รู้งี้ โดย นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล มีนาคม 2556
ชื่อหนังสือ ผู้เขียน จำนวนหน้า พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง จำนวน
รู้งี้ นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล 231 หน้า มีนาคม 2556 n/a เล่ม
คำขอบคุณ ผมขอขอบคุณหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจที่ให้โอกาสแสดงความ เห็นผ่านสื่อเป็นประจำทุกเดือน จนเข้าเดือนที่ 61 และต่อไปอีก หลายๆ เดือน ขอบคุณ คุณสุกัญญา ใจชื่น ที่ช่วยตรวจและแก้ไขภาษาที่ใช้ใน บทความให้ดีขึ้น และคุณกรรณิการ์ โกมล ที่ช่วยทำหน้าที่ เลขานุการได้อย่างยอดเยี่ยม ที่สำคัญคือ คุณรัตนาภรณ์ พัชรินทร์ตนะกุล ที่เป็นกำลังใจใน ทุกเรื่อง
คำนำ บทความทั้งหมดนี้เป็นการรวบรวมจากสิ่งที่ผมเขียนใน ช่วง 5 ปีทผ่ี า่ นมา ซึง่ ได้มกี ารเผยแพร่แล้วทัง้ ในงานสัมมนาวิชาการ และในหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ คอลัมน์การค้า-ส่งออก และ บางท่านอาจจะได้อ่านบางส่วนแล้ว การบริหารประเทศไทยภายใต้เวทีโลกที่เกี่ยวโยงกันด้วย ข้อตกลง (Agreements) หลากหลายชนิด ตั้งแต่การเมือง ความ มัน่ คง เศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อมนัน้ เป็นหน้าทีข่ องคนสีก่ ลุม่ คือ นักการเมือง ข้าราชการ ผู้ประกอบการด้านเศรษฐกิจ และ องค์กรทีเ่ รียกตัวเองว่าไม่ใช่รฐั (Non-Governmental Organization) ซึ่งจะต้องร่วมกันสร้างความเข้มแข็งให้ประเทศไทย การบริหารประเทศผ่าน “ข้อตกลง” จะมีประสิทธิภาพ แค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับเราทุกคน พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล มกราคม 2556
สารบัญ
AEO เ อเพ ง วภาพ อง การ สระเ อการ มครอง บ โภค แนวโ มการ มครอง บ โภค การส างสถา น เผ ญ กฤตการเ นอ างไทย 12 เ อน นตราย คแ งการปก องการ า อาเ ยน 10 การเจรจารอบโดฮา บการปก องตลาด ไทยไ อะไรจาก กฤตเศรษฐ จ 50 วาระแ งชา า วยการแ ญหาเศรษฐ จ และการเ องไทย ทางออกเศรษฐ จการเ องไทยภายใ การแ ง ว มาและ จะไปของมาตรการ ดห น น าเกษตร 8 กฤ สห ฐมองไทย (ไ มองสห ฐ) wto เธออ ไหน โลก อน NTBs ง งคม+ น ยม+การเ อง=โลกเ น? การส างสถา น : การเส มส าง การป บเป ยน การเ อมและการแ ง น ค.ศ.2050 (ตอน 1) ค.ศ.2050 (ตอนจบ) CA or C AEC Prompt หมดเวลาแ ว กระทรวงพา ช เธออ ไหน มองใ ก เ นใ ง
07 11 15 18 21 27 32 37 41 45 51 56 60 68 72 76 80 84 88 92 98 101 105 109 113 117 120
เ งแ แ งไ เ น สนามรบ ด าย เ ยวไ เ ยว ให ห อเ กไ ญ นคงแ มเหลว อาหารจะเ นยา ง าย เ าแ งเอาไป น Wrecked Trade Organization เ ดให ห ง 100 ขวบ หลอกฝ ง อ าหลอก วเอง อ ลและ นาจ ฐ แ ดออก กรม กกรม อกรมเจรจา สาเห ของความ ายแ รวยจ งแ เ งปลอม ใคร ก AEC ยก อ น ก าหาญ อ ต ต Just Do It Right วมประเทศ แ ไ วม ญญา นอ ภาค 2 ายก า ด สงครามโลก ค ง 4 AEC เ ม นเ อวาน ประเทศไทยขาดอาหาร ให เ กไ ญ บท ด ายเ ม AEC กรม กกรม อกรมเจรจา รอ กฤ อน กการเ องเธออ ไหน You’ll Be Left Alone ห งเสาห กสองเสา ก า วตาย วย นคอ ป น สส เธอเห อยแ นาจในเศรษฐ จให หายไป 15 แ ว
124 127 130 133 136 139 142 145 148 151 154 157 161 165 167 170 173 176 179 185 188 191 194 197 200 205 209 212 215 218 221 223 226 228
AEO
มีนาคม 2551
นับแตเหตุการณ 911 เปนตนมา ไดมมี าตรการเพือ่ ปองกัน การกอการรายหลายมาตรการ โดยเฉพาะมาตรการของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปนประเทศที่เกิดเหตุการณ 911 จากนั้นสหรัฐฯ ก็ไดผลักดัน ใหประเทศตางๆรวมถึงองคการระหวางประเทศ ตระหนักถึงความ สำคัญของการปองกันการกอการราย และมีมาตรการเพือ่ ปองกันการ กอการรายเชนเดียวกับตน เชน มาตรการตรวจสอบตูคอนเทนเนอร ดวยเครื่อง X-Ray (เรียกวา CSI : Container Security Initiative ซึ่งในระยะแรกกระทำเฉพาะ 20 ทาเรือใหญที่สงสินคาไปสหรัฐฯ มากที่สุด และเปนการตรวจโดยอาศัยระบบประเมินความเสี่ยงจาก profile แตสหรัฐฯ กำลังจะบังคับใหสินคาทุกตูคอนเทนเนอรที่เขา สหรัฐฯตองตรวจ X-Ray) มาตรการแจงขอมูลของสินคาลวงหนา 24 ชั่วโมงกอนนำสินคาลงเรือ (สหรัฐฯ และแคนาดาไดดำเนินการ แลว สวนสหภาพยุโรปหรือ EU จะเริ่มใชกลางปนี้) AEO (Authorized Economic Operator) ก็เปนอีก มาตรการหนึ่งที่สหรัฐฯผลักดันใหองคการศุลกากรโลก (WCO) ซึ่ง เปนองคการระหวางประเทศดานศุลกากร (มีสมาชิก 171 ประเทศ) ออกกรอบมาตรการภายใต WCO Framework of Standard (WCO FoS) ในสวนของเสาหลักของความสัมพันธระหวางศุลกากร กับธุรกิจ (Customs to Business Pillar) ตั้งแตป 2548 AEO หมายถึง องคกร/บริษทั ทีเ่ กีย่ วกับการเคลือ่ นยายสินคา อันไดแก ทุกองคกรที่อยูในหวงโซอปุ ทาน (supply-chain) ของ 07 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
สินคา ซึง่ ไดรบั การรับรองจากศุลกากรวาไดปฏิบตั ติ ามมาตรฐานของ WCO ในเรื่องการรักษาความปลอดภัยในหวงโซอุปทาน ขอกำหนดของ AEO คือ AEO จะตองไมทำผิดกฎหมายใน ชวงระยะเวลาทีก่ ำหนด (ใหอำนาจแตละประเทศจะกำหนดแตกตาง กัน) AEO ตองมีระบบการจัดการและเก็บรักษาขอมูล และตรวจสอบ ได และ AEO ตองมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง แตท่สี ำคัญ AEO จะตองมีระบบความปลอดภัยในดาน ตางๆ ไดแก ความปลอดภัยเกี่ยวกับสินคา (เชน มีการเก็บรักษา สินคาใหปลอดภัย มีการใช seal กับตัวสินคา และมีคูมือรักษา ความปลอดภัยในการผลิตสินคา) ความปลอดภัยในการขนสงสินคา ความปลอดภัยในอาคารสถานที่ และความปลอดภัยในตัวบุคลากร (เชนมีการตรวจสอบประวัตพิ นักงาน) รวมถึงตองมีแผนรองรับวิกฤต การกอการรายที่อาจจะเกิดขึ้น และแผนประเมินและติดตามเพื่อ ปรับปรุงกระบวนการความปลอดภัย อยางไรก็ตาม AEO เปนโครงการทีธ่ รุ กิจเอกชนเขารวมดวย ความสมัครใจ และใชวิธีการยื่นประเมินตนเอง (self assessment) จากมาตรฐานที่ศุลกากรกรกำหนด จากนั้นศุลกากรจะตรวจรับรอง แลวใหสถานะ AEO เนื่องจากการดำเนินการเพื่อใหได AEO มีคาใชจาย ดังนั้น ศุลกากรจะใหสิทธิประโยชนแกผูที่ได AEO ในรูปแบบตางๆ เชน การลดจำนวนขอมูลทีต่ อ งสงศุลกากร (EU ใหสทิ ธินแ้ี ก AEO ของตน) การผานพิธีการศุลกากรที่รวดเร็วขึ้น และหากตองเปดตรวจสินคา ก็จะตรวจ AEO กอน เพื่อลดระยะเวลาการรอคอย ขณะนี้ไดมีหลายประเทศดำเนินโครงการ AEO แลว โดย รู้งี้ 08
แตละประเทศจะมีรายละเอียดของมาตรฐาน AEO ที่ตางกัน เชน สหรัฐฯ (ใชชื่อวา C-TPAT ซึ่งเปน AEO เฉพาะดานการนำเขา) นิวซีแลนดใช AEO เฉพาะดานการสงออก และ EU ใช AEO ทั้ง ดานการนำเขาและสงออก สวนประเทศญี่ปุน เกาหลีใต และจีน รวมถึงไทย อยูในระหวางการศึกษา อนึ่ง ในสวนของประเทศไทย คาดวากรมศุลกากรจะนำ AEO มาใชราวตนป 2552 เมือ่ ครัง้ ทีส่ หรัฐใชระบบการตรวจสอบสินคาสงออกหลังจาก เหตุการณ 911 เชน จะตองแจงรายการสินคาใหศุลกากรสหรัฐ ทราบกอนการสงออก 24 ชั่วโมง หรือตองเอกซเรยตูสินคาสงออก เปนผลใหผูสงออกตองถูกเอาเปรียบจากบริษัทขนสงสินคาทางเรือ โดยการคิดคาใชจายฝายเดียวอยางไมเปนธรรม เชน เพิ่มคาเอกสาร สงออกโดยไมสามารถอธิบายตนทุนได ผูสงออกไดประทวงไปยัง บริษทั แตไมเกิดผลแตอยางไร และคาใชจา ยทีเ่ กิดขึน้ จากการซือ้ เครือ่ ง เอกซเรยโดยกรมศุลกากรในครั้งนั้นอีกประมาณ 5-600 ลานบาท หากมีการใชระบบใหมนี้ก็ยังไมทราบวาจะตองเพิ่มเครื่องเอกซเรย เปนจำนวนเทาไหร สิ่งที่กำลังเกิดขึ้นขณะนี้ก็คือการเพิ่มมาตรการปองกัน การกอการรายอยางถาวรและชอบธรรมของสหรัฐ เพราะเงื่อนไข ไดถูกนำเขาสูองคกรสากล ทั้งๆ ที่เรื่องนี้เปนเรื่องของสหรัฐประเทศ เดียวเทานัน้ ซึง่ เปนเรือ่ งทีแ่ สดงใหเห็นถึงพลังอำนาจของสหรัฐในการ กำหนดมาตรการทางการคาไดเหมือนกับมาตรการอืน่ ๆ เชน มาตรการ สุขอนามัยพืชและสัตว จึงขอผูส ง ออกเตรียมตัวเตรียมใจไดวา คาใชจา ย จะตองเพิ่มขึ้นอยางแนนอน 09 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ในฐานะที่เปนประเทศกำลังพัฒนาและยังตองพึ่งพารายได จากการคาระหวางประเทศ จึงขอเสนอใหดำเนินมาตรการดังตอไปนี้ เพือ่ หลีกเลีย่ งความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้ อีกในอนาคต คือ หนึง่ เอกชน ตองทำงานกับรัฐอยางจริงจังเพื่อสรางศักยภาพในการผลิตสินคา โดยเฉพาะเรือ่ งมาตรฐานในตัวสินคาและกระบวนการผลิต สอง พัฒนา ระบบเชื่อมโยงของกลุมผูผลิตในขั้นตอนตางๆ อยางจริงจัง เรื่องนี้ ไมใชเรือ่ งงายเพราะเปนปรัชญาทีข่ ดั กับวัฒนธรรมไทย แตมนั เกิดขึน้ ไดถามีผูนำที่สามารถจะสรางกลไกในการรวมกลุมที่สรางประโยชน แกทกุ คน และสาม เมือ่ เราสรางสินคาทีม่ มี าตรฐานและคุณภาพแลว เราก็ตอ งสรางผูบ ริโภคใหมมี าตรฐานและคุณภาพเชนเดียวกัน มิฉะนัน้ สินคาทีเ่ ราผลิตก็ไมอาจขายไดภายในประเทศ เพราะผูบ ริโภคไมเห็น ความแตกตาง กระบวนการเหลานี้ใชเวลาอยางนอย 5-10 ปแตเราก็ตอง เริม่ ตัง้ แตวนั นี้ เพราะสิง่ ทีผ่ มตองการจะเห็นคือเรายังสามารถแขงขัน ในตลาดโลกไดและขณะเดียวกันสินคาจากภายนอกก็ไมสามารถจะ เขามาตีตลาดสินคาของเราไดงา ยๆ เพราะถูกตรวจสอบโดยผูบ ริโภค ของไทย และเมื่อถึงเวลานั้นคนไทยจะรวยและมีสุขภาพดีขึ้นอยูใน โลกยุคโลกาภิวัตนอยางสุขสบาย
รู้งี้ 10
เชื้อเพลิ งชีวภาพ มิถุนายน 2551 ในชวงเวลาเพียง 2-3 ป ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงไดขยับเพิ่มขึ้น ถึง 2 เทาจากระดับ 60 ดอลลาร/บารเรลในป 2549 เปนทะลุ 130 ดอลลาร/บารเรลในปจจุบันแลว ยิ่ง Goldman Sachs คาดการณ วาราคาน้ำมันมีโอกาสไปถึง 150-200 ดอลลาร/บารเรล ก็ยิ่งทำให ราคาน้ำมันทะยานทำสถิติ new high อยางตอเนื่อง ผลจากภาวะดังกลาวมีผลใหเกิดความตองการเชื้อเพลิง อืน่ มาทดแทน เพราะสำนักงานพลังงานระหวางประเทศ (IEA) พบวา พลังงานทดแทนตางๆ จะแขงขันกับน้ำมันจากฟอสซิลได หากราคา น้ำมันดิบเกิน 60 ดอลลาร/บารเรล พลังงานทดแทนประเภทหนึ่ง ที่กำลังไดรับความนิยมอยางมาก คือ เชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuels) ซึ่งไดแก เอทานอล (ethanol) และไบโอดีเซล (biodiesel) โดย นำเชื้อเพลิงทั้งเอทานอลมาผสมในน้ำมันเบนซิน (เชน E10 และ E20 หมายถึง น้ำมันเบนซินที่มีเอทานอลผสมอยูในอัตรา 10% และ 20%) และนำไบโอดีเซลมาผสมในน้ำมันดีเซล (เชน B2 และ B5 หมายถึง น้ำมันดีเซลที่มีไบโอดีเซลผสมอยูในอัตรา 2% และ 5%) เพื่อขับเคลื่อนยานยนตเปนหลัก ผลดีอีกประการหนึ่งของเชื้อเพลิงชีวภาพ คือ ความสะอาด จากการใชเชือ้ เพลิง เพราะปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) นอยกวาเชื้อเพลิงจากฟอสซิลมาก ดังนั้น หลายประเทศจึงตั้งเปา การใชเชื้อเพลิงชีวภาพเพื่อตอตานภาวะโลกรอน เชน EU ตั้งเปา จะใช 5.75% ภายในป 2563 11 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
เชื้อเพลิงชีวภาพมีวัตถุดิบหลากหลาย เชน เอทานอล สามารถใชขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสำปะหลัง และออยมาเปนวัตถุดิบ ได สวนไบโอดีเซลก็สามารถใชปาลมน้ำมัน และถัว่ เหลือง เปนวัตถุดบิ ได ทั้งนี้ประเทศผูผลิตเอทานอลรายใหญของโลก คือ สหรัฐฯ และ บราซิล โดยสหรัฐฯจะผลิตเอทานอลจากขาวโพดเลีย้ งสัตว สวนบราซิล จะผลิตเอทานอลจากออย อยางไรก็ตาม ผลพวงจากปรากฏการณความตองการเชือ้ เพลิง ชีวภาพสูง ทำใหเกิดการบุกรุกทำลายปาเพื่อปลูกพืชพลังงานอยาง มาก เชน การบุกรุกปาอเมซอนเพือ่ ปลูกถัว่ เหลืองและออยในบราซิล การเผาปาเพื่อปลูกปาลมน้ำมันในอินโดนีเซีย ทำให EU ตั้งทาจะ กำหนดมาตรฐานของเชื้อเพลิงชีวภาพวาจะตองไมไดมาจากพื้นที่ที่ บุกรุกปา และยังมีประเด็นเรื่องหนี้คารบอน (carbon debt) เมื่อ ทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยมินนิโซตาของสหรัฐอเมริกา พบวาการ เปลี่ยนพื้นที่จากปาเปนพืชพลังงานเพื่อลด CO2 กลับไมเปนผลดี อยางทีค่ ดิ หากเทียบกับการประหยัดการปลอย CO2 ปริมาณคารบอน ที่ปลอยออกมาตอป โดยการเปลี่ยนผืนปามาปลูกปาลมน้ำมันใน อินโดนีเซียจะปลอย CO2 มากกวาถึง 423 เทา นั่นคือเกิดหนี้ คารบอน (carbon debt) 423 ป สวนกรณีการถั่วเหลืองในเขต ปาอเมซอนจะมีหนี้คารบอน 319 ป แตประเด็นที่ผูคนกลาวถึงเชื้อเพลิงกันมากในตอนนี้ คือ เชื้อเพลิงชีวภาพเปนตัวการของวิกฤตราคาอาหารของโลกแพง ตัวอยางทีเ่ ห็นไดชดั เจน คือ กรณีสหรัฐฯนำขาวโพดเลีย้ งสัตวถงึ 30% ของผลผลิตมาทำเปนเอทานอล มีผลใหราคาขาวโพดเลีย้ งสัตวแพงขึน้ จากประมาณ 100 ดอลลาร/ตันในป 2547 เปนกวา 200 ดอลลาร/ตัน รู้งี้ 12
ในปจจุบัน และกดดันใหราคาธัญพืชอื่นๆ มีราคาเพิ่มสูงตามไปดวย เชน ขาวสาลี ดังนั้น จึงมีเสียงเรียกรองใหลดการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพลง รวมทั้งเสียงจากบริษัทผูผลิตอาหารรายใหญของโลก เชน ไทสัน (Tyson) ประเด็นการคัดคานเชือ้ เพลิงชีวภาพยังรวมไปถึงการอุดหนุน การผลิต (subsidy) ขอมูลที่นาสนใจ คือ สหรัฐฯอุดหนุนการผลิต เอทานอลดวยการคืนภาษีสรรพสามิต (Excise Tax Credit) 51 เซนต/แกลลอน และเก็บภาษีนำเขาเพือ่ ปกปองผูผ ลิตภายในประเทศ อีก 14 เซนต/ลิตร สวน EU ก็ใชมาตรการเชนเดียวกับสหรัฐฯ ไดมีการพูดถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการใชพลังงาน จากน้ำมันเพิ่มขึ้นอยางมากมาย คือจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจใน ชวงทศวรรษนีข้ องสองประเทศใหญคอื จีนและอินเดีย แตขณะเดียวกัน ก็มีผูบริหารของประเทศในกลุมโอเปคออกมาใหขาวเร็วๆนี้วา สาเหตุที่แทจริงที่ทำใหราคาน้ำมันขึ้นสูงอยูขณะนี้และไมมีทีทาวา จะหยุดมาจากการเก็งกำไรเปนหลัก ซึ่งเปนความตองการเทียม แต เปนผลทางจิตวิทยาใหความตองการจริงตองเรงซื้อทำใหราคายังสูง อยูต ลอดเวลาดังทีเ่ ห็นกันอยูท กุ วัน จึงไมทราบวาจะโทษใครหรืออะไร ดีวาเปนสาเหตุที่แทจริง แตอยางไรก็ตามเราคงตองยอมรับสภาพนี้ ไป เนื่องจากไมมีใครจะไปบอกใหจีนและอินเดียลดการพัฒนาลงได หรือนักเก็งกำไรใหหยุดพฤติกรรมเก็งกำไร เมือ่ ยอมรับไดแลวคงตอง หาทางตอสูเพื่อใหการดำเนินธุรกิจและชีวิตอยูไดอยางราบรื่นและมี ความสุข ผมไมคอยหวงเรื่องการแขงขันทางธุรกิจมากไปกวาเรื่อง การปรับตัวในสวนของการบริโภคในระดับครัวเรือน ซึ่งหากไมลดลง อยางเปนระบบแลวปริมาณความตองการของพลังงานทดแทนก็จะ 13 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ตองเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเปนผลผลิตของธัญพืช และเริ่มจะสรางปญหา ใหกบั สิง่ แวดลอม การเกิดขึน้ ของการกีดกันการคาแบบใหมในรูปของ การอุดหนุนการผลิตพืชพลังงานดังกลาว ขางตนซึ่งเปนอุปสรรคตอ การแขงขันและเปนตนทุนของประเทศกำลังพัฒนา และทีส่ ำคัญทีส่ ดุ คือเรือ่ งความมัน่ คงของอาหารของประเทศไทยซึง่ เปนเรือ่ งทีป่ ระมาท ไมไดวา วันหนึง่ เราอาจตองเปนประเทศนำเขาอาหาร จึงเสนอใหมกี าร จัดทำกลยุทธระดับชาติในการเตรียมรับเรือ่ งนีใ้ นระยะ 10 ปขา งหนา ไมทราบวารัฐบาลจะสนใจแคไหน เพราะถึงวันนี้ยังไมไดยินเรื่องนี้ อยางเปนรูปธรรมชัดเจน
รู้งี้ 14
องคการอิสระ เพื่อการคุมครองผูบริโภค ตุลาคม 2551
ตามวรรคสองของมาตรา 61 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย พ.ศ.2550 ไดบญ ั ญัตวิ า “ใหมอี งคการเพือ่ การคุม ครองผูบ ริโภค ที่เปนอิสระจากหนวยงานของรัฐ ซึ่งประกอบดวย ตัวแทนผูบริโภค ทำหนาที่ใหความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหนวยงานของ รัฐในการตรา และการบังคับใชกฎหมายและกฎ และใหความเห็นใน การกำหนดมาตรการตางๆ เพื่อคุมครองผูบริโภค รวมทั้งตรวจสอบ และรายงานการกระทำหรือละเลยการกระทำอันเปนการคุมครอง ผูบริโภค ทั้งนี้ ใหรัฐสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการของ องคการอิสระดังกลาวดวย” และตามมาตรา 302 ของบทเฉพาะกาล ใหกำหนดวาใหปรับปรุงพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญภายใน 1 ปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญ จากบทบัญญัติดังกลาวทำใหตองจัดตั้ง “องคการอิสระเพื่อ การคุมครองผูบริโภค” เพื่อทำหนาที่ตามหนาที่และกรอบเวลาที่ รัฐธรรมนูญกำหนด ซึ่งถึงเวลานี้แมจะมีความคืบหนาไปบางแตก็ยัง เปนเพียงรางกฎหมายการจัดตั้งองคการอิสระฯเทานั้น เพราะยังมี ความคิดเห็นที่ไมตรงกันในหลายประเด็น ความจริงตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ก็มีบทบัญญัติเชนนี้ แลวในมาตรา 57 ซึ่งบัญญัติวา “ใหมีองคการอิสระซึ่งประกอบดวย ตัวแทนผูบริโภค ทำหนาที่ใหความเห็นในการตรากฎหมาย กฎ และ 15 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ขอบังคับ และใหความเห็นในการกำหนดมาตรการตางๆ เพือ่ คุม ครอง ผูบริโภค” แตเนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับป 2540 ไมไดกำหนดกรอบ เวลาในการจัดทำพระราชบัญญัตปิ ระกอบตามรัฐธรรมนูญ ประกอบกับ ภาครัฐเห็นวาควรนำเรื่องนี้เปนสวนหนึ่งของ พรบ.คุมครองผูบริโภค ขณะทีอ่ งคกรภาคเอกชน (NGO) เห็นวาควรแยกเปนกฎหมายตางหาก ออกมา ดังนั้น จึงไมไดมีการดำเนินการใหเปนรูปธรรม ทัง้ นี้ ขณะนีม้ รี า ง พรบ.องคการอิสระฯอยู 2 ฉบับ ฉบับแรก ชื่อวา ราง พรบ.องคการอิสระผูบริโภค จัดทำโดยกลุม NGO หลาย องคกร เชน มูลนิธิเพื่อผูบริโภค สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน และเครือขายผูเสียหายทางการแพทย ซึ่งมีสาระสำคัญ คือ คณะ กรรมการองคการฯจะคัดเลือกจากองคกรที่คุมครองสิทธิผูบริโภค ตองทำงานเต็มเวลา และตองไมเปนผูบริหารหรือพนักงานในบริษัท หรือองคกรทีแ่ สวงหากำไร เวนแตจะพนตำแหนงมาไมนอ ยกวา 5 ป โดยมีหนาที่ใหความเห็น ตรวจสอบ รายงาน สงเสริมใหมีองคกร คุม ครองผูบ ริโภคใหเกิดขึน้ ในทุกจังหวัด และจัดประชุมสมัชชาตัวแทน องคกรผูบริโภค รวมถึงใหมีสำนักงานคณะกรรมการฯ เพื่อทำงาน ดานธุรการ การศึกษาวิจัย และอื่นๆ อีกฉบับหนึ่ง ชื่อวา พรบ.องคการอิสระเพื่อการคุมครอง ผูบริโภค จัดทำโดยหอการคาไทย โดยมีสาระสำคัญ คือ คณะ กรรมการองคการฯจะคัดเลือกจากบุคคลที่เปนตัวแทนขององคกร ผูบริโภค โดยมีหนาที่รับฟงความคิดเห็น สงเสริมการศึกษาวิจัย และ เผยแพรความรูแ กผบู ริโภค จัดประชุมสมัชชาตัวแทนองคกรผูบ ริโภค และทำรายงานสถานการณผบู ริโภค รวมถึงใหมสี ำนักงานคณะกรรมการฯ เพื่อทำงานดานธุรการ การศึกษาขอมูล และอื่นๆ รู้งี้ 16
ความแตกตางสาระสำคัญของราง พรบ. ทั้งสองฉบับมี นัยสำคัญยิ่ง เพราะเปนความแตกตางของแนวคิด เนื่องจากฉบับราง ของภาคสังคมตองการตีกรอบคอนขางเขมงวดโดยพยายามกีดกัน การมีสวนรวมของภาคเศรษฐกิจ แตรางของหอการคาไทยตองการ ที่จะแกความเขมงวดดังกลาวเพราะเห็นวาทุกคนในประเทศเปน ผูบริโภคและขณะเดียวกันทุกคนก็เปนผูผลิตดวย จึงปฏิเสธไมไดวา พรบ. นีต้ อ งรวมทุกภาคสวนใหมคี วามรับผิดชอบรวมกันเพือ่ การบริหาร และใชกฎหมายนี้อยางไดผลสูงสุด จึงหวังวา พรบ. ทั้งสองฉบับจะ ตองมีการพิจารณาควบคูกันไปในสภาผูแทนราษฎร และคลอดเปน กฎหมายที่ดีฉบับหนึ่ง ความเขมงวดของสังคมตอการดำเนินธุรกรรมทางเศรษฐกิจ เปนเรื่องที่ทุกทานตองใหความสนใจ เนื่องจากภาคการผลิตไดมีการ ทำลายทรัพยากรธรรมชาติอยางมากและไมมีมาตรการฟนฟูอยาง เพียงพอตลอดหนึ่งศตวรรษที่ผานมา จนเกิดปญหาตางๆ เชน ภาวะ โลกรอน หรือโรคใหมๆ หรือโรคที่หายสาบสูญไปแลวกลับมาระบาด ใหมอีก การสรางสมดุลใหกับธรรมชาติควบคูไปกับการสะสมความ มัง่ คัง่ จึงเปนมิตใิ หมของการดำเนินธุรกรรมทางเศรษฐกิจ กฎระเบียบ ใหมๆ จะมีการผลิตออกมาอยางตอเนื่อง ภาคธุรกิจจึงไมควรจะมอง ปรากฏการณนี้วาเปนเรื่องการกีดกันทางการคารูปใหม แตตองมอง วาเปนยุคแหงการเปลี่ยนแปลงปรัชญาในการผลิต การคาและการ บริโภคเพื่อนำไปสูสังคมโลกที่มีความสุขและมั่งคั่งในเวลาเดียวกัน ขอที่ไดเปรียบของไทยคือวาไดมีการทำลายธรรมชาตินอยกวาที่ เกิดขึ้นในประเทศพัฒนาแลวอื่นๆ จึง เสนอใหคิดวาจะใชเงื่อนไขนี้ ในการเพิ่มศักยภาพการแขงขันของไทยไดอยางไร? 17 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
แนวโนม ของการคุตุมลาคมครองผู บ ริ โ ภค 2551 ในอดีตแนวคิดเรื่องการคุมครองผูบริโภคถือแนวคิดวา รัฐมี หนาที่ใหการคุมครองผูบริโภค ซึ่งละเลยบทบาทของภาคประชาชน ประกอบกับประชาชนยังไมคอยรวมตัวกัน และไมตระหนักถึงสิทธิ ของตนเอง ทำใหการดำเนินการคุม ครองผูบ ริโภคตกเปนภาระหนาที่ ของรัฐ และดำเนินการโดยรัฐมาโดยตลอด แตในปจจุบันมีแนวคิดวาการคุมครองผูบริโภคโดยภาค ประชาชน (People-based consumer protection) ทำใหภาค ประชาชน โดยองคกรเอกชน (NGO) สมาคมการคา และสื่อมวลชน มีบทบาทในการคุมครองผูบริโภคมากขึ้น ดังจะเห็นไดจากแนวคิด การจัดตั้งองคการอิสระเพื่อผูบริโภค (ซึ่งจะจัดตั้งขึ้นตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 61) หรือทันตแพทยสภาก็มี ตัวแทนภาคเอกชนเขาไปเปนกรรมการในคณะกรรมการฯแลว และ คาดวาตัวแทนผูบริโภคจะเขาไปมีสวนรวมในสภาดานสาธารณสุข เพิ่มเติม เชน แพทยสภา เชนเดียวกับในตางประเทศ เชน อังกฤษ เมือ่ แนวคิดในปจจุบนั ไดเปลีย่ นแปลงเปนวา “ผูบ ริโภคเปน ศูนยกลาง” (Supremacy of consumer) (ทำนองเดียวกับ “ลูกคา คือ พระเจา”) ทำใหไดมีการบรรจุเรื่อง “การคุมครองผูบริโภค” ใน รัฐธรรมนูญเปนครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และรัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังไดมีบทบัญญัติ (มาตรา 57) ใหมี รู้งี้ 18
องคการอิสระเพือ่ ทำหนาทีใ่ หความเห็นในการตรากฎหมาย กฎ และ ขอบังคับ และใหความเห็นในการกำหนดมาตรการตางๆ เพือ่ คุม ครอง ผูบ ริโภค แตเนือ่ งจากรัฐธรรมนูญฉบับป 2540 ไมไดกำหนดกรอบเวลา ในการจัดทำพระราชบัญญัติประกอบตามรัฐธรรมนูญ ประกอบกับ ภาครัฐเห็นวาควรนำเรือ่ งนีเ้ ปนสวนหนึง่ ของพระราชบัญญัตคิ มุ ครอง ผูบริโภค ขณะที่องคกรภาคเอกชน (NGO) เห็นวาควรแยกเปน กฎหมายตางหากออกมา ดังนั้น จึงไมไดมีการดำเนินการใหเปน รูปธรรม เมื่อประเทศไทยไดประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับใหมในป 2550 จึงไดมีบทบัญญัติเพื่อจัดตั้งองคการอิสระฯอีกครั้งโดยบัญญัติ ในมาตรา 61 วา “ใหมีองคการเพื่อการคุมครองผูบริโภคที่เปนอิสระ จากหนวยงานของรัฐ ซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภค ทำหนาที่ให ความเห็นเพือ่ ประกอบการพิจารณาของหนวยงานของรัฐในการตรา และการบังคับใชกฎหมายและกฎ และใหความเห็นในการกำหนด มาตรการตางๆ เพือ่ คุม ครองผูบ ริโภค รวมทัง้ ตรวจสอบ และรายงาน การกระทำหรือละเลยการกระทำอันเปนการคุมครองผูบริโภค ทั้งนี้ ใหรฐั สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการขององคการอิสระดังกลาว ดวย” และตามมาตรา 302 ของบทเฉพาะกาล ใหกำหนดวาให ปรับปรุงพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญภายใน 1 ปนับแตวัน ประกาศใชรัฐธรรมนูญ เพื่อมิใหเกิดปญหาความลาชาอยางที่เคย เกิดขึ้น ในรัฐบาล พลเอก สุรยุทธ จุลลานนท ยังไดออกกฎหมาย สำคัญเพื่อคุมครองผูบริโภคจำนวน 2 ฉบับ ไดแก พระราชบัญญัติ ความรับผิดตอความเสียหายทีเ่ กิดจากสินคาไมปลอดภัย พ.ศ. 2551 19 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
(PL law : Product Liability Law) ซึ่งมีผลใหผูประกอบการตอง ระมัดระวังในการผลิตและขายสินคา และยกมาตรฐานของสินคาให มีคณ ุ ภาพเพือ่ ไมใหเกิดความเสียหายแกผบู ริโภค และพระราชบัญญัติ วิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551 ซึ่งเปนกฎหมายเพื่อใชพิจารณา คดีเกี่ยวกับผูบริโภค ดังนั้น การออกกฎหมายทั้ง 2 ฉบับนี้จึงนับเปนจุดเปลี่ยน ที่สำคัญของการคุมครองผูบริโภคของไทย นอกจากนี้ องคกรเอกชนและหนวยงานที่เกี่ยวของกับการ คุมครองผูบริโภคยังกำลังรางกฎระเบียบเพื่อยกระดับการคุมครอง ผูบริโภคใหมากขึ้น เชน ธรรมนูญสุขภาพดานการคุมครองผูบริโภค รวมถึงแนวคิดของ CSR (Corporate Social Responsibility) ก็ ระบุถึงการคุมครองผูบริโภคเชนกัน ดังนัน้ แนวโนมของการคุม ครองผูบ ริโภคจึงทวีความเขมขน ขึ้น ซึ่งจำเปนตองติดตามศึกษา และขณะเดียวกันก็ตองเรงปรับตัว เพื่อรองรับกระแสการเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้น สภาหอการคาแหงประเทศไทยตระหนักถึงความสำคัญ ของสิทธิแ์ ละการไดรบั การปกปองของสุขอนามัย ความกินดีอยูด ขี อง ผูบริโภคจึงไดดำเนินการใหความรูแกสมาชิกและประชาชนทั่วไป ทัง้ ในกรุงเทพฯและตางจังหวัด โดยเฉพาะพระราชบัญญัติ “PL law” ขณะเดียวกันก็ไดจัดทำรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ มาตรา 61 ในการจัดตั้งองคการอิสระคุมครองผูบริโภคเพื่อนำเสนอ รัฐตอไป
รู้งี้ 20
การสรางสถาบัน : การเสริมสราง การปรับเปลี่ยน การเชื่อมและการแขงขัน พฤศจิกายน 2551
เราจะอธิบายอยางไรถึงความยากจนซ้ำซากในทามกลาง ความมั่งมี? หากเราทราบเหตุที่ทำใหมั่งมีแลว ดวยเหตุผลใดที่ ประเทศยากจนทั้งหลายจึงไมปรับนโยบายใหเกิดความมั่งมีขึ้น… เราจึงตองสรางแรงจูงใจใหลงทุนเพิ่มในเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ สูง การเพิ่มทักษะ และจัดใหตลาดมีประสิทธิภาพ แรงจูงใจเหลานี้ รวมอยูใน “สถาบัน”-Douglass C. North, 2000 การคาในศตวรรตที่ 21 มีความเสี่ยงลดนอยลงไปหลังจาก มีการพัฒนาเครือขายการคา ขอมูล การสรางความผูกพัน และ เชื่อถือ อยางไรก็ตามปญหาเปลี่ยนรูปแบบไป เชน ในปจจุบัน ผูประกอบการใหมอาจประสบปญหาทางการเมืองจากคูแขงและ จากหนวยงานรัฐเอง อยางไรก็ตาม ทุกประเทศก็ยังตองคาขายกัน ตอไปเนื่องจากมันเปนชองทางที่ชวยเพิ่มพลังทางเศรษฐกิจและลด ความยากจน สถาบัน หมายถึง กฎ กลไกการบังคับใชกฏ และ องคกร การสรางสถาบันนั้นแบงเปน 4 สวน 2 สวนแรกจะเปน สวนของเชิงสนับสนุน และ 2 สวนหลังจะเปนเรื่องของการนำ 2 สวนแรกไปใชใหเกิดผล 1. การสรางรูปแบบใหเสริมกับสถาบันที่มีอยูเดิม เชน การ 21 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
เสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษยและเทคโนโลยทีม่ อี ยู เหตุผลคือ การสรางสถาบันใหมขึ้นมาไมใชเปนคำตอบเพราะวาสิ่งซึ่งเหมาะกับ ประเทศที่พัฒนาแลวอาจจะไมเหมาะกับประเทศกำลังพัฒนา 2. การคิดคนเปลีย่ นแปลงและปรับปรุงสถาบันทีม่ อี ยูใ หทำงาน ไดดีขึ้นและยกเลิกสวนที่ไมเปนประโยชน 3. ใชขอ มูลขาวสารและตลาดเสรี ซึง่ จะเปนตัวเชือ่ มโยงธุรกิจ และสนับสนุนการตลาด 4. สงเสริมการแขงขันระหวางรัฐ และ เอกชน ซึ่งจะชวย เกิดการสรางสถาบันใหมๆ ที่เปนประโยชน สถาบันสนับสนุนตลาดอยางไร ตลาดในประเทศพัฒนาแลวตางจากประเทศกำลังพัฒนา ในสวนของสถาบันการเงิน กฏระเบียบ ขบวนการยุติธรรม และ ขอมูลขาวสาร สิ่งทาทายเหลานี้ตอผูกำหนดโยบายวาจะตองสราง สถาบันขึ้นมาอยางไรใหชวยพัฒนาเศรษฐกิจและลดความยากจนใน ประเทศกำลังพัฒนา กรอบของสถาบันที่กลาวถึงนี้จะครอบคลุม 3 หลักตอไปนี้ 1. เปนตัวสงถายขอมูลดานตลาด สินคา และผูที่เกี่ยวของ ขอมูลเหลานั้นจะเชื่อมโยงผูประกอบการและรัฐในการออกกฏใหมี ประสิทธิภาพ 2. ความชัดเจนและการบังคับใชมาตราการทางทรัพยสนิ ทาง ปญญา ชวยใหเกิดความกระจางของแงกฏหมายเพิ่อลดขอถกเถียง 3. สถาบันเปนไดทง้ั เพิม่ และลดการแขงขัน การแขงขันทำให รู้งี้ 22
เกิดแรงจูงใจในการพัฒนา แตบางครั้งสถาบันก็เปนอุปสรรคตอการ แขงขันเนื่องจากความซับซอนและตนทุนในการบังคับใชกฏ เชนใน เรื่องทรัพยสินทางปญญา ทั้งสามหลักดังกลาวจะมีผลกระทบตอการจัดสรรสินทรัพย รายได ตนทุน ตลอดจนแรงจูงใจแกผมู สี ว นเกีย่ วของ และประสิทธิภาพ ของตลาด เชน การลงทุนจะเพิ่มขึ้นหากประเทศเจาบานมีคุณภาพ ในเรือ่ งกฏและการใชกฏหมายเกีย่ วกับทรัพยสนิ ทางปญญาและสิทธิ ในที่ดิน สถาบันสนับสนุนการเติบโตและลดความยากจนอยางไร สถาบันที่สนับสนุนการคามีพลังสูงที่กระทบพลเมืองใน ประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ผลกระทบตอคนจนจะมีมากขึ้น หากสถาบันออนแอ สถาบันสะทอนถึงความสำเร็จและลมเหลวของ การพัฒนาเชนการจัดการทีด่ ขี องสถาบันการเงินทำใหเกิดการเติบโต ทางเศรษฐกิจ จะสรางสถาบันที่มีประสิทธิภาพอยางไร การสรางสถาบันที่มีประสิทธิภาพนั้นในเบื้องตนจะตอง ทราบวาจะสรางขอมูลขาวสารใหผใู ด และ สอง ทรัพยสนิ ทางปญญา และสัญญาการคาอื่นๆ มีความชัดเจนและไดรับการปฏิบัติ และ สาม อัตราการแขงขันมากหรือนอยในธุรกิจการคา การออกแบบ สถาบันจะตองสรางใหเกิดแรงจูงใจที่นำไปสูการบรรลุเปาหมาย การสรางสถาบันจึงตองคำนึงถึง 4 หลักดังตอไปนี้ 1. เสริมสรางสิ่งที่มีอยูแลว 23 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
2. ปรับเปลี่ยนสถาบันปจจุบันใหดีขึ้น 3. ใชขอมูลเชื่อมโยงทุกภาคสวน 4. สนับสนุนการแขงขัน ทั้งประเทศพัฒนาและดอยพัฒนาตางก็มีสถาบัน แตการวัด ผลงานนัน้ ตางกัน ประเทศพัฒนานัน้ วัดดวยตนทุนทีเ่ กิดขึน้ จากการ ดำเนินกิจกรรมของสถาบัน แตประเทศดอยพัฒนาตองปรับเปลี่ยน สถาบันใหเหมาะกับประเทศของตนกอน เชน เรือ่ งตนทุนการบริหาร สถาบัน เรื่องความโปรงใส องคการเสริมกฏระเบียบของประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา มีความสลับซับซอนคลายๆกัน แตระบบการบังคับใชกฏของประเทศ พัฒนานั้นดีกวาทำใหระบบการคาพัฒนาได (เชน ระบบศาลที่ดีกวา) จึงไมจำเปนตองสรางสถาบันใหม ประเทศกำลังพัฒนาก็มีสถาบัน ทางสังคมทีม่ ปี ระเพณีปฏิบตั บิ างอยาง เชน การรวมกลุม เปนสมาคม ตางๆ ตนทุน ศักยภาพ และการทุจริตคอรรัปชั่น ประเทศกำลังพัฒนามีปญาหาเรื่องกฏระเบียบยุงยากและ ทุจริตคอรรปั ชัน่ บางประเทศตองแกปญ หานีโ้ ดยการใหบริษทั ตางชาติ ที่มีระบบที่ดีเขามาลงทุนในประเทศเพื่อจะไดแกไขปญหาของตน ในทางออม เชน ฮังการี และ เอสโทเนีย ยอมใหธนาคารตางชาติ เขามาทำธุรกรรม ประสิทธิภาพของบุคคลากร ทรัพยากรมนุษยเปนทุนที่มีความสำคัญในการนำมาใช รู้งี้ 24
บริหารสถาบัน การลงทุนในดานนีจ้ งึ คุม คาและทำใหสถาบันมีคณ ุ ภาพ และประสบความสำเร็จ เทคโนโลยี การนำเทคโนโลยีมาใชตอ งใหเหมาะสมกับระดับการพัฒนา ของประเทศ แตถา จะใหการพัฒนากาวกระโดด ผูร บั ผิดชอบนโยบาย จะตองทำใหการเขาถึงเทคโนโลยีงายขึ้น เนื่องจากกฏระเบียบของ ตลาดนั้นมีผลตอการนำเขาและสงออกของเทคโนโลยี กฏและมาตรฐาน มาตราฐานเปนสิ่งที่สามารถลดคาใชจายในการทำธุรกรรม ได แตเนือ่ งจากความสามารถในการปรับและใชมาตราฐานนัน้ ตางกัน ระหวางประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ดังนั้น ขบวนการออกกฏ ตางๆจะตองโปรงใส นอกจากนั้นประเทศกำลังพัฒนาจะตองไดรับ ความชวยเหลือหรือรวมพลังกันเพือ่ การตอรองในเวทีระหวางประเทศ ความแตกตางของกฏหมายระหวางมลรัฐตางๆในประเทศ (ไมใชประเทศไทยในเวลานี)้ เปนผลมาจากระบบเศรษฐกิจและสังคม ทีแ่ ตกตางกัน ซึง่ บางครัง้ ก็เปนสิง่ ทีด่ ใี นประเด็นของสมรรถภาพ และ การกระจายผลประโยชนแตหากแตกตางกันมากเกินไปก็อาจเปน ผลรายตอตนทุน การสรางสถาบันที่ทำประโยชน บางครั้งแมระดับของประเทศอาจจะใกลเคียงกันแตความ แตกตางก็ยังมีอยูในรูปแบบอื่น เชน ภูมิศาสตร หรือทรัพยากร 25 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ดังนั้นผูวางนโยบายอาจจะตองเลือกใชหรือคิดคนสถาบันบางอยาง ใหเหมาะกับประเทศโดยความรวมมือจากชุมชน การคิดคนผานกระบวนการทดลองนัน้ เกิดขึน้ ไดหลายระดับ ตัง้ แตระดับการเมือง เศรษฐกิจ และภาคสังคม การทดลองนัน้ มีผลดี เนื่องจากความหลากหลายของผูมีสวนรวม และการไดเลือกสิ่งที่ดี มาใช แตตองระวังไมใหมกี ารทดลองมากมายจนเกินไป จนเปนผล ใหเกิดกฏระเบียบมากมายที่แตกตางกันจนเกินไป ผูใดสามารถคิด ไดกอนก็จะเปนผูนำในการปฎิรูป (สถาบัน) สถาบันที่เกิดขึ้นจากฝายใดยอมรับใชฝายนั้น การมีสวนรวมจากทุกฝายในสังคมจึงเปนประโยชนเพื่อจะ ไดสถาบันที่เหมาะสมกับสังคม การเชื่อมโยงสังคมดวยขอมูลและการคา การแลกเปลี่ยนขอมูลและการคาเสรีสนับสนุนการสราง สถาบันทางการคา การคาเสรีชวยใหตลาดมีความหลากหลายและ ชนาดใหญขึ้น เพิ่มเทคโนโลยี เพิ่มคูคา เพิ่มความเสี่ยง สิ่งเหลานี้ นำมาซึ่งขอเรียกรองใหมีการสรางและพัฒนาสถาบันใหมๆ เชน ใน กรณีประเทศไทย การเปดตลาดเสรีทำใหเกิดการปรับเปลีย่ นกฏหมาย การจัดการที่ดิน ประเทศกำลังพัฒนาสามารถนำเขาเทคโนโลยีทาง การเงินเนื่องจากประเทศขาดสถาบันในการกำกับเรื่องดังกลาวใหมี เสถียรภาพ นอกจากนั้นขาวสารขอมูลที่เสรียังชวยใหมีการพัฒนา ดานสถาบันดีขึ้น เชน เรื่องการเปดโปงการทุจริตคอรรัปชั่นโดยสื่อ ตางๆ เปนตน รู้งี้ 26
เผชิญวิกฤตการเงินอยางไทย ธันวาคม 2551
คงไมตองพูดซ้ำซากถึงสาเหตุของการลมสลายทางการเงิน ของสหรัฐอเมริกา และผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ กับตัวสหรัฐฯ เอง ตลอดจน ทุกประเทศทัว่ โลก ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ เกือบจะคูข นานกับวิกฤตน้ำมัน ที่เปนสินคาผูกขาดของประเทศกลุมหนึ่ง โดยที่องคการการคาโลก ที่ชอบอางวาเปนองคการเดียวที่สามารถจัดการการคาใหเปนธรรม และเสรีแตกลับปลอยใหการคาน้ำมันผูกขาดโดยประเทศบางประเทศ จนสามารถกำหนดความรวยความจนใหแกทุกประเทศไดเพียง พริบตาเดียวหรืออารมณชั่ววูบเดียว สิ่งที่แปลกประหลาดมากก็คือ เมื่อเกิดเหตุการณน้ำมันแพง จนทำใหประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตธัญพืชเปนวัตถุดิบใชผลิต ทดแทนน้ำมันเริม่ วางแผนเพิม่ ผลผลิตทางการเกษตร ในขณะเดียวกัน ก็ยับยั้งการสงออกสินคาเกษตรเพื่อความมั่นคงทางอาหารภายใน ประเทศ ซึ่งกลับถูกเหลาประเทศร่ำรวยออกมา “ประณาม” กัน ยกใหญวา จะทำใหกลุมประเทศยากจนทั้งหลายขาดแคลนอาหาร กันถวนทั่ว ซึ่งอาจนำมาซึ่งความอดอยากทั่วไป เพราะมีประชากร เกือบ 900 ลานคนทั่วโลกที่มีรายไดต่ำกวาเสนความยากจนและ กำลังขาดแคลนอาหาร โดยเฉพาะในกลุม ประเทศแอฟริกา และแปลก ตรงทีว่ า คนพูดนีไ้ มยกั กะไปประณามพวกรวยแลวยังโลภมากตองการ รวยยิ่งๆ ขึ้นไปอีกและเปนตนเหตุของความ “ทุรนทุราย”นี้ นอกจากนัน้ เลขาธิการองคการการคาโลกยังยืน่ หนาออกมา 27 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
พูดอยางเสียดายเชิงกระทบกระทั่งวา “หากการเจรจารอบโดฮาที่ คั่งคาง (เนื่องจากตกกระไดในนาทีสุดทาย) นั้นเปนผลสำเร็จแลว ปญหาที่กำลังเปนอยูจะไมเกิดขึ้น” เพราะองคการการคาโลกเปน สถานทีท่ จ่ี ะบันดาลใหเกิดความยุตธิ รรมทางการคาและจะแกปญ หา ที่กำลังเกิดได การพูดเชนนี้เราสามารถแปลความไดวา เลขาธิการ คนนี้กำลังใชวิกฤตเปนโอกาสในการโฆษณาคุณภาพขององคกรของ ตนเองและโทษคนทั้งโลกวาชางไมฉลาดที่ไมยอมเจรจาใหมันจบๆ ไปสักที ทั้งๆ ที่แกก็ไดพยายามอยางที่สุดแลว เลขาธิการคนนี้ฉลาด พูดใหตัวเองไดเครดิต โดยที่ความจริงแลวตนเองลมเหลว (ไดขาววา จะลงสมัครรับเลือกตั้งอีกสมัย จึงเสนอใหประเทศสมาชิกทั้งหลาย คิดกันใหดีๆ กอนจะเลือกตั้งในอีกไมกี่เดือนขางหนา) เรื่องธัญพืชทดแทนน้ำมันเปนเรื่องที่สำคัญมากโดยเฉพาะ อยางยิ่งสำหรับประเทศไทย เพราะเปนทั้งสินคาทางเศรษฐกิจ และ เพื่อความมั่นคงของชาติ พวกเราจึงตองใหความสนใจและผลักดัน ใหเกิดเปนรูปธรรมใหไดแมจะตองใชเวลาสักหนอย หากมีเวลาเรา คงตองมาคุยเรื่องนี้กันอีก วิกฤตทางการเงินสหรัฐงวดนี้มีพลังมหาศาลเกินกวาชวงป ค.ศ. 1972 เสียอีกเพราะพฤติกรรมทางการคาและการลงทุนทั่วโลก ไดเปลีย่ นแปลงโฉมหนาไปมากมาย การเชือ่ มโยงของประเทศทัว่ โลก แนนหนาและอีรุงตุงนังจนยุงเหยิงและพึ่งพิงกันไปมามากกวาชวง ทศวรรษ 80 เพราะตอนนั้นกลุมประเทศสังคมนิยมทั้งหลายยัง ไมไดเขารวมวงศไพบูลยดว ย เมือ่ ตัวเลนทางเศรษฐกิจมีเพิม่ ขึน้ เชนนี้ ผลกระทบจึงแผขยายเปนวงกวางจนแทบจะหาฝงไมพบ โดยเฉพาะ ปญหาทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2552 นี้ยังเดาไมออกวาจะ “หมูหรือ รู้งี้ 28
จา” ในชวงนี้เราคงตองเฝาดูเหตุการณอยางใกลชิดทุกวันและ คอยฟงขาวใหมากๆ เขาไว เพราะทุกสถานีโทรทัศนทั้งภาษาไทย และเทศแขงกันเสนอและวิเคราะหเจาะลึกเพื่อจะไดนำไปวางแผน ทางธุรกิจของเราตอไป แมวาขาวสารจะมีมากมายจนบางครั้งสับสน แตกต็ อ งทนเอาหนอย โดยเฉพาะสถานการณในสหรัฐเนือ่ งจากกำลัง เปลีย่ นแปลงผูน ำอยูจ งึ จะมีมาตรการใหมๆ หรือบุคคลใหมๆ ทีจ่ ะถูก นำเสนอเขามาแกปญหา ที่วาสำคัญเพราะหากนายโอบามาเลือก คนผิดก็เหมือนกับเราเลือกคนผิดเหมือนกันเพราะหากนายโอบามา “ตาราย” ไปเลือกเอาคนหรือกลุมคนที่ไมมีความสามารถจริงแลว พวกเราก็จะถูกกระทบไปดวยเนื่องจากความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ แนนแฟนสนิทชิดชอบกันทั่วโลกอยางที่บรรยายใหฟงแลว มีคนพูดกันมากมายวาประเทศไทยคงไมนาเปนหวงมาก เพราะเสถียรภาพทางการเงินของเรามัน่ คงมาก ซึง่ กลับกันกับสถานภาพ ในป พ.ศ.2540 ฟงดัง่ นีแ้ ลวก็สบายใจขึน้ เพราะจะไมไดยนิ ขาวบริษทั และธนาคารลมมากมายเหมือนป 40 แตปญหาเรื่องคนตกงานยัง เหมือนกันคือภาคธุรกิจจริง (real sectors) จะมีปญหาแนนอน โดยเฉพาะสินคาสงออกเพราะตลาดทัว่ โลกจะมีเงินนอยลง การนำเขา สินคาก็จะตองระมัดระวังโดยเลือกซื้อสินคาราคาถูกและซื้อใน ปริมาณนอยลงเพียงพอเพื่อใชบริโภคเทานั้น การบันเทิงเลี้ยงแขก และหรือการซื้อของแจกกันเหมือนกอนคงไมไดแลว ประเทศไทยจึง ถูกกระทบอยางแรงโดยเฉพาะสินคาฟุมเฟอย เชน อัญมณี สิ่งทอ เครื่องใชไฟฟา รถยนต เปนตน เมื่อประเทศไทยมีคนตกงานเพิ่มขึ้น ตนทุนสังคมก็เพิ่มขึ้น รัฐบาลจึงตองออกมาจัดการโดยดวน จึงขอ 29 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
เสนอใหทำดังนี้ :Retraining : รีบหามาตรการ “ฝกใหม” ดวนเพื่อชวย เพื่อนของเราใหมีความรูและไมตกงานไปในตัว มาตรการนี้จะชวย ใหพวกเขาพรอมที่จะแขงขันตอไปไดเมื่อเศรษฐกิจดีขึ้นในอีก 2 ป ขางหนา Renovating : จัดใหมีเงินกองทุน 50,000 ลานเปน อยางนอยเพือ่ ปรับปรุงขบวนการผลิตและเปลีย่ นแปลงเครือ่ งจักรให บริษัทขนาดกลางและเล็กที่อยูเปนลานแหงทั่วประเทศแตไมจำเปน ตองทำทัง้ หมดหากแตตอ งเลือกเอากลุม ทีเ่ ชือ่ มโยงกับการสงออกกอน โดยการวางแผนพัฒนาทั้งหวงโซ (ไมใชเลือกเฉพาะกลุมที่มีลักษณะ แนวนอน) โดยเปนลักษณะแนวตั้งเพื่อจะไดสรางศักยภาพทั้งกลุม การผลิต Reeducating : ใหพวกนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาใหมๆ นั้นมีสิทธิเลือกที่จะเรียนตออีกสักปหรือสองป เปนการเพิ่มทักษะ และพรอมในการหางานใหมที่จะมีขึ้นในอนาคต นอกจากนีม้ กี ารคาดการณวา ตัวเลขสงออกของจะตกไปจาก ปนี้ถึง 10% คิดเปนมูลคา 18,000 ลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งเปนมูลคา ทีม่ ากโขอยูส ำหรับประเทศไทยทีเ่ ศรษฐกิจขึน้ กับการสงออกถึง 65% ของรายไดประชาชาติ ตัวเลขนีจ้ งึ นำมาซึง่ ความคิดของพวกเราบางคน วา ถึงเวลาแลวทีจ่ ะตองพยายามสรางตลาดภายในใหเขมแข็งซึง่ ก็คง จะตองใชเวลา แตก็เปนเรื่องที่นาคิดและตองทำใหไดในอีกสัก 5-10 ปขางหนา ผมมีขอเสนอวา หากเราตองการที่จะทำเรื่องนี้ใหสำเร็จ เราตองเริ่มที่สรางผูบริโภคใหแข็งแรงขึ้นและวิธีทำก็คือการบังคับใช กฎหมายคุม ครองผูบ ริโภค การใหความรูแ กผบู ริโภคใหมคี วามสามารถ รู้งี้ 30
ในการเลือกบริโภคสินคาที่มีมาตรฐานและที่แนๆ คือเราเองทุกคนก็ เปนผูบริโภคดวย ดังนั้นจึงตองเริ่มที่ตัวเราเองกอนเปนแนแท วิกฤตทีเ่ กิดขึน้ ในขณะนีเ้ ปนเหตุใหเราจนลงทุกคน มากหรือ นอยตางกัน จึงตองทำความเขาใจโดยไมไปโวยวายใครเพราะภาพที่ ปรากฎขึ้นนี้จะทำใหเราเขาใจไดชัดเจนวาอำนาจรัฐประเทศอื่น ตางหากทีก่ ำลังกำหนดวิถเี ศรษฐกิจของเรา ดังนัน้ จึงไมตอ งไปโวยวาย หาเหตุวาทำไมรัฐไทยจึงชวยเราไดนอยนั่นเปนขอที่หนึ่ง สวนขอที่ สองก็คอื เราตองปรับเปลีย่ นวิธคี ดิ คือเราทุกคนตองพยายามชวยตัวเอง ใหมากที่สุด ตลอดจนองคกรภาคธุรกิจทั้งหลาย เชน สมาคมการคา ตางๆ จะตองเขมแข็งขึน้ เพือ่ แขงขันและตอสูก บั ปญหาทางเศรษฐกิจ ที่จะตองเกิดขึ้นอีก เนื่องจากเหตุการณวันนี้เปนเพียงหนังตัวอยาง เทานั้น จึงไมเชื่อวาโครงสรางเศรษฐกิจโลกจะแปรเปลี่ยนไปจากนี้ เพราะระบบปจจุบนั เอือ้ ประโยชนแกประเทศพัฒนาแลว ดังนัน้ พวกเขา คงไมมีความตั้งใจที่จะไปเปลี่ยนแปลงมัน ขอเนนวาองคกรภาคเอกชนดังกลาวสำคัญมากและตอง เสริมสรางศักยภาพใหแข็งแกรงขึ้นเพราะเราไมสามารถอาศัยรัฐไป แขงกับเอกชนตางชาติได เพราะรัฐมีขอจำกัดมากมาย คำตอบจึง อยูท เ่ี ราตองการพัฒนาและใหเอกชนแขงกับเอกชน โดยเฉพาะอยางยิง่ เอกชนในประเทศพัฒนาที่สามารถสรางความแข็งแกรง จนมีพลัง มหาศาลที่จะกำหนดกฎเกณฑการคาของโลกไดในปจจุบัน
31 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
12 เดือนอันตราย ธันวาคม 2551
ขาวสารเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจทั่วโลกกำลังเปนที่นิยม มากกวาหลายๆ ปที่ผานมา เนื่องจากเหตุการณที่เริ่มตนจากการ ลมสลายของเศรษฐกิจภาคการเงินของสหรัฐ เราไดยนิ คำวา Subprime บอยครั้งเหมือนคำวา Obama ในชวงปที่ผานมา Subprime เปน ตนเหตุของการลมสลายทางเศรษฐกิจที่เริ่มตนจากสหรัฐและกำลัง กระจายไปทั่วโลก แตขณะเดียวกัน Obama ก็เปนความหวังของ ชาวสหรัฐวาจะเปนประธานาธิบดีคนตอไปที่จะสามารถเปลี่ยน (Change) และพลิกสถานการณได นโยบาย “เปลีย่ น” ของประธานาธิบดีสหรัฐคนใหมทเ่ี กีย่ วกับ การคาและเศรษฐกิจทีก่ ระทบประเทศคูค า ไดถกู นำเสนอ 2 ตอนทีแ่ ลว แตจะสรุปอีกครั้งดังนี้ :การนำเขาสินคา - ตองการใหมกี ารกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยใหเขมงวดขึน้ - ตองการใหมีมาตรฐานสิ่งแวดลอมที่ดีขึ้น - ตองการใหมีมาตรฐานเพื่อดูแลแรงงานที่ดีขึ้น การปกปองตลาด - ตองการใหประเทศตางๆ เคารพและไมละเมิดทรัพยสิน ทางปญญาของสหรัฐ รู้งี้ 32
การคาทั่วไป - ตองการใหมีการทบทวนขอตกลงการคาเสรีที่สหรัฐจัดทำ กับกลุมประเทศในอเมริกากลาง (CAFTA) และกับแคนาดา และ เม็กซิโก (NAFTA) เนื่องจากสาเหตุภาวะตกงานเพิ่มขึ้น - ตองการใหประเทศทีส่ ง ออกสินคาไปสหรํฐเปลีย่ นนโยบาย โดยใหเพิม่ อัตราการบริโภคภายในใหมากขึน้ แทนทีจ่ ะพึง่ การสงออก อยางที่เปนอยูในปจจุบัน จากการติดตามการแกปญหาเศรษฐกิจของสหรัฐในสมัย รัฐบาลบุชจะเห็นวาแนวทางเหลานีก้ ำลังนำไปสูน โยบายของโอบามา (จะโดยบังเอิญหรือไมกต็ าม) ยกตัวอยางเรือ่ งการชวยเหลืออุตสาหกรรม รถยนตโดยมีเงื่อนไขเนนการแขงขันกับอุตสาหกรรมรถยนตคายอื่น อยางญี่ปุนและเกาหลี สิ่งที่คาดหวังวาจะตามมาคือ นอกจากการใช มาตรการอุดหนุนทางการเงินแลวยังจะมีมาตรการการปกปองตลาด ภายในประเทศเกิดขึ้นดวย มาตการการปกปองตลาดภายในประเทศจึงเปนสิง่ ทีเ่ ราตอง ติดตามตัง้ แตนต้ี อ ไปอีกอยางนอย 12 เดือนซึง่ เปนตัวเลขประมาณการ เนือ่ งจากการดำเนินการในดานกฎระเบียบตางๆ จะตองใชเวลา เชน การปรับเปลีย่ นงบประมาณ (การอุดหนุนสินคาเกษตรและอุตสาหกรรม) การสอบสวนการทุมตลาด (Anti-Dumping) หรือการใชมาตรการ ปกปอง (Safeguard) เปนตน ประเทศไทยจะตองเฝาติดตามความ เคลื่อนไหวของสหรัฐและประเทศในยุโรปและญี่ปุน ซึ่งเปนกลุมที่ นำเขาสินคาจากไทยอยางใกลชดิ เพราะมีศกั ยภาพยสงู ในการประดิษฐ มาตรการที่เปนอุปสรรค ทางการคาไดอยางมีประสิทธิภาพ 33 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
มาตรการที่กลาวมาขางตนหรือที่เราเรียกวา Non-Tariff Barriers (NTBs) ทีม่ กี ารคาดการณวา จะถูกนำมาใชเพิม่ ขึน้ จากหัวขอ ที่ทบทวนไวขางตนคือ การเพิ่มอัตราภาษีนำเขาสินคาใหเต็มเพดานที่ผูกพันไวใน WTO ตอสินคาทีเ่ รียกเก็บ (Applied Rate) ต่ำกวาทีผ่ กู พัน (Bound Rate)ไว เชนผูกพันไว 20% แตขณะนี้เรียกเก็บเพียง 5% เปนตน การเพิ่มการอุดหนุนสินคาเกษตรในอัตราที่ไมเกินที่ผูกพัน ไวใน WTO เชนกัน ในประเด็นนี้ก็อยากจะเตือนสหรัฐวามาตรการ นี้มีชองโหวมากมาย เชน แทนที่จะชวยเฉพาะเกษตรกรจริงกลับไป เกิดอานิสงคแกเกษตกรร่ำรวย เชน นาย David Rockefeller เนือ่ งจากเปนเกษตรกรฟารมขนาดใหญ (ฟารมขนาดใหญมเี พียง 10% แตไดรบั เงินอุดหนุนถึง 72% --ตัวเลขของ Environmental Working Group) มาตรการดานความปลอดภัยตอการนำเขาสินคาจากทาเรือ ตางๆ ซึ่งตองมีการตรวจสอบเพื่อหลีกเลี่ยงการกอการรายตอสหรัฐ เชน การขนสงอาวุธหรืออุปกรณทำใหเกิดคาใชจายและอุปสรรคตอ ประเทศกำลังพัฒนาบางประเทศเปนอยางมาก เนือ่ งจากตองเพิม่ ทัง้ ตนทุนการตรวจสอบและศักยภาพของบุคคลากรดวย มาตกรการการตรวจสอบสินคาทีใ่ ชประโยชนได 2 ลักษณะ (Dual Use) เชน เคมีภัณฑบางชนิดถูกใชในอุตสาหกรรมการผลิต แตขณะเดียวกันตัวมันเองอาจถูกนำไปใชเปนสวนหนึ่งของอาวุธก็ได ขณะนี้กำลังมีการทำบัญชีสินคาเหลานี้ซึ่งก็คาดหวังไดวาจะตอง มาตรการที่เปนอุปสรรคตอการคาอยางแนนอน สรุปในภาพรวมจะเห็นวาการสงออกสินคาจะมีอุปสรรค รู้งี้ 34
มากขึ้นดวย 2 สาเหตุคือตลาดในตางประเทศหดตัวเนื่องจากภาวะ เศรษฐกิจและการปกปองตลาดที่จะตองเพิ่มขึ้นเพราะตองการให อุตสาหกรรมของตนแขงขันกับสินคานำเขาได เชน กรณีของรถยนต สหรัฐที่กลาวมา สิ่งที่นาคิดสำหรับประเทศไทยคือจะใชอาวุธอะไร ในการฟนฝาอุปสรรคเหลานี้? เชนจะลดตนทุนการผลิตอยางไร? พรอมทัง้ เพิม่ ศักยภาพของตัวสินคาเพือ่ เอาชนะมาตรการการปกปอง ดังกลาวดวยอยางไร? และขณะเดียวกันก็สามารถปกปองตลาดภายใน ประเทศเพือ่ ใหสนิ คาไทยขายแขงกับสินคานำเขาอยางไร? เนือ่ งจาก การขยายตัวเศรษฐกิจภายในประเทศเปนเปาหมายที่สำคัญ เพราะ มีสัดสวนเกือบ 50% ของ GDP เลยทีเดียว คำตอบก็คือ :1. พิจารณาจัดการมาตรการการอุดหนุนสินคาเกษตรใหม โดยการวางแผนและมาตรการพรอมกับจำนวนเงิน ”ลวงหนา” ฤดู การผลิตซึ่งจะเปนผลใหเกิดการวางกลยุทธและยุทธศาสตรแกไข เกิดขึ้นไดทันฤดู 2. ทบทวนสินคาเกษตรทีไ่ ดรบั การปกปองภายใตโควตา 23 รายการใหม เนื่องจากสินคาบางรายการนำเขานอยกวาที่ปกปองไว หรือมากกวาที่ปกปองไวมากมาย ทำใหเกิดอุปสรรคในการจัดการ ของรัฐบาลและเอกชน ขณะเดียวกันเสนอใหพิจารณาสินคาที่ตอง การปกปองใหมภายใตกรอบการเจรจารอบ DOHA ซึ่งกำลังมีการ เจรจาในเรื่องนี้ที่เรียกวา Special Products 3. ชวยเหลือ SMEs ทัง้ ภาคบริการและสินคาใหเพิม่ ศักยภาพ การผลิตและเชื่อมโยงกับขบวนการผลิตทั้งหมดเพื่อเพิ่มศักยภาพ การผลิตทั้งหวงโซในดานตนทุนและการปกปองสังคม สิ่งแวดลอม หากทำสำเร็จเราจะตอบมาตรการ “การสืบยอนกลับ” (Traceability) 35 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
และมาตรการดานสังคมและสิ่งแวดลอมตางๆ ได 4. เพิม่ ศักยภาพของหนวยงานทีท่ ำงานดานมาตรฐานสินคา อุตสาหกรรมและเกษตรและอาหารใหมากขึน้ พรอมทัง้ บังคับใชกฎหมาย คุมครองผูบริโภคอยางมีประสิทธิภาพควบคูไปกับขอ 3 ขางตน สิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นเปนโจทยที่ไมสามารถทำไดโดยรัฐบาล ฝายเดียวแตจะตองรวมมือกันระหวางรัฐและเอกชนภาคธุรกิจ จึงขอเสนอวาใหเริ่มตนดวยการวางแผนรวมกันเปนรายกลุมสินคา และเชื่อมโยงไปยังหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของทั้งหมด เชน การ เชื่อมโยงผลิตภัณฑกวยเตี๋ยวนั้นก็ตองเริ่มตนตั้งแตโรงงานลงไปถึง ผูโรงสี ชาวนาและรวมถึงผูผลิตหีบหอ (Packaging) ตลอดจน สำนักงานอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานมาตรฐาน สินคาเกษตรและอาหารแหงชาติกระทรวงกระเกษตร เปนตน เห็นไหมครับวาความคาดหวังของคนอเมริกันตอรัฐบาล โอบามาเปนความคาดหวังที่ตรงกับเหตุการณในสหรัฐและเชื่อมโยง ลงมาถึงประเทศไทยไดโดยอัตโนมัติซึ่งเปนเรื่องที่ไมบังเอิญอยาง แนนอนหากเรารูความหมายของคำวาโลกาภิวัตน
รู้งี้ 36
ยุคแหงการปกปองการคา กุมภาพันธ 2552
มีขาวชิ้นหนึ่งเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2009 ที่อังกฤษ ซึ่ง สรุปไดวาประเทศทั้งหลายที่มีปญหาเรื่องความเชื่อถือ (credit) ทาง การเงินหรือขาดแคลนเงินไดเริ่มใชวิธีการซื้อขายสินคาโดยการ แลกเปลี่ยนสินคากับสินคาหรือเรียกวา barter trade โดยเฉพาะ การจัดหาสินคาเกษตรและอาหาร สัญญาซือ้ ขายหลายสัญญามีมลู คา ตั้งแต 5 ลานเหรียญสหรัฐถึง 500 ลานเหรียญสหรัฐ เหตุการณ ที่เกิดขึ้นนี้เปนเครื่องพิสูจน็วาไดเกิดผลกระทบอยางแทจริงแลวตอ ประเทศยากจนและกำลังพัฒนาเหลานี้หลายประเทศ เชน รัสเซีย มาเลเซีย เวียตนาม และโมรอคโค เปนตน การคาแบบแลกเปลี่ยนสินคากันระหวางสองประเทศนี้ ไมใชเรือ่ งใหม ในความเปนจริงแลวเปนการซือ้ ขายสินคายุคเริม่ ตนๆ ของมนุษยชาติก็ไดเนื่องจากยังไมไดมีวิวัฒนาการของตัวกลางของ การแลกเปลี่ยนหรือเงิน ในหลายปกอนหนานี้ประเทศไทยก็เคยใช มาตรการนีใ้ นการแลกเปลีย่ นขาวสารกับเครือ่ งบินทีใ่ ชในการเกษตร กับประเทศอินโดนีเซีย อยางไรก็ตามมาตรการนีไ้ มสามารถใชไดเปน เวลานานและครอบคลุมสินคาทุกชนิดแตเปนประโยชน ในขณะที่ ประเทศหนึ่งหรือหลายประเทศกำลังประสบปญหาทางการเงิน ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลกเปนเหตุใหเกิดการนำมาตรการนี้ กลับมาใชใหมซึ่งพิสูจนและยืนยันวากฎระเบียบการคาที่ประเทศ สวนใหญตกลงกันยังไมสามารถบรรลุเปาหมายอยางแทจริง แมจะ มีการลดอุปสรรคทางการคาสินคาไปเปนอันมากทัง้ ในกรอบขอตกลง 37 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ในองคการการคาโลกและเขตการคาเสรีมากมายทั่วโลกกวา 200 ขอตกลงเพราะตัวบทกฎหมายและการบังคับใชกฎหมายในแตละ ประเทศยังมีความแตกตางกันมากและคงจะตองใชเวลาอีกนาน กวาระบบเสรีทางการคาจะบรรลุเปาหมายหรืออาจจะไมมวี นั เกิดขึน้ เลยก็ได ในชวงเวลาเดียวกันนีข้ า วรอนๆ ทีเ่ ราไดรบั ทราบตอเนือ่ งกัน ก็คือ มีการออกมาเรียกรองวาประเทศทั้งหลายไมควรปกปองตลาด (Protection) ซึ่งหมายถึงการเพิ่มมาตรการใหมๆ ทั้งเรื่องมาตรฐาน สินคา การใชกฎหมายปกปองการทุมตลาด (Anti-Dumping Law) การใชมาตรการปกปอง (Safeguard) ขอเรียกรองเหลานี้ สวนใหญ จะมาจากประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวและโดยฉพาะประเทศจีน จะถูกเรียกรอง มากที่สุดใหเลิกมาตรการปกปองตลาดโดยเนนโจมตีไปที่กลไกอัตรา แลกเปลี่ยนของเงินหยวนซึ่งถูกกลาวหาวา ออนเกินไป รัฐมนตรีคลัง สหรัฐคนปจจุบันถึงกับใชคำวาจีน “บิดเบือน” (Manipulating) อัตราแลกเปลี่ยนเงินหยวนจนเกือบจะเปนชนวนใหเกิดปญหาทาง การเมืองใหญโต อยางไรก็ตามก็มีขาววาประธานาธิบดีสหรัฐตองโทรศัพท สายตรงไปคุยกับประธานาธิบดีของจีนเพือ่ ยุตเิ รือ่ งรอนไประดับหนึง่ สวนจีนเองก็รตู วั ดีวา ตนจะตองทำอะไรบางอยางเพือ่ บรรเทา แรงกดดันจากนานาประเทศในเรือ่ งดุลการคา ดังนัน้ นายกรัฐมนตรีจนี จึงประกาศทีอ่ งั กฤษในชวงทีไ่ ปเยือนหลังการประชุม World Economic Forum ที Switzerland วาจะจัดการใหมกี ารซือ้ สินคาและเทคโนโลยี จากประเทศในยุโรปใหมากขึน้ ในขณะเดียวกันนายกรัฐมนตรีองั กฤษ ก็ประกาศวาจะขยายการสงออกไปจีนใหเพิม่ ขึน้ หนึง่ เทาตัวจาก 5 พัน รู้งี้ 38
ลานปอนดเปน 10 พันลานปอนดภายใน 18 เดือนขางหนานี้ ในทางตรงกันขามทางดานสหรัฐเองก็มขี า วออกมาหลายชิน้ เชน รัฐบาลจะสงเสริมแกมบังคับใหบางสาขาธุรกิจตองซื้อสินคาที่ ผลิตภายในประเทศเพิม่ ขึน้ หรือเรียกวา Buy American ซึง่ ก็ไดรบั การ วิพากษวจิ ารณอยางมากวาเปนมาตรการปกปองตลาดดีๆ นีเ่ อง (ในชวง วิกฤตเศรษฐกิจตั้งแตป พ.ศ. 2540 รัฐบาลไทยไดประชาสัมพันธให ลดการดืม่ ไวนนำเขาเปนเหตุใหบางประเทศในยุโรปออกมาโจมตีวา เปนการสรางมาตรการกีดกันทางการคา) และเริม่ มีคนสงสัยวาอเมริกา ยุคใหมกำลังสับสนกับการบริหารจัดการเศรษฐกิจวาจะยึดปรัชญา อะไรระหวางเสรีนยิ มกับปกปองนิยม เพราะมาตรการตางๆ ทีร่ ฐั บาล ประกาศใชในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ เปนมาตการทีเ่ ปนการปกปองทัง้ สิน้ นับตั้งแตการนำเงินเขาชวยสถาบันการเงินโดยรัฐเขาไปถือหุน การ ชวยเหลืออุตสาหกรรมยานยนต มาตรการเหลานี้กำลังถูกตีความวา อาจเปนการใหการอุดหนุนภาคเอกชนโดยรัฐ ซึ่งขัดกับขอตกลงใน องคการการคาโลกหรือไม? เรื่องราวทั้งหมดที่กำลังเกิดขึ้นแสดงใหเห็นวทุกประเทศ ตางเห็นแกตัวกันทั้งนั้นหลังวิกฤตเศรษฐกิจ คือ ตองการใหประเทศ อื่นเปดตลาดแตในทางตรงกันขามตนเองก็ตองการปดตลาดเพื่อให บรรลุเปาหมายเดียวคือใหไดดุลการคากลับคืนมาใหเร็วที่สุด แลวประเทศไทยกำลังทำอะไรอยูบาง? ดุลการคาของเรา เริม่ ขาดดุลตัง้ แตปลายปทแ่ี ลว ตัวเลขการสงออกลดลงอยางตอเนือ่ ง และขาวลาสุดไทยไดเขาสูภ าวะเงินเฟอติดลบทีม่ โี อกาสนำไปสู “ภาวะ ราคาลด” หรือเงินฝด (deflation) ซึ่งจะเกิดขึ้นพรอมกับภาวะการ จางงานที่ลดลง ราคาสินคาลดลงเพระอุปสงคโดยรวมลดลง วิธีที่ 39 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
รัฐบาลแกกค็ อื ใหมกี ารเพิม่ การสงออกสินคามากขึน้ เพิม่ เม็ดเงินการ ลงทุนจากภาครัฐเพื่อกระตุนอุปสงคโดยรวม แตดูเหมือนวาความ เปนไปไดตอนนี้คือการใชจายของรัฐเทานั้นซึ่งก็เห็นไดจากการออก มาตรการทั้งการคลังและการเงินมากมาย จึงตองคอยดูกันตอไปวา มาตรการเหลานี้ตรงเปาประสงคเพียงใดซึ่งตองใชเวลาอยางนอย 6 ถึง 12 เดือนจากวันนี้ สิ่งที่ผมเปนหวงมากก็คือการสงออกสินคาที่ถูกกระทบจาก เหตุการณดังกลาวขางตนเพราะประเมินไดวาประเทศนำเขาสินคา จากไทยทั้งสามแหลงคือ สหรัฐ ยุโรป และญี่ปุน คงใชมาตการ ปกปองเพิ่มมากขึ้น อาเซียนรวมทั้งจีนแมจะเปนตลาดสงออกใหญ ของเราแตประเทศเหลานีก้ ถ็ กู กระทบจากวิกฤตเชนกัน จึงขอใหทำใจ และประคองตัวใหอยูรอดใหไดในชวงเวลาวิกฤตนี้และใหถือวาเปน บทเรียนใหมอีกชิ้นหนึ่งที่ย้ำใหเห็นวาเราตองเริ่มคิดที่จะปรับเปลี่ยน โครงสรางการผลิตสินคาและบริการของเราครั้งใหญใหทันกับการ เปลี่ยนแปลงของโลกที่เราไมอาจควบคุมไดเพราะจะมีปญหาที่ตาม มาติดๆหลังจากนี้ตอไปอีกก็คือ กระบวนการผลิตสินคาและบริการ ที่จะตองไมเพิ่มปญหาใหกับ 3 สิ่งตอไปนี้คือ 1. น้ำที่มีปริมาณจำกัด 2. ความมั่นคงทางพลังงาน และ 3. การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ โลก บริษัทใดที่คิดคำตอบไดกอนยอมจะรอดพนจากวิกฤตครั้ง ตอไปซึ่งจะตองเกิดขึ้นอยางแนนอน เพราะประวัติศาสตรไดบันทึก ไวแลววาวิกฤตเศรษฐกิจโลกจะเกิดขึ้นเปนชวงๆคลายๆระลอกคลื่น ยาวที่บางชวงก็ทิ้งระยะหางเปนเวลา 40-60 ป บางชวงก็สั้นกวานั้น เรียกวา Kondratiev Waves รู้งี้ 40
อาเซียน 10 มีนาคม 2552
ชวงเวลานีเ้ ปนชวงวิกฤตเศรษฐกิจทัว่ โลกซึง่ คาดการณวา จะ กินเวลานานอยางนอย 2 ปจึงจะฟนกลับขึ้นมาเหมือนเดิม บางคน ใหชื่อภาวะในขณะนี้เรียกวา Reversed Globalization ขอแปลวา ภาวะสวนกลับของโลกาภิวัตนซึ่งคงหมายถึงภาวะโลกาภิวัตนสะดุด และเดินถอยหลัง เปนเหตุใหประเทศตางๆ ผลิตนโยบายปกปองการคา ในรูปแบบตางๆ ขณะเดียวกันกลุม ประเทศอาเซียน 10 ไดประชุมระดับผูน ำ เมื่อปลายเดือนกุมภาพันธตอเนื่องถึงตนเดือนมีนาคม 2552 เพื่อ ยืนยันความรวมมือในสามเสาหลักคือ 1. ความมั่นคง 2. เศรษฐกิจ และ 3. สังคมและวัฒนธรรม ซึ่งเปนการสวนทางกับ Reversed Globalization จึง ทำใหมคี ำถามวาโอกาสทีจ่ ะทำไดเร็วและสำเร็จนัน้ มีมากนอยแคไหน และอยางไร? มีทา นผูร ทู ศ่ี กึ ษาประวัตศิ าสตรการรวมตัวของประเทศ ตางๆโดยเฉพาะกรณีหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 วา “ความสำเร็จของ การรวมกลุมประเทศนั้นจะไมเกิดขึ้นหากไมมีประเทศมหาอำนาจ อยางเชนสหรัฐเขามามีบทบาทดวย เห็นไดจากตัวอยางของสันนิบาตชาติ (League of Nations) ที่กอตั้งขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่ง ลมเหลวเพราะขาดสมาชิกอยางประเทศสหรัฐ” 41 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
อาเซียนกำลังจะพิสจู นวา ประวัตศิ าสตรไมจำเปนตองซ้ำรอย ตัวเอง (History Repeats Itself) แมสิ่งทาทายและอุปสรรคจะ มากมาย แตอาเซียนจะตองทำใหสำเร็จและในสวนของประเทศไทย ก็คงจะตองทำใหสำเร็จเชนกัน ความทาทายในสวนของเสาเศรษฐกิจมีดังตอไปนี้:1. การคาสินคาและอุปสรรคในเรือ่ งภาษีและมาตรการทีไ่ มใช ภาษี ความเขาใจของกรอบอาเซียนยังไมทั่วถึงในทุกระดับของ การผลิตและบริการ การเตรียมการเพื่อเจรจาที่มีเพียงรัฐและภาค ธุรกิจเขารวมนั้นไมเพียงพอ ดังนั้นจึงเปนภาระของทั้งรัฐและองคกร ธุรกิจจะตองทำงานอยางตอเนื่องจนกระทั่งผูประกอบการทุกคนที่ อยูใ นหวงโซการผลิตเขาใจตรงกันภายในเวลาอันสัน้ ภายใน 1 ปจากนี้ เชน ผลกระทบจากกำหนดการลดภาษีนำเขาสินคาระหวาง 10 ประเทศ การผลิตสินคาเพื่อใหไดถิ่นกำเนิดสินคาเพื่อจะไดรับผลประโยชน จากการลดภาษี และการเตรียมการเพือ่ หลบหลีกผลกระทบจากระบบ การปกปองการคาทีไ่ มใชภาษีอน่ื ๆหรือทีเ่ รียกวา Non-Tariff Barriers ซึ่งมีตัวเลขรวมกันทั้งหมด 10 ประเทศโดยประมาณถึง 500 กวา รายการ ซึ่งสวนใหญจะเปนเรื่องมาตรการการจัดการโควตานำเขา มาตรการศุลกากร มาตรการอุปสรรคดานเทคนิค สุขอนามัยและ สุขอนามัยพืช อาเซียนจะขจัดอุปสรรคเหลานี้ใหหมดไปตามเจตนารมณ ไดอยางไร หรือเปนเรื่องที่เปนไปไมไดเพราะผูบริโภคจะตองไดรับ การพัฒนาขึน้ เรือ่ ยๆ ความตองการสินคาทีป่ ลอดภัยจะมีมากขึน้ อยาง รู้งี้ 42
ตอเนือ่ งและจะขยายขอบเขตไปจนถึงการเรียกรองใหตอ งผลิตสินคา เพื่อปกปองสังคมและสิ่งแวดลอมมากขึ้น เชน การรักษาสิ่งแวดลอม น้ำ และ พลังงาน ดังนัน้ โครงสรางการผลิตสินคาจะตองมีการเปลีย่ นแปลงเพือ่ ตอบสนองตอสิง่ เหลานี้ นอกจากนัน้ โครงสรางองคกรและการบริหาร สถาบันรัฐและเอกชนก็จะตองปรับเปลี่ยนเชนกันเพื่อผลิตสินคาที่ สามารถตอบความตองการของประชาชนในอาเซียนและของโลก สมาคมการคามีหนาที่ที่จะตองเตรียมเงินทุนและบุคลากร ในการทำความเขาใจและเพิ่มศักยภาพในการผลิตใหกับสมาชิกโดย การลงมือทำงานตั้งแตวันนี้เปนตนไป 2. การลงทุนและการเคลื่อนยายคน เพื่อใหการเปดตลาดมีความสมบูรณในอนาคต อาเซียน 10 ไดวางพิมพเขียวอยางตอเนื่อง ดังนั้นหัวขอนี้จึงเปนเรื่องที่จะตอง ติดตามอยางใกลชดิ สาขาการลงทุนทีม่ กี ารเสนอใหสมาชิกลงทุนใน กลุมไดสูงถึง 70% ของทุนจดทะเบียนคือการทองเที่ยว การบิน โทรคมนาคม และ ธุรกิจสุขภาพ ขอสังเกตก็คือวาหากมีบริษัทใน ประเทศที่ 3 เชนสหรัฐไปลงทุนในประเทศที่เปนสมาชิกอาเซียน เชน สิงคโปร และขยายการลงทุนเขามาในไทยในฐานะที่เปนบริษัท ในอาเซียน (Foreign Owned ASEAN Based) ก็จะไดประโยชน จากขอตกลงนีโ้ ดยอัตโนมัตเิ พราะขอตกลงในอาเซียนไดเกีย่ วโยงไปถึง เงื่อนไขในขอตกลง GATS (มาตรา 6) ใน WTO ที่อนุญาตใหทำได ดังนัน้ ธุรกิจทีม่ ที นุ สูงจากประเทศนอกอาเซียนก็จะมีโอกาสที่ จะเขาลงทุนในตลาดอาเซียน เราจะใชประโยชนจากเงือ่ นไขนีอ้ ยางไร? 43 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
คำถามก็คอื ธุรกิจของไทยทีเ่ ปนเปาหมายของบริษทั ทุนใหญขา มชาติ ที่มีความตองการจะเขามาลงทุนในตลาดอาเซียนแตไมสามารถ เขามาไดในปจจุบันก็สามารถที่จะมาใชประโยชนจากขอตกลงของ อาเซียนไดในอนาคตอันใกลนี้ หากเราไมมีมาตรการถวงเวลาหรือ ปกปอง ประเด็นนี้จึงตองมีการศึกษาเพิ่มเติมอยางรีบดวนตอไป การตกลงในการเคลื่อนยายคนครอบคลุมเฉพาะแรงงานมี ฝมือ (Skilled Labor) และมีการทำขอตกลงรับรองรวมกันหรือ Mutual Recognition Arrangement (MRA) ในอาชีพเฉพาะ คือ วิศวกร สถาปนิก เปนตน ซึ่งนาจะเปนผลดีกับไทย เพราะจะทำให การเดินทางไปประกอบอาชีพสะดวกขึน้ เพียงแตเราตองมีมาตรการ ในประเทศอยางไรเพื่อปองกันการไหลของมันสมอง เชน นายแพทย เหมือนที่เราเคยกลัววาจะสรางแพทยไมพอในชวงที่เจรจาขอตกลง การคาเสรีกับญี่ปุนในกรอบ JTEPA (ไทยไดชะลอการทำขอตกลง เรื่องแพทย ทันตแพทยและบัญชีออกไป) คำถามนีก้ ค็ อื เรากลัวไหมหากวาการไหลออกของแรงงานฝมอื จะมีมากกวาแรงงานไรฝมือที่ไหลเขาไทยเหมือนที่เกิดขึ้นในเวลานี้? ไมมขี อ ตกลงใดทีส่ มบูรณแตสง่ิ ทีส่ ำคัญก็คอื หลังจากมีขอ ตกลง แลวผูลงนามจะตอง “สงมอบ” ใหไดในเวลาที่กำหนดอยางไร? ในขณะที่โลกกำลังแกวิกฤตอยูนั้นอาเซียนไดเขียนขอตกลง ที่สรางโอกาสใหกับทุกประเทศ ดังนั้นผูนำของไทยในทุกภาคสวน จีงมีภาระและความรับผิดชอบตองทำงานตอเนือ่ งพรอมๆ กันเพือ่ ให บรรลุเปาหมายอยางแทจริงภายในเวลาทีก่ ำหนดโดยทีไ่ มจำเปนตอง มีประเทศมหาอำนาจมาเปนสมาชิกหรือหุนสวนเพราะเขาเหลานั้น กำลังเรงแกปญหาของตนเองอยูทุกวินาที รู้งี้ 44
การเจรจารอบโดฮา กับการปกปองตลาด เมษายน 2552
ไมมีหลักฐานยืนยันวาการลมสลายของเศรษฐกิจภาคการ เงินของสหรัฐเปนผลมาจากการเปดเสรีทางการคา แตเปนเรื่องการ กำกับ ตรวจสอบ และขอกฎหมายของสหรัฐเองทีห่ ละหลวม ขาดแคลน และไมทันเกมของภาคธุรกิจ แตนาย Pascal Lamy1 เลขาธิการ องคการการคาโลกก็ยังพยายามพูดในที่ตางๆ วาเหตุการณดังกลาว จะไมเกิดขึ้นหากการเจรจาการคารอบโดฮาประสบผลสำเร็จ ยิ่งไป กวานั้นยังไดพูดอีกวาการปกปองตลาดที่เปนผลจากวิกฤติเศรษฐกิจ ในรอบนีจ้ ะไมเกิดขึน้ หากการเจรจารอบโดฮาประสบผลสำเร็จเชนกัน การปกปองตลาดหลังจากเกิดวิกฤติเปนเรือ่ งปกติ เพราะทุก ประเทศตองใชมาตรการกระตุน เศรษฐกิจภายในประเทศ ซึง่ หมายถึง การพยายามทีจ่ ะใหผบู ริโภคซือ้ สินคาทีผ่ ลิตในประเทศภายใตเงือ่ นไข ของขอตกลงการคาเสรีทุกกรอบอยูแลว ไมมีประเทศใดสามารถ ประกาศมาตรการปกปองพิเศษแตกตางโดยไมไดมีการตกลงไวกอน พูดงายๆก็คือวาทุกประเทศสามารถปกปองตลาดภายใตขอตกลงฯ ซึ่งสิ่งเหลานี้เกิดขึ้นตลอดเวลากอนวิกฤติเศรษฐกิจดวยซ้ำไป การเจรจารอบโดฮาจะสำเร็จหรือไมกต็ ามการปกปองตลาด ก็เกิดขึ้นอยูตลอดเวลาภายใตกติกาขอตกลงการคาโลกซึ่งเปนไป ตามเหตุผลหลักๆ ดังนี้ 1. ระดับการพัฒนาที่แตกตางกัน ประเทศกำลังพัฒนาและ 45 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ดอยพัฒนาตองการตลาดสงออกและการลงทุนจากประเทศพัฒนา แลว ภาษาการตลาดเรียกวา “buyer’s market” 2. หัวขอการเจรจาทุกหัวขอไดถกู กำหนดโดยประเทศพัฒนา แลว เชน การลดภาษีนำเขาสินคาซึ่งประเทศกำลังและดอยพัฒนา มีอตั ราเฉลีย่ ทีส่ งู กวา(จึงเกือบจะเปนการลดฝายเดียว) หรือ การจัดซือ้ จัดจางโดยรัฐ การลงทุน การปกปองทรัพยสนิ ทางปญญา โดยเฉพาะ เรือ่ งสิง่ บงชีท้ างภูมศิ าสตรจะเปนเรือ่ งทีช่ ดั เจนทีส่ ดุ ถึงความแตกตาง ระหวางสามกลุมประเทศดังกลาวเปนอยางดี 3. การเจรจาไมเปนประชาธิปไตยและโปรงใสตัง้ แตกอ นจบ รอบ Uruguay ดวยซ้ำไป เชน ประเด็นการอุดหนุนสินคาเกษตรที่ เจรจากันแคสองกลุมประเทศคือ สหรัฐและอียู 4. เนือ่ งจากการพัฒนาของประเทศตางๆ ตองดำเนินไปอยาง ตอเนื่องเพื่อสรางศักยภาพของผูบริโภคและปกปองสิ่งแวดลอมและ สังคม ดังนัน้ มาตรการใหมๆ ยอมจะตองถูกผลิตออกมาเพือ่ ตอบสนอง สิ่งเหลานี้ซึ่งเปนมาตรการกีดกันการคาโดยปริยาย เพราะประเทศ กำลังและดอยพัฒนาไมสามารถเรงศักยภาพใหทนั กับการเปลีย่ นแปลง เหลานี้ มาตรการที่ไมใชภาษีที่นำมาใชจึงเปนปกติ จึงอยากใหคิดใน เชิงบวกวาสิ่งเหลานี้เปนผลจากการพัฒนาของอุตสาหกรรม สังคม และ ผูบริโภค 5. แมข อตกลงที ่เ รี ยกว า Special and Differential Treatment ที่ใหประเทศพัฒนาใหความชวยเหลือแกประเทศกำลัง และดอยพัฒนา แตในความเปนจริงก็ไมใชสิ่งที่ไดรับการดำเนินการ อยางจริงจังโดยเฉพาะการเพิ่มศักยภาพเพื่อการแขงขัน เนื่องจาก เงินนอยและความจริงใจก็นอย รู้งี้ 46
โจทยของการคา การลงทุนที่เกิดขึ้นใหมจากวิกฤติน้ำมันใน ปทแ่ี ลวทีข่ น้ึ ไปถึงบารเรลละ USD147 นัน้ ทำใหเกิดปญหาเรือ่ งความ มัน่ คงทางอาหารเปนเหตุใหประเทศอยางเกาหลี ซาอุดอิ าเรเบีย ตอง หาเชาพืน้ ทีเ่ พาะปลูกสินคาเกษตรในประเทศรัสเซียและแถบอัฟริกา คำถามก็คือวา ผลิตผลที่ไดจะถูกนำเขาไปประเทศเกาหลี หรือซาอุอาเรเบียเทานัน้ หรือสงออกไปประเทศทีส่ ามดวย หากนำเขา ไปยังประเทศผูล งทุนเพือ่ รักษาความมัน่ คงทางอาหารแลวภาษีนำเขา จะเปนเทาไหร? จะขัดกับขอตกลงในรอบโดฮาที่กำลังเจรจาอยูหรือ เปลา? หรือเกาหลีจะตองทำ FTA กับประเทศที่ไปลงทุนเพื่อใหได สิทธิพิเศษทางภาษี? อยางไรก็ตามหัวขอการเจรจารอบโดฮาก็ยังวนเวียนอยูกับ การลดภาษีนำเขา การเปดตลาดสินคาบริการ (สำหรับรอบนี้ผมมี ความมัน่ ใจวาประเทศพัฒนาแลวคงไมเรียกรองการเปดตลาดการเงิน และธนาคารเหมือนทีผ่ า นมาเพราะวิกฤติครัง้ นีเ้ กิดจากตัวเองเปนเหตุ ดังนั้นตองไปจัด “บาน” ใหเรียบรอยกอน) ผมเห็นวาการเจรจารอบโดฮาไมไดแกปญ หาการปกปองตลาด ที่เกิดขึ้นอยางแนนอน เพราะโจทยกับคำตอบอยูกันคนละระดับ ดังกลาว ดังนั้น ไมวาจะมีรอบโดฮาหรือไมก็ตามประเทศก็จะตอง เดินหนาตอไปเพื่อสรางความมั่งคั่งอยางสมดุลบนโครงสรางพื้นฐาน ของเราเองคือธุรกิจสองกลุมและหนึ่งเงื่อนไขดังตอไปนี้ กลุมสินคาและบริการ 47 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
เราตองทบทวนวากลุมเกษตรและอาหารและอุตสาหกรรม การทองเที่ยวจะเปนกลุมอันดับแรก (first priority) ในการจัด โครงสรางการผลิตอยางไรใหแขงขันไดในทุกบรรยากาศและวิกฤติโลก ในอนาคต การจัดกลุมสินคาเปนหวงโซการผลิตทั้งระบบ โดยมี วิทยาศาสตรเปนตัวเสริมจะทำไดเร็วแคไหน (ถึงเวลาแลวทีก่ ระทรวง วิทยาศาสตรจะตองถูกนำเขามามีสว นรวมในการพัฒนาภาคการผลิต และบริการใหเปนสวนหนึ่งของกระทรวงเศรษฐกิจ) อุตสาหกรรม การทองเที่ยวนั้นเปนจุดเดนของเราและเรามีโครงสรางที่ดีอยูแลว แตตองพัฒนาใหดีขึ้นและหากเราทำสำเร็จก็จะเปนประโยชนใน ดานพัฒนาสังคมดวย เพราะไมมนี กั ทองเทีย่ วคนไหนอยากจะไปเทีย่ ว ประเทศที่มโี จร คนติดโรค คนโกง คอรรัปชั่นแนนอน สิ่งเหลานี้ ตองหมดไปการทองเที่ยวจึงจะพัฒนาได เงื่อนไข ชาตินิยม (Nationalism) เราเคยพูดกันเรื่องบริโภคสินคาภายในประเทศใหมากขึ้น ซึ่งเปนเรื่องถูกตอง ดังนั้น เราตองพัฒนาผูบริโภคใหมีความรูและ เรียกรองผูผ ลิตใหผลิตสินคาทีด่ มี มี าตรฐาน เราตองบังคับใชกฎหมาย ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยหรือ เรียกวา Product Liability Law ซึ่งประกาศใชเมื่อเดือนกุมภาพันธ นี้อยางเขมงวด ผูผลิตสินคาจะตองไปศึกษากฎหมายนี้ซึ่งจะชวยให ทานพัฒนาสินคาได หากติดขัดปญหาเรื่องเงินเพื่อการลงทุนเพิ่มก็ สามารถปรึกษากระทรวงอุตสาหกรรมหรือแหลงเงินอื่นของรัฐได คนไทยพรอมและตองการชวยคนไทยดวยกันอยูแลว แตจะไปบังคับ รู้งี้ 48
ใหเขาซื้อของไมดีและราคาแพงก็คงเปนไปไมได ดังนั้น หากภาค การผลิตไดปรับปรุงผลิตภัณฑแลวผมก็รบั รองไดวา การบริโภคสินคา ภายในเกิดขึ้นไดแนนอน เชน ผลไมไทย ฯลฯ ในการประชุม G20 ครั้งนี้ยังไดพูดถึงการพัฒนาใหเกิดเศรษศาสตร “สีเขียว” ดวย ผม จึงยิ่งมั่นใจวาการพัฒนาขบวนการผลิตสินคาและบริการเพื่อการคา และสังคมจะหลีกเลี่ยงไมไดอยางแนนอน ทายนี้คงหลีกเลี่ยงที่จะไมพูดเรื่องการเมืองไมได ขอใหนัก การเมืองศึกษาพัฒนาการเศรษฐกิจโลกใหเขาใจและนำไปคิดเพื่อ แกไขปรับปรุงและหาทางออกใหกบั ประเทศดวย และขอใหเปรียบเทียบ (benchmark) ตนเองกับนักการเมืองประเทศที่พัฒนาแลววาเขามี คุณสมบัติอยางไรและตนเองจะแขงขันกับเขาอยางไร การแขงขัน ตองดำเนินการโดยทุกภาคสวนของสังคมประเทศจึงจะ “ชนะ” ได ทุกครั้งที่เกิดปญหาทางเศรษฐกิจในประเทศจะมีการพูดถึง ภาคการเมืองวา “ไมนิ่ง” ซึ่งหมายความวาเราตองการการเมืองที่มี เสถียรภาพ มีประสิทธิภาพ โปรงใส มีธรรมาภิบาล แตเราก็ไมเคยได จนกระทั่งปจจุบัน ขณะนี้ภาคการเมืองพูดถึงการสมานฉันทในประเทศซึ่งเปน สิ่งที่ทุกคนอยากได แตเราพบวาสิ่งแรกที่นักการเมืองผลักดันคือ ตองการแกรฐั ธรรมนูญทีต่ นเองเสียประโยชนหลายมาตรา เชน เรือ่ ง การยุบพรรคการเมืองหรือมาตราทีจ่ ะปลดปลอยนักการเมืองทีไ่ ดรบั โทษให “หยุดพัก” ทางการเมือง 5 ป กลับเขามาสูการเมืองใหม ไดเร็วขึ้น พวกนักการเมืองไมรูความหมายของสมานฉันทดวยซ้ำไป เพราะหากตองการสมานฉันทก็คือ ตองพรอมที่จะสละบางสิ่งเพื่อ 49 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
แลกกับสิ่งที่ตนอยากได ไมใชเรียกรองเอาแตไดอยางเดียว สิง่ ทีเ่ รียกรองนีไ้ มเปนประโยชนตอ เศรษฐกิจไทยอยางแนนอน ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากเหตุการณทางการ เมืองในชวง 7-8 ปที่ผานมา เกิดจากนักการเมืองซึ่งไมเคยออกมา ยอมรับวาเปนความผิดของตน เราคงจะตองคิดหาทางฟองรองนัก การเมืองใหจายคืนความเสียหายดังกลาวซึ่งเปนจำนวนหลายแสน ลานบาท
รู้งี้ 50
ไทยไดอะไรจากวิกฤตเศรษฐกิจ 50 เมษายน 2552 เมือ่ วิกฤตการเมืองระหวางอิรคั และคูเวตสิน้ สุดลงเมือ่ ประมาณ 18 ปกอน ประธานาธิบดีบุชในฐานะผูปลดปลอยคูเวตไดประกาศ ภายหลังวาจะตองใหมีระเบียบโลกใหม “New World Order” โดย ไมไดพดู อะไรออกมาอยางชัดเจนวาจะทำอะไรแตมหี ลายทานชวยพูด แทนวาสหรัฐคงจะวางแผนในการจัดการโลก เนือ่ งจากเปนมหาอำนาจ หนึง่ เดียวทีเ่ หลืออยูเ พราะระบอบคอมมูนสิ ตไดลม สลายไปกอนหนา นี้แลว เวลาผานไปประมาณ 16 ปกวาๆ แตสหรัฐไมไดแสดงฝมือ อะไรใหเห็นวาไดสรางสรรคระเบียบอะไรใหมใหกับโลกสมดังคำ ประกาศแตอยางใด แตวลีเดียวกันนีก้ ก็ ลับถูกนำมาใชอกี ครัง้ แตคราวนี้ เปลงออกมาจากปากนาย Gordon Brown นายกรัฐมนตรีอังกฤษ ภายหลังการประชุม G20 ที่ London เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ หลังจากทีป่ ระชุมไดออกมาตรการตางๆเพือ่ แกปญ หาวิกฤตเศรษฐกิจ ทีม่ จี ดุ เริม่ จากสหรัฐภายใตการบริหารงานของประธานาธิบดี George W. Bush ซึ่งเปนลูกชายของประธานาธิบดีบุชเอง ตนเหตุของปญหาครัง้ นีเ้ กิดจากภาคการเงินทีไ่ มมกี ฎระเบียบ ที่ดีและมีประสิทธิภาพซึ่งตรงกับสมญานามของภาคเศรษฐกิจนี้วา Casino Economy นาย Greenspan อดีตประธานธนาคารชาติ ของสหรัฐก็ออกมายอมรับในขอบกพรองนี้ 51 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
วิกฤตนีม้ ผี ลกระทบทัว่ โลกเพราะอิทธิพลของความเชือ่ มโยง ทางเศรษฐกิจอยางแนบแนนภายใตโลกาภิวตั น โดยเฉพาะอยางยิง่ เริม่ ตัง้ แตสมัยประธานาธิบดีสหรัฐ นายโรนัล เรแกน รวมกับนายกรัฐมนตรี อังกฤษ นางมากาเกร็ต แธทเชอร ซึ่งเรียกยุคนี้วาเปนยุคเสรีนิยม ใหม (Neoliberalism) เชือ่ มโยงยุคดังกลาวกับขอเสนอในการใหยกเลิกกฎระเบียบ การคาหรือ “Deregulation” ซึ่งเปนหนึ่งในขอเสนอสิบขอของนาย John Williamsonในป ค.ศ.1989 ทีเ่ รียกวา Washington Consensus ในการแกปญ หาวิกฤตเศรษฐกิจในกลุม ประเทศลาตินอเมริกา จนเปน เหตุใหเกิดวิกฤตในปจจุบัน จนนาย Gordon Brown อีกเชนกันที่ ประกาศหลังการประชุม G20 ครั้งนี้วา “Washington Consensus is over” วิกฤตครัง้ นีท้ ำใหทกุ ประเทศตองแกปญ หารวมกันในสามเรือ่ ง ใหญๆ คือ :1. กระตุนภาคเศรษฐกิจในประเทศ 2. วางกฎเกณฑเพื่อดูแลภาคการเงินใหเขมงวด 3. ไมใหเกิดการกีดกันทางการคา มาตรการที่ประกาศออกมาครอบคลุมทั้งสามเรื่องอยาง ละเอียดเพื่อทำใหเกิดความเขมแข็ง ในการกำกับภาคการเงินใหมีความมั่นคง โปรงใส และระวัง ไมใหเกิดความเสีย่ งเปนตน ทานทีส่ นใจหาอานรายละเอียดเพิม่ เติมได เรื่องที่สำคัญสำหรับประเทศไทยคือ เรื่องการกีดกันทาง การคาซึ่งผูนำทั้ง 20 ประเทศตกลงกันดังนี้ :1. ไมใหมกี ารสรางมาตรการกีดกันใหมๆตอการลงทุน การคา และบริการ การจำกัดการสงออก หรือหลีกเลีย่ งการบังคับใชขอ ตกลง รู้งี้ 52
ใน WTO เพื่อเอื้อตอการสงสินคาออกของตน 2. จะไมสรางกฎระเบียบทีจ่ ำกัดการเคลือ่ นยายทุนโดยเฉพาะ ทุนที่สงไปยังประเทศกำลังพัฒนา 3. จะมุง มัน่ ใหมกี ารเจรจาขอตกลงการคาฯรอบโดฮาจนจบ อยางสมดุล พวกเรายอมรับวาวิกฤตครั้งนี้กระทบเปนวงกวางมากกวา วิกฤตเศรษฐกิจปพ.ศ. 2540 การสงสินคาออกของไทยในไตรมาสแรก โดยเฉลี่ยตกลงจากป 2551 ประมาณ 20% และคาดวาจะมีคน ตกงานกวาลานคน การที่จะเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจของเราจากการ พึ่งพาการสงสินคาออกใหนอยลงจาก 70% ของผลิตภัณฑภายใน ประเทศเบื้องตน (GDP) นั้นเปนเรื่องตองใชเวลามาก และยังเกิด คำถามวาจำเปนจะตองทำอยางนั้นหรือเปลา ระบบทุนนิยมไดเกิดปญหาขึน้ แลวและจะตองมีการปรับปรุงให ดีขน้ึ (อาจจะมีคำเรียกใหมวา ทุนนิยมกำกับ-Regulated Capitalism?) ตอไปโดยเราจะตองรวมมือกับประเทศตางๆดังที่ไดกลาวมาขางตน แตในสวนของเราเองก็คงจะตองสรางเกราะปองกันขึน้ ในในสองเรือ่ ง ดังนี้ 1. สินคาและบริการ ตองทบทวนวากลุม เกษตรและอาหารและอุตสาหกรรมการ ทองเที่ยวจะเปนกลุมอันดับแรก (first priority) ในการจัดโครงสราง การผลิตอยางไรใหแขงขันไดในทุกบรรยากาศและวิกฤตโลกในอนาคต การจัดกลุม สินคาเปนหวงโซการผลิตทัง้ ระบบโดยมีวทิ ยาศาสตรเปน ตัวเสริมจะทำไดเร็วแคไหน (ถึงเวลาแลวที่กระทรวงวิทยาศาสตรจะ ตองถูกนำเขามามีสวนรวมในการพัฒนาภาคการผลิตและบริการให เปนสวนหนึ่งของกระทรวงเศรษฐกิจ) อุตสาหกรรมาการทองเที่ยว 53 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
นั้นเปนจุดเดนของเราและเรามีโครงสรางที่ดีอยูแลวแตตองพัฒนา ใหดีขึ้น และหากเราทำสำเร็จก็จะเปนประโยชนในดานพัฒนาสังคม ดวยเพราะไมมีนักทองเที่ยวคนไหนอยากจะไปเที่ยวประเทศที่มีโจร คนติดโรค คนโกง คอรรัปชั่นแนนอน สิ่งเหลานี้ตองหมดไปการ ทองเที่ยวจึงจะพัฒนาได 2. ชาตินิยม เราเคยพูดกันเรื่องบริโภคสินคาภายในประเทศใหมากขึ้น ซึ่งเปนเรื่องถูกตอง ดังนั้นเราตองพัฒนาผูบริโภคใหมีความรูและ เรียกรองผูผ ลิตใหผลิตสินคาทีด่ มี มี าตรฐาน เราตองบังคับใชกฎหมาย ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยหรือ เรียกวา Product Liability Law ซึ่งประกาศใชเมื่อเดือนกุมภาพันธ นี้อยางเขมงวด ผูผลิตสินคาจะตองไปศึกษากฎหมายนี้ซึ่งจะชวยให ทานพัฒนาสินคาได หากติดขัดปญหาเรื่องเงินเพื่อการลงทุนเพิ่มก็ สามารถปรึกษากระทรวงอุตสาหกรรมหรือแหลงเงินอื่นของรัฐได คนไทยพรอมและตองการชวยคนไทยดวยกันอยูแลวแตจะไปบังคับ ใหเขาซื้อของไมดีและราคาแพงก็คงเปนไปไมได ดังนั้นหากภาคการ ผลิตไดปรับปรุงผลิตภัณฑแลว ผมก็รับรองไดวาการบริโภคสินคา ภายในเกิดขึ้นไดแนนอน เชน ผลไมไทย ฯลฯ ในการประชุม G20 ครัง้ นีย้ งั ไดพดู ถึงการพัฒนาใหเกิดเศรษศาสตร “สีเขียว” ดวย ผมจึง ยิง่ มัน่ ใจวาการพัฒนาขบวนการผลิตสินคาและบริการเพือ่ การคาและ สังคมจะหลีกเลี่ยงไมไดอยางแนนอน แมวา ประเทศในกลุม G20 จะประกาศวาจะไมปกปองการคา แตผมก็ไมเชือ่ วาจะเกิดขึน้ จริง เพราะในทางปฏิบตั นิ น้ั ยังคงไมมกี ลไก ที่สามารถบังคับไดอยางมีประสิทธิภาพไมวาจะเปนองคการ WTO หรืออื่นๆ ดังนั้นเราจึงตองชวยเหลือตนเองโดยการพัฒนาศักยภาพ รู้งี้ 54
การแขงขันทั้งตลาดสงออกและภายในประเทศอยูตอไปโดยการ ฉวยโอกาสทีป่ ระเทศเหลานีก้ ำลังออนแอและงวนอยูก บั การแกวกิ ฤต ซึ่งตองใชเวลาอยางนอย 1-2 ป นีค่ อื สิง่ ทีเ่ ราจะไดจากวิกฤตครัง้ นี้ หากพลาดโอกาสไปก็เปน ที่นาเสียดายอยางยิ่ง
55 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
วาระแหงชาติวาดวยการ แกปญหาเศรษฐกิจ และการเมื อ งไทย พฤษภาคม 2552 ไมมหี ลักฐานยืนยันวาการลมสลายของเศรษฐกิจภาคการเงิน ของสหรัฐเปนผลมาจากการเปดเสรีทางการคาแตเปนเรือ่ งการกำกับ ตรวจสอบ และขอกฎหมายของสหรัฐเองที่หละหลวม ขาดแคลน และไมทันเกมของภาคธุรกิจ แตนาย Pascal Lamy1 เลขาธิการ องคการการคาโลกก็ยงั พยายามพูดในทีต่ า งๆวาเหตุการณดงั กลาวจะ ไมเกิดขึน้ หากการเจรจาการคารอบโดฮาประสบผลสำเร็จ ยิง่ ไปกวานัน้ ยังไดพดู อีกวาการปกปองตลาดทีเ่ ปนผลจากวิกฤติเศรษฐกิจในรอบนี้ จะไมเกิดขึ้นหากการเจรจารอบโดฮาประสบผลสำเร็จเชนกัน การปกปองตลาดหลังจากเกิดวิกฤติเปนเรือ่ งปกติเพราะทุก ประเทศตองใชมาตรการกระตุน เศรษฐกิจภายในประเทศ ซึง่ หมายถึง การพยายามทีจ่ ะใหผบู ริโภคซือ้ สินคาทีผ่ ลิตในประเทศภายใตเงือ่ นไข ของขอตกลงการคาเสรีทุกกรอบอยูแลว ไมมีประเทศใดสามารถ ประกาศมาตรการปกปองพิเศษแตกตางโดยไมไดมีการตกลงไวกอน พูดงายๆก็คือวาทุกประเทศสามารถปกปองตลาดภายใตขอตกลงฯ ซึ่งสิ่งเหลานี้เกิดขึ้นตลอดเวลากอนวิกฤติเศรษฐกิจดวยซ้ำไป การเจรจารอบโดฮาจะสำเร็จหรือไมกต็ ามการปกปองตลาด ก็เกิดขึน้ อยูต ลอดเวลาภายใตกติกาขอตกลงการคาโลกซึง่ เปนไปตาม เหตุผลหลักๆ ดังนี้ รู้งี้ 56
1. ระดับการพัฒนาทีแ่ ตกตางกัน ประเทศกำลังพัฒนาและ ดอยพัฒนาตองการตลาดสงออกและการลงทุนจากประเทศพัฒนา แลว ภาษาการตลาดเรียกวา “buyer’s market” 2. หัวขอการเจรจาทุกหัวขอไดถกู กำหนดโดยประเทศพัฒนา แลวเชนการลดภาษีนำเขาสินคาซึ่งประเทศกำลังและดอยพัฒนามี อัตราเฉลี่ยที่สูงกวา(จึงเกือบจะเปนการลดฝายเดียว) หรือการจัดซื้อ จัดจางโดยรัฐ การลงทุน การปกปองทรัพยสนิ ทางปญญา โดยเฉพาะ เรือ่ งสิง่ บงชีท้ างภูมศิ าสตรจะเปนเรือ่ งทีช่ ดั เจนทีส่ ดุ ถึงความแตกตาง ระหวางสามกลุมประเทศดังกลาวเปนอยางดี 3. การเจรจาไมเปนประชาธิปไตยและโปรงใสตัง้ แตกอ นจบ รอบ Uruguay ดวยซ้ำไปเชนประเด็นการอุดหนุนสินคาเกษตรทีเ่ จรจา กันแคสองกลุมประเทศคือสหรัฐและอียู 4. เนือ่ งจากการพัฒนาของประเทศตางๆ ตองดำเนินไปอยาง ตอเนื่องเพื่อสรางศักยภาพของผูบริโภคและปกปองสิ่งแวดลอมและ สังคม ดังนัน้ มาตรการใหมๆ ยอมจะตองถูกผลิตออกมาเพือ่ ตอบสนอง สิ่งเหลานี้ซึ่งเปนมาตรการกีดกันการคาโดยปริยาย เพราะประเทศ กำลังและดอยพัฒนาไมสามารถเรงศักยภาพใหทนั กับการเปลีย่ นแปลง เหลานี้ มาตรการที่ไมใชภาษีที่นำมาใชจึงเปนปกติ จึงอยากใหคิด ในเชิงบวกวาสิง่ เหลานีเ้ ปนผลจากการพัฒนาของอุตสาหกรรม สังคม และ ผูบริโภค 5. แมขอ ตกลงทีเ่ รียกวา Special and Differential Treatment ทีใ่ หประเทศพัฒนาใหความชวยเหลือแกประเทศกำลังและดอยพัฒนา แตในความเปนจริงก็ไมใชสิ่งที่ไดรับการดำเนินการอยางจริงจัง โดยเฉพาะการเพิ่มศักยภาพเพื่อการแขงขันเนื่องจากเงินนอยและ ความจริงใจก็นอย 57 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
โจทยของการคา การลงทุนที่เกิดขึ้นใหมจากวิกฤติน้ำมันใน ปทแ่ี ลวทีข่ น้ึ ไปถึงบารเรลละ USD147 นัน้ ทำใหเกิดปญหาเรือ่ งความ มัน่ คงทางอาหารเปนเหตุใหประเทศอยางเกาหลี ซาอุดอิ าเรเบียตอง หาเชาพืน้ ทีเ่ พาะปลูกสินคาเกษตรในประเทศรัสเซียและแถบอัฟริกา คำถามก็คือวาผลิตผลที่ไดจะถูกนำเขาไปประเทศเกาหลี หรือซาอุดิอาเรเบียเทานั้นหรือสงออกไปประเทศที่สามดวย หาก นำเขาไปยังประเทศผูลงทุนเพื่อรักษาความมั่นคงทางอาหารแลว ภาษีนำเขาจะเปนเทาไหร? จะขัดกับขอตกลงในรอบโดฮาที่กำลัง เจรจาอยูหรือเปลา? หรือ เกาหลีจะตองทำ FTA กับประเทศที่ไป ลงทุนเพื่อใหไดสิทธิพิเศษทางภาษี? อยางไรก็ตามหัวขอการเจรจารอบโดฮาก็ยังวนเวียนอยูกับ การลดภาษีนำเขา การเปดตลาดสินคาบริการ (สำหรับรอบนี้ผมมี ความมัน่ ใจวาประเทศพัฒนาแลวคงไมเรียกรองการเปดตลาดการเงิน และธนาคารเหมือนทีผ่ า นมาเพราะวิกฤติครัง้ นีเ้ กิดจากตัวเองเปนเหตุ ดังนั้นตองไปจัด “บาน” ใหเรียบรอยกอน) ผมเห็นวาการเจรจารอบโดฮาไมไดแกปญหาการปกปอง ตลาดทีเ่ กิดขึน้ อยางแนนอนเพราะโจทยกบั คำตอบอยูก นั คนละระดับ ดังกลาว ดังนั้นไมวาจะมีรอบโดฮาหรือไมก็ตามประเทศก็จะตอง เดินหนาตอไปเพื่อสรางความมั่งคั่งอยางสมดุลบนโครงสรางพื้นฐาน ของเราเองคือธุรกิจสองกลุมและหนึ่งเงื่อนไขคือกลุมเกษตรและ อาหาร ประกอบกับเงื่อนไขหนึ่งขอคือความเปนชาตินิยมที่จะตอง สรางตลาดสินคาภายในประเทศใหตอบสนองความตองการของ ผูบริโภคที่ไดรับการพัฒนาและเขมแข็งขึ้น รู้งี้ 58
ขอมูลขางตนแสดงใหเห็นชัดเจนวาภาคเศรษฐกิจการคา เปนวาระแหงชาติแตแทจริงแลวตองยอมรับวาความมั่นคงทางการ เมืองไทยก็จำเปนจะตองถูกนำมาเสนอวาเปนวาระทีส่ ำคัญเชนเดียวกัน และจะตองไดรับการแกไขอยางรีบดวนไมแพกัน ขอใหนักการเมืองรีบไปศึกษาพัฒนาการเศรษฐกิจโลกให เขาใจและนำไปคิดเพื่อแกไขปรับปรุงและหาทางออกใหกับประเทศ ดวย ขอใหเปรียบเทียบ (benchmark) ตนเองกับนักการเมืองที่ดี ในประเทศอื่นวาเขามีคุณสมบัติอยางไรและตนเองจะแขงขันกับเขา อยางไร การแขงขันตองดำเนินการโดยทุกภาคสวนของสังคมประเทศ จึงจะ “ชนะ” ได
59 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ทางออกเศรษฐกิจการเมืองไทย ภายใตการแบงขั้ว พฤษภาคม 2552
การแบงขั้วทางการเมืองในยุคสงครามเย็นไดสลายไปหลัง ระบอบคอมมูนสิ ตลม สลายในป ค.ศ. 1989 ขณะนีค้ วามสัมพันธระหวาง สหรัฐและคิวบากำลังดีขึ้นเรื่อยๆ แตเกาหลีเหนือและอิหรานยังคง จะมีปญหาตอไป ความขัดแยงระหวางปาเลสไตนและอิสราเอลซึ่ง เปนความขัดแยงทีอ่ มตะก็คงไมผดิ แตคงเรียกไมไดวา เปนการแบงขัว้ ทางการเมือง อยางไรก็ตามโลกก็ยังไมมีสันติภาพอยางที่ตองการและที่ เรียกหา สงครามกลายเปนปรากฏการณปกติที่เกิดขึ้นทุกวัน การแบงขั้วระดับโลกทางเศรษฐกิจ ภายหลังสงครามโลกครัง้ ทีส่ องสิน้ สุดลงกลุม ประเทศพัฒนา ที่ชนะสงครามมีดำริวาจะตองมีการจัดการการคาและการลงทุนให เปนระบบและยุติธรรมโดยมีความเชื่อวาการลดอุปสรรคตางๆ เชน การลดภาษีนำเขาและมาตรการกีดกันภาษีและมาตรการการคาอืน่ ๆ จะนำไปสูการคาที่เสรีและเปนธรรม แตความพยายามในครั้งแรกในการจัดตั้งองคการที่เรียกวา International Trade Organization (ITO) ก็ไมประสบความสำเร็จ ดวยเปนเพราะสหรัฐอเมริกากลัววาองคการนี้จะสรางปญหาใหกับ การบริหารการคาภายในประเทศโดยฉพาะในดานเกษตรกรรม เปนขอสังเกตวาสหรัฐฯเปนประเทศที่แสดงอาการตั้งแต ตอนนั้นแลววาตองการปกปองตลาดของตน หรือหากสิ่งใดที่ไมได รู้งี้ 60
เปนประโยชนแกตนแลวก็จะไมตองการเขารวมกับประเทศอื่นๆ อยางไรก็ตาม การเจรจาดานการคาและลงทุนก็ดำเนินการตอไปโดย เปลี่ยนรูปแบบเปนการเจรจาภายใตขอตกลงที่เรียกวาความตกลง ทั่วไปวาดวยภาษีศุลกากรและการคาหรือ General Agreements on Tariffs and Trade (GATT) จนประสบความสำเร็จในป พ.ศ. 2537 และจัดตั้งองคการการคาโลกขึ้นมาดูแลขอตกลงดังกลาวใน ตนป พ.ศ. 2538 แมจะมีขอตกลงดังกลาวมาเปนเวลาประมาณ 15 ป แต เปาหมายก็ยังไมบรรลุและความเหลื่อมล้ำทางดานเศรษฐกิจของ ประเทศสมาชิกก็ยังคงอยูแมปริมาณการคาจะเพิ่มขึ้นโดยตลอด (ตาราง) ซึ่งอาจจะสรุปสาเหตุไดดังนี้ 1. ระดับการพัฒนาทีแ่ ตกตางกัน ประเทศกำลังพัฒนาและ ดอยพัฒนาตองการตลาดสงออกและการลงทุนจากประเทศพัฒนา แลว ภาษาการตลาดเรียกวา “buyer’s market” 2. หัวขอการเจรจาทุกหัวขอไดถกู กำหนดโดยประเทศพัฒนา แลวเชนการลดภาษีนำเขาสินคาซึ่งประเทศกำลังพัฒนาและดอย พัฒนามีอัตราเฉลี่ยที่สูงกวา (จึงเกือบจะเปนการลดฝายเดียว) หรือ การจัดซื้อจัดจางโดยรัฐ การลงทุน การปกปองทรัพยสินทางปญญา โดยเฉพาะเรื่องสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรจะเปนเรื่องที่ชัดเจนที่สุดถึง ความแตกตางระหวางสามกลุมประเทศดังกลาวเปนอยางดี 3. การเจรจาไมเปนประชาธิปไตยและโปรงใสตัง้ แตกอ นจบ รอบ Uruguay ดวยซ้ำไปเชนประเด็นการอุดหนุนสินคาเกษตรทีเ่ จรจา กันแคสองกลุมประเทศคือสหรัฐและอียูที่เรียกวา Green Room 4. เนื่องจากการพัฒนาของประเทศตางๆ ตองดำเนินไป อยางตอเนือ่ งเพือ่ สรางศักยภาพของผูบ ริโภคและปกปองสิง่ แวดลอม 61 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
และสังคม ดังนั้นมาตรการใหมๆ ยอมจะตองถูกผลิตออกมาเพื่อ ตอบสนองสิ่งเหลานี้ซึ่งเปนมาตรการกีดกันการคาโดยปริยายเพราะ ประเทศกำลังพัฒนาและดอยพัฒนาไมสามารถเรงศักยภาพใหทนั กับ การเปลี่ยนแปลงเหลานี้ มาตรการที่ไมใชภาษีที่นำมาใชจึงเปนปกติ หากคิดในเชิงบวกสิ่งเหลานี้เกิดจากผลของการพัฒนาสังคมและ ผูบริโภคของประเทศอุตสาหกรรมโดยทั่วไป 5. แมมติทเ่ี รียกวา Special and Differential Treatment ที่ใหประเทศพัฒนาใหความชวยเหลือแกประเทศกำลังพัฒนาและ ดอยพัฒนา แตในความเปนจริงก็ไมใชสง่ิ ทีไ่ ดรบั การดำเนินการอยาง จริงจัง โดยเฉพาะการเพิม่ ศักยภาพเพือ่ การแขงขันเนือ่ งจากเงินนอย และความจริงใจก็นอย ความหงุดหงิดก็ยอมเกิดขึ้นเปนธรรมดาในกลุมประเทศ พัฒนานอยกวาโดยเฉพาะประเทศบราซิลและอินเดีย ซึง่ เปนประเทศ เศรษฐกิจใหญและทำหนาที่เปน “หัวหอก” ในการ “ปะทะ” กับ ประเทศพัฒนาในทุกกรอบการเจรจาโดยเฉพาะจะเห็นไดชัดเจนใน การเจรจากรอบลาสุดที่ชื่อวา Doha Development Agenda ที่ ยืดเยื้อมาแลวกวา 7 ป และไมมีทีทาจะสิ้นสุด และผมมีความเชื่อวา ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจของสมาชิก WTO ก็ยังจะไมมีทาง พัฒนาใหอยูในระดับที่ไกลเคียงกันหากประเทศพัฒนายังไมเปลี่ยน ความคิดการแบงขั้วทางเศรษฐกิจซึ่งเปนปญหาโครงสรางตั้งแตตน การใหความชวยเหลือแกประเทศดอยพัฒนาดวยการให สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเชนระบบ Generalised System of Preferences (GSP) หรือ Everything But Arms (EBA) ก็ไม สามารถจะลดระดับการพัฒนาไดเพราะการนำเขาสินคานัน้ ผูซ อ้ื ไมได พิจารณาแคอตั ราภาษีนำเขาเทานัน้ แตยงั ตองมีการตรวจสอบมาตรฐาน รู้งี้ 62
สินคาดวยซึ่งประเทศพัฒนาก็มีมาตรการที่เขมงวดขึ้นเรื่อยๆ การแบงขั้วในระบบการคาโลกจึงยังคงมีอยูตอไปและมี่ขอ สงสัยวาถึงเวลาแลวหรือยังทีแ่ นวทางการจัดการระบบเศรษฐกิจโลก จะตองเปลี่ยนไป? หลังการเปดเสรีภายใตกรอบ WTO การคาก็ขยายมากขึ้น แตชองวางระหวางคนรวยและคนจนไมไดลดลง (ตามตาราง) ป
สงออก
นำเขา
1995-2000
5%
5%
2001
4
-4
2002
4 (6,424)
4 (6,685)
2003
16 (7,274)
16 (7,557)
2004
22 (8,880)
22 (9,215)
2005
14 (10,121)
13 (10,481)
2006
15 (11,762)
14(12,080)
ที่มา : WTO (ตัวเลขในวงเล็บเปนพันลานดอลลาร)
การแบงขั้วในกรณีของประเทศไทย .การเมืองไทยยุคใหมเริ่มตนที่ความออนแอตั้งแตปฏิวัติในป พ.ศ. 2475 แตเศรษฐกิจก็สามารถขยายตัวตลอดซึ่งก็ไมใชมาจาก ฝมือของฝายการเมือง ชวงป พ.ศ.2475-2500 เปนชวงที่ปกครอง โดยนักวิชาการ (Technocrat) และทหาร ชวงป พ.ศ.2550-2516 เปนชวงทีป่ กครองโดยเผด็จการทหาร ชวงปพ.ศ.2516-ปจจุบนั เปน 63 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ชวงทีส่ ลับกันไปมาระหวางประชาธิปไตยครึง่ ใบ ประชาธิปไตยเต็มใบ และรัฐประหาร การเมืองไมมีความตอเนื่องดังนั้นการเมืองจึงไมใช ผูกำหนดและชี้นำการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ประเทศไทยเปนสมาชิก GATT ในป ค.ศ.1982 ลำดับที่ 25 และเปนสมาชิก WTO ในป ค.ศ.1995 ลำดับที่ 59 การดำเนิน กิจกรรมทางธุรกิจจึงตกอยูในกรอบที่ไมถูกกำหนดโดยรัฐบาลไทย ดวยปจจัยสำคัญตอไปนี้ • ไทยตองการการลงทุนและเทคโนโลยีจากตางชาติ • ไทยตองการสงออกสินคา • นักการเมืองไมเขาใจวิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจของ โลกจึงไมมีการสรางกฎหมายและแผนการพัฒนาการแขงขันเพื่อใช และชี้นำภาคการผลิต บริการ และการลงทุน • การเจรจาขอตกลงการคาระหวางประเทศเปนบทบาทของ ขาราชการโดยมีกระทรวงพาณิชยเปนกระทรวงหลัก การแบงขั้วที่หนึ่ง เปนการแบงขั้วระหวางภาคเศรษฐกิจและภาคการเมือง ผูบริหารภาคเศรษฐกิจยังยึดติดกับประเพณีและวัฒนธรรมเดิมๆ คือ ออนนอมตอภาคการเมือง ผลที่ตามมาก็คือไมสามารถจะสราง ศักยภาพการแขงขันไดแตเปนการรักษาระบบฮัว้ ระหวางนักการเมือง และกลุมทุนเทานั้น การวางแผนเพื่อใชทรัพยากรของชาติใหเกิด ประโยชนสงู สุดจึงไมเกิดขึน้ ภาคการเกษตรจึงยังลาหลัง การชวยเหลือ เกษตรกรทางการเงิน (Subsidies) จึงยังไมพัฒนาแตเปนการสราง โอกาสใหโกงกิน (Corruption)ระดับชาติ การแบงขั้วที่สอง รู้งี้ 64
เปนการแบงขัว้ ระหวางพรรคการเมืองทัง้ หลายแตนกั การเมือง เองกลับไมมีการแบงขั้ว พรรคการเมืองผลัดกันเปนรัฐบาลแตนัก การเมืองเปลี่ยนพรรคไดทุกพรรค จึงมีคำพูดวาการเมืองไมมีการ แบงขั้วแตเปนการแบงเค็ก หรือการเมืองไมมีมิตรแทและศัตรูถาวร เมื่อนักการเมืองออนแอประเทศก็จะพัฒนาลำบากเพราะอำนาจ การบริหารอยูที่นักการเมืองเปนผลใหการแกกฎหมายและระเบียบ ตางๆ ไมขึ้นอยูกับแนวคิดที่เปนสากลจึงไมสามารถตอบโจทยของ ระบบเศรษฐกิจโลกที่เคลื่อนที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ปญหาการแบงขัว้ ทางการเมืองในปจจุบนั (ปพ.ศ.2552) เปน ผลมาจากการสะสมปญหาของการเมืองมาตัง้ แตตน ทีท่ ำใหเกิดความ เหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจของคนไทยเปนอยางมากกลายเปนจุดออน ทางการเมือง เปนผลใหนักฉวยโอกาสทางการเมืองเห็นโอกาสและ เขามาสรางบทบาทไดอยางโดดเดน ปญหาที่เรื้อรังไดถูกสะสมเและกลายเปนสิ่งทาทายความ สามารถในการบริหารระบบเศรษฐกิจตอไปนี้ 1. เนือ่ งจากมีการลดกฎระเบียบการคาโลกอยางตอเนือ่ งเปน ผลใหบรรษัทขามชาติและทุนใหญเขาครอบงำรัฐ กฎระเบียบทาง การคา การลงทุนไมไดถูกกำหนดจากรัฐโดยทั้งหมดอีกตอไป แมวา รัฐจะกลับเขามามีบทบาทมากขึ้นในระยะนี้เพราะเกิดวิกฤติทางการ เงิน (ปพ.ศ.2550) แตเชือ่ วาจะเปนเพียงระยะสัน้ เทานัน้ หลังจากนัน้ ระบบก็จะกลับไปสูที่เดิม พลังของกลุมทุนใหญจะกลับมามีอำนาจ เหมือนเดิมดวยเหตุผลที่วาโครงสรางและแนวทางเศรษฐกิจโลก ภายใต WTO และ FTAs บีบบังคับใหเปนอยางนั้น 2. การแกปญ หาทางเศรษฐกิจของประเทศไทยจะเกิดขึน้ ได หากเราไดรัฐบาลที่ใชอำนาจรัฐเพื่อจัดสรรทรัพยากรอยางยุติธรรม 65 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
และโปรงใส เทานั้น ขอเสนอแนะ ประเทศไทยตองจัดกลุม เกษตร อาหารและทองเทีย่ วใหเปน กลุมแนวหนา (Priority) เพื่อการแขงขันอยางยั่งยืน 1. เกษตรและอาหาร ไทยมีทุนทางโครงสรางพิ้นฐาน มีทุน บุคคลกร มีทรัพยากรและที่ดิน 160 ลานไร มีการพัฒนาอยาง ตอเนื่องจนสามารถสงออกสินคาไดเปนอันดับตนๆ ของโลก เชน ขาว ยางพารา อาหาร สับปะรดกระปอง น้ำตาล เนื้อไก กุง เปนตน อยางไรก็ตาม สิ่งที่ทาทายภาคการผลิตในวันนี้คือประเด็น ใหมๆ ทีข่ บวนการผลิตและสินคาตองตอบสนองซีง่ มีสามดานดังนีค้ อื ความปลอดภัย (safety) ในกระบวนการผลิตและในตัว ผลิตภัณฑซึ่งตองเปนไปตามเกณฑที่สากลกำหนดเปนอยางต่ำ ความมั่นคงของอาหาร (security) ประเทศตางๆ ไดเพิ่ม ความระมัดระวังเรื่องความมั่นคงทางดานอาหารตั้งแตมีวิกฤติทาง พลังงานเมื่อป พ.ศ.2551 ที่ขึ้นไปสูงถึง $147 ตอบาเรลเปนผลให ประเทศที่ตองนำเขาอาหารอยางเชนเกาหลีตองหาทางไปลงทุน ปลูกพืชเกษตรในตางประเทศ เชน รัสเซีย และขอสุดทายคือ ความยัง่ ยืนของสิง่ แวดลอมและสังคม (sustainability) ตัง้ แต บัดนีเ้ ปนตนไป ผูท จ่ี ดั การขบวนการผลิตตองคำนึงถึงปริมาณน้ำทีใ่ ช พลังงานที่ใชและอุณหภูมิของโลกใหไดสมดุลมากที่สุด การแกปญ หาของขบวนการผลิตดังกลาวจะตองพัฒนาหวงโซ การผลิตทั้งระบบเปนลักษณะแนวตั้ง (Vertical) คือเริ่มตั้งแตการ พัฒนาวัตถุดบิ ไปจนถึงสินคาสำเร็จรูป โดยใชวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี เขามาชวยแกปญ หา ดังนัน้ กระทรวงวิทยาศาสตรจงึ ตองเปนกระทรวง ที่มีบทบาทเปนอยางมากในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รู้งี้ 66
2. การทองเทีย่ ว ไทยมีโครงสรางพืน้ ฐานอยูแ ลว เชน โรงแรม ระบบขนสงและการคมนาคม มีทรัพยากรบุคคล การพัฒนาธุรกิจการทองเที่ยวจะทำใหเกิดการพัฒนาสังคม และสิง่ แวดลอมไปพรอมๆ กัน เชน ตองมีการรักษาประเพณีวฒ ั นธรรม ที่ดี ตองมีกฎหมายที่ดีและการบังคับใชกฎหมายที่มีประสิทธิภาพ การสาธารณสุขตองดี ประเทศมีความสงบและประชาชนยิม้ แยมแจมใส เนือ่ งจากไมมใี ครอยากจะไปเทีย่ วประเทศทีโ่ จรผูร า ยชุกชุม ไมปลอดภัย มีโรคติดตอระบาด อาหารไมสะอาด พอคาไมซื่อสัตย ฯลฯ 3. สรางประสิทธิภาพของผูบริโภคใหแข็งแกรง ตองใหความรูแกผูบริโภคใหใชจายอยางมีประสิทธิภาพ จะตองสรางองคกรขึน้ มาเพือ่ ดำเนินการในเรือ่ งนีโ้ ดยใชระบบสงเสริม ผูผ ลิตทีส่ รางผลิตภัณฑทด่ี แี ละเปนประโยชนตอ ผูบ ริโภคและสิง่ แวดลอม องคกรเอกชนดานสังคมจะตองมีบทบาทในเรื่องนี้ ผูบริโภคจะตอง ใชประโยชนจากกฎหมายความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก สินคาที่ไมปลอดภัย หรือ Product Liability Law (PL Law) 4. การเมือง มีการแบงขั้วเพราะแตกตางในวิธีการดำเนินการเพื่อทำให ประเทศเจริญ ยั่งยืน แตไมใชแบงขั้วเพื่อชิงอำนาจรัฐเทานั้น
67 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ที่มาและที่จะไปของ...มาตรการ อุดหนุนมิถสิุนายนนค2552าเกษตร ไมมใี ครปฏิเสธวารายไดของเกษตรกรเปนเรือ่ งสำคัญอันดับ หนึ่งแตดวยเงื่อนไขทางภูมิศาสตร ภูมิอากาศ เทคโนโลยีและการ ตลาดทำใหรายไดของเกษตรกรอยูในระดับต่ำตลอดมาเปนเหตุให คนที่ไมประสงคดีใชจุดออนนี้เขาหาประโยชนทางการเมืองอยาง ตอเนื่อง รัฐบาลทุกประเทศมีนโยบายชวยเหลือเกษตรกรโดยเฉพาะ มาตรการการอุดหนุนราคา สินคาเกษตรทั้งชวงเวลากอนและหลัง ความตกลงทัว่ ไปวาดวยภาษีศลุ กากรและการคา (General Agreement on Tariffs and Trade) มาตรการอุดหนุนสินคาเกษตรตามขอตกลงดังกลาวแมจะ เปนผลใหเกิดความโปรงใสมากขึน้ แตกย็ งั มีปญ หามากมายโดยเฉพาะ ประเทศกำลังพัฒนาอยางไทย ผลที่ไดจากขอตกลงในเรื่องนี้คือ เกิดมาตรการอุดหนุนสาม รูปแบบดังตอไปนี้คือ 1. การอุดหนุนที่บิดเบือนราคาสินคา 2. การ อุดหนุนทีท่ ำใหราคาสินคาบิดเบือนแตมเี งือ่ นไข และ 3. การอุดหนุน เปนการทั่วไป (ไมบิดเบือนราคา) แตผลการปฏิบัติมีชองโหวมากมายดังที่นายคริส เอ็ดเวิรดส ผูอ ำนวยการดานภาษีจากสถาบันเคโต ไดวเิ คราะหไวรวม 10 ประการ ถึงเหตุผลที่ตองลดการอุดหนุนในสหรัฐฯดังนี้ 1. การอุดหนุนเกษตรคือการโอนเงินจากผูเสียภาษีไปให รู้งี้ 68
เกษตรกรที่ร่ำรวย ในป ค.ศ.2005 รายไดเฉลี่ยของเกษตรกรโดย ประมาณ $79,965 ขณะที่รายไดของคนทั่วไปเพียง $63,344 การ อุดหนุนเกษตรใหสวัสดิการแกชาวนาร่ำรวยอยาง David Rockefeller และ Edgar Bronfman ดวย (ดูแลวจึงไมเปนที่นาเหมาะสม เทาไหร) 2. การอุดหนุนเกษตรเปนเงินที่จะไดแกฟารมใหญๆ ซึ่งมี เพียง 10% เทานั้นแตรับเงินอุดหนุนไปถึง 72% (ตัวเลขของ Environmental Working Group) 3. การอุดหนุนเกษตรเปนการฝนหลักการตลาด ทำใหมกี าร ผลิตเกินความตองการ และธุรกิจเกษตรกูยืมเงินมากเกินไป 4. จากตัวเลขของ Government Accountability Office พบวามีการจายเงินอุดหนุนทีไ่ มถกู ตองปละ $500 ลานโดยประมาณ ตั้งแตป ค.ศ.2000 รัฐบาลจาย $1.3 หมื่นลานอุดหนุนใหแกผูเปน เจาของฟารมโดยตัวเองไมไดทำฟารมเลย รัฐยังจายคาชวยเหลือ ผูประสบภัยแกเกษตรกรโดยที่เขาเหลานั้นไมไดตองการใชเงินจริงๆ หรือไมไดรองขอดวยซ้ำ 5. การอุดหนุนเกษตรเปนอุปสรรคตอธุรกิจของชาวอเมริกนั ที่มีความสามารถในการแขงขันจริงทำใหขอตกลงการคาเสรีตางๆ มีอปุ สรรคไปดวย การอุดหนุนคุกคามความมัน่ คงของโลกดวยเพราะ เปนอุปสรรคตอการแขงขันของประเทศที่ยากจนและขัดขวางการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยใชเหตุ 6. โครงการอุดหนุนทำลายสิง่ แวดลอมเพราะทีด่ นิ ทีท่ ำฟารม นัน้ ตองใชปยุ มาก ทัง้ ๆ ทีใ่ นความเปนจริงทีบ่ างแหงนาจะปลอยทิง้ ไว ใหเกิดประโยชนในทางอื่น เชน ในดานสิ่งแวดลอมเชนเปนสวน 69 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
สาธารณะ 7. โครงการอุดหนุนบางโครงการทำใหราคาสินคาบริโภค แพงขึ้น เชน นม น้ำตาล โดยใชเหต ุซึ่งไมเปนผลดีตอผูบริโภค 8. การยกเลิกการอุดหนุนทำใหเกษตรกรไดปรับการผลิต และเกิดการปรับปรุงหรือเปลี่ยนอาชีพและสรางสิ่งใหมๆ เหมือนกับ ที่ประเทศนิวซีแลนดที่แกไขเรื่องการอุดหนุนในป ค.ศ.1984 9. ในปจจุบันเกษตรกรมีรายไดคอนขางมั่นคงกวาสมัยกอน เกษตรกรสวนใหญมรี ายไดจากภาคนอกเกษตร ปจจุบนั มีเพียง 38% เทานั้นที่ทำการเกษตรเปนรายไดหลัก 10. การลดการอุดหนุน จะชวยลดภาระผูเสียภาษีและงบ ประมาณรัฐดวย งบประมาณที่ขาดดุลที่เกิดจากการอุดหนุนทำให เปนภาระแกชนรุนหลังโดยไมจำเปน ทัง้ หมดนีค้ งเปนปญหาทีเ่ หมือนและแตกตางระหวางประเทศ สหรัฐฯกับไทย แตคงไมลืมวาสหรัฐฯใหการอุดหนุนมานานกวาไทย และเกษตรกรของเขาไดรับประโยชน จนกระทั่งถึงเวลาที่มีคนอยาง นายคริสมาวิเคราะหวา จะตองพิจารณายกเลิกไดแลว แตในกรณีของ ไทยนั้นยังคงตองอุดหนุนตอไป ดังนั้นประสบการณของสหรัฐฯจึงนาเปนความรูที่เราตอง เรียนรูและนำมาปรับใหเขากับสภาพของเรา โดยเฉพาะในกรณี ตัวอยางจริง เชน ประเด็นที่รัฐรับซื้อประกันราคาที่สูงกวาตลาด อยางมากในกรณีขาวและขาวโพดของไทย เปนผลใหมีการลักลอบ นำเขาจากประเทศเพื่อนบานจนเปนปญหาทางการเมืองในประเทศ ถึงเวลาแลวที่เราตองมาวิเคราะหวาการอุดหนุนในประเทศ ไทยมีปญหาอยางไรเชนไร รู้งี้ 70
แมวา ขอเสนอเหลานีไ้ มใชเรือ่ งใหมแตเปนเรือ่ งทีผ่ เู กีย่ วของ ไมอยากทำหรือยากเกินกวาที่จะทำแตไมใชวาเปนไปไมได หากไม นำไปศึกษาและปฏิบตั ใิ หเกิดผลแลวผลรายทีจ่ ะตามมาก็คอื ในอนาคต อันใกลนี้เกษตรกรจะปลูกพืชเพื่อขายใหรัฐเทานั้น สิง่ ทีผ่ มตองการเห็นคือการเปลีย่ นแปลงโครงสรางการอุดหนุน ที่เปนประโยชนแกเกษตรกรไทย และขณะเดียวกันก็ปฏิเสธการเกิด ประโยชน "ตามน้ำ" แกเกษตรกรตางชาติที่มาโกงรัฐไทย เปนผลให สูญเสียเงินภาษีของเราแลวยังเปนการบิดเบือนราคาอีกตางหาก เปนการสรางตนทุนที่ทำใหเราแขงขันไมไดในตลาดโลก ทั้งหมดนี้มีแตเสียกับเสียหรือเสีย "สองตอ"
71 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
8กรกฎาคม วิกฤต 2552 เราควรจะเริม่ เสวนากันวาสิง่ ทีค่ วรจะเกิดขึน้ กับประเทศไทย หลังป พ.ศ.2553 ซึ่งเปนปที่คาดหมายกันวาเศรษฐกิจทั่วโลกนาจะ ฟน กลับคืนมานัน้ จะเปนอยางไรตอไป เราจะยังคงจัดการระบบเศรษฐกิจ ของเราเหมือนกอนที่จะมีวิกฤติ หรือจะมีการเปลี่ยนแปลง และ เปลีย่ นแปลงอยางไร? มีบางคนเคยเสนอใหลดอัตราการสงออกสินคา เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบหากเกิดวิกฤติในอนาคต ขอเสนอนี้ยังไมมี คำตอบ ในความเห็นของผมนัน้ เรานาจะตองเลือกวาระบบเศรษฐกิจ ทีจ่ ะใชในการบริหารประเทศจะเปนอยางไรตอไป เชน ระบบเสรีนยิ ม เชนที่ผานมา หรือเสรีนิยมแบบกำกับโดยรัฐ (State Capitalism) ภายใตโครงสรางระบบเศรษฐกิจโลกที่คาดวาจะมีการเปลี่ยนแปลง อยางมากเชนกัน รวมทั้งผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศ โลก (Climate Change) ก็จะเปนโจทยในการจัดการการคาและ ระบบเศรษฐกิจโดยรวมในศตวรรษนี้ กอนอื่นผมขอนำเสนอ 8 วิกฤติของประเทศที่กำลังเผชิญ อยูซึ่งพวกเราจะตองชวยกันแกไขเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของ โครงสรางดังกลาวขางตน ดังนี้ :1. วิกฤติการสงออกสินคา เปนวิกฤติที่ประเทศไทยไดรับ ผลกระทบมาจากวิกฤติภายนอกประเทศสงผลใหตัวเลขการสงออก ตกต่ำลงถึง 20% กวาใน 6 เดือนที่ผานมา เทียบกับป พ.ศ.2551 และคาดการณวา จะจบลงทีต่ ดิ ลบ 15% เปนอยางต่ำ ตัวเลขคอนขาง นาเปนหวงเนื่องจากนำไปเปรียบเทียบกับตัวเลขที่คอนขางสูงในป รู้งี้ 72
สุดทาย อยางไรก็ตาม สิ่งซึ่งทำไดตอนนี้ก็คือพยายามประคองสวน แบงตลาดไมใหลดลงเพื่อเตรียมตัวสำหรับปหนาเมื่อเศรษฐกิจของ ประเทศนำเขาฟนกลับมา 2. วิกฤติทนุ นิยม เปนวิกฤติทก่ี ระทบระบบเศรษฐกิจทัว่ โลก จากสาเหตุของวิกฤติการเงินเปนผลใหนายกฯประเทศอังกฤษออกมา แสดงความเห็นวาจะตองมีระเบียบโลกใหม (New World Order) รวมทัง้ อาจจะตองมีการทบทวนการลดกฎระเบียบการคา (Deregulation) ตางๆดวย จึงอยากเสนอใหพวกเราติดตามใกลชดิ ถึงวิวฒ ั นาการของ นโยบายนี้เพราะคงจะไดเห็นสิ่งใหมๆเกิดขึ้น 3. วิกฤติน้ำมัน เปนตนเหตุของปญหาอยางมากในชวงสอง ปที่ผานมา เชน ราคาพืชเกษตรพุงขึ้นสูงทำใหตนทุนการผลิตอาหาร สูงเปนเหตุใหบางประเทศขาดแคลนอาหาร เกาหลีและซาอุดอิ าเรเบีย ไดผลิตนโยบาย “ความมั่นคงอาหาร” (Food Security) โดยไปเชา ทีด่ นิ ในประเทศแถบอัฟริกาเพือ่ ปลูกธัญพืชซึง่ เปนเรือ่ งทีต่ อ งถกเถียงกัน ตอไปวาเปนการเริม่ ตนของระบอบอาณานิคมใหม (New Colonization) หรือไม? ประเทศไทยไมควรมองขามเหตุการณนเ้ี พราะจะมีผลกระทบ ตอการคาสินคาเกษตรอยางแนนอน 4. วิกฤติมาตรฐานสินคาและบริการ เมือ่ มีระบบโลกาภิวตั น ก็ยอมมีระบบการจัดการการเคลื่อนยายสินคาและบริการขนิดไร พรมแดน เนื่องจากภาษีนำเขาลดลงเรื่อยๆ การเคลื่อนที่ของสินคา และบริการขามประเทศยอมตองไมกระทบกับสุขอนามัยของมนุษย สัตวและพืชของประเทศนำเขา ดังนั้นประเทศที่พัฒนาแลวยอมตอง สรางมาตรการตางๆ ผาน “มาตรฐาน” ขึ้นมาดูแลหรือปกปองเปน ผลใหประเทศที่ไมสามารถปรับตัวไดประสบปญหาทางการคาและ 73 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ยังจะตองเผชิญกับปญหานีต้ อ ไป จึงเสนอวาประเทศไทยตองมุง พัฒนา เรื่องนี้อยางรวดเร็วเพื่อยกระดับการผลิต ผลพลอยไดทางออมคือ ผูบริโภคในประเทศจะไดรับประโยชนดวย 5. วิกฤติผบู ริโภค หลายทานไมเขาใจวาผูบ ริโภคจะเปนวิกฤติ ไดอยางไร ดังไดกลาวมาแลวในวิกฤติขอที่ 4 ที่วามาตรฐานสินคา และบริการตองไดรบั การพัฒนาเพือ่ ตอบสนองความตองการของผูซ อ้ื ในตางประเทศ แตการพัฒนาจะไมสมบูรณหากผูบริโภคในประเทศ ไมตอบสนอง ผลทีเ่ กิดขึน้ คือประเทศไทยจะผลิตสินคาสองมาตรฐาน คือมาตรฐานสงออกจะสูงกวามาตรฐานในประเทศ เปนการเปดโอกาส ใหประเทศที่จะสงสินคามายังไทยใชเปนขออางในการสงสินคาที่มี มาตรฐานต่ำ (ซึ่งเทียบเทากับมาตรฐานไทยในประเทศ) ผลที่เกิดขึ้น ก็คอื เราจะไมสามารถพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวมไดเลย จึงเสนอวาภาค ธุรกิจจะตองมีสวนรวมในการพัฒนาผูบริโภคโดยการใหขอเท็จจริง ในมาตรฐานสินคา เชน เรื่องสารตกคางและการสรางโครงการ สนับสนุนผูผลิตที่ไดมาตรฐานใหไดรับสิ่งจูงใจในดานราคา ฯลฯ เรา คงมีการบานตองทำอีกมากในเรื่องนี้ตอไป 6. วิกฤติการใหการอุดหนุนสินคาเกษตร ประเทศไทยตอง มีการอุดหนุนสินคาเกษตรตอไปเนื่องจากปญหาราคาขายที่อิงราคา ตลาดโลกเปนหลัก แตวิธีการที่ใชอยูไมไดผลดี จึงตองหาวิธีใหมให ผลประโยชนตกแกเกษตรกรอยางแทจริงเพื่อจูงใจใหทำการเกษตร ตอไป 7. วิกฤติการจัดอันดับความสำคัญของอุตสาหกรรม ประเทศ ไทยคงไมสามารถเปน “จาว” ในสินคาและบริการทุกประเภท เรา ตองมีนโยบายในการจัดอันดับความสำคัญใหม อันดับทีห่ นึง่ ตองเปน รู้งี้ 74
ภาคเกษตรและอาหาร เนื่องจากเปนภาคเศรษฐกิจที่เรามีโครงสราง และประสิทธิภาพในระดับทีด่ ปี ระกอบกับกระแส “ความมัน่ คงอาหาร” ทีก่ ลาวขางตน กลุม ทีส่ องคือธุรกิจการทองเทีย่ วทีม่ โี ครงสรางทีพ่ รอม อยูแลว 8. วิกฤติการเมือง นักการเมืองตองเขาใจเศรษฐกิจโลกจึง จะสามารถดัดแปลงและขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทยได นักการเมืองตอง มีศกั ยภาพและแขงขันกับนักการเมืองทัว่ โลกเหมือนกับนักธุรกิจไทย ที่ตองแขงทั่วโลกเชนกัน การแขงขันอยางมีประสิทธิภาพนั้นจะตอง เปนการแขงขันทัง้ ระบบ ดังนัน้ ทุกภาคสวนของสังคมตองมีศกั ยภาพ ในการแขงขันตั้งแตการออกกฎหมายและระเบียบทีดี การบังคับใช กฎหมายมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได ตั้งแตปพ.ศ.2552เปนตนไปเศรษฐกิจไทยจะตองแขงขันใน บรรยากาศใหมภายใตกฎเกณฑใหมๆ ในดานนิเวศวิทยา (Ecology) ซึง่ ตองการการรวมมือกับประเทศทัว่ โลก ดังนัน้ เราจะตองมีเทคโนโลยี ใหมๆเพื่อเพิ่มผลิตภาพสินคา แตขณะเดียวกันก็ตองลดปริมาณการ ใชทรัพยากรน้ำ พลังงานและรักษาพืน้ ทีป่ า ไมใหมเี ทาเดิมหรือเพิม่ ขึน้ ในเวลาเดียวกัน สิ่งทาทายเหลานี้ไมตองรอคนรุนหลังแตตองเริ่มดวยคนใน ยุคปจจุบัน จึงถึงเวลาแลวที่การเปลี่ยนแปลงโครงสรางการผลิตจะ ตองเกิดขึ้นเพื่อเชื่อมโยงตั้งแตวัตถุดิบจนถึงสินคาสำเร็จรูปดวย เทคโนโลยีชั้นสูง ดังนั้นกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมจะตองถูกรวมเขามาเปน กระทรวงเศรษฐกิจโดยเร็ว 75 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
สหรัฐมองไทย(ไมมองสหรัฐ) กรกฎาคม 2552
สำนักงานผูแ ทนการคาสหรัฐหรือทีเ่ รียกวา United States Trade Representative (USTR) ทำรายงานประเด็นอุปสรรค ทางการคาของประเทศตางๆ ทุกป รายงานลาสุดฉบับประจำป ค.ศ.2009 ไดรับการเผยแพรออกมาในชวงปลายปที่แลวนั้น ระบุ วาประเทศไทยยังมีประเด็นอุปสรรคทางการคาที่ควรไดรับการ แกไขหลายขอซึ่งผมขอนำเสนอประเด็นหลักๆ 9 ประเด็นดังนี้:1. ภาษีศลุ กากร ประเทศไทยยังมีกำแพงภาษีนำเขาสินคา อยูในอัตราคอนขางสูงคือ 11.2% โดยเฉลี่ย และในบางสาขา มีอัตราสูงถึง 80% 2. มาตรการที่ไมใชภาษี เชน การจำกัดจำนวนนำเขา (Import Quota) ในสินคา 32 รายการ การคุมราคาสินคาและ การเก็บคาธรรมเนียมพิเศษเนื้อสัตว เชน เนื้อ หมู และไก 3. การจัดการเกีย่ วกับเรือ่ งการบริหารจัดการภาษีโดยทัว่ ไป ที่ยุงยากและไมโปรงใส (Non-Transparent) 4. อุปสรรคศุลกากร สหรัฐมีความกังวลอยางมากในประเด็น ความโปรงใสโดยเฉพาะการใชวธิ กี าร “ตีความ” ของกรมศุลกากร สหรัฐจึงเสนอใหมกี ารปฏิรปู กฎหมาย ระเบียบและประกาศตางๆ 5. มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช มาตรการใน สินคาปศุสัตวไมโปรงใสและคอนขางเขมงวดกวาแนวทางสากลที่ พัฒนาโดยองคการการคาโลก(ดับบลิวทีโอ) รู้งี้ 76
6. การจัดซือ้ จัดจางโดยรัฐ รัฐอนุญาตใหบริษทั ไทยไดเปรียบ บริษทั ตางชาติในเรือ่ งราคาประมูลสูงถึง 7% (ในรายงานของ WTO ป ค.ศ.2007 ระบุเพียง 3%) เปนการทำใหบริษัทตางชาติ เสียเปรียบ รวมทัง้ มาตรการทีป่ ระเทศไทยประกาศในป ค.ศ.2001 ใหซื้อสินคาไทย (Buy Thai) เปนอุปสรรคตอการคาและเปน มาตรการที่ไมโปรงใส 7. ทรัพยสินทางปญญา สินคาที่ละเมิดสิทธิบัตรและ เครื่องหมายการคายังเปนปญหาแกเจาของสิทธิ์ การดำเนินการ ปราบปรามของภาครัฐยังไมตอ เนือ่ ง รวมทัง้ มาตรการทางกฎหมาย ยังเปนปญหา ทำใหอุตสาหกรรมสหรัฐสูญเสียรายไดประมาณ $400 ลานเหรียญในป ค.ศ.2007 เรื่องการบังคับใชสิทธิ์เพื่อผลิต และใชยารักษาโรคที่เรียกวา “Compulsory Licensing” ที่ทาง สหรัฐขอใหคำนึงถึงความซับซอนทางกฎหมายระหวางนโยบาย สุขอนามัยและทรัพยสินทางปญญา 8. ธุรกิจบริการทางการเงิน ยังมีขอจำกัดในการถือหุน ของตางชาติ ธนาคารตางชาติยังมีขอจำกัดในการเปดสาขา 9. ธุรกิจบริการดานสุขภาพ ยังมีขอจำกัดในการลงทุน ของตางชาติ เชน โรงพยาบาล และทันตกรรม ซึ่งพบความไม โปรงใสในการถือหุน ของตางชาติในกิจการโรงพยาบาลและบริการ ดานสุขภาพอื่นๆ นอกจากนัน้ องคการการคาโลกก็ไดทำการประเมินคูข นาน กันแตทำรายงานทุก 4 ปที่เรียกวา “WTO Trade Policy and Practices by Measures Thailand 2007” ซึ่งพอสรุปไดวา ปญหาทีก่ ลาวมาขางตนมีลกั ษณะคลายกันโดยเฉพาะประเด็นความ 77 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ไมโปรงใส เปนที่ยอมรับกันทั่วไปวาประเด็นความไมโปรงใสนั้นนา เปนหวงอยางยิ่ง และทำใหประเด็นอื่นๆ มีความเดนนอยลงไป หากเราสามารถแกปญหานี้จนเปนผลใหไมไปปรากฏในรายงาน ในปตอๆไปแลวก็จะเปนเรื่องที่นาชื่นชมอยางยิ่ง นอกจากนั้นผม ก็ไมเห็นวาเราจะตองกังวลมากนัก เพราะเปนเรื่องปกติที่ทาง สหรัฐจะตองพูดถึงในสิง่ ทีเ่ ขาตองการใหเราปรับปรุงเพือ่ ประโยชน ทางการคาหรือการลงทุนของเขา เชน เรื่องการเปดตลาดธุรกิจ บริการทางการเงิน ซึ่งผมมีความเห็นวานาจะเปนประเด็นที่ทาง สหรัฐตองพิจารณาใหมวาจะมีกลยุทธอยางไรตอไป เพราะสหรัฐ เปนตนเหตุของการลมสลายของธุรกิจบริการทางการเงินนำมา ซึง่ วิกฤติทว่ั ทัง้ โลกอยูใ นเวลานี้ สหรัฐไมนา จะเรียกรองใหประเทศ ไทยลดหรือเลิกกฎระเบียบในธุรกิจนี้เหมือนอยางที่เคยเรียกรอง มาตลอดอยางนอยก็จนกวาสหรัฐจะแกไขปญหาของตนเองให เสร็จเสียกอน ประเทศไทยคงไมสามารถแกไขปรับปรุงทุกประเด็นได เพราะบางเรื่องขัดกับผลประโยชนของเราเอง เชน เรื่องการให สิทธิแกผูผลิตในประเทศในการไดประโยชนจากราคาตาง (ขอ6) ซึง่ เปนเรือ่ งของระเบียบในประเทศทีม่ มี านานแลว แตเราก็คงตอง นำไปพิจารณาและดำเนินการตอไปเนื่องจากเอกสารเหลานี้ เผยแพรไปทัว่ โลก ซึง่ มีผลกระทบตอความนาเชือ่ ถือไดระดับหนึง่ ผมมีความเชื่อวาในรายงานปตอๆไปจะมีเรื่องเกี่ยวกับ สิง่ แวดลอม ซึง่ เปนประเด็นทีโ่ ลกกำลังสนใจ เชน การใชทรัพยากร น้ำ และพลังงานในการผลิตสินคาและบริการ อันออกมาในรูป รู้งี้ 78
ของ Footprint ตางๆ เชน water footprint และ carbon footprint รวมถึงภาษีคารบอนที่มีแนวโนมวาประเทศที่พัฒนา แลวอาจจะจัดเก็บจากประเทศกำลังพัฒนาฐานไมรวมลดการ ปลอยกาซเรือนกระจก ซึ่งสิ่งเหลานี้จะเปนมาตรการที่กลับขาง คือจะเปนรายงานที่บอกวาประเทศไทยไมสามารถผลิตสินคาได ตามทีก่ ำหนด จึงอยากใหตดิ ตามเรือ่ งเหลานีอ้ ยางใกลชดิ โดยเฉพาะ ผูประกอบการ การแขงขันทางการคาจะมีประสิทธิภาพอยางแทจริงก็ ตอเมือ่ เรา “รูเ ขา” ดวย ดังนัน้ จึงเสนอใหรฐั ซึง่ มีหนาทีน่ โ้ี ดยตรง ในการจัดการใหมาซึ่งขอมูลเชนเดียวกับสหรัฐโดยทำทุกปเชน เดียวกันและตั้งชื่อวา “National Trade Estimate Report on Foreign Trade Barriers (Selected Countries), Thailand Trade Representative (TTR)
79 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
WTO…… เธออยูไหน? สิงหาคม 2552
ในวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 เปนวันที่สมาชิก องคการการคาโลก (WTO) ตกลงกันวาจะดำเนินการเจรจาเพื่อ นำไปสูขอตกลงการคาใหมหลังจากการใชมาตั้งแตป พ.ศ. 2538 สมาชิกไดรางปฏิญญาเรียกวา Doha Development Agenda (DDA) และกำหนดวาจะดำเนินการเจรจาใหเสร็จภายในเวลา 3 ป แตการเจรจาก็ลมเหลวเรื่อยมาจนถึงปจจุบันซึ่งชากวากำหนด ไป 8 ปแลวและไมมีทีทาวาจะเสร็จเมื่อไหร เพราะยังมีความ แตกตางในขอเรียกรองมากระหวางกลุม ประเทศพัฒนาและกำลัง พัฒนา เชน เรื่องการลดการอุดหนุนสินคาเกษตรเปนตน ในขณะเดียวกัน โลกก็ไดสรางกฎกติกาเรื่องสิ่งแวดลอม ขึ้นภายใตอนุสัญญาที่เรียกวา United Nations Framework Convention on Climate Change หรือ UNFCCC ซึ่งไดสราง พิธสี ารเกียวโตหรือ Kyoto Protocol มีเปาหมายในการลดภาวะ โลกรอนขึ้นใชกับประเทศที่รับรอง ความลาชาของความตกลงรอบโดฮาทำใหเกิดปญหา เพราะเกิด “คูแขง” อยางไมมีใครนึกถึงมากอน ความแตกตางก็ เพียงแตปฏิญญาโดฮาภายใต WTO นั้น ตั้งอยูบนปรัชญาของ การขยายการคาแต Kyoto Protocol นั้นตั้งอยูบนปรัชญาทาง ความยั่งยืนของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งทั้งสอง ขอตกลงนี้นำไปสูผลกระทบตอการคาเหมือนๆกัน เรามาดูกันวา รู้งี้ 80
เงื่อนไขหลักๆที่จะกระทบกับการคาในสองขอตกลงนี้มีอะไรบาง เพื่อหาทางออกรวมกัน 1. เปรียบเทียบสิง่ ทีต่ รงกันขามกันของขอตกลงในประเด็น ที่เกี่ยวของกับการคาคือในปฏิญญาโดฮาขอที่ 31 ในหัวขอยอยที่ 3 ตองการใหลดหรือยกเลิกมาตรการทางภาษีและไมใชภาษีใน การสงเสริมการผลิตสินคาและบริการทีร่ กั ษาสิง่ แวดลอม แตขณะนี้ ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวในกลุม ยุโรปและอเมริกากำลังสรางระเบียบ และกฎหมาย เพื่อปกปองตลาดผาน Kyoto Protocol โดยใช เงื่อนไขของภาวะโลกรอนดวยการเพิ่มมาตรการตางๆ เพื่อเก็บ ภาษีสินคานำเขา เชน Carbon Tax 2. ขอตกลงใน Kyoto Protocol อนุญาตใหมีกลไก “ความยืดหยุน ” (Flexibility) โดยอนุญาตใหประเทศในกลุม ทีต่ อ ง มีขอผูกพันลดกาซเรือนกระจก (เชน กาซคารบอนไดออกไซด) สามารถ “ซื้อ” สวนที่ลดได (Credit) จากอีกประเทศหนึ่งได โดยเฉพาะกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM) ซึ่งอนุญาตใหซื้อ Carbon Credit จากประเทศกำลังพัฒนาได โดยขึน้ อยูก บั เงือ่ นไข และราคาตามที่ตกลงกัน การเปดโอกาสเชนนี้อาจดูดีที่จะสราง รายไดแกประเทศที่สามารถขาย Credit แตการคาสินคาชนิดนี้ จะยั่งยืนแคไหนนั้นยังรับประกันไมได เพราะผูซื้อตองการราคา และเงื่อนไขที่ดีที่สุดเสมอ และเมื่อมีการแขงขันกันมากในตลาด ราคาก็จะตกลงมาจนวันหนึ่งก็จะไมคุมกับการลงทุนซึ่งจะเปน ผลใหการแกภาวะโลกรอนไมสัมฤทธิ์ผล และประเทศผูขายจะ เสียเปรียบในที่สุด เนื่องจากตนทุนจากการลงทุนดวยเทคโนโลยี จากประเทศพัฒนา 81 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
3. ทีมเจรจาของไทยควรจะมีผแู ทนของกรมเจรจาการคา ระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย เนื่องจากเงื่อนไขในการ เจรจานั้นเกี่ยวของกับการคาและการลงทุน ซึ่งมีประเด็นที่ตอง เชื่อมโยงกับขอตกลงการคาที่ไทยไดทำกับประเทศตางๆ ทั้งใน WTO และ FTAs ทัง้ หลายซึง่ อาจขัดกับสิง่ ซึง่ ผูแ ทนของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกำลังเจรจาอยู 4. สิง่ ทีน่ า สังเกตคือประเทศพัฒนากำลังออกกฎระเบียบ มากมาย “กอน” ที่จะไดขอตกลงรวมกันดังนั้นมาตรฐานในการ กำหนดทั้งขั้นสูงและขั้นต่ำแกภาคคอุตสาหกรรมและขนสงที่จะ ปลอยกาซคารบอนไดเทาไหรก็ยังไมเกิดขึ้น จึงตองเรียนถามวา ประเทศไทยและอื่นๆ ที่เรียกวากลุม G77 นั้นจะแกปญหานี้ อยางไร เพือ่ ใหประเทศพัฒนาเหลานีห้ ยุดการดำเนินการไวชว่ั คราว จนกวาการเจรจาเพื่อตั้งเกณฑมาตรฐานดังกลาวบรรลุผลสำเร็จ 5. การออกกฎหมายและระเบียบตางๆ ที่เปนผลมาจาก ขอตกลงนี้จะตองดำเนินการอยางรวดเร็วและบังคับใชได และ เนื่องจากเปนขอผูกพันที่มีนัยสำคัญตอสังคมและเศรษฐกิจจึง เสนอใหดำเนินการตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญไทยฉบับป พ.ศ.2550 เพือ่ ใหประชาชนทัว่ ไปรับทราบโดยเฉพาะสมาชิกสภา ผูแทนทั้งสองสภาจะตองมีบทบาทในเรื่องนี้ 6. รัฐบาลไทยตองวางแผนชวยเหลืออุตสาหกรรมในการ ปรับตัวและเปลี่ยนโครงสรางการผลิตสินคาใหมใหมีผลิตภาพ เพิ่มขึ้น แตใชและทำลายทรัพยากรธรรมชาติเทาเดิมหรือนอยลง ดังนั้นการคิดคนเทคโนโลยีชั้นสูงจะตองเกิดขึ้นและนำมาใชเพื่อ ลดการใชพลังงานจากถานหิน น้ำมัน กาซธรรมชาติ รู้งี้ 82
องคการการคาโลก (WTO) กำลังถูกทาทายอยางหนัก นับตั้งแตประสิทธิภาพในการจัดการการเจรจารอบโดฮาที่ยืดเยื้อ มาถึง 8 ปแลวยังตองเผชิญกับคูตอสูในดานสิ่งแวดลอมที่นับวัน จะแข็งแรงขึน้ เรือ่ ยๆ หากปลอยไปเรือ่ ยๆ โดยไมมกี ารปรับเปลีย่ น กลยุทธสกั วันหนึง่ เราก็จะไดเห็นชือ่ องคการการคาโลก หรือ World Trade Organization (WTO) ถูกเปลีย่ นเปนองคการสิง่ แวดลอม โลก หรือ World Environmental Organization (WEO) แทนอยางแนแท
83 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
โลกรอน…..NTBs พุ ง กันยายน 2552 มาตรการกีดกันการคาทีไ่ มใชภาษีหรือเรียกเปนภาษาอังกฤษ วา ”Non-Tariff Barriers” (NTBs) เปนมาตรการที่ถูกกลาวหามาก เนือ่ งจากเปนอุปสรรคในการสงออกสินคา NTBs กลายเปนสัญลักษณ ของความไมยุติธรรมทางการคา (Unfair Trade) เนื่องจากเกิดขึ้น สวนทางกับการลดอุปสรรคทางภาษี แตหากเรามองอยางยุติธรรม แลวก็จะเขาใจไดวา มาตรการเหลานี้พัฒนาพรอมๆ กับการพัฒนา ประเทศ เชน ความปลอดภัยอาหารยอมพัฒนาไปกับการพัฒนา คุณภาพชีวิต ดังนั้นมาตรการของประเทศพัฒนายอมตองเดินหนา ไปกอนกาวหนึ่งเสมอ จึงเปนผลใหเกิดเปนอุปสรรคทางการคาตอ ประเทศที่ดอยกวา อยางไรก็ตาม ผมไมไดสรุปวา NTBs เปนสิง่ ทีเ่ ราตองยอมรับ โดยปริยาย แตอยากจะบอกวาใหมองเหรียญทั้งสองดานและพัฒนา ในสิ่งที่เรายังขาดตกบกพรองอยู เพื่อใหเกิดศักยภาพในการแขงขัน ดังตัวอยางของเหตุการณ “รอน” ในวันนี้ ดังนี้ ตลอดระยะเวลาของการพัฒนาในชวง 100 กวาปที่ผานมา ไดกอใหเกิดภาวะเรือนกระจกโดยปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด ที่เกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลและการตัดไม ทำลายปาเพิ่มขึ้นจาก 280 สวนในลานสวนเปน 384 สวนในลาน สวน ทำใหอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นประมาณ 1 องศาเซลเซียส ภาวะโลกรอนเปนผลใหระดับน้ำทะเลเพิม่ สูงขึน้ สภาพภูมอิ ากาศ เปลี่ยนแปลง มีโรคอุบัติใหม พืชเกษตรจะมีผลิตภาพลดลงโดยเฉลี่ย รู้งี้ 84
30% (สหรัฐฯคาดวาผลผลิตพืชหลัก 3 ชนิด คือ ขาวโพด ถั่วเหลือง และฝาย จะมีผลผลิตลดลง 30-82% ขึ้นกับอัตราเรงของการเพิ่มขึ้น ของอุณหภูมิ) และหากไมไดทำอะไรเลย (Business as usual) ก็ คาดวาในราวป ค.ศ.2100 อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นสูงสุดถึง 6 องศา เซลเซียส ซึง่ หากถึงจุดนัน้ จะเกิดการสูญพันธของสิง่ มีชวี ติ จำนวนมาก ผืนโลกจะกลายเปนทะเลทราย พรอมกับการลมสลายของเมืองริม ฝงทะเล ในขณะเดียวกันจำนวนประชากรจะเพิม่ สูงขึน้ เรือ่ ยๆ จนถึง 9,000 ลานคนในป ค.ศ.2050 และสวนใหญจะอยูในประเทศดอย พัฒนาและกำลังพัฒนา กิจกรรมทีป่ ลอยกาซคารบอนจากการใชนำ้ มัน เปน 81% ซึ่งในสวนนี้เกิดจากการใชไฟฟา 32% อุตสาหกรรม 22% การขนสง 18% ครัวเรือน 6% พาณิชยกรรม 3% และเมื่อบวกกับ ที่เกิดจากการตัดไมทำลายปาอีก 19% รวมเปน 100% (เกษตรกรรมใชน้ำ 70% ขณะที่อุตสาหกรรมใชน้ำ 20% ครัวเรือนใชน้ำ 10%) การวางแผนการผลิตจึงจะตองตอบโจทยในอนาคตวาจะตอง ใหเกิดผลิตภาพเพิ่มขึ้น แตในขณะเดียวกันจะตองไมเพิ่มอุณหภูมิ และการใชทรัพยากรน้ำเพื่อหลีกเลี่ยงตนเหตุของภาวะโลกรอนที่ เกิดขึน้ จากการใชพลังงาน “นรก” เชน น้ำมัน กาซธรรมชาติ ถานหิน ดังนั้น นอกจากเราตองพัฒนาแหลงพลังงาน “สวรรค” เชน น้ำ ลม แสงแดด พลังงานชีวมวลแลว การคิดคนเทคโนโลยีเพื่อ ลดตนทุนสิ่งแวดลอมและเพิ่มผลิตภาพการผลิตในขณะเดียวกันจึง เปนเรื่องที่จำเปนอยางยิ่ง ดวยเหตุดังกลาวประเทศตางๆ จึงมีการเจรจาเพื่อใหมีขอ 85 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ผูกมัด (Commitment) ในการลดกาซเรือนกระจกรอบใหมตอจาก พิธีสารเกียวโต (สิ้นสุดในปค.ศ.2012) ซึ่งเทาที่ผมศึกษาแลวพอสรุป ไดดังนี้คือ 1. แมการเจรจาจะสำเร็จภายในปนี้วาประเทศภาคีจะตอง ผูกมัดการลดกาซเรือนกระจกในระดับหนึ่ง แตตราบใดที่สหรัฐยัง ไมยอมเขาเปนภาคีแลวความเปนไปไดในการลดกาซเรือนกระจก ระดับโลกก็ไมมีโอกาสจะสำเร็จได 2. ไมมบี ททีว่ า ดวยการระงับขอพิพาท (Dispute Settlement) ในพิ ธ ี ส ารจึ ง มี จ ุ ด บอดที ่ ท ำให ไ ม เ กิ ด ผลในการบั ง คั บ ใช อ ย า งมี ประสิทธิภาพ 3. ประเทศพัฒนาทีม่ ขี อ ผูกมัดตองลดกาซเรือนกระจกลง 5% ตามขอตกลงปจจุบันซึ่งเริ่มตั้งแตป ค.ศ.2008 นั้นตางก็ยอมรับวา ไมสามารถลดได จึงมีคำถามวาการเจรจาเพื่อลดเพิ่มในปตอๆ ไป จากนี้ไมวาตัวเลขจะเปนเทาไหรและตั้งตนจากปไหนถึงปไหนก็ตาม นั้นจะเปนไปไดอยางไร? 4. ขอถกเถียงที่สำคัญมากคือประเทศพัฒนาจะตองยอมรับ วาประวัตศิ าสตรเปนเรือ่ งทีต่ อ งคำนึง เนือ่ งจากเปนชวงเวลาทีป่ ระเทศ พัฒนาทำลายสิง่ แวดลอมและปลอยกาซเรือนกระจกมากกวาประเทศ กำลังพัฒนาทัง้ หลาย ดังนัน้ การคำนวนปริมาณการลดกาซเรือนกระจก นั้นจะตองตั้งอยูบนแนวคิดของ “รองรอยทางประวัติศาสตร” ซึ่งขอ เรียกวา “Historical Foot Print” ดังนั้นจะตองมีการสรางสูตร การลดทีเ่ ปนธรรมตอทุกฝายหากตองการขอตกลงเปนทีย่ อมรับและ ปฏิบัติได ประเทศยุโรปและอเมริกาคงเขาใจจุดบอดเหลานี้ดีจึงไดมี รู้งี้ 86
การสรางมาตรการตางๆ ขึ้นใชบังคับเอง เชน การที่จะเรียกเก็บคา ปลอยกาซคารบอนของสายบินไทยในการบินเขายุโรปภายใตโครงการ EU Emission Trade Scheme (EU-ETS) เปนเงินประมาณ 800 ลานบาทตอป เริ่มในป ค.ศ.2012 เปนตนไป ประเทศไทยคงตอง พิจารณาดำเนินการอยางใดอยางหนึ่ง เชน การเรียกเก็บเงินจาก สายการบินทุกสายที่บินเขาประเทศไทยในอัตราเดียวกันแตก็ยัง ไมไดขาววาจะมีมาตรการแตอยางใด เรือ่ งของภาวะโลกรอนจะสรางปญหาและอุปสรรคทางการคา อยางแนนอนดังตัวอยางขางตน อยางไรก็ตามผมก็ยังยืนยันวาการพัฒนาประเทศเปนเรื่อง สำคัญแมจะมี NTBs เกิดขึ้นคูขนานกันไปแตเราจะตองไมประมาท เพราะมาตรการเหลานีก้ ย็ งั มีสง่ิ ซอนเรนอยูด ว ยเสมอ ดังนัน้ ทางออก ทีด่ ที ส่ี ดุ คือการเฝาติดตามทุกเหตุการณอยางใกลชดิ พรอมทัง้ ปรับตัว อยางตอเนื่อง ตลอดจนทำงานรวมกับภาครัฐในการออกกฎระเบียบ ตางๆ เพื่อการใชบังคับอยางไดผล เพราะประเทศไทยไมใชเปนเพียง ผูสงออกสินคาแตเปนผูนำเขาสินคาดวย จึงมีความจำเปนอยางยิ่ง ในการดูแลผูบริโภคทั้งโลกดวยมาตรการและมาตรฐานเดียวกัน
87 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
สังคม + ทุนนิยม + การเมือง =โลกเย็น? ตุลาคม 2552
คงไมมีใครคาดผิดวาการประชุมที่กรุงเทพเมื่อตนเดือน ทีผ่ า นมาในการเตรียมการเพือ่ นำไปสูก ารเจรจาพิธสี ารฉบับทีส่ อง ในการลดภาวะโลกรอนที่จะมีขึ้นในเดือนธันวาคมนี้ที่ประเทศ เดนมารกจะลมเหลวอยางแนนอน การที่สหรัฐไมไดเขารวมเปน ภาคีนั้นเปนสาเหตุหนึ่งดังไดกลาวมาแลว แตก็เปนเพียงเหตุ เล็กนอยเมื่อเทียบกับพื้นฐานของปญหาวาระบบทุนนิยมไมมี ประสิทธิภาพพอที่จะแกปญหานี้ได เพราะประเทศพัฒนายอม จะยึดอำนาจการตัดสินใจไวในมือดังนั้นการเจรจาประเด็นตางๆ จะสะทอนความตองการของประเทศพัฒนาเสมอ ความลมเหลว ครั้งนี้เปนบทเรียนของทั้งสองฝายที่ไดเรียนรูวา ทุนนิยมจะตอง ปรับตัวอยางไรใหสังคมและสิ่งแวดลอมอยูดวยกันได หรือภาค สังคมและสิง่ แวดลอมจะตองปรับตัวอยางไรใหอยูร ว มกับทุนนิยมได แมการเจรจาจะไมสำเร็จแตเรื่องการวางกฎเกณฑเพื่อ ใชในทางการคา การลงทุนยังจะมีการดำเนินตอไป ทัง้ รัฐบาลและ ธุรกิจในประเทศพัฒนารวมทัง้ สหรัฐ กำลังขมีขมันสรางกฎระเบียบ นำเขาสินคาซึง่ จะเปนภาระในดานตนทุนและศักยภาพการแขงขัน ของประเทศกำลังพัฒนา ที่ผมกลาวมานี้ก็เพื่อจะชี้ใหเห็นวา ไมวาโลกนี้จะมีขอ ตกลงฯหรือไมก็ตาม ประเทศพัฒนาก็ “ชนะ” ทั้งสองเกมส ประเทศไทยจะตองทำการบานเพื่อตอบโจทยดังตอไปนี้ รู้งี้ 88
1.) จะตองศึกษาใหไดตวั เลขขัน้ สูงวาจะลดกาซเรือนกระจก กีเ่ ปอรเซนตและจากปฐานอะไร 2.) อุตสาหกรรมใดทีจ่ ะถูกกระทบ จากการตองลดกาซเรือนกระจก 3.) รัฐจะมีมาตรการบรรเทา ผลกระทบตออุตสาหกรรมเหลานีอ้ ยางไร 4.) กฎหมายทีเ่ กีย่ วของ จะตองออกมาใหทันเวลารวมทั้งวิธีการบังคับใชกฎหมายตอง ชัดเจน 5.) การประชาสัมพันธเปนเรือ่ งทีส่ ำคัญและจะเปนตัวตัดสิน ความสำเร็จของโครงการนี้ เนื่องจากสิ่งที่กำลังทำอยูนี้เกี่ยวของ กับธุรกิจซึ่งตองการการทำกำไร ดังนั้นการปกปองผลประโยชน โดยการลอบบี้ก็จะเกิดขึ้นอยางแนนอน 6.) การเจรจานี้จะนำไป สูข อ ผูกพันอยางมีนยั สำคัญตอเศรษฐกิจ ดังนัน้ รัฐจะตองดำเนินการ เรือ่ งนีต้ ามขัน้ ตอนในมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญซึง่ ก็จะเปนการ ประชาสัมพันธไปในตัวดวย ภาคเศรษฐกิจทีน่ า เปนหวงมากทีส่ ดุ คือเกษตรและอาหาร เพราะวามีถิ่นกำเนิดในไทยเกือบทั้งหมด อุตสาหกรรมที่ลงทุน โดยบริษัทตางชาติจะไมถูกกระทบมากเนื่องจากการบริหารและ ตัดสินใจจะกำหนดมาจากประเทศตนกำเนิด ซึ่งจะตองมองภาพ ครอบคลุมทั้งโลกอยูแลว ดังนั้นอุตสาหกรรมเหลานี้จะไดรับการ ปกปองในระดับหนึ่ง เชน วิธีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิต เปนตน อยางไรก็ตาม ความเสี่ยงยังคงมีอยูไมนอยเพราะเงื่อนไข การลดกาซเรือนกระจกทีไ่ ดรบั การตกลงจากประเทศ “แม” อาจ จะไมตรงกับนโยบายของไทยก็ไดเชนมีการเรียกรองสิทธิพิเศษ ทางภาษีในการนำเขาเทคโนโลยีหรืออุปกรณ เปนตน ดังนั้น สำนักงานสงเสริมการลงทุนคงตองเริ่มติดตามสถานการณใน ประเทศญี่ปุน สหรัฐและอียู วามีแนวโนมในเรื่องนี้อยางไร 89 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ภาคเกษตรและอาหารคงจะไมพน ทีจ่ ะตองถูกรวมเขาไป เปนกลุมสินคาที่จะตองลดกาซเรือนกระจก เพื่อปองกันความ เสีย่ งเราจึงตองรีบวิจยั วาสินคาแตละชนิดไดปลอยกาซเรือนกระจก และใชน้ำในอัตราเทาไหร (ผมไดขาววามีองคกรของรัฐบางแหง เริ่มดำเนินการไปบางแลว แตก็ยังมีความเปนหวงเนื่องจากรัฐยัง ไมไดจัดลำดับเรื่องนี้เปนนโยบายระดับแนวหนา) เหตุผลของการ เสนอการบานขางตนก็เนือ่ งจากวากติกาโลกยังไมไดกำหนดมาตรฐาน ในเรื่องนี้ ดังนั้นจึงเปนโอกาสของเราที่จะตองรีบดำเนินการเพื่อ เตรียมตัวเลขไวเพื่อใชในการเจรจาและบังคับใชกับสินคานำเขา ในอนาคต ผมทำนายวาการเจรจาในเดือนธันวาคมที่เดนมารกจะ ลมเหลวและคาดการณวาจะตองใชเวลาอีกนานหลายปหรืออาจ จะไมมีพิธีสารฉบับที่สองเลยก็ได หากแนวคิดของระบบทุนนิยม ยังเหนียวแนนและผูน ำทางการเมืองในประเทศทัง้ หลายยังไมกลา ตัดสินใจ และผมยังเชือ่ ตอไปวาความลมเหลวนีจ้ ะกระทบกับการ เจรจาเพื่อปดรอบโดฮาของ WTO ดวย ทายนี้ขอนำขอคิดเห็นที่รัฐมนตรี Connie Hedegaard ที่ดูแลเรื่องอากาศและพลังงานของเดนมารกวาขอตกลงที่จะ เกิดขึ้นไดนั้น จะตองประกอบดวยสาระสำคัญ 4 ประการคือ 1.) ทุกประเทศจะตองมีขอ ผูกมัดในการลดกาซเรือนกระจก 2.) การชวยเหลือดานการเงินเพือ่ ใหประเทศกำลังพัฒนาดำเนินการ ตามขอผูกมัดได 3.) มาตรการทีช่ ว ยเสริมใหประเทศเหลานีป้ รับตัว ใหเขากับภาวะความเปนจริงของอากาศที่ถูกกระทบจากภาวะ โลกรอน 4.) ความตกลงที่จะพัฒนาและใชเทคโนโลยี “เขียว” รู้งี้ 90
ในบทใหสัมภาษณเดียวกันรัฐมนตรี Connie ไดย้ำถึง ความสำคัญของภาคการเมืองที่จะตองกลาตัดสินใจเพื่อใหบรรลุ ผลสำเร็จของการเจรจาในครั้งนี้ สรุปไดวาความสำเร็จในการเจรจาอนุสัญญาลดภาวะ โลกรอนฉบับใหมที่เดนมารกปลายปนี้จะเกิดขึ้นไดตองมีสาม เงื่อนไข 1.) ประสิทธิภาพและความกลาในการตัดสินใจของภาค การเมือง 2.) ความเขาใจของภาคเศรษฐกิจวาถึงเวลาที่จะเกิด การเปลีย่ นแปลงของระบบทุนนิยมโลก 3.) ภาคสังคมทีต่ อ งเขาใจ วาบนโลกใบนี้ไมมีอะไร “ฟรี”
91 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
การสรางสถาบัน : การเสริมสรางการปรับเปลี่ยน การเชื่อมและการแข ง ขั น พฤศจิกายน 2552 เราจะอธิบายอยางไรถึงความยากจนซ้ำซากในทามกลาง ความมัง่ มี? หากเราทราบเหตุทท่ี ำใหมง่ั มีแลว ดวยเหตุผลใดทีป่ ระเทศ ยากจนทั้งหลายจึงไมปรับนโยบายใหเกิดความมั่งมีขึ้น... เราจึงตอง สรางแรงจูงใจใหลงทุนเพิม่ ในเทคโนโลยีทม่ี ปี ระสิทธิภาพสูง การเพิม่ ทักษะ และจัดใหตลาดมีประสิทธิภาพ แรงจูงใจเหลานี้รวมอยูใน “สถาบัน”-Douglass C. North, 2000 การคาในศตวรรตที่ 21 มีความเสี่ยงลดนอยลงไปหลังจาก มีการพัฒนาเครือขายการคา ขอมูล การสรางความผูกพัน และ เชื่อถือ อยางไรก็ตาม ปญหาเปลี่ยนรูปแบบไป เชน ในปจจุบัน ผูประกอบการใหมอาจประสบปญหาทางการเมืองจากคูแขงและ จากหนวยงานรัฐเอง อยางไรก็ตาม ทุกประเทศก็ยังตองคาขายกัน ตอไป เนื่องจากมันเปนชองทางที่ชวยเพิ่มพลังทางเศรษฐกิจและลด ความยากจน สถาบัน หมายถึง กฎ กลไกการบังคับใชกฏ และ องคกร การสรางสถาบันนั้นแบงเปน 4 สวน 2 สวนแรกจะเปน สวนของเชิงสนับสนุน และ 2 สวนหลังจะเปนเรื่องของการนำ 2 สวนแรกไปใชใหเกิดผล 1. การสรางรูปแบบใหเสริมกับสถาบันที่มีอยูเดิม เชน การ รู้งี้ 92
เสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษยและเทคโนโลยทีม่ อี ยู เหตุผลคือ การสรางสถาบันใหมขึ้นมาไมใชเปนคำตอบเพราะวาสิ่งซึ่งเหมาะกับ ประเทศที่พัฒนาแลวอาจจะไมเหมาะกับประเทศกำลังพัฒนา 2. การคิดคนเปลีย่ นแปลงและปรับปรุงสถาบันทีม่ อี ยูใ หทำงาน ไดดีขึ้นและยกเลิกสวนที่ไมเปนประโยชน 3. ใชขอ มูลขาวสารและตลาดเสรี ซึง่ จะเปนตัวเชือ่ มโยงธุรกิจ และสนับสนุนการตลาด 4. สงเสริมการแขงขันระหวางรัฐ และ เอกชน ซึ่งจะชวย เกิดการสรางสถาบันใหมๆ ที่เปนประโยชน สถาบันสนับสนุนตลาดอยางไร ตลาดในประเทศพัฒนาแลวตางจากประเทศกำลังพัฒนา ในสวนของสถาบันการเงิน กฏระเบียบ ขบวนการยุตธิ รรม และขอมูล ขาวสาร สิ่งทาทายเหลานี้ตอผูกำหนดโยบายวาจะตองสรางสถาบัน ขึน้ มาอยางไรใหชว ยพัฒนาเศรษฐกิจและลดความยากจนในประเทศ กำลังพัฒนา กรอบของสถาบันที่กลาวถึงนี้จะครอบคลุม 3 หลักตอไปนี้ 1. เปนตัวสงถายขอมูลดานตลาด สินคา และผูที่เกี่ยวของ ขอมูลเหลานั้นจะเชื่อมโยงผูประกอบการ และรัฐในการออกกฏใหมี ประสิทธิภาพ 2. ความชัดเจนและการบังคับใชมาตราการทางทรัพยสนิ ทาง ปญญา ชวยใหเกิดความกระจางของแงกฏหมายเพิ่อลดขอถกเถียง 3. สถาบันเปนไดทง้ั เพิม่ และลดการแขงขัน การแขงขันทำให เกิดแรงจูงใจในการพัฒนา แตบางครั้งสถาบันก็เปนอุปสรรคตอการ 93 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
แขงขันเนื่องจากความซับซอนและตนทุนในการบังคับใชกฏ เชน ใน เรื่องทรัพยสินทางปญญา ทั้งสามหลักดังกลาวจะมีผลกระทบตอการจัดสรรสินทรัพย รายได ตนทุน ตลอดจนแรงจูงใจแกผมู สี ว นเกีย่ วของ และประสิทธิภาพ ของตลาด เชน การลงทุนจะเพิ่มขึ้นหากประเทศเจาบานมีคุณภาพ ในเรือ่ งกฏและการใชกฏหมายเกีย่ วกับทรัพยสนิ ทางปญญาและสิทธิ ในที่ดิน สถาบันสนับสนุนการเติบโตและลดความยากจนอยางไร สถาบันทีส่ นับสนุนการคามีพลังสูงทีก่ ระทบพลเมืองในประเทศ พัฒนาและกำลังพัฒนา ผลกระทบตอคนจนจะมีมากขึน้ หากสถาบัน ออนแอ สถาบันสะทอนถึงความสำเร็จและลมเหลวของการพัฒนา เชน การจัดการทีด่ ขี องสถาบันการเงินทำใหเกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ จะสรางสถาบันที่มีประสิทธิภาพอยางไร การสรางสถาบันที่มีประสิทธิภาพนั้นในเบื้องตนจะตอง ทราบวาจะสรางขอมูลขาวสารใหผใู ด และ สอง ทรัพยสนิ ทางปญญา และสัญญาการคาอื่นๆมีความชัดเจนและไดรับการปฏิบัติ และ สาม อัตราการแขงขันมากหรือนอยในธุรกิจการคา การออกแบบสถาบัน จะตองสรางใหเกิดแรงจูงใจที่นำไปสูการบรรลุเปาหมาย การสราง สถาบันจึงตองคำนึงถึง 4 หลักดังตอไปนี้ 1. เสริมสรางสิ่งที่มีอยูแลว 2. ปรับเปลี่ยนสถาบันปจจุบันใหดีขึ้น 3. ใชขอมูลเชื่อมโยงทุกภาคสวน 4. สนับสนุนการแขงขัน ทั้งประเทศพัฒนาและดอยพัฒนาตางก็มีสถาบัน แตการวัด รู้งี้ 94
ผลงานนั้นตางกัน ประเทศพัฒนานั้นวัดดวยตนทุนที่เกิดขึ้นจากการ ดำเนินกิจกรรมของสถาบันแตประเทศดอยพัฒนาตองปรับเปลี่ยน สถาบันใหเหมาะกับประเทศของตนกอน เชน เรือ่ งตนทุนการบริหาร สถาบัน เรื่องความโปรงใส องคการเสริม กฏระเบียบของประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา มีความสลับซับซอนคลายๆ กัน แตระบบการบังคับใชกฏของประเทศ พัฒนานั้นดีกวาทำใหระบบการคาพัฒนาได (เชน ระบบศาลที่ดีกวา) จึงไมจำเปนตองสรางสถาบันใหม ประเทศกำลังพัฒนาก็มสี ถาบันทาง สังคมทีม่ ปี ระเพณีปฏิบตั บิ างอยาง เชน การรวมกลุม เปนสมาคมตางๆ ตนทุน ศักยภาพ และการทุจริตคอรรัปชั่น ประเทศกำลังพัฒนามีปญาหาเรื่องกฏระเบียบยุงยากและ ทุจริตคอรรปั ชัน่ บางประเทศตองแกปญ หานีโ้ ดยการใหบริษทั ตางชาติ ที่มีระบบที่ดีเขามาลงทุนในประเทศเพื่อจะไดแกไขปญหาของตนใน ทางออม เชน ฮังการี และ เอสโทเนีย ยอมใหธนาคารตางชาติ เขามาทำธุรกรรม ประสิทธิภาพของบุคคลากร ทรัพยากรมนุษยเปนทุนทีม่ คี วามสำคัญในการนำมาใชบริหาร สถาบัน การลงทุนในดานนีจ้ งึ คุม คาและทำใหสถาบันมีคณ ุ ภาพ และ ประสบความสำเร็จ เทคโนโลยี การนำเทคโนโลยีมาใชตอ งใหเหมาะสมกับระดับการพัฒนา ของประเทศ แตถา จะใหการพัฒนากาวกระโดด ผูร บั ผิดชอบนโยบาย จะตองทำใหการเขาถึงเทคโนโลยีงายขึ้น เนื่องจากกฏระเบียบของ ตลาดนั้นมีผลตอการนำเขาและสงออกของเทคโนโลยี 95 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
กฏและมาตรฐาน มาตรฐานเปนสิ่งที่สามารถลดคาใชจายในการทำธุรกรรม ได แตเนือ่ งจากความสามารถในการปรับและใชมาตราฐานนัน้ ตางกัน ระหวางประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ดังนัน้ ขบวนการออกกฏตางๆ จะตองโปรงใส นอกจากนั้นประเทศกำลังพัฒนาจะตองไดรับความ ชวยเหลือหรือรวมพลังกันเพื่อการตอรองในเวทีระหวางประเทศ ความแตกตางของกฏหมายระหวางมลรัฐตางๆ ในประเทศ (ไมใชประเทศไทยในเวลานี)้ เปนผลมาจากระบบเศรษฐกิจและสังคม ที่แตกตางกันซึ่งบางครั้งก็เปนสิ่งที่ดีในประเด็นของสมรรถภาพและ การกระจายผลประโยชน แตหากแตกตางกันมากเกินไปก็อาจเปน ผลรายตอตันทุน การสรางสถาบันที่ทำประโยชน บางครั้งแมระดับของประเทศอาจจะใกลเคียงกันแตความ แตกตางก็ยังมีอยูในรูปแบบอื่น เชน ภูมิศาสตร หรือทรัพยากร ดังนั้นผูวางนโยบายอาจจะตองเลือกใชหรือคิดคนสถาบันบางอยาง ใหเหมาะกับประเทศโดยความรวมมือจากชุมชน การคิดคนผานกระบวนการทดลองนัน้ เกิดขึน้ ไดหลายระดับ ตั้งแตระดับการเมือง เศรษฐกิจ และภาคสังคม การทดลองนั้นมี ผลดีเนื่องจากความหลากหลายของผูมีสวนรวม และการไดเลือกสิ่ง ทีด่ มี าใช แตตอ งระวังไมใหมกี ารทดลองมากมายจนเกินไปจนเปนผล ใหเกิดกฏระเบียบมากมายที่แตกตางกันจนเกินไป ผูใดสามารถคิด ไดกอนก็จะเปนผูนำในการปฎิรูป (สถาบัน) สถาบันที่เกิดขึ้นจากฝายใดยอมรับใชฝายนั้น การมีสวนรวมจากทุกฝายในสังคมจึงเปนประโยชนเพื่อจะ รู้งี้ 96
ไดสถาบันที่เหมาะสมกับสังคม การเชื่อมโยงสังคมดวยขอมูลและการคา การแลกเปลี่ยนขอมูลและการคาเสรีสนับสนุนการสราง สถาบันทางการคา การคาเสรีชวยใหตลาดมีความหลากหลายและ ชนาดใหญขึ้น เพิ่มเทคโนโลยี เพิ่มคูคา เพิ่มความเสี่ยง สิ่งเหลานี้ นำมาซึง่ ขอเรียกรองใหมกี ารสรางและพัฒนาสถาบันใหมๆ เชนในกรณี ประเทศไทย การเปดตลาดเสรีทำใหเกิดการปรับเปลี่ยนกฏหมาย การจัดการที่ดิน ประเทศกำลังพัฒนาสามารถนำเขาเทคโนโลยีทาง การเงิน เนื่องจากประเทศขาดสถาบันในการกำกับเรื่องดังกลาวให มีเสถียรภาพ นอกจากนั้นขาวสารขอมูลที่เสรียังชวยใหมีการพัฒนา ดานสถาบันดีขึ้น เชน เรื่องการเปดโปงการทุจริตคอรรัปชั่นโดยสื่อ ตางๆ เปนตน
97 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ป ค.ศ. 2050 (ตอนที ่ 1) พฤศจิกายน 2552 วันนีจ้ ะเปนวันเริม่ ตนทีพ่ วกเราจะตองเริม่ คิดวาเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมของไทยจะมีหนาตาอยางไรในป ค.ศ.2050 ในชวง 10 กวาปทผ่ี า นมาประเทศไทยเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ 2 ครั้งที่เปนเหตุใหเกือบเอาตัวไมรอด ครั้งที่ 1 ประเทศไทย เปนตนเหตุของวิกฤตซึ่งถูกขนานนามวา “ตมยำกุง” เปนผลให สถาบันการเงิน ธนาคารและธุรกิจลมละลายมากมาย รัฐบาลใน ขณะนั้นตองลาออก และผลสุดทายเราตองขอความชวยเหลือ จากกองทุนการเงินระหวางประเทศหรือ IMF วิกฤตเศรษฐกิจครั้งที่ 2 เกิดขึ้นเมื่อ 2 ปที่ผานมา แตคราวนี้ผูเปนตนเหตุเปนประเทศสหรัฐ วิกฤตครั้งนี้เปนผลมา จากการจัดการทางการเงินไรคณ ุ ภาพหรือ “Hamburger Crisis” เปนเหตุใหเกิดวิกฤตทั่วโลก การสงออกของไทยถูกกระทบอยาง รุนแรงเปนลูกโซและลามไปถึงอุตสาหกรรมตอเนื่องขนาดกลาง และเล็ก คาดการวาตัวเลขการสงออกของไทยในป พ.ศ.2552 จะติดลบถึง 20% และการเติบโตทางเศรษฐกิจจะติดลบถึง 3.5% เมื่อเทียบกับป พ.ศ.2551 อะไรเปนตนเหตุแทจริงของวิกฤตทั้งสองครั้ง? คำตอบคงไมใชประเทศไทยและสหรัฐแตอยูที่ระบบการ จัดการเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศ ดังนั้นคำถามจึงตองสงไปที่ รู้งี้ 98
ระบบการจัดการเศรษฐกิจโลก ประเทศไทยและสหรัฐไดใชระบบการจัดการเศรษฐกิจ ทุนนิยมภายใตทฤษฎีเสรีนยิ มใหมหรือ Neoliberalism ทีม่ อี ทิ ธิพล สูงตั้งแตชวง ค.ศ.1980 เปนตนมา ระบบนี้มีรากฐานที่กอเกิด หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง มีการจัดตั้งกองทุนการ เงินระหวางประเทศ ธนาคารโลกและในที่สุดองคการการคาโลก ภายใตทฤษฎีนอ้ี ำนาจรัฐจะถูกสงผานไปใหภาคธุรกิจเชนตัวอยาง ขอเรียกรองใหออกกฎหมายการลงทุน การเรียกรองใหเปลีย่ นแปลง อัตราภาษี กฎระเบียบการลงทุน หรือตลาดนำเขามีอำนาจกำหนด มาตรฐานสินคา เปนตน ภายใตเสรีนิยมใหมประเทศพัฒนาจะใชขอตกลงการคา ระหวางประเทศเปนยุทโธปกรณ เชน “ความตกลงทั่วไปวาดวย ภาษีและการคา” หรือ แกตต แทนที่การใช “เรือปน” อยางที่ ประเทศตะวันตกเคยใชในยุคลาอาณานิคม (Colonialisation) แตปรัชญาก็ยังเหมือนเดิมคือการใหไดมาซึ่งดุลการคามากที่สุด พฤติกรรมทางการคาที่ไมเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เปนเหตุใหเกิดวิกฤตดังทีไ่ ดกลาวมา ประเทศไทยนัน้ เปนทัง้ ตนเหตุ และผูร บั เคราะห คำถามคือวาเราจะจัดการกับเรือ่ งเหลานีอ้ ยางไร เพือ่ ใหเกิดความเข็มแข็งขึน้ เพือ่ นำไปสูก ารอยูด กี นิ ดีและมีความสุข ในป ค.ศ.2050? กอนที่ตอบคำถามถึงเรื่องการจัดการดังกลาว เราคงตองมาดูในสามเรื่องคือ การเปลี่ยนแปลง ความทาทายทั้ง ในภาพกวาง (Macro) และแคบ (Micro) ขอเริ่มตนดวยการ เปลี่ยนแปลงที่คาดวาจะเกิดขึ้นในชวงเวลานี้ดังนี้ 1) การลดเงื่อนไขและกฏเกณฑ (Deregulation) ของ 99 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ตลาดไดสะดุดลง ประเทศพัฒนาอาจจะตองกลับไปใชนโยบาย ปกปองตลาดมากขึ้น สหรัฐและประเทศพัฒนาจะปรับนโยบาย ภาคการผลิตใหมโดยอาจจะลดเศรษฐกิจภาคบริการทางการเงิน และขยายสวนของภาคการผลิตจริง (Main Street VS Wall Street) 2) การเมือง จะมีแนวโนมการจัดกลุม มากขึน้ (Regionalism VS Globalism) เพือ่ ความเขมแข็งของกลุม ภูมภิ าคในการแขงกับ อำนาจเดี่ยว เชน สหรัฐหรือสหภาพยุโรป เนือ่ งจากตลาดเสรีจะคูก บั การเมืองในระบอบประชาธิปไตย ดังนั้นจะตองมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในบางประเทศ เชน จีน เวียตนาม 3) การคาและการลงทุน การแขงขันระหวางองคการ การคาโลก (WTO) กับอีกสองสถาบันคือดานสิง่ แวดลอม (United Nations Framework Conference on Climate Change-UNFCCC) และขอตกลงการคาเสรีระดับภูมภิ าคและทวิภาคี (Regional and Bilateral Trade Agreements) สองขั้วนี้จะเปนปญหามากตอ นโยบายรัฐบาลในทุกประเทศเพราะเปนการตอสูร ะหวางทุนนิยม และสังคมนิยม หรือระหวางการทำกำไรกับการเพิม่ ตนทุน อยางไรก็ตาม ปญหานีจ้ ะแกไดตอ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงใน 2 ดานคือ โครงสราง การผลิต และเศรษฐศาสตรสถาบันแนวใหม (New Institution Economy) ในการจัดการประเทศ
รู้งี้ 100
ป ค.ศ. 2050 (ตอนที ่ 2-จบ) ธันวาคม 2552 ตอนที่แลวเราไดพูดถึงการเปลี่ยนแปลงที่คาดวาจะเกิดขึ้น ในชวงกอนถึงป ค.ศ. 2050 แลว ในตอนนี้เราจะพูดถึงความทาทาย ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในชวงเวลาเดียวกัน ซี่งจะกระทบตอการวางแผน การผลิตและบริการจนถึงกับจะตองมีการเปลี่ยนแปลงโครงสราง การผลิตดังกลาวทัง้ ระบบหรือบางสวนไดดงั ตอไปนี้ 1. จำนวนประชากร ของโลกจะเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องปละประมาณหนึ่งรอยกวาลานคน ซึง่ หากไมไดทำอะไรเลยจำนวนประชากรโลกจะสูงถึงประมาณ 9 พัน ลานคนในป ค.ศ.2050 และสวนใหญจะอยูในประเทศกำลังพัฒนา และดอยพัฒนา ในปดงั กลาวจำนวนประชากรไทยจะเปน 75 ลานคน โดยประมาณ 2. สังคมพัฒนาและกำลังพัฒนาบางสวนจะกลายเปน สังคมคนแก ทั้งสองขอนี้จะเปนตนทุนทางเศรษฐกิจ 3. การคาและ การลงทุนจะเนนไปสูพื้นที่ของภูมิภาคมากขึ้น ASEAN จะเปนพื้นที่ การคาและการลงทุนจากกลุมประเทศในภูมิภาคเดียวกัน เชน จีน อินเดีย ญึ่ปุน เกาหลี ออสเตรเลียและนิวซีแลนด การที่ ASEAN ไป ผนวกกับประเทศเหลานี้จึงเปนกลยุทธที่สำคัญและเปนประโยชน เพราะประเทศเหลานีม้ ที ง้ั เงินทุนและเทคโนโลโยที่ ASEAN ตองการ 4. ปญหาโลกรอนจะเปนอุปสรรคและโอกาสทางการคาและลงทุน ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก บั วาเราจะจับประเด็นปญหาไดถกู ตองอยางไร? เชน การ ยอมรับวาปญหานี้มีความสำคัญตอการวางแผนการผลิตดังนั้นการ ผลิตที่ประหยัดพลังงานและน้ำจะตองเปนตัวบังคับในการสงเสริม 101 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
การลงทุนและการใหสิทธิพิเศษทางภาษีอื่นๆ เพื่อเปนแรงจูงใจให เกิดการลงทุนเพือ่ รองรับตลาดในอนาคต ประเทศไทยไมมเี ทคโนโลยี ในการลดกาซเรือนกระจกและน้ำอยางมีประสิทธิภาพเพราะเทคโนโลยี ใหม (Super Technologies) จะตองทำใหเกิดการปลอยกาซเรือน กระจกติดลบ (Minus Emission) ดังนั้นเราควรจะพิจารณาในสวน ของการบริโภคใหเกิดการสูญเสียเปนศูนย (Zero Waste) ภาคการ ผลิตก็ควรจะศึกษาวาจะผลิตอยางไรใหเกิดสวน (Portion) ของการ ใชสินคาใหเหมาะสมกับลูกคาแตละวัย เชน ตัวอยางของการผลิต อาหารใหพอเหมาะและเหมาะสมกับวัยของผูบริโภคเปนตน 5. การ วิจยั และพัฒนาและลงทุนในเทคโนโลยีใหมจะตองเกิดขึน้ เพือ่ ตอบสนอง แนวโนมของตลาดดังทีไ่ ดกลาวในขอ 4 โจทยของเราก็คอื เราจะคิดคน ไดดวยตนเองหรือจะตองนำเขาทั้งหมด? กระทรวงวิทยาศาสตรจะ ตองมีบทบาทอยางไร? 6. พลังงานทดแทนจากธัญพืชจะเปนสินคา ที่ตองแขงขันกับความตองการบริโภคซึ่งจะกอใหเกิดปญหาความ มั่นคงอาหาร (Food Security) ดังนั้นการปรับเปลี่ยนโครงสราง การผลิตสินคาเกษตรจะตองเกิดขึ้นเพื่อเปนทั้งเกษตรแขงขันและ เกษตรบริโภค (Plantation vs Farm) การจัดการดานปจจัยการผลิต เชน เครื่องจักรกล ปุย เคมีเกษตร และน้ำมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนการอุดหนุนทางการเงิน (Subsidies) จะตองงายขึ้นและ โปรงใสมากขึ้น 7. ปรากฏการณที่เรียกวาการยึดที่ดินเพื่อทำการ เกษตรในประเทศดอยพัฒนาบางประเทศในอัฟริกาเพื่อขจัดปญหา การขาดแคลนอาหารของประเทศ เชน เกาหลี ซาอุดิอาเรเบีย สิงคโปร เปนตนหรือทีเ่ รียกวา “การยึดทีด่ นิ ” (Land Grabbing) นัน้ เปนโจทยสำคัญตอการวางแผนการตลาดของไทย เชน หากวาเกาหลี รู้งี้ 102
สงออกสินคาเกษตรเหลานั้นไปขายแขงกับเราในประเทศที่สาม ซึ่ง เปนการสวนทางกับนโยบายปกปองการเกษตรของตน เกาหลีกำลัง ดำเนินนโยบายการคาที่ขัดกันเองหรือเปลา? และไทยจะดำเนินการ อยางไร? เกาหลีคงไมไดทำอะไรผิดตอขอตกลงทางการคา แตเกาหลี อาจทำผิดมารยาททางการคาหรือเปลา? และ ASEAN จะดำเนินการ เจรจาใหมอยางไรกับเกาหลีภายใตขอตกลงการคาเสรีที่มีอยู 8. การ บริโภค ภาคการบริโภคของไทยยังไมพัฒนา ซึ่งหมายถึงขอมูลที่มี ไมเทากัน การใชกฎหมายภายในที่ไมมีประสิทธิภาพในการทำโทษ ผูผ ลิตทีป่ ลอมปนสินคา หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับการคุม ครองผูบ ริโภค การใหความรูแกผูบริโภคในการเลือกซื้อสินคาที่ไดมาตรฐานสากล เปนเรื่องสำคัญ เนื่องจากจะเปนการสรางอุปสงคแลวยังเปนการ สงเสริมการผลิตสินคาที่ไดรับการพัฒนาแลว ผูบริโภคที่มีความรูใน ตัวสินคาจะเปนเกราะปองกันและเปนเครื่องกีดกันสินคานำเขาที่ ไมมีมาตรฐานไปในตัว 40 ปตอจากนี้ จะเปนชวงที่ตองปรับเปลี่ยนโครงสรางการ ผลิตและการบริโภคครัง้ ใหญเพือ่ เขาสูเ ศรษฐกิจยัง่ ยืน (Sustainability Economy) เพือ่ การอยูร อดของจำนวนคนทีเ่ พิม่ ขึน้ แตตอ งใชทรัพยากร อยางประหยัด เชน ที่ดิน น้ำ พลังงานจากน้ำมัน กาซ ถานหิน และ ตองไปเพิ่มการใชพลังงานจากแสงแดด น้ำ ลม ธัญพืช เทคโนโลยี ใหม ระบบการจัดการเศรษฐกิจและการเมืองจะตองตอบสนองไป พรอมกัน เชน การจัดการเรื่องหวงโซการผลิตใหเชื่อมโยงกันเพื่อ การถายทอดเทคโนโลยีและลดตนทุน การปรับเปลีย่ นเรือ่ งความเชือ่ ใหเปนวิทยาศาสตรมากขึน้ วัฒนธรรมการดำเนินชีวติ และธุรกิจ อุปนิสยั การบริโภค ตลอดจนการออกกฎหมายและการบังคับใชกฎหมายใหมี 103 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ประสิทธิภาพสูงสุดอยางโปรงใสและเปนธรรม ยกเวนวาจะเกิดสงครามโลกครั้งใหมที่จะทำใหการบริหาร จัดการโลกเปลี่ยนไปอยางรวดเร็วแลวเวลา 40 ปตอไปนี้จะเปนชวง เวลาทีเ่ ราตองชวยกันสรางคำตอบใหเกิดขึน้ เพือ่ ประโยชนตอ ประเทศ ไทยทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
รู้งี้ 104
CA or C มกราคม 2553 Copenhagen Accord or Climate, Anyone? เปน คำถามวา “ทานจะซือ้ สัญญาโคเปนเฮเกนหรืออากาศครับ?” ตอไปนี้ สิ่งที่เราจะตองสนใจและดำเนินการตามที่ประเทศพัฒนาและ กำลังพัฒนาบางประเทศเขาชวยชีวิต COP15 (Conference of the Parties) ที่โคเปนเฮเกนเมื่อปลายสัปดาหที่สามของเดือน ธันวาคมที่ผานมา ซึ่งผมมีความเห็นวาการตกลงกันครั้งนี้เปนการ ใชอำนาจนิยม และไมเปนประชาธิปไตยอีกครั้งหนึ่งของประเทศ พัฒนาในการเจรจากฎระเบียบระหวางประเทศซึง่ เคยเกิดขึน้ แลว เมื่อครั้งสรุปรอบอุรุกวัยที่ประเทศสหรัฐและอียูปดประตูคุยกัน เองเพื่อสรุปประเด็นการอุดหนุนสินคาเกษตรและนำมาซึ่งความ สำเร็จของการเจรจาและกลายเปน WTO ครั้งนี้จึงเปนบทเรียน อีกครั้งวาประเทศกำลังพัฒนาจะตองเพิ่มศักยภาพตนเองให แข็งแกรงขึ้นกวานี้ เพื่อไมใหเกิดสภาพบังคับในลักษณะนี้อีก ในอนาคต ผมเชื่อวาประเทศกำลังพัฒนาอยูในฐานะไดเปรียบกวา ประเทศพัฒนาในการเจรจาเพราะโลกรอนเปนภาวะที่กอขึ้นโดย ประเทศพัฒนาตั้งแตศตวรรษที่ 19 และ 20 ติดตอกัน แตเกม กำลังพลิกกลับกลายเปนวาประเทศกำลังพัฒนากำลังเปนฝาย เสียเปรียบและจะตองเปนผูรับภาระมากกวาประเทศพัฒนาใน การลดภาวะเรือนกระจก เพราะขอตกลงโคเปนเฮเกนมุง ไปทีก่ าร 105 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ใชเงินชวยเหลือจากประเทศพัฒนาในการแกปญหาดังนี้ 1.) เงิน ชวยเหลือ 3 หมื่นลานเหรียญสหรัฐระหวางป ค.ศ.2010-2012 ผานสถาบันเรียกวา International Institutions เพื่อดูแลการ จัดสรรเงินใหสมดุลระหวางการปรับตัว การลดภาวะเรือนกระจก และการดูแลปา 2.) เงินชวยเหลือสวนที่สอง 1 แสนลานเหรียญ สหรัฐภายในป ค.ศ.2020 ซึ่งจะไดมาจากสวนของรัฐและเอกชน รวมกันจากหลายประเทศ แตตองรอการจัดตั้ง High Level Panel เพื่อศึกษาวาจะเรียกเก็บเงินนี้ไดอยางไร นอกจากนั้นยังมี เปาหมายจัดตั้ง Copenhagen Green Climate Fund เพื่อเปน กลไกเพื่อบริหารกลไกการเงินและโครงการตางๆ 3.) จะมีกลไกที่ เรียกวา Technology Mechanism เพื่อเรงพัฒนาและถายทอด เทคโนโลยี ขอเสนอทั้งหมดนี้ยังไมมีความผูกพัน ซึ่งอาจตองใช เวลาเจรจากันอีกเปนปๆ รวมทัง้ ตัวเลขทีป่ ระเทศพัฒนามีเปาหมาย จะลดนัน้ ก็ยงั ไมชดั เจนและผูกมัดมากนอยแตอยางไร นอกจากนัน้ ประเทศพัฒนายังมีโอกาส “ซือ้ ” คารบอนทีล่ ดไดโดยประเทศอืน่ ๆ ตามกลไกยืดหยุน (Flexibility) ทีเ่ รียกวา Clean Development Mechanism (CDM หรือที่เรารูจักในชื่อ Carbon Credit) ขอเสนอของภาคเอกชนไทยเพื่อการเจรจาครั้งนี้ คือ 1.) ประเทศไทยตองไมเขารับสัญญาวาจะตองลดกาซเรือนกระจก แตอยางใด เพราะสัดสวนการปลอยของเราเพียง 352 ลาน เมตริกตันโดยประมาณหรือ 0.9% เปนลำดับที่ 24 ของโลก 2.) การลดและปรับตัวจะตองใชเทคโนโลยี ความชวยเหลือจากประเทศ พัฒนาตองเปนการใหโดยไมมีเงื่อนไขทางทรัพยสินทางปญญา แตอยางใด เพราะเงื่อนไขนี้จะสรางตนทุนเพิ่มขึ้นและจะมีปญหา รู้งี้ 106
ในเรื่องความเปนเจาของ (Ownership) ของตัวสินคาตามมา ผมเตือนวาประเทศกำลังพัฒนาจะตองระวังเรื่องนี้เปนพิเศษ 3.) ประเทศไทยตองไมรบั เงือ่ นไขใหลดกาซเรือนกระจกเปนรายสินคา (Sectoral Approach) เพราะทำใหเกิดความเสียเปรียบของธุรกิจ ไทย เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศพัฒนานอกจากนั้นยังเปนการ สรางโอกาสทำกำไรจาก Carbon Credit ของประเทศพัฒนา ไดอกี ประเทศพัฒนาพยายามผลักดันใหมกี ารตกลงในหัวขอนีเ้ ปน อยางมาก 4.) การเจรจาขอตกลงใหมนั้นจะตองครอบคลุมทุก หัวขอ (Single Undertaking) โดยไมยกเวนหรือเลือ่ น (Deferred) ขอใดขอหนึ่ง เหตุผลเห็นไดจากตัวอยางที่ประเทศพัฒนาไดออก และกำลังออกมาตรการทางการคาใหมๆ สรางอุปสรรคและตนทุน ตอการสงออกสินคาของประเทศกำลังพัฒนา ทัง้ ๆ ทีข่ ดั ตอมาตรา 3.5 ในอนุสัญญา United Nations Convention on Climate Change (UNFCCC) ก็ตาม แตกเ็ ลีย่ งไปใชขอ ยกเวนทัว่ ไปมาตรา 20 ของขอตกลงทัว่ ไปวาดวยการคาและภาษีศลุ กากรหรือ GATT อยางนี้เขาเรียกวาศรีธนญชัยครับ จึงเสนอวาอยาไวใจเขาเปน อันขาด การผลิตสินคาที่ตองลดภาวะเรือนกระจกไปดวยนั้นเปน การสวนทางกับโครงสรางการผลิตหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ดังนั้นจึงเปนการยากที่จะตกลงกัน เพราะมันเปนการทำขอตกลง ที่เปนผลใหประเทศชะลอการพัฒนาลงไป เนื่องจากทุกประเทศ เชื่อวาการพัฒนาเกิดขี้นไดจากการผลิตที่ตนทุนถูก ดังนั้นจึงรับ ไมไดหากมีใครมาสั่งใหเพิ่มตนทุน ดังนั้นประเทศทั้งหลายจึงตาง เฝารอวาใครจะมีขอ เสนอทีเ่ ปนประโยชนตอ ตน เรียกภาษาชาวบาน วา “ใครจะอึดกวากัน” 107 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
จึงมีขอเสนอวาใหเลือกดังนี้ คือ 1.) ในกรณีที่เรา “ซื้อ” ขอตกลงโคเปนเฮเกน เราก็คงตองเหนื่อยตอไปในการที่จะตอง เจรจาเพื่อใหไดประโยชนทางการเงิน เทคโนโลยี การซื้อขาย Carbon Credit ตามกรอบที่ประเทศพัฒนาไดวางไว หรือวา 2.) ตองศึกษาเองวาหากตองลดภาวะเรือนกระจกสัก 15% จาก ปฐาน 1990 แลวจะตองใชเวลาและตนทุนเทาไหร? และพรอม จะดำเนินการลดตามเปาหมายของเราเองโดยการปรับเปลี่ยน โครงสรางทางเศรษฐกิจดานการผลิตสินคา การบริโภคใหเกิดขึ้น อยางรวดเร็วโดยไมพึ่งประเทศพัฒนา ผมไมซื้อ Copenhagen Accord ครับ และเสนอวา เราตองดำเนินการตามขอ 2 โดยเฉพาะอยางยิ่งตองเนนเรื่อง ศักยภาพการบริโภคกอน จึงเปนหนาทีข่ องรัฐและเอกชนทีจ่ ะตอง ทำงานรวมกันและเนนใหความรูแกพวกเรากันเองวาการบริโภค ที่ยั่งยืนนั้นสามารถทำได คนจนและคนรวยมีสิทธิ์เทากันที่จะได มีสุขภาพที่ดี อากาศที่บริสทุ ธ น้ำบริสุทธิ์ที่พอเพียงและไดระบบ เศรษฐกิจที่ยั่งยืนโดยไมตองรอใหมีสัญญาฯ กอน ทานเลือก C ที่มีหรือไมมี A ครับ
รู้งี้ 108
AECกุมภาพัPrompt นธ 2553 AEC Prompt ไมใชกรอบการคาเสรีใหมหากแตเปนกรอบ การทำงานต อ เนื ่ อ งของหอการค า ไทยที ่ จ ั ด ตั ้ ง ขึ ้ น เพื ่ อ ประสาน ติดตาม กำหนดยุทธศาสตร วางกลยุทธเพือ่ สรางศักยภาพการแขงขัน ใหกับผูประกอบการ หลังจากที่ขอตกลงเขตการคาเสรียุคเรงรัดใน กรอบ AFTA ที่เรียกสั้นๆ วา AEC ไดเริ่มมีผลใชบังคับอยางเปน ทางการตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 และกำหนดเปาหมายจะ เสร็จสมบูรณในป พ.ศ. 2558 ตัวเลขจากการสำรวจของมหาวิทยาลัย หอการคาในชวงที่ผานมาบอกเราวา การรับรูความเคลื่อนไหวของ การเจรจาของภาคเศรษฐกิจในชวงทีผ่ า นๆ มานัน้ อยูใ นระดับต่ำมาก สิ่งนี้ไมใชเรื่องแปลกใหมอะไรเพราะหากกลับไปทบทวนสถิติในอดีต ที่ผานมาก็จะยืนยันไดวาการรับรูของภาคเศรษฐกิจในกรอบการ เจรจาขอตกลงการคาเสรีในกรอบอื่นๆ ก็นอยเชนกัน วิเคราะหไดวา ปญหาที่เกิดขึ้นนี้เปนปญหาเชิงโครงสราง หากเราสืบยอนกลับไปในอดีตถึงการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศพัฒนาและยอนกลับมาเปรียบเทียบกับการใชขอมูลในการ เจรจาขอตกลงการคาตางๆ ก็จะพบวาขอมูลที่ประเทศพัฒนานำมา ใชในการเจรจากับประเทศกำลังพัฒนานั้นเปนขอมูลที่ไดสรางและ สั่งสมไวนานแลว เมื่อถึงเวลาเจรจาขอตกลงการคาระหวางประเทศ ในกรอบตางๆ ประเทศเหลานี้ก็เพียงแตนำขอมูลที่มีอยูมาเปนโจทย นำรองในการเจรจาเพือ่ ใหไดตามทีต่ อ งการเทานัน้ แตในทางกลับกัน ประเทศกำลังพัฒนานั้นเริ่มตนดวยการเจรจาเปนอันดับแรกแลวจึง 109 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ดำเนินการออกกฎหมายใหสอดคลองกับขอตกลงขั้นสุดทายจึงคอย ดำเนินการสรางศักยภาพการแขงขันภายใตโครงสรางที่ตรงกันขาม กันนี้ ประเทศกำลังพัฒนาตองเรงเพิ่มประสิทธิภาพการแขงขันใหได ในเวลาอันสั้นซึ่งไมใชเรื่องที่ทำไดงาย ทีเ่ ขียนมานีก้ เ็ พือ่ ใหพวกเรารับทราบถึงจุดออนของประเทศ ไทย ซึ่งเปนปญหาเชิงโครงสรางดังที่กลาวขางตน จึงเสนอใหชวยกัน หาทางปรับเปลี่ยนตอไป ปญหาดังกลาวนี้เกิดขึ้นเชนกัน เมื่อมีการ เจรจาขอตกลงที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมซึ่งเปนประเด็นที่ภาคสังคมเปน ผูนำการเจรจา จะเห็นไดวาความสามารถของภาคสังคมก็ไมไดมี มากกวาภาคเศรษฐกิจ การเจรจาก็ยังนำโจทยของประเทศพัฒนา แลวมาหาคำตอบเพื่อกำหนดทาทีการเจรจา ดังนั้นคงไมตองกลาวหากันวาใครเกงกวาใคร ทั้งสองฝาย คงตองรวมมือกันเจรจา เนือ่ งจากขอตกลงทางการคาจะมีสว นกระทบ กับภาคสังคม และขณะเดียวกันการเจรจาขอตกลงของภาคสังคมก็ กระทบกับภาคเศรษฐกิจเชนกัน ตัวอยางเชน การเจรจาเรื่องภาวะ โลกรอนภายใตอนุสัญญา UNFCCC ในปจจุบันทั้งสองภาคสวนนี้จึง จะตองยึดผลประโยชนของประเทศไทยเปนหลักซึ่งประกอบดวย ความสามารถในการเจรจา การออกฎหมาย และการบังคับใชกฎหมาย ดังนั้นผูที่เกี่ยวของตั้งแตภาคเศรษฐกิจ การเมือง ราชการ และภาค สังคมจะตองสรางศักยภาพการแขงขันใหไดในระดับสากล ไมใชระดับประเทศหรือทองถิ่นเทานั้น AEC เปนกรอบการคาทีต่ อ งใหการเอาใจใสมากทีส่ ดุ ในขณะนี้ ดวยเหตุผลตอไปนี้ 1) เปนกลุมประเทศที่มีศักยภาพในการพัฒนา 2) มีโครงสรางพื้นฐานที่ดี 3) ประชากรมีความรู 4) มีทรัพยากร รู้งี้ 110
ธรรมชาติ 5) มีจำนวนประชากรรวมกันสูง (ประมาณ 580 ลานคน -พ.ศ.2553) และ 6) มีความเชื่อมโยงกับอีก 6 ประเทศคือจีน อินเดีย ญี่ปุน เกาหลี ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ที่มีฐานะทาง เศรษฐกิจและเทคโนโลยีสงู และเมือ่ รวมกันทัง้ หมดแลวก็จะมีประชากร โดยรวมเทากับ 3.000 ลานคนโดยประมาณ AEC Prompt ที่ตั้งขึ้นจึงมีภารกิจที่สำคัญในการผลักดัน ใหกรอบการคานี้บังเกิดผลใหเร็วที่สุดโดยการเริ่มตนแกปญหาที่ คนพบจากการประชุมสมาชิกหอการคาทัว่ ประเทศเมือ่ ปลายป 2552 ที่เชียงใหมซึ่งมีทั้งหมด 6 เรื่องคือ 1) ขอมูลเกี่ยวกับประชาคม เศรษฐกิจ ASEAN ยังไปไมถึงผูเกี่ยวของเปนอยางมากโดยเฉพาะ ผูประกอบการขนาดเล็ก 2) กฎหมายใหมที่จะตองมีการดำเนินการ อยางตอเนือ่ ง ทัง้ การแกกฎหมายเกาและออกกฎหมายใหมใหสอดคลอง กับขอตกลงที่ดำเนินการแลวและกำลังจะดำเนินการตอไป 3) การ บังคับใชกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพเชนเรื่องสุขอนามัยและ สุขอนามัยพืช มาตรฐานสินคา เปนตน 4) การทำยุทธศาสตรราย สินคาเพื่อแกจุดออนและสรางจุดแข็ง เชน ขาว สิ่งทอและเครื่อง นุงหม ธุรกิจสุขภาพ เปนตน 5) มาตรฐานสินคาและบริการ การคา สินคาและบริการจะตองถูกกำหนดดวยมาตรฐานเนือ่ งจากภาษีศลุ กากร ลดลงเหลือศูนย 6) การเพิ่มศักยภาพใหกับผูบริโภคตองมีแผนการ ในการเสริมสรางความรูใหกับบุคคลทั่วไปไดรับรูถึงการแขงขันและ ความสำคัญของการบริโภคโดยเนนสินคาและบริการที่ไดมาตรฐาน อุปสงคเปนปจจัยสำคัญที่กำหนดอุปทาน เราจึงตองเรงพัฒนาใน ภาคสวนนี้เพื่อเปนตัวกำหนดมาตรฐานการนำเขาสินคาและบริการ ตอไป 111 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ผลที่ไดคือความสามารถในเชิงแขงขันเปนผลใหการสงออก ไมถูกกีดกัน และขณะเดียวกันสินคานำเขาก็มีมาตรฐานสูงขึ้น เปน ประโยชนแกทุกภาคสวน ที่เราชอบเรียกวา Win-Win ซึ่งจะเกิดขึ้น ไดก็ดวยเงื่อนไขวาจะตองมีการสรางมูลคาเพิ่มและแบงสวนเพิ่มนี้ แกผูเกี่ยวของทั้งหมด มิฉะนั้นก็ยังจะตองมีคนหนึ่งเสียและอีกคนได อยูเสมอ
รู้งี้ 112
หมดเวลาแล ว มีนาคม 2555 หากพูดวาประเทศไทยมีระบบการคาเสรีแตไมมนี โยบาย เศรษฐกิจและการคาระหวางประเทศก็คงไมผดิ การเขาเปนสมาชิก ของ GATT ในป 2525 ก็เปนไปดวยความจำเปนมากกวาเปน เรือ่ งของนโยบาย เนือ่ งจากขณะนัน้ ไทยมีปญ หาเรือ่ งการสงสินคา มันสำปะหลังเขาไปยังสหภาพยุโรป(อีย)ู การเขาเปนสมาชิกก็เพือ่ จะไดมีเวทีในการเจรจาอยางเปนทางการ ในชวงเวลากอนที่จะมี การเปลี่ยนผานรัฐบาลมายังชุดของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นั้น พรรคไทยรักไทยไดสงสัญญาณสูสาธารณะถึงขั้นที่วา จะใหประเทศไทยลาออกจากสมาชิกภาพขององคการการคาโลก (WTO) ทีเดียวซึ่งสรางความฮือฮามากในขณะนั้น แตหลังจากได จัดตัง้ รัฐบาลแลวการลาออกก็ไมเกิดขึน้ ในทางตรงกันขามรัฐบาล กลับเพิ่มการเจรจากรอบการคาเสรีสองฝายมากขึ้นไปอีก เชน สหรัฐฯ จีน อินเดีย เปรู บาหเรน ออสเตรเลีย ญี่ปุน เกาหลี และนิวซีแลนด เปนตน ซึ่งก็ไดสรางความฮือฮาอีกรอบ ปญหาที่เกิดขึ้นนั้นไมใชอยูที่การปรับเปลี่ยนนโยบาย อยางเดียวแตเปนความพรอมของบุคลากรของทั้งจากภาครัฐ และเอกชนดวย สิง่ ทีข่ าดแคลนมากทีส่ ดุ คือขอมูลทีจ่ ะนำมาอธิบาย และใชในการเจรจาในทุกกรอบ การดำเนินการจึงไมราบรืน่ เพราะ มีผูไมเห็นดวยมากมาย เชน การเจรจากับสหรัฐฯ จนเกิดการ ประทวงรุนแรงทีเ่ ชียงใหม สงผลใหหวั หนาทีมเจรจาฝายไทยตอง 113 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ลาออก แมจะมีการศึกษาถึงผลดีผลเสียตอประเทศไทยในบาง กรอบก็จริงอยู แตเปนการศึกษาคูข นานไปกับการเจรจา ภาคธุรกิจ ไดมีสวนรวมในการใหขอมูล แตก็ไมสามารถยืนยันไดวาเปน ความเห็นของผูมีสวนรวมเปนสวนใหญ เนื่องจากผลประโยชนที่ ขัดกันในบางธุรกิจ บางสาขาธุรกิจก็มีจำนวนบริษัทที่มีสวนรวม นอยเกินไป โดยสรุปก็คือวา การรวมตัวของภาคธุรกิจไมมากและ แข็งขันพอ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศคูเจรจาอยางญี่ปุนซึ่งได ทำการศึกษาและวิจัยขอมูลอยางละเอียดกอนจะเจรจากับไทย เปนเวลา 2-3 ป เชนเดียวกัน สหรัฐฯไดจางบริษัทในประเทศไทย ศึกษาถึงผลกระทบจากการเจรจาขอตกลงการคาเสรีไทย-สหรัฐฯ กอนการเจรจาหลายเดือน และยังไดนำเสนอผลการศึกษาใหภาค เอกชนไทยไดรับทราบดวยซ้ำไป ลองมาดูภาพในอนาคตกันบาง สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ อยางตอเนือ่ งและจะมีผลกระทบภาคเศรษฐกิจและ สังคมคือการเจรจาขอตกลงการคาเสรีหนึง่ ฉบับระหวางไทยกับอียู ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากการเจรจาระหวางกลุมอาเซียน และอียู การเจรจาที่ผานมาใชเวลากวา 2 ป โดยไมบรรลุเปาหมาย เนือ่ งจากปจจัยทางการเมืองในพมาสวนหนึง่ และเวียดนามในฐานะ ผูนำการเจรจาก็ไมมีความสามารถผลักดันใหบรรลุผล ในที่สุดอียู ไดเปลี่ยนนโยบายเปนแยกเจรจาแบบรายประเทศ โดยเสนอใหมี การเริ่มตนดวยสิงคโปร เวียดนาม ไทย และอาจเพิ่มฟลิปปนส หรือมาเลเซีย อียมู คี วามปรารถนาทีจ่ ะเจรจากับไทยโดยสงผูแ ทน เจรจามาเยือนไทยหลายครัง้ ผูแ ทนภาคธุรกิจก็ไดสง หนังสือแสดง เจตจำนงคไปยังกระทรวงพาณิชยแลวแตกย็ งั ติดขัดในกระบวนการ รู้งี้ 114
เตรียมการเพื่อนำเขาสูการพิจารณาของรัฐสภา ซึ่งอาจจะตองใช เวลาอีกอยางนอย 6 เดือน ประเด็นที่นาเปนหวงคือวาอียูได เริ่มเจรจากับสิงคโปรและเวียดนามแลว ขาวลาสุดที่ไดรับมาคือ สิงคโปรเสนอใหมีการเจรจาสินคาเกษตรและอาหารดวย ความเสี่ยงก็คือหากประเทศไทยไมมีขอตกลงกับอียูแลว สิงคโปรกจ็ ะมีโอกาสสงออกสินคาชุดนีไ้ ปยังอียโู ดยมีประเทศไทย เปนฐานการผลิตใหกไ็ ด ประเทศไทยไดเดินทางมาถึงจุดทีต่ อ งวาง นโยบายเศรษฐกิจและการคาระหวางประเทศเพือ่ หลีกเลีย่ งความ เสียเปรียบ พรอมสรางความไดเปรียบในกระบวนการเจรจาขอ ตกลงการคาในอนาคต ตัวอยางเชน ตอไปนี้ขอตกลงใดก็ตามจะ ตองสอดคลองกับการเปดตลาดในเออีซหี รือการกำหนดกลุม สินคา และบริการหลัก เชน เกษตร อาหารและทองเที่ยว ดังนั้นการ เจรจาขอตกลงใดๆ จะตองเกิดประโยชนกับสินคา 3 สาขานี้ แต ในปจจุบันการเจรจากับประเทศใดนั้นผูเจรจาจะพิจารณาเฉพาะ กลุม สินคาและบริการทีค่ า กับประเทศนัน้ เปน "ธง" นำ เมือ่ เปลีย่ น ประเทศคูเจรจา "ธง" ก็เปลี่ยนไปซึ่งเปนอุปสรรคในการกำหนด นโยบายพัฒนากลุม สินคาทีเ่ ปน "ธง" นำอยางแทจริงได ยกตัวอยาง สินคาขาวซึ่งจะตองเปนสินคา "ธง" ในทุกกรอบการเจรจาแต เวลานี้กลายเปนเพียงสินคาตัวหนึ่งเทานั้น ซ้ำรายยังมีผลกระทบ จากการนำเขาจากคูแขง แตขณะเดียวกันก็ไมสามารถผลักดันให ประเทศผูนำเขาอยางฟลิปปนสเปดตลาดใหเต็มที่เปนตน เศรษฐกิจโลกและภูมิภาคกำลังปรับเปลี่ยนและประเทศ ไทยเปนผูเลนที่สำคัญในทั้งสองระดับดังนั้นจึงตองมีนโยบาย เศรษฐกิจและการคาระหวางประเทศอยางชัดเจนเพือ่ ใหทกุ รัฐบาล 115 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
นำไปปฏิบตั อิ ยางตอเนือ่ งแมจะมีการเปลีย่ นแปลงรัฐบาลเปนชวงๆ ก็เสียดายที่คนเขียนมาตรา 190 นึกไปไมถึงวายังมีประเด็นที่ สำคัญกวาดังไดกลาวมานี้ หากนึกถึงแลวเราคงไดมาตรา 190 ที่ สมบูรณกวานี้
รู้งี้ 116
กระทรวงพาณิ ช ย . ...เธออยู ไ หน? เมษายน 2553 การเดินทางขององคการองคการการคาโลกมาถึงจุดทีต่ กอับ สุดขีดเพราะการเจรจาในกรอบหลักๆ คือ การลดการอุดหนุนสินคา เกษตร การลดภาษีสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมยังไมมีทีทาวาจะ จบลงไดในปนี้ ยิ่งมีการเจรจากรอบการคารูปแบบใหมที่เปนคูขนาน เกิดขึ้น ซึ่งดูเหมือนจะเขมขนขึ้นเรื่อยๆ ที่เรียกอยางไมเปนทางการ วา Copenhagen Accord (CA) ดวยแลว ยิ่งทำใหการเจรจาเพื่อ ปดรอบของ Doha Development Agenda (DDA) ดังกลาวตก “กระปอง” ไปเลย ผมยังยืนยันวาการเจรจาขอตกลงเพื่อลดกาซเรือนกระจก เปนการเจรจาขอตกลงทางการคา ซึ่งหมายถึงวา ผลลัพธจะออกมา อยางไรก็จะตองกระทบกับการคาโดยตรง ดังนั้นผมจึงเรียกรองให มีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการเจรจาโดยใหกระทรวงพาณิชยเปน ประธานคณะเจรจา การจัดโครงสรางใหมจะแกปญ หาไดมาก เนือ่ งจาก การเจรจากรอบสิ่งแวดลอมที่เรียกวา Kyoto Protocol หรือ Copenhagen Accord นั้นมีสวนที่เชื่อมโยงกับขอตกลงใน GATT ซึ่งกระทรวงพาณิชยโดยกรมเจรจาการคาระหวางประเทศจะตอง รูเรื่องดีกวาทุกกระทรวง ผมไมไดมีเจตนาจะกลาวหาวากระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไมมีความสามารถเพียงพอแต ตองการใหเกิดประสิทธิภาพทีส่ งู สุดมากกวา ประเด็นการเจรจามีเพียง ประเด็นหลักประเด็นเดียวคือ การลดกาซเรือนกระจกหรือ Green House Gas (GHG) ณ วันนี้ยังไมสามารถบรรลุขอตกลงใดๆ เพราะ 117 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
การเจรจาในระดับนี้มีผลกระทบตอการพัฒนาประเทศ การพัฒนา ประเทศตองใชทรัพยากรมาก เชน น้ำมัน กาซ ถานหิน น้ำ และ รวมถึงการตัดไมทำลายปาเพือ่ การเพาะปลูกพืชเกษตร ภายใตเทคโนโลยี ที่มีในปจจุบันความสามารถในการลด GHG ใหไดเปาหมายที่ตั้งไว คือไมเกิน 2 องศาเซลเซียสจากอุณหภูมิปจจุบันภายในป ค.ศ. 2050 นั้นเปนไปไมได การเจรจาระหวางประเทศจึงเกิดขึ้น เปาหมายของ การเจรจาก็คือใหไดขอตกลงที่ทุกประเทศไดประโยชน (Win-Win) การที่จะทำใหเกิดสภาพ Win-Win ได เปนสิ่งที่ยากที่สุด คำถาม คือประเทศไทยมีเปาหมายที่จะ Win อยางไร? ขอตกลงที่กอใหเกิด ประโยชนทกุ ฝายคือขอตกลงทีต่ อ งมีมลู คาเพิม่ (Value Added) หรือ ในทางตรงกันขามกันขอตกลงนั้นตองทำใหเกิดการปลดปลอยความ เสียหายแกประเทศทั้งหลาย สังเกตไดวาประเทศพัฒนาใชกลยุทธ ทั้งสองนี้ตลอดมา เชน การเสนอใหมีกองทุนปรับตัว (Adaptation Fund) หรือ โครงการที่เรียกวา Carbon Credit ที่อนุญาตให ประเทศพัฒนาซื้อ “ตัวเลขการลดกาซเรือนกระจก” ไดเพื่อทดแทน ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของตน (ประเทศขายจะไดเงิน จากการลดกาซเรือนกระจกและประเทศที่ซื้อจะไดตัวเลขเพื่อไปหัก จากภาระของตนทีต่ อ งลดกาซเรือนกระจก) อยางนีเ้ รียกวา Win-Win แตความยัง่ ยืนของ “ธุรกิจ” นีจ้ ะยาวนานแคไหนยังตองติดตามตอไป การที่จะใหประเทศจีนเขารวมเจรจากำหนดตัวเลขลดกาซนั้นไมใช เรื่องงาย นอกจากจะสรางมาตรการทางการคาในประเทศนำเขา เชน ภาษีนำเขาพิเศษ เงื่อนไขที่จะกำหนดการลด (Mitigation) กาซ เรือนกระจก จึงเปนเงื่อนไขหลักเงื่อนไขเดียวเทานั้นในการเจรจาขอ ตกลงนี้ การกำหนดปฐานและตัวเลขเปาหมายจึงเปนการบานเดียวทีท่ กุ รู้งี้ 118
ประเทศตองเตรียมตัวเพือ่ การเจรจา ซึง่ ยังแตกตางกันมาก เชน กลุม ประเทศยุโรปตองการใชปฐาน ค.ศ. 1990 แตประเทศสหรัฐอเมริกา เสนอป ค.ศ. 2005 ในสวนของตัวเลขที่จะลดนั้นก็ยังตางกันอีก เชน ประเทศในกลุมยุโรปเสนอ 45% แตญี่ปุนเสนอ 17% ภายในป ค.ศ. 2020 คำถามคือประเทศไทยไดมีการศึกษาและสรุปอยางไรในการ กำหนดตัวเลขทั้งสองตัวดังกลาวนี้ ผมพูดไดเลยวา “ไมมี” และก็ยัง ไมเคยไดยินดวยวารัฐไดวางนโยบายอยางไรทั้งการเจรจาและหลัง การเจรจา จึงเสนอใหประเทศไทยดำเนินการตอไปนี้ (1) กำหนด ตัวเลขเปน “ตุกตา” วาจะลดเทาไหรจากปฐานไหน เชน ลด 15% จากปฐาน 1990 (2) กำหนดวาสินคากลุมไหนจะตองลดเทาไหร ทัง้ นีจ้ ะตองศึกษาตัวเลขทีป่ ฏิบตั ไิ ด (3) ออกกฎหมายเก็บภาษีนำเขา สินคาทีป่ ลอยกาซเรือนกระจกเกินกวามาตรฐานสินคาไทย (4) กำหนด มาตรการชวยเหลือภาคอุตสาหกรรมและเกษตรทีจ่ ะไดรบั ผลกระทบ และ (5) กำหนดมาตรการสงเสริมการบริโภคยั่งยืน เชน การลด ปริมาณบริโภคตอคนหรือการบริโภคทีม่ คี วามสูญเสียเปนศูนย (Zero Waste Consumption) เรื่องโลกรอนไมเพียงแตเปนวาระแหงชาติ เทานั้นแตเปนวาระแหงโลกเลยทีเดียว เรื่องสำคัญขนาดนี้ยังไดรับความสนใจนอยมาก แมวาเรา จะมีประสบการณเจรจาขอตกลงการคาเสรีหลายกรอบเราก็ยงั วิเคราะห ไมไดวาการเจรจาในกรอบนี้ประเทศกำลังพัฒนาเปนฝายไดเปรียบ ประเทศพัฒนา และทีน่ า เปนหวงอยางยิง่ คือ เรายังจัดโครงสรางการ เจรจาไมตรงกับกรอบการเจรจาอีกดวย ดังนัน้ จึงไมนา จะมีใครปฏิเสธ หากจะเสนอใหกระทรวงพาณิชยเปนประธานคณะเจรจาของไทย 119 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
มองใหพฤษภาคม ถูก...เดิ น ให ถ ง ึ 2553 คงไมตองคำนวณกันใหยุงยากวาตัวเลขการเติบโตทาง เศรษฐกิจของไทยจะตกลงไปกี่จุดจากปที่แลว เพราะปญหาที่ เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกประเทศมีมากมายจนนับไมไหว ภาคการสงออกปนข้ี องไทยนาจะไมถกู กระทบมากนัก แตปจ จัยที่ จะตองเฝาระวังคืออัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาทกับเหรียญสหรัฐ โดยเปรียบเทียบกับอัตราแลกเปลี่ยนของสกุลเงินของประเทศที่ แขงขันการสงสินคาออกของไทย เชน เวียดนาม จีน อินโดนีเซีย เปนตน แตกอ็ ยากจะทำนายวาจากสภาพเศรษฐกิจโดยทัว่ ไปแลว แรงกดดันของอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาทก็คงจะอยูในแนวที่ แข็งคา ซึง่ ผูป ระกอบการสงสินคาออกคงจะตองจัดการความเสีย่ ง ดวยตนเองคือตองไมเก็งกำไรคาเงินบาท คาดวาตัวเลขสงออกใน ปนี้คงจะเพิ่มไดในอัตรา 15% จากป พ.ศ. 2552 โดยประมาณ แมจะมีผลกระทบบางจากยูโรโซน เชน วิกฤตการเงินในประเทศ กรีซ แตคงไมมผี ลมากนัก การทองเทีย่ วก็คงจะย่ำแยจากผลกระทบ ทางการเมืองในสองเดือนที่ผานมา ซึ่งคำนวนกันเปนตัวเลขก็คง ตกประมาณแสนลานบาท การลงทุนภายในประเทศคงจะหวัง อะไรมากไมไดเพราะโลกกำลังเปลี่ยนแปลง เนื่องจากมีประเทศ เกิดใหมและเปนคูแขงกับไทยทั้งภายในอาเซียนและในเอเชีย เชน จีนและอินเดีย ประเทศก็เหมือนสินคา ดังนั้นการนำเสนอ และจูงใจใหนักลงทุนตางชาตินำเงินเขาไปลงทุนก็ตองแขงขันกัน รู้งี้ 120
อยางเต็มกำลัง เรียกวาทัง้ ลดทัง้ แถมและสรางบรรยากาศทีเ่ หมาะสม อีกตางหาก นักลงทุนตางชาติจึงมีทางเลือกมากขึ้น การเจรจาขอตกลงการคาเสรีกย็ งั ไมหยุดนิง่ เชน สหภาพ ยุโรปกับสิงคโปร เวียดนาม และอีกหลายๆ คูในทวีปอื่นๆ แต ประเทศไทยนั้นไดหยุดนิ่งในเรื่องเหลานี้มาหลายปเพราะเหตุ ทางการเมือง โดยเฉพาะอยางยิ่งหลังจากที่มีขอจำกัดที่ระบุใน มาตรา 190 ในรัฐธรรมนูญปจจุบัน ขอตกลงการคาเสรีเปน เครือ่ งมือในการพัฒนาประเทศรวมตัง้ แตดา นการคาสินคา บริการ และการลงทุน แตจุดออนนั้นก็ยอมจะตองมีเชนกัน ดังนั้นความ เขาใจในความสำคัญของกลไกชิน้ นีจ้ งึ เปนเรือ่ งจำเปน ความสำเร็จ นัน้ อยูท จ่ี ดุ เริม่ ตนคือภาคธุรกิจ สังคมและนักการเมืองจะตองมอง เห็นภาพ ”ลวงหนา” เปนแนวเดียวกัน เปนที่นาเสียใจวาทั้ง 3 ภาคสวนนี้ไมเคยมองเห็นภาพเหลานี้เปนภาพเดียวกันเลย การ เมืองไทยไมไดเอือ้ หนุนภาคเศรษฐกิจ และขณะเดียวกันภาคสังคม ก็ไมเอือ้ หนุนภาคเศรษฐกิจดวยเชนกัน การบัน่ ทอนกำลังกันและกัน จึงเปนประโยชนตอ ประเทศอืน่ ๆ ทีแ่ ขงขันกับเราในตลาดโลก จาก กลุมขอตกลงการคาเสรีทั้งหมดที่เราไดผูกพันอยูนั้นมีขอตกลงใน กรอบอาเซียนหรือเออีซีที่จะมีผลกระทบตอเรามากที่สุด การใช ประโยชนจากขอตกลงนี้จึงเปนเรื่องที่พวกเราทุกคนจะตองทำ ใหได โดยเริ่มที่การเรียนรูและปรับตัว ซึ่งแบงเปนสองสวนคือ สวนการผลิต ซึง่ ตองใหไดตน ทุนทีแ่ ขงขันไดและมาตรฐานทีด่ กี วา เทคโนโลยีและนวัตกรรมจึงเปนตัวชวยในการปรับตัว สวนที่สอง คือการทีต่ อ งมีปรับแนวคิด คือตองยอมรับปรัชญาของการแขงขัน เสรี ซึ่งแนวคิดนี้จะไมเหมาะกับผูประกอบการที่ชอบการผูกขาด 121 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ทุจริตและไมโปรงใส การมีนวัตกรรมหรือไมนน้ั ตองเริม่ ตนทีค่ วาม ตองการแทจริง (Need) กอน ผมเชื่อวาคนไทยมีวิญญาณของ นักนวัตกรรมแตขอใหมีโอกาสและพื้นที่เทานั้น การมีขอตกลงการคาเสรีคือการเปดพื้นที่ใหกวางขึ้นแต เพื่อใหผูประกอบการที่ยังใหมตอเรื่องเหลานี้เกิดความสบายใจ จึงขอสรุปหัวขอหลักๆ เพื่อความงายตอการดำเนินการตอดังนี้ คือ 1) ภาษีนำเขา (Import Duty) ของสินคาทั้งของเราและ ประเทศคูส ญ ั ญา 2) กฎวาดวยถิน่ กำเนิดสินคา (Rules of Origin) ซึ่งมีรายละเอียดมากมายจึงแนะนำใหศึกษารายละเอียดกับกรม การคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย หรือกรมศุลกากร กระทรวง การคลัง เพียงแตบอกไดคราวๆวากฎนีจ้ ะชวยใหสนิ คาทีไ่ ดรบั การ ลดภาษีนำเขาเปนไปไดจริง 3) มาตรฐานสินคาที่ตองสากลและ เปนที่ยอมรับของประเทศนำเขา ในสวนของสินคาบริการ เชน การคมนาคม สื่อสาร ทองเที่ยวนั้น ก็ใหสนใจในสองเรื่องดังนี้คือ ั ญา ขอหนึง่ อัตราสวนของการลงทุนทีต่ กลงกันวาจะใหประเทศคูส ญ ลงทุนในธุรกิจนั้นๆ เปนอัตราสวนกี่เปอรเซ็นตเชน 100% หรือ 75% เปนตน และขอสอง ก็ใหดูวามีขอตกลงเรื่องการเคลื่อนยาย แรงงานทัง้ มีฝม อื และไรฝม อื ไดหรือไม นอกจากนัน้ เรายังกำลังเผชิญ กับการเจรจาขอตกลงการคาฉบับใหมลาสุดที่เปนแบบพหุภาคี ดวย คือการคาและบริการทีต่ อ งลดกาซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) ซึง่ ตองสนใจใน 4 เรือ่ งตอไปนีค้ อื 1) ปริมาณทีจ่ ะตองผูกพัน วาประเทศไทยจะตองลดกาซเรือนกระจกเทาไหร (ตรงกันขามกับ การเจรจาขอตกลงการคาเสรีที่ใหดูวาจะมีการลดภาษีศุลกากร เทาไหร) หรือ Mitigation 2) จะตองมีมาตรการในการปรับตัว รู้งี้ 122
อยางไรหรือ Adaptation 3) จะมีขอ ตกลงในเรือ่ งมาตรการยืดหยุน เพื่อทดแทนจำนวนกาซเรือนกระจกที่จะตองลดซึ่งหมายถึง ประเทศที่ไมสามารถจะลดนั้นจะสามารถ ”ซื้อ” ตัวเลขปริมาณ ที่ไดจากการลดกาซเรือนกระจกของอีกประเทศหนึ่งอยางไรหรือ Flexibility 4) รูปแบบและโครงสรางการเจรจาของไทยจะเปน อยางไรหรือ Negotiation ภาคเศรษฐกิจของไทยจะตองปรับเปลี่ยนโครงสราง เนื่องจากมีสิ่งทาทายใหมๆ มากขึ้น ดังนั้นจึงขอใหทุกภาคสวน มองไปขางหนาอยางนอย 40 ปและวางแผนจัดการการบริหาร ภาคเศรษฐกิจอยางมีประสิทธิภาพทามกลางมรสุมทางการเมือง ที่โหมกระหน่ำชนิดที่ไมยอมหยุดยั้ง
123 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
เกง....แต แ ข ง ไม เ ป น มิถุนายน 2553 สืบเนือ่ งจากปญหาสิง่ แวดลอมทีเ่ กิดขึน้ ในบริเวณมาบตาพุด จึงเปนเหตุใหรัฐบาลตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อหาคำตอบ จากโจทยทว่ี า โครงการหรือกิจกรรมทีอ่ าจกอใหเกิดผลกระทบอยาง รุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและ สุขภาพ ซึ่งมีทั้งสิ้น 19 โครงการนั้นจะเขาขายมาตรา 67 วรรค 2 หรือไม โครงการหรือกิจกรรมทีถ่ กู จัดเขาในกลุม นีม้ หี ลายลักษณะและ รูปแบบ เชน การถมทะเล เหมืองแร นิคมอุตสาหกรรม สนามกอลฟ (ตั้งแต 9 หลุมขึ้นไป) และการทำเกษตรกรรมเชิงการคาเกี่ยวกับ วัตถุดิบการผลิตอาหารที่เกี่ยวเนื่องกับ GM เปนตน เพื่อใหเกิดความ โปรงใสจึงไดมีการตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นชุดหนึ่งเพื่อกลั่นกรองโดย ใชวีธีการจัดใหรับฟงความเห็นดานเทคนิค (Technical Hearing) และรับฟงความคิดเห็นสาธารณะ (Public Hearing) ทั้งหมด 6 ครั้ง โดยจัดขึ้นในตางจังหวัด 4 ครั้งในชวงเดือนกุมภาพันธถึงมีนาคม ที่ เชียงใหม ขอนแกน ชลบุรี และนครศรีธรรมราช สวนอีก 2 ครั้ง หลังนั้นจัดขึ้นที่กรุงเทพในเดือนมีนาคมและเมษายนที่ผานมา ผมจะ ไมเลาในรายละเอียดวาไดพบอะไรบางในการเขารวมการประชุมทั้ง 6 ครั้งที่เกี่ยวกับพืช GM เนื่องจากการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะ เปนเรื่องใหมสำหรับสังคมไทย ดังนั้นผมจึงใหคะแนนเกรด บี ใน สวนของประสิทธิภาพในการจัดการรับฟงความคิดเห็นทั้ง 6 ครั้ง เรื่องที่ผมไดพบเห็นและคิดวาสำคัญสำหรับสังคมไทยใน อนาคตซึ่งจะเชื่อมโยงกับประสิทธิภาพการแขงขันของประเทศเพื่อ รู้งี้ 124
ลดระดับความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจไดนั้นพอสรุปไดดังตอไปนี้:1) ขอมูลทีไ่ มสมดุล (Information Asymmetry) ความจริง ก็เปนเรื่องธรรมดาทั่วๆ ไปที่มีคนกลุมหนึ่งรูมากกวาอีกกลุมหนึ่ง แต ทีน่ า เปนหวงคือ ในการถกกันเรือ่ งของวิทยาศาสตรซง่ึ ตองมีการอางอิง หลักฐานหรือขอมูลเชิงประจักษนั้นขอโตแยงระหวางผูเห็นดวยกับ การใหยกกิจกรรมฯนี้ออกจากรายการ ”รุนแรง” นั้น มีมากมายเกิน กวาที่ผูที่ไมเห็นดวยจนไมสามารถอธิบายคัดคานไดอยางเปนจริง เปนจัง แตกลับใชขออางที่เปนเรื่องของความเชื่อที่เกิดจากขาวสาร หัวขอที่ตั้งไววาเปนการรับฟงความคิดเห็นในเรื่องเทคนิคจึงเปนการ ฟงขางเดียว เพราะขอโตแยงทางเทคนิคจากอีกฝายหนึ่งเปนเพียง การคาดเดา (Speculation) จากความกลัวเปนสำคัญ ลักษณะการ โตแยงในแนวนีจ้ ะสรางตัวอยางทีไ่ มดแี กอนุชนรุน หลัง สรุปแลวก็คอื ผมขอแนะนำวาพวกเราทุกคนตองเพิ่มวิชาการใหกับตัวเองมากๆ ความรุนแรงของการแขงขันเปนแรงกดดันใหผูแขงขันทุกฝายใน ตลาดตองเพิ่มศักยภาพโดยการเพิ่มความรูเปนอันดับแรก 2) อารมณที่ไมสมดุล นักวิชาการทั้งฝายทั้งขาราชการและ อาจารยจากมหาวิทยาลัยเปนผูท อ่ี ยูใ นวงการทีส่ งบและคิดเปนระบบ และเปนวิทยาศาสตรจงึ มีอารมณเปน “ครู” แตผทู ม่ี คี วามเห็นไมตรง กับทานเห็นจุดออนนี้จึงใชวิธีนำเสนอดวยลีลาที่รุนแรงและคอนขาง กาวราว ซึ่งไมสมควรที่จะนำมาใชโตตอบคนระดับครูเหลานี้ ผมได เรียนรูม ากอนหนานีว้ า กลยุทธนไ้ี ดถกู ใชบอ ยจนกลายเปน “ยีห่ อ ” ของ กลุม เหลานีไ้ ปแลว ตัวอยางก็มใี หเห็นไดไมยากหากเรามองยอนไปใน อดีตก็จะเห็นพฤติกรรมรุนแรงของการตอสูเรียกรองของกลุมกดดัน นี้ ผมยอมรับไดกับกลยุทธของทุกกลุมกดดันหรือกลุมผลประโยชน 125 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ในสังคมไทย แตยอมรับไมไดหากถึงขัน้ ทีไ่ มเคารพซึง่ กันและกัน เนือ้ หา นั้นมีความสำคัญกวาลีลา การแขงขันกันในตลาดโลกนั้นตองการ ความสามารถในเชิงเนื้อหา ดังนั้นผูเกี่ยวของจึงควรแสดงตัวอยางที่ สรางสรรคและเปนประโยชนตอประเทศ เปาของการแขงขันคือแขง กับประเทศอื่น ดังนั้นการทำใหองคกรในประเทศออนแอลงจึงเปน เหตุใหศักยภาพการแขงขันลดลง เพื่อใหบรรลุประสิทธิภาพผมจึง เสนอใหภาคธุรกิจมีบทบาทในการมีสวนรวมอยางแข็งขันในการ ประชุมชนิดนีท้ จ่ี ะมีขน้ึ อีกในอนาคต ภาคธุรกิจเปนสวนหนีง่ ของสังคม จึงตองมีหนาที่ในการเพิ่มศักยภาพเชนกัน ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจในระดับระหวางประเทศและ ภายในประเทศนัน้ มีรปู แบบคลายคลึงกัน ประเทศยากจนไมสามารถ “กลบ” ชองวางนี้ เพราะประเทศพัฒนาไมยอมกระจายทรัพยากร ธรรมชาติในโลกใหยุติธรรมที่สุด ใชความสามารถในการแยงชิงและ สะสมโดยไมแบงปนและกระจายอยางเพียงพอ ในขณะเดียวกัน ผูบริหารของประเทศกำลังพัฒนาก็ไมมีความสามารถหรือยอมที่จะ กระจายทรัพยากรชาติใหยตุ ธิ รรมทีส่ ดุ เชนกัน พวกเราจะเฉลยปญหา นี้อยางไรโดยใช Keywords ตอไปนี้ ; รายไดเกษตรกร รายได แรงงาน การศึกษา การใชเทคโนโลยี การจัดกลุมธุรกิจยุทธศาสตร การจัดสรรทรัพยากรการผลิตประสิทธิภาพการผลิต การโกงกินใน ทุกระดับทั้งรัฐและเอกชน เมืองไทยตองมีการปรับเปลี่ยนโครงสรางความคิดและการ ผลิตตั้งแตวันนี้เพื่อใหเกิดความสมดุลและลดชองวางของรายไดเพื่อ จะไดมาซึ่งศักยภาพของการแชงขันตอไป รู้งี้ 126
สนามรบสุ ด ท า ย กรกฎาคม 2553 ในชวงสีส่ บิ กวาปทผ่ี า นมา ประเทศไทยขยายชองวางของ รายไดระหวางคนรวยกับคนจนมากขึ้น แปลความหมายไดวา สูตรการพัฒนาเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจคือการลงทุน การ พัฒนาดานเทคโนโลยี การสรางนวัตกรรมและการคาไมไดถูกใช ประโยชน ตัวเลขทางเศรษฐกิจโดยรวมโตขึน้ แตการกระจายรายได ระหวางคนรวยและจนไมแคบลง (Modernization without Development) แมไทยมีสัญญาการคาระหวางประเทศทั้งชนิด ระดับกลุม และทวิภาคีจำนวนหนึง่ โหล ก็ยงั ใชอธิบายไมไดวา ทำให เกิดประโยชนในการลดชองวางดังกลาวจริง จนกระทัง่ เกิดเหตุการณ วิกฤตเศรษฐกิจในป 2540 ตอเนื่องจนถึงวิกฤตการเงินในสหรัฐ ที่เริ่มตนในป 2551 ทุกอยางดูเหมือนจะกลับมาตั้งตนกันใหมวา จะจัดการกับระบบเศรษฐกิจโลกกันอยางไร อดีตเปนบทเรียนที่ จะตองรับรูเพื่อนำไปสูการแกไขใหดีขึ้น ประเทศไทยตองคิดกัน ใหมวาจะใหเศรษฐกิจนำการเมือง หรือการเมืองนำเศรษฐกิจ ทามกลางบรรยากาศการเปลี่ยนแปลงของการเมืองและสังคมที่ คอนขางรุนแรงในประเทศ อยางไรก็ตาม ขณะทีเ่ รายังตัง้ ตัวไมตดิ อยูนี้ ในเวทีโลกก็ไดมีการดำเนินการเพื่อกำหนดกฏเกณฑการ บริหารจัดการสิ่งแวดลอมโลกภายใตหัวขอ “Climate Change” (CC) นักการเมืองเปนผูต ดั สินใจขอตกลงการคาเสรีทผ่ี า นมา สราง ความไมสบายใจใหกับภาคสังคมเปนผลใหเกิดมาตรา 190 ใน 127 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
รัฐธรรมนูญไทยฉบับปจจุบัน สิ่งที่นาสนใจคือการเจรจา CC ที่ ผานมาตกอยูใ นการกำกับของกระทรวงและภาคสังคมมาตัง้ แตตน ทั้งๆที่เนื้อแทแลวเปนการเจรจาขอตกลงทางการคา คำถามจึง เกิดขึ้นวาภาคธุรกิจจะสบายใจไดอยางไร? ใครจะตอบคำถามนี้ ได? ขอนำเสนอขอเปรียบเทียบหัวขอสำคัญของการเจรจา ทั้งสองลักษณะสัญญาดังนี้ 1) การเจรจาขอตกลงทางการคามี เปาหมายเพื่อการลดอุปสรรคภาษีนำเขา แตการเจรจา CC มี เปาหมายเพือ่ ลดการปลอยกาซเรือนกระจก 2) การลดภาษีนำเขา มีตัวเลขแนนอนและสามารถกำหนดปเริ่มตนและสิ้นสุด แตการ ลดกาซเรือนกระจกไมมตี วั เลขเริม่ ตนทีแ่ นนอน เพราะแตละประเทศ ไมมีตารางการปลอยกาซฯเหมือนตารางภาษีนำเขาสินคา การ กำหนดปเปาหมายก็ยงั ขึน้ อยูก บั การเจรจาวาจะเปนป 2568 หรือไม? 3) มาตรการไมใชภาษีในขอตกลงทางการคาเปนมาตรการ ทีม่ เี ปาหมายสรางสมดุลใหกบั ระบบการผลิตและตลาดในประเทศ แต CC เปนขอตกลงที่เปนมาตรการทางการคาในตัวมันเอง การ เจรจาในกรอบนีจ้ งึ เปนเพียงการดึงเฉพาะมาตรการนีอ้ อกมาเจรจา ใหเปนขอตกลงทางการคาอีกหนึ่งฉบับ ดังนั้นมาตรการทางภาษี นำเขาจึงกลับกลายเปนตัวเสริมทีจ่ ะถูกนำไปใชเพือ่ ให CC บังเกิด ผลสำเร็จตามเปาหมาย ผมนำขอเปรียบเทียบสามขอหลักนีอ้ อกมา ใหเห็นถึงความแตกตางของขอตกลงที่เริ่มจากจุดที่แตกตางกัน แตลงทายเหมือนกัน จึงขอเรียกรองดังตอไปนี้: 1) คนเจรจาทั้ง ภาครัฐและสังคมจะตองรับฟงความเห็นของภาคธุรกิจเปนหลัก 2) รัฐซึ่งเปนเจาของรัฐวิสาหกิจจะตองมีสวนรวมในการลดกาซ รู้งี้ 128
เรือนกระจกดวย ดังนั้นหากมองในระดับประเทศแลวจะตองมี กลไกการกำหนดมาตรการใหชัดเจนวารัฐ (โดยผานรัฐวิสาหกิจ ทั้งหลาย) จะตองรับภาระเทาไหรและอยางไรเพื่อแบงเบาภาระ ตนทุนของธุรกิจเอกชนเพื่อการปรับตัวในการแขงขันตอไป เครือ่ งมือในการปรับตัวตองเริม่ ตนดวยขบวนการตอไปนี้ 1) การเขาใจปญหา 2) มาตรการชวยเหลือทางการเงินและ เทคโนโลยีซึ่งจะมีการเสนอในเวทีการเจรจา ขอเสนอทั้งสองนี้ สวนใหญจะตรงใจบรรดาประเทศกำลังพัฒนา จึงขอเสนอใหหนวยงาน รัฐที่เกี่ยวของคิดใหรอบคอบเพราะทุกอยางตองมีตนทุนทั้งนั้น เราตองคิดที่จะชวยเหลือตัวเองแทนที่จะคอยรับความชวยเหลือ เนื่องจากขอเสนอเหลานี้เปนเสมือนตัวกับดักที่ทำใหการเจรจา ของเราออนแอลง ประเทศไทยมีพื้นที่และประชากรไมมาก แตมี ศักยภาพในการผลิตและแขงขันสูงในระดับโลกในหลายๆ สินคา เชน ขาว อาหารสำเร็จรูป เนื้อสัตว มันสำปะหลัง สิ่งทอ เสื้อผา อัญมณี อุปกรณไฟฟาและอิเลคโทคนิคส ซึง่ ตองการปรับโครงสราง การผลิตครั้งใหญภายใตขอตกลงทางการคาทุกฉบับ ดังนั้นเราจึง ไมตองการขอตกลงทางการคาฉบับใหมที่เรียกวา CC นี้มาเปน เครื่องบั่นทอนศักยภาพ แตในทางตรงกันขามเราตองการใหเปน เครื่องมือในการเพิ่มศักยภาพจึงขอถามอุตสาหกรรมทั้งหมดซึ่งมี ทั้งธุรกิจเอกชนและรัฐวิสาหกิจวา ถึงเวลาแลวใชไหมที่ตองเรียก ประชุมครั้งใหญและกำหนดทิศทางเดินรวมกับภาครัฐและสังคม ใหชดั เจน ไมมใี ครตองการแพในสนามรบสุดทายเพราะโอกาสแกตวั นั้นเทากับศูนย ผมมีเปาหมายเดียวคือ ชัยชนะ 129 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
เบี้ยสิวได ก เ ็ บี ย ้ ว งหาคม 2553 ภาพทีห่ นึง่ : คนขับรถในประเทศไทยสวนใหญขบั รถไดแตขบั ไมเปน หากไมเชือ่ ก็ลองขับรถไปบนทางดวนก็จะไดเห็นคนทีข่ บั รถชา จะขับชิดขวาใครตองการจะแซงก็ตองแซงซาย หรือไปยืนตรงสี่แยก ก็จะไดเห็นวาไฟจราจรสีแดงคือสัญญาณใหรถสองลอเครื่องวิ่ง เรียกวาฝาไฟแดงอยางถูกกฎหมาย เราจึงเรียนรูวาคนบางกลุมตั้งใจ ทำผิดกฎหมายหนาตาเฉย แลวจะบริหารประเทศกันอยางไร? ภาพที่สอง: เราจะปฏิบัติตามหัวขอในขอตกลงทางการคา ที่ไดถูกกำหนดไวโดยไมกลา “เบี้ยว” เพราะกลัวจะถูกฟองเมืองไทย มีปญหาเรื่องบังคับใชกฎหมายและการปฏิบัติตามกฎหมาย เมื่อหลายปกอนนักธุรกิจพยายามหาขอสรุปวาใครจะตอง เปนผูรับผิดชอบตอขยะจากสินคาอุปโภคและบริโภค เชน พวกถุง พลาสติก หรือขวดแกว หาขอสรุปไมได เพราะทัง้ ผูผ ลิตและผูบ ริโภค ไมตองการเสียภาษีเพิ่ม ผมเชื่อวาขอสรุปในเรื่องนี้จะเกิดขึ้นในไมชา และคาดหมายไดวาเราจะมีกฎหมายใหมที่กำหนดใหผูผลิตจะตอง เปนผูจายซึ่งจะเขาหลักการที่เรียกวา Polluter Pays Principle การเจรจากฎระเบียบใหมที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจและการคาในเรื่อง สิ่งแวดลอมหรือเรียกสั้นๆวา “โลกรอน” นี้เริ่มตนดวยเปาหมายวา จะทำอยางไรใหการผลิตสินคาดวยกรรมวิธีและเทคโนโลยีใหมเปน ผลใหลดการปลอยกาซเรือนกระจก ซึ่งก็หมายความวาขอตกลงนี้ มุงเปาไปที่ “ผูผลิต” แตในระหวางที่มีการเจรจากันอยูนี้ก็เกิดมี ประเทศใหญประเทศหนึ่งแสดงความเห็นวาการที่มีการปลอยกาซ รู้งี้ 130
เรือนกระจกมากนัน้ เกิดจากเหตุของการบริโภคมากกวา เพราะผูผ ลิตตอง ผลิตสินคาตามความตองการ ความผิดจึงอยูท ผ่ี บู ริโภค เมือ่ เปาหมาย คือการลดกาซเรือนกระจก ดังนั้นการใชเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร ทีง่ า ยทีส่ ดุ ก็ตอ งมุง เปาไปที่ “ผูบ ริโภค” โดยใชวธิ เี ก็บภาษีจากผูบ ริโภค เมื่อสินคาราคาแพงขึ้นอุปสงคจะลดลงเปนผลใหการผลิตลดลงและ สุดทายการปลอยกาซฯก็ลดลงเอง ไมตองพัฒนาเทคโนโลยีใหเสีย เวลา เหมือนประเด็นที่ถกเถียงดังกลาวขางตนวาระหวางผูผลิตและ ผูบริโภคนั้นใครจะรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม ผมมีความเห็นวาขอเสนอทีเ่ รียกวา Consumption Approach นี้จะไมไดรบั การยอมรับจากนานาชาติ เพราะฉะนั้นไมตองศึกษา ขอดีขอเสียใหเหนื่อยยาก ในฐานะที่ผมทำธุรกิจมานานมีความเห็น เพิ่มเติมวาประเทศที่เสนอแนวทางนี้คงไมตองการเปดประเด็นใหม เพียงแตตอ งการใหเกิดแรงกระเพือ่ มขึน้ มาเทานัน้ ในทางตรงกันขาม ผมมีความเห็นวาหากตองการใหผูบริโภคมีสวนลดกาซเรือนกระจก ก็ตองเสนอใหมีการใชเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มศักยภาพใหกับผูบริโภคใน การเลือกบริโภคสินคาทีผ่ ลิตจากมาตรฐานสิง่ แวดลอมหรือทีเ่ รียกวา Green Consumption ในสินคา Green Products ที่เขียนมาทั้งหมดนี้จะเกี่ยวหรือไมกับอุปนิสัยที่ขัดแยงกัน ระหวางคนที่ชอบทำผิดกฎหมายและคนที่ไมกลาทำผิดขอตกลง (กฎหมาย) ก็ได เพียงแตผมจะคอยเฝาดูวากลุมคนที่ไมกลาทำผิด ขอตกลงจะทำอยางไรหากขอตกลงการคาที่จำแลงมาในขอตกลง “โลกรอน” สิน้ สุดลงโดยไมมบี ททีว่ า ดวยกระบวนการระงับขอพิพาท? (Dispute Settlement Mechanism) มีทั้งไฟจราจรและตำรวจ ยังฝาไดหนาตาเฉย แตนี่ไมมีทั้งไฟจราจรและตำรวจอีกตางหาก ก็ 131 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
คงเดาไมถกู วาใครจะเบีย้ วเกงกวากันในเวทีสากล ไมวา อะไรจะเกิดขึน้ ตอจากนี้ไปในเวทีการคาโลก ผมขอเตือนผูรับผิดชอบทั้งภาครัฐและ ธุรกิจวาการปฏิวัติการผลิตและบริโภคครั้งใหญในเมืองไทยจะตอง เกิดขึ้น ใครจะเริ่มกอน?
รู้งี้ 132
ใหญหรืกัอนยายน เล็ก2553ไมสำคัญ เมือ่ สัก 20 ปทผ่ี า นมาไดเกิดการเปลีย่ นแปลงเชิงโครงสราง การผลิตสินคาเกษตรระดับหนึง่ เนือ่ งจากการระบาดของโรควัวบา ในอังกฤษ ซึ่งเปนผลใหเกิดวิกฤตในหวงโซอาหารทั่วโลก จาก ผลกระทบในครัง้ นัน้ การสงออกสินคาปศุสตั วตอ งเผชิญกับขอกำหนด ดานมาตรฐานที่เขมงวดเริ่มตั้งแต การเลี้ยง การจับ การขนสง สัตวเขาโรงฆา ขบวนการฆา การขนสง จนถึงผูบริโภค มีการ เรียกรองจากประเทศนำเขาใหดูแลสัตวกอนฆาอยางเปนระบบ เพื่อไมใหสัตวเจ็บหรือปวย กลุมประเทศยุโรปเริ่มสรางมาตรการ ใหม เชน การสนับสนุนใหเลี้ยงไกไขในสนาม (Field) แทนที่จะ เลีย้ งในกรง โดยใหเหตุผลวาการเลีย้ งในกรงนัน้ จำกัดการเคลือ่ นไหว ของไก ตนทุนของไขที่ไดจากการเลี้ยงธรรมชาติดังกลาวจะตอง เพิม่ ขึน้ อยางนอย 10-20% ตอฟอง มีคำถามมากมายจากเกษตรกร วารัฐบาลจะชวยเหลืออยางไร เพราะตนทุนแพงขึ้น ราคาขายก็ ตองสูงขึน้ การเรียกรองใหรฐั สนับสนุนเปนเงินตอไขหนึง่ ฟองก็ตอ ง เกิดขึน้ แตทแ่ี นๆคือไขทไ่ี ดรบั การอุดหนุนและสงออกจากสหภาพยุโรป จะไดเปรียบในแขงขันกับไทยในประเทศแถบตะวันออกลางและ ฮองกง เทานั้นยังไมพอ ประเด็นของสิ่งแวดลอมก็เริ่มเขามา เกีย่ วของกับสินคาเกษตรเพิม่ ขึน้ เชน การอุดหนุนเพือ่ ใหเกษตรกร ปลูกพืชเพื่อรักษาภูมิทัศน ประวัตศิ าสตร วัฒนธรรมทองถิ่น (Multifunctionality of Agriculture) เพื่อสรางความชอบธรรม 133 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ในการอุดหนุนตอไป การอุดหนุนเกษตรมีความจึงสำคัญ ในระยะนี้ กระแสความมัน่ คงพลังงานดังลัน่ ขึน้ เรือ่ ยๆ พืชเกษตรไทยหลายชนิด เชน ถั่วเหลือง ขาวโพด ปาลม ออย มันสำปะหลังจะมีบทบาท ในดานพลังงานทดแทน การอุดหนุนเพื่อการผลิตสินคาเกษตร เพื่อพลังงานทดแทนจะตองมีขึ้นอยางแนนอน ทีไ่ ลเรียงมาแตตน ก็เพือ่ ทบทวนวาประเทศไทยไดดำเนินการ อยางไรตอกรณีการอุดหนุนพืชพลังงานทดแทน? การอุดหนุนสินคา เกษตรไทยยังมีปญหาที่ตองแกใหดีขึ้นตอไป ขณะเดียวกันก็ตอง เพิม่ หัวขอทีต่ อ งและปรับเปลีย่ นเพือ่ ใหเกิดศักยภาพในการแขงขัน และสวัสดิการของผูบริโภคและสิ่งแวดลอมเฉกเชนเดียวกับยุโรป ไดดำเนินการไปแลว จึงถึงเวลาแลวที่เราตองเปลี่ยนโครงสราง การอุดหนุนสินคาเกษตรใหเชื่อมโยงกับศักยภาพการแขงขันใน สามแนวทางคือ 1) ดานราคาที่แขงขันได 2) ดานมาตรฐาน การผลิตและ 3) สิ่งแวดลอมที่ดีเพื่อเปนฐานในการสรางความ มัน่ คงอาหารและพลังงานพรอมกัน ทานเชือ่ ไหมวามีประเทศพัฒนา บางประเทศที่นำเขาอาหารสุทธิกำลังนำเสนอใหประเทศสมาชิก เอเปค (ประกอบดวย 21 ประเทศ รวมสหรัฐ ญี่ปุน จีน ไทย และเอเชียแปซิฟกอีกหลายประเทศ) ใหยอมรับแนวคิดที่เรียกวา “การลงทุนการเกษตรกรรมอยางรับผิดชอบ” (Responsible Agriculture Investment) เปนชองทางใหเปดการลงทุนภาค การเกษตรจากตางประเทศ หากสิ่งนี้เกิดขึ้นไดจริงแลวประเทศ ที่ไดประโยชนคือประเทศที่นำเขาอาหารสุทธิ เพราะการลงทุน ยอมตองมาพรอมกับการคา เชน ประเทศญี่ปุนจะไดรับเกราะ ปองกันไมใหตอ งกังวลตอแรงกดดันใหเปดตลาดนำเขาสินคาเกษตร รู้งี้ 134
หรืออาหารอีกตอไป ฉลาดคิดนะครับ เราไมเคยคัดคานการลงทุน ทีม่ คี ณ ุ ภาพซึง่ หมายถึงเปนประโยชนกบั ทุกฝาย แตสง่ิ ทีเ่ ปนปญหา คือยังไมมใี ครศึกษาขอเสนอนีอ้ ยางถองแท ในสวนของผมนัน้ เห็นวา “When Food Security Comes In At The Door, Free Trade Flies Out Of The Window” กฎเกณฑการคาจะ เปลี่ยนอยางไรมาตรการอุดหนุนเกษตรก็ยังตองมีบทบาทตอไป ประสิทธิภาพในการบริหารงบประมาณอุดหนุนจะตัดสินวาเรา จะแขงขันอยางไร ไมใชเรื่องของประเทศใหญหรือเล็ก แตเปน เรือ่ งของความ “เกง” ตางหาก วลี “เล็กพริกขีห้ นู” หายไปไหน?
135 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
มั่นคงแต ล ม เหลว ตุลาคม 2553 ทานจะตอบอยางไรหากมีคนถามทานวาประเทศไทยมีความ มัน่ คงอาหารหรือไม? คำตอบก็คงเปนคำถามกลับไปวา “ถามทำไม?” คนถามคงสติเสีย คำถามที่นาจะถามคือประเทศไทยมีความมั่นคง พลังงานหรือไม?มากกวา ในอดีตสองเรือ่ งนีแ้ ยกออกจากกันและไมมี ใครสนใจ ประเทศที่ผลิตอาหารไมพอก็สามารถนำเขาไดตลอดมา เหมือนประเทศทีข่ าดพลังงานก็นำเขาไดเชนกัน ประเทศไทยสงออก อาหารแตนำเขาพลังงาน ประเทศสิงคโปรนำเขาทัง้ อาหารและพลังงาน ประเทศพัฒนาแลว เชน กลุมยุโรปและอเมริกาเหนือ รวมทั้ง ออสเตรเลียผลิตอาหารเหลือจึงไมมคี วามจำเปนทีจ่ ะนำเขา ขอตกลง ทางการคาเสรีเปนเหตุใหการคาสินคาเกษตรและอาหารระหวาง ประเทศเพิม่ ขึน้ แตการเปดตลาดในลักษณะเชิงปริมาณนีย้ งั มีปญ หา มากมายดวยขอจำกัดเชิงคุณภาพ เนื่องจากระดับการพัฒนาของ ประเทศสมาชิกไมเทากันและก็ไมมวี นั จะเทากันไดตลอดไป โดยรวม แลวภาพที่ปรากฏใหเห็นก็คือปริมาณการคาเพิ่มขึ้นแตตลาดก็ยัง ลมเหลวตอไป การไหลลืน่ ของสินคาเกษตรและอาหารก็ยงั ติดขัดดวย กฎระเบียบสุขอนามัยที่มีเขมขนขึ้นเรื่อยๆ ความไมมั่นคงอาหารใน บางประเทศก็ยังมีอยูตอไป หนทางแกไขก็คือตองเพิ่มผลผลิตและ แกไขปญหาตลาดไปพรอมกัน แตทานเชื่อหรือไมวาขณะนี้ประเทศ สมาชิกในกลุม APEC กำลังผลักดันใหยอมรับการลงทุนดานเกษตรกรรม ขามชาติโดยใชเหตุผลความไมมั่นคงอาหาร คำอธิบายคือประเทศ กำลังพัฒนาและดอยพัฒนาไมมคี วามสามารถในการผลิตเพราะขาด รู้งี้ 136
ความรูแ ละเครือ่ งมือ จึงถึงเวลาแลวทีจ่ ะตองเปดโอกาสใหตา งประเทศ เขาไปลงทุนเพือ่ แกปญ หาความมัน่ คงอาหาร ฟงดูมเี หตุผลและนาชืน่ ชม มาก โดยเฉพาะหลักการที่นำเสนอก็ดูดี เชน 1) การเคารพสิทธิใน ที่ดินและทรัพยากร 2) การหารือและการมีสวนรวม 3) ความยั่งยืน ทางสิง่ แวดลอม เปนตน ผมไมขดั ของและสนับสนุนในความปรารถนาดี แตมีคำถามวาความลมเหลวของตลาดที่กลาวมาขางตนนั้นจะแก อยางไร? การเรียกชื่อการลงทุนวา “การลงทุนเกษตรกรรมอยาง รับผิดชอบ” (Responsible Agriculture Investment - RAI) มี เปาหมายในการเพิ่มปริมาณเทานั้น ดังนั้นการแกปญหาความมั่นคง อาหารก็ยังจะไมเกิดขึ้นตอไป ขอเสนอของผมก็คอื ใหแกปญ หาของตลาดไปพรอมกัน เชน มาตรการการจัดสรรโควตานำเขา (ในกรณีของญี่ปุนตอการนำเขา ขาว) มาตรการการตอบโตการทุมตลาด (ที่สหรัฐและยุโรปใช ซึ่งมี ความไมโปรงใส) มาตรการการออกใบอนุญาตนำเขา (ประเทศจีนที่ ใชในกรณีนำเขาผลไม) มาตรการการติดฉลากสินคาและมาตรการ สุขอนามัยในขอที่เรียกวา “การปองกันไวกอน” (Precautionary Principle) ซึ่งสามารถหามนำเขาสินคาไดโดยที่ยังไมมีหลักฐานทาง วิทยาศาสตรพิสูจนอยางเพียงพอเปนตน นอกจากนั้นยังมีมาตรการ อุดหนุนสินคาเกษตรทัง้ ภายในประเทศและสงออกอีกเปนจำนวนเงิน มหาศาล ประเทศญี่ปุนผลักดันเรื่องดังกลาวนี้เปนอยางมาก ซึ่งผม คิดวามีเหตุผลที่ตองการเพิ่มความชอบธรรมในการปกปองตลาด ตนเอง เชน ญี่ปุนจะอางวาไมสามารถเปดตลาดขาวตลอดไปเพราะ ขาดความมัน่ คงอาหารโดยพิสจู นไดจากการออกไปลงทุนในตางประเทศ เพือ่ ประกันความขาดแคลนกะทันหันทีเ่ กิดจากการหามสงออกอาหาร 137 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
จากบางประเทศในชวงวิกฤตน้ำมันเมื่อสองปกอนหรือวิกฤตอากาศ ในปนี้ที่รัสเซีย พูดถึงตรงนี้ก็ทำใหนึกถึงความมั่นคงพลังงานวาหาก จะใชหลักการเดียวกันในการลงทุนปลูกธัญพืชเพือ่ เปนพลังงานทดแทน แลวก็นา จะไดรบั การสนับสนุนมากกวาเพราะจะเปนการยิงนกสามตัว ดวยกระสุนนัดเดียวคือ 1) ลดภาวะโลกรอน 2) ความลมเหลวของ ตลาดไดรบั การแกไขเพราะทุกประเทศตองการพลังงานทดแทน และ 3) ความมัน่ คงอาหารก็เปนจริงเพราะโครงสรางการผลิตสินคาเกษตร จะไดรบั การแกไขทัว่ โลก เพือ่ สรางความสมดุลระหวางพืชเพือ่ อาหาร และพลังทดแทน เงือ่ นไขของ RAI จะกอปญหาหากเราไมพฒ ั นา ทัง้ นี้ ขนาดของประเทศนั้นไมใชเรื่องสำคัญ สำคัญที่ใครเกงกวากันครับ
รู้งี้ 138
อาหารจะเป น ยา พฤศจิกายน 2553 หากผมจะพูดวาอาหารจะเปนยาก็คงไมมใี ครอยากจะฟง เพราะมันคงไมเปนและก็เปนไปไมได อาหารก็คืออาหาร ยาก็ คือยา สองสิง่ นีต้ า งกันสิน้ เชิง เราเชือ่ วาอาหารเปนตัวสรางรางกาย ใหแข็งแรงแตยาเปนตัวแกไมใหรา งกายทรุดโทรม ลองอานประโยค นีใ้ หมอกี ครัง้ อยางชาๆ และจะพบวา ขอสรุปสุดทายคือเหมือนกัน ใชหรือไม? โลกกำลังเขาสูยุคประชาชนอาวุโส อัตราเติบโตของ ประชากรในยุโรปบางประเทศเปนศูนยหรือติดลบ ในสวนของ เอเชียนัน้ ประเทศญีป่ นุ เปนประเทศแรกทีก่ ำลังเกิดปรากฏการณ นี้ อุตสาหกรรมในประเทศจึงตองปรับตัวเพื่อตอบสนองคนชรา เชน เครื่องอำนวยความสะดวกและปลอดภัย อาหารก็เปนสินคา ที่ตองปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตและการตลาด ในขณะที่คน ตายชาลงแตอัตราการเกิดก็ยังเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย 100 กวา ลานคนทั่วโลกตอป การผลิตอาหารจึงตองเพิ่มขึ้นเกือบเทาตัว ในอีก 40 ปขางหนา แตเปาหมายที่จะใหการคาทั่วโลกลื่นไหล เพือ่ ใหเกิดการแบงงานกันทำระหวางประเทศนัน้ เปนเพียงทฤษฎี เทานัน้ วิเคราะหไดวา ความลมเหลวทีเ่ กิดขึน้ เนือ่ งจากสาเหตุของ การปรับตัวไมทันของทุกระบบในแตละประเทศนับแตการออก กฎหมาย การบังคับใชกฎหมาย การขาดประสิทธิภาพในการ ปรับตัวของผูผลิตสินคาและบริการและในที่สุดคือผูบริโภค เรา 139 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
จึงไดยินจนเบื่อแลววาประเทศพัฒนาสรางมาตรการการปกปอง ตลาดตลอดเวลา ซึ่งเปนการเอาเปรียบประเทศอื่น (Free Trade แตไมมี Fair Trade) ประเทศพัฒนาไมเรียกสิ่งนี้วาเปนมาตรการ ปกปอง (Protectionism) แตกลับเรียกวามาตรการที่ไมใชภาษี (Non-tariff Measures) หากศึกษาใหลึกแลวจะเห็นวาความ แปลกประหลาดไมไดอยูที่ปญหาเรื่องมาตรการทางการคาดังที่ กลาวมาเทานัน้ แตอยูท ร่ี ะบอบการเมืองของประเทศสมาชิกดวย เราตองถามวาระหวางสองประเทศที่ใชระบอบการปกครองที่ ตางกันจะมีผลกระทบตอขอตกลงการคาอยางไร? ทุนนิยมที่อยู ภายใตระบอบการปกครองทีต่ า งกันอยางสหรัฐและจีนหรือรัสเซีย (ยังไมไดเปนสมาชิก WTO) หรือระหวางทุนนิยมเสรีและทุนนิยม โดยรัฐ (State Capitalism) จะตอสูกันไปไดอีกนานเทาไหรก็ เปนเรือ่ งทีต่ อ งติดตามอยางใกลชดิ ตอไปวาใครจะตองปรับเปลีย่ น กอนและเปลี่ยนอยางไร ขณะนี้ทั่วโลกกำลังจับตามองที่เอเซียซึ่ง จะมีจนี และอินเดียเปนผูน ำวาจะเปนพืน้ ทีก่ ารเติบโตทางเศรษฐกิจ ใหม (Emerging Economies) เพราะเปนพื้นที่บริโภคที่ใหญเปน ครึ่งหนึ่งของโลก การเคลื่อนยายของทุนจะเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ประเทศสหรัฐจะตองลดบทบาทอำนาจทางเศรษฐกิจ เงินดอลลาร จะมีคูแขงในฐานะสกุลเงินของโลก แตคนสวนใหญกลับลืมไปวา สหรัฐยังมีสอง “อำนาจ” ทีเ่ หนือกวาประเทศอืน่ คือ 1) เทคโนโลยี และ 2) กำลังทหาร (โดยเฉพาะทางทะเล) ซึ่งหมายความวา หากประเทศใดก็ตามที่ตองการจะเปนใหญใหครบแลวก็ตองมีอีก สองอำนาจนี้อยางเทาเทียมกันเปนอยางต่ำ หันกลับมามองประเทศไทยก็พบวายังมีเรื่องที่จะตอง รู้งี้ 140
เขาใจและดำเนินการอีกมากมายเพราะที่เลามาทั้งหมดนั้นเปน ปญหาของเราดวยทั้งนั้น เราจะฟนฝาไปไดอยางไร? นักการเมือง นักธุรกิจ นักนิยมสังคมกำลังคิดอะไรอยู? คิดถึงการอยูรอดของ ตนหรือของประเทศ? จะจัดการอยางไรกับปญหาใหมๆ ที่กำลัง เกิดเพิ่มขึ้น เชน ภาวะเรือนกระจก การเรียกรองใหเปดการ ลงทุนดานการเกษตร การผนวกประเทศเขาไปในกลุมอาเซียน ความสามารถของการผลิตเกษตรและอาหารจะลดนอยถอยลง ไปอีกเทาไหร? ถึงเวลาแลวหรือยังที่จะตองเลือกกลุมสินคาและบริการ หลักเพื่อเปนธงนำของประเทศ ถึงเวลาแลวหรือยังทีจ่ ะหาคำตอบใหกบั ประโยคแรกของ บทความนี้?
141 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
สงทายปเกธัานวาคม ....แร ง เอาไปกิ น 2553 ฟงแลวรูส กึ อยางไรครับหากนักธุรกิจพมาประกาศในทีป่ ระชุม ACMECS ในระหวางการประชุมระหวางวันที่ 16 พฤศจิกายน 2553 ที่กัมพูชากอนการประชุมสุดยอดผูนำ 5 ประเทศวา ประเทศ พมาพรอมที่จะเปนแหลงวัตถุดิบใหประเทศไทยที่เปนครัวของโลก? นักธุรกิจพมาเขาใจตำแหนงประเทศไทยแลวคนไทยสวนใหญจะ ไมรูเรื่องเรื่อง AEC ไดยังไง? จากการสำรวจของหลายสำนัก พบวา คนที่บอกไมรูเรื่องขอตกลง AEC นั้นยังคงเปนตัวเลขที่สูงเกิน 80% คำถามที่นาจะถามเพิ่มพรอมกันไปคือ แลวรูจัก APEC ASEM ASEAN+3 และ +6 ACMECS BIMSTEC IMTGT GMS หรือไม คำตอบคงจะเปนที่นาสนใจ ผมคาดวาตัวเลขคงจะใกลๆกัน ปญหา มันอยูที่ไหน ไมมีใครตอบไดอีก แตคนที่ควรจะกังวลเรื่องนี้มากที่สุด คือ กระทรวงพาณิชย เพราะตองทำหนาที่เจรจา ตัวเลขสำรวจ ดังกลาวจึงบอกถึงความสำเร็จและลมเหลวของการเจรจาได ความจริง ก็ไมใชเปนความผิดของกระทรวงพาณิชยคนเดียว แลวเปนความผิด ของใคร? อยาไปหาคำตอบใหแตกแยกเลยดีกวา เอาเปนวาคนที่ ตองรูเ รือ่ งเหลานีค้ นแรกคือภาคธุรกิจ จึงเสนอวานักธุรกิจตองขวนขวาย หาความรูเ รือ่ งนีก้ อ นทีจ่ ะสายเกินไป หากทานแขงขันไมไดประเทศไทย ก็จะมีปญหาแนนอน คนที่สองที่สำคัญกวาดวยซ้ำไปก็คือผูบริโภค อยางเราๆนีแ่ หละ เราตองรีบหาความรูว า การบริโภคแบบไหนจึงเปน การบริโภคที่ประหยัดทรัพยากร ปลอดภัยตอสุขภาพ สรางความ มั่นคงใหระบบอาหารและสิ่งแวดลอม ฟงดูเหมือนเรื่องตลก แตก็คง รู้งี้ 142
จะฝากไวเพียงนี้กอน หันไปดูแถลงการณผูนำ APEC จากการประชุมชวง 13-14 พฤศจิกายน 2553 ที่โยโกฮามา ประเทศญี่ปุน ก็เห็นวาที่ประชุม พูดทุกเรื่องตั้งแตเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม เชน เสนอใหสรุป การเจรจารอบโดฮาที่ยืดเยื้อมานานเกือบสิบปใหไดโดยเร็ว ตอตาน มาตรการปกปองการคา (Trade Protectionism) ยืนยันความผูกพัน (Commitment) ในการดำเนินมาตรการเพื่อความสำเร็จของการ เจรจาโลกรอน สรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจควบคูไ ปกับความ ยัง่ ยืนของสิง่ แวดลอม นอกจากนัน้ ยังมีเรือ่ งการรวมตัวเปนประชาคม การรวมตัวทางเศรษฐกิจและการใหเกิดขอตกลงการคาเสรีทเ่ี รียกวา Free Trade Area of the Asia-Pacific (FTAAP) แม APEC จะไมใชขอตกลงแตก็มีอิทธิพลสูง ดังนั้นจึงเปนเรื่องที่ผิดพลาดหาก มีใครบอกวาการตกลงใน APEC ไมมีความผูกพันใดๆ ไมเชื่อทานก็ ลองเฝาดูวา การยอบรับขอเสนอเรือ่ ง “การลงทุนเกษตรอยางรับผิดชอบ (Responsible Agriculture Investment)” นั้นจะพัฒนาอยางไร ตอไป? ความยัง่ ยืนของประเทศคือการจัดใหเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดลอม เกิดความสมดุล ในทศวรรษตอไปนีจ้ ะเปนชวงเวลาทีท่ กุ ประเทศตอง เริ่มตนจัดความสมดุลดังกลาว ใครเริ่มกอนก็ชนะกอน ประเทศไทย มีภาคธุรกิจและสังคมที่ไมเขมแข็งทั้งคู ภาคธุรกิจออนแอเพราะไมมี นวัตกรรมจึงเปนเพียงเครื่องจักรรับจางการผลิต สำรวจดูตัวเองจะ พบวาเหลือแตธุรกิจเกษตรและอาหารที่พอเอาตัวรอดแตจะอยูได นานแคไหนก็ยังไมทราบไดเพราะมีปญหาซอนในเรื่องพลังงาน ทดแทนขึน้ มาอีก ภาคสังคมก็มปี ญ หาเพราะนำเขาโจทยจากตางประเทศ 143 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
เหมือนกันเรียกวาเปนการรับจางการผลิตภาคสังคม ทัง้ สองภาคสวน นี้เดินออกจากกันเปนเสนขนาน เรื่องนี้จะจบลงดวยแพทั้งคู ทุกคน ยอมรับวาการพัฒนาในระยะเวลารอยกวาปที่ผานมาไดทำลาย ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมลงมากแตก็ยอมรับวาระบบทุนนิยมยัง ตองเดินหนาตอไปโดยมีเงือ่ นไขวาตองมีการปรับตัวอยางรวดเร็วเพือ่ “กระชาก” สภาพเสือ่ มโทรมกลับมาเขาสูส มดุลใหมากทีส่ ดุ เศรษฐกิจ สีเขียว เศรษฐกิจคารบอนต่ำ เศรษฐกิจยั่งยืนอาจจะไมเพียงพอที่จะ เพิ่มทรัพยากรในอัตราที่เพียงพอกับการเพิ่มของประชากรในอีก 40 ปขางหนา ระบบเศรษฐกิจใหมจะตองสามารถเรียกคืนทรัพยากร กลับมา (Restoration) ใหมากที่สุด เชน พลังงาน ซึ่งจะตองใช เวลาสรางถึง 13,000 วันเพื่อใหเพียงพอกับปริมาณที่เราใชเพียง 1 วันเทานั้น ในชวงปที่ผานมา ผมไดเขียนเรื่องภาวะโลกรอน ขอตกลง ภาวะโลกรอน ขอตกลงการคาเสรี การรวมมือกันของภาคสังคมและ เศรษฐกิจ ความมั่นคงอาหารและพลังงาน ทั้งหมดนี้เปนเรื่องของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยมีเปาหมายเพื่อใหมีการจัดสมดุล เพราะเห็นวาประเทศไทยจะ ตองมีการผนวกกำลังตอสูกับคูแขงที่อยูขางนอก มาถึงเวลานี้ก็ยัง มองไมเห็นมีทที า วาจะเกิดขึน้ ไดจริง ผมจึงตองยืนยันอีกครัง้ วา ความ สมดุลของประเทศไมมีทางเกิดขึ้นไดหากภาคเศรษฐกิจและสังคมยัง เดินเปนเสนขนานและจะเอาชนะซึ่งกันและกัน ความสามารถของ การแขงขันก็จะไมเกิด สิ่งแวดลอมธรรมชาติก็จะยังถูกทำลายตอไป และสุดทายความสุขก็จะลดลง แพทง้ั คู ประเทศไทยเสียหาย ตางชาติ จะชนะตอไป รู้งี้ 144
Wrecked Trade Organization? มกราคม 2554 เมื่อประมาณ 8 ปที่ผานมาผมไดพบกับนาย Pascal Lamy ตำแหนงในขณะนั้นคือ European Commissioner for Trade ซึง่ นาจะเทียบเทารัฐมนตรีการคาของสหภาพยุโรปทีก่ รุงเทพฯ ในการพบกันในเวลาสั้นๆนั้นผมไดมีโอกาสนำเสนอปญหากุงสด แชแข็งของไทยที่ถูกปฏิเสธการนำเขาจากประเทศในยุโรปดวย สาเหตุทม่ี สี ารตกคางเกินกำหนด เรือ่ งนีถ้ กเถียงกันพอสมควรเพราะ การไดมาตรฐานในเวลาหนึง่ ๆ ก็ไมใชจะใชไดตลอดไป หมายความวา มาตรฐานที่ไดจากขอมูลใหมทางวิทยาศาสตรสามารถเกิดขึ้นได ตลอดเวลา แตที่ผมไมสบายใจเปนอยางยิ่งก็คือสินคากุงไทยที่ ไมยอมรับโดยผูนำเขายุโรปนั้นมาจากสาเหตุที่ยุโรปไดคิดคน เครื่องตรวจที่ละเอียดกวาเครื่องเกา ซึ่งแปลวาเมื่อวานนี้เครื่อง ตรวจสารตกคางของยุโรปตรวจไดถึงระดับที่ 1.0 แตวันนี้ตรวจ ไดละเอียดขึ้นคือถึงระดับ 0.8 จึงมีความหมายวาสินคาไทยใน วันนี้มีสารตกคางเกินกำหนดทั้งๆ ที่เมื่อวานนี้ยังรับไดที่ระดับที่ 1.0 สมมุตวิ า พรุง นีย้ โุ รปคิดคนไดเครือ่ งใหมทต่ี รวจละเอียดขึน้ เปน ที่ระดับ 0.5 แลวสินคากุงของไทยก็คงตองถูกปฏิเสธการนำเขา อีกทั้งๆที่ผลิตไดที่ระดับ 0.8 หรือ 0.7 แลว ผมตอวานาย Lamy วามาตรฐานที่ตั้งไวที่ “ศูนย” นั้นบังคับใชไมได ดังนั้นทานไมควร จะปฏิเสธการนำเขาสินคาไทยจนกวาทานจะสามารถพัฒนา 145 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
เครือ่ งของทานใหไดมาตรฐานทีน่ ง่ิ ๆเสียกอน นาย Lamy ตอบผม วาผมไมควรเอาเครือ่ งตรวจสารตกคางมาเปน “แพะรับบาป” เพราะ มาตรฐานสารตกคางที่กำหนดคืออยูที่ระดับ “ศูนย” ดังนั้นเมื่อ พบสารตกคางเกินศูนยก็แปลวาไมไดมาตรฐาน (แมเครื่องจะยัง ไมมีประสิทธิภาพวัดไดละเอียดขนาดนั้นก็ตาม) ผมก็ถามกลับไป วา “นี่แสดงวามาตรฐานความปลอดภัยอาหารและสุขภาพของ คนยุโรปนั้นยืดหยุนได? คือ ขึ้นและลงตามความสามารถของ เครื่องตรวจ? นาย Lamy ไมไดตอบผม เมื่อนาย Lamy มา เปนเลขาธิการใหญขององคการการคาโลกในวันที่ 1 กันยายน 2005 ซึง่ เปนชวงทีก่ ารเจรจารอบ Doha Development Agenda ผานมาเกือบ 4 ปแลว นาย Lamy มีความพยายามจะทำหนาที่ ใหการเจรจาจบใหไดโดยการเดินทางไปยังประเทศสำคัญๆเกือบ รอบโลก จนกระทั่งเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ (Hamburger Crisis) เลขาธิการองคการการคาโลกคนนีก้ ถ็ อื โอกาสเตือนประเทศตางๆ วาการปกปองการคา (Trade Protectionism) จะทำใหเศรษฐกิจ โลกเลวรายลงไปอีกและทางออกที่ดีที่สุดคือตองกลับมาใหความ สำคัญแกองคการคาโลกและเจรจารอบ Doha ใหเสร็จโดยเร็ว เรือ่ งนีจ้ ะเปนไปไดหรือไม?และอยางไร?นัน้ คงไมมปี ญ หา แตปญ หา อยูที่วาโลกจะยังมีองคการการคาโลกไวทำไมตางหาก? ผมตั้งชื่อองคการนี้ใหมดังที่ปรากฏในหัวขอบทความนี้ก็ ดวยเหตุผลโดยยอดังตอไปนี้ 1) เรื่องภาษี อัตราการลดภาษีใน กรอบ WTO นอยกวาและชากวากรอบอื่นๆ จึงเห็นผลประโยชน นอย จะตัง้ สูตรการลดภาษีในรอบใหมนข้ี น้ึ มาอยางไรก็ไมนา สนใจ แมผูนำประเทศสำคัญๆจะประกาศเจตนารมณใหมีการสรุปการ รู้งี้ 146
เจรจาใหไดเร็วที่สุด แตในทางปฏิบัติแลวการเจรจาก็ไมคืบหนา ไปมากกวาเดิม โดยเฉพาะปญหา Hamburger Crisis ในสหรัฐ ยังไมสามารถแกไขไดกลับสูภาวะปรกติก็ยิ่งทำใหความสำคัญ ของการเจรจาฯลดลงไปอีกเพราะประเทศตางๆ ตองแกไขปญหา เฉพาะหนากอน 2) เรื่องมาตรการที่ไมใชภาษี มาตรการอุดหนุน สินคาเกษตร มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชนั้น แมจะ ไมมกี ารเจรจาในกรอบทวิภาคีกไ็ มไดสรางปญหาเพิม่ เพราะเทากับ ไมไดและเสีย 3) มาตรฐานสินคา ในระยะหลังนี้มาตรฐานการ นำเขาไดพฒ ั นาไปมาก เอกชนในประเทศพัฒนาตางกำหนดมาตรฐาน ขึ้นเองมากมาย มีการฟองรองเรื่องนี้ใน WTO แตก็ไมเกิดผล อะไร จึงเปนเหตุใหความเชือ่ มัน่ ในองคการนีเ้ สือ่ มลงไปอีก 4) แม ในกรอบ WTO จะมีกระบวนการระงับขอพิพาท (Dispute Settlement) แตกใ็ ชเวลานานมากและคำตัดสินก็ไมสามารถบังคับ ใชไดทุกเรื่อง 5) เวลาเจรจาที่ทอดมายาวนานเกือบ 10 ป ทำให ความสนใจหมดไป โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศสมาชิกสวนใหญ ไดทำขอตกลงทวิภาคีหรือระดับภูมิภาคกันเกือบหมดแลว และ 6) ประเทศทัว่ โลกรวมทัง้ ไทยกำลังใหความสนใจกับขอตกลงการคา ฉบับใหมคอื เรือ่ งการปลอยกาซเรือนกระจกทีก่ ำลังเจรจาอยูแ ละ ดูเหมือนจะมีผลกระทบตอการคาและการลงทุนในประเทศตางๆ มาก ความหมายของ Doha Development Agenda จึงนอย การเจรจาจะสำเร็จหรือไมจึงไมใชประเด็นที่สำคัญตอ ใครเลยนอกจาก นาย Lamy คนเดียว ซึ่งอาจจะไมไดคำตอบ ที่นาพอใจเหมือนกับที่ผมยังไมไดรับคำตอบที่นาพอใจจากทาน จนถึงวันนี้ ระหวางทีร่ อกันอยูน จ้ี ะเปลีย่ นชือ่ องคการนีล้ ว งหนาไว กอนดีไหม? 147 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
เกิดใหมกุหมภาพัลันงธ 2554 100 ขวบ มาตรฐานในการผลิตสินคา เปนเรือ่ งตองเดาใจกันวาใครจะ เริ่มทำกอนหรือเรียกรองกอนกันระหวางผูผลิตและผูบริโภค เมื่อประมาณชวงทศวรรษ 2520 ประเทศไทยประสบความ สำเร็จในการสงมะมวงสดพันธุแรกที่เรียกวาหนังกลางวันไปญี่ปุน โดยมีเงือ่ นไขทางเทคนิคและตนทุนทีจ่ ะไมขออธิบายใหปวดหัวในทีน่ ้ี แตสิ่งที่ไดพบดวยตัวเองในฐานะผูสงออกรายแรกก็คือเงื่อนไขที่ตอง ไปจัดหามะมวงสดจากฟารม ในตอนนัน้ เราจะพบวาหากไมมสี ง่ิ จูงใจ ในดานราคาทีเ่ กษตรกรตองไดรบั เพิม่ ขึน้ แลว การทีผ่ ซู อ้ื จะไดมะมวง ทีม่ คี ณ ุ ภาพเพือ่ ตอบสนองตลาดนัน้ ก็เปนไปไดยาก การพัฒนาสินคา เพื่อตอบสนองตลาดนั้นจะตองมีสิ่งจูงใจที่เปนรูปธรรมโดยทันที ดังนั้นการที่เราจะไปหวังใหเกษตรกรพัฒนาสินคาเพื่ออนาคตนั้น จึงเปนเรื่องที่เปนไปไมได เขาจะไมมีวันเชื่อวาการไมพัฒนาจะนำไป สูวิกฤตของธุรกิจในอนาคตเพราะจะไมสามารถแขงขันไดอีกตอไป เวลาผานไป 30 กวาปเราก็ยังพบวาปญหาเดิมยังคงอยู วิธีคิดยัง เหมือนเดิม จนมีการเรียกประเทศเหลานี้ซึ่งรวมทั้งไทยวาทันสมัย แตไมพัฒนา ปญหาการสงออกผักไปยุโรปเปนตัวอยางที่ดีที่ตอกย้ำ วาถึงเวลาแลวที่เราจะตองเปลี่ยนแปลงวิธีคิดใหม (แมผมจะมีความ เชื่อมั่นวารัฐบาลนี้จะแกปญหาแมลงและสารตกคางเกินขนาดของ ผักสดเหลานี้สำเร็จไดในเร็ววัน) วิกฤตครั้งนี้จะชวยใหเราไดตั้งตน กันใหมโดยเปดโอกาสใหผูประกอบการและเกษตรกรที่มีระบบการ ผลิตตามมาตรฐานดำเนินธุรกิจตอไปไดอยางเปนปกติ สวนผูที่เหลือ รู้งี้ 148
ก็ตองปรับปรุงกันตอไป ทีผ่ มเขียนมาทัง้ หมดนีก้ เ็ พือ่ ย้ำวา การพัฒนาสินคาตองเกิดขึน้ ตลอดเวลา โดยมีเปาหมายใหผู บริโภคไดรับสิ่งที่ดีกวาอยางตอเนื่อง ตองขอบคุณวิกฤตผักในครั้งนี้ที่ทำใหเกิดความเขาใจของคำวา “การแขงขัน” มากขึ้น! แนวคิดดังกลาวขางตนจะนาสนใจมากขึ้นหากเราจะอาน ขอความที่เกี่ยวกับโลกรอนดังนี้ “Climate Change is but one thread in a larger cloth, we cannot simply remove the thread, but must reweave the cloth” (Peter Senge: The Necessary Revolution) การเจรจาพหุภาคีเพือ่ ลดกาซเรือนกระจก ที่เม็กซิโกในปลายปที่ผานมาลมเหลวอีกครั้งและจะลมเหลวอีกใน ปลายปนท้ี ป่ี ระเทศอัฟริกาใต ดวยเหตุผลงายๆ ก็คอื วาประเทศทัง้ หลาย ไมเขาใจคำวาธุรกิจและสิง่ แวดลอมนัน้ มีตน ทุนทัง้ คู เชนเดียวกับกรณี มะมวงและผักที่ไดยกเปนตัวอยาง ปญหาอยูที่วาเราจะเลือกพัฒนา กอนหรือหลัง? ดูเหมือนเปนเรื่องงายๆ ซึ่งตองการการตัดสินใจโดย ดวน Peter เขียนไววาเราคงไมขจัด “เสนดาย” แตตอง “ทอผา ผืนนีใ้ หม” ประเทศไทยตองทอผาผืนนีใ้ หมหรือไม? ใครจะคิดอยางไร ก็คงไมนา เปนปญหาแตผมเสนอวาประเทศไทยตองคิดทอผาผืนนีใ้ หม การเริ่มตนทอก็คือการหาดายใหม พัฒนาระบบการทอใหม สราง ความรูใหม เทคโนโลยีใหม การจัดการใหม และที่สำคัญที่สุดก็คือ ตองเปลีย่ นวิธคี ดิ เสียใหม แต ณ วันนีย้ งั ไมมผี บู ริหารประเทศคนไหน ออกมาแสดงวิสยั ทัศนในเรือ่ งนี้ ผมไมอยากใหการแกปญ หาโลกรอน เหมือนกับมะมวงและผัก เรือ่ งกาซเรือนกระจกไมใชเปนเรือ่ งคุกคาม ธุรกิจแมแตนอย แตเปนเรื่องที่กำลังสรางโอกาสใหเราในเชิงแขงขัน 149 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ในรูปแบบใหม ตาใครดีก็ได ตาใครรายก็เสีย เสียคราวนี้คงตองใช เวลาเกินกวาสามสิบปในการฟนกลับมาเหมือนเดิม หากไมสงสาร ตัวเองก็สงสารผมบางซึ่งตอนนั้นผมจะมีอายุ 100 ปพอดี
รู้งี้ 150
หลอกฝรั่ง....อยาหลอกตัวเอง มีนาคม 2554
กอนการเจรจาขอตกลงเรื่องการลดกาซเรือนกระจกนั้น ไดมขี อ ตกลงกันไววา การจะบรรลุขอ ตกลงไดนน้ั จะตองไดรบั เสียง สนับสนุนจากทุกประเทศหรือเปนฉันทามติ (Consensus) แตใน ความเปนจริงนั้นจะเปนไปตามอยางที่หลักการเขียนไวหรือเปลา ก็เปนอีกเรื่องหนึ่ง ในการประชุมเพื่อบรรลุขอตกลงการลดกาซ เรือนกระจกที่แคนคูน ประเทศเม็กซิโก ปลายปที่ผานมาไมเปน ไปตามฉันทามติเพราะมีหนึ่งประเทศที่เห็นตาง ซึ่งหมายความวา การประชุมตองยกเลิก แตสิ่งที่เกิดขึ้นจริงก็ไมใชสิ่งที่เราไดเห็น หลักการฉันทามติถูกทำลายลงราบคาบ คำถามคือเรายังจะไวใจ การประชุมในเรื่องนี้อีกหรือไม? อีกตัวอยางที่เกิดขึ้นกอนหนานี้ ก็คือ ที่ประชุมขอตกลงทั่วไปวาดวยภาษีศุลกากรและการคาที่ เรียกวาแกตต (นำมาสู WTO ภายหลัง) นั้น ก็ใชหลักการเดียวกัน แตสง่ิ ทีเ่ ปนจริงก็ไมใชสง่ิ ทีไ่ ดเห็นเชนกัน ความนาเชือ่ ถือขององคการ นี้ยังจะมีอยูหรือไม? กระแสความมั่นคงอาหารกำลังแรงจัด กลุม ประเทศยุโรปวิเคราะหวาปญหาเกิดจากอุปสงคที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก ผลผลิตในประเทศสงออกตกต่ำ การหามการสงออก และการ เก็งกำไรแตไมเห็นพูดถึงตนเหตุสำคัญคือการขึ้นราคาของน้ำมัน เหตุการณทั้งสามนี้เปนสิ่งที่เราตองเรียนรูวา หากเราไม เกงขึน้ แลวก็อยาหวังเลยวาจะชนะใครได เราตองพึง่ ตนเองใหมาก ที่สุด และตองเกงขึ้นทุกวัน ไมเชนนั้นประเทศไทยก็จะแพทุกเวที 151 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
การลมสลายทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นครั้งแลวครั้งเลาเหมือนคลื่น ยาวคอนดราทีฟ (Kondratiev Wave) แตประเทศไทยก็ไมไดเนน ใหใชมาตรการแกปญ หาในภาคสวนของการบริโภค (Consumption) แตยังแกปญหาการผลิตเพื่อการบริโภคตอไป การแกวิกฤตตองมี มากกวาหนึ่งวิธี ตำราเศรษฐศาสตรบอกเราวาจุดที่สมดุลที่สุดคือ เสนอุปสงคกบั อุปทานตัดกัน แตเรากำลังแกปญ หาโดยใหเสนหนึง่ วิ่งหนีอีกเสนหนึ่งไปเรื่อยๆ เศรษฐศาสตรโลกรอน (Climate Change Economy) กำลังบอกวาเรากำลังเขาสูยุคการจัดการ ทรัพยากร (Resource Management) หรือเขาสูย คุ เศรษฐศาสตร บริโภค (Consumptionomics) ซึ่งหมายถึงการบริโภคอยาง ยั่งยืน ซึ่งตองมีสามสิ่งคือ ตลาด เงิน และเทคโนโลยี การจัดการ เศรษฐกิจทุนนิยมเสรีใหมหรือ Market Fundamentalism เริ่มขึ้นตั้งแตตนทศวรรษ 80 ซึ่งเปนตนเหตุของวิกฤตการเงินครั้ง ลาสุดเพราะเกิดความ “หลวม” ขึ้นในระบบหรืออำนาจรัฐหลุด ออกจากระบบ มีคนใหความเห็นวาระบบทุนนิยมโดยรัฐ (State Capitalism) นาจะดีกวาระบบทุนนิยมเสรีเพราะรัฐควบคุมได แต เมื่อเปรียบเทียบระบบการจัดการเศรษฐกิจของจีนและอินเดีย แลวก็มีความเห็นวาระบบของอินเดียนาจะยั่งยืนกวา คำอธิบาย คือ การเมืองของอินเดียจะยั่งยืนกวา วางใจไดดีกวา เพราะเปน ระบอบประชาธิปไตยซึ่งมีการเปลี่ยนถายอำนาจเปนระบบและ ราบรื่น สรุปคือสรุปไมไดวาระบบใดดีกวาแตที่แนๆ คืออยูที่การ จัดการ ระบบการเมืองและเศรษฐกิจอยูค กู นั เหมือนฝาแฝด เพียง แตวาจะทำใหระบบทั้งสองนี้เกื้อหนุนซึ่งกันและกันอยางไร การ จัดการเศรษฐกิจเสรีไมใชเรื่องงายๆ ความยากเพิ่มขึ้นอีกหลาย รู้งี้ 152
เทาตัวเมื่อเขาสูยุคการจัดการเศรษฐกิจเสรีภายใตระบบคูขนาน ที่เรียกรองใหมีการจัดการทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพหรือที่ เรียกวา “สีเขียว” การเจรจาขอตกลงทั้งสองนี้ยังไมมีทีทาวาจะ เสร็จงายๆ ผมจึงเสนอวา ประเทศไทยตองไมรอใครอีกตอไปและรีบ จัดการแกโจทยคูขนานนี้ดวยตนเองโดยการพึ่งวิทยาศาสตรให มากที่สุด และเมื่อถึงจุดนั้นแลวความแข็งแกรงก็จะเกิดขึ้นและก็ พรอมที่จะเขาสูการเจรจาอยางมีประสิทธิภาพตอไป
153 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ขอมูลและอำนาจรั ฐ เมษายน 2554 พูดกันทุกแหงถึงป ค.ศ.2015 วาประเทศในกลุมอาเซียน 10 ประเทศจะเกิดเขตเศรษฐกิจเสรีซง่ึ เปนสิง่ ทีเ่ ขาใจผิดกันมาก ดังนัน้ จึงไมสงสัยเมื่อไดขาวผลการสำรวจวา 85% ของคนไทยไมรูจัก ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เมื่อ 3 อาทิตยที่ผานมาผมไดนำผูประกอบการขนาดกลาง และยอมจำนวนหนึง่ ไปเชือ่ มโยงธุรกิจในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวตามโครงการทีห่ อการคาไทยดำเนินการรวมกับสำนักงาน สงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม เพื่อผลักดันใหมีการ ใชประโยชนจากขอตกลงนี้ใหมากที่สุด ประเทศเปาหมายตอไปคือ ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา และสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม ผลจากการเยือนลาวทำใหผมพบวานักธุรกิจ และรัฐของเขาเขาใจกรอบความตกลง AEC เปนอยางดี ลาวไดเขียน กฎหมายการสงเสริมการลงทุนฉบับใหม ลาวเปนประเทศที่ไมมีทาง ออกทางทะเล (Land Locked) แตก็ไดประกาศนโยบายวาจะเปน ประเทศ “เชื่อม” ทางบก (Land Link) ในภูมิภาคนี้ และเศรษฐกิจ จะตองควบคูกับความมั่นคงและวัฒนธรรม ผมยังไดไปชมกิจการที่ เรียกวา China City Complex ที่ลงทุนโดยจีนดวย ซึ่งเปนพื้นที่ ที่มีขนาดบรรจุรานขายปลีกประมาณ 150 ราน ผูผลิตไทยหลายคน หวงเรือ่ งนีว้ า จะแขงราคากับสินคาจีนไมไดหากอนุญาตใหเปดกิจการ เชนเดียวกันนี้ในไทย แตรูปแบบของการคาคลายๆ กันนี้ก็ไดมีการ ดำเนินการอยูแลวในหลายพื้นที่ในกรุงเทพฯ เชน โบเบ มาบุญครอง รู้งี้ 154
สำเพ็ง สินคาจีนราคาถูกๆ คงหาไดไมยากในสถานที่เหลานี้แลว จึง ไมเขาใจเหตุผลวาเจาของโครงการ City Complex มีเปาประสงค อะไรกันแน? ผมจึงเสนอใหศึกษาหัวขอตอไปนี้ 1) ผูลงทุนตองการ แคสรางรานเพื่อขายของถูกๆ เทานั้นหรือไม? 2) ราคาสินคาที่สง มาขายนั้นแทจริงแลวเปนตนทุนที่แทจริงหรือไม? 3) การที่จีนจะใช ไทยเปนฐานเพือ่ สงออกไปยังประเทศอืน่ ในอาเซียนนัน้ เปนไปไดตาม ขอตกลงถิ่นกำเนิดสินคาใน ASEAN-China FTAหรือไม? ตั้งแตวันที่ 11 มีนาคมที่ผานมาทั่วโลกพูดถึงคลื่นยักษ Tsunami และการรัว่ ของกัมมันตภาพรังสีจากโรงผลิตไฟฟานิวเคลียร ในญีป่ นุ ผลกระทบทางเศรษฐกิจเปนหัวขอทีพ่ ดู กันมากโดยไมเกรงใจ คนญี่ปุน แตที่แยไปกวานั้นคือ ขาวของผลกระทบจากการรั่วของ กัมมันตภาพรังสีทม่ี มี ากในชวงแรกจนรัฐบาลญีป่ นุ ตองออกมาขอรอง วาขอใหสื่อลดจำนวนขาวลงเพราะจะสรางความเสียหายมากหาก ขอมูลไมถูกตอง ในขณะเดียวกันคนทั่วโลกก็ไดเห็นและชื่นชมโดย ไมมเี หตุผลถึงความอดทนและเปนระเบียบของชาวญีป่ นุ ภายใตภาวะ วิกฤต มีขาววาองคกรสากล 7 แหงกำลังผลักดันใหกลุมประเทศ G-20 เพิ่มความเขมงวดของกฎระเบียบการนำเขาและสงออกสินคา เกษตร เชน เรื่องการอุดหนุนราคาที่บิดเบือนตลาด การหามการ สงออก จุดประสงคคือตองการใหมีระบบเพื่อตอบสนองตอความ ออนไหวของราคาสินคาอาหารที่จะกระทบตอความมั่นคงอาหารใน บางประเทศ จะสังเกตไดวาในรายงานนี้ไมไดกลาวถึงราคาน้ำมันที่ เปนตนเหตุที่สำคัญที่ทำใหอาหารแพง และสุดทาย วิกฤตโรงไฟฟา พลังนิวเคลียรในญีป่ นุ ครัง้ นี้ จะเปนเหตุใหมกี ารเปลีย่ นแปลงโครงสราง การใชน้ำมันและแกสทั่วโลกซึ่งจะกระทบกับภาวะโลกรอนตอไป 155 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ผมเริ่มตนที่กรอบการคาเสรีในอาเซียน ปญหาของ China City Complex โรงงานไฟฟาในประเทศญีป่ นุ แนวคิดการแกปญ หา ความมั่นคงอาหารเชื่อมโยงกับโครงสรางใหมของการใชพลังงาน จะ เห็นวาขอมูลและการเขาถึงขอมูลจึงเปนเรื่องที่สำคัญที่สุด ขอมูล บางสวนเปนเรื่องของความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลทุกประเทศจึง ตองเก็บอำนาจบริหารนี้ไว
รู้งี้ 156
แพ4 เมษายน คัดออก 2554 รอยกวาปที่ผานมาเริ่มตั้งแตกอนป ค.ศ. 1930 จนถึง 2007 ระบบเศรษฐกิจโลกไดเกิดวิกฤติรุนแรง และปรับเปลี่ยน หลายครั้งเปนคลื่นยักษที่เรียกวา Kondratieff Wave โลกได ผานการจัดการทางเศรษฐกิจโดยรัฐจนกระทั่งถึงปลายทศวรรษ ที่ 1900 เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบเมื่อรัฐเริ่มลดกฎเกณฑ และระเบียบทางการคาและการลงทุนภายใตกลไกของขอตกลง หลายชุด ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงที่เปนผลใหเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ครั้งลาสุดที่เรียกวา Hamburger Crisis หากการเปลี่ยนแปลง ใหญไมเกิดขึ้นอีกครั้งในอนาคตอันใกลนี้แลว ก็ขอทำนายวาจะ เกิดวิกฤติเศรษฐกิจถดถอยอยางรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตรข องมนุษยชาติพรอมๆ ไปกับการลมสลายของระบบการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ เชน ทรัพยากรดินและน้ำบริสุทธ และอาจ จะนำไปสูสงครามโลกอีกครั้ง การสรางความเขมแข็งของระบบเศรษฐกิจไทยภายใต ความเสี่ยงดังกลาวจึงตองการสถาบันที่เขมแข็ง มีศักยภาพและ ความพรอมในดานบุคลากรและทรัพยากรเปนผูนำเพื่อสราง แรงบันดาลใจใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการบริหารเศรษฐกิจทั้ง ระดับจุลภาคและมหภาคเพือ่ การแขงขันในระบบเศรษฐกิจยุคใหม อยางยั่งยืนตอไป นอกจากสถาบันของรัฐที่ประกอบดวยพรรคการเมือง และราชการแลวหอการคาไทยยังตองมีบทบาทในการใหการ สนับสนุนเพือ่ ใหเกิดผลทางปฏิบตั ติ ามนโยบายและแผนทีไ่ ดกำหนด 157 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ไว ในการกำหนดยุทธศาสตรและกลยุทธนน้ั หอการคาไทยจำเปน จะตองรูวาแนวโนมเศรษฐกิจของโลกจะเปนอยางไร แนวโนมที่หนึ่ง โลกไดเรียนรูวาการบริโภคเกินขนาด (Over Consumption) เปนสาเหตุของการลมสลายทางเศรษฐกิจ ทีผ่ า นมา โลกาภิวตั นทางเศรษฐกิจประสบผลสำเร็จในระดับเดียว คือทำใหตลาดลดขอจำกัดของการเคลือ่ นทีข่ องสินคา บริการและ การลงทุนหรือเรียกวาโลกาภิวัตนอุปทาน (Globalization of Supply) เทานั้น เมื่อการเดินทางไกลสะดุดขาตนเองแทนที่ ประเทศทั้งหลายจะหยุดพักชั่วคราว แตกลับเดินหนาเปดตลาด ใหมากขึ้นไปอีก เชน สหรัฐและสหภาพยุโรปกำลังผลักดันเจรจา ขอตกลงการคาเสรีเพิม่ โดยกำหนดเงือ่ นไขการเปดตลาดใหเสรีขน้ึ กวาขอตกลงที่ไดดำเนินการไปแลวหรือเรียกวา High Quality Free Trade Agreement เปาหมายคือตองการใหกลุมประเทศ คูเ จรจาดำเนินกิจกรรมเศรษฐกิจเปนระบบเดียวหรือประเทศเดียว หอการคาไทยสนับสนุนใหไทยเขารวมในโครงสรางทางเศรษฐกิจ ใหมนี้ เพราะตระหนักวาขอตกลงฯเปนเครื่องมือในการพัฒนา เศรษฐกิจ แนวโนมที่สอง ภาวะโลกรอนหรือ Global Warming บางทานเขาใจวาการเจรจาการลดคารบอนเปนเรื่องเกี่ยวของ กับสิ่งแวดลอม แตผมเห็นวาเรื่องนี้เปนเรื่องการเจรจาขอตกลง ทางการคาซึง่ สวนทางกับการเจรจาขอตกลงทีก่ ลาวขางตน ดังนัน้ ภาพที่เราจะไดเห็นคือ 1. ตลาดการคาและการลงทุนจะยังเปด มากขึ้น และ 2. มาตรการดานความปลอดภัยตอสุขภาพอนามัย ความมั่นคงและยั่งยืนของหวงโซอุปทาน เชน เรื่องความมั่นคง อาหารจะเขมงวดขึ้น และ 3. มาตรการทางดานความยั่งยืนใน การใชทรัพยากรธรรมชาติจะมีมากขึน้ ซึง่ การใชปรัชญาเศรษฐกิจ รู้งี้ 158
สีเขียวหรือ Green Economy นั้นอาจไมเพียงพอ ประเทศไทย ตองปรับระบบเศรษฐกิจใหมากกวาเขียว การแขงขันใหไดจริง จะตองใชระบบเศรษฐกิจที่เรียกวา เศรษฐกิจคืนกลับ หรือ Restorative Economy สำหรับหอการคาไทยแลวการดำเนินการเพิ่มศักยภาพ การแขงขันภายใตมิติใหมนั้นตองจัดทำยุทธศาสตรหลักดังนี้ 1. ยุทธศาสตรรายสาขาของสินคาและบริการ หอการคาไทย จะต อ งจั ด ทำยุ ท ธศาสตร ร ายสิ น ค า ที ่ ส ำคั ญ ต อ เศรษฐกิ จ ทั ้ ง อุตสาหกรรมและภาคเกษตรและอาหาร เชน ขาว มันสำปะหลัง น้ำตาล ปาลมน้ำมัน ขาวโพดเลี้ยงสัตว ปศุสัตวและสัตวน้ำ เปนตน เพือ่ นำไปสูก ารผลิตอยางยัง่ ยืนโดยการเพิม่ การใชเทคโนโลยี หรือยายฐานไปประเทศอืน่ ตอไป 2 ภาคบริการ เชน อุตสาหกรรม ทองเที่ยว หรือ บันเทิง การตั้งเปาใหประเทศไทยสรางรายได จากการทองเทีย่ วนัน้ ไมเพียงแตจะตองมีโรงแรมทีม่ รี ะดับมาตรฐาน โลกเทานั้นแตการสรางใหประเทศไทยเปนประเทศ “ทองเที่ยว” (Tourism Country) เปนเรื่องที่ทาทายเปนอยางยิ่ง 2. ยุทธศาสตรเพิม่ ศักยภาพของผูบ ริโภคเพือ่ ใหสอดคลอง กับตลาด (Quality Consumption) การใหความรูในการเลือก ใชสินคาที่เหมาะสมกับสุขภาพ รักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ตลอดจนการเพิ่มความรูใหแกผูบริโภคในการเลือก ซื้อสินคาและบริการที่ผลิตภายใตกฎระเบียบใหมซึ่งเรียกวา โลกาภิวัตนอุปสงค (Globalization of Demand) ขอจำกัดของ ประเทศไทยในวันนี้คือ 1) ความเขาใจแนวโนมการเปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจโลกยังไมตรงกันและ 2) ผูม สี ว นเกีย่ วของอีกสองสวน คือภาคการเมืองและราชการนัน้ ยังไมสามารถดำเนินการใหสอดคลอง กับแนวโนมที่กำลังจะเกิดขึ้นได 159 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ดังนั้น การแกไขกฎหมายและระเบียบจะตองสอดคลอง กับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง การแขงขันระดับประเทศนั้น จำเปนตองผนึกกำลังในทุกระดับตัง้ แตภาคธุรกิจ ราชการและการเมือง
รู้งี้ 160
ทุกกรมคืพฤษภาคม อกรมเจรจาฯ 2555 ก็ไมมีทางจะทราบไดวาระบบเศรษฐกิจอะไรที่จะถูกพัฒนา ขึ้นมาใชกันอีกเพื่อใหเหมาะสมกับภาวะที่เปลี่ยนแปลงอยูในขณะนี้ เปนปสุดทายแลวที่ประธานาธิบดีโอบามาจะทำหนาที่ครบ วาระ 4 ป ในชวงทีท่ า นไดรบั เลือกใหเขามาบริหารประเทศนัน้ ภาวะ เศรษฐกิจสหรัฐกำลังอยูใ นชวงวิกฤตหนัก เนือ่ งจากฟองสบูแ ตกหรือ เรียกวา Hamburger Crisis ประธานาธิบดีใชคำวา “เปลีย่ น” (Change) ในการหาเสียงจนไดรบั คะแนนเสียงอยางทวมทน สามปกวาทีผ่ า นมา ไดพิสูจนแลววาสภาพเศรษฐกิจของสหรัฐไมไดดีขึ้นอยางที่คาดไว แตก็ไมเลวลงไปจากเดิม ผมคาดวาประธานาธิบดีโอบามาจะไดรับ เลือกตัง้ เปนสมัยทีส่ อง ดวยเหตุผลทีว่ า คูแ ขงทีเ่ ห็นอยูใ นขณะนีไ้ มได แสดงแนวคิดอะไรใหมๆ ทีพ่ อจะโดนใจคนอเมริกนั ไดเลย สภาพเศรษฐกิจ ของยุโรปก็มสี ภาพคลายกับสหรัฐ แตทแ่ี ยกวาก็คอื อียนู น้ั ประกอบดวย 27 ประเทศ ซึ่งมีอธิปไตยของตนเอง นั่นก็หมายความวาการจะใช นโยบายรวมชิ้นเดียวกันนั้นจะลำบากเปนอยางยิ่ง เชนตัวอยางของ กรีซที่กำลังเกิดขึ้น ผมสรุปวาความผิดพลาดทางเศรษฐกิจของกลุมประเทศ ทัง้ สองเกิดจากสาเหตุเดียวคือ การบริโภคเกินขนาดของคนในประเทศ ซึ่งเปนผลจากโลกาภิวัตนอุปทานอยางแทจริง วิธีแกไขก็คงจะตอง ทำใหเกิดโลกาภิวัตนอุปสงคใหได การสรางอุปสงคที่ดีคงตองเปน การบานใหทุกประเทศนำไปคิดตอ ประเทศไทยก็จะตองมีคนคิด เชนกัน ใครคิดไดก็ขอใหบอกดวย จะไดนำไปปฏิบัติใหเกิดภูมิคุมกัน 161 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ไมใหเศรษฐกิจลมสลายอีกครั้ง ที่นาศึกษาเปนอยางยิ่งคือทั้งสหรัฐ และสหภาพยุโรปยังเดินหนาเจรจาขอตกลงการคาเพิ่มกับหลาย ประเทศ โดยเฉพาะกับกลุมประเทศในอาเซียน เชน สิงคโปร เวียดนาม บรูไน มาเลเซีย ซึ่งหมายความวาการเปดเสรีทางการคา ยังเปนยุทธศาสตรในการจัดการระบบเศรษฐกิจที่สำคัญตอไป ใคร จะคิดอยางไรก็เปนสิทธิสวนบุคคล แตผมเชื่อวาขอตกลงการคาเสรี เปนเครื่องมือในการพัฒนาเศรษฐกิจที่เราตองนำไปใชใหเกิดผล อยางแทจริง ปลายป ค.ศ. 2001 ประเทศสมาชิก WTO ไดมีขอตกลง รวมกันที่เรียกวา Doha Development Agenda (DDA) ซึ่งระบุวา ใหประเทศตางๆ ลดภาษีใหสนิ คาและบริการสิง่ แวดลอม (Environmental Goods and Services) เพื่อเปดโอกาสใหมีการพัฒนาการผลิตเพื่อ ความยั่งยืนของสิ่งแวดลอมแตเปาหมายนี้ก็ยังไมสามารถบรรลุผล จนถึงบัดนี้ ผมสรุปไดวาสาเหตุเกิดจากสิ่งตอไปนี้คือ ขอ 1 ประเทศ สมาชิกไมเห็นความสำคัญของขอตกลงนี้ ขอ 2 โจทยนี้ยากเกินกวา ที่จะตอบไดงายๆ เชน สินคาและบริการอะไรที่จะเขาขายการลด ภาษี ผมมีความเห็นวาการกำหนดคำจำกัดความนี้ไมสามารถทำได เพียงแคตัวสินคาเทานั้น แตตองพิจารณาขบวนการผลิตของสินคา นั้นๆ ประกอบกันดวย ขณะที่สมาชิกทั้งหลายยังตกลงกันไมไดอยูนั้น ก็ไดมีการ เจรจาเรื่องการลดภาวะโลกรอนแทรกขึ้นมา ภายใตสหประชาชาติ ทีเ่ รียกวา United Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC) ตั้งแตป ค.ศ. 1992 ซึ่งมีเปาหมายลดกาซ เรือนกระจก โดยกำหนดตัวเลขของปฐานและเปอรเซ็นตที่จะตอง รู้งี้ 162
ลดเปนการทัว่ ไป แมขณะนีย้ งั ไมมขี อ ตกลงรวมกัน แตประเทศพัฒนา แลวบางประเทศก็เริม่ ออกกฎระเบียบใชบงั คับแลว สิง่ ทีป่ ระเทศไทย ตองดำเนินการดวนก็คือ จัดตั้งทีมเจรจาที่เขาใจเศรษฐกิจ การคา และการลงทุน เพราะผมมีความเห็นวา UNFCCC เปนการเจรจา ขอตกลงการคาฉบับใหมที่สวนทางกับขอตกลงการคาเสรี เพราะ โทษของการปฏิบัติไมไดก็คือสินคาสงออกจะถูกเก็บภาษีนำเขา การ เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางของระบบการผลิตของไทยจะตองเกิดขึ้น อยางรวดเร็วเพือ่ รองรับกับขอตกลง “แฝด” ทีก่ ำลังเกิดขึน้ ขอตกลง UNFCCC จะเปนขอตกลงในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเชนกัน เมื่อนำทั้งสองขอตกลงมาตอกัน เราก็จะเห็นสิ่งตอไปนี้ ขอ 1 ตนทุน สินคายังตองมีการพัฒนาใหแขงขันในตลาดโลกอยางตอเนื่อง ขอ 2 เทคโนโลยีการผลิตตองมีความสามารถที่จะผลิตสินคาที่ทำลาย ทรัพยากรธรรมชาตินอ ยทีส่ ดุ และขณะเดียวกันก็ปลอยกาซเรือนกระจก นอยที่สุดเชนกัน ขอ 3 การผลิตสินคาตองเชื่อมโยงหวงโซการผลิต ทั้งระบบเพื่อใหไดเปาหมายของขอ 1 และ 2 ขอ 4 กฎหมายและ ระเบียบจะตองไดรับการแกไขใหสอดคลองเพื่อสงเสริมโครงสราง การผลิตยุคใหม และขอ 5 ภายใตบริบทนีบ้ ริษทั ใหญหรือเล็กไมสำคัญ เทากับประสิทธิภาพในการปรับตัว สิ่งที่สำคัญคือสิ่งแวดลอมไมใชประเด็นสุดทายที่มีอิทธิพล ตอระบบการผลิต แตยังมีประเด็นทางสังคมดานอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้น อยางมีนัยสำคัญอีก เชน แรงงาน ทรัพยสินทางปญญา การฟอกเงิน การกอการราย เปนตน ซึ่งผมเห็นวา มิติทางการคาใหมๆ ที่ทาทาย เหลานี้เปนโอกาสของเราที่จะใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาประเทศ ตอไป การดำเนินการใหไดผลสำเร็จนั้น จะตองรวมมือกันระหวาง 163 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
เอกชน และรัฐ กรมแรกทีส่ ำคัญคือ กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ เพราะ เปนหนาดานในการเจรจาขอตกลง ดังนั้นกรมเจรจาฯ จึงตองสราง บทบาทของตนใหสอดคลองกับหนาที่ดังนี้ ขอ 1 ตองสามารถ คาดการณลวงหนาถึงแนวโนมเศรษฐกิจโลกไดอยางนอย 10 ป ขอ 2 ตองสามารถอธิบายสิ่งที่ตนคาดการณใหสังคมเขาใจได ขอ 3 ตอง สามารถสรางความนาเชื่อถือ (Credit) ใหกับตนเองได ขอ 4 ผล การเจรจายอมไมเปนไปตามที่ตองการไดทุกเรื่อง กรมเจรจาฯ ตอง สามารถอธิบายใหกลุม คนทีข่ ดั แยงกันในผลประโยชนเขาใจได ขอ 5 กรมเจรจาฯ ตองสามารถติดตามผลการเจรจาใหเกิดขึ้นไดจริงคือ ทำใหกรมอืน่ ๆ ทีต่ อ งดำเนินการตามขอตกลงไดลงมือปฏิบตั จิ ริง เชน การแกกฎหมาย เปนตน ผมเชื่อวากรมเจรจาฯ มีจดุ ออนมาก เนื่องจากมีอำนาจจำกัด ดังนั้นกรมฯ จึงตองสรางพันธมิตรกับภาค ธุรกิจและหนวยงานอื่นๆ ที่จะชวยในการ “สงมอบ” สินคาตาม ขอตกลง ทัง้ หมดนีย้ งั ไมรวมถึงการทีก่ รมเจรจาฯ จะตองสรางและรักษา คนเกงๆ ไวใหได เพราะหากไมมีคนแลว สิ่งที่กลาวมาทั้งหมดก็คือ ความฝนเทานั้นเอง
รู้งี้ 164
สาเหตุแหมิถงุนายนความพ า ยแพ 2554 มีนักการเมืองอาวุโสและผูบริหารประเทศของประเทศ หนึ่งในกลุมอาเซียน เคยพูดไวเปนที่นาสนใจอยางยิ่งคือ รัฐบาล จะไมสนใจวาประชาชนคิดอยางไร แตจะทำในสิง่ ทีค่ ดิ วาดีสำหรับ ประเทศตอไป คำพูดนีแ้ สดงถึงความมัน่ ใจของผูน ำประเทศในการ เลือกตัง้ ครัง้ ลาสุด ฝายคานไดเกาอีเ้ พิม่ ขึน้ 4 ทีน่ ง่ั และขณะเดียวกัน คะแนนเสียงโดยรวมของรัฐบาลตกต่ำทีส่ ดุ ในประวัตศิ าสตร เหตุผล ของผูที่เลือกฝายตรงขามรัฐบาลคือ 1) ที่อยูอาศัยยังขาดแคลน หนัก 2) เงินเฟอสูง และ 3) แรงงานตางชาติในประเทศมาก เกินไป รัฐบาลทีเ่ คยมัน่ ใจสูงตองคิดหนักวาจะปรับตัวอยางไรเพือ่ ดึงความมั่นใจของประชาชนกลับคืนมา การเปลี่ยนแปลงรัฐบาล ทุกครัง้ มักจะเกิดจากปญหาทางเศรษฐกิจ การแกปญ หาเศรษฐกิจ จึงเปนเปาหมายหลักของทุกประเทศ การจัดการเศรษฐกิจอยาง มีประสิทธิภาพจึงเปนเปาหมายที่สำคัญของทุกประเทศ ประเทศ ไทยจะมีการเลือกตั้งในวันที่ 3 กรกฎาคม นี้ ผลการเลือกตั้งจะ ออกมาอยางไรนั้นก็คงเดากันไมยาก นั่นคือ เรายังจะมีรัฐบาล ผสมหลายพรรคตอไป การมีรฐั บาลหลายพรรคก็ไมไดหมายความวา การบริหารเศรษฐกิจของประเทศจะมีปญหามากไปกวารัฐบาล พรรคเดียว เหตุผลก็คอื ประเทศไทยไมเคยเปลีย่ นระบอบเศรษฐกิจ เปนอยางอื่นนอกจากทุนนิยม ปญหาจึงอยูที่รัฐบาลซึ่งมีที่มาที่ หลากหลายนับตั้งแตรัฐบาลเผด็จการทหาร ประชาธิปไตยครึ่งใบ 165 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
และเต็มใบจะเขาใจปญหาและมียทุ ธศาสตรในการบริหารอยางไร? เมื่อเปรียบเทียบการจัดการระหวางไทยกับประเทศที่ ผมกลาวมาขางตนก็จะไดผลเหมือนกันคือ ที่อยูอาศัย เงินเฟอ และแรงงานตางชาติ การเปลี่ยนแปลงในการจัดการโครงสราง เศรษฐกิจจะตองเกิดขึ้นและตองเกิดที่ผูบริหารกอนอื่น ลาสุด ประเทศดังกลาวไดประกาศเปลี่ยนแปลงผูบริหารชนิดที่เรียกวา “ลางบาง” กันเลยทีเดียว เปนการตัดสินใจทีก่ ลาหาญและยอมรับ กระแสประชาชนอยางยิ่ง ผมกำลังรอดูวาอะไรจะเกิดขึ้นในการ เมืองไทยหลังการเลือกตั้งวันที่ 3 กรกฎาคมนี้ บางทานอาจจะ เถียงวาประวัติศาสตรและระบบการเลือกตั้งของเราไมเหมือนกับ ของ “เขา” แตผมมองวาความฉลาดของนักการเมืองของเรากับ ของเราไมนา จะตางกันมาก แตความแตกตางของผลงานทีช่ ดั เจน ที่ผานมา และที่กำลังจะเกิดขึ้นจึงอยูที่สองอยางคือ 1) ความ กลาหาญในการเปลี่ยนแปลง และ 2) ความกลาหาญที่จะตอง ลดและเลิกคอรรปั ชัน่ ใหไดกเ็ ทานัน้ เอง เพราะแมวา เราจะมีปญ หา จากการบริหารเศรษฐกิจสามอยางเหมือนกับเขา แตเราตางจาก เขาก็ตรงที่เรายังไมมีอีกสองความ “กลาหาญ”
รู้งี้ 166
รวยจริกรกฎาคม งแตเ2554 กงปลอม คงไมมีใครเถียงวารายไดของคนๆหนึ่งยอมจะมาพรอมกับ ประสิทธิภาพของคนนั้น แตหากใชเวลาผลิตเทาเดิมโดยมีผลผลิต ไดมากขึ้นรายไดก็ตองเพิ่มขึ้นอยางแนนอน แตคำถามในวันนี้คือ ทำไมยังมีคนจนมากมายในประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพการผลิต ไมดอ ยกวาคนงานในงานเดียวกันในอีกประเทศหนึง่ ในยุโรป แตกย็ งั ไดรับรายไดท่อี าจตางกันถึง 20 เทา การลดตนทุนแรงงานโดยการ ยายฐานการผลิตไปยังประเทศที่มีคาแรงถูกกวา จึงเปนสิ่งที่เกิดขึ้น ตลอดเวลาทีผ่ า นมา แตกไ็ มสามารถจะดำเนินการไดทกุ อุตสาหกรรม การผลิตสินคาและบริการ เชน การเคลื่อนยายคนขับรถโดยสารไทย ไปขับรถในประเทศยุโรปนัน้ คงจะทำไมไดงา ยๆ เพราะประเทศร่ำรวย ไมยอมเปดตลาดใหมีการยายแรงงานเขาประเทศ (ซึ่งเปนประเด็นที่ ถกเถียงกันวาโลกาภิวัตนนั้นยังเดินทางไปไมถึงจุดสูงสุด) แตก็ไมได หมายความวาคนขับรถไทยมีประสิทธิภาพต่ำกวาคนขับรถฝรัง่ คนนัน้ หรือหากจะขับรถไมไดประสิทธิภาพเทากันแตก็คงไมตางกันมากถึง 20 เทาแนนอน ดังนั้นคำถามจึงอยูที่วาใครกันแนในประเทศไทยที่เปนเหตุ ใหคนรายไดนอ ยยังจนอยูอ ยางนัน้ ? คำตอบจึงนาจะอยูท ว่ี า คนรวยไทย มีความสามารถดอยกวาคนรวยในยุโรปตางหากจึงเปนเหตุใหไม สามารถยกระดับรายไดของคนจนทั้งประเทศใหสูงขึ้น ที่เขียนมาทั้งหมดนี้จะถูกหรือผิดก็คงไมตองการใหถกเถียง กันเพียงแตจะย้ำวาภารกิจในเรื่องยกระดับรายไดคนจนนั้นเปนของ 167 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
คนรวยทุกคน จึงขอใหทานเพิ่มความสามารถขึ้นไปอีกเพราะที่ทาน รวยมาไดนั้นอาจจะไมใชความสามารถตนเอง แตอาจเปนโอกาสที่ เปดใหและหยิบฉวยไดในเวลาทีพ่ อเหมาะเทานัน้ และหากยังไมแนใจ วาที่วิเคราะหไปนั้นถูกหรือผิดก็คงตองเสนอใหติดตามการกลับมา ของอเมริกาวาจะมายิ่งใหญไดอีกภายในเวลาไมนานจากนี้หรือไม? มีหลายทานแสดงความมัน่ ใจเปนอยางมากวาเศรษฐกิจจีนจะแซงหนา อเมริกาขึ้นเปนอันดับหนึ่งใน 10 ปจากวันนี้ แตผมไมเชื่อวาการ คาดการณนี้จะเปนไปไดดวยเหตุผลสองประการคือ 1) พื้นฐานและ โครงสรางในดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม และ 2) ความเปนเสรีนิยมของสองประเทศที่แตกตางกัน ความสามารถใน การแขงขันที่ดูเหมือนอเมริกาจะตกต่ำอยูในเวลานี้แตหากเราจะ มองไปขางหนาสักสิบหรือยี่สิบปแลวก็ไมแนวาคำทำนายในวันนี้จะ เปนจริง เพราะแมวา การเคลือ่ นยายการผลิตสินคาดวยแรงงานราคา ถูกจะยังตองดำเนินการตอไป แตเมื่อแรงงานจีนแพงขึ้นเรื่อยๆแลว เปาหมายการเคลื่อนยายฐานการผลิตจะไปยังประเทศใดตอไปอีก? ราคาของสินคาวัตถุดิบที่แพงขึ้นเรื่อยๆ ของจีน ปญหาและตนทุน Logistics โดยเฉพาะปญหาทรัพยสนิ ทางปญญาทีไ่ มไดรบั การปกปอง ยอมจะเปนอุปสรรคตอการลงทุนเพิ่ม ซึ่งประเทศอเมริกาก็ยังตอง รักษาความรูเหลานี้ไวและเมื่อไหรก็ตามที่สามารถเพิ่มเครื่องกล หรือหุน ยนตเขามาแทนทีค่ นไดเพียงพอแลวปรากฏการณ เคลือ่ นยาย ฐานการผลิตกลับ หรือ Back-shoring ก็อาจจะเกิดขึ้นทันที ประเทศไทยจะได ร ั บ ผลกระทบจากปรากฏการณ ก าร เปลี่ยนแปลงครั้งใหมนี้อยางแนนอน ดังนั้นการเตรียมตัวตอนรับ อยางมีประสิทธิภาพจึงตองเริ่มดำเนินการโดยทันทีโดยเฉพาะใน รู้งี้ 168
ดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีซง่ึ เปนเรือ่ งพูดกันมากในทุกเวทีสมั มนา แตพดู แลวก็แลวกันไป เพราะคนรวยและผูบ ริหารรัฐไมเห็นความสำคัญ ของสิ่งนี้อยางแทจริง เนื่องจากคนรวยก็ยังจองแตจะซื้อเทคโนโลยี เพราะงายและถูกกวาลงทุนจางคนไทยคิดให จึงสรุปไดเร็วและสั้นๆ วา คนรวยไทยไมเกงจริง
169 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ใครรูจัก สิAEC ยกมื อ ขึ น ้ งหาคม 2554 ปทแ่ี ลวตัวเลขจากการสำรวจของมหาวิทยาลัยหอการคา ไทยปรากฏออกมาวามีคนไทยไมรจู กั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC นั้นมีสูงถึง 85% สรางความตกใจใหกับภาครัฐ โดยเฉพาะกระทรวงพาณิชยทม่ี หี นาทีด่ แู ลการเจรจาและใหความรู แกประชาชน ปทผ่ี า นไปจึงเปนปทก่ี รมเจรจาการคาระหวางประเทศ ทำงานอยางหนัก ขณะนีย้ งั ไมมกี ารสำรวจตัวเลขใหมแตผมเชือ่ วา ตัวเลขคงเทาเดิม คนไทยสวนใหญใชหลัก “ปลอดภัยไวกอน” คือตอบไมรูจะปลอดภัยดี เอาเปนวาควรถามคำถามใหมวาเคย ไดยิน AEC หรือไม? ผมเชื่อวาตัวเลขจะดีขึ้น ในความเห็นของ ผมแลวการแคไดยินก็พอแลวเพราะจะใหรูนั้นยากมาก เนื่องจาก รายละเอียดมีมากมาย คนที่ “ไดยิน” แลว ก็ขอใหหาขอมูลเพิ่ม ในสวนที่เกี่ยวกับธุรกิจของตนตอไป สำหรับคนรูจริงก็ขอถามวา ป ค.ศ. 2015 นั้นมีความหมายอะไรกันแน? ลองตอบกันเอง นะครับ ในระหวางนี้ผมขอเสนอใหเตรียมตัวเพิ่มอีก 6 เรื่อง ดังนี้ คือ 1) การประสานขอมูลของอีกสองเสาหลักที่เรียกวา การเมือง และความมัน่ คง ประชาสังคมและวัฒนธรรมกับเสาเศรษฐกิจ แต ในขณะนีผ้ มยังไมเห็นมีการดำเนินการซึง่ เปนความเสีย่ งเนือ่ งจาก ไมมใี ครจะแกไขขอบกพรองไดหากขอตกลงในแตละเสาขัดแยงกัน 2) การใหความรูใ นการใชประโยชนจากขอตกลงอยางมีประสิทธิภาพ รู้งี้ 170
ยังไมมีการดำเนินการอยางเปนรูปธรรม การใชประโยชนจาก AEC จะตองเชื่อมโยงหวงโซการผลิตของสินคาแตละชนิดอยางมี ประสิทธิภาพ 3) การสรุปขอตกลงมาตรฐานสินคาและบริการ รวมกันระหวางประเทศอาเซียนจะตองบรรลุผลใหเร็วที่สุดเพื่อ ขจัดอุปสรรคการนำเขาสินคาระหวางกัน 4) การปรับโครงสราง การผลิตสินคาโดยเฉพาะภาคเกษตรจะตองดำเนินการทันทีเพื่อ การแขงขัน ผูบริโภคจะตองไดรับการพัฒนาขีดความสามารถใน การเลือกซื้อสินคาที่ปลอดภัยตอสุขภาพ การจัด Zoning การ รวมกลุมเปนสหกรณ หรือเปนบริษัทใหญโดยการรวมพื้นที่เขา ดวยกันโดยใชเครื่องมือทางการเงินอุดหนุนเกษตรกรจะตอง ดำเนินการอยางมีประสิทธิภาพ 5) พื้นที่อาเซียนจะเปนพื้นที่ ลงทุนที่สำคัญจากประเทศที่พัฒนาแลว เชน ญี่ปุน ซึ่งจะยาย ฐานการผลิตเนื่องจากมีปญหาพลังงาน การลงทุนในผลิตภัณฑ ที่มีชิ้นสวนมากๆ จะถูกกระจายไปยังหลายประเทศและนำไป ประกอบในประเทศสุดทายเพื่อสงออก หลายประเทศในอาเซียน ยังเปนประเทศพัฒนานอยสุด (Least Developed Countries) ซึ่งไดรับสิทธิพิเศษภาษีศุลกากรจากประเทศพัฒนาบางประเทศ ดังนั้นผูลงทุนจะตัดสินใจในการสงออกจากประเทศเหลานี้ (ซึ่ง ไมใชประเทศไทย) เราตองเตรียมพรอมเรื่องแรงงาน เครื่องจักร เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก ความมั่นคงทางการเมือง อยางไร? 6) เรื่องอาเซียนเปนเรื่องเปลี่ยนแปลงชีวิตของคนไทย ในทุกดาน เยาวชนรุนหลังตองเปนชาวอาเซียนเชื้อชาติไทย เพื่อ ใหบรรลุเปาหมายทีแ่ ทจริงตองมีการเตรียมตัวและสรางศักยภาพ ตัง้ แตเด็ก ดังนัน้ มหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนจะตองมีหลักสูตรอาเซียน 171 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ในปหนาเปนตนไป เพราะอาเซียนไมมีแคเพียง 10 ประเทศแต ยังไดผนวกกับอีก 6 ประเทศ คือ จีน อินเดีย ญี่ปุน เกาหลี ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ประชากรรวมกันเทากับครึง่ หนึง่ ของ โลก และขนาดเศรษฐกิจจะยิ่งใหญขึ้นแทนตะวันตกในไมชาครับ การเรียนรูไมมีวันสิ้นสุด ภารกิจคือ สรางคนไทยรุนใหม ใหเปนหนึ่งในอาเซียนใหได
รู้งี้ 172
กลาหาญกันยายน ซื่อ2554สัตย ดุสิต กลาหาญและซื่อสัตยเปนคุณสมบัติพื้นฐานที่นานับถือและ สนับสนุน มีวสิ ยั ทัศน ทำงานหนักและเอือ้ เฟอ ตอเพือ่ นและผูร ว มงาน เปนคุณสมบัติของผูนำ ในฐานะผูรวมงานมานานผมพบสิ่งเหลานี้ใน ตัวของคุณดุสติ นนทะนาคร ประธานหอการคาไทยและสภาหอการคา แหงประเทศไทยคนที่ 21 การจากไปกอนเวลาสรางความสูญเสีย ครั้งยิ่งใหญแกสถาบันทั้งสองและประเทศไทย เศรษฐกิจโลกกำลังเขาสูภาวะวิกฤติครั้งใหมหรือไมยังเปน ขอถกเถียงกันอยางตอเนื่อง เริ่มตนจากการลมสลายของ ญี่ปุน สหรัฐ ตามดวยยุโรป สามกลุมประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ ตัง้ แตหลังสงครามโลกทีส่ อง ประเทศญีป่ นุ จะตองมีการปรับโครงสราง ทางเศรษฐกิจครั้งยิ่งใหญเพื่อแกปญหาการขาดแรงงานเนื่องจาก เขาสูภาวะสังคมคนแกซึ่งคาดการณกันวาคนที่อายุเกิน 65 ปจะมี ประมาณ 23% หรือ 18.3 ลานภายในไมกี่ปขางหนา และจำนวน ประชากรโดยรวมจะลดลงเรือ่ ยๆ ดังนัน้ การหวังพึง่ การบริโภคภายใน ประเทศเปนตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจเชนที่ผานมาจะไมสามารถทำได อีกตอไป ญี่ปุนจะตองทำใหผูหญิงในวัยทำงานเปนแรงงานทดแทน ในสวนที่ขาดไปอยางไร? ญี่ปุนจะผอนคลายนโยบายใหรับแรงงาน ตางชาติทั้งที่มีฝมือและไมมีฝมือเขาประเทศใหมากขึ้นไดอยางไร? ญี่ปุนจะใชเทคโนโลยีดานพลังงานทดแทนใหเปนประโยชนตอการ ฟนฟูเศรษฐกิจเพื่อการแขงขันภายใตบรรยากาศใหมไดอยางไร? 173 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
การเมืองญี่ปุนที่ออนแอไมสามารถแกปญหาเศรษฐกิจได ถึงแมจะ เปลี่ยนขั้วจากพรรคที่ครองอำนาจนานถึง 59 ปแตสถานการณก็ยัง ไมดขี น้ึ การเปลีย่ นนายกรัฐมนตรีปล ะคนโดยเฉลีย่ ในชวง 6 ปทผ่ี า นมา นั้นจะตองไดรับการแกไข นักการเมืองจะตองปรับตัวอยางไร? ในสวนของทางตะวันตกนัน้ ก็มปี ญ หาเรือ่ งหนีส้ นิ ทีม่ ากลนพนตัว และความนาเชื่อถือที่ลดลงตลอดเวลา สรางความไมแนนอนใหแก การลงทุน อัตราแลกเปลีย่ น การปกปองตลาดภายใน เปนตน ประเทศ เหลานีจ้ ะตองดำเนินการแกไขเพือ่ ไมใหเกิดภาวะลมสลายแบบตอเนือ่ ง (Domino) โดยเริ่มจากการแกไขปญหาภายในประเทศ โดยเฉพาะ ในเรื่องของการบริโภคที่เกินขนาด (Excessive Consumption) อยางไร? การประสานนโยบายกันเพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดรวมกัน เพือ่ ปองกันการเกิดปญหากระทบในเชิงลบกับอีกประเทศหนึง่ อยางไร? ในขณะเดียวกันการเจรจากรอบขอตกลงทีเ่ รียกวา Doha Development Agenda (DDA) ก็ยังไมมีทีทาวาจะจบลงไดในปนี้และอาจจะตองรอ อีกอยางนอย 2 ป เพราะปหนาสหรัฐจะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดี คนใหมอีกแลว อยางไรก็ตามไดมีความพยายามที่จะทำความตกลง ในบางเรือ่ ง เชน การยกเลิกภาษีและโควตาสินคาใหประเทศดอยพัฒนา เพือ่ จะใชเปนจุดเริม่ ตนในการผลักดันใหเกิดขอตกลงทัง้ หมดไดในทีส่ ดุ แตก็ไมประสบความสำเร็จ ในชวงหลังประเทศพัฒนาบางประเทศ ไดเสนอใหเพิ่มการเจรจาในเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน ภูมิอากาศ ความ มั่นคงอาหาร พลังงาน การลงทุน การจัดซื้อจัดจางของภาครัฐ การ ใชมาตรการการหามการสงออกอาหาร เปนตน จะเห็นวาโอกาสที่ จะบรรลุผลสำเร็จนั้นถอยออกหางไปทุกนาที การจะใชเวทีนี้เพื่อแก ปญหาเศรษฐกิจและการคาโลกดังทีไ่ ดกลาวมาขางตนก็คงเปนไปไมได รู้งี้ 174
เมือ่ เวทีระดับนีอ้ อ นแอประเทศตางๆ จึงเพิม่ การเจรจาระดับสองฝาย และหลายฝายกันอยางมากมายตามที่ปรากฎอยูทุกวันนี้ ปญหาเศรษฐกิจโลกที่กำลังเกิดขึ้นในวันนี้ จะตองไดรับการ แกไขเพือ่ หลีกเลีย่ งความขัดแยงซึง่ อาจจะเปนชนวนของสงครามโลก ครัง้ ตอไปได ทุกคนยอมรับวาการแกปญ หาทีส่ ลับซับซอนทีเ่ กีย่ วของ กับหลายประเทศและยังรวมไปถึงการบริโภคดวยนั้นเปนเรื่องยาก แตจะกลายเปนเรื่องงายๆ หากผูนำทั้งหลายมีความกลาหาญและ ซื่อสัตยเปนพื้นฐาน
175 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
Just Do It Right ตุลาคม 2554 จำนวนผูขาดอาหารในโลกปจจุบันนี้มีประมาณหนึ่งพัน ลานคน และในจำนวนที่เทากันนี้ก็ยังเขาไมถึงน้ำสะอาดดวย แต จะเปนกลุม คนเดียวกันหรือไมนน้ั ไมไดระบุในรายงานขององคการ อาหารสากลที่เรียกยอๆ วา FAO การแกปญหานี้ใหสำเร็จใน เร็ววันคงเปนไปไมไดเพราะเปนปญหาที่ซับซอน เชน ภูมิอากาศ ความสมบูรณของดิน น้ำ เทคโนโลยี และรายไดของประชาชน เปนตน ประชาชนในประเทศเหลานีจ้ งึ ตองหารายไดจากอาชีพอืน่ เพื่อซื้ออาหารและน้ำตอไป ปญหาจึงอยูที่วาอาชีพอะไรจึงจะทำ เงินไดมากพอจะซือ้ อาหารและน้ำดังกลาว ANUGA เปนงานแสดง สินคาอาหารทีใ่ หญทส่ี ดุ ในโลกทีจ่ ดั โดยประเทศเยอรมัน ปนจ้ี ดั ขึน้ ในระหวางวันที่ 8 - 14 เดือนตุลาคม มีบริษัทเขารวมประมาณ 6,000 กวารายจากรอยกวาประเทศสวนใหญเปนบริษทั ขนาดกลาง และยอมประมาณ 85% ในโลกนี้จึงมีทั้งผูผลิตอาหารเกินและ ขาดควบคูกันไป ทางแกไขของปรากฏการณ “ขาดและเกิน” นี้ ก็คือทุกประเทศตองเปดตลาดและการลงทุนอยางเปนระบบให มากขึ้นกวาปจจุบัน ยาขมหมอใหญของการเปดตลาดนีค้ อื ศักยภาพการแขงขัน ของแตละประเทศซึ่งตองแกไขดวยสี่หลักตอไปนี้คือ 1) การเพิ่ม การศึกษาของประชาชน 2) การวิจัยและพัฒนา 3) การ ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานการผลิต และ 4) กฎระเบียบที่ตอง รู้งี้ 176
สรางใหเกิดความสมดุลระหวางธุรกิจและสังคม แตถาหากทุก ประเทศยังยืนยันจะเลือกวิธีปกปองตลาดเหมือนในปจจุบันแลว ผลลัพธก็คือปญหาการขาดแคลนอาหารที่เห็นอยูในทุกวันนี้ ใน วันเปดงาน ANUGA นั้น มีผูนำทั้งจากภาคการเมืองและธุรกิจ จากประเทศเยอรมันและอิตาลีไดพูดถึงความสำคัญของความ ปลอดภัยอาหาร ความสำคัญของการผลิตอาหารใหไดจำนวน เพิ่มขึ้นเพื่อสนองอุปสงคของประชากรโลกที่เพิ่มขึ้นเชนกัน แตที่ ผมแปลกใจคือผูพูดไมไดเนนถึงความสำคัญของการใชทรัพยากร ธรรมชาติ 20 ปที่ผานมา งาน ANUGA ไดพัฒนาไประดับหนึ่ง คือสามารถเปลีย่ นจากงานทีผ่ มเคยเรียกวา “Salmon and Wine Fair” เปนงานแสดงอาหารที่แทจริง ประเทศไทยก็ไดพัฒนาจาก การเปนผูเขารวมที่มีจำนวนเพียงสามบริษัทเมื่อประมาณ 20 ป กอนเพิ่มขึ้นเปนจำนวนกวารอยราย ซึ่งตองชื่นชมกรมสงเสริม การสงออก กระทรวงพาณิชย ที่ทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ประเภทสินคาก็ไดพฒ ั นาจาก “วัตถุดบิ ” เปนสินคาสำเร็จรูปเกือบ ทัง้ หมด ซึง่ ก็เปนการแสดงใหเห็นวาความสามารถในการผลิตของ ไทยนัน้ ไดพฒ ั นาถึงระดับโลกแลว แตผมก็ยงั ไมไดเห็นประเทศใด นำเสนอเรือ่ งกระแสโลกรอนทีจ่ ะกระทบกับธุรกิจ มีเพียงประเทศ ซิลีที่ขึ้นปายคำวา Carbon Neutral ซึ่งก็ไมไดมีความหมายอะไร ที่นาสนใจคือ ประเทศเยอรมันยอมใหนำตับหานจากฝรั่งเศสเขา รวมงาน ซึ่งก็เปนเรื่องที่ทราบกันดีวาเปนการเลี้ยงแบบ Forced Feeding ขัดตอหลักการเรื่องสวัสดิการสัตว (Animal Welfare) ซึง่ เปนมาตรการทางการคาทีก่ ลุม ประเทศในยุโรปใหความสำคัญสูง 177 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ทัง้ หมดนีค้ อื ความแตกตางระหวางกฎระเบียบและการคา จริง ดังนัน้ ประเทศไทยจะตองเขาใจถึงความเปนพลวัตของทัง้ สอง สิ่งนี้และตั้งอยูบนความไมประมาท สิ่งทาทายทั้งสี่ขอดังกลาว ขางตนจึงตองไดรับการขานรับจากรัฐบาลและรีบดำเนินการใน ทันทีโดยเฉพาะปญหาโครงสรางโดยเริ่มตนที่น้ำซึ่งกำลังทวม ประเทศในเวลานี้จะตองไดรับการแกไขใหหมดไปภายในเวลาสั้น ที่สุด เราจะตองไมทำอะไรไปตามสถานการณหรือ Just Do It แตตองทำใหไดความยั่งยืน หรือ Just Do It Right
รู้งี้ 178
น้ำทวมประเทศ แตไมทวมปญญา พฤศจิกายน 2554
หลายทานคงไมตอ งการทราบถึงสาเหตุของน้ำทวมประเทศ ไทยคราวนีว้ า เกิดจากอะไร เมือ่ หาสิบปกอ นก็ไดเกิดน้ำทวมเชนเดียวกัน ไมมใี ครพูดถึงวิธแี กปญ หาน้ำทวมจากเหตุการณครัง้ นัน้ เพราะวิธกี าร เหลานั้นคงลาสมัยไปแลวหรือไมมกี ารบันทึกไว ทุกวันนี้เราจึงไดยิน และฟงถึงสาเหตุและวิธีการแกไขผานทางสื่อทั้งของเอกชนและรัฐ แตสดุ ทายน้ำก็ยงั เดินหนาทวมตอไป เราไดบทเรียนจากน้ำทวมคราวนี้ ในเรื่องใดและอยางไร? 1. ดานเศรษฐกิจ ความสูญเสียทางเศรษฐกิจทีเ่ พิม่ ขึน้ ทุกวัน ถึงวันนี้ตัวเลขนาจะอยูประมาณหาแสนลานบาทซึ่งรวมทั้งทรัพยสิน โรงงาน พื้นที่ทางการเกษตรและโอกาสทางธุรกิจ และหากการทวม ของน้ำขยายเขาไปทางตะวันออกและใจกลางกรุงเทพแลว ความ เสียหายก็จะเพิม่ ขึน้ เปนสองเทา สิง่ ทีส่ ำคัญกวาและพวกเราสวนใหญ พูดถึงนอยมากก็คอื เรือ่ งความเสียหายทีก่ ระทบกับธุรกิจในตางประเทศ ที่มีสาย การผลิตเชื่อมโยงกับไทย เชน ธุรกิจชิ้นสวนอิเลคโทรนิคส ซึง่ เปนปรากฏการณเดียวกันกับเมือ่ หลายเดือนกอนทีธ่ รุ กิจยานยนต ของไทยไดรับผลกระทบจากเหตุการณ Tsunami ที่ญี่ปุน เปนผลให โรงงานประกอบรถยนตหลายแหงในไทยตองหยุดการผลิตชั่วคราว ในชวงที่ผานมามีคนถามผมวาประเทศไทยจะมีปญหาเรื่อง ความมั่นคงอาหารหรือไม? ความหมายของความมั่นคงอาหารกวาง 179 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
กวาการขาดแคลนชั่วคราว เรายังไมมีปญหาเรื่องความมั่นคงอาหาร แตมปี ญ หาเรือ่ งการขาดแคลนชัว่ คราวเนือ่ งจากถูกกระทบจากสีส่ าเหตุ หลักคือ 1) พื้นที่การเกษตรประมาณสิบลานไรจมอยูใตน้ำเปนผล ใหปริมาณขาวและพืชผักหลายชนิดขาดหายไป 2) ระบบขนสง มี ปญหาเพราะถนนถูกตัดขาดเปนผลใหอปุ สงคและอุปทานไมสามารถ พบกันได และ 3) ผูบริโภคเกิดความตระหนกและซื้อสินคามาก เกินความจำเปนทำใหสินคาบางสวนหายไปจากตลาดสงผลใหราคา พุง ขึน้ สูง และสุดทายพอคาบางคนกักตุนเพือ่ ทำกำไรเพิม่ สินคาบริโภค ที่มีปญหาคือน้ำดื่มบรรจุขวด บะหมี่สำเร็จรูป ไขไก ปลากระปอง เปนตน รัฐบาลไทยแกปญหานี้ดวยการนำเขาสินคาจากตางประเทศ เพื่อลดแรงกดดันของราคาซึ่งเปนเรื่องที่นาสนับสนุน แตขอสงสัย ของผมคือกระทรวงสาธารณสุขไมไดออกมาแสดงบทบาทสำคัญ แตกลับกลายเปนกระทรวงพาณิชย? การนำเขาอาหารจะตองไดรับ การดูแลเรื่องมาตรฐานของสุขอนามัยโดยไมมีขอยกเวน เราคงไม ตองการนำเขาสิ่งปนเปอนอาหารที่จะนำความไมปลอดภัยเขา ประเทศไทยเพราะนั่นจะไมคุมคากวาการแกปญหาเฉพาะหนา เราอาจจะตองใชเวลาหลายปในการหารายไดเพิม่ เพือ่ ทดแทน จำนวนเงินที่สูญหายไปจากน้ำทวมครั้งนี้ สิ่งที่ภาคเอกชน 3 สถาบัน คือ สภาหอการคาแหงประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศ ไทย และสมาคมธนาคารไทย หรือ กกร. (คณะกรรมการรวม) เสนอ เพื่อฟนฟูคือ การระดมทรัพยากรบุคคลจากทั้งภาครัฐและเอกชนใน การดำเนินการระบายน้ำ (Dewatering) ใหเร็วที่สุด และรวมทั้ง การชดเชยในเรื่องการลดภาษี เชน ภาษีนิติบุคคล ภาษีศุลกากร การนำเขาเครื่องจักรเพื่อทดแทนที่เสียหาย ดอกเบี้ยเงินกูที่ต่ำ การ รู้งี้ 180
ทบทวนการขึ้นคาจางแรงงานขั้นต่ำ และการตั้งกองทุนฟนฟูธุรกิจ ขนาดกลางและยอมจากเงินภาษีนติ บิ คุ คลทีร่ ฐั จะลดให 7% ในปหนา ซึง่ เงินสวนนีเ้ อกชนเสนอจะไมรบั ไปหนึง่ ปโดยจะบริหารจัดการกองทุน นี้ดวยตนเอง คำถามสุดทายจากผูประกอบการทั้งในและตางประเทศคือ รัฐบาลไทยจะสรางความมั่นใจใหพวกเขาอยางไรวาประเทศไทยจะ ไมเกิดน้ำทวมในลักษณะนี้อีกตลอดไป? ระบบเศรษฐกิจเสรีนั้นมา พรอมกับศักยภาพการแขงขันของทุกภาคสวนในประเทศ วันนี้เรา พบวาสหรัฐอเมริกา ญี่ปุน ประเทศในยูโรโซน กำลังมีปญหาเชนกัน เมื่อเจาะลึกลงไปก็จะพบวาสาเหตุของปญหาคือการปรับตัวของ สถาบันตางๆ ทีไ่ มทนั ตอการคืบหนาอยางรวดเร็วของ “ตลาด” เชน เรื่องการแกกฎหมาย ระเบียบ และการบังคับใช ปญหาประชากร ที่มีอายุยืนยาวขึ้นแตอัตราการเกิดที่ลดลง ปญหาการเคลื่อนยายคน (Immigration) ที่ไมสอดรับการพัฒนาประเทศ การบริโภคที่เกินตัว (Excessive Consumption) คุณภาพของการศึกษาและการวิจยั และ พัฒนา ระบบเศรษฐกิจยุคปจจุบนั หรือ Market Fundamentalism ซึง่ ดำเนินมาตัง้ แตสมัยทศวรรษ 1980 นัน้ คงจะถึงเวลาตองปรับเปลีย่ น ตอไป คำถามคือผูบริหารเศรษฐกิจของประเทศไทยจะตองรับรูและ เขาใจพรอมทั้งวางแผนอยางไร? 2. ดานสังคม เมือ่ ตอนทีผ่ มเปนเด็กนัน้ ผมไดอา นหนังสือฝรัง่ เกีย่ วกับเหตุการณทด่ี วงจันทรจะพุง เขาชนโลกเปนผลใหทกุ ประเทศ ตองรวมมือกันขจัดมหาภัยที่กำลังจะเกิดขึ้น ประเทศที่เปนศัตรูกัน ตองรวมมือกันเพราะมีศตั รูรว ม (Common Enemy) เดือนทีผ่ า นมา คนไทยทุกคนมีศัตรูรวมกันคือ “น้ำ” ซึ่งเหมือนกับญี่ปุนที่เกิดวิบัติ 181 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
สามอยาง (Triple Tragedies) คือ Tsunami, แผนดินไหว และ โรงงานไฟฟานิวเคลียรระเบิด แตการตอบสนองตอมหันตภัยระหวาง คนสองประเทศแตกตางกัน เราชืน่ ชมชาวญีป่ นุ ทีม่ คี วามอดทน เสียสละ รักเพือ่ นรวมชาติ โดยไมเคยเรียนรูถ งึ เหตุและผลและตอบตัวเองไมได วาทำไมคนไทยจึงไมเหมือนคนญีป่ นุ เราจึงไดเห็นคนบางสวนไมยอม ออกจากบานเพราะหวงทรัพยสินแตไมหวงชีวิตวาจะกินอยูอยางไร? ครั้งนี้เราโชคดีที่ศัตรูของเราเปนน้ำซึ่งยึดประเทศของเราไดไมนาน แตหากเปนอะไรบางอยางที่ตองการจะเขามาอยูอยางถาวรแลวเรา คงตองหาคำตอบไวลว งหนาวาจะปรับเปลีย่ นสังคมอยางไรใหมคี วาม เขมแข็งกวานี้ซึ่งอาจไมตองเทาคนญี่ปุนแตก็ตองแข็งแรงพอที่จะ ยึดโยงประเทศใหอยูไดอยางมั่นคงและสงบสุข 3. ดานสิ่งแวดลอม มีคนอยูสองกลุม กลุมที่หนึ่งที่เชื่อใน ทฤษฎีภาวะโลกรอนที่เกิดขึ้นจากผลของการสะสมกาซคารบอนมา รอยกวาป แตบางคนก็เชือ่ วาอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูท กุ วันนีเ้ กิดจาก แกนโลกที่หมุนผิดไปและจะกลับมาเหมือนเดิม ใครจะเชื่ออยางไรก็ ไมนามีปญหาแตปญหาอยูที่วาธุรกิจ การคา การลงทุนไดถูกกระทบ แลวเนือ่ งจากจุดเนนของอุปสงคไดเปลีย่ นแปลงไป เพือ่ ความอยูร อด ของธุรกิจการจัดการทุนจะตองเปลี่ยนไปซึ่งมีหลายแนวทางเชน Circular Economy, Low Carbon Economy, Green Economy, Beyond Green Economy, หรือแมกระทัง่ Restorative Economy เลือกไดตามชอบใจ แตผมขอเลือกระบบที่หาซึ่งหมายถึงหากเราใช ทรัพยากรธรรมชาติไปหนึ่งสวนแลวจะตองนำคืนกลับมามากกวา สวนทีใ่ ชไป แนวทางของการดำเนินเศรษฐกิจในอนาคตจึงมีแกนของ ความยัง่ ยืนของสิง่ แวดลอมและยุตธิ รรมของสังคมเปนหลัก ซึง่ หมายถึง รู้งี้ 182
อัตราความเสรีของตลาดที่ผานมาจะตองถูกปรับเปลี่ยนไป 4. ดานการเมือง ชือ่ ของพรรคการเมืองหลายพรรคทัง้ ในและ ตางประเทศบอกถึงแนวนโยบายของพรรค เชน เสรีนยิ มประชาธิปไตย สังคมประชาธิปไตย แรงงาน อนุรักษนิยม เปนตน แตในระยะหลัง นโยบายพรรคไมสอดคลองกันกับชื่อ คงเดากันไมยากวาสาเหตุนั้น เกิดจากการเปลี่ยนของระบบอยางตอเนื่องมาประมาณ 30 ปแลว ั ลักษณดงั ทีย่ กตัวอยาง แตการเมืองไทยไมเคยเปลีย่ น เพราะไมเคยมีสญ ขางตน เราจึงเดากันไมออกวาชือ่ นโยบายและการปฏิบตั ขิ องการเมือง ไทยนัน้ ตรงกันหรือไม ระบอบประชาธิปไตยของเราลมเหลวมาตลอด มันจึงมีแตชอ่ื เทานัน้ พวกเราจึงตองเผชิญกับปญหามากมายเมือ่ ระบบ การจัดการเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนตั้งแตทศวรรษ 1980 และรวมทั้งที่ กำลังจะเปลีย่ นตอไปอีกในอนาคตอันใกล เนือ่ งจากการเมืองมีอทิ ธิพล และสัมพันธอยางใกลชดิ กับเศรษฐกิจ การจัดการเรือ่ งน้ำทวมจึงเปน ตัวอยางแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพของการเมืองไทย แตผลทีป่ รากฏ ใหเห็นคือการจัดการทางการเมืองไมมปี ระสิทธิภาพ มีความขัดแยง ตัง้ แตระดับบริหารจนถึงชาวบาน ความแตกแยกในทางการเมืองราวลึก หากเราไมสามารถปรับความแตกแยกใหลดลงเหมือนกับทีจ่ ะพยายาม ปรับลดความเหลื่อมล้ำรายไดของคนในสังคมไปพรอมกันแลวเราคง จะพบกับความลมเหลวทั้งสองอยาง น้ำทวมคราวนี้ตองเปนบทเรียนที่คนฉลาดตองใชเพื่อให เกิดประโยชนแกประเทศเพราะการเมืองไมไดหมายเพียงแคมีพรรค การเมืองและนักการเมืองเทานัน้ แมประเทศใหญอยางสหรัฐอเมริกา เองก็ตองปรับตัวและปรับเปลี่ยนโครงสรางการเมือง เศรษฐกิจและ สังคม เนื่องจากลืมตัวไปวาระบบที่ใชมาตั้งแตหลังสงครามโลกครั้ง 183 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ที่สองนั้นจะอยูไดตลอดไป แมกระทั่งมีคำเตือนจากผูเชี่ยวชาญดาน อเมริกาซึ่งเปนชาวรัสเซียในชวงหลังป ค.ศ. 1989 หรือหลังรัสเซีย ลมสลายวา “เราจะสรางสิ่งซึ่งเลวรายใหเกิดแกทาน สิ่งนั้นก็คือการ ขจัดศัตรูตัวสุดทายใหทาน” ซึ่งหมายความวาสหรัฐที่ปราศจากศัตรู สำคัญหรือการเปน Sole Power คงจะมีอนาคตทีน่ า เปนหวง กลาวคือ ใครก็ตามทีไ่ มมคี แู ขง คนๆนัน้ ก็จะประมาทซึง่ จะนำไปสูค วามหายนะ นอกจากนั้นก็ยังมีการวิเคราะหวานักเศรษฐศาสตรการเมืองที่โดงดัง อยางคารล มารกซ ดวยวา “ทานผิดทุกเรื่องที่เกี่ยวกับระบอบ คอมมูนิสต แตถูกทุกเรื่องที่เกี่ยวกับระบอบทุนนิยม” ซึ่งหมายความ วาเราเดินทางไปไมถึงเปาหมาย แตเดินอยูบนเสนทางที่มีปญหา มากมาย ตัวอยางทัง้ สองเปนอุทาหรณใหเราศึกษาเพือ่ นำไปปรับเปลีย่ น โครงสรางทุกระดับซึ่งตองใชความสามารถ ซื่อสัตย กลาหาญ โดย มีเปาหมายที่ความเจริญทางเศรษฐกิจ ความยุติธรรมในสังคม และ สิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน น้ำทวมคราวนี้จึงเปนจุดเปลี่ยนที่สำคัญและเราตองหยิบ ฉวยโอกาสนี้เพิ่มศักยภาพทุกระบบของไทยใหหลุดพนจากกับดักที่ เรียกวา Middle Income Trap ใหได
รู้งี้ 184
นอมินีภาคธันวาคม 2 ร2554ายกวาที่คิด หากมีบริษทั ในอเมริกาลงทุนในประเทศไทยโดยใชนอมินี แลว ในเวลาไมนานจากนี้บริษัทนี้ก็จะมีสิทธิไปลงทุนในกลุม ประเทศอาเซียนโดยถือหุนได 70% เนื่องจากเปนบริษัทไทย แตในทางกลับกันหากบริษัทนี้ไมไดมาลงทุนในประเทศไทยและ ตองการจะไปลงทุนในกลุมอาเซียนโดยใชสิทธิถือหุน 70% แลว ก็อาจจะตองถูกบังคับใหตอ งสอบผานขอกำหนดบางอยาง การใช นอมินไี ทยจึงชวยเสริมใหบริษทั อเมริกนั ดังกลาวไดสทิ ธิทไ่ี มควรได เมื่อหลายปกอนหนานี้ประเทศไทยมีปญหาคนไทยพา นักลงทุนตางชาติเขามาถือหุนในกิจการที่ตองหามผานตัวแทนที่ เรียกวา “นอมินี” สังคมตื่นตัวและมีการพยายามเขียนกฎหมาย เพือ่ แกไขปญหานีแ้ ตกย็ งั ไมสำเร็จ บริษทั ทีม่ นี อมินกี ค็ อื บริษทั ไทย แตมีเจาของเปนตางชาติโดยแอบแฝงภายใตผูถือหุนปลอมที่เปน คนไทย ผมไมทราบวาจะใหคำจำกัดความบริษัทเหลานี้วาอะไร เพราะทำถูกกฎหมายโดยนิตนิ ยั แตพฤตินยั นัน้ ผิดกฎหมาย เหตุผล ของพวกที่เห็นดวยกับนอมินีคือ 1) เปนการขยายการลงทุนโดย ตางชาติและสรางงานใหคนไทย 2) นอมินีเกิดขึ้นในประเทศไทย นานมากแลว หากฝนจะเปลีย่ นแปลงก็รงั แตจะทำลายบรรยากาศ การลงทุน ที่สำคัญคือจะกระทบกับบริษัทตางชาติในไทยจำนวน มาก เปนการยอมรับโดยปริยายวาทำผิดมานานแลวก็ขอใหผิด ตอไป ปญหานอมินีจึงคาราคาซังจนถึงทุกวันนี้ สังคมไทยตอง 185 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ตั้งสติใหดีวาจะเดินหนาแกไขเรื่องนี้หรือไมเพื่อสรางประโยชน ตอเศรษฐกิจและสังคมเนื่องจากเปนเรื่องใหญที่ผูมีอำนาจไมเคย สนใจหรืออาจจะเปนนอมินีเสียเอง เหตุผลของการปกปองบางอาชีพเพื่อคนไทยเพราะเรา เห็นวาอาชีพนั้นเปนความมั่นคงของชาติหรือเปนอาชีพที่คนไทย สวนใหญยงั ไมสามารถแขงขันกับตางชาติได ประเทศไทยจึงมีกฎหมาย สงวนอาชีพใหคนไทยหลายรายการ เชน อาชีพเกษตรกรหรือ นายหนา(Broker) บริษัทตางชาติที่เคยทำกิจกรรมเปนนายหนา มากอนจึงใชวิธีหลีกเลี่ยงโดยตั้งบริษัทขึ้นมาใหมอีกหนึ่งบริษัท โดยใหคนไทยถือหุนใหญและดำเนินธุรกรรมตอเนื่องไดทันที บริษัทใหมที่ตั้งขึ้นนี้บริหารโดยผูบริหารตางชาติชุดเดิม ทั้งๆ ที่ ถือหุนเปนสวนนอย คนไทยที่เปนนอมินีไดผลประโยชน ผูลงทุน ตางชาติไดประโยชน ผูเสียหายคือประเทศไทย คำอธิบายงายๆ ก็คือ 1) มีการทำผิดกฎหมายแตไมมีใครสามารถจะดำเนินคดีได เปนผลใหเกิดความเชื่อใหมวาการทำผิดเปนเรื่องถูกตอง และ 2) ประเทศไทยไมสามารถพัฒนาตอไดเพราะบริษัทที่มีศักยภาพ ถือโอกาสเขาครอบงำกิจกรรมทีส่ งวนใหคนไทยจึงไมคมุ ทีจ่ ะพัฒนา ตัวเอง อีกทัง้ กฎหมายก็มชี อ งโหว และทีส่ ำคัญคือนักธุรกิจบางคน ไมมีจริยธรรม จึงเปนบทพิสูจนวากฎหมายไมใชเครื่องมือเดียวที่ ใชในการบริหารประเทศแตคนไทยตองมีศีลธรรม คุณธรรมและ จริยธรรมประกอบกันดวย การเจรจาขอตกลงการคาเสรีชดุ อาเซียน ทีก่ ำลังดำเนินอยูอ ยางเขมขนนัน้ มีขอ บทการลงทุนทีจ่ ะเปดโอกาส ใหตา งชาติเปนเจาของธุรกิจไดถงึ เจ็ดสิบเปอรเซ็นตในบางรายการ ดังที่ไดกลาวขางตน ความแตกตางระหวางการเปดตลาดตาม รู้งี้ 186
ขอตกลงและการปกปองเพื่อคุมครองอาชีพใหคนไทยนั้นคือการ พัฒนาศักยภาพของประเทศ การเจรจาเปดตลาดตองมีขอมูล และเตรียมพรอมเพือ่ เผชิญกับการแขงขัน แตการทีม่ ปี รากฏการณ นอมินคี อื การทำใหคนไทยไมสามารถพัฒนาเพราะ “พืน้ ที”่ ไดถกู ยึดไปโดยพวกนอมินีเรียบรอยแลว นอมินี จึงเปนพฤติกรรมทีเ่ ลวรายเกินกวาใครคิดถึง เปน จุดเริ่มตนของการทุจริตคอรรัปชั่น และทำลายประเทศในที่สุด นอมินีภาค 1 ทำใหเราไมพัฒนา นอมินีภาค 2 กำลังทำใหเรา ถูกประนามและสูญเสียความนาเชื่อถือระดับประเทศ
187 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
สงครามโลกครั ง ้ ที ่ 4 มกราคม 2555 หากทานมีเงินหรือทองจำนวนหนึง่ ทีส่ ะสมไดจากการทำงาน อยางหนักและดวยความซื่อสัตยมาตลอดชีวิตอยูในธนาคารใน ประเทศไทยที่เริ่มเกิดความไมแนนอนในทางการเมืองและเศรษฐกิจ แลว ทานจะตัดสินใจทำอะไรกับสมบัติเหลานี้? ทานอาจจะตัดสินใจ ขนออกไปฝากในธนาคารในประเทศที่คิดวามีความปลอดภัยกวา คำถามตอไปก็คือ ประเทศอะไรที่ปลอดภัยที่ทานพอจะไวใจไดใน ขณะนี?้ ผมไมทราบวาประเทศไทยมีทองหรือเงินฝากไวทป่ี ระเทศใด ในยุโรปหรือสหรัฐ หากมีจริงก็คงจะตองติดตามขาวประเทศเวเนซูเอลา ที่ถอนทองจำนวนแรกออกจากประเทศอังกฤษ 2 รอยกวาตันคิด เปนเงินประมาณ 11,000 ลานเหรียญสหรัฐ และยังกำลังจะถอน สวนที่สองหรือสามอีกในเร็วๆนี้ ความไมมั่นคงทางเศรษฐกิจในกลุม ประเทศพัฒนาแลวเปนโรคที่ยังรักษาไมหายและอาจจะตองใชเวลา อีกหลายป จึงเปนสาเหตุหลักทีท่ ำใหรฐั บาลเวเนซูเอลาตัดสินใจดังกลาว คำถามที่สองก็คือการตัดสินใจสงทองกลับบานจะหนีพนอันตราย ไดจริงหรือ? หากวาเหตุการณที่เกิดขึ้นนี้เปนผลจากความหมดความ นาเชื่อถือในประเทศอังกฤษแลวเวเนซูเอลาคงตองหาประเทศที่มี ระดับความนาเชือ่ ถือทีส่ งู กวา คำถามทีส่ ามคือประเทศทีว่ า นีอ้ ยูไ หน? ประเทศเยอรมัน ฝรั่งเศส หรือ สหรัฐ? สหรัฐเปนประเทศที่แปลก คือมีเงินไมขาดมือ แมขาดดุลการคามหาศาล ซึ่งคำนวณถึงวันนี้แลว ทุกครัวเรือนเปนหนี้ประมาณ 30,000 เหรียญสหรัฐเปนอยางต่ำ รู้งี้ 188
สหรัฐตองปดกวาดบานใหไดกลับมายิ่งใหญอีกครั้ง สงครามของโลก ครัง้ ตอไปนีส้ หรัฐจะไมมญ ี ป่ี นุ เยอรมัน อิตาลี และระบอบคอมมิวนิสต เปนคูต อ สูห ลักแตจะเปนทุกประเทศทีไ่ มมขี อ ตกลงทางการคาทวิภาคี กับสหรัฐซึ่งสหรัฐไดตกลงไปแลว 17 ขอตกลงและลาสุดไดเพิ่มอีก 3 ประเทศคือ เกาหลี ปานามา และโคลัมเบีย หากมองไปขางหนาสัก 5 ปเราก็อาจไดเห็นจำนวนขอตกลงเพิ่มขึ้นระหวางประเทศในกลุม ASEAN กับสหรัฐ และเมื่อเรามองใหไกลออกไปอีกเราก็จะเห็น ความเชื่อมโยงระหวาง ASEAN กับ จีน อินเดีย ญี่ปุน เกาหลี ออสเตรเลียและนิวซีแลนด เมือ่ ถึงเวลานัน้ สงครามก็อาจจะยุตเิ พราะ สหรัฐไดไปกวาครึง่ โลก ซึง่ เปนครึง่ โลกทีจ่ ะเปนตัวขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ โลกในศตวรรษ 21 สิ่งที่เราจะไดเห็นหลังสงครามโลกครั้งนี้คือการปรับระบบ เศรษฐกิจของสหรัฐเพือ่ ลดตัวเลขขาดดุลการคาดวยการสงออกสินคา เทคโนโลยีสูงโดยเฉพาะที่สัมพันธกับการผลิตและบริการที่ลดกาซ เรือนกระจก ขณะเดียวกันสหรัฐก็จะตองแกปญหาการบริโภคเกิน ขนาด (Overconsumption) ดวยการทบทวนโครงสรางภาษีใน ประเทศเสียใหม แตการแกปญหาก็คงจะยาก หากนักการเมืองจาก สองพรรคของสหรัฐยังแตกแยกอยางแรง (Polarized) เชนในปจจุบนั การประทวงที่เรียกวา “Occupy Wall Street” ในปจจุบันไมใช เรื่องที่สหรัฐทำขอตกลงการคาเสรีมากเกินไปแตมาจากสาเหตุของ ความแตกตางของรายไดระหวางผูบริหารและพนักงานซึ่งมากถึง 300 เทา สรางความเหลื่อมล้ำระหวางชนชั้น ซึ่งแปลวาตลอดเวลา ประมาณ 40 ปที่ผานมานั้น การจัดการเศรษฐกิจของสหรัฐมีปญหา คือผลิตภาพการผลิตสินคาตกต่ำ แตกลับไปเพิ่มในภาคบริการทาง 189 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
การเงินซึ่งไมไดสรางมูลคาเพิ่มที่แทจริง ประเด็นสุดทายคือ สหรัฐ ตองทบทวนนโยบายเศรษฐกิจที่ปลอยให “ตลาด” เปนตัวกำหนด มากเกินไป เครื่องมือที่สหรัฐกำลังใชอยูคือการทำขอตกลงฯดังที่ได กลาวขางตน และสุดทายผมเชือ่ วาสหรัฐจะแกปญ หาการเมืองพรอมๆ กับลดชองวางระหวางชนชั้นได ดังนัน้ ประเทศไทยจึงตองเลือกเดินทางรวมไปกับกลุม ประเทศ ในภูมภิ าคนีใ้ หได การจะมีขอ ตกลงการคาเสรีกบั ประเทศใดนัน้ ไมเปน การสรางปญหาเพิม่ หากเรามีเปาพัฒนาเศรษฐกิจประเทศอยางชัดเจน
รู้งี้ 190
AEC เริกุ่มมภาพัตนนธ เมื อ ่ วานนี ้ 2555 ทานคงทราบดีวา เราดูละครไทยพรอมๆกับเพือ่ นของเรา ที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หรือที่กัมพูชา พวกเขา ฟงภาษาไทยได เราอาจจะไมไดดูละครของพวกเขา และเราก็พูด ภาษาของเขาไมได ลองเดาสิครับวา 10 ปจากนี้ไปจะเกิดอะไร ขึน้ อีก ทุกอยางจะเหมือนวันนีห้ รือเราจะดูละครจากเพือ่ นบาน โดย มีตัวอักษรไทยหรือเรียกวา Sub-title วิ่งอยูหนาจอ การสื่อสาร ระหวางคนในกลุมประเทศอาเซียนอาจจะไมใชอังกฤษเปนภาษา หลักอีกตอไป แลวภาษาอะไรทีพ่ วกเราจะใชกนั ? ภาษาไทย เวียดนาม บาฮาซา? ปที่ผานมานี้เราจะไดยินคำวา “AEC” เกือบทุกวัน แต ผลสำรวจออกมาทีไร จำนวนคนรูเรื่องนี้ก็นอยเต็มที นากลุมใจ จริงๆ AEC เปนสวนหนึง่ ของขอตกลงของประชาคม 10 ประเทศ ที่ประกอบดวย ไทย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลปิ ปนส อินโดนีเซีย บรูไน เวียดนาม พมา ลาว และ กัมพูชา มีคนพูดกันมาวา ตอจากนีไ้ ปคนไทยจะเปนคนอาเซียน ประเทศไทยจะเปนสวนหนึง่ ของอาเซียนซึ่งหมายถึง พื้นที่ 10 ประเทศนี้จะเปนพื้นที่ที่เปน ฐานการผลิตและตลาดเดียว ฟงดูคลายๆกับวาประเทศไทยจะ หายไป? หรือหากไมหายไปอยางที่วาแลวมันจะกลายเปนอะไร? การรวมตัวกันของกลุม ประเทศเหลานีเ้ ปนผลใหระบบการบริหาร เศรษฐกิจ การคา การลงทุนเปลี่ยนแปลงดังนี้ 1) ภาษีนำเขา สินคาของทุกประเทศจะตองลดใหลงไปเปนศูนย แตเนื่องจาก 191 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
แตละประเทศมีความแตกตางของศักยภาพการแขงขัน ดังนั้น จำนวนปที่ใชในการลดภาษีดังกลาวจึงแตกตางกัน เชน ไทยอาจ ลดภาษีนำขาขาวเปนศูนยในปนี้ แตฟลิปปนสอาจจะลดเทากับ ไทยไดในอีก 5 ป เปนตน 2) การลดภาษีเปนการใหประโยชน เฉพาะประเทศในกลุมนี้เทานั้น ดังนั้นขอตกลงที่เรียกวา “ถิ่น กำเนิดสินคา” ซึ่งกำหนดวาสินคาที่คาขายระหวางกันนั้นจะตอง มีมูลคาเกิดขึ้นในประเทศผูผลิตเปนเทาไหรหรือเปนกี่เปอรเซ็นต เชน 40 ใน 100 ซึ่งแปลวาผูผลิตสามารถนำเขาวัตถุดิบเปน มูลคาได 60 บาท และ 3) สินคาสงออกจะตองไดมาตรฐานตาม ที่ประเทศนำเขากำหนด เชน มาตรฐานสารตกคางในอาหาร เปนตน โดยสรุปแลวผูที่ผลิตสินคาเพื่อการสงออกสามารถเขาใจ เบื้องตนไดวาจะผลิตสินคาอยางไร? ไมนาจะยากเย็นอะไร? หาก ยั ง ไม เ ข า ใจก็ ข อให ต ิ ด ต อ กรมเจรจาการค า ระหว า งประเทศ กระทรวงพาณิชย ในวันพรุงนี้ และบอกเขาวาสินคาของทานมี หวงโซการผลิตเปนอยางไร? เชน ผาผืนทีผ่ ลิตอยูน น้ั ประกอบดวย มูลคาฝาย ดาย แรงงาน ไฟฟา ฯลฯ เทาไหร ที่เลามานี้เปนสามหลักสำคัญเบื้องตนที่เราจะเขาใจ AEC ได แนนอนเรื่องนี้คงไมจบลงแคนี้ เรายังมีขอตกลงเกี่ยวกับ การคาบริการซึ่งมีถึง 12 สาขาใหญ เชน ทองเที่ยว โทรคมนาคม การศึกษา คาปลีกคาสง เปนตน สิ่งที่เขาตกลงกันก็คือ จำนวน หุนที่บริษัทในประเทศภาคีมีสิทธิจะลงทุนได เชน ตกลงวาให บริษัทในสิงคโปรลงทุนในธุรกิจโรงแรมในไทยได 70 เปอรเซ็นต เปนตน สวนที่สองก็คือจำนวนผูบริหาร(แรงงาน)ที่อนุญาตให เขามาทำงานได นอกจากนั้นก็ยังมีขอตกลงเกี่ยวกับอาชีพเฉพาะ รู้งี้ 192
เชน วิศวกร สถาปนิก แพทย นักบัญชี เปนตน ใครที่มี อาชีพเหลานี้ก็เตรียมตัวเดินทางไปทำงานในตางประเทศไดเลย คำถามคือประเทศไทยจะยอมรับแพทยจากบางประเทศในอาเซียน ไดทันทีหรือไม คงตอบยากนะครับ ดังนั้นประเทศทั้งหลายจึง ตองชวยกันเขียนมาตรฐานอาชีพใหตรงกันกอนซึ่งคงใชเวลาอีก หลายป เมือ่ ถึงเวลานัน้ พวกเราทัง้ หลายในอาเซียนก็จะไดใชสนิ คา ราคาถูกลง เดินทางไปประกอบอาชีพงายขึน้ สามารถเปนเจาของ บริษัทในสิงคโปรและที่อื่นๆ ครับ คงจะรวยกันใหญ สุขภาพก็จะ ดีขึ้นเพราะหมอไมขาดตลาด แตที่สำคัญคงไมลืมประโยคอมตะ ที่วา “ไมมีอะไรฟรีในโลกนี้” ดังนั้นการพัฒนาภาคการผลิตทั้งสินคาและบริการและ ความสามารถเฉพาะตนก็ตองรีบทำตั้งแตวันนี้เพราะ AEC นั้น ไมใชจะเริ่มตนในป ค.ศ. 2015 แตไดเริ่มตนแลวตั้งแตเมื่อวานนี้
193 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ประเทศไทยขาดอาหาร มีนาคม 2555 ความมั่นคงอาหารเปนหัวขอที่พูดถึงกันทั่วโลกแตก็ยังไม สามารถหาขอสรุปไดวาจะแกไขอยางไร Mr. Pascal Lamy เลขาธิการองคการการคาโลกคนปจจุบันพูดถึงการผลิตที่ไมสมดุล ในหมูประเทศทั้งหลาย เชน บางสินคาผลิตไดแค 2 หรือ 3 ประเทศ เชน ขาวโพด ถั่วเหลือง ขณะเดียวกันก็พูดถึงการคาวายังมีปญหาในประเด็นที่ยัง มีการหามการสงออก การอุดหนุนสินคาเกษตร เขาไมไดแนะนำ ทางออกอะไรนอกจากใหประเทศทั้งหลายไปคิดหาทางออกกันเอง (ทานใชคำวา We need to ask the difficult questions) เมื่อ ทานไมฟนธงผมก็จะฟนธงใหทานเอง ผมวาปญหานี้เริ่มตนจากคำ จำกัดความขององคการอาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ หรือเรียกสัน้ ๆวา FAO วา ความมัน่ คงอาหารจะมีไดตอ งประกอบดวย 4 เงื่อนไขคือ 1) ตองมีจำนวนเพียงพอ 2) ตองเขาถึงได หมายถึง ราคาตองพอสมควร 3) ตองปลอดภัย และสุดทายคือตองมีจำนวน สม่ำเสมอดวย ลองเดากันซิครับวามีประเทศไหนบางที่ทำไดครบ 4 เงื่อนไข? ดูเหมือนวาประเทศไทยไมนาจะมีปญหาเพราะมีจำนวน เพียงพอสำหรับบริโภคภายใน และสงออก แตผมมีความเห็นวาหาก เราไมเริม่ วางยุทธศาสตรความมัน่ คงอาหารควบคูก บั พลังงานทดแทน รู้งี้ 194
แลว เราก็จะมีปญหาขาดอาหารอยางแนนอน ตอไปนี้คือเงื่อนไขที่ ตองนำไปคิดกันตอวาจะแกกันอยางไร 1) ไมมีการตัดสินใจวาเราจะใหความสำคัญสินคาเกษตร กลุมไหนเปนอันดับตนๆ เชน ขาว มันสำปะหลัง ออย ยาง ปาลม ราคาน้ำมันทีส่ งู จะเปนแรงกดดันใหมกี ารเปลีย่ นการปลูกพืชดวย ดังนัน้ จึงตองวางแผนวาจะใหปลูกพืชเพื่อพลังงานเปนสัดสวนเทาไหร? 2) ไมมีแผนการจัดการน้ำและดินเพื่อการเกษตร 3) ไมมแี ผนในการใหการอุดหนุนเกษตรกรใหโยกยายอาชีพ เชน ยายจากการปลูกถั่วเหลืองไปปลูกยาง เปนตน การปลอยให เกษตรกรเลือกปลูกพืชตามตลาดดังที่เปนอยูขณะนี้ จะมีผลใหเกิด ความเสีย่ งวาสินคาเกษตรทีใ่ ชเปนอาหารอาจจะขาดแคลนในอนาคต นอกจากนัน้ ยังมีสง่ิ คุกคามทีป่ ระเทศนำเขาอาหารสุทธิ เชน ประเทศ ตะวันตก เอเชีย และตะวันออกกลางบางประเทศไปลงทุนปลูกพืช เกษตรในทวีปแอฟริกา ผลทีต่ ามมาคือตลาดสงออกของเราจะหดหาย ไปบางสวนหรือทั้งหมดภายใน 3-5 ปนี้ 4) การจำกัดการสงออก เมื่อประเทศประสบปญหาในการ ผลิต เชน โรคระบาด ภัยธรรมชาติรายแรง 5) การลงทุนปลูกพืชเกษตรบางชนิดในประเทศเพื่อนบาน เปนสิ่งหลีกเลี่ยงไมได เพราะไมสามารถขยายพื้นที่ในประเทศไดอีก ปญหาคือจะตองชวยเหลือเกษตรกรไทยอยางไรไมใหเกิดผลกระทบ 6) ความปลอดภัยอาหารเปนเรื่องที่ตองดำเนินการตอเนื่อง ดังนั้นการใหความรูแกเกษตรกรควบคูกับความชวยเหลือในการ ปรับปรุงกระบวนการผลิตเปนสิ่งจำเปน เชน การใชเครื่องทุนแรง 7) การพัฒนาการบริโภคภายในประเทศ (Quality Consumption) 195 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ตองควบคูกันไป สินคาอาหารที่บริโภคในประเทศตองมีมาตรฐาน เทากับที่สงออกดวย ดังนั้นการใหความรูผูบริโภค การจัดการตลาด ตลอดจนออกกฎหมายเปนมาตรฐานบังคับใหผูผลิตตลอดหวงโซ ผลิตสินคาใหไดมาตรฐานความปลอดภัย เปาหมายของประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนาที่ขาดแคลน อาหาร (Food Insecurity) นั้นมีวาระซอนเรนอยางแนนอน เพราะ ปญหานีไ้ มใชเริม่ เกิดขึน้ ในชวงวิกฤติราคาน้ำมันสูงอยางกาวกระโดด แตเปนการฉวยโอกาสจากสถานการณดังกลาว คือ ตองการรักษา มาตรการอุดหนุนสินคาเกษตรในประเทศตอไป พรอมๆกับการจำกัด การนำเขาเพื่อตองการปกปองเกษตรกร และยังกลับไปลงทุนปลูก ในประเทศที่ 3 อีก ดังนั้นการขาดแคลนอาหารจึงไมใชผลผลิตที่ ไมพอ แตเปนเรื่องของตลาดที่ลมเหลวที่ประเทศเหลานี้เปนตนเหตุ ทั้งสิ้น
รู้งี้ 196
ใหญเเมษายน ล็กไม2555สำคัญ เมือ่ ถึงทางตันทีจ่ ะผลักดันใหการเจรจารอบลาสุดทีเ่ รียกวา Doha Development Agenda ในกรอบการคาโลก บางประเทศ ก็ไดนำเสนอความคิดวา นาจะมีการตกลงในประเด็นทีม่ คี วามเห็น ตรงกันมากที่สุดกอน เชน “การอำนวยความสะดวกทางการคา” และ “การเก็บภาษีการคาผานระบบ E-Commerce” เปนตน เพื่อเปนการนำทางใหไปสูความสำเร็จของทุกหัวขอในอนาคต ขอเสนอนี้เปนการบอก “ยอมแพ” โดยปริยาย นิยายเรื่องนี้ยาว มากและอาจจะจบไมลงเหมือนละครบางเรื่องที่คนแตงตายกอน จะแตงเรื่องจบ เมื่อตลาดสหรัฐและยุโรปไมสามารถเปนที่พึ่งอีก ตอไป ประเทศสงออกใหญที่สุดอยางจีนก็หันกลับมาขยายตลาด ภายในประเทศ ดังนั้นการลงทุนโครงการใหญๆ และมาตรการ เพิ่มรายไดใหกับประชาชนโดยรวมจึงเปนจุดเนนในการบริหาร เศรษฐกิจตั้งแตบัดนี้ นักการเมืองไทยก็เคยนำเสนอแนวคิดนี้แต ยังไมมวี ธิ กี ารดำเนินการอยางเปนรูปธรรม นอกจากการขึน้ คาจาง แรงงานและเงินเดือนขั้นต่ำ ระบอบการปกครองที่ตางกันเปนผล ใหเกิดผลลัพธที่แตกตางของประสิทธิภาพการบริหารเศรษฐกิจ ซึ่งเราคงจะตองติดตามตอไปวาในระยะยาวแลวระบอบใดจะ เปนผูชนะ กลุมประเทศในขอตกลงเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มี ระดับการพัฒนาเศรษฐกิจทีแ่ ตกตางกันมากมายตัง้ แตระดับพัฒนา 197 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
เชน สิงคโปรจนถึงดอยพัฒนาอยางพมา กัมพูชา และลาว ซึ่ง ไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรจากกลุมประเทศยุโรปจะเปน ประโยชนแกการลงทุนของไทยอยางแนนอน การยายหรือเพิ่ม ฐานการผลิตจากไทยไปยังประเทศเหลานี้ไดเกิดขึ้นแลวโดย ไมตองรอใหมีแรงกดดันจากการขึ้นคาจางในเดือนเมษายนนี้ ทานลองเดาตอไปวาอะไรจะเกิดขึน้ กับเราหากระบอบการปกครอง ของประเทศเหลานีพ้ ฒ ั นาขึน้ เรือ่ ยๆ เชน เรือ่ งความโปรงใสในการ ออกกฎหมายและการบังคับใชกฎหมาย การแกปญ หาคอรรปั ชัน่ การถายทอดอำนาจอยางราบรื่น? คำตอบก็ไมยากหากเพียงแต เราทั้งหลายจะเขาใจคำวาแขงขันใหตรงกัน การแขงขันทางเศรษฐกิจไมใชเรือ่ งการทำลายลางระหวาง ประเทศหรือระหวางคนกับทรัพยากรธรรมชาติอยางที่เขาใจกัน ซึ่งก็เหมือนกับมีการทำนายวาจะมีการโคนระบบทุนโดยชนชั้น กรรมกรนั่นเอง การปรับเปลี่ยนของระบบทุนในยุโรปเปนผลให ความแตกตางของคนในสังคมลดลง แตวิกฤติทางเศรษฐกิจก็ยัง เกิดขึ้นเปนชวงๆ ซึ่งโดยสรุปแลวเปนการเกิดจากเหตุของการเก็ง กำไรหรือบริโภคที่เกินขีดทั้งสิ้นหรือความโลภและตะกละเปน สาเหตุหลัก การลมสลายทางเศรษฐกิจของสหรัฐและยุโรปในชวง หลายปที่ผานมาจึงยังแกไขใหกลับมาเหมือนเดิมไมได ประเทศ ตะวันตกคงจะ “ตก” จริงๆ แลว เพราะปลอยใหตลาดเปนตัว กำหนดระบบเศรษฐกิจจนจัดการไมได จึงมีการคาดกันวารัฐคง ตองเขามาจัดการระบบเศรษฐกิจอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งอาจจะเปนผล ใหกฎหมายและระเบียบทางการคาตางๆ จะเรียงหนากันออกมา แตกลับไมมีใครพูดถึงการจัดการดานอุปสงคใหเหมาะสมอยางไร รู้งี้ 198
และทีน่ า แปลกใจก็คอื นโยบายของกลุม ประเทศเหลานีก้ ย็ งั ตองการ เดินหนาเปดตลาดตอไปซึง่ ดูเหมือนวาจะสวนทางกับวิกฤติทก่ี ำลัง เกิดขึ้น ผมเห็นวาปรากฏการณนี้เปนกลยุทธของฝายตะวันตกที่ จะเขาครอบงำตลาดในวงกวางอีกครัง้ และครัง้ นีจ้ ะสรางสิง่ ทาทาย มากมายใหแกตนเองและประเทศคูส ญ ั ญาเปนอยางยิง่ หากตองการ เปนผูช นะในเกมสใหมนป้ี ระเทศไทยก็ตอ งเริม่ ปรับระบบเศรษฐกิจ ใหเกิดขึน้ ตามแนวดังนี้ 1) ระบบการผลิตทีเ่ พิม่ ประสิทธิภาพและ ประหยัดทรัพยากรไปพรอมกัน การผลิตภายใตระบบเศรษฐกิจ สีเขียวเปนแคเพียงทำเทากับคนอื่นเทานั้น การแขงขันใหชนะได ก็จะตองผลิตใหเขียวเขมกวาคนอื่น การผลิตสินคาใหไดตามนี้จะ ตองดำเนินการทั้งหวงโซ ซึ่งจะเกี่ยวพันกับระบบสนับสนุนอื่นๆ ดวย เชน การขนสง เปนตน 2) การบริโภคที่พอเพียงไมทำลาย ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพเพื่อประหยัดคายาและหมอ ขอใหเขาใจวาการบริโภคเพิ่มเปนการทำลายเศรษฐกิจและลด ศักยภาพการแขงขันของประเทศเหมือนสหรัฐและบางประเทศ ในยุโรปที่ผานมา การแขงขันจึงไมใชแคผลิตเกงเทานั้น แตตอง บริโภคเกงดวย การสรางระบบเศรษฐกิจใหมกำลังจะเกิดขึน้ เพือ่ หลีกเลีย่ ง การลมสลายของประเทศทัว่ โลก ใครจะยอมใหเปนไปตามยถากรรม ก็เชิญตามสบาย แตผมมั่นใจวาเราแกไดเนื่องจากผมมีความเชื่อ และมั่นใจวาในระบบใหมนี้รูปรางเล็กหรือใหญไมใชเรื่องสำคัญ แตที่สำคัญคือใครเกงกวากัน
199 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
บทสุดทเมษายน ายเริ2555่มที่ AEC EBAs ยอมาจาก Everything But Arms ซึ่งมีความหมาย วาประเทศพัฒนานอยทีส่ ดุ ซึง่ มีอยูท ง้ั หมด 48 ประเทศ และสวนใหญ เปนประเทศในทวีปอัฟริกา เชน ทานซาเนีย เซเนกัลและในทวีปอื่น เชน โคลัมเบีย เนปาล บังคลาเทศ แตที่นาสนใจที่สุดในขณะนี้ คือ ในกลุมประเทศอาเซียนสามประเทศซึ่งประกอบดวย กัมพูชา ลาว เมียนมาร (พมา) จะไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเปนศูนย ใน การสงสินคาทุกชนิดเขาไปยังกลุมประเทศในสหภาพยุโรป นอกจาก สิทธิประโยชนทางภาษีนำเขาดังกลาวแลว ขอจำกัดดานจำนวนนำเขา หรือโควตานำเขาก็ยังไมมีอีกดวย ยกเวน ขาว น้ำตาล และกลวย ในบางชวงเวลาทีก่ ำหนดไว การใหสทิ ธิพเิ ศษนีเ้ ริม่ ตัง้ แต 1 กุมภาพันธ 2001 เปนตนไป โดยยังไมมีเวลาสิ้นสุด ผมเขาใจวาสิทธิพิเศษทาง ภาษีที่กลาวนี้เปนสาเหตุหลักที่เปนพลังขับเคลื่อนใหมีการลงทุนใน ประเทศเหลานี้และจะมีเพิ่มขึ้นเมื่อบรรยากาศทางการเมืองในพมา ดีขน้ึ ขาวลาสุดคือประเทศในสหภาพยุโรปและสหรัฐเตรียมทีจ่ ะยกเลิก การคว่ำบาท (Sanction) แกประเทศพมาหลังการเลือกตั้งซอมใน วันที่ 1 เมษายนที่ผานมา จึงไมตองสงสัยเลยวาทำไมพมาจึงเปน ประเทศเนื้อหอม องคกรธุรกิจทั้งไทยและหลายประเทศไดเดินทาง ไปเยือนเพือ่ ศึกษาหาลูท างทำการคาและลงทุน ในอีกไมเกินหาปการ ลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน เชน ถนน รถไฟ สนามบิน และตึกระฟา ก็จะเกิดขึน้ พรอมๆ กับการยายฐานการผลิตสินคาทีเ่ หมาะกับแรงงาน รู้งี้ 200
จำนวนมากและคาจางที่ยังต่ำ ภายในอีก 5 ปจากนี้ไปประเทศพมา ก็จะสงออกสินคาเหมือนที่ไทยเคยผลิตไปยังกลุมประเทศลูกคา เดียวกับไทยแตจะแขงขันไดดีกวาเพราะสิทธิของ EBAs ดังกลาว คาแรงขั้นต่ำที่เพิ่มขึ้น 300 บาทตอวันไมใชปญหาหลักในการกดดัน ใหเกิดการยายฐานการผลิตจากไทย แตเปนแรงกดดัน “เพิ่ม” ที่ให มีการเคลือ่ นยายฐานการผลิตเร็วขึน้ หาปขา งหนาจึงเปนหาปอนั ตราย ทีผ่ บู ริหารประเทศไทยจะตองกลาตัดสินใจดำเนินการอยางเปนรูปธรรม วาจะกำหนดยุทธศาสตรรายสินคา บริการและการลงทุนอยางไร การ รอใหปญหาถึงขั้นวิกฤติแลวจึงแกไขดังเชนที่ผานมานั้น จะตองไม เกิดขึ้นอีกเพราะนักลงทุนไทยจะตองดิ้นรนเพื่อความอยูรอดและ ผลกำไร ภาระจึงตกแกผบู ริหารประเทศทีจ่ ะตองแสดงความสามารถ แตวนั นีก้ ย็ งั ไมเห็นวาจะทำอะไรเปนชิน้ เปนอัน แมกระทัง่ ความหมาย แทจริงของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ก็ยังไมเขาใจ เชน รัฐมนตรีบางทานก็ยังพูดซ้ำซากวาการเคลื่อนยายแรงงานจะเสรีใน ป 2015 เปนตน นักการเมืองจะตองเรงออกกฎหมายที่เกี่ยวของกับ ขอตกลงในอาเซียน เพือ่ เปนฐานในการพัฒนาแทนทีจ่ ะเนนกฎหมาย เกีย่ วกับการเขาสูอ ำนาจเชนการแกรฐั ธรรมนูญ นักการเมืองคงเขาใจ วาพวกตนตองไดอำนาจมากอน แลวการดำเนินการที่เหลือจึงจะ งายขึ้น ผมไมคิดอยางนั้นเพราะในปจจุบันนี้หลายสวนของอธิปไตย ของประเทศถูกกำหนดอยูในหลายบทของขอตกลงการคา และยังมี หลายทานกังวลวาสัญญาการคาเสรีมีผลใหอธิปไตยของไทยลดลง จะเปนจริงหรือไมนน้ั ผมคงไมอยากตอบทันที แตผมแนะนำใหศกึ ษา วาอำนาจอธิปไตยจะลดลงเทาไหรหากไมมขี อ ตกลงฯ และขอใหศกึ ษา ตัวอยางของไตหวันวาไดรบั ผลกระทบเพียงใด หลังจาก “หลุด” 201 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ออกจาก “วงจร” ในขณะนี้ เนื่องจากมีจีนเขาไปแทนที่ตำแหนงใน สหประชาชาติในชวง 30 ปที่ผานมา วันนี้ตองถามวา “ไตหวัน” เธอ ยังสบายดีอยูหรือ? ปลายเดือนที่ผานมา ผมไดไปรวมการประชุมระดับอาเซียน และสหภาพยุโรปครัง้ ทีส่ องทีเ่ รียกวา ASEAN-EU Business Summit ที่กรุงพนมเปญ กัมพูชา ซึ่งเปนการประชุมระดับรัฐมนตรีพาณิชย ของประเทศอาเซียนและอียูเปนเวลาสองวัน สหภาพยุโรปมีความ มุงมั่นที่จะเขามามีบทบาทในกลุมประเทศ ASEAN ดวยเหตุผลสอง ประการคือ 1. ASEAN เปนกลุม ทีจ่ ะมีอตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจ สูง โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีการเชื่อมโยงดวยขอตกลงการคากับอีก หกประเทศ คือ จีน อินเดีย ญี่ปุน เกาหลี ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด และ 2. สหภาพยุโรปไมตองการใหสหรัฐมีอิทธิพล เหนือตนในพื้นที่เหลานี้โดยเฉพาะอยางยิ่งสหรัฐกำลังเจรจากับกลุม ประเทศในอาเซียนเพือ่ เขาสูข อ ตกลงทีเ่ รียกวา Trans-Pacific Strategic Partnership (TPP) เชน สิงคโปร บรูไน มาเลเซีย เวียดนาม และจะตามมาดวยญี่ปุน จีน เปนตน ขอแนะนำทั่วไป (General Recommendations) จากการประชุมมีหกขอคือ 1. เดินหนา เจรจาขอตกลงในกรอบ ASEAN-EU กับสิงคโปรและมาเลเซียให เสร็จโดยเร็วเพื่อนำไปสูความสำเร็จของ ASEAN-EU Free Trade Agreement ตอไป 2. ใหมีการปรับกฎระเบียบของประเทศตางๆ ในอาเซียนใหตรงกันเพือ่ ใหเกิดความสะดวกในการคาและการลงทุน ในป 2015 3. ใหมีการพบปะแลกเปลี่ยนความเห็นระหวางภาค ธุรกิจของกลุมประเทศใน ASEAN และ EU อยางสม่ำเสมอเพื่อ ใหเกิดโอกาสใหมๆ และการสนับสนุนการรวมตัวของ ASEAN ตอไป รู้งี้ 202
4. ใหมีความรวมมือระหวาง EU และ ASEAN ในการสงเสริม ความรวมมือในดานกฎระเบียบและเทคนิคเพือ่ ขจัดปญหาการกีดกัน การคาตอกัน 5. กลุมประเทศ EU และ ASEAN ตองปรับปรุง ใหมีความสะดวกในการทำการคาและการลงทุนภายใตโครงการ EU-ASEAN Trade and Investment Work Programs และ 6. EU จะใหความชวยเหลือในดานการสรางความเขาใจในกฎระเบียบ การดำเนินธุรกิจของ EU เพื่อใหธุรกิจของ ASEAN สามารถเขาถึง ตลาด EU ไดงา ยขึน้ เรือ่ งเหลานีจ้ ะตองมีการติดตามผลในการประชุม ในปหนาที่ประเทศบรูไน ที่ผมเลามาทั้งหมดนี้มีจุดประสงคใหพวกเราทราบวาความ เปน AEC นั้นไมใชครอบคลุมพื้นที่แคสิบประเทศ ที่มีประชากร 600 ลานคนหรือมีรายไดประชาชาติรวมกัน 1.8 ลานลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งเปนอันดับ 9 ของโลกเทานั้น แตตองการใหทราบวา การเดินทาง ไปสูเ ปาหมายของการพัฒนาทีม่ น่ั คง ยัง่ ยืนและมีความสุขนัน้ พวกเรา ตองเตรียมตัวดังนี้ 1. ตองเขาใจและรับทราบวาประเทศไทยไดกาว เขาไปสูวงจรการรวมตัวกับกลุมประเทศตางๆ อยางเปนระบบแลว นักธุรกิจ ภาคประชาชนหรือเอ็นจีโอ ราชการและนักการเมือง ตอง รีบศึกษาเรื่อง AEC อยางถองแท 2. ปรับปรุงความรูภาษาอังกฤษ ใหใชงานได หากเพิ่มภาษาในอาเซียน เชน เวียดนาม หรือ บาฮาซา ไดอีกหนึ่งภาษาก็จะเปนประโยชนมากขึ้น 3. การแขงขันไมใชสิ่ง เลวรายแตเปนเครือ่ งมือในการพัฒนาในทุกดาน การแขงขันในกรอบ ที่ไดตกลงกันจะเปนวิธีที่ดีที่สุดเมื่อเทียบกับการแขงขันที่ไมมีกรอบ หรือเปรียบไดกับการตอยมวยสากลกับมวยวัด ความสามารถในเชิง การแขงขันจะตองเกิดขึ้นในทุกภาคสวนของสังคมไทย 4. กรอบการ 203 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
คาเสรีไมไดกำหนดใหผบู ริโภคตองดำเนินการอยางไร ดังนัน้ ผมเสนอ วาตองสรางศักยภาพการแขงขันของประเทศใหแกรงโดยผานการ บริโภคของคนในประเทศ การใหความรูในการบริโภคอยางยั่งยืน มีสติ ตามกำลังทรัพย ปลอดภัยจากโรค และตามมาตรฐานตอง เกิดขึ้นกับคนไทยทุกคน AEC เปนเพียงบททดลองที่หนึ่งเทานั้น
รู้งี้ 204
ทุกกรมคือกรมเจรจาฯ พฤษภาคม 2555
ก็ไมมที างจะทราบไดวา ระบบเศรษฐกิจอะไรทีจ่ ะถูกพัฒนา ขึน้ มาใชกนั อีกเพือ่ ใหเหมาะสมกับภาวะทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูใ นขณะนี้ เปนปสุดทายแลวที่ประธานาธิบดีโอบามาจะทำหนาที่ ครบวาระ 4 ป ในชวงที่ทานไดรับเลือกใหเขามาบริหารประเทศ นั้น ภาวะเศรษฐกิจสหรัฐกำลังอยูในชวงวิกฤตหนัก เนื่องจาก ฟองสบูแตก หรือเรียกวา Hamburger Crisis ประธานาธิบดี ใชคำวา “เปลี่ยน” (Change) ในการหาเสียงจนไดรับคะแนน เสียงอยางทวมทน สามปกวาทีผ่ า นมาไดพสิ จู นแลววาสภาพเศรษฐกิจ ของสหรัฐไมไดดีขึ้นอยางที่คาดไว แตก็ไมเลวลงไปจากเดิม ผม คาดวาประธานาธิบดีโอบามาจะไดรับเลือกตั้งเปนสมัยที่สอง ดวยเหตุผลที่วา คูแขงที่เห็นอยูในขณะนี้ไมไดแสดงแนวคิดอะไร ใหมๆ ที่พอจะโดนใจคนอเมริกันไดเลย สภาพเศรษฐกิจของยุโรป ก็มีสภาพคลายกับสหรัฐแตที่แยกวาก็คืออียูนั้นประกอบดวย 27 ประเทศซึ่งมีอธิปไตยของตนเอง นั่นก็หมายความวาการจะใช นโยบายรวมชิ้นเดียวกันนั้นจะลำบากเปนอยางยิ่ง เชนตัวอยาง ของกรีซที่กำลังเกิดขึ้น ผมสรุปวาความผิดพลาดทางเศรษฐกิจของกลุมประเทศ ทั้งสองเกิดจากสาเหตุเดียวคือ การบริโภคเกินขนาดของคนใน ประเทศ ซึ่งเปนผลจากโลกาภิวัตนอุปทานอยางแทจริง วิธีแกไข ก็คงจะตองทำใหเกิดโลกาภิวตั นอปุ สงคใหได การสรางอุปสงคทด่ี ี 205 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
คงตองเปนการบานใหทุกประเทศนำไปคิดตอ ประเทศไทยก็จะ ตองมีคนคิดเชนกัน ใครคิดไดก็ขอใหบอกดวย จะไดนำไปปฏิบัติ ใหเกิดภูมิคุมกันไมใหเศรษฐกิจลมสลายอีกครั้ง ที่นาศึกษาเปน อยางยิ่งคือทั้งสหรัฐและสหภาพยุโรปยังเดินหนาเจรจาขอตกลง การคาเพิม่ กับหลายประเทศ โดยเฉพาะกับกลุม ประเทศในอาเซียน เชน สิงคโปร เวียดนาม บรูไน มาเลเซีย ซึ่งหมายความวาการ เปดเสรีทางการคายังเปนยุทธศาสตรในการจัดการระบบเศรษฐกิจ ทีส่ ำคัญตอไป ใครจะคิดอยางไรก็เปนสิทธิสว นบุคคลแตผมเชือ่ วา ขอตกลงการคาเสรีเปนเครื่องมือในการพัฒนาเศรษฐกิจที่เรา ตองนำไปใชใหเกิดผลอยางแทจริง ปลายป ค.ศ. 2001 ประเทศสมาชิก WTO ไดมีขอตกลง รวมกันที่เรียกวา Doha Development Agenda (DDA) ซึ่ง ระบุวาใหประเทศตางๆ ลดภาษีใหสินคาและบริการสิ่งแวดลอม (Environmental Goods and Services) เพื่อเปดโอกาสใหมี การพัฒนาการผลิตเพื่อความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม แตเปาหมาย นี้ก็ยังไมสามารถบรรลุผลจนถึงบัดนี้ ผมสรุปไดวาสาเหตุเกิดจาก สิ่งตอไปนี้คือ ขอ 1 ประเทศสมาชิกไมเห็นความสำคัญของ ขอตกลงนี้ ขอ 2 โจทยนี้ยากเกินกวาที่จะตอบไดงายๆ เชน สินคาและบริการอะไรทีจ่ ะเขาขายการลดภาษี ผมมีความเห็นวา การกำหนดคำจำกัดความนี้ไมสามารถทำไดเพียงแคตัวสินคา เทานัน้ แตตอ งพิจารณาขบวนการผลิตของสินคานัน้ ๆ ประกอบกัน ดวย ขณะทีส่ มาชิกทัง้ หลายยังตกลงกันไมไดอยูน น้ั ก็ไดมกี าร เจรจาเรือ่ งการลดภาวะโลกรอนแทรกขึน้ มา ภายใตสหประชาชาติ รู้งี้ 206
ที่เรียกวา United Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC) ตัง้ แตป ค.ศ. 1992 ซึง่ มีเปาหมาย ลดกาซเรือนกระจก โดยกำหนดตัวเลขของปฐานและเปอรเซ็นต ที่จะตองลดเปนการทั่วไป แมขณะนี้ยังไมมีขอตกลงรวมกัน แต ประเทศพัฒนาแลวบางประเทศก็เริม่ ออกกฎระเบียบใชบงั คับแลว สิ่งที่ประเทศไทยตองดำเนินการดวนก็คือ จัดตั้งทีมเจรจาที่เขาใจ เศรษฐกิจ การคา และการลงทุน เพราะผมมีความเห็นวา UNFCCC เปนการเจรจาขอตกลงการคาฉบับใหมที่สวนทางกับ ขอตกลงการคาเสรี เพราะโทษของการปฏิบัติไมไดก็คือสินคา สงออกจะถูกเก็บภาษีนำเขา การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางของ ระบบการผลิตของไทยจะตองเกิดขึ้นอยางรวดเร็วเพื่อรองรับกับ ขอตกลง “แฝด” ที่กำลังเกิดขึ้น ขอตกลง UNFCCC จะเปน ขอตกลงในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเชนกัน เมือ่ นำทัง้ สอง ขอตกลงมาตอกัน เราก็จะเห็นสิง่ ตอไปนี้ ขอ 1 ตนทุนสินคายังตอง มีการพัฒนาใหแขงขันในตลาดโลกอยางตอเนือ่ ง ขอ 2 เทคโนโลยี การผลิตตองมีความสามารถที่จะผลิตสินคาที่ทำลายทรัพยากร ธรรมชาตินอยที่สุดและขณะเดียวกันก็ปลอยกาซเรือนกระจก นอยที่สุดเชนกัน ขอ 3 การผลิตสินคาตองเชื่อมโยงหวงโซการ ผลิตทั้งระบบเพื่อใหไดเปาหมายของขอ 1 และ 2 ขอ 4 กฎหมาย และระเบียบจะตองไดรับการแกไขใหสอดคลองเพื่อสงเสริม โครงสรางการผลิตยุคใหม และขอ 5 ภายใตบริบทนี้บริษัทใหญ หรือเล็กไมสำคัญเทากับประสิทธิภาพในการปรับตัว สิง่ ทีส่ ำคัญคือสิง่ แวดลอมไมใชประเด็นสุดทายทีม่ อี ทิ ธิพล ตอระบบการผลิต แตยงั มีประเด็นทางสังคมดานอืน่ ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ 207 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
อยางมีนัยสำคัญอีก เชน แรงงาน ทรัพยสินทางปญญา การ ฟอกเงิน การกอการราย เปนตน ซึ่งผมเห็นวา มิติทางการคา ใหมๆ ที่ทาทายเหลานี้เปนโอกาสของเราที่จะใชเปนเครื่องมือใน การพัฒนาประเทศตอไป การดำเนินการใหไดผลสำเร็จนั้น จะ ตองรวมมือกันระหวางเอกชน และรัฐ กรมแรกที่สำคัญคือ กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ เพราะเปนหนาดานในการเจรจาขอตกลง ดังนั้นกรมเจรจาฯ จึง ตองสรางบทบาทของตนใหสอดคลองกับหนาที่ดังนี้ ขอ 1 ตอง สามารถคาดการณลว งหนาถึงแนวโนมเศรษฐกิจโลกไดอยางนอย 10 ป ขอ 2 ตองสามารถอธิบายสิ่งที่ตนคาดการณใหสังคมเขาใจ ได ขอ 3 ตองสามารถสรางความนาเชื่อถือ (Credit) ใหกับ ตนเองได ขอ 4 ผลการเจรจายอมไมเปนไปตามที่ตองการได ทุกเรื่อง กรมเจรจาฯ ตองสามารถอธิบายใหกลุมคนที่ขัดแยงกัน ในผลประโยชนเขาใจได ขอ 5 กรมเจรจาฯ ตองสามารถติดตาม ผลการเจรจาใหเกิดขึ้นไดจริงคือทำใหกรมอื่นๆ ที่ตองดำเนินการ ตามขอตกลงไดลงมือปฏิบัติจริง เชน การแกกฎหมาย เปนตน ผมเชื่อวากรมเจรจาฯ มีจุดออนมาก เนื่องจากมีอำนาจจำกัด ดังนั้น กรมฯ จึงตองสรางพันธมิตรกับภาคธุรกิจและหนวยงาน อื่นๆ ที่จะชวยในการ “สงมอบ” สินคาตามขอตกลง ทัง้ หมดนีย้ งั ไมรวมถึงการทีก่ รมเจรจาฯ จะตองสรางและ รักษาคนเกงๆ ไวใหได เพราะหากไมมีคนแลว สิ่งที่กลาวมา ทั้งหมดก็คือความฝนเทานั้นเอง
รู้งี้ 208
รอวิพฤษภาคม กฤติ2555 กอน ในชวงนี้เราคงตองพูดถึงพมากันใหมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง พมาเปนสมาชิกหนึ่งใน ASEAN หัวขอยอดฮิตก็คือการเขาไปหา โอกาสการคาและการลงทุนหลังจากพมาเริ่มการพัฒนาระบอบการ ปกครอง แตขณะเดียวกันก็มเี สียงเตือนจากนักวิชาการหลายทานวา ไมควรจะรีบรอนเพราะการเปลีย่ นแปลงเพิง่ เริม่ ตนเทานัน้ จึงมีความ ไมแนนอนอยูสูง ดังนั้นนักธุรกิจควรจะตองถือหลักคอยเปนคอยไป จะดีกวา ตองขอบคุณทานที่ออกมาเตือนแตก็คงหยุดกระแส “พมา ฟเวอร” ไมไดอยูดี วันนี้จึงขอเสนอขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ EBAs ยอมาจาก Everything But Arms ซึ่งมีความหมาย วาประเทศพัฒนานอยทีส่ ดุ ซึง่ มีอยูท ง้ั หมด 48 ประเทศและสวนใหญ เปนประเทศในทวีปอัฟริกา เชน ทานซาเนีย เซเนกัลและในทวีปอื่น เชน โคลัมเบีย เนปาล บังคลาเทศ แตที่นาสนใจที่สุดคือในกลุม ประเทศอาเซียนมีอยูส ามประเทศซึง่ ประกอบดวย กัมพูชา ลาว และ พมา (แมวา ขณะนีพ้ มาจะยังไมไดรบั สิทธินค้ี นื เพราะปญหาเรือ่ งแรงงาน แตก็คาดวาจะไดคืนในไมชานี้) จะไดรับสิทธิพิเศษคือ ไมมีโควตา และภาษีศุลกากรในการสงสินคาทุกชนิดเขาไปยังกลุมประเทศใน สหภาพยุโรป ยกเวน ขาว น้ำตาล และกลวย ในบางชวงเวลาที่ กำหนดไว การใหสทิ ธิพเิ ศษนีเ้ ริม่ ตัง้ แต 1 กุมภาพันธ 2001 เปนตนไป โดยยังไมมีเวลาสิ้นสุด ผมเขาใจวาสิทธิพิเศษทางภาษีที่กลาวนี้เปน สาเหตุหลักทีเ่ ปนพลังขับเคลือ่ นใหมกี ารลงทุนในประเทศเหลานีแ้ ละ จะมีเพิ่มขึ้นเมื่อบรรยากาศทางการเมืองในพมาดีขึ้น ขาวลาสุดคือ 209 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
กลุมประเทศในสหภาพยุโรปไดยกเลิกคว่ำบาทเปนเวลาหนึ่งป หลังการเลือกตั้งซอมในวันที่ 1 เมษายนที่ผานมา จึงไมตองสงสัย เลยวาทำไมพมาจึงเปนประเทศเนื้อหอม คาดวาในอีกไมเกินหาป การลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน เชน ถนน รถไฟ สนามบิน และ ตึกระฟาก็จะเกิดขึ้นพรอมๆกับการยายฐานการผลิตสินคาที่เหมาะ กับแรงงานจำนวนมากและคาจางที่ยังต่ำ ภายในอีก 5 ปจากนี้ไป ประเทศพมาก็จะสงออกสินคาเหมือนทีไ่ ทยเคยผลิตไปยังกลุม ประเทศ ลูกคาเดียวกับไทยแตจะแขงขันไดดกี วาเพราะสิทธิของ EBAs ดังกลาว คาแรงขั้นต่ำที่เพิ่มขึ้น 300 บาทตอวันไมใชปญหาหลักในการกดดัน ใหเกิดการยายฐานการผลิตจากไทย แตเปนแรงกดดัน “เพิ่ม” ที่ให มีการเคลื่อนยายฐานการผลิตเร็วขึ้น หาปขางหนาจึงเปนหาปอันตรายที่ผูบริหารประเทศไทย จะตองกลาตัดสินใจดำเนินการอยางเปนรูปธรรมวาจะกำหนด ยุทธศาสตรรายสินคา บริการ และการลงทุนอยางไร การรอให ปญหาถึงขั้นวิกฤติแลวจึงแกไขดังเชนที่ผานมานั้น จะตองไมเกิดขึ้น อีกเพราะนักลงทุนไทยจะตองดิ้นรนเพื่อความอยูรอดและผลกำไร ภาระจึงตกแกผบู ริหารประเทศทีจ่ ะตองแสดงความสามารถ แตวนั นี้ ก็ยังไมเห็นวาจะทำอะไรเปนชิ้นเปนอัน นักการเมืองจะตองเรงออก กฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับขอตกลงในอาเซียนเพือ่ เปนฐานในการพัฒนา เชน มาตรการการอุดหนุนสินคาเกษตรทีจ่ ะตองปรับใหเกิดการแขงขัน ที่ดีขึ้นซึ่งไมใชแคจำนำราคาอยางเดียว กฎหมายที่เกี่ยวกับการเรง ใหเกิดโครงการ “National Single Window” ที่เชื่อมโยงขอมูล ระหวางหนวยงานรัฐเพือ่ ใหเกิดความสะดวกในการสงออกสินคาไทย เปนตน ขอใหสละสิทธิอำนาจที่เคยมีอยูในแตละหนวยงานเพื่อเปด รู้งี้ 210
มิติใหมของการแขงขัน เพราะหากแตละหนวยงานของรัฐยังยึดติด อยูกับอำนาจแลวประเทศไทยก็คงตองเกิดวิกฤติ และการแกปญหา เมื่อวิกฤตินั้นไมใชวิถีของคนเกงอยางแนนอน
211 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
นักการเมือมิถุนง...เธออยู ไ หน? ายน 2555 คงไมมใี ครปฏิเสธวาเศรษฐกิจและการเมืองจะตองสนับสนุน กันและกันและเดินคูกันไป สิงคโปรพัฒนาเศรษฐกิจไปไดดีและ อยางตอเนื่องนั้นก็ดวยสถาบันทั้งสองดังกลาวแข็งแรงและไม ขัดแยงกัน ความจริงก็เปนตัวอยางที่ไมนาจะเลียนแบบยากนัก หากมีใครสักคนสามารถสรางความเขาใจใหคนในประเทศเขาใจ วาประเทศกำลังจะเดินไปทางไหน? อาทิตยทผ่ี า นมาไดมกี ารประชุม ประจำปขององคกรเอกชนไทย ซึ่งประกอบดวย หอการคาไทย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และสมาคมธนาคารไทย หรือ คณะกรรมการรวม (กกร.) กับองคกรเอกชนของญี่ปุน(Nippon Keidanren) ขอเสนอโดยสรุปของทัง้ สองฝายคือใหมกี ารเพิม่ การ เปดตลาดสินคา บริการและการลงทุนภายใตขอ ตกลงการคาฉบับ ปจจุบนั ใหมากขึน้ และทีส่ ำคัญกวานัน้ คือจะมีการจัดตัง้ คณะทำงาน ติดตามการใชประโยชนของขอตกลงนี้ ซึ่งเปนมิติใหมของกรอบ ขอตกลงการคาที่ไทยไดทำไวกับทุกประเทศ การมีคณะทำงาน จะชวยใหการใชประโยชนจากขอตกลงความรวมมือระหวางสอง ฝายเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น เชน ขอตกลงความ รวมมือทางวิทยาศาสตร พลังงาน เกษตร สิ่งทอและเสื้อผา เปนตน โดยแทจริงแลว ขอตกลงเหลานี้มีความสำคัญกวาการ ลดภาษีสินคา เนื่องจากเปนความรวมมือในการพัฒนาศักยภาพ การแขงขันอยางยั่งยืน หวังวาผลการประชุมของภาคเอกชนสอง รู้งี้ 212
ฝายในครัง้ นีจ้ ะกอใหเกิดแรงผลักดันใหรฐั บาลเดินหนาอยางรวดเร็ว เพราะเราไดเสียโอกาสเปนอยางมากในชวง 5 ปที่ผานมา สวน ในระดับโลกนั้น ทุกประเทศก็ยังมีปญหาวาการเจรจาการคาโลก รอบโดฮายังคงไมคืบหนา อุปสรรคที่ทำใหเกิดความลาชานั้นเปน เพราะปญหาการตัดสินใจของนักการเมือง ปญหาอยูที่วานัก การเมืองจะตัดสินเรื่องนี้ภายใตเงื่อนไขอะไร? เชน เงื่อนไขการ ใชประโยชนเพือ่ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ หรือเพือ่ ไมใหกระทบ กับคะแนนเสียงเลือกตั้งของตน? หากเปนเงื่อนไขแรกแลว เราก็ จะไดเห็นยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจ แตหากเปนเงื่อนไข หลังแลว เราก็จะไดเห็นความยืดเยื้อของการเจรจาดังที่เปนอยูใน ขณะนี้ ประเทศไทยจะเลือกทางออกไหนก็ไมสำคัญเทากับวา โจทยการพัฒนาประเทศนั้นไดปรากฏตัวขึ้นอยางชัดเจน การ ตัดสินใจโดยไมตองรอผลสำเร็จของโดฮาก็นาจะเกิดขึ้นไดแลว ผมไมเชื่อวาประเทศสมาชิกของ WTO นั้นรอใหมีขอตกลงกัน กอนทีจ่ ะกำหนดยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ ดังนัน้ ใครมีหนาที่ ตัดสินใจก็คงตองรีบดำเนินการดวน เพราะศักยภาพการแขงขัน เกิดจากการรวมพลังสองฝายคือการเมืองและธุรกิจดังกลาวขางตน อาทิตยนี้เราไดตอนรับผูอำนวยการองคการการคาโลกซึ่งมารวม ประชุม World Economic Forum ทานไดใหความเห็นหลาย เรื่องที่นาสนใจ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับเรื่องความมั่นคงอาหารวา ปญหาสำคัญอยูที่ยังไมมีหลักเกณฑในการกำหนดไมใหประเทศ สงออกอาหารใชมาตรการ “หามสงออก” (Export Restriction) อาหาร โดยใหเหตุผลวาประเทศนำเขาอาหารมีมาตรการการนำเขา 213 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
คอนขางมาก จึงนาจะตองมีมาตรการเกีย่ วของกับการสงออกดวย ใครจะเห็นดวยกับทานหรือไมนั้นไมใชเปนเรื่องสำคัญเทากับที่วา ปญหานี้เปนปญหาการเมืองมากกวาเศรษฐกิจเพราะหากเรา พิเคราะหในแนวเศรษฐกิจแลวจะเห็นวา วิธีการแกปญหานี้ตอง เริ่มที่การจัดการเรื่องมาตรการการนำเขา เพราะเปนอุปสรรค ตอการสงออก หรือหากการสงออกไมมอี ปุ สรรคจากประเทศนำเขา แลวปญหาการขาดแคลนอาหารก็จะหมดไปเชนเดียวกับการ สงออกน้ำมัน ซึ่งไมมีปญหาการนำเขาจึงไมมีใครเรียกรองใหแก ปญหาความไมมั่นคงน้ำมัน โดยการหามประเทศสงออกกำหนด มาตรการ “หามการสงออก” การประชุม World Economic Forum ในไทยปลาย พฤษภาคมนีเ้ ปนทีน่ า จับตามองเปนอยางยิง่ การประชุมนีไ้ มเกีย่ ว กับขอตกลงใดๆแตก็ครอบคลุมปญหาคลายๆกัน เชน เรื่องการ เงิน โครงสรางพื้นฐานและสถาบัน การขนสง เกษตร โลกรอน เปนตน ขอมูลจากการประชุมนี้จะมีผลตอเศรษฐกิจไทยไมมาก ก็นอย การเตรียมการเพื่อเผชิญกับปญหาทางเศรษฐกิจและการ แขงขันจะตองเริม่ ทีค่ วามเขาใจทีต่ รงกันระหวางฝายการเมืองและ เศรษฐกิจ สองสถาบันนี้เปนฝาแฝดกัน ความสามารถที่แตกตาง กันจึงเปนเรื่องที่นาเปนหวงเปนอยางยิ่ง ความสำเร็จไมใชเกิด จากความสามารถในการจัดการประชุมที่ดีและสวยงามแตอยูที่ การใชประโยชนจากผลของการประชุมตางหาก
รู้งี้ 214
You’ll Be Left Alone กรกฎาคม 2555 คำถามทีน่ า จะไดคำตอบงายๆ คือ “เวลาทานจะตัดสินใจไป ทองเที่ยวตางประเทศนั้น ทานคิดวาปจจัยอะไรที่สำคัญที่สุด” การ แขงขันดานธุรกิจทองเทีย่ วยอมเหมือนกับการสงสินคาไปตางประเทศ กุญแจสำคัญคือ ผลิตใหไดมาตรฐานนำเขา เชน ความปลอดภัยตอ มนุษย สัตว พืช สิ่งแวดลอม และสินคาเหมาะสมกับกลุมผูบริโภค เปาหมาย บางประเทศทีไ่ มนยิ มสงเสริมการทองเทีย่ วเพราะมีรายได จากทางอื่นเพียงพอแลว หรือกลัววานักทองเที่ยวที่เขาประเทศจะ หลบหนีและสรางปญหาสังคมในภายหลัง ประเทศญี่ปุนเปนหนึ่งใน กลุมประเทศดังกลาว แตเมื่อเศรษฐกิจมีปญหามาหลายปเราจึงได เห็นวาประเทศนีก้ ำลังเปดประเทศตอนรับนักทองเทีย่ วเพือ่ เพิม่ รายได ทดแทนจำนวนที่ขาดหายไป ดวยคาของเงินเยนที่สูงมากในขณะนี้ ผมจึงไมแนใจวาจะมีนักทองเที่ยวเขาประเทศเทาไร ดังนั้นภารกิจนี้ จึงไมใชงายๆของสมาพันธธุรกิจญี่ปุน (Nippon Keidanren) ที่จะ ตองทำหนาทีส่ ง เสริมการทองเทีย่ วญีป่ นุ เปนครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร ประเทศไทยมีกระทรวงการทองเทีย่ วและกีฬาทำหนาทีเ่ พิม่ จำนวนนักทองเทีย่ ว ซึง่ ทำงานไดผลดีระดับหนึง่ แตกำลังจะมีปญ หา เพราะหัวใจสำคัญทีน่ กั ทองเทีย่ วคำนึงถึงเปนอันดับแรกคือ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสิน ปญหาที่เกิดขึ้นที่ภูเก็ตกับแหมมออสเตรเลีย จึงตองไดรบั การแกไขอยางถาวร ผมจึงเสนอใหผปู ระกอบการทองเทีย่ ว ที่ภูเก็ตลงทุนในเรื่องนี้เองเพราะคุมทุนอยางแนนอนเมื่อเทียบกับ 215 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
การลงทุนไปแลวจำนวนมหาศาล เมื่อไมนานมานี้ผมไดรับการยืนยันจากรองผูแทนการคา สหรัฐ (US Trade Representative) วาประเทศสิงคโปรกำลังเจรจา เปดตลาดสินคาเกษตรและอาหารกับสหรัฐภายใตกรอบการคา Trans Pacific Partnership หรือ TPP สิ่งที่กำลังเกิดขึ้นคือ ประเทศในอาเซียนเกือบทัง้ หมดรวมทัง้ ไทย อาจจะตองสงออกสินคา กลุมดังกลาวผานสิงคโปรไปยังตลาดสหรัฐอีกครั้งดังที่เกิดขึ้นในอดีต หลายสิบปที่ผานมาดวยเหตุผลของความแตกตางของภาษีนำเขา สหรัฐที่สิงคโปรจะไดรับเปนพิเศษภายใตกรอบอาเซียนหรือ AEC ประเทศไทยคงจะยังไมมีการเจรจาในกรอบนี้ในเร็ววันเนื่องจาก ปญหาของความเห็นที่แตกตางกันมาก ดังนั้นทางออกที่จะเกิดขึ้นก็ คือ 1) เตรียมตัวขายสินคาเกษตรและอาหารผานสิงคโปรตอไปหรือ 2) คนที่เห็นไมตรงกันตองหาทางประนีประนอมและเดินหนาเจรจา ขอตกลงการคา TPP ใหเกิดผลประโยชนกับประเทศมากที่สุด นอกจากนี้ คงไมมใี ครปฏิเสธไดวา ขณะนีโ้ ลกกำลังเปลีย่ นแปลง เนื่องจากเศรษฐกิจของสหรัฐและยุโรปออนกำลังลง แตจีน อินเดีย และ ASEAN จะเปนพื้นที่การเติบโตทางเศรษฐกิจขึ้นมาแทน โลก ใบนี้อาจจะไมมีอำนาจเดี่ยว (Single Power) อีกตอไป ประเทศ จีนจะ “แกกอนรวย” บราซิล รัสเซีย อินเดีย และอัฟริกาใต ก็ ยังเปนไดแคกลุมเศรษฐกิจใหม (Emerging Economies) โลกใบนี้ จะไมมีขั้วและกลุมอีกตอไป แตจะตองประสานประโยชนกันผาน สถาบันและขอตกลงตางๆ เชน WTO IMF World Bank ขอตกลง ทางการคาและสิ่งแวดลอมที่มีอยูอยางมากมายและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โลกใบนี้กำลังจะมีชองวางผูนำ (Leadership Vacuum) อยางที่ รู้งี้ 216
ไมปรากฏมากอน ไมวา ทานจะเห็นดวยกับแนวโนมนีห้ รือไมกต็ าม จากสภาพที่เห็นอยูในหลายเรื่องขางตน ผมจึงขอเสนอเพื่อ ความไมประมาทวา ภาคธุรกิจจะตองเปนผูนำในการปรับเปลี่ยนให ทันกับความเปลี่ยนแปลงเพราะเปนสวนของสังคมที่ยืดหยุนที่สุด การแกปญหาที่ภูเก็ตจะเปนเครื่องพิสูจนวาเราจะทำไดจริงหรือไม หากทำไมไดแลวผมก็เชือ่ วาการผจญภัยและฟนฝาอุปสรรคเพือ่ ชัยชนะ ภายใตกรอบ AEC ก็คงจะยาก ตัวอยาง Keidanren และสิงคโปร ที่ไดยกไวขางตนนาจะเปนบทเรียนใหทุกคนไดไมมากก็นอย
217 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
หนึ่งเสาหลั ก สองเสาหั ก ? กรกฎาคม 2555 ชวงที่ผานมามีขาวที่นาสนใจและสามารถนำไปใชเปน ประโยชนได ขาวทีห่ นึง่ คือ ประเทศในอาเซียนตกลงกันวาจะไมลด ภาษีนำเขาบุหรี่ ขาวทีส่ องคือ ประเทศในกลุม อาเซียนไมสามารถ ออกแถลงการณรวมหลังจากประชุมระดับรัฐมนตรีตางประเทศ ที่กัมพูชาในสัปดาหที่ผานมา ซึ่งเปนครั้งแรกในประวัติศาสตร อาเซียน ทานจะคิดอยางไรเกี่ยวกับขาวทั้งสองก็เปนเรื่องสิทธิ สวนบุคคล แตสำหรับผมนั้นมีความเห็นวาสองเสาหลักที่จะพา เราไปสูการรวมตัวใหเปน ASEAN Community ซึ่งเรียกวา เสา สังคม-วัฒนธรรม และ ความมั่นคง-การเมืองนั้น กำลังจะสราง ปญหาใหกับเสาเศรษฐกิจ สิ่งที่นาหวงคือ สามเสานี้กำลังเดินไป ในทิศทางเดียวกันหรือไม? ผมยืนยันวาการไมลดภาษีนำเขาบุหรี่ นั้น ไมไดมีอิทธิพลเพียงพอใหลดการสูบบุหรี่ได เพราะหากเปน เชนนั้นจริงแลวเราก็นาจะสนับสนุนใหเพิ่มภาษีดวยซ้ำไป และที่ นาแปลกใจมากขึ้นไปอีกก็คือ มีหมอคนหนึ่งใหสัมภาษณวาเรา ควรมีขอ หามบริษทั ขายสุราทำกิจกรรม CSR (Corporate Social Responsibility) เพราะกลัววาบริษัทเหลานี้มีวาระซอนเรนใน การแอบขายเหลาดวย การมุง เปาแตการออกกฎเพราะเชือ่ วาเปน เครื่องมือสุดทายที่จะนำไปสูความสำเร็จนั้นเปนไดแคความหวัง แตการจะดำเนินการใหสำเร็จนั้นตองมีกระบวนการบังคับใชที่มี ประสิทธิภาพพรอมๆ กับการใหความรูและสงเสริมใหผูบริโภคมี รู้งี้ 218
คุณภาพเพิ่มขึ้น ความลมเหลวของการประชุม ASEAN ชี้ใหเห็น ถึงผลประโยชนของประเทศมีความสำคัญกวาความสมัครสมาน (Solidarity) ของกลุม ที่ผมเขียนมาทั้งหมดนี้มีจุดประสงคเพื่อให เห็นวาอีกสองเสานัน้ มีความสำคัญสูงพอๆกับเสาเศรษฐกิจ ดังนัน้ ผูท เ่ี กีย่ วของกับการเจรจาของทัง้ สองเสาจะตองมีประสิทธิภาพสูง เพือ่ เสริมภาคเศรษฐกิจ แตเทาทีเ่ ห็นไดในขณะนีก้ ค็ อื ทัง้ สามเสา นั้นตางคนตางเดิน ซึ่งอาจทำใหบาน ASEAN ลมไปกอนที่จะ สรางเสร็จ โดยสรุปก็คือคนทั้งสี่กลุมในประเทศ ซึ่งประกอบดวย 1) เศรษฐกิจ 2) สังคม 3) ขาราชการ และ 4) นักการเมือง จะ ตองเขาใจปรัชญาของ ASEAN เทากันและเดินไปสูความสำเร็จ อยางราบรื่นและรวดเร็วพรอมๆ กัน การกลาวหาภาคเศรษฐกิจ วาไดประโยชนฝายเดียวนั้นก็ควรหมดไปไดแลว ผมถูกตอวาจากผูแทนการคาสหรัฐวา ไทยเลือกเจรจา ขอตกลงการคาเสรีกับสหภาพยุโรป(อียู) แตยังไมมีสัญญาณวา จะเจรจากับสหรัฐ ประเด็นที่สหรัฐแปลกใจมากกวานั้นคือการ ตัดสินใจของรัฐบาลไทยที่รวดเร็วเกินคาด ซึ่งอันที่จริงแลวไมนา จะแปลกใจวาการตัดสินใจของไทยครัง้ นีต้ ง้ั อยูบ นเหตุการณวกิ ฤต จากการสงออกสินคาที่ลดลงตอเนื่องในปนี้ และที่สำคัญคือกำลัง มีสัญญาณวาไทยจะถูกอียูตัดภาษีพิเศษที่เรียกวา Generalized System of Preferences (GSP) ซึง่ ประเทศพัฒนาใหกบั ประเทศ กำลังพัฒนาและดอยพัฒนาดวยจุดประสงคเพื่อสงเสริมใหเกิด การสงออกสินคาเพิ่มขึ้นเพื่อเปนการสรางรายได แตสิทธินี้จะถูก ตัดหรือลดลงหากเปาหมายไดบรรลุแลว เชน รายไดประชาชาติ ของประเทศผูรับสิทธิเพิ่มขึ้นสูงเกินเสนที่กำหนดไว การถูกตัด 219 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
สิทธินี้เปนผลใหสินคาไทยไมสามารถแขงขันกับประเทศอื่นที่ ยังคงไดรับสิทธิฯ วิธีแกไขคือการจัดใหมีขอตกลงการคา (FTA) กับอียู เพื่อจะไดเจรจาใหคงสิทธิไวซึ่งหากทำไดก็จะไดสิทธิเปน การถาวรตอไป ผมไมอยากเห็นการตัดสินใจเจรจาขอตกลงการคาเสรีที่ เรียกวา Trans-Pacific Partnership (TPP) กับสหรัฐเกิดจาก เหตุวิกฤตเหมือนกับที่เกิดขึ้นกับอียู เพราะจะเปนการย้ำวาเสา การเมืองและสังคมของเรายังมีปญหา ดังนั้นเพื่อเปนการเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพของทั ้ ง สามเสาผมจึ ง เสนอให ม ี ก ารสร า งกลไก แลกเปลีย่ นความเห็นกันและกันอยางสม่ำเสมอ เพือ่ ปรับสิง่ ทีเ่ ห็น ตางกันใหสามารถนำประเทศไทยไปสูความสำเร็จและเปนสุข อยางยัง่ ยืนเพราะการรวมกลุม อยางแข็งแรงและเปนสุขใน ASEAN นัน้ ทัง้ สามเสาของประเทศไทยตองไมขดั กันเองจนออนแอกันไปหมด
รู้งี้ 220
ฆาตัวตายดกันวยายนยป2555นคอรรัปชั่น ผมมีประสบการณเรื่องการตอสูกับการเรียกเก็บคาลงนาม ในหนังสืออนุญาตใหดำเนินธุรกิจบางเรื่อง ซึ่งการตอสูดำเนินไปถึง ระดับผูบริหารสูงสุดของประเทศ แมจะตอตานไดผลสำเร็จแตก็คง ยังไมชนะเด็ดขาด ผลที่ไดคือเสี่ยงตอการสรางศัตรูกับนักการเมือง บางคน และมีสิทธิ์ตกงาน พรอมกับประณามฟรีๆ แตผมก็จะ ยืนหยัดตอไป เรื่องการตอตานคอรรัปชั่นจึงเปนเรื่องยากเนื่องจาก มันไดฝงลึกเขาไปในเนื้อสังคมไทยจนกลายเปนสวนหนึ่งของวิถีการ ดำเนินชีวิตประจำวันไปแลว การตอตานใหไดผลนั้นจะตองรวมตัว กันเปนกลุม การดำเนินการตามลำพังจะขาดพลังและเสี่ยงเกินไปที่ จะถูกกลั่นแกลงมากมาย เชน กรณีตรวจบัญชีบริษัท คอรรัปชั่นคือการสรางความเหลื่อมล้ำในสังคม คนสุจริต จะเสียเปรียบคนทีใ่ หสนิ บน การสรางนวัตกรรมการโกงจึงเกิดขึน้ แทนที่ การสรางนวัตกรรมการผลิต หากปลอยเรื่องนี้ใหผานไปโดยไมมีการ แกไขแลวความเหลื่อมล้ำจะกวางขึ้นเรื่อยๆ เมื่อไดฟงขอมูลจากผล สำรวจวามีทั้งผูใหญและเด็กไทยเห็นดวยเกิน 50% วา คอรรัปชั่น เปนสิง่ ทีย่ อมรับไดหากตนไดรบั ประโยชนดว ยก็ทำใหมองเห็นอนาคต ประเทศไดเลยวาจะมืดหรือสวางแคไหน? หากประเทศไทยเปนคน แลวผมก็คงสรุปไดวานาทีสุดทายคงจะใกลเขามาแลว เพราะวาใน ระยะยาวการแขงขันทางการคาคงตองใชเงินอยางเดียว องคกรรัฐ ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อชวยเหลือบริษัทขนาดกลางและยอมก็คงจะตองถูก ยกเลิกเพราะการตอสูทางการคาไมตองการคนเกงอีกตอไป เรื่องนี้ 221 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
จะเปนงูกินหางจนหาทางออกไมพบ แตที่แนๆคือสังคมจะลมสลาย เพราะคนไมคิดอะไรใหมๆ ที ่ ผ มหยิ บ ยกเรื ่ อ งนี ้ ข ึ ้น มาเพราะเห็ น ข อ มู ล ในข อ ตกลง ASEAN Community ที่ประกอบดวยสามเสาหลักนั้นไดระบุเรื่องนี้ อยูในสองเสาคือเสาสังคมและวัฒนธรรมซึ่งมีเปาหมายใหมีการออก ระเบียบใหประเทศทั้งหลายไปแกไขปญหาคอรรัปชั่น แตผมไมเห็น เรื่องนี้ในเสาเศรษฐกิจนอกจากคำวาความโปรงใส (Transparency) เทานั้น ผมจึงเสนอใหองคกรรัฐที่มีหนาที่เกี่ยวของกับการเจรจาไป ประสานกับสมาชิกอีกเกาประเทศใหบรรจุวาระของเรือ่ งนีใ้ หชัดเจน เพื่อหาทางแกไขปญหานี้คูขนานไปกับการรวมตัวทางเศรษฐกิจโดย ดวนตอไป ในการเจรจาขอตกลงการคากับสหภาพยุโรปและสหรัฐนั้น มีหลายทานเปนหวงเรื่องการถูกเอาเปรียบจากบริษัทขามชาติเรื่อง การเขาถึงยารักษาโรค แตไมยอมพูดถึงปญหาคอรรัปชั่นในระบบวา จะจัดการอยางไร? นักลงทุนตางชาติมีความเปนหวงหลายเรื่อง เชน 1) กฎหมายคุมครองการลงทุน 2) ปญหาแรงงาน 3) โครงสราง และสิ่งอำนวยความสะดวก แตที่หวงมากที่สุดคือ ปญหาคอรรัปชั่น ในทำนองเดียวกันนักลงทุนไทยก็ใหความสำคัญกับสิ่งเหลานี้ ปญหา คอรรปั ชัน่ เปนตนทุนการทำการคา (Transaction Cost) ปญหาเดียว ทีไ่ มสามารถคำนวนตัวเลขได ซึง่ ขัดกับหลักใหญของการดำเนินธุรกิจ อยางยิ่ง แตสิ่งที่สำคัญกวานั้นก็คือความนาเชื่อถือ (Creditability) ซึง่ เปนคุณสมบัตทิ ม่ี คี า ทีส่ ดุ ในตัวคนและประเทศ ไมมคี วามนาเชือ่ ถือ ก็คือไมมีอนาคต ปญหาคอรรัปชั่นจึงเปนเงื่อนไขหนึ่งที่จะกำหนด ความสำเร็จของ AEC รู้งี้ 222
สส. เธอเหนื อ ่ ยแน ตุลาคม 2555 วันนีข้ อพูดถึงเรือ่ งกฎหมายสำคัญๆ ทีม่ ผี ลกระทบตอการ แขงขันของไทย ฉบับแรกคือ กฎหมายการแขงขันทางการคา ซึ่งเปนกฎหมายที่ใชแลวสิบกวาป แตไมมีผลอะไรเลย จึงถึงเวลา ที่จะตองหาวิธีแกไขอยางรีบดวน “การเอาคูแขงมาเปนเพื่อน แต เอาลูกคาเปนศัตรู” เปนคำอธิบายของการ “ฮั้ว” หรือ Cartel ทานจะเชือ่ หรือไมกต็ าม แตลองอานเรือ่ งจริงตอไปนีแ้ ละพิจารณา เองครับ ธุรกิจรับจางขนถายสินคาทางทะเลก็เหมือนธุรกิจทั่วไป คือ มีชว งเวลาทำกำไรและขาดทุน ประเทศไทยไมมบี ริษทั รับขนสง สินคาทางเรือ ดังนัน้ จึงขาดอำนาจตอรองระดับหนึง่ ตรงขามกับ ธุรกิจขนสงทางอากาศซึง่ ประเทศไทยเปนเจาของสายการบินไทย นอกจากการทำรายไดใหกบั ประเทศแลว ธุรกิจทัง้ สองนีย้ งั มีความ สำคัญตอความมั่นคงของประเทศดวย เชน เมื่อครั้งสหรัฐทำ สงครามกับเวียดนามอยูนั้น สายเดินเรือพาณิชยของสหรัฐยังมี บทบาทขนสงยุทธปจจัยและอืน่ ๆทีเ่ กีย่ วของ อยางไรก็ตาม เหตุผล ที่สนับสนุนวาการมีสายเดินเรือของตนเองจะทำใหตนทุนการ ขนสงสินคาถูกลงนั้นก็ยังเปนคำถามอยู เพราะธุรกิจตองแขงขัน กัน ดังนั้นราคาจึงขึ้นอยูกับเงื่อนไขของตลาดมากกวา สิ่งสำคัญ ที่มีผลกระทบตอธุรกิจของสายเรือคือธุรกิจสงออก-นำเขาสินคา และราคาน้ำมัน คาขนสงจึงเปนตนทุนที่สำคัญของผูสงออกและ นำเขาสินคาดวย พวกเราคงไมติดใจเรื่องคาขนสง เพราะมีการ 223 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
แขงขันในระดับหนึ่งแตสิ่งที่สรางความไมเปนธรรมตอธุรกิจก็คือ คาใชจายสวนเกินอื่นๆ เชน คาใบขน ใบตราสงฯ ซึ่งบริษัทเรือ ประกาศเรียกเก็บเพิ่มเปนครั้งๆ โดยไมอธิบายเหตุผล และที่นา สังเกตเปนอยางยิง่ คือ บริษทั เหลานีจ้ ะประกาศเรียกเก็บคาใชจา ย ดังกลาวพรอมๆกันและในอัตราเดียวกันดวย ซึ่งทำใหเราคิดเปน อยางอื่นไปไมไดนอกจากการสอพฤติกรรม “ฮั้ว” อยางแนนอน พฤติกรรมเชนนี้เปนที่รับทราบของกระทรวงพาณิชยแตยังทำ อะไรไมไดถนัด กฎหมายยังมีปญหาและตองแกไข ปญหาที่สองคือกฎหมายกรมศุลกากร ซึ่งมีความสำคัญ สองระดับคือ เกี่ยวกับการจัดเก็บรายได และความมั่นคงของ ประเทศ บทบาทในประเด็นแรกนัน้ จะลดนอยลงไปเรือ่ ยๆ เนือ่ งจาก การลดลงของภาษีนำเขาสินคาตามขอตกลงการคาเสรี (FTAs) หลายฉบับ ดังนัน้ การแกไขใหยกเลิกการใหรางวัลนำจับแกเจาหนาที่ นาจะไมมีใครขัดของ การยกเลิกรางวัลนำจับจะชวยไมใหเกิด วัฒนธรรมเหลื่อมล้ำระหวางเจาหนาที่รัฐตางกระทรวง เพราะ ขึ้นชื่อวาเจาหนาที่รัฐก็ควรจะตองทำหนาที่ตามกฎหมายอยูแลว การใหรางวัลนำจับยังจะชวยลดการคอรรปั ชัน่ ไดมากขึน้ อีกตางหาก กฎหมายฉบับทีส่ ามทีเ่ ปนความเปนความตายของประเทศ คือกฎหมายที่เกี่ยวกับการปองกันการกอการรายและฟอกเงิน ซึ่งจะออกไมทันเดือนกุมภาพันธปหนา ผลที่จะเกิดขึ้นคือการถูก ตรวจสอบ “การเดินทางของเงิน” ที่เปนปจจัยสำคัญของการทำ ธุรกิจขามชาติ ซึ่งอาจจะรวมถึงการใชบัตรเครดิตในตางประเทศ นอกจากความนาเชื่อถือ (Creditability) ของประเทศที่สูญหาย รู้งี้ 224
แลวตนทุนการทำธุรกรรมทางการคาจะสูงขึ้น ดังนั้นผูทำหนาที่ ออกกฎหมาย (Law Makers) จึงตองรีบทำงานดวนเพราะ ผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยจะใหญมากเกินการคาดเดาได สุดทายสำหรับวันนี้คือ กฎหมายสงเสริมการลงทุนที่ สำนักงานสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) มีผลงานที่ดีเยี่ยมเพราะ สามารถสรางงานใหคนไทยมากมายจนเกิดขาดแคลนในบางธุรกิจ การปรับตัวของกลุมธุรกิจที่ยังตองการแรงงานถูกจะตองเกิดขึ้น หาของเวลาทีต่ อ งใชในระหวางเปลีย่ นผานกำลังสงผลกระทบ แตปญ รุนแรง บีโอไอตองดำเนินการใหบริษัทที่ไดรับสงเสริมฯ สามารถ แขงขันตอไปใหได คำตอบทัง้ หมดหาไดจากผูอ อกกฎหมาย (Law Makers) ไทย
225 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
อำนาจในเศรษฐกิ จ ใหม พฤศจิกายน 2555 “The Race Is Over” Mitt Romney ประกาศบนเวที หลังทราบผลการเลือกตัง้ วาแพประธานาธิบดีโอบามา การแขงขันได จบลงแตการดำเนินการทางการเมืองยังคงตองมีตอ ไป พรรคลีพบั ริกนั ครองเสียงขางมากในสภาผูแทนขณะที่พรรคเดโมเครตครองเสียง ขางมากในวุฒสิ ภา ความสมดุลของอำนาจจึงเกิดขึน้ ระดับหนึง่ เพราะ นักการเมืองมีหนาทีจ่ ดั สรรทรัพยากรของชาติใหเกิดประโยชนสงู สุด ดวยความยุติธรรม ผมคาดหวังวาประธานาธิบดีโอบามาจะสามารถ ดำเนินนโยบายที่หาเสียงไวใหไดเปนผลสำเร็จภายในสี่ปจากนี้ไป ความแข็งแรงทางเศรษฐกิจของสหรัฐจะสงผลใหประเทศไทยได ประโยชนจากการสงออกสินคาอยางแนนอน ความเสีย่ งของเศรษฐกิจ โลกยังคงไมหมดไปดวยสิ่งตอไปนี้ 1) การเมืองโลกที่ยังมีการตอสู กันระหวางรัฐ (State) และองคกรนอกรัฐ (Non-State) ปรากฏการณ นีค้ งจะไมหมดไปงายๆ เหมือนกับสงครามระหวางรัฐเพราะไมสามารถ หาตัวตนคนนอกรัฐเหลานี้ได ผลกระทบทางเศรษฐกิจจะมากหรือ นอยก็ขึ้นอยูกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น รัฐบาลทั้งหลายคงตองเปนผูมี หนาที่ดำเนินการตอไป 2) น้ำ พลังงาน อาหารและแรธาตุหายาก (Rare Earth) จะเปนกลุม สินคาทีท่ วีความสำคัญขึน้ เรือ่ ยๆ เศรษฐกิจ ใหม (New Economy) จะเนนสินคาทั้งสี่นี้ ซึ่งจะกระทบกับไทย อยางแนนอน การปรับตัวตองเริม่ ตัง้ แตการเขาใจถึงโครงสรางเศรษฐกิจ ใหมวา การผลิตสินคาจะตองเริ่มตนที่ความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม ตามดวยสังคมและธุรกิจโดยมีภาคการเมืองเปนอันดับสุดทาย รู้งี้ 226
ในตอนเริ่มตนบทความนี้ ผมเขียนวา การเมืองเปนปจจัย สำคัญที่มีผลตอการดำเนินการของเศรษฐกิจ ซึ่งก็ยังคงเปนเชนนั้น อยู เพียงแตนำ้ หนักของความสำคัญในระบบเศรษฐกิจใหมนน้ี ำ้ หนัก ของรัฐจะเปนอันดับสุดทาย สิ่งที่ทาทายพวกเราก็คือ การหาผูนำ ที่จะดำเนินการใหสำเร็จตามลำดับดังกลาว แผนฯ 11 ของสภา พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช) ที่เปดใหภาคธุรกิจเขามา มีสว นรวมในการขับเคลือ่ นใหยทุ ธศาสตรเปนจริงนัน้ ภาคธุรกิจเกษตร และอาหารซึ่งมี ขาว ปาลม มันสำปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว ออย และน้ำตาล มีความเห็นตรงกันทั้งหวงโซการผลิตวา การจัดการ หวงโซการผลิต (Supply Chain) โดยใหทุกภาคสวนของการผลิต มีสวนรวมรับผิดชอบในการผลิตสินคาที่มีมาตรฐานภายใตเศรษฐกิจ ใหมเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงไมได หลายทานอาจคัดคานวาเรื่องนี้คง เปนไปไมไดหากรัฐบาลไมเปนผูเริ่มตน แตผมกลับเห็นวาผูที่เริ่มตน การจัดระเบียบใหหวงโซการผลิตรวมตัวกันอยางมีประสิทธิภาพนั้น ตองเริ่มตนจากผูประกอบการคนแรกคือผูที่อยูใกลตลาดที่สุด เชน ผูสงออก ซึ่งเปนผูที่มีขอมูลตลาดกอนคนอื่น ปรัชญาของผูบริโภคเปลี่ยนไปชนิดกลับหนามือเปนหลังมือ ภายในชวงสิบกวาปทผ่ี า นมา จึงเปนโอกาสของผูท ส่ี ามารถปรับโครงสราง การผลิตไดใหมทง้ั หมด ซึง่ เริม่ โดยการปรับกรอบความคิด (Mindset) ใหม เพราะการตอนรับเศรษฐกิจใหมนก้ี ารเปลีย่ นแปลงหรือ Change นัน้ ยังไมเพียงพอ แตจะตองเปนการสรางใหมหมด (Reconstruction) จึงจะสมน้ำสมเนื้อเพราะการบริหารโลกตอจากนี้ไปจะอยูในระบอบ ใหมทเ่ี รียกวา “ขอตกลง” ซึง่ รวมทัง้ FTA (Free Trade Agreement) สิ่งแวดลอม แรงงาน เนื่องจากโลกจะไมมีประเทศใดประเทศหนึ่ง เปนใหญโดยมีอำนาจเดียวอีกตอไป 227 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
หายไปธันวาคม152555ปแลว ขณะที่การเจรจาลดภาวะโลกรอนที่ Qatar ในอาทิตย ทีผ่ า นมาลมเหลวอีกครัง้ ดวย 2 ปญหาหลักคือ ประเทศพัฒนาแลว บางประเทศไมยอมยกเลิกผลประโยชนที่ไดจากการลดกาซฯ ภายใตขอตกลงเดิม หรือที่เรียก วา “Hot Air” แตที่สำคัญกวา คือ การไมยอมผูกพันของกลุมประเทศพัฒนาแลววาจะใหความ ชวยเหลือในจำนวนเงินประมาณแสนหกหมื่นลานเหรียญสหรัฐ แกประเทศกำลังพัฒนาในการตอสูก บั ผลกระทบจากภาวะโลกรอน เชน อากาศแลง น้ำทวม ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น และพายุ ความ ลมเหลวในการเจรจาไมไดหมายความวาธุรกิจจะรอดพนจาก ผลกระทบทางการคาทีป่ ระเทศพัฒนากำลังสรางขึน้ อยางตอเนือ่ ง แมสหภาพยุโรปจะเลือ่ นการใชมาตรการเก็บคาปลอยกาซคารบอน ของเครื่องบินที่บินเขานานฟายุโรปไปอีก 1 ป แตก็ยังวางใจไมได วามาตรการดังกลาวจะไมถูกนำกลับมาใชในอนาคต ตัวอยางนี้ บอกเราวาการมีขอ ตกลงฯหรือไมนน้ั ไมใชเรือ่ งทีส่ ำคัญเปนอันดับ แรก แตทส่ี ำคัญกวาคือความเขาใจถึงระบบการจัดการทางเศรษฐกิจ ตางหาก มีคนพูดเสมอวาการเจรจาขอตกลงการคากับประเทศ สหภาพยุโรปและอเมริกานั้นจะมีแตบริษัทใหญที่ไดประโยชน โดยเฉพาะบริษัทที่สงออกสินคาเกษตรโดยการเปรียบเทียบจาก จำนวนเงินที่ไดรับจากการสงออกกับความสูญเสียที่คำนวณจาก ที่ตองซื้อยารักษาโรคแพง เปนที่นาเสียดายอยางยิ่งคือ ผูพูดไมได รู้งี้ 228
นำเสนอขอมูลทีส่ ำคัญคือเม็ดเงินทีต่ กแกเกษตรกรและผูผ ลิตอืน่ ๆ ในหวงโซทั้งหมดซึ่งมีหลายลานครอบครัว เราจะประนีประนอม ความเห็นที่แตกตางนี้ไดอยางไร? หากเราไมมีคำตอบในเรื่องนี้ แลวเราจะไปเจรจาขอตกลงลดภาวะโลกรอนไดอยางไร? เนือ่ งจาก เปาหมายของขอตกลงการคาเสรีและภาวะโลกรอนนั้นตางกัน แตใชกลไกทางเศรษฐศาสตรเหมือนกัน เมื่อเขียนถึงตรงนี้แลว ผมก็เชื่อวาทานคงเห็นภาพวาการเดินทางของระบบเศรษฐกิจจะ ตองเปลี่ยนเข็มทิศนำทางอยางแนนอน ดังนั้นการที่ประเทศไทย จะมีขอตกลงเพิ่มจึงไมนาจะจำเปนเลยหากเราสามารถนำโจทย ที่เราคาดการณไดมาใชเปนเครื่องมือในการปรับเปลี่ยนระบบ การผลิตสินคาและบริการพรอมๆ กับการบริโภคใหมหมด คำถาม ก็คือเราจะเริ่มไดเมื่อไหร? คำตอบคือ “ไมมีคำตอบ” เนื่องจาก เรายังหาทางประนีประนอมกันระหวางกลุม ผลประโยชน (Interest Group) และกลุม กดดัน (Pressure Group) ไมได การดำเนินการ โดยการประชุมและพยายามหาทางออกกันเองในระดับกรมฯ ที่ผานมานั้นคงจะไมมีวันสำเร็จ เพราะตางคนตางก็นำเสนอ รายละเอียดวาใครจะไดหรือจะเสียอะไรเปนจำนวนเงินเทาไหร? นอกจากนัน้ ก็ยงั มีประเด็นความไมไวใจในตัวแทนของรัฐอีกตางหาก ภายใตสถานการณที่นาอึดอัดนี้ ผมเสนอใหผูนำของทั้ง 3 ฝายคือ รัฐบาล ธุรกิจ และสังคม หาทางออกรวมกัน เพราะ การกำหนดเข็มทิศเดินทางของประเทศตอไปนี้จะตองเกิดจาก ความรวมมือแบบสามประสาน เนือ่ งจากสิง่ ทีเ่ กิดกับภาคใดภาคหนึง่ จะกระทบอีกสองภาคอยางแนนอน แมวา ปใหมนจ้ี ะยังไมมโี อกาส 229 พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
ไดเห็นปรากฏการณใหมที่คาดหวังไวแตผมก็เชื่อวาความรวมมือ สามฝายนีจ้ ะเกิดขึน้ กอนทีป่ ระเทศไทยจะเกิดปญหาซ้ำซากตอเนือ่ ง เปนเวลา 15 ปแลว ขอใหทุกทานมีความสุขและสำเร็จในปใหม อยางตอเนื่องและกลับมาพบกับป 2556 ที่จะเปนปที่ 16 ซึ่งควร จะหลุดจากชวงที่ “หายไป” เหมือนญี่ปุนที่ “หายไป” ยี่สิบป แลวครับ
รู้งี้ 230
ข้อตกลงระหว่างประเทศเป็นสถาบันในการบริหารประเทศเพื่อ การพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เพราะเราพัฒนาเอง ไม่ได้เนื่องจากการเมืองล้มเหลว...... มีสี่คนในสี่บทบาทในประเทศไทยที่มีภาระในการบริหารประเทศ นักการเมือง ข้าราชการ นักธุรกิจ และ ภาคสังคม ความแตกต่างทางความคิดไม่ใช่สิ่งอันตรายต่อประเทศแต่ความ เกลียดกันจะพาให้ประเทศไปสู่ความหายนะ ไม่ว่าจะมีหรือไม่มี FTA ………คนไทยจะต้องเก่งขึ้นและโกงน้อยลง..........