคาเดเมีย มะพร้าว มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ สับปะรด มันฝรั่ง ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผักและพืชสมุนไพร) ปัจจัยการผลิต (เชือ้ ไวรัส NPV เชือ้ แบคทีเรีย Bt ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง แตนเบียนไข่ เหยื่อโปรโตซัวก�ำจัดหนู ชุดตรวจสอบเชื้อไวรัสกล้วยไม้ ชุดตรวจสอบเชื้อแอฟลาทอกซิน ชุดตรวจสอบเชื้อแบคทีเรียสาเหตุ โรคเหี่ยวปทุมมา/มันฝรั่ง แหนแดง หัวเชื้อจุลินทรีย์และไรโซเบียม ตาส้มปลอดโรค เชื้อเห็ด)

จ�ำนวน

หน่วยนับ

100,000

ตัว

3

ชนิด

50

ชนิด

12

ชนิด

24

ชนิด

14

ชนิด

พื้นที่ด�ำเนินการ

71 จังหวัด (ยกเว้น ตราด/สมุทรปราการ/ สมุทรสงคราม/สมุทรสาคร/ แม่ฮ่องสอน/ภูเก็ต) สุโขทัย พิษณุโลก นครสวรรค์ อ่างทอง ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ

ทั่วประเทศ

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 28.12 28.12 28.12 28.12 - - เกษตรกรมีทรัพย์สินเป็นโคขุนและโค ปศ. เนื้อแม่พันธุ์เพิ่มขึ้น

30.00 30.00

30.00 30.00

- - ประชาชนในพื้ น ที่ แ ก้ ม ลิ ง ไม่ น ้ อ ย กว่ า 10,000 คน จะมี อ าชี พ เพาะ เลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น�้ำ ที่ สร้างรายได้ บรรเทาความเดือดร้อน สัตว์น�้ำมีคุณภาพได้มาตรฐาน

3,909.66 1,687.57 439.49

2,400.25 1,038.37 275.09

1,509.41 649.20 164.40 - เกษตรกรได้ใช้พันธุ์พืชและปัจจัยการ ผลิตที่ได้จากการวิจัย พัฒนาและผ่าน การรับรองจากกรมวิชาการเกษตร

กป.

วก.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน

- พัฒนาปรับปรุงพันธุ์สัตว์ จัดตั้งกลุ่มเครือข่ายเพื่อผลิตพันธุ์สัตว์พันธุ์ดีตาม เกณฑ์มาตรฐานด้านปศุสัตว์โดยให้การอบรมเกษตรกรและตรวจสอบเพื่อ ออกใบรับรองด้านการผลิตพันธุ์สัตว์และให้บริการผสมเทียม - ผลิตพืชอาหารสัตว์พันธุ์ดี โดยปรับปรุงและคัดเลือกพืชอาหารสัตว์พันธุ์ดี เป็นเมล็ดชัน้ พันธุค์ ดั ( Breeder Seed) ไปปลูกขยายพันธุเ์ รียกว่าเมล็ดพันธุ์ หลัก ( Foundation Seed)และเมล็ดพันธุ์ขยาย (Registered Seed) จาก นัน้ เกษตรกรผูผ้ ลิตเมล็ดพันธุจ์ ะซือ้ เมล็ดพันธุข์ ยายจากกรมปศุสตั ว์ เพือ่ น�ำ ไปปลูกผลิตเมล็ดชั้นพันธุ์รับรอง (Certified Seed) ต่อไป รวมทั้งการผลิต เสบียงสัตว์ส�ำรอง ได้แก่ หญ้าแห้ง ถั่วแห้ง หญ้าหมัก ถั่วหมัก และหญ้าสด ส�ำรองไว้เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบภัยธรรมชาติ และใช้ในกิจกรรม กรมปศุสัตว์ (4.2) วิจัยพัฒนา - ด�ำเนินการวิจัยและพัฒนา 3 แผนวิจัย ประกอบด้วย สาขาพืชเศรษฐกิจ สาขาพืชเศรษฐกิจเฉพาะพื้นที่ สาขาพืชเฉพาะด้าน - การขับเคลือ่ นผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์(ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง กวก. กับ กสก.) ถ่ายทอดองค์ความรูจ้ ากงานวิจยั ด้านเทคโนโลยีการผลิตพืช (มัน ส�ำปะหลัง อ้อยและการป้องกันก�ำจัดโรคใบขาว พืชหลังนา มะพร้าวและ การป้องกันก�ำจัดศัตรูมะพร้าว ปาล์มน�ำ้ มัน ยางพารา) ทีเ่ หมาะสมกับสภาพ พื้นที่ให้แก่เจ้าหน้าที่ของกรมส่งเสริมการเกษตร เพื่อน�ำไปถ่ายทอด - การบริหารความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเก็บรักษาและอนุรักษ์พันธุ์ พืช/จุลินทรีย์/แมลง และพัฒนา Gene bank

- ศึกษาวิจยั ด้านการประมง การแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์สตั ว์นำ�้ โดย วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำจืด/สัตว์น�้ำชายฝั่ง/ปรับปรุงพันธุ์/ ท�ำประมงทะเลและส�ำรวจแหล่งประมง/ผลิตภัณฑ์ประมง

จ�ำนวน 400 2.16 58,275

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ ฟาร์ม ล้านตัว ตัน

77 จังหวัดและภายใน ศูนย์วิจัย/สถานีบ�ำรุงพันธุ์ สัตว์ 35 แห่ง ภายในศูนย์วิจัย/สถานี พัฒนาอาหารสัตว์ 29 แห่ง

61 ชุดโครงการ ทั่วประเทศ 263 โครงการ 6 โครงการ ทัว่ ประเทศ

36,500 สายพันธุ์ กรุงเทพฯ

112

เรื่อง

29

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 997.48 647.47 350.01 - มีพันธุ์สัตว์ที่ดีและเหมาะสมในแต่ละ ปศ. พื้ น ที่ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการของ เกษตรกร 250.60 115.81 134.79 - มีพันธุ์พืชอาหารที่ดีและเหมาะสมใน ปศ. แต่ละพื้นที่เพียงพอต่อความต้องการ ของเกษตรกร

2,222.09 1,637.13

1,361.88 1,069.49

50.00

50.00

31.14

25.73

423.42

142.45

860.21 567.64 - เกษตรกรได้ พั น ธุ ์ พื ช และเทคโนโลยี การเกษตรที่ให้ผลผลิตสูงมีคุณภาพ - - เกษตรกรมี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจใน ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการเกษตรที่ได้ จากการวิ จั ย เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า การผลิ ต สินค้าเกษตร 5.42 - ได้เก็บรักษาและอนุรักษ์เชื้อพันธุ์อาทิ จุลินทรีย์ แมลง สมุนไพร เพื่อใช้ในงาน ศึกษาและวิจยั รวมทัง้ เป็นการคุม้ ครอง สิทธิบัตรพันธุ์พืช 280.97 - ผลงานวิจัยด้านการประมงมีคุณภาพ ได้ รั บ การส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาอย่ า ง ต่อเนื่อง

วก. วก.

วก.

กป.


30 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

- ศึกษาวิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ อาทิ การวิจัยด้านการปรับปรุงพันธุ์ อาหารสัตว์ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ สุขภาพสัตว์ คุณภาพสินค้าปศุสัตว์ ฯลฯ

81 โครงการ 29 จังหวัด

- วิจัยพัฒนาที่ดินและเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิต

92 โครงการ ทั่วประเทศ

(5) การลดต้นทุนการผลิต (ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ของเกษตรกร) (5.1) ข้าว - ด�ำเนินโครงการหมู่บ้านชุมชนต้นแบบการลดต้นทุนการผลิตข้าว โดย การจัดท�ำแปลงสาธิต เพือ่ การเรียนรูใ้ นการพัฒนาเทคโนโลยีการลดต้นทุน จัดตั้งศูนย์ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และสารชีวภาพ/ สมุนไพรป้องกันและก�ำจัด ศัตรูพืช ในพื้นที่หมู่บ้านเป้าหมาย เก็บรวบรวมข้อมูลการผลิตข้าวและ การวิเคราะห์ ทัง้ ระบบของเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการ จากระบบการผลิต ข้าวด้วยเทคโนโลยีทนี่ ำ� เสนอให้เป็นทางเลือก เปรียบเทียบกับวิธกี ารเดิมที่ เกษตรกรผลิตตั้งแต่ก่อนเริ่มผลิต ขยายผลสู่เกษตรกรเครือข่าย

- ส่งเสริมการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวและถั่วเหลืองพันธุ์ดี ผลิตและ กระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว/ถั่วเหลือง 65 สหกรณ์ ใน 40 จังหวัด โดยช่วย อุดหนุนค่าใช้จ่ายการตลาดในการผลิตเมล็ดพันธุ์ กก.ละ 2 บาท (ด�ำเนิน การ 3 ปี ปีนี้เป็นปีที่ 3)

20 หมู่บ้าน ภาคกลาง : ชัยนาท สระบุรี นครนายก ลพบุรี ปทุมธานี สุพรรณบุรี ภาคเหนือ : อุทัยธานี ก�ำแพงเพชร พิษณุโลก ล�ำปาง เชียงราย ล�ำพูน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ขอนแก่น สกลนคร บุรีรัมย์ นครราชสีมา กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด ภาคใต้ : นครศรีธรรมราช พัทลุง 31,500 ตัน 37 จังหวัด

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 44.18 44.18 - - ได้เทคโนโลยี วิธีการ แนวทาง และ ปศ. ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม สอดคล้องกับ ความต้องการและสภาพปัญหาที่เกิด ขึ้นในปัจจุบัน 36.21 30.04 6.18 - พัฒนาการด�ำเนินงานวิจยั สามารถแก้ไข พด. ปัญหาทรัพยากรดินได้อย่างจริงจัง และ ถ่ า ยทอดงานวิ จั ย ด้ า นพั ฒ นาที่ ดิ น สู ่ เกษตรกรในการแก้ไขปัญหาดิน 158.17 158.17 97.56 97.56 31.14 31.14 - - ได้ต้นแบบของหมู่บ้านชุมชนต้นแบบ กข. การลดต้ น ทุ น การผลิ ต ข้ า ว พร้ อ ม ทั้ ง ความรู ้ ก ารผลิ ต ข้ า วด้ ว ยการใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมในแต่ละพื้ นที่ เพื่ อ การจั ด ท� ำ ระบบการถ่ า ยทอดสู ่ เกษตรกรตามความเหมาะสมของ พื้นที่ ซึ่งจะน�ำไปสู่ความเข้มแข็งของ เกษตรกรผู้ผลิตข้าวในภาพรวม

66.42

66.42

- - เกษตรกรได้เมล็ดพันธุ์ดีราคาประหยัด ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว และถั่วเหลือง

กสส.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน

(5.2) มันส�ำปะหลัง - จัดท�ำแปลงสาธิต อบรมเกษตรกร

(5.3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ - อบรมเกษตรกรผู้ปลูก ส�ำรวจข้อมูลพื้นฐานเกษตรกร

(5.4) กาแฟ - จัดท�ำแปลงต้นแบบเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟ อบรมเกษตรกร ส่งเสริมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟ ส่งเสริมการแปรรูปสินค้ากาแฟ เชื่อมโยงการผลิตการตลาด (5.5) ปุ๋ย - สนับสนุนวัสดุ ปัจจัย และอุปกรณ์การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ รวมทั้งเป็นวิทยากรฝึกอบรม (5.6) ประมง - ปรับปรุงพันธุ์ปลากะพงขาวโดยวิธีคัดเลือกพันธุ์ โดยเปรียบเทียบลักษณะ ส�ำคัญเชิงเพาะเลี้ยง

(6) การพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน (Food Safety) (6.1) การด�ำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์มาตรฐาน ความปลอดภัยสินค้าเกษตร และอาหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มี ก ารด� ำ เนิ น การตามแผนยุ ท ธศาสตร์ ค วาม ปลอดภัยด้านอาหารอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งขยายขอบเขตของยุทธศาสตร์นี้ ให้ครอบคลุมเรื่องมาตรฐาน ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์การผลิตและการค้า ปัจจุบันที่เน้นให้ความส�ำคัญเรื่องมาตรฐาน โดย

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ

13,500

ราย

3,000

ราย

1,500

ราย

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 48.95 48.95 48.95 48.95 - - เกษตรกรมีความรูเ้ รือ่ งการจัดการ และ กสก. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้สูงขึ้น 4.18 4.18 4.18 4.18 - - เกษตรกรมีความรูเ้ รือ่ งการจัดการ และ กสก. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้สูงขึ้น 4.21 4.21 4.21 4.21 - - เกษตรกรมีความรูเ้ รือ่ งการจัดการ และ กสก. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้สูงขึ้น

จังหวัด

0.78 0.78

0.78 0.78

4 สายพันธุ์

2.50 2.50

2.50 2.50

3,441.32 318.73

1,632.70 135.34

6

ทั่วประเทศ

31

-

วก.

- - เกษตรกรผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ พื้นฐานด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำและ สามารถน�ำไปปรับใช้ในการประกอบ อาชีพเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำและเพิ่มรายได้ 1,808.62 183.39 - สร้างความเชือ่ มัน่ และสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีในมาตรฐาน คุณภาพ และความ ปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหาร และ เพิ่มขีดความสามารถและยกระดับใน การผลิตสินค้าเกษตรและอาหารที่ได้ มาตรฐานและคุณภาพของไทย

กป.


32 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - จดทะเบียนตรวจสอบรับรองแหล่งผลิตพืช/โรงงานแปรรูป/โรงรม โดย ควบคุมตรวจสอบการน�ำเข้าวัตถุดบิ ปัจจัยการผลิต กระบวนการผลิต และ ผลิตภัณฑ์ของโรงงาน - การศึกษาและพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ร่วมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และจัดจ้างสถาบันการศึกษาในการศึกษา วิเคราะห์เพื่อให้ได้ ข้อมูลมาใช้อ้างอิงในการก�ำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร - การเตือนภัยสินค้าเกษตรและอาหารเชิงรุก โดยจัดท�ำวารสารรายเดือน และ ข้อมูลเตือนภัยสินค้าเกษตรและอาหารจัดส่งให้แก่สมาชิกทัง้ ทางไปรษณีย์ และ E-mail - การสร้างระบบอาหารศึกษา โดยจัดท�ำรายการทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์ และ สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถานศึกษา/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- ถ่ายทอดความรู้ให้กับ Q อาสา และสร้างที่ปรึกษาแก่เกษตรกร

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 289.23 105.84 183.39

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

-

-

14

เรื่อง

กรุงเทพฯ

14.80

14.80

- - มาตรฐานสินค้าเกษตรของไทยได้รับ การยอมรับเทียบเท่ากับประเทศคู่ค้า

มกอช.

4,000

ราย

กรุงเทพฯ

1.50

1.50

- - ผู้มีส่วนได้เสียได้รับรู้ข่าวสารทันต่อ สถานการณ์มากขึ้น

มกอช.

กรุงเทพฯ และต่างจังหวัด

5.00

5.00

- - การเรียนรู้ด้านอาหารได้รับการจัดการ อย่ า งมี ร ะบบ และปรั บ ทั ศ นคติ ก าร บริ โ ภคสิ น ค้ า ที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ มาตรฐานความปลอดภัยมากขึ้น - - หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งส่วน กลางและส่วนภูมภิ าค สามารถคัดเลือก รายชือ่ ผูท้ ผี่ า่ นการอบรม Q อาสา ไปใช้ สนับสนุนการด�ำเนินงานในองค์กรได้ - - ประชาชนทั่ ว ไปและผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจด้ า นมาตรฐาน ความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหาร มากขึ้น - - สร้างความเชื่อมั่นในการบริโภคอาหาร ที่ปลอดภัยแก่ผู้บริโภค - - สร้างความเชือ่ มัน่ ในการบริโภคอาหาร ที่ปลอดภัยแก่ผู้บริโภค -

มกอช.

-

-

400

ราย

ทั่วประเทศ

2.00

2.00

- การประชาสั มพั นธ์ แ ละเผยแพร่ เอกสารวิ ชาการด้านมาตรฐานความ ปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหารผ่านสื่อต่าง ๆ

2

ครั้ง

ทั่วประเทศ

2.00

2.00

- การพัฒนาระบบยืน่ ค�ำขอรับใบอนุญาตและการแจ้งการน�ำเข้า ส่งออกผ่าน เครือข่าย Internet - การถ่ายทอดมาตรฐานระบบการตามสอบสินค้าเกษตรสู่ภาคปฏิบัติ

-

-

กรุงเทพฯ

1.50

1.50

-

-

กรุงเทพฯ

2.50

2.50

- ติดตามและประเมินผล Food safety

1

เรื่อง

0.20

0.20

วก.

มกอช.

มกอช.

มกอช. มกอช. สศก.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน

(6.2) การพัฒนามาตรฐาน พัฒนาระบบ และตรวจสอบรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร - จดทะเบียนตรวจสอบรับรองแหล่งผลิตพืช/โรงงาน/โรงรม

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ -

-

ทั่วประเทศ

- จัดท�ำร่างมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแบบมีสว่ นร่วมบนพืน้ ฐานของ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์

25

เรื่อง

กรุงเทพฯ

- ปรับปรุงและพัฒนาระบบสารสนเทศของ มกอช. ให้สามารถรองรับการเผย แพร่ข้อมูลแก่ผู้มีส่วนได้เสียอย่างรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน

3

ระบบ

กรุงเทพฯ

- ตรวจประเมินเพือ่ ให้การรับรองระบบงาน และตรวจติดตามหน่วยงานตรวจ สอบรับรองที่ได้ให้การรับรองระบบงานไปแล้ว - การก�ำกับ ดูแล และควบคุมมาตรฐานสินค้าเกษตร ด้วยการสนับสนุนการ ปฏิบตั งิ านเฝ้าระวังและควบคุมมาตรฐานสินค้าเกษตรในระดับจังหวัด และ ตรวจสอบวิเคราะห์สินค้ามาตรฐานพืช สัตว์และประมง - การประชุม เจรจาภายใต้กรอบความตกลงต่างๆ รวมทั้งการแก้ไขปัญหา สินค้าเกษตรและอาหารในประเด็นที่เกี่ยวกับ SPS และ TBT - บู ร ณาการและติ ด ตามประเมิ น ผลการด� ำ เนิ น งานด้ า นมาตรฐาน ความปลอดภัยในสินค้าเกษตรและอาหารของหน่วยงานในสังกัด กษ.

จ�ำนวน

(6.3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ - ส่งเสริมผลิตภัณฑ์สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรสูม่ าตรฐานสินค้า โดย อบรม และ อุดหนุนเงินในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ปรับปรุงโรงเรือน แก่กลุ่ม ผู้ผลิตในสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร พัฒนาเครือข่ายและส่งเสริมการตลาด

17 หน่วยงาน กรุงเทพฯ 77

20 1

130

จังหวัด ทั่วประเทศ

ครั้ง

ประเทศคู่ค้า

แผน กรุงเทพฯ บูรณาการ

กลุ่ม

76 จังหวัด และ กรุงเทพฯ 2 พื้นที่

33

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 381.49 297.31 84.18 190.03 165.66 24.36 - เกษตรกรได้รับการส่งเสริมการผลิต วก. พืชคุณภาพดี และได้รับการตรวจสอบ รับรองคุณภาพ 47.26 33.56 13.70 - สิ น ค้ า เกษตรและอาหารของไทยมี มกอช. มาตรฐานที่ใช้การปฏิบัติเพื่อการผลิต ที่มีคุณภาพและปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น 23.63 14.40 9.23 - การเผยแพร่ ข ้ อ มู ล ด้ า นมาตรฐาน มกอช. การรับรอง และความปลอดภัยในสินค้า เกษตรและอาหารมีความรวดเร็วและ เป็นปัจจุบัน 26.13 14.48 11.65 - กระบวนการรับรองสินค้าเกษตรของ มกอช. ไทยสอดคล้องกับมาตรฐานสากล 12.05 8.77 3.28 - สินค้าเกษตรของไทยมีคุณภาพเป็นไป มกอช. ตามมาตรฐานที่ก�ำหนด 49.55

35.74

32.84

24.69

32.68 27.61

32.68 27.61

13.81 - สิ น ค้ า เกษตรและอาหารของไทยได้ รับการปฏิบัติที่เป็นธรรมจากประเทศ คู่ค้ามากขึ้น 8.15 - ความปลอดภั ย ในสิ น ค้ า เกษตรและ อาหารของไทยได้รับการจัดการอย่าง มีระบบ - - ผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับการพัฒนาสู่มาตรฐานสินค้า

มกอช. มกอช.

กสส.


34 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน

- ส่งเสริมร้านจ�ำหน่ายปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพ Q Shop โดยให้ความรู้ การบริหารจัดการจ�ำหน่ายปัจจัยการผลิตที่มีประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาสู่ มาตรฐานทางวิชาการ สนับสนุนปรับปรุงร้านและขอรับรองเป็นร้าน Q Shop (6.4) ควบคุมการระบาดของโรค - เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม บ�ำบัดและชันสูตรโรคสัตว์ บริการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคสัตว์ บริการบ�ำบัดโรคสัตว์ - ป้องกัน แก้ไข และเตรียมความพร้อมรับปัญหาโรค ไข้หวัดนก เฝ้าระวังสถานที่เสี่ยงและท�ำลายเชื้อโรค บริการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคสัตว์ (6.5) ลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช - พัฒนาศักยภาพศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ลดความเสี่ยงการสูญพันธุ์ของ พืชจากการระบาดศัตรูพืช ผลิตพ่อแม่พันธุ์ และหัวเชื้อศัตรูธรรมชาติ ผลิต ขยาย ปล่อย ศัตรูธรรมชาติ การตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง

(7) โครงการจัดระบบตลาดสินค้าเกษตรในระดับพื้นที่ สร้างและพัฒนาตลาดและระบบการกระจายของสินค้าเกษตรต้นแบบ (Prototype) เพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นศูนย์หลัก (Terminal) ในการรวบรวม/กระจายสินค้าเกษตรทีส่ ำ� คัญ ในระดับพืน้ ที่ โดยมีเป้าหมายเพือ่ ลดต้นทุนสินค้าเกษตร สร้างเสถียรภาพราคาสินค้า เกษตร และเกิดความมั่นคงด้านอาหาร โดย

จ�ำนวน

หน่วยนับ 78

แห่ง

พื้นที่ด�ำเนินการ 76 จังหวัด และ กรุงเทพฯ 2 พื้นที่

77 จังหวัด 6.90 11.160

ล้านตัว ล้านตัว

2,894,044 20

แห่ง ล้านตัว

26,460

ราย

ทั่วประเทศ

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 5.07 5.07 - - ร้านจ�ำหน่ายปัจจัยการผลิตของสหกรณ์ กสส. ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน 2,607.27 2,103.77

1,066.23 591.08

503.50

475.15

101.14 101.14

101.14 101.14

34.32

34.32

1,541.05 1,512.70 - ลดการสูญเสียสัตว์เลี้ยงของเกษตรกร เนื่องจากโรคระบาด และป้องกันการ แพร่ระบาดของโรค ลดค่าใช้จ่ายและ เพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร 28.35 - ผูบ้ ริโภคเกิดความมัน่ ใจต่อคุณภาพและ ความปลอดภัยในการบริโภคสัตว์ปีก - - เกษตรกรสามารถควบคุมและจัดการ การระบาดศัตรูพืชได้ด้วยตนเองและ ท�ำให้ผลผลิตไม่ได้รบั ความเสียหายจาก การระบาดของศัตรูพืช - องค์กรเกษตรกรที่มีการท�ำธุรกิจการ ตลาดสินค้าเกษตรอยู่แล้วและองค์กร เกษตรกรที่มีศักยภาพได้มีการพัฒนา องค์ ค วามรู ้ ที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ การ ท�ำธุรกิจการตลาดสินค้าเกษตร และ ได้รบั การสนับสนุนการพัฒนาเชือ่ มโยง เครื อ ข่ า ยผ่ า นระบบการจั ด ท� ำ ฐาน ข้ อ มู ล ท� ำ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาการจั ด ระบบการตลาดสินค้าเกษตรในระดับ

ปศ.

ปศ.

กสก.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ

รวม

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

พื้ น ที่ ข ององค์ ก รเกษตร รองรั บ การ แก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรอย่างเป็น ระบบและยั่งยืน - จัดระบบสินค้าเกษตรในระดับพื้นที่ จัดระบบตลาดระดับอ�ำเภอเชื่อม โยงระบบของจังหวัด ส่งเสริมระบบการจัดการโลจิสติกส์สินค้าเกษตรใน ตลาดต่างประเทศ/ตลาดชายแดน รวมทั้งศึกษาและพัฒนาวิธีการจัดการ สินค้าเกษตรโดยใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับ และศึกษาห่วงโซ่อุปทาน สินค้าเกษตร - สร้างการเชือ่ มโยงระบบการผลิตกับระบบตลาด โดยสร้างช่องทางจ�ำหน่าย (Window) สินค้าเกษตรคุณภาพทีด่ ำ� เนินการผ่านองค์กรเกษตรกร เช่น การ จัดกิจกรรมตลาด อ.ต.ก. เคลื่อนที่ ในส่วนภูมิภาค - ศึกษาระบบ Logistic ภาคเกษตร 2) การส่งเสริมและพัฒนาการผลิตของพื้นที่เฉพาะ (1) การบริหารจัดการน�้ำเพื่อการเกษตร มุง่ เน้นการท�ำงานร่วมกันแบบบูรณาการของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และเครือข่ายทุกภาคส่วน โดยค�ำนึงถึงศักยภาพของพืน้ ที่ และความต้องการ ของชุมชน มุง่ หวังให้เกิดประโยชน์โดยตรงแก่เกษตรกรในการเพิม่ ประสิทธิภาพด้าน การผลิต การเพิ่มมูลค่า การตลาด และการบริหารจัดการ - จัดท�ำแผนปฏิบัติงานบูรณาการระดับจังหวัด - ร่วมประสานงาน และให้ความรู้การรวมกลุ่มแก่เกษตรกรในพื้นที่แหล่งน�้ำ - ตรวจสอบรับรองแหล่งผลิตพืช/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลัก GAP พืช - ติดตามและประเมินผล

3,850

ราย

4

แห่ง

1

เรื่อง

กทม. พิษณุโลก สงขลา และจังหวัดที่มีศักยภาพ

ทั่วประเทศ (จังหวัดละ ไม่น้อยกว่า 1 แห่ง)

19.90

19.90

-

กสก.

10.00

10.00

-

อตก.

4.42 655.89 14.82

4.42 655.89 14.82

-

สศก.

76 -

แห่ง -

7.50 4.76 1.70

7.50 4.76 1.70

- มีการใช้ประโยชน์จากน�้ำชลประทาน ได้เต็มศักยภาพ และเกษตรกรสามารถ เพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิต มีการ รวมกลุ่มเพื่อการผลิต แปรรูป และ - การตลาดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งเสริมให้ ุ ภาพ - เกษตรกรมีความเข็มแข็งและมีคณ - ชีวิตที่ดีขึ้น

1

เรื่อง

0.86

0.86

-

35

สป.กษ. กสส. วก. สศก.


36 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน

จ�ำนวน

หน่วยนับ

(2) นิคมการเกษตร (2.1) การบูรณาการของหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สร้างรูปแบบน�ำร่องการบริหารจัดการพืน้ ทีแ่ ละสินค้าในลักษณะ Zoning และ ขยายผลไปในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ โดยจัดตัง้ นิคมการเกษตรน�ำร่องเพือ่ เป็นตัวอย่างขยาย ผล ในพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เขตนิคมสหกรณ์ เขตจัดรูปที่ดิน และพื้นที่อื่นที่มีความเหมาะสม โดย - พัฒนางานโครงสร้างพื้นฐาน สร้างเกษตรกรต้นแบบเพิม่ ผลผลิตการเกษตรต่อพืน้ ทีโ่ ดยเฉพาะพืชหลัก สนับสนุนปัจจัยการผลิต เชื่อมโยงการตลาดและเครือข่ายความร่วมมือ การบริหารการส่งน�้ำ ระบายน�้ำและบ�ำรุงรักษาระบบชลประทาน การปรับปรุงระบบชลประทาน การจัดการงานก่อสร้างแหล่งน�้ำและระบบส่งน�้ำเพื่อชุมชน/ชนบท - จัดท�ำแปลงเรีบนรู้ ส่งเสริมการแปรรูปข้าว และจัดงานรณรงค์สาธิตการใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม - นิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทนในพืน้ ทีน่ คิ มสหกรณ์ โดย อบรม อุดหนุนปัจจัยการผลิต จัดแปลงเรียนรู้ อุดหนุนอุปกรณ์การตลาด - จัดท�ำแปลงทดสอบ / สาธิต / ผลิตพันธุ์และอบรมเกษตรกรต้นแบบ - ให้บริการวิเคราะห์ดินและให้ค�ำแนะน�ำการจัดการดิน-น�้ำ-พืช ปรับปรุง พื้นที่ดินเปรี้ยว ผลิต-จัดหาเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด ส่งเสริมการปลูกพืชปุ๋ยสด ปรับปรุงบ�ำรุงดิน - ติดตามและประเมินผลโครงการนิคมการเกษตร (2.2) ด�ำเนินการในพื้นที่อื่นๆ - พัฒนางานโครงสร้างพืน้ ฐาน สร้างเกษตรกรต้นแบบเพิม่ ผลผลิตการเกษตร ต่อพืน้ ทีโ่ ดยเฉพาะพืชหลัก สนับสนุนปัจจัยการผลิต เชือ่ มโยงการตลาดและ เครือข่ายความร่วมมือ

พื้นที่ด�ำเนินการ

20 นิคมใน 18 จังหวัด (ต่อเนื่อง 17 นิคม ใหม่ 3 นิคมคือ นิคมข้าวหอม มะลิ จ.อุบลราชธานี และ จ.อ�ำนาจเจริญ นิคมข้าว จ.แพร่)

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 163.80 163.80 89.35 89.35 - - เพิม่ พืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพในการผลิตสินค้า อาหารและทดแทนพลังงาน เช่น ข้าว มันส�ำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และ ถัว่ เหลือง เป็นต้น เกษตรกรมีความเข้ม แข็ง โดยการรวมกลุม่ และเป็นเกษตรกร รุ่นใหม่ที่มีความสามารถในการบริหาร จัดการสินค้าสามารถเพิ่มรายได้และ 17.43 17.43 - พึ่งพาตนเองได้ สปก.

3

นิคม

6 1 1 10

รายการ แห่ง แห่ง แห่ง

6.16 3.00 16.00 5.03

6.16 3.00 16.00 5.03

-

ชป. ชป. ชป. กข.

8

แห่ง

7.50

7.50

-

กสส.

20 19

นิคม แห่ง

4.00 30.03

4.00 30.03

-

วก. พด.

1

เรื่อง นิคม

0.20 74.45 59.83

- - เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การใช้ ป ระโยชน์ ในที่ ดิ น และสร้ า งความมั่ น คงในการ ประกอบอาชีพการเกษตรตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง

สศก.

22

0.20 74.45 59.83

สปก.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - นิคมการเกษตรในพืน้ ทีน่ คิ มสหกรณ์ โดยอบรม อุดหนุนปัจจัยการผลิต จัด แปลงเรียนรู้ อุดหนุนอุปกรณ์การตลาด (3) โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ก�ำหนดเขตการพัฒนาอาชีพตามศักยภาพและความเหมาะสมของพื้นที่ โดย - การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การสนับสนุนและพัฒนาแหล่งน�้ำ จัดท�ำระบบอนุรักษ์ดินและน�้ำ และส่งเสริมการปรับปรุงบ�ำรุงดิน - การพัฒนาการผลิต - จัดท�ำแปลงเรียนรู้เทคโนโลยีการปลูกข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่ ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพืชได้แก่ ปาล์มน�้ำมัน ส้มโอ และศีกษาการด�ำรงชีพ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง - การเพิ่มมูลค่าผลผลิตและการแปรรูป อบรม และอุดหนุนอุปกรณ์การตลาดแก่สหกรณ์ในพื้นที่โครงการ ส่งเสริม/พัฒนาและให้ความรู้เกษตรกร - จัดประชุมของคณะท�ำงานชุดต่างๆ เพื่อร่วมกันวางแผนการปฏิบัติงานในพื้นที่ (4) โครงการจัดระบบการปลูกข้าว ผลักดันให้มีการปรับระบบการปลูกข้าว โดยก�ำหนดช่วงระยะเวลาการปลูกข้าวให้มีความ เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพพื้นที่ เศรษฐกิจ และสังคม และก�ำหนดแนวทางสนับสนุน ต่างๆ เพื่อให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวได้มีส่วนร่วมและตัดสินใจในการปฏิรูประบบการปลูกข้าว และพร้อมที่จะปรับตัวเข้าสู่ระบบการปลูกข้าวแบบใหม่อย่างยั่งยืนต่อไป - จัดระบบการปลูกให้มกี ารปลูกข้าวปีละ 2 ครัง้ (งดเว้นการปลูกข้าวแบบต่อเนือ่ งทัง้ ปี) ส่งเสริมให้มีการปลูกพืชหลังนา/พืชปุ๋ยสด 1 ครั้ง แทนการปลูกข้าว โดยก�ำหนดเป็น ทางเลือกในการปลูกข้าว 4 ระบบ

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ 19

แห่ง

19 จังหวัด

จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 14.62 14.62 - - เกษตรกรเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสูง กสส. ขึ้นจากเดิม 172.08

172.08

-

13 41,450

รายการ ไร่

72.30 67.07

72.30 67.07

-

60 200 387 1,434

ไร่ ราย ราย ไร่

5.64 3.03 2.75

5.64 3.03 2.75

-

10 500 -

แห่ง ราย -

16.37 2.46 2.46 305.20

16.37 2.46 2.46 305.20

-

13.97

13.97

3

พื้นที่ในเขตชลประทาน 22 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด ก�ำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก ชัยนาท ล้านไร่ พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี อุทัยธานี นนทบุรี ปทุมธานี นครนายก กาญจนบุรี เชียงราย สุโขทัย

37

- โครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นชลประทาน และทรั พ ยากรดิ น ให้ เ หมาะสมและ สอดคล้ อ งกั บ การเกษตรในพื้ น ที่ การผลิตข้าว ปาล์มน�้ำมัน ยางพารา ไม้ ผ ล พื ช ไร่ การเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น�้ ำ การปศุสัตว์มีศักยภาพ เกษตรกรมีการ รวมกลุ่มอย่างเข้มแข็ง ทั้งด้านการผลิต การแปรรูปและการตลาด

- มี ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร น�้ ำ อ ย ่ า ง มี ประสิทธิภาพ มีการใช้นำ�้ ไม่เกินปริมาณ น�้ ำ ต้ น ทุ น แก้ ป ั ญ หาทรั พ ยากรดิ น เสื่อมโทรมเนื่องจากไม่มีการพักแปลง - นาและท�ำการปรับปรุงบ�ำรุงดิน ลด ต้นทุนการผลิตข้าวของเกษตรกรลงโดย การใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะ สม ตัดวงจรการระบาดของศัตรูข้าว และข้าววัชพืช ตลอดจนรักษาระบบ นิเวศน์ในนาข้าวให้มีความสมดุล

ชป. พด. กข. กป. วก.

กสส. กสก. สป.กษ.

กข.


38 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว ภายใต้โครงการจัดระบบการปลูกข้าว เพื่อผลิต เมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวใน 36 สหกรณ์ โดยอบรมวิทยาการผลิต ประชาสัมพันธ์ และค่าส่ง เสริมการผลิตและบริหารจัดการ - อบรมเกษตรกร หลักสูตรการปลูกพืชหลังนาและพืชปุ๋ยสด ศึกษาพัฒนาระบบการ ปลูกพืชหลังนาและพืชปุ๋ยสด - สนับสนุนการผลิต/จัดหาเมล็ดพันธุ์พืชหลังนาในการจัดระบบการปลูกข้าว - การบริหารการส่งน�้ำ ระบายน�้ำและบ�ำรุงรักษาระบบชลประทาน - สนับสนุนการใช้ปุ๋ยพืชสดปรับปรุงบ�ำรุงดิน - ประเมินผลโครงการจัดระบบการปลูกข้าว 3) การรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและลดโลกร้อน เตรียมการเรื่องข้อมูล องค์ความรู้ การเพิ่มศักยภาพบุคลากรและเกษตรกรส�ำหรับรองรับ ภาคเกษตรและรักษาศักยภาพในการเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกสินค้าเกษตร รวมทั้งด�ำเนิน การเพื่อให้การพัฒนาการเกษตรเป็นไปอย่างยั่งยืนในแนวทางของการให้ความร่วมมือใน การลดภาวะโลกร้อน โดย - การศึกษาการเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวภาคเกษตรต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ - วิจัยการศึกษาผลกระทบและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการผลผลิตพืช/ปรับปรุงพันธุ์ พืชเศรษฐกิจ/ระบบการปลูกพืชอย่างยั่งยืนในพื้นที่เสี่ยงภัยสู่โลกร้อนและทนแล้ง ที่เหมาะสมในพื้นที่ - ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านอาหารสัตว์ และการท�ำบ่อก๊าซชีวภาพ

- ปลูกไม้เศรษฐกิจในเขตปฏิรูปที่ดิน โดยปลูกไม้เศรษฐกิจ ไม้ผล ไม้ยืนต้น เพื่ออนุรักษ์ และฟืน้ ฟูสภาพแวดล้อมในเขตปฏิรปู ทีด่ นิ ร้อยละ 20 ของแปลงทีด่ นิ ทีเ่ กษตรกรได้รบั - จัดท�ำแผนที่ความเสี่ยงน�้ำท่วม ดินถล่ม ในพื้นที่เกษตร

จ�ำนวน

หน่วยนับ

3,500

ตัน

45,000

ราย

พื้นที่ด�ำเนินการ ฉะเชิงเทรา ราชบุรี นครปฐม และ เพชรบุรี

4,681 ตัน 1 รายการ 100,000 ไร่ 1 โครงการ

-

-

3 โครงการ

210/2,100 หมู่บ้าน/ 70 จังหวัด (ยกเว้น กทม. ราย นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สุราษฎร์ฯ) 7500 ไร่ -

-

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 14.13 14.13 -

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ กสส.

18.04

18.04

-

กสก.

213.50 20.00 25.26 0.30 262.99

213.50 20.00 25.26 0.30 262.99

-

วก. ชป. พด. สศก.

0.29

0.29

20.00

20.00

5.54

- เกษตรกรมีองค์ความรู้สามารถปรับตัว รองรับผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลง ภูมิอากาศได้ ภาคเกษตรมีศักยภาพ ในการร่วมลดก๊าซเรือนกระจก โดย - การผลิตสินค้าเกษตรที่มีการจัดการ เพื่อลดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ฟื้นฟู - ทรัพยากรการเกษตร ส�ำหรับเป็นแหล่ง เก็บกักก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์เพื่อลด ภาวะโลกร้อน

สศก.

5.54

-

ปศ.

9.93

9.93

-

สปก.

0.74

0.74

-

พด.

วก.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์/การเพิ่มอินทรีย์วัตถุในดิน - จัดท�ำระบบอนุรักษ์ดินและน�้ำพร้อมปลูกไม้ยืนต้นโตเร็ว - รณรงค์ไถกลบตอซังเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน - ลดการเผาพื้นที่โล่งเตียน เพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน 4) การสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจภูมิภาคและระหว่างประเทศ - ด�ำเนินภารกิจด้านการเกษตรต่างประเทศเป็นการด�ำเนินงานตามภารกิจในการดูแล แก้ไขปัญหาด้านการเกษตรที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ - พัฒนาความร่วมมือและขยายการด�ำเนินงานด้านการเกษตรต่างประเทศ โดย ด�ำเนินงานตามภารกิจในการประสานงาน ดูแลการด�ำเนินงานด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับต่างประเทศ รวมทัง้ ให้การสนับสนุนองค์กรระหว่างประเทศ และสนับสนุนความ ร่วมมือของหน่วยงานในสังกัด กษ. กับประเทศต่างๆ ด�ำเนินการเตรียมจัดงาน Universal Exhibition Milano 2015 - ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าประมง โดยด�ำเนินการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์งานด้าน ประมงแก่เกษตรกร ประชาชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เงินอุดหนุนขององค์กรระหว่างประเทศ งานด้านสถานแสดงพันธุ์สัตว์น�้ำ 5) โครงการการพัฒนาระบบเชือ่ มโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (National Single Window) เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการที่เกี่ยวข้องกับการน�ำเข้า การส่งออก การออกใบอนุญาต และใบรับรองต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้รับบริการทั้งในด้านเวลา และค่าใช้จ่าย โดย - พัฒนาและเพิม่ ประสิทธิภาพระบบเชือ่ มโยงค�ำขอกลางและระบบสนับสนุนใบอนุญาต และใบรับรองผ่านอินเตอร์เน็ต (Fisheries Single Window) โดย ผู้ประกอบการน�ำเข้า-ส่งออกสัตว์น�้ำพึงพอใจกับการใช้งานระบบเชื่อมโยงค�ำขอ กลางและระบบสนับสนุนใบอนุญาตและใบรับรองผ่านอินเตอร์เน็ตของกรมประมง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ออกใบอนุญาต/ใบรับรองเพื่อการน�ำเข้าส่งออกสัตว์น�้ำ

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 173.99 173.99 -

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

-

-

10,000

ไร่

17.00

17.00

-

พด.

250

แปลง

10.00

10.00

-

พด.

5,000

ไร่

25.50

25.50

-

พด.

20

เรื่อง

459.32 155.60

332.21 47.21

127.12 108.39

สป.กษ.

100

เรื่อง

106.57

89.02

17.55

สป.กษ.

8

แห่ง

100.00 97.15

100.00 95.97

1.18

สป.กษ. กป.

2 8

องค์กร แห่ง 36.65

36.65

-

ทั่วประเทศ

-

-

60

ร้อยละ

72,000

ฉบับ

20.15

20.15

- เพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานของผู้ให้ บริการออกใบรับรองและใบอนุญาต - เกีย่ วกับการน�ำเข้าส่งออกสินค้าเกษตร และสามารถตรวจสอบใบรับรองและ ใบอนุญาตเกี่ยวกับการน�ำเข้าส่งออก สินค้าเกษตรทางอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

พด.

กป. กป.

กป.

39


40 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน อบรมผูป้ ระกอบการน�ำเข้าส่งออกสัตว์นำ�้ ให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจในการใช้งานระบบ FSW ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - เชือ่ มโยงระบบภายในกรมวิชาการเกษตรกับ National Single Window ของประเทศ ให้สามารถรองรับการส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับใบอนุญาต/ใบรับรอง ส่งออก สินค้าพืช - พัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (National Single Window) ของส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยาง 6) สนับสนุนการด�ำเนินมาตรการเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า - สนับสนุนแหล่งเงินทุนเพือ่ ช่วยเหลือเกษตรกรผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการ ค้าทุกข้อตกลง และปรับเปลีย่ นการผลิตจากสินค้าทีไ่ ม่มศี กั ยภาพสูส่ นิ ค้าทีม่ ศี กั ยภาพ การพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร 1) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการจัดการภาคเกษตร (1) อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน - พัฒนาอาสาสมัครเกษตร อบรม อกม.หลักสูตรการจัดท� ำแผนพัฒนาการเกษตร หลักสูตรการเป็นวิทยากรเกษตรกร หลักสูตรโรงเรียนเกษตรกร สัมมนาเพื่อจัดท�ำ แผนการด�ำเนินงานค่าป่วยการ อกม.ประชาสัมพันธ์เผยแพร่การด�ำเนินงาน อกม.

(2) อาสาสมัครเกษตรอื่นๆ - การพัฒนาหมอดินอาสาและยุวหมอดิน ด�ำเนินการโดยอบรมหมอดินอาสาและยุว หมอดินเกี่ยวกับเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน การใช้ผลิตภัณฑ์ของกรมฯ และการใช้ เครื่องมือตรวจวิเคราะห์ดินอย่างง่าย พร้อมทั้งสนับสนุนให้จัดท�ำแปลงสาธิตในพื้นที่ หมอดินอาสาเพื่อเป็นตัวอย่างให้เกษตรกรรายอื่นและผู้สนใจมาดูงาน - คัดเลือกเกษตรกรและถ่ายทอดความรู้ด้านเศรษฐกิจการเกษตร

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

รวม

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

300

ราย

กป.

1

ระบบ

6.50

6.50

-

วก.

1

ระบบ

10.00

10.00

-

สกย.

58.00 58.00

58.00 58.00 5,303.57 291.81 86.93 86.93

8 โครงการ

75,181

ราย

ทั่วประเทศ

11,151.30 300.29 86.93 86.93

78,000

ราย

ทั่วประเทศ

74.58 71.20

66.11 62.73

1

เรื่อง

3.38

3.38

- - สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ของสินค้าเกษตรกร 5,847.73 8.47 - - อาสาสมั ค รเกษตรหมู ่ บ ้ า น (อกม.) มี ทั ก ษะและศั ก ยภาพสามารถเป็ น วิ ท ยากรเกษตรกรถ่ า ยทอดความรู ้ ตลอดจนปฏิบัติงานสนับสนุนภารกิจ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 8.47 8.47 - หมอดิ น อาสามี ทั ก ษะและศั ก ยภาพ สามารถเป็นวิทยากรเกษตรกรถ่ายทอด ความรู้ด้านดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ -

สศก.

กสก.

พด.

สศก.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน (3) โทรทัศน์เพื่อการเกษตร - ผลิตรายการโทรทัศน์ทมี่ เี นือ้ หาสาระทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ประชาชน โดยเฉพาะเกษตรกร ผู้ผลิต ผสมผสานร่วมกับความบันเทิง เพื่อกระตุ้นความสนใจและติดตาม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ผ่านสือ่ โทรทัศน์ในระบบดาวเทียม เพือ่ ให้เกิดการรับรูอ้ ย่างกว้างขวาง และแพร่หลายต่อเนื่องตลอดทั้งปี

(4) จัดท�ำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกร - จัดท�ำระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรกร โดย (1) พัฒนาทะเบียนเกษตรกรเพื่อเข้าสู่ระบบบัตรเครดิตเกษตรกร (2) พัฒนาระบบสารสนเทศการเกษตร - จัดท�ำระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร 2) โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ สร้างเกษตรกรรุน่ ใหม่ทมี่ คี วามรูท้ งั้ ทางด้านทฤษฎีและปฏิบตั เิ พือ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และเป็นแบบอย่างทีด่ ใี ห้แก่เกษตรกรรายอืน่ ได้เรียนรู้ โดยผ่านกลไกของวิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยี วิทยาลัยประมง และวิทยาลัยการอาชีพ โดย - ส.ป.ก.และ สอศ. และ สกว. ร่วมจัดท�ำหลักสูตร รับสมัครเกษตรและบุคคลที่ใจเข้า ร่วมโครงการ ฝึกอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ จัดทีด่ นิ รองรับตาม พรบ.การปฏิรปู ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอาชีพเกษตรกร - ฝึกอบรมหลักสูตรพื้นฐานในพื้นที่ปลูกข้าวที่ส�ำคัญ - ประชาสัมพันธ์โครงการ รับสมัครและฝึกอบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ - ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์และร่วมเป็นวิทยากรฝึกอบรม - ร่วมเป็นวิทยากรในการฝึกอบรมและถ่ายทอดความรูด้ า้ นการผลิตพืชในการสร้างและ พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ -

-

882 อ�ำเภอ 5,800,000 ครัวเรือน 1 ระบบ ทั่วประเทศ

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 25.00 25.00 25.00 25.00 - - เกษตรกรผูผ้ ลิตสินค้าเกษตร ประชาชน สป.กษ. ผู้บริโภคสินค้าเกษตรได้รับความรู้ รู้น�ำ ทันโลก มีความตระหนักรู้ มีทัศนคติ และพฤติกรรมการผลิตและการบริโภค ไปในทางที่สอดคล้อง สนับสนุนการ พั ฒ นาการเกษตรน� ำ ไปสู ่ ก ารเรี ย นรู ้ ที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการผลิต และบริโภค 113.77 113.77 39.68

39.68

66.20 7.89 171.30

66.20 7.89 171.30

6,000

ราย

65.53

65.53

1,000 3,000 9,000 2,000

ราย ราย ราย ราย

1.50 5.00 14.78 1.50

1.50 5.00 14.78 1.50

41

- - ภาครัฐสามารถใช้ฐานข้อมูล ในการ ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงาน - ตามมาตรการโครงการต่ า ง ๆ ของ - ภาครัฐได้ - เกษตรกรมี ค วามรู ้ แ ละทั ก ษะในการ ประกอบอาชี พ เกษตรกรรมเพิ่ ม ขึ้ น สามารถประยุกต์เทคโนโลยีสมัยใหม่ - เข้ากับภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่มีอยู่เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางเกษตร และก่อให้เกิดรายได้อย่างยัง่ ยืน มีความ มั่นคงในอาชีพเกษตรกรรม -

กสก. กสก. สศก.

สปก.

กข. กป. ปศ. วก.


42 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - สนั บ สนุ น การอบรมและวั ส ดุ ก ารเกษตร ปรั บ ปรุ ง แหล่ ง เรี ย นรู ้ เ ทคโนโลยี เ พิ่ ม ประสิทธิภาพการผลิต - เป็นวิทยากรและผลิตชุดวิชาการสหกรณ์แก่เกษตรกรรุ่นใหม่ - ปรับปรุงดูแลรักษาพื้นที่และโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่สถาบันอาชีวศึกษา จัดรูปและ พัฒนาแปลงที่ดินท�ำกินรายแปลงของเกษตรกร - ติดตามและประเมินผลโครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ 3) โครงการพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน (1) การพัฒนาธุรกิจสหกรณ์/วิสาหกิจชุมชน - พัฒนาธุรกิจสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน โดยพัฒนาขีดความสามารถ การบริหารจัดการและการด�ำเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมการออม พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการและด�ำเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร - ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน โดยจัดเวทีการเรียนรู้สมาชิก ส่งเสริมและพัฒนา เครือข่าย รวมทั้งสนับสนุนกลไกการด�ำเนินงานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

- การพัฒนาธุรกิจชุมชนในเขตปฏิรูปที่ดิน โดยพัฒนาเกษตรกรเขตปฏิรูปฯ ด้านทักษะ อาชีพ โดยใช้กลไกกลุม่ วิสาหกิจ สร้างความเข้าใจและแนวทาง การด�ำเนินธุรกิจชุมชน สร้างโอกาสเข้าถึงแหล่งทุนเพื่อพัฒนาอาชีพ (2) ส่งเสริมและพัฒนาระบบสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร - ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรเกษตรกร - ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพทางการเกษตร โดย ฝึกอาชีพเกษตรกรเฉพาะด้าน ให้บริการ งานส่งเสริมการเกษตรด้วยการจัดท�ำแผนพัฒนาการเกษตรระดับต�ำบลและแผน พัฒนาท้องถิ่น รวมทั้งเผยแพร่ข่าวสารความรู้การเกษตรผ่านสื่อต่างๆ - เพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปผลผลิตเกษตร พัฒนาการผลิตตามหลัก GMP และ บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนาศักยภาพการผลิตสินค้าเกษตรแปรรูป

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 36.19 36.19 -

11,820

ราย

7,400 7,380

ราย ราย

2.99 43.70

2.99 43.70

1

เรื่อง

10,345

แห่ง

0.10 7,950.22 83.96 12.11

0.10 2,567.27 83.96 12.11

26,460

ราย

51.52

51.52

6,200

ราย

20.33

20.33

30,870 38,875

ราย ราย

6,755.27 3,078.92 1,274.36

1,855.25 173.84 786.17

4,620

ราย

17.51

17.51

76 จังหวัด และ กรุงเทพฯ 2 พื้นที่

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

5,382.95 - - สหกรณ์และกลุม่ เกษตรมีประสิทธิภาพ ในการด�ำเนินธุรกิจ และช่วยให้สมาชิก มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น - - เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเอง และ สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มให้พัฒนา ไปสู่การจดทะเบียนเป็นกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน - - เกษตรกรมี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจการ ประกอบธุ ร กิ จ การเกษตร เป็ น การ พัฒนาธุรกิจชุมชนในเขตปฏิรูปที่ดิน ให้เป็นรูปธรรม 4,900.02 2,905.08 - กลุ ่ ม แม่ บ ้ า น กลุ ่ ม ส่ ง เสริ ม อาชี พ 488.19 การเกษตร และกลุ ่ ม ยุ ว เกษตรกร ได้รับการส่งเสริม ถ่ายมอดความรู้การ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตในด้านต่างๆ - ให้มีความมั่นคงทางอาชีพ และสร้าง รายได้ลดรายจ่ายในครอบครัว

หน่วยงาน รับผิดชอบ กสก. กสส. พด. สศก.

กสส.

กสก.

สปก.

กสก. กสก.

กสก.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ค่าใช้จา่ ยในการบริหารทัว่ ไป งบลงทุน ฯลฯ และค่าจ้างพนักงานราชการ 1,421 อัตรา - ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั่วไป โดยส่งเสริม ก�ำกับดูแลสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรตามกฎหมายสหกรณ์ - พัฒนาศักยภาพสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร สมาชิกสหกรณ์และประชาชนทั่วไป และสนับสนุนการประชุมคณะกรรมการกลาง กลุ่มเกษตรกรทุกระดับ - พัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรสู่มาตรฐานและดีเด่น โดยส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานและน�ำไปสู่สหกรณ์ดีเด่นระดับชาติ - พัฒนาศักยภาพสหกรณ์นอกภาคเกษตร เพือ่ พัฒนาธรุกจิ ร้านสหกรณ์ สหกรณ์เดินรถ และสหกรณ์แท๊กซี่ รวมทั้งการบริหารจัดการธุรกิจด้านการเงิน และการป้องกันข้อ บกพร่องในการด�ำเนินธุรกิจ - กองทุนพัฒนาสหกรณ์ สนับสนุนสินเชื่อให้แก่สหกรณ์เพื่อไปด�ำเนินการ โครงการ บริหารจัดการธุรกิจรวบรวมผลไม้ในสถาบันเกษตรกร และโครงการส่งเสริมสหกรณ์ ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริและโครงการหลวง (3) ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร บัญชีครัวเรือนเกษตรกร - ตรวจสอบบัญชีประจ�ำปีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

- ก�ำกับแนะน�ำและฝึกอบรมการบริหารการเงินและการบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ

14 หน่วยงาน หน่วยงานส่วนกลาง และ 76 จังหวัด 13,561 แห่ง 76 จังหวัด และ กรุงเทพฯ 2 พื้นที่ 40,000 ราย 76 จังหวัด และ กรุงเทพฯ 2 พื้นที่ 78

จังหวัด

200

แห่ง

76 จังหวัด และ กรุงเทพฯ 2 พื้นที่ 76 จังหวัด และ กรุงเทพฯ 2 พื้นที่

4 โครงการ

11,500

แห่ง

77 จังหวัดทั่วประเทศ

760

แห่ง

77 จังหวัดทั่วประเทศ

43

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 1,956.02 449.26 1,506.76 - สนับสนุนการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่ม กสส. เกษตรกร 261.00 261.00 - - สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรด�ำเนินงานมี กสส. ประสิทธิภาพและเป็นไปตามกฎหมาย 82.84 82.84 - - สมาชิ ก สหกรณ์ กลุ ่ ม เกษตรกรและ กสส. ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจ หลักการสหกรณ์และองค์ความรู้ต่างๆ ที่จ�ำเป็นในการด�ำเนินธุรกิจ 10.68 10.68 - - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์ กสส. มาตรฐานเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 8.95 8.95 - - สหกรณ์ น อกภาคเกษตรได้ รั บ การ กสส. ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาศั ก ยภาพการ ด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น 65.00 65.00 - - สหกรณ์มีแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต�่ำใน กสส. การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ บริ ก ารสมาชิ ก อย่างยั่งยืน 1,110.99 628.06 482.93 755.52 449.08 306.44 - สหกรณ์ แ ละกลุ ่ ม เกษตรกรสามารถ ตส. ใช้ ป ระโยชน์ จ ากผลการวิ เ คราะห์ / ข ้ อ สั ง เ ก ต ก า ร ต ร ว จ ส อ บ บั ญ ชี ไปปรั บ ปรุ ง การบริ ห ารจั ด การให้ มี ประสิ ท ธิ ภ าพและอ� ำ นวยประโยชน์ แก่มวลสมาชิกโดยรวม 19.50 19.50 - - ตรวจสอบบัญชีประจ�ำปีได้เพิม่ ขึน้ และ ตส. เสริมสร้างระบบการควบคุมภายในทีด่ /ี ความโปร่งใสให้กับสหกรณ์


44 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ฝึกอบรมด้านบริหารจัดการทางการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

3,484

แห่ง

77 จังหวัดทั่วประเทศ

- สอนแนะการจัดท�ำบัญชีและฝึกอบรมแก่สหกรณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้

145

แห่ง

จังหวัดสงขลา ปัตตานี ยะลา สตูลและนราธิวาส

- พั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละเผยแพร่ ข ้ อ มู ล สารสนเทศทางการเงิ น ของสหกรณ์ แ ละ กลุ่มเกษตรกร

105

เรื่อง

- วางรูปแบบและสอนแนะการจัดท�ำบัญชีแก่วิสาหกิจชุมชน

920

แห่ง

77 จังหวัดทั่วประเทศ

300,000

คน

77 จังหวัดทั่วประเทศ

- สอนแนะการจัดท�ำบัญชีต้นทุนอาชีพ

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 45.12 35.29 9.83 - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีระบบการ ตส. ควบคุมภายในและระบบบริหารจัดการ ด้านการเงินการบัญชีที่ดี 14.31 14.31 - - เพิ่ อ พั ฒ นาการบริ ห ารจั ด การธุ ร กิ จ ตส. ในการลดต้ น ทุ น และสร้ า งรายได้ แก่ สมาชิก ซึ่งเป็นการอ�ำนวยประโยชน์ แก่มวลสมาชิกตามหลักการสหกรณ์ 27.04 16.74 10.30 - สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร หน่วยงานที่ ตส. เกี่ ย วข้ อ งและสาธารณชนที่ ส นใจใช้ ประโยชน์จากข้อมูล ในการปรับปรุง การด�ำเนินงาน การศึกษาวิจัย ก�ำหนด นโยบาย/วางแผนพัฒนาสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร 19.27 19.27 - - วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนมี ม าตรฐานการบั ญ ชี ตส. ที่ เ อื้ อ ต่ อ ระบบการควบคุ ม ภายใน ที่ ดี แ ละการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ ่ ม ให้ประสบความส�ำเร็จท�ำให้มีส่วนร่วม ในการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน 230.23 73.87 156.36 - กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนศักยภาพ ตส. ทางบัญชี สามารถจัดท�ำบัญชีต้นทุน อาชีพและใช้ข้อมูลต้นทุนอาชีพในการ วางแผนการผลิต ลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มรายได้ อันจะส่งผลให้พัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต ของตนเองและพั ฒ นา ชุมชนอย่างเป็นระบบ


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน 4) สนับสนุนสภาเกษตรกรแห่งชาติ - สนับสนุนการจัดการด้านสภาเกษตรกร โดยถ่ายโอนให้ส�ำนักงานสภาเกษตรกรแห่ง ชาติไปขับเคลื่อนภารกิจด้วยตนเอง โดยได้จัดงบประมาณส�ำหรับเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยว กับการบริหารงานของส�ำนักงานสภาเกษตรกรและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดท�ำแผน แม่บทพัฒนาเกษตรกรรมตามบทบาทหน้าทีใ่ นพระราชบัญญัตสิ ภาเกษตรกรแห่งชาติ

5) ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่โดยการน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (1) การพัฒนาการเกษตรตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - ประสานงาน อ�ำนวยการในการด�ำเนินการสนับสนุนการรวมกลุ่มของเกษตรกร และ ส่งเสริมการเรียนรู้แก่เกษตรกรผ่านการอบรมของปราชญ์ชาวบ้าน

- ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยอบรม/ ศึกษาดูงานหลักการเศรษฐกิจพอเพียง และสนับสนุนเงินทุนในการด�ำเนินกิจกรรม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (2) ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน - ส่งเสริมความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ โดยสนับสนุนด้านการฝึก อบรมและปัจจัยการผลิตบางส่วน และส่งเสริมการเรียนรูก้ ารท�ำการเกษตรในโรงเรียน ให้กับนักเรียนและผู้สนใจ

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ -

-

77 จังหวัด

16,700

ราย

ทั่วประเทศ

156

แห่ง

76 จังหวัด และ กรุงเทพฯ 2 พื้นที่

14,200

ราย

ทั่วประเทศ

- พัฒนาแปลงเรียนรู้ พัฒนาเกษตรกรเจ้าของที่ดิน ขยายองค์ความรู้สู่เกษตรกร เพื่อ 400/40,000 ศูนย์/ราย ทั่วประเทศ เป็นศูนย์การเรียนรูใ้ ห้กบั เกษตรกรรายอืน่ ในเขตปฏิรปู ทีด่ นิ ได้เรียนรูแ้ ละน�ำไปปฏิบตั ิ

45

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 170.58 170.58 170.58 170.58 - - สภาเกษตรกรแห่ ง ชาติ เป็ น เวที สป.กษ. เกษตรกรที่ ส ามารถเสนอข้ อ คิ ด เห็ น แนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อก�ำหนด เป็นนโยบายและแผนในการพัฒนา ส่ง เสริม ช่วยเหลือสนับสนุนการประกอบ อาชี พ เกษตรกรรมที่ จ ะน� ำ ไปสู ่ ก าร พั ฒ นาภาคเกษตรกรรม และระบบ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศอย่าง ยั่งยืนในอนาคต 181.36 181.36 94.20 94.20 70.00 70.00 - - กษตรกรที่เข้ารับการอบรมสามารถน�ำ สป.กษ. ความรู้ไปต่อยอด ปฏิบัติจริงได้ มีความ คิ ด ที่ จ ะพั ฒ นาตนเอง เปลี่ ย นแปลง พฤติกรรม และสร้างเครือข่ายที่เป็น ประโยชน์แก่ตนเองและชุมชน 24.20 24.20 - - สหกรณ์และกลุม่ เกษตรใช้หลักปรัชญา กสส. เศรษฐกิจพอเพียงในการด�ำเนินธุรกิจ และกิจกรรมฯ 87.15 87.15 22.70 22.70 - - เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจสามารถ สป.กษ. ด�ำเนินกิจกรรมทางการเกษตรตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และน�ำไปใช้ ในการด�ำรงชีวิตและท�ำการเกษตรได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 19.93 19.93 - - สามารถถ่ายทอดองค์ความรูด้ า้ นการใช้ สปก. ที่ดินให้เกิดประสิทธิภาพ มีต้นแบบ องค์ความรู้ที่ชัดเจน สามารถถ่ายทอด ความรู้ได้ตามเป้าหมายที่ก�ำหนด


46 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

- สร้างแหล่งถ่ายทอดความรู้เฉพาะทางด้านการประมงโดยใช้ศูนย์/สถานีที่มีศักยภาพ เพื่อให้เป็นเครือข่ายของศูนย์เรียนรู้รวมทั้งส่งเสริมการเพาะเลี้ยง

60 2,400

แห่ง ราย

ทั่วประเทศ

- ด�ำเนินการจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ เพื่อเป็นแหล่งสาธิต ศึกษา ดูงาน และ เรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดินของเกษตรกรในพื้นที่ และเป็นเครือข่าย (Node) ให้ศูนย์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ชุมชนของกระทรวงฯ สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ ของหมอดินอาสา ทีม่ ศี กั ยภาพในการจัดท�ำแปลงสาธิตและมีความสามารถในการเป็น วิทยากรได้

2,408

แห่ง

ทั่วประเทศ

6) สนับสนุนการด�ำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (1) ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้นอ้ มน�ำโครงการพระราชด�ำริดา้ นต่างๆ มาด�ำเนินการใน พืน้ ทีท่ วั่ ประเทศอย่างต่อเนือ่ ง และด�ำเนินการต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพให้เกิดประโยชน์ ต่อเกษตรกรอย่างกว้างขวาง โดย - ส่งเสริมการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ให้ราษฎร โรงเรียนในพืน้ ทีโ่ ครงการฯ ให้มอี าหารโปรตีน จากสัตว์น�้ำบริโภคเพิ่มขึ้น และมีรายได้เสริมจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ จ�ำแนกเป็น ผลิตพันธุส์ ตั ว์นำ�้ ในพืน้ ทีเ่ ฉพาะ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ประมง โรงเรียน เพิม่ ผลผลิตการประมงในแหล่งน�ำ้ จุดเรียนรูแ้ ละสาธิตการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ - ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านการปศุสัตว์แก่เกษตรกร/ครูและนักเรียนและส่ง เสริมการเลี้ยงโค- กระบือ - จัดท�ำแปลงสาธิต / ถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตพืช และให้คำ� ปรึกษาแก้ไขปัญหาด้านพืช แก่เกษตรกร - ส่งเสริมการเป็นแหล่งเรียนรู้และผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว - ฝึกอบรมการจัดท�ำบัญชีแก่กลุ่มเป้าหมาย

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 25.23 25.23 - - เกษตรกรในพื้นที่ได้รับการอบรมเพื่อ กป. สร้ า งความรู ้ ค วามเข้ า ใจและเทคนิ ค การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำผ่านศูนย์เรียนรู้ ด้านการประมงที่มีศักยภาพ 19.30 19.30 - - มีศนู ย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยีการพัฒนาทีด่ นิ พด. 2,408 แห่ง เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ และแหล่งสาธิต ศึกษาดูงานด้านการ พัฒนาที่ดินของเกษตรกรในพื้นที่ และ เป็นศูนย์เครือข่าย (Node) ของศูนย์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ ของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ 2,377.56 815.59

1,921.25 686.78

พื้นที่โครงการอันเนื่องมา จากพระราชด�ำริ

456.30 128.81 - เกษตรกรในพื้ น ที่ โ ครงการมี ชี วิ ต และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและมีรายได้ จากการประกอบอาชี พ ที่ เ หมาะสม 24.99 กั บ สภาพสั ง คมเหมาะสมและยั่ ง ยื น สอดคล้องกับศักยภาพของตนเองและ ท้องถิ่น

74 โครงการ

130.08

105.09

กป.

13,770/ ราย/ 600 โรงเรียน 13,000/ ราย/ 25,000 ไร่ 20 โครงการ 14,909 คน

88.77

88.39

0.38

ปศ.

187.05

93.23

93.82

วก.

37.68 19.36

37.68 19.36

-

กข. ตส.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ส�ำรวจและวางแผนการใช้ที่ดิน จัดท�ำระบบอนุรักษ์ดินและน�้ำ ส่งเสริมการปรับปรุง บ�ำรุงดิน - พัฒนาองค์ความรู้ พัฒนารายแปลง พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานส่งเสริมการรวมกลุม่ อาชีพ ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำข้อกฎหมายและงานปฏิรูปที่ดิน รณรงค์และขยายการปลูกหญ้า แฝกในเขตปฏิรูปที่ดิน - สนับสนุนกิจกรรม/ ให้ความรู้เกษตรกรในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ - พัฒนางานสหกรณ์อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ - ฝึกอบรมและจัดท�ำแปลงเรียนรู้ด้านปลูกหม่อนเลี้ยงไหมแบบครบวงจรในโครงการ พระราชด�ำริและโครงการพิเศษ - ด�ำเนินงานการประสานงาน ติดตามความก้าวหน้าการด�ำเนินงานในพืน้ ทีข่ องโครงการ รักษ์น�้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน - ให้การสนับสนุนโครงการศูนย์บริการพัฒนาและสวนไม้ดอกไม้หอมไทย โดยการ ปรับปรุงพื้นที่ที่มีอยู่ให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ในเรื่องของไม้ดอก และไม้หอมให้แก่ เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป - ประสานงานในการจัดท�ำแผนการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งติดตามความก้าวหน้า และจัด ท�ำรายงานผลการด�ำเนินงานของโครงการภูฟ้าพัฒนาฯ จังหวัดน่าน - ค่าใช้จ่ายของส่วนกลางในการประสานงาน ติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ - ส่งเสริมให้ความรู้ในการผลิตยาสูบให้ได้มาตรฐานและปลอดภัยแก่เกษตรกรผู้ปลูก ยาสูบในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย (2) โครงการพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ตามแนวพระราชด�ำริ - ยึดหลักการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริ คือ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา หลักการทรงงาน และหลักการโครงการ เพื่อเป็นกรอบในการก�ำหนดแนวทาง/ขั้นตอน การด�ำเนินงาน ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในการด�ำเนินงานเพือ่ แก้ไขปัญหาและพัฒนาอาชีพ ด้านการเกษตรและพัฒนาการเกษตร โดยร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในพืน้ ที่ ท�ำการ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในทุกด้านของชุมชน น�ำมาจัดท�ำเป็นแผนปฏิบัติงานร่วมกัน โดย ให้สอดคล้องกับความต้องการในแต่ละพืน้ ที่ แล้วน�ำไปเป็นแผนปฏิบตั ขิ องแต่ละหน่วยงาน

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ

149 โครงการ

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 192.31 182.68 9.62

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ พด.

1,428

ราย

19.47

19.47

-

สปก.

88,211 564 3,000

ราย แห่ง ราย

83.10 40.17 12.00

83.10 40.17 12.00

-

กสก. กสส. มม.

-

-

1.05

1.05

-

สป.กษ.

-

-

1.25

1.25

-

สป.กษ.

-

-

0.30

0.30

-

สป.กษ.

-

-

2.52 0.50

2.52 0.50

-

สป.กษ. สป.กษ.

-

27.00 27.00

27.00 27.00

-

เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พิษณุโลก สิงห์บุรี เพชรบุรี ตราด เลย ประจวบคีรีขันธ์ และยะลา

47

- - เกษตรกรในพื้ น ที่ เ ป้ า หมายได้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ และพั ฒ นาอาชี พ ด้ า น การเกษตร

สป.กษ.


48 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน

จ�ำนวน

หน่วยนับ

(3) สนับสนุนการด�ำเนินงานของส�ำนักราชเลขาธิการในการจัดท�ำโครงการพัฒนาตาม พระราชด�ำริ ให้การสนับสนุนการด�ำเนินงานของส�ำนักราชเลขาธิการในการจัดท�ำโครงการพัฒนา ตามพระราชด�ำริในจังหวัดต่างๆ 7 โครงการ ประกอบด้วย โครงการศูนย์บริการและ พัฒนาลุม่ น�ำ้ ปาย จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน โครงการศูนย์บริการและพัฒนาทีส่ งู ปางตอง จังหวัด แม่ฮอ่ งสอน โครงการศูนย์อำ� นวยการโครงการพัฒนาตามพระราชด�ำริ อ�ำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ โครงการศูนย์บริการการพัฒนาปลวกแดง จังหวัดระยอง-ชลบุรี โครงการ ศูนย์พัฒนาไม้ผล จังหวัดจันทบุรี โครงการพัฒนาพื้นที่ราบเชิงเขา จังหวัดสระแก้วปราจีนบุรี โครงการพัฒนา ปศุสัตว์ อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย โดย - ส่งเสริมให้ความรูใ้ นเรือ่ งของการผลิตสินค้าเกษตร รวมถึงการสนับสนุนปัจจัยการผลิต การให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ - อบรมเกษตรกร จั ด ท� ำ แปลงเรี ย นรู ้ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม และฝึ ก อาชี พ ด้ า นการเกษตร ผสมผสาน และถ่ายทอดเทคโนโลยีการถนอมอาหาร การแปรรูปผลผลิตและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ - เผยแพร่หลักสหกรณ์ ส่งเสริมสหกรณ์ในโครงการ และเสวนาการรวมกลุม่ เป็นสหกรณ์ - ผลิต/ปล่อยพันธุ์สัตว์น�้ำ/จัดท�ำกระชังสาธิต - จัดท�ำแปลงเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตข้าว - ฝึกอบรมและจัดท�ำแปลงต้นแบบพืชเศรษฐกิจ/ไม้ผล/การปลูกลิ้นจี่และกาแฟใน สภาพร่มเงา วิจยั พืชเศรษฐกิจและจัดท�ำแปลงต้นแบบระบบการปลูกพืช วิจยั /ศึกษา/ ทดสอบ/ฝึกอบรมระบบการปลูกพืชเศรษฐกิจ อาทิ ปาล์มน�้ำมัน มันส�ำปะหลัง รวม ทั้งผลิตและกระจายพันธุ์พืช - จัดท�ำระบบอนุรักษ์ดินและน�้ำ และส่งเสริมการปรับปรุงบ�ำรุงดิน (4) โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เน้นหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการพึ่งพาตนเอง พัฒนาอาชีพสมาชิกให้มีอาชีพหลัก และอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ การส่งเสริมการผลิตอาหารที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการไว้ บริโภคในครอบครัวเป็นการลดรายจ่าย และส่งเสริมให้สมาชิกครอบครัวมีสุขอนามัยที่ ดี มีสุขภาพแข็งแรงทั้งสุขภาพกายและสุขภาพใจ ดังนี้

พื้นที่ด�ำเนินการ

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 19.24 19.24 -

แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ระยอง จันทบุรี สระแก้ว ปราจีนบุรี เลย

670

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

- เกษตรกรในพื้นที่โครงการได้รับการ พั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง เกิดการขยายผลโครงการไปยังหมูบ่ า้ น เป้ า หมายตามแผนงาน/โครงการ ประชาชนเกิดการเรียนรู้และถ่ายทอด ไปยังหมู่บ้านใกล้เคียงและผู้สนใจ

-

1.66

1.66

-

สป.กษ.

ราย

3.67

3.67

-

กสก.

0.47 2.05 0.80 4.74

0.47 2.05 0.80 4.74

-

กสส. กป. กข. วก.

5.85 31.07

5.85 31.07

-

พด.

7 โครงการ 90 ราย 4 โครงการ -

916

หน่วย : ล้านบาท

ไร่ ทั่วประเทศ

- เกษตรกรได้รบั การถ่ายทอดความรูด้ า้ น การเกษตร ชุมชนมีความเข้มแข็งและ สามารถพึ่งพาตนเองได้


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ด�ำเนินงานการประสานงาน ติดตามความก้าวหน้าการด�ำเนินงานในพืน้ ทีข่ องโครงการ - ใช้สื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนให้แก่เกษตรกร - อบรมส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี และสนับสนุนปัจจัยการผลิต - จัดท�ำศูนย์/สวนสมุนไพร/นิทรรศการเผยแพร่ความรู้ศัตรูพืช - สนับสนุนปัจจัยการผลิตน�้ำหมักชีวภาพ - ให้ความรู้เกษตรกร/สนับสนุนกิจกรรมในโครงการ - จัดนิทรรศการ และส่งเสริมการออมทรัพย์กลุ่มอาชีพสายใยรัก (5) โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งแก่เกษตรกรด้วยการให้บริการปรึกษาแนะน�ำ ตรวจวิเคราะห์ วินิจฉัยและให้บริการด้านต่าง ๆ - จัดนิทรรศการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่การจัดท�ำบัญชี - ใช้สื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนให้แก่เกษตรกรและให้ บริการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ - ให้บริการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ด้านปศุสัตว์แก่เกษตรกร - บริการวิเคราะห์ดิน - จัดนิทรรศการ ให้ค�ำปรึกษาด้านการสหกรณ์ (6) พัฒนาพื้นที่โครงการหลวง เน้นการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนับสนุนงานโครงการหลวงและขยายผลโครงการหลวง เพื่อให้เกิดการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน รวมทั้งเสริมสร้างและพัฒนาสวนราชพฤกษ์ ให้เป็นแหล่งความรูพ้ ชื สวน ความหลากหลายทางชีวภาพและแหล่งท่องเทีย่ วทีม่ คี ณ ุ ภาพ ระดับนานาชาติ โดย

- การวิจัยและพัฒนาในพื้นที่โครงการหลวง

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ

76 3,200 2/4 174 4,000 78

จังหวัด ราย ศูนย์/ไร่ จุด ราย แห่ง ทั่วประเทศ

308 9,500 304 21,280 700,000 78

ครั้ง ราย ครั้ง ราย ราย แห่ง จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยาและ ล�ำพูน

27 โครงการ

49

รวม 5.00 1.90 3.64 2.75 8.22 8.39 1.17 147.72

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 5.00 1.90 3.64 2.75 8.22 8.39 1.17 123.35 24.37

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สป.กษ. กป. กข. วก. พด. กสก. กสส.

- เกษตรกรได้ รั บ การบริ ก ารและการ ช่ ว ยเหลื อ ในการแก้ ไขปั ญ หาด้ า น - การเกษตร -

3.47 19.26

3.47 19.26

4.12 120.21 0.66 538.60

4.12 95.84 0.66 459.39

24.37 79.21

74.90

74.90

-

หน่วยงาน รับผิดชอบ

ตส. กป. ปศ. พด. กสส.

- เกษตรกรบนพื้นที่สูงได้รับการส่งเสริม การเรียนรูต้ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียง สนับสนุนการด�ำเนินงานตามแนว พระราชด�ำริและการท�ำเกษตรยั่งยืน เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นในวง กว้างให้เกิดการเรียนรู้เชิงปฏิบัติระดับ ชาติและนานาชาติ สวพส.


50 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - การพัฒนาสนับสนุนโครงการหลวงและขยายผลโครงการหลวง - การเสริมสร้างประสิทธิภาพและการบริหารจัดการโดยพัฒนาระบบสารสนเทศและ บุคลากร - การเพิ่มศักยภาพการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและการเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตชุมชนบนพื้นที่สูงในพื้นที่ขยายผลโครงการหลวง - การบริหารจัดการอุทยานหลวงราชพฤกษ์ - ถ่ายทอดความรู้ด้านการประมงแก่เกษตรกร - ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านปศุสัตว์แก่เกษตรกร - ให้ความรู้เกษตรกร /สนับสนุนกิจกรรมในโครงการฯ - สนับสนุนการด�ำเนินงานโครงการขยายผลโครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ปลูกฝิ่น อย่างยั่งยืน ขยายผลการแก้ปัญหาพื้นที่ปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ และ สนับสนุนด้านอาชีพการเกษตร - ถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตข้าว จัดท�ำแปลงสาธิตการป้องกันก�ำจัดโรค แมลง ศัตรู ข้าวไร่ และขยายผลโครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน ขยายผลโครงการหลวงเพื่อแก้ไขปัญหาการปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน และจัดท�ำระบบ อนุรักษ์ดินและน�้ำเกษตรพื้นที่สูง (7) ด�ำเนินงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพือ่ เผยแพร่กระเกียรติคณ ุ และพระอัจฉริยภาพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ด้านการเกษตร เศรษฐกิจพอเพียง ผลงานอันเนื่องมาจากการน้อมน�ำพระอัฉริยภาพ พระราชด�ำรัส พระ ราชด�ำริ โดยน�ำเสนอผ่านผลงานเชิงประจักษ์น�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริง โดย - จัดแสดงและกิจกรรมพิพธิ ภัณฑ์ โดย จัดแสดงนิทรรศการในอาคาร แสดงนิทรรศการ สร้ า งต้ น แบบฐานการเรี ย นรู ้ น อกอาคาร เผยแพร่ ข ยายผลนวั ต กรรมฯ และ จัดมหกรรมเฉลิมพระเกียรติฯ - ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยจัดตลาดนัดเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนา ศักยภาพและขยายผลเครือข่ายเพิพิธภัณฑ์

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

66,000 ราย 47/928 ครั้ง/คน 45 หมู่บ้าน

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 146.14 146.14 112.91 42.49 70.43

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ สวพส. สวพส.

29.13

29.13

-

สวพส.

ราย ราย ราย ราย

57.81 1.11 15.08 1.30 -

49.03 1.11 15.08 1.30

8.78 -

สวพส. กป. ปศ. กสก.

จังหวัด

18.34

18.34

-

กสส.

600

ราย

4.00

4.00

-

กข.

10,000

ไร่

77.87

77.87

-

พด.

184.45

136.86

47.59

96.57

96.57

7.37

7.37

330,000 190 3,230 3,250

9

พิพิธภัณฑ์เกษตร จังหวัด ปทุมธานี 11 โครงการ

10

ครั้ง

- ผูเ้ ข้าชมพิพธิ ภัณฑ์ได้เรียนรูพ้ ระอัจฉริย ภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ด้านการเกษตรและนวัตกรรมเกษตร - เกษตรกรและประชาชนได้ เ รี ย นรู ้ การท� ำ เกษตรตามแนวพระราชด� ำ ริ เกษตรทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง ภาคการเกษตร นวั ต กรรมเกษตร สามารถน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ เ พื่ อ ลด รายจ่ายเพิ่มรายได้

พกฉ.

พกฉ.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ถ่ายทอดองค์ความรูพ้ ระอัจฉริยภาพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ด้านการเกษตรและ นวัตกรรมและเศรษฐกิจพอเพียง - การตลาดและลูกค้าสัมพันธ์โดยการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับ ทราบข้อมูลข่าวสาร - อ�ำนวยการ (8) ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร - ถ่ายทอดความรูแ้ ละเทคโนโลยีการประมง โดยรับสมัครและคัดเลือกเกษตรกรเข้าร่วม โครงการเพื่ออบรมส่งเสริมเพื่อให้ความรู้และแจกปัจจัยการผลิต อบรมเกษตรกรด้านการประมง ประมงอาสา - ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงปศุสัตว์ให้กับเกษตรกรผ่านศูนย์ถ่ายทอดประจ�ำต�ำบล และพัฒนาระบบการเลี้ยงโค-กระบือ สัตว์เล็ก-สัตว์ปีกในพื้นที่เฉพาะ (9) กองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน ให้กเู้ งินแก่เกษตรกรและผูย้ ากจนทีไ่ ด้นำ� ทีด่ นิ ไปขายฝาก จ�ำนอง หรือไปเป็นหลักประกัน สัญญากูย้ มื แก่เจ้าหนี้ โดยมีพฤติการณ์วจ่ ะเสียสิทธิ เสียกรรมสิทธิใ์ นทีด่ นิ ไปเป็นของเจ้าหนี้ หรือบุคคลอื่น โดย - ให้ความช่วยเหลือด้านเงินกู้แก่เกษตรกรและผู้ยากจนด้านหนี้สินและที่ดิน ติดตาม และพัฒนาฟื้นฟูอาชีพลูกหนี้ - ประสานอ�ำนวยการในการด�ำเนินงานของส�ำนักงานในการจัดการสนับสนุนเงินกู้ แก่เกษตรกร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยสนับสนุน 1) โครงการฟื้นฟูและปรับปรุงคุณภาพดิน (1) ก�ำหนดเขตการใช้ที่ดิน

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ 10

ครั้ง

105,000

ราย

-

-

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 3.60 3.60 -

47.59 168.65 97.14 - เกษตรกรในพื้ น ที่ ไ ด้ รั บ การอบรม เพือ่ สร้างความรูค้ วามเข้าใจและเทคนิค การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำผ่านศูนย์เรียนรู้ ด้านการประมงที่มีศักยภาพ

พกฉ.

71.51 - เกษตรกรได้รบั ความรูแ้ ละน�ำไปปรับปรุง และเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสัตว์ 7.68 - เกษตรกรและผู ้ ย ากจนได้ รั บ ความ ช่วยเหลือปลดเปลือ้ งหนีส้ นิ และไถ่ถอน ที่ดินคืน 1,000 ราย -

ปศ.

ทั่วประเทศ

24,000 2,295 22,914

ราย ราย ราย

ทั่วประเทศ

178.57

107.06

211.66

203.98

190.00

190.00

21.66

13.98

4,180.69 2,781.37 172.66

2,647.79 2,101.46 126.87

ราย

5 ชนิดพืช ทั่วประเทศ 500 ต�ำบล 45 ลุม่ น�ำ้ สาขา

51

พกฉ.

26.81 233.58 126.53

ราย

-

หน่วยงาน รับผิดชอบ

2.52

26,295

1,000

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

2.52 74.40 402.23 223.66

ทั่วประเทศ

หน่วย : ล้านบาท

7.68 1,532.89 679.91 45.79 - มีเขตการใช้ที่ดินเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในการ วางแผนการใช้ที่ดิน รวมถึงการบริหาร จัดการทรัพยากรดิน

พกฉ.

กป.

สป.กษ. สป.กษ.

พด.


52 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน (2) ปรับปรุงคุณภาพดิน โดยพัฒนาพื้นที่ดินเปรี้ยว/เปรี้ยวเค็มภาคใต้ ดินกรด และดินเค็ม (3) ปรับปรุงระบบข้อมูลสารสนเทศ

(4) (5)

ฟื้นฟูและป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน โดยรณรงค์และส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝก จัดระบบอนุรักษ์ดินและน�้ำบนพื้นที่ลุ่ม - ดอน - สูง อนุรักษ์ดินและน�้ำในพื้นที่เสี่ยงต่อ ดินถล่ม รวมทั้งอนุรักษ์ดินและน�้ำในพื้นที่เกษตรที่มีความวิกฤตต่อการสูญเสียหน้าดิน การพัฒนาทีด่ นิ พืน้ ทีเ่ ฉพาะ โดย พัฒนาพืน้ ทีท่ งุ่ กุลาร้องไห้ พัฒนาลุม่ น�ำ้ ทะเลสาบสงขลา ฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำ ฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน�้ำ แม่ตาว พัฒนาพื้นที่ทุ่งสัมฤทธิ์ - สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่เหมาะสมตามศักยภาพพื้นดิน - สนับสนุนการใช้ปุ๋ยพืชสดปรับปรุงบ�ำรุงดิน (6) ส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร/เกษตรอินทรีย์

(7) พัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการอนุรักษ์ดินและน�้ำ โดยการส�ำรวจออกแบบแหล่งน�้ำ ควบคุม การก่อสร้าง ก่อสร้างแหล่งน�้ำขนาดเล็กและระบบส่งน�้ำในไร่นา 2) จัดที่ดินท�ำกิน (1) ปรับปรุงเสิทธิ และการถือครองที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวมตลอดถึงการจัดที่อยู่อาศัยใน ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยรัฐน�ำที่ดินรัฐ หรือที่ดินที่รัฐจัดซื้อหรือเวนคืน มาจัดให้แก่ เกษตรกรที่ไม่มีทิ่ดินท�ำกินหรือมีน้อย (2) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในเขตปฏิรูปที่ดินฯ (แหล่งน�้ำ)

จ�ำนวน

หน่วยนับ

189,750

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 312.10 257.10 54.99 - พื้ น ที่ ก ารเกษตรที่ มี ป ั ญ หาได้ รั บ การ พด. ปรับปรุงคุณภาพดิน 135.77 99.68 36.08 - การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ ด้ า น พด. ฐานข้ อ มู ล ทรั พ ยากรดิ น และน�้ ำ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและครอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศมากขึ้น 873.58 621.30 252.29 - พื้นที่การเกษตรได้รับการอนุรักษ์และ พด. ฟื้นฟู

ไร่

ทั่วประเทศ

ระบบ

ทั่วประเทศ

823,821

ไร่

ทั่วประเทศ

19,700

ไร่

133.93

114.63

19.30 - พื้นที่การเกษตรได้รับการอนุรักษ์และ ฟื้นฟู

พด.

จังหวัด ไร่ ไร่

สุรินทร์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ศรีษะเกษ ยโสธร นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ตาก ทั่วประเทศ

561.22

452.964

พด.

แห่ง

ทั่วประเทศ

592.11

428.90

ทั่วประเทศ

1,399.32 316.78

546.34 316.78

37 โครงการ 21 จังหวัด

24.86

24.86

108.256 - พื้นที่การเกษตรได้รับการส่งเสริมการ ใช้สารอินทรีย์เพื่อลดการใช้สารเคมี ทางการเกษตร ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้กับเกษตรกร 163.20 - แหล่ ง น�้ ำ ได้ รั บ การพั ฒ นาเพื่ อ การ อนุรักษ์ดินและน�้ำ 852.98 - - เกษตรกรได้รบั สิทธิการท�ำประโยชน์ใน ที่ดิน กระจายสิทธิการถือครองที่ดินให้ เกิดความเป็นธรรมและยั่งยืน - - เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการจั ด การพั ฒ นา แหล่งน�้ำอย่างยั่งยืนในเขตปฏิรูปที่ดิน

2

75 100,000 1,005,000

109

70,000

ราย

พด.

สปก.

สปก.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน (3)

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ

ศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน เป็นการออกหน่วยบริการเกษตรกร ในเขตปฏิ รู ป ที่ ดิ น โดยหน่ ว ยบริ ก ารเป็ น รายต� ำ บล โดยมี ก ารให้ บ ริ ก าร 4 ด้ า น 1. ด้านกฎหมายปฏิรูปที่ดิน 2. ด้านการจัดที่ดินและข้อมูลสารสนเทศ 3.ด้านการพัฒนา องค์ความรู้และเพิ่มศักยภาพการใช้ประโยชน์ในที่ดิน 4. ด้านส่งเสริมการจัดตั้งสถาบัน เกษตรกรและการสร้างโอกาสสู่แหล่งทุนพัฒนาอาชีพ

400

ต�ำบล

ทั่วประเทศ

(4) การพัฒนาผูแ้ ทนเกษตรกร อบรมเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ ให้ผแู้ ทนเกษตรกรในเขต ปฏิรูปที่ดิน

1,780

ราย

ทั่วประเทศ

(5) เร่งรัดการจัดที่ดินและส่งเสริมอาชีพในพื้นที่นิคมสหกรณ์ - ออกหนังสือการท�ำประโยชน์ในที่ดิน กสน.3 และกสน. 5 และการส�ำรวจวงรอบ รายแปลง - จัดท�ำฐานข้อมูลแผนที่แปลงที่ดินและเตรียมสิ้นสภาพนิคมสหกรณ์ ตลอดจนพัฒนา อาชีพ (6) บริหารจัดการ (เงินเดือน ค่าจ้างประจ�ำ ค่าตอบแทน งบบริหารจัดการ) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเกษตรและสหกรณ์ 1) อ�ำนวยการและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเกษตร

36 72100

นิคม ไร่

21 จังหวัด

5,750

ราย

-

-

- การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยอบรมให้ความรูแ้ ก่บคุ ลากร ของ กษ. ในหลักสูตรต่างๆ และจัดหาทุนการศึกษา - การบูรณาการงานในส่วนภูมิภาค เป็นการด�ำเนินงานตามภารกิจของ สนง.กษ.จ. ทั้ง 76 จังหวัด - อ�ำนวยการเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเกษตรเป็นการด�ำเนินงาน ตามภารกิจของกอง / ส�ำนักในสังกัด สป.กษ.

3,300

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 11.19 11.19 - - ติดตามการใช้ประโยชน์ในที่ดินและ สปก. พบปะเกษตรกร สร้ า งความรู ้ ค วาม เข้าใจแก่เกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน และผู ้ ส นใจในการด� ำ เนิ น งานของ ส.ป.ก. ร่วมมือร่วมก�ำหนดทิศทางใน การพัฒนาเกษตรกรและพัฒนาพื้นที่ ในเขตปฏิรูปที่ดิน 4.47 4.47 - - สร้างเครือข่ายเป็นตัวแทนสนับสนุน สปก. การด�ำเนินงาน ได้มีกระบวนการเรียน รู้ให้เกษตรกรเกิดความคิดที่จะด�ำเนิน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ในการสร้างทางเลือกอาชีพทางเกษตร 4.92 4.92 - - เกษตรกรมี ที่ ดิ น เพื่ อ ประกอบอาชี พ กสส. และได้รับการพัฒนาอาชีพในเขตนิคม สหกรณ์

1,037.11 2,507.90 1,323.14

184.12 1,732.12 560.31

ราย

47.82

38.35

76

จังหวัด

459.28

162.48

85

ร้อยละ

253.11

104.00

53

852.98 775.78 762.83

- หน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวงเกษตร 9.47 และสหกรณ์มีการด�ำเนินงานอย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดความคล่องตัว 296.79 มี ก ารบู ร ณาการงานด้ า นการเกษตร และสหกรณ์ รวมทั้งมีข้อเสนอแนะเชิง 149.11 นโยบายเพื่อหน่วยงานต่างๆ ใช้เป็น แนวทางในการด�ำเนินงานด้านเกษตร

สปก.

สป.กษ. สป.กษ. สป.กษ.


54 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - จัดท�ำยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาและมาตรการทางการเกษตร โดยศึกษา วิเคราะห์ขอ้ มูล ที่เกี่ยวข้องกับภาคเกษตร และจัดท�ำยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาและมาตรการทางการ เกษตรเสนอผู้บริหาร - ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั เศรษฐกิจการเกษตร เพือ่ เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาก�ำหนด นโยบาย มาตรการทางการเกษตร - ติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจการเกษตร กฎ ระเบียบทางการค้า รวมทัง้ ศึกษาวิเคราะห์ เพื่อเสนอท่าทีเจรจาทางการค้าและความร่วมมือระหว่างประเทศ - ส�ำรวจข้อมูลการผลิต ต้นทุนการผลิต ภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนเกษตร และ ติดตามสถานการณ์การผลิต การตลาดสินค้าเกษตร ในระดับภาค ประเทศ - ส�ำรวจข้อมูลการผลิต ต้นทุนการผลิต ภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนเกษตร และ ติดตามสถานการณ์การผลิต การตลาดสินค้าเกษตร ในระดับภูมิภาค - ติดตามและรายงานความก้าวหน้า รวมทัง้ ประเมินผลส�ำเร็จ ผลกระทบจากการด�ำเนิน งานของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - ติดตามความก้าวหน้าโครงการจัดหาแหล่งน�้ำในระดับไร่นาและชุมชน - ประเมินผลการด�ำเนินการโครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในพื้นที่จังหวัด ชายแดนใต้ - ติดตามความก้าวหน้าโครงการรับจ�ำน�ำข้าว - ติดตามความก้าวหน้าโครงการขึ้นทะเบียนเกษตรผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจ - ติดตามและประเมินผลโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์สินค้าเกษตร - ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรสนับสนุนการตลาดเพื่อเกษตรกร 2) ระบบสารสนเทศการเกษตร - การบริการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ด้านการเกษตร โดยจัดท�ำการประชาสัมพันธ์ ของ กษ. และ สป.กษ.

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 62.77 22.16 40.62

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

20

เรื่อง

10

เรื่อง

66.75

21.80

44.95

สศก.

5

เรื่อง

14.57

8.77

5.80

สศก.

5

ระบบ

153.52

109.84

43.68

สศก.

5

ระบบ

150.13

47.27

102.86

สศก.

40

เรื่อง

98.91

39.52

59.39

สศก.

1 1

เรื่อง เรื่อง

0.10 0.20

0.10 0.20

-

สศก. สศก.

1 1 7 41

เรื่อง เรื่อง เรื่อง อัตรา

0.15 0.10 5.59 10.15 58.68

0.15 0.10 5.59 45.73

10.15 12.95

สศก. สศก. สศก. อตก.

25.63

17.79

85

ร้อยละ

- การพัฒนาสารสนเทศมีประสิทธิภาพ 7.84 และครอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศมากขึ้ น และเป็นศูนย์กลางการให้บริการข้อมูล สารสนเทศด้านการเกษตรของปรพเทศ

สศก.

สป.กษ.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ โดยด�ำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีและเครือข่าย ให้การ ดูแล บ�ำรุงรักษา ค�ำแนะน�ำในการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายของ หน่วยงานในสังกัด กษ. และ สป.กษ. - จัดท�ำและพัฒนาระบบสารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตร และเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูล กับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3) ชดเชยภาระการช�ำระหนี้ - ค่าใช้จ่ายในการช�ำระหนี้คืนกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร - ชดใช้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (ช่วยเหลือเกษตรกรผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากการระบาด ของเพลี้ยกระโดดสีน�้ำตาล โรคเขียวเตี้ย และโรคใบหงิก ปี 2553) - ชดเชยการขาดทุนจากการบริหารจัดการล�ำไยปี 2548 โดยสนับสนุนสถาบันเกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการของรัฐและประสบการขาดทุน และน�ำมาชดเชยกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร ตามมติ ครม. 19 มิ.ย. 50

- ชดเชยการขาดทุนจากการจ�ำหน่ายปุย๋ เคมีตามโครงการจัดหาปุย๋ เคมีจากต่างประเทศ โดยสนับสนุนชุมนุมสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการของรัฐและประสบการขาดทุน และ น�ำมาชดเชยกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ตามมติ ครม. 19 ต.ค. 53 - ช�ำระหนี้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (โครงการแก้ไขปัญหาเมล็ดพันธุ์หญ้าล้นตลาด ปี 50) - ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาข้าวสารโครงการแทรกแซงตลาดรับซื้อข้าวเปลือกปี 2552/53 (ส�ำหรับระยะเวลา เมย.55-กย.56) ตามมติ ครม. 20 เม.ย. 53 และ 21 ธ.ค. 53

จ�ำนวน

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วยนับ 85

ร้อยละ

5

ระบบ

8,591

ตัน

106

แห่ง

1

แห่ง

-

-

จ.เชียงใหม่ 27 แห่ง จ.เชียงราย 18 แห่ง จ.น่าน 8 แห่ง จ.พะเยา 12 แห่ง จ.ล�ำปาง 4 แห่ง จ.แพร่ 1 แห่ง จ.ล�ำพูน 36 แห่ง ส่วนกลาง (กองทุน สงเคราะห์เกษตรกร)

1 โครงการ

55

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 29.80 24.69 5.11

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน รับผิดชอบ สป.กษ.

3.25

3.25

-

สศก.

1,126.08 68.04 72.10

1,126.08 68.04 72.10

-

สป.กษ. กข.

150.00

150.00

-

กสส.

14.71

14.71

-

กสส.

16.28

16.28

-

ปศ.

4.53

4.53

-

อตก.


56 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ช�ำระต้นเงินกู้และดอกเบี้ยตามโครงการรับซื้อล�ำไยสดเพื่อแปรรูป และการตลาด ล�ำไยอบแห้งล�ำไยสดเพื่อแปรรูป และการตลาดล�ำไยอบแห้ง ปี 2547 ตามมติ ครม. 29 ก.ย. 52 - ช� ำ ระต้ น เงิ น กู ้ แ ละดอกเบี้ ย ตามโครงการแทรกแซงตลาดรั บ ซื้ อ ข้ า วเปลื อ ก ปี 2552/2553 ตามมติ ครม. 3 พ.ค. 54 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5.1 แผนงานอนุรักษ์และบริหารการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 1) การจัดการให้เกิดผลผลิตสัตว์น�้ำในแหล่งน�้ำธรรมชาติ - บริหารจัดการและควบคุมการท�ำประมง เพื่อควบคุมเครื่องมือประมงที่ผิดกฏหมาย และให้คำ� แนะน�ำแก่ชาวประมงเพือ่ หันมาใช้เครือ่ งมือท�ำการประมงทีถ่ กู กฎหมายและ ไม่เป็นการท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติ ควบคุมการท�ำประมง เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนประมง - ผลิตพันธุ์สัตว์น�้ำเพื่อปล่อยในแหล่งน�้ำธรรมชาติ ผลิตพันธุ์สัตว์น�้ำจืด ผลิตพันธุ์สัตว์น�้ำชายฝั่ง ผลิตพันธุ์สัตว์น�้ำปรับปรุงพันธุ์ ก�ำจัดวัชพืช ขุดลอกหนองบึงและปรับปรุงแหล่งน�้ำธรรมชาติ - พัฒนาตามแผนแม่บทการจัดการประมงทะเลไทย โดยบริหารจัดการประมงอย่างมี ประสิทธิภาพโดยให้ชุมชนท้องถิ่นชาวประมงมีส่วนร่วม และจัดท�ำระบบติดตามเรือ ประมงผ่านดาวเทียม จัดสร้างแหล่งอาศัยสัตว์ทะเลเพื่อการประมงพื้นบ้าน ส่งเสริมการใช้เครื่องมือประมงที่เหมาะสม อบรมให้ความรู้ชาวประมงด้านการบริหารจัดการประมงทะเล

จ�ำนวน

หน่วยนับ

พื้นที่ด�ำเนินการ

1 โครงการ

1 โครงการ

1,760

1,760 43 1,810 1,295 465 50 250,000 1,400,000 10

10 50 1,000

ครั้ง

ทั่วประเทศ

ครั้ง ชุมชน ล้านตัว ทั่วประเทศ ล้านตัว ล้านตัว ล้านตัว ลบ.ม. ลบ.ม. แห่ง

แห่ง ราย ราย

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 800.00 800.00 -

หน่วย : ล้านบาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-

หน่วยงาน รับผิดชอบ อตก.

0.41

0.41

อตก.

1,194.07 1,194.07 1,194.07 320.18

776.07 776.07 776.07 179.14

418.00 418.00 418.00 141.04 - การใช้ ท รั พ ยากรสั ต ว์ น�้ ำ ได้ รั บ การ ควบคุมและบริหารจัดการที่ดีเพื่อให้มี ใช้อย่างยั่งยืน

792.64

515.68

276.96 - สัตว์น�้ำในแหล่งน�้ำธรรมชาติได้รับการ ฟืน้ ฟูโดยการปล่อยพันธุส์ ตั ว์นำ�้ เสริมใน แหล่งธรรมชาติให้มีความอุดมสมบูรณ์ และคงความหลากหลายทางชีวภาพ

กป.

60.25

60.25

- - การจัดการทรัพยากรประมงในบริเวณ ชายฝั ่ ง ทะเลได้ รั บ การฟื ้ น ฟู ก ลั บ มา อยู่ในสภาพอุดมสมบูรณ์ และการท�ำ ประมงอยู่ในระดับศักยภาพการผลิต ของธรรมชาติและลดความขัดแย้งใน กลุ่มชาวประมง

กป.

กป.

กป.


รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจ�ำปี 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป้าหมายงาน นโยบาย/งาน/โครงการ/กิจกรรม/วิธีการด�ำเนินงาน - ฟื้นฟูทรัพยากรประมงในทะเลสาบสงขลาเพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น�้ำ โดย (1) จัดระเบียบการท�ำประมงด้วยการพัฒนาฟาร์มทะเลโดยชุมชม (2) ควบคุมเครื่องมือประมงที่ผิดกฏหมายและปรับเปลี่ยนอาชีพชาวประมงให้ใช้ เครื่องมือที่ถูกกฏหมาย

จ�ำนวน

หน่วยนับ 20 20

เขต ราย

57

พื้นที่ด�ำเนินการ

หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ หน่วยงาน ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ผลที่คาดว่าจะได้รับ รับผิดชอบ รวม ด�ำเนินการ ประจ�ำขัน้ ต�ำ่ 21.00 21.00 - - ชาวประมงและเกษตรกรในพื้ น ที่ กป. สามารถท�ำการประมงและเพาะเลี้ยง สัตว์น�้ำชายฝั่ง ได้อย่างยั่งยืน



ภาคผนวก

59



ภาคผนวก ๑ สรุปงบประมาณของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตามกลุ่มภารกิจ ปี 2555 - 2556 (หน่วย : บาท)

งบประมาณ ปี 2555

กลุ่มภารกิจ/หน่วยงาน

งบประมาณ ปี 2556

เพิ่ม - ลด จากปี 2555 จำนวน %

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (1)+(2)+(3) 78,900,740,100 77,137,965,600 -1,762,774,500 1. ส่วนราชการ (1) 76,721,207,400 72,882,911,900 -3,838,295,500 1.1 กลุ่มอำนวยการ 4,023,625,200 4,724,230,300 700,605,100 1) สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2,725,672,800 3,256,604,500 530,931,700 2) สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 243,490,200 279,112,400 35,622,200 3) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 561,683,500 583,168,100 21,484,600 4) สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) 330,000,000 420,897,000 90,897,000 5) สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) 162,778,700 184,448,300 21,669,600 1.2 กลุ่มภารกิจพัฒนาการผลิต 13,764,368,000 14,984,437,200 1,220,069,200 1) กรมประมง 3,233,158,700 3,585,326,700 352,168,000 2) กรมปศุสัตว์ 4,752,984,600 5,404,996,800 652,012,200 3) กรมวิชาการเกษตร 3,667,549,200 3,780,208,400 112,659,200 4) กรมการข้าว 1,638,095,900 1,726,709,400 88,613,500 5) กรมหม่อนไหม 472,579,600 487,195,900 14,616,300

61

-2.23 -5.00 17.41 19.48 14.63 3.83 27.54 13.31 8.86 10.89 13.72 3.07 5.41 3.09


62 (หน่วย : บาท)

กลุ่มภารกิจ/หน่วยงาน 1.3

กลุ่มภารกิจบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต 1) กรมชลประทาน 2) กรมพัฒนาที่ดิน 3) สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 1.4 กลุ่มภารกิจส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรและระบบสหกรณ์ 1) กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 2) กรมส่งเสริมการเกษตร 3) กรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. รัฐวิสาหกิจ (2) 2.1 สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง 2.2 องค์การสวนยาง 2.3 องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร 3. กองทุน (3) 3.1 กองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน 3.2 กองทุนจัดรูปที่ดิน 3.3 กองทุนพัฒนาสหกรณ์ 3.4 กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ

งบประมาณ ปี 2555

งบประมาณ ปี 2556

เพิ่ม - ลด จากปี 2555 จำนวน %

48,827,338,500 42,522,956,800 -6,304,381,700 -12.91 42,919,186,900 35,493,341,300 -7,425,845,600 -17.30 4,247,110,900 5,337,840,700 1,090,729,800 25.68 1,661,040,700 1,691,774,800 30,734,100 1.85 10,105,875,700 10,651,287,600 545,411,900 5.40 1,061,448,700 1,138,061,000 76,612,300 7.22 5,205,112,100 5,397,199,800 192,087,700 3.69 3,839,314,900 4,116,026,800 276,711,900 7.21 1,867,852,900 3,642,053,700 1,774,200,800 94.99 415,829,000 1,222,990,500 807,161,500 194.11 17,491,000 120,566,000 103,075,000 589.30 1,434,532,900 2,298,497,200 863,964,300 60.23 311,679,800 613,000,000 301,320,200 96.68 50,000,000 190,000,000 140,000,000 280.00 200,000,000 300,000,000 100,000,000 50.00 61,679,800 65,000,000 3,320,200 5.38 0 58,000,000 58,000,000 100.00


ภาคผนวก ๒ คำย่อหน่วยงาน คำย่อ สป.กษ. กข. ชป. ตส. กป. ปศ. พด. วก. กสก. กสส. มม. สปก. มกอช. สศก.

หน่วยงาน สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมการข้าว กรมชลประทาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมหม่อนไหม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

คำย่อ สวพส. พกฉ. สกย. อตก. อสย. 63

หน่วยงาน สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร องค์การสวนยาง


ที่ปรึกษา นายอภิชาต จงสกุล นายคนิต ลิขติ วิทยาวุฒิ นางอารีย์ โสมวดี

เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร

คณะผู้จัดทำ นางวรมน หนูทอง นางสาวกัลยา สงรอด นางนันท์นภัส ดอหนับ นางจันทร์จิรา ไหมดี นางศิริ เพ่งพินิจ นางมุฑิตา รุธิรโก นายชาคริต อินนะระ นางสาวทัตพิชา อ่อนระยับ นางสาวพุทธชาติ พึง่ ตน นายปิยทัสน์ โตวิวัฒน์

ผู้อำนวยการส่วนแผนงานและงบประมาณ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน


ส่วนแผนงานและงบประมาณ สำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร เขตจตุจักร กทม. ๑๐๙๐๐ โทร. ๐ ๒๙๔๐ ๖๙๘๒ - ๓ โทรสาร ๐ ๒๙๔๐ ๗๒๕๒ E-mail : bapp-bud@oae.go.th



สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

แผนปฏิบัติการประจำ�ปี 2556 ส่วนแผนงานและงบประมาณ สำ�นักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.