กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พระราชกรณียกิจ
เกี่ยวกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
คำนำ
รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี ๒๕๕๔ จัดทำขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผลการ ดำเนินงานที่สำคัญ ในรอบปีงบประมาณ ๒๕๕๔ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แก่หน่วยงานที่ เกีย่ วข้องและบุคคลทัว่ ไป โดยมีเนือ้ หาสำคัญทีส่ อดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ได้แก่ นโยบายเร่งด่วน เช่น การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ การพัฒนาการเกษตรและส่งเสริมอาชีพในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ และการยกระดับราคาสินค้าเกษตร นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจภาคเกษตร ที่เน้นการพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร การพัฒนาการผลิต รวมถึงการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานและปัจจัยสนับสนุน ทั้งนี้ ผลงานที่ปรากฏเป็นการสรุปสาระสำคัญของงานส่วนหนึ่งเท่านั้น หากผู้ใดต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดติดต่อขอข้อมูลจากส่วนราชการที่รับผิดชอบโดยตรง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า รายงานผลการปฏิ บั ติ ง านดั ง กล่ า ว
จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและบุคคลทั่วไป และขอขอบคุณส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจในสังกัด
ที่สนับสนุนข้อมูลผลการดำเนินงานมา ณ โอกาสนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มกราคม ๒๕๕๕
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สารบัญ
คำนำ สารรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สารรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สารปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทำเนียบผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่วนที่ ๑ ภาพรวมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายการให้บริการ โครงสร้างองค์กร การใช้ทรัพยากร ส่วนที่ ๒ ผลการปฏิบัติราชการ ผลสัมฤทธิ์และผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ผลการปฏิบัติงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ปี ๒๕๕๔ ผลการปฏิบัติงานตามนโยบายรัฐบาล
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
หน้า
๒ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑๐ ๑๒ ๑๘ ๒๒
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สารบัญ
(ต่อ)
ส่วนที่ ๓ รายงานการเงิน งบแสดงฐานะการเงิน งบรายได้และค่าใช้จ่าย ภาคผนวก
๕๘ ๖๑
สถานที่ตั้งส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
๖๖
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สาร นายธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในฐานะหน่วยงานดำเนินงาน หลักด้านการเกษตร มุ่งมั่นเพื่อให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประชาชน
มีความมั่นคงด้านอาหาร และเป็นฐานสร้างรายได้ให้แผ่นดิน เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายดังกล่าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงเน้นการนำ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดำรงชีวิตและการประกอบ อาชีพ ให้มีการทำงานในเชิงรุก ควบคู่ไปกับการปรับตัวและเตรียมความ พร้อมด้านการเกษตรที่เหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน โดย เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้ มีความสามารถ ในการผลิตและมีความรู้เข้าถึงการตลาดและการแข่งขัน ทำให้เกิดความ มั่นคงในอาชีพและรายได้ให้กับเกษตรกร การพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรและอาหารที่เพียงพอกับ ความต้ อ งการ ทั้ ง การบริ โภคและพลั ง งานทดแทน การเตรี ย มความพร้ อ มในการรองรั บ การ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือภายใต้กรอบความร่วมมือทาง เศรษฐกิจในภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC: ASEAN Economic Community) นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยังเป็นหน่วยงานหลักหน่วยงานหนึ่งในการ
ขับเคลือ่ นนโยบายของรัฐบาล ทัง้ ในส่วนของนโยบายเร่งด่วนทีจ่ ะดำเนินการในปีแรก และนโยบายการ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจภาคเกษตร อาทิเช่น นโยบายเร่งด่วน ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้มีการบริหาร จัดการน้ำอย่างบูรณาการเพื่อบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้ง การขยายเขตจัดรูปที่ดิน การเร่งขยายเขต พื้นที่ชลประทานจัดหาแหล่งน้ำในไร่นาและชุมชน การปฏิบัติการฝนหลวง การพัฒนาการเกษตรและ ส่งเสริมอาชีพเกษตรในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และการสร้างระบบประกันรายได้และความ เสี่ยงให้เกษตรกร นโยบายปรับโครงสร้างภาคเกษตร มีแนวทางการปฏิบัติงานใน ๓ ด้าน คือ
การพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร โดยจัดให้มอี าสาสมัครเกษตรหมูบ่ า้ น การสร้างและพัฒนา เกษตรกรรุ่นใหม่ การจัดทำสมุดทะเบียนครัวเรือนเกษตรกร สนับสนุนการจัดตั้งสภาเกษตรกร
รวมทัง้ การพัฒนาธุรกิจสถาบันเกษตรกรให้สามารถเข้าถึงแหล่งทุนได้ทวั่ ถึงและเป็นธรรม การพัฒนา
การผลิต ให้ความสำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพให้มีมาตรฐานและ ความปลอดภัย การลดต้นทุนการผลิต การส่งเสริมการผลิตพืชอาหารและพลังงานให้เพียงพอต่อ การบริโภคและพลังงานทดแทน ส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ ให้อาหารปลอดภัยเป็นมิตรกับ
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการค้นคว้าวิจัยเพื่อปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ให้มีความเหมาะสมต่อสภาพ แวดล้อมในปัจจุบัน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยสนับสนุน โดยมีการจัดที่ดินทำกินให้ เกษตรกร เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและสร้างความมั่นคงในการประกอบอาชีพ การอนุรักษ์/ ฟื้นฟูดินและน้ำ รวมทั้งผลักดันการออกกฎหมายที่ครอบคลุมเหมาะสมกับภาคเกษตรในสภาวะ ปัจจุบัน ซึง่ ภาระหน้าทีข่ องกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะสำเร็จลุลว่ งได้ ต้องอาศัยความร่วมมือ จากทุกหน่วยงานและการประสานงานอย่างใกล้ชิดกับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันสร้างสรรค์และ
แก้ไขปัญหาอุปสรรคให้บังเกิดผลต่อเกษตรกรและประชาชนชาวไทยอย่างยั่งยืนต่อไป (นายธีระ วงศ์สมุทร) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สาร นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปี ๒๕๕๔ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เน้นนโยบายให้ เกษตรกรเป็นศูนย์กลาง ในการดำเนินการตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ตลอดจนการใช้ความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐานในการดำรง ชีวิตและประกอบอาชีพ ให้เป็นไปอย่างรอบคอบ ระมัดระวัง มีการ กระจายความเสี่ยงหรือสร้างเครือข่าย เพื่อใช้ป้องกันให้รอดพ้นจาก วิกฤต ดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน โดยการส่งเสริมการเกษตรตาม แนวทฤษฎีใหม่ ผลิตเพื่อเป็นฐานให้พึ่งตนเองได้ แก่เกษตรกรรายย่อย หรือเกษตรกรที่มีที่ดินทำกินน้อย ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายเพื่อรวม พลั ง ช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ในรู ป แบบวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนแก่ เ กษตรกร
ขนาดกลาง ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกรหรือสหกรณ์ในการบริหารจัดการ สนับสนุนช่วยเหลือสหกรณ์ให้มีแหล่งเงินทุน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการขยายโอกาสทางธุรกิจ ของกลุ่มสหกรณ์ ตลอดจนการอำนวยความสะดวกทางการค้า พัฒนาการผลิตให้มีคุณภาพตรงกับ ความต้องการของผู้บริโภค แก่เกษตรกรรายใหญ่หรือเกษตรกรพาณิชย์ นอกจากนี้ ยังมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตตลอดทั้งห่วงโซ่ ตั้งแต่การผลิต
การแปรรูปและการตลาด เพือ่ ให้ผลิตสินค้าทีไ่ ด้ผลตอบแทนสูงกว่าเดิม สามารถแข่งขันกับต่างประเทศ ได้ โดยส่งเสริมให้ทำการเกษตรในพื้นที่เหมาะสม ให้ความสำคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เน้นการลดต้นทุน พัฒนาปรับปรุงระบบควบคุมคุณภาพและตรวจสอบรับรองสินค้าเกษตรและ อาหารให้ได้มาตรฐาน สร้างความมั่นใจด้านความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค รวมทั้งการวิจัยพัฒนา
สายพันธุพ์ ชื เช่น ข้าว อ้อย ยางพารา กาแฟ ฝ้าย มะพร้าว ทัง้ หมดเป็นการมุง่ มัน่ เพือ่ ให้การดำเนินงาน ด้านการพัฒนาการเกษตรมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุด อันจะนำไปสู่ความกินดีอยู่ดีของ เกษตรกร ประชาชนมีอาหารบริโภคปลอดภัย ผมขอขอบคุณและเป็นกำลังใจให้ทุกท่านที่ได้มุ่งมั่น ตั้งใจที่จะช่วยพัฒนาภาคเกษตรให้ เจริญก้าวหน้า เข้มแข็ง และสามารถพึง่ พาตนเองได้อย่างสมบูรณ์ เพือ่ ประโยชน์ของประเทศชาติสบื ไป (นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สาร นางสาวสุพัตรา ธนเสนีวัฒน์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ในปีที่ผ่านมา นอกจากจะเป็นช่วงที่ประเทศไทยและทั่วโลก ยังคงประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจอย่างรุนแรงแล้ว ยังเกิดภัยธรรมชาติ อย่ า งรุ น แรงในหลายด้ า น จนก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสื่ อ มโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตสินค้าเกษตร ขณะเดียวกันได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ทำให้เกิดการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศแบบทวิภาคีหรือพหุภาคี ซึ่งได้ส่งผลกระทบที่สำคัญต่อ ภาคการเกษตรและเกษตรกรของไทยเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม สินค้าเกษตรของไทยยังคงเป็นสินค้าส่งออก ที่นำรายได้เข้าประเทศสูง จึงนับว่าภาคการเกษตรยังคงมีความสำคัญ อย่างยิ่ง นอกเหนือจากเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ รวมทั้งความ มั่นคงทางอาหารซึ่งเป็นหลักสำคัญที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดำเนินการควบคู่กับการผลิต เพื่อการส่งออก ดังนั้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จำเป็นต้องสร้างความเข้มแข็งในด้านความ สามารถของเกษตรกร ทรัพยากร องค์ความรู้ คุณภาพ ระดับราคาสินค้าเกษตร เทคโนโลยี
สารสนเทศ ตลอดจนเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อพัฒนาภาคเกษตรของประเทศให้ก้าวหน้าทัดเทียมกับ ประเทศอื่น อีกทั้งมีความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกมากขึ้น ดังนั้น ภาระหน้าที่ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการฟื้นฟูอาชีพเกษตรกรและ พัฒนาเกษตรกรรม จึงเป็นหน้าที่ของข้าราชการและเจ้าหน้าที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทุกท่าน ดิฉันหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกท่านจะช่วยกันนำพาองค์กรในการทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ เพื่อความ อยู่ดีกินดีของเกษตรกรและประชาชนตลอดไป (นางสาวสุพัตรา ธนเสนีวัฒน์) ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผู้บริหารระดับสูงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นางสาวสุพัตรา ธนเสนีวัฒน์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายศุภชัย บานพับทอง รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายชวลิต ชูขจร รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายนิวัติ สุธีมีชัยสกุล รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายฉลอง เทพวิทักษ์กิจ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นางจิราวรรณ แย้มประยูร ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายอนันต์ ภู่สิทธิกุล ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายวิจักร อากัปกริยา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายโอฬาร พิทักษ์ ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายวิทยา ฉายสุวรรณ ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายอนันต์ สุวรรณรัตน์ ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเกรียงศักดิ์ หงษ์โต ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายดำรง จิระสุทัศน์ ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายอภิชัย จึงประภา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นางสุภาพร พิมลลิขิต ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายประสงค์ เสี่ยงโชคอยู่ ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายชลิต ดำรงศักดิ์ อธิบดีกรมชลประทาน
นายจักรี สุจริตธรรม อธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
นายวิมล จันทร โรทัย อธิบดีกรมประมง
นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ อธิบดีกรมปศุสัตว์
นายธวัชชัย สำโรงวัฒนา อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน
นายจิรากร โกศัยเสวี อธิบดีกรมวิชาการเกษตร
นางพรรณพิมล ชัญญานุวัตร อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
นายสมชาย ชาญณรงค์กุล อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์
นายวีระชัย นาควิบูลย์วงศ์ เลขาธิการสำนักงานการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม
นายอภิชาต จงสกุล เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตร
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายประเสริฐ โกศัลวิตร อธิบดีกรมหม่อนไหม
นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ อธิบดีกรมการข้าว
นายศักดิ์ชัย ศรีบุญซื่อ ผู้อำนวยการสำนักงาน มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
นายชนะชัย เปล่งศิริวัธน์ ผู้อำนวยการองค์การสวนยาง
นายวิรัช เถื่อนยืนยงค์ ผู้อำนวยการองค์การสะพานปลา
นายนพดล ตันวิเชียร รองผู้อำนวยการ (ทำการแทน) องค์การส่งเสริมกิจการ โคนม
นายกมลวิศว์ แก้วแฝก รักษาการผู้อำนวยการ องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร
นายวิทย์ ประทักษ์ใจ ผู้อำนวยการสำนักงานกองทุน สงเคราะห์การทำสวนยาง
นายศิริพงศ์ หังสพฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัย และพัฒนาพื้นที่สูง
ดร.พีรเดช ทองอำไพ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนา การวิจัยการเกษตร
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ภาพภารกิจ รัฐมนตรีว่าการ และรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ส่วนที่ ๑ ภาพรวมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
1
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิสัยทัศน์ “เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประชาชนมีอาหารบริโภคที่ปลอดภัย และต้องสร้างรายได้ให้กับแผ่นดิน”
พันธกิ จ
๑. ส่งเสริมสถาบันเกษตรกร สนับสนุนเกษตรกรให้พึ่งพาตนเองได้
มีคุณภาพชีวิตที่ดี อาชีพมั่นคง ๒. ส่ ง เสริ ม การผลิ ต สิ นค้ า เกษตรและอาหารให้ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม ขึ้ น สอดคล้องกับความต้องการของตลาด มีมาตรฐานต่อผู้บริโภค ๓. วิจัย พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการผลิตทางการเกษตร ๔. พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตร เน้นการใช้ทรัพยากร การเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ ยั่งยืน และไม่ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม
2
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ เป้ า ประสงค์ ตั ว ชี้ วั ด และเป้ า หมายการให้ บ ริ ก าร ประเด็นยุทธศาสตร์
๑. ฟื้นฟูความเชื่อมั่นด้าน การเกษตร ๒. ปรับโครงสร้างภาคเกษตร ๓. พัฒนา อนุรักษ์และฟื้นฟู ทรัพยากรการเกษตร ๔. การบริหารจัดการที่ดี
เป้าประสงค์
๐ แ ก้ ปั ญ ห า เร่ ง ด่ ว นที่ มี ผ ล กระทบต่ อ การเกษตร เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพการหารายได้ ลดรายจ่ า ย สร้ า งโอกาสใน
อ า ชี พ อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น ใ ห้ แ ก่
เกษตรกร ๐ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาค การเกษตรเพิ่มขึ้น ๐ เกษตรกรได้ รั บ การพั ฒ นา และเสริมสร้างความเข้มแข็ง ๐ ทรั พ ยากรการเกษตรได้ รั บ การพัฒนาอนุรักษ์และฟื้นฟู ๐ ร ะ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น มี คุ ณ ภาพและมี ธ รรมาภิ บ าล เป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ ๐ พั ฒ น า ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ทรั พ ยากรบุ ค คลให้ ส ามารถ ปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ ๐ เกษตรกรได้รับข้อมูลข่าวสาร ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร ทั น เว ล า
ถูกต้อง
ตัวชี้วัดและเป้าหมายการให้ บริการเป้าประสงค์ ๐ ร้อยละความสำเร็จของการ ดำเนินการฟื้นฟูความเชื่อมั่น ด้านการเกษตร ๐ มู ล ค่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวม สาขาเกษตรเพิ่มขึ้น ๐ จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการ พั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งความ เข้มแข็ง ๐ ร้อยละความสำเร็จของการ ดำเนินการพัฒนา ฟื้นฟูและ อนุรักษ์ทรัพยากรการเกษตร ๐ จ ำ น ว น ก ฎ ห ม า ย ข อ ง กระทรวงเกษตรที่ได้รับการ ปรับปรุง ๐ ส่ ว นราชการสามารถเพิ่ ม ประสิทธิภาพและคล่องตัวใน การบริหารจัดการทรัพยากร บุคคล ๐ จ ำ น ว น ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ที่
เผยแพร่สู่เกษตรกร
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
3
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงสร้ า งองค์ ก ร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานรัฐมนตรี กลุ่มอำนวยการ
- สำนักงานปลัดกระทรวง - สำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตร - สำนักงานมาตรฐาน สินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ
- กรมประมง - กรมปศุสัตว์ - กรมวิชาการเกษตร - กรมการข้าว - กรมหม่อนไหม
องค์การมหาชน - สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง - สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตร เฉลิมพระเกียรติ - สำนักงานพัฒนาการวิจัย การเกษตร
4
กลุ่มภารกิจ ด้านบริหาร จัดการทรัพยากร ด้านการผลิต
กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนา การผลิต
- กรมชลประทาน - กรมพัฒนาที่ดิน - สำนักงานการปฏิรูป ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
กลุ่มภารกิจ ด้านส่งเสริม และพัฒนาเกษตรกร และระบบสหกรณ์ - กรมส่งเสริมการเกษตร - กรมส่งเสริมสหกรณ์ - กรมตรวจบัญชีสหกรณ์
รัฐวิสาหกิจ
กองทุน
- สำนักงานกองทุนสงเคราะห์ การทำสวนยาง (ส.ก.ย.) - องค์การสวนยาง (อ.ส.ย.) - องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อ.ต.ก.) - องค์การสะพานปลา (อ.ส.ป.) - องค์การส่งเสริมกิจการโคนม แห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.)
- จัดรูปที่ดิน - พัฒนาสหกรณ์ - เพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและ ผู้ยากจน - ปรับโครงการการผลิตภาค เกษตรฯ - สงเคราะห์เกษตรกร - การปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม - เพื่อผลิตวัคซีนและจำหน่าย - เพื่อผลิตและขยายพันธุ์พืช
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การใช้ทรัพยากร
ขาราชการ พนักงาน ๔๒.๓๗% ราชการตามพั นธกิ จ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในการขับเคลื่อนภารกิจต่างๆ
๒๔.๒๓% เพื่ อ ให้ ก้ า วไปสู่ วิ สั ย ทั ศ น์ ข องกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในปี งขบประมาณ ๒๕๕๔ าราชการ พนักงาน ๔๒.๓๗% กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีการใช้ทรัราชการ พยากรในด้านบุคลากร และงบประมาณ ในการ ๒๔.๒๓%
ปฏิบัติงาน ดังนี้
๑. บุคลากร
จำแนกตามประเภท
จำแนกตามระดับ จำแนกตามวุฒิการศึกษา
พนักงาน ราชการ ๒๔.๒๓%
ลูกจางประจำ ๓๓.๔๐%
ขาราชการ ๔๒.๓๗%
ลูกจางประจำ ๓๓.๔๐%
อำนวยการ ๒.๒๖% อำนวยการ ๒.๒๖% วิชาการ อำนวยการ ๕๗.๗๘% ๒.๒๖% วิชาการ ๕๗.๗๘% วิชาการ ๕๗.๗๘%
ลูกจางประจำ ทั่วไป ๓๓.๔๐% ๓๙.๗๘% ทั่วไป ๓๙.๗๘% บริหาร ๐.๑๙% ทั่วไป ๓๙.๗๘% บริหาร ๐.๑๙% บริหาร ๐.๑๙% ปริญญาตรี ๖๓.๘๒% ปริญญาตรี ๖๓.๘๒%
ต่ำกวาปริญญาตรี ๑๗.๒๓%
ญาโท ปริปริญญญาตรี ปริญญาเอก ๑๘.๑๕% ๖๓.๘๒% ต่ำกวาปริญญาตรี ๐.๐๘% ๑๗.๒๓% ปริญญาโท ปริญญาเอก ๑๘.๑๕% ๐.๐๘% กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔ ต่ำกวาปริรายงานประจำปี ญญาตรี ๑๗.๒๓%
5
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒. งบประมาณ
งบประมาณของส่วนราชการ ปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ (หน่วย : ล้านบาท) หน่วยงาน
ปี ๒๕๕๔
ปี ๒๕๕๕
ส่วนราชการ ๑. สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒. กรมการข้าว ๓. กรมชลประทาน ๔. กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ๕. กรมประมง ๖. กรมปศุสัตว์ ๗. กรมพัฒนาที่ดิน ๘. กรมวิชาการเกษตร ๙. กรมส่งเสริมการเกษตร ๑๐. กรมส่งเสริมสหกรณ์ ๑๑. กรมหม่อนไหม ๑๒. สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
๗๕,๖๑๐.๓๔ ๓,๐๐๓.๖๔ ๑,๕๘๙.๘๓ ๔๑,๘๑๑.๙๒ ๑,๑๑๓.๓๗ ๓,๒๓๗.๗๔ ๔,๗๐๔.๑๗ ๔,๓๖๕.๖๒ ๓,๒๓๓.๑๖ ๕,๒๗๒.๒๒ ๓,๖๗๓.๙๓ ๔๗๔.๔๘ ๑,๗๘๔.๓๔
๗๖,๗๒๑.๒๑ ๒,๗๒๕.๖๗ ๑,๖๓๘.๑๐ ๔๒,๙๑๙.๑๙ ๑,๐๖๑.๔๕ ๓,๒๓๓.๑๖ ๔,๗๕๒.๙๘ ๔,๒๔๗.๑๑ ๓,๖๖๗.๕๕ ๕,๒๐๕.๑๑ ๓,๘๓๙.๓๑ ๔๗๒.๕๘ ๑,๖๖๑.๐๔
เพิ่ม – ลด จำนวน ๑,๑๑๐.๘๗ -๒๗๗.๙๗ ๔๘.๒๗ ๑,๑๐๗.๒๗ -๕๑.๙๒ -๔.๕๘ ๔๘.๘๑ -๑๑๘.๕๑ ๔๓๔.๓๙ -๖๗.๑๑ ๑๖๕.๓๘ -๑.๙๐ -๑๒๓.๓๐
๑๓. สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร แห่งชาติ ๑๔. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
๒๔๓.๕๓
๒๔๓.๔๙
-๐.๐๔
๕๗๓.๙๔
๕๖๑.๖๘
-๑๒.๒๖
๑๕. สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
๓๓๙.๙๕
๓๓๐.๐๐
-๙.๙๕
๑๖. สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)
๑๘๘.๕๐
๑๖๒.๗๘
-๒๕.๗๒
6
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สัดส่วนงบรายจ่ายปี ๒๕๕๔
๑.๓๕% ๓.๒๔%
๕๐.๗๒%
๒๘.๐๕%
๑๖.๖๓%
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
7
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
8
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ส่วนที่ ๒ ผลการปฏิบั ติราชการ
• ผลสัมฤทธิ์และผลการปฏิบัติราชการตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ • ผลการปฏิบัติงานตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ • ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี ๒๕๕๔ • ผลการปฏิบัติงานตามนโยบายรัฐบาล
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
9
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผลสัมฤทธิ์และผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ลงนามในคำรับรองการปฏิบัติราชการระดับกระทรวงและ ระดับกลุ่มภารกิจ รวม ๒๑ ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานรอบ ๑๒ เดือน ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ ค่าคะแนนภาพรวมเท่ากับ ๕.๐๐ สรุปสาระสำคัญของแต่ละตัวชี้วัดได้ดังนี้ ผลสัมฤทธิ์และผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก ตัวชี้วัด คะแนน (ร้อยละ) รวม ๑๔ ตัวชี้วัด
๑๐๐.๐๐ ๑๕.๐๐
๕.๐๐ ๕.๐๐
๑. รายได้เงินสดทางการเกษตรของเกษตรกรเฉลี่ยต่อครัวเรือน (บาท/ครัวเรือน/ปี)
๓.๕๐
๕.๐๐
๒. จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร
๔.๐๐
๓.๐๐
๓. มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคการเกษตร (ล้านล้านบาท)
๓.๕๐
๕.๐๐
๔. ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนการใช้ที่ดินระดับตำบลแบบบูรณาการ
๒.๐๐
๕.๐๐
๕. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วม กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการผลิต
๒.๐๐ ๑๐.๐๐
๕.๐๐ ๕.๐๐
๑. ร้อยละจำนวนฟาร์มที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน
๓.๕๐
๕.๐๐
๒. ร้อยละจำนวนโรงงานที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน
๓.๕๐
๕.๐๐
๓.๐๐ ๑๐.๐๐
๕.๐๐ ๕.๐๐
๑. ร้อยละของเกษตรกรที่มีการใช้ประโยชน์ในที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน
๓.๕๐
๕.๐๐
๒. จำนวนที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่ชลประทาน
๓.๐๐
๕.๐๐
๓. พื้นที่เกษตรกรรมที่ได้รับการจัดการและฟื้นฟูทรัพยากรดิน
๓.๕๐
๕.๐๐
๑๐.๐๐
๕.๐๐
๑. ร้อยละของสหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
๔.๐๐
๕.๐๐
๒. ร้อยละความสำเร็จของการบูรณาการการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
๓.๐๐
๕.๐๐
๓. ร้อยละของสหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์การกำกับดูแลองค์กรที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล
๓.๐๐
๕.๐๐
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๓. ร้อยละของจำนวนเกษตรกร/ผู้ประกอบการที่ได้รับเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ กลุ่มภารกิจด้านบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต
กลุ่มภารกิจด้านส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรและระบบสหกรณ์
10
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผลการปฏิบัติราชการเปรียบเทียบเป้าหมายกับผลการดำเนินงาน
เป้าหมาย ผลการ ปี ๒๕๕๔ ดำเนินงาน
ตัวชี้วัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๑๓๕,๓๕๑
๑๔๐,๑๘๔
๙,๐๐๐
๙,๑๑๖
๑.๒๕
๑.๒๙
๒
๒
๑๙
๑๙
๑. ร้อยละจำนวนฟาร์มที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน
๖๖.๔๘
๖๙.๘๒
๒. ร้อยละจำนวนโรงงานที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน
๙๓.๗๔
๙๕.๗๔
๓. ร้อยละของจำนวนเกษตรกร/ผู้ประกอบการที่ได้รับเครื่องหมาย
๗๐.๐๐
๙๖.๘๘
๑. รายได้เงินสดทางการเกษตรของเกษตรกรเฉลี่ยต่อครัวเรือน (บาท/ครัวเรือน/ปี) ๒. จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง (ราย) ๓. มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคการเกษตร (ล้านล้านบาท) ๔. ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนการใช้ที่ดินระดับตำบลแบบบูรณาการ (ตำบล) ๕. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วม (ข้อ) กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการผลิต
รับรองผลิตภัณฑ์
กลุ่มภารกิจด้านบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิต
๗๕
๙๓.๕๒
๐.๑๔๖๖๕
๐.๑๓๗๓๒
๙
๙.๐๒
๑. ร้อยละของสหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
๗๖.๙๐
๗๙.๐๐
๒. ร้อยละความสำเร็จของการบูรณาการการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
๙๙.๐๑
๑๐๐
๓. ร้อยละของสหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์การกำกับดูแลองค์กรที่ดีตามหลัก
๘๑.๓๒
๙๕.๓๑
๑. ร้อยละของเกษตรกรที่มีการใช้ประโยชน์ในที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน ๒. จำนวนที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่ชลประทาน (ล้านไร่) ๓. พื้นที่เกษตรกรรมที่ได้รับการจัดการและฟื้นฟูทรัพยากรดิน (ล้านไร่) กลุ่มภารกิจด้านส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรและระบบสหกรณ์
ธรรมาภิบาล
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
11
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผลการปฏิบัติงาน ตามโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้น้อมนำโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านต่างๆ มาดำเนินการขยายผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นเกี่ยวกับการช่วยเหลือราษฎรให้มีน้ำ อุปโภคบริโภคและใช้ในการเกษตร และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎร อาทิ • การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรแหล่งน้ำ • เพื่ อ ให้ เ กษตรกรและราษฎรได้ รั บ น้ ำ อย่ า ง
ทั่วถึงและเป็นธรรม โดยการจัดหาแหล่งน้ำและบริหาร จั ด การน้ ำ ประกอบด้ ว ยกิ จ กรรมที่ ด ำเนิ น การ ๒ กิจกรรมคือ การสนับสนุนแหล่งน้ำและการสนับสนุน การพั ฒ นา ซึ่ ง ในปี ๒๕๕๔ สามารถจั ด หาแหล่ ง น้ ำ สนับสนุนโครงการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ต่างๆ จำนวน ๔๑ แห่ง • การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรดิน • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้สนับสนุนให้ เกษตรกรเรี ย นรู้ แ ละเข้ า ใจวิ ธี ก ารอนุ รั ก ษ์ ดิ น และน้ ำ
การปรั บ ปรุ ง บำรุ ง ดิ น โดยใช้ ปั จ จั ย การผลิ ต จำนวน ๑๓๓,๗๒๑ ไร่ รวมทั้งการพัฒนาศูนย์ศึกษาการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำริ และโครงการอันเนื่องมา จากพระราชดำริ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และ แหล่งให้ความรู้การพัฒนาทรัพยากรดินด้านต่างๆ ให้กับ เกษตรกร นักเรียน และผู้สนใจทั่วไป โดยมีผู้เข้าเยี่ยม ชมแล้ว ๑๓๓,๗๒๑ ราย
12
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • การปฏิบัติการฝนหลวงและบริการด้านการบิน • ดำเนิ น การจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก าร ๕ ศูนย์ เพื่อป้องกันและบรรเทา/แก้ไขภาวะความ แห้งแล้ง และเพิ่มปริมาณน้ำให้อ่างเก็บน้ำ พื้นที่ ลุ่มรับน้ำต่าง ๆ ทั่วประเทศ ตามแผนปฏิบัติงาน ประจำปีและตามที่มีการขอรับบริการให้ปฏิบัติ การฝนหลวงช่ ว ยเหลื อ ครอบคลุ ม พื้ นที่ ๒๐๘ ล้ า นไร่ การลดและบรรเทาความรุ น แรงของ หมอกควั น ในบริ เวณพื้ นที่ ภ าคเหนื อ และการ ดำเนิ น งานด้ า นการศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นา เทคโนโลยีการปฏิบัติการฝนหลวงให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งการให้บริการด้านการบิน จำนวน ๑,๕๐๙ .๐๙ ชั่วโมง • การสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ • ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ นการพั ฒ นาอาชี พ ให้ เ กษตรกรในพื้ นที่ โครงการอั น เนื่ อ งมาจาก
พระราชดำริ โดย (๑) จัดทำแปลงต้นแบบ/สาธิตโดยนำ เกษตรกรมาฝึกปฏิบัติงานและนำเกษตรกรมาเข้า รับการศึกษาดูงาน ภายใต้โครงการพระราชดำริ ๒๑๕ โครงการ ได้ฝึกอบรมเกษตรกรด้านการ ผลิตพืช ๙,๕๙๕ ราย จัดทำแปลงทดสอบ/แปลง สาธิตเพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านการผลิตพืช จำนวน ๑๗ แห่ง และแปลง ทดสอบภายใต้โครงการที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ ๒,๕๐๐ ไร่ (๒) ส่งเสริมอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้ราษฎร เพื่อให้ราษฎรมีอาหารโปรตีนจาก
สัตว์น้ำเพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้นและจำหน่ายเป็นรายได้เสริม โดยการผลิตพันธุ์สัตว์น้ำ ๓๐๕.๖๖ ล้านตัว เพื่อปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ บริหารจัดการแหล่งน้ำเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการประมง ๔๕ แห่ง ประมง โรงเรียน ๗๒๒ แห่ง ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ๔,๖๗๕ ราย ฝึกอบรมด้านการ เพาะเลี้ ย ง ด้ า นโภชนาการ และด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ๖,๖๓๔ ราย จั ด ตั้ ง จุ ด เรี ย นรู้ แ ละสาธิ ต การ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ๒๗ แห่ง งานวิจัย ๑ เรื่อง สำรวจ ติดตามและแนะนำเกษตรกร ๗๓๔ ครั้ง รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
13
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (๓) ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาด้ า นการ ปศุสัตว์ แก่เกษตรกร/นักเรียนภายใต้โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ๒๔,๑๒๔ ราย (๔) ถ่ า ยทอดและฝึ ก อบรมความรู้ ความเข้ า ใจในการพั ฒ นาการเกษตรตามแนว ทฤษฎีใหม่ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้แก่เกษตรกรทั่วไปผ่านศูนย์เครือข่ายปราชญ์ ชาวบ้าน จำนวน ๑๓,๕๔๑ ราย (๕) สนับสนุนปัจจัยการผลิตแก่เกษตรกร ๑,๒๕๔ ราย อาทิ พันธ์ุหม่อนและไข่ไหมพันธ์ุดี รวมทั้งวัสดุที่จำเป็นสำหรับการปลูกหม่อน เลี้ยงไหม สาวไหม การฟอกย้อมสีเส้นไหม รวมทั้งจัดฝึกอบรมแก่ เกษตรกร ๑,๒๒๐ ราย และให้คำแนะนำด้านการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม สาวไหม การฟอกย้อม ทอผ้า การออกแบบลวดลาย การแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหม และจัดทำฟาร์มตัวอย่างในด้านการประกอบ อาชีพการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นต้นแบบในการเรียนรู้และศึกษาของเกษตรกรและผู้สนใจทั่วไป (๖) ให้บริการทางวิชาการเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ สภาพพื้นที่ด้านการปลูกข้าว เกษตรกรสามารถนำความรู้จากโครงการ ไปปรับใช้เพื่อเพิ่มผลผลิตและรายได้ จำนวน ๕๐,๒๐๐ ราย นอกจากนี้ ยังได้ดำเนินการจัดทำแปลงเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นแหล่งต้นแบบการทำนาและการเกษตร แผนใหม่อย่างยั่งยืนให้แก่เกษตรกร (๗) สนับสนุนโครงการต่างๆ ตามแนวพระ ราชดำริ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และผลิตเมล็ดพันธ์ุดีให้ได้ ผลผลิตพอต่อการบริโภคในครัวเรือน เป็นแหล่งต้นแบบ การทำนาและการเกษตรแผนใหม่ อ ย่ า งยั่ ง ยื น และ ถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ให้ราษฎร สามารถนำความรู้ ไปปรับใช้เพื่อผลผลิตและรายได้ โดยได้ส่งเสริมและอบรมเกษตรกร ๒๕,๘๓๔ ราย (๘) สนับสนุนการดำเนินโครงการอันเนื่องมา จากพระราชดำริ ๔ ศูนย์ ได้แก่ ๑) ศึกษารูปแบบการพัฒนาการเกษตรห้วยฮ่องไคร้ ๒) ศึกษารูป แบบการพัฒนาการเกษตรภูพาน ๓) ป้องกันและฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำป่าขุนแม่กวง ๔) ศึกษารูปแบบ การพัฒนาการเกษตรปากพนัง ตลอดจน จัดหาน้ำสนับสนุนโครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน ๔๑ แห่ง การจัดหาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำ ๑๔๖ รายการ เพื่อให้เกษตรกรและราษฎรที่อยู่ใน เขตพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริได้รับน้ำอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
14
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (๙) สอนแนะอบรมการจั ด ทำบั ญ ชี รั บ จ่ า ย บั ญ ชี ต้ นกล้ า บั ญ ชี ต้ นทุ น ประกอบอาชี พ
แก่เกษตรกร เจ้าหน้าที่ เยาวชน และประชาชนทั่วไปในพื้นที่ จำนวน ๑๐,๗๕๘ ราย (๑๐) แนะนำส่งเสริมหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ ส่งเสริมการรวมกลุ่มและนำรูป แบบของการสหกรณ์ไปใช้ในการบริหารจัดการกลุ่ม รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนสหกรณ์ในการพัฒนา กิจกรรม/ธุรกิจของสหกรณ์ โดยสนับสนุนเงินอุดหนุนให้สหกรณ์ ๒๕ แห่ง ในพื้นที่โครงการฯ ๑๗ จังหวัด เป็นเงิน ๕.๖๗๒ ล้านบาท รวมทั้งการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ เช่น จัดหาปัจจัยการผลิต รวบรวมผลผลิต ฝึกอบรม ตลอดจนประสานแหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต่ำ ให้สหกรณ์กู้ยืม แห่งละ
ไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท รวม ๑๗ ล้านบาท • การพัฒนาสนับสนุนโครงการหลวง • เน้ น การวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ สนั บ สนุ น งาน โครงการหลวงและขยายผลโครงการหลวงเพื่อให้เกิดการ พัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน โดยการ (๑) ศึ ก ษาการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและคุ ณ ภาพ ผลผลิต การลดต้นทุนการผลิต การฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติ และความอุดมสมบูรณ์ของดิน ศึกษารวบรวมนวัตกรรม
ภูมิปัญญาท้องถิ่นและสร้างมูลค่าเพิ่มจากความหลากหลาย ทางชีวภาพ รวมทั้ง เน้นวิจัยเชิงปฏิบัติการร่วมกับชุมชนใน พืน้ ทีข่ ยายผลโครงการหลวงเพือ่ ให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ ในการนำผลการวิจยั โครงการหลวงไปปรับใช้อย่างเหมาะสม (๒) ถ่ายทอดความรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ด้วยการติดตามและให้
คำปรึกษาแนะนำ และพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนรู้เทคโนโลยีการปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ แก่ เกษตรกรและเยาวชน ๓๘,๕๘๐ คน ครู ศศช. ๓๓,๕๒๐ คน ตลอดจนบริหารจัดการอุทยานหลวง ราชพฤกษ์ จัดกิจกรรมให้ความรู้ระยะสั้น แก่นักเรียน นักศึกษา ข้าราชการและประชาชนทั่วไป ๒,๙๓๐ คน ส่งเสริมหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ จัดกิจกรรมเสริมสร้างการมีส่วนร่วมกับ ชุมชน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มเตรียมสหกรณ์ รวมทั้งสนับสนุนเงินอุดหนุนสร้างอาคาร อเนกประสงค์ ขนาด ๑๙๒ ตร.ม. จำนวน ๗ แห่ง ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ และน่าน ตลอดจนสนับสนุนเงินอุดหนุนสร้างโรงเรือนพลาสติก ขนาด ๑๔๔ ตร.ม. ให้สมาชิกสหกรณ์ในจังหวัด เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา และแม่ฮ่องสอน ๑๒๐ แห่ง
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
15
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • โครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน • สมเด็จพระนางเจ้าฯ สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ มีพระราชเสาวนีย์ให้ดำเนินการโครงการที่เกี่ยวข้องกับ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และมีพระประสงค์ให้ พสกนิกรตระหนักถึงความสำคัญของต้นไม้ น้ำและดิน การอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ที่เป็นแหล่งต้นน้ำ สามารถ ดำรงชีพอยู่ร่วมกับป่าไม้ได้อย่างยั่งยืน ดำเนินการโดย ถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกร จำนวน ๒,๗๗๘ ราย • โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ •
• โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว •
เพื่ อ เป็ น การเสริ ม สร้ า งและพั ฒ นาความ
เข้มแข็งแก่เกษตรกร จึงได้มีการออกให้ความรู้ในด้านพืช ปศุ สั ต ว์ ประมง ดิ น ชลประทาน สหกรณ์ บั ญ ชี กฎหมาย และอื่น ๆ โดยมีเกษตรกรที่ได้รับการบริการ จากคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯประมาณ ๒๕๗,๔๔๘ ราย
เป็นโครงการในพระอุปถัมภ์ พระเจ้าวรวงศ์ เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์พระวรชายา ในสมเด็จพระบรม โอรสาธิ ร าชฯ เพื่ อ พั ฒ นาครอบครั ว ของสมาชิ ก โครงการ ภายใต้ศักยภาพของแต่ละครอบครัว โดยเน้น หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งและการพึ่ ง พาตนเอง พั ฒ นา อาชีพสมาชิกให้มีอาชีพหลักและอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ ส่งเสริมการผลิตอาหารที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการไว้ บริโภคในครอบครัวเป็นการลดรายจ่าย และส่งเสริมให้ สมาชิกครอบครัวมีสุขอนามัยที่ดี มีสุขภาพแข็งแรงทั้งสุขภาพกายและสุขภาพใจ โดยการสนับสนุน ปัจจัยการผลิต เช่น สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าว ๒๕.๐๔ ตัน และถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร จำนวน ๔,๐๕๒ ราย
16
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน • เพื่อสนองพระราชดำริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการพัฒนา เด็กและเยาวชนที่ด้อยโอกาสในถิ่นทุรกันดารให้มี พัฒนาการด้านโภชนาการและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น รวมทั้ ง โครงการสื บ เนื่ อ งมาจากพระราชดำริ ที่ สนับสนุนการขยายผลตามแนวพระราชดำริอื่นๆ โดยถ่ายทอดความรู้ให้เด็กและเยาวชน จำนวน ๔,๑๑๑ ราย
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
17
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ ป ระมาณการอั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตของผลิ ต ภั ณฑ์
มวลรวมภาคเกษตรในปี ๒๕๕๔ มีการขยายตัวร้อยละ ๒.๒ โดยมีปจั จัยต่างๆ ทีส่ ง่ ผลต่อการผลิตและ การค้าภาคเกษตร เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ดั ช นี ผ ลผลิ ต สิ นค้ า เกษตรและดั ช นี ร าคาที่ เ กษตรกรขายได้ ในช่ ว งเดื อ นมกราคม – พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ ๑๑๓.๒๙ สูงกว่าช่วงเดียวกันของปี ๒๕๕๓ ซึ่งอยู่ที่ร้อยละ ๑๐๖.๓๔ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๖.๕ ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกร ขายได้ เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ ๑๗๐.๖๙ เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ที่ร้อยละ ๑๔๙.๕๕ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๔.๑ ดังนั้น โดยภาพรวมผลผลิตและราคาสินค้าเกษตรในปี ๒๕๕๔ มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สถานการณ์ด้านการค้า มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรของไทยใน ช่วงเดือนมกราคม – พฤศจิกายน ๒๕๕๔ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นค่อนข้างมากเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปี ๒๕๕๓ เนื่องจากภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นทั่วโลก สร้างความเสียหายให้กับผลผลิตสินค้าเกษตร ในประเทศผู้ผลิตที่สำคัญ ทำให้ความต้องการสินค้าเกษตรของไทยจากตลาดต่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยการส่งออกสินค้าเกษตรของไทย คิดเป็นมูลค่า ๘๒๕,๒๗๔ ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๓๕.๒ เมื่อเทียบช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา สินค้าเกษตรที่สำคัญเกือบทุกชนิดมีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าว ยางพารา ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ปลาและผลิตภัณฑ์ กุ้งและผลิตภัณฑ์ ขณะที่มูลค่า การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เท่ากับ ๔๘๔,๗๘๙ ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๒๕.๐๐
18
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สัดส่วนมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรต่อมูลค่าการส่งออกสินค้าทั้งหมด (ม.ค. – พ.ย. ๒๕๕๔) การเติบโตของภาวะเศรษฐกิจการเกษตรได้รับอิทธิพลจากปัจจัยภายในและภายนอก ประเทศ รวมทั้ ง ปั จ จั ย ทางธรรมชาติ ซึ่ ง มี ค วามแปรปรวนและยากต่ อ การคาดการณ์ ส่ ง ผลให้ เศรษฐกิจการเกษตรในปี ๒๕๕๔ ขยายตัวร้อยละ ๒.๒ ในช่วงครึ่งแรกของปี ๒๕๕๔ ภาคเกษตรเติบโตได้ในระดับสูง เนื่องจากสภาพอากาศค่อน ข้างเป็นปกติ แม้ว่าในช่วงไตรมาสที่ ๑ จะเกิดภาวะแห้งแล้งในพื้นที่บางส่วนของภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งเกิดปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่ภาคใต้ ซึ่งเป็นแหล่งปลูกยางพาราและปาล์ม น้ำมันที่สำคัญของไทย แต่ก็ไม่ส่งผลกระทบต่อภาพรวมในการผลิตทางการเกษตรมากนัก อย่างไร ก็ตาม ปัญหาอุทกภัยที่เริ่มตั้งแต่ช่วงปลายเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๔ ได้ขยายเป็นวงกว้างครอบคลุม พื้นที่ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง และได้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในช่วง เดือนตุลาคมและพฤศจิกายน ๒๕๕๔ สร้างความเสียหายต่อพื้นที่ทางการเกษตรและผลผลิตสินค้า เกษตรหลายชนิด ส่งผลให้ภาคเกษตรเริ่มหดตัวลงในไตรมาสที่ ๓ และหดตัวต่อเนื่องมากขึ้นใน ไตรมาสที่ ๔ เนื่องจากผลผลิตข้าวนาปีลดลงเกือบ ๔ ล้านตัน จากเป้าหมายการผลิตเดิมที่คาดการณ์ ไว้ว่าจะผลิตได้ในปี ๒๕๕๔/๕๕ สำหรับผลผลิตของพืชสำคัญอื่น ๆ ในภาพรวมทั้งปีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง อ้อยโรงงาน ยางพารา และปาล์มน้ำมัน ขณะที่ ถั่วเหลือง มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย ด้านราคาพืชส่วนใหญ่ อยู่ในเกณฑ์ดี ยกเว้น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สำหรั บ สาขาปศุ สั ต ว์ ผลผลิ ต ปศุ สั ต ว์ ที่ อ อกสู่ ต ลาดเพิ่ ม ขึ้ น ได้ แ ก่ ไก่ เนื้ อ ไข่ ไ ก่ และน้ ำ นมดิ บ เนื่องจากแรงจูงใจทางด้านราคา ส่วนผลผลิตสุกรลดลงจากโรคทางระบบสืบพันธุ์และระบบทางเดิน หายใจ แต่การวางมาตรการควบคุมโรคที่ดีและระบบการเลี้ยงที่ได้มาตรฐาน ทำให้การผลิตปศุสัตว์ ในภาพรวมยังคงขยายตัวได้ ส่วนสาขาประมงหดตัวลงตามปัญหาภัยธรรมชาติและสภาพอากาศที่มี ความแปรปรวน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ ประกอบกับต้นทุนการผลิตด้าน พลังงานและวัตถุดิบอาหารสัตว์น้ำที่เพิ่มสูงขึ้น ทำให้เกษตรกรบางส่วนชะลอการเลี้ยงออกไป
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
19
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำหรับรายละเอียดในแต่ละสาขา มีดังนี้ ๑) สาขาพืช ในปี ๒๕๕๔ การผลิตสาขาพืชขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ ๓.๘ เมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๓ แม้ว่าใน ช่วงต้นปีที่ผ่านมาทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือประสบปัญหาภัยแล้งในบางพื้นที่ ขณะ ที่ภาคใต้ต้องเผชิญกับปัญหาอุทกภัยซึ่งได้สร้างความเสียหายต่อพื้นที่ปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมัน บางส่วน แต่ก็ไม่ส่งผลกระทบต่อการผลิตในภาพรวมมากนัก อย่างไรก็ตาม จากอิทธิพลของพายุ หลายลูกในช่วงต้นไตรมาสที่ ๓ ต่อเนื่องมาถึงไตรมาสที่ ๔ ก่อให้เกิดปัญหาน้ำท่วมเป็นวงกว้างใน พื้นที่ทางการเกษตรเกือบทั้งประเทศ ทั้งพื้นที่ภาคเหนือและพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำภาคกลาง ซึ่งเป็น แหล่งเพาะปลูกข้าวที่สำคัญของประเทศ ส่งผลให้ผลผลิตข้าวนาปีลดลงประมาณ ๔ ล้านตัน จาก
เป้าหมายการผลิตเดิมในปี ๒๕๕๔/๕๕ ที่คาดว่าผลผลิตข้าวนาปีในปีนี้จะมีประมาณ ๒๕.๑๔ ล้านตัน นอกจากนี้ ผลผลิตถั่วเหลือง มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย เนื่องจากเกษตรกรบางส่วนหันไปปลูกพืชชนิด อื่ นที่ ให้ ผ ลตอบแทนดี ก ว่ า สำหรั บ พื ช ที่ มี ผ ลผลิ ต เพิ่ ม ขึ้ น ได้ แ ก่ ข้ า วนาปรั ง ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์
มันสำปะหลัง อ้อยโรงงาน ยางพารา และปาล์มน้ำมัน โดยเฉพาะผลผลิตมันสำปะหลัง และอ้อยโรงงาน ที่เพิ่มขึ้นในระดับสูง ซึ่งเป็นผลมาจากการที่เกษตรกรมีแรงจูงใจจากราคาที่อยู่ในเกณฑ์ดี สำหรับ สินค้าเกษตรอื่นที่มีราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน ยางแผ่นดิบชั้น ๓ และข้าวเปลือกเจ้านาปี
โดยราคาที่สูงนี้เป็นไปตามความต้องการและราคาในตลาดโลก ๒) สาขาปศุสัตว์ การผลิตภาพรวมสาขาปศุสัตว์ปี ๒๕๕๔ มีอัตราการขยายตัวร้อยละ ๑.๒ เมื่อเทียบกับปีที่ ผ่านมา โดยไก่เนื้อ ไข่ไก่ และน้ำนมดิบ มีภาวะการผลิตที่ดีขึ้นจากปี ๒๕๕๓ กล่าวคือ การผลิตไก่เนื้อ มีการบริหารจัดการฟาร์มที่ได้มาตรฐาน มีระบบการผลิตที่ดีและปลอดภัย ทำให้ความสูญเสียจาก ปัญหาโรคระบาดลดลง มีผลผลิตออกสู่ตลาดสม่ำเสมอและเริ่มกลับเข้าสู่ภาวะปกติทั้งในด้าน ปริมาณและคุณภาพ ประกอบกับความต้องการบริโภคไก่เนื้อของตลาดในประเทศที่เพิ่มขึ้นเพื่อ ทดแทนสุกรที่มีปริมาณลดลงและมีราคาสูงขึ้น นอกจากนี้ การส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ไปยัง ตลาดหลักอย่างญี่ปุ่นและสหภาพยุโรปซึ่งเป็นตลาดส่งออกที่มีสัดส่วนรวมกันประมาณร้อยละ ๙๐.๐ มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากปัญหาโรคระบาด และสึนามิในญี่ปุ่น และการคาดการณ์ด้านราคา ของสหภาพยุโรป ด้านการผลิตไข่ไก่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากแม่พันธุ์ไก่ไข่รุ่นใหม่ที่ให้ผลผลิตได้มาก ขึ้น ประกอบกับประสิทธิภาพการผลิตไข่ไก่ที่ดีขึ้นจากการพัฒนาเทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์และการ เลี้ยง ขณะที่ภาวะการผลิตน้ำมันดิบมีปริมาณเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา เนื่องจากแรงจูงใจด้านราคาและ จำนวนแม่โคที่เพิ่มขึ้น ส่วนการผลิตสุกรหดตัวลงจากสถานการณ์โรคทางระบบสืบพันธุ์และระบบทาง เดิ น หายใจ (Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome: PRRS) อย่ า งไรก็ ต าม สถานการณ์น้ำท่วมใหญ่ในช่วงปลายปีได้ส่งผลกระทบต่อการผลิตปศุสัตว์ในบางพื้นที่ โดยเฉพาะการ ผลิตไข่ไก่และสุกรในภาคกลางตอนบน แต่สาขาปศุสัตว์โดยรวมแล้วได้รับผลกระทบค่อนข้างน้อย สำหรับสถานการณ์ด้านราคาปศุสัตว์ยังคงเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการ ของตลาดที่เพิ่มขึ้นในขณะที่ปริมาณการผลิตยังเพิ่มขึ้นได้ไม่มากนัก
20
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๓) สาขาประมง การผลิตสาขาประมงในปี ๒๕๕๔ หดตัวร้อยละ ๒.๖ เนื่องจากผลกระทบจากสถานการณ์ อุทกภัยในหลายพื้นที่ของประเทศไทยตั้งแต่ช่วงต้นปี โดยเฉพาะในแหล่งผลิตประมงทะเลที่สำคัญ ทางภาคใต้ และหลังจากเกิดอุทกภัย เกษตรกรต้องใช้เวลาในการฟื้นตัวอีกระยะหนึ่ง ประกอบกับ สภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนส่งผลต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดของสัตว์น้ำ ทำให้ปริมาณ การผลิตกุ้งทะเลที่ได้จากการเพาะเลี้ยงลดลงร้อยละ ๑๐.๔ อย่างไรก็ตาม ราคากุ้งเพาะเลี้ยงปรับตัว สูงขึ้นเป็นผลมาจากความต้องการเพื่อการส่งออกที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งผลผลิตกุ้งของโลก ลดลงเพราะประเทศผู้ผลิตที่สำคัญ เช่น จีน เวียดนาม และอินโดนีเซีย ประสบปัญหาภัยธรรมชาติ และโรคระบาด ส่วนด้านประมงน้ำจืด ผลผลิตโดยรวมลดลงจากปี ๒๕๕๓ เล็กน้อย เนื่องจากสภาพ อากาศที่แปรปรวน ซึ่งผลผลิตด้านประมงน้ำจืดร้อยละ ๙๐.๐ ใช้บริโภคในประเทศ และร้อยละ ๑๐.๐ เพื่อการส่งออก ๔) สาขาบริการทางการเกษตร สาขาบริการทางการเกษตรในปี ๒๕๕๔ ลดลงร้อยละ ๐.๗ เนื่องจากผลกระทบอุทกภัยใน ช่วงครึ่งหลังของปีนี้ ทำให้เนื้อที่เพาะปลูกและเก็บเกี่ยวพืชผลได้รับความเสียหายทั้งนาข้าว พืชไร่ และพืชสวนต่าง ๆ โดยเฉพาะพื้นที่ปลูกข้าวที่ได้รับความเสียหายค่อนข้างมาก ส่งผลให้การเก็บเกี่ยว ผลผลิตข้าวลดลงตามไปด้วย ๕) สาขาป่าไม้ การผลิตสาขาป่าไม้ในปี ๒๕๕๔ มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕๓ ในอัตราร้อยละ ๒.๒ เนื่องจากผลผลิตของป่าที่สำคัญหลายชนิดมีปริมาณเพิ่มขึ้น ประกอบกับไม้เศรษฐกิจอื่น ๆ เช่น ยูคา ลิปตัส มีแนวโน้มในการปลูกเพิ่มขึ้น อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร หน่วย: ร้อยละ สาขา ๒๕๕๔ ภาคเกษตร ๒.๒ พืช ๓.๘ ปศุสัตว์ ๑.๒ ประมง -๒.๖ บริการทางการเกษตร -๐.๗ ป่าไม้ ๒.๒ ที่มา: ประมาณการโดยสำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
21
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
22
ผลการปฏิบัติงานตามนโยบายรัฐบาล
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๑. นโยบายเร่งด่วน
๑.๑ ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ ๑.๑.๑ การบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ การจัดการน้ำชลประทาน ดำเนิ นการบริ ห ารการส่ ง น้ ำ และระบายน้ ำ การบำรุ ง รั ก ษาระบบชลประทาน และการ ปรับปรุงระบบชลประทาน สามารถส่งน้ำและระบายน้ำให้กับพื้นที่เพาะปลูกในเขตชลประทานจำนวน ๓๔.๒๑ ล้านไร่
งานซ่อมแซมเขื่อนห้วยสะเดาะพงษ์ จ.เพชรบูรณ์
อาคารบังคับน้ำกลางคลอง LMC ลำพระเพลิง กม.๑๑+๔๐๐,๑๒+๙๐๐,๑๖+๑๐๐ จ.นครราชสีมา
๑.๑.๒ การพัฒนาแหล่งน้ำและขยายระบบชลประทาน ๑) การจัดหาแหล่งน้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน เพื่อบรรเทาความเดือนร้อนด้านการขาดแคลนน้ำของประชาชนสำหรับใช้ทำการเกษตร และอุ ป โภคบริ โภค เกษตรกรสามารถได้ รั บ น้ ำ อย่ า งทั่ ว ถึ ง และเป็ นธรรม โดยการก่ อ สร้ า งโครงการ ชลประทานขนาดกลาง ก่อสร้างแหล่งน้ำและระบบส่งน้ำขนาดเล็กในพื้นที่ชุมชน/ชนบท ตลอดจนทำการ ศึกษา สำรวจ ออกแบบ และจัดหาที่ดิน โดยการจัดการงานก่อสร้างโครงการเพื่อเพิ่มพื้นที่ชลประทาน และ การจัดการงานก่อสร้างแหล่งน้ำและระบบส่งน้ำเพื่อชุมชน/ชนบท โดยในปี ๒๕๕๔ มีจำนวนโครงการขนาด กลางที่ดำเนินการแล้วเสร็จ ๓๗ โครงการ จำนวนแหล่งน้ำชุมชน/ชนบทที่เพิ่มขึ้น ๑๔๙ แห่ง มีปริมาณเก็บ กักที่เพิ่มขึ้น ๑๕๘.๑๒ ล้านลูกบาศก์เมตร และสามารถเพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ ๓๗,๒๐๐ ไร่
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
23
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โครงการชลประทานขนาดกลาง
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยน้ำก้อ จ.เพชรบูรณ์
ประตู ร ะบายน้ ำ หั ว งานและอาคารประกอบ
โครงการ ปตร.อัดน้ำกลางคลองแม่น้ำวังทอง จ.พิษณุโลก
โครงการชลประทานขนาดเล็ก
ฝายบ้านหนองกระอ้น จ.ลพบุรี
โครงการฝายคลองโนราศ จ.นครศรีธรรมราช
24
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒) ก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดใหญ่ จำนวน ๑๑ โครงการ เป็นการพัฒนาแหล่งน้ำให้เพียงพอสำหรับส่งน้ำในพื้นที่เพาะปลูก ช่วยเพิ่มผลผลิตต่อไร่ ป้องกันการรุกล้ำของน้ำเค็ม ช่วยป้องกันและบรรเทาอุทกภัย สามารถเพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ประมาณ ๑๐๐,๑๑๗ ไร่ ประกอบด้วย โครงการคลองสียัด จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อพัฒนาแหล่งน้ำบริเวณลุ่มน้ำบางปะกง ให้มีน้ำเพียงพอสำหรับส่งน้ำให้พื้นที่เพาะปลูก ประมาณ ๑๘๒,๐๐๐ ไร่ มีจำนวนพื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น ๒๙,๕๐๐ ไร่
โครงการประแสร์ จังหวัดระยอง เพื่อพัฒนาแหล่งน้ำในบริเวณลุ่มน้ำประแสร์ให้มีน้ำ เพี ย งพอสำหรั บ ส่ ง น้ ำ ให้ พื้ น ที่ เพาะปลู ก ประมาณ ๑๗๕,๐๐๐ ไร่ มี จ ำนวนพื้ น ที่ ช ลประทานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ๒๓,๐๐๐ ไร่
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
25
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โครงการเขื่อนแควน้อยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อช่วยบรรเทาอุทกภัยบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำแควน้อยตอนล่างของ จ.พิษณุโลก พัฒนา แหล่งน้ำในลุ่มน้ำแควน้อยให้มีน้ำเพียงพอสำหรับส่งน้ำให้พื้นที่เพาะปลูก ประมาณ ๑๕๕,๑๖๖ ไร่ ส่งเสริม การเพาะปลูกในฤดูแล้งแก่พื้นที่ชลประทานเจ้าพระยาประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ ไร่ และเสริมให้โครงการ ชลประทานสูบน้ำด้วยไฟฟ้าที่อยู่ในแม่น้ำแควน้อย พื้นที่ ๒๔,๐๐๐ ไร่ ทำให้มีจำนวนพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น ๓๕,๖๑๗ ไร่
โครงการกิ่วคอหมา จังหวัดลำปาง เพื่อเป็นแหล่งน้ำสำหรับการเพาะปลูกในด้านการเกษตร ในพื้นที่ ๙๐,๒๐๐ ไร่ รวมทั้งเพื่อ อุปโภคบริโภค อุตสาหกรรม ประมง และช่วยลดอุทกภัยบริเวณท้ายเขื่อน ทำให้มีจำนวนพื้นที่ชลประทาน เพิ่มขึ้น ๑๒,๐๐๐ ไร่
26
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โครงการผันน้ำจากพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวัน ออก-อ่างเก็บน้ำบางพระ เพื่อวางระบบท่อผันน้ำพร้อมอาคารประกอบ จากคลองพระองค์ ไชยานุ ชิ ต ไปยั ง อ่ า งเก็ บ น้ ำ
บางพระ จังหวัดชลบุรี และให้อ่างเก็บน้ำบางพระ มีปริมาณน้ำเพียงพอในการอุปโภค-บริโภค การ อุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นการสร้าง เสถี ย รภาพทางด้ า นการจั ด การน้ ำ ให้ แ ก่ พื้ น ที่ เศรษฐกิจในจังหวัดชลบุรี โครงการผันน้ำจากพื้นที่จังหวัดจันทบุรีไปยังแหล่งเก็บกักน้ำจังหวัดระยอง เพื่อวางระบบท่อผันน้ำพร้อมอาคารประกอบจากคลองวังโตนด จังหวัดจันทบุรี ไปยังอ่าง เก็ บ น้ ำ ประแสร์ จั ง หวั ด ระยอง เพื่ อ ให้ อ่ า งเก็ บ น้ ำ ประแสร์ มี ป ริ ม าณน้ ำ เพี ย งพอในการเกษตร การ อุตสาหกรรม การอุปโภค-บริโภค และการท่องเที่ยวซึ่งเป็นการสร้างเสถียรภาพทางด้านการจัดการน้ำให้ แก่พื้นที่การเกษตรจังหวัดระยอง โครงการพัฒนาลุ่มน้ำตาปี-พุมดวง จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อเพิ่มพื้นที่ชลประทาน ๗๓,๙๘๐ ไร่ โดยสามารถส่งน้ำในฤดูฝน ๗๓,๙๘๐ ไร่ และใน ฤดูแล้ง ๕๗,๘๑๙ ไร่ เพื่อการอุปโภค-บริโภค และเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร โครงการบรรเทาอุทกภัยเมือง จันทบุรี (แผนระยะที่ ๒) เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการ จั ด การน้ ำ หลากและการระบายน้ ำ เพื่ อ การ บรรเทาอุ ท กภั ย ในพื้ นที่ ตั ว เมื อ งจั นทบุ รี แ ละเป็ น แหล่งเก็บกักน้ำบางส่วนสำหรับการเกษตร รวมทั้ง สามารถป้ อ งกั นการรุ ก ล้ ำ ของน้ ำ เค็ ม เข้ า มาใน บริเวณพื้นที่โครงการในช่วงฤดูแล้ง
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
27
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โครงการเขื่อนทดน้ำผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารจั ด การน้ ำ ในลุ่ ม น้ ำ น่ า น
ตอนล่ า งเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด และเพื่ อ พั ฒ นา ระบบชลประทาน ประมาณ ๔๘๑,๔๐๐ ไร่ (พัฒนา พื้นที่เกษตรน้ำฝนที่มีศักยภาพให้เป็นพื้นที่ชลประทาน ประมาณ ๓๐๔,๐๐๐ ไร่ ส่ ง น้ ำ สนั บ สนุ น และ
ปรับเปลี่ยนระบบส่งน้ำจากเดิมโดยการสูบน้ำ ด้วย ไฟฟ้ า เป็ น ระบบส่ ง น้ ำ ด้ ว ยแรงโน้ ม ถ่ ว ง ประมาณ ๑๓๔,๘๐๐ ไร่ และพื้นที่โครงการชลประทานน้ำริด จังหวัดอุตรดิตถ์ประมาณ ๔๒,๖๐๐ ไร่) โครงการอ่างเก็บน้ำคลองหลวง จังหวัดชลบุรี เพื่ อ พั ฒ นาแหล่ ง น้ ำ ต้ น ทุ น และเพิ่ ม พื้ น ที่ ชลประทาน เพื่ อ ใช้ เป็ น แหล่ ง น้ ำ ด้ า นการอุ ป โภค บริโภค อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และเพื่อป้องกัน และบรรเทาปั ญ หาอุ ท กภั ย ในพื้ นที่ ชุ ม ชนและเขต เกษตรกรรม โครงการห้ ว ยโสมงอั น เนื่ อ งมาจากพระ ราชดำริ จังหวัดปราจีนบุรี เพื่ อ พั ฒ นาแหล่ ง น้ ำ ต้ น ทุ น และเพิ่ ม พื้ น ที่ ชลประทาน เพื่ อ บรรเทาอุ ท กภั ย ในพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ ำ ปราจีนบุรีและลุ่มน้ำสาขา เพื่อประโยชน์ในการใช้ เป็นแหล่งน้ำด้านการอุปโภค-บริโภค และการประปา รวมทั้ง เพื่อรักษาระบบนิเวศผลักดันน้ำเค็มและน้ำ เน่าเสียในแม่น้ำปราจีนบุรีและแม่น้ำบางปะกง
28
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๑.๑.๓ การปัองกันและบรรเทาภัยจากอุทกภัย เพื่อให้เกษตรกรได้รับการบรรเทาหรือลดการสูญเสียจากการเกิดอุทกภัย โดยการปรับปรุง เขื่อน พัฒนาแก้มลิง ตลอดจนการพัฒนาระบบระบายน้ำ ในพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่เขตเศรษฐกิจ ทำให้ พื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหายจากอุทกภัยลดลงจำนวน ๐.๓๙๓ ล้านไร่
พนังกั้นน้ำป้องกันตลิ่งแม่น้ำป่าสัก จ.เพชรบูรณ์
๑.๑.๔ การจัดหาแหล่งน้ำในระดับไร่นาและชุมชน ดำเนินการขุดสระน้ำในไร่นานอกเขต ชลประทานขนาด ๑,๒๖๐ ลูกบาศก์เมตร เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการกักเก็บน้ำไว้ใช้ในพื้นที่เกษตรกรรม แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ และความต้องการน้ำ เพื่ อ การเกษตรของเกษตรกรในพื้ น ที่ น อกเขต ชลประทาน หรือพื้นที่ที่ส่งน้ำไปไม่ถึง โดยเกษตรกรมี ส่วนร่วมในการสมทบค่าใช้จ่าย ๒,๕๐๐ บาท/บ่อ จำนวน ๘,๓๐๗ บ่อ
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
29
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๑.๒ โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อยกระดับรายได้ครัวเรือนและเพิ่มมูลค่าการผลิตภาคเกษตรตามแผนพัฒนาพิเศษ ๕ จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ซึ่งได้บูรณาการทำงานร่วมกันของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ หน่วยงานในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง โดยได้ดำเนินการ ดังนี้ ๑) ฟื้นฟูนาร้างเพื่อปลูกข้าว โดยสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี ๕๕.๕๗ ตัน สนับสนุนปุ๋ยเคมี จำนวน ๑๑๔. ๗๔ ตัน อบรมเกษตรกร จำนวน ๑,๔๕๖ ราย รวมทั้ง จัดทำโครงการพัฒนาการผลิตข้าว
ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี ๕.๑๓ ตัน
ไถเตรียมพื้นที่แล้ว ๖๔๑ ไร่ อบรมเกษตรกร ๑๘๙ ราย สนับสนุนถุงบรรจุข้าว จำนวน ๖,๐๐๐ ใบ ๒) ปรับปรุงฟื้นฟูนาร้าง ขุดคู ยกร่องเพื่อปลูกปาล์มน้ำมัน ๑๕,๕๔๖.๕๐ ไร่ และส่งเสริมการ ปลูกปาล์มน้ำมันแก่สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ โดยสนับสนุนเงินอุดหนุนแก่สหกรณ์เพื่อจัดหา ปุ๋ย ยา และสารเคมี ให้กับสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการปีที่ ๑–๓ แก่สหกรณ์ ๔ แห่ง พื้นที่ ๖๓,๕๘๕ ไร่ สมาชิก ๖,๔๖๓ ราย
๓) ส่งเสริมการปลูกยางพาราในพื้นที่ว่างเปล่า โดยให้ความช่วยเหลือเกษตรกรในการปลูกยาง พารา ๖๙๖ หมู่บ้าน จำนวน ๓,๑๐๖ ราย เนื้อที่ ๑๗,๑๕๑.๙๕ ไร่ ตลอดจนอนุมัติให้การสงเคราะห์ ๒,๙๕๘ ราย เนื้อที่ ๑๖,๖๕๕.๙๕ ไร่ และพัฒนาอาชีพด้านการปลูกปาล์มน้ำมัน พืชผัก พืชไร่ ไม้ผล จำนวน ๒,๘๘๕ ราย พื้นที่ ๔,๑๙๗ ไร่ ๔) ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ๔,๕๗๑ ราย ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการ ประมง รวมทั้งการแปรรูปสัตว์น้ำ การถนอมอาหารสัตว์น้ำให้เกษตรกร ๑๘,๗๕๒ ราย ส่งเสริมประมง โรงเรียนในโรงเรียนทั่วไป และโรงเรียนปอเนาะ ๓๓๐ แห่ง เพื่อเป็นอาหารกลางวันแก่นักเรียน และการ
ส่งเสริมอาชีพการทำประมงพื้นบ้านและประมงชายฝั่ง จัดสร้างแหล่งอาศัยสัตว์ทะเล ๕ แห่ง
30
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๕) ส่ ง เสริ ม อาชี พ การเลี้ ย งสั ต ว์ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต และวั ฒ นธรรม ตามผลการทำ ประชาคมโดยใช้วัสดุการเกษตรที่มีในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ แก่กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อ กลุ่มเกษตรกร
ผู้เลี้ยงแพะนม/แพะเนื้อ และกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ปีก ๓๗,๙๗๓ ราย
๖) อบรมการดำเนินชีวิตและส่งเสริมการทำอาชีพเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ แก่เกษตรกร จำนวน ๔,๐๕๘ ราย ตลอดจนส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรผ่านศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้าน การเกษตร อาสาสมัครเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งเป็นเสมือนผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ของรัฐในการเข้าไปให้ข้อมูลการให้ ความช่วยเหลือของรัฐ หรือสำรวจข้อมูลครัวเรือนถึงความต้องการความช่วยเหลือของเกษตรกรในพื้นที่ที่ เสี่ยงภัยนำมาแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบ เพื่อที่จะได้วางแผนการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับความต้องการของ เกษตรกรในพื้นที่อย่างแท้จริง
๑.๓ การช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ
๑.๓.๑ โครงการช่วยเหลือพื้นที่ประสบอุทกภัย ปี ๒๕๕๔ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดำเนินโครงการปรับปรุงดิน เพื่อช่วยเหลือส่งเสริม สนับสนุนให้เกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติในพื้นที่ ๖ จังหวัดภาคกลาง (สระบุรี สุพรรณบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง และพระนครศรีอยุธยา) ปรับปรุงแก้ไข ปัญหาพื้นที่เพาะปลูก โดยการจัดซื้อปูนเพื่อการเกษตร (โดโลไมท์) จำนวน ๑๒,๔๙๔.๔๐ ตัน สำหรับการ ปรับโครงสร้างของพื้นที่ให้มีสภาพเหมาะสม สามารถทำนา ปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้นให้ได้ผลผลิตสูงขึ้น
ในพื้นที่ ๒๔,๙๘๘.๘๐ ไร่ ๑.๓.๒ โครงการฟื้นฟูพื้นที่ดินถล่มในภาคใต้ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๔ เห็นชอบให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดำเนินโครงการฟื้นฟูพื้นที่ดินถล่มในภาคใต้ (สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และกระบี่) โดยจัดทำระบบ อนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ดินถล่ม ปรับสภาพพื้นที่โดยการจัดการเศษซากพืชและเศษหินออกจากพื้นที่ทำการ เกษตร ขุดลอกตะกอนดินและทำร่องระบายน้ำในพื้นที่ตะกอนดินทับถม ประมาณ ๘,๔๗๕.๕๒ ไร่
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
31
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒.นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจภาคเกษตร ๒.๑ การพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร
๒.๑.๑ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาคเกษตร ๑) โครงการอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน ดำเนินการคัดเลือกอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน ๗๗ จังหวัด ได้อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน รวม ๗๕,๑๘๑ ราย รวมทั้งได้จัดทำสมุดประจำตัวแก่อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้านพร้อมจัดส่งให้เรียบร้อยแล้ว ๒) การสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการ อาชีวศึกษา (สอศ.) ได้มีข้อตกลงความร่วมมือในการ สร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ โดยมีเป้าประสงค์ เพื่อสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ที่มีความรู้ทั้งด้านทฤษฏี และปฏิ บั ติ ผ่ า นกลไกของวิ ท ยาลั ย เกษตรและ เทคโนโลยี วิทยาลัยประมง และวิทยาลัยการอาชีพ ทั่ ว ประเทศ มาตั้ ง แต่ ปี ๒๕๕๑ และได้ ด ำเนิ น กิจกรรมและปรับปรุงหลักสูตรการฝึกอบรมมาอย่าง ต่อเนื่อง โดยในปี ๒๕๕๔ มีการดำเนินงาน อาทิ การ จั ด หาที่ ดิ นตามเกณฑ์ ส.ป.ก. การปรั บ ปรุ ง โครงการพื้ นฐานในสถานศึ ก ษา (ขุ ด ลอกแหล่ ง น้ ำ ) การ พัฒนาที่ดินรายแปลงให้แก่เกษตรกรที่ได้รับการฝึกอบรมตามหลักสูตรเพื่อให้สามารถทำการเกษตรได้อย่าง มีประสิทธิภาพมากขึ้น การร่วมเป็นวิทยากรอบรมการเกษตรด้านพืช ประมง ปศุสัตว์ และด้านอื่นๆ อาทิ การแปรรูปผลผลิต การบริหารจัดการเพื่อเพิ่มรายได้ – ลดรายจ่าย เช่น การทำบัญชี การจัดการด้านการ ตลาด การรวมกลุ่มและจัดตั้งกลุ่ม/สหกรณ์ และการจัดศึกษาดูงาน ในพื้นที่จริง จำนวน ๗,๕๑๒ ราย ๓) การจัดทำทะเบียนเกษตรกร จั ด ท ำ ท ะ เ บี ย น ก า ร ป ลู ก พื ช เศรษฐกิจ ๓ ชนิด ได้แก่ ข้าว มันสำปะหลัง และ
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพื่อนำไปสู่การประกันรายได้ของ เกษตรกร โดยให้สำนักงานเกษตรอำเภอบริการรับ ขึ้นทะเบียนและออกใบรับรอง เพื่อให้เกษตรกรใช้ เป็ น หลั ก ฐานในการไปทำสั ญ ญากั บ ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ ก ารเกษตรต่ อ ไป โดยมี เกษตรกรผู้ปลูกพืชขึ้นทะเบียน จำนวน ๕.๘๖๒ ล้าน ครัวเรือน
32
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒.๑.๒ การพัฒนาธุรกิจสถาบันเกษตรกร/สนับสนุนบทบาทของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ๑) การส่งเสริมและพัฒนาสถาบันการเกษตร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงาน จำนวน ๑๑,๙๖๗ แห่ง ในด้านหลักการ วิธี การสหกรณ์ ด้านการดำเนินธุรกิจและการบริหารจัดการ ด้านกำกับดูแลให้เป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ ด้านการจัดตัง้ / ควบ/แยก และมีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ๔,๑๘๘ แห่ง กลุ่ ม เกษตรกรผ่ า นเกณฑ์ ม าตรฐาน ๓,๑๕๓ แห่ ง
รวมทั้งการให้คำปรึกษา แนะนำแก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดำเนินงาน/ธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์กร ฯลฯ รวม ๑๐,๓๗๖ แห่ง ตรวจการสหกรณ์ในฐานะ
ผู้ตรวจการสหกรณ์ที่นายทะเบียนแต่งตั้งเพื่อกำกับดูแลสหกรณ์ ในเรื่องของการตรวจสอบกิจการและฐานะ การเงิน ๖,๔๓๙ แห่ง และ แนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้สามารถปิดบัญชีได้ จำนวน ๑๐,๘๕๓ แห่ง
โดยปิดบัญชีได้ภายใน ๓๐ วัน รวม ๙,๐๒๓ แห่ง ๒) การส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน เพื่ อสนับสนุนการทำงานของคณะ กรรมการ อนุกรรมการ หรือคณะทำงานต่างๆ ที่ตั้งขึ้น
ภายใต้ พรบ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ให้สามารถ เป็ น กลไกหลั ก ในการขั บ เคลื่ อ นงานส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา วิสาหกิจชุมชน รวมทั้ง พัฒนากระบวนการเรียนรู้แก่แกนนำ และสมาชิกวิสาหกิจชุมชน ให้สามารถกำหนดแนวทางและ จั ด ทำแผนการพั ฒ นากิ จ การวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนได้ ตลอดจน พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จำนวน ๑๗,๖๓๕ ราย ๓) ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่ อ แสดงความเห็ น ต่ อ งบการเงิ น พร้ อ มทั้ ง ให้ ข้ อ สังเกต ข้อเสนอแนะ และนำเสนอภาวะเศรษฐกิจทางการ เงิ น ของสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรให้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง โปร่งใส พึ่งพาตนเองได้ โดยมีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ ต้องให้การกำกับดูแลและให้การตรวจสอบบัญชี จำนวน ๑๑,๗๗๔ แห่ง มีสินทรัพย์รวม จำนวน ๑.๕๒ ล้านล้านบาท มีปริมาณธุรกิจ จำนวน ๑.๗๕ ล้านล้านบาท และสมาชิกทั้ง สิ้น ๑๑.๙๗ ล้านคน ซึ่งขณะนี้มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการตรวจสอบบัญชีแล้ว จำนวน ๑๑,๗๖๕ แห่ง ในจำนวนนี้สามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินแล้ว จำนวน ๑๐,๖๕๘ แห่ง รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
33
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒.๑.๓ การช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย การฟื้นฟูอาชีพและแก้ไขปัญหาหนี้สินของเกษตรกร ๑) ดำเนินโครงการลดภาระหนี้เกษตรกรรายย่อยและยากจนผ่านสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๑ โดยชดเชยดอกเบี้ยเงินกู้ร้อยละ ๓ ต่อปี ให้แก่สมาชิก ที่มาชำระหนี้ให้กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยการสนับสนุนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน ๒,๓๑ สถาบัน เกษตรกรที่ประสบอุทกภัย ปี ๒๕๕๑ โดยกรณีสมาชิกที่เสียชีวิต ให้จำหน่ายหนี้ออกจากบัญชีของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรเป็นสูญ รัฐบาลรับภาระชำระหนี้ให้แทน ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๒ โดยชดเชยดอกเบี้ยให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร หลังจากพักชำระหนี้สมาชิกปีที่ ๓ จำนวน ๗,๙๒๙ ราย ๒.๑.๔ สนับสนุนการดำเนินงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ ในปี ๒๕๕๔ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ดำเนิน การเพื่อให้ได้มาซึ่งสภาเกษตรกรจังหวัดและสภาเกษตรกร แห่งชาติตามพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ โดย ให้มีการจัดทำบัญชีรายชื่อเกษตรกรผู้มีสิทธิ เลื อ กตั้ ง ร่ ว มกั บ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จำนวน ๑๙,๙๓๙,๘๙๐ คน แล้วจัดการเลือกตั้ง เพื่อให้ได้มา ซึ่งสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัด และสมาชิกสภาเกษตรกร แห่งชาติ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัด และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ซึ่งมีสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัด รวมทั้งสิ้น ๑,๓๒๔ คน และในวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๔ สมาชิก สภาเกษตรกรจังหวัดได้เลือกประธานสภาเกษตรกรจังหวัดและรองประธานสภาเกษตรกรจังหวัด รวม ๗๗ คน ซึ่งจะเป็นสมาชิกสภาเกษตรกรแห่งชาติ ประเภทที่ ๑ ตามมาตรา ๕ (๑)แล้วมีการรับขึ้นทะเบียน องค์กรเกษตรกร ซึ่งมีองค์กรเกษตรกรขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ รวมทั้งสิ้น ๑,๔๖๕ องค์กร เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๔ รวมทั้งมีการศึกษายกร่างหลักเกณฑ์การได้มาซึ่ง สมาชิกสภาเกษตรกรแห่งชาติ ตามมาตรา ๕(๒) และ (๓) ตามพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้บัญญัติคุณสมบัติของสมาชิกสภาเกษตรกรแห่งชาติประเภทตัวแทนองค์กรเกษตรกร ตามมาตรา ๗ (๓) ว่า ต้องเป็นเกษตรกรที่เป็นสมาชิกขององค์กรเกษตรกรมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี ดังนั้น เพื่อให้การ คัดเลือกสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดประเภทตัวแทนองค์กรเกษตรกรได้เร็วขึ้น กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ จึงได้มีหนังสือหารือไปยังสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รวม ๒ ฉบับ ซึ่งผลการหารือสรุปได้ ว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และสหกรณ์ สามารถอาศัยอำนาจตามบทเฉพาะกาล มาตรา ๕๒ ยกเว้นคุณสมบัติของตัวแทนองค์กรเกษตรกรไม่ต้องมีอายุสมาชิกครบ ๑ ปี ได้ ซึ่งอยู่ระหว่าง จัดทำร่างหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการได้มาซึ่งสมาชิกสภาเกษตรกรแห่งชาติตามมาตรา ๕ (๒) ต่อไป
34
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒.๑.๕ ส่งเสริมการทำเกษตรยั่งยืนตามแนวพระราชดำริ
๑) ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ส่งเสริมให้เกษตรกรที่ยากจนหรือเกษตรกรทั่วไปเข้าร่วม โครงการศู น ย์ เรี ย นรู้ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งชุ ม ชนเพื่ อ รั บ การฝึ ก ปฏิบัติหรือการฝึกอบรมจากศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีกิจกรรมให้ความรู้ด้าน พืช ปศุสัตว์ ประมง การแปรรูปและทักษะการเกษตรอื่นๆ เพื่อ ให้มีทางเลือกหลากหลายในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
และสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในพื้นที่ที่มีอยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยดำเนินการในศูนย์หลัก ๒๒๕ กลุ่ม เกษตรกร ๖,๗๕๐ ราย ศูนย์โรงเรียน ๓๘๕ แห่ง เกษตรกร ๑๒,๗๕๐ ราย ตลอดจนดำเนินการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านการเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอ เพียง พร้อมทั้งได้รับการฝึกปฏิบัติจริงในพื้นที่ผ่านศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน และศูนย์เครือข่าย ปราชญ์ชาวบ้าน แก่เกษตรกรจำนวน ๓๔,๑๕๕ ราย รวมทั้ง ได้ใช้ศูนย์/สถานีต่างๆ อาทิ สถานีประมง ปศุสัตว์ พัฒนาที่ดิน ที่มีศักยภาพเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนเฉพาะด้าน ๒) การพัฒนาการเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการ สนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนำแนวทางตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ ใช้ จำนวน ๑๕๔ แห่ง ๗,๖๘๒ ราย และพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่นิคมสหกรณ์ ๕๓ แห่ง ๗๙ สหกรณ์ รวมทั้ง บริหารจัดการสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ ๗๗ แห่ง ตลอดจนอบรมเกษตรกรอาสาสมัคร เกษตร ๙๑,๖๕๙ ราย ๓) การดำเนิ น งานพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ กษตร ดำเนิ น การจั ด แสดงนิ ท รรศการในอาคารและ
นอกอาคารเพือ่ ถ่ายทอดองค์ความรู้ พระอัจฉริยภาพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ด้านการเกษตร นวัตกรรม และเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างต้นแบบเกษตรพอเพียงเมือง ฐานเรียนรู้เกษตรประณีต วิถีชีวิตพอเพียง
๔ ภาค รวมทั้ง การจัดมหกรรมเกษตรเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
๔) การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีแก่เกษตรกร ด้านพืช ๓๙,๑๑๐ ราย ด้านประมง ๒๖,๖๐๘ ราย และ ด้านปศุสัตว์ ๓๘,๖๒๑ ราย รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
35
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒.๒ การพัฒนาการผลิต
๒.๒.๑ โครงการลดต้นทุนการผลิต การส่งเสริมการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร ได้มีการวิเคราะห์ดินที่ประกอบด้วยค่าปฏิกิริยาดิน (pH) ปริมาณอินทรียวัตถุ (organic matter) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P) และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (Available K) จำนวน ๗๒,๔๘๔ จุด จากโครงการปรับปรุงระบบฐานข้อมูลดินรายหมู่บ้าน (โครงการ ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลดินสำหรับการแนะนำการใช้ปุ๋ยด้วยโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง ระยะที่ ๑) เพื่อ
ส่งมอบให้แก่คณะอนุกรรมการกำหนดคำแนะนำสูตรปุ๋ยลดต้นทุน สำหรับนำไปกำหนดชนิดและอัตราการใช้ ปุ๋ยในพื้นที่ตำบลต่างๆ สำหรับข้าว ข้าวโพด และมันสำปะหลัง เพื่อส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่อง การใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนอย่างเข้มข้น อีกทั้งยังได้จัดฝึกอบรมหลักสูตร “การใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิตของ เกษตรกร” ให้แก่หมอดินอาสาและข้าราชการกรมพัฒนาที่ดิน จำนวน ๑,๕๐๐ คน ๒.๒.๒ การผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต ได้ดำเนินการผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต ดังนี้ ๑) พืชไร่ ผลิตพืชไร่พันธุ์ดี ๑๒ ชนิด ได้แก่ เมล็ดพันธุ์ ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วหรั่ง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวโพดฝักสด ข้าวฟ่าง งา ทานตะวัน ฝ้าย และ ถั่วพุ่ม รวม ๘๕๘.๖๖ ตัน และ
ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง จำนวน ๑๗ ล้านท่อน
๒) พืชสวน มีการผลิต ๒๔ ชนิดพืช อาทิ กลุ่มไม้ผล กลุ่มพืชสวนอุตสาหกรรม พืชผัก
ไม้ดอกไม้ประดับ และ พืชสมุนไพร
36
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๓) ปัจจัยการผลิต จำนวน ๑๔ ชนิด คือ กลุ่มผลิตภัณฑ์ชีวินทรีย์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช
๓ ชนิด กลุ่มปุ๋ยชีวภาพ ๔ ชนิด กลุ่มตรวจสอบเชื้อจุลินทรีย์ ๓ ชนิด กลุ่มแมลงกำจัดศัตรูพืช ๒ ชนิด
และกลุ่มเชื้อพันธุ์บริสุทธิ์ ๒ ชนิด ทั้ ง นี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ มี ก ารกระจายพั นธุ์ พื ช และปั จ จั ย การผลิ ต สู่ ก ลุ่ ม
เป้าหมายในปี ๒๕๕๔ ร้อยละ ๘๖.๔๕ ของผลผลิตที่ผลิตได้
๒.๒.๓ การส่งเสริมวิจัยพัฒนาสายพันธุ์ และการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ดำเนินการศึกษา ค้นคว้า วิจัยและพัฒนาปรับปรุงพันธุ์พืช ประมง ปศุสัตว์ และเทคโนโลยี การเกษตรเพื่อให้เกษตรกรได้พันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูง คุณภาพดี เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ได้แก่ ๑) ด้านพืช ดำเนินการผลิตพันธุ์ที่มีคุณภาพดีให้ผลผลิตสูง และต้านทานโรค อาทิ อ้อย อู่ทอง ๘๔-๑๐ กาแฟโรบัสต้าชุมพร ๘๔-๔ ฝ้ายตากฟ้า ๘๔-๔ ยางพาราพันธุ์เฉลิมพระเกียรติ ๙๘๔ มะพร้าวลูกผสมกะทิชมุ พร ๘๔-๑ ถัว่ ลิสงพันธุข์ อนแก่น ๘๔-๗ ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุช์ ยั นาท ๘๔-๑
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
37
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒) ด้านปศุสัตว์ วิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ ๘๘ เรื่อง ผลิตสัตว์พันธุ์ดีได้ ๒.๒๒ ล้านตัว และผลิตพันธุ์พืช อาหารสัตว์พันธุ์ดีที่ได้ ๑๒,๒๙๗ ตัน
๓) ด้านประมง ดำเนินการศึกษา ค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะ เลี้ยงสัตว์น้ำจืด สัตว์น้ำชายฝั่ง และปรับปรุงพันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน ๑๐๕ เรื่อง ศึกษา สำรวจ วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับแหล่งทำการ ประมงในน่านน้ำไทย พื้นที่ทับซ้อน น่านน้ำสากล รวมทั้งร่วมทำการ สำรวจวิจัยในน่านน้ำต่างประเทศ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการทำการ ประมงทะเล และพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับเครื่องมือประมง เรือ ประมง และวิธีทำการประมงทะเล จำนวน ๓๒ เรื่อง ๔) ด้านการพัฒนาที่ดิน วิ จั ย การพั ฒ นาที่ ดิ น และถ่ า ยทอด เทคโนโลยีชีวภาพ โดยดำเนินการวิจัยด้านการจัดการดิน พั ฒ นาฟื้ น ฟู เ พื่ อ เพิ่ ม ผลผลิ ต ปลอดภั ย และรั ก ษาสิ่ ง แวดล้อม ๒๓๘ โครงการ
38
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
+8 +/ D 1 +E-823 + č Yů Ċ:! :+2+Ċ: )A- ĉ:D&<L)$-$-< : :+D 1 + 2!9 " 2!@ ! F + :+/< 9 * D&?L 5 D&<L ) )A - ĉ : $-$-< : :+D 1 + 5: < :+/< 9*E-8&9 !:2:+2 9 E !!<! : /92 @D3-?5G Ċ : :+D 1 + :+D&<L))A- ĉ: 5 'ą: 8-:*F +D&?L5D2+<)(A)< Ċ:! :!F+ H Ċ3/9 G3 ĉ2:*&9! @čD5 :+ ;D +?L 5 +> +8 A )!@ 1 *č : *: &:+: :+&9 !: $-< (9 č*: 5:3:+E-8D +?L5 2;5: : 2:+2 9 )8 :) #ą5)D&?L5$-< G!+8 9"5@ 2:3 ++) :+&9 !: :+$-< !M;2Ċ) 2:* A3)9 D < &: < *č : Ċ:/F *G ĊE" =D+=* + !M;2Ċ) ! +Ċ5! Ċ/* +8"/! :+3)9 =LH)ĉ Ċ5 :++8""3-ĉ5D*K! D#đ! Ċ! Zů Ċ:!D F!F-*= :+D 1 + =L2; 9 E"ĉ D#đ! ŮUů :+/< 9* :+E ĊH #ď 3:G! Ċ:! :+D 1 + 5 D 1 + + 5: < ŮUŴUů :+$-< !M;)9!)8&+Ċ:/"+<2@ <PE-8$-< (9 čG!D < 5@ 2:3 ++) :+G Ċ D F!F-*= :+$-< &+< H Ċ D F!F-*= :+E Ċ #ď 3:F+ +: #)&+< :+E Ċ H #ď 3: :++8": 5 D&-=M*E#ą 09 +A)9!2;#83-9 :+#ą5 9! ; 9 F * =//< = /< 9*E-8&9 !:2?L5 :+D+=*! :+25! : &*:": : *: &:+: &9 !:D !< ĺōʼnŔÚ Ŝőŕō ĸīĺ E-8): + :!3Ċ5 # <"9 < :+G! :+ +/ 25" :+#!D#ăē5!
5 Ċ:/F& E-8 9L/D3-?5 9 E#+&9! @ ++) E-8 :+ 9 :+ : @5:3:+2;3+9" -Ċ/*H)Ċ D#đ! Ċ! ŮUŴVů :+0> 1: Ċ! /Ċ: /< 9* D&?L5&9 !:D F!F-*= :+D&:8 D-=M* 29 /č!M; ? 29 /č!M; :*%ďĒ E-8#+9"#+@ &9! @č29 /č!M; ;!/! UTY D+?L5 E-8/< 9*D =L*/ 9"E3-ĉ ; :+#+8) G!!ĉ:!!M;H * &?M! =L 9" Ċ5! !ĉ:!!M;2: - +/) 9M +ĉ/) ; :+2;+/ /< 9*G!!ĉ:!!M; ĉ: #+8D 0 D&?L5 D&<L)09 *(:&G! :+ ; :+#+8) 8D- E-8&9 !:D F!F-*=D =L*/ 9" D +?L5 )?5#+8) D+?5#+8) E-8/< = ; :+#+8) 8D- ;!/! WV D+?L 5 /< 9 * E-8!;D F!F-*= ) :G Ċ G ! :+&9 !: @ (:&2< ! Ċ : $-< (9 č /< = :+D K"+9 1: :+ !2ĉ 29 /č!M; ++)/< = :+$-< :+ E#++A# E-8 :+ +/ 25" @ (:&$-< (9 č D&?L5G3Ċ)= :+G Ċ#+8F* !č 29 /č !M ; 5*ĉ : A 2@ -9 1 8 E-8D#đ ! :+D&<L ) )A - ĉ : 2< ! Ċ : 29 /č !M ; ;!/! UX D+?L5 ŮVů :+/< 9*D&?L5&9 !:D +?L5 9 + - :+D 1 + 5: < &9 !:D +?L5 - /:) ?M! -Ċ/*H)Ċ E""5@F) č-) :+&9 !:D +?L5 $-< )8 :D D)=* D :-)+Ċ5!D ?M5D&-< =/)/-E""H F -! :+&9 !: D +?L5 $2)E52'ď- č*: &:+: D#đ! Ċ!
39
+:* :!#+8 ;#ā +8 +/ D 1 +E-823 + č #ā VYYX
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒.๒.๔ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานความปลอดภัยของสินค้าเกษตรและอาหาร
๑) กำหนดมาตรฐาน พัฒนาระบบตรวจสอบรับรองมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตร (๑) จัดทำมาตรฐานสินค้าเกษตร จำนวนทั้งสิ้น ๒๕ เรื่อง ทำให้ ปัจจุบันมีการประกาศใช้แล้ว ๑๘๐ เรื่อง ดังนี้ (๑.๑) มาตรฐานสินค้า ๗๒ เรื่อง เช่น ข้าวโพดหวาน ข้าว หอมมะลิไทย ชมพู่ ทุเรียน ลำไย เนื้อสุกร (๑.๒) มาตรฐานระบบการผลิต ๗๖ เรื่อง เช่น การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) : ข้าว ปาล์ม น้ำมัน มันสำปะหลัง ฟาร์มไก่ไข่ ฟาร์มกุง้ ก้ามกราม ฟาร์มปลานิล การปฏิบัติที่ดี (GMP) : โรงสีข้าว โรงคัดบรรจุผัก และผลไม้สด ศูนย์รวมน้ำนมดิบ เกษตรอินทรีย์ : ข้าวอินทรีย์ ปศุสัตว์อินทรีย์ กุ้ง ทะเลอินทรีย์ (๑.๓) มาตรฐานข้ อ กำหนดทั่ ว ไป ๓๒ เรื่ อ ง เช่ น มาตรฐานสารพิษตกค้าง การชันสูตร โรคไข้หวัดนก (๒) ร่วมกำหนดมาตรฐานกับองค์กรต่างประเทศ ได้แก่ (๒.๑) มาตรฐานด้านผักและผลไม้ เช่น น้ำสับปะรด พริกและซอสพริก หอมหัวใหญ่ ทุเรียน กระเจี๊ยบเขียว ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด (๒.๒) มาตรฐานด้านสัตว์น้ำ เช่น ผลิตภัณฑ์เนื้อปลาแช่เยือกแข็ง น้ำปลา (๒.๓) มาตรฐานด้ า นปศุ สั ต ว์ เช่ น นมเปรี้ ย ว ยาสั ต ว์ ต กค้ า ง การป้ อ งกั น และ ควบคุมโรคสัตว์
40
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒) การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร (๑) ด้านพืช พัฒนาและส่งเสริมระบบการรับรองเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรเข้าสู่ระบบ มาตรฐาน โดย จัดทำต้นแบบการรับรอง GAP แบบกลุ่ม ๑๕ กลุ่ม เพื่อใช้ในการส่งเสริม เช่น ข้าว ผัก พริก มะม่วง ส้มโอ มังคุด พืชอินทรีย์ พั ฒ นาระบบ GMP โรงสี ข้ า ว เช่ น โรงสี พระราชทาน โรงสีกลุ่มสหกรณ์ พัฒนาและสร้างผู้ตรวจประเมินของกลุ่มเกษตรกร Q อาสา จำนวน ๕๐๐ คน ให้มีความรู้พื้นฐานด้านความ ปลอดภั ย อาหารและการจั ด การกระบวนการผลิ ต ใน ฟาร์ม ให้ได้คณ ุ ภาพตามมาตรฐาน GAP โดยสามารถเป็น ที่ปรึกษาและผู้ช่วยตรวจประเมินของกลุ่มเกษตรกรได้ใน การผลิตพืชอาหาร (๒) ด้านประมง เพื่อพัฒนาคุณภาพ สิ นค้ า และผลิ ต ภั ณฑ์ประมงให้ มีความปลอดภั ย ต่อผู้ บริ โภคและได้ ม าตรฐาน ได้ ด ำเนิ นการตรวจประเมิ น มาตรฐานฟาร์ม ๓๒,๘๖๔ ฟาร์ม ตรวจวิเคราะห์คุณภาพ วัตถุดิบ ๕๔,๗๙๘ ตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์เพื่อการเฝ้า ระวั ง มาตรฐานฟาร์ ม /แหล่ ง เพาะเลี้ ย ง/แหล่ ง ผลิ ต ๓๖,๖๗๔ ตั ว อย่ า ง ตรวจวิ เคราะห์ คุ ณ ภาพวั ต ถุ ดิ บ / ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ๒,๑๘๒ ตัวอย่าง (๓) ด้านปศุสัตว์ ตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ จำนวน ๒๑,๔๔๒ ฟาร์ม
ตรวจสอบรับรองมาตรฐานโรงงาน ๒,๓๐๕ โรงงาน และตรวจวิเคราะห์คุณภาพสินค้าปศุสัตว์ ๓๒๐,๑๗๔ ตัวอย่าง จำนวนคอมพาร์ทเมนต์ที่ได้รับการตรวจประเมินตาม ๘๒ คอมพาร์ทเมนต์
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
41
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (๔) เกษตรอิ น ทรี ย์ ดำเนิ น การส่ ง เสริ ม ให้ เกษตรกรปรับเปลี่ยนระบบการผลิตจากเกษตรเคมีเป็นเกษตรลด การใช้สารเคมีทางการเกษตร โดยการจัดตั้งกลุ่ม ๙,๐๐๑ กลุ่ม และอบรม สาธิตวิธีการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมี ทางการเกษตร จำนวน ๔๕๑,๑๒๐ ราย เนื้อที่ ๙.๐๒ ล้านไร่ รวม ทั้ง ส่งเสริม สาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการใช้ปุ๋ย อินทรีย์ สารชีวภาพ ให้กับครูและนักเรียน จำนวน ๓๐๐ โรงเรียน ตลอดจนการพัฒนาและรับรองมาตรฐานปัจจัยการผลิต (Q) และ สนับสนุนโครงการวิจัยนวัตกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ/เกษตรอินทรีย์ พัฒนาฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเข้าสู่มาตรฐานอินทรีย์ เผยแพร่ความรู้ที่ เกี่ยวข้องกับสัตว์น้ำอินทรีย์ และมาตรฐานฟาร์มสัตว์น้ำอินทรีย์ (๕) การพัฒนาสุขภาพสัตว์ ดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมบำบัดและชันสูตรโรค สัตว์ โดยการควบคุมป้องกันโรคระบาดสัตว์ได้ ๑๒.๑๐ ล้านตัว ตรวจสอบและชันสูตรโรคสัตว์ ๑,๐๒๑,๘๑๘ ตัวอย่าง เฝ้าระวังทางอาการ ๙๖.๖๘๗๑ ล้านตัว เฝ้าระวังสถานที่เสี่ยงและทำลายเชื้อโรคตามเกณฑ์ มาตรฐานที่กำหนด ๒,๙๙๗,๔๖๑ แห่ง และฟาร์มปลอดโรค ๖๗๗ ฟาร์ม
๓) ตรวจสอบรับรอง และตรวจติดตามฟาร์มมาตรฐาน โดยการ (๑) ตรวจสอบรับรองแหล่งผลิตในระบบ GAP ๑๔๙,๐๘๒ ฟาร์ ม มี ฟ าร์ ม ที่ ผ่ า นการรั บ รองแล้ ว จำนวน ๙๑,๔๙๓ ฟาร์ม ในปัจจุบันมีแหล่งผลิตพืชที่ได้รับ การรับรองแล้ว (ได้ Q) จำนวน ๑๗๙,๖๖๙ ฟาร์ม (๒) ตรวจรับรองแหล่งผลิตพืชในระบบ เกษตรอินทรีย์ จำนวน ๒,๐๔๖ ฟาร์ม และมีแหล่งผลิตที่ได้ รับการรับรองแล้ว จำนวน ๘๘๕ ฟาร์ม และในปัจจุบันมี ฟาร์มที่รับการรับรองแล้ว ๙๒๙ ฟาร์ม
42
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (๓) การตรวจสอบรับรองโรงงานแปรรูป โรงงานคัดบรรจุ โรงรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และโรงรมเมทิลโบรไมด์ตามมาตรฐาน GMP/HACCP จำนวน ๗๒๙ โรงงาน ปัจจุบันมีโรงงานที่ได้รับการ รับรองแล้ว จำนวน ๙๗๔ โรงงาน (๔) จัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการ/แหล่งจำหน่าย/แหล่งผลิต GAP พร้อมเชื่อม โรงงาน GMP/HACCP ๑ ระบบ (๕) ตรวจรับรองปัจจัยการผลิตทางการเกษตร ๑๒ ประเภท อาทิ สารเร่งประเภท จุลินทรีย์ สำหรับทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ ปูนขาว โดยมีผู้ยื่นขอรับรองปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
๕๘๖ ชนิดสินค้า ผ่านการรับรองมาตรฐานปัจจัยการผลิต ๑๔๘ ชนิดสินค้า ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ปัจจัยการผลิต ๒๒๔ ชนิดสินค้า รอผลวิเคราะห์ ๒๐๗ ชนิดสินค้า และรอเก็บตัวอย่าง ๗ ชนิดสินค้า ๒.๒.๕ การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ๑) โครงการนิคมการเกษตร โดยจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ และปรับปรุงบำรุงดินในพื้นที่นิคมการเกษตรนำร่อง ๗ แห่งครอบคลุมพื้นที่ ๑๑,๐๕๐.๕๐ ไร่ จัดทำแปลงทดสอบ/แปลงสาธิตพันธุ์/ ตรวจแปลงกระจายพันธุ์ดี และอบรมเกษตรกร ในพื้นที่นิคมการเกษตร ๓ แห่ง ได้แก่ นิคมการเกษตรข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จ. ตาก จำนวน ๓๑๐ ไร่/ ๓๐ ราย นิคมการเกษตรมันสำปะหลัง จ. จันทบุรี จำนวน ๒๔ ไร่ นิคมการเกษตรถั่วเหลือง จ.เชียงใหม่ จำนวน ๑ ไร่ รวมทั้งสนับสนุนการ ดำเนินการในนิคมการเกษตรอื่นๆ อีก ๙ นิคม อาทิ นิคมการเกษตรนครศรีธรรมราช (ปาล์มน้ำมัน) นิคม การเกษตรร้อยเอ็ด (ข้าวหอมมะลิ) นิคมการเกษตรกำแพงเพชร (อ้อย) นิคมการเกษตรสุราษฎร์ธานี (ปาล์มน้ำมัน) ๒) เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการทางการเกษตร เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรให้มีความรู้ความสามารถและมีความพร้อมในการ ให้บริการทางการเกษตรแก่เกษตรกร และเพิ่มขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำ ตำบล ซึ่งทำหน้าที่เลขานุการ คณะกรรมการบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำ ตำบล (ศบกต.) ให้มีศักยภาพในการจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลร่วมกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (อปท.) คณะกรรมการหมู่บ้าน และเกษตรหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยพัฒนาเกษตร หมู่บ้าน จำนวน ๗๔,๓๓๘ ราย จากการดำเนินงานดังกล่าวทำให้เกษตรหมู่บ้านได้รับการพัฒนาศักยภาพให้ เป็นผู้ช่วยเกษตรตำบลและมีส่วนร่วมวางแผนพัฒนาการเกษตรของพื้นที่ รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
43
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒.๒.๖ ส่งเสริมการพัฒนาสินค้าเกษตรที่สำคัญ ๑) ข้าว (๑) การพัฒนาพันธุ์ ได้ปรับปรุง พันธุ์จนได้ข้าวพันธุ์รับรอง จำนวน ๒ พันธุ์ คือ พันธุ์ กขผ ๑ และพันธุ์เหนียวดำช่อไม้ไผ่ ๔๙ ขยายผลการ แนะนำและผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว พันธุ์ กข๔๕ พัฒนา สายพันธุ์ข้าวดีเด่น จำนวน ๓ สายพันธุ์ ได้แก่ ข้าว เหนียวต้านทานโรคไหม้ ข้าวเจ้าทนน้ำท่วมฉับพลัน และข้าวเจ้าหอมทนดินเค็ม พัฒนาข้าวไร่สายพันธุ์ดี สำหรับปลูกแซมยางพาราหรือปาล์มน้ำมันในภาคใต้ คือพันธุ์ดอกข่า (๒) อนุรักษ์พันธุกรรมข้าว โดยการรวบรวมและอนุรักษ์เชื้อพันธุ์ข้าวจากต่างประเทศ ๒๐,๐๐๐ ตัวอย่างเชื้อพันธุ์ รวมทั้งการจัดทำฐานข้อมูลเชื้อพันธุกรรมข้าว เพื่อรวบรวมข้อมูลความหลาก หลายของเชื้อพันธุ์ข้าวที่อนุรักษ์ไว้ (๓) เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ข้ า ว ได้ ศึ ก ษาการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ข้ า วในพื้ นที่ น า ชลประทานที่มีการปลูกข้าวหลายครั้งต่อปี รวมทั้งการใช้ปัจจัยการผลิตอย่างถูกต้องเหมาะสม เทคโนโลยี การลดต้นทุนการผลิต โดยการปลูกข้าวด้วยวิธีการโยนกล้า (Parachute) ตลอดจนพัฒนาเทคโนโลยีการ จัดการโรคข้าว โดยสามารถผลิตเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ในรูปเม็ดอัลจิเนท (๔) การผลิตเมล็ดพันธุ์ ได้วิจัยและพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและชะลอการ เสื่อมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว ในพื้นที่นาชลประทาน และในพื้นที่นาน้ำฝน วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีหลังการ เก็บเกี่ยวเพื่อลดความสูญเสียคุณภาพข้าว รวมทั้ง ได้วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเสริมโภชนาการจาก ปลายข้าว (๕) การผลิ ต และกระจายเมล็ ด พั นธ์ุ ดี โดยการผลิตเมล็ดพันธ์ุคัดได้ ๒๘๔ ตัน ๕๗ พันธ์ุ ผลิต เมล็ดพันธ์ุหลัก ๒,๕๘๗ ตัน จำนวน ๕๓ พันธ์ุ ผลิตเมล็ด พันธ์ุขยายและพันธ์ุจำหน่าย ๘๖,๕๘๕ ตัน จำแนก ๑๖ พันธ์ุ (๖) ดำเนิ น งานศู น ย์ ข้ า วชุ ม ชน ๓๑๖ ศูนย์ ในพื้นที่ ๕๙ จังหวัด รวมทั้งสำรองเมล็ดพันธ์ุข้าวเพื่อ ความมั่นคง จำนวน ๘๐๐ ตัน เพื่อแจกจ่ายให้กับเกษตรกร ที่ประสบปัญหาภัยธรรมชาติ
44
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒) ยางพารา
(๑) ส่งเสริมการปลูกยางพันธุ์ดีและไม้ยืนต้นที่มีความสำคัญทาง เศรษฐกิจ แก่เกษตรกรผู้ปลูกยางพารา จำนวน ๑๘๐,๗๑๐ ราย เนื้อที่ ๑.๘๐๗ ล้านไร่ (๒) ปลู ก ยางเพื่ อ ยกระดั บ รายได้ แ ละความมั่ น คงให้ กั บ เกษตรกรในแหล่งปลูกยางใหม่ โดยติดตามดูแลและถ่ายทอดความรู้ ในการปลูกสร้างสวนยางแก่เกษตรกร จำนวน ๑๐๔,๒๒๙ ราย เนือ้ ที่ ๗๕๖,๔๐๗ ไร่ (๓) เพิ่มผลผลิตจากสวนยางที่มีอยู่เดิมโดยใช้สารเร่งน้ำยาง โดยการให้คำแนะนำเกษตรกร จำนวน ๑,๐๘๕ ราย รวมทั้งฝึกอบรม ช่างกรีดยางอย่างถูกวิธี จำนวน ๑๒๐ ราย (๔) จัดการตลาดยางพาราแบบครบวงจร โดยดำเนินการตลาดประมูลยางระดับท้องถิ่น ๘๙ ตลาด ซื้อขายยางผ่านตลาด ๓๖๗,๗๕๖.๗๒๙ ตัน จัดตั้งตลาดน้ำยางสดระดับท้องถิ่น โดยถ่ายทอด เทคโนโลยีการซื้อ-ขายน้ำยางสด จำนวน ๒๓๒ กลุ่ม ๘,๐๔๗ ราย รวมทั้ง ให้บริการซื้อขายยางแผ่นดิบ ๗๔๙.๔๑ ตัน และยางแผ่นรมควัน ๒๑.๕๙ ตัน ตลอดจนดำเนินการโรงงานผลิตยางแผ่น ผึ่งแห้ง/รมควัน ๓๙๑ แห่ง และส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง โดยก่อตั้งโรงงานต้นแบบ ๔ แห่ง ดูแลให้คำแนะนำกลุ่ม พัฒนาสวนสงเคราะห์ ๑,๕๙๖ กลุ่ม ๓) ปาล์มน้ำมัน ดำเนินการโครงการผลิตปาล์มน้ำมันเพื่อรองรับการผลิตไบโอดีเซล โดย (๑) พัฒนาศูนย์ต้นแบบการบริหารวัตถุดิบ (ปาล์มน้ำมัน) เพื่อผลิตพลังงานทดแทนแบบ ครบวงจรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ผลิตและกระจายต้นกล้าปาล์มน้ำมัน ให้กับเกษตรกรในจังหวัด เลยและหนองคายไปผลิต เพื่อรองรับโรงงานต้นแบบการผลิตไบโอดีเซล รวม ๖๔,๗๙๙ ต้น คิดเป็นพื้นที่ ปลูกปาล์ม จำนวน ๓,๐๐๐ ไร่ (๒) ทดสอบการปลูกปาล์มน้ำมันในแหล่งปลูกปาล์มใหม่ โดยการศึกษาศักยภาพการ เจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของปาล์มน้ำมันในแหล่งปลูกปาล์มใหม่ ใน ๑๖ จังหวัด อาทิ จังหวัด เชียงราย เลย ชัยนาท พบว่า ปาล์มน้ำมันมีอัตราการเจริญเติบโตอยู่ในเกณฑ์ดี และสามารถให้ผลผลิตได้ โดยปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อปริมาณผลผลิต คือ การให้นำ้ การให้ปยุ๋ ตามคำแนะนำและการใช้พนั ธุท์ เี่ หมาะสมกับพืน้ ที่
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
45
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๔) มันสำปะหลัง ทำการศึกษาวิจัยมันสำปะหลังพันธุ์ ซึ่งให้ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย ๔.๔๔ ตันต่อไร่ และมีความ ต้านทานต่อโรคใบไหม้และโรคใบจุดสีน้ำตาล ทั้งได้ผลิตท่อนพันธุ์มันสำปะหลังจำนวน ๑,๐๔๒,๙๑๐ ท่อน
ใช้ในงานวิจัยของหน่วยงานภาครัฐ สร้างเครือข่ายเกษตรกรเพื่อเร่งรัดการผลิตและการกระจายท่อนพันธุ์ มันสำปะหลัง โดยการจัดทำแปลงต้นแบบในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกร เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของ เกษตรกร จำนวน ๕๘๒ ราย พื้นที่ ๒,๘๘๑ ไร่
๕) หม่อน-ไหม (๑) วิจัยและพัฒนาพันธุ์หม่อน พันธุ์ไหม พัฒนากระบวนการผลิตเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตหม่อนและไหม การแปรรูปผลิตภัณฑ์หม่อนและไหม การใช้ประโยชน์และการเพิ่มมูลค่าจากหม่อนและ ไหม วิจัยการจัดระบบเครือข่ายขนส่ง (Logistics) หม่อนไหม ศึกษาศักยภาพในการแปรรูปผลหม่อนเป็น ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพในการป้องกันและลดการทำลายของเซลล์ประสาทและความบกพร่องของความจำ (๒) ขยายพันธุ์หม่อนไหม โดยผลิตกิ่งชำหม่อน ๑,๔๒๑,๓๖๗ ต้น ผลิตหม่อนชำถุง ๒๒๕,๒๒๐ ถุง และผลิตไข่ไหมพันธุ์ดี จำนวน ๑๒๘๙,๓๘๑ แผ่น บริการแก่เกษตรกรและผู้สนใจ จำนวน ๑๕,๗๒๕ราย รวมทั้ง ส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้ด้านเศรษฐกิจและการตลาดหม่อนไหมให้แก่เกษตรกร และผู้ประกอบการ จำนวน ๖๕๐ ราย (๓) อนุรักษ์พันธุ์หม่อน พันธุ์ไหม และไม้ย้อมสี ในศูนย์อนุรักษ์หม่อน ๖ ศูนย์ ๑๐๐ พันธุ์ ศูนย์อนุรักษ์ไหม ๗ ศูนย์ ๒๘๐ พันธุ์ ศูนย์อนุรักษ์ไม้ย้อมสี ๑๔ ศูนย์ๆละ ๕๔ พันธุ์ และศูนย์อนุรักษ์ผ้าไหม ๕ ศูนย์
46
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๖) ประมง (๑) พัฒนาการผลิตพันธุ์กุ้งทะเล คุ ณ ภาพ ๓ ชนิ ด ได้ แ ก่ กุ้ ง ขาว กุ้ ง กุ ล าดำ และ
กุ้ ง แชบ๊ ว ย ผลิ ต จุ ลิ น ทรี ย์ ส ำหรั บ บำบั ด คุ ณ ภาพ
สิ่งแวดล้อมในแหล่งเลี้ยงกุ้งทะเล ๑๐๐,๕๐๐ ซอง ส่งเสริมการปลูกป่าชายเลน เพื่อการอนุรักษ์แหล่ง เพาะเลี้ยงกุ้งทะเล ๑๑ แห่ง (๒) พั ฒ นาความรู้ เ กษตรกร ผู้ เลี้ ย งปลานิ ล เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มสู่ ม าตรฐาน GAP ๑,๒๒๗ ฟาร์ม สนับสนุนปัจจัยการผลิตสำหรับ ปราชญ์ปลานิล ๕๐ ราย สนับสนุนเพื่อการพัฒนา กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิลและให้ความรู้ ๕๐ กลุ่ม ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์มพ่อแม่พันธุ์ปลานิลตาม หลั ก พั น ธุ ศ าสตร์ ๒๐ ฟาร์ ม และตรวจติ ด ตาม มาตรฐานฟาร์ ม พ่ อ แม่ พั น ธุ์ ป ลานิ ล ตามหลั ก พั น ธุ์ ศาสตร์ ๒๑ ฟาร์ม (๓) บริหารระบบชลประทานเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ๘ แห่ง ในพื้นที่จังหวัดสงขลา ๑ แห่ง จังหวัดนครศรีธรรมราช ๕ แห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ๑ แห่ง และจังหวัดจันทบุรี ๑ แห่ง พื้นที่รับ ประโยชน์ รวม ๑๗,๔๑๕ ไร่ พร้อมทั้งจัดระบบสิ่งแวดล้อมที่ดี ด้วยการตรวจวิเคราะห์น้ำและสิ่งแวดล้อมใน พื้นที่ ๖๐๔ ไร่ (๔) ฟื้นฟูทรัพยากรประมงในอ่าวปากพนัง โดยปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ ๑๒.๒๒ ล้านตัว ติดตามประเมินผลผลิตสัตว์น้ำ สำรวจข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม เผยแพร่และให้บริการข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต รวมทั้งสำรวจรวบรวมข้อมูลการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในอ่าวปากพนัง ๑๒ ครั้ง (๕) ฟื้นฟูทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีด้านการ ผลิตพันธุ์สัตว์น้ำให้มีคุณภาพ ควบคู่กับการเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำ ด้วยการผลิตพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อปล่อยลงใน แหล่งน้ำธรรมชาติ จำนวนทั้งสิ้น ๑,๗๓๐.๒๑ ล้านตัว (๖) พัฒนาและฟื้นฟูแหล่งทำการประมง โดย การจัดสร้างแหล่งอาศัยสัตว์ทะเลขนาดเล็ก ๑๐ แห่ง จัดสร้างที่ จังหวัดตราด จันทบุรี เพชรบุรี ชุมพร นครศรีธรรมราช สงขลา พังงา และกระบี่ (๗) ปรั บ ปรุ ง แหล่ ง น้ ำ ให้ มี ส ภาพเหมาะสมต่ อ การเจริญเติบโตของสัตว์น้ำในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ ๓ แห่ง คือ บึง บอระเพ็ด กว๊านพะเยา และหนองหาร โดยการกำจัดวัชพืช จำนวน ๒๐๒,๒๖๕ ตัน และขุดลอกหนองบึง ปรับปรุงแหล่งน้ำธรรมชาติ ด้วยเรือและเครื่องจักรกล รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
47
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒.๒.๗ การพัฒนาระบบตลาดเพื่อสินค้าเกษตรและอาหาร
๑) การจัดระบบตลาดสินค้าเกษตรในระดับพื้นที่ ดำเนินการเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตการตลาดให้เป็นระบบ สร้างช่องทางการระบายสินค้า จากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคโดยตรง การดำเนินงานเน้นการพัฒนาความรู้ความสามารถให้กับเกษตรกร/กลุ่ม วิสาหกิจชุมชนด้านการตลาด สามารถบริหารจัดการผลผลิตเข้าสู่ระบบการตลาดได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึง ส่งเสริมให้มีการผลิตผลไม้นอกฤดูกาล ๖ ชนิด (เงาะ ทุเรียน มังคุด ลิ้นจี่ มะม่วง และลำไย) โดย พัฒนา ศักยภาพเกษตรกรให้สามารถทำการผลิตไม้ผลนอกฤดูและไม้ผลคุณภาพดี มีการเชื่อมโยงสินค้าเกษตรจาก ชุมชนสู่ตลาดต่างๆ จำนวน ๙,๒๕๐ ราย ทำให้เกษตรกรผลิตไม้ผลนอกฤดูได้ไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ ตัน
มีการจัดตลาดเคลื่อนที่สู่ภูมิภาคแหล่งอื่นๆ ๓ แห่ง รวม ๖ ครั้ง ในพื้นที่ ๔ จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ สงขลา พัทลุง และกรุงเทพฯ มีผู้เข้าชมงานรวม ๒๙๖,๙๒๓ จำนวนผู้ประกอบการค้าที่เข้าร่วม ๙๕๖ ราย
48
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒) ตลาดกลางสินค้าเกษตร ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ ไทยในตลาดโลก พ.ศ.๒๕๕๔–๒๕๕๙ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์จะเป็นหน่วยงานหลักในการจัดตั้งศูนย์บริการด้านการ ตลาดกล้วยไม้ โดยจะทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางประสานงานและ บริการความรู้และข้อมูลด้านการตลาดให้แก่ เกษตรกรผู้ผลิต
ผู้ประกอบการ และธุรกิจที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) รวมทั้ ง จั ด กิ จ กรรมเผยแพร่ ป ระชาสั ม พั นธ์ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ในการดำเนิ นงานกิ จ กรรมด้ า นการตลาดเพื่ อ เพิ่ ม
ส่วนแบ่งทางการตลาดของกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก นำไปสู่
การพัฒนาตลาดและขยายตลาดในต่างประเทศต่อไป ๓) ตลาดรองรับสินค้าเกษตรชุมชน ดำเนิ น การบริ ห ารจั ด การตลาดผลไม้ ข อง สถาบันเกษตรกร โดยการสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้สามารถรวบรวมผลไม้ในพื้นที่ ๑๘ จังหวัด สถาบันเกษตรกร ๙๐ แห่ง ปริมาณผลไม้ ๓๐,๐๐๐ ตัน รวมทั้งจัดตั้งและเสริม สร้ า งกลุ่ ม สมาชิ ก ของสหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกรให้ ส ามารถ ผลิตผลไม้คุณภาพ จำนวน ๒๘ กลุ่ม และ สนับสนุนสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรรวบรวมและจำหน่ายผลไม้ได้ ๓๔,๙๒๐.๔๔ ตัน มูลค่า ๗๖๔.๕๗ ล้านบาท ในพื้นที่ ๑๓ จังหวัด จำนวน ๖๐ แห่ง
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
49
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒.๒.๘ การสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจภูมิภาคและระหว่างประเทศ
๑) ความร่วมมือด้านการเกษตรระหว่างประเทศ
(๑) จัดทำท่าทีและเข้าร่วมประชุมเจรจาการค้า เพื่อทำความตกลง หรือแลกเปลี่ยน ความร่วมมือและความช่วยเหลือทางวิชาการและทางเศรษฐกิจ ทั้งด้านพหุภาคีและทวิภาคี ตลอดจนแก้ไข ปัญหาอุปสรรคการส่งออกและปกป้องรักษาผลประโยชน์ทางการค้า ในประเทศต่างๆ ๔๐ ประเทศและ องค์การ (๒) โครงการความร่วมมือพัฒนาการเกษตรแบบมีสัญญา ได้มีการสำรวจศักยภาพพื้นที่ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรแบบมีสัญญา ณ สปป.ลาว และฝึกอบรมเกษตรกรด้านการปรับปรุง บำรุงดิน รวมทั้งประชุมหารือแนวทางความร่วมมือเรื่องข้าวและโครงการความร่วมมือสาขาเกษตร ภายใต้ กรอบ ACMECS นอกจากนี้ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับชนิด ปริมาณ และมูลค่าการนำเข้า-ส่งออก สินค้า จากจุดผ่านแดนบริเวณจังหวัดชายแดนไทย-ประเทศเพื่อนบ้าน และข้อมูลการใช้ที่ดินและสภาพเศรษฐกิจ และสังคมใน สปป.ลาว (๓) โครงการเครือข่ายข้อมูลด้านการเกษตร GMS เป็นการจัดทำเครือข่ายข้อมูลด้าน การเกษตรของประเทศสมาชิก GMS ได้มีการนำเข้าข้อมูลด้านการเกษตรในเว็บไซด์ร่วมกับประเทศสมาชิก GMS และเข้าร่วมประชุมระดับรัฐมนตรี ๖ ประเทศ ลุ่มแม่น้ำโขงครั้งที่ ๑๗ ณ ประเทศกัมพูชา (๔) โครงการ Joint Study on Demand and Supply of Key Agricultural Product ภายใต้กรอบความร่วมมือ GMS เพื่อศึกษาแนวทางบริหารจัดการสินค้าข้าวของไทยเชื่อมโยงกับกลุ่ม ประเทศสมาชิก GMS
50
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒) การประชุมเจรจาด้านการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศ
(๑) ประชุมเจรจาด้านการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศ(FTA) กับประเทศต่างๆ อาทิ เปรู อินเดีย ชิลี การประชุมคณะความร่วมมือทางวิชาการด้านสินค้าเกษตรภายใต้กรอบ BIMS-TEC อาเซียน GMS ความร่วมมือเอเปค รวมทั้งการประชุมคณะกรรมการภายใต้องค์กรระหว่างประเทศ FAO CAPSA UNFCC และUNCSD แผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเชีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) ตลอดจนความร่วมมือด้านการเกษตรภายใต้กรอบ ACMECS (๒) ประชุมเจรจาแก้ไขปัญหาด้านมาตรฐาน/มาตรการที่มิใช่ภาษี โดยจัดระบบเครือข่าย เพื่อรับฟังปัญหาจากผู้ประกอบการ ใช้ MOU ต่างๆ ที่มีอยู่ให้มีประโยชน์สูงสุด ทั้งกรอบทวิภาคี พหุภาคี (๓) ประชุมหารือสำรวจข้อมูลโครงการ Joint Study on Demand and Supply of Key Agricultural Product ภายใต้กรอบความร่วมมือ GMS ณ ประเทศเวียดนาม จีน และกัมพูชา รวม ทั้งสัมมนาแนวทางการบริหารจัดการสินค้าข้าวของไทยเชื่อมโยงกับประเทศกัมพูชา แนวทางการสร้างแบบ จำลองทางเศรษฐศาสตร์ข้าว และแนวทางการบริหารจัดการสินค้าข้าวของไทยเชื่อมโยงการผลิต การค้า สินค้าข้าวในกลุ่มประเทศสมาชิก GMS
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
51
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒.๓ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยสนับสนุน
๒.๓.๑ การจัดที่ดินทำกิน ดำเนินการให้เกษตรกรมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิในที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมอย่างทั่วถึงโดย การปฏิรูปที่ดินและในรูปนิคมสหกรณ์ ๑) การปฏิ รู ป ที่ ดิ น ซึ่ ง ดำเนิ นการจั ด ให้ เ กษตรกรเข้ า ใช้ ป ระโยชน์ ในที่ ดิ นทำกิ น จำนวน ๕๑,๗๕๖ ราย พื้นที่ ๖๙๑,๘๘๓ ไร่ และจัดที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย ๖๗,๒๐๘ ราย ๗๑,๑๕๒ แปลง ๒) การนิคมสหกรณ์ โดย ออกหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดิน (กสน.๓) แก่สมาชิก นิคมสหกรณ์ ๑,๒๗๐ ราย พื้นที่ ๑๕,๕๓๐ ไร่ และออกหนังสือแสดงการทำประโยชน์ (กสน.๕) จำนวน ๓,๐๖๙ ราย พื้นที่ ๔๕,๗๕๓ ไร่
๒.๓.๒ การจัดการคุณภาพดิน ๑) ปรับปรุงคุณภาพดิน ส่งเสริมปรับปรุงบำรุงดิน และ ฟื้ น ฟู ดิ น ที่ มี ปั ญ หาโดย พั ฒ นาพื้ น ที่ ดิ น เปรี้ ย ว ปรั บ ปรุ ง พื้ นที่ ดิ นกรด และส่ ง เสริ ม การพั ฒ นา พื้นที่ดินเค็ม จำนวน ๑๙๒,๕๖๐.๑๖ ไร่
52
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒) ฟื้นฟูและป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน โดยการรณรงค์และส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝกเพื่อ การอนุ รั ก ษ์ ดิ น และน้ ำ ในพื้ นที่ ที่ มี ปั ญ หาการชะล้ า ง
พังทลายของดินทั่วประเทศ จัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ บนพื้ นที่ ลุ่ ม – ดอน เน้ นการดำเนิ นงานในพื้ นที่ เ ขต พัฒนาที่ดิน จัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำชุมชนบนพื้นที่ สูงและเกษตรที่สูง โครงการขยายผลโครงการหลวง การอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อป้องกันและบรรเทาอุทกภัยใน พื้นที่เสี่ยงต่อดินถล่ม และในพื้นที่เกษตรที่มีความวิกฤต ต่อการสูญเสียหน้าดิน จำนวน ๙๖๐,๙๕๙.๕๓ ไร่ ๓) พั ฒ นาที่ ดิ น ในพื้ นที่ เฉพาะ โดย การก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ปรับปรุงบำรุง ดิน ในเขตพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา พื้ นที่ ที่ ผ่ า นการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ พื้นที่ลุ่มน้ำแม่ตาว และพื้นที่ทุ่งสัมฤทธิ์ รวม ๕๕๐,๐๐๐ ไร่ ๔) แหล่งน้ำเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษ์น้ำ รักษาความ ชุ่มชื่นในดิน และเกษตรกรมีน้ำใช้ในช่วงฝนทิ้งช่วง เพื่อลดความเสียหายของผลผลิต โดยดำเนินการ ก่อสร้างแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน ๗,๘๑๐ บ่อ และพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ ๒๓๒ แห่ง ๕) สร้างและพัฒนาเกษตรกรอาสา การพั ฒ นาหมอดิ น อาสาและ
ยุวหมอดิน โดยการฝึกอบรมถ่ายทอดความรู้ให้กับ หมอดิ น อาสา ให้ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจ มี ส่ ว นร่ ว ม และรั บ ผิ ด ชอบในการจั ด การทรั พ ยากรดิ น อย่ า ง จริ ง จั ง และต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ เป็ นกลไกขั บ เคลื่ อ นงาน พั ฒ นาที่ ดิ น ให้ เ ข้ า ถึ ง เกษตรกรในระดั บ ตำบล/ หมู่บ้าน และโรงเรียน ดำเนินการได้ ๘๑,๕๔๓ ราย
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
53
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๓. การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๓.๑ การบริหารจัดการและควบคุมการทำประมง
บริ ห ารจั ด การการใช้ ป ระโยชน์ จ ากทรั พ ยากร ประมงให้ เป็ น ไปอย่ า งมี ร ะเบี ย บ และอยู่ ในขอบเขต
ที่สามารถควบคุมได้ และสนับสนุนให้ชุมชนทุกระดับมี ส่ ว นร่ ว มในการบริ ห ารจั ด การควบคู่ ไ ปกั บ การใช้ มาตรการ ต่าง ๆ ให้ครอบคลุมพื้นที่แหล่งน้ำที่ได้รับการ จัดการและฟื้นฟู ๘.๘ ล้านไร่ โดยการตรวจติดตามและ ควบคุมการทำประมง จำนวน ๑,๘๗๕ ครั้ง ผลการ จับกุมผู้กระทำผิด ๑,๐๒๕ คดี ๒,๓๙๓ ราย ออกใบ อนุญาตทำการประมง ๓๐,๒๒๓ ฉบับ ออกมาตรการ จัดการทรัพยากรประมง ๑๒ เรื่อง และดำเนินงานด้าน กฎหมายทำการประมง ๔๙๖ เรื่อง พร้อมดำเนินการเพื่อรองรับกฎระเบียบ IUU ตรวจสอบรับรองสัตว์น้ำ และออกใบรับรองการจับสัตว์น้ำ ๘,๘๑๓ ฉบับ ประกอบการส่งออกสินค้าประมงไปยังสหภาพยุโรปเพื่อ ยืนยันว่าสินค้าดังกล่าวไม่ได้มาจากการทำประมงที่ผิดกฎหมาย (IUU Fishing) ควบคุมเรือประมงให้มีการ ทำประมงที่สอดคล้องกับกฎระเบียบ IUU ๑๐,๒๘๐ ลำ
๓.๒ การผลิตพันธุ์สัตว์น้ำ
โดยการผลิตพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อปล่อยลงในแหล่งน้ำธรรมชาติ จำนวนทั้งสิ้น ๑,๗๐๙.๙๗ ล้านตัว จำแนก เป็นพันธุ์สัตว์น้ำจืด ๑,๑๘๔.๐๑ ล้านตัว (ปลาดุกอุย ปลาสร้อยขาว ปลานวลจันทร์เทศ ปลานิล ปลาไน
ปลายี่สกเทศ ปลาตะเพียนขาว ปลาสวาย ปลากระโห้ ปลากราย กุ้งก้ามกราม กบนา เต่า เป็นต้น)
พันธุ์สัตว์น้ำจืด (ปรับปรุงพันธุ์) ๕๒.๓๕ ล้านตัว (ปลานิล สพก. ปลานิลแดง สพก. ปลาตะเพียนขาว สพก. กุ้งก้ามกราม สพก. เป็นต้น) และพันธุ์สัตว์น้ำชายฝั่ง ๔๗๓.๖๑ ล้านตัว (ปลากะพงขาว กุ้งแชบ๊วย
กุ้งกุลาดำ หมึกทะเล หอย ปู เป็นต้น)
54
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๓.๓ การพัฒนาตามแผนแม่บทการจัดการประมงทะเลไทย สำรวจจำนวนเรื อ ประมงทะเล ในพื้ นที่ ๒๒ จังหวัดชายทะเล ๕๔,๒๕๗ ลำ เพื่อใช้ในการบริหาร การลงแรงประมงให้เหมาะสมกับศักยภาพการผลิต ของทรั พ ยากรสั ต ว์ น้ ำ จั ด ทำระบบติ ด ตามเรื อ ประมงผ่านดาวเทียม หรือ (Vessel Monitoring System : VMS) ๑๐๐ ลำ เพื่อติดตามตรวจสอบ การทำการประมงของเรื อ ประมงไทยและพั ฒ นา องค์กรและชาวประมงเพื่อการจัดการประมงทะเล ๒,๒๑๒ ราย โดยให้ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ชาวประมงมี
ส่วนร่วมวางแผนการใช้ทรัพยากรทางทะเล
๓.๔ การฟื้นฟูทรัพยากรประมงในทะเลสาบสงขลา โดยดำเนินการพัฒนาฟาร์มทะเลโดยชุมชน ๒๑ เขต โดยการปล่ อ ยพั นธุ์ สั ต ว์ น้ ำ ในพื้ นที่ ฟ าร์ ม ทะเล ๗๓.๐๘ ล้ า นตั ว และเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ของ ชุ ม ชนด้ า นการประมง พั ฒ นาระบบข้ อ มู ล และสาร สนเทศ การประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ๑ ศูนย์ ศึ ก ษาวิ ถี ชี วิ ต ของสั ต ว์ น้ ำ ที่ เ สี่ ย งต่ อ การสู ญ พั นธุ์ ๒ เรื่องได้แก่ ปลาชะโอน และปลากะพงดำ เพาะขยาย พันธุ์สัตว์น้ำที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ ๖ ล้านตัว ได้แก่ ปลาแก้มช้ำ ปลาแขยงนวล ปลาดุกด้าน ปลาดุกลำพัน ปลาแรด ปลาลำปำ ปลาพรมหั ว เหม็ น และปลา ชะโอน บริ ห ารจั ด การพื้ นที่ แ ละควบคุ ม เครื่ อ งมื อ ประมงผิดกฎหมาย ๑๒ ครั้ง ปรับเปลี่ยนอาชีพของ
ผู้ใช้เครื่องมือไซนั่งให้มาใช้เครื่องมืออวนลอยกุ้ง และ อวนลอยปลา ๒๑ ราย จั ด การการเพาะเลี้ ย งกุ้ ง กุลาดำและสัตว์น้ำอื่น ๆ ให้ยั่งยืนในพื้นที่นากุ้งร้าง โดยการศึกษาความเหมาะสมของชนิดสัตว์น้ำที่จะนำ มาเลี้ยงในนากุ้งร้าง และจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในกระชังในแหล่งน้ำที่เหมาะสม โดย การทดลองเลี้ยงปลาที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ของพื้นที่ ๑ ชนิด คือ ปลากะพงขาว รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
55
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๔. การส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม
(ร่าง) แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑(พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ได้ให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันการเงิน สถาบันการศึกษา สถาบันเกษตรกรและเกษตรกร มีส่วนร่วมในขบวนการ จัดทำแผนอย่างเป็นขั้นตอน โดย เริ่มตั้งแต่การระดมความคิดเห็นจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั่วประเทศในรูปแบบ การออกแบบสอบถาม การ สัมมนารับฟังความคิดเห็น ตลอดจนการแบ่งกลุ่มย่อยเจาะลึกเฉพาะประเด็น (Focus Group) ที่มีการ ดำเนินงานควบคู่ไปกับการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ทั้งนี้ เมื่อประมวล ความคิดเห็นดังกล่าวแล้ว พบว่าทิศทางการพัฒนาการเกษตรในระยะเวลา ๕ ปีข้างหน้า ยังคงยึดหลักคน เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้น แผนพัฒนาจะได้มุ่งเน้นการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรและผลักดันการประยุกต์ใช้ปรัชญาดังกล่าว ดังเช่นการพัฒนาที่ผ่านมา นอกจากนั้ น จากการที่ ส ถานการณ์ ก ารเปลี่ ย นแปลงภายใต้ ก ระแสโลกาภิ วั ต น์ ในปั จ จุ บั น มี ผ ลต่ อ การ เปลี่ยนแปลงภาคเกษตรในระยะยาวและทวีความรุนแรงมากขึ้น ทิศทางที่นำไปสู่การเติบโตของภาคเกษตร ควรให้เกษตรกรมีความเป็นอยู่ที่ดีทั้งเกษตรกรรายย่อย และเกษตรกรเชิงพาณิชย์ ผลิตสินค้าเกษตรอย่าง เพียงพอ มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของผู้บริโภคทั้งภายในประเทศและต่าง ประเทศ รวมทั้งประชาชนต้องสามารถเข้าถึงอาหารได้อย่างทั่วถึง เพื่อให้ประเทศไทยยังคงครองความ สามารถในการค้าสินค้าเกษตรและอาหาร ในระดับต้น ๆ ของโลกไว้ และมีสว่ นช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้กับเศรษฐกิจของประเทศต่อไป
56
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยุทธศาสตร์สำคัญของการพัฒนาการเกษตรในระยะ ๕ ปีข้างหน้า ที่ครอบคลุมการดำเนิน งานทุกด้านของภาคเกษตร เพื่อเป็นกรอบแนวคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรในช่วงแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) มี ๓ ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรมีความสามารถพึ่งพาตนเอง ได้ มีภูมิคุ้มกันพร้อมรับความเสี่ยงด้านการผลิต การตลาด และมีการกระจายรายได้ที่ทั่วถึง มีความ สามารถในการผลิตและการตลาด ก้าวสู่ผู้จัดการฟาร์มที่เป็นมืออาชีพ (Smart Farmer)รวมทั้งสร้าง เกษตรกรรุ่นใหม่ทดแทนรุ่นเดิม ตลอดจนส่งเสริมให้องค์กรเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรมีการดำเนินงาน อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๒ พั ฒ นาขี ด ความสามารถในการผลิ ต การจั ด การสิ น ค้ า เกษตร
และความมั่นคงด้านอาหาร เพื่อสร้างฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็ง ทำให้เกิดความมั่นคงในอาชีพ และรายได้ ให้ กั บ เกษตรกร พั ฒ นาคุ ณ ภาพสิ นค้ า เกษตรและอาหารให้ มี ค วามสามารถในการแข่ ง ขั น ประชาชนมีความมั่นคงด้านอาหารและมีผลผลิตเพียงพอกับความต้องการด้านอาหารและพลังงาน รวมทั้ง ส่งเสริมให้มีและนำผลงานวิจัยพัฒนาด้านการเกษตรไปใช้ประโยชน์มากขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนาทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ สมดุลและยั่งยืน เพื่อ สร้างและพัฒนาการใช้ทรัพยากรการเกษตรและโครงสร้างพื้นฐานการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ ฟื้นฟู ทรัพยากรการเกษตรให้มีความเหมาะสมต่อการผลิตทางการเกษตรอย่างยั่งยืน และเตรียมความพร้อมใน การรองรับและปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งสนับสนุนให้ชุมชน ท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อม **************************
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
57
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
58
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ส่วนที่ ๓ รายงานการเงิน งบแสดงฐานะการเงิน งบรายได้และค่าใช้จ่าย
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
59
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งบแสดงฐานะการเงิน สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน
อัตราย่อส่วน แนวดิ่ง (%)
(หน่วย:บาท)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
๔,๑๒๗,๔๔๑,๔๙๖.๙๕
๑.๖๔
ลูกหนี้ระยะสั้น
๓,๒๔๗,๕๕๖,๐๓๔.๒๕
๑.๒๙
รายได้ค้างรับ
๙๒,๖๗๓,๒๑๕.๔๙
๐.๐๔
เงินลงทุนระยะสั้น
๑๗๒,๖๖๐.๔๒
๐.๐๐
สินค้าและวัสดุคงเหลือ
๕๘๕,๑๔๓,๑๖๐.๒๙
๐.๒๓
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
๑,๐๕๒,๘๕๖.๓๙
๐.๐๐
รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
๘,๐๕๔,๐๓๙,๔๒๓.๗๙
๓.๒๐
ลูกหนี้ระยะยาว
๒๔๐,๔๓๙,๘๙๖.๒๔
๐.๑๐
เงินลงทุนระยะยาว
๐.๐๐
๐.๐๐
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (สุทธิ)
๑๔๒,๒๗๘,๖๕๑,๗๙๒.๕๐
๕๖.๕๖
สินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน (สุทธิ)
๑๐๐,๘๙๑,๖๑๒,๕๖๑.๗๔
๔๐.๑๐
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน (สุทธิ)
๑๐๖,๘๐๖,๓๔๕.๑๔
๐.๐๔
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
๘๗๗,๒๐๑.๗๖
๐.๐๐
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
๒๔๓,๕๑๘,๓๘๗,๗๙๗.๓๘ ๒๕๑,๕๗๒,๔๒๗,๒๒๑.๑๗
๙๖.๘๐ ๑๐๐.๐๐
60
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิเคราะห์สินทรัพย์ üĉđÙøćąĀŤ ÿĉîìøĆó÷Ť อัตราย่อส่วนแนวดิ่งสินทรัพย์ ĂĆêøć÷ŠĂÿŠüîĒîüéĉęÜÿĉîìøĆó÷Ť ๐.๐๔% 0.04%
๑.๖๔% 1.64%
0.41% ๐.๔๑%
1.29% ๑.๒๙%
40.09% ๔๐.๐๙%
56.53% ๕๖.๕๓%
đÜĉîÿéĒúąøć÷ÖćøđìĊ÷ïđìŠćđÜĉîÿé
úĎÖĀîĊĚøą÷ąÿĆĚî
ìĊęéîĉ ĂćÙćøĒúąĂčðÖøèŤ(ÿčìíĉ)
ÿĉîìøĆó÷ŤēÙøÜÿøšćÜóČĚîåćî(ÿčìíĉ)
ìøĆพóย์÷Ťไĕม่öŠมöêีตĊ Ćüัวêî สิÿĉนîทรั ตน (ÿč (สุìทíĉธิ))
ìøĆพóย์÷ŤอĂื่นČęî สิÿĉนîทรั
ÿĉîìøĆó÷ŤĔîÙüćöÙüïÙčö×ĂÜÖøąìøüÜđÖþêøĒúąÿĀÖøèŤ øüöìĆĚÜÿĉĚî 251,572.43 úšćîïćì สินทรัพย์ในความควบคุมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมทั้งสิ้น ๒๕๑,๕๗๒.๔๓ ล้านบาท ðøąÖĂïéšü÷ ประกอบด้วย đÜĉîÿéĒúąøć÷ÖćøđìĊ÷ïđìŠćđÜĉîÿé 4,127.44 úšćîïćì ÿŠüîĔĀâŠđðŨîđÜĉîìĊęÖøö ๐ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ๔,๑๒๗.๔๔ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นเงินที่กรมในสังกัด ĔîÿĆÜÖĆéòćÖÙúĆÜ3,012.10 úšćîïćì đÜĉîòćÖÿëćïĆîÖćøđÜĉî 1,012.70 úšćîïćì ฝากคลัง ๓,๐๑๒.๑๐ านบาท เงินĚîฝากสถาบั นการเงิúšćนîïćì ๑,๐๑๒.๗๐ ล้านบาท úĎÖล้ĀîĊ Ěøą÷ąÿĆ 3,247.56 ÿŠüîĔĀ⊠đðŨîđÜĉîúĎÖĀîĊĚĂČęî-ïčÙÙúõć÷îĂÖ 2,923.82 ๐ ลูกหนี ้ ร ะยะสั ้ น ๓,๒๔๗.๕๖ ล้ า นบาท ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เงิ น ลู ก หนี้อื่นÜ-บุÖĆéคคลภายนอก úšćîïćì ĒúąđÜĉîúĎÖĀîĊĚđÜĉî÷ČöĔîđÜĉîÜïðøąöćè×ĂÜÖøöĔîÿĆ 274.682 úš๒,๙๒๓.๘๒ ćîïćì ล้านบาท และเงิ นลูìĊกęéหนี งินยืมในเงินงบประมาณของกรมในสั งกัด úš๒๗๔.๖๘๒ านบาท ĉî ้เĂćÙćøĒúąĂč ðÖøèŤ (ÿčìíĉ) 142,278.65 ćîïćì ÿŠüล้îĔĀ⊠đðŨîÙŠćĂćÙćøĒúą ÿĉęÜðúĎ๐ ที ่ ด ิ น อาคารและอุ ป กรณ์ (สุ ท ธิ ) ๑๔๒,๒๗๘.๖๕ ล้ า นบาท ส่ ว นใหญ่ เป็นค่ćาÜÖŠ อาคารและ
ÖÿøšćÜ 15,250.96 úšćîïćì ÙŠćĂčðÖøèŤ 15,159.93 úšćîïćì ĒúąÜćîøąĀüŠ ĂÿøšćÜ สิ่งปลู กสร้าง ๑๕,๒๕๐.๙๖ 123,072.99 úšćîïćìล้านบาท ค่าอุปกรณ์ ๑๕,๑๕๙.๙๓ ล้านบาท และงานระหว่างก่อสร้าง ๑๒๓,๐๗๒.๙๙ ล้านบาท § ๐ สินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน (สุทธิ) ๑๐๐,๘๙๑.๖๑ ล้านบาท เกือบทั้งหมดเป็นมูลค่าโครงการ ÖÚ พื้นฐานอื่น ถนน และเขื่อนของกรมชลประทาน ๐ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน (สุทธิ) ๑๐๖.๘๑ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นค่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
61
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ระยะสั้น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง รายได้รอการรับรู้ระยะสั้น เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะสั้น เงินรับฝากระยะสั้น เงินกู้ระยะสั้น หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน
(หน่วย:บาท)
อัตราย่อส่วน แนวดิ่ง (%)
๑,๑๑๓,๕๔๘,๗๕๗.๓๗ ๓๗๐,๗๘๓,๕๕๔.๑๒ ๐.๐๐ ๒๙๘,๓๕๖.๐๗ ๐.๐๐ ๑๒๔,๘๕๙,๒๙๖.๐๐ ๔,๐๐๒,๑๙๓,๘๐๔.๔๖ ๐.๐๐ ๑,๑๔๔,๘๑๙,๑๒๒.๘๘ ๖,๗๕๖,๕๐๒,๘๙๐.๙๐
๐.๔๔ ๐.๑๕ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๕ ๑.๕๙ ๐.๐๐ ๐.๔๖ ๒.๖๙
๐.๐๐
๐.๐๐
๑๕๙,๘๑๔,๗๗๖.๐๘
๐.๐๖
๗๔,๘๒๒,๐๐๐.๐๐
๐.๐๓
๐.๐๐ ๒๔๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐
๐.๐๐ ๐.๑๐
๑,๓๐๗,๐๐๗.๓๗
๐.๐๐
๔๗๕,๙๔๓,๗๘๓.๔๕
๐.๑๙
๗,๒๓๒,๔๔๖,๖๗๔.๓๕
๒.๘๗
สินทรัพย์สุทธิ
๒๔๔,๓๓๙,๙๘๐,๕๔๖.๘๒
๙๗.๑๓
สินทรัพย์สุทธิ
๙๑,๕๖๒,๖๘๓,๖๙๖.๕๒
๓๖.๔๐
หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ระยะยาว
รายได้รอการรับรู้ระยะยาว
เงิ นทดรองราชการรั บ จากคลั ง เพื่ อ การ ดำเนินงาน เงินรับฝากระยะยาว เงินกู้ระยะยาว
หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น
รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน
รวมหนี้สิน
ทุน
รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม
๑๕๒,๗๗๗,๒๙๖,๘๕๐.๓๐
๖๐.๗๓
รวมสินทรัพย์สุทธิ
๒๔๔,๓๓๙,๙๘๐,๕๔๖.๘๒
๙๗.๑๓
62
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิเคราะห์หนี้สินและสินทรัพย์สุทธิ
หนี้สินในความควบคุมดูแลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมทั้งสิ้น ๗,๒๓๒.๔๕ ล้านบาท ประกอบด้วย ๐ หนี้สินหมุนเวียน ๖,๗๕๖.๕๐ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นเงินรับฝากระยะสั้นของกรมในสังกัด ๔,๐๐๒.๑๙ ล้านบาท โดยเป็นเงินรับฝาก ๒,๓๒๕.๘๖ ล้านบาท และเงินรับฝากจากเงินทุนหมุนเวียน ๑,๖๗๖.๓๓ ล้านบาท รองลงมาเป็นเงินเจ้าหนี้ระยะสั้นของกรมในสังกัด ๑,๑๑๓.๕๕ ล้านบาท ซึ่งเป็นเจ้าหนี้ การค้าหน่วยงานภายใต้กระทรวง,หน่วยงานภาครัฐ,บุคคลภายนอก ๑,๐๑๘.๘๘ ล้านบาท เจ้าหนื้อื่น ๙๓.๙๓ ล้านบาท ๐ หนี้สินไม่หมุนเวียน ๔๗๕.๙๔ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ระยะยาว-หน่วยงานภาครัฐ ๒๔๐.๐๐ ล้านบาท รายได้รอการรับรู้ระยะยาว ๑๕๙.๘๑ ล้านบาท และเงินทดรองรับจากคลังรอการ ดำเนินงาน ๗๔.๘๒ ล้านบาท ๐ สินทรัพย์สุทธิ ๒๔๔,๓๓๙.๙๘ ล้านบาท เกิดจากมูลค่าสินทรัพย์ที่กรมในสังกัดยกยอดเมื่อเริ่ม ใช้เกณฑ์คงค้างทางบัญชีซึ่งแสดงอยู่ในรายการทุน ๙๑,๕๖๒.๖๘ ล้านบาท และผลการดำเนินงานทางการ เงินของกรมในสังกัดที่สะสมมาในแต่ละรอบบัญชี ๑๕๒,๗๗๗.๓๐ ล้านบาท งบรายได้และค่าใช้จ่าย สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ อัตราย่อส่วน (หน่วย:บาท) แนวดิ่ง (%) รายได้จากการดำเนินงาน รายได้จากรัฐบาล
รายได้จากงบประมาณ
๘๗,๑๙๔,๔๘๗,๔๔๖.๘๗
๘๗.๙๔
รายได้อื่น
๑๑,๔๐๗,๓๘๑,๓๐๙.๒๖
๑๑.๕๐
รวมรายได้จากรัฐบาล
๙๘,๖๐๑,๘๖๘,๗๕๖.๑๓
๙๙.๔๔
๑๐๑,๐๓๗,๕๘๙.๗๗
๐.๑๐
๗๗,๓๑๒,๙๕๙.๕๒
๐.๐๘
รายได้อื่น
๓๗๒,๘๗๒,๓๑๙.๔๓
๐.๓๘
รวมรายได้จากแหล่งอื่น
๕๕๑,๒๒๒,๘๖๘.๗๒
๐.๕๖
รายได้จากแหล่งอื่น รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายได้จากเงินช่วยเหลือและเงินบริจาค
รวมรายได้จากการดำเนินงาน
๙๙,๑๕๓,๐๙๑,๖๒๔.๘๕
๑๐๐.๐๐
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
63
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิเคราะห์รายได้ üĉđÙøćąĀŤ øć÷ĕéš
อัตราย่อส่วนแนวดิ่งรายได้
ĂĆêøć÷ŠĂÿŠüîĒîüéĉęÜøć÷ĕéš
๐.๕๕% 0.55%
99.44% ๙๙.๔๔%
øüöøć÷ĕéšÝćÖøĆåïćú
øüöøć÷ĕéšÝćÖĒĀúŠÜĂČęî
øć÷ĕéšìĊęĕéšøĆïÝćÖøĆåïćúĒúąĒĀúŠÜĂČęîøüöìĆĚÜÿĉĚî 99,153.09 úšćîïćì ðøąÖĂïéšü÷ ทøć÷ĕéš ćÖøĆåฐïćú 98,601.87 đðŨîøć÷ĕéšล้ĀาúĆนบาท Ö×ĂÜÖøąìøüÜđÖþêøĒúą รายได้ ี่ได้รับÝจากรั บาลและแหล่ งอื่นรวมทัúš้งćสิîïćì ้น ๙๙,๑๕๓.๐๙ ประกอบด้วย ÿĀÖøèŤ ÿŠ ü îĔĀâŠ Ö øöĔîÿĆ Ü ÖĆ é đïĉ Ö ÝŠ ć ÷ÝćÖÜïðøąöćè 87,194.49 úš ć îïćì Ēúąøć÷ĕéšĂČęî ๐ รายได้จากรัฐบาล ๙๘,๖๐๑.๘๗ ล้านบาท เป็นรายได้หลักของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 11,407.38 ส่วนใหญ่ กรมในสังúšกัćดîïćì เบิกจ่ายจากงบประมาณ ๘๗,๑๙๔.๔๙ ล้านบาท และรายได้อื่น ๑๑,๔๐๗.๓๘ ล้านบาท øć÷ĕéš ÝćÖĒĀúŠ 551.22ล้านบาท úšćîïćì đðŨîøć÷ĕéš ÝćÖÖćø×ć÷ÿĉ îÙšćĒúąïøĉ ćø ๐ รายได้จากแหล่ งอืÜ่นĂČęî๕๕๑.๒๒ เป็นรายได้ จากการขายสิ นค้าและบริ การ Ö๑๐๑.๐๔ 101.04 úšćîïćì Ēúąøć÷ĕéšÝćÖđÜĉîߊü÷đĀúČĂĒúąđÜĉîïøĉÝćÙ 77.31 úšćîïćìÿŠüîìĊęđðŨîøć÷ĕéš ล้านบาท และรายได้จากเงินช่วยเหลือและเงินบริจาค ๗๗.๓๑ ล้านบาทส่วนที่เป็นรายได้อื่นของกรมใน ĂČęî×ĂÜÖøöĔîÿĆÜÖĆé 372.87 úšćîïćì สังกัด ๓๗๒.๘๗ ล้านบาท
×Ó
64
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน
(หน่วย:บาท)
อัตราย่อส่วน แนวดิ่ง (%)
ค่าใช้จ่ายบุคลากร
๒๔,๗๐๒,๓๒๗,๕๓๕.๖๔
๒๔.๙๑
ค่าบำเหน็จบำนาญ
๕,๗๕๙,๕๑๔,๐๐๙.๕๑
๕.๘๑
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
๑,๐๕๕,๒๖๘,๕๗๓.๒๑
๑.๐๖
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
๑,๗๗๒,๖๘๙,๒๓๐.๒๐
๑.๗๙
ค่าวัสดุและค่าใช้สอย
๒๐,๗๖๗,๓๘๐,๒๓๙.๘๑
๒๐.๙๔
ค่าสาธารณูปโภค
๑,๒๐๑,๙๖๐,๒๙๒.๖๖
๑.๒๑
ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย
๗,๑๒๔,๘๓๓,๕๑๗.๗๒
๗.๑๙
ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน
๔,๙๐๔,๑๑๑,๓๗๒.๘๒
๔.๙๕
ค่าใช้จ่ายอื่น
๘,๔๒๑,๔๖๕,๕๔๐.๖๒
๘.๔๙
รวมค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน
๗๕,๗๐๙,๕๕๐,๓๑๒.๑๙
๗๖.๓๖
๒๓,๔๔๓,๕๔๑,๓๑๒.๖๖
๒๓.๖๔
รายได้/ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการดำเนินงาน
๓๙,๔๘๖,๔๖๘.๙๘
๐.๐๔
๓๕๓,๑๖๗.๒๔
๐.๐๐
๓๙,๘๓๙,๖๓๖.๒๒ ๒๓,๔๐๓,๗๐๑,๖๗๖.๔๔
๐.๐๔ ๒๓.๖๐
๐.๐๐
รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายก่อนรายการรายได้แผ่นดิน ๒๓,๔๐๓,๗๐๑,๖๗๖.๔๔
๒๓.๖๐
รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน
กำไร/ขาดทุนสุทธิจากการจำหน่ายสินทรัพย์
รายการอื่นๆ ที่ไม่เกิดจากการดำเนินงาน
รวมรายได้/ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการดำเนินงาน รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายจากกิจกรรมตามปกติ รายการพิเศษ
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
65
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิเคราะห์ค่าใช้จ่าย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ๗๕,๗๐๙.๕๕ ล้านบาท ซึ่งมีข้อมูล เพิ่มเติม ดังนี้ ๐ ค่าใช้จ่ายบุคลากร ๒๔,๗๐๒.๓๓ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นเงินเดือน ๑๕,๐๘๗.๕๘ ล้านบาท
ค่าจ้าง ๖,๒๙๘.๑๓ ล้านบาท เงินช่วยเหลือด้านรักษาพยาบาล ๑,๙๑๐.๔๓ ล้านบาท เงินช่วยเหลือด้านการ ศึกษา ๒๑๗.๙๗ ล้านบาท ค่าใช้จ่ายบุคลากรอื่น ๑,๑๗๗.๕๖ ล้านบาท ๐ ค่าบำเหน็จบำนาญ ๕,๗๕๙.๕๑ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นค่าบำนาญ ๓,๔๐๓.๑๐ ล้านบาท
ค่าบำเหน็จ ๙๕๐.๒๖ ล้านบาท เงินช่วยเหลือด้านรักษาพยาบาล ๖๙๙.๗๙ ล้านบาท เงินช่วยเหลือด้านการ ศึกษา ๑๘.๓๓ ล้านบาท ค่าบำเหน็จบำนาญอื่นๆ ๖๘๘.๐๒ ล้านบาท § ๐ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ๑,๐๕๕.๒๗ ล้านบาท เป็นค่าใช้จ่ายในการอบรมในประเทศ ๕๓๙.๕๓ ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการอบรมต่างประเทศ ๙.๖๙ ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการอบรมบุคคลภายนอก ๕๐๖.๐๔ ล้านบาท § ๐ ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ๑,๗๗๒.๖๙ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางใน ประเทศ ๑,๖๕๒.๗๔ ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการเดินทางต่างประเทศ ๑๑๙.๙๔ ล้านบาท ๐ ค่าวัสดุและค่าใช้สอย ๒๐,๗๖๗.๓๘ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นค่าซ่อมแซมและบำรุงรักษา ๙,๔๓๘.๗๗ ล้านบาท ค่าจ้างเหมาบริการ ๓,๖๕๗.๔๕ ล้านบาท ค่าวัสดุ ๔,๙๗๘.๕๔ ล้านบาท ค่าแก๊สและ น้ำมันเชื้อเพลิง ๕๘๔.๔๙ ล้านบาท ค่าตอบแทน ๑๑๓.๑๓ ล้านบาท ค่าวัสดุและค่าใช้สอยอื่น ๑,๙๒๕.๗๘ ล้านบาท § ๐ ค่าสาธารณูปโภค ๑,๒๐๑.๙๖ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นค่าไฟฟ้า ๘๖๕.๖๕ ล้านบาท ค่าน้ำประปา ๕๐.๐๓ ล้านบาท ค่าสาธารณูปโภคอื่นๆ ๒๘๖.๒๖ ล้านบาท ๐ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ๗,๑๒๔.๘๓ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นค่าสินทรัพย์โครงสร้าง พื้นฐาน ๔,๒๓๕.๙๒ ล้านบาท อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ๑,๒๔๕.๖๘ ล้านบาท อุปกรณ์ ๑,๕๘๖.๑๙ ล้านบาท § ๐ ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน ๔,๙๐๔.๑๑ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายอุดหนุนเพื่อการดำเนินงาน อาทิ หน่วยงานภาครัฐ องค์กรระหว่างประเทศ ๓,๓๗๖.๙๔ ล้านบาท และค่าใช้จ่ายอุดหนุนเพื่อการลงทุน ๒,๘๐๗.๑๕ ล้านบาท § ๐ ค่าใช้จ่ายอื่น ๘,๔๒๑.๔๗ ล้านบาท ที่สำคัญเป็นค่าใช้จ่ายอื่น-บุคคลภายนอก ๘,๔๐๗.๓๔
ล้านบาท
66
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ภาคผนวก
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
67
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
68
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สถานที่ตั้งส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : Ministry of Agriculture and Cooperative http:// www.moac.go.th/
สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : Office of the Permanent Secretary Ministry of Agriculture and Cooperative เลขที่ ๓ ถนนราชดำเนินนอก กรุงเทพ ฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์กลาง ๐-๒๒๘๑-๕๙๕๕, ๐-๒๒๘๑-๕๘๘๔ http:// www.opsmoac.go.th/ กรมชลประทาน : The Royal Irrigation Department ถ.สามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๔๑-๐๐๒๐ ถึง ๒๙ โทรสาร ๐-๒๒๔๑-๓๐๒๕ http://www.rid.go.th/ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ : Cooperative Auditing Department ๑๒ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๒๘ ๕๒๔๐ - ๕๙ โทรสาร ๐-๒๒๘๒-๕๘๘๑ http://www.cad.go.th/ กรมประมง : Department of Fisheries เลขที่ ๕๐ เกษตรกลาง ถนนพหลโยธน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๖๒-๐๖๐๐-๑๕ โทรสาร ๐-๒๕๖๒-๐๕๖๔ http://www.fisheries.go.th/ กรมปศุสัตว์ : Department of Livestock Development เลขที่ ๖๙/๑ ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๕-๕๑๓๖-๘ โทรสาร ๐-๒๒๕๑๐๙๘๖ http://www.dld.go.th กรมพัฒนาที่ดิน : Land Development Department เลขที่ ๒๐๐๓/๖๑ หมู่ ๕ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๙๔๑-๑๙๖๘-๘๕ โทรสาร ๐-๒๙๔๑-๒๒๒๗ http://www.ldd.go.th กรมวิชาการเกษตร : Department of Agriculture เลขที่ ๕๐ ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๗๙-๐๑๕๑-๘ http://www.doa.go.th รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
69
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมส่งเสริมการเกษตร : Department of Agricultural Extension ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว จตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๗๙-๐๑๒๑-๘, ๐-๒๙๔๐-๖๐๘๐-๙๕ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๓๐๑๘ http://www.doae.go.th กรมส่งเสริมสหกรณ์ : Cooperative Promotion Department เลขที่ ๑๒ ถนนกรุงเกษม เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๖๒๘-๕๑๓๓-๔ โทรสาร ๐-๒๒๘๒-๖๐๗๘ http://www.cpd.go.th สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม : Agricultural Land Reform Office ถนนราชดำเนินนอก เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๒-๙๐๐๔, ๐-๒๒๘๒-๙๐๐๖, ๐-๒๒๘๒-๙๐๓๕-๓๘ โทรสาร ๐-๒๒๘๑-๐๘๑๕ http://www.alro.go.th สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ : National Bureau of Agriculture Commedity and Food Standards เลขที่ ๕๐ ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๖๑-๒๒๗๗ โทรสาร ๐-๒๕๖๑-๒๐๙๖ http://www.acfs.go.th สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร : Office of Agriculture Economics ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๙๔๐-๗๒๒๔-๖ โทรสาร ๐-๒๙๔๐-๗๒๑๐ http://www.oae.go.th กรมการข้าว : Rice Department ๕๐ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๖๑-๓๒๓๖ , ๐-๒๕๖๑-๓๐๕๖ http://www.ricethailand.go.th กรมหม่อนไหม : The Queen Sirikit Department of Sericulture เลขที่ ๒๑๗๕ ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๕๘-๗๙๒๔-๒๖, ๐-๒๕๕๘-๗๙๒๗ http://www.qsds.go.th สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) : Highland Research and Development Institute (Public Organization) ๖๕ ม.๑ ถ.สุเทพ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ๕๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐๕๓-๓๒๘๔๙๖-๘ โทรสาร ๐๕๓-๓๒๘๔๙๔ http://www.hrdi.or.th
70
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร : Marketing Organization For Farmers ๑๐๑ ถนนกำแพงเพชร แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๗๙-๑๑๘๖ โทรสาร ๐-๒๒๗๘-๐๑๓๙ http://www.mof.or.th องค์การสวนยาง : Rubber Estate Organization ๑๒๔/๑๑๓ ถนนบางกอกน้อย-ตลิ่งชัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ ๐-๒๔๒๔-๔๒๕๙ โทรสาร ๐-๒๔๓๓-๖๕๙๕ http://www.reothai.co.th องค์การส่งเสริมกิจการ โคนมแห่งประเทศไทย : Dairy Farming Promotion Organization of Thailand ๘๙/๒ อาคาร ๙ ชั้น ๑๔ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๖๘-๒๕๗๓ http://www.thaidanskmilk.com สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง : Office of The Rubber Replanting Aid Fund ๖๗/๒๕ ถนนบางขุนนนท์ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๓๓-๖๐๖๘ โทรสาร ๐-๒๔๓๕-๘๙๕๖ http://www.rubber.co.th องค์การสะพานปลา : Fish Marketing Organization ๒๑๑ ถนนเจริญกรุง ๕๘ แขวงยานนาวา เขตสาธร กรุงเทพฯ โทร ๐-๒๑๑-๐๓๐๐ โทรสาร ๐-๒๒๑๑-๖๑๔๗ http://www.fishmarket.co.th สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) : Agricultural Research Development Agency (Public Organization) ๒๐๐๓/๖๑ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ http://www.arda.or.th สำนักงานพิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ถนนพหลโยธิน หลักกิโลเมตรที่ ๔๖-๔๘ ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ๑๒๑๒๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๒๙-๒๒๑๒-๑๓ โทรสาร ๐-๒๕๒๙-๒๒๑๔ http://www.wisdomking.or.th
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
71
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
คำขอบคุณ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ขอขอบคุณหน่วยงานต่างๆ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่สนับสนุนข้อมูลและภาพประกอบในการจัดทำผลการดำเนินงานประจำปี ๒๕๕๔ ของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ทำให้การจัดทำผลงานสำเร็จลุล่วงด้วยดี (นายอภิชาต จงสกุล) เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ที่ปรึกษา
นายอภิชาต จงสกุล นางดวงหทัย ด่านวิวฒ ั น์ นางอารีย์ โสมวดี
คณะผู้จัดทำผลงาน
เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ผูอ้ ำนวยการสำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร
นางวรมน หนูทอง นางสาวกัลยา สงรอด นางจันทร์จิรา ไหมดี นางศิริ เพ่งพินิจ เจ้าหน้าที่ส่วนแผนงานและงบประมาณ
72
รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
ผู้อำนวยการส่วนแผนงานและงบประมาณ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด โทร. 0 2525 4807-9, 0 2525 4853-4 โทรสาร 0 2525 4855 รายงานประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๕๔
73