แนวทางการดำเนินงาน โครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ปีงาบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗

Page 1

แนวทางการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ลานธรรม ลานวิถีไทย : ศูนยการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน


๒ แนวทางการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ลานธรรม ลานวิถีไทย: ศูนยการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ผูจัดพิมพ ปที่พมิ พ จํานวนพิมพ ที่ปรึกษา

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑๐,๐๐๐ เลม ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

นายกฤษศญพงษ ศิริ นายกฤษฎา คงคะจันทร นายสุเทพ เกษมพรมณี นายพิสิทธิ์ นิรัตติวงศกรณ นายชวลิต ศิริภิรมย

อธิบดีกรมการศาสนา รองอธิบดีกรมการศาสนา ผูอํานวยการสํานักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ผูอํานวยการกองศาสนูปถัมภ เลขานุการกรมการศาสนา

คณะทํางาน ๑. นางสาวพิไล จิรไกรศิริ นักวิชาการศาสนาเชี่ยวชาญ ๒. นางพรนิภา บัวพิมพ นักวิชาการศาสนาชํานาญการพิเศษ ๓. นางสาวฐิติมา สุภภัค นักวิชาการศาสนาชํานาญการ ๔. พันจาเอกวีระ จําลอง นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ ๕. นางสาวสุพิน มาไกล นักทรัพยากรบุคคล สํานักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม โทร ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๑๗


คํานํา “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะ แนวทางการดําเนินชีวิตแกประชาชนชาวไทยในทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัว ชุมชน และสังคม มาตลอดนานกวา ๓๐ ป กอนเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๐ พระองคทรงเนนย้ําแนวทางการพัฒนาที่ตั้งอยู บน พื้นฐานของทางสายกลางและความไมประมาทโดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเ หตุผล การสราง ภูมิคุมกันในตัว ตลอดจนใชความรู คุณธรรม เปนพื้นฐานในการดํารงชีวิต การปองกันใหรอดพนจากวิกฤต สามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงอยางยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ดังนั้น ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ กรมการศาสนาจึงไดนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสูโครงการ “ลานธรรม ลานวิถีไทย” โดยสงเสริมใหศาสนสถานที่เปนเครือขายลานธรรม ลานวิถีไทย จํานวน ๙๕๐ แหง นําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนแกนกลาง บริหารจัด การศาสนสถานใหเกิดความ เขมแข็งพึ่งพาตนเองได รวมทั้งเปน “ศูนยการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน” โดยเปดพื้นที่ ศาสนสถานเปนศูนยกลาง การเรียนรู ถายทอดงานดานศาสนา จัด กิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจริย ธรรม สืบสานและพัฒนาตอยอดภูมิปญญาของทองถิ่น เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ประชาชน และเสริมสรางรายได ลดรายจายสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจแกชุมชน ใหชุมชนเกิดความเขมแขงและอยูเย็นเปนสุขอยางยั่งยืน จากการมีสวนรวมและความเสียสละของคนในชุมชนนั้น ๆ กรมการศาสนาหวังเปนอยางยิ่งวาแนวทางการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ เลมนี้ จะเปน ประโยชนตอผูที่เกี่ยวของในการนําไปปรับใชเปนแนวทาง ในการปฏิบัติงานใหเปนไปในทิศทางเดียวกับกรมการศาสนาหรือนําไปปรับใชในการดําเนินชีวิตไดอยางเหมาะสม ตอไป


สารบัญ หนา บทที่ ๑ บทนํา บทที่ ๒ การสงเสริมลานธรรม ลานวิถีไทย เปนศูนยการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ๑. เหตุผลและความเปนมา ๒. วัตถุประสงค ๓. แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. นานาทัศนะเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑) ศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี ๒) นายสุเมธ ตันติเวชกุล ๓) นายอําพล เสนาณรงค ๔) นายสมพร เทพสิทธา ๕. การดําเนินชีวิตตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง ๖. การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัว ๗. แนวทางการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ บทที่ ๓ บทบาทหนาที่ของหนวยงานที่เกี่ยวของ ๑. บทบาทหนาที่ของสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด ๒. บทบาท/อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยจังหวัด ๑๘ ๓. บทบาทหนาที่ของศาสนสถานที่เขารวมโครงการฯ ๔. การบริหารจัดการโครงการฯ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ของสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด บทที่ ๔ ลักษณะการจัดกิจกรรมตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑. ลักษณะการจัดกิจกรรมตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระดับครัวเรือน และระดับหมูบานชุมชน ๒. ตัวอยางการจัดกิจกรรมตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: วัฒนธรรม ศาสนา เศรษฐกิจ ดําเนินชีวิต สิ่งแวดลอมและดานสังคม บทที่ ๕ ตัวอยางเครือขายลานธรรม ลานวิถไี ทยที่ประสบผลสําเร็จในการประยุกต ใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑. ศูนยวิปสสนาสากลไรเชิญตะวัน ตําบลหวยสัก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ๒. วัดผาปง อําเภอแมพริก จังหวัดลําปาง ๓. วัดมงคลธรรมกายราม ตําบลโปงงาม อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ภาคผนวก ๑. รูปแบบปายประชาสัมพันธโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ๒. ตัวอยางแผนปฏิบัติการของศาสนสถาน ประจํางบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๓. แบบรายงานความกาวหนาผลการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ประจําเดือน ๔. แบบประเมินโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ประจํางบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๕. แบบรายงานผลการบริหารงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ๖. แบบรายงานผลการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย บรรณานุกรม

๑ ๗ ๗ ๘ ๙

๑๑ ๑๒ ๑๒ ๑๖ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๒ ๒๘ ๒๙ ๓๒ ๓๔ ๓๕ ๓๙ ๔๒ ๔๕ ๔๘ ๕๒


บทที่ ๑ บทนํา ลานธรรม ลานวิถีไทย เปนโครงการที่เปดพื้นที่ศาสนสถานของศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณ-ฮินดู และศาสนาซิกข ทั้งในสวนกลางและภูมิภาคทั้ง ๗๖ จังหวัด จํานวน ๙๕๐ แหง ทั่วประเทศใหเ ปน พื้น ที่ส รางสรรคข องชุม ชน โดยมุง เนน มิ ติท างศาสนาและวัฒ นธรรม เพื่อใหประชาชนในชุมชนตระหนักและใชพื้นที่ศาสนสถานของทุกศาสนาเปนแหลงเรียนรูหลักธรรม เสริมสราง คุณภาพชีวิตของคนในชุ มชนใหเ ปนคนดี มีคุณธรรม มีความสามัคคี เอื้อเฟอเกื้อกูล กัน ตลอดจนพลิกฟน ใหศาสนสถานกลับมาเปน “ศูนยกลางจัดกิจกรรมของชุมชน ” และเปนฐานปฏิบัติการศูนยการเรียนรูและ ถายทอดภูมิปญญาที่สําคัญ เปนศูนยสง เสริมวิถีไทย ใชเ ปนสถานที่จัดกิจกรรมตาง ๆของชุมชน อาทิ กิจกรรมทางศาสนา กิจกรรมเพื่อ การพลิกฟนวิถีชีวิตที่ดีงามในอดีตใหกลับมาเปนการอนุรักษสบื ทอด ขนบธรรมเนียมประเพณีทองถิ่น ดํารงรักษาเอกลักษณของความเปนไทยใหคงอยู กิจกรรมสงเสริมการนํา ภูมิปญญาทองถิ่นมาใชหรือพัฒนาตอยอดสรางมูลคาเพิ่ม เกิดเปนผลิตผลของทองถิ่น สรางงานและสราง รายไดใหแกชุมชนเพื่อใหชุมชนเขมแข็งขึ้น และเปนอยูสบายมีความผาสุก จากการมีสว นรวมและความ เสียสละของคนในชุมชนนั้น ๆ ดวยตระหนัก ดีวา “เศรษฐกิจพอเพีย ง ” เปนแนวพระราชดําริในพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว ที่พระราชทานมานานกวา ๔๐ ป เปนแนวทางการพัฒนาที่มคี ุณคายิ่งตอ พสกนิกรชาวไทย ที่ตั้งอยูบนรากฐานของวัฒนธรรมไทย ทางสายกลางและความไมประมาท คํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัวเอง ตลอดจนใชคุณธรรมและความรูเปนพื้นฐานในการดํา รงชีวิต ที่ สําคัญคือ การมี “สติ ปญญา และความเพียร” ซึ่งจะนําไปสู “ความสุข ” ในการดําเนินชีวิตอยางแทจริง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ไดรับการเชิดชูสูงสุด จาก สหประชาชาติ (UN)โดยนายโคฟ อันนัน ในฐานะ เลขาธิการองคการสหประชาชาติ ไดทูลเกลาฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙ และไดมปี าฐกถาถึง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงวาเปนปรัชญาที่สามารถเริ่มไดจากการสรางภูมคิ ุมกันในตนเอง สูหมูบาน และสู เศรษฐกิจในวงกวางขึ้นในที่สุด เปนปรัชญาที่มปี ระโยชนตอประเทศไทยและนานาประเทศ โดยที่องคการ สหประชาชาติไดสนับสนุนใหประเทศตางๆที่เปนสมาชิก ๑๖๖ ประเทศยึดเปนแนวทางสูการพัฒนาประเทศ แบบยั่งยืน สําหรับแนวคิดในประเทศไทยที่ใชพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติฉบับที่ ๘–๑๐ สังคมไทยไดอัญเชิญหลัก"ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" ไปประยุกตใชอยางกวางขวาง ในทุกระดับ ตั้งแตระดับปจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคม จนถึงระดับประเทศ ซึ่งไดมีสว นเสริมสรางภูมิคุมกัน และชวยใหสงั คมไทยสามารถยืนหยัดอยูไดอยางมั่นคงทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกอยางมากมาย ในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑ ( พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ทุกภาคสวนในสังคมไทย เห็นพองรวมกันนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานําทางในการพัฒนาประเทศอยาง ตอเนื่องที่ให “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” และ “สรางสมดุลการพั ฒนา” ในทุกมิติ เพื่อมุงใหเกิด ภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการพัฒนาประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน โดยมีวิสัยทัศน ประเทศไทยในระยะ ๕ ปขางหนา คือ “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมคิ ุมกันตอการเปลี่ยนแปลง”


๖ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงเปนปรัชญาที่มีคุณประโยชนตอสังคมไทย ซึ่งมีผูนอ ม นํามาปฏิบัติจนประสบความสําเร็จและเขาใจอยางถองแทวาไมใชเ พียงการสรางความพออยูพอกินเทานั้น หากแตยังสามารถสรางรายไดใหมคี วามมั่นคงในอาชีพ พรอ มทั้งยังเปนการชวยแกปญหาความยากจน แบบยั่งยืน และสรางความสุขใหกับชีวิตไดดวย โดยยึดหลักพึ่งพาตนเอง ลดการพึ่งพาจากภายนอก เมื่อ ชุมชนพึ่งตนเองไดแลวทุกคนในชุมชนมีความสุขจาก “ความพอเพียง” กาวตอไปเปนการตอยอด รวมกลุมเพื่อ สรางงาน สรางรายได พัฒนาชุมชนใหเจริญกาวหนาบนฐานแหงเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบกับกรมการศาสนาไดเล็งเห็นวา ประเทศไทยเรามี ๓ สถาบันหลักของชาติที่สําคัญ โดยมีวัดและศาสนสถานเปนพื้นที่ในชุมชนที่เปนฐานของสังคมที่มคี วามพรอมและศักยภาพ ดังนั้น เพื่อให พสกนิกรชาวไทยไดใกลชิดกับ ๓ สถาบันหลักของชาติอยางตอเนื่องตลอดป จึงมีนโยบายที่จะสงเสริมใหมีการ ดําเนินการอยางเปนรูปธรรม คือ การนอมนําและอัญเชิญพระราชดํารัส พระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวที่เกี่ยวเนื่องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมทางศาสนามาเปนหลักในการพัฒนา คนใหมีคุณภาพสามารถพึ่งพอตนเองได เกิดความพอมีพอกิน พอมีพอใช โดยยึดหลักความพอประมาณ การ คํานึงถึงความมีเ หตุผล มีภูมิคุมกันที่ดีในตนเอง และมีคุณธรรมเปนกรอบในการดําเนินชีวิต ซึ่งจะตองมี กระบวนการสรางเสริมความรู ความเขาใจใหแกผูนําศาสนาตางๆในศาสนสถาน เพื่อเปนแบบอยางในการยึด มั่นในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้ง เปนผูนําในการสงเสริมใหวิถีพอเพียงเปนวิถีชีวิตของคนใน ชุมชนอยางแทจริง โดยมีศาสนสถานลานธรรม ลานวิถีไทยเปนศูนยกลางการเรียนรู ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงของชุมชน ในป ๒๕๕๗ กรมการศาสนาจึงมีนโยบายที่จะให “ลานธรรม ลานวิถีไทย”เปน “ศูนยการเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน” เนนการสรางเศรษฐกิจระดับชุมชนใหเขมแข็งอยางยั่งยืน ตาม แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกปจจุบัน สามารถดํารง รักษาอัตลักษณของทองถิ่น และเอกลักษณของความเปนไทย ใหคงอยูตลอดไป ตลอดจนมุงใหทุกภาคสวนใน ชุมชนมีโอกาส มาเรียนรู บริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพของตนเอง เพิ่มขีดความสามารถมากขึ้น เพื่อสรางงาน สรางรายได ลดตนทุนและขยายโอกาสการผลิตในเศรษฐกิจฐานรากในระดับชุมชนใหมมี ูลคาเพิ่มขึ้น


บทที่ ๒ การสงเสริมลานธรรม ลานวิถีไทย เปนศูนยการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ๑. เหตุผลและความเปนมา ลานธรรม ลานวิถีไทย เปนโครงการที่เปดพื้นที่ศาสนสถานของศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณ-ฮินดู และศาสนาซิกข เปนพื้นที่สรางสรรค ตลอดจนพลิกฟนใหศาสนสถานกลับมาเปน “ศูนยกลางจัดกิจกรรมของชุมชน” โดยใชมติ ิศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อใหประชาชนใชพื้นที่ศาสนสถานเปน แหลงเรียนรูหลักธรรม ทางศาสนา เสริมสรางคุณภาพชีวิต ใหเ ปนคนดีมคี ุณธรรม มีค วามสามัคคี เอื้อ เฟอ เกื้อกูลกัน รวมทั้งเปนฐานปฏิบัติการเรียนรู ถายทอดภูมปิ ญญา และสงเสริมวิถีไทย เชน กิจกรรมวันสําคัญ ทางศาสนา กิจกรรมอนุรักษสืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปญญาของทองถิ่น หรือพัฒนาตอยอดทุน ทางวัฒนธรรมของชุมชนเพื่อสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจเกิดเปนผลิตผลของทองถิ่น สรางงานและเสริมสราง รายไดใหแกชุมชนเพื่อใหชุมชนเกิดความเขมแข็งอยางยั่งยืน จากการมีสวนรวมและความเสี ยสละของคนใน ชุมชนนั้น ๆ โดยปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ มีศาสนสถานที่เขารวมโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย จํานวน ๙๕๐ แหง ทั่วประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑ ( พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ไดกําหนดใหทุกภาคสวน ของสังคมไทยนอมนําปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพีย งมาเปนปรัชญานําท างในการพัฒนาประเทศโดยให ความสําคัญ “คนเปนศูนยก ลางของการพัฒนา” และ “สรางสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ เพื่อมุงให คน/ สังคมไทยเกิดภูมิคุมกัน ที่ดี พัฒนาประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน เพื่อเปนการสอดคลองกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๑ รวมทั้งสงเสริมใหพสกนิกรชาวไทยไดรวมเทิดทูลสถาบันชาติ สถาบัน ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย ในปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗ กรมการศาสนาจึงมีนโยบายที่จะสงเสริม ให “ลานธรรม ลานวิถีไทย”เปน “ศูนย การเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน” โดยใหผูนาํ ศาสนสถานที่เปนเครือขายลานธรรม ลานวิถีไทย รวมกับชุมชนดําเนินงานโครงการ/กิจกรรมในมิติศาสนาและ วัฒนธรรมตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชุมชนใหมีภูมคิ ุมกัน ที่ดีเทาทันกับบริบทเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ๒.วัตถุประสงค ๒.๑ เพื่อใหศาสนสถานเปนศูนยการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนโดยสงเสริมใหคนใน ชุมชนพึ่งพาตนเอง พอมี พอกินพอใช มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน ใชชีวิตที่เหมาะสมตามบริบทสังคมและวัฒนธรรมในปจจุบัน ๒.๒ เพื่อสงเสริมใหศาสนสถานเปนศูนยการจัดกิจกรรมทางศาสนา สงเสริมคุณธรรมจริยธรรม และเปน ศูนยรวมใจรวมเทิดทูนสถาบันชาติ สถาบันศาสนา สถาบันพระมหากษัตริยและถายทอดภูมปิ ญญาทองถิ่น ๒.๓ เพื่อใหศาสนิกชนของทุกศาสนาไดใกลชิดศาสนา ปฏิบัติตามหลักคําสอนของศาสนา ๒.๔ เพื่อใหศาสนสถานทุกศาสนาเสริมสรางจิตสํานึกใหประชาชน ยึดมั่นในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในการดําเนินชีวิต และมีคานิยมที่สอดคลองกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒.๕ เพื่อปรับปรุงภูมิทัศนสง เสริมใหศาสนสถานเปนสถานที่ทองเทีย่ วเชิงธรรมะ


๘ ๓. แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานพระราชดําริ ทรงชี้แนะแนว ทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาตลอดระยะเวลาอันยาวนานกวา ๔๐ ป ตั้งแตกอนเกิดวิกฤตการณ ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและ ยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความเปลี่ยนแปลงตางๆ การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไมประมาท โดยคํานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมคิ ุมกันที่ดีในตัว ตอการกระทบใดๆ อันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ตลอดจนใชความรู ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และ การกระทําในทุกขั้นตอน ขณะเดียวกัน จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติทุกระดับ ใหมสี ํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสจุ ริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และ ความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักการอยู ๕ สวน ดังนี้ ๑) กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยู และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเปน โดยมี พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมอง โลกเชิงระบบที่มกี ารเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา ๒) คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนนการ ปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน ๓) คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย ๓ คุณลักษณะ พรอม ๆ กันดังนี้ (๑) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไป และไมมากเกินไปโดยไมเบียดเบียน ตนเอง และผูอื่น เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ (๒) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะตองเปนไปอยาง มีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการ กระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ (๓) การมีภูมิคุมกันที่ดใี นตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมเพื่อรับผลกระทบ และการ เปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาด วาจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล ๔) เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัยทั้งคุณธรรม และความรู เปนพื้นฐาน กลาวคือ (๑) เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ ซื่อสัตยสจุ ริต และมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต (๒) เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ทีเ่ กี่ยวของอยางรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ ๕) แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช คือ การพัฒนาที่ส มดุล และยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ความรู และเทคโนโลยี


๙ ๔.นานาทัศนะเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑) ศ.นพ.ประเวศ วะสี ปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามความหมายของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี เปนสวนหนึ่งของ ธรรมรัฐแหงชาติ หรือเปนหนึ่งในระเบียบวาระรีบดวนของชาติอันประกอบดวย ๑) สรางคุณคาและจิตสํานึก ใหม ๒) สรางเศรษฐกิจพอเพียง ๓) ปฏิรูประบบเศรษฐกิจมหภาคและการเงิน ๔) ปฏิรูประบบรัฐ ทั้งการเมือง และระบบราชการ ๕) ปฏิรูปการศึกษา ๖) ปฏิรูปสื่อ ๗) ปฏิรูปกฎหมาย ที่เ มื่อเชื่อมโยงกันแลวจะทําให ประเทศไทยมีฐานที่เขมแข็งและเติบโตตอไดอยางสมดุลเศรษฐกิจพอเพียงมีลกั ษณะเปนเศรษฐกิจสายกลาง หรือเศรษฐกิจแบบมัชฒิมาปฏิปาทาที่เ ชื่อ มโยง /สัมพันธกับ ความเปนครอบครัว ชุมชน วัฒนธรรม และ สิ่งแวดลอม เปนเศรษฐกิจที่บูรณาการเชื่อมโยงชีวติ จิตใจ สังคม สิ่งแวดลอม และความเปนประชาสังคม ดังนั้น จึงอาจเรีย กชื่อปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไดในชื่ออื่นๆ เชน เศรษฐกิจพื้นฐาน เศรษฐกิจดุลยภาพ เศรษฐกิจบูรณาการ หรือเศรษฐกิจศีลธรรม เศรษฐกิจพอเพียง จึงมีความหมายความพอเพียงอยางนอย ๗ ประการ คือ ๑) พอเพียงสําหรับทุกคน ทุกครอบครัว ไมใชเศรษฐกิจแบบทอดทิ้งกัน ๒) จิตใจพอเพียง รักเอื้ออาทรผูอื่น ๓) สิ่งแวดลอมพอเพียง อนุรักษ และเพิ่มพูนสิ่งแวดลอมที่จะเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพ ๔) ชุมชนเขมแข็งพอเพียง รวมตัวกันแกไขปญหาตางๆ เชน ปญหาสังคม ปญหาความ ยากจน หรือปญหาสิ่งแวดลอม ๕) ปญญาพอเพียง เรียนรูรวมกัน เทาทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ๖) ตั้งอยูบนพื้นฐานวัฒนธรรมพอเพียง เพราะเศรษฐกิจที่สัมพันธอยูกับสิ่งแวดลอม จึงจะ เปนเศรษฐกิจที่มั่นคง ๗) มีความมั่นคงพอเพียง ไมผันผวนอยางรวดเร็วจนกระทั่งมนุษยไมสามารถรับได กลาวไดวาปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ในทัศนะของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี นอกจากจะ เปนแนวคิดทางเศรษฐกิจที่มคี ุณลักษณะเดน คือ นอกจากความเอื้ออาทรตอเพื่อนมนุษยหรือมีมิติมนุษย (Human dimension) โดยอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในกระบวนการผลิตแลว ยังตองครอบคลุมถึง แนวคิดดานศีลธรรมและจิตใจไปพรอมๆ กัน ๒) ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เศรษฐกิจพอเพียงในทัศนะของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เปนปรัชญาวาดวย การวางรากฐานอัน มั่นคง ยั่งยืนของบุคคลและสังคมที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานแก พสกนิกรชาวไทย โดยไมจํากัด เฉพาะเกษตรกรเทานั้น หากแตผูประกอบสัมมาชีพอื่นๆ สามารถนําไป ประยุกตใชไดเพื่อสรางความเขมแข็งยั่งยืนใหแกฐานรากของตนเองได ยิ่งกวานั้น ยังกลาวถึง ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ในฐานะระบบเศรษฐกิจที่สามารถอุมชูตนเองไดในระดับพื้นฐานโดยไมเดือดรอน จึงจะสามารถสราง ความเจริญกาวหนา และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นสูงตอไปไดความสามารถในการอยูไดในระดับพื้นฐานนั้นตองยึด แนวทางสายกลางเปนหลักในการดํารงชีวิต เพื่อสรางความสามารถในการพึ่งตนเอง อันประกอบดวย ๑) พึ่งตนเองทางจิตใจ มีจิตใจที่เขมแข็งไมทอแทแมประสบความลมเหลว หรือความยากลําบาก ๒) พึ่งตนเองทางสังคม ชวยเหลือเกื้อกูลภายในสังคม ๓) พึ่งตนเองทางทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งทรัพยากรสังคมและเศรษฐกิจ


๑๐ ๔) พึ่งตนเองทางเทคโนโลยี วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะกับภูมิประเทศและสังคมไทย ๕) พึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ สามารถอยูไดดวยตนเองในระดับเบื้องตน ซึ่งจะสามารถนําไปสู การพัฒนาประเทศในระดับมหัพภาคตอไปได ในการจะทําใหเกิดผลดังกลาว บุคคลตองลดละความฟุมเฟอย ประกอบอาชีพดวยความ สุจริต การแสวงหาผลประโยชนที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของจริยธรรม ปฏิบัติตนในทางดีและไมหยุดนิ่งที่จะใฝหา ความรู เพื่อหาหนทางใหตนเองหลุดพื้นจากความทุกขยากที่เปนอยูได ดังนั้น ปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในทัศนะของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล จึงเปรียบไดกับ ปรัชญาแนวคิดในการสรางความเขมแข็ง ยั่งยืนใหกับฐานรากของบุคคล โดยยึดหลักสายกลางในการดําเนิน ชีวิต บนวิถีแหงความใฝหาความรู เพื่อพัฒนาตนเองไปสูการดําเนินชีวิตดวยปญญา บนฐานแหงการเรียนรู อัน จะนําพาสังคม และประเทศไทยไปสูการพัฒนาอยางบูรณาการ โดยอาศัยฐานทรัพยากรทองถิ่นและการมีสว น รวมของชุมชน บนพื้นฐานของสังคมแหงการเรียนรูและพอเพียงตอไป ๓) อําพล เสนาณรงค อําพล เสนาณรงค กลาววา เศรษฐกิจพอเพียง ทรงมีกระแสพระราชดํารัสเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐ เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตของประชาชนทุกหมูเหลา ทุกอาชีพ ทุกฐานะ ทุกเพศ ทุกวัย ไมวาคนจนคนรวย คนชนบทหรือคนเมืองกรุง ฯลฯ สามารถนอมรับเหนือเกลาเหนือกระหมอม และ นําไปปฏิบัติไดหลักการสรุปได ดังนี้ ๑) พึ่งตนเอง ใหพอกิน ๒) กินอยูตามอัตภาพ ไมใหเกินฐานะ มีชีวิตที่เรียบงาย ๓) อยาฟุงเฟอ ฟุมเฟอย มีความพอใจในสิ่งที่ไดรับมาดวยความชอบธรรม ๔) อยาใหรายจายเกินรายได ๕) หากจะแลกหรือซื้อของกินของใชมาจากภายนอก ควรเลือกที่ผลิตไดในทองถิ่น รวมทั้งการทองเที่ยวควรทองเที่ยวในประเทศ ๖) อยากูหนี้มาใชในสิ่งที่ไมมีรายได อยาลงทุนใหเกินตัว ๗) อยาโลภมาก มีความพอเพียง และเพียงพอ เบียดเบียนคนอื่น ๘) อยาสุดโตง เดินสายกลาง ๙) ยอมถอยหลัง (หนึ่งกาว) เพื่อกาวหนาที่มั่นคงตอไป (หลายกาว) ๔) สมพร เทพสิทธา สมพร เทพสิทธา กลาววาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริมีขอบเขตกวางขวางกวา เศรษฐกิจระบบทุนนิยมซึ่งเกี่ยวกับเรื่องวัตถุซึ่งเปนรูปธรรม เชน เงิน ทรัพย กําไร ไมเกี่ยวกับเรื่องจิตใจซึ่งเปน นามธรรม แตเศรษฐกิจพอเพียงมีขอบเขตกวางขวางครอบคลุมถึง ๔ ดาน คือ ๑) มิติดานเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพียงเปนเศรษฐกิจแบบพออยูพอกินใหมคี วามขยัน หมั่นเพียร ประกอบสัมมาอาชีพเพื่อ ใหพึ่ง ตนเองได ใหพนจากความยากจน การปฏิบัติต ามทฤษฎีใหมต าม แนวพระราชดําริเปนตัวอยางของการปฏิบัติตามเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งไดชวยใหเกษตรกรจํานวนมากมีรายได เพิ่มสูงขึ้น มีชีวิตที่เปนสุขตามสมควรแกอัตภาพ พนจากการเปนหนี้และความยากจน สามารถพึ่งตนเองได มี ครอบครัวที่อบอุนและเปนสุข


๑๑ ๒) มิติดานจิตใจ เศรษฐกิจพอเพียงเนนที่จิตใจที่รูจักพอ คือ พอดี พอประมาณและพอใจ ในสิ่งที่มี ยินดีในสิ่งที่ได ไมโลภ เศรษฐกิจพอเพียงจะตองเริ่มที่ตัวเอง โดยสรางรากฐานทางจิตใจที่มั่นคง โดย เริ่มจากใจที่รูจักพอเปนการปฏิบัติตามทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา ๓) มิติดานสังคม เศรษฐกิจพอเพียงมุงใหเกิดสังคมที่มีความสุขสงบ ประชาชนมีความเมตตา เอื้ออาทรชวยเหลือซึ่งกันและกัน ไมใชตางคนตางอยู มุงใหเกิดความสามัคคีรวมมือกันเพื่อ ใหทุกคนอยูรวมกัน ไดโดยปราศจากการเบียดเบียนกัน การเอารัดเอาเปรียบกัน การมุงรายทา ลายกัน ๔) มิติดานวัฒนธรรม เศรษฐกิจพอเพียงมุงใหเกิดวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตที่ประหยัดอดออมมี ชีวิตที่เรียบงาย ไมฟุงเฟอ ฟุมเฟอย ไมตกเปนทาสของวัตถุนิยมและบริโภคนิยม ซึ่งทา ใหเกิดกลายเปนหนี้ เปนสิน เกิดการทุจริตคอรัปชั่นซึ่งเปนปญหาสังคมที่รายแรงที่สดุ ปญหาหนึ่งที่บอนทําลายความมั่นคงของชาติ ๕. การดําเนินชีวิตตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง ๑) ยึดความประหยัด ตัดทอนคาใชจายในทุกดาน ลดละความฟุมเฟอยในการใชชีวิต ๒) ยึดถือการประกอบอาชีพดวยความถูกตอง ซื่อสัตยสุจริต ๓) ละเลิกการแกงแยงผลประโยชนและแขงขันกันในทางการคาแบบตอสูกันอยางรุนแรง ๔) ไมหยุดนิ่งที่จะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทุกขยาก ดวยการขวนขวายใฝหาความรูใหมรี ายได เพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเปนเปาหมายสําคัญ ๕) ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว ประพฤติตนตามหลักศาสนา การดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะทําใหชีวิตมีความสุข ซึ่งความสุขที่เปนรูปธรรม อันเห็นไดชัดดวยวัตถุทั้งหลายที่แวดลอมรอบตัวนั้น จะเปนความสุขที่แทจริงไดยอมกอเกิดมาจากความสุข และความมีธรรมะจากในใจของบุคคล ดวยสัจธรรมและมีความพอดี ๕ ประการ ดังนี้ ๑) ความพอดีดานจิตใจ หมายถึง คนเราตองมีจิตใจโอบออมอารี เอื้อเฟอ อะลุมอะหลวย ซื่อสัตยมี เมตตาตอผูอื่น ตองเขมแข็ง สามารถพึ่งตนเองได มีจิตสํานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึกถึง ผลประโยชนสวนรวมเปนหลัก ชวยเหลือเกื้อกูลกัน รูรักสามัคคี สรางความเขมแขงใหครอบครัวและชุมชน ๒) ความพอดีดานสังคม หมายถึง คนเราตองมีความสัมพันธที่ดีตอผูอื่น ตองชวยเหลือเกื้อกูลกัน รูจักผนึก กําลัง และมีกระบวนการเรียนรูที่เกิดจากรากฐานที่ม่นั คงและแข็งแรง สรางความเขมแข็งใหชุมชน สราง เครือขายที่โยงใยความเปนอยูและกิจกรรม เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดความกาวหนาไปพรอมกัน ๓) ความพอดีดานเศรษฐกิจ หมายถึง การอยูอยาง " พออยู พอกิน " ปรับชีวิตใหเรียบงายสอดคลอง กับสภาพรายไดแ ละเศรษฐกิจของตนเอง ลดละความฟุม เฟอยที่เ กินจําเปน เพื่อลดรายจาย เพิ่มรายได รูจักใชและจัดการอยางชาญฉลาดและรอบคอบ ดํารงชีวิตอยางพอควร พออยูพอกิน ตามอัตภาพ และฐานะของตน ๔) ความพอดีดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมายถึง การรูจักใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมอยางฉลาดรอบคอบ โดยยึดหลักการพัฒนาที่ยงั่ ยืน มีระบบจัดการบริหารที่ดี แมวาบางกรณี จะตองลงทุนและเสียทรัพยากรบางอยางไป ก็เพื่อผลประโยชนที่กลับคืนมาที่มากกวาและดีกวา เพื่อใหเกิด ประโยชนกับคนหมูมากและเกิดความยั่งยืนอยางสูงสุด ๕) ความพอดีดานเทคโนโลยี หมายถึง การปรับตัวใหกาวทันโลกปจจุบัน ดวยการเลือกใชและพัฒนาเทคโนโลยี ที่เหมาะสมและสอดคลองกับสภาพแวดลอมทางสังคม และวัฒนธรรมของเรา และควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิ ปญญาของชาวบาน


๑๒ ๖. แนวทางการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ เพื่อใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม ภายใตหลักการพัฒนาศาสนสถานลานธรรม ลานวิถีไทย ใหเปน“ศูนยการเรียนรูป รัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงของชุมชน ”ในพื้นที่ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ กรมการศาสนากําหนดแนวทางและแผนยุทธศาสตรการดําเนินงานตามโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ ๑ การจัดศาสนสถานใหเอื้อตอการเปนศูนยการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการดําเนินงาน (๑) มีแ ผนปฏิบัติก ารของศาสนสถาน ที่นอ มนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปน แนวทางในการจัดกิจกรรมทางศาสนา สงเสริมคุณธรรมของศาสนสถานลานธรรม ลานวิถีไทย (๒) จัดเตรีย มศาสนสถานใหมคี ุณลักษณะเปน “ ศาสนสถานพอเพีย ง” โดยจัดภูมทิ ัศนให สะอาด สงบ รมรื่นสวยงามตามธรรมชาติแบบเรียบงาย เพื่อใหมีความพรอมเปนแบบอยางและเปนศูนยกลาง การเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (๓) จัดและพัฒ นาคณะทีมงานภายในศาสนสถาน ที่จะเปนผูรับ ผิดชอบดําเนินการใหเ ปน “ ศาสนสถานพอเพียง” เพื่อใหเ ปนคณะที่มีค วามพรอมและความรูเ รื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีย ง ทําหนาที่ใหการชี้แนะแกคนในชุมชนในเรื่องนี้ โดยใหบุคลากรภายในศาสนสถานไดเรียนรูและเขาใจในหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางถองแท โดยใหมีการแสวงหาความรู ความเขาใจ และมีเจตคติเกี่ยวกับ การดําเนินการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสูชุมชน และมีอุดมการณสามารถนําสูการปฏิบัติไดอยางเปน รูปธรรม และเปนแบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเรียนเชิญวิทยากร มาใหการอบรม หรือพาบุคลากรไปทัศนศึกษาเยี่ยมชมตัวอยางที่ดีจากหนวยงานอื่นที่ดําเนินการในเรื่องนี้ (๔) จัดใหมสี ถานที่หรือหองเรียนรูป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายในศาสนสถาน ที่พรอมให คนในชุมชนทุกระดับ เขามาเรียนรูอยางสะดวก เพื่อนําไปปรับใชในการดําเนินชีวิต อยางสมดุล มีฐานราก ทางวัฒนธรรมและพรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงจากกระแสโลกาภิวัตน (๕) จัดเวทีหรือเปดพื้นที่ศาสนสถาน ใหหนวยงานตางๆ ในชุมชน ใชเปนศูนยการเรียนรูและ แหลงสาธิตกิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกมิติ ยุทธศาสตรที่ ๒ สรางเสริมกระบวนการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหแกชุมชนดวยรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย แนวทางการดําเนินงาน (๑) จัดกิจกรรมทางศาสนา/สงเสริมคุณธรรม รวมสงเสริมการจัดโครงการหรือกิจกรรมวันสําคัญ ทางศาสนา และโครงการหรือกิจกรรมที่เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ตลอดจนโครงการหรือกิจกรรมที่เปน วิถีชีวิตของคนในชุมชน เชนรณรงคใหประชาชนเห็นความสําคัญกับการรักษาศีล /สวดมนต/ ประกอบศาสนกิจ เปนตามความเชื่อและศรัทธาเปนประจํา สงเสริมการฝกอบรมเจริญจิตภาวนา/สมาธิภาวนา รวมทะนุบํารุง ศาสนา ฝกอบรมศาสนพิธีแ กเ ด็กแกเ ยาวชน จัดภูมิทัศนของศาสนสถานใหสะอาด สงบ สวางทํานุบํารุง โบราณวัตถุ/โบราณสถานและจัดกิจกรรมลด ละ เลิก อบายมุข (๒) จัดกิจกรรมถายทอดภูมิปญญา/สงเสริมการฝกอาชีพ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนพึ่งพาตนเองได มีกิจกรรมลดรายจายและเพิ่มรายไดในครัวเรือน เชน จัด อบรมพัฒนาอาชีพในชุมชน การปลูกผักไวกินภายในครัวเรือนและสามารถขายไดในรูปของกลุม มีการรวมกลุม กันบริหารทุนชุมชนเพื่อประโยชนของชุมชนใหดําเนินชีวิตไดอยางถูกตองและสมดุล รณรงคการใชสนิ คาไทย/พัฒนา ภูมิปญญาทองถิ่นโดยสงเสริมใหมีการจัดตั้งกลุมทอผาไหมหรือการปลูกตนสมุนไพรทํา ลูกประคบเพื่อสืบทอด ภูมิปญญาดั้งเดิม ผลิตหัตถกรรมทองถิ่นสรางมูลคาใหผลิตภัณฑชุมชน ฝกอบรมมารยาทไทย สงเสริมการอนุรักษ/ สืบทอดอาหารประจําทองถิ่น และสงเสริมการใชภาษาประจําทองถิ่น เปนตน


๑๓ (๓) จัดกิจกรรมเพื่อสังคมและบําเพ็ญสาธารณะประโยชน โดยเชิญชวนใหคนในชุมชนที่มจี ิต สาธารณะหรือจิตอาสา เขารวมกิจกรรมตามแนวทางของความพอเพียง ซึ่งกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงตอ ง ปลูกฝง "จิตอาสา" มิใชสอนใหพึ่งพาตนเองอยูเพียงคนเดียว แตสอนใหบุคคลรูจักชวยเหลือผูอื่นตามกําลัง ของตน เมื่อตนเองสามารถหาเลี้ยงชีพไดอยางพอเพียงพอประมาณแลว สวนที่เหลือเก็บเหลือใชก็สามารถ แบงปนเอื้อเฟอใหกับผูอื่นได อันเปนประโยชนทั้งแกตัวเองและบุคคลอื่นๆ กอใหเกิดความรักใครกลมเกลียว สมัครสมานสามัคคีในหมูคณะ เชน จัดกิจกรรมชวยเหลือผูพิการและดอยโอกาส จัดคายพัฒนาเยาวชนสราง เสริม จิตอาสาพัฒนาชุมชน จัดกิจกรรมจิตอาสาบํารุงรักษาวัด/ศาสนสถาน (๔) จัดกิจกรรมถายทอดองคความรูที่เปนตัวอยางที่ดีสรางความศรัทธาและความเชื่อถือ โดย อบรมแกนนําชุมชนจิตอาสาสงเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในระดับตําบล อําเภอ หมูบาน เพื่อชี้ใหเห็น ถึงความตั้งใจในการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตจนประสบความสําเร็จ และมีจิตสาธารณะที่พรอมในการถายทอดองคความรู/ ประสบการณใหแกชาวบานในชุมชน ทําใหชาวบานเห็น ตัวอยางที่ดีอยางเปนรูปธรรมจนเกิดความศรัทธา ความเชื่อถือ ความเปนไปไดของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง (๕) จัดกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมวิถีพอเพียงใหแกกลุมเปาหมายตางๆ โดยเฉพาะเนนในกลุ ม วัยรุน เพื่อชี้ใหเห็นวาหากปฏิบัติตนอยูในพื้นฐานของความพอเพียงจะอยูไดอยางมั่นคง เชน ปฏิบัติตาม หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “ทางสายกลางไมสุดโตง ไมยอหยอน” เรียกวา พอดี ความพอเพียง ปจจุบัน กลุมวัยรุนมีพฤติกรรมการบริโภคนิยม ใชจายฟุมเฟอย ไมรู จัก พอเพียง หากผูใหญอบรมสั่งสอนวัยรุนให เขาใจ/ตระหนักและเห็นคุณคาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหรูจักใชจาย รูจักการบริหารเงิน มีจิตสํานึกที่ถูกตอง ซึ่งผูปกครอง ครู รวมทั้งผูนําศาสนาจะเปนบุค คลสําคัญที่สามารถเปนแบบอยางที่ดีได เชน จัดธนาคาร โรงเรียน สงเสริมใหเยาวชนนําวัสดุเ หลือใชมาประดิษฐเ ปนสิ่งของเครื่องใช จัดกิจกรรม “อยูอยางพอดี และพอเพียง” สงเสริมใหเยาวชนปลูกผักรั้วกินไดที่บาน และจัดทําบัญชีรายรับ/รายจายประจําวัน จัดกิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อลดรายจายที่ฟุมเฟอย โดยจัดกิจกรรมทําบัญชีครัวเรือน เพื่อให รูจักตนเอง ออม วันละหนึ่งบาท/จัดสัปดาหการออม จัดตั้งกลุม/สหกรณออมทรัพย สงเสริมปลูกผักสวนครัวรั้วกินได เลี้ยงปลา เลี้ยงไก ไวกิน ไวขาย ใชสินคาที่ประหยัดพลังงาน รีไซเคิลขยะเพื่อนํามาใชใหม และนําของเหลือใช มาทําให เกิดประโยชน ธนาคารขยะของชุมชน จัดตั้งธนาคารออมทรัพยของชุมชน สงเสริมใหคนในชุมชนปลูกพืชแบบ ผสมผสาน รวมกลุมแปรรูปอาหาร/ผลิตของที่ระลึกจากภูมปิ ญญาของทองถิ่น เปนตน (๖) จัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ดว ยรูปแบบการเรียนรูที่ หลากหลาย สงเสริมใหคนในชุมชนเขาใจในเศรษฐกิจพอเพียง โดยเรียนรูจากภูมิปญญา ปราชญชาวบาน ศึกษาตามโครงการ พระราชดําริที่ใหมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรูจนสามารถนําสูการปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ซึ่งตองสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ของตนเองใหดีกอน คือทําใหตัวเองพอกินพอใช จากนั้น สรางความเจริญกาวหนาและฐานะทางเศรษฐกิจใหสูงขึ้น โดย พอเพียงอยางนอย ๗ ประการ (ประเวศ, ๒๕๔๒) (๑) พอเพียงสําหรับทุกคน ทุกครอบครัว ไมใชเศรษฐกิจแบบทอดทิ้งกัน (๒)จิต ใจพอเพียงทําใหรัก และเอื้ออาทรคนอื่นได ซึ่งคนที่ไมพอจะรัก คนอื่นไมเ ปน (๓) สิ่งแวดลอมพอเพียง การอนุรักษและเพิ่มพูนสิ่งแวดลอม ทําใหยังชีพและทํามาหากินได เชน การทําเกษตรแบบผสมผสาน ซึ่งไดทั้งอาหารไดทั้งสิ่งแวดลอมและไดทั้งเงิน (๔) ชุมชนเขมแข็งพอเพียง การรวมตัวเปนชุมชนที่เขมแข็ง จะสามารถแกปญหาตางๆได เชน ปญหาสังคม หรือปญหาสิ่งแวดลอม (๕) ปญหาพอเพียงมีการเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ และปรับตัวไดอยางตอเนื่อง


๑๔ (๖) อยูบนพื้นฐานวัฒนธรรมพอเพียง วัฒนธรรมหมายถึงวิถีชีวิตของกลุมชนที่สมั พันธอยูกับ สิ่งแวดลอมที่หลากหลาย ดังนั้นเศรษฐกิจจึงควรสัมพันธและเติบโตขึ้นจากรากฐานวัฒนธรรมจึงจะมั่นคง (๗) มีความมั่นคงพอเพียง ดังนั้นเศรษฐกิจพอเพียงที่ม่นั คงจึงทําใหสุขภาพจิตดี (๗)ใหความสําคัญกับ บทบาทของผูนาํ ชุมชนที่มคี วามสําคัญ ตอความรูสกึ นึกคิดของคนใน ชุมชน อาทิ พระธรรมวิทยากร ครู ปราชญชาวบาน กํานัน นายกอ.บ.ต. มารวมสรางความเชื่อมั่นและศรัทธา ตอหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนผูจัดการเรียนรูในชุมชน กระจายความรูจากผูนาํ ชุมชนสูชมุ ชน โดยเนน การจัดกิจกรรมใหมโดยมีเจาอาวาสวัดหรือผูนาํ ศาสนาเปนเจาภาพ มีเครือขายเปนเจาภาพรวม และมีชุมชน เปนเจาของ โดยทําใหทุกครอบครัวเห็นประโยชนและผลสําเร็จจากการปฏิบัติจริง มากกวาการบังคับใหเขาทํา ตามโดยไมศรัทธา เชน อบจ./ อบต.จัดกิจกรรมตามรอยเทาพอดานความพอเพียง สืบสานงานศิลปดานความ พอเพียงกับปราชญชาวบานหรือศิลปนแหงชาติ (๘) ใหผเู ขารวมโครงการในชุมชนมีสว นรวมในการเสนอแนะกิจกรรมที่ตองการเรียนรูต ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเชน จัดกิจกรรมประชาคม/ประชาพิจารณเกี่ยวกับเรื่อง “การนําเศรษฐกิจพอเพียงสูชุมชน” (๙) คัดเลือกและยกยองคนในชุมชนที่เปนตนแบบของการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โดยขอความรวมมือใหมาเปนวิทยากรถายทอดความรู เชน ยกยองแกนนําสงเสริมปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงระดับตําบล อําเภอ หมูบาน คัดเลือกชุมชนตนแบบดานความพอเพียง (๑๐) มีการติดตามผลการดําเนินงานอยางใกลชดิ เพื่อนําผลไปพัฒนาปรับปรุงกิจกรรมสงเสริม การเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติที่เปนรูปธรรม และรายงานผลตอกรมการศาสนา ยุทธศาสตรที่ ๓ การขยายผลและการพัฒนาเครือขาย แนวทางการดําเนินงาน (๑) ยึดแนวทางการทํางานโดยใชการประสานเครือขายในพื้นที่ ประสานสัมพันธกับหนวยงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและชุมชน อาทิ สถานศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ โรงพยาบาลชุมชน ศูนยสงเสริมสุขภาพตําบล อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.)ใหมามีสวนรวมขับเคลื่อนหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อใหเกิดวิถีการพัฒนาในชุมชนและไดผลลัพธของการพัฒนาที่สมดุลและพรอมรับการ เปลี่ยนแปลง เสริมสรางคุณลักษณะ “ อยูอยางพอเพียง” (๒) สรางเครือขายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน สังคม โดย เชิญชวนใหคนในชุมชนทุกระดับมารวมเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับศาสนสถานโดยสมัครใจ เปนเครือขายพอเพียงของศาสนสถาน ที่มีสิทธิไดรับการพัฒนาและเรียนรู เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (๓) สงเสริมและสนับสนุนการขยายผลเครือขายโดยการจัดตั้งชมรมพอเพียงในเครือขายตางๆ เชน ในโรงเรียน โรงพยาบาล โรงงาน ในหมูบาน ใหผูใหญบานไปคัดเลือกลูกบานที่สนใจในการปฏิบัติ ตนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาจํานวน ๕ ครัวเรือน ใหครัวเรือนในชุมชนดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยพิจารณาถึงความตองการและศักยภาพของครัวเรือนที่จะเนนใหสมาชิกทุก คนในแตละครัวเรือนมีบทบาทและมีสวนรวมในการลงมือปฏิบัติจริงเพื่อใหเกิดทักษะ แนวคิด และความรู ความเขาใจในการใชชีวิตประจําวัน เปนการขยายความยั่งยืนทางแนวความคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (๔) พัฒนาวิถีพอเพีย งใหแ กเครือ ขายพอเพียงในตางชุมชน โดยใหมีการศึกษาแลกเปลี่ยน แนวคิดและผลสําเร็จจากการดําเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและใหนาํ แนวทางการดําเนินชีวิตไป ถายทอดและใหเปนตัวอยางที่ดีใหกับคนในชุมชนอื่นๆดวยความเอื้อเฟอเผื่อแผ


๑๕ (๕) มีระบบดูแลชวยเหลือเครือ ขายในพื้นที่แ ละตางพื้นที่ ใหสามารถแกปญหาและพัฒนา ตนเอง รวมทั้งองคกรเครือขายทุก ระดับ ใหสามารถนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติไดอยางมี ประสิทธิภาพ เกิดความรักความสามัคคีระหวางชุมชนพอเพียง ยุทธศาสตรที่ ๔ การเผยแพรประชาสัมพันธ แนวทางการดําเนินงาน (๑) ปลุกกระแสชุมชนโดยใชส่อื สาธารณะ สื่อในทองถิ่น เสียงตามสาย วิทยุชุมชน หอกระจาย เสีย งในศาสนสถาน ในชุมชน ใหค นในชุมชนเห็นความสําคัญของการดํารงชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเนื่องจากเศรษฐกิจพอเพียง เปนหลักความเชื่อของชีวิตที่เราสามารถเขาถึงได ขอสําคัญคือ จะตองเริ่ม ที่ใจ เมื่อเขาใจและเขาถึงจึงพิจารณาความเปนไปได ความพอเหมาะพอควรแกชีวิตของเราทั้งหมด (๒) รณรงคผา นทุกเครือขายในชุมชนในมิติอื่นๆรวมนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปปฏิบัติและมีการเชื่อมโยงเปนเครือขายแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน (๓) ใหจัดประชุมผูนําชุมชนหรือผูอุปถัมภศาสนสถาน เพื่อขอความรวมมือใหเชิญชวนคนใน ชุมชนในมิติตางๆมาเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในศาสนสถาน (๔) เผยแพรความรูเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยใชส่อื ศาสนบุคคล ผูนําศาสนา อาทิ ในการเทศนาธรรมในทุกวันธรรมะสวนะหรือ ในวันสําคัญอื่นๆ เพื่อใหป ระชาชนไดนาํ หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง มาเปนหลักปฏิบัติในชีวิตอยางเหมาะสม เปนการสรางภูมิคุมกันทางสังคม รวมทั้ ง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดํารงชีวิตของตนเองใหอยูบนพื้นฐานของความพอเพียง (๕) จัดแสดง /เผยแพร/ประกวด/แลกเปลี่ยนเรียนรู ผลงานของคนในชุมชนที่เกิดจากการนํา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชเพื่อใหชุมชนอื่นไดมาเรียนรู


๑๖

บทที่ ๓ บทบาทหนาที่ของหนวยงานที่เกี่ยวของ การดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย เปนการดําเนินงานที่มีศาสนสถานเปน ศูนยกลางในการดําเนินกิจกรรมและมีผูเกี่ยวของหลายภาคสวนในชุมชนเขามามีสว นรวม โดยมีโอกาสไดเขา มารวมรับรู เรียนรู รวมคิด รวมทํา รวมรับประโยชน สงผลใหการขับเคลื่อนโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย บรรลุผลตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว ซึ่งทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ มีบทบาท/อํานาจหนาที่ดังนี้ ๑) บทบาทหนาที่ของสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด สํานัก งานวัฒนธรรมจังหวัด เปนหนวยงานที่มคี วามสําคัญอยางยิ่งในการดําเนินงาน ประสาน ติดตามการดําเนินงานในสวนภูมิภาค สําหรับการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ กรมการศาสนา มีความมุงหวังที่จะใหลานธรรม ลานวิถีไทย ทั้ง ๙๕๐ แหง เปน “ศูนยการเรียนรูปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน” สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด มีบทบาทหนาที่ดังนี้ (๑) แตงตั้งคณะกรรมการบริหารโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยจังหวัด โดยมีผูวาราชการจังหวัด หรือรองผูวาราชการจังหวัดที่ไดรับมอบหมาย เปนประธาน วัฒนธรรมจังหวัดเปนกรรมการและเลขานุการ และนักวิชาการวัฒนธรรมที่ไดรับมอบหมาย เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ (หากจังหวัดมีก ารแตงตั้ง คณะกรรมการบริหารโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยจังหวัด เดิมอยูแลวสามารถใชคณะกรรมการชุดเดิมได หรือ อาจแตง ตั้ง คณะกรรมการชุดใหมไ ดใ นกรณีมีก ารทบทวนเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม ซึ่ง จัง หวั ด สามารถพิจารณาแตงตั้งกรรมการไดตามจํานวนที่จังหวัดเห็นวาสมควรเหมาะสมกับบริบทสังคมและพื้นที่ ดําเนินการ) (๒) เปนเลขานุก ารและจัด ประชุม คณะกรรมการบริห ารโครงการฯจัง หวัด เพื่อ พิจารณา ศาสนสถานที่ควรไดรับการคัดเลือกเขารวมโครงการ (๓) ประสานงาน/หารือกับผูนําศาสนสถานและผูนําชุมชนในศาสนสถานที่ยืนยันเขารวมโครงการ ใหผูนําศาสนสถานลงนามแสดงความจํานงเขารวมโครงการ (๔) ใหสาํ นักงานวัฒนธรรมจังหวัดรายงานผลการยืนยันเขารวมโครงการของศาสนสถาน สงให กรมการศาสนา (๕) นําเสนอผูวาราชการจังหวัดแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานโครงการลานธรรมลานวิถีไทย ประจําศาสนสถาน ๆ ละ ๑ คณะ (เฉพาะกรณีแตงตั้งคณะกรรมการฯ ชุดใหม) (๖) ประชุมชี้แจงแนวทางการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยในการสงเสริมให ศาสนสถานลานธรรม ลานวิถีไทย เปน “ศูนยการเรียนรูหลักปรัช ญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน”แกผูนาํ ศาสนสถาน ผูแทนศาสนสถาน หรือ เลขานุการผูประสานงานศาสนสถานทั้งจังหวัด เพื่อทําความเขาใจ เกี่ยวกับแผนปฏิบัติการของศาสนสถานที่เนนการสงเสริมการจัดกิจกรรมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (๗) ประสานอํานวยการ กํากับ ดูแล พรอมทั้งทําหนาที่เ ปนพี่เลี้ยงในการรวมกับคณะกรรมการ ดําเนินการโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยประจําศาสนสถาน จัดทําแผนปฏิบัติการของศาสนสถานที่เขารวม โครงการ ซึ่งในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ เนนใหลานธรรมลานวิถีไทยเปน “ศูนยก ารเรียนรูป รัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน” (๘) รวบรวมแผนปฏิบัติการของศาสนสถาน นําเสนอคณะกรรมการบริหารโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยจังหวัด ใหความเห็นชอบและอนุมัติใหศาสนสถานนําไปดําเนินการตามแผน


๑๗ (๙) กอ นจัด สรรงบประมาณใหศ า สนสถานที่เ ขารว มโครงการลานธรรมฯ สํา นัก งาน วัฒ นธรรมจัง หวัดตอ งชี้แ จง /แจงใหศ าสนสถาน ดําเนิน การเปดบัญ ชีอ อมทรัพยใ นนาม “โครงการ ลานธรรม ลานวิถีไทยศาสนสถาน ..........” เพื่อรับการจัดสรรงบประมาณจากกรมการศาสนา (๑๐) ใหสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดจัดทําแผนตรวจติดตามโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยของ จังหวัด และแผนการควบคุมการใชจายเงินของจังหวัดและศาสนสถานทุกแหงที่รวมโครงการ (๑๑) ใหสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด เปนหนวยเบิกจายงบประมาณอุดหนุนใหแกศาสนสถานที่ เขารวมโครงการ และเบิกคาบริหารจัดการโครงการในการติดตามประเมินผล โดยใหเปนตามระเบียบของทางราชการ (๑๒) เปนศูนยกลางอํานวยการบริหารจัดการศาสนสถานที่เขารวมโครงการลานธรรมลานวิถีไทย ภายในจังหวัด และกํากับดูแลเรื่องทั่ว ๆ ไป ในการบริหารจัดการโครงการลานธรรมฯ ในภาพรวมของจังหวัด (๑๓) ใหจังหวัดกํากับ ดูแล และรวมดําเนินการตามแผนปฏิบัติการของศาสนสถาน โดยรวมกับผูนาํ ศาสนสถานและคนในชุมชน เพื่อใหคําปรึกษา เสนอแนะในเรื่องการใชจายงบประมาณ เพื่อความถูกตอง (๑๔) ใหวัฒ นธรรมจังหวัด ในฐานะเลขานุก ารคณะกรรมการบริห ารโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยจังหวัด กํากับ ดูแลและใหคําปรึกษาทําหนาที่เ ปนพี่เลี้ยงแกคณะกรรมการดําเนินการโครงการ ประจําศาสนสถานในการจัดทําโครงการ ใหเ ปนไปตามแผนปฏิบัติการของศาสนสถานนั้น ๆ ใหสามารถ ดําเนินการอยางตอเนื่อง และรวมแกไขปญหาตามสถานการณอยางทันทวงที (๑๕)ใหนัก วิชาการวัฒ นธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดที่รับผิดชอบในแตละศาสนสถาน ทําหนาที่จัดการประชุมหรือเขารวมประชุมในคณะกรรมการดําเนินการโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยประจําศาสนสถาน (๑๖) ให สํานักงานวัฒนธรรม จังหวัดติด ตามประเมินผลและรวบรวมผลการดําเนินงานตาม แผนปฏิบัติการของศาสนสถานที่เขารวมโครงการทุกแหงภายในจังหวัด รายงานเปนรายไตรมาสและรายป โดย ใหความสําคัญกับผลงานที่เกิดขึ้น ทั้งในเชิงคุณภาพ และปริมาณ และสงใหกรมการศาสนาตามแบบรายงาน ผลของกรมการศาสนา โดยดําเนินการตามมาตรการ ดังนี้ ก. ภายหลังการติดตามประเมินผลใน ๑-๒ เดือน (ประมาณเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๗) ให สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดรายงานผลการขับเคลื่อนโครงการของสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด /การดําเนินงาน ของศาสนสถานที่เขารวมโครงการฯ และใหคัดเลือกลานธรรม ลานวิถี ไทย ที่ส ามารถเปนตนแบบ (สุดยอดลาน ธรรม ลานวิถีไ ทย ) ที่มผี ลงานโดดเดน เปนที่ป ระจัก ษข องจัง หวัด พรอ มแจง ความตอ งการที่จ ะให กรมการศาสนาเติมเต็ม เพื่อใหเปนลานธรรมตนแบบที่มคี วามเขมแข็งสามารถเปนศูนยกลางการเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหกับชุมชนเพื่อขยายผลตอไป (ตามแบบรายงานลานธรรม ๒) ข. ใหสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดประเมินผลสัมฤทธิโ์ ครงการดานความรูความเขาใจ/ การนําความรูไปปรับใชในชีวิตประจําวันผูเขารวมโครงการ (ตามแบบลานธรรม ๓) โดยใหบันทึกขอ มูล การประเมินผลลงในระบบติดตามประเมินผลของกรมการศาสนา ค. ใหสาํ นักงานวัฒนธรรมจังหวัดรายงานผลการดําเนินงานลานธรรม ลานวิถีไทย ในเดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยจัดเรียงลําดับและแบงกลุมมาตรฐานการดําเนินงานลานธรรม ลานวิถีไทย เปน ๓ ระดับ ไดแก ระดับดีเ ดน ระดับปกติ และระดับ ที่สมควรยกเลิก เพื่อเปดโอกาสใหจังหวัดไดท บทวน ลานธรรม ลานวิถีไทยที่ตองการยุติบทบาทการดําเนินงานใหยกเลิกไดและใหนาํ เสนอลานธรรมฯ แหงใหม ที่ป ระสงคจ ะเขารว มโครงการในปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ แทนลานธรรมฯ ที่ย กเลิก ไป (ตามแบบ รายงานลานธรรม ๔-๗)


๑๘ ๒) บทบาท/อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยจังหวัด ๑) ประชุมพิจารณาศาสนสถานที่ควรไดรับการคัดเลือกเขารวมโครงการ โดยใหกรรมการรวมเสนอ รายชื่อศาสนสถาน ๒) มอบหมายใหเลขานุการหรือกรรมการในคณะกรรมการฯ จังหวัด ประขุมหารือกับผูนํา ศาสน สถานและผูนําชุมชนยืนยันการรวมโครงการใหลงนามแสดงความจํานง ๓) รายงานผลการคัดเลือกศาสนสถานใหกรมการศาสนา ๔) กํากับดูแลคณะกรรมการดําเนินการโค รงการลานธรรมฯ ประจําศาสนสถาน ในการจัด ทํา แผนปฏิบัติการของศาสนสถาน ๕) รวบรวม กลั่นกรองใหความเห็นชอบและอนุมัติแผนปฏิบัติการของศาสนสถาน ๖) กํากับดูแล และดําเนินการรวมกับผูนาํ ศาสนสถานและคนในชุมชน ตามแผนปฏิบัติการของศา สนสถานอยางใกลชิด ใหคําปรึกษา เสนอแนะเรื่องการใชจายงบประมาณใหเปนไปอยางถูกตอง ๗) ใหคําปรึกษาแกค ณะกรรมการดําเนินการโครงการ ประจําศาสนสถาน ในการจัดโครงการ ของศาสนสถานใหเปนไปตามแผนปฏิบัติการ อยางตอเนื่องและรวมแกไขปญหาตามสถานการณอยางทันทวงที ๘) ติดตามประเมินผล และรวบรวมผลการดําเนินงานของศาสนสถานที่เขารวมโครงการทุก แหงภายในจังหวัด มอบหมายใหสาํ นักงานวัฒนธรรมจังหวัด รายงานผลใหกรมการศาสนา ตามแบบติดตาม และรายงานระดับจังหวัดของกรมการ ๓) บทบาทหนาที่ของศาสนสถานที่เขารวมโครงการ (๑) จัด ประชุมพิจารณา โดยมีผูนําศาสนสถานรวมกับ ผูนําชุมชนตามธรรมชาติ และผูนํา หนวยงานในพื้นที่ คนในชุมชนรวมพิจารณาความพรอมและศักยภาพของศาสนสถานและคนในชุมชนที่เขารวม โครงการลานธรรม ลานวิถีไทย โดยมีวัฒนธรรมจังหวัดหรือกรรมการบริหารโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย จังหวัดที่ไดรับมอบหมาย เปนผูประสานงาน (๒) ผูนําศาสนสถานที่ชุมชน ต องการเขารวมโครงการ เปนผูลงนามในแบบแสดงความจํานง ของศาสนสถานที่เขารวมโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย (๓) ผูนาํ ศาสนสถานและคนในชุมชนพิจารณารายชื่อคณะกรรมการดําเนินการโครงการฯ ประจําศาสนสถาน โดยเสนอรายชื่อคณะกรรมการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยประจําศาสนสถานตอจังหวัดเพื่อให ผูวาราชการจังหวัดแตงตั้ง (กรณีมกี ารแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานโครงการประจําศาสนสถานชุดใหม) (๔) จัดประชุมคณะกรรมการดําเนินการโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยประจําศาสนสถาน เพือ่ จัดทําแผนปฏิบัติการของศาสนสถาน โดยในป ๒๕๕๗ ใหเนนกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ตามยุทธศาสตรการดําเนินงานในป ๒๕๕๗ ตามตัวอยางแผนปฏิบัติการของศาสนสถาน (ลานธรรม ๑) (๕) นําแผนปฏิบัติก ารของศาสนสถาน เสนอตอคณะกรรมการบริห ารโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยจังหวัด ใหความเห็นชอบและอนุมัติแผนงาน/โครงการ ใหศาสนสถานไปดําเนินการ (๖) เปดบัญชีออมทรัพยในนาม “โครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ศาสนสถาน .......” เพื่อ รับ การจัดสรรงบประมาณจากรมการศาสนา โดยจะจัดสรรงบประมาณผานสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด (๗) มอบหมายผูจัดทําบัญชีรายรับ-รายจาย และทะเบียนคุมการใชจายงบประมาณ ตามโครงการ ลานธรรม ลานวิถีไทย ของศาสนสถาน....... (ชื่อศาสนถาน) (๘) ดําเนินการจัดประชุมคณะกรรมการดําเนินการโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ประจําศาสนสถานอยาง นอยไตรมาสละ ๑ ครั้ง เพื่อติดตาม ดูแลการดําเนินงานโครงการฯ ของศาสนสถาน ใหเปนไปตามแผนปฏิบัติการ


๑๙ (๙) ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการของศาสนสถานตามโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ใหบรรลุ ตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว (๑๐) แตงตั้งคณะทํางานเพื่อชวยเหลือการปฏิบัติงานตามที่เห็นสมควร (๑๑) มอบหมายบุคคลในชุมชนทําหนาที่ดูแลความสะอาดความเรียบรอยโดยรอบศาสนสถาน หองน้ํา หองสุขา และสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ตลอดจนปรับสภาพสถานที่สาํ หรับจัดกิจกรรมใหชี้บงถึงความพอเพียง (๑๒) จัดทําปายตารางกิจกรรมและปายเชิญชวนประชาชนรอบชุมชนเขารวมงานตาง ๆ ใหเห็นอยางชัดเจน (๑๓) จัดทําปาย “ลานธรรม ลานวิถีไทย........... (ชื่อศาสนถาน) : ศูนยก ารเรียนรูปรัช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน” ติดตั้งหนาศาสนสถาน ตามกําลังความสามารถและความพรอม (๑๔) ดําเนินการรวมกับ พระภิก ษุ ผูนําศาสนา ผูนําชุมชน จัดโครงการ/กิจกรรมตาง ๆใน ศาสนสถาน ตามแผนปฏิบัติการของศาสนสถานอยางตอเนื่อง (๑๕) ประชาสัมพันธการจัดกิจกรรม /โครงการในรูปแบบตาง ๆ เพื่อ เผยแพรป ระชาสัมพันธ ประสานงานเชิญชวน คนในชุมชน ใหเขามามีสวนรวม และสนับสนุนการจัดกิจกรรมของศาสนสถาน ใหดําเนิน ไปดวยความเรียบรอย เชน สนับสนุนอาหาร น้ําดื่ม เปนตน (๑๖) ตรวจติดตามการดําเนินงานโครงการลานธรรมฯ ของศาสนสถานที่รับผิดชอบ และรวมแกไขปญหาที่เกิดขึ้น (๑๗) รายงานสรุปผลการดําเนินงานโครงการ รายไตรมาส และรายปเสนอจังหวัด ตามแบบ ติดตามของกรมการศาสนา (๑๘) ศาสนสถานที่เ ขารวมโครงการ ประเมินผลลัพธเ ชิงคุณภาพจากปร ะชาชนที่เ ขารวม โครงการ/กิจกรรม ดานความพึงพอใจและความรูความเขาใจหลักธรรมทางศาสนา โดยคําแนะนําของจังหวัด ๔) การบริหารจัดการโครงการฯ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ของสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด ดานงบประมาณ ๑) ใหสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด ดําเนินการจัดสรรงบประมาณใหกับศาสนสถานที่เขารวม โครงการฯ โดยเรงดวน และเสร็จสิ้นภายใน ๑๕ วัน นับจากวันที่ไดรับการโอนเงินไปถึงจังหวัด ๒) จัดสรรเงินอุดหนุนใหศาสนสถานที่ยืนยันการเขารวมโครงการประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยเปนศาสนสถานที่ไ ดรับ การจัด สรรง บประมาณและดําเนินกิจกรรมในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๓.จัดสรรใหศาสนสถานละ ๒๐,๐๐๐.- (สองหมื่นบาทถวน) ดานการรายงานผลการดําเนินงาน ใหสาํ นักงานวัฒนธรรมจังหวัด รวบรวมขอมูลและจัดทํารายงานผลการดําเนินงานโครงการ ลานธรรม ลานวิถีไทย ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ สงกรมการศาสนาภายใน วันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๗ เพื่อสรุปเปน ภาพรวมตอไป ทั้งนี้ สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.dra.go.th หรือที่กลุมสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม สํานักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม โทรศัพท ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๑๗ โทรสาร ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๑๓


๒๐

บทที่ ๔ ลักษณะการจัดกิจกรรมตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการสําคัญของการจัด กิจกรรมตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ตองการสงเสริม ฝกฝนให ผูเ ขารวมกิจกรรมมีความรู ประสบการณในการดําเนินชีวิตอยูบน พื้นฐานของทางสายกลางและความไม ประมาท โดยคํานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมคิ ุมกันที่ดีในตัว ดํารงอยูและปฏิบัติตนในทาง ทีถ่ ูกทีค่ วร ดังนั้น กรมการศาสนา จึงไดกําหนดลักษณะ/ตัวอยางการจัดกิจกรรมตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ระดับครัวเรือนและระดับหมูบาน/ชุมชน ดังนี้ ๑. ลักษณะการจัดกิจกรรมตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับครัวเรือนและระดับหมูบาน/ชุมชน กิจกรรม

คุณลักษณะ

ระดับครัวเรือน ๑. กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานวัฒนธรรม สมาชิกครัวเรือนสืบทอดประเพณี วัฒนธรรม และภูมิ ปญญา โดย

ระดับหมูบาน/ชุมชน มีกิจกรรมสืบทอดประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาของ คนในชุมชน เชน

๑. กลอมเกลา ปลูกฝงการมีสัมมาคารวะและรักษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และมารยาทไทยแกบุตร หลานและบุคคลใกลชิด ๒. อบรมสั่งสอนใหบุตรหลานใชภาษา/ทานอาหาร ประจําทองถิ่นและใชสินคาไทย ๓. ฟนฟูและอนุรักษดนตรีไทยและเพลงไทย ๔. สรางจิตสํานึกรักษไทยรักบานเกิด ๒. กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานศาสนา และสงเสริมคุณธรรม ๑. ครัวเรือนปฏิบัติตามหลักศาสนา ๒. สงเสริมใหบุตรหลานและบุคคลใกลชิดรวม อนุรักษ สืบทอดพระพุทธศาสนา เชนไหวพระสวด มนต รักษาศีลเจริญจิตภาวนาเปนประจํา เขารวม ประกอบศาสนกิจในวันสําคัญทางศาสนา

๑.สงเสริมอาหารประจําทองถิ่น ๒.สงเสริมการใชภาษาประจําทองถิ่นในชุมชน ๓. จัดอบรมมารยาทไทยแกประชาชนในชุมชน ๔.รณรงคการใชสินคาที่ผลิตในชุมชน ๕. พัฒนาตอยอดภูมิปญญาของทองถิ่น ๖. ผลิตสินคาจากภูมปิ ญญาทองถิ่น

๑)การลดรายจาย ๑.ปลูกพืช/เลี้ยงสัตวเพื่อบริโภค ๒.ใชปุยชีวภาพ สารชีวภาพปองกันศัตรูพืช ๓.ใชวัตถุดิบในทองถิ่นในการผลิตสินคา ๔.ผลิตเครื่องอุปโภคใชเอง เชน น้ํายาลางจาน แชมพู ๕.ใชสมุนไพรไลแมลง เชน ตะไครหอมไลยุง ๖.วางแผนการเดินทาง ๗.ประหยัดไฟฟา,น้ําประปา,น้ํามันเชื้อเพลิง ๘.ลดรายจายที่ไมจําเปน เชน การซื้อสินคาฟุมเฟอย

๑.ปลูกขาว ปลูกพืชเลี้ยงสัตวเพื่อบริโภคในชุมชน ๒.ทําเกษตรอินทรีย เชน ทําปุย และสารชีวภาพใชใน การเกษตร ๓.มีศูนยสาธิตการตลาด รานคาชุมชน ลานตากขาว ๔.ใชวัตถุดิบในทองถิ่นในการผลิตสินคา ๕.มีกิจกรรมรณรงค การประหยัดพลังงาน เชน ไฟฟา น้ํามันเชื้อเพลิง น้ําประปา ๖.ลดรายจายของชุมชนที่ไมจําเปน เชน การจัด

๑.ใหความสําคัญกับการรักษาศีลหรือสวดมนต เปนประจํา ๒. สงเสริมการฝกอบรมสมาธิภาวนา ๓.รวมทะนุบํารุงสงเสริมการเผยแพรพระพุทธศาสนา ๔.จัดภูมิทัศนของศาสนสถานในชุมชนใหสะอาด สงบ ๓.สมาชิกมีความซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน มีคุณธรรม สวาง สะดวกในการเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ๔.สมาชิกเลิกอบายมุข เชน สุรา ยาเสพติด การพนัน ๕. ทํานุบํารุงโบราณวัตถุและโบราณสถานในชุมชน ๓. กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานเศรษฐกิจ


๒๑ กิจกรรม

คุณลักษณะ

ระดับครัวเรือน การเที่ยวเตร ใชจายจัดกิจกรรมตามประเพณี วัฒนธรรม มากเกินความจําเปน ๙.มีการวัสดุที่ใชงานแลวมาประยุกตใชใหเกิดประโยชนใหม ๑๐.ใชจายเงินเทาที่จําเปน ๑๑.การรักษาสุขภาพใหแข็งแรงสมบูรณ ๑๒.เลือกซื้อสินคาที่คุมคาประโยชน ๑๓.รักษาสิ่งของตางๆ ใหคงอยูใชในสภาพใชการไดนานๆ ๒) การเพิ่มรายได ๑.ปลูกพืชหมุนเวียนหลายชนิด ๒.พัฒนาอาชีพใหมีประสิทธิภาพ ๓.มีการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลคา ๔.ใชเวลาวางใหเปนประโยชนโดยการทําอาชีพเสริม ๕.ใชที่ดินทําการเกษตรอยางคุมคา ๓) การออม ๑.มีการวางแผนการใชจายเงินเพื่อใหมีเงินเก็บออม เชน

ออมวันละหนึ่งบาท/จัดสัปดาหการออม

ระดับหมูบาน กิจกรรมประเพณี วัฒนธรรมของชุมชนที่ฟุมเฟอยเกิน ความจําเปน อาทิ จัดมหรสพที่มีราคาแพง ๗.การชวยกันรักษาสาธารณสมบัติของหมูบาน

๑.มีวิสาหกิจชุมชน เชน โรงสี โรงแปรรูปผลผลิตทาง การเกษตร กลุมอาชีพ ปม น้ํามัน ๒.ทําเกษตรผสมผสาน ๓.บริหารจัดการแหลงทองเที่ยวในชุมชนโดยชุมชน มีกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตหรือกลุมอื่นๆ ที่มี กิจกรรมการออมทรัพย

๒.มีกิจกรรมการออม เชน เปนสมาชิกกลุมออมทรัพยฯ กลุมสัจจะ,สหกรณออมทรัพยฯ,กองทุนหมูบาน,กองทุน อื่นๆ และธนาคาร เปนตน

๔. กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานการดําเนินชีวิต ๑.มีการจัดทําบัญชีรายรับ-รายจายครัวเรือน ๒.มีแผนชีวิตหรือแผนครอบครัว ๓.รอบรูทันเหตุการณ รูจักฟง ดู อานขาว และสิ่งที่เปน สารประโยชน ๔.รูจักพอประมาณในการลงทุนประกอบอาชีพตาม กําลังทรัพยและศักยภาพตนเอง ๕.ไมกอ หนี้โดยไมจําเปนและเกินกําลัง ๖.สมาชิกรูจักคิด วิเคราะหอยางมีเหตุผลใชหลัก ประชาธิปไตย

๕. กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานสิ่งแวดลอม การอนุรักษและใช ๑.ใชทรัพยากรธรรมชาติอยางคุมคาและประหยัด ทรัพยากรธรรมชาติ ๒.ใชสารอินทรียและชีวภาพในการทําการเกษตร และสิ่งแวดลอม ๓.การบริโภคสินคาที่ไมสง ผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม เชน โฟม สารเคมีตางๆ ๔.มีการกําจัดขยะของเสียอยางถูกวิธี เชน แยกขยะ

๑.มีแผนชุมชน ๒.มีการบริหารจัดการชุมชนที่ดี ผูน ํามีความโปรงใส ซื่อสัตย สุจริต มีคุณธรรม ๓.ประชาชนยึดมั่นในหลักศาสนา ๔.ยึดหลักประชาธิปไตยและการทํางานแบบมีสวนรวม ๕.มีกฎระเบียบชุมชนที่ใชปฏิบัติรวมกัน ๖.มีการบริหารจัดการขอมูลที่ใชปฏิบัติรวมกันของชุมชน ๗.มีกิจกรรมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต เชน ตอตานยา เสพติดการเสริมสรางสุขภาพ ๘.มีกิจกรรมเรียนรูรวมกันของชุมชน การแลกเปลี่ยนเรียน รูอยูเสมอ ๙ .มีเครือขายองคกรชุมชนที่มีกจิ กรรมสม่ําเสมอ ๑๐.ชุมชนมีความสงบสุขและมีเอกลักษณที่ดีงาม

๑.มกี ารจัดระเบียบชุมชนเชน การรักษาความสะอาดที่ สาธารณะ การกําจัดขยะ และสิ่งมลพิษที่ถูกตอง ๒.มกี ิจกรรมการรักษาดูแลแมน้ํา ลําคลอง และแหลงน้ําอื่นๆ เชน จัดทําฝายแมว ๓.มกี ิจกรรมการอนุรักษปาไมและทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ๔.แผนชีวิตมีกิจกรรมการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม


๒๒ กิจกรรม

คุณลักษณะ ระดับครัวเรือน

๖. กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานสังคม การเอื้ออาทร (การแบงปน/ ๑.ไดรับการสนับสนุนดูแลจากกลุมเศรษฐกิจชุมชน การชวยเหลือซึ่งกัน ๒.ไดรับการสนับสนุนดูแลจากครัวเรือนที่ และกัน) ประสบความสําเร็จในการนําแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียงไปปฏิบัติ (ครัวเรือนตนแบบ) ๓.ครัวเรือนเขารวมกิจกรรมตางๆของชุมชน ๔. เผยแพรองคความรูเศรษฐกิจพอเพียง

ระดับหมูบาน ๑.มีสวัสดิการชุมชน หรือกิจกรรมการดูแลผูสูงอายุ เด็ก คนพิการ และผูดอ ยโอกาสจากชุมชน ธนาคารขาว กลุม ฌาปนกิจสงเคราะห ศูนยสงเคราะห กองทุนสวัสดิการชุมชน ๒.มีกิจกรรมวิสาหกิจชุมชน เชน โรงสีขาวชุมชน โรงงาน แปรรูปผลผลิตชุมชน กลุมอาชีพ ๓.ชุมชนมีความรูรักสามัคคีไมมีความแตกแยก ๔.ชุมชนมีวิธีการชวยเหลือตัวเองและสมาชิกในชุมชน เมื่อเกิดภัยพิบัติตางๆ

๕.จัดคายพัฒนาเยาวชนสรางเสริมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ๖.จัดตั้งศูนยเรียนรูภายในชุมชน ๒. ตัวอยางการจัดกิจกรรมตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: วัฒนธรรม ศาสนาเศรษฐกิจ ดําเนินชีวิต สิ่งแวดลอมและดานสังคม ๒.๑ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานวัฒนธรรม/สงเสริมภูมปิ ญญาทองถิ่น

กิจกรรมสืบสานขนบธรรมประเพณี ภูมปิ ญญาของทองถิ่น


๒๓ ๒.๒ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานศาสนา/สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม

กิจกรรมการอนุรักษสืบทอดศาสนาและสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม


๒๔ ๒.๓ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานเศรษฐกิจ

กิจกรรมการออมทรัพย

กิจกรรมจัดทําแผนชุมชน


๒๕

กิจกรรมทําน้ําหมักชีวภาพ/น้ํายาสมุนไพร ๒.๔ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานการดําเนินชีวิต

การทําบัญชีครัวเรือน

ประชาคมตําบล/สงเสริมการเรียนรู

กิจกรรมสงเสริมสุขภาพ


๒๖ ๒.๕ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานสิ่งแวดลอม

กิจกรรมเกษตรอินทรีย/ ทําเตาชีวภาพ ๒.๖ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ดานสังคม

กิจรรมปลูกตนไม / ทําฝายแมว


๒๗

กิจกรรมจิตอาสา

กิจกรรมดูแลผูสงู อายุ

กิจกรรมกลุมแมบาน


๒๘

บทที่ ๕ ตัวอยางเครือขายลานธรรม ลานวิถีไทย ที่ประสบผลสําเร็จในการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กรมการศาสนาไดคัดเลือกศาสนสถานที่เขารวมโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ที่มกี ารรวมกับ ชุมชน เครือขายทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ ประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจัดโครงการ/กิจกรรม สงเสริมการเผยแผพระพุทธศาสนา สืบสานประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาของทองถิ่น และจัดกิจกรรมเกษตร อินทรียวิถีพุทธ ที่ประสบผลสําเร็จมีผลงานเปนที่ประจักษแกสาธารณชน จํานวน ๓ แหง โดยวัด/ศาสน สถานที่เขารวมโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย สามารถศึกษากระบวนการดําเนินงานจากเอกสารหรือเดินทางไป ศึกษาดูงาน เพื่อนํารูปแบบการดําเนินงานมาปรับใชใหสอดคลองเหมาะสมกับพื้นที่ตอไป ซึ่งมีรายละเอียดการ ดําเนินงานดังนี้ ๑. ศูนยวิปสสนาสากลไรเชิญตะวัน ศูนยวิปสสนาสากลไรเชิญตะวัน เลขที่ ๒๑๗ หมู ๒๕ บานใหมสันปาเหียง ตําบลหวยสัก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย กอตั้งโดยพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ทานว. วชิรเมธี สังกัดวัดพระสิงห พระอารามหลวง จังหวัด เชียงราย) โดยวัตถุประสงคหลักของการกอตั้งเพื่อเปดพื้นที่ศูนยวิปสสนาฯ เปนศูนยกลางขับเคลื่อนงานเผยแผ พระพุท ธศาสนาเชิงลึก และเชิง รุก แกป ระชาชนชาวไทยและชาวตางประเทศที่ส นใจพระพุท ธศาสนา ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

การจัดกิจกรรมเจริญจิตภาวนา และบรรยายธรรม นอกจากนี้ยังใช พื้นที่ ศูนยวิปสสนาสากลไรเ ชิญตะวัน กอตั้งเปนมหาวิชชาลัยพุทธเศรษฐศาสตร จากแรงบันดาลใจ ๓ ประการ คือ ๑) ตองการมีระบบเศรษฐศาสตรอยูในพุทธรรม ๒) ชุมชนรอบสํานักทําเกษตรกรรมแบบพึ่งพาสารเคมีเปนอันตรายสูงตอคนในชุมชน ๓) ประชาชนรอบสํานักมีสถานภาพทางเศรษฐกิจไมม่นั คง ดังนั้นมหาวิชชาลัยพุทธเศรษฐศาสตร จึงมีภารกิจการดําเนินงานประกอบดวย ๑) ประยุกตพุทธศาสนาเพื่อการ พัฒนาอยางยั่ง ยืน (กาย-ศีล -จิต -ปญญา) ๒) สง เสริมสัม มาอาชีวะผานระบบเกษตรอินทรียวิถีพุท ธ ๓) ฝกเกษตรกรชาวไทยใหพึ่งตนเองไดในทางการศึกษา เศรษฐกิจ จิตใจ และสรางองคความรูใหมในทางพุทธ


๒๙ เศรษฐศาสตรใหแกสังคม โดยหลักสูตรเนนกระบวนการปฏิบัติจริงอิงวิชาการ ประกอบดวยหลักสูตรนักเรียน ชาวนามืออาชีพเกษตรอินทรียวิถีพุทธ สมุนไพรธรรมโอสถ พุทธนิเวศ นวดแผนไทยเจริญสติ และดนตรีกวีศิลป เพื่อสืบสานงานศิลปถิ่นลานนา ดังตัวอยางกิจกรรม ดังนี้

การจัดกิจกรรมโรงเรียนชาวนา

กิจกรรมดนตรีกวีศิลป และกิจกรรมสงเสริมประเพณี วัฒนธรรม ภูมปิ ญญาลานนา เมื่อประมวลผลการดําเนินงานของศูนยวิปสสนาสากลไรเชิญตะวัน สามารถกลาวไดวาเปนศูนยวิปสสนา ไรเชิญตะวันเปนตนแบบแหลงเรียนรูการประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ประสบผลสําเร็จสราง คุณประโยชนแกประชาชนในชุมชนทั้งดานการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม การสืบสานประเพณี /วัฒนธรรม ของลานนาการเสริมสรางอาชีพแกประชาชนดวยภูมิปญญาของทองถิ่น/เกษตรอินทรียวิถีพุทธ จนชุมชนเกิด ความเขมแข็งและเปนที่ประจักษแกสาธารณชน ๒.วัดผาปง วัดผาปงกลาง อําเภอแมพริก จังหวัดลําปาง ไดรวมกับมูลนิธิพระมหาธาตุเจดีย ๑๒ ราศี และ ประชาชนในชุมชนผาปง ดําเนินการจัดโครงการ/กิจกรรมสงเสริมนํามิติศาสนา และวัฒนธรรมมาสรางเสริมให ชุมชนเกิดความเขมแข็งและอยูเย็นเปนสุขอยางยั่งยืนภายใตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยไดเปดพื้นที่วัดเปน "ศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน" ดําเนินการสงเสริมการศึกษา ศาสนา และ สืบสาน วัฒนธรรมประเพณี เพื่อสรางชุมชน/สังคมที่ดี ในรูปแบบ ตาง ๆ อาทิเชน ๑. การสงเสริมการศึกษา :เปนแหลงเรียนรูพลังงานทดแทน


๓๐ ๑) เปดพื้นที่วัดเปนลานธรรม:แหลงเรียนรูพลังการทดแทนศูนยรวมของการนําพลังงานทดแทนมาใช เชนมีเตาอบพลังงานแสงอาทิตย เตาถายประหยัดพลังงานเครื่องใบโอดีเซล ประโยชนที่คนในชุมชนไดรับจากแหลงเรียนรูน้ี ๑. นําพลังงานจากแสงอาทิตยมาใชในรูปแบบตาง ๆ ๒. ไดรับทราบหลักการประดิษฐเตาประหยัดพลังงาน ๓. เสริมสรางอาชีพใหแกคนในชุมชนที่ใชพลังงานทดแทน เชนการอบเชื้อเห็ด การอบกลวย การนํา น้ํามันพืชที่ใชแลวมาทําไบโอดีเซล

๒) เปดพื้นที่วัดจัดเปนลานกิจกรรมขยายผลชุมชนสุขภาพดี เพื่อสรางแกนนําชุมชนในการรวมดูแล สุขภาพอนามัยแกประชาชนในชุมชนใหมคี ุณภาพชีวิตที่ดี ๒. อนุรักษสบื ทอดพระพุทธศาสนาและสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม

๑) จัดโครงการวิปสสนาชุมชน เยาวชนสรางสุข โดยวัดผาปงไดรวมกับสภา วัฒนธรรม ผาปงจัดโครงการปสสนาชุมชน เยาวชนสรางสุข โดยไดเชิญชวนเยาวชนในสถานศึกษาเขาคาย อบรมวิปสสนาบมเพาะเยาวชนเปนคนดีมีศีลธรรม เปนแกนนําในการสรางเสริมคุณธรรมใหแกเยาวชนในชุมชน


๓๑ ๒) วัดผาปงไดรวมกับกรมการศาสนา และชาวบานในชุมชนอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุเพื่อ ประดิษฐานถาวรในพระมหาธาตุเจดีย ณ วัดผาปงกลาง เพื่อใหคนในชุมชนไดสักการบูชาธรรม รวมทั้งแหลง ธรรมทองเที่ยวธรรมะเชิงสรรคที่เปน ศูนยรวมจิตใจพลังศรัทธาในการรวมอนุรักษสืบทอดพระพุทธศาสนา ๓. สืบสานวัฒนธรรมประเพณี วัดผาปงกลางไดรวมกับสภาวัฒนธรรมตําบลผาปง ชาวบานในชุมชนเปดพื้นที่วัดเปนลาน วัฒนธรรมรวมอนุรักษสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงาม ภูมิปญญาของทั้งถิ่น โดยไดจัดคายวัฒนธรรม ชุมชนไทย-อเมริกัน จัดกิจกรรมอนุรักษภูมปิ ญญาพื้นบาน จัดงานตาลกวยสลาก เปนตน

จัดคายวัฒนธรรมชุมชนไทย-อเมริกัน

จัดกิจกรรมอนุรักษภูมิปญญาพื้นบาน

จัดงานตาลกวยสลากหลวง


๓๒ ๓. วัดมงคลธรรมกายราม วัดมงคลธรรมกายาราม ตําบลโปงงาม อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ไดนาํ หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย โดยรวมกับคณะกรรมการ ดําเนินงานโครงการลานธรรมฯ เปดพื้นวัดเปน “ศูนยกลางการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ ชุมชน” จัดกิจกรรมสงเสริมการเผยแผพระพุทธศาสนา จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาคน/สังคม จัด กิจกรรมเสริมสรางอาชีพแกประชาชนเพื่อการพึ่งพาตนเอง เนนการมีสว นรวมจากประชาชน/เครือขายตาง ๆ ทั้งในชุมชนและนอกชุมชน เพื่อสานสัมพันอันดีระหวางบาน วัด โรงเรียน และชุมชน และสรางความเขมแข็ง ใหแกชุมชน ดังตอไปนี้

กิจกรรมสงเสริมเผยแผพระพุทธศาสนาและสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม

กิจกรรมสืบสานประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาของทองถิ่น

กิจกรรมสงเสริมอาชีพเกษตรอินทรีย


๓๓

กิจกรรมสงเสริมอาชีพเกษตรอินทรีย


๓๔

ภาคผนวก รูปแบบปายโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ภายใตโครงการเสริมสรางวิถีชีวิตที่ดีงามภายใตธรรมะทั้งแผนดิน ขอความกรุณาจังหวัดแจงใหศาสนสถานจัดทําปายโครงการลานธรรมลานวิถีไทย ของแตละศาสนสถาน (ตามกําลังความสามารถ) ติดตั้งบริเวณดานหนาศาสนสถาน อาจทําเปน ปายผาไวนิล กระดานไม หรือแผนผา ตามตัวอยางนี้ โดยมีขนาดกวาง ๑.๕เมตร ยาว ๒.๕ เมตร

ลานธรรมลานวิถีไทย..................... (ชื่อศาสนสถาน) : ศูนยการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัด.................. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม


ลานธรรม ๑

(ตัวอย่าง) แผนปฏิบัติการของศาสนสถาน.....................................จังหวัด.................................... โครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ประจําปีงบประมาณ ๒๕๕๗ กรมการศาสนา ๑. ชือผู้นําศาสนสถาน.................................................................................................... ๒. สถานทีตังของศาสนสถาน เลขที...........................................ตําบล........................อําเภอ............................จังหวัด........................................................ ๓. หลักการและเหตุผล.............................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ๔. ความมุ่งหมายของศาสนสถานทีเข้าร่วมโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ๔.๑..................................................................................................................... ๔.๒..................................................................................................................... ๔.๓..................................................................................................................... ๔.๔..................................................................................................................... ๕. จํานวนโครงการทีจะดําเนินการในปี ๒๕๕๗ จํานวน ...........โครงการ มีผู้รับผิดชอบโครงการ รวม..................คน ๖. จํานวนงบประมาณทีใช้ด ําเนินการในปี ๒๕๕๗ เป็นเงินรวมทั งสิน ............บาท ขอรับการสนับสนุนจํานวน..............โครงการ เป็นเงินจํานวน......................บาท ๗. เป้าหมาย มีจํานวนผู้เข้าร่วมโครงการ รวมทุกโครงการ กําหนดไว้เดือนละ..................คน ตลอด ๙ เดือน(มกราคม-กันยายน ๒๕๕๗) จํานวน ....................คน ๘. ระยะเวลาดําเนินการเดือนมกราคม-กันยายน ๒๕๕๗ รวม ๙ เดือน ๙. ผลทีคาดว่าจะได้รับจากการดําเนินโครงการต่างๆตามแผนปฏิบัตกิ ารของศาสนสถาน ๙.๑.............................................................................................................................................................................................................................. ๙.๒............................................................................................................................................................................................................................... ๙.๓............................................................................................................................................................................................................................... ๙.๔...............................................................................................................................................................................................................................


๓๖ ๑๐. รายละเอียดของแผนงานและโครงการที จะดําเนินการในปี ๒๕๕๗ มีตัวอย่างแผนและโครงการ ดังนี โครงการ ทีดําเนินการ

วัตถุประสงค์ ของโครงการ

ผู้รับ ระยะเวลา ผิดชอบ ดําเนินการ โครงการ

เป้าหมาย เชิงปริมาณ

งบประมาณ ทีใช้

เชิงคุณภาพ

ยุทธศาสตรที่ ๑ การจัดศาสนสถานใหเอื้อตอการเปนศูนยการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เดือน ๕,๐๐๐บาท โครงการที ๑ จัด ภูมิ ๑.เพื อพัฒ นาให้ ศาสน -เจ้า -จํานวน ๒๐ อาวาสวั ด มกราคมทัศนของศาสนสถานให สถานพรอมเปนศูนยการ คนร่วมทําความ สะ อาด สงบ รม รื่น เรีย นรูห ลัก ปรัชญาของ -ผู้นําศา มีนาคม สะอาด สนสถาน สวยงามตามธรรมชาติ เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๗ -ศาสนสถานมี แบบเรียบงาย โดยให ๒.เพื อเป็น แบบอย่า งที ดี ความสะอาดเป็น คนในชุมชนที่มีจิตอาสา ในการเป็น “ ศาสนสถาน ระเบียบสวยงาม มารวมดําเนินการ พอเพีย ง” ให้ชุมชนนําไป เรียบง่าย ปฏิบัติ โครงการที ๒ พัฒนา คณะทีม งานภายใน ศาสนสถานใหมีความรู และอุด มการณยึด มั่น ใ น ป รัช ญ า ข อ ง เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการที ๓..........

๑.เพื อพัฒ นาบุค ลากร ในศาสนสถานมีค วามรู เ ขา ใจ ใน ป รัช ญา ขอ ง เศรษฐกิจ พอเพีย ง เป็น ทีมงานทีมีศักยภาพ ๒. เ พื อใ ห้บุค ลา กร ใน ศาสนสถานมีอุดมการณ ยึด มั่น ใน ป รัช ญ าขอ ง เศรษฐกิจพอเพียงและเป็น แบบอย่างให้คนในชุมชน

-เจ้า อาวาสวัด -ผู้นําศา สนสถาน

เดือน มกราคมมีนาคม ๒๕๕๗

-จํานวน ....คน ๒,๐๐๐บาท ได ้ร ับการอบรม -ศาสนสถานมี บุลากรทีมีคุณภาพ สามารถเป็นแกนนํา ของคนในชุมชน

ปี ๒๕๕๖ ไตรมาส ๑ ตค พย ธค

ระยะเวลาดําเนินการ ปี ๒๕๕๗ ไตรมาส๒ ไตรมาส๓ ไตรมาส๔ มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย


๓๗ โครงการ ทีดําเนินการ

วัตถุประสงค์ ของโครงการ

ผู้รับ ระยะเวลา ผิดชอบ ดําเนินการ โครงการ

เป้าหมาย เชิงปริมาณ

งบประมาณ ทีใช้

เชิงคุณภาพ

โครงการที ๔.......... ............................. ยุทธศาสตรที่ ๒ สรางเสริมกระบวนการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหแกชุมชนดวยรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย วันสําคัญ ๑. เ พื่อ ใหป ระ ชา ชน เ ห็น -เจ้า -จํานวน ....คน ที ๕,๐๐๐บาท โครงการที ๕ จัด ความสําคัญของหลักธรรมและ นํา ไ ปป ฏิบัติ ล ด ล ะ เ ลิก อบายมุข ดํา รงชีวิต อยา ง พอเพียง ๒.เพื่อ ใหประชาชนไดแสดง ความจงรักและภักดีในสถาบัน พระมหากษัตริย เพื่อใหคนในชุมชนพึ่งพาตนเอง โครงการที่ ๖ จัด ใหศาสนสถานเปนศูนย ได มีกิจกรรมลดรายจายและ สาธิตเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มรายไดในครัวเรือนจากภูมิ ปญญาผลิตภัณฑชุมชน กิจกรรมทางศาสนาสงเสริม คุณธรรมและเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริยใ น วันสําคัญทางศาสนา

อาวาสวัด -ผู้นําศา สนสถาน

โครงการที ๘........

อาวาสวัด -ผอ. โรงเรียน

เข้าร่วมกิจกรรม - คนในชุม ชน ลด ละ เลิก อบายมุข ดํารงชีวิตอย่าง พอเพียง -จํานวน ....คน ที่ เขารวม - คนในชุมชนมี รายไดเพิ่ม

-เจ้า อาวาสวัด -ผู้นําศา สนสถาน

ยุทธศาสตรที่ ๓ การขยายผลและการพัฒนาเครือขาย โครงการที ๗ จัด ตั้ง ๑.เพื่อใหโรงเรียนเปนเครือขาย -เจ้า ชมรมพอเพียงในโรงเรีย น มีสวนรวมขับเคลื่อนหลัก วิถีพุท ธ จัด กิจ ก ร ร ม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒.เพื่อใหชมรมพอเพียงใน จิตอาสา โรงเรียนจัดกิจกรรมจิตอาสา

ทางศาสนา และสถาบัน พระมหากษัต ริย

ตลอดปี

๓,๐๐๐บาท

-จํานวนนักเรียน ๑,๐๐๐บาท ทีเข ้าร่วม... คน - นักเรียนเรียนรู้ และดํารงชีว ิต แบบพอเพียง

ปี ๒๕๕๖ ไตรมาส ๑ ตค พย ธค

ระยะเวลาดําเนินการ ปี ๒๕๕๗ ไตรมาส๒ ไตรมาส๓ ไตรมาส๔ มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย


๓๘ โครงการ ทีดําเนินการ

วัตถุประสงค์ ของโครงการ

ผู้รับ ระยะเวลา ผิดชอบ ดําเนินการ โครงการ

ยุทธศาสตรที่ ๔ การเผยแพรประชาสัมพันธ เพื่อปลุกกระแสชุมชนใหเขาใจ -เจ้า โครงการที ๙ เรียนรู เศรษฐกิจพอเพียงผานเสียง และ เขา ถึง ความพอเหมาะ พอควรในการดําเนินชีวิต ตามสาย

โครงการที ๑๐....... รวม

เป้าหมาย เชิงปริมาณ

งบประมาณ ทีใช้

เชิงคุณภาพ

ตลอดปี

ปี ๒๕๕๖ ไตรมาส ๑ ตค พย ธค

ระยะเวลาดําเนินการ ปี ๒๕๕๗ ไตรมาส๒ ไตรมาส๓ ไตรมาส๔ มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย

๕๐๐บาท

อาวาสวัด -ผู้นําศา สนสถาน

………คน

๑๖,๕๐๐บ.

ลงชือ.................................................................ผู้จัดทําแผนฯขอรับ การสนับสนุนงบประมาณ (…………………………………………) ตําแหน่ง ผู้นําศาสนสถาน........................................... วันที..................เดือน............................พ.ศ. ๒๕๕๗ ลงชือ.................................................................ผูอ้ นุม ัติให้ดําเนินการตามแผนฯ (…………………………………………) ตําแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัด........................................... ประธานคณะกรรมการบริหารโครงการลานบุญลานป ัญญาจังหวัด.............................


แบบรายงานความกาวหนาผลการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ประจําเดือน ………………………………………. สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด....................................................

ลานธรรม ๒

สวนที่ ๑ กิจกรรมสงเสริมการขับเคลื่อนโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยทีส่ าํ นักงานวัฒนธรรมจังหวัด ดําเนินการ ๑. กิจกรรมที่ดาํ เนินการ ๑๑. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๑.๒. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๑.๓ ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๒. งบประมาณที่ดําเนินการ..................................................................................................................................... ๓. ผลสําเร็จที่ไดรับจากการดําเนินการ . ๓.๑ ..................................................................................................................................................................... ๓.๒ ..................................................................................................................................................................... ๓.๓ ..................................................................................................................................................................... ๔. การขยายผล/พัฒนาตอยอดเพื่อสงเสริมการเผยแพรหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูประชาชนในชุมชน ๓.๑ ..................................................................................................................................................................... ๓.๒ ..................................................................................................................................................................... ๓.๓ ..................................................................................................................................................................... ๕. ปญหา/อุปสรรค ๔.๑ ..................................................................................................................................................................... ๔.๒ ..................................................................................................................................................................... ๔.๓ ..................................................................................................................................................................... ๖. ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม


๔๐ สวนที่ ๒ กิจกรรมทีศ่ าสนสถานที่เขารวมโครงการดําเนินการตามแผนงานโครงการที่ศาสนสถานกําหนด ๑. ชื่อศาสนสถาน ............................................................................................................................................... ๒. กิจกรรมที่ดาํ เนินการโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๑. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๑.๒. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๒. งบประมาณที่ดําเนินการ..................................................................................................................................... ๓. ผลสําเร็จที่ไดรับจากการดําเนินการ . ๓.๑ ..................................................................................................................................................................... ๓.๒ ..................................................................................................................................................................... ๓.๓ ..................................................................................................................................................................... ๔. การขยายผล/พัฒนาตอยอดเพื่อสงเสริมการเผยแพรหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูประชาชนในชุมชน ๓.๑ ..................................................................................................................................................................... ๓.๒ ..................................................................................................................................................................... ๓.๓ ..................................................................................................................................................................... ๕. ปญหา/อุปสรรค ๕.๑ ..................................................................................................................................................................... ๕.๒ ..................................................................................................................................................................... ๕.๓ ..................................................................................................................................................................... ๖. ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

หมายเหตุ: ใหสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดรายงานผลการดําเนินงานโครงการ/กิจกรรมของศาสนสถานตามจํานวน ศาสนสถานที่เขารวมโครงการฯ


๔๑ สวนที่ ๓ ศาสนสถานที่เขารวมโครงการฯ ที่มีผลการดําเนินงานโครงการตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงโดดเดนเปนที่ประจักษ (คัดเลือกลานธรรม ลานวิถีไทยตนแบบของจังหวัด) ๑. ชื่อศาสนสถาน ............................................................................................................................................... ๒. กิจกรรมที่ดาํ เนินการโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่โดดเดนเปนที่ประจักษ ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

๑๑. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

๑.๒. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๒. งบประมาณที่ดําเนินการ..................................................................................................................................... ๓. หนวยงานสนับสนุน ๑) ........................................................... ๒) ............................................................ ๓) ...................................................................... ๔) ...................................................................................... ๔. ผลสําเร็จที่ไดรับจากการดําเนินการ . ๔.๑ ..................................................................................................................................................................... ๔.๒ ..................................................................................................................................................................... ๔.๓ ..................................................................................................................................................................... ๕. ปญหา/อุปสรรค ๕.๑ ..................................................................................................................................................................... ๕.๒ ..................................................................................................................................................................... ๕.๓ ..................................................................................................................................................................... ๖. ตองการใหกรมการศาสนาเติมเต็ม/สนับสนุนในเรื่องดังตอไปนี้ ๖.๑ ..................................................................................................................................................................... ๖.๒ ..................................................................................................................................................................... ๖.๓ ..................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ).............................................ผูรายงาน (............................................) ตําแหนง ........................................................


๔๒

ลานธรรม ๓

แบบประเมิน โครงการลานธรรม ลานวิถไี ทย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ……………………….. คําชี้แจง ๑. แบบประเมิน โครงการฉบับ นี้ มีวัต ถุป ระสงคเ พื่อ ติด ตามผลสัมฤทธิ์ก ารดําเนินงาน ตามวัตถุป ระสงคโครงการ จึงขอความรวมมือทานกรอกขอมูลตามความเปนจริง เพราะคําตอบของทาน จะเปนประโยชนตอการพัฒนางานของกรมการศาสนาในปตอไป ๒. กรุณากาเครื่องหมาย ü ลงในชองระดับความคิดเห็นที่ตรงกับความคิดเห็นของทานมาก ที่สดุ และเติมคําลงในชองวาง ตอนที่ ๑ ขอมูลสวนบุคคล ๑. เพศ r ชาย r หญิง ๒. อายุ q ระหวาง ๗-๒๐ ป q ระหวาง ๒๑ - ๓๐ ป q ระหวาง ๓๑-๔๐ ป q ระหวาง ๔๑- ๕๐ ป q ระหวาง ๕๑-๖๐ ป q ๖๐ ปขึ้นไป ตอนที่ ๒ ความคิดเห็นตอการดําเนินการจัดกิจกรรม มากที่สดุ มาก นอย นอยที่สดุ ความคิดเห็นตอการจัดกิจกรรม ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ศาสนสถานเปนศูนยการเรียนรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ๑.๑ ศาสนสถานไดจัดกิจกรรมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง: จัดนิทรรศการเผยแพรความรู /แจกแผนพับ/บรรยาย หรือจัดวิทยากรมาบรรยายใหความรู ฯลฯ ๑.๒ ศาสนสถานไดจัดกิจกรรมเสริมสรางประสบการณการเรียนรูปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง : จัดแปลงสาธิตเกษตรผสมผสานหรือเกษตรทฤษฎีใหม / นําคนในชุมชน ไปศึกษาดูงาน/รวมกับชุมชนตั้งศูนยถายทอดภูมิปญญาของทองถิ่น ฯลฯ ๒. ศาสนสถานเปนศูนยกลางจัดกิจกรรมทางศาสนา สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และเปนศูนยรวมเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา และสถาบัน พระมหากษัตริยและถายทอดภูมิปญญาของทองถิ่น

๒.๑ ทานคิดวาการจัดกิจกรรมลานธรรม ลานวิถีไทย ชวยสงเสริมให ประชาชนในชุมชนไดใชศาสนสถานเปนศูนยกลางจัดกิจกรรมเผยแผ หลักคําสอนทางศาสนา: ทําบุญตักบาตร ฝกสมาธิ ปฏิบัติธรรมเจริญ จิตภาวนา เสวนาทางศาสนา ในวันธรรมสวนะ/สําคัญทางศาสนา ๒.๒ ทานคิดวาการจัดกิจกรรมลานธรรม ลานวิถีไทย ชวยสงเสริมให ประชาชนในชุมชนไดใชศาสนสถานเปนศูนยกลางจัดกิจกรรมเทิดทูน สถาบันชาติ ศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย: จัดนิทรรศการ


๔๓ ความคิดเห็นตอการจัดกิจกรรม เผยแพรพระเกียรติคุณ / ลงนามถวายพระพร/จุดเทียนชัยถวายพระพร / รักษาศีลเจริญจิตภาวนา/ รองเพลงชาติ เพลงสรรเสริญ ฯลฯ ๒.๓ ทานคิดวาการจัดกิจกรรมลานธรรม ลานวิถีไทย ชวยสงเสริมให ประชาชนในชุมชนไดใชศาสนสถานเปนศูนยกลาง สืบคน สืบสาน ถายทอดภูมปิ ญญาของทองถิ่นใหดํารงอยูคูชุมชน/สงเสริมใหประชาชนใน ชุมชนไดมีโอกาสศึกษาเรียนรูมรดกภูมปิ ญญาของทองถิ่นและวิถีชีวิตที่เปน รากเหงาของชุมนทองถิ่น ๓) ศ าส นิก ชน ข องทุก ศ า ส น าไ ดใ กลชิด ศ า ส น า ป ฏิบัติต าม หลักคําสอนของศาสนา

๓.๑ การจัดกิจกรรมลานธรรมลานวิถีไทยชวยสงเสริมใหประชาชนในชุมชน ไดเขาวัด/ศาสนสถาน เพื่อทํากิจกรรมทางศาสนาหรือประกอบศาสนกิจ ๓.๒ การจัดกิจกรรมลานธรรมลานวิถีไทยชวยสงเสริมใหประชาชนในชุมชน ไดมีโอกาสศึกษาเรียนรูหลักธรรมทางศาสนาจากพระสงฆ/ผูทางศาสนา ๓.๓ การจัดกิจกรรมลานธรรมลานวิถีไทยชวยสงเสริมใหประชาชนใน ชุมชนไดนาํ หลักธรรมทางศาสนาไปปรับใชในการดําเนินชีวิต ๔) ศาสนสถานได เสริมสรางจิตสํานึกใหประชาชน ยึดมั่นในหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีย งในการดําเนินชีวิต และมีคานิยมที่ สอดคลองกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๑ ทานคิดวาการจัดกิจกรรมในโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ชวยสงเสริมใหประชาชนในชุมชนไดนาํ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดีและมีความรูคูคุณธรรม) มาพัฒนาชุมชน/ใหคนในชุมชน ไดปรับใชในการดําเนินชีวิต พรอมรับ กับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจในปจจุบัน ๔.๒ ทานคิดวากิจกรรมลานธรรม ลานวิถีไทยชวยสงเสริมใหคนในชุมชนมี คานิยม จิตสํานึกที่ดี เชน มีคุณธรรมจริยธรรม มีจิตสาธารณะ คิดดี ทําดี เอื้อเฟอเผื่อแผ มีเมตตากรุณา ฯลฯ ๔.๓ ทานคิดวาการจัดกิจกรรมลานธรรม ลานวิถีไทย เปนสวนหนึ่งที่ชวย แกไข/ ลดปญหาใหกับชุมชน เชน ปญหาความขัดแยง การลักเล็กขโมยนอย แหลงมั่วสุม/อบายมุข ขาดความสามัคคีรวมมือรวมใจ ฯลฯ ๕. ลานธรรม ลานวิถีไทยไดปรับภูมิทัศน/เปดพื้นทีศ่ าสนสถานเปน แหลงทองเที่ยวเชิงธรรมะ ๕.๑ ทานคิดวาลานธรรม ลานวิถีไทย ไดรวมกับชุมชนปรับภูมทิ ัศน /ตบแตง สถานทีศ่ าสนสถานพรอมรับเปนแหลงทองเที่ยวเชิงธรรมะมากนอยเพียงไร ๕.๒ ทานคิดวาลานธรรม ลานวิถีไทยไดประชาสัมพันธ เชิญชวนคนใน ชุมชน/บุคคลภายนอกเขารวมกิจกรรมเพื่อเปดพื้นที่ศาสนสถานเปน แหลงทองเที่ยวเชิงธรรมะมากนอยเพียงไร

มากที่สุด ๔

มาก ๓

นอย ๒

นอยที่สดุ ๑


๔๔ ความคิดเห็นตอการจัดกิจกรรม

มากที่สุด ๔

มาก ๓

นอย ๒

นอยที่สดุ ๑

๕.๓ ทานคิดวาลานธรรม ลานวิถีไทยไดจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการเปด พื้นที่ศาสนสถานเปนแหลงทองเที่ยวเชิงธรรมะมากนอยเพียงไร ความเห็นของทานตอโครงการนี้ ¨ สมควรดําเนินการตอ เนื่องจาก ........................................................................................................................... ¨ ไมสมควรดําเนินการตอ เนื่องจาก ....................................................................................................................... ¨ ควรปรับปรุง เนื่องจาก........................................................................................................................................


๔๕

ลานธรรม ๔

แบบรายงานผลการบริหารงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทยประจําปงบประมาณ ๒๕๕๗ จังหวัด ……………..................................... ตอนที่ ๑ รายงานขอมูลจํานวนศาสนสถาน...............แหง ๑.๑ ศาสนสถานนํารอง...............แหง -ศาสนสถานของศาสนาพุทธ.............แหง -ศาสนสถานของศาสนาอิสลาม.........แหง - ศาสนสถานของศาสนาคริตส...........แหง -ศาสนสถานของศาสนาพราหมณ-ฮินดู .......แหง - ศาสนสถานของศาสนาซิกข.............แหง ๑.๒ ศาสนสถานที่รวมโครงการ................แหง - ศาสนสถานของศาสนาพุทธ.............แหง - ศาสนสถานของศาสนาอิสลาม.........แหง - ศาสนสถานของศาสนาคริตส............แหง - ศาสนสถานของศาสนาพราหมณ-ฮินดู.......แหง - ศาสนสถานของศาสนาซิกข.............แหง ๑.๓ จํานวนโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติการของศาสนสถานทุกแหงรวม.............โครงการ/กิจกรรม ๑.๔ จํานวนประชาชนที่เขารวมโครงการ/กิจกรรม รวมจํานวน...................คน การใชจายของศาสนสถาน หมวดเงินอุดหนุน ชื่อศาสนสถาน

โครงการตามแผน ปฏิบตั กิ ารของศาสนสถาน

วงเงินงบประมาณ ที่ไดรับจัดสรร

ผลการเบิกจาย

ผลการดําเนินงาน

ศาสนสถาน....... ศาสนสถาน....... ศาสนสถาน....... การใชจายของจังหวัด หมวดเงินอุดหนุน รายการ คาติดตามและประเมินผล การดําเนินโครงการ

งบประมาณ ที่ไดรับจัดสรร

ผลการเบิกจาย

ผลการดําเนินงาน

ตอนที่ ๒ การดําเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารของศาสนสถาน

การดําเนินการ

งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ ที่ไดรับจัดสรร ที่ใชจริง

จํานวนคนเขารวมกิจกรรม ตามแผน เขารวม (คน) กิจกรรม (คน)

การจัดประชุมจัดทําแผนปฏิบตั กิ ารของศาสนสถาน จํานวนโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติการศาสนสถาน การประชุมคณะกรรมการฯ ประจําศาสนสถาน รวมจํานวนคนเขารวมโครงการ/กิจกรรมทุกแหง ลงชื่อ.................................................ผูรายงาน (...................................................) ตําแหนง นักวิชาการวัฒนธรรม วัน เดือน ป........................................... ลงชื่อ.................................................ผูรับรองรายงาน (.................................................) วัฒนธรรมจังหวัด.................................... วัน เดือน ป............................................


๔๖ แบบรายงานผลการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๗ ระดับดีเดน ศาสนสถาน.................................................... สวนที่ ๑ กิจกรรมที่ดําเนินการ ๑๑. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๑.๒. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๑.๓ ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๒. งบประมาณที่ดําเนินการ..................................................................................................................................... ๓. ผลสําเร็จที่ไดรับจากการดําเนินการ ๓.๑ ..................................................................................................................................................................... ๓..๒ ..................................................................................................................................................................... ๓..๓ ..................................................................................................................................................................... ๔. การขยายผล/พัฒนาตอยอดเพื่อสงเสริมการเผยแพรหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูประชาชนในชุมชน ๓.๑ ..................................................................................................................................................................... ๓..๒ ..................................................................................................................................................................... ๓..๓ ..................................................................................................................................................................... ๕. ปญหา/อุปสรรค ๔.๑ ..................................................................................................................................................................... ๔.๒ ..................................................................................................................................................................... ๔.๓ .....................................................................................................................................................................

ลานธรรม ๕


๔๗ สวนที่ ๒ ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

หมายเหตุ : แนบภาพถายกิจกรรมขนาดโปสการด หรือซีดรี ูปภาพไมเกิน ๑๐ ภาพ

(ลงชื่อ).............................................ผูรายงาน (............................................) ตําแหนง ........................................................


๔๘ แบบรายงานผลการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๗ ระดับปกติ ศาสนสถาน.................................................... สวนที่ ๑ กิจกรรมที่ดําเนินการ ๑๑. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๑.๒. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๑.๓ ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๒. งบประมาณที่ดําเนินการ..................................................................................................................................... ๓. ผลสําเร็จที่ไดรับจากการดําเนินการ . ๓.๑ ..................................................................................................................................................................... ๓..๒ ..................................................................................................................................................................... ๓..๓ ..................................................................................................................................................................... ๔. การขยายผล/พัฒนาตอยอดเพื่อสงเสริมการเผยแพรหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูประชาชนในชุมชน ๔.๑ ..................................................................................................................................................................... ๔.๒ ..................................................................................................................................................................... ๔.๓ ..................................................................................................................................................................... ๕. ปญหา/อุปสรรค ๕.๑ ..................................................................................................................................................................... ๕.๒ ..................................................................................................................................................................... ๕.๓ .....................................................................................................................................................................

ลานธรรม ๖


๔๙ สวนที่ ๒ ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

หมายเหตุ : แนบภาพถายกิจกรรมขนาดโปสการด หรือซีดรี ูปภาพไมเกิน ๑๐ ภาพ

(ลงชื่อ).............................................ผูรายงาน (............................................) ตําแหนง ........................................................


๕๐ แบบรายงานผลการดําเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๗ ระดับสมควรยกเลิก ศาสนสถาน.................................................... สวนที่ ๑ กิจกรรมที่ดําเนินการ ๑๑. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๑.๒. ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๑.๓ ชื่อกิจกรรม.................................................................................................................................... จัดกิจกรรม ................................................................................................................................. ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................................... จํานวนผูรวมกิจกรรม............................รูป/คน ภาพรวมกิจกรรม.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๒. งบประมาณที่ดําเนินการ..................................................................................................................................... ๓. ผลสําเร็จที่ไดรับจากการดําเนินการ . ๓.๑ ..................................................................................................................................................................... ๓..๒ ..................................................................................................................................................................... ๓..๓ ..................................................................................................................................................................... ๔. การขยายผล/พัฒนาตอยอดเพื่อสงเสริมการเผยแพรหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูประชาชนในชุมชน ๔.๑ ..................................................................................................................................................................... ๔.๒ ..................................................................................................................................................................... ๔.๓ ..................................................................................................................................................................... ๕. ปญหา/อุปสรรค ๕.๑ ..................................................................................................................................................................... ๕.๒ ..................................................................................................................................................................... ๕.๓ ..................................................................................................................................................................... ๖. สาเหตุที่ตองยกเลิกการดําเนินงานโครงการ ๖.๑ ..................................................................................................................................................................... ๖.๒ ..................................................................................................................................................................... ๖.๓ .....................................................................................................................................................................

ลานธรรม ๗


๕๑ สวนที่ ๒ ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

ภาพถายกิจกรรม

หมายเหตุ : แนบภาพถายกิจกรรมขนาดโปสการด หรือซีดรี ูปภาพไมเกิน ๑๐ ภาพ

(ลงชื่อ).............................................ผูรายงาน (............................................) ตําแหนง ........................................................


๕๒

บรรณานุกรม สมพร เทพสิทธา. ๒๕๔๙. เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ.กรุงเทพฯ: สํานักพิมพอริยมรรค. สุเมธ ตันติเวชกุล. ๒๕๔๓. ใตเบื้องพระยุคลบาท. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมติชน. อภิชัย พันธเสน และคณะ. ๒๕๕๐. การสังเคราะหองคความรูเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สกว.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.