วิสาขบูชาอาเซียน

Page 1

วิสาขบูชาอาเซียน วิสาขบูชา สืบธรรม สานกาย รอยใจ รอยสายสัมพันธไมตรี ชาวพุทธอาเซียน

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม www.dra.go.th


วิสาขบูชาอาเซียน

วิสาขบูชา สืบธรรม สานกาย รอยใจ รอยสายสัมพันธไมตรี ชาวพุทธอาเซียน ปที่พิมพ จํานวน

พ.ศ. ๒๕๕๗ ๓๕,๐๐๐ เลม

ที่ปรึกษา ๑. นายกฤษศญพงษ ศิริ ๒. นายกฤษฎา คงคะจันทร ๓. นายสุเทพ เกษมพรมณี ๔. นายพิสิทธิ์ นิรัตติวงศกรณ ๕. นายชวลิต ศิริภิรมย

อธิบดีกรมการศาสนา รองอธิบดีกรมการศาสนา ผูอํานวยการสํานักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ผูอํานวยการกองศาสนูปถัมภ เลขานุการกรมการศาสนา

คณะทํางาน กลุมสงเสริมกิจกรรมศาสนาและความสัมพันธตางประเทศ ๑. นายพูลศักดิ์ สุขทรัพยทวีผล นักวิชาการศาสนาชํานาญการพิเศษ ๒. นายสุริยา วิวัฒนกิจเลิศ นักวิชาการศาสนาชํานาญการ ๓. นายนรุตม ธรรมธิ นักวิเทศสัมพันธ


คํานํา กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม มีหนาทีร่ บั ผิดชอบในการดําเนินงาน ดานการสงเสริมศาสนาทั้งภายในประเทศและตางประเทศ โดยไดดําเนินงาน กิจกรรมสงเสริมความรวมมือกับตางประเทศในมิตศิ าสนากับกลุม ประเทศอาเซียน และประเทศคูเจรจา (Dialogue Partners) ภายใตแผนงาน รองรับการเขาสู ประชาคมอาเซี ย นซึ่ ง สอดคล อ งกั บ นโยบายรั ฐ บาล ข อ ๗. นโยบายด า น ต า งประเทศและเศรษฐกิ จ ระหว า งประเทศ และข อ ๗.๑ เร ง ส ง เสริ ม และ พัฒนาดานความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน ฯลฯ ขอ ๗.๒ สรางความสามัคคี และสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศอาเซียนเพื่อใหบรรลุเปาหมายในการ จัดตั้งประชาคมอาเซียนและสงเสริมความรวมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย ภายใตกรอบความรวมมือดานตาง ๆ และเตรียมความพรอมของทุกภาคสวน ในการเขาสูประชาคมอาเซียน ในป พ.ศ. ๒๕๕๘ ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และความมั่นคง กรมการศาสนา ไดดําเนินกิจกรรมสรางความสัมพันธกับเมืองชายแดน ที่มีพื้นที่ติดตอกันกับประเทศเพื่อนบาน เพื่อสงเสริมความรวมมือในลักษณะ บ า นพี่ เ มื อ งน อ ง (Sister Cities) หรื อ เมื อ งคู แ ฝด (Twin City) ระหว า ง จังหวัดชายแดนของไทยกับเมืองชายแดนที่ติดตอกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน โดยใชหลักวันสําคัญทางพุทธศาสนา “วันวิสาขบูชา” เปนยุทธศาสตรในการ รณรงคและสงเสริมความรวมมือในระดับทวิภาคีและพหุภาคีในระยะตอไป ในกรอบและเปาหมายหลักการดําเนินงาน ๔ ประการคือ ๑. สงเสริมความสัมพันธระหวางประเทศในมิติศาสนาและวัฒนธรรม ๒. สงเสริมความสําคัญของวันวิสาขบูชา วันสําคัญสากลของโลก ๓. วัฒนธรรมวิถชี วี ติ ของแตละทองถิน่ รวมทัง้ สรางจุดเดน จุดเนนในการ เขารวมกิจกรรมอยางรูคุณคา ศรัทธา เกิดขึ้นเองอยางเปนวิถีธรรมชาติ


๔. ตระหนักรูแ ละสงเสริมขบวนการเคลือ่ นยายของมวลชนของประชาคม อาเซียนอยางมีเปาหมาย ภายใตหลักการ เขาใจ เขาถึง พัฒนา “วิสาขบูชา ๒๕๕๗” กรมการศาสนา ไดรวมหนวยงานในสวนภูมิภาค จัดงานสงเสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในวันวิสาขบูชา ภายใตยุทธศาสตรขางตน ประกอบดวย จังหวัดตาก โดยสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดตาก, จังหวัดนาน โดยสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนาน, จังหวัดเชียงราย โดยสํานักงานวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย, จังหวัดเลย โดยสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเลย, จังหวัดนครพนม โดยสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครพนม รวมกับวัดพระธาตุนครพนมวรวิหาร และมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย วิ ท ยาเขตนครพนม (วิ ท ยาลั ย สงฆ น ครพนม) และจั ง หวั ด หนองคาย โดยสํ า นั ก งานวั ฒ นธรรม จังหวัดหนองคาย กรมการศาสนา ขอขอบคุณทุกภาคสวนที่มีสวนรวมที่สําคัญที่ทําให การดําเนินการสงเสริมวันวิสาบูชาอาเซียน ดําเนินไปไดอยางบรรลุเปาหมาย

(นายกฤษศญพงษ ศิริ) อธิบดีกรมการศาสนา


สารบัญ คํานํา วิสาขบูชาอาเซียน วิสาขบูชาอาเซียนในภูมิภาค/ตางจังหวัด จังหวัดตาก จังหวัดนาน จังหวัดเชียงราย จังหวัดหนองคาย จังหวัดนครพนม จังหวัดเลย

หนา ๑ ๘ ๘ ๑๐ ๑๔ ๑๖ ๒๐ ๒๔



วิสาขบูชาอาเซียน วั น วิ ส าขบู ช า (ภาษาบาลี คื อ วิ ส าขปู ร ณมี ปู ช า) วั น เพ็ ญ เดื อ นหก เปนวันสําคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเปนวันคลายวันประสูติ ตรัสรู ปรินิพพานขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ซึ่งพระองคทรงสมบูรณดวย พระป ญ ญาคุ ณ พระบริ สุ ท ธิ คุ ณ และพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ นอกจากนี้ องคการสหประชาชาติยังไดประกาศใหการรับรองวาเปนวันสําคัญสากล และ เปนวันหยุดทําการของสหประชาชาติ เทศกาลวันวิสาขบูชา พุทธศาสนิกชนถือวา เป น อภิ ลั ก ขิ ต กาลมหามงคลสมั ย ที่ ค วรแก ก ารบํ า เพ็ ญ กุ ศ ล บริ จ าคทาน รักษาศีล ฟงธรรม ปฏิบัติธรรม สวดมนต และเวียนเทียนรอบอุโบสถ หรือ ศาสนสถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เพื่ อ เป น พุ ท ธบู ช า และเพื่ อ เป น การสื บ ทอด และ รักษาวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของพุทธศาสนิกชนชาวไทย และสืบทอดพระพุทธศาสนา

ความมหัศจรรยและความสําคัญของวันวิสาขบูชา วันประสูติ

เจ า ชายสิ ท ธั ต ถะ (สิ ท ธั ต ถะ แปลว า ส ม ป ร า ร ถ น า ) ไ ด  ป ร ะ สู ติ จ า ก พ ร ะ ค ร ร ภ  ข อ ง พระนางสิริมหามายา พระราชมารดา ณ สวนลุมพินีวัน (ป จ จุ บั น อยู  ใ น ประเทศเนปาล เมื่ อ วั น ขึ้ น ๑๕ คํ่ า เดือน ๖ ประกา กอนพุทธศักราช ๘๐ ป เมือ่ เจาชายสิทธัตถะ ประสูตแิ ลว เสด็จพระราชดําเนินได ๗ กาว พรอมทรงเปลง 1

วิสาขบูชาอาเซียน


อาสภิวาจา (วาจาประกาศความเปนผูสูงสุด) วา “อหํ อคฺโคหมสฺมิ โลกสฺส เชฏโฐหมสฺมิ โลกสฺส เสฏโฐหมสฺมิ โลกสฺส อยมนฺติมา เม ชาติ นตฺถิทานิ ปุนพฺภโวติ. แปลวา เราเปนผูเลิศที่สุดในโลก เราเปนผูเจริญที่สุดในโลก เราเปน ผูป ระเสริฐทีส่ ดุ ในโลก ชาตินเี้ ปนชาติสดุ ทายของเรา ชาติตอ ไปจากนีไ้ มม”ี ดังนัน้ วันประสูติ จึงเปนวันที่มีความสําคัญ เพราะเปนวันบังเกิดขึ้นแหงมหาบุรุษ

วันตรัสรู

หลังเจาชายสิทธัตถะ เจาชายแหงกรุงกบิลพัสดุ ได เ สด็ จ ออกผนวชได ๖ ป หรื อ เมื่ อ พระชนมายุ ๓๕ พรรษา เจาชายสิทธัตถะ ไดตรัสรู (รูแจง เห็นจริง ดวยพระองคเอง) เปนพระสัมมาสัมพุทธเจา ณ ใตรมไม ศรีมหาโพธิ์ ริมฝงแมนํ้าเนรัญชรา ตําบลอุรุเวลาเสนานิคม (ปจจุบันคือ พุทธคยา) เมื่อวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๖ กอนพุทธศักราช ๔๕ ป พระพุทธองคตรัสรูดวยอริยสัจ ๔ (ความจริงอันประเสริฐ) คือ ๑) ทุ กข คือ ความทุกข หรือสภาวะที่ทนไดยาก เชน เกิด แก เจ็บ ตาย ความเศราโศก เสี ย ใจ ความผิ ด หวั ง ความพลั ด พรากจากของที่ รั ก เป น ต น ๒) สมุ ทั ย คื อ ต น เหตุ แ ห ง ความทุ ก ข อั น เกิ ด จากอวิ ช า ๓) นิ โรธ คื อ ความดั บ ทุ ก ข ๔) มรรค คือ ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข

2

วิสาขบูชาอาเซียน


วันปรินิพพาน

หลั ง ตรั ส รู  สมเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า ได ป ระกาศพระศาสนาจนกระทั่ ง มี พ ระรั ต นตรั ย ครบองค ๓ คือ พระพุทธ พระธรรม คือ คําสอนของพระองค และพระสงฆ คือสาวกของพระพุทธเจาและแสดงธรรม โปรดเวไนยสัตว มีพุทธบริษัท ๔ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เปนเวลา ๔๕ ป คือ เมือ่ มีพระชนมายุ ๘๐ พรรษา พระองคไดเสด็จดับขันธปรินิพพาน เมื่อวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๖ ณ สาลวโนทยาน ของมัลลกษัตริย เมืองกุสินารา (อินเดีย ในปจจุบัน) กอนที่พระพุทธองคจะทรงดับขันธปรินิพพาน พระอานนททูลถาม พระองค ว  า “ข า แต พ ระองค ผู  เจริ ญ หลั ง จากพระองค ป ริ นิ พ พานแล ว พระองคจะทรงตั้งใครเปนศาสดาแทน พระเจาขา” พระพุทธเจาตรัสตอบเปนภาษาบาลีวา “โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา” แปลวา ดูกอนอานนท ธรรมและวินยั ใดทีเ่ รา ไดแสดงแลวและบัญญัตแิ ลวแกเธอทัง้ หลาย ธรรมและวินยั นั้นจักเปนศาสดาของเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราลวงลับไป ในที่สุด พระพุทธองคไดตรัสปจฉิมโอวาท (พระวาจาครั้งสุดทาย) วา “หนฺททานิ ภิกฺขเว อามนฺตยามิ โว วยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ” “ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ ตถาคตขอเตือนเธอทั้งหลาย สังขารทั้งหลาย เสื่อมไป เปนธรรมดา เธอทั้งหลาย จงยังประโยชนตน ประโยชนทาน ใหถึงพรอมดวย ความไมประมาทเถิด” ธรรมสําหรับชาวพุทธที่จะนอมนํามาปฏิบัติเพื่อเปนหลักชัยแหงชีวิต คือ ปจฉิมโอวาทของพระพุทธองคทที่ รงสัง่ สอนวา ชีวติ เปนสิง่ ไมแนนอน เกิดขึน้ แลว ก็เสื่อมไปเปนธรรมดา ขอใหมนุษยทุกคนอยาดํารงชีวิตดวยความประมาท หมั่นทําความดี สรางประโยชนใหกับตนเองและผูอื่นใหมาก เพราะชีวิตไมยั่งยืน 3

วิสาขบูชาอาเซียน


เกิด แก เจ็บ ตาย ดังนั้น จึงขอใหทุกคน ปฏิบัติบูชา ปฏิบัติธรรม ทําแตความดี ละเวนความชั่ว บําเพ็ญจิตใหบริสุทธิ์ วิสาขบูชาอาเซียน กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม มีหนาที่ รับผิดชอบในการดําเนินงานดานการสงเสริมศาสนา ทั้งภายในประเทศและ ตางประเทศ โดยในปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗ กรมการศาสนาไดดาํ เนินงานกิจกรรม สงเสริมความรวมมือกับตางประเทศในมิติศาสนากับกลุมประเทศอาเซียนและ ประเทศคูเ จรจา (Dialogue Partners) ภายใตแผนงาน รองรับการเขาสูป ระชาคม อาเซียนซึ่งสอดคลองกับนโยบายรัฐบาล ขอ ๗. นโยบายดานตางประเทศ และเศรษฐกิ จ ระหว า งประเทศ และข อ ๗.๑ เร ง ส ง เสริ ม และพั ฒ นาด า น ความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน ฯลฯ ขอ ๗.๒ สรางความสามัคคีและสงเสริม ความรวมมือระหวางประเทศอาเซียนเพือ่ ใหบรรลุเปาหมายในการจัดตัง้ ประชาคม อาเซียนและสงเสริมความรวมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย ภายใตกรอบ ความรวมมือดานตาง ๆ และเตรียมความพรอมของทุกภาคสวนในการเขาสู ประชาคมอาเซียน ในป พ.ศ. ๒๕๕๘ ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความมั่นคง ดานนโยบาย กรมการศาสนา ไดกําหนดยุทธศาสตรของกรมการศาสนา ภายใต แ ผนงานรองรั บ การเข า สู  ป ระชาคมอาเซี ย น คื อ สร า งองค ค วามรู  ดานสังคม ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตรศาสนาเชื่อมโยงสูการเปนประชาสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน โดยกําหนดกิจกรรมความรวมมือทั้งระดับพหุภาคีและ โดยเฉพาะอยางยิ่งความรวมมือระดับทวิภาคี คือ การสงเสริมความสัมพันธ ระหวางประเทศในลักษณะบานพี่เมืองนองระหวางจังหวัดชายแดนของไทย กับเมืองชายแดนที่ติดตอกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน (ASEAN Sister Cities) สําหรับปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ นั้นทานอธิบดีกรมการศาสนา (นายกฤษศญพงษ ศิร)ิ ไดใหความสําคัญในการดําเนินงานสงเสริมพระพุทธศาสนา โดยการเผยแผหลักธรรมคําธรรมสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา 4

วิสาขบูชาอาเซียน


ใหเจริญรุงเรืองแผไพศาลไปทั่วทุกสารทิศ ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ และเสริมสรางความสัมพันธระหวางประเทศแบบบูรณาการ เพือ่ สงเสริมความรวมมือ ระหวางประเทศในมิตศิ าสนา สงเสริมเชื่อมโยง หลักธรรมทางพุทธศาสนา บริบท แหงวัฒนธรรมทางศาสนนิกาย ทัง้ เถราวาท มหายาน อยางเขาใจและมีความตัง้ ใจ อยางแรงกลาที่จะใชหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เพื่อใหเปนที่พึ่งของปวงชน และพุทธศาสนิกชน ผูปฏิบัติตามหลักธรรม ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ หรือเปนคนดี ในความหมายของสามัญชนแลวทองจะตองอิม่ นอนอุน สรางความสมดุล เกือ้ กูล ให ก ารดํ า รงชี วิ ต อย า งมี ค วามสงบสุ ข ทั้ ง กาย วาจา และใจ และเกื้ อ หนุ น ตอการประพฤติธรรม ตอไปได ดังนั้นจึงไดดําเนินนโยบายของกรมการศาสนา ในเชิ ง ประยุ ก ต และส ง เสริ ม การน อ มนํ า หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชฯ สู  ก ารปฏิ บั ติ จ ริ ง ของ ปวงมหาประชาชนชาวไทย พร อ มยึ ด หลั ก ในการทํ า ราชการเพื่ อ สนอง เบื้องยุคลบาทพระบาทสมเด็จพระเจาอยู และทํางานเพื่อประชาชนชาวไทย เพื่อประโยชนสุขของประชาชนสวนรวมเปนหลัก และเพื่ออนุวัตรตามหลัก พระพุทธพจนที่ พ ระพุ ท ธองค ท รงตรั ส ไว ต อนหนึ่ ง ว า “จรถ ภิ กฺ ข เว จาริ กํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย” แปลวา “ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย จงเที่ ย วจาริ ก ไปเพื่ อ ประโยชน ข องมหาชน เพื่ อ ความสุ ข แก ค นหมู  ม าก เพื่ออนุเคราะหแกชาวโลก” ดังนั้น นายกฤษศญพงษ ศิริ อธิบดีกรมการศาสนา จึงไดดําเนินนโยบาย ความรวมมือระหวางประเทศแบบบูรณาการ ภายใตหลักการดังกลาวขางตนและ การดําเนินกิจกรรมภายใตโครงการความรวมมือดานศาสนาในภูมิภาคอาเซียน และคู  เจรจา โดยใช ห ลั ก วั น สํ า คั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนา “วั น วิ ส าขบู ช า” เป น ยุ ท ธศาสตร ใ นการรณรงค แ ละส ง เสริ ม ความร ว มมื อ ในระดั บ ทวิ ภ าคี และพหุภาคีในระยะตอไป โดยไดวางกรอบหลักการดําเนินงาน ๔ ประการ คือ 5

วิสาขบูชาอาเซียน


๑. สงเสริมความสัมพันธระหวางประเทศในมิติศาสนาและวัฒนธรรม ๒. สงเสริมความสําคัญของวันวิสาขบูชา วันสําคัญสากลของโลก ๓. สงเสริมวัฒนธรรมวิถีชีวิตของแตละทองถิ่น รวมทั้งสรางจุดเดน จุ ด เน น ในการเข า ร ว มกิ จ กรรมอย า งรู  คุ ณ ค า ศรั ท ธา เกิ ด ขึ้ น เองอย า งเป น วิถีธรรมชาติ ๔. ตระหนักรูแ ละสงเสริมขบวนการเคลือ่ นยายของมวลชนของประชาคม อาเซียนอยางมีเปาหมาย ภายใตหลักการ เขาใจ เขาถึง พัฒนา สําหรับการดําเนินงานในสวนภูมิภาคนั้น กรมการศาสนา กระทรวง วัฒนธรรม ประสงคใหจังหวัดซึ่งมีชายแดนติดตอกันกับประเทศเพื่อนบาน มีบทบาทในการสงเสริม และสรางเสริมความสัมพันธระหวางประเทศในมิตศิ าสนา โดยเฉพาะอยางยิ่งผูวาราชการจังหวัด นายอําเภอนั้น ๆ เปนผูมีบทบาทในการ ดําเนินงานสงเสริมความสัมพันธกับเมืองชายแดนที่มีเขตปกครองติดตอกัน รวมทั้งหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน หนวยงานที่เกี่ยวของ และประชาชน มีสวนรวมในความรวมมือและสงเสริมความสัมพันธไมตรี ทั้งระดับรัฐ เมือง ผูบริหารระดับทองถิ่น เอกชนตอเอกชน ประชาชนตอประชาชน หนวยงาน ทางคณะสงฆตอคณะสงฆ โดยมีสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดตาง ๆ ที่อยูใน พื้ น ที่ เ หล า นั้ น ซึ่ ง เป น หน ว ยงานส ว นภู มิ ภ าคของกระทรวงวั ฒ นธรรม เปนหนวยประสานงานและดําเนินการขับเคลื่อนตามนโยบายของกระทรวงและ กรมในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม โดยในคราวนี้ “วิสาขบูชา ๒๕๕๗” กรมการศาสนา ไดรว มกับหนวยงาน ในสวนภูมิภาคจัดงานสงเสริมวิสาขบูชา สงเสริมความสัมพันธระหวางประเทศ สมาชิกอาเซียนที่มีชายแดนติดตอกันประกอบดวย จังหวัดตาก โดยสํานักงาน วั ฒ นธรรมจั ง หวั ด ตาก, จั ง หวั ด น า น โดยสํ า นั ก งานวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด น า น, จั ง หวั ด เชี ย งราย โดยสํ า นั ก งานวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด เชี ย งราย, จั ง หวั ด เลย โดยสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเลย, จังหวัดนครพนม โดยสํานักงานวัฒนธรรม 6

วิสาขบูชาอาเซียน


จั ง หวั ด นครพนม ร ว มกั บ วั ด พระธาตุ น ครพนมวรวิ ห ารและมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครพนม (วิทยาลัยสงฆนครพนม) และจังหวัดหนองคาย โดยสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดหนองคาย โดยกิจกรรม ตาง ๆ ดังนี้

7

วิสาขบูชาอาเซียน


วิสาขบูชาอาเซียนในภูมิภาค/ตางจังหวัด จังหวัดตาก

จัดงานสัปดาห “วิสาขบูชา สานสัมพันธ ไทย-เมียนมาร” ระหวางวันที่ ๗-๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ณ บริเวณหอประชมศูนยจําหนายสินคา โอท็อป และบริเวณสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมาร กิจกรรม ๑. พิธีเปดงาน ๒. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ งานสงเสริมพระพุทธศาสนา เนื่องใน เทศกาลสัปดาห วันวิสาขบูชา ๒๕๕๗ และสงเสริมความสัมพันธระหวางประเทศ ระดับทวิภาคี โดยนําพระพุทธศาสนาเปนแกน เพื่อเสริมสรางความสัมพันธไมตรี โดยอาศัยจังหวัดตาก และเมืองเมียวดี ในฐานะเปนเมืองคูขนาน (Sister Cities) ของชายแดนของ ไทย-เมียนมาร ๓. ศึกษาปฏิบตั ธิ รรม/ปฏิบตั วิ ปิ ส นากัมกัมมัฏฐาน โดยพระวิปส สนาจารย ที่มีชื่อเสียง/การแสดงพระธรรมเทศนา/ทั้งฝายไทย-เมียนมาร ๔. การจัดนิทรรศการองคความรู : - การจัดโตะหมูบูชา ๕. จั ด ประชุ ม เสวนาความร ว มมื อ ด า นศาสนา โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง พระพุทธศาสนา เพือ่ สงเสริมกัลยามิตรระหวางประเทศทัง้ สอง ทัง้ ระดับประชาชน รัฐ ผูบริหารทองถิ่น และสถาบันศาสนาของไทย-เมียนมาร 8

วิสาขบูชาอาเซียน


๖. จัดกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรูร ะหวางเมืองตอเมือง รัฐตอรัฐ ประชาชน สู  ป ระชาชน บุ ค ลากรทางวั ฒ นธรรมและองค ก รทางพุ ท ธศาสนา ระหว า ง จังหวัดตาก และเมืองเมียวดี ซึ่งเปนกิจกรรมสวนหนึ่งของการสงเสริมความ สั ม พั น ธ ใ นภาพรวมระหว า งไทย-เมี ย นมาร เพื่ อ เชื่ อ มโยงสู  ป ระชาอาเซี ย น ในเขตประเทศไทยและเมียนมาร ๗. กิจกรรมการแสดงทางวัฒนธรรมของทั้งสองประเทศไทย-เมียนมาร ๘. การแสดงและจําหนายสินคาทางวัฒนธรรม ๙. นิทรรศการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๐. นิทรรศการ ประชาคมอาเซียน ๑๑. การเผยแพรองคความรูทางดานศาสนาของสถาบันการศึกษา/ศพอ. ๑๒. ผูวาราชการจังหวัดเมียวดี พรอมดวย พอคา ประชาชนชาวเมียวดี ประเทศเมี ย นมาร และผูวาราชการจังหวัดตาก พร อ ม พ อ ค า ประชาชน ชาวเมืองตาก พรอมกับปลัดกระทรวงวัฒนธรรม อธิบดีกรมการศาสนา ผูบริหาร ระดับสูงของกระทรวงวัฒนธรรม และกระทรวง กรม และหนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนตาง ๆ รวมกิจกรรม และเขารวมพิธีทําบุญตักบาตรแดพระสงฆ ไทย-เมียนมาร จํานวน ๑๙๙ รูป ณ บริเวณสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมาร

9

วิสาขบูชาอาเซียน


จังหวัดนาน

จัดงานสัปดาหวิสาขบูชา สานสัมพันธไทย-สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ระหว า งวั น ที่ ๗-๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ณ บริ เ วณ หัวแหวนเมืองนาน (ขวงเมืองนาน) สถานที่จัดงาน ณ บริเวณหัวแหวนเมืองนาน (ขวงเมืองนาน) ประกอบดวย ๑. วัดพระธาตุชางคาวรวิหาร ๒. วัดภูมินทร ๓. วัดมิ่งเมือง ๔. วัดหัวขวง ๕. พิพิธภัณฑสถานแหงชาตินาน 10

วิสาขบูชาอาเซียน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.