สารบัญ
2
Key Concept
42 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน
12 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมองค์กร
48 จุดเด่น
14 Green Rubber
49 ประวัติกรรมการและผู้บริหาร
16 Processing Process Total Green Process
66 โครงสร้างการจัดการ
18 การประกอบธุรกิจในระดับสากล
82 การก�ากับดูแลกิจการ
20 ข้อมูลส�าคัญทางการเงิน
95 การควบคุมภายในและการบริหารจัดการ ความเสี่ยง
22 สารจากประธานกรรมการ
99 ความรับผิดชอบต่อสังคม
24 คณะกรรมการบริษัท
106 โครงสร้างการถือหุ้น
26 คณะผู้บริหาร
112 นโยบายการจ่ายเงินปันผล
28 ผังโครงสร้างองค์กร
113 อันดับและแนวโน้มอันดับเครดิต
29 ลักษณะการประกอบธุรกิจ
115 การใช้เงินที่ได้รับจากการเสนอขายหุ้น
30 ประวัติความเป็นมาของบริษัทและพัฒนาการที่ ส�าคัญ
116 รายการระหว่างและรายการกับบุคคลที่มีความ เกี่ยวข้องกัน
32 ผลิตภัณฑ์และบริการ
120 ปัจจัยความเสี่ยง
37 โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท
126 ค�าอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการด�าเนินงาน
38 โครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัท 40 กลยุทธ์และเป้าหมายในการประกอบธุรกิจ
137 รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
138 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อ รายงานทางการเงิน 139 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 140 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 258 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 259 ข้อมูลของบุคคลอ้างอิง 260 ข้อมูลทั่วไป 268 ค�านิยาม
Plantation Process
ใส่ใจในทุกขั้นตอนของการท�ำสวนยางเพื่อให้ ได้น�้ำยางที่มีคุณภาพสูงสุด
Purchasing Process
ด้วยความเชี่ยวชาญช�ำนาญของพนักงานท�ำให้เราสามารถจัดหาวัตถุดิบที่มีคุณภาพเพื่อใช้ในการ ผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ
Production Process
ผู้น�าอุตสาหกรรมที่เชี่ยวชาญในการผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติที่เปี่ยมด้วยคุณภาพ
Logistical Process
ทุกมิติของการจ�าหน่ายรองรับด้วยการบริการในกลุ่มบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าลูกค้า ได้รับความพึงพอใจสูงสุด
Work Process
มุ่งเน้นการท�างานที่รวดเร็วฉับไวพรั่งพร้อมด้วยประสิทธิภาพ
วิสัยทัศน์ เราเป็นองค์กรแห่งความมุ่งมั่นและ ทุ่มเทในการขับเคลื่อนทุกความเป็นไปได้ รายงานประจ�าปี 2557
>>ศรีตรัง...บริษัทยางสีเขียว>>
12
พันธกิจปี
พันธกิจปี
2557
2558
ปีแห่งการเพิ่มศักยภาพการผลิต
ปีแห่งความเข้มแข็งหนึ่งเดียวของ การบริหาร
ค่านิยมองค์กร กล้าคิดกล้าท�าในสิ่งใหม่
ทุ่มเทและมุ่งมั่น
เรายึดมั่นในการท�างานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริตโปร่งใส ยุตธิ รรม และยึดมัน่ ในพันธะ สัญญา ปฏิบัติต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการ ด�าเนินธุรกิจทุกฝ่ายอย่างเสมอภาคเท่า เทียมกัน ตลอดจนมีจติ ส�านึกในการรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
เราเชือ่ ว่าทุกความฝันเป็นไปได้ มีความคิด เรามีความทุ่มเทและมุง่ มั่นต่อผลส�าเร็จของ ริเริม่ สร้างสรรค์ กล้าคิดนอกกรอบ และมอง งาน และผลประโยชน์ขององค์กรอย่างเต็ม หาทางเลือกใหม่ เพือ่ วิเคราะห์ความเป็นไป ความสามารถ และด้วยความเต็มใจ ได้ วางแผน และลงมือปฏิบตั จิ ริงโดยไม่รรี อ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
สุจริตโปร่งใส
13
ร่วมแรงร่วมใจ
ไม่หยุดนิ่งที่จะเรียนรู้
เราร่วมแรงร่วมใจ ท�างานเป็นทีมด้วยความ เปิดเผยและจริงใจ เอื้อเฟื้อช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน และพร้อมรับฟังความคิดเห็นที่ แตกต่าง
เราไม่หยุดนิง่ ทีจ่ ะเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ และพัฒนา ศักยภาพของตนเองสู่ความเป็นมืออาชีพ ในระดั บ สากลอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการท�างาน และขับเคลื่อน องค์กรไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน
รายงานประจ�าปี 2557
ก ารสรรหา วัตถุดิบสีเขียว กระบวนการ ผลิตสีเขียว ผลิตภัณฑ์สีเขียว
บริษัทสีเขียว
14
มุ่งมั่นสู่ความเป็นผู้น�าอุตสาหกรรมแห่งยางสีเขียว
เกือบ 3 ทศวรรษแห่งความเชีย่ วชาญในอุตสาหกรรมยางพารา ผนวกกับเจตนารมณ์ใน การพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราอย่างยัง่ ยืน ท�าให้กลุม่ บริษทั ศรีตรังก้าวสูค่ วามเป็น
“องค์กรแห่งยางสีเขียว”
กระบวนการผลิตสีเขียว ผลิตภัณฑ์สีเขียว ซึ่งหมายถึงความมุ่งมั่นในการผลิต ยางพาราซึ่ ง เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าก ธรรมชาติที่สะอาด ปราศจากสิ่ง เจื อ ปนที่ อ าจเป็ น อั น ตรายต่ อ อุตสาหกรรมปลายน�้า ซึง่ เกีย่ วข้อง กับความปลอดภัยและสุขอนามัย ของผู้บริโภค
อั น หมายถึ ง ความใส่ ใ จในทุ ก ขั้ น ตอนของการผลิตสินค้าให้ได้ตาม มาตรฐานสากล ภายใต้กระบวนการ ผลิตที่ตั้งอยู่บนหลักการของการ อนุรักษ์พลังงาน ปราศจากซึ่งน�้า เสียและกลิ่น เพื่อให้มั่นใจได้ว่า โรงงานของเรามีกระบวนการผลิต ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มและ ชุมชนรอบข้าง
อันแสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ของ บริษัทในการผลักดันให้เกษตรกร ท�าการผลิตยางพาราที่สะอาดและ ปราศจากสิง่ เจือปน และสะท้อนให้ เห็นถึงการด�าเนินธุรกิจของบริษทั ที่ ตัง้ อยูบ่ นความยุตธิ รรมกับเกษตรกร และคู่ค้าทุกราย
บริษัทสีเขียว เป็นสัญลักษณ์ขององค์กรซึง่ ด�าเนิน ธุรกิจบนรากฐานของความโปร่งใส มุง่ สูก่ ารเติบโตอย่างยัง่ ยืน พร้อมกับ เป็ น องค์ ก รที่ เ ปิ ด รั บ สิ่ ง ใหม่ ๆ อยู ่ ต ลอดเวลาเพื่ อ การพั ฒ นา อุตสาหกรรมยางพาราให้เติบโตอย่าง มัน่ คง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
การสรรหาวัตถุดิบสีเขียว
15
กระบวนการผลิต
จากต้นน�้าสู่ปลายน�้า
พ�้นที่สวนยาง
รายงานประจ�าปี 2557
38,502 ไร
16
กำลังการผลิตถุงมือยาง
14,000 ล านชิ�น/ ป
ศูนย รับซื้อวัตถุดิบ ศูนย
83
กำลังการผลิตยางธรรมชาติ
1.4
ล านตัน/ ป
ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติรายใหญ่ที่สุดของโลก
สวนยางพารา 38,502 ไร่ ใน 17 จังหวัด
การสรรหาวัตถุดิบ
โรงงานผลิตยางธรรมชาติ > ก�ำลังการผลิตยางธรรมชาติ 1.4 ล้านตันต่อปี > 26 โรงงานตั้งอยู่ในประเทศไทยและอินโดนีเซีย > ครอบคลุมทุกผลิตภัณฑ์ทั้งยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และน�ำ้ ยางข้น
ขายและจัดจ�ำหน่าย
ลงทุนในธุรกิจปลายน�ำ้
ตั้งบริษัทย่อยเพื่อด�ำเนินการขายและจัดจ�ำหน่ายสินค้าในตลาดหลัก ของโลก
> ก�ำลังการผลิตถุงมือยาง 14,000 ล้านชิ้นต่อปี > ผลิตทัง้ ถุงมือยางธรรมชาติและถุงมือยางสังเคราะห์ทใี่ ช้ในทางการแพทย์
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
มี 83 ศูนย์รับซื้อวัตถุดิบในประเทศไทยและ อินโดนีเซีย
17
รายงานประจ�าปี 2557
สหรัฐอเมริกา
18
การประกอบธุรกิจในระดับสากล
10%
1,204,342
20%
13%
ส่วนแบ่งทางการตลาดจากความต้องการ ตัน ยอดขายในปี 2557 ใช้ยางธรรมชาติทั่วโลกในปี 2557
จากยอดผลิ ต ยางธรรมชาติ ทั้ ง หมดจาก ของยอดน�าเข้าทั้งหมดของจีน ประเทศไทย ปี 2557
26
โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติใน ประเทศไทย และอินโดนีเซีย
จีน
เวียดนาม
ไทย สิงคโปร
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
อินโดนิเซีย
19
26
17
โรงงาน นครศรีธรรมราช ตรัง ปัตตานี บึงกาฬ บุรีรัมย์ มุกดาหาร อุดรธานี
1 4 1 1 1 1 1
สวนยาง อุบลราชธานี พิษณุโลก สงขลา สุราษฎร์ธานี ชุมพร ศรีสะเกษ อินโดนีเซีย
2 1 6 2 2 1 2
ล�าปาง พิษณุโลก เพชรบูรณ์ เชียงราย เชียงใหม่ อุตรดิตถ์
สุโขทัย พิจิตร สระแก้ว แพร่ พะเยา สกลนคร
สุราษฎร์ธานี กระบี่ สงขลา บึงกาฬ ชุมพร
ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน (หน่วย: ล้านบาท)
ปี 2557
ปี 2556
ปี 2555
ปี 2554
ปี 2553
75,530
92,185
99,639
133,704
83,845
ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย
2,568
3,747
2,840
3,311
4,877
ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้
1,076
1,987
1,524
1,959
4,113
ก�ำไรสุทธิ
1,038
1,820
1,379
1,306
3,820
สินทรัพย์รวม
37,791
44,237
36,603
40,103
37,656
หนี้สินรวม
17,199
24,246
17,744
22,072
27,264
ส่วนของผู้ถือหุ้น
20,592
19,991
18,859
18,031
10,392
อัตราก�ำไรขั้นต้น (ร้อยละ)
4.4
5.6
4.8
4.3
6.2
อัตราก�ำไรขั้นต้นปรับปรุง (ร้อยละ)*
6.1
6.6
3.9
5.8
7.3
อัตราก�ำไรสุทธิ (ร้อยละ)
1.4
2.0
1.4
1.0
4.6
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)
1.4
1.3
1.5
1.5
1.2
อัตราส่วนหนี้สุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)
0.7
1.1
0.9
1.1
2.5
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายได้จากการขายและการให้บริการ
รายงานประจ�ำปี 2557
งบแสดงฐานะทางการเงิน
อัตราส่วนทางการเงิน 20
หมายเหตุ: งบการเงิน ปี 2557 ถูกจัดท�ำขึ้นตามมาตราฐานการบัญชีของ IFRS ในขณะที่งบการเงิน ปี 2553 – ปี 2556 จัดท�ำขึ้นโดยการน�ำมาตรฐานบางฉบับมาปรับ ใช้ก่อนวันที่มีผลบังคับ * ปรับด้วยค่าเผื่อ (การกลับมูลค่า) การลดลงของสินค้าคงเหลือ ก�ำไร/(ขาดทุน) ที่เกิดขึ้นแล้วจากอัตราแลกเปลี่ยน และก�ำไร/(ขาดทุน) ที่เกิดขึ้นแล้วจาก สัญญาซื้อขายยางธรรมชาติล่วงหน้า
160,000
100,000
800,000
400,000
40,000
200,000
20,000
2553
2554
2555
2556
กำไรต อหุ น
3.82
1.04
1.08
2554
2555
1.42
2556
2557
0
1.47
1.17
2553
1.42
2556
2557
1,038
2555
2556
2557
12.57
43.01
2553
3.36
3.59
2554
2555
4.50
2556
17.73
2553
2557
0.0
(ร อยละ)
2.53 2553
9.19
7.46
2554
2555
9.37 2556
21 5.11 2557
อัตราส วนหนีส้ นิ สุทธิตอ ส วนของผูถ อื หุน (เท า)
21.07
2554
2.0
อัตรากำไรสุทธิ (ขวา)
อัตราส วนผลตอบแทนผู ถือหุ น
2.45 11.38
2555
2554
กำไรสุทธิ (ซาย)
(เท า)
1.31
1,820
1.0
อัตราส วนหมุนเว�ยนสินทรัพย ถาวร
(เท า)
2554
1,306 1,379
อัตราส วนผลตอบแทนจากสินทรัพย
0.81
อัตราส วนสภาพคล อง
2553
3.0
(ร อยละ)
(บาท)
1.46
4.0
500 0
รายไดจากการขาย (ซาย)
ปริมาณการขาย (ขวา)
2553
2557
3,820
2,000 1,500 1,000
600,000
60,000
5.0
3,500 3,000 2,500
1,000,000
80,000
0
4,500 4,000
1,204,342 1,200,000 1,126,463 975,604 840,462 951,935
(%)
(ล านบาท)
1,400,000
140,000 120,000
กำไรสุทธิ
(ตัน)
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
รายได และปร�มาณการขาย
(ล านบาท)
2555
8.09
2556
1.10 5.38 2557
2553
2554
0.86
2555
1.12
2556
0.73
2557
สารจากประธานกรรมการ เรียนผู้ถือหุ้นทุกท่าน
รายงานประจ�าปี 2557
ในนามของคณะกรรมการบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ากัด (มหาชน) เรามีความยินดีในการน�าเสนอผลการด�าเนินงานส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และภาพรวมในการประกอบธุรกิจส�าหรับปี 2557
22
ปี 2557 ยังคงเป็นปีแห่งความท้าทายส�าหรับสินค้าโภคภัณฑ์ ซึ่งรวมถึงยางธรรมชาติ เนือ่ งจากเศรษฐกิจโลกทีย่ งั คงชะลอตัวต่อเนือ่ งมาจากปีกอ่ นหน้า การเติบโตของเศรษฐกิจ จีนที่ต�่าที่สุดในรอบ 15 ปี ภาวะอุปทานส่วนเกินของยางธรรมชาติในตลาดโลก ปริมาณ ยางธรรมชาติคงคลังส่วนเกิน การแทรกแซงทางราคาของรัฐบาล และการแข็งค่าของ เงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ถึงแม้วา่ เราจะสามารถสร้างประวัตกิ ารณ์ของอุตสาหกรรมอีกครัง้ ด้วยยอดขายรวมทั้งสิ้น 1,204,342 ตัน เติบโตร้อยละ 7 จากปี 2556 แต่ด้วยปัจจัย เศรษฐกิจและสถานการณ์ตลาดยางธรรมชาติที่ยังคงเป็นตลาดขาลง ได้ส่งผลให้ผล ประกอบการของเราได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ด้วยเช่นกัน โดยรายได้รวมของ บริษัทฯ ปรับตัวลดลงร้อยละ 18 เป็นมูลค่า 75,530 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลกระทบจากราคา ยางธรรมชาติทลี่ ดลงต่อเนือ่ งตลอดทัง้ ปี บริษทั ฯ มีกา� ไรสุทธิในปี 2557 ที่ 1,038 ล้านบาท เทียบกับ 1,820 ล้านบาทในปีกอ่ นหน้า ก�าไรต่อหุน้ ปรับตัวลดลงจาก 1.42 เป็น 0.81 บาท ต่อหุ้น อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ยังคงมีสถานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง โดยมียอดเงินสดสุทธิ ทั้งสิ้น 2,132 ล้านบาท ส่วนของผู้ถือหุ้น 20,592 ล้านบาท และมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน ที่ปรับตัวดีขึ้นที่ 0.84 เท่า เมื่อเทียบกับ 1.21 เท่าในปี 2556 เรายังคงเดินหน้าพัฒนาธุรกิจตามกลยุทธที่ได้วางไว้ถึงแม้ตลาดจะอยู่ในภาวะชะลอตัว เพื่อคงไว้ซึ่งความเป็นผู้น�าในธุรกิจยางธรรมชาติ โดยมุ่งเน้นในการเสริมสร้างความ แข็งแกร่งและขยายเครือข่ายของบริษัทฯ ไปยังพื้นที่เติบโตใหม่ในอุตสาหกรรมยาง ธรรมชาติที่ส่งเสริมและเกื้อหนุนกับโครงสร้างการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน ในปี 2557 เราได้สร้างโรงงานยางแท่งแห่งแรกของบริษัทฯ ในภาคเหนือของประเทศไทยที่จังหวัด พิษณุโลก และได้ขยายฐานการผลิตน�า้ ยางข้นแห่งแรกของบริษทั ฯ ในภาคตะวันออกเฉียง เหนือไปยังจังหวัดอุบลราชธานี ณ สิ้นปี 2557 ก�าลังการผลิตรวมของเราได้เพิ่มขึ้นเป็น 1.4 ล้านตัน และสามารถรักษาส่วนแบ่งทางการตลาดที่ร้อยละ 10 ไว้ได้ ในส่วนธุรกิจ ต้นน�า้ บริษทั ฯ ครอบครองพืน้ ทีท่ เี่ หมาะสมกับการปลูกยางพาราเป็นจ�านวนทัง้ สิน้ 50,612 ไร่ และได้ด�าเนินการปลูกยางพาราแล้วประมาณร้อยละ 76 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งสวน ยางพาราของเราเหล่านีพ้ ร้อมทัง้ สวนยางพาราอืน่ ทีร่ ายรอบจะเป็นแหล่งวัตถุดบิ ทีส่ า� คัญ ในธุรกิจกลางน�้าของเราในอนาคต
เรามุง่ มัน่ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นธุรกิจ โดยการรักษาไว้ซงึ่ สมดุลยภาพทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และพัฒนาการทางสังคม โดยมิได้มุ่งเน้นเพียงการเป็นผู้นำ� ในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติเท่านัน้ แต่ยงั ค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียทัง้ หมด ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ โดยเรายึดมั่นในหลักธรรมมาภิบาล และ การพัฒนาอย่างยัง้ ยืนเพือ่ ความส�ำเร็จในระยะยาว แนวคิด “บริษทั ยางสีเขียว” ได้ถกู น�ำมาปฏิบตั อิ ย่างเป็นรูปธรรม โดยมีการปรับปรุงพัฒนา เพือ่ ให้สามารถ ตอบโจทย์ที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม เพื่อสร้างความ ยึดมัน่ ต่อแบรนด์ศรีตรัง และความเชือ่ มัน่ ในตัวองค์กรกับผูจ้ ดั จ�ำหน่ายและ ลูกค้าอย่างทัว่ ถึง เราได้สร้างเครือข่ายผูจ้ ำ� หน่ายวัตถุดบิ ทีค่ รอบคลุม และ เพียงพอต่อแผนการเติบโตขององค์กรในทุกสภาพเศรษฐกิจ และภาวะการณ์ ของยางธรรมชาติ ในฐานะตัวแทนของคณะกรรมการบริษทั ผมขอต้อนรับ คุณภัทราวุธ พาณิชย์กลุ และคุณหลี่ ซือ่ เฉียง เข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมการบริษทั และขอขอบคุณ พนักงานทุกท่านทีไ่ ด้รว่ มกันท�ำงานอย่างมุน่ มัน่ ไม่ยอ่ ท้อ และมีวนิ ยั ในการ ด�ำเนินการตามกลยุทธ์ทางธุรกิจที่วางไว้ภายใต้ความท้าทายจากสภาพ เศรษฐกิจในปีทผี่ า่ นมา ผมขอขอบคุณผูถ้ อื หุน้ รวมถึงสถาบันการเงิน และ ผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องในธุรกิจทุกท่านทีไ่ ด้รว่ มสนับสนุนเราอย่างต่อเนือ่ ง และ ขอบคุณในความมั่นใจและความไว้วางใจที่มีต่อเราเสมอมา
ในด้านธุรกิจปลายน�ำ้ บริษทั ฯ ได้รว่ มลงทุนในการผลิตถุงมือยางทางการแพทย์ ซึง่ ถือเป็นหนึง่ ในปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของบริษทั ฯ ตัง้ แต่อดีตจวบจนปัจจุบนั โดยสามารถสร้างผลก�ำไรทีม่ นั่ คงอันเป็นทีน่ า่ พอใจมาโดยตลอด ส่วนส�ำคัญ ของความส�ำเร็จของธุรกิจถุงมือยางทางการแพทย์นั้นเป็นผลมาจาก ด้วยความนับถืออย่างสูง ศักยภาพในการจัดหาวัตถุดบิ และวัฒนธรรมองค์กรของกลุม่ บริษทั ศรีตรัง บริษัทฯ จะเดินหน้าพัฒนาและมุ่งเน้นธุรกิจปลายน�้ำดังกล่าว เพื่อเสริม ศักยภาพโดยรวมขององค์กรจากต้นน�้ำสู่ปลายน�้ำของธุรกิจยางธรรมชาติ ให้เติบโตต่อเนื่องอย่างไม่หยุดยั้ง ดร. ไวยวุฒิ สินเจริญกุล บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างสูงกับบุคคลากรอันถือเป็นทรัพยากรที่ ประธานกรรมการ ส�ำคัญที่สุดขององค์กร เรามุ่งหน้าพัฒนาในการสร้างทีมบริหารภายใต้ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) วัฒนธรรมองค์กรของกลุ่มศรีตรังอย่างต่อเนื่อง ทีมบริหารทุกคนต่าง กุมภาพันธ์ 2558 ด�ำเนินการ โดยมีวิสัยทัศน์และเป้าหมายเดียวกันในการขับเคลื่อน และ ผลักดันธุรกิจด้วยทุกความเป็นไปได้ เพือ่ ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมัน่ คงและ ยั่งยืน ทีมบริหารส่วนใหญ่ได้ร่วมงานกับบริษัทฯ มาเกือบทั้งชีวิตของการ ท�ำงาน ท�ำให้มีแนวคิด แนวทางการท�ำงาน และวิธีการแก้ปัญหาที่เป็นไป ในแบบศรีตรัง อันสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และวัฒนธรรมขององค์กร อีก ทัง้ เขาเหล่านัน้ ยังช่วยดึงดูดทรัพยากรบุคคลใหม่ๆ ทีม่ คี วามสามารถให้มา ร่วมงานกับเราได้อย่างดียิ่ง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
เพื่อรับมือกับความผันผวนของตลาดยางธรรมชาติ และรักษาเสถียรภาพ ของผลก�ำไร บริษทั ฯ ได้ขยายก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนือ่ ง โดยมุง่ เน้นการ ขยายฐานการผลิตไปยังพื้นที่ใหม่ๆ ของอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ หรือ พื้นที่ที่ยังไม่มีผู้ประกอบการรายอื่นเข้าถึงมากนัก ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มส่วนแบ่ง ทางการตลาด และเพิ่มความสามารถในการต่อรองของบริษัทฯ ให้สูงขึ้น แม้วา่ บริษทั ฯ ยังอยูใ่ นช่วงด�ำเนินการในการน�ำกลยุทธ์นมี้ าใช้ในธุรกิจ แต่ ผลประกอบการในปี 2557 สามารถเป็นเครื่องยืนยันได้เป็นอย่างดีว่าเรา ได้ดำ� เนินกลยุทธ์มาถูกทาง และสามารถรับมือกับเศรษฐกิจและตลาดยาง ธรรมชาติที่อยู่ในขาลงได้เป็นอย่างดี ทั้งหลายทั้งปวงนี้ได้สะท้อนถึง เจตนารมณ์ของเรา ที่ไม่เพียงต้องการเป็นผู้น�ำในตลาดยางธรรมชาติ เท่านั้น แต่เรายังเชื่อมั่นว่าเราจะสามารถพัฒนาศักยภาพขององค์กรให้ รับมือกับความผันผวนในตลาดได้อย่างยัง่ ยืนและมีประสิทธิภาพ หากมอง ในอีกมุมหนึ่งของภาวะทีเ่ ต็มไปด้วยความกดดันและปัจจัยต่างๆ ทีท่ า้ ทาย เราเชื่อว่าปัจจัยเหล่านี้จะท�ำให้ผปู้ ระกอบการยางธรรมชาติรายใหม่ๆ ลด จ�ำนวนลงอย่างมีนยั ส�ำคัญและภาพรวมของอุตสาหกรรมยางธรรมชาติจะ มีการควบรวมกันมากยิง่ ขึน้ เรามีมมุ มองว่า ราคายางธรรมชาติทลี่ ดต�ำ่ ลงมา ในระดับปัจจุบนั จะไม่สามารถผลักดันการเติบโต และสร้างผลก�ำไรอย่าง ยั่งยืนต่อทุกๆ ผู้ประกอบการในห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมยาง ธรรมชาติได้ในระยะยาว
23
คณะกรรมการบริษัท
2
3
4
5
6
รายงานประจ�าปี 2557
1
24
1 ดร. ไวยวุฒิ สินเจริญกุล ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการผู้จัดการ
2 นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล รองประธานกรรมการ / กรรมการบริหาร
3 นายไชยยศ สินเจริญกุล กรรมการ / กรรมการบริหาร
4 นายกิติชัย สินเจริญกุล กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหา
5 นายลี พอล สุเมธ กรรมการ / กรรมการบริหาร
6 นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง
8
9
10
11
12
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
7
25
7 นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง
8 นายหลี่ ซื่อเฉียง กรรมการ
9 นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
11 นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 10 นายเกรียง ยรรยงดิลก 12 นายเนียว อา แชบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณา ประธานกรรมการสรรหา / กรรมการ ค่าตอบแทน พิจารณาค่าตอบแทน
คณะผู้บริหาร
2
4
5
รายงานประจ�าปี 2557
3
1
26
3 นายอาศรม อักษรน�า ผู้จัดการสายงานการผลิต
1 นางประไพ ศรีสุทธิพงศ์ ผู้จัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ
2 นายเฉลิมภพ แก่นจัน ผู้จัดการสายงานการผลิต
4 นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์ ผู้จัดการสายงานควบคุมคุณภาพ
5 นางสาวลิม ลิ ป ง Controller
7
8
9
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
6
27
6 นายรัฐพงศ์ ลาภาโรจน์กิจ ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม
7 นายพันเลิศ หวังศุภดิลก ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม
8 นายอุดม พฤกษานุศักดิ์ ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล
9 นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน์ ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล
ผู้จัดการสายงาน สรรหาวัตถุดิบ
ผู้จัดการสายงาน การผลิต
ฝ่ายตรวจสอบภายใน
คณะกรรมการตรวจสอบ
ผังโครงสร้างองค์กร
ผู้จัดการสายงาน ควบคุมคุณภาพ
คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง
ผู้จัดการสายงาน บัญชี และการเงิน (CFO)
รายงานประจ�าปี 2557
Controller
กรรมการผู้จัดการ
คณะกรรมการบริหาร
ผู้จัดการสายงาน วิศวกรรม
ผู้จัดการสายงาน การตลาด
คณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน
คณะกรรมการบริษัท
28 ผู้จัดการสายงาน ทรัพยากรบุคคล
คณะกรรมการสรรหา
ผู้จัดการสายงาน กฎหมายและ บริหารทั่วไป
บมจ. ศรีตรัง เป็นผู้ประกอบการยางธรรมชาติแบบครบวงจรรายใหญ่ที่สุดของโลก โดยมีส่วนแบ่งทางการตลาดประมาณ ร้อยละ 10 ของความต้องการยางธรรมชาติทวั่ โลก และมีผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติขนั้ พืน้ ฐานทุกประเภท เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ที่หลากหลายของลูกค้าทั่วโลก ได้แก่ ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และน�้ายางข้น ด้วยก�าลังการผลิตกว่า 1.4 ล้านตันต่อปีจาก จ�านวนโรงงานรวม 26 โรงงาน ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่ที่สุดสองอันดับแรกของโลก ได้แก่ ประเทศไทย และประเทศอินโดนีเซีย บมจ. ศรีตรัง จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2530 ในรูปบริษัทจ�ากัด และได้เสนอขายหุ้นต่อประชาชนในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยได้น�าหุ้นเข้า จดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2534 ต่อมาได้แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจ�ากัดเมื่อ วันที่ 27 ธันวาคม 2536 และในเดือนมกราคม 2554 บมจ. ศรีตรัง ได้เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อประชาชนทั่วไปในประเทศสิงคโปร์ และได้น�าหุ้น เข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สงิ คโปร์เมือ่ วันที่ 31 มกราคม 2554 ในปัจจุบนั บมจ. ศรีตรัง เป็นบริษทั ยางพาราบริษทั เดียว ในประเทศไทยที่ด�ารงสถานะการจดทะเบียนหลักทรัพย์ทั้งในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ นอกเหนือจากธุรกิจการผลิต และจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และสร้างรายได้หลักให้กับบมจ. ศรีตรัง อย่างมั่นคงมา โดยตลอดแล้ว บมจ. ศรีตรัง ยังได้รว่ มลงทุนกับบริษทั ต่างชาติในธุรกิจผลิตสินค้าส�าเร็จรูป โดยมีโรงงานผลิตถุงมือยางทีใ่ ช้ในทางการแพทย์ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย และเป็นหนึ่งในผู้น�าด้านการผลิตถุงมือยางระดับโลก อีกทั้งมีโรงงานผลิตสายไฮดรอลิกแรงดันสูงที่ใช้ในอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดใน ประเทศไทย นอกจากนี้ บมจ. ศรีตรัง ยังได้ขยายธุรกิจไปสูก่ ารลงทุนในสวนยางพาราขนาดใหญ่ในประเทศไทยอีกด้วย ซึง่ ในปัจบุ นั มีพนื้ ทีท่ ไี่ ด้ทา� การปลูก ต้นยางพาราไปแล้วจ�านวน 38,502 ไร่ ใน 17 จังหวัด
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
29
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการที่ส�าคัญ ร่วมจัดตัง้ Sempermed USA, Inc. เพือ่ บริหารจัดการการ เริม่ ประกอบธุรกิจการผลิตยางแผ่นรมควันทีอ่ า� เภอหาดใหญ่ 2541 2530 จั ง หวั ด สงขลา ประเทศไทย โดยมี ท น ุ จดทะเบี ย นเริ ม ่ ต้ น ที ่ เมษายน จัดจ�าหน่าย และท�าการตลาดถุงมือยางที่ใช้ในทางการ เมษายน แพทย์และอุตสาหกรรมในสหรัฐอเมริกา
31 ล้านบาท
จัดตั้ง Sri Trang International ในสิงคโปร์ซึ่งเป็น จัดตัง้ บจ. อันวาร์พาราวูด เพือ่ ด�าเนินกิจการผลิตไม้ยางพารา 2545 2530 เมษายน ศูนย์กลางการซื้อขายยางธรรมชาติส�าหรับผู้ใช้รายส�าคัญ ตุลาคม ส�าหรับอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ รวมถึงผลิตไม้ยางพารา เพื่อใช้เป็นแหล่งจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของ บริษัทให้แก่ลูกค้าทั่วโลก
เพือ่ เป็นพาเลทส�าหรับรองรับสินค้าภายในโรงงานของกลุม่ บริษัท
จัดตั้ง บจ. รับเบอร์แลนด์ เพื่อด�าเนินกิจการผลิตน�้ายาง จัดตัง้ Sri Trang USA, Inc. เพือ่ เน้นการจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ 2531 2547 ข้ น ซึ ง ่ เป็ น โรงงานผลิ ต น� า ้ ยางข้ น แห่ ง แรกของกลุ ม ่ บริ ษ ท ั มีนาคม มีนาคม ยางธรรมชาติของบริษัทไปยังสหรัฐอเมริกา ขยายธุรกิจไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีนโดยการจัดตัง้ ทีม ร่วมจัดตัง้ บจ. สยามเซมเพอร์เมด กับ Semperit Technische 2547 2532 มกราคม Produkte เพือ่ ด�าเนินกิจการผลิตถุงมือยางทีใ่ ช้ในทางการ กรกฎาคม การขายในเมืองชิงเต่าและเซี่ยงไฮ้ เพื่อท�าการจ�าหน่าย ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทโดยตรง
รายงานประจ�าปี 2557
แพทย์
30
ร่วมจัดตัง้ บจ. ไทยเทค กับ บจ. เซาท์แลนด์ รับเบอร์ และ จัดตั้ง PT Sri Trang Lingga ในอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นแหล่ง 2533 2548 Itochu Corporation Limited เพื ่ อ ขยายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ มีนาคม มกราคม จัดหาและผลิตยางธรรมชาติแห่งแรกของบริษัทที่อยู่นอก ครอบคลุมถึงยางแท่ง
ประเทศไทย
เสนอขายหุน้ ต่อประชาชนในประเทศไทยและน�าหุน้ เข้าจด ร่วมจัดตัง้ Semperflex Shanghai เพือ่ ผลิตสายไฮดรอลิค 2534 2548 ทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย สิงหาคม กรกฎาคม แรงดันสูงในสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดตั้ง บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต เพื่อให้ Sri Trang International ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ได้รับรางวัล 2537 2550 มกราคม บริการสนับสนุนด้านการขนส่งแก่ธุรกิจของกลุ่มบริษัท กุมภาพันธ์ ที่หนึ่งในฐานะผู้ท�าการซื้อขายสูงสุดจาก Singapore Commodity Exchange Limited
จัดตั้ง บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง เพื่อสนับสนุนทาง จัดตัง้ บจ. ศรีตรังแพลนเทชัน่ เพือ่ ลงทุนในสวนยางพารา 2537 2550 มีนาคม ด้านวิจยั และพัฒนา รวมทัง้ ให้บริการด้านวิศวกรรมบริการ ธันวาคม ซึ่งเป็นธุรกิจต้นน�้า ให้แก่กลุ่มบริษัท
Sri Trang International ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย ได้รบั รางวัลทีส่ อง ร่วมจัดตัง้ Shanghai Semperit กับ Semperit Technische 2551 2538 กุมภาพันธ์ ในฐานะผูท้ า� การซือ้ ขายสูงสุดจาก Singapore Commodity พฤษภาคม Produkte เพื่อด�าเนินกิจการผลิตราวจับบันไดเลื่อน Exchange Limited
จัดตั้ง บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ เพื่อลงทุนในธุรกิจต้นน�้า จัดตั้ง Sempermed Singapore ร่วมกับ Semperit 2538 2551 กันยายน และเข้าเป็นเจ้าของสวนยางพาราในภาคใต้ของประเทศไทย พฤษภาคม Technische Produkte เพื่อเข้าซื้อ Sempermed Brasil
ซึ่งเป็นผู้จัดจ�าหน่ายถุงมือยางที่ใช้ในทางการแพทย์ใน บราซิล เข้าซือ้ PT Star Rubber ซึง่ เป็นโรงงานผลิตยางแท่งแห่ง สิงหาคม ที่สองของบริษัทในอินโดนีเซีย
ร่วมจัดตั้ง บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเชีย กับ Semperit 2539 2552 มีนาคม Technische Produkte เพือ่ ท�าการผลิตสายไฮดรอลิคแรง ดันสูง
บมจ. ศรีตรัง ออกและจ�าหน่ายหุน้ กูจ้ า� นวน 2 ชุด ให้แก่ผล้ ู งทุน บมจ. ศรีตรัง ได้รับรางวัล Prime Minister’s Export 2556 2552 Award 2009 (ผู ส ้ ง ่ ออกยอดเยี ย ่ ม) ส� า หรั บ การเป็ น ผู ส ้ ง ่ กุมภาพันธ์ สถาบันและผูล้ งทุนรายใหญ่รวมจ�านวน 900 ล้านบาท เพือ่ ธันวาคม เป็นเงินทุนหมุนเวียน และขยายกิจการของกลุ่มบริษัท
ออกไทยยอดเยี่ยมที่ส่งออกสินค้าไปยังตลาดสาธารณรัฐ ประชาชนจีน โดยพิจารณาจากปริมาณการส่งออกของ ผลิตภัณฑ์ประเภทยางธรรมชาติ
เพิม่ ทุนจดทะเบียน PT Star Rubber ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยใน จัดตัง้ Shi Dong Shanghai ในเซีย่ งไฮ้ ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย 2556 2553 ประเทศอิ นโดนีเซีย จาก 32 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา สิงหาคม ในสาธารณรัฐประชาชนจีนบริษทั แรกของบริษทั เพือ่ ขยาย พฤษภาคม
เป็น 62 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา เพื่อรองรับการขยาย ก�าลังการผลิตโดยการเพิ่มทุนผ่านทางบริษัทย่อย Sri Trang International
ฐานการด�าเนินธุรกิจในสาธารณรัฐประชาชนจีน
จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ ซึ่งถือเป็นบริษัท จดทะเบียนไทยแห่งแรกที่เข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนใน ประเทศสิงค์โปร์
โรงงานยางแท่งแห่งใหม่ในจังหวัดอุบลราชธานีของ บมจ. 2556 กรกฎาคม ศรีตรัง เริม่ ท�าการผลิตด้วยก�าลังการผลิต 60,000 ตันต่อปี
จัดตั้ง Sri Trang Ayeyar โดยการร่วมลงทุนกับบริษัท บมจ. ศรีตรัง ออกและจ�าหน่ายหุน้ กูจ้ า� นวน 2 ชุด ให้แก่ผลู้ งทุน 2556 2554 ตุลาคม Ayeyar Hinthar Holdings จ�ากัด เพื่อขยายฐานการผลิต ธันวาคม สถาบัน และผูล้ งทุนรายใหญ่รวมจ�านวน 2,150 ล้านบาท ซึ่งถือเป็นหุ้นกู้แรกของผู้ผลิตยางพาราในประเทศไทย
ยางธรรมชาติในประเทศพม่า
บมจ. ศรีตรัง ได้รับรางวัล Prime Minister’s Export 2556 บจ. เซมเพอร์ฟอร์ม แปซิฟิก เสร็จสิ้นการจดทะเบียนการ 2555 สิงหาคม Award 2012 ส�าหรับการเป็นผูส้ ง่ ออกยอดเยีย่ มทีม่ มี ลู ค่า พฤศจิกายน ช�าระบัญชี การส่งออกมากกว่า 5,000 ล้านบาท
31
การขยายก�าลังการผลิตจ�านวน 60,000 ตันต่อปีของ PT 2556 การขยายก�าลังการผลิตจ�านวน 50,000 ตันต่อปีของบมจ. 2556 ธันวาคม ศรีตรัง สาขาสิเกา เสร็จสมบูรณ์ มกราคม Sri Trang Lingga เสร็จสมบูรณ์ส่งผลให้ PT Sri Trang Lingga เป็นโรงงานยางแท่งที่มีก�าลังการผลิตสูงที่สุดใน ประเทศอินโดนีเซียด้วยก�าลังการผลิตรวม 166,000 ตัน ต่อปี
จัดตั้ง Sri Trang Indochina ในเมืองโฮจิมินห์ ซึ่งเป็น บริษัทย่อยแห่งแรกในประเทศเวียดนาม เพื่อซื้อขายและ ท�าการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติในประเทศเวียดนาม
2557 มกราคม
โรงงานยางแท่งแห่งใหม่ของ บมจ. ศรีตรัง ในจังหวัดพิษณุโลกเริ่มด�าเนินการผลิตด้วยก�าลังการผลิต 60,000 ตันต่อปี เพิ่มทุนจดทะเบียน บจ. ศรีตรังรับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น 800 ล้านบาท เพื่อสนับสนุนการขยายธุรกิจต้นน�้าของกลุ่มบริษัท
ตุลาคม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
บมจ. ศรีตรัง เสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนต่อประชาชนทัว่ ไป 2554 มกราคม ในประเทศสิงคโปร์และน�าหุน้ เข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์
โรงงานน�้ายางข้นแห่งใหม่ในจังหวัดอุบลราชธานีของ บมจ. ศรีตรัง ซึ่งถือเป็นโรงงานน�้ายางข้นแห่งแรกของกลุ่มบริษัทในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มเปิดด�าเนินการด้วยก�าลังการผลิต 10,000 ตันต่อปี
ผลิตภัณฑ์และบริการ
รายงานประจ�ำปี 2557
ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ
32
ผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป
ธุรกิจอื่นๆ
1. ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่ท�ารายได้ให้กับบริษัทฯ คิดเป็นร้อยละ 97 ของรายได้รวมในปี 2557 บริษัทฯ ผลิต และจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติพื้นฐานที่ครอบคลุมทุกความต้องการของลูกค้า โดยมีจ�านวนทั้งสิ้น 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน และน�้ายางข้น ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ
ชนิดที่จ�าหน่าย
การน�าไปใช้งาน
ผลิตในประเทศไทย • STR • STR CV • STR Compound ผลิตในประเทศอินโดนีเซีย • SIR • SIR Compound
ส่วนมากใช้เป็นวัตถุดิบส�าหรับ อุตสาหกรรมยางล้อ
• แบ่งได้เป็น 5 ประเภท คือ RSS1, RSS2, RSS3, RSS4 และ RSS5 • ยางแก้ว (ADS) • RSS 1XL
เป็นวัตถุดิบส�าหรับอุตสาหกรรม ยางล้อ อะไหล่รถยนต์ สายพาน ท่อน�้า รองเท้า ฯลฯ
• น�้ายางข้น 60% • HA – High Ammonia Latex • MA – Medium Ammonia Latex • LA – Low Ammonia Latex • Double Centrifuge Latex
เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมผลิต ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ยางยืด กาว ฯลฯ
2. ยางแผ่นรมควัน
3. น�้ายางข้น
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
1. ยางแท่ง
33
โรงงานและก�าลังการผลิต
วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน และ น�้ายางข้น ได้แก่ ยางก้อนถ้วย ยางแผ่นดิบ และน�้ายางสด ตามล�าดับ กระบวนการสรรหาวัตถุดิบมีส่วนส�าคัญเป็นอย่างมากต่อความส�าเร็จใน การด�าเนินธุรกิจ เนื่องจากต้นทุนการผลิตประมาณ 94% มาจากต้นทุน วัตถุดบิ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงให้ความส�าคัญในการจัดตัง้ และขยายเครือข่าย ศูนย์กลางการจัดหาวัตถุดิบ (Procurement Centre) เพื่อลดต้นทุนการ รับซือ้ วัตถุดบิ ผ่านคนกลาง ณ วันที ่ 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ มีศนู ย์กลาง การจัดหาวัตถุดิบซึ่งล้วนตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่ส�าคัญที่ใกล้กับแหล่ง วัตถุดบิ รวมจ�านวนทัง้ สิน้ 83 แห่ง โดย 56 แห่งตัง้ อยูใ่ นประเทศไทย และ อีก 27 แห่งในประเทศอินโดนีเซีย
กลุ่มบริษัทศรีตรังฯ เป็นผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่ที่สุดของโลก ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มีโรงงานผลิตยางธรรมชาติทั้งสิ้นจ�านวน 26 โรง แบ่งออกเป็นในประเทศไทยจ�านวน 24 โรง และในอินโดนีเซีย จ�านวน 2 โรง มีประมาณการก�าลังการผลิตที่สามารถผลิตยางธรรมชาติ ได้รวม 1.4 ล้านตันต่อปี โดยก�าลังการผลิตของบริษทั ฯ นัน้ ถูกก�าหนดด้วย ขนาดพื้นที่ใช้สอย สายงานผลิต ปริมาณเครื่องจักร และแรงงานคน ส�าหรับปี 2557 บริษัทฯ มีอัตราการใช้ก�าลังการผลิตที่ระดับร้อยละ 72.8 นอกจากนีใ้ นปี 2557 บริษทั ฯ ได้ขยายฐานการผลิตยางแท่งไปยังประเทศ พม่าผ่านบริษัทย่อย Sri Trang Ayeyar โดยโรงงานแห่งใหม่คาดว่าจะ เริ่มด�าเนินการได้ภายในปี 2558
การขาย การตลาด และลูกค้า
การขนส่ง โลจิสติกส์ และการบ�ารุงรักษา
นอกเหนือจากการจัดจ�าหน่ายจากประเทศไทยและประเทศอินโดนีเซียซึง่ เป็นฐานการผลิตของบริษัทฯแล้ว บริษัทฯ ยังได้จัดตั้งเครือข่ายการซื้อ ขายและจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติใน 4 ตลาดหลัก ซึ่งได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน และเวียดนาม โดยด�าเนินการผ่านบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ได้แก่ Sri Trang International, Sri Trang USA, Inc., Shi Dong Shanghai และ Sri Trang Indochina ตามล�าดับ การทีบ่ ริษทั ฯ มีเครือข่ายดังกล่าวประกอบกับมีหน่วยงานด้าน การขายที่แข็งแกร่ง ส่งผลให้บริษัทฯ มีเครือข่ายลูกค้าชั้นน�าในหลาก หลายประเทศทั่วโลก ทั้งในทวีปเอเชีย เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย สิงคโปร์ ญี่ปุ่น เวียดนาม มาเลเซีย และเกาหลี รวมถึงใน สหรัฐอเมริกา และยุโรป
การขนส่งภายในประเทศไทย บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซเพรส ทรานสปอร์ต ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ จะเป็นผู้ให้บริการขนส่ง และโลจิสติกส์ ส�าหรับการจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ นอกจากนี้ ยังให้ บริการจัดเตรียมเคลื่อนย้ายสินค้าลงเรือ จัดเตรียมเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยว กับการน�าเข้าและส่งออก ให้บริการรถยกสินค้า ให้เช่าและบริการซ่อมบ�ารุง แก่บริษัทอื่นๆ ในกลุ่มบริษัทฯ อีกด้วย
รายงานประจ�าปี 2557
การจัดหาและบริหารจัดการวัตถุดิบ
34
การบ�ารุงรรักษาและพัฒนาวิจยั การผลิต บจ. พรีเมียร์ซสิ เต็มเอ็นจิเนียริง่ ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ซึง่ มีความรูแ้ ละประสบการณ์ในงานวิศวกรรม เป็นผูใ้ ห้บริการบ�ารุงรักษาเครือ่ งจักรและอุปกรณ์และคิดค้นพัฒนากระบวน การผลิตอันทันสมัยให้แก่กลุ่มบริษัทฯ
2. ผลิตภัณฑ์ส�าเร็จรูป
การจัดหาและการจัดการวัตถุดิบ วัตถุดิบหลักที่ บจ. สยามเซมเพอร์เมด ต้องใช้ในกระบวนการผลิตถุงมือยาง คือ น�้ายางข้น และเนื่องจากบริษัทในกลุ่มศรีตรังเป็นผู้ผลิตน�้ายางข้น บจ. สยามเซมเพอร์เมด จึงมีความได้เปรียบคูแ่ ข่งในเรือ่ งของการจัดหาวัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงสุด เพือ่ ผลิตสินค้าเพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ทั่วโลก
โรงงานและก�าลังการผลิต ณ วันที ่ 31 ธันวาคม 2557 มีโรงงานจ�านวน 4 โรงงาน และมีกา� ลังการผลิตต่อปีรวมประมาณ 14,000 ล้านชิน้ บริษทั ฯ เชือ่ ว่า บจ. สยามเซมเพอร์เมด เป็นผู้ผลิตถุงมือทางการแพทย์ที่มีก�าลังการผลิตสูงสุดในประเทศไทยและเป็นหนึ่งในผู้น�าทางด้านการผลิตถุงมือยางธรรมชาติและถุงมือยางไนไตรล์ ระดับโลก
การขายและการตลาด บริษัทฯ และ หุ้นส่วนทางธุรกิจของบริษัทฯ ได้ร่วมกันจัดตั้งบริษัทอีกสองบริษัท ได้แก่ Sempermed USA, Inc. และ Sempermed Brasil ซึ่งท�าหน้าที่ หลักด้านการขายและจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ถุงมือยางของ บจ. สยามเซมเพอร์เมด ในอเมริกาเหนือและลาตินอเมริกา ต่อมาภายหลัง Sempermed Brasil ได้หยุดการด�าเนินธุรกิจในอเมริกาใต้แล้ว
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
บจ. สยามเซมเพอร์เมด ซึ่งเป็นความร่วมมือทางธุรกิจระหว่าง กลุ่มบริษัทศรีตรัง และ Semperit Technische Produkte เป็นผูผ้ ลิตถุงมือทีใ่ ช้ในวงการแพทย์ทมี่ กี �าลังการผลิตสูงสุดใน ประเทศไทย และเป็นหนึ่งในผู้น�าทางด้านการผลิตถุงมือยาง ธรรมชาติและถุงมือยางไนไตรล์ระดับโลก
35
รายงานประจ�าปี 2557
3. ธุรกิจอื่นๆ
36
ธุรกิจสวนยางพารา
ธุรกิจแปรรูปและผลิตไม้ยางพารา ธุ ร กิ จ ผลิ ต และจ� า หน่ า ยสาย ธุรกิจผลิตและจ�าหน่ายราวจับ ไฮดรอลิก ส�าหรับบันไดเลื่อน
ธุรกิจสวนยางพาราด�าเนินการผ่าน บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น ณ วันที ่ 31 ธันวาคม 2557 มีพื้นที่สวน ยางพาราที่ ไ ด้ ป ลู ก ไปแล้ ว รวม ประมาณ 38,502 ไร่ * ใน 17 จังหวัด ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตภาค เหนื อ และภาคตะวั น ออกเฉี ย ง เหนือของประเทศไทย
ธุรกิจแปรรูปอบแห้งไม้ยางพารา และไม้อื่นๆ เพื่อใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ และเฟอร์นเิ จอร์จา� หน่ายทัง้ ในและ ต่างประเทศ ซึ่งด�าเนินงานผ่าน บจ. อันวาร์พาราวูด ซึ่งเป็นบริษัท ย่อยของ บมจ. ศรีตรัง
ธุรกิจผลิตและจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ ท่อไฮโดรลิคแรงดันสูงส�าหรับโรงงาน อุตสาหกรรมหนัก อุตสาหกรรม เหมืองแร่ และอุตสาหกรรมอื่นๆ ซึ่งด�าเนินงานผ่าน บจ. เซมเพอร์ เฟล็กซ์ เอเซีย และ Semperflex Shanghai ทีก่ อ่ ตัง้ โดยความร่วมมือ ของ บมจ. ศรีตรัง และ Semperit Technische Produkte เครือข่าย การจ� า หน่ า ยครอบคลุ ม ประเทศ สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ จีน อินเดีย บราซิล และออสเตรีย ปัจจุบนั บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย เป็นผูผ้ ลิต ท่อไฮโดรลิคแรงดันสูงที่ใหญ่ที่สุด ในประเทศไทย
บริษทั ฯ มีสว่ นร่วมในธุรกิจผลิตและ จ�าหน่ายราวจับส�าหรับบันไดเลื่อน และทางเลื่อนอัตโนมัติคุณภาพสูง ผ่าน Shanghai Semperit ซึ่งเป็น บริษัทชั้นน�าในอุตสาหกรรมราวจับ บันไดเลื่อนของโลก
หมายเหตุ * จ�านวนทีด่ นิ ดังกล่าวได้แก่ทดี่ นิ ทีบ่ ริษทั ฯ ถือครองโฉนดจ�านวน 36,057 ไร่ และจ�านวนทีด่ นิ ทีบ่ ริษทั ฯถือครองกรรมสิทธิท์ ตี่ ดิ ภาระห้ามโอนภายในเวลาทีก่ า� หนด หรือที่ดินที่บริษัทฯ มีสิทธิเหนือพื้นดินโดยการจ่ายภาษีบ�ารุงท้องที่ทั้งสิ้น 2,445 ไร่
บจ. ไทยเทค
33.0%
Itochu Corporation
10.0%
PT Sri Trang Lingga
90.0%
33.5%
50.0%
บจ. สะเดา พี.เอส. รับเบอร์
99.9%
บจ. เซาท์แลนด์ 33.5% รับเบอร์
42.5%
บจ. หน�่าฮั่ว
99.9%
40.2%
บจ. รับเบอร์แลนด์
99.9%
ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ
Shanghai Semperit
Semperflex Shanghai
บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย
Shanghai Sempermed
100.0%
บจ. สยามเซมเพอร์เมด
สินค้าส�าเร็จรูป
โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 สามารถแสดงได้ดังนี้.
90.0%
50.0%
50.0%
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
Sempermed Brasil
99.9%
40.0%
99.9%
99.9%
99.9%
Semperit Technische Produkte
PT Star Rubber
99.9%
Sri Trang Ayeyar
Sri Trang Indochina
Shi Dong Investments
99.0%
บจ. สยามเซมเพอร์เมด
100.0%
50.0%
Sempermed Singapore 50.0%
82.9% Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd.
25.0%
50.0%
Sempermed USA, Inc.
Shi Dong Shanghai
100.0%
59.0%
100.0%
100.0%
25.0%
Sri Trang USA, Inc.
100.0%
Sri Trang International
จัดจ�าหน่าย
บมจ. ศรีตรัง Semperit Technische Produkte 50.0% 100.0%
โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท
37
บจ. ศรีตรังรับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น
บจ. พัฒนาเกษตร ล่วงหน้า
บจ. สตาร์ ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต
บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์
บจ. พรีเมียร์ซิสเต็ม เอ็นจิเนียริ่ง
บจ. อันวาร์พาราวูด
บริการ/ธุรกิจอื่น
44.5%
บมจ. ลีพัฒนา ผลิตภัณฑ์
โครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัท
รายงานประจ�ำปี 2557
ประเภทของธุรกิจ/ ด�ำเนินการโดย
38
สัดส่วนการถือ หุน้ โดยบริษทั ฯ (ร้อยละ)
รายได้จากผลิตภัณฑ์ยางแท่ง บมจ. ศรีตรัง
100.0
Sri Trang USA, Inc.
100.0
บจ. รับเบอร์แลนด์
99.9
บจ. หน�่ำฮั่ว
99.9
PT Sri Trang Lingga
90.0
Shi Dong Shanghai
100.0
100.0
Sri Trang USA, Inc.
100.0
Shi Dong Shanghai
ล้านบาท
(%)
ล้านบาท
(%)
77,499.7
77.5
70,773.7
76.6
57,512.4
76.0
13,591.0
13.6
12,845.5
13.9
9,818.5
13.0
6,436.4
6.4
6,047.4
6.5
5,631.5
7.4
99.9 100.0
รายได้จากผลิตภัณฑ์นำ�้ ยางข้น บมจ. ศรีตรัง
(%)
2557
-
Sri Trang International บจ. หน�่ำฮั่ว
ล้านบาท
2556
99.0
รายได้จากผลิตภัณฑ์ยางแผ่นรมควัน บมจ. ศรีตรัง
2555
-
Sri Trang International
PT Star Rubber
ประจ�ำปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
-
Sri Trang International
100.0
Shi Dong Shanghai
100.0
ประเภทของธุรกิจ/ ด�ำเนินการโดย Sri Trang USA, Inc.
สัดส่วนการถือ หุน้ โดยบริษทั ฯ (ร้อยละ)
ประจ�ำปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555
ล้านบาท
2556
(%)
ล้านบาท
2557
(%)
ล้านบาท
(%)
100.0
บจ. รับเบอร์แลนด์
99.9
บจ. หน�่ำฮั่ว
99.9
รายได้จากผลิตภัณฑ์อนื่ และบริการอืน่ *
2,112.0
2.1
2,518.5
2.7
2,567.5
3.4
รายได้อื่น
363.9
0.4
260.0
0.3
121.1
0.2
รายได้รวม
100,003.0
100.0
92,445.1
100.0
75,651.0
100.0
-
บจ. อันวาร์พาราวูด
99.9
บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง
99.9
บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซเพรส ทรานสปอร์ต
99.9
บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์
99.9
บจ. รับเบอร์แลนด์
99.9
Sri Trang USA
100.0
Shi Dong Shanghai
100.0
ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
บมจ. ศรีตรัง
526.8
495.6
535.1
หมายเหตุ*: ประกอบไปด้วยรายได้จาก (ก) การจ�ำหน่ายไม้ยางพาราอบแห้งและบรรจุภัณฑ์ไม้ (ข) การให้บริการบางประเภท (เช่น บริการด้านการขนส่ง การวิจัยและ พัฒนา และเทคโนโลยีสารสนเทศ) แก่บริษัทร่วมของบริษัทฯและกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ รวมถึงบริษัทภายนอกอื่นๆ และ (ค) รายได้จากการรับจ้างผลิต ยางแผ่นรมควันให้แก่รัฐบาลไทยซึ่งเริ่มรับรู้ในไตรมาสที่ 3 ปี 2555 เป็นต้นมา
39
กลยุทธ์และเป้าหมายในการประกอบธุรกิจ เพื่อเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้แก่สถานะทางการตลาดในฐานะผู้น�ำตลาดโลกในการประกอบกิจการยางธรรมชาติภาย ใต้ปัจจัยกดดันจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและการแข่งขันที่รุนแรง บริษัทฯ จึงด�ำเนินกลยุทธ์ ในการประกอบธุรกิจ โดยมุ่งเน้นการสร้างและขยายขนาด และขีดความสามารถรวมถึงก�ำลังการผลิตในแต่ละขั้นตอนของ Supply Chain ของ ยางธรรมชาติตามแผนภาพดังต่อไปนี้
รายงานประจ�ำปี 2557
1. การขยายเข้าสู่ธุรกิจ ต้นน�้ำสวนยางพารา
40
5. การสร้างฐานธุรกิจ ในประเทศใหม่
4. การขยายฐาน ลูกค้า
2. การพัฒนาการ จัดหาวัตถุดิบ
3. การขยายก�ำลังการผลิต อย่างต่อเนื่อง
1. การขยายเข้าสู่ธุรกิจต้นน�้ำสวนยางพารา
4. การขยายฐานลูกค้า
2. การพัฒนาการจัดหาวัตถุดิบ
5. การสร้างฐานธุรกิจในประเทศใหม่
การสรรหาวัตถุดิบถือได้ว่าเป็นหัวใจในการประกอบธุรกิจผลิตยาง ตลอดระยะเวลาเกือบ 30 ปี ในการเป็นผู้ผลิตหลักให้แก่ธุรกิจสินค้า ธรรมชาติ เนื่องจากต้นทุนส่วนใหญ่ได้แก่ต้นทุนค่าวัตถุดิบ ดังนั้น โภคภัณฑ์ของโลก บริษัทฯ ได้มุ่งเน้นตั้งฐานการผลิตในประเทศไทย บริษัทฯ จึงริเริ่มแผนการปรับปรุงระบบและขั้นตอนในการซื้อขาย และประเทศอินโดนีเซียซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติหลักของ วัตถุดิบเพื่อสร้างความรู้สึกที่ดีให้กับผู้มาขายวัตถุดิบยาง และพัฒนา โลก อย่างไรก็ตาม ภายใต้ความท้าทายของการเคลือ่ นย้ายเงินทุนและ ระบบในการสร้าง และพัฒนาความสัมพันธ์กบั ผูข้ ายวัตถุดบิ ในระยะยาว แรงงานอันเป็นผลจาก ASEAN (สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ตลอดจนพัฒนาการสือ่ สารเพือ่ ให้ผขู้ ายส่งมอบวัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพตรง ออกเฉียงใต้) ตลอดจนระดับการการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นจากการเติบโต ตามความต้องการของโรงงาน ซึ่งเป็นการช่วยลดต้นทุนและเพิ่ม อย่างรวดเร็วของการผลิตยางธรรมชาติของประเทศรอง อาทิ ประเทศ ประสิทธิภาพในการผลิต CAMAL และประเทศเวียดนาม ส่งผลให้บริษทั ฯ ต้องเริม่ มองหาฐาน ธุรกิจแหล่งใหม่ ในปี 2557 กลุ่มบริษัทฯ ได้เพิ่มแหล่งก�ำลังการผลิต 3. การขยายก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนื่อง ใหม่ในประเทศพม่า และมีศูนย์กลางการขายและการจัดจ�ำหน่าย บริษัทฯ ได้ท�ำการลงทุนอย่างต่อเนื่องในการขยายธุรกิจทั้งแบบการ แหล่งใหม่เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งแห่งในประเทศเวียดนามซึ่งเป็นประเทศผู้ พัฒนาภายในบริษัทฯ (Organic Growth) และการควบรวมหรือซื้อ ผลิตยางธรรมชาติอันดับ 3 ของโลก กิจการอืน่ (Inorganic Growth) เนือ่ งจากบริษทั ฯ เชือ่ ว่าการเพิม่ ส่วน แบ่งทางการตลาดจะเป็นปัจจัยผลักดันส�ำคัญสู่ความส�ำเร็จในการ ประกอบธุรกิจผลิตยางธรรมชาติในระยะยาว บริษัทฯ ได้พัฒนา กระบวนการผลิตที่ล�้ำสมัยของบริษัทฯ เองเพื่อรองรับกลยุทธ์การ เติบโตดังกล่าวนี้ โดยบริษทั ฯ คาดว่าจะขยายก�ำลังการผลิตให้เท่ากับ ประมาณ 1,700,000 ตันต่อปีภายในปี 2559 เนื่องจากเชื่อว่าการ ขยายก�ำลังการผลิตจะช่วยเพิม่ อัตราการประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) และเพิ่มความแข็งแกร่งในฐานะผู้น�ำอุตสาหกรรมยาง ธรรมชาติ
1
จ�ำนวนที่ดินดังกล่าวได้แก่ที่ดินที่บริษัทฯ ถือครองโฉนดจ�ำนวน 40,042 ไร่ และจ�ำนวนที่ดินที่บริษัทฯถือครองกรรมสิทธิ์ที่ติดภาระห้ามโอนภายในเวลาที่กำ� หนดหรือ ที่ดินที่บริษัทฯ มีสิทธิเหนือพื้นดินโดยการจ่ายภาษีบำ� รุงท้องที่ทั้งสิ้น 10,570 ไร่
หมายเหตุ*: กลุ่มประเทศ CAMAL ได้แก่ ประเทศกัมพูชา พม่า ลาว
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
เกือบสามทศวรรษที่บริษัทฯ ประกอบธุรกิจกลางน�้ำในอุตสาหกรรม กลยุทธ์ที่สำ� คัญในการขายของบริษัทฯ คือ ขายสินค้าที่ครอบคลุมทุก ยางธรรมชาติสง่ ผลให้บริษทั ฯ มีเครือข่ายธุรกิจกระจายทัว่ ทุกภูมภิ าค ความต้องการของลูกค้าทัว่ ทุกมุมโลก ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงด�ำเนินกลยุทธ์ บริษทั ฯ เชือ่ ว่าการมีสวนยางพาราเป็นของตนเองไม่เพียงท�ำให้บริษทั ฯ ในการขยายฐานลูกค้าอย่างต่อเนือ่ งโดยจะมุง่ เน้นตลาดทีม่ กี ารเติบโต ได้รบั ก�ำไรจากห่วงโซ่อปุ ทานเพิม่ ขึน้ แต่ยงั ช่วยเพิม่ โอกาสในการจัดหา อย่างรวดเร็วและตลาดใหม่ทมี่ ศี กั ยภาพในการเติบโตสูง การทีบ่ ริษทั ฯ วัตถุดิบในราคาที่เหมาะสมจากสวนยางแหล่งใหม่ ส่งผลให้บริษัทฯ ได้ขยายฐานลูกค้าไปในสาธารณรัฐประชาชนจีนในช่วงเกือบทศวรรษ มีเสถียรภาพในการท�ำก�ำไรเพิม่ มากขึน้ รูท้ นั สถานการณ์อปุ ทานของยาง ที่ผ่านมาได้ช่วยเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับสถานะทางการตลาดของ รวมถึงเพิม่ โอกาสในการขยายก�ำลังการผลิตโรงงานผลิตยางธรรมชาติ บริษทั ฯ เนือ่ งจากได้รบั ประโยชน์จากความเจริญเติบโตของอุปสงค์ของ โดยการจัดตั้งโรงงานแห่งใหม่ จากกลยุทธ์ดังกล่าว บริษทั ฯ จึงทยอย ยางธรรมชาติในสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ปัจจุบันได้ก้าวขึ้นมาเป็น สะสมซื้อที่ดินในประเทศไทยที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูกยางพารา ประเทศที่มีปริมาณการบริโภคยางธรรมชาติมากที่สุดในโลกหรือคิด และมีศกั ยภาพสูงในการให้ผลผลิต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ เป็นสัดส่วนประมาณ 1 ใน 3 ของความต้องการใช้ยางธรรมชาติ 1 ได้มีที่ดินส�ำหรับการปลูกสวนยางพารารวมจ�ำนวน 50,612 ไร่ ทั้งหมด ดังนั้น บริษัทฯ จึงยังคงขยายฐานลูกค้าในตลาดจีนอย่างต่อ กระจายอยูใ่ น 19 จังหวัดของประเทศไทย ในทีด่ นิ ดังกล่าวบริษทั ฯ ได้ เนื่องควบคู่กับการใช้วิสัยทัศน์ทางการตลาดของบริษัทฯ ขยายฐาน ท�ำการปลูกยางพาราเสร็จสิ้นไปแล้วจ�ำนวน 38,502 ไร่ ลูกค้าในตลาดใหม่ที่มศี ักยภาพการเจริญเติบโตสูง
41
ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ภาวะอุตสาหกรรม อุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติในปี 2557
12.3 12.4
11.9 12.0
11.3 12.1
11.0 11.3
11.0 11.1
10.8 10.4
9.4 9.7
10.2 10.1
10.1 10.1
9.7 9.9
9.2 9.0
8.7 8.8
แน้4.0วโน้มความต้องการยางธรรมชาติมแี นวโน้มทีจ่ ะเติบโตในอัตราทีช่ ะลอตัวลงในปี 2558 ก่อนทีจ่ ะปรับตัวขึน้ มาในระดับทีส่ ม�่าเสมอในปี 2559 เป็นต้น ไป โดยประมาณการความต้องการยางธรรมชาติทั่วโลกในปี 2558 อยู่ที่ 12,317,000 ตัน คิดเป็นการเติบโตร้อยละ 3.1 การชะลอตัวดังกล่าวเป็นผล 2.0 มาจากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของความต้องการที่รวดเร็วในปี 2557 และปริมาณสต็อกยางธรรมชาติที่ค้างมาจากปี 2557 ประเทศหลักที่คาดการณ์ว่าจะ มีก0.0 ารเติบโตของอุปสงค์มากคือ ประเทศจีน อินเดีย และสหรัฐอเมริกา ในขณะที่ประเทศญี่ปุ่นถูกคาดการณ์ว่าจะมีความต้องการยางธรรมชาติลดลง 2003 2004 ประมาณการณ์ 2005 2006 2008 ในปี 2009 2014f 2015f 2012 2013 ในส่วนของอุ ปทาน IRSG ได้ ว่าผลผลิ2007 ตยางธรรมชาติ 2558 จะเติ2010 บโตขึ้นร้อ2011 ยละ 3.1 เท่ ากับการเติ บโตของอุ ปสงค์ โดยมี ปริมาณ Demand การผลิตยางธรรมชาติทั้งสิ้น 12,394,000 ตัน โดยมีกลุ่มประเทศ CAMAL ประเทศอินเดียและประเทศจีน เป็นกลุ่มที่มีการเติบโตด้านผลผลิตยาง Supply บ ธรรมชาติ สูงที่สุด ในขณะที่ประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่สุดสามล�าดับ (ประเทศไทย ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศเวียดนาม) จะคงระดั Source: IRSG การผลิตไว้ค่อนข้างใกล้เคียงกับปี 2557 แผนภาพแสดงปริมาณความต้องการและการผลิตยางธรรมชาติของโลกโดยรวมในช่วงปี 2546 – 2558 หน�วย: ลานตัน
11.3 12.1
11.9 12.0
12.3 12.4
2551
11.0 11.3
2550
11.0 11.1
2549
10.8 10.4
2548
10.2 10.1
2547
10.1 10.1
8.0
9.7 9.9
10.0
9.2 9.0
12.0
9.4 9.7
14.0
8.7 8.8
42
6.0 มอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติในปี 2558 แนวโน้
7.9 8.1
รายงานประจ�าปี 2557
7.9 8.1
ตามข้อมูลประมาณการของ The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospect to 2023 ประจ�าเดือนธันวาคม 2557 โดย International Rubber Study Group (IRSG) ความต้องการใช้ยางธรรมชาติทั่วโลกในปี 2557 คาดว่าจะมีประมาณ 11,944,000 ตัน เติบโตในอัตราร้อยละ 5.3 (เมื่อปี 2556 ความต้องการมีการเติบโตเพียงร้อยละ 2.7) อัตราการเติบโตที่เพิ่มสูงขึ้นนี้เป็นผลมาจากอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นจากภาคอุตสาหกรรมการผลิต ยางรถยนต์ทวั่ โลก ซึง่ เป็นผูบ้ ริโภคหลักของยางธรรมชาติ หรือประมาณร้อยละ 70 ของปริมาณของอุปสงค์รวม โดยรวมแล้วความต้องการยางธรรมชาติ เติบโตขึ้นในเกือบทุกประเทศโดยเฉพาะประเทศจีน สหภาพยุโรป และอเมริกา ซึ่งเติบโตเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 8 ร้อยละ 7 และร้อยละ 4 ตามล�าดับ ในขณะที ่ความต้ องการยางธรรมชาติในประเทศญี่ปุ่นและประเทศรายย่อยอื่นๆในภาคพื้นเอเชียแปซิฟิกมีการปรับตัวลดลง ในขณะที่ปริมาณยาง Unit: Million Tons ธรรมชาติที่ผลิตได้ทั่วโลกนั้นมีการปรับตัวลดลงจากปี 2556 โดยมีปริมาณยางธรรมชาติที่ผลิตในปี 2557 รวมทั้งสิ้นประมาณ 12,020,000 ตัน ลดลง ร้14.0 อยละ 0.5 จากปีก่อนหน้า การปรับตัวลดลงของปริมาณการผลิตเป็นผลมาจากราคายางที่ปรับลดตัวลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกษตกรชะลอการ กรี ดยางและการปลูกยางพาราใหม่ การลดลงของอุปทานเกิดขึน้ ในภาคพืน้ เอชียแปซิฟคิ เป็นหลัก โดยมาเลเซีย และอินเดียมีปริมาณการผลิตยางธรรมชาติ 12.0 ลดลงถึงร้อยละ 15 และร้อยละ 14 ตามล�าดับ ในปี 2557 ซึ่งการลดลงดังกล่าวท�าให้ภาพรวมของประเทศในแถบเอเชียแปซิฟิคมีระดับการผลิตยาง 10.0 ธรรมชาติที่ลดลงในขณะที่ผลผลิตยางธรรมชาติจากประเทศเวียดนาม และกลุ่มประเทศในกลุ่ม CAMAL1 ยังมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง 8.0
2553
2554
2555
2556
2557f
2558f
6.0 4.0 2.0 0.0
2546
แหลงที่มาของขอมูล: IRSG 1
กลุ่มประเทศ CAMAL ได้แก่ ประเทศกัมพูชา พม่า และลาว
2552
อุปสงค อุปทาน
Thailand
4,169 3,101
Indonesia Vietnam
1,090
China
871
India
732
Malaysia
701
83% of Global Supply
ประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติที่ส�าคัญของโลก
Rest of 1,356 Word ยางพาราเป็ นพืชอายุยืนที่ปลูกได้เพียงบางพื้นที่ของโลกเท่านั้น ในปี 2557 ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่ที่สุดของโลกคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 34.7 รองลงมาได้ แก่500 ประเทศอินโดนี เซีย เวียดนาม จี นเดีย ที่สัดส่2,500 วนร้อยละ 25.8 ร้ 0 1,000 1,500 น และอิ 2,000 3,000อยละ 9.1 ร้ 3,500อยละ 7.2 และร้ 4,000 อยละ 6.1 ตาม 4,500 ล�Source: าดับ รวมผลผลิ ต ทั ง ้ 5 ประเทศคิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 82.9 ของผลผลิ ต โลกโดยรวม IRSG
แผนภาพแสดงปริมาณการผลิตยางธรรมชาติของโลกแยกตามประเทศในปี 2557 หน�วย: พันตัน
ไทย
4,169 3,101
อินโดนีเซีย เวียดนาม
1,090
จีน อินเดีย
732
มาเลเซีย
701
รอยละ 83 ของอุปทานรวม
1,356
อ�นๆ 0
500
1,000
1,500
2,000
2,500
3,000
3,500
4,000
4,500
แหลงที่มาของขอมูล: IRSG
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
871
43
ปัจจัยหลักที่กระทบปริมาณผลผลิตยางธรรมชาติ ปริมาณผลผลิตยางธรรมชาติขึ้นอยู่กับหลากหลายปัจจัย อาทิ ระยะเวลาการเจริญเติบโตกว่า 6-7 ปี จ�านวนพื้นที่ที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก จ�านวน พื้นที่ที่สามารถกรีดได้/ ปลูกใหม่/ ปลูกทดแทน อัตราค่าแรง ราคายาง และความเพียงพอของแรงงาน นอกจากนี้ ปริมาณผลผลิตของยางยังขึ้นอยู่ กับรอบฤดูกาลการกรีดในแต่ละพื้นที่ที่ปลูก พันธุ์ยาง สภาพภูมิอากาศ ความถี่ในการกรีดยาง และทักษะในการกรีดยางของชาวสวนยางอีกด้วย
China
4,495
EU-27
1,130
India
1,014
USA
947
Japan
678
69% of Global Demand
Rest้บofริโภคยางธรรมชาติที่ส�าคัญของโลก ประเทศผู Word
3,680
ประเทศจีนเป็นผู-บ้ ริโภคยางธรรมชาติ ร1,000 ายใหญ่ทสี่ ดุ คิ1,500 ดเป็นสัดส่ว2,000 นร้อยละ 37.6 ของปริ แ5,000 ก่ สหภาพ 500 2,500 มาณความต้ 3,000 องการยางธรรมชาติ 3,500 4,000ของโลก รองลงมาได้ 4,500 ยุโรป อินเดีย อเมริกา และญี่ปุ่น คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 9.5 ร้อยละ 8.5 ร้อยละ 7.9 และร้อยละ 5.7 ของปริมาณความต้องการยางธรรมชาติของ Source: IRSG โลก ตามล�าดับ รวมปริมาณการบริโภคทั้ง 5 ประเทศคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 69.2 ของปริมาณความต้องการของโลกโดยรวมในปี 2557 แผนภาพแสดงปริมาณความต้องการยางธรรมชาติของโลกแยกตามประเทศในปี 2557 หน�วย: พันตัน
จีน
4,495
รายงานประจ�าปี 2557
ยุโรป
44
20.0% อินเดีย 15.0% อเมริกา 10.0% ญี่ปุน 5.0% อ�นๆ 0.0%
1,130
6.0%
1,014
5.0%
947
4.0% รอยละ 69 ของอุปสงครวม3.0%
678
3,680
2003
500 20051,0002006 1,500 2,000 2009 2,500 2010 3,000 2004 2007 2008 2011 3,500 2012
แหล-5.0% งที่มาของขอมูล: IRSG
2.0%
4,000 2014f4,500 1.0% 2013 2015f 5,000
0.0%
ปัจ-10.0% จัยหลักที่กระทบปริมาณความต้องการยางธรรมชาติ
-1.0% การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโลกเป็นปัจจัยหลักทีม่ ผี ลต่อปริมาณการใช้ยางล้อและการเจริญเติบโตของปริมาณความต้ องการยางธรรมชาติ เนือ่ งจาก NR consumption growth (LHS) ปริSource: มาณยางธรรมชาติ ประมาณร้อยละ 70 น�าไปใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตยางล้อ ดังนั้น การเจริญเติบโตของปริ มาณความต้ GDP (RHS) องการยางธรรมชาติจึง IMF and IRSG ขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมยานยนต์เป็นหลัก แผนภาพแสดงการเปรียบเทียบระหว่างการเติบโตของความต้องการยางธรรมชาติกบั การเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมโลกระหว่างปี 2546 - 2558
20.0%
6.0%
15.0%
5.0%
10.0%
4.0% 3.0%
5.0% 0.0% -5.0%
2.0% 2546
2547
2548
-10.0% แหลงที่มาของขอมูล: IMF and IRSG
2549
2550 2551 2552
2553 2554 2555
2556 2557f 2558f
1.0% 0.0% -1.0%
การเติบโตของปริมาณ ความตองการยางธรรมชาติ (ซาย) ผลิตภัณฑมวลรวมของโลก (ขวา)
600
12,500 12,000
500
11,500 11,000
400 300
10,500 10,000
200
9,500 9,000
100
ความสมดุลของปริมาณอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติ
เนื่อ0งจากยางพาราใช้ระยะเวลาในการเจริญเติบโตประมาณ 6-7 ปี ก่อนที่จะสามารถกรีดได้ ดังนั้น ผลผลิตยางธรรมชาติจากต้นยางที่ป8,500 ลูกใหม่ในช่วง 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014f 2015f ที่ราคายางธรรมชาติอยู่ในระดับสูงในระหว่างปี 2548 – 2551 จึงเริ่มทยอยออกสู่ตลาดตั้งแต่ปี 2554 เป็นต้นไป ด้วยเหตุนี้ ปริมาณผลผลิตของโลก New planting (LHS) วของ คาดว่าจะยังคงมีส่วนเกินในอีกหลายปีข้างหน้า เนื่องจากอัตราการเจริญเติบโตของความต้องการยางธรรมชาติไม่มากพอที ่จะรองรั บการขยายตั Replanting ปริมาณการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม IRSG ได้คาดการณ์ว่าปริมาณผลผลิตส่วนเกินในปี 2557 จะปรับตัวลดลงอย่ างต่อเนื่อ(LHS) งจากจุดสูงสุดที่ 732,000 ตันในปี 2556 เหลือประมาณ 76,000 ตันในปี 2558 และจะคงอยู่ในระดับใกล้เคียงกันนี้ต่อไปในอีกหลายปีข้าTotal งหน้า area (RHS) Source: IRSG แผนภาพแสดงพื้นที่เพาะปลูกยางธรรมชาติในช่วงปี 2548 – 2558 หน�วย: พันเฮคเตอร Unit: Thousand Tons
หน�วย: พันเฮคเตอร
732
12,500 12,000
600 500 362
400 300 200 200 0 100 (200) 0 (400)
152
2003
2548
313
269 100
2004
2549
11,500 11,000 76
47
2005 (194)
2550
2006
2551
2007 (82)
2552
2008 (83)
2009
2553
2010
2554
(380)
2011
2555
2012
2556
2013
2014f
2557f
2558f
10,500 77 10,000 9,500 2015f 9,000 8,500
พื้นที่ปลูกใหม (ซาย) พื้นที่ปลูกทดแทน (ซาย) พื้นที่รวม (ขวา)
(600)
แหลงที่มIRSG าของขอมูล: IRSG Source:
แผนภาพแสดงปริมาณการผลิตยางธรรมชาติของโลกส่วนเกิน (ส่วนขาด) ในช่วงปี 2546 – 2558
หน�วย: พันตัน
800
732
600 362
400 200 0
152
2546
313
269 100
2547
(200) (400) (600) แหลงที่มาของขอมูล: IRSG
47
2548
2549
2550 (82)
2551 (83)
2552
2553
(194) (380)
2554
2555
2556
76
77
2557f
2558f
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
800 600
45
(US Cent: Kilogram)
Historic high
ราคายางธรรมชาติ inventory in 350
02/11/14 02/12/14
02/08/14 02/09/14 02/10/14
02/07/14
02/02/14 02/03/14 02/04/14 02/05/14 02/06/14
02/10/13 02/11/13 02/12/13 02/01/14
02/06/13 02/07/13 02/08/13 02/09/13
02/02/13 02/03/13 02/04/13 02/05/13
02/01/13
Speculation on QE tapering Strong USD against local currencies China ราคายางธรรมชาติมคี วามผันผวนไปตามปัจจัยต่างๆ เช่น 1) ภาวะเศรษฐกิจโลก ซึง่ ส่งผลโดยตรงต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมการผลิต ยางล้ ลดอลลาร์สหรัฐ เยน และสกุลท้องถิน่ ของประเทศผูผ้ ลิต Chinaตราแลกเปลีย่ นของเงินสกุลต่างๆ โดยเฉพาะสกุ 300 อ 2) ปริมาณอุปสงค์ และอุปทาน 3) อั Change in Thai of สcrude price liquidity Cess exemption ยางธรรมชาติหลักของโลก ซึ่งได้แก่ สกุcrunch ลบาท และรูเปียห์ เนื่องจากผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ส่วนใหญ่จ�าSignificant หน่ายในสกุลdrop ดอลลาร์ หรัฐ และ 4) ราคา Government น�้ามัน เนื่องจากยางสังเคราะห์เป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้จากการกลั่นน�้ามันดิบ โดยที่ยางธรรมชาติ และยางสังเคราะห์เป็นสินค้าทดแทนกันได้ 250 US higher tariff for Thai จGov’t ราคายางธรรมชาติในปี 2557 ยังได้รบั ปัจจัยลบจากปี 2556 จากปริมาณสต็อกยางในประเทศจีนทีพ่ งุ่ สูงขึน้ และการชะลอตั โลก โดยมี Chinese tire วของเศรษฐกิ Price การปรั รายใหญ่ที่สุด 200 บตัวลดลงอย่างต่อเนื่องในสามไตรมาสแรกเป็นผลมาจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนซึ่งเป็นประเทศผู้บริโภคยางธรรมชาติ Intervention farmer นที่สูงขึ้นของสหรัฐอเมริกา และราคาน�้ามันดิบที่ปรับตัวลดลงอย่างรุนแรง ในโลก สถานการณ์อุปทานส่วนเกิน อัตราภาษีน�าเข้ายางล้Thai อจากประเทศจี protest, ก่150 อนที่จะปรับตัวคงระดับราคาในไตรมาสที่สี่เนื่องจากปริมGovernment าณการผลิตที่ลดลงจากประเทศผู้ผลิตหลัก ผลกระทบของโครงการแทรกแซงทางราคาโดย provided รัฐบาลไทยในช่วงสิ้นปียังคงมีผลที่จ�ากัดเพียงตลาดในประเทศ โดยตลาดต่ างประเทศยังมิได้ปรับตัวสูงขึ้นในระดับเดียวกัน subsidy 100 น้ ตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาส่งผลให้คา่ เงินสกุลดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึน้ อย่างต่อเนือ่ งตลอดปี 2557 ส่งผลให้คา่ เงินสกุลบาท ริงกิต และรูเปียห์ การฟื
ปรับตัวอ่อนค่าลง ซึ่งการเคลื่อนไหวของค่าเงินในลักษณะนี้จะส่งผลให้ราคายางธรรมชาติที่ซื้อ-ขายในสกุลดอลลาร์สหรัฐปรับตัวลดลง
US Cent: กิโลกรัม
ปริมาณสตอกยาง ในจีนพุงสูง
350
การคาดการณตอการลดขนาด QE ปญหาสภาพ คลองในจีน
300 46
งดเก็บคาสงเคราะห การทำสวนยาง
250
การแข็งคาของสกุลเงินดอลลารสหรัฐ การเปลี่ยนรัฐบาล ของไทย
ราคาน้ำมันดิบปรับตัวลดลงอยางรุนแรง และตอเน�อง ภาษีนำเขายางจีนที่สูง ขึ้นของสหรัฐฯ
200 ชาวสวนยางประทวง ตอมารัฐบาลไทยได ใหเงินสนับสนุน
150
การแทรกแซง ราคาโดย รัฐบาลไทย
02/11/57 02/12/57
02/08/57 02/09/57 02/10/57
02/07/57
02/02/57 02/03/57 02/04/57 02/05/57 02/06/57
02/06/56 02/07/56 02/08/56 02/09/56
02/02/56 02/03/56 02/04/56 02/05/56
02/01/56
100 02/10/56 02/11/56 02/12/56 02/01/57
รายงานประจ�าปี 2557
แผนภาพแสดงราคายาง STR 20 ในช่วงปี 2556-2557
ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์เป็นทัง้ สินค้าทดแทนกันและสินค้าใช้รว่ มกัน ยางธรรมชาติมคี ณ ุ สมบัตยิ ดื หยุน่ สูงและทนต่อแรงฉีกขาดได้ดกี ว่า ในขณะที่ ยางสังเคราะห์จะทนต่ออุณหภูมิในกรอบที่กว้างกว่าและทนต่อน�้ามัน สารตัวท�าละลาย ตลอดจนสารเคมีอื่นๆได้ดีกว่า ดังนั้น ยางล้อจึงจ�าเป็นต้องมี ส่วนผสมของทัง้ ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ อย่างไรก็ตาม ยางล้อทีใ่ ช้ในการรองรับน�า้ หนักมาก เช่น ส�าหรับรถแข่ง เครือ่ งบิน รถบรรทุก และรถ โดยสารประจ�าทาง ยังคงต้องการสัดส่วนของยางธรรมชาติในอัตราที่มากกว่าสัดส่วนการบริโภคยางธรรมชาติคิดเป็นร้อยละ 39 – 50 ในช่วงระยะ เวลาเจ็ดปีที่ผ่านมาได้แสดงให้เห็นว่าอัตราการทดแทนกันระหว่างยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์จ�ากัดอยู่ในกรอบแคบประมาณร้อยละ 10 ไม่ว่า ความแตกต่างระหว่างราคายางธรรมชาติและยางสังเคราะห์จะมากเพียงใดก็ตาม
Sep-13 Jan-14
May-14 Sep-14 พ.ค.-57 ก.ย.-57
Jan-13 May-13
พ.ค.-55 ก.ย.-55 ม.ค.-56 พ.ค.-56 ก.ย.-56 ม.ค.-57
Jan-10 May-10 Sep-10 Jan-11 May-11 Sep-11 Jan-12 May-12 Sep-12
Sep-08 Jan-09 May-09 Sep-09
Jan-07 May-07 Sep-07 Jan-08 May-08
20 10 0
แผนภาพแสดงสัดส่วนการบริโภคยางธรรมชาติต่อปริมาณการบริโภคยางทั้งหมด
ม.ค.-54 พ.ค.-54 ก.ย.-54 ม.ค.-55
พ.ค.-53 ก.ย.-53
พ.ค.-51 ก.ย.-51 ม.ค.-52 พ.ค.-52 ก.ย.-52 ม.ค.-53
60 50 40 30 20 10 0
ม.ค.-50 พ.ค.-50 ก.ย.-50 ม.ค.-51
(รอยละ)
“ปัจจัยส�าคัญทีท่ า� ให้บริษทั ฯ ได้เปรียบในการแข่งขันในอุตสาหกรรมการผลิตยางธรรมชาติประกอบด้วยคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ขนาดก�าลังการ ผลิตที่ใหญ่ที่สุดในโลก การบริการลูกค้าที่ดีเยี่ยม สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่หลากหลาย และทีมผู้บริหารที่เปี่ยมด้วยประสบการณ์” ประเทศผู้ผลิต และส่งออกยางธรรมชาติรายหลักของโลกได้แก่ ประเทศไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม และจีน บริษัทฯ เชื่อว่าบริษัทฯ เป็นบริษัทผู้ผลิต ยางธรรมชาติแบบครบวงจรรายใหญ่ที่สุดของโลกที่มีส่วนแบ่งทางการตลาดในปี 2557 ประมาณร้อยละ 101 ของยอดความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติรวมทั่วโลก โดยมีคู่แข่งหลัก ได้แก่ บจ. วงศ์บัณฑิต กลุ่มบริษัทเซาท์แลนด์ และบมจ. ไทยฮั้วยางพารา ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทย The Tat Lee Group และ The Kirana Group ในอินโดนีเซีย และ Halcyon Agri Corporation การที่บริษัทฯ มีก�าลังการผลิตขนาดใหญ่ท�าให้บริษัทฯ สามารถเพิ่มอัตราการประหยัดต่อขนาด เพิ่มความสมดุลย์ของอ�านาจการต่อรองทั้งกับลูกค้า และผู้จัดหาวัตถุดิบ เพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ และเพิ่มศักยภาพในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนในรูปแบบต่างๆ หัวใจส�าคัญของการเป็นผู้ประกอบการกลางน�้าในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ คือความสามารถในการบริหารฝั่งต้นน�้าควบคู่กับปลายน�้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงวางจุดยุทธศาสตร์ตงั้ ฐานการผลิตในประเทศไทย และประเทศอินโดยนีเซีย ซึง่ เป็นสองประเทศหลักของโลกทีผ่ ลิตยาง ธรรมชาติรวมประมาณร้อยละ 60 ของปริมาณยางธรรมชาติทผี่ ลิตทัง้ โลก ส�าหรับด้านการจัดจ�าหน่าย บริษทั ฯ ได้ตงั้ บริษทั ย่อยในประเทศส�าคัญๆ อาทิ จีน สิงคโปร์ และสหรัฐอเมริกา เป็นต้น เพื่อเป็นตัวแทนในการจัดจ�าหน่ายสินค้าของบริษัทฯ และด้วยคุณภาพสินค้าระดับมาตรฐานสากล บริษัทฯ จึง สามารถขายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติไปยังผู้ผลิตยางล้อชั้นน�าทั้งของโลก รวมถึงผู้ผลิตยางล้อรายอื่นๆ ทั่วทุกมุมโลก การทีบ่ ริษทั ฯ มีฐานธุรกิจในหลากหลายประเทศ รวมถึงมีทมี ขายและการตลาดทีม่ ากด้วยประสบการณ์ ท�าให้บริษทั ฯ สามารถให้บริการลูกค้าอย่างดีเยีย่ ม ลูกค้าทั่วทุกมุมโลกสามารถติดต่อสอบถามราคายางธรรมชาติได้ตลอดเวลา นอกจากนี้ ด้วยฐานการผลิตขนาดใหญ่พร้อมทั้งทีมสายงานผลิตที่เปี่ยม ด้วยประสบการณ์ บริษัทฯ จึงสามารถปรับสูตรการผลิตเพื่อให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์สอดคล้องกับความต้องการที่แตกต่างกันของลูกค้า ส�าหรับการ บริการหลังการขาย บริษัทฯ มุ่งพัฒนาสู่การไม่มีข้อร้องเรียนจากลูกค้า โดยการจัดตั้งกระบวนการรับการร้องเรียนอย่างเป็นระบบและด�าเนินการแก้ไข ทันทีที่ได้รับข้อร้องเรียนต่างๆ กลุ่มผู้บริหารของบริษัทมีประสบการณ์และความช�านาญในธุรกิจอย่างสูงจากการอยู่ในธุรกิจยางธรรมชาติมานานเกือบ 30 ปีเป็นข้อได้เปรียบด้านการ แข่งขันอีกประการหนึง่ ทีบ่ ริษทั ฯ มีเหนือคูแ่ ข่งในอุตสาหกรรม ทัง้ นี ้ ในการก�าหนดทิศทางธุรกิจ และการวางแผนการด�าเนินงานในแต่ละวันผูป้ ระกอบการ ยางธรรมชาติจา� เป็นต้องมีความรูค้ วามเข้าใจถึงปัจจัยอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ สถานการณ์เศรษฐกิจโลก ความเคลือ่ นไหวของอุปสงค์-อุปทาน ความเคลือ่ นไหว ของอัตราแลกเปลี่ยนสกุลหลัก แนวโน้มราคาน�้ามัน และนโยบายของรัฐบาล เป็นต้น ดังนั้น บริษัทฯ เชื่อว่าความรู้ความเข้าใจในอุตสาหกรรม ยางธรรมชาติอย่างลึกซึง้ ของทีมผูบ้ ริหารจะช่วยเพิม่ ขีดความสามารถในการด�าเนินธุรกิจ และความสามารถในการท�าก�าไรให้กบั บริษทั ฯ อย่างต่อเนือ่ ง ตลอดจนช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้แก่สถานะทางการตลาดในฐานะผู้น�าในการประกอบกิจการยางธรรมชาติ 1
เทียบจากยอดขายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ ประมาณ 1,204,342 ตันในรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 กับประมาณการยอดความต้องการใช้ ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติรวมทั่วโลกส�าหรับปี 2557 ที่ประมาณ 11,944,000 ตัน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
ภาวะการแข่งขัน
47
จุดเด่น เป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติราย ใหญ่ที่สุดของโลกที่มีสัดส่วนการตลาด ถึงร้อยละ 10
การขยายไปยังธุรกิจต้นน�้ำในการปลูกสวน ยางพารา
• สามารถตอบสนองทุกความต้องการของตลาดจากผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติทุกชนิด
• เพิ่มความสามารถและลดความผันผวนในการท�ำก�ำไร
• ได้เปรียบด้านการประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale)
• เพิม่ ช่องทางในการจัดหาวัตถุดบิ จากสวนยางบริเวณรอบข้าง
• เพิ่ ม ความสมดุ ล ในการต่ อ รองทางการค้ า ทั้ ง เกษตรกร ชาวสวนยางและลูกค้า
• เพิม่ โอกาสในการจัดตัง้ โรงงานแห่งใหม่ ซึง่ ใกล้แหล่งวัตถุดบิ
• เพิม่ ศักยภาพในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน เพือ่ สนับสนุนการด�ำเนิน ธุรกิจและการขยายธุรกิจ
รายงานประจ�ำปี 2557
เป็นผู้ประกอบธุรกิจยางธรรมชาติแบบ ครบวงจร • เข้าถึงข้อมูลสภาวะตลาดทัง้ ด้านแหล่งวัตถุดบิ และความต้องการ ของลูกค้าได้โดยตรง
48
• สามารถตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงของสภาพตลาด รวมถึง วางแผนการผลิตและการบริหารจัดการสถานะของบริษัทได้ อย่างมีประสิทธิภาพ • เพิ่ ม ความได้ เ ปรี ย บทางการแข่ ง ขั น และประสิ ท ธิ ภ าพการ จัดการต้นทุน • เพิ่มโอกาสและช่องทางในการขยายธุรกิจในอนาคต
มีโรงงานและศูนย์กลางจัดหาวัตถุดิบ กระจายอยู่ในประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ หลักของโลก • ได้เปรียบด้านการจัดหาวัตถุดิบ เนื่องจากประเทศไทยและ ประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 60 ของผลผลิตโลกโดยรวม • เพิ่มความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการการผลิตตลอดทั้งปี จากฤดูการกรีดยางที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ • การมีศูนย์กลางจัดหาวัตถุดิบที่ทั่วถึง ท�ำให้ลดปริมาณการ ซื้อวัตถุดิบผ่านพ่อค้าคนกลาง
• ตอกย�ำ้ การเป็นผู้นำ� ด้านการบริหารจัดการต้นทุน
มีเครือข่ายลูกค้าที่กว้างขวางและช่องทางการ จัดจ�ำหน่ายที่ครอบคลุมลูกค้าทั่วโลก • ครอบคลุมลูกค้าส�ำหรับทุกผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติทั่วทุกมุมโลก • มีการกระจายความเสี่ยงที่ดี เนื่องจากไม่มีลูกค้ารายใดที่มีปริมาณ การสั่งซื้อเกินกว่าร้อยละ 8 ของปริมาณการขายทั้งหมด • ได้รบั ข้อมูลอุปสงค์และการเปลีย่ นแปลงของสภาวะตลาดจากความ สามารถในการเข้าถึงลูกค้า ซึ่งเป็นผู้ใช้ยางธรรมชาติโดยตรง
การเดินหน้าปักหมุดในประเทศผู้ผลิตยางพารา หลักอย่างต่อเนื่อง • การจัดตั้งบริษัทย่อยในประเทศเวียดนาม นอกจากจะช่วยขยาย ตลาดไปยังกลุ่มอินโดจีนแล้ว ยังเป็นการสร้างช่องทางการท�ำธุรกิจ ตรงในประเทศเวียดนาม ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตยางธรรมชาติทใี่ หญ่เป็นอันดับ สามของโลกอีกด้วย • การมีโรงงานยางแท่งในประเทศพม่า ช่วยเพิม่ ศักยภาพในการเติบโต ไปในประเทศทีอ่ ตุ สาหกรรมยางพารามีศกั ยภาพในการเติบโตอย่าง รวดเร็วประเทศหนึ่ง
ผู้บริหารมีประสบการณ์ ในอุตสาหกรรมอย่าง ยาวนาน • กลุ่มผู้บริหารของบริษัทมีประสบการณ์ และความช�ำนาญในธุรกิจ อย่างสูง จากการอยู่ในธุรกิจยางธรรมชาติมานานเกือบ 3 ทศวรรษ
ประวัติกรรมการและผู้บริหาร ดร. ไวยวุฒิ สินเจริญกุล
ประธานกรรมการ/ กรรมการผู้จัดการ อายุ 59 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 27 ธันวาคม 2536
ประวัติการศึกษา
• ปริญญาเอก (PHD) สาขาเคมี Queen Elizabeth’s College, University of London • ปริญญาตรี สาขาเคมี (เกียรตินิยมอันดับ 1) Queen Elizabeth’s College, University of London
ประวัติการอบรม ไม่มี
การท�างานปัจจุบัน
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. รับเบอร์แลนด์ โปรดักส์ • กรรมการ บจ. หน�่าฮั่วรับเบอร์ • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร์ • กรรมการ บจ. ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชั่น • กรรมการ บจ. สยามเซมเพอร์เมด • กรรมการ บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย • กรรมการ บจ. อันวาร์พาราวูด • กรรมการ บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ • กรรมการ บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต • กรรมการ บจ. ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น • กรรมการ บจ. พัฒนาเกษตรล่วงหน้า • กรรมการ บจ. ที.อาร์.ไอ. โกลบอล
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ • กรรมการ Sri Trang International • กรรมการ PT Sri Trang Lingga • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Shi Dong Shanghai • กรรมการ Sempermed Singapore • กรรมการ PT Star Rubber • กรรมการ Sri Trang Indochina • กรรมการ Semperflex Shanghai • กรรมการ Shanghai Semperit • กรรมการ Shanghai Sempermed • กรรมการ Sempermed USA, Inc.
ประวัติการท�างาน • 2530 – 2536 • 2528 – 2530
กรรมการผู้จัดการใหญ่ บจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี ผู้จัดการทั่วไป บจ. ยางไทยปักษ์ใต้
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
• ประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง • กรรมการผู้จัดการ บมจ. ศรีตรัง
49
นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล
รองประธานกรรมการ/ กรรมการบริหาร อายุ 67 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 27 ธันวาคม 2536
ประวัติการศึกษา
Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการอบรม
หลักสูตร DAP 75/2008 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
การท�างานปัจจุบัน
รองประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี รายงานประจ�าปี 2557
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. หน�่าฮั่วรับเบอร์ • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร์ • กรรมการ บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง • กรรมการ บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต • กรรมการ บจ. ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ 50
กรรมการ PT Sri Trang Lingga
ประวัติการท�างาน • 2530 – 2536 • 2529 – 2534 • 2518 – 2540
รองประธานกรรมการ บจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี สมาชิกสภาจังหวัด จังหวัดตรัง หุ้นส่วนผู้จัดการ หจก. ตรังสหการขนส่ง
นายไชยยศ สินเจริญกุล กรรมการ/ กรรมการบริหาร อายุ 63 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 27 ธันวาคม 2536
ประวัติการศึกษา
Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการอบรม
หลักสูตร DAP 66/2007 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
การท�างานปัจจุบัน
กรรมการ บมจ. ศรีตรัง ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ
• กรรมการ บจ. รับเบอร์แลนด์ โปรดักส์ • กรรมการ บจ. หน�่าฮั่วรับเบอร์ • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร์ • กรรมการ บจ. อันวาร์พาราวูด • กรรมการ บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง • กรรมการ บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ • กรรมการ บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต • กรรมการ บจ. ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น • กรรมการ บจ. ร่วมทุนยางพาราระหว่างประเทศ • นายกสมาคมยางพาราไทย • อนุกรรมาธิการศึกษาผลผลิตทางการเกษตร คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ สภานิตบิ ญ ั ญัติ แห่งชาติ • อนุกรรมาธิการการจัดการองค์กร คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัตกิ ารยางแห่ง ประเทศไทย สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ • กรรมการ PT Sri Trang Lingga • กรรมการ Shanghai Sempermed • กรรมการ Semperflex Shanghai • กรรมการ Sempermed Singapore • กรรมการ Shi Dong Shanghai
ประวัติการท�างาน • 2551 – 2557 • 2551 – 2555 • 2551 – 2553 • 2551 – 2553 • 2530 – 2536
กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด จังหวัดสงขลา รองประธานสภาธุรกิจ IMT-GT ประเทศไทย ประธานคณะท�างานสาขาเกษตร อุตสาหกรรมเกษตรและสิง่ แวดล้อม สภาธุรกิจ IMT-GT กรรมการ บจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น
51
นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการสรรหา อายุ 55 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 10 เมษายน 2538
ประวัติการศึกษา
• ปริญญาโทบริหารธุรกิจ Indiana State University สหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการอบรม
• หลักสูตร DAP 67/2007 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know
การท�างานปัจจุบัน รายงานประจ�าปี 2557
• กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • ผู้จัดการสายงานกฎหมายและบริหารทั่วไป บมจ. ศรีตรัง
52
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร์ • กรรมการ บจ. สยามเซมเพอร์เมด • กรรมการ บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเชีย • กรรมการ บจ. ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น • กรรมการ บจ. พัฒนาเกษตรล่วงหน้า • กรรมการ บจ. รับเบอร์แลนด์ โปรดักส์
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ • กรรมการ Sri Trang Indochina • กรรมการ Sri Trang International • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Sri Trang USA, Inc. • กรรมการ Sempermed Singapore • กรรมการ Semperflex Shanghai • กรรมการ Shanghai Sempermed • กรรมการ Sempermed USA, Inc.
ประวัติการท�างาน • 2531 – 2538 • 2527 – 2530
ผู้จัดการสาขา บมจ. ศรีตรัง ฝ่ายสินเชื่อ ธนาคารซิตี้แบงค์
นายลี พอล สุเมธ
กรรมการ/ กรรมการบริหาร อายุ 60 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 28 มิถุนายน 2553
ประวัติการศึกษา
• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ International Institute for Management Development, Lausanne สวิสเซอร์แลนด์ • Bachelor of Commerce University of New South Wales, Sydney ออสเตรเลีย
ประวัติการอบรม
SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know • กรรมการ บมจ.ศรีตรัง • ผู้จัดการสายงานการตลาด บมจ.ศรีตรัง
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ กรรมการ บจ. ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชั่น
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ • ประธานกรรมการ Sri Trang International • กรรมการ PT Star Rubber • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Shi Dong Shanghai • กรรมการ PT Sri Trang Lingga • กรรมการ Sri Trang USA, Inc. • กรรมการ Sri Trang Indochina • กรรมการ Sempermed USA, Inc
ประวัติการท�างาน • 2531 – 2546 • 2526 – 2530 • 2525 • 2522 – 2524
Global Market Director, ELDERS Finance/ DRESDNER bank โปรแกรมเมอร์ Macquarie Bank โปรแกรมเมอร์ Custom Credit Corporation โปรแกรมเมอร์ Computer Installation Development
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
การท�างานปัจจุบัน
53
นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ 30 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 28 เมษายน 2553
ประวัติการศึกษา
• ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (การเงิน และการตลาด) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์, The University of Reading, United Kingdom
ประวัติการอบรม
• หลักสูตร DAP 85/2010 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 10 • หลักสูตร FSD26/2014 Financial Statements for Directors รุ่นที่ 26/2014
รายงานประจ�าปี 2557
การท�างานปัจจุบัน
54
• กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเชีย • กรรมการ บจ. รับเบอร์แลนด์ โปรดักส์ • กรรมการ บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ • กรรมการ Shanghai Sempermed • กรรมการ Sri Trang USA, Inc • กรรมการ Sempermed USA, Inc
ประวัติการท�างาน 2551 – 2554
แผนกสินเชื่อ บมจ. ธนาคารกสิกรไทย
นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล
กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ 46 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 7 พฤษภาคม 2557
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี บริหารธุรกิจการบัญชี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประวัติการอบรม
หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 195/2014 (DCP195/2014)
การท�างานปัจจุบัน
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ ไม่มี
ประวัติการท�างาน
• 2544 – 2552 ผู้จัดการฝ่ายบัญชี บมจ. ศรีตรัง • 2535 – 2543 ผู้จัดการฝ่ายบัญชี บจ. สยามเซมเพอร์เมด
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
• กรรมการ บมจ.ศรีตรัง • ผู้จัดการสายงานบัญชีและการเงิน บมจ.ศรีตรัง • กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ.ศรีตรัง
55
นายหลี่ ซื่อเฉียง กรรมการ อายุ 42 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 7 พฤษภาคม 2557
ประวัติการศึกษา
• ปริญญาโท สาขา Business Management, Shanghai University, China • ปริญญาตรี สาขา Business English, Qingdao University, China
ประวัติการอบรม ไม่มี
การท�างานปัจจุบัน
กรรมการ บมจ.ศรีตรัง
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น รายงานประจ�าปี 2557
ไม่มี
56
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ • กรรมการ และผู้จัดการทั่วไป Shi Dong Shanghai • กรรมการ Sri Trang International
ประวัติการท�างาน • 2547 – 2553 • 2545 – 2546 • 2543 – 2545 • 2540 – 2543
ที่ปรึกษาของกลุ่มบริษัทศรีตรังในประเทศจีน ผู้จัดการฝ่ายน�าเข้าและส่งออก Qingdao Sentaida Rubber Co., Ltd. ผู้จัดการฝ่ายยางธรรมชาติ Sinochem International Corp. (Qingdao office) ผู้ช่วยผู้จัดการทั่วไป Qingdao Tizong Rubber Tyre Co., Ltd
นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 74 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 27 ธันวาคม 2536
ประวัติการศึกษา
• ปริญญาโท สาขาการเงิน Indiana University สหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขาการเงิน Indiana University สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) 27/2009 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • หลักสูตร Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) 8/2009 ของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM) 1/2009 ของสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Chartered Director Class (CDC) 3/2008 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 33/2003 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) 5/2001 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know
การท�างานปัจจุบัน
• กรรมการอิสระ บมจ.ศรีตรัง • ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ.ศรีตรัง
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น
• กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. เออาร์ไอพี • กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ลีซ อิท
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ ไม่มี
ประวัติการท�างาน • 2542 – 2554 • 2542 – 2551 • 2540 – 2545
กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ปูนซีเมนต์นครหลวง กรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
ประวัติการอบรม
57
นายเกรียง ยรรยงดิลก
กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการสรรหา/ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 76 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 25 มกราคม 2543
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการอบรม
หลักสูตร DAP 11/2004 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
รายงานประจ�าปี 2557
การท�างานปัจจุบัน
58
• กรรมการอิสระ บมจ.ศรีตรัง • กรรมการตรวจสอบ บมจ.ศรีตรัง • ประธานกรรมการสรรหา บมจ.ศรีตรัง • กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ.ศรีตรัง • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4250
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. เจ เอ็ม พี กรุ๊ป (1993) • กรรมการ บจ. มาร์ช ออโต้ 2010
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ ไม่มี
ประวัติการท�างาน • 2547 – 2548 • 2528 – 2541 • 2511 • 2508
กรรมการตรวจสอบ บมจ. โออิชิ กรุ๊ป สรรพากรจังหวัด, สรรพากรพื้นที่, สรรพากรภาค 3 กรมสรรพากร ผู้ตรวจการตรี ส�านักงานสรรพากร จังหวัดภูเก็ต ราชการชั้นตรี ส�านักงานตรวจเงินแผ่นดิน
นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการสรรหา/ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 71 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 1 กุมภาพันธ์ 2551
ประวัติการศึกษา
• รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เนติบัณฑิตไทย
ประวัติการอบรม
• หลักสูตร DAP 75/2008 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know • กรรมการอิสระ บมจ. ศรีตรัง • กรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง • กรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง • กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. ศรีตรัง
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ กรรมการ สภามหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ ไม่มี
ประวัติการท�างาน • 2549 - 2551 • 2549 - 2551 • 2546 - 2547 • 2543 - 2545 • 2540 - 2543 • 2539 - 2540 • 2527 - 2539 • 2512 - 2526
ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง กระทรวงมหาดไทย ผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดพังงา ที่ปรึกษากฎหมาย กระทรวงมหาดไทย ผูช้ ว่ ยปลัดกระทรวง และรองผูอ้ า� นวยการ ศูนย์อา� นวยการจังหวัดชายแดนภาคใต้ กระทรวงมหาดไทย รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง และจังหวัดตรัง ปลัดจังหวัด นายอ�าเภอ ปลัดอ�าเภอ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
การท�างานปัจจุบัน
59
นายเนียว อา แชบ (Mr. Neo Ah Chap) กรรมการอิสระ อายุ 70 ปี
วันที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 28 มิถุนายน 2553
ประวัติการศึกษา
• Diploma in Accountancy, Perth Technical Colleage • Certified Public Accountant (Australia) • Certified Public Accountant (Singapore)
ประวัติการอบรม
SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know
การท�างานปัจจุบัน รายงานประจ�าปี 2557
กรรมการอิสระ บมจ.ศรีตรัง
ต�าแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในประเทศ ไม่มี
ต�าแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ ไม่มี 60
ประวัติการท�างาน • 2541 – 2557 • 2541 – 2552 • 2514 – 2552
เจ้าของบริษัท NAC Consultancy Services กรรมการบริหาร Tan Chong International Ltd. กรรมการด้านการตลาด Tan Chong & Sons Motor Company (Singapore) Private Limited
คณะผู้บริหาร นางประไพ ศรีสุทธิพงศ์
ผู้จัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ อายุ 61 ปี
ประวัติการศึกษา
ประกาศนียบัตร สาขาการบัญชี โพลีเทคนิค กรุงเทพ
ประวัติการอบรม ไม่มี
การด�ารงต�าแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น ไม่มี
ประวัติการท�างาน
นายเฉลิมภพ แก่นจัน
ผู้จัดการสายงานการผลิต อายุ 44 ปี
ประวัติการศึกษา
ประกาศนียบัตร สาขาการจัดการ วิทยาลัยการอาชีพ
ประวัติการอบรม ไม่มี
การด�ารงต�าแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น ไม่มี
ประวัติการท�างาน
• 2549 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานการผลิต บจ. รับเบอร์แลนด์ โปรดักส์ • 2541 – 2548 ผู้จดั การโรงงาน บจ. รับเบอร์แลนด์ โปรดักส์ • 2537 – 2540 ผู้ชว่ ยผู้จัดการโรงงานน�้ายาง บมจ.ศรีตรัง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
• 2548 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ บมจ.ศรีตรัง • 2540 – 2547 หัวหน้าฝ่ายบัญชีด้านการตรวจสอบวัตถุดิบ บมจ.ศรีตรัง • 2536 – 2539 พนักงานบัญชี บมจ.ศรีตรัง
61
นายอาศรม อักษรน�า
ผู้จัดการสายงานการผลิต อายุ 47 ปี
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประวัติการอบรม ไม่มี
การด�ารงต�าแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น ไม่มี
ประวัติการท�างาน
ผู้จัดการสายงานการผลิต บจ. สยามเซมเพอร์เมด ผู้จัดการโรงงาน Shanghai Sempermed ผู้จัดการโรงงาน บจ. สยามเซมเพอร์เมด ผู้จัดการฝ่ายผลิต บจ. สยามเซมเพอร์เมด Line Chemist บจ. สยามเซมเพอร์เมด
รายงานประจ�าปี 2557
• 2552 – ปัจจุบัน • 2547 – 2551 • 2541 – 2546 • 2538 – 2540 • 2532 – 2537
นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์ 62
ผู้จัดการสายงานควบคุมคุณภาพ อายุ 46 ปี
ประวัติการศึกษา
ประกาศนียบัตร สาขาการเงินการธนาคาร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร
ประวัติการอบรม ไม่มี
การด�ารงต�าแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น • กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา
ประวัติการท�างาน
• 2552 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานควบคุมคุณภาพ บมจ. ศรีตรัง • 2550 – 2551 เจ้าหน้าที่ประสานงาน บมจ. ศรีตรัง • 2542 – 2549 ผู้จัดการโรงงาน บมจ. ศรีตรัง
นางสาวลิม ลิ ปิง Controller อายุ 42 ปี
ประวัติการศึกษา
• Certified Public Accountant (Australia) • Diploma in Accountancy Ngee Ann Polytechnic, Singapore • ปริญญาตรี สาขาธุรกิจ (บัญชี) Royal Melbourne Institute of Technology
ประวัติการอบรม
SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environmen in Singapore: What Every Director Ought to Know
การด�ารงต�าแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น ประวัติการท�างาน • 2552 – ปัจจุบัน • 2545 – ปัจจุบัน • 2544 • 2536 – 2543
Controller บจม. ศรีตรัง ผู้จัดการฝ่ายบัญชี และผู้จัดการทั่วไป Sri Trang International ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบัญชี Clarent Singapore Pte Ltd. เจ้าหน้าที่บัญชีอาวุโส/หัวหน้างาน ฝ่ายการบัญชี Glenayre Electronics (S) Pte. Ltd.
นายรัฐพงศ์ ลาภาโรจน์กิจ ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม อายุ 41 ปี
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา University of Southern Colorado at Pueblo, United States
ประวัติการอบรม ไม่มี
การด�ารงต�าแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น ไม่มี
ประวัติการท�างาน • 2552 – ปัจจุบัน • 2546 – 2552 • 2544 – 2546 • 2543 – 2544
ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง ผู้จัดการโรงงานด้านเทคนิค บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง ผู้จัดการโรงงาน บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง ผู้ช่วยผู้จัดการโรงงาน บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
ไม่มี
63
นายพันเลิศ หวังศุภดิลก ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม อายุ 43 ปี
ประวัติการศึกษา
• ปริญญาโท สาขาวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ประวัติการอบรม ไม่มี
การด�ารงต�าแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น ไม่มี
ประวัติการท�างาน
รายงานประจ�าปี 2557
• 2552 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง • 2549 – 2552 ผูจ้ ัดการฝ่ายโรงงาน บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย • 2541 – 2549 ผูจ้ ัดการฝ่ายการผลิต บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย
นายอุดม พฤกษานุศักดิ์
ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล อายุ 53 ปี
64
ประวัติการศึกษา
• ปริญญาโท สาขาเกษตรศาสตร์ (พืชไร่นา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาตรี สาขาเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประวัติการอบรม ไม่มี
การด�ารงต�าแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น • กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา • กรรมการ บจ. พฤกษาอีสาน
ประวัติการท�างาน
• 2543 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล บจ. สยามเซมเพอร์เมด • 2541 – 2542 ผูจ้ ัดการโรงงาน บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย • 2531 – 2540 ผูจ้ ัดการฝ่ายผลิต บจ. สยามเซมเพอร์เมด
นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน์
ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล อายุ 47 ปี
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยาเขตหาดใหญ่)
ประวัติการอบรม ไม่มี
การด�ารงต�าแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการ บจ. ศรีตรัง โฮลดิ้งส์
ประวัติการท�างาน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
• 2551 - ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล บมจ. ศรีตรัง • 2543 - 2550 ผู้จดั การฝ่ายจัดซื้อ บจ. สยามเซมเพอร์เมด
65
โครงสร้างการจัดการ
คณะกรรมการของบมจ. ศรีตรัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 โครงสร้างองค์กรของ บมจ.ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 6 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
รายงานประจ�ำปี 2557
คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง
66
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 12 ท่าน ดังนี้ ชื่อ
ต�ำแหน่ง
หมายเหตุ
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
ประธานกรรมการ/ กรรมการผู้จัดการ/ กรรมการบริหาร
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
2. นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล
รองประธานกรรมการ/ กรรมการบริหาร
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
3. นายไชยยศ สินเจริญกุล
กรรมการ/ กรรมการบริหาร
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
4. นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการสรรหา
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
กรรมการ/ กรรมการบริหาร
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
กรรมการ/ กรรมบริหาร/ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการบริหารความเสี่ยง
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
กรรมการ
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร
กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร
10. นายเกรียง ยรรยงดิลก
กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการสรรหา/ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร
11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการสรรหา/ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร
5. นายลี พอล สุเมธ 6. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล* 7. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล*/** 8. นายหลี่ ซื่อเฉียง** 9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
12. นายเนียว อา แชบ กรรมการอิสระ โดยมี นางพัชรินทร์ อนุวงศ์วัฒนชัย เป็นเลขานุการคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร
หมายเหตุ* : นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล และ นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล ได้รับแต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริหารของ บมจ. ศรีตรัง มีผลตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม 2557 เป็นต้นไป **: นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล และ นายหลี่ ซื่อเฉียง ได้รับแต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2557
กรรมการผู้มีอำ� นาจลงนามแทน บมจ. ศรีตรัง นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล, นายไชยยศ สินเจริญกุล, นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล, นายกิติชัย สินเจริญกุล, นายวีรสิทธิ ์ สินเจริญกุล, นายลี พอล สุเมธ และนายภัทราวุธ พาณิชย์กุล สองในเจ็ดคนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราส�ำคัญของบริษัท
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของ บมจ. ศรีตรัง ที่ประชุมคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ครั้งที่ 3/2557 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2557 ได้มีมติแต่งตั้งนายสมหวัง สินเจริญกุล เป็นที่ปรึกษา กิตติมศักดิ์ของ บมจ. ศรีตรัง ต่อไปอีก 2 ปี โดยให้ค�ำปรึกษาแก่บริษัทฯ ในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. ให้คำ� ปรึกษาเกี่ยวกับการก�ำหนดเป้าหมาย และวิสัยทัศน์ของบริษัทฯ 2. ให้คำ� ปรึกษาเกี่ยวกับแผนธุรกิจ แผนการลงทุน และนโยบายการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ทั้งในและต่างประเทศ 3. ให้คำ� ปรึกษาเกี่ยวกับกลยุทธ์ในการจัดสรรวัตถุดิบ แนวทางการจัดซื้อ ราคาและปริมาณ ในแต่ละช่วงก�ำหนดเวลาตามสภาวะท้องถิ่น
ทั้งนี้ นายสมหวัง สินเจริญกุล ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานของ บมจ. ศรีตรัง นายสมหวังได้รับค่าที่ปรึกษาคิดเป็นจ�ำนวนเงิน 428,000 บาทต่อเดือน หรือ 5,136,000 บาทต่อปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 6 พฤษภาคม 2557 และสิ้นสุดวันที่ 6 พฤษภาคม 2559 โดยรายการดังกล่าวเป็นรายการระหว่างกันที่มี การท�ำรายการต่อไปในอนาคต
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง บมจ. ศรีตรัง ได้มีการก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการไว้ดังนี้ 1. การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ให้เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และ ได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับและมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของ บมจ. ศรีตรัง ด้วยความระมัดระวังเพือ่ รักษาผลประโยชน์ของ บมจ. ศรีตรัง และรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ซึ่งตามข้อบังคับ บมจ. ศรีตรัง ต้องประชุมอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง 2. การทบทวนและให้ความเห็นชอบกับนโยบายที่เหมาะสม คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง รับผิดชอบในการเสนอ ทบทวนและให้ความเห็นชอบกับนโยบายและทิศทางการด�ำเนินงานของ บมจ. ศรีตรัง 3. การก�ำกับดูแลคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ก�ำกับดูแลให้คณะกรรมการบริหาร ด�ำเนินการตามนโยบายทีก่ ำ� หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ และแจ้งให้คณะกรรมการ น�ำเสนอเรื่องที่มีสาระส�ำคัญต่อการด�ำเนินงานของบมจ. ศรีตรัง รายการระหว่างบุคคลที่เกี่ยวโยงกันอื่นๆ ให้พิจารณาโดยเป็นไปตามกฎระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของส�ำนักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศสิงคโปร์ (SGX-ST) หากจ�ำเป็นคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง จะได้ก�ำหนดให้มีการว่าจ้างที่ปรึกษาภายนอก เพื่อให้คำ� ปรึกษาหรือให้ความเห็นทางวิชาชีพประกอบการ ตัดสินใจในเรื่องที่มีผลต่อการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีสาระส�ำคัญของ บมจ. ศรีตรัง 4. การจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ได้ก�ำกับให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน เรื่องการท�ำรายการที่มีกรรมการมีส่วนได้เสีย ต้องอยู่ในข่ายที่กฎหมายหรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ สิงคโปร์ (SGX-ST)
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
4. ให้คำ� ปรึกษาเกี่ยวกับการติดต่อ ประสานงานกับภาคมวลชนและหน่วยงานท้องถิ่น และหน่วยงานราชการในภาคใต้
67
ทั้งนี้ การมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง นั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอ�ำนาจ หรือมอบอ�ำนาจ ช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง หรือผู้รับมอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน) อาจมีส่วนได้เสีย หรืออาจได้รับประโยชน์ใน ลักษณะใดๆ หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็น ไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง พิจารณาอนุมัติไว้
องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง องค์ประกอบและการแต่งตั้ง ถอดถอน หรือพ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ บมจ. ศรีตรัง นั้น จะมีก�ำหนดไว้ในข้อบังคับซึ่งสามารถสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 1. คณะกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง จะพึงมีจำ� นวนเท่าใดให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นผูก้ ำ� หนด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่าห้าคน และกรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร 2. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้เลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง
รายงานประจ�ำปี 2557
(2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนต้องใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียง ให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้
68
(3) บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมาเป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้นให้ ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 3. ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทุกครั้งให้กรรมการออกจากต�ำแหน่ง 1 ใน 3 เป็นอัตรา ถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกในจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีทสี่ องภายหลังจดทะเบียนบริษทั นัน้ ให้จบั สลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการ คนที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง 4. กรรมการคนใดจะลาออกจากต�ำแหน่งให้ยื่นใบลาออกต่อ บมจ. ศรีตรัง การลาออกมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึง บมจ. ศรีตรัง 5. ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้กรรมการคนใดคนหนึง่ ออกจากต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ดว้ ยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่าสามในสีข่ องจ�ำนวน ผู้ถอื หุ้นซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันแล้วได้ไม่น้อยกว่ากึง่ หนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่ถอื โดยผู้ถอื หุ้นที่มาประชุมและมีสทิ ธิออก เสียง ปัจจุบัน คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 12 ท่าน เป็นกรรมการอิสระจ�ำนวน 4 ท่าน กรรมการที่เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 7 ท่าน และกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 5 ท่าน บริษัทฯ แต่งตั้งคณะกรรมการโดยค�ำนึงถึงประเภทและขอบเขตการปฏิบัติงานของกลุ่มบริษัทฯ โดยบริษัทฯ มุ่งหวังให้การพิจารณากิจการต่าง ๆ ในที่ ประชุมคณะกรรมการเป็นไปอย่างสร้างสรรค์ อีกทั้งมีแนวทางในการตัดสินใจที่สมดุลและหลากหลาย โดยมุ่งหวังให้บริษัทฯ มีการตัดสินใจที่มี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ กรรมการของบริษัทฯ เป็นผู้ที่มีประสบการณ์อย่างมากในด้านการบัญชี การเงิน การบริหารธุรกิจ การวางแผนและกลยุทธ์ การตลาด กฎหมาย และอุตสาหกรรมยาง
การคัดเลือกกรรมการอิสระ คุณสมบัติของกรรมการอิสระ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อ�ำนาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับ (ก) บมจ. ศรีตรัง (ข) บริษัทโฮลดิ้งของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยของบริษัท ย่อยของ บมจ. ศรีตรัง (ค) บุคคลที่มีส่วนได้เสียที่ถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของ บมจ. ศรีตรัง (“ผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10”) และ/หรือ (ง) พนักงานของ บมจ. ศรีตรังที่สามารถแทรกแซงการตัดสินใจอย่างอิสระของ กรรมการเพื่อประโยชน์สูงสุดทางธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง
4. ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ถือหุ้นของ บมจ. ศรีตรังซึ่งถือหุ้นเกินกว่าร้อยละสิบทั้งในปีปัจจุบันและรอบปีบัญชีที่ผ่านมา 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจ�ำ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง บริษทั ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง เว้นแต่จะได้พ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปีก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระ เคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษาของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง 6. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็น บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้ง คู่สมรสของบุตรของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ� นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อย 7. ไม่เป็นบุคคลที่มีสมาชิกในครอบครัว ซึ่งได้แก่ คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม บุตรของคู่สมรส พี่ น้อง และบิดา มารดา ท�ำงานให้กับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทที่เกี่ยวข้องกับ บมจ. ศรีตรัง ในช่วงสามปีที่ผ่านมา โดยที่ค่าตอบแทนที่ได้รับนั้นพิจารณาโดยคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน . 8. ไม่เป็นกรรมการหรือมีสมาชิกในครอบครัว ซึ่งได้แก่ คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม บุตรของคู่สมรส พี่ น้อง และบิดา มารดา ที่เคยได้รับค่าตอบแทน จากการให้บริการอื่นนอกเหนือจากค่าตอบแทนจากการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการจาก บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ของบมจ. ศรีตรัง ใน ช่วงปีที่ผ่านมาจนกระทั่งปีปัจจุบัน 9. ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บมจ. ศรีตรัง บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ที่มี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บมจ. ศรีตรัง บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง เว้นแต่จะได้ พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ 10. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของ บมจ. ศรีตรัง บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง และ ไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท ร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อน ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ 11. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า สองล้านบาทต่อปีจาก บมจ. ศรีตรัง บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อน ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
3. ไม่เป็นบุคคลที่มีสมาชิกในครอบครัว (ซึ่งได้แก่ คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม บุตรของคู่สมรส พี่ น้อง และบิดา มารดา) ถือหุ้นไม่ต�่ำกว่าร้อยละสิบ ทั้งในปีปัจจุบันและรอบปีบัญชีที่ผ่านมา หรือเป็นหุ้นส่วน (ถือหุ้นเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 10) กรรมการ หรือผู้บริหารในองค์กรหรือบริษัทย่อย ขององค์กรใดก็ตามที่ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยของบมจ. ศรีตรัง เคยให้/ ได้รับบริการ (รวมถึงการสอบบัญชี การบริการด้านธนาคาร การเป็น ที่ปรึกษา และการบริการด้านกฎหมาย) หรือจ่ายเงินหรือท�ำธุรกรรมด้วยอย่างมีนัยส�ำคัญ ทั้งในปีปัจจุบันและรอบปีบัญชีที่ผ่านมา
69
12. ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทนของกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือไม่เป็นกรรมการซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ทั้งในปีปัจจุบันและรอบปีบัญชีที่ผ่านมา โดยกรรมการ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ให้หมายรวมถึงกรรมการที่คุ้นเคยกับผู้ถือหุ้นดังกล่าวในระดับที่สามารถด�ำเนินกิจการ องค์กรตามทิศทาง หรือค�ำสั่งในนามของผู้ถือหุ้นที่มีนัยดังกล่าวไม่ว่าจะอย่างเป็นทางการ หรือไม่เป็นทางการ 13. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้าง หุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่มี สิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัท ย่อย 14. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ� ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของ บมจ. ศรีตรัง
รายงานประจ�ำปี 2557
โดย บมจ. ศรีตรังได้กำ� หนดคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระไว้เข้มกว่าข้อก�ำหนดทีก่ ำ� หนดไว้ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ทัง้ นี้ คณะกรรมการ สรรหาจะน�ำหลักการการก�ำกับดูแลกิจการปี 2012 (Code of Corporate Governance) มาใช้ประกอบในการพิจารณาความเป็นอิสระ คณะกรรมการมีความเห็นสมควรให้ นายประกอบ วิศษิ ฐ์กจิ การ และ นายเกรียง ยรรยงดิลก ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการอิสระให้กบั บมจ. ศรีตรัง ต่อไป แม้วา่ จะได้รบั การแต่งตัง้ มาเป็นเวลามากกว่า 9 ปี เนือ่ งจากทัง้ สองท่านมีคณ ุ สมบัตขิ องกรรมการอิสระครบถ้วนตามทีก่ ำ� หนดไว้ในประกาศคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุน และหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีภายใต้หลักการการก�ำกับดูแลกิจการปี 2012 (Code of Corporate Governance) แห่งสิงคโปร์ รวมทั้งไม่มีคุณสมบัติหรือเหตุอันใดที่อาจท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของ บมจ. ศรีตรัง และในอดีตที่ผ่านมา นายประกอบ วิศษิ ฐ์กจิ การ และนายเกรียง ยรรยงดิลก ได้ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นฐานะของกรรมการอิสระ ทัง้ ในการเป็นกรรมการตรวจสอบ กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนได้เป็นอย่างดีโดยเป็นไปเพื่อประโยชน์และธรรมาภิบาลที่ดีของบริษัท
คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการ 7 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้
70
ชื่อ
ต�ำแหน่ง
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
ประธานกรรมการบริหาร
2. นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล
กรรมการบริหาร
3. นายไชยยศ สินเจริญกุล
กรรมการบริหาร
4. นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการบริหาร
5. นายลี พอล สุเมธ
กรรมการบริหาร
6. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล*
กรรมการบริหาร
7. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล*/**
กรรมการบริหาร
หมายเหตุ*: นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล และ นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล ได้รับแต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริหารของ บมจ. ศรีตรัง มีผลตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม 2557 เป็นต้นไป **: นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล ได้รับแต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2557
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร บมจ. ศรีตรัง ได้มีการก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของกรรมการบริหาร ดังนี้ 1. มีอำ� นาจสั่งการ วางแผน และด�ำเนินกิจการของ บมจ. ศรีตรัง ให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ก�ำหนด 2. มีอำ� นาจแต่งตั้ง คณะบริหารงานต่างๆ เพื่อประโยชน์และประสิทธิภาพของการจัดการที่ดีและโปร่งใส 3. ให้กรรมการสองคนของคณะกรรมการบริหารลงนามร่วมกัน พร้อมประทับตราบริษัท มีอ�ำนาจมอบอ�ำนาจช่วงในหนังสือมอบอ�ำนาจของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อให้ผู้รับมอบอ�ำนาจช่วงสามารถด�ำเนินการอันเป็นประโยชน์เกี่ยวเนื่องกับกิจการงานต่างๆ ในนาม บมจ. ศรีตรัง ได้อย่างเป็นทางการ 4. มีอำ� นาจพิจารณาก�ำหนดสวัสดิการพนักงานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ประเพณีปฏิบัติและสอดคล้องกับกฎหมายที่บังคับใช้อยู่ 5. มีอำ� นาจการอนุมัติวงเงินที่เป็นธุรกรรมทางการค้าปกติหรือธุรกรรมที่เป็นพันธะผูกพันต่อ บมจ. ศรีตรัง
คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ก�ำหนดโดยประกาศคณะ กรรมการก�ำกับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์ฯ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการตรวจสอบของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการ ที่มีรายชื่อ ดังนี้ ชื่อ 1. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ
2. นายเกรียง ยรรยงดิลก
กรรมการตรวจสอบ
3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการตรวจสอบ
นายประกอบ วิศษิ ฐ์กจิ การ และนายเกรียง ยรรยงดิลก เป็นกรรมการตรวจสอบทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ นบัญชีและการเงินเพียงพอในการสอบทาน ความน่าเชื่อถือของงบการเงินของ บมจ. ศรีตรัง โดยมีนายวิทวัส กรุงแทนเมือง เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. ช่วยคณะกรรมการในการสอบทานดูแลด้านการเงินและการบัญชี (รวมถึงการสอบทานให้ บมจ. ศรีตรัง มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเพียงพอ และสอบทานงบการเงินรวมของบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่างบการเงินดังกล่าวถูกต้องและเพียงพอ) 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายในหรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ บมจ. ศรีตรัง ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ (SGX-ST) และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ทั้งนี้ การมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารนั้น จะต้องไม่มีลักษณะเป็นการอนุมัติการเข้าท�ำรายการที่ท�ำให้ คณะกรรมการบริหาร หรือผูร้ บั มอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสีย หรืออาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อย (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุน) ซึง่ การอนุมตั ริ ายการในลักษณะดังกล่าวจะต้องเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ แล้วแต่กรณี เพือ่ พิจารณา อนุมัติรายการดังกล่าวตามที่ข้อบังคับของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องก�ำหนด
71
4. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระเพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชีของ บมจ. ศรีตรัง และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน รายการกับบุคคลทีม่ สี ว่ นได้เสีย หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบมจ. ศรีตรัง 6. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของ บมจ. ศรีตรัง ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ (1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของ บมจ. ศรีตรัง (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของ บมจ. ศรีตรัง (3) ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (6) จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้าประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน รายงานประจ�ำปี 2557
(7) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter)
72
(8) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ด�ำเนินการตรวจสอบภายใน และพิจารณาผลการตรวจสอบใดๆ ที่สำ� คัญ และ/หรือหารือกับผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับผลการตรวจสอบดังกล่าว และ รายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ทราบ ในกรณีทมี่ เี หตุอนั ควรสงสัยว่าจะมีการกระท�ำผิดหรือทุจริต หรือมีการฝ่าฝืนกฎหมาย หรือระเบียบของประเทศไทยและสิงคโปร์ หรือระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตลาดหลักทรัพย์แห่งสิงคโปร์ (SGX-ST) หรือ ระเบียบอื่น ซึ่งการกระท�ำผิดหรือการทุจริตหรือการฝ่าฝืนดังกล่าวมีผลหรือน่าจะมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อผลการด�ำเนินงานหรือสถานะ ทางการเงินของ บมจ. ศรีตรัง 8. สอบทานแผนการตรวจสอบ (Audit Plans) ขอบเขตการด�ำเนินงาน และผลการตรวจสอบที่รวบรวมโดยผู้สอบบัญชีภายในและภายนอก 9. สอบทานความร่วมมือที่เจ้าหน้าที่ของ บมจ. ศรีตรัง ให้แก่ผู้สอบบัญชี 10. สอบทานนโยบายบริหารความเสี่ยงของบริษัท (รวมถึงนโยบายป้องกันความเสี่ยง) และดูภาพรวมของกระบวนการ และการด�ำเนินการในการ บริหารความเสี่ยงเพื่อที่จะได้ลดและบริหารความเสี่ยงให้อยู่ในขอบเขตที่รับได้ตามที่คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ก�ำหนด 11. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการสรรหาของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ ชื่อ
ต�ำแหน่ง
1. นายเกรียง ยรรยงดิลก
ประธานกรรมการสรรหา
2. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการสรรหา
3. นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการสรรหา
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา 1. สอบทานและประเมินคุณสมบัตขิ องผูท้ ไี่ ด้รบั การเสนอชือ่ ให้เป็นกรรมการ (รวมถึงกรรมการบริหาร) ก่อนท�ำการเสนอแนะต่อคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2. สอบทานและเสนอแนะต่อคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ในการเสนอให้แต่งตัง้ กรรมการเข้าใหม่ หรือแต่งตัง้ กรรมการทีอ่ อกตามวาระกลับเข้าด�ำรง ต�ำแหน่งต่อไป โดยค�ำนึงถึงผลงาน และการปฏิบัติงานของกรรมการท่านนั้น. 3. พิจารณาว่ากรรมการแต่ละท่านมีความเป็นอิสระหรือไม่เป็นประจ�ำทุกปี 4. พิจารณาว่ากรรมการแต่ละท่านสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมในฐานะกรรมการหรือไม่ ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการสรรหาจะพิจารณาปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ • ความเป็นอิสระทางความคิด • ความสามารถของแต่ละบุคคล และพิจารณาว่าความสามารถดังกล่าวตรงกับความต้องการของบริษัท และเป็นส่วนเติมเต็มให้กับกรรมการท่าน อื่นอย่างไร • ประสบการณ์และภาพรวมของผลงานที่ผ่านมาในฐานะกรรมการในบริษัทอื่น
การสรรหากรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ด�ำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา (Nomination Committee) เพื่อท�ำหน้าที่สรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะเข้าด�ำรง ต�ำแหน่งเป็นกรรมการ โดยทุกครั้งที่กรรมการที่ด�ำรงต�ำแหน่งครบวาระ หรือมีเหตุจำ� เป็นที่จะต้องแต่งตั้งกรรมการเพิ่ม คณะกรรมการสรรหาจะร่วม กันหารือเพื่อก�ำหนดตัวบุคคลที่มีความเหมาะสมทั้งด้านประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อ บมจ. ศรีตรัง เข้ามาเป็นกรรมการ โดยจะมีการเสนอรายชื่อบุคคลดังกล่าวต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง และที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามล�ำดับ เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป ทั้งนี้ ในการเลือกตั้งกรรมการ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้ถือคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และออกเสียงลงคะแนน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
• การให้เวลา และความมุมานะในการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการ
73
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ ชื่อ 1. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
2. นายเกรียง ยรรยงดิลก
กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ให้ค�ำแนะน�ำ และเสนอแนวทาง และหลักเกณฑ์ในการก�ำหนดค่าตอบแทนของกรรมการ และเจ้าหน้าที่บริหาร รวมทั้งเสนอแนะค่าตอบแทนพิเศษให้ แก่กรรมการแต่ละราย และกรรมการผู้จัดการ และปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้ ชื่อ
ต�ำแหน่ง
1. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง
2. นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์
กรรมการบริหารความเสี่ยง
3. นายเฉลิมภพ แก่นจัน
กรรมการบริหารความเสี่ยง
4. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล
กรรมการบริหารความเสี่ยง
5. นายนัทธี ธัชมงคล
กรรมการบริหารความเสี่ยง
โดยมีนายกิติพงศ์ เพชรกุล เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
รายงานประจ�ำปี 2557
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. ทบทวนนโยบายและก�ำหนดกรอบการบริหารความเสี่ยง 2. ให้ข้อเสนอแนะในเรื่องบริหารความเสี่ยงขององค์กร 3. ก�ำกับดูแลประเมินความเสี่ยง และอนุมัติบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยงของแต่ละสายงานหรือฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อย 74
รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการตรวจสอบในปี 2557 มีดังนี้
ชื่อ
จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม
จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม
จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม
คณะกรรมการ บจม.ศรีตรัง
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการตรวจสอบ
2557
ร้อยละ
2557
ร้อยละ
2557
ร้อยละ
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
9/9
100
9/9
100
-
-
2. นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล
3/9
33
2/9
22
-
-
3. นายไชยยศ สินเจริญกุล
8/9
89
9/9
100
-
-
4. นายกิติชัย สินเจริญกุล
9/9
100
9/9
100
-
-
5. นายลี พอล สุเมธ
9/9
100
9/9
100
-
-
6. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
8/9
89
9/9
100
-
-
จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม
คณะกรรมการ บจม.ศรีตรัง
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการตรวจสอบ
2557
ร้อยละ
2557
ร้อยละ
2557
ร้อยละ
7. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล*
6/6
100
9/9
100
-
-
8. นายหลี่ ซื่อเฉียง*
5/6
83
-
-
-
-
9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
9/9
100
-
-
8/8
100
10. นายเกรียง ยรรยงดิลก
9/9
100
-
-
8/8
100
11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
9/9
100
-
-
8/8
100
12. นายเนียว อา แชบ
9/9
100
-
-
-
-
ชื่อ
จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม
จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม
จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม
คณะกรรมการสรรหา
คณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน
คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง
2557
2557
ร้อยละ
ร้อยละ
2557
ร้อยละ
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
-
-
-
-
-
-
2. นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล
-
-
-
-
-
-
3. นายไชยยศ สินเจริญกุล
-
-
-
-
-
-
4. นายกิติชัย สินเจริญกุล
2/2
100
-
-
-
-
5. นายลี พอล สุเมธ
-
-
-
-
-
-
6. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
-
-
-
-
2/3
67
7. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล*
-
-
-
-
2/3
67
8. นายหลี่ ซื่อเฉียง*
-
-
-
-
-
-
9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
-
-
2/2
100
-
-
10. นายเกรียง ยรรยงดิลก
2/2
100
2/2
100
-
-
11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
2/2
100
2/2
100
-
-
-
-
-
-
-
-
12. นายเนียว อา แชบ
จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม
* นายภัทราวุธ พาณิชย์กุลและ นายหลี่ ซื่อเฉียง ได้รับแต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2557
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ชื่อ
จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม
75
คณะผู้บริหาร* (ตามค�ำนิยามผู้บริหารของประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 17/2551 เรื่อง การก�ำหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยว กับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 รายชื่อผู้บริหารของ บมจ. ศรีตรัง มีดังต่อไปนี้ ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
ประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการ
2. นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล
รองประธานกรรมการ
3. นายไชยยศ สินเจริญกุล
กรรมการ
4. นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการ และผู้จัดการสายงานกฎหมายและบริหารทั่วไป
รายงานประจ�ำปี 2557
5. นายลี พอล สุเมธ
76
ต�ำแหน่ง
กรรมการ และผู้จัดการสายงานการตลาด
6. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
กรรมการ
7. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล**
กรรมการ และผู้จัดการสายงานบัญชีและการเงิน (CFO)
8. นายหลี่ ซื่อเฉียง** 9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ
10. นายเกรียง ยรรยงดิลก
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
12. นายเนียว อา แชบ
กรรมการอิสระ
13. นางประไพ ศรีสุทธิพงศ์
ผู้จัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ
14. นายเฉลิมภพ แก่นจัน
ผู้จัดการสายงานการผลิต
15. นายอาศรม อักษรน�ำ
ผู้จัดการสายงานการผลิต
16. นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์
ผู้จัดการสายงานควบคุมคุณภาพ
17. นายรัฐพงศ์ ลาภาโรจน์กิจ
ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม
18. นายพันเลิศ หวังศุภดิลก
ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม
19. นายอุดม พฤกษานุศักดิ์
ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล
20. นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน์
ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล
21. นางสาวลิม ลิ ปิง (Miss Lim Li Ping)
Controller
หมายเหตุ : * หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา ผู้ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเทียบเท่ากับผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ระดับบริหารรายทีส่ ที่ กุ ราย และให้หมายความรวมถึงผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไปหรือเทียบเท่า ** นายภัทราวุธ พาณิชย์กลุ และ นายหลี่ ซือ่ เฉียง ได้รบั แต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ตามมติที่ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2557
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการ 1. มีอำ� นาจอนุมตั กิ ารท�ำนิตกิ รรมใดๆ ซึง่ มีผลผูกพันบริษทั ส�ำหรับการด�ำเนินธุรกิจปกติของ บมจ. ศรีตรัง ในวงเงินไม่เกิน 200,000,000 บาท (สองร้อย ล้านบาท) 2. มีอำ� นาจในการออก แก้ไข เพิ่มเติม ปรับปรุง ระเบียบ ค�ำสั่ง และข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงานของ บมจ. ศรีตรัง เช่น การบรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน และวินัยพนักงานและลูกจ้าง การก�ำหนดเงินเดือนและเงินอื่นๆ รวมตลอดถึงการสงเคราะห์และสวัสดิการต่างๆ 3. มีอำ� นาจก�ำหนดอัตราเงินเดือน และผลตอบแทนอืน่ ๆ รวมทัง้ อัตราค่าใช้จา่ ยและสิง่ อ�ำนวยความสะดวกของผูจ้ ดั การฝ่ายหรือเทียบเท่าขึน้ ไป เพือ่ ขอ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร 4. มีหน้าที่ดำ� เนินการควบคุมดูแลกิจการทั้งปวงของ บมจ. ศรีตรัง ให้เป็นไปตามมติและนโยบายของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง 5. มีหน้าทีน่ ำ� เสนอเรือ่ งทีส่ ำ� คัญต่อคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั เิ ห็นชอบ หรือเพือ่ การอืน่ ใดตามความเหมาะสม 6. มีหน้าทีศ่ กึ ษาความเป็นไปได้สำ� หรับโครงการใหม่ๆ และมีอำ� นาจพิจารณาอนุมตั โิ ครงการต่างๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง หรือคณะกรรมการบริหาร อย่างไรก็ดี กรรมการผู้จัดการและผู้ที่ได้รับมอบอ�ำนาจจากกรรมการผู้จัดการไม่มีอ�ำนาจในการที่จะอนุมัติเรื่อง หรือรายการที่ตนเองหรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง มีส่วนได้ส่วนเสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใด จะเข้าท�ำกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง ตามนิยามในประกาศของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน
เลขานุการบริษัท คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้มมี ติแต่งตัง้ ให้นางพัชรินทร์ อนุวงศ์วฒ ั นชัย ซึง่ มีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสม ส�ำเร็จการศึกษาทางด้านบัญชี และได้รบั การอบรม ในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านเลขานุการบริษัท และหลักสูตรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในธุรกิจ กฎหมาย และ ระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ เป็นเลขานุการบริษัท โดยมีหน้าที่และขอบเขตความรับผิดชอบตามที่กำ� หนดไว้ใน พ.ร.บ. หลักทรัพย์ รวมทั้งให้ค�ำแนะน�ำด้าน การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ต่างๆ (Compliance) ที่คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง จะต้องทราบ และปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง รวมทัง้ ประสานให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมติของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง โดยเลขานุการบริษทั จะต้องเข้าร่วม และจัดเก็บเอกสารการประชุม คณะกรรมการทัง้ หมด และท�ำให้แน่ใจว่ากระบวนการของคณะกรรมการได้รบั การปฏิบตั ติ าม ทัง้ นี้ การแต่งตัง้ และถอดถอนเลขานุการบริษทั จะต้องได้ รับอนุมัติจากคณะกรรมการ
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน (1) ค่าตอบแทนของกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บมจ. ศรีตรังได้จ่ายค่าตอบแทนกรรมการเป็นจ�ำนวนเงินรวม 6,177,600 บาท เป็นผลประโยชน์ ตอบแทนประเภทเงินบ�ำเหน็จแก่กรรมการ โดยมีรายละเอียดการจ่ายเป็นรายบุคคล ดังนี้ ชื่อ
ต�ำแหน่ง
จ�ำนวนค่าตอบแทน (บาท)* รอบปีบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
ประธานกรรมการ
633,600
2. นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล
กรรมการ
475,200
3. นายไชยยศ สินเจริญกุล
กรรมการ
475,200
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
7. ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง และ/หรือ คณะกรรมการบริหาร เป็นครั้งคราว
77
ชื่อ
รายงานประจ�ำปี 2557
รอบปีบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
4. นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการ
475,200
5. นายลี พอล สุเมธ
กรรมการ
475,200
6. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
กรรมการ
475,200
7. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล**
กรรมการ
316,800
8. นายหลี่ ซื่อเฉียง**
กรรมการ
316,800
ประธานกรรมการตรวจสอบ
792,000
10. นายเกรียง ยรรยงดิลก
กรรมการตรวจสอบ
633,600
11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการตรวจสอบ
633,600
กรรมการ
475,200
9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
78
จ�ำนวนค่าตอบแทน (บาท)*
ต�ำแหน่ง
12. นายเนียว อา แชบ
หมายเหตุ: * ค่าตอบแทนดังกล่าวเป็นค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการบริษัท ทั้งนี้บริษัทมิได้มีค่าตอบแทนส�ำหรับการด�ำรงต�ำแหน่งในคณะกรรมการชุดย่อย
** นายภัทราวุธ พาณิชย์กลุ และ นายหลี่ ซือ่ เฉียง ได้รบั แต่งตัง้ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ตามมติทปี่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2557
(2) ค่าตอบแทนรวมของกรรมการบริหาร และผู้บริหารของ บมจ. ศรีตรัง ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ ได้จ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริหาร และผู้บริหารจ�ำนวน 21 ราย เป็นจ�ำนวนเงินรวม 252,135,378 บาท ซึ่งในจ�ำนวนนี้ 31,775,863 บาท ได้จ่ายให้กับผู้บริหารที่ไม่นับรวมกรรมการ และกรรมการผู้จัดการของบมจ. ศรีตรัง 5 อันดับแรก โดยค่าตอบแทนดังกล่าวเป็นค่าตอบแทนประเภทเงินเดือน โบนัส และค่าตอบแทนอื่น ทัง้ นี้ การจ่ายค่าตอบแทนของบริษทั ฯ ให้แก่กรรมการทุกราย และผูบ้ ริหาร 5 อันดับแรกของ บมจ. ศรีตรัง ส�ำหรับปีสนิ้ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 สามารถแสดงได้ตามระดับของค่าตอบแทน(1) ดังต่อไปนี้ (ค่าตอบแทนดังกล่าวรวมถึงค่าบ�ำเหน็จกรรมการและค่าตอบแทนที่ได้รับในฐานะที่ด�ำรง ต�ำแหน่งใน บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย) ชื่อ
ระดับของ ค่าตอบแทน
ค่าบ�ำเหน็จ กรรมการ (ร้อยละ)
เงินเดือน (ร้อยละ)
โบนัส (ร้อยละ)
รวม (ร้อยละ)
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
Band Q
0.63
41.77
57.60
100
2. นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล
Band B
4.57
58.53
36.90
100
3. นายไชยยศ สินเจริญกุล
Band C
3.79
40.67
55.54
100
4. นายกิติชัย สินเจริญกุล
Band B
3.88
64.82
31.30
100
5. นายลี พอล สุเมธ
Band H
0.97
22.52
76.51
100
ค่าบ�ำเหน็จ กรรมการ (ร้อยละ)
เงินเดือน (ร้อยละ)
โบนัส (ร้อยละ)
รวม (ร้อยละ)
6. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
Band A
16.53
62.60
20.87
100
7. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล
Band A
7.94
31.44
60.62
100
8. นายหลี่ ซื่อเฉียง
Band C
2.40
51.71
45.89
100
9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
Band A
100
-
-
100
10. นายเกรียง ยรรยงดิลกn
Band A
100
-
-
100
11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
Band A
100
-
-
100
12. นายเนียว อา แชบ
Band A
100
-
-
100
1. นางประไพ ศรีสุทธิพงศ์
Band B
-
32.43
67.57
100
2. นางสาวลิม ลิ ปิง
Band B
-
78.55
21.45
100
3. นายรัฐพงศ์ ลาภาโรจน์กิจ
Band A
-
55.99
44.01
100
4. นายอุดม พฤกษานุศักด์ิ
Band A
-
69.69
30.31
100
5. นายเฉลิมภพ แก่นจัน
Band A
-
70.51
29.49
100
ผู้บริหาร 5 อันดับแรก
หมายเหตุ:
(1)
ระดับของค่าตอบแทน: ระดับ A หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 1 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 250,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ B หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 250,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 500,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ C หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 500,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 750,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ D หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 750,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 1,000,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ E หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 1,000,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 1,250,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ F หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 1,250,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 1,500,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ G หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 1,500,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 1,750,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ H หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 1,750,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 2,000,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ I หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 2,000,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 2,250,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ J หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 2,250,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 2,500,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ K หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 2,500,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 2,750,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ L หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 2,750,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 3,000,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ M หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 3,000,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 3,250,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ N หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 3,250,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 3,500,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ O หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 3,500,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 3,750,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ P หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 3,750,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 4,000,000 เหรียญสิงคโปร์ ระดับ Q หมายถึง ค่าตอบแทนระหว่าง 4,000,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 4,250,000 เหรียญสิงคโปร์
ระดับของค่าตอบแทนเป็นค่าเฉลีย่ ของอัตราแลกเปลีย่ นต่างประเทศ (เงินบาท-เหรียญสิงคโปร์) ส�ำหรับระยะเวลาตามทีร่ ะบุไว้ ทีอ่ ตั รา 1 เหรียญสิงคโปร์ ต่อ 25.7666 บาท
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ชื่อ
ระดับของ ค่าตอบแทน
79
ค่าตอบแทนดังกล่าวข้างต้นรวมถึง ผลประโยชน์อื่น และค่าตอบแทนใดๆ ที่ได้จ่ายแล้ว ซึ่งรวมค่าตอบแทนที่อ้างอิงจากผลการด�ำเนินการในปี แต่มี การยกยอดข้ามปีและมีการจ่ายให้ในภายหลัง ประมาณการค่าตอบแทนที่ต้องจ่ายในรอบปีทางการเงินปัจจุบันนั้น รวมถึงเงินโบนัสหรือเงินส่วนแบ่ง ผลก�ำไรหรือเงินเกี่ยวกับผลก�ำไรอื่นๆ ตามสัญญาหรือตามข้อตกลงระหว่างกัน Sri Trang International ตกลงเข้าท�ำสัญญาจ้างงานกับกรรมการแต่ละคนของบริษัทฯ ได้แก่ นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และนายลี พอล สุเมธ ซึ่ง สัญญาจ้างงานดังกล่าวไม่มีการก�ำหนดระยะเวลาการจ้างงาน ทั้งนี้ ตามสัญญาจ้างงาน นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และนายลี พอล สุเมธ มีสิทธิที่จะได้รับค่าตอบแทนดังต่อไปนี้ • เงินเดือน และโบนัสซึ่งจะคิดตามโครงการค่าตอบแทน (Profit Incentive Scheme) (ตามที่ได้นิยามไว้ข้างล่างนี้) และ • ค่าใช้จ่ายทางธุรกิจที่สมเหตุสมผลซึ่งเกิดขึ้นหรือได้จ่ายไปในช่วงระยะเวลาการจ้างงานซึ่งเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ต่อกลุ่มบริษัทฯ
โครงการค่าตอบแทน (Profit Incentive Scheme)
รายงานประจ�ำปี 2557
นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และนายลี พอล สุเมธ ซึง่ เป็นกรรมการของบริษทั ฯ มีสทิ ธิทจี่ ะเข้าร่วมโครงการค่าตอบแทนพิเศษ (Profit Incentive Scheme) ในแต่ละรอบปีบัญชีของ Sri Trang International ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ภายใต้โครงการค่าตอบแทนพิเศษ (Profit Incentive Scheme) ในแต่ละรอบปีบัญชี หากคณะกรรมการบริษัทของ Sri Trang International พิจารณา แล้วเห็นว่ามีส่วนเกิน (Surplus) ภายหลังจากหัก (ก) ร้อยละ 10 ของทุนช�ำระแล้วของ Sri Trang International หรือจ�ำนวนเงินอื่นๆ ตามที่คณะ กรรมการบริษัทของ Sri Trang International จะเห็นควร (ข) ร้อยละ 5 ของก�ำไรสะสมในต้นปีบัญชีที่เกี่ยวข้อง และ (ค) ขาดทุนสะสมในต้นปีบัญชี ทีเ่ กีย่ วข้องจากก�ำไรของ Sri Trang International หลังจากหักภาษีแล้ว (ตามทีก่ ำ� หนดในงบการเงินทีต่ รวจสอบแล้ว) ร้อยละ 20 ของส่วนเกิน (Surplus) ดังกล่าวจะถูกจ่ายภายใต้โครงการค่าตอบแทนพิเศษ (Profit Incentive Scheme) (“ค่าตอบแทนพิเศษ (Profit Incentive)”)
ค่าตอบแทนอื่น 80
ในปี 2557 บริษัทได้มีการจ่ายเงินสบทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้กับคณะกรรมการและผู้บริหาร ดังนี้
เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ
จ�ำนวนราย
จ�ำนวนเงิน (บาท)
21
2,569,788
ผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ บริษัทฯ จัดให้มีผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุเพื่อจ่ายให้แก่พนักงานเป็นไปตามกฎหมายแรงงานไทย จ�ำนวนเงินดังกล่าวขึ้นอยู่กับฐานเงิน เดือนและจ�ำนวนปีที่พนักงานท�ำงานให้กลุ่มบริษัทนับถึงวันที่สิ้นสุดการท�ำงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
การลาออกและการเลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง
ต�ำแหน่ง
วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ ให้ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการครัง้ แรก
วันที่ได้รับเลือกตั้งให้กลับเข้า ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ครั้งล่าสุด
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
กรรมการ
27 ธันวาคม 2536
27 เมษายน 2555
2. นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล
กรรมการ
27 ธันวาคม 2536
25 เมษายน 2556
3. นายไชยยศ สินเจริญกุล
กรรมการ
27 ธันวาคม 2536
29 เมษายน 2557
4. นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการ
10 เมษายน 2538
29 เมษายน 2557
5. นายลี พอล สุเมธ
กรรมการ
28 มิถุนายน 2553
25 เมษายน 2556
6. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
กรรมการ
28 เมษายน 2553
25 เมษายน 2556
7. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
กรรมการอิสระ
27 ธันวาคม 2536
27 เมษายน 2555
8. นายเกรียง ยรรยงดิลก
กรรมการอิสระ
25 มกราคม 2543
29 เมษายน 2557
9. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการอิสระ
1 กุมภาพันธ์ 2551
29 เมษายน 2557
10. นายเนียว อา แชบ
กรรมการอิสระ
28 มิถุนายน 2553
25 เมษายน 2556
11. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล
กรรมการ
29 เมษายน 2557
29 เมษายน 2557
12. นายหลี่ ซื่อเฉียง
กรรมการ
29 เมษายน 2557
29 เมษายน 2557
ชื่อ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
กรรมการทีอ่ อกจากต�ำแหน่งตามวาระมีสทิ ธิได้รบั เลือกตัง้ ใหม่ โดยกรรมการทีอ่ ยูใ่ นต�ำแหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผูอ้ อกจากต�ำแหน่ง รายละเอียดการลาออก และการเลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง แสดงได้ดังต่อไปนี้
81
การก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ด�ำ เนินงานทางธุรกิจให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ (2) ที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ โดยใช้ความชำ�นาญ ความระมัดระวัง และความเอาใจใส่ที่พึงมี เพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ และเป็นไป ตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ยั ง ได้ ถื อ ปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามข้ อ พึ ง ปฏิ บั ติ ที่ ดี สำ � หรั บ กรรมการบริ ษั ท มหาชน หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีสำ�หรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555 รวมทั้งหลักการการกำ�กับดูแลกิจการปี 2012 (Code of Corporate Governance) ทั้งในด้านบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ ได้ ใช้ ความระมัดระวังรอบคอบในกระบวนการพิจารณากลั่นกรองก่อนการ ตัดสินใจใดๆ ให้เป็นการดำ�เนินการที่สมเหตุสมผล บนพื้นฐานของความ ซื่อสัตย์ โปร่งใส และมีจริยธรรม และได้คำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นในทุกๆ ด้าน
รายงานประจ�ำปี 2557
หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ภี ายใต้หลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555
82
บมจ. ศรีตรัง มีการกำ�หนด และทบทวนแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการ ให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีสำ�หรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555 ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ กำ�หนด โดยแบ่งเป็น 5 หมวด รวมทั้งเพิ่มเติมหัวข้อนโยบาย และแนวการปฏิบัติการไม่ละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญา และนโยบายการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่น เพื่อให้เหมาะสม กับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจในปัจจุบัน ดังนี้
1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บมจ. ศรีตรัง ตระหนักเสมอว่า สิ่งที่จะท�ำให้ผู้ถือหุ้นไว้วางใจ และ มั่นใจในการลงทุนกับธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง คือ การมีนโยบายหรือ การด�ำเนินการที่รักษาสิทธิพื้นฐานที่ผู้ถือหุ้นพึงได้รับ และความเท่า เทียมกันของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเป็นธรรมตามที่กฎหมายก�ำหนด และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิพื้นฐานตามกฎหมาย เช่น (1) สิทธิในการรับส่วนแบ่งก�ำไรในรูปเงินปันผล บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลอย่างระมัดระวังโดยค�ำนึงถึงสถานะ ทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน กระแสเงินสดของ บมจ. ศรีตรัง ความสามารถในการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม รวมทั้งบริษัทร่วมทุน รวมถึงการคาดการณ์ความจ�ำเป็นของเงิน ทุนทีจ่ ะรองรับการเติบโตของ บมจ. ศรีตรังในอนาคต สถานการณ์ ภาวะเศรษฐกิจ และผลกระทบจากปัจจัยภายนอกที่ บมจ. ศรีตรัง คาดว่าจะมีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของ บมจ. ศรีตรัง เพือ่ ให้การด�ำเนินงานเป็นไปอย่างมีเสถียรภาพ นโยบายการจ่าย เงินปันผลจึงอยู่ในระดับประมาณร้อยละ 30 ของก�ำไรสุทธิ
สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น บมจ. ศรีตรัง ได้ให้ความ ส�ำคัญกับกรณีที่ผู้ถือหุ้นจะได้รับสารสนเทศอย่างเพียงพอใน การตัดสินใจโดยข้อมูลข่าวสารทีไ่ ด้รบั จะมีความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส เท่าเทียมกัน เพื่อประกอบการตัดสินใจในการประชุม ผู้ถือหุ้น รวมถึงการออกเสียงลงคะแนนและแสดงความคิดเห็น ในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ การใช้สทิ ธิรว่ มตัดสินใจในการเปลีย่ นแปลง ที่ส�ำคัญต่างๆ รวมทั้งการเลือกตั้งคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง อนึง่ หากหุน้ ของ บมจ. ศรีตรัง ถูกถือผ่าน CDP CDP จะมีรายชือ่ ปรากฏเป็นผู้ถือหุ้นของหุ้นดังกล่าว ดังนั้น ตามกฎหมายไทย CDP จะเป็นผูถ้ อื หุน้ และมีสทิ ธิตามกฎหมายในการออกเสียงลง คะแนนในเรื่องต่างๆ ในที่ประชุมผู้ถือหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง ทั้งนี้ CDP ได้แต่งตั้งผู้รับฝากและดูแลหุ้น (Custodian) เพื่อ เก็บรักษาหุ้นที่ถือโดย CDP โดย Custodian ไทยจะเป็น ผู้รับมอบฉันทะของ CDP เพื่อเข้าร่วมประชุมและออกเสียง ลงคะแนนในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และ CDP จะมีค�ำสัง่ ให้ Custodian ไทยแยกออกเสียงลงคะแนนตามค�ำสั่งที่ CDP ได้รับมาจาก นักลงทุนที่ถือหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง ผ่าน CDP อย่างไรก็ตาม หากผูถ้ อื หุน้ รายใดทีถ่ อื หุน้ ผ่าน CDP ประสงค์จะเข้าร่วมประชุม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และใช้ สิ ท ธิ อ อกเสี ย งลงคะแนนภายใต้ ชื่ อ ตนเอง ผูถ้ อื หุน้ รายดังกล่าวต้องโอนหุน้ ของตนออกจากระบบของ CDP และท�ำการจดทะเบี ย นการโอนหุ ้ น ดั ง กล่ า วในสมุ ด ทะเบี ย น ผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นที่โอนหุ้นออกจากระบบของ CDP จะไม่สามารถท�ำการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ได้ จนกว่าจะโอนหุ้นกลับเข้าไปฝากในระบบ CDP นอกจากนี้ บมจ. ศรีตรัง จะจัดประชุมนักลงทุน (Investor Forum) ในประเทศสิงคโปร์เป็นประจ�ำทุกปีในช่วงระยะเวลาใกล้เคียงกับ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นที่จัดในประเทศไทยเพื่อให้ผู้ถือหุ้นใน สิงคโปร์ที่ถือหุ้นผ่าน CDP ได้รับความเสมอภาค และเข้าถึง ข้อมูลในระดับเดียวกันเท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ ทีถ่ อื หุน้ ผ่าน CDP จะได้รับโอกาสในการแสดงความคิดเห็น และซักถามข้อ สงสัยต่างๆ ทีม่ กี บั กรรมการของ บมจ. ศรีตรัง โดยคณะกรรมการ ที่เข้าร่วมในที่ประชุมนักลงทุน (Investor Forum) จะประกอบ ด้วยกรรมการดังต่อไปนี้เป็นอย่างน้อย คือ กรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้บริหารจ�ำนวนสองท่าน และกรรมการอิสระจ�ำนวน สองท่ า นโดยหนึ่ ง ในนั้ น จะเป็ น กรรมการอิ ส ระที่ เ ป็ น Lead Independent Director
ได้จัดส่งหนังสือนัดประชุมพร้อมเอกสาร ข้อมูลประกอบการ ประชุมที่มีรายละเอียดครบถ้วนเพียงพอ พร้อมทั้งได้น�ำเสนอ ผ่านเว็บไซต์ของ บมจ. ศรีตรังที่ www.sritranggroup.com และ SGXNET เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีเวลาศึกษาข้อมูลดังกล่าว ได้อย่างละเอียด นอกจากนั้น มีการลงประกาศเชิญประชุมใน หนังสือพิมพ์รายวัน ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน และก่อนวัน ประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน เพื่อบอกกล่าวเรียกประชุมผู้ถือหุ้น เป็นการล่วงหน้าเพียงพอส�ำหรับการเตรียมตัวก่อนมาเข้าร่วม ประธานกรรมการ และประธานกรรมการชุดย่อยซึง่ ประกอบด้วย ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา ประธาน กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงกรรมการแต่ละท่านจะเข้าร่วมการประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ตอบ ข้อซักถามของผูถ้ อื หุน้ นอกจากนี้ ผูส้ อบบัญชีเข้าร่วมประชุมเพือ่ ตอบข้อซักถามเกีย่ วกับวิธกี ารตรวจสอบบัญชีและเนือ้ หาในหน้า รายงานความเห็นของผู้สอบบัญชี ก่อนเริ่มการประชุมทุกครั้ง ประธานกรรมการจะชี้แจงวิธีการลงคะแนนและนับคะแนนตาม ทีร่ ะบุไว้อย่างชัดเจน ในระหว่างการประชุม ประธานในทีป่ ระชุม ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสอบถามและแสดงความคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะต่างๆ อย่างเท่าเทียมกัน และได้ตอบค�ำถามรวมทัง้ ให้ขอ้ มูลต่างๆ ตามทีผ่ ถู้ อื หุน้ ร้องขออย่างครบถ้วน และหลังจาก วันประชุม บมจ. ศรีตรัง ได้จัดส่งรายงานการประชุมต่อตลาด หลักทรัพย์ฯ ภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด
(4) ผูถ้ อื หุน้ ได้รบั โอกาสทีเ่ ท่าเทียมกันในการแสดงความเห็นและ ตั้งค�ำถามใดๆ ต่อที่ประชุม ตามระเบียบวาระการประชุมและ (2) ส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ ใช้บตั รลงคะแนนเสียงส�ำหรับทุกระเบียบวาระ เรือ่ งทีเ่ สนอ ประธานทีป่ ระชุมควรจัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะท�ำการเก็บบัตรลงคะแนนดังกล่าวในห้องประชุม เพื่อน�ำ และส่งเสริมให้มกี ารแสดงความเห็นและซักถามในทีป่ ระชุม ทัง้ นี้ ผลคะแนนมารวม ก่อนท�ำการประกาศแจ้งมติของคะแนนเสียง นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ซึ่งเป็นกรรมการอิสระ (Lead ในห้องประชุม และเพื่อความโปร่งใส บมจ. ศรีตรัง จะท�ำการ Independent Director) ประธานกรรมการตรวจสอบ และ ประกาศรายละเอียดผลการลงคะแนนทั้งส่วนที่เห็นด้วยและไม่ ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน จะเข้าร่วมประชุมสามัญ เห็นด้วยของแต่ละวาระ โดยแจกแจงเป็นคะแนนและสัดส่วน ผู้ถือหุ้นเพื่อตอบข้อซักถามที่ผู้ถือหุ้นอาจมี นอกจากนี้ ผู้ตรวจ ร้อยละ ตลอดจนจัดเก็บบัตรลงคะแนนทีม่ กี ารลงชือ่ ของผูถ้ อื หุน้ สอบบัญชีภายนอกจะเข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อตอบข้อ หรือผู้รับมอบอ�ำนาจไว้ เพื่อการตรวจสอบได้ในภายหลัง ซักถามที่เกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ และรายงาน (3) บันทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และจัดส่ง ของผู้ตรวจสอบบัญชี รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายใน 14 วันหลังการประชุมเสร็จ สิน้ และได้ท�ำการเผยแพร่มติทปี่ ระชุมดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ของ 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บมจ. ศรีตรัง www.sritranggroup.com และ SGXNET บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียม (4) นโยบายการก�ำกับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน มีการก�ำหนดให้ และเป็นธรรมโดยค�ำนึงถึงการปฏิบตั ทิ เี่ ท่าเทียมกันแก่ผถู้ อื หุน้ ทุกกลุม่ บุคลากรทุกระดับยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ไม่วา่ จะเป็นนักลงทุนสถาบัน ผูล้ งทุนต่างชาติ รวมทัง้ ผูถ้ อื หุน้ รายย่อย (5) เปิดเผยโครงสร้างการถือหุ้นในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมอย่าง (1) ด�ำเนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามล�ำดับระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ใน ชัดเจน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมั่นใจว่ามีโครงสร้างการด�ำเนินงานที่มี หนังสือเชิญประชุม และมีนโยบายที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระในที่ ความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ประชุมโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า โดย บมจ. ศรีตรัง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
(3) สิทธิในการลงคะแนนในวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ บมจ. ศรีตรัง จัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น และเอกสารประกอบให้แก่ ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าอย่างเพียงพอ ครบถ้วน โดยหนังสือ เชิญประชุมมีรายละเอียดระเบียบวาระการประชุม เอกสาร ประกอบระเบียบวาระต่างๆ พร้อมความเห็นของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง หนังสือมอบฉันทะตามที่กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนด และรายชื่อของกรรมการอิสระทั้งหมด เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ เลือกที่จะมอบฉันทะให้เข้าประชุมแทนได้ รวมทั้งแผนที่แสดง สถานทีป่ ระชุม ซึง่ ในหนังสือเชิญประชุม จะแจ้งรายละเอียดของ เอกสารทีผ่ ถู้ อื หุน้ จะต้องน�ำมาแสดงในวันประชุมด้วย เพือ่ รักษา สิทธิในการเข้าประชุม รวมถึงข้อบังคับ บมจ. ศรีตรังเกีย่ วกับการ ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และการออกเสี ย งลงคะแนน นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นยังสามารถเข้าดูข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับระเบียบวาระ การประชุมของแต่ละครั้งได้ทางเว็บไซต์ของ บมจ. ศรีตรัง www.sritranggroup.com และเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ สิงคโปร์ www.sgx.com (SGXNET) เป็นการล่วงหน้าประมาณ 30 วันก่อนวันประชุม เพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ให้นักลงทุนได้ รับทราบข้อมูลอย่างทัว่ ถึงอีกทัง้ ได้มอบหมายให้ศนู ย์รบั ฝากหลัก ทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ CDP ในฐานะนายทะเบียนหุ้น เป็นผู้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมเอกสารประกอบให้แก่ ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าอย่างน้อย 21 วันก่อนวันประชุม
83
รายงานประจ�ำปี 2557
84
(6) บมจ. ศรีตรัง ยังให้ความส�ำคัญในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอืน่ ๆ พนักงาน: อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาและโปร่งใสแก่ผู้ถือหุ้น โดยมี บมจ. ศรีตรัง ปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียมกัน เป็นธรรม จัดให้ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่มีสาระส�ำคัญอย่างสม�่ำเสมอ มีสภาพแวดล้อมกับการท�ำงานที่ดี ปลอดภัยและให้ผลตอบแทน (7) จั ด ให้ มี ช ่ อ งทางที่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายย่ อ ยสามารถติ ด ต่ อ ขอข้ อ มู ล ที่เหมาะสม พร้อมทั้งส่งเสริมให้พนักงานมีโอกาสพัฒนาความรู้ ได้ โ ดยตรงทาง E-mail Address ของกรรมการอิ ส ระใน ความสามารถ และประสบการณ์เพือ่ ความก้าวหน้าในการท�ำงาน บมจ. เรื่องต่างๆ ได้แก่ กิจกรรมของกรรมการ การก�ำกับดูแลกิจการ ศรีตรัง ได้จัดตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ และการตรวจสอบ เป็นต้น นอกจากนี้ ผูถ้ อื หุน้ รายย่อยยังสามารถ สภาพแวดล้ อ มในการท�ำงาน โดยจั ด อบรมหลั ก สู ต รเฉพาะ ติดต่อขอข้อมูลได้โดยตรงจากเลขานุการ บมจ. ศรีตรัง e-mail: ให้กับผู้เกี่ยวข้องเพื่อท�ำหน้าที่ดูแล แนะน�ำ แจ้งข่าวสารเกี่ยวกับ corporatesecretary@sritranggroup.com หรือหน่วยงาน ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มในการท�ำงาน นักลงทุนสัมพันธ์ e-mail: ir@sritranggroup.com หรือหมายเลข รวมทั้งการป้องกันอุบัติเหตุจากการท�ำงาน และสาระน่ารู้เกี่ยวกับ โทรศัพท์ 0-2207-4500 สุขภาพให้พนักงานรับทราบและน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างถูกต้อง เนือ่ งด้วย บมจ. ศรีตรัง ได้ค�ำนึงถึงสวัสดิภาพของพนักงาน ในการท�ำงานด้วย 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย ความความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมถึงการจัดกิจกรรม การเติบโตของบมจ. ศรีตรัง มาจนถึงสถานะในปัจจุบนั เกิดจากความ ต่างๆ ที่เป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของพนักงาน ได้แก่ การจัดให้ ร่วมมือสนับสนุนของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องด้วยดีเสมอ บมจ. ศรีตรัง มีห้องสมุด และสันทนาการ รวมทั้งการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ช่วย รับรูแ้ ละให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็น ส่งเสริมให้พนักงานมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี และมีการจัดท�ำ ผู้มีส่วนได้เสียภายในซึ่งได้แก่ บุคลากร พนักงาน และผู้บริหาร คู่มือพนักงาน และท�ำการประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบเว็บไซต์ภายใน ของบมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย หรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก องค์กร ซึ่งได้แก่ ผู้ร่วมค้าทั้งในรูปของผู้ที่เกี่ยวข้องทางด้านวัตถุดิบ จนถึง ในเดือนมกราคม 2556 บริษัทฯได้จัดตั้งเงินกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ กลุม่ ลูกค้าเมือ่ ผลิตเป็นสินค้าส�ำเร็จรูป สถาบันการเงินต่างๆ ทีใ่ ห้ความ พนักงาน ซึง่ พนักงานประจ�ำมีสทิ ธิสมัครเข้าเป็นสมาชิกของกองทุนฯ สนับสนุน ตลอดจนถึงหน่วยงานของรัฐบาลทีม่ กี ารติดต่อประสานงาน โดยสามารถเลือกทีจ่ ะจ่ายสมทบเข้ากองทุนในอัตราคงที่ หรือในอัตรา อย่างใกล้ชิด และในท้ายที่สุด คือ ผู้ถือหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง ทั้งนี้ เท่ากับทีบ่ ริษทั ฯ จ่ายสมทบ ตามช่วงอายุงานโดยบริษทั ฯ จะจ่ายสมทบ บมจ. ศรีตรัง มีความตระหนักดีที่จะต้องรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย ในอัตราที่แตกต่างกันตามอายุงานของพนักงาน ซึ่งพนักงานจะได้รับ ทีก่ ล่าวมา โดยคณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำหนดนโยบายและแนวปฏิบตั ิ ผลประโยชน์ดงั กล่าวเมือ่ พ้นสภาพจากการเป็นพนักงาน ยกเว้นกรณี เพิ่มเติมอันเกี่ยวข้องกับนโยบายและแนวการปฏิบัติการไม่ละเมิด เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย ทรัพย์สินทางปัญญา เช่น ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า ข้อมูลด้านความปลอดภัยของพนักงาน ปี 2557 เป็นต้น นโยบายการรับเรื่องร้องเรียน (Whistleblower Policy) โดย ได้ก�ำหนดช่องทางการแจ้งหรือร้องเรียนพร้อมขัน้ ตอนการด�ำเนินงาน สถิติการเกิดอุบัติเหตุจากการท�ำงานของพนักงานบริษัทฯ ในปี 2557 มีดังนี้ และแนวทางในการคุ ้ ม ครองผู ้ แ จ้ ง เบาะแส อี ก ทั้ ง ในปี 2557 คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นใน จ�ำนวน คิดเป็น ทุกรูปแบบ ซึ่งได้เปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ (ครั้ง) ร้อยละ* บมจ. ศรีตรังมีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย มีรายละเอียด จ�ำนวนอุบัติเหตุไม่หยุดงาน 56 0.86 ดังนี้ จ�ำนวนอุบัติเหตุหยุดงานไม่เกิน 3 วัน 50 0.77 ผู้ถือหุ้น: จ�ำนวนอุบัติเหตุหยุดงาน 3 วันขึ้นไป 79 1.22 บมจ. ศรีตรัง จะมุ่งมั่นเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นในการด�ำเนินธุรกิจ สูญเสียอวัยวะบางส่วน 7 0.11 อย่างโปร่งใส มีระบบบัญชี และการเงินทีม่ คี วามเชือ่ ถือได้ สร้างความ ทุพลภาพ 0 0 พึ ง พอใจสู ง สุ ด ให้ กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น โดยค�ำนึ ง ถึ ง การเจริ ญ เติ บ โตของ เสียชีวิต 1 0.02 บมจ. ศรีตรัง ในระยะยาว และผลตอบแทนในระดับทีเ่ หมาะสมอย่าง ต่อเนื่อง หมายเหตุ: ค�ำนวณอัตราร้อยละจากฐานพนักงานถัวเฉลีย่ ของบริษทั ฯ ในปี 2557
จ�ำนวน 6,476 คน
ลูกค้า:
(2) คณะกรรมการได้จัดตั้งหน่วยงานประชาสัมพันธ์ ที่ท�ำหน้าที่ สือ่ สารกับผูล้ งทุน และบุคคลภายนอก ผูท้ เี่ กีย่ วข้อง โดยมีหน่วยงาน บมจ. ศรีตรัง ใส่ใจและรับผิดชอบต่อลูกค้า ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ นักลงทุนสัมพันธ์ท�ำหน้าที่เป็นสื่อกลาง การสื่อสารระหว่าง และมีมาตรฐาน ส่งมอบสินค้าตามก�ำหนดเวลา เพื่อสร้างความพึง ผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสีย นักลงทุน และนักวิเคราะห์ พอใจให้แก่ลูกค้า รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดีและยั่งยืน โดยมีการ ก�ำหนดแนวทางปฏิบัติให้แก่พนักงานไว้ในจรรยาบรรณธุรกิจว่าด้วย (3) คณะกรรมการส่งเสริมให้มกี ารจัดท�ำข้อมูลสารสนเทศ ด้วยความ ถูกต้อง ชัดเจน เชื่อถือได้ ทันเวลา และเปิดเผยโดยสม�่ำเสมอ ความสัมพันธ์กับลูกค้า ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยผ่านช่องทางการสื่อสาร คู่ค้า: ทั้งตลาดหลักทรัพย์ฯ และ เว็บไซต์ของบริษัทฯ
หน่วยราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้อง: บมจ. ศรี ต รั ง ถื อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด ต่ อ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในด้านต่างๆ ทั้งสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย แรงงาน การจัดการ ด้านภาษีอากร และบัญชี ฯลฯ รวมทั้งประกาศต่างๆ ของทางราชการ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง
คณะกรรมการมีหน้าที่รายงาน นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ ผ่านแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (56-1) รายงานประจ�ำปี (56-2) และเว็บไซต์ของบริษัทฯ คณะกรรมการมี ห น้ า ที่ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล การเข้ า ร่ ว มประชุ ม ของกรรมการ และกรรมการตรวจสอบ
(6) คณะกรรมการมีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบให้มกี ารจัดท�ำบัญชีงบดุล งบก�ำไรขาดทุน และรายงานการตรวจสอบบัญชีของผูส้ อบบัญชี พร้อมทั้งรายงานประจ�ำปี และรายงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ
(7) คณะกรรมการมีหน้าที่รายงานถึงปัจจัยความเสี่ยง ลักษณะของ ความเสี่ยง สาเหตุและผลกระทบ ต่อการด�ำเนินการธุรกิจของ สังคมและสิ่งแวดล้อม: บมจ. ศรีตรัง ผ่านแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (56-1) และ บมจ. ศรีตรัง ตระหนัก และห่วงใยถึงความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อม รายงานประจ�ำปี (56-2) และคุณภาพชีวติ ของประชาชนรวมทัง้ ความส�ำคัญในเรือ่ งการอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการดูแลให้ บมจ. ศรีตรัง มีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญ มีความ ค�ำนึงถึงทางเลือกในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติโดยให้ ถูกต้อง ชัดเจน เชื่อถือได้ ทันเวลา และเป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่สำ�นักงาน มีความเสียหายต่อสังคม สิง่ แวดล้อม และคุณภาพของประชาชนน้อย ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ กำ�หนด และมีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว ที่สุด โดยสนับสนุนกิจกรรมชุมชนโดยรอบโรงงาน จัดให้มีการดูแล ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (56-1) และรายงานประจำ�ปี (56-2) เพื่อให้ผถู้ อื หุน้ ได้รบั สารสนเทศอย่างเท่าเทียมกันและได้จดั ให้มหี น่วยงาน ด้านความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด พร้อมกันนี้คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ก�ำกับดูแลให้มีระบบ นักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อเป็นตัวแทนในการสื่อสารกับนักลงทุน ผู้ถือหุ้น การบริหารจัดการที่สามารถเชื่อมั่นได้ว่า บมจ. ศรีตรัง ต้องไม่ท�ำผิด นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง กฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆ ของหน่วยงานทีก่ �ำกับดูแล และปฏิบตั ิ บมจ. ศรีตรัง มีการปรับปรุงเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ โดยน�ำข้อมูล ต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกกลุ่มด้วยความเป็นธรรมอย่างเคร่งครัด ที่ควรเปิดเผยให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบผ่านทางเว็บไซต์ ซึ่งสามารถติดต่อ กั บ ส่ ว นนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ส�ำนั ก งานสาขากรุ ง เทพฯ ตามหมายเลข 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส โทรศั พ ท์ 0-2207-4500 โทรสาร 0-2108-2244 หรื อ ที่ เ ว็ บ ไซต์ (1) คณะกรรมการมีบทบาท และหน้าทีใ่ นการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญที่ www.sritranggroup.com เกีย่ วข้องกับ บมจ. ศรีตรัง ทัง้ ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลทีม่ ใิ ช่ ข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส ผ่าน ช่องทางทีเ่ ข้าถึงข้อมูลได้งา่ ย มีความเท่าเทียมกัน และน่าเชือ่ ถือ เพือ่ ให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ ได้รบั ข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกัน ตาม ข้อก�ำหนดของหน่วยงานก�ำกับต่างๆ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการคัดเลือกคู่ค้า และซื้อสินค้าและบริการ (4) จากคู่ค้าตามเงื่อนไขทางการค้า และปฏิบัติตามสัญญาข้อตกลงต่อ คูค่ า้ เสมอโดยปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกติกาต่างๆ อย่างเคร่งครัดและ มีจรรยาบรรณที่ดีทางธุรกิจในการแข่งขันทางธุรกิจ (5)
85
5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (1) โครงสร้างคณะกรรมการ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการด�ำเนินธุรกิจ ท�ำหน้าทีก่ �ำหนด นโยบาย วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ เป้าหมาย ภารกิจ แผนธุรกิจ และ งบประมาณของ บมจ. ศรีตรัง ตลอดจนก�ำกับดูแลให้คณะผู้บริหาร บริหารงานให้เป็นไปตามนโยบายทีก่ �ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิ ท ธิ ผ ลภายใต้ ก รอบของกฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ บั ง คั บ และมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ มติทปี่ ระชุมคณะกรรมการ ด้วยความรับผิดชอบ ซือ่ สัตย์สจุ ริต ระมัดระวัง ตามหลักการข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี่ ี เพือ่ เพิม่ มูลค่า ทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กจิ การ และความมัน่ คงสูงสุดให้แก่ผถู้ อื หุน้
รายงานประจ�ำปี 2557
คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 12 ท่าน และเป็นกรรมการอิสระจ�ำนวน 4 ท่าน โดยกรรมการอิสระเป็นบุคคล ทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ ประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่เกี่ยวข้อง
86
(2) คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการมีหน้าทีพ่ จิ ารณาและให้ความเห็นชอบในเรือ่ งทีส่ �ำคัญ เกี่ยวกับการด�ำเนินงานอย่างรอบคอบและมีประสิทธิภาพ ดังนั้น คณะกรรมการจึงพิจารณาตัง้ คณะกรรมการเฉพาะเรือ่ งคณะกรรมการ ตรวจสอบ โดยแต่งตัง้ จากกรรมการอิสระอย่างน้อย 3 ท่าน โดยอย่างน้อย 1 ท่าน ต้องมีความรู้ด้านบัญชีการเงิน และต้องมีคุณสมบัติเกี่ยวกับ ความเป็นอิสระตามประกาศของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ ตามนิยามกรรมการอิสระที่ก�ำหนดส�ำหรับ บมจ. ศรีตรังโดยเฉพาะ เพือ่ ท�ำหน้าทีต่ รวจสอบระบบการควบคุมภายใน ระบบรายงานทางการเงิน การก�ำกับดูแลกิจการ และการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงการ พิจารณาคัดเลือกและแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี นอกจากนี้ บมจ. ศรีตรัง ได้ ด�ำเนินการแต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย เช่น คณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหา และคณะกรรมการบริหารความ เสี่ยง เพื่อการบริหารงานของบมจ. ศรีตรังต่อไป และเพื่อความ โปร่งใส และเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ สมาชิกส่วนใหญ่ของคณะ กรรมการชุดย่อยจะเป็นกรรมการอิสระ
นอกจากนี้ เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก การก�ำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี (3) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายการก�ำหนดจ�ำนวนบริษัท คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง มีหน้าทีก่ �ำกับดูแลกิจการและภารกิจของ จดทะเบียนที่กรรมการบริษัทจะไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการเพื่อให้การ บมจ. ศรีตรัง ให้เป็นไปตามที่ผู้ถือหุ้นอนุมัติ และตามกฎหมายที่ใช้ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นต�ำแหน่ ง กรรมการเป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บังคับกับ บมจ. ศรีตรัง วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติคณะกรรมการ โดยก�ำหนดให้กรรมการบริษัทด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนรวม มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง จะต้องใช้ ไม่เกิน 5 บริษัท ในกรณีที่กรรมการคนใดคนหนึ่งมีต�ำแหน่งเป็น วิจารณญาณและความรอบคอบในการตัดสินใจทางธุรกิจ และปฏิบตั ิ กรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นๆ เกินกว่า 5 บริษัท คณะกรรมการ หน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต จะพิจารณาถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการท่าน เพื่อรักษาผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ ดังกล่าว ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ตามข้อบังคับของ บมจ. ศรีตรัง ก�ำหนดไว้ว่า ในการประชุมผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับการป้องกัน สามัญประจ�ำปีทกุ ครัง้ ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจ�ำนวน ความขัดแย้งทางผลประโยชน์บนหลักการทีว่ า่ การตัดสินใจใดๆ ในการ กรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวน ด�ำเนินกิจกรรมทางธุรกิจจะต้องท�ำเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บมจ. ใกล้ทสี่ ดุ กับส่วน 1 ใน 3 กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรก ศรีตรัง เท่านัน้ และควรหลีกเลีย่ งการกระท�ำทีก่ อ่ ให้เกิดความขัดแย้ง และปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้นให้ใช้วิธีจับสลากกันว่าผู้ใด ทางผลประโยชน์ โดยก�ำหนดให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสีย จะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุด กับรายการทีพ่ จิ ารณา ต้องแจ้งให้ บมจ. ศรีตรัง ทราบถึงความสัมพันธ์ นั้นเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง หรือการมีส่วนได้เสียของตนในรายการดังกล่าว และต้องไม่เข้าร่วม คณะกรรมการได้มีมติแต่งตั้งนางพัชรินทร์ อนุวงศ์วัฒนชัย เป็น การพิจารณาตัดสินใจ รวมถึงไม่มีอ�ำนาจอนุมัติในธุรกรรมนั้นๆ เลขานุการบริษทั ซึง่ ท�ำหน้าทีใ่ ห้ค�ำแนะน�ำด้านการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ (4) การประชุมคณะกรรมการ ต่างๆ (Compliance) ที่คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง จะต้องทราบ ตามข้อบังคับของ บมจ. ศรีตรัง ก�ำหนดให้คณะกรรมการต้องมีการ และปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง ประชุมอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง โดยบมจ. ศรีตรัง ได้จัดท�ำตาราง รวมทัง้ ประสานให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมติของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง การประชุมล่วงหน้าและแจ้งให้กรรมการทุกท่านรับทราบ และอาจมี
บมจ. ศรีตรัง มีความมุง่ มัน่ ให้คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้รบั ข้อมูล ที่เพียงพอ ครบถ้วน ต่อเนื่อง และทันเวลาก่อนการประชุมทุกครั้ง ทั้งนี้ กรรมการ บมจ. ศรีตรัง สามารถติดต่อเลขานุการ บมจ. ศรีตรัง ได้โดยตรงอย่างอิสระ เลขานุการ บมจ. ศรีตรัง มีหน้าที่ให้ค�ำปรึกษา แก่คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ในเรือ่ งที่เกีย่ วข้องกับการปฏิบัติตาม กฎหมายและระเบียบต่างๆ (5) ค่าตอบแทน
(7) การประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการ บมจ. ศรีตรังได้จดั ให้มกี ารประเมินตนเองของคณะกรรมการ ซึง่ แบบ ประเมินผลดังกล่าวนั้น มีความสอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี โดยมุ่งเน้นการน�ำผลประเมินไปใช้ประโยชน์เพื่อการ ปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ โดยแบบประเมินผลมี 2 แบบ ประกอบด้วย - แบบประเมินผลงานของคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ (ประเมิน ทั้งคณะ) - แบบประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมิน ตนเอง) โดยมีเกณฑ์การประเมินผลคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็มในแต่ละข้อ ทั้งหมด ดังนี้
มากกว่า 90% มากกว่า 80% มากกว่า 70% มากกว่า 60% ต�่ำกว่า 50%
= ดีเยี่ยม = ดีมาก = ดี = พอใช้ = ควรปรับปรุง
โดยสรุปผลการประเมินได้ ดังนี้
ค่าตอบแทนของกรรมการ จะอยู่ในระดับที่ปฏิบัติในอุตสาหกรรม 1. แบบประเมินผลงานของคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ (ประเมินทั้ง ประสบการณ์ ภาระหน้าที่ ขอบเขตบทบาทหน้าที่ และอยู่ในระดับ คณะ) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ คือ โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะ ที่สามารถเทียบเคียงได้ในอุตสาหกรรมเดียวกัน กรรมการ, บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ, (6) การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร การประชุมคณะกรรมการ, การท�ำหน้าทีข่ องกรรมการ, ความสัมพันธ์ กับฝ่ายจัดการ และการพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้ ในกรณีที่มีกรรมการที่ได้รับการเลือกตั้งเข้าเป็นกรรมการบริษัทเป็น บริหาร ครัง้ แรก บมจ. ศรีตรังจะจัดให้มกี ารปฐมนิเทศโดยก�ำหนดแนวปฏิบตั ิ เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการบริษัท สรุปผลการประเมินผลของคณะกรรมการบริษทั ทัง้ คณะ (ประเมินทัง้ เพื่อให้กรรมการที่เข้ารับต�ำแหน่งสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมี คณะ) ในภาพรวม 6 หัวข้อ แสดงให้เห็นว่าการด�ำเนินการส่วนใหญ่ ประสิทธิภาพโดยมีเลขานุการบริษัทเป็นผู้ประสานงานในเรื่องต่างๆ จัดท�ำได้ดเี ยีย่ ม มีคะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 91.63% ซึง่ สูงกว่าปี 2556 ที่ เช่น หนังสือรับรองบริษัท ข้อบังคับบริษัท คู่มือกรรมการบริษัท ผ่านมา จดทะเบียนแบบรายงานข้อมูลประจ�ำปีของบริษัท (56-1) ข้อมูล 2. แบบประเมินผลปฏิบตั งิ านคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) ระบบงานที่ใช้งานภายในบริษัทฯ รวมทั้งกฎหมาย กฎเกณฑ์ต่างๆ ประกอบด้วย 4 หัวข้อ คือ ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจ และการ คณะกรรมการจะส่งเสริม และอ�ำนวยความสะดวกให้มีการฝึกอบรม กระท�ำของตนเอง และการปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างมีประสิทธิภาพ, การปฏิบตั ิ ให้ความรู้เกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการจะได้รับ ต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียม และเป็นธรรม, มีความโปร่งใสในการ การพัฒนาความรู้ จากหน่วยงานก�ำกับดูแลอย่างสม�ำ่ เสมอและต่อเนือ่ ง ด�ำเนินงานที่สามารถตรวจสอบได้ และมีการเปิดเผยข้อมูล และ การมีจริยธรรม/จรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ นอกจากนี้ บมจ. ศรีตรังได้มนี โยบายสนับสนุนให้กรรมการบริษทั และ ผู้บริหารระดับสูง เข้าร่วมอบรมสัมมนาหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ สรุปผลการประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมิน ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ตนเอง) ในภาพรวม 4 หัวข้อ แสดงให้เห็นว่า กรรมการส่วนใหญ่ถือ ปฏิบัติเป็นประจ�ำ คะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับ 90.44%
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
การประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจ�ำเป็น และมีการจัดส่งหนังสือ เชิญประชุมให้แก่กรรมการเพื่อพิจารณาก่อนการประชุมล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจ�ำเป็นรีบด่วนเพื่อ รักษาสิทธิหรือประโยชน์ของ บมจ. ศรีตรัง ซึ่งในการประชุมทุกคราว จะมีการก�ำหนดวาระการประชุมที่ชัดเจน มีเอกสารประกอบการ ประชุมที่ครบถ้วนเพียงพอ โดยจัดส่งให้กับคณะกรรมการล่วงหน้า เพือ่ ให้คณะกรรมการได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วม ประชุม โดยในการประชุมคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง กรรมการ ทุกคนสามารถอภิป รายและแสดงความคิด เห็น ได้อ ย่างเปิด เผย นอกจากนี้ ในการประชุมคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง จะมีการเชิญ ผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเพื่อให้สารสนเทศ รายละเอียดเพิ่มเติมในฐานะที่เกี่ยวข้องโดยตรง
87
การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน
รายงานประจ�ำปี 2557
กรรมการและพนักงานของบริษทั ฯ จะต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายและวิธีการดูแลผู้บริหารในการน�ำข้อมูลภายใน กับข้อห้ามการซื้อขายหลักทรัพย์โดยใช้ข้อมูลภายในไม่ว่าจะเป็นในช่วง ระยะเวลาที่อนุญาตให้ซื้อขายหลักทรัพย์ก็ตาม นอกจากนี้ กรรมการและ ของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนดังนี้ พนักงานของบริษทั ฯ ถูกคาดหวังว่าจะไม่ซอื้ ขายหุน้ ของ บมจ. ศรีตรัง เพือ่ 1. ให้ความรู้แก่กรรมการและผู้บริหารในฝ่ายต่างๆ เกี่ยวกับหน้าที่ การเก็งก�ำไรในระยะสั้น ที่ผู้บริหารต้องจัดท�ำและเปิดเผยรายงานการถือครองหลักทรัพย์ และรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัท โดยนโยบายดังกล่าวได้มีการเปิดเผยให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมถึงบทก�ำหนดโทษในกรณี ทราบอย่างทัว่ ถึงผ่านช่องทางการสือ่ สารภายในองค์กร (Intranet website) ที่ฝ่าฝืนตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ
88
่ ภี ายใต้หลักการการก�ำกับ 2. ให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ รวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่ หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด บรรลุนติ ภิ าวะ จัดท�ำและเปิดเผยรายงานการถือครองหลักทรัพย์และ ดูแลกิจการปี 2012 (Code of Corporate Governance) รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของ บมจ. ศรีตรัง ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์ การปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท และจัดส่งส�ำเนารายงานนี้ให้แก่ บมจ. ศรีตรัง ในวันเดียวกับวันที่ส่ง หลักเกณฑ์ที่ 1: ประสิทธิภาพของคณะกรรมการบริษทั ในการน�ำและ รายงานต่อส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ควบคุมบริษทั 3. กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ที่ได้รับทราบข้อมูลภายในที่เป็น บทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั เป็นไปตามทีร่ ะบุไว้ในหัวข้อ “ขอบเขต สาระส�ำคัญซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ต้องใช้ความ อ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง” และสมาชิกภาพ และการ ระมัดระวังในการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของ บมจ. ศรีตรัง ในช่วง 1 เดือน เข้าประชุมของกรรมการแต่ละรายในการประชุมคณะกรรมการ และ ก่อนที่งบการเงินหรือข้อมูลภายในนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณชนและ คณะกรรมการชุดย่อยทีจ่ ดั ในปี 2557 ได้เปิดเผยไว้ในตารางภายใต้หวั ข้อ ในช่วงระยะเวลา 24 ชั่วโมงภายหลังจากที่ข้อมูลภายในของบริษัทฯ “รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อย” ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายในต้องไม่ เปิดเผยข้อมูลนั้นให้ผู้อื่นทราบจนกว่าจะได้มีการแจ้งข้อมูลนั้นให้แก่ รายการหรือการด�ำเนินงานใดๆ ทีม่ นี ยั ส�ำคัญ และส่งผลต่อบริษทั ฯ อาทิ ตลาดหลักทรัพย์ฯ และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์สงิ คโปร์แล้ว มาตรการ การประกาศผลประกอบการประจ�ำไตรมาส หรือประจ�ำปี การประกาศ ลงโทษหากมีการกระท�ำการฝ่าฝืนระเบียบปฏิบัติดังกล่าวข้างต้น เงินปันผล การจัดประชุมผู้ถือหุ้น การควบรวมกิจการ หรือรายการที่มี บริษทั ฯ ถือเป็นความผิดทางวินยั ตามข้อบังคับการท�ำงานของบริษทั ฯ นั ย ส�ำคั ญ อื่ น ๆ ที่ อ ยู ่ น อกเหนื อ อ�ำนาจหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของ 4. ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษทั ฯ ใช้ขอ้ มูล คณะกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ จะต้องได้รับการอนุมัติจาก ภายในของบริษทั ฯ ทีม่ ี หรืออาจมีผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลงราคา คณะกรรมการบริษทั นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั ยังพิจารณาและอนุมตั ิ ของหลักทรัพย์ของ บมจ. ศรีตรัง ซึ่งยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชน รายการต่างๆ ซึง่ รวมถึงแต่ไม่จ�ำกัดเฉพาะรายการระหว่างกัน และการได้มา ซึ่งตนได้ล่วงรู้มาในต�ำแหน่งหรือฐานะเช่นนั้น มาใช้เพื่อการซื้อหรือ หรือจ�ำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินของบริษัทฯ เพื่อให้เป็นไปตามกฎระเบียบ ขายหรือเสนอซื้อหรือเสนอขาย หรือชักชวนให้บุคคลอื่นซื้อหรือขาย ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือเสนอซื้อหรือเสนอขายซึ่งหุ้นหรือหลักทรัพย์อื่น (ถ้ามี) ของ บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายให้สิทธิ์แก่กรรมการในการเข้ารับการอบรมใน บมจ. ศรีตรัง ไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ในประการที่น่าจะเกิด หัวข้อใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการท�ำงาน เพือ่ ให้การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการ ความเสียหายแก่ บมจ. ศรีตรัง ไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางอ้อม และไม่ เป็นไปอย่างเอาใจใส่ และระมัดระวัง ว่าการกระท�ำดังกล่าวจะท�ำเพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น หรือ น�ำข้อเท็จจริงเช่นนั้นออกเปิดเผยเพื่อให้ผู้อื่นกระท�ำดังกล่าว โดยตน ได้รับผลประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ก็ตาม
องค์ประกอบและแนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการบริษัท หลักเกณฑ์ที่ 2: ความแข็งแกร่ง และเป็นอิสระของคณะกรรมการบริษทั
• การแต่งตั้งนายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ เป็นกรรมการอิสระ (Lead Independent Director) เพื่อเป็นช่องทางให้ผู้ถือหุ้นสามารถติดต่อได้ เพือ่ ตอบข้อสงสัยต่างๆ ทีไ่ ม่สามารถสอบถามผ่านทางประธานกรรมการ หรือกรรมการผู้จัดการ หรือเป็นกรณีที่ไม่เหมาะสมที่จะสอบถามผ่าน ช่องทางดังกล่าว นอกจากนี้ กรรมการอิสระ (Lead Independent Director) ยังเป็นช่องทางหลักในการประสานงานระหว่างกรรมการ อิสระและประธานกรรมการในเรือ่ งทีม่ คี วามอ่อนไหว (sensitive issues)
องค์ประกอบของ บมจ. ศรีตรัง เป็นไปตามที่ระบุไว้ในหัวข้อ “ขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง องค์ประกอบ และการ แต่งตั้งคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง” ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาจะน�ำ ปัจจัยต่างๆ ที่ระบุไว้ในหัวข้อ “การคัดเลือกกรรมการอิสระ” มาใช้ในการ พิจารณาความเป็นอิสระของกรรมการ นอกจากนี้ คณะกรรมการสรรหา ยังสอบทานผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อให้เป็นกรรมการซึ่งได้ออกตามวาระให้ สมาชิกภาพของคณะกรรมการบริษัท กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ซงึ่ ได้เปิดเผยไว้ในหัวข้อ “ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ หลักเกณฑ์ที่ 4: กระบวนการในการแต่งตัง้ กรรมการ และการกลับเข้า และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา” มาด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการอย่างเป็นทางการและโปร่งใส
คณะกรรมการสรรหาประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็นส่วนใหญ่ ซึง่ รวมถึง หลักเกณฑ์ที่ 3: การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจนระหว่าง ประธานกรรมการสรรหา โดยคณะกรรมการสรรหาประกอบด้ ว ย ต�ำแหน่งผู้น�ำของคณะกรรมการบริษัท และผู้น�ำคณะผู้บริหารบริษัท นายเกรียง ยรรยงดิลก นายสมัชชา โพธิถ์ าวร และนายกิตชิ ยั สินเจริญกุล โดยมีนายเกรียง ยรรยงดิลก เป็นประธานกรรมการสรรหา ทั้งนี้ หน้าที่ ในการบริหารจัดการธุรกิจ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาถูกระบุไว้ในหัวข้อ “คณะ นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการ และกรรมการ กรรมการสรรหา - ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะ ผู้จัดการของ บมจ. ศรีตรัง กรรมการสรรหา” อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการเชือ่ ว่านายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ควรเป็นผูน้ �ำ ของกลุ่มบริษัทฯ ต่อไปโดยด�ำรงต�ำแหน่งเป็นประธานกรรมการ และ กรรมการผู้จัดการ ทั้งนี้ นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล บริหารกิจการของกลุ่ม บริษทั ฯ (day-to-day operations) ในฐานะกรรมการผูจ้ ดั การ และมีความ รับผิดชอบในการก�ำหนดทิศทางกลยุทธ์ และการเจริญเติบโตของกลุม่ บริษทั ฯ นอกจากนี้ นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ในฐานะประธานกรรมการสามารถท�ำให้ แน่ใจได้ว่าการประชุมคณะกรรมการจะจัดทุกครั้งเมื่อมีความจ�ำเป็น และ วาระในการประชุมจะได้รับการหารือกับกรรมการท่านอื่น รวมทั้งยังท�ำให้ แน่ใจได้ว่ากรรมการทุกท่านจะได้รับข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง และได้รับ ภายในเวลาที่เหมาะสมเป็นประจ�ำ คณะกรรมการมีความรับผิดชอบ และมีการตัดสินใจที่เป็นอิสระเนื่องจาก ปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ • คณะกรรมการมีความเห็นว่า บมจ. ศรีตรัง มีการป้องกันและตรวจสอบ ทีเ่ พียงพอทีใ่ ห้ความแน่ใจได้วา่ ผูบ้ ริหารมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ โดยรวม นอกจากนี้ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาค่า ตอบแทน และคณะกรรมการตรวจสอบยังด�ำรงต�ำแหน่งโดยกรรมการ อิสระ • กรรมการอิสระทุกท่านมีส่วนร่วมในการประชุมคณะกรรมการอย่าง สม�ำ่ เสมอ โดยมีการสอบถามข้อสมมุตฐิ านและข้อเสนอของผูบ้ ริหารใน ทุกเรื่องที่มีผลกระทบต่อธุรกรรมและธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ
กระบวนการในการคัดเลือกกรรมการ การเสนอชื่อกรรมการ การแต่งตั้ง กรรมการ และการแต่งตัง้ ให้กลับมาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ของกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ตามที่ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับบริษัท และได้ระบุไว้ในหัวข้อ “องค์ ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง” และ “การสรรหา กรรมการ” ส�ำหรับปัจจัยต่างๆ ทีใ่ ช้ประกอบการพิจารณาคัดเลือกกรรมการ อิสระ ระบุไว้ในหัวข้อ “การคัดเลือกกรรมการอิสระ - คุณสมบัติของ กรรมการอิสระ” ทั้งนี้ กรรมการอิสระจะไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใด และถูกควบคุมโดยสถานการณ์ใดๆ กรรมการที่ออกจากต�ำแหน่งตามวาระมีสิทธิได้รับเลือกตั้งใหม่ โดย กรรมการจะออกจากต�ำแหน่งตามวาระทุกปี โดยกรรมการทีอ่ ยูใ่ นต�ำแหน่ง นานที่สุดนับจากวันที่ได้รับการแต่งตั้งให้กลับมาด�ำรงต�ำแหน่ง หรือได้รับ การแต่งตั้งนั้นเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง รายละเอียดการลาออก และ การเลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งอยู่ในหัวข้อ “การลาออก และการเลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้าด�ำรง ต�ำแหน่ง”
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ
89
รายละเอียดการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการหรือประธานกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น หรือการด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญในบริษัทอื่นของกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ทั้งในปัจจุบัน และสามปีย้อนหลัง มีดังต่อไปนี้ ปัจจุบนั
รายชือ่ กรรมการ ชือ่ บริษทั นายประกอบ วิศษิ ฐ์กจิ การ
รายงานประจ�ำปี 2557
นายเนียว อา แชบ
90
3 ปียอ้ นหลัง (2555-2557) ต�ำแหน่ง
ชือ่ บริษทั
ต�ำแหน่ง
บมจ. เออาร์ไอพี
กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ
บมจ. เออาร์ไอพี
กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจ สอบ
บมจ. ลีซ อิท
กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ
บจ. ลีซ อิท
กรรมการ
-
-
บมจ. ปูนซีเมนต์ นครหลวง
กรรมการและประธาน กรรมการตรวจสอบ
-
-
NAC Consultancy Services
เจ้าของบริษทั
ผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท
บทบาทหน้าที่ของเลขานุการอยู่ภายใต้หัวข้อ “เลขานุการบริษัท”
หลักเกณฑ์ที่ 5: การประเมินประสิทธิภาพรายปีของคณะกรรมการ กรรมการอาจปฏิบัติหน้าที่เป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคล และเมื่อมีความ บริษัทโดยรวม และคณะกรรมการชุดย่อย ตลอดจนความทุ่มเทของ จ�ำเป็นจะให้บริษัทฯ แต่งตั้งผู้ที่มีความเชี่ยวชาญที่เป็นบุคคลภายนอกมา ให้ค�ำแนะน�ำ กรรมการแต่ละรายเพื่อให้คณะกรรมการบริษัทมีประสิทธิภาพ รายละเอียดเกีย่ วกับการประเมินผลงานของคณะกรรมการบริษทั ทัง้ คณะ ค่าตอบแทนต่างๆ และประเมินผลปฏิบตั งิ านคณะกรรมการรายบุคคล ถูกระบุไว้ในเรือ่ ง การ หลักเกณฑ์ที่ 7: กระบวนการที่โปร่งใสและเป็นทางการส�ำหรับการ ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการ ภายใต้หวั ข้อความรับผิดชอบของ ก�ำหนดนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนผู้บริหาร คณะกรรมการ
การเข้าถึงข้อมูล
หลักเกณฑ์ที่ 8: ค่าตอบแทนกรรมการควรอยู่ในระดับที่เหมาะสมแต่ ไม่มากเกินความจ�ำเป็น
หลักเกณฑ์ที่ 6: กรรมการควรได้รับข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง และได้ หลักเกณฑ์ที่ 9: การเปิดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนระดับและ รับภายในเวลาที่เหมาะสม ส่วนผสมของค่าตอบแทน และกระบวนการในการก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสามารถเข้าถึงผู้บริหารระดับสูง และเลขานุการบริษัทได้ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนประกอบด้วยกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้ อย่างเป็นอิสระตลอดเวลา ผูบ้ ริหารได้ให้ขอ้ มูลตามทีไ่ ด้รบั การร้องขอจาก บริหาร และกรรมการอิสระทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยนายประกอบ วิศิษฐ์ คณะกรรมการอย่างทันท่วงที และรายงานให้คณะกรรมการทราบถึง กิจการ นายเกรียง ยรรยงดิลก และนายสมัชชา โพธิ์ถาวร โดยมีนาย เหตุการณ์และรายการต่างๆ ทีม่ คี วามส�ำคัญทีเ่ กิดขึน้ นอกจากนี้ ก่อนการ ประกอบ วิศิษฐ์กิจการ เป็นประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ประชุม กรรมการทุกคนได้รับวาระการประชุม และเอกสารการประชุมใน เวลาทีเ่ พียงพอเพือ่ ทีก่ รรมการจะได้มเี วลาเพียงพอในการซักถามข้อสงสัย หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนถูกระบุ ต่างๆ ทั้งนี้ ผู้บริหารได้มีการหารือกับกรรมการตามความจ�ำเป็น และ ไว้ในหัวข้อ “ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ความเหมาะสม พิจารณาค่าตอบแทน” ทั้งนี้ ค�ำแนะน�ำของคณะกรรมการพิจารณาค่า
3. นายวิทย์นาถ สินเจริญกุล
บุตรชาย ดร.ไวยวุฒิ สินเจริญกุล ประธาน กรรมการและกรรมการ ผู้จัดการ
Band I
4. นายลี ทริสทัน ชีเซ็น
บุ ต รชาย นายลี พอล สุเมธ กรรมการบริหาร
Band I
เนือ่ งจากบริษทั ฯ ประกอบธุรกิจผลิตยางธรรมชาติจ�ำหน่ายให้แก่ลกู ค้าทัว่ โลก บริษัทฯ จึงมีความเสี่ยงทางการเงินหลากหลายประเภท เช่น ความ เสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ความเสี่ยงเกี่ยวกับ อัตราดอกเบีย้ ความเสีย่ งด้านเครดิตและความเสีย่ งคูค่ า้ และความเสีย่ ง เกี่ยวกับสภาพคล่อง บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแบบฟอร์เวิร์ด และสัญญาตราสารสิทธิ (Option) รวมทัง้ สัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงบางประการของบริษัทฯ
หมายเหตุ:
บริษัทฯ ได้บริหารและจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับกิจกรรมทางธุรกิจอย่าง เป็นประจ�ำโดยการบริหารของทีมงานบริหารความเสี่ยงที่มีประสบการณ์ Band I หมายถึง ระดับค่าตอบแทนระหว่าง 50,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง ซึ่งมีหน้าที่ตรวจสอบ ประเมิน จัดการ และควบคุมความเสี่ยงดังกล่าว
(1) ระดับของค่าตอบแทน
100,000 เหรียญสิงคโปร์
Band II หมายถึง ระดับค่าตอบแทนระหว่าง 100,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 150,000 เหรียญสิงคโปร์
Band III หมายถึง ระดับค่าตอบแทนระหว่าง 150,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง 200,000 เหรียญสิงคโปร์
ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
บริษัทฯ มีความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เนื่อง จากบริษทั ฯ ประกอบธุรกิจโดยใช้หลายสกุลเงิน ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตรา Band IV หมายถึง ระดับค่าตอบแทนระหว่าง 200,001 เหรียญสิงคโปร์ ถึง แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศนี้ส่วนใหญ่เกิดจากการที่สกุลเงินของ รายได้จากการขายและต้นทุนของบริษัทฯ แตกต่างกัน ทั้งนี้ เนื่องจาก 250,000 เหรียญสิงคโปร์
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ตอบแทนจะถูกน�ำเสนอให้คณะกรรมการเพือ่ ท�ำการรับรอง (endorsement) ความรับผิดชอบและการตรวจสอบ เรื่องต่างๆ เกีย่ วกับค่าตอบแทนซึง่ รวมถึงแต่ไม่จ�ำกัดเฉพาะ ค่าตอบแทน หลักเกณฑ์ที่ 10: คณะกรรมการควรน�ำเสนอผลประกอบการ ต�ำแหน่ง กรรมการ เงินเดือน เบี้ยเลี้ยง เงินโบนัส ออปชั่น และค่าตอบแทนอื่นๆ และการคาดการณ์ของบริษัทฯ ในรูปแบบที่เข้าใจได้ง่าย และสมดุล ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบใดก็ตาม จะอยู่ภายใต้การพิจารณาของคณะ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการได้ก�ำหนดนโยบายเกีย่ วกับการเปิดเผยและความโปร่งใสใน การประกอบกิจการของ บมจ. ศรีตรัง โดยคงไว้ซงึ่ ประโยชน์ในทางการค้า โปรดดูหัวข้อ “ค่าตอบแทนผู้บริหาร” ส�ำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยว ของ บมจ. ศรีตรัง ทัง้ นี้ บมจ. ศรีตรัง รายงานข้อมูลทางการเงินทุกไตรมาส กับค่าตอบแทนของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทีเ่ ป็นบุคคลทีม่ คี วาม และน�ำเสนอข้อมูลทางการเงินในรูปแบบที่สมดุล และเข้าใจได้ง่าย สัมพันธ์ทางครอบครัวโดยตรงของกรรมการ บมจ. ศรีตรัง จะจัดประชุมนักลงทุน (Investor Forum) เป็นประจ�ำทุกปี รายละเอี ย ดค่ า ตอบแทนพนั ก งานที่ เ ป็ น บุ ค คลที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท าง ที่สิงคโปร์เพื่อให้ผู้ถือหุ้นใต้ CDP ได้พบกับกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ครอบครัวโดยตรงกับ กรรมการบริษทั ส�ำหรับปี 2557 สามารถแสดงตาม ทั้งนี้ คณะกรรมการที่เข้าร่วมประชุมนักลงทุน (Investor Forum) อย่าง น้อยจะต้องประกอบด้วย กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารสองท่าน ระดับได้ดังต่อไปนี้ และกรรมการอิสระสองท่าน ซึ่งหนึ่งในนั้นจะต้องมี Lead Independent ชื่อ ความสัมพันธ์ ระดับของค่า Director โดยผู้ถือหุ้นจะได้รับโอกาสในการทราบถึงผลประกอบการของ (1) ตอบแทน บมจ. ศรีตรัง และสามารถที่จะซักถามข้อสงสัยใดๆ โดยตรงกับกรรมการ ที่เข้าร่วมประชุม 1. นางพร้อมสุข คู่สมรสของ ดร.ไวยวุฒิ Band IV สินเจริญกุล สินเจริญกุล ประธาน การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน กรรมการและกรรมการ หลักเกณฑ์ที่ 11: การจัดตั้งระบบบริหารความเสี่ยงและการควบคุม ผู้จัดการ ภายในที่ดี 2. นายวิชญ์พล บุตรชาย ดร.ไวยวุฒิ Band I การบริหารความเสี่ยง สินเจริญกุล สินเจริญกุล ประธาน กรรมการและกรรมการ ความเสี่ยงต่างๆ ผู้จัดการ
91
รายงานประจ�ำปี 2557
บมจ. ศรีตรัง น�ำเสนองบการเงินในสกุลเงินบาท บมจ. ศรีตรัง จึงได้รับ ประโยชน์ในกรณีที่เงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าเมื่อเทียบกับเงินบาท บริษทั ฯ จะบริหารจัดการความเสีย่ งเกีย่ วกับอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่าง ประเทศผ่านการท�ำสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแบบฟอร์เวิร์ด และสัญญา ตราสารสิทธิ (Option)
92
ลดความเสี่ยงดังกล่าว บริษัทฯ จะท�ำธุรกรรมกับคู่สัญญาภายหลังจากที่ บริษทั ฯ ได้ประเมินความน่าเชือ่ ถือของคูส่ ญ ั ญานัน้ ๆ แล้วเท่านัน้ ทัง้ นี้ โดย ที่บริษัทฯ จะได้น�ำเอาประวัติการท�ำธุรกรรมในอดีตกับคู่สัญญานั้นและ ฐานะทางการเงินของคูส่ ญ ั ญานัน้ ๆ เป็นปัจจัยในการพิจารณาด้วย นอกจาก นี้ บริษทั ฯ ยังตรวจสอบการใช้วงเงินสินเชือ่ ทีบ่ ริษทั ฯ ได้ก�ำหนดให้คสู่ ญ ั ญา นัน้ ๆ อยูเ่ ป็นประจ�ำอีกด้วย โดยเฉพาะกับคูส่ ญ ั ญาทีบ่ ริษทั ฯ เห็นว่ามีความ นอกจากนี้ บมจ. ศรีตรัง ยังมีความเสีย่ งจากการแปลงเงินตราต่างประเทศ เสีย่ งต่อการผิดนัดช�ำระหนีส้ งู ยิง่ ไปกว่านัน้ ส�ำหรับการขายยังสาธารณรัฐ ในลักษณะที่เกี่ยวกับการลงทุนเพื่อการด�ำเนินกิจการในต่างประเทศด้วย ประชาชนจีน บริษัทฯ มักจะเรียกร้องให้มีการช�ำระเงินสดทันทีที่ส่งมอบ อย่างไรก็ดี บมจ. ศรีตรัง ไม่ได้ป้องกันความเสี่ยงดังกล่าวเนื่องจากฝ่าย สินค้าและอาจจะให้สินเชื่อแก่ลูกค้ารายส�ำคัญโดยพิจารณาเป็นรายๆ ไป บริหารเชื่อว่าความเสี่ยงดังกล่าวไม่มีนัยส�ำคัญเนื่องจากการลงทุนในการ บริษัทฯ มีความเสี่ยง ด้านเครดิตที่เกี่ยวกับการฝากเงินสด และตราสาร ด�ำเนินการต่างประเทศของ บมจ. ศรีตรัง เป็นการลงทุนในระยะยาว อนุพันธ์ทางการเงิน ซึ่งบริษัทฯ ท�ำกับสถาบันการเงินหลายแห่ง บริษัทฯ ความเสี่ยงด้านราคา ประเมินความน่าเชือ่ ถือของธนาคาร และสถาบันการเงินทีบ่ ริษทั ฯ เข้าท�ำ ราคาสินค้าโภคภัณฑ์โดยทั่วไปซึ่งรวมถึงยางธรรมชาตินั้นมีความผันผวน ธุรกรรมด้วย และบริษัทฯ ลดความเสี่ยงโดยการฝากเงินไว้กับธนาคาร และบริษัทฯ มีความเสี่ยงต่อความผันผวนของราคายางธรรมชาติเช่น และสถาบันการเงินหลายแห่ง เดียวกันกับคู่แข่งรายอื่นๆ ในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ เพื่อเป็นการลด ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงดังกล่าว บริษัทฯ เฝ้าสังเกตอุปสงค์และอุปทานของยาง ธรรมชาติ และราคาผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ บริษัทฯ สามารถท�ำธุรกรรม วงจรของเงินทุนหมุนเวียนส�ำหรับผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติที่บริษัทฯ เป็น การขายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติได้ทั้งแบบส่งมอบทันที และแบบสัญญา ผู้ผลิต นับตั้งแต่ขั้นตอนการซื้อวัตถุดิบถึงรับช�ำระค่าสินค้าจากลูกค้า ระยะยาว เนื่องจากมีความสัมพันธ์ที่ยาวนานกับฐานลูกค้าที่หลากหลาย มีระยะเวลาประมาณ 2 ถึง 4 เดือน ดังนั้น บริษัทฯ จึงหมั่นตรวจสอบ และมีอ�ำนาจต่อรองต่อผูซ้ อื้ ทัง้ นี้ โดยขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยหลายประการซึง่ รวม สภาพคล่องของบริษัทฯ เพื่อให้แน่ใจได้ว่าบริษัทฯ มีเงินสดเพียงพอต่อ ถึงราคายางธรรมชาติดว้ ยนัน้ ในกรณีทบี่ ริษทั ฯ ไม่สามารถขายผลิตภัณฑ์ ความต้องการในการด�ำเนินกิจการ และสามารถรักษาระดับสภาพคล่อง ยางธรรมชาติได้ บริษัทฯ อาจป้องกันความเสี่ยงโดยการเข้าท�ำสัญญาซื้อ ตามเงื่อนไขของสัญญากู้ที่ยังไม่ได้เบิกถอนเงินตามสัญญาไว้ได้อยู่เสมอ ขายยางล่วงหน้าแบบฟิวเจอร์ เพือ่ ทีจ่ ะได้ใช้ประโยชน์ตามเงินกูห้ รือค�ำรับรองทีบ่ ริษทั ฯ ให้ไว้ตามสัญญา เงินกู้ นอกจากนี้ บริษัทฯ เชื่อว่าเมื่อพิจารณาจากความต้องการของ ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติในระดับโลกแล้ว บริษัทฯ มีตลาดที่พร้อมรองรับ บริษทั ฯ มีเงินกูท้ งั้ ประเภทอัตราดอกเบีย้ คงที่ และลอยตัว ความเสีย่ งของ สินค้าคงเหลือของบริษทั ฯ และบริษทั ฯ มีศกั ยภาพทีส่ ามารถขายสินค้าดัง อัตราดอกเบี้ยหมายความรวมถึงความเสี่ยงของบริษัทฯ ที่เกิดจากความ กล่าวได้ทันเวลาเมื่อบริษัทฯ มีความต้องการใช้เงินในคราวจ�ำเป็น ผันผวนของอัตราดอกเบีย้ ของเงินกูท้ กี่ ลุม่ บริษทั ฯ เป็นผูก้ ู้ บริษทั ฯ บริหาร จัดการความเสีย่ งของอัตราดอกเบีย้ โดยพยายามก�ำหนดให้เงินกูส้ ว่ นมาก โดยในปี 2557 คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความ มีระยะเวลาตามความจ�ำเป็นที่จะต้องใช้ในช่วงเวลานั้นๆ และพิจารณา เสีย่ ง โดยมีบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ก�ำหนดนโยบายและก�ำกับดูแล ความเสี่ยงภายในองค์กร โปรดดูรายละเอียดในหัวข้อ คณะกรรมการ แนวโน้มของอัตราดอกเบี้ยในช่วงเวลาขณะดังกล่าว บริหารความเสี่ยง ความเสี่ยงด้านเครดิตและความเสี่ยงคู่ค้า ระบบการควบคุมภายใน ยอดขายจ�ำนวนมากของบริษทั ฯ เป็นการขายให้แก่ลกู ค้าในหลายประเทศ ในทวีปเอเชีย เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย สิงคโปร์ ญีป่ นุ่ เกาหลี รายละเอียดดังต่อไปนี้ เป็นการสรุปสาระส�ำคัญของระบบการควบคุม และลูกค้าในสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ซึ่งในการขายดังกล่าวบริษัทฯ ภายใน และการตรวจสอบภายในของ บมจ. ศรีตรัง จะให้ลกู ค้าเปิดเล็ตเตอร์ออฟเครดิต หรือขอให้มกี ารช�ำระเงินสดทันทีทสี่ ง่ • ระบบการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง มอบเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในสินค้า ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความเสี่ยงด้าน ก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจประจ�ำปีของ บมจ. ศรีตรัง โดยได้ เครดิต และความเสี่ยงคู่ค้าที่เกิดจากการประกอบธุรกิจตามปกติ ในกรณี มีการก�ำหนดพันธกิจที่ชัดเจน เพื่อให้มีการจัดท�ำแผนด�ำเนินงานใน ที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาของบริษัทฯ ไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามสัญญา เพื่อเป็นการ ความเสี่ยงของอัตราดอกเบี้ย
มีผลกระทบต่อ บมจ. ศรีตรัง ดังนั้นจึงมีการประเมิน และติดตาม • การตรวจสอบ ผู้จัดการโรงงานผลิตยางธรรมชาติของบริษัทฯ ต้อง ความเสีย่ งตลอดเวลาในการปฏิบตั งิ าน โดยแต่ละหน่วยงานจะบริหาร ประชุมกับแผนกจัดหาวัตถุดบิ และแผนกการขาย และการตลาดเป็น งานโดยน�ำความเสีย่ งมาประเมิน และท�ำการแก้ไขในระดับการท�ำงาน ประจ�ำทุ ก เดื อ นเพื่ อ จั ด เตรี ย มงบประมาณของบริ ษั ท ฯ (รวมถึ ง ปกติ อีกทั้งได้ก�ำหนดให้มีการประชุมหารือกันในระดับผู้บริหารเพื่อ ประมาณการความสามารถในการผลิตประจ�ำเดือนส�ำหรับแต่ละ ประเมินสถานการณ์ และก�ำหนดกลยุทธ์ในการด�ำเนินงานเพือ่ รองรับ โรงงานผลิตยางธรรมชาติ และประมาณการยอดขายของแต่ละเดือน) ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเป็นประจ�ำ ในการประมาณการดังกล่าวจะต้องน�ำปัจจัยหลายๆ ประการมา พิจารณา เช่น ประมาณการก�ำลังการผลิตทีส่ ามารถผลิตได้ของแต่ละ • การควบคุม บมจ. ศรีตรัง มีการก�ำหนดมาตรการ และแนวทางการ โรงงานผลิตยางธรรมชาติ ปริมาณวัตถุดบิ ทีส่ ามารถจัดหาได้ อุปสงค์ ปฏิบัติไว้อย่างชัดเจน โดยก�ำหนดเป็นค�ำสั่ง ระเบียบในการปฏิบัติ ของผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ราคายางธรรมชาติในตลาดสินค้า อ�ำนาจการอนุมตั ิ และวิธกี ารปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้ผบู้ ริหารและพนักงาน โภคภัณฑ์ และภาวะเศรษฐกิจทั่วไปอื่นๆ งบประมาณดังกล่าวจะถูก ทุกระดับต้องปฏิบัติตามเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ตรวจสอบโดยกลุ่มผู้บริหารระดับสูงก่อนน�ำไปใช้จริง บริษัทฯ เชื่อว่า • สารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล บมจ. ศรีตรัง น�ำองค์กรเข้าสู่ “ไอที ด้วยการประชุมรายเดือน และการประมาณการดังกล่าว เป็นกระบวน ภิบาล” ซึ่งจะมีกลไกในการบริหารและควบคุ ม ระบบเทคโนโลยี การที่จะท�ำให้บริษัทฯ ได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนสูงสุดภายใต้ สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ และมีระบบบริหารความเสี่ยง (IT Risk มาตรฐานความเสี่ยงที่เหมาะสมซึ่งกลุ่มผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ Management) ตามมาตรฐานสากล ซึ่งได้ก�ำหนดเป้าหมายและ ได้ก�ำหนดขึ้นเป็นช่วงๆ แผนการด�ำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้สอดคล้องและ สัมพันธ์กับลักษณะธุรกิจ ตลอดจนสอดคล้องกับกฎหมาย และ • การตรวจสอบภายใน บริษทั ฯ จัดให้มรี ะบบการตรวจสอบภายในอย่าง เพียงพอ เพื่อตรวจสอบให้หน่วยงานต่างๆ ได้มีการปฏิบัติงานอย่าง ข้อบังคับ โดยบมจ. ศรีตรัง ได้ก�ำหนดแนวทางป้องกันการแก้ไข ถู ก ต้ อ งและสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ต่ อ ข้ อ มู ล และรายงาน โดยคณะ เปลี่ยนแปลงข้อมูล เพื่อลดความผิดพลาดหรือบิดเบือนข้อมูล โดย กรรมการตรวจสอบ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้มี การให้ผมู้ สี ทิ ธิทจี่ ะเข้าถึงข้อมูลในระบบงานต่างๆ จะต้องผ่านช่องทาง บทบาทก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายในให้มีประสิทธิภาพ โดยฝ่าย ที่บริษัทฯ ก�ำหนด ทั้งนี้ บมจ. ศรีตรัง ได้มีการส�ำรองข้อมูลและระบบ ตรวจสอบภายใน ได้ก�ำหนดแผนการตรวจสอบตามฐานความเสี่ยงที่ คอมพิวเตอร์ (Backup and IT Continuity Plan) เพือ่ เป็นการเตรียม ส�ำคัญของธุรกิจ (Risk Based Approach) ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐาน ความพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน ในการนี้ บมจ. ศรีตรังได้มีการจัด ที่ ย อมรั บ โดยทั่ ว ไป และปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต รวจสอบอย่ า งเป็ น อิ ส ระ ระบบสารสนเทศที่เหมาะสมทั้งใน Internet Website และ Intranet โดยผลการตรวจสอบได้รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็น Website ของ บมจ. ศรีตรัง โดย Internet Website เพื่อให้ผู้ถือหุ้น ประจ�ำหรือทุกไตรมาส นักลงทุน และบุคคลทัว่ ไป ได้สามารถรับข้อมูลทีส่ �ำคัญเกีย่ วกับ บมจ. ศรีตรังอย่างสม�่ำเสมอ อีกทั้งยังเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการติดต่อ คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นตรงกับคณะกรรมการตรวจสอบว่า ในปีทผี่ า่ น สื่อสารในกรณีที่มีข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะจากผู้ถือหุ้น นักลงทุน มา บมจ. ศรีตรัง มีการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ และมีประสิทธิภาพ โปรดดู หรือบุคคลทั่วไป ส่วนระบบ Intranet Website เป็นระบบเพื่อใช้ใน หัวข้อ “รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ” ส�ำหรับรายละเอียดเพิม่ เติม การสื่อสารภายในกลุ่มบริษัทฯ ซึ่งท�ำให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่าง ถูกต้อง รวดเร็วและทั่วถึง รวมทั้งยังใช้เป็นแหล่งเผยแพร่ หรือแลก กรรมการผูจ้ ดั การและผูจ้ ดั การสายงานบัญชีและการเงิน (CFO) รับรองต่อ เปลีย่ นความรูท้ มี่ ผี ลต่อการเพิม่ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อการ คณะกรรมการบริษทั ว่า รายงานทางการเงินได้จดั ท�ำอย่างเหมาะสม และงบ การเงินได้สะท้อนสถานะการประกอบธุรกิจ และสถานะทางการเงินทีถ่ กู ต้อง ด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทฯ อีกด้วย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
แต่ละหน่วยงานให้สอดคล้องเป็นแนวทางเดียวกัน และให้มีการ • การติดตามและการรายงาน หน่วยงานต่างๆ ของบริษทั ฯ จะรายงาน ก�ำหนดตัวชีว้ ดั ผลการด�ำเนินงาน ทัง้ ทางด้านก�ำไรขาดทุนทางการเงิน ผลการด�ำเนินงานเป็นประจ�ำทุกเดือนให้ฝา่ ยบริหารทราบ โดยผูจ้ ดั การ ผลการปฏิบัติงาน ความพึงพอใจของลูกค้า เป็นต้น โดยมีการก�ำกับ โรงงานผลิตยางธรรมชาติของบริษัทฯ แต่ละแห่งต้องจัดท�ำรายงาน ดูแล และติดตามอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกเดือน นอกจากนี้ คณะ ประจ�ำวันทีแ่ สดงจ�ำนวนรวม และต้นทุนวัตถุดบิ ทีบ่ ริษทั ฯ ซือ้ ในแต่ละ กรรมการยังได้มีการทบทวนความเพียงพอและความมีประสิทธิภาพ วัน นอกจากนี้ แผนกการขาย และการตลาดต้องจัดท�ำรายงานยอดขาย ของระบบการควบคุมภายในรายปีอีกด้วย และสินค้าคงเหลือประจ�ำวันเพื่อให้กลุ่มผู้บริหารระดับสูงใช้รายงาน เหล่านี้ เพื่อในการก�ำหนดนโยบายยอดขาย และต้นทุนของสินค้า • การประเมินความเสีย่ ง บมจ. ศรีตรัง ค�ำนึงถึงความเปลีย่ นแปลงของ ของบริษัทฯ รวมถึงการพิจารณาความเสี่ยงด้านต่างๆ ด้วย สภาวะแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงและ
93
รายงานประจ�ำปี 2557
ตามทีค่ วร ตลอดจนการบริหารความเสีย่ ง และระบบการควบคุมภายในของ บมจ. ศรีตรัง ได้มีการสรรหาบุคลากรทางด้านงานตรวจสอบภายในที่มี บริษทั ฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตามรายละเอียดในหัวข้อ “รายงานความ ความรูค้ วามสามารถ และประสบการณ์ทเี่ กีย่ วข้องกับงานด้านการตรวจสอบ รับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน” ภายใน ในจ�ำนวนทีเ่ หมาะสม และเพียงพอ โดยมีนายวิทวัส กรุงแทนเมือง ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้าส่วนงานตรวจสอบภายใน ซึ่งพนักงานผู้ปฏิบัติงาน หลักเกณฑ์ที่ 12: การจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบพร้อมกับการ สามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งหมดของบริษัทฯ โดยไม่ถูกห้ามเพื่อที่จะได้ปฏิบัติ ก�ำหนดบทบาทหน้าที่เป็นลายลักษณ์อักษร งานตรวจสอบภายใน โดยหน่วยงานตรวจสอบจะท�ำหน้าที่ตรวจประเมิน คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการทีไ่ ม่ได้เป็นผูบ้ ริหาร ซึง่ คือ การควบคุมภายในตามแผนการตรวจสอบประจ�ำปีและให้ค�ำแนะน�ำในการ นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ นายเกรียง ยรรยงดิลก และนายสมัชชา พัฒนาระบบตรวจสอบภายใน ทั้งนี้ จะพิจารณาเรื่องความเสี่ยงทางธุรกิจ โพธิถ์ าวร โดยมีนายประกอบ วิศษิ ฐ์กจิ การ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ และความเสี่ยงจากการด�ำเนินงานเป็นหลัก
94
คณะกรรมการตรวจสอบจะประชุมทุกไตรมาส และจะมีการประชุมส่วน ตัวกับผูส้ อบบัญชี และผูต้ รวจสอบภายในอย่างน้อยปีละครัง้ โดยปราศจาก ผู ้ บ ริ ห าร เพื่ อ ทบทวนความเพี ย งพอของการตรวจสอบบั ญ ชี และ การตรวจสอบภายใน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรือ่ งของขอบเขตและคุณภาพ การตรวจสอบ ตลอดจนความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบ ภายใน ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่และความรับผิดชอบตามที่ ระบุ ไ ว้ ใ นหั ว ข้ อ “ขอบเขตอ�ำนาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ”
การตรวจสอบภายใน
คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานผลการด�ำเนินงาน และความเพียงพอ ของระบบงานตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ คณะกรรมการ ตรวจสอบอาจให้ค�ำแนะน�ำในการพัฒนาระบบการควบคุมภายในและ ระบบการตรวจสอบภายในให้แก่คณะกรรมการ
สิทธิของผู้ถือหุ้นและความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น หลักเกณฑ์ที่ 14: การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียม และเสมอภาคกัน หลักเกณฑ์ที่ 15: การสือ่ สารกับผูถ้ อื หุน้ อย่างเป็นประจ�ำ มีประสิทธิภาพ และเท่าเทียมกัน
หลักเกณฑ์ที่ 13: การจัดตัง้ ระบบการควบคุมภายในและงานตรวจสอบ หลักเกณฑ์ที่ 16: การมีส่วนร่วมของผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญผู้ถือ ภายในอย่างเพียงพอ มีประสิทธิภาพ และมีความเป็นอิสระ หุ้นที่มากขึ้น บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง และการก�ำกับดูแลผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เพื่อให้คณะกรรมการ บริหาร และพนักงานทุกคนมีบทบาท และความรับผิดชอบร่วมกันเพื่อให้ ทุกคนมีเป้าหมายเดียวกัน ระบบการตรวจสอบภายในที่เป็นอิสระ หน่วยงานตรวจสอบภายในของบมจ. ศรีตรัง เป็นหน่วยงานอิสระทีร่ ายงาน ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ หน่วยงานตรวจสอบภายในจะท�ำหน้าที่ ตรวจประเมินการควบคุมภายในตามแผนการตรวจสอบประจ�ำปี รวมทั้ง สนับสนุนให้เกิดระบบการบริหารความเสีย่ ง และการให้ค�ำแนะน�ำทางด้าน ต่างๆ โดยหน่วยงานตรวจสอบภายในได้ยึดถือมาตรฐานการปฏิบัติงาน ตามวิชาชีพการตรวจสอบภายใน (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing) เป็นกรอบหรือแนวทางในการปฏิบัติงาน ที่มุ่งเน้นให้มีการปฏิบัติงานมีความเป็นอิสระ เที่ยงธรรม และสอดคล้อง กั บ มาตรฐานสากล เพื่ อ ให้ ไ ด้ ง านตรวจสอบที่ มี คุ ณ ภาพ นอกจากนี้ การพัฒนา และฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในรวมอยู่ในมาตรฐาน ดังกล่าวด้วย
บมจ. ศรีตรัง มีความตั้งใจที่จะให้ข้อมูลผู้ถือหุ้นภายในเวลาที่เหมาะสม และข้อมูลดังกล่าวควรมีสาระส�ำคัญ และชัดเจนในเรื่องนั้นๆ โดย บมจ. ศรีตรัง ให้ความแน่ใจได้ว่าผู้ถือหุ้นทุกคนจะได้รับทราบถึงพัฒนาการที่ ส�ำคัญที่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัทฯ อย่างเท่าเทียมกัน และสามารถเข้า ถึงได้ รวมทั้ง บมจ. ศรีตรัง จะตอบสนองต่อสาธารณชนตลอดเวลา โปรดดูหวั ข้อ “การก�ำกับดูแลกิจการ - หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ สี �ำหรับ บริษทั จดทะเบียนปี 2555 - สิทธิของผูถ้ อื หุน้ ” และ “การก�ำกับดูแลกิจการ - หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ สี �ำหรับบริษทั จดทะเบียนปี 2555 - การปฏิบตั ิ ต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน”
บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการก�ำกับดูแลผลการด�ำเนินงาน ซึง่ เป็นกระบวนการปฏิบตั งิ านทีป่ ฏิบตั ิ เป็นขั้นตอนอย่างต่อเนื่องของเจ้าหน้าที่ทุกคนของบริษัทฯ ตั้งแต่คณะ กรรมการบริหาร และพนักงานทุกคนทีม่ บี ทบาทและความรับผิดชอบร่วมกัน
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
รายงานประจ�าปี 2557
บริษทั ฯ ให้ความส�าคัญต่อระบบการควบคุมภายใน การบริหาร ความเสีย่ ง และการก�ากับดูแลผลการด�าเนินงาน ซึง่ เป็นกระบวน การปฏิบตั งิ านทีป่ ฏิบตั เิ ป็นขัน้ ตอนอย่างต่อเนือ่ งของเจ้าหน้าที่ ทุกคนของบริษัทฯ ตั้งแต่คณะกรรมการบริหาร และพนักงาน ทุกคนที่มีบทบาทและความรับผิดชอบร่วมกัน
96
โดยจัดให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสม เพือ่ ให้มนั่ ใจอย่างสมเหตุผลว่า ผลการด�าเนินงานทุกหน่วยงานภายในกลุม่ บริษทั ฯ มีความ สอดคล้อง และสามารถบรรลุเป้าหมายตามทีค่ ณะกรรมการบริหารได้กา� หนดไว้ โดยจัดให้มหี น่วยงานตรวจสอบภายใน ซึง่ เป็นหน่วยงานอิสระทีร่ ายงาน ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ทัง้ นี ้ การพิจารณาอนุมตั แิ ต่งตัง้ ผูท้ มี่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม ถอดถอน โยกย้ายผูด้ า� รงต�าแหน่งหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ ภายในของบริษัทต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งหน่วยงานตรวจสอบภายในจะท�าหน้าที่ตรวจประเมินการควบคุมภายใน ตามแผนการตรวจสอบประจ�าปีโดยพิจารณาจากปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งสนับสนุนให้เกิดระบบ การบริหารความเสี่ยงในองค์กรอย่างเป็นรูปธรรม และการให้ค�าแนะน�าทางด้านต่างๆ เพื่อให้เชื่อมั่นได้ว่าการปฏิบัติงานของบริษัทฯ บรรลุผลส�าเร็จ ตามวัตถุประสงค์ที่ก�าหนดไว้ โดยหน่วยงานตรวจสอบภายในได้ยึดถือมาตรฐานการปฏิบัติงานตามวิชาชีพการตรวจสอบภายใน (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing) เป็นกรอบหรือแนวทางในการปฏิบัติงาน ที่มุ่งเน้นให้การปฏิบัติงานมีความเป็นอิสระ เที่ยงธรรม และ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล และให้ความส�าคัญต่อคุณภาพงานตรวจสอบ ทัง้ นี ้ บริษทั ฯ ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนาฝึกอบรมเจ้าหน้าทีต่ รวจสอบ ภายในอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะการส่งเสริมให้เจ้าหน้าทีต่ รวจสอบภายในได้รบั การฝึกอบรม เพือ่ สอบรับวุฒบิ ตั รเกีย่ วกับวิชาชีพตรวจสอบภายใน เช่น CIA (Certified Internal Auditor), CPIAT (Certified Professional Internal Audit of Thailand) ซึ่งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ จ�านวน สามท่านได้รับการขึ้นทะเบียนแล้ว และ CISA (Certified Information Systems Auditor) เป็นต้น โดยจัดให้มีการวางแผนการฝึกอบรมที่เหมาะสม เป็นรายบุคคล นอกจากนี ้ ผูส้ อบบัญชีอสิ ระ ซึง่ เป็นผูร้ บั รองงบการเงินประจ�าปี 2557 ของบริษทั ฯ ได้ให้ความเห็นว่า ไม่พบสถานการณ์ใดๆ ทีเ่ ป็นจุดอ่อน เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในที่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�าคัญต่องบการเงินของบริษัทฯ สรุปสาระส�าคัญของระบบการควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทฯ ได้ดังนี้
คณะกรรมการตรวจสอบ ท�าหน้าทีพ่ จิ ารณาความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ โดยทบทวนผลการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานตรวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชี อิสระของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง เน้นการพิจารณาความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน การควบคุมการปฏิบัติงานตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง หากคณะกรรมการตรวจสอบมีข้อเสนอแนะ หรือพบข้อบกพร่องหรือการประพฤติในทางที่มิชอบที่ เป็นสาระส�าคัญ จะหารือกับฝ่ายบริหารทีเ่ ป็นผูร้ บั ผิดชอบและรายงานต่อคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง โดยตรง เพือ่ ให้มกี ารด�าเนินการตามความเหมาะ สมและปรับปรุงแก้ไขต่อไป
หน่วยงานตรวจสอบภายใน
การควบคุม
ท�ำหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ ของกลุ่มบริษัทฯ ตามแผนการตรวจสอบประจ�ำปี และตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริหาร หรือคณะกรรมการตรวจสอบ โดยใช้หลักเกณฑ์การ พิ จ ารณาความส� ำ คั ญ ตามความเสี่ ย งของกระบวนการทางธุ ร กิ จ หรื อ กระบวนการท�ำงาน รวมทั้งการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำแก่ฝ่ายบริหารของ แต่ละหน่วยงานในการปรับปรุงการควบคุมภายใน ซึ่งรวมถึงระเบียบวิธี ปฏิบัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการด�ำเนินงานของกลุ่ม บริษัทฯ
บริษัทฯ มีการก�ำหนดมาตรการ และแนวทางการปฏิบัติไว้อย่างชัดเจน โดยก�ำหนดเป็นค�ำสั่ง ระเบียบในการปฏิบัติ อ�ำนาจการอนุมัติ และวิธีการ ปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้ผบู้ ริหารและพนักงานทุกระดับต้องปฏิบตั ติ ามเป็นไปใน แนวทางเดียวกัน
คณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง มีการก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจประจ�ำ ปีของบมจ. ศรีตรัง อย่างเป็นรูปธรรม มีการก�ำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) และอัตราการเติบโตของธุรกิจ โดยจัดให้มคี ณะท�ำงาน ทบทวนการจัดท�ำดัชนีชวี้ ดั (KPI: Key Performance Indicator) ในแต่ละ หน่วยธุรกิจ เพื่อให้การก�ำหนดเป้าหมายของแต่ละหน่วยงานสอดคล้อง และเป็นแนวทางเดียวกันทั่วทั้งองค์กร ไม่ว่าจะเป็นการก�ำหนดเป้าหมาย การด�ำเนินงานด้านก�ำไรขาดทุนทางการเงิน ผลการปฏิบัติงานหน่วยงาน หลักและหน่วยงานสนับสนุน ความพึงพอใจของลูกค้า เป็นต้น โดยมีการ ติดตามก�ำกับดูแลเป็นประจ�ำอย่างต่อเนื่อง
บริษัทฯ มีการจัดระบบสารสนเทศที่เหมาะสมทั้งใน Internet Website และ Intranet Website ของบริษัทฯ โดยได้จัดให้มี Internet Website เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และบุคคลทั่วไป ได้สามารถรับข้อมูลข่าวสารที่ ส�ำคัญเกี่ยวกับบริษัทฯ อย่างสม�ำ่ เสมอ อีกทั้ง ยังเป็นอีกช่องทางหนึ่งใน การติดต่อสือ่ สารในกรณีทมี่ ขี อ้ สงสัย หรือข้อเสนอแนะจากผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน หรือบุคคลทัว่ ไป ส่วนระบบ Intranet Website เป็นระบบทีใ่ ช้ในการสือ่ สาร ภายในกลุม่ บริษทั ฯ ซึง่ ท�ำให้การติดต่อสือ่ สารเป็นไปอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และทั่วถึง รวมทั้งยังใช้เป็นแหล่งเผยแพร่ หรือแลกเปลี่ยนความรู้ที่มีผล ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อการด�ำเนินงานของกลุ่ม บริษัทฯ อีกด้วย
การติดตามและประเมินผล
ฝ่ายบริหารมีการติดตามเหตุการณ์และทิศทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ประเมินและปรับกลยุทธ์ในการด�ำเนินงานให้เหมาะสมสอดคล้องต่อ การบริหารจัดการความเสี่ยง สถานะการณ์ปจั จุบนั พร้อมกับก�ำหนดแผน เพือ่ รองรับเหตุการณ์ทอี่ าจส่ง คณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง ให้ความส�ำคัญและสนับสนุนให้เกิดระบบ ผลกระทบต่อเป้าหมายขององค์กรในอนาคต ในส่วนผลการปฏิบตั งิ านของ บริหารความเสี่ยงอย่างเป็นรูปธรรม โดยในปี 2556 คณะกรรมการได้มี องค์กรมีการจัดท�ำรายงานผลการปฏิบัติงานตามดัชนีชี้วัด (KPI) เพื่อ มติอนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและอนุมัตินโยบาย ติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่องและทันเวลา บริหารความเสีย่ ง เพือ่ การก�ำกับดูแลประเมินความเสีย่ งของบริษทั ฯ และ ด�ำเนินการ เพือ่ ให้ระบบบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ เป็นรูปธรรมและเกิด การรายงาน ประสิทธิผลสูงสุด โดยการบริหารจัดการความเสี่ยงนั้นได้ค�ำนึงถึงความ ผูจ้ ดั การโรงงานผลิตยางธรรมชาติแต่ละแห่งต้องจัดท�ำรายงานประจ�ำวัน เปลีย่ นแปลงของสภาวะแวดล้อมทัง้ ภายนอกและภายใน ทีก่ อ่ ให้เกิดความ ที่แสดงปริมาณและต้นทุนวัตถุดิบที่บริษัทฯ ซื้อในแต่ละวัน นอกจากนี้ เสีย่ งและมีผลกระทบต่อบริษทั ฯ ดังนัน้ จึงมีการประเมินและติดตามความ แผนกการขาย และการตลาดต้องจัดท�ำรายงานยอดขายและสินค้าคงเหลือ เสี่ยงตลอดเวลาในการปฏิบัติงาน โดยแต่ละหน่วยงานจะบริหารงานโดย ประจ�ำวันด้วย กลุม่ ผูบ้ ริหารระดับสูงใช้รายงานเหล่านี้ เพือ่ ก�ำหนดนโยบาย น�ำความเสีย่ งมาประเมิน และท�ำการแก้ไขในระดับการท�ำงานปกติ อีกทัง้ ยอดขายและต้นทุนของสินค้าของบริษทั ฯ รวมถึงการพิจารณาความเสีย่ ง ได้ ก� ำ หนดให้ มี ก ารประชุ ม หารื อ กั น ในระดั บ ผู ้ บ ริ ห ารเพื่ อ ประเมิ น ด้านต่างๆ สถานการณ์ และก�ำหนดกลยุทธ์ในการด�ำเนินงาน เพื่อรองรับความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ระบบการควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร
สารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล
97
รายงานประจ�ำปี 2557
การตรวจสอบ
98
นอกจากนี้ ในที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบของบมจ. ศรีตรัง ครั้งที่ ผูจ้ ดั การโรงงานผลิตยางธรรมชาติของบริษทั ฯ ต้องประชุมกับแผนกจัดหา 1/2558 เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมิน วัตถุดบิ และแผนกการขายและการตลาดเป็นประจ�ำทุกเดือน เพือ่ จัดเตรียม ระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ และมีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการ งบประมาณของบริษัทฯ (รวมถึงประมาณการความสามารถในการผลิต ควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม ประจ�ำเดือนส�ำหรับแต่ละโรงงานผลิตยางธรรมชาติ และประมาณการยอด ทั้งนี้ ในการก�ำกับดูแลบริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง นั้น กรรมการของ ขายของแต่ละเดือน) ในการประมาณการดังกล่าวจะต้องน�ำปัจจัยหลายๆ บมจ. ศรีตรัง จะเข้าเป็นกรรมการในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมเอง และ ประการมาพิจารณา เช่น ประมาณการก�ำลังการผลิตทีส่ ามารถผลิตได้ของ บางครัง้ อาจมีการจัดส่งตัวแทนของบริษทั ฯ หรือผูแ้ ทนของบริษทั ฯ เข้าไป แต่ละโรงงานผลิตยางธรรมชาติ ปริมาณวัตถุดบิ ทีส่ ามารถจัดหาได้ อุปสงค์ ร่วมเป็นกรรมการของบริษัทย่อย และมอบหมายให้ฝ่ายตรวจสอบภายใน ของผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ราคายางธรรมชาติในตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ ของบริษัทฯ เป็นผู้ตรวจสอบความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของ และภาวะเศรษฐกิจทั่วไปอื่นๆ งบประมาณดังกล่าวจะถูกตรวจสอบโดย บริษัทย่อย และรายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ทราบถึง กลุม่ ผูบ้ ริหารระดับสูงก่อนน�ำไปใช้จริง บริษทั ฯ เชือ่ ว่า ด้วยการประชุมราย ข้อสรุปเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลของบริษัทย่อย เพื่อให้บริษัทฯ สามารถ เดือนและการประมาณการดังกล่าว เป็นกระบวนการทีจ่ ะท�ำให้บริษทั ฯ ได้ ควบคุมและตรวจสอบการด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รับผลตอบแทนจากการลงทุนสูงสุดภายใต้การบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม ซึ่งกลุ่มผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ได้ก�ำหนดขึ้นเป็นช่วงๆ ส�ำหรับผล การด�ำเนินงานของแต่ละหน่วยธุรกิจที่มีการก�ำหนดดัชนีชี้วัด (KPI) ฝ่าย ตรวจสอบภายในมีการสุ่มตรวจสอบความถูกต้องของรายงานดัชนีชี้วัด (KPI) ในหัวข้อทีส่ ำ� คัญโดยเฉพาะหน่วยงานหลัก เช่น ฝ่ายสรรหาวัตถุดบิ ฝ่ายผลิต ฝ่ายส่งออก เป็นต้น ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 โดยมีกรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน เข้าร่วมประชุม ด้วย คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ประเมินระบบการควบคุมภายใน โดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหารและจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ได้ข้อ สรุปว่า จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ ในส่วนต่างๆ 5 องค์ประกอบ คือ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสือ่ สาร ข้อมูล และระบบการติดตาม คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบการ ควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอและเหมาะสม โดยจัดให้มี บุคลากรที่เพียงพอในการด�ำเนินการตามระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการติดตามควบคุมดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยกรรมการอิสระ และคณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วาม เห็ น แตกต่ า งจากความเห็ น ของคณะกรรมการบริ ษั ท อย่ า งไรก็ ต าม คณะกรรมการตรวจสอบได้กำ� ชับเรือ่ งการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี (Good Corporate Governance) ของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ ก� ำ หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศสิงคโปร์ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. เพื่อให้การปฏิบัติงานของบริษัทฯ เป็นไปอย่างโปร่งใส และมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ตลอดระยะเวลากว่า 25 ปีที่กลุ่มบริษัทฯ ได้มุ่งมั่นในการประกอบธุรกิจ โปร่งใส มีหลักการชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ สนับสนุน แปรรูป และส่งออกยางพาราจนสามารถก้าวสูค่ วามเป็นผูน้ ำ� ยางพาราระดับ ให้เกษตรกรท�ำการผลิตยางพาราทีม่ คี ณ ุ ภาพ ปราศจากสิง่ เจือปน โลกในปัจจุบัน เราได้ยึดมั่นในการด�ำเนินธุรกิจตามกรอบของการก�ำกับ และเก็บรักษายางอย่างถูกวิธี เพื่อให้ได้ยางที่มีคุณภาพเป็นที่ ดูแลกิจการทีด่ ีควบคูไ่ ปกับความรับผิดชอบต่อสังคมเสมอมา จวบจนวันนี้ ต้องการของโรงงาน รวมถึงส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ความ เราได้ก้าวสู่ทศวรรษที่ 3 ของความยั่งยืนของธุรกิจ เรายังคงมุ่งมั่นที่จะ เข้าใจในการท�ำธุรกิจยางพาราอย่างถูกหลักวิชาการ เป็นการเพิม่ รักษาไว้ซึ่งความเป็นผู้นำ� ในธุรกิจยางพาราในระดับสากล และพร้อมสาน ผลผลิตให้แก่เกษตรกร อันจะเป็นการเพิ่มรายได้ ตลอดจน ต่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ด้วยจิตส�ำนึกที่ว่าในทุกย่างก้าวของการ คุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่อย่างยั่งยืน เติบโตของของธุรกิจ เราต้องเติบโตไปพร้อมกับชุมชน และสังคม เราจึง 2.2 ลูกค้า ตระหนัก และให้ความส�ำคัญกับการประกอบธุรกิจควบคู่ไปกับการด�ำเนิน บริษัทฯ มุ่งเน้นการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพสูง และสร้างสรรค์ กิจกรรมเพื่อสังคม และชุมชนโดยรอบ ทั้งในด้านการผลิตสินค้าด้วย บริการที่ดี เพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า มีความจริงใจต่อ กระบวนการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างระบบ และมาตรฐานการค้าที่ การจัดการข้อร้องเรียนของลูกค้า รวมทั้งพยายามที่จะปรับปรุง ยุตธิ รรมให้เป็นทีย่ อมรับ และไว้วางใจต่อชาวสวนผูข้ ายวัตถุดบิ และลูกค้า และแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการผลิต และ/ ค�ำนึงถึงผลกระทบทุกด้านของการด�ำเนินธุรกิจที่อาจจะมีต่อผู้มีส่วนได้ หรือ การบริการอย่างทันท่วงที เพื่อให้การผลิตของลูกค้าเป็นไป ส่วนเสียทุกภาคส่วน อันได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า ชุมชน และ อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด หน่วยงานภาครัฐ พร้อมทั้งสร้างทัศนคติ และวัฒนธรรมองค์กร เพื่อให้ พนักงานมีความรับผิดชอบต่อสังคมที่อยู่ร่วมกัน 3. การด�ำเนินธุรกิจทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมและมีความปลอดภัย
(Environmental Friendly and Safety Operation)
คณะกรรมการของบริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบาย และแนวปฏิบัติด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคม ซึง่ ถือเป็นพันธกิจหลักของกลุม่ บริษทั ศรีตรังตัง้ เนื่องด้วยธุรกิจของบริษัทฯ เกี่ยวพันกับธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม โดยตรง บริษัทฯ จึงยึดถือแนวปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด อยู่บนหลักการ 5 ประการของความเป็น “GREEN” Natural Rubber อัน โดยมุง่ เน้นการน�ำระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมทีม่ ปี ระสิทธิภาพเข้ามา ได้แก่ ด�ำเนินการ ก�ำหนดให้มีมาตรการป้องกัน และลดผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร การอนุรักษ์พลังงาน 1. การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) เพื่อให้สอดคล้องกับกฏหมาย และข้อก�ำหนดอื่นๆ นอกจากนี้ ยังตั้ง บริษัทฯ จัดให้มีระบบการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มุ่งเน้นที่การจัดระบบ เป้าหมายในการพัฒนา และส่งเสริมการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวภายในโรงงาน ที่ให้ความส�ำคัญแก่โครงสร้างของคณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ และผู้ เพื่อรักษาความชุ่มชื้น เพิ่มอากาศบริสุทธิ์ และลดกลิ่นที่เกิดจาก ถือหุ้น เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน และน�ำไปสู่ความเจริญ กระบวนการผลิต รวมทัง้ ยึดถือการปฏิบตั ิ เพือ่ ลดการใช้สารเคมีทอี่ าจ เติบโต และเพิม่ มูลค่าให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในระยะยาว โดยค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ น ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนในระยะยาว ตั้งแต่การปลูก ได้เสียอื่นประกอบกัน รวมถึงบทบาทในด้านชุมชนและสังคม สวนยาง การผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ และการผลิตผลิตภัณฑ์ ส�ำเร็จรูป มิเพียงแต่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ยัง 2. ความรับผิดชอบต่อห่วงโซ่อุปทานตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ ตระหนักถึงความเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนเสมอมา ดังนั้น บริษัทฯ จึง (Responsibility to Supply Chain) ยึดแนวปฏิบตั เิ พือ่ รักษา และด�ำรงไว้ซง่ึ ระบบนิเวศน์ และสิง่ แวดล้อม บริษัทฯ ได้ขยายสายธุรกิจจนกระทั่งครอบคลุมธุรกิจยางธรรมชาติ ของสังคมชุมชนรอบข้างที่บริษัทฯ ประกอบกิจการอยู่ ซึ่งนอกจากจะ อย่างครบวงจรตั้งแต่การปลูกสวนยาง จนกระทั่งการผลิตสินค้า เป็นการสร้างชุมชนที่น่าอยู่แล้ว ยังเป็นการช่วยให้บริษัทฯ สามารถ ส�ำเร็จรูป บริษัทฯ ค�ำนึงถึงคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานอย่าง ด�ำเนินธุรกิจได้อย่างราบรื่น และมั่นคงในระยะยาวอีกด้วย . เคร่งครัด เพือ่ สนองตอบต่อธุรกิจปลายน�ำ้ ทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับคุณภาพ ของสินค้าเป็นอย่างสูง ไม่วา่ ธุรกิจการผลิตถุงมือทีใ่ ช้ในทางการแพทย์ ด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย บริษทั ฯ ด�ำเนินการอย่างรับผิดชอบ หรือการผลิตล้อรถยนต์ตา่ งๆ ซึง่ ต้องมีความปลอดภัยต่อผูใ้ ช้งาน ดังนัน้ โดยอยู่ภายใต้กรอบแห่งกฎหมาย ข้อบังคับ และข้อก�ำหนดอื่นๆ การบริหารจัดการห่วงโซ่อปุ ทานด้วยความรับผิดชอบนัน้ ครอบคลุมถึง ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัย จึงจัดให้ให้มีการฝึก อบรม มีระเบียบปฏิบตั ิ และแผนด�ำเนินการเกีย่ วกับอาชีวอนามัย และ 2.1 เกษตรกรชาวสวนและพ่อค้ายางพารา ความปลอดภัยในการท�ำงานอย่างเพียงพอ และมีประสิทธิภาพ รวมถึง บริษัทฯ มุ่งเน้นการจัดซื้อยางธรรมชาติซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักใน การสร้างสภาพแวดล้อมการท�ำงานทีม่ คี วามปลอดภัยส�ำหรับพนักงาน กระบวนการผลิตของบริษัทฯ ภายใต้การค้าขายอย่างยุติธรรม ผู้รับเหมา และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ความรับผิดชอบต่อสังคม(CSR)
99
4. ยึดมัน่ ในความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ (Engagement with ผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green Products) Transparency) หมายถึง ความมุง่ มัน่ ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพาราจากวัตถุดบิ ยางพารา
รายงานประจ�ำปี 2557
บริษทั ฯ ยึดมัน่ ในการประกอบธุรกิจด้วยความยุตธิ รรมโปร่งใสตรวจสอบ ได้ในทุกกระบวนการ บริษัทฯ เชื่อว่าการประกอบธุรกิจด้วยความ เป็นธรรม และมีจริยธรรม ใส่ใจในการปฎิบตั ติ ามกฎหมาย และเคารพ กฎระเบียบของสังคมจะช่วยสร้างความเชื่อมั่นกับผู้เกี่ยวข้อง และ ลดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ อันจะเป็นผลดีตอ่ การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ในระยะยาว บริษทั ฯ ส่งเสริมให้พนักงาน ทุกระดับปฏิบตั งิ านด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต และยึดมัน่ ในจรรยาบรรณ ในการด�ำเนินธุรกิจอย่างเคร่งครัด ไม่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวที่ อาจยัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสีย หรือก่อ ให้เกิดการผ่อนปรนทางธุรกิจที่ไม่เหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมี นโยบายต่อต้านการคอรัปชั่นทุกรูปแบบ เพื่อสร้างมาตรฐานในการ ด�ำเนินธุรกิจทีโ่ ปร่งใส และเป็นประโยชน์ตอ่ องค์กร และอุตสาหกรรม ในระยะยาว
100
ที่ปราศจากสิ่งเจือปนที่อาจเป็นอันตรายต่ออุตสาหกรรมปลายน�้ำ ซึ่ง เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย และสุขอนามัยของผู้บริโภค
กระบวนการผลิตสีเขียว (Green Factory) อันหมายถึง ความความใส่ใจในทุกขั้นตอนของการผลิตสินค้าให้ได้ตาม มาตรฐานสากลภายใต้กระบวนการผลิตทีต่ งั้ อยูบ่ นหลักการของการอนุรกั ษ์ พลังงาน การจัดการมลพิษที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าโรงงานมี กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และชุมชนรอบข้าง
การสรรหาวัตถุดิบสีเขียว (Green Supply) อันแสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ของบริษัทฯ ในการผลักดันให้เกษตรกร ท�ำการผลิตยางพาราทีส่ ะอาด และปราศจากสิง่ เจือปน และสะท้อนให้เห็น ถึงการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ทีต่ งั้ อยูบ่ นความยุตธิ รรมกับเกษตรกร และ คู่ค้าทุกราย
5. ปลูกฝังจิตส�ำนึกของความยั่งยืนให้แก่พนักงานในองค์กร (Nurture Sustainability Attitudes Towards Organisation) บริษัทสีเขียว (Green Company) บริษทั ฯ เชือ่ มัน่ ว่าความรับผิดชอบต่อสังคมทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และยัง่ ยืน นัน้ มีรากฐานทีส่ ำ� คัญมาจากการปลูกจิตส�ำนึกแก่พนักงานในทุกหน่วยงาน และทุกระดับความรับผิดชอบ พนักงานทุกระดับต้องมีทัศนคติใน เชิงบวกต่อการปฏิบัติตามแนวนโยบายและมีจิตส�ำนึกที่ดีต่อสังคม และผู้ที่เกี่ยวข้องเสมอในงานที่ตนรับผิดชอบ รวมถึงมีจิตอาสาที่จะ เข้าไปมีบทบาท และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน และการปรับปรุง คุณภาพชีวติ ของผูร้ ว่ มธุรกิจให้ดขี นึ้ ตลอดจนร่วมมือร่วมใจในการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการท�ำงาน และการใช้ชีวิตประจ�ำวันให้สอดคล้อง กับแนวทางการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม การลดพลังงานต้นทุนสิน้ เปลือง และการเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร นอกจากนี้ บริษัทฯ ส่งเสริม และสนับสนุนให้พนักงานเป็นคนดีมีคุณภาพของสังคม มีส่วนร่วม ท�ำงานอาสาสมัคร และกิจกรรมสาธารณประโยชน์ร่วมกับชุมชน ตลอดจนเข้าร่วมช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาภัยธรรมชาติ หรือความ ขาดแคลนต่างๆในพืน้ ทีอ่ ย่างเหมาะสม และต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างสังคม แห่งความเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ และสังคมแห่งการดูแลซึง่ กันและกันให้คง อยูต่ ลอดไป
เป็นสัญลักษณ์ขององค์กร ซึ่งด�ำเนินธุรกิจบนรากฐานของความโปร่งใส มุง่ สูก่ ารเติบโตอย่างยัง่ ยืน พร้อมกับเป็นองค์กรทีเ่ ปิดรับสิง่ ใหม่ๆ อยูต่ ลอด เวลา เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราให้เติบโตอย่างมั่นคง ดังนั้น จากนโยบาย และแนวทางการด�ำเนินงานดังกล่าว บริษัทฯ ได้น�ำ มาปฏิบัติให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และพันธกิจของบริษัทฯ ดังนี้
การด�ำเนินการกับผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ได้มีการใช้เครื่องมือในการค้นหาความคาดหวังของแต่ละกลุ่มที่ แตกต่างกัน เช่น การใช้แบบสอบถาม การประชุม การสานเสวนา การ open house ให้เข้าเยี่ยมชมโรงงาน การออกเยี่ยมคู่ค้า ชุมชน และผู้ส่งมอบ วัตถุดบิ รวมถึงการน�ำข้อร้องเรียน และข้อเสนอแนะมาใช้เป็นแนวทางใน การตอบสนอง และปรับปรุงการด�ำเนินงานของบริษัทฯ
การปฏิบัติต่อคู่ค้า คู่แข่งทางการค้า
บริษทั ฯ เชือ่ ว่าการด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรมจะช่วยสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยงานภาครัฐ หุ้นส่วนการค้า คู่ค้า ผู้ส่งมอบ ลูกค้า และคู่แข่งขัน ดังนั้น บริษัทฯ จึงถือปฏิบัติตามจรรยาบรรณธุรกิจ จากนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ฯ ได้กำ� หนดกรอบการด�ำเนิน ว่าด้วยคู่ค้า และคู่แข่งทางการค้าอย่างเคร่งครัด ไม่ท�ำลายชื่อเสียงของ คู่แข่งทางการค้า ซึ่งอยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน งานมุ่งสู่การเป็น “บริษัทยางสีเขียว” ใน 4 ด้าน คือ ด้านการสรรหาวัตถุดิบยางพารา เพื่อป้อนเข้าสู่โรงงานนั้น บริษัทฯ ได้ ยึดถือกติการการแข่งขันที่ดี โปร่งใส ยุติธรรมในการซื้อขายกับเกษตรกร ชาวสวนยาง หรือผู้ส่งมอบ บริษัทฯ เปิดเสรีการซื้อขายวัตถุดิบ กับผู้ส่ง
ด้านการจัดซือ้ จัดจ้าง ฝ่ายจัดซือ้ ส่วนกลางของบริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบาย การจัดซื้อจัดจ้างเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม โดยได้ปฏิบัติตามนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างของบริษัทฯ และจรรยาบรรณ การประกอบธุรกิจว่าด้วยความสัมพันธ์กบั คูค่ า้ คูแ่ ข่งทางการค้า และเจ้าหนี้ ทางการค้า เพื่อต่อต้านการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม การผูกขาด และการ พัฒนาให้เกิดผู้ขายรายใหม่ การก�ำหนดแนวปฏิบัติในการคัดเลือกคู่ค้าที่ มีความรับผิดชอบต่อสังคม เช่น การจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว การใช้อุปกรณ์ ประหยัดพลังงาน สนับสนุนการไม่ใช้แรงงานเด็ก หรือแรงงานบังคับ การไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน การร่วมดูแลสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
ความรับผิดชอบต่อลูกค้า ผู้บริโภค
สิทธิมนุษยชน และการดูแลบุคลากรขององค์กร บริษทั ฯ ตระหนักในสิทธิความเป็นมนุษย์ และความเสมอภาค โดยเท่าเทียมกัน บริษทั ฯ จึงก�ำหนดให้มแี นวทางปฏิบตั อิ ย่างเป็นธรรมต่อพนักงานทุกระดับ ตามกรอบของจริยธรรม และจรรยาบรรณการประกอบธุรกิจ นอกจากผลตอบแทนตามกฏหมาย เช่น กองทุนประกันสังคม พนักงาน ของบริษทั ฯ จะได้รบั ค่าตอบแทนในรูปแบบเงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินเพิม่ พิเศษส�ำหรับผู้ปฏิบัติงานกะ ผู้ท�ำงานหนัก (Hard Shift) เงินพักร้อน กองทุนเงินทดแทน โบนัสประจ�ำปี และสวัสดิการพืน้ ฐาน เพือ่ ให้พนักงาน มีคุณภาพชีวิตที่ดี อาทิเช่น ชุดฟอร์มพนักงาน เงินช่วยเหลือค่าเช่าบ้าน สวัสดิการบ้านพัก เบี้ยเลี้ยงการปฏิบัติงานนอกสถานที่ การท�ำประกัน สุขภาพและประกันอุบัติเหตุ กองทุนเงินส�ำรองเลี้ยงชีพ เงินเกษียณอายุ เงินช่วยเหลือผู้ประสบภัย สวัสดิการลาศึกษาต่อ การจัดฝึกอบรมเพื่อ พัฒนาพนักงาน การจัดกิจกรรมสันทนาการ เช่น งานปีใหม่ การแข่งกีฬา สี จัดทัศนศึกษาดูงาน เป็นต้น
สายงานการขาย และการตลาดของบริษทั ฯ ได้ถอื ปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณ ธุรกิจว่าด้วยความสัมพันธ์กับลูกค้า โดยมุ่งมั่นในการสร้างความพึงพอใจ และความมัน่ ใจให้กบั ลูกค้าให้ได้รบั ผลิตภัณฑ์และบริการทีด่ ี มีคณ ุ ภาพใน ระดับราคาที่เหมาะสม เปิดเผยข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า และบริการ อย่างครบถ้วน ถูกต้อง ส่งมอบสินค้าตรงเวลา ให้การรับประกันสินค้าและ ด้านการประเมินผลพนักงาน บริษทั ฯ มีคณะกรรมการประเมินผล และจัดท�ำ บริการภายใต้เงื่อนไขเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งจัดระบบ และช่องทางการ ระบบ KPI (Key Performance Index) ในการประเมินผลที่เป็นระบบ สือ่ สารเพือ่ ให้ลกู ค้าสามารถร้องเรียนเกีย่ วกับสินค้า และบริการ รับผิดชอบ เพือ่ ใช้ในการพิจารณาผลตอบแทน โบนัสให้กบั พนักงานอย่างมีมาตรฐาน ต่อการเก็บรักษาประวัติลูกค้าของบริษัทฯ รวมถึงเชิญชวนลูกค้าปัจจุบัน ให้เข้าเยีย่ มชมโรงงานผลิตของบริษทั ฯ เพือ่ ให้ลกู ค้ามีความเข้าใจเกีย่ วกับ การด�ำเนินงาน และผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ มากขึ้น รวมไปถึงการจัดท�ำ ระบบประเมินความพึงพอใจของลูกค้าทั้งจากการติดต่อซื้อขาย และจาก การเข้าเยี่ยมชมบริษัทฯ อีกด้วย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
มอบวัตถุดบิ ดังนัน้ เกษตรกรชาวสวนยาง และบุคคลทัว่ ไปสามารถสมัคร นอกจากนี้ บริษัทฯ น�ำระบบการรับรองมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO9001 เพื่อเปิดรหัสผู้ขายได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ระบุไว้ในเอกสารวิธี เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการคุณภาพของผลิตภัณฑ์ มีกระบวนการ การยอมรับผู้ขายรายใหม่ของบริษัทฯ ประกันคุณภาพ และกระบวนการควบคุมดูแลตามมาตรฐานทีก่ ำ� หนด เพือ่ บริษทั ฯ เชือ่ ว่าการสนับสนุนให้ผสู้ ง่ มอบวัตถุดบิ และเกษตรกรชาวสวนยาง ให้แน่ใจได้วา่ ผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ ผ่านเกณฑ์การควบคุมคุณภาพทีเ่ ข้มงวด ได้รบั ความรูค้ วามเข้าใจในการท�ำธุรกิจยางพารา โดยการให้ความรูใ้ นการผลิต และตรงตามความคาดหมาย และความต้องการของลูกค้า เริ่มตั้งแต่ ยางพาราทีม่ คี ณ ุ ภาพ จะช่วยสร้างความยัง่ ยืน รายได้ และคุณภาพชีวติ ทีด่ ี การจัดซือ้ และจัดเตรียมวัตถุดบิ ไปจนถึงการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในขัน้ ตอน ดังนั้น ในด้านความสัมพันธ์กับผู้ส่งมอบวัตถุดิบ ฝ่ายสรรหาวัตถุดิบของ สุดท้าย กรณีพบปัญหาด้านคุณภาพ หรือมีขอ้ ร้องเรียนจากลูกค้า ฝ่ายการ บริษัทฯ จึงมีแผนการเข้าเยี่ยม ให้คำ� แนะน�ำ และรณรงค์ให้ความรู้เรื่อง ตลาด และฝ่ายคุณภาพจะด�ำเนินการตามกระบวนการรับข้อร้องเรียนจาก คุณภาพวัตถุดิบ และสอบถามความพึงพอใจกับผู้ส่งมอบวัตถุดิบอย่าง ลูกค้า ตลอดจนหาสาเหตุ และการแก้ไขป้องกัน ตามระบบที่วางไว้ เพื่อ ให้มกี ารตอบสนองลูกค้าอย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการน�ำข้อร้องเรียน และ สม�่ำเสมอ ปัญหาที่พบจากลูกค้ามาปรับปรุงพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้ให้ความส�ำคัญกับการสร้างความยัง่ ยืนให้กบั คูค่ า้ และชุมชนที่ร่วมด�ำเนินธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของผู้ส่งมอบ การติดต่อสื่อสาร วัตถุดบิ ยางพารา (ยางก้อนถ้วย) โดยได้ทำ� ข้อตกลงความร่วมมือกับกองทุน บริษัทฯ ได้กำ� หนดช่องทางในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ เรื่องต่างๆ ทาง สงเคราะห์การท�ำสวนยาง (สกย.) เพื่อจัดโครงการพิเศษอบรมเกษตรกร website ของบริษัทฯ นั่นคือ www.sritranggroup.com และการติดต่อ ชาวสวนยางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หลักสูตร “พัฒนาฝีมอื ช่างกรีดยาง” ทางโทรศัพท์ รวมถึงการจัดท�ำ Call Center หมายเลข 02-207-4500 เพื่ออบรมวิธีการกรีดยางอย่างถูกวิธีให้กับเกษตรกรในพื้นที่ปลูกสวนยาง เพื่อเปิดโอกาสให้ลูกค้า คู่ค้า ผู้ขายยาง บุคคลทั่วไป และผู้มีส่วนได้เสีย ใหม่ เพือ่ รักษาหน้ายางและช่วยยืดอายุตน้ ยาง รวมถึงได้ความรูใ้ นการใช้ ของบริษัทฯ สามารถติดต่อ เข้าถึง และได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาค ปุย๋ และการดูแลสวนยางให้ได้ผลผลิตทีด่ มี คี ณ ุ ภาพ และยังสามารถน�ำไป เท่าเทียมกัน รวมทั้งสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ หรือร้องเรียนเรื่องต่างๆ ประกอบอาชีพรับจ้างกรีดยาง ซึง่ น�ำไปสูก่ ารมีรายได้ และคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ของบริษัทฯ ได้อย่างรวดเร็ว
101
บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับการฝึกอบรมพนักงาน เพือ่ พัฒนาและยกระดับ ความรู้ทางเทคนิคและทักษะที่เกี่ยวข้องให้แก่พนักงานของบริษัทฯ ซึ่ง นอกจากความรูท้ างด้านเทคนิคแล้ว บริษทั ฯ ยังส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับ ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ไม่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวที่อาจ ขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และผูม้ สี ว่ นได้เสียหรือก่อให้เกิดการผ่อน ปรนทางธุรกิจที่ไม่เหมาะสม เพื่อลดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ใน การด�ำเนินธุรกิจ และการอบรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม การอบรม ด้านการพัฒนาจิตใจ เพือ่ สร้างให้พนักงานเป็นคนเก่ง และคนดีของสังคม
เพื่อบ�ำบัดอากาศก่อนปล่อยออกสู่ภายนอก ซึ่งผลการตรวจวัดคุณภาพ อากาศตามกฏหมายหลังการบ�ำบัดผ่านตามมาตรฐานทุกเกณฑ์
การจัดการของเสีย
บริษทั ฯ ได้นำ� ระบบการจัดการของเสียตามหลักการ 3R (Reduce Reuse Recycle) มาเป็นแนวทางในการจัดการวัสดุไม่ใช้แล้วในโรงงานของกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ต่างๆ รวมถึงการปรับปรุงกระบวนการท�ำงาน เพื่อช่วยลด ปริมาณของเสียอันตราย และไม่อันตรายที่เกิดจากโรงงานให้น้อยที่สุด เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และลดปริมาณของเสียที่ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังส่งพนักงานไปฝึกอบรม และแลกเปลี่ยนความรู้ ต้องส่งก�ำจัด โดยมีการจัดท�ำขั้นตอนการจัดการวัสดุไม่ใช้แล้ว และมีการ ประสบการณ์ที่ต่างประเทศ เพื่อน�ำความรู้กลับมาใช้ให้เป็นประโยชน์ใน ก�ำหนดให้จัดเก็บข้อมูลประจ�ำเดือน และสุ่มตรวจการด�ำเนินงานของ งานที่ตนรับผิดชอบ โรงงานต่างๆ พร้อมกับการตรวจ 5 ส ประจ�ำปี
รายงานประจ�ำปี 2557
การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
102
บริษทั ฯ น�ำระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมเข้ามาบริหารจัดการในการพัฒนา ด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะส�ำหรับโรงงานยางแท่งที่มี ประเมินว่ามีความเสี่ยงต่อการส่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมมากกว่า สายการผลิตอื่นๆ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดเป้าหมายในการขอรับรองระบบการ จัดการสิ่งแวดล้อม ISO14001 ของโรงงานยางแท่งที่สร้างใหม่ โดยต้อง ได้รับการรับรองภายใน 1 ปีหลังจากที่ได้รับการรับรองระบบมาตราฐาน ISO9001 แล้ว ทั้งนี้ ในปี 2557 มีบริษัทในเครือที่ได้รับการรับรองระบบ ISO14001:2004 แล้วทั้งหมดเป็นจ�ำนวน 7 บริษัท
การจัดการมลพิษทางน�้ำ
การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทดแทน บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนด พรบ.อนุรกั ษ์พลังงาน มีการจัดท�ำมาตรการ ประหยัดพลังงาน เช่น การเลือกใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน รวมไปถึง การใช้พลังงานทดแทน โดยการใช้เชือ้ เพลิงชีวมวลกับ Boiler เพือ่ อบยาง ทดแทนการใช้นำ�้ มันดีเซล และลดการใช้ก๊าซ LPG
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมโครงการจัดท�ำคาร์บอนฟุตปริน๊ ท์ของผลิตภัณฑ์ยางแผ่น รมควัน ยางแท่ง และน�้ำยางข้น เพื่อค�ำนวณหาปริมาณการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์จากการผลิตและการขนส่ง เพื่อน�ำไปสู่การปรับปรุง กระบวนการผลิตเพื่อลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่บรรยากาศ ในอนาคต ปี 2556 มี 3 ผลิตภัณฑ์จาก 5 บริษัทในเครือ ที่ได้รับใบรับรอง การจัดท�ำฉลากคาร์บอนแบบ B to B (Business to Business) จาก องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) และในปี 2557 บจ.อันวาร์พาราวูด ได้รบั การรับรองผลิตภัณฑ์ วัสดุบรรจุภณ ั ฑ์ไม้ (Wooden Pallet) ซึ่งใช้ในการบรรจุยางแท่งมาตรฐานเอสทีอาร์เพิ่มขึ้นอีก 1 ผลิตภัณฑ์
บริษทั ฯ จัดให้มรี ะบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีไ่ ด้มาตรฐานโดยมีการตรวจวัดคุณภาพ น�ำ้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดเป็นประจ�ำทุกเดือน โดยน�ำ้ ทิง้ ทีร่ ะบายออกนอกโรงงาน จะต้องผ่านตามกฏหมาย ทั้งนี้ การพัฒนาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงงาน ยางแท่งแห่งใหม่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นระบบ Activated Sludge ที่มีประสิทธิภาพ สามารถน�ำน�้ำกลับมาหมุนเวียนใช้ในการผลิต 100% ช่วยลดการใช้ทรัพยากรน�้ำและผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม และเป็นระบบ ปิดไม่มีการระบายน�้ำที่ผ่านการบ�ำบัดแล้วออกสู่ล�ำคลองสาธารณะ จาก การส่งวิเคราะห์น�้ำที่ผ่านการบ�ำบัดยังมีธาตุไนโตรเจน ซึ่งเป็นสารอาหาร การร่วมดูแลสิ่งแวดล้อม ชุมชน และสังคม ของพืชอีกด้วย บริษทั ฯ ตระหนักดีวา่ การประกอบธุรกิจทีย่ งั่ ยืน ต้องควบคูไ่ ปกับการมีสว่ น ร่วมในการดูแลสิง่ แวดล้อม ชุมชน และสังคม ในปี 2557 บริษทั ฯได้ดำ� เนิน การจัดการมลพิษทางอากาศ การผ่านกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ บริษัทฯ ติดตั้งระบบบ�ำบัดกลิ่น และอากาศ ตามประเภทของการผลิต โรงงานยางแท่งทีม่ กี ลิน่ จากการเก็บวัตถุดบิ ยางก้อนถ้วย บริษทั ฯ ได้มกี าร ใช้น�้ำส้มควันไม้ในการช่วยลดกลิ่น มีการติดตั้งระบบบ�ำบัดกลิ่นจากการ อบยาง และระบบบ�ำบัดกลิ่นจากไลน์ผลิตยางผสม (Compoud) รวมถึง โรงงานที่ใช้ Boiler ในการอบยางก็จะมีการติดตั้งระบบ Multi-cyclone
• บมจ.ศรีตรัง จัดท�ำโครงการการรณรงค์การขนส่งยางก้อนถ้วย • โครงการ “ศรีตรังจิตอาสา พัฒนาเพื่อน้อง” อย่างถูกวิธอี ย่างต่อเนือ่ ง โดยก�ำหนดเป็นมาตรการในวันทีม่ กี ารเปิด บจ. รับเบอร์แลนด์ สาขาบึงกาฬ พนักงาน และชุมชนร่วมกันปรับปรุง ซือ้ ยางพาราในวันแรกของบริษทั ในเครือแห่งใหม่ ในปี 2557 ที่ รั้ว และประตูของศูนย์พัฒนาศูนย์เด็กเล็กวัดทุ่งสว่างสามัคคีเพื่อ จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดกาฬสินธุ์ มีการแจกเอกสาร เพื่อ ความปลอดภัยของเด็กนักเรียน และจัดท�ำชั้นวางของโดยใช้วัสดุไม่ รณรงค์และมอบรางวัลให้กบั ผูส้ ง่ มอบทีม่ กี ารด�ำเนินการติดตัง้ ราง ใช้แล้วของโรงงาน รับน�้ำยาง และถังเก็บน�้ำยางที่มาตรฐานไม่มีน�้ำไหลลงถนน เพื่อ เป็นการส่งเสริมให้ผู้ขายวัตถุดิบร่วมรักษาสิ่งแวดล้อมและสร้าง ความปลอดภัยบนถนนร่วมกัน
บมจ.ศรีตรัง สาขาหาดใหญ่ จัดท�ำโครงการอาหารกลางวัน เริม่ ตัง้ แต่ การน�ำวัสดุไม่ใช้แล้ว ไม้ไผ่ทชี่ ำ� รุดของโรงงาน มาช่วยกันสร้างโรงเรือน เพาะเห็ดนางฟ้า และร่วมปรับปรุงทาสีอาคารเรียน ตลอดจนจัดหา อุปกรณ์การเรียนทีจ่ ำ� เป็นให้กบั เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านม่วงก๊อง หมู่ ที่ 7 ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงกับโรงงาน
บจ. รับเบอร์แลนด์ สาขาบุรีรัมย์ ร่วมกับ อบต.และชาวบ้าน ต�ำบล โคกม้า ปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติในวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม 2557
การร่วมพัฒนาชุมชนใกล้เคียง เช่น ท�ำความสะอาด ล้างถนน เก็บขยะ ในหมู่บ้าน วัด โรงเรียน เพื่อช่วยปรับปรุง และสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี อีกทั้งยังเป็นการสร้างความสามัคคี ความเสียสละให้กับพนักงานใน องค์กร รวมทั้งแสดงให้เห็นถึงความจริงใจในการอยู่ร่วมกับชุมชน บมจ.ศรีตรัง สาขากาญจนดิษฐ์ ร่วมปลูกป่าชายเลนป่าบางโสมกับ อย่างยั่งยืน โดยโรงงานที่มีการด�ำเนินการ คือ บมจ.ศรีตรัง สาขา นักเรียนในพื้นที่ เพื่อรักษาสภาพ และระบบนิเวศน์ป่าชายเลน อุดรธานี สาขากาญจนดิษฐ์ และ บจ.หน�่ำฮั่ว
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
• โครงการปลูกป่า เพิ่มพื้นที่สีเขียว บมจ.ศรีตรัง สาขาอุบลราชธานี จัดกิจกรรมเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวในโรงงาน ในโครงการปลูกต้นไม้เพื่อแม่ ในวันแม่แห่งชาติ
103
บจ.รับเบอร์แลนด์ สาขาบึงกาฬ ร่วมกันล้างถนน เพื่อช่วยลดผลกระ • บมจ.ศรีตรัง สาขาหาดใหญ่ ให้ความรู้นักเรียนในการเพาะเห็ด ทบเรือ่ งความปลอดภัย และกลิน่ ทีเ่ กิดจากน�ำ้ จากการขนส่งยางที่ไหล นางฟ้า เพือ่ เป็นโครงการอาหารกลางวันให้กบั นักเรียน หมู่ 7 บ้าน ลงบนถนน ม่วงก๊อง ซึง่ ตัง้ อยูใ่ กล้เคียงกับโรงงาน
รายงานประจ�ำปี 2557
• โครงการศรีตรังน�ำความรู้สู่ชุมชน • บจ.รับเบอร์แลนด์ สาขามุกดาหาร ปรับปรุงระบบน�ำ้ ประปา หมูบ่ า้ น บมจ.ศรีตรัง สาขาทุ่งสง จัดอบรมการท�ำปุ๋ยชีวภาพจากดินที่มาจาก หน้าโรงงานทีช่ ำ� รุด เพือ่ ให้ชาวบ้านได้มนี ำ�้ ใช้สะดวกมากขึน้ กระบวนการล้างยางก้อนถ้วยของโรงงานให้กับชุมชน เพื่อน�ำไปใช้ • บมจ.ศรีตรัง สาขาสิเกา ร่วมกับชุมชน จัดท�ำโครงการปลูกพืชรั้ว ประโยชน์ทางการเกษตร กินได้
104
บมจ.ศรีตรัง สาขาอุดรธานี ร่วมกับส�ำนักงานพัฒนาที่ดิน น�ำดินจาก หมู่บ้านไปวิเคราะห์ เพื่อให้ความรู้ชุมชนเกี่ยวกับการปรับปรุงดินให้ • บมจ.ศรีตรัง สาขาตรัง สาขาสิเกา สาขาห้วยนาง ร่วมกันมอบตูห้ นังสือ ที่ท�ำจากวัสดุไม่ใช้แล้วของโรงงานผลิตยางแท่งให้โรงเรียนใน เหมาะกับการปลุกพืช และร่วมกับชุมชนบ้านโก่ย หมู่ 2 ต�ำบลหนอง จังหวัดตรัง ตามโครงการ ศรีตรัง ศรีบ้าน ศรีเมือง นาค�ำ ท�ำแปลงสาธิตทีใ่ ช้ดนิ ตะกอนจากการล้างยางก้อนถ้วย ซึง่ ผ่าน การวิเคราะห์สารปนเปือ้ น และสารอาหารทีจ่ ำ� เป็นต่อพืชแล้วไปใช้เป็น ปุ๋ยอินทรีย์ ช่วยลดต้นทุนการเกษตร และพบว่าดินดังกล่าวท�ำให้ข้าว เติบโตเสมือนการซื้อปุ๋ยอินทรีย์ทั่วไป
• บมจ.ศรีตรัง สาขาทุ่งสง ร่วมกับ อบต.ถ�ำ้ ใหญ่ จัดท�ำที่พักรอรถ • บจ.รับเบอร์แลนด์ โปรดักส์ แบ่งน�ำ้ ในบ่อเก็บน�ำ้ ส�ำรองของโรงงาน โดยสารหน้าบริษทั เพือ่ เป็นสาธารณประโยชน์ให้กบั คนทัว่ ไป และ ให้แก่ชาวบ้านที่ทำ� การเกษตรในหน้าแล้ง คนในชุมชนใกล้เคียง • การร่วมสนับสนุนการจัดงานวันเด็ก และงานปีใหม่ให้กบั หน่วยงาน ราชการ โรงเรียน ชุมชน ที่ทุกบริษัทฯ ตั้งอยู่
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
• บมจ.ศรีตรัง สาขาปัตตตานี ร่วมบริจาคน�้ำดื่มให้กับโต๊ะอีหม่า มัสยิด สมทบทุนหารายได้ เพือ่ สร้างมัสยิด หมู่ 1 บ้านเขาตูม อ�ำเภอ ยะรัง จังหวัดปัตตานี
ทัง้ นี้ รายละเอียดของการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม สามารถ ดูเพิม่ เติมได้จากรายงานความรับผิดชอบต่อสังคม ปี 2557 ซึง่ ได้เปิดเผย ข้อมูลดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั www.sritranggroup.com ภายใต้ หัวข้อการพัฒนาที่ยั่งยืน
105
• บจ.ศรีตรังแพลนเทชั่น จังหวัดสกลนคร ร่วมกับ บมจ.ศรีตรัง ส� ำ นั ก งานใหญ่ จั ด โครงการปลู ก ยางพารา เพื่ อ การเรี ย นรู ้ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนฯ ราชสุดา สยามบรมราช กุมารี ณ โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนชูทิศวิทยา อ�ำเภอ ท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ซึ่งจะขยายผลเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้ กับชุมชนต่อไป
โครงสร้างการถือหุ้น
ข้อมูลเกี่ยวกับทุนเรือนหุ้นและผู้ถือหุ้นรายใหญ่
รายงานประจ�ำปี 2557
ณ วันที่ 12 มีนาคม 2558 ทุนเรือนหุ้น
106
ทุนจดทะเบียน
: 1,280,000,000 บาท
ทุนที่ออกจ�ำหน่ายและเรียกช�ำระแล้ว
: 1,280,000,000 บาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 1,280,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท)
ประเภทของหุ้น
: หุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท
สิทธิการลงคะแนนเสียง
: 1 เสียง ต่อ 1 หุ้น
ตลาดที่หุ้นท�ำการซื้อขาย
: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตลาดหลักทรัพย์ประเทศสิงคโปร์
ลักษณะการกระจายการถือครองหุ้น ณ วันที่ 12 มีนาคม 2558 ขนาดการถือครองหุ้น
จ�ำนวนผู้ถือหุ้น
ร้อยละ
จ�ำนวนหุ้น
ร้อยละ
1 – 999
1,402
10.11
496,742
0.04
1,000 – 10,000
8,305
59.89
36,739,013
2.87
10,001 – 1,000,000
4,061
29.29
251,606,316
19.66
1,000,001 - 10,000,000
84
0.61
300,840,111
23.50
10,000,001 - น้อยกว่า 5% ของ จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายแล้ว
12
0.09
286,008,888
22.34
2
0.01
404,308,930
31.59
13,866
100
1,280,000,000
100
5% ขึน้ ไป ของจ�ำนวนหุน้ ทีจ่ ำ� หน่ายแล้ว รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ : รวมส่วนของผู้ถือหุ้นที่ถือผ่านทาง CDP
การกระจายการถือหุ้นรายย่อย (Public Float) จากข้อมูลที่มีอยู่ของบริษัท ณ วันที่ 12 มีนาคม 2558 ร้อยละ 54.41 ของหุ้นทั้งหมดของบริษัท ถือโดยผู้ถือหุ้นรายย่อย
รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ณ วันที่ 12 มีนาคม 2558 ชื่อ
จ�ำนวนหุ้น
ร้อยละ
1.
บริษัท ศรีตรัง โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด
270,509,760
21.13
2.
นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
135,590,170
10.59
3.
นายอร่าม ศิริสุวัฒน์
45,335,800
3.54
4.
บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด
45,263,973
3.54
5.
CITIBANK NOMS S’PORE PTE LTD
37,558,250
2.93
6.
นายวิทย์นาถ สินเจริญกุล
22,600,000
1.77
7.
นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
22,441,000
1.75
8.
นายวิชญ์พล สินเจริญกุล
22,000,000
1.72
9.
CITIGROUP GLOBAL MARKETS LIMITED-PB CLIENT-NRBS COLLATERAL
21,726,050
1.70
UOB KAY HIAN PRIVATE LIMITED
18,615,075
1.45
641,640,078
50.12
10
รวม หมายเหตุ : ข้อมูลดังกล่าวมาจากบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ CDP
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ล�ำดับ
107
ส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหารบมจ.ศรีตรัง คณะกรรมการและผู้บริหาร บมจ. ศรีตรังที่ด�ำรงต�ำแหน่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ถือหุ้นสามัญของ บมจ.ศรีตรัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 โดย มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
รายงานประจ�ำปี 2557
ชื่อ
108
ต�ำแหน่ง
จ�ำนวนหุ้นที่ สัดส่วนการถือหุน้ จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนหุ้น เปลีย่ นแปลงเพิม่ ในบริษัท ณ 31 ที่ถือ ณ วันที่ ที่ถือ ณ วันที่ ขึ้น / (ลดลง) ใน ธันวาคม 2557 1 มกราคม 2557 31 ธันวาคม 2557 ปี 2557 (%)
นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
ประธานกรรมการและ กรรมการผู้จัดการ
170,075,270 8,850,000
135,590,170 9,000,000
(34,485,100) 150,000
10.59 0.70
นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
รองประธานกรรมการ
7,815,575 -
7,815,575 -
-
0.61 -
นายไชยยศ สินเจริญกุล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
กรรมการ
7,410,825 4,300,000
7,410,825 4,300,000
-
0.58 0.34
นายกิติชัย สินเจริญกุล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
กรรมการ
14,402,000 3,246,500
14,402,000 3,246,500
-
1.13 0.25
นายลี พอล สุเมธ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
กรรมการ
8,906,955 27,095,075
8,906,955 27,213,075
118,000
0.70 2.13
นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
กรรมการ
-
-
-
-
นายหลี่ ซื่อเฉียง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
กรรมการ
933,000* -
933,000 -
-
0.07 -
นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
กรรมการ
22,441,000
22,441,000
-
1.75
-
นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
กรรมการอิสระและ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ
450,060 17,940
450,060 17,940
-
0.04 0.0014
นายเกรียง ยรรยงดิลก คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ
-
-
-
-
นายสมัชชา โพธิ์ถาวร คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ
-
-
-
-
นายเนียว อา แชบ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
กรรมการอิสระ
1,100,000 -
1,100,000 -
-
0.09 -
นางประไพ ศรีสุทธิพงศ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
ผู้จัดการสายงานสรรหา วัตถุดิบ
260,500 -
260,500 -
-
0.02 -
นายเฉลิมภพ แก่นจัน คูส่ มรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
ผูจ้ ดั การสายงานการผลิต
-
-
-
-
นายอาศรม อักษรน�ำ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
ผูจ้ ดั การสายงานการผลิต
3,500
3,500
-
0.0003
นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
ผู้จัดการสายงานควบคุม คุณภาพ
-
-
-
-
Controller
150,000 -
150,000 -
-
0.01
นายรัฐพงศ์ ลาภาโรจน์กิจ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
ผู้จัดการสายงาน วิศวกรรม
55,500
60,500
5,000
0.0047
นายพันเลิศ หวังศุภดิลก คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
ผู้จัดการสายงาน วิศวกรรม
-
-
-
-
นายอุดม พฤกษานุศักดิ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
ผู้จัดการสายงาน ทรัพยากรบุคคล
10,000
10,000
-
0.0008
นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน์
ผู้จัดการสายงาน ทรัพยากรบุคคล
-
-
-
-
Ms. Lim Li Ping
*
ต�ำแหน่ง
ข้อมูล ณ วันที่ 29 เมษายน 2557 ซึ่งเป็นวันที่ นายหลี่ ซื่อเฉียง ได้รับแต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2557 หมายเหตุ: (1) นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัทจ�ำนวน 9,000,000 หุ้นในส่วนที่ถือโดยภรรยา (2) นายไชยยศ สินเจริญกุล ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัทจ�ำนวน 4,300,000 หุ้น ในส่วนที่ถือโดยภรรยา (3) นายกิติชัย สินเจริญกุล ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัทจ�ำนวน 3,246,500 หุ้น ในส่วนที่ถือโดยภรรยา (4) นายลี พอล สุเมธ ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัทจ�ำนวน 27,213,075 หุ้น ในส่วนที่ถือโดยภรรยา (5) นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัทจ�ำนวน 17,940 หุ้น ในส่วนที่ถือโดยภรรยา (6) นายเนียว อา แชบ ถือหุ้นทางอ้อมจ�ำนวน 1,100,000 หุ้น โดยถือผ่านทางบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ชื่อ
จ�ำนวนหุ้นที่ สัดส่วนการถือหุน้ จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนหุ้น เปลีย่ นแปลงเพิม่ ในบริษัท ณ 31 ที่ถือ ณ วันที่ ที่ถือ ณ วันที่ ขึ้น / (ลดลง) ใน ธันวาคม 2557 1 มกราคม 2557 31 ธันวาคม 2557 ปี 2557 (%)
109
คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดหลักเกณฑ์และวิธกี ารรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการและผูบ้ ริหารไว้ เพือ่ ประโยชน์ในการติดตามดูแลการมีสว่ น ได้เสียของกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั หรือของบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง ซึง่ เป็นส่วนได้เสียทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารจัดการกิจการของบริษทั หรือ บริษัทย่อย โดยมีหลักเกณฑ์และวิธีการรายงาน ดังนี้ • รายงานเมื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการหรือผู้บริหารครั้งแรก • รายงานทุกครั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการมีส่วนได้เสีย • รายงานเป็นประจ�ำทุกสิ้นปี โดยกรรมการและผู้บริหารจะน�ำส่งแบบรายงานการมีส่วนได้เสียแก่เลขานุการบริษัท และเลขานุการบริษัทจะส่งส�ำเนารายงานการมีส่วนได้เสียนี้ให้ ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันท�ำการนับแต่วันที่ได้รับรายงาน โดยข้อมูลการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ และผู้บริหารได้มีการน�ำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทรับทราบทุกไตรมาส
หุ้นกู้
รายงานประจ�ำปี 2557
เมือ่ วันที่ 1 ธันวาคม 2554 บมจ. ศรีตรัง ได้ออกและจ�ำหน่ายนหุน้ กูจ้ ำ� นวน 2 ชุด ให้แก่ผลู้ งทุนสถาบันและผูล้ งทุนรายใหญ่ รวมมูลค่า 2,150,000,00 บาท โดย บมจ. ศรีตรังจะใช้เงินสุทธิที่ได้รับจากการออกจ�ำหน่ายหุ้นกู้ในการจ่ายช�ำระคืนเงินกู้ระยะยาว และ/หรือ การขยายธุรกิจ รายละเอียดส�ำคัญของ หุ้นกู้แต่ละชุด มีดังนี้
110
หุ้นกู้ชุดที่ 1*
หุ้นกู้ชุดที่ 2
ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้
หุ้นกู้ของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2554 ชุดที่ 1 ครบก�ำหนด ไถ่ถอนปี พ.ศ. 2557
หุ้นกู้ของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2554 ชุดที่ 2 ครบก�ำหนด ไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559
ประเภทหุ้นกู้
ชนิดระบุชอื่ ผูถ้ อื ประเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มปี ระกัน และมีผแู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้
ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มี ประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้
มูลค่าหุ้นกู้ที่จาหน่ายได้
1,600,000,000 บาท
550,000,000 บาท
อัตราดอกเบี้ย
คงที่ร้อยละ 4.40 ต่อปี
การช�ำระดอกเบี้ย อายุหุ้นกู้ วันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ *
คงที่ร้อยละ 4.70 ต่อปี
ทุก 6 เดือน
ทุก 6 เดือน
3 ปี
5 ปี
1 ธันวาคม 2557
1 ธันวาคม 2559
บริษัทฯ ได้ดำ� เนินการไถ่ถอนหุ้นกู้ชุดที่ 1 เป็นที่เรียบร้อยตามวันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ในปี 2557
ประเภทหุ้นกู้ มูลค่าหุ้นกู้ที่จาหน่ายได้ อัตราดอกเบี้ย การช�ำระดอกเบี้ย อายุหุ้นกู้ วันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้
หุ้นกู้ชุดที่ 1
หุ้นกู้ชุดที่ 2
ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มี ประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้
ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มี ประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้
300,000,000 บาท
600,000,000 บาท
คงที่ร้อยละ 4.10 ต่อปี
คงที่ร้อยละ 4.50 ต่อปี
ทุก 6 เดือน
ทุก 6 เดือน
3 ปี
5 ปี
13 กุมภาพันธ์ 2559
13 กุมภาพันธ์ 2561 บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ต่อมาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 บมจ. ศรีตรัง ได้ท�ำการออกและจ�ำหน่ายหุ้นกู้จำ� นวน 2 ชุด ให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่รวมมูลค่า 900,000,00 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และ/หรือการขยายธุรกิจของกลุ่มบริษัท รายละเอียดส�ำคัญของหุ้นกู้แต่ละชุด มีดังนี้
111
นโยบายการจ่ายเงินปันผล
รายงานประจ�าปี 2557
นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ บมจ. ศรีตรัง
112
ปัจจุบัน บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลประมาณร้อยละ 30 ของก�าไรสุทธิ ทั้งนี้ ต้องไม่เกินก�าไรสะสมของ บมจ. ศรีตรัง ที่ปรากฎในงบ การเงินเฉพาะกิจการ และค�านึงถึงสถานะทางการเงิน ผลการด�าเนินงาน กระแสเงินสด ความสามารถในการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ร่วมทุน (Joint Venture) อีกทั้ง การจ่ายเงินปันผลต้องสอดคล้องกับแผนการลงทุน เพื่อรองรับการเติบโตของบริษทั ในอนาคต สถานการณ์ ภาวะเศรษฐกิจ และผลกระทบจากปัจจัยภายนอกที่ บมจ. ศรีตรัง คาดว่าจะมีผลกระทบต่อการด�าเนินงานของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อให้การด�าเนินงาน เป็นไปอย่างมีเสถียรภาพ
นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย การจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยจะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการของบริษัทนั้นๆ เพื่อน�าเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้ความเห็นชอบ บริษัทฯ ไม่ได้มีการก�าหนดอัตราส่วนในการจ่ายเงินปันผลไว้ โดยการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยจะขึ้นอยู่กับผลประกอบการ ฐานะทางการเงิน และแผนการ ลงทุนในอนาคตของแต่ละบริษัท และเป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
บริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด (ทริสเรทติ้ง) คงอันดับเครดิตองค์กรและหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกันของบริษัทฯ ที่ระดับ “A-” ที่แนวโน้มอันดับเครดิต “Stable” โดยอันดับเครดิตสะท้อนถึงสถานะที่แข็งแกร่งของบริษัทฯ ในฐานะผู้น�ำในธุรกิจยางธรรมชาติ ตลอดจนการมีฐานลูกค้าที่กระจายตัว การมี งบดุลทีแ่ ข็งแกร่ง และประสบการณ์อนั ยาวนานและผลงานของผูบ้ ริหารอันเป็นทีย่ อมรับในธุรกิจยางธรรมชาติ ทัง้ นี้ ความแข็งแกร่งดังกล่าวถูกลดทอน บางส่วนจากความผันผวนของราคายางธรรมชาติ อัตราการท�ำก�ำไรทีป่ รับลดลงของผูผ้ ลิตยางธรรมชาติในธุรกิจกลางน�ำ ้ (Midstream Producer) และ ภาวะอุปทานส่วนเกินในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติในปัจจุบัน. แนวโน้มอันดับเครดิต “Stable” สะท้อนถึงความคาดหวังว่าบริษทั ฯ จะรักษาความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติได้ตอ่ ไป นอกจาก นี้ ยังคาดว่าบริษัทฯ จะสามารถจัดการสภาพคล่องและรักษาความแข็งแกร่งของงบดุลได้เป็นอย่างดี
วันที่ออกรายงาน
อันดับเครดิต/ แนวโน้มอันดับเครดิต
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) (STA)
22 ธ.ค. 2557
A-/Stable
STA16DA: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 1,600 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2559
1 พ.ย. 2554
A-/Stable
STA162A: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 1,600 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2559
12 ก.พ. 2556
A-/Stable
STA182A: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 1,600 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2561
12 ก.พ. 2556
A-/Stable
บริษัท/ หุ้นกู้
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
อันดับและแนวโน้วอันดับเครดิต
113
114 รายงานประจ�ำปี 2557
การใช้เงินที่ได้รับจากการเสนอขายหุ้น ตามทีบ่ ริษทั ฯ ได้รบั เงินจากการเสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนต่อ ประชาชนทั่ ว ไปในประเทศสิ ง คโปร์ และน� า หุ ้ น ดั ง กล่ า วเข้ า จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ ในเดือนมกราคม 2554 เป็นจ�านวน 336 ล้านเหรียญสิงคโปร์นั้น
วัตถุประสงค์ในการใช้เงิน
จัดสรรจ�านวน (ล้านเหรียญสิงคโปร์)
ใช้จริงสะสมจ�านวน ประมาณ (ล้านเหรียญสิงคโปร์) (1)
ยังไม่ได้ใช้จ�านวน ประมาณ (ล้านเหรียญสิงคโปร์) (1)
ซื้อโรงงานผลิตยาง สร้างโรงงานผลิตยางแห่งใหม่ และขยายโรงงานผลิตยางที่มีอยู่ในปัจจุบัน
204.75
204.75
-
ซื้อที่ดินเพื่อใช้ในการท�าสวนยางพาราและ/หรือซื้อ สวนยางพาราเพิ่มเติม
63.00
63.00
-
เงินทุนหมุนเวียนของบริษัท
47.25
47.25
-
ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการน�าหุ้นเข้า จดทะเบียน
21.00
19.50
1.50(2)
336.00
334.50
1.50
รวม
หมายเหตุ (1)อ้างอิงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ 1 เหรียญสิงคโปร์เท่ากับ 24.6644 บาท (2) เงินจ�านวนดังกล่าวจะไม่มีการใช้เพิ่มเติม เนื่องจากเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการน�าหุ้นเข้าจดทะเบียน ซึ่งได้ด�าเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
การใช้เงินดังกล่าวข้างต้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการใช้เงิน และเป็นไปตามจ�านวนร้อยละที่ได้จัดสรรไว้ตามที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวนของบริษทั ซึง่ ได้ยื่นกับ Monetary Authority of Singapore เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554 ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทได้ใช้เงินเพิ่มทุนดังกล่าวเสร็จ สิ้นเรียบร้อยแล้ว
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 สถานะการใช้เงินของบริษัทฯ ที่ได้จากการเสนอขายหุ้นสุทธิเป็นดังนี้
115
รายการระหว่างกันและรายการกับบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกัน รายการระหว่างกันกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งและเป็นรายการ ธุรกิจทีม่ นี ยั ส�าคัญซึง่ ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการ เงินของ บมจ.ศรีตรัง และรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งซึ่งมิได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�าหรับรอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังต่อไปนี้
รายงานประจ�าปี 2557
บุคคล/ นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง
116
ความสัมพันธ์
ลักษณะของ รายการ ระหว่างกัน
1 บจ. เป็นบริษัทที่ผู้บริหารของ 1.1 บริษัทฯ พฤกษา บริษัทฯ ได้แก่ - รายได้ ยางพารา นายอุดม พฤกษานุศักดิ์ จากการ และพี่น้องถือหุ้นรวมกัน ขายน�้า เกินกว่าร้อยละ 50 และ ยางสด นายอุดม พฤกษานุศักดิ์ เป็นกรรมการ ผู้มีอ�านาจ ลงนามใน บจ. พฤกษา ยางพารา
มูลค่ารายการ (ล้านบาท) งบการเงิน รวม 2556 (ม.ค.-ธ.ค.)
3.96
งบการเงิน รวม 2557 (ม.ค.-ธ.ค.)
ความจ�าเป็น/ ความสมเหตุสมผล ของรายการ
2.74 บมจ. ศรีตรัง ขายน�้ายางสด ให้ บจ. พฤกษายางพารา ซึ่ง บจ. พฤกษายางพารา รับซื้อ น�้ายางสดถึงหน้าสวนยาง พาราของ บมจ. ศรีตรัง เนื่องจาก บมจ. ศรีตรัง ไม่มี หน่วยงานที่ด�าเนินการด้าน การจัดการขนส่งน�้ายางดิบ เป็นของตนเอง เพื่อเป็นการ ประหยัดต้นทุนการจัดการ ต้นทุนด้านการจ�าหน่าย และ ต้นทุนด้านบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง โดยราคาที่ บมจ. ศรีตรัง ขายให้แก่ บจ. พฤกษา ยางพารา เป็นราคาซื้อน�้ายาง สดที่ถูกก�าหนดโดยฝ่ายจัดซื้อ ของ บมจ. ศรีตรัง เป็นรายวัน
ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ เนื่องจากพื้นที่ปลูกยางพารา ของ บมจ. ศรีตรังที่สามารถ กรีดยางพาราในปัจจุบันมี พื้นที่ไม่มากนัก ดังนั้นเพื่อ เป็นการประหยัดต้นทุนของ บมจ. ศรีตรัง จึงเห็นสมควร ลดภาระที่เกี่ยวข้องกับ การขนส่ง และการจัดการ โดยขายน�้ายางสดให้ บจ. พฤกษายางพารา ในราคา ตลาดที่ก�าหนดโดยฝ่ายจัดซื้อ ของกลุ่มบริษัทฯ
ความสัมพันธ์
ลักษณะของ รายการ ระหว่างกัน 1.2 บจ. หน�่ำฮัว - การซื้อน�้ำ ยางสด
มูลค่ารายการ (ล้านบาท) งบการเงิน รวม 2556 (ม.ค.-ธ.ค.)
114.27
งบการเงิน รวม 2557 (ม.ค.-ธ.ค)
ความจ�ำเป็น/ ความสมเหตุสมผล ของรายการ
75.48 บจ.หน�ำ่ ฮั่ว รับซื้อน�ำ้ ยางสด จากบจ. พฤกษายางพารา เนื่องจากสวนยางพาราของ บจ. พฤกษายางพารา ตั้งอยู่ ในพื้นที่ใกล้เคียงกับโรงงาน และจุดรับซื้อน�ำ้ ยางสดของ บจ. หน�่ำฮั่ว นอกจากนี้ บจ. พฤกษายางพารา ยังเป็น บริษัทที่สามารถส่งมอบทั้ง ปริมาณและคุณภาพน�้ำยาง ดิบให้แก่ บจ. หน�ำ่ ฮั่ว ได้ตาม เกณฑ์ที่กำ� หนด ทั้งนี้ราคาที่ บจ. หน�่ำฮั่ว รับซื้อเป็นราคาที่ กลุ่มบริษัทประกาศซื้อหน้า โรงงานส�ำหรับผู้จัดจ�ำหน่าย ทั่วไป
ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ เนือ่ งจาก บจ. หน�ำ่ ฮัว่ ต้องใช้ น�ำ้ ยางดิบเป็นวัตถุดบิ ในการ ผลิตน�ำ้ ยางข้น ราคาทีท่ ำ� การ ซือ้ ขายเป็นราคาตลาดทีถ่ กู ก�ำหนดโดยฝ่ายจัดซือ้ ของกลุม่ บริษทั ฯ เป็นรายวัน ในการซือ้ วัตถุดบิ จากผูจ้ ดั จ�ำหน่ายทัว่ ไป
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
บุคคล/ นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง
117
บุคคล/ นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง
ความสัมพันธ์
ลักษณะของ รายการ ระหว่างกัน 1.3 บจ. สะเดา พี.เอส.
มูลค่ารายการ (ล้านบาท) งบการเงิน รวม 2556 (ม.ค.-ธ.ค.)
ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ
4.04 บจ. สะเดา พี.เอส. รับซื้อ ยางแผ่นดิบจาก บจ. พฤกษา ยางพารา เนื่องจาก บจ. พฤกษายางพารา ได้เป็น ตัวแทนในการซื้อยางแผ่นดิบ จากเกษตรกรเพื่อจ�ำหน่ายให้ แก่โรงงานผลิตยางแผ่น รมควัน ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ อ�ำเภอสะเดา อันเป็นพื้นที่ ใกล้เคียงกับทีต่ งั้ โรงงานของ บจ. สะเดา พี.เอส. นอกจากนี้ บจ. พฤกษายางพารา ยังเป็น บริษัทที่สามารถส่งมอบทั้ง ปริมาณและคุณภาพยางแผ่น ดิบให้แก่ บจ. สะเดา พี.เอส. ได้ตามเกณฑ์ที่กำ� หนด ทั้งนี้ ราคาที่ บจ. สะเดา พี.เอส. รับซื้อเป็นราคาที่กลุ่มบริษัท ประกาศซื้อหน้าโรงงาน ส�ำหรับผู้จัดจ�ำหน่ายทั่วไป
เนื่องจาก บจ. สะเดา พี.เอส. ต้องใช้ยางแผ่นดิบเป็น วัตถุดิบในการผลิตยางแผ่น รมครัน ราคาที่ทำ� การซื้อขาย เป็นราคาตลาดที่ถูกก�ำหนด โดยฝ่ายจัดซื้อของกลุ่มบริษัท เป็นรายวัน ในการซื้อวัตถุดิบ จากผู้จัดจ�ำหน่ายทั่วไป
1.26
0.77 บจ. สตาร์เท็กซ์ จ�ำหน่าย น�ำ้ ยางสดให้ บจ. พฤกษา ยางพารา โดยก�ำหนดราคา ขายอ้างอิงตามราคาตลาด
ราคาน�ำ้ ยางสดที่ บจ. สตาร์เท็กซ์ จ�ำหน่ายให้แก่ บจ. พฤกษายางพารา เป็นราคาขายทีอ่ า้ งอิงจาก ราคาตลาด ซึง่ ก�ำหนดโดย SICOM (Singapore Commodity Exchange)
รายงานประจ�ำปี 2557
118
- รายได้จาก การขายน�ำ้ ยางสด
ความจ�ำเป็น/ ความสมเหตุสมผล ของรายการ
7.06
- ค่าใช้จ่ายจาก การซื้อยาง แผ่นดิบ
1.4 บจ. สตาร์ เท็กซ์
งบการเงิน รวม 2557 (ม.ค.-ธ.ค)
ความสัมพันธ์
ลักษณะของ รายการ ระหว่างกัน
2. นายสมหวัง เป็นบิดาของ ค่าที่ปรึกษา สินเจริญกุลl • นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ ประธาน กรรมการ กรรมการ ผู้จัดการของบริษัทฯ • นายกิติชัย สินเจริญกุล ซึ่งเป็นกรรมการของ บริษัทฯและ • นายลี พอล สุเมธ ซึ่งเป็นกรรมการของ บริษัทฯ
เป็นกรรมการของ บมจ. 3. กรรมการ บมจ. ศรีตรัง ศรีตรัง และบริษัทย่อย ได้แก่ • นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล • นายกิติชัย สินเจริญกุล • นายประสิทธิ์ พาณิชย์กุล • นายไชยยศ สินเจริญกุล
การค�้ำประกัน (Personal Guarantee) กับสถาบันการ เงินส�ำหรับเงินกู้ ยืมสถาบันการ เงินของ บมจ. ศรีตรังและ บริษัทย่อย (ยอดวงเงินกู้ รวมที่คำ�้ ประกัน โดยกรรมการ)
มูลค่ารายการ (ล้านบาท) งบการเงิน รวม 2556 (ม.ค.-ธ.ค.)
4.80
715.00
งบการเงิน รวม 2557 (ม.ค.-ธ.ค.)
ความจ�ำเป็น/ ความสมเหตุสมผล ของรายการ
5.02 นายสมหวัง สินเจริญกุลได้รับ การแต่งตั้งจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งเป็น ที่ปรึกษากิติมศักดิ ์ เพื่อให้ค�ำ ปรึกษาแก่บริษัทฯในเรื่องการ ก�ำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ธุรกิจ แผนการลงทุน นโยบายการด�ำเนินธุรกิจ กลยุทธ์ในการจัดสรรวัตถุดิบ แนวทางการจัดซื้อ การติดต่อ ประสานงานกับภาคมวลชน และหน่วยงานท้องถิ่น โดย นายสมหวัง สินเจริญกุลได้รับ ค่าตอบแทนเป็น เดือนละ 428,000 บาท หรือ 5,136,000 บาท/ปี เป็นระยะ เวลา 2 ปี เริ่มพฤษภาคม 2557- พฤษภาคม 2559 1,235.00 กรรมการของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย ได้ลงนาม ยินยอมค�ำ้ ประกันเงินกู้ สถาบันการเงิน (Personal Guarantee) ให้แก่ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย ซึ่ง เป็นเงื่อนไขของการให้กู้ยืม เงินของสถาบันการเงินบาง แห่ง
ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ เนื่องจากการให้ค�ำปรึกษาดัง กล่าวไม่สามารถหาราคา ตลาดเทียบเคียงได้ อย่างไร ก็ตามหากพิจารณาจากความ รู้ความสามารถ ประสบการณ์ และเวลาที่นายสมหวัง สินเจริญกุล ได้ปฏิบัติหน้าที่ ในการเป็นที่ปรึกษาให้แก่ บริษัทฯ แล้ว ถือได้ว่าเป็นค่า ตอบแทนที่สมเหตุสมผล
การให้การสนับสนุนดังกล่าว เป็นไปตามข้อก�ำหนดใน สัญญาผู้ให้การสนับสนุน ทางการเงินและเป็นไปเพื่อ ประโยชน์ของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย โดยกรรมการ ผู้คำ�้ ประกันไม่คิดค่า ธรรมเนียม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
บุคคล/ นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง
119
รายงานประจ�ำปี 2557
การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ต้องเผชิญกับปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ ซึ่งอาจ ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานและราคาหุ้นของบมจ. ศรีตรัง โดยปัจจัย ความเสีย่ งดังต่อไปนี้ เป็นเพียงปัจจัยความเสีย่ งส�ำคัญบางประการทีอ่ าจส่ง ผลกระทบต่อบริษัทฯ
120
ปัจจัยความเสี่ยง การด�าเนินธุรกิจของบริษัทฯ ต้องเผชิญกับปัจจัยความเสี่ยง ต่างๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการด�าเนินงานและราคาหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง โดยปัจจัยความเสี่ยงดังต่อไปนี้ เป็นเพียงปัจจัย ความเสี่ยงส�าคัญบางประการที่อาจส่งผลกระทบต่อบริษัทฯ ทั้งนี้ อาจมีปัจจัยความเสี่ยงอื่นๆ ที่บริษัทฯ ไม่ทราบและอาจมี ปัจจัยความเสีย่ งบางประการทีบ่ ริษทั ฯ เห็นว่าไม่เป็นสาระส�าคัญ ซึ่งปัจจัยความเสี่ยงเหล่านี้อาจส่งผลกระทบต่อการด�าเนิน ธุรกิจของบริษัทในอนาคตได้ • อุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติ การเพิม่ ขึน้ ของปริมาณอุปทานของยางธรรมชาติ หรือการลดลงของ ราคาสินค้าโภคภัณฑ์โดยทัว่ ไป ซึง่ รวมถึงยางธรรมชาติ อาจมีความ ระดับการบริโภคยางธรรมชาติของโลกนัน้ อาจส่งผลท�าให้มปี ริมาณ ผันผวนของราคา ของอุปทานมากเกินไปจนอาจท�าให้ราคาขายเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ สินค้าโภคภัณฑ์โดยทั่วไป ซึ่งรวมถึงยางธรรมชาติมักมีความผันผวน ยางธรรมชาติของบริษัทฯ ลดลง ด้านราคา ซึ่งผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ รวมทั้ง • ราคาของน�้ามันดิบ พลังงาน และสารเคมีที่มีน�้ามันเป็นองค์ บริษัทฯ เอง ต่างก็มีข้อจ�ากัดในการก�าหนดเวลาการเก็บเกี่ยว และ ประกอบพื้นฐาน การเปลี่ยนแปลงของราคายางธรรมชาติดังกล่าว ทั้งนี้ ปัจจัยที่ส่งผล ราคาของน�า้ มันดิบอาจส่งผลกระทบต่อราคายางธรรมชาติ และวัตถุ กระทบต่อราคายางธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติที่จ�าหน่าย ดิบอื่นๆ เช่น สารเคมีที่มีน�้ามันเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่ใช้ใน โดยบริษัทฯ (เช่นเดียวกันกับสินค้าโภคภัณฑ์ส่วนใหญ่) มีดังต่อไปนี้ กระบวนการผลิตยาง นอกจากนี้ ราคายางสังเคราะห์ (Synthetic Rubber) มักจะแปรผันไปตามราคาของน�า้ มันดิบ และความผันผวน ของราคายางสังเคราะห์มักจะส่งผลกระทบต่อราคาและความ ต้องการยางธรรมชาติด้วยเช่นกัน • ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เนือ่ งจากยางธรรมชาติสว่ นใหญ่จะท�าการซือ้ ขายเป็นสกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐฯ ดังนั้น ความผันผวนของค่าเงินที่ใช้ในการส่งออกยาง ธรรมชาติเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ อาจส่งผลให้ราคายาง ธรรมชาติมีความผันผวนในประเทศผู้ส่งออกนั้นๆ • การเก็งก�าไร (Speculation) เนือ่ งจากยางธรรมชาติและผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติบางประเภทของ บริษทั ฯ มีการซือ้ ขายในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า (Commodity Future Exchange) ดังนัน้ ราคาของยางจึงมีความอ่อนไหวจากการ เก็งก�าไรในตลาดดังกล่าวนอกเหนือไปจากปัจจัยทางเศรษฐกิจของ ภูมภิ าคและของโลก
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
1. ความเสี่ยงเกี่ยวกับภาวะอุตสาหกรรมและธุรกิจของบริษัทฯ
121
รายงานประจ�ำปี 2557
122
• การแทรกแซงของรัฐบาล รัฐบาลของประเทศ ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตยางธรรมชาติหลัก เช่น ประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย อาจเข้าแทรกแซงโดยการก�ำหนด นโยบาย เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมยางธรรมชาติภายในประเทศ ของตนเป็นครั้งคราว เช่น ในปี 2552 รัฐบาลอินโดนีเซียได้ลด ปริมาณ (Quotas) การส่งออกยางธรรมชาติ เนื่องจากการลดลง ของราคายางธรรมชาติ ซึง่ จ�ำกัดความสามารถในการใช้โรงงานของ บริษัทฯ ในอินโดนีเซียได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ในปี 2555 นโยบายการแทรกแซงทางราคายางธรรมชาติของรัฐบาลไทย โดยให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สนับสนุนวงเงินสินเชือ่ รวมจ�ำนวน 45,000 ล้านบาท ให้กบั สถาบัน เกษตรกรและองค์การสวนยางใช้ในการรับซื้อยางธรรมชาติจาก เกษตรกรในราคาที่สูงกว่าราคาตลาดในขณะนั้น ได้ส่งผลกระทบ ทางตรงต่อต้นทุนวัตถุดิบของบริษัทฯ ในขณะที่ข้อตกลงความร่วม มือระหว่างประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ในช่วงเดือน สิงหาคม 2555 ในการจ�ำกัดปริมาณการส่งออกจ�ำนวน 300,000 ตัน ในช่วงระหว่างเดือนตุลาคม 2555 ถึงเดือนมีนาคม 2556 ส่งผล กระทบต่อปริมาณการส่งออกของบริษัทผู้ผลิตยางพาราและราคา ยางธรรมชาติในช่วงเวลาดังกล่าว และในเดือนธันวาคม 2557 รัฐบาลไทยได้ด�ำเนินการแทรกแซงทางราคายางธรรมชาติด้วยงบ ประมาณ 20,000 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะแก้ปัญหาราคา ยางที่ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องด้วยการซื้อยางแผ่นรมควันผ่าน ตลาดประมูลและตลาดกลางรับซื้อที่ราคาชี้น�ำตลาด นโยบายดัง กล่าวส่งผลให้ราคายางแผ่นรมควันในประเทศปรับตัวสูงขึ้น ใน ขณะที่ ร าคาในตลาดโลกมิ ไ ด้ ป รั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ในระดั บ เดี ย วกั น ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อโครงสร้างต้นทุน และผลก�ำไรของผูส้ ง่ ออก ยางพาราในประเทศไทย ปัจจัยอื่นๆ ที่อยู่นอกเหนือความคาดหมาย และอาจส่งผลกระทบต่อ ราคายางธรรมชาติและผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ รวมถึง อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อัตราดอกเบีย้ ทัง้ ในและต่างประเทศ และนโยบายทางการค้า หากบริษัทฯ ไม่สามารถผลักราคาวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นไปยังลูกค้า และ/ หรือ ผู้จัดหาสินค้าได้ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อผลก�ำไรของ บริษัทฯ ทั้งนี้ หากราคาตลาดของผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติที่จำ� หน่าย โดยบริษัทฯ มีความผันผวนมาก ธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการ ด�ำเนินงานของบริษทั ฯ อาจได้รบั ผลกระทบในทางลบอย่างมีนยั ส�ำคัญ ด้วย
สัดส่วนส�ำคัญของยอดขายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษทั ฯ มา จากอุตสาหกรรมการผลิตยางรถยนต์ ซึง่ ท�ำให้บริษทั ฯ ได้รบั ความ เสีย่ งในช่วงขาลงของอุตสาหกรรมประเภทนี้ ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติที่บริษัทฯ จ�ำหน่าย ได้แก่ ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และน�ำ้ ยางข้น โดยอุตสาหกรรมยางรถยนต์มคี วามส�ำคัญ และ มีผลเป็นอย่างมากต่อปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ของตลาดโลก โดยเฉพาะยางแท่ง ทัง้ นี้ ลูกค้าหลักของบริษทั ฯ ประกอบ ด้วยผู้ผลิตยางรถยนต์ในตลาดเกิดใหม่ (Emerging Market) เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน และอินเดีย และผูผ้ ลิตยางรถยนต์ระดับโลก ทีม่ ชี อื่ เสียงอยูแ่ ล้ว ซึง่ บริษทั ฯ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติสว่ นใหญ่ ให้แก่ผู้ประกอบการผลิตยางรถยนต์ ดังนั้น ถ้าหากเกิดการชะลอตัว ของการผลิตของอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์ดงั กล่าว อาจส่งผลให้ความ ต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ มีปริมาณลดลง และ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา และการเปลีย่ นแปลง ของกฎหมายที่เกี่ยวกับการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่าง ประเทศอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ แม้ว่าสกุลเงินที่ใช้ในการรายงานทางการเงินของบริษัทฯ จะเป็นสกุล เงินบาท และการซือ้ วัตถุดบิ เพือ่ การผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของ บริษทั ฯ จะเป็นเงินบาทและรูเปียห์อนิ โดนีเซีย แต่รายได้จากการส่งออก ของบริษัทฯ นั้น อยู่ในรูปสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ คิดเป็นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 82 ของรายได้ทั้งหมด นอกจากนี้ หุ้นของ บมจ. ศรีตรัง ที่ทำ� การซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ (SGX-ST) ถูก อ้างอิงเป็นเงินดอลลาร์สงิ คโปร์ ในขณะทีเ่ งินปันผล (ถ้ามี) นัน้ จะจ่าย ในรูปเงินบาท ดังนั้นความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนระหว่าง เงินบาท รูเปียห์อินโดนีเซีย ดอลลาร์สหรัฐฯ ดอลลาร์สิงคโปร์ หรือ เงินตราสกุลอืน่ ๆ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ รวมถึงมูลค่าเงินปันผลทีจ่ า่ ยในรูป ของเงินตราต่างประเทศได้ นอกจากนี้ ความผันผวนของอัตราแลก เปลี่ยนระหว่างเงินบาท รูเปียห์อินโดนีเซีย และริงกิตมาเลเซีย อาจ ส่งผลกระทบในทางลบต่อความสามารถในการแข่งขันด้านราคาของ บริษัทฯ เมื่อเทียบกับผู้ผลิตยางธรรมชาติรายอื่นๆ จากประเทศ อินโดนีเซีย และมาเลเซียอีกด้วย
กลุ่มบริษัทฯ ต้องพึ่งพาผู้บริหารรายส�ำคัญ
โดยระยะเวลาของเงินทุนหมุนเวียนของบริษัทฯ ในกระบวนการผลิต นับตัง้ แต่การซือ้ วัตถุดบิ จนถึงการได้รบั ช�ำระเงินจากลูกค้าของบริษทั ฯ มีระยะเวลาประมาณสองถึงสี่เดือน นอกจากนี้ บริษัทฯ อาจยังต้องมี รายจ่ายส่วนทุนจ�ำนวนมากในการรักษา เพิ่มคุณภาพ ขยายโรงงาน ผลิตและสถานที่เก็บรักษา บริการขนส่ง และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ต่างๆ เพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถรักษาศักยภาพในการแข่งขันทีเ่ พิม่ มากขึน้ เทคโนโลยีทกี่ า้ วล�ำ ้ มาตรฐานเกีย่ วกับความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม ในภาคอุตสาหกรรมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ทัง้ นี้ ในปัจจุบนั บริษทั ฯ มีแหล่ง เงินทุน เพื่อใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ จากกระแสเงินสดจาก การด�ำเนินงาน อีกทัง้ เงินกูท้ งั้ ระยะสัน้ และระยะยาวจากสถาบันการเงิน
ปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของกลุ่มบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดประมาณ 2,131.6 ล้านบาท และเงินกูส้ ว่ นใหญ่ของบริษทั ฯ ได้แก่ คือ ความสามารถของบริษทั ฯ ในการจัดหา พัฒนา และรักษาทีมผูบ้ ริหาร เงินกูร้ ะยะสัน้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ไม่อาจรับรองได้วา่ บริษทั ฯ จะไม่ประสบปัญหา มืออาชีพทีม่ ปี ระสบการณ์ และความเชีย่ วชาญในธุรกิจยางธรรมชาติ กระแสเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดติดลบในอนาคต ในกรณี ดังนั้น ความส�ำเร็จอย่างต่อเนื่องของบริษัทฯ จึงขึ้นอยู่กับความ ที่บริษัทฯ มีเงินสดไม่เพียงพอ หรือไม่สามารถสร้างรายได้จากการ สามารถของบริษัทฯ ในการรักษาผู้บริหารหลักของบริษัทฯ เช่น ด�ำเนินงานทีเ่ พียงพอ หรือไม่สามารถหาหรือมีเงินกูจ้ ากสถาบันการเงิน นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล นายกิตชิ ยั สินเจริญกุล และนายลี พอล สุเมธ ในระดับที่เพียงพอได้ บริษัทฯ อาจไม่มีกระแสเงินสดที่เพียงพอ รวมถึงพัฒนา และฝึกอบรมผู้บริหารใหม่ๆ หากสมาชิกทีมบริหารที่มี ทีจ่ ะน�ำไปใช้ในการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ซึง่ อาจส่งผลกระทบในทาง ประสบการณ์ของบริษัทฯ ไม่สามารถหรือไม่ประสงค์ที่จะท�ำงานใน ลบต่อธุรกิจ และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ต�ำแหน่งหน้าที่ของตนต่อไปแล้ว บริษัทฯ อาจไม่สามารถหาบุคคลที่ เหมาะสมมาท�ำงานแทนได้ ซึง่ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจของ ภาวะปัญหาตลาดสินเชื่อ (Credit Market) ทั่วโลกอาจส่งผล บริษัทฯ นอกจากนี้ ขั้นตอนในการสรรหาผู้บริหารใหม่ ซึ่งมีความ กระทบต่อต้นทุน หรือเงื่อนไขอื่นๆ ของสัญญากู้ของบริษัทฯ ช�ำนาญและความสามารถตามที่บริษัทฯ ต้องการนั้นอาจใช้เวลานาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มีเงินกู้จากสถาบันการเงินรวม และอาจต้องแข่งขันกับผูป้ ระกอบการรายอืน่ บริษทั ฯ อาจไม่สามารถ จ�ำนวน 12,462.1 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินกู้ระยะสั้นและระยะยาว สรรหาผู้ที่มีความสามารถ เพื่อมาสนับสนุนแผนการขยายกิจการของ ประมาณร้อยละ 76.6 และร้อยละ 23.4 ของยอดเงินกูร้ วมจากสถาบัน บริษทั ฯ ได้ ซึง่ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ และผลการด�ำเนิน การเงินตามล�ำดับ โดยมีอตั ราดอกเบีย้ อยูร่ ะหว่างร้อยละ 1.0 ถึงร้อยละ งานของบริษัทฯ 13.7 ต่อปี ขึน้ อยูก่ บั สกุลเงินของสัญญาเงินกูแ้ ต่ละฉบับ ภาวะปัญหา ตลาดสินเชื่อ (Credit Market) ทั่วโลกอาจส่งผลกระทบต่อต้นทุน ธุรกิจของบริษัทฯ ต้องอาศัยเงินทุนจ�ำนวนมาก และหากบริษัทฯ เงินกู้หรือเงื่อนไขอื่นๆ ของสัญญากู้ของบริษัทฯ ที่มีอยู่ รวมทั้งความ ไม่สามารถรักษาระดับของเงินทุนหมุนเวียนให้เพียงพอได้ อาจส่ง สามารถของบริษัทฯ ที่จะได้รับเงินกู้หรือที่จะเข้าถึงตลาดทุนที่มี ผลกระทบในทางลบต่อผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เงือ่ นไขอันเป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ การเพิม่ ขึน้ ของต้นทุนเงินกูอ้ ย่าง บริษทั ฯ ใช้เงินจ�ำนวนมากในการประกอบธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน มีนัยส�ำคัญนั้น อาจส่งผลกระทบต่อความสามารถของบริษัทฯ ในการ การจัดซือ้ วัตถุดบิ เช่น ยางแผ่นดิบ ยางก้อนถ้วย และน�ำ้ ยางสด รวม แข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่น ซึ่งมีระดับเงินกู้ที่ต�่ำกว่า ถึงผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติที่บริษัทฯ ซื้อมาจากผู้ผลิตรายอื่นๆ และ ในบางครั้งจาก บจ. ไทยเทค ซึ่งเป็นกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ เพื่อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ยาง ธรรมชาติสำ� หรับการจ�ำหน่ายสินค้าของบริษทั ฯ ในตลาดต่างประเทศ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
บริษทั ฯ พยายามทีจ่ ะบรรเทาความเสีย่ งเกีย่ วกับอัตราแลกเปลีย่ นเงิน ตราต่างประเทศ โดยใช้สญ ั ญาซือ้ ขายล่วงหน้าฟอร์เวิรด์ และสัญญา ตราสารสิทธิ (Options) เพื่อที่จะลดความเสี่ยงที่เกี่ยวกับอัตราแลก เปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการซื้อขายผลิตภัณฑ์ ในสกุลเงินอื่นที่มิใช่เงินบาท ทั้งนี้ หากบริษัทฯ ไม่ประสบผลส�ำเร็จใน การลดความเสีย่ งเกีย่ วกับอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศดังกล่าว บริษัทฯ อาจมีความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันผวนในอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศมากยิง่ ขึน้ ซึง่ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อฐานะ ทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ
123
รายงานประจ�ำปี 2557
บริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบจากสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง และ/หรือ โรคระบาด ซึ่งอาจน�ำไปสู่ความผันผวนทางด้านราคา และการเพิ่มขึ้นของต้นทุนในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ
124
แบ่งรายได้นตี้ ามสัดส่วนการเป็นเจ้าของในบริษทั นัน้ ๆ หากบริษทั ย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า มีรายได้หรือผลประกอบการที่ลดลงจะ ท�ำให้บริษัทดังกล่าวจ่ายเงินปันผลให้แก่ บมจ. ศรีตรัง ในอัตราและ มูลค่าที่ลดลง ซึ่งจะท�ำให้ บมจ. ศรีตรัง ได้รับส่วนแบ่งรายได้ลดลง และอาจส่งผลกระทบในเชิงลบต่อกระแสเงินสดของบมจ. ศรีตรัง
ยางแผ่นดิบ ยางก้อนถ้วย และน�้ำยางสดนั้นถือเป็นวัตถุดิบหลักของ ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษทั ฯ การจัดหาวัตถุดบิ เหล่านีจ้ ากผูจ้ ดั หา วัตถุดิบ รวมถึงการเก็บน�ำ้ ยางสดจากสวนยางพาราของบริษัทฯ เอง กลุ่มบริษัทอาจได้รับผลกระทบในทางลบจากการบัญญัติ หรือการ ในอนาคตนั้น อาจได้รับผลกระทบในทางลบจากสภาวะอากาศที่ บังคับใช้กฎระเบียบเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวดยิ่งขึ้น เปลี่ยนแปลง เช่น ภัยแล้ง อุทกภัย ฝนที่ตกชุกติดต่อกันนาน และ การประกอบธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ อยูภ่ ายใต้กฎหมาย และกฎระเบียบ พายุ เป็นต้น และ/หรือโรคภัยทีม่ กี ารระบาดในสวนยางพาราทีผ่ จู้ ดั หา ข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมคุณภาพของสิ่งแวดล้อมและ วัตถุดบิ ซือ้ มา หรือสวนยางพาราของบริษทั ฯ เองในอนาคต เหตุการณ์ สังคม ประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมที่อาจเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทฯ เหล่านี้ หากด�ำเนินติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจส่งผลกระทบต่อผลผลิต ได้แก่ ของเสียที่เหลือจากกระบวนการผลิตยางธรรมชาติ ข้อเรียก โดยรวมของวัตถุดบิ ดังกล่าว และน�ำไปสูค่ วามผันผวนของราคา อีกทัง้ ร้องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมหรือการไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบใดๆ ใน การลดลงอย่างมากของอุปทาน หรือการเพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั ของต้นทุน ปัจจุบนั หรือในอนาคต อาจส่งผลให้มกี ารประเมินค่าเสียหาย การเสีย ของวัตถุดบิ อาจท�ำให้ตน้ ทุนการผลิตของบริษทั ฯ สูงขึน้ และส่งผลกระทบ ค่าปรับ หรือการหยุดหรือเลิกการประกอบการของกลุ่มบริษัทฯ ต่อความสามารถในการผลิตของบริษทั ฯ ท�ำให้ธรุ กิจฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ได้รับผลกระทบในทางลบอย่างมี กฎระเบียบเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อมและแนวปฏิบตั ทิ างสังคมของประเทศ ที่กลุ่มบริษัทฯ มีการประกอบธุรกิจอยู่ในปัจจุบันอาจจะไม่เข้มงวด นัยส�ำคัญ เท่ากับกฎระเบียบในประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความเป็นไปได้ที่กฎ โรงงานผลิตของบริษัทฯ บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ ระเบียบ และ/หรือ แนวปฏิบตั ทิ างสังคมเหล่านีอ้ าจจะมีความเข้มงวด อาจเกิดการขัดข้อง ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อการด�ำเนิน มากยิง่ ขึน้ ในอนาคต ซึง่ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อการด�ำเนินธุรกิจ งานของบริษัทฯ บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ ฐานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษทั ฯ กระบวนการผลิตของบริษทั ฯ บริษทั ร่วมและกิจการร่วมค้าของบริษทั ฯ ได้ หากกลุ่มบริษัทฯ ไม่สามารถปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบ ต้องใช้ทรัพยากรเป็นจ�ำนวนมาก เช่น น�ำ้ ประปา และไฟฟ้า เป็นต้น เหล่านี้ได้ เพื่อให้โรงงานผลิตของบริษัทฯ บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าของ ความต้องการผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ อาจได้รับผล บริษทั ฯ สามารถด�ำเนินงานได้ ภัยธรรมชาติ เหตุสดุ วิสยั การขาดแคลน กระทบจากการน�ำยางสังเคราะห์มาใช้แทน แรงงาน ความขัดข้องอย่างรุนแรงในส่วนของสาธารณูปโภค เช่น น�ำ้ ประปา หรือไฟฟ้า และเหตุวิบัติอื่นใด หรือเหตุการณ์ที่อยู่นอกเหนือ ยอดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ ในรอบปีบัญชี สิน้ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 96.4 การควบคุมของบริษัทฯ เช่น น�้ำท่วมที่ภาคใต้ของประเทศไทยใน ของรายได้ของกลุม่ บริษทั ฯ ทัง้ นี้ ในปัจจุบนั มีผลิตภัณฑ์ยางสังเคราะห์ เดือนพฤศจิกายน 2553 และเดือนมกราคม 2555 อาจน�ำไปสู่ความ จ�ำหน่ายอยู่ในตลาดจ�ำนวนมาก ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ทดแทนยาง ขัดข้องหรือการหยุดชะงักที่ส�ำคัญในการผลิตของโรงงานผลิตของ ธรรมชาติในการผลิตผลิตภัณฑ์ยางส�ำเร็จรูปในบางรูปแบบได้ ทั้งนี้ บริษทั ฯ บริษทั ร่วมและกิจการร่วมค้าของบริษทั ฯ การขัดข้องดังกล่าว ปัจจัยต่างๆ เช่น ความต้องการยางที่เพิ่มมากขึ้น ความผันผวนของ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทร่วม ราคายางธรรมชาติ การเพิ่มขึ้นของราคายางธรรมชาติเมื่อเปรียบ และกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ เทียบกับราคายางสังเคราะห์ ความเสีย่ งเกีย่ วกับการขาดสินค้าอันเนือ่ ง การพึง่ พิงส่วนแบ่งรายได้จากการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม มาจากปัญหาทางการเมือง ข้อจ�ำกัดทางภูมศิ าสตร์ และฤดูการผลิต และกิจการร่วมค้า อาจส่งผลกระทบในเชิงลบต่อกระแสเงินสด อาจน�ำไปสูค่ วามต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ ของผลิตภัณฑ์ยางสังเคราะห์ ทัง้ นี้ ของบมจ. ศรีตรัง หากความต้องการผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติลดลง อาจส่งผลกระทบใน บมจ. ศรีตรัง พึง่ พิงส่วนแบ่งรายได้จากการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อย ทางลบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนิน บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า ในการช�ำระภาระผูกพันหนี้สินทางการ งานของบริษัทฯ เงิน อันได้แก่ เงินต้น และดอกเบี้ย โดยบมจ. ศรีตรัง จะได้รับส่วน
นอกจากนี้ บริษัทฯ บริษัทย่อยบางแห่งและกิจการร่วมค้าที่จัดตั้งขึ้น หากความเสี่ยงใดๆ ที่กล่าวมาข้างต้นเกิดขึ้นและบริษัทฯ ไม่สามารถ ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ทางธุรกิจและการประกอบธุรกิจให้สอดคล้องกับ ในประเทศไทยยังได้รับสิทธิประโยชน์ในด้านต่างๆ ซึ่งรวมถึงสิทธิ ความเปลีย่ นแปลงดังกล่าวได้ ธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการด�ำเนิน ประโยชน์ที่ได้รับจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนในการยกเว้น งาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบในทางลบ ภาษีที่เกี่ยวข้องกับการประกอบการของบริษัท อย่างมีนัยส�ำคัญ หากสิทธิประโยชน์ดังกล่าวได้หมดลง Sri Trang International บริษทั ฯ บริษทั ย่อย และกิจการร่วมค้าดังกล่าวจะต้องเสียภาษีในอัตรา ปกติทใี่ ช้บงั คับอยูใ่ นปัจจุบนั ซึง่ อาจจะส่งผลกระทบในทางลบต่อผลก�ำไร ของบริษัทฯ
2. ความเสี่ยงเกี่ยวกับประเทศต่างๆ ที่บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจ สภาพเศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับของ ประเทศที่บริษัทฯ มีการด�ำเนินธุรกิจอาจส่งผลกระทบในทางลบ อย่างมีนัยส�ำคัญต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน โอกาสทางธุรกิจ และราคาตลาดของหุ้นของบริษัทฯ บริษัทฯ มีการด�ำเนินธุรกิจ และการลงทุนในหลายประเทศ อาทิ ประเทศไทย สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย และสาธารณรัฐ ประชาชนจีน โดยมีสดั ส่วนรายได้จากประเทศดังกล่าว คิดเป็นร้อยละ 67.7 ร้อยละ 23.5 ร้อยละ 4.2 ร้อยละ 3.6 และ ร้อยละ 1.0 ของ รายได้ทั้งหมด ตามล�ำดับ ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความเสี่ยง ที่เกี่ยวข้อง กับการท�ำกิจกรรมทางธุรกิจในประเทศเหล่านี้ ทั้งนี้ ธุรกิจ ฐานะ ทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษทั ฯ อาจ ได้ รั บ ผลกระทบในทางลบอย่ า งมี นั ย ส� ำคั ญ จากเหตุ ก ารณ์ และ พัฒนาการต่างๆ ในประเทศเหล่านี้ รวมถึง • ภาวะเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย และสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม • การก่อความไม่สงบ ความขัดแย้งทางการทหาร การก่อการร้าย การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และสภาวะด้านความปลอดภัย ทั่วไป
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
การทีบ่ ริษทั ย่อย หรือบริษทั ร่วม หมดสิทธิประโยชน์ทางภาษี อาจส่ง • การเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ผลกระทบในทางลบต่อก�ำไรของบริษัทฯ • การเปลี่ยนแปลงภาษีนำ� เข้าและอัตราภาษีอื่นๆ Sri Trang International ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ได้รับสิทธิ • ภัยธรรมชาติ ประโยชน์ทางภาษีภายใต้ Global Trader Programme ซึง่ ท�ำขึน้ โดย • ข้อก�ำหนดห้ามแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศหรือห้ามการโยก International Enterprise Singapore โดยถูกจัดเก็บภาษีในอัตรา ย้ายเงินทุน ร้อยละ 10 ของรายได้จากการขายในต่างประเทศ หรือรายได้ที่ได้รับ จากบริษัทต่างๆ ที่เข้าหลักเกณฑ์ตามที่ก�ำหนดใน Global Trader • การเวนคืนหรือการยึดคืนกิจการของเอกชน หรือการยึดทรัพย์สนิ หรือสินทรัพย์ของเอกชน Programme
125
ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงาน
รายงานประจ�ำปี 2557
ภาพรวมผลการด�ำเนินงาน
126
ปี 2557 ยังคงเป็นปีแห่งความท้าทายส�ำหรับอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ เนื่องจากเศรษฐกิจโลกที่ยังคงชะลอตัวต่อเนื่องมาจากปีก่อนหน้า การเติบโต ของเศรษฐกิจจีนที่ต�่ำที่สุดในรอบ 15 ปี ภาวะอุปทานส่วนเกินของยางธรรมชาติในตลาดโลก ปริมาณยางธรรมชาติคงคลังส่วนเกิน การแทรกแซง ทางราคาของรัฐบาล และการแข็งค่าของเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ อย่างไรก็ตาม ด้วยกลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจที่แข็งแกร่ง ส่งผลให้เราสามารถด�ำเนิน ธุรกิจผ่านความท้าทายต่างๆ มาได้อย่างราบรื่นแม้ต้องเผชิญกับสภาวะตลาดขาลง อีกทั้งยังสามารถสร้างประวัติการณ์ของอุตสาหกรรมอีกครั้งด้วย ยอดขายรวมทั้งสิ้น 1.2 ล้านตัน เติบโตร้อยละ 6.9 จากปี 2556 ด้วยกลยุทธ์ในการขยายฐานลูกค้าในประเทศและตลาดที่มีศักยภาพในการเติบโตสูง สามารถช่วยถ่วงดุลกับเศรษฐกิจทีเ่ ติบโตช้าลงของจีนได้เป็นอย่างดี และผลักดันให้เราสามารถคงไว้ซงึ่ ความเป็นผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติบน เวทีโลกด้วยส่วนแบ่งทางการตลาดที่ร้อยละ 10 อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าเราจะมียอดขายที่สูงขึ้น ราคายางธรรมชาติที่ปรับตัวลดลงถึงร้อยละ 23.9 ในปี 2557 ส่งผลให้รายได้รวมของกลุ่มบริษัท ในปี 2557 ปรับตัวลดลงร้อยละ 18.1 จากปีก่อนหน้า อัตราก�ำไรสุทธิที่ลดลงจากปีก่อนมีสาเหตุหลักมาจากก�ำไรขั้นต้นที่ลดลง เนื่องจากแรงกดดันจากการปรับตัวลดลงของราคายางธรรมชาติในตลาดโลก รายได้อื่นที่ลดลง และค่าใช้จ่ายในการบริหารที่เพิ่มขึ้น ซึ่งปัจจัยเชิงลบดังกล่าวบางส่วนได้หักกลบกับก�ำไรที่เพิ่มขึ้นจากการซื้อขายยางในตลาด ล่วงหน้า (rubber futures) ส่วนแบ่งก�ำไรจากกิจการร่วมค้าที่เพิ่มขึ้น และต้นทุนทางการเงินที่ลดลงในปี 2557
ผลประกอบการโดยรวม หน่วย: ล้านบาท ปี 2557
ปี 2556
% YoY
รายได้จากการขายและการให้บริการ
75,529.9
92,185.2
-18.1%
ต้นทุนขายและการให้บริการ
(72,181.6)
(86,986.7)
-17.0%
ก�ำไรขั้นต้น
3,348.3
5,198.5
-35.6%
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร
(3,820.4)
(3,589.2)
6.4%
รายได้อื่น
121.1
260.0
-53.4%
ก�ำไร(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน
371.1
312.5
18.8%
1,134.8
338.6
235.1%
ก�ำไร(ขาดทุน) อื่นสุทธิ
ผลประกอบการโดยรวม (ต่อ)
หน่วย: ล้านบาท
ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน
ปี 2556
% YoY
1,155.0
2,520.4
-54.2%
ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า
535.1
495.6
8.0%
ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ ค่าเสื่อม ราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (EBITDA)
2,567.5
3,747.0
-31.5%
ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ (EBIT)
1,690.1
3,016.0
-44.0%
(613.7)
(1,029.3)
-40.4%
(40.1)
(149.6)
-73.2%
ก�ำไร(ขาดทุน) สุทธิ
1,036.2
1,837.1
-43.6%
ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่
1,037.8
1,820.2
-43.0%
(1.5)
16.9
-109.0%
ต้นทุนทางการเงิน (สุทธิ) ภาษีเงินได้
ส่วนทีเ่ ป็นของส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุม
ในปี 2557 กลุ่มบริษัท มีรายได้รวมทั้งสิ้น 75,529.9 ล้านบาท ปรับตัวลดลงร้อยละ 18.1 จากปีที่ผ่านมา แม้ว่าจะสามารถสร้างปริมาณยอดขายยาง ธรรมชาติได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 ปัจจัยหลักที่ส่งผลให้รายได้รวมลดลง คือราคาขายเฉลี่ยที่ลดลงร้อยละ 23.9 เนื่องมาจากราคายางธรรมชาติในตลาด โลกที่ปรับตัวลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน สถานการณ์อุปทานยางธรรมชาติส่วนเกินที่ยังคงอยู่ ราคาน�้ำมันดิบที่ปรับ ตัวลดลงอย่างรุนแรง และการแข็งค่าของสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐในปี 2557 ถึงแม้เศรษฐกิจโลกจะฟืน้ ตัวช้ากว่าการคาดการณ์และท่ามกลางปัจจัยลบต่างๆ ในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ กลุม่ บริษทั สามารถสร้างประวัตกิ ารณ์ใน อุตสาหกรรมยางธรรมชาติได้อีกครั้งในปี 2557 ด้วยยอดขายยางธรรมชาติ 1,204,342 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 จากปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นอัตราการเติบโต ที่สูงกว่าอัตราการเติบโตของความต้องการยางธรรมชาติโดยรวมของตลาดโลกตามการประมาณการณ์ของ IRSG ที่ร้อยละ 5.3 ตลาดในประเทศเป็น ตลาดหลักที่ช่วยส่งเสริมการเติบโตของยอดขายในปี 2557 โดยมีปริมาณยอดขายเพิ่มขึ้น 44,597 ตัน คิดเป็นการเติบโตถึงร้อยละ 28.1 ซึ่งเป็นไป ตามแผนกลยุทธ์ในการขยายฐานลูกค้าที่ได้วางไว้ เกาหลี จีน มาเลเซีย และยุโรป เป็นอีกกลุ่มประเทศหลักที่เราสามารถสร้างปริมาณยอดขายที่สูงขึน้ ในปี 2557 โดยมีอตั ราการเติบโตของยอดขายอยูท่ รี่ อ้ ยละ 49.7 ร้อยละ 2.6 ร้อยละ 205.0 และร้อยละ 4.0 ตามล�ำดับ โดยการเพิม่ ขึน้ ของยอดขาย ดังกล่าวถูกหักกลบไปบางส่วนกับยอดขายที่ลดลงในสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งปรับตัวลดลงร้อยละ 10.5 และร้อยละ 5.4 ตามล�ำดับ กลุ่มบริษัท มีกำ� ไรขั้นต้นเท่ากับ 3,348.3 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 35.6 จากปีก่อนหน้า โดยมีอัตราก�ำไรขั้นต้นที่ปรับตัวลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 5.6 ในปีที่แล้วมาอยู่ที่ร้อยละ 4.4 ซึ่งเป็นผลมาจาการชะลอตัวลงของความต้องการยางธรรมชาติของลูกค้า และการแทรกแซงทางราคาของรัฐบาลไทย เพื่อพยุงราคายางธรรมชาติในประเทศ หากปรับปรุงก�ำไรขั้นต้นโดยบวกกลับรายการค่าเผื่อการลดลงของสินค้าคงเหลือจ�ำนวน 74.5 ล้านบาท และ รวมผลก�ำไรทีเ่ กิดขึน้ จริงจากตราสารอนุพนั ธ์เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งของอัตราแลกเปลีย่ นและการซือ้ ขายยางในตลาดล่วงหน้า (rubber futures) จ�ำนวน 103.9 ล้านบาท และ 1,115.2 ล้านบาท ตามล�ำดับ อัตราก�ำไรขั้นต้นปรับปรุงของเราในปี 2557 จะอยู่ที่ร้อยละ 6.1 ซึ่งน้อยกว่าปี 2556 เล็กน้อยที่ ร้อยละ 6.6 เนื่องจากสภาพอุตสาหกรรมยางธรรมชาติที่ก�ำลังอยู่ในขาลง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ปี 2557
127
11/02/14 12/02/14
09/02/14 10/02/14
08/02/14
06/02/14 07/02/14
04/02/14 05/02/14
02/02/14 03/02/14
01/02/14
11/02/13 12/02/13
09/02/13 10/02/13
08/02/13
06/02/13 07/02/13
04/02/13 05/02/13
02/02/13 03/02/13
01/02/13
ในปี 2557Kilogram ก�ำไรจากการด�ำเนินการของกลุ่มบริษัท เท่ากับ 1,155.0 ล้านบาท ปรับตัวลดลงร้อยละ 54.2 จากปีก่อน อัตราก�ำไรจากการด�ำเนินงานขยับ US Cent: ลดลงจากร้ อ1Q13 ยละ 2.7 ในปี 2Q13 2556 มาอยู่ที่ร้อ3Q13 ยละ 1.5 ซึ่งเป็น4Q13 ผลมาจากก�ำไรขั1Q14 ้นต้นที่ลดลง ค่2Q14 าใช้จ่ายในการบริห3Q14 ารและด�ำเนินการที 4Q14่สูงขึ้น ค่าใช้จ่าย 400 บุ350 คลกรทีเ่ พิม่ ขึน้ อันเป็นผลมาจากการเพิม่ จ�ำนวนพนักงานตามการขยายกิจการอย่างต่อเนือ่ ง และการไม่มรี ายได้พเิ ศษจากรับเงินประกันชดเชยค่าเสีย RSS 259 หายจากอุ ่เกิดขึน้ เฉพาะปี253 2556 ซึ ง ่ ได้ ห ก ั ลบกั พันธ์ 225บการลดลงของค่าใช้จ่ายในการขาย และก�ำไรจากตราสารอนุ TSR 300 บัติเหตุที่เกิดจากการขนส่งทางทะเลที234 212 231 198 184 เพื 250่อป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน และการซื้อขายยางในตลาดล่วงหน้า (rubber futures) 173 170 162 163 316 152 151 291 200 296 2451,820.2 ล้านบาทในปี 2556 มาอยู่ที่ 1,037.8 ล้านบาท โดยมีอัตราก�ำไรสุทธิในปี 2557 เท่ากับร้อยละ 1.4 เมื่อเทียบ ก�ำไรสุทธิ ได้ปรับตัวลดลงจาก 150 กั100 บร้อยละ 2.0 ในปี 2556 การปรับตัวลดลงของก�ำไรสุทธิและอัตราก�ำไรสุทธิของกลุ่มบริษัท เป็นผลมาจากราคายางธรรมชาติในตลาดโลกที่ปรับตัว ลดอย่างต่อเนื่อง และอุปสงค์จากลูกค้าที่ลดลง ซึ่งปัจจัยลบดังกล่าวได้หักกลบส่วนแบ่งก�ำไรจากธุรกิจร่วมทุนในธุรกิจปลายน�้ำที่สูงขึ้น ต้นทุนทาง การเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่ลดลงในปี 2557
ปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบต่อผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท 1. ราคาและความผันผวนของยางธรรมชาติ 4Q56
259 234
253 231
1Q57 225 198
2Q57 212 173
02/06/57 02/07/57
02/04/57 02/05/57
02/02/57 02/03/57
02/01/57
02/11/56 02/12/56
02/09/56 02/10/56
02/08/56
02/06/56 02/07/56
02/04/56 02/05/56
291 245
3Q57 184 163
4Q57 RSS TSR 162 151
170 152
02/11/57 02/12/57
316 296
3Q56
02/09/57 02/10/57
2Q56
02/08/57
1Q56
02/02/56 02/03/56
128
400 350 300 250 200 150 100
02/01/56
รายงานประจ�ำปี 2557
หน�วย: US Cent ตอกิโลกรัม
กราฟแสดงราคายางแท่ง TSR20 และยางแผ่นรมควัน RSS3 ณ ตลาดซื้อขายโภคภัณฑ์ประเทศสิงคโปร์ ราคาและความผันผวนของยางธรรมชาติสง่ ผลกระทบโดยตรงกับรายได้และความสามารถในการท�ำก�ำไรของกลุม่ บริษทั ราคายางธรรมชาติในปี 2557 ยังคงได้รบั ปัจจัยลบต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ปี 2555 จากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะเศรษฐกิจจีน รวมทัง้ สถานการณ์อปุ ทานส่วนเกิน และราคา น�ำ้ มันดิบที่ปรับตัวลดลงอย่างรุนแรง ในขณะที่ผลกระทบของโครงการแทรกแซงทางราคา โดยรัฐบาลไทยในช่วงสิ้นปียังคงมีผลที่จำ� กัดเพียงตลาดใน ประเทศ ในขณะที่ตลาดต่างประเทศยังมิได้ปรับตัวสูงขึ้นในระดับเดียวกัน ราคายางธรรมชาติมีความผันผวนไปตามปัจจัยต่างๆ เช่น 1) ภาวะเศรษฐกิจโลก ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อภาคอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมการ ผลิตยางล้อ 2) ปริมาณอุปสงค์ และอุปทาน 3) อัตราแลกเปลีย่ นของเงินสกุลต่างๆ โดยเฉพาะสกุลดอลลาร์สหรัฐ เยน และสกุลท้องถิน่ ของประเทศผูผ้ ลิต ยางธรรมชาติหลักของโลก ซึ่งได้แก่ สกุลบาท และรูเปียห์ เนื่องจากผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติส่วนใหญ่จำ� หน่ายในสกุลดอลลาร์สหรัฐ และ 4) ราคา น�้ำมัน เนื่องจากยางสังเคราะห์เป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้จากการกลั่นน�ำ้ มันดิบ โดยที่ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์เป็นสินค้าทดแทนกันได้
ตารางราคาอ้างอิงเฉลีย่ ยางแท่ง TSR20 และยางแผ่นรมควัน RSS3 ทีต่ ลาด Singapore Commodity Exchange Limited (SICOM) ปี 2556 – 2557 (หน่วย: ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน) 2556
Thai Baht/ USD
เพิ่มขึ้น/ ลดลง
3,156 3Q13
2,253 4Q13
-28.6% 1Q14
2,906
2,119
-27.1%
2,590
1,838
2,528
2556
เพิ่มขึ้น/ ลดลง
1,981 4Q14
-33.0%
2,449
1,728
-29.4%
-29.1%
2,344
1,629
-30.5%
1,619
-36.0%
2,311
1,506
-34.8%
2,790
1,954
-30.0%
2,510
1,710
-31.9%
2,485
1,700
2,265
1,522
2Q14
2,958
2557 3Q14
01/01/13 02/01/13 03/01/13 04/01/13 05/01/13 06/01/13 07/01/13 08/01/13 09/01/13 10/01/13 11/01/13 12/01/13 01/01/14 02/01/14 03/01/14 04/01/14 05/01/14 06/01/14 07/01/14 08/01/14 09/01/14 10/01/14 11/01/14 12/01/14
ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 1 34 1Q13 2Q13 33ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 2 32 31ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 3 30 29ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 4 28 ราคาฉลี่ยทั้งปี
2557
TSR20
ราคาปิด ณ 31 ธ.ค.
32.91
2. อัตราแลกเปลี่ยนสกุลดอลลาร์สหรัฐต่อสกุลบาท บาท/ ดอลลารสหรัฐ
1Q56
2Q56
3Q56
4Q56
1Q57
2Q57
3Q57
4Q57 32.91
129
01/01/56 01/02/56 01/03/56 01/04/56 01/05/56 01/06/56 01/07/56 01/08/56 01/09/56 01/10/56 01/11/56 01/12/56 01/01/57 01/02/57 01/03/57 01/04/57 01/05/57 01/06/57 01/07/57 01/08/57 01/09/57 01/10/57 01/11/57 01/12/57
34 33 32 31 30 29 28
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
RSS3
กราฟแสดงอัตราแลกเปลี่ยนสกุลบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ การเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นระหว่างสกุลเงินบาทและดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลโดยตรงกับรายได้ของกลุม่ บริษทั เนือ่ งจากรายได้ของกลุม่ บริษทั อยูใ่ นรูปสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ซึง่ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 82 ของรายได้ทงั้ หมด ในขณะทีก่ ลุม่ บริษทั แสดงงบการเงินเป็นสกุลบาท กลุม่ บริษทั จึงใช้สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (forward และ options) เพื่อลดความเสี่ยงที่เกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยผล ต่างของมูลค่าของตราสารอนุพนั ธ์ทางการเงินกับราคาตลาด ณ สิน้ รอบบัญชีจะถูกบันทึกภายใต้กำ� ไร/(ขาดทุน)ทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริงจากอัตราแลกเปลีย่ น เงินสกุลดอลลาร์สหรัฐยังคงแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี 2557 อันเป็นผลมาจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา โดยการแข็งค่าของเงินสกุล ดอลลาร์สหรัฐดังกล่าวจะส่งผลให้ราคายางธรรมชาติ ซึง่ อยูใ่ นรูปสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐมีการปรับตัวลดลง ภายใต้สถานการณ์ดงั กล่าว เราได้พจิ ารณา ลดการใช้ตราสารอนุพันธ์เพื่อป้องกันความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนอย่างมีนัย และแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามราคาตลาดมากขึ้นเพื่อรับประโยชน์จาก การแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ เมื่อกลุ่มบริษัทท�ำการเปรียบเทียบมูลค่าของอนุพันธ์ทางการเงินกับราคาตลาด ณ วันสิ้นงวด กลุ่มบริษัท จึง มีก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเท่ากับ 371.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 312.5 ล้านบาทในปี 2556
8% 7% ต้นทุนทางการเงิน 3.
MLR 2012 2013 ตรา ปั6% จจัยส�ำคัญที่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนการเงินของกลุ่มบริษัท ได้แก่ อัตราดอกเบี้ย ราคายางธรรมชาติ ปริมาณการขาย และการเคลื่อMLR นไหวของอั
แลกเปลี 5% ่ยน ในปี 2557 ต้นทุนทางการเงินปรับลดลงร้อยละ 38.3 จากปีก่อน มาอยู่ที่ 663.4 ล้านบาท การลดลงดังกล่าวเป็นผลมาจากราคายาง ธรรมชาติที่ลดลง ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินกู้ยืมสกุลดอลลาร์สหรัฐที่น้อยลงเมื่อเทียบกับปีก่อน และอัSTA ตราดอกเบี 2012 ้ยที่ 4% ลดลงเนื่องมาจากการบริหารสัดส่วนเงินกู้ โดยในปี 2557 กลุ่มบริษัท มีสัดส่วนเงินกู้ยืมสกุลดอลลาร์สหรัฐต่อเงินกู้ยืมสกุลรูเปียอินSTA โดนีเ2013 ซียเพิ่มขึ้น 3% นกู้ยืมสกุลดอลลาร์สหรัฐมีอัตราดอกเบี้ยที่ถูกกว่าเงินกู้ยืมสกุลรูเปียอินโดนีเซีย โดยเงิ RP rate 2012 RP rate 2013 2% แผนภาพด้านล่างแสดงอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของกลุ่มบริษัท ในปี 2556 - 2557 กับอัตราดอกเบี้ย MLR เฉลี่ยจาก 3 ธนาคารหลัก ได้แก่ ธนาคาร 1%งเทพ ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย์ ซึ่งจะเห็นได้ว่ากลุ่มบริษัทสามารถควบคุมอัตราดอกเบี้ยได้ในอัตราที่ค่อนข้างต�ำ่ และอยู่ในระดับ กรุ Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec ใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย
8% 7%
MLR 2556 MLR 2557
6%
รายงานประจ�ำปี 2557
5%
STA 2556 STA 2557 RP rate 2556 RP rate 2557
4% 3% 2% 1%
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
กราฟเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยของกลุ่มบริษัท กับอัตราดอกเบี้ย MLR เฉลี่ย
130
4. ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า ในปี 2557 กลุม่ บริษทั ได้รบั ส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนในบริษทั ร่วมและกิจการร่วมค้ารวมเท่ากับ 535.1 ล้านบาท โดยร้อยละ 86.7 มาจากธุรกิจถุงมือยาง และร้อยละ 30.8 จากธุรกิจท่อไฮโดรลิกแรงดันสูง ส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.0 จากปีก่อนเป็นผลมา จากก�ำไรสุทธิที่เพิ่มขึ้นในธุรกิจปลายน�ำ้ ดังกล่าว 5. นโยบายของรัฐบาล นโยบายของรัฐบาลไทยอาจเป็นประโยชน์หรือส่งผลกระทบในเชิงลบต่อการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท ดังตัวอย่างที่ไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ได้ ท�ำข้อตกลงความร่วมมือระหว่างประเทศในการจ�ำกัดปริมาณการส่งออกจ�ำนวน 300,000 ตัน ในช่วงระหว่างเดือนตุลาคม 2555 ถึงเดือนมีนาคม 2556 โดยข้อตกลงดังกล่าวได้สง่ ผลกระทบต่อปริมาณการส่งออกของกลุม่ บริษทั ในระดับหนึง่ อย่างไรก็ตาม การยกเว้นค่าสงเคราะห์การท�ำสวนยางเป็นเวลา 4 เดือน ระหว่างเดือนกันยายน – ธันวาคม 2556 ของส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยางส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในการขายของกลุ่มบริษัทในปี 2556 ลดลง และในเดือนธันวาคม 2557 รัฐบาลไทยได้ด�ำเนินการแทรกแซงทางราคายางธรรมชาติด้วยงบประมาณ 20,000 ล้านบาท โดยมี วัตถุประสงค์ที่จะแก้ปญ ั หาราคายางที่ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนือ่ งด้วยการซือ้ ยางแผ่นรมควันผ่านตลาดประมูลและตลาดกลางรับซือ้ ที่ราคาชีน้ �ำตลาด นโยบายดังกล่าวส่งผลให้ราคายางแผ่นรมควันในประเทศปรับตัวสูงขึ้นในขณะที่ราคาในตลาดโลกมิได้ปรับตัวสูงขึ้นในระดับเดียวกัน 6. นโยบายภาษีของประเทศที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท การที่สหรัฐอเมริกาปรับเพิ่มภาษีน�ำเข้ายางล้อรถยนต์จากจีนขึ้นอีกครั้งในกลางปี 2557 ส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ผลิตยางล้อรถยนต์ในประเทศจีน นโยบายดังกล่าวส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนยอดขายตามภูมิศาสตร์ของกลุม่ ลูกค้าส�ำหรับผูผ้ ลิตยางธรรมชาติ ซึง่ ไม่ได้สง่ ผลกระทบต่อภาพรวมของ ความต้องการยางธรรมชาติทั่วโลก ด้วยแผนกลยุทธ์ทางการตลาดของกลุ่มบริษัทที่มุ่งเน้นการขยายฐานลูกค้าในประเทศและขยายไปยังตลาดที่มี ศักยภาพในการเติบโตสูงท�ำให้เราสามารถถ่วงดุลอุปสงค์ที่ลดลงจากจีนได้เป็นอย่างดี และสามารถคงไว้ซึ่งความเป็นผู้น�ำในตลาดยางธรรมชาติของ โลกด้วยส่วนแบ่งทางการตลาดที่ร้อยละ 10
การวิเคราะห์ผลประกอบการตามสายธุรกิจ การจ�ำแนกรายได้ตามสายผลิตภัณฑ์ (ล้านบาท)
ยางแผ่นรมควัน % ยางแท่ง % น�้ำยางข้น % อื่นๆ* % รวมรายได้จากการขายและบริการ
ปี 2557
% YoY
12,845.5
9,818.5
13.9%
13.0%
70,773.7
57,512.4
76.8%
76.1%
6,047.4
5,631.5
6.6%
7.5%
2,518.5
2,567.5
2.7%
3.4%
92,185.2
75,529.9
-23.6%
-18.7%
-6.9%
3.9%
-18.1%
หมายเหตุ: * ประกอบไปด้วยรายได้จาก (ก) การจ�ำหน่ายไม้ยางพาราอบแห้งและบรรจุภณ ั ฑ์ไม้ และ (ข) การให้บริการบางประเภท (เช่น บริการด้านการขนส่ง การวิจยั และพัฒนา และเทคโนโลยีสารสนเทศ) แก่บริษทั ร่วมและกิจการร่วมค้าของกลุม่ บริษทั รวมถึงบริษทั ภายนอกอืน่ ๆ
ยางแท่ง TSR (Technically Specified Rubber) ถึงแม้ปริมาณยอดขายยางแท่งซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์หลักของกลุ่มบริษัทในปี 2557 จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 จากปีก่อนหน้า ซึ่งสูงกว่าอัตราการเติบโตของ อุปสงค์ยางธรรมชาติทวั่ โลกในช่วงเวลาเดียวกัน อันเป็นผลมาจากการมีหน่วยงานการจัดจ�ำหน่ายสินค้าทีเ่ ข้มแข็ง และการกระจายตัวทีด่ ขี องลูกค้าของ กลุ่มบริษัท รายได้จากการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางแท่งได้ลดลงลงร้อยละ 18.7 จากปีก่อน ซึ่งเป็นผลจากราคาขายเฉลี่ยที่ลดลงตามราคายางธรรมชาติ ในตลาดโลกในอัตราร้อยละ 24.6 ราคาที่ลดลงอย่างต่อเนื่องและการชะลอตัวของอุปสงค์ยังส่งผลให้กำ� ไรขั้นต้นของผลิตภัณฑ์ยางแท่งลดลงร้อยละ 48.8 จากปี 2556 และอัตราก�ำไรขั้นต้นก็มีการบีบตัวแคบลงด้วยเช่นกัน ยางแผ่นรมควัน RSS (Ribbed Smoked Sheet) รายได้จากการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางแผ่นรมควันลดลงร้อยละ 23.6 จากปีก่อน โดยปัจจัยหลักยังคงเป็นราคาในตลาดโลกที่ลดลงส่งผลให้ราคาขาย เฉลี่ยและปริมาณยอดขายผลิตภัณฑ์ยางแผ่นรมควันลดลงร้อยละ 21.7 และร้อยละ 2.3 ตามล�ำดับ นอกจากนี้ ราคาตลาดโลกที่ลดลง กอปรกับการ แทรกแซงทางราคาของรัฐบาลไทยมีผลท�ำให้ก�ำไรขั้นต้นของผลิตภัณฑ์ยางแผ่นรมควันปรับตัวลดลงร้อยละ 33.4 และอัตราก�ำไรขั้นต้นปรับตัวลดลง เล็กน้อยจากปี 2556 ด้วยเช่นกัน น�้ำยางข้น (Concentrated Latex) ปริมาณจ�ำหน่ายน�ำ้ ยางข้นได้ปรับตัวเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 12.6 จากปีทแี่ ล้ว อันเป็นผลมาจากราคาของยางธรรมชาติทไี่ ด้ปรับตัวลงต�ำ่ กว่าราคายางสังเคราะห์ ท�ำให้อปุ สงค์นำ�้ ยางข้นจากผูผ้ ลิตถุงมือยางสูงขึน้ อย่างไรก็ตามด้วยราคาขายเฉลีย่ ทีป่ รับด้วยลดลงร้อยละ 17.3 ตามการลดลงของราคายางธรรมชาติ ในตลาดโลกส่งผลให้รายได้ของผลิตภัณฑ์น�้ำยางข้นลดลงร้อยละ 6.9 จากปี 2556 ก�ำไรขั้นต้นมีการปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 262.8 และอัตราก�ำไรขั้นต้น ก็ได้ปรับตัวดีขึ้นในปี 2557 ด้วยเช่นกัน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ปี 2556
131
ฐานะการเงิน สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ลดลง 8,914.0 ล้านบาท หรือร้อยละ 33.5 จากปีก่อนเป็น 17,684.4 ล้าน ส่วนใหญ่เป็นผลจากการ ลดลงของสินค้าคงคลังจ�ำนวน 6,552.0 ล้านบาท ซึ่งเป็นไปตามสถานการณ์ราคายางธรรมชาติในตลาดโลกที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง และการลดลงของ ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นจ�ำนวน 2,752.9 ล้านบาท ซึ่งสะท้อนถึงราคายางธรรมชาติที่ถูกลง โดยหักกลบกับการเพิ่มขึ้นของเงินสดและรายการเทียบ เท่าเงินสดจ�ำนวน 238.9 ล้านบาท และลูกหนี้นายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่เพิ่มขึ้น 71.6 ล้านบาท ณ สิน้ ปี 2557 กลุม่ บริษทั มีลกู หนีท้ ยี่ งั ไม่ครบก�ำหนดช�ำระ และครบก�ำหนดช�ำระภายใน 1 เดือน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 96.9 และมีลกู หนีท้ คี่ รบก�ำหนด ช�ำระเกิน 1 ปีคดิ เป็นร้อยละ 2.7 ของยอดลูกหนีก้ ารค้าทัง้ หมด โดยกลุม่ บริษทั มีคา่ เผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 2.8 ของยอดลูกหนีก้ ารค้า ทัง้ หมด สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
รายงานประจ�ำปี 2557
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 2,467.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.0 เป็น 20,106.1 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557 ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนเพิ่มในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จ�ำนวน 2,060.2 ล้านบาท (สุทธิจากค่าเสื่อมราคาและการจ�ำหน่ายออก) จากการตั้งโรงงานใหม่ในประเทศไทยและประเทศอินโดนีเซีย การเพิ่มก�ำลังการผลิตของโรงงานยางแท่ง และการลงทุนปลูกยางในที่ดินที่ได้จัดซื้อไว้แล้ว
132
มูลค่าตามบัญชีสุทธิของที่ดินและอาคารของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ล้านบาท) ที่ดินที่กลุ่มบริษัทเป็นเจ้าของ รวมทั้งส่วนปรับปรุงที่ดิน ที่ดินที่กลุ่มบริษัทเช่า
6,381.5 201.1
อาคารและสิ่งปลูกสร้าง รวม
3,282.1 9,864.7
หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียนลดลง 7,911.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 38.8 เป็น 12,464.0 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการลดลงของเงินกู้ยืมระยะ สั้นจากสถาบันการเงินจ�ำนวน 4,814.7 ล้านบาท จ่ายช�ำระหุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระจ�ำนวน 1,600.0 ล้านบาท การลดลงของเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น อันเป็นผลมาจากราคาวัตถุดิบที่ต�่ำลงจ�ำนวน 1,242.0 ล้านบาท และการลดลงของตราสารอนุพันธ์ทางการเงินจ�ำนวน 320.0 ล้านบาท หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 864.7 ล้านบาท หรือร้อยละ 22.3 เป็น 4,734.7 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะ ยาว (หักส่วนที่ครบก�ำหนดช�ำระภายใน 1 ปี) จ�ำนวน 799.7 ล้านบาท เพื่อรองรับการลงทุนเพื่อปลูกสวนยางพารา และการเพิ่มขึ้นของภาษีเงินได้รอ ตัดบัญชีจ�ำนวน 112.4 ล้านบาท ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น 600.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.0 เป็น 20,591.9 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557 จากก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินธุรกิจระหว่างปีและ ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์
งบกระแสเงินสดรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสดเป็นจ�ำนวน 2,131.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 238.9 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.6 จากปี 2556 กลุ่มบริษัทมีเงินสดรับจากการด�ำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงานเป็นจ�ำนวน 2,143.4 ล้านบาท และกลุ่มบริษัทได้รับ เงินสดจ�ำนวน 7,942.7 ล้านบาท มาจากการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์และหนี้สินจากการด�ำเนินงาน ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของสินค้าคง เหลือจ�ำนวน 6,477.5 ล้านบาท และการลดลงของลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ จ�ำนวน 2,744.8 ล้านบาท หลังหักกลบกับการลดลงของเจ้าหนีก้ ารค้าและ เจ้าหนี้อื่นจ�ำนวน 1,143.4 ล้านบาท
กิจกรรมลงทุนของกลุม่ บริษทั ใช้กระแสเงินสดสุทธิ จ�ำนวน 2,371.7 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่ใช้ในการลงทุนซือ้ ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ จ�ำนวน 3,010.8 ล้านบาท เพื่อปลูกสวนยางพาราและเพื่อการขยายก�ำลังการผลิตในจังหวัดพิษณุโลก อุบลราชธานี สระแก้ว และกาฬสินธุ์ในประเทศไทย และเมือง จัมบี ประเทศอินโดนีเซีย ซึง่ การลงทุนเพิม่ ดังกล่าวถูกหักกลบกับการเพิม่ ขึน้ ของเงินปันผลรับจ�ำนวน 526.1 ล้านบาทจากบริษทั ร่วมและกิจการร่วมค้า และเงินสดรับจากการรับช�ำระเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทร่วมจ�ำนวน 65.2 ล้านบาท กลุ่มบริษัทใช้เงินสดในกิจกรรมจัดหาเงินจ�ำนวน 6,659.2 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการช�ำระเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินจ�ำนวน 5,041.7 ล้านบาท ช�ำระหุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระจ�ำนวน 1,600.0 ล้านบาท และการจ่ายเงินปันผลจ�ำนวน 832.0 ล้านบาท โดยการใช้เงินสดที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวถูกหักกลบใน บางส่วนกับการเพิ่มขึ้นสุทธิของเงินกู้ยืมระยะยาวจ�ำนวน 826.6 ล้านบาท
แหล่งที่มาของเงินทุน ในปี 2557 กลุ่มบริษัทมีรายจ่ายลงทุนจ�ำนวน 2,890.1 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่ประกอบด้วยรายจ่ายลงทุนเพื่อการสร้างและขยายฐานการผลิตยาง ธรรมชาติจ�ำนวน 1,922.9 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุนเพื่อการขยายธุรกิจสวนยางพาราจ�ำนวน 926.2 ล้านบาท โดยมีแหล่งเงินทุนหลัก 4 แหล่ง ได้แก่ กระแสเงินสดจากการด�ำเนินงาน เงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ และเงินที่ได้รับจากการออกเสนอขายหุ้นในตลาด หลักทรัพย์สิงคโปร์จ�ำนวน 336.0 ล้านเหรียญสิงคโปร์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทได้ใช้เงินเพิ่มทุนดังกล่าวตามวัตถุประสงค์ในการใช้เงิน เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนที่ปรับตัวดีขึ้นจาก 1.21 เท่าในปี 2556 เป็น 0.84 เท่าในปี 2557 ซึ่งเป็นระดับที่ค่อน ข้างต�่ำเมื่อเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน นอกจากนี้กลุ่มบริษัทได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขการกู้ยืมส�ำหรับทุกวงเงิน
อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง (Current ratios) อัตราส่วนสภาพคล่องค�ำนวณจากการหารยอดสินทรัพย์หมุนเวียน ด้วยยอดหนี้สินหมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนสภาพ คล่องที่สูงขึ้นเป็น 1.42 เท่า จาก 1.31 เท่าในปีก่อน การเพิ่มขึ้นดังกล่าวเป็นผลมาจากเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดที่สูงขึ้น ในขณะที่เงินกู้ยืม ระยะสั้นปรับตัวลดลง อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed asset turnover ratio) อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรค�ำนวณจากการหารยอดขายด้วยมูลค่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) เฉลี่ย ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริษัทมีอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรเท่ากับ 5.38 เท่า และ 8.09 เท่า ตามล�ำดับ สาเหตุของการลดลง ของอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ในขณะที่รายได้จากผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติปรับตัวลด ลงเนื่องมาจากราคาขายเฉลี่ยปรับตัวลดลง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ทัง้ นีก้ ลุม่ บริษทั ได้จา่ ยผลประโยชน์พนักงาน ดอกเบีย้ และภาษีเงินได้เป็นจ�ำนวน 862.4 ล้านบาท และกลุม่ บริษทั ได้รบั กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนิน งานเป็นจ�ำนวน 9,269.9 ล้านบาท
133
อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on assets “ROA”) อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์คำ� นวณจากการหารก�ำไรสุทธิ (ส่วนทีเ่ ป็นของบริษทั ใหญ่) ด้วยสินทรัพย์รวมเฉลีย่ ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์เท่ากับร้อยละ 2.53 และร้อยละ 4.50 ตามล�ำดับ การลดลงของ อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์นั้นมีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของก�ำไรสุทธิเนื่องจากราคายางธรรมชาติในตลาดโลกปรับตัวลดลง และสภาวะ อุตสาหกรรมยางธรรมชาติซึ่งอยู่ในขาลง อัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (Return on equity “ROE”) อัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้นค�ำนวณจากการหารก�ำไรสุทธิ (ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่) ด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นรวมเฉลี่ย ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้นเท่ากับร้อยละ 5.11 และร้อยละ 9.37 ตามล�ำดับ โดยการลดลง ของอัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้นนั้นมีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของก�ำไรสุทธิเนื่องจากราคายางธรรมชาติในตลาดโลกปรับตัวลดลง และสภาวะ อุตสาหกรรมยางธรรมชาติซึ่งอยู่ในขาลง
รายงานประจ�ำปี 2557
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to equity ratio “D/E”) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ค�ำนวณจากการหารหนี้สินรวมของกลุ่มบริษัทด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นรวมของกลุ่มบริษัท ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 0.84 เท่า และ 1.21 เท่า ตามล�ำดับ การปรับตัวที่ดี ขึ้นของอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นมาจากหนี้สินที่น้อยลง จากการช�ำระหุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระ และการลดลงของเงินกู้ยืมระยะสั้นเนื่องจาก ราคาต้นทุนวัตถุดิบที่ต�่ำลง
1. มุมมองธุรกิจในอนาคต ภาพรวมอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ 2556
134
2557
2558F
%การเติบโตของเศรษฐกิจโลก (GDP)
3.3%
3.3%
3.8%
ประเทศพัฒนาแล้ว
1.4%
1.8%
2.3%
ประเทศเกิดใหม่และประเทศที่ก�ำลังพัฒนา
4.7%
4.4%
5.0%
ประเทศจีน (ผู้บริโภคยางธรรมชาติรายใหญ่ของโลก)
7.7%
7.4%
7.1%
87
90
95
% change
3.6%
3.5%
5.3%
ปริมาณการผลิตยางล้อ (ล้านเส้น)
1,657
1,748
1,813
% change
3.5%
5.5%
3.7%
11,347
11,944
12,317
2.7%
5.3%
3.1%
ปริมาณการผลิตยานพาหนะ (ล้านคัน)
ปริมาณความต้องการยางธรรมชาติ (‘000 ตัน) % change
แหล่งที่มา: IMF and The World Rubber Industry Outlook forecasted by International Rubber Study Group (IRSG), December 2014 ในสถาวะปกติ การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโลกเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อการเติบโตของความต้องการยางธรรมชาติ เนื่องจากร้อยละ 70 ของอุปสงค์ รวมของยางธรรมชาติมาจากอุตสาหกรรมยางล้อรถยนต์ ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมยานยนต์ ใน เดือนมกราคม 2558 กองทุนเงินระหว่างประเทศ (IMF)ได้ประมาณการณ์เศรษฐกิจโลกในปี 2558 ว่าจะเติบโตในอัตราที่มากกว่าปี 2557 เล็กน้อย
โดยการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจส่วนใหญ่มาจากการฟืน้ ตัวของประเทศพัฒนาแล้ว ซึง่ การฟืน้ ตัวนีส้ ง่ ผลในเชิงบวกต่อการเติบโตของประเทศเกิดใหม่ และประเทศที่ก�ำลังพัฒนาด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ดี การเติบโตของความต้องการยางธรรมชาติในปี 2558 ถูกคาดการณ์ว่าจะเติบโตในอัตราที่ช้ากว่าปี 2557 เนื่องจากการเติบโตที่สูงเกินคาดในปี 2557 และปริมาณยางธรรมชาติคงคลังที่ยังอยู่ในระดับสูง ซึ่งการเติบโตของความต้องการยางธรรมชาติ นี้จะเริ่มกลับมาเติบโตในระดับที่สม�่ำเสมออีกครั้งตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นไป ระดับราคายางธรรมชาติที่ค่อนข้างต�่ำในปัจจุบันเป็นผลมาจากหลายปัจจัย ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจโลกโดยรวม การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน สภาวะ อุปทานส่วนเกิน การแข็งค่าของเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ และราคาน�ำ้ มันดิบทีป่ รับตัวลดลงอย่างรุนแรง ปัจจัยทัง้ หลายเหล่านีส้ ง่ ผลให้ราคายางธรรมชาติ ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2555 และมีแนวโน้มที่จะยังอยู่ในขาลงต่อไปในระยะสั้นถึงระยะกลาง ด้วยสภาพเศรษฐกิจโลกที่ไม่ฟื้นตัวดีนัก เรามีมุมมองว่าราคายางธรรมชาติจะยังไม่สามารถปรับตัวกลับไปยังระดับราคาที่สูงเท่าปี 2552 – 2554 ในระยะเวลาอันใกล้ อย่างไรก็ดี ราคายาง ธรรมชาติไม่น่าจะปรับตัวต�่ำกว่านี้อย่างมีนัย เนื่องจากราคาในปัจจุบันน่าจะอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับต้นทุนของเกษตรกรสวนยางแล้ว
ความสมดุลของอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติ ปริมาณอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติของโลกในช่วงปี 2556 - 2558
ปริมาณการผลิตยางธรรมชาติ % change ปริมาณการบริโภคยางธรรมชาติ % change ปริมาณการผลิตส่วนเกิน
2556
2557
2558F
12,079
12,020
12,394
4.0%
-0.5%
3.1%
11,347
11,944
12,317
2.7%
5.3%
3.1%
732
76
77
แหล่งที่มา: The World Rubber Industry Outlook forecasted by International Rubber Study Group (IRSG), December 2014 ตามข้อมูลใน The World Rubber Industry Outlook, International Rubber Study Group (IRSG) ประจ�ำเดือนธันวาคม 2557 ความต้องการใช้ ยางธรรมชาติทวั่ โลกในปี 2557 คาดว่าจะมีประมาณ 11,944,000 ตัน เติบโตในอัตราร้อยละ 5.3 (เมือ่ ปี 2556 ความต้องการมีการเติบโตเพียงร้อยละ 2.7) อัตราการเติบโตทีเ่ พิม่ สูงขึน้ นีเ้ ป็นผลมาจากอุปสงค์ทเี่ พิม่ ขึน้ จากภาคอุตสาหกรรมการผลิตยางรถยนต์ทวั่ โลก ซึง่ เป็นผูบ้ ริโภคหลักของยางธรรมชาติ หรือประมาณร้อยละ 70 ของปริมาณของอุปสงค์รวม โดยรวมแล้วความต้องการยางธรรมชาติเติบโตขึ้นในเกือบทุกประเทศโดยเฉพาะประเทศจีน สหภาพยุโรป และอเมริกา ซึ่งเติบโตเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 8.3 ร้อยละ 6.6 และร้อยละ 3.7 ตามล�ำดับ ในขณะที่ความต้องการยางธรรมชาติใน ประเทศญี่ปุ่น และประเทศรายย่อยอื่นๆในภาคพื้นเอเชียแปซิฟิกมีการปรับตัวลดลง ทั้งนี้ ปริมาณยางธรรมชาติที่ผลิตได้ทั่วโลกนั้นมีการปรับตัวลดลง จากปี 2556 โดยมีปริมาณยางธรรมชาติที่ผลิตในปี 2557 รวมทั้งสิ้นประมาณ 12,020,000 ตัน ลดลงร้อยละ 0.5 จากปีก่อนหน้า การปรับตัวลดลง ของปริมาณการผลิตเป็นผลมาจากราคายางทีป่ รับลดตัวลงอย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้เกษตกรชะลอการกรีดยางและการปลูกยางพาราใหม่ การลดลงของ อุปทานเกิดขึน้ ในภาคพืน้ เอชียแปซิฟคิ เป็นหลัก โดยมาเลเซีย และอินเดียมีปริมาณการผลิตยางธรรมชาติลดลงถึงร้อยละ 15.2 และร้อยละ 13.8 ตาม ล�ำดับ ซึ่งการลดลงดังกล่าวท�ำให้ภาพรวมของประเทศในแถบเอเชียแปซิฟิคมีระดับการผลิตยางธรรมชาติที่ลดลงในขณะที่ผลผลิตยางธรรมชาติจาก ประเทศเวียดนามและกลุ่มประเทศในกลุ่ม CAMAL1 ยังมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง เนือ่ งจากต้นยางพาราใช้ระยะเวลาในการเจริญเติบโตประมาณ 6-7 ปี ก่อนทีจ่ ะสามารถกรีดได้ สภาวะอุปทานส่วนเกินในตลาดยางธรรมชาติจงึ มีแนวโน้ม ทีจ่ ะยังคงอยูต่ อ่ ไปในอีก 2-3 ปีขา้ งหน้า เนือ่ งจากผลผลิตจากสวนยางพาราทีป่ ลูกระหว่างปี 2548 – 2551 ซึง่ เป็นช่วงทีร่ าคายางธรรมชาติอยูใ่ นระดับ ที่สูงมากจะออกสู่ตลาดตั้งแต่ปี 2554 เป็นต้นไป ท�ำให้การเติบโตของอุปสงค์อาจจะไม่สามารถขยายตัวได้มากพอที่จะรองรับปริมาณการผลิตยาง ธรรมชาติทั้งหมดได้ อย่างไรก็ดี ด้วยการเติบโตอย่างต่อเนื่องของความต้องการยางธรรมชาติจากประเทศจีน และประเทศผู้บริโภคยางธรรมชาติชั้น น�ำทั่วโลก IRSG ได้คาดการณ์ว่าปริมาณผลผลิตส่วนเกินในปี 2557 จะปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องจากจุดสูงสุดที่ 732,000 ตันในปี 2556 เหลือ ประมาณ 76,000 ตันและจะคงอยู่ในระดับใกล้เคียงกันนี้ต่อไปในอีกหลายปีข้างหน้า 1
กลุ่มประเทศ CAMAL ประกอบด้วยประเทศกัมพูชา พม่า และลาว
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
หน่วย: 000’ตัน
135
ความคืบหน้าของแผนการขยายธุรกิจตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทานของกลุ่มบริษัท แผนกลยุทธ์ของกลุม่ บริษทั ในการสร้างและขยายขนาดและขีดความสามารถรวมถึงก�ำลังการผลิตในแต่ละขัน้ ตอนของห่วงโซ่อปุ ทานของอุตสาหกรรม ยางธรรมชาติยังคงด�ำเนินอย่างต่อเนื่อง และเป็นไปตามแผนที่วางไว้ ธุรกิจต้นน�้ำ – พื้นที่ 50,000 ไร่สำ� หรับท�ำธุรกิจสวนยาง กลุม่ บริษทั เชือ่ ว่าการขยายเข้าสูธ่ รุ กิจสวนยางพารา เป็นกลยุทธ์หลักทีจ่ ะเติมเต็มความเข้มแข็งของเราในห่วงโซ่อปุ ทานของอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ ซึง่ ไม่เพียงแต่ท�ำให้กลุ่มบริษทั สามารถเพิ่มโอกาสในการจัดหาวัตถุดบิ ในราคาที่เหมาะสมจากสวนยางแหล่งใหม่ และเพิม่ โอกาสในการขยายก�ำลังการ ผลิตยางธรรมชาติโดยการจัดตั้งโรงงานแห่งใหม่ แต่ยังส่งผลให้กลุ่มบริษัทรู้ทันสถานการณ์อุปทานของยางมากขึ้น และมีเสถียรภาพในการท�ำก�ำไร เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย ณ สิ้นปี 2557 กลุ่มบริษัทได้มีที่ดินส�ำหรับการปลูกสวนยางพารารวมจ�ำนวน 50,612 ไร่1 กระจายอยู่ใน 19 จังหวัดของประเทศไทยโดยส่วนใหญ่อยู่ ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในที่ดินดังกล่าวกลุ่มบริษัทได้ทำ� การปลูกต้นยางพาราเสร็จสิ้นไปแล้วจ�ำนวน 38,502 ไร่ ธุรกิจกลางน�้ำ – ตั้งเป้าขยายก�ำลังการผลิตให้รองรับ 1.7 ล้านตันต่อปีภายในปี 2559
รายงานประจ�ำปี 2557
การขยายก�ำลังการผลิต และส่วนแบ่งทางการตลาดเป็นกลยุทธ์หลักของกลุ่มบริษัทในธุรกิจกลางน�ำ้ เพื่อคงไว้ซึ่งความสามารถในการแข่งขันในตลาด ยางธรรมชาติ โดยเป็นการเพิ่มอัตราการประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) และเพิ่มความแข็งแกร่งในฐานะผู้นำ� อุตสาหกรรมยางธรรมชาติ
136
ณ สิ้นปี 2557 เราได้ขยายฐานการผลิตโดยการสร้างโรงงานยางแท่งแห่งใหม่ในจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเป็นโรงงานยางแท่งแห่งแรกของกลุ่มบริษัทใน ภาคเหนือของประเทศ อีกทัง้ ยังขยายฐานการผลิตน�ำ้ ยางข้นโดยการสร้างโรงงานน�ำ้ ยางข้นแห่งแรกของกลุม่ บริษทั ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทีจ่ งั หวัด อุบลราชธานี ท�ำให้กลุ่มบริษัทมีก�ำลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 1.4 ล้านตันต่อปี ซึ่งถือเป็นก�ำลังการผลิตสูงสุดในอุตสาหกรรม อีกทั้งโรงงานแห่งใหม่ใน ประเทศพม่าที่จะเริ่มเดินสายการผลิตประมาณกลางปี 2558 เราจะเดินหน้าขยายฐานการผลิตต่อไปอย่างไม่หยุดยั้งในประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ หลักและประเทศเกิดใหม่ของโลก เช่น ประเทศไทย อินโดนีเซีย และพม่า เพื่อให้กลุ่มบริษัทสามารถด�ำรงไว้ซึ่งสถานภาพความเป็นผู้นำ� ผู้ผลิตยาง ธรรมชาติรายใหญ่ที่สุดของโลก โดยมีเป้าหมายที่จะขยายก�ำลังการผลิตรวมเป็น 1.7 ล้านตันต่อปีภายในปี 2559 กระบวนการจัดหาวัตถุดิบ – เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดหาวัตถุดิบ กลุ่มบริษัทได้ด�ำเนินกิจกรรมที่หลากหลายในปี 2557 เพื่อสร้างความยึดมั่นต่อแบรนด์ศรีตรังและความเชื่อมั่นในตัวองค์กรจากผู้จัดจ�ำหน่าย เราได้ ริเริม่ แผนการปรับปรุงระบบและขัน้ ตอนในการซือ้ ขายวัตถุดบิ เพือ่ สร้างความรูส้ กึ ทีด่ ใี ห้กบั ผูม้ าขายวัตถุดบิ ยาง และพัฒนาความสัมพันธ์กบั ผูข้ ายวัตถุดบิ ในระยะยาว ตลอดจนพัฒนาการสื่อสารเพื่อให้ผู้ขายส่งมอบวัตถุดิบที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการของโรงงาน ซึ่งเป็นการช่วยลดต้นทุนและเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิต ฐานลูกค้า – ขยายไปยังตลาดที่มีศักยภาพในการเติบโตสูง ในปี 2557 เราประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินกลยุทธ์ในการขยายฐานลูกค้าในประเทศและขยายไปยังตลาดทีม่ ศี กั ยภาพในการเติบโตสูง โดยมีปริมาณ ยอดขายเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 ซึ่งสูงกว่าอัตราการเติบโตของความต้องการยางธรรมชาติในตลาดโลกที่ร้อยละ 5.3 ท�ำให้เราสามารถคงไว้ซึ่งความเป็น ผู้น�ำในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติด้วยส่วนแบ่งทางการตลาดที่ร้อยละ 10 ของความต้องการยางธรรมชาติทั่วโลกท่ามกลางสภาวะตลาดที่ยังเป็น ขาลงและปัจจัยลบต่างๆ ทัง้ นีศ้ นู ย์กลางการขายและการจัดจ�ำหน่ายแห่งที่ 3 ของกลุม่ บริษทั ในประเทศเวียดนามได้เริม่ ด�ำเนินการแล้วตัง้ แต่ครึง่ ปีหลัง ของปี 2557 เพื่อขยายช่องทางการจัดจ�ำหน่ายของกลุ่มบริษัทให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เราจะเดินหน้าขยายฐานลูกค้าต่อไปอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อความ สามารถในการเติบโตที่ต่อเนื่อง และเพื่อสร้างฐานลูกค้าที่มีความสมดุลเพื่อศักยภาพในการรับมือกับความผันผวนของตลาดยางธรรมชาติในอนาคต
1
จ�ำนวนที่ดินดังกล่าวรวมที่ดินที่บริษัทถือครองโฉนดจ�ำนวน 40,042 ไร่ และจ�ำนวนที่ดินที่บริษัทถือครองกรรมสิทธิ์ที่ติดภาระห้ามโอนภายในเวลาที่ก�ำหนดหรือที่ดินที่ บริษัทมีสิทธิเหนือพื้นดินโดยการจ่ายภาษีบำ� รุงท้องที่ทั้งสิ้น 10,570 ไร่
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบโดยการแต่งตั้งของคณะกรรมการบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ากัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�านวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ โดยกรรมการ 2 ใน 3 ท่าน มีความรู้ทางด้านบัญชีและการเงิน ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายเกรียง ยรรยงดิลก กรรมการตรวจสอบ 3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร กรรมการตรวจสอบ
• ความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลทางการเงิน สอบทานรายงานทางการเงินรายไตรมาสและงบการเงินส�าหรับ ปี 2557 ให้เป็นไปตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป โดยร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ผู้จัดการสายงานบัญชีและการเงิน(CFO) และผู้บริหารบริษัท เพื่อสอบทาน สาระข้อมูล ความถูกต้องของงบการเงินของบริษัทฯ ได้มีการตรวจสอบและสอบทานโดยให้ความส�าคัญในประเด็นหลักๆ มีการรับฟังการชี้แจง และซักถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ ก่อนที่จะให้ความเห็นชอบ เพื่อน�าเสนอต่อคณะกรรมการบริหารอนุมัติงบการเงินดังกล่าว • พิจารณาแผนการตรวจสอบภายใน และสอบทานผลการตรวจสอบภายใน ซึง่ ฝ่ายตรวจสอบภายในได้ดา� เนินการไปในระหว่างปี รวมถึงการสอบทาน ระบบควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยงให้มีความเพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ • สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และหลักการก�ากับดูแลกิจการที่ดี โดยได้ก�ากับและดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อบังคับ ของบริษัท ข้อก�าหนดคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และหลัก การก�ากับดูแลกิจการที่ดี โดยให้มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่างเพียงพอและโปร่งใส • สอบทานการเข้าท�ารายการ และการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับรายการระหว่างกันของบริษทั ฯ ซึง่ อาจท�าให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่าง ผูม้ สี ว่ นได้เสียกับบริษทั ฯ ผลการสอบทานพบว่า ได้ดา� เนินการตามหลักเกณฑ์ทตี่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศสิงคโปร์ • พิจารณาคัดเลือกเสนอแต่งตัง้ และเสนอค่าสอบบัญชีประจ�าปี 2558 เพือ่ น�าเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ให้ขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�าปี 2558 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความเป็นอิสระ และความเหมาะสมของค่าตอบแทน โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแล้วมีความเห็นว่า การด�าเนินงานของบริษทั ฯ ในปีทผี่ า่ นมามีระบบการควบคุมภายในและการบริหารจัดการ ความเสี่ยงที่เพียงพอและเหมาะสม รายงานข้อมูลทางการเงินจัดท�าขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศสิงคโปร์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่โดยมีสิทธิและใช้ดุลพินิจได้อย่างอิสระ รวมถึงไม่มีข้อจ�ากัดในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ
(นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 26 กุมภาพันธ์ 2558
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหำชน)
คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติงานภายใต้ขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับการมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยในปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมรวม 8 ครั้ง ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ 3 ท่าน ได้เข้าร่วมประชุมครบทุกครั้ง โดยคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประชุมร่วมกับผูบ้ ริหารระดับสูงทีเ่ กีย่ วข้อง ผูจ้ ดั การกลุม่ งานตรวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชีในวาระทีเ่ กีย่ วข้อง คณะกรรมการตรวจสอบได้กา� กับ ดูแลในเรื่องต่างๆ สรุปสาระส�าคัญได้ดังนี้
137
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินเฉพาะกิจการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษทั ศรีตรัง แอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฎในรายงานประจ�ำปี 2557 งบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวัน ที่ 31 ธันวาคม 2557 ดังกล่าว ได้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยใช้นโยบายการบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�ำ่ เสมอ รวมทัง้ ได้ใช้ดลุ พินจิ อย่างระมัดระวังและใช้หลักประมาณการอย่างสมเหตุสมผลในการจัดท�ำ รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน เพื่อแสดงถึงฐานะการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และกระแสเงินสดได้อย่างถูกต้อง โปร่งใส เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุน ทั่วไป งบการเงินดังกล่าวได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตจาก บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด โดยในการตรวจ สอบบริษัทได้ให้การสนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นได้ตามมาตรฐานการสอบบัญชี(…) คณะกรรมการบริษัท ได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในการ ในการจัดท�ำรายงานทางการเงินให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดให้ มี และด�ำรงไว้ซงึ่ ระบบการบริหารความเสีย่ ง ระบบการควบคุมภายในทัง้ ด้านการปฏิบตั งิ าน และด้านระบบสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้อง การตรวจสอบภายใน และการก�ำกับดูแลที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจว่าข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอที่จะด�ำรงไว้ซึ่งทรัพย์สินของ บริษัท และป้องกันความเสี่ยง ตลอดจนเพื่อไม่ให้เกิดการทุจริตหรือด�ำเนินการที่ผิดปกติอย่างเป็นสาระส�ำคัญ
รายงานประจ�ำปี 2557
ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ เพื่อช่วยก�ำกับดูแล สอบทานความน่าเชื่อถือและความ ถูกต้องของรายงานทางการเงิน การสอบทานระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และระบบการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนพิจารณาการ เปิดเผยข้อมูลรายการเกี่ยวโยงระหว่างกันอย่างครบถ้วน และเหมาะสม โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏอยู่ในรายงานจากคณะ กรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีแล้ว จากการก�ำกับดูแลและการปฏิบัติดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในโดยรวมของบริษัทมีความเพียงพอและ เหมาะสม และสามารถสร้างความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลได้ว่างบการเงินเฉพาะกิจการ และงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวัน ที่ 31 ธันวาคม 2557 มีความถูกต้องและเชือ่ ถือได้ โดยถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป และปฏิบตั ถิ กู ต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้องทุกประการ
138
นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด(มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด(มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะของ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด(มหาชน) ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดง การเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ เฉพาะบริษทั และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษทั ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุ สรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผูบ้ ริหารเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินเหล่านีโ้ ดยถูกต้องตามทีค่ วรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและรับผิดชอบเกีย่ ว กับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด
ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐาน การสอบบัญชี ซึง่ ก�ำหนดให้ขา้ พเจ้าปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบตั งิ านตรวจสอบเพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุ สมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ กี ารตรวจสอบเพือ่ ให้ได้มาซึง่ หลักฐานการสอบบัญชีเกีย่ วกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธกี ารตรวจ สอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญของงบ การเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาดในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำ และการน�ำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามทีค่ วรของกิจการเพือ่ ออกแบบวิธกี ารตรวจสอบทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพือ่ วัตถุประสงค์ในการ แสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้ และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการน�ำเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริษัทของบริษัท ศรีตรังแอโกร อินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด(มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ ผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงานเฉพาะบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูก ต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
อุณากร พฤฒิธาดา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3257 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี
139
งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม
หมายเหตุ
งบการเงินเฉพาะบริษัท
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
1 มกราคม
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
1 มกราคม
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2556
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
สินทรัพย์
รายงานประจ�ำปี 2557
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
8, 38
2,131,618,737
1,892,728,704
1,534,031,967
351,506,312
558,713,673
514,399,840
ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
9, 38
89,767,267
75,974,417
100,138,703
33,730,806
60,511,268
43,227,574
ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ
10
4,688,380,158
7,441,236,911
6,511,323,604
2,297,828,991
3,893,124,720
3,398,131,246
ลูกหนี้นายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้า
38
392,450,064
320,815,698
384,452,345
85,663,956
152,662,325
128,341,495
สินค้าคงเหลือ - สุทธิ
11
10,029,943,739 16,581,938,622 13,151,553,435
4,743,353,158
7,196,300,579
5,937,818,322
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
12
76,857,998
51,450,218
36,248,902
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน
352,224,156
285,719,524
289,421,154
17,684,384,121 26,598,413,876 21,970,921,208
7,588,941,221 11,912,762,783 10,058,167,379
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
140
เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อยและ บริษัทร่วม
37.4, 38
-
65,355,600
60,774,600
992,656,135
1,053,927,701
60,774,600
เงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�ำ้ ประกัน
13, 38
34,585,973
61,185,033
99,481,761
13,622,863
13,128,278
12,989,591
เงินลงทุนในบริษัทย่อย
14
-
-
-
9,684,640,514
8,744,640,514
6,413,965,514
เงินลงทุนในบริษัทร่วม
14
1,157,810,054
3,541,181,387
3,456,056,184
649,177,500
712,177,500
717,802,500
เงินลงทุนในกิจการร่วมค้า
14
2,878,241,133
489,247,987
489,343,161
83,099,800
20,099,800
20,099,800
63,672,236
52,438,932
59,126,451
62,666,431
51,520,878
58,019,929
14,355,033,514 12,294,839,816
9,666,687,208
5,845,366,056
4,908,438,517
3,576,490,406
เงินลงทุนระยะยาว
15, 38
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ
4, 16
สวนยางพาราและสวนปาล์ม-สุทธิ
4, 17
901,246,752
547,657,449
274,922,306
4,080,879
4,560,887
5,040,896
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ
18
31,639,642
27,046,829
21,446,266
12,311,158
14,032,131
9,981,850
อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
19
170,255,147
176,254,186
160,407,667
27,769,750
27,769,750
27,769,750
332,854,932
240,009,472
169,720,598
250,167,419
171,483,080
110,994,525
ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ
20
146,540,958
121,784,907
144,706,429
-
-
-
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
21
34,265,689
21,326,641
29,832,649
12,718,800
11,749,609
10,505,180
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
20,106,146,030 17,638,328,239 14,632,505,280 17,638,277,305 15,733,528,645 11,024,434,541
รวมสินทรัพย์
37,790,530,151 44,236,742,115 36,603,426,488 25,227,218,526 27,646,291,428 21,082,601,920
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม
หมายเหตุ
งบการเงินเฉพาะบริษัท
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
1 มกราคม
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
1 มกราคม
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2556
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
2,579,501,245
3,821,538,312
2,406,316,981
1,486,686,421
1,898,141,014
1,005,439,980
9,408,410,287 14,223,084,711 12,173,049,092
4,261,484,000
5,985,183,000
3,689,464,000
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน 22
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
23, 38
ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบัน การเงินที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี
23, 38
140,264,000
113,404,000
114,000,000
50,000,000
-
-
หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี
23, 38
-
1,600,000,000
-
-
1,600,000,000
-
หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินที่ ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี
23, 38
30,046,135
17,873,880
9,836,852
3,585,007
4,399,946
5,879,822
ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
9, 38
212,826,685
532,851,063
164,233,976
155,819,745
433,015,611
62,309,409
ภาษีเงินได้ค้างจ่าย
48,559,037
20,490,118
8,199,893
-
-
-
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
44,348,586
46,473,277
45,300,797
20,985,956
12,667,203
17,829,132
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น
12,463,955,975 20,375,715,361 14,920,937,591
5,978,561,129
9,933,406,774
4,780,922,343
141
รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
23, 38
2,913,462,000
2,113,726,000
400,860,000
2,910,000,000
2,020,000,000
200,000,000
หุ้นกู้
23, 38
1,450,000,000
1,450,000,000
2,150,000,000
1,450,000,000
1,450,000,000
2,150,000,000
หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน
23, 38
33,310,507
28,665,810
5,580,814
3,979,795
5,150,373
2,120,895
หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ
4, 20
172,496,107
60,128,705
156,217,358
36,649,938
16,089,377
76,733,203
24
115,226,468
106,867,154
88,497,554
53,448,249
44,583,916
38,468,792
50,210,804
110,571,098
22,192,554
-
-
-
4,734,705,886
3,869,958,767
2,823,348,280
4,454,077,982
3,535,823,666
2,467,322,890
17,198,661,861 24,245,674,128 17,744,285,871 10,432,639,111 13,469,230,440
7,248,245,233
ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ พนักงานเมื่อเกษียณอายุ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
1 มกราคม
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2556
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
1,280,000,000
1,280,000,000
1,280,000,000
1,280,000,000
1,280,000,000
1,280,000,000
25
1,280,000,000 8,550,989,821
1,280,000,000 8,550,989,821
1,280,000,000 8,550,989,821
1,280,000,000 8,550,989,821
1,280,000,000 8,550,989,821
1,280,000,000 8,550,989,821
26
(173,134,488)
(173,134,488)
(173,134,488)
-
-
-
4, 26
1,470,543,779
1,130,228,558
1,097,991,266
691,242,473
706,205,596
658,560,617
26 26
18,864,175 (445,858,809)
8,546,917 (453,395,072)
13,525,669 (347,927,852)
18,417,816 -
8,095,919 -
12,889,314 -
รายงานประจ�ำปี 2557
หมายเหตุ
142
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ จ�ำนวน 1,280,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2556 : 1,280,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว หุ้นสามัญ จ�ำนวน 1,280,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2556 : 1,280,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนต�่ำจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัท ย่อยเพิ่ม จากส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจ ควบคุม ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคา สินทรัพย์ - สุทธิจากค่าเสื่อมราคาสะสม ก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผื่อขาย ผลสะสมจากการแปลงค่างบการเงิน ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
งบการเงินเฉพาะบริษัท
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
1 มกราคม
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
บาท
25
27 4
128,000,000 128,000,000 128,000,000 128,000,000 128,000,000 128,000,000 9,662,264,944 9,431,558,939 8,224,846,142 4,125,929,305 3,503,769,652 3,203,916,935 20,491,669,422 19,902,794,675 18,774,290,558 14,794,579,415 14,177,060,988 13,834,356,687 100,198,868 88,273,312 84,850,059 20,591,868,290 19,991,067,987 18,859,140,617 14,794,579,415 14,177,060,988 13,834,356,687 37,790,530,151 44,236,742,115 36,603,426,488 25,227,218,526 27,646,291,428 21,082,601,920
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
(ปรับปรุงใหม่)
รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน - สุทธิ ก�ำไรอื่น - สุทธิ ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และกิจการร่วมค้า ก�ำไรก่อนต้นทุนทางการเงินสุทธิ และภาษีเงินได้ รายได้ทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน - สุทธิ ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิ จากภาษี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน ในหลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิจากภาษี ก�ำไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ส�ำหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน - สุทธิจากภาษี ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี สุทธิจากภาษี ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี
พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 หมายเหตุ บาท บาท บาท บาท 28, 40 75,529,874,680 92,185,181,108 37,058,138,121 42,962,452,166 4 (72,181,560,556) (86,986,685,065) (34,907,155,094) (40,439,899,903) 3,348,314,124 5,198,496,043 2,150,983,027 2,522,552,263 31
33
14
32 4, 34
4
121,093,460 (2,132,659,869) (1,687,743,051) 371,134,668 1,134,825,860 1,154,965,192
259,992,906 (2,358,534,102) (1,230,652,528) 312,503,329 338,615,468 2,520,421,116
1,109,592,378 (1,757,595,394) (858,441,607) 234,877,747 875,057,051 1,754,473,202
944,090,588 (1,774,987,092) (587,926,504) 33,701,153 53,359,271 1,190,789,679
535,088,818 1,690,054,010 49,701,857 (663,386,209) (613,684,352) 1,076,369,658 (40,132,363) 1,036,237,295
495,574,747 3,015,995,863 46,059,709 (1,075,346,095) (1,029,286,386) 1,986,709,477 (149,576,668) 1,837,132,809
1,754,473,202 74,832,880 (367,730,540) (292,897,660) 1,461,575,542 (19,932,157) 1,441,643,385
1,190,789,679 66,811,246 (318,629,853) (251,818,607) 938,971,072 (14,608,768) 924,362,304
361,386,290
53,305,106
-
62,608,813
10,317,258
(4,978,752)
10,321,897
(4,793,395)
3,872,750 7,660,466
5,460,641 (120,564,777)
(2,446,855) -
526,579 -
383,236,764
(66,777,782)
7,875,042
58,341,997
1,419,474,059
1,770,355,027
1,449,518,427
982,704,301
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ต้นทุนขายและการให้บริการ ก�ำไรขั้นต้น
(ปรับปรุงใหม่)
143
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
(ปรับปรุงใหม่)
พ.ศ. 2557 บาท
พ.ศ. 2556 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
พ.ศ. 2556 บาท
การแบ่งปันก�ำไรส�ำหรับปี ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไรส�ำหรับปี
1,037,762,186 (1,524,891) 1,036,237,295
1,820,184,342 16,948,467 1,837,132,809
1,441,643,385 1,441,643,385
924,362,304 924,362,304
การแบ่งปันก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี
1,420,874,748 (1,400,689) 1,419,474,059
1,768,504,118 1,850,909 1,770,355,027
1,449,518,427 1,449,518,427
982,704,301 982,704,301
0.81
1.42
1.13
0.72
หมายเหตุ
รายงานประจ�ำปี 2557
(ปรับปรุงใหม่)
ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
4, 35
144
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
-
-
รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - สุทธิจากภาษี
รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
รายการกับส่วนของผู้ถือหุ้น การจ่ายเงินปันผล การจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รับเงินเพิ่มทุนจากส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 8,550,989,821
-
-
1,206,286,840 (76,058,282) 1,130,228,558 361,386,290 (21,071,069) 340,315,221 340,315,221 1,470,543,779
(173,134,488) (173,134,488) (173,134,488)
18,864,175
-
10,317,258
10,317,258
-
10,317,258
-
-
8,546,917 -
-
8,546,917
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
1,280,000,000
-
-
รวมรายการกับส่วนของผู้ถือหุ้น ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
-
-
36
-
-
-
8,550,989,821 -
1,280,000,000 -
8,550,989,821 -
1,280,000,000 -
4
หมายเหตุ
งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ (ปรับปรุงใหม่) ส่วนต�่ำจากการซื้อ ส่วนเกินทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย จากการประเมินราคา ก�ำไรที่ยัง ส่วนเกิน เพิ่มจากส่วนได้เสีย สินทรัพย์ - สุทธิจาก ไม่เกิดขึน้ จากเงินลงทุน มูลค่าหุ้น ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ค่าเสื่อมราคาสะสม ในหลักทรัพย์เผื่อขาย บาท บาท บาท บาท
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ตามที่รายงานไว้เดิม การปรับปรุงย้อนหลังจากผลกระทบของการเปลี่ยน นโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ตามที่ปรับใหม่ ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น การปรับปรุงผลต่างของส่วนเกินทุนจากการประเมิน ราคาสินทรัพย์ - สุทธิจากภาษี ค่าเสื่อมราคาส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิจากภาษี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิจากภาษี ก�ำไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ส�ำหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน - สุทธิจากภาษี ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน
ทุนที่ออก และช�ำระแล้ว บาท
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
145
(445,858,809)
-
7,536,263
7,536,263
7,536,263
-
-
-
(453,395,072) -
-
(453,395,072)
ผลสะสมจาก การแปลงค่า งบการเงิน บาท
824,890
(75,233,392)
24,943,819
3,872,750 -
-
21,071,069
-
(832,000,000) -
(832,000,000) -
1,420,874,747
383,112,561
3,872,750 7,536,263
10,317,258
-
361,386,290
(75,233,392)
(1,048) 13,327,292
(1,400,688)
124,203
124,203
-
-
-
(832,000,000) (1,048) 13,327,292
1,419,474,059
383,236,764
3,872,750 7,660,466
10,317,258
-
361,386,290
88,273,312 19,991,067,987 (1,524,891) 1,036,237,295
-
- (832,000,000) (832,000,000) 13,326,244 (818,673,756) 128,000,000 9,662,264,944 20,491,669,422 100,198,868 20,591,868,290
-
- 1,062,706,005
-
-
-
-
-
128,000,000 9,431,558,939 19,902,794,675 - 1,037,762,186 1,037,762,186
-
88,273,312 20,066,301,379
(ปรับปรุงใหม่) รวม (ปรับปรุงใหม่) ส่วนของ ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มี รวม บริษัทใหญ่ อ�ำนาจควบคุม ส่วนของผู้ถือหุ้น บาท บาท บาท
128,000,000 9,430,734,049 19,978,028,067
ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตาม (ปรับปรุงใหม่) กฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร บาท บาท
-
รายการกับส่วนของผู้ถือหุ้น ปรับปรุงลูกหนี้ค่าหุ้นส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย การจ่ายเงินปันผล การจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมรายการกับส่วนของผู้ถือหุ้น 8,550,989,821
(173,134,488)
-
-
-
-
-
-
(173,134,488)
-
(173,134,488)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
1,280,000,000
-
-
ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
-
-
-
-
-
36
-
-
8,550,989,821
1,280,000,000 -
-
8,550,989,821
-
1,280,000,000
-
4
หมายเหตุ
งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่
รายงานประจ�ำปี 2557
1,130,228,558
-
32,237,292 32,237,292
-
(21,067,814)
53,305,106
-
1,097,991,266
(78,409,581)
1,176,400,847
8,546,917
-
(4,978,752) (4,978,752)
(4,978,752)
-
-
-
13,525,669
-
13,525,669
(ปรับปรุงใหม่) ส่วนต�่ำจากการซื้อ ส่วนเกินทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย จากการประเมินราคา ก�ำไรที่ยัง ส่วนเกิน เพิ่มจากส่วนได้เสีย สินทรัพย์ - สุทธิจาก ไม่เกิดขึน้ จากเงินลงทุน มูลค่าหุ้น ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ค่าเสื่อมราคาสะสม ในหลักทรัพย์เผื่อขาย บาท บาท บาท บาท
ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น การปรับปรุงผลต่างของส่วนเกินทุนจากการประเมิน ราคาสินทรัพย์ - สุทธิจากภาษี ค่าเสื่อมราคาส่วนเกินทุนจากการประเมินราคา สินทรัพย์ - สุทธิจากภาษี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิจากภาษี ก�ำไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ส�ำหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน - สุทธิจากภาษี ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - สุทธิจากภาษี รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 - ตามที่รายงานไว้เดิม การปรับปรุงย้อนหลังจากผลกระทบของการเปลี่ยน นโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่
ทุนที่ออก และช�ำระแล้ว บาท
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
146 (453,395,072)
-
(105,467,220) (105,467,220) (105,467,220)
-
-
-
-
(347,927,852)
-
(347,927,852)
ผลสะสมจาก การแปลงค่า งบการเงิน บาท
753,276
(77,656,305)
-
21,067,814
-
(640,000,000) (640,000,000)
(640,000,000) (640,000,000)
5,460,641 (105,467,220) (51,680,225) 1,768,504,117
(4,978,752)
-
53,305,106
1,820,184,342
128,000,000 9,431,558,939 19,902,794,675
-
5,460,641 26,528,455 - 1,846,712,797
-
-
-
- 1,820,184,342
128,000,000 8,224,846,142 18,774,290,558
-
(77,656,305)
1,573,490 (640,000,000) (1,147) (638,427,657)
5,460,641 (120,564,777) (66,777,782) 1,770,355,027
(4,978,752)
-
53,305,106
1,837,132,809
88,273,312 19,991,067,987
1,573,490 (1,147) 1,572,343
(15,097,557) (15,097,557) 1,850,910
-
-
-
16,948,467
84,850,059 18,859,140,617
-
84,850,059 18,936,796,922
(ปรับปรุงใหม่) รวม (ปรับปรุงใหม่) ส่วนของ ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มี รวม บริษัทใหญ่ อ�ำนาจควบคุม ส่วนของผู้ถือหุ้น บาท บาท บาท
128,000,000 8,224,092,866 18,851,946,863
ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตาม (ปรับปรุงใหม่) กฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร บาท บาท
1,280,000,000
-
(14,963,123) (14,963,123) (14,963,123) 691,242,473
-
8,550,989,821
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น บาท 8,550,989,821 8,550,989,821
18,417,816
-
10,321,897 10,321,897
10,321,897
-
-
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) ส่วนเกินทุน ก�ำไร จากการประเมินราคา ที่ยังไม่เกิดขึ้น สินทรัพย์ - สุทธิจาก จากเงินลงทุนใน ค่าเสื่อมราคาสะสม หลักทรัพย์เผื่อขาย บาท บาท 769,785,087 8,095,919 (63,579,491) 706,205,596 8,095,919
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
-
36
รายการกับส่วนของผู้ถือหุ้น การจ่ายเงินปันผล รวมรายการกับส่วนของผู้ถือหุ้น
-
-
-
-
4
หมายเหตุ
ทุนที่ออก และช�ำระแล้ว บาท 1,280,000,000 1,280,000,000
ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ค่าเสื่อมราคาส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิจากภาษี ราคาสินทรัพย์ - สุทธิจากภาษี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิจากภาษี ก�ำไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ส�ำหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน - สุทธิจากภาษี รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - สุทธิจากภาษี รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 - ตามที่รายงานไว้เดิม การปรับปรุงย้อนหลังจากผลกระทบของการเปลี่ยนนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 - ตามที่ปรับใหม่
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
147
128,000,000
-
-
-
-
-
ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตามกฎหมาย บาท 128,000,000 128,000,000
4,125,929,305
(832,000,000) (832,000,000)
(2,446,855) 12,516,268 1,454,159,653
-
14,963,123
1,441,643,385
(ปรับปรุงใหม่) ยังไม่ได้จัดสรร บาท 3,502,944,762 824,890 3,503,769,652
14,794,579,415
(832,000,000) (832,000,000)
(2,446,855) 7,875,042 1,449,518,427
10,321,897
-
1,441,643,385
(ปรับปรุงใหม่) รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น บาท 14,239,815,589 (62,754,601) 14,177,060,988
-
รายการกับส่วนของผู้ถือหุ้น การจ่ายเงินปันผล รวมรายการกับส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
1,280,000,000
-
-
ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
-
-
8,550,989,821
-
-
-
36
-
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น บาท 8,550,989,821 8,550,989,821
-
4
หมายเหตุ
ทุนที่ออก และช�ำระแล้ว บาท 1,280,000,000 1,280,000,000
706,205,596
-
47,644,979 47,644,979
-
62,608,813 (14,963,834)
-
8,095,919
-
(4,793,395) (4,793,395)
(4,793,395)
-
-
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) ส่วนเกินทุน ก�ำไร จากการประเมินราคา ที่ยังไม่เกิดขึ้น สินทรัพย์ - สุทธิจาก จากเงินลงทุนใน ค่าเสื่อมราคาสะสม หลักทรัพย์เผื่อขาย บาท บาท 723,419,437 12,889,314 (64,858,820) 658,560,617 12,889,314
รายงานประจ�ำปี 2557
ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น การปรับปรุงผลต่างของส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิจากภาษี ค่าเสื่อมราคาส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิจากภาษี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิจากภาษี ก�ำไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ส�ำหรับโครงการผล ประโยชน์พนักงาน - สุทธิจากภาษี รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - สุทธิจากภาษี รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 - ตามที่รายงานไว้เดิม การปรับปรุงย้อนหลังจากผลกระทบของการเปลี่ยนนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
148 128,000,000
-
-
-
-
-
ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตามกฎหมาย บาท 128,000,000 128,000,000
3,503,769,652
(640,000,000) (640,000,000)
526,579 15,490,413 939,852,717
-
14,963,834
924,362,304
(ปรับปรุงใหม่) ยังไม่ได้จัดสรร บาท 3,203,163,659 753,276 3,203,916,935
14,177,060,988
(640,000,000) (640,000,000)
526,579 58,341,997 982,704,301
(4,793,395)
62,608,813 -
924,362,304
(ปรับปรุงใหม่) รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น บาท 13,898,462,231 (64,105,544) 13,834,356,687
งบกระแสเงินสด บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หมายเหตุ
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท
กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้
1,076,369,658
1,986,709,477
1,461,575,542
938,971,072
(ก�ำไร) ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการแปลงค่า อัตราแลกเปลี่ยน
259,204,217
268,331,509
(3,908,434)
(93,153,101)
(ก�ำไร) ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการประเมิน มูลค่ายุติธรรม ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
(333,817,228)
392,781,372
(250,415,404)
353,422,509
8,033,169
14,247,714
4,396,349
44,224,354
74,497,624
(40,666,543)
(642,251)
642,251
รายการปรับปรุง
ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงานเมื่อ เกษียณอายุ
24, 30
15,675,379
25,080,515
6,516,186
6,115,124
ค่าเสื่อมราคา
16, 29
866,886,616
720,930,314
359,247,779
267,297,463
ค่าตัดจ�ำหน่าย สวนยางพาราและสวนปาล์ม
17, 29
805,732
1,519,877
480,009
480,009
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ค่าเผื่อการด้อยค่าลูกหนี้การค้า
ค่าตัดจ�ำหน่าย สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
18, 29
9,784,046
8,562,058
4,778,743
4,058,012
149
ขาดทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ลดลง
16
26,457,735
36,740,002
-
-
ต้นทุนทางการเงิน
32
663,386,209
1,075,346,095
367,730,540
318,629,853
รายได้เงินปันผล
31
(1,638,844)
(22,894,631)
(1,057,448,889)
(761,114,099)
ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและ กิจการร่วมค้า
14
(535,088,818)
(495,574,747)
-
-
6,188,142
(4,213,495)
5,347,737
965,896
6,662,654
(6,306,672)
-
-
-
(461,125)
-
(406,875)
(การกลับรายการ) ค่าเผื่อส�ำหรับราคาทุนของ สินค้าคงเหลือที่เกินกว่ามูลค่าสุทธิที่จะได้รับ
(ก�ำไร) ขาดทุนจากการขายและการตัดจ�ำหน่าย ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มี ตัวตน (ก�ำไร) ขาดทุนจากการประเมินราคามูลค่า ยุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ก�ำไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทร่วม
19
การเปลีย่ นแปลงของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ด�ำเนินงาน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หมายเหตุ
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท
สินทรัพย์ด�ำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง - ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น
2,744,823,584
(944,161,021)
1,590,899,380
(539,217,829)
(71,634,366)
63,636,647
66,998,369
(24,320,830)
6,477,497,259
(3,389,718,644)
2,453,589,672
(1,259,124,508)
- สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
(49,523,064)
(33,211,018)
(25,407,781)
(15,201,315)
- สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
(12,939,048)
8,506,009
(969,191)
(1,244,429)
(1,143,381,408)
1,206,027,087
(302,452,230)
741,990,156
(2,124,691)
1,172,480
8,318,753
(5,161,930)
10,086,124,557
872,383,260
4,688,634,879
(22,148,217)
จ่ายดอกเบี้ย
(673,955,736)
(1,047,483,652)
(377,211,179)
(291,297,528)
จ่ายภาษีเงินได้
(141,432,703)
(188,326,217)
(78,684,339)
(70,900,101)
(862,380)
(132,165)
(293,960)
-
9,269,873,738
(363,558,774)
4,232,445,401
(384,345,846)
-
-
-
(900,000,000)
เงินสดรับจากการให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทร่วม
65,180,000
-
65,180,000
-
เงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�้ำประกัน (เพิ่มขึ้น) ลดลง
26,599,060
38,296,728
(494,585)
(138,687)
(40,000)
-
-
-
526,102,507
481,324,118
1,057,448,889
761,114,099
-
-
(940,000,000)
(2,330,675,000)
-
6,836,125
-
6,031,875
21,206,971
49,741,275
2,418,037
1,020,370
(3,010,789,890)
(3,664,039,761)
(1,403,633,386)
(1,476,898,781)
(2,371,741,352)
(3,087,841,515)
(1,219,081,045)
(3,939,546,124)
- ลูกหนี้นายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า - สินค้าคงเหลือ
หนี้สินด�ำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) รายงานประจ�ำปี 2557
- เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น
150
- หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�ำเนินงาน
ผลประโยชน์พนักงานที่จ่าย
24
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายเพื่อให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อย
เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายเพิ่มขึ้น
15
เงินปันผลรับ เงินสดจ่ายเพื่อลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม เงินสดรับจากการเลิกกิจการของบริษัทร่วม เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สวนยางและสวนปาล์ม และสินทรัพย์ไม่มี ตัวตน เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน
14
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หมายเหตุ
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เพิ่มขึ้น (ลดลง)
(5,041,671,743)
1,867,963,016
(1,723,699,000)
2,295,719,000
เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว
940,000,000
1,826,270,000
940,000,000
1,820,000,000
ช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว
(113,404,000)
(114,000,000)
-
-
เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้
-
900,000,000
-
900,000,000
(1,600,000,000)
-
(1,600,000,000)
-
(25,492,854)
(31,708,333)
(4,872,717)
(7,513,197)
(832,000,000)
(640,000,000)
(832,000,000)
(640,000,000)
(1,048)
(1,147)
-
-
13,327,292
1,573,490
-
-
(6,659,242,353)
3,810,097,026
(3,220,571,717)
4,368,205,803
เงินสดจ่ายเพื่อการช�ำระหุ้นกู้ ช�ำระคืนหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน เงินปันผลจ่าย
36
เงินปันผลจ่ายแก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย รับช�ำระค่าหุ้นจากส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจ ควบคุม เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
151
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ
238,890,033
358,696,737
(207,207,361)
44,313,833
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี
1,892,728,704
1,534,031,967
558,713,673
514,399,840
2,131,618,737
1,892,728,704
351,506,312
558,713,673
(2,904,653,271)
(3,996,580,462)
(1,306,998,862)
(1,609,340,134)
หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินเพิ่มขึ้น
42,309,806
62,830,357
2,887,200
9,062,800
เจ้าหนี้จากการซื้อสินทรัพย์เพิ่มขึ้น (ลดลง)
(148,446,425)
269,710,344
(99,521,724)
123,378,553
(3,010,789,890)
(3,664,039,761)
(1,403,633,386)
(1,476,898,781)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี
8
ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม เงินสดจ่ายเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สวนยางและสวนปาล์ม และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน: ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สวนยางและสวน ปาล์ม และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
เงินสดจ่ายเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สวนยางและสวนปาล์ม และสินทรัพย์ไม่มี ตัวตน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 152 ถึง 257 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 1 ข้อมูลทั่วไป บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) เป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด ซึ่งจัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และเข้าเป็นสมาชิกบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2534 นอกจากนี้เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2554 บริษัทได้เสนอ ขายหุ้นสามัญเพิ่มเติมในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศสิงคโปร์ เมือ่ วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2557 บริษทั เปลีย่ นแปลงสถานะการจดทะเบียนหลักทรัพย์ของบริษทั บนกระดานหลัก (Main Board) ของตลาดหลักทรัพย์ สิงคโปร์จากตลาดหลัก (Primary Listing) เป็นตลาดรอง (Secondary Listing) ที่อยู่ของบริษัทที่ได้จดทะเบียนไว้ดังนี้ เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย เพื่อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูล จึงรวมเรียกบริษัทและบริษัทย่อยว่า “กลุ่มบริษัท”
รายงานประจ�ำปี 2557
บริษัทและบริษัทย่อย (รวมเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับไม้ยางพารา เช่น ยางแผ่นรมควัน น�ำ้ ยาง ข้น ยางแท่ง ถุงมือ และผลิตภัณฑ์อื่นๆ นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทยังได้ด�ำเนินธุรกิจการให้บริการทางวิศวกรรม และขนส่ง
152
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทนี้ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
2 เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดท�ำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายถึง มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการจัดท�ำและน�ำเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ได้จดั ท�ำขึน้ โดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน ยกเว้นเรือ่ งทีอ่ ธิบาย ในนโยบายการบัญชีในล�ำดับต่อไป การจัดท�ำงบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย ก�ำหนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชีทสี่ ำ� คัญและการใช้ดลุ ยพินจิ ของ ผูบ้ ริหารซึง่ จัดท�ำขึน้ ตามกระบวนการในการน�ำนโยบายการบัญชีของกลุม่ บริษทั ไปถือปฏิบตั ิและต้องเปิดเผยเรือ่ งการใช้ดุลยพินจิ ของผูบ้ ริหาร หรือ ความซับซ้อน หรือเกี่ยวกับข้อสมมติฐานและประมาณการที่มีนัยส�ำคัญต่องบการเงินรวมในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 5 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฉบับภาษาอังกฤษจัดท�ำขึ้นจากงบการเงินตามกฎหมายที่เป็นภาษาไทย ในกรณีที่มีเนื้อความขัดแย้งกัน หรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกัน ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็นหลัก
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญซึ่งใช้ในการจัดท�ำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีดังต่อไปนี้ 3.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความที่เกี่ยวข้อง ที่มีการปรับปรุงที่มีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความที่เกี่ยวข้อง ที่มีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 มีดังนี้
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 7 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 17 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 18 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 15 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32
เรื่อง การน�ำเสนองบการเงิน เรื่อง งบกระแสเงินสด เรื่อง ภาษีเงินได้ เรื่อง สัญญาเช่า เรื่อง รายได้ เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 153 เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ เรื่อง การรวมธุรกิจ เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการด�ำเนินงานทียกเลิก เรื่อง ส่วนงานด�ำเนินงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน เรื่อง การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ เรื่อง สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะ และการ ปรับปรุงสภาพแวดล้อม เรื่อง การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29เรื่อง การ รายงานทางการเงินในสภาพ เศรษฐกิจที่มีเงินเฟ้อรุนแรง เรื่อง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า เรื่อง ข้อตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า เรื่อง การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ เรื่อง การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า เรื่อง สิ่งจูงใจสัญญาเช่าด�ำเนินงาน เรื่อง การประเมินเนื้อหาของรายการที่เกี่ยวกับรูปแบบของกฎหมาย ตามสัญญาเช่า เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - ต้นทุนเว็บไซต์ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรั บปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความที่เกี่ยวข้อง ที่มีการปรับปรุงที่มีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 (ต่อ) การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ ไม่ส่งผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) มีการอธิบายให้ชัดเจนเกี่ยวกับการแปลงสภาพของเครื่องมือทางการเงินที่การตัดสินใจเป็น ของผู้ถือตราสาร จะไม่มีผลกระทบกับการจัดประเภทของเครื่องมือทางการเงินในส่วนที่เป็นหนี้สิน นอกจากนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 ยังได้อธิบายส่วนประกอบของส่วนของเจ้าของว่า กิจการอาจแสดงรายละเอียดการวิเคราะห์กำ� ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จแต่ละรายการในงบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของหรือในหมายเหตุประกอบงบการเงินอย่างใดอย่างหนึ่งได้
รายงานประจ�ำปี 2557
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้นว่า ค่าใช้จ่ายที่ก่อให้เกิดการรับรู้สินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงิน เท่านั้น จึงสามารถจัดประเภทเป็นกิจกรรมลงทุน
154
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการปรับปรุงเพิ่มเติมข้อยกเว้นของหลักการที่มีอยู่ส�ำหรับการวัดมูลค่าของสินทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชีหรือหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทเี่ กิดขึน้ จากอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนซึง่ วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุตธิ รรม มาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 12 ฉบับที่ใช้อยู่ในปัจจุบันก�ำหนดให้กิจการวัดค่าภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์โดยขึ้นกับการคาดการณ์ ของกิจการเกี่ยวกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนจากมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์จากการใช้หรือจากการขาย การปรับปรุงมาตรฐานฉบับนี้ได้มี การเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อสมมติฐานว่า ราคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งวัดมูลค่าโดยใช้มูลค่ายุติธรรมคาดว่าจะได้รับคืน โดยการขาย นอกจากนี้ได้มีการรวมการตีความฉบับที่ 21 เรื่องภาษีเงินได้ -การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ไม่ได้คิดค่าเสื่อมราคาที่ตีราคา ใหม่ เป็นส่วนของมาตรฐานฉบับที่ 12 (ฉบับปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการตัดแนวทางปฏิบัติสำ� หรับการเช่าที่ดินซึ่งมีอายุการใช้งานไม่จำ� กัดให้เป็นสัญญาเช่า ด�ำเนินงาน มาตรฐานได้มกี ารแก้ไขให้ชดั เจนขึน้ เกีย่ วกับการเช่าทีด่ นิ และอาคารโดยจะต้องมีการพิจารณาแยกจากกันว่า ควรจัดประเภทเป็น สัญญาเช่าการเงินหรือสัญญาเช่าด�ำเนินงานโดยใช้หลักการทั่วไปที่กล่าวในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) ได้ตัดภาคผนวกของมาตรฐานการบัญชีของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 ออก มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการตัดข้อความในส่วนของการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการบัญชีฉบับ ที่ 19 ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันออก มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจนเกี่ยวกับการบันทึกบัญชี ผลสะสมของผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยน รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวกับการจ�ำหน่ายหรือการจ�ำหน่ายบางส่วนของหน่วยงานในต่างประเทศ วิธีการทางบัญชีดังกล่าวต้องใช้วิธีการปรับไป ข้างหน้า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการยกเลิกการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับกิจการที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลโดยยกเลิกการเปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดส�ำหรับรายการทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับรัฐบาลและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกัน นอกจากนี้ ได้มีการก�ำหนดค�ำนิยาม ของกิจการที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลให้ง่ายและชัดเจนขึ้น
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความที่เกี่ยวข้อง ที่มีการปรับปรุงที่มีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 (ต่อ) การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความทีเ่ กีย่ วข้อง ดังต่อไปนี้ ไม่สง่ ผลกระทบต่อกลุม่ บริษทั (ต่อ)
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้นส�ำหรับการเปลี่ยนนโยบายการบัญชีจากวิธีส่วนได้เสียมาเป็นวิธี ราคาทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีก�ำหนดให้มีการปรับปรุงโดยวิธีย้อนหลังในเรื่องนี้ กรณีที่กิจการสูญเสียการควบคุม ร่วมได้เสียในบริษัทดังกล่าวที่คงเหลืออยู่ต้องวัดด้วยมูลค่ายุติธรรม การปรับปรุงเรื่องนี้ต้องใช้วิธีปรับไปข้างหน้า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการเน้นหลักการของการเปิดเผยที่มีอยู่ในปัจจุบันส�ำหรับเหตุการณ์และรายการที่มีสาระ ส�ำคัญ โดยมีการเพิ่มเติมข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลให้ครอบคลุมการเปิดเผยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรม (ถ้าหากมี สาระส�ำคัญ) และต้องมีการปรับข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้เป็นปัจจุบันจากข้อมูลล่าสุดของรายงานประจ�ำปี มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายการปันส่วนค่าความนิยมให้หน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด จะต้องไม่เกิน กว่าส่วนงานด�ำเนินงานก่อนการรวมส่วนงาน ตามที่ได้ระบุไว้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 เรื่อง ส่วนงานด�ำเนินงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่สามารถแบ่งแยกได้ที่ได้จากการ รวมธุรกิจ โดยสินทรัพย์ไม่มีตัวตนต้องรับรู้แยกต่างหากจากค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ต่างกันอาจรับรู้รวมกันเป็นสินทรัพย์หน่วย เดียวกัน ถ้ามีอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่ใกล้เคียงกัน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555) ได้ขยายขอบเขตครอบคลุมการจัดประเภทและวิธีการบันทึกบัญชีของรายการ จ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ช�ำระด้วยเงินสดและการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ชำ� ระด้วยตราสารทุนในกลุ่มกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) ได้แก้ไขการวัดมูลค่าของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ให้ทางเลือกในการ วัดมูลค่าของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมโดยวัดจากมูลค่ายุติธรรม หรือมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิของผู้ถูกซื้อ จะท�ำได้ก็ต่อเมื่อตราสาร นัน้ แสดงถึงส่วนได้เสียในความเป็นเจ้าของปัจจุบนั และท�ำให้ผถู้ อื มีสทิ ธิได้รบั ส่วนแบ่งในสินทรัพย์สทุ ธิของกิจการตามสัดส่วนทีล่ งทุนในกรณี ที่มีการช�ำระบัญชี ส�ำหรับองค์ประกอบอื่นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม เว้นแต่มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินจะก�ำหนดให้ใช้เกณฑ์อื่นในการวัดมูลค่า แนวทางของมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้จะน�ำมาใช้กับรายการจ่ายโดยใช้ หุ้นเป็นเกณฑ์ทั้งหมดซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรวมธุรกิจ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555) ได้มกี ารก�ำหนดการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับสินทรัพย์ทถี่ อื ไว้เพือ่ ขายและการด�ำเนิน งานที่ยกเลิก การเปิดเผยข้อมูลโดยมาตรฐานฉบับอื่นมิต้องน�ำมาปฏิบัติใช้ยกเว้นมาตรฐานการรายงานทางการเงินมีการก�ำหนดให้เปิดเผย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้นส�ำหรับการเปลี่ยนนโยบายการบัญชีจากวิธีส่วนได้เสียมาเป็นวิธี ราคาทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีก�ำหนดให้มีการปรับปรุงโดยวิธีย้อนหลังในเรื่องนี้ กรณีที่กิจการสูญเสียอิทธิพลอย่าง มีนัยส�ำคัญ ส่วนได้เสียในบริษัทดังกล่าวที่คงเหลืออยู่ต้องวัดมูลค่าด้วยวิธียุติธรรม การปรับปรุงเรื่องนี้ต้องใช้วิธีปรับไปข้างหน้า
155
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความที่เกี่ยวข้อง ที่มีการปรับปรุงที่มีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 (ต่อ) การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความทีเ่ กีย่ วข้อง ดังต่อไปนี้ ไม่สง่ ผลกระทบต่อกลุม่ บริษทั (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555) มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้นว่ากิจการจะเปิดเผยการวัดมูลค่าของสินทรัพย์ของ แต่ละส่วนงานเมื่อมีการรายงานการวัดมูลค่านั้นให้ผู้มีอำ� นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน
รายงานประจ�ำปี 2557
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 ก�ำหนดให้มกี ารพิจารณาว่าข้อตกลงเป็นหรือประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ โดยอ้างอิง จากเนื้อหาของข้อตกลง การตีความนี้ก�ำหนดให้ประเมินว่าข้อตกลงเข้าเงื่อนไขต่อไปนี้หรือไม่ (1) การปฏิบัติตามข้อตกลงขึ้นอยู่กับการใช้ สินทรัพย์ที่เฉพาะเจาะจง และ (2) ข้อตกลงดังกล่าวเป็นการให้สิทธิในการใช้สินทรัพย์นั้น
156
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 ก�ำหนดว่าห้ามกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมที่เคยรับรู้ใน งวดระหว่างกาลงวดก่อน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 17 ก�ำหนดแนวปฏิบตั ใิ นการบันทึกการจ่ายสินทรัพย์นอกเหนือจากเงินสดเป็นเงินปันผลให้ แก่เจ้าของทีป่ ฏิบตั ติ นอยูใ่ นลักษณะทีเ่ ป็นเจ้าของ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนีก้ ล่าวถึงการก�ำหนดเวลารับรูเ้ งินปันผล ค้างจ่าย การวัดมูลค่าเงินปันผลค้างจ่ายและการบัญชีส�ำหรับผลต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่จ่ายให้และมูลค่าตามบัญชีของ เงินปันผลค้างจ่ายเมื่อกิจการช�ำระเงินปันผลค้างจ่าย การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 18 ก�ำหนดวิธกี ารบัญชีสำ� หรับการโอนทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ซงึ่ กิจการได้รบั โอนมาจาก ลูกค้า ข้อตกลงซึง่ อยูภ่ ายใต้ขอบเขตของการตีความฉบับนี้ หมายถึงข้อตกลงทีท่ ำ� ให้กจิ การได้รบั ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์จากลูกค้าเพือ่ ท�ำให้ ลูกค้าสามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายได้ หรือเพื่อให้ลูกค้าเข้าถึงสินค้า หรือบริการได้อย่างต่อเนื่อง การตีความฉบับนี้กล่าวถึงการวัดมูลค่าเริ่ม แรกของสินทรัพย์ที่รับโอนและการบันทึกบัญชี การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 15 ก�ำหนดวิธีการปฏิบัติทางบัญชีในการรับรู้สิ่งจูงใจที่ผู้ให้เช่าให้แก่ผู้เช่าส�ำหรับสัญญาเช่าด�ำเนินงาน การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 ได้มีการให้แนวทางในการพิจารณาสัญญาที่ได้จัดท�ำขึ้นตามรูปแบบของกฏหมายให้เป็นสัญญาเช่า ว่าโดยเนื้อหาเป็นสัญญาเช่าตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 เรื่องสัญญาเช่า หรือไม่ การพิจารณาดังกล่าวอาจจะต้องพิจารณารายการ หลายรายการที่มีการเชื่อมโยงกันเสมือนเป็นหนึ่งรายการ แนวทางดังกล่าวได้มีการให้ตัวอย่างของเงื่อนไขที่จะท�ำให้เนื้อหาของสัญญาเช่า ไม่เข้าเงื่อนไขเป็นสัญญาเช่าตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 การบันทึกบัญชีจะต้องสะท้อนเนื้อหาสาระของสัญญาดังกล่าว
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความที่เกี่ยวข้อง ที่มีการปรับปรุงที่มีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 (ต่อ) การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความทีเ่ กีย่ วข้อง ดังต่อไปนี้ ไม่สง่ ผลกระทบต่อกลุม่ บริษทั (ต่อ) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 ก�ำหนดแนวทางในการปฏิบัติส�ำหรับรายจ่ายที่เกิดขึ้นภายในกิจการในการพัฒนาและการด�ำเนิน งานส�ำหรับเว็บไซต์ที่กิจการมีไว้เพื่อการงานภายในหรือภายนอก โดยให้กิจการต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1 ก�ำหนดวิธีปฏิบัติทางบัญชีสำ� หรับหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้ สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ที่เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงในประมาณการระยะเวลา หรือจ�ำนวนของทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ซึ่งน�ำมาจ่ายช�ำระภาระผูกพัน หรือการเปลี่ยนแปลงอัตราคิดลด การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 ก�ำหนดวิธีปฏิบัติทางบัญชีในงบการเงินของผู้ลงทุนส�ำหรับส่วนได้เสียจากกองทุนเพื่อ การรื้อถอน ซึ่งสินทรัพย์ของกองทุนมีการจัดการแยกต่างหาก และมีการจ�ำกัดสิทธิของผู้ลงทุนในการเข้าถึงสินทรัพย์ของกองทุน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
การตีความมาตรฐานการบัญชี และการตีความมาตรฐานรายงานทางการเงิน ดังต่อไปนี้ ไม่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 7 ก�ำหนดแนวทางในการปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 เรือ่ งการ รายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจทีม่ เี งินเฟ้อรุนแรง ส�ำหรับรอบระยะเวลาซึง่ กิจการได้ระบุแล้วว่า สกุลเงินทีใ่ ช้ในการด�ำเนินงานของตน 157 เป็นสกุลเงินของระบบเศรษฐกิจที่มีภาวะเงินเฟ้อรุนแรง โดยที่ในงวดก่อนสภาวะเศรษฐกิจไม่ได้มีภาวะเงินเฟ้อรุนแรง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 เกี่ยวข้องกับข้อตกลงสัมปทานบริการระหว่างภาครัฐกับเอกชนในการให้บริการ สาธารณะโดยที่เอกชนได้เข้าร่วมในการสร้าง การลงทุน การด�ำเนินงาน และการบ�ำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานส�ำหรับบริการสาธารณะ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 ให้คำ� อธิบายเกี่ยวกับกรณีที่ขายสินค้าหรือให้บริการพร้อมกับให้สิทธิพิเศษแก่ลูกค้า (เช่น คะแนนหรือได้รบั สินค้าโดยไม่ตอ้ งจ่ายค่าตอบแทน) ว่าเป็นรายการทีม่ หี ลายองค์ประกอบ และสิง่ ตอบแทนทีไ่ ด้รบั หรือค้างรับจากลูกค้า ต้องปันส่วนให้แต่ละองค์ประกอบของรายการโดยใช้มูลค่ายุติธรรม การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 ก�ำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับข้อตกลงสัมปทานบริการระหว่างภาครัฐกับเอกชน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.2 มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานรายงานทางการเงินใหม่ และการตีความใหม่ ซึง่ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความใหม่ที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558
รายงานประจ�ำปี 2557
(ก) กลุม่ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความทีค่ าดว่าจะไม่สง่ ผลกระทบอย่างมีสาระส�ำคัญต่อกลุม่ บริษทั มีดังต่อไปนี้
158
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 11 มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 20
เรื่อง การน�ำเสนองบการเงิน เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม และการร่วมค้า เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล เรื่อง งบการเงินรวม เรื่อง การร่วมการงาน เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น เรื่อง การวัดมูลค่ายุติธรรม เรื่อง ข้อจ�ำกัดสินทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้อก�ำหนดเงินทุน ขั้นต�ำ่ และปฏิสัมพันธ์ของรายการเหล่านี้ ส�ำหรับมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่อง ต้นทุนการเปิดหน้าดินในช่วงการผลิตส�ำหรับเหมืองผิวดิน
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญได้แก่การเพิ่มเติมข้อก�ำหนดให้กิจการจัดกลุ่มรายการที่แสดง อยู่ใน “ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น” โดยใช้เกณฑ์ว่ารายการนั้นสามารถจัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง ได้หรือไม่ มาตรฐานที่ปรับปรุงนี้ไม่ได้ระบุว่ารายการใดจะแสดงอยู่ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) ก�ำหนดให้รายการชิ้นส่วนอะไหล่ อุปกรณ์สำ� รองไว้ใช้งาน และอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ซ่อมบ�ำรุง รับรู้เป็นรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หากรายการนั้นเข้าค�ำนิยามของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หากไม่เข้าเงื่อนไข ดังกล่าวให้จัดประเภทเป็นสินค้าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) การเปลี่ยนแปลงที่สำ� คัญได้แก่ (ก) ผลก�ำไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย เปลี่ยนชื่อเป็น “การวัดมูลค่าใหม่” และต้องรับรู้ใน “ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ” ทันที ผลก�ำไรและขาดทุนจาก การประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยจะไม่สามารถรับรู้ตามวิธีขอบเขตหรือรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนได้ และ (ข) ต้นทุน บริการในอดีตจะรับรู้ในงวดที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงการ ผลประโยชน์ที่ยังไม่เป็นสิทธิขาดจะไม่สามารถรับรู้ตลอดระยะเวลาการให้ บริการในอนาคตได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) ให้ข้อก�ำหนดส�ำหรับงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) ให้ข้อก�ำหนดส�ำหรับเงินลงทุนในบริษัทร่วม และการร่วมค้าซึ่งต้องใช้วิธีส่วนได้เสีย
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.2 มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานรายงานทางการเงินใหม่ และการตีความใหม่ ซึ่งมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน และการตีความใหม่ที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 (ต่อ) ก) กลุม่ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความทีค่ าดว่าจะไม่สง่ ผลกระทบอย่างมีสาระส�ำคัญต่อกลุม่ บริษทั มีดังต่อไปนี้ (ต่อ)
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 ได้มกี ารก�ำหนดค�ำนิยามของค�ำว่า “ควบคุม” ซึง่ ถูกน�ำมาใช้แทนหลักการของการควบคุม และการจัดท�ำงบการเงินรวมภายใต้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานนี้ได้ก�ำหนด ว่าเมื่อใดกิจการควรจัดท�ำงบการเงินรวม ให้นิยามหลักการของการควบคุม อธิบายหลักการของการน�ำหลักการของการควบคุมไปใช้ รวมถึงอธิบายถึงข้อก�ำหนดในการจัดท�ำงบการเงินรวม หลักการส�ำคัญของมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบับใหม่นี้ คือหากมีอ�ำนาจ ควบคุม จะต้องมีการจัดท�ำงบการเงินรวมเฉพาะในกรณีที่ผู้ลงทุนได้แสดงให้เห็นถึงอ�ำนาจการควบคุมที่เหนือกว่าผู้ถูกลงทุน ผู้ลงทุน ได้รับผลตอบแทนที่ผันแปรจากการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในผู้ถูกลงทุน และมีความสามารถในการใช้อำ� นาจในผู้ถูกลงทุน ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อผลตอบแทนที่กิจการจะได้รับ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2557) การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญ คือ ก�ำหนดการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนงานด�ำเนินงาน โดยให้เปิดเผยข้อมูลตัววัดมูลค่าสินทรัพย์และหนีส้ นิ รวมส�ำหรับเฉพาะส่วนงานทีร่ ายงาน หากโดยปกติมกี ารน�ำเสนอข้อมูลจ�ำนวนเงิน ดังกล่าวต่อผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการปฏิบัติการ และถ้ามีการเปลี่ยนแปลงที่มีสาระสาคัญจากจ�ำนวนเงินที่ได้เปิดเผยไว้ในงบ การเงินประจ�ำปีล่าสุดส�ำหรับส่วนงานที่รายงานนั้น
มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 11 ได้กำ� หนดค�ำนิยามของสัญญาร่วมการงานว่าเป็นสัญญาที่ผู้ร่วมทุนตั้งแต่สองรายขึ้นไป 159 ตกลงจะควบคุมร่วมในกิจกรรมที่จัดตั้งขึ้น การตัดสินใจในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องต้องได้รับความเห็นชอบโดยผู้ควบคุมร่วมอย่างเป็น เอกฉันท์จงึ จะถือว่าเป็นไปตามข้อก�ำหนดของค�ำนิยามว่าการควบคุมร่วม การร่วมการงานสามารถอยูใ่ นรูปแบบของการด�ำเนินงานร่วม กันหรือการร่วมค้า การจัดประเภทขึ้นอยู่กับสิ่งที่แสดงออกมาซึ่งสัมพันธ์กับข้อตกลงที่จัดท�ำขึ้น หากในข้อก�ำหนดผู้ร่วมทุนได้รับเพียง สินทรัพย์สทุ ธิ การร่วมงานดังกล่าวถือเป็นการร่วมค้า ส่วนการด�ำเนินงานร่วมกันจะมีสทิ ธิในสินทรัพย์และมีภาระในหนีส้ นิ การด�ำเนิน งานร่วมกันจะบันทึกบัญชีสิทธิในสินทรัพย์และภาระในหนี้สิน การร่วมค้าจะบันทึกส่วนได้เสียโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 ก�ำหนดการเปิดเผยข้อมูลเพื่อช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินความเสี่ยงและผล กระทบทางด้านการเงินทีเ่ กีย่ วข้องกับส่วนได้เสียทีก่ จิ การมีกบั บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม การร่วมการงาน และกิจการซึง่ มีโครงสร้างเฉพาะ ตัวซึ่งไม่ได้รวมอยู่ในงบการเงินรวม มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุง และลดความซ�ำ้ ซ้อนของค�ำนิยามของมูลค่ายุติธรรม โดย การก�ำหนดค�ำนิยาม และแหล่งข้อมูลในการวัดมูลค่ายุติธรรม และการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับใช้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2557) การตีความนี้ให้ใช้กับผลประโยชน์หลังออกจากงานประเภท โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ และผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน ข้อก�ำหนดเงินทุนขั้นต�่ำภายใต้การตีความนี้หมายถึง ข้อก�ำหนดใดๆ ที่ก�ำหนดให้กิจการต้องสมทบเงินทุนส�ำหรับผลประโยชน์หลังออกจากงานประเภทโครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ และผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน การตีความนี้อธิบายถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับสินทรัพย์หรือหนี้สินโครงการจาก ข้อก�ำหนดหรือข้อตกลงที่เกี่ยวกับเงินทุนขั้นต�่ำ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2557) การตีความนี้ให้วิธีปฏิบัติทางการบัญชีส�ำหรับต้นทุนการเปิด หน้าดินในช่วงการผลิตส�ำหรับเหมืองผิวดิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.2 มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานรายงานทางการเงินใหม่ และการตีความใหม่ ซึ่งมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการ เงิน และการตีความใหม่ที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 (ต่อ) ข) กลุม่ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความทีเ่ ปลีย่ นแปลงอย่างไม่มสี าระส�ำคัญและไม่มผี ลกระทบต่อ กลุ่มบริษัท มีดังต่อไปนี้
รายงานประจ�ำปี 2557
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557)
160
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 6 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557)
เรื่อง สินค้าคงเหลือ เรื่อง งบกระแสเงินสด เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและ ข้อผิดพลาด เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่อง สัญญาก่อสร้าง เรื่อง ภาษีเงินได้ เรื่อง สัญญาเช่า เรื่อง รายได้ เรื่อง การบัญชีสำ� หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง เรื่อง ก�ำไรต่อหุ้น เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจ เกิดขึ้น เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ เรื่อง การรวมธุรกิจ เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการด�ำเนินงานที่ ยกเลิก เรื่อง การส�ำรวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ เรื่อง ส่วนงานด�ำเนินงาน เรื่อง ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไม่มีความเกี่ยวข้องอย่าง เฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมด�ำเนินงาน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.2 มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานรายงานทางการเงินใหม่ และการตีความใหม่ ซึง่ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความใหม่ที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 (ต่อ) ค) กลุม่ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความทีเ่ ปลีย่ นแปลงอย่างไม่มสี าระส�ำคัญและไม่มผี ลกระทบต่อ กลุ่มบริษัท มีดังต่อไปนี้
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557)
เรื่อง สัญญาเช่าด�ำเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ให้แก่ผู้เช่า เรื่อง ภาษีเงินได้-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือ ผู้ถือหุ้น เรื่อง การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ทำ� ขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง รายได้ - รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - ต้นทุนเว็บไซต์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน เรื่อง การประเมินว่า ข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ เรื่อง สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและการ ปรับปรุงสภาพแวดล้อม เรื่อง การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) เรื่องการรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่ เงินเฟ้อรุนแรง เรื่อง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า เรื่อง ข้อตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า เรื่อง สัญญาส�ำหรับการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ เรื่อง การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ เรื่อง การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557)
161
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.3 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 สามารถสรุปได้ดังนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง สัญญาประกัน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 ถือปฏิบตั กิ บั สัญญาประกันภัยทัง้ หมด (รวมถึงสัญญาประกันภัยต่อ) ทีก่ จิ การเป็นผูอ้ อกและสัญญา ประกันภัยต่อที่กิจการถือไว้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 ไม่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท 3.4 บัญชีกลุ่มบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม และส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า
รายงานประจ�ำปี 2557
(ก) บริษัทย่อย
162
บริษัทย่อยหมายถึงกิจการ (ซึ่งรวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ที่กลุ่มบริษัทมีอำ� นาจในการควบคุมนโยบายการเงิน และการด�ำเนินงาน และ โดยทั่วไปแล้วกลุ่มบริษัทจะถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง ในการประเมินว่ากลุ่มบริษัทมีการควบคุมบริษัทอื่นหรือไม่ กิจการ ต้องพิจารณาถึงการมีอยู่และผลกระทบจากสิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ที่กิจการสามารถใช้สิทธิหรือแปลงสภาพตราสารนั้นใน ปัจจุบนั รวมถึงสิทธิในการออกเสียงทีเ่ ป็นไปได้ซงึ่ กิจการอืน่ ถืออยูด่ ว้ ย กลุม่ บริษทั รวมข้อมูลทางการเงินของบริษทั ย่อยไว้ในงบการเงิน รวมตัง้ แต่วนั ทีก่ ลุม่ บริษทั มีอำ� นาจในการควบคุมบริษทั ย่อย กลุม่ บริษทั จะไม่นำ� งบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมไว้ในงบการเงินรวมนับ จากวันที่กลุ่มบริษัทและบริษัทสูญเสียอ�ำนาจควบคุม กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีการรวมธุรกิจโดยใช้วิธีการซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ส�ำหรับการซื้อบริษัทย่อย ต้องวัดด้วยมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์ที่ผู้ซื้อโอนให้และหนี้สินที่ก่อขึ้นและส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นที่ออกโดยกลุ่มบริษัท รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หรือหนี้สินที่คาดว่าจะต้องจ่ายช�ำระ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น และวัดมูลค่าเริ่มแรกของสินทรัพย์ ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นในการรวมธุรกิจด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ นอกจากนี้ในการรวมธุรกิจแต่ละ ครั้ง กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุมในผู้ถูกซื้อด้วยมูลค่ายุติธรรม หรือมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ของ ผู้ถูกซื้อตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือ บริษทั ใช้วธิ มี ลู ค่าตามบัญชีเดิมในการบันทึกบัญชีการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน ส่วนต่างระหว่างเงินทีจ่ า่ ยซือ้ กับส่วนได้เสีย ของบริษัทในมูลค่าตามบัญชีของกิจการที่ถูกน�ำมารวม ให้แสดงเป็นรายการหนึ่งในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในบริษทั ย่อยจะบันทึกบัญชีดว้ ยราคาทุนหักค่าเผือ่ การด้อยค่าในงบการเงินเฉพาะบริษทั ต้นทุนจะมีการปรับเพือ่ สะท้อนการ เปลี่ยนแปลงสิ่งตอบแทนที่เกิดขึ้นจากสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ ต้นทุนนั้นจะรวมส่วนแบ่งต้นทุนทางตรง
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.4 บัญชีกลุ่มบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม และส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า (ต่อ) (ก) บริษัทย่อย (ต่อ) กรณีที่มูลค่าสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของส่วนได้ เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ถูกซื้อที่ผู้ซื้อถืออยู่ก่อนการวมธุรกิจ มากกว่ามูลค่าสุทธิ ณ วันที่ซื้อของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้ สินที่รับมา ผู้ซื้อต้องรับรู้ค่าความนิยม หากมูลค่าของมูลค่าสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ถูกซื้อที่ผู้ซื้อถืออยู่
กลุ่มบริษัทจะตัดรายการบัญชีระหว่างกลุ่มบริษัท ยอดคงเหลือ และรายการก�ำไรหรือขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่างกลุ่มบริษัท นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท รายชื่อของบริษัทย่อยของกลุ่มบริษัทได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 14.1 (ข) รายการและส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ก่อนการวมธุรกิจ น้อยกว่ามูลค่าราคายุตธิ รรมของสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั ย่อยเนือ่ งจากมีการต่อรองราคาซือ้ จะรับรูส้ ว่ นต่างโดยตรง ไปเป็นก�ำไรขาดทุนในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
กลุ่มบริษัทปฏิบัติต่อรายการกับส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมเช่นเดียวกันกับส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นกลุ่มบริษัท ส�ำหรับการซื้อส่วน ได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนที่จ่ายให้และหุ้นที่ได้มาของมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สุทธิของหุ้นที่ซื้อมา 163 ในบริษัทย่อยจะถูกบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และก�ำไรหรือขาดทุนจากการขายส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมจะถูกบันทึกในส่วน ของผู้ถือหุ้น เมือ่ กลุม่ บริษทั สูญเสียการควบคุมหรือมีอทิ ธิพลอย่างมีนยั ส�ำคัญ ส่วนได้เสียในหุน้ ทีเ่ หลืออยูจ่ ะวัดมูลค่าใหม่โดยใช้ราคายุตธิ รรม การ เปลี่ยนแปลงในมูลค่าจะรับรู้เป็นก�ำไรหรือขาดทุนในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ มูลค่ายุติธรรมนั้นจะถือเป็นมูลค่าตามบัญชีเริ่มแรกของ มูลค่าของเงินลงทุนทีเ่ หลือของบริษทั ร่วม กิจการร่วมค้า หรือสินทรัพย์ทางการเงิน ส�ำหรับทุกจ�ำนวนทีเ่ คยรับรูใ้ นก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่นจะถูกจัดประเภทใหม่เป็นก�ำไรหรือขาดทุนเสมือนมีการขายสินทรัพย์หรือหนี้สินที่เกี่ยวข้อง ถ้าส่วนได้เสียของเจ้าของในบริษัทร่วมนั้นลดลงแต่ยังคงมีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญ กิจการต้องจัดประเภทรายการที่เคยรับรู้ในก�ำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเข้าก�ำไรหรือขาดทุนเฉพาะสัดส่วนในส่วนได้เสียของเจ้าของที่ลดลง
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.4 บัญชีกลุ่มบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม และส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า (ต่อ) (ค) บริษัทร่วม
รายงานประจ�ำปี 2557
บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญแต่ไม่ถึงกับควบคุมซึ่งโดยทั่วไปก็คือการที่กลุ่มบริษัทถือหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงอยู่ระหว่างร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 50 ของสิทธิออกเสียงทั้งหมด เงินลงทุนในบริษัทร่วมรับรู้เริ่มแรกด้วยราคาทุนและใช้วิธี ส่วนได้เสียในการแสดงในงบการเงินรวม กลุ่มบริษัทรับรู้เงินลงทุนในบริษัทร่วมซึ่งได้รวมค่าความนิยมที่ระบุไว้เมื่อได้มา สุทธิจาก ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี)
164
ส่วนแบ่งก�ำไรหรือขาดทุนของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วมที่เกิดขึ้นภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน และความเคลื่อนไหว ในบัญชีก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น จากการตีมูลค่ายุติธรรมภายหลังการได้มาจะรวมไว้เป็นส่วนหนึ่งของบัญชีกำ� ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงภายหลังการได้มาจะปรับปรุงกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุน เมื่อส่วนแบ่งขาดทุนของกลุ่มบริษัทใน บริษัทร่วมมีมูลค่าเท่ากับหรือเกินกว่ามูลค่าส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วมนั้น กลุ่มบริษัทจะไม่รับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันในหนี้ของบริษัทร่วมหรือรับว่าจะจ่ายหนี้แทนบริษัทร่วม รายการก�ำไรที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่างกลุ่มบริษัทกับบริษัทร่วมจะตัดบัญชีเท่าที่กลุ่มบริษัทมีส่วนได้เสียในบริษัทร่วมนั้นรายการ ขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงก็จะตัดบัญชีในท�ำนองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั้นมีหลักฐานว่าสินทรัพย์ที่โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า บริษัทร่วมจะเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเท่าที่จ�ำเป็นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท ก�ำไรและขาดทุนเงินลงทุน จากการลดสัดส่วนในบริษัทร่วมจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน เงินลงทุนในบริษัทร่วมแสดงในงบการเงินเฉพาะบริษัทโดยใช้วิธีราคาทุน รายชื่อของบริษัทร่วมได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 14.2 (ง) กิจการร่วมค้า กิจการร่วมค้าเป็นกิจการทีก่ ลุม่ บริษทั มีสว่ นร่วมในการควบคุมกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจของกิจการดังกล่าวตามทีต่ กลงไว้ในสัญญาร่วมกับ ผู้ร่วมค้าตั้งแต่หนึ่งรายขึ้นไป ส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าแสดงในงบการเงินเฉพาะบริษัทโดยใช้วิธีราคาทุน และส่วนได้เสียของกลุ่ม บริษัทในกิจการร่วมค้าแสดงในงบการเงินรวมโดยวิธีส่วนได้เสีย ส่วนแบ่งก�ำไรหรือขาดทุนของกลุ่มบริษัทในกิจการร่วมค้าที่เกิดขึ้นภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และความ เคลือ่ นไหวในบัญชีสว่ นเกินจากการประเมินมูลค่ายุตธิ รรมภายหลังการได้มาจะรวมไว้เป็นส่วนหนึง่ ของบัญชีสว่ นเกินทุน ผลสะสมของ การเปลี่ยนแปลงภายหลังการได้มาจะปรับปรุงกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุน เมื่อส่วนแบ่งขาดทุนของกลุม่ บริษทั ในกิจการร่วมค้ามี มูลค่าเท่ากับหรือเกินกว่ามูลค่าส่วนได้เสียของกลุม่ บริษทั ในกิจการร่วมค้านัน้ กลุม่ บริษทั จะไม่รบั รูส้ ว่ นแบ่งขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กลุม่ บริษัทมีภาระผูกพันในหนี้ของกิจการร่วมค้าหรือรับว่าจะจ่ายหนี้แทนกิจการร่วมค้า
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.4 บัญชีกลุ่มบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม และส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า (ต่อ) (ง) กิจการร่วมค้า (ต่อ) รายการก�ำไรที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่างกลุ่มบริษัทกับกิจการร่วมค้าจะตัดบัญชีเท่าที่กลุ่มบริษัทมีส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้านั้น รายการขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงก็จะตัดบัญชีในท�ำนองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั้นมีหลักฐานว่าสินทรัพย์ที่โอนระหว่างกันเกิด การด้อยค่า
รายชื่อของกิจการร่วมค้าได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 14.3 3.5 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ (ก) สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานและสกุลเงินที่ใช้นำ� เสนองบการเงิน รายการที่รวมในงบการเงินของแต่ละบริษัทในกลุ่มบริษัทถูกวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงินของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจหลักที่บริษัท ด�ำเนินงานอยู่ (สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงาน) งบการเงินรวมแสดงในสกุลเงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานและสกุล เงินที่ใช้น�ำเสนองบการเงินของบริษัท (ข) รายการและยอดคงเหลือ รายการที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการหรือวันที่ตีราคาหาก รายการนั้นถูกวัดมูลค่าใหม่ รายการก�ำไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือจ่ายช�ำระที่เป็นเงินตราต่างประเทศ และที่เกิดจาก การแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งเป็นเงินตราต่างประเทศ ได้บันทึกไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน เมื่อมีการรับรู้รายการก�ำไรหรือขาดทุนของรายการที่ไม่เป็นตัวเงินไว้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งหมดของก�ำไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรู้ไว้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นด้วย ในทางตรงข้ามการรับรู้ก�ำไรหรือขาดทุนของรายการที่ไม่ เป็นตัวเงินไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดของก�ำไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรู้ไว้ในก�ำไรขาดทุนด้วย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
กิจการร่วมค้าจะเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเท่าที่จ�ำเป็นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท เพื่อวัตถุประสงค์ในการ จัดท�ำงบการเงินรวม
165
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.5 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ (ต่อ) (ค) กลุ่มบริษัท การแปลงค่าผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงินของบริษัทในกลุ่มบริษัท (ที่มิใช่สกุลเงินของเศรษฐกิจที่มีภาวะเงินเฟ้อรุนแรง) ซึ่ง มีสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานแตกต่างจากสกุลเงินที่ใช้นำ� เสนองบการเงินได้ถูกแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้นำ� เสนองบการเงินดังนี้ - สินทรัพย์และหนี้สินที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินแต่ละงวดแปลงค่าด้วยอัตราปิด ณ วันที่ของแต่ละงบแสดงฐานะ การเงินนั้น - รายได้และค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ แปลงค่าด้วยอัตราถัวเฉลี่ย และ
รายงานประจ�ำปี 2557
- ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
166
ค่าความนิยมและการปรับมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อหน่วยงานในต่างประเทศถือเป็นสินทรัพย์และหนี้สินของหน่วยงานในต่าง ประเทศนั้นและแปลงค่าด้วยอัตราปิด 3.6 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ในงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภท จ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินลงทุนระยะสั้นอื่นที่มีสภาพคล่องสูงซึ่งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันที่ได้มา และเงินเบิกเกินบัญชี เงินเบิกเกิน บัญชีจะแสดงไว้ในส่วนของของหนี้สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท เงินฝากสถาบันการเงินที่มีข้อจ�ำกัดในการใช้ได้แสดงไว้แยกต่างหากในบัญชี “เงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�้ำประกัน” ภายใต้สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน 3.7 ลูกหนี้การค้า ลูกหนีก้ ารค้ารับรูเ้ ริม่ แรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจ�ำนวนเงินทีเ่ หลืออยูห่ กั ด้วยค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญซึง่ ประมาณ จากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิน้ ปี ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญหมายถึงผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของลูกหนีก้ ารค้าเปรียบเทียบกับมูลค่า ที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้การค้า หนี้สูญที่เกิดขึ้นจะรับรู้ไว้ในก�ำไรหรือขาดทุนโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการบริหาร 3.8 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า ราคาทุนของสินค้าค�ำนวณโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ต้นทุนของการซื้อประกอบด้วยราคาซื้อ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อสินค้านั้น เช่น ค่าอากรขาเข้า และค่าขนส่ง หักด้วย ส่วนลดจากการจ่ายเงินตามเงื่อนไข ต้นทุนของสินค้าส�ำเร็จรูปและงานระหว่างท�ำประกอบด้วยค่าวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายอื่นทาง ตรง และค่าโสหุ้ยในการผลิตซึ่งปันส่วนตามเกณฑ์การด�ำเนินงานตามปกติ แต่ไม่รวมต้นทุนการกู้ยืม มูลค่าสุทธิที่จะได้รับประมาณจากราคา ปกติทคี่ าดว่าจะขายได้ของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จา่ ยทีจ่ �ำเป็นเพือ่ ให้สนิ ค้านัน้ ส�ำเร็จรูปรวมถึงค่าใช้จา่ ยในการขายนอกจากนีก้ ลุม่ บริษทั บันทึกบัญชี ค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้าเก่า ล้าสมัย หรือเสื่อมคุณภาพเท่าที่จำ� เป็น
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.9 เงินลงทุน เงินลงทุนทีน่ อกเหนือจากเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม และส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าถูกจัดประเภทเป็น 4 ประเภท คือ1. เงินลงทุน เพื่อค้า 2. เงินลงทุนที่ถือไว้จนครบก�ำหนด 3. เงินลงทุนเผื่อขาย และ 4. เงินลงทุนทั่วไป การจัดประเภทขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายขณะลงทุน ฝ่ายบริหารจะเป็นผู้กำ� หนดการจัดประเภทที่เหมาะสมส�ำหรับเงินลงทุน ณ เวลาลงทุนและทบทวนการจัดประเภทเป็นระยะอย่างสม�ำ่ เสมอ
(ข) เงินลงทุนที่ถือไว้จนครบก�ำหนด คือ เงินลงทุนที่มีก�ำหนดเวลาและผู้บริหารตั้งใจแน่วแน่และมีความสามารถถือไว้จนครบก�ำหนดได้ แสดงรวมไว้ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่จะครบก�ำหนดภายใน 12 เดือนนับจากวันที่ในงบแสดงฐานะการเงินก็จะแสดงไว้ใน สินทรัพย์หมุนเวียน (ค) เงินลงทุนเผือ่ ขาย คือ เงินลงทุนทีจ่ ะถือไว้โดยไม่ระบุชว่ งเวลาและอาจขายเพือ่ เสริมสภาพคล่องหรือเมือ่ ราคาตลาดหรืออัตราดอกเบีย้ เปลีย่ นแปลง ได้แสดงรวมไว้ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่กรณีทฝี่ า่ ยบริหารแสดงเจตจ�ำนงทีจ่ ะถือไว้ในช่วงเวลาน้อยกว่า 12 เดือน นับแต่วนั ทีใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน ก็จะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียนหรือเว้นแต่กรณีทฝี่ า่ ยบริหารมีความจ�ำเป็นทีต่ อ้ งขายเพือ่ เพิ่มเงินทุนด�ำเนินงาน จึงจะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน (ง) เงินลงทุนทั่วไป คือ เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับ เงินลงทุนทุกประเภทรับรู้มูลค่าเริ่มแรกด้วยราคาทุน ซึ่งหมายถึงมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ให้ไปเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินลงทุนนั้นรวมทั้ง ค่าใช้จ่ายในการท�ำรายการ เงินลงทุนเพือ่ ค้าและเงินลงทุนเผือ่ ขายวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยมูลค่ายุตธิ รรม มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนวัดตามราคาเสนอซือ้ ทีอ่ า้ งอิงจาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ วันท�ำการสุดท้ายของวันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน โดยอ้างอิงราคาเสนอซือ้ ล่าสุดจากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เงินลงทุนที่จะถือไว้จนครบก�ำหนดวัดมูลค่าภายหลังการได้มาด้วยวิธีราคาทุนตัดจ�ำหน่ายตามอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง หักด้วยค่าเผื่อการลด ลงของมูลค่า เงินลงทุนทั่วไป แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการลดลงของมูลค่า กลุม่ บริษทั จะทดสอบค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าของเงินลงทุนเมือ่ มีขอ้ บ่งชีว้ า่ เงินลงทุนนัน้ อาจมีคา่ เผือ่ การลดลงของมูลค่าเกิดขึน้ หากราคา ตามบัญชีของเงินลงทุนสูงกว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน กลุม่ บริษทั จะบันทึกรายการขาดทุนจากค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่ารวมไว้ในงบก�ำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ ในการจ�ำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างมูลค่ายุตธิ รรมของผลตอบแทนสุทธิทไี่ ด้รบั จากการจ�ำหน่ายเมือ่ เปรียบเทียบกับราคาตามบัญชีของเงิน ลงทุนนัน้ จะบันทึกเป็นก�ำไรหรือขาดทุนในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กรณีทจี่ ำ� หน่ายเงินลงทุนทีถ่ อื ไว้ในตราสารหนีห้ รือตราสารทุนชนิดเดียวกัน ออกไปบางส่วน ราคาตามบัญชีของเงินลงทุนทีจ่ �ำหน่ายจะก�ำหนดโดยใช้วธิ ถี วั เฉลีย่ ถ่วงน�้ำหนักด้วยราคาตามบัญชีจากจ�ำนวนทัง้ หมดทีถ่ อื ไว้
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
(ก) เงินลงทุนเพือ่ ค้า คือ เงินลงทุนเพือ่ จุดมุง่ หมายหลักในการหาก�ำไรจากการเปลีย่ นแปลงราคาในช่วงเวลาสัน้ ไม่เกิน 3 เดือนนับแต่เวลา ที่ลงทุนและแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน
167
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ทีด่ นิ และอาคารซึง่ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยโรงงานและส�ำนักงาน แสดงด้วยมูลค่ายุตธิ รรมตามราคาประเมินซึง่ ผูป้ ระเมินราคาอิสระภายนอก ได้ประมาณการไว้และจะทบทวนการประเมินทุกๆ 5 ปี หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคาร ณ วันที่ตีราคาใหม่ จะน�ำค่าเสื่อมราคาสะสม หักออกจากมูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมสะสมและผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม เพื่อให้มูลค่าสุทธิที่ปรับใหม่แสดงในราคาที่ตีใหม่ของ สินทรัพย์ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์อื่นทั้งหมดวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ต้นทุนเริ่มแรกจะรวมต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการซื้อสินทรัพย์นั้น
รายงานประจ�ำปี 2557
ต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลังจะรวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือรับรู้แยกเป็นอีกสินทรัพย์หนึ่งตามความเหมาะสม เมื่อต้นทุนนั้นเกิด ขึ้นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตแก่บริษัทและต้นทุนดังกล่าวสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ มูลค่าตามบัญชีของ ชิ้นส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดรายการออก ส�ำหรับค่าซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาอื่นๆ บริษัทจะรับรู้ต้นทุนดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายในก�ำไรหรือ ขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น การตีราคาทีด่ นิ และอาคารใหม่ทำ� ให้มลู ค่าตามบัญชีทเี่ พิม่ ขึน้ จะรับรูใ้ นก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ และจะแสดงอยูใ่ นส่วนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย์ในส่วนของผู้ถือหุ้น และหากมูลค่าของส่วนที่เคยมีการตีราคาเพิ่มนั้นลดลงกิจการต้องน�ำส่วนที่ลดลงจากการตีราคาใหม่ไปรับรู้ใน ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และลดส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ข้างต้นที่อยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้นลดลงตามไปด้วย ส่วนที่ลดลงที่เหลือจะ บันทึกไปยังก�ำไรหรือขาดทุน ในแต่ละปีผลต่างระหว่างวิธคี ดิ ค่าเสือ่ มราคาทีค่ ำ� นวณจากมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทตี่ รี าคาใหม่ทบี่ นั ทึกไปยัง ก�ำไรหรือขาดทุน กับค่าเสือ่ มราคาทีค่ �ำนวณจากราคาทุนเดิมของสินทรัพย์ จะถูกโอนจากส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ไปยังก�ำไรสะสม
168
ที่ดินไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์อื่นค�ำนวณโดยใช้วิธีเส้นตรง เพื่อลดราคาทุน หรือราคาที่ตีใหม่แต่ละชนิดตลอด อายุการให้ประโยชน์ที่ประมาณการไว้ของสินทรัพย์ดังต่อไปนี้ ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักรและอุปกรณ์ ยานพาหนะ เครื่องตกแต่งและเครื่องใช้ส�ำนักงาน
5 - 30 ปี 20 - 40 ปี 5 - 10 ปี 5 ปี 3 - 5 ปี
ทุกสิ้นรอบรอบระยะเวลารายงาน ได้มีการทบทวนและปรับปรุงมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ให้เหมาะสม ในกรณีที่มูลค่าตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทันที ก�ำไรหรือขาดทุนทีเ่ กิดจากการจ�ำหน่ายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ค�ำนวณโดยเปรียบเทียบจากสิง่ ตอบแทนสุทธิทไี่ ด้รบั จากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ กับมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ และจะรับรู้บัญชีกำ� ไรหรือขาดทุนในงบก�ำไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จ ในการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ที่มีการตีราคาใหม่ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์จะโอนไปยังก�ำไรสะสม
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.11 สวนยางพาราและสวนปาล์ม สวนยางพาราและสวนปาล์มรับรู้เมื่อเริ่มแรกตามราคาทุน หักด้วยค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ต้นทุนส่วนใหญ่ประกอบด้วย การปรับสภาพพื้นที่ การปรับหน้าดินและการท�ำร่องน�้ำ การปลูก การปราบวัชพืชและการใส่ปุ๋ย ซึ่งเป็นต้นทุน ที่เกี่ยวข้องกับการปลูกตั้งแต่ยังไม่ให้ผลผลิตจนกระทั่งต้นยางพาราและต้นปาล์มให้ผลผลิต (ซึ่งต้นยางใช้ระยะเวลาโดยประมาณ 7 ปี และ ต้นปาล์มใช้ระยะเวลา 2 - 3 ปี) ถือเป็นต้นทุนของสวนยางพาราและสวนปาล์ม กลุ่มบริษัทคิดต้นทุนสวนยางพาราและสวนปาล์มเป็นต้นทุน การผลิต หลังจากที่ต้นยางและต้นปาล์มให้ผลผลิต โดยใช้วิธีเส้นตรงภายในระยะเวลา 20 ปี
3.12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กลุ่มบริษัทบันทึกเป็นสินทรัพย์สำ� หรับสิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยที่ซื้อมาและมีลักษณะเฉพาะ โดยค�ำนวณจากต้นทุนในการได้มา และการด�ำเนินการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถน�ำมาใช้งานได้ตามประสงค์ โดยจะตัดจ�ำหน่ายตลอดอายุประมาณการให้ประโยชน์ ภายในระยะเวลา 3 - 5 ปี
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ซึ่งในปี 2557 ได้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับสวนยางพารา และสวนปาล์ม และได้เปิดเผยการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน หมายเหตุ 4
ต้นทุนที่ใช้ในการพัฒนาและบ�ำรุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น ต้นทุนโดยตรงในการจัดท�ำโปรแกรม 169 คอมพิวเตอร์ที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้ดูแลและมีลักษณะเฉพาะเจาะจง ซึ่งอาจให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่มากกว่าต้นทุนเป็นเวลาเกินกว่าหนึ่งปี จะบันทึกเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ต้นทุนโดยตรงรวมถึงต้นทุนพนักงานที่ท�ำงานในทีมพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ในจ�ำนวนเงินที่เหมาะสม 3.13 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่าระยะยาว หรือจากการเพิ่มมูลค่าของสินทรัพย์ หรือทั้งสองอย่าง และไม่ได้มีไว้เพื่อ ใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทในกลุ่มบริษัท สินทรัพย์ดังกล่าวถูกจัดประเภทเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน รวมถึงอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่ ระหว่างการก่อสร้างเพื่อพัฒนาเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนในอนาคต อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนวัดมูลค่าเริ่มแรกด้วยราคาทุนซึ่งรวมถึงต้นทุนในการท�ำรายการ และวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้เริ่มแรกด้วย มูลค่ายุติธรรมซึ่งประเมินโดยผู้ประเมินอิสระ การปรับมูลค่าของอสังหาริมทรัพย์ให้เป็นมูลค่ายุติธรรมจะถูกรับรู้เป็นก�ำไรขาดทุน ต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลังจะบันทึกรวมในมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ก็ต่อเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากลุ่มบริษัทจะได้รับประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากต้นทุนนั้น และสามารถวัดราคามูลค่าต้นทุนได้อย่างน่าเชื่อถือ ต้นทุนในการซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาจะรับรู้เป็น ค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.14 การด้อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์ทมี่ กี ารตัดจ�ำหน่ายจะมีการทบทวนการด้อยค่า เมือ่ มีเหตุการณ์หรือสถานการณ์บง่ ชีว้ า่ ราคาตามบัญชีอาจต�ำ่ กว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรูเ้ มือ่ ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สงู กว่ามูลค่าสุทธิทคี่ าดว่าจะได้รบั คืน ซึง่ หมายถึงจ�ำนวนทีส่ งู กว่าระหว่างมูลค่า ยุตธิ รรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์จะถูกจัดรวมเป็นหน่วยทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีส่ ามารถแยกออกมาได้ เพือ่ วัตถุประสงค์ของการ ประเมินการด้อยค่า สินทรัพย์ทไี่ ม่ใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงินซึง่ รับรูร้ ายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมินความเป็นไปได้ทจี่ ะกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน 3.15 เครื่องมือทางการเงิน
รายงานประจ�ำปี 2557
3.15.1 การประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน
170
มูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินในตลาดซือ้ ขายคล่อง (เช่น ซือ้ ขายแลกเปลีย่ นในตลาดซือ้ ขายคล่องและซือ้ ขายกันโดยตรง ของตราสารและอนุพันธ์ทางการเงิน) ก�ำหนดมูลค่าโดยขึ้นอยู่กับราคาตลาดที่มีการเปิดเผย ณ วันที่ในงบแสดงฐานะทางการเงิน ราคาตลาดของสินทรัพย์ทางการเงินที่มีการเปิดเผย คือราคาเสนอซื้อปัจจุบัน ราคาตลาดของหนี้สินทางการเงินที่มีการเปิดเผย อย่างเหมาะสม คือ ราคาเสนอขายปัจจุบัน มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ไม่มีการซื้อขายในตลาดซื้อขายคล่อง จะถูกก�ำหนดโดยใช้การประเมินราคา กลุ่มบริษัท และบริษัทใช้หลากหลายวิธีการในการประเมินมูลค่ายุติธรรม โดยใช้สมมติฐานซึ่งขึ้นอยู่กับเงื่อนไขทางการตลาดที่มีอยู่ณ วันที่ ในงบแสดงฐานะทางการเงิน ในการประมาณมูลค่ายุติธรรม ควรใช้ราคาตลาดที่มีการเปิดเผย หรืออ้างอิงราคาตลาดในปัจจุบัน ของเครื่องมือทางการเงินอื่นที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน วิธีการประเมินราคา เช่น การน�ำการวิเคราะห์กระแสเงินสดคิดลดมา ประยุกต์ใช้ สามารถใช้ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินได้ด้วย มูลค่ายุติธรรมโดยประมาณของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าโดยใช้ราคาทุนตัดจ� ำหน่ายมีมูลค่าใกล้เคียงกับ มูลค่าตามบัญชี 3.15.2 ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน ตราสารอนุพันธ์ทางการเงินประกอบด้วย สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายเงินตราต่างประเทศ สัญญาอัตราแลกเปลีย่ นล่วงหน้า สัญญาซือ้ ขายยางพาราในตลาดล่วงหน้า และสัญญาซือ้ ขายยางพาราล่วงหน้าทีม่ กี ารส่งมอบสินค้า ตราสารอนุพันธ์ทางการเงินรับรู้มูลค่าเมื่อเริ่มแรกโดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ทำ� สัญญาอนุพันธ์ทางการเงิน และวัดมูลค่าภาย หลังโดยใช้มูลค่ายุติธรรม โดยรับรู้กำ� ไรและขาดทุนในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ มูลค่ายุติธรรม ประเมินโดยใช้ราคาตลาดที่มีการ เปิดเผย ณ วันที่ในงบแสดงฐานะทางการเงิน ตราสารอนุพนั ธ์ทางการเงินแสดงในงบการเงินโดยใช้เกณฑ์สทุ ธิซงึ่ สามารถหักกลบลบกันได้ตามกฎหมาย ตราสารอนุพนั ธ์ทางการ เงินบันทึกเป็นสินทรัพย์เมื่อมูลค่ายุติธรรมเป็นบวก และบันทึกเป็นหนี้สินเมื่อมูลค่ายุติธรรมเป็นลบ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.16 เงินกู้ยืม เงินกู้ยืมประกอบด้วยเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ เงินกู้ยืมรับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ได้รับหักด้วยต้นทุน การจัดท�ำรายการที่เกิดขึ้น ในเวลาต่อมา เงินกู้ยืมวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยวิธีราคาทุนตัดจ�ำหน่ายตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ผลต่าง ระหว่างสิ่งตอบแทน (สุทธิจากต้นทุนการจัดท�ำรายการที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลค่าที่จ่ายคืนเพื่อช�ำระหนี้นั้นจะรับรู้เป็นก�ำไรขาดทุนตลอด ช่วงเวลาการกู้ยืม
เงินกูย้ มื จัดประเภทเป็นหนีส้ นิ หมุนเวียนเมือ่ กลุม่ บริษทั ไม่มสี ทิ ธิอนั ปราศจากเงือ่ นไขให้เลือ่ นช�ำระหนีอ้ อกไปอีกเป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่า12 เดือน นับจากวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน 3.17 สัญญาเช่าระยะยาว - กรณีที่กลุ่มบริษัทและบริษัทเป็นผู้เช่า สัญญาระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์ซึ่งผู้ให้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเป็นส่วนใหญ่ สัญญาเช่านั้นถือเป็น สัญญาเช่าด�ำเนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดังกล่าว (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจากผู้ให้เช่า) จะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน โดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ซึ่งผู้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมดถือเป็นสัญญาเช่า การเงิน ซึง่ จะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทเี่ ช่า หรือมูลค่าปัจจุบนั สุทธิของจ�ำนวนเงินทีต่ อ้ งจ่ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่มูลค่าใดจะต�ำ่ กว่า จ�ำนวนเงินทีต่ อ้ งจ่ายดังกล่าวจะปันส่วนระหว่างหนีส้ นิ และค่าใช้จา่ ยทางการเงินเพือ่ ให้ได้อตั ราดอกเบีย้ คงทีต่ อ่ หนีส้ นิ คงค้างอยูโ่ ดยพิจารณา แยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในก�ำไรหรือ ขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่าเพือ่ ท�ำให้อตั ราดอกเบีย้ แต่ละงวดเป็นอัตราคงทีส่ ำ� หรับยอดคงเหลือของหนีส้ นิ ทรัพย์ทเี่ หลืออยู่ สินทรัพย์ทไี่ ด้ มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสือ่ มราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ทเี่ ช่าหรืออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ค่าธรรมเนียมที่จ่ายไปเพื่อให้ได้เงินกู้มาจะรับรู้เป็นต้นทุนการจัดท�ำรายการเงินกู้ในกรณีที่มีความเป็นไปได้ที่จะใช้วงเงินกู้บางส่วนหรือ ทั้งหมด ในกรณีนี้ค่าธรรมเนียมจะรอการรับรู้จนกระทั่งมีการถอนเงิน หากไม่มีหลักฐานที่มีความเป็นไปได้ที่จะใช้วงเงินบางส่วนหรือทั้งหมด ค่าธรรมเนียมจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าส�ำหรับการให้บริการสภาพคล่องและจะตัดจ�ำหน่ายตามระยะเวลาของวงเงินกู้ที่เกี่ยวข้อง
171
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.18 ภาษีเงินได้ส�ำหรับงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ภาษีเงินได้ส�ำหรับงวดประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้จะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ยกเว้น ส่วนที่รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือรับรู้โดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น ในกรณีนี้ ภาษีเงินได้ต้องรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือ โดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นตามล�ำดับ
รายงานประจ�ำปี 2557
ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันค�ำนวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรือ ที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายใน สิ้นรอบระยะเวลาที่รายงานในประเทศที่บริษัทและบริษัทย่อยต้องด�ำเนินงานอยู่และเกิดรายได้เพื่อเสียภาษี ผู้บริหารจะประเมินสถานะของ การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเป็นงวดๆ โดยค�ำนึงถึงสถานการณ์ที่สามารถน�ำกฎหมายภาษี ไปปฏิบัติซึ่งขึ้นอยู่กับการตีความ และจะตั้ง ประมาณการค่าใช้จ่ายภาษี หากคาดว่าจะต้องจ่ายช�ำระภาษีแก่หน่วยงานจัดเก็บ
172
ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรับรู้ตามวิธีหนี้สิน เมื่อเกิดผลต่างชั่วคราวระหว่างฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สิน และราคาตามบัญชีที่แสดงอยู่ ในงบการเงิน อย่างไรก็ตาม กลุม่ บริษทั จะไม่รบั รูภ้ าษีเงินได้รอการตัดบัญชีทเี่ กิดจากการรับรูเ้ ริม่ แรกของรายการสินทรัพย์หรือรายการหนีส้ นิ ที่เกิดจากรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจ และ ณ วันที่เกิดรายการ รายการนั้นไม่มีผลกระทบต่อก�ำไรทางบัญชีและก�ำไร(ขาดทุน)ทางภาษี ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชีค�ำนวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษีอากร) ที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรือที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายใน สิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน และคาดว่าอัตราภาษีดังกล่าวจะน�ำไปใช้เมื่อสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องได้รับประโยชน์ หรือหนี้ สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีได้มีการจ่ายช�ำระ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะรับรูห้ ากมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ กลุม่ บริษทั จะมีกำ� ไรทางภาษีเพียงพอทีจ่ ะน�ำจ�ำนวนผลต่างชัว่ คราว นัน้ มาใช้ประโยชน์ กลุม่ บริษทั ได้ตงั้ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีโดยพิจารณาจากผลต่างชัว่ คราวของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม และส่วนได้เสียในกิจการ ร่วมค้าทีต่ อ้ งเสียภาษีเว้นแต่กลุม่ บริษทั สามารถควบคุมจังหวะเวลาของการกลับรายการผลต่างชัว่ คราว และการกลับรายการผลต่างชัว่ คราว มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะไม่เกิดขึ้นได้ภายในระยะเวลาที่คาดการณ์ได้ในอนาคต สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะแสดงหักกลบกันก็ตอ่ เมือ่ กิจการมีสทิ ธิตามกฎหมายทีจ่ ะน�ำสินทรัพย์ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั มาหักกลบกับหนีส้ นิ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั และทัง้ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอ การตัดบัญชีเกีย่ วข้องกับภาษีเงินได้ทปี่ ระเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันโดยการเรียกเก็บเป็นหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วย ภาษีต่างกันซึ่งตั้งใจจะจ่ายหนี้สินและสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันด้วยยอดสุทธิ 3.19 ผลประโยชน์พนักงาน (ก) โครงการสมทบเงินที่ก�ำหนดไว้ โครงการสมทบเงินที่กำ� หนดไว้ คือโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานที่บางบริษัทในกลุ่มจ่ายเงินสมทบในจ�ำนวนที่แน่นอนให้แก่ กิจการที่แยกต่างหาก ตามข้อตกลงทางกฎหมาย หรือตามสัญญา หรือโดยสมัครใจ หลังจากที่บางบริษัทในกลุ่มได้จ่ายเงินสมทบ ดังกล่าวแล้ว บริษัทเหล่านั้นจะไม่มีภาระผูกพันที่ต้องจ่ายเงินสมทบเพิ่มเติมอีก เงินจ่ายสมทบเข้าโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานจากบริษัทเหล่านั้น บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับ รอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.19 ผลประโยชน์พนักงาน (ต่อ)
กลุม่ บริษทั จัดให้มผี ลประโยชน์พนักงานเมือ่ เกษียณอายุเพือ่ จ่ายให้แก่พนักงานเป็นไปตามกฎหมายแรงงานไทย จ�ำนวนเงินดังกล่าวขึน้ อยูก่ บั ฐานเงินเดือนและจ�ำนวนปีทพี่ นักงานท�ำงานให้กลุม่ บริษทั นับถึงวันทีส่ นิ้ สุดการท�ำงานทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต หนีส้ นิ ผลประโยชน์ พนักงานค�ำนวณโดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (วิธี PROJECTED UNIT CREDIT) ตามเกณฑ์คณิตศาสตร์ประกันภัย (ACTUARIAL TECHNIQUE) โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยอิสระ โดยสม�่ำเสมอเพียงพอที่จะไม่ท�ำให้จ�ำนวนเงินที่รับรู้ในงบการเงิน แตกต่างอย่างมีสาระส�ำคัญจากจ�ำนวนเงินที่ควรจะเป็น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ซึ่งเป็นการประมาณการจากมูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายในอนาคต โดยค�ำนวณบนพื้นฐานของเงินเดือนพนักงาน อัตราการลาออก อายุจนถึงเกษียณ อัตราการตาย อายุงาน และปัจจัยอื่นๆ และค�ำนวณคิดลดโดยใช้อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาลที่มีกำ� หนดเวลาใกล้เคียงกับระยะ เวลาของภาระผูกพันดังกล่าว รายการก�ำไรและรายการขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงข้อสมมติฐานที่ใช้ในการค�ำนวณซึ่งท�ำให้มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินผล ประโยชน์พนักงานเปลี่ยนแปลงไปจะถูกรับรู้ทั้งหมดทันทีในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในงวดที่เกิด 3.20 ประมาณการหนี้สิน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
(ข) ผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ
กลุม่ บริษทั จะบันทึกประมาณการหนีส้ นิ ซึง่ ไม่รวมถึงประมาณการหนีส้ นิ ส�ำหรับผลตอบแทนพนักงาน อันเป็นภาระผูกพันในปัจจุบนั ตามกฎหมาย หรือตามข้อตกลงที่จัดท�ำไว้ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีตซึ่งการช�ำระภาระผูกพันนั้นมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าจะส่ง 173 ผลให้กลุ่มบริษัทต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการที่น่าเชื่อถือของจ�ำนวนที่ต้องจ่ายในกรณีที่กลุ่มบริษัทคาดว่าประมาณ การหนี้สินเป็นรายจ่ายที่จะได้รับคืน เช่น ภายใต้สัญญาประกันภัย กลุ่มบริษัทจะบันทึกเป็นสินทรัพย์แยกต่างหากเมื่อคาดว่าน่าจะได้รับ รายจ่ายนั้นคืนอย่างแน่นอน 3.21 ทุนเรือนหุ้น หุ้นสามัญจัดประเภทไว้เป็นส่วนของผู้ถือหุ้น ต้นทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ เกีย่ วกับการออกหุน้ สามัญใหม่หรือสิทธิในการซือ้ ขายหุน้ ทีจ่ า่ ยออกไป โดยแสดงรายการดังกล่าวด้วยจ�ำนวนเงินสุทธิจากภาษี ไว้เป็นรายการหักในส่วนของผู้ถือหุ้น โดยน�ำไปหักจากสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการออกหุ้น
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 3 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 3.22 การรับรู้รายได้ รายได้ประกอบด้วยมูลค่ายุตธิ รรมทีจ่ ะได้รบั จากการขายสินค้าและบริการซึง่ เกิดขึน้ จากกิจกรรมตามปกติของกลุม่ บริษทั รายได้จะแสดงด้วย จ�ำนวนเงินสุทธิจากภาษีขาย เงินคืนและส่วนลด โดยไม่รวมรายการขายภายในกลุ่มบริษัทส�ำหรับงบการเงินรวม กลุม่ บริษทั รับรูร้ ายได้กต็ อ่ เมือ่ กิจการสามารถวัดมูลค่าของรายได้และต้นทุนทีเ่ กีย่ วข้องได้อย่างน่าเชือ่ ถือ และมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอน ที่กิจการจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตที่เกี่ยวข้องกับรายการค้าดังต่อไปนี้ (ก) ขายสินค้า
รายงานประจ�ำปี 2557
รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เมื่อผู้ซื้อรับโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระส�ำคัญของความเป็นเจ้าของสินค้า และมีความ เชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลในการรับช�ำระหนี้ (ข) ให้บริการ รายได้จากการให้บริการรับรู้ตามขั้นความส�ำเร็จของงาน (ค) ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง เว้นแต่จะมีความไม่แน่นอนในการรับช�ำระ โดยใช้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง 174
(ง) เงินปันผลรับ เงินปันผลรับรับรู้เป็นรายได้เมื่อสิทธิที่จะได้รับเงินปันผลนั้นเกิดขึ้น (จ) รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าเช่ารับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างตามสัญญาเช่าที่เกี่ยวข้อง 3.23 การจ่ายเงินปันผล การจ่ายเงินปันผลจะถูกบันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทได้อนุมัติ การจ่ายเงินปันผล 3.24 ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน ส่วนงานด�ำเนินงานได้ถกู รายงานในลักษณะเดียวกับรายงานภายในทีน่ ำ� เสนอให้ผมู้ อี ำ� นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน ผูม้ อี ำ� นาจตัดสิน ใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานหมายถึงบุคคลทีม่ หี น้าทีใ่ นการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผลการปฏิบตั งิ านของส่วนงานด�ำเนินงาน ซึง่ พิจารณา ว่าคือกรรมการผู้จัดการที่ท�ำการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กลุ่มบริษัทได้มีการปรับงบการเงินย้อนหลังเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับสวนยางพาราและสวนปาล์ม เนื่องจากผู้บริหาร ของกลุม่ บริษทั พิจารณาว่าการใช้วธิ รี าคาทุนในการวัดมูลค่าของสวนยางพาราและสวนปาล์มนัน้ เหมาะสมมากกว่าการใช้วธิ กี ารตีราคาใหม่ เนือ่ งจาก ตัวแปรหลักตัวหนึง่ ทีใ่ ช้ในการค�ำนวณราคาทีต่ ใี หม่ คือ ราคาตลาดของยางพาราและปาล์มนัน้ มีความผันผวนค่อนข้างมาก ท�ำให้ราคาทีต่ ใี หม่ของสวน ยางพาราและสวนปาล์มมีความผันผวน และไม่สะท้อนมูลค่าของสวนยางพาราและสวนปาล์มของกลุ่มกิจการ จากข้อเท็จจริงที่กล่าวมา กลุ่มบริษัท จึงเปลี่ยนแปลงวิธีวัดมูลค่าของสวนยางพาราและสวนปาล์มจากการใช้วิธีการตีราคาใหม่เป็นวิธีราคาทุน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับ ที่ 8 เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด กลุ่มบริษัทจึงได้น�ำผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ไปปรับย้อนหลังต่องบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 และงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ที่นำ� มาเปรียบเทียบดังนี้ งบการเงินรวม
งบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สวนยางพาราและสวนปาล์ม - สุทธิ หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิ จากค่าเสื่อมราคาสะสม ก�ำไรสะสม งบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สวนยางพาราและสวนปาล์ม - สุทธิ หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิ จากค่าเสื่อมราคาสะสม ก�ำไรสะสม งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ต้นทุนขายและการให้บริการ ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิจากภาษี ภาษีเงินได้ ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
ตามที่ รายงานไว้เดิม
ปรับปรุงใหม่
ตามที่ ปรับปรุงใหม่
พันบาท
พันบาท
พันบาท
12,925,858 -
(631,018) 547,657
12,294,840 547,657
68,256
(8,127)
60,129
1,206,287 9,430,734
(76,058) 825
1,130,229 9,431,559
10,034,350 -
(367,663) 274,922
9,666,687 274,922
171,301
(15,084)
156,217
1,176,401 8,224,093
(78,410) 753
1,097,991 8,224,846
(86,996,064) 59,471 (148,786)
9,379 (6,166) (791)
(86,986,685) 53,305 (149,577)
1.42
-
1.42
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
4
175
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 4
การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (ต่อ)
รายงานประจ�ำปี 2557
งบการเงินเฉพาะบริษัท
176
งบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สวนยางพาราและสวนปาล์ม - สุทธิ หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิ จากค่าเสื่อมราคาสะสม ก�ำไรสะสม งบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สวนยางพาราและสวนปาล์ม - สุทธิ หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิ จากค่าเสื่อมราคาสะสม ก�ำไรสะสม งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ต้นทุนขายและการให้บริการ ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิจากภาษี ภาษีเงินได้ ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
ตามที่ รายงานไว้เดิม
ปรับปรุงใหม่
ตามที่ ปรับปรุงใหม่
พันบาท
พันบาท
พันบาท
4,980,762 -
(72,323) 4,561
4,908,439 4,561
21,097
(5,008)
16,089
769,785 3,502,945
(63,579) 825
706,206 3,503,770
3,657,333 -
(80,843) 5,041
3,576,490 5,041
88,429
(11,696)
76,733
723,419 3,203,164
(64,858) 753
658,561 3,203,917
(40,447,939) 68,775 (14,086)
8,039 (6,166) (523)
(40,439,900) 62,609 (14,609)
0.72
-
0.72
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 5 ประมาณการทางการบัญชีที่สำ� คัญ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ การประมาณการ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ ได้มีการทบทวนอย่างต่อเนื่องและอยู่บนพื้นฐานของประสบการณ์ในอดีตและปัจจัยอื่นๆ ซึ่ง รวมถึงการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคตที่เชื่อว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ขณะนั้น 5.1 ประมาณการการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน สินทรัพย์จะถูกทบทวนการด้อยค่า เมื่อมีเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ที่บ่งชี้ว่าราคาตามบัญชีอาจสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่า จะได้รับคืน การประเมินราคาตามบัญชีมักจะก�ำหนดให้มีการประมาณการและข้อสมมติฐานต่างๆ เช่น อัตราคิดลด อัตราแลกเปลี่ยน ราคา สินค้า ความต้องการเงินทุนในอนาคต และผลการด�ำเนินงานในอนาคต รายการส�ำคัญที่ได้รับผลกระทบ คือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซึ่ง ถูกเปิดเผยในหมายเหตุข้อ 16
กลุ่มบริษัทมีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้ในหลายประเทศ ในการประมาณหนี้สินภาษีเงินได้ผู้บริหารต้องใช้ดุลยพินิจอย่างเป็นสาระส�ำคัญ เนื่องจากมีรายการและการค�ำนวณที่เกิดขึ้นจากการด�ำเนินธุรกิจตามปกติของกลุ่มบริษัทที่ข้อก�ำหนดทางภาษียังมีความไม่แน่นอน นอกจาก นี้สินทรัพย์ภาษีเงินได้และหนี้สินภาษีเงินได้จะรับรู้จากผลแตกต่างชั่วคราวระหว่างฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สิน กับมูลค่าคงเหลือตาม บัญชี ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน ผู้บริหารต้องใช้ดุลยพินิจอย่างมากในการพิจารณาว่ากลุ่มบริษัทจะมีความเป็นไปได้อย่างสูงที่จะมี กําไรทางภาษีในอนาคตเพื่อใช้กลับรายการสินทรัพย์ภาษีเงินได้ กลุ่มบริษัทใช้ข้อสมมติฐานในการประมาณการกําไรทางภาษีในอนาคต และ ช่วงเวลาทีจ่ ะใช้ผลแตกต่างชัว่ คราวนัน้ การเปลีย่ นแปลงข้อสมมติฐานดังกล่าวในแต่ละปีอาจทําให้มผี ลกระทบอย่างมีสาระสาํ คัญต่อสถานะ การเงินและผลการดําเนินงาน 5.3 ผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ มูลค่าปัจจุบันของประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงานเมื่อเกษียณอายุขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ซึ่งถูกค�ำนวณตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยโดยการใช้ข้อสมมติฐานจ�ำนวนมาก ข้อสมมติฐานที่ใช้ในการคิดต้นทุน(รายได้)สุทธิส�ำหรับประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของ พนักงานเมื่อเกษียณอายุ รวมถึงอัตราคิดลด ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงข้อสมมติฐานที่ใช้ในการค�ำนวณดังกล่าว จะมีผลกระทบต่อมูลค่าตาม บัญชีของประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงานเมื่อเกษียณอายุ กลุ่มบริษัทได้ใช้อัตราคิดลด ณ สิ้นปีของแต่ละปีที่เหมาะสม ซึ่งอัตราดอกเบี้ยนี้จะถูกใช้ในการค�ำนวณมูลค่าปัจจุบันของประมาณการ กระแสเงินสดในอนาคตที่คาดว่าจะต้องจ่ายช�ำระประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงานเมื่อเกษียณอายุ กลุ่มบริษัทพิจารณาว่าอัตรา คิดลดที่เหมาะสมคือ อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้ภาคเอกชนที่ได้รับการจัดอันดับอยู่ในระดับดีซึ่งมีสกุลเงินเดียวกันกับผลประโยชน์ที่จะถูกจ่าย ออกไปและมีอายุ เงือ่ นไขและระยะเวลาใกล้เคียงกับจ�ำนวนประมาณการหนีส้ นิ ผลประโยชน์ของพนักงานเมือ่ เกษียณอายุทเี่ กีย่ วข้อง รายการ ส�ำคัญที่ได้รับผลกระทบ คือ ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงานเมื่อเกษียณอายุและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ซึ่งถูกเปิดเผยใน หมายเหตุข้อ 24 และข้อ 30 ตามล�ำดับ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
5.2 ภาษีเงินได้และภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
177
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน 6.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน กิจกรรมของกลุม่ บริษทั ย่อมมีความเสีย่ งทางการเงินทีห่ ลากหลายซึง่ ได้แก่ ความเสีย่ งด้านการตลาด (รวมถึงความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น เงินตราต่างประเทศ ความเสีย่ งของกระแสเงินสดจากอัตราดอกเบีย้ และราคา) ความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ และความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง แผนการจัดการความเสีย่ งโดยรวมของกลุม่ บริษทั และบริษทั จึงมุง่ เน้นทีค่ วามผันผวนของตลาดการเงินและแสวงหาวิธกี ารลดผลกระทบทีท่ ำ� ให้ เกิดความเสียหายต่อผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทและบริษัท กลุ่มบริษัทใช้เครื่องมืออนุพันธ์ทางการเงินเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่เกิดขึ้น การจัดการความเสี่ยงด�ำเนินงานภายใต้การควบคุมของฝ่ายบริหาร ซึ่งผู้บริหารของกลุ่มบริษัทจะเป็นผู้ระบุ ประเมิน และป้องกันความเสี่ยง ทางการเงินแต่ไม่ได้น�ำการป้องกันความเสี่ยงทางบัญชี (HEDGE ACCOUNTING) มาใช้ (ก) ความเสี่ยงด้านการตลาด
รายงานประจ�ำปี 2557
(1) ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
178
เนื่องจากกลุ่มบริษัทด�ำเนินงานระหว่างประเทศจึงย่อมมีความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศซึ่งเกิดจากสกุลเงิน ที่หลากหลาย โดยมีสกุลเงินต่างประเทศหลักคือดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนนั้นเกิดขึ้นจากการ ด�ำเนินงานของธุรกิจ เงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานในต่างประเทศ และเงินกู้ยืม ผู้บริหารได้ก�ำหนดนโยบายในการจัดการความ เสีย่ งจากเงินตราต่างประเทศต่อสกุลเงินทีใ่ ช้ในการด�ำเนินงาน โดยกิจการในกลุม่ บริษทั ใช้สญ ั ญาอัตราแลกเปลีย่ นล่วงหน้าเพือ่ ป้องกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศทีเ่ กิดจากรายการค้าทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตและเงินกูย้ มื ความเสีย่ ง จากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นเมื่อรายการค้าที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเป็นสกุลเงินที่ไม่ใช่สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัท กลุม่ บริษทั มีเงินลงทุนในหน่วยงานในต่างประเทศซึง่ สินทรัพย์สทุ ธิของหน่วยงานในต่างประเทศนัน้ มีความเสีย่ ง จากการแปลง ค่าเงินตราต่างประเทศ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 6.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) (ก) ความเสี่ยงด้านการตลาด (ต่อ) (1) ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน (ต่อ)
หากค่าเงินบาทมีการเปลีย่ นแปลงไปในอัตราร้อยละ 1 (พ.ศ. 2556 : อัตราร้อยละ 3) เมือ่ เปรียบเทียบกับดอลลาร์สหรัฐอเมริกา และอัตราร้อยละ 7 (พ.ศ. 2556 : อัตราร้อยละ 4) เมื่อเปรียบเทียบกับรูเปียอินโดนีเซีย โดยที่ตัวแปรอื่นทั้งหมดคงที่ ก�ำไร หลังภาษีเงินได้สำ� หรับปีและส่วนของผู้ถือหุ้นจะได้รับผลกระทบดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
ผลกระทบต่อก�ำไรหลังภาษีเงินได้ ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
กลุม่ บริษทั มีเงินลงทุนในหน่วยงานในต่างประเทศซึง่ สินทรัพย์สทุ ธิของหน่วยงานในต่างประเทศนัน้ มีความเสีย่ ง จากการแปลง ค่าเงินตราต่างประเทศ
179
เงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐอเมริกา - อ่อนค่าลง
(7,148)
(88,581)
(7,020)
(86,557)
- แข็งค่าขึ้น
7,148
88,581
7,020
86,557
- อ่อนค่าลง
(28,008)
(38,654)
-
-
- แข็งค่าขึ้น
28,008
38,654
-
-
- อ่อนค่าลง
(19,708)
(101,803)
-
-
- แข็งค่าขึ้น
19,708
101,803
-
-
- อ่อนค่าลง
(95,962)
(56,929)
-
-
- แข็งค่าขึ้น
95,962
56,929
-
-
เงินบาทต่อรูเปียอินโดนีเซีย
ผลกระทบต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ในงบแสดงฐานะการเงิน เงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐอเมริกา
เงินบาทต่อรูเปียอินโดนีเซีย
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 6.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) (ก) ความเสี่ยงด้านการตลาด (ต่อ) (2) ความเสี่ยงด้านราคา กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงด้านราคาสินค้าในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ กลุ่มบริษัทได้มีการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจาก ความผันผวนของราคาโดยการจัดการกระบวนการได้มาของวัตถุดบิ โดยใช้สญ ั ญาซือ้ ขายยางพาราในตลาดล่วงหน้า และสัญญา ซื้อขายยางพาราล่วงหน้าที่มีการส่งมอบสินค้า หากราคาของยางธรรมชาติเพิ่มขึ้นหรือลดลงในอัตราร้อยละ 12 (พ.ศ. 2556 : อัตราร้อยละ 19) โดยที่ตัวแปรอื่นทั้งหมดคงที่ ก�ำไรหลังภาษีส�ำหรับปีจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยประมาณดังนี้
รายงานประจ�ำปี 2557
งบการเงินรวม
180
ก�ำไรขาดทุน
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
353,873
586,385
198,816
338,877
กลุม่ บริษทั ยังมีความเสีย่ งด้านราคาของหลักทรัพย์ประเภททุน เนือ่ งจากกลุม่ บริษทั ถือเงินลงทุนซึง่ ในงบแสดงฐานะการเงินเป็น หลักทรัพย์ประเภทเผือ่ ขาย เงินลงทุนในหลักทรัพย์ประเภททุนของกลุม่ บริษทั บางส่วนเป็นหลักทรัพย์ทซี่ อื้ ขายเป็นการทัว่ ไปใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเป็นการบริหารความเสี่ยงด้านราคาของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ประเภททุน กลุ่มบริษัท ใช้วิธีการบริหารการกระจายตัวของพอร์ทการลงทุน ตารางต่อไปนีส้ รุปผลกระทบจากการเพิม่ ขึน้ หรือลดลงของมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์ประเภททุนในส่วนของเจ้าของของกลุม่ บริษทั การวิเคราะห์นนั้ ขึน้ อยูก่ บั ข้อสมมติฐานทีว่ า่ ราคาต่อหน่วยของเงินลงทุนในหลักทรัพย์จะเพิม่ ขึน้ หรือลดลงในอัตราร้อยละ 7 (พ.ศ. 2556 : อัตราร้อยละ 17) โดยที่ตัวแปรอื่นทั้งหมดคงที่ และตราสารทุนที่ถือไว้เผื่อขายของกลุ่มบริษัทเปลี่ยนแปลงไป ตามความสัมพันธ์ในอดีตตามดัชนี งบการเงินรวม
ส่วนของผู้ถือหุ้น - ก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้น จากเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
3,904
7,196
5,112
8,293
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 6.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) (ก) ความเสี่ยงด้านการตลาด (ต่อ) (3) ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยต่อกระแสเงินสดและมูลค่ายุติธรรม
งบการเงินรวม
ก�ำไรขาดทุน
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
32,199
41,126
18,054
20,013
เงินกู้ยืมซึ่งกู้ด้วยอัตราดอกเบี้ยคงที่จะท�ำให้กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงด้านมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากอัตราดอกเบี้ย อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาดจะไม่มีผลกระทบต่องบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เนื่องจากเงินกู้ยืมรับรู้ตามหลักราคา ทุนตัดจ�ำหน่าย (ข) ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ ความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ เกิดขึน้ จากเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ตราสารอนุพนั ธ์ทางการเงิน เงินฝากธนาคารและสถาบัน การเงิน รวมถึงความเสีย่ งการให้สนิ เชือ่ แก่ลกู ค้าทัง้ ทีเ่ ป็นลูกหนีค้ งค้างและรายการค้าทีไ่ ด้ตกลงกันไว้แล้ว กลุม่ บริษทั ได้ประเมินความ น่าเชื่อถือของธนาคาร สถาบันการเงิน และลูกค้าโดยค�ำนึงถึงฐานะทางการเงิน ประสบการณ์ในอดีต และปัจจัยอื่นๆ การใช้วงเงิน สินเชื่อดังกล่าวจะได้รับการควบคุมอย่างสม�่ำเสมอ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยของกลุ่มบริษัทเกิดขึ้นจากเงินกู้ยืม เงินกู้ยืมซึ่งกู้ด้วยอัตราดอกเบี้ยลอยตัวจะท�ำให้กลุ่มบริษัท มีความเสี่ยงด้านกระแสเงินสดที่เกิดจากอัตราดอกเบี้ย กลุ่มบริษัทได้บริหารจัดการความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยโดยการท�ำ สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย หากอัตราดอกเบี้ยเพิ่ม/ลดในอัตราร้อยละ 0.25 (พ.ศ. 2556 : อัตราร้อยละ 0.25) ก�ำไรหลัง ภาษีสำ� หรับปีจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ดังต่อไปนี้
181
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 6.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) (ค) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง กลุม่ บริษทั ควบคุมดูแลความต้องการด้านสภาพคล่องเพือ่ ให้มนั่ ใจว่ากลุม่ บริษทั จะมีเงินสดเพียงพอต่อความต้องการในการด�ำเนินงาน และในขณะเดียวกันกลุ่มบริษัทจะรักษาระดับวงเงินกู้ยืมที่ยังไม่ได้ใช้ให้มีเหลือเพียงพออยู่ตลอดเวลาเพื่อที่ว่ากลุ่มบริษัทจะได้ไม่ผิด เงื่อนไขของสัญญาเงินกู้ยืมหรือข้อตกลงใดๆ ของวงเงินกู้ยืม ตารางต่อไปนี้แสดงการวิเคราะห์อายุครบก�ำหนดช�ำระของกลุ่มบริษัท โดยนับระยะเวลาคงเหลือจากวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน จนถึงวันที่ครบก�ำหนดช�ำระตามสัญญา ตัวเลขติดลบแสดงถึงกระแสเงินสดที่ถึงก�ำหนดไหลเข้าและตัวเลขด้านบวกแสดงถึงกระแส เงินสดไหลออกตามระยะเวลาที่ถึงก�ำหนด จ�ำนวนเงินดังต่อไปนี้เป็นกระแสเงินสดตามสัญญาที่ไม่ได้ถูกคิดลด
รายงานประจ�ำปี 2557
งบการเงินรวม
182
น้อยกว่า
ระหว่าง
ระหว่าง
มากกว่า
1 ปี
1 ถึง 2 ปี
2 ถึง 5 ปี
5 ปี
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
9,435,733
-
-
-
9,435,733
เจ้าหนี้การค้า
1,490,547
-
-
-
1,490,547
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
743,524
-
-
-
743,524
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
147,279
216,738
1,127,069
2,274,045
3,765,131
-
318,500
1,296,456
-
1,614,956
32,472
26,892
7,625
-
66,989
- สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
997,200
-
-
-
997,200
- สัญญาซื้อยางพาราในตลาดล่วงหน้า
250,635
-
-
-
250,635
- สัญญาขายยางพาราในตลาดล่วงหน้า
(1,675,224)
-
-
-
(1,675,224)
- สัญญาซื้ออัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
129,526
-
-
-
129,526
- สัญญาขายอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
(2,563,759)
-
-
-
(2,563,759)
- สัญญาซื้อยางพาราล่วงหน้าที่มีการส่งมอบสินค้า
436,739
-
-
-
436,739
- สัญญาขายยางพาราล่วงหน้าทีม่ กี ารส่งมอบสินค้า
(603,208)
-
-
-
(603,208)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หุ้นกู้ หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 6.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) (ค) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (ต่อ) งบการเงินรวม น้อยกว่า
ระหว่าง
ระหว่าง
มากกว่า
1 ปี
1 ถึง 2 ปี
2 ถึง 5 ปี
5 ปี
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
14,255,810
-
-
- 14,255,810
2,751,399
-
-
-
2,751,399
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
597,027
-
-
-
597,027
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
121,051
200,565
1,503,141
891,930
2,716,687
1,670,400
-
1,680,106
-
3,350,506
19,683
16,519
13,584
-
49,786
- สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
992,680
-
-
-
992,680
- สัญญาสิทธิเลือกขายเงินตราต่างประเทศ
(846,591)
-
-
-
(846,591)
- สัญญาซื้อยางพาราในตลาดล่วงหน้า
92,163
-
-
-
92,163
- สัญญาขายยางพาราในตลาดล่วงหน้า
(2,086,159)
-
-
-
(2,086,159)
- สัญญาซื้ออัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
7,508,459
-
-
-
7,508,459
- สัญญาขายอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
(7,739,537)
-
-
-
(7,739,537)
- สัญญาซื้อยางพาราล่วงหน้าที่มีการส่งมอบสินค้า
352,821
-
-
-
352,821
- สัญญาขายยางพาราล่วงหน้าทีม่ กี ารส่งมอบสินค้า
(536,869)
-
-
-
(536,869)
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า
หุ้นกู้ หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
183
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 6.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) (ค) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท น้อยกว่า
ระหว่าง
ระหว่าง
มากกว่า
1 ปี
1 ถึง 2 ปี
2 ถึง 5 ปี
5 ปี
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
4,267,112
-
-
-
4,267,112
เจ้าหนี้การค้า
979,827
-
-
-
979,827
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
413,540
-
-
-
413,540
52,316
215,220
1,124,722
2,274,045
3,666,303
-
318,500
1,296,456
-
1,614,956
3,878
4,211
-
-
8,089
- สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
997,200
-
-
-
997,200
- สัญญาซื้อยางพาราในตลาดล่วงหน้า
250,635
-
-
-
250,635
- สัญญาขายยางพาราในตลาดล่วงหน้า
(1,415,640)
-
-
-
(1,415,640)
- สัญญาขายอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
(2,094,414)
-
-
-
(2,094,414)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
รายงานประจ�ำปี 2557
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
184
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 6.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) (ค) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท น้อยกว่า
ระหว่าง
ระหว่าง
มากกว่า
1 ปี
1 ถึง 2 ปี
2 ถึง 5 ปี
5 ปี
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
5,994,424
-
-
-
5,994,424
เจ้าหนี้การค้า
1,537,132
-
-
-
1,537,132
290,916
-
-
-
290,916
-
109,288
1,495,513
891,930
2,496,731
1,670,400
-
1,680,106
-
3,350,506
4,716
-
5,496
-
10,212
- สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
992,680
-
-
-
992,680
- สัญญาสิทธิเลือกขายเงินตราต่างประเทศ
(846,591)
-
-
-
(846,591)
- สัญญาขายยางพาราในตลาดล่วงหน้า
(1,780,781)
-
-
-
(1,780,781)
- สัญญาซื้ออัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
5,501,226
-
-
-
5,501,226
- สัญญาขายอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
(5,557,489)
-
-
-
(5,557,489)
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
185
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 6.2 การจัดการความเสี่ยงในส่วนของทุน วัตถุประสงค์ของกลุ่มบริษัทในการบริหารทุนนั้น เพื่อด�ำรงไว้ซึ่งความสามารถในการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องของกลุ่มบริษัทเพื่อสร้างผล ตอบแทนต่อผูถ้ อื หุน้ และเป็นประโยชน์ตอ่ ผูท้ มี่ สี ว่ นได้เสียอืน่ และเพือ่ ด�ำรงไว้ซงึ่ โครงสร้างของทุนทีเ่ หมาะสมเพือ่ ลดต้นทุนทางการเงินของทุน ในการด�ำรงไว้หรือปรับเปลี่ยนโครงสร้างของทุนนั้นกลุ่มบริษัทอาจปรับเปลี่ยนจ�ำนวนเงินปันผลจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น คืนทุนให้กับผู้ถือหุ้น ออก หุ้นใหม่หรือขายสินทรัพย์เพื่อลดหนี้สิน
รายงานประจ�ำปี 2557
ฝ่ายบริหารถือว่าส่วนของผู้ถือหุ้นทั้งหมดเป็นเงินทุนของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทควบคุมดูแลส่วนทุนโดยใช้อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น อัตราส่วนนี้คำ� นวณได้โดยใช้หนี้สินสุทธิหารด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นรวม หนี้สินสุทธิถูกค�ำนวณโดยใช้หนี้สินทั้งหมดตามที่แสดงในงบ แสดงฐานะการเงินรวมหักด้วยเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมได้แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินของทั้งงบการ เงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท
186
อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 แสดงได้ดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
หนี้สินรวม
17,198,662
24,245,674
10,432,639
13,469,230
หัก เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
(2,131,619)
(1,892,729)
(351,506)
(558,714)
หนี้สินสุทธิ
15,067,043
22,352,945
10,081,133
12,910,516
ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม
20,591,868
19,991,068
14,794,579
14,177,061
0.73
1.12
0.68
0.91
อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นรวม 6.3 การประมาณมูลค่ายุติธรรม
สินทรัพย์และหนี้สินซึ่งวัดมูลค่าตามมูลค่ายุติธรรม จะถูกจัดประเภทตามระดับของล�ำดับขั้นการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังต่อไปนี้ ระดับที่ 1 : มูลค่ายุติธรรมมาจากราคาอ้างอิงในตลาดซื้อขายคล่องส�ำหรับสินทรัพย์ทางการเงิน ระดับที่ 2 : มูลค่ายุตธิ รรมใช้ขอ้ มูลทีน่ อกเหนือจากราคาอ้างอิงในตลาดซือ้ ขายคล่องทีถ่ กู รวมไว้ในระดับ 1 ซึง่ สามารถสังเกตการณ์ได้สำ� หรับ สินทรัพย์และหนี้สินโดยทางตรง เช่น ราคา หรือโดยทางอ้อม ระดับที่ 3 : ข้อมูลส�ำหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับข้อมูลในตลาดที่สามารถสังเกตการณ์ได้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 6.3 การประมาณมูลค่ายุติธรรม (ต่อ) ตารางด้านล่างนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินของกลุ่มบริษัทที่ถูกวัดมูลค่าตามมูลค่ายุติธรรมและแสดงล�ำดับขั้นของการวัดมูลค่ายุติธรรม งบการเงินรวม ระดับ 1
ระดับ 2
ระดับ 3
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
53,245
-
-
53,245
82,545
7,222
-
89,767
70,094
142,733
-
212,827
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 - หลักทรัพย์ประเภททุน สินทรัพย์ทางการเงินประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมโดยผลต่างรับรู้ผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน - ตราสารอนุพันธ์เพื่อค้า หนี้สินทางการเงินประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมโดยผลต่างรับรู้ผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน - ตราสารอนุพันธ์เพื่อค้า
187
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - หลักทรัพย์ประเภททุน
42,012
-
-
42,012
48,573
27,401
-
75,974
163,393
369,458
-
532,851
สินทรัพย์ทางการเงินประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมโดยผลต่างรับรู้ผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน - ตราสารอนุพันธ์เพื่อค้า หนี้สินทางการเงินประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมโดยผลต่างรับรู้ผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน - ตราสารอนุพันธ์เพื่อค้า
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 6.3 การประมาณมูลค่ายุติธรรม (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท ระดับ 1
ระดับ 2
ระดับ 3
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
52,239
-
-
52,239
33,731
-
-
33,731
27,664
128,156
-
155,820
41,094
-
-
41,094
34,025
26,486
-
60,511
34,896
398,120
-
433,016
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - หลักทรัพย์ประเภททุน สินทรัพย์ทางการเงินประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมโดยผลต่างรับรู้ผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน รายงานประจ�ำปี 2557
- ตราสารอนุพันธ์เพื่อค้า
188
หนี้สินทางการเงินประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมโดยผลต่างรับรู้ผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน - ตราสารอนุพันธ์เพื่อค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - หลักทรัพย์ประเภททุน สินทรัพย์ทางการเงินประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมโดยผลต่างรับรู้ผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน - ตราสารอนุพันธ์เพื่อค้า หนี้สินทางการเงินประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมโดยผลต่างรับรู้ผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน - ตราสารอนุพันธ์เพื่อค้า
มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ซื้อขายกันในตลาดซื้อขายคล่อง จะใช้ราคาที่ซื้อขายในตลาด ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงินตลาดจะ ถือได้วา่ ซือ้ ขายคล่องหากราคาซือ้ ขายในตลาดนัน้ เกิดจากความสมัครใจของทัง้ ผูซ้ อื้ และผูข้ ายและสามารถหาราคาได้อยูเ่ สมอ เครือ่ งมือทางการเงิน ที่ซื้อขายในตลาดซื้อขายคล่องเหล่านี้จะถูกจัดอยู่ในระดับ 1 ซึ่งเครื่องมือทางการเงินที่รวมอยู่ในระดับ 1 ได้แก่หลักทรัพย์ประเภททุนที่จัดประเภท เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ไม่ได้ซื้อขายกันในตลาดซื้อขายคล่อง (สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย สัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือ อนุพนั ธ์สทิ ธิเลือกซือ้ ขาย) จะถูกก�ำหนดโดยมูลค่ายุตธิ รรมจากสถาบันการเงินและการใช้เทคนิคการประเมินมูลค่า เทคนิคการประเมินมูลค่าเหล่านี้ จะใช้ขอ้ มูลทีส่ ามารถหาได้ในตลาดและพยายามใช้ขอ้ มูลทีม่ าจากการประมาณการของกลุม่ บริษทั เองให้ทนี่ อ้ ยทีส่ ดุ หากข้อมูลน�ำเข้าทีส่ ำ� คัญทัง้ หมด ที่จ�ำเป็นต่อการวัดมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินสามารถหาได้และมูลค่ายุติธรรมสามารถหาได้จากสถาบันการเงิน เครื่องมือทางการเงิน เหล่านั้นจะถูกจัดอยู่ในระดับ 2
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 6 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 6.3 การประมาณมูลค่ายุติธรรม (ต่อ) หากข้อมูลที่ใช้ในการค�ำนวณมูลค่ายุติธรรมที่ส�ำคัญหนึ่งรายการหรือมากกว่าหนึ่งรายการไม่สามารถอ้างอิงกับข้อมูลที่สังเกตการณ์ได้จาก ตลาด เครื่องมือทางการเงินเหล่านี้จะถูกรวมอยู่ในระดับ 3
7 ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน ผูม้ อี ำ� นาจในการตัดสินใจด้านการด�ำเนินงาน คือ กรรมการผูจ้ ดั การซึง่ มีหน้าทีใ่ นการสอบทานรายงานของกลุม่ บริษทั อย่างสม�่ำเสมอเพือ่ ประเมินผล การด�ำเนินงานและเพือ่ การจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม กรรมการผูจ้ ดั การประเมินผลการด�ำเนินงานโดยพิจารณาจากผลก�ำไรแยกตามส่วนงาน ซึ่งใช้มาตรฐานในการวัดผลการด�ำเนินงาน เช่นเดียวกับการจัดท�ำงบการเงินรวม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
เทคนิคการประเมินมูลค่าที่มักถูกน�ำมาใช้ในการประเมินมูลค่าของเครื่องมือทางการเงิน แสดงโดยสังเขปได้ดังนี้ • ราคาอ้างอิงในตลาด • ราคาของตราสารอนุพันธ์ที่ก�ำหนดโดยสถาบันการเงิน • มูลค่ายุตธิ รรมของสัญญาอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าทีถ่ กู ก�ำหนดโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ นล่วงหน้า ณ วันทีใ่ นงบแสดง ฐานะการเงินซึ่งถูกคิดลดกลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน • มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่มีการส่งมอบก�ำหนดโดยใช้ราคาอ้างอิงในตลาด ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน
การด�ำเนินงานแยกตามส่วนงาน เป็นองค์ประกอบหนึ่งของกลุ่มบริษัทซึ่งงบการเงินในแต่ละบริษัท ได้มีการประเมินโดยกรรมการผู้จัดการอย่าง สม�่ำเสมอ 189 การรายงานข้อมูลตามส่วนงาน จ�ำแนกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ (1) ผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ : ส่วนงานนี้เกี่ยวข้องกับการผลิต การขาย และการจ�ำหน่าย ยางแผ่นรมควัน น�ำ้ ยางข้น และยางแท่งในส่วน งานนี้รวมถึงการผลิต และการขายถุงมือที่ใช้ในทางการแพทย์ประเภทผสมแป้งและประเภทไม่ผสมแป้ง ราวบันไดเลื่อน แม่พิมพ์ยาง และ สายไฮโดรลิค (2) ธุรกิจอืน่ : ธุรกิจอืน่ ประกอบด้วย การบริการขนส่ง การวิจยั และพัฒนาเครือ่ งจักรรวมทัง้ กระบวนการผลิต และการบริการทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ การบริการตามส่วนงานนี้ส่วนใหญ่เป็นการให้บริการภายในกลุ่มบริษัท และมีการให้บริการกับบุคคลภายนอกเป็นส่วนน้อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ธุรกิจตามส่วนงานทั้ง 2 ประเภทของกลุ่มบริษัทได้ด�ำเนินงานใน 7 ภูมิภาคหลัก (พ.ศ. 2556 : 5 ภูมิภาคหลัก) การจัดประเภทรายได้ในแต่ละภูมิภาคตามหลักเกณฑ์เดียวกัน คือ แบ่งตามภูมิภาคที่ยอดขายนั้นเกิดขึ้น
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 7 ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน (ต่อ) งบการเงินจ�ำแนกตามส่วนงานทางภูมิศาสตร์สำ� หรับงบการเงินรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม
รายงานประจ�ำปี 2557
ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ
190
ไทย
อินโดนีเซีย
พันบาท
พันบาท
สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา
ธุรกิจอื่น จีน
เวียดนาม
เมียนมาร์
ไทย
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
รายได้จากส่วนงาน ธุรกิจ
54,421,494
9,502,265 18,879,743
3,177,429
805,842
-
-
รายได้ระหว่าง ส่วนงานธุรกิจ
(4,872,882) (6,781,688) (1,112,070)
(24,616)
-
-
- (1,109,409) (13,900,665)
รายได้จากลูกค้า ภายนอก
49,548,612
3,152,813
805,842
-
-
ค่าเสื่อมราคาและ ค่าตัดจ�ำหน่าย
(616,089)
(192,200)
(11,249)
(1,762)
(3,048)
-
(14)
(53,114)
(877,476)
รายได้ทางการเงิน
44,339
2,182
416
-
1,449
5
-
1,311
49,702
ต้นทุนทางการเงิน
(431,114)
(176,761)
(15,558)
(36,555)
-
-
-
(3,398)
(663,386)
ส่วนแบ่งก�ำไรจาก เงินลงทุนในบริษัท ร่วม และกิจการ ร่วมค้า
535,089
-
-
-
-
-
-
-
535,089
2,070,534
(178,513)
307,837
(79,847)
59,843
(1,793)
(531)
91,185
2,268,715
(8,008)
27,337
(34,500)
33,630
(15,119)
-
-
(43,472)
(40,132)
2,062,526
(151,176)
273,337
(46,217)
44,724
(1,793)
(531)
47,713
2,228,583
ก�ำไร(ขาดทุน)ก่อน ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ก�ำไร(ขาดทุน) ส�ำหรับปี
2,720,577 17,767,673
2,643,767 89,430,540
1,534,358 75,529,875
การตัดรายการ ระหว่างกัน
(1,192,346)
รวมก�ำไรส�ำหรับปี
1,036,237
สินทรัพย์รวม
31,148,828
4,432,527
3,565,800
1,562,899
471,148
32,553
31,181
7,562,423 48,807,360
การตัดรายการ ระหว่างกัน
(11,016,830)
สินทรัพย์รวม
37,790,530
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 7 ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน (ต่อ) งบการเงินจ�ำแนกตามส่วนงานทางภูมิศาสตร์ส�ำหรับงบการเงินรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ อินโดนีเซีย
พันบาท
พันบาท
สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา
จีน
ไทย
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
รายได้จากส่วนงานธุรกิจ
65,457,392 12,905,031 25,988,245
4,582,517
842,805
รายได้ระหว่างส่วนงานธุรกิจ
(7,964,598) (9,838,658) (1,387,283)
(127)
รายได้จากลูกค้าภายนอก
57,492,794
ค่าเสื่อมราคาและ ค่าตัดจ�ำหน่าย
3,066,373 24,600,962
2,625,538 112,401,528
- (1,025,681) (20,216,347)
4,582,390
842,805
1,599,857 92,185,181
(517,704)
(162,478)
(9,168)
(1,555)
(2,560)
(37,547)
(731,012)
รายได้ทางการเงิน
40,968
2,338
160
-
1,103
1,491
46,060
ต้นทุนทางการเงิน
(410,902)
(600,896)
(25,147)
(36,900)
-
495,575
-
-
-
-
-
495,575
2,125,435
94,026
338,609
10,737
44,154
173,519
2,786,480
(16,877)
(35,436)
(44,467)
5,220
(14,267)
(43,749)
(149,576)
2,108,558
58,590
294,142
15,957
29,887
129,770
2,636,904
ส่วนแบ่งก�ำไรจาก เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุน ในบริษัทร่วม และกิจการร่วมค้า ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ก�ำไรส�ำหรับปี
(1,501) (1,075,346)
การตัดรายการระหว่างกัน
(799,771)
รวมก�ำไรส�ำหรับปี
1,837,133
สินทรัพย์รวม
36,606,061
4,753,205
4,494,521
1,849,293
473,434
6,206,862 54,383,376
การตัดรายการระหว่างกัน
(10,146,634)
สินทรัพย์รวม
44,236,742
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ไทย
ธุรกิจอื่น
191
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 7 ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน (ต่อ) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ไม่รวมเครื่องมือทางการเงิน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีและภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย สามารถจ�ำแนกตามส่วนงาน ทางภูมิศาสตร์ได้ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
13,421,341
11,300,732
1,868,692
1,557,246
181,942
191,334
5,975
5,297
จีน
12,389
12,516
พม่า
2,094
-
8
-
15,492,441
13,067,125
ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์
รายงานประจ�ำปี 2557
สหรัฐอเมริกา
192
เวียดนาม รวม
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 8 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
20,311
27,759
4,727
19,262
เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม
2,111,308
1,864,970
346,779
539,452
รวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
2,131,619
1,892,729
351,506
558,714
เงินสดในมือ
ยอดคงเหลือของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดสามารถแยกตามสกุลเงินได้ดังนี้ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (USD)
843,156
894,729
67,178
110,076
เงินรูเปียประเทศอินโดนีเซีย (IDR)
367,706
89,558
-
-
23,631
50,794
-
-
เงินดอลลาร์สิงคโปร์ (SGD)
8,751
16,966
873
2,613
เงินหยวนประเทศจีน (RMB)
185,307
61,634
-
-
เงินบาท (THB)
670,404
779,048
283,455
446,025
32,064
-
-
-
600
-
-
-
2,131,619
1,892,729
351,506
558,714
เงินเยน (JPY)
เงินดองเวียดนาม (VND) เงินจ๊าดพม่า (MMK) รวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถามมีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงอยู่ที่ร้อยละ 0.1 ถึงร้อยละ 5.5 ต่อปี (พ.ศ. 2556 : ร้อยละ 0.1 ถึงร้อยละ 2.9 ต่อปี)
193
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 9 ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 สินทรัพย์
หนี้สิน
สินทรัพย์
หนี้สิน
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
-
(89,118)
-
(107,411)
สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายเงินตราต่างประเทศ
-
-
-
(56,241)
7,222
(53,616)
27,401
(313,217)
สัญญาซื้อขายยางพาราในตลาดล่วงหน้า
37,799
(37,017)
35,157
(35,520)
สัญญาซื้อขายยางพาราล่วงหน้าที่มีการส่งมอบสินค้า
44,746
(33,076)
13,416
(20,462)
รวมตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
89,767
(212,827)
75,974
(532,851)
รายงานประจ�ำปี 2557
สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
194
พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
สินทรัพย์
หนี้สิน
สินทรัพย์
หนี้สิน
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
-
(89,118)
-
(107,411)
สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายเงินตราต่างประเทศ
-
-
-
(56,241)
สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
-
(39,038)
26,486
(234,468)
สัญญาซื้อขายยางพาราในตลาดล่วงหน้า
33,731
(27,664)
34,025
(34,896)
รวมตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
33,731
(155,820)
60,511
(433,016)
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
997,200
992,680
997,200
992,680
-
846,591
-
846,591
สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
2,693,284
8,091,140
2,094,414
6,024,839
สัญญาซื้อขายยางพาราในตลาดล่วงหน้า
1,925,859
2,178,323
1,666,275
1,780,781
สัญญาซื้อขายยางพาราล่วงหน้าที่มีการส่งมอบสินค้า
1,039,947
889,690
-
-
มูลค่าตามสัญญา (NOTIONAL AMOUNTS) สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ สัญญาสิทธิเลือกขายเงินตราต่างประเทศ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 10 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
4,407,507
7,170,104
1,724,600
3,531,849
(126,791)
(118,667)
(61,850)
(57,439)
4,280,716
7,051,437
1,662,750
3,474,410
100,267
127,622
459,144
289,611
4,380,983
7,179,059
2,121,894
3,764,021
เงินล่วงหน้าค่าสินค้า
48,287
50,785
6,465
8,103
ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า
110,074
139,475
17,645
34,538
รายได้ค้างรับและลูกหนี้อื่น
149,036
71,918
151,825
86,463
4,688,380
7,441,237
2,297,829
3,893,125
ลูกหนี้การค้า - บริษัทอื่น หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของลูกหนี้การค้า รวมลูกหนี้การค้า - บริษัทอื่น - สุทธิ ลูกหนี้การค้า - บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุข้อ 37.3) รวมลูกหนี้การค้า - สุทธิ
รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ
ลูกหนี้การค้าสามารถแยกตามอายุลูกหนี้ที่ค้างช�ำระนับจากวันที่ครบก�ำหนดได้ดังนี้ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
3,960,804
6,319,023
1,955,459
3,335,602
406,268
786,400
147,041
402,249
เกินก�ำหนด 31 - 60 วัน
8,318
63,675
7,695
11,187
เกินก�ำหนด 61 - 90 วัน
1,497
1,704
893
1,592
เกินก�ำหนด 91 - 120 วัน
1,967
1,819
1,956
1,819
เกินก�ำหนด 121 - 365 วัน
5,691
77,904
5,691
55,768
เกินก�ำหนดเกินกว่า 365 วัน
123,229
47,201
65,009
13,243
4,507,774
7,297,726
2,183,744
3,821,460
(126,791)
(118,667)
(61,850)
(57,439)
4,380,983
7,179,059
2,121,894
3,764,021
ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ เกินก�ำหนด 1 - 30 วัน
หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของลูกหนี้การค้า รวมลูกหนี้การค้า - สุทธิ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม
195
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 10 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 ยอดคงค้างของลูกหนี้การค้า - บริษัทอื่น ดังแสดงตามตารางต่อไปนี้เป็นลูกหนี้ที่มียอดคงเหลือ พ้นวันที่ครบก�ำหนดช�ำระแล้ว แต่กลุ่มบริษัทยังไม่ได้ตั้งค่าเผื่อการด้อยค่า ยอดคงค้างเหล่านี้เกิดจากลูกหนี้การค้าหลายรายซึ่งไม่เคยมีประวัติการ ผิดนัดช�ำระ ยอดคงค้างของลูกหนี้การค้า - บริษัทอื่น ดังกล่าวมีอายุหนี้ค้างช�ำระดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
416,062
850,170
150,686
414,505
เกินก�ำหนด 91 - 365 วัน
7,658
13,335
7,647
13,335
เกินก�ำหนดเกินกว่า 365 วัน
5,568
74
3,159
27
429,288
863,579
161,492
427,867
เกินก�ำหนด 1 - 90 วัน
รวม รายงานประจ�ำปี 2557
งบการเงินเฉพาะบริษัท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 ยอดคงค้างของลูกหนี้การค้า - บริษัทอื่น ดังแสดงตามตารางต่อไปนี้ เกิดการด้อยค่าและได้ตั้งค่า เผือ่ การด้อยค่าแล้ว ยอดค้างช�ำระบางส่วนคาดว่าจะได้รบั คืน ยอดคงค้างของลูกหนีก้ ารค้าดังกล่าวก่อนหักค่าเผือ่ การด้อยค่ามีอายุหนีค้ า้ งช�ำระดังนี้ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
9,131
5,152
-
-
เกินก�ำหนด 1 - 90 วัน
-
-
-
-
เกินก�ำหนด 91 - 365 วัน
-
66,388
-
44,223
เกินก�ำหนดเกินกว่า 365 วัน
117,660
47,127
61,850
13,216
รวม
126,791
118,667
61,850
57,439
196
ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ
การเปลี่ยนแปลงของค่าเผื่อการด้อยค่าของลูกหนี้การค้าสามารถแสดงได้ดังนี้ งบการเงินรวม
ยอดคงเหลือต้นปี ค่าเผื่อการด้อยค่าเพิ่มขึ้น กลับรายการค่าเผื่อการด้อยค่า ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ยอดคงเหลือปลายปี
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
118,667
103,933
57,439
12,972
8,476
46,052
4,411
44,467
(360)
(31,318)
-
-
8
-
-
-
126,791
118,667
61,850
57,439
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 10 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ (ต่อ) การตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของลูกหนี้การค้า และการกลับรายการจะถูกรับรู้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ค่าเผื่อการด้อยค่าจะถูกตัดจ�ำหน่ายเมื่อคาด ว่าจะไม่มีโอกาสได้รับเงินคืนอีกต่อไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 รายได้ค้างรับและลูกหนี้อื่นยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า - บริษัทอื่น ก่อนหักค่าเผื่อการด้อยค่าสามารถแยกตามสกุลเงินได้ดังนี้
เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (USD) เงินหยวนประเทศจีน (RMB) เงินบาท (THB) รวมลูกหนี้การค้า - บริษัทอื่น
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
3,417,224
6,092,444
1,017,448
2,658,630
72,408
46,055
7,417
-
917,875
1,031,605
699,735
873,219
4,407,507
7,170,104
1,724,600
3,531,849
11 สินค้าคงเหลือ - สุทธิ งบการเงินรวม
197
ค่าเผื่อส�ำหรับราคาทุน ของสินค้าคงเหลือที่เกินกว่า มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ
ราคาทุน
รวมสินค้าคงเหลือ - สุทธิ
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
สินค้าส�ำเร็จรูป
3,607,598
6,406,892
(82,866)
(41,157)
3,524,732
6,365,735
สินค้าระหว่างผลิต
2,092,067
2,825,680
(13,696)
(34,790)
2,078,371
2,790,890
วัตถุดิบ วัสดุบรรจุ และสารเคมี
4,321,694
7,279,947
(30,895)
(4,484)
4,290,799
7,275,463
136,042
149,851
-
-
136,042
149,851
10,157,401
16,662,370
(127,457)
(80,431)
10,029,944
16,581,939
อะไหล่และวัสดุสิ้นเปลือง รวม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 11 สินค้าคงเหลือ - สุทธิ (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท ค่าเผื่อส�ำหรับราคาทุน ของสินค้าคงเหลือที่เกินกว่า มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ
ราคาทุน
สินค้าส�ำเร็จรูป สินค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบ วัสดุบรรจุ และสารเคมี
รายงานประจ�ำปี 2557
อะไหล่และวัสดุสิ้นเปลือง
198
รวม
รวมสินค้าคงเหลือ - สุทธิ
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
1,248,361
2,682,492
-
-
1,248,361
2,682,492
899,707
1,043,659
-
-
899,707
1,043,659
2,550,788
3,433,922
-
(642)
2,550,788
3,433,280
44,497
36,870
-
-
44,497
36,870
4,743,353
7,196,943
-
(642)
4,743,353
7,196,301
ในระหว่างปี พ.ศ. 2557 ต้นทุนของสินค้าคงเหลือในงบการเงินรวมซึ่งถูกรับรู้เป็นต้นทุนขายและการให้บริการมีจ�ำนวน 67,548 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 83,104 ล้านบาท) และในงบการเงินเฉพาะบริษัทมีจำ� นวน 33,146 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 38,937 ล้านบาท) สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทได้บันทึกค่าเผื่อ ส�ำหรับมูลค่าสินค้าที่เกินกว่ามูลค่าสุทธิที่จะได้รับจ�ำนวน 127 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะบริษัท : ไม่มี)
12 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน
198,223
150,230
64,793
45,179
ภาษีหัก ณ ที่จ่ายล่วงหน้า
133,910
116,983
-
-
20,091
18,507
12,065
6,271
352,224
285,720
76,858
51,450
ภาษีซื้อรอใบก�ำกับหรือยังไม่ถึงก�ำหนด รวมสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 13 เงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�้ำประกัน เงินฝากประจ�ำเป็นจ�ำนวนเงิน 35 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 61 ล้านบาท) ได้ถูกใช้ในการค�้ำประกันส�ำหรับวงเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ต่างๆ และหนังสือค�ำ้ ประกันธนาคาร เงินฝากประจ�ำมีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ร้อยละ 0.1 ถึง 2.5 ต่อปี (พ.ศ. 2556 : ร้อยละ 0.1 ถึง 2.8 ต่อปี) ยอดคงเหลือของเงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�้ำประกันสามารถแยกตามสกุลเงินได้ดังนี้ งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (USD)
12,295
39,490
-
-
เงินบาท (THB)
22,291
21,695
13,623
13,128
รวมเงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�้ำประกัน
34,586
61,185
13,623
13,128
14 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า งบการเงินรวม
ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม ส่วนแบ่งผลก�ำไรจากเงินลงทุน การลงทุนเพิ่มขึ้น(ลดลง) รายได้เงินปันผล (หมายเหตุข้อ 37.1) ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
4,030,429
3,945,399
9,476,918
7,151,868
535,089
495,575
-
-
-
(6,375)
940,000
2,325,050
(524,464)
(458,429)
-
-
(5,003)
54,259
-
-
4,036,051
4,030,429
10,416,918
9,476,918
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม
199
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 14 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า (ต่อ) 14.1 บริษัทย่อย เงินลงทุนที่เป็นสาระส�ำคัญของบริษัทและบริษัทย่อย มีดังนี้ งบการเงินรวม สัดส่วนของการถือหุ้น ประเภทของธุรกิจ
จัดตั้งขึ้นใน
ร้อยละ
ประเทศ
พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
รายงานประจ�ำปี 2557
บริษัทย่อย
200
Sri Trang International Pte Ltd.
จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางพารา ประเทศสิงคโปร์
100.00
100.00
Sri Trang USA, Inc.
จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางพารา ประเทศสหรัฐอเมริกา
100.00
100.00
PT Sri Trang Lingga Indonesia
ผลิตผลิตภัณฑ์ยางแท่ง
ประเทศอินโดนีเซีย
90.00
90.00
บจก. อันวาร์พาราวูด
ผลิตไม้ยางพารา
ประเทศไทย
99.94
99.94
บจก. รับเบอร์แลนด์โปรดักส์
ผลิตผลิตภัณฑ์ยางพารา
ประเทศไทย
99.99
99.99
บจก. หน�่ำฮั่วรับเบอร์
ผลิตผลิตภัณฑ์ยางพารา
ประเทศไทย
99.99
99.99
บจก. สะเดา พี.เอส. รับเบอร์
ผลิตผลิตภัณฑ์ยางพารา
ประเทศไทย
99.99
99.99
บจก. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์
สวนยางพาราและสวนปาล์ม
ประเทศไทย
99.99
99.99
บจก. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง
วิศวกรรมบริการ
ประเทศไทย
99.99
99.99
บจก. สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต
บริการขนส่ง
ประเทศไทย
99.99
99.99
บจก. ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น
สวนยางพารา
ประเทศไทย
99.99
99.99
Shi Dong Shanghai Rubber Co., Ltd.
จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางพารา ประเทศจีน
100.00
100.00
100.00
100.00
99.00
99.00
100.00
100.00
59.00
-
บริษัทย่อยทางอ้อม Shi Dong Investments Pte Ltd. ลงทุน (ถือหุ้นโดย Sri Trang International Pte Ltd.)
ประเทศสิงคโปร์
PT Star Rubber (ถือหุ้นโดย Shi Dong Investments Pte Ltd.)
ประเทศอินโดนีเซีย
ผลิตผลิตภัณฑ์ยางแท่ง
จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางพารา ประเทศเวียดนาม Sri Trang Indochina (Vietnam) Co., Ltd. (ถือหุ้นโดย Sri Trang International Pte Ltd.) Sri Trang Ayeyar Rubber Industry Co., Ltd. ผลิตผลิตภัณฑ์ยางแท่ง (ถือหุ้นโดย Sri Trang International Pte Ltd.)
ประเทศพม่า
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 14 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า (ต่อ) 14.1 บริษัทย่อย (ต่อ)
ชื่อบริษัท
ประเทศ
Sri Trang Indochina (Vietnam) Co., Ltd. Sri Trang Ayeyar Rubber Industry Co., Ltd.
จดทะเบียน วันที่
ทุนจดทะเบียน
ถือหุ้นโดย
อัตราส่วน การถือหุ้น (ร้อยละ)
ประเทศ เวียดนาม
14 ธันวาคม พ.ศ. 2556
21 พันล้านดอง (เทียบเท่า 32 ล้านบาท)
Sri Trang International Pte Ltd.
100
ประเทศพม่า
9 ตุลาคม พ.ศ. 2556
1 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (เทียบเท่า 32 ล้านบาท)
Sri Trang International Pte Ltd.
59
นายกิติชัย สินเจริญกุล
1
Ayeyar Hinthar Holdings Co., Ltd.
40
201
บริษัทได้ลงทุนเพิ่มในเงินลงทุนในบริษัทย่อยสรุปได้ดังนี้ พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
(เทียบเท่า) บจก. ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น Sri Trang International Pte Ltd. บจก. รับเบอร์แลนด์โปรดักส์
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทของ Sri Trang International Pte Ltd. ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีมติอนุมัติให้จัดตั้งบริษัท ดังต่อไปนี้
(เทียบเท่า)
ความสัมพันธ์
สกุลเงิน
จ�ำนวน
ล้านบาท
จ�ำนวน
ล้านบาท
บริษัทย่อย
ล้านบาท
-
940
-
1,670
บริษัทย่อยใน ต่างประเทศ
ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
-
-
5
161
บริษัทย่อย
ล้านบาท
-
-
-
500
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 14 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า (ต่อ) 14.2 บริษัทร่วม ส่วนแบ่งรายได้จากบริษทั ร่วมของกลุม่ บริษทั ซึง่ ไม่ได้เป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และส่วนแบ่งในสินทรัพย์(รวมค่าความนิยม และหนี้สิน) สามารถแสดงได้ดังต่อไปนี้ พันบาท ชื่อ พ.ศ. 2557 บริษัทร่วมทางตรง บจก. เซมเพอร์เฟล็ก เอเชีย Sempermed USA, Inc.
รายงานประจ�ำปี 2557
บจก. พัฒนาเกษตรล่วงหน้า
202
Semperflex Shanghai Co., Ltd. Sempermed Singapore Pte Ltd.
บริษัทร่วมทางอ้อม Sempermed Brazil Comercio Exterior LTDA. (ถือหุ้นโดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) Shanghai Sempermed Gloves Co., Ltd. (เดิมชื่อ Shanghai Foremost Plastic Industrial Co., Ltd. ถือ หุ้นโดย บจก. สยามเซมเพอร์เมด) Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd. (ถือหุ้นโดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) พ.ศ. 2556 บริษัทร่วมทางตรง บจก. สยามเซมเพอร์เมด * บจก. เซมเพอร์เฟล็ก เอเชีย Sempermed USA, Inc. บจก. พัฒนาเกษตรล่วงหน้า Semperflex Shanghai Co., Ltd. Sempermed Singapore Pte Ltd.
บริษัทร่วมทางอ้อม Sempermed Brazil Comercio Exterior LTDA. (ถือหุ้นโดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) Shanghai Sempermed Gloves Co., Ltd. (เดิมชื่อ Shanghai Foremost Plastic Industrial Co., Ltd. ถือ หุ้นโดย บจก. สยามเซมเพอร์เมด) Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd. (ถือหุ้นโดย Sempermed Singapore Pte Ltd.)
ประเภทของธุรกิจ
ผลิตท่อแรงดันสูง จัดจ�ำหน่ายถุงมือที่ใช้ใน ทางการแพทย์ นายหน้าซื้อขายสัญญา ซื้อขาย ล่วงหน้า ผลิตท่อแรงดันสูง ลงทุนในบริษัทที่จัดจ�ำหน่าย ถุงมือที่ใช้ในทางการ แพทย์
จัดตั้งขึ้น ในประเทศ
หนี้สิน
ก�ำไร (ขาดทุน)
รายได้
การถือหุ้น (ร้อยละ)
602,489 607,086
78,104 316,110
707,039 1,862,059
165,637 39,804
42.50 45.12
94,100
50,760
6,061
(2,891)
40.00
ประเทศจีน ประเทศสิงคโปร์
374,702 90,395
100,198 6,029
261,119 692
(914) (61,013)
50.00 50.00
จัดจ�ำหน่ายถุงมือที่ใช้ใน ทางการแพทย์
ประเทศบราซิล
52,016
15,799
-
(1,932)
50.00
ผลิตถุงมือที่ใช้ใน ทางการแพทย์
ประเทศจีน
52,666
6,295
2,720
799
40.23
ผลิตแม่พิมพ์ส�ำหรับ ผลิตถุงมือ
ประเทศมาเลเซีย
35,862
14,609
62,686
3,807
41.43
ผลิตถุงมือที่ใช้ในทาง การแพทย์ ผลิตท่อแรงดันสูง จัดจ�ำหน่ายถุงมือที่ใช้ใน ทางการแพทย์ นายหน้าซื้อขายสัญญา ซื้อขาย ล่วงหน้า ผลิตท่อแรงดันสูง ลงทุนในบริษัทที่จัดจ�ำหน่าย ถุงมือที่ใช้ในทางการ แพทย์
ประเทศไทย
3,004,295
412,645
3,897,508
371,676
40.23
ประเทศไทย ประเทศอเมริกา
561,288 692,882
88,821 443,855
620,034 2,099,315
113,688 34,268
42.50 45.12
ประเทศไทย
124,861
78,246
5,338
(3,795)
40.00
ประเทศจีน ประเทศสิงคโปร์
433,683 152,497
152,558 6,808
160,414 833
(22,722) (1,412)
50.00 50.00
ประเทศบราซิล
54,368
16,112
-
(50,016)
50.00
ประเทศจีน
55,087
8,554
2,464
535
40.23
ประเทศมาเลเซีย
33,604
14,929
45,109
1,846
41.43
จัดจ�ำหน่ายถุงมือที่ใช้ใน ทางการแพทย์ ผลิตถุงมือที่ใช้ในทาง การแพทย์ ผลิตแม่พิมพ์ส�ำหรับผลิต ถุงมือ
ประเทศไทย ประเทศอเมริกา
สินทรัพย์
อัตราส่วน
ประเทศไทย
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 14 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า (ต่อ) 14.2 บริษัทร่วม (ต่อ) บริษัทได้ลงทุนเพิ่มในเงินลงทุนในบริษัทร่วมสรุปได้ดังนี้ พ.ศ. 2557 ความสัมพันธ์ บจก. พัฒนาเกษตรล่วงหน้า
บริษัทร่วม
สกุลเงิน
พ.ศ. 2556
จ�ำนวน
(เทียบเท่า) ล้านบาท
จ�ำนวน
(เทียบเท่า) ล้านบาท
-
-
-
8
ล้านบาท
รายละเอียดเกี่ยวกับกิจการที่ควบคุมร่วมกันมีดังต่อไปนี้ พันบาท ชื่อ
ประเภทของ ธุรกิจ
จัดตั้งขึ้น ในประเทศ สินทรัพย์
หนี้สิน
รายได้
อัตราส่วน ก�ำไร การถือหุ้น (ขาดทุน) (ร้อยละ)
พ.ศ. 2557 บจก. ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชั่น
ผลิตผลิตภัณฑ์ยาง ประเทศไทย 1,042,898 แท่ง
619,357 2,631,612
(34,076)
33.50
บจก. สยามเซมเพอร์เมด*
ผลิตถุงมือที่ใช้ใน ประเทศไทย 3,029,103 ทางการแพทย์
422,109 4,347,984
425,868
40.23
ผลิตผลิตภัณฑ์ยาง ประเทศไทย 1,482,968 1,014,209 3,657,748 แท่ง
51,494
33.50
203
พ.ศ. 2556 บจก. ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชั่น
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
14.3 กิจการร่วมค้า
* ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2557 บริษัท สยามเซมเพอร์เมด จ�ำกัด ได้เปลี่ยนสถานะจากบริษัทร่วมเป็นกิจการร่วมค้า เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2532 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งในขณะนั้นเป็นบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (“บริษัท”) รวมทั้ง บริษัท รับเบอร์แลนด์โปรดักส์ จ�ำกัด (“รับเบอร์แลนด์”) และผู้ถือหุ้นบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย 4 คน ได้ เข้าร่วมกันท�ำสัญญากิจการร่วมค้า (“สัญญากิจการร่วมค้า”) กับบริษัท Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. (“เซมเพอร์ริท”)เพื่อจัดตั้งและบริหาร บริษัท สยามเซมเพอร์เมด จ�ำกัด (“สยามเซมเพอร์เมด”) โดยเซมเพอร์ริทถือหุ้นร้อยละ 50 ของหุ้น ทั้งหมดในสยามเซมเพอร์เมด ส่วนหุ้นอีกร้อยละ 50 ถือโดยบริษัท รวมทั้งรับเบอร์แลนด์ และผู้ถือหุ้นบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย 4 คน ต่อ มาบริษัท ศรีตรัง โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด และบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยอีก 1 คนได้เข้าถือหุ้นในสยามเซมเพอร์เมด ตามล�ำดับ โดยเข้าถือหุ้นใน ส่วนร้อยละ 50 ทีบ่ ริษทั รวมทัง้ รับเบอร์แลนด์ และผูถ้ อื หุน้ เดิมทีเ่ ป็นบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย 4 คนถืออยู่ (ผูถ้ อื หุน้ บุคคลธรรมดาสัญชาติ ไทยรวมทั้งนิติบุคคลที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ นอกจากบริษัท รวมกันเรียกว่า “ผู้ถือหุ้นไทย”) การถือครองหุ้นโดยเซมเพอร์ริท ฝ่ายหนึ่ง และบริษัทกับผู้ถือหุ้นไทย อีกฝ่ายหนึ่ง มีสัดส่วนอยู่ที่ 50:50 จนถึงปัจจุบันนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 14 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า (ต่อ) 14.3 กิจการร่วมค้า (ต่อ) เนื่องจากผู้ถือหุ้นมีอำ� นาจร่วมกันในการตัดสินใจสูงสุดเกี่ยวกับการด�ำเนินกิจการของสยามเซมเพอร์เมด แต่เซมเพอร์ริท หรือบริษัท(ร่วมกับ ผู้ถือหุ้นไทย) เพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ไม่สามารถใช้สิทธิออกเสียงส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 51 ซึ่งเป็นคะแนนเสียงที่จ�ำเป็นส�ำหรับการลงมติของผู้ ถือหุ้นได้ ดังนั้น ทั้งสองฝ่ายจึงไม่มีอ�ำนาจควบคุมสยามเซมเพอร์เมด ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2557 ผู้ถือหุ้นไทยได้นำ� ข้อตกลงเดิมเกี่ยวกับการกระท�ำการไปในทางเดียวกันกับบริษัท มาจัดท�ำเป็นหนังสือสัญญา อย่างเป็นทางการ (“สัญญา”) โดยตามสัญญาดังกล่าว ผู้ถือหุ้นไทยตกลงโดยชัดแจ้งที่จะกระท�ำการไปในทางเดียวกันกับบริษัท ในเรื่องที่ เกี่ยวกับเงินลงทุนในสยามเซมเพอร์เมด ตามที่ได้เคยปฏิบัติมาตั้งแต่เริ่มต้น โดยผลดังกล่าว งบการเงินเฉพาะบริษัท และงบการเงินรวม ของบริษัทและบริษัทย่อย จึงต้องมีการจัดประเภทเงินลงทุนในสยามเซมเพอร์เมดใหม่ จาก “เงินลงทุนในบริษัทร่วม” เป็น “เงินลงทุนใน กิจการร่วมค้า” ตั้งแต่วันที่มีการลงนามในสัญญาดังกล่าว รายงานประจ�ำปี 2557
15 เงินลงทุนระยะยาว
204
ความเคลื่อนไหวของเงินลงทุนระยะยาวส�ำหรับปีสามารถสรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
52,439
59,126
51,521
58,020
40
-
-
-
-
(15)
-
-
การเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย
11,193
(6,672)
11,145
(6,499)
ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
63,672
52,439
62,666
51,521
ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การลงทุนเพิ่มขึ้น การจ�ำหน่ายเงินลงทุน
เงินลงทุนระยะยาวสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย
53,245
42,012
52,239
41,094
เงินลงทุนทั่วไป
10,427
10,427
10,427
10,427
รวมเงินลงทุนระยะยาว
63,672
52,439
62,666
51,521
ณ วันที่ 31 ธันวาคม
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 15 เงินลงทุนระยะยาว (ต่อ) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
เงินลงทุนในเผื่อขายตามราคาทุน
32,816
32,776
32,352
32,352
ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรม
20,429
9,236
19,887
8,742
รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายตามมูลค่ายุติธรรม
53,245
42,012
52,239
41,094
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
ผลก�ำไรสุทธิสะสมจากการเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรม
20,429
9,236
19,887
8,742
ผลกระทบจากภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
(1,565)
(689)
(1,469)
(646)
18,864
8,547
18,418
8,096
ผลก�ำไรสุทธิสะสมจากการเปลี่ยนแปลงของ มูลค่ายุติธรรม - สุทธิจากภาษี (หมายเหตุข้อ 26) เงินลงทุนทั่วไป งบการเงินรวม
เงินลงทุนทั่วไป
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
10,427
10,427
10,427
10,427
ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทมีความเห็นว่ามูลค่าตามราคาทุนของเงินลงทุนทั่วไปเป็นประมาณการที่ดีที่สุด ยกเว้นในกรณีที่เงินลงทุนนั้นเกิดการด้อยค่า
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ตารางต่อไปนี้แสดงถึงผลกระทบของภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่มีต่อรายการก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย
205
รายงานประจ�ำปี 2557
3,328,972 802,525 (81,709) (139,535) 3,910,253 3,910,253 1,840,299 71,477 (1,098) 913 (39,219) (45,173) (15,257) 5,722,195
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่ ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้า (โอนออก) การขายและการตัดจ�ำหน่าย - สุทธิ (กลับรายการ)ประเมินราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้น กลับรายการ(ผลขาดทุน)จากการประเมินราคาสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคา (หมายเหตุข้อ 29) ค่าเสื่อมราคาที่รับรู้เป็นสินทรัพย์ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน - สุทธิ ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 2,539,745 48,439 620,186 (217) (13,318) 2,479 (167,810) (12,793) (83,140) 2,933,571
2,301,624 616,343 (59,555) (318,667) 2,539,745
ปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง
ที่ดินและส่วน
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาประเมิน
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่ ราคาทุน บวก ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ผลขาดทุนสะสมจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ
16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
1,811,728 96,714 642,022 (27,126) (421,527) (394) (68,166) 2,033,251
3,625,503 (1,806,234) (7,541) 1,811,728
อุปกรณ์
เครื่องจักรและ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท
206 158,511 96,533 29,750 (2,799) (51,912) (8,366) 221,717
602,805 (444,294) 158,511
106,725 31,581 18,945 (465) (34,508) (209) 122,069
298,623 (191,898) 106,725
ยานพาหนะ เครื่องใช้ส�ำนักงาน
เครื่องตกแต่งและ
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาทุน
งบการเงินรวม
พันบาท
1,139,725 1,607,718 (1,382,380) (13,820) (89,206) 1,262,037
1,139,725 1,139,725
ก่อสร้างและติดตั้ง
สินทรัพย์ระหว่าง
9,666,687 3,721,284 (45,525) (12,405) (36,740) (720,930) (13,187) (264,344) 12,294,840
11,297,252 1,418,868 (141,264) (2,900,628) (7,541) 9,666,687
รวม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
2,033,251 102,996 718,620 (6,878) (498,649) (313) (6,693) 2,342,334
2,933,571 74,466 501,796 (5,341) (195,913) (22,696) (3,829) 3,282,054
5,722,195 324,920 157,743 (235) 462,784 (26,458) (56,817) (1,475) 6,582,657
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้า (โอนออก) การขายและการตัดจ�ำหน่าย - สุทธิ ประเมินราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้น ผลขาดทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคา (หมายเหตุข้อ 29) ค่าเสื่อมราคาที่รับรู้เป็นสินทรัพย์ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน - สุทธิ ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
4,175,646 (2,134,854) (7,541) 2,033,251
2,863,426 603,025 (57,383) (475,497) 2,933,571
5,224,164 803,438 (120,928) (184,479) 5,722,195
อุปกรณ์
เครื่องจักรและ
ปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง
ที่ดินและส่วน
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาประเมิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่ ราคาทุน บวก ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ผลขาดทุนสะสมจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ
16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท
207
221,717 116,651 42,000 (1,661) (69,494) (1,331) 307,882
682,536 (460,819) 221,717
122,069 42,652 39,422 (354) (46,014) (150) 157,625
335,103 (213,034) 122,069
ยานพาหนะ เครื่องใช้ส�ำนักงาน
เครื่องตกแต่งและ
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาทุน
งบการเงินรวม
พันบาท
1,262,037 1,897,030 (1,459,581) (12,766) (4,238) 1,682,482
1,262,037 1,262,037
ก่อสร้างและติดตั้ง
สินทรัพย์ระหว่าง
12,294,840 2,558,715 (27,235) 462,784 (26,458) (866,887) (23,009) (17,716) 14,355,034
14,542,912 1,406,463 (178,311) (3,468,683) (7,541) 12,294,840
รวม
รายงานประจ�ำปี 2557
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน บวก ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ผลขาดทุนสะสมจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ
16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
5,703,770 1,266,222 (147,386) (239,949) 6,582,657
3,422,209 603,025 (57,382) (685,798) 3,282,054
ปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง
ที่ดินและส่วน
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาประเมิน
4,867,492 (2,517,617) (7,541) 2,342,334
อุปกรณ์
เครื่องจักรและ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท
208 818,019 (510,137) 307,882
401,059 (243,434) 157,625
ยานพาหนะ เครื่องใช้ส�ำนักงาน
เครื่องตกแต่งและ
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาทุน
งบการเงินรวม
พันบาท
1,682,482 1,682,482
ก่อสร้างและติดตั้ง
สินทรัพย์ระหว่าง
16,895,031 1,869,247 (204,768) (4,196,935) (7,541) 14,355,034
รวม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
670,382 48,895 370,849 (876) (160,444) 928,806
1,082,477 20,735 244,066 (33) (57,750) 1,289,495
1,257,402 481,462 60,598 (1,026) (17,609) 1,780,827
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่ ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้า (โอนออก) การขายและการตัดจ�ำหน่าย - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา (หมายเหตุข้อ 29) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
1,585,363 (907,440) (7,541) 670,382
844,566 398,546 (44,013) (116,622) 1,082,477
เครื่องจักรและ อุปกรณ์
916,762 467,509 (55,143) (71,726) 1,257,402
พันบาท
26,620 10,696 15,111 (10,860) 41,567
154,670 (128,050) 26,620
68,526 16,337 17,606 (30) (20,634) 81,805
189,028 (120,502) 68,526
ยานพาหนะ เครื่องใช้ส�ำนักงาน
เครื่องตกแต่งและ
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาทุน
งบการเงินเฉพาะบริษัท
ปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง
ที่ดินและส่วน
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาประเมิน
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่ ราคาทุน บวก ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ผลขาดทุนสะสมจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ
16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท
209
471,083 1,023,107 (708,230) (21) 785,939
471,083 471,083
ก่อสร้างและติดตั้ง
สินทรัพย์ระหว่าง
3,576,490 1,601,232 (1,986) (267,297) 4,908,439
4,161,472 866,055 (99,156) (1,344,340) (7,541) 3,576,490
รวม
รายงานประจ�ำปี 2557
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่ ราคาทุน บวก ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ผลขาดทุนสะสมจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ
16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
1,457,636 467,509 (55,142) (89,176) 1,780,827
1,109,316 398,546 (43,999) (174,368) 1,289,495
ปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง
ที่ดินและส่วน
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาประเมิน
พันบาท
1,986,883 (1,050,536) (7,541) 928,806
อุปกรณ์ 178,601 (137,034) 41,567
212,848 (131,043) 81,805
ยานพาหนะ เครื่องใช้ส�ำนักงาน
เครื่องตกแต่งและ
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาทุน
งบการเงินเฉพาะบริษัท เครื่องจักรและ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท
210 785,939 785,939
ก่อสร้างและติดตั้ง
สินทรัพย์ระหว่าง
5,731,223 866,055 (99,141) (1,582,157) (7,541) 4,908,439
รวม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
2,328,077 (1,159,891) (7,541) 1,160,645
1,344,442 398,546 (43,999) (247,007) 1,451,982
1,757,456 467,509 (55,142) (117,926) 2,051,897
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน บวก ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ผลขาดทุนสะสมจากการประเมินราคาสินทรัพย์ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ
928,806 69,196 379,027 (6,249) (210,135) 1,160,645
1,289,495 4,824 232,858 (600) (74,595) 1,451,982
เครื่องจักรและ อุปกรณ์
1,780,827 184,767 115,671 (93) (29,275) 2,051,897
พันบาท
208,487 (144,331) 64,156
41,567 22,098 15,738 (56) (15,191) 64,156
264,223 (149,626) 114,597
81,805 31,736 31,283 (175) (30,052) 114,597
ยานพาหนะ เครื่องใช้ส�ำนักงาน
เครื่องตกแต่งและ
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาทุน
งบการเงินเฉพาะบริษัท
ปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง
ที่ดินและส่วน
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาประเมิน
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้า (โอนออก) การขายและการตัดจ�ำหน่าย - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา (หมายเหตุข้อ 29) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท
211
1,002,089 1,002,089
785,939 991,320 (774,577) (593) 1,002,089
ก่อสร้างและติดตั้ง
สินทรัพย์ระหว่าง
6,904,774 866,055 (99,141) (1,818,781) (7,541) 5,845,366
4,908,439 1,303,941 (7,766) (359,248) 5,845,366
รวม
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ) ที่ดิน ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้างของกลุ่มบริษัทได้มีการประเมินราคาสินทรัพย์โดยผู้ประเมินราคาอิสระ การประเมินราคาได้ท�ำตาม เกณฑ์ราคาตลาด เกณฑ์ราคาเปลีย่ นแทนหักค่าเสือ่ มราคาสะสม และวิธคี ดิ จากรายได้ ส่วนเกินทุนทีเ่ กิดขึน้ ได้บนั ทึกเป็นส่วนเกินทุนจากการประเมิน ราคาสินทรัพย์ ซึ่งแสดงไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ตารางต่อไปนี้แสดงถึงผลกระทบของภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่มีต่อส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
(ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
1,869,247
1,406,463
866,055
866,055
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสมของส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์
(170,541)
(147,273)
(119,653)
(103,496)
หัก ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
(228,162)
(128,961)
(55,159)
(56,353)
1,470,544
1,130,229
691,243
706,206
ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ รายงานประจ�ำปี 2557
(ปรับปรุงใหม่)
ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - สุทธิ จากค่าเสื่อมราคาสะสมและภาษี
หากที่ดิน ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้างแสดงตามราคาทุนเดิม ราคาตามบัญชีรวมของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์จะเป็นดังนี้ 212
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
ราคาทุน
17,760,272
15,430,844
7,408,857
6,235,306
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม
(4,383,299)
(3,719,678)
(1,818,781)
(1,590,677)
หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า
(7,541)
(7,541)
(7,541)
(7,541)
ราคาตามบัญชี - สุทธิ
13,369,432
11,703,625
5,582,535
4,637,088
งบการเงินรวม ค่าเสื่อมราคาของกลุ่มบริษัทจ�ำนวน 757 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 641 ล้านบาท) ได้ถูกบันทึกเป็นต้นทุนขายและการให้บริการ และจ� ำนวน 110 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 80 ล้านบาท) บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ที่ดิน ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง และเครื่องจักรและอุปกรณ์บางส่วนของบริษัทย่อยบางแห่ง ซึ่ง มีมูลค่าตามบัญชีรวมจ�ำนวน 986 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 1,376 ล้านบาท) ได้น�ำไปจดจ�ำนองเพื่อค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อ และเงินกู้ยืมระยะสั้น และระยะยาวจากสถาบันการเงินที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 23
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท ค่าเสื่อมราคาของบริษัทจ�ำนวน 311 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 234 ล้านบาท) ได้ถูกบันทึกเป็นต้นทุนขายและการให้บริการ และจ�ำนวน 48 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 33 ล้านบาท) บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหาร สินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินทีก่ ลุม่ บริษทั และบริษทั เป็นผูเ้ ช่าซึง่ รวมแสดงในรายการข้างต้นประกอบด้วยยานพาหนะ เครือ่ งตกแต่ง และเครือ่ ง ใช้ส�ำนักงาน มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
ราคาทุนของสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน
190,645
210,044
56,645
60,222
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม
(84,525)
(130,366)
(46,832)
(43,212)
ราคาตามบัญชี - สุทธิ
106,120
79,678
9,813
17,010
กลุ่มบริษัทท�ำสัญญาเช่าการเงิน ยานพาหนะ เครื่องตกแต่ง และเครื่องใช้สำ� นักงาน ซึ่งไม่สามารถบอกเลิกได้ สัญญาเช่ามีอายุระหว่าง 3 ถึง 5 ปี โดยที่กลุ่มบริษัทมีความเป็นเจ้าของในสินทรัพย์ดังกล่าว
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม
213
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 17 สวนยางพาราและสวนปาล์ม - สุทธิ พันบาท งบการเงินรวม
รายงานประจ�ำปี 2557
สวนยางพารา ที่ให้น�้ำยาง ที่ยังไม่ให้น�้ำยาง
214
สวนปาล์ม ที่ให้ผล
รวม
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่ ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
3,925 (1,791) 2,134
266,120 266,120
11,023 (4,355) 6,668
281,068 (6,146) 274,922
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่ ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การลงทุนเพิ่มขึ้น โอนเข้า (โอนออก) ค่าตัดจ�ำหน่าย (หมายเหตุข้อ 29) ค่าเสื่อมราคาที่รับรู้เป็นสินทรัพย์ ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
2,134 2,809 (935) 4,008
266,120 261,068 (2,809) 13,187 537,566
6,668 (585) 6,083
274,922 261,068 (1,520) 13,187 547,657
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่ ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
6,734 (2,726) 4,008
537,566 537,566
11,023 (4,940) 6,083
555,323 (7,666) 547,657
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การลงทุนเพิ่มขึ้น โอนเข้า (โอนออก) ค่าตัดจ�ำหน่าย (หมายเหตุข้อ 29) ค่าเสื่อมราคาที่รับรู้เป็นสินทรัพย์ ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
4,008 1,718 (214) (951) 4,561
537,566 331,386 (1,937) 23,960 890,975
6,083 219 (591) 5,711
547,657 331,386 (805) 23,009 901,247
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
8,451 (3,890) 4,561
890,975 890,975
11,242 (5,531) 5,711
910,668 (9,421) 901,247
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 17 สวนยางพาราและสวนปาล์ม - สุทธิ (ต่อ) พันบาท งบการเงินเฉพาะบริษัท สวนยางพารา ที่ให้นำ�้ ยาง
สวนปาล์ม ที่ให้ผล
รวม
ราคาทุน
3,584
5,703
9,287
หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม
(1,501)
(2,745)
(4,246)
ราคาตามบัญชี - สุทธิ
2,083
2,958
5,041
ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ
2,083
2,958
5,041
ค่าตัดจ�ำหน่าย (หมายเหตุข้อ 29)
(162)
(318)
(480)
1,921
2,640
4,561
ราคาทุน
3,584
5,703
9,287
หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม
(1,663)
(3,063)
(4,726)
ราคาตามบัญชี - สุทธิ
1,921
2,640
4,561
1,921
2,640
4,561
(161)
(319)
(480)
1,760
2,321
4,081
ราคาทุน
3,584
5,703
9,287
หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม
(1,824)
(3,382)
(5,206)
ราคาตามบัญชี - สุทธิ
1,760
2,321
4,081
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่
ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ค่าตัดจ�ำหน่าย (หมายเหตุข้อ 29) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่
215
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 18 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน - สุทธิ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พันบาท
พันบาท
ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม
77,179 (55,733)
43,147 (33,165)
ราคาตามบัญชี - สุทธิ
21,446
9,982
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การลงทุนเพิ่มขึ้น การขายสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าตัดจ�ำหน่าย (หมายเหตุข้อ 29) ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
21,446 14,228 (2) (8,562) (63) 27,047
9,982 8,108 (4,058) 14,032
ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
90,786 (63,739) 27,047
50,945 (36,913) 14,032
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การลงทุนเพิ่มขึ้น การขายสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าตัดจ�ำหน่าย (หมายเหตุข้อ 29) ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
27,047 14,552 (160) (9,784) (15) 31,640
14,032 3,058 (4,779) 12,311
101,036 (69,396) 31,640
52,370 (40,059) 12,311
รายงานประจ�ำปี 2557
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556
216
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 19 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ความเคลื่อนไหวของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนสามารถสรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
176,254
160,408
27,770
27,770
อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
(6,663)
6,307
-
-
ก�ำไรจากการแปลงค่างบการเงิน
664
9,539
-
-
170,255
176,254
27,770
27,770
ราคาตามบัญชีต้นปี
ราคาตามบัญชีปลายปี
อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนของกลุม่ บริษทั ได้แก่ อสังหาริมทรัพย์ทถี่ อื ครองไว้โดยยังมิได้ระบุวตั ถุประสงค์ของการใช้ในอนาคต รวมถึงทีด่ นิ ทีไ่ ม่ได้ ใช้ในการด�ำเนินงาน กลุม่ บริษทั ไม่ได้ระบุวา่ จะมีอสังหาริมทรัพย์นนั้ ไว้ใช้งานหรือเพือ่ หาประโยชน์จากการเพิม่ ขึน้ ของมูลค่าของสินทรัพย์ในระยะสัน้ ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทได้มีการประเมินราคาใหม่โดยผู้ประเมินราคาอิสระ การประเมินราคาได้ทำ� ตามเกณฑ์ราคาตลาด
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ก�ำไร(ขาดทุน)จากการประเมินราคามูลค่ายุติธรรมของ
อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนแสดงด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน ซึ่งการประเมินได้ใช้เกณฑ์การเปรียบเทียบกับมูลค่าใน ท้องตลาดของอสังหาริมทรัพย์ทอี่ ยูใ่ นประเภทเดียวกันและอยูใ่ นบริเวณเดียวกันกับอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั ย่อย การประเมินมูลค่าจะท�ำเป็นประจ�ำ 217 ทุกปีโดยใช้มูลค่าอสังหาริมทรัพย์จากการใช้ประโยชน์สูงสุดและดีที่สุดจากวิธีการเปรียบเทียบราคาตลาดโดยตรง (propertys highest-andbest-use using the Direct Market Comparison Method)
20 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้ งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
78,602
76,376
11,729
35,293
150,681
132,559
11,850
11,197
229,283
208,935
23,579
46,490
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะใช้ ประโยชน์ภายใน 12 เดือน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะใช้ ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 20 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (ต่อ) งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
2,493
4,472
2,492
4,472
252,745
142,807
57,737
58,107
255,238
147,279
60,229
62,579
(25,955)
61,656
(36,650)
(16,089)
หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะจ่าย ช�ำระภายใน 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะจ่าย
รายงานประจ�ำปี 2557
ช�ำระเกินกว่า 12 เดือน ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ สรุปความเคลื่อนไหวของบัญชีภาษีเงินได้รอตัดบัญชีมีดังนี้
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
218
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
ยอดคงเหลือต้นปี
61,656
(11,511)
(16,089)
(76,733)
เพิ่ม/ลดในก�ำไรหรือขาดทุน
19,421
17,663
(19,932)
(4,197)
(104,854)
66,301
(629)
64,841
(2,178)
(10,797)
-
-
(25,955)
61,656
(36,650)
(16,089)
เพิ่ม/ลดในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลต่างสะสมจากการแปลงค่างบการเงิน ยอดคงเหลือปลายปี
สินทรัพย์(หนี้สิน)ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ
หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ การประเมินมูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ก�ำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน การปรับปรุงมูลค่าสินค้าคงเหลือโดยเปลี่ยนจากมูลค่ายุติธรรมเป็น ราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�ำ่ กว่า อื่นๆ
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ขาดทุนทางภาษียกมา ก�ำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน ค่าเผื่อส�ำหรับมูลค่าสินค้าที่เกินกว่ามูลค่าสุทธิที่จะได้รับ ผลขาดทุนสะสมจากการประเมินราคาสินทรัพย์ลดลง ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ อื่นๆ
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 20 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (ต่อ)
(1,118) (1,118) (65,710) (1,709) (67,419) 66,301
พันบาท (48,187) (171,463) (25,698) (138) 1,442 10,896 (233,148) (2,077) (1,205) (2,680) (246,011) 1,162 (250,811) 17,663
พันบาท
196,748 2,313 7,152 256,492 3,065 465,770 (11,511)
(228) (33) (261) (10,797)
-
(7,463) (2,966) 2,677 (976) (773) (1,557) (11,058)
พันบาท
(ปรับปรุงใหม่) ผลต่างสะสม จากการแปลง ค่า งบการเงิน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
พันบาท
(ปรับปรุงใหม่) รายการที่ บันทึกเป็น ก�ำไรขาดทุน
(ปรับปรุงใหม่) 1 มกราคม พ.ศ. 2556
153,822 209,750 39,473 20,553 15,379 15,282 454,259
(ปรับปรุงใหม่) รายการที่ บันทึกใน ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท
219
10,253 2,485 147,279 61,656
128,961 1,108 4,472
98,172 35,321 16,452 19,439 14,930 24,621 208,935
พันบาท
(ปรับปรุงใหม่) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
งบการเงินรวม
10,290 (435) 5,679 19,421
(2,197) (1,979)
13,631 (17,102) 8,075 5,628 1,827 13,041 25,100
พันบาท
รายการที่ บันทึกเป็น ก�ำไรขาดทุน
876 102,273 (104,854)
101,397 -
(2,581) (2,581)
พันบาท
รายการที่ บันทึกใน ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น
(38) 45 7 (2,178)
-
(1,109) (514) (458) (47) 774 (817) (2,171)
พันบาท
ผลต่างสะสม จากการแปลง ค่างบการเงิน
20,505 2,971 255,238 (25,955)
228,161 1,108 2,493
110,694 17,705 24,069 25,020 14,950 36,845 229,283
พันบาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
รายงานประจ�ำปี 2557
(76,733)
(4,570)
131,464
สินทรัพย์(หนี้สิน)ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ
-
2,352
อื่นๆ
(4,197)
(2,170)
6,642
ก�ำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
(1,206)
(1,194)
2,314
120,156
การประเมินมูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์
หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
(8,767)
(3,167)
54,731
5,936
ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ
(8,578) (19)
16,464
การประเมินราคาสินทรัพย์ลดลง
2,191
22,413
36
1,102
ค่าเผื่อส�ำหรับมูลค่าสินค้าที่เกินกว่ามูลค่าสุทธิที่จะได้รับ
อื่นๆ
9,586
ก�ำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
พันบาท (21,607)
พันบาท
(ปรับปรุงใหม่) 1 มกราคม พ.ศ. 2556
21,607
(ปรับปรุงใหม่) รายการที่ บันทึกเป็น ก�ำไรขาดทุน
ขาดทุนทางภาษียกมา
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
20 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (ต่อ)
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
64,841
(64,315)
(1,706)
-
-
(62,609)
526
-
526
-
-
-
-
พันบาท
(16,089)
62,579
646
4,472
1,108
56,353
46,490
17
3,295
7,886
3,293
31,999
-
พันบาท
(ปรับปรุงใหม่) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) รายการที่ บันทึกใน ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท
220 (19,932)
(3,173)
-
(1,979)
-
(1,194)
(23,105)
-
460
(1)
(3,079)
(20,485)
-
พันบาท
รายการที่ บันทึกเป็น ก�ำไรขาดทุน
(629)
823
823
-
-
-
194
-
194
-
-
-
-
พันบาท
รายการที่บันทึก ในก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น
(36,650)
60,229
1,469
2,493
1,108
55,159
23,579
17
3,949
7,885
214
11,514
-
พันบาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 21 สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
เงินมัดจ�ำ
21,587
11,335
9,059
7,958
อื่นๆ
12,679
9,992
3,660
3,792
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
34,266
21,327
12,719
11,750
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
1,272,262
2,475,113
701,252
1,250,460
เจ้าหนี้การค้า - บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุข้อ 37.3)
218,285
276,286
278,576
286,672
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
743,523
597,027
413,540
290,916
รายได้รับล่วงหน้า
246,678
289,628
72,839
45,504
98,753
183,484
20,479
24,589
2,579,501
3,821,538
1,486,686
1,898,141
เจ้าหนี้การค้า - บริษัทอื่น
เงินมัดจ�ำและเงินประกันผลงานรับจากลูกค้า รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น
ยอดคงเหลือของเจ้าหนี้การค้า - บริษัทอื่น สามารถแยกตามสกุลเงินได้ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (USD)
250,240
387,007
25,039
17,045
เงินรูเปียประเทศอินโดนีเซีย (IDR)
82,011
83,756
-
-
เงินดอลลาร์สิงคโปร์ (SGD)
1,040
1,213
-
-
เงินหยวนประเทศจีน (RMB)
1,386
710
-
-
937,585
2,002,427
676,213
1,233,415
1,272,262
2,475,113
701,252
1,250,460
เงินบาท (THB) รวมเจ้าหนี้การค้า - บริษัทอื่น
บริษศรีทั ตศรี รังแอโกรอิ กัด (มหาชน) รังตแอโกรอิ นดัสนทรีดัสจ�ทรี ำกัดจ�ำ(มหาชน)
22 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น
221 221
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 23 เงินกู้ยืม งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
-
20
-
-
264,184
588,963
264,184
588,963
8,796,812
12,406,009
3,997,300
5,396,220
347,414
1,228,093
-
-
9,408,410
14,223,085
4,261,484
5,985,183
140,264
113,404
50,000
-
-
1,600,000
-
1,600,000
30,046
17,874
3,585
4,400
9,578,720
15,954,363
4,315,069
7,589,583
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
2,913,462
2,113,726
2,910,000
2,020,000
หุ้นกู้
1,450,000
1,450,000
1,450,000
1,450,000
33,311
28,666
3,980
5,150
4,396,773
3,592,392
4,363,980
3,475,150
13,975,493
19,546,755
8,679,049
11,064,733
ส่วนของหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมเพื่อการส่งออก เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ตั๋วเงินจ่าย รวมเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน รายงานประจ�ำปี 2557
ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี รวมเงินกู้ยืมหมุนเวียน 222
ส่วนของไม่หมุนเวียน
หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน รวมเงินกู้ยืมไม่หมุนเวียน รวมเงินกู้ยืม
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 23 เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.1 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (ก) งบการเงินรวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 วงเงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมเพื่อการส่งออก และเงินกู้ยืมระยะสั้นของกลุ่มบริษัทดังกล่าวค�้ำประกัน โดยที่ดิน ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง และเครื่องจักรและอุปกรณ์ของบริษัทย่อยบางแห่งตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ ข้อ 16 เงินฝากประจ�ำของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งจ�ำนวน 7 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 7 ล้านบาท) และกรรมการบริษัทบางท่าน (โดยไม่คิด ค่าธรรมเนียม) นอกจากนีเ้ งือ่ นไขของสัญญาเงินกูด้ งั กล่าวก�ำหนดว่าบริษทั และบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ต้องไม่น�ำสินทรัพย์ของบริษทั และ บริษัทย่อยดังกล่าวไปก่อภาระผูกพัน หรือยินยอมให้มีการก่อภาระผูกพันอื่นอีก เว้นแต่จะได้รับค�ำยินยอมจากธนาคารที่ให้กู้อย่างเป็น ทางการ นอกจากนี้บริษัทและบริษัทย่อยที่ได้รับเงินกู้ยืมจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขอื่นที่ระบุไว้ในสัญญาเงินกู้ (ข) งบการเงินเฉพาะบริษัท
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
กลุม่ บริษทั มีวงเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื เพือ่ การส่งออก และเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินหลายแห่ง เป็นจ�ำนวนเงินรวม 35,361 ล้านบาท 416 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา และ 10 พันล้านรูเปีย (พ.ศ. 2556 : 30,516 ล้านบาท 418 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา และ 10 พันล้านรูเปีย) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2557 กลุ่มบริษัทไม่มีเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร (พ.ศ. 2556 :เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 7.38 ต่อปี) เงินกู้ยืมเพื่อการส่งออกและเงินกู้ยืมระยะสั้นมีดอกเบี้ยในอัตราระหว่างร้อยละ 1.01 ถึงร้อยละ 13.65 ต่อปี (พ.ศ. 2556 : ร้อยละ 1.50 ถึงร้อยละ 13.93 ต่อปี)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมเพื่อการส่งออก และเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินหลาย 223 แห่งเป็นจ�ำนวนเงินรวม 24,224 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 19,784 ล้านบาท) เงินกู้ยืมเพื่อการส่งออกและเงินกู้ยืมระยะสั้นจ�ำนวน 4,262 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 5,985 ล้านบาท) มีดอกเบี้ยในอัตราระหว่างร้อยละ 1.50 ถึงร้อยละ 2.78 ต่อปี (พ.ศ. 2556 : ร้อยละ 1.50 ถึงร้อยละ 2.94 ต่อปี) นอกจากนีเ้ งือ่ นไขของสัญญาเงินกูด้ งั กล่าวก�ำหนดว่าบริษทั ต้องไม่นำ� สินทรัพย์ของบริษทั ไปก่อภาระผูกพัน หรือยินยอมให้มกี ารก่อภาระผูกพันอืน่ อีก เว้นแต่จะได้รบั ค�ำยินยอมจากธนาคารทีใ่ ห้กอู้ ย่างเป็นทางการ นอกจากนีบ้ ริษทั จะต้องปฏิบตั ิ ตามเงื่อนไขอื่นที่ระบุไว้ในสัญญาเงินกู้ 23.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ก) งบการเงินรวม - บริษัท รับเบอร์แลนด์โปรดักส์ จ�ำกัด วงเงินที่ 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ยอดคงเหลือจ�ำนวน 37 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 89 ล้านบาท) เป็นเงินกู้ยืมที่ได้รับ จากธนาคารในปี พ.ศ. 2552 โดยมีก�ำหนดช�ำระเงินต้นทุกสามเดือนโดยเริ่มงวดแรกในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 และช�ำระงวดสุดท้ายในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2558 เงินกูย้ มื มีดอกเบีย้ ในอัตรา MLR หักด้วยอัตราร้อยละคงที่ตอ่ ปี และ ช�ำระดอกเบี้ยเป็นรายเดือน วงเงินที่ 2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ยอดคงเหลือจ�ำนวน 52 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 112 ล้านบาท) เป็นเงินกู้ยืมที่ได้รับ จากธนาคารในปี พ.ศ. 2553 โดยมีกำ� หนดช�ำระเงินต้นทุกสามเดือนโดยเริ่มงวดแรกในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 และ ช�ำระงวดสุดท้ายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2559 เงินกู้ยืมมีดอกเบี้ยในอัตรา MLR หักด้วยอัตราร้อยละคงที่ต่อปี และ ช�ำระดอกเบี้ยเป็นรายเดือน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 23 เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ต่อ) (ก) งบการเงินรวม (ต่อ) - บริษัท อันวาร์พาราวูด จ�ำกัด วงเงินที่ 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ยอดคงเหลือจ�ำนวน 5 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 6 ล้านบาท) เป็นเงินกู้ยืมที่ได้รับจาก ธนาคารในปี พ.ศ. 2556 โดยมีก�ำหนดช�ำระเงินต้นทุกเดือนโดยเริ่มงวดแรกในเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 และช�ำระงวด สุดท้ายในเดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2561 เงินกูย้ มื มีดอกเบีย้ ในอัตรา MLR หักด้วยอัตราร้อยละคงทีต่ อ่ ปี และช�ำระดอกเบีย้ เป็นรายเดือน (ข) งบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานประจ�ำปี 2557
วงเงินที่ 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ยอดคงเหลือจ�ำนวน 2,960 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 2,020 ล้านบาท) เป็นเงินกู้ยืมที่ ได้รับจากธนาคารในปี พ.ศ. 2555 โดยมีกำ� หนดช�ำระเงินต้นทุกสามเดือนโดยเริ่มงวดแรกในเดือนกันยายนพ.ศ. 2555 และช�ำระงวดสุดท้ายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2565 เงินกูย้ มื มีดอกเบีย้ ในอัตรา MLR หักด้วยอัตราร้อยละคงทีต่ อ่ ปี และ ช�ำระดอกเบี้ยเป็นรายเดือน 23.3 หุ้นกู้
224
เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2554 บริษัทออกจ�ำหน่ายหุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวน รวมทั้งสิ้น 2,150,000 หน่วย จ�ำนวน 2 ชุด โดยใช้ชื่อดังนี้ -
หุ้นกู้ของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2554 ชุดที่ 1 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2557
-
หุ้นกู้ของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2554 ชุดที่ 2 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559
เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 บริษัทออกจ�ำหน่ายหุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวน รวมทั้งสิ้น 900,000 หน่วย จ�ำนวน 2 ชุด โดยใช้ชื่อดังนี้ -
หุ้นกู้ของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2556 ชุดที่ 1 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559
-
หุ้นกู้ของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2556 ชุดที่ 2 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 23 เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.3 หุ้นกู้ (ต่อ) ความเคลื่อนไหวของยอดคงเหลือของหุ้นกู้สามารถแสดงได้ดังนี้
พันบาท
พันบาท
3,050,000
2,150,000
-
900,000
ไถ่ถอนในระหว่างปี
(1,600,000)
-
ยอดคงเหลือปลายปี
1,450,000
3,050,000
ยอดคงเหลือต้นปี ออกจ�ำหน่ายในระหว่างปี
รายละเอียดเกี่ยวกับหุ้นกู้ของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทแสดงได้ดังต่อไปนี้ อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละ)
ราคาที่ตราไว้ (บาท)
31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 (หุ้น)
ไถ่ถอน ระหว่างปี (หุ้น)
31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 (หุ้น)
หุ้นกู้ STA14DA
4.40 ต่อปี
1,000
1,600,000
(1,600,000)
-
วันที่ 1 มิถุนายน และ 1 ธันวาคม ของทุกปี
1 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หุ้นกู้ STA16DA
4.70 ต่อปี
1,000
550,000
-
550,000
วันที่ 1 มิถุนายน และ 1 ธันวาคม ของทุกปี
1 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หุ้นกู้ STA182A
4.10 ต่อปี
1,000
300,000
-
300,000
วันที่ 13 กุมภาพันธ์
13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันครบก�ำหนด ก�ำหนดจ่ายดอกเบี้ย ไถ่ถอน
และ 13 สิงหาคมของ ทุกปี
หุ้นกู้ STA162A
4.50 ต่อปี
1,000
600,000
-
600,000
วันที่ 13 กุมภาพันธ์ และ 13 สิงหาคมของ ทุกปี
3,050,000
(1,600,000)
13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
1,450,000
ราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของหุ้นกู้ มีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท
หุ้นกู้
ราคาตามบัญชี พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท
มูลค่ายุติธรรม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท
1,450,000
1,477,689
3,050,000
3,073,200
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
225
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 23 เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.4 ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ (ไม่รวมหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน) ของกลุ่มบริษัทและบริษัท สรุปได้ดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
-
20
-
-
9,408,410
14,223,065
4,261,484
5,985,183
9,408,410
14,223,085
4,261,484
5,985,183
3,053,726
2,227,130
2,960,000
2,020,000
1,450,000
3,050,000
1,450,000
3,050,000
1,450,000
3,050,020
1,450,000
3,050,000
12,462,136
16,450,195
7,221,484
8,005,183
13,912,136
19,500,215
8,671,484
11,055,183
เงินกู้ยืมระยะสั้น - ณ อัตราคงที่
รายงานประจ�ำปี 2557
- ณ อัตราลอยตัว เงินกู้ยืมระยะยาว - ณ อัตราลอยตัว หุ้นกู้ - ณ อัตราคงที่ 226
รวมเงินกู้ยืม - ณ อัตราคงที่ - ณ อัตราลอยตัว
มูลค่ายุตธิ รรมของเงินกูย้ มื ระยะยาวและหุน้ กูค้ ำ� นวณจากกระแสเงินสดในอนาคตซึง่ คิดลดด้วยอัตราดอกเบีย้ ของเงินกูย้ มื ทีฝ่ า่ ยบริหารคาด ว่ากลุม่ บริษทั และบริษทั จะต้องจ่าย ณ วันทีใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน ราคาตามบัญชีของเงินกูย้ มื ระยะสัน้ และหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าระยะยาว นั้น ใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรมของรายการดังกล่าว
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 23 เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.4 ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ (ต่อ) ระยะเวลาครบก�ำหนดของเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ (ไม่รวมหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน) มีดังต่อไปนี้ งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
ครบก�ำหนดภายในไม่เกิน 1 ปี
9,548,674
15,936,489
4,311,484
7,585,183
ครบก�ำหนดเกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 3 ปี
1,277,808
1,241,668
1,275,000
1,150,000
ครบก�ำหนดเกิน 3 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี
1,325,654
1,638,058
1,325,000
1,636,000
ครบก�ำหนดเกิน 5 ปี
1,760,000
684,000
1,760,000
684,000
13,912,136
19,500,215
8,671,484
11,055,183
รวมเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้
ยอดคงเหลือของเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้สามารถแยกตามสกุลเงินได้ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (USD)
2,659,851
3,503,867
-
-
เงินรูเปียประเทศอินโดนีเซีย (IDR)
704,575
1,076,315
-
-
เงินบาท (THB)
10,547,710
14,920,033
8,671,484
11,055,183
รวมเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้
13,912,136
19,500,215
8,671,484
11,055,183
23.5 หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน จ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายซึ่งบันทึกเป็นหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน มีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557 พันบาท
พ.ศ. 2556 พันบาท
พ.ศ. 2557 พันบาท
พ.ศ. 2556 พันบาท
ครบก�ำหนดภายใน 1 ปี
32,472
19,683
3,878
4,716
ครบก�ำหนดเกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี
34,517
30,103
4,211
5,496
66,989
49,786
8,089
10,212
(3,632)
(3,246)
(524)
(662)
63,357
46,540
7,565
9,550
หัก ค่าใช้จ่ายทางการเงินในอนาคตของ สัญญาเช่าทางการเงิน มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช่า ทางการเงิน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
227
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 23 เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.5 หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน (ต่อ) งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557 พันบาท
พ.ศ. 2556 พันบาท
พ.ศ. 2557 พันบาท
พ.ศ. 2556 พันบาท
- ส่วนของหมุนเวียน
30,046
17,874
3,585
4,400
- ส่วนของไม่หมุนเวียน
33,311
28,666
3,980
5,150
63,357
46,540
7,565
9,550
หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน
รายงานประจ�ำปี 2557
มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินมีรายละเอียดดังนี้
228
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท
ครบก�ำหนดภายในไม่เกิน 1 ปี
30,046
17,874
3,585
4,400
ครบก�ำหนดเกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี
33,311
28,666
3,980
5,150
63,357
46,540
7,565
9,550
23.6 วงเงินกู้ยืม กลุ่มบริษัทและบริษัทมีวงเงินกู้ยืมที่ยังไม่ได้เบิกออกมาใช้ดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พันดอลลาร์ พันบาท สหรัฐอเมริกา
พ.ศ. 2556 ล้านรูเปีย
พันดอลลาร์ พันบาท สหรัฐอเมริกา
ล้านรูเปีย
อัตราดอกเบี้ยลอยตัว - ครบก�ำหนดภายใน 1 ปี
30,157,176
314,009
10,000
23,012,777
288,005
10,000
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 23 เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.6 วงเงินกู้ยืม (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท
พันบาท
20,802,676
15,578,977
อัตราดอกเบี้ยลอยตัว - ครบก�ำหนดภายใน 1 ปี
24 ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ จ�ำนวนที่รับรู้ในงบแสดงฐานะการเงินมีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันที่ไม่ได้จัดให้มีกองทุน
พันบาท 115,226
พันบาท 106,867
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท 53,448
พันบาท 44,584
รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันของผลประโยชน์ที่กำ� หนดไว้ มีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
ณ วันที่ 1 มกราคม
พันบาท 106,867
พันบาท 88,498
พันบาท 44,584
พันบาท 38,469
ต้นทุนบริการปัจจุบัน
10,315
20,618
4,870
4,603
5,360
4,463
1,646
1,512
(862)
(132)
(294)
-
(6,454)
(6,580)
2,642
-
115,226
106,867
53,448
44,584
ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์พนักงานที่จ่าย ก�ำไร(ขาดทุน)จากการประมาณการตามคณิตศาสตร์ ประกันภัย ณ วันที่ 31 ธันวาคม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
วงเงินกู้ยืมที่จะครบก�ำหนดภายในหนึ่งปีเป็นวงเงินกู้ยืมของแต่ละปีที่ผู้บริหารมีการทบทวนตามวาระ ส่วนวงเงินกู้ยืมอื่นได้รับมาเพื่อใช้ใน การขยายการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทและบริษัท
229
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 24 ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ (ต่อ) จ�ำนวนเงินที่รับรู้ในงบก�ำไรขาดทุนมีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 ต้นทุนบริการปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย รวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท 10,315
พันบาท 20,618
พันบาท 4,870
พันบาท 4,603
5,360
4,463
1,646
1,512
15,675
25,081
6,516
6,115
รายงานประจ�ำปี 2557
ก�ำไร(ขาดทุน)สะสม จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 มีดังนี้
230
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 ก�ำไร(ขาดทุน)จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยระหว่างปี ก�ำไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสะสม
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
6,454
6,580
(2,642)
-
41,204
34,750
3,907
6,549
สมมติฐานทางสถิติที่ส�ำคัญที่ใช้ในการค�ำนวณสรุปได้ดังนี้ ร้อยละ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
อัตราคิดลด
3.6
4.3
3.6
4.3
อัตราเงินเฟ้อ
3.0
3.0
3.0
3.0
อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต (พนักงานรายเดือน)
7.0
7.0
7.0
7.0
อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต (พนักงานรายวัน)
3.0
3.0
3.0
3.0
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 25 ทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้น งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท จ�ำนวนหุ้น ที่ออกจ�ำหน่าย จ�ำนวนหุ้น
และช�ำระแล้ว
ตราไว้ (บาทต่อหุ้น)
จดทะเบียน (หุ้น)
เต็มมูลค่า (หุ้น)
หุ้นสามัญ (พันบาท)
มูลค่าหุ้น (พันบาท)
รวม (พันบาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556
1 1,280,000,000 1,280,000,000
1,280,000
8,550,990
9,830,990
การออกหุ้นเพิ่มทุน
-
-
-
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
1 1,280,000,000 1,280,000,000
1,280,000
8,550,990
9,830,990
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557
1 1,280,000,000 1,280,000,000
1,280,000
8,550,990
9,830,990
การออกหุ้นเพิ่มทุน
-
-
-
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
1 1,280,000,000 1,280,000,000
1,280,000
8,550,990
9,830,990
-
-
ส่วนเกิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 หุ้นสามัญจดทะเบียนทั้งหมดมีจ�ำนวน 1,280,000,000 หุ้น (พ.ศ. 2556 : 1,280,000,000 หุ้น) ซึ่งมีราคา มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2556 : ราคาหุ้นละ 1 บาท) โดยหุ้นจ�ำนวน 1,280,000,000 หุ้นได้ออกและช�ำระเต็มมูลค่าแล้ว (พ.ศ. 2556 : 1,280,000,000 หุ้น)
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
มูลค่าที่
231
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 26 องค์ประกอบอื่นของส่วนผู้ถือหุ้น องค์ประกอบอื่นของส่วนผู้ถือหุ้นสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้
รายงานประจ�ำปี 2557
งบการเงินรวม ส่วนต�ำ่ จากการ ซื้อเงินลงทุน ในบริษัทย่อย เพิ่มจาก ส่วนได้เสียที่ ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุม
ส่วนเกินทุน จากการ ประเมินราคา สินทรัพย์ สุทธิจากค่า เสื่อมราคา สะสม
ก�ำไรที่ยังไม่ เกิดขึ้นจาก เงินลงทุนใน หลักทรัพย์ เผื่อขาย
ผลสะสมจาก การแปลงค่า งบการเงิน
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
(173,134)
1,130,229
8,547
(453,395)
512,247
-
462,784
-
-
462,784
-
(92,557)
-
-
(92,557)
-
(23,268)
-
-
(23,268)
-
2,197
-
-
2,197
-
-
11,193
-
11,193
เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - ภาษี
-
-
(835)
-
(835)
การเปลี่ยนแปลงของอัตราภาษีที่ใช้รับรู้ภาษี เงินได้รอตัดบัญชี
-
(8,841)
(41)
-
(8,882)
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน
-
-
-
7,536
7,536
(173,134)
1,470,544
18,864
(445,859)
870,415
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 - ตามที่ปรับใหม่ ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - ก่อนภาษี
232
ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - ภาษี ค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินทุนจากการประเมิน ราคาสินทรัพย์ - ก่อนภาษี ค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินทุนจากการประเมิน ราคาสินทรัพย์ - ภาษี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - ก่อนภาษี (หมายเหตุ 15) การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 26 องค์ประกอบอื่นของส่วนผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส่วนต�่ำจากการ ซื้อเงินลงทุน ส่วนเกินทุนจาก ในบริษัทย่อย การประเมิน เพิ่มจาก ราคาสินทรัพย์ ส่วนได้เสียที่ - สุทธิจากค่า ไม่มีอ�ำนาจ เสื่อมราคา ควบคุม สะสม
ก�ำไรที่ยังไม่ เกิดขึ้นจาก เงินลงทุนใน หลักทรัพย์ เผื่อขาย
ผลสะสมจาก การแปลงค่า งบการเงิน
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
(173,134)
1,097,991
13,526
(347,928)
590,455
-
(12,405)
-
-
(12,405)
-
3,101
-
-
3,101
-
(23,145)
-
-
(23,145)
-
2,077
-
-
2,077
-
-
(6,687)
-
(6,687)
เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - ภาษี
-
-
483
-
483
การเปลี่ยนแปลงของอัตราภาษีที่ใช้รับรู้ภาษี เงินได้รอตัดบัญชี
-
62,610
1,225
-
63,835
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน
-
-
-
(105,467)
(105,467)
(173,134)
1,130,229
8,547
(453,395)
512,247
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่ ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - ก่อนภาษี ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - ภาษี ค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินทุนจากการประเมิน ราคาสินทรัพย์ - ก่อนภาษี ค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินทุนจากการประเมิน ราคาสินทรัพย์ - ภาษี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - ก่อนภาษี (หมายเหตุ 15) การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม
233
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 26 องค์ประกอบอื่นของส่วนผู้ถือหุ้น (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท ส่วนเกินทุนจาก การประเมิน ราคาสินทรัพย์ - สุทธิจากค่า เสื่อมราคา สะสม
ก�ำไรที่ยังไม่เกิด ขึ้นจากเงิน ลงทุนในหลัก ทรัพย์เผื่อขาย
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 - ตามที่ปรับใหม่
706,206
8,096
714,302
ค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - ก่อนภาษี
(16,158)
-
(16,158)
1,194
-
1,194
การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - ก่อนภาษี (หมายเหตุ 15)
-
11,145
11,145
การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - ภาษี
-
(823)
(823)
691,242
18,418
709,660
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่
658,561
12,889
671,450
ค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - ก่อนภาษี
(16,158)
-
(16,158)
1,194
-
1,194
การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - ก่อนภาษี (หมายเหตุ 15)
-
(6,499)
(6,499)
การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - ภาษี
-
480
480
62,609
1,226
63,835
706,206
8,096
714,302
รายงานประจ�ำปี 2557
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
ค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - ภาษี
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 234
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่
ค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ - ภาษี
การเปลี่ยนแปลงของอัตราภาษีที่ใช้รับรู้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - ตามที่ปรับใหม่
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 27 ส�ำรองตามกฎหมาย งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 ณ วันที่ 1 มกราคม จัดสรรระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม
พันบาท 128,000
พันบาท 128,000
-
-
128,000
128,000
28 รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
รายได้จากการขายสินค้า
พันบาท 75,529,614
พันบาท 92,136,752
พันบาท 37,058,138
พันบาท 42,938,614
รายได้จากการให้บริการ
261
48,429
-
23,838
75,529,875
92,185,181
37,058,138
42,962,452
รวมรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ
29 ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่มีสาระส�ำคัญที่เกิดขึ้นเป็นประจ�ำซึ่งรวมอยู่ในการค�ำนวณก�ำไรจากการด�ำเนินงานส�ำหรับปี มีดังนี้ งบการเงินรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2557
(ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
(ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
3,498,116
(75,616)
1,578,083
125,347
49,410,689
63,477,262
26,060,798
30,713,444
74,498
(40,667)
(642)
642
1,894,366
1,712,133
728,767
658,998
การเปลี่ยนแปลงในสินค้าส�ำเร็จรูป และงานระหว่างท�ำ วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป (การกลับรายการ)ค่าเผื่อส�ำหรับราคาทุนของ สินค้าคงเหลือที่เกินกว่ามูลค่าสุทธิที่จะได้รับ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานและค่าตอบแทน ผู้บริหารส�ำคัญ
30
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทต้องส�ำรองตามกฎหมายอย่างน้อยร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิหลังจากหักส่วนของขาดทุน สะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าส�ำรองนี้จะมีมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนส�ำรองนี้ไม่สามารถน�ำไปจ่ายเงินปันผลได้
235
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 29 ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ (ต่อ) งบการเงินรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ค่าเสื่อมราคา
หมายเหตุ 16
รายงานประจ�ำปี 2557
พ.ศ. 2557
(ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
(ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2556
พันบาท 866,887
พันบาท 720,930
พันบาท 359,248
พันบาท 267,297
ค่าตัดจ�ำหน่ายสวนยางพาราและสวนปาล์ม
17
805
1,520
480
480
ค่าตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
18
9,784
8,562
4,779
4,058
ค่าขนส่งและค่าจัดจ�ำหน่าย
1,108,878
938,292
697,626
597,012
ค่าพลังงาน
1,079,404
970,936
484,268
400,399
796,569
1,234,360
551,861
791,377
ค่าสงเคราะห์การท�ำสวนยาง
236
งบการเงินเฉพาะบริษัท
ข้อมูลเพิ่มเติม ค่าสงเคราะห์การท�ำสวนยาง คือเงินที่เรียกเก็บจากผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติไปนอกราชอาณาจักรเข้ากองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยาง ซึ่งบริหารโดยส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยาง (“สกย.”) เพื่อไปอุดหนุนการปลูกสวนยางพาราใหม่ทดแทนสวนยางพาราเดิม
30 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานและค่าตอบแทนผู้บริหารส�ำคัญ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท 1,680,541
พันบาท 1,551,284
พันบาท 664,932
พันบาท 608,719
ประกันสังคม
47,577
42,674
17,583
12,785
กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ
17,820
13,028
8,383
7,274
ผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ
15,675
25,081
6,516
6,115
132,753
80,066
31,353
24,105
1,894,366
1,712,133
728,767
658,998
ค่าจ้างและเงินเดือน
ผลประโยชน์พนักงานอื่นๆ รวมค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานและค่าตอบแทนผู้บริหารส�ำคัญ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 31 รายได้อื่น งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
รายได้ชดเชยเงินประกัน
พันบาท 5,077
พันบาท 92,901
พันบาท 5,077
พันบาท 92,901
รายได้ให้บริการใช้พื้นที่วางสินค้า
45,004
32,926
5,181
5,181
1,639
22,895
1,057,449
761,114
17,766
15,884
1,689
1,734
รายได้จากการขายของเสียจากการผลิต
6,760
7,416
2,556
2,962
รายได้ให้บริการส�ำนักงาน
6,178
6,178
12,165
12,165
-
29,772
-
29,772
38,669
52,021
25,475
38,262
121,093
259,993
1,109,592
944,091
รายได้เงินปันผล รายได้ค่าเช่า
รายได้รับเบิกคืนค่าเบี้ยประกันสินค้า อื่นๆ รวมรายได้อื่น
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
32 ต้นทุนทางการเงิน - สุทธิ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 237
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
39,300
34,563
39,300
34,563
7,437
7,347
2,021
1,733
นายหน้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
401
535
59
416
ดอกเบี้ยรับจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
2,564
3,615
33,453
30,099
49,702
46,060
74,833
66,811
(594,768)
(669,376)
(367,731)
(318,630)
(363)
(313)
-
-
(68,255)
(405,657)
-
-
รวมต้นทุนทางการเงิน
(663,386)
(1,075,346)
(367,731)
(318,630)
ต้นทุนทางการเงิน - สุทธิ
(613,684)
(1,029,286)
(292,898)
(251,819)
รายได้ทางการเงิน ดอกเบี้ยรับจากหุ้นกู้ ดอกเบี้ยรับจากเงินฝากธนาคาร ดอกเบี้ยรับจากลูกหนี้การค้าและ
รวมรายได้ทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายส�ำหรับเงินกู้ยืมจากธนาคาร ดอกเบี้ยจ่ายส�ำหรับสัญญาเช่าทางการเงิน ขาดทุนสุทธิจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศจากกิจกรรมการจัดหาเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 33 ก�ำไรอื่น - สุทธิ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
ก�ำไรจากตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเกี่ยวกับยางพารา
พันบาท 1,134,826
พันบาท 338,615
พันบาท 875,057
พันบาท 53,359
ก�ำไรอื่น - สุทธิ
1,134,826
338,615
875,057
53,359
34 ภาษีเงินได้
รายงานประจ�ำปี 2557
อัตราภาษีเงินได้ถัวเฉลี่ยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ส�ำหรับงบการเงินรวม คือ อัตราร้อยละ 3.7 (พ.ศ. 2556 : อัตราร้อยละ 7.5) การลดลงเกิดจากการใช้ผลขาดทุนทางภาษีซึ่งยังไม่ถูกรับรู้ในรอบบัญชีที่ผ่านมา ส�ำหรับงบการเงินเฉพาะบริษัท คือ อัตราร้อยละ 1.4(พ.ศ. 2556 : อัตราร้อยละ 1.6)
238
ตามที่พระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 530 พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ได้ประกาศให้มีการลดอัตราภาษีส�ำหรับปี พ.ศ. 2555 ลงเหลือ ร้อยละ 23 และส�ำหรับปี พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2557 เหลืออัตราร้อยละ 20 ในระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 สภาวิชาชีพบัญชีแห่งประเทศไทย ได้ออกค�ำชี้แจงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยสภาวิชาชีพบัญชีเชื่อว่ารัฐบาลจะด�ำเนินการแก้ไขให้อัตราภาษีไม่สูงไปกว่า ร้อยละ 20 ตามค�ำชี้แจงของสภาวิชาชีพดังกล่าวท�ำให้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่คาดว่าจะถูกกลับรายการในปี พ.ศ. 2555 และตั้งแต่ พ.ศ. 2556 เป็นต้นไปจะถูกวัดมูลค่าใหม่ด้วยอัตราภาษีร้อยละ 23 และร้อยละ 20 ตามล�ำดับ การลดลงของอัตราภาษีดังกล่าวท�ำให้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัด บัญชีและหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีของกลุม่ บริษทั ลดลง ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงอัตราภาษีดงั กล่าวถูกรับรูเ้ ป็นภาษีเงินได้ในปี พ.ศ. 2554 ยกเว้นภาษีเงินได้รอตัดบัญชีซึ่งรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นจะรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
59,553
167,240
-
10,412
รายการที่เกิดจากผลแตกต่างชั่วคราว
(19,421)
(17,663)
19,932
4,197
รวมภาษีเงินได้
40,132
149,577
19,932
14,609
ภาษีเงินได้ปีปัจจุบัน ภาษีเงินได้ประจ�ำปีที่บันทึกในก�ำไรส�ำหรับปี ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 34 ภาษีเงินได้ (ต่อ)
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท 1,076,370
พันบาท 1,986,709
พันบาท 1,461,576
พันบาท 938,971
ภาษีที่ค�ำนวณจากอัตราภาษีที่บังคับใช้กับก�ำไรของ แต่ละประเทศ
168,434
255,497
108,010
69,390
ส่วนแบ่งภาษีเงินได้ของบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า
(39,543)
(36,623)
-
-
(66,331)
(99,561)
(65,633)
(89,538)
(1,220)
15,525
1,259
7,451
(16,505)
(16,665)
(12,939)
(13,435)
(2,151)
43,246
-
43,152
ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้
ผลกระทบทางภาษีเงินได้ มีดังนี้ - รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี - ค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถหักภาษีได้ - ค่าใช้จ่ายที่สามารถหักภาษีได้สองเท่า - ผลกระทบของอัตราภาษีที่เปลี่ยนแปลงไป - ผลขาดทุนทางภาษีในปีปัจจุบันที่ไม่ได้ รับรู้เป็นสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
31,110
10,274
-
-
- ภาษีในส่วนที่ได้รับในอัตราพิเศษที่ร้อยละ 10 ข้อมูลเพิ่มเติม (ก)
(23,644)
(26,914)
-
-
- การใช้ผลขาดทุนทางภาษีซึ่งยังไม่ถูกรับรู้ ในรอบบัญชีที่ผ่านมา
2,579
391
-
-
(13)
1,571
-
-
- อื่นๆ
(12,584)
2,836
(10,765)
(2,411)
รวมภาษีเงินได้
40,132
149,577
19,932
14,609
- ประมาณการหนี้สินภาษีเงินได้สูงไปใน ปีก่อน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ภาษีเงินได้ส�ำหรับก�ำไรก่อนหักภาษีของกลุ่มบริษัทมียอดจ�ำนวนเงินที่แตกต่างจากการค�ำนวณก�ำไรทางทฤษฎีบัญชีคูณกับภาษีเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักที่ บังคับใช้กับก�ำไรของงบการเงินรวม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
239
ข้อมูลเพิ่มเติม (ก) เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 กระทรวงการค้าและอุตสาหกรรมของประเทศสิงคโปร์ได้ให้สิทธิประโยชน์ตามโครงการ Global Trader Programme แก่บริษัทย่อยแห่งหนึ่งของกลุ่มบริษัทส�ำหรับงวดตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ภาย ใต้โครงการนี้ รายได้ที่มาจากรายการค้าที่เข้าเงื่อนไขของสินค้าที่ได้รับอนุมัติจะเสียภาษีในอัตราพิเศษ (Concessionary rate) ที่ร้อยละ 10 เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2553 สิทธิประโยชน์ดังกล่าวได้รับการขยายระยะเวลาส�ำหรับงวดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 34 ภาษีเงินได้ (ต่อ) ข้อมูลเพิ่มเติม (ต่อ) (ข) บริษทั และบริษทั ย่อยบางแห่งในประเทศไทยได้รบั สิทธิประโยชน์ทางภาษีทเี่ กีย่ วข้องกับการผลิตผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติบางชนิด ซึง่ สิทธิ พิเศษที่ได้รับโดยสังเขปมีดังต่อไปนี้ -
ได้รับยกเว้นการเสียภาษีอากรขาเข้าและภาษีการค้าส�ำหรับเครื่องจักรตามที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
-
ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิเป็นระยะเวลาแปดปีนบั แต่วนั ทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการ และได้รบั ลดหย่อน ภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติอีกห้าปีนับจากระยะเวลาแปดปีแรกสิ้นสุดลง
ภาษีเงินได้ที่บันทึกเพิ่ม(ลด)ไปยังก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นมีดังนี้
รายงานประจ�ำปี 2557
งบการเงินรวม
240
(ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557 ก่อนภาษี
ภาษีที่บันทึก เพิ่ม(ลด)
หลังภาษี
ก่อนภาษี
ภาษีที่บันทึก เพิ่ม(ลด)
หลังภาษี
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
462,784
(92,557)
370,227
(12,405)
3,101
(9,304)
-
(9,063)
(9,063)
-
64,361
64,361
11,193
(835)
10,358
(6,687)
483
(6,204)
6,454
(2,400)
4,054
6,580
(1,646)
4,934
ผลสะสมจากการแปลงค่างบการเงิน
9,838
(2,177)
7,661
(109,770)
(10,795)
(120,565)
รวมภาษีที่จะบันทึกไปยังก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นที่เกี่ยวข้อง
490,269
(107,032)
383,237
(122,282)
55,504
(66,778)
ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์ การเปลี่ยนแปลงของอัตราภาษีที่ใช้รับรู้ภาษี เงินได้รอตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงิน ลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ก�ำไรจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยส�ำหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 34 ภาษีเงินได้ (ต่อ) ข้อมูลเพิ่มเติม (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท
การเปลี่ยนแปลงของอัตราภาษีที่ใช้รับรู้ภาษี เงินได้รอตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงิน ลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ก�ำไรจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยส�ำหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน รวมภาษีที่จะบันทึกไปยังก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นที่เกี่ยวข้อง
หลังภาษี
หลังภาษี
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
-
-
-
-
64,361
64,361
11,146
(824)
10,322
(6,499)
480
(6,019)
(2,642)
195
(2,447)
-
-
-
8,504
(629)
7,875
(6,499)
64,841
58,342
241
35 ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค�ำนวณโดยการหารก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ด้วยจ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักที่ถือโดยบุคคล ภายนอกในระหว่างปี
ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ (พันบาท) จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยที่ถือโดยบุคคลภายนอก ระหว่างปี (หุ้น) ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาทต่อหุ้น)
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
พ.ศ. 2557 ภาษีที่บันทึก ก่อนภาษี เพิ่ม(ลด)
(ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2556 ภาษีที่บันทึก ก่อนภาษี เพิ่ม(ลด)
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
1,037,762
1,820,184
1,441,643
924,362
1,280,000,000 0.81
1,280,000,000 1.42
1,280,000,000 1.13
1,280,000,000 0.72
บริษัทไม่มีการออกหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556
36 เงินปันผล ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี เมือ่ วันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2557 ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี พ. ศ. 2556 จ�ำนวนหุ้นละ 0.65 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 832 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี เมือ่ วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2556 ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี พ. ศ. 2555 จ�ำนวนหุ้นละ 0.5 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 640 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 37 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการและบุคคลที่ควบคุมบริษัท หรือถูกควบคุมโดยบริษัท หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกับบริษัททั้งทางตรงหรือทางอ้อมไม่ว่าจะโดยทอดเดียว หรือหลายทอด กิจการและบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท บริษัทย่อยและบริษัทย่อยล�ำดับถัดไป บริษัทร่วมและบุคคลที่ เป็นเจ้าของส่วนได้เสียในสิทธิออกเสียงของบริษัทซึ่งมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญเหนือกิจการ ผู้บริหารส�ำคัญรวมทั้งกรรมการและพนักงานของ บริษัท ตลอดจนสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั้น กิจการและบุคคลทั้งหมดถือเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งอาจมีขึ้นได้ ต้องค�ำนึงถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์มากกว่ารูปแบบ ความสัมพันธ์ตามกฎหมาย บริษัท ศรีตรัง โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งในประเทศไทยเป็นบริษัทใหญ่ในขั้นสุดท้ายของกลุ่มบริษัท รายการต่อไปนี้เป็นรายการกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
รายงานประจ�ำปี 2557
37.1 รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ และรายได้อื่น ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
บริษัทย่อย
-
-
2,828,148
3,081,861
บริษัทร่วม
30,940
3,857,431
-
1,131,915
3,605,049
-
1,066,311
-
3,635,989
3,857,431
3,894,459
4,213,776
บริษัทย่อย
-
-
57,113
57,729
บริษัทร่วม
19,387
211,781
896
11,323
261,940
-
14,628
-
281,327
211,781
72,637
69,052
บริษัทย่อย
-
-
581,999
59,633
บริษัทร่วม
113,453
406,840
100,106
327,000
กิจการร่วมค้า
411,011
51,589
323,710
51,589
524,464
458,429
1,005,815
438,222
รายได้จากการขายสินค้าให้กับ 242
กิจการร่วมค้า รายได้จากการให้บริการให้กับ
กิจการร่วมค้า รายได้เงินปันผล
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 37 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 37.1 รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ และรายได้อื่น (ต่อ)
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
บริษัทย่อย
-
-
851
512
บริษัทร่วม
-
9,912
-
768
12,102
-
708
-
12,102
9,912
1,559
1,280
บริษัทย่อย
-
-
30,889
26,484
บริษัทร่วม
2,564
3,350
2,564
3,350
2,564
3,350
33,453
29,834
กิจการร่วมค้า รายได้ดอกเบี้ย
37.2 การซื้อสินค้าและการรับบริการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
243
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
บริษัทย่อย
-
-
1,920,614
4,566,589
บริษัทร่วม
74
714,753
-
602,526
2,182,365
2,984,188
666,062
-
2,182,439
3,698,941
2,586,676
5,169,115
บริษัทย่อย
-
-
859,353
678,997
บริษัทร่วม
2,382
2,580
2,329
2,486
87
-
-
-
2,469
2,580
861,682
681,483
-
-
1,229
1,421
การซื้อสินค้าจาก
กิจการร่วมค้า การรับบริการจาก
กิจการร่วมค้า ค่าเช่าจ่าย บริษัทย่อย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
รายได้ค่าเช่า
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 37 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 37.3 ยอดค้างช�ำระที่เกิดจากการขายและซื้อสินค้าและบริการ และรายได้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
บริษัทย่อย
-
-
445,418
275,836
บริษัทร่วม
4,019
127,622
-
13,775
96,248
-
13,726
-
100,267
127,622
459,144
289,611
85,664
152,662
85,664
152,662
บริษัทย่อย
-
-
15,917
20,043
บริษัทร่วม
895
5,774
629
1,135
4,995
-
8
-
5,890
5,774
16,554
21,178
บริษัทย่อย
-
-
162,847
203,278
บริษัทร่วม
10
105,299
-
83,394
218,275
170,987
115,729
-
218,285
276,286
278,576
286,672
บริษัทย่อย
-
-
23,559
32,875
บริษัทร่วม
470
45,973
-
10
20,830
-
28
-
21,300
45,973
23,587
32,885
ลูกหนี้การค้า (หมายเหตุข้อ 10)
รายงานประจ�ำปี 2557
กิจการร่วมค้า
เงินมัดจ�ำนายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า บริษัทร่วม ลูกหนี้อื่น
244
กิจการร่วมค้า เจ้าหนี้การค้า (หมายเหตุข้อ 22)
กิจการร่วมค้า
เจ้าหนี้อื่น
กิจการร่วมค้า
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 37 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 37.3 ยอดค้างช�ำระที่เกิดจากการขายและซื้อสินค้าและบริการ และรายได้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม (ต่อ) ยอดคงเหลือระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันสามารถแยกตามสกุลเงินได้ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
100,267 100,267
66 127,556 127,622
364,100 95,044 459,144
268,497 21,114 289,611
85,664
152,662
85,664
152,662
492 5,398 5,890
490 5,284 5,774
15,557 997 16,554
19,735 1,443 21,178
218,285 218,285
170,987 105,299 276,286
85,594 192,982 278,576
31,493 255,179 286,672
21,300 21,300
45,973 45,973
2,490 21,097 23,587
3,991 28,894 32,885
เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (USD) เงินบาท (THB)
เงินมัดจ�ำนายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เงินบาท (THB) ลูกหนี้อื่น เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (USD) เงินบาท (THB) เจ้าหนี้การค้า (หมายเหตุข้อ 22) เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (USD) เงินบาท (THB) เจ้าหนี้อื่น เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (USD) เงินบาท (THB)
ลูกหนี้การค้าจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องส่วนใหญ่มาจากรายการขายและถึงก�ำหนดช�ำระประมาณหนึ่งเดือนหลังจากวันที่เกิดรายการ ขาย ลูกหนี้การค้าดังกล่าวโดยปกติแล้วจะไม่มีหลักทรัพย์ค�้ำประกันและไม่มีดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ไม่มีค่าเผื่อการด้อย ค่าของลูกหนี้จากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (พ.ศ. 2556 : ไม่มี) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 เจ้าหนี้การค้าระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันส่วนใหญ่มาจากรายการซื้อและถึง ก�ำหนดช�ำระประมาณหนึ่งเดือนหลังจากวันที่เกิดรายการซื้อ เจ้าหนี้การค้าไม่มีดอกเบี้ย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
ลูกหนี้การค้า (หมายเหตุข้อ 10)
245
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 37 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 37.4 ยอดค้างช�ำระที่เกิดจากการให้กู้ยืมเงินระยะยาวแก่บริษัทย่อยและบริษัทร่วม งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
บริษัทย่อย
-
-
12,078
12,029
บริษัทร่วม
-
995
-
994
-
995
12,078
13,023
บริษัทย่อย
-
-
992,656
988,572
บริษัทร่วม
-
65,356
-
65,356
-
65,356
992,656
1,053,928
ดอกเบี้ยค้างรับ
รายงานประจ�ำปี 2557
เงินให้กู้ยืมระยะยาว
เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อยสรุปได้ดังนี้ 246
งบการเงินเฉพาะบริษัท เงินต้น ล้านดอลลาร์ (เทียบเท่า) สหรัฐอเมริกา ล้านบาท ความสัมพันธ์
อัตรา ดอกเบี้ย ร้อยละ
ระยะเวลา การกู้
PT Sri Trang Lingga Indonesia
บริษัทย่อย
5
165
3.33
5 ปี
PT Sri Trang Lingga Indonesia
บริษัทย่อย
10
331
2.66
3 ปี
บริษัทย่อยทางอ้อม
15
496
3.33
5 ปี
PT Star Rubber
ความเคลื่อนไหวของยอดคงเหลือของเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อยและบริษัทร่วมสามารถแสดงได้ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
ณ วันที่ 1 มกราคม
พันบาท 65,356
พันบาท 60,775
พันบาท 1,053,928
พันบาท 60,775
เพิ่มขึ้น(ลดลง)
(65,356)
-
(65,356)
900,000
ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง
-
4,581
4,084
93,153
รวม
-
65,356
992,656
1,053,928
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 37 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 37.5 ค่าตอบแทนผู้บริหารส�ำคัญ ผู้บริหารส�ำคัญรวมถึงกรรมการ (ไม่ว่าจะท�ำหน้าที่ในระดับบริหารหรือไม่) คณะผู้บริหารระดับสูง และหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งผลตอบแทนที่จ่ายหรือค้างจ่ายส�ำหรับผู้บริหารส�ำคัญ มีดังนี้ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท 263,671
พันบาท 293,236
พันบาท 55,878
พันบาท 74,252
3,014
2,815
1,334
1,203
266,685
296,051
57,212
75,455
38 เครื่องมือทางการเงินแยกตามประเภท งบการเงินรวม
เงินให้กู้ยืม และ ลูกหนี้
31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 สินทรัพย์ซึ่งประเมิน ราคาตามมูลค่า ยุติธรรมที่ปรับมูลค่า เพิ่มขึ้นหรือลดลงโดย ผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน หลักทรัพย์เผื่อขาย
247
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
2,131,619
-
-
2,131,619
-
89,767
-
89,767
4,380,983
-
-
4,380,983
392,450
-
-
392,450
34,586
-
-
34,586
-
-
63,672
63,672
6,939,638
89,767
63,672
7,093,077
สินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้นายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�้ำประกัน เงินลงทุนระยะยาว รวม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 38 เครื่องมือทางการเงินแยกตามประเภท (ต่อ) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 หนี้สินซึ่งประเมินราคาตาม มูลค่ายุติธรรมที่ปรับมูลค่า เพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยผ่าน เข้าก�ำไรขาดทุน หนี้สินทางการเงินอื่น
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
-
1,490,547 9,408,410
1,490,547 9,408,410
-
140,264
140,264
212,827 212,827
30,046 2,913,462 1,450,000 33,311 15,466,040
30,046 212,827 2,913,462 1,450,000 33,311 15,678,867
รายงานประจ�ำปี 2557
หนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน
248
เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน รวม
งบการเงินรวม
เงินให้กู้ยืม และ ลูกหนี้
31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 สินทรัพย์ซึ่งประเมิน ราคาตามมูลค่า ยุติธรรมที่ปรับมูลค่า เพิ่มขึ้นหรือลดลงโดย ผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน หลักทรัพย์เผื่อขาย
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
1,892,729 7,179,059 320,816 65,356 61,185 9,519,145
75,974 75,974
52,439 52,439
1,892,729 75,974 7,179,059 320,816 65,356 61,185 52,439 9,647,558
สินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้นายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทร่วม เงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�้ำประกัน เงินลงทุนระยะยาว รวม
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 38 เครื่องมือทางการเงินแยกตามประเภท (ต่อ) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 หนี้สินซึ่งประเมินราคาตาม มูลค่ายุติธรรมที่ปรับมูลค่า เพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยผ่าน เข้าก�ำไรขาดทุน หนี้สินทางการเงินอื่น พันบาท พันบาท -
2,751,399 14,223,085
2,751,399 14,223,085
-
113,404 1,600,000
113,404 1,600,000
532,851 532,851
17,874 2,113,726 1,450,000 28,666 22,298,154
17,874 532,851 2,113,726 1,450,000 28,666 22,831,005
งบการเงินเฉพาะบริษัท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 สินทรัพย์ซึ่งประเมินราคา เงินให้กู้ยืม ตามมูลค่ายุติธรรมที่ปรับ และ มูลค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง หลักทรัพย์เผื่อ ลูกหนี้ โดยผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน ขาย
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
สินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้นายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อย เงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�้ำประกัน
351,506 2,121,894 85,664 992,656 13,623
33,731 -
-
351,506 33,731 2,121,894 85,664 992,656 13,623
เงินลงทุนระยะยาว รวม
3,565,343
33,731
62,666 62,666
62,666 3,661,740
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
หนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน รวม
รวม พันบาท
249
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 38 เครื่องมือทางการเงินแยกตามประเภท (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 หนี้สินซึ่งประเมินราคาตาม มูลค่ายุติธรรมที่ปรับมูลค่า เพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยผ่าน เข้าก�ำไรขาดทุน หนี้สินทางการเงินอื่น
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
-
979,828 4,261,484
979,828 4,261,484
-
50,000
50,000
155,820 155,820
3,585 2,910,000 1,450,000 3,980 9,658,877
3,585 155,820 2,910,000 1,450,000 3,980 9,814,697
รายงานประจ�ำปี 2557
หนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน
250
เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน รวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 สินทรัพย์ซึ่งประเมินราคา เงินให้กู้ยืม ตามมูลค่ายุติธรรมที่ปรับ และ มูลค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง ลูกหนี้ โดยผ่านเข้าก�ำไรขาดทุน
หลักทรัพย์เผื่อขาย
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
สินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้นายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อยและบริษัทร่วม เงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�้ำประกัน เงินลงทุนระยะยาว
558,714 3,764,021 152,662 1,053,928 13,128 -
60,511 -
51,521
558,714 60,511 3,764,021 152,662 1,053,928 13,128 51,521
รวม
5,542,453
60,511
51,521
5,654,485
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 38 เครื่องมือทางการเงินแยกตามประเภท (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 หนี้สินซึ่งประเมินราคาตาม มูลค่ายุติธรรมที่ปรับมูลค่า เพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยผ่าน เข้าก�ำไรขาดทุน หนี้สินทางการเงินอื่น
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
เจ้าหนี้การค้า
-
1,537,132
1,537,132
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
-
5,985,183
5,985,183
หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี
-
1,600,000
1,600,000
หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายใน หนึ่งปี
-
4,400
4,400
433,016
-
433,016
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
-
2,020,000
2,020,000
หุ้นกู้
-
1,450,000
1,450,000
หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน
-
5,150
5,150
433,016
12,601,865
13,034,881
ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
รวม
39 คุณภาพความน่าเชื่อถือของสินทรัพย์ทางการเงิน คุณภาพความน่าเชือ่ ถือของสินทรัพย์ทางการเงินซึง่ ยังไม่ถงึ ก�ำหนดช�ำระและไม่เกิดการด้อยค่าสามารถประเมินได้โดยอ้างอิงจากการจัดล�ำดับความ น่าเชื่อถือจากแหล่งข้อมูลภายนอก (ถ้ามี) หรือ จากข้อมูลประสบการณ์ในอดีตเกี่ยวกับอัตราการผิดสัญญาของคู่สัญญา งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
Aa1
44,588
34,548
-
-
Aa2
32,355
52,180
-
-
Aa3
166,998
9,643
-
-
A1
252,415
237,686
68,189
25
A2
-
114,266
-
110,076
A3
318,412
479,504
100,158
144,685
เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
หนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน
251
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 39 คุณภาพความน่าเชื่อถือของสินทรัพย์ทางการเงิน (ต่อ) งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
Baa1
540,275
698,345
151,227
264,728
Baa2
24,006
1,901
16,693
383
Baa3
701,762
227,889
10,512
19,215
30,497
9,008
-
340
2,111,308
1,864,970
346,779
539,452
เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม (ต่อ)
ไม่มีการจัดล�ำดับ
รายงานประจ�ำปี 2557
รวมเงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
กลุ่มที่ 1
1,945,488
657,652
1,667,626
357,357
กลุ่มที่ 2
2,147,155
5,535,080
454,268
3,406,664
กลุ่มที่ 3
288,340
986,327
-
-
4,380,983
7,179,059
2,121,894
3,764,021
ลูกหนี้การค้า คู่สัญญาที่ไม่มีการจัดล�ำดับความน่าเชื่อถือ
252
จากแหล่งข้อมูลภายนอก
รวมลูกหนี้การค้าที่ไม่ได้เกิดการด้อยค่า
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
Aa1
-
16,275
-
15,945
Aa2
3,917
10,996
-
10,411
A2
-
130
-
130
A3
3,305
-
-
-
กลุ่มที่ 2
82,545
48,573
33,731
34,025
รวมตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน
89,767
75,974
33,731
60,511
ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน คู่สัญญาที่มีการจัดล�ำดับความน่าเชื่อถือ โดยแหล่งข้อมูลภายนอก
คู่สัญญาที่ไม่มีการจัดล�ำดับความน่าเชื่อถือ จากแหล่งข้อมูลภายนอก
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 39 คุณภาพความน่าเชื่อถือของสินทรัพย์ทางการเงิน (ต่อ) งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท
พันบาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท
พันบาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
2,406
23,083
-
-
-
16,407
-
-
Baa1
32,180
21,695
13,623
13,128
รวมเงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�้ำประกัน
34,586
61,185
13,623
13,128
Aa2 A2
กลุ่มที่ 1 ลูกค้าใหม่ บริษัทอื่น/บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (น้อยกว่าหกเดือน) กลุ่มที่ 2 ลูกค้าปัจจุบัน/บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (มากกว่าหกเดือน) ซึ่งไม่มีการผิดสัญญาในอดีต
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
เงินฝากประจ�ำที่ติดภาระค�้ำประกัน
กลุ่มที่ 3 ลูกค้าปัจจุบัน/บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (มากกว่าหกเดือน) ซึ่งเคยมีการผิดสัญญาในอดีต และการผิดสัญญานั้นได้มีการชดเชยทั้งหมด 253 แล้ว เงินประกันขัน้ ต�ำ่ ได้ฝากไว้กบั คูส่ ญ ั ญาทีม่ รี ะดับความน่าเชือ่ ถือในระดับสูงซึง่ ไม่มปี ระวัตกิ ารผิดเงือ่ นไขของสัญญา และไม่มสี นิ ทรัพย์ทางการเงินใด ที่ด�ำเนินการอย่างเป็นปกติ (fully performing) ถูกขอการเจรจาเพื่อปรับเปลี่ยนเงื่อนไขใหม่ในระหว่างปี
40 สิทธิพิเศษที่ได้รับจากการส่งเสริมการลงทุน กลุ่มบริษัทและบริษัทได้รับสิทธิพิเศษบางประการจากการส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ส�ำหรับการผลิตน�ำ้ ยางข้น ยางแท่ง และ Skim Crepe ซึ่งสิทธิพิเศษที่ได้รับโดยสังเขปมีดังนี้ (ก) ได้รับยกเว้นการเสียภาษีอากรขาเข้าและภาษีการค้าส�ำหรับเครื่องจักรและเครื่องมือตามที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (ข) ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิเป็นระยะเวลาแปดปีนบั แต่วนั ทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการ และได้รบั ลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิในอัตราร้อยละห้าสิบของอัตราปกติอีกห้าปีนับจากระยะเวลาแปดปีแรกสิ้นสุดลง ในฐานะที่เป็นอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน กลุ่มบริษัทและบริษัทต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในบัตรส่งเสริมการลงทุน รายได้จากการขายจ�ำแนกตามธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมและไม่ได้รับการส่งเสริมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 ของ กลุ่มบริษัท สรุปได้ดังนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 40 สิทธิพิเศษที่ได้รับจากการส่งเสริมการลงทุน (ต่อ) พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
ธุรกิจทีไ่ ด้รบั ธุรกิจทีไ่ ม่ได้รบั
ธุรกิจทีไ่ ด้รบั ธุรกิจทีไ่ ม่ได้รบั
การส่งเสริม การลงทุน
การส่งเสริม การลงทุน
รวม
การส่งเสริม การลงทุน
การส่งเสริม การลงทุน
รวม
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
พันบาท
30,576,770
41,399,599
71,976,369
35,170,866
56,163,993
91,334,859
6,819,914
10,634,257
17,454,171
8,198,482
12,868,187
21,066,669
37,396,684
52,033,856
89,430,540
43,369,348
69,032,180
112,401,528
รายได้จากการขายและ บริการส่งออก - สุทธิ รายได้จากการขายและบริการ รายงานประจ�ำปี 2557
ภายในประเทศ - สุทธิ
254
รวม การตัดรายการระหว่างกัน
(13,900,665)
(20,216,347)
รวม
75,529,875
92,185,181
41 เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นและภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัด 41.1 ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดจากสัญญาซื้อขาย กลุ่มบริษัทและบริษัทมีภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดจากการท�ำสัญญาซื้อขายซึ่งแบ่งเป็นประเภทที่ก�ำหนดราคาซื้อขายล่วงหน้าแล้วและจะมี การช�ำระในอนาคต และประเภทที่ยังไม่ก�ำหนดราคาซื้อขาย มูลค่าของภาระผูกพันดังกล่าวแสดงด้วยราคาตามสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือ แสดงตามราคาซื้อขาย ณ วันสิ้นรอบบัญชีส�ำหรับข้อผูกมัดจากสัญญาประเภทที่ยังไม่กำ� หนดราคาได้ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2557 พันบาท
พันบาท
222,138
-
1,975,143
-
2,197,281
-
927,803
81,483
19,340,836
8,577,772
20,268,639
8,659,255
ซื้อจาก กิจการร่วมค้า บริษัทอื่น ขายให้ กิจการร่วมค้า บริษัทอื่น
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 41 เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นและภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัด (ต่อ) 41.2 ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดเพื่อใช้เป็นรายจ่ายฝ่ายทุน กลุ่มบริษัทและบริษัทมีภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดเพื่อใช้เป็นรายจ่ายฝ่ายทุนดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2557 พันบาท 1,081,360
ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดเพื่อใช้เป็นรายจ่ายฝ่ายทุน
พันบาท 60,490
41.3.1 บริษัทมีภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดจากการค�ำ้ ประกันเงินกู้ยืมของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการร่วมค้า ดังต่อไปนี้ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ความสัมพันธ์ Sri Trang USA, Inc. PT Sri Trang Lingga Indonesia
สกุลเงิน
จ�ำนวน
(เทียบเท่า) ล้านบาท 1,333
บริษัทย่อยใน ต่างประเทศ
ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
40
บริษัทย่อยใน ต่างประเทศ
ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
31
1,043
165
439
พันล้านรูเปีย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
41.3 ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดจากการค�้ำประกันเงินกู้ยืมของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการร่วมค้าและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น
255
PT Star Rubber
บริษัทย่อยใน ต่างประเทศ
ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
8
265
บจก.ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชั่น
กิจการร่วมค้า
ล้านบาท
-
37
Sempermed USA, Inc.
บริษัทร่วมใน ต่างประเทศ
ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
1
33
41.3.2 กลุม่ บริษทั มีหนีส้ นิ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากการทีธ่ นาคารออกหนังสือค�ำ้ ประกันกลุม่ บริษทั ต่อหน่วยงานของราชการเป็นจ�ำนวนเงินรวม 67 ล้านบาท และการค�ำ้ ประกันกลุ่มบริษัทต่อหน่วยงานของราชการ โดยใช้เงินฝากประจ�ำของกลุ่มบริษัทเป็นจ�ำนวนเงิน14 ล้าน บาท
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 41 เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นและภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัด (ต่อ) 41.4 ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดตามสัญญาเช่าด�ำเนินงาน - กรณีที่กลุ่มบริษัทหรือบริษัทเป็นผู้เช่า ยอดรวมของจ�ำนวนเงินขั้นต�ำ่ ที่กลุ่มบริษัทและบริษัทต้องจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานที่ไม่สามารถยกเลิกได้ มีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557
งบการเงินเฉพาะ บริษัท พ.ศ. 2557
ภายในไม่เกิน 1 ปี
พันบาท 99,183
พันบาท 34,514
เกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี
121,681
34,757
1,105
-
221,969
69,271
รายงานประจ�ำปี 2557
เกินกว่า 5 ปี
256
รวม
42 ข้อพิพาททางการค้าเกี่ยวกับสัญญากิจการร่วมค้า เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557 Semperit Techniche Produkte Gesellschaft m.b.H. (“เซมเพอร์ริท”) ได้ยื่นเสนอข้อพิพาทต่อสถาบัน อนุญาโตตุลาการ (ICC International Court of Arbitration) เพือ่ ขอด�ำเนินคดีทางอนุญาโตตุลาการในประเทศสวิสเซอร์แลนด์โดยอ้างว่า (ก) บริษทั (ข) บจก. รับเบอร์แลนด์โปรดักส์ (“รับเบอร์แลนด์”) (บริษัทย่อย) และ (ค) ผู้ถือหุ้นรายอื่นๆ ของ บจก. สยามเซมเพอร์เมด (“สยามเซมเพอร์เมด”) (กิจการร่วมค้า) ปฏิบัติผิดข้อตกลงของสัญญากิจการร่วมค้า และสัญญาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และเรียกร้องให้ช�ำระค่าเสียหายเบื้องต้นประมาณ 35 ล้านยูโร (เทียบเท่าประมาณ 1,412 ล้านบาท) พร้อมทั้งให้คณะอนุญาโตตุลาการมีค�ำสั่งให้บริษัทและรับเบอร์แลนด์ (และผู้ถือหุ้นรายอื่นๆ ของสยามเซมเพอร์เมด) กระท�ำการหรืองดเว้นกระท�ำการบางประการอันเกี่ยวกับการบริหารงานของสยามเซมเพอร์เมด บริษทั และรับเบอร์แลนด์ ได้ลงนามในสัญญากิจการร่วมค้าและสัญญาต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง และปฏิบตั ถิ กู ต้องตามสัญญาต่างๆ เหมือนเช่นทีเ่ คยปฏิบตั ิ มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ข้อพิพาทนี้เกิดขึ้นสืบเนื่องมาจากคู่สัญญาในสัญญากิจการร่วมค้ามีความเห็นไม่สอดคล้องกันในเรื่องแผนการด�ำเนิน ธุรกิจพื่อรักษาและเพิ่มพูนศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจของสยามเซมเพอร์เมด ทั้งนี้ ในช่วงที่ผ่านมาบริษัทและเซมเพอร์ริท ได้เข้าเจรจาเพื่อ ขจัดปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้น เพื่อผลประโยชน์ที่ดีที่สุดของสยามเซมเพอร์เมดหลายครั้ง แต่ไม่ประสบความส�ำเร็จ จากความเห็นของที่ปรึกษากฎหมายของบริษัท ผู้บริหารของบริษัทเชื่อว่าบริษัทไม่มีภาระที่จะต้องช�ำระค่าเสียหายเบื้องต้นประมาณ 35 ล้านยูโร ตามที่ระบุไว้ในค�ำเสนอข้อพิพาทของเซมเพอร์ริท เนื่องจากบริษัทและรับเบอร์แลนด์ มิได้ปฏิบัติผิดข้อตกลงของสัญญากิจการร่วมค้า และสัญญา ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในฐานะคู่สัญญากับเซมเพอร์ริทตามที่เซมเพอร์ริทได้ยื่นข้อพิพาทแต่อย่างใด อีกทั้งข้อกล่าวหาของเซมเพอร์ริทต่างๆ ก็ปราศจาก หลักฐานอันสามารถรับฟังได้ ดังนั้น ผู้บริหารของบริษัทเชื่อว่าผลสรุปของข้อพิพาทไม่น่าจะส่งผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจหรือ ฐานะทางการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 42 ข้อพิพาททางการค้าเกี่ยวกับสัญญากิจการร่วมค้า (ต่อ)
บริษัทและสยามเซมเพอร์เมดได้ยื่นค�ำคัดค้านการเสนอข้อพิพาทเพื่อด�ำเนินคดีทางอนุญาโตตุลาการแล้ว ขณะนี้ข้อพิพาททั้งหมดอยู่ระหว่าง กระบวนการแต่งตั้งประธานอนุญาโตตุลาการ เพื่อให้เป็นไปตามหลักความระมัดระวัง ฝ่ายบริหารของบริษัทจึงได้ตั้งส�ำรองค่าใช้จ่ายส�ำหรับการต่อสู้ข้อพิพาทตามกระบวนการอนุญาโตตุลาการ จ�ำนวนหนึ่งไว้ในงบการเงิน
43 เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในรายงาน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
อนึ่ง นอกจากการยื่นเสนอข้อพิพาทเพื่อด�ำเนินคดีกับบริษัท และรับเบอร์แลนด์ในฐานะผู้ถือหุ้นของสยามเซมเพอร์เมดดังกล่าวแล้ว เซมเพอร์ริท ยังได้ยนื่ เสนอข้อพิพาทเพือ่ ด�ำเนินคดีทางอนุญาโตตุลาการกับสยามเซมเพอร์เมด (กิจการร่วมค้า) ด้วย โดยอ้างว่าสยามเซมเพอร์เมดท�ำผิดข้อตกลง ของสัญญากิจการร่วมค้า และสัญญาทางการค้าต่างๆ ระหว่างสยามเซมเพอร์เมดและเซมเพอร์รทิ โดยเซมเพอร์รทิ เรียกร้องให้สยามเซมเพอร์เมด ชดใช้ค่าเสียหายเบื้องต้นเป็นจ�ำนวนประมาณ 3 ล้านยูโร (เทียบเท่าประมาณ 121 ล้านบาท) ซึ่งจากความเห็นของที่ปรึกษากฎหมายของบริษัท ผู้บริหารของบริษัทเชื่อว่าสยามเซมเพอร์เมดไม่มีภาระที่จะต้องช�ำระค่าเสียหายเป็นจ�ำนวน 3 ล้านยูโรตามที่ระบุไว้ในค�ำเสนอข้อพิพาทของ เซมเพอร์ริท เนื่องจากข้อกล่าวหาของเซมเพอร์ริทเป็นข้อกล่าวหาที่ไม่มีหลักฐานสนับสนุน และไม่สอดคล้องกับข้อก�ำหนดในสัญญาและทางปฏิบัติ ระหว่างคู่สัญญาที่ปฏิบัติกันมาโดยตลอด ดังนั้น ผู้บริหารของบริษัทเชื่อว่าผลสรุปของข้อพิพาทไม่น่าจะส่งผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อผลการ ด�ำเนินงานและฐานะทางการเงินของสยามเซมเพอร์เมดและบริษัท
จากการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทลูกแห่งหนึ่ง ที่ประชุมได้มีมติอนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท จาก 4,700 ล้านบาท เป็น 4,950 ล้าน บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จำ� นวน 2,500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท บริษัทเป็นผู้ซื้อหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวทั้งหมด บริษัทลูกดังกล่าว 257 ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2558
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี
ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee)
รายงานประจ�ำปี 2557
ค่าสอบบัญชีประจ�ำปี 2557 ของบมจ. ศรีตรังและบริษทั ย่อยเป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 7,854,000 บาท แบ่งออกเป็นค่าสอบบัญชีสำ� หรับงบการเงินเฉพาะ กิจการจ�ำนวน 6,065,000 บาท และค่าสอบบัญชีสำ� หรับบริษัทย่อยจ�ำนวน 1,789,000 บาท
258
ค่าบริการอื่น (Non-Audit Fee) ค่าบริการอื่นในปี 2557 ได้แก่ ค่าบริการตรวจสอบ BOI ค่าบริการให้คำ� ปรึกษาด้านหลักการบัญชี และค่าบริการฝึกอบรมพนักงาน รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 2,221,500 บาท ซึ่งบริษัทฯ ได้จ่ายช�ำระเสร็จสิ้นแล้ว
ข้อมูลของบุคคลอ้างอิง
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 62 อาคารตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ถนนรั ช ดาภิ เ ษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2800 โทรสาร : 0-2654-5427 TSD Call Center : 0-2229-2888
4. นายทะเบียนหุ้นกู้ (ส�ำหรับหุ้นกู้ STA ครั้งที่ 1/2554 และ ครั้งที่ 1/2556)
ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2256-2323 โทรสาร : 0-2256-2414
5. ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ (ส�ำหรับหุ้นกู้ STA ครั้งที่ 1/2554) 2. ตัวแทนการโอนหุ้นในสิงคโปร์ (Singapore Transfer Agent) ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน)
Boardroom Corporate & Advisory Services Pte. Ltd. 50 Raffles Place #32-01 Singapore Land Tower, Singapore 048623 โทรศัพท์ : 65-6536-5355 โทรสาร : 65-6536-1360
3. ผู้สอบบัญชี
นางอุณากร พฤฒิธาดา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3257 หรือ นางสาวสกุณา แย้มสกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4906 หรือ นายบุญเลิศ กมลชนกกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 5339 แห่งบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด ชั้น 15 อาคารบางกอกซิติ้ทาวเวอร์ 179/74-80 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 0-2344-1000, 0-2286-9999 โทรสาร : 0-2286-5050
1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 โทรศัพท์ : 0-2222-0000 โทรสาร : 0-2470-1144-5
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
1. นายทะเบียนหลักทรัพย์
259
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลบริษัท
รายงานประจ�ำปี 2557
ชื่อบริษัท (ไทย) ชื่อบริษัท (อังกฤษ) สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่
260
: : : โทรศัพท์ : โทรสาร : ประเภทธุรกิจ : เลขทะเบียนบริษัท : เว็บไซต์ : ชนิดของหุ้น : ทุนจดทะเบียน : ทุนช�ำระแล้ว : จ�ำนวนหุ้นสามัญที่จ�ำหน่ายได้แล้วทั้งหมด :
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) Sri Trang Agro-Industry Public Company Limited เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 ประเทศไทย 0-7434-4663 (อัตโนมัติ 14 เลขหมาย) 0-7434-4677, 0-7423-7423, 0-7423-7832 ผลิตและส่งออกยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และน�้ำยางข้น 0107536001656 www.sritranggroup.com หุ้นสามัญ 1,280,000,000 บาท 1,280,000,000 บาท 1,280,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท
ข้อมูลของนิติบุคคลที่ บมจ. ศรีตรัง ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ10 ขึ้นไป ของจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของนิติบุคคลนั้น 1. บจ. หน�่ำฮั่ว สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สถานที่ตั้งสาขา ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
: : : : : : :
เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา 90110 1. เลขที่ 99 หมู่ที่ 3 ถนนปาดังเบซาร์ ต�ำบลส�ำนักขาม อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 2. เลขที่ 41 หมู่ที่ 3 ถนนปาดังเบซาร์ ต�ำบลส�ำนักขาม อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 ผลิตและส่งออกยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และน�ำ้ ยางข้น 0-7437-9984-6, 0-7437-9988-9 0-7437-9987 หุ้นสามัญ 4,999,994 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99
2. บจ. อันวาร์พาราวูด
สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สถานที่ตั้งสาขา ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
: : : : : : :
เลขที่ 101 หมู่ที่ 3 ถนนปาดังเบซาร์ ต�ำบลส�ำนักขาม อ�ำเภอสะเดา จังหวังสงขลา 90120 1. เลขที่ 369 หมู่ที่ 7 ต�ำบลห้วยนาง อ�ำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง 2. เลขที่ 395 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ อ�ำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ แปรรูปไม้ อัดน�ำ้ ยา อบแห้ง และผลิตภัณท์ไม้สำ� เร็จรูป 0-7437-9978-9 0-7437-9976 หุ้นสามัญ 9,994 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.94
: : : : : : :
เลขที่ 123 หมู่ที่ 8 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลบ้านพรุ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90250 เลขที่ 133 ถนนรักษ์พรุ ต�ำบลบ้านพรุ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90250 วิศวกรรมบริการ ออกแบบ ผลิต ติดตัง้ และบ�ำรุงรักษาเครือ่ งจักร 0-7447-1480-3, 0-7447-1368 0-7447-1290, 0-7447-1430, 0-7447-1506 หุ้นสามัญ 409,996 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 81.99
สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สถานที่ตั้งสาขา ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
4 บจ. รับเบอร์แลนด์ สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สถานที่ตั้งสาขา ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
3. บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง
261
: : : : : : :
เลขที่ 109 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลพะตง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 1. เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 2. เลขที่ 57 ยูนติ 1701,1707-1712 อาคารปาร์คเวนเชอร์ อีโคเพล็กซ์ ชัน้ 17 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 3. เลขที่ 338 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ อ�ำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 38000 4. เลขที่ 338 หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลโคกม้า อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี มั ย์ 31140 5. เลขที่ 188 หมูท่ ี่ 10 ต�ำบลบางทรายใหญ่ อ�ำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร 49000 ผลิตน�้ำยางข้น /ยางแท่ง 0-7429-1223-4, 0-7429-1755, 0-7429-1476 0-7429-1477 หุ้นสามัญ 15,999,994 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99
รายงานประจ�ำปี 2557
5. บจ. สยามเซมเพอร์เมด
262
สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สถานที่ตั้งสาขา ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
: : : : : : :
เลขที่ 110 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลพะตง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 1. เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 2. เลขที่ 57 ยูนิต 1701,1707-1712 อาคารปาร์คเวนเชอร์ อีโคเพล็กซ์ ชั้น 17 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 3. เลขที่ 109/2 ถนนกาญจนวนิ ช ต� ำ บลพะตง อ� ำ เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 4. เลขที่ 352 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลพะตง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 5. เลขที่ 189 หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลพลายวาส อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84160 6. เลขที่ 39/1 หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลทุง่ ค่าย อ�ำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง 92140 ผลิตถุงมือยางที่ใช้ในทางการแพทย์ 0-7447-1471, 0-7429-1648-9, 0-7429-1471-5 0-7429-1650 หุ้นสามัญ 6,300 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 31.50
: : : : : : :
เลขที่ 110/1 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลพะตง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 ผลิตสายไฮดรอลิคแรงดันสูง 0-7447-1231-5 0-7447-1230 หุ้นสามัญ 1,425,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 37.50
: : : : : :
เลขที่ 207/1 ถนนปาดังเบซาร์ ต�ำบลสะเดา อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 ผลิตยางแผ่นรมควัน 0-7446-0483-5, 086-489-5264-5 0-7446-0484 หุ้นสามัญ 399,994 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99
6. บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สถานที่ตั้งสาขา ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
7. บจ. สะเดา พี.เอส. สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
8. บจ. สตาร์ ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต
สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
: : : : : :
เลขที่ 13/1 ถนนจริงจิตร ต�ำบลทับเทีย่ ง อ�ำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 92000 ให้บริการขนส่งทางบกภายในประเทศ 0-7550-2900-2 0-7550-2903 หุ้นสามัญ 114,998 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 76.66
: : : : : :
เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 ด�ำเนินกิจการสวนยางและสวนปาล์ม 0-7550-2900-2 0-7550-2903 หุ้นสามัญ 419,995 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 83.99
: : : : : :
เลขที่ 2 ถนนจุติอุทิศ 3 ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 ผลิตยางแท่ง 0-7423-0768, 0-7423-0406-7, 0-7423-9063-4 0-7423-8650 หุ้นสามัญ 200,998 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 33.50
: : : : : :
เลขที่ 33/19 อาคารวอลล์สตรีททาวเวอร์ ชัน้ G ถนนสุรวงศ์ แขวงสุรยิ วงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 นายหน้าซื้อขายสัญญาสินค้าเกษตรล่วงหน้า 0-2632-8826 0-2632-8825 หุ้นสามัญ 4,000,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 40.00
สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
10. บจ. ไทยเทค สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
11. บจ. พัฒนาเกษตรล่วงหน้า สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
9. บจ. สตาร์เท็กซ์
263
12. บจ. ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น
สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สถานที่ตั้งสาขา ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
: : : : : : :
เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 เลขที่ 55 หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลสุเทพ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 52000 ท�ำสวนยางพารา 0-5380-4296 0-5380-4297 หุ้นสามัญ 38,999,993 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99
: : : : : :
1 Raffles Place No. 38-02, One Raffles Place, 048616, Singapore จัดจ�ำหน่ายยางในสิงคโปร์ 65-6532-5210, 65-6532-5321 65-6532-7501 หุ้นสามัญ 52,000,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 100.00
: : : : : :
5401 W. Kennedy Boulevard Suite 760, Tampa, Florida 33609 United States จัดจ�ำหน่ายยางในสหรัฐอเมริกา 1-813-606-4301 1-813-606-6431 หุ้นสามัญ 1,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 100.00
: : : : : :
13900, 49th Street North, Clearwater, Florida 33762 United States จัดจ�ำหน่ายถุงมือที่ใช้ในทางการแพทย์ในสหรัฐอเมริกา 1-800-366-9545 1-800-763-5491 หุ้นสามัญ 1,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 25.00
: : : : : :
Room 1104, Building 11, No. 518, Xinhuan Road, Songjiang District, Shanghai, Peoples Republic of China ขายส่ง/ นายหน้าขาย/ น�ำเข้าและส่งออกถุงมือพลาสติกและถุงมือยาง 86-21-5760-9297, 86-21-5760-9289 86-21-5760-9389 ทุนจดทะเบียน 1,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 100.00
รายงานประจ�ำปี 2557
13. Sri Trang International
264
สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
14 Sri Trang USA Inc. สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
15. Sempermed USA Inc. สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
16. Shanghai Sempermed สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บจ. สยามเซมเพอร์เมด ถือครอง
17. Shanghai Semperit Rubber & Plastic Products สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ลักษณะของส่วนได้เสีย ส่วนได้เสียที่ บมจ. ศรีตรัง มีอยู่ทางตรง
: : : : : :
No.1155 Cang Gong Road, Chemical Industry Park, Shanghai, Peoples Republic of China ผลิตราวจับบันไดเลื่อน 86-21-3711-1788 86-21-6409-0850 ส่วนทุน คิดเป็นร้อยละ 10.00
: : : : : :
Jalan TPA2, RT.26 & 29 Keramasan, Palembang, South Sumatera, Palembang 30259, PO BOX 1230, Indonesia ผลิตยางแท่ง 62-711-445-666 62-711-445-222 หุ้นสามัญ 18,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 90.00
: : : : : :
No.1255, Cang Gong Road, Shanghai Chemical Industrial Zone, Fengxian Sub-Zone, 201417, Peoples Republic of China ผลิตสายไฮดรอลิคแรงดันสูง 86-21-3758-1133 86-21-3758-1133 Ext 300 ส่วนทุน คิดเป็นร้อยละ 50.00
: : : : : :
4 Battery Road, #25-01 Bank of China Building, 049908, Singapore ลงทุนใน Sempermed Brasil N/A N/A หุ้นสามัญ 4,000,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 50.00
สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
19. Semperflex Shanghai สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ลักษณะของส่วนได้เสีย ส่วนได้เสียที่ บมจ. ศรีตรัง มีอยู่ทางตรง
20. Sempermed Singapore
สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
18. PT Sri Trang Lingga Indonesia
265
21. Sempermed Brasil สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวน Quotas ทัง้ หมดที่ Sempermed Singapore ถือครอง
: : : : : :
Rua João Franco de Oliveira, No. 750 – Unileste, City of Piracicaba – State of São Paulo, Brazil, Zip Code: 13.422-160 จัดจ�ำหน่ายและท�ำการตลาดถุงมือยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ในบราซิล N/A N/A Quotas 12,546,638 หุ้น คิดเป็นประมาณร้อยละ 100.00
สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ : ประเภทธุรกิจ : โทรศัพท์ : โทรสาร : ชนิดของหุ้น : จ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมดที่ Sri Trang International ถือครองทางตรง :
1 Raffles Place No. 38-02, One Raffles Place, 048616, Singapore ลงทุนใน PT Star Rubber 65-6532-5210, 65-6532-5321 65-6532-7501 หุ้นสามัญ คิดเป็นร้อยละ 100.00
22. Shi Dong Investments
รายงานประจ�ำปี 2557
266
23. PT Star Rubber สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ Shi Dong Investments ถือครองทางตรง
: : : : : :
Jalan Trans Kalimantan KM. 16, Desa Jawa Tengah Kec. Sungai Ambawang, Kab Kubu Raya-Kalbar, Pontianak 78393, Kalimantan Barat, PO Box 7864, Indonesia ผลิตยางแท่ง 62-561-724-888, 62-561-724-591-2 62-561-724-593 หุ้นสามัญ คิดเป็นร้อยละ 99.00
: : : : : :
Unit 2701, Wheelock Square, No.1717 West Nanjing Road, Jing’ an District, Shanghai 200040, Peoples Republic of China จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติในสาธารณรัฐประชาชนจีน 86-21-6413-7860 86-21-6413-7315 ส่วนทุน 5,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 100.00
24. Shi Dong Shanghai Rubber สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ลักษณะของส่วนได้เสีย ส่วนได้เสียที่ บมจ. ศรีตรัง มีอยู่ทางตรง
25. Sri Trang Indochina (Vietnam) สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ Sri Trang International ถือครองทางตรง
: : : : : :
Room No 7.01A, 7th Floor, Vietnam Business Center Building, 57-59 Ho Tung Mau Street, Ben Nghe Ward, District 1, Ho Chi Minh City, Vietnam ซื้อขายและด�ำเนินการส่งออกผลิตภัณฑ์จากยางพารา 848-3821-6869 848-3821-6877 หุ้นสามัญ คิดเป็นร้อยละ 100.00
: : : : : :
Lot 135, Jalan Permata 1/4, Arab-Malaysian Industrial Park 71800 Nilai, Negeri Sembilan, Malaysia ผลิตและจัดจ�ำหน่ายแม่พิมพ์ส�ำหรับการผลิตถุงมือยาง 060-6799-5952 060-6799-5951 หุ้นสามัญ คิดเป็นร้อยละ 82.86
: : : : : :
Mudon Crumb Rubber Factory, 828/1221 Kankalay Plot, Kyone Phite Village, Mudon Township, 12081, Mawlamyine, Mon State, Myanmar ผลิตยางแท่ง 9592-5014-3081 N/A หุ้นสามัญ คิดเป็นร้อยละ 59.00
สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ Sempermed Singapore ถือครองทางตรง
27. Sri Trang Ayeyar Rubber Industry สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ โทรศัพท์ โทรสาร ชนิดของหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ Sri Trang International ถือครองทางตรง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน)
26. Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd.
267
ค�ำนิยาม นอกจากจะก�ำหนดไว้เป็นอย่างอื่นในเอกสารฉบับนี้ ให้ค�ำดังต่อไปนี้มีความหมายดังนี้
รายงานประจ�ำปี 2557
คณะกรรมการ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ บจ. ไทยเทค บจ. รับเบอร์แลนด์ บจ. หน�่ำฮั่ว บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น บจ. ศรีตรัง โฮลดิ้งส์ บจ. สะเดา พี.เอส. บจ. สตาร์เท็กซ์ บจ. [ชื่อ] บมจ. [ชื่อ] บมจ. ศรีตรัง บริษัทฯ
268
หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง พ.ร.บ. หลักทรัพย์ หมายถึง ส�ำนักงาน ก.ล.ต. หมายถึง หลักการการก�ำกับดูแลกิจการปี 2012 (Code of Corporate Governance) หมายถึง CDP หมายถึง PT Sri Trang Lingga หมายถึง RSS หมายถึง Semperflex Shanghai หมายถึง Semperit Technische Produkte หมายถึง Sempermed Brasil หมายถึง Sempermed Singapore หมายถึง Shanghai Semperit หมายถึง Shanghai Sempermed หมายถึง Shi Dong Investments หมายถึง Shi Dong Shanghai หมายถึง Sri Trang Ayeyar หมายถึง Sri Trang Indochina หมายถึง Sri Trang International หมายถึง TSD หมายถึง TSR หมายถึง
คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัท ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด บริษัท รับเบอร์แลนด์โปรดักส์ จ�ำกัด บริษัท หน�ำ่ ฮั่วรับเบอร์ จ�ำกัด บริษัท ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น จ�ำกัด บริษัท ศรีตรัง โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด บริษัท สะเดา พี.เอส. รับเบอร์ จ�ำกัด บริษัท สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ จ�ำกัด บริษัท [ชื่อ] จ�ำกัด บริษัท [ชื่อ] จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง ที่รวมอยู่ใน งบการเงินรวม พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หลักการการก�ำกับดูแลกิจการ ปี 2555 ของประเทศสิงคโปร์ (Singapore Code of Corporate Governance 2012) The Central Depository (Pte) Limited PT Sri Trang Lingga Indonesia Ribbed Smoked Sheet Semperflex Shanghai Ltd. Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ Semperit AG Holding Sempermed Brasil Comercio Exterior LTDA. Sempermed Singapore Pte. Ltd. Shanghai Semperit Rubber & Plastic Products Co., Ltd. Shanghai Sempermed Glove Sales Co., Ltd. Shi Dong Investments Pte. Ltd. Shi Dong Shanghai Rubber Co., Ltd. Sri Trang Ayeyar Rubber Industry Co., Ltd. Sri Trang Indochina (Vietnam) Co., Ltd. Sri Trang International Pte. Ltd. บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด Technically Specified Rubber