เปโตรสารประจำวันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม 2021 (อาทิตย์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา)

Page 1

พระบัญญัตพิ ระเจ้า พระธรรมล้าลึกพระคริสตเจ้า : พระคริสตเจ้าทรงประทานบัญญัติใหม่ ท่าทีคริสตชน : น้อมรับพระบัญญัติใหม่ของพระเจ้าด้วยความเชื่อ การดาเนินชีวิต : ปฏิบัติตามพระบัญญัติใหม่ด้วยความยินดี “พระองค์พอพระทัยให้เราบังเกิดโดยพระวาจา แห่งความจริง เพือ่ ให้เราเป็นดุจผลแรกใน สรรพสิ่งที่ทรงสร้าง” (ยก 1:18) พระวาจาประจาอาทิตย์นี้ บทอ่านที่ 1 : ฉธบ 4 : 1 - 2, 6 - 8 บทอ่านที่ 2: ยก 1 : 17 – 18, 21ข – 22, 27 พระวรสาร: มก 7 : 1 – 8ก, 14 – 15, 21 – 28

ฉบับที่ 618 วันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม ค.ศ.2021

อาทิตย์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา


ห น้ า | 2

เจ้าวัดปราศรัย พี่น้องที่รัก มีคาสอนที่สาคัญถึง 3 ข้อที่พระเยซูเจ้ามอบแก่เราในพระวรสารอาทิตย์นี้ แต่ละข้อก็สอนเราอย่างผู้ทรงอานาจจริง ๆ แม้ในช่วงโควิดเราไม่สามารถไปร่วม พิธีกรรมที่วัดได้ แต่ก็ฟังไว้หน่อยก็ดีนะครับ คาสอน 3 ข้อ มีดังนี้ครับ 1. ประชาชนเหล่านี้ให้เกียรติเราแต่ปาก แต่ใจของเขาอยู่ห่างไกลจากเรา ข้อนี้พระองค์อธิบายต่อง่าย ๆ ให้ด้วยว่า เขานมัสการเราอย่างไร้ความหมาย ถ้าหาก เวลาที่เรามาวัดและรู้สึกเฉย ๆ กับการนมัสการพระ เพื่อพิธีกรรม ฯลฯ เป็นบางครั้ง บางคราวก็ คงไม่เป็ นไรหรอก พ่อ เชื่อ ว่า พระเข้ าใจเราได้ แต่ถ้า หากมาแล้ว เป็ น แบบนี้ทุกครั้ง พ่อก็ยังรู้สึกว่า ก็ยังดีกว่าไม่มา เพราะยังมีหวังว่า จะค้นพบอะไร ๆ ที่ ดี จ ากการมาพบพระเจ้ า บ้ า ง หากมี ใ ครสั ก คนตั้ ง ใจที่ จ ะมาวั ด โดยที่ ไ ม่ คิ ด จะนมั ส การพระเลย ไม่ ส นใจพิ ธี ก รรมเลย ไม่ ย อมมี ส่ ว นร่ ว มอะไรเลย ไม่ ส วด ภาวนาอะไรเลย แบบนี้ แ หละที่ พ ระเยซู เ จ้ า เตื อ นว่ า ใจเขาอยู่ ห่ า งไกลจากเรา ขออย่าให้มีใครในพวกเราแม้แต่คนเดียวเป็นแบบนี้เลย 2. ท่านทั้งหลายละเลยพระบัญญัติของพระเจ้า กลับไปถือขนบธรรมเนียม ของมนุษ ย์ พ่อ จะไม่ ย กตัว อย่ าง สมัย พระเยซู น ะครั บ จากสมั ย ของเรานี่ แ หละ ธรรมเนี ย มมนุ ษ ย์ ที่ เ ราปฏิ บั ติ กั น มี ม ากมาย เช่ น เดี๋ ย วนี้ เ ขาแนะน าให้ ช ายหนุ่ ม หญิงสาวอยู่กินกันก่อนแต่ง หลายคู่ก็แต่งงานเพียงแค่จดทะเบียนกัน หรือไม่ก็ไป แต่งตามความเชื่ออื่น ๆ บางคู่ก็พร้อมที่จะหย่าร้างกันได้ตามที่สังคมมนุษย์กาหนด


ห น้ า | 3

กฎเกณฑ์ขึ้นมาไม่ค่อยสนใจศีลธรรมที่พระเจ้าบัญญัติขึ้นมา เป็นต้น บางครั้งผู้ ที่ มาวัดเรา ก็นาเอาขนบธรรมเนียมของมนุษย์เข้ามาในวัดด้วย เช่น เรื่องการแต่งกาย มาวั ด เป็ น เรื่ อ งละเอี ย ดอ่ อ นที่ จ ะแก้ ไ ข แต่ ผู้ ที่ แ ต่ ง ตั ว มาวั ด ไม่ ไ ด้ คิ ด เลยว่ า เหมาะสมหรือไม่ แปลกแต่จริงนะครับ เวลาที่เราอยู่ บ้าน เรารู้ว่าจะแต่งตัวอย่างไร เวลามีลูก ๆ อยู่ที่บ้านด้วยก็รู้ว่าควรแต่งตัวอย่างไร แต่งตัวไปทางานหรือไปโรงเรียน แต่งตัวไปเที่ยวตากอากาศ แต่งตัวไปว่ายน้า ไปซื้อของตามห้างสรรพสินค้า ไปงาน เลี้ยง แต่เวลาไปหาพระ จะแต่งอะไรอย่างไรก็ได้ เดี๋ยวนี้มีเสียงบ่นเรื่องนี้กันมากขึ้น ทุกวันจากวัดต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีสังฆราชองค์หนึ่งถึงกับออก สารเวี ยนเรื่อ งนี้โ ดยเฉพาะ พ่ อ อ่า นดูแ ล้ว ก็ พบว่ าคื อ ปั ญ หาเดีย วกัน ที่ วัด ต่ าง ๆ ในบ้านเรามี เพราะบางคนกล้าใส่เสื้อผ้าที่ตนเองไม่กล้าใส่เวลาไปเดินห้างหรือเวลา ได้รับเชิญไปงานเลี้ยง บางทีแค่งานวันเกิดเล็ก ๆ ยังเลือกเสื้อผ้าให้เหมาะสม เวลา ไปวัดไม่คิดที่จะเลือกเลย บางคนใส่ชุดกีฬา เสื้อกล้าม กางเกงขาสั้น เสื้อคอกลม สุภาพสตรีบางคนก็แต่งตัวโดยไม่คิดเลยว่าคนอื่นที่เห็นจะคิดอย่างไร เรื่องแบบนี้ ยังเป็นความลี้ลับที่อย่างน้อย พ่อเอง ไม่สามารถเข้าใจเหตุผลได้ว่า ทาไมถึงแต่งตัว แบบนั้นมาวัด พวกเขานาแฟชั่นทางโลก ตามทัศนะของโลกว่า นี่แหละสวย จะสวย น่ารั ก น่ามอง ต้ องแต่ง แบบนี้ วัด หลายแห่งในต่ างประเทศถึง กับ ทาใบปลิว แจก หน้า วัด มี รูปภาพเสื้ อผ้า ต่า ง ๆ ที่ ห้า มเข้าวั ด วัด พุทธเขาก็ ยังมี ระเบี ยบที่ ชัด เจน จะไม่ดีกว่าหรือครับ ถ้าหากสิ่งเหล่านี้ออกมาจากใจของเราเอง ออกมาจากความ สานึกของตนเอง ไม่ใช่มาจากกฎเกณฑ์ ช่วย ๆ กันบอก ช่วยกันเตือนในครอบครัว บ้างก็ดีเหมือนกันนะครับ อย่าให้คนอื่นมาบอกในเรื่องแบบนี้เลย


ห น้ า | 4

บางครั้ งหรื อหลายครั้ ง หรื อทุ ก ครั้ ง ด้ว ยซ้ าที่เ ราน าเทคโนโลยีเ ข้ ามาในวั ด เรานาการสื่อสาร นาเอาเกมส์ เอาอีเมลและเอาเฟสบุ๊คเข้ามาในวัดด้วย บางครั้ง ก็ ร บกวนผู้ อื่ น จนน่ า ร าคาญ เสี ย งโทรศั พ ท์ รั บ โทรศั พ ท์ ใ นวั ด ไม่ เ กรงใจพระ ไม่ เ กรงใจมนุ ษย์ เ ลยก็ มี เ หมื อ นกั น หนุ่ ม สาวส่ งข้ อ ความถึ ง กั น ดู เ ฟสบุ๊ ค ด้ ว ยกั น คุยกันเหมือนคุยกันที่ร้านอาหารเลย แต่แปลกนะ ตอนอยู่ร้านอาหารจริง ๆ ต่างคน ต่างก็เล่นโทรศัพท์ของตน ไม่คุยกับใคร วัดเลยกลายเป็นสถานที่น่าคุยมากที่สุดไป นอกจากนี้ก็มีเรื่องการแสดงความเคารพให้เกียรติพระในวัด แต่เดิมก็เข้ามา ในวัด จุ่มน้าเสก ทาเครื่องหมายกางเขน ไหว้พระ เก่ากว่านั้นอีกก็คุกเข่า บางคนก็ รู้สึ ก ว่ า ไม่ ส นใจต่ อ การเคารพ ให้ เกี ย รติ พ ระในวั ด เลย ให้ เ กี ย รติ ค นอื่ น ในสั ง คม มากกว่าให้แก่พระเสียอีก พ่อว่าเราน่าจะรื้อฟื้นเรื่องเหล่านี้ออกมาเป็นภาคปฏิบัติ ที่สวยงาม 3. สิ่งที่ออกมาจากภายในมนุษย์นั่นแหละทาให้เขาเป็นมลทิน พระองค์ อธิ บ ายไว้ ย าวเลยครั บ บาปทั้ ง นั้ น เลย เช่ น ความคิ ด ชั่ ว ร้ า ย การล่ ว งประเวณี ความโลภ อิ จฉา ใส่ร้า ย จองหอง ฯลฯ เรื่องนี้ย กตัว อย่า งง่า ย ๆ จากที่ พ่อเขีย น มาข้ างบนนี้ก็ ไ ด้ ชายคนหนึ่ งนั่ ง อยู่ใ นวั ด หญิง คนหนึ่ ง แต่ง กายเข้ า มาในวัด ค่ อ น ข้า งโป๊ เขาเริ่ม มองผู้ หญิ งคนนั้ น เขาเริ่ม คิด จิ นตนาการและปลงใจกั บความคิ ด ที่กาลังไปไกลแล้วของเขา ใครก็ตามมองดูสตรีด้วยใจปรารถนา เขาก็ได้ล่วงประเวณี กับหญิงนั้นแล้ วในใจ (มธ.5:28) ทุกอย่างจึ งออกมาจากใจของเราครับ ทั้งคนที่ แต่งตัว และคนที่เฝ้ามอง อาทิตย์นี้พระเยซูเจ้าเตือนใจเรามากหน่อยนะครับ แต่ก็ตรงกับชีวิตของเรา ไม่ใช่น้อยเลย พ่อชอบเนื้อหาที่มีในจดหมายของนักบุญยากอบที่ว่า “จงปฏิบัติตาม


ห น้ า | 5

พระวาจา มิใช่ฟังแต่อย่างเดียว” อีกตอนหนึ่งที่บอกว่า ความเชื่อที่บริสุทธิ์และ ไร้มลทินคือ การเยี่ยมเด็กกาพร้า หญิงหม้ายที่กาลังทุกข์ร้อน และการรักษาตนให้ พ้นจากมลทิน ของโลก แปลง่า ย ๆ ว่า โลกเราทุก วัน นี้ก าลั งสอนเราตามประสา ของโลก สอนให้เราคิดตามเนื้อหนังของเรา สอนให้เราใช้สิ่งของของโลกนี้ในทาง ที่ไม่ถูกต้อง มีครอบครัวที่ร่ารวยกาลังต้องการจ้างคนขับรถ ภรรยาลงโฆษณาหาพนักงาน ขั บ รถ หลั ง จากการคั ด เลื อ กผู้ ส มั ค รแล้ ว มี อ ยู่ 4 คนได้ รั บ การเลื อ กเข้ า มา ให้ ค รอบครั ว นี้ เ ลื อ ก เธอพาผู้ ที่ ส มั ค รทั้ ง 4 คน ไปที่ ร ะเบี ย งบ้ า นและเธอชี้ ไ ปที่ กาแพงหินข้าง ๆ ถนนเข้าบ้าน แล้วถามคนทั้งสี่ว่า คุณคิดว่าคุณสามารถขับรถเข้าไป ชิดกาแพงหินนั้นได้ใกล้ขนาดไหน โดยที่ไม่ทาให้รถถูกกาแพงหินและเกิดรอยบนรถ คนแรกตอบว่ า ผมสามารถขั บ เข้ า ไปใกล้ ไ ด้ 1 ฟุ ต โดยไม่ ใ ห้ ร ถถู ก ก าแพง คนที่ ส องตอบว่ า 6 นิ้ ว คนที่ 3 ตอบว่ า 3 นิ้ ว คนสุ ด ท้ า ยตอบว่ า ผมไม่ รู้ ว่ า ผมสามารถขั บเข้ า ไปชิ ด ก าแพงได้ ใ กล้ แค่ ไ หน แต่ ผ มจะพยายามอย่ า งที่สุ ด ที่ จ ะ ขับรถให้ห่างจากกาแพงนั้นเพื่อไม่ให้รถเป็นรอยได้ คนขั บ รถเก่ ง ไม่ ใ ช่ ผู้ ที่ ส ามารถน ารถเข้ า ไปใกล้ อั น ตรายมากที่ สุ ด นะครั บ แต่หมายถึงคนที่นารถออกห่างจากอั นตรายได้มากที่สุดต่างหาก อย่าทาตัวเราให้ อยู่ ใ กล้ อั น ตรายทางวิ ญ ญาณ อย่ า น าจิ ต ใจของเราเข้ า ไปใกล้ กั บ อั น ตราย ฝ่ายวิญญาณด้วย ด้วยความเคารพรัก พ่อสุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์


ห น้ า | 6

รายชื่อผู้ขอมิสซาและทาบุญผ่านบัญชีธนาคาร ที่ 227

รายการมิสซา อุทิศแด่ เปาโล สม กิจสงวน และพี่น้องพลมารีย์ผู้ล่วงลับ ยอแซฟ ธรรมวิชญ์ นวโอฬารอนันต์ - ครอบครัว ลูกา เฉลิมชัย ลีลาเปีย่ มชูชาติ อันนา พัชพ์กมน นวโอฬารอนันต์ - มารีอามักดาเลนา เรวดี ลีลาเปี่ยมชูชาติ บริษัท ธรรมวิชญ์ แมทเทรท และที่นอน ธรรมวิชญ์ ลูกๆหลานๆทุกคน - บริษัท วิชงิ สเฟียร์ จากัด ครอบครัว มัทธีอัส เฉลิมชาติ ลีลาเปี่ยมชูชาติ เด็กที่ถูกทาแท้ง วิญญาณในไฟชาระและที่ไม่มีใครคิดถึง ดวงพระวิญญาณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ รัชกาลที่ 9 มารีอา ณัจปภัสร์ มณีพวงทิพย์ ยอแซฟ บุ้นเล้ง แซ่ลี้ - โยนออฟอาร์ค กัลยา - ดอมินิโก เฉลิมวงศ์ ลีลาเปี่ยมชูชาติ ฟรังซิสโก ฮั่นชุน แซ่เบ๊ - อันนา ชูมณี - ยอแซฟ ไหงเม้ง อันนา เกี๊ยม แซ่อึ๊ง ฟรังซิสโก มกเลี๊ยก - มารีอา เซี่ยมกี แซ่เล้า – เปโตร จงเซียง - มารีอา กิมไน้ แซ่ลี้ ขอพรสุขภาพ ยวงบัปติสตา สุรพงษ์ - ชมบงกช เลียบ เจริญรุ่งชัย วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีใครคิดถึง ทาบุญวัด ยวงบัปติสตา วัฒนา เลาหบุตร

228

สุขสาราญ

229

สุขสาราญ

230 231 232 233 234 235

สุขสาราญ สุขสาราญ สุขสาราญ อุทิศแด่ อุทิศแด่ อุทิศแด่

236

อุทิศแด่

237

อุทิศแด่

238

อุทิศแด่

239

สุขสาราญ

240 241 242 243

อุทิศแด่

อุทิศแด่ ยวง วิชัย กิจสกุล

244

อุทิศแด่ ยอแซฟ พิชัย กิจบุญชู

อุทิศแด่

245 อุทิศแด่ คุณแม่จันทรา รุง่ เรืองศรี และญาติผู้ล่วงลับ 246 สุขสาราญ โซฟีอา สวิชญา ธีรานุวัฒน์ 247 อุทิศแด่ เปโตร เลีย่ งจง - ยวง เกียเอีย้ ง - มารีอา ง้วยลัง้ แซ่แต้

ชื่อผู้ขอ วัน-เวลาโอนเงิน ป.มารดาพระ 15-08/12.20 หรรษทาน

พัชพ์กมน ธรรมวิชญ์ พัชพ์กมน ธรรมวิชญ์ พัชพ์กมน ธรรมวิชญ์ พัชพ์กมน ธรรมวิชญ์

20-08/04.11

พัชพ์กมน ธรรมวิชญ์ พัชพ์กมน ศิริเพ็ญ

20-08/09.02

วันวิสาข์ มาริสา ครอบครัว ครอบครัว ศิษย์เก่า เปโตร17

21-08/15.01 21-08/16.33 22-08/17.07 23-08/11.15 24-08/17.56 26-08/12.39

ค.วัชรนุรธร

26-08/15.51


ห น้ า | 7

สารจากสังฆานุกรกิตติศักดิ์ กิจสาเร็จ

ผ้าปูพระแท่นสาคัญไฉนในพิธีกรรม? ก่อนอื่นผมขออธิบายถึงความหมายของ “พระแท่นบูชา” ให้เราได้พอเข้าใจ กันก่อนนะครับว่า พระแท่น เป็นจุดนัดพบระหว่างพระเจ้ากับมนุษยชาติ ศูนย์กลาง ของสิ่งก่อสร้างทางศาสนา ตั้งอยู่ตรงกลางสักการะสถาน (Sanctuary) มีการยกพื้น เป็นบันได 2-3 ขั้น เพื่อดึงดูดความสนใจทางด้านสถาปัตยกรรมไปยังพระแท่น (คาว่า “altar” มาจากคาคุณศัพท์ภาษาละตินว่า altus หมายถึง “สูง”)


ห น้ า | 8

มนุษยชาตินิยมสร้างสถานที่บู ช าไว้ที่สูง เช่น ภูเขาโอลิมปัสซึ่งเป็นที่สถิต ของเทพเจ้ากรีก เมื่อความสูงของภูเขาไม่พอบริเวณพระแท่นจึงเป็นสถานที่ที่อยู่ เหนื อ สุ ด ของโครงสร้ า งที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ า งขึ้ น เช่ น ซิ ก กู รั ต ของพวกเมโสโปเตเมี ย เมื่อมนุษย์ปรารถนาจะเข้าสู่อาณาจักรศักดิ์สิทธิ์ เขาคิดถึงหอบาแบล ธรรมเนียม ยิวถือว่า ภูเขาเป็นสถานที่ตามธรรมชาติที่จะพบพระเจ้าได้ เป็นที่ ๆ สวรรค์พบ กับโลก พระยาเวห์ตรัสกับโมเสสบนยอดภูเขาซีนาย ระหว่างการเสกวัด และโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาสนวิหารก่อนที่จะเริ่มการเสก จะมี ก ารฝั ง พระธาตุ ข องนั ก บุ ญ มรณสั ก ขี ไ ว้ ภ ายใต้ แ ผ่ น หิ น ของพระแท่ น เพื่ อ ท าเครื่ อ งหมายถึ ง ความต่ อ เนื่ อ งระหว่ า งการถวายบู ช าของพระคริ ส ตเจ้ า กับการพลีบูชาของสัตบุรุษ ดังนั้น พระแท่นได้รับการอภิเษกด้วยการเจิมน้ามัน คริสมา หลังจากนั้น มีการเผากายานซึ่งเป็นเครื่องหมายว่า พระจิตทรงครอบครอง พระแท่นแล้ว สุดท้าย จะใช้ผ้าปูทับลงบนพระแท่น

ดังนั้น พระแท่นเป็นสัญลักษณ์ที่สูงส่งของพระคริสตเจ้าในวัด แม้กระทั่ง สาคัญกว่าไม้กางเขน พระแท่นเป็นสิ่งแรกที่เราต้องแสดงคารวกิจเมื่อเข้าไปในวัด พระสงฆ์กราบพระแท่นตอนเริ่มพิธีบูชา และตอนจบพิธีมิสซาเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของ ความเคารพ เมื่ อ จะพู ด ถึ ง ผ้ า ปู พ ระแท่ น แล้ ว เราสั ต บุ รุ ษ ทั่ ว ไปอาจจะเข้ า ใจว่ า ผ้ า ปู พระแท่นที่เราเห็นที่วัดของเราปูว่าคงใช้แค่ผ้า ผืนเดียว แต่ความจริงแล้วประกอบ ไปด้วยผ้า 2 ผืนเป็นอย่างน้อย แต่แท้จริงตามจารีตพิธีกรรมดังเดิมนั้น ได้กาหนด ไว้ถึง 4 ผืนเลยทีเดียว ซึ่งวันนี้ เราจะมาทาความรู้จักผ้าแต่ละผืนว่าใช้ทาหน้าที่ อะไรกันครับ


ห น้ า | 9

1. ผืนแรกเรียกว่าผ้า “Waxed Cloth” คือ ผ้าลินินที่ตัดมาเป็นพิเศษ เท่ากับขนาดพื้นด้านบนของแท่นบูชาพอดีกับขอบพระแท่น ผ้าชิ้นนี้ควรมีการลง แป้งหรือเทียนเพื่อให้ผ้าเรียบอยู่ตัว จะใช้วางอยู่บนพื้นหินศักดิ์สิทธิ์ที่บรรจุพระธาตุ หรือบนพื้นของพระแท่นบูชาโดยตรง 2. ผ้าผืนที่สอง คือ “Frontlet” คือ ผ้าลินินขนาดเท่าพื้นบนของแท่นบูชา แต่ จ ะถู ก เย็ บ หรื อ ปั ก ลวดลายให้ ส วยงามด้ ว ยผ้ า ไหมให้ ห้ อ ยลงไปด้ า นหน้ า (ลึกประมาณ 7 นิ้ว) ซึ่งแขวนอยู่เหนือด้านหน้าเพื่อซ่อนแกนของผ้าที่ประดับหน้า พระแท่นตามสีของเทศกาลต่าง ๆ 3. ผ้าผืนที่สาม คือ”Plain Linen Cloth” คือ ผ้าลินินธรรมดา นี่เป็นผ้า ลินินเนื้อดีขนาดเท่าพื้นด้านบนของแท่นบูชา ผ้านี้ควรลงแป้งเล็กน้อยและรีดอย่าง ระมัดระวัง ไม่ควรมีรอยยับของการพับผ้า 4. ผ้าผืนที่สี่ คือ “Fair Linen Cloth” เป็นผ้าลินินผืนบนสุดที่มีความ ยาวมาก ๆ มันมีความกว้างพอดีกับขอบด้านบนของแท่ นบูชาและยาวพอที่จะห้อ ย ลงมาถึ ง เหนื อ พื้ น ไม่ กี่ นิ้ ว ทั้ ง สองด้ า น อาจมี ก ารปั ก รู ป กางเขนสี แ ดงเพื่ อ ท า เครื่องหมายที่กึ่งกลางของผ้าเพื่อง่ายต่อการปูและกะระยะให้เท่ากันทั้งสองด้าน ในปัจจุบันหลายวัดก็ไม่ได้ปูพระแท่นหลายชั้นเหมือนดังแต่ก่อน คงจะพอหา ดูได้ตามอารามชีลับที่ยังแคร่งกฎจารีตเดิมอยู่ แต่อย่างน้อยจะเหลือผ้าปูพระแท่น ด้ า นในสุ ด และอาจจะผื น ไม่ ใ หญ่ เ ท่ า พอดี แ ท่ น แต่ จ ะปู ไ ว้ ต รงกลางบริ เ วณที่ ว าง จานปาแตนากับจอกกาลิกส์ และปูทับด้วยผ้าปูพระแท่น ผืนบนสุด ซึ่งจะมักประดับ ด้วยผ้าลู กไม้หรื อลายปั กที่ สวยงามที่จ ะห้ อยมาปิ ดด้า นหน้าเล็ก น้อยและห้อ ยลง ไปทางด้านข้าง 50 cm. เป็นอย่างน้อยซึ่งเราเห็นตามวัดปูอยู่ในปัจจุบัน แต่อาจจะ-


ห น้ า | 10

มี บ างวั ด ที่ อ าจจะไม่ ใ ห้ มี ผ้ า ห้ อ ยมาข้ า งหน้ า เพื่ อ ไม่ ต้ อ งการปิ ด ภาพศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ บริเวณหน้าพระแท่น แต่ก็ควรให้มีผ้าห้อยลงไปด้านข้างซ้ายขวาของพระแท่นด้วย จาเป็นหรือไม่ที่เวลาตัดผ้าปูแท่นแล้วต้องมีส่วนที่ผ้าห้อยลงมา? ตัดให้ พอดีพื้นพระแท่นด้านบนอย่างเดียวได้หรือไม่? คาตอบคือ ถ้าเรามาทาความเข้าใจ ถึงความหมายของผ้าปูพระแท่นจริง ๆ แล้ว ผ้าปูพระแท่นก็เปรียบเสมือนผ้าที่ ห่อพระศพของพระเยซูเจ้า เมื่อเวลาที่พระองค์ถูกฝังไว้ ในคู ห า ซึ่ ง ความหมาย ข อ ง พ ร ะ แ ท่ น เ อ ง ก็ คื อ อ ง ค์ พ ร ะ เ ย ซู เ จ้ า ที่ อ ยู่ ท่ามกลางเราเวลาที่เราร่วม ประกอบพิ ธีกรรม ดังนั้ น ผ้าปูพระแท่นจึงควรจะต้องห้อยหรือตกลงมา คลุมหรือทับส่วนพระแท่นด้านบน และเพื่ อ สั ต บุ รุ ษ จะได้ ส ามารถแลเห็ น และเข้ า ใจถึ ง ความหมายดั ง กล่ า วข้ า งต้ น อย่างที่อธิ บายไป ผมหวั งว่าพี่ น้องคงจะได้ เข้า ใจความหมายของผ้า ปูพระแท่ น มากขึ้นแล้วนะครับ ดั ง นั้ น ขอให้ เ ราน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ที่ บ้ า นของตนเองบ้ า งก็ ไ ด้ เวลาที่ เ รา จัดบ้านเตรียมรับพระหรือเวลาที่คุณพ่อไปส่งศีลให้กับพี่น้องในวันศุก ร์ต้นเดือนก็ได้ ไว้พบกันใหม่สวัสดีครับ พ่อน้อยวัดโรมัน


ห น้ า | 11

วันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม 2564

มิสซาประจาสัปดาห์

อาทิตย์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา

สุขสาราญแด่ พี่น้องสัตบุรุษวัดนักบุญเปโตร ทุกท่าน สุขสาราญแด่ ขอพรสุขภาพ วัชรี สุขสาราญแด่ โซฟีอา สวิชญา ธีรานุวฒ ั น์ สุขสาราญแด่ ครอบครัว เรืองวุฒชิ นะพืช สุขสาราญแด่ ผู้มีพระคุณกับพฤกษา กิจเจริญ ทุกท่าน

วัดนักบุญเปโตร กิตติวัฒน์ ---------------ครอบครัว พฤกษา สุขสาราญแด่ อันนาพัชพ์กมน นวโอฬารอนันต์-มารีอามักดาเลนาเรวดี ลีลาเปี่ยมชูชาติ ธรรมวิชญ์ อุทิศแด่ ยูลีอานา ราศรี กิจจิว --------------อุทิศแด่ มารีอา วีณา กิจสวัสดิ์ จารุวรรณ อุทิศแด่ อันตน สมรวย กิจแก้ว ครอบครัว อุทิศแด่ ยอแซฟ พิชัย กิจบุญชู ศิษย์เก่าเปโตร17 09.30 น. อุทิศแด่ เปโตร ชารักษ์ กิจสวัสดิ์ ครอบครัว อุทิศแด่ เปโตร ประสิทธิ์ ถิละวัฒน์ ครอบครัว อุทิศแด่ ยวงบัปติสตา วัฒนา เลาหบุตร ครอบครัว อุทิศแด่ เปาโล หลุง - เซซีลีอา บุญทัน กิจบารุง ลูก-หลาน อุทิศแด่ เปาโล สม - กอลุมบา บุญนาค กิจสงวน สาราญ อุทิศแด่ ลอเรนซ์ วิโรจน์ – อักแนส พยุง กิจบารุง ครอบครัว อุทิศแด่ คุณแม่จันทรา รุ่งเรืองศรี และญาติผลู้ ่วงลับ ---------------ป.มารดาหรรษทาน อุทิศแด่ เปาโล สม กิจสงวน และพี่น้องพลมารีย์ผู้ลว่ งลับ ครอบครัว อุทิศแด่ ลูซีอา กุ๊ยฮ้อ แซ่เตียว - กาทารีนา คมคาย สายสิน ครอบครัว อุทิศแด่ เทเรซา แสงสุรีย์ - ดอมินิโก ซาวีโอ สมเจตน์ เรืองวุฒชิ นะพืช

วันจันทร์ที่ 30 สิงหาคม 2564

07.00 น.

สัปดาห์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา

อุทิศแด่ วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีใครคิดถึง อุทิศแด่ วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีใครคิดถึง อุทิศแด่ ตามประสงค์ผู้ขอ อุทิศแด่ ยูลีอานา ราศรี กิจจิว อุทิศแด่ มารีอา วีณา กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ ยอแซฟ พิชัย กิจบุญชู อุทิศแด่ เปโตร ชารักษ์ กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ ยอแซฟ สุราษฎร์ กฤษณา

ตู้ทาน วันวิสาข์ สุรัตน์ --------------จารุวรรณ ศิษย์เก่าเปโตร17 ครอบครัว วิมลรัตน์


ห น้ า | 12

อุทิศแด่ ยวงบัปติสตา วัฒนา เลาหบุตร อุทิศแด่ เปาโล หลุง - เซซีลีอา บุญทัน กิจบารุง อุทิศแด่ เปาโล สม - กอลุมบา บุญนาค กิจสงวน อุทิศแด่ ลอเรนซ์ วิโรจน์ – อักแนส พยุง กิจบารุง อุทิศแด่ คุณแม่จันทรา รุง่ เรืองศรี และญาติผลู้ ่วงลับ อุทิศแด่ เปาโล สม กิจสงวน และพี่น้องพลมารีย์ผู้ล่วงลับ อุทิศแด่ ปีโอหนอก-มารีอาสร้อย-ยอแซฟ แจ้ง เซีย่ งเจ๊ว-อันนา ม้วน ปาละจิน

ครอบครัว ลูก-หลาน สาราญ ครอบครัว ---------------ป.มารดาหรรษทาน

อนงค์ อุทิศแด่ยอแซฟบุ้นเล้ง แซ่ลี้-โยนออฟอาร์คกัลยา-ดอมินิโกเฉลิมวงศ์ ลีลาเปี่ยมชูชาติ พัชพ์กมน

วันอังคารที่ 31 สิงหาคม 2564

07.00 น.

อุทิศแด่ วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีใครคิดถึง อุทิศแด่ วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีใครคิดถึง อุทิศแด่ ยวง วิชยั กิจสกุล อุทิศแด่ ยูลีอานา ราศรี กิจจิว อุทิศแด่ มารีอา วีณา กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ ยอแซฟ พิชัย กิจบุญชู อุทิศแด่ เปโตร ชารักษ์ กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ ยวงบัปติสตา วัฒนา เลาหบุตร อุทิศแด่ มารีอา ณัจปภัสร์ มณีพวงทิพย์ อุทิศแด่ เปโตร จือเส็ง - โรมูลา เซรี กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ เปาโล หลุง - เซซีลีอา บุญทัน กิจบารุง อุทิศแด่ เปาโล สม - กอลุมบา บุญนาค กิจสงวน อุทิศแด่ ลอเรนซ์ วิโรจน์ – อักแนส พยุง กิจบารุง อุทิศแด่ คุณแม่จันทรา รุง่ เรืองศรี และญาติผลู้ ่วงลับ อุทิศแด่ ยอแซฟ บุญถิ่น - ฟรังซิสอัสซีซี ฉิน - อันนา ซุ้น เซีย่ งเจ๊ว อุทิศแด่ ปีโอหนอก-มารีอาสร้อย-ยอแซฟ แจ้ง เซีย่ งเจ๊ว-อันนา ม้วน ปาละจิน

วันพุธที่ 1 กันยายน 2564

07.00 น.

สัปดาห์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา ตู้ทาน วันวิสาข์ ครอบครัว --------------จารุวรรณ ศิษย์เก่าเปโตร17 ครอบครัว ครอบครัว ธรรมวิชญ์ บุศยา ลูก-หลาน สาราญ ครอบครัว ---------------อนงค์ อนงค์

สัปดาห์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา

โมทนาคุณนักบุญอันตน สุขสาราญแด่ โซฟีอา สวิชญา ธีรานุวฒ ั น์ สุขสาราญแด่ ลูกๆหลานๆทุกคน - บริษทั วิชงิ สเฟียร์ จากัด สุขสาราญแด่ บริษัท ธรรมวิชญ์ แมทเทรท และที่นอน ธรรมวิชญ์ สุขสาราญแด่ ขอพรสุขภาพ ยวงบัปติสตา สุรพงษ์-ชมบงกช เลียบเจริญรุ่งชัย อุทิศแด่ วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีใครคิดถึง

----------------------------ธรรมวิชญ์ พัชพ์กมน ศิริเพ็ญ ตู้ทาน


ห น้ า | 13

อุทิศแด่ ยวง วิชยั กิจสกุล อุทิศแด่ ยูลีอานา ราศรี กิจจิว อุทิศแด่ มารีอา วีณา กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ เปโตร ชารักษ์ กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ ยวงบัปติสตา วัฒนา เลาหบุตร อุทิศแด่ เปาโล หลุง - เซซีลีอา บุญทัน กิจบารุง อุทิศแด่ เปาโล สม - กอลุมบา บุญนาค กิจสงวน อุทิศแด่ ลอเรนซ์ วิโรจน์ – อักแนส พยุง กิจบารุง อุทิศแด่ คุณแม่จันทรา รุง่ เรืองศรี และญาติผลู้ ่วงลับ อุทิศแด่ ยอแซฟ ฉับ - มารีอา กิมหยอง แซ่เฮ้ง - มารีอา หัทยา ฉันทานุรักษ์

วันพฤหัสบดีที่ 2 กันยายน 2564

07.00 น.

ระลึกถึง นักบุญเอเตียน

อุทิศแด่ วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีใครคิดถึง อุทิศแด่ เด็กที่ถูกทาแท้ง วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มใี ครคิดถึง อุทิศแด่ ยวง วิชยั กิจสกุล อุทิศแด่ ยูลีอานา ราศรี กิจจิว อุทิศแด่ มารีอา วีณา กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ เปโตร ชารักษ์ กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ อันตน ชาติชาย กิจบุญชู อุทิศแด่ ยวงบัปติสตา วัฒนา เลาหบุตร อุทิศแด่ เปโตร จือเส็ง - โรมูลา เซรี กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ เปาโล หลุง - เซซีลีอา บุญทัน กิจบารุง อุทิศแด่ เปาโล สม - กอลุมบา บุญนาค กิจสงวน อุทิศแด่ ลอเรนซ์ วิโรจน์ – อักแนส พยุง กิจบารุง อุทิศแด่ คุณแม่จันทรา รุง่ เรืองศรี และญาติผลู้ ่วงลับ อุทิศแด่ ญาติพี่น้องผู้ล่วงลับทุกท่าน และวิญญาณที่ไม่มีใครคิดถึง อุทิศแด่ ยอแซฟ ฉับ - มารีอา กิมหยอง แซ่เฮ้ง - มารีอา หัทยา ฉันทานุรักษ์

ตู้ทาน ธรรมวิชญ์ ครอบครัว --------------จารุวรรณ ครอบครัว น้อง ครอบครัว บุศยา ลูก-หลาน สาราญ ครอบครัว ---------------สมชาย อนงค์ อุทิศแด่ ฟรังซิสโกมกเลี๊ยก-มารีอา เซี่ยมกี แซ่เล้า-เปโตร จงเซียง-มารีอา กิมไน้ แซ่ลี้ พัชพ์กมน

วันศุกร์ที่ 3 กันยายน 2564 07.00 น.

ครอบครัว --------------จารุวรรณ ครอบครัว ครอบครัว ลูก-หลาน สาราญ ครอบครัว ---------------อนงค์

ระลึกถึง นักบุญเกรโกรี

อุทิศแด่ บรรดาพระสงฆ์-นักบวชชายหญิงที่ล่วงลับในสุสานวัดของเรา อุทิศแด่ ดวงพระวิญญาณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ รัชกาลที่ 9 อุทิศแด่ ยวง วิชยั กิจสกุล อุทิศแด่ ยูลีอานา ราศรี กิจจิว

ตู้ทาน พัชพ์กมน ครอบครัว ----------------


ห น้ า | 14

อุทิศแด่ เปโตร เลีย่ งจง แซ่แต้ อุทิศแด่ มารีอา วีณา กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ เปโตร ชารักษ์ กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ ยวงบัปติสตา วัฒนา เลาหบุตร อุทิศแด่ เปโตร จือเส็ง - โรมูลา เซรี กิจสวัสดิ์ อุทิศแด่ ยวง เกียเอี้ยง - มารีอา ง้วยลัง้ แซ่แต้ อุทิศแด่ เปาโล หลุง - เซซีลีอา บุญทัน กิจบารุง อุทิศแด่ เปาโล สม - กอลุมบา บุญนาค กิจสงวน อุทิศแด่ ลอเรนซ์ วิโรจน์ – อักแนส พยุง กิจบารุง อุทิศแด่ คุณแม่จันทรา รุง่ เรืองศรี และญาติผลู้ ่วงลับ อุทิศแด่ ฟรังซิสโก ฮั่นชุน แซ่เบ๊-อันนา ชูมณี-ยอแซฟ ไหงเม้ง-อันนา เกี๊ยม แซ่อึ๊ง อุทิศแด่ ยากอบกู้ศักดิ์ วรวิมลวานิช-ยวงบัปติสตาชิน ทองปิยะภูมิ-อันนาศิริ ถังเงิน

วันเสาร์ที่ 4 กันยายน 2564

ระลึกถึง นักบุญโมอีแซส

โมทนาคุณแม่พระ สุขสาราญแด่ ครอบครัว กิจจิว สุขสาราญแด่ โซฟีอา สวิชญา ธีรานุวฒ ั น์ สุขสาราญแด่ ครอบครัว มัทธีอัส เฉลิมชาติ ลีลาเปีย่ มชูชาติ สุขสาราญแด่ ขอพรสุขภาพยวงบัปติสตา สุรพงษ์-ชมบงกช เลียบเจริญรุง่ ชัย

19.00 น.

ค.วัชรนุรธร จารุวรรณ ครอบครัว ครอบครัว บุศยา ค.วัชรนุรธร ลูก-หลาน สาราญ ครอบครัว ---------------ธรรมวิชญ์ อนงค์

--------------ครอบครัว --------------พัชพ์กมน ศิริเพ็ญ สุขสาราญแด่ ยอแซฟธรรมวิชญ์ นวโอฬารอนันต์-ครอบครัวลูกาเฉลิมชัย ลีลาเปี่ยมชูชาติ พัชพ์กมน อุทิศแด่ พี่น้องผูล้ ่วงลับทุกท่านและวิญญาณในไฟชาระ ตู้ทาน อุทิศแด่ ยวง วิชยั กิจสกุล ครอบครัว อุทิศแด่ ยูลีอานา ราศรี กิจจิว --------------อุทิศแด่ มารีอา วีณา กิจสวัสดิ์ จารุวรรณ อุทิศแด่ เปโตร ชารักษ์ กิจสวัสดิ์ ครอบครัว อุทิศแด่ เยนอเวฟา มณี โคสุทศั น์ --------------อุทิศแด่ ยวงบัปติสตา วัฒนา เลาหบุตร ครอบครัว อุทิศแด่ เปาโล หลุง - เซซีลีอา บุญทัน กิจบารุง ลูก-หลาน อุทิศแด่ เปาโล สม - กอลุมบา บุญนาค กิจสงวน สาราญ อุทิศแด่ ลอเรนซ์ วิโรจน์ – อักแนส พยุง กิจบารุง ครอบครัว อุทิศแด่ คุณแม่จันทรา รุง่ เรืองศรี และญาติผลู้ ่วงลับ ---------------อุทิศแด่ ยอแซฟ บุญถิ่น - ฟรังซิสอัสซีซี ฉิน - อันนา ซุ้น เซีย่ งเจ๊ว อนงค์ อุทิศแด่ ยากอบกู้ศักดิ์ วรวิมลวานิช-ยวงบัปติสตาชิน ทองปิยะภูมิ-อันนาศิริ ถังเงิน อนงค์


ห น้ า | 15

1. เรื่อง การร่วมมิสซาแบบเปิด ศีลอภัยบาป และศีลเจิมสาหรับผู้สูงอายุ พี่น้องครับ ตามที่สาธารณสุขประกาศผ่อนผันมาตรการตั้งแต่วันที่ 1 กันยายนนี้ เป็นต้นไป หนึ่งในมาตรการนั้น ได้แก่ การอนุญาตให้ชุมนุมกันได้ไม่เกิน 25 คน นี่เป็น โอกาสดีที่พี่น้องจะสามารถมาร่วมพิธีมิสซาแบบเปิด รับศีลอภัยบาป และผู้สูงอายุ มี โอกาสได้รับศีลเจิม แต่ก็ยังมีข้อจากัดอยู่พอสมควร พ่อจึงถือโอกาสชี้แจงดังต่อไปนี้ ตั้งแต่วันพุธที่ 1 กันยายนนี้ เป็นต้นไป 1. พิธีมิสซาแบบเปิด ณ วัดน้อย - วันจันทร์ถึงวันศุกร์ มิสซาเวลา 07.00 น. - วันเสาร์ นพวารแม่พระนิจจานุเคราะห์ เวลา 18.40 น. มิสซาเวลา 19.00 น. - วันอาทิตย์ สวดสายประคาเวลา 09.00 น. มิสซาเวลา 09.30 น. การถ่ายทอดออนไลน์ทุกมิส ซา ยังคงมีต่อไปตามปกติ ให้พี่น้องที่ไม่สามารถ มาร่วมที่วัด ได้ติดตามและร่วมมิสซาออนไลน์อย่างเช่นเคย 2. พระสงฆ์จะโปรดศีลอภัยบาป ครึ่งชั่วโมง ก่อนทุกมิสซา 3. ผู้สูงอายุที่ต้องการรับศีล เจิ ม และยังสามารถมาที่วัดได้เองหรือ มีผู้พามาได้ จะมีพิธีโปรดศีลเจิม ทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.00 น. เพื่อหลังจากรับศีลเจิมแล้ว หากปรารถนาจะร่วมมิสซาสามารถร่วมต่อ ได้ หรือ หากไม่สะดวกก็สามารถกลับไปร่วมมิสซาออนไลน์ที่บ้านได้ สาหรับผู้สูงอายุที่ไม่สามารถเดินทางมาที่วัดเองได้ และต้องการรับศีลเจิมผู้ป่วย กรุณาติดต่อสานักงานวัดเพื่อพิจารณาตามสถานการณ์ที่เหมาะสมต่อไป


ห น้ า | 16

4. เงื่ อ นไขส าคั ญ ๆ ที่ ต้ อ งทราบเพื่ อ การรั บ ศี ล ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ทั้ ง 3 ประการนี้ มีดังต่อไปนี้ 4.1 ในขั้นต้นนี้ ขอให้ผู้ที่จ ะมารับศีลอภัยบาปและร่วมมิสซาทุกคน แสดง ใบรับรอง การฉีดวัคซีน หากเป็นวัคซีนซิโนแวคและซิโนฟาร์ม รับรองการฉีด 2 เข็ม หากเป็นแอสตราซิเนกา ไฟเซอร์หรือโมเดอร์นา รับรองการฉีดอย่างน้อย 1 เข็ม ***เป็นไปตามมาตรการสาธารณสุขสาหรับการจัดงานชุมนุมต่างๆ จะต้องมีการยืนยันเรื่องการฉีดวัคซีน*** 4.2 สวมหน้ากากอนามัยและปฏิบัติตามมาตรการรักษาความปลอดภัยจาก การติดเชื้ออย่างเคร่งครัด 4.3 หากทราบว่ายังอยู่ในความเสี่ยงหรือมีความสงสัยว่าอยู่ในความเสี่ยงใน การติดเชื้อ กรุณารอผลให้แน่ชัดก่อน 5. การมาร่วมรับศีลศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 3 ประการนี้ ***เป็นระยะทดลอง จึงอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์*** จึ ง ขอให้ พี่ น้ อ งติ ด ตามเงื่ อ นไขต่ า ง ๆ ได้ จ ากสารวั ด เฟซบุ๊ ก ของวั ด หรื อ การ ประกาศของวัดต่อไป หากสาธารณสุขปลดล็อคและสถานการณ์ต่าง ๆ ดีขึ้นกว่านี้ วัดเรา ก็จะพยายามปรับเปลี่ยนการอภิบาลเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ขอให้พี่น้องทุกท่านนึกถึงความปลอดภัยของผู้อื่น คิดเสมอว่าการติดเชื้อ ยังคง ติดต่อได้เสมอทั้งจากบุคคลรอบตัวเราและทั้งจากตัวเราเองด้วย เพื่อความปลอดภัยของ ทั้งตัวเราและสาหรับผู้อื่น เราพึงปฏิบัติตามมาตรการรักษาความปลอดภัยจากการติด เชื้ออย่างเคร่งครัดด้วยครับ ขอพระเจ้าคุ้มครองพวกเราทุกคน ขอแม่พระ นักบุญเปโตร และคุณพ่อนิโคลา สภาวนาเพื่อพวกเราทุกคนเสมอ 


ห น้ า | 17

2. เรื่อง การถ่ายทอดมิสซาออนไลน์ ขอบคุณพี่น้อ งหลาย ๆ ท่านที่ชมการถ่ายทอดมิสซาออนไลน์และเข้ามาชื่นชม การถ่ายทอดว่า เสียงดีมาก ชัดเจน ตรงเวลา มีการถ่ายทอดทุกวัน มีการจัดเวรถวาย มิสซาของพระสงฆ์ที่วัด ทาให้พวกเราพระสงฆ์มีกาลังใจขึ้นมากมายทีเดียวครับ ทาให้ พวกพ่อรู้สึกว่าการออนไลน์มีประโยชน์ต่อวิญญาณของพวกเราได้ แม้ทางทฤษฎีจะบอก ว่าการทามิสซาออนไลน์ไม่สามารถแทนมิสซาที่ตนเองมีส่วนร่วมที่นั่น แต่พ่อก็เชื่อว่าพระ เจ้าไม่ได้ดุเพียงภายนอก การร่วมมิสซาออนไลน์ด้วยความตั้งใจย่อมดีกว่าการร่วมมิสซาด้วยตนเองแต่ไม่ได้ ตั้งใจร่วมมิสซา ที่วัดเรามีการเปลี่ยนแปลงสถานที่ถ่ายทอดออนไลน์ตามสถานการณ์ครับ ปัจจุบันสาธารณสุขกาหนดไม่ให้รวมกลุ่มคนมากกว่า 5 คน เราก็จาต้องถ่ายทอด ออนไลน์ในสถานที่เล็กหน่อย จนถึงตอนนี้ก็มาลงเอยที่วัดน้อยของเราเอง พ่อเข้าใจดีว่า บางคนก็อยากให้ถวายที่วัดใหญ่หรือ ที่สักการสถาน แต่สาหรับมิสซาที่มีผู้ร่วมจานวน ไม่เกิน 5 คนนี้ วัดน้อ ยน่าจะเหมาะสมที่สุดแล้ว หากสถานการณ์เปลี่ยนไปในทางที่ดี เราก็จะมีการเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมต่อไปนะครับ มีเรื่ องหนึ่งที่ ขอแนะนาพี่ น้อ งนะครับ ในระหว่า งการถ่ า ยทอดออนไลน์ จะมี พี่น้องบางท่านส่งข้อความมาขอรับบริจาค ส่งเลขบัญชีมาให้พร้อมข้อความด้ว ย ขอให้พี่น้องระวังที่จะโอนเงินไปให้นะครับ มีขบวนการที่อาจจะเป็นการหลอกลวงได้ อี ก ประการหนึ่ ง การขอบริ จ าคในขณะที่ ก าลั ง ถวายมิ ส ซานั้ น ก็ เ ป็ น การกระท า ที่ไม่เหมาะสมด้วย 


ห น้ า | 18

3. เรื่อง ศูนย์ช่วยเหลือ อาคาร “ฟรังซิส” พ่อพรศักดิ์ได้เริ่มดาเนินการช่วยเหลือทั้งผู้ที่ติดเชื้อโควิดและผู้ที่ถูกกักตัวทั้งใน เขตวัดเราเองและนอกเขตวัดเท่าที่จะสามารถทาได้ รวมไปถึงนาความช่วยเหลือไปยัง คุณหมอ พยาบาลและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามสถานพยาบาลต่างๆด้วย ต้องขอบคุณพี่น้องมากมายหลายท่านที่ทั้งบริจาค ทั้งมาทาอาหาร ทั้งนาอาหาร และถุงยังชีพไปแจกตามบ้าน มีผู้บริจาคทั้งเงินและสิ่งของต่างๆซึ่งคุณพ่อพรศักดิ์ก็ลง รายงานให้ ท ราบมาโดยตลอด ความช่ วยเหลื อ แบบนี้ ไ ม่ มี ค าว่ า “พอ”ครั บ ยั ง คง ต้อ งการน้าใจดี ข องพี่ น้ อ งที่ ส ามารถช่ ว ยได้ ช่ ว ยอะไรได้ ส าหรั บ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ เ รา ก็ช่วยกันนะครับ พ่อพรศักดิ์เชิญชวนให้กลุ่ม องค์กรต่าง ๆ ของวัดสมั ครรับเป็นเจ้าภาพในนาม ขององค์กร วันไหนก็ได้ที่สะดวก เจ้าภาพก็หมายถึง ในการลงทุนและในการมาทาอาหาร ทีต่ ึกฟรังซิสด้วยนะครับ ดังนั้น พ่อจึงเชิญชวนทั้งองค์กร ทั้งส่วนบุคคล รับเป็นเจ้าภาพในการช่วยเหลือ ผู้คนในช่วงโควิดนี้ด้วยกันนะครับ เช่น วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม สภาภิบาลวัดนักบุญเปโตร เป็ น เจ้ า ภาพครั บ องค์ ก รไหนพร้ อ มช่ ว ยก็ เ สนอความช่ ว ยเหลื อ เข้ า มาได้ เ ลยครั บ ที่ตึก “ฟรังซิส” ทุกสิ่งที่ท่านทาต่อพี่น้องที่ต่าต้อยที่สุดของเรา ท่านทาต่อเราเอง 


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.