:: Annual Report 2007 TH ::

Page 1

บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

สารจากประธานกรรมการ ในป 2550 นับเปนอีกปทเ่ี ต็มไปดวยสีสนั และความเปลีย่ นแปลง เหตุการณสาํ คัญทีเ่ กีย่ วของกับกลุม ศรีตรัง โดยตรงก็คอื การทีร่ าคาสินคาโภคภัณฑ (Commodities) มีการปรับตัวขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดยเฉพาะอยางยิง่ ในราคา สินคาโภคภัณฑทม่ี อี ยางไมจาํ กัด (Soft Commodities) โลหะมีคา และ น้ํามันดิบ เราไดเห็นราคาสูงสุดเปน ประวัตกิ ารณของสินคาโภคภัณฑหลายชนิดในชวงปทผ่ี า นมานี้ และถึงแมจะเกิดปญหาซับไพรมในประเทศ สหรัฐอเมริกา จนบรรดาธนาคารระดับโลกหลายแหงตองประสบกับความสูญเสียอยางหนักหนวงตอฐานะการเงิน จนตองมีการเรียกเพิม่ ทุน โดยอาศัยการลงทุนจากบรรดากองทุนแหงชาติ (Sovereign Funds) ของประเทศสิงคโปร จีน และประเทศในแถบตะวันออกกลางหลายประเทศ ตลาดยางเริม่ ฟน ตัวขึน้ หลังตกต่าํ อยางหนักในชวงครึง่ หลังของป 2549 และกลับมามีเสถียรภาพ ในชวงป 2550 โดยราคาของ RSS3 มีการซือ้ ขายอยูใ นชวง 2.00 ถึง 2.65 เหรียญสหรัฐฯ ตอกิโลกรัม การทีร่ าคายางมี เสถียรภาพทามกลางภาวะแหงความผันผวนจากปจจัยภายนอกหลายอยาง สงผลใหผผู ลิตยางรถยนตทง้ั หลาย มีผล ประกอบการและอัตรากําไรทีน่ า พึงพอใจ นอกจากนีภ้ าวะเศรษฐกิจทีด่ ขี องประเทศจีน อินเดีย และภูมภิ าคเอเชีย โดยรวม นับเปนปจจัยทีช่ ว ยบรรเทาผลกระทบอันเกิดจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ดังนัน้ หาก พิจารณาถึงระดับความตองการยางพาราในป 2550 ทางกลุม ศรีตรัง ยังมีมมุ มองวา ความตองการสินคาของเราจะยังคง มีการเติบโตไดอยางตอเนือ่ ง ในป 2550 กลุม บริษทั ศรีตรัง มียอดขายยางธรรมชาติรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 722,000 เมตริกตัน หรือ 7.5% ของยอดการผลิตยางพาราโลก ทางกลุม ทําการผลิตและสงออกยางพาราจากประเทศไทย และ ประเทศอินโดนีเซีย รวมทัง้ ไดดาํ เนินธุรกิจกับผูผ ลิตยางพาราหลายรายจากประเทศเวียดนามและประเทศมาเลเซีย ซึง่ เปนประเทศทีท่ าง กลุม ยังไมมฐี านการผลิต และนอกจากการทีท่ างกลุม ไดขยายการคายางพารากับฐานลูกคาทีก่ วางขึน้ แลว ประเทศจีน นับเปนตลาดทีม่ กี ารเติบโตสูงกวาตลาดโดยรวม และปจจุบนั กลายเปนประเทศผูบ ริโภคยางอันดับหนึง่ ของโลก คือ มากกวา 2 ลานเมตริกตันตอป ประเทศจีนมีการนําเขายางพาราประมาณ 75% ของยอดการบริโภคทัง้ หมดเนือ่ งจาก การผลิตภายในประเทศถูกจํากัดดวยพืน้ ทีป่ ลูกและโครงสรางพืน้ ฐาน ทางกลุม ศรีตรังมีความภูมใิ จทีแ่ จงใหทา นผูถ อื หุน ทราบวาทางกลุม เล็งเห็นโอกาสการเติบโตอยางมหาศาลของตลาดจีน และสามารถเพิม่ ยอดขายยางพาราในตลาด จีนไดมากกวาเทาตัว สําหรับความพยายามทางการตลาดของกลุม ศรีตรังในประเทศอินเดียก็ไดรบั ผลลัพธอนั เปนทีน่ า พอใจยิง่ เชนกัน โดยรวมแลวป 2550 นับเปนปทก่ี ลุม ศรีตรังประสบความสําเร็จอยางงดงามทัง้ ในดานการผลิตและยอดขาย กระนัน้ ทางกลุม ยังมุงมัน่ ทีจ่ ะปรับปรุงการจัดการภายในใหดยี ง่ิ ขึน้ เพือ่ สรางผลตอบแทนตอการลงทุนใหไดระดับที่ เหมาะสมกับสายธุรกิจทีก่ วางขวางขึน้ ของกลุม

1


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

คณะผูบ ริหารขอถือโอกาสนีข้ อบพระคุณผูม สี ว นรวมทุกทานทัง้ ลูกคา ผูร ว มคา หนวยงานราชการ สถาบัน การเงิน และผูถ อื หุน ทุกทาน ทีใ่ หการสนับสนุนมาอยางดียง่ิ ตลอดป 2550 และเรามุง หวังทีจ่ ะสรางผลการดําเนินการ ทีด่ ยี ง่ิ ขึน้ อยางตอเนือ่ งในป 2551 นี้

( นายสมหวัง สินเจริญกุล ) ประธานกรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) 3 มีนาคม 2551

2


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

คณะกรรมการบริษัท นายสมหวัง นายประสิทธิ์ นายไวยวุฒิ นายไชยยศ นายพวง นางพรอมสุข นายอนันต นายกิตชิ ยั นายสุกจิ * นายประกอบ** นายเกรียง นายสมัชชา***

สินเจริญกุล พาณิชยกลุ สินเจริญกุล สินเจริญกุล เชิดเกียรติกาํ จาย สินเจริญกุล พฤกษานุศกั ดิ์ สินเจริญกุล อัถโถปกรณ วิศษิ ฐกจิ การ ยรรยงดิลก โพธิถ์ าวร

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการผูจ ดั การใหญ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

* นายสุกจิ อัถโถปกรณ ไดลาออกจากตําแหนงเมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2550 ** นายประกอบ วิศษิ ฐกจิ การ กรรมการอิสระ ซึง่ ไดรบั การแตงตัง้ เปนประธานกรรมการตรวจสอบเมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ 2551 *** นายสมัชชา โพธิถ์ าวร ไดรบั การแตงตัง้ เขาดํารงตําแหนงเมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ 2551

3


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ขอมูลทั่วไป ชือ่ บริษทั (ไทย) ชือ่ บริษทั (อังกฤษ) ชือ่ ยอหลักทรัพย เลขทะเบียนบริษทั ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว ธุรกิจหลัก ทีต่ ง้ั สํานักงานใหญ

: : : : : : : :

บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) Sri Trang Agro-Industry Public Company Limited STA 0107536001656 1,000 ลานบาท 1,000 ลานบาท ผลิตและสงออกยางแผนรมควัน ยางแทง และน้าํ ยางขน 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท 0-7434-4663 (อัตโนมัติ 14 เลขหมาย) โทรสาร 0-7434-4676, 0-7434-4677, 0-7423-7423

เว็บไซต ทีต่ ง้ั สํานักงานสาขา

: :

http://www.sritranggroup.com 36/82 ชั้น 23 อาคารพีเอสทาวเวอร ถนนสุขมุ วิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 0-2259-2964-71 โทรสาร 0-2259-2958

ที่ตั้งโรงงาน : ลําดับที่ ทีอ่ ยูโ รงงาน 1. เลขที่ 13/1 ถนนจริงจิตร ตําบลทับเทีย่ ง อําเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 92000 โทรศัพท 0-7521-0500-2 โทรสาร 0-7521-0503 2. เลขที่ 99/3 หมูท ่ี 7 ถนนกาญจนวนิช ตําบลพังลา อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90170 โทรศัพท 0-7445-2623-6 โทรสาร 0-7445-2622 3. เลขที่ 1 หมูที่ 2 ตําบลถ้าํ ใหญ อําเภอทุง สง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80110 โทรศัพท 0-7532-9830-3 โทรสาร 0-7542-3118 4. เลขที่ 399 หมูที่ 7 ตําบลหวยนาง อําเภอหวยยอด จังหวัดตรัง 92130 โทรศัพท 0-7529-4313-5 โทรสาร 0-7529-4316-7

4


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ลําดับที่ ทีอ่ ยูโ รงงาน 5. เลขที่ 101/1-4 หมูท ่ี 7 ตําบลพลายวาส อําเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี 84160 โทรศัพท 089-873-1486 โทรสาร 081-956-0559 6. เลขที่ 68/2 หมูที่ 4 ถนนสุราษฎรธานี-พุนพิน ตําบลวัดประดู อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี 84000 โทรศัพท 0-7720-0521-3 โทรสาร 0-7720-0524 7. เลขที่ 41/1 หมูท ่ี 13 ตําบลดอนยาง อําเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 86210 โทรศัพท 0-7757-8410-2 โทรสาร 0-7757-8414 8. เลขที่ 139 หมูท ี่ 2 ถนนตรัง-สิเกา ตําบลนาเมืองเพชร อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง 92000 โทรศัพท 0-7557-0042-3 โทรสาร 0-7557-0041 9. เลขที่ 24 หมูท ่ี 1 ถนนพระยาตรัง ตําบลทาชาง อําเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี 22000 โทรศัพท 0-3932-3089 โทรสาร 0-3932-3089 10. เลขที่ 136/1 หมูท ่ี 1 ถนนสิโรรส ตําบลเขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี 94160 โทรศัพท 0-7326-2784 โทรสาร 0-7326-2785 บริษทั ในเครือทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน ตัง้ แตรอ ยละ 10 ขึน้ ไป ลําดับที่ ชือ่ – ทีอ่ ยูบ ริษทั ในเครือ 1. บริษทั เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย จํากัด เลขที่ 110/1 ถนนกาญจนวนิช ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90230 โทรศัพท 0-7447-1231-5 โทรสาร 0-7447-1230 2. บริษทั เซมเพอรฟอรม แปซิฟก จํากัด เลขที่ 110/2 ถนนกาญจนวนิช ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90230 โทรศัพท 0-7447-1231-5 โทรสาร 0-7447-1230 3. บริษทั หน่าํ ฮัว่ รับเบอร จํากัด เลขที่ 99 หมูที่ 3 ตําบลสํานักขาม อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 โทรศัพท 0-7441-2268 , 0-7441-1982-3 โทรสาร 0-7441-2255

5


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ลําดับที่ ชือ่ – ทีอ่ ยูบ ริษทั ในเครือ 4. บริษทั อันวารพาราวูด จํากัด เลขที่ 101 หมูที่ 3 ตําบลสํานักขาม อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 โทรศัพท 0-7441-2756-7 โทรสาร 0-7441-2853 5. บริษทั พรีเมียรซสิ เต็มเอ็นจิเนียริง่ จํากัด เลขที่ 123 หมูที่ 8 ถนนกาญจนวนิช ตําบลบานพรุ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90250 โทรศัพท 0-7447-1480-3 , 0-7447-1368 โทรสาร 0-7447-1290 , 0-7447-1430 6. บริษทั รับเบอรแลนด โปรดักส จํากัด เลขที่ 109 ถนนกาญจนวนิช ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90230 โทรศัพท 0-7429-1223-4 , 0-7429-1755 , 0-7429-1476 โทรสาร 0-7429-1477 7. บริษทั สยามเซมเพอรเมด จํากัด เลขที่ 110 ถนนกาญจนวนิช ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90230 โทรศัพท 0-7447-1471 , 0-7429-1648-9 , 0-7429-1471-5 โทรสาร 0-7429-1650 8. บริษทั สะเดา พี.เอส. รับเบอร จํากัด เลขที่ 207/1 ถนนปาดังเบซาร ตําบลสะเดา อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 โทรศัพท 0-7447-1838 , 0-7446-0483-5 โทรสาร 0-7441-1837 9. บริษทั สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต จํากัด เลขที่ 13/1 ถนนจริงจิตร ตําบลทับเทีย่ ง อําเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 92000 โทรศัพท 0-7521-0500-2 โทรสาร 0-7521-0503 10. บริษทั สตารเท็กซ รับเบอร จํากัด เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท 0-7521-0500-2 โทรสาร 0-7521-0503 11. บริษทั ไทยเทครับเบอร คอรปอเรชัน่ จํากัด เลขที่ 2 ถนนจุติอุทิศ 3 ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท 0-7423-0768 , 0-7423-0406-7 , 0-7423-9063-4 โทรสาร 0-7423-8650

6


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ลําดับที่ ชือ่ – ทีอ่ ยูบ ริษทั ในเครือ 12. บริษทั พัฒนาเกษตรลวงหนา จํากัด เลขที่ 33/84 อาคารวอลลสตรีททาวเวอร ชัน้ 17 ถนนสุรวงศ แขวงสุรยิ วงศ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 0-2632-8826 โทรสาร 0-2632-8825 13. บริษทั ไทยแทงคอนิ สตอลเลชัน่ จํากัด * สํานักงานใหญ : เลขที่ 99/1-3 หมูท ่ี 13 กฤษดานคร 21 ถนนบางนา-ตราด กม.7 ตําบลบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท 0-2316-4167-8 โทรสาร 0-2751-7022 สาขาภูเก็ต : เลขที่ 9 หมูท ่ี 7 ทาเรือน้าํ ลึกภูเก็ต บานอาวมะขาม ถนนศักดิเดช ตําบลวิชติ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 โทรศัพท 0-7639-1021-2 โทรสาร 0-7639-1022 14. บริษทั ศรีตรัง รับเบอรแอนดแพลนเทชัน่ จํากัด** เลขที่ 13/1 ถนนจริงจิตร ตําบลทับเทีย่ ง อําเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 92000 โทรศัพท 0-7521-0500-2 โทรสาร 0-7521-0503 15. Sri Trang International Pte. Ltd. 1 Raffles Place No.28-03, OUB Centre, Singapore 048616 โทรศัพท 001-65-6532-5210 , 001-65-6532-5321 โทรสาร 001-65-6532-7501 16. Sri Trang USA Inc. 401 East Market Street, Suite 210, Charlottesville, Virginia 22902 United State โทรศัพท 001-1-434-296-0080 , 001-1-434-244-0089 โทรสาร 001-1-434-296-0098 17. Sempermed USA Inc. 13900 49th Street North, Clearwater, FL 33762, U.S.A. โทรศัพท 001-1-800-366-9545 โทรสาร 001-1-800-763-5491 18. Shanghai Foremost Plastic Industrial Co., Ltd.*** No.159, Lane 356, Chexin Highway, Chedun Town, Songjiang District, Shanghai 201611 P.R.C. โทรศัพท 001-86-21-5760-9389 โทรสาร 001-86-21-5760-9296

7


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ลําดับที่ ชือ่ – ทีอ่ ยูบ ริษทั ในเครือ 19. Shanghai Semperit Rubber & Plastic Products Co., Ltd. No.2, Bridge, Beisong Road, Minhang, Shanghai 20111 P.R.C. โทรศัพท 001-86-21-6409 0850 , 001-86-21-6409 0300 โทรสาร 001-86-21-6409 0850 20. PT Sri Trang Lingga Indonesia TPA.2 RT.26 & 29 Keramasan, Palembang, Indonesia โทรศัพท 001-62-711-445 666 โทรสาร 001-62-711-445 222 21. Semperflex Shanghai Co., Ltd. Shanghai Chemical Industry Park, Fengxian Subzone, Canggong Road 1255, 201424 โทรศัพท 001-86-21-5744-8386 โทรสาร 001-86-21-5744-8385 * ยกเลิกกิจการเมือ่ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2550 ** จดทะเบียนจัดตัง้ บริษทั เมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม 2550 *** ถือหุนโดยบริษทั รวม บริษทั สยามเซมเพอรเมด จํากัด ในอัตรารอยละ 100 นายทะเบียนหลักทรัพย บริษทั ศูนยรบั ฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ชั้น 4, 7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท (02) 359-1200-1 โทรสาร (02) 359-1259 ผูสอบบัญชี นางสาวนงราม เลาหอารีดลิ ก ผูส อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 4334 บริษทั เอเอสที มาสเตอร จํากัด เลขที่ 790/12 ทองหลอทาวเวอร ซอยทองหลอ 18 ถนนสุขมุ วิท 55 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท (02) 381-5716, 714-8842-3, 381-8016-7 โทรสาร (02) 185-0225 และ/หรือ นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ ผูส อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 2982 สํานักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ เลขที่ 316/32 ถนนสุขมุ วิท 22 (ซอยสายน้าํ ทิพย) คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท (02) 259-5300-2 โทรสาร (02) 260-1553, 259-8956, 259-8959 8


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ทีป่ รึกษากฎหมาย นายวศิน อุชวุ าสิน สํานักงานวศินทนายความ และการบัญชี เลขที่ 234 ถนนนิพทั ธอทุ ศิ 1 ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท (074) 245789, 246081 โทรสาร (074) 246081 บริษทั กําธร สุรเชษฐ แอนด สมศักดิ์ จํากัด อาคารสินสาธรทาวเวอร หอง 31 เอ เลขที่ 77/132 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600 โทรศัพท (02) 440-0288-97 โทรสาร (02) 440-0298-99

9


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท ผลการดําเนินงานของบริษทั และบริษทั ยอย ป 2548-2550

รายไดจากการขาย รายไดรวม กําไรขัน้ ตน กําไร (ขาดทุน) สุทธิ มูลคาที่ตราไว (บาทตอหุน ) จํานวนหุน ถัวเฉลีย่ (พันหุน ) กําไร(ขาดทุน)สุทธิ (บาทตอหุน ) เงินปนผล (บาทตอหุน ) สินทรัพยรวม หนีส้ นิ รวม ทุนชําระแลว สวนของผูถ อื หุน สวนของผูถ อื หุน สวนนอย มูลคาทางบัญชี (บาทตอหุน ) อัตรากําไรสุทธิตอ รายไดรวม ผลตอบแทนตอสวนของผูถ อื หุน ผลตอบแทนของสินทรัพยรวม

ป 2548 28,846,514 29,157,580 1,206,343 (173,050) 5.00 162,570 (1.06) 0.25 12,545,515 8,260,273 1,000,000 4,285,242 429,982 21.43 (0.59%) (4.16%) (1.46%)

10

ป 2549 39,033,979 39,236,709 2,484,127 582,302 5.00 200,000 2.91 1.50 14,755,656 10,594,206 1,000,000 4,161,450 11,216 20.81 1.48% 13.79% 4.27%

หนวย :พันบาท ป 2550 50,017,125 50,313,353 2,154,129 108,375 5.00 200,000 0.54 1.00 18,015,473 14,010,106 1,000,000 4,005,367 12,487 20.03 0.22% 2.65% 0.66%


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด กอตัง้ ขึน้ ในป 2530 ดวยทุนจดทะเบียน 31 ลานบาท ในฐานะผูผ ลิต และสงออกผลิตภัณฑยางพารา ซึง่ เปนผลิตภัณฑเกษตรสําคัญอยางหนึง่ ในภาคใต ภายใตการนําของคุณสมหวัง สิน เจริญกุล จากนัน้ ไดมกี ารขยายธุรกิจอยางตอเนือ่ ง เพือ่ รองรับกับความเติบโตของอุตสาหกรรมยางธรรมชาติทง้ั ใน ประเทศและตางประเทศ และไดเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในป 2536 บริษัทฯ เริม่ ตนจากสายการผลิตยางแผนรมควัน ซึง่ เปนวัตถุดบิ หลักของอุตสาหกรรมยางลอรถยนต ตอมาป 2531 จึงไดเริม่ ขยายสายการผลิตน้าํ ยางขน โดยกอตั้งบริษัท รับเบอรแลนด โปรดักส จํากัด ดําเนินกิจการผลิตน้ํายาง ขน รองรับความตองการของอุตสาหกรรมถุงมือยางทีใ่ ชในทางการแพทย และอุตสาหกรรมยางยืด จากนัน้ ในป 2532 ไดรวมทุนกับบริษัทในประเทศออสเตรียจัดตั้งบริษัท สยามเซมเพอรเมด จํากัด ขึ้นเพื่อดําเนินกิจการผลิตถุงมือยาง ทางการแพทย ตอมาป 2536 บริษัทฯ ไดรวมทุนกับบริษัท ไทยเทครับเบอรคอรป อรเรชั่น จํากัด ริเริ่มโครงการผลิต ยางแทง STR เพือ่ ใหสอดคลองกับแนวโนมของการใชวตั ถุดบิ ในอุตสาหกรรมยางลอรถยนตที่ผูผลิตสวนใหญนิยม หันไปใชยางแทงมากขึ้น เรื่อยๆ ในขณะเดียวกั น ฝายบริ ห ารตระหนักดีวา การที่จะเติบโตขึ้น เพื่อเปนผูนําใน อุตสาหกรรมยางธรรมชาติ จะตองมีการพัฒนาตัวเองใหเขาสูระบบครบวงจรเพื่อเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑ บริษัทฯ ไดมี ขยายธุรกิจเขาสูอ ตุ สาหกรรมสําเร็จรูปอยางตอเนือ่ ง โดยเขารวมทุนกับผูรวมทุนทั้งภายในประเทศและตางประเทศ จัดตั้งบริษัทขึน้ อีกหลายบริษัท ทั้งนี้ เพื่อเสริมใหการผลิตในแตละบริษัทมีสวนสานประโยชนสงเสริมซึ่งกันและกัน ทั้งในดานของวั ต ถุดิบ การถ า ยทอดเทคโนโลยี know-how และการบริการ ถือเปนการสรางโอกาสที่จะไดรับ ผลตอบแทนจากการลงทุนในธุรกิจทีม่ มี ลู คาเพิม่ (Value Added Business) เพื่อมุงสูก ารเปนผูผลิตอุตสาหกรรมยางที่ ครบวงจรที่สุดรายหนึ่ง โดยมีนโยบายธุรกิจทีใ่ หสอดคลองกับแนวทางสงเสริมของรัฐบาลดวย อาทิเชน นโยบายการ สงเสริมการลงทุน (BOI) การผลิตเพื่อการสงออกเปนหลัก ซึ่งจะเปนตลาดที่มีกําลังซื้อเปนหลายเทาของตลาด ภายในประเทศ นํ ามาซึ่งผลประโยชนตอประเทศ คือการไดมาซึ่งเงินตราตางประเทศในแตละปเปนจํานวนมาก ในขณะที่วัตถุดิบหลักเปนผลผลิตภายในประเทศ จึงสงผลตอการจางงานและรายไดของเศรษฐกิจทองถิ่นอยางมี นัยสําคัญ นอกจากนีใ้ นฐานะผูผ ลิตและสงออกรายใหญรายหนึง่ การเพิม่ ประสิทธิภาพความสามารถในการแขงขัน ระหวางประเทศถื อเปนยุท ธศาสตร อยางหนึ่ง ที่บริษัท ฯ ใหความสําคัญ จึงมี การจัดตั้งบริษัท เพื่อการคาสากล (Trading/Distribution Unit) ในภูมภิ าคทีส่ าํ คัญ เพื่อเปนการเสริมงานในสวนการตลาด ขยายชองทางการตลาดเขาสู กลุม ลูกคาเปาหมายใหมๆ มากขึน้ และเสริมสรางภาพลักษณของบริษทั คนไทยใหเปนทีย่ อมรับในตลาดโลกอีกดวย ปจจุบนั กลุม บริษทั ศรีตรังฯ มีบริษทั ในเครือรวมทัง้ สิน้ 21 บริษัท และมีสนิ ทรัพยกวา 18,000 ลานบาท ถือ เปนหนึง่ ในกลุม บริษทั ขนาดใหญในอุตสาหกรรมยางพาราซึง่ เปนทีร่ จู กั และไดรบั การยอมรับในชือ่ เสียงเปนอยางดี ในฐานะผูน าํ ในการผลิตสงออก และจัดจําหนายยางพาราและผลิตภัณฑยางพารารายใหญทค่ี รบวงจรทีส่ ดุ ในประเทศ

11


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

รายละเอียดของกลุม บริษทั ในเครือทัง้ หมดมีดงั ตอไปนี้ บริษัท บมจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี สาขาตรัง

ผลิตภัณฑยางพืน้ ฐาน ดําเนินธุรกิจ ผลิตยางแผนรมควัน ผลิตน้าํ ยางขน

บมจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี สาขาหาดใหญ

ผลิตยางแผนรมควัน

บมจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี สาขาทุง สง

ผลิตยางแทง STR

บมจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี สาขาสิเกา

ผลิตยางแทง STR

บมจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี สาขาชุมพร

ผลิตน้าํ ยางขน

บมจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี สาขาสุราษฎรฯ

ผลิตน้าํ ยางขน

บมจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี สาขากาญจนดิษฐ

ผลิตน้าํ ยางขน

บริษทั รับเบอรแลนดโปรดักส จํากัด

ผลิตน้าํ ยางขน

บริษทั ไทยเทครับเบอร คอรปอเรชัน่ จํากัด

ผลิตยางแทง STR

12

ระบบคุณภาพ - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ไี รนแลนด (ประเทศไทย) จํากัดป 2546 - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2546 - ISO 14001:2004จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2549 - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2546 - ISO 14001:1996จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2547 - OHSAS 18001:1999 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2546 - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ในป 2546 - ISO 14001:2004จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2550 - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2548 - ISO 14001:2004 จากบริษทั ทียวู ี ไรน (ประเทศไทย) จํากัด ป 2550 - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2548 - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2548 - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2548 - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2546 - ISO 9000:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด อินดัสทรี เซอรวสิ จํากัด ป 2542 - ISO 14000:2004จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด อินดัสทรี เซอรวสิ จํากัด ป 2548


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

บริษัท บริษทั หน่าํ ฮัว่ รับเบอร จํากัด

รายงานประจําป 2550 .

บริษทั สะเดา พี.เอส. รับเบอร จํากัด

ดําเนินธุรกิจ ผลิตน้าํ ยางขน ผลิตยางแผนรมควัน ผลิตยางแกว (ADS) ผลิตยางแผนรมควัน

PT Sri Trang Lingga Indonesia

ผลิตยางแทง SIR-20

บริษัท บริษทั สยามเซมเพอรเมด จํากัด

ผลิตภัณฑสาํ เร็จรูป ดําเนินธุรกิจ ผลิตถุงมือยางใชใน ทางการแพทย

Shanghai Semperit Rubber & Plastic Products บริษทั เซมเพอรฟอรม แปซิฟก จํากัด บริษทั เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย จํากัด บริษทั เซมเพอรเฟล็กซ เซีย่ งไฮ จํากัด Shanghai Foremost Plastic Industrial

ผลิตราวจับ บันไดเลือ่ น ผลิตภัณฑชน้ิ สวนยาง และพลาสติกขึน้ รูป ผลิตสายไฮดรอลิค แรงดันสูง ผลิตสายไฮดรอลิค แรงดันสูง ผลิตถุงมือพลาสติก

ระบบคุณภาพ - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2546 - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2546 - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ป 2550

ระบบคุณภาพ - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี แมนเนจเมนท เซอรวสิ จํากัดป 2548 - ISO 13485:2003 จากบริษทั ทียวู ี โปรดักส เซอรวสิ จํากัด ป 2548 - ใบรับรองมาตรฐานหองปฏิบตั กิ ารทดสอบ ISO/IEC 17025:2005 จากกรมวิทยาศาสตร การแพทย กระทรวงสาธารณสุข ป 2549

- ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี แมนเนจเมนท เซอรวสิ จํากัด ป 2548 - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี แมนเนจเมนท เซอรวสิ จํากัด ในป 2548

Co., Ltd.

บริษทั จัดจําหนาย บริษัท Sempermed USA Inc. Sri Trang International Pte. Ltd. Sri Trang USA Inc.

ดําเนินธุรกิจ จัดจําหนายยางในสหรัฐอเมริกา จัดจําหนายยางในสิงคโปร จัดจําหนายถุงมือใชในทางการแพทยในสหรัฐอเมริกา

13


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

บริษัท บริษทั ไทยแทงคอนิ สตอลเลชัน่ จํากัด บริษทั อันวารพาราวูด จํากัด บริษทั สตารเท็กซ รับเบอร จํากัด บริษทั พรีเมียรซสิ เต็มเอ็นจิเนียริง่ จํากัด

รายงานประจําป 2550 .

ธุรกิจอืน่ ๆ ดําเนินธุรกิจ ใหเชาแทงคเก็บน้าํ ยาง ผลิตไมยางพารา ทําเฟอรนเิ จอร/Pallet ดําเนินกิจการสวนยาง และสวนปาลม วิศวกรรมบริการ ออกแบบ ผลิต ติดตัง้ บํารุงรักษาเครือ่ งจักร

ระบบคุณภาพ - ISO 9001:2000 จากบริษทั ทียวู ี ไรนแลนด (ประเทศไทย) จํากัด ในป 2550

- ISO 9001:2000 จากสถาบันรับรอง มาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) ป 2547 - OHSAS 18001:1999 จาก บริษทั ทียวู ี ไรนแลนด จํากัด ป 2549 - ใบรับรองมาตรฐานหองปฏิบตั กิ าร สอบเทียบ ISO/IEC 17025:2005 จากสํานักมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม (สมอ.) ในป 2549 บริษทั สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต จํากัด ใหบริการขนสง - ISO 9001:2000 จากสถาบันรับรอง ทางบกภายในประเทศ มาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) ในป 2547 บริษทั พัฒนาเกษตรลวงหนา จํากัด นายหนาซือ้ ขายสัญญา สินคาเกษตรลวงหนา No. 2012 บริษัท ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชั่น จํากัด ทําสวนยางพารา

14


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ลักษณะการถือหุน ในกลุม บริษทั บริษท ั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

ผลิตภัณฑยางพื้นฐาน

99.9%

99.9%

99.9%

90%

บจก.รับเบอรแลนด โปรดักส

สินคาสําเร็จรูป 50%

จัดจําหนาย

100%

บจก.เซมเพอร เฟล็กซ เซี่ยงไฮ

40% บจก.หน่ําฮั่ว รับเบอร

100%

บจก.เซมเพอร ฟอรม แปซิฟก

บจก.สะเดา พี.เอส รับเบอร

40%

บจก.ศรีตรังลิงกา อินโดนีเซีย

36% *

บจก.ไทยเทค รับเบอร

10%

บริการ/ธุรกิจอื่นๆ 99.9%

บจก.ศรีตรัง อินเตอรเนชั่นแนล 99.9% * บจก.ศรีตรัง ยูเอสเอ อิ้งค 99.9% *

50%

บจก.เซมเพอร เฟล็กซ เอเชีย

บจก.เซมเพอรเมด ยูเอสเอ อิ้งค 99.9% *

บจก.สยาม เซมเพอรเมด

33.5%

บจก.อันวาร พาราวูด

บจก.พรีเมียร ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง บจก.สตารเท็กซ รับเบอร

บจก.สตารไลท เอ็กซ เพรส ทรานสปอรต

40%

บจก.พัฒนาเกษตร ลวงหนา

10%

บจก.ไทยแทงค อินสตอลเลชั่น

บจก.เซี่ยงไฮ เซมเพอรริท รับเบอร แอนด พลาสติก

99.9% บจก.ศรีตรัง รับเบอร แอนดแพลนเทชั่น

* สัดสวนการถือหุน ทางตรงและทางออม

15


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ผลการดําเนินงานของบริษทั ในกลุม ป 2550 ชื่อบริษัท

รายไดรวม

กําไร

สินทรัพย

หนีส้ นิ

สวนของ

(ขาดทุน)

รวม

รวม

ผูถ อื หุน

1

บริษัท หน่ําฮั่วรับเบอร จํากัด

3,902,954

96,084

1,295,804

983,189

312,616

2

บริษัท รับเบอรแลนด โปรดักส จํากัด

1,034,630

28,971

467,243

137,834

329,409

3

บริษัท สะเดา พี.เอส.รับเบอร จํากัด

856,461

(11,163)

183,761

200,408

(16,646)

4 5 6

บริษัท พรีเมียรซิสเต็ม เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด บริษัท อันวารพาราวูด จํากัด

343,416 510,768

13,461 644

180,822 57,916

28,780 21,939

152,042 35,977

บริษัท สตารไลท เอ็กซเพรสทรานสปอรต จํากัด

307,046

15,984

94,097

27,223

66,874

7

บริษัท สตารเท็กซ รับเบอร จํากัด

3,071

325

51,580

147

51,433

8 9

Sri Trang International Pte Ltd. Sri Trang USA, Inc.

548,791 75,004

4,886 (231)

120,314 32,302

101,895 29,743

18,419 2,559

10 PT Sri Trang Lingga Indonesia

698,042

(19,286)

243,204

236,965

6,239

11 บริษัท สยามเซมเพอรเมด จํากัด

6,667,763

333,720

4,061,843

510,324

3,551,519

12 บริษัท เซมเพอรเฟล็กซ เอเชีย จํากัด 13 บริษัท เซมเพอรฟอรม แปซิฟก จํากัด

1,166,132 68,466

73,824 (1,208)

1,014,820 88,175

251,227 7,831

763,593 80,344

96,655

678

32,548

27,220

5,328

11,253,654

160,848

3,234,498

2,632,449

602,049

11,682 74,715

1,920 18,185

135,215 97,499

48,417 20,773

86,798 76,726

522

(352)

17,898

2,432

15,466

33,852

(7,754)

137,896

29,822

108,074

2

(310)

49,714

24

49,690

14 บริษทั เซมเพอรเมด ยูเอสเอ อิงค จํากัด 15 บริษัท ไทยเทครับเบอร คอรปอเรชั่น จํากัด 16 บริษัท พัฒนาเกษตรลวงหนา จํากัด 17 Shanghai Semperit Rubber and Plastic Co., Ltd 18 บริษัท ไทยแทงคอินสตอลเลชั่น จํากัด 19 บริษัท เซมเพอรเฟล็กซ เซี่ยงไฮ จํากัด 20 บริษัท ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชั่น จํากัด* * จดทะเบียนบริษัท 14 ธันวาคม2550 หมายเหตุ บริษัทที่ 8,9,14 หนวยเปน บริษัทที่ 10

หนวยเปน

พันเหรียญสหรัฐอเมริกา ลานรูเปย

บริษัทที่ 17,19 หนวยเปน พันหยวน บริษัทที่ 18 บริษัท ไทยแทงคอินสตอลเลชั่น จํากัด ดําเนินธุรกิจใหเชาแทงคน้ํายาง และบริษัทถือหุนในอัตรารอยละ 10 เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2550 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท ไทยแทงคอินสตอลเลชั่น จํากัด ไดมีมติพิเศษ อนุมัติใหเลิกบริษัท และไดจดทะเบียนเลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชยแลวเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2550

16


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

โครงสรางรายได ลักษณะรายได หนวย : พันบาท สวนงานผลิตและจําหนายยางแทง สวนงานผลิตและจําหนายยางแผนรมควัน สวนงานผลิตและจําหนายน้าํ ยางขน สวนงานคาผลิตภัณฑอน่ื ๆ รวม

ป 2548 รายได % 15,501,999 54% 7,498,400 26% 4,715,710 16% 1,130,405 4% 28,846,514 100%

ป 2549 รายได 22,130,192 8,927,186 6,789,368 1,187,233 39,033,979

ป 2550 % 57% 23% 17% 3% 100%

รายได 29,428,997 12,274,813 7,203,835 1,109,480

50,017,125

ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ ผลิตภัณฑหลัก

การนําไปใชประโยชน

ยางแผนรมควัน

• แบงไดเปน 5 ประเภท คือ ยาง แผนรมควัน ชัน ้ 1, 2, 3, 4 และ 5

• ยางแกว

• เปนวัตถุดบ ิ สําหรับอุตสาหกรรมยางลอ รถยนต, อะไหลรถยนต, สายพาน, ทอน้าํ รองเทา ฯลฯ

ยางแทง ิ สําหรับอุตสาหกรรมยางลอ • แบงเปน 4 ประเภท คือ STR 10, • เปนวัตถุดบ STR 20, STR5L และ STR CV

• SIR (ผลิตในประเทศอินโดนีเซีย)

รถยนต โดยทัว่ ไป สามารถใชทดแทนกัน ไดกบ ั ยางแผนรมควัน ชัน ้ 3

น้ํายางขน

• เปนวัตถุดบ ิ ในอุตสาหกรรมผลิต ถุงมือยาง

• ซึง่ มีความเขมขน 60%

ถุงยางอนามัย ยางยืด ฯลฯ

17

% 59% 25% 14% 2% 100%


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

สินคาสําเร็จรูป

งานบริการและธุรกิจอืน ่

ถุงมือยางทางการแพทย

สวนยางพาราและปาลม

ยางและชิน ้ สวนพลาสติก

บริการขนสง

สายไฮดรอลิคแรงดันสูง

วิศวกรรมบริการ

ราวจับบันไดเลือ ่ น

ลังไมบรรจุยางพารา

ผลิตภัณฑหลักของบริษทั คือ  ยางแผนรมควัน (Rib Smoked Sheet หรือ RSS) ซึง่ แยกไดเปน 4 ประเภท คือ ยางแผนรมควันชั้น 2, ชั้น 3, ชัน้ 4, ชั้น 5 โดยการแบงเกรดนัน้ จะใชคุณภาพของยางแตละแผนเปนเกณฑ ยางแผนรมควันที่ผลิตไดนี้ จะใชเปนวัตถุดบิ ในการผลิตสินคาอืน่ ๆ ตอไป เชน ยางลอรถยนต สายพาน ทอน้ํา รองเทา อะไหลรถยนต ฯลฯ  ยางแทง (Block Rubber) แบงเปน 3 ประเภทใหญๆ คือ STR20, STR 10 และSIR 20 เปนผลิตภัณฑทใ่ี ชเปน วัตถุดบิ ในการผลิตสินคาอืน่ ๆ เชนเดียวกับยางแผนรมควัน กลาวคือ อุตสาหกรรมยางลอรถยนตเปนผูใช รายใหญ คุณสมบัตขิ องยางแทง STR 20 โดยทัว่ ไปสามารถใชทดแทนกันไดกบั ยางแผนรมควัน ชั้น 3  น้าํ ยางขน (Concentrated Latex) ซึง่ มีความเขมขน 60% น้าํ ยางขนทีผ่ ลิตไดจะใชเปนวัตถุดบิ ในการผลิต สินคาอืน่ ๆ ตอไป เชน ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ยางยืด เปนตน ผลิตภัณฑหลักประเภทยางแผน และ ยางแทงของบริษัทมีลักษณะเปน Semi-raw Material เพื่อใชเปน วัตถุดิบ ในการผลิตเปนสินคาสําเร็จรูปอีกตอหนึง่ ความตองการสวนใหญม าจากผูผลิตยางลอรถยนต ซึ่งขึ้นอยูกับ เศรษฐกิจโลก และ กําลังซือ้ ของประชาชน ตอรถยนตและรถที่ใชในเชิงพาณิชย สวนของน้ํายางขน เนื่องจากผูใช หลักไดแกผผู ลิตถุงมือยาง ถุงยางอนามัย และยางยืด ความตองการยังคงมีอัตราการเติบโตที่ดี เนื่องจากผูบริโภคมี แนวโนมทีจ่ ะใชผลิตภัณฑดงั กลาวมากขึน้ เรือ่ ยๆ ทําใหความตองการของผลิตภัณฑยางธรรมชาติมีมากขึ้นไปดวย อยางไรก็ตามผลผลิตยางธรรมชาติจะมีลกั ษณะเปนไปตามฤดูกาล กลาวคือในชวงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมจะเปน ชวงที่ผลผลิ ตยางธรรมชาติลดลง เพราะตนยางอยูในระหวางผลัดใบ จากนั้นผลผลิต ก็จะมีมากขึ้นเรื่อยๆ จนถึง จุดสูงสุดในชวงเดือนธันวาคม ถึง กุมภาพันธของทุกป ฝายการตลาดไดมกี ารวางแผนการบริหารเพื่อใหไดมาซึ่งกลุม ลูกคาในจํานวนทีเ่ พียงพอ เหมาะสมและสอดคลองกับผลิตภัณฑทม่ี อี ยูใ นสายการผลิต และระดับราคาขายทีม่ กี าํ ไร

18


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

สัดสวนปริมาณการจําหนายป 2550 ป 2550 ผูผ ลิตยางลอรถยนต บริษทั นายหนาหรือผูน าํ เขา ผูใ ชในประเทศ

ปริมาณการจําหนาย ตัน 579,161 136,190 6,132

% 80 19 1

ลักษณะของลูกคา ผูซ อ้ื ของบริษทั สามารถแบงลักษณะไดเปน 3 ประเภทหลัก ๆ คือ (1) ผูผ ลิตยางลอรถยนต ไดแก ผูผ ลิตยางลอรถยนตรายใหญและรายกลางของโลก เชน บริดจสโตน มิชลิน Hankook โยโกฮามา คอนติเน็ลตัล กูดเยียร พีแรลลี่ และผูผ ลิตยางลอในประเทศจีน กลุม ลูกคาเหลานีจ้ ะมี ความมัน่ คงและอํานาจในการซือ้ สูงมาก เพราะปริมาณการใชยางธรรมชาติเปนวัตถุดบิ ในสายการผลิตในแตละป เปนจํานวนมาก (2) บริษัทนายหนา ในที่นี้ไดแกบริษัท Trading ในญี่ปุน และผูนําเขารายอื่นทั้งในเอเชีย ประเทศจีน ไตหวัน เกาหลี อเมริกาและยุโรป เนื่องดวยผูนําเขาเหลานี้จะมีฐานลูกคากลุมหนึ่งที่นิยมซื้อผานผูนําเขา มี ความสัมพันธทางธุรกิจกันมานาน และอาจจะมีลักษณะการซื้อขายแบบพิเศษไดหลายประการ อาทิเชน ทําสัญญา ซื้อขายกันในระยะยาว สามารถลดความเสี่ยงในเรื่องเวลาจากการสงมอบ หรือ บริหารความเสี่ยงเรื่องราคาไดใน ระดับหนึ่ง (3) กลุม ภายในประเทศ ไดแกผผู ลิตยางลอรถยนต ยางลอจักรยานยนต ชิน้ สวนยาง ผูผ ลิตถุงมือยาง และยางยืด ซึง่ อุตสาหกรรมเหลานัน้ เปนการผลิตเพือ่ การสงออกเปนสวนใหญ จึงทําใหแนวโนมของการบริโภคยาง ธรรมชาติยงั คงมีอตั ราการเติบโตทีน่ า พอใจ

19


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

แผนงานการบริหารในปที่ผา นมา โดยทีภ่ าพรวมสภาวะอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ เปนที่ประจักษชัดวามีการเติบโตอยางมากในหลายปที่ ผานมา และยังคงมีแนวโนมทีส่ ดใสในอนาคต เนือ่ งมาจากความตองการยางธรรมชาติจากกลุมผูบริโภคที่มีอยูอยาง ตอเนื่อง เมื่อเทียบกับปริมาณผลผลิตที่เปนไปตามฤดูกาล ไมมีเหตุการณผิดปกติทางธรรมชาติ หรือสภาวะภูมิอากาศ มากนัก สงผลในทางบวกตอผูป ระกอบการในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติเปนอยางดี อยางไรก็ตามความผันผวนของ ระดับราคายังคงเกิดขึน้ เปนระยะๆ ทางฝายจัดการจึงไดมกี ารวางแผนขยายกําลังการผลิตโดยเฉพาะในสวนผลิตภัณฑ ยางแทง ที่ความตองการใชยังคงมีอยูอยางมากและตอเนื่อง และจากวิสัยทัศนของผูบริหารที่มีเปาหมายเขาสูระดับ Regional player ในอุตสาหกรรมยาง บริษัทฯ จึงตองมีผลิตภัณฑที่หลายหลากและเพียงพอครอบคลุมความตองการ ของลูกคานํามาซึง่ ความพึงพอใจ และความเชือ่ มัน่ แกบริษทั ฯ เพิม่ มากขึน้ นอกจากนี้ ฝายบริหารยังใหความสําคัญใน การบริหารการขาย การตลาด ตลอดจนถึงการวางแผนจัดการบริหารวัตถุดิบ การซื้อและการรักษาปริมาณสินคาคง คลัง ใหมคี วามสอดคลองทัง้ องคกร เพือ่ เปนไปตามแนวโนมของอุตสาหกรรม บริษัทฯ ไดมีการจัดการวางแผนงานภายในหลายๆ ดานเพื่อเปนการปูพื้นฐานรองรับและสอดคลองกับ การเติบโตของอุตสาหกรรมยางธรรมชาติทม่ี กี ารขยายตัวอยางตอเนือ่ ง และคาดวาจะมีการเติบโตที่ดีในระยะหลายป ขางหนา เพือ่ ใหบรรลุเปาหมายการเปนบริษทั ชัน้ นําของอุตสาหกรรมยางในภูมภิ าคนี้ นํามาซึ่งผลตอบแทนในรูปผล การดําเนินงานและมูลคาของสินทรัพย/หุนของบริษัท (Value Company) โดยแบงเปนทั้งในสวนของผลิตภัณฑยาง ธรรมชาติและสวนผลิตภัณฑสาํ เร็จรูป 1.

การบริหารงานดานการตลาด ฝายจัดการประสบความสําเร็จดวยดีในการทําการตลาดในประเทศจีนและอินเดีย ซึ่งนับเปนประเทศ ตลาดใหมที่มีศักยภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมาก มีการบริโภค/ใชยางธรรมชาติในอัตราเพิ่มที่สูงขึ้นทุกป บริษัทฯ สงเสริมใหผูใชรายใหญเขาทําสัญญาซือ้ ขายระยะยาว (Long Term contract) ในผลิตภัณฑยางแทง ทั้งที่ผลิต ในประเทศไทย และอินโดนีเซียของโรงงานในกลุม บริษทั ฯ ซึง่ ไดรับการเชื่อถือเปนอยางมากในดานคุณภาพ นํามา ซึง่ สวนแบงการตลาดทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในสวนกลุม ลูกคาประจําทางฝายบริหารก็ยังคงรักษาความสัมพันธทางธุรกิจไว ดังเดิม ในขณะเดียวกัน ก็พยายามเพิ่มเติมชองทางการตลาดไดมากขึ้น 2.

การขยายกําลังการผลิต ประเทศอินโดนีเซียในป 2550 ที่ผานมานี้ มีอัตราการเติบโตที่นาพอใจเปนอยางมากโดยเฉพาะในสวน เศรษฐกิจพืน้ ฐาน เนือ่ งจากอินโดนีเซียเปนประเทศที่มีพืน้ ทีเ่ พาะปลูกพืชเกษตรสําคัญ คือ ยางพาราและปาลมน้ํามัน เปนจํานวนมาก เปนที่ยอมรับและคาดการณวาจะกาวขึ้นเปนผูผลิตยางธรรมชาติและปาลมน้ํามันรายใหญที่สุดของ โลกในระยะเวลาอันใกล ในขณะที่ประเทศไทยและมาเลเซียจะถดถอยลงมาเปนอันดับสองของโลก และโดยที่ ผลผลิตทีผ่ ลิตไดของประเทศอินโดนีเซียเปนการสงออกเปนหลัก จึงมีผลกระทบหรือเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอระดับ

20


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ราคาในตลาดโลกเปนอยางมากในดาน Supply ปริมาณผลผลิตและสงออก ลักษณะดินฟาอากาศ ในแตละชวงเวลา จะมีผลตอการตัดสินใจของผูประกอบการที่อยูในอุตสาหกรรมนี้ที่จะผลักดันใหราคาขึ้นลงไดในระดับหนึ่ง การ จัดตั้งบริษัทยอย PT Sri Trang Lingga Indonesia ซึ่งตั้งอยูที่เมืองปาเลมบัง เกาะสุมาตราตอนใต ประเทศอินโดนีเซีย จึงเปนกาวหลักสําคัญของฝายบริหารทีจ่ ะมีฐานการผลิตยางแทงซึง่ เปนผลิตภัณฑยางธรรมชาติหลักสําหรับปอนเขาสู อุตสาหกรรมยางลอของโลก ในประเทศผูผ ลิตรายใหญอนั ดับสองของโลก ณ ปจจุบนั เปนการเพิม่ ความมั่นใจใหกับ แผนการตลาดนอกเหนือจากการซือ้ มาขายไปยางแทง SIR ทีไ่ ดดาํ เนินการอยูแ ลวในเวลานี้ สําหรับในชวงระยะเวลา 1 ปทผ่ี า นมา หลังจากการเปดดําเนินการอยางเปนทางการของบริษทั ยอยดังกลาว ตั้งแตปลายป 2549 บริษัทฯ ซึ่งนับเปนบริษัทไทยรายแรกในอุตสาหกรรมยางที่เขาบุกเบิกจัดตั้งโรงงานผลิตยางแทง ในประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเปนประเทศผูผลิต ยางธรรมชาติอันดับสองของโลก รองลงมาจากประเทศไทย ไดมีการ วางแผนทางการเงิน สําหรับวงเงินสินเชื่อ เพื่อใชในการบริหารงานในการจัดซื้อวัตถุดิบเพื่อการผลิต และสงออกยาง แทง SIR-20 ตลอดจนถึงแนวทางการขยายกําลังการผลิตใน Phrase 2 ซึ่งบริษัทฯ รับการสนับสนุนเปนอยางดีจาก สถาบันการเงินหลายแหงทั้งในประเทศไทย สิงคโปร และอินโดนีเซีย รวมกันจัดสรรวงเงินสินเชื่อใหแกบริษัท เพือ่ ใหมเี งินทุนเพียงพอ ตอการบริหารกําลังการผลิตของโรงงานทีร่ ะดับ 4,000 ตันตอป และจะเพิ่มเปน 6,000 ตัน ใน อนาคตอันใกล ตลอดจนถึงรองรับการซือ้ วัตถุดบิ ทีต่ อ งสรรหาเพิม่ มากขึน้ และราคายางทีป่ รับตัวสูงขึน้ ผลิตภัณฑยางแทง STR, SIR เปนผลิตภัณฑที่มีความตองการจากตลาดโลกเปนจํานวนมากและอยาง ตอเนื่อง ตามแนวโนมของอุตสาหกรรมยางลอที่มีการเติบโตเปนที่นาพอใจเปนอยางมาก ทั้งในกลุมผูผลิตรายใหญ ของโลก และกลุม ผูผ ลิตรายกลางรองลงมา ทีม่ ีการดําเนินงานที่นาพอใจ ทั้งที่วัตถุดิบเพื่อใชในการผลิตหลายชนิดมี การปรับตัวขึ้นของราคาอยางตอเนื่องและมีนัยสําคัญ เนื่องจากผูผลิตเหลานั้นสามารถบรรเทาผลกระทบทางดาน ตนทุนการผลิตดวยการปรับราคาจําหนายแกผบู ริโภคได กลาวไดวา บริษทั ฯ ไดรับปริมาณการสั่งซื้อจากตางประเทศ ผลิตภัณฑยางแทงมากกวาความสามารถทีจ่ ะผลิตไดในปจจุบนั ในสวนของกลุม ยางแทงในประเทศ ฝายจัดการไดมีการปรับปรุงสายการผลิตในสวนของโรงงานยางแทง ทีม่ อี ยูแ ลวทัง้ สามแหง คือโรงงานของบริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) ซึง่ ตั้งอยูที่อําเภอทุงสง จังหวัด นครศรีธรรมราช และอําเภอสิเกา จังหวัดตรัง และโรงงานของบริษัท หน่ําฮั่วรับเบอร จํากัด ซึ่งตั้งอยูที่อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยจัดกระบวนการทั้งในสวนสายการผลิต การขจัดขอติดขัดในขั้นตอนการผลิต (Debottled Neck) ของโรงงานที่มีอยูในปจจุบัน รวมถึงปรับรูปแบบในสวนของเครื่องจักรบางสวน เพิ่มเติมวัสดุอุปกรณสําหรับการ จัดเตรียมวัตถุดิบใหเขาสูสายการผลิตอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด และสอดคลองกับโครงสรางกระบวนการผลิตของ โรงงานแตละแหง นํามาซึ่งผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 13,700 ตอเดือน เปน 16,500 ตอเดือน นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังได วางแผนกอสรางโรงงานยางแทงเพิม่ เติมอีกสองแหง โดยโรงงานหนึง่ จะอยูใ นพืน้ ทีภ่ าคใต สวนอีกโรงงานหนึง่ อยูใ น พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเปนแหลงพื้นที่เพาะปลูกใหม ที่จะเปนฐานการผลิตยางธรรมชาติที่สําคัญของ ประเทศไทยรองลงมาจากพืน้ ทีท่ างภาคใต โดยคาดวาโรงงานทัง้ สองแหงทีม่ กี าํ ลังการผลิตรวม 8,000 ตันตอเดือน จะ เริม่ ทดลองเดินสายการผลิตไดในไตรมาส 1 และไตรมาส 4 ของป 2551 ตามลําดับ

21


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

3.

นโยบายขยายฐานแหลงวัตถุดบิ จากกําลังการผลิตที่กลุมบริษัทฯ มีอยูในปจจุบันและแผนการขยายกําลังการผลิตในอนาคต การสรรหา แหลงวัต ถุ ดิบใหเพียงพอ และมีคุณภาพที่ตรงตอความตองการของผูใช จึงเปนปจจัยที่สําคัญเปนอยางมาก ตอ ความสําเร็จขององคกร บริษัทฯ มีการจัดตั้งหนวยงานรับ ซื้อวัตถุดิบกระจายไปเกือบทุกพื้นที่ของจังหวัดในภาคใต และเริม่ มีการศึกษาถึงความเปนไปไดในการสรรหาวัตถุดบิ ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งประสบปญหาเรื่องความ มั่นคง ทั้งที่ผลผลิตในพื้นที่ดังกลาวมีเปนจํานวนมาก การจัดตั้งหนวยรับซื้อวัตถุดิบในพื้นที่ดังกลาวนี้ นับเปนเปน การชวยเหลือเกษตรกรในพื้นที่เรื่องการสรางรายได เพราะเกษตรกรเหลานั้นไมสามารถจําหนายผลผลิตไดมาก เทาทีค่ วร เนือ่ งจากไมมภี าคเอกชนรายใดเขาไปจัดตัง้ โรงงานในพืน้ ทีด่ งั กลาวเลย 4.

การลงทุนจัดตัง้ บริษทั ยอย ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชัน่ จํากัด หากพิจารณาวงจรของอุตสาหกรรมยางธรรมชาติในปจจุบัน ภาคธุรกิจตนน้ําอันไดแกสวนยางพาราจะ เปนหนวยที่ไดรับประโยชนสูงสุดจากการปรับตัวสูงขึ้นของราคา ในขณะที่ผูผลิตและสงออกยังคงตองบริหารความ เสีย่ งความผันผวนของระดับราคาอยางตอเนื่องซึ่งเปนลักษณะของอุตสาหรรมยางธรรมชาติ อีกทั้งภาครัฐบาลไดมี การสงเสริม ใหมีการปลูกตนยางพารามากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อรองรับความตองการยางพาราซึ่งมีอยูอยางตอเนื่อง ซึ่ง มี ขอมูลแนชัดวา แหลงผลิตยางแหงใหมของประเทศไทยที่มีนัยสําคัญ จะมาจากบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริษทั ฯ จึงไดมกี ารวางแผนระยะยาวทีจ่ ะลงทุนปลูกสวนยางพาราในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงภาคเหนือ โดยไดจดั ตัง้ บริษทั ยอย ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชั่น จํากัด ขึ้น มีวัตถุประสงคในการประกอบธุรกิจทําสวน ยางพาราและกิจการอืน่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับ อุตสาหกรรมยางพารา โดยบริษัทฯ ถือหุนรอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียน จํานวน 100 ลานบาท บริษทั ยอยดังกลาวมีเปาหมายรับผิดชอบในการสรรหาวัตถุดิบ ดําเนินสายการผลิตยางแทง รวมถึงลงทุน ปลูกสวนยางพารา โดยประโยชนที่คาดวาจะไดรับ คือเปนการกระจายความเสี่ยงในเรื่องของแหลงวัตถุดิบ ตลอด จนถึงระดับราคาตนทุน และการกระจายสายการผลิตใหตรงตามแหลงวัตถุดบิ ทีส่ าํ คัญ 5.

บริษทั สยามเซมเพอรเมด จํากัด และ บริษทั เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย จํากัด บริษัทรวมทั้งสองขางตนประสบความสําเร็จเปนอยางดีในการแกไขปญหาอุปสรรคตางๆนับแตป 2549 ตอเนื่องมา ไมวาจะดวยเรื่องราคาวัตถุดิบ ปญหา การขาดแคลนแรงงานในสายการผลิต ปญหาการแข็งคาขึ้นของ คาเงินบาท และทายสุด คือราคาของพลังงานทีเ่ ปนหัวใจสําคัญของอุตสาหกรรมทุกประเภท แมวามีการปรับตัวสูงขึน้ ของระดับราคาน้าํ มันดังกลาว บริษัท สยามเซมเพอรเมด จํากัด ผูผลิต ถุงมือรายใหญของโลกรายหนึ่งสามารถบรรลุ กําลังการผลิต ที่ 9,000 ลานชิ้นตอป และบริษัท เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย จํากัด สามารถบรรลุกําลังการผลิต ของ ผลิตภัณฑ Braided Hose และ Spiral Hose ที่ 23.5 ลานเมตรตอป ในขณะทีโ่ รงงานสาย Hydrolic ที่นครเซี่ยงไฮ ไดเปนไปตามกําหนดการของแผนการกอสราง และแลว เสร็จพรอมดําเนินการในไตรมาส 1/2550 โดยมีรัฐมนตรีทางดานอุตสาหกรรมของประเทศออสเตรียไดใหเกียรติ มารวมทําพิธีเปดในเดือนมีนาคม 2550 โดยบริษัทมีกาํ ลังการผลิต ขั้นตน 3 ลานเมตรในป 2550 และเพิ่มเปน 5 ลาน เมตรในป 2551 22


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

การตลาดและสภาวะการแขงขัน ภาพรวมสภาวะการแขงขัน  การแขงขันระหวางผูผ ลิตและสงออกภายในประเทศ ยังคงเหลือผูประกอบการรายใหญเพียงจํานวนหนึ่งเทานั้น ที่มีผลการดําเนินงานเปนที่นาพอใจใน อุตสาหกรรมยาง เนือ่ งจาก Profit Margin ในธุรกิจนีอ้ ยูใ นระดับต่าํ เมือ่ เทียบกับธุรกิจอีกหลายประเภท ในขณะที่ตอง มีการใชเงินทุนหมุนเวียนเปนจํานวนมาก สําหรับการบริหารงาน เริ่มจากการรับซื้อวัตถุดิบจากเกษตรกรที่ตองชําระ เงินทันทีที่รับสินคา ในขณะที่การสรางโรงงานยางแทงซึ่งเปนผลิตภัณฑหลักของอุตสาหกรรมยาง จําเปนตองใช เงินทุนเปนจํานวนมาก และตองไดรบั การสนับสนุนวงเงินสินเชือ่ จากสถาบันการเงินอยางตอเนือ่ ง ดังนัน้ การแขงขัน ทางธุรกิจจึงจํากัดอยูในกลุม ธุ รกิจที่ดําเนินงานมาเปนระยะเวลานานซึ่ง โดยทั่วไปยังคงเปนเรื่องคุณภาพสินค า ระยะเวลาการสงมอบ ระดับราคาเปนไปตามตลาดโลก กลุม ผูใ ชรายใหญ อันไดแก บริษัทผูผลิต ยางลอรถยนตชั้นนํา ของโลก ตลอดจนถึงรายกลางและกลุมผูผลิต ในประเทศจีน ยังคงพยายามซื้อจากผูประกอบการทุกราย ตอดวย อุตสาหกรรมถุงมือยาง และยางยืด กลุมอุตสาหกรรมยางลอมีอํานาจในการตอรองสูงมากเพราะปริมาณการบริโภค/ ซื้อผลิตภัณฑยางมีเปนจํานวนมาก และมีเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทุกป กลุมผูผลิต ในประเทศไทย โดยเฉพาะผูสงออก รายใหญจงึ ใหความสําคัญในเรือ่ งของสวนการผลิต สินคาจะตองไดคุณภาพตามมาตรฐานที่ไดต กลงกันไว กําลังการ ผลิตก็เปนอีกสวนหนึ่งที่จะทําใหลูกคาเชื่อไดวาหากตองการซื้อสินคาเปนจํานวนมาก บริษัทก็สามารถผลิตและทํา การสงมอบไดในเวลาทีก่ าํ หนด การรักษาชือ่ เสียงในตัวบริษทั จึงเปนปจจัยสําคัญที่ผูผลิตรายใหญในประเทศตองพึง รักษา เพือ่ ใหไดซง่ึ ความสัมพันธทางธุรกิจในระยะยาว บริษัทฯ คาดการณวา บริษทั ฯ นับเปนผูผลิต รายใหญรายหนึ่ง ที่อยูในหาอันดับแรกของประเทศ โดยมีสายการผลิตหลักทั้งสามประเภท คือ ยางแผนรมควัน ยางแทง STR และ น้าํ ยางขน รวมถึงเปนรายเดียวในประเทศไทย ที่มีโรงงานอยูในประเทศอินโดนีเซีย สามารถเสนอผลิตภัณฑใหกับ กลุมผูซื้อไดห ลากหลายกวาคูแขงภายในประเทศ ทางบริ ษัท ฯ มีนโยบายที่ใหความสําคัญตอตลาดใหมมากขึ้น (Emerging Market) โดยเฉพาะผูผลิตในประเทศจีน ประเทศอินเดีย แตก็ไมไดละเลยผูผลิตยางลอชั้นนําที่ไดกลาว มาแลวขางตน โดยที่ตลาดยางธรรมชาติยังคงมีอัตราการเติบโตที่ดี ผูผลิตและสงออกรายใหญที่มีการขยายการผลิต ตางก็ใหความสําคัญทางดานการสรรหาวัตถุดิบใหมเี พียงตอโรงงานของผูผ ลิตรายใหญ โดยระดับราคารับซือ้ วัตถุดิบ ในทองถิ่นจะเปนปจจัยหลักตอแผนการสรรหาวัตถุดิบตามดวยระบบเครือขายที่ครอบคลุมพื้นที่เพื่อใหมีปริมาณ วัตถุดบิ ยางธรรมชาติเพียงพอและตอเนือ่ งตอสายการผลิตของตน  การแขงขันระดับภูมภิ าค ผูผ ลิตในประเทศไทยและประเทศอินโดนีเซีย อาจถือไดวาเปนกลุมธุรกิจหลักในอนาคตที่มีอิทธิพลตอ อุตสาหกรรมยางมากที่สุด จากการที่เปนประเทศที่มีผลผลิตเปนอันดับหนึ่งและสองของโลกตามลําดับ ถือไดวา มากกวารอยละ 50 ของผลผลิตโลกรวมกันในแตละป โดยราคายางแทงจากประเทศอินโดนีเซียจะเปนตัวชี้นําหรือมี อิทธิพลสูงตอราคายางแทงและยางแผนรมควันของไทย ทั้งนี้เพราะผลผลิตของอินโดนีเซียในแตละปประมาณ 2.5 ลานตันจะอยูในรูป ของยางแทงเปนหลัก ในขณะที่ผลผลิต ของประเทศไทยจะอยูในรู ป ของ ยางแผนรมควัน 23


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ผลิตภัณฑยางแทง และน้าํ ยางขน ตามลําดับ ซึง่ เปนไปตามรูปแบบเกษตรกรรมพืน้ ฐานของเจาของสวนยางรายยอยที่ มีเปนจํ า นวนมากในประเทศไทยที ่ ยังคงนิยมผลิ ต ยางแผน ในขณะที่ผูผลิตในประเทศมาเลเซียและประเทศ อินโดนีเซียมีลกั ษณะสวนขนาดใหญจะมุง เนนยางแทง และเปนทีป่ ระจักษชดั วากลุม ประเทศผูซ อ้ื ยางจะมีแนวโนมที่ จะใชผลิตภัณฑยางแทงมากขึ้นเปนลําดับ ดวยคุณสมบัติที่สามารถระบุไดอยางชัดเจน ตลอดจนถึงรูปแบบของหีบหอ ที่มีรูปแบบกะทัดรัด สะดวกตอการเคลื่อนยาย อีกทั้งระดับราคาผลิตภัณฑยางธรรมชาติในรูปยางแทงจะมีราคาที่ Competitive ที่สุด เนือ่ งจากมีผลผลิตเขาสูต ลาดโลกมากทีส่ ดุ จากประเทศผูผ ลิตรายใหญทง้ั สามราย ในตลาดโลกจะ ไดรับอิทธิพลจากประเทศที่มีตนทุนการผลิตต่ําสุด ซึ่งไดแก ประเทศอินโดนีเซีย ผูประกอบการธุรกิจจากประเทศ ไทยจะยังคงดํารงฐานะผูผ ลิตรายใหญสดุ ของโลก ก็ตองเปลี่ยนไปผลิต ยางแทงมากขึ้นตามลําดับและสอดคลองกับ อุตสาหกรรมยางในตลาดโลก ในขณะทีอ่ ตุ สาหกรรมยางแผนจะถูกลดความสําคัญไปตามลําดับ ผลิตภัณฑน้ํายางขน จะขึน้ กับอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมตอเนื่องที่รองรับ คือ อุตสาหกรรมยางยืดและอุตสาหกรรมถุงมือยางใช ในทางการแพทยทป่ี ระสบอุปสรรคของการปรับราคาจําหนายในบางชวงเวลา

สภาวะอุตสาหกรรม สถานการณยางป 2550 โดยภาพรวมเปนทีน่ า พอใจ โดยเฉพาะในสวนของภาคเกษตรกรทีส่ ามารถ จําหนายยางไดในราคาสูงเกือบตลอดทัง้ ป ความผันผวนของชวงระดับราคายางในตลาดโลกอยูบ า งใน 2 ชวงเวลา กลาวคือ ผลจากวิกฤตการณ Sub-Prime ในประเทศสหรัฐอเมริกาในชวงไตรมาส 2-3 และอีกครัง้ หนึง่ ในชวงปลาย เดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนธันวาคม 2550 แตในรูปของคาเฉลีย่ ทัง้ ปสงู ขึน้ รอยละ 8 ราคายางทัง้ ตลาดโลกและ ตลาดในประเทศ มีลกั ษณะการเคลือ่ นไหวอยูใ นชวงขาขึน้ ตอเนือ่ ง โดยยางแผนรมควันมีราคาต่าํ สุดในเดือน กรกฎาคม เฉลีย่ กิโลกรัมละ 70.31 บาท (2,030 เหรียญสหรัฐอเมริกา) ตอตัน อยางไรก็ตาม ตัง้ แตเดือนสิงหาคม 2550 ไดมกี ารปรับตัวของราคาเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง จนมีราคาสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน 2550 อยูท เ่ี ฉลีย่ กิโลกรัมละ 84.84 บาท (2,595 เหรียญสหรัฐอเมริกา) ตอตัน มีขอ ทีน่ า สังเกตวา แมบางชวงระดับราคายางในตลาดโลกมีการออนตัวลง แตระดับราคาวัตถุดบิ ภายในประเทศก็ไมไดลดลงในสัดสวนเดียวกัน ซึง่ อาจเปนเพราะการคาดการณของเกษตรกร ที่ คิดวาระดับราคายางจะยังคงปรับตัวกลับขึน้ ไดอกี อีกทัง้ สภาพดินฟาอากาศทีม่ ฝี นตกชุกมากกวาปกติ ทําใหมวี นั กรีด ยางนอยกวาทีค่ วรจะเปน สภาวะปริมาณผลผลิตทีเ่ ขาสูต ลาดทองถิน่ ก็เปนไปในทิศทางเดียวกัน กลาวคือมีวนั ฝนตก ทีย่ าวนานกวาปกติทาํ ใหฤดูหนายางเลือ่ นออกไปถึง 2-3 เดือนเขาสูป  2551 แทน ปจจัยทีส่ ง ผลใหราคาเคลือ่ นไหวผกผัน และมีราคาลดลงจนถึงระดับต่าํ สุดในเดือนกรกฎาคม 2550 เนือ่ งจากมีการคาดการณวา วิกฤตการณ Sub-Prime ในประเทศสหรัฐอเมริกา จะมีผลทําใหเศรษฐกิจโลกชะลอตัวลง ซึง่ จะทําใหการบริโภค การลงทุน และความตองการใชยางธรรมชาติลดลงในทีส่ ดุ ในสวนของประเทศผูบ ริโภคยาง ธรรมชาติรายใหญทส่ี ดุ ของโลก มีการดําเนินการจากภาครัฐทีพ่ ยายามชะลอการเติบโตทางเศรษฐกิจของจีน เนือ่ งจาก เศรษฐกิจขยายตัวเพิม่ ขึน้ สูงกวารอยละ 11.1 ในไตรมาสที่ 1 ป 2550 โดยรัฐบาลจีนใชมาตรการดานการเงินและการ คลัง ไดแก ลดการชดเชยภาษีสง ออก และกําหนดใหธนาคารพาณิชยเพิม่ อัตราดอกเบีย้ เงินกู เพือ่ ลดการลงทุนเก็ง กําไรในตลาดหุน ซึง่ มาตรการดังกลาวเริม่ มีผลในเดือนกรกฎาคม

24


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ตามทีไ่ ดกลาวขางตน ระดับราคายางหลังจากเดือนกรกฎาคมก็ไดปรับตัวในทิศทางขาขึน้ อีกครัง้ หนึง่ จาก ปจจัยทัง้ ทางดาน Supply ทีม่ ปี ริมาณผลผลิตเขาสูต ลาดคอนขางตึงตัว เนือ่ งจากสภาวะภูมอิ ากาศทีม่ ลี กั ษณะฝนตก เปนระยะเวลานาน ซึง่ สภาวะดังกลาวไมไดเกิดขึน้ เฉพาะในประเทศไทยแตรวมถึงพืน้ ทีใ่ นประเทศอินโดนีเซียดวย เปนปจจัยทีส่ ง ผลดานบวกตอราคายาง โดยเฉพาะในชวงเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคมของป 2550 ประกอบกับการ ปรับตัวของโภคภัณฑตวั อืน่ โดยเฉพาะราคาน้าํ มันดิบตลาดโลกและทองคําปรับตัวสูงขึน้ ไปทําสถิตใิ หมเรือ่ ยๆ ซึง่ เปนไปในทิศทางตรงกันขามของเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา ทีม่ กี ารออนคาลงอยางตอเนือ่ ง เนือ่ งจากธนาคารกลางของ สหรัฐอเมริกาทยอยลดอัตราดอกเบีย้ เพือ่ พยุงเศรษฐกิจภายในประเทศทีไ่ ดรบั ผลกระทบในทางลบเปนอยางมากจาก วิกฤต Sub-Prime ในสวนทางดานปริมาณการบริโภค (Consumption Demand) มีแนวโนมที่นาพอใจเปนอยางมาก พิจารณาไดจาก ปริมาณการใชยางธรรมชาติในอุตสาหกรรมยางลอรถยนตมีเพิ่มมากขึ้น เห็นไดจากการประกาศผลประกอบการ ประจําป 2550 ของบริษทั ยางลอชั้นนําหลายๆ บริษัทที่มีผลการประกอบการที่ดีขึ้นทั้งในดานยอดขายและผลกําไร ในสวนของประเทศจีนก็เปนไปในทิศทางที่เดนชัด ยังคงมีความตองการยางธรรมชาติในระดับสูง โดยเฉพาะอยางยิง่ อุตสาหกรรมการผลิตรถยนตที่มีการขยายตัวถึงกวารอยละ 160 ในชวงระหวางป 2545 -2550 คาดวาภายในป 2553 จีนจะสามารถผลิตรถยนตไดถึงปละ 10 ลานคัน และมีจํานวนรถยนตบนทองถนนถึง 62 ลานคัน การขยายตัวของ อุตสาหกรรมดังกลาวชวยเกือ้ หนุนใหอตุ สาหกรรมชิน้ สวนรถยนตสามารถขยายตัวไดอยางรวดเร็วเชนกัน ซึ่งรวมถึง อุตสาหกรรมการผลิตยางลอสําหรับยานพาหนะประเภทตางๆ และทามกลางการขยายตัวอยางรวดเร็วของตลาดยาง ลอในประเทศ ภาวการณการแขงขันอยางรุนแรงในตลาดยางลอรถยนตของจีน ทําใหผูผลิตชาวจีนเริ่มหันไปให ความสําคัญตอตลาดสงออกมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ลดความเสีย่ งจากตลาดในประเทศ ทําใหในชวง 4-5 ปที่ผานมาจีนเองก็ได กาวขึน้ เปนผูส ง ออกยางลอรายใหญรายหนึง่ ของโลก

25


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ตารางการเคลือ่ นไหวของราคายางสงออก FOB กรุงเทพ หนวย : บาท เดือน มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถนุ ายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม ราคาเฉลีย่

RSS3 2549 74.09 82.00 81.24 82.25 92.36 104.30 95.98 83.48 68.77 69.61 60.62 62.80 79.79

STR20 2550 74.83 82.26 78.72 81.42 81.71 78.26 70.31 72.76 74.10 78.91 84.84 84.00 78.51

2549 70.05 77.83 76.53 76.15 82.54 93.66 90.75 82.24 68.53 69.09 60.08 60.09 75.63

ขอมูล : สถาบันวิจยั ยาง กรมวิชาการเกษตร

26

น้าํ ยางขน 2550 70.29 76.34 73.85 75.13 76.85 75.20 68.80 71.50 72.90 77.13 81.25 82.18 75.12

2549 53.72 61.72 63.49 60.82 65.38 72.64 67.35 57.09 46.56 50.40 43.90 42.31 57.12

2550 50.80 59.58 59.52 58.44 55.83 51.16 44.90 47.01 48.88 51.68 55.72 54.76 53.19


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

กราฟแสดงราคายางแผนรมควันชัน้ 3 และยางแทง TSR 20 ในตลาดสิงคโปร (Singapore Commodity Exchange) Sicom 2006-2007

US Cent

300 280 260 240 220 200 180 160 140 120 100 1/06 03/0

Date

0

06 3/03/

5/06 03/0

/06 03/07

/06 03/09

1/06 03/1

1/07 03/0

RSS 3

3/07 03/0

/07 03/05

7/07 03/0

/07 03/09

1/07 03/1

STR 20

ตารางการเคลือ่ นไหวราคายางสงออก FOB กรุงเทพฯ และกราฟแสดงราคายางแผนรมควันชั้น 3 และ ยาง แทง TSR ในตลาดสิงคโปร ระดับราคาปรับตัวขึน้ ตั้งแตตนป 2550 และปรับลดลงในชวงเดือนกรกฎาคม 2550 ราคา ยางแผนรมควันอยูท ร่ี ะดับราคาเฉลีย่ 2,030 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอตัน และยางแทงมีระดับราคาอยูที่ 1,970 เหรียญ สหรัฐอเมริกาตอตัน ซึ่งถือเปนระดับราคาทีต่ าํ่ สุดในรอบป สาเหตุเนือ่ งมาจากผลกระทบจากวิกฤตการณ Sub-Prime จากนัน้ ตั้งแตเดือนสิงหาคม 2550 ไดมกี ารปรับตัวของราคาเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง จนมีราคาสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน 2550 โดยมีระดับราคาเฉลี่ยของยางแผนรมควันอยูที่ 2,595 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอตันและยางแทงอยูที่ 2,477.5 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอตัน

27


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ปจจัยความเสี่ยง ความเสีย่ งตามลักษณะธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปจจัยที่ความเสี่ยงยังคงเปนปจจัยเดิมที่มีอยูในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ ซึ่งไดระบุไวในปที่ผานๆ มา เพียงแตปจจัยขอใดขอหนึ่งอาจจะมีอิทธิพลสูงตอระดับราคายางในตลาดโลกมากเปนพิเศษในปนั้นๆ ซึ่งสถานการณ Sub-Prime เปนเหตุการณสําคัญหนึ่งทีม่ ผี ลตอการเคลือ่ นไหวของผลิตภัณฑ Commodity หลายชนิดในป 2550 1. ความผันผวนของระดับราคา ระดับราคาทีม่ แี นวโนมมากขึน้ เรือ่ ยๆ ในชวงระยะเวลาอันสัน้ มาก สรางผลกระทบตอแนวทางการ บริหารเปนอยางมาก อีกทัง้ มีอทิ ธิพลตอผูท ม่ี สี ว นเกีย่ วของในอุตสาหกรรมยางทีพ่ ยายามเขามาเก็งกําไรในทุกชวง ของ Supply Chain โดยระดับราคายางไดมกี ารปรับตัวขึน้ อยางตอเนือ่ งจากปลายป 2549 จาก 60 บาทตอกิโลกรัม จนถึงระดับ 80 บาทตอกิโลกรัม เมือ่ สิน้ สุดไตรมาส 2/2550 หลังจากนัน้ เริม่ มีการปรับตัวลงอีกครัง้ จากวิกฤติการณ Sub-Prime สงผลตอตลาดหุน ทัว่ โลก โดยเฉพาะตลาดหุน ในสหรัฐอเมริกา ทีเ่ ริม่ ปรับตัวลดลงอยางมีนยั สําคัญ นอกจากนีย้ งั มีความกังวลถึงเศรษฐกิจโลกวาจะมีการออนตัวลง สงผลตอการบริโภคในผลิตภัณฑ Commodity หลายๆ ชนิดโดยเฉพาะน้ํามัน สวนปจจัยทีม่ ผี ลกระทบตอระดับราคายาง นอกจากปจจัยพืน้ ฐาน คือ อุปสงคและ อุปทานของยางธรรมชาติแลว ราคาน้าํ มันในตลาดโลกรวมถึงราคาทองคํา ก็นบั เปนอีกปจจัยหนึง่ ทีม่ ผี ลกระทบตอ ระดับราคาเชนกัน โดยสวนใหญมกั เคลือ่ นไหวไปในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ ในชวงทีผ่ า นมาทีร่ าคาน้าํ มันมี แนวโนมเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ทําใหกลุม กองทุน Commodity Hedge Funds เขามามีสว นในการผลักดันราคาให เปนไปในทิศทางทีต่ นเองตองการอีกดวย ซึง่ จะสงผลใหการคาดการณสามารถทําไดยากขึน้ และการเคลือ่ นไหวมี ลักษณะทีผ่ นั ผวนอยางมีสาระสําคัญในชวงระยะเวลาอันสัน้ สงผลตอการวางแผนงานของบริษทั ฯ ทัง้ แผนการผลิต และการวางแผนการจําหนายในทีส่ ดุ 2. สภาวะเศรษฐกิจและปริมาณความตองการใชยางธรรมชาติของโลก สภาวะเศรษฐกิจโลกยังคงเอื้ออํานวยตออุตสาหกรรมยางธรรมชาติ ดวยเหตุที่ความตองการใชยาง ธรรมชาติมากกวารอยละ 70 มาจากอุตสาหกรรมยางลอรถยนต เศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชีย โดยเฉพาะประเทศจีน อินเดีย และญี่ปุน ยังคงมีการขยายตัวในระดับสูงและอยางตอเนื่อง ในขณะที่ประเทศในกลุม EU และยุโรป ตะวันออก มีการขยายตัวในอัตราที่นาพอใจ ความตองการใชยางธรรมชาติมีอยูในระดับสูง และสมดุลตอปริมาณ ผลผลิตยางธรรมชาติของโลก 3. สภาวะการแขงขันระหวางประเทศผูผ ลิตรายใหญในตลาดโลก สภาวะการแขงขันไมมกี ารเปลีย่ นแปลงมากนัก ผูผ ลิตจากประเทศไทยอยูในสถานะที่ดีขึ้น เนื่องจากที่ ประเทศอินโดนีเซีย เกิดสถานการณความตึงตัวของปริมาณวัตถุดบิ ในทองถิน่ ทําใหผผู ลิตในทองถิน่ ไมสามารถผลิต ยางแทง SIR ไดเต็ม ตามกําลังการผลิตที่มีอยู สงผลใหราคายางแทงจากประเทศอินโดนีเซียในตลาดโลกในบาง 28


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ชวงเวลาไมแตกตางจากผลิตภัณฑยางแทงจากประเทศไทยมากนัก อยางไรก็ตาม ประเทศไทยยังคงเปนผูผ ลิต ยางราย ใหญสุดของโลก ตามดวย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ตามลําดับ โดยประเทศไทยมีผลผลิตในป 2550 อยูที่ประมาณ 3 ลานตัน นอยกวาผลผลิตในป 2549 เล็กนอย ในขณะทีอ่ นิ โดนีเซียอยูท ่ี 2.765 ลานตัน เพิ่มขึ้นรอยละ 4-5 เปรียบเทียบ กับปทผ่ี า นมา โดยมีการคาดการณวา จะมียอดผลผลิตถึง 3.072 ลานตันในป 2010 และนาจะเปนผูผลิตรายใหญที่สุด ของโลกในระยะเวลา 5-7 ปขางหนา เนื่องจากยังมีพื้นที่จํานวนมากที่เหมาะสมกับการปลูกยางธรรมชาติและจากการ เปดกรีดยางของสวนยางใหม โดยเฉพาะในเกาะสุมาตรา และกาลิมนั ตัน โดยรัฐบาลอินโดนีเซียไดใหการสงเสริมแก เกษตรกรรายยอยในการปลอยเงินกูร ะยะยาวเพือ่ ใชในการปลูกสวนยางใหม 4. การแขงขันภายในประเทศ ดูขอ มูลหัวขอการตลาดและสภาวะการแขงขัน หนา 23 5. สภาวะภูมอิ ากาศและ ปริมาณวัตถุดิบ ผลิตภัณ ฑยางพารามีลักษณะเปนสินคาเกษตรที่ปริมาณผลผลิตเปนไปตามฤดูกาล หากปใดสภาวะ อากาศไมไดเปนไปตามปกติ อาทิเชน สภาวะแหงแลงจัด หรือมีน้ําทวมในพื้นที่เพาะปลูกยอมจะสงผลตอปริมาณ ผลผลิตอยางหลีกเลีย่ งไมได และสงผลตอระดับราคาในทีส่ ดุ เนือ่ งจากผลผลิตยางธรรมชาติในแตละปมอี ยูอ ยางจํากัด ทําใหการกําหนดราคารับซือ้ วัตถุดบิ จากทองถิน่ อยูใ นระดับทีส่ ะทอนราคาตลาดขณะนัน้ หรือเทียบเทากับผูผลิตราย อืน่ ทีอ่ ยูใ นบริเวณดังกลาว ซึง่ การดําเนินการปองกันความเสีย่ งจากการสรรหาวัตถุดบิ ในรูปของปริมาณและความผัน ผวนของราคาวัต ถุดิบเปนไปไดยากเพราะผูผลิตไมสามารถทําสัญญาซื้อขายลวงหนากับ เกษตรกรหรือผูขายใน ทองถิน่ ได เนือ่ งจากการบังคับใชสญ ั ญาไมสามารถเปนจริงในทางปฏิบัติ ทางบริษทั จึงบริหารความเสีย่ งในการจัดหา วัตถุดบิ โดยกําหนดแผนการจัดหาใหสอดคลองกับแนวทางการจําหนายของฝายการตลาด รวมถึงปจจัยอื่นดวย เชน จํานวนผลผลิตที่เขาสูตลาด ระดับราคา และการคาดการณระดับราคาในอนาคต ซึ่งเปนการคาดการณที่ตองอาศัย ประสบการณ การจัด การระบบเครือขายการสรรหาวัตถุดิบที่เหมาะสมกับสถานการณในแตละพื้นที่ และลักษณะ สภาวะอากาศเปนปจจัยหนึ่งที่อยูนอกเหนือการควบคุม และจากการที่มีผูเลนเพิ่มขึ้นในธุรกิจยางนอกเหนือจาก ผูผ ลิตและผูใ ช กลาวคือ กลุม กองทุน Hedge Funds ตางๆ รวมถึงนักลงทุนหรือนักเก็งกําไรรายยอย ที่เขามาในตลาด สินคาลวงหนา ปริมาณผลผลิตจริงทีเ่ ขาสูท องตลาดจะเปนปจจัยพื้นฐานสําคัญที่ผูมีสวนเกี่ยวของพยายามใชในการ กําหนดราคา

29


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ความเสีย่ งทางดานการเงินและการบริหารจัดการ 1. สภาพคลองทางการเงิน ระดับอัตราดอกเบี้ย และอัตราแลกเปลีย่ น จากระดับราคายางในตลาดโลกชวงป 2550 ทีอ่ ยูใ นระดับสูง สงผลกระทบโดยตรงตอการจัดสรรเงินทุน หมุนเวียนของบริษัทฯ ที่ใชสนับสนุนตอปริมาณผลผลิตและยอดจําหนาย กลาวคือ บริษัทฯ มีความจําเปนตองใช สินเชือ่ จากสถาบันการเงินเพิม่ มากขึน้ อยางไรก็ตามระดับอัตราดอกเบีย้ ในป 2550 ไดลดต่ําลงเมื่อเทียบกับปที่ผานมา สวนของอัตราแลกเปลีย่ น บริษทั ฯ ในฐานะผูสงออกที่มียอดจําหนายในรูปของเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เปนจํานวนมากและมีการลงทุนในตางประเทศในระดับหนึง่ การเคลือ่ นไหวของระดับอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศผูแขงขันรายอื่นจึงมีสวนสําคัญตอการดําเนินงานของบริษัทฯอยางมีสาระสําคัญ ระดับ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศของเงินบาท เมื่อเทียบกับเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา ยั งมีคงการแข็งคาอยาง ตอเนื่องจากป 2549 โดยอัตราแลกเปลี่ยนอยูในระดับประมาณ 36 บาท ตอหนึ่งเหรียญสหรัฐอเมริกา ในชวงตนป และคอยๆ ปรับตัวลงมาที่ 33.5 บาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา ในชวงเดือนธันวาคม 2550 ซึ่งสงผลกระทบตอผูสงออก ของไทยที่ตองพยายามปรับราคาขายในรูปของเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาใหสูงขึ้น บริษัทฯ ไดมีการทําสัญญาซื้อขาย เงินตราตางประเทศลวงหนากับธนาคารหลายแหงเปนจํานวนหนึง่ เพือ่ ปกปองความเสีย่ งจากความผันผวนของระดับ อัตราแลกเปลี่ยน และเพื่อเปนการครอบคลุมถึงปริมาณการจําหนายในอนาคตดวย อยางไรก็ตาม ระดับอัต รา แลกเปลีย่ นในกลุม ประเทศอาเซียน ยกเวนอินโดนีเซีย ก็ไดแข็งคาขึน้ ในอัตราสวนทีใ่ กลเคียงกัน ทําใหความสามารถ ในการแขงขันของผูผ ลิตจากประเทศไทยไมไดลดลงมากนักในป 2550 แมปจจุบันบริษัทฯ ไดรับ การสนับสนุนอยางเพียงพอจากสถาบันการเงินหลายแหงทั้งในประเทศและ ตางประเทศ แตจะไดรับความกดดันเพิ่มมากขึน้ หากระดับราคายางธรรมชาติยังคงปรับตัวสูงขึ้น และจากการขยาย ตัวอยางตอเนือ่ งในอุตสาหกรรมยาง ทําใหปริมาณการผลิตและจําหนายเพิ่มสูงขึ้นเปนลําดับ ประกอบกับบริษัทฯ เปนผูผ ลิตและผูส ง ออกรายใหญรายหนึง่ ในประเทศ ปริมาณการผลิตและการจําหนายของบริษัทฯ ในแตละปอยูใน ระดับสูงมาก จึงตองอาศัยเงินทุนหมุนเวียนจํานวนมาก เพราะการซื้อยางจากเกษตรกรตองจายเปนเงินสด ดังนั้น สภาพคลองทางการเงินในระดับที่เหมาะสมจึงเปนสวนสําคัญอยางมากในการดําเนินธุรกิจใหเปนไปได อย างมี ประสิทธิภาพ ในปจจุบนั นอกเหนือจากแหลงเงินทุนของบริษทั ฯ เองแลว เงินกูจากสถาบันทางการเงินเปนชองทาง หลักอีกชองทางหนึ่งในปจจุบันทีบ่ ริษัทฯ ใชสรรหาเงินทุนหมุนเวียน รองรับการดําเนินงานของบริษัทฯ ในสวนของ ชองทางการระดมทุนผานตราสารหนี้ยังไมไดมีความคืบหนามากนัก โดยเฉพาะเหตุการณ Sub-Prime ที่เกิดขึ้นใน อเมริกาสงผลในทางลบตอตลาดตราสารหนีอ้ ยางมาก 2. ความเสีย่ งดานนโยบายการบริหารจัดการ บริษทั ดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมยางพารา ทีม่ ลี กั ษณะเปน Commodity Products และในชวง 2-3 ปท่ี ผานมาไดรบั อิทธิพลอยางสูงจากกองทุน Hedge Funds ทัว่ โลกเขามาซือ้ ขายเก็งกําไรเปนจํานวนมาก สงผลตอการ เคลือ่ นไหวของระดับราคาทีม่ คี วามผันผวนอยางรุนแรงในลักษณะทีไ่ มเคยเกิดขึน้ มากอน บริษทั ซึง่ เปนผูป ระกอบ กิจการทีม่ พี น้ื ฐานจากการผลิตจริง มีโรงงานตัง้ อยูต ามลักษณะภูมปิ ระเทศของแหลงวัตถุดบิ หลัก คือภาคตะวันออก 30


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

และภาคใตของประเทศไทย จึงมีความจําเปนทีจ่ ะตองบริหารจัดการ ทางดานความเสีย่ งของราคาเพิม่ มากขึน้ นอกเหนือจากทางดานวัตถุดบิ ซึง่ การดําเนินธุรกิจทีเ่ กีย่ วของสินคาเกษตรจําเปนตองมีการบริหารจัดการทีด่ ี มี ประสิทธิภาพไมเชนนัน้ ความเสียหายจากการแปรสภาพวัตถุดบิ อาจจะเกิดขึน้ ไดสงู มาก อยางไรก็ตามการคาดการณ เรือ่ งราคาในอนาคตเปนสิง่ ทีท่ าํ ไดลาํ บากจากปจจัยตางๆ ทีม่ อี ทิ ธิพลตอการเคลือ่ นไหวของราคา จึงเปนทีป่ ระจักษ ชัดวาการดําเนินธุรกิจยางธรรมชาติมคี วามสลับซับซอนในการบริหารมากขึน้ กวาในอดีตทีผ่ า นมา ความสัม พันธทางธุรกิจระหวางผูซื้อและผูขายที่ส รางขึ้นมาเปนระยะเวลานานเปนปจจัยหนึ่งที่มีสวน สนับ สนุนเปนอยางมากตอการขยายตัวทางธุรกิจ กลา วไดวาผูดําเนินกิจการรายใหญที่ประสบความสําเร็จจะมี ประสบการณในอุตสาหกรรมยางพารามาเปนระยะเวลายาวนานและมุง เนนในอุตสาหกรรมดังกลาวโดยไมมกี ารแตก แนวไปยังธุรกิจประเภทอืน่ การเขามาในอุตสาหกรรมยางพาราของผูดําเนินกิจการรายใหมที่ไมมีประสบการณจึง เปนไปไดคอนขางยาก เพราะกลุมผูซื้อจะใหความสําคัญตอประวัติการดําเนินงาน ความเชื่อถือไดในดานตัว ผลิตภัณฑ และชือ่ เสียงของคณะผูบ ริหารในบริษทั โดยเฉพาะภายใตสถานการณที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดานราคา อยางรุนแรงทั้งในทางบวกหรือทางลบซึง่ จะสงผลผูกมัดตอสัญญาซือ้ ขายทีไ่ ดมกี ารตกลงไปแลวในทีส่ ดุ การกําหนดแนวทางการทําการตลาด นโยบายราคาขาย เปนยุทธศาสตรสาํ คัญทีจ่ ะมีผลตอการทํางานของ หนวยงานอืน่ ๆทีป่ ระกอบเขาอยูใ นองคกร ความมีประสิทธิภาพของบุคลากร ทีต่ อ งมีความเชีย่ วชาญและ ประสบการณ พรอมตอการเปลีย่ นแปลงของสถานการณ ในยุคโลกาภิวัตน ปรับรูปแบบกระบวนไดทนั ทวงที ซึง่ ณ ปจจุบนั การคาดการณแนวโนมทางอุตสาหกรรมมีโอกาสคลาดเคลือ่ นไดมาก เนือ่ งจากมีปจ จัยตางๆทีอ่ าจจะ เกิดขึน้ โดยมิไดคาดหมาย และสงผลกระทบตอผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ ไดอยางมีสาระสําคัญ การบริหารงาน จึงตองมีความพรอมทีจ่ ะตองปรับตัวตลอดเวลา คณะผูบ ริหารของบริ ษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํ า กัด (มหาชน) นับเปนกลุมบุคคลคณะหนึ่งที่ มี ประสบการณในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติมาเปนระยะเวลานาน สถานะของผูบ ริหารจึงเปนทีย่ อมรับของผูเ กีย่ วของ ทางธุรกิจทั้งในประเทศและตางประเทศ ทําใหบริษัทมีความเสี่ยงดานความอยูรอดในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง ผูบริห าร ซึ่งเปนกลุมผูถือหุนรายใหญดวย หรืออีกดานหนึ่งอาจทําใหผูถือหุนรายใหญรายอื่นไมสามารถเขามา ครอบงํากิจการเพื่อเปลี่ยนแปลงการจัดการ ในกรณีที่ฝายจัดการปจจุบันไมสามารถบริหารงานใหเปนไปตาม เปาหมายหรือมีการกําหนดแนวทางธุรกิจทีค่ ลาดเคลื่อนไปจากแนวโนมอุตสาหกรรมยางธรรมชาติเปนอยางมากจน สงผลกระทบในทางลบแกผถู อื หุน

31


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

โครงสรางการถือหุน และการจัดการ รายชือ่ และ สัดสวนของผูถ อื หุน รายใหญ 10 อันดับแรกทีป่ รากฏในสมุดทะเบียนผูถ อื หุน ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2550 ลําดับที่ รายชือ่ ผูถ อื หุน จํานวนหุน สัดสวน (รอยละ) 1. บริษทั ศรีตรังโฮลดิง้ ส จํากัด 44,028,412 22.01 % 2. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล *31,393,855 15.70 % 3. นายอราม ศิรสิ วุ ฒ ั น 6,846,872 3.42 % 4. นายสมหวัง สินเจริญกุล *3,841,485 1.92 % 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 3,200,000 1.60 % 6. นายกิติชัย สินเจริญกุล *3,499,300 1.75 % 7. นายประสิทธิ์ พาณิชยกลุ *2,408,395 0.92 % 8. นายสุเมธ สินเจริญกุล 1,781,391 0.89 % 9. นายพวง เชิดเกียรติกาํ จาย *1,611,806 0.81 % 10. บริษทั เซาทแลนดรบั เบอร จํากัด 1,180,200 0.59 % * จํานวนหุน ตามแบบรายงานการถือครองหลักทรัพยของบริษทั ฯ (แบบ 59-2) ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2550 กลุม ผูถ อื หุน ทีม่ สี ดั สวนการถือหุน เกิน 10% (ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2550) - บริษัท ศรีตรังโฮลดิง้ ส จํากัด 44,028,412 หุน - กลุม สินเจริญกุล 45,956,154 หุน

22.01 % 22.98 %

หมายเหตุ: บริษัท ศรีต รังโฮลดิ้งส จํากัด มี ทุนจดทะเบียน 88 ลานบาท กรรมการบริษัทมีจํานวน 5 ทาน ประกอบดวย นายสมหวัง สินเจริญกุล นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล นายไชยยศ สินเจริญกุล นายกิติชัย สินเจริญกุล นายพวง เชิดเกียรติกําจาย กลุม ผูถือหุนใหญไดแก สินเจริญกุล จํานวน 3,781,280 หุน หรือในสัดสวน 42.97 % ของจํานวนหุนทั้งหมด จํานวนและสัดสวนถือหุน ทีเ่ ปลีย่ นแปลง 5 ปที่ผานมา ไมมสี าระสําคัญในการเปลีย่ นแปลงของกลุม ผูถ อื หุน ใน 5 ปที่ผานมา

32


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

โครงสรางการจัดการ โครงสรางกรรมการบริษทั ฯ ประกอบดวยกรรมการ มี 3 ชุด คือ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร กรรมการผูจัดการ

กรรมการอํานวยการ ฝายผลิต 1

กรรมการอํานวยการ ฝายผลิต 2

กรรมการอํานวยการ ฝายผลิต 3

กลุม ผลิตภัณฑ ยางแผน

กรรมการอํานวยการ ฝายการเงินและบัญชี

กลุม ผลิตภัณฑ ยางแทง

กลุม ผลิตภัณฑ น้าํ ยางขน

กรรมการอํานวยการ สาขากรุงเทพฯ

กิจการบริษัทในเครือ

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษ ั ท ฯ ประกอบดวยกรรมการที่เปนผูบ ริ ห ารบริ ษั ท กรรมการอิ ส ระ และกรรมการ ตรวจสอบ ดังรายชือ่ ตอไปนี้ ลําดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

ชื่อ นายสมหวัง นายประสิทธิ์ นายไวยวุฒิ นายพวง นางพรอมสุข นายไชยยศ นายอนันต นายกิตชิ ยั นายสุกจิ * นายประกอบ ** นายเกรียง นายสมัชชา ***

นามสกุล สินเจริญกุล พาณิชยกลุ สินเจริญกุล เชิดเกียรติกาํ จาย สินเจริญกุล สินเจริญกุล พฤกษานุศกั ดิ์ สินเจริญกุล อัถโถปกรณ วิศษิ ฐกจิ การ ยรรยงดิลก โพธิถ์ าวร

ตําแหนง ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการผูจ ดั การใหญ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

33


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

* นายสุกจิ อัถโถปกรณ ไดลาออกจากตําแหนงเมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2550 ** นายประกอบ วิศิษฐกิจการ ซึ่งเปนกรรมการอิสระ ไดรับการแตงตั้งเปนประธานกรรมการตรวจสอบเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2551 *** นายสมัชชา โพธิถ์ าวร ไดรบั การแตงตัง้ เขาดํารงตําแหนงเมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ 2551 กรรมการผูม อี าํ นาจลงนามแทนบริษทั กรรมการผูม อี าํ นาจลงนาม เพือ่ มีผลผูกพันแทนบริษทั ได คือ กรรมการ 2 ใน 8 ทาน โดยไมรวมกรรมการ อิสระและกรรมการตรวจสอบ ลงลายมือชือ่ รวมกัน และประทับตราสําคัญของบริษทั ขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริษทั บริษทั ฯ ไดมกี ารกําหนดขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องกรรมการไวดังนี้ 1. การปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษัท ไดปฏิบตั หิ นาทีโ่ ดยใชความรู ความสามารถ และประสบการณใหเปนประโยชนตอ การดําเนินธุรกิจของบริษทั และไดปฏิบตั หิ นาทีต่ ามวัตถุประสงค ขอบังคับของบริษทั และมติทป่ี ระชุมผูถ อื หุน ของ บริษทั ดวยความระมัดระวังเพือ่ รักษาผลประโยชนของบริษทั และรับผิดชอบตอผูถ อื หุน ตามขอบังคับบริษทั ตอง ประชุมอยางนอย 3 เดือนตอครัง้ 2. การทบทวนและใหความเห็นชอบกับนโยบายทีเ่ หมาะสม คณะกรรมการบริษทั รับผิดชอบในการทบทวนและใหความเห็นชอบกับนโยบายและทิศทางการดําเนินงานของ บริษทั ทีเ่ สนอโดยคณะกรรมการ 3. การกํากับดูแลคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษทั กํากับดูแลใหคณะกรรมการบริหาร ดําเนินการตามนโยบายทีก่ าํ หนดไวอยางมี ประสิทธิภาพ และแจงใหคณะกรรมการบริหารนําเสนอเรือ่ งทีม่ สี าระสําคัญตอการดําเนินงานของบริษทั รายการ ระหวางบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันอืน่ ๆ ใหพจิ ารณาโดยเปนไปตามกฎระเบียบ ขอบังคับของสํานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย หากจําเปนคณะกรรมการบริษทั จะไดกาํ หนดใหมกี ารวาจางทีป่ รึกษาภายนอก เพือ่ ใหคาํ ปรึกษาหรือใหความเห็น ทางวิชาชีพประกอบการตัดสินใจในเรือ่ งทีม่ ผี ลตอการดําเนินธุรกิจอยางมีสาระสําคัญของบริษัท 4. การจัดใหมรี ะบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการของบริษทั ไดกาํ กับใหบริษทั มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในทีม่ ี ประสิทธิผล โดยเฉพาะอยางยิง่ ในเรือ่ งการทํารายการทีก่ รรมการมีสว นไดเสีย และอยูใ นขายทีก่ ฎหมายหรือ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยระบุ ใหตอ งไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน

34


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยกรรมการ 6 ทาน ดังรายชือ่ ตอไปนี้ ลําดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ชื่อ นายไวยวุฒิ นายประสิทธิ์ นายไชยยศ นางพรอมสุข นายอนันต นายกิตชิ ยั

นามสกุล สินเจริญกุล พาณิชยกลุ สินเจริญกุล สินเจริญกุล

ตําแหนง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

พฤกษานุศักดิ์

สินเจริญกุล

ขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริหาร บริษทั ฯ ไดมกี ารกําหนดขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องกรรมการบริหาร ดังนี้ 1. มีอาํ นาจสัง่ การ วางแผน และดําเนินกิจการของบริษทั ใหเปนไปตามนโยบายทีค่ ณะกรรมการของบริษทั ฯ กําหนด 2. มีอาํ นาจแตงตัง้ คณะบริหารงานตางๆ เพือ่ ประโยชนและประสิทธิภาพของการจัดการทีด่ แี ละโปรงใส 3. ใหกรรมการสองคนของคณะกรรมการบริหารลงนามรวมกัน พรอมประทับตราบริษทั ฯ มีอํานาจมอบ อํานาจชวงในหนังสือมอบอํานาจของบริษทั ฯ เพือ่ ใหผรู บั มอบอํานาจชวงสามารถดําเนินการอันเปน ประโยชนเกีย่ วเนือ่ งกับกิจการงานตางๆ ในนามบริษทั ฯ ไดอยางเปนทางการ 4. มีอาํ นาจพิจารณากําหนดสวัสดิการพนักงานใหเหมาะสมกับสถานการณ ประเพณีปฏิบตั แิ ละสอดคลองกับ กฎหมายทีบ่ งั คับใชอยู 5. มีอาํ นาจการอนุมตั วิ งเงินทีเ่ ปนธุรกรรมทางการคาปกติหรือธุรกรรมทีเ่ ปนพันธะผูกพันตอบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีการแตงตัง้ ขึน้ ในปลายป 2542 เพือ่ ใหเปนไปตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ปจจุบนั ประกอบดวยกรรมการ ดังรายชือ่ ตอไปนี้ ลําดับที่ ชื่อ นามสกุล ตําแหนง 1. นายประกอบ * วิศษิ ฐกจิ การ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายเกรียง ยรรยงดิลก กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 3. นายสมัชชา** โพธิถ์ าวร กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ : นายสุกจิ อัถโถปกรณ ประธานกรรมการตรวจสอบคนเดิม ไดลาออกจากตําแหนงเมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2550 และไดรบั แตงตัง้ ใหนายประกอบ วิศษิ ฐกจิ การ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ให ดํารงตําแหนงเปนประธานกรรมการตรวจสอบ พรอมทัง้ แตงตัง้ นายสมัชชา โพธิถ์ าวรเปนกรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบในคราวเดียวกัน

35


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบ รายงานตอคณะกรรมการของ บริษัทดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหบริษทั มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเปดเผยอยางเพียงพอ โดยการประสานงานกับ ผูส อบบัญชีภายนอก และผูบ ริหารทีม่ หี นาทีจ่ ดั ทํารายงานทางการเงินทัง้ รายไตรมาสและประจําป 2. สอบทานใหบริษทั มีระบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในทีเ่ พียงพอและมีประสิทธิผล 3. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแตงตัง้ ผูส อบบัญชีของบริษทั รวมถึงพิจารณาเสนอคาตอบแทนของผูส อบบัญชี 4. สอบทานการปฏิบตั งิ านของบริษทั ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจของบริษทั 5. พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษทั ในกรณีทเ่ี กิดรายการทีเ่ กีย่ วโยงหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนใหมคี วามถูกตองและครบถวน 6. จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของ บริษทั 7. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมายและคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบดวย โดยในป 2550 ไดมกี ารประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ 10 ครัง้ ประชุมคณะกรรมการบริหาร 13 ครั้ง และ ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 4 ครัง้ โดยมีรายชือ่ กรรมการผูเ ขารวมประชุมและจํานวนครัง้ เขารวมประชุม ดังนี้ ลําดับ ที่

จํานวนครัง้ ทีเ่ ขา จํานวนครัง้ ทีเ่ ขา จํานวนครัง้ ทีเ่ ขา คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท บริหาร ตรวจสอบ 1. นายสมหวัง สินเจริญกุล 10 / 10 2. นายประสิทธิ์ พาณิชยกลุ 10 / 10 12 / 13 3. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 10 / 10 13 / 13 4. นายพวง เชิดเกียรติกาํ จาย 10 / 10 5. นางพรอมสุข สินเจริญกุล 10 / 10 12 / 13 6. นายไชยยศ สินเจริญกุล 10 / 10 12 / 13 7. นายอนันต พฤกษานุศกั ดิ์ 10 / 10 13 / 13 8. นายกิตชิ ยั สินเจริญกุล 10 / 10 13 / 13 4/4 9. นายสุกจิ * อัถโถปกรณ 8 / 10 3/4 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 10 / 10 4/4 11. นายประกอบ วิศษิ ฐกจิ การ 10 / 10 4/4 หมายเหตุ : *นายสุกจิ อัถโถปกรณ ไดลาออกจากตําแหนงกรรมการของบริษทั ฯ ตัง้ แตวนั ที่ 8 พฤศจิกายน 2550 ชื่อ

นามสกุล

36


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

การสรรหากรรมการและผูบ ริหาร การเลือกกรรมการบริษทั จะตองไดรบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน โดยจะตองเปนบุคคลซึง่ มีคณ ุ สมบัติ และไมมลี กั ษณะตองหามตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ.2535 โดยคณะกรรมการเปนผู พิจารณาถึงความเหมาะสม คุณสมบัติ ตลอดถึงความสามารถทีจ่ ะเขามามีสว นรวมในการบริหารบริษทั ฯ ให เจริญเติบโตกาวหนา โดยคณะกรรมการสามารถมอบหมายใหบคุ คลรายหนึง่ รายใดเสนอรายชือ่ บุคคลทีจ่ ะแตงตัง้ เปนกรรมการตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน วิธกี ารเลือกตัง้ กรรมการผานทีป่ ระชุมผูถ อื หุน 1. คณะกรรมการของบริษทั จะพึงมีจาํ นวนเทาใด ใหทป่ี ระชุมผูถ อื หุน เปนผูก าํ หนด แตตอ งไมนอ ยกวาหา คน และกรรมการไมนอ ยกวากึง่ หนึง่ ของจํานวนกรรมการทัง้ หมด ตองมีถน่ิ ทีอ่ ยูใ นราชอาณาจักร คณะกรรมการอาจ มอบหมายใหบคุ คลใดบุคคลหนึง่ หรือหลายคนปฏิบตั กิ ารอยางใดอยางหนึง่ แทนคณะกรรมการได แตจะมอบหมาย ใหคณะกรรมการหรือบุคคลอืน่ ปฏิบตั กิ ารแทนตนในฐานะเปนกรรมการมิได กรรมการของบริษทั มีสทิ ธิไดรบั คาตอบแทนในการปฏิบตั หิ นาทีซ่ ง่ึ คาตอบแทน ไดแก เงิ น เดื อ น เบี้ย ประชุม เบีย้ เลีย้ ง โบนัส 2. ใหทป่ี ระชุมผูถ อื หุน เลือกตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑ และวิธกี ารดังตอไปนี้ (1) ผูถ อื หุน คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเทากับหนึง่ หุน ตอหนึง่ เสียง (2) ผูถือหุนแตละคนตองใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคน เปนกรรมการก็ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผใู ดมากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวน กรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัด ลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกิ น จํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปน ประธานเปนผูอ อกเสียงชีข้ าด 3. ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้งใหกรรมการออกจากตําแหนง 1 ใน 3 เปนอัตรา ถาจํานวน กรรมการทีจ่ ะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกในจํานวนใกลทส่ี ดุ กับสัดสวน 1 ใน 3 กรรมการที่จะตองออกจากตําแหนงในปแรกและปที่สอง ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้นใหจับฉลาก กันวาผูใ ดจะออก สวนปหลังๆ ตอไปใหกรรมการคนทีอ่ ยูใ นตําแหนงนานทีส่ ดุ นัน้ เปนผูอ อกจากตําแหนง 4. นอกจากการพนตําแหนงตามวาระแลว กรรมการพนจากตําแหนงเมือ่ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา 68 แหง พรบ. บริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ.2535 (4) ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ลงมติใหออกตามขอ 7 (5) ศาลมีคาํ สัง่ ใหออก 37


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

5. กรรมการคนใดจะลาออกจากตําแหนงใหยน่ื ใบลาออกตอบริษทั การลาออกมีผลนับแตวนั ทีใ่ บลา ออกไปถึงบริษทั กรรมการซึง่ ลาออกตามวรรคหนึง่ จะแจงการลาออกของตนเองใหนายทะเบียนทราบดวยก็ได 6. ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระใหคณะกรรมการ เลือกบุคคลซึง่ มีคณ ุ สมบัติ และไมมลี กั ษณะตองหามตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ.2535 เขาเปนกรรมการในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวาสองเดือน บุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาวจะอยูในตํา แหนงกรรมการไดเ พียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการที่ ตนเองแทน มติของกรรมการตามวรรคหนึง่ ตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอ ยกวาสามในสีข่ องจํานวน กรรมการทีย่ งั เหลืออยู 7. ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน อาจลงมติใหกรรมการคนใดคนหนึง่ ออกจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระได ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุม และมีสิทธิออกเสียงและมีหุนนับรวมกันแลว ไดไมนอ ยกวากึง่ หนึง่ ของจํานวนหุน ทีถ่ อื โดยผูถ อื หุน ทีม่ าประชุม และมีสทิ ธิออกเสียง 8. กรรมการจะเปนผูถ อื หุน ของบริษทั หรือไมกไ็ ด 9. ใหคณะกรรมการเลือกกรรมการคนหนึง่ เปนประธานกรรมการ ในกรณีทค่ี ณะกรรมการพิจารณา เห็นสมควรจะเลือกกรรมการคนหนึง่ หรือหลายคนเปนรองประธานกรรมการก็ได รองประธานกรรมการมีหนาที่ ตามขอบังคับในกิจการซึง่ ประธานกรรมการมอบหมาย 10. ในการประชุมคณะกรรมการ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการ ทัง้ หมดจึงจะเปนองคประชุม ในกรณีทป่ี ระธานกรรมการไมอยูใ นทีป่ ระชุม หรือไมสามารถปฏิบตั หิ นาทีไ่ ด ถามีรอง ประธานกรรมการใหรองประธานกรรมการเปนประธาน ถาไมมีรองประธานกรรมการ หรือมีแตไมสามารถปฏิบัติ หนาที่ไดใหกรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม ใหถอื เสียงขางมาก กรรมการคนหนึง่ มีหนึง่ เสียงในการลงคะแนน เวนแตกรรมการซึง่ มีสว นไดเสียในเรือ่ งใดไมมสี ทิ ธิ ออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานทีป่ ระชุมออกเสียงเพิม่ ขึน้ อีกเสียงหนึง่ เปนเสียงชี้ ขาด 11. ในการเรียกประชุมคณะกรรมการ ใหประธานกรรมการหรือผูซ ง่ึ ไดรบั มอบหมายสงหนังสือนัดประชุม ไปยังกรรมการไมนอ ยกวาเจ็ดวันกอนวันประชุม เวนแตกรณีจาํ เปนเรงดวนเพือ่ รักษาสิทธิหรือประโยชนของบริษัท จะแจงการนัดประชุมโดยวิธอี น่ื และกําหนดวันประชุมใหเร็วกวานัน้ ก็ได

38


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

หลักเกณฑในการคัดเลือกกรรมการอิสระ กรรมการอิ ส ระ หมายถึ ง บุคคลที่มีคุณสมบัติครบถวนและมีความเปนอิสระตามที่ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยไดกาํ หนด โดยบริษทั ไดกาํ หนดหลักเกณฑในการคัดเลือกกรรมการอิสระดังตอไปนี้ (1) เปนกรรมการทีถ่ อื หุน ไมเกินรอยละ 5 ของทุนชําระแลวของบริษทั บริษัทในเครือ บริษัทรวม บริษัทที่ เกีย่ วของ (2) เปนกรรมการที่ไมมีสวนรวมในการบริหารงาน ไมเปนลูกจาง พนักงาน หรือที่ปรึกษาที่ไดรับเดือน ประจําจากบริษทั ฯ บริษัทในเครือ บริษัทรวม บริษทั ทีเ่ กีย่ วของ หรือผูถ อื หุน รายใหญ (3) เปนกรรมการทีไ่ มมผี ลประโยชนหรือสวนไดเสียไมวา ทางตรงหรือทางออมทั้งในดานการเงินและการ บริหารงานในบริษัทฯ บริษทั ในเครือ บริษทั รวม บริษทั ทีเ่ กีย่ วของ (4) เปนกรรมการทีไ่ มใชเปนผูเ กีย่ วของหรือญาติสนิทของผูบ ริหารหรือผูถ อื หุน รายใหญ (5) เปนกรรมการทีไ่ มไดรบั การแตงตัง้ ขึน้ เปนตัวแทนเพือ่ รักษาผลประโยชนของกรรมการบริษัท ผูถือหุน รายใหญ หรือผูถ อื หุน ซึง่ เปนผูท เ่ี กีย่ วของกับผูถ อื หุน รายใหญ นอกจากนีแ้ ลว ยังตองสามารถแสดงความเห็นหรือรายงานไดอยางเสรีตามภารกิจที่ไดมอบหมาย โดยไม ตองคํานึงถึงผลประโยชนใดๆ ที่เกี่ยวกับทรัพยสินหรือตําแหนงหนาที่ และไมตกอยูภายใตอิทธิพลของบุคคลหรือ กลุมบุคคลใด รวมถึงไมมีสถานการณใดๆ ที่จะมาบีบบังคับใหไมสามารถแสดงความเห็นไดตามที่พึงจะเปน ผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คณะกรรมการบริษทั ประกอบดวยบุคคล 11 ทาน ดังมีรายชื่อตอไปนี้ ความสัมพันธของผูบ ริหาร นายสมหวัง สินเจริญกุล ประธานกรรมการ มี นายประสิทธิ์ พาณิชยกลุ รองประธานกรรมการ ไมมี นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล กรรมการผูจ ดั การใหญ มี นายไชยยศ สินเจริญกุล กรรมการ ไมมี นายพวง เชิดเกียรติกาํ จาย กรรมการ มี นางพรอมสุข สินเจริญกุล กรรมการ มี นายอนันต พฤกษานุศกั ดิ์ กรรมการ ไมมี นายกิตชิ ยั สินเจริญกุล กรรมการ มี นายสุกจิ * อัถโถปกรณ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ ไมมี นายประกอบ วิศษิ ฐกจิ การ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ไมมี นายเกรียง ยรรยงดิลก กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ไมมี นายสมัชชา โพธิถ์ าวร กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ไมมี หมายเหตุ : * นายสุกจิ อัถโถปกรณ ไดลาออกจากตําแหนงกรรมการของบริษทั ฯ ตัง้ แตวนั ที่ 8 พฤศจิกายน 2550

39


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

ประวัตผิ บู ริหาร 1. นายสมหวัง สินเจริญกุล ความสัมพันธของผูบ ริหาร คุณวุฒิ ตําแหนงปจจุบนั พ.ศ. 2536 - ปจจุบนั พ.ศ. 2530 – พ.ศ. 2536 ประสบการณการทํางาน พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2529 จํานวนหุน 2. นายประสิทธิ์ พาณิชยกลุ ความสัมพันธของผูบ ริหาร คุณวุฒิ ตําแหนงปจจุบนั พ.ศ. 2536 – ปจจุบนั พ.ศ. 2530 – พ.ศ. 2536 ประสบการณการทํางาน พ.ศ. 2529 – พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2518 – พ.ศ. 2540 จํานวนหุน 3. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ความสัมพันธของผูบ ริหาร คุณวุฒิ ตําแหนงปจจุบนั พ.ศ. 2536 - ปจจุบนั พ.ศ. 2530 – พ.ศ. 2536 ประสบการณการทํางาน พ.ศ. 2528 – พ.ศ.2530 จํานวนหุน

รายงานประจําป 2550 .

อายุ 82 ป บิดาของนายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และนายกิตชิ ยั สินเจริญกุล Chung Ling High School, Penang ประเทศมาเลเซีย ประธานกรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด กรรมการ บริษทั ยางไทยปกษใต จํากัด 3,841,485 หุน อายุ 61 ป ไมมี Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รองประธานกรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) รองประธานกรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด สมาชิกสภาจังหวัดตรัง หุน สวนผูจ ดั การ ตรังสหการขนสง จํากัด 2,408,395 หุน 53 ป บุตรชายนายสมหวัง สินเจริญกุล ปริญญาเอก (Ph.D.) สาขาเคมี, Queen Elizabeth’s College, University Of London กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด ผูจ ดั การทัว่ ไปบริษทั ยางไทยปกษใต จํากัด 31,393,855 หุน 40


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

4. นายไชยยศ สินเจริญกุล ความสัมพันธของผูบ ริหาร คุณวุฒิ ตําแหนงปจจุบนั พ.ศ. 2536 - ปจจุบัน พ.ศ. 2530 – พ.ศ. 2536 ประสบการณการทํางาน พ.ศ. 2533 – พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2513 – พ.ศ. 2529 จํานวนหุน 5. นายพวง เชิดเกียรติกาํ จาย ความสัมพันธของผูบ ริหาร คุณวุฒิ ตําแหนงปจจุบนั พ.ศ. 2536 - ปจจุบนั พ.ศ. 2530 – พ.ศ. 2536 จํานวนหุน 6. นางพรอมสุข สินเจริญกุล ความสัมพันธของผูบ ริหาร คุณวุฒิ ตําแหนงปจจุบนั พ.ศ. 2536 - ปจจุบนั พ.ศ. 2528 – พ.ศ. 2536 ประสบการณการทํางาน พ.ศ. 2525 – พ.ศ.2528 จํานวนหุน

รายงานประจําป 2550 .

อายุ 57 ป ไมมี Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด กรรมการหอการคาจังหวัดตรัง ผูช ว ยผูจ ดั การสวนการผลิตยางแทง TTR บจก.ยางไทยปกษใต 1,482,165 หุน อายุ 80 ป บิดานางพรอมสุข สินเจริญกุล อัญสัมชัญพาณิชย (ACC) กรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด 1,611,806 หุน อายุ 54 ป บุตรสะใภนายสมหวัง สินเจริญกุล ปริญญาโทบริหารธุรกิจ The Institute of Chartered Secretary and Administrator ประเทศอังกฤษ กรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด ฝายบริหารสงออก บริษทั ยางไทยปกษใต จํากัด 31,393,855 หุน

41


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

7. นายอนันต พฤกษานุศกั ดิ์ ความสัมพันธของผูบ ริหาร คุณวุฒิ ตําแหนงปจจุบนั พ.ศ. 2538 - ปจจุบนั ประสบการณการทํางาน พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2527 จํานวนหุน 8. นายกิตชิ ยั สินเจริญกุล ความสัมพันธของผูบ ริหาร คุณวุฒิ ตําแหนงปจจุบนั พ.ศ. 2538 - ปจจุบนั พ.ศ. 2531 - ปจจุบนั ประสบการณการทํางาน พ.ศ. 2527 – พ.ศ. 2530 จํานวนหุน 9. นายประกอบ วิศษิ ฐกจิ การ ความสัมพันธของผูบ ริหาร คุณวุฒิ

ตําแหนงในปจจุบนั พ.ศ. 2551 –ปจจุบนั พ.ศ. 2548 – ปจจุบัน

รายงานประจําป 2550 .

อายุ 54 ป ไมมี Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) ผูก อตัง้ บริษทั สะเดา พี.เอส. รับเบอร จํากัด ผูก อ ตัง้ บริษทั หน่าํ ฮัว่ รับเบอร จํากัด 349,437 หุน อายุ 49 ป บุตรชายนายสมหวัง สินเจริญกุล ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Indiana State University สหรัฐอเมริกา กรรมการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) ผูจ ดั การบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) สาขากรุงเทพ ฝายสินเชือ่ ธนาคารซิตแ้ี บงค 3,499,300 หุน อายุ 68 ป ไมมี ปริญญาตรี(เกียรตินยิ ม) สาขาการเงิน Indiana State University สหรัฐอเมริกา ปริญญาโท สาขาการเงิน Indiana State University สหรัฐอเมริกา ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) กรรมการบริษทั ลีสอิท จํากัด

42


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

พ.ศ. 2536 - ปจจุบัน พ.ศ. 2542 - ปจจุบัน ประสบการณการทํางาน พ.ศ. 2542 – ก.พ. 2551 พ.ศ. 2540 – พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2538 – พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2518 – พ.ศ. 2538 จํานวนหุน 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก ความสัมพันธของผูบ ริหาร คุณวุฒิ ตําแหนงในปจจุบนั พ.ศ. 2542 – ปจจุบนั ปจจุบนั ประสบการณการทํางาน พ.ศ. 2547 – พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2511 พ.ศ. 2508 จํานวนหุน 11. นายสมัชชา โพธิถ์ าวร ความสัมพันธของผูบ ริหาร คุณวุฒิ ตําแหนงในปจจุบนั ก.พ.2551 - ปจจุบนั ประสบการณการทํางาน พ.ศ.2549 – ก.พ.2551

รายงานประจําป 2550 .

กรรมการอิสระ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั ปูนซิเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญ บมจ. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา กรรมการผูจ ดั การ บงล. สหธนกิจไทย ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด 88,600 หุน อายุ 70 ป ไมมี ปริญญาตรี บชบ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กรรมการกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) ผูส อบบัญชีรบั อนุญาต กรรมการตรวจสอบ บริษทั โออิชิ กรุป จํากัด (มหาชน) สรรพากรจังหวัด , สรรพากรพืน้ ที่ , สรรพากรภาค 3 กรมสรรพากร ผูต รวจการตรี สํานักงานสรรพากร จังหวัดภูเก็ต ราชการชัน้ ตรี สํานักงานตรวจเงินแผนดิน - หุน อายุ 65 ป ไมมี เนติบณ ั ฑิตไทย รัฐศาสตรมหาบัณฑิต กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) ผูช ว ยเลขานุการรัฐมนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย 43


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

พ.ศ.2546 – พ.ศ.2547 พ.ศ.2545 – พ.ศ.2546 พ.ศ.2543 – พ.ศ.2545 พ.ศ.2540 – พ.ศ.2543 พ.ศ.2539 – พ.ศ.2540 พ.ศ.2527 – พ.ศ.2539 พ.ศ.2512 – พ.ศ.2526 จํานวนหุน

รายงานประจําป 2550 .

ผูว า ราชการจังหวัดพังงา ทีป่ รึกษากฎหมาย กระทรวงมหาดไทย ผูช ว ยปลัดกระทรวงมหาดไทย / รองผอ.ศูนย อํานวยการจังหวัดชายแดนภาคใต รองผูว า ราชการจังหวัดพัทลุง, ตรัง ปลัดจังหวัด นายอําเภอ ปลัดอําเภอ - หุน

ฝายบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ผูบ ริหารบริษทั ประกอบดวยบุคคลดังตอไปนี้ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล กรรมการผูจ ดั การใหญ 2. นายประสิทธิ์ พาณิชยกลุ กรรมการอํานวยการ-ฝายผลิต 3. นายไชยยศ สินเจริญกุล กรรมการอํานวยการ-ฝายผลิต 4. นายอนันต พฤกษานุศกั ดิ์ กรรมการอํานวยการ-ฝายผลิต 5. นางพรอมสุข สินเจริญกุล กรรมการอํานวยการ-ฝายการเงินและบริหาร 6. นายกิตชิ ยั สินเจริญกุล กรรมการอํานวยการ-สาขากรุงเทพ 7. นายชูสทิ ธิ์ แซหลี ผูจ ดั การฝายการตลาด 8. นายปติ เจนวาณิชย ผูจ ดั การฝายการตลาด 9. นายสมบูรณ พฤกษานุศกั ดิ์ ผูจ ดั การฝายระบบคุณภาพ 10. นายชัยเดช พฤกษานุศกั ดิ์ ผูจ ดั การทัว่ ไปผลิตภัณฑยางแทง 11. นายเฉลิมชัย หนอสกุล ผูจ ดั การโรงงานยางแทง สาขาทุง สง 12. นายเฉลิมภพ แกนจัน ผูจ ดั การฝายผลิตภัณฑนาํ้ ยางขน 13. นางสาวขนิษฐา สีสุข ผูจ ดั การโรงงานยางแทง สาขาสิเกา 14. นายวีระชัย ศรีเรืองรัตน ผูจ ดั การโรงงานน้าํ ยางขน สาขาตรัง 15 .นายบูชา พิพธิ ภัณฑ ผูจ ดั การโรงงานยางแผน สาขาหาดใหญ 16. นายอธิปต ย มะลิสวุ รรณ รักษาการผูจ ดั การโรงงานยางแผน สาขาตรัง 17. นายเอกชัย ชโลธรสุทธิ ผูจ ดั การทัว่ ไป 18. นางอารีรตั น สรอยภูร ะยา ผูจ ดั การฝายบัญชี 19. นางสาวนริศรา สินเจริญกุล ผูจ ดั การฝายการเงิน โดยมีพนักงานทัง้ สิน้ 669 คน และลูกจางรายวัน 2,830 คน

44


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนทีเ่ ปนตัวเงิน  คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (ก) คาตอบแทนกรรมการจํานวน 8 ทาน เปนเงินรวม 1,728,000.- บาท เปนผลประโยชนตอบแทนประเภท เงินบําเหน็จ (ข) คาตอบแทนกรรมการตรวจสอบจํานวน 3 ทานเปนเงินรวม 1,200,000.- บาท เปนผลประโยชนตอบแทน ประเภทเงินบําเหน็จ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ชื่อ นายสมหวัง สินเจริญกุล นายประสิทธิ์ พาณิชยกลุ นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล นายไชยยศ สินเจริญกุล นายพวง เชิดเกียรติกาํ จาย นางพรอมสุข สินเจริญกุล นายอนันต พฤกษานุศกั ดิ์ นายกิติชัย สินเจริญกุล

9. นายสุกจิ

อัถโถปกรณ *

10. นายประกอบ วิศษิ ฐกจิ การ 11. นายเกรียง ยรรยงดิลก

ตําแหนง ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการผูจ ดั การใหญ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระและ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

คาบําเหน็จที่จายในป 2550 216,000 บาท 216,000 บาท 216,000 บาท 216,000 บาท 216,000 บาท 216,000 บาท 216,000 บาท 216,000 บาท 480,000 บาท 360,000 บาท 360,000 บาท

* นายสุกจิ อัถโถปกรณ ไดลาออกจากประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ เมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2550 (ค)

คาตอบแทนรวมของผูบ ริหารจํานวน 6 ทาน เปนเงินรวม 29,331,680.- บาท เปนผลประโยชนตอบแทน ประเภทเงินเดือนและโบนัส  คาตอบแทนอืน่ - ไมมี – คาตอบแทนของผูส อบบัญชี (1) คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) บริษทั และบริษทั ยอยจายคาตอบแทนการสอบบัญชีไดแก - ผูส อบบัญชีของบริษทั ในรอบปบญ ั ชีทผ่ี า นมามีจาํ นวนเงินรวม 1,780,000.- บาท - สํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสงั กัด บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกับผูส อบบัญชีและสํานักงานสอบ บัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัด ในรอบปบัญชี - ไมมี (2) คาบริการอืน่ (Non Audit Fee) - ไมมี – 45


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายในและหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี  การดูแลเรือ่ งการใชขอ มูลภายใน บริษัทฯ ในฐานะเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ไดยดึ ถือนโยบายสําคัญใน การดําเนินการเพือ่ กอใหเกิดความเสมอภาคและความยุตธิ รรมตอผูถ อื หุน ทุกรายอยางเทาเทียมกัน โดยใหบุคลากรทุก ระดับยึดถือปฏิบัติอยางเครงครัด ตามประกาศนโยบายการกํากับดูแลการใชขอมูลภายใน ซึ่งไดประกาศใชตั้งแต วันที่ 28 กันยายน 2550 ดังนี้ 1. การใชขอ มูลภายในเพือ่ การซือ้ ขายหลักทรัพย คณะกรรมการบริษทั และฝายบริหาร รวมถึงคูส มรสและบุตรทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะ มีหนาทีต่ อ งรายงาน การถือหลักทรัพยของตน ใหเปนไปตามกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) หามมิใหกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และลูกจางของบริษทั ใชขอ มูลภายในของบริษทั ทีม่ หี รืออาจมี ผลกระทบตอการเปลีย่ นแปลงราคาของหลักทรัพยของบริษทั ซึง่ ยังมิไดเปดเผยตอสาธารณชน ซึง่ ตนไดลว งรูม าใน ตําแหนงหรือฐานะเชนนัน้ มาใชเพือ่ การซือ้ หรือขายหรือเสนอซือ้ หรือเสนอขาย หรือชักชวนใหบคุ คลอืน่ ซือ้ หรือขาย หรือเสนอซือ้ หรือเสนอขายซึง่ หุน หรือหลักทรัพยอน่ื (ถามี) ของบริษทั ฯ ไมวา ทัง้ ทางตรงหรือทางออม ในประการที่ นาจะเกิดความเสียหายแกบริษทั ไมวา ทัง้ ทางตรงหรือทางออม และไมวา การกระทําดังกลาวจะทําเพือ่ ประโยชนตอ ตนเองหรือผูอ น่ื หรือนําขอเท็จจริงเชนนัน้ ออกเปดเผยเพือ่ ใหผอู น่ื กระทําดังกลาว โดยตนไดรบั ผลประโยชนตอบ แทนหรือไมกต็ าม คณะกรรมการและผูบ ริหารตามทีค่ ณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) กําหนดมี หนาทีต่ อ งรายงานการถือครองหลักทรัพยของตนใหเปนไปตามกฎระเบียบของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) 2. การใหขอ มูลขาวสาร บริษทั ฯ มีนโยบายในการเปดเผยสารสนเทศทีส่ าํ คัญตอสาธารณชน ดังนี้ 2.1 กรรมการผูบ ริหาร และพนักงานทุกคน มีหนาทีร่ กั ษาความลับของบริษทั ฯ โดยดูแลและ ระมัดระวังมิใหเอกสารหรือขาวสารอันเปนความลับของบริษทั ฯ รัว่ ไหล หรือตกไปถึงผูท ไ่ี มเกีย่ วของอันอาจเปนเหตุ ใหเกิดความเสียหายแกบริษทั ฯ รวมทัง้ การไมใหเอกสารหรือขาวสารของบริษทั ฯ ทีไ่ มพงึ เปดเผยแกบคุ คลภายนอก เวนแตไดรบั อนุญาตจากบริษทั ฯ กอน ขอมูลทีต่ อ งทําการแลกเปลีย่ นกันกับคูค า ระหวางดําเนินการทางธุรกิจตามปกติ จะไมถอื เปนขอมูลทีเ่ ปนความลับ ในกรณีทม่ี ขี อ สงสัยหรือไมแนใจวาจะเปนขอมูลทีเ่ ปนความลับหรือไมนน้ั ควร ทําการปรึกษาผูบ งั คับบัญชากอนทุกครัง้

46


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

2.2 บริษทั ฯ จะเปดเผยขอมูลทีส่ าํ คัญตอสาธารณชนอยางถูกตองโปรงใส ทันเวลาและเทาเทียมกัน 2.3 การเปดเผยขอมูล หรือใหขา วสารของบริษทั แกสาธารณชนตองไดรบั ความเห็นชอบจากกรรมการ ผูจ ดั การใหญ หรือผูท ก่ี รรมการผูจ ดั การใหญมอบหมาย ผูบ ริหารหรือพนักงานทีพ่ น จากตําแหนงหนาทีแ่ ละความ รับผิดชอบตอบริษทั ฯ จะตองไมเปดเผยขอมูลภายในซึง่ เปนความลับทางธุรกิจตอบุคคลภายนอก และไมแสวงหา ประโยชนใหตนเองและบุคคลทีเ่ กีย่ วของโดยใชขอ มูลใดๆ ขององคกรซึง่ ยังไมไดเปดเผยตอสาธารณะ  หลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ฯ กําหนดแนวทางการกํากับดูแลกิจการ ซึง่ เปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการ 5 หมวด ดังนี้ 1. สิทธิของผูถ อื หุน บริษทั ฯ ตระหนักเสมอวา สิง่ ทีจ่ ะทําใหผถู อื หุน ไววางใจและมัน่ ใจในการลงทุนกับธุรกิจของบริษทั คือการมี นโยบายหรือการดําเนินการทีร่ กั ษาสิทธิพน้ื ฐานทีผ่ ถู อื หุน พึงไดรบั และความเทาเทียมกันของผูถ อื หุน ทุกรายอยาง เปนธรรมตามทีก่ ฎหมายกําหนด และสงเสริมใหผถู อื หุน ใชสทิ ธิพน้ื ฐานตามกฎหมาย เชน (1) สิทธิในการรับสวนแบงกําไรในรูปเงินปนผล บริษทั และบริษทั ยอย บริษทั รวม มีนโยบายการจายเงินปน ผลอยาง Conservative โดยคํานึงถึงสถานะทางการเงิน กระแสเงินสดของบริษทั แนวโนมการจายเงินปนผลจาก บริษทั ยอยและบริษทั รวมดังกลาว รวมถึงการคาดการณความจําเปนของเงินทุนทีจ่ ะรองรับการเติบโตของบริษทั ใน อนาคตขางหนา และผลกระทบของปจจัยภายนอก สถานการณภาวะเศรษฐกิจทีบ่ ริษทั คาดวาจะมีผลกระทบตอการ ดําเนินงานของบริษทั ดังนัน้ เพือ่ ใหการดําเนินงานเปนไปอยางมีเสถียรภาพ นโยบายการจายเงินปนผลจึงอยูใ นระดับ มากกวาหรือ เทากับรอยละ 30 ของกําไรสุทธิ ตามวิธกี ารบันทึกบัญชีสว นไดเสีย เชน ป 2550 บริษทั ฯจายเงินปนผล ใหกบั ผูถ อื หุน ในอัตราหุน ละ 1 บาท ซึง่ คิดเปนรอยละ 185 ของกําไรสุทธิ (2) สิทธิในการเขารวมประชุมผูถือหุน บริษัทฯ ไดใหความสําคัญกับกรณีที่ผูถือหุนจะไดรับสารสนเทศ อย า งเพียงพอในการตัดสินใจโดยขอมูลขาวสารที่ไดรับจะมีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส เทาเทียมกัน เพื่อ ประกอบการตัดสินใจในการประชุมผูถ อื หุน รวมถึงการออกเสียงลงคะแนนและแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมผูถือ หุน การใชสทิ ธิรว มตัดสินใจในการเปลีย่ นแปลงทีส่ าํ คัญตาง ๆ รวมทัง้ การเลือกตัง้ คณะกรรมการบริษทั ฯ (3) สิทธิในการลงคะแนนในวาระการประชุมผูถ อื หุน บริษัทฯ จัดสงหนังสือเชิญประชุมผูถ อื หุน และเอกสาร ประกอบใหแกผถู อื หุน เปนการลวงหนาอยางเพียงพอ ครบถวน โดยหนังสือเชิญประชุมมีรายละเอียดระเบียบวาระ การประชุม เอกสารประกอบระเบียบวาระตางๆ พรอมความเห็นของคณะกรรมการบริษัท หนังสือมอบฉันทะทุก แบบตามที่กระทรวงพาณิชยกําหนด และรายชื่อของกรรมการอิสระทั้งหมด เพื่อใหผูถือหุนสามารถเลือกที่จะมอบ ฉันทะใหเขาประชุมแทนได รวมทั้งแผนที่แสดงสถานที่ประชุม ซึ่งในหนังสือเชิญประชุม จะแจงรายละเอียดของ

47


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

เอกสารที่ผูถือหุนจะตองนํามาแสดงในวันประชุมดวย เพื่อรักษาสิทธิในการเขาประชุม รวมถึงขอบังคับบริษัท เกี่ยวกับการประชุมผูถือหุน และการออกเสียงลงคะแนน นอกจากนี้ ผูถือหุนยังสามารถเขาดูขอมูลตางๆ เกี่ยวกับ ระเบียบวาระการประชุมของแตละครัง้ ไดทางเว็บไซตของบริษทั www.sritranggroup.com เพื่อเปนอีกชองทางหนึ่งที่ ใหนกั ลงทุนไดรบั ทราบขอมูลอยางทัว่ ถึง (4) ผูถ อื หุน ไดรบั โอกาสทีเ่ ทาเทียมกันในการแสดงความเห็นและตัง้ คําถามใดๆ ตอทีป่ ระชุม ตามระเบียบ วาระการประชุมและเรือ่ งทีเ่ สนอประธานทีป่ ระชุมควรจัดสรรเวลาใหอยางเหมาะสม และสงเสริมใหมกี ารแสดง ความเห็นและซักถามในทีป่ ระชุม 2. การปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน อยางเทาเทียมกัน (1) ดําเนินการประชุมผูถ อื หุน ตามลําดับระเบียบวาระทีไ่ ดแจงไวในหนังสือเชิญประชุม และมีนโยบายที่ จะไมเพิม่ ระเบียบวาระในทีป่ ระชุมโดยไมแจงใหผถู อื หุน ทราบลวงหนา โดยบริษทั ฯ ไดจดั สงหนังสือนัดประชุม พรอมเอกสาร ขอมูลประกอบการประชุมทีม่ รี ายละเอียดครบถวนเพียงพอ พรอมทัง้ ไดนาํ เสนอผานเว็บไซตของ บริษทั ดวย (www.sritranggroup.com) เพือ่ เปดโอกาสใหผถู อื หุน มีเวลาศึกษาขอมูลดังกลาวไดอยางละเอียด นอกจากนัน้ มีการลงประกาศเชิญประชุมในหนังสือพิมพรายวัน ติดตอกันไมนอ ยกวา 3 วัน และกอนวันประชุมไม นอยกวา 3 วัน เพือ่ บอกกลาวเรียกประชุมผูถ อื หุน เปนการลวงหนาเพียงพอสําหรับการเตรียมตัวกอนมาเขารวม กอน เริม่ การประชุมทุกครัง้ ประธานกรรมการจะชีแ้ จงวิธกี ารลงคะแนนและนับคะแนนตามทีร่ ะบุไวอยางชัดเจน ใน ระหวางการประชุม ประธานในทีป่ ระชุมไดเปดโอกาสใหผถู อื หุน สอบถามและแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ ตางๆ อยางเทาเทียมกัน และไดตอบคําถามรวมทัง้ ใหขอ มูลตางๆ ตามทีผ่ ถู อื หุน รองขออยางครบถวน และหลังจากวัน ประชุม บริษทั ฯ ไดจดั สงรายงานการประชุมตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด (2) สงเสริมใหผถู อื หุน ใชบตั รลงคะแนนเสียงสําหรับทุกระเบียบวาระ ซึง่ จะทําการเก็บบัตรลงคะแนน ดังกลาวในหองประชุม เพือ่ นําผลคะแนนมารวม กอนทําการประกาศแจงมติของคะแนนเสียงในหองประชุม และเพือ่ ความโปรงใส บริษัทฯ จะจัดเก็บบัตรลงคะแนนทีม่ กี ารลงชือ่ ของผูถ อื หุน หรือผูร บั มอบอํานาจไว เพือ่ การตรวจสอบ ไดในภายหลัง (3) บันทึกรายงานการประชุมอยางถูกตอง ครบถวน และจัดสงรายงานตอตลาดหลักทรัพย ฯ และ ก.ล.ต. ภายใน 14 วันหลังการประชุมเสร็จสิน้ และไดทาํ การเผยแพรรายงานดังกลาวไวบนเว็บไซตของ บริษทั ฯ www.sritranggroup.com (4) นโยบายการกํากับดูแลการใชขอ มูลภายใน มีการกําหนดใหใหบคุ ลากรทุกระดับยึดถือปฏิบตั อิ ยาง เครงครัด ดังกลาวไวในหัวขอการดูแลเรือ่ งการใชขอ มูลภายใน หนา 46

48


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

(5) เปดเผยโครงสรางการถือหุน ในบริษทั ยอยและบริษทั รวมอยางชัดเจน เพือ่ ใหผถู อื หุน มัน่ ใจวามี โครงสรางการดําเนินงานทีม่ คี วามโปรงใสและตรวจสอบได ดังกลาวไวในหัวขอลักษณะการถือหุน ในกลุม บริษทั หนา 15 (6) บริษทั ฯ ยังใหความสําคัญในการเปดเผยขอมูลขาวสารอืน่ ๆ อยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลาและ โปรงใสแกผถู อื หุน โดยมีการเปดเผยขอมูลขาวสารทีม่ สี าระสําคัญอยางสม่าํ เสมอ (7) จัดใหมีชองทางที่ผูถือหุน รายยอยสามารถติดตอขอขอมูลไดโดยตรงทาง E-mail Address ของ กรรมการอิสระในเรื่องตางๆ ไดแก กิจกรรมของกรรมการ การกํากับดูแลกิจการ และการตรวจสอบ เปนตน นอกจากนี้ ผูถือหุน รายยอยยังสามารถติดตอขอขอมูลไดโดยตรงจากเลขานุการบริษัท หรือหนวยงานนักลงทุน สัมพันธ 3. บทบาทของผูม สี ว นไดเสีย การเติบโตของบริษทั ฯ มาจนถึงสถานะในปจจุบนั เกิดจากความรวมมือสนับสนุนของทุกฝายทีเ่ กีย่ วของ ดวยดีเสมอ บริษทั ฯ รับรูแ ละใหความสําคัญตอสิทธิของผูม สี ว นไดเสียทุกกลุม ไมวา จะเปนผูม สี ว นไดเสียภายในซึง่ ไดแก บุคลากร พนักงานและผูบ ริหารของบริษทั ฯ และบริษทั ยอย หรือผูม สี ว นไดเสียภายนอก ซึง่ ไดแก ผูร ว มคาทัง้ ในรูปของผูท เ่ี กีย่ วของทางดานวัตถุดบิ จนถึงกลุม ลูกคาเมือ่ ผลิตเปนสินคาสําเร็จรูป สถาบันการเงินตางๆ ทีใ่ หความ สนับสนุน ตลอดจนถึงหนวยงานของรัฐบาลทีม่ กี ารติดตอประสานงานอยางใกลชดิ และในทายทีส่ ดุ คือ ผูถ อื หุน ของ บริษทั ฯ ทั้งนีบ้ ริษทั ฯ มีความตระหนักดีทจ่ี ะตองรับผิดชอบตอผูม สี ว นไดเสียทีก่ ลาวมา โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ผูถ อื หุน : บริษทั ฯ จะมุง มัน่ เปนตัวแทนของผูถ อื หุน ในการดําเนินธุรกิจอยางโปรงใส มีระบบบัญชี และการเงินทีม่ ี ความเชือ่ ถือได สรางความพึงพอใจสูงสุดใหกบั ผูถ อื หุน โดยคํานึงถึงการเจริญเติบโตของบริษทั ฯ ในระยะ ยาว และผลตอบแทนในระดับทีเ่ หมาะสมอยางตอเนือ่ ง พนักงาน : บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ อ พนักงานอยางเทาเทียมกัน เปนธรรม จัดใหมสี ภาพแวดลอมกับการทํางานทีด่ ี ปลอดภัย และใหผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม พรอมทัง้ สงเสริมใหพนักงานมีโอกาสพัฒนาความรู ความสามารถ และ ประสบการณ เพือ่ ความกาวหนาในการทํางาน ลูกคา : บริษทั ฯ ใสใจและรับผิดชอบตอลูกคา ผลิตสินคาทีม่ คี ณ ุ ภาพและมีมาตรฐาน สงมอบสินคาตาม กําหนดเวลา เพือ่ สรางความพึงพอใจใหแกลกู คา คูคา: บริษทั ฯ ซือ้ สินคาและบริการจากคูค า ตามเงือ่ นไขทางการคา และปฏิบตั ติ ามสัญญาขอตกลงตอคูค า เสมอ โดยปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกติกาตาง ๆ อยางเครงครัดและมีจรรยาบรรณทีด่ ที างธุรกิจในการแขงขันทาง ธุรกิจ

49


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

หนวยราชการและองคกรทีเ่ กีย่ วของ: บริษทั ฯ ถือปฏิบตั อิ ยางเครงครัดตอกฎหมายทีเ่ กีย่ วของในดานตางๆ ทัง้ สิง่ แวดลอม ความปลอดภัย แรงงาน การจัดการดานภาษีอากรและบัญชี ฯลฯ รวมทัง้ ประกาศตางๆ ของทางราชการทีเ่ กีย่ วของกับการดําเนิน ธุรกิจของบริษทั ฯ สังคมและสิง่ แวดลอม: บริษทั ฯ มีความรับผิดชอบตอสังคม โดยสนับสนุนกิจกรรมชุมชนโดยรอบโรงงาน จัดใหมกี ารดูแลดาน ความปลอดภัย และสิง่ แวดลอมอยางมีประสิทธิภาพทีส่ ดุ พรอมกันนี้คณะกรรมการบริษัทฯ ไดกํากับดูแลใหมีระบบการบริหารจัดการที่สามารถเชื่อมั่นไดวา บริษัทฯ ตองไมทําผิดกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ของหนวยงานที่กํากับดูแล และปฏิบัติตอผูมีสวนเกี่ยวของทุกกลุมดวย ความเปนธรรมอยางเครงครัด

4.การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 1. คณะกรรมการ มีบทบาทและหนาทีใ่ นการเปดเผยขอมูลสําคัญทีเ่ กีย่ วของกับบริษทั ทัง้ ขอมูลทางการเงิน และขอมูลทีม่ ใิ ชขอ มูลทางการเงิน อยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลา โปรงใส ผานชองทางทีเ่ ขาถึงขอมูลไดงา ย มีความ เทาเทียมกันและนาเชือ่ ถือ เพือ่ ใหผมู สี ว นไดเสียตาง ๆ ไดรบั ขอมูลไดอยางเทาเทียมกัน ตามขอกําหนดของหนวยงาน กํากับตาง ๆ 2. คณะกรรมการ ไดจดั ตัง้ หนวยงานประชาสัมพันธ ทีท่ าํ หนาทีส่ อ่ื สารกับผูล งทุนและบุคคลภายนอก ผูท ่ี เกีย่ วของ โดยมีหนวยงานนักลงทุนสัมพันธทาํ หนาทีเ่ ปนสือ่ กลาง การสือ่ สารระหวางผูถ อื หุน ผูม สี ว นไดเสีย นัก ลงทุน นักวิเคราะห 3. คณะกรรมการ สงเสริมใหมกี ารจัดทําขอมูลสารสนเทศ ดวยความถูกตอง ชัดเจน เชือ่ ถือได ทันเวลา และ เปดเผยโดยสม่าํ เสมอ ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยผานชองทางการสือ่ สารทัง้ ตลาดหลักทรัพย และ เว็บไซต ของบริษทั ฯ 4. คณะกรรมการ มีหนาทีร่ ายงาน นโยบายการกํากับดูแลกิจการ ผานรายงานประจําป และ เว็บไซต 5. คณะกรรมการ มีหนาทีเ่ ปดเผยขอมูลการเขารวมประชุมของกรรมการ และกรรมการตรวจสอบ 6. คณะกรรมการ มีหนาทีค่ วามรับผิดชอบใหมกี ารจัดทําบัญชีงบดุล งบกําไรขาดทุน และรายงานการ ตรวจสอบบัญชีของผูส อบบัญชี พรอมทัง้ รายงานประจําป และรายงานอืน่ ๆทีเ่ กีย่ วของ ตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 7. คณะกรรมการ มีหนาทีร่ ายงานถึงปจจัยความเสีย่ ง ลักษณะของความเสีย่ ง สาเหตุและผลกระทบ ตอการ ดําเนินการธุรกิจของบริษทั ผานรายงานประจําป คณะกรรมการดูแลใหบริษทั ฯ มีการเปดเผยขอมูลสําคัญ มีความถูกตอง ชัดเจน เชือ่ ถือได ทันเวลา และ เปนไปตามกฎเกณฑทส่ี าํ นักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย ฯ กําหนด และมีการเปดเผยขอมูลดังกลาว ในแบบ แสดงรายงานขอมูลประจําป (56-1) และรายงานประจําป (56-2) เพือ่ ใหผถู อื หุน ไดรบั สารสนเทศอยางเทาเทียมกัน 50


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

และไดจดั ใหมหี นวยงานนักลงทุนสัมพันธ เพือ่ เปนตัวแทนในการสือ่ สารกับนักลงทุน ผูถ อื หุน นักวิเคราะห หลักทรัพย และหนวยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ มีการปรับปรุงเว็บไซต ใหเปนปจจุบันอยูเสมอ โดยนําขอมูลที่ควรเปดเผยใหผูถือหุนไดรับทราบผานทาง เว็บไซต ซึ่งสามารถติดตอกับสวนนักลงทุนสัมพันธ สํานักงานสาขากรุงเทพฯ ตามหมายเลข โทรศัพท 0-22592964-71 ตอ 25 - 27 โทรสาร 0-2259-2958 หรือที่ เว็บไซต www.sritranggroup.com 5.ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บทบาทและหนาทีข่ องคณะกรรมการ  คณะกรรมการ มีหนาทีค่ วามรับผิดชอบในการพิจารณาและใหความเห็นชอบในเรือ่ งทีส่ าํ คัญเกีย่ วกับการ ดําเนินงานของบริษทั และใหความสําคัญกับการกําหนดแนวนโยบาย กลยุทธ เปาหมายทางการเงิน  คณะกรรมการ มีหนาทีจ่ ดั ใหมกี ารบันทึกบัญชี การรายงานทางการเงิน การสอบบัญชี ทีน่ า เชือ่ ถือ  คณะกรรมการ มีหนาทีด่ แู ลใหมกี ระบวนการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการ ตรวจสอบภายในทีด่ ี  คณะกรรมการ มีหนาทีพ่ จิ ารณาถึงปจจัยเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ รวมถึงกําหนดแนวทางการบริหารความเสีย่ ง อยางครอบคลุม  คณะกรรมการ มีหนาทีพ่ จิ ารณาและแกไขปญหาเรือ่ งความขัดแยงของผลประโยชนทอ่ี าจจะเกิดขึน้ รวมถึง รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน เพือ่ ประโยชนของบริษทั และผูม สี ว นไดเสียทุกฝาย การจัดตัง้ คณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการ มีหนาทีพ่ จิ ารณาและใหความเห็นชอบในเรือ่ งทีส่ าํ คัญเกีย่ วกับการดําเนินงาน อยางรอบคอบ และมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ คณะกรรมการ จึงพิจารณาตัง้ คณะกรรมการเฉพาะเรือ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบ โดยแตงตัง้ จากกรรมการอิสระ อยางนอย 3 ทาน โดยอยางนอย 1 ทานตองมีความรู ดานบัญชีการเงิน และตองมีคณ ุ สมบัตเิ กีย่ วกับความเปนอิสระตามประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และตามนิยามกรรมการอิสระทีก่ าํ หนดสําหรับบริษทั โดยเฉพาะเพือ่ ทําหนาทีต่ รวจสอบ ระบบการควบคุมภายใน ระบบรายงานทางการเงิน การกํากับดูแลกิจการและ การบริหารจัดการความเสีย่ ง รวมถึงการพิจารณาคัดเลือกและ แตงตัง้ ผูส อบบัญชี ความเปนอิสระของคณะกรรมการ คณะกรรมการ ไดกาํ หนดคุณสมบัตคิ วามเปนอิสระ ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย และหนวยงานกํากับดูแลอืน่ เพือ่ ใหกรรมการอิสระสามารถดูแลผลประโยชนของผูถ อื หุน และ ผูม สี ว นไดเสีย ไดอยางเปนอิสระ

51


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนของกรรมการ จะอยูใ นระดับทีป่ ฏิบตั ใิ นอุตสาหกรรม ประสบการณ ภาระหนาที่ ขอบเขตบทบาท หนาที่ และอยูใ นระดับทีส่ ามารถเทียบเคียงไดในอุตสาหกรรมเดียวกัน การดํารงตําแหนงของกรรมการ คณะกรรมการ กําหนดนโยบายการดํารงตําแหนงของกรรมการบริษทั ฯ ใหดาํ รงตําแหนงกรรมการในบริษทั จดทะเบียนไมเกิน 5 บริษัท การพัฒนากรรมการและผูบ ริหาร คณะกรรมการ จะสงเสริมและอํานวยความสะดวกใหมกี ารฝกอบรมใหความรูเ กีย่ วกับการกํากับดูแลกิจการที่ ดี คณะกรรมการ จะไดรบั การพัฒนาความรู จากหนวยงานกํากับดูแลอยางสม่าํ เสมอ และตอเนือ่ ง

52


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

การควบคุมภายใน บริษทั ฯ ใหความสําคัญตอระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง และการกํากับดูแลผลการ ดําเนินงานของบริษทั ฯ ซึง่ เปนกระบวนการปฏิบตั งิ านทีป่ ฏิบตั เิ ปนขัน้ ตอนอยางตอเนือ่ งของเจาหนาทีท่ กุ คนของ บริษทั ตัง้ แตคณะกรรมการบริหาร และพนักงานทุกคน ทีม่ บี ทบาท และความรับผิดชอบรวมกัน โดยจัดใหมรี ะบบ การควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสม เพือ่ ใหมน่ั ใจอยางสมเหตุผลวาผลการดําเนินงานทุกหนวยงานภายในกลุม บริษทั ศรีตรังฯมีความสอดคลองและสามารถบรรลุเปาหมายตามทีค่ ณะกรรมการบริหาร ไดกาํ หนดไว โดยจัดใหมี หนวยงานตรวจสอบภายใน ซึง่ เปนหนวยงานอิสระทีร่ ายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริหาร ซึง่ หนวยงานตรวจสอบภายในจะทําหนาทีต่ รวจประเมินการควบคุมภายในตามแผนการตรวจสอบประจําป โดยพิจารณาจากปจจัยเสีย่ งทีเ่ กีย่ วของ ซึง่ ผานการอนุมตั จิ ากคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทัง้ สนับสนุนใหเกิดระบบ การบริหารความเสีย่ ง และการใหคาํ แนะนําทางดานตางๆ เพือ่ ใหเชือ่ มัน่ ไดวา การปฏิบตั งิ านของบริษทั บรรลุผล สําเร็จตามวัตถุประสงคทก่ี าํ หนดไว โดยหนวยงานตรวจสอบภายในไดยดึ ถือมาตรฐานการปฏิบตั งิ านตามวิชาชีพการ ตรวจสอบภายใน (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing) เปนกรอบหรือแนวทางในการ ปฏิบัติงาน ที่มุงเนนใหมกี ารปฏิบตั งิ านมีความเปนอิสระ เทีย่ งธรรม และสอดคลองกับมาตรฐานสากล และให ความสําคัญตอคุณภาพงานตรวจสอบ โดยเนนการพัฒนาฝกอบรมเจาหนาทีต่ รวจสอบภายในอยางตอเนือ่ ง ซึง่ ไดจดั ใหมกี ารแผนการฝกอบรมทีเ่ หมาะสมเปนรายบุคคล นอกจากนีผ้ สู อบบัญชีอสิ ระ ซึง่ เปนผูร บั รองงบการเงินประจําป 2550 ของบริษทั ฯ ไดใหความเห็นวา ไมพบขอบกพรองทีม่ สี าระสําคัญเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในทางดานการ บัญชีและการเงินของบริษทั ฯ สรุปสาระสําคัญของระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในของบริษทั ฯ ไดดงั นี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ทําหนาทีพ่ จิ ารณาความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ โดย ทบทวนผลการปฏิบตั งิ านของสํานักงานการตรวจสอบภายใน และผูส อบบัญชีอสิ ระของบริษทั ฯ อยางตอเนือ่ ง เนน การพิจารณาความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน การควบคุมการปฏิบตั งิ านตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และนโยบายตางๆ ทีเ่ กีย่ วของ หากคณะกรรมการตรวจสอบมีขอ เสนอแนะ หรือพบขอบกพรองที่ เปนสาระสําคัญ จะรายงานตอคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ใหมกี ารปรับปรุงแกไขตอไป หนวยงานการตรวจสอบภายใน ทําหนาทีต่ รวจสอบการปฏิบตั งิ านของหนวยงานตางๆของกลุม บริษทั ศรีตรังฯ ตามแผนการตรวจสอบประจําป และตามทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริหาร หรือ คณะกรรมการ ตรวจสอบ โดยใชหลักเกณฑการพิจารณาความสําคัญตามความเสีย่ งของกระบวนการทางธุรกิจหรือกระบวนการ ทํางาน รวมทัง้ การใหคาํ ปรึกษาแนะนําแกฝา ยบริหารของแตละหนวยงานในการปรับปรุงการควบคุมภายใน ซึง่ รวมถึงระเบียบวิธปี ฏิบตั ิ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินงานของกลุม บริษทั ศรีตรังฯ ระบบการควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝายบริหาร คณะกรรมการบริษทั ฯ กําหนดเปาหมายการดําเนินธุรกิจ ประจําปของบริษทั ฯ โดยไดมกี ารกําหนดพันธกิจทีช่ ดั เจน เพือ่ ใหมกี ารจัดทําแผนดําเนินงานในแตละหนวยงานให สอดคลองเปนแนวทางเดียวกัน และใหมกี ารกําหนดตัวชีว้ ดั ผลการดําเนินงาน ทัง้ ทางดานกําไรขาดทุน ทางการเงิน ผลการปฏิบตั งิ าน ความพึงพอใจของลูกคา เปนตน โดยมีการกํากับดูแล และติดตามอยางตอเนือ่ งเปนประจําทุกเดือน 53


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

การประเมินความเสีย่ ง บริษทั ฯ คํานึงถึงความเปลีย่ นแปลงของสภาวะแวดลอมทัง้ ภายนอกและภายใน ที่ กอใหเกิดความเสีย่ งและมีผลกระทบตอบริษทั ฯ ดังนัน้ จึงมีการประเมินและติดตามความเสีย่ งตลอดเวลาในการ ปฏิบตั งิ าน โดยแตละหนวยงานจะบริหารงานโดยนําความเสีย่ งมาประเมิน และทําการแกไขในระดับการทํางานปกติ อีกทัง้ ไดกาํ หนดใหมกี ารประชุมหารือกันในระดับบริหารเพือ่ ประเมินสถานการณ และกําหนดกลยุทธในการ ดําเนินงานเพือ่ รองรับความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ เปนประจําทุกเดือน การควบคุม บริษทั ฯ มีการกําหนดมาตรการ และแนวทางการปฏิบตั ไิ วอยางชัดเจน โดย กําหนดเปนคําสัง่ ระเบียบในการปฏิบตั ิ อํานาจการอนุมตั ิ และวิธกี ารปฏิบตั งิ าน เพือ่ ใหผบู ริหารและพนักงานทุกระดับตองปฏิบตั ติ าม เปนแนวทางเดียวกัน สารสนเทศและการสือ่ สารขอมูล บริษทั ฯ มีการจัดระบบสารสนเทศทีเ่ หมาะสมทัง้ ใน Internet Website และ Intranet Website ของบริษทั ฯ โดย Internet Website เพือ่ ใหผถู อื หุน นักลงทุน และบุคคลทัว่ ไป ไดสามารถรับ ขอมูลทีส่ าํ คัญเกีย่ วกับบริษทั ฯ อยางสม่าํ เสมออีกทัง้ ยังเปนอีกชองทางหนึง่ ในการติดตอสือ่ สารในกรณีทม่ี ขี อ สงสัย หรือขอเสนอแนะจากผูถ อื หุน นักลงทุน หรือบุคคลทัว่ ไป สวนระบบ Intranet Website เปนระบบเพือ่ ใชในการ สือ่ สารภายในกลุม บริษทั ฯ ซึง่ ทําใหการติดตอสือ่ สารเปนไปอยางถูกตอง รวดเร็วและทัว่ ถึง รวมทัง้ ยังใชเปนแหลง เผยแพร หรือแลกเปลีย่ นความรูท ม่ี ผี ลตอการเพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอการดําเนินงานของกลุม บริษทั ฯอีก ดวย การติดตามและประเมินผล บริษทั ฯ จัดใหมกี ารรายงานผลการดําเนินงานเปนประจําทุกเดือน เพือ่ เปนการ ติดตามเปาหมาย และมีการประเมินการควบคุมภายใน และมีการตรวจสอบการปฏิบตั งิ านของหนวยงานตางๆ โดย หนวยงานตรวจสอบภายใน ซึง่ จะรายงานตอคณะกรรมการบริษทั เมือ่ การตรวจสอบเสร็จสิน้ และรายงานตอ คณะกรรมการตรวจสอบเปนประจําทุกไตรมาส

54


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

รายการระหวางกัน บริษทั ฯ มีรายการระหวางกันกับบริษทั ยอยและบริษทั รวม ตามรายละเอียดทีไ่ ดเปดเผย ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินขอ 4 รายการธุรกิจกับกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน บริษัทฯ และผูบริหารของบริษัท ฯ ไดรวมถือหุนและเปนกรรมการในบริษัท บริษัทยอยและบริษัทรวม ตามรายละเอียดลักษณะธุรกิจและการถือหุน ในกลุม บริษทั หนา 15 ในป 2549 บริษัทฯไดเขาซื้อหุนสามัญของบริษัท ยอยจํานวน 7 บริษทั จากผูถ อื หุน รายอืน่ ทําใหถอื หุน รอยละ 99.9 เนื่องจากเห็นประโยชนที่จะเกิดแกบริษัทโดยรวม ในสวนของกําลังการผลิตของสวนยางแผน ยางแทงและน้ํายางขนไดเพิ่มขึ้นจากบริษัทยอย การวางแผนหรือการ ดําเนินนโยบายตางๆ ของบริษทั ยอยและกลุม ทําไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ลักษณะโครงสรางใหมของกลุม บริษัทฯ สามารถลดความซ้ําซอนของโครงสรางการถือหุน และเปนการปองกันและลดปญหาเกี่ยวกับการกําหนด ราคาซือ้ ขายระหวางบริษทั ในเครือทีไ่ มเหมาะสม สอดคลองกับหลักการของการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี (บรรษัทภิบาล) เปนการเพิ่มความชัดเจน และความโปรงใสในดานการบริหารงาน) ทั้งนี้เพื่อเสริมสรางความเชื่อมั่นตอผูถือหุน ผู ลงทุน และผูท เ่ี กีย่ วของทุกฝาย นอกจากนี้ยังจะทําใหความสามารถในการหาแหลงเงินทุนใหมๆ เปนไปไดดียิ่งขึ้น เปนการสนับสนุนการขยายกิจการของกลุมบริษัทฯ ที่สอดคลองกับการขยายตัวของอุตสาหกรรมยางในเศรษฐกิจ โลกทีม่ กี ารเติบโตในระดับทีด่ มี ากเมือ่ เปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมอืน่ อีกหลายชนิด เหตุผลและความจําเปนของรายการระหวางกัน การซื้อขายสินคาและบริการระหวางกัน ไดดําเนินการภายใตพื้นฐานการคาปกติทั่วไปที่ยึดผล ประโยชน ของแตละหนวยองคกรเปนสูงสุด บริษัทมีนโยบายการกําหนดราคาซื้อขายในราคาตลาดเชนเดียวกับที่ซื้อขายกับ บุคคลภายนอก บริษทั สามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพในดานการควบคุมคุณภาพของวัตถุดบิ หรือผลผลิต ทีจ่ ะจําหนาย หรือสงตอสายการผลิตของตน อีกทั้งลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตรของแตละโรงงานจะมีผลตอศักยภาพ ในการจัดหาวัตถุดิบ หรือแผนการผลิตในแตละชวงเวลาที่แตกตางออกไป ฝายการตลาดและฝายการผลิตของแตละ องคกรสามารถวางแผนการจําหนาย และการสงมอบทีค่ ลองตัว และตรงตอความตองการลูกคาไดเปนอยางดี โดยใน บางชวงสถานการณที่สายการผลิต ไมสามารถสนองความตองการของลูกคา ฝายการตลาดก็สามารถทําการซื้อขาย ระหวางบริษัท เพื่อทําการสงมอบสินคาใหกับลูกคาไดโดยไมติดขอจํากัดภายในขององคกรเอง เพื่อนํามาซึ่งความพึง พอใจของลูกคาสูงสุด และไดมาหรือเพิม่ ความสัมพันธทางธุรกิจไดมากขึน้ ในอนาคต ขัน้ ตอนอนุมตั กิ ารทํารายการระหวางกัน การอนุมตั ริ ายการระหวางกัน ดําเนินการภายใตพน้ื ฐานการทํารายการทีไ่ มแตกตางจากการคาปกติทว่ั ไป ยึด แนวปฏิบัติเชนเดียวกับการทํารายการกับบุคคลภายนอกในเกณฑราคาตลาด และเงื่อนไขการคาทางธุรกิจปกติ เจาหนาที่ที่รับผิดชอบในหนวยงานนั้นๆ เชน เจาหนาที่ฝายจัดซื้อ หรือเจาหนาที่ฝายการตลาดจะดําเนินงานไปตาม 55


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

หลักเกณฑ และระเบียบวิ ธีป ฏิบัติงานที่บ ริ ษัท มีนโยบายไว และบริษัทไดรายงานใหคณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณาในการอนุมตั งิ บการเงินประจําป นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต บริษัทฯ คาดวาการทํารายการระหวางกันทีเ่ กีย่ วกับผลการดําเนินงานตามปกติในอนาคต จะยังคงมีลักษณะ ใกลเคียงกับปที่ผานมา และจากการทีบ่ ริษัทฯได ปรับโครงสรางกลุมบริษัท โดยการซื้อหุนสามัญของบริษัทยอย จํานวน 7 บริษัท ทําใหลดความซ้ําซอนของโครงสรางการถือหุน ปองกันปญหาเกี่ยวกับการกําหนดราคาซื้อขาย ระหวางบริษทั ในเครือไดดขี น้ึ

56


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน คําอธิบายและบทวิเ คราะหตอไปนี้ควรอานประกอบกับงบการเงินรวมและหมายเหตุประกอบงบการเงิน ของบริษทั และขอมูลบางสวนเกี่ยวกับงบการเงินรวม ตลอดจนขอมูลดานการดําเนินงานตามที่ปรากฏอยูในสวน อื่นๆ ของเอกสารฉบับนี้ ทั้งนี้บริษัทไดจัดทําและนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทตามหลักการ บัญชีที่รับรองทั่วไปภายใตพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่ งหมายความถึงมาตรฐานการบัญชีภายใต พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย วาดวยการจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงินภายใตพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ผลการดําเนินงาน ภาพรวมของผลการดําเนินงานทีผ่ า นมา บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจหลักคือ การผลิตและการจําหนายยางแผนรมควัน ยางแทง น้ํายางขน สวนบริษัทยอย ดําเนินธุรกิจผลิตยางแผนรมควัน ยางแทง น้าํ ยางขน จัดจําหนายยาง วิศวกรรมบริการ กิจการขนสงและอุต สาหกรรม ไมยางพารา ในขณะทีบ่ ริษทั รวมดําเนินการผลิตและจําหนายถุงมือแพทย ทอแรงดันสูง ชิ้นสวนยาง ยางแทง STR และนายหนาซื้อขายลวงหนาสินคาเกษตร โดยบริษัทมีกลยุทธทางธุรกิจที่จะขยายการประกอบธุรกิจอยางตอเนื่อง และครบวงจร เพือ่ รองรับความเติบโตของอุตสาหกรรมยางทัง้ ในประเทศและตางประเทศ บริษัทฯ มีรายไดจากการขายและบริการรวม 50,017 ลานบาท เพิ่มขึ้น 10,983 ลานบาท คิดเปนอัตรารอย ละ 28 มีปริมาณการขายรวมอยูท ่ี 721,483 ตัน เพิ่มขึ้น 187,622 ตัน หรือรอยละ 35 เมื่อเปรียบเทียบกับยอดจําหนาย ในป 2549 จากการที่ฝายการตลาดประสบความสําเร็จเปนอยางดี ที่สามารถครอบคลุมกลุมลูกคาไดเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกลุม ลูกคาในประเทศจีนและประเทศอินเดีย ในสวนของผลิตภัณฑยางแทง และยางแผนรมควันที่ความ ตองการยังคงมีอยูในระดับสูงอยางตอเนื่องจากผูผลิ ต ยางลอรถยนต สวนบริ ษั ท ยอยที่สิงคโปร Sri Trang International Pte Ltd สามารถเพิ่มยอดจําหนายไดถึงรอยละ 50 เปรียบเทียบกับป 2549 ในขณะที่บริษัทยอย PT SriTrang Lingga Indonesia สามารถเดินสายการผลิตไดตามเปาหมาย มียอดจําหนายในปนี้ 36,456 ตัน ทางดาน ระดับราคาจําหนายของบริษทั เฉลีย่ ป 2550 เพิม่ ขึน้ จากปกอ นในอัตรารอยละ 4-6 โดยมีราคาจําหนายเฉลีย่ ทัง้ ป 2,1002,300 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอตัน สัดสวนการสงออกเพิ่มขึ้นจากรอยละ 76 เปนรอยละ 79 อยางไรก็ตาม จาก ปญหาวิกฤตการณ Sub-Prime ทําใหคาเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาออนตัวลงมากเมื่อเทียบกับคาเงินสกุลอื่นรวมทั้ง ประเทศไทย คาเงินบาทแข็งคาขึ้นอยางตอเนื่องจาก 35.78 บาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา ณ สิ้นป 2549 มาแตะที่ ระดับ 34.54 บาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2550 และลงมาแตะที่ระดับต่ําสุด 33.66 บาทตอ เหรียญสหรัฐอเมริกา ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2550 สงผลใหราคาจําหนายในรูปเงินบาทลดลงในอัต รารอยละ 5-6 ขณะทีร่ าคาวัตถุดบิ ปรับตัวลดลงเพียงรอยละ 3-4 จากปจจัยในประเทศทีเ่ กิดฝนตกชุกและหนาแนนในหลายจังหวัด ของภาคใต ตั้งแตเดือนตุลาคมเป น ต น มา ซึ่ งกระทบตอผลผลิ ตยางที่ออกสูตลาดในทองถิ่ น และปจจัยจาก ตางประเทศ คือการเขามาซือ้ เก็งกําไรของนักลงทุนในตลาดลวงหนา ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกที่ปรับตัวเพิ่ม สูงขึ้น

57


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ประกอบกับอุปสงคยางธรรมชาติทย่ี งั มีตอ เนือ่ งโดยเฉพาะจากอุตสาหกรรมยางลอ เพื่อทดแทนยางสังเคราะหจาก การที่อุตสาหกรรมรถยนตเติบโตอยางรวดเร็ ว จึงเปนปจจัยที่สงผลใหราคาวัตถุดิบ ในทองถิ่น และราคายางใน ตลาดโลกไดปรับตัวสูงขึ้นในไตรมาสสุดทายของป โดยราคาปดของตลาด SICOM (Singapore Commodity Exchange) ณ วันสิ้นป 2550 ยางแผนรมควันอยูที่ 2,587 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอตัน และยางแทง TSR อยูที่ 2,502 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอตัน เทียบกับป 2549 ราคาปดยางแผนรมควันอยูท ่ี 1,952 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอตัน และยาง แทง TSR อยูท ่ี 1,842 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอตัน จากปจจัยดังกลาวขางตน โดยเฉพาะเหตุการณสภาวะราคายางในไตรมาส 4 ทําใหบริษัทฯ มีอัตรากําไร ขัน้ ตนโดยรวมลดลงจากอัต รารอยละ 6.4 เหลือรอยละ 4.3 ในป 2550 เมื่อหักคาใชจายขายและบริหาร ดอกเบี้ย จาย บริษัทฯ มีผลขาดทุนกอนรายไดอน่ื 129 ลานบาท หักผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 6 ลานบาท รวมรายได อืน่ 86 ลานบาท หักภาษีเงินได 42 ลานบาท จากผลประกอบการที่กําไรของบริษัทยอย บริษัทฯ มีผลขาดทุนจาก การดําเนินงาน 91 ลานบาท เมือ่ รวมสวนแบงผลกําไรในบริษทั รวมจํานวน 193 ลานบาท รวมผลขาดทุนสุทธิของ ผูถ อื หุน สวนนอยในบริษทั ยอย 6 ลานบาทแลว บริษัทฯ มีผลกําไรสุทธิในป 2550 จํานวน 108 ลานบาท เปรียบเทียบ กับกําไรสุทธิ 582 ลานบาทในป 2549 ปจจัยอืน่ ทีส่ ง ผลกระทบตอผลการดําเนินงานของบริษทั อัตราแลกเปลีย่ น บาท/ dollar สหรัฐ

FOREX ( บาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา )

43 42 41

2549 @

37.88

2550 @

34.52

40 39 38 37

35.78

36

34.54

35 34 33

33.66

32

2549

2550

31 30 JAN

FEB

MAR

APR

MAY

JUN

JUL

AUG

SEP

OCT

NOV

DEC

จากปญหาวิกฤตการณ Sub-Prime ทําใหคาเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาออนตัวลงมากเมื่อเทียบกับคาเงิน สกุลอื่นรวมทั้งประเทศไทย คาเงินบาทแข็งคาขึ้นอยางตอเนื่องจาก 35.78 บาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา ณ สิ้นป 2549 มาแตะที่ระดับ 34.54 บาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2550 และลงมาแตะที่ระดับต่ําสุด 33.66 บาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2550 โดยเฉลี่ยทั้งปอัตราแลกเปลี่ยนไดแข็งคาขึ้นในอัต รา 58


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

รอยละ 9 คือจากคาเฉลีย่ ทีร่ ะดับอัตราแลกเปลีย่ น 37.88 บาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกาในป 2549 มาเปน 34.52 บาท ตอเหรียญสหรัฐอเมริกาในป 2550 ประกอบกับสัดสวนการขายของบริษัทรอยละ 80 เปนการสงออก จึงสงผลให ราคาตอหนวยและมูลคาจําหนายเมื่อแปลงเปนเงินบาทลดลง หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน

2549

2550

เพิ่ม (ลด)

%

(95)

(5)

(90)

(94%)

อยางไรก็ตามบริษัท มีนโยบายที่จะปองกันความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนโดยการใชอนุพันธที่เปน เครื่องมือทางการเงินคุมครองรายการที่เปนตัวเงินซึ่งเปนเงิ น ตราต า งประเทศไว ลว งหน า ทําใหสามารถลด ผลกระทบการขาดทุนในอัตราแลกเปลีย่ นลงไดระดับหนึง่ โดยบริษทั มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น 5 ลานบาท เทียบกับปกอนซึ่งขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยน 95 ลานบาท และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กลุม บริษัทมีสัญญาขาย เงินตราตางประเทศลวงหนาและสัญญาตราสารสิทธิ (Option) กับธนาคารพาณิชย 9 แหง จํานวน 166.2 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา เปนจํานวนเงิน 5,592.3 ลานบาท คาใชจา ยทางการเงิน หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

2549

รายไดขาย

2550

เพิ่ม (ลด)

39,034

50,017

10,983

ดอกเบี้ยจาย

542

561

18

คิดเปนรอยละตอรายไดขาย (%)

1.39

1.12

3

59


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

อัตราดอกเบี้ย % 9.0% 8.0%

2549 5.70%

MLR 2550

MLR 2549

2550 4.77%

7.0% 6.0% 5.0% 4.0%

2549 MLR 2550

2550 MLR 2549

3.0% JAN

FEB

MAR

APR

MAY

JUN

JUL

AUG

SEP

OCT

NOV

DEC

บริษัทฯ มีดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้นจากปกอน 18 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 3 อยางไรก็ตามอัตราสวน ดอกเบีย้ จายตอรายไดขายลดลงจากรอยละ 1.39 เหลือรอยละ 1.12 จากการบริหารจัดการแหลงเงินกูเพื่อควบคุม คาใชจา ยทางการเงินใหมปี ระสิทธิภาพโดยสามารถควบคุมคาใชจา ยทางการเงินใหอยูใ นระดับทีน่ า พอใจ จากตาราง เปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯ ในป 2006 - 2007 กับ อัตราดอกเบี้ย MLR จะเห็นวาในป 2007 บริษัทฯ สามารถควบคุมอัตราดอกเบีย้ ไดตาํ่ กวาเมือ่ เทียบกับป 2006 สวนแบงผลกําไรจากบริษทั รวม หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

2549

บริษัท สยามเซมเพอรเมด จํากัด

2550

เพิ่ม (ลด)

33

134

101

0

31

31

87

54

(33)

5

12

7

(0)

1

1

Semperform Pacific Co., Ltd.

1

(1)

(2)

Semperflex Shanghai Co., Ltd.

(8)

(17)

(9)

Shanghai Foremost Plastic Industrial (indirect) รวม

(3) 115

(21) 193

(18) 79

บริษัท เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย จํากัด บริษัท ไทยเทครับเบอร คอรปอเรชั่น จํากัด

Sempermed USA Inc. บริษัท พัฒนาเกษตรลวงหนา จํากัด

60

%

69%


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

สวนแบงกําไรในบริษัทรวมจํานวน 193 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอ น 79 ลานบาท หรือรอยละ 69 ซึ่ง บริษัทไดรับสวนแบงผลกําไรและขาดทุนจากการลงทุนในกิจการหลายแหง เปนกิจการของกลุมหลักๆ ดังนี้ บริษัท สยามเซมเพอรเมด จํากัด 134 ลานบาท บริษัท เซมเฟอรเฟล็กซ เอเซีย จํากัด 31 ลานบาท โดยที่บริษัทรวมทั้งสอง ประสบความสําเร็จความเปนอยางดีในการเพิม่ ประสิทธิภาพในสายการผลิต ทําใหสามารถควบคุมตนทุนการผลิตให เปนไปตามแผนงาน เพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑโดยเฉพาะในสวนที่มี profit margin สูง ฝายการตลาด สามารถปรับราคาเพิ่มขึ้นไดในระดับหนึ่ง รวมถึงยอดจําหนายที่มากขึ้นทั้งในดานราคาและปริมาณของผลิตภัณฑ บริษัท ไทยเทครับเบอรคอรปอเรชั่น จํากัด 54 ลานบาท บริษัท เซมเพอรเมด ยูเอสเออิ้งค จํากัด 12 ลานบาท บริษัท พัฒนาเกษตรลวงหนา จํากัด 1 ลานบาท นอกจากนี้ยังรับ รูสวนแบงผลขาดทุนของบริษัทรวมในประเทศ ไทย บริษัท เซมเฟอรฟอรมแปซิฟก จํากัด ขาดทุน 1 ลานบาท ในขณะที่ผลการดําเนินงานจากประเทศจีนยังมี โอกาสที่จะปรับปรุงใหดีขึ้น จากการที่บ ริษัทรวม Semperflex Shanghai ที่เพิ่งเริ่มดําเนินการสายการผลิตอยางเปน ทางการในเดือนมีนาคม 2550 ซึ่งเปนไปตามแผนการและจะมีกําลังผลิต ของสาย Hydraulic ที่ 5 ลานเมตรตอปในป 2551 และบริษัท Shanghai Foremost Plastic Industrial ซึ่งผลิตถุงมือ PVC และเปนบริษทั ยอยของบริษัท สยามเซม เพอรเมด จํากัด ยังคงประสบปญหาทางกระบวนการผลิต ราคาวัตถุดิบและปญหาตนทุนทางดานพลังงาน ในปนี้ บริษทั รับรูส ว นแบงผลขาดทุนของบริษทั ทั้งสองดังกลาว 17 ลานบาท และ 21 ลานบาท ตามลําดับ ผลการดําเนินงานของแตละสายผลิตภัณฑ โครงสรางรายไดขายและบริการป 2550

Structure of Sales and Service Income in 2006 ( million baht) อื่นๆ,

1,109 , 2%

RSS, 12,275 , 25%

LATEX, 7,204 , 14%

STR, 29,429 , 59% RSS

LATEX

61

STR

Others


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

รายไดจากการขายและบริการรวม 50,017 ลานบาท รอยละ 98 ของรายไดขายและบริการมาจาก ผลิตภัณฑยางธรรมชาติรวมมูลคา 48,908 ลานบาท แบงเปนยางแทงมูลคา 29,429 ลานบาทหรือรอยละ 59 ยาง แผนรมควันมูลคา 12,275 ลานบาท หรือรอยละ 25 น้ํายางขนและผลพลอยไดมูลคา 7,204 ลานบาทหรือ รอยละ 14 นอกจากนีบ้ ริษทั ยังมีรายไดจากผลิตภัณฑอน่ื ๆ ไดแก ผลิตภัณฑไมยางพารา ถุงมือแพทย ผลิตภัณฑจากสวน ยางพารา สวนปาลม บริการขนสง และงานวิศวกรรมบริการรวมมูลคา 1,109 ลานบาท หรือรอยละ 2 ผลิตภัณฑยางแทง บริษัทฯ มีรายไดจากการจําหนายยางแทง 29,429 ลานบาท มูลคาขายเพิม่ ขึน้ จากปกอ นรอยละ 33 หรือ 7,299 ลานบาท ทีป่ ริมาณการจําหนายรวม 403,928 ตันเพิ่มขึ้นจากปกอ นรอยละ 38 หรือ 111,985 ตัน ที่ความ ตองการของผูผลิตยางลอรถยนตยังคงอยูในระดับสูงอยางตอเนื่อง ราคาขายสงออกเฉลี่ยเพิ่มขึ้นรอยละ 6.6 จาก ราคาเฉลี่ย 2,000 เปน 2,132 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอตัน แตอัตราแลกเปลี่ยนที่แข็งคาถึงรอยละ 9 หรือ 3.36 บาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา ทําใหราคาจําหนายตอหนวยเมื่อแปลงเปนเงินบาทลดลงอัตรารอยละ 4 สวนตนทุน จําหนายลดลงรอยละ 3 สงผลใหบริษทั มีอตั รากําไรขัน้ ตนลดลงจากรอยละ 5.5 เหลือ รอยละ 4.7 มีกําไรขั้นตน 1,382 ลานบาท ผลิตภัณฑยางแผนรมควัน บริษัทฯ มีรายไดจากผลิตภัณฑยางแผนรมควันรวม 12,275 ลานบาท รายไดเพิ่มขึ้นจากปกอน 3,348 ลานบาท หรือรอยละ 37 ขณะทีป่ ริมาณการขายเพิม่ ขึน้ ถึงรอยละ 50 จากปริมาณขาย 112,497 ตัน เปน 168,219 ตัน ราคาขายสงออกเพิม่ ขึน้ รอยละ 2 จากราคาสงออกเฉลีย่ 2,087 เปน 2,133 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอตัน อัต รา แลกเปลี่ยนที่แข็งคาขึ้นถึงรอยละ 9 จึงทําใหราคาขายเฉลี่ยในรูปเงินบาทลดลงถึงรอยละ 8 ขณะที่ตนทุนลดลง เพียงรอยละ 4 บริษัทจึงมีอตั รากําไรลดลง จากอัตรารอยละ 6 เหลือรอยละ 2 มีกาํ ไรขัน้ ตน 255 ลาน ผลิตภัณฑนาํ้ ยางขนและผลพลอยไดยางสกิม บริษทั มีรายไดจากน้าํ ยางขนและผลิตภัณฑยางสกิม 7,204 ลานบาทเพิ่มขึ้นจากปกอ น 415 ลานบาท หรือรอยละ 6 สวนปริมาณการจําหนายอยูที่ 146,435 ตัน เพิ่มขึ้นรอยละ 16 หรือ 19,884 ตัน ราคาจําหนาย ลดลงรอยละ 8 สวนตนทุนขายลดลงรอยละ 5 สงผลใหบริษัทมีอัตรากําไรขั้นตนลดลงจากรอยละ 8.6 เหลือ รอยละ 5.8

ฐานะการเงิน สินทรัพย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กลุมบริษัทมีสินทรัพยรวม 18,015 ลานบาท เพิ่มขึ้น 3,260 ลานบาทหรือรอย ละ 22 เมื่อเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มีอตั ราสวนสินทรัพยหมุนเวียนตอสินทรัพยรวมคิดเปนรอยละ 72 มีสินทรัพยหมุนเวียน 13,014 ลานบาท เพิ่มขึ้น 2,732 ลานบาท หรือ เพิ่มขึ้นรอยละ 27 และสินทรัพยหมุนเวียน สวนใหญอยูใ นลูกหนีก้ ารคาและสินคาคงเหลือ ดังตาราง 62


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

31/12/2549

%

31/12/2550

%

737

5%

926

5%

190

26%

ลูกหนี้การคา

21 3,040

0% 21%

26 4,417

0% 25%

5 1,377

26% 45%

สินคาคงเหลือ

6,189

42%

7,361

41%

1,172

19%

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยหมุนเวียน

295 10,282

2% 70%

284 13,014

2% 72%

(12) 2,732

(4%) 27%

เงินลงทุนในบริษัทรวม

1,960

13%

2,186

12%

226

12%

ที่ดิน อาคารอุปกรณ สุทธิ

2,383

16%

2,591

14%

208

9%

131 14,756

1% 100%

224 18,015

1% 100%

94 3,260

72% 22%

เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินลงทุนในหลักทรัพย

สินทรัพยไมหมุนเวียน สินทรัพยรวม

เพิ่ม (ลด)

%

ลูกหนี้การคา มูลคา 4,417 ลานบาท คิดเปนรอยละ 25 ของสินทรัพยรวม ลูกหนี้เพิ่มขึ้น 1,377 ลาน บาทหรือเพิม่ ขึน้ รอยละ45 จากปริมาณการขายที่เพิ่มขึ้นรอยละ 26 คือจากปริมาณขาย 45,000 ตัน เปน 57,000 ตัน ตอเดือน ระดับราคาจําหนายทีเ่ พิม่ ขึน้ รอยละ 30 เมื่อเทียบระหวางราคาจําหนายเดือนธันวาคม 2550 กับ ธันวาคม 2549 ขณะทีอ่ ตั ราแลกเปลีย่ นแข็งคาขึน้ รอยละ 6 ระยะเวลาในการเก็บหนีอ้ ยูท ่ี 25-30 วัน สินคาคงเหลือ มูลคา 7,361 ลานบาท คิดเปนรอยละ 41 ของสินทรัพยรวม ทีป่ ริมาณสินคา 104,597 ตัน มูลคาสินคาเพิม่ ขึน้ 1,172 ลานบาท ขณะทีป่ ริมาณสินคาลดลง 2,624 ตัน เมือ่ เทียบกับเดือนธันวาคม 2549 จากสภาวะฝนตกชุกและน้ําทวมในหลายจังหวัดของภาคใต ตัง้ แตเดือนตุลาคมเปนตนมาจึงทําใหปริมาณยางออกสู ตลาดนอยสงผลใหราคาวัตถุดบิ ในทองถิน่ ปรับตัวสูงขึน้ ถึงรอยละ 33-40 ระยะเวลาเก็บรักษาสินคา อยูใ นชวง 40-70 วัน เงินลงทุนในกิจการทีเ่ กีย่ วของกันและอืน่ ๆ มูลคา 2,186 ลานบาท เพิ่มขึ้น 226 ลานบาท หรือรอยละ 12 จากการลงทุนเพิ่มงวดสุดทายในบริษัท เซีย่ งไฮ เซมเฟอรเฟล็กซ จํากัด 35 ลานบาท สวนแบงกําไรในบริษัท รวม 193 ลานบาท ไดแกบริษัท สยามเซมเพอรเมด จํากัด 113 ลานบาท บริษัท เซมเพอรเมด ยูเอสเออิ้งค จํากัด จํานวน 12 ลานบาท บริษัท ไทยเทครับเบอรคอรปอเรชัน่ จํากัด 54 ลานบาท บริษัท เซมเพอรเฟล็กซ เอเซียจํากัด 31 ลานบาท บริษัท พัฒนาเกษตรลวงหนา จํากัด 1 ลานบาท รับสวนแบงผลขาดทุนในบริษัท เซีย่ งไฮ เซมเฟอร เฟล็กซ จํากัด 17 ลานบาท บริษัท เซมเพอรฟอรม แปซิฟก จํากัด 1 ลานบาท และบันทึกดอยคาจากเงินลงทุนใน บริษัท ไทยแทงค อินสตอลเลชั่น จํากัด ซึ่งประกอบธุรกิจใหเชาแทงคน้ํายางไดประกาศเลิกกิจการซึ่งขณะนี้อยู ระหวางการชําระบัญชี โดยบริษัทไดตั้งคาเผื่อการดอยคาเงินลงทุนเปนเงิน 1.9 ลานบาท

63


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

คุณภาพของสินทรัพย สินทรัพย เงินลงทุนในหลักทรัพยในความตองการของตลาด ซึ่งเปนหลักทรัพยทม่ี ไี วเผือ่ ขายแสดงตามมูลคายุตธิ รรม ซึง่ คํานวณจากราคาเสนอซือ้ ลาสุดของปของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีดังนี้ หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

31/12/2549

31/12/2550

31

32

1

3%

(10)

(6)

4

(44%)

21

26

5

26%

ตราสารทุน – ราคาทุน หัก คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน ราคายุติธรรม

เพิ่ม (ลด)

%

มูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยในความตองการของตลาดทีแ่ สดงตามราคายุตธิ รรมเพิม่ ขึน้ 5 ลานบาท จาก ราคายุตธิ รรมทีเ่ พิม่ ขึน้ ของกลุม ธนาคารและหุนบุริมสิทธิ์ (SCB-P) ลูกหนี้ บริษัทฯ มีลูกหนี้การคาสุทธิ ณ สิ้นป 2550 จํานวน 4,417 ลานบาท เนื่องจากลักษณะการขายรอยละ 80 เปนการสงออกตางประเทศ และกลุมลูกคาสวนใหญเปนบริษัทผูผลิตยางลอรถยนตรายใหญที่มีสถานะทางการเงินที่ ดี จึงไมมปี ญ  หาในดานการชําระเงินอายุของลูกหนีโ้ ดยเฉลีย่ ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม ลูกหนีท้ ย่ี งั ไมถงึ กําหนดชําระ คางชําระ 1 วัน ถึง 30 วัน คางชําระ 31 วัน ถึง 60 วัน คางชําระ 61 วัน ถึง 90 วัน คางชําระ 91 วัน ถึง 120 วัน คางชําระ 121 วันถึง 365 วัน มากกวา 365 วัน รวมลูกหนีก้ ารคา หัก คาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ สุทธิ

31/12/2549 % 2,415 79% 488 16% 75 2% 52 2% 8 0% 2 0% 6 0% 3,046 100% (6) 3,040

64

31/12/2550 % 3,674 83% 666 15% 51 1% 25 1% 2 0% 12 0% 4 0% 4,435 100% (17) 4,417


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

บริษทั ฯ ไดตง้ั สํารองหนีส้ งสัยจะสูญสําหรับลูกหนีภ้ ายในประเทศและตางประเทศทีค่ าดวาจะมีปญ  หาใน การชําระหนีอ้ ยางเพียงพอเปนเงิน 17 ลานบาท สัดสวนคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในปนี้คิดเปนอัตรารอยละ 0.38 ของ ลูกหนีก้ ารคา อัตราสวนประสิทธิภาพในการดําเนินงาน อัตราการหมุนของสินทรัพยรวม หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม อัตราการหมุนของสินทรัพยรวม (เทา)

2548

2549

2550

เพิ่ม (ลด)

%

2.46

2.87

3.07

0.20

รายไดรวม

29,158

39,237

50,313

11,077

28%

สินทรัพยรวม

12,546

14,756

18,015

3,260

22%

ประสิทธิภาพการใชสนิ ทรัพยรวมในการสรางรายไดเทากับ 3.07 เทา เพิม่ ขึน้ จากป 2549 ซึ่งอยูที่ 2.87 เทา โดยบริษทั ฯ มีรายไดรวมเพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 28 ขณะที่สินทรัพยรวมเพิม่ ขึ้นในอัตรารอยละ 22 จากการที่ ฝายการตลาดสามารถครอบคลุมกลุม ลูกคาไดเพิม่ มากขึ้นโดยเฉพาะกลุมลูกคาในประเทศจีน อินเดีย บริษัทยอยที่ สิงคโปร Sri Trang International Pte Ltd สามารถเพิ่มยอดจําหนายไดถึงรอยละ 50 และบริษัทยอย PT SriTrang Lingga Indonesia สามารถเดินสายการผลิตไดตามเปาหมาย นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ไดรับรูสวนแบงผลกําไรจากบริษัท รวมเพิม่ ขึน้ ดังทีก่ ลาวมาแลวขางตน อัตราการหมุนของสินทรัพยไมหมุนเวียน หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม อัตราการหมุนของสินทรัพยไมหมุนเวียน (เทา) รายไดรวม รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

2548

2549

2550

เพิ่ม (ลด)

%

7.80

9.29

10.62

1.33

29,158

39,237

50,313

11,077

28%

3,975

4,473

5,001

528

12%

อัตราการหมุนของสินทรัพยไมหมุนเวียนเทากับ 10.62 เทา เพิ่มขึ้นจากป 2549 ซึ่งอยูที่ 9.29 เทา รายไดรวมของบริษทั เพิม่ ขึน้ ในอัตรารอยละ 28 ดังที่กลาวมาแลวขางตน ขณะที่สินทรัพยไมหมุนเวียนเพิ่มขึ้นใน อัตรารอยละ 12 ในปนบ้ี ริษทั ฯ ไดโอนที่ดินที่ไมใชในการดําเนินงานเขาเปนที่ดินที่ใชในการดําเนินงาน และใน ระหวางปบริษัทฯ ไดกลับรายการคาเผือ่ การดอยคาของทีด่ นิ ทีไ่ มไดใชในการดําเนินงาน โดยฝายบริหารอาศัยขอมูล จากราคาประเมินสินทรัพยจากผูประเมินราคาอิสระ นอกจากนี้บริษัทฯ ไดลงทุนในที่ดิน อาคารและอุปกรณ 485 ลานบาท เพือ่ ปรับปรุงและเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตโดย รอยละ 43 เปนการลงทุนในสวนงานยางแทงรอยละ 32 เปนของสวนงานน้ํายางขน รอยละ 15 เปนการลงทุนใน Plantations และ อีกรอยละ 10 เปนการลงทุนในระบบ สารสนเทศและสวนงานอืน่ ซึง่ สินทรัพยเหลานีจ้ ะสรางรายไดและเพิม่ ประสิทธิภาพในการทํางานใหกบั บริษทั ฯ ใน อนาคต 65


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

สภาพคลองและรายจายลงทุน งบกระแสเงินสด บริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น 190 ลานบาท มีการเปลี่ยนแปลงที่มีสาระสําคัญ สรุปดังนี้ บริษัทฯ มีกระแสเงินสดไดมาจากกิจกรรมจัดหาเงิน 2,366 ลานบาท โดยไดรับการสนับสนุนเงินกูทั้ง ระยะสัน้ และระยะยาวจากสถาบันการเงินทัง้ ในและตางประเทศเปนเงินรวม 2,666 ลานบาท จายปนผลใหแกผูถือ หุน 300 ลานบาท แตจากปจจัยในประเทศที่เกิดฝนตกชุกและหนาแนนในหลายจังหวัด ของภาคใต ตั้งแตเดือน ตุลาคมเปนตนมาสงผลกระทบตอผลผลิตยางทีอ่ อกสูต ลาดในทองถิน่ และปจจัยจากตางประเทศคือการเขามาซือ้ เก็ง กําไรของนักลงทุนในตลาดลวงหนาประกอบกับอุปสงคยางธรรมชาติทย่ี งั มีตอ เนือ่ งโดยเฉพาะจากอุตสาหกรรมยาง ลอ จึงเปนปจจัยทีส่ ง ผลใหราคาวัตถุดบิ ในทองถิน่ และราคายางในตลาดโลกไดปรับตัวสูงขึน้ ในไตรมาสสุดทายของ ป บริษัทมีกระแสเงินสดใชไปในกิจกรรมดําเนินงานสุทธิ 1,320 ลานบาท อยูในลูกหนี้การคา 1,385 ลานบาท สินคาคงเหลือ 1,128 ลานบาท เจาหนีก้ ารคา 999 ลานบาท และใชไปในกิจกรรมลงทุนเปนเงินรวม 856 ลานบาท เปนการลงทุนในทีด่ นิ อาคารและอุปกรณเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตเปนเงิน 462 ลานบาท ลงทุนงวด สุดทายใน Semperflex Shanghai Co., Ltd. 35 ลานบาท จายซื้อหุนในบริษัทยอยเพิ่มเติมจากผูถือหุนเดิมงวด สุดทาย 346 ลานบาท เงินฝากประจําทีต่ ดิ ภาระค้าํ ประกันเพิม่ ขึน้ 39 ลานบาท ซึ่งเปนเงินฝากของบริษทั ยอยทีส่ งิ ค โปร Sri Trang International Pte Ltd ที่ปริมาณการขายเพิ่มขึ้นรอยละ 50 นอกจากนี้บริษัทไดรับเงินปนผลจาก บริษัท เซี่ยงไฮเซมเพอริดรับเบอร แอนดพลาสติก จํากัด 19 ลานบาท และรับเงินจากการขายทรัพยสินเปนเงิน 8 ลานบาท อัตราสวนสภาพคลองทีส่ าํ คัญ อัตราสวนสภาพคลอง หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม อัตราสวนสภาพคลอง ( เทา )

2548

2549

2550

เพิ่ม (ลด)

%

1.17

1.04

0.95

( 0.09 )

รวมสินทรัพยหมุนเวียน

8,570

10,282

13,014

2,732

27%

รวมหนี้สินหมุนเวียน

7,320

9,862

13,707

3,845

39%

อัตราสวนสภาพคลองอยูท ่ี 0.95 เทา ลดลงจากปกอนซึ่งอยูที่ 1.04 เทา จากหนี้สินหมุนเวียนทีม่ ีอัตรา การเพิ่มขึ้นมากกวาสินทรัพยหมุนเวียน กลาวคือสินทรัพยหมุนเวียนเพิ่มขึ้นรอยละ 27 ขณะที่หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 39 จากภาวะฝนตกหนักในชวงไตรมาสสี่ปริมาณยางออกสูตลาดมีนอยจึงทําใหราคาวัตถุดิบ ปรับตัวสูงขึ้น สงผลใหบริษัทตองใชเงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพื่อใชหมุนเวียนสําหรับกิจการมากขึ้น โดย อยูใ นสินคาคงเหลือคิดเปนอัตรารอยละ 57 และลูกหนีก้ ารคาคิด เปนอัตรารอยละ 34 ของสินทรัพยหมุนเวียนรวม ( ดูตารางอัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว) อยางไรก็ตามสินคาคงเหลือดังกลาวมีสภาพคลองทีส่ ามารถผันเปนรายได 66


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ในระยะเวลาอันรวดเร็ว และลูกหนีก้ ารคาสวนใหญเปนบริษทั ผูผ ลิตยางลอรถยนตรายใหญและบริษัทยอยในกลุม ที่มี สถานะทางการเงินที่ดีจึงไมมีปญ  หาในดานการชําระเงิน นอกจากนีใ้ นปนบ้ี ริษัทไดจายซือ้ หุน ในบริษทั ยอยเพิม่ เติม จากผูถือหุนเดิมงวดสุดทายเปนเงิน 346 ลานบาท เพื่อเปนการปรับโครงสรางลดความซ้ําซอนในกลุมบริษัท และ ลงทุนเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของสายการผลิต จึงทําใหอตั ราสวนสภาพคลองลดลงเมื่อเทียบกับป 2549 อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว ( เทา )

2548

2549

0.47

%

0.42

2550

%

0.41

เพิ่ม (ลด)

%

(0.01)

ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ – สุทธิ

2,102 5,096

3,040 30% 6,189 60%

4,417 34% 7,361 57%

1,377 1,172

45% 19%

สินทรัพยหมุนเวียน(ไมรวมสินคาคงเหลือ)

3,474

4,093 40%

5,654 43%

1,560

38%

รวมสินทรัพยหมุนเวียน

8,570

10,282 100%

13,014 100%

2,732

27%

รวมหนี้สินหมุนเวียน

7,320

13,707

3,845

39%

9,862

อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็วอยูท ่ี 0.41 เทา เปลีย่ นแปลงไมมากนักเมือ่ เทียบกับป 2549 เนื่องจากอัต รา หนี้สินหมุนเวียนที่เพิ่มขึ้นสวนใหญอยูใ นรูป ของสินคาคงเหลือ และรอยละ 57 ของสินทรัพยหมุนเวียนอยูในรูป ของสินคาคงเหลือ จึงทําใหอตั ราสวนสภาพคลองหมุนเร็วลดลงเล็กนอยเมือ่ เทียบกับปกอ น

หนี้สิน หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและซื้อเงินลงทุนบริษัทยอย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

เพิ่ม (ลด)

31/12/2549

%

31/12/2550

%

8,719

82%

11,904

85%

3,185

37%

953

9%

1,606

11%

653

69%

190 9,862

2% 93%

196 13,707

1% 98%

6 3,845

3% 39%

732

7%

303

2%

(429)

(59%)

100%

3,416

32%

10,594

100%

14,010

%

สวนของผูถ อื หุน

4,161

4,005

(156)

(4%)

หนี้สินสุทธิ (หักเงินสดและฝากธนาคารแลว)

9,858

13,084

3,226

33%

หนีส้ นิ รวมมูลคา 14,010 ลานบาท เมือ่ หักเงินสดและเงินฝากธนาคารจํานวน 926 ลานบาทแลว มีหนีส้ นิ สุทธิ 13,084 ลานบาท เพิ่มจากปกอ น 3,226 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 33 หนี้สินหมุนเวียนรวมเพิ่มขึ้น 3,845

67


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

ลานบาทหรือเพิ่มขึ้นรอยละ 39 เปนเงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 3,185 ลานบาท เพื่อใชในการ หมุนเวียนซื้อวัตถุดบิ และสินคาเขามาในสายการผลิตตามลักษณะความจําเปนของธุรกิจทีต่ องใชเงินทุนหมุนเวียนสูง จะยังคงมีอยูต อ ไป เจาหนีก้ ารคาซือ้ ยางเพิม่ ขึน้ 999 ลานบาท จากการซื้อยางในชวงปลายปเพื่อสงมอบในปถัดไป และเปนจังหวะทีร่ ะดับราคายางในทองถิน่ ปรับตัวสูงขึน้ ถึงรอยละ 30-40 เมือ่ เทียบระหวางราคายางเดือนธันวาคมป นี้กับปกอน เจาหนีซ้ อ้ื เงินลงทุนบริษทั ยอยลดลง 346 ลานบาทจากการชําระเงินงวดสุดทาย สัดสวนของหนี้สิน หมุนเวียนคิด เปนรอยละ 98 ของหนี้สินรวม มีหนี้สินไมหมุนเวียนมูลคา 303 ลานบาท ลดลงจากปกอน 429 ลานบาทหรือรอยละ 59 สัดสวนหนี้สินสุทธิตอสวนของผูถือหุน (Net D/E Ratio หลังหักเงินสดและเงินฝาก ธนาคาร) อยูท ่ี 3.27 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปกอนที่สัดสวนอยูที่ 2.37 หนวย : เทา งบการเงินรวม อัตราสวนหนี้สินสุทธิตอสวนของผูถือหุน

2548

2549

2550

1.69

2.37

3.27

อัตราสวนหนี้สินสุทธิตอสวนของผูถือหุน 3.27 เทา เพิ่มขึ้นจากปกอน เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ หนี้สินรวมที่บริษัทมีความจําเปนตองใชเงินทุนหมุนเวียนในการซื้อวัตถุดิบเพื่อรองรับปริมาณการจําหนายที่เพิ่มขึ้น และระดับราคาสินคาที่ปรับตัวเพิม่ ขึน้ ดังทีไ่ ดกลาวไปแลวขางตน ยอมสงผลใหกิจการมีความจําเปนตองใชเงินทุน หมุนเวียนเพิ่มมากขึน้ อยางไรก็ตามเนื่องจากอัต ราการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือที่อยูในระดับดี คุณภาพของ ลูกหนีก้ ารคา และรายไดจากการลงทุนทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตสงผลทางบวกตอสภาพคลองของบริษทั ในการชําระหนี้ ในระยะสัน้ และระยะยาว บริษัทฯ จึงมีความเชือ่ มัน่ วาสภาพคลองของบริษทั มีเพียงพอในการชําระหนี้ ถึงแมวาบริษัทฯ ไดรับการสนับสนุนเปนอยางดีในเรื่องวงเงินสินเชือ่ จากสถาบันการเงินตางๆและยังคง ศึกษาความเปนไปไดผลิตภัณฑทางการเงินใหมๆ จากการประสานงานกับสถาบันการเงินอยางสม่ําเสมอโดยเฉพาะ ตราสารหนี้ แตเนื่องจากเหตุการณ Sub-Prime ในสหรัฐอเมริกา ไดสง ผลกระทบอยางรุนแรงในตลาดการเงินทัว่ โลก รวมทัง้ ประเทศไทย การสนับสนุนวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินตางๆจึงเปนทางเลือกหลักในปจจุบัน สําหรับ สนับสนุนการดําเนินงานของบริษทั ฝายจัดการไดตระหนักถึงอัตราสวนทางการเงินบางหัวขอทีเ่ ริม่ อยูใ นระดับสูงขึน้ ตามลําดับ จากการขยายยอดจําหนายและกําลังการผลิต จึงมีการหาแนวทางตางๆที่จะปรับปรุงใหมีประสิทธิภาพมาก ยิง่ ขึน้ ซึง่ คงตองใชระยะเวลาในการดําเนินงานอีกระยะหนึง่ และจากประวัติผลการดําเนินงานที่ผานมาบริษัท ฯ ไม เคยประสบปญหาการชําระหนีเ้ งินกูแ กสถาบันการเงิน ภาวะอุตสาหกรรมทีม่ แี นวโนมเปนบวกอยู บริษัท ฯ จึงยังคง มีความเชื่อมั่นว าจะยังคงไดรับ การสนั บ สนุนสินเชื่อจากสถาบันการเงิ น เหล า นั้นอย า งต อ เนื่อง โดยลั ก ษณะ ความสัมพันธทางธุรกิจมาเปนระยะเวลานาน โดยทุกปที่ผานมาไดรับการตอสัญญาวงเงินสินเชื่อมาโดยตลอดและ บริษัทยังไมเห็นแนวโนมความสัมพันธทางธุรกิจจะเปลี่ยนแปลงไปในทางลบในระยะเวลาขางหนา ในสวนของ เงินกูจากตางประเทศบริษัทไดทําสัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนาเพื่อเปนการปองกันความเสี่ยงจากอัตรา แลกเปลี่ยนในการชําระคื น เงิ น กูยืมระยะยาวที่เปนเงินตราตางประเทศ บริ ษั ท ฯ ไดทําสัญญาซื้อเงิ น ตรา ตางประเทศลวงหนาจํานวน 3 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกากับสถาบันการเงินในประเทศแหงหนึง่ ในอัตราแลกเปลีย่ น

68


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

33.055 บาทตอ 1 เหรียญสหรัฐอเมริกา โดยสัญญาดังกลาวจะครบกําหนดในวันที่ 28 เมษายน 2551 กลุมบริษัทไมมี สินทรัพยและหนี้สินอื่นที่เปนเงินตราตางประเทศที่มีสาระสําคัญทีไ่ มไดปอ งกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น

สวนของผูถ อื หุน สวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มูลคา 4,005 ลานบาท ลดลงจากปกอน 156 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 4 จากสวนของผูถ อื หุน รายใหญลดลง 157 ลานบาท ซึ่งเปนผลจากกําไรสุทธิในปนี้ 108 ลาน บาท จายเงินปนผลใหแกผูถือหุน 300 ลานบาท บวกผลขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจากหลักทรัพยเผื่อขายลดลง 5 ลานบาท และผลขาดทุนจากการแปลงคางบการเงินของบริษัทยอยในตางประเทศลดลง 30 ลานบาท ในขณะที่ สวนของผูถ อื หุน สวนนอย เพิม่ ขึ้น 1 ลานบาท เปนผลสะสมที่ไดมาจากกําไรจากการแปลงคางบการเงินในผูถือ หุนสวนนอยใน บริษัท PT Sri Trang Lingga Indonesia จํานวน 7 ลานบาท หักดวยผลขาดทุนจากการดําเนินงานที่ เปนของผูถ อื หุน สวนนอย 6 ลานบาท

69


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

คําชี้แจงของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน

ทานผูถ อื หุน บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัท ฯ ประกอบด ว ยคณะกรรมการอิ ส ระ 3 ท า นโดยคณะกรรมการ ตรวจสอบทุกทานไมไดเปนผูบ ริหารของบริษทั ฯ ดังนี้ นายประกอบ วิศษิ ฐกจิ การ ดํารงตําแหนงเปนประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายเกรียง ยรรยงดิลก ดํารงตําแหนงเปนกรรมการตรวจสอบ นายสมัชชา โพธิ์ถาวร ดํารงตําแหนงเปนกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ไดรับการแตงตั้งจากที่ป ระชุมคณะกรรมการบริษัทใหปฏิบัติงานภายใตกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติ หนาที่ตามขอบเขต ความรับผิดชอบ ในป 2550 คณะกรรมการตรวจสอบจัดใหมี การประชุมผูบริหารระดับสูง หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายในและผูสอบบัญชีในวาระที่เกี่ยวของทั้งหมด 4 ครั้ง เพื่อปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมาย ดังนี้  สอบทานรายงานทางการเงิน ใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับ รองโดยทั่วไป โดยรวมประชุมกั บ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตและผูบริหารบริษัท เพื่อสอบทานสาระขอมูล ความถูกตองของงบการเงินของบริษัท ฯ ทั้งในงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจําป มีการรับฟงการชี้แจง และซักถามแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นในประเด็นตางๆ กอนที่จะอนุมัติงบการเงินดังกลาว  สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุม ภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยเขา รวมประชุม และ รับทราบผลการปฏิบัติของหนวยงานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ แผนการดําเนินงานประจําป ผลการ ตรวจสอบที่ไดดําเนินการไป โดยไดซักถามและเสนอแนะแนวทางหลายประการเพื่อใหการดําเนินงาน เปนไปอยางมีประสิทธิภาพตอหนวยงานนัน้ ๆ และองคกรบริษทั โดยรวม  สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามขอบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวของ และหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีโดยไดกํากับ และดูแลใหมีการปฏิบัติตามข อบังคับของบริษัท ขอกําหนด คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย (ก.ล.ต.) และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กฎหมายที่เกี่ยวของและหลักการกํากับดูแล กิจการทีด่ ี โดยใหมกี ารเปดเผยขอมูลสารสนเทศ อยางเพียงพอและโปรงใส  พิจารณา คัดเลือก และเสนอแตงตัง้ ผูสอบบัญชีรับอนุญาต พรอมทั้งกําหนดคาตอบแทนผูส อบบัญชีประจําป โดยใหนาํ เสนอแกทป่ี ระชุมสามัญผูถ อื หุน เพือ่ อนุมตั ิ

70


บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป 2550 .

คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบตั หิ นาทีอ่ ยางมีอสิ ระ โดยไมมขี อ จํากัดจากฝายบริหาร และไดรบั ความ รวมมือดวยดีจากทุกฝายทีเ่ กีย่ วของในการนําเสนอขอมูลเพือ่ พิจารณา

( นายประกอบ วิศษิ ฐกจิ การ ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 6 มีนาคม 2551

71


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.