Thailand Economic & Business Review May Issue

Page 1






Editor's Memo

Open Up!…. รูปแบบภาวะผูนำในธุรกิจครอบครัว ธุ ร กิ จ ในประเทศไทยกว า ร อ ยละ 80 เปนธุรกิจครอบครัวและหนึ่งในความ แตกตางที่ธุรกิจครอบครัวแตกตางจาก ธุรกิจทัว่ ไปนัน่ คือ “ภาวะผูน ำ” เพราะ อารมณไดเขามามีสวนเกีย่ วของทั้งภายใน ธุ ร กิจ และครอบครั ว และสิ่ ง สำคั ญ ที่สุด อยางหนึง่ ของภาวะผูน ำในธุรกิจครอบครัว คือ ทำอยางไรจะลำดับความสำคัญให บริษัทมากอนครอบครัวเมื่อมีสถานการณ ที่มีเหตุผลอันควร Special Report ฉบับนี้จึงขอ Open Up ถึงรูปแบบ ภาวะผูนำในธุรกิจครอบครัว โดยการ คั ด ย อ มาจากงานวิ จ ั ย ที ่ จ ั ด ทำโดยศู น ย ศึกษาธุรกิจครอบครัวและ SMEs มหาวิทยาลัย หอการคาไทย นอกเหนือจากการนำเสนอศาสตร ใหมที่นาสนใจอยางธุรกิจครอบครัวแลว ฉบับนีย้ งั เขมขนดวยเนือ้ หาทัง้ บทวิเคราะห งานวิจัยและบทความดานเศรษฐกิจและ ธุรกิจมากมาย เริ่มตนดวยการนำเสนอ UTCC Business Poll ฉบับนี้ศูนย พยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัย หอการคาไทย ไดรว มนำเสนอ “โพลเปดเทอม เงินสะพัด 5.3 หมืน่ ลาน” ตอมาคอลัมน People นิตยสารเราไดรับเกียรติจากคุณ ทองอุไร ลิ้มปติ รองผูวาการดานบริหาร ธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) มาเลา ถึงแผนกลยุทธการชำระเงินแบบ ICAS และในสวนของ Economic Review อาจารย ดร.บุญเลิศ จิตรมณีโรจน ได รวมนำเสนอบทความ “ทำอยาง…คนไทย

06

จะเกษียณสุข” โดยการวิเคราะหการเงิน เชิงพฤติกรรมของกลุมคนทำงาน ตอมาในสวนของ The Globe ฉบับนีค้ อลัมน Driving towards ASEAN+ ไดนำเสนอบทวิเคราะหสิ่งทอและเครื่อง นุงหมไทยในอาเซียนโดยศูนยศึกษาการ คาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย และ ผศ.ดร.อัทธ พิศาลวานิช คณบดี คณะเศรษฐศาสตรและผูอำนวยการศูนย ศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัย หอการคาไทย รวมนำเสนอเรือ่ ง “ประเทศไทย จะมี Mr.AEC และ Ms. AEC” และ ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.วรลักษณ วงศโดยหวัง ศิริเจริญ อาจารยประจำคณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการคาไทย รวมเสนอเรื่อง “ขอชวนคิดของนักเรียน นักศึกษาไทยกับ AEC” และเลมนี้ไม พลาดอัพเดตความเคลือ่ นไหวของประเทศ ผูน ำมาแรงอยางประเทศจีน โดยสำนักงาน สงเสริมการคา ณ กรุงปกกิ่ง กระทรวง พาณิชย ไดรวมนำเสนอเรื่อง “จีนสั่ง ชะลอแผนการขยายการใชภาษีอสังหา ริมทรัพย” และพันธมิตรที่รวมนำเสนอ เนื้อหาดานธุรกิจในตางประเทศ ธนาคาร เพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศ ไทย ฉบับนี้ไดรวมนำเสนอเรื่อง “ธุรกิจ บริการรับเหมากอสรางใน CLMV” และในสวนของ Strategy กลยุทธ ใหมๆ มารวม Open Up! ฉบับนี้เริ่ม ดวยความรูใหมๆ จาก รองศาสตราจารย ทองทิพพา วิริยะพันธุ กับการเสนอเรื่อง

“SMEs เตรียมพรอมรับมือ AEC ดวย นวัตกรรม” และกลยุทธการสื่อสารโดย อาจารยโศภชา เอีย่ มโอภาส เรือ่ ง “เทคนิค การสื่อสาร... ความสำเร็จของการขาย ทางธุรกิจ” และฉบับนี้ WORK & LIFE อาจารย ฐนธัช กองทอง รวมนำเสนอ เรือ่ ง “ละครบู เหนือธรรมชาติกบั นัยทาง สังคม” มาใหผูอานไดเห็นภาพถึงมุมหนึ่ง ของสังคมไทยกับการบรรยายผานเนื้อหา การนำเสนอผานละครที่เรียกวาละครบู ธุ ร กิ จ ครอบครั ว ถื อ เป น รากฐาน สำคัญของเศรษฐกิจไทย ไมวาจะ SMEs หรือธุรกิจขนาดใหญลวนมีจุดเริ่มตนมา จากธุรกิจครอบครัว และยังมีลักษณะที่ แตกตางกับธุรกิจทั่วไปอยางมีนัยสำคัญ เพราะความใกลชิดภายในครอบครัวกับ การบริหารจัดการที ่ พ วกเราคิ ด มาเสมอ วาคือ ‘ขอดี’ นั้น กลับแฝงดวย ‘ความ ทาทาย’ นิตยสาร Thailand Economic & Business Review ฉบับนี้จึงนำผล วิ จ ั ย ทางธุ ร กิ จ ครอบครั ว มาเป ด เผยถึ ง ภาวะผู  น ำของผูสืบทอดธุรกิจแตละรุน เพือ่ ใหทา นไดมองเห็นความแตกตาง และ เข า ใจถึ ง ลั ก ษณะการบริ ห ารงานของ ผูสืบทอดในแตละรุน และสุดทายนำไปสู การผสมผสานที่ลงตัว อารดา มหามิตร บรรณาธิการบริหาร



May-June 2013

6 12

Editor's Memo UTCC Business Poll โพลเปดเทอมเงินสะพัด 5.3 หมื่นลาน

Peolple 16

ยุทธศาสตรการขยายระบบ การเคลียรเช็คดวยภาพ (ICAS)

www.facebook.com/ThailandEcoReview

16

Economic Review 20

การเงินเชิงพฤติกรรม: ทำอยางไร…คนไทยจะเกษียณสุข

The Globe 24

บทวิเคราะห สิ่งทอและเครื่องนุงหมไทยในอาเซียน

29

ประเทศไทยจะมี Mr.AEC และ Ms. AEC

32

ขอชวนคิด ของนักเรียน นักศึกษาไทยกับ AEC

33

จีนสั่งชะลอแผน การขยายการใชภาษีอสังหาริมทรัพย

36

29

ธุรกิจบริการรับเหมากอสรางใน CLMV... โอกาสเปดกวางสำหรับผูประกอบการไทย

Strategy SPECIAL 39 รูปแบบภาวะผูนำ ในธุรกิจครอบครัว REPORT 46

SMEs เตรียมพรอมรับมือ AEC ดวยนวัตกรรม

50

เทคนิคการสื่อสาร... ความสำเร็จของการขายทางธุรกิจ

Work & Life 54

ละครบูเหนือธรรมชาติ กับนัยทางสังคม

Economic Index 57

ดัชนีความเชื่อมั่น ผูประกอบการภาคการคาและบริการ

61

การวิเคราะหการสงออกไทย จากระบบเตือนภัยภาคการสงออก

ทีมบรรณาธิการ ที่ปรึกษา: อิสระ วองกุศลกิจ, ณกลินท สารสิน, วิชัย อัศรัศกร, รศ.ดร. จีรเดช อูสวัสดิ์, ณรงค จุนเจือศุภฤกษ บรรณาธิการอำนวยการ: รศ.ดร. เสาวณีย ไทยรุงโรจน รองบรรณาธิการอำนวยการ: ดร. ยาใจ ชูวิชา บรรณาธิการบริหาร: อารดา มหามิตร กองบรรณาธิการ: ประพัทธโชต ธนวรศาสตร, วินัย ธัญญภูมิ, ผศ.ดร. ธนวรรธน พลวิชัย, ผศ.ดร. อัทธ พิศาลวานิช, ดร. จักรกรินทร ศรีมูล, ผศ.ดร. วีระชาติ กิเลนทอง, ดร. ภาณุชาติ บุณยเกียรติ, อ.มานา คุณธาราภรณ, อ. อรพรรณ สุนทรกลัมพ อำนวยการศิลปกรรม: มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ศิลปกรรม: namssss@hotmail.com เลขากองบรรณาธิการ: จิตตดิษฐภัสสร จินดาวานิชสกุล คอลัมนิสต: รศ.ดร. วันชัย รัตนวงษ, ผศ.ดร. ธนวรรธน พลวิชัย, ผศ.ดร. อัทธ พิศาลวานิช, รศ. สุธรรม อยูในธรรม, รศ.ดร. วิมุต วาณิชเจริญธรรม, ผศ.ดร. วีระชาติ กิเลนทอง, ดร. โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ, ดร. ปยะบุตร บุญอรามเรือง, ดร. ไพจิตร วิบูลยธนสาร, อ.โศภชา เอี่ยมโอภาส, ดร. ศศิวมิ ล วรุณสิริ, อ.มานา คุณธาราภรณ ฯลฯ พิสูจนอักษร: อ.สุรีย พงศอารักษ ฝายโฆษณาและการตลาด: ศรายุทธ เวสารัชวิทย, วีณา สุขใจ, เสาวนีย เทียมเมือง ฝายบัญชีและการเงิน: เบญจวรรณ มณีพันธุ ฝายสมาชิกสัมพันธ: จตุพร ธนลาภสถาพร ติดตอลงโฆษณาไดที่ศูนยบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย โทร. 02-697-6861-3 แฟกซ 02-277-1803 08



20

46

ทำอยางไร…คนไทยจะเกษียณสุข

ดวยนวัตกรรม

ทานผูอานอาจลองถามตนเองหรือคนรอบขางก็ไดครับวาทาน เคยเปลี่ยนทางเลือกนโยบายลงทุน (Employee’s Choices) ของระบบกองกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหรือไม? ผลจากการวิจัย พบวาองคกรสวนใหญจัดใหมีทางเลือกนโยบายลงทุน 2-3 ประเภท แตพนักงานสวนใหญรอยละ 90 ไมเคยเปลี่ยน ทางเลือกนโยบายลงทุนใหเหมาะสมกับทัศนคติตอความเสี่ยง เลยสักครั้งเดียว!

สำหรับ SMEs ของไทยนั้น ปญหาอุปสรรคที่สำคัญประการ หนึ่งก็คือ การสรางสรรคนวัตกรรม (Innovation) ยังมี ปริมาณไมมากนัก อันอาจเปนเพราะการวิจัยและพัฒนา (R&D) ของไทยยังไมไดรับความสนใจเทาที่ควรหรือยังไมไดมี การนำมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด

29

50

การเงินเชิงพฤติกรรม:

ประเทศไทยจะมี Mr.AEC และ Ms. AEC

บุคลากรของรัฐฯ จำตองเปนแมขายที่สำคัญที่จะสงสัญญาน ความรูสูผูประกอบการไทย ผมคิดวา โครงการ Mr.AECและ Ms. AECกระทรวงอุตสาหกรรม ผนวกกับโครงการหลักสูตร อบรม “AEC จังหวัด” ของกระทรวงพาณิชยที่อบรมให ขาราชการในสังกัดทั่วประเทศใหรูและเขาใจเออีซี… ประเทศไทยโลดแนในอาเซียน”

10

SMEs เตรียมพรอมรับมือ AEC

เทคนิคการสื่อสาร... ความสำเร็จของการขายทางธุรกิจ

อยาลืมคิดเสมอวาสินคาและบริการนั้นเนนกลุมเปาหมายใด หรือคิดเสมอวาเรากำลัง สื่อสารผานสื่อใดอยู ซึ่งในสวนนี้ จะทำใหเราสามารถใชระดับของภาษาในการสื่อความหมาย ตางๆ ดีขึ้นและทำใหผูที่รับสารของเราเขาใจเนื้อหาตางๆ ได โดยงายและไมสับสน

39

54

ภาวะผูนำ

ละครบูเหนือธรรมชาติ

ในธุรกิจครอบครัว

กับนัยทางสังคม

รุนที่ 1มีระดับภาวะผูนำแบบ AD สูงกวารุนที่ 2 และรุนที่ 3 ทั้งนี้อาจเนื่องจากในตอนเริ่มแรกของการกอตั้งกิจการเจาของ กิจการสวนใหญมักบริหารงานโดยรวมอำนาจไวที่ตัวเองเปน ศูนยกลางตัดสินใจแบบเบ็ดเสร็จตามลักษณะภาวะผูนำ AD ซึ่งมีความจำเปนเมื่อธุรกิจยังไมมีทิศทางที่ชัดเจนและมีการ สรางวิสัยทัศนใหมที่ตองการขับเคลื่อนคนไปตามวิสัยทัศนนั้น

ความคลุมเครือที่มิอาจชี้ชัดไดในสังคมจึงตางจากละคร โทรทัศนที่แบงฝายแบงขั้วกันชัดเจนแมตัวละครในเรื่องจะไมรู แตขนบการเขียนบทละครในประเทศไทยนั้นคนดูตองรู มากกวาตัวละคร (จึงเปนเสนหที่ทำใหคนดูอยากติดตาม เพราะรูสึกวาตนฉลาดกวาตัวละครในเรื่อง)


หอการคาไทยตอบรับลดปร�มาณการใชไฟฟา

น.ส.ยิ่งลักษณ ช�นวัตร นายกรัฐมนตร นายพงษศักดิ์ รักตพงษไพศาล รัฐมนตร�วาการกระทรวงพลังงาน จัดงานรณรงคใหภาครัฐ เอกชน และประชาชน ชวยลดปร�มาณการใชไฟฟา ในชวงวันที่ 8-15 เมษายน

ซึ่งสภาหอการคาไทย นำโดย นายอิสระ วองกุศลกิจ ประธานกรรมการสภาหอการคาไทย และนายสนั่น อังอุบลกุล รองประธานกรรมการและประธานคณะกรรมการพลังงานหอการคาไทย ไดตระหนักถึงความสำคัญและหนาที่ในการประสานงานกับภาครัฐ ในการแกไขวิกฤตการณนี้ จึงไดทำงานรณรงคออกมาตรการประหยัด พลังงานเรงดวน และประกาศขอใหสมาชิกทั่วประเทศถือปฏิบัติ กลาวโดยสังเขป คือ -ให เ ลื ่ อ นแผนการผลิ ต ที ่ ส ำคั ญ ไปดำเนิ น การก อ นหรื อ หลั ง ชวงวิกฤติ -ใหหลีกเลี่ยงการใชไฟในชวงเวลา peak load ในชวงวิกฤติ -ใหปรับอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศใหสูงกวา 26 องศา ในสำนักงาน งดใสสูท ผูกไท - ใหดึงปลั๊กไฟออกเมื่อไมใชงาน ฯลฯ ผลจากความร ว มมื อ ของสมาชิ ก ต อ มาตรการดั ง กล า วนี ้ ชวยประหยัดพลังงานไดไมต่ำกวา 100 เมกกะวัต ตอวัน ซึ่งความรวมมือดังกลาว ถือเปนการชวยลดปริมาณการใชไฟฟา ในแบบที่ไมตองลงทุนเพิ่มเติม หรือใชวิธีการซับซอนมากเกินไป .


UTCC Business Poll

โพลเปดเทอม เงินสะพัด 5.3 หมื่นลาน â´Â

ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

จากการสำรวจผู  ป กครองกลุ  ม ตัวอยาง 1,200 คน พบวาในชวง เปดเทอมใหญป 2556 จะมีเม็ดเงิน สะพัดประมาณ 53,614 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 6.7 หรือมีการใชจาย เฉลี่ยคนละ 9,128 บาท ซึ่งแมเม็ดเงิน สะพัดในชวงเปดเทอมจะเพิ่มขึ้นจาก ปกอน แตต่ำกวาที่คาดการณวาจะโต

12

รอยละ 8-10 หรือมีมูลคาประมาณ 55,000 ลานบาท โดยผูตอบสวนใหญรอยละ 44.8 ระบุ ส าเหตุ ท ี ่ ใช จ  า ยเพิ ่ ม เพราะราคา สิ น ค า อุ ป กรณ ก ารเรี ย นปรั บ ตั ว เพิ ่ ม จากปกอนแมจะซื้อของในจำนวนเทา เดิมก็ตาม ซึ่งเมื่อแยกรายละเอียด ค า ใช จ  า ยเฉลี ่ ย พบว า ค า หน ว ยกิ ต ป

2556 เฉลี่ย 10,455 บาท เพิ่มจาก ปกอน 8,608 บาท คาบำรุงโรงเรียน 1,422 บาท เพิ่มจาก 1,247 บาท คาแปะเจี๊ยะ 7,400 บาท เพิ่มจาก 7,062 บาท คาหนังสือ 1,371 บาท เพิ่มจาก 1,095 บาท คาอุปกรณการ เรียน 992 บาท เพิ่มจาก 673 บาท คาเสื้อผา รองเทา 1,721 บาท เพิ่ม



UTCC Business Poll

จาก 1,226 บาท คาบริการพิเศษ คาประกันชีวิต 1,515 บาท เพิ่มจาก 1,290 บาท เนือ่ งจากผูป กครองสวนใหญ เห็ น ว า ราคาสิ น ค า เกี ่ ย วกั บ การเรี ย น และอื่นๆ มีราคาแพงขึ้นมาก สงผลให ผูปกครองมีการระมัดระวังการใชจาย มากขึ้น ผูปกครองสวนใหญมีหนี้รอยละ 68.8 โดยสวนใหญเปนหนี้จากการ ใชจายใน รองลงมาเปนหนี้จากการ ซือ้ รถยนต ซึง่ อาจเปนผลมาจากนโยบาย รถคันแรก สงผลใหผูปกครองมีหนี้

14

เพิ่มสูงขึ้นในสวนนี้ โดยรวมแลวมี หนีเ้ ฉลีย่ 141,187.88 บาทตอครัวเรือน และผูปกครองสวนใหญรอยละ 50.8 ประสบปญหามีเงินใชจายไม เพี ย งพอในช ว งเป ด เทอม ขณะที ่ ผู  ป กครองที ่ ม ี เ งิ น ใช จ  า ยเพี ย งพอมี สัดสวนนอยกวาอยูที่รอยละ 49.2 ซึ่ง ปญหานี้มีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปกอนที่ มีเงินเพียงพอรอยละ 60 และไม เพียงพอรอยละ 40 เทานั้น เมื่อ สอบถามถึ ง แหล ง ที ่ ม าของเงิ น กลุ  ม ผูปกครองที่มีเงินไมพอ สวนใหญ

รอยละ 39 จะนำทรัพยสินมีคา อาทิ โทรทัศน โทรศัพทมือถือ เครื่องใช ไฟฟา ทองคำ เขาไปจำนำ รองลงมา ใชวิธีกูนอกระบบ ยืมญาติพี่นอง กู เงินในระบบ และเบิกเงินสดจากบัตร เครดิตมาใชลวงหนา สวนกลุมที่เงิน เพียงพอจะนำเงินเดือน เงินออม โบนัส มาใช จากผลการสำรวจแมการใชจาย ในช ว งเป ด ภาคเรี ย นจะยั ง ขยายตั ว แต แ นวโนม มี ก ารขยายตั ว ในอั ต ราที ่ ชะลอตั ว ลงจากป ก  อ นที ่ ข ยายตั ว


UTCC Business Poll

รอยละ 7 ทั้งที่ประชาชนนาจะมี รายไดเพิ่มขึ้นตามการขึ้นของคาจาง 300 บาท เนื่องมาจากสาเหตุสำคัญ ในสวนของระดับราคาสินคาแพงขึ้น ตามต น ทุ น ที ่ ป รั บ ตั ว เพิ ่ ม ขึ ้ น ของ ผูประกอบการ อีกทั้งการที่ผูปกครอง จำนวนมากระบุ ว  า มี เ งิ น ไม พ อใช จายชวงเปดเทอมเปนประเด็นที่นา หวงวาประชาชนที่รายไดไมสูงมาก กำลั ง มี ป  ญ หาสภาพคล อ งตึ ง ตั ว มีหนี้ครัวเรือนเพิ่มขึ้นอันเปนผลมา จาการใช น โยบายการคื น ภาษี รถยนตคันแรก และคาครองชีพที่

ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดยกลุ  ม ตั ว อย า งส ว นใหญ ม ี ทั ศ นะต อ การศึ ก ษาของประเทศไทย ในป จ จุ บ ั น ในระดั บ ที ่ ด ี ข ึ ้ น ร อ ยละ 46.9 ซึ่งเปนการปรับตัวดีขึ้นจากการ มี เ ทคโนโลยี ท ี ่ ด ี ข ึ ้ น มี ก ารเรี ย นที ่ หลากหลายมากขึ้น และมีการสงเสริม ใหเรียนภาษาที่เปนสากลเพิ่มมากขึ้น แตอยางไรก็ดีผูปกครองยังคงมองวา โรงเรี ย นของไทยยั ง ไม ม ี ค วามไม เทาเทียมกันระหวางโรงเรียนเอกชน และรัฐบาล รวมทั้งโรงเรียนที่อยูนอก พื้นที่เมืองหลวง เนื่องจากมีโอกาสใน

การพัฒนาที่แตกตางกัน บุคลากรมี ความสามารถไมเทาเทียมกัน นโยบายโรงเรี ย นที ่ แ ตกต า งกั น สภาพแวดล อ มโรงเรี ย นต า งกั น ดังนั้นผูปกครองจึงตองการใหภาครัฐ เข  า พ ั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ใ ห  สอดคลองกับภาวะในปจจุบัน ควร สร า งมาตรฐานโรงเรี ย นให เ ท า เที ย ม กัน พัฒนาครูหรืออาจารย รวมทั้ง ควรมี ง บในการพั ฒ นาเยาวชนเพิ ่ ม มากขึ้น

15


People

16



People แผนขยายการใชงาน ICAS คุณทองอุไรเปดเผยวา ธปท. และ ธนาคารสมาชิ ก ได เริ ่ ม ใช ง านระบบ ICAS ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ตั้งแตวันที่ 3 กุมภาพันธ 2555 โดยในระยะแรกเปนการใหบริการ ในสวนของการเรียกเก็บเงินตามเช็ค ภายในจังหวัดเดียวกัน ครอบคลุมสาขา ธนาคารประมาณ 3,200 สาขา และ มีปริมาณเช็คเรียกเก็บประมาณ 220,000 ฉบับ/วัน (71% ของทั่วประเทศ) คิดเปนมูลคา 1.4 แสนลานบาท/วัน (89% ของทั่วประเทศ) หลังจากนั้น ไดขยายการใชงานภูมภิ าคใน 3 จังหวัด นำรอง (สุพรรณบุรี ระยอง และ ขอนแกน) ในชวงเดือน พ.ย. 55 – มี.ค. 56 และเมื่อวันที่ 16 พ.ค. 56 ที่ผานมา ธปท. และธนาคารสมาชิก ได เ พิ ่ ม บริ ก ารเรี ย กเก็ บ เงิ น ตามเช็ ค ขามจังหวัดในระบบ ICAS โดยเริ่มที่ กรุงเทพฯ และปริมณฑล และทยอย ดำเนินการใน 3 จังหวัดนำรอง ใน

18

ชวงเดือน พ.ค.-มิ.ย. 56 ซึ่งจะชวยลด ระยะเวลาทราบผลการเรี ย กเก็ บ เช็ค ขามจังหวัดจาก 3-5 วันทำการ ให เหลือเพียง 1 วันทำการ ซึ่งเช็ค ดังกลาวมีมูลคาสูงถึงกวา 2 พันลาน บาทตอวัน หลั ง จากนั ้ น จะขยายผลการใช งาน ICAS ทั้งในสวนของบริการ เรี ย กเก็ บ เช็ ค ภายในจั ง หวั ด และเช็ ค ขามจังหวัดไปพรอมกัน โดยจะดำเนินการ ที่ 8 จังหวัดเศรษฐกิจสำคัญกอน ไดแก สระบุรี นครราชสีมา อุบลราชธานี เชียงใหม พิษณุโลก สงขลา ภูเก็ต และชลบุรี ในชวงเดือน มิ.ย.-ส.ค. 2556 ซึ่งเมื่อดำเนินการแลวเสร็จจะ ทำให ICAS ครอบคลุมปริมาณและ มูลคาเช็คเรียกเก็บไดสูงถึง 90% และ 95% ของเช็คทัง้ ประเทศตามลำดับ แลวจึงทยอยขยายการใชงาน ICAS ไปยั ง จั ง หวั ด ที ่ เ หลื อ ให เ สร็ จ สิ ้ น ครบ ทั่วประเทศภายในป 2556 ตอไป

ป จ จั ย ที ่ ช  ว ยให ก ารขยายผล ICAS ประสบความสำเร็จ คุ ณ ทองอุ ไ รเป ด เผยว า การ ขยายผลการใชงานระบบ ICAS ใน ชวงที่ผานมาเปนไปดวยความราบรื่น และดำเนิ น การได ต ามแผนงานที ่ กำหนด โดยมีปจจัยที่สำคัญ คือ การ ได ร ั บ ความร ว มมื อ อย า งดี จ ากทุ ก ภาคสวนที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนใน ดานนโยบายจาก กรช. และดานการ ขยายผลในพื ้ น ที ่ ป ฏิ บ ั ต ิ ง านจาก ธนาคารสมาชิก และสาขาภาคของ ธปท. รวมทั้งไดรับความรวมมือจาก ภาคประชาชน สำหรั บ การเตรี ย มความพร อ ม เพือ่ รองรับการใชงาน ICAS จะประกอบ ดวย 2 สวนสำคัญ คือ การเตรียม ความพรอมดานผูใหบริการ ซึ่งจะเปน ในส ว นของระบบงานและอุ ป กรณ สแกนขอมูลและภาพเช็คของธนาคาร สมาชิก รวมทั้งการอบรมพนักงาน สาขาให ส ามารถปฏิ บ ั ต ิ ง านตาม กระบวนการของระบบ ICAS ได อีกสวนหนึ่งคือ การเตรียมความ พรอมดานผูใชบริการ ซึ่ง ธปท. และ สมาคมธนาคารไทยได ร  ว มกั น จั ด Road Show ชี้แจงระบบ ICAS เพื่อสรางความเขาใจใหกับภาคธุรกิจ (สภาหอการคา และสภาอุตสาหกรรม) ภาคกฎหมาย (ศาล ผูพ พิ ากษา อัยการ ตำรวจ และทนายความ) และภาค ธนาคาร โดยไดจัดประชุมชี้แจงแลว ในสวนของ กทม. 9 ครั้ง และภูมิภาค 8 ครั้ง ที่จังหวัดสุพรรณบุรี, ชลบุรี, ขอนแกน, เชียงใหม, นครราชสีมา, พิษณุโลก, อุบลราชธานี และสงขลา และมี แ ผนงานที ่ จ ะชี ้ แ จงในส ว น ภูมิภาคอีก 6 ครั้ง ที่จังหวัดภูเก็ต, เพชรบุรี, สุราษฎรธานี, อุดรธานี, เชียงราย และนครสวรรค ซึ่งการจัด ชี้แจงในแตละครั้งจะครอบคลุมกลุม ผู  เ กี ่ ย วข อ งที ่ อ ยู  ใ นจั ง หวั ด ใกล เ คี ย ง ดวย นอกจากนี้ ยังไดมีการจัด ประชุมหารือกับ Focus Group ไดแก


People หอการคาจังหวัด สภาอุตสาหกรรม และชมรมธนาคารทองถิ่น

ประชาชนจะไดประโยชนอยางไร จาก ICAS คุณทองอุไรเปดเผยตอวาเมื่อใช งานระบบ ICAS ซึ่งใชเทคโนโลยีการ เรียกเก็บเงินตามเช็คดวยภาพ จะทำ ใหประชาชนไดรับประโยชนในหลาย ดาน ไดแก การมีเวลานำฝากเช็คผาน ธนาคารนานขึ้น 1-3 ชั่วโมง เพราะ ไมตองขนสงตัวเช็คเพื่อการเรียกเก็บ เหมือนเชนในอดีต ทำใหธนาคาร สามารถขยายเวลารับฝากเช็คใหลูกคา ได รวมทั้งการทราบผลเรียกเก็บเช็ค โดยเฉพาะเช็ ค ข า มจั ง หวั ด ได เร็ ว ขึ ้ น จากอดีตที่ตองใชเวลา 3-5 วัน จะ ลดเหลือเพียง 1 วัน นอกจากนี้ ในอนาคตยังมีแนวโนมที่ธนาคารจะ พั ฒ นาบริ ก ารต อ ยอดจากระบบ ICAS เหมือนเชนทีป่ รากฏในตางประเทศ เพื่อใหประชาชนไดรับความสะดวก และมีความมั่นใจในการทำธุรกรรม ทางการเงินมากขึ้น ตัวอยางเชน การ ฝากเช็คผานเครื่อง ATM อาจไดรับ Slip ยืนยันการฝากเช็คที่มีภาพเช็ค ประกอบ หรือระบบ Internet Banking อาจแสดง Statement ซึ่งมีภาพเช็คที่ นำฝากและสั ่ ง จ า ยประกอบใน Statement ดวย เปนตน

ผูใชเช็คควรปรับตัวอยางไร เมื่อใช ICAS คุ ณ ทองอุ ไรกล า วว า การเคลี ย ร เช็คดวยภาพชวยใหการเรียกเก็บเงิน

ตามเช็ ค รวดเร็ ว มากขึ ้ น ซึ ่ ง หั ว ใจ สำคัญคือภาพเช็คที่สามารถเห็นสาระ ส ำ ค ั ญ ข อ ง เช ็ ค ไ ด  อ ย  า ง ช ั ด เจ น ครบถวน และไมมีรองรอยการแกไข หากมีการกระทำใดๆ ทีบ่ ดบังขอความ ของเช็ค ไดแก เช็คที่มีตราประทับ หรื อ มี ก ารแก ไ ขข อ ความบนเช็ ค ธนาคารเจาของเช็คจะตองใหธนาคาร ผู  ร ั บ ฝากเช็ ค นำส ง ตั ว เช็ ค ให เ พื ่ อ ประกอบการพิ จ ารณาอนุ ม ั ต ิ ต ั ด จ า ย จึ ง อาจมี ผ ลให เช็ ค ลั ก ษณะดั ง กล า ว ทราบผลการเรียกเก็บลาชากวาปกติ ดังนั้น ผูรับเช็คควรตรวจสอบเช็คที่ ไดรับชำระวามีการใชตราประทับหรือ มีการแกไขขอความหรือไม เพื่อรักษา สิ ท ธิ ์ ใ นการเรี ย กเก็ บ เงิ น ตามเช็ ค ได รวดเร็วตามมาตรฐานระบบ ICAS นอกจากนั้น ขอความรวมมือผู สั่งจายเช็คไมใชตราประทับเปนเงื่อนไข ในการสั่งจาย เนื่องจากกฎหมายไมได กำหนดให ต  อ งใช ต ราประทั บ เป น เงื่อนไขในการสั่งจายเช็ค ดังนั้น นิ ต ิ บ ุ ค คลสามารถสั ่ ง จ า ยเช็ ค ได ต าม เงื่อนไขการลงลายมือชื่อที่ตกลงไวกับ ธนาคารโดยไมจำเปนตองมีตราประทับ แต ท ั ้ ง นี ้ น ิ ต ิ บ ุ ค คลอาจจะต อ งมี ก าร แก ไขข อ บั ง คั บ เพื ่ อ ให ไ ม ต  อ งมี ต รา ประทับเปนเงื่อนไขในการสั่งจายเช็ค ดวย รวมทั้งไมควรแกไขขอความบน ตัวเช็ค เพราะขอมูลที่ไดจากธนาคาร พบวาการทุจริตตางๆ มักพบในเช็คที่ มีการแกไข เช็คทั้ง 2 ประเภทนี้จึงไม สามารถนำเข า ระบบการเคลี ย ร เช็ ค ดวยภาพได ทำใหรานคาและผูรับเช็ค เสียเวลาในการเรียกเก็บเงินซึ่งจะใช

เวลาประมาณ 3-5 วันทำการกวาจะ ไดรับเงิน

ทิศทางการพัฒนาระบบหักบัญชี เช็คในอนาคต คุณทองอุไรกลาวตอวา เมือ่ ธปท. ไดดำเนินการขยายระบบ ICAS ครบ ทั ่ ว ประเทศแล ว ในอนาคตอาจจะ ดำเนินการนำธุรกรรมระหวางธนาคาร ที ่ ส ามารถใช ป ระโยชน จ ากการส ง ภาพแทนการสงเอกสารได เชน ธุรกรรม รับซื้อลดตั๋วแลกเงินและตั๋วสัญญาใช เงินระหวางธนาคาร เพือ่ ลดระยะเวลา ดำเนินการใหสั้นลง ซึ่งจะทำใหธุรกิจ มี ส ภาพคล อ งจากการขายลดตั ๋ ว ดังกลาวเร็วขึ้น จากปกติที่ตองใชเวลา 7-10 วัน จะเหลือเพียง 1 วันทำการ รวมทั้งอาจนำระบบเสริมอื่นๆ เขามา ช ว ยลดขั ้ น ตอนการปฏิ บ ั ต ิ ง านบาง อยาง เพือ่ เพิม่ ความคลองตัวของกระบวน การทำงานของระบบ ICAS เชน การ ใช Image Return Document (IRD) ซึ่งเปนเอกสารใบคืนเช็คของธนาคาร ที่มีภาพเช็คประกอบ เพื่อนำสงใหผู ฝากเช็ ค แทนการคื น ตั ว เช็ ค จริ ง นอกจากนี้ ธปท. ยังสนใจที่จะศึกษา การใช e-Cheque ซึ่งเปนการโอนเงิน รู ป แบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ท ี ่ ใช ห ลั ก การ ของการสั่งจายเงินแบบเช็คมาประยุกต ใช โดยปจจุบันประเทศสหรัฐอเมริกา ไดมีการใชแลว และประเทศฮองกงมี แผนงานที่จะใชในปลายป 2557 เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการชำระเงิน ซึ่ง จะเปนประโยชนตอ ภาคธุรกิจ ประชาชน และเศรษฐกิจไทยโดยรวม

19


Economic Review

การเงินเชิงพฤติกรรม: ทำอยางไร…คนไทยจะเกษียณสุข â´Â

อ.ดร. บุญเลิศ จิตรมณีโรจน ÍÒ¨Òà»ÃШӤ³ÐºÃÔËÒøØáԨ ÊÒ¢Ò¡ÒÃà§Ô¹ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

สืบเนื่องจากบทความตอนที่แลว ซึ่งผมไดเขียนเกี่ยวกับขอผิดพลาดทั้ง 7 ประการของผูว างแผนเพือ่ การเกษียณ ที ่ พ บจากโครงการวิ จ ั ย เรื ่ อ ง “การ เตรี ย มพร อ มสำหรั บ การวางแผน ทางการเงินเพื่อวัยเกษียณของกลุม แรงงานในระบบ ชวงอายุ 40 – 60 ป” ซึ่งนำเสนอในงานสัมมนาเพื่อการ พัฒนาตลาดทุนไทย ประจำป 2556 ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ขอผิดพลาดทัง้ หมดนีจ้ ะสงผลใหผเู กษียณ สวนใหญตกอยูใ นภาวะ “เกษียณทุ ก ข ” เพราะมี เ งิ น ออมไม เ พี ย งพอสำหรับ ใชจายหลังเกษียณ สำหรับบทความ ฉบับนี้ ผมจะนำเสนอแนวทางในการ แกไขขอผิดพลาดเหลานี้ เพื่อคนไทย สวนใหญจะได “เกษียณสุข” โดยมี เงิ น ออมมากเพี ย งพอสำหรั บ ใช ช ี ว ิ ต หลังเกษียณไดอยางมีความสุข รวมทั้ง ยังคงมีสินทรัพยเหลือเพื่อเปนมรดก ของลูกหลาน ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ทีห่ นวยงานตางๆ ของภาครัฐและเอกชน ควรเรงดำเนินการ สามารถสรุปเปน ประเด็นสำคัญไดดังนี้ การสร า งนวั ต กรรมของผลิ ต ภั ณ ฑ ทางการเงิน ผลการวิจัย พบวา รอยละ 73

ของกลุมตัวอยางมีความตองการที่จะ ใช ท ี ่ อ ยู  อ าศั ย ของตนเองเป น แหล ง รายไดหลังเกษียณ ถาตนเองสะสม เงิ น ออมไม เ พี ย งพอสำหรั บ ใช ห ลั ง เกษียณจนสิ้นอายุขัย กลุมตัวอยาง สวนใหญมสี ดั สวนการลงทุนในสินทรัพย ประเภทที่อยูอาศัยสูงถึงรอยละ 40 ของสินทรัพยทั้งหมด ดังนั้นการนำ อสั ง หาริ ม ทรั พ ยที่ผู เ กษี ย ณถื อ ครอง มาใชเปนแหลงรายไดหลังเกษียณ จะ ชวยทำใหผูเกษียณมีเงินออมมากเพียง พอสำหรับคาใชจายตางๆ หลังเกษียณ และยังมีเงินออมเหลือเพื่อเปนมรดก ของลูกหลานมากถึง 3.2 ลานบาท แนวทางหนึ ่ ง ที ่ น ิ ย มใช ส ำหรั บ การ แปลงสิ น ทรั พ ย ป ระเภทที ่ อ ยู  อ าศั ย เปนเงิน เพื่อนำมาใชจายหลังเกษียณ คื อ ผู  เ กษี ย ณจะขายที ่ อ ยู  อ าศั ย เดิ ม ของตนเอง โดยกันเงินสวนหนึ่งไว สำหรับคาใชจายหลังเกษียณ และ นำเงิ น ส ว นที ่ เ หลื อ ไปซื ้ อ ที ่ อ ยู  อ าศั ย แห ง ใหม ท ี ่ ม ี ข นาดเล็ ก ลงและราคา ไมแพงมากนัก ผูเกษียณอาจจำเปน ตองยายถิ่นฐานไปอยูชนบทซึ่งราคา ที ่ อ ยู  อ าศั ย และค า ครองชี พ ต่ ำ กว า เมืองหลวง ถึงแมวาแนวทางนี้จะเปน สิ่งที่ผูเกษียณสวนใหญมีความคุนเคย แต ก ารย า ยที ่ อ ยู  อ าศั ย ในลั ก ษณะ

ดังกลาวยอมสงผลกระทบตอความรูสึก และคุณ ภาพชีวิ ต ของผู เ กษี ย ณอย า ง หลีกเลีย่ งไมได เพราะผูเ กษียณจะไมได อยู  อ าศั ย ในบ า นหลั ง เดิ ม ของตนเอง รวมทั ้ ง ต อ งปรั บ ตั ว ให เข า กั บ สภาพ แวดลอมของที่อยูอาศัยแหงใหม แนวทางในการแปลงสินทรัพย ประเภททีอ่ ยูอ าศัยเปนเงิน เพือ่ ใชจา ย หลังเกษียณทีน่ ยิ มใชกนั ในตางประเทศ แตยังไมมีระเบียบแบบแผนที่ชัดเจน ในประเทศไทย คื อ “สิ น เชื ่ อ ที ่ อ ยู อาศั ย สำหรั บ ผู  ส ู ง อายุ (Reverse Mortgage)” โดยผูเกษียณสามารถ นำที่อยูอาศัยของตนเองไปจดจำนอง กับสถาบันการเงิน และจะไดรับเงิน จากสถาบั น การเงิ น เป น เงิ น งวด รายเดือน สำหรับใชจายหลังเกษียณ จนกระทั่งสิ้นอายุขัย ขอดีของระบบ สินเชื่อที่อยูอาศัยสำหรับผูสูงอายุ คือ ผู  เ กษี ย ณยั ง คงสามารถอยู  อ าศั ย ใน บานหลังเดิมของตนเองได รวมทั้งยัง มีเงินใชทุกๆ เดือน เมื่อไดทราบเชนนี้ แลว ผูอ า นบางทานทีเ่ ปนลูกๆ หลานๆ ของผูเกษียณอาจตกใจและไมเห็นดวย กั บ แนวคิ ด ของโครงการสิ น เชื ่ อ ที ่ อ ยู  อาศัยสำหรับผูสูงอายุ เพราะเกรงวา จะสูญเสียที่อยูอาศัยดั้งเดิมของวงศ ตระกูล แตอยาเพิง่ วิตกกังวลกันนะครับ

ท่านผู้อ่านอาจลองถามตนเองหรือคนรอบข้างก็ได้ครับว่า ท่านเคยเปลี่ยนทางเลือกนโยบายลงทุน (Employee’s Choices) ของระบบกองกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหรือไม่? ผลจากการวิจัย พบว่า องค์กรส่วนใหญ่จัดให้มีทางเลือกนโยบายลงทุน 2-3 ประเภท แต่พนักงานส่วนใหญ่ร้อยละ 90 ไม่เคยเปลี่ยนทางเลือกนโยบายลงทุนให้เหมาะสมกับทัศนคติต่อความเสี่ยงเลยสักครั้งเดียว! 20


Economic Review เพราะระบบสิ น เชื ่ อ ที ่ อ ยู  อ าศั ย สำหรับผูสูงอายุที่ดีจะถูกออกแบบให ลูกหลานสามารถไถถอนที่อยูอาศัยที่ ผูเกษียณนำไปจำนองกับสถาบันการ เงินได ดังนั้นการพัฒนาผลิตภัณฑ ทางการเงิ น ที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั บ สิ น เชื ่ อ ที ่ อ ยู  อ าศั ย สำหรั บ ผู  ส ู ง อายุ อ ย า งมี มาตรฐาน จึงถือเปนเรื่องเรงดวนที่ ภาครัฐตองใหความสนใจเปนอยางยิ่ง การใหความรูทางการเงินขั้นพื้นฐาน กลุมตัวอยางที่มีคุณสมบัติครบ ถวนทั้ง 3 ประการ ไดแก การผาน การเรียนรูดานการวางแผนทางการ เงินเพื่อเกษียณ (Learning) การมี ความรู  ค วามเข า ใจเกี ่ ย วกั บ การ วางแผนทางการเงินเพื่อวัยเกษียณ (Understanding) และการมีประสบการณ เกี ่ ย วกั บ การวางแผนทางการเงิ น เพื่อวัยเกษียณ (Planning) จะมีเงิน ออมสวนเกิน ณ วันเกษียณ (Retirement Saving Gap: RSG) มากกวากลุม ตัวอยางที่ขาดคุณสมบัติใดคุณสมบัติ หนึ่งเปนจำนวนเงินมากถึง 1.4 ลาน บาท (ดังแสดงตามรูปภาพที่ 1) ซึ่ง หมายความวา นอกจากผูเกษียณจะ มี เ งิ น ออมเพี ย งพอสำหรั บ ใช จ  า ยจน สิ้นอายุขัยแลว ผูเกษียณยังคงมีเงิน เหลือสำหรับสงมอบเปนมรดกใหลูก หลานอีก 1.4 ลานบาท ดังนั้นการให

ความรูทางการเงินจะนำมาซึ่งความรู ความเขาใจในระดับที่สามารถเริ่มตน วางแผนการเงิ น เพื ่ อ เกษี ย ณได อ ย า ง เหมาะสม การสงเสริมใหความรูในระดับที่ เหมาะสมจึงเปนแนวทางหนึ่ง ที่จะ ชวยสงผลใหผูเตรียมความพรอมเพื่อ การเกษี ย ณมี เ งิ น เพี ย งพอสำหรั บ ใช จ า ยหลั ง เกษี ย ณ การส ง เสริ ม และ พัฒนาองคความรูท างการเงิน (Financial Education) ในที่นี้ มีความหมาย ครอบคลุมเพียงการเงินสวนบุคคลขั้น พื้นฐาน ซึ่งเปนสิ่งจำเปนสำหรับการ ดำรงชีวิตประจำวัน เชน การจัดทำ บั ญ ชี แ ละงบประมาณส ว นบุ ค คล การตั ด สิ น ใจทางการเงิ น เบื ้ อ งต น ความรูเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยและเงิน เฟอ การคำนวณอัตราผลตอบแทน จากการลงทุน การใชบัตรเครดิตและ บริการของธนาคาร เปนตน สวนความรู ทางการลงทุน (Investment Education) ซึ่งเปนความรูทางการเงินขั้น สูงนั้น ควรเปนหนาที่ของที่ปรึกษา ทางการเงิน เนื่องจากศาสตรทางการ เงินเชิงพฤติกรรมเชื่อวา ถึงแมวาจะมี การใหความรูเกี่ยวกับการลงทุนมาก เพียงใด คนสวนใหญก็ยังคงมีอคติ (Bias) และมั ก ใช ก ฎอย า งง า ย (Heuristics) ในการตัดสินใจ การสงเสริมการใหความรูใ นระดับ

ที ่ เ หมาะสมเป น ประเด็ น ที ่ ก ล า วถึ ง อย า งกว า งขวางในแวดวงของการ เงินเชิงพฤติกรรม ดังคำกลาวของ Richard Thaler (2008) ที่วา “The depressing truth is that financial literacy is impossible, at least for many of the big financial decisions all of us have to make……If these things are perplexing to people with PhDs in economics, financial literacy is not the right road to go down....Focusing on making the world easier” ดังนั้นการพยายาม เอาชนะอคติตางๆ โดยการใหความรู ขั้นสูงแกคนทั่วไป จึงเปนเรื่องยากที่ จะประสบความสำเร็จ ตัวอยางของ ความลมเหลวของการพยายามใหความรู เกี่ยวกับการลงทุนขั้นสูงแกพนักงานเ อกชน เชน องคกรตางๆ ของประเทศ สหรัฐอเมริกาในชวงป 1980 พยายาม ให ค วามรู  ก ั บ พนั ก งานเกี ่ ย วกั บ การ ตั ด สิ น ใจการลงทุ น ในระบบกองทุ น สำรองเลี้ยงชีพแบบกำหนดเงินสมทบ (Defined Contribution: DC) แต พนั ก งานส ว นใหญ ก ็ ย ั ง คงหลี ก เลี ่ ย ง การตัดสินใจลงทุนหรือตัดสินใจตาม กฎอยางงาย ซึ่งกระบวนการอบรม ดังกลาวถือเปนการสูญเสียทรัพยากร อยางมาก (Ezra, et al., 2009) ทาน

21


Economic Review ผู  อ  า นอาจลองถามตนเองหรื อ คน รอบขางก็ไดครับวา ทานเคยเปลี่ยน ทางเลือกนโยบายลงทุน (Employee’s Choices) ของระบบกองกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพหรือไม? ผลจากการวิจัย พบวา องคกรสวนใหญจัดใหมีทาง เลือกนโยบายลงทุน 2-3 ประเภท แตพนักงานสวนใหญรอยละ 90 ไม เ คยเปลี ่ ย นทางเลื อ กนโยบาย ลงทุ น ให เ หมาะสมกั บ ทั ศ นคติ ต  อ ความเสี่ยงเลยสักครั้งเดียว! นอกจากนี้แลว การสงเสริมให เกิดการพัฒนาความรูทางการเงินขั้น พื้นฐาน ไมไดหมายความถึงการให ความรู  เ ฉพาะกลุ  ม คนในวั ย ทำงาน เทานั้น แตหมายความรวมถึงกลุมคน ในวัยเรียนดวย รวมทั้งควรที่จะตองมี การจัดตั้งองคกรเฉพาะ ที่มีบทบาท สงเสริมความรูพื้นฐานทางการเงินให กับคนไทยทั่วประเทศ ตัวอยางของ องคกรที่สงเสริมความรูดานการเงิน ของตางประเทศ เชน Advisory Board of Australia’s Financial Literacy Foundation ของประเทศ ออสเตรเลีย ifs (Institute of Financial Services) School of Finance ของประเทศสหราชอาณาจักร และ President’s Advisory Council on Financial Literacy ของประเทศ

22

สหรัฐอเมริกาในสมัยของ George W. Bush ซึง่ ตอมาเปลีย่ นชือ่ เปน President’s Advisory Council on Financial Capability ในสมัยของประธานาธิบดี Barack Obama การพั ฒ นาระบบเกษี ย ณสู  ร ะบบ กองทุ น สำรองเลี ้ ย งชี พ ที ่ ม ุ  ง เน น รายไดหลังเกษียณ ระบบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพใน ปจจุบันเปนระบบทางเลือกนโยบาย การลงทุ น ที ่ ห ลากหลาย (Fund Supermarket Model) ที่มุงเนน อั ต ราผลตอบแทนและมู ล ค า ของ สิ น ทรั พ ย ล งทุ น ในช ว งก อ นเกษี ย ณ ดั ง จะเห็ น ได จ ากรายงานผลการ ดำเนินงานของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ องค ก รจะมี ก ารเสนอนโยบายการ ลงทุนแบบตางๆ ใหพนักงานเปน ผูเ ลือกนโยบายดวยตนเอง หรือกลาว อี ก นั ย หนึ ่ ง ว า เป น ระบบในลั ก ษณะ ของ “Do-It-With-Me” ดังนัน้ พนักงาน จำเปนตองมีความรูเกี่ยวกับการลงทุน อยูในระดับดีพอสมควร รวมทั้งตอง รูจักวิธีการประเมินระดับความเสี่ยง ที่สามารถยอมรับไดของตนเอง เพื่อ ที่จะสามารถเลือกนโยบายการลงทุน ที่เหมาะสมกับทัศนคติดานความเสี่ยง แต เ นื ่ อ งจากพนั ก งานมี ค วามรู  ค วาม สามารถที่จำกัดดานการลงทุน รวม

ทั ้ ง คนส ว นใหญ ม ี อ คติ ป ระเภทการ ผัดวันประกันพรุง (Procrastination Bias) และความเฉื่อย (Inertia) ซึ่งสง ผลให พ นั ก งานไม ต ั ด สิ น ใจเปลี ่ ย น นโยบายการลงทุน และยังคงลงทุนใน นโยบายลงทุ น มาตรฐาน (Default Policy) ดังนั้นทางเลือกนโยบายการ ลงทุนที่นำเสนอใหกับพนักงานจึงไม เกิดประโยชนสูงสุดตอพนักงาน แต กลั บ เป น การสู ญ เสี ย ทรั พ ยากรใน การวิเคราะหและออกแบบนโยบาย การลงทุนตางๆ ทานผูอานบางทาน เคยมี ค วามรู  ส ึ ก เหมื อ นผมหรื อ เปล า ครั บ เวลาเข า ไปซื ้ อ ของใน ซุ ป เปอร ม าร เ กตที ่ ม ี ส ิ น ค า วางโชว บนชั้นหลากหลายยี่หอ เมื่อมองแลวก็ ลายตาและเกิดอาการมึนงงไมรูวาจะ เลือกหยิบสินคาชิ้นไหนดี บางครั้ง เห็นคนอื่นหยิบสินคาหนึ่งกันเยอะๆ ก็เลยหยิบสินคานั้นตามบาง ระบบ Fund Supermarket ก็จะมีลกั ษณะ คลายๆกัน คือพนักงานจะไมรูวา ควรจะเลื อ กกองทุ น ตราสารหนี ้ กองทุนตราสารทุน หรือกองทุนผสม ในบางครั ้ ง เห็ น พวกพ อ งเลื อ ก กองทุนตราสารทุน ก็เลือกตามเขา ไปบางก็มี ทั้งๆ ที่ตนเองอาจเปนคน ที ่ ไ ม ส ามารถยอมรั บ ความเสี ่ ย งได เลย ซึ่งพฤติกรรมในลักษณะนี้ทาง การเงิ น เชิ ง พฤติ ก รรมจะเรี ย กว า


Economic Review การทำตามกลุม (Herding) ดวยขอจำกัดของระบบ Fund Supermarket ดังกลาว ผมจึงมี ความเห็ น ว า ระบบกองทุ น สำรอง เลี ้ ย งชี พ ในป จ จุ บ ั น ของไทยควร พั ฒ นาไปสู  ร ะบบที ่ ม ุ  ง เน น รายได หลังเกษียณ (Retirement Income Model) โดยพยายามลดภาระหนาที่ ในการตั ด สิ น ใจทางเลื อ กการลงทุน ของพนักงาน หรือที่เรียกวาระบบ “Do-It-For-Me” ซึง่ ในระบบนีพ้ นักงาน ไมจำเปนตองมีความรูดานการลงทุน อยูในระดับสูงเหมือนระบบ “Do-ItWith-Me” เพราะองคกรและบริษัท ที่ปรึกษาการลงทุนจะเปนผูรับผิดชอบ ในการเลือกและนำเสนอนโยบายการ ลงทุนมาตรฐาน (Default Policy) ที่เหมาะสม เชน การเลือกกองทุน ประเภท Target-Date Fund หรือ ที่นิยมเรียกกันวา Life-Cycle Fund เปนนโยบายการลงทุนมาตรฐาน ซึ่ง จะต อ งมี ก ารเป ด เผยข อ มู ล เกี ่ ย วกั บ คุณลักษณะของผูที่เหมาะสมสำหรับ แตละ Target-Date Fund นอกจาก นี้แลว ในรายงานผลการดำเนินงาน ของกองทุ น จะต อ งมี ข  อ มู ล เกี ่ ย วกั บ อัตราผลตอบแทน มูลคาของสินทรัพย การลงทุน และการคาดการณรายได หลังเกษียณที่เปนผลมาจากการออม ผานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจะทำ ใหพนักงานทราบวาจะมีรายไดที่เปน ผลจากการออมผ า นกองทุ น สำรอง เลี ้ ย งชี พ เพี ย งพอต อ ค า ใช จ  า ยหลั ง เกษียณหรือไม เพราะถาปราศจาก ข อ มู ล เกี ่ ย วกั บ การพยากรณ ร ายได หลังเกษียณแลว พนักงานจะไมทราบ เลยว า จะต อ งวางแผนการออมเงิ น เช น ไรเพื ่ อ ให ม ี เ งิ น เพี ย งพอกั บ ค า ใช จายหลังเกษียณ

สำหรั บ รู ป แบบของเงิ น จาก กองทุ น สำรองเลี ้ ย งชี พ ที ่ ผ ู  เ กษี ย ณ จะไดรับของระบบ Retirement Income ควรแบงเปน 2 สวน โดย สวนแรกทางกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ควรบั ง คั บ จ า ยในลั ก ษณะของเงิ น บำนาญ ซึ่งอาจอยูในรูปแบบของ เงิ น บำนาญตลอดชี พ (Lifetime Annuity) ที่เริ่มจายใหกับพนักงาน ทันทีเมื่อเกษียณ หรือเงินบำนาญ ตลอดชีพแบบเลือกรับเงินเมื่อถึงอายุ คาดเฉลีย่ (Deferred Lifetime Annuity) ที ่ เริ ่ ม จ า ยเงิ น ให ก ั บ พนั ก งาน หลังจากที่พนักงานมีอายุยืนยาวกวา อายุคาดเฉลี่ย (Life Expectancy) โดยที ่ เ งิ น บำนาญรายเดื อ นจะต อ ง เพียงพอสำหรับคาใชจายรายเดือน ขั้นต่ำหลังเกษียณ หลังจากที่จาย เงิ น ส ว นแรกในลั ก ษณะของเงิ น บำนาญแล ว และถ า ยั ง มี เ งิ น เหลื อ จึ ง จ า ยเงิ น แก ผ ู  เ กษี ย ณในรู ป แบบ ของเงินบำเหน็จ แนวทางทีเ่ สนอดังกลาว มีความสอดคลองกับความตองการรับ เงินเกษียณที่ได จากการวิจัย กลาว คือ รอยละ 52 ของผูตอบมีความ ประสงค ท ี ่จ ะได รั บ เงิ น เกษี ย ณแบบ ผสม โดยบางสวนไดรับเปนเงินงวด รายเดือนและบางสวนไดรับเปนเงิน กอน แนวทางทั้ง 3 ดานในการแกไข ป ญ หาเรื ่ อ งความพร อ มทางการเงิ น เพื่อวัยเกษียณของคนไทย ที่ผมไดนำ เสนอในบทความนี้ จะประสบความ สำเร็จหรือไมนน้ั ขึน้ อยูก บั ความรวมมือ ระหวางภาคแรงงาน ภาคเอกชน และ ภาครัฐ การแกไขปญหาควรดำเนิน งานในลักษณะเชิงบูรณาการ เพือ่ ไมให ภาระในการแก ป  ญ หาไปตกอยู  ก ั บ กลุ  ม คนใดกลุ  ม คนหนึ ่ ง มากเกิ น ไป

เชน ถาแกไขปญหาเรื่องการเกษียณ โดยยืดอายุเกษียณของแรงงานใหยาว นานขึ้นเพียงอยางเดียว แรงงานอาจ ตองทำงานจนกระทั่งอายุ 65 ป แต ถาภาครัฐและเอกชนรวมมือกันปรับ ปรุงระบบเกษียณใหเหมาะสม เชน การเพิ่มอัตราเงินสมทบของนายจาง และการเตรี ย มระบบสิ น เชื ่ อ ที ่ อ ยู  อาศัยสำหรับผูสูงอายุ ก็อาจไมจำเปน ตองยืดอายุเกษียณของแรงงานใหยาว มากนัก ดังนั้น ถาทุกภาคสวนเล็ง เห็ น ถึ ง ความสำคั ญ ของป ญ หาเรื ่ อ ง ความพรอมทางการเงินเพื่อวัยเกษียณ และรวมมือรวมใจกันแกปญหาอยาง เต็ ม ความสามารถ ผมเชื ่ อ มั ่ น เป น อยางยิ่งวาคนไทยสวนใหญจะสามารถ เปลีย่ นสถานะจากการ “เกษียณทุกข” เปน “เกษียณสุข” ไดอยางแนนอน ครับ อางอิง: ผลการวิจยั เรือ่ ง “การเตรียมพรอม สำหรั บ การวางแผนทางการเงิ น เพื ่ อ วัยเกษียณของกลุมแรงงานใน ระบบ ชวงอายุ 40 – 60 ป” โดย สถาบัน วิ จ ั ย เพื ่ อ การประเมิ น และออกแบบ นโยบาย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ณ วันอังคารที่ 15 มกราคม 2556 งานสั ม มนาเพื ่ อ การพั ฒ นาตลาดทุ น ไทย ประจำป 2556 หอประชุม ศาสตราจารยสังเวียน อินทรวิชัย ชั้น 3 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย Ezra, D., Collie, B. and Smith, M. X. (2009). “The Retirement Plan Solution: The Reinvention of Defined Contribution”. John Wiley & Son.

23


Driving towards ASEAN+

บทวิเคราะห สิ่งทอและเครื่องนุงหมไทยในอาเซียน â´Â

Èٹ ÈÖ¡ÉÒ¡ÒäŒÒÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

อุตสาหกรรมสิ่งทอ เปนหนึ่งใน อุตสาหกรรมที่สำคัญของไทย เนื ่ อ งจากเป น อุ ต สาหกรรมที ่ ม ี ก าร จางงานสูงถึงกวา 1 ลานคน กอให เกิ ด การกระจายรายได ส ู  ส ั ง คมและ ประชากรในระดับรากหญา อีกทั้งยัง สรางรายไดจากการสงออกไป ตางประเทศไมต่ำกวาปละ 200,000 ลานบาท ตลอดจนการสรางมูลคา เพิ่มใหแกอุตสาหกรรมตอเนื่องอื่นๆ นับตั้งแตวัตถุดิบจำพวกฝาย ไหม และเสนใยตางๆ ไปจนถึงการผลิต สิ่งทอ สิ่งถัก และการตัดเย็บเสื้อผา สำเร็จรูป หากพิ จ ารณาบทบาทด า นการ

24

จางงาน พบวาอุตสาหกรรมสิ่งทอมี การใช แรงงานในกระบวนการผลิ ต อยางเขมขน (Labor Intensive) จากขอมูลของสถาบันพัฒนา อุตสาหกรรมสิ่งทอ พบวาในป 2554 อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม มีการจางงานจำนวน 1,022,880 คน คิดเปนรอยละ 19.1 ของการจางงาน ทั้งหมดในภาคอุตสาหกรรม (5.3 ลานคน ในป 2554)1 ในจำนวน ดั ง กล า วจำแนกเป น การจ า งงานใน อุ ต สาหกรรมเครื ่ อ งนุ  ง ห ม มากที ่ ส ุ ด 795,880 คน (รอยละ 77.8) สวน ที่เหลือ 227,000 คน เปนแรงงานใน อุตสาหกรรมสิ่งทอ คิดเปนรอยละ

22.2 ทั้งนี้เมื่อแยกตามประเภทการ ผลิ ต พบว า อุ ต สาหกรรมถั ก ผ า มี ก าร จางงานมากที่สุดในกลุมสิ่งทอดวยกัน 62,400 คน รองลงมาคืออุตสาหกรรม ปนดาย 57,200 คน (รอยละ 5.6) อุตสาหกรรมทอผา 52,160 คน (รอยละ 5.1) อุตสาหกรรมฟอก ยอม พิมพ และแตงสำเร็จ 41,940 คน (รอยละ 4.1) และอุตสาหกรรมเสนใย 13,300 คน (รอยละ 1.3) (ภาพที่ 1) อัตราคาจางแรงงานขั้นต่ำของ ไทยมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นเปน 300 บาทตอวัน ซึ่งถือเปนอัตราที่สูงกวา เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ เพื ่ อ นบ า นที ่ ม ี อ ั ต ราต่ ำ กว า อาทิ


Driving towards ASEAN+

25


Driving towards ASEAN+

อิ น โดนี เ ซี ย อยู  ท ี ่ 125 บาท/วั น เวียดนามประมาณ 100 บาท/วัน (ตารางที่ 1) ด า นการส ง ออกสิ น ค า ของ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม ในชวงระหวางป 2553-2555 พบวา การสงออกไปตลาดโลกลดลง เนื่องจากตลาดหลัก เชน สหรัฐ อเมริกา และสหภาพยุโรป เปนตน มี ก ารนำเข า ลดลงจากการชะลอตั ว ทางเศรษฐกิจภายในประเทศ ทำให

26

คำสั่งซื้อผลิตภัณฑลดลง (ตารางที่ 2 ภาพที่ 2 และภาพที่ 3) สำหรับการ สงออกสินคาสิ่งทอและเครื่องนุงหม ของไทยไปยังตลาดอาเซียน พบวามี การขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยแยกพิจารณา ออกเปน 2 กลุมสินคา ดังนี้ - สิ่งทอ มู ล ค า การส ง ออกสิ น ค า สิ ่ ง ทอ อาทิ เสนดาย ผาผืน ของไทยไป ยังตลาดอาเซียนในป 2553 มีมูลคา 43,446 ลานบาท เพิม่ ขึน้ เปน 47,446

ลานบาทในป 2555 ซึ่งเปนผลมา จากราคาสินคาที่เพิ่มขึ้น อันเนื่องมา จากต น ทุ น วั ต ถุ ด ิ บ และต น ทุ น การ ผลิตสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ตลาดสงออก หลั ก ในอาเซี ย น คื อ เวี ย ดนาม อินโดนีเซีย และเมียนมาร การสงออก ไปยังตลาดดังกลาวพบวามีแนวโนม ขยายตัว โดยเปนการนำเขาเพื่อนำ ไปผลิตเปนสินคาเครื่องนุงหม ดังนั้น หากอุตสาหกรรมสิ่งทอประเทศเหลา นี้ขยายตัวเพิ่มขึ้น ก็จะเปนโอกาสของ


Driving towards ASEAN+

อุตสาหกรรมสิ่งทอไทย - เครื่องนุงหม มู ล ค า การส ง ออกสิ น ค า เครื ่ อ ง นุ  ง ห ม ของไทยไปยั ง ตลาดอาเซี ย น ระหวางป 2553-2555 มีมลู คา 4,071 และ 4,814 และ 5,273 ลานบาท ตามลำดับ โดยมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ ทัง้ นี้ เป น ผลมาจากราคาสิ น ค า ที ่ ส ู ง ขึ ้ น เพราะราคาวั ต ถุ ด ิ บ สู ง ขึ ้ น ต อ เนื ่ อ ง รวมไปถึ ง ผลประโยชน จ ากข อ ตกลง อาเซียน ทีท่ ำใหมลู คาการสงออกเพิม่ ขึน้ ตลาดส ง ออกหลั ก ของสิ น ค า เครื ่ อ ง นุ  ง ห ม ในอาเซี ย น คื อ สิ ง คโปร มาเลเซีย และเมียนมาร จากการศึ ก ษาข อ มู ล พบว า

อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม ของไทยเปนอุตสาหรรมที่มีมาตรฐาน ในการผลิตและมีอุตสาหกรรมสิ่งทอ ที่ครบวงจรตั้งแตอุตสาหกรรมตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า มากกวา ประเทศอื ่ น ๆ ในอาเซี ย นด ว ยกั น (เปรี ย บเที ย บกั บ ประเทศกั ม พู ช า ฟลิปปนส และเวียดนาม) ดานทำเล ที่ตั้งของประเทศไทย พบวามีตำแหนง ศูนยกลางในภูมิภาคเอเซีย เปนประตู ทางเข า สู  เ อเซี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต มี ส ิ ่ ง อำนวยความสะดวกโดยเฉพาะ สาธารณูปโภค เชน ระบบไฟฟา การ คมนาคมขนสง และการโทรคมนาคม เปนตน จึงเปนทางผานที่สะดวกใน

การพัฒนาการคาในระดับภูมิภาคกับ ประเทศตางๆ ดังนัน้ เมือ่ เขาสูป ระชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในป พ.ศ.2558 คาดว า จะทำให อ ุ ต สาหกรรมสิ ่ ง ทอ และเครื ่ อ งนุ  ง ห ม ไทยขยายตั ว และ สามารถพัฒนาเปนศูนยกลางการคา สิ่งทอและเครื่องนุงหมของอาเซียน ได นอกจากนี ้ ผ ลประโยชน จ ากข อ ตกลงการลดภาษีสนิ คา ทำใหประเทศไทย ไดเปรียบประเทศอื่นในอาเซียน นั่น คื อ การที ่ ส หภาพยุ โรปให ส ิ ท ธิ พ ิ เ ศษ กับลาว กัมพูชา และเวียดนาม หาก ใช ว ั ต ถุ ด ิ บ ในอาเซี ย นไปผลิ ต ไม น  อ ย กวารอยละ 40 สงไปยุโรปไมตองเสีย

27


Driving towards ASEAN+

ภาษี เ ป น การกระตุ  น ให ป ระเทศ สมาชิ ก อาเซี ย นซื ้ อ สิ น ค า สิ ่ ง ทอจาก ไทยมากขึ้น และเมื่อพิจารณานโยบาย ของประเทศเพือ่ นบาน พบวามีนโยบาย ส ง เสริ ม การลงทุ น จากต า งประเทศ และให ค วามสำคั ญ กั บ การพั ฒ นา อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม เปนอันดับตนๆ ถือเปนอีกชองทางหนึง่ ให ผ ู  ป ระกอบการสามารถย า ยฐาน การผลิตเพื่อสรางความสามารถนการ แขงขันในตลาดโลก จากที่กลาวขางตน ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จึงถือเปน ทั ้ ง โอกาสของอุ ต สาหกรรมสิ ่ ง ทอ

28

และเครื่องนุงหมของไทย อยางไรก็ ตามอุ ต สาหกรรมสิ ่ ง ทอและเครื ่ อ ง นุงหมของไทย พบวายังมีปญหาดาน การนำเข า วั ต ถุ ด ิ บ จากต า งประเทศ โดยเฉพาะฝาย ตนทุนการผลิตสูง กวาประเทศเพื่อนบาน อัตราคาจาง แรงงานมีแนวโนมสูงขึ้น การขาด แคลนแรงงาน การพึง่ พาตลาดสงออก หลัก อาทิ สหรัฐอเมริกา สหภาพ ยุโรป มากเกินไป นอกจากนี้จากการ พึ ่ ง พาตลาดส ง ออกที ่ แ นวโน ม การ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ อยู  ใ นสภาวะ ถดถอย อันเปนผลมาจากปญหาวิกฤต เศรษฐกิจเมื่อป พ.ศ. 2551-2552

อุ ป สงค ส ิ น ค า จึ ง ลดลงตามไปด ว ย ทำใหประเทศไทยอยูในภาวะเสี่ยงตอ การผันผวนของยอดการสั่งซื้อ ดังนั้นผูประกอบการสิ่งทอและ เครื ่ อ งนุ  ง ห ม ไทยควรให ค วามสำคั ญ ดานการพัฒนาคุณภาพสินคา เพื่อ ยกระดั บ สิ น ค า จากตลาดระดั บ ล า ง พร อ มกั บ การแสวงหาการสร า ง มู ล ค า เพิ ่ ม ให ส ิ น ค า ด ว ยการพั ฒ นา การออกแบบสินคาใหสอดคลองกับ ความตองการตลาด สนับสนุนการ สร า งนวั ต กรรมการผลิ ต ใหม ๆ ตลอดจนการแสวงหาตลาดส ง ออก เพื ่ อ เพิ ่ ม ส ว นแบ ง ทางการค า ใน ตลาดอาเซียนและตลาดโลก


Driving towards ASEAN+

ประเทศไทยจะมี Mr.AEC และ Ms. AEC àÃÕºàÃÕ§â´Â

ผศ.ดร.อัทธ พิศาลวานิช Èٹ ¢ŒÍÁÙÅ¡ÒÃŧ·Ø¹ä·Âã¹μ‹Ò§»ÃÐà·È Êӹѡ§Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃŧ·Ø¹ (BOI) ËÇÁ¡ÑºÈٹ ÈÖ¡ÉÒ¡ÒäŒÒÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·ÈáÅФ³ÐàÈÃÉ°ÈÒÊμà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

pic

ผมเพิ ่ ง ได ร ั บ มอบหมายจาก สำนักบริหารยุทธศาสตร กรมสงเสริม อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ใหดำเนิน “โครงการกิจกรรมพัฒนา ความรูทางวิชาการเรื่อง AEC” หรือ ที่อาจจะเรียกไดวาเปนโครงการสราง “Mr. AEC และ Ms. AEC” ของ ประเทศไทย โดยพัฒนาจากบุคลากร ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรมทั้งสวน กลางและภูมิภาค เพื่อจะไดนำองค ความรูที่เกี่ยวของกับ AEC นำไป ถายทอดใหกับผูประกอบการ ใหเห็น ชองทางและโอกาสทั้งการคาและการ ลงทุน วัตถุประสงคหลักก็คือการ สรางองคความรูเกี่ยวกับประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย นให แ ก บ ุ ค ลากร ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม รวม ทั้งสรางความเขาใจประเทศอาเซียนที่ มี ศ ั ก ยภาพให แ ก บ ุ ค ลากรของกรม

สงเสริมอุตสาหกรรมเพื่อใหเจาหนาที่ ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรมนำองค ความรู  ท ี ่ ไ ด ร ั บ ไปต อ ยอดการปฏิ บ ั ต ิ ราชการ เพื่อสงเสริม สนับสนุนภาค อุตสาหกรรมในการบุกตลาดอาเซียน การดำเนินมีอยู 2 สวนหลักคือ การทำหลักสูตรเกี่ยวกับ AEC ซึ่ง ประกอบดวยเนื้อหาเจาะลึก AEC ประกอบด ว ยการเจาะเนื ้ อ หาสาระ ของข อ ตกลงอุ ต สาหกรรมต า งๆ ภายใตกรอบ AEC ที่สำคัญไดแก • ความตกลงการคาสินคาของ อาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement: ATIGA) • ความตกลงวาดวยการลงทุน อาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement: ACIA) • ข อ ตกลงยอมรั บ ร ว มใน คุ ณ สมบั ต ิ น ั ก วิ ช าชี พ ของอาเซี ย น

(ASEAN Mutual Recognition Arrangement: MRA) • และกฎว า ด ว ยแหล ง กํ า เนิ ด สินคา (Rules of Origin) ซึ่งเนื้อหาในสวนนี้เนนถึงสาระ สำคัญของขอตกลง และสวนไดสวน เสียของขอตกลงที่จะมีผลกระทบตอ ภาคอุตสาหกรรมไทย นอกจากนี ้ ผ มยั ง บรรยายเรื ่ อ ง “เส น ทางโลจิ ส ติ ก ส ท ี ่ ส ำคั ญ ใน อาเซียน” ที่จะเกิดขึ้นหลังป 2558 เริ่มตั้งแตเสนทางการขนสงทั้งทางบก และทางรถไฟภายใต ค วามร ว มมื อ อนุภูมิภาคแมน้ำโขง (GMS) ที่มีทั้ง ระเบียงเศรษฐกิจตอนเหนือ (NEC) ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออกตะวันตก (EWEC) และระบียงเศรษฐกิจตอนใต (SEC) เสนทางรถไฟคุนหมิงสิงคโปร (SKRL) เสนทางการเชื่อมโยงพมา

29


Driving towards ASEAN+

อินเดียและไทย (BIMSTEC) เสนทาง เศรษฐกิจเชื่อมทาเรือทวาย ระเบียง เศรษฐกิจ MIEC (Mekong Economic India Corridor) ของอินเดีย และ เชื่อมระเบียงเศรษฐกิจตอนใต (SEC) และเส น ทางระเบี ย งเศรษฐกิ จ ใน กรอบ IMT-GT ทีป่ ระกอบดวย ระเบียง เศรษฐกิจ สงขลา-ปนงั -เมดาน (Songkhla -Penang-Medan Economic Corridor) ระเบียงเศรษฐกิจชองแคบมะละกา (Straits of Melaka Economic Corridor) ระเบียงเศรษฐกิจบันดาอาเจะห -เมดาน-เปกันบารู-ปาเล็มบัง (Banda Aceh-Medan-PekanbaruPalembang Economic Corridor) ระเบี ย งเศรษฐกิ จ มะละกา-ดู ไ ม (Melaka-Dumai Economic Corridor) และ ระเบียงเศรษฐกิจระนอง -ภู เ ก็ ต -อาเจะห ( Ranong-PhuketAceh Economic Corridor) หั ว ข อ ที ่ จ ะบรรยายต อ มาคื อ การนำเสนอการเชือ่ มโยง Supply Chain

30

ของอุตสาหกรรมไทยกับอาเซียน ซึ่ง ประกอบดวยการนำเสนอการพึ่งพิง วั ต ถุ ด ิ บ ของอุ ต สาหกรรมไทยกั บ ประเทศเพื ่ อ นบ า นว า มี ม ากน อ ย แคไหน โดยจะนำเสนออุตสาหกรรม ที่สำคัญและที่เปนของคนไทย เชน อุตสาหกรรมสิ่งทอ และอุตสาหกรรม อาหาร หัวขอหลักที่สองคือการรูจัก เพื่อนบาน เปนการบรรยายใหทราบ ถึงสถานะเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมของ ประเทศอาเซียนและแนวโนมเพื่อทำ ความรูจักประเทศเพื่อนบานมากยิ่งขึ้น ทั้งสถานะปจจุบัน อัตราการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ แนวโนมดานอุตสาหกรรม ของประเทศ ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจและ ศั ก ยภาพเมื อ งสำคั ญ ของประเทศ เพื่อนบานเชน GDP อัตราขยายตัว ทางเศรษฐกิจ การลงทุน ดัชนีผลผลิต อุตสาหกรรม การสงออก-นำเขา เงิน ลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ อัตรา แลกเปลี ่ ย นเงิ น ตราต า งประเทศ อัตราการจางงาน อัตราการวางงาน

เปนตน รวมทั้งกฎหมายการคาและ การลงทุน และกฎหมายที่เกี่ยวของกับ ประเทศเพื ่ อ นบ า น โดยเน น เรื ่ อ ง กฎหมายการลงทุนของนักลงทุนตาง ชาติเปนพิเศษและขั้ นตอนในทำการ คาและการลงทุนในประเทศเพื่อนบาน เชน ลำดับของการทำธุรกิจในประเทศ เพือ่ นบาน หนวยงานตางๆ ทีเ่ กีย่ วของ สิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการลงทุน เปนตน ต น ทุ น ทางธุ ร กิ จ ของประเทศ เพื่อนบานซึ่งเปนสวนที่สำคัญที่จะ ทำให Mr. AECและ Ms. AEC ได ทราบถึ ง ต น ทุ น ทางเศรษฐกิ จ ว า สู ง มากนอยแคไหน เชน คาจางตอวัน คาเชาพื้นที่สำนักงาน คาโทรศัพท คา น้ำ และคาไฟ เปนตน นอกจากนี้ตอง ให Mr. AECและ Ms. AEC ทราบถึง จุดแข็ง จุดออนของประเทศตางๆ ในอาเซียน โดยใชการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค (SWOT Analysis) การวิเคราะหดัชนีความ


Driving towards ASEAN+

บุคลากรของรัฐฯ จำต้องเป็นแม่ข่ายที่สำคัญที่จะส่งสัญญานความรู้สู่ผู้ประกอบการไทย ผมคิดว่า โครงการ Mr.AECและ Ms. AECกระทรวงอุตสาหกรรม ผนวกกับโครงการหลักสูตรอบรม “AEC จังหวัด” ของกระทรวงพาณิชย์ ที่อบรมให้ข้าราชการในสังกัดทั่วประเทศให้รู้และ เข้าใจเออีซี…ประเทศไทยโลดแน่ในอาเซียน” ได เ ปรี ย บโดยเปรี ย บเที ย บที ่ ป รากฏ (Revealed Comparative Advantage: RCA) เมตริกซความเจริญเติบโต -สวนครองตลาด (Boston Consulting Group Matrix: BCG Matrix) แบบจำลอง Diamond Model รวมทั้งความเสี่ยงในการทำธุรกิจของ ประเทศในอาเซียนที่สำคัญ รวมถึง วิ เ คราะห แ นวโน ม อุ ต สาหกรรมที ่ สำคัญของไทยในอาเซียน นอกจากจะนำเสนอความรู  เกี่ยวกับ AEC อยางเต็มรูปแบบแลว เพื่อให Mr. AEC และ Ms. AEC ของประเทศไทยมี ค วามรอบรู  อาเซียนเชิงลึก โครงการนี้จึงตองให Mr. AEC และ Ms. AEC เดินทางไป ศึ ก ษาข อ มู ล อุ ต สาหกรรมของ ประเทศเพื ่ อ นบ า นที ่ ส ำคั ญ คื อ

อินโดนีเซีย ลาว กัมพูชาและเวียดนาม ซึ ่ ง ในการเดิ น ทางนั ้ น ไปยั ง นิ ค ม อุ ต สาหกรรมของประเทศเหล า นั ้ น ไปพบกั บ นั ก ธุ ร กิ จ ของไทยที ่ เข า ไป ลงทุน และยังไปพบหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ กับการลงทุน เชน คณะกรรมการ ส ง เสริ ม การลงทุ น พม า (MIC) คณะกรรมการส ง เสริ ม การลงทุ น อินโดนีเซีย (BKPM) และคณะกรรมการ สงเสริมการลงทุนของกัมพูชา (Cambodian Investment Board: CIB) รวมทั้ง หนวยงานภาคเอกชน โครงการนี้ถือไดวาเปนโครงการ อบรมที่หนวยงานของรัฐใหความสำคัญ เกี ่ ย วกั บ เออี ซ ี เมื ่ อ ป ท ี ่ แ ล ว ผมมี โอกาสได ท ำหลั ก สู ต รอบรมชื ่ อ ว า “AEC จังหวัด” ของกระทรวงพาณิชย ที ่ อ บรมให ข  า ราชการในสั ง กั ด ทั ่ ว

ประเทศให “รูและเขาใจเออีซี” พอ มาถึงป 2556 กระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมส ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมก็ ใ ห ความสำคั ญ กั บ การขั บ เคลื ่ อ นเรื ่ อ ง เออีซีที่ถือวาเปนภารกิจสำคัญที่ตอง ให บ ุ ค ลากรมี ค วามพร อ มเรื ่ อ งองค ความรู เพราะวากอนที่ผูประกอบการ จะเข า ใจและเห็ น ช อ งทางของเออี ซ ี บุคลากรของรัฐฯ ตองเปนแมขายที่ สำคั ญ ที ่ จ ะส ง สั ญ ญานความรู  ส ู  ผูประกอบการไทย โครงการนี้ดีมากๆ ครับ ทานผูอานที่เปนผูประกอบการ เตรี ย มพร อ มที ่ จ ะมี ร ั บ ความรู  จ าก Mr. AEC และ Ms. AEC ของไทยได เร็วๆ นี้ เมื่อรวมการอบรมของทั้ง สองโครงการแลว ผมคิดวา “ประเทศไทย โลดแนในอาเซียน”

31


AEC Focus

ขอชวนคิดของนักเรียน นักศึกษาไทยกับ AEC â´Â

ผศ. ดร. วรลักษณ วงศโดยหวัง ศิริเจริญ ÍÒ¨Òà»ÃШӤ³ÐÇÔ·ÂÒÈÒÊμà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

จากการเปดเผยของหนังสือพิมพ Cambodian Business [1] ตีพิมพ เดือนพฤษภาคมปที่แลว (2012) พบ ขอมูลสั้นๆ สรุปไดวานักเรียนไทย สวนใหญ กลัวที ่จะทำงานในประเทศ กลุมอาเซียนอื่นๆ การสำรวจลาสุด โดยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดเปด เผยว า ส ว นใหญ ข องบุ ค ลากรทาง การศึกษาไทย นักเรียน และนักศึกษา จะกลัวที่จะทำงานในประเทศอาเซียน อื่นๆ และอางวาภาษาเปนอุปสรรค สำคัญ อางอิงถึงการสำรวจโดยจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ไดเผยผลการศึกษาวา 70-80 เปอรเซ็นตหมายถึง นักเรียน นักศึกษาแปดในสิบคน ของบุคลากร ทางการศึกษาในประเทศไทยมีความรู เกี ่ ย วข อ งประชาคมอาเซี ย นซึ ่ ง จะ จั ด ตั ้ ง ขึ ้ น ในป 2015 น อ ยมาก ส ว นใหญ ไ ม ท ราบเกี ่ ย วกั บ นโยบาย ของรั ฐ บาลที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั บ การรวม อาเซียน หรือแนวทางในการปฏิบัติ อืน่ ๆ รวมถึงผลกระทบทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในทางตรงกั น ข า มนั ก เรี ย นใน ประเทศอาเซี ย นอื ่ น ๆ ส ว นใหญ ม ี ความกระตือรือรนที่จะมาทำงานใน ประเทศไทย ประเทศไทยขณะนี้ยังมี ตลาดงานวางใหกับนักเรียนในกลุม ประเทศอาเซียนอืน่ ๆ ไดเขามาทำงาน ในหลายสาขาอาชีพ มหาวิทยาลัย ตางๆ แสดงความกังวลวาหากมีการ รวมกลุมอาเซียนในป 2015 คนไทย จำนวนมากโดยเฉพาะอยางยิ่งบัณฑิต จบใหมจะกลายเปนผูวางงาน เพราะ ไม ส ามารถแข ง ขั น กั บ แรงงานจาก

32

ประเทศอาเซียนอื่นๆ ได ตลาดงาน ในประเทศไทยจะได ร ั บ ผลกระทบ โดยตรงจากการแข ง ขั น ของประเทศ ในกลุมอาเซียน เพราะทุกคนจะมีสิทธิ ที ่ จ ะทำงานในประเทศไทยในหลาย อุตสาหกรรม แตในทางตรงกันขามยัง มี ข  อ ดี ส ำหรั บ คนไทยที ่ ม ี ศ ั ก ยภาพ เพียงพอที่จะไปทำงานตางประเทศที่ จะไดรับเงินมากขึ้น และอาชีพที่จะ ได ร ั บ ผลกระทบมากที ่ ส ุ ด คื อ แพทย พยาบาล วิศวกร บัญชี นักวิจัย ทันตแพทยและสถาปนิก จะมีตำแหนง งานใหมมากขึ้นถึง 6,000,000 โดย คำนวณคราว ๆ จากเพียง 1% ของ ประชากรทั้งหมดของประเทศในกลุม อาเซียน การเตรียมความพรอมทำได 3 วิธีการ หลักๆ [2] คือ 1. การศึกษาสำหรับผูที่มีอายุ มากกวา 30 ป อาจจะมีความเสี่ยง ที่จะถูกมองวา "ลาสมัย" เมื่อเทียบกับ ผูท ม่ี คี วามพรอมรับกับ AEC จะเกิดขึน้ ในป 2015 และยากที่จะหางานใหม นอกจากจะมี ค วามสามารถทางด า น ภาษาอังกฤษเพื่อชวยในการเรียนรูสิ่ง ใหม 2. ดานภาษา ภาษาอังกฤษจะเปน ภาษาสำหรับธุรกิจใน AEC 2015 หลายประเทศที ่ เ คยเป น อาณานิ ค ม ของจักรวรรดิอังกฤษ จะมีปญหาใน การสื่อสารดวยภาษาอังกฤษนอยกวา ประเทศที ่ ไ ม เ คยเป น อาณานิ ค ม ในอนาคตอันใกลนี้ เมื่อ จีน, ญี่ปุน,

และเกาหลี ใ ต จ ะเข า ร ว มประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน เพราะฉะนั้นนอก จากภาษาอังกฤษแลว การรูภาษา อื่นๆ เปนภาษาที่สอง หรือภาษาที่ สาม จึงเปนขอไดเปรียบในการทำงาน 3. วั ฒ นธรรมในการทำงาน เนื่องดวยนายจางจะมีเกณฑที่เขมงวด มากขึ้นสำหรับการจางพนักงานใหม ผูที่ตองการจะประสบความสำเร็จใน อาชี พ การงานของพวกเขาจะต อ ง ทำงานหนักและมีความมุงมั่นมากขึ้น และเพิ ่ ม ศั ก ยภาพของตนเองในทุ ก ดาน เชน เทคโนโลยี ภาษา บุคลิกภาพ เปนตน ขอใหทุกคนโชคดีกับการเปลี่ยน แปลงครั ้ ง ใหม แ ละครั ้ ง ยิ ่ ง ใหญ ข อง สมาคมเศรษฐกิจอาเซียนในครั้งนี้กัน ถวนหนานะคะ [1] Survey: Most Thai students afraid to work in other ASEAN countries Bangkok, Vietnam News Agency (Available online 31.05.2012) Bulletin http://cambodianbusiness.tum blr.com/post/24118068959/ survey-most-thai-studentsafraid-to-work-in-other [2] What is AEC 2015? Why English is important for AEC 2015? http://www.wallstreet .in.th/index.php/wall-streetenglish/aec/?lang=en


China Focus

จีนสั่งชะลอแผน การขยายการใชภาษีอสังหาริมทรัพย ÃǺÃÇÁáÅÐàÃÕºàÃÕ§â´Â

ดร. ไพจิตร วิบูลยธนสาร ÍѤÃÃÒª·Ùμ (½†Ò¡ÒþҳԪ ) ³ ¡Ãا»˜¡¡Ô่§ Êӹѡ§Ò¹¾Ò³ÔªÂ ã¹μ‹Ò§»ÃÐà·È ³ ¡Ãا»˜¡¡Ô่§

แม ว  า จะเข า สู  ช  ว งโค ง สุ ด ท า ย กอนกาวลงจากตำแหนงนายกรัฐมนตรี ของทานเวิน เจียเปา แตดูเหมือน รั ฐ บาลกลางจะยั ง มี เ รื ่ อ งสำคั ญ ที ่ คั่งคางใหตองถกกันอยูอยางไมสราง ซา โดยเรื่องสำคัญหนึ่งไดแก การจัด การตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ข องจี น โดยนับแตตนป 2556 สื่อมวลชน สารพัดยี่หอของจีน อาทิ หนังสือพิมพ China Securities Journal และ South China Morning Post ได ลงตี พ ิ ม พ ข  า วความเคลื ่ อ นไหวของ ราคาและการกำหนดนโยบาย/มาตรการ ที่เกี่ยวของกับตลาดอสังหาริมทรัพย จีน ผู  ค นในวงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ต า งจั บ จ อ งว า นายกรั ฐ มนตรี ค น ป จ จุ บ ั น ของจี น จะทิ ้ ง ทวนด ว ยการ

ปอน “ยาขม” เพื่อแกไขปญหาฟอง สบูที่เกิดขึ้นจากตลาดอสังหาริมทรัพย อีกหรือไมอยางไร โดยเฉพาะอยางยิ่ง การขยายมาตรการภาษีอสังหาริมทรัพย ไปใชทว่ั ประเทศ ซึง่ อาจสงผลใหรฐั บาล ใหมภายใตการนำของทานหลี่ เคอเฉียง ที ่ จ ะเข า รั บ ตำแหน ง ในเดื อ นมี น าคม ศกนี้มีเรื่องใหขบคิดและแกปญหาใน อีกดานหนึ่งเชนกัน

และนครฉงชิ่งนับแตเดือนกุมภาพันธ 2554 ออกไปอยางไมมีกำหนด โดยให เหตุ ผ ลว า ตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ข อง จี น ในขณะนี ้ ย ั ง ไม พ ร อ มสำหรั บ การ กำหนดใชภาษีดังกลาวในวงกวาง อัน เนื่องจากความสลับซับซอนของตลาด ทีอ่ ยูอ าศัย ความไมชดั เจนในกรรมสิทธิ์ อสังหาริมทรัพย และขอจำกัดดาน เทคนิค

ทั้งนี้ ทิศทางขาวในชวงเดือน มกราคมออกไปในเชิ ง บวกว า รั ฐ บาล จี น จะชะลอแผนดั ง กล า วโดยข อ มู ล จากแหล ง ข า วที ่ ไ ม เ ป ด เผยจาก สำนักงานบริหารดานภาษีแหงชาติ (State Administration of Taxation) ระบุวารัฐบาลจีนจะชะลอแผน การขยายพื ้ น ที ่ ก ารใช ภ าษี อ สั ง หา ริมทรัพยที่เริ่มใชเพียงในนครเซี่ยงไฮ

ขณะเดี ย วกั น ผู  ค นในวงการ จำนวนมากตางเห็นวาแมวามาตรการ ดังกลาวจะกำหนดใหเรียกเก็บภาษีใน อัตราระหวางรอยละ 0.5-1.2 ของ ราคาอสังหาริมทรัพยจากผูซื้ออสังหา ริมทรัพยใน 2 มหานครดังกลาว แตใน สภาวะตลาดที่คลุมเครืออยูเชนนี้ การ ขยายวงของการกำหนดใช ม าตรการ ดั ง กล า วอาจจะทำให ต ลาดอสั ง หา

33


China Focus

ริมทรัพยจีนขาดเสถียรภาพ ราคา บานพักที่เริ่มฟนตัวในชวง 2-3 เดือน ที่ผานมาอาจหยุดชะงักลงและสงผล ใหปญหาหนี้เสียขยายวงกวางขึ้นอีก ครั้ง นอกจากนี้ ยังมีขาวลือวาคณะ ผูบริหารประเทศชุดใหม โดยเฉพาะ อยางยิ่งทานหลี่ เคอเฉียง ดูจะไม เห็นดวยกับมาตรการดังกลาว เพราะ เกรงว า จะกระทบต อ แผนการพั ฒ นา ชุมชนเมืองในอนาคต ซึ่งดูจะไดรับ เสี ย งสนั บ สนุ น อย า งมากจากรั ฐ บาล ทองถิ่น เพราะปจจุบันภาษีจากภาค อสังหาริมทรัพยมีสัดสวนสูงถึงรอยละ 40 ของรายไดโดยรวมของรัฐบาลทองถิน่ ซึ ่ ง เป น แหล ง งบประมาณในการ ดำเนินโครงการและพัฒนาโครงสราง พื้นฐานในพื้นที่ การชะลอมาตรการ ดั ง กล า วน า จะช ว ยให ต ลาดอสั ง หา ริ ม ทรั พ ย ก ลั บ มามี ช ี ว ิ ต ชี ว าอี ก ครั ้ ง อั น จะนำไปสู  ก ารขยายตั ว ของจี ด ี พ ี และสะทอนเปนผลงานของผูบริหาร

34

ที่เกี่ยวของสำหรับการเลื่อนตำแหนง ที่สูงขึ้นตอไป อยางไรก็ดี ในชวงเดือนกุมภาพันธ ขาวดังกลาวดูจะสงสัญญาณที่สับสน ในอีกดานหนึ่งเชนกัน ภายหลังการ เพิ ่ ม ขึ ้ น ของราคาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ใ น หลายเมื อ งในช ว งเดื อ นมกราคมที ่ ประกาศออกมาสูสาธารณชน โดย คณะมุขมนตรีจนี ซึง่ มีทา นนายกรัฐมนตรี เวินเปนประธานไดนำเรื่องนี้ขึ้นหารือ ในที่ประชุมและมีมติว ารัฐบาลกลาง จะยั ง คงยึ ด แนวทางเดิ ม ในการแก ไข ป ญ หาที ่ ด ำเนิ น การต อ เนื ่ อ งในช ว ง หลายเดือนที่ผานมา ซึ่งเปนการสง สั ญ ญาณเตื อ นครั ้ ง ใหญ ต  อ ตลาด อสังหาริมทรัพยจีน สงผลใหหลาย ฝายเริ่มกังวลใจวารัฐบาลอาจสั่งการ ให ธ นาคารพาณิ ช ย ช ะลอการปล อ ย สิ น เชื ่ อ ด า นอสั ง หาริ ม ทรั พ ย อ ี ก ครั ้ ง และคาดวารัฐบาลจะนำเอามาตรการ ดังกลาวมากำหนดใชในอีกหลายเมือง ภายในปนี้ ซึ่งทำเอาเมืองหลักและ

เมืองรองระดับที่ 2 ที่ราคาอสังหา ริ ม ทรั พ ย ข ยั บ ขึ ้ น อย า งรวดเร็ ว ใน ระยะหลังตางรอน ๆ หนาว ๆ ตามกัน ... สวนหวยจะออกที่เมืองไหนบาง ก็ ตองติดตามกันตอไป นอกจากนี้ นักวิชาการบางสวน ยั ง เห็ น ว า การชะลอแผนดั ง กล า วก็ อาจส ง ผลเสี ย ต อ ความพยายามของ รั ฐ บาลกลางในการลดการพึ ่ ง พา รายไดจากการขายกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ของรัฐบาลทองถิ่น ประการสำคัญ จีน ยั ง มี ป  ญ หาใหญ ใ นเชิ ง การบริ ห าร จัดการที่ดินของภาครัฐ ดังจะเห็นได จากเสี ย งครหาจากประชาชนใน ท อ งถิ ่ น ถึ ง ความไม เ หมาะสมในการ จัดการที่ดิน โดยที่อสังหาริมทรัพย มิไดถูกเรียกเก็บภาษีโดยตรงภายหลัง การขาย ทำใหรัฐบาลทองถิ่นหลาย แห ง ดำเนิ น การเวนคื น ที ่ ด ิ น ในเมื อ ง และโยกยายประชาชนไปอยูนอกเมือง เพื ่ อ ขายกรรมสิ ท ธิ ์ ใ นที ่ ด ิ น ให แ ก นักลงทุน ขณะเดียวกัน ดวยตนทุนใน


China Focus

การซื ้ อ และถื อ ครองกรรมสิ ท ธิ ์ ท ี ่ ไ ม แพง ทำใหนักลงทุนเหลานั้นก็สามารถ ชะลอโครงการเพื ่ อ หวั ง เก็ ง กำไรจาก ราคาที ่ ด ินที ่คาดวาจะสูงขึ้นไดอยาง งายดาย ดังที่เห็นอยูในหลายโครงการ ที่ดำเนินการอยูในปจจุบัน การกระทำ ในลักษณะดังกลาวยังสงผลใหอุปทาน นอยลงและราคาซื้อขายและคาเชาสูง ขึน้ ซึง่ สรางความไมพอใจใหแกประชาชน ในทองถิ่นเปนจำนวนมาก ผูเชี่ยวชาญดานอสังหาริมทรัพย ให ค วามเห็ น ในเรื ่ อ งนี ้ ว  า เพื ่ อ แก ไข ปญหาอยางเปนระบบ รัฐบาลกลาง จำเปนตองเรงรัดการปฏิรูปโครงสราง ภาษีดานอสังหาริมทรัพย โดยหนึ่ง ในกลไกสำคัญไดแก การกำหนดแผน งานด า นภาษี อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย แ ห ง ชาติ ซึง่ ถูกออกแบบเพือ่ ผนวกเอาภาษี

ที ่ เ กี ่ ย วข อ งด า นอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ทั ้ ง หมดเข า ด ว ยกั น เป น หนึ ่ ง เดี ย ว และทดแทนมาตรการจำกั ด การเก็ ง กำไรและการซื้อที่อยูอาศัยหลายหลัง โดยมุงหวังที่จะลดปญหาการเพิ่มขึ้น ของราคาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ท ี ่ ก ระโจน ขึน้ ไปถึงกวา 10 เทาตัวในชวงทศวรรษ ที่ผานมา นายลัว่ หยู (Luo Yu) นักวิเคราะห แหง CEBM ของเซีย่ งไฮกลาววา “รัฐบาล กลางจึงอาจตองคิดทบทวนการใชมา ตรการดังกลาวอยางถี่ถวน และอาจ พิ จ ารณาใช เ ครื ่ อ งมื อ อื ่ น มาทดแทน เชน ภาษีธุรกรรมการซื้อขายอสังหา ริมทรัพย การเขมงวดในนโยบายผอน ชำระสำหรับผูซื้อที่อยูอาศัยหลังที่ 2 หรือเพิ่มภาษีเงินไดสวนบุคคลสำหรับ ธุรกรรมการซื้อบานหลังที่ 2 ใน เมือง

หลัก” ซึ่งอาจชวยชะลออัตราเงินเฟอ ที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นนับแตตนป 2556 ลงไดระดับหนึ่ง อันที่จริง กอนหนานี้ก็มีกระแส ข า วการไม เ ห็ น ด ว ยกั บ การดำเนิ น นโยบายคุมเขมตลาดอสังหาริมทรัพย ของทานเวิน เจียเปา แตผูบริหารใน ระดั บ ท อ งถิ ่ น ต า งไม อ ยากขั ด ใจ “นาย” เพราะตางรูดีวาทานเวินจะ อยูในตำแหนงอีกไมนาน และคาด หวั ง ว า เมื ่ อ ผู  น ำคนใหม ข ึ ้ น บริ ห าร ประเทศก็จะนำไปสูการเปลี่ยนแปลง เชิงนโยบายอีกมาก การชะลอแผน การขยายภาษี อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย อ าจ เปนหนึ่งในตัวอยางของการ “เปลี่ยน ผูนำ ... เปลี่ยนนโยบาย” ในสังคม การเมืองจีน

35


Exim Bank

ธุรกิจบริการรับเหมากอสรางใน CLMV... โอกาสเปดกวางสำหรับผูประกอบการไทย

รูป

ประเทศ CLMV ซึ่งประกอบดวย กัมพูชา สปป.ลาว พมา และเวียดนาม นับ เปนตลาดที่มีศักยภาพสำหรับธุรกิจบริการ รับเหมากอสรางของไทย ทั้งที่เขาไปประมูล งานเพื ่ อ ดำเนิ น การเองและรั บ เหมาช ว ง (Sub-contract) ในโครงการกอสรางตางๆ เนือ่ งจาก CLMV อยูใ นชวงเรงพัฒนาประเทศ ทำให ม ี โ ครงการก อ สร า งสาธารณู ป โภค พื้นฐานขนาดใหญและดานพลังงานจำนวน มากตามการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ที ่ ม ี แ นวโน ม ขยายตัวดี อีกทั้งการแขงขันในธุรกิจดังกลาว ยั ง ไม ร ุ น แรงนั ก จึ ง นั บ เป น โอกาสของ ผูประกอบการไทยที่จะขยายตลาดบริการ รับเหมากอสรางในประเทศ CLMV

36

ป จ จั ย สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ บริ ก ารรั บ เหมา กอสรางของไทยในประเทศ CLMV • บริการรับเหมากอสรางเปนธุรกิจ ที ่ ผ ู  ป ระกอบการไทยมี ศ ั ก ยภาพสู ง จาก เทคนิ ค และความชำนาญทางวิ ศ วกรรม โดยเฉพาะวิศวกรไทยไดรับการยอมรับวามี ความสามารถทั ด เที ย มหรื อ เหนื อ กว า วิศวกรของบางประเทศ และแรงงานไทยมี ความชำนาญ ทั้งงานกอสรางและงานระบบ ประกอบกับไทยมีอุตสาหกรรมสนับสนุนที่ เขมแข็ง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิต วัสดุกอสราง • เศรษฐ ฐกจประเทศ เศรษฐกิ จประเทศ CLMV มีม

แนวโน ม เติ บ โตอย า งแข็ ง แกร ง ซึ ่ ง เป น ปจจัยสำคัญในการเกื้อหนุนการเติบโตของ อุตสาหกรรมรับเหมากอสราง เนื่องจาก ภาวะเศรษฐกิ จ ที ่ ข ยายตั ว ดี จ ะกระตุ  น ให เกิดความตองการลงทุนในสิ่งกอสรางตางๆ ตามมา ทั้งอาคารสำนักงาน ที่อยูอาศัย โรงงานอุตสาหกรรม และสาธารณูปโภค พื้นฐานทั้งโครงขายถนน ทาเรือ สนามบิน เปนตน • การเขาสู AEC ปจจุบันประเทศ CLMV อนุญาตใหนักลงทุนตางชาติสามารถ ถื อ หุ  น ในธุ ร กิ จ ก อ สร า งได เ ต็ ม จำนวน ขณะที ่ ก ารเป ด เสรี ธ ุ ร กิ จ บริ ก ารรั บ เหมา กอสรางภายใตประชาคมเศรษฐกจอาเซยน กอสรางภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน


Exim Bank

37


Exim Bank

(ASEAN EEconomici Community C it : AEC) ในป 2558 จะสงผลใหมีการลดขอจำกัด เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนยาย แรงงานวิชาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจบริการ กอสราง เชน วิศวกร และสถาปนิก เปนตน ซึ ่ ง จะเกื ้ อ หนุ น ให เ กิ ด โอกาสในการดำเนิน ธุ ร กิ จ รั บ เหมาก อ สร า งใน CLMV ของ ผูประกอบการไทย • ภูมิประเทศที่ตั้งอยูใกลไทย CLMV เปนประเทศเพื่อนบานที่มีทั้งพรมแดนติด กันและเชือ่ มถึงกันกับไทย ทำใหผปู ระกอบการ

ไไทยสามารถขยายตลาดบริ​ิ การก อสร างไป ไป ไดสะดวก โดยอาศัยขอไดเปรียบจากการ คมนาคมในภูมิภาค ทำใหประหยัดตนทุน ในการเคลือ่ นยายแรงงาน เครือ่ งจักร ตลอดจน อุปกรณตางๆ อีกทั้งการเคลื่อนยายแรงงาน ไทยทำได ส ะดวกรวดเร็ ว กว า การรั บ เหมา กอสรางในประเทศที่อยูหางไกล โดยเฉพาะ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง แอฟริกา และ ลาตินอเมริกา โอกาสสำหรั บ ธุ ร กิ จ บริ ก ารรั บ เหมา กอสรางของไทยในประเทศ CLMV

โโอกาสสำหรั สสำ ับธุรกิ​ิจเกี​ี่ยวเนื​ื่องกั​ับบริ​ิการ รับเหมากอสรางของไทย การเติบโตของอุตสาหกรรมรับเหมา กอสรางในประเทศ CLMV จะทำใหมีความ ต อ งการนำเข า วั ส ดุ แ ละอุ ป กรณ ก  อ สร า ง จากตางประเทศรวมถึงไทย โดยเฉพาะใน โครงการที่ผูประกอบการไทยประมูลงานได ประกอบกั บ ภู ม ิ ป ระเทศของไทยที ่ ต ั ้ ง อยู  ใกลกับประเทศ CLMV ทำใหการขนสง สินคาจากไทยไปยังประเทศดังกลาวสะดวก และมี ต  น ทุ น ค า ขนส ง ต่ ำ กว า คู  แข ง บาง ประเทศ อาทิ ญี่ปุน เกาหลีใต ทั้งนี้ วั ส ดุ แ ละอุ ป กรณ ก  อ สร า งของไทยที ่ ม ี ศักยภาพขยายตลาดไปประเทศ CLMV และมีมูลคาสงออกขยายตัวดี อาทิ เหล็ก เหล็กกลา และผลิตภัณฑ ปูนซีเมนต แร ยิปซัม สายไฟและสายเคเบิล เครื่องตัดตอ และปองกันวงจรไฟฟา แผงสวิตชและแผง ควบคุมกระแสไฟฟา เปนตน สวนวิจัยธุรกิจ 2 ฝายวิจัยธุรกิจ มีนาคม 2556

Disclaimer : ข้อมูลต่าง ๆ ที่ปรากฏ เป็นข้อมูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และการเผยแพร่ข้อมูลเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ในการ ให้ข้อมูลแก่ผู้ที่สนใจเท่านั้น โดยธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยจะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้น จากการที่มีบุคคลนำข้อมูลนี้ไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด 38


FAMILY รูปแบบภาวะผูนำในธุรกิจครอบครัว BUSINESS

Special Report

â´Â

¼È. ´Ã. àÍ¡ªÑ ÍÀÔÈÑ¡´Ô์¡ØÅ ¤³º´Õ¤³ÐºÃÔËÒøØáԨ áÅмٌÍӹǡÒÃÈٹ ÈÖ¡ÉÒ¸ØáԨ¤Ãͺ¤ÃÑÇáÅÐSMEs ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

การทำธุ ร กิ จ ครอบครั ว นั ้ น มี ท ั ้ ง ประสบความสำเร็จและลมเหลวเหมือน กับธุรกิจทั่วไป ความแตกตางอยูที่ ธุ ร กิ จ ครอบครั ว มั ก มี ร ู ป แบบภาวะผู  นำที่แตกตางจากธุรกิจทั่วไป การคน หารูปแบบภาวะผูนำที่ดีที่สุดเปนสิ่งที่ ทาทายเนื่องจากมีอารมณเขามาเกี่ยว ของภายในธุรกิจและครอบครัว สิ่ง สำคัญที่สุดอยางหนึ่งของภาวะผูนำ ในธุรกิจครอบครัวคือ การลำดับ ความสำคัญใหบริษัทมากอน ครอบครั ว เมื ่ อ มี ส ถานการณ ท ี ่ ม ี เหตุผลอันควร เชน ถาสมาชิกใน ครอบครั ว ถู ก จ า งมาให ต รวจสอบ ความเสียหายของธุรกิจ ใครก็ตามที่ เป น ผู  น ำต อ งทำการตั ด สิ น ใจอย า ง ยากลำบากแนนอน ทางเดียวที่จะทำ ให ส ำเร็ จ ได ค ื อ ต อ งมี ส มาชิ ก ใน ครอบครัวและพนักงานที่เขาใจระเบียบ ขอบังคับภายในธุรกิจและเขาใจสภาวะ ผลลัพธสุดทายที่อาจเกิดขึ้น ทั ้ ง นี ้ ใ นธุ ร กิ จ ครอบครั ว การ กำหนดบทบาทเป นสิ่ ง จำเปน บางคนต อ งเป น ผู  น ำธุ ร กิ จ และบาง คนตองเปนคนบริหารธุรกิจ การรูวา ใครมีตำแหนงเปนผูนำเปนสิ่งจำเปน ในการทำให ธ ุ ร กิ จ ดำเนิ น ไปอย า ง ราบรืน่ ซึง่ สามารถทำไดโดยการกำหนด บทบาทภายในธุรกิจ ดวยการจัดตั้ง โครงสรางบางอยางขึน้ มาเชน โครงสราง องคกร (Organizational Chart) ทุ ก คนในองค ก รจะได ม ี จ ุ ด อ า งอิ ง ที ่ เห็ น ได ง  า ยเมื ่ อ ต อ งการรู  ว  า ธุ ร กิ จ มี โครงสรางอยางไร (Morgan, 2012) องคประกอบที่สำคัญอยางหนึ่ง ในบรรดาปจจัยที่เกื้อหนุนการดำเนิน

ธุรกิจซึ่งหลายคนอาจมองขามนั่นคือ "ปจจัยภาวะผูน ำ" (Leadership Factor) "ผูนำ" แตกตางจาก "ผูจัดการ" ใน ขั ้ น พื ้ น ฐานหลายประการผู  จ ั ด การ ไดแตบริหาร (Administer) ทวาผูนำ มุ  ง ประดิ ษ ฐ ค ิ ด สร า งสิ ่ ง ใหม เ สมอๆ (Innovate) ดังนั้นผูจัดการจึงไดแต รักษาสถานะการบริหาร (Maintain) ทวาผูน ำมุง พัฒนา (Develop) ผูจ ดั การ วางใจในระบบและตั ด สิ น ด ว ยการ ควบคุม (Control) แตผูนำวางใจใน คนทำงานและตัดสินจากความรับผิดชอบ (Trust) (นิรนาม, 2531) ดวยเหตุนี้ จึงมีคำกลาววา The manager does things right, The Leader does the right things! (Bennis and Bert, 1985) ในบริ บ ทของธุ ร กิ จ ครอบครั ว ภาวะผูนำ (Leadership) มีความ หมายแตกตางกันเล็กนอยกับที่เขาใจ กันทั่วๆไป โดยนิยามความหมายของ ภาวะผูน ำครอบครัว (Family Leader ship) วาเปนศิลปะในการทำใหคน เชื่อและปฏิบัติตามวิสัยทัศนในบริบท ของครอบครัว ธุรกิจและความเปน เจาของ งานของผู  น ำธุ ร กิ จ ครอบครั ว แตกตางจากผูนำในธุรกิจอื่นตรงที่ไม ไดจำกัดอยูในระบบธุรกิจเพียงอยาง เดียว แตยังเปนทั้งผูบริหารครอบครัว และเจาของธุรกิจที่มี ความสำคัญอีก ดวย งานของผูนำธุรกิจครอบครัวมี ความซับซอนมากกวาของผูนำที่ไม ใชธุรกิจครอบครัว เนื่องจากธุรกิจ ครอบครัวมีความซับซอนในเรื่องของ การถายโอนธุรกิจที่มีการพัฒนาตั้งแต

เริ่มตนธุรกิจ การขยายตัว และการ เติบโตเต็มที่ คุณสมบัติของภาวะผูนำในแตละ ระยะของการพัฒนาธุรกิจมีความแตก ตางกัน และผูนำของธุรกิจครอบครัว ตองจัดการกับปญหามากมายซึ่งผูนำ ธุรกิจครอบครัวตองมีความเชี่ยวชาญ ในการจัดการความยุงยากและรับมือ กับสถานการณที่มีขัดแยง แมวาจะ ตองเขมแข็งและเขมงวดในเรื่องของ คานิยม แตควรมีความยืดหยุนใน การเปลีย่ นรูปแบบผูน ำเมือ่ สถานการณ และบริบทเปลีย่ นไป (Rajesh, 2012) หากจะถามวาผูนำแบบใดเหมาะกับ ระยะไหนของธุรกิจ คำตอบคือรูปแบบ ภาวะผูนำที่แตกตางกันเหมาะสมกับ ระยะที่แตกตางกันของบริษัท บอยครั้งที่ผูนำธุรกิจครอบครัว รุนที่ 1 มักมองหาตัวแทนที่เหมือน พวกเขาโดยไม ไ ด พ ิ จ ารณาว า บริ ษ ั ท ตองเดินไปขางหนา ผูนำควรสามารถ นำพาบริษัทไปในทิศทางที่ตองการได และการเลื อ กผู  น ำควรเป น สิ ่ ง ที ่ ท ำ ควบคูไปกับกลยุทธเบื้องตนของบริษัท แนนอนวาผูนำที่ดีที่สุดไมไดมีแคหนึ่ง รูปแบบ แตขึ้นอยูกับสถานการณที่ เกิดขึ้นหรือระยะในวงจรชีวิตของธุรกิจ ดวย รูปแบบภาวะผูนำในการดำเนินธุรกิจ สำหรับรูปแบบภาวะผูนำในการ ดำเนิ น ธุ ร กิ จ โดยสมาชิ ก ครอบครั ว มี แนวทางพื้นฐานอยู 3 วิธีไดแก Autocratic method วิธีนี้สมาชิกใน ครอบครั ว ดำเนิ น ธุ ร กิ จ โดยควบคุ ม และทำการตัดสินใจทัง้ หมด ในหลายๆ

39


Special Report

ภาวะผู้นำแบบ DP ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนได้คิดและมีส่วนร่วมในการทำงานและการตัดสินใจ ซึ่งจะทำให้ทุกคนรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของความสำเร็จและรู้สึกเป็นส่วนร่วมเป็นเจ้าของ

บริษัทผูกอตั้งบริหารธุรกิจในรูปแบบ นี ้ จ นกระทั ่ ง วางมื อ และส ง ต อ บริ ษ ั ท ให ส มาชิก คนอื ่ น ในครอบครั ว ขณะที่ Democratic method สมาชิกใน ครอบครั ว ที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั บ ธุ ร กิ จ สามารถออกเสี ย งได ว  า ควรดำเนิ น ธุรกิจอยางไร และ Bureaucratic method วิธีนี้เกี่ยวของกับระเบียบ ขอบังคับ ที่ทุกคนตองทำโดยไมมีขอ ยกเวน (Morgan, 2012) ขณะที่นักวิจัยมีการแบงรูปแบบ ภาวะผูนำหลักๆออกเปน 3 รูปแบบ (U.S. Army Handbook, 1973 cite in Ejaz, 2011) ไดแกแบบ Autocratic or Directive ผูนำจะบอก พนั ก งานเกี ่ ย วกั บ เป า หมายและวั ต ถุ ประสงคและวิธีการที่จะบรรลุผลสำเร็จ ผู  น ำจะตั ด สิ น ใจด ว ยตนเองว า จะทำ สิ่งตางๆใหเกิดขึ้นอยางไร ขณะที่แบบ Democratic or Participative ผู  น ำจะให พ นั ก งานมีส ว นร ว มในการ ตัดสินใจในการพิจารณาวาจะทำอะไร และอยางไรเกี่ยวกับนโยบาย อยางไร ก็ตามการตัดสินใจขั้นสุดทายเปนของ ผู  น ำว า จะยอมรั บ ข อ เสนอแนะเหล า นั้นหรือไม และแบบ Delegative or Non Directive ลูกนองจะไดรบั อนุญาต ให ท ำการตั ด สิ น ใจเองทั ้ ง หมดโดยที ่ ผูนำจะรอดูผลลัพธที่เกิดขึ้น นอกจากนี ้ ย ั ง มี ร ู ป แบบภาวะผู  นำที ่ พ ั ฒ นาขึ ้ น มาเพื ่ อ ตอบสนองต อ สถานการณใหมๆในยุคปจจุบัน เชน ภาวะผูนำการเปลี่ยนแปลง (Tran formational) โดยชี้ใหเห็นวาความ สำเร็จในการสรางแรงจูงใจขององคกร เกิดขึ้นเนื่องจากความเชื่อของบุคลากร

40

ที่ เชื่ อ มั่ น ต อ องค ก รภาวะผู น ำแบบนี้ จะสรางสรรค ภารกิจใหมๆขึน้ ในองคการ สงเสริมใหแสวงหาวิธีการใหมๆ ในการ แกปญ  หาและสงเสริม ใหสมาชิกทุกคน ขององค ก ารเกิ ด การเรี ย นรู  ( Bass (1985), Avolio , Bass and Jung (1999)) หรือภาวะผูน ำแบบผูป ระกอบการ (Entrepreneurial) อยูบนพื้นฐาน ที่วาผูนำเปนนายจางของตนเอง ผูนำ มี ค วามสำคั ญ อย า งยิ ่ ง ต อ องค ก รใน การแกปญหาวิกฤติเปนตนซึ่งรูปแบบ ภาวะผูนำเหลานี้เปนที่รูจักและถูกนำ มาใช ใ นการวิ จ ั ย ที ่ ไ ด ร ั บ การยอมรั บ อยางแพรหลาย อยางไรก็ตามไมมีรูปแบบภาวะ ผู  น ำที ่ เ หมาะสมที ่ ส ุ ด สำหรั บ ธุ ร กิ จ ครอบครัว เนื่องจากแตละครอบครัว มีความแตกตางกัน ขณะเดียวกันทุก ธุรกิจก็มีความแตกตางกันดวย ควร มองธุ ร กิ จ และพนั ก งานในทิ ศ ทาง เดี ย วกั บ ที ่ บ ริ ษ ั ท ที ่ ต  อ งการจะมุ  ง ไป สรางความเหมาะสมระหวางรูปแบบ ภาวะผูนำกับแนวทางการทำงานเพื่อ บริษัทของพวกเขา การวิ จ ั ย รู ป แบบภาวะผู  น ำในธุ ร กิ จ ครอบครัว มหาวิทยาลัยหอการคาไทย โดย ศูนยศึกษาธุรกิจครอบครัว จึงไดทำ การวิจัยถึงรูปแบบภาวะผูนำในธุรกิจ ครอบครัว โดยใชแบบสอบถามในการ เก็บรวบรวมขอมูลจากเจาของธุรกิจ ครอบครัวขนาดกลางและขนาดยอม จำนวน 58 คน ซึ่งผลการวิจัยพบวา ผูสืบทอดธุรกิจรุนที่ 1 (ผูกอตั้ง) มี แนวโนมที่จะมีภาวะผูนำแบบ DP,

Entrepreneurial มากทีส่ ดุ ในขณะ ที่รุนที่ 2 มีแนวโนมที่จะมีเฉพาะ ภาวะผูนำแบบ DP และTransformational มากที่สุด และรุนที่ 3 มีแนวโนมที่จะมีภาวะผูนำแบบ DP มากที่สุด และพบวารุนที่ 1 (ผูกอตั้ง) มี ระดับภาวะผูนำแบบ AD สูงที่สุด รองลงมาคือรุนที่ 3 และรุนที่ 2 ตามลำดับ นอกจากนีเ้ มือ่ ทำการศึกษา ความสั ม พั น ธ ข องรู ป แบบภาวะผู  น ำ พบว า รู ป แบบภาวะผู  น ำมี ค วาม สัมพันธกับตัวแปรเพศ ระดับการ ศึกษา อายุ ระยะเวลา ในการเขา ทำงานในธุรกิจครอบครัว และความ สัมพันธกับผูกอตั้งนอกจากนี้ยังพบ วาคุณลักษณะของผูนำที่จะทำใหธุรกิจ ครอบครั ว ประสบความสำเร็ จ ได แ ก ความเด็ดขาด/กลาตัดสินใจ รับฟง ความคิดเห็นของผูอื่น ความซื่อสัตย คุณธรรม การหาความรูและวิธีการ ใหมๆอยูเสมอ ภาวะผูนำ และความ ยุติธรรมตามลำดับ ระเบียบวิธีวิจัย ประชากรและกลุ  ม ตั ว อย า งในการวิ จ ั ย คื อ กลุ  ม เจ า ของธุ ร กิ จ ครอบครั ว ซึ ่ ง เป น ธุ ร กิ จ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ที่มีรายได ไมเกิน 1,000 ลานบาท ในประเทศไทย โดย วิธกี ารสุม แบบเฉพาะเจาะจง (purposive samp ling) จำนวน 58คน เกณฑการทดสอบ 1) ทดสอบรูปแบบของภาวะผูนำ ซึ่ง ประกอบดวย (1) ภาวะผู  น ำแบบผู  ป ระกอบการ (Entrepreneurial style) มีจิตใจพรอมที่จะแขงขันสูง พยายาม แสวงหามุมมองหรือวิธีการใหมๆ ที่จะทำให เกิดขอไดเปรียบเชิงการแขงขัน กลาเสี่ยง กลา คิด กลาตัดสินใจ กลาลองสิ่งใหมๆ เนนการ


Special Report กระทำเพื ่ อ ผลงานและรู  ส ึ ก ว า ตนเองเป น เจ า ของกิจการจริงๆจึงมีความมุงมั่นที่จะทำใหดีที่ สุดเพื่อใหกิจการที่ตนบริหารประสบความสำเร็จ โดยมีแนวคิดที่จะผลักดันใหกิจการประสบความ สำเร็จควบคูไปกับการใหความสำคัญในประเด็น ตนทุนต่ำกำไรสูง (2) ภาวะผูนำแบบเผด็จการ (Author itative style) ภาวะผูนำแบบชี้นำ (Direc tive style) = ADstyle เนนการบังคับบัญชาและการออกคำสั่ง เปนสำคัญ มักจะตัดสินใจ ดวยตนเองแตผูเดียว บัญชาการวิธีการทำงานแบบสั่งลงมาเลย และ ไม ค  อ ยมอบหมายอำนาจหน า ที ่ ใ ห แ ก ล ู ก น อ ง มากนัก มักใชวิธีการใหรางวัลและลงโทษให ลูกนองรูถึงความคาดหวังใหทิศทางวาควรทำ อะไรและทำอยางไร ใหกำหนดการเกี่ยวกับงาน ที่ตองทำใหและรักษามาตรฐานการปฏิบัติงาน ที่แนนอนชัดเจน และใหทุกคนเขาใจตรงกันวา บทบาทผูนำคืออะไรบาง (3) ภาวะผู  น ำแบบประชาธิ ป ไตย (Democratic style) ภาวะผูน ำแบบมีสว นรวม (Participative style)= DPstyle เปดโอกาสใหลูกนองมีโอกาสแสดงความ คิดเห็นและพูดคุยดวย เอาความคิดเห็นขอเสนอ แนะจากลูกนองมาอภิปรายแสดงความคิดเห็น ในปญหาตางๆ เพื่อเอาความคิดที่ดีที่สุดมาใช และใชการใหขอมูลยอนกลับเปนโอกาสในการ ชีแ้ นะชวยให ลูกนองมีการพัฒนาทีด่ ขี น้ึ สามารถ ทำใหลูกนองมีใจใหกับการรวมตัดสินใจ ผูนำ จะปรึกษาลูกน องและขอให ล ูกน องเสนอแนะ รวมทั้งนำมาใชประกอบการตัดสินใจอยางจริง ใจและจริงจัง (4) ภาวะผูนำการเปลี่ยนแปลง (Trans formational style) เปนผูที่ไดรับความชื่นชม การยอมรับ เคารพนั บ ถื อ และความไว ว างใจเป น อย า งสู ง จากลู ก น อ งเป น แบบอย า งที ่ ด ี ต  อ ลู ก น อ งมี อิ ท ธิ พ ลต อ ความคิ ด และการปฏิ บ ั ต ิ ง านของ ลูกนองมีพฤติกรรมที่สรางแรงบันดาลใจใหกับ ผูที่อยูรอบตัว มีความกระตือรือรนและมองโลก ในแงดี สามารถกระตุนและสรางความเชื่อมั่น ใหลูกนองเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรคในการ แกปญหาในการทำงาน และสงเสริมใหสมาชิก ทุกคนขององคกรเกิดการเรียนรูและยังเอาใจ ใสในความตองการของลูกนองเพื่อความสำเร็จ และความกาวหนาของแตละบุคคล โดยสามารถ เปนที่ปรึกษา ดูแลเอาใจใสและทำใหลูกนอง รูสึกมีคุณคาและมีความสำคัญ

ผลการวิจัย ผลการวิ จ ั ย พบว า กลุ  ม ตั ว อย า ง เจาของธุรกิจครอบครัวสวนใหญเปน เพศชาย (58.93%) อายุระหวาง 2630 ป (24.10%) ระดับการศึกษาสูง กวาปริญญาตรี (48.65%) ความ สัมพันธกับผูกอตั้งเปนลูก (53.40%)

ลำดับการสืบทอดธุรกิจ รุนที่ 2 (55.20) มากที่สุด รองลงมาคือ รุนที่ 1 (29.30%) และรุนที่ 1 (29.30%) ตามลำดับ ระยะเวลาในการเขาทำงาน ในธุรกิจครอบครัวโดยเฉลี่ย 7 ป และ อายุกิจการโดยเฉลี่ย 25 ปสวนการ ศึ ก ษารู ป แบบภาวะผู  น ำและความ สั ม พั น ธ ก ั บ ตั ว แปรอื ่ น ที ่ เ กี ่ ย วข อ ง สามารถแสดงผลการวิจัยไดดังตอไป นี้ รูปแบบภาวะผูนำของผูสืบทอดธุรกิจ ครอบครัว จากผลการวิ จ ั ย พบว า ในภาพ รวมผูสืบทอดธุรกิจทั้ง 3 รุนมีระดับ ภาวะผูนำแบบ DP ในระดับตรงมาก ทีส่ ดุ ทัง้ นีอ้ าจเปนเพราะธุรกิจครอบครัว นั ้ น มี เรื ่ อ งของอารมณ เข า มาเกี ่ ย ว ของดวยซึ่งเปนเรื่องที่ตองระมัดระวัง เปนพิเศษ เมื่อความเปนคนกันเอง ในครอบครัวเดียวกันทำใหเกิดความ คุน เคย แตกไ็ มอาจละเลยในเรือ่ งความ เกรงใจกัน โดยเฉพาะที่เปนสามีภรรยา หรือพอแมลูก ไมสามารถออกคำสั่ง ตามใจชอบได เพราะเรื่องนี้อาจทำ ใหเกิดความบาดหมางผิดใจกันไดงาย กวาคนนอกเสียอีก (ศิริยุพา, 2555) ผู นำตองตระหนักถึงความออนไหว ในเรื่องความรูสึก ความเห็นหรือ ความคิดของคนอื่นดวย เมื่อองคกร เติบโตขึ้นตองทิ้งรูปแบบการบริหาร ของตนเอง ความสามารถในการ มอบอำนาจและพั ฒ นาที ม เป น สิ ่ ง สำคัญในการบริหารธุรกิจครอบครัว (Rajesh, 2012) ซึ่งตองใชภาวะผูนำ แบบ DP ที่เปดโอกาสใหทุกคนไดคิด และมีสวนรวมในการทำงานและการ ตัดสินใจ ซึ่งจะทำใหทุกคนรูสึกเปน ส ว นหนึ ่ ง ของความสำเร็ จ และรู  ส ึ ก เปนสวนรวมเปนเจาของ และทำงาน ดวยจิตใจที่มีความเปนเจาของ มีความ ผูกพันและความสามัคคี ซึ่งเปนคุณ ลั ก ษณะเด น อย า งหนึ ่ ง ของธุ ร กิ จ ครอบครัวที่มีใหเห็นในทุกรุน และ

หากจะพิจารณาทีละรุนจะพบ รายละเอียดดังนี้ ผูส บื ทอดธุรกิจรุน ที่ 1 (ผูก อ ตัง้ ) อายุอยูในชวง 41 – 65 ปขึ้นไป มีแนวโนมที่จะมีภาวะผูนำแบบ DP กับ Entrepreneurial มากที่สุด และมี ส  ว นผสมของภาวะผู  น ำแบบ Transformational ดวย ทั้งนี้อาจ เนื ่ อ งมาจากในระยะเริ ่ ม แรกของ องคกรเรียกวายุคการเปนผูประกอบ การ (Entrepreneurial Stage) ต อ งการผู  น ำแห ง การเปลี ่ ย นแปลง เพราะตองการเติบโต ความริเริ่ม สรางสรรคเพื่อใหเกิดความกาวหนา (วิโรจน, 2546) ซึ่งผูกอตั้งมักมีความ รูสึกเปนเจาของ มีความทุมเทใหกับ งานและทำงานด ว ยจิ ต ใจที ่ ม ี ค วาม เปนเจาของกิจการ (Intrapreneurial Spirit) จึงมักมีลักษณะภาวะผูนำแบบ Entrepreneurial ที่จะมีความรูสึกวา ตั ว เองเป น เจ า ของกิ จ การจริ ง ๆ (Sense of Ownership) อยางไรก็ตามเมื่อธุรกิจขยายตัว ใหญขึ้นความสามารถหรือทักษะของ ธุ ร กิ จ ครอบครั ว ไม พ อในการจั ด การ ธุ ร กิ จ ต อ งใช ค วามสามารถและ บุคลากรที่เขามารวมมือหรือใชทีมงาน ใหญขึ้น (ไว, 2555) จึงจำเปนตองใช วิ ธ ี ก ารบริ ห ารงานแบบกระจาย อำนาจโดยการเปดโอกาสใหพนักงาน ได ม ี ส  ว นร ว มในการตั ด สิ น ใจและ แสดงฝ ม ื อ ในการบริ ห ารบ า งเพื ่ อ ให การดำเนินงานคลองตัวและรวดเร็วทั นกับสภาพการแขงขันได (นิสิต, 2553) ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Salahuddin (2010) ที่พบวาคนรุน Baby Boomers อายุอยูในชวง 52-69ป/48-66 ป มีความเชื่อมั่นใน ภาวะผูนำแบบ Participative โดย ภาวะผูนำ DP จะใหพนักงานมีสวน รวมในการตัดสินใจและพิจารณาวา จะทำอะไรและอย า งไรเกี ่ ย วกั บ นโยบายอย า งไรก็ ต ามการตั ด สิ น ใจ ขั้นสุดทายยังเปนของผูนำวาจะยอม

41


Special Report

รุ่นที่ 1มีระดับภาวะผู้นำแบบ AD สูงกว่ารุ่นที่ 2 และรุ่นที่ 3 ทั้งนี้อาจเนื่องจากในตอน เริ่มแรกของการก่อตั้งกิจการเจ้าของกิจการส่วนใหญ่มักบริหารงานโดยรวมอำนาจไว้ที่ตัวเองเป็น ศูนย์กลางตัดสินใจแบบเบ็ดเสร็จตามลักษณะภาวะผู้นำ AD ซึ่งมีความจำเป็นเมื่อธุรกิจยังไม่มี ทิศทางที่ชัดเจนและมีการสร้างวิสัยทัศน์ใหม่ที่ต้องการขับเคลื่อนคนไปตามวิสัยทัศน์นั้น รั บ ข อ เสนอแนะเหล า นั ้ น หรื อ ไม การใชภาวะผูนำรูปแบบนี้จะเปนประ โยชนตอผูนำคือทำใหเปนสวนหนึ่งข องทีมและชวยใหทำการตัดสินใจไดถู กตอง (U.S. Army Handbook, 1973 cite in Ejaz, 2011) แตในบางครั้งก็ จะมี ค  า ใช จ  า ยจากประชุ ม ที ่ ไ ม เ สร็ จ สิ ้ น และทำให พ นั ก งานสั บ สนรู  ส ึ ก ว า ขาดผูนำ (Goleman, 2000) นอกจากนีแ้ มรนุ ที่ 1 จะมีแนวโนม ภาวะผูนำทั้ง 2 แบบในขางตนมาก ที่สุด แตในรุนนี้ยังปรากฎลักษณะ ของภาวะผู  น ำแบบTransformationalผสมผสานเข า มาด ว ยอาจ เนื่องมาจากการที่โลกธุรกิจทุกวันนี้ ซึ ่ ง มี ก ารแข ง ขั น สู ง บริ ษ ั ท ที ่ ป ระสบ ความสำเร็จก็ตองเปลี่ยนแปลงอยาง ตอเนื่องเพื่อตอบสนองความตองการ ของโลกที่พลิกผันไปอยางรวดเร็วผูนำ ที่มีประสิทธิผลจะสงเสริมวัฒนธรรม การเปลี ่ ย นแปลงและนำการเปลี ่ ย น แปลงดังกลาวมาสรางความไดเปรียบ ในการแข ง ขั น ผู  น ำจึ ง ต อ งปรั บ ตั ว แสดงบทบาทภาวะผูนำแบบ Transformational เพือ่ สรางความแข็งแกรง ใหกับธุรกิจโดย อาศัยลักษณะเดนคือ 1) การมีอทิ ธิพลอยางมีอดุ มการณ (Idealized influence) เปนที่ชื่นชม เคารพนับถือและไววางใจ 2) การ สรางแรงบันดาลใจ (Inspirational motivation) มีพฤติกรรมที่สราง แรงบันดาลใจกับผูที่อยูรอบตัว 3) การกระตุนทางปญญา (Intellec tual stimulation) กระตุนผูตาม

42

ใหเกิดสิ่งใหมและสรางสรรค 4) การ คำนึงถึงความเปนปจเจกบุคคล (In dividualized consideration) เอาใจใส ใ นความต อ งการของผู  ต าม เพื ่ อ ความสำเร็ จ และความก า วหน า ของแตละบุคคล (Bass (1985), Avolio , Bass and Jung (1999)) ข อ ได เ ปรี ย บอย า งหนึ ่ ง ที ่ ท ำให ธุรกิจครอบครัวยืนหยัดอยูไดนานคือ ความสามารถในการปรับตัว เมื่อ ภาวะเศรษฐกิจวิกฤติ บริษัทจะ สามารถปรั บ ตั ว ได เร็ ว กว า คู  แข ง ที ่ บริหารบนโครงสรางอื่น เนื่องจาก ผู  น ำธุ ร กิ จ ครอบครั ว ส ว นใหญ ม ี อำนาจตัดสินใจแบบเบ็ดเสร็จ ไม จำเปนตองปรึกษากับผูถือหุนจำนวน มากที่อาจมีความคิดเห็นแตกตางกัน ไป ซึ่งชวยใหการเคลื่อนตัวเชิงกลยุทธ สามารถทำได จ ริ ง ในเวลาอั น รวดเร็ ว (พลอย, ,2554) นั่นจึงเปนเหตุผลวา เหตุใดผูนำในรุนนี้จึงยังมีระดับภาวะ ผูนำแบบ AD อยูแมจะไมปรากฎ โดดเดนเทากับอีก 3 รูปแบบแตก็ ยังถือวามีความจำเปนในการบริหาร ธุรกิจอยู ซึ่งพบวารุนที่ 1 มีระดับ ภาวะผูนำแบบ AD สูงกวารุนที่ 2 และรุนที่ 3 ทั้งนี้อาจเนื่องจากใน ตอนเริ ่ ม แรกของการก อ ตั ้ ง กิ จ การ เจ า ของกิ จ การส ว นใหญ ม ั ก บริ ห าร งานโดยรวมอำนาจไว ท ี ่ ต ั ว เองเป น ศู น ย ก ลางตั ด สิ น ใจแบบเบ็ ด เสร็ จ ตามลักษณะภาวะผูนำ AD ซึ่งมี ความจำเปนเมื่อธุรกิจยังไมมีทิศทาง ที่ชัดเจนและมีการสรางวิสัยทัศนใหม

ที ่ ต  อ งการขั บ เคลื ่ อ นคนไปตาม วิสัยทัศนนั้น (Goleman, 2000) อย า งไรก็ ต ามมี ห ลายงานวิ จ ั ย ชี ้ ว  า ผูนำจำเปนตองแสดงออกหลายรูปแบบ จึ ง จะทำให บ รรยากาศและผลการ ดำเนิ น งานของธุ ร กิ จ ออกมาดี ท ี ่ ส ุ ด และผู  น ำที ่ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพที ่ ส ุ ด ต อ ง รูจักยืดหยุนที่จะสลับใชภาวะผูนำรูป แบบตางๆ ผูนำไมควรจับคูรูปแบบ ภาวะผู  น ำไว ก ั บ สถานการณ อ ย า งใด อยางหนึ่ง แตควรมีความลื่นไหลรูจัก สังเกตผลตอบรับที่ได แลวปรับรูปแบบ ของตนเองเพื่อใหไดผลดีที่สุด (Gole man, 2000) ขณะที่รุนที่ 2 อายุอยูในชวง 20 – 65 ปขึ้นไป มีแนวโนมที่จะมี ภาวะผูนำแบบ DP และTransformational มากทีส่ ดุ และมีระดับภาวะ ผูนำแบบ AD ต่ำที่สุด ทั้งนี้อาจ เนื่ อ งมาจากธุ ร กิ จ ครอบครั ว นั ้ น แตก ตางจากธุรกิจทั่วไปตรงที่นอกจากตั้ง ให ค วามสำคั ญ กั บ เรื ่ อ งผลกำไรแล ว ยั ง ต อ งสนใจในเรื ่ อ งของการรั ก ษา ครอบครัวและการสืบทอดธุรกิจ การ เข า มาเป น ผู  ส ื บ ทอดธุ ร กิ จ ของคนใน รุนที่ 2 พวกเขาจึงมีมุมมองที่แตกตาง จากไปจากรุนที่ 1 (ผูกอตั้ง) ในเรื่อง ความรู มีการศึกษาและเรียนรูสูงกวา ตรงกับธุรกิจมากกวา มีความมั่นคง ปลอดภัยในดานการลงทุนและความ เสี่ยงในการลงทุน เอกลักษณของรุน ที่ 2 คือตองการสรางแบรนดหรือ ความโดดเดนใหกับธุรกิจ พวกเขา ได ม ี โ อกาสในการทดลองตั ด สิ น ใจ


Special Report ทางธุรกิจ มีความคาดหวังในการ เข า มาดำเนิ น ธุ ร กิ จ ครอบครั ว หรื อ การสวมแทนตำแหนง การควบคุม ความเป น เจ า ของซึ ่ ง คิ ด อยู  แ ต ไ ม ร ู  วาจะมีโอกาสเมื่อไร (Beddor, 2009 อางถึงใน ดนัย, 2555) ดวยเหตุนี้อาจทำใหยังไมมีความ รู  ส ึ ก ว า เป น เจ า ของกิ จ การมากเท า ผู  ก อ ตั ้ ง โดยเฉพาะกิ จ การที ่ ร ุ  น พ อ แม หรื อ ผู  ก  อ ตั ้ ง ยั ง คงอยู  ใ นธุ ร กิ จ ด ว ย และหากรุนที่ 1 เคยทำแลวประสบ ความสำเร็จ พอรุนที่ 2 เริ่มเขามา คนรุนที่ 1 ก็อาจจะไมยอมปลอยให คนรุนที่ 2 ซึ่งในประเทศไทยนั้นรุนที่ 2 ที่เขามาในธุรกิจครอบครัวสวนใหญ จบการศึกษามาแลวก็ เข าทำงานเลย โดยธุ ร กิ จ หรื อ ประสบการณ ใ นการ ทำงานอาจไมเหมือนรุนที่ 1 ที่เรียนรู การจั ด การด ว ยการทดลองทำด ว ย ประสบการณ ข องตนเองจึ ง รู  ส ึ ก ถึ ง ความเป น เจ า ของมากกว า จึ ง ทำให ม ี ระดับภาวะผูนำแบบ Entrepreneurial ต่ำกวารุนที่ 1 ซึ่งบางครั้งทำให เกิดปญหาคนรุน ที่ 2 มักออกไปประกอบ อาชี พ อื ่ น หรื อ ทำธุ ร กิ จ อื ่ น เพราะไม เขาใจในตัวธุรกิจและไมมีทักษะเพียง พอ (ไว, 2555) อยางไรก็ตามรุนที่ 2 หากอยู ในชวงของธุรกิจที่ขยายตัวใหญขึ้น ก็ ม ั ก จะมี ก ารนำคนนอกที ่ ม ี ค วาม สามารถเขามารวมทีมแทนที่จะเปน ทีมเดิมที่มาจากรุนพอแม การจะ สรางความเชื่อถือหรือลดความขัดแยง ไดมากเพียงใดและสามารถจะทำงาน กลมเกลียวกันจริงๆได อยางไรจึงขึ้น อยูกับลักษณะหรือรูปแบบการบริหาร ของผูนำ (ไว, 2555) ซึ่งลักษณะนี้จึง ใชภาวะผูนำแบบ DP ซึ่งมีขอดีคือทำ ให พ นั ก งานมี ส ิ ท ธิ อ อกเสี ย งในการ ตัดสินใจ ผูนำแบบนี้จะทำใหเกิด องค ก รที ่ ม ี ค วามยื ด หยุ  น และความ รับผิดชอบและชวยสรางไอเดียใหมๆ ใหเกิดขึน้ อยูเ สมอ (Goleman, 2000) ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Sala-

huddin (2010) ที่พบวาคน Generation Xer อายุชวง 32-52 ป สนับสนุน Participative leadership เนนที่ความยุติธรรม ความ สามารถและความตรงไปตรงมา คน กลุ  ม นี ้ น ำโดยใช ค วามคิ ด ที ่ ท  า ทาย และไอเดี ย ของคนอื ่ น ๆมาใช ใ น กระบวนการตัดสินใจ ขณะที่รุนที่ 3 อายุอยูในชวง 20 – 45 ป มีแนวโนมที่จะมีภาวะ ผูนำแบบ DP มากที่สุด และมีสวน ผสมของภาวะผูนำแบบ Entrepreneurial และ Transformational ดวย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากสำหรับคน รุ  น นี ้ ใ นบางครอบครั ว ถื อ เป น คนรุ  น ใหมที่เพิ่งกาวเขาสูธุรกิจซึ่งอาจไดรับ อิ ท ธิ พ ลบางส ว นมาจากผูสื บ ทอดรุน กอน มีงานวิจัยชี้วาภาวะผูนำของผู สืบทอดธุรกิจคอนขางมีปญหา โดย เฉพาะกับผูบ ริหารในรุน ที่ 2-3 เพราะ พวกเขาไมสามารถนำความคิดและ จิตใจของคูค า และลูกคาได (อภิญญา, 2553) ซึ่งตองแกไขโดยการสรางให พวกเขามีความรูและประสบการณที่ เพียงพอ อยางไรก็ตามจากการที่คน รุนนี้มีระดับการศึกษาคอนขางสูงกวา คนรุ  น ก อ นทำให พ วกเขามี ค วามรู  เกี ่ ย วกั บ ความเหมาะสมและข อ ดี ข  อ เสียของรูปแบบภาวะผูนำแบบตางๆ จึ ง สามารถแสดงภาวะผู  น ำในแบบที ่ เกิดประโยชนตอองคกรได มีงานวิจัย ชี ้ ว  า คนรุ  น ใหม ม ั ก ใช ภ าวะผู  น ำแบบ DP ที่มักเปดโอกาสใหทีมงานมีโอกาส คิ ด และมี ส  ว นร ว มในกระบวนการ ทำงานหรือการตัดสินใจ ถึงแมผูนำ จะเปนผูตัดสินใจในขั้นสุดทายก็ตาม ซึ่งรูปแบบนี้เหมาะกับการทำงานเปน ทีมและคาดหวังคุณภาพงานมากกวา ความรวดเร็ว (อภิญญา, 2554) และ เนื ่ อ งจากธุ ร กิ จ ครอบครั ว ต อ งอาศั ย ความผูกพันและสัมพันธภาพระหวาง คนในครอบครั ว เป น เดิ ม พั น สำคั ญ เพราะต อ งอาศั ย ความสามั ค คี แ ละ ร ว มแรงร ว มใจกั น เป น ตั ว ขั บ เคลื ่ อ น

และ จากการศึกษาของโครงการ GLOBE พบวารูปแบบภาวะผูน ำแบบ Team-oriented และ Participative เปนโมเดลที่มีประสิทธิภาพที่สุด สำหรับประเทศไทย (Gupta et al, 2002) นอกจากนี้คนรุนที่ 3 ยังมีภาวะ ผูน ำแบบ Entrepreneurial ผสมผสาน เพิ่มขึ้นมาอีกอาจเปนเพราะการเปน สมาชิกในครอบครัวมักมีสวนรวมเปน เจาของอยูดวย เมื่อผูนำแบบ DP เปด โอกาสใหรวมตัดสินใจและแสดงความ คิดเห็น ไดรวมเปนสวนหนึ่งของความ สำเร็จ คุณลักษณะของผูนำที่จะทำใหธุรกิจ ครอบครัวประสบความสำเร็จ จากการสำรวจความคิ ด เห็ น ถึ ง คุณลักษณะของผูนำที่จะทำใหธุรกิจ ครอบครั ว ประสบความสำเร็ จ พบว า คนรุนที่ 1 ใหความสำคัญในเรื่อง ของคุณธรรมมากที่สุด รองลงมา ความซื่อสัตย ความเด็ดขาด กลา ตัดสินใจ และภาวะผูนำเทาๆกัน ทั้งนี้ จากการใหขอมูลเชิงลึกพวกเขาเชื่อวา คุณธรรมและความซื่อสัตยจะเปนราก ฐานที่ดีของทุกอยาง และเนื่องจาก ตองเปนผูชี้ทิศทางธุรกิจและตองการ ใหคนหมูมากเดินตามความเด็ดขาด/ กลาตัดสินใจ และภาวะผูนำจึงมีความ สำคัญมากเชนกัน ขณะที่คนรุนที่ 2 ใหความสำคัญในเรื่องของความเด็ด ขาด/กลาตัดสินใจ รับฟงความคิดเห็น ของผูอื่น การหาความรูและวิธีการ ใหมๆอยูเสมอตามลำดับ จากขอมูล เชิ ง ลึ ก พวกเขาเชื ่ อ ว า ผู  น ำความมี ความเด็ดขาดในการตัดสินใจเพราะมี ผลตอความกาวหนาของบริษัท ขณะ เดียวกันก็ควรรับฟงความคิดเห็นของ ผูอื่นเพื่อใหเห็นรอบดานและแกปญหา ถูกจุด และทามกลางการแขงขันทาง ธุ ร กิ จ ที ่ ส ู ง ผู  น ำก็ ค วรแสวงหาความรู  ใหมๆเพื่อนำพาองคกรไปสูความสำเร็จ สวนคนรุนที่ 3 ใหความสำคัญใน

43


Special Report

เรื่องของภาวะผูนำมากที่สุด รองลง มา ความเด็ดขาด/กลาตัดสินใจ รับ ฟงความคิดเห็นของผูอ น่ื ความซือ่ สัตย เทาๆกัน ทั้งนี้จากขอมูลเชิงลึกพวกเขา เชื ่ อ ว า องค ก รต อ งการภาวะผู  น ำที ่ เหมาะสมในการบริหารงาน ซึ่งตองมี ความกลาตัดสินใจปรับเปลี่ยนสิ่งตางๆ ตามสถานการณไดรวดเร็ว อีกทั้งการ รับฟงความคิดเห็นจากผูอื่นจะทำให ได ม ุ ม มองในการพั ฒ นาที ่ ก ว า งขึ ้ น และพวกเขายั ง เห็ น ว า ความซื ่ อ สั ต ย เป น คุ ณ ลั ก ษณะสำคั ญ ที ่ ผ ู  น ำทุ ก คน ควรจะมีอีกดวยซึ่งสอดคลองกับการ ศึกษาของอภิญญา เถลิงศรี, (2554) ที่พบวาผูนำในโลกตะวันออกจะสนใจ เรื่องของคุณธรรมน้ำมิตร เรื่องของใจ และการใหโอกาสเติบโตในหนาที่การ งาน หากท า นผู  อ  า นมี ค วามสนใจใน ศาสตรธุรกิจครอบครัว ติดตามดู รายการ Family Business Open Up! ไดทางชอง ททบ 5 ทุกวันอาทิตย เวลา 5 โมงเย็น www.familybusi nessopenup.com และ www.face book.com/familybusinessopenup เอกสารอางอิง 1. นิรนาม. 2531. ศรีเฟองฟุง พานิช ชีวะ เลือดเขมน้ำก็ขนในอาณาจักรไซบัตสุแหง ไทยแลนด. นิตยสารผูจัดการ (กันยายน 2531). 2. นิสิต มโนตั้งวรพันธุ. 2553. ภาวะ ผู  น ำ:คุ ณ สมบั ต ิ ส ำคั ญ ของผู  ป ระกอบการ (Leadership: The Essential Qualification for Entrepreneurs). Executive Journal. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. 3. นิตย สัมมาพันธ. 2546. ภาวะ ผูน ำ :พลังขับเคลือ่ นองคกรสูค วามเปนเลิศ. สำนัก พิมพบริษัท อินโนกราฟฟกส จำกัด. กรุงเทพ มหานคร. 4. พลอย มัลลิกะมาส. 2554. In The Family Way: “ เครือญาติ อำนาจ โอกาส ความเสี่ยง”หลากมุมคิดตอธุรกิจกงสีในศตวรรษ

44

ที่ 21. ทีม่ า: http://www.article.tcdcconnect .com 5. วิโรจน สารรัตนะ. 2546. ภาวะ ผูนำ: หลักการ ทฤษฎีและประเด็นพิจารณา ในบริบททางวัฒนธรรมสังคมและองคกรไทย. ทีม่ า :http://www.isc.ru.ac.th/data/ED0003112 .doc 6. ไว จามรมาน. 2555. จุดเดนของ ธุรกิจครอบครัว. SMEs News. ที่มา: http:// e-masscom.com.www.readyplanet.com /mcontents/marticle.php?headtitle=mc ontents&id=31756&Ntype=0 คนเมื่อ 10 พ.ย. 2555. 7. ศิริยุพา รุงเริงสุข. จุดเดนจุดดอย ของธุรกิจครอบครัว.สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ที่มา: http //www.thaihomemaster.com 8. อภิญญา เถลิงศรี. 2554. วิถีผูนำ เอเชี ย ความท า ทายที ่ โ ลกตะวั น ตกเฝ า มอง. วิถีผูนำเอเชีย. 2(3):6. 9. อริญญา เถลิงศรี. 2553. ถอดรหัส ผูรับไมตอธุรกิจ ปรับทัศนคติ-สรางทักษะ-สะสม ความรู. ประชาชาติธุรกิจ.วันที่ 24 พ.ค. 2553. 10. Beddor, Steve. 2009. Family Business: Unique Challenges. อางถึงใน ดนัย เทียนพุฒ. 2555. มุมมองของรุนที่ 2 ใน ธุรกิจครอบครัว. ที่มา: http://thaifamilybusi ness.blogspot.com 11. Avolio, B. J., B. M. Bass and D. I. Jung. 1999. Reexaming The Components of Transformational and Transactional Leadership Using The Multifactor Leadership Questionnaire. Journal of Occupational and Organizational Psychology. 72: 441-462. 12. Bennis, Warren and Bert Nanus. 1985. Leaders: Their Strategies for Taking Charge. New York: Harper & Row. 13. Bass, B. M. 1985. Leadership and Performance Beyond Expectations. New York: Free press. 14. Churchill, C. and Lewis, V. 1983. The Five Stage of Small Business Growth. Harvard Business Review. MayJune: 30-50. 15. Clarke, C. and Pratt, S. 1985. Leadership’s Four-Part Progress. Management Today. March: 84-86. 16. Ejaz, Syed Kashif. 2011.

Significance of Leadership Styles on High Performance Working System (HPWS) in Small and Medium Enterprises in Pakistan. Interdisciplinary Journal of Contemporary Research in Business. 3(7): November. 17. Goleman, Daniel. 2000. Leadership That Gets Results. Harvard Business Review. March-April:1-15. 18. Greiner, L.E. 1972. Evolution and Revolution as Organizations Grow. Harvard Business Review. July-August 19. Gupta, V., Surie, G., Javidan, M., and Chhokar, J. 2002. Southern Asia Cluster: Where the Old Meets the New? Journal of World Business. 37: 16-27. 20. Hillburt-Davis, J. Developing Leadership and Choosing Successors in Family Business.Family Business Consulting Specialists.Available: http://www. familybusinessconsulting.com. 25 July 2012. 21. Jain, Rajesh. Family Business Leadership. Root ‘n Wing. Available: http://www.famizindia.com. 25 July 2012. 22. Morgan, Richard. 2012. Leadership Style in Family Business. Available: http://www.ehow.com/info_7786 116_leadership-style-family-business.html. 15 October 2012. 23. Niffenegger, P.,Kulviwat, S., and Engchanil, N. 2006. Conflicting Cultural Imperatives in Modern Thailand: Global Perspectives. Asia Pacific Business Review. 12(4): 403-420. 24. Ralston, D.A., Hallinger, P., Egri, C.P., and Naothisuhk, S. 2005. The Effects of Culture and Life Stage on Workplace Strategies of Upward Influence: a Comparison of Thailand and the United States. Journal of World Business. 40: 321-337. 25. Yukongdi, Vimolwan. 2010. A Study of Thai Employees’ Preferred Leadership Style. Asia Pacific Business Review. 16(1-2): January-April: 161-181.



Strategy

SMEs เตรียมพรอมรับมือ AEC ดวยนวัตกรรม â´Â

รองศาสตราจารยทองทิพภา วิริยะพันธุ ¤³ÐºÃÔËÒøØáԨ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

ในกระบวนการเพิ ่ ม ขี ด ความ สามารถในการแขงขันของ SMEs เพื่อ เตรียมความพรอมที่จะรับมือการเปด ตลาดการคาเสรีกับประเทศตางๆ ใน AEC นั้น เรื่องสำคัญประการหนึ่งที่ ผูประกอบการ SMEs จะตองให ความสนใจและรี บ กระทำอย า ง เรงดวนในลำดับตนๆ ไดแก การ สรางนวัตกรรม (Innovation) ของ สินคาหรือบริการ ไมวาจะเปนการ พัฒนาผลิตภัณฑใหม (Product Innovation) หรื อ พั ฒ นารู ป แบบการบริ ก ารใหม ๆ (Service Innovation) ตลอดจนการ พัฒนากิจกรรมใหมๆ (Activities Innovation) เพื่อตอยอดผลิตภัณฑหรือบริการให ตรงความตองการของลูกคาหรือผูใช บริการมากขึ้น ทำใหสินคาหรือบริการ เหล า นั ้ น มี ค วามน า สนใจเพิ ่ ม ขึ ้ น เนื ่ อ งจากมี ค วามเป น เอกลั ก ษณ เฉพาะตัว (Uniqueness) ที่โดดเดน และมี ค วามแตกต า งหลากหลาย (Diversity) ซึ่งนอกจากจะเปนการ สรางมูลคาเพิ่มและคุณคาเพิ่มใหกับ สินคาหรือบริการนั้นๆ แลวยังเปน การสรางโอกาสทางการตลาด (Marketing Opportunity) ทีด่ ี เพราะทำใหผป ู ระกอบการ SMEs สามารถนำนวัตกรรมของสินคา หรือบริการมาใชเปนจุดขาย (Selling

46

point) ไดเปนอยางดี สงผลใหธุรกิจ SMEs สามารถเพิ่มรายไดหรือเพิ่ม ยอดขายได ต ามเป า หมายที ่ ต  อ งการ และยังทำใหธุรกิจ SMEs สามารถ เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันได อยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอีก ดวย ทั้งนี้ จะเห็นวา ประเทศที่เปน ผู  น ำด า นผลิ ต ภั ณ ฑ ห รื อ ผู  น ำตลาด (Market Leader) ไมวาจะเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน เกาหลีใต ฯลฯ ล ว นให ค วามสำคั ญ กั บ การสร า ง นวัตกรรมของสินคาหรือบริการ ที่ เนนความแตกตาง (Differentiation) ความคิดสรางสรรค (Creative) ความ แปลกใหม (New, Original) ที่ สามารถใชการไดดี (Workable) และ มีความเหมาะสม (Appropriate) โดยผูประกอบการของประเทศที่เปน ผูนำดานผลิตภัณฑเหลานั้นจะพยายาม สรางนวัตกรรมของสินคาหรือบริการ ใหมๆ เพื่อตอบโจทยความตองการ ของลูกคาหรือผูบริโภคใหไดมากที่สุด จะไดสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา หรือผูบริโภคสูงสุด เนื่องจากความ ต อ งการของลู ก ค า หรื อ ผู  บ ริ โ ภคใน ป จ จุ บ ั น มี ค วามแตกต า งจากลู ก ค า หรื อ ผู  บ ริ โ ภคในอดี ต ที ่ ม ุ  ง เน น ด า น

ราคาและประโยชน ก ารใช ส อยเป น หลัก แตลูกคาหรือผูบริโภคในปจจุบัน จะมี ก ารใช ค วามรู  ป ระกอบการ พิจารณาในการตัดสินใจซื้อ โดยคำนึง ถึงปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของ ไมวาจะ เปนดานคุณภาพ ความปลอดภัยตอ ชีวติ และสุขอนามัย ตลอดจนสิง่ แวดลอม ฯลฯ มากกวาที่จะคำนึงถึงปจจัยดาน ราคาและการใชสอยเทานัน้ และนอกจาก ลู ก ค า หรื อ ผู  บ ริ โ ภคในป จ จุ บ ั น จะ พิ จ ารณาเรื ่ อ งคุ ณ ประโยชน แ ล ว ลูกคาหรือผูบริโภคยังใหความสำคัญ กับความพึงพอใจและความสนุกสนาน (Enjoyment) ตามวิถชี วี ติ ของคนรุน ใหม (New lifestyle) ดวย ตัวอยางเชน ผลิตภัณฑของบริษัทแอปเปล บริษัท ซัมซุง ฯลฯ ที่สามารถตอบสนองตอ ความตองการของผูบริโภคไดอยางดี ทำใหสินคาไดรับความนิยมตลอดจน ไดรับการกลาวขานถึงเปนอยางมาก เปนตน ฉะนั้น ในกระบวนการพัฒนา เพื่อปรับปรุงและเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันของ SMEs ไทย ผูป ระกอบการ SMEs จะตองใหความสำคัญกับการ สรางนวัตกรรมของสินคาหรือบริการ อยางจริงจัง เพราะมิฉะนั้น สินคา หรื อ บริ ก ารของไทยคงไม ส ามารถ


Strategy

สำหรับ SMEs ของไทยนั้น ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญประการหนึ่ง ก็คือ การสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovation) ยังมีปริมาณไม่มากนัก อันอาจเป็นเพราะการวิจัยและพัฒนา (R&D) ของไทยยังไม่ได้รับความสนใจเท่าที่ควรหรือยังไม่ได้มีการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

แข ง ขั น หรื อ ปรั บ ตั ว รองรั บ ความ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได และอาจ เปนผลใหเราไมสามารถเก็บเกี่ยวผล ประโยชนจากการเขารวม AEC ได อยางเปนรูปธรรม สำหรับ SMEs ของไทยนั้น ปญหาอุปสรรคที่สำคัญประการหนึ่ง ก็ ค ื อ การสร า งสรรค น วั ต กรรม (Innovation) ยังมีปริมาณไมมาก นัก อันอาจเปนเพราะการวิจัยและ

พัฒนา (R&D) ของไทยยังไมไดรับ ความสนใจเทาที่ควรหรือยังไมไดมี การนำมาใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน ส ู ง สุ ด ดังคำกลาวของพงศเทพ เทพกาญจนา (2556) ที่วา “ทุกวันนี้ งานวิจัยเขา มามี ส  ว นสำคั ญ ในทุ ก องค ป ระกอบ ของสังคม โดยเฉพาะผลิตภัณฑ สินคา และบริการตางๆ จะประสบความสำเร็จ ได ตองผานกระบวนการวิจยั และพัฒนา มาทั้งสิ้น ...แตในทางปฏิบัติ พบวา

ปจจุบนั ภาคเอกชนไทยยังมีการลงทุน ดานการวิจัยนอยมาก...วันนี้ สิ่งที่ ประเทศชาติตองการ คือ การผลิต นวัตกรรมใหม และการจดสิทธิบัตร” ซึง่ ในประเด็นนี้ หากเปรียบเทียบ กั บ ประเทศสิ ง คโปร แ ละประเทศ เกาหลีใตแลว จะเห็นไดชดั เจนวาสิงคโปร และเกาหลี ใ ต ม ี ก ารกำหนดนโยบาย ให ค วามสำคั ญ กั บ นวั ต กรรมและมี การวางแผนเพื ่ อ นำพาประเทศไปสู 

47


Strategy ปัญหาสำคัญของไทย คือ ทำอย่างไรให้ผู้ประกอบการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ประกอบการ SMEs ของไทยเห็นความสำคัญของการเป็นผู้นำด้านนวัตกรรม?

การเป น ประเทศที ่ เ ป น ผู  น ำด า น นวัตกรรมอยางเปนระบบ เปนขัน้ ตอน จนในปจจุบนั ทัง้ สิงคโปรและเกาหลีใต ไดรับความสำเร็จจากการปรับเปลี่ยน (Transformation) นี้เปนอยางยิ่ง และได ร ั บ การยอมรั บ จากนานา ประเทศ โดยบริษัทที่ปรึกษาทางการ จัดการ BCG ซึ่งเปนผูจัดอันดับ สุดยอดประเทศนวัตกรรมชั้นนำของ โลกไดจัดอันดับใหประเทศสิงคโปรได อันดับหนึ่ง และประเทศเกาหลีใตได อันดับสอง ทำใหสิงคโปรเปนประเทศ ที่สรางนวัตกรรมสูงที่สุดแหงหนึ่งของ โลก ในขณะทีเ่ กาหลีใตกเ็ ปนศูนยกลาง การสรางสรรคนวัตกรรมที่สำคัญของ โลกเชนกัน และในปจจุบัน หลายๆ ประเทศต า งก็ ห ั น มาให ค วามสำคั ญ

48

กั บ การเป น ผู  น ำด า นนวั ต กรรมบ า ง เนื ่ อ งจากเห็ น แล ว ว า สามารถแก วิ ก ฤติ ก ารณ แ ละสร า งความยั ่ ง ยื น ได จริง จากที่ไดกลาวมาแลวขางตน จะ เห็ น ว า การเป น ผู  น ำด า นนวั ต กรรม จะส ง ผลดี ต  อ ประเทศชาติ แ ละผู  ท ี ่ เกีย่ วของเปนอยางมาก เพราะนอกจาก จะชวยสรางมูลคาและคุณคาเพิ่มให แก ก ิ จ การและประเทศชาติ ใ นระยะ ยาวแลว ยังสงผลดีตอการเพิ่มขีด ความสามารถในการแข ง ขั น ให ก ั บ กิจการและประเทศชาติอยางตอเนื่อง ดวย เนื่องจากผูประกอบการจะมีการ สรางกระบวนการที่เปนนวัตกรรมทั้ง ระบบ อันจะสงผลใหเกิดการเปลีย่ นแปลง ตอประเทศชาติ ชุมชน สังคม

วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมในเชิงบวก ดังนั้น เพื่อเปนการเตรียมความ พรอมรองรับการเขารวม AEC ในป 2558 รวมทัง้ เวทีการคาโลก ประเทศไทย จะตองเรงสรางผูนำดานนวัตกรรมใน ทุ ก ระดั บ เพื ่ อ จะได พ ร อ มรั บ มื อ กั บ ระบบการค า เสรี ท ี ่ ม ี ก ารแข ง ขั น กั น อยางรุนแรง จะไดเพิม่ ขีดความสามารถ ในการแขงขันกับประเทศอื่นๆ ทั้งใน อาเซียนดวยกัน และในภูมิภาคอื่นๆ ของโลก ปญหาสำคัญของไทย คือ ทำ อยางไรใหผูประกอบการ โดยเฉพาะ อยางยิ่งผูประกอบการ SMEs ของ ไทยเห็ น ความสำคั ญ ของการเป น ผูนำดานนวัตกรรม?



Communication Strategy

เทคนิคการสื่อสาร... ความสำเร็จของการขายทางธุรกิจ àÃÕºàÃÕ§â´Â

อาจารยโศภชา เอี่ยมโอภาส ÍÒ¨Òà»ÃШӤ³Ð¹Ôà·ÈÈÒÊμà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·

หลายๆ ครั้งที่เรากำลังกลาวถึง ธุรกิจประเภทตางๆ ไมวาจะเปนธุรกิจ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเงิน ธุรกิจการ บริการ ธุรกิจคาสงหรือคาปลีก และ ธุรกิจอีกหลายแขนงที่มีอยูมากมายใน ตลาดการคาปจจุบัน ซึ่งแนนอนวาใน การดำเนินธุรกิจนั้นเรื่องของเงินทุน คน เครื่องจักร ตลอดจนวัตถุดิบตางๆ ทีจ่ ะถูกนำมาใชเพือ่ การผลิตและบริการ ยังคงเปนปจจัยหลักของการดำเนินธุรกิจ ใหเปนไปตามเปาหมาย และโดยทั่วไป ธุรกิจที่ไดมีการลงทุนไปแลวนั้นก็มัก จะมุ  ง หวัง ผลกำไรที่ จ ะไดม าจากการ ขายสินคาหรือบริการใหไดมากที่สุด เพราะหากไมสามารถที่จะนำผลผลิต ออกจำหนายใหไดผลกำไรธุรกิจนั้นๆ ก็คงจะตองปดตัวลงไปอยางนาเสียดาย การขายจึงนับเปนองคประกอบที่ สำคัญอีกประการหนึ่งที่ผูประกอบการ

50

จะละเลยไปไมไดในการทำธุรกิจแตละ รูปแบบ ทั้งนี้กลวิธีในการขายสินคา หรือบริการก็มอี ยูม ากมาย ซึง่ ก็ขน้ึ อยูก บั เปาประสงคของธุรกิจนั้นๆ วามีความ ตองการที่จะใหสินคาหรือบริการของ ตนเปนไปในทิศทางเชนไร และในการขาย ที่จะตองเผชิญกับกลุมคูแขงที่มากหนา หลายตาก็ ค งไม ท ำให ผ ู  ป ระกอบการ ธุรกิจสามารถจะหยุดนิ่งในการสานตอ เรื่องของการกระจายสินคาและบริการ ใหเขาถึงกลุมเปาหมายของตนเองได อยางกวางขวาง เพราะยิ่งสินคาและ บริการไปถึงกลุมเปาหมายไดมากและ รวดเร็วเทาไหร นัน่ ก็เทากับเปนกาวยาง ของความมัน่ ใจทีจ่ ะทำใหธรุ กิจกาวหนา ไดเชนกัน สิ่งหนึ่งที่จะทำใหกระบวนการ ขายสิ น ค า และบริ ก ารประสบความ สำเร็จไปตามเปาหมายของธุรกิจได

นั้นก็คือ ผูประกอบการอยาละทิ้ง เรือ่ งของความเขาใจใน ‘วิธกี ารสือ่ สาร’ เพราะสิ่งนี้อาจจะเรียกไดวาเปนสวน สำคั ญอี กประการที่จะทำให ท ั ้งการ ขายประสบความสำเร็จ และทำให ธุรกิจสามารถเติบโตไดอยางไมคาดฝน โดยเฉพาะอย า งยิ ่ ง หากธุ ร กิ จ มี ก าร วางรู ป แบบการสื ่ อ สารที ่ ด ี ก ็ จ ะเป น สวนหนึ่งที่ทำใหเห็นทิศทางของการ วางแผนการขายไดอยางครอบคลุม ในทางธุรกิจ การขายคงไมใช เพียงแตการที่ผูประกอบการผลิตสินคา และบริการขึ้นมาแลวก็ขาย ขาย ขาย ไปตามจำนวนที่ผลิตขึ้นมาเทานั้น แต ทุกครั้งที่มีการผลิตสินคาและบริการ ขึ้นมา นั่นกำลังหมายถึงความชัดเจน ของ ‘กลุมเปาหมาย’ ที่ตรงกับสินคา และบริการ อีกทัง้ ทำใหเห็น ‘ทำเลทีต่ ง้ั ’ ที่เหมาะสม และ ‘ราคา’ ที่ผูบริโภค



Communication Strategy

อย่าลืมคิดเสมอว่าสินค้าและบริการนั้นเน้นกลุ่มเป้าหมายใด หรือคิดเสมอว่าเรากำลัง สื่อสารผ่านสื่อใดอยู่ ซึ่งในส่วนนี้จะทำให้เราสามารถใช้ระดับของภาษาในการสื่อความหมายต่างๆ ดีขึ้นและทำให้ผู้ที่รับสารของเราเข้าใจเนื้อหาต่างๆ ได้โดยง่ายและไม่สับสน สามารถที ่ จ ะจั บ จองได ใ นแต ล ะชนิด ของสินคาหรือบริการ รวมไปถึงสิง่ ตางๆ อี ก มากที ่ อ ยู  ใ นกระบวนการของการ จั ด จำหน า ยหรื อ การขายให ไ ด ต าม ความตองการของผูประกอบการ และ ในขณะเดี ย วกั น ก็ จ ะต อ งตอบสนอง ความตองการของผูบริโภคดวย กลาว มาถึงตรงนี้แลวก็คงจะหลีกเลี่ยงไมได ที่จะตองกลาววาการสื่อสารมีสวนที่ เขามาเกี่ยวของในกระบวนการตางๆ ทางธุรกิจ แตจะมีมากหรือนอยเพียงใด ก็ขึ้นอยูกับการใหความสำคัญไปตาม แตละขึ้นตอนของธุรกิจนั้นๆ ดั ง ที ่ไ ด ก ล า วไปแล ว ว า ธุ ร กิ จ คง ไมใชเพียงแตอยากขายก็ขาย แตเมื่อ มีการขายเกิดขึ้นก็เทากับกระบวนการ สือ่ สารเริม่ เกิดขึน้ พรอมๆ กัน โดยเฉพาะ ในเรื่องของการสื่อสารแบบสองทาง (two-way communication) นับ เปนเรื่องหลักในการนำมาพิจารณา รวมใหเกิดกระบวนการขายที่ชัดเจน ยิง่ ขึน้ ระหวางผูป ระกอบการกับผูบ ริโภค

52

จึงอาจกลาวไดวาเทคนิคการสื่อสารที่ จะทำใหการขายของธุรกิจประเภทตางๆ เปนไปตามเปาหมายและประสบความ สำเร็จดังที่ผูประกอบการตองการไดนั้น เราควรใหความใสใจกับการสื่อสารทั้ง ในเชิงวัจนภาษาและอวัจนภาษา เทคนิคการสื่อสารเชิงวัจนภาษา กลาวคือ ทุกครัง้ ทีจ่ ะตองมีการใหขอ มูล ความรูที่เปนสวนสำคัญและเกี่ยวของ กับสินคาและบริการ อยาลืมวาความจริง และขอมูลที่ถูกตองเปนเรื่องที่สำคัญ ในการนำมาสื่อสารกับกลุมเปาหมาย ซึ่งนั่นก็หมายถึง ไมวาจะเปนการพูด โดยบุคคล หรือการเขียนโดยผานสื่อ ประเภทตางๆ ก็จำเปนที่จะตองให ขอมูลในสิ่งที่เปนความรูที่เปนความ จริงและมีความถูกตอง เพราะสิ่งนี้ จะเป น การยื น ยั น และสร า งความ เชื่อมั่นใหแกผูบริโภคไดเปนอยางดี นอกจากนั้นไมควรสื่อสารในทิศทาง ที่จะกอใหเกิดความสับสนในทางใด ทางหนึ่งแกผูบริโภค เชน ในเรื่อง

ขั ้ น ตอนการผลิ ต สิ น ค า และบริ ก าร ผูประกอบการสามารถจะบอกขั้นตอน ตางๆ ในการผลิตเพื่อใหผูบริโภคเขาใจ และเห็ น ทิ ศ ทางของการดำเนิ น การ ของสินคาและบริการไดอยางชัดเจน เพราะสิ่งนี้เองจะเปนสวนสำคัญในการ ตัดสินใจของผูบ ริโภค และยังเปนปจจัย ที่จะแสดงความเชื่อมั่นไดดีอีกทางหนึ่ง ของธุรกิจ หรือแมกระทัง่ การบอกกลาว ถึงวัตถุดิบหลักวัตถุดิบรอง สัดสวน ที่ใช และแหลงที่มาของวัตถุดิบ ที่นำ มาใชในการผลิตสินคาและบริการ ก็ เป น อี ก เรื ่ อ งหนึ ่ ง ที ่ ธ ุ ร กิ จ ไม จ ำเป น ที ่ จะตองปกปดแตอยางใด เพราะสิ่งนี้ ก็เปนการเนนย้ำคุณภาพที่ดีของสินคา ไดเปนอยางดี ดังนั้นไมวาธุรกิจกำลัง จะสื่อสารอะไร แคไหน หรืออยางไร ก็ควรจะสือ่ สารดวยความจริงและถูกตอง เพื่อเปนการใหความรูและสรางความ เข า ใจที ่ ด ี ต  อ สิ น ค า และบริ ก ารให ไ ด มากที่สุด สวนในเรือ่ งของเทคนิคการสือ่ สาร


Communication Strategy

เชิงอวัจนภาษา ที่หมายถึงการสื่อสาร ที่ไมอาจรับรูไดดวยการบอกกลาวดวย คำพูดของบุคคลหรือการบอกเลาเปน ภาษาเขียนผานสื่อประเภทตางๆ แต เปนสิ่งที่เห็นไดจากปฏิกิริยาอาการของ บุคคล หรือรูปแบบที่มาจากการสื่อ ความหมายในการเขี ย นหรื อ ภาพ ประกอบ ซึ่งในการทำธุรกิจที่มีการ ขายทั ้ ง ที ่ อ าศั ย บุ ค คลหรื อ สื ่ อ ต า งๆ มาเป น ช อ งทางในการสื ่ อ สารสำคั ญ เพือ่ การขาย ก็ควรทีจ่ ะใหความสำคัญ กับเรื่องเหลานี้ดวย เพราะแมจะไมได เปนเรื่องของขอมูลความจริงโดยตรง เกี่ยวกับสินคาหรือบริการ แตก็เปน ปจจัยหลักในการพิจารณาการรับรู และการตัดสินใจของผูบริโภคไดใน อีกระดับหนึ่ง เชน ในแตละครัง้ ทีม่ กี าร พูดหรือการบอกเลา จากบุคคลอัน เปนเรื่องที่เกี่ยวกับ สินคาและบริการ ก็ควรจะมีการแบงชวงของการนำเสนอ ขอมูลที่เหมาะสม คือ ไมจูโจม หรือ มุงแตจะใหขอมูลเพียงฝายเดียว ควร จะมี ก ารหยุ ด เพื ่ อ สังเกตปฏิกิริยาของ ผู  บ ริ โ ภคด ว ยว า กำลั ง รู  ส ึ ก อย า งไร เพราะเมื่อใดที่ผูบริโภคมีอาการไมพอ ใจ เบื่อหนาย เราก็ไมควรจะเรงเรา ในการนำเสนออยางรวดเร็ว เพราะ จะยิ่งทำใหเกิดความกดดันจน ทำให เกิดการปฏิเสธขึน้ ในใจของผูบ ริโภค ได หรือในระหวางการสนทนา การแสดง

ออกทางสีหนา ทาทางก็ควรจะแสดง ความเปนมิตร มีความจริงใจ มีความ ซื่อตรง ทั้งนี้การยิ้มจึงเปนสิ่งที่จะทำ ใหผูบริโภคไมรูสึกอึดอัดเมื่อตองรับรู ขอมูลในระยะเวลานานๆ และไมควร แสดงสี ห น า ที ่ ไ ม พ อใจในเวลาที ่ ผูโภคไมสนใจฟง แตควรจะหาวิธีการ สนทนาในรูปแบบใหมๆ เพื่อหลีกเลี่ยง ไมใหเกิดความเบื่อหนายแทน ซึ่งก็ หมายถึงจะตองใหโอกาสหรือเวลาใน การแสดงออกของผูบริโภคดวย หรือ แมกระทั่งในการเขียนหรือการนำเสนอ ทั ้ ง ในส ว นที ่ เ ป น เนื ้ อ หาหรื อ ภาพ ประกอบเพื ่ อ บอกเลาเกี่ยวกับสินคา และบริการผาน สื่อประเภทตางๆ ก็ ควรที ่ จ ะมี ค วามพอดีในเรื่องของการ สื่อสาร ซึ่งนั่นก็คือ อยาลืมคิดเสมอ ว า สิ น ค า และบริ ก ารนั ้ น เน น กลุ  ม เปาหมายใด หรือคิดเสมอวาเรากำลัง สื่อสารผานสื่อใดอยู ซึ่งในสวนนี้จะ ทำใหเราสามารถใชระดับของภาษา ในการสื่อความหมายตางๆ ดีขึ้นและ ทำใหผูที่รับสารของเราเขาใจเนื้อหา ตางๆ ไดโดยงายและไมสบั สน ประกอบ กั บ การคำนึ ง ถึ ง ความสอดคล อ งของ เนื้อหาและภาพประกอบที่จะเปนสวน สร า งความน า สนใจได อ ย า งมากต อ ผูบริโภค เพราะเปนสิ่งที่จะทำใหเกิด ความต อ เนื ่ อ งในการจิ น ตนาการให เห็นถึงสินคาและบริการ ไดมากยิ่งขึ้น

สิ่งเหลานี้เองก็จะไมทำใหการตัดสินใจ ของผูบริโภคผิดไปจากที่ควรจะเปน เทคนิ ค การสื ่ อ สารที ่ ไ ด จ ำแนก เป น เรื ่ อ งของวั จ นภาษาและอวั จ น ภาษาดังกลาวมานั้น เปนเพียงตัวอยาง สั้นๆ ที่แสดงใหเห็นเทคนิคการสื่อสาร อยางงายๆ ที่สามารถนำไปปรับใชใน การสื ่ อ สารเพื ่ อ การขายของธุ ร กิ จ ตางๆ ถึงแมวาจะไมไดขยายความไป ในแต ล ะส ว นหรื อ ในแต ล ะขั ้ น ตอน ของการดำเนิ น ธุ ร กิ จ และการขาย สินคาและบริการไดครบถวน เพราะ ดวยหนากระดาษที่จำกัด แตก็คงเปน ตั ว อย า งหนึ ่ ง ที ่ ท ำให เข า ใจว า ในทุ ก ความสำเร็จของธุรกิจนั้นมักจะมีเรื่อง ของการสื่อสารเขามาเกี่ยวของอยูเสมอ และการนำการสื ่ อ สารมาใช ไ ด อ ย า ง เหมาะสมตามวิธีการของการสื่อสาร แลวนั้นก็จะเปนแนวทางที่ดีอยางมาก ต อ การเชื ่ อ มต อ ความสั ม พั น ธ ใ นการ ดำเนิ น ธุ ร กิ จ ให ป ระสบความสำเร็ จ ตามที่ผูประกอบการมุงหวัง ดังนั้น ทักษะการสื่อสารที่ดีนับเปนเรื่องหนึ่ง ที่ผูประกอบการควรจะใหความเขาใจ และนำมาใชเพื่อกอใหเกิดความมั่นคง และสรางความกาวหนาใหแกธุรกิจได อยางยั่งยืน ... ก็คงจะขอฝากทิ้งทาย ไวสน้ั ๆ วา...อยาหยุดทีจ่ ะสือ่ สาร หาก ต อ งการเห็ น ความสำเร็ จ และสร า ง ความยั่งยืนในธุรกิจของทาน

53


Work & Life

ละครบู๊เหนือธรรมชาติกับนัยทางสังคม อาจารยฐนธัช กองทอง â´Â

ÍÒ¨Òà»ÃШӤ³ÐÁ¹ØÉÂÈÒÊμà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

อิทธิพลตะวันตกที่แพรเขามาใน สยามตั้งแตปลายยุคแผนดินรัชกาลที่ 3 กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในวง วรรณกรรมของสยามจนเรี ย กได ว  า เปนวรรณกรรมแบบใหม ซึ่งใหความ สำคัญแกเนื้อหาที่ตอบสนองโลกของ ความจริ ง มากกว า โลกจิ น ตนาการ มี ร ู ป แบบวรรณกรรมแบบใหม ๆ เกิดขึ้นแพรหลายและทรงอิทธิพลมา จนถึงปจจุบัน โดยเฉพาะนวนิยาย แตขณะเดียวกันนั้น เรื่องเลา แบบเดิม ก็มิไดถูกทำใหหายไป ดังจะ เห็นไดวา ขณะที่โรงพิมพสมัยใหมได เผยแพร ว รรณกรรมรู ป แบบใหม น ั ้ น โรงพิ ม พ ว ั ด เกาะก็ พ ิ ม พ น ิ ท านจั ก รๆ วงศๆ ตอบสนองกลุมผูอานชาวบาน ซึ ่ ง ยั ง พึ ง พอใจเสพเรื ่ อ งราวในโลก จินตนาการอยู นิทานจักรๆ วงศๆ เปนเรื่องเลาที่ผสมผสานระหวางเรื่อง

54

“รัก” และ “ผจญภัย” โดยสอดแทรก เรือ่ งเกีย่ วกับอภินหิ าร แปลกประหลาด อาวุธวิเศษ และเรื่องราวเหนือวิสัย มนุษย เหนือธรรมชาติ ทำใหผูอาน ตื ่ น เต น และเพริ ด ไปในโลกของ จินตนาการ ซึ่งนวนิยายในปจจุบัน ที่ผสมผสาน ความรัก การผจญภัย และเรื่องเหนือธรรมชาติเขาดวยกัน มั ก จะเป น นวนิ ย ายแนวบู  โ ลดโผน ผจญภัย ซึ่งยังคงแพรหลายอยูใน สังคมไทยจนถึงปจจุบัน น า สั ง เกตว า นวนิ ย ายแนวบู  ม ี ส ว นสั ม พั น ธ อ ย า งยิ ่ ง กั บ สั ง คมไทย มาตั้งแตสงครามโลกครั้งที่ 2 กลาว คือ ภายหลังสงคราม สยามไดสราง อุ ด มการณ ช าติ น ิ ย มเพื ่ อ ให อ ารย ประเทศยอมรั บ ว า เราเป น ชาติ ท ี ่ ม ี ประวัติศาสตรมายาวนาน และมี อารยธรรมทั ด เที ย มนานาประเทศ

ความวุนวายทางการเมือง และการ เผชิญหนากับลัทธิคอมมิวนิสตที่แพร หลายเขามามีบทบาทในประเทศชวง ทศวรรษ 2490 นั้น ทำใหสังคมไทย เกิดวิกฤติในหลายดาน ภาวะวิกฤติ ดังกลาวไดกลายเปนวัตถุดิบสำคัญให นักประพันธนำมาเขียนเปนนวนิยาย เพื ่ อ เสนอให เ ห็ น ความจริ ง บางด า น ของสังคม อาทิ ป.อินทรปาลิต ได เขียนนวนิยายชุดเสือใบ เสือดำ เพื่อ เสนอถึงภาวะขาดไรผูนำแบบวีรบุรุษ ที ่ จ ะขจั ด ป ญ หาต า งๆ ในสั ง คมได โดยเฉพาะปญหาเรื่องความเหลื่อมล้ำ ต่ำสูงในสังคม ดังนั้นขบวนการเสือ จึงกระทำการเปนวีรบุรษุ ปลนคนรวย นำมาแจกจายคนจน เรือ่ งราวในนวนิยาย ชุ ด นี ้ จ ึ ง มิ ต  า งจากการปฏิ เ สธรั ฐ และ การไมพึ่งพารัฐ ขณะเดียวกันนวนิยาย หลายเรื่องของอรวรรณ มาลัย ชูพินิจ


Work & Life

และอี ก หลายท า นก็ เ สนอให เ ห็ น ถึ ง การต อ สู  ข องผู  น ำชาวบ า นที ่ ต  อ งใช ความเด็ ด ขาดกล า หาญเพื ่ อ ธำรง รักษาความเปนธรรมในชุมชนไว เชน นวนิยายเรื่องไพรกวาง อกสามศอก เปนตน ทศวรรษ 2500 เปนชวงเฟอ งฟู ของนวนิยายแนวบู สวนใหญเสนอ เรื่องขบวนการลับจากองคกรตางชาติ ที่เขามาทำลายประเทศชาติ และ เรื ่ อ งราวเกี ่ ย วกั บ การขจั ด อิ ท ธิ พ ล ของ “เจาพอ” ในทองถิ่นตางๆ โดย พระเอกมักจะเปนตำรวจหรือคนของ รั ฐ ปลอมตั ว ไปสื บ เรื ่ อ งราวในชุ ม ชน และรวมมือกับชาวบานตอตานอิทธิพล เจาพอ ชนิดตาตอตา ฟนตอฟน นาสังเกตวา “ตัวราย” ใน นวนิ ย ายบู  ม ั ก เป น ผู  ม ี อ ิ ท ธิ พ ลใน ชุมชน ซึ่งเชื่อมโยงกับ “ทุน” จาก

ภายนอกและ “รัฐ” (โดยผานตัวแทน ของรั ฐ คื อ ข า ราชการที ่ ป ระพฤติ มิชอบ โดยเฉพาะกำนัน ผูใหญบาน ซึ ่ ง เป น ตั ว แทนของรั ฐ ที ่ ใ กล ช ิ ด ชาวบานมากที่สุด) นวนิยายบูจึงเปน อาวุธในทางจิตวิทยาใหผูเสพนวนิยาย ที ่ เ ป น ชาวบ า นลดภาวะตึ ง เครี ย ดที ่ เป น ผู  ถ ู ก กระทำอั น ไม เ ป น ธรรมจาก รัฐลง ดวยวาในชีวิตจริงมิอาจเปน ฝายทำราย “ผูกระทำ (ซึ่งเปนตัวแทน ของทุนกับรัฐ)” ได แตในโลกของ นวนิยายพวกเขาไดเอาใจชวยพระเอก ปราบปรามอริรายเหลานั้นจนสิ้นซาก ขณะเดี ย วกั น นวนิ ย ายบู  ก ็ ช  ว ยสร า ง สำนึกเชิงสังคมใหเกิดขึ้นกับผูอานอีก ดวย ยุ ค แห ง การแปลงสารผ า นสื ่ อ ในปจจุบัน ทำใหนวนิยายบูจำนวน มากได ร ั บ การดั ด แปลงเป น ละคร

โทรทัศน รวมถึงมีการเขียนบทละคร โทรทัศนแนวบูผจญภัยขึ้นใหมเพื่อ ใหสอดรับกับสื่อโทรทัศน โดยเฉพาะ ในชวง 5 ปที่ผานมา นาสังเกตวา เปนละครโทรทัศนแนวบูที่สอดแทรก เรื่องเหนือธรรมชาติดวย ซึ่งแตละ เรื ่ อ งได ร ั บ ความนิ ย มอย า งมาก มีเรตติ้งสูงเหนือละครแนวอื่นๆ อาทิ รุกฆาต คมแฝก จิตสังหาร ลูกผูชาย ไมตะพด ปานางเสือทั้งสองภาค เสือ สั่งฟา เสารหา ฯลฯ รวมถึงเรื่อง เหนือเมฆ 2 จอมขมังเวทย ซึ่งถูก ระงับการฉาย แมวาจะเหลืออีกเพียง สองตอน กอใหเกิดปรากฏการณตอ ตาน อยางกวางขวาง เนื้อหาของละครบูเ หนือธรรมชาติ สืบทอดขนบของเรื่องเลาไทย คือ มี กลุมเหลารายสรางปญหาตางๆ ทำให ผู  ค นในสั ง คมเดื อ ดร อ น ก อ ให เ กิ ด

55


Work & Life

ความคลุมเครือที่มิอาจชี้ชัดได้ในสังคมจึงต่างจากละครโทรทัศน์ที่แบ่งฝ่ายแบ่งขั้วกันชัดเจน แม้ตัวละครในเรื่องจะไม่รู้ แต่ขนบการเขียนบทละครในประเทศไทยนั้นคนดูต้องรู้มากกว่าตัวละคร (จึงเป็นเสน่ห์ที่ทำให้คนดูอยากติดตาม เพราะรู้สึกว่าตนฉลาดกว่าตัวละครในเรื่อง) ขบวนการหรื อ กลุ  ม คนที ่ ไ ม ย อมรั บ ความอยุติธรรม จึงตอสูอยางกลาหาญ เมือ่ นำเรือ่ งราวของไสยศาสตร อภินหิ าร เขามาผสมผสาน ทำใหสอดคลองกับ นิทานจักรๆ วงศๆ ในอดีต ทวาเนือ้ หา เปลี่ยนไป จากปญหาที่กระทบตอ ป จ เจกชนเพี ย งผู  เ ดี ย วคื อ พระเอก ของเรื่อง กลายมาเปนปญหาของ สั ง คมที ่ เ กิ ด จากเหล า ร า ยหมายเอา ประเทศชาติเปนเดิมพัน เนื้อหาของ ละครโทรทั ศ น แ นวนี ้ ไ ด ช ี ้ ใ ห เ ห็ น ว า รั ฐ อ อ นแอเกิ น กว า จะปกป อ งคนดี และความดีงามในสังคมไวได คนเกง กลามีฝมือจึงตองทำหนาที่นี้แทนรัฐ ละครบู  เ หนื อ ธรรมชาติ ใ นรอบ หาปจึงมีนัยวาสังคมไทยขาดวีรบุรุษ ที่จะตอสูกับเหลารายและปกปองคนดี ในสังคมได อำนาจทางไสยศาสตร ซึ ่ง ลั บ ลั บ และเหนื อ วิ ส ั ย มนุ ษ ย ก ลาย เป น อำนาจที ่ เ หนื อ กว า เหตุ ผ ลและ หลักกฎหมาย อำนาจคลุมเครือนี้เอง ที่กลายเปนอาวุธขจัดเหลาราย และ

56

ในขณะเดี ย วกั น อาวุ ธ คลุ ม เครื อ ร า ยแรงก็ ก ลายเป น อาวุ ธ ของเหล า รายดวยเชนกัน ไสยศาสตรและความ เหนือธรรมชาติ กลายเปนอาวุธของ ทั้งฝายธรรมและอธรรม ประหนึ่งจะชี้ใหเห็นวาทั้งธรรมะ และอธรรม ตางก็เปนความคลุมเครือ ที่มิอาจชี้ชัดได เหมือนเรามิอาจบอก ได ว  า คนดี แ ละคนชั ่ ว คื อ คนที ่ ม ี พฤติกรรมแบบใด มีลักษณะแบบใด แม ใ นละครโทรทั ศ น จ ะแบ ง ตั ว ละคร ออกเป น สองฝ า ยชั ด เจน คื อ ฝ า ย ธรรมะ กับฝายอธรรม แตในชีวิตจริง เรามิอาจแยกได พฤติกรรมของคน ในสั ง คมกลั บ คลุ ม เครื อ อี ก ทั ้ ง ยั ง ทำใหสิ่งผิดกลายเปนสิ่งที่ถูกตองชอบ ธรรม และสิ่งที่ตองการใหถูกตอง ชอบธรรมกลับถูกปายสีใหกลายเปน การกระทำที่ไมพึงประสงคได ความคลุมเครือที่มิอาจชี้ชัดได ในสังคมจึงตางจากละครโทรทัศนที่ แบงฝายแบงขัว้ กันชัดเจน แมตวั ละคร

ในเรื่องจะไมรู แตขนบการเขียนบท ละครในประเทศไทยนั ้ น คนดู ต  อ งรู  มากกวาตัวละคร (จึงเปนเสนหที่ทำ ใหคนดูอยากติดตาม เพราะรูสึกวา ตนฉลาดกวาตัวละครในเรื่อง) ละคร บูที่มีเนื้อหาชัดเจนนี้เองจึงชวยคลาย ความคับของใจตางๆ ของคนดูลงได ทำใหเขารูสึกวาไดขจัดคนชั่วแทนรัฐ ซึ่งไมสามารถจัดการกับปญหาตางๆ ได เมื่อละครแนวบูเหนือธรรมชาติ ถูกระงับการฉาย ความตึงเครียดใน จิตใจของผูชมซึ่งระบายออกโดยการ เอาใจชวยพระเอกปราบเหลารายใน ละครจึงปะทุมาสูความไมพึงพอใจทั้ง หลายทั้งปวง ทำใหอำนาจของผูชมซึ่ง ถูกจำกัดพื้นที่แคในจิตใจไดขยายมาสู พื้นที่ภายนอก ละครบูเหนือธรรมชาติ เรื่องเหนือเมฆ 2 จอมขมังเวทยจึง แสดงใหเห็นถึง นัยทางสังคมอยาง ชัดเจน


Economic Index

ดัชนีความเชื่อมั่นผูประกอบการภาคการคา และบริการ ประจำเดือนมีนาคม 2556 â´Â Êӹѡ§Ò¹Ê‹§àÊÃÔÁÇÔÊÒË¡Ô¨¢¹Ò´¡ÅÒ§áÅТ¹Ò´Â‹ÍÁ Êӹѡ´Ñª¹ÕàÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäŒÒ ¡ÃзÃǧ¾Ò³ÔªÂ ËÍ¡ÒäŒÒä·Â Èٹ ¾Âҡó àÈÃÉ°¡Ô¨áÅиØáԨ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

ดัชนีความเชื่อมั่นผูประกอบการ ภาคการคาและบริการ (Trade and Services Sentiment Index: TSSI) จั ด ทำขึ ้ น โดยความร ว มมื อ ระหว า ง สำนักดัชนีเศรษฐกิจการคา กระทรวง พาณิชย หอการคาไทย และศูนย พยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัย หอการคาไทย โดยมีรายละเอียดดังนี้ ดัชนีความเชือ่ มัน่ ของผูป ระกอบการ ภาคการคาและบริการ TSSI ของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม : SMEs ดั ช นี ค วามเชื ่ อ มั ่ น ภาคการค า และบริการของผูประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม ในเดือน มีนาคม 2556 คาดัชนีความเชื่อมั่น ในปจจุบันอยูที่ระดับ 55.0 ปรับตัว เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับคาดัชนีในเดือน กุมภาพันธที่มีคาดัชนีอยูที่ระดับ 46.1 โดยเมื ่ อ พิ จ ารณาแยกตามประเภท ของกิจการ กิจการภาคการคาสงและ ค า ปลี ก มี ค  า ดั ช นี ค วามเชื ่ อ มั ่ น ใน ปจจุบันอยูที่ระดับ 53.7 ปรับตัวเพิ่ม ขึ ้ น เมื ่ อ เที ย บกั บ ค า ดั ช นี ใ นเดื อ น

กุ ม ภาพั น ธ ท ี ่ ม ี ค  า ดั ช นี อ ยู  ท ี ่ ร ะดั บ 46.1 เชนเดียวกับกิจการภาคบริการ มีคาดัชนีความเชื่อมั่นในปจจุบันอยูที่ ระดับ 57.0 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมากเมื่อ เทียบกับคาดัชนีในเดือนกุมภาพันธที่ มีคาดัชนีอยูที่ระดับ 46.0 จากคา ดัชนีความเชื่อมั่นในปจจุบันสามารถ พิจารณาไดวาผูประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมภาคการคา และบริการมีความเชื่อมั่นในปจจุบัน ปรั บ ตั ว เพิ ่ ม ขึ ้ น เมื ่ อ เที ย บกั บ ค า ดั ช นี ในเดือนที่ผานมา อีกทั้งผูประกอบการ มีความเชื่อมั่นในปจจุบันอยูในระดับ ที่ดีเนื่องจากคาดัชนีความเชื่อมั่นอยู ในระดับที่เกินกวา 50 ในทุกประเภท กิจการ สำหรั บ ค า ดั ช นี ค วามเชื ่ อ มั ่ น คาดการณ 3 เดือนขางหนาของผูป ระกอบการ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อ ม ภาคการคาและบริการในเดือนมีนาคม 2556 คาดัชนีความเชื่อมั่นคาดการณ 3 เดือนขางหนาอยูที่ระดับ 51.1 ปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับคาดัชนีใน เดือนกุมภาพันธซึ่งมีคาดัชนีอยูที่ระดับ 54.4 โดยเมือ่ พิจารณาแยกตามประเภท

ของกิจการ กิจการภาคการคาสงและ คาปลีกมีคา ดัชนีความเชือ่ มัน่ คาดการณ 3 เดือนขางหนาอยูที่ระดับ 51.6 ปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับคาดัชนีใน เดือนกุมภาพันธซึ่งมีคาดัชนีอยูที่ระดับ 53.9 เชนเดียวกับกิจการภาคบริการ ที่มีคาดัชนีความเชื่อมั่นคาดการณ 3 เดือนขางหนาอยูท ร่ี ะดับ 50.3 ปรับตัว ลดลงเมื ่ อ เที ย บกั บ ค า ดั ช นี ใ นเดื อ น กุ ม ภาพั น ธ ซ ึ ่ ง มี ค  า ดั ช นี อ ยู  ท ี ่ ร ะดั บ 55.1 จากคาดัชนีความเชือ่ มัน่ คาดการณ 3 เดือนขางหนาสามารถพิจารณาได วาผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย อ มภาคการค า และภาค บริการมีความเชื่อมั่นคาดการณ 3 เดือนขางหนาปรับตัวลดลงเมื่อเทียบ กับคาดัชนีในเดือนทีผ่ า นมา แตอยางไร ก็ ต ามผู  ป ระกอบการยั ง คงมี ค วาม เชื่อมั่นคาดการณ 3 เดือนขางหนา อยูในระดับที่ดีเนื่องจากคาดัชนีความ เชื่อมั่นอยูในระดับที่เกินกวา 50 ใน ทุกประเภทกิจการ เมื ่ อ พิ จ ารณาดั ช นี ค วามเชื ่ อ มั ่ น ของผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอมภาคการคาและบริการ

57


Economic Index

ตอภาวะเศรษฐกิจของประเทศในเดือน มีนาคม 2556 คาดัชนีในปจจุบันอยูที่ ระดับ 71.7 ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางมาก เมื่อเทียบกับคาดัชนีในเดือนกุมภาพันธ ที่คาดัชนีอยูที่ระดับ 49.1 ในขณะที่ คาดัชนีคาดการณ 3 เดือนขางหนา อยูที่ระดับ 55.5 ปรับตัวลดลงอยาง มากเมื ่ อ เที ย บกั บ ค า ดั ช นี ใ นเดื อ น กุมภาพันธที่คาดัชนีอยูที่ระดับ 73.9 จากคาดัชนีความเชื่อมั่นตอเศรษฐกิจ ของประเทศของผู  ป ระกอบการ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อ ม ภาคการคาและบริการในเดือนมีนาคม 2556 พิจารณาไดวาผูประกอบการ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อ ม ภาคการคาและบริการมีความเชื่อมั่น ต อ เศรษฐกิ จ ของประเทศในป จ จุ บ ั น ปรับตัวในทิศทางที่เพิ่มขึ้น ขณะที่มี ความเชื่อมั่นตอเศรษฐกิจของประเทศ คาดการณ 3 เดือนขางหนาปรับตัว ในทิศทางที่ลดลงเมื่อเทียบกับคาดัชนี

58

ความเชื่อมั่นในเดือนที่ผานมา โดย ผู  ป ระกอบการมี ค วามเชื ่ อ มั ่ น ต อ เศรษฐกิ จ ของประเทศทั ้ ง ในป จ จุ บ ั น และคาดการณ 3 เดือนขางหนา อยูในระดับที่ดีเนื่องจากคาดัชนีความ เชื ่ อ มั ่ น ทุ ก ค า อยู  ใ นระดั บ ที ่ เ กิ น กว า คาฐานที่ 50 ปจจัยตางๆ ที่สงผลกระทบตอ ผู  ป ระกอบการวิ ส าหกิ จ ขนาดกลาง และขนาดย อ มโดยรวมภาคการค า และบริการทัง้ ในปจจุบนั และคาดการณ 3 เดือนขางหนาของเดือนมีนาคม 2556 ผูประกอบการสวนใหญมองวาปจจัย ที่สงผลกระทบตอกิจการในระดับสูง ที่สุด ไดแก ผลกระทบจากการแขงขัน ในตลาด รองลงมาไดแก ผลกระทบ จากราคาตนทุนสินคาและคาแรงงาน ที ่ เ พิ ่ ม สู ง ขึ ้ น ผลกระทบจากภาวะ เศรษฐกิจของประเทศและอำนาจซื้อ ของประชาชน ผลกระทบจากระดับ ราคาน้ำมันและคาขนสง และผล

กระทบจากการหดตั ว ของความ ตองการสินคาและบริการ ในสวนของ ผลกระทบจากสถานการณ ค วาม ขั ด แย ง ทางการเมื อ งต อ กิ จ การ ผูประกอบการมองวาสงผลกระทบตอ กิจการในระดับที่ไมมากนัก และสง ผลกระทบในระดั บ ที ่ ล ดลงเมื ่ อ เทียบกับเดือนที่ผานมา และในสวน ของมาตรการกระตุ  น เศรษฐกิ จ ของ ภาครั ฐ ผู  ป ระกอบการมองว า ส ง ผล กระทบดานบวกตอกิจการในระดับที่ ไมมากนักและสงผลกระทบตอกิจการ ในระดับที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน ที่ผานมา กล า วโดยสรุ ป เกี ่ ย วกั บ ค า ดั ช นี ความเชื่อมั่นผูประกอบการภาคการคา และบริการในเดือนมีนาคม 2556 ผู  ป ระกอบการวิ ส าหกิ จ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อ มมี ค วาม เชื ่ อ มั ่ น ในป จ จุ บ ั น ปรั บ ตั ว เพิ ่ ม ขึ ้ น ขณะทีค่ วามเชือ่ มัน่ คาดการณ 3 เดือน


Economic Index

ขางหนาปรับตัวในทิศทางที่ลดลงเมื่อ เทียบกับเดือนกอนหนา ซึง่ การปรับตัว เพิ ่ ม ขึ ้ น และลดลงของค า ดั ช นี ค วาม เชื่อมั่นทั้งในปจจุบันและคาดการณ 3 เดื อ นข า งหน า เป น ผลมาจากการ ปรับตัวเพิ่มขึ้นและลดลงของ องค ป ระกอบด า นยอดจำหน า ยและ กำไรเปนหลัก โดยสาเหตุที่คาดัชนี ความเชื ่ อ มั ่ น ในป จ จุ บ ั น ปรั บ ตั ว ใน ทิศทางที่เพิ่มขึ้นเนื่องมาจากจะเขาสู ช ว งเทศกาลสงกรานต ซ ึ ่ ง ถื อ เป น เทศกาลท อ งเที ่ ย วที ่ ส ำคั ญ ของไทย ซึ ่ ง ในป น ี ้ ร ั ฐ บาลได ป ระกาศวั น หยุ ด เพิ ่ ม เติ ม ส ง ผลให เ ทศกาลสงกรานต ปนี้มีวันหยุดยาวเพิ่มมากขึ้น สงผลให ในป น ี ้ ป ระชาชนมี ก ารเดิ น ทาง ทองเที่ยวและเดินทางกลับภูมิลำเนา มากขึ ้ น ในช ว งเทศกาลสงกรานต นอกจากสถานการณดานการทองเที่ยว ในภาพรวมยังคงมีความคึกคักตอเนื่อง พิ จารณาไดจากจำนวนนักทองเที่ยว

ตางชาติในเดือนมีนาคมมีจำนวนทั้งสิ้น 2.26 ลานคน ปรับตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 19.19 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน และมีอัตราการเขาพักโรงแรม อยูที่รอยละ 68.23 มากกวาปกอนที่มี อัตราการเขาพักอยูที่รอยละ 64.3 นอกจากนี ้ ส ถานการณ ก ารอุ ป โภค บริโภคในภาพรวมยังขยายตัวตอเนื่อง โดยดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ในเดือนมีนาคมอยูที่ระดับ 147.54 เพิ่มขึ้นรอยละ 1.41 เมื่อเทียบกับชวง เดียวกันของปที่ผานมา ซึ่งถือเปนการ ขยายตัวของการบริโภคอยางตอเนื่อง แม จ ะขยายตั ว ในอั ต ราที ่ ช ะลอตั ว ลง จากเดือนกอนหนาก็ตาม เชนเดียวกัน สถานการณ ด  า นการลงทุ น ภาค เอกชนที่คาดัชนีการลงทุนภาคเอกชน ในเดือนมีนาคมอยูที่ระดับ 244.91 ขยายตัวรอยละ 3.41 จากชวงเดียวกัน ของปที่ผานมา ซึ่งถือเปนการขยายตัว ของการลงทุ น อย า งต อ เนื ่ อ งแม จ ะ

ขยายตั ว ในอั ต ราที ่ ช ะลอตั ว ลงจาก เดือนกอนหนาก็ตาม ในดานของการ สงออกในเดือนมีนาคมยังคงสามารถ ปรับตัวเพิ่มขึ้นไดแมภาคการสงออก ยั ง ต อ งเผชิ ญ กั บ สถานการณ ก าร แข็งคาของคาเงินบาทอยางตอเนื ่อง ในระยะนี้ โดยการสงออกในเดือน มีนาคมมีมูลคา 20,769.6 ลานเหรียญ สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นรอยละ 4.55 เมื่อ เปรียบเทียบกับชวงเดียวกันของปที ่ ผานมา ซึ่งเปนการปรับตัวเพิ่มขึ้นทั้ง ในส ว นของการส ง ออกสิ น ค า เกษตร และอุตสาหกรรมเกษตร และสินคา อุตสาหกรรม รอยละ 0.5 และ 3.7 ตามลำดับ สวนระดับราคาน้ำมันใน เดือนมีนาคม ราคาน้ำมันเบนซิน 91 ปรับตัวลดลงจากเดือนกอน 0.50 บาท ตอลิตร สวนราคาขายปลีกดีเซลอยู ในระดับที่ทรงตัวจากเดือนกอน หนา ส ง ผลให ค  า ดั ช นี ค วามเชื ่ อ มั ่ น ใน องคประกอบดานตนทุนในปจจุบันที่

59


Economic Index

มี ก ารปรั บ ตั ว เพิ ่ ม สู ง ขึ ้ น ในเดื อ นนี ้ นอกจากนี ้ ก ารใช น โยบายกระตุ  น เศรษฐกิ จ ของภาครั ฐ ที ่ เริ ่ ม มี ผ ลใน ระยะนี ้ ท ั ้ ง ในส ว นของนโยบายให ม ี การปรับคาแรงขั้นต่ำเปน 300 บาท ตอวันนับตั้งแตเดือนมกราคม 2556 สงผลใหแรงงานมีรายไดเพิ่มขึ้นรวม ทั้งมีกำลังซื้อเพิ่มขึ้น รวมถึงการลงทุน ในโครงการขนาดใหญ ข องภาครั ฐ ที ่ เริ ่ ม มี ก ารเบิ ก จ า ยงบประมาณเข า สู  ระบบเศรษฐกิจ กอปรกับภาครัฐมี การใชจายเพิ่มสูงขึ้นจากการเรงเบิก จ า ยเงิ น โอนให ก ั บ องค ก รปกครอง ส ว นท อ งถิ ่ น ส ง ผลให ม ี ก ารกระจาย เงิ น ลงในทุ ก ภู ม ิ ภ าคเพิ ่ ม สู ง ขึ ้ น ซึ ่ ง ป จ จั ย ที ่ ก ล า วมานี้ล ว นส ง ผลใหดั ช นี ความเชื ่ อ มั ่ น ในป จ จุ บ ั น ในเดื อ นนี ้ ปรั บ ตั ว เพิ ่ ม ขึ ้ น ส ว นสาเหตุ ท ี ่ ท ำให

60

ความเชื ่ อ มั ่ น คาดการณ 3 เดื อ น ขางหนาปรับตัวในทิศทางที่ลดลงเปน ผลมาจากประชาชนสวนใหญยังคงมี ความกังวลเรื่องคาครองชีพที่เพิ่มขึ้น ไมสอดคลองกับรายไดที่ไดรับ ถึงแม จะมีการปรับเพิ่มคาแรงขั้นต่ำ 300 บาทตอวันแลวก็ตาม แตราคาสินคา โดยทั ่ ว ไปก็ ป รั บ เพิ ่ ม สู ง ขึ ้ น เช น กั น เนื ่ อ งจากค า แรงเพิ ่ ม สู ง ค า ส ง ผลให ต น ทุ น การประกอบการเพิ ่ ม สู ง ขึ ้ น สงผลใหผูประกอบการมีการปรับเพิ่ม ราคาสินคาตามไปดวย สอดคลองกับ ดั ช นี ร าคาผู  บ ริ โ ภคในเดื อ นนี ้ ท ี ่ อ ยู  ท ี ่ ระดับ 104.73 เพิ่มขึ้นรอยละ 2.69 จากชวงเดียวกันของปกอน และเพิ่ม ขึ้นรอยละ 0.07 จากเดือนกอนหนา อี ก ทั ้ ง การปรั บ ตั ว แข็ ง ค า ของค า เงิ น บาทส ง ผลให ค วามสามารถในการ

แข ง ขั น ด า นราคาสำหรั บ ธุ ร กิ จ ที ่ ทำการสงออกลดลง รวมทั้งในบาง กิจการอาจเกิดการขาดทุนจากอัตรา แลกเปลี่ยน โดยในเดือนนี้คาเงินบาท อยูท ร่ี ะดับ 29.51 แข็งคาขึน้ จากเดือน กอนที่อยูที่ระดับ 29.82 ซึ่งปจจัย ดั ง กล า วส ง ผลให ด ั ช นี ค วามเชื ่ อ มั ่ น คาดการณ 3 เดื อ นข า งหน า ของ เดือนนี้มีการปรับตัวในทิศทางที่ลดลง โดยในเดื อ นนี ้ ค  า ดั ช นี ค วามเชื ่ อ มั ่ น แยกพิ จ ารณาในแต ล ะองค ป ระกอบ ทั้งในปจจุบันและคาดการณ 3 เดือน ขางหนาอยูในระดับที่ดี เนื่องจากคา ดัชนีความเชื่อมั่นอยูในระดับที่เกินกวา คาฐานที่ 50 แทบทุกองคประกอบ โดยมี เ พี ย งองค ป ระกอบด า นต น ทุ น ทั้งในปจจุบันและคาดการณ 3 เดือน ข า งหน า เพี ย งองค ป ระกอบเดี ย วที ่ ม ี คาต่ำกวาคาฐานที่ 50


การวิเคราะหการสงออกไทยเดือนพฤษภาคม 2556 จากระบบเตือนภัยภาคการสงออก â´Â: Èٹ ÈÖ¡ÉÒ¡ÒäŒÒÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â www.citsonline.utcc.ac.th

การสงออกไทยในเดือนพฤษภาคม 2556 คาดวาจะมีการสงออกจะเพิ่มขึ้นจากเดือนเมษายน 2556 ซึ่งเปนชวงหยุดยาวของเทศกาลสงกรานตของไทย สงผลใหการผลิตเพื่อการสงออกชะลอตามไปดวย ในชวงเดือนพฤษภาคม คาดวาการสงออกจะอยูในภาวะปกติ เนื่องจากปจจัยชี้นำการสงออกในสวนของ ปจจัยตางประเทศสงสัญญาณบวกโดย ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อ (JPMorgan Global Manufacturing PMI) ลาสุดในเดือนมีนาคม อยูที่ 51.2 เพิ่มขึ้นจาก 50.9 ในเดือนกุมภาพันธ โดยการผลิตภาคอุตสาหกรรมของโลกมีการขยายตัวตอเนื่องเปนเดือนที่ 5 จากการเพิ่มขึ้นของคำสั่งซื้อใหม มูลคาการคาระหวางประเทศ โดยมีสหรัฐฯ เปนผูนำในการผลักดันใหการผลิตโลกขยายตัว นอกจากนี้จีนยังมีการขยายตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรมในอัตราที่เรงขึ้น ในขณะที่ญี่ปุนมี การขยายตัวเปนเดือนแรกในรอบ 10 เดือน สวนในยูโรโซน และอังกฤษ ผลผลิตยังคงลดลง ดานการจางงานในภาคอุตสาหกรรมพบวาเพิ่มขึ้นตอเนื่อง เปนเดือนที่ 4 ดานปจจัยภายในประเทศ มีหลายปจจัยทีส่ ง สัญญาณดานลบโดยขอมูลลาสุดในเดือนกุมภาพันธ พบวาทิศทางคาเงินบาทของไทยแข็งคาขึน้ อยางตอเนือ่ ง และแข็งกวาประเทศอื่นในภูมิภาคซึ่งสงผลใหความสามารถในการแขงขันดานราคาสงออกของไทยลดลง ในขณะที่ทิศทางการนำเขาสินคาทุน และการนำเขา สินคาวัตถุดิบลดลง -4.6 และ -8.5 ตามลำดับ ในขณะที่ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมลดลงรอยละ -1.4 อยางไรก็ตามยังมีปจจัยในประเทศที่สงสัญญาณ ดานบวก ไดแก ดัชนีชี้นำวัฏจักรธุรกิจระยะสั้น และดัชนีตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยขยายตัวรอยละ 3.9 และ 32.8 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอนหนาตามลำดับ ผลจากระบบเตือนภัยภาคการสงออก Export Composite Leading Index (Export CLI) และ Export Warning System (EXWA) ดังนี้ 1. Export Composite Leading Index (Export CLI) สงสัญญาณขยายตัว เพิ่มขึ้น 0.07 จากเดือนกอน หนา และอยูเหนือเสนมาตรฐานที่ 100.00 เนื่องจาก ปจจัยชี้นำการสงออกโดยภาพรวมยังสงสัญญาณดี โดย ดัชนีตลาดหลักทรัพยของไทยสงสัญญาณขยายตัว ในขณะที่ ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อสงสัญญาณฟนตัว อยางไรก็ตาม พบวาดัชนีอตั ราการใชกำลังการผลิต และดัชนีชน้ี ำวัฏจักร ธุรกิจระยะสั้น สงสัญญาณชะลอตัว 2. Export Warning System (EXWA) คาดวาเดือนพฤษภาคม 2556 การสงออกไทยจะ อยูในภาวะปกติ เนื่องจากปจจัยตางประเทศสวนใหญสง สัญญาณบวก โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมของสหรัฐฯ และญี่ปุน มีทิศทางเพิ่มขึ้น เชนเดียวกับความเชื่อมั่นทาง ธุรกิจของยุโรปเมื่อเทียบกับเดือนที่ผานมา แตทั้งนี้พบวา ปจจัยในประเทศบางตัวสงสัญญาณลบ เชน การนำเขา สินคาทุนและวัตถุดิบ รวมถึงอัตราการใชกำลังการผลิต ภาคอุตสาหกรรมที่มีทิศทางลดลงเมื่อเทียบกับเดือนกอน หนา

61


Thailand Economic & Business Review

สมัครสมาชิกนิตยสาร สมัครสมาชิก 1 ป (12 ฉบับ) พิเศษเหลือ 600 บาท จากราคาปกติ 960 บาท ชื่อ (Name) : นามสกุล (Surname) : E-mail : เบอรโทรศัพทบาน (Telephone) : เบอรโทรศัพทที่ทำงาน (Telephone) : เบอรโทรสาร (Fax) : เพศ (Gender) :

มือถือ (Mobile) : ชาย

หญิง

วันเกิด : วันที่

เดือน

พ.ศ.

ที่อยูในการจัดสง (Shipping Address) สมาชิกเริ่มตนเลมที่

ถึง

ที่อยู (Address)

ใบเสร็จรับเงินออกในนาม (Name) ชื่อ (Name) ที่อยู (Address)

วิธีการชำระเงิน โอนเงิน บัญชี ธนาคารกรุงเทพ สาขามหาวิทยาลัยหอการคาไทย ชื่อบัญชี นิตยสาร THAILAND ECONOMIC & BUSINESS REVIEW มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เลขที่ 030-026285-4 กรุณากรอกรายละเอียดทั้งหมดพรอมหลักฐานการชำระเงินมาที่ ศูนยบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ตึก 10 ชั้น 5 เลขที่ 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-697-6861-3 โทรสาร 02-277-1803 Email : ascenter@utcc.ac.th หมายเหตุ: - สงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนและคืนการเปนสมาชิกนิตยสาร - หากนิตยสารที่ทานไดรับเกิดการชำรุดหรือเสียหายอันเนื่องจากการขนสงหรือการพิมพ กรุณาแจงฝายสมาชิก โทร 02-697-6861-3


บรษิทั โอสคิอนิเตอรเนชนัแนล (ไทย) จำกดั

ดำเนินธุรกิจดานพลังงานทดแทนและสิ่งแวดลอมอยางครบวงจร อาทิ การจัดจำหนายแปงมัน ขาวโพด จัดหาเครื่องจักรอุปกรณดานการจัดการสิ่งแวดลอม เงินทุน การกอสรางเกี่ยวกับ สิ่งแวดลอมและพลังงานทดแทน ตาง ๆ เครื่องกำเนิดไฟฟา เครื่องสูบน้ำ เครื่องบำบัดน้ำเสีย เครื่องผลิตกระแสไฟฟาจากขยะ เครื่องจักรผลิตเอทานอล รวมทั้งผลิตภัณฑที่กอใหเกิดพลังงาน อุปกรณที่สามารถผลิตพลังงานไฟฟาจากแสงอาทิตย

Email : info@osic.co.th



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.