สายตรงศาสนา

Page 1

www.dra.go.th

๐ ปที่ ๑

ม - พฤศจกิ ายน พุทธศักราช ๒๕๕๕ ค า ล ุ ต น ื อ ด จาํ เ ี่ ๑ ประ

ฉบบั ท

นโยบาย แนวคิด และประวัติ

นายสนธยา คุณปลื้ม

รัฐมนตร�วาการกระทรวงวัฒนธรรม คนที่ ๑๒ ของกระทรวงวัฒนธรรม

❖ ❖

ISSN 1906-5086

กรมการศาสนายกระดับแผนสงเสร�มคุณธรรมจร�ยธรรม เปนแผนชาติที่เขาถึง “ประชาชน”ทุกระดับ ประกาศป ๒๕๕๖ เปนปทองคุณภาพ ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตยของไทย


พระบารมีปกเกลา

พระบรมราโชวาท

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว “…ความเปลี่ยนแปลงอยางหนึ่งที่นาวิตกคือ ทุกวันนี้ความคิดอาน และความประพฤติหลาย ๆ อยาง ซึ่งแตกอนถือวาเปนความชั่วความผิด ไดกลายเปนสิ่งที่คนในสังคมยอมรับ แลวพากันประพฤติปฏิบัติโดยไมรูสึกสะดุงสะเทือน จนทําใหเกิดปญหา และทําใหวิถีชีวิตของแตละคนมืดมนลงไป ขาพเจาเห็นวาเปนหนาที่ของชาวพุทธจะตองรวมกันแก ไขปญหานี้อยางจริงจัง แตละทานแตละฝายตองยึดหลักการใหมั่นคงที่จะไมทําสิ่งใด ๆ ที่ชั่ว ที่เสื่อม ตองกลาและบากบั่นที่จะทําแตสิ่งที่เปนความดี เปนความถูกตองและเปนธรรม เพื่อใหผลความประพฤติปฏิบัติชอบบังเกิดเพิ่มพูนขึ้นและคํ้าจุนสวนรวมไว มิใหเสื่อมทรุดลง หากใหกลับฟนคืนดีขึ้นไดเปนลําดับ… ” ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาท พระราชทานแกที่ประชุมสมาคมพุทธศาสนาทั่วราชอาณาจักร ครั้งที่ ๓๖ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๒


3

ภาษิตนิทัศน พระธรรมกิตติวงศ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙, ราชบัณฑิต)

ไข ในหิ น เกิดเปนคน ปญญาคิด เตรียมใจกาย ไมเปราะบาง

ควรขยัน มุงขจัด พรอมบุก เหมือนไข

หมั่นทํากิจ สิ่งขัดขวาง สูทุกทาง ยอมไดดี ฯ


4

จากบรรณาธิการ

ว ารสาร “สายตรงศาสนา” ฉบับนี้ เปนฉบับที่ ๑ ประจําเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เปนฉบับแรกของปงบประมาณ ๒๕๕๖ เนื่องจากสายตรงศาสนาฉบับนี้ กระทรวงวัฒนธรรม ไดรัฐมนตรี

วาการกระทรวงวัฒนธรรมคนที่ ๑๒ เปนรัฐมนตรีคนใหมของกระทรวงวัฒนธรรม สายตรงศาสนา จึงไดนํานโยบาย แนวคิด และประวัติของทานมาลงเผยแพรเปนเบื้องตน โดยทานมีนโยบายที่จะผลักดัน งานดานการทองเที่ยวของรัฐบาลใหบรรลุเปาหมาย สรางรายไดจากการทองเที่ยว ๒.๒ ลานลานบาท ในอีก ๓ ปขางหนา เพราะเห็นวาเรื่องดังกลาวมีความสําคัญและสถานที่ทางศิลปวัฒนธรรม โบราณสถาน และสินคาทางวัฒนธรรม อาหาร การละเลนพื้นบาน ประเพณีตาง ๆ ถือเปนเปาหมายหลักตัวหนึ่งของ การทองเทีย่ วของไทยทีส่ ามารถเพิม่ มูลคาใหเปนทีร่ จู กั ของนักทองเทีย่ วทัว่ โลกไดและยังเปนจุดขายทีส่ าํ คัญ กอนเริ่มปงบประมาณใหมป ๒๕๕๖ กรมการศาสนา ตองการนําเสนอภาพรวมของการขับเคลื่อน งานศาสนาทัง้ ระบบ เพือ่ ใหเห็นทิศทางทีก่ รมการศาสนากําลังจะเดินไปเพือ่ ประโยชนสขุ สูงสุดของประชาชน ทุกกลุมเปาหมาย ซึ่งในปนี้ ไดมีการวางแผนงานไวอยางรัดกุม เพื่อใหเกิด Impact ตอประชาชนทั้ง ๖๕ ลานคน ซึ่งจะมีการประกาศเปนปทองคุณภาพของศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตยของไทย เปนแนวคิดลาสุดที่ ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนา คาดหวังที่จะเห็น ศพอ.ไทย มีคุณภาพ พรอม ๆ ไปกับการขยายฐาน ศพอ. สูอาเซียน ซึ่งในปนี้จะเปนปแรกเชนกันทีก่ รมการศาสนากําลังนํา ศพอ. ศูนยการเรียนรูที่มีคาของไทยกาวสูอาเซียนนํารองใน ๕ ประเทศเพื่อนบานเปนอันดับแรก นอกจากนี้ คณะผูจัดทําสายตรงศาสนาไดพยายามนําเสนอสาระความรูที่เกี่ยวกับงานดานศาสนา อื่น ๆ อยางหลากหลาย เพื่อใหทานผูอานไดเลือกที่จะอาน เลือกที่จะคิด เลือกที่จะเชื่อตามวิจารณญาณ ของตน ซึ่งคณะผูจัดทํายอมรับและใหเกียรติกับความคิดเห็นของแตละทานเสมอ และยินดีอยางยิ่ง หากท า นผูอ านจะรว มแสดงความคิด เห็น เพื่อปรับปรุงวารสารสายตรงศาสนาฉบับนี้ ใ หดียิ่ง ๆ ขึ้น ด ว ยความรู  สึ ก ที่ ดี ๆ และปฏิ บั ติ ต  อ กั น ด ว ยความเอื้ อ อาทร ซึ่ ง เป น One Identity ของอาเซี ย น และสิ่งสําคัญที่สุด คณะผูจัดทําตองขอขอบพระคุณทุกทานที่ ไดติดตามอานวารสารสายตรงศาสนา มาอยางตอเนื่องและคอยเปนกําลังใจใหกับคณะผูจัดทําดวยดีเสมอมา

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนา นายปรารพ เหลาวานิช ที่ปรึกษากรมการศาสนา นายจรูญ นราคร รองอธิบดีกรมการศาสนา นายพิสิฐ เจริญสุข ที่ปรึกษากรมการศาสนา นายปญญา สละทองตรง ที่ปรึกษากรมการศาสนา นายสุเทพ เกษมพรมณี ผูอํานวยการสํานักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม นางสาวภัคสุจิ์ภรณ จิปภพ ผูอํานวยการกองศาสนูปถัมภ บรรณาธิการ นายพิสิทธิ์ นิรัตติวงศกรณ เลขานุการกรมการศาสนา ผูชวยบรรณาธิการ นางสาวพิไล จิรไกรศิริ กองบรรณาธิการ นางศิริกาญจนา อิศรางกูร ณ อยุธยา นางศรีนวล ลัภกิตโร นางสาวอรพรรณ คัมภีรศิลป นายชวลิต ศิริภิรมย นางพัทรธีรา วรมิศร นายเกรียงศักดิ์ บุญประสิทธิ์ นางพรนิภา บัวพิมพ นายอนุชา หะระหนี นายวิเชียร อนันตศิริรัตน นายสํารวย นักการเรียน นางสาววิภารัตน กอพยัคฆินทร นางสาวฐิติมา สุภภัค นางสาววาสนา เพ็งสะและ นางละออ ปานพิมพ นางฉวีวรรณ วงคศรี นายชนะกิจ คชชี นายธนพล พรมสุวงษ นางวันดี จันทรประดิษฐ นายประภาส แกวสวรรค นางสาวพัชราพร ชวยทอง นางสาวดวงเดน เดนหลี นางสาวศิริมา จาดคลาย นายศรัญ ลิ้มสกุล นางสุปรียา ฉลาดสุนทรวาที เจาของ ที่ปรึกษา

วัตถุประสงค ๑. เพื่อเผยแพรขอมูลทางวิชาการที่เกี่ยวกับศาสนา และการอนุรักษสืบทอดศาสนพิธีและประเพณีที่ดีงาม ๒. เพื่อเผยแพรงานของกรมการศาสนา ๓. เพื่อเปนสื่อกลางในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ของคนในชาติ ข อ เขี ย นหรื อ บทความใด ๆ ที่ ตี พิ ม พ เ ผยแพร ในวารสารสายตรงศาสนาฉบั บ นี้ เป น ความคิ ด เห็ น เฉพาะตัวของผูเขียน คณะผูจัดทําไมจําเปนตองเห็นดวย และไม มี ข  อ ผู ก พั น กั บ คณะผู  จั ด ทํ า และกรมการศาสนา แตอยางใด ขอรับบริการศูนยขอมูลขาวสารของกรมการศาสนา หรือติดตอสอบถามแจงขาวสาร/ขอรองเรียน/ขอเสนอแนะ ได ที่ ชั้ น ๑๕ กรมการศาสนา กระทรวงวั ฒ นธรรม ๖๖๖ อาคารธนาลงกรณ ท าวเวอร ถนนบรมราชชนนี แขวงบางบํ า หรุ เขตบางพลั ด กรุ ง เทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร. ๐-๒๔๒๒-๘๗๗๖-๙ หรือ โทร. ๐-๒๔๒๒-๘๗๘๔ www.dra.go.th E-mail : dra@m-culture.go.th


5

สารบัญ สายตรงศาสนา

ปที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือนตุลาคม- พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๕๕

๒ ….. พระบารมีปกเกลา : พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ๓ ….. ภาษิตนิทัศน : ไขในหิน ๔ ….. จากบรรณาธิการ ๕ ….. สารบัญ ๖ ….. นโยบาย แนวคิด และประวัติ ของนายสนธยา คุณปลื้ม รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรมคนที่ ๑๒ ๘ ….. ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ : กฎแหงกรรม ๑๖ ….. อตีเต…กาเล : มัฏฐกุณฑลี หนุมตุมหูเกลี้ยง ๑๗ ….. บทความพิเศษ : การพัฒนาจิตสํานึกและคานิยมเพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันในเวทีโลก ๒๑ ….. ภาพขาว : • กรมการศาสนา นําคณะเยาวชนจากโครงการคายคุณธรรม เขาทูลเกลาฯ ถวายแจกันดอกไม และลงนามถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ณ โรงพยาบาลศิริราช • นางสุกุมล คุณปลื้ม รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม เปนประธานฝายฆราวาส ในพิธีเปดคายคุณธรรม (Ethic camp) “ปดเทอม เปดธรรม ๑๐ วัน ทําดีฉลองพุทธชยันตี ถวายพอหลวง” • ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนา พรอมดวย นายธาริต เพ็งดิษฐ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) และเจาหนาที่ตํารวจรวมในการแถลงขาว การดําเนินการสืบสวนสอบสวนหาผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติ สงเสริมกิจการฮัจย พ.ศ. ๒๕๒๔ ในวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ๒๔ ….. ความสําคัญของบทสวดมนต : สวดมาติกา สวดแจง ๒๘ ….. เรื่องเลาทั่วทิศ : • กรมการศาสนา ยกระดับแผนปฏิบัติการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมประจําป ๒๕๕๖ เปนแผนแหงชาติที่เขาถึงประชาชนทุกระดับ • กรมการศาสนาประกาศ ป ๒๕๕๖ เปนปทองแหงคุณภาพ ศพอ.ไทย ๔๕ ….. ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนากับการสรางเสริมสมรรถนะพระธรรมวิทยากร ๔๘ ….. บทความพิเศษ : กาวสูอาเซียน ประชาคมแหงสันติ : พระพุทธศาสนาในสาธารณรัฐสิงคโปร ๕๙ ….. ความเชื่อตามตํานาน : เปรต ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ตอน ๒ ๖๐ ….. รอยพุทธพจน : มตฺตฺุตา สทา สาธุ ความรูจักประมาณ ดีทุกเมื่อ


6

บทความพิเศษ

นโยบาย แนวคิด และประวัติ ของ นายสนธยา

คุณปลื้ม

รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรมคนที่ ๑๒ ดํารงตําแหนง รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม (๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕) วันที่/สถานที่เกิด ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ จังหวัดชลบุรี ประวัติการศึกษา ระดับอนุบาล โรงเรียนแสนสุขศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนสาธิต “พิบูลบําเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา ระดับปริญญาตรี สาขานิติศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม ระดับปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา เครื่องราชอิสริยาภรณ มหาปรมาภรณชางเผือก (ม.ป.ช.) พ.ศ. ๒๕๔๑ ตําแหนงทางการเมือง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดชลบุรี ๖ สมัย รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กิจกรรมทางดานสังคม • กรรมการผูทรงคุณวุฒิคณะกรรมการบริหารหนวยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๕๒-ปจจุบัน) • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมนักธุรกิจและการทองเที่ยวเมืองพัทยา • คณะกรรมการบริหารสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน (พ.ศ. ๒๕๕๔-ปจจุบัน) • นายกสมาคมนิสิตเการัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา • กรรมการที่ปรึกษาโรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.แทค) (พ.ศ. ๒๕๕๔-ปจจุบัน) • ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนชลกันยานุกูล (มิถุนายน ๒๕๕๕-ปจจุบัน) • ประธานคณะกรรมการกีฬายานยนต ราชยานยนตสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ (พ.ศ. ๒๕๕๒-ปจจุบัน) • นายกสมาคมกีฬาจังหวัดชลบุรี (พ.ศ. ๒๕๕๒-ปจจุบัน) คติพจนประจําตัว จริงใจ พัฒนา


7

นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ นายสนธยา คุณปลื้ม รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม ไดมอบนโยบายใหแกผูบริหารระดับสูงและขาราชการกระทรวงวัฒนธรรม พอสรุปได ดังนี้ กระทรวงวัฒนธรรมมีความสําคัญยิ่งใหญ เกี่ยวของกับคนทุกระดับ ทุกหนวยงาน ทุกภาคสวนทั้งในดานชุมชน ครอบครัว ความมั่นคง สังคม และเศรษฐกิจ ซึ่งปจจุบัน การทํางานดานวัฒนธรรมจะตองทํางานทามกลางกระแสของวัฒนธรรมตางประเทศทีถ่ าโถมเขามา สูประเทศไทยอยางไมหยุดนิ่ง ดังนั้น กระทรวงวัฒนธรรมจะตองมีการบูรณาการทํางานรวมกัน ทุกภาคสวน สําหรับการขับเคลือ่ นงานวัฒนธรรม จะสานตอนโยบายทีอ่ ดีตรัฐมนตรีวา การกระทรวง วัฒนธรรม (นางสุกุมล คุณปลื้ม) คือ “สืบสาน สรางสรรค บูรณาการ” สืบสาน ไดแก การมีแผนและจัดทําแผนใหผปู ระกอบอาชีพดานวัฒนธรรม การสรางโอกาส และสงเสริมศิลปะสาขาตาง ๆ การสรางการมีสวนรวมทางดานวัฒนธรรมโดยใหสภาวัฒนธรรม ซึ่งมีถึงระดับตําบลเปนตัวขับเคลื่อนหลัก การสงเสริมใหคนรุนใหมเขาใจ เขาถึงและเห็นความ สําคัญของวัฒนธรรมทองถิ่นและวัฒนธรรมชาติ รวมถึงการสงเสริมใหคนไทยไดเขาพิพิธภัณฑ เพื่อที่จะไดรูรากเหงาของตนเอง สรางสรรค ไดแก การนําทุนทางวัฒนธรรมมาตอยอดทางเศรษฐกิจ สงเสริมอุตสาหกรรม วัฒนธรรมใหครบวงจร การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑใหตรงกับความตองการของตลาด บูรณาการ ไดแก สงเสริมความสัมพันธและพัฒนาความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน และนานาประเทศ นอกจากนี้ยังตองเพิ่มผลสัมฤทธิ์ใหเกิดขึ้น การสรางรากฐานทางวัฒนธรรม ความเขมแข็งทางดานสังคม และครอบครัว สําหรับการขับเคลื่อนการทํางานที่ตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ไดแก ๑. การพัฒนาเกี่ยวกับสินคาทางวัฒนธรรม ที่ตองรวมกับกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งเปน สวนหนึ่งในเรื่องของการพัฒนาสินคาทางวัฒนธรรม ๒. การนําทุนทางวัฒนธรรมมาเพิ่มมูลคาดานการทองเที่ยว ตามนโยบายของรัฐบาล ที่ตั้งเปาไววาภายใน ๓ ป จะมีรายไดจากการทองเที่ยวมากกวา ๒.๒ ลานลานบาท ๓. การพัฒนาบุคลากรทางวัฒนธรรม รวมกับกระทรวงแรงงานและกระทรวงศึกษาธิการ


8

๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ พิสิฐ เจริญสุข

กฎแหงกรรม กฎแหงกรรม เปนหลักความเชื่อที่สําคัญในบวรพระพุทธศาสนา คนที่เชื่อ

ภาพจาก www.wat-bk.com

กฎแหงกรรมจะไมกลากระทําความชั่วทั้งทางกาย วาจา และใจ เพราะเมื่อกระทํา แลวจะมีผลแกตนเองและรวมไปถึงครอบครัว จึงมีความเชื่อวาคนที่เชื่อกฎแหง กรรมจะเคารพกฎหมายบานเมืองและถาเปนผูบังคับใชกฎหมายก็จะดํารงตนอยูใน ความเที่ยงธรรมอยางเครงครัด กฎแหงกรรม เปนกฎธรรมชาติที่พระพุทธเจาทรงคนพบ เปนสิ่งที่มีอยูจริง ไมใชพระพุทธเจาสรางขึน้ แตเปนกฎทีม่ อี ยูแ ลว อันชีวติ ของเราทุกคนนัน้ ถูกควบคุม ไวดวยกฎแหงกรรม ไมมีใครมาควบคุมชีวิตของเรา เมื่อวาตามหลักพระพุทธศาสนาแลว ชีวิตของเราทุกคน ไมวาจะเสื่อม จะเจริญ จะสุข จะทุกข จะกาวหนา จะถอยหลัง จะอายุสนั้ จะอายุยนื ขึ้นอยูก บั กรรม คือการกระทําของเราเองทั้งสิ้น ไมใชขึ้นอยูกับอํานาจดวงดาว ไมใชอํานาจพระเจา ไมมีอํานาจสิ่งภายนอกอื่นใดที่จะมาดลบันดาลชีวิตของเราใหเปนอยางโนนอยางนี้ นอกจากกฎแหงกรรม จึงมีคาํ กลาววา “จะดีจะชัว่ อยูท ตี่ วั ทํา จะสูงจะตํา่ อยูท เี่ ราทําตัว” แมการทีเ่ ราเกิดมาเปนมนุษยกเ็ พราะกฎแหงกรรม และการทีเ่ ราไดปฏิบตั ธิ รรม เชน ไดฝกอบรมกรรมฐาน ก็เพราะกรรมดลบันดาลใหเราฝกอบรม หรือการที่เรา ฝกจิตใจไดดีมีผล มีจิตใจสงบตามสมควรนั้น ก็คือกรรมที่เราสั่งสมไวดลบันดาล ใหเราประสบสิ่งเหลานั้น หาใชเกิดขึ้นโดยเหตุบังเอิญไม เราตองทําความเขาใจในหลักพระพุทธศาสนาวา พุทธศาสนานี้เปนศาสนา แหงหลักกรรม [กรรมวาที] คือ เชื่อในกฎแหงกรรม คําวา “กรรม” แปลวา “การกระทํา” กรรมนี้เปนคํากลาง ๆ ถาหากวา เปนการกระทําดี ทานเรียกวากุศลกรรม ถาหากวาเปนการกระทําชั่ว ทานเรียกวา อกุศลกรรม บางคนเขาใจผิดในเรือ่ งกรรมนี้ เพราะภาษาไทยตามทีช่ าวบานพูดและเขาใจ กันในปจจุบนั ทําใหความหมายคลาดเคลือ่ นไป เชน ถาใครไดประสบสิง่ ไมดกี พ็ ดู กันวา นั้นแหละกรรมของเขา ถาใครประสบสิ่งที่ดีก็พูดวา นั้นแหละบุญของเขา


9

ภาพจาก www.oknation.net

แทที่จริง คําวา “กรรม” นั้นเปนคํากลาง ๆ ใชไดทั้งทางที่ดีและทางที่ไมดี ถาเปนกรรมดี ทานเรียกวากุศลกรรม ถาเปนกรรมไมดี ทานเรียกวาอกุศลกรรม บางคนประสบเหตุราย ก็มีบางคนพูดวา นั้นคือกรรมของเขา ก็ถูก แตเปนกรรมไมดี แตถาเปนกรรมดี นั้นก็คือกรรมของเขาเหมือนกัน เชน เราฝกอบรมไดผลก็กรรม ของเรา คือ กรรมดีของเรา กรรมยอมกระทําได ๓ ทาง คือ ทางกาย เรียกวากายกรรม ทางวาจาเรียกวาวจีกรรม และทางใจเรียกวามโนกรรม การใหผลแหงกรรม กฎแหงกรรมกลาวไวยอ ๆ วา “ผูที่ทําดียอมไดรับผลดี ผูที่ทําชั่วยอมไดรับ ผลชั่ว ไมเร็วก็ชา” คําวา “ไมเร็วก็ชา” ตองใสเขามาดวยเพราะกรรมบางอยาง ใหผลเร็ว กรรมบางอยางใหผลชา กาลเวลาเปนเครื่องพิสูจนผลของกรรม อันโชคดีหรือโชครายที่เราไดประสบอยูในปจจุบัน ไมใชขึ้นอยูกับอํานาจ ภายนอกหรืออํานาจดวงดาวใด ๆ เลย แททจี่ ริงขึน้ อยูก บั ผลกรรมทีเ่ ราไดสงั่ สมไวใน อดีต ติดตามมาใหผลในปจจุบนั นัน้ เอง และการทีเ่ ราจะไดรบั ความสุขหรือความทุกข อยูในปจจุบัน ตองขึ้นอยูกับกรรมในอดีตดวย เราตองยอมรับอดีตชาติ ตองยอมรับ การกระทําของเราในวัน ในเดือน ในป และในชาติที่ผานมาวาเปนสิ่งที่เราทําไวเอง และสิ่งที่เราทําในปจจุบัน เราก็ตองยอมรับดวยวานั้นคือสิ่งที่ดลบันดาลชีวิตของเรา ใหเปนไปในอนาคต ตามกฎแหงกรรมนั้น แทที่จริง กฎแหงกรรมในพระพุทธศาสนาตรงกับกฎของนิวตันคือกฎกิริยา (action) และปฏิกริ ยิ า (reaction) ของนิวตัน แตกฎนีเ้ ปนกฎทางดานวัตถุ มีกฎอยูว า ลูกฟุตบอลที่ขวางลงไป ถาขวางลงไปแรงมันก็กระดอนมาแรง ถาขวางลงเบา มันก็กระดอนมาเบา กรรมที่เราทําก็เหมือนกัน ถาทํากรรมดีลงไป สิ่งตอบสนอง มาก็เปนกรรมดี ถาทํากรรมไมดีลงไป สิ่งที่ตอบสนองมาก็คือกรรมไมดี นี้เปนกฎ ทางดานจิตใจ ตามกฎแหงกรรมนั้น คนเราไมอาจจะหวังผลดีของสิ่งที่ยังมาไมถึง คือ สิ่งไหนที่ยังมาไมถึงเราจะไปเอาผลกอนไมได หรือเราทําชั่วไวแลวเราจะวิ่งหนี จากผลกรรมชั่วที่เราทําไวก็ไมได เพราะมันตองถึงกาลเวลาของมัน คือตองเปนไป ตามกฎธรรมชาติของมัน เฉพาะในตอนนี้ จะขอยํ้าในขอที่วา “ทําไม คนเราจึงเกิดมาแตกตางกัน” คําตอบนี้พระพุทธเจาตรัสไวใน จูฬกัมมวิภังคสูตร ซึ่งปรากฏอยูในคัมภีรมัชฌิม นิกายวา เพราะกรรมจําแนก จึงทําใหสัตวแตกตางกัน โดยตรัสวา กมฺมํ สตฺเต วิภชฺชติ ยทิทํ หีนปฺปณีตตาย ซึ่งแปลวา “กรรมยอมจําแนกสัตวโลกใหแตกตางกัน คือใหเลวทรามและประณีต” กรรมจําแนกสัตวใหเลวทรามและประณีต ในขอนี้มีเรื่องปรากฏอยูในคัมภีร อรรถกถาของคัมภีร พระสูตรนี้ ซึ่งในที่นี้จะนํามากลาวแตโดยยอวา ทําไม คนเรา จึงเกิดมาแตกตางกัน กลาวกันวา ในสมัยทีพ่ ระพุทธเจาของเรายังทรงพระชนมอยูน นั้ ณ เมืองสาวัตถี อันเปนเมืองหลวงของแควนโกศล มีพราหมณคนหนึ่งซึ่งเปนปุโรหิตของพระเจา ปเสนทิโกศล รํ่ารวยมากเปนถึงขั้นเศรษฐีทีเดียว พราหมณคนนั้น คือ โตเทยย พราหมณ เขามีบุตรชายคนเดียวชื่อ สุภมาณพ พราหมณคนนี้มีทรัพยมหาศาล คือมีถึง ๘๗ โกฏิ ก็นับวารํ่ารวย เปนพราหมณมหาศาล แตพราหมณนี้เปนคนขี้ เหนียวจัด ไมเคยใหอะไรกับใครเลย บานอยูไมไกลจากวัดพระเชตวันนัก เขาไมเคย ใสบาตรเลยแมแตทัพพีเดียว ไมเคยยกมือไหวพระสงฆเลย แมพระพุทธเจาเขา ก็ไมนับถือ ดอกไมสักกํามือหนึ่ง ก็ไมเคยถวายพระ เขาเปนคนประหยัดมาก


10

ภาพจาก www.tropicalisland.de

เปนทีน่ า สังเกตวา คนประหยัดมักจะรวย คือ คนขีเ้ หนียวนัน้ รายจายไมคอ ยออก เอารายรับอยางเดียว บางคนจึงพูดวา รายไดไมสําคัญ สําคัญที่รายเหลือ คือแมได มากแลว แตถาไมเหลือก็จะเปนคนรํ่ารวยไมได โตเทยยพราหมณไดสอนลูกถึงวิธีที่จะทําใหรํ่ารวยแบบยั่งยืน เขากลาววา อฺชนานํ ขยํ ทิสฺวา อุปจิกานฺจ อาจยํ มธูนฺจ สมาหารํ ปณฺฑิโต ฆรมาวเส. ซึ่งแปลวา “คนฉลาด เห็นความสิ้นไปของยาหยอดตา ความกอขึ้นของตัวปลวกทั้งหลาย และการประมวลมา ซึ่งนํ้าผึ้งของตัวผึ้งทั้งหลายแลว พึงอยูครองเรือน” พราหมณนสี้ อนลูกวา “ลูกเอย เจาจงดูตวั อยางยาหยอดตานะลูก ยาหยอดตานี้ มันลงทีละหยด ๆ ในที่สุดก็หมดได ทรัพยของเราก็เหมือนกัน จายไปทีละกากณิก ทีละกหาปณะ ในที่สุดก็หมด ถามันไมเพิ่มเขามา” แลวก็สอนตอไปวา “เจาจงดู ตัวอยางปลวกซิลูก ปลวกนั้นนําดินมาดวยปากทีละนิด ๆ ในที่สุดก็มีมากได และ เจาจงดูตัวอยางผึ้งซิลูก ตัวผึ้งนั้นมันขยัน มันนํานํ้าผึ้งมาจากเกสรดอกไมทีละนิด ๆ แลวทําเปนนํ้าผึ้งในรังไดมาก เจาจงเอาตัวอยางผึ้ง” การสอนแบบนี้เขาสอนดีมาก โดยทั่วไปคนอินเดียสอนกันอยางนี้ แตวา พราหมณนี้ไมทําบุญเลย เรื่องทําบุญไมเอา เขาขี้เหนียว แตเขาอาจจะทําบุญ ในศาสนาพราหมณของเขาบางก็ได


11 วันหนึง่ พราหมณนนั้ ปวยหนัก แลวก็ตายไป เมือ่ จะตายนัน้ เขาหวงทรัพยมาก เพราะมีทรัพยสมบัติมาก เขาบอกลูกชายไมทัน มีทรัพยสมบัติบางสวนที่ฝงไว บอกลูกไมทัน คนในสมัยโบราณโดยเฉพาะในอินเดียนั้น โดยมากเขาฝงทรัพย ไว ในดิน เรียกวา “นิธิ-ขุมทรัพย” เพราะกลัวโจรปลนหรือลักขโมย เมื่อฝงไวแลว โจรก็ไมรูวาอยูตรงไหน ปลนในบานก็ไมไดทรัพย เพราะพราหมณฝงทรัพย ไว แตลืมบอกลูกเมื่อใกลตายดวยอํานาจความเปนหวงทรัพย ครั้นตายแลวจึงไปเกิด เปนลูกสุนัขอยูในบานนั้นเอง ลูกสุนขั นัน้ โตขึน้ ตามลําดับ สุภมาณพเห็นลูกสุนขั เกิดใหม เปนลูกสุนขั นารัก ไมรูวาพอของตัวเองเกิดมาเปนสุนัข ก็เอามาเลี้ยงไวดวยความรัก คือ คนที่เคย เปนพอเปนลูกกันในชาติกอนนั้น ยอมเกิดความรักกันไดงาย เพราะลูกสุนัขเปนสัตว นารัก เขาเลีย้ งลูกสุนขั ตัวนีอ้ ยางดี เวลานอนก็ไมใหนอนบนทีน่ อนธรรมดา แตยกไป นอนบนที่นอนอันเปนสิริ ใหคนเลี้ยงดูอยางดี (แบบคนในปจจุบันเลี้ยงสุนัขฝรั่ง) วันหนึ่ง พระพุทธเจาทรงตรวจดูสัตวโลกเพื่อจะแสดงธรรม เมื่อทรงตรวจดู ไปในตอนใกลรุง ไดเห็นลูกสุนัขนั้น จึงทรงดําริวา ถาพระองคมายังบานสุภมาณพนี้ จะเกิดอะไรขึ้น พระองคก็ทรงยอนไปดูวามีเรื่องนั้น ๆ จะเกิดขึ้น แลวสุภมาณพนี้ จะไดนบั ถือพระพุทธศาสนา สวนพราหมณซงึ่ ไปเกิดเปนสุนขั นัน้ เมือ่ ตายจักไป ตกนรก เพราะกรรมของตน ปกติพระพุทธเจาเมื่อเสด็จไปบิณฑบาต จะตองมีพระอานนทตามเสด็จ แตในวันนั้นไมมีพระอานนท เสด็จแตผูเดียวออกไปบิณฑบาต ไปประทับยืนอยู หนาบานของสุภมาณพนั้น วันนั้น สุภมาณพไมอยู ออกไปนอกบานดวยธุระบาง อยาง เมื่อพระพุทธเจาเสด็จมาประทับยืนอยูหนาบานของสุภมาณพนั้น ก็ไมมีใคร เขาใสบาตร เพราะเขาไมนบั ถือพระพุทธศาสนา พระพุทธองคเสด็จไปประทับยืนอยูท ี่ หนาบาน ทรงถือบาตรก็ไมได มุง หมายวาจะบิณฑบาต แตมงุ โปรดสุภมาณพเทานัน้ ในบานนั้น ลูกสุนัขนั้นเห็นพระพุทธเจามาประทับยืนอยู ก็เหาแสดงความ ไมพอใจที่มีพระมายืนอยูหนาบาน พระพุทธเจาเมื่อทอดพระเนตรเห็นลูกสุนัขนั้น เขามาก็ตรัสวา “โตเทยยพราหมณ เจาเมื่อชาติกอนดูหมิ่นเรา จึงมาเกิดเปนลูกสุนัข ชาตินี้เจามาดูหมิ่นเราอีก เจาตายจากที่นี้แลวจะไปเกิดในอเวจีนรก” ลูกสุนัขนั้น ฟงเสียงพระพุทธเจา ก็ทราบวา “พระสมณโคดม จําเราได” เกิดรอนใจขึ้น จึงไดวิ่งคอตกเขาไปในบาน แทนที่จะไปนอนบนที่นอนอันสวยงาม ของตนที่สุภมาณพผูเปนนายจัดให แตกลับไปนอนบนกองขี้เถาที่กลางเตาไฟ คนทัง้ หลายพยายามจับดึงขึน้ ไปนอนบนทีน่ อนพิเศษทีน่ ายจัดไวก็ไมยอม ไดไปนอน ที่เดิมนั่นเอง พระพุทธเจาตรัสแลวก็เสด็จไปยังวัดพระเชตวัน ฝายสุภมาณพเมื่อกลับมา จากธุระ มาเห็นลูกสุนัขของตนไปนอนอยูบนกองขี้เถาในเตาไฟก็ดุคนใชไมพอใจ โดยพูดวา “ใครเอาลูกสุนัขของฉันมาอยูบนกองขี้เถา ในเตาไฟนี่” คนทั้งหลายบอกวา “เขามานอนเอง พยายามยกขึ้นเขาก็ไมไป” สุภมาณพถามวา “เพราะเหตุใด” คนใชบอกวา “วันนี้ พระพุทธเจาเสด็จมาประทับยืนอยูหนาบาน ลูกสุนัขนี้ ไปเหา พระพุทธเจาตรัสอยางนัน้ ๆ แลวลูกสุนขั นีพ้ อฟงเขาก็มานอนบนกองขีเ้ ถานัน้ ยกขึ้นไปเทาไรก็ไมกลับไปที่เดิม” สุภมาณพ พอไดฟงคนใชรายงานอยางนั้นก็โกรธทันที หาวาพระพุทธเจา ดู ห มิ่ น พ อ ของตน ว า พ อ ของตนเกิ ด มาเป น สุ นั ข แท ที่ จ ริ ง พ อ ของตนนั้ น ไปเกิดในพรหมโลกอยูในขณะนี้ ไมใชเกิดเปนสุนัข พระสมณโคดมทําพอของเรา ใหเปนสุนัข พระสมณะรูปนี้พูดพลอย


12

ภาพจาก www.board.palungjit.com

สุภมาณพ เมือ่ โกรธแลวก็ไปวัดพระเชตวัน ไปตอวาพระพุทธองคทเี ดียว เมือ่ ไปถึงก็ยนื ไมไหว ไดทลู ถามวา “พระองคเสด็จไปทีบ่ า นของขาพระองคใชไหมวันนี”้ พระพุทธเจาบอกวา “ใช” สุภมาณพทูลถามวา “พระองคทรงทราบไดอยางไรวา บิดาของขาพระองค ไปเกิดเปนสุนัข เปนการดูถูกบิดาของขาพระองค พวกพราหมณบอกวาบิดา ของขาพระองคเกิดในพรหมโลก ไมใชมาเกิดเปนสุนัขอยางนี้” พระพุ ท ธเจ า ตรั ส ว า “สุ ภ มาณพ ถ า เจ า ต อ งการจะรู  มี ข  อ พิ สู จ น อ ยู  มีทรัพยสมบัติของบิดาอยูบางไหมที่บิดาของเจาเมื่อใกลตายนั้นไมไดบอกไว” สุภมาณพทูลวา “มี” พระพุทธเจาตรัสวา “ถาเจาตองการจะพิสูจนเรื่องนี้ ทดสอบก็ได วันนี้ เจากลับไปจากนี้แลว ใหเอาลูกสุนัขของเจากินอาหารใหอิ่มดวยขาวมธุปายาส มีนํ้านอย เมื่ออิ่มแลวใหเขานอนสักครูหนึ่ง พอนอนแลว เจาจงไปกระซิบที่ใกลหู ถามวา นี่ พอ ทรัพยสมบัติที่ฝงไวนั้น ฝงไวที่ไหน แลวสุนัขตัวนี้จะวิ่งไปที่ฝงทรัพย แลวเอาเทาหนาตะกายที่ฝงทรัพย เจาก็จงใหคนขุดลงไปเถิด เมื่อเปนเชนนี้ เจาจะพึงรูจักสุนัขตัวนั้นเขาคือบิดาของเจา” สุภมาณพไดฟงดังนั้น ก็นึกกระหยิ่มอยูในใจดวยเหตุ ๒ ประการวา “ถาเกิด จริงขึ้นมา เราก็ไดทรัพย ถาเราพิสูจนแลวไมจริง เราจะโพนทะนาใหทั่วเมืองเลยวา สมณะองคนี้พูดไมจริง ไมไดขาดทุนตรงไหน” เพราะฉะนั้น เขารีบกลับไปบาน ไปทําตามที่พระพุทธเจาตรัสบอกไว คือ ใหลูกสุนัขของตนกินขาวมธุปายาสมีนํ้านอย อิ่มแลวใหนอน พอนอนแลวเขาก็ไป กระซิบที่หู ถามวา ทรัพยฝงไวที่ยังไมไดบอกอยูที่ไหน สุนัขนั้น พอถูกถามอยางนั้น ก็รทู นั ทีเลยวา “โอ ลูกของเรานีร้ แู ลววาเรามาเกิดเปนสุนขั ” แลวก็หอนขึน้ แลววิง่ ไป ที่ฝงทรัพย เอาเทาหนาทั้งสองตะกายขุดลงไปที่ฝงทรัพย ไดใหสัญญาณบงใหทราบ วาทรัพยอยูตรงนี้ เพราะการที่ตัวเองเกิดเปนสุนัขนี้ ก็เพราะเปนหวงทรัพยนั่นเอง (เปนที่นาสังเกตวา คนที่ตายแลวเปนหวงทรัพย บางคนเกิดเปนงู บางคนเกิดเปน สุนัขอยูในบานนั้น บางคนไปเกิดเปนคนใช หรือเกิดเปนอะไรก็แลวแตบุญแตกรรม ไมไดไปเกิดไกลเพราะเปนหวงทรัพย)


13

ภาพจาก www.thaimtb.com

เมื่อสุนัขไปตะกายที่นั้น สุภมาณพก็ ใหคนขุดลงไปตรงนั้น พอขุดลงไป นาพิศวงแท ของที่พบนั้นของมีคาทั้งสิ้น คือ พวงมาลัย พวงดอกไมทองคํา มีคาหนึ่งแสนกหาปณะ รองเทาทองคํา มีคาหนึ่งแสนกหาปณะ จานทองคํา มีคา หนึง่ แสนกหาปณะ แลวเงินเหรียญอีกหนึง่ แสนกหาปณะ สุภมาณพ พอเห็นเขาอยางนัน้ ก็อุทานในใจทันทีเลย “อื้อฮือ สิ่งที่ภพชาติปดไว พระองคนี้ ก็ยังทรงทราบได ฉะนั้น พระองคไมใชพระธรรมดาแนแลว ตองเปนพระสัพพัญูแนนอน เพราะสิ่งที่ ภพชาติปดบังไว ก็ยังทรงทราบได” ทีนี้ ชักจะเลื่อมใสแลว สุภมาณพจึงไปเฝาพระพุทธเจาถึงที่ประทับ ถวายบังคมแลวก็ทูลถามวา “ทําไม คนเราเกิดมาจึงไมเหมือนกัน” ปญหาที่สุภมาณพถามนั้นเปน ๑๔ ขอ แตจัดเปน ๗ คู ปญหาทุกขอลวนเกี่ยวกับกฎแหงกรรมทั้งสิ้น คูที่ ๑ ถามวา ทําไม บางคนอายุสั้น บางคนอายุยืน? คูที่ ๒ ถามวา ทําไม คนบางคนมีโรคภัยไขเจ็บมาก บางคนไมมีโรคภัย ไขเจ็บ? คูที่ ๓ ถามวา ทําไม บางคนรูปไมสวย ผิวพรรณทราม แตบางคนเกิดมา มีรูปสวย? คูที่ ๔ ถามวา ทําไม บางคนมีศักดิ์ตํ่า หรือไมมียศถาบรรดาศักดิ์ แตบางคน เกิดมามีศักดิ์สูง คือมียศตําแหนงสูง? คูที่ ๕ ถามวา ทําไม บางคนยากจน บางคนรํ่ารวย? คูที่ ๖ ถามวา ทําไม คนบางคนเกิดในสกุลตํ่า บางคนเกิดในสกุลสูง? คูที่ ๗ ถามวา ทําไมบางคนเกิดมาโง บางคนเกิดมาฉลาด? เปนปญหา ๗ คู รวม ๑๔ ขอ พระพุทธเจาก็ตรัสตอบสุภมาณพ โดยทรงขยายความกฎแหงกรรมไวใน จูฬกัมมวิภังคสูตรคอนขางยาว แตในที่นี้ขอกลาวเพียงโดยยอ คูท ี่ ๑ การทีค่ นเราเกิดมามีอายุสนั้ ก็เพราะเมือ่ ชาติปางกอนเปนคนชอบฆาสัตว ตัดชีวิต ไมมีศีล ๕ ดวยอํานาจผลของการฆาสัตวตัดชีวิตทําใหเขาไปตกนรก หมกไหม เสวยทุกขอยู เมือ่ หมดกรรมนัน้ ก็มาเกิดเปนมนุษย เศษกรรมทีย่ งั เหลืออยู ทําใหเขาอายุสั้น เพราะเขาเคยฆาสัตว สวนคนที่เกิดมาอายุยืน ก็เพราะเมื่อชาติกอนเขาเปนคนมีศีล ๕ มีศีลธรรม เมื่อเขาตายจากมนุษยโลก ก็ไปเกิดที่ดีมีความสุข เชน ไปเกิดในสวรรค เมื่อพน จากภูมินั้นแลวมาเกิดเปนมนุษย บุญของเขายังหนุนอยู ทําใหเขาอายุยืน คูที่ ๒ การที่บางคนเกิดมามีโรคภัยไขเจ็บมาก ก็เพราะเมื่อชาติกอนนั้น เปนคนชอบเบียดเบียนสัตว ทรมานสัตว กักขังสัตว คือ ทํารายคนอื่น สัตวอื่น ใหเดือดรอน ใหทรมาน ใหเจ็บ ใหปว ย เมือ่ เขาตายไปก็ไปตกนรก เมือ่ พนจากนรกแลว กลับมาเกิดเปนมนุษย เศษกรรมนัน้ ยังมีอยู ทําใหเขาเจ็บไขไดปว ย ไมคอ ยมีความสุข สวนคนทีเ่ กิดมาไมคอ ยมีโรคภัยไขเจ็บ หรือไมมี ก็เพราะชาติกอ นนัน้ เขาเปน คนมีเมตตาตอสัตว ไมเบียดเบียนสัตว เอ็นดูสัตว มีศีลธรรม มีเมตตากรุณา เมื่อเขา ตายจากไป ก็ไปเกิดในที่ดีมีความสุข เชน เกิดในสวรรค เมื่อกลับมาเกิดเปนมนุษย เขาจึงมีสุขภาพดี ไมมีโรคภัยไขเจ็บ คูที่ ๓ ถามวา ทําไม บางคนเกิดมารูปไมสวย พระองคตรัสวา คนบางคน ขี้โกรธ มีความโกรธเปนเจาเรือน เมื่อตายไปแลวก็ไปเกิดในสถานที่ลําบาก เชน นรก เปนตน เมื่อกลับจากสถานที่นั้นมาเกิดเปนมนุษย ก็เปนคนหนาตาไมสวยงาม เปนคนขี้เหร เพราะชาติกอนเปนคนขี้โกรธ


14

ภาพจาก www.jareungdhumtudong.blogspot.com

สวนคนที่เกิดมารูปสวย เพราะชาติกอนเปนคนมีเมตตากรุณาไมขี้โกรธ เมื่อเขาไปเกิดในสวรรคแลวกลับมาเกิดเปนมนุษย เขาจึงมีหนาตาสวยงาม รูปหลอ รูปสวย เพราะมีเมตตา เปนคนไมขี้โกรธ คูท ี่ ๔ ถามวา ทําไม คนบางคนเกิดมามีวาสนานอย ไมมยี ศมีตาํ แหนงกับเขา เปนคนตอยตํ่า ก็ตอบวา เพราะเมื่อชาติกอน เขาเปนคนริษยาคนอื่น เมื่อใคร เขาไดดีทนอยูไมได ริษยาเขา เพราะฉะนั้น เมื่อเกิดมาในชาติปจจุบันจึงเปนคน มีศักดิ์ตํ่า ไมคอยมียศ ไมคอยมีตําแหนง ถามียศตําแหนงก็มักจะอยูในตําแหนงตํ่า อยูเสมอ เพราะเปนคนริษยาเขา สวนคนที่เกิดมาไดรับตําแหนงสูง เพราะเมื่อชาติกอนนั้นไมริษยาคนอื่นเขา ใครไดดีก็พลอยยินดีกับเขา จึงเกิดมาไดตําแหนงสูง เพราะไมริษยาเขา คูที่ ๕ ถามวา ทําไม คนบางคนเกิดมายากจน ก็ตอบวา เพราะชาติกอนเขา เปนคนตระหนี่ถี่เหนียว ไมรูจักบริจาคทาน จึงเกิดมายากจน สวนคนที่เกิดมารํ่ารวย ไดพอแมรํ่ารวย เกิดมาในสกุลที่รํ่ารวยก็เพราะวา ชาติกอนนั้นเขาเปนคนที่บริจาคทาน ยินดีในการบริจาค ไมตระหนี่ถี่เหนียว คูที่ ๖ ถามวา ทําไม คนบางคนเกิดในสกุลตํ่า ก็ตอบวา เพราะชาติกอน คนประเภทนี้ เปนคนไมออนนอมถอมตนตอผูใหญ เปนคนแข็งกระดาง เมื่อตายไป ก็ ไปเกิดในสถานที่ลําบาก เชน นรก เปนตน เมื่อกลับมาเกิดเปนมนุษยแลว จึงเกิดในสกุลตํ่า เชน ในสกุลจัณฑาล หรือเปนพวกชาวประมง เปนพวกที่แรนแคน ลําบาก เดือดรอน สวนคนทีเ่ กิดในสกุลสูงนัน้ ตรงกันขาม เขาเปนคนออนนอมถอมตนตอผูใ หญ ตอสมณพราหมณ ตอผูประพฤติดี เมื่อตายไปก็ไปเกิดในที่ดี มีสวรรค เปนตน เมื่อกลับมาเกิดเปนมนุษยก็เปนคนที่เกิดในสกุลสูง เชน สกุลกษัตริย สกุลเศรษฐี หรือสกุลเจานาย เปนตน คูที่ ๗ ถามวา ทําไม คนบางคนจึงเกิดมาโง ก็ตอบวา เพราะเมื่อชาติกอนนั้น เปนคนไมเขาไปไตถามหาความรูตอสมณพราหมณ ตอผูประพฤติดี ผูรูคุณธรรม จึงเปนคนโง ชาติปจจุบันจึงเปนอยางนั้น สวนคนทีเ่ กิดมามีปญ ญาฉลาด เพราะเขาไปไตถามหาความรูต อ สมณพราหมณ ผูประพฤติดี ถามถึงบาปบุญคุณโทษ เปนตน เพราะฉะนั้นเขาจึงเกิดมามีปญญา


15 นี้คือปญหา ๑๔ ขอ ๗ คู ที่พระพุทธเจาตรัสตอบสุภมาณพ สุภมาณพไดฟง แลวก็เลือ่ มใส ไดประกาศตัวนับถือพระรัตนตรัยเปนทีพ่ งึ่ สวนสุนขั นัน้ เมือ่ ตายไปแลว เกิดในอเวจีมหานรก จากเรือ่ งนีช้ ี้ใหเห็นวา การทีค่ นเราแตละคนเกิดมาไมเหมือนกันก็เพราะกรรม เปนตัวบันดาล ไมใชตัวพระเจาบันดาล ไมใชอํานาจดวงดาว แตบางคนบอกวา เพราะดวงไมดี กลับไปเชื่อดวง แทที่จริง กรรมที่เราทําไวเองในอดีตตางหาก มันดลบันดาลมา แลวเราจะแกกรรมเหลานี้ โดยเฉพาะในดานไมดีไดอยางไร คําตอบก็คือ เรงกระทํากรรมดี เขาไปมาก ๆ ในที่สุดกรรมที่ไมดีทั้งหมดนั้นก็จะจาง แลวก็หายไป แลวก็สามารถจะพบความสุขความเจริญในชีวิตได อยางไรก็ตามการจะมีความเชื่อเรื่องกฎแหงกรรมชาวพุทธจะตองมีศรัทธา หรือความเชื่อ ๔ ประการ ดังนี้ ๑. คถาคตโพธิสัทธา เชื่อในการตรัสรูของพระพุทธเจาวาเปนความจริง พระองคทรงประกอบดวย พระปญญาคุณ พระวิสุทธิคุณและมหากรุณาธิคุณ พระธรรมคําสอนที่พระพุทธองคตรัสรูแลวนํามาสั่งสอนลวนเปนของจริงของแท ไมมีใครมาหักลางได ไมวากาลเวลาจะลวงเลยนานเทาไรก็ยังเปนจริงอยูตลอดเวลา ๒. กัมมสัทธา เชื่อในกรรม เชื่อวากรรมมีจริง ๓. วิปากสัทธา เชื่อในผลของกรรม คือ เชื่อวากรรมที่บุคคลทําไมวาดี หรือชั่ว ยอมใหผลเสมอ ๔. กัมมัสสกตาสัทธา เชื่อวาสัตวมีกรรมเปนของตน คือ เชื่อวาผลที่เรา ไดรับเปนผลแหงการกระทําของเราเองซึ่งอาจจะเปนกรรมที่ทําในอดีตชาติหรือ ในปจจุบันชาติ จะเห็นไดวา ในความเชื่อหรือศรัทธา ๔ ประการ นี้ถาเชื่อวาพระพุทธเจา ตรัสรูจริงก็จะทําใหมีความเชื่อเกี่ยวกับกรรมอีก ๓ ประการที่พระพุทธเจาตรัสไว ชาวพุทธจึงตองมีความเชื่อในเรื่องกฎแหงกรรม ชาวพุทธที่ไมมีความเชื่อในเรื่อง กฎแหงกรรมจึงเปนชาวพุทธที่ขาดศรัทธา เปนชาวพุทธที่มีมิจฉาศรัทธา คือ ความเชื่อที่ผิด เมื่อมีความเชื่อที่ผิดก็จะทําใหคิดผิด พูดผิด และทําผิด ในปจจุบันนี้มีคนจํานวนไมนอยที่ยังลังเลสงสัยในเรื่อง “กฎแหงกรรม” หลายคนก็ไมยอมเชือ่ เพราะเห็นวาหลายคนทีป่ ระพฤติทจุ ริต ไมมคี วามซือ่ สัตยสจุ ริต คดโกง ทุจริตคอรรัปชั่น เอารัดเอาเปรียบผูอื่น กลับรํ่ารวย มีเงินทอง มีอํานาจ คนเคารพยกยอง ตรงกันขามกับคนที่ประพฤติตนอยูในศีลธรรม มีความซื่อสัตย กลับยากจน ไมมคี วามเจริญกาวหนา ตองไดรบั ความยากลําบาก ถึงกับมีคาํ กลาววา “ทําดีไดดีมีที่ไหน ทําชั่วไดดีมีถมไป” สั ง คมของเราจึ ง ตกอยู  ใ นภาวะวิ ก ฤตศรั ท ธาคื อ มี ค วามเชื่ อ ที่ ผิ ด ที่ เ ป น มิจฉาทิฎฐิ ไมใชสัมมาทิฎฐิ หากเราเชื่อวาการทําดีไมไดดี การทําชั่วไมไดชั่ว เราก็ จะหันหลังใหกบั ความดีและหันหนาเขาสูค วามชัว่ สังคมจะเต็มไปดวยคนทีป่ ราศจาก ศีลธรรม คนที่ไมละอายและเกรงกลัวตอการกระทําความชั่ว คนทุจริต คนเห็นแกตัว เบียดเบียนและเอารัดเอาเปรียบผูอื่น ไมเห็นแกประโยชนของผูอื่นและประโยชน สวนรวม สังคมที่คนสวนใหญไมเชื่อในการทําความดี ยอมจะไปสูความหายนะ ตามคําประพันธที่วา “เมืองใดไรธรรมอําไพ เมืองนั้นบรรลัยแนนอน”


16

อตีเต…กาเล สิกขการิน

มัฏฐกุณฑลี หนุมตุมหูเกลี้ยง ภาพจาก www.watpotikaram.com

มั ฏฐกุณฑลีเปนชายหนุม มีบิดา เปนเศรษฐีที่มีความตระหนี่ไมเคยใหอะไร

แกผูใดเลย แมแตเครื่องประดับสําหรับ ลู ก ชาย เขาก็ ทํ า ให เ อง เพื่ อ เป น การ ประหยั ด ค า ใช จ  า ย เมื่ อ ลู ก ชายคนนี้ ลมเจ็บลง แทนที่ทานเศรษฐีจะไปจางหมอ มารักษา ก็ใชยากลางบานมารักษาตามมี ตามเกิ ด จนกระทั่ ง อาการของลู ก ชาย เขาขั้นโคมา เมื่อรูวาลูกชายจะตองตาย แนแลว เขาก็นําลูกชายที่มีอาการรอแร ใกลตายนั้นออกไปนอนนอกบาน เผื่อวา คนอื่ น ที่ ม าเยี่ ย มลู ก ชายที่ บ  า นจะได ไมสามารถมองเห็นทรัพยสมบัตขิ องเขาได ในเชาวันนัน้ พระศาสดาทรงใชขา ย คือ พระญาณของพระองคตรวจดูอัธยาศัย ของคนที่ จ ะได เ สด็ จ ไปโปรด ได พ บ มัฏฐกุณฑลีนี้มาปรากฏอยูในขาย ดังนั้น เมื่ อ พระองค เ สด็ จ เข า ไปบิ ณ ฑบาต ในกรุงสาวัตถีจึงไดไปประทับยืนอยูที่ใกล ประตูบานของเศรษฐี พระศาสดาทรงฉาย ฉัพพรรณรังสีไปยังที่นอนของมัฏฐกุณฑลี ซึ่งนอนหันหนาเขาหาบาน มัฏฐกุณฑลี ไดหนั กลับมามองดูพระศาสดา แตตอนนัน้ อาการปวยของเขารอแรจนไมสามารถ ทําสิ่งใดไดนอกจากนอมใจทําการเคารพ พระศาสดา เมื่ อ มั ฏ ฐกุ ณ ฑลี สิ้ น ชี วิ ต ดวยจิตใจที่เลื่อมใสศรัทธาตอพระศาสดา ไดไปเกิดอยูในสวรรคชั้นดาวดึงส

ภาพจาก www.dhammadelivery.com

เมื่ อ ไปเกิ ด อยู  บ นสวรรค แ ล ว มั ฏ ฐกุ ณ ฑลี ม องลงมาด ว ยตาทิ พ ย เ ห็ น บิดาเขาไปรําพึงรําพันถึงเขาอยู ในปาชา ก็ ไ ด แ ปลงตั ว มาเป น ชายชรามี รู ป ร า ง เหมือนกับมัฏฐกุณฑลี รางแปลงนั้นได บอกบิดาของเขาวาไดไปเกิดอยูบนสวรรค ชั้นดาวดึงส และไดพูดกระตุนบิดาใหไป ทูลนิมนตพระศาสดามารับภัตตาหารทีบ่ า น และที่บานของเศรษฐีไดมีการตั้งคําถาม ขึน้ มาวา เปนไปไดหรือไมทบี่ คุ คลตายแลว จะไปเกิ ด บนสวรรค เ พี ย งแค ทํ า ใจให มี ศรัทธาในพระพุทธเจาเทานั้น โดยไมมี การถวายทานและรักษาศีล

ดังนัน้ พระศาสดาจึงทรงอธิษฐานจิต ใหมัฏฐกุณฑลีมาปรากฏในรางของเทวดา และมัฏฐกุณฑลีก็ ไดมาปรากฏตัวในราง ของเทวดาพร อ มด ว ยเครื่ อ งประดั บ ที่เปนทิพย และไดบอกวาตนไดไปเกิด อยูบนสวรรคชั้นดาวดึงสจริง ๆ เมื่อมี หลักฐานพยานปรากฏเชนนี้แลว คนที่มา ชุมนุมกันอยู ณ ที่นั้นก็เกิดความมั่นใจ วาบุตรชายของเศรษฐีไปเกิดบนสวรรค เพียงทําใจใหมศี รัทธาในพระศาสดาเทานัน้ ตอมา พระศาสดาไดตรัสคาถาวา มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺวติ ฉายา ว อนุปายินี. ทุกสิง่ ทุกอยางมีใจนํา มีใจเปนใหญ สํ า เร็ จ ได ด  ว ยใจ ถ า คนเรามี ใ จบริ สุ ท ธิ์ จะพูดจะกระทําก็พลอยบริสทุ ธิไ์ ปดวย เพราะ การพูดและกระทําอันบริสุทธิ์นั้น ความสุข ยอมตามสนองเขา เหมือนเงาติดตามตน ความสุขมีได ถาใจบริสุทธิ์ สรุป เช น นี้ ท า นผู  อ  า นเห็ น ด ว ยกั บ ผู  เ ขี ย น ใชไหมครับ


17

บทความพิเศษ พูลทรัพย ปยะอนันต

การพัฒนาจิตสํานึกและคานิยม

เพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันในเวทีโลก

โดยธรรมชาติแลวคนไทยเปนคนที่รักสงบ

ไมชอบทาทายหรือแขงขันกับใคร ชอบอยูอยางสันติ แตแนวคิดเชนนี้อาจหลีกเลี่ยงไดยากในโลกแหงความ เปนจริงโดยเฉพาะปจจุบันที่ประเทศไทยจะตองมี ปฏิสัมพันธกับประเทศตาง ๆ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ การค า สั ง คมและการเมื อ งแต จ ะทํ า อย า งไรให ประเทศไทยมีความโดดเดนและมีศักดิ์ศรีจากการ มีปฏิสัมพันธนั้น ๆ เปนเรื่องที่จะตองมีแนวทางและ วิสัยทัศนที่เหมาะสมเพื่อใหตางชาติใหความสําคัญ กับประเทศไทยซึ่งแนวคิดเรื่องความโดดเดนใหกับ ประเทศไทยในเวทีโลกนีอ้ ยูในใจของผูเ ขียนมาโดยตลอด และไดเคยเสนอแนะในหลายโอกาสดวยกัน เพราะ ไมอยากเห็นตางชาติคิดกับประเทศไทยในลักษณะ ทีเ่ ปนประเทศรองบอนและดอยความสําคัญในเวทีโลก ซึ่งเปนความเจ็บปวดและดอยศักดิ์ศรีอยางยิ่ง


18

อย า งไรก็ ดี การที่ จ ะบรรลุ เ จตจํ า นงของการ มีศกั ดิศ์ รีดงั กลาวเปนเรือ่ งทีย่ ากเพราะนอกจากจะตอง มีสติปญญาที่แหลมคมและความมุงมั่นอยางจริงจัง ของคนสวนใหญในชาติแลว จําเปนจะตองมียทุ ธศาสตร สําคัญดานตางๆที่จะชวยนําไปสูการบรรลุเจตจํานง ดังกลาวอยางเปนผลกวางขวาง รวดเร็ว และเปน รูปธรรมอยางแทจริง และจําเปนตองมีการยกระดับ ดานตาง ๆ ที่สําคัญของชาติอยางจริงจังโดยรวดเร็ว ดวยทั้งทางดานระดับเชาวนปญญา (Intelligence Quotient) วุฒิภาวะทางอารมณ (Emotion Quotient) ความกาวหนาทางเทคโนโลยี (Technology Quotient) ธรรมาภิบาลและจริยธรรม (Good Governance and Morality Quotient) รวมทั้งระดับทัศนคติที่กาวหนา (Attitude Quotient) ซึ่ ง การที่ จ ะสร า งศั ก ยภาพ ในการยกระดับดานตาง ๆ ทีส่ าํ คัญนีไ้ ดนนั้ เปนเรือ่ งทีย่ าก จํ า เป น อย า งยิ่ ง ที่ จ ะต อ งมี ก ารปฏิ รู ป จิ ต ใต สํ า นึ ก จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และคานิยมสรางสรรค อยางจริงจังอยางตอเนื่องในลักษณะองครวมและ บู ร ณาการ เพราะเป น พื้ น ฐานสํ า คั ญ ยิ่ ง ที่ จ ะช ว ย สรางเสริม เกื้อกูล ใหการยกระดับ ๕ ดานดังกลาว เป น ไปอย า งเป น รู ป ธรรม จริ ง จั ง และรวดเร็ ว ได เพราะตราบเทาที่เรายังไมสามารถปฏิรูปจิตสํานึกทั้ง ๓ เรือ่ งนีไ้ ดแลวก็ยากอยางยิง่ ทีจ่ ะไปยกระดับดานตาง ๆ ๕ ดานดังกลาวเพือ่ สรางศักดิศ์ รีไทยในเวทีโลกไดอยาง แทจริง เพราะปญหาจิตสํานึกทั้ง ๓ เรื่องดังกลาวเปน ปญหาที่หมักหมม (Inherent) และเปนปญหาเรงดวน จําเปนตองรีบแกไขและปฏิรปู อยางจริงจังและตอเนือ่ ง

ปญหาจิตสํานึกจริยธรรม หากเรายอมรับความจริงกันไดแลวทบทวน ขาวหนังสือพิมพและขาวทางสือ่ มวลชนตาง ๆ ซึง่ เปน กระจกสองจิตสํานึกดานจริยธรรมของสังคมไทยแลว เราจะเห็นปญหาดานจริยธรรมตาง ๆ อยางมากมาย ในทุกวงการนับตั้งแตจริยธรรมครู อาจารย แพทย สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการ ขาราชการการเมือง ตํารวจ ตุลาการ ผูบริหารองคกร ปกครองสวนทองถิ่น นักธุรกิจ พอ แม และสงฆ เปนตน โดยมีขาวครู อาจารยขมขืนหรือลวนลาม ทางเพศลูกศิษยบอยขึ้น พอขมขืนลูก แมคลอดลูก แลวทิ้งแตที่โรงพยาบาลก็ยังตองคอยเฝาระวังการทิ้ง บุตรที่คลอด แพทยที่เห็นแกเงินโดยขาดการคํานึง ดานจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ ขาราชการและ นักการเมืองที่โกงกินและฉอราษฎรบังหลวง ทั้งการ อนุมัติงบประมาณโครงการและการใชงบประมาณ ตํารวจที่คุมบอน คุมสถานบันเทิงและรีดไถ หรือ เกีย่ วของกับการคายาเสพติด ผูบ ริหารองคกรปกครอง ส ว นท อ งถิ่ น ที่ โ กงกิ น งบประมาณและเงิ น รายได ขาดความโปรงใสในการใชจายเงินงบประมาณ และ นักธุรกิจที่สรางบานและผลิตสินคาขายไมไดคุณภาพ เอาเปรียบผูบริโภค เปนตน นอกจากป ญ หาจริ ย ธรรมด า นศี ล ธรรมและ ความซื่อสัตยสุจริตดังกลาวและยังมีปญหาจริยธรรม ดานวินัยอยางมาก เชน การไมเครงครัดในกฎจราจร จึงเกิดอุบัติเหตุ และเพราะขับรถเมื่อมึนเมาหรือขับ รถแซงเบียดรถคันหนาเพื่อไปกอน ปายหามจอดรถ


19 แตมีรถไปจอดเสมอ ๆ เราจะเห็นการจอดรถซอนกัน บอย ๆ โดยไมมีการปรับหรือลงโทษอยางจริงจัง ซึ่งเปนปญหาที่ทําใหการจราจรที่มาก อยูแลวติดขัด ยิ่งขึ้น การไมตรงตอเวลาในการเขาประชุม การเขา ทํางานและการเลิกงาน การทํางานของขาราชการ ตาง ๆ ที่ลาชา งานคางหมักหมม เปนตน ปญหาจิตใตสํานึกจรรยาบรรณวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพเปนเรื่องที่มีความสําคัญ ยิ่งขึ้นในปจจุบันที่จะตองเรงพัฒนาวิชาชีพตาง ๆ ทั้งดานปริมาณและคุณภาพเพื่อแขงขันในเวทีโลก อยางไรก็ดี เรามักจะไดยินไดทราบวามีครู อาจารย ที่ขาดจรรยาบรรณในวิชาชีพถึงเวลาสอนก็ไมคอยให ความสําคัญในการใหความรูโ ดยเนนใหเด็กนักเรียนไป หาความรูแ ละประสบการณเองโดยอางวาตามหลักสูตร ใหมเนนใหเด็กนักเรียนหาความรูเอง หรือไมก็ใหไป เรียนพิเศษหรือกวดวิชา ทําใหการพาณิชยกวดวิชา เปนไปอยางกวางขวางและดาษดืน่ ทัง้ ๆ ทีค่ รูอาจารย ควรมีจิตสํานึกจรรยาบรรณครูที่จะตองใหความรูแก ลูกศิษยใหมากที่สุดเทาที่จะทําได ขาราชการที่มีหนา ที่จัดทําโครงการและอนุมัติโครงการและงบประมาณ ตาง ๆ ก็มีการขาดจรรยาบรรณที่จะใหมีการจัดทํา โครงการและการใชงบประมาณอยางเปนประโยชน อยางแทจริงแกชาติและประชาชนหรืออีกนัยหนึ่ง คื อ การขาดวิ นั ย และความรั บ ผิ ด ชอบด า นการคลั ง และงบประมาณ (Fiscal and Budget Accountability) ทั้ง ๆ ที่ทางราชการไดกําหนดใหทุกหนวยงานจัดทํา จรรยาบรรณของหนวยงานนั้น ๆ ในการปฏิบัติงาน แต ก็ ยั ง มี ก ารละเลยขาดจรรยาบรรณในวิ ช าชี พ (Professional Ethics) ทางราชการไมเนนการตรวจ สอบและประเมินวามีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่ ทําขึ้นไวหรือเปลา และขาดการเนนอยางจริงจังทาง ด า นจิ ต สํ า นึ ก ความรั บ ผิ ด ชอบ (Accountability) ยิ่งกรณีแพทยแลวยิ่งมีขาวการขาดจรรยาบรรณใน วิชาชีพตาง ๆ จนถึงคนไขเสียชีวิตก็มี เมื่อโรงงาน

หรือฟารมหมูทิ้งของเสียลงในแมนํ้าลําคลองทําให นํ้ า เน า เสี ย และปลาตายเป น แพซึ่ ง เป น การทํ า ลาย ทรัพยากรสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยว ทําใหนํ้าเสีย ใช ไ ม ไ ด ใ นขณะที่ ค วามแห ง แล ง ก็ ยั ง มี การเกี่ ย ง ความรับผิดชอบระหวางหนวยงานตาง ๆ ของรัฐ รวมทัง้ องคกรปกครองสวนทองถิน่ ทัง้ ๆ ทีร่ ฐั บาลเนน ระบบใหผวู า ราชการจังหวัดเปน CEO เพือ่ แกไขปญหา การขาดเจาภาพและการขาดผูรับผิดชอบ และทั้ง ๆ ที่มีการปฏิรูประบบราชการเพื่อการปฏิบัติราชการ ที่มีประสิทธิภาพ การปฏิรูปใด ๆ จึงตองเนนเนื้อหา (Substance) ใหมาก เพราะการปฏิรูปรูปแบบ (Form) โดยเนื้อหาการปฏิรูปไมดีพอแลวก็ ไมเกิดผลที่ควร จะเปน นักวิจัยมักขาดจรรยาบรรณและจุดเนนในดาน การวิจัยเพื่อคุณภาพและผลการวิจัยที่จะนําไปใชได จริงในการผลิตและการใชประโยชนไดจริง จึงมักมีการ วิจยั แลวผลการวิจยั ก็ใชไมไดจริง หรือไปใชทาํ การผลิต ในเชิงพาณิชยไมได ดวยเหตุนปี้ ระเทศจึงมีครูอาจารย พาณิชย พุทธพาณิชย นักการเมืองพาณิชย แพทย พาณิชย นักการเงินการคลังและงบประมาณพาณิชย ปญหาจิตสํานึกคานิยม (Values) คนไทยจํานวนมากทีม่ จี ติ สํานึกบาเหอของนอก เมือ่ เวลาไปตางประเทศก็ใชจา ยเงินจํานวนมากซือ้ ของ ยี่หอราคาแพง และเมื่อเราไปตามศูนยการคาตาง ๆ ในกรุงเทพจะเห็นรานขายของนอกสารพัดยีห่ อ (Brand Names) ราคาแพงจากประเทศตาง ๆ อยางประเทศ เกาหลีใตซึ่งผูเขียนประทับใจมากที่ไดไปเห็นมาคือ ประชาชนเกาหลี ใตจะใชแตของประเทศตนและคน เกาหลีใตพยายามทีจ่ ะผลิตของทีด่ มี คี ณุ ภาพและราคา ถูกใหคนของเขาใช บนถนนจะเห็นรถของเกาหลีใต เกื อ บทั้ ง หมดยกเว น ชาวต า งชาติ ที่ ไ ปปฏิ บั ติ ง าน


20 ซึ่ ง จะมี ก ารใช ร ถต า งประเทศบ า ง คนเกาหลี ใ ต มีคานิยมที่รักชาติ ทํางานหนักและเสียสละเพื่อชาติ อยางกวางขวางคนไทยเราเทาไรที่มีคานิยมเชนนี้ ประเทศเกาหลี ใ ต จึ ง เป น ประเทศแรกที่ ฟ   น ฟู แ ละ กาวไปอยางรวดเร็วหลังจากที่ประสบวิกฤติในการเงิน และเศรษฐกิจในป พ.ศ. ๒๕๔๐ อยางเชนประเทศไทย นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาของเรามั ก เรี ย นเพื่ อ สอบผ า น เพื่อใหได แตขาดจิตสํานึกในคานิยมที่จะตองเรียน ใหไดดที สี่ ดุ มีผลสัมฤทธิท์ ดี่ แี ละใหมคี วามรูอ ยางกวาง ขวางและลึก นักเรียนนักศึกษาจํานวนมากที่มีคานิยม ความฟุง เฟอสูงจนกระทัง่ มีขา วการขายบริการทางเพศ เพื่อใหมีเงินมาใชจายมาก ๆ มีการกลาววานักเรียน ไมนอยที่เปนรักรวมเพศหญิงประเภททอม มีคานิยม หรือแฟชั่นที่แขงขันมีคูรักหญิงมากกวากัน นักเรียน หญิงที่ ไมเคยเปนรักรวมเพศประเภททอมแตคอน ขางเขมแข็งก็เอาอยางแขงขันกัน ในที่สุดพฤติกรรม ทางเพศก็กลายเปนทอมไปดวย เมื่อในวัยเรียนไมมี จิตสํานึกที่จะใหบรรลุผลสัมฤทธิ์การเรียนที่ดีที่สุดเทา ที่จะทํา เมื่อไปทํางานก็จะขาดจิตสํานึกในการทํางาน ใหดมี ผี ลสัมฤทธิส์ งู เพือ่ ไปสูค วามปติ (Self-fulfillment) และความกาวหนาในหนาที่การงานอยางรวดเร็ว แต กลับไปเนนการวิ่งเตนสอพลอ เขาหานักการเมือง และเอาใจผูมีอํานาจ เพื่อความกาวหนาในตําแหนง หนาที่ราชการมีขาราชการไมนอยที่เอาแตวิ่งเตนอยู หนาหองรัฐมนตรีคนแลวคนเลาและถึงแมเปนรัฐมนตรี คนละพรรค เพื่อใหได ๒ ขั้นและตําแหนงแลวก็ได

จริง ๆ ดวย ผลคือเราจะมีขาราชการไมนอยที่ขาด จิตสํานึกและคานิยมที่ทํางานเพื่อประโยชนของชาติ และประชาชนอยางแทจริงแลวเราจะโดดเดนในเวที โลกกันไดอยางไร นอกจากนี้ ค วามอ อ นแอของระบบราชการ ในการดูแลระบบคุณธรรมและการแตงตั้งขาราชการ ทําใหเกิดกรณีการเลนพรรคเลนพวกอยางมากเพื่อ วางเสนสายและพวกของตนเองในตําแหนงสําคัญ ๆ ที่ ช  ว ยหาประโยชน ใ ห ไ ด แ ละเลื่ อ นตํ า แหน ง อย า ง ไมนึกถึงความยุติธรรมและระบบคุณธรรม ขาราชการ ที่ดี ๆ ก็ทอถอยและหมดกําลังใจ เขาทํานอง “ทําดีได ดีมีที่ไหน ทําชั่วไดดีมีถมไป” นอกจากการไดตําแหนง มักจะมีเสนสายและการวิ่งเตนแลว ก็มักจะมีการวิ่ง เตนและเสนสายในแทบทุกเรื่อง ทั้งการฝากลูกหลาน เขาโรงเรียน การฝากลูกหลานเขาทํางาน การวิ่งเตน ในการจัดจางและการจัดซื้อ เปนตน สรุป เราขาดการเนนตั้งแตวัยเด็กจนถึงวัยทํางาน ใหมีจิตสํานึกที่ดี สรางความดี ชี้ใหเห็นตัวอยางของ คนดีและไดดี มีแตตัวอยางที่เห็นการยกยองนับถือ คนรวย หรือคนที่มีตําแหนงใหญโตโดยไมคํานึงถึง ระดั บ คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมซึ่ ง เป น อั น ตรายอย า งยิ่ ง เพราะชาติที่มั่งคั่งแตขาดจริยธรรม ยอมยากที่จะ ดํารงความเจริญรุง เรืองไปไดตลอด ในทํานองเดียวกัน การขาดจิตสํานึกในการกลัวบาปเมื่อจะกระทําสิ่งที่ ไมถูกตองหรือฉอราษฎรบังหลวง นอกจากจะมีคน มาชี้มูลความผิด เขาทํานองตองมี ใบเสร็จชัดเจน (Guilt Society not Sin Society) ทําใหขาราชการ นักการเมือง นักธุรกิจ ครูอาจารย และแพทย เปนตน มีการขาดจริยธรรม จรรยาบรรณและคานิยมทีด่ จี งึ เปน อุปสรรคอยางสําคัญทีจ่ ะกระตุน เสริมสรางและยกระดับ การพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ ได จึงจําเปนอยางยิง่ จะตองใหความสําคัญสูง และมียุทธศาสตรที่ดีและ จริงจังในการปฏิรปู จริยธรรม จรรยาบรรณ และคานิยม เพื่อสนับสนุนและเปนแรงผลักดันใหชาติไทยไปสู ความโดดเด น ในเวที โ ลกให ไ ด อ ย า งรวดเร็ ว โดย ดู ตั ว อย า งจากประเทศเกาหลี ใ ต ที่ ทํ า ได ดี อ ย า งน า ภาคภูมิใจ


21

ภาพขาว

กรมการศาสนา นําคณะเยาวชนจากโครงการคายคุณธรรม (Ethic Camp) “ปดเทอม เปดธรรม ๑๐ วันทําดี ฉลองพุทธชยันตี ถวายพอหลวง” เขาทูลเกลาฯ ถวายแจกันดอกไม และลงนามถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ในวันศุกรที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ณ โรงพยาบาลศิริราช


22

พระพรหมวชิรญาณ กรรมการมหาเถรสมาคม เจาอาวาสวัดยานนาวา ประธานฝายสงฆ และนางสุกุมล คุณปลื้ม รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม เปนประธานในพิธีเปดคายคุณธรรม (Ethic camp) “ปดเทอม เปดธรรม ๑๐ วันทําดี ฉลองพุทธชยันตี ถวายพอหลวง” ณ วัดยานนาวา เมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๐.๐๐ น. โดยมีนายปรีชา กันธิยะ อธิบดี กรมการศาสนา นายสุระ เตชะทัต ที่ปรึกษารัฐมนตรี และนายสัมฤทธิ์ พงษวิรัตน เลขานุการรัฐมนตรีฯ พรอมดวยเด็กและเยาวชน เขารวมอบรมคุณธรรม จริยธรรมและปฏิบัติธรรม รวมถึงกิจกรรมเรียนรูนอกสถานที่


23

ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนา พรอมดวย นายธาริต เพ็งดิษฐ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) และเจาหนาที่ ตํารวจรวมในการแถลงขาวการดําเนินการสืบสวนสอบสวนหาผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติสงเสริมกิจการฮัจย พ.ศ. ๒๕๒๔ ในวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ณ หองประชุมกรมการศาสนา ชั้น ๑๕ กระทรวงวัฒนธรรม โดย ดีเอสไอ รับจะนําเสนอฮัจยเปนคดี พิเศษ ในการประชุมคณะกรรมการคดีพิเศษ (กพค.) ซึ่งมี ร.ต.อ.เฉลิม อยูบํารุง รองนายกรัฐมนตรีเปนประธาน เนื่องจากมีผลกระทบ ตอประชาชนเปนจํานวนมากและมีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติสงเสริมกิจการฮัจย พ.ศ. ๒๕๒๔ และคดีอาญาอยางชัดเจน


24

ความสําคัญของบทสวดมนต สํารวย นักการเรียน

สวดมาติกา สวดแจง

ภาพจาก www.oknation.net

เมื่ อ มี ง านศพ มั ก จะได ยิ น คํ า ว า “สวดมาติ ก า” “สวดแจง” “สวดมาติกาบังสุกุล” ผูเขียนขอนําเสนอถึงความเปนมาของเรื่องดังกลาว ดังตอไปนี้ สวดมาติกา คือ การที่พระสงฆนําบาลีดังตอไปนี้มาสวดในพิธี บําเพ็ญกุศลศพ คือ (๑) บทบาลีที่เปนหัวขอในธัมมสังคณี (ธมฺมสงฺคณี มาติกาปาโ) ในธัมมสังคณี พระไตรปฎก เลมที่ ๓๔ ซึ่งเริ่มตนดวย คําวา กุสลา ธมฺมา อกุสลา ธมฺมา ฯลฯ (๒) บทบาลีที่เปนหัวขอใน วิปสสนาภูมิ (วิปสฺสนาภูมิปาโ) ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา ปฺจกฺขนฺธา รูปกฺขนฺโธ ฯลฯ (๓) บทบาลีที่เปนหัวขอในปฏฐาน (ปฏานมาติกาปาโ) ในปฏฐาน พระไตรปฎก เลมที่ ๔๐ ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา เหตุปจฺจโย อารมฺมณปจฺจโย ฯลฯ เมื่อพระสงฆสวดมาติกาจบ จะชักผาบังสุกุลตอ ดังนัน้ จึงมักเรียกคูก นั เปน มาติกาบังสุกลุ บทบาลีทเี่ ปนหัวขอในวิปส สนา ภูมิปาฐะ ((วิปสฺสนาภูมิปาโ) จะสวดเฉพาะพิธีบําเพ็ญกุศลศพเจานาย สวดแจง หมายถึง การทีพ่ ระสงฆนาํ ความเปนมาของการสังคายนา หรือการชําระสอบสวนจัดหมวดหมูคําสอนในพระพุทธศาสนามาอธิบาย ขยายความ ซึ่งการสังคายนาที่นํามาแจงหรืออธิบายนั้นมักเปนการ สังคายนา ครั้งที่ ๑


25

ภาพจาก www.board.palungjit.com

ภาพจาก www.watpaknam.org

อนึ่ง ในการแจงนั้น จะมี (๑) เทศนแจง (๒) สวดแจง (๑) เทศนแจง คือ การที่พระสงฆ ๓ รูปแสดงความเปนมาของ การสังคายนา ครั้งที่ ๑ กลาวคือ สมมุติรูปหนึ่งเปนพระมหากัสสปะ เปนผูถ าม สมมุตริ ปู หนึง่ เปนพระอุบาลี เปนผูต อบในเรือ่ งของพระวินยั ปฎก และสมมุติอีกรูปหนึ่งเปนพระอานนท เปนผูตอบในเรื่องพระสุตตันตปฎก แตตอมาลดเหลือเพียง ๑ รูปก็มี พระรูปที่เทศนนิยมเรียกวา องคแจง (๒) สวดแจง คือ การที่พระสงฆจํานวนอยางนอย ๒๕ รูปสาธยาย บทมาติกาพระวินัย บทมาติกาพระสูตร และบทมาติกาพระอภิธรรม พระที่สวดนิยมเรียกวา พระอันดับแจง สังคายนาครั้งที่ ๑ มีประวัติความเปนมา คือ เมื่อพระพุทธองค เสด็จดับขันธปรินิพพานแลวได ๗ วัน พระมหากัสสปะทราบรูขาว การปรินิพพานของพระพุทธเจา บรรดาภิกษุทั้งหลายในคณะของทาน รองไหเศราโศก แตพระสุภัททะผูบวชเมื่อแกไดหามภิกษุเหลานั้น มิใหเสียใจรองให เพราะตอไปนี้จะทําอะไรไดตามแลว ไมตองมีใครคอย มาชี้แนะวา นี่ผิด นี่ถูก นี่ควร นี่ไมควรอีกตอไป พระมหากัสสปะสลดใจ ในถอยคําของพระสุภัททะ จึงนําเรื่องนี้เสนอที่ประชุมสงฆหลังปลง พระพุทธสรีระเสร็จแลว และเสนอใหทําสังคายนารอยกรองจัดระเบียบ พระธรรมวินัย ที่ประชุมสงฆก็ ไดใ หความเห็นชอบใหจัดประชุมทํา สังคายนาขึ้นที่กรุงราชคฤห หลังจากนั้นไป ๓ เดือน และมีมติคัดเลือก พระอรหันตผูเขารวมทําสังคายนาจํานวน ๕๐๐ รูป รวมทั้งพระอานนท ผูทรงจําพระธรรมวินัยเปนเลิศ ซึ่งขณะนั้นยังเปนพระโสดาบัน การทําสังคายนา ครั้งที่ ๑ นี้กระทําที่ถํ้าสัตตบรรณคูหา ขางภูเขา เวภารบรรพต ใกลกรุงราชคฤห ประเทศอินเดีย มีพระมหากัสสปะ เปนประธานและเปนผูสอบถาม พระอุบาลีเปนผูตอบขอซักถามทาง พระวินัย พระอานนท (บรรลุอรหัตผล เปนพระอรหันตแลว) เปนผูตอบ ขอซักถามทางธรรม มีพระเจาอชาตศัตรูทรงเปนผูอุปถัมภ กระทําอยู ๗ เดือน จึงสําเร็จ


26

บทสวดแจงนั้ น แบ ง ออกเป น ๓ บท คื อ ๑. บทพระวิ นั ย ๒. บทพระสูตร ๓. บทพระอภิธรรม ๑. บทพระวินัย คือ บทที่นําบาลีเฉพาะบางสวนของพระวินัยปฎก มาเปนบทสวด กลาวคือนํามาจากพระวินัยปฎก มหาวิภังค เลมที่ ๑ ขอ ๑ หนา ๑ และพระวินัยปฎก ปริวาร เลมที่ ๘ ขอ ๒ หนา ๑ มีเนื้อหา ดังนี้ พระมหากัสสปะถามพระอานนทวา พระพุทธองคทรงบัญญัตปิ าราชิก ขอแรกที่ไหน ปรารภใครเปนเหตุ และมีสาเหตุมาจากอะไร พระอานนท ตอบวา พระพุทธองคทรงบัญญัติปาราชิกขอแรก ณ เมืองเวสาลี ปรารภ พระสุทินกลันตบุตรที่เสพเมถุนกับภรรยาเกา ตอจากนั้น เปนการกลาว ถึง พระพุทธองคขณะประทับ ณ โคนตนสะเดาที่มียักษชื่อนเรฬุสิงอยู ในเมืองเวรัญชา พรอมดวยหมูสงฆ ในครั้งนั้น พราหมณคนหนึ่งชื่อวา เวรัญชะไดยินกิตติศัพทของพระพุทธองคจึงขอเขาเฝา ซึ่งเปนเหตุการณ กอนทรงบัญญัติปาราชิกขอแรก ๒. บทพระสูตร คือ บททีน่ าํ บาลีเฉพาะบางสวนของพระสุตตันตปฎก มาเป น บทสวด กล า วคื อ นํ า มาจากที ฆ นิ ก าย สี ล ขั น ธวรรค พระสุตตันตปฎก เลมที่ ๙ ขอ ๑ หนา ๑ มีเนือ้ หาดังนี้ ครัง้ หนึง่ พระพุทธองค พรอมดวยหมูภิกษุ เสด็จทางไกลระหวางเมืองราชคฤหกับเมืองนาลันทา และขณะเดียวกันนั้น ปริพาชกชื่อวาสุปปยะ พรอมดวยลูกศิษ ยชื่อ พรหมทัตตะก็ไดเดินทางระหวางเมืองทั้งสองเชนกัน โดยพวกปริพาชก เดินตามหลังขบวนเสด็จของพระพุทธเจา สุปปยปริพาชกไดกลาวตําหนิ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ แตลูกศิษยของเขากลับกลาวสรรเสริญ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ซึง่ เปนเหตุการณกอ นทรงแสดงพรหมชาลสูตร อันเปนพระสูตรที่ ๑ แหงพระสุตตันตปฎก ๓. บทพระอภิธรรม คือ บทสวดที่นําบาลีเฉพาะบางสวนของ พระอภิธรรมปฎกมาเปนบทสวด แยกยอยออกเปน ๗ บท คือ (๑) บทพระสั ง คณี เป น การนํ า บาลี จ ากมาติ ก าคั ม ภี ร  ธัมมสังคณี (คัมภีรแรกของพระอภิธรรมปฎก พระไตรปฎก เลมที่ ๓๔) คือ หลักธรรมแมบทมาตั้งเปนหัวขอ ถามวา หลักธรรมนี้ไดแกอะไรบาง แลวนับใหดูวาหลักธรรมนี้ในกรณีนี้ไดแกธรรมขอนี้ เชน ตั้งหัวขอวา ธรรมพวกไหนเปนกุศล แลวชี้แจงวา ในกรณีนี้ ในเวลาที่จิตเปนอยางนี้ มีธรรมชื่อนี้เปนกุศล (๒) บทพระวิ ภั ง ค เป น การนํ า บาลี ม าจากคั ม ภี ร  วิ ภั ง ค พระไตรปฎก เลมที่ ๓๑ ขอ ๑-๒ หนา ๑ มีเนื้อหา คือ แจกแจงอธิบาย หลักธรรมสําคัญ โดยแจกแจงรายละเอียดใหชดั เจนจบเปนเรือ่ ง ๆ อธิบาย เรื่องใดก็เรียกวา วิภังคของเรื่องนั้น เชน อธิบายเรื่องขันธ ๕ ก็เรียกวา ขันธวิภังค (๓) บทพระธาตุกถา เปนการนําบาลีมาจากคัมภีรธาตุกถา พระไตรปฎก เลมที่ ๓๖ ขอ ๑ หนา ๑ มีเนื้อหา คือ แสดงเรื่องธาตุ นําขอธรรมตาง ๆ มาจัดเขาในขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ วา ขอธรรมไหนจัดเขาได ขอธรรมไหนจัดเขาไมได เปนตน

ภาพจาก www.watpaknam.org


27

ภาพจาก www.greenandamantravel.com

(๔) บทพระปุคคลบัญญัติ เปนการนําบาลีมาจากคัมภีรป คุ คล บัญญัติ พระไตรปฎก เลมที่ ๓๖ บางสวนของขอ ๑ และขอ ๗ หนา ๕๑๕ มีเนื้อหา คือ บัญญัติความหมายของชื่อที่ใชเรียกบุคคลประเภทตาง ๆ ตามคุณธรรมที่มีอยูในบุคคลนั้น ๆ เชน บัญญัติความหมายของคําวา พระโสดาบัน คือ บุคคลที่ละสังโยชน ๓ ไดแลว (๕) บทพระกถาวัตถุ เปนการนําบาลีมาจากคัมภีรกถาวัตถุ พระไตรปฎก เลมที่ ๓๗ ขอ ๑ หนา ๑ มีเนื้อหา คือ เปนคัมภีร ที่พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ ประธานการจัดทําสังคายนา ครั้งที่ ๓ เรียบเรียงขึ้น เพื่อแกความเห็นผิดของนิกายตาง ๆ ที่เกิดในยุคนั้น และ ชี้ความเห็นที่ถูกตองตามหลักคําสอนของพุทธศาสนาเถรวาท (๖) บทพระยมก เป น การนํ า บาลี ม าจากคั ม ภี ร  ย มก พระไตรปฎก เลมที่ ๓๘ ขอ ๑ หนา ๑ มีเนื้อหา คือ ตั้งคําถามยอนเปน คู ๆ เปนการอธิบายหลักธรรมดวยวิธีถาม-ตอบ เชน คูที่ ๑ ถามนําวา สภาวธรรมเหลาใดเหลาหนึ่งเปนกุศล สภาวธรรมเหลานั้นทั้งหมดเปน กุศลมูลใชหรือไม (คําตอบคือ ไมใช เพราะกุศลมี ๓ คือ อโลภะ อโทสะ และอโมหะ) แลวยอนถามวา สภาวธรรมเหลาใดเหลาหนึ่งเปนกุศลมูล สภาวธรรมเหลานั้นทั้งหมดเปนกุศลใชไหม (คําตอบคือ ใช แสดงวา กุศลธรรมมีมากกวาก ุศลมูล) (๗) บทพระมหาปฏฐาน เปนการนําบาลีมาจากคัมภีรปฏฐาน พระไตรปฎก เลมที่ ๔๐ ขอ ๑ หนา ๑ มีเนื้อหา คือ แสดงใหเห็นวา สิ่งทั้งหลายทั้งปวงสัมพันธกัน เปนเหตุเปนปจจัยแกกัน โดยปจจัย ๒๔ ประการ ตอไปนี้ ทานทั้งหลายไดไปรวมงานศพคงไมตองสงสัยแลววา พระทานสวดอะไรกัน

ภาพจาก www.andaman2011.fix.gs


28

เรื่องเลาทั่วทิศ

กรมการศาสนา

ยกระดับแผนปฏิบัติการ

สงเสริมคุณธรรมจริยธรรมประจําป ๒๕๕๖ เปนแผนแหงชาติที่เขาถึงประชาชนทุกระดับ จากปญหาของสังคมไทยในปจจุบัน ซึ่งเปนสังคม

ที่เห็นคุณคาทางวัตถุมากกวาคุณคาทางจิตใจ คนไทยในยุค โลกาภิวตั นจงึ มีปญ หาความเสือ่ มทางดานจิตใจเกิดขึน้ มากมาย เชน มีพฤติกรรมการแสดงออกทีร่ นุ แรง ขาดเมตตา ไรความมีนาํ้ ใจ ตกเปนทาสของประเทศทุนนิยมที่ผลิตเครื่องอุปโภคบริโภค มาเปนเหยื่อลอ สนับสนุนใหเกิดคานิยมบริโภคผานสื่อตาง ๆ โดยปราศจากการควบคุม เกิดการแขงขันเอารัดเอาเปรียบ ไมคาํ นึงถึงคุณธรรมจริยธรรม นิยมความหรูหราฟุม เฟอย เกิดการ กระทําทุจริตตอหนาที่การงาน เสพสิ่งเสพติด ลุมหลงการพนัน โสเภณี โรคเอดส ละเลยดานศาสนา และประเพณี หาความ สงบสุขทางใจไมได เดินเขาสูสิ่งที่เรียกวา อบายมุขไดงาย มากกวาการเดินทางเขาสูศาสนา เพื่อใหชีวิตไดพบกับความสุข ความเจริญ ซึ่งปญหาดังกลาวมีสาเหตุมาจากปจจัยหลาย ประการที่ ซั บ ซ อ น ดั ง นั้ น เพื่ อ ช ว ยลดผลกระทบทางสั ง คม และเศรษฐกิจ ที่จะเกิดตามมาได ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดี กรมการศาสนา จึงเห็นวา ประเทศไทยจําเปนตองมีแผนสงเสริม คุณธรรมจริยธรรม เพื่อปองกันและเตรียมความพรอมอยาง ตอเนื่องโดยถือวาปญหาสังคมดังกลาวเปนปญหารวมของ ประเทศ ที่ตองรวมมือกันปองกันและแกไขอยางใกลชิด และ ต อ เนื่ อ ง หน ว ยงานทุ ก ภาคส ว นทั้ ง ภาครั ฐ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ภาคเอกชน และภาคประชาสั ง คม ภายในประเทศ ต อ ง ตระหนักถึงความสําคัญ และรวมกันจัดทําแผนยุทธศาสตรเพื่อ ปองกัน และแกไขปญหาสังคมดังกลาว แผนยุทธศาสตรของ กรมการศาสนา จึงมีความสําคัญในการเชื่ อมประสานและ

สนับสนุนการจัดทําแผนของจังหวัด ทีจ่ ะนําปญหาความตองการ ของประชาชนไปสูรัฐบาล และมีการเชื่อมโยงระบบแผนจาก ระดับชาติ สูร ะดับหนวยงานและระดับพืน้ ทีท่ ชี่ ดั เจน ทําใหความ เชือ่ มโยงของการพัฒนาจากระดับหมูบ า น/ชุมชน สูร ะดับอําเภอ ไปจนถึงระดับจังหวัด ไมมีชองวาง และสงผลใหการพัฒนา พื้นที่มีการบูรณาการแผนงาน/โครงการ ที่เปนรูปธรรมโดยมี กลไกที่สําคัญ คือ แผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในระดับชาติ เปนเครื่องมือสําคัญ ในปงบประมาณ ๒๕๕๖ ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดี กรมการศาสนา จึงมีแนวคิดทีจ่ ะปรับปรุงเปลีย่ นแปลงและยกระดับ “แผนปฏิบตั กิ ารสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมประจําป ๒๕๕๖ ของ กรมการศาสนา” เปน “แผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมแหงชาติ ประจําป ๒๕๕๖” เนื่องจากปญหาทางสังคมที่เปนปญหารวม ของคนทั้งประเทศดังกลาวแลว และยังเปนภาระหนาที่ของ กรมการศาสนา คือ การดําเนินงานดานศาสนา ซึ่งเปน ๑ ใน ๓ สถาบันหลักของชาติ ที่มีความสําคัญยิ่งตอประชาชน คนไทยทั้งประเทศ โดยทําหนาที่ทํานุบํารุง สงเสริมและให ความอุปถัมภคุมครองกิจการดานพระพุทธศาสนาและศาสนา อื่น ๆ ที่ทางราชการรับรอง สงเสริมความเขาใจอันดีและ สรางความสมานฉันทระหวางศาสนิกชนของทุกศาสนา ตลอดจน ส ง เสริ ม พั ฒ นาความรู  คู  คุ ณ ธรรมและดํ า เนิ น การให ค นไทย นําหลักธรรมของศาสนามาปรับใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ใหเปนคนดีมคี ณ ุ ธรรม ดังนัน้ เปาหมายของการดําเนินงานของ กรมการศาสนา คือ ประชาชนคนไทยทั้งแผนดิน ๖๕ ลานคน


29 แผนส ง เสริ ม คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมจึ ง เป น แผนงานของคนทั้ ง ประเทศ ที่จะตองมีสวนรวมขับเคลื่อนงานในมิติศาสนาให มี บ ทบาทต อ การเสริ ม สร า งคุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนไทยให มี ความสุขอยางแทจริง ทั้งรางกายและจิตใจ โดยมีแผนสงเสริม คุณธรรมฯ เปนเครื่องชี้นําเพื่อเปนกรอบที่บงบอกถึงนโยบาย ทิ ศ ทาง ตลอดจนแนวทางการดํ า เนิ น การพั ฒ นาคุ ณ ธรรม จริยธรรมของประเทศ เพือ่ ใหหนวยงานทุกภาคสวน ตัง้ แตระดับ ทองถิ่นจนถึงระดับประเทศ ที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน ไดทราบและใชเปนแนวทางในการดําเนินการโครงการ/กิจกรรม ไดอยางเปนระบบแบบบูรณาการ รวมทั้งจัดสรรทรัพยากร ใหเปนไปในทิศทางเดียวกันและเสริมกําลังกัน โดยกําหนด กรอบยุทธศาสตร ใหครอบคลุมตั้งแตระดับชุมชนจนถึงระดับ ภู มิ ภาคอาเซี ย นอย า งชั ด เจน เน น กระบวนการมี ส  ว นร ว ม ที่ใหหนวยงานที่เกี่ยวของทุกภาคสวนไดรวมกําหนดประเด็น ยุทธศาสตร กลยุทธ และแผนงาน โครงการ เพื่อใชเปนแนวทาง ในการดําเนินการ ซึ่งจะทําใหการนําแผนไปสูการปฏิบัติ และ การติดตามประเมินผลมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้นโดยมุงหวังให “แผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมแหงชาติประจําป ๒๕๕๖” เปน แผนที่จะทําใหการบริหารจัดการงานดานศาสนา การสงเสริม คุณธรรมจริยธรรม และการเสริมสรางความสมานฉันทของ ประเทศไทยบังเกิดประสิทธิภาพ สามารถเตรียมพรอมทรัพยากร บุคคล ในการปองกันและบรรเทาวิกฤติศีลธรรมในสังคมใหลด นอยลงไดเปนอยางดี ตลอดจนสามารถปองกันและลดความ สูญเสียกําลังคนที่เปนเด็กและเยาวชนของชาติมิ ใหลุมหลง เสพติดในสิ่งที่เปนภัยตอชีวิตและทรัพยสินของประชาชน ให เกิดขึ้นนอยที่สุด สําหรับการดําเนินการเพื่อจัดทํา “แผนสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมแหงชาติประจําป ๒๕๕๖” ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดี

กรมการศาสนา ไดเล็งเห็นความสําคัญของการจัดทําแผน ปฏิบัติการ (Action Plan) ซึ่งถือเปน Strategic Planning หรือ “แผนยุทธศาสตรของกรมการศาสนา” ซึ่งเปนเสมือน เครื่องคํ้าประกันวาเปาหมายในการทํางานในแตละปมีโอกาส บรรลุ เ ป า หมายตามที่ กํ า หนดไว กล า วคื อ เป น สิ่ ง ยื น ยั นว า เปาหมายที่ตั้งไวนั้นมีความเปนไปได เพราะมีแผนงานรองรับ ที่ชัดเจน และถาแผนปฏิบัติการดําเนินการไดสําเร็จก็จะสงผล ตอความสําเร็จของกรมการศาสนาเชนกัน ดังนั้น การวางแผน จึงเปนการหาทางเลือกที่ดีที่สุดในการปฏิบัติงาน โดยใชปจจัย ตาง ๆ และตัง้ อยูบ นเหตุผลเพือ่ ใหการดําเนินงานของกรมการศาสนา ในอนาคตเปนไปโดยเรียบรอยและมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อใหสอดคลองกับบทบาทภาระหนาที่และวัตถุประสงคของ องคกร รวมทั้งเพื่อใหคนทํางาน ซึ่งหมายถึง ทั้งผูบริหารและ ผูปฏิบัติงาน ในกรมการศาสนาจะตองมีแนวทางในการจัดทํา แผนที่เปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยจะตองรวมกันวางแผน ในทุกระดับ มีการระดมความคิดและประสานงาน ทั้งจากบน ลงลาง (Top down) และจากลางขึ้นบน (Bottom up) ในลักษณะ ของการระดมความคิด (Brainstorming) ตองเปดกวางทาง ความคิด ไมมองโลกในดานเดียว ไมมีอคติสวนตัวหรือลําเอียง เห็นแกตวั และสิง่ สําคัญอธิบดีกรมการศาสนา ไดเนนถึงคานิยม หรือวัฒนธรรมขององคกร วาจะตองยอมรับการเปลี่ยนแปลง จากภายนอก มี การปรั บ ตั ว ให รั บ กั บ การเปลี่ ย นแปลง ทั้ ง ทางบวกและทางลบ มีความตั้งใจและความจริงใจตองานที่ทํา การดําเนินงานจึงจะประสบผลสําเร็จ นอกจากนี้ ดร.ปรีชา กันธิยะ ไดเนนยํ้าในเรื่องของการ จัดทําแผนปฏิบัติการวาจะตองตั้งขอสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ว า กรมการศาสนาจะไปในทิ ศ ทางใด ซึ่ ง เป น การวางแผน ในป จ จุ บั น เพื่ อ การปฏิ บั ติ ใ นอนาคต ซึ่ ง เป น แผนที่ มี ค วาม


30

เปนไปไดและใกลเคียงกับการที่จะปฏิบัติจริงใหมากที่สุด เพื่อ ใหเกิดความมัน่ ใจวา จะมีแนวทางในการสรางความสําเร็จใหกบั เปาหมายที่กําหนดไว ตลอดจนเพื่อปองกันและลดความเสี่ยง ลดความผิ ด พลาดและลดความซํ้ า ซ อ นที่ อาจจะเกิ ด ขึ้ น ใน การทํางานไวลวงหนา ลดภาระในการตัดสินใจและจะชวยให ผูป ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วของไดทาํ งานอยางมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ซึ่งลักษณะของแผนปฏิบัติการที่ดี นั้นจะตองมีความคลองตัว (Flexibility) มี ค วามครอบคลุ ม (Comprehensiveness) มีความคุมคา (Cost Effectiveness) มีความชัดเจน (Celerity or Specificity) มีความสอดคลอง (Relevance) มีความตอ เนือ่ ง (Continuous Process) และมีลกั ษณะเนนอนาคต (Future Oriented) สวนขั้นตอนในการจัดทําแผนปฏิบัติการนั้น จะตองมี การวิเคราะหความจําเปนของการจัดทําแผนปฏิบัติการ (Action Plan Needs)เชิงกลยุทธของกรมการศาสนา มีการจัดลําดับ ความสําคัญของแผนปฏิบัติการ ซึ่งจะชวยเปนขอมูลใหกับกรม การศาสนา ในการปรับเพิม่ /ลดงบประมาณของแตละแผนงานได และเพื่อสรางความมั่นใจใหผูบริหารไดเห็นวา แผนปฏิบัติการนี้ จะประสบความสําเร็จจะตองมีการวิเคราะหโอกาสความสําเร็จ ของแผนปฏิบัติการนี้ดวย การจัดทําแผนปฏิบัติการก็จะกลาย เปนเครื่องมืออันทรงประสิทธิภาพใหทั้งกับผูบริหารและคน ทํางานในทุกสายงานอยางแทจริง กรมการศาสนา จึงไดมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดทําแผนปฏิบตั งิ านและแผนการใชจา ยงบประมาณป ๒๕๕๖” ณ โรงแรมอัลไพนกอฟล รีสอรท จังหวัดลําพูน ในวันที่ ๓-๖ ตุลาคม ๒๕๕๕ โดย ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนา ไดใหกรอบหรือทิศทางของแผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม แหงชาติ โดยใหความสําคัญกับพระบรมราโชวาทและพระราช ดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวโดยใหนอมนํามาเปน เครื่องหลอหลอมและยึดเหนี่ยวจิตใจของคนไทยทั้งแผนดิน

กับทั้งยังใหความสําคัญกับ “ศาสนา” ซึ่งมีสวนสําคัญตอการ พัฒนาประเทศเปนอยางยิ่ง เพราะศาสนาเปน ๑ ใน ๓ สถาบัน หลักที่สําคัญของชาติ เนื่องจากศาสนามีความสําคัญตอทุกชีวิต เปนเครือ่ งยึดเหนีย่ วทางจิตใจใหคนในชาติประพฤติปฏิบตั ิในทาง ที่ดีงาม ทุกศาสนาลวนแตสอนใหคนประพฤติดีและคอยประคับ ประคองจิตใจใหดงี าม มีความศรัทธาในการบําเพ็ญตนตามรอย พระศาสดาของแตละศาสนา แมวาแตละศาสนาจะมีความเชื่อ และการปฏิบัติที่แตกตางกัน แตหลักการสําคัญและเปาหมาย ของทุกศาสนา มีจดุ รวมเดียวกัน คือ เชือ่ มโยงเกือ้ กูลกัน สงเสริม สนับสนุน และยอมรับการอยูร ว มกันดวยความเมตตา อภัย และ สันติ ในประเทศไทยศาสนิกชนทุกศาสนามีเสรีภาพในการนับถือ ศาสนาตามความเชื่อความศรัทธา และสามารถปฏิบัติศาสน กิจได โดยไมมีการกีดกัน หรือมีความขัดแยงระหวางศาสนา แผนดินไทยจึงไมมีความขัดแยงหรือเกิดความรุนแรง อันเนื่อง มาจากความแตกตางทางศาสนา และประเทศไทยยังมีจุดเดน คือ เรามีพระมหากษัตริยไทยทรงเปนองคเอกอัครศาสนูปถัมภก ของทุกศาสนา มิ ติ ท างศาสนาจึ ง สามารถทํ า หน า ที่ เ ป น ตั ว ประสาน ให เ กิ ด สั น ติ ภาพได ศาสนาจึ ง เป น “ยาทิ พ ย ห รื อ นํ้ า ทิ พ ย ” ทีส่ ามารถแกไดทกุ โรค สามารถสรางความเจริญทางจิตใจควบคู ไปกับความรุงเรืองทางเศรษฐกิจและความมั่นคงทางการเมือง ได ทําใหประเทศชาติมีความสงบสุข สังคมไทยจะมีแตความ สามัคคีเปนหนึ่งเดียวที่มีความมั่นคง ยึดโยงรอยรักดวยหลัก ธรรมของศาสนา เพราะโดยเนื้อแทของหลักธรรมในทุกศาสนา มีเปาประสงคเดียวกัน คือ การทําความดี ละเวนความชั่ว การแสดงความรักความเมตตา และเสียสละเพื่อเพื่อนมนุษย การพัฒนาตนเองใหดีขึ้น ขยันหมั่นเพียร ใหอยูรวมกันอยาง สงบสุข ไมเบียดเบียนกัน ตองการชวยเหลือเพื่อนมนุษ ย มีความเอือ้ อาทร รูส าํ นึกทีจ่ ะไมหาประโยชนใหตวั เองโดยไมคดิ ถึง คนอื่น หลักคําสอนศาสนธรรมเหลานี้จะเปนสวนหนึ่งที่จะทําให ผูนับถือศาสนาตางกันก็สามารถที่จะอยูรวมกันไดอยางสงบสุข โดยมีศาสนาเปนบรรทัดฐานของสังคมที่ใชปฏิบัติเปนวิถีชีวิต ในการดํารงอยูรวมกัน นอกจากนี้ศาสนายังมีประโยชน คือชวย ใหสมาชิกของสังคมสงบสุข ทําใหผูนับถือเปนคนดี มีศีลธรรม เปนบอเกิดของศิลปะ วัฒนธรรม เปนทีพ่ งึ่ ทางจิตใจของสมาชิก ในสังคม เปนแนวทางในการดําเนินชีวิตเพื่อใหเกิดความสุข ซึ่งทุกศาสนาตางก็มีคุณคาทั้งนั้น เนื่องจากหลักธรรมคําสอน ทุ ก ศาสนาอํ า นวยประโยชน สุ ข ต อ สั ง คมไทยและสั ง คมโลก คุณธรรมหรือศาสนาจึงเปนกลไกสําคัญตอการพัฒนาประเทศ ในทุกดาน ทั้งนี้เพื่อความมั่นคงและความสงบสุขของประเทศ นอกจากนี้ การดําเนินงานโครงการทุกโครงการใน ป ๒๕๕๖ จะมุงสูการแกปญหาสังคมในทุกบริบทสามารถตอบ โจทยสังคมในเปาหมายที่ดําเนินการไดอยางชัดเจน เรงสราง เสริมตอยอด บูรณาการโครงการทีเ่ ปนนโยบายสําคัญของรัฐบาล ใหบรรลุผล รวมทั้งสงเสริม สนับสนุนโครงการที่เปนที่ตองการ ของประชาชนใหสามารถขยายฐานการดําเนินการไปในวงกวาง


31 ทั่วประเทศ สวนการขับเคลื่อนแผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม แหงชาติ ประจําป ๒๕๕๖ สูก ารปฏิบตั ิ จะเนนสรางและสนับสนุน เครือขายทุกระดับในทุกฐาน อันไดแก วัด ชุมชน โรงเรียน โดยเฉพาะไดมีการจัดตั้ง “ พุทธสภา” ซึ่งเปนเครือขายภาค ประชาชนที่มาจากจิตอาสา ที่จะมารวมแรงรวมใจนํามิติศาสนา ไปพัฒนาพื้นที่ใหมีความเขมแข็ง โดยในทุกโครงการ/กิจกรรม จะเปดโอกาสและสนับสนุนใหภาคประชาชนเขามามีสวนรวม ในการดําเนินงานดานศาสนาในทุกโครงการ รวมกับหนวย งานในพื้นที่เปนเจาภาพหลัก ซึ่งจะเปนทางออกหนึ่งที่จะทําให ทองถิ่นของไทยมีความเขมแข็งมากยิ่งขึ้น โดยกรมการศาสนา จะเนนดําเนินการ ใน ๓ บทบาท คือ บทบาทแรก จะดําเนินการใหเปนตัวอยางและขยายวงกวาง สูป ระชาชนซึง่ จะเปนผูด าํ เนินการสานตอโครงการไปทัว่ ประเทศ บทบาทที่ ๒ กรมการศาสนาจะรวมกับองคกรเครือขายและ ภาคประชาชนดําเนินโครงการเพื่อสรางกระแสสังคม บทบาท ที่ ๓ กรมการศาสนาจะสงเสริมภาคประชาชนที่ทําดีอยูแลว ใหมีกําลังใจที่จะดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยใหการสนับสนุน ในเรื่องตาง ๆ มีการเชิดชูเกียรติและใหรางวัลแกประชาชน ผูส รางคุณประโยชนตอ ชุมชนทองถิน่ โดยมีสาํ นักงานวัฒนธรรม จังหวัด วัฒนธรรมอําเภอ เปนผูดําเนินการในพื้นที่ และมีสวน สําคัญตอการผลักดันโครงการตางๆสูอ งคกรปกครองสวนทองถิน่ เพื่อใหเขาถึงจุดมุงหมายสุดทาย คือ “ประชาชน” อันเปนการ สรางธรรมะทั้งแผนดิน ใหประชาชน ดํารงชีวิตอยางมีความสุข ประเทศไทยมีความมั่นคงอยางยั่งยืน ในการจัดทําแผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมแหงชาติ ประจําป ๒๕๕๖ มีวัตถุประสงค ๔ ประการคือ ๑. เพื่อผลักดันใหเกิดกระบวนการแปลงแผนสงเสริม คุณธรรมจริยธรรมแหงชาติซึ่งเปนแผนยุทธศาสตร ไปสูการ ปฏิบัติของหนวยงานภาครัฐ และองคกรเครือขายที่เกี่ยวของ โดยมีเปาหมายสูงสุดเพื่อใหประชาชนมีคุณธรรมจริยธรรม และ มีภูมิคุมกันที่เขมแข็งสามารถปองกันปญหาความเสื่อมโทรม ของสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ

๒. เพื่อบูรณาการการดําเนินงานกับหนวยงานภาครัฐ และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ ใหสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค และเปาหมายของแผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมแหงชาติ ที่มีลักษณะเปนองครวม ๓. เพือ่ เสริมสรางบทบาทการมีสว นรวมของทุกภาคสวน ในทุกระดับ ในการขับเคลื่อนแผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม แหงชาติสูการปฏิบัติ ดวยการจัดทําแผนปฏิบัติการในระดับ ตาง ๆ ที่บูรณาการเชื่อมโยงกับแผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม แหงชาติ อยางเปนระบบ และเกิดเอกภาพในระดับประเทศ ๔. เพื่อใหมีการติดตามประเมินผลอยางเปนระบบ และ สรางตัวชี้วัดใหเปนเครื่องมือในการติดตามประเมินผลอยางมี ประสิทธิภาพ ในแผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมแหงชาติประจําป ๒๕๕๖ กรมการศาสนา มีแนวทาง “การสงเสริมคุณธรรมทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และผลสัมฤทธิ์” โดยกรมการศาสนาไดพิจารณาจากปจจัย ทางกฎหมาย แผนพัฒนาประเทศและนโยบายของรัฐบาล กลาว คือ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได บัญญัติใหภาครัฐตองใหความอุปถัมภและคุม ครองพระพุทธศาสนา ซึง่ เปนศาสนาทีป่ ระชาชนชาวไทยสวนใหญนบั ถือมาชานานและ ศาสนาอื่น ตองสงเสริมความเขาใจอันดีและความสมานฉันท ระหวางศาสนิกชนของทุกศาสนา ทัง้ สนับสนุนการนําหลักธรรม ของศาสนามาใชเพือ่ เสริมสรางคุณธรรมและพัฒนาคุณภาพชีวติ และในภาคประชาชน ใหบคุ คลยอมมีเสรีภาพในการนับถือนิกาย ของศาสนาหรือลัทธินิยมในทางศาสนา และยอมมีเสรีภาพ ในการปฏิบัติศาสนธรรม ศาสนบัญญัติ หรือปฏิบัติพิธีกรรม ตามความเชื่อของตน รวมทั้งมีหนาที่พิทักษรักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยและการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข ตามรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ เพื่อมุงหวังใหประชาชนชาวไทยทํานุบํารุงรักษาศาสนา ทุกศาสนาใหสถิตสถาพร ตลอดจนธํารงรักษาไวซึ่งเอกราช และความมั่นคงของชาติ


32

ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) มุ  ง เน น ให ค นในสั ง คมอยู  ร  ว มกั น อยางสงบสุข โดยกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาที่ เหมาะสม พรอมทั้งเสริมรากฐานของประเทศดานตาง ๆ ให เขมแข็งควบคูไปกับการพัฒนาคนและสังคมไทยใหมีคุณภาพ เพื่อนําไปสูการพัฒนาประเทศที่มั่นคงและยั่งยืน ซึ่งสอดคลอง กับงานดานศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในดานยุทธศาสตรการ สรางความเปนธรรมในสังคมไทย ไดใหความสําคัญกับการสาน ความสัมพันธของคน ใหมีคุณคาและตระหนักถึงผลประโยชน ของสังคม สรางคานิยมใหมทยี่ อมรับรวมกันบนฐานของความไว เนื้อเชื่อใจและเกื้อกูลกันในสังคม รวมทั้งยุทธศาสตรการพัฒนา คนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน ใหความสําคัญ กับการพัฒนาคุณภาพคนไทยใหมภี มู คิ มุ กันตอการเปลีย่ นแปลง มุง พัฒนาคุณภาพคนไทยทุกชวงวัยปลูกฝงเรือ่ งการพรอมรับฟง ความคิดเห็นจากผูอื่นและมีจิตใจที่มีความซื่อสัตย มีจิตสํานึก ทีม่ คี วามรับผิดชอบตอสังคม มีระเบียบวินยั ควบคูก บั การเตรียม ความพรอมสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยสรางเครือขาย ความรวมมือกับประชาคมโลก พัฒนาบทบาทของสถาบัน หลักทางสังคมใหเอื้อตอการพัฒนาคน สรางคานิยมใหคนไทย ภูมิใจในวัฒนธรรมไทย และยอมรับความแตกตาง หลากหลาย ทางวัฒนธรรม ลดปญหาความขัดแยงทางความคิด และสราง ความเปนเอกภาพในสังคม

นอกจากนี้ ในแผนบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๕๒๕๕๘ ไดกลาวถึงนโยบายดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม โดยรัฐบาลมุงมั่นจะสรางความสามัคคี ปรองดองใหเกิดใน สังคมไทย รัฐบาลจะดําเนินการใหศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม มีบทบาทนําในการรวมเทิดทูนสถาบันหลักของชาติ สนับสนุน บทบาทของคณะสงฆและผูนําทางศาสนา ใหเปนที่ยึดเหนี่ยว จิตใจของประชาชน รวมสรางประเทศไทยใหเปนประเทศ ที่ อ ยู  ส บาย บุ ค ลากรทางด า นศาสนาให ไ ด รั บ การดู แ ลให มี คุณภาพชีวิตที่ดี พรอมทั้งเสริมสรางความสัมพันธอันดีกับ อารยประเทศและประชาคมอาเซียน ดังนั้นเพื่อใหการสืบสาน สรางสรรค งานดานศาสนา ให เ กิ ด ความเข ม แข็ ง ต อ สถาบั น ครอบครั ว ชุ ม ชน สั ง คม ประเทศชาติ ใหเปนประเทศทีอ่ ยูส บาย กรมการศาสนา จึงไดจดั ทําแผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมแหงชาติเพือ่ ใหการดําเนินงาน ของกรมการศาสนามีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ เพื่อ เปนแนวทางการดําเนินงานของสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด เครือขายในทุกภาคสวน โดยเฉพาะอยางยิง่ องคกรปกครองสวน ทองถิ่น ที่มีเปาหมายรวมกันในการขับเคลื่อนงานดานศาสนา ลงสูพื้นที่ชุมชน โดยมุงหวังใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประชาชน ในพื้นที่ จึงไดกําหนด วิสัยทัศน ยุทธศาสตร เปาประสงค เปาหมายของการดําเนินการโดยยอ สําหรับปงบประมาณ ๒๕๕๖ ดังนี้ วิสัยทัศนของกรมการศาสนาในป ๒๕๕๖ : เปนองคกร หลักในการขับเคลื่อนเครือขายทางศาสนา สงเสริมธรรมะ ทัง้ แผนดิน สรางความสมานฉันทและคนดีสสู งั คม ภายใตหลักธรรม ทางศาสนา และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กําหนดยุทธศาสตร รวม ๔ ยุทธศาสตร ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ ๑ การสรางความพรอมและเชื่อมโยงการ เปนประชาคมอาเซียนดวยมิติศาสนา โดยมีวตั ถุประสงค เพือ่ สรางความตระหนักรูข องคนไทย ในดานศาสนาสูประชาคมอาเซียน เพื่อสงเสริมความรวมมือ ระหวางประเทศอาเซียนในดานศาสนา เพื่อสรางความเขาใจ ในเรื่องความแตกตางทางดานศาสนาระหวางประเทศในกลุม ประชาคมอาเซียน และเพื่อสรางชองทางสื่อสารเชื่อมโยงขอมูล ทางดานศาสนาระหวางประเทศในกลุมประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตรที่ ๒ การสงเสริมการเรียนรูและสืบทอด พระราชพิธี พระราชกุศล รัฐพิธี และ ศาสนพิธีไวเปนมรดก ทางภูมิปญญาและมรดกทางวัฒนธรรมดํารงอยูคูสังคมไทย โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่ อ ให การปฏิ บั ติ รั บ สนองงาน พระราชพิธี พระราชกุศล รัฐพิธี และศาสนพิธี ถูกตองตาม พระราชประเพณีและสมพระเกียรติ เพื่อใหการปฏิบัติศาสน พิธีของเจาหนาที่ผูปฏิบัติเปนไปอยางถูกตองและมีมาตรฐาน เดียวกัน เพือ่ สรางเครือขายศาสนพิธกี รสนับสนุนการปฏิบตั งิ าน กรมการศาสนาในพื้นที่จังหวัดตางๆ ไดถูกตองและเหมาะสม และเพื่อเผยแพรองคความรูดานศาสนาและเพิ่มสมรรถนะการ ปฏิบัติ ศาสนพิธีแกผูทําหนาที่ปฏิบัติงานศาสนพิธี


33 ยุทธศาสตรที่ ๓ การสนับสนุนสงเสริมใหประชาชน มีความรูความเขาใจหลักธรรมทางศาสนานําไปปรับใชในชีวิต ประจําวันเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาศาสนสถานใหมั่นคง แข็งแรง สะอาด รมเย็นเปนแบบอยางที่ดี และเปนศูนยกลาง การอนุรักษสิ่งแวดลอม เปนแหลงทองเที่ยว ศูนยกลางพัฒนา จิตใจ และศูนยการเรียนรูข องชุมชน และเพือ่ พัฒนาศาสนสถาน ใหเปนศูนยกลางความรวมมือของครอบครัว ชุมชน และสังคม ในการศึกษาอบรมคุณธรรมจริยธรรม และนําหลักธรรมไปสู การปฏิบัติจนไปสูวิถีชีวิต ยุทธศาสตรที่ ๔ การสรางความเขมแข็งในระบบการ บริหารจัดการดานศาสนา โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหหนวยงาน/องคกรเครือขาย และบุคลากรทางศาสนามีการบริหารจัดการดานศาสนาที่มี ประสิทธิภาพและมุงผลสัมฤทธิ์ของงานอยางมีคุณภาพ เพื่อสง เสริมการพัฒนาระบบบริหารจัดการดานศาสนาโดยใชเทคโนโลยี สารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อสงเสริมใหมีการศึกษาวิจัยทางดาน ศาสนาและสามารถนําผลการวิจัยมาปรับใชในการพัฒนางาน ดานศาสนาและพัฒนาการบริหารจัดการองคกรและเพื่อพัฒนา ระบบการติดตามประเมินผลโครงการและกิจกรรมดานศาสนา ใหมีประสิทธิภาพ เปาประสงคของยุทธศาสตร ๑. ประเทศไทยและประเทศสมาชิกอาเซียนมีความ เขาใจและเคารพในความแตกตางทางศาสนาภายใตประชาคม อาเซียน ๒. งานพระราชพิธี พระราชกุศล รัฐพิธี และศาสนพิธี ไดรับการปฏิบัติอยางถูกตองตามโบราณราชประเพณี และเปน ไปอยางสมพระเกียรติ ๓. ประชาชนมีความรูค วามเขาใจหลักธรรมทางศาสนา นําไปปรับใชในชีวิตประจําวันเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ๔. ศาสนสถานไดรับการพัฒนาเปนแหลงเรียนรูดาน ศาสนา และสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมของชุมชน ๕. ระบบการบริหารจัดการศาสนาภายในองคกรและ เครือขาย ไดรบั การพัฒนาใหมศี กั ยภาพสามารถนําหลักคําสอน ทางศาสนาไปสูประชาชนอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับการดําเนินการตามโครงการ ในป ๒๕๕๖ กรม การศาสนา ไดมีการจัดกลุมโครงการใหมเพื่อใหสอดคลองกับ สาระและจุดมุง หมายของแตละกลุม โครงการ เพือ่ มุง สูเ ปาหมาย หลักตามยุทธศาสตรที่กําหนด ซึ่งไดรวมเปนกลุมโครงการหลัก มีจํานวนรวมทั้งสิ้น ๑๔ โครงการหลัก ภายใต ๓ ยุทธศาสตร ดังนี้ ๑. โครงการ ภายใตยุทธศาสตร “สรางความพรอมและ เชื่อมโยงการเปนประชาคมอาเซียน” แผนงาน : ฟนฟูความสัมพันธและพัฒนาความรวม มือกับประเทศในภูมิภาค

ผลผลิต : ศาสนิกชนอาเซียนไดรับการถายทอด แลกเปลี่ยนองคความรูดานศาสนา งบประมาณ ๒๔,๒๐๐,๐๐๐ บาท ๑ โครงการความรวมมือศูนยศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย ๒ โครงการคายเยาวชนศาสนิกสัมพันธแหงอาเซียน ๒. โครงการ ภายใตยุทธศาสตร “สงเสริมการเรียนรู และสืบทอดพระราชพิธี พระราชกุศล รัฐพิธี และ ศาสนพิธี ไวเปนมรดกทางภูมิปญญาและมรดกทางวัฒนธรรมดํารงอยู คูสังคมไทย” แผนงาน : อนุรกั ษ สงเสริมและพัฒนาศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ผลผลิต : งานพระราชพิธี พระราชกุศล รัฐพิธีไดรับ การสืบทอด งบประมาณ ๓๕,๓๐๐,๒๐๐ บาท ๑ โครงการธํารงรักษาไวซงึ่ ศาสนพิธแี ละงานศาสนูปถัมภ ๑.๑ โครงการสงเสริมการเรียนรูศาสนพิธี ๑.๒ โครงการสงเสริมผูส บื ทอดพิธกี รรมทางศาสนา ตามความเชื่อและประเพณีทองถิ่น ๑.๓ โครงการฝกหัดนักสวดพระมหาชาติคําหลวง ๑.๔ โครงการฝกหัดสวดโอเอวิหารราย ๑.๕ โครงการงานศาสนูปถัมภพุทธศาสนสถาน ตามพระบรมราชโองการ ๓. โครงการ ภายใตยุทธศาสตร “สนับสนุน สงเสริมให ประชาชน มีความรูความเขาใจในหลักธรรมทางศาสนาและนํา ไปปรับใชในชีวิตประจําวันเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต” แผนงาน : อนุรกั ษ สงเสริมและพัฒนาศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ผลผลิต : ศาสนิกชน กลุม เปาหมายไดรบั ความรูห ลัก ธรรมทางศาสนา งบประมาณ ๓๕๒,๐๗๒,๙๐๐ บาท ๑ โครงการบํารุงฐานะจุฬาราชมนตรี ๒ โครงการสงเสริมคุณธรรมในองคกรเครือขาย ๒.๑ โครงการอุดหนุนองคการทางพระพุทธศาสนา ๒.๒ โครงการคลินิกคุณธรรม ๒.๓ โครงการจัดกิจกรรมทางศาสนาคริสต พราหมณ-ฮินดู และซิกข ๒.๔ โครงการจัดกิจกรรมทางศาสนาอื่น


34

๖ โครงการจัดงานเนือ่ งในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

๗ ๘ ๙ ๓ โครงการสรางเสริมวิถีชีวิตที่ดีงามภายใตธรรมะ

ทั้งแผนดิน ๓.๑ โครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ๓.๒ โครงการจัดงานศาสนิกสัมพันธ ๓.๓ โครงการเขาวัดปฏิบัติธรรม ๓.๔ โครงการสงทายปเกาวิถีไทย ตอนรับปใหม วิถีธรรม ๔ โครงการเสริมสรางศีลธรรมสําหรับเด็ก เยาวชน และประชาชน ๔.๑ โครงการบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุสามเณร และบวชศีลจาริณีภาคฤดูรอน ๔.๒ โครงการคายเยาวชนสมานฉันท ๔.๓ โครงการยกยองผูทําคุณประโยชนตอ พระพุทธศาสนา ๔.๔ โครงการสวดมนตหมูสรรเสริญพระรัตนตรัย ทํานองสรภัญญะ ๔.๕ โครงการประกวดบรรยายธรรม ๔.๖ โครงการศูนยอบรมศาสนาอิสลาม และจริยธรรมประจํามัสยิด ๔.๗ โครงการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนา วันอาทิตย ๔.๘ โครงการศูนยการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรม สําหรับเยาวชน ๕ โครงการรวมใจเทิดไทสถาบันพระมหากษัตริย ๕.๑ โครงการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ๕ ธันวาคม ๕.๒ โครงการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ๑๒ สิงหาคม ๕.๓ โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ๒๘ กรกฎาคม ๕.๔ โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ๒ เมษายน

๑๐ ๑๑

๖.๑ วันมาฆบูชา ๖.๒ วันวิสาขบูชา ๖.๓ วันอาสาฬหบูชาและวันเขาพรรษา โครงการธรรมะสูผูพิการ โครงการบูรณะศาสนสถานของศาสนาอื่น โครงการเฉลิมฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ป แหงการตรัสรู โครงการดําเนินงานกิจการฮัจย โครงการดําเนินงานคณะกรรมการสงเสริมคุณธรรม แหงชาติ

นอกจากนี้ กรมการศาสนา ไดจดั ทําวางแนวทางดําเนินการ เพื่อใหการบริหารจัดการและขับเคลื่อนแผนสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมแหงชาติประจําป ๒๕๕๖ มีประสิทธิภาพ มีความเปน เอกภาพอยางเปนรูปธรรม โดยมีกลไกในการขับเคลื่อนแผนฯ ดังนี้ (๑) กํ า หนดกลไกการขั บ เคลื่ อ น โดยมี สํ า นั ก งาน วัฒนธรรมจังหวัดเปนหนวยงานเจาภาพหลักในพื้นที่ที่มีหนา ที่รับผิดชอบอยางชัดเจน ในการกํากับดูแล บริหารจัดการ บูรณาการ ดําเนินการ ตามแผนปฏิบัติการในระดับพื้นที่และ ติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนฯอยางตอเนื่อง รวมทัง้ นําปญหาอุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ มาใชในกระบวนการปรับแผน ปฏิบัติการในระดับพื้นที่ใหเหมาะสม สอดคลองกับสถานการณ เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเกิด ประสิทธิผล (๒) ใชกลไกกระบวนการจัดทําแผนปฏิบตั กิ ารในระดับ พืน้ ที่ (Operation plan) โดยการขับเคลือ่ น และบูรณาการเขากับ มิติภารกิจงานตามอํานาจหนาที่ปกติของสํานักงานวัฒนธรรม จังหวัด และตามมิติพื้นที่ในระดับจังหวัด กลุมจังหวัด ตลอด จนมิตติ ามระเบียบวาระงานพิเศษ ทีต่ อ งอาศัยความรวมมือจาก หลายหนวยงานมารวมดําเนินการอยางมีบรู ณาการเพือ่ สามารถ จัดสรรทรัพยากรใหเกิดความสอดคลองเชื่อมโยงกันไดอยาง เปนระบบ (๓) เสริมสรางบทบาทการมีสว นรวมของภาคีเครือขาย ที่ บู ร ณาการเชื่ อ มโยงกั บ ยุ ท ธศาสตร ใ นทุ กระดั บ ให ชั ด เจน ทั้งภาครัฐ (สวนกลาง สวนภูมิภาค และทองถิ่น) รัฐวิสาหกิจ องคกรตาง ๆ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคประชา สังคม เพื่อใหยุทธศาสตรของแผนสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม แหงชาติประจําป ๒๕๕๖ สามารถขับเคลื่อนไปสูการปฏิบัติ ไดอยางเหมาะสม โดยผานกลไกการมีสวนรวมในระดับพื้นที่ ที่มีการแบงบทบาทการดําเนินงานที่ชัดเจน เพื่อใหหนวยงาน สามารถดําเนินภารกิจของตนเองและใหสนับสนุนซึ่งกันและ กันไดอยางเหมาะสม


35

(๔) กํ า หนดให กรมการศาสนาร ว มกั บ สํ า นั ก งาน วัฒนธรรมจังหวัด จัดทําฐานขอมูลแหงการเรียนรู และทําเนียบ เครือขาย ในการประสานงาน พัฒนาระบบการสื่อสาร และ กําหนดชองทางขอมูลขาวสารเชื่อมตอกับหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและภาคประชาชนในพื้นที่ (๕) จัดทํา แผนกลยุทธ “การกํากับและติดตามการ ดําเนินงานของกรมการศาสนาใหโปรงใสและมีประสิทธิภาพ” ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่อใหการขับเคลื่อนแผน การดํ า เนิ น งานตามยุ ท ธศาสตร ข องกรมการศาสนาเป น ไป อยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินผลโครงการกรมการศาสนาและใหความสําคัญกับระบบ การประสานความรวมมือและติดตามผลการดําเนินงานของ กรมการศาสนากั บ องค ก รเครื อ ข า ยทั้ ง ในส ว นกลางและ สวนภูมิภาค (๖) แตงตั้งคณะทํางานติดตามประเมินผลฯ ซึ่งมา จากผูแทนกรมการศาสนา ผูแทนหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความโปรงใสในการดําเนินงานของ กรมการศาสนา รวมทั้งนําผลสรุปของการติดตามประเมินผล มาวิเคราะหความคุมทุนของผลผลิตที่ไดรับ เพื่อปรับปรุงและ พัฒนางานใหเปนไปตามแผนงานสอดคลองกับงบประมาณ ไดรับ อันจะสงผลใหแผนการดําเนินงานของกรมการศาสนา ไปสูการปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลเพิ่มมากยิ่งขึ้น (๗) ให มี ก ารติ ด ตามประเมิ น ผล โดยการพั ฒ นา ระบบติดตามประเมินผล ซึ่งไดบูรณาการ เขากับการติดตาม ประเมินผลตามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑและวิธีการ ที่สวนราชการกําหนดขึ้น ภายใตพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลัก เกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ โดย ให มี ค วามเชื่ อ มโยง และสอดคล อ งกั บ กรอบแนวทางการ ติดตามประเมินผลของหนวยติดตามประเมินผลระดับกรม โดย กรมการศาสนาเปนหนวยงานกลางที่ทําหนาที่ประเมินผลระดับ ประเทศ โดยใชดัชนีชี้วัดความสําเร็จ และการบริหารจัดการ เพื่อการวางแผนและติดตามประเมินผล

(๘) ใหมีการตรวจสอบและติดตามผลการดําเนินงาน ตามแผนควบคูไปกับการพัฒนากลไก และกระบวนการบริหาร การเปลีย่ นแปลง ใหเกิดการบูรณาการของหนวยงานทุกภาคสวน ในการขับเคลื่อนแผนสงเสริมฯ สูการปฏิบัติอยางตอเนื่อง ดวยการจัดทําและใชแผนปฏิบัติงานในระดับตาง ๆ เปนเครื่อง มือในการขับเคลื่อนและปรับระบบการจัดสรรทรัพยากร และ งบประมาณ รวมทั้งปรับปรุงกฎระเบียบใหเอื้อตอการพัฒนา สรางองคความรู เพื่อหนุนเสริมการขับเคลื่อนใหสัมฤทธิ์ผล และใหมีการติดตามประเมินผลอยางเปนระบบ สรุป กรมการศาสนาไดมนี โยบายพัฒนาระบบการบริหาร จัดการงานดานศาสนาใหมีคุณภาพ โปรงใส โดยสงเสริมให หน ว ยงานภายในองค กรและเครื อ ข า ยมี การบริ ห ารจั ด การ โครงการแบบมุงผลสัมฤทธิ์ มีคุณภาพ คุมคา และโปรงใส ในการดําเนินงาน พรอมทั้งมีทิศทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร การสงเสริมคุณธรรมเสริมสรางความสมานฉันท ไปสูประชาชน ทุกระดับและทุกสาขาอาชีพ เพื่อรวมพลังเครือขายใหนําหลัก ธรรมคําสอนทางศาสนามาเสริมสรางความสมานฉันท แกคน ในชาติ รวมทั้งมุงเนนสืบสานเผยแพรและพัฒนาองคความรู ดานศาสนาผานสื่อในรูปแบบตาง ๆ โดยมีการขับเคลื่อนแผนฯ ใหเปนไปอยางมีเอกภาพ และประสิทธิภาพ ซึ่งจะตองใหความสําคัญตอการมีสวนรวม ของประชาชนทุกภาคสวน รวมถึงการรวมติดตามตรวจสอบ ผลการดําเนินงานตามแผนอยางตอเนื่อง ซึ่งจะชวยใหการ ขับเคลื่อนแผนฯนี้ ไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม โดยมี เปาหมายรวมกัน คือ ประชาชนเปนคนดีมีคุณธรรมและมี ความสุข ประเทศไทยมีความมั่นคงอยางยั่งยืน เปนที่ยอมรับ ของสังคมไทยและสังคมโลกอยางแทจริง


36

กรมการศาสนาประกาศ

ป ๒๕๕๖ เปนปทองแหงคุณภาพ ศพอ.ไทย

ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนา กลาววา

ตลอดระยะเวลาทีผ่ า นมา ทุกสมัยที่ไดมาดํารงตําแหนงเปนอธิบดี กรมการศาสนา ไดใหความสนใจกับบทบาทของพระคุณเจา ที่ไดใหความเมตตาขับเคลื่อนและพัฒนาศูนยศึกษาพระพุทธ ศาสนาวันอาทิตยในรูปแบบตาง ๆ กรมการศาสนาตองขอกราบ ขอบพระคุณพระคุณเจาทุกรูปที่ไดใหความเมตตาพัฒนา ศพอ. มาอยางตอเนือ่ งเปนเวลาอันยาวนาน ทําใหเด็กไทยมีจุดแข็ง ในเรื่องของการมีทักษะชีวิต คือ การเปนคนดีมีคุณธรรม อยางไรก็ตาม จากรายงานสภาวการณเด็กและเยาวชนไทย ลาสุด พบวาเด็กไทยกําลังตกอยูในภาวะเสี่ยง ในรอบปที่ผาน มาเด็กไทยมีปญหาความเครียด การมีเพศสัมพันธกอนวัยและ ปญหาความรุนแรงในโรงเรียน มีเด็กกวา ๑ ลานคน ที่ตกอยูใน ภาวะเครียด ขณะที่เด็กกวา ๗ แสน - ๑ ลานคน ตกอยูในภาวะ ความรุนแรงในโรงเรียน เชน ถูกขูก รรโชกทรัพย ทํารายรางกาย และทะเลาะวิวาทกับเพือ่ น ฯลฯ “เด็กสวนใหญมกั ถูกทิง้ ใหอยูก บั ผูสูงอายุในบาน ขณะที่พอแมตองจากไปทํางานในเมืองใหญ” ป ญ หาใหญ ที่ เ ด็ ก ไทยทั้ ง ในเมื อ งและชนบทต อ งเผชิ ญ หน า

มีรากฐานมาจากสาเหตุหลักของสภาพครอบครัวที่ไมสมบูรณ หยารางหรือทิ้งเด็กใหอยูกับปูยาตายาย หรือที่นักวิชาการดาน การพัฒนาเด็กและเยาวชนเรียกวา “กําพราเทียม” ซึ่งทําใหเด็ก ขาดตนแบบที่จะสรางความมั่นคงทางจิตใจ และขาดตนแบบ ในการดําเนินชีวิต และเยาวชนหรือวัยรุนเหลานี้ยังถือเปนวัย ที่อยู ในชวงหัวเลี้ยวหัวตอของชีวิต เนื่องดวยวุฒิภาวะที่ยัง นอยทําใหคนวัยนี้มีพฤติกรรมเสี่ยงที่มีโอกาสกอใหเกิดปญหา สังคมอยางมากรวมทั้งอาจถูกลอลวงไดงาย โดยจะเห็นผลจาก การสํารวจการมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในครัวเรือน ของสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวาวัยรุนมักใช อินเทอรเน็ตในการเลนเกมส/ดาวนโหลดเกมส และการสนทนา ออนไลน (Chat) เพิ่มขึ้นอยางมาก เฉพาะการ Chat ที่เพิ่มขึ้น เกือบ ๑๐ เทา จากรอยละ ๑.๖ ในป ๒๕๕๑ เปนรอยละ ๑๓.๘ ในป ๒๕๕๓ ซึ่งนอกจากจะหมดเวลาไปกับกิจกรรมนี้แลว ยังอาจนําไปสูก ารถูกลอลวง หรือชักชวนกันออกไปทีอ่ โคจรหรือ แหลงอบายมุขไดงาย ๆ


37 นอกจากนี้ ผลสํารวจการใชเวลาของประชากรในการ เอาใจใสเด็ก ๆ ของสํานักงานสถิตแิ หงชาติยงั พบวาการใชเวลา ใน ๑ วัน ของคนไทยนั้น ใชเวลาในการดูแลเด็ก ซึ่งรวมถึง การดูแลดานรางกาย การอบรมใหคําแนะนํา การใชเวลา รับสงเด็กไปยังสถานที่ตาง ๆ และการดูแลดานจิตใจมีเพียง ๒.๑ ชั่วโมง ตอวันในป ๒๕๔๔ เทานั้น แมจะเพิ่มขึ้นเล็กนอย เปน ๒.๓ ชั่วโมงตอวันในป ๒๕๔๗ แตก็ถือวาเปนการใชเวลา สําหรับเด็กที่นอยมาก แมโดยภาพรวมแลวครอบครัวไทยยัง ดํารงความสัมพันธอยางดีทงั้ ระบบครอบครัวและระบบเครือญาติ แตปจจัยภายนอกก็มีสวนสําคัญตอการกําหนดพฤติกรรมของ เด็กดวย การเปลี่ยนผานของสังคมเขาสูยุคสังคมขอมูลขาวสาร การเขาถึงขอมูลไดอยางสะดวก รวดเร็วทั่วทุกมุมโลกผานเครือ ขายอินเทอรเน็ต ทําใหเด็กบริโภคขอมูลบนสื่ออินเทอรเน็ต ไดอยางเสรีแบบ Anytime Anywhere และ Anything ทําให เด็กไทย “ติดเกม” การติดเกมจนทําใหเสียสุขภาพ และการเรียน แตจากผลสํารวจการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในครัวเรือน ในชวง ๕ ปทผี่ า นมา พบวา เด็กไทยใชคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ตเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง สวนใหญจะใชในการเรียน การศึกษา และคนหาขอมูล/ติดตามขาวสารบนอินเทอรเน็ต ยกเวนเด็กอายุ ๖-๑๐ ป เทานั้นที่สวนใหญ ใชอินเทอรเน็ต เพื่อเลนเกมส สวนแหลงที่ ใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต สวนใหญใชที่โรงเรียนและบาน โดยใชเวลาไมเกิน ๒ ชั่วโมง จากป ญ หาด า นสั ง คมไทยดั ง กล า วแล ว ทั้ ง ป ญ หา ครอบครัวแตกแยก ปญหายาเสพติด ปญหาอาชญากรรม ที่รุนแรงและซับซอน ปญหาเพศสัมพันธกอนวัยอันควร และ อื่น ๆ อีกมากมาย โดยเฉพาะการขาดศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมสะทอนใหเห็นวาปญหาดังกลาวเปนปญหาระดับ ชาติ แมจะไมใชภาพสะทอนทั้งหมดของเด็กและเยาวชนไทย แตกเ็ ปนปรากฎการณทตี่ อ งการสะทอนใหสงั คมไดตระหนักและ ใหความสําคัญกับเด็กและเยาวชนไทยเพิ่มมากขึ้น ในเรื่อง นี้ ไมแตเฉพาะในประเทศไทย ปญหาที่เกิดขึ้นเปนเหมือนกัน ทัว่ โลก คือมีทรัพยากรนอยลง ขณะทีป่ ญ หามีมากขึน้ เพราะเด็ก คือพลังสําคัญของประเทศชาติในอนาคต จะเปนผูใหญที่จะตอง ดูแลสังคมประเทศนี้ตอไป เปรียบเสมือนผาขาวที่พรอมจะรับ การแตงแตมสีจากผูใ หญ จึงจําเปนอยางยิง่ ทีค่ รอบครัว โรงเรียน ครู และทุกภาคสวนของสังคม ควรจะตองเปนและสรางแบบ อยางที่ดี รวมทั้ง ชวยสรางทักษะชีวิตและปลูกจิตสํานึก ให เด็กสามารถอยูตอไปไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อที่จะทําใหเด็ก และเยาวชนได “รอบคอบ รูค ดิ มีจติ สาธารณะ” เติบโตเปนผูใ หญ ที่มีคุณภาพของสังคมตอไป โดยเฉพาะบานเมืองและบริบทของสังคมไทยในขณะนี้ เปลี่ยนแปลงไปมาก การพัฒนาประเทศก็เปลี่ยนตามไป การ สรางความเขมแข็งของชุมชน ใหมีสวนรวมในการพัฒนาเด็ก ไทยใหเปนคนดีมคี ณ ุ ธรรมจึงเปนสิง่ จําเปนทีก่ ารศึกษาแบบเดิม อาจไมเพียงพอ ยิ่งเฉพาะในโลกยุคนี้เปนโลกแหงเทคโนโลยี

ที่ กํ า ลั ง เปลี่ ย นแปลงไปอย า งรวดเร็ ว และเต็ ม ไปด ว ยป ญ หา ที่ซับซอน ยิ่งตองไมใหเด็กหางจาก “หลักธรรมของศาสนา” ซึ่งหมายรวมไปถึง วัฒนธรรม คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งที่ ดีงามจากธรรมะ ซึ่งจะเปนทักษะชีวิตที่จะเปนภูมิคุมกันเพื่อ ลดความเสี่ยงใหเด็กยุคใหม จึงตองมีการเติมเต็ม “คุณธรรม” ซึ่งเปนการสรางทักษะชีวิตเขาไปในระบบการศึกษาและนอก ระบบการศึกษาซึ่งเปนการเรียนรูทั้งในและนอกหองเรียนดวย โดยเฉพาะในป ๒๕๕๘ ประเทศไทยจะก า วเข า สู  ประชาคมอาเซียน หรือสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออก เฉียงใต (Association of South East Asian Nations : ASEAN) ซึ่งจะเปนองคกรระหวางประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต ที่ประกอบดวย ๓ เสาหลักสําคัญ คือ ๑) ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community หรือ APSC) ความมั่นคงและ เสถียรภาพทางการเมืองเปนพื้นฐานสําคัญในการพัฒนาดาน อื่นๆประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนจึงเปนเสาหลัก ความรวมมือ ๑ ใน ๓ เสาหลัก ที่เนนการรวมตัวของอาเซียน เพื่ อ สร า งความมั่ น ใจเสถี ย รภาพ และสั น ติ ภาพในภู มิ ภาค เพื่ อ ให ป ระชาชนในอาเซี ย นอยู  ร  ว มกั น อย า งสั น ติ สุ ข และ ปราศจากภัยคุกคามดานการทหาร และภัยคุกคามในรูปแบบ ใหม เชน ปญหายาเสพติด และปญหาอาชญากรรมขามชาติ ๒) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรื อ AEC) ท า มกลางบริ บ ททางเศรษฐกิ จ การคาและการลงทุนระหวางประเทศทีม่ กี ารแขงขันสูง อันสงผล ใหประเทศตาง ๆ ตองปรับตัวเองเพือ่ ใหไดรบั ประโยชนจากระบบ เศรษฐกิจโลก รวมถึงการรวมกลุมการคากันของประเทศตาง ๆ อาทิ สหภาพยุโรป และเขตการคาเสรีอเมริกาเหนือ ๓) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community หรือ ASCC) มีเปาหมายให อาเซี ย นเป น ประชาคมที่ มี ป ระชาชนเป น ศู น ย ก ลาง สั ง คม ทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเปนอยูท ดี่ ี และมี การพั ฒ นาในทุ ก ด า นเพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ


38 ประชาชน สงเสริมการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยัง่ ยืน รวมทัง้ สงเสริมอัตลักษณของอาเซียน โดยมีแผนปฏิบัติการดานสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน ระบุอยูในแผนปฏิบัติการเวียงจันทน ซึ่งประกอบดวย ความรวมมือใน ๖ ดาน ไดแก การพัฒนา มนุษย (Human Development) การคุม ครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) สิทธิและความยุติธรรมทาง สังคม (Social Justice and Rights) ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม (Environmental Sustainability) การสรางอัตลักษณอาเซียน (Building and ASEAN Identity) การลดชองวางทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) การเขาสูอาเซียนของไทยนั้น จึงทําใหคุณภาพของ เด็กไทย เปนเรือ่ งทีน่ า เปนหวงอยางมาก ซึง่ ประเทศไทยจะตอง หันกลับมาทบทวนระบบการศึกษาของเด็กไทย ไมวา จะเปนเรือ่ ง หลักสูตร วิธีการสอน รวมถึงคุณภาพของครูผูสอนดวย เพื่อให ประเทศไทยมีความพรอมที่จะเขาสูประชาคมอาเซียนไดอยาง มีศักยภาพ โดยประชากรของไทยจะตองมีคุณภาพที่ดีซึ่งจะ สงผลใหประเทศมีบุคลากรที่มีศักยภาพ มีความสามารถที่จะ แขงขันกับนานาประเทศได รวมทั้งสามารถอยูรวมกับชาติอื่น ไดอยางมีความสุข การนําทุนทางสังคม คือ “ศาสนา” ซึ่งเปนเสมือนราก แกวของประเทศไทยมาตั้งแตอดีต มาเติมเต็มการศึกษาของ เด็ ก ไทยจึ ง เป น กลไกที่ สํ า คั ญ โดยเฉพาะการส ง เสริ ม ให คณะสงฆ ไดมีโอกาสรวมพัฒนาสังคม ในระดับชุมชน ทองถิ่น จากบทบาทภารกิจของคณะสงฆ ในเรื่องการศึกษาสงเคราะห ที่ทุกวัดไดปฏิบัติภารกิจตามศักยภาพของวัดโดยมีภาครัฐได เขาไปชวยสงเสริมใหมีบทบาทและผลักดันใหมีการนําพระพุทธ ศาสนามา พัฒนาเยาวชนไทยใหเปนคนดี มีคุณธรรมและ จริยธรรมทีพ่ งึ ปรารถนาในสังคม ซึง่ จะเปนการวางรากฐานใหกบั เด็กเยาวชนไทย ตามความคาดหวังของทุกภาคสวนของสังคม ซึ่งสอดคลองกับบทบาทของวัดที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตของคน ไทย เพราะคนไทยกับพระพุทธศาสนาเปนของคูกัน คนไทยกับ วัดมีความผูกพันกันอยางแยกไมออก วัดคือศูนยรวมจิตใจของ คนไทย โดยมีศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตยเปนองคกร ทางพระพุทธศาสนาหนึ่งในชุมชนที่พระสงฆจัดตั้งขึ้นเพื่อเปน แหลงปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมแกเด็ก เยาวชน และประชาชน ใหมีความใกลชิดกับพระพุทธศาสนา การมีแหลงหรือสถาบัน พัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชนในรูปแบบของศูนย ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย นับเปนกุศโลบายเชิงปฏิบตั กิ าร ที่ดียิ่งอยางหนึ่งในสังคมปจจุบัน เพราะสามารถชักนําเด็กและ เยาวชนเขาสูร ม เงาพระพุทธศาสนาเพือ่ การศึกษาอบรมบมนิสยั และสรางจิตสํานึกใหเห็นคุณคาของพระพุทธศาสนาตัง้ แตเยาววัย อยางไรก็ตาม ศพอ.ไดยืนหยัดอยูบนเสนทางแหงการพัฒนา เด็กและเยาวชนมารวม กึง่ ศตวรรษแลว ความเขมแข็งของ ศพอ. ในปจจุบันไดผันแปรไปตามกระแสโลก ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา ศพอ.จึงตองมีการพัฒนาใหเทาทันสังคมโลกเชนกัน

ในป ๒๕๕๖ กรมการศาสนา ไดกําหนดนโยบายใหศูนย ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตยเปนแหลงเรียนรูศีลธรรมที่มี คุณภาพ และเปนแหลงจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา เสริม สรางความเขมแข็งของชุมชนโดยใชมิติทางศาสนา บนพื้น ฐานของความสัมพันธระหวาง วัด บาน (ชุมชน) โรงเรียน ให กลับสูสังคมไทย และกําหนดจะปรับปรุงพัฒนาคุณภาพศูนย ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย ใหมีรูปแบบที่มีมาตรฐานโดย ดําเนินการภายใตกรอบของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ ๑๑ นโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐมนตรีวาการ กระทรวงวัฒนธรรม และใหสอดรับกับสถานการณปจจุบัน ใหมีการพัฒนาคุณภาพและสรางเครือขายความรวมมือในการ สงเสริมคุณธรรมจริยธรรมใน ๓ ฐาน (Temple Based, School Based, Community Based) ซึ่งจะทําใหวัดเปนศูนยการเรียนรู ของชุมชนดานคุณธรรมจริยธรรม และสามารถขยายผลไปสูก าร เปนเครือขายทางพระพุทธศาสนาดําเนินงานสงเสริมศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรมแกประชาชนทั่วประเทศ ภายใตการมี สวนรวมของทุกภาคสวนในสังคม ดังนั้น ศพอ. จึงตองมีการปฏิรูป โดยเนนการปฏิรูปการ สรางเครือขายการเรียนรูและคุณภาพการศึกษาของ ศพอ. โดย เฉพาะการเนนบทบาทของ ศพอ. กับการสรางเสริมคุณธรรม จริยธรรมของเด็กและเยาวชนไทยยุคใหม ซึ่งจะตองมีการปรับ กระบวนทัศนใหม โดยเฉพาะเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งไมใช เรื่องงาย เพราะเราไมสามารถสรางคุณธรรม จริยธรรมจาก การทองจําวิชาศีลธรรมได ซึ่งความจริงแลวเด็กที่ศึกษาอยูใน ระบบการศึกษามักจะเปนอยางที่ครูเปน มากกวาจะเปนอยาง ทีค่ รูสอน ครูอาจารยจงึ ถือเปนปจจัยทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ของการจัดการ ศึกษาใหมคี ณุ ภาพซึง่ จะสงผลตอคุณภาพการเรียนรูข องเด็กและ เยาวชนเปนอยางมาก ประกอบกับการเปลีย่ นแปลงทีห่ ลากหลาย ดานสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม การศึกษา และเทคโนโลยี สมัยใหม ลวนแตสงผลกระทบตอเด็กทั้งในทางที่เปนคุณและ เปนโทษ จําเปนอยางยิ่งที่พอ แม ผูที่อยูใกลชิดตองทําหนาที่


39 อบรม สัง่ สอน และใหความเอาใสใจดูแลเด็กอยางมาก ตลอดจน ตองทําความเขาใจกับการเปลี่ยนแปลง และปรับตัวเองกับสิ่งที่ เกิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลงได เพือ่ สามารถนําพาเด็ก ๆ ใหเดิน ไปในทิศทางที่ถูกตอง นอกจากนี้การอยูรวมกันเปนครอบครัวที่ มีพอ แม และลูกอยูกันพรอมหนาพรอมตา นับเปนปจจัยหนึ่ง ทีท่ าํ ใหเด็กไดรบั ความรัก ความอบอุน นับวาครอบครัวมีบทบาท สําคัญตอเด็กอยางมากในการสรางเด็กใหเติบโตเปนพลเมือง ที่มีคุณภาพทั้งความรู คุณธรรม และจริยธรรม สามารถดํารง ชีวิตรวมกับบุคคลอื่นในสังคม และสรางใหสังคมนาอยูตอไปได แมโครงสรางครัวเรือนสวนใหญจะเปนครอบครัวเดี่ยวมีแนว โนมเพิ่มขึ้นก็ตาม ดังนั้น สังคมจึงตองมีบทบาทในการพัฒนา เด็กและเยาวชนของชาติใหสามารถดํารงอยูในศตวรรษที่ ๒๑ นี้ ใหได ปญหาเด็กในวันนี้ จึงตองเปนเรื่องที่ทุกภาคสวนในสังคม ตองชวยกันแกไข และเติมเต็มมากกวาจะปลอยใหใครคนใดคนหนึง่ เปนคนแบกรับ เราตองคิดเรื่องการศึกษาในวงที่กวางกวาที่เคย ทําและเคยเปนอยู คือ ตองพัฒนาเครือขายพอแม ผูปกครอง ชุมชน สถาบันการศึกษา ประชาชนในทุกภาคสวน องคกร ปกครองสวนทองถิ่น และภาคธุรกิจที่สนใจ ใหเขามามีสวน รวมในการเปนเครือขายสนับสนุนการจัดการศึกษามากขึ้น (All For Education) โดยเฉพาะการจัดการเรียนรูใน ศพอ. ของไทย ในการพัฒนาคุณภาพของศพอ.ใหเจริญทัดเทียม ทั่วทั้ง ประเทศนั้น ไมเพียงจะวิเคราะหถึงปจจัยภายในซึ่งเปนกระบวน การสอน ครูผูสอน หรือตัวเด็กเองเทานั้น แตเราตองวิเคราะห ถึงปจจัยภายนอกซึ่งเปนแนวโนมของการพัฒนา ศพอ. ใน อนาคต ทีม่ ผี ลตอความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพ ศพอ. ซึง่ มี ๓ ประการ ดังตอไปนี้ ๑. ปจจัยดานเทคโนโลยี ความกาวหนาของเทคโนโลยี มีผลตอการกําหนดคุณภาพของ ศพอ. ในอนาคต เทคโนโลยี สารสนเทศมีความกาวหนาขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งเทคโนโลยี เหล า นี้ มี ป ระโยชน ใ นการเพิ่ ม ศั ก ยภาพของ ศพอ. ดั ง นั้ น

การพัฒนาคุณภาพ ศพอ. จึงตองมีการเพิ่มความรูเกี่ยวกับ เทคโนโลยีใหม ๆ ในกระบวนการเรียนการสอน และปรับปรุง ใหทนั ตอการเปลีย่ นแปลงดานเทคโนโลยีในปจจุบนั ซึง่ ตองอาศัย การวิจัยและพัฒนา ใหสามารถสรางนวัตกรรมใหมที่มีคุณคา ตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของศพอ.และตองอาศัยผูบ ริหาร มืออาชีพที่มีทักษะความสามารถที่หลากหลาย เชน ความรู ดานเทคโนโลยี ภาษาตางประเทศ การบริหารจัดการ ฯลฯ ซึ่งเปนหนาที่ของผูบริหารการศึกษาของ ศพอ. ที่จะพัฒนา ตนเองใหมีคุณภาพ ๒. ป จ จั ย ด า นวั ฒ นธรรม สั ง คมไทยมี เ งื่ อ นไขทาง วัฒนธรรมหลายประการที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาไทย ดังเชน การขาดวัฒนธรรมการมีสวนรวม สังคมไทยในปจจุบันขาดความเหนียวแนน ขาดความรวมแรง รวมใจ คนในสังคมจึงมองการจัดการศึกษาใน ศพอ. วาเปน เรื่องของรัฐบาลหรือคณะสงฆโดยไมเกี่ยวกับตนเอง นอกจากนี้ เด็กและเยาวชนยังรักความสนุกและความสบาย สนใจความ บั น เทิ ง มากกว า การแสวงหาความรู  เ พื่ อ เพิ่ ม พู น ทั ก ษะชี วิ ต วัฒนธรรมเหลานี้ จึงเปนอุปสรรคตอการพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาของศพอ. นอกจากนี้ ในการพัฒนาคุณภาพของ ศพอ.ในทศวรรษนี้ เราจําเปนตองมีการวิเคราะหถึงคุณสมบัติเด็ก ในศตวรรษ ที่ ๒๑ ซึ่งเปนยุคที่ไรพรมแดน เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็วของกระแสโลก การพัฒนาเด็กและเยาวชนตอง ประกอบไปดวย ๓ ดาน ไดแก ๑.สมอง (Head) ๒.ทักษะ (Hand) ๓.หัวใจ (Heart) โดยสรางกระบวนทัศนใหมที่จะพัฒนาเด็กและ เยาวชนใหเปนผูใ ฝเรียนรูต ลอดชีวติ เด็กและเยาวชน ควรมีความ สามารถในการเรียนรูตลอดเวลา ตลอดชีวิตและพัฒนาตนเอง อยางตอเนือ่ ง โดยเรียนรูผ า นการลงมือปฏิบตั ิ จากประสบการณ ตรงของตัวเอง ซึง่ จะทําใหเกิดการเรียนรูแ ละพรอมทีจ่ ะแกปญ หา เรียนรูที่จะทํางานเปนทีม รูจักคิดอยางมีวิจารณญาณมากขึ้น ซึง่ เปนสิง่ จําเปนทีเ่ ยาวชนจะตองมีทกั ษะสําหรับการออกไปดํารง ชีวิตในโลกแหงศตวรรษที่ ๒๑ ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ ๒๐ และ ๑๙ ดังนั้น เพื่อสรางเด็กเยาวชนของศพอ.ใหมีคุณภาพ มีคุณคาเปนที่ยอมรับของสังคม กับทั้งสามารถทํางานและ ใชชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ไดโดยไมตกยุค เด็กในศตวรรษที่ ๒๑ จําเปนตองมี ๔ ตอง ไดแก ๑. ตองมีทกั ษะชีวติ และอาชีพ มีทกั ษะดานการคิดอยาง มีวิจารณญาณ และคิดอยางเปนระบบ และทักษะในการแก ปญหา (Critical thinking and Systems Thinking & problem solving) ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทัศน (Cross-cultural understanding) ทักษะอาชีพ และทักษะการ เรียนรู (Career & learning skills) ทักษะในการอยูรวมกับผูอื่น และทํางานรวมกันได (Interpersonal and Collaborative Skills) รูค วามตองการของตัวเอง และการนําตัวเองไปสูเ ปาหมายได (self direction) ความเปนผูนํา ความมีจริยธรรม การรูจักรับผิดชอบ


40 ความสามารถในการปรับตัว การรูจักเพิ่มพูนประสิทธิผลของ ตนเอง ความรับผิดชอบตอตนเอง ทักษะในการเขาถึงคน ความ สามารถในการชี้นําตนเอง และสังคม ๒. ตองมีทกั ษะในการเรียนรูใ หเทาทัน ทักษะการเรียนรู และนวัตกรรม หรือ 3R Reading (การอาน), การเขียน (Writing) และคณิตศาสตร (Arithmetic) มีทักษะดานการสรางสรรค และนวัตกรรม (Creativity & innovation ) ๓. ตองมีทกั ษะดานความพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและรูเทาทันสื่อ (Communications, information, media, Computing & ICT literacy Skills) ทําใหเด็ก ๆ ไดเรียน รูการเลือกสื่อ การสรางสื่อ และการจัดการสื่อชนิดตาง ๆ เชน ขอความ รูปภาพ แอนิเมชั่น และเสียง ในขณะที่เด็กไดเพิ่มพูน ประสบการณในการสรางสื่อตาง ๆ จะทําใหมีมุมมองกวางขึ้น และสามารถวิเคราะหวิจารณสื่อที่เห็นอยูรอบ ๆ ตัวได ๔. ตองมีจิตสํานึกตอโลก ความรับผิดชอบตอสังคม (Social Responsibility) ความรับผิดชอบในหนาที่ และความ สามารถในการปรับตัว (Accountability and Adaptability), ทักษะดานความรวมมือ การทํางานเปนทีม และภาวะผูนํา (Collaboration, teamwork & leadership) ทั้งหมดนี้เปน ๔ ตองที่ ศพอ. จะตองจัดสัดสวนให เหมาะสมกับหนาที่และบทบาทของ ศพอ. โดยเฉพาะเกี่ยวกับ ทักษะชีวิตและการมีจิตสํานึกตอโลก ซึ่งเปนคุณธรรมที่จะตอง ปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนมีทกั ษะเหลานี้ โดย “ใชวธิ สี อนใหนอ ย ลง แตใหเรียนรูใหมากขึ้น” ซึ่งจะตองสอนใหเด็กและเยาวชน อยากเรียนรูที่มาจากใจ ไปตลอดชีวิต มีจิตสํานึกตอโลก หาก ตอไปเมือ่ พบปญหาทีย่ ากลําบากในชีวติ หรือในสังคม ก็สามารถ นําเอาสิ่งที่ถูกฝกฝนนี้มาพัฒนา เพราะการมีความรูวิชาการ อยางเดียวไมได ชีวิตไมไดมีมิติเดียว จะตองมีทักษะชีวิตดวย

(Life and Career Skills) เชน ทักษะการสรางความสัมพันธ ระหวางบุคคล ซึ่งตองมีทั้งศาสตรและศิลป ทักษะทางสังคม การมองโลกในแงดี การควบคุมอารมณ ทําประโยชนเพื่อ ผูอื่น มีภาวะผูนํา รูจักการให ทําดีโดยไมหวังผลตอบแทน การเรียนรู ตองเรียนกันตลอดชีวิต ตองมีทักษะการเรียนรูและ สรางนวัตกรรมใหม (Learning and Innovation Skills) มัน่ ฝกฝน พัฒนาตัวเอง เรียนใหเกิดทักษะ เรียนโดยการปฏิบัติ (learning by doing) เรียนรูวิธีการแกปญหา มีการคิดวิเคราะห ความคิด สรางสรรค มีทกั ษะในการสือ่ สาร และทีข่ าดไมได คือ ทักษะแหง ความรวมมือ ทักษะชีวิตเหลานี้ จะเปนตนทุนของชีวิตที่สําคัญ ที่จะชวยใหเด็กรับมือกับปญหาที่นับวันจะซับซอนมากยิ่งขึ้น ในอนาคตไดเปนอยางดี จึงอาจกลาวไดวา บริบทของสังคมในปจจุบัน เปนแรง กดดันให ศพอ.ไทยตองพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาใหสงู ขึน้ เพื่อลดชองวางดานคุณภาพในการจัดการศึกษาของ ศพอ.ไทย แมวาสภาพ การแขงขันทางการศึกษาจะเปนแรงผลักให ศพอ. ตาง ๆ เรงพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น แตเนือ่ งจากทรัพยากรตัง้ ตนของแตละ ศพอ.มีความแตกตางกัน ไมวาจะเปนความรูความสามารถและปริมาณของบุคลากร การศึกษา งบประมาณ เงินทุน เทคโนโลยี สถานที่ ความมี ชื่อเสียง ฯลฯ สงผลใหโอกาสพัฒนาคุณภาพ ศพอ.ยอมแตก ตางกันดวย โดยเฉพาะ ศพอ.ขนาดเล็ก ที่ยังไมมีความพรอม/ มีทรัพยากรตั้งตนไมมาก ยอมไมมีศักยภาพเพียงพอในการ พัฒนาคุณภาพมากนัก ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่ทุกภาคสวน ในสังคมโดยเฉพาะองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่ จะมี สวนในการพัฒนาศพอ.ใหมีคุณภาพเพื่อเตรียมพรอมสูอาเซียน โดยเบื้องตนจะยกระดับใหศพอ.ไทยมีคุณภาพ (quality Sunday Buddhist Study Center) ที่เขมแข็งมากขึ้น มีการกระจาย อํ า นาจการบริ ห ารจั ด การสู  อ งค กรปกครองท อ งถิ่ น ในพื้ น ที่ มีการกําหนดมาตรฐานในการจัดการศึกษา จัดรูปแบบ ใหมี คุณภาพในทุกระดับ มีการสงเสริมรากฐานและพัฒนาหลักสูตร พระอาจารย ระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ มาใชในการบริหาร จัดการศึกษาในศพอ.และการมีสวนรวมของทุกภาคสวนของ สังคม ทั้งในสวนของภาครัฐ เอกชน หนวยงานองคกรปกครอง สวนทองถิ่น และสถาบันอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ในพื้นที่ เชน สถาบัน ศาสนา สถาบันครอบครัว เปนตน โดยเนนใหเด็กเปนคนดี คนเกง มีความสุข มีคุณธรรม มีความภูมิใจในความเปนไทย รวมทัง้ มีความศรัทธาเชือ่ มัน่ ในหลักธรรมทางศาสนาและระบอบ ประชาธิปไตยฯ ดังตอไปนี้ ๑. การพัฒนาคุณภาพ ศพอ.ไทย จากการปรับตัว และเตรียมความพรอมของกรมการศาสนา ในเชิงนโยบาย โดยกรมการศาสนาไดประกาศใหป ๒๕๕๖ เปนปทองแหง คุณภาพการศึกษาของศพอ.ของไทยโดยมีนโยบาย และแผน ยุทธศาสตรในการรองรับการเตรียมความพรอมของศูนยศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตยไทยกอนกาวเขาสูประชาคมอาเซียน


41

ซึ่งในปที่ผานมานโยบายที่รองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน ของ ศพอ. ยังไมมีความชัดเจนมากนักในการนําไปสูการปฏิบัติ ซึ่งในป ๒๕๕๖ จะเปนปแรกที่กรมการศาสนาไดมีนโยบาย ในการปรั บ ตั ว และการเตรี ย มความพร อ มในการก า วเข า สู  ประชาคมอาเซียนของ ศพอ. ในประเทศไทยอยางเปนรูปธรรม โดยจะยกระดับใหศพอ.มีคุณภาพทัดเทียมกันกอนป ๒๕๕๘ ๒. การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ ศพอ.ไทย ดานพระอาจารยและบุคลากรใน ศพอ. คือ พระอาจารยใน ศพอ. ตาง ๆ ตองพัฒนาศักยภาพของตนเองทัง้ ดานการเรียนการสอน การมีความรูทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการบริหารจัดการ ศพอ.ใหมีมาตรฐาน โดยเฉพาะการเรียนรูภาษาเพื่อนบานหรือ ภาษาอังกฤษ ซึง่ เปนภาษากลางในการสือ่ สารในภูมภิ าคอาเซียน และเรงศึกษาทางธรรมในระดับสูงขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพและ ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน และการเพิ่มคุณภาพ ของศพอ.ไทย ตลอดจนมีระบบการเสริมสรางและสนับสนุนให พระอาจารยในศพอ. มีกําลังใจและพรอมที่จะเปนครูที่เสียสละ เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนของชาติใหเปนคนดีมีคุณธรรม ๓. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ศพอ.ไทย ดานผูเ รียน โดยเนนผลตอผูเรียนทั้งในระดับนโยบายและระดับการเรียน การสอน มีการกําหนดนโยบายพัฒนาคุณภาพ ศพอ.ไทย โดยคํานึงถึงประโยชนของผูเ รียนเปนสําคัญเปดโอกาสใหผเู รียน ไดเรียนรูตามวิธีการที่ถนัดและสนใจ ใหเรียนรูทางธรรมอยาง มีความสุขกับการเรียน ซึ่งจะมีพระอาจารยสอนโดยยึดผูเรียน เปนสําคัญเปดโอกาสใหผเู รียนไดคดิ วิเคราะหทาํ ใหเกิดความเชือ่ มัน่ ในตนเองและมีความสุขกับการเรียนการปฏิบตั ติ ามหลักธรรม คําสอนทางพระพุทธศาสนาซึ่งผูเรียนใน ศพอ.นั้น หลีกเลี่ยง ไม ไ ด ที่ จ ะต อ งเรี ย นรู  ป รั บ ตั ว และเตรี ย มพร อ มรั บ มื อ กั บ

สถานการณ ในอนาคต เชน ตองมีความสนใจและตระหนัก ถึงผลที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการรวมตัวของประเทศตาง ๆ สูประชาคมอาเซียนในสวนของขอดีและขอเสียอยางเขาใจ การเกิดขึ้นของประชาคมอาเซียนซึ่งสังคมยุคใหมจะสะทอน ความเปนสังคมพหุวฒ ั นธรรมเพิม่ มากขึน้ การเรียนรูข องผูเ รียน ยุคใหมจงึ จําเปนตองปรับทัง้ กระบวนการเรียนรู ปรับทัง้ ทัศนคติ ที่จะตองตระหนักถึงความเปนชาติ การปรับกระบวนทัศนการ เรียนรูยุคใหมจะตองเปนไปอยางมีเปาหมาย อยางคนรูเทาทัน สถานการณ การสรางความสามารถในการทํางานรวมกับผู อื่นที่ตางวัฒนธรรมไดและเรียนรูประเทศเพื่อนบานทั้งในดาน ประวัตศิ าสตรและวัฒนธรรมเพือ่ ใหเกิดความเขาใจอันดีระหวาง กัน พรอมกับสรางโอกาสเรียนรูภ าษาตางประเทศ ตองเพิม่ ทักษะ ทางดานภาษาอังกฤษใหมากขึน้ ใหสามารถสือ่ สารไดเปนอยางดี ๔. การพัฒนาดานหลักสูตรของ ศพอ.ไทย ใหสอดคลอง กั บ วิ ถี ชี วิ ต ของคนในชุ ม ชน โดยให ค วามสํ า คั ญ กั บ สภาพ แวดลอมอื่นอยางเทาเทียมกับเนื้อหาวิชาการ เนนใหผูเรียน เปนผูที่มีความรูและปฎิบัติไดเนื่องจากเขาถึงปญหาที่แทจริง จากโอกาสที่ไดเรียนรูชีวิตและประสบการณนอกหองเรียนโดย มุงสรางคนใหมีคุณธรรม เปนการศึกษาแบบองครวมบูรณาการ เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ศาสนา การเมือง ทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับศักยภาพของผูเ รียนเกิดการบูรณา การวิชาการตางๆเขาดวยกันเปนสหวิทยาการเพื่อใหสอดคลอง กับวิถีชีวิต ความตองการของผูเรียน และชุมชนทองถิ่นมาก ที่สุด และเพื่อความคลองตัวในการบริหารจัดการ จึงตองมีการ กระจายอํานาจการจัดการศึกษาในศพอ.ไปยังทองถิ่นอยาง เต็มรูปแบบในอนาคต


42

นอกจากนี้ ให เ พิ่ ม หลั ก สู ต รใหม เ พื่ อ สร า งแรงจู ง ใจ ให ค นในสั ง คมต อ งการเพิ่ ม ความรู  ค วามสามารถให ทั น ต อ การเปลี่ยนแปลง ใหหันมาสนใจศึกษาตอในหลักสูตรที่ตอบ สนองตอการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ ดังนั้น เพื่อตอบสนอง ตอความตองการของคนในสังคม ศพอ.จะตองมุง พัฒนาหลักสูตร วิชาเสริมใหม ๆ ใหทันสมัยตลอดเวลาเนื่องจากสภาพยุค โลกาภิวัตนที่มีการเชื่อมโยง ทําใหในอนาคตคนตองการมีความ สามารถดานภาษาตางประเทศ สงผลใหความตองการการศึกษา ใน ศพอ. มีภาษาสากลภาษาตางประเทศเปนวิชาเสริมมากขึ้น ทําใหเด็กและเยาวชนไทย มีความรูดานภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษ หรือภาษาจีนที่ผูคนสวนใหญ ในโลกใชติดตอ สื่อสาร เจรจาตอรอง การคา การศึกษา ฯลฯ ยอมมีความ ไดเปรียบ ทั้งในเรื่องการติดตอสื่อสารและความกาวหนาใน หนาที่การงาน ศพอ. ที่มีความพรอมจึงควรเติมเต็มในเรื่องนี้ เพราะในปจจุบัน ปญหาที่พบเด็กไทยยังขาดทักษะในดาน ภาษาอังกฤษ และภาษาตางประเทศ ยังไมมีคุณภาพเทาที่ควร โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ยังไมกาวหนาไปมากเทาที่ควร เพราะ ทรัพยากรดานบุคลากรสอนภาษาตางประเทศนี้ขาดแคลนมาก การพัฒนาการศึกษาของศพอ.ใหมีความเปนสากลจึงอาจมี ปญหา เนื่องจากสภาพโลกาภิวัตนที่ มีการเชื่อมโยงในทุกดาน รวมกันทั่วโลกสงผลใหเกิดการเคลื่อนยายองคความรูกฎกติกา การดําเนินการดานตาง ๆ ทั้ง การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม เชื่อมตอถึงกัน สงผลใหเกิดการหลั่งไหลหลักสูตร การเรียนการสอน บุคลากรดานการสอน หลักสูตร จากสถาบัน การศึกษาตางประเทศเขาสูไทย อันมีผลทําใหเกิดการเปรียบ เทียบและผลักดันให ศพอ.ไทย ตองพัฒนาการจัดการศึกษา ที่ มี ค วามเป น สากลที่ เ ป น ที่ ย อมรั บ และมี คุ ณ ภาพทั ด เที ย ม ในระดับสากล

๕. การพั ฒ นาด า นกระบวนการการเรี ย นการสอน แบบเรงรัดที่เปนการบูรณาการหลักสูตร ยุทธศาสตรการสอน ยึดจากประสบการณการปฏิบัติจริงในชุมชน การวิจัย และวิธี การอื่น ๆ ที่หลากหลาย โดยมีการนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ เขามาบูรณาการในการเรียนการสอนทําใหเด็กเกิดความสนใจ ในการเรียนรู และทันตอยุคสมัยมากขึ้น ตลอดจนให ศพอ. มีบทบาทในการกลอมเกลาทางสังคมอบรมบมนิสัยปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรมและภูมิปญญาไทยอยางเพียงพอ ใหผูเรียน เกิดการเรียนรู จนสามารถเปนสมาชิกที่ดีมีคุณคาของสังคม เกิดการเรียนรู อยางกวางขวาง และทัว่ ถึง นอกจากนีก้ ารพัฒนา ดานการเรียนการสอน ยังควรเนนใหเด็กใน ศพอ. มีทกั ษะการคิด และทักษะทางอารมณทมี่ คี ณ ุ ภาพ เนือ่ งจาก สภาพทางเศรษฐกิจ มุง แขงขัน ทําใหการจัดการศึกษาในระบบมุง พัฒนาทางวิชาการ เปนสําคัญ โดยยังไมสามารถพัฒนาทักษะการคิดของผูเรียนได เทาที่ควร สงผลตอการพัฒนาในดานอื่น เชน การพัฒนาเชิง สังคม รวมถึงการพัฒนาทักษะทางอารมณ นอกจากนี้ การใช เทคโนโลยีในกิจวัตรประจําวันหรือใชในการเรียนการสอน ทําให การปฏิสัมพันธระหวางครูกับศิษยลดลง สงผลใหชองทางการ พัฒนาทักษะทางอารมณและทักษะทางสังคมของผูเรียนลดลง ดวย ศพอ.จึงควรพัฒนาใหมบี ทบาทในการเสริมสรางทักษะทาง อารมณและทักษะทางสังคมของผูเรียนใหมากที่สุดเพื่อเติมเต็ม สิ่งที่ระบบการศึกษาของไทยที่ขาดไป ดังนั้น การพัฒนาดาน การเรียนการสอน จึงควรเนนสอนในเรื่องคุณธรรมจริยธรรม ให ศพอ. มีคุณภาพเปนเลิศในดานนี้ เพื่อใหเปนจุดแข็งของ เด็กไทยในสังคมยุคไรพรมแดนทีม่ แี นวคิดของทุนนิยมทีม่ งุ แขงขัน ไดแพรกระจายไปทัว่ โลก สงผลใหผคู นตางมุง แขงขัน และพัฒนา ความรูความสามารถ เพื่อความกาวหนาในหนาที่การงานและ มีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น ประกอบกับสถาบันการศึกษาจํานวน


43 มากมุงพัฒนาความรูทางวิชาการ และประเมินผลการเรียน ที่ความสามารถทางวิชาการ จนอาจละเลยการพัฒนาผูเรียนให มีคุณธรรมจริยธรรม นอกจากนี้ การไมไดมีผูสอนที่รูเชี่ยวชาญ ดานการสอนคุณธรรมจริยธรรมโดยตรงหรือมีคุณภาพ ยอมสง ผลตอคุณภาพการสอนของวิชาคุณธรรมจริยธรรมได ดังนั้น จึงเปนหนาที่หลักของ ศพอ. ที่จะมุงเนนการเรียนการสอน คุณธรรมใหมีความเขมแข็งมากยิ่งขึ้น โดยมี ศพอ. เปนผูนําใน การเรียนการสอนคุณธรรมที่มีคุณภาพในสังคม ๖. การพัฒนา ศพอ. ดาน ICT ในแบบนํารอง โดย กําหนดใหมีศพอ.ที่เปนเครือขาย ICT เชื่อมโยงหองเรียน ใน ศพอ. ในตําบล/อําเภอ/จังหวัดเดียวกัน และมีเครือขาย เชือ่ มโยงระหวางจังหวัดนอกพืน้ ที่ ใหครูพระและผูเ รียนสามารถ ทํางานและรวมเรียนรูไปพรอมๆกันได ไมวา ศพอ. นั้นจะอยู หางกันสักเพียงใด ทางดานผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองมาก ขึ้นและสามารถเขาถึงและใชประโยชนจากเครือขาย ICT ใน การเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ ครูพระยังคงมีบทบาทสําคัญ ในการเรียนการสอน แตจะสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ และ ใช ICT ใหเปนประโยชนตอการเรียนการสอนมากขึ้น โดย ครู พ ระต อ งพั ฒ นาตนเองและเรี ย นรู  ต ลอดชี วิ ต และมี ก าร ดําเนินงานในหนาที่ ในลักษณะความรวมมือรวมพลัง ศพอ. ICT ที่เปนเครือขาย และเรียนรูจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู ระหวาง ศพอ. ทัว่ ประเทศ โดยใช ICT เนือ้ หาสาระการเรียนรูเ ปน เรื่องเชื่อมโยงกับบริบทในชีวิตจริง ให เรียนรูจากสภาพจริงและ ประสบการณตรงจากสภาพธรรมชาติ กระบวนการประเมินผล การเรียนรูเนนความสําคัญของการประเมินผลการปฏิบัติและ เปนการประเมินตามสภาพจริง ๗. การพัฒนาการศึกษาของ ศพอ.ไทย โดยปฏิรูป โครงสรางการบริหารงานใหมีประสิทธิภาพ เพื่อใหสอดคลอง กับบริบททางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมของประเทศ โดยความ รวมแรงรวมใจของทุกฝาย ที่เปนหนวยงานที่เกี่ยวของโดย เฉพาะการสรางแรงจูงใจในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน ใหสอดคลองกับพัฒนาการ ของผูเรียน สรางความมั่นใจและ มั่นคงใหกับครูพระ ใหทํางานแบบมืออาชีพและมีความสุขอยู กับการเปนครูพระใน ศพอ. ที่สามารถวางรากฐานพัฒนาการ ทักษะของชีวติ และพัฒนาศักยภาพ ขีดความสามารถของผูเ รียน เพื่อใหผูเรียน เปนมนุษยที่มีคุณภาพมีความสามารถเต็มตาม ศักยภาพมีพัฒนาการที่สมดุลทั้งปญญา จิตใจ รางกายและ สังคม รวมไปถึงการอบรม บมนิสัยใหรักการเรียนรูทุกรูปแบบ รักการอาน แสวงหาความสามารถพิเศษ ที่ชื่นชอบและโดดเดน ของตัวเอง เปนการทําใหเด็กรูสึกรักและตั้งใจเรียนยิ่งขึ้นดวย ๘. การพัฒนาการศึกษา ศพอ. ในฐานะที่ประเทศไทย เปนผูน าํ ในการกอตัง้ สมาคมอาเซียน มีศกั ยภาพในการเปนแกน นําในการสรางประชาคมอาเซียนใหเขมแข็ง ภายใตยุทธศาสตร วิสัยทัศนเดียว เอกลักษณเดียว และประชาคมเดียว เพื่อความ เจริญมั่นคงของประชากร ทรัพยากร และเศรษฐกิจ ภายใต การกอตั้งนี้จะตองยึดหลักสําคัญ คือ ประชาคมการเมืองและ

ความมัน่ คงของอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมของอาเซียน การศึกษาใน ศพอ. จึงจัดอยู ในประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งจะมีบทบาทสําคัญที่จะ สงเสริมใหประชาคมดานอื่น ๆ มีความเขมแข็ง เนื่องจาก การศึกษาเปนรากฐานของการพัฒนาในทุก ๆ ดาน นอกจากนี้ ยังตองสงเสริมใหประเทศไทยเปนศูนยกลางของอาเซียน โดย เปนศูนยการเรียนรูดานศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาไป สูประชาคมอาเซียนและสากลตอไป ดังนั้น การเตรียม ศพอ. ใหเดินหนาไปสูความพรอมในการสรางประชาคมอาเซียนจึง มีความจําเปน โดยอยางนอยที่สุดที่จะตองทําในเวลานี้ คือ จะตองมีการเรงรัดกําหนดกรอบมาตรฐานคุณภาพการจัดการ เรียนรูของศพอ. ในระดับตางๆ ซึ่งไดจัดทําและประกาศใชแลว คือ กรอบมาตรฐานขัน้ พืน้ ฐานของ ศพอ. และขณะเดียวกันตอง มีการผลักดันใหทกุ ศพอ. มีมาตรฐานอันเปนการพัฒนาคุณภาพ ของศพอ. เพื่อใหการกาวสูประชาคมอาเซียน จะมี ศพอ.ตาง ๆ ในทองถิ่นใหการสนับสนุนในการประสานงานและการดําเนิน การประชาสัมพันธและใหความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ทีจ่ ะเกิดผลดีและผลเสียแกชมุ ชนทองถิน่ ในอนาคต ซึง่ ผูน าํ ชุมชน และประชาชนในทองถิ่นจะตองเรียนรูและมีการวางแผนชุมชน ทองถิ่นเพื่อรองรับการกาวเขาสูประชาคมอาเซียน ทั้งนี้เพื่อมิ ใหเกิดความเสียเปรียบทางดานภูมปิ ญ ญาทองถิน่ ทีเ่ ปนเศรษฐกิจ ชุมชนที่มีคุณคา ซึ่งผูนําชุมชนทองถิ่นอาจรวมกับ ศพอ. ใน การบูรณาการเชื่อมโยงสูเศรษฐกิจของประชาคมอาเซียนใหเขา กับเศรษฐกิจโลกได ๙. การสรางความตระหนักรูเ กีย่ วกับอาเซียนใน ศพอ.ไทย ใหประเทศไทยเปน Moral Hub มีการเตรียมความพรอมใน ดานกรอบความคิด คือ แผนการพัฒนาคุณภาพ ศพอ.ไทย ทีจ่ ะมุง สรางความตระหนักรูข องคนไทยในการสงเสริมคุณธรรม เพื่อสรางคนไทยให เปนคนของประชาคมอาเซียนที่มีความ เอื้ออาทรและแบงปน มีสมรรถนะพรอมจะอยูรวมกับทุกชาติ


44

ทุกภาษา โดยใหมีการรวมมือกันใน ๓ ดานคือ ดานพัฒนา คุณภาพ ศพอ. การขยายโอกาสของ ศพอ.ไทย สงเสริมการมี สวนรวมในการบริการและจัดการศึกษาในศพอ.ไทย ๑๐. การขับเคลื่อนประชาคมอาเซียนดวยคุณธรรม ดวยการสรางความเขาใจในเรื่องเกี่ยวกับเพื่อนบานในกลุม ประเทศอาเซียน เรื่องความแตกตางทางดานชาติพันธุและดาน ศาสนา โดยสงเสริมใหมีการเรียนการสอนศาสนาภาคภาษา ตางประเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู และติดตอสื่อสารระหวาง กันในประชาคมอาเซียน เพื่อใหผูเรียนไทยสามารถถายทอด หลั ก ธรรมทางศาสนาที่ สื่ อ สารด ว ยภาษาอั ง กฤษได อ ย า ง สรางสรรค นอกจากนี้ยังมีการรวมมือกับภาคเอกชนในการรับ อาสาสมัครเขามาเรียนรู แลกเปลี่ยนการเรียนการสอนในเรื่อง ของศาสนา รวมถึงวัฒนธรรมของประเทศตาง ๆ เพื่อการอยู รวมกันดวยความเขาใจกันของประเทศในประชาคม เพือ่ พัฒนา ผูเรียนสูการเปนพลเมืองอาเซียน การอยูรวมกันอยางสันติสุข ความเอื้ออาทร โดยใช ศพอ. เปนกลไกในการสรางวัฒนธรรม ใหม ใหผเู รียนมีคณุ ธรรม มีทกั ษะการทํางานรวมกันในประชาคม อาเซียนอยางมีคุณธรรม มีการจัดกิจกรรมเฉพาะกลุมของเด็ก ศพอ.อาเซียน เชน เยาวชนกับการกาวสูประชาคมอาเซียน จัดกิจกรรมรวมกับเด็กและเยาวชนในประเทศอาเซียนเพื่อน บาน เปดโอกาสใหเด็กและเยาวชน เหลานั้นไดเขารวมโครงการ แลกเปลี่ยนเยาวชนของศพอ. มีความรวมมือกับศพอ. ระหวาง ประเทศ เพื่อใหเยาวชนมีโอกาสปรับบทบาทเขาสูเวทีสากล เชน โครงการผูน าํ เยาวชนศพอ.ไทยเยีย่ มเพือ่ นบานอาเซียนและ บวกสาม(จีน เกาหลีและญี่ปุน) ที่สนับสนุนโดยกรมการศาสนา และประเทศอาเซียน ๑๐ ประเทศใหความรวมมือ โครงการ คายเยาวชน ศพอ. กับประเทศเพื่อนบาน มีการอภิปราย ทางวิชาการ การศึกษาดูงาน การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม กิจกรรมเพื่อสังคม เปดโอกาสใหเยาวชนไทยและเยาวชนจาก

ประเทศเพื่อนบาน อาทิ กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนามได ทํากิจกรรม และแลกเปลีย่ นทางวัฒนธรรม โครงการแลกเปลีย่ น เยาวชน ศพอ. กับประเทศอาเซียน+๓ ในอนาคตจะมีการจัดทํา โครงการแลกเปลีย่ นเยาวชนไทยใน ศพอ. กับการกาวสูป ระชาคม อาเซียน เปนโครงการประจําปงบประมาณ ๒๕๕๗ จัดทําเปนขอ เสนอตอรัฐมนตรีอาเซียนดานเยาวชน เพือ่ เห็นชอบการผลักดัน ใหมีแผนงาน/โครงการ เพื่อสงเสริมการเตรียมความพรอม เยาวชนในการกาวสูป ระชาคมอาเซียน กําหนดใหเรือ่ งการเตรียม ความพรอมเยาวชน เปนวาระเรงดวนในการพัฒนาศักยภาพ เด็ก และเยาวชน การเพิ่มความรวมมือกับประเทศตาง ๆ เพื่อใหมี การขยายการดําเนินงานแลกเปลีย่ นเยาวชนไทยกับตางประเทศ มากขึ้น เนื่องจากเยาวชนเปนสวนสําคัญในอนาคตขางหนา ที่จะมาพัฒนาประเทศ ที่สําคัญคืออยากใหเยาวชนทุกคนตื่น ตัวเขาหาอาเซียน โดยทุกคนตองชวยกัน เพื่อประเทศไทย ทีส่ าํ คัญเยาวชนเองก็จะตองหมัน่ ศึกษาหาความรู โดยเฉพาะการ ฝกฝนภาษาอังกฤษ ที่จะเปนภาษาที่ใชในการสื่อสารกับสมาชิก ในอาเซียน ประกอบกับเรียนรูภาษาของประเทศเพื่อนบาน สําหรับแนวทางในการพัฒนาศักยภาพ ศพอ. เพื่อให เปนไปตามที่ประกาศใหเปนปแหงคุณภาพของ ศพอ.ไทย โดย จะมีการประชุมจังหวัด ๗๖ จังหวัด เพือ่ มอบนโยบายการดําเนิน งานและกําหนดการประชุมฯ ศูนยฯ แตละจังหวัดทั่วประเทศ จะสนับสนุนงบประมาณใหจังหวัดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ผูบริหารศูนยฯ ๗๖ จังหวัด/กรุงเทพฯและหนวยงานที่เกี่ยวของ ในพื้ น ที่ จะจั ด ตั้ ง ศู น ย ฯ ประจํ า อํ า เภอ (อยู  กั บ สํ า นั ก งาน เจาคณะอําเภอ) ศูนยฯประจําจังหวัด (เจาคณะจังหวัด) เปน ศูนยฯ ประสานงานภายในจังหวัด ในการดูแลการบริหารจัดการ ศพอ. ภายในจังหวัด หนาที่หลักในการจัดการศึกษาของ ศพอ.ไทย สรุปไดวา ภาพอนาคตของ ศพอ.ไทย ที่มีคุณภาพ จะตองเขาถึงผูเรียน เพื่อใหผูเรียนไดรับการพัฒนาอยางแทจริง โดยจะเปนเครื่อง มือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชนไทย ซึ่ง ถือเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เปนการ เพิ่มตนทุนทางสังคมใหแกประเทศชาติ ใหสังคมไทยเปนสังคม แหงคุณธรรมจริยธรรม และสงเสริม การเรียนรูตลอดชีวิ ต ตลอดจนใหผูเรียนรูจักคิดวิเคราะห และแสวงหาความรูดวย ตนเอง อีกทั้งปลูกฝงคุณธรรมและใหรักที่จะเรียนรูตลอดไป อันเปนคุณสมบัติที่สําคัญในโลกยุคขอมูลขาวสารหรือสังคม แหงการเรียนรูตอไปในอนาคต เพื่อใหสามารถกาวผานชวง เปลี่ยนผานในชีวิตของเยาวชนไปได และพรอมเปนกําลังสําคัญ ของประเทศชาติตอไป


45

บทความพิเศษ ดร.ปรีชา กันธิยะ

ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนา

กับการสรางเสริมสมรรถนะ

พระธรรมวิทยากร

ด ร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนา ไดนาํ เสนอ แนวคิดในการเสริมสรางสมรรถนะพระธรรมวิทยากรใน

การถวายความรูเพื่อพัฒนาสมรรถนะพระธรรมวิทยากร ระหวางวันที่ ๒๔-๒๘ กันยายน ๒๕๕๕ ณ ศาลามหา เจษฎาบดินทร วัดยานนาวา กรุงเทพมหานคร ซึ่งเปน แนวคิดที่นาสนใจ สายตรงศาสนาฉบับนี้จึงขออนุญาต นํามาถายทอดเพื่อเปนองคความรู ในการพัฒนาคุณภาพ พระธรรมวิทยากรในโอกาสตอไป ดร.ปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนา ไดตั้งขอ สังเกตุวา ประเทศไทยมีศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ คนไทยกวารอยละ ๙๐ นับถือพระพุทธศาสนา แตทวาการ นับถือและการเผยแผพระพุทธศาสนาของคนไทยยังไมมี พลังเพียงพอที่จะธํารงไวซึ่งพระพุทธศาสนา เนื่องจาก สาเหตุหลายประการ อาทิ กลุมตาง ๆ ตางอางความดี ตามความเห็นคิดของตนเอง ไมอางตามหลักพระธรรม วินัยที่เปนคําสอนของพระพุทธเจา จึงทําใหมีอาจารยเกิด ขึ้นจากหลายสํานัก การรวมตัวกันของชาวพุทธจึงไมเขม แข็งและมีปญหา เพราะตางคนตางยึดถือความคิดเห็น ของตนวาถูกตอง ในที่สุดแลวก็หาขอยุติไมไดวาใครคือ คนดี ไปถามคนหนึ่งก็จะบอกวาคนดีมีคุณสมบัติอยางนี้ และไปถามอีกคนหนึ่งก็จะบอกวา คนดีมีคุณสมบัติอยาง นัน้ ในทีส่ ดุ ก็หาขอยุตไิ มไดวา คนดีมคี ณุ สมบัตอิ ยางไร แต ถานําเอาหลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจามาเปนเครื่อง วัดมาตรฐานความเปนคนดี เราก็จะไดคนดีในมาตรฐาน เดียวกัน คือ คนดีในพระพุทธศาสนา สังคมไทยมีสถาบันหลักของชาติ ๓ สถาบันหลัก เปรียบเสมือน ๓ เสาหลักของประเทศ คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ใน ๓ เสาหลักนั้น สถาบันชาติมีความ

มั่นคง เนื่องจากมีหนวยงานหลัก เชน กองทัพและ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งคอยปกป กรั ก ษา ส ว นสถาบั น พระมหากษั ต ริ ย  นอกจากจะทรงได รั บ การเทิ ด ทู น และปกป อ งจากเหล า ทั พ ทุ ก เหล า ทั พ หน ว ยงาน ที่ เ กี่ ย วข อ ง และพสกนิ ก รชาวไทยทั้ ง มวลแล ว พระมหากษัตริยทรงมีหลักธรรมที่พระองคทรงประพฤติ ปฏิบัติอยูเปนเนืองนิตย เชน ทรงไวซึ่งทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร และธรรมะอื่น ๆ อันเปนเครื่องคุมครอง ปกปองรักษาพระองค ดังเชน พระปฐมบรมราชโองการ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ตรัสในคราวเสด็จ เถลิงถวัลยราชสมบัติ วา “เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพื่ อ ประโยชน สุ ข แห ง มหาชนชาวสยาม” และตลอด ระยะเวลาแห ง การครองสิ ริ ร าชสมบั ติ พระองค ท รง ประพฤติปฏิบัติตามพระปฐมบรมราชโองการทุกประการ พระองคจงึ ทรงเปนพระธรรมิกมหาราชาทีม่ คี วามมัน่ คงยิง่


46

ดังนั้น จึงมีเฉพาะแตสถาบันศาสนา คือ พระพุทธ ศาสนา สถาบันเดียวเทานั้นที่นาเปนหวง เพราะไมมี พุ ท ธบริ ษั ท ที่ เ ข ม แข็ ง เพี ย งพอที่ จ ะคอยช ว ยปกป อ ง คุมครองและอุปถัมภพระพุทธศาสนาใหดํารงอยูอยาง มั่นคงและปลอดภัย จึงเปนภาระหนาที่ของพระคุณเจา ที่ เ ป น พระธรรมวิ ท ยากรทุ กรู ป จะต อ งช ว ยกั น ปกป อ ง คุมครองรักษาพระพุทธศาสนาดวยการเผยแผหลักธรรม คํ า สอนให เ ข า ถึ ง ประชาชนอย า งทั่ ว ถึ ง พระคุ ณ เจ า จะตองทํางานหนักและทํางานอยางมืออาชีพ เปนหนวย กลาตายกลาผจญภัยทุกรูปแบบที่จะเกิดขึ้นกับพระพุทธ ศาสนา เพราะเมื่อประชาชนไดศึกษาเรียนรูหลักธรรม คําสอนอยางเขาใจ พรอมทั้งนําไปประพฤติปฏิบัติจนเปน วิถชี วี ติ ประจําวันแลว ประชาชนเหลานัน้ จะชวยกันปกปอง คุมครองพระพุทธศาสนา ทําใหพระพุทธศาสนามีความ มัน่ คงอยูเ คียงคูก บั สถาบันชาติและสถาบันพระมหากษัตริย ทั้ง ๓ เสาหลักจะคอยชวยคํ้าจุนสังคมไทยใหมั่นคงและ เจริญรุงเรืองสืบไป สถานการณพระพุทธศาสนาทีน่ า เปนหวงในขณะนี้ คือ การขาดศาสนทายาท เราเคยมีพระสงฆเปนจํานวนมาก แตปจจุบันเหลือประมาณ ๓-๔ แสนรูป ทั้งที่ประชากร เพิ่มขึ้นจากเมื่อกอนมี ๒๐-๓๐ ลานคน ปจจุบันมี ๖๐ กวาลานคนแลว แตจํานวนพระสงฆ ไมเพิ่มขึ้น กลับ มีจํานวนลดลงแสดงวาคนไมมีศรัทธาจะเขามาบวชใน พระพุทธศาสนาหรืออยางไร เปนคําถามที่นาคิด ทําให ปจจุบนั มีวดั รางเปนจํานวนมาก แมวดั ทีม่ พี ระสงฆบางวัด ก็มีหลวงพอหลวงตาเฝาวัดอยูรูปหรือสองรูปเทานั้น ทั้งที่ จะตองดูแลรักษาศาสนสมบัติของวัดอันมีมูลคามหาศาล ปญหาวัดรางและวัดที่มีพระสงฆนอย เมื่อสมัยกอนมี เฉพาะใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต แตปจจุบันมีทุกภาค ไมเวนแมแตภาคกลาง หรือ กรุงเทพมหานครซึง่ เมือ่ กอน เคยมีพระภิกษุสามเณร ศิษยวดั ในแตละวัดเปนจํานวนมาก ถึงขั้นจะนําบุตรหลานเขามาบวชเรียนในวัดนั้น ๆ จะตอง หาคนชวยฝากให แตปจจุบันไมเปนเชนนั้น ในแตละวัด มีพระภิกษุสามเณรจํานวนนอย ยิง่ ศิษยวดั แทบจะหาไมไดเลย จึงนับวาเปนวิกฤตศาสนทายาทอยางแทจริง

นอกจากวิกฤติเรื่องศาสนทายาทแลว เรื่องของ ศรัทธาประชาชนทีม่ ตี อ พระพุทธศาสนาก็นา เปนหวง เมือ่ สมัยกอนพระสงฆจะไดรับการนิมนต ไปทําบุญนอกวัด บ อ ย ๆ หรื อ เมื่ อ อกบิ ณ ฑบาตจะมี ค นใส บ าตรมาก แตปจจุบันจะมีคนใสบาตรกันนอยลง เขาวัดกันนอยลง เปนการบงบอกถึงวิกฤตศรัทธาของประชาชน ในปนี้ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต มีวัดที่ยังไมมีผูแจงความ ประสงคจะนําผากฐินไปถวายเกือบ ๒๐๐ วัด จึงขอถวาย ใหเปนภาระหนาที่ของพระคุณเจาไดชวยกันแกปญหา เรื่องนี้ดวย ขอใหพระคุณเจาไดชวยทําหนาที่เปนแกนนํา ในแตละจังหวัด โดยมี เจาคณะพระสังฆาธิการระดับภาค ระดั บ จั ง หวั ด ระดั บ อํ า เภอ คอยถวายการสนั บ สนุ น ส ว นกรมการศาสนาจะได จั ด สรรงบประมาณถวาย พระคุณเจาเพื่อใชในการดําเนินการขับเคลื่อนธรรมะ เขาสูประชาชน เปนการขับเคลื่อนธรรมะทั้งแผนดิน นอกจากพระคุ ณ เจ า จะทํ า หน า ที่ เ ป น แกนนํ า ในการขับเคลือ่ นธรรมะเขาสูป ระชาชนแลวยังตองการใหมี กลุม ชาวพุทธทีม่ จี ติ อาสาทุกจังหวัด “พุทธสภา” รวมตัวกัน มีขอตกลงรวมกันที่เรียกวา “ธรรมนูญ” ออกมาชวย พระคุณเจาในการขับเคลื่อนหลักธรรมคําสอนสูประชาชน จะเห็ น ได ว  า งานของกรมการศาสนาที่ ผ  า นมา ทีส่ าํ เร็จลงไดดว ยดี ก็ไดอาศัยพระคุณเจาเปน ผูช ว ยเหลือ เช น งานวั น สํ า คั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนาที่ ส นามหลวง ไดอาศัยทีมงานของพระราชปญญามุนี เจาอาวาสวัด อนงคาราม ที่มีพระครูประทีปปญญาพิมล และพระสงฆ จากวัดตาง ๆ ชวยจัดงาน นอกจากนี้ยังไดรับความ อนุเคราะหจากทีมงานของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัยชวยในเรื่องตาง ๆ ทําใหงานวันสําคัญทาง พระพุทธศาสนาสําเร็จผานพนมาดวยดี ดังนั้น กรมการ ศาสนาจึงขอฝากภารกิจกับพระคุณเจาไว ๒ เรื่อง คือ ๑. ช ว ยขั บ เคลื่ อ นงานด า นพระพุ ท ธศาสนา ใหเขาถึงประชาชนอยางทั่วถึงตามวัตถุประสงคที่วาจะ เผยแผธรรมะทั้งแผนดิน แมวาเราจะมีพระสงฆจํานวน ๓๐๐,๐๐๐-๔๐๐,๐๐๐ รูป แตพระสงฆที่ทําหนาที่เผยแผ พระพุทธศาสนาจริง ๆ ยังมีไมมาก


47 ๒. ชวยทําหนาที่เปนแกนนําในการขับเคลื่อน เพราะปจจุบันยังขาดศูนยรวมที่จะทําหนาที่นําชาวพุทธ ที่มีจิตอาสาทําหนาที่ในการเผยแผพระพุทธศาสนา เมื่อกอนพอถึงวันพระวันโกน หรือวันสําคัญทาง พระพุทธศาสนา จะมีคนเขามาทําบุญทีว่ ดั มาก แตปจ จุบนั มีนอย บางวัดไมมีเลย คนขาง ๆ วัดจะไมเขาวัด มีแตคน มาจากที่อื่น แตเมื่อมีเรื่องอื้อฉาวเกิดขึ้นกับพระสงฆ หรือกับวัดเมื่อไร คนขาง ๆ วัดจะพากันเดินเขามาในวัด เพือ่ จะมาตําหนิวดั ทีท่ าํ ใหพระพุทธศาสนาเสือ่ ม คนเหลานี้ ดูแลวเหมือนมีความเปนหวงพระพุทธศาสนา เกรงวา พระพุทธศาสนาจะเสือ่ มเสีย แตถา เปนหวงพระพุทธศาสนา จริ ง ต อ งไม ท อดทิ้ ง วั ด ต อ งดู แ ลวั ด อย า ให ท รุ ด โทรม ถึ ง วั น โกนวั น พระหรื อ วั น สํ า คั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนา จะต อ งเข า ไปทํ า บุ ญ ในวั ด แต ป  จ จุ บั น ไม เ ป น เช น นั้ น กรมการศาสนามี โ ครงการเชิ ญ ชวนคนเข า วั ด ในวั น ธรรมสวนะ แตเทาที่สังเกตุเห็นยังไมพบคนรอบ ๆ วัด เขาไปทําบุญมากนัก กรมการศาสนามีโครงการที่สําคัญ ๆ มาก เชน โครงการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย โครงการ ลานธรรม ลานวิถีไทย ฯลฯ ในป ๒๕๕๖ นี้ตองการใหมี การขับเคลื่อนในรูปแบบคลินิกคุณธรรม ตามสถานศึกษา ทุกแหง ปจจุบันจะพบวา เด็กอาชีวศึกษามีปญหามาก คลิ นิ ก คุ ณ ธรรมในสถานศึ ก ษาน า จะช ว ยเรื่ อ งนี้ ไ ด หากพระคุณเจาในฐานะที่เปนผูมีบทบาทในการเผยแผ พระพุทธศาสนา ทีค่ นทัว่ ไปใหความเคารพนับถือ ไดเขาไป ชวยจัดการเรือ่ งนี้ โดยใหมแี ผนปฏิบตั กิ ารจากผูท มี่ สี ว นได สวนเสีย เชื่อวาจะชวยแกปญหาตาง ๆ ไดโดยพระคุณเจา ควรจะไดรับคาตอบแทนอยางตํ่าเดือนละ ๑๕,๐๐๐ บาท ตามนโยบายของรัฐบาลที่ประกาศวาผูที่จบปริญญาตรี จะไดรับเงินเดือนอยางตํ่า ๑๕,๐๐๐ บาท พระคุณเจา ที่จบปริญญาตรีก็ควรจะอยูในเงื่อนไขขอนี้ดวย ที่จริงแลว การถวายพระสงฆทที่ าํ หนาทีส่ อนศีลธรรม หรือขับเคลือ่ นงาน ดานพระพุทธศาสนาเดือนละ ๑๕,๐๐๐ บาท ไมถือวามาก เพราะจะใชเงินไมเกิน ๑,๐๐๐ ลานบาท ขอเพียงแตวา พระคุณเจาจะตองทํางานในดานนี้ ใหรัฐบาลหรือสังคม เห็นประจักษกอน นอกจากเรื่องดังกลาวแลว กระผมมีเรื่องศูนย ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตยอาเซียน พระคุณเจา จะตองชวยกันขายความคิด ขายความเปนศูนยกลาง พระพุ ท ธศาสนาโลกที่ ป ระเทศไทยได รั บ อยู  ใ นขณะนี้ เรามีจุดเดนในเรื่องชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เมื่อมี ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตยอาเซียนแลวใหนํา เรื่องชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยบรรจุอยูในศูนย ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตยอาเซียนดวย เบื้องตน จะคัดเลือกประเทศทีต่ งั้ อยูต ดิ กับประทศไทย เชน เมียนมา ลาว กัมพูชา มาเลเซีย วัดที่มีศักยภาพในการดําเนินการ เกี่ยวกับเรื่องนี้ เชนวัดศรีโสดา จังหวัดเชียงใหม หรือ

วัดอืน่ ๆ ทีม่ คี วามพรอม อาจนิมนตพระสงฆ หรือชักชวน ชาวพุทธในประเทศบานใกลเรือนเคียงประเทศละ ๒๕ คน มาบวชเรียนอยูร ว มกัน แลวออกไปประกาศพระพุทธศาสนา รวมกัน ปจจุบันประชาคมโลกกําลังสนใจพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะเรื่องวิปสสนากรรมฐาน ทําอยางไรจะทําให ประเทศไทยในฐานะที่เปนศูนยกลางพระพุทธศาสนาโลก ใหเปนศูนยกลางวิปสสนากรรมฐานดวย อีกเรือ่ งทีจ่ ะขอใหพระคุณเจาชวย คือ เรือ่ งศาสนพิธี และมารยาทไทย ทําอยางไรจะใหเด็กและเยาวชนไทย ไดสนใจศึกษาเรียนรูเ รือ่ งนี้ เพราะจะทําใหเด็กและเยาวชน ของเรามีกิริยามารยาทออนโยน นอกจากนี้ใหมีเรื่องของ เทคโนโลยีและสารสนเทศในดานศาสนาพุทธดวย เรื่องสุดทาย ในปงบประมาณ ๒๕๕๖ นี้ กรม การศาสนา จะนําพระสังฆาธิการระดับรองเจาคณะจังหวัด เจาคณะอําเภอ พระธรรมวิทยากร ผูทําคุณประโยชน ตอพระพุทธศาสนา ไปนมัสการสังเวชนียสถาน ณ ประเทศ อินเดีย-เนปาล ภายใตกองทุนเผยแผพระพุทธศาสนา เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ซึ่งจะทําใหทานเหลานั้น ไดมขี วัญกําลังใจในการทํางาน ใหกบั พระพุทธศาสนาอยาง ตอเนื่อง ที่สําคัญจะทําใหพระคุณเจาไมคิดที่จะลาสิกขา ทัง้ ยังเปนแรงจูงใจใหคนเขามาบวชในพระพุทธศาสนามากขึน้ จะทําใหพระพุทธศาสนาไมขาดแคลนศาสนทายาทและ มีผูสืบตออายุพระพุทธศาสนาตอไป


48

บทความพิเศษ

วัดอานันทเมตยาราม ภาพจาก www.thaibuddhisttemple.org

กาวสูอาเซียน ประชาคมแหงสันติ :

พระพุทธศาสนาในสาธารณรัฐสิงคโปร (Republic of Singapore)

ป ระเทศสิงคโปร (Singapore) หรือชื่อทางการ คือ สาธารณรัฐสิงคโปร (Republic of Singapore) เปน

นครรัฐทีต่ งั้ อยูบ นเกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทีล่ ะติจดู ๑ ํ๑๗’๓๕” เหนือ ลองจิจูด ๑๐๓ ํ๕๑’๒๐” ตะวันออก (๑ ๑ํ ๗’N ๑๐๓ ๕ํ ๑’E) ตัง้ อยูท างใตสดุ ของคาบสมุทรมาเลย ติ ด กั บ รั ฐ ยะโฮร ข องประเทศมาเลเซี ย และอยู  ท าง เหนือของเกาะสุมาตราของประเทศอินโดนีเซีย มีพื้นที่ ๖๙๗.๑ ตารางกิโลเมตร ยอดเขาสูงที่สุดคือ Bukit Timah แมนํ้าสายหลักคือ Singapore และ Rochor สิงคโปร มีถนนและรถไฟเชื่อมกับมาเลเซีย ณ Singapore/Johor Causeway ระยะทางประมาณ ๖ กิโลเมตร สิงคโปร เปนประเทศเล็กทีข่ าดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ แตไดชอื่ วา เปนศูนยกลางทางการคา การเงินในเอเซียตะวันออก เฉียงใต และเปนศูนยกลางการกลั่นนํ้ามันที่มีความสําคัญ เปนอันดับสามของโลก

ประเทศสิงคโปร เปนเกาะตัง้ อยูบ ริเวณปากทางเขา ชองแคบมะละกา ซึง่ เปนชองทางติดตอระหวางมหาสมุทร แปซิ ก ฟ ค กั บ มหาสมุ ท รอิ น เดี ย และอยู  ต รงปลาย แหลมมลายู เปนเกาะที่ประกอบดวยเกาะหลายเกาะคือ เกาะสิงคโปรซึ่งเปนเกาะใหญ นอกจากนั้นยังมีเกาะเล็ก เกาะน อ ยอยู  ภายในเขตน า นนํ้ า อี ก ๕๔ เกาะ และ เกาะปะการังอีกประมาณ ๗ เกาะ ในบรรดาเกาะดังกลาว เปนที่อยูอาศัย และตั้งโรงงานอุตสาหกรรม อยูประมาณ ๓๐ เกาะ สิ ง คโปร เ ปรี ย บเสมื อ นประตู ท างคมนาคม ทางทะเล ระหวางมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต และ เปนเสมือนจุดตอของแผนดิน จากผืนแผนดินใหญผาน แหลมมลายู ลงทางใต ไ ปสู  ป ระเทศอิ น โดนี เ ซี ย และ ออสเตรเลีย นอกจากนั้นยังเปนจุดแวะพัก และจุดคุมการ เดินเรือติดตอระหวางมหาสมุทรแปซิกฟคกับมหาสมุทร อินเดีย มีทาจอดเรือสําหรับใชขนสงสินคาในทะเลใหญ เปนอันดับสองของเอเซีย และมีปริมาณขนถายสินคามาก เปนอันดับสี่ของโลก


49

มัสยิดสุลตาน ภาพจาก www.theemperortravel.com

China Heritage พิพิธภัณฑประวัติของคนเชื้อสายจีนที่อาศัยอยูในสิงคโปร ภาพจาก www.catadmin.cattelecom.com

สําหรับประชากรของสิงคโปร มีโครงสรางทาง สังคมแบบรวมหลายเชื้อชาติ (Muiti Aacial Society) ประชากรหนาแน น ที่ สุ ด ในภู มิ ภาคอาเซี ย น และเป น ประเทศเล็กที่สุดในภูมิภาค เปนประเทศที่มีประชากร หนาแนนเปนอันดับ ๒ ของโลก มีจํานวนประชากร ประมาณ ๕.๐๘ ลานคน (๒๕๕๓) ประกอบดวยชาวจีน (๗๖.๕%) ชาวมาเลย (๑๓.๘%) ชาวอินเดีย (๘.๑%) และ อืน่ ๆ (๑.๖%) ความหนาแนนของประชากรตอเนือ้ ทีต่ าราง กิโลเมตร ถือวาอยูในอัตราที่สูงมากกวาประเทศไทยถึง ๔๐ เทา โดยมีชาวจีนเปนประชากรสวนใหญ แตรัฐบาล ไดพยายามสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของชน ทุกเชื้อชาติ โดยใหเกิดความรูสึกวา ทุกคนไมวาจะมีเชื้อ ชาติใด จะเปนชาวสิงคโปรทั้งสิ้น ซึ่งไดรับผลสําเร็จอยาง นาพอใจ และเนื่องจากเปนสังคมหลายเชื้อชาติ จึงมีการ นับถือศาสนา และลัทธิแตกตางกันเปนจํานวนมาก ผูค นใน สิงคโปรมอี สิ ระในการนับถือศาสนา เชน มีพระพุทธศาสนา (๔๒.๕%) ศาสนาอิสลาม(๑๔.๙%) ศาสนาคริสต(๑๔.๖%) ศาสนาฮินดู(๔%) ซึ่งในจํานวนนี้เกือบทั้งหมดเปนชาว อินเดียและลัทธิขงจื้อ เปนตน และยังมีศาสนาอื่นๆ ที่ เปนกลุมเล็กอีกดวย ไดแก ซิกข, ยิว ในบรรดาตึกเกา ๆ ในสิงคโปรก็จะรวมไปถึง สุเหรา, โบสถ และวัดตาง ๆ ดวย ในป ๑๙๙๐ มีการเก็บสถิตปรากฏวา ประชากรที่อายุ ๑๐ ปขนึ้ ไปจะนับถือศาสนาพุทธและเตามากโดยในจํานวน นี้จะเปนคนจีนเสียสวนใหญ และอาจมีการผสมผสานใน ความเชือ่ ของศาสนา แตละแหงเขาไปดวย โดยอยูร ว มกัน อยางไมมีปญหา ไมมีความขัดแยงดานเชื้อชาติ ศาสนา สิงคโปรไมมีศาสนาประจําชาติ นอกจากนี้สิงคโปรยัง เปนประเทศในเอเชียที่มีการวางแผนครอบครัวไดดีมาก จนทําใหจํานวนประชากรลดลงและกอใหเกิดปญหาการ ขาดแคลนแรงงานในอนาคต

วัดกาญจนาราม ประเทศสิงคโปร ภาพจาก www.mybuddha108.com

วัดกาญจนาราม ประเทศสิงคโปร ภาพจาก www.mybuddha108.com


50

รูปปนหนาวัดแสดงถึงวัฒนธรรมอินเดีย

มหาวิหารเซนตแอนดรู

สรุป คือ สิงคโปรมีเชื้อชาติที่ผสมผสานอยาง ลงตัวและคุณภาพชีวิตที่ดี สิงคโปร ไดชื่อวาเปนประเทศ ที่มีคนจากหลากหลายเชื้อชาติ เชน จีน มาเลย อินเดีย และลูกครึ่งระหวางชาวเอเชียและชาวยุโรปมาอยูรวมกัน อยางสงบและไมมีปญหาขัดแยงเรื่องชนชาติระหวางกัน โดยที่ทุกเชื้อชาติยังดํารงไวซึ่งวิถีการดําเนินชีวิต ยึดถือ ธรรมเนียมปฏิบัติประเพณีและวัฒนธรรมดั้งเดิมของตน ไวอยางเครงครัด ทําใหชาวสิงคโปรมีวัฒนธรรมหลาก หลายแตกตางกันไปตามเชื้อชาติ แตผสมผสานกันอยาง กลมกลืน ทัง้ ทางดานอาหาร การแตงกาย โดยสวนมากมัก เกี่ยวของกับพิธีกรรมทางศาสนา มีการเซนไหววิญญาณ บรรพบุรุษ รวมถึงความเชื่อในเรื่องเทพเจาที่แตกตางกัน ไป ชาวจีนสวนมากบูชาพระแมกวนอิม ธิดาแหงความสุข เทพเจากวนอูเทพเจาแหงความยุตธิ รรม รวมถึงเทพเจาจีน องคอื่น ๆ ขณะที่ชาวฮินดูบูชา เทพเจาแหงดวงอาทิตย เปนตน นอกจากนี้ ในสิงคโปรยงั มีผเู ชีย่ วชาญจากตางชาติ มากถึง ๙๐,๐๐๐ คน ที่เขามาอยูอาศัยและทํางาน ซึ่งคน เหลานี้ไดเขามาเผยแพรขนบธรรมเนียมและแลกเปลี่ยน แนวความคิดกับคนในประเทศ นับเปนการเพิ่มสีสันให กับชาวสิงคโปร นักเรียนทีเ่ ขามาศึกษาในสิงคโปรสามารถ มั่นใจในมาตรฐานการดํารงชีวิตของสิงคโปร ได ดูไดจาก ผลการสํารวจของหนังสือ The Economist ฉบับเดือน มีนาคม ค.ศ. ๒๐๐๒ กลาววาคุณภาพชีวติ ของชาวสิงคโปร เทียบเทากับชาวเมืองลอนดอนและชาวเมืองนิวยอรก โดย ไดนํา ๓๙ ปจจัย เชน ความมั่นคงทางการเมือง เสรีภาพ ของประชาชน มลภาวะทางอากาศ คุณภาพชีวติ โรงเรียน

รานอาหารและโรงภาพยนตรมาเปนดัชนีวัดในการสํารวจ ครั้งนี้ ชาวสิงคโปรถือวามาตรฐานการครองชีพของตนดี กวาประเทศอื่น แตขณะเดียวกันยังมีความกลัวในจิตใจ คือ กลัวความลมเหลวกับกลัวการเสียเปรียบ สวนเทศกาลสําคัญของสิงคโปร สวนมากมีความ เกี่ยวของกับความเชื่อทางศาสนา เริ่มตั้งแตเทศกาลตรุษ จีน (Chinese New Year) ในเดือนกุมภาพันธ ชาวสิงคโปร เชื้ อ สายจี น จะจั ด งานเซ น ไหว เ ทพเจ า และงานรื่ น เริ ง สนุกสนานอื่น ๆ โดยรัฐบาล หางราน และบริษัทตาง ๆ จะหยุดทําการเปนเวลา ๒ วัน แตบางแหงอาจหยุดนาน ถึง ๑๕ วัน เทศกาล Good Friday ของชาวคริสตในเดือน เมษายน จัดขึน้ เพือ่ ระลึกถึงการสละชีวติ ของพระเยซูบนไม กางเขน เทศกาลวิสาขบูชา (Vesak Day) ของชาวพุทธ จัดขึ้นในเดือนพฤษภาคม เพื่อระลึกถึงการประสูติ ตรัสรู และปรินิพพานของพระพุทธเจา เทศกาล Hari Raya Puasa ในเดือนตุลาคม เปนการเฉลิมฉลองของชาวมุสลิม หลังการสิ้นสุดพิธีถือศีลอดหรือรอมฎอน (Ramadan) และเทศกาล Deepavali ในเดือนพฤศจิกายน เปนเทศกาล แห ง แสงสว า งและเป น งานขึ้ น ป ใ หม ข องชาวฮิ น ดู ใ น สิงคโปร ภาษา ภาษาทางราชการมีสภี่ าษาคือ ภาษามาเลย จีนกลาง(แมนดาริน) ทมิฬ และอังกฤษ สิงคโปรสงเสริม ใหประชาชนพูด ๒ ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่ ภาษาอังกฤษเปนภาษาที่ใชในการติดตองานและใชในชีวติ ประจําวัน และใหภาษามาเลย เปนภาษาประจําชาติ


51

วัดศากยมุนีคยา ภาพจาก www.roadworthyman.com

การเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศสิงคโปร พระพุทธรูปภายในวัดศากยมุนีคยา ภาพจาก www.mysingaporetravel.com

อยางไรก็ตาม นายกรัฐมนตรีสิงคโปร ไดยํ้าใน หลายโอกาสวาประสงคที่จะพัฒนาสิงคโปรใหเปนสังคมที่ โปรงใสและเปดกวางมากขึ้น (a more transparent and open society) โดยจะดําเนินการอยางคอยเปนคอยไป ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงคานิยมที่เปนคุณลักษณะเฉพาะของ ประเทศ (อาทิ การเป น พหุ สั ง คมที่ มี ค วามแตกต า ง ดานเชื้อชาติและศาสนา) มากกวาการนําระบบเสรีนิยม ประชาธิ ป ไตยของตะวั น ตกมาปรั บ ใช อย า งไรก็ ดี ผูเชี่ยวชาญดานการเมืองสิงคโปรเห็นวาประเด็นเรื่อง ศาสนาและความแตกตางทางเชื้อชาติเปนเรื่องที่มีความ ละเอียดออนในสังคมสิงคโปร สถานะความโปรงใสของ รัฐบาลในป ๒๕๔๘ สถาบัน Transparency International ไดจัดใหสิงคโปรอยูในลําดับที่ ๕ จาก ๑๕๘ ประเทศ ทั่วโลก ที่มีการฉอราษฎรบังหลวงนอยที่สุด

วัดศากยมุนีคยา

บรรดาศาสนาสําคัญที่มีผูนับถือเปนจํานวนมาก ในปจจุบัน พระพุทธศาสนานับวาเปนศาสนาที่มีอายุ เกาแกเปนอันดับสองรองจากศาสนาพราหมณที่ดํารงอยู ในรูปของศาสนาฮินดู พระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นในโลก เมือ่ ๔๕ ปกอ นพุทธศักราช (พุทธศักราชเริม่ นับ ๑ ถัดจาก ปที่พระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพาน) ในดินแดน ชมพูทวีปซึ่งในปจจุบันไดแก ประเทศอินเดีย และเนปาล โดยเริ่ ม ขึ้ น ในวั น ที่ พ ระพุ ท ธเจ า ทรงแสดงปฐมเทศนา แกพวกปญจวัคคีย ซึ่งตรงกับวันเพ็ญ เดือนอาสาฬะ (ขึ้น ๑๕ คํ่าเดือน ๘) จากวันนั้นเปนตนมา พระพุทธเจา ไดเสด็จจาริกออกเผยแผพระพุทธศาสนาไปทั่วชมพูทวีป โดยในระยะแรกพระองคเสด็จออกเผยแผพระองคเดียว เมื่อมีสาวกมากขึ้น ก็ใหพุทธสาวกออกเผยแผพระพุทธ ศาสนาดวย ทําใหพระพุทธศาสนามีความเจริญรุงเรือง และแผขยายไปในชมพูทวีปอยางรวดเร็ว ชาวชมพูทวีป พากั น ละทิ้ ง ลั ท ธิ เ ดิ ม แล ว หั นมานั บ ถื อ เลื่ อ มใสศรั ท ธา ในพระพุทธศาสนามากขึ้น เปนลําดับ การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศเพื่อน บานโดยเฉพาะประเทศทีน่ บั ถือพระพุทธศาสนาของเพือ่ น บานในปจจุบัน เปนสิ่งสําคัญ เนื่องจากความสําคัญของ พระพุทธศาสนาที่สามารถชวยเสริมสรางความเขาใจอัน ดีกับประเทศเพื่อนบาน และความสําคัญของพระพุทธ ศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณ และมรดกของชาติ นอกจากนี้พระพุทธศาสนาไดสอน หลักธรรมเพื่อพัฒนาตนเปนขั้นตอนตามลําดับ ตั้งแต ระดับ พื้นฐานจนถึงระดับสูง และเนนวาเมื่อพัฒนาตน สมบูรณเต็มที่แลว ใหพึงบําเพ็ญประโยชนสุขแกผูอื่นและ สังคมเปนการตอบแทน ดวยอุดมการณนี้ทําใหชาวพุทธ ไดเผยแผพระพุทธศาสนาไปยังภูมิภาคตาง ๆ ของโลก เพือ่ สรางความเขาใจอันดี และอยูร ว มกันอยางสันติสขุ ของ มวลมนุษยชาติ


52

วัดอานันทเมตยาราม ประเทศสิงคโปร ภาพจาก www.nextstationto.blogspot.com

สําหรับในการเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศ สิงคโปร พระพุทธศาสนาเริ่มตนในประเทศสิงคโปร ตั้งแต สมัยศรีวิชัย แตตอมาชาวมาเลยมุสลิมไดมาตั้งรกรากอยู และตอมาก็มชี าวจีนโพนทะเลไดมาตัง้ รกรากอยูท สี่ งิ คโปร ไดนําพระพุทธศาสนาแบบมหายานมาเผยแผดวย และ เปนศาสนาที่แพรหลายมากในประเทศนี้ สิงคโปรซึ่งเปน เกาะเล็ก ๆ อยูทางทิศใตของประเทศมาเลเซีย ซึ่งในอดีต ประเทศสิงคโปรถือวาเปนสวนหนึ่งของประเทศมาเลเซีย เคยอยูรวมกันเปนสหพันธเดียวกันกับประเทศมาเลเซีย มากอนและไดแยกตัวออกมาเปนอิสระเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๘ ดังนั้นการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศสิงคโปรจึง มีลักษณะเดียวกันกับประเทศมาเลเซีย กลาวคือ นิกายที่ ไดการเคารพนับถือมาก ไดแก นิกายมหายาน และดวย เหตุผลที่พลเมืองสวนใหญของสิงคโปรเปนชาวจีนโพน ทะเลที่เดินทางมาคาขายและตั้งรากฐานอยูแลวไดนับถือ นิกายมหายานดวย ศาสนาในสิงคโปรยุคแรกมีลักษณะ ผสมผสานทางความเชื่อระหวางศาสนาเตากับพระพุทธ ศาสนา สวนหลักปฏิบัติจะเนนจริยธรรมขงจื้อ เชน ความ กตัญูกตเวที ความผูกพันทางเครือญาติ มารยาททาง สังคม ความประหยัดมัธยัสถ การเคารพกฎหมาย การ ปรองดองกับเพือ่ นบาน การปฏิเสธความเชือ่ ทีผ่ ดิ และการ

ยกยองการศึกษาทีถ่ กู ตอง เปนตน ปจจุบนั ชาวจีนสิงคโปร ที่ไปวัดมีแนวโนมที่จะแยกแยะระหวาง “พุทธศาสนา” กับ “ศาสนาเตา” มากขึน้ ภายหลังการสํารวจสํามะโนประชากร ป ค.ศ.๑๙๘๐ ประชาชนจะตองเลือกศาสนาใหชัดเจน พระพุทธศาสนานิกายมหายานจึงมีความเจริญรุง เรืองและ ไดรับการประดิษฐานอยางมั่นคง ดังจะเห็นไดวา สิงคโปร มีสมาคมชาวพุทธอยูประมาณ ๑,๘๐๐ สมาคม และมีวัด ทางพระพุทธศาสนาอยู ๑๒๒ วัด ซึ่งเกือบทั้งหมดเปนวัด ฝายนิกายมหายาน สวนวัดฝายนิกายเถรวาทที่สําคัญ ๆ ไดแก วัดศรีลังการามายณะของศรีลังกา และวัดไทย ที่สําคัญมี ๒ วัด คือ วัดอนันทเมตยาราม สรางเมื่อป พ.ศ. ๒๔๗๙ และทําการปฏิสังขรณใหมเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๒ และวัดปาเลไลยก สรางเมือ่ ป พ.ศ. ๒๕๐๖ รวมทัง้ สมาคม ทางศาสนา ทํ า หน า ที่ ใ นการเผยแผ พ ระพุ ท ธศาสนา ตั้งโรงเรียนสอนหนังสือ นอกจากนั้นยังมีพุทธสมาคม ชาวจีนที่ไดดําเนินกิจการ สังคมสงเคราะหตาง ๆ เชน บริจาคอาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรค ใหแกผูยากไร มอบทุนการศึกษาใหแกนักเรียนที่ยากจน ชวยเหลือ ฌาปนกิจสงเคราะห ตั้งศูนยสังคมสงเคราะหเด็กกําพรา และคนชรา เปนตน


53 สถานภาพของพระพุทธศาสนา แบบมหายานใน สิงคโปรถือวาดีมาก มีการปฏิบัติศาสนกิจ และการเผยแผ อยางจริงจัง โดยมีการแปลตํารา และคัมภีรทางพระพุทธ ศาสนาเปนภาษาตางๆ จัดตั้งโรงเรียนอบรม ศาสนาจารย และมีโรงเรียนสอนพระพุทธศาสนาวา “มหาโพธิ์” เพื่อ เปนโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนพระพุทธศาสนาทุก ระดับชัน้ สวนองคกรยุวพุทธแหงสิงคโปรมกี ารจัดกิจกรรม บรรยายธรรมทั้งภาคภาษาอังกฤษและภาษาจีนกลาง สอนการสวดมนต ฝกการนั่งสมาธิ การสนทนาธรรมและ กิจกรรมอืน่ ๆ กลาวโดยสรุปชาวสิงคโปรไมเพียงแตนบั ถือ พระพุทธศาสนานิกายมหายานอยางแนนแฟนเทานั้น แต ยังไดนาํ หลักธรรมขอทีว่ า ดวยความเมตตากรุณามาปฏิบตั ิ ตอเพื่อนมนุษยที่ตกทุกขไดยากอีกดวย อันแสดงถึงความ เจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนา และความศรัทธาทาง ศาสนาของชาวสิงคโปร พระพุทธรูปที่ประดิษ ฐานภายในวัดปาเลไลย ภาพจาก www.tripwow.tripadvisor.com

วัดอานันทเมตยาราม ประเทศสิงคโปร ภาพจาก www.nextstationto.blogspot.com

สําหรับประวัติของวัดปาเลไลยก สิงคโปร ตั้งอยูที่ เลขที่ ๔๙ ซอยเบอโดก วอลค ประเทศสิงคโปร สถานทีต่ งั้ เดิมของวัดปาเลไลยกอยูทถี่ นนโปฮวด ตอมาวัดปาเลไลยก ไดยา ยมาทีซ่ อยจาลันนิภาเพือ่ รองรับพุทธศาสนิกชนและผู มีจิตศรัทธาที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น โดยมีขนาดของพื้นที่วัด กวาง ๖ เมตร ยาว ๑๒ เมตร สรางเปนศาลาทรงไทย ๓ หลัง แบงการใชงานออกเปน ๓ สวน สวนที่หนึ่ง เปนลาน ปฏิบัติธรรมและประกอบศาสนพิธี สวนที่สองเปนศาลา เอนกประสงคและหอฉัน สวนที่สามเปนที่จําวัดของพระ ภิกษุสามเณร อยางไรก็ตาม ก็ไมเพียงพอที่จะสามารถ รองรับชาวพุทธศาสนิกชนที่เพิ่มขึ้นได ดังนั้นในป พ.ศ. ๒๕๑๑ ไดมีการเสนอใหยายวัดมาที่ ๔๙ ซอยเบอโดก วอลค โดยฆราวาสชื่อ นายวี เตียม ซิว ไดมีจิตศรัทธา ขายที่ดินใหในราคาเพียงครึ่งหนึ่งของมูลคาจริง ไดรับ ความรวมมือในการกอสรางโดยอาสาสมัครทัง้ ชาวสิงคโปร ไทย และมาเลเซีย ซึ่งไดรวมแรงรวมใจกันสรางวัดแหงนี้ และมี ก ารทํ า พิ ธี ว างศิ ล าฤกษ โ ดยเจ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (ปุณณสิริมหาเถระ) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ การก อ สร า งวั ด เสร็ จ สิ้ น สมบู ร ณ แ ละเฉลิ ม ฉลองในป พุ ท ธศั กราช ๒๕๑๖ ต อ มาในป พุ ท ธศั กราช ๒๕๔๗ คณะกรรมการวัดปาเลไลยกมมี ติทจี่ ะสรางอาคารหลังใหมขนึ้ เพื่อรองรับกับกิจกรรมของวัดและจํานวนที่เพิ่มขึ้นของ พุทธศาสนิกชนและผูมีจิตศรัทธาที่มีความสนใจในการ ที่จะศึกษาธรรมและปฏิบัติกรรมฐาน


54

วัดปาเลไลย ประเทศสิงคโปร ภาพจาก www.panoramio.com

จุดเปลี่ยนที่สําคัญของพระพุทธศาสนา ในสิงคโปร

ในปจจุบัน ทวีวัฒน ปุณฑริกวิวัฒน กลาววา การไหวพระและประกอบพิธีศาสนาที่วัดจีนในสิงคโปร ไมอาจดึงดูดความสนใจของคนหนุมสาวสิงคโปรมากนัก คนรุนใหมสนใจที่จะศึกษาพุทธปรัชญา จริยธรรม และ การปฏิบัติธรรมอยางกวางขวาง รวมทั้งการประยุกต ใชในชีวิตประจําวัน ความสนใจดังกลาวเกิดขึ้นในหมู ฆราวาสชาวสิงคโปร และเพิ่มจํานวนขึ้นอยางตอเนื่อง จนเกินกวาจํานวนของครูที่มีอยู องคการตาง ๆ จึงถูก จัดตั้งขึ้นเพื่อตอบ สนองตอความตองการนี้ จนกลายเปน ความเคลือ่ นไหวใหมทเี่ รียกวา “พุทธศาสนาแบบสมาคม” (Associational Buddhism) ในสิ ง คโปร มี คํ า สอน และหลั ก การปฏิ บั ติ ที่ ห ลากหลายมาก ตั ว อย า งเช น ศู น ย ยุ ว พุ ท ธอานั น ทเมตไตรย (Ananda Metyarna Buddhist Youth Circle) ที่วัดพุทธอานันทเมตไตรย มีการปฏิบัติแบบเถรวาทภายใตการนําของพระสงฆ ไทย ขณะที่สมาชิกของวัดทิเบต (Sakya Tenphel Ling) จะประกอบพิธกี รรมและปฏิบตั แิ บบทิเบต ภายใตการนําของ พระสงฆทบี่ วชในฝายวัชรยาน ดวยลักษณะเชนนีช้ าวจีนใน สิงคโปรไดพบกับคําสอนรูปแบบตาง ๆ ของพระพุทธศาสนา ในโลกปจจุบัน มิไดจํากัดอยูแตเฉพาะพระพุทธศาสนา แบบจีนเทานัน้ สิงคโปรแมจะไดรบั อิทธิพลจากวัฒนธรรม จีนเปนอยางมาก แตสังคมสิงคโปรก็ไดพัฒนาวัฒนธรรม สิงคโปรที่เปนเอกลักษณเฉพาะตนขึ้นมาเชนเดียวกัน “พุทธศาสนาแบบสมาคม” มีจาํ นวนสมาชิกทีแ่ นนอน และ สมาชิกมีความสนใจตอคําสอนและวิธีปฏิบัติโดยเฉพาะ ของพระพุทธศาสนาในแบบของตน นับเปนจุดเปลี่ยน ที่สําคัญของพระพุทธศาสนาในสิงคโปร มีดังนี้ ๑. หองสมุดพุทธศาสนา (Buddhist Library) ธรรม รัตนะ พระภิกษุศรีลังกาผูไดรับแรงบันดาลใจจากงานของ ทานพระธรรมนันทะในกรุงกัวลาลัมเปอร ตองการสงเสริม กิจกรรมการศึกษา การปฏิบตั สิ มาธิภาวนา และการเผยแผ

ภาพจิตกรรมที่วัดปาเลไลย ประเทศสิงคโปร ภาพจาก www.panoramio.com

พระพุทธศาสนา (ซึง่ สมัยนัน้ สถานทีส่ าํ หรับกระทํากิจกรรม ดังกลาวยังไมม)ี ทานและชาวสิงคโปรกลุม หนึง่ จึงไดกอ ตัง้ “สมาคมวิจัยพุทธศาสนา” (Buddhist Research Society) ขึ้นในป ค.ศ. ๑๙๘๑ และไดพัฒนาตอมาจนกลายเปน “หองสมุดพระพุทธศาสนา” (เปดเปนทางการในเดือน กรกฎาคม ค.ศ. ๑๙๘๓) หองสมุดไดจัดกิจกรรมการ บรรยายและปาฐกถาในหัวขอพระพุทธศาสนา รวมทั้ง การปฏิบัติธรรมภายใตการนําของพระภิกษุอยูเปนประจํา แมวาพระภิกษุสิงหลจะเปนผูเล็งเห็นถึงความจําเปน และ ริเริ่มการกอตั้งสมาคมแหงนี้ แตเสียงตอบรับสวนใหญ มาจากชาวพุทธจีนในสิงคโปร การบรรยายธรรมกระทํา ดวยภาษาอังกฤษหรือภาษาจีนกลาง (โดยมีการแปลเปน ภาษาจีนฮกเกี้ยน) สมาชิกของหองสมุดพระพุทธศาสนา สวนใหญเปนคนหนุมสาวเชื้อสายจีน และมีการศึกษา ตัง้ แตระดับมัธยมศึกษาขึน้ ไป โดยหนึง่ ในสามมีการศึกษา ในระดับมหาวิทยาลัย ๒. พุ ท ธสมาคมมหาปรั ช ญา (Mahaprajna Buddhist Society) สมาคมนีก้ อ ตัง้ ขึน้ เมือ่ ตนป ค.ศ. ๑๙๘๖ โดยมีพระภิกษุจากไตหวันเปนทีป่ รึกษา มีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหประชาชนไดเรียนรูถึงความหมายและการปฏิบัติธรรม ในพระพุทธศาสนา กิจกรรมหลักอันหนึ่งไดแกการสอน พระพุทธศาสนาทั้งแบบอินเดียและแบบจีนใหแกสมาชิก โดยแบงเปน ๔ ระดับ คือ ขั้นแนะนํา ขั้นตน ขั้นกลาง และขั้นสูง (แตละขั้นมี ๒๔ คาบ และแตละคาบใชเวลา ๒ ชั่ ว โมง) การบรรยายส ว นใหญ เ ป น ภาษาจี น กลาง นอกจากนี้ ยั ง มี การสวดมนต โดยสวดจากพระสู ต ร มหายานเปนภาษาจีนกลางหรือจีนฮกเกี้ยน เพื่อใหเกิด “ความเบิกบานทางจิตใจ ความกาวหนาในการปฏิบตั ธิ รรม และความสามั ค คี ใ นหมู  ส มาชิ ก” สมาคมได แ ยกแยะ ความแตกตางระหวางพระพุทธศาสนากับศาสนาเตา ใหเห็นอยางชัดเจน สมาชิกสวนใหญเปนชาวจีน โดยมี สมาชิกเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง


55

วัดสุวรรณคีรีวนาราม ภาพจาก www.howtobemonk.blogspot.com

๓. กลุม พุทธสมาคมแหงมหาวิทยาลัย (Buddhist societies in tertiary educational institutions) กลุม พุทธสมาคมแหงมหาวิทยาลัย ประกอบดวยพุทธสมาคม ของมหาวิทยาลัยแหงชาติสิงคโปร (National University of Singapore) สถาบันเทคโนโลยีหนานยาง (Nanyang Technological Institute) สิงคโปรโพลีเทคนิค (Singapore Polytechnic) และพุ ท ธสมาคมงี อ านโพลี เ ทคนิ ค (Ngee Ann Polytechnic Buddhist Society) สมาชิก สวนใหญเปนชาวจีน มีชาวอินเดียบาง แตไมมีชาวมาเลย กลุม พุทธสมาคมแหงมหาวิทยาลัยจะมีกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย และสัมพันธกับองคกรพุทธศาสนาอื่น ๆ ในสิงคโปร ตัวอยางเชน พุทธสมาคมงีอานโพลีเทคนิค มีกจิ กรรมสอน พุทธธรรมและการปฏิบตั สิ มาธิภาวนา โดยมีการสวดมนต เปนภาษาบาลีกอนการเรียน มีการบรรยายและการแสดง ปาฐกถาเปนครั้งคราว มีการจัดแสดงหนังสือ การเยี่ยม บานคนชรา และการเยือนวัดพุทธศาสนานิกายตาง ๆ ทั้งในแบบไทย ทิเบต ศรีลังกา และจีน เพื่อการเรียนรู พุทธศาสนาที่หลากหลาย เปนตน ๔. สมาคมพุทธศาสนาแหงสิงคโปร (Singapore Buddha Sasana Society)สมาคมมี วั ต ถุ ป ระสงค ในการนําเสนอพระพุทธศาสนา รูปแบบที่เหมาะสมกับ ความกาวหนาของสังคมสมัยใหม ขณะเดียวกันก็เปนการ เคารพในรากเหงาทางวัฒนธรรมอันมีมาตัง้ แตโบราณดวย โดยมุงเนนคําสอนพระพุทธศาสนาทั้งฝายเถรวาทและ มหายาน กรรมการบริหารประกอบดวยหนุม สาวจีน ๑๕ คน โดยมี ล ามะทาชิ เ ทนซิ น ลา พระภิ ก ษุ ทิ เ บตพั ก อาศั ย อยูประจํา นอกจากนี้ยังมีบานพักชาวพุทธแหงสิงคโปร (The Singapore Buddhist Lodge) สหภาพชาวพุทธ (Buddhist Union) สมาพันธชาวพุทธสิงคโปร (Singapore Buddhist Federation) พุทธสมาคมจีนแหงสิงคโปร (Singapore Chinese Buddhist Association) สมาคม ธรรมจักร (Dharma Cakra Society) และองคกรพุทธยาน แหงสิงคโปร (Singapore Buddha-Yana Organization) เปนตน

ภาพจาก www.teachenglishinasia.net

ภาพจาก www.moeyyo.com

๕. คณะสงฆในสิงคโปร มีความโดดเดนนอยกวา คณะสงฆอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต การปฏิบัติของ ชาวพุทธสิงคโปรโดยทั่วไปคือ การกราบไหวพระพุทธรูป การเสี่ยงเซียมซี และบางครั้งก็นั่งสวดมนตอยางเงียบๆ ในสิงคโปรเราจะพบเห็นพระสงฆ ไดก็แตในวัดใหญที่เพิ่ง บูรณะใหมเทานั้น เชน วัดซวนหลิน (Shuang Lin Si, ๑๙๐๙) วัดหลงซัน (Long Shan, ๑๙๒๖) และวัดโปรคารก ซี (Phor Kark See, ๑๙๒๕) เปนตน ในป ค.ศ.๑๙๖๖ “องคการคณะสงฆแหงสิงคโปร” (Singapore Buddhist Sangha Organization) ไดถูก จัดตั้งขึ้นเพื่อเปนศูนยกลางของพระสงฆในสิงคโปร โดย มีสํานักงานใหญอยูที่วัดโปรคารกซี (Phor Kark See) ใช ภ าษาอั ง กฤษในการติ ด ต อ สื่ อ สาร และมี ส มาชิ ก อยูเพียง ๕๘ รูปเทานั้น (สถิติ ป ค.ศ. ๑๙๘๙) นอกจากนี้ ยังมี “สมาพันธชาวพุทธสิงคโปร” (Singapore Buddhist Federation) ซึ่งกอตั้งขึ้นกอน สมาชิกมีทั้งพระสงฆและ ฆราวาสซึ่งสวนใหญแลวเปนชาวพุทธจีน และใชภาษา จีนกลางในการติดตอ พระสงฆซึ่งพูดไดทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาจีนกลาง และเปนสมาชิกของทั้งสององคการ มีเปนจํานวนนอย


56

การนับถือพระพุทธศาสนา ของประเทศสิงคโปรในปจจุบัน

ประชาชนชาวสิงคโปรมีหลายเชื้อชาติ สวนมาก นับถือศาสนาอิสลาม คริสต และฮินดู ที่นับถือพระพุทธ ศาสนามีไมมากนัก พอสรุปไดดังนี้ ๑) มีกิจกรรมการเรียนการสอนพระพุทธศาสนา เชนจัดตั้งโรงเรียนสอนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย มีสอน ทุกระดับชั้น มีการบรรยาย อภิปราย แสดงปาฐกถา ซึ่ง จัดบรรยายใหความรูแกประชาชนตามสถาบันการศึกษา ตาง ๆ และในวัด ๒) มีองคกรเผยแพรพระพุทธศาสนาที่จัดตั้งขึ้น เปนหลักเปนฐาน อาทิ สหพันธพทุ ธศาสนิกชนชาวสิงคโปร สหภาพพุทธศาสนิกชน สถาบันสตรีชาวพุทธสิงคโปร สมาคมพุทธศาสนาแหงสิงคโปร และองคการพุทธยาน แหงสิงคโปร เปนตน ๓) มีการจัดกิจกรรมสังคมสงเคราะห ซึ่งดําเนิน การโดยพุทธสมาคมแหงสิงคโปร ซึง่ มีอยูม ากกวา ๑,๘๐๐ แหง สมาคมนี้จัดการสังคมสงเคราะห ในรูปแบบตาง ๆ เชน บริจาคอาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรค แกผูยากไร มอบทุนการศึกษาแกนักเรียนยากจน ชวยเหลือฌาปนกิจ สงเคราะห ตั้งศูนยสงเคราะหเด็กกําพรา จัดที่พักสําหรับ ชาวพุทธ เปนตน ๔) มีวัดสําหรับบําเพ็ญกิจกรรมทางพระพุทธ ศาสนา สิงคโปรมวี ดั อยู ๑๑๒ วัด สวนมากเปนวัดมหายาน ของฝายเถรวาทมีเพียง ๕ วัด ชาวพุทธสิงคโปรอาศัยวัด เปนที่สวดมนต ทําสมาธิวิปสสนา สนทนาธรรม ตลอดจน จัดกิจกรรมสังคมสงเคราะหและดานวัฒนธรรมอื่น ๆ การปฏิบัติของชาวพุทธในสิงคโปร สวนใหญจะ สะทอนออกมาในรูปแบบของการสังคมสงเคราะห ชวย เหลือเกื้อกูลเพื่อนมนุษย ไมเฉพาะในหมูชาวพุทธเทานั้น หากแตเผื่อแผไปยังศาสนิกที่นับถือศาสนาอื่นดวย ทั้งนี้ แสดงใหเห็นวาชาวสิงคโปร ไมไดนับถือพระพุทธศาสนา ตามธรรมเนียมประเพณีเทานั้น หากไดนําเอาหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะหลักเมตตากรุณา เปนตน มาปฏิบัติในชีวิตจริงอีกดวย ขอมูลทั่วไป สิงคโปรเปนประเทศทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ประเทศหนึง่ ในโลก ไมมที รัพยากรธรรมชาติมากเหมือนประเทศอืน่ แตมฐี านะ ทางเศรษฐกิจดี เพราะสิงคโปรพฒ ั นาเศรษฐกิจดานการคา สิงค โปรเปนประเทศที่พัฒนาแลวประเทศเดียวในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต และมีฐานะทางเศรษฐกิจและการเงินที่ มั่งคั่งที่สุดประเทศหนึ่งในโลก ตัวเกาะสิงคโปร มีพื้นที่ประมาณ ๖๑๘ ตาราง กิโลเมตร ปจจุบนั มีพนื้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ เนือ่ งจากมีการขยายพืน้ ที่ ดวยการถมทะเลเพือ่ นํามาใชประโยชน มีอาณาเขตติดตอ ดังนี้

ภาพจาก www.dhammajak.net

ทิศเหนือ จดชองแคบยะโฮร มีความกวางเฉลี่ย ประมาณ ๑.๒ กิโลเมตร และอยูตรงขามฝงยะโฮร ของ มาเลเซียเชื่อมกันดวยถนนขามสมุทร ทิศตะวันออก จดทะเลจีนใต หางจากประเทศ ฟลิปปนส ประมาณ ๒,๑๕๐ กิโลเมตร หางจากรัฐซารา วัคของมาเลเซีย ประมาณ ๕๖๐ กิโลเมตร ทิศใต จดชองแคบสิงคโปร ทิศตะวันตก จดชองแคบมะละกา โดยมีเกาะ สุมาตราของอินโดนิเซียอยูคนละฟากฝง วั น ชาติ ๙ สิ ง หาคม (แยกตั ว จากสหพั น ธรั ฐ มาเลเซีย เมื่อ ๙ สิงหาคม ๒๕๐๘) เขาเปนสมาชิกอาเซียน ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ เงินตรา ดอลลารสิงคโปร รูปแบบการปกครอง สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตย แบบรัฐสภา มีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิบดีเปนประมุข และ นายกรัฐมนตรีเปนหัวหนาฝายบริหาร การทองเทีย่ ว ประชาชนสิงคโปรมคี วามรูเ กีย่ วกับ ประเทศไทยในระดับดี เนื่องจากมีความนิยมชมชอบเดิน ทางเขามาทองเทีย่ วในประเทศไทย ตลาดนักทองเทีย่ วชาว สิงคโปรจงึ เปนหนึง่ ในตลาดหลักของการทองเทีย่ วของไทย เศรษฐกิจ สิงคโปรจัดอยูในกลุมอุตสาหกรรมใหม เชนเดียวกับ ฮองกง ไตหวัน และเกาหลีใต ผลิตภัณฑ สงออกหลัก คือ ผลิตภัณฑจากปโตรเลียม เครื่องจักร ผลิตภัณฑนําเขาสวนใหญ ไดแก พลังงาน ( ๔๐% ของ การนําเขาทัง้ หมด) และอาหาร นอกจากนัน้ การทองเทีย่ ว ก็นํารายไดเขาประเทศมากเชนกัน ระบบศึกษาในสิงคโปร สิงคโปรมีระบบการศึกษา ที่เปนเลิศประเทศหนึ่งของโลก ทุกโรงเรียนควบคุมโดย กระทรวงศึกษาธิการโดยตรง ระบบการศึกษาของสิงคโปร แบงเปนชัน้ ประถมศึกษาใชระยะเวลา ๖ ป และมัธยมศึกษา ใชระยะเวลา ๔ ป จากนั้น ตอดวยการเรียนในระดับสูง ขึ้น เชน โปลีเทคนิค จูเนียรคอลเลจ และมหาวิทยาลัย และการที่จะไดคัดเลือกเขาเรียนที่โรงเรียนสิงคโปรนั้น นักเรียนจําเปนจะตองทําการสอบเพื่อประเมินผลโดย การสอบเขาโรงเรียนนั้น นักเรียนจําเปนตองสอบภาษา


57

ภาพจาก www.theemperortravel.com

ภาพจาก www.dhammajak.net

อังกฤษ คณิตศาสตร เปนวิชาหลัก และอาจมีการทดสอบ ภาษาจีน ขึ้นอยูกับโรงเรียนที่นักเรียนตองการสอบเขา และสําหรับนักเรียนตางชาติทมี่ คี วามประสงคจะเขาศึกษา ตอในประเทศสิงคโปรจําเปนตองเสียคาบํารุงการศึกษา (Donations) ใหกับกระทรวงศึกษาธิการของสิงคโปร ระดับอนุบาล (Pre-School) เริ่มการศึกษาใน ชั้นอนุบาลและการดูแลเด็กโดยศูนยดูแลเด็กเล็ก โดยจะ รับนักเรียนอายุ ๓-๖ ป โรงเรียนอนุบาลในสิงคโปรจะ มีกระทรวงศึกษาธิการควบคุม และมีมูลนิธิของชุมชน หนวยงานทางศาสนา และองคกรทางธุรกิจและสังคมทํา หนาทีบ่ ริหาร โรงเรียนอนุบาลสวนใหญจะทําการเรียนการ สอน ๕ วันตอสัปดาห และแบงการเรียนเปนสองชวงใน แตละวัน ชวงหนึ่งจะใชเวลาประมาณ ๒ ชั่วโมงครึ่งถึง ๔ ชั่วโมง โดยทั่วไปจะสอนโดยใชทั้งภาษาอังกฤษและภาษา ที่สอง ยกเวนในโรงเรียนนานาชาติและโรงเรียนหลักสูตร ตางประเทศที่เขามาเปดสอนในสิงคโปร การรับสมัครเขา เรียนในโรงเรียนอนุบาลและศูนยดูแลเด็กเล็กในสิงคโปร แตละแหงจะมีระยะเวลาตางกันไปไมแนนอน แตโดยสวน ใหญแลวเปดรับสมัครนักเรียนตลอดทั้งป ระดับประถมศึกษา (Primary School) ในสิงคโปร จะตองใชเวลาเรียน ๖ ปในระดับประถมศึกษา ประกอบ ดวยการเรียนชัน้ ประถมตน (foundation stage) ๔ ป ตัง้ แต ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๑-๔ และชัน้ ประถมปลาย (orientation stage) อีก ๒ ป ในชั้นประถมศึกษาปที่ ๕-๖ ในหลักสูตร ขั้นพื้นฐาน วิชาหลักที่ ไดเรียนคือ วิชาภาษาอังกฤษ ภาษาทองถิ่น (Mother Tongue อันไดแก ภาษาจีน มา เลย หรือทามิฬ ตามเชื้อชาติของตนเอง) คณิตศาสตร และวิชาเสริม อันไดแก ดนตรี ศิลปะหัตถกรรม สุขศึกษา และสังคมศึกษา สวนวิชาวิทยาศาสตรจะเริ่มเรียนกัน ตั้งแตประถมศึกษาปที่ ๓ เปนตนไป และเพื่อเพิ่มพูน ประสิทธิภาพในตัวนักเรียนและทดสอบความถนัดของ นักเรียนใหตรงกับแผนการเรียนในระดับมัธยม ทุกคนที่ เรียนจบชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖ จะตองทําขอสอบ Primary School Leaving Examination (PSLE)ใหผานเพื่อจบการ ศึกษาระดับประถม หลักสูตรการเรียนการสอนในระดับ

ประถมศึกษาของสิงคโปร ไดรับการยอมรับและนําไปเปน ตัวอยางการเรียนการสอนในตางประเทศ โดยเฉพาะอยาง ยิง่ ในวิชาคณิตศาสตร การรับนักเรียนตางชาตินนั้ ขึน้ อยูก บั จํานวนที่นั่งวางในแตละโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษา (Secondary School) โรงเรียน มัธยมศึกษาในสิงคโปรมีหลายรูปแบบ ทั้งที่ใหทุนทั้งหมด โดยรัฐบาล หรือเพียงสวนเดียว หรือนักเรียนเปนคน ออกคาใชจายทั้งหมด นักเรียนในแผนการเรียนพิเศษ (Special และ Express) จะใชเวลาเรียนเพียง ๔ ป ขณะที่นักเรียนในแผนการเรียนปกติ (Normal) จะใช เวลาเรียน ๕ ป โดยนักเรียนในแผนการเรียนพิเศษจะ สอบ Singapore-Cambridge General Certificate of Education ‘Ordinary’ (GCE ‘O’ Level) เมื่อเรียนครบ ๔ ป สวนนักเรียนหลักสูตรปกติที่ใชเวลาเรียน ๕ ปนั้น จะสอบ Singapore-Cambridge General Certificate of Education ‘Normal’ (GCE ‘N’ Level) เมื่อถึงปที่ ๔ กอน แลวจึงจะสามารถสอบ GCE ‘O’ Level เมื่อเรียนจบปที่ ๕ หลั ก สู ต รวิ ช าในระดั บ ชั้ นมั ธ ยมศึ ก ษาจะประกอบด ว ย วิชาภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร ภาษาแม (จีน มาเลย หรือ ทามิฬ) วิทยาศาสตร และมนุษยศาสตร ในชัน้ มัธยมศึกษา ปที่ ๓ นักเรียนสามารถเลือกไดวาจะเรียนทางสายศิลป วิทยาศาสตร ธุรกิจการคาหรือสายวิชาชีพ หลักสูตร การเรียนการสอนในระดับชัน้ มัธยมศึกษาในสิงคโปรไดรบั การยอมรับในระดับโลกวา ทําใหนักเรียนมีความสามารถ ในการวิเคราะหและมีความคิดสรางสรรค การรับนักเรียน ตางชาตินั้นขึ้นอยูกับจํานวนที่นั่งวางในแตละโรงเรียน สองสถาบันการศึกษาเอกชนในสิงคโปรกม็ หี ลักสูตรสําหรับ นักเรียนนานาชาติ ที่ใหโอกาสนักเรียนไดศกึ ษาตัง้ แตระดับ ชัน้ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา ไดแก San Yu Adventist School ซึ่งบริหารโดย Seventh-day Adventist Mission (Singapore) เปดรับนักเรียนจากหลาย ประเทศตัง้ แตระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และเตรียม อุดมศึกษา และ St. Francis Methodist School ซึ่งเปน โรงเรียนในศาสนาคริสตนกิ ายเมธอดิสท เปดสอนในระดับ มัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา สําหรับนักเรียนสิงคโปร


58 และนักเรียนตางชาติ ทัง้ สองโรงเรียนขางตนจดทะเบียนถูก ตองกับกระทรวงศึกษาธิการสิงคโปร โดยเปดสอนหลักสูตร ที่ มี ค วามยื ด หยุ  น และภาคภู มิ ใ จที่ ไ ด เ พิ่ ม เติ ม สิ่ ง ใหม ในหลักสูตรพื้นฐานปกติ เชน การเรียนรูอยางสรางสรรค ระดับเตรียมอุดมศึกษา เมื่อนักเรียนสอบ GCE ‘O’ Level ผานไดแลว นักเรียนสามารถสมัครเขาศึกษา ตอในระดับจูเนียร คอลลเลจ เปนเวลา ๒ ป หรือศึกษา ที่ ส ถาบั น กลางการศึ ก ษา(Centralised institute) เปนเวลา ๓ ป เพื่อเตรียมศึกษาตอระดับมหาวิทยาลัย จูเนียร คอลลเลจ และ สถาบันกลางการศึกษาจะสอน ทุ ก อย า งเพื่ อ เตรี ย มตั ว ให นั ก เรี ย นเข า ศึ ก ษาในระดั บ มหาวิทยาลัยได หลักสูตรหลักแบงเปน ๒ หลักสูตร คือ วิชาความรูทั่วไป (General Paper) และภาษาแม เมื่ อ เรี ย นจบจู เ นี ย ร คอลเลจ นั ก เรี ย นจะต อ งสอบ Singapore-Cambridge General Certificate of Education ‘Advanced’ (GCE ‘A’ Level) โดยเลือกวิชาสอบสูงสุดได ๔ วิชา จากวิชาในหมวดศิลปะ วิทยาศาสตรและธุรกิจ การค า การรั บ นั ก เรี ย นต า งชาติ ก็ ขึ้ น อยู  กั บ ที่ นั่ ง ว า ง ในโรงเรียนเชนกัน ระดับอุดมศึกษา (Tertiary Education) โพลีเทคนิค สรางขึ้นเพื่อเปดหลักสูตรการอบรมที่หลากหลายใหแก นักศึกษาที่ตองการฝกฝมือในระดับประกาศนียบัตร และ อนุปริญญา ในขณะนี้มีโพลีเทคนิค ๕ แหงในสิงคโปร ไดแก Nanyang Polytechnic, Ngee Ann Polytechnic, Republic Polytechnic, Singapore Polytechnic, Temasek Polytechnic สถาบั น เหล า นี้ มี ห ลั ก สู ต ร การสอนมากมายที่มุงเนนใหสามารถไปประกอบอาชีพ ในอนาคต เชน วิศวกรรม บริหารธุรกิจ การสือ่ สารมวลชน การออกแบบดีไซน เทคโนโลยีสารสนเทศ และหลักสูตร เฉพาะทางอยาง เชน การวัดสายตา วิศวกรรมทางทะเล การศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การเดิ น เรื อ พยาบาล การเลี้ ย งดู เด็กออน และการทําภาพยนตร นักเรียนที่จบการศึกษา จากโพลีเทคนิคเปนที่นิยมของบริษัทตาง ๆ เพราะไดรับ การยอมรับวามีความสามารถ ทักษะและประสบการณ ที่พรอมจะเขาสูโลกเศรษฐกิจในรูปแบบใหม สถาบันเทคนิคศึกษา (Institute of Technical Education - ITE) เปนอีกหนึ่งทางเลือกของนักเรียน ที่จบจากชั้นมัธยมศึกษาและตองการพัฒนาทักษะดาน เทคโนโลยี แ ละความรู  ท างอุ ต สาหกรรมแขนงต า ง ๆ นอกจากโปรแกรมฝกอบรมเต็มเวลาสําหรับนักเรียนที่ จบจากชั้นมัธยมศึกษาแลว และยังมีโปรแกรมสําหรับ ผูใ หญทตี่ อ งการเพิม่ พูนความรูข องตนดานเทคโนโลยีและ อุตสาหกรรมอีกดวย

ในระดั บ สากลมหาวิ ท ยาลั ย (Universities) มหาวิทยาลัยในสิงคโปรมี ๓ แหง ไดแก National University of Singapore (NUS), Nanyang Technological University (NTU), Singapore Management University (SMU) มหาวิทยาลัยทั้ง ๓ แหงไดผลิตนักศึกษาปริญญา ที่มีคุณภาพและเปนที่ยอมรับในระดับสากล นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยทั้งหมดยังมีทุนเพื่อการศึกษาและการวิจัย ในระดับปริญญาโท มหาวิ ท ยาลั ย นานาชาติ ใ นสิ ง คโปร นอกจาก มหาวิทยาลัยของสิงคโปรแลว ยังมีมหาวิทยาลัยชั้นนํา ระดับโลกของตางประเทศตั้งอยูในสิงคโปรอีกจํานวนมาก มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น นํ า เหล า นี้ ไ ด ตั้ ง วิ ท ยาเขต (สถาบั น การศึกษาระดับอุดมศึกษา) หรือมีความรวมมือ/หลักสูตร รวม กับมหาวิทยาลัยของสิงคโปร (ความรวมมือกับ มหาวิทยาลัยของสิงคโปร) สถาบันศิลปะของเอกชน มีสถาบันศิลปะของ ภาคเอกชน ๒ แห ง ในสิ ง คโปร ที่ เ ตรี ย มความพร อ ม ในการศึกษาตอดานศิลปะ ในระดับหลังมัธยมศึกษา ไดแก LASALLE College of the Arts และ Nanyang Academy of Fine Arts (NAFA) โรงเรียนทัง้ สองแหงไดรบั การจัดการ จากเอกชนและรับเงินทุนจากรัฐบาล ซึ่งสถาบันศิลปะ ทั้งสองเปน สถาบันการศึกษาของเอกชนที่ ไมหวังผล กําไร และดําเนินงานอยางอิสระดวยตัวเองโดยไดรับการ อุดหนุน ทางการเงินจากกระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of Education หรือ MOE) ของสิงคโปรในลักษณะ การใหทุน ระดับโพลีเทคนิคสําหรับแตละหลักสูตรในระดับอนุปริญญา นอกจากนี้ ทางสถาบันยังเสนอ หลักสูตรระดับปริญญา ตรีในตางประเทศหรือที่ไดรับการรับรองวิทยฐานะจาก ภายนอกซึง่ ไมไดรบั ทุนจากรัฐบาล ทัง้ สองสถาบันยังไดรบั การยกเวนคาประกันความเสียหายจาก CaseTrust สําหรับ โครงการดานการศึกษา เชนเดียวกับสถาบันการศึกษาอื่น ที่ไดรับทุนจากรัฐบาลในสิงคโปร สถาบั น การศึ ก ษาเอกชน ป จ จุ บั น มี ส ถาบั น การศึกษาเอกชนมากมายทีเ่ ปดสอนหลักสูตรตาง ๆ กันไป มากกวา ๓๐๐ สถาบัน ตัง้ แต ธุรกิจ เทคโนโลยี ศิลปะ จนถึง โรงเรียนสอนภาษา เพื่อตอบสนองความตองการของคน สิงคโปรเองและนักเรียนจากตางชาติ สามารถเลือกไดวา จะเรียนหลักสูตรระดับใดไดในสถาบันการศึกษาเอกชน ตั้งแตระดับประกาศนียบัตร อนุปริญญา จนถึงปริญญา ระดับตาง ๆ โดยที่สถาบันการศึกษาเอกชนในสิงคโปร มีความรวมมือกับมหาวิทยาลัยมากมายจากสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และออสเตรเลีย

ขอมูลจาก : th.wikipedia.org/wiki/ศาสนาพุทธในประเทศสิงคโปร suratthapol phianpraditkul, การเผยแผพระพุทธศาสนามายังประเทศสิงคโปร พระพุทธศาสนาในสิงคโปรโดย ทวีวัฒน ปุณฑริกวิวัฒน จากหนังสือพิมพมติชนรายวัน ปที่ ๓๐ ฉบับที่ ๑๐๖๕๕ วันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐


ความเชื่อตามตํานาน ประภาส แกวสวรรค

ภาพจาก www.palungdham.com

ความเชื่อ

ในพระพุทธศาสนา (ตอน ๒)

ฉบับที่แลวเลาเรื่องกําเนิดเปรตตนหนึ่งที่มีจริง

ในประวั ติ ศ าสตร พ ระพุ ท ธศาสนา ความเดิ ม มี อ ยู  ว  า พระเจาแผนดินไดขอใหบุรุษเปลี้ยไปดีดขี้แพะใสปาก ปุโรหิตปากมากคนหนึ่ง บุรุษเปลี้ยนั้นรับปากแตขอให พระองค สั่ ง ให นํ า ขี้ แ พะมาและประทั บ นั่ ง ภายในม า น กับปุโรหิต เมื่อถึงเวลาบุรุษเปลี้ยนั้นใหใชปลายกรรไกร เจาะเปนรูมานไว พอปุโรหิตอาปากจะพูดกับพระราชา ก็ดีดขี้แพะไปทีละกอน ๆ ปุโรหิตก็กลืนขี้แพะที่เขาปาก เมื่อขี้แพะหมด บุรุษเปลี้ยจึงสั่นมาน พระราชาจึงตรัสวา ท า นพู ด กั บ เรามากจนเราจํ า ไม ไ ด รู  ห รื อ ไม ตอนนี้ แมจะกินขี้แพะไปแลวถึงทะนานก็ไมหยุด เพราะทาน เปนคนพูดมาก ตัง้ แตนนั้ มาปุโรหิตก็กลายเปนคนพูดนอย พระราชารับสัง่ ใหหาบุรษุ เปลีย้ มาแลว ตรัสวา เรามีความสุข ก็เพราะทาน ดังนี้แลว ทรงพอพระทัย ไดพระราชทาน ทรัพยสินเงินทองจํานวนมากพรอมทั้งบานสวย ๔ ตําบล ในทิศทัง้ ๔ ใหแกเขา ตอมามีบรุ ษุ คนหนึง่ เห็นบุรษุ เปลีย้ นัน้ ไดทรัพยสนิ เงินทองเชนนัน้ จึงคิดอยากจะไดแบบนัน้ บาง ไดมาสมัครขอเรียนวิชาดีดกรวดดวย ทีแรกบุรุษเปลี้ย นั้นไมรับ เขาจึงเฝาปรนนิบัติเปนเวลานานจนบุรุษเปลี้ย ใจออนยอมสอนวิชาให

ภาพจาก www.cockmansgoforth.wordpress.com

ภาพจาก www.forrunnersmag.com

ในวันทีเ่ ขาเรียนวิชาดีดกรวดสําเร็จ บุรษุ เปลีย้ ถามวา วันนี้ทานเรียนสําเร็จแลว ทานจะไปทดลองวิชา อยางไร เขาตอบวา จะไปดีดกอนกรวดใสแมวัวหรือ มนุษยใหตาย บุรษุ เปลีย้ จึงแนะนําวา เมือ่ ทําแมววั ใหตาย จะโดนปรับสินไหม ๑๐๐ แตถาทําใหมนุษยตาย จะโดน ปรับสินไหม ๑,๐๐๐ ทานรวมกับบุตรและภรรยาก็ชดใช สินไหมนั้นไมหมด ดังนั้น ควรจะมองหาเฉพาะคนที่ ไมมีพอแมแลวถึงทํา บุรุษนั้นรับคําแลวเที่ยวมองหาคน ที่จะดีดกรวดใส เห็นแมวัว ก็ทําไมไดเพราะวัวมีเจาของ เห็ นมนุ ษ ย ก็ ดี ด ไม ไ ด เพราะมี พ  อ แม จนไปพบกั บ พระปจเจกพุทธเจา (ทานผูต รัสรูไ ดเองเหมือนพระพุทธเจา ทุกอยาง แตไมไดบําเพ็ญบารมีมาเพื่อสั่งสอนเวไนยชน เหมือนพระพุทธเจา) กําลังเดินบิณฑบาตทีป่ ากประตูเมือง จึงคิดวา พระรูปนี้ ไมมีพอแม ไมมีเจาของ ควรที่เรา จะทดลองวิชาได ดังนี้แลว จึงดีดกอนกรวดเล็งไปที่ ชองหูขางขวา กอนกรวดนั้นก็เขาไปทางชองหูขางขวา ทะลุ อ อกช อ งหู ข  า งซ า ย พระป จ เจกพุ ท ธเจ า ได รั บ ทุกขเวทนาจนไมสามารถบิณฑบาตตอไปได จึงเหาะ กลับไปที่บรรณศาลาที่พัก แลวปรินิพพาน ประชาชน เห็นพระปจเจกพุทธเจาไมมารับบิณฑบาต จึงตามไป ที่บรรณศาลา เห็นทานปรินิพพานแลว ก็พากันรองไห ครํ่าครวญ บุรุษที่ดีดกรวดนั้น เดินตามไปกับประชาชน พบทานปจเจกพุทธเจา จําได พูดวา เราพบพระรูปนี้ กําลังบิณฑบาตอยู เพือ่ จะทดลองวิชา จึงไดดดี กรวดใสทา น ประชาชนพอไดยินดังนั้น จึงโกรธแคนพากันจับบุรุษนั้น รุมประชาทัณฑ จนถึงความตายในทีน่ นั้ บุรษุ นัน้ ตายแลว ไปเกิดในนรกอเวจี พนจากนรกนัน้ ไดกลับมาเกิดเปนเปรต ที่ ย อดเขาคิ ช ฌกู ฏ ด ว ยผลของวิ บ ากกรรมที่ เ หลื อ เปรตตนนี้ คื อ เปรตที่ พ ระมหาโมคคั ล ลานเถระและ พระลักขณเถระเห็นที่ยอดเขานั้นเอง


รอยพุทธพจน

มตฺตฺุตา สทา สาธุ ความรูจักประมาณ ดีทุกเมื่อ

เคยมีคนตัง้ คําถามวา คําพูดทีว่ า “นกนอยทํารังแตพอตัว” นาจะตรง กับพุทธภาษิตวาอะไร หลายคนก็ตอบไปตามความคิดของตนเอง สุดทาย คนตั้งคําถามไดเฉลยวา “มตฺตฺุตา สทา สาธุ” ทุกคนเลยถึงบางออกัน เพราะเห็นพองดวยกับพุทธภาษิตบทนี้ และไดมีผูประพันธพุทธภาษิตนี้ เปนรอยกรองวา

ภาพจาก www.thaimtb.com

“ ความรูจักประมาณงานผองเผล็ด ยังประโยชนใหสําเร็จทุกสถาน แสวงหาบริโภคโลกเบิกบาน พอประมาณพอเหมาะบมเพาะดี”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.