อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จ.เพชรบุรี
“...เรือ่ งป่าต้นนéาí ลíา¸ารของแÁ่นาéí เพชรºØรÕ ขอãห้เจ้าหน้า·Õด่ แÙ ลรักÉาอย่าãห้ÁกÕ ารลักลอºตัดäÁ้ ¶างป่า ·íาäร่ãนป่าต้นนéíาของแÁ่นéíาเพชรºØรÕ เพราะจะ·íาãห้เกิดควาÁแห้งแล้ง แÁ้จะäด้ÁÕการãห้สัÁป·าน ป่าแปลงนÕéäปº้างแล้ว กçขอãห้เจ้าหน้า·Õ่ตรวจดÙแลการ·íาäÁ้ อย่าãห้เปšนการ·íาลายป่าเกิดขÖéน...” พระราชดíารัส พระºา·สÁเดçจพระเจ้าอยÙ่หัว วัน·Õ่ òù ตØลาคÁ òõòò
“...เรื่องป่าเหนือเขื่อนแก่งกระจาน äด้ãห้สัÁป·าน·íาäÁ้äป ò หรือ ó สัÁป·าน แต่ป่าäÁ้ยัง เสÕยหายäปหลาย Block...” พระราชดíารัส พระºา·สÁเดçจพระเจ้าอยÙ่หัว วัน·Õ่ ñò ÁกราคÁ òõòô
“...ãห้ดแÙ ลป่าäÁ้ºริเว³ป่าละอÙºน และป่าäÁ้ºริเว³เขาพะเนิน·Øง่ ครอºคลØÁพืนé ·Õจ่ รดแนวเขตแดน ประเ·ÈพÁ่า อย่าãห้ÁÕการลักลอºตัดäÁ้ แ¼้ว¶าง ·íาลายป่าäÁ้เกิดขÖéน...” พระราชดíารัส พระºา·สÁเดçจพระเจ้าอยÙ่หัว วัน·Õ่ ñó Áิ¶Øนายน òõóó
“...ช้างเปšนสัตว์·Õ่พระºา·สÁเดçจพระเจ้าอยÙ่หัว ·รงรัก ·รงห่วงãย âดยเ©พาะช้าง·างกØยºØรÕ และแก่งกระจาน ·รงห่วงãยÁาตลอด ·รงช่วยหา·Õ่อยÙ่·Õ่กินãห้ช้าง จะäด้äÁ่รºกวนคน คนกัºช้างจะ äด้ÁÕป˜Þหากันน้อย·Õ่สØด เช่น ·Õ่กØยºØรÕ ประจวºคÕรÕขัน¸์ ช้างÁÕควาÁสíาคัÞÁาแต่ครัéงประวัติÈาสตร์ เคยช่วยรักÉาº้านเÁือง กÙ้º้านกÙ้เÁือง ดังนัéน ขอãห้ช่วยกันดÙแล Áิãห้ช้าง¶Ùก¦่าอย่าง·ารسเยÕ่ยงนÕé เพื่อจะäด้äÁ่¼ิดพระราชประสงค์·Õ่พระºา·สÁเดçจพระเจ้าอยÙ่หัว ·รงตัéงพระ·ัย·Õ่จะãห้ÁÕการอนØรักÉ์ ช้างãห้เปšนสัตว์คÙ่แ¼่นดินสืºäป...” พระราชดíารัส สÁเดçจพระนางเจ้าÏ พระºรÁราชินÕนา¶ วัน·Õ่ õ ÁกราคÁ òõõõ
“...ขอãห้ร่วÁÁือกัºแÁ่·ัพÀาค·Õ่ ñ และ ดร.¸วัชชัย สันติสØข ดíาเนินการเรื่องการปลÙกพืช อาหารช้าง การปลÙกต้นäÁ้ãห้เปšนป่า ÁÕ·Õ่อยÙ่·Õ่กินของช้าง ·Õ่แก่งกระจาน เช่นเดÕยวกัº·Õ่กØยºØรÕ...” พระราชเสาวนÕย์ สÁเดçจพระนางเจ้าÏ พระºรÁราชินÕนา¶ วัน·Õ่ òô กØÁÀาพัน¸์ òõõõ
แก่งกระจาน ป่าของโลก พระราชดำ�รัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในหลากหลายวาระ แสดงให้ประจักษ์ชดั ถึงน้�ำ พระราชหฤทัยห่วงใยในผืนป่าแก่งกระจาน ตลอดจน ชีวิตของสัตว์ที่อาศัยอยู่ในป่านั้น เพราะผืนป่าแก่งกระจาน (Kaeng Krachan Forest Complex) ครอบคลุมพื้นที่ป่า ธรรมชาติ ถึง ๓,๐๑๓,๙๐๖ ไร่ ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์ อุทยานแห่งชาติกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำ� ภาชี อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน จังหวัดราชบุรี และเขตปลอดภัยทางทหาร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ป่าแก่งกระจาน เป็นพื้นที่ป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์สูงและมีความหลากหลายทางชีวภาพ จนได้รับการประกาศให้เป็น ๑ ใน ๒๕ ผืนป่าของโลก ที่มีความสำ�คัญต่อการอนุรักษ์ความ หลากหลายทางชีวภาพ และได้รับการประกาศเป็นมรดกอาเซียนตามปฏิญญาอาเซียนว่าด้วย อุทยานมรดก (ASEAN Declaration on Heritage Parks) เมื่อปี ๒๕๔๖ นอกจากนี้ ผืนป่าแก่งกระจานยังเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าหายากนานาชนิด เป็นที่อยู่ อาศัยตามธรรมชาติของช้างป่าที่สำ�คัญที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เป็น ๑ ใน ๔ แหล่งที่อยู่อาศัย ตามธรรมชาติของเสือโคร่งที่สำ�คัญที่สุดของโลก และเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของ จระเข้น้ำ�จืดที่สำ�คัญที่สุดของไทย
ชีวภาพที่หลากหลายในอุทยานฯ แก่งกระจาน
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน หนึ่งในพื้นที่อนุรักษ์ผืนป่าแก่งกระจาน ได้รับการประกาศเป็น เขตอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๒๔ โดยกำ�หนดพื้นที่บริเวณอ่างเก็บน้ำ�และ ป่าเหนือเขื่อนแก่งกระจานเป็นเขตอุทยานฯ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ ๑.๘ ล้านไร่ ใน ๕ อำ�เภอ ๒ จังหวัด คือ อำ�เภอแก่งกระจาน หนองหญ้าปล้อง ท่ายาง และเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี กับ อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งนอกจากจะทำ�ให้เป็นอุทยานที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของ ประเทศแล้ว อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ยังมีความสำ�คัญยิ่งในฐานะป่าสมบูรณ์ ที่เป็นต้นน้ำ� ของแม่น้ำ�หลายสาย เช่น แม่น้ำ�เพชรบุรีและแม่น้ำ�ปราณบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่ของอุทยานฯ เป็นภูเขาสลับซับซ้อนในเทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งเป็นพรมแดน ระหว่างประเทศไทยและพม่า ยอดเขาสูงทีส่ ดุ ในอุทยานฯ คือ ยอดเขางะงันนิกยวงตอง ความสูง ๑,๕๑๓ เมตร รองลงมา คือ ยอดเขาพะเนินทุ่ง ความสูง ๑,๒๐๗ เมตร สภาพภูมิประเทศ มีทั้งป่าดงดิบชื้น ป่าดงดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีพันธุ์พืชทั้งสิ้น ๓๒ ชนิด เป็นพันธุ์พืชที่บริโภคได้ ๑๔ ชนิด ได้แก่ ตะขบป่า ตะคร้ำ� ไทร กระบก บุก มะกอกป่า พริกพราน มะเดื่ออุทุมพร มะไฟ ลิ้นฟ้า เม่า ไผ่ซาง เขือง เหลียง เป็นพันธุ์พืชที่ใช้ในการก่อสร้างและทำ�เฟอร์นิเจอร์ ๙ ชนิด
ได้แก่ แคทราย ตะเคียน ตะแบก ประดู่ มะค่าโมง สมอ เสลา แหว ประดู่ส้ม พันธุ์พืชใช้ทำ� ฟืนได้ ๓ ชนิด ได้แก่ งุ้น กาสามปีก มะหาด และพืชสมุนไพร ๔ ชนิด ได้แก่ ข่อย มะขามป้อม ยอป่า และเปล้าหลวง การที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานอยู่ในเทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งบางส่วนของเทือกเขา ตอนเหนืออยู่ในเขตพม่า และเชื่อมต่อกับเทือกเขาภูเก็ตของภาคใต้ จึงมีสัตว์ป่าจากอินเดีย และพม่าแพร่กระจายมาจากทางตะวันตกลงมาถึงบริเวณอุทยานฯ ขณะเดียวกันสัตว์ป่าจาก มาเลเซียก็แพร่กระจายขึ้นมาตามเทือกเขาภูเก็ต ทำ�ให้อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานเป็น แหล่งชุมนุมของสัตว์ป่าทั้งจากทิศเหนือและทิศใต้ ที่สำ�คัญได้แก่ ช้างป่า หมีหมา หมาใน หมาจิ้งจอก เสือดาว เสือโคร่ง เลียงผา สมเสร็จ วัวแดง กวางป่า เก้งหม้อ ชะนีมือขาว ลิงเสน กบทูด ปาดยักษ์ เต่าหก จิ้งเหลนภูเขาสีจาง และจระเข้น้ำ�จืด เป็นต้น นอกจากนี้ ยังพบนกต่าง ๆ อีกมากกว่า ๔๘๐ ชนิด เช่น นกกระสาคอขาว เหยี่ยว ปากใหญ่หัวเทา นกเค้าหน้าผากขาว รวมทั้งผีเสื้อหายากอีกหลายชนิด ในบริเวณลำ�ธาร และอ่างเก็บน้ำ� ยังพบปลาน้ำ�จืดหลายชนิด เช่น ปลานางอ้าว ปลาซิวใบไผ่ ปลาขี้ยอก ปลากระสูบขีด ปลากดเหลือง ปลาดุกด้าน ปลากระทุงเหว ปลาหมอช้างเหยียบหรือปลาตะกับ ปลากระสง และปลากระทิง ฯลฯ ป่าแก่งกระจาน จึงดำ�รงความสำ�คัญยิ่งในด้านความหลากหลายทางชีวภาพและความ อุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติมาอย่างยาวนาน
เมื่อวิกฤตย่างกรายสู่ผืนป่าแก่งกระจาน แต่ไม่กี่ปีมานี้เอง ผืนป่าแก่งกระจานก้าวเข้าสู่วิกฤตทางการบริหาร จนพื้นที่ป่าและ สัตว์ป่าลดลง เนื่องจากการขยายตัวของประชากร ทั้งจากครอบครัวขยายขึ้นและการอพยพ เข้ามาเพิ่มเติม ทำ�ให้ต้องขยายพื้นที่ทำ�กิน เก็บหาของป่าและล่าสัตว์ป่า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การล่าเพื่อการค้า ซึ่งมักมีคำ�สั่งซื้อจากภายนอกให้ชาวบ้านในพื้นที่เป็นผู้ล่า สัตว์ที่มักถูกล่า ในเขตอุทยานฯ คือ ค่างแว่น เลียงผา เก้ง กวาง ตัวนิ่ม ช้างป่า เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการสู้รบและความไม่สงบตามแนวชายแดน การให้สัมปทานป่าไม้ในอดีต การเข้ามาแฝงทำ�การเกษตรในพื้นที่ของกลุ่มคนเมืองจากข้างล่าง ที่รบกวนแหล่งอาหารของ สัตว์ป่า จนต้องย้ายถิ่นไปอยู่ด้านล่างของอุทยานฯ บริเวณพะเนินทุ่ง บ้านกร่าง จนถึงป่าละอู ใจกลางป่าแก่งกระจาน บริเวณบ้านโป่งลึกและบ้านบางกลอย ตำ�บลห้วยแม่เพรียง ยังเป็นทีอ่ ยู่ อาศัยของชาวกะหร่าง ซึง่ อพยพมาจากเทือกเขาตะนาวศรี ชายแดนไทย-พม่า เมือ่ ประมาณ ๑๐๐ ปีกอ่ น คำ�ว่า “กะหร่าง” เป็นคำ�ทีใ่ ช้เรียกชนกลุม่ หนึง่ ซึง่ มีลกั ษณะใกล้เคียงกับชาวกะเหรีย่ ง คำ�นี้ จะใช้เฉพาะในแถบเพชรบุรแี ละราชบุรเี ท่านัน้ แต่ชาวกะหร่าง จะเรียกตัวเองว่า “จะกอร์” ซึง่ คนไทยออกเสียงว่า “สะกอ” หรือ “ชรัง” บางคนเรียกชนกลุม่ นีว้ า่ “ยางขาว” หรือ “ยางดอย” มักพบชาวกะหร่างทางภาคเหนือของประเทศไทยลงมาถึงจังหวัดตาก ส่วนมากชอบอาศัยตัง้ ถิน่ ฐาน และดำ�รงชีพในป่าลึกตามเขตภูเขาสูง จึงมีความชำ�นาญในการล่าสัตว์ แกะรอย และหาของป่า
ชาวกะหร่างในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานนับพันคน ดำ�รงชีพอยู่อย่างยากลำ�บาก เพราะไม่ใช่แค่เพียงสถานะการเป็นผูบ้ กุ รุกพืน้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติแก่งกระจานเท่านัน้ ในแต่ละวัน พวกเขายังต้องใช้ชีวิตอย่างอดอยากขาดแคลน เพราะแม้จะมีแม่น้ำ�เพชรอันอุดมสมบูรณ์ เป็น สายเลือดหลักหล่อเลี้ยงผืนดิน แต่ทั้งสองบ้านก็อยู่สูงเกินกว่าจะนำ�น้ำ�จากแม่น้ำ�เพชรขึ้นมาใช้ ประโยชน์ได้ พื้นที่ราบที่ใช้เพาะปลูกได้ ก็มีน้อยเสียยิ่งกว่าน้อย แม้แต่ยามที่ฝนดี ก็ได้ข้าวเพียง ๒๕ ถังต่อไร่ ไม่พอเพียงต่อการบริโภค ยิ่งไม่ต้องพูดถึงยามฝนแล้งเลย ร้อยละ ๒๐ ของประชากร ยังตกสำ�รวจ เพราะความห่างไกลทุรกันดาร เสียจนกระทั่งหมด สิทธิในการเป็นคนไทย เมื่อหน่วยงานของรัฐเข้ามาไม่ถึง ในยามเจ็บป่วย ชาวบ้านต้องเดินเท้า ถึงสองวันเต็ม เพื่อเข้ามาหาหมอในเมือง สถานะทางเศรษฐกิจของทั้งสองหมู่บ้านยากจนไม่ต่างกัน ชาวบ้านโป่งลึก มีรายได้ต่อ ครอบครัวเพียง ๕๒,๐๐๐ บาทต่อปี ส่วนชาวบ้านบางกลอยก็มรี ายได้เพียงครอบครัวละ ๓๗,๐๐๐ บาท ต่อปี รายได้ส่วนใหญ่มาจากการรับจ้างถึงร้อยละ ๗๖ รายได้จากการเกษตรมีเพียงร้อยละ ๗ เท่านั้น รายได้ส่วนใหญ่ถึงร้อยละ ๔๘ จะถูกใช้จ่ายเป็นค่าข้าวและอาหาร
ความบอบช้ำ�ที่ซ้ำ�เติม สภาพความเป็นอยูข่ องผืนป่า สัตว์ปา่ และคนในป่าแก่งกระจาน เปลีย่ นแปลงอย่างเงียบ ๆ โดยปราศจากความสนใจของสังคมมานานหลายปี และแล้วพื้นที่ป่าแก่งกระจานก็เป็นที่ กล่าวขานถึงครัง้ ใหญ่ในปี ๒๕๕๓ เริม่ จากการสำ�รวจสภาพป่าในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน พบว่ามีผบู้ กุ รุกเข้าไปอาศัยอยูใ่ นป่า แผ้วถางป่าจนสภาพป่าเสียหายหลายแห่ง จนต้องดำ�เนินการ อพยพชนกลุ่มน้อยตามแนวชายแดนไทย-พม่ากลับถิ่นฐานเดิม ตั้งแต่กลางปี ๒๕๕๓ โดยการ เจรจากับชนกลุ่มน้อย ที่มีผู้นำ�ชุมชนบ้านโป่งลึก-บางกลอย เข้าร่วมด้วย แต่บางกลุ่มไม่ยินยอม ใช้ความชำ�นาญหลบหนีเข้าป่า สถานการณ์เริม่ รุนแรงขึน้ เมือ่ มีการสนธิก�ำ ลังจากทหารชุดปฏิบตั กิ ารเฉพาะกิจทัพพระยาเสือ กองกำ�ลังทหารค่ายสุรสีห์ ตชด. ที่ ๑๔๔ และผู้นำ�ชุมชนชาวกะเหรี่ยง ตรวจสอบพบว่ายังไม่มี
การอพยพออกไปจากพื้นที่ จึงมีการจับกุมผู้กระทำ�ผิดได้ ๖ ราย และบานปลายเป็นการทำ�ลาย เพิงพักของชนกลุ่มน้อย เผาทำ�ลายบ้านที่ถูกรื้อและไม่มีคนอาศัยอยู่ จนมีการฟ้องร้องเรียก ค่าเสียหายจากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม วันที่ ๑๒ ก.ค. ๒๕๕๔ ทหารหน่วย ฉก.ทัพพระยาเสือ นำ�กำ�ลังเข้าผลักดันชนกลุ่มน้อย ที่บุกรุกทำ�ไร่เลื่อนลอย บริเวณต้นน้ำ�แก่งกระจาน จับกุมผู้บุกรุกได้ ๖ คน แต่ไม่สามารถ กลับออกมาได้ เนื่องจากฟ้าปิด ผ่านไป ๔ วัน เฮลิคอปเตอร์ที่เข้าไปช่วยเหลือลำ�เลียง ผู้ติดค้างออกจากป่ากลับประสบอุบัติเหตุตกกลางป่าลึก ซ้ำ�ร้ายเฮลิคอปเตอร์ที่เข้าไปช่วยเหลือ ก็ประสบชะตากรรมเดียวกันอีกถึง ๒ ครั้ง ทำ�ให้มีทหารและเจ้าหน้าที่เสียชีวิตถึง ๑๗ ราย ในเวลาเพียง ๙ วัน ยังตามมาด้วยปัญหาการลักลอบล่าและฆ่าช้างป่า ในพืน้ ทีบ่ า้ นป่าเด็ง ตำ�บลป่าเด็ง อำ�เภอ แก่งกระจาน เพื่อตัดงา งวง หาง และอวัยวะเพศไปขาย ถึง ๕ ตัว ตามมาด้วยการเผานั่งยาง ช้างอีก ๒ ตัวในเดือนเดียวกัน การถือกฎหมายคนละฉบับของเจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั แิ ต่ละฝ่าย ทำ�ให้สถานการณ์ความขัดแย้ง ในพื้นที่ลุกลามบานปลาย จากปัญหาการบุกรุกป่า ปัญหาความยากจนในพื้นที่ ปัญหา ชนกลุม่ น้อย ปัญหาความมัน่ คงตามแนวชายแดน ปัญหาทัศนคติ ซึง่ เป็นปัญหาภายใน ขยายไปสู่ ปัญหาสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นปัญหาในระดับนานาชาติ ทั้งหมดนี้ โหมกระพือให้สถานการณ์ในพื้นที่แก่งกระจานดูเสมือนว่า จะไม่สามารถหา หนทางออกของปัญหาเหล่านี้ได้
ถึงวาระของปิดทอง สถานการณ์ที่น่าอึดอัดนี้ คลี่คลายได้เมื่อทุกฝ่ายหันหน้ามาร่วมมือกัน โดยมีสถาบัน ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ เป็นคนกลางประสานงาน ให้เกิดการประชุมร่วมกันของจังหวัดเพชรบุรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงวัฒนธรรม สำ�นักราชเลขาธิการ สำ�นัก พระราชวัง กองทัพบก และมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ และสามารถจัดทำ�แผน พัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ตามพระราชดำ�ริได้สำ�เร็จ การดำ�เนินการในพื้นที่ โดยทีมปฏิบัติการพื้นที่ระดับจังหวัดเพชรบุรี ทีมปฏิบัติการพื้นที่ ระดับอำ�เภอแก่งกระจาน มูลนิธแิ ม่ฟา้ หลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนา กิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ จึงเริ่มต้นขึ้นในวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕
แนวทางการพัฒนาบ้านโป่งลึกและบางกลอย เริม่ ต้นด้วยการพัฒนาระบบน้�ำ ให้มนี �้ำ เพียงพอ ที่จะทำ�นาได้มากกว่าปีละครั้ง รวมทั้งสามารถปลูกพืชหลังนา พืชผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ ด้วยการสร้างฝาย ถังเก็บน้ำ� การสูบน้ำ�จากแม่น้ำ�เพชรบุรีด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ และการ สูบน้ำ�ด้วยระบบพลังงานน้ำ� การจัดการที่ดินและที่ทำ�กิน เพื่อให้ชาวบ้านบางส่วนที่ยังไม่มีที่ดินทำ�กิน สามารถพึ่งพา ตนเองได้ในระดับอยู่รอด พอเพียง และยั่งยืน จำ�นวน ๒ ไร่ต่อครัวเรือน โดยใช้พื้นที่ว่าง บางส่วนของโรงเรียน ตชด. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และพื้นที่บริเวณรอบ ๒ หมู่บ้าน ควบคู่กับการพัฒนาอาชีพ ด้วยการดำ�เนินงานตามแนวพระราชดำ�ริสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ได้แก่ การทำ�นาขัน้ บันได ปรับปรุงดินให้เหมาะสมกับการเพาะปลูก สนับสนุน พันธุ์เมล็ดข้าว การดูแลรักษาข้าว การเก็บเกี่ยว การสนับสนุนปลูกพืชระยะสั้น และระยะยาว การเลี้ยงสัตว์ที่ไม่มีผลกระทบต่อพื้นที่อุทยานและใช้วัตถุดิบในหมู่บ้านเป็นอาหารสัตว์ เช่น หมูเหมยซาน ไก่ เป็ด เพื่อให้มีอาหารบริโภคและลดรายจ่าย รวมทั้งสนับสนุนพันธุ์ปลา เพื่อ นำ�ไปปล่อยในแหล่งน้ำ�ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและขยายพันธุ์ในแม่น้ำ�เพชรบุรี เพื่อเป็น แหล่งอาหารในชุมชน
ในระยะเริ่มต้น จะมีการตั้งกองทุนข้าวสาร เพื่อให้ชาวบ้านมีข้าวพอกิน มีแรงทำ�งาน โดยแจกข้าวสารให้ตามจำ�นวนคนในครัวเรือน และชาวบ้านต้องคืนเป็นเงินหรือข้าวสารภายหลัง เก็บเกี่ยวข้าวหรือจำ�หน่ายผลผลิตในพื้นที่ได้ รวมทั้งสนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัวบริเวณ บ้าน เพื่อให้ชาวบ้านเก็บกินได้ตลอดปี ไม่ต้องไปซื้อจากภายนอก เช่น ผักบุ้ง ถั่วฝักยาว มะเขือ กระเจี๊ยบเขียว กระเจี๊ยบแดง และพืชผักในท้องถิ่น
รวมทั้งจะมีการปรับปรุงที่อยู่อาศัยเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและป้องกันโรค โดยไม่ขัด กับกฎระเบียบของอุทยานฯ ที่ไม่สามารถปลูกสร้างถาวรได้ ด้วยการส่งเสริมพลาสติกที่มี ความหนา คงทน ใช้มุงหลังคา ฝาบ้าน เพื่อกันแดด กันฝน กันยุง ซึ่งเป็นพาหะนำ�โรค ในรูปของกองทุน หรือก่อสร้างบ้านดินเพื่อช่วยลดปริมาณการตัดไม้ โดยเชิญครูภูมิปัญญาที่มี ความรู้มาถ่ายทอดความรู้ให้ การพัฒนาพื้นที่บ้านโป่งลึกและบางกลอย ไม่เพียงแต่มุ่งแก้ปัญหาความยากจนข้นแค้น แสนสาหัสและความเป็นอยู่ที่ยากลำ�บากของชาวบ้านทั้งสองหมู่บ้านนี้เท่านั้น หากแต่ยังจะ คลี่คลายสถานการณ์ความขัดแย้ง ก่อเกิดความร่วมมือร่วมใจในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา ไปสูค่ วามยัง่ ยืน คืนความอุดมสมบูรณ์ให้กบั ผืนป่าตะวันตก และจะเป็นต้นแบบในการแก้ไขปัญหา ชนกลุ่มน้อย ปัญหาความมั่นคง และส่งเสริมให้คนอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างยั่งยืน