HSRI FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 4

Page 1

พื้นที่แบ่งป˜นความรู้ สู่ระบบสุขภาพที่เปšนธรรมและยั่งยืน

ปที่ 2 ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556

า น ฒ ั R พ 2 - R

น ั ด ร ก ั ว ศ ล ท ผ สู ่ 1

ัย จ ิ ว รÉ

ก้าว

www.hsri.or.th

hsri-july3.indd 1

10/3/56 BE 3:10 PM


บ ท บ ร ร ณ า ธิ ก า ร

วัสดีครับผู้อ่าน ฉบับนี้เราขอพาท่าน ย้ อ นไปสู ่ บ รรยากาศ การประชุ ม แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ จากงานประจ� า สู่งานวิจัย (R2R) ครั้งที่ 6 “ร่วมสร้างวัฒนธรรม R2R สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” ที่จัดขึ้นเมื่อราวต้นเดือน สิงหาคมที่ผ่านมา ณ อิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี โดยสถาบั น วิ จั ย ระบบสาธารณสุ ข ร่ ว มกั บ คณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล และเหล่าเครือข่าย องค์กรภาคี ความน่าสนใจของเวที R2R ในปีนี้ แตกต่างไป จากปีก่อนๆ ค่อนข้างมาก โดยเราจะได้เห็นความ พยายามในการส่งเสริมให้เกิดวิถีท�างานวิจัยจากงาน ประจ�า (Routine to Research: R2R) เพื่อเป็นเครื่อง มือการพัฒนาในระดับองค์กรมากขึ้น เราจะเห็น R2R เข้าไปมีบทบาทส�าคัญภายในกระทรวงสาธารณสุข หรื อ แม้ แ ต่ ใ นมิติของการสร้างเสริมสุขภาพ R2R ก็ได้เข้าไปมีบทบาทอย่างมาก โดยส�านักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้เข้ามา ร่ ว มสนั บ สนุ น การพั ฒ นา R2R ในระดั บ ประเทศ พร้อมร่วมก�าหนดทิศทางการขับเคลื่อน R2R ไปใน อนาคต ในฉบับได้น�าเสนอประเด็น R2R “ในยุคปฏิรูป กระทรวงฯ” ว่าจะเป็นเครื่องมือของการเสริมสร้าง

สมรรถนะบุคลากร สธ.ได้อย่างไร ไว้ในคอลัมน์ เส้นทางสุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน โดยผู้บริหาร ของกระทรวงฯ ที่ รั บ ผิ ด ชอบงานด้ า นการจั ด การ ความรู้โดยตรงจะได้มาฉายมุมมองทัศนะในเรื่องนี้ โดยสะท้อนให้เห็นว่าหลังการเปลี่ยนแปลงบทบาท กระทรวงฯ R2R จะถู ก น� าไปใช้ ใ นการพั ฒ นาคน งาน หรือระบบสุขภาพได้อย่างไร ซึ่งต้องติดตาม ในฉบับ นอกจากนั้ น ในคอลั ม น์ แ กะกล่ อ งงานวิ จั ย ยังเข้มข้นไปด้วยข้อมูลที่เจาะลึกถึงการท�างานวิจัย R2R ในหัวข้อต่างๆ เช่น “R2R กับการลดอัตราการ ขาดยาผู้ป่วยจิตเวชด้วยรูปแบบการดูแลแบบเครือ ข่าย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนต�าบลบ้านมาง อ�าเภอ เชียงม่วน จังหวัดพะเยา” ของคุณพงศ์ศิลป วิลาชัย พยาบาลวิชาชีพ ศูนย์สุขภาพชุมชนต�าบลบ้านมาง และคณะ เจ้าของงานวิจัย ซึ่งได้รับรางวัลผลงาน R2R ดีเด่น กลุ่มงานบริการระดับปฐมภูมิ ในปีนี้ คอลัมน์ต้นกล้าความรู้ สู่ต้นแบบสุขภาพ ที่ชวน ไปท�าความรู้จักกับโครงการ ASU ที่ ได้มีการน�าไปใช้ กับโรงเรียนแพทย์เป็นครั้งแรกของประเทศไทย ภาย ใต้งานวิจัย R2R “Antibiotics Smart Use (ASU) ที่ โรงพยาบาลศิริราช” อีกหนึ่งผลงานที่น่าสนใจของ นพ.อธิรัฐ บุญญาศิริ จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราช

พยาบาล และคณะ ซึ่งได้รับรางวัลผลงาน R2R ดีเด่น กลุ่มงานบริการระดับตติยภูมิ เช่นกัน จากนั้ น พบกั บ “มุ ม มองการพั ฒ นาระบบ สาธารณสุ ข ไทย” ในทั ศ นะของ รศ.นพ.เชิ ด ชั ย นพมณี จ� า รั ส เลิ ศ รองผู ้ อ� า นวยการโรงพยาบาล ศิริราช ด้านบริการผู้ป่วยนอกและพัฒนาคุณ ภาพ และหัวหน้าทีมทีป่ รึกษาโครงการสนับสนุนการพัฒนา งานประจ�าสู่งานวิจัยระดับประเทศ และตบท้ายกับไฮไลท์ระบบสุขภาพฉบับนี้ ให้ ทุ ก ท่ า นได้ เ ห็ น ทั ศ นะของ ศ.นพ.วิ จ ารณ์ พานิ ช ที่ ป รึ ก ษาคณะกรรมการการด� า เนิ น งานแผนงาน โครงการ R2R ในประเด็น “คุณค่าและความหมาย ของ R2R” ซึ่ ง ท่ า นได้ แ สดงทั ศ นะเอาไว้ อ ย่ า งน่ า สนใจ โดยเนื้อหาทั้งหมดใน HSRI Forum ฉบับนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ทุกท่านโดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าน ที่ปฏิบัติงานในแวดวงสาธารณสุขทุกระดับจะได้รับ สาระและแรงบันดาลใจในการท�างานวิจัย R2R เพื่อ พัฒนางานประจ�า ที่จะเป็นส่วนหนึ่งของการสร้าง ระบบสุขภาพให้เกิดความสมดุลเละยั่งยืน ซึ่งท้าย ที่สุดของเปาหมายนี้ คือ สุขภาพที่ดีและชีวิตที่ยืนยาว ของประชาชนนั่นเองครับ

ศ.นพ.สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล ¼ÙŒÍíҹǡÒÃʶҺѹÇÔ¨ÑÂÃкºÊÒ¸ÒóÊØ¢

ส า ร บั ญ

CONTENT

03 คุณคาของ R2R คือ “การพัฒนางาน” 04 ผลักดัน - พัฒนา : กาวสู 1 ทศวรรษ วิจัย R2R 08 R2R “ยุคปฏิรูป กระทรวงฯ” เครื่องมือเสริมสมรรถนะบุคลากร สธ. 10 ลดอัตราการขาดยา แกปญหาผูปวยจิตเวชในชุมชน 12 ตนแบบ Antibiotics Smart Use ในโรงเรียนแพทย 14 รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจํารัสเลิศ ในมุมมอง การพัฒนาระบบสาธารณสุขไทย 15 เกาะกระแส สวรส.

03

04

08

10

12

14

จัดทÓโดย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข บรรณาธิการ ศ.นพ.สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล ¡Í§ºÃóҸԡÒà หนวยสื่อสารความรูและขับเคลื่อนสังคม น้อมรับคÓติชม พรอมเปดกวางรับทุกความคิดเห็น ขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของกับระบบวิจัยสุขภาพ ที่ hsri@hsri.or.th

ติดตามขาวสารและกิจกรรมที่นาสนใจไดที่ http://www.facebook.com/hsrithailand

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรÉ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 2

10/3/56 BE 3:10 PM


ไ Î ไ ล ท์ ร ะ บ บ สุ ข ภ า พ

คุคือ ณ ค่ า ของ R2R “การพัฒนางาน”

มจะพยายามย�า้ อยูเ่ สมอว่า เป้าหมายทีแ่ ท้จริง ของ Routine to Research (R2R) หรือ “การพัฒนางานประจ�าสู่งานวิจัย” อยู่ที่การ “การพัฒนางาน” ไม่ใช่ “ผลงานวิจัย” นี่คือความเชื่อของ ผม ผมคิดว่าคุณค่าของ R2R คือการที่ ได้พัฒนางานประจ�า ให้ดีขึ้น ดังนั้นพระเอกของ R2R จึงเป็น “คนท�างานประจ�า” หรือ “ตัวงานประจ�า” ไม่ใช่ “ผลงานวิจัย” แล้วเมื่อไหร่ก็ตามที่เราไปให้ความส�าคัญกับงานวิจัย มากกว่างานประจ�า เมื่อนั้นผมคิดว่าเราน่าจะเริ่ม “หลงทาง” เพราะว่าเปาหมายจริงๆ ของ R2R คือการเปลี่ยนวิธีคิด เปลีย่ นวิธกี ารท�างานของคนท�างานประจ�าให้ดขี นึ้ เพราะงาน ประจ�าคือทรัพย์สมบัติที่มีคุณค่า ดังนั้นถ้าหากเราสามารถ เพิม่ คุณค่าให้กบั งานประจ�าได้ เราก็จะมีความสุขและมีความ ภาคภูมิใจเพิ่มมากขึ้น

ที่ผ่านมามีคนน�า R2R ไปใช้ด้วยความเลื่อมใสศรั ทธา เป็นจ�านวนมาก แต่ ในขณะเดียวกันก็มีคนจ�านวนหนึ่งที่มี ความเชื่อว่าการท�า R2R คือการสร้างผลงานเพื่อน�าไปสู่การ เลือ่ นละดับต�าแหน่งหน้าทีก่ ารงาน ผมคิดว่ามันเป็นความเชือ่ ที่เบี่ยงเบนไปจากวัตถุประสงค์จริงๆ ของ R2R เพราะ R2R ต้องการให้เราเกิดความพยายามในการพัฒนางานประจ�า โดยใช้กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ การเก็บข้อมูลอย่าง เป็นระบบ ท�าให้ขอ้ มูลมีความน่าเชือ่ ถือ ซึง่ เป็นกระบวนการ ของการท�างานวิจัย นี่คือหลักคิดของ R2R

hsri-july3.indd 3

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ที่ปรึกษาคณะกรรมการการด�าเนินงานแผนงานโครงการ R2R

ในอดีตคนท�างานประจ�าหรือคนที่อยู่ ในระดับปฏิบัติงานมักจะรอแต่หมายสั่ง ไม่ค่อย ได้ใช้ความคิดของตัวเองในการท�างาน เนื่องจากกลัวว่าถ้าหากคิดไม่ตรงกับหัวหน้าแล้ว จะมีความผิด จึงท�าให้ไม่กล้าคิด ไม่กล้าท�า แต่ในปัจจุบันเรามีการน�าแนวคิด R2R มาใช้ เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คนท�างานประจ�า “เปลี่ยนวิธีคิด” และ “เปลี่ยนวัฒนธรรมการ ท�างาน” เพราะเมื่อท�า R2R ไปซักพัก คนท�างานจะเริ่ม “กล้าคิด” “กล้าตั้งค�าถามให้กับตัว เอง” และ “กล้าท�า” อะไรใหม่ๆ มากขึ้น ซึ่งในขณะที่ทดลองท�า หากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ก็ถือว่าเป็นบทเรียนส�าคัญที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ แต่หากมีผลดี เราก็จะน�าผลดีที่ ได้นั้นไป พัฒนาให้มันดียิ่งๆ ขึ้นไป ก่อนที่จะมีการต่อยอดออกไปเรื่อยๆ โดยการท�าเป็นทีม ท�าเป็น กลุ่ม และท�าเป็นเครือข่าย จนเกิดเป็นเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้ในที่สุด ที่ผ่านมาคนทั่วไปมักจะคิดว่า การฝกอบรม (Training) เป็นการท�าให้คนท�างานประจ�า เกิดการเรียนรู้ จึงท�าให้เกิดวัฒนธรรมการฝกอบรม (Training Culture) ในประเทศไทย ซึ่งไม่ใช่เรื่องผิด แต่บางครั้งหัวข้อการฝกอบรมก็ไม่ตรงกับความต้องการของผู้เรียน และ ไม่เชื่อมโยงกับงาน ไม่เชื่อมโยงกับเทคโนโลยีที่คนท�างานต้องใช้ แต่ส�าหรับ R2R แล้ว R2R คือเครื่องมือที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่ตรงกับความต้องการ และเชื่อมโยงกับการท�างาน ประจ�ามากที่สุด ดังนั้น R2R จึงเป็นเครื่องมือส�าคัญที่จะช่วยให้คนยุคนี้เกิดการปฏิวัติการ เรียนรู้ของตนเองโดยการท�างานวิจัยในงานประจ�า การท�างานวิจยั R2R มีบคุ คลส�าคัญอยู่ 3 กลุม่ คือ 1.กลุม่ คุณกิจ หรือผูว้ จิ ยั หรือผูป้ ฏิบตั ทิ ี่ ต้องการพัฒนางานประจ�าของตัวเองให้ดขี นึ้ 2.กลุม่ คุณอ�านวย หรือ Facilitator ผูท้ จี่ ะท�าหน้าที่ เป็นโค้ชทีจ่ ะคอยอ�านวยความสะดวกให้กบั ผูว้ จิ ยั เรือ่ งเทคนิคการท�าวิจยั ต่างๆ 3.กลุม่ ผูบ้ ริหาร หรือ กลุ่มคุณเอื้อ กลุ่มนี้จะคอยให้การสนับสนุน ให้ทรัพยากร และให้รางวัลกับผู้วิจัย ถึงแม้ว่าจะมีบุคคลส�าคัญ 3 กลุ่ม แต่ก็ต้องขอเน้นย�้าอีกทีว่าคนที่เป็นพระเอกจริงๆ ก็คือ “คนท�างานประจ�า” หรือนักวิจัยนั่นเองครับ สรุปก็คือ R2R เป็นการพัฒนาวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างหนึ่ง ที่พัฒนาจากฐานล่าง ศ.นพ.ประเวศ วะสี บอกว่าเป็นการพัฒนาจากฐานพระเจดีย์ ไม่ ใช่พัฒนาจากยอด แต่ก็ ไม่ได้แปลว่ายอด ซึง่ ก็คอื ผูบ้ ริหารไม่มคี วามส�าคัญ เพราะผูบ้ ริหารคือผูท้ คี่ อยให้การสนับสนุน และคอยเอื้ออ�านาจ (Empower) แต่คนที่ส�าคัญที่สุดก็คือคนที่อยู่ฐานล่างก็คือผู้ปฏิบัติ ที่จะ เป็นผู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จนเกิดเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ที่กระจายออกไปทั่วประเทศ โชคดีที่ประเทศไทยมีการด�าเนินงานอย่างเป็นระบบ มีสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) คอยให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ และมีคณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล คอย ช่วยเหลือเรื่องจัดการ จนท�าให้เกิดเครือข่าย R2R ทั่วประเทศ และท�าให้เกิดผลงาน R2R ที่ทรงคุณค่ามหาศาล ที่ส�าคัญที่สุดก็คือ R2R ท�าให้คนท�างานเกิดการตั้งค�าถามต่องานประจ�าของตนเอง จนน�าไปสู่การหาค�าตอบเพื่อพัฒนางาน โดยมีหลายๆ ฝายคอยให้การสนับสนุน ผมว่านี่คือ พลังวัฒนธรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ที่กระบวนการ R2R ได้สร้างให้สังคมไทย

03

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรÉ วิจัย R2R

10/3/56 BE 3:10 PM


ร า ย ง า น พิ เ ศ É

R

ผลัก้กาวสูดั่ 1 นทศวรรÉ- วิพัจัย R2R ฒนา

outine to Research หรือ R2R กลายเป็น สู่การเปลี่ยนแปลงระบบสุขภาพในทางที่ดีขึ้น จึงได้เชิญชวนให้ รพ.ศิริราช ขยายแนวคิด ค� า ที่ ค นในแวดวงสาธารณสุ ข ไทยรู ้ จั ก และ นี้ออกไปในระดับประเทศ จนกระทั่งเกิดเป็นการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจ�า คุ้นเคยเป็นอย่างดี หลังจากที่มีการเผยแพร่ สู่งานวิจัย (R2R) ครั้งที่ 1 ในปี 2551 แนวคิดนี้ต่อยอดออกไปสู่ระดับประเทศ ในช่วง 6 ปีที่ผ่าน มานี้ ผ่านการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจ�าสู่งาน วิวัฒนาการของ R2R วิจัย (R2R) • ปี 2547 - คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล จัดตั้งและด�าเนินโครงการพัฒนางานประจ�าสู่ แต่ถ้าหากย้อนกลับไปยังจุดเริ่มต้น R2R ได้ถือก�าเนิด งานวิจัย [Routine to Research (R2R) Project] ในเดือนมิถุนายน 2547 มาเป็นเวลา 9 ปี แล้ว โดยแนวคิดนี้ ได้เริ่มต้นจากการ • ปี 2551 - สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้เข้ามาสนับสนุนโครงการพัฒนางานประจ�าสู่ ที่ ศ.คลิ นิ ก นพ.ป ย ะสกล สกลสั ต ยาทร อดี ต คณบดี งานวิจัย ร่วมกับภาคีเครือข่าย และได้จัดตั้งแผนงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยในรูปแบบงานวิจัยจากงาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ต้องการให้บุคลากรใน ประจ�าขÖน้ เพือ่ ร่วมกันขยายแนวคิด R2R ของคณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล ไปสูบ่ คุ ลากรในแวดวง ขทั่วประเทศ ด้วยการจัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจ�าสู่งานวิจัย (R2R) : รพ.ศิริราช รู้จักคิดและแก้ไขปัญหางานประจ�าของตัวเอง สาธารณสุ เสริมพลัง สร้างสรรค์ และพัฒนา (ครั้งที่1) นอกจากนี้ยังมีการจัดท�าเอกสารให้ความรู้ ประสานงาน ด้วยการท�างานวิจยั จึงได้จดั ตัง้ คณะกรรมการและหน่วยงาน นักวิชาการ จัดการประกวดรางวัล R2R ดีเด่น สนับสนุนให้บคุ ลากรสาธารณสุขได้มโี อกาสท�างานวิจยั พัฒนางานประจ�าสู่งานวิจัยขึ้น เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรใน R2R และสร้างเครือข่าย R2R โดย สวรส. จะท�าหน้าทีเ่ ชือ่ มโยงการขับเคลือ่ นเครือข่ายให้เกิดการแลก รพ.ศิริราช หันมาท�า R2R กันถ้วนหน้า ซึ่งในเวลาต่อมา เปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโครงการ R2R ในหน่วยงานสนับสนุนการวิจัย มหาวิทยาลัย และโรงพยาบาล สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หรือ สวรส. ก็ ได้เล็งเห็น ทั่วประเทศ • ปี 2552 - การประชุม R2R ครั้งที่ 2 : เสริมพลัง สร้างสรรค์ และพัฒนา ถึงประโยชน์ของ R2R ในการบริหารจัดการความรู้เพื่อ • ปี 2553 - การประชุม R2R ครั้งที่ 3 “เครือข่าย R2R ก้าวไกล สาธารณสุขไทย ก้าวหน้า น� าไปสู ่ ก ารพั ฒ นาระบบสุ ข ภาพให้ เ ข้ ม แข็ ง โดยเฉพาะ • ปี 2554 - การประชุม R2R ครั้งที่ 4 “เชื่อมพลังเครือข่าย ขยายคุณค่างานประจ�า” ในเรื่ อ งการสร้ า งก� า ลั ง คน ที่ จ ะต้ อ งทั น กั บ ยุ ค ที่ ค วามรู ้ • ปี 2555 - การประชุม R2R ครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” • ปี 2556 - การประชุม R2R ครั้งที่ 6 “ร่วมสร้างวัฒนธรรม R2R สู่การพัฒนาที่ย่ังยืน” มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ในการพัฒนาองค์ความรู้ไป

04

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรÉ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 4

10/3/56 BE 3:10 PM


ปัจจุบัน R2R ได้มีการขยายเครือข่ายออกไปถึง 9 เครือ ข่าย ครอบคลุม 61 จังหวัดทั่วประเทศ อีกทั้งยังมีการจัด ท�าโครงการวิจัย R2R มากถึง 300 กว่าโครงการ เสร็จสิ้น ไปแล้วกว่า 100 ผลงาน และได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ใน วารสารระดับนานาชาติไปแล้วกว่า 60 ผลงาน “ตลอดระยะ 5 ป ที่ผ่านมา สวรส. และภาคีเครือข่าย R2R ได้ขยายแนวคิด กระตุ้น และเชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆ ให้เกิดการสร้างสรรค์และพัฒนางานประจ�าจากการท�างาน วิจัย จนเกิดเป็นกลุ่มเครือข่าย R2R ที่กระจายตัวอยู่ทั่วทุก ภูมิภาค โดยมีหัวใจส�าคัญอยู่ที่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การให้ ก�าลังใจซึง่ กันและกัน และการส่งเสริมงานวิจยั R2R ให้กลาย เป็นที่ยอมรับในวงกว้าง ทั้งนี้เพื่อให้เครือข่าย R2R เกิดการ พัฒนาที่ยั่งยืน” นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข อดีต ผอ.สวรส. กล่าวถึงหัวใจส�าคัญในการสร้างและพัฒนาเครือข่าย R2R

ส�าหรับในปี 2556 นีก้ อ็ กี เช่นเคยกับการจัดประชุมแลกเปลีย่ นเรียนรูจ้ ากงานประจ�าสูง่ าน วิจยั (R2R) ทีย่ า่ งก้าวมาถึงปีที่ 6 จัดโดยสถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล และภาคีเครือข่าย ใช้หัวข้อว่า “ร่วมสร้างวัฒนธรรม R2R สู่การพัฒนา ที่ยั่งยืน” โดยเหตุผลที่มาเน้นในเรื่องของการสร้างวัฒนธรรม R2R นั้น รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจ�ารัสเลิศ รองผู้อ�านวยการโรงพยาบาลศิริราช ด้านบริการผู้ป่วยนอกและพัฒนา คุณภาพ และหัวหน้าทีมที่ปรึกษาโครงการสนับสนุนการพัฒนางานประจ�าสู่งานวิจัยระดับ ประเทศ บอกว่า “ถ้าเราสามารถสร้างวัฒนธรรม R2R ให้เกิดขึ้นในองค์กรได้ จะท�าให้คนใน องค์กรเกิดการเรียนรู้และเกิดการผลิตผลงานวิจัยดีๆ เข้ามาช่วยแก้ไขปัญหางานประจ�าได้” ความน่าสนใจของงานประชุมวิชาการ R2R ในปีนี้ จะมีความแตกต่างไปจากปีก่อนๆ คือ การเน้นส่งเสริมสร้างวัฒนธรรม R2R ให้เกิดขึ้นในระดับองค์กร โดยเฉพาะการได้เห็น กลไกก�าหนดนโยบายในภาพรวมอย่างกระทรวงสาธารณสุขกับการปรับบทบาทในเรื่องการ จัดการความรู้ ซึ่งมีความเกี่ยวโยงกับงาน R2R อย่างแยกออกจากกันไม่ได้ รวมไปถึงการเห็น มิติของงาน R2R กับการสร้างเสริมสุขภาพ ที่ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข ภาพ (สสส.) จะเข้ามาสนับสนุนการขับเคลื่อน R2R ระดับประเทศ

นิยามความหมายของ R2R ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ที่ปรÖกÉาคณะกรรมการด�าเนินงานแผนงานโครงการ R2R ได้อธิบายนิยามของ R2R ว่าคือ การสร้างความรู้จากงานประจ�า โดยการใช้งานวิจัย เปšนเครื่องมือในการสร้างองค์ความรู้ แต่เป‡าหมายที่ส�าคัญของ R2R จะไม่ได้อยู่ที่ผลของการวิจัย หากแต่อยู่ที่การพัฒนางานประจ�าให้ดีขÖ้นกว่าเดิมมากกว่า นพ.ประสิทธิì วัฒนาภา รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้กล่าวถÖงแนวคิด R2R ว่า R2R มีรากฐานแนวคิดมาจากการให้ โดยผู้ให้บริการมีความต้องการ ที่จะให้ผู้ป†วยได้รับการบริการที่มีคุณภาพ ด้วยความเคารพ รัก และให้เกียรติ จากนั้นจÖงได้มีกระบวนการร่วมคิด ร่วมคุย ร่วมท�า ก่อนที่จะเริ่มต้นหาองค์ความรู้ และน�าไปสู่ การป¯ิบัติ การทบทวนประสบการณ์ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนมุมมองแนวคิดกับผู้อื่น จนน�าไปสู่การต่อยอดและขยายผลในวงกว้าง “R2R คือ เครื่องมือส�าคัญที่ใช้ในการหาค�าตอบให้กับป˜ญหาในงานประจ�า «Ö่ง R2R จะไม่ใช่งานวิจัยที่«ับ«้อน และไม่ได้ต้องการเงินจ�านวนมากในการท�าวิจัย แต่ว่าการ ท�างานวิจัย R2R จะต้องการเวลาในการขบคิดและทบทวนป˜ญหา เพื่อหาทางแก้ไขและพัฒนางานประจ�าให้ดีขÖ้น”

05

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรÉ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 5

10/3/56 BE 3:10 PM


ทิศทางการจัดการความรู้ - R2R ของ กสธ. จากเวที “ทิศทาง R2R ต่อระบบสาธารณสุขไทย” กระทรวงสาธารณสุข ได้แสดงออกมา บทบาทออกมาให้เห็นว่าในการปฏิรูปบทบาทกระทรวงในครั้งนี้ จะมีการแสดงบทบาทใหม่ ในประเด็นการสร้างและการจัดการความรู้ ที่ย�้ำว่าจะเป็นหัวใจส�ำคัญของการพัฒนาองค์กร พร้อมได้จัดกลไกมารองรับไว้ด้วยเช่นกัน ผศ.(พิเศษ) ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เครือข่าย บริการสุขภาพที่ 6 และประธานคณะท�ำงานประเด็นการสร้างและการจัดการความรู้ด้าน สุขภาพ กล่าวว่า ส่วนขาดของการสร้างและการจัดการความรูข้ องกระทรวงฯ ทีผ่ า่ นมาพบว่า การด�ำเนินการบริหารจัดการในแต่ละกรมค่อนข้างเป็นเอกเทศ ขาดความเชื่อมโยงระหว่าง เครือข่ายไปในทิศทางเดียวกัน ขณะที่การด�ำเนินงานเป็นแบบตั้งรับมากกว่าการแก้ปัญหา เชิ ง ระบบทั้ ง ในระยะกลางและระยะยาว ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู ้ ก�ำ หนดหลั ก การในการวางแผน ยุทธศาสตร์สุขภาพของประเทศอย่างแท้จริง รวมถึงมีข้อจ�ำกัดในการถ่ายทอดให้บุคลากร ทั่วทั้งองค์กรให้มีความเข้าใจ และให้ความส�ำคัญในการจัดการความรู้ เป็นต้น “การปรับบทบาทของกระทรวงฯ จ�ำเป็นต้องมีการปรับโครงสร้างของส�ำนักวิชาการ เพราะวันนีบ้ ทบาทของนักวิชาการทีม่ อี ยูไ่ ม่ได้ทำ� หน้าทีข่ องการจัดการความรูไ้ ด้เต็มทีม่ ากนัก มองว่าส�ำนักวิชาการ ในแต่ละเขตแต่ละภูมิภาคน่าจะเป็น Research Center ในการรวบรวม องค์ความรู้ด้านสาธารณสุข เพราะแต่ละพื้นที่มีองค์ความรู้ความเชี่ยวชาญแตกต่างกันไป บางแห่งเก่งด้านอนามัยแม่และเด็ก บางแห่งเก่งเรื่องการสกัดสมุนไพร ฯลฯ องค์ความรู้ เหล่านี้ก�ำลังอยู่อย่างกระจัดกระจายตามพื้นที่” เพื่อการปรับบทบาท และโครงสร้างด้านการสร้างและการจัดการความรู้ นพ.ธวัชชัย เสนอว่า ควรจะต้องมีการปรับรูปแบบการท�ำงานในระดับมหภาพ (Functional Change) เพื่อจัดให้มีโครงสร้างสนับสนุนการสร้างและการจัดการความรู้ด้านสุขภาพและงานวิจัย ของกระทรวงสาธารณสุขหน่วยงานกลาง พร้อมกับการผลักดันให้มีการพัฒนาศักยภาพ เป็น Research Center ในภูมิภาค และการส่งเสริมให้ R2R ให้เป็นวัฒนธรรมขององค์กร ในเรื่องของการใช้องค์ความรู้ร่วมกัน ควบคู่ไปกับการส่งเสริมให้บุคลากรมีแนวความคิด และทักษะในการวิจัย การเผยแพร่องค์ความรู้ในบุคลกรทุกระดับ เหล่านี้จะเกิดขึ้นหลังจากการปรับบทบาทให้ชัดเจนในอนาคตของกระทรวงในฐานะที่ เป็น national health authority (อ่านเพิ่มเติมในคอลัมน์เส้นทางสู่สุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน R2R “ยุคปฏิรูปกระทรวงฯ” เครื่องมือเสริมสมรรถนะบุคลากร สธ. หน้า 08)

ดัน R2R พัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพ ในช่วงที่ผ่านมาการวิจัย R2R จะมีผลงานที่เป็นประเด็นการรักษาในสถานพยาบาล เป็นส่วนมาก ดังนั้นในประเด็นการสร้างเสริมสุขภาพที่เป็นผลงานวิจัย R2R จึงถือว่ามีอยู่ ในระดับที่น้อย จึงจ�ำเป็นต้องมีการกระตุ้นและส่งเสริมให้เกิดความรู้ที่เป็น Best Practice มากขึ้น นับเป็นช่วงจังหวะอันดี ที่ ในปีนี้ ทาง สสส. ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุน การขับเคลื่อนงาน R2R อีกเรี่ยวแรงหนึ่ง นพ.ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพ สสส. กล่าวว่า จริงๆ งาน R2R ถือเป็นเรื่องใหม่

ส�ำหรับ สสส. แต่ทาง สสส. ก็เองเคยด�ำเนินงานในลักษณะ ของการสนั บ สนุ น เรื่ อ งการจั ด การความรู ้ ในระดั บ ชุ ม ชน มาแล้ว จนบางแห่งกลายเป็นองค์กรหรือส�ำนักงานจัดการ ความรู้ เราสนใจ R2R หรือ Routine to Research เพราะเรา มีงานหนึ่งที่เป็นยุทธศาสตร์ คือ การพัฒนาคน โดยเฉพาะ คนที่อยู่ ในรากหญ้า จึงมองว่าคนที่ท�ำงานระดับนี้เล่าเรื่อง เก่งท�ำเรื่องดีๆ เยอะแต่ยังไม่ได้อธิบายให้เป็นวิทยาศาสตร์ ผู ้ ที่ จ ะท� ำ หรื อ น� ำ เอา R2R ไปใช้ ไ ม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเป็ น เจ้าหน้าที่สาธารณสุข แต่สามารถท�ำได้ในทุกสายวิชาชีพ ปัจจุบัน สสส. มีทีมเครือข่ายพยาบาลชุมชน ที่พยายาม จะแปลง KM ให้กลายเป็น R2R และอยากจะขยายวงการ ท�ำงานให้มากขึ้น เพราะเชื่อว่าบุคลากรทางการแพทย์หรือ นักพัฒนาสังคมทุกคน ควรที่จะมีเครื่องมือเหล่านี้ ไว้ใช้ใน การพัฒนางาน สสส. จึงได้มาส่งเสริม R2R ในเรื่องการ สร้างเสริมสุขภาพเพราะตั้งใจจะน�ำมาเป็นเครื่องมือของนัก สร้างเสริมสุขภาพที่อยู่ ในพื้นที่ปฐมภูมิ เช่น ท�ำกับอ�ำเภอ สุขภาวะต้นแบบ เป็นต้น จึงมองว่า R2R จะช่วยต่อยอด งานตรงนี้ ได้

06

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรษ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 6

10/3/56 BE 3:10 PM


ทิศทางการพัฒนา R2R ในอนาคต

“ยกตัวอย่าง พยาบาล ท�ำงานมา 10 กว่าปี ในห้องคลอด รู้แต่เรื่องการคลอด แต่ไม่เคยสนใจเลยว่าอายุคนคลอดอายุ เท่าไหร่ แต่วันหนึ่งได้มาท�ำงานชุมชน เพื่อมาท�ำเรื่องรับ ฝากครรภ์ จึงได้เห็นเด็กอายุน้อยๆ 18 - 19 มาฝากครรภ์ มากขึ้น จึงศึกษาข้อมูลย้อนไป 5 ปี พบหญิงที่มาท�ำคลอด 800 คน มีอายุต�่ำกว่า 20 ปี จึงสุ่มหาค�ำถามจากหญิงกลุ่ม ดังกล่าว พบว่า กว่าครึ่งเป็นเด็กชาวเขาที่วัฒนธรรมพื้น บ้านจะต้องมีลูกเยอะๆ เพื่อเป็นแรงงานและอีกกว่าครึ่งเป็น เด็กที่ ไม่ตั้งใจคลอด ไม่ตั้งใจมีลูก ขาดความรู้ความเข้าใจ จึงเกิดงานสร้างเสริมสุขภาพ รณรงค์ในการให้ข้อมูลความ รู้ที่ถูกต้องในระดับโรงเรียนขึ้น” ดังนั้น ถ้าเราจะเอาความรู้ R2R จากประสบการณ์ ไปถ่ายทอดให้คนอื่นฟัง รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพจะ เกิดได้ง่ายขึ้น อัน นี้เป็นแนวคิดที่ สสส. อยากให้เกิดขึ้น แล้ ว ต้ อ งการให้ น� ำ R2R ไปใช้ กั บ บริ บ ทเพื่ อ การพั ฒ นา โดยเฉพาะคนที่เป็นนักพัฒนาอยู่แล้วสามารถเอาเครื่องมือ ตัวนี้ ไปพัฒนาต่อยอดท�ำให้คนอื่นเข้าใจว่าตัวเองท�ำอะไรอยู่

รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจ�ำรัสเลิศ หัวหน้าทีมที่ปรึกษาโครงการสนับสนุนการพัฒนางาน ประจ�ำสู่งานวิจัยระดับประเทศ ได้กล่าวว่า ภารกิจของเราชัดเจนที่จะสนับสนุนให้เกิดน�ำ แนวคิดของ R2R ไปใช้ในการพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กร สู่การเป็นองค์กร เรียนรู้เพื่อให้เกิดสังคมไทยที่มีสุขภาวะยั่งยืน ฉะนั้น กลยุทธ์ในการขับเคลื่อน R2R มีเนื้อหา สรุปดังต่อไปนี้ 1. ต้องดึงผู้ที่มีความรู้เรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพให้เข้ามามี ส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงาน R2R ซึ่งปัจจุบันมีหลายองค์กรที่ท�ำงานสร้างเสริมสุข ภาพในสถานพยาบาลและระดับพื้นที่ เช่น กระทรวงสาธารณสุข สสส. รวมไปถึง สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.) ที่จะมาช่วยในการ พัฒนาบริการและการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI) เพื่อบูรณาการแนวคิด R2R ให้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบสุขภาพ 2. พัฒนาเครือข่าย R2R ที่มีอยู่ 9 เครือข่ายในตอนนี้ ให้กลายเป็น R2R Learning Center เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุขได้เข้ามาเรียนรู้งาน R2R ก่อนที่จะเชื่อมโยง เครือข่ายไปสู่ระดับปฐมภูมิ และอ�ำนวยให้บุคลากรในระดับปฐมภูมิสามารถสร้าง องค์ความรู้เพื่อพัฒนาและต่อยอดงาน KM ให้กลายเป็น R2R ได้ 3. ปรับปรุงเว็บไซต์ R2R ให้กลายเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ 4. จัดท�ำข้อมูล Best Practice R2R ทัง้ ระบบงานบริการ และงานสร้าง เสริมสุขภาพในแต่ละพื้นที่ 5. เชื่ อ มโยง R2R สู ่ ภ าคี เ ครื อ ข่ าย ด้านสุขภาพต่างๆ เช่น กระทรวง สาธารณสุข สปสช. สสส. สรพ. โรงเรียนแพทย์ เป็นต้น 6. เข้าไปมีส่วนร่วมกับกลุ่มคนพัฒนา คุณภาพสถานพยาบาล (HA) ใน การจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อท�ำให้ผู้ปฏิบัติภายใน สถานพยาบาลทุกระดับ สามารถบูรณาการงาน HA ร่วมกับการท�ำ R2R ได้ 7. ผลิต R2R Journal 8. จัดประกวด Best Practice R2R ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ “ผมอยากเห็นคนไทยมีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืนจากแนวคิดการสร้างน�ำซ่อมและการ ให้บริการที่มีคุณภาพ และอยากเห็นบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับมีมุมมองด้านการสร้าง เสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคลากรในโรงเรียนแพทย์ รวมทั้งอยากเห็นการ ต่อยอดพัฒนางาน R2R ในองค์กรต่างๆ จนกระทั่งองค์กรได้รับการรับรองคุณภาพ สิ่งต่างๆ เหล่านีค้ งจะเกิดขึน้ ไม่ได้ถา้ หากขาดความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย การวางกลยุทธ์ทดี่ ี การให้ input การ Training และการจัดงาน R2R อย่างต่อเนื่อง” รศ.นพ.เชิดชัย กล่าวทิ้งท้าย ในอนาคตข้างหน้า การขับเคลือ่ น R2R จะเป็นไปตามเป้าหมายทีว่ างไว้หรือไม่ ? คงเป็น ค�ำถามที่บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกองค์กรจะต้องร่วม มือหาค�ำตอบต่อไป เพื่อก้าวสู่ 1 ทศวรรษอย่างมั่นคงและยั่งยืน

07

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรษ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 7

10/3/56 BE 3:10 PM


เ ส้ น ท า ง สู่ สุ ข ภ า พ ที่ เ ปš น ธ ร ร ม แ ล ะ ยั่ ง ยื น

R2R ยุคป¯ิรูปกระทรวงÏ

นั

เครื่องมือเสริมสมรรถนะบุคลากร สธ.

บตั้งแต่มีการจัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจ�า สู่งานวิจัย (R2R) ครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ.2551 เป็นต้นมา แนวคิด R2R ก็ได้ถูกเผยแพร่ออกไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ จน ก่อเกิดผลลัพธ์ที่ดีทั้งในด้านการพัฒนาคนและพัฒนางานด้านสุขภาพให้แก่ ประชาชนมาโดยตลอด “6 ปที่ผ่านมาตั้งแต่ป 2551 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้จัดเวที R2R เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ของนักวิจัยที่สร้างความรู้จาก งานประจ�า นอกจากนั้นยังได้ขับเคลื่อนสร้างกระแส R2R ให้เป็นที่รู้จัก และยอมรับ มีการประกวดงานวิจัยดีเด่นประเภทต่างๆ มีการจัดท�าเอกสาร เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ R2R เป็นผลให้บุคลากรในระบบสุขภาพมีความรู้

ความเข้าใจ R2R เพิ่มขึ้น ความสับสนลดลง หน่วยบริการทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สนับสนุนบุคลากรให้ท�า R2R เพิ่มขึ้น จนอาจ กล่าวได้ว่า R2R ระบาดไปทั่วประเทศ อย่างไร ก็ตาม สิ่งที่ทาง สวรส. อยากให้เกิดขึ้นคือ วั ฒ นธรรมการใช้ ค วามรู ้ เ พื่ อ การตั ด สิ น ใจ ที่ผ่านมาพบว่า หน่วยบริการสุขภาพหลายๆ แห่ ง น� า ผลวิ จั ย กลั บ ไปพั ฒ นางานประจ� า จนเกิ ด การบริ ก ารที่ ดี ขึ้ น เห็ น ผลลัพธ์ชัดเจน แต่ว่าในหน่วยบริหารอาจจะยังไม่เห็นภาพชัดเจนมากนัก” ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ ผู้จัดการงานวิจัย สวรส. กล่าวเปิดประเด็น

08

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรÉ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 8

10/3/56 BE 3:10 PM


มาในปนี้เป็นปแห่งการ “ปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข” งานวิจัย R2R ก็ได้ถูกชูให้เข้ามามีบทบาทส�าคัญในการพัฒนาแวดวงสาธารณสุขไทย ผศ.ดร.จรวยพร มองว่า บุคลากรในส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) สาธารณสุขอ�าเภอ (สสอ.) โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป (รพศ./รพท.) โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล (รพ.สต.) ฯลฯ สามารถที่จะท�างานวิจัย R2R ได้มากกว่านี้ โดยเฉพาะใน ยุคที่กระทรวงสาธารณสุข จะมีการปรับบทบาทสู่การเป็นองค์กรประสาน และบูรณาการให้เกิดเอกภาพทางนโยบายสุขภาพระดับชาติ (National Health Authority) ที่จะสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาสมรรถนะด้านองค์ความ รู้ วิชาการ และการวิจัยจากงานประจ�าของบุคลากรสาธารณสุข ทั้งในส่วน กลางและส่วนภูมิภาค เชื่อว่าเมื่อปฏิรูปกระทรวงแล้ว เขตสุขภาพทั้ง 12 เขต จะมีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการความรู้ และสามารถตัดสินใจบน พืน้ ฐานข้อมูล ข้อเท็จจริง และความรูไ้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจน ส่งเสริมให้เกิดงานวิจัย R2R ได้มากขึ้น โดยทาง ผศ.(พิ เ ศษ) ดร.นพ.ธวั ช ชั ย กมลธรรม ผูต้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 และประธานคณะ ท�างานประเด็นการสร้างและการจัดการความ รู้ด้านสุขภาพ ได้สะท้อนถึงปัญหาที่ผ่านมา ว่า “การจัดการความรู้ของกระทรวงในช่วง ที่ ผ ่ า นมานั้ น ค่ อ นข้ า งจะกระจั ด กระจาย เนื่องจากการด�าเนินการจัดการความรู้ในแต่ละกรมค่อนข้างเป็นเอกเทศ ขาดความเชื่อมโยง รวมไปถึงการติดตามและประเมินผลให้ไปในทิศทาง เดียวกัน” ในการปฏิรูปบทบาทของกระทรวงฯ 12 ด้าน ประเด็นการสร้างและ จัดการความรู้ด้านสุขภาพ จึงเป็นหนึ่งในบทบาทที่กระทรวงให้ความส�าคัญ และถือเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเริ่มต้นเพื่อให้สอดรับกับการเป็น National Health Authority ที่จะสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาสมรรถนะ บุคลากรโดยใช้เครื่องมือ R2R มาเสริม โดยกระทรวงจะมีการปรับบทบาท และโครงสร้างของส�านักวิชาการให้รองรับการสนับสนุนการจัดการความรู้ และส่งเสริมให้บุคลากรมีแนวคิดและทักษะในการวิจัยจากงานประจ�าและ น�าความรู้ที่ได้กลับไปพัฒนางาน/นโยบาย (Research to Practice/Policy) นอกจากนั้นยังเสนอให้ใช้ตัวชี้วัดการจัดการความรู้/R2R ในการพิจารณา ความก้าวหน้าของบุคลากรด้วย ส่วนทางด้าน นพ.สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย ผูต้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เครือข่าย บริการสุขภาพที่ 8 กล่าวว่า ทุกครั้งที่มีการ เปลี่ยนแปลงระยะแรกจะเจ็บปวด แต่ระยะ กลางและระยะยาวจะเสมือนดอกไม้แรกแย้ม โดยเฉพาะบุ ค ลากรในระบบราชการที่ อ าจ ไม่เคยชินต่อการเปลี่ยนแปลง ก็จะพบกับการ ปรับตัวช้า การที่กระทรวงจะปฏิรูปจะท�าให้

องค์กรมีบทบาทใหม่ ดังนั้นจึงต้องคิดใหม่เพื่อให้ผลลัพธ์ที่สามารถตอบ สนองความต้องการของสังคมที่เปลี่ยนไป ส�าหรับในมุมของงานวิจัย R2R นพ.สุรเชษฐ์ มองว่านี่คือ ความรู้ที่ ได้ มาจากการสร้างแรงบันดาลใจสารพัดอย่าง และคนหน้างานสามารถท�าได้ ตั้งแต่ระดับล่างขึ้นมา “ความส�าคัญของ R2R คือเครื่องมือที่จะช่วยสร้างเสริมองค์ความรู้ให้ กับบุคลากรสาธารณสุขในทุกๆ มิติ ไม่ว่าจะเป็นมิติทางสังคม พฤติกรรม ศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ศาสนา และปรัชญาชีวิต ซึ่งการศึกษาองค์ความ รู้เหล่านี้ ล้วนมีส่วนช่วยให้บุคลากรสาธารณสุขไทย เข้าใจและใกล้ชิด ประชาชนมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อการท�างานที่มีประสิทธิภาพในอนาคต” พญ.ประนอม ค�าเที่ยง สาธารณสุขนิเทศ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 5 กล่าวว่าการน�า R2R ซึ่งเป็น Mini Research มาใช้เป็นกลไกส�าคัญในการ พัฒนาและปรับปรุงงานประจ�านั้น นอกจากจะ ท�าให้เกิดการพัฒนางานแล้ว ยังท�าให้เกิดการ พัฒนาบุคลากรให้มีวิธีคิดที่เป็นระบบมากยิ่ง ขึ้นด้วย และเมื่อมีคนท�า R2R มากขึ้น ระบบ สาธารณสุขไทยก็จะได้รับการพัฒนามากขึ้น ตามล�าดับ เพราะการท�า R2R ไม่ได้เป็นการ สร้ า งองค์ ค วามรู ้ เ รื่ อ งการรั ก ษาพยาบาล สุขภาพของประชาชนเพียงอย่างเดียว แต่ยัง เป็นการสร้างองค์ความรู้ด้านการพัฒนางานบริหารในระบบสาธารณสุข ด้วย ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานบริการ เช่น บุคลากร ใน รพ.สต. หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานบริหาร ใน สสจ. หรือ สสอ. ก็สามารถน�า R2R มาใช้ในการเสริมสร้างสมรรถนะ และพัฒนางานประจ�า ของตนเองให้มีประสิทธิภาพได้ทั้งสิ้น “ที่ส�าคัญ R2R จะช่วยแก้ไขปัญหาที่ซ�้าซากน่าเบื่อในงานประจ�าได้” ในช่วงท้าย พญ.ประนอม ได้ให้ข้อสรุปที่น่าสนใจว่า “แม้ว่าจะมีการ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจากการปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข แต่ถ้าหากเรามี วัฒนธรรมการท�า R2R เราก็ ไม่จ�าเป็นที่จะต้องกลัวการปฏิรูปกระทรวงฯ อีกต่อไป เพราะการท�า R2R จะช่วยให้เรามีความพร้อมต่อการปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงตนเอง เพื่อรับมือกับสิ่งใหม่ๆ อยู่เสมอ” เมื่อบุคลากรมีความพร้อมต่อการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงตนเองอยู่ เสมอ การท�างานประจ�าที่เคยติดขัดก็จะได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นตามไป ด้วย ในวันนี้ R2R จึงมีคุณค่าทั้งต่อบุคลากรที่อยู่หน้างาน และประชาชน ผู้รับบริการทั่วประเทศ เพราะ R2R ได้ช่วยสร้างฐานความรู้ที่น�าไปสู่การ พัฒนางาน ในขณะที่ผู้รับบริการเองก็จะได้รับความสุขจากการบริการที่มี ประสิทธิภาพ ทั้งหมดนี้ คือการน�า R2R มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน พัฒนา งาน เพื่อสร้างความเป็นธรรมด้านสุขภาพให้กับประชาชน ในยุคแห่งการ ปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งแม้ว่าหนทางข้างหน้าจะมีอุปสรรคและ ความท้าทายรออยู่ แต่เชื่อแน่ว่า R2R จะช่วยให้บุคลากรสาธารณสุขไทย สามารถฟันฝาอุปสรรคและความท้าทายเหล่านั้นไปได้ อย่างแน่นอน

09

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรÉ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 9

10/3/56 BE 3:10 PM


แ ก ะ ก ล่ อ ง ง า น วิ จั ย

ลดอั ต ราการขาดยา แก้ป˜ญหาผู้ป†วยจิตเวชในชุมชน

ผมเคยเห็นผู้ป่วยจิตเวชในพื้นที่อื่นเดินไปเดินมาเรื่อยเปอย บางคนก็ ไปเสียชีวิตใน ป่า บางคนก็จมน�้าตาย ส่วนบางรายก็ถูกผูกติดอยู่กับโซ่ตรวน ไม่สามารถออกมาใช้ชีวิต ตามปกติได้ และนั่นท�าให้ผมคิดว่า ท�าอย่างไรเราจึงจะสามารถท�าให้ผู้ป่วยเหล่านี้กลับมา ใช้ชีวิตเหมือนคนปกติทั่วไป ที่สามารถอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุขเหมือนเดิมได้” นี่คือแรงบันดาลใจเริ่มต้นในการท�างานแก้ไขปัญหาผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนของ คุณพงศ์ศิลป วิลาชัย พยาบาลวิชาชีพ ศูนย์สุขภาพชุมชนต�าบลบ้านมาง อ�าเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา ที่ ได้ท�างานวิจัย R2R ในหัวข้อ “การลดอัตราการขาดยาผู้ปวยจิตเวชด้วย รูปแบบการดูแลแบบเครือข่าย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนต�าบลบ้านมาง อ�าเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา” หลังจากได้รับค�าแนะน�าจาก นพ.อัครินทร์ นิมมานนิตย์ ประธานคณะกรรมการด�าเนินการหน่วยพัฒนา งานประจ�าสู่งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล “ก่อนหน้านี้ผมท�างานวิจัยเรื่องการดูแลผู้ป่วยจิตเวชแบบ Chronic care model ส่งประกวดของกระทรวงสาธารณสุข แล้วผมก็ ได้น�าประเด็นงานวิจัยชิ้นนี้มาพูดคุยแลกเปลี่ยนใน เวที ก ารอบรมคุ ณ อ� า นวยขั้ น เทพ เมื่ อ ช่ ว งเดื อ นเมษายนที่

10

ผ่านมา ซึ่งอาจารย์อัครินทร์ท่านก็ ได้แนะน�าว่า หากจะน�า ประเด็นการดูแลผู้ป่วยจิตเวชนี้มาท�างานวิจัย R2R ก็ควรที่ จะท�าประเด็นให้คมชัดกว่านี้ ผมจึงได้ตัดสินใจท�าประเด็น การลดอัตราการขาดยาในผู้ป่วยจิตเวช เนื่องจากยาเป็น สิ่งที่ส�าคัญที่สุดที่จะสามารถช่วยให้ผู้ป่วยจิตเวชหายจาก อาการทางจิตได้ หากกินยาตามที่หมอสั่งอย่างถูกต้องและ ครบถ้วน” ย้อนกลับไปในป พ.ศ.2554 ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการท�า กิจกรรมก่อนจะน�าไปสู่การท�างานวิจัย พบว่าช่วงนั้นต�าบล บ้านมาง มีผู้ป่วยจิตเวชทั้งสิ้น 40 กว่าราย และมีผู้ป่วยที่ต้อง ใช้ยาในการรักษาทั้งสิ้น 36 ราย ใน 36 รายนี้มีผู้ป่วยบาง ส่วนที่มีปัญหาการขาดยา เนื่องจากสาเหตุหลัก 4 ประการ คือ 1.กินยาไม่ถูกต้อง 2.ขาดคนดูแลท�าให้ไม่มีคนไปรับยาให้ 3.ผู้ป่วยไม่รอรับยาหลังจากพบแพทย์ และ 4.ผู้ดูแลมีความ เบื่อหน่ายจึงไม่จัดยาให้ผู้ป่วย และด้วยเหตุผลเหล่านี้เองที่ ท�าให้ผู้ป่วยไม่ได้รับการเยียวยาอาการทางจิตอย่างต่อเนื่อง

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรÉ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 10

10/3/56 BE 3:10 PM


เพื่อแก้ไขปัญหา คุณพงศ์ศิลปจึงได้น�าข้อมูลเหล่านี้ ไป พูดคุยกับหัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนต�าบลบ้านมาง เพื่อหา ทางออกร่วมกัน จนกระทัง่ ได้แนวคิดทีจ่ ะท�า “คลินกิ ก�าลังใจ” เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชในพื้นที่ จากนั้นจึงได้น�าแนวคิด นี้ ไปเสนอต่อผู้อ�านวยการโรงพยาบาล ทีมเภสัชกร และ ทีมจิตเวชของโรงพยาบาลเชียงม่วน เพื่อขอรับยาผู้ป่วย จิตเวชมาจ่ายให้กับผู้ป่วยในชุมชน เนื่องจากเดิมทียาเหล่านี้ จะเป็นยาที่ต้องได้รับการควบคุมเป็นพิเศษ ทาง รพ.สต. หรือศูนย์สุขภาพชุมชนเอง จะไม่สามารถจ่ายยานี้ ได้ แต่ หลังจากที่ ได้ฟังแนวคิดคลินิกก�าลังใจจากคุณพงศ์ศิลปแล้ว โรงพยาบาลเชียงม่วนก็ ได้ให้การสนับสนุนเรื่องการจ่ายยา พร้ อ มทั้ ง สนั บ สนุ น บุ ค ลากร โดยการส่ ง แพทย์ ม าตรวจ ประเมินสุขภาพให้กับผู้ป่วยจิตเวชในระยะเริ่มต้น พร้อมทั้ง ส่งทีมเภสัชกรมาช่วยงานในบางครั้ง “คลินิกก�าลังใจ” ได้เปิดให้บริการที่ศูนย์สุขภาพชุมชน ต�าบลบ้านมาง ทุกวันพฤหัสบดี ที่ 2 หรือ 3 ของทุกเดือน (ในระยะหลั งได้ มี ก ารปรั บ เป็ น ให้ บ ริ ก ารทุ ก ๆ 2 เดื อ น เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการที่ดีขึ้น มาก) โดยในวัน ที่มีคลินิก ก� า ลั ง ใจ ที ม เจ้ า หน้ า ที่ จ ะมี ก ารจั ด กิ จ กรรมสั น ทนาการ กิ จ กรรมตรวจสุ ข ภาพ ชั่ ง น�้ า หนั ก วั ด ความดั น ตรวจ สัญญาณชีพ ซักประวัติ ตรวจเช็คการกินยา จ่ายยา และ ฉีดยาให้กับผู้ป่วย ส่วนในช่วงบ่ายทีมเจ้าหน้าที่จะเข้าไป เยี่ยมบ้านเพื่อฉีดยาให้กับผู้ป่วยจิตเวชที่ ไม่สามารถเดินทาง มาคลินกิ ได้ เนือ่ งจากความพิการ ซึง่ ถ้าหากไม่สามารถเยีย่ ม บ้านผู้ป่วยเหล่านี้ ได้ครบในวันพฤหัสบดี ทีมเจ้าหน้าที่ก็จะ ออกให้บริการเยี่ยมบ้านเพิ่มเติมในวันศุกร์ ส่วนกรณีทผี่ ปู้ ว่ ยกินยาไม่ถกู ต้องตามทีห่ มอสัง่ เจ้าหน้าที่ คลินกิ ก�าลังใจจะแก้ไขปัญหานีโ้ ดยการใช้นวัตกรรม “แผงยา” ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่มีการจัดยาใส่ถุงพร้อมเขียนวันที่บนถุง ก่อนที่จะเย็บถุงติดกับกระดาษแข็งเรียงกันเป็นแผงเหมือน แผงถั่วที่ขายตามร้านขายของช�า ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงใน การกินยาผิดในกรณีที่ผู้ป่วยไม่มีญาติดูแลเรื่องยา ส่วนผู้ป่วยที่มีญาติดูแล คลินิกก�าลังใจจะให้การอบรม เรื่องผลของการใช้ยา เพื่อให้ญาติผู้ป่วยเกิดความเข้าใจและ สามารถให้ยากับผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามที่ แพทย์สั่ง และในขณะเดียวกันก็จะมีการอบรมให้ความรู้แก่ อสม.สาขาสุขภาพจิต เพื่อช่วยลดภาระงานให้กับเจ้าหน้าที่ และญาติของผู้ป่วยในชุมชน การดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน นอกจากจะมีการดูแล ด้ ว ยคลิ นิ ก ก� า ลั ง ใจ เป็ น การให้ บ ริ ก ารแบบ One stop service แล้ว ยังมีการท�างานวิจัยเพื่อศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลการขาดยาในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาจ�านวน 18 ราย ผ่ า นการเยี่ ย มบ้ า น รวมทั้ ง มี ก ารให้ บ ริ ก ารตามแนวคิ ด

Chronic Care Model การจัดท�าคู่มือ สมุดประจ�าตัว ทะเบียนผู้ป่วย การเตรียมความ พร้อมบุคลากรเครือข่าย การขอรับงบประมาณสนับสนุนจากทางท้องถิ่น การบันทึกข้อมูล และการประเมินผลการด�าเนินงานตามหลักการท�างานวิจัย จนกระทั่งได้ผลงานวิจัยออกมา อย่างเป็นรูปธรรม คือ สามารถลดอัตราการขาดยาในผู้ปวยกลุ่มตัวอย่างได้จากร้อยละ 50 เป็นร้อยละ 2.7 ลดอัตราการกลับมารักษาซ�้าด้วยอาการทางจิตก�าเริบจากร้อยละ 19.4 เป็นร้อยละ 2.7 ลดอัตราการนอนรักษาด้วยอาการทางจิตจากร้อยละ 5.6 เป็นร้อยละ 0 นอกจากนี้ยังสามารถท�าให้ผู้ปวยจิตเวชมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากร้อยละ 22.2 เป็น ร้อยละ 55.5 “การท�างานเพื่อให้เกิดความส�าเร็จ เช่นการฉีดยาให้กับผู้ป่วยนั้น เราจะต้องใช้เทคนิค พิเศษในการท�าให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจ และเต็มใจยอมฉีดยา อย่างเช่นกรณีของนายเอ (นามสมมุติ) ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตร่วมด้วย ตอนแรกเราจะบอกเขาว่ายาที่จะฉีดนั้น เป็นยาลดความดัน เขาจึงยอมฉีด แต่ในระยะหลังๆ เขาจะเข้ามาหาเราเพื่อให้ฉีดยา โดยที่ เราไม่ต้องใช้เทคนิคใดๆ เลย เพราะเขารู้แล้วว่าการฉีดยาจะท�าให้เขามีอาการทางจิตดีขึ้น ส่วนปัจจัยความส�าเร็จอื่นๆ ก็คือ ความตั้งใจของตัวเราเองและทีมงาน รวมทั้งการสนับสนุน ของผู้บริหารที่เห็นความส�าคัญในการแก้ไขปัญหานี้” นี่ผลส�าเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนางานที่คุณพงศ์ศิลป ได้ท�ามาอย่างต่อเนื่องยาวนาน ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา จนกระทั่งน�าไปสู่การท�างานวิจัย R2R เพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่า สิ่งที่ท�ามานั้น สามารถลดอัตราการขาดยา และช่วยให้อาการทางจิตและคุณภาพชีวิตของ ผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนดีขึ้นได้อย่างแท้จริง และนี่คือสิ่งที่ที่คุณพงศ์ศิลปภาคภูมิใจที่สุด “ภูมิใจกับสิ่งที่เราท�านะ การที่ ได้เห็นผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น เห็นญาติของผู้ป่วยมีความสุข และเห็นภาระงานที่ลดลง มันเป็นเสมือนรางวัลทางใจของเรา มันเป็นสิ่งที่สูงสุดแล้วส�าหรับ คนท�างาน” คุณพงศ์ศิลป กล่าวทิ้งท้าย งานวิจัย R2R หัวข้อ “การลดอัตราการขาดยาผู้ป†วยจิตเวชด้วยรูปแบบการดูแลแบบเครือข่าย พืน้ ทีศ่ นู ย์สขุ ภาพชุมชนต�าบลบ้านมาง อ�าเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา” โดยคุณพงศ์ศลิ ปŠ วิลาชัย และ คณะ ได้รับรางวัลผลงาน R2R ดีเด่น กลุ่มงานบริการระดับปฐมภูมิ ประจ�าปี 2556 จากงานการ ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจ�าสู่งานวิจัย (R2R) ครั้งที่ 6 “ร่วมสร้างวัฒนธรรม R2R สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” จัดโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราช พยาบาล และภาคีเครือข่าย R2R

11

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรÉ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 11

10/3/56 BE 3:10 PM


ต้ น ก ล้ า ค ว า ม รู้ สู่ ต้ น แ บ บ สุ ข ภ า พ

»˜

ต้ น แบบ Antibiotics Smart Use ในโรงเรียนแพทย์

ญหาเรื่องเชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะ อันเกิดจากการใช้ยา ปฏิชีวนะพร�่าเพรื่อเกินความจ�าเป็น ถือเป็นปัญหาระดับโลกที่ องค์การอนามัยโลกให้ความสนใจมากเป็นพิเศษ ส่วนในประเทศไทย ผลการวิจัยล่าสุดระบุว่า ในแต่ละปคนไทยติดเชื้อ ดื้อยามากกว่า 100,000 คน และเสียชีวิตเนื่องด้วยสาเหตุแห่งการดื้อยา มากกว่า 30,000 คน เฉลี่ย 100 คนต่อวัน นี่คือวิกฤตทางสุขภาพที่หลาย คนอาจไม่เคยรู้… และข้อมูลที่น่าสนใจก็คือ โรงพยาบาลที่เป็นโรงเรียนแพทย์มีการใช้ยา ปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลสูงถึงร้อยละ 30-90 ที่ผ่านมาประเทศไทยได้มีการจัดท�าโครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสม เหตุผล Antibiotics Smart Use Program (ASU) โดยได้รับการสนับสนุน จากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ส�านักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหว่างประเทศ ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา องค์การอนามัย โลก และส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสั่งจ่ายยา ปฏิชีวนะของบุคลากรทางการแพทย์ รวมทั้งสร้างความเข้าใจเรื่องการใช้ ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลให้กับประชาชน โดยเน้นเรื่องการให้ความรู้ 3 โรครักษาได้ ไม่ตอ้ งใช้ยาปฏิชวี นะ ซึง่ ได้แก่ 1. โรคหวัดเจ็บคอจากเชือ้ ไวรัส ซึ่งมีอาการ น�้ามูกไหล ไอ จาม เจ็บคอ เสียงแหบ และต่อมทอนซิลไม่เป็น ตุ่มหนอง 2. โรคอุจจาระร่วง หรือท้องเสียทั่วไป ที่ไม่ถ่ายเป็นมูกเลือด และ ไม่มี ไข้ 3. แผลสดเลือดออก แผลสะอาด ไม่มีหนอง โดยที่ผ่านมาโครงการ ASU ได้มีการด�าเนินงานร่วมกับโรงพยาบาล ชุมชน รพ.สต. และร้ายขายยาในเครือข่ายมาโดยตลอด แต่ว่ายังไม่มี โรงเรี ย นแพทย์ เ ข้ า มาร่ ว มรณรงค์ ใ นโครงการนี้ จนกระทั่ ง ในเวลาต่ อ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้น�าแนวคิดการท�าโครงการ ASU มา

ใช้ในโรงเรียนแพทย์เป็นครั้งแรกของประเทศไทย เพื่อส่งเสริมการใช้ยา ปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรงเรียนแพทย์ โดย นพ.อธิรัฐ บุญญาศิริ จาก คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะ ได้ทา� การวิจยั R2R เรือ่ ง “Antibiotics Smart Use (ASU) ทีโ่ รงพยาบาลศิรริ าช” โดยการศึกษา ในระยะเริ่มต้น ได้มีการสืบค้นข้อมูลการใช้ยาปฏิชีวนะหรือยาต้านจุลชีพ ใน 3 โรคเปาหมาย ตั้งแต่เดือนมิถุนายน - ตุลาคม พ.ศ.2554 พบว่าโรง พยาบาลศิรริ าชมีการใช้ยาปฏิชวี นะในการรักษา โรคหวัดสูงถึงร้อยละ 69-74, อุจาระร่วงร้อยละ 51-85 และแผลสดร้อยละ 87 ตามล�าดับ ถือเป็นสัดส่วน ที่สูงมาก คณะวิจัยจึงได้น�าข้อมูลเหล่านี้ไปเสนอแก่ผู้บริหารจนกระทั่งได้รับ การอนุมัติให้จัดท�าโครงการ ASU ในเวลาต่อมา จากนั้นคณะวิจัยก็ได้จัดการ ประชุมร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการด�าเนินงานและพิจารณาสื่อที่จะ ใช้ในการด�าเนินงานในโรคหวัดและอุจจาระร่วง ส่วนเรื่องแผลสด ที่ประชุม ได้มีข้อสรุป ให้จัดท�างานวิจัยเรื่องนี้เสียก่อน

12

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรÉ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 12

10/3/56 BE 3:10 PM


“ส�ำหรับประเด็นแผลสดจะมีอุปสรรคตรง ที่หน่วยตรวจศัลยศาสตร์อุบัติเหตุบอกว่าไม่ เห็นด้วยกับแนวทางของโครงการ ASU เพราะ เขารู้สึกว่าผู้บาดเจ็บส่วนใหญ่จ�ำเป็นต้องได้รับ ยาปฏิชีวนะเพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ ดังนั้นเราจึงต้องมีการท�ำงานวิจัยออกมาเพื่อ ศึกษาว่าแผลของผู้บาดเจ็บที่มารักษาภายใน 6 ชั่วโมงนั้น มีการติดเชื้อมากน้อยแค่ไหน” นพ.อธิรัฐ กล่าว เมื่อได้ข้อสรุปเรื่องการด�ำเนินงานแล้ว คณะวิจัยก็ได้จัดการอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในช่วงเดือนมกราคม-เมษายน พ.ศ.2555 เพือ่ ให้ข้อมูลเรื่องโรคหวัดและอุจจาระร่วง จากนั้น จึงได้ตดิ ตามผลการรักษาผูป้ ว่ ยทุกราย หลังจาก เข้ารับการรักษา 3 วัน เพื่อเก็บข้อมูลผลการ รักษา ก่อนที่จะแจ้งผลแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องในทุกๆ 1 เดือน ส่วนการวิจัยผู้บาดเจ็บที่มีแผลสดจะ มีการการตรวจหาเชื้อแบคทีเรียจากแผลผู้บาด เจ็บทุกราย และจะมีการติดตามผลการรักษา ในวันที่ 3 และ 7 หลังการรักษา “ผลจากการศึกษาวิจัย เราพบเชื้อ Group A streptococci ในผู้ป่วยโรคหวัดร้อยละ 3.8 และเชื้อ non-typhoidal Salmonella sp. ใน ผู้ป่วยอุจาระร่วงร้อยละ 14.7 ซึ่งเชื้อเหล่านี้ ผูป้ ว่ ยปกติทวั่ ไปสามารถหายจากอาการได้โดย ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ และผลการรักษาทั้งใน กลุ่มที่ ได้รับยาฆ่าเชื้อและกลุ่มที่ ไม่ได้รับยาฆ่าเชื้อใน 2 โรคนี้ พบว่าอัตรา การหาย ดีขึ้นหรือแย่ลงไม่แตกต่างกัน แสดงให้เห็นว่านโยบายของโครงการ ASU ใช้ได้ผลจริง และอัตราการใช้ยาAntibiotics ก็ลดลงอย่างเห็นได้ชัด โดยลดลงจาก 70% เหลือน้อยกว่า 20% ส่วนผลการวิจัยเรื่องแผลสดเราพบว่ามีการใช้ยา Antibiotics มากถึง 90% แต่พบว่ามีผู้บาดเจ็บที่ติดเชื้อที่อาจก่อโรคเพียง 7% รวมทั้งพบผู้บาด เจ็บที่ติดเชื้อจากแผลเพียง 4 ราย จาก 330 ราย ดังนั้นการให้ยาฆ่าเชื้อจึง ไม่ได้เป็นปัจจัยเดียวที่ท�ำให้แผลไม่ติดเชื้อ เพราะการดูแลท�ำความสะอาด แผลอย่างดี อาจเป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วยให้ผู้บาดเจ็บไม่ติดเชื้อได้เช่นกัน” หลังจากที่ ได้ผลการศึกษาเรื่องการติดเชื้อในแผลสดแล้ว นพ.อธิรัฐ ก็ ได้น�ำผลการศึกษานี้ ไปพูดคุยกับหน่วยตรวจศัลยศาสตร์อุบัติเหตุอีกครั้ง ในครั้งนี้หัวหน้าหน่วยก็ ได้ให้การยอมรับผลการศึกษาและน�ำแนวคิด ASU มาใช้ในที่สุด ส่วนการขยายผลการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรคหวัดและ อุจาระร่วงนั้น โรงพยาบาลศิริราชได้น�ำแนวทางนี้ ไปใช้ในทุกๆ OPD และ ได้มีการตรวจสอบข้อมูลจากคอมพิวเตอร์หลังจากที่ ให้ความรู้แก่แพทย์

ไปแล้ว เพื่อตรวจสอบว่าแพทย์ได้สั่งจ่ายยา ปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลขึ้นหรือไม่ นอกจาก นี้ยังมีการขยายผลไปสู่ผู้ป่วยในโรงพยาบาล โดยได้ มี ก ารให้ ค วามรู ้ แ ก่ ผู ้ ป ่ ว ยในรู ป แบบ ต่างๆ เช่นการพูดคุย และการใช้สื่อแผ่นพับ และโปสเตอร์ เป็นต้น ส่วนการขยายผลในระดับนโยบาย คณะ วิจัยได้น�ำผลงานวิจัยไปเสนอในระดับนโยบาย จนกระทั่งเกิดการก�ำหนดกฎเกณฑ์การจัดสรร เงิน P4P แก่สถานพยาบาล ตัง้ แต่เดือนตุลาคม พ.ศ.2555 เป็นต้นมา โดยสถานพยาบาลที่มี อัตราการใช้ยาน้อยกว่าร้อยละ 20 จะได้รบั เงิน เต็มจ�ำนวน สถานพยาบาลที่มีอัตราการใช้ยา ร้อยละ 21-40 จะได้รับเงินบางส่วน และสถาน พยาบาลที่มีอัตราการใช้ยามากกว่าร้อยละ 40 จะไม่ได้รับเงินเลย ส�ำหรับปัจจัยความส�ำเร็จในการขับเคลื่อน โครงการนี้ นพ.อธิรฐั ได้เปิดเผยว่า “อันดับแรก ผูบ้ ริหารต้องเห็นด้วยและให้การสนับสนุน อันดับ 2 เราต้องให้ผู้ที่มีอิทธิพล ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ ในโรงพยาบาล เป็ น ผู ้ ขั บ เคลื่ อ นโครงการ ซึง่ ทาง รพ.ศิรริ าช จะให้อาจารย์วษิ ณุ ธรรมลิขติ กุล หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชาอายุรศาสตร์ เป็นผู้ขับเคลื่อนหลักในเรื่องนี้ เพราะทุกคนจะ ไม่กังขาในองค์ความรู้ของอาจารย์ และถ้าหาก โรงพยาบาลอื่นจะน�ำแนวคิดนี้ ไปใช้ก็สามารถ ให้หมอที่โรงพยาบาล หรือใครก็ได้ที่ทุกคนให้การยอมรับและเชื่อถือในองค์ ความรู้ ท�ำหน้าที่เป็นผู้ขับเคลื่อน ส่วนเรื่องข้อมูลที่จะใช้ในการอ้างอิงนั้น สามารถน�ำข้อมูลของ รพ.ศิริราชไปใช้ได้เลย” นพ.อธิรัฐ กล่าว ส�ำหรับในวันนี้ งานวิจยั “Antibiotics Smart Use (ASU) ทีโ่ รงพยาบาล ศิริราช” ก็ได้กลายเป็น “ต้นแบบ” ที่ส�ำคัญในการปลูกฝังแนวคิดการใช้ยา ปฏิชวี นะอย่างสมเหตุผลในโรงเรียนแพทย์ ซึง่ ในอนาคตอาจจะมีการต่อยอด และขยายผลออกไปเรื่อยๆ เพื่อขยายเครือข่ายผู้ร่วมต้านวิกฤติเชื้อดื้อยา ที่เป็นภัยเงียบในประเทศไทย ให้ค่อยๆจางหายไปในที่สุด งานวิจัย R2R หัวข้อ “Antibiotics Smart Use (ASU) ที่โรงพยาบาล ศิ ริ ร าช” โดยนพ.อธิ รั ฐ บุ ญ ญาศิ ริ คณะแพทยศาสตร์ ศิ ริ ร าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะ ได้รับรางวัลผลงาน R2R ดีเด่น กลุ่มงานบริการ ระดับตติยภูมิ ประจ�ำปี 2556 จากงานการประชุมแลกเปลีย่ นเรียนรูจ้ ากงานประจ�ำ สู่งานวิจัย (R2R) ครั้งที่ 6 “ร่วมสร้างวัฒนธรรม R2R สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” จัดโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล และภาคีเครือข่าย R2R

13

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรษ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 13

10/3/56 BE 3:10 PM


เ ป ด ห้ อ ง รั บ แ ข ก

รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจ�ารัสเลิศ

ในมุมมอง การพัฒนา ระบบสาธารณสุขไทย

H

SRI FORUM ฉบั บ นี้ ไ ด้ มี โ อกาสพู ด คุ ย กั บ บุคคลส�าคัญของวงการ R2R ระดับประเทศ “รศ.นพ.เชิ ด ชั ย นพมณี จ� า รั ส เลิ ศ ” รอง ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลศิริราช ด้านบริการผู้ป่วยนอกและ พัฒนาคุณภาพ และหัวหน้าทีมที่ปรึกษาโครงการสนับสนุนการ พัฒนางานประจ�าสู่งานวิจัยระดับประเทศ เพื่อพูดคุยเกี่ยวกับ แนวคิดการพัฒนาระบบสาธารณสุขไทย ผ่านมุมมองผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านการพัฒนางานประจ�าสู่งานวิจัย (R2R) ระดับประเทศ “สถานการณ์ ข องระบบสาธารณสุ ข ไทยในปั จ จุ บั น มี ทั้ ง ประเด็นทีเ่ ราท�าได้ดแี ล้ว และประเด็นทีเ่ ราต้องร่วมกันปรับปรุง” รศ.นพ.เชิดชัย เปิดประเด็น เรื่องที่เราท�าได้ดีแล้วก็คือ การกระจายสถานบริการทั่ว ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของ Primary care จะพบว่า สามารถกระจายได้อย่างครอบคลุมท�าให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้เรายังมีหลักประกันสุขภาพที่ ครอบคลุมประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศไทย ซึ่งเป็นประเด็น ที่ ได้รับการชื่นชมจากนานาชาติเป็นอย่างมาก ส่วนเรื่องที่ต้องปรับปรุงหรือสิ่งที่เป็นช่องว่างของระบบ สาธารณสุขไทยในตอนนี้ก็คือ ความแตกต่างของสถานพยาบาล และการให้บริการระหว่างชุมชนเมืองกับชุมชนชนบท ซึ่งปัญหา นี้ไม่ได้มีแต่ในประเทศไทยเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่มันเกิดขึ้น ทั่วโลก “สิง่ ควรท�าอย่างเร่งด่วนก็คอื การผลิตบุคลากรทางการแพทย์ ให้เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน และเกิดการกระจาย ที่เหมาะสมทุกช่องทาง เพราะว่า ณ ขณะนี้ ประชาชนมีความ ต้องการทางบุคลากรโดยเฉพาะแพทย์และพยาบาลค่อนข้างสูง ทัง้ ในพืน้ ทีเ่ มืองและชนบท ประกอบกับประเทศไทยมีการส่งเสริม เรื่อง Medical tourism และมีการเปด AEC จึงท�าให้เกิดการ เคลื่อนย้ายบุคลากรทางสาธารณสุขไปที่ภาคเอกชนค่อนข้าง มาก ท�าให้บุคลากรทางภาครัฐเกิดความขาดแคลน ไม่เพียงพอ ต่อการให้บริการประชาชน ที่ส�าคัญคืออีก 15 ปข้างหน้า สังคม ไทยจะมีกลุ่มผู้สูงอายุที่มาเข้ารับบริการทางด้านสาธารณสุขเพิ่ม มากขึ้น ดังนั้นการผลิตบุคลากรทางการแพทย์จึงเป็นประเด็น เร่งด่วนที่จ�าเป็นจะต้องวางแผนร่วมกันตั้งแต่วันนี้ เพื่อให้ทันต่อ ความต้องการในอนาคต”

14

ภาพจาก : สวสส.

ส่วนการพัฒนาระบบสาธารณสุขไทยให้เข้มแข็ง ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปอย่าง รวดเร็วนัน่ รศ.นพ.เชิดชัย บอกว่า ประเด็นแรก เราต้องพัฒนาบุคลากรก่อน เพราะว่าถ้าหากบุคลากร มีความรู้ความสามารถ และมีศักยภาพ ก็จะสามารถพัฒนางานต่างๆ รวมทั้งสามารถใช้เทคโนโลยี ในการออกแบบกระบวนการ หรือนวัตกรรมการให้บริการต่างๆ ได้ และถ้าเราสามารถน�าหลัก คิดการพัฒนางานประจ�าสู่งานวิจัยกระจายออกไปทั่วระบบสาธารณสุขไทย และท�าให้บุคลากร สาธารณสุขทุกระดับสามารถท�างานวิจัยในงานประจ�าได้ ก็จะท�าให้ระบบสาธารณสุขไทยมี ความเข้มแข็ง เพราะบุคลากรในระบบสาธารณสุขจะเกิดการเรียนรู้ที่จะพัฒนาองค์ความรู้จากงาน ประจ�าของตนเองเพือ่ ต่อยอดการท�างาน แต่ทงั้ นีเ้ ราก็ตอ้ งสร้างระบบสนับสนุน และต้องจัดตัง้ คณะ กรรมการจริยธรรมในมนุษย์ให้ทั่วถึง เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุขสามารถที่จะท�างานวิจัยตรงนี้ได้

ประเด็นที่ 2 คือ ต้องพัฒนาระบบเชือ่ มต่อการให้บริการให้ตอ่ เนือ่ งทุกระดับแบบไร้รอยตะเข็บ ตัง้ แต่ระดับปฐมภูมิ ทุตยิ ภูมิ และ ตติยภูมิ โดยเฉพาะเรือ่ งการส่งต่อผูป้ ว่ ยอย่างเหมาะสมและทันท่วงที ในภาวะฉุกเฉิน เราต้องคิดว่าท�าอย่างไรจึงจะสามารถส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและครบ ถ้วน เพราะการส่งต่อข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วนจะท�าให้การบริการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ประเด็นที่ 3 คือ ต้องพัฒนาการให้บริการทางการแพทย์ด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร ทั้งนี้ เพื่อให้คนไข้ที่ ไม่สามารถเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญได้ สามารถปรึกษาผู้เชี่ยวชาญผ่านทางเทคโนโลยี การสื่อสารทางไกลได้ ไม่ว่าจะเป็น Teleconference หรืออะไรต่างๆ ผมคิดว่าถ้าเราสามารถ พัฒนาพัฒนาการให้บริการทางการแพทย์ด้านเทคโนโลยีการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม การบริการ สาธารณสุขของประเทศไทยก็จะสามารถพัฒนาก้าวหน้าได้พอสมควรครับ แม้ว่าที่ผ่านมา ประเทศไทยจะได้รับค�าชมจากนานาชาติเรื่องการสร้างหลักประกันสุขภาพ ถ้วนหน้า จนได้รับการยกย่องให้เป็นกรณีศึกษาในกลุ่มประเทศก�าลังพัฒนา แต่ทว่าประเทศไทย ก็คงจะต้องเดินหน้าพัฒนาระบบสาธารณสุขต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง ไม่ว่าจะเป็นการเสริมเพิ่มใน ส่วนที่ขาดและการต่อยอดในส่วนที่ดี ทั้งหมดนี้ก็คือมุมมองของ รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจ�ารัสเลิศ ในการสะท้อนภาพให้ระบบ สาธารณสุขของไทยเติบโตก้าวไกล และพร้อมน�าพาสุขภาวะที่ดีมาสู่ประชาชนได้มากยิ่งขึ้น

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรÉ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 14

10/3/56 BE 3:10 PM


เกาะกระแส สวรส.

กิจกรรมและความเคลื่อนไหว

สถาบั นวิ จั ย ระบบสาธารณสุ ข (สวรส.) ส�านักงานคณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ (สช.) และส�านักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ (สวทน.) จั ด เวที ป ระชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ การจัดท�าภาพอนาคตระบบสุขภาพ ไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า เพื่อวาง กรอบและยุ ท ธศาสตร์ ด ้ า นสุ ข ภาพ ของประเทศในทุ ก มิ ติ ท่ี เ ท่ า ทั น ต่ อ สถานการณ์ โดยระดมความคิดเห็น ของผู ้ เ ชี่ ย วชาญสาขาต่ า งๆ ศึ ก ษา แนวโน้ ม และปั จ จั ย ที่ ส ่ ง ผลกระทบ ต่ อ ระบบสุ ข ภาพไทย สกั ด ปั จ จั ย ที่ ส่งผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบต่อ ระบบสุขภาพ โดยเฉพาะปัจจัยที่ ไม่

แน่นอน เช่น การปฏิรูปครั้งใหญ่ของ โครงสร้างทางการเมืองและกฎหมาย ความมั่นคงและความปลอดภัยของ อาหาร การเจรจาการค้าเสรีระหว่าง ประเทศ การรั ก ษาผู ้ ป ่ ว ยที่ พึ่ ง พา เทคโนโลยี ชี ว ภาพทางการแพทย์ เป็นต้น จากนั้นจะมีการก�าหนดเป็น ชื่อภาพอนาคตและจัดท�ารายละเอียด เพื่อให้ผู้ก�าหนดนโยบายทุกภาคส่วน ได้ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนและ ออกแบบการด�าเนินงาน โดยเฉพาะ คณะกรรมการทบทวนธรรมนู ญ ว่ า ด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ที่จะมีหน้า ที่ปรับปรุงเนื้อหาในธรรมนูญฯ ให้ สอดคล้องกับบริบทของระบบสุขภาพ ต่อไป

ส า ร พั น ช ว น คิ ด ข้อมูล 10 “ไม่” R2R เพื่อให้คน หน้างานเข้าใจ R2R อย่างถ่องแท้ ไม่ 㪋ÃÐàºÕºÇÔ¸ÕÇÔ¨ÑÂãËÁ‹ ไม่ 㪋§Ò¹ÇԨѢÖé¹ËÔé§ à¾ÃÒÐÁÒ¨Ò¡¡Òû¯ÔºÑµÔ·Ø¡Çѹ ไม่ ¨íҡѴ੾Òл˜ÞËÒ·Ò§¤ÅÔ¹Ô¡ ½†ÒÂʹѺʹع¡ç·íÒä´Œ ไม่ ¤ÇÃÁÒà´ÕèÂÇ áµ‹¤ÇÃÁÒ໚¹·ÕÁ ไม่ à¤ÂÁÕ¤ÇÒÁÃÙŒàÃ×èͧÇÔ¨ÑÂÁÒ¡‹Í¹ ¡çàÃÔèÁ·íÒ R2R ä´Œ ไม่ ä´ŒàÃÔèÁ¨Ò¡¤ÇÒÁÍÂÒ¡·íÒÇԨѠᵋàÃÔèÁ¨Ò¡ã¨ ไม่ µŒÍ§àÃÔèÁ´ŒÇ¡ÒÃͺÃÁ ᵋ¤ÇÃàÃÔèÁ¨Ò¡¤íÒ¶ÒÁ㹧ҹ ไม่ µŒÍ§ãªŒ·Ø¹ÇԨѨíҹǹÁÒ¡ ไม่ ä´ŒÇÑ´¨Ò¡¨íҹǹ¼Å§Ò¹ÇԨѠªÕéÇÑ´¤ÇÒÁ¡ŒÒÇ˹ŒÒ ไม่ 㪋§Ò¹ÇԨѪÑé¹Êͧ

สวรส. จัดกิจกรรมอบรมการขับ เคลือ่ นงานวิจยั สูน่ โยบายรุน่ ที่ 2 เพือ่ เพิม่ ศักยภาพแก่นักวิจัยในการขับเคลื่อน งานวิจยั สูน่ โยบาย ซึง่ จะเป็นประโยชน์ ต่อบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องในการน�าความรู้ ไปใช้ ในหัวข้อ “Writing An Effective Policy Brief” มีผู้เข้าร่วมโครงการ จ�านวน 12 ท่าน ที่ รร.สวนสามพราน นครปฐม โดย นพ.พงษ์พสิ ทุ ธิ์ จงอุดมสุข อดีต ผอ.สวรส. เป็น ประธานเปิ ด ในงานมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญประกอบ ด้วย ดร.อรุณรัตน์ ตั้งมั่นคงวรกูล ดร.ชะเอม พัชนี อ.บังอร ฤทธิภกั ดี มา ร่วมบรรยาย ร่วมถึงยังมี นพ. สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ มาแนะน�าความรู้ แนวทางในการขับเคลื่อนนโยบายใน

หัวข้อ “Policy Advocacy” พร้อมรับ ฟังประสบการณ์ตรงจาก ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ เรือ่ ง “Effective policy brief: a panel discussion” ที่มา ถ่ายทอดประสบการณ์ในการขับเคลือ่ น การรณรงค์สู่นโยบายเพื่อการไม่สูบ บุหรี่ โครงการนี้ยังได้ให้ผู้เข้าร่วม กิ จ กรรมได้ น� า เสนอผลงานโดยมี Commentator นพ.พงษ์ พิ สุ ท ธิ์ จงอุดมสุข นพ.ภูษิต ประคองสาย พญ.เพชรศรี ศิ ริ นิ รั น ดร์ มาให้ ข้อเสนอแนะ

เ ป ด ชั้ น ห นั ง สื อ / ง า น วิ จั ย บทคัดย่อผลงาน R2R ปี 2556

แนะน�าบทคัดย่อผลงาน R2R ปี 2556 ที่น�าเสนอและได้รับรางวัลจาก เวทีประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจ�าสู่งานวิจัย ครั้งที่ 6 ร่วมสร้าง วัฒนธรรม R2R สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ที่ผ่านการคัดสรรจากคณะกรรมการ ผูท้ รงคุณวุฒิ ซึง่ จะเป็นแนวคิดทีจ่ ะพัฒนาคุณภาพงานภายใต้ความรับผิดชอบ ของตนเองให้ดีขึ้น | ดาวนโหลดไดทาง http://kb.hsri.or.th/dspace/ handle/11228/3884 การปรับสภาพบ้านเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขÖ้นของคนพิการ

เรี ย บเรี ย งเนื้ อ หาจากงานวิ จั ย “โครงการสนั บ สนุ น การ ออกแบบที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เอื้อกับคนพิการและผู้สูง อายุ” ที่ลงพื้นที่ท�าการออกแบบปรับปรุงที่อยู่อาศัยให้เอื้อต่อการ ใช้ชีวิตของคนพิการและคนดูแล แนวทางการน�าเสนอสามารถน�า ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงสภาพบ้านได้จริงพิการ | ดาวนโหลด ไดทาง http://www.sem100library.in.th

15

ผลักดัน - พัฒนา : ก้าวสู่ 1 ทศวรรÉ วิจัย R2R

hsri-july3.indd 15

10/3/56 BE 3:11 PM


ẋ§»˜¹¤ÇÒÁÃÙŒâ´Â ʶҺѹÇÔ¨ÑÂÃкºÊÒ¸ÒóÊØ¢ (ÊÇÃÊ.) ÊÒÁÒö´Òǹ âËÅ´¨ØÅÊÒà HSRI Forum ä´Œ·Õè www.hsri.or.th Êͺ¶ÒÁà¾ÔèÁàµÔÁ ˹‹ÇÂÊ×èÍÊÒäÇÒÁÃÙŒáÅТѺà¤Å×è͹Êѧ¤Á â·Ã 0-2832-9245-6 ʶҺѹÇÔ¨ÑÂÃкºÊÒ¸ÒóÊØ¢ ªÑé¹ 4 ÍÒ¤ÒÃÊØ¢ÀÒ¾áË‹§ªÒµÔ «.ÊÒ¸ÒóÊØ¢ 6 ¶.µÔÇÒ¹¹· 14 µ.µÅÒ´¢ÇÑÞ Í.àÁ×ͧ ¨.¹¹·ºØÃÕ 11000 â·ÃÈѾ· 0-2832-9200 â·ÃÊÒà 0-2832-9201 www.hsri.or.th

hsri-july3.indd 16

10/3/56 BE 3:11 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.