preview 12 interview

Page 1



This book, the second edition in the series, presents interviews with 12 designers, architects, and creatives who not only create work grounded in support of the present environment, but also entertain an attitude and character of thought that looks progressively further, they are mapping out a timeline of the far, far future. Drawing from their forward looking, these 12 interviews offer a moment to pause and a space to reflect on the visions of those pushing the potentials of the field. The tasks and challenges that architects and designers are faced with are continuously changing and expanding, growing not only increasingly diversified but also paramount as society poses new questions and demands to the field which must be taken on in a thoughtful manner if we are to move forward in a truly complete way. Furthermore, while sustainability and a green perspective with gaze set toward the future are undoubtedly crucial factors to be considered in order for contemporary design to fulfill and meet our needs, they are no longer the only hurdles one must overcome. Obstacles, opportunities, relationships and restraints anew will continue to be thrown one’s way. The designer and architect’s scope must therefore expand equally and exponentially - evoking a new sustainability that entertains a perspective which not only observes and reacts but also foresees and responds. Besides sustainability, eco-friendly materials, and durability the new design language must also allow room for vocabulary such as community, the power of sharing, and collective awareness to be given equal thought; for these are the elements that will allow for change to move forward effectively, and continuously. A focus placed on forging a foundation that ensures enduring expansion and growth into increasingly larger territories, fostering situations through design from which we can entertain new challenges with confidence, even if the boundaries of the territory we must traverse are yet to be defined - this is truly a new challenge.


08

232

Alexander Brodsky 248

J端rgen Mayer-Hermann

Mathieu Lehanneur cross-disciplinary

urban

28

46

experience

Patrick Blanc

Seksan Ng

Jurgen Bey

208

164

green

Dirk Hebel

local

preservation

Mamoyo Kaijima

zlgdesign

education

68

180

upcycling

vernacular

Li Xiao Dong

88

Francis Kere

120

136 TYIN Tegnestue Arkitekter


nature energy expand structured landscape green transparent climate open contemporary form complex biodiversity vertical garden values experience homogeneous reactivate lifestyle neutral absorb locality metaphor tradition small improve identity generation nostalgia combine environment educate change historical relationship renovated preservation communication philosophy

cross-disciplinary

border collaborate innovative reflect empower inspiration community connected education craftsmanship journey pattern social influences dream opportunity local experimental potential society dimensions research slow future

sustainable

rubbish

upcycling recycled waste

city

science fiction growing public spaces skyline development urban architecture consumption dense

simplicity

vernacular shape native culture flexible technology unique new materials


First published in art4d 193, June 2012.

J端rgen MayerHermann urban

cross-disciplinary

9


“Architecture is about communication and you have to make it possible for people who enter the space to understand what you do, even though it sounds simple at the beginning, there’s complexity behind it.”

Could you tell us about your background, how you become interested in architecture? I started becoming interested in architecture when I was studying art, and then I became more interested in larger structures, so Serra’s sculptures (Richard Serra) or Donald Judd’s sculptures are very important for me. I also discovered Erich Mendelsohn’s works and it really brought me to architecture. I studied in Stuttgart and then went to Cooper Union College in New York, did my master in Princeton. It was a good combination of solid education and the very personal understanding of why I want to do architecture. And at Princeton, it was a very critical idea of how architecture becomes a part of cultural contribution. From your presentation, what inspires you to decode those patterns and transform them into your work? It was around 1994 when I discovered it. Things that are considered trash, things that people throw away, I later realized that it was a very important strategic ornament that actually deals a lot or shows a lot of how we and our society deal with information, how we deal with information about what’s public and what’s private. So it became a kind of metaphor for what happens now since we are moving into a more virtual, digital world where things become so invisible. What’s the method you use to create such transformations? I think you always use your imagination when you create something, how to interpret a two dimensional visual into 3D, of course, every person would do it differently. We had a big show in September in Berlin and we made this pattern into a huge carpet that went from floor to ceiling. It’s a form of a three dimensional object, more abstract sculpture that if you look at it from one side, you see the pattern, but if you turn around, you can see there’s a very steep sculpture - a three dimensional space. But envelops, even the multiple forms where the patterns come from are like buildings. In a way, buildings are like envelops, you know, it deals with inside and outside, exposes and conceals, openness, perforations, so the analog is quite clear. The interesting thing is when you move them into the architectural context, which is the different program where things have to perform in different ways.

experience 11


Danfoss Universe (2007) Nordberg, Denmark: The shape and form of this science-themed amusement park is inspored by the negative space between dots

If I’m not wrong, you’ve collected over 300 patterns, what’s the conjunction point of these patterns, what have you found? There are classic ones that mostly have numbers, but you see different categories. I group them into camouflage patterns, numbers, letters, dots, cross-hatchings, logos of companies. You start the transformation from small things like glasses and furniture, and now you work with more gigantic scale, with buildings, what’s the development of such growing scale? We work in different scales all the time. We still do small objects and small studies, but you know, now that we have more success we can test our earlier work and projects, and we are involved in much larger projects. Since there’s such a great variety of pattern, we did all these experiments so we have greater freedom to explore things. It’s not very literal like pattern turned directly into a building, sometimes that happens, but a lot of times it’s more of references or metaphors that are developed into structures.

Why do you think clients pick you to work for them? We have different clients, sometimes it’s a competition, so sometimes it’s a complex decision process, sometimes it’s the clients who really like the works. In Hamburg we will do the 4th building with the same client. We do a lot of projects in Georgia. The government likes our work because they want to be modern and contemporary so they want to have some kind of inspiration and to maybe, you know, they educate their architects so they can do it themselves, but at this point they get inspiration from outside. It’s different reasons, mostly [they are] clients who see architecture as an adventure as we do. I saw the recycling pattern symbol, from the diagram and graphic we can see the development from the original graphic to your work, could you tell us about the thinking process behind this project? This case is actually the other way around. When we had the idea of this complex space and we thought we’d present it, and we thought how could we actually explain this to the client, how to get them to buy the story? But it was actually the other way around, we had this special idea and it was like how can we explain this step back so people who follow us understand what we are doing. Architecture is about communication and you have to make it possible for people who enter the space to understand what you do, even though it sounds simple at the beginning, there’s complexity behind it.

If you stop to come across these patterns, what will be the inspiration for your work? I would be retiring. But since I have 300 patterns in my hands, I have a lot of things to do. And of course every context is different. It’s not just about pattern; we also look into what we find in a location. We try to extract something we find important. For the office building in Hamburg, the idea is to look at the landscape, look at the beautiful lake and gardens around it, the view is important. For the dining hall, it’s the ambivalent side between the city and the forest that becomes like sort of a theme there. It’s obviously the starting point, it’s a messy process, designing. It’s about testing, errors and successes.

13


How do you combine such architectural creation to the context, location and people surrounding it? It’s about intuition, you know, when you have certain repertoire for work and projects, you want to surprise people, you want them to look and think oh, this is something new, you want them to look at it twice thinking this is unusual, there’s something else happening here. But in the end you have to feel, whether it feels right or not, does it surprise you enough, is it too disturbing. I know we shouldn’t talk about feelings when it comes to architecture, we are told not to. But the more I work as an architect, the more I think that it’s a very important ingredient for producing architecture. Intuition maybe a better word but in the end, you have to feel it too. I’m thinking about the work that won the Holcim Award, and how it’s a very successful project. Your object works really well with the context, could tell us a bit more about that project? We won Holcim Awards in 2003 or 2004? I’m not sure, for sustainable construction. I think sustainability is a very important issue but it’s not the only issue. I think architecture has a lot more to prove than just being ecologically correct. If you take sustainability seriously, not just ecological behaviors or climate relevant behaviors, but it has to work on the cultural level, it has to work aesthetically, it has to consider the social implications, it has to be economically feasible otherwise it’s not sustainable if you can’t reinvest in it. You have to develop certain aspects that can be transferred to something else. I think all of what really happened well in Seville, maybe the ecological aspect played the least important part because they didn’t invest much in new technology. Also Seville does all the energy production or whatever outside of the city with huge solar thermal plants, so we don’t need solar panels and this kind of thing in the city. I wish there would have been a little bit more fountain and water, because they were kind of saving on that because these things are difficult to maintain. But in terms of the social implications, it’s really good, it really activates the area again and people really like it, they identify with it, they demonstrate it. They use it as a platform to meet and mingle, to hang out, to have parades, they have religious moments, they had gay pride moment last week, they demonstrate for a better future. So it really fits with all different kinds of understanding of what the community wants to do, what they want to work with. I think that’s why it’s so successful.

15


Mostly, architecture happens in places where development is needed. It’s rare to see architecture getting built in an already perfect location, that’s maybe different. When you create a project, do you have the intention in creating a landmark or an iconic architecture? In Seville, you mean? In Seville, they did ask for an icon, because they want to compete with Bilbao and Valencia, or whatever, but it’s a very different situation because it’s so right in the centre of the city and the city is so dense. You never see the full perspective of it, you only see aspects of it from a view of a narrow street, and when you look up, it’s there. It’s not the kind of architecture like Sydney Opera House that you can see from a distance. But most of our projects have a special look or they have a very photogenic identity, therefore, they have a certain iconic quality. Mostly, architecture happens in places where development is needed. It’s rare to see architecture getting built in an already perfect location, that’s maybe different. Usually it’s the area where you need development - activators to regenerate the urban context, to have a kind of new starting point, like an energy point, and I think our architecture works really well that way. From your presentation, I see that you not only work with structure but also the interior design, and the high technology of the engineering, what’s your position in a project? We have a very horizontal structure at the office. We test and work in different approaches, and then we always discuss it. It’s the survival of the fittest, seeing which one is the strongest idea, the one with the best potential. We select down to 2-3 variations, and then, also, we have to work with the engineers and clients, which is a very important dialogue. It’s not just us architects. We only help the client fulfill his or her dream, so it’s actually the clients who are the generators of the projects. They are the ones who allow us to do something spectacular, or something not so great, depending on how brave or how interesting they are as clients.

That’s what I was thinking, you seem pretty lucky to be able to work with good clients, have you ever had any problems or unpleasant working experiences? No, so far everybody is happy, not just with the results but also economically, they are very happy. I think we prove that if you do something different, it also pays back. What does architecture mean to you? Thinking about how we want to live during 24 hours, sometimes I sleep too but it’s us who considers what is the expression of our time, to see how we want to live, how we want to communicate, how we feel safe, how we feel adventurous. If you think back, in the last 50 years, every period, every society has found its own programs, and I’m talking about the domestic scale. See the house in the States or Switzerland built in the 50s, every house has a basement due to the fear of atomic war, in the 80s we all needed a winter garden and exterior space, in the 90s, it’s important to have a panic room, at least in America, so if someone comes in, you can hide in the room, hit the button and wait until the police comes. So every period finds their own programs, which represent their fears and their hopes. I think that’s exciting to find out what our contemporary desires and anxieties are, and that creates our architecture. What’s your view on the global architectural scene? It’s a very open field now. There is no specific style or agenda. I think we have a gradation from very serious to very joyful architecture, but it seems to me now that the pop cultural rhetoric is sustainability, which I think is great and important and it creates a lot of energy, development and businesses. I read in Harper's Bazaar a couple of years ago that we are living in a green bubble now, which will supposedly explode in 2015, but it also says that it would be worse to have no bubble, so a bubble is good because it always generates something. What I like about sustainability is that it brings back architecture with the responsibility for the future. Postmodernism and Deconstructivism always refer to or anchor the thinking in the past, you know, referring to the past to make it sound better, but now it’s all about the future, which I think is good but there’s more in the future than just saving the planet. We have to find out how do we want to live together, what are the societies that live together, what are the families’ structures, whether we need privacy, do we want community, or we want to be alone, do we feel alone, all these things. Find the expressions of our living environment. Metropol Parasol (2004-2011) Plaza de la Encarnacion, Seville, Spain

17


ช่วยเล่าให้เราฟังถึงความเป็นมาของความสนใจในสถาปัตยกรรมของคุณ สักหน่อยได้ไหมครับ? ผมเริม่ สนใจงานสถาปัตยกรรมก็ตอนทีผ่ มเรียนศิลปะแล้วก็เริม่ มีความสนใจในงานทีม่ โี ครงสร้าง

ขนาดใหญ่ๆ งานประติมากรรมของ Richard Serra, Donald Judd จึงมีความส�าคัญต่อผมมาก พอผมได้รู้จักงานของสถาปนิกอย่าง Erich Mendelsohn มันก็ส่งผลให้ผมหันมาสนใจงาน สถาปัตยกรรมอย่างจริงๆ จังๆ ผมเรียนที่ Stuttgart ก่อนจะมาต่อที่ Cooper Union College ในนิวยอร์ก และตามด้วยปริญญาโทที่ Princeton มันเป็นส่วนผสมทีล่ งตัวระหว่างพืน้ ฐานทางการ ศึกษาที่แข็งแรงกับความเข้าใจในความต้องการส่วนตัวของผมเองว่าท�าไมผมจึงอยากท�างาน สถาปัตยกรรม การเรียนที่ Princeton ก็เป็นเรือ่ งของการศึกษาแบบวิเคราะห์วจิ ารณ์เกีย่ วกับบทบาท ของสถาปัตยกรรมว่ามันกลายมาเป็นส่วนหนึง่ ของการลงทุนทางวัฒนธรรมของเราได้อย่างไร จากพรีเซนเทชั่นของคุณ อะไรเป็นแรงบันดาลใจให้คุณท�าการถอดรหัส ลวดลายต่างๆ เหล่านัน้ ให้ออกมาเป็นผลงานของคุณอย่างทีเ่ ห็นได้ครับ?

ผมค้นพบแนวทางนีใ้ นช่วงปี 1994 ผมคิดว่าสิง่ ทีค่ นมองว่าเป็นขยะ ของทีค่ นโยนทิง้ นัน้ จริงๆ แล้วเป็นส่วนแต่งเติมทีส่ า� คัญทีม่ คี วามเกีย่ วข้องและแสดงให้เห็นถึงวิธกี ารทีม่ นุษย์เราและสังคมโดย รวมรับมือกับข่าวสารข้อมูลต่างๆ อะไร คือ สิง่ ทีเ่ ราถือว่าเป็นเรือ่ งสาธารณะ อะไรเป็นเรือ่ งส่วน ตัว สิง่ ทีผ่ มท�าก็เป็นเหมือนอุปมาอุปไมยของสิง่ ทีก่ า� ลังเกิดขึน้ อยูใ่ นปัจจุบนั เพราะเราก�าลังก้าวเข้า สูโ่ ลกดิจติ อลเสมือนจริงทีส่ งิ่ ต่างๆ เริม่ ไม่ปรากฏให้เราเห็นหรือจับต้องได้อกี ต่อไป

Jürgen Mayer-Hermann is the founder and principle architect of J. Mayer H. und Partner, Architecten. He was born in Stuttgart in 1965, and studied at Universität Stuttgart, the Cooper Union and Princeton University. In 1996, he established J. Mayer H. in Berlin, focusing on the intersection between architecture, communication and technology. This has earn him several awards including the Mies van der Rohe Award 2003 Emerging Architect and Holcim Awards 2005 Bronze Europe for Metropol Parasol in Seville. MayerHermann is also currently teaching at Columbia University, New York.

คุณมีวิธีการอย่างไรในการแปรลวดลายเหล่านั้นให้เป็นสิ่งก่อสร้างหรือ วัตถุสามมิตไิ ด้?

ผมคิดว่าการทีเ่ ราจะสร้างสรรค์อะไรขึน้ มาสักอย่าง เราก็ตอ้ งใช้จนิ ตนาการของเราอยูแ่ ล้ว เช่น เราจะ ตีความภาพสองมิตทิ เี่ ราเห็นให้กลายเป็นวัตถุสามมิตสิ กั ชิน้ อย่างไร ซึง่ แต่ละคนก็จะมีการตีความ ทีแ่ ตกต่างกันไป เมือ่ เดือนกันยายนทีผ่ า่ นมาในงานแสดงทีเ่ บอร์ลนิ เราเอาลวดลายมาสร้างเป็น พรมขนาดใหญ่ทยี่ าวจากเพดานจรดพืน้ ซึง่ มันก็ถอื ว่าเป็นรูปแบบหนึง่ ของวัตถุสามมิตทิ เี่ ราสร้างขึน้ เป็นเหมือนประติมากรรมเชิงนามธรรมทีเ่ วลาคุณมองมันจากมุมหนึง่ คุณก็จะเห็นเป็นลวดลาย แต่ ถ้าคุณมองอีกมุมหนึง่ คุณจะเห็นว่ามันเป็นงานประติมากรรมทีเ่ ป็นเหมือนพืน้ ทีส่ ามมิตทิ มี่ คี วาม ชันความลาดเอียง แต่วตั ถุอย่างซองจดหมาย หรือรูปทรงต่างๆ ทีเ่ ป็นทีม่ าของลวดลายทีเ่ ราใช้มนั ก็เหมือนกับตึกนัน่ แหละครับ คือจะว่าไปแล้วตึกมันก็มลี กั ษณะทีค่ ล้ายกับซองจดหมายอยูเ่ หมือนกัน คุณนึกออกไหม เพราะมันมีขา้ งนอกข้างใน มีสว่ นทีถ่ กู ปิดและส่วนทีถ่ กู เปิด มีชอ่ ง ดังนัน้ เราก็จะ เห็นว่ามันมีอนาลอคทีค่ อ่ นข้างชัดเจน สิง่ ทีน่ า่ สนใจเกิดขึน้ เมือ่ คุณเคลือ่ นย้ายมันไปสูบ่ ริบทของ งานสถาปัตยกรรมนัน่ แหละ เพราะเราจะได้เห็นโปรแกรมต่างๆ ปรากฏขึน้ และเห็นว่ามันส่งผล ให้สงิ่ ต่างๆ ท�าหน้าทีข่ องมันในวิธที แี่ ตกต่างกันไปอย่างไร

19


ถ้าผมจ�าไม่ผดิ คุณมีลวดลายต่างๆ เก็บเอาไว้กว่า 300 แบบ คุณค้นพบ อะไรจากการรวมตัวของลวดลายเหล่านีบ้ า้ งครับ?

อันทีค่ ลาสสิกๆ ก็จะมีพวกตัวเลขต่างๆ แต่กม็ หี ลายกลุม่ หลายแบบต่างๆ กันไป ผมจ�าแนกมัน ออกเป็นลายพรางแบบต่างๆ ตัวเลข ตัวอักษร ลายจุด ลายแบบทีม่ เี ส้นมาตัดกันเป็น crosshatching รวมไปถึงพวกโลโก้ของบริษทั ต่างๆ ด้วย

คุณเริ่มต้นการท�างานด้วยแนวคิดนี้กับวัตถุชิ้นเล็กๆ อย่างแก้ว ไม่ก็ เฟอร์นเิ จอร์ และตอนนีค้ ณ ุ ก็ได้ทา� งานในสเกลทีใ่ หญ่ขนึ้ เรือ่ ยๆ อย่างงาน สถาปัตยกรรม การเติบโตนีม้ พ ี ฒ ั นาการอย่างไรบ้างครับ?

ทีจ่ ริงเราก็ทา� งานในสเกลทีต่ า่ งกันไปอยูต่ ลอดเวลา เราก็ยงั ท�างานกับวัตถุชนิ้ เล็กๆ แล้วก็ยงั ศึกษา งานทีเ่ ป็นงานขนาดเล็กอยูเ่ รือ่ ยๆ เพียงแต่วา่ ตอนนีเ้ ราก็ประสบความส�าเร็จกันมากขึน้ เราก็เลย สามารถทีจ่ ะท�าการทดลองงานของเราทีเ่ ราเคยคิดไว้วา่ จะท�าได้มากกว่าเมือ่ ก่อน แล้วก็มงี านสเกล ใหญ่ให้เราได้ทา� มากขึน้ ด้วย เนือ่ งจากว่าลวดลายต่างๆ มันมีความหลากหลายมากๆ เราก็ได้ทดลอง ท�าอะไรใหม่ๆ มันเหมือนกับว่าเรามีอสิ รภาพทีจ่ ะทดลองส�ารวจสิง่ ใหม่ๆ ดินแดนใหม่ๆ มากขึน้ นะครับ มันไม่ได้เป็นขัน้ ตอนทีต่ รงไปตรงมาอย่างการเอาลวดลายมาเปลีย่ นให้เป็นสถาปัตยกรรม ตรงๆ คือมันก็มบี า้ งบางครัง้ ทีเ่ ป็นแบบนัน้ แต่สว่ นมากแล้วมันจะเป็นเรือ่ งของการสร้างข้ออ้างอิง หรืออุปมาอุปไมยทีจ่ ะพัฒนาไปเป็นโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมในภายหลังมากกว่าครับ ถ้าไม่มลี วดลายเหล่านี้ คุณจะหาแรงบันดาลใจในการท�างานของคุณจาก ไหนครับ?

ผมก็คงเลิกท�า อาจจะเกษียณไปเลย แต่ในความเป็นจริง ผมมีลวดลาย 300 แบบอยูใ่ นมือ ผมก็เลย มีเรือ่ งทีต่ อ้ งท�าอีกเยอะ ซึง่ ก็แน่นอนว่าในแต่ละบริบทมันก็มคี วามแตกต่างกันไป ทีจ่ ริงมันก็ไม่ใช่ เรือ่ งของลวดลายอย่างเดียว เรามองเข้าไปถึงสิง่ ทีเ่ ราได้พบเห็นในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ด้วย เราพยายาม จะสกัดเอาสิง่ ทีเ่ ราคิดว่าส�าคัญออกมาจากแต่ละพืน้ ที่ อย่างโปรเจ็คต์อาคารส�านักงานทีเ่ ราท�าใน Hamburg เราก็มคี วามคิดทีจ่ ะมองไปทีภ่ มู สิ ถาปัตยกรรม เช่น ทะเลสาบ สวนต่างๆ ทีล่ อ้ มรอบ มันอยู่ ทิวทัศน์รอบๆ เป็นสิง่ ส�าคัญ อย่างส่วนรับประทานอาหาร ก็จะเป็นการปะทะกันของบริบท ความเป็นเมืองกับความเป็นป่า ซึง่ ทีจ่ ริงก็เป็นเหมือนธีมของโปรเจ็คต์นอี้ ยูแ่ ล้ว แต่ละโปรเจ็คต์กม็ ี จุดเริม่ ต้นทีต่ า่ งกันไป แต่งานออกแบบทีข่ นั้ ตอนทีค่ อ่ นข้างจะยุง่ เหยิงและวุน่ วายนะครับ มันเป็น เรือ่ งของการทดลองทดสอบ เจอทัง้ ข้อผิดพลาดและความส�าเร็จ คุณว่าอะไรคือเหตุผลทีท่ า� ให้ลกู ค้าเลือกคุณมาท�างานให้เขาครับ?

เรามีลกู ค้าหลายแบบ บางทีงานทีเ่ ราได้กม็ าจากการประกวดแบบ ซึง่ ขัน้ ตอนการตัดสินใจก็จะซับซ้อน ขึน้ ไปอีก และบางทีกเ็ ป็นเพราะลูกค้าชอบงานของเรา อย่างโปรเจ็คต์ที่ Hamburg เราก็ได้ออกแบบ อาคารให้พวกเขาเป็นหลังทีส่ แี่ ล้ว ซึง่ ลูกค้าก็เป็นคนเดิมนีแ่ หละ เรามีงานที่ Georgia เยอะเหมือน กัน รัฐบาลทีน่ นั่ ชอบงานของเราเพราะพวกเขาอยากให้ประเทศมีความเป็นสมัยใหม่และร่วมสมัย ซึ่งพวกเขาก็ต้องการแรงบันดาลใจจากภายนอกด้วยเหมือนกัน มองอีกทางหนึ่งมันก็เป็นการ สร้างความรูใ้ ห้กบั บุคลากรสถาปนิกของประเทศของเขาเองด้วย คือมันก็มเี หตุผลแตกต่างกันไป ในแต่ละโปรเจ็คต์ แต่ส่วนมากแล้วลูกค้าของเราก็คือคนที่มองว่าสถาปัตยกรรมเป็นเหมือนการ ผจญภัย เหมือนกับเรา

เราได้เห็นคุณน�าเครือ่ งหมายสัญลักษณ์การรีไซเคิลมาใช้ จากทีค่ ณ ุ น�าเสนอ ในการบรรยาย เราเห็นพัฒนาการจากกราฟิกจนไปเป็นชิ้นงานที่คุณ สร้างขึน้ คุณช่วยเล่าให้เราฟังถึงกระบวนการทางความคิดทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลัง โปรเจ็คต์นสี้ กั หน่อยได้ไหมครับ?

ที่จริงกรณีนี้เป็นการย้อนกลับกระบวนการปกติของเราเลยก็ว่าได้ คือเวลาเรามีความคิดเกี่ยว กับการสร้างพืน้ ทีๆ่ มีลกั ษณะซับซ้อนทีเ่ ราอยากจะน�าเสนอลูกค้า เราก็จะมาคิดว่าเราจะอธิบาย แนวคิดนีใ้ ห้พวกเขาเข้าใจได้อย่างไร แต่สา� หรับงานนี้ มันก็จะเป็นอีกแบบ เพราะเรามีความคิดที่ เรามองว่ามันพิเศษมาก เราก็เลยคิดว่าเราจะอธิบายขัน้ ตอนแบบย้อนกลับเพือ่ ให้คนเข้าใจในสิง่ ที่ เราท�า งานสถาปัตยกรรมเป็นเรือ่ งของการสือ่ สารนะครับ คือคุณต้องสร้างความเป็นไปได้ทจี่ ะ ท�าให้คนทีเ่ ข้ามายังพืน้ ทีท่ คี่ ณุ สร้างไว้สามารถเข้าใจถึงสิง่ ทีค่ ณุ ท�า มันอาจจะฟังดูงา่ ย แต่มนั ก็มี ความซับซ้อนของมันอยูเ่ หมือนกัน

Metropol Parasol (2004-2011) Plaza de la Encarnacion, Seville, Spain 21


แล้วคุณมีวธิ ผี สมผสานงานสถาปัตยกรรมของคุณเข้ากับบริบท ทีต่ งั้ และ ผูค้ นทีล่ อ้ มรอบมันอยูไ่ ด้อย่างไรครับ? มันเป็นเรื่องของสัญชาตญาณเหมือนกันนะครับ พอคุณท�างานมาสักพักแล้วคุณก็อยากที่จะ

สร้างความประหลาดใจให้คนทีจ่ ะเห็นงานของคุณบ้างเหมือนกัน คุณจะอยากให้คนมองมาทีง่ าน ของคุณแล้วก็คดิ ว่า มันเป็นสิง่ ใหม่ๆ ทีพ่ วกเขายังไม่เคยเห็น อยากให้พวกเขาหันกลับมามองเป็น ครัง้ ทีส่ องแล้วคิดว่าสิง่ ทีเ่ ขาก�าลังเห็นมันแปลกไม่เหมือนใคร มีอะไรบางอย่างทีแ่ ปลกไปจากทีเ่ คย แต่สดุ ท้ายแล้ว คุณก็ตอ้ งใช้ความรูส้ กึ ของคุณเอง ว่าสิง่ ทีค่ ณุ รูส้ กึ กับงานของคุณมันใช่แค่ไหน มัน สร้างความประหลาดใจให้คณุ พอรึเปล่า หรือว่ามันเยอะหรือน้อยเกินไป คือผมก็รนู้ ะครับว่าเราไม่ ควรจะมานัง่ พูดถึงเรือ่ งความรูส้ กึ เวลาเราพูดถึงงานสถาปัตยกรรม เพราะเราก็ถกู สอนมาอย่างนัน้ แต่ยงิ่ ผมท�างานเป็นสถาปนิกมานานเท่าไหร่ ผมก็ยงิ่ คิดว่าความรูส้ กึ เป็นส่วนผสมทีส่ า� คัญมากใน การสร้างงานสถาปัตยกรรม ผมว่าค�าว่าสัญชาตญาณน่าจะเป็นค�าทีเ่ หมาะกว่า แต่ยงั ไงสุดท้ายแล้ว คุณก็ตอ้ งใช้ความรูส้ กึ อยูด่ ี ผมก�าลังคิดไปถึงงานของคุณที่ชนะรางวัล Holcim มันเป็นโปรเจ็คต์ที่ ประสบความส�าเร็จมาก เพราะสิง่ ทีค่ ณ ุ สร้างขึน้ ดูไปได้ดมี ากๆ กับบริบท รอบๆ ตัวมัน คุณช่วยเล่าให้เราฟังถึงโปรเจ็คต์นสี้ กั หน่อยได้ไหมครับ?

Dupli Casa โครงการออกแบบบ้านพักอาศัยที่ หยิบเอารูปฟอร์มเรขาคณิตมาใช้ในส่วนโครงสร้าง โดยสร้างทับพืน้ ทีเ่ ดิมของอาคารหลังก่อน

รูส้ กึ ว่าเราจะได้รางวัลในปี 2003 หรือ 2004 ผมเองก็ไม่แน่ใจเหมือนกัน เราชนะในสาขาสิง่ ก่อสร้าง ทีม่ คี วามยัง่ ยืน คือผมคิดว่าประเด็นเรือ่ งความยัง่ ยืนเป็นสิง่ ทีส่ า� คัญมากนะครับ แต่กน็ นั่ แหละ มันไม่ใช่สิ่งเดียวที่เราจะต้องค�านึงถึง ผมว่าสถาปัตยกรรมต้องพิสูจน์ตัวเองในหลายๆ เรื่องที่ นอกเหนือไปจากเรือ่ งของการเป็นทีย่ อมรับในด้านสิง่ แวดล้อมอย่างเดียว ถ้ามองกันจริงๆ จังๆ ความยัง่ ยืนไม่ได้เป็นเรือ่ งของพฤติกรรมทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดล้อมหรือสภาพภูมอิ ากาศแค่อย่างเดียว เพราะมันต้องครอบคลุมไปถึงเรือ่ งของวัฒนธรรม สุนทรียศาสตร์ รวมไปถึงการแสดงนัยยะทาง สังคมด้วยเหมือนกัน นอกจากนัน้ มันต้องมีความเหมาะสมทางการเงินด้วย เพราะไม่อย่างนัน้ มันก็ไม่ถอื ว่าเป็นความยัง่ ยืนทีแ่ ท้จริงถ้าหากมันถูกน�าไปสร้างซ�า้ ไม่ได้ คือ คุณต้องพัฒนาในมุม ทีจ่ ะสามารถเปลีย่ นผ่านเป็นสิง่ อืน่ ต่อไปได้อกี ในอนาคตน่ะครับ สิง่ ทีผ่ มพูดมาทัง้ หมด ผมว่ามัน เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ใน Seville ซึง่ ผมคิดว่าประเด็นเรือ่ งสิง่ แวดล้อมมีความเกีย่ วข้องน้อยทีส่ ดุ เสียด้วย ซ�า้ เพราะพวกเขาไม่ได้ไปลงทุนกับเรือ่ งนีม้ ากนัก และเนือ่ งจาก Seville เป็นเมืองทีน่ า� เอาโรงงาน ผลิตพลังงานต่างๆ ไปไว้แถบรอบนอกเมืองหมด ในเมืองก็เลยไม่ตอ้ งมีวสั ดุประเภทแผงพลังงาน แสงอาทิตย์เท่าไหร่ ผมเองอยากให้มนั มีนา�้ พุหรือน�า้ มากกว่านีแ้ ต่วา่ มันก็เป็นเรือ่ งของงบประมาณ ในการดูแลรักษาด้วยเหมือนกัน แต่ถา้ พูดถึงในเรือ่ งของนัยยะและบทบาทเชิงสังคม ผมว่างานนี้ ประสบความส�าเร็จอย่างมาก เพราะมันช่วยกระตุน้ ให้พนื้ ทีต่ รงนัน้ กลับมาคึกคักอีกครัง้ แล้วคนใน ชุมชนก็ชอบมันมาก พวกเขารูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ กับมัน แล้วก็ใช้มนั ในการท�ากิจกรรมต่างๆ เป็นที่ พบปะสังสรรค์ เป็นทีจ่ ดั ขบวนพาเหรด มีทงั้ กิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับศาสนาไปจนถึงกิจกรรมของชาวเกย์ ใช้เป็นทีท่ า� การประท้วงการและแสดงออก พืน้ ทีม่ นั สอดคล้องกับความเข้าใจและความต้องการของ ชุมชน ว่าพวกเขาอยากจะใช้มนั ท�าอะไร อยากให้มนั เป็นอย่างไร ซึง่ ผมว่านีค่ อื เหตุผลว่าท�าไมมัน ถึงประสบความส�าเร็จอย่างทีเ่ ห็น

23


เวลาคุณท�างานสักโปรเจ็คต์หนึง่ คุณคิดหรือตัง้ ใจไหมครับว่ามันจะต้อง เป็นงานทีเ่ ป็นแลนด์มาร์คหรือเป็นสถาปัตยกรรม iconic?

ถ้าเป็นกรณีของ Seville มันก็เป็นความต้องการของลูกค้าทีจ่ ะให้เราสร้างสิง่ ทีเ่ ป็น icon เพราะ เขาก็อยากจะแข่งกับเมืองอย่าง Bilbao หรือ Valencia แต่วา่ มันก็เป็นสถานการณ์ทตี่ า่ งกันอยูด่ ี เพราะงานของเรามีทตี่ งั้ ทีอ่ ยูใ่ จกลางเมืองทีม่ คี วามหนาแน่นสูงมาก คือคุณจะไม่มที างได้เห็นมัน แบบเต็มๆ คุณจะเห็นมันแค่บางมุมเท่านัน้ แหละครับ อาจจะมองเห็นจากมุมหนึง่ ของถนนแคบๆ ในเมือง เวลาคุณแหงนหน้ามองไปข้างบนอะไรแบบนัน้ คือมันไม่ใช่สถาปัตยกรรมแบบ Sydney Opera House ทีค่ ณุ จะมองเห็นได้จากไกลๆ จากทุกมุมมอง แต่งานของเราส่วนมากก็จะมีความ พิเศษในตัวมันเอง บางทีมนั ก็จะมีคณุ ลักษณะบางอย่าง เช่น เรือ่ งของการเป็นแหล่งของแสงหรือ อะไรท�านองนั้น ซึง่ มันก็ถอื ว่าเป็นคุณสมบัติของสถาปัตยกรรม iconic เหมือนกัน โดยมากแล้ว งานสถาปัตยกรรมจะถือก�าเนิดขึน้ ในทีท่ ตี่ อ้ งการการพัฒนา นานๆ ทีเราถึงจะเห็นการสร้างงาน สถาปัตยกรรมในพืน้ ทีท่ มี่ คี วามสมบูรณ์แบบอยูแ่ ล้ว ซึง่ นัน่ ก็จะเป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ไปเลย แต่สว่ นมาก มักจะเป็นพืน้ ทีท่ ตี่ อ้ งการการพัฒนา ต้องการคนทีจ่ ะเข้ามากระตุน้ และขับเคลือ่ นบริบทของเมือง ขึ้นมาใหม่อีกครั้ง เหมือนเป็นจุดก�าเนิดพลังงานนั่นแหละครับ ซึ่งผมว่างานของเราก็ท�าหน้าที่ แบบนัน้ แล้วก็ทา� ได้นา่ พอใจทีเดียว ส�าหรับคนทีต่ ดิ ตามงานของคุณมากตลอดก็จะเห็นได้วา่ คุณไม่ได้ทา� งาน สถาปัตยกรรมอย่างเดียว แต่ยงั ท�าเรือ่ งออกแบบภายในด้วย รวมไปถึง เรื่องของเทคโนโลยีและวิศวกรรมต่างๆ หน้าที่ของคุณในโปรเจ็คต์หนึ่งๆ คืออะไรครับ?

ฐานโครงสร้างการท�างานของเราเป็นไปในแนวนอน ดังนั้นเราก็จะมีการทดสอบและท�างานใน หลายๆ วิธกี ารทีแ่ ตกต่างกันไป เราก็หารือปรึกษากันตลอด เรายึดหลักคนทีเ่ ข้มแข็งทีส่ ดุ คือ คน ทีจ่ ะอยูร่ อดได้อะไรแบบนัน้ น่ะครับ ซึง่ ความคิดทีม่ จี ดุ แข็งทีส่ ดุ ดีทสี่ ดุ มีศกั ยภาพทีส่ ดุ ก็จะถูกคัด ให้เหลือ 2-3 ทางเลือก เราท�างานร่วมกับวิศวกรแล้วก็ลกู ค้า เพราะสิง่ ทีเ่ ราคุยกับพวกเขาเป็นเรือ่ ง ส�าคัญมาก เราไม่ได้ทา� งานอยูค่ นเดียว สถาปนิกเป็นแค่คนทีช่ ว่ ยเติมเต็มฝันของลูกค้าให้เป็นจริง แต่คนทีท่ า� ให้โปรเจ็คต์ขบั เคลือ่ นไปได้ จริงๆ แล้ว คือ ตัวลูกค้าเองต่างหาก พวกเขา คือ คนที่ ยอมให้เราลองท�าอะไรทีม่ นั มหัศจรรย์ ซึง่ ก็อาจจะไม่ใช่สงิ่ ทีด่ ที สี่ ดุ มันก็ขนึ้ อยูก่ บั ว่าเขาเป็นลูกค้า ทีม่ คี วามกล้าและน่าสนใจในมากน้อยแค่ไหน เราก�าลังคิดเรือ่ งนัน้ อยูพ ่ อดีเลยครับ ดูเหมือนว่าคุณจะได้ทา� งานกับลูกค้า ดีๆ เสมอ คุณเคยเจอปัญหาอะไรในการท�างานบ้างไหมครับ?

ไม่นะครับ เท่าทีผ่ า่ นมาทุกคนก็พอใจ ไม่ใช่แค่ในเรือ่ งของตัวงานอย่างเดียว แต่เรือ่ งของค่าใช้จา่ ย งบประมาณต่างๆ พวกเขาก็พอใจกับมัน ผมว่าเราพิสจู น์ให้เห็นได้วา่ เวลาเราท�าอะไรทีแ่ ตกต่าง สิง่ ทีไ่ ด้กลับมามันก็นา่ พอใจได้เหมือนกัน

ADA1 (2005-2007) Hamburg, Germany 25


ส�าหรับคุณ สถาปัตยกรรมมีความหมายอย่างไรบ้างครับ?

เป็นเรือ่ งของการคิดว่าเราจะใช้ชวี ติ ในเวลา 24 ชัว่ โมงอย่างไร คือมันก็มเี วลาทีเ่ ราต้องนอนบ้าง แต่มนั เป็นเรือ่ งของการทีเ่ ราวางตัวเองไว้ในฐานะของคนทีจ่ ะค�านึงถึงสิง่ ทีเ่ ป็นตัวแทนของยุคสมัย ของเรา มองว่าเราต้องการจะมีชีวิตอยู่อย่างไร สื่อสารอย่างไร อะไรที่ท�าให้เรารู้สึกปลอดภัย หรือรูส้ กึ ตืน่ เต้น ถ้าคุณนึกย้อนไปถึงเมือ่ ช่วง 50 ปีทผี่ า่ นมา ทุกยุคสมัย ทุกสังคมจะมีโปรแกรม ทางสถาปัตยกรรมของตัวเองกันทัง้ นัน้ นีผ่ มพูดถึงในระดับของทีพ่ กั อาศัยทัว่ ไปนะ ลองดูบา้ นใน อเมริกาหรือสวิสเซอร์แลนด์ทสี่ ร้างขึน้ ในช่วงทศวรรษ 50 สิครับ ทุกบ้านจะมีชนั้ ใต้ดนิ ส�าหรับหลบภัย เพราะนัน่ เป็นช่วงเวลาทีผ่ คู้ นกลัวสงครามนิวเคลียร์กนั มาก ยุค 80 ก็จะนิยมเรือ่ งของสวนฤดูหนาว และพืน้ ทีน่ อกบ้าน ยุค 90 โดยเฉพาะในอเมริกา เป็นยุคทีค่ นนิยมสร้าง panic room ไว้ในบ้าน เพือ่ ทีว่ า่ เวลามีใครบุกรุกเข้ามาในบ้านคุณก็สามารถเข้าไปซ่อนอยูใ่ นห้องนี้ กดปุม่ แจ้งภัย แล้วก็ รอให้ตา� รวจมา คือแต่ละยุคแต่ละสมัยก็จะมีโปรแกรมทีแ่ ตกต่างกันไปเป็นของตัวเอง มันเป็นสิง่ ทีแ่ สดงออกถึงความกลัวความหวังของคนในแต่ละช่วงเวลาแต่ละยุคสมัย ผมว่ามันน่าตืน่ เต้นดีที่ เราจะได้เรียนรูว้ า่ ความต้องการหรือความตืน่ ตระหนกของยุคของเราคืออะไร ซึง่ มันก็คอื สิง่ ทีช่ ว่ ย สร้างงานสถาปัตยกรรมให้เกิดขึน้ มาด้วยเหมือนกัน คุณมีมมุ มองอย่างไรบ้างต่อแวดวงสถาปัตยกรรมโลก?

ตอนนีท้ กุ อย่างมันเปิดกว้างมาก เราไม่มแี นวทางหรือระเบียบปฏิบตั ทิ ตี่ ายตัวแล้ว ผมว่าเราก�าลัง เจอกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปจากงานสถาปัตยกรรมที่ดูขึงขังจริงจังไป เป็นงานทีม่ คี วามสนุกสนานมากขึน้ ถ้าให้ผมมอง วัฒนธรรมกระแสหลักของเราก�าลังพูดถึงและ ถกเถียงเรื่องประเด็นของความยั่งยืนกันอย่างคึกคัก ซึ่งผมก็ว่ามันเป็นเรื่องส�าคัญนะครับ แล้ว มันก็ช่วยสร้างพลังขับเคลื่อนได้อย่างมาก รวมไปถึงเรื่องของพัฒนาการต่างๆ และการเกิดขึ้น ของธุรกิจมากมายหลายแขนง เมือ่ 2-3 ปีกอ่ น ผมเคยอ่านบทความหนึง่ ในนิตยสาร Harper's Bazaar บอกว่าเราก�าลังมีชวี ติ อยูใ่ นฟองสบูส่ เี ขียว ซึง่ ว่ากันว่าฟองสบูน่ จี้ ะแตกลงในปี 2015 แต่ เขาก็บอกเอาไว้ว่าถ้าไม่มีฟองสบู่นี้ เราจะแย่กันยิ่งกว่านี้ เพราะฉะนั้นฟองสบู่ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ดี เพราะอย่างน้อยมันก็ชว่ ยสร้างสิง่ ต่างๆ ให้เกิดขึน้ บ้าง ผมชอบแนวคิดเกีย่ วกับความยัง่ ยืนเพราะ มันช่วยน�าพาสถาปัตยกรรมให้กลับมาเป็นสิง่ ทีม่ บี ทบาทความรับผิดชอบต่ออนาคต แนวคิดอย่าง Postmodernism หรือ Deconstructivism มักจะโยงอยูก่ บั อดีต เอาอดีตมาอ้างอิงเพราะอดีตช่วย ท�าให้สงิ่ ทีพ่ วกเขาก�าลังท�าฟังดูดมี หี ลักการ แต่ตอนนีเ้ ราต้องมาว่ากันด้วยเรือ่ งของอนาคต ซึง่ ผมว่า มันเป็นเรือ่ งทีด่ เี พราะโลกต้องการอะไรมากกว่าความคิดทีจ่ ะกอบกูโ้ ลกแต่เพียงอย่างเดียว เราต้อง ค้นหาให้เจอว่าเราจะมีชวี ติ อยูร่ ว่ มกันได้อย่างไร สังคมทีเ่ ราจะอยูจ่ ะมีลกั ษณะอย่างไร รวมไปถึงเรือ่ ง ของโครงสร้างครอบครัว คิดดูวา่ เราต้องการความเป็นส่วนตัวแค่ไหน เราต้องการการมีอยูข่ องชุมชน รึเปล่า หรือเราอยากจะอยู่ตัวเคนเดียวไม่ยุ่งกับใคร เรารู้สึกว่าเราเหมือนอยู่ตัวคนเดียวรึเปล่า สิง่ เหล่านีท้ งั้ หลายทัง้ ปวง เราต้องหาสิง่ ทีแ่ สดงออกถึงสภาพแวดล้อมความเป็นอยูข่ องยุคสมัยของเรา

“I know we shouldn’t talk about feelings when it comes to architecture, we are told not to. But the more I work as an architect, the more I think that it’s a very important ingredient ur b for producing architecture.”

27


First published in art4d 168, September 2010.

Patrick Blanc green

ban

lo 29


“Everything is better andurban better, but anywhere everybody try to tell you it worse and worse.”

We really appreciate your presentation yesterday. And if we’re not wrong you got an inspiration of vertical garden since you were young. We’re curious that how you developed your imagination into reality? It began with the pencils. Initially, it’s not my goal to do a vertical garden; I just wanted to hold the plants without soil in the new way. So I had to fix, to attach the plant. I think it should be good to have water swing out from aquarium pouring to the plant, to avoid water falling on the wall, to have a wooden structure, to fix the plant on the wall. So I did it step by step and finally it became a vertical garden. I think I began when I was about 12 or 13, but you can say that I was really in the same way that I do now when I was 25. It means that I’ve spent more than ten years to develop it to a vertical garden, you see. That time, you were really into a kind of botanic? My Ph.D. was about botany. For me, to make a vertical garden, it’s not totally a business; it became… But after I’ve been doing it for thirty years now it looks like a kind of business. That’s all, you see. What was the first project that you had started from? It was the project at Paris Museum of Sciences and Technologies in 1986. You see it was long time ago, 23 years ago. Nobody was interested in it at that time. It was inside the museum with diversity of the plants. We didn’t call biodiversity, but something like that. I did the panel which was about 2.50 meters high with plant cover on both sides. It was so interesting but nobody or no journalist interested in it. Eight years later, in 1994, I was invited to participate in an exhibition in central part of France. It’s an exhibition about the garden. I did make my vertical garden. From then suddenly everybody was interested. It was very funny because I had started it very long time ago but suddenly it was just a right time. Especially, when I did the work with André Putman; you know, of course, she is on paper. André invited me to work with her for the project Pershing Hall hotel in Paris in 2001. I covered the total façade of the building. And it’s a very important project because it became talk of the town. Suddenly all architects were interested in my work because I did really work on the wall. So you see, everything was step by step. When I did

cal 31


But one thing in this issue is that people is more and more living in town, more and more in form of biology, biodiversity; more and more contact with the plants but it can’t be a nature forest because it’s too far from their home. make a museum with Jean Nouvel in 2005, it was a very big success for me too. On the Siam Paragon in 2005, at the beginning it was not very good but now I’m very happy. I did visit, it was very good. At The Emporium, I don’t know why they changed many plants. They did put all the same species; it was very different from my concept; you saw on the photo that I did show. For Emporium I’m not happy, but for Siam Paragon, they’re well maintained now. Before two or three years ago, it was not good, but now it’s okay. On The Esplanade, I like very much also the colons at Esplanade, because it was outside, outdoor; so it’s very interesting. Beside the vertical thing, you always emphasize on the biodiversity of plants as well. Any reason behind that? You know, first of all, I’m botanist. I work on biodiversity of the plants, calling shell of caravan forest. So, I always use the diversity of species. As I told you, when I was a young guy, I used to put many of my plants, my collections on the wall. For me the sense of the vertical garden is to have a many different species growing together; so, why I did do a vertical garden. For me, it’s not possible to make a vertical garden with only three or four species all the same. The first thing is my feeling. I want to use many species. Also, using many species provides some benefits like when I give nutrients to all the plants. More species you have, more chances you have that one species take out more potassium, one take out more nitrogen. More species you have more nutrients; because it dispatches according to species. Also the very important is about insect, parasite on the decease. The more biodiversity, the less disease you are. I never use any treatment but for indoor sometime; because indoor, you’ve no rain, no wind; sometime you’ve some insect inside. It’s normal, because there is no ventilation; but outdoor I never use any treatment. That’s why the diversity is important for that.

How do you work with the guy who takes care of the plant? Usually what I do in the mega project is, of course, do select the plant species. So I went selecting the plants at Chatuchak in Bangkok, for example. The guy I work with knows me very well for so many years; he knows my feeling about the work. Sometime he works with local people to plant or to plant himself. Or I ask for a company, which is in charge of maintenance. Sometime, I just choose a company, while making the list. Of course, I told them to purchase the plants. So it’s very important to select a good company. Sometime it’s very good, sometime it’s not so good. Anyhow, you can change. We are very curious how you can maintain all the plants. Now you’ve projects around the world, how you can be sure that people over there will take care of it? Via e-mail; guarantee of photos via e-mail; I have a news from at least 90% of my works around the world. Of course, for works in France or Europe I can visit myself quite often. But you see, in Thailand, Canada, Japan, I cannot come that often. But, yesterday somebody told me two weeks he was in Canada and he saw my work which was still wonderful. That’s how I know about my projects. In front of the building, we can see the very green thing, with a beautiful arrangement of the diversity of the plants. But behind the scene, there is one picture in your presentation; we saw a lot of tubes, like pipes. It looks really systematic, could you explain a little bit in the detail of that? All this I write this in my book 'Vertical garden'. Usually I put one horizontal pipe every five meters on the vertical garden; usually at the top. The watering is most important at the top because it follows down. Usually I put pipe 4 at the top, then 3 or 4, then 2 or 1, all the last lines are only one usually. In this way, I can have homogeneous watering on the felt, not to much water. It’s quite interesting to have a successive line, because it’s much easier to control. So of course, design with more all centimeters in time is very simple; so it adapts to be collective in one place. See, these’s a big wall in south of France, which is about 800 kilometers, you see about 15 pipes or something like that.

33


A lot of plants are from everywhere in the world… Yes, next two weeks I will go to Nanjing; three weeks in Costa Rica, where I’ve never been. But I’ll be there only for the forest, no project for vertical garden; only forest. How you make sure that the plant from here and there are going to work well together? I know because I was botanist. I know it’s what the habit of the plant is. I know if one species in the wild is going on the cliff, or it is going on the flat ground. I know if they can cohabite. So, I can mix species this and that; for me it’s not a problem, because I know well. And you always chose the local plants? Yes, when it’s possible. For example, in Kanazawa for Vertical Garden; I used only plants I collected from the hill just five kilometers from Kanazawa. I did wait one year until the face is totally covered only with Kanazawa plants. I thought it was very funny. Because, one day we have a chance to see some Japanese people; they came and did say: it was wonderful work; the plant was just five kilometers from here. You picked it by yourself? (laughing) In Sydney, I also did make a high wall filled only native Australian plants so when possible I think. In Hong Kong, it’s very important to try to use a native plant because Hong Kong is so small. Everybody thinks that Hong Kong is only a town. Nobody knows that there are many forests. So I think it was very important to our town like Hong Kong which seems totally artificial ecosystem to show that actual is not too artificial; if you go just around you can find very high level of biodiversity. I think, especially in Singapore it should be the same also. When you go to forest in Singapore, you can find also beautiful virgin tropical.

Oh, no, for the Emporium, it’s still okay; plant is growing. Me, I don’t like but I’m sure that other people don’t see it. No, sometime, it’s just a little. I did visit two days ago what I did in Sydney in the first-class lounge in the airport of Qantas airline. I hadn’t been there for three years; (three days ago before arriving here, I did pass by Sydney. You know I came here from Sydney not from Paris). I visited; they are well maintained as I did. Just, well, there are two species that I’m not okay. So I did say: please explain to the guy, who maintains it; and I did explain why it’s not okay. I don’t know why they did change those two species. But, otherwise, they terminated my initial plan which is covering with the plants and bending leaves as I did. So you work with a lot of architects around the world now. I mean, when you pick the type of the plant what’s the main criteria to pick it. I mean it depends on the people over there or the building; it looks like this so you pick it.

What about Dubai? (laughing) No no no, I know what you mean (laughing). There, it’s not much interesting for changing. It should be possible but it should not be interesting. Any other work, beside the one at the Emporium that you don’t like?

Pont Juvena; (2008) Aix en Provence- France 35


Patrick Veillet Studio (2009) Paris, France

It depends even though I’m very interesting in the design of vertical garden. Sometime architect designs and I think it’s very good. Sometime people are me to make myself the design of the shape. For example, in Hong Kong there is the project for the poly technique university, at the beginning, inside there is rectangle like this I did see on the model all the shape of the rooms. I think it was interesting to have something undulating. And finally when I did go last week before going to Sydney I stopped two days in Hong Kong. I did visit the place, I saw big stone wall. Oh I said it should be much more interesting to begin by the stone wall with vertical garden; then behind the glass wall, becoming an indoor vertical garden. So, I did make this kind of design; as on yesterday morning that you showed me the new kind of design; so you see. First of all, there is problem for the exterior wall, which is important. For indoor, usually it’s the same all over the world, because the climate indoor is always about 20 degrees, so indoor it’s quite simple; I use the artificial light. In Paragon we use sunlight because light is enough from outside. For inside, the climate is always the same, no wind, no rain, always 20 degrees; so if you are in New York or Bangkok, or Paris or Sydney it’s always the same. So in this scale it’s so easy to select the plants. But for exterior, it depends on totally the global climate of the place, like in New York, Paris or Bangkok. Of course, so in this scale you have to select the species according to global climate of the place. And then, the vertical garden is vertical. According to the orientation, it doesn’t receive the same amount of the sun; and also the problem of shading from other buildings (because we are in town). So you see, for outdoor garden, there is much more term to take in consideration; but it’s still interesting or challenging; so every time, I chose different plants because it’s very special for in outdoor. For me, it’s very interesting.

Two last questions, now people realize you have Vertical Garden, let’s say, have you ever receive a commission to do horizontal? Sometime I can have an idea, some kind about a botanical garden. For me, I’m interested in plant species. For horizontal, think I could have be involve only where there is really botanical aspect; or to try to create a kind of natural biotope or natural scene setup. So in this scale, yes, I could do if plan something to the plants, yes, I can do horizontally. Have you seen the future of making this vertical garden that you are doing now? I’m sure that it’s not simply twenty. Why it’s not only twenty? Most of the people are living in town; you need a nature in town. Everybody is fear by global warming; everybody is now fear by everything; you know that, by the flu, by the warming. You see when you compare to thirty years ago, fifty years ago or when I was young; compare the medium ration of the light, it’s totally always increasing. So it means that everything is worsted, even in Africa, in India, everywhere. However, average ages in the city before is forty five years, but now is sixty five years. So, you see it gains twenty years more. Everything is better and better, but anywhere everybody try to tell you it worse and worse. This is quite funny. But one thing in this issue is that people is more and more living in town, more and more in form of biology, biodiversity; more and more contact with the plants but it can’t be a nature forest because it’s too far from their home. Vertical garden is really kind a piece of nature inside the town. I mean much more than twenty.

37


Born in 1953, Patrick Blanc is a French botanist who works at the Centre National de la Recherche Scientifique in Paris, where his work focuses on plants from tropical forests. Blanc is known for modernizing and popularizing the concept of the vertical garden in contemporary architecture and one of his most famous projects includes Musee du Quai Branly in Paris where he collaborated with architect, Jean Nouvel. Other projects include Centre Pompidou, Caixa Forum and the Foundation Cartier pour l’Art Contemporain Paris.

ก่อนอื่นต้องขอบอกว่าเราชอบที่คุณพูดเมื่อวานมากเลย ซึ่งถ้าจ�าไม่ผิด ไอเดียกับการจัดสวนแนวตั้งเนี่ยเกิดขึ้นมาตั้งแต่สมัยคุณเป็นเด็กๆ เลย ใช่ไหม แล้วคุณพัฒนาจินตนาการเหล่านัน้ ให้กลายมาเป็นความจริงอย่าง ทุกวันนีไ้ ด้ยงั ไง? จากดินสอครับ... จริงๆ ตอนนัน้ ผมไม่ได้ตงั้ ใจจะท�าสวนแนวตัง้ นะ ผมแค่อยากลองปลูกต้นไม้

ในแนวใหม่โดยไม่ตอ้ งใช้ดนิ ก็เลยทดลองท�าโน่นท�านีไ่ ปเรือ่ ยๆ มีโครงสร้างไม้บา้ ง ใช้การฉีดน�า้ แบบใหม่บา้ ง จนสุดท้ายมันก็กลายมาเป็นสวนแนวตัง้ โดยอัตโนมัติ ผมว่าผมเริม่ ต้นท�าจริงๆ ก็ ตอนอายุ 12-13 แต่กว่าจะมาถึงจุดทีเ่ ป็นการเริม่ ต้นไปในแนวทางนีจ้ ริงๆ ก็สกั 25 เรียกว่ากว่า จะมาเป็น Vertical Garden ทีค่ ณุ เห็นนีก่ ใ็ ช้ไปมากกว่าสิบปีเลยล่ะ จริงๆ มันเริม่ ขึน้ ตัง้ แต่ตอนไหน?

ตอนนัน้ ผมเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัย ผมก็ทา� วิจยั เรือ่ งนีใ้ นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของผมด้วย Vertical Garden ส�าหรับผมไม่ใช่เรือ่ งธุรกิจหมดทุกด้าน มันไม่ใช่อย่างนัน้ แน่ แต่มนั กลายเป็น... คือส�าหรับผมมันเป็นธุรกิจทีด่ นี ะ แต่มนั ก็มากกว่านัน้ งานไหนทีถ่ อื ว่าเป็นโปรเจ็คต์แรกจริงๆ ทีค่ ณ ุ เริม่ ท�า Vertical Garden

ที่ Paris Museum of Sciences and Technologies ในปารีส ตอนัน้ ปี 1986 เห็นไหมว่ามันนาน มากมาแล้ว 23 ปีแล้ว แต่ถงึ จะนาน ตอนนีพ้ วกต้นไม้เหล่านัน้ ก็ยงั ดูดอี ยูน่ ะ ผมท�าให้มนั เป็นแผ่น ไม้กระดานเจาะเป็นช่องๆ สูงสัก 2.5 เมตร แล้วก็ปลูกต้นไม้หลากหลายพืชพันธุค์ ลุมทัง้ สองด้าน มันติดตัง้ อยูข่ า้ งในพิพธิ ภัณฑ์และผมว่ามันน่าสนใจนะ เพียงแต่วา่ ไม่คอ่ ยจะมีคนสนใจมันเท่าไร พวกนักข่าวก็ไม่เห็นจะเขียนถึงมันเลยตอนนัน้ จนกระทัง่ ปี 1994 ทีผ่ มถูกเชิญไปร่วมจัดแสดงงาน ในนิทรรศการเกีย่ วกับการจัดสวนแห่งหนึง่ ในฝรัง่ เศสนีแ่ หละ ตอนนัน้ จูๆ่ ทุกคนก็เกิดจะสนใจงาน ของผมขึน้ มา มันตลกเพราะผมท�าของผมมาตัง้ นานแล้ว แต่อยูๆ่ มันก็ถกู จังหวะขึน้ มาเท่านัน้ เอง ปีหลังจากนัน้ ผมยังได้ไปท�างานกับ Andre Putman ด้วย เธอเชิญผมไปร่วมโปรเจ็คต์ Hotel Pershing Halll ในปารีส ตอนปี 2001 มันนับเป็นโปรเจ็คต์ทสี่ า� คัญเลยล่ะ เพราะว่าผมได้ทา� สวน แนวตัง้ ทีค่ ลุมผนังด้านหน้าอาคารทีส่ งู มาก มันกลายเป็น talk of the town แล้วพอมันเป็นสวน แนวตัง้ ทีเ่ วิรก์ มาก ก็ทา� ให้สถาปนิกหลายคนเกิดมาสนใจงานของผมนีแ่ หละ เห็นไหมว่าทุกอย่าง มันค่อยเป็นค่อยไปมากกว่า พอมาถึงพิพธิ ภัณฑ์ทผี่ มท�ากับ Jean Nouvel ในปี 2005 ก็เป็นอีก ความส�าเร็จครัง้ ใหญ่ของผม หรือที่ Siam Paragon ทีก่ รุงเทพฯ เมือ่ ปี 2005 ตอนทีท่ า� ตอนแรก ผมว่ามันออกมาไม่คอ่ ยดีเท่าไหร่ แต่ครัง้ ล่าสุดทีผ่ มเพิง่ แวะไปดูมานี้ ผมว่ามันโอเคเลย ผมค่อนข้าง แฮปปีก้ นั มันแล้ว แต่ที่ The Emporium ผมไม่เข้าใจว่าท�าไมเขาต้องมาเปลีย่ นต้นไม้ทหี ลังด้วย เขา เอาต้นไม้พนั ธุเ์ ดียวกันมาใส่ ซึง่ มันต่างจากคอนเซ็ปต์เดิมของผมมาก ผมก็เลยไม่คอ่ ยชอบมันเท่าไร แต่ทชี่ อบมากทีส่ ดุ ในกรุงเทพฯ น่าจะเป็นที่ The Esplanade มันอยูด่ า้ นนอกด้วยก็เลยยิง่ น่าสนใจ

39


อย่างที่คุณบอก นอกจากการเป็นสวนแนวตั้งแล้ว อีกอย่างที่เห็นชัดคือ คุณพยายามจะเลือกพันธุ์ต้นไม้ที่หลากหลายมากในงานๆ หนึ่ง มันมี สาเหตุมาจากอะไร?

เหตุผลอย่างแรกก็เพราะผมเป็นนักพฤกษศาสตร์ ผมท�างานกับพันธุไ์ ม้ทหี่ ลากหลายทีเ่ ราเรียกว่า shell of caravan forest แล้วผมก็เริม่ เอาต้นไม้หลายๆ ชนิดมาจัดวางปลูกเข้าด้วยกันตัง้ แต่ตอน เป็นหนุม่ แล้ว เพราะฉะนัน้ Vertical Garden ของผมคือการมีตน้ ไม้หลายๆ พันธุ์มาปลูกให้โตไป ด้วยกันบนทีแ่ นวตัง้ Vertical Garden ไม่สามารถจะเกิดได้จากต้นไม้แค่ 3-4 ชนิด แต่ถามว่าท�าไม ต้องใช้ตน้ ไม้พนั ธุโ์ น้นพันธุน์ เี้ ต็มไปหมด บอกได้เลยว่าอย่างแรกก็เพราะความรูส้ กึ ของผม ผมอยาก ท�าอย่างนัน้ แล้วจริงๆ การใช้ตน้ ไม้หลายๆ พันธุใ์ นสวนก็เป็นเรือ่ งดีดว้ ยเพราะพืชแต่ละพันธุม์ นั จะ ดูดซึมสารอาหารไม่เหมือนกัน บางพันธุอ์ าจจะต้องการโพแทสเซียมมาก อีกพันธุต์ อ้ งการไนโตรเจน มันก็จะแชร์ๆ สารอาหารกันไปเลยเวลาทีเ่ ราให้อาหารมัน อีกเรือ่ งทีส่ า� คัญก็คอื มันช่วยลดเรือ่ งโรค ต้นไม้นะ มันเหมือนการเกือ้ กูลกันน่ะ เพราะฉะนัน้ ยิง่ มีพนั ธุไ์ ม้หลากหลายเท่าไร ก็ยงิ่ มีโรคน้อย ลง รูไ้ หมผมไม่เคยต้องใช้ทรีทเมนต์พเิ ศษในต้นไม้ของผมเลย ยกเว้นงานทีไ่ ปติดตัง้ ภายในอาคาร บางแห่งนะ เพราะในทีร่ ม่ มันไม่มฝี น ไม่มลี ม ไม่มกี ารถ่ายเทอากาศทีด่ ี หรือบางทีกด็ นั มีแมลงหลุด เข้าไปอีก นีแ่ หละคือเหตุผลว่าท�าไมความหลกาหลายของพันธุไ์ ม้ถงึ ดี

Caixa Forum งานออกแบบในมาดริด ที่ Blanc สร้างสรรค์รว่ มกับทีม สถาปนิกจาก Herzog & de Meuron

คุณมักจะท�างานกับทีมงานที่เป็นคนดูแลต้นไม้ด้วยใช่ไหม มันเป็นการ ท�างานอย่างไร?

ในโปรเจ็คต์ใหญ่ๆ ปกติผมก็จะออกไปเลือกซือ้ ต้นไม้ในกรุงเทพฯ ผมก็ไปจตุจกั ร หลังจากนัน้ ก็สง่ ต่อไปยังทีมงานคนนีท้ ชี่ คิ าโก เขาท�างานกับผมมานานแล้วก็รจู้ กั ผมดีมาก เพราะฉะนัน้ เขาจะจับ ความรูส้ กึ ทีผ่ มมีตอ่ งานแต่ละโปรเจ็คต์ได้ บางครัง้ เขาจะช่วยผมปลูกต้นไม้ โดยเข้ามาท�างานกับทีม ทีเ่ ป็นคนท้องถิน่ หรือช่วยดูแลมันต่อไปเมือ่ โปรเจ็คต์เสร็จไปแล้ว หรือบางทีผมก็จดรายการต้นไม้ ทีอ่ ยากได้และให้เขาออกไปหาให้ ทีมงานทีร่ ใู้ จกันเป็นเรือ่ งส�าคัญนะ ค�าถามต่อไปน่าจะเป็นอีกเรือ่ งทีเ่ ราอยากรูม้ ากทีส่ ดุ คุณมีโปรเจ็คต์เกือบ จะทั่วโลกแล้วตอนนี้ แล้วคุณท�ายังไงให้สวนเหล่านั้นคงสภาพที่ดีได้ใน ระยะยาว คุณจะแน่ใจได้ยงั ไงว่าคนทีท่ า� หน้าทีด่ แู ลต่อไปนัน้ จะไม่ทา� มันพัง?

ส่วนมากก็เป็นการการันตีดว้ ยภาพผ่านทางอีเมล ผมจะได้รบั อีเมลราว 90% ของงานทัง้ หมดที่ มีเกือบทัว่ โลก ส่วนมากก็จะเป็นโปรเจ็คต์ทผี่ มในช่วง 6-7 ทีผ่ า่ นมา แต่สา� หรับในฝรัง่ เศสหรือใน ยุโรป แน่นอนว่าผมไปดูมนั ได้เป็นครัง้ คราวอยูแ่ ล้ว แต่ทอี่ นื่ นอกจากนัน้ ในเมืองไทย ญีป่ นุ่ หรือ แคนาดา ผมไปไม่ได้บอ่ ยแน่ ก็ตอ้ งอาศัยอีเมลนีแ่ หละ อย่างเมือ่ วานนีเ้ องมีคนบอกผมว่าได้ไปเห็น งานของผมทีแ่ คนาดาเมือ่ สองอาทิตย์ทแี่ ล้ว เขาบอกว่ามันสวยมาก นีแ่ หละผมก็ได้ขา่ วมาแบบนี้

41


ในเบือ้ งหลังการท�างานทีค่ ณ ุ ให้เราดูในงานบรรยาย เราเห็นพวกท่ออะไร สักอย่างเยอะแยะไปหมด มันเอาไว้ทา� อะไร?

เราจ�าเป็นต้องให้นา�้ ต้นไม้เป็นประจ�าถูกไหม นัน่ ก็คอื หน้าทีข่ องท่อทีค่ ณุ เห็นนัน่ แหละ ปกติแล้วผม จะใส่ทอ่ แนวนอนทีท่ า� หน้าทีล่ า� เลียงน�า้ นีไ้ ปในทุก 5 เมตรของผนัง แต่ดา้ นบนสุดจะมีทอ่ มากทีส่ ดุ ปกติคอื 4 ท่อ เพราะว่าน�า้ มันจะไหลลงมาได้ถงึ ต้นไม้ทงั้ หมด หลังจากนัน้ ก็จะค่อยลดจ�านวนท่อ ลงมาเรือ่ ยๆ เมือ่ ต�า่ ลงๆ จาก 3-2-1 แนวสุดท้ายทีต่ า�่ สุดก็คอื 1 ท่อ เพราะมันจะเหลือต้นไม้นอ้ ย ลงแล้ว การให้นา�้ ต้นไม้แบบนีเ้ ป็นการให้ทพี่ อดีไม่มากไม่นอ้ ยจนเกินไป มีโปรเจ็คต์หนึง่ ในฝรัง่ เศส ผนังมันใหญ่ถงึ 800 กิโลเมตร เพราะฉะนัน้ คุณก็จะเห็นท่อทัง้ หมดรวม 15 ท่อในงานนัน้ ปกติแล้วคุณใช้ตน้ ไม้จากทัว่ โลกเลยหรือเปล่า?

ใช่ สองอาทิตย์หน้าผมก็จะไปนานกิง อยู่ที่นั่นหนึ่งอาทิตย์แล้วก็ไปคอสตาริกา ผมไม่เคยไป คอสตาริกามาก่อน แต่ทจี่ ะไปก็จะไปแต่ในป่าเท่านัน้ แหละ ไม่ได้ไปท�าโปรเจ็คต์อะไร แค่ไปดูตน้ ไม้ ในป่า

So you see, for outdoor garden, there is much more term to take in consideration; but it’s still interesting or challenging; so every time, I chose different plants because it’s very special for in outdoor. For me, it’s very interesting.

คุณจะแน่ใจได้อย่างไรว่าพันธุพ ์ ชื จากหลายๆ ทีท่ หี่ ามาจะมาอยูด่ ว้ ยกันได้ด?ี

ไม่รสู้ ิ เพราะผมเป็นนักพฤกษาศาสตร์ไง ผมรูว้ า่ ธรรมชาติของต้นไม้แต่ละต้นเป็นยังไง ผมรูว้ า่ พันธุน์ ถี้ า้ อยูใ่ นป่ามันจะขึน้ ทีห่ น้าผาหรือว่าบนพืน้ ราบ แล้วผมก็รวู้ า่ อันไหนกับอันไหนมันอยูร่ ว่ ม กันได้ ผมก็เลยจับพวกมันมาผสมกันได้ ผมไม่คอ่ ยมีปญั หากับเรือ่ งนีน้ ะเพราะว่าผมมีขอ้ มูลพอ แล้วคุณก็มกั จะเลือกใช้พนั ธุพ ์ ชื ในท้องถิน่ นัน้ ๆ อย่างนัน้ เหรอ?

ครับ ถ้าผมสามารถท�าได้นะ ยกตัวอย่างงานทีค่ านาซาวะ ผมไปเลือกพันธุไ์ ม้บนภูเขาทีอ่ ยูห่ า่ งจาก ตัวโปรเจ็คต์แค่ 5 กิโลเมตรเอง แต่กต็ อ้ งรอถึง่ หนึง่ ปีนะ ถึงจะได้ผนังทีถ่ กู ปกคลุมด้วยต้นไม้จาก คานาซาวะทัง้ หมด มันตลกมากเลยเพราะมีคนญีป่ นุ่ มาพูดกับผมว่า มันสวยมากเลย นีค่ ณุ เป็นคน เลือกต้นไม้ทงั้ หมดเลยเหรอ ซึง่ จริงๆ มันแค่หา่ งออกไป 5 กิโลเมตรเท่านัน้ เอง (หัวเราะ) หรือ อย่างในซิดนีย์ผมก็เลือกแต่ต้นไม้ในออสเตรเลียมาใช้เท่านั้นนะ คือผมจะเลือกไม้ท้องถิ่นถ้ามัน เป็นไปได้ทจี่ ะท�า ส่วนฮ่องกง ผมว่ามันท้าทายนะถ้าจะลองใช้พนั ธุไ์ ม้ทอ้ งถิน่ มาใช้ในงานทัง้ หมด เพราะฮ่องกงมันเล็กมากจนหลายคนคิดว่าฮ่องกงก็มแี ค่สว่ นตัวเมืองนีแ่ หละ และก็ไม่คอ่ ยมีคนรูด้ ว้ ย ว่าฮ่องกงยังมีสว่ นทีเ่ ป็นป่าอยู่ มันก็เลยยิง่ ท้าทายทีจ่ ะท�าให้เมือง artificial อย่างฮ่องกงแสดงออก มาได้วา่ จริงๆ แล้วก็ไม่ได้ artificial ขนาดนัน้ นะ เพราะถ้าคุณลองลงไปเจาะลึกในฮ่องกงจริงๆ ก็ จะเห็นความหลากหลายทางพันธุไ์ ม้อยูค่ อ่ นข้างมาก สิงคโปร์กเ็ หมือนกัน เวลาคุณไปป่าในสิงคโปร์ คุณจะเจอป่าไม้ในเขตร้อนทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ทเี ดียวล่ะ

แล้วดูไบล่ะ?

(หัวเราะ) ผมรูว้ า่ คุณหมายความว่าไง ไม่ๆ มันไม่คอ่ ยน่าสนใจเท่าไรทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงทีน่ นั่ มัน อาจจะเป็นไปได้นะ แต่สา� หรับผมมันไม่คอ่ ยน่าสนใจเท่าไร นอกจากงานทีค่ ณ ุ ท�าที่ The Emporium แล้ว มีงานไหนทีค่ ณ ุ ไม่พอใจอีก ไหม แล้วคุณท�ายังไง?

จริงๆ ที่ The Emporium ก็ไม่ถงึ กับว่าผมไม่ชอบอะไรขนาดนนัน้ นะ ผมอีเมลไปหาทีมทีห่ า้ งเพือ่ ให้ เขาแก้ไขอะไรนิดหน่อย ซึง่ ก็โอเค ผมไม่ได้ปลืม้ มัน แต่ไม่เป็นไรหรอกผมว่าคนอืน่ คงไม่เห็นหรอก มัง้ บางทีมนั ก็เรือ่ งเล็กน้อยน่ะ ก่อนหน้าทีผ่ มจะมาทีฮ่ อ่ งกง ผมแวะไปซิดนียม์ าสองวัน ไปดูสวนที่ ผมท�าไว้ใน first class lounge ของสายการบิน Qantas ก่อนหน้านัน้ ผมไม่ได้เห็นมันเกือบ 3 ปี เลยล่ะ แต่พอไปเห็นเมือ่ วันก่อนมันก็ยงั อยูด่ เี หมือนทีผ่ มท�าทิง้ ไว้เลยนะ มีนดิ หน่อยก็คอื ต้นไม้สอง พันธุท์ ผี่ มไม่คอ่ ยโอเคกับมัน คือผมก็ไม่รเู้ หมือนกันนะว่าเขาไปเปลีย่ นสองพันธุน์ นั่ ท�าไม ผมก็เลย คุยกับคนทีท่ า� หน้าทีด่ แู ลรักษาสวนทีน่ นั่ อธิบายให้เขาฟังว่าท�าไมมันไม่โอเค เพราะถ้าไม่บอกไอเดีย แรกเริม่ จริงๆ ทีผ่ มวางไว้มนั ก็เสียหมด คุณได้รว่ มงานกับสถาปนิกเกือบทัว่ โลก เราก็เลยสงสัยว่าเวลาคุณเลือก พันธุไ์ ม้ให้โปรเจ็คต์แต่ละโปรเจ็คต์ คุณใช้อะไรเป็นมาตรฐานหรือเหตุผลใน การเลือก มันขึน้ อยูก่ บั สถาปัตยกรรมหรือว่าคนทีจ่ ะเข้าไปใช้พนื้ ทีต่ รงนัน้ ?

มันก็แล้วแต่นะ อืม... ยกตัวอย่างนะ มีโปรเจ็คต์หนึ่งที่ผมท�ากับวิทยาลัยอาชีวศึกษาในฮ่องกง ตอนแรกมันเริม่ มาจากพืน้ ทีภ่ ายในทีเ่ ป็นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าก่อน ผมก็เลยคิดว่าเราน่าจะหาอะไรที่ เป็นทรงรูปคลืน่ เข้าไปนะ หลังจากนัน้ ก่อนทีผ่ มจะไปซิดนีย่ ์ ผมก็แวะมาฮ่องกงก่อนแล้วครัง้ หนึง่ มาดูทไี่ ซต์จริง แล้วก็เจอผนังหินอันใหญ่ ผมก็เลยบอกว่าสวนแนวตัง้ ทีน่ นี่ า่ จะเจ๋งมากเลยล่ะถ้าเรา 43


เริม่ คิดจากผนังหินอันนี้ แล้วถ้าเรามองผ่านผนังกระจกของอาคารเข้ามา เราก็จะเจอกับสวนแนวตัง้ indoor อันนีใ้ นกรณีของสวนแนวตัง้ ทีอ่ ยูภ่ ายในอาคาร มันง่ายอย่างหนึง่ ก็คอื อุณหภูมภิ ายในมัก จะอยูท่ รี่ าวๆ 20 องศาเซลเซียสเหมือนกันหมด แล้วก็ไม่มฝี น ไม่มลี ม ส่วนเรือ่ งแสง บางทีผมก็ใช้ แสงไฟเลีย้ งต้นไม้ แต่บางทีอย่างที่ Siam Paragon เราก็ได้แสงธรรมชาติจากภายนอกเข้ามาเพียง พอ มันก็เลยง่ายกว่า outdoor หน่อยในการเลือกต้นไม้ เพราะไม่วา่ คุณจะอยูก่ รุงเทพฯ นิวยอร์ก ปารีส หรือว่าซิดนีย่ ์ ปัจจัยต่างๆ มันค่อนข้างเหมือนๆ กันหมด แต่ส�าหรับสวนทีอ่ ยูภ่ ายนอก อาคาร การเลือกต้นไม้กย็ อ่ มต้องผันแปรไปตามเรือ่ งสภาพอากาศ อีกหนึง่ เรือ่ งทีต่ อ้ งท�าการบ้าน หนักก็คอื นอกจากสวนแนวตัง้ นีจ้ ะได้รบั แสงอาทิตย์คอ่ นข้างน้อยแล้ว สวนทีอ่ ยูบ่ นผนังอาคาร ทีอ่ ยูใ่ นเมืองก็จะถูกบังโดยเงาของอาคารอืน่ ๆ อีกด้วย เห็นไหมว่าสวนแนวตัง้ ภายนอกอาคารนี้ มันจะมีปจั จัยอืน่ ๆ เข้ามามากมายเลย แต่ผมก็ยงั มองว่ามันท้าทายนะ ทุกครัง้ ทีผ่ มท�าสวนแนว ตัง้ ข้างนอก ผมก็มกั จะเลือกต้นไม้หลากหลายส�าหรับสภาพแวดล้องข้างนอก

“Vertical garden is really kind a piece of nature inside the town.”

ขอสองค�าถามสุดท้ายครับ ข้อแรก ตอนนีใ้ ครๆ ก็รวู้ า่ คุณท�าสวนแนวตัง้ ว่าแต่มใี ครเคยมาเสนอให้คณ ุ ท�าสวนแนวนอนไหม?

อืม... ถ้าเป็นสวนพฤกษศาสตร์ ผมเสนอไอเดียให้ได้นะ เพราะผมสนใจเรื่องพันธุ์ไม้อยู่ แล้ว เพราะฉะนั้นผมว่าถ้าเป็นสวนแนวนอน ผมคงช่วยได้ในเรื่องพันธุ์พืชแล้วก็อาจจะสร้าง ความสวยงามทางธรรมชาติขึ้นมาให้ได้ ถ้าเป็นเรื่องพวกนี้ก็โอเค ผมท�าสวนแนวนอนก็ได้ คุณมองอนาคตของ Vertical Garden ไว้วา่ ยังไงบ้าง?

ตอนนีม้ นั อยูม่ า 20 กว่าปีแล้ว และผมก็มนั่ ใจว่ามันจะไม่ใช่แค่ 20 ปีเท่านัน้ แน่ ตอนนีใ้ ครๆ ก็ กังวลกับเรือ่ งภาวะโลกร้อน เรือ่ งไข้หวัด เรือ่ งอะไรต่อมิอะไร คือถ้าเราดูจากแสงอาทิตย์ทผี่ า่ นชัน้ บรรยากาศลงมายังผิวโลก เราก็จะเห็นว่ามันมากขึน้ กว่าเมือ่ 50 กว่าปีกอ่ นจริง ซึง่ มันก็หมายความ ว่าทางธรรมชาติ เราก�าลังแย่ลง แต่ในทางกลับกันอายุขยั โดยเฉลีย่ ของคนเมืองนัน้ เพิม่ ขึน้ จาก 45 เป็น 65 เราอายุยนื ขึน้ ตัง้ 20 ปีแน่ะ เพราะฉะนัน้ มันก็ยงั มีเรือ่ งดีอยูบ่ า้ ง แต่คนส่วนมากก็ กลัวกันไปหมดแหละ อีกเรือ่ งก็คอื คนส่วนมากตอนนีจ้ ะอาศัยอยูใ่ นเมืองกัน แต่พวกเขาก็ตอ้ งการ ธรรมชาติ ต้องการความหลากหลายทางธรรมชาติ แต่พวกเขาไม่สามารถจะออกไปหาธรรมชาติใน ป่าได้ เพราะว่ามันไกลเกินไป เพราะฉะนัน้ ผมว่า Vertical Garden คือส่วนหนึง่ ของธรรมชาติที่ อยูใ่ นเมือง และมันก็นา่ จะมีความหมายและไปได้ไกลกว่า 20 ปี

urban

45


First published in art4d 186, October 2011.

experience

Momoyo Kaijima

verna


‘‘Vernacular, for me is the contemporary or something that’s really today’s issues. We integrate cular what’s happening today, not from tradition.’’

From your presentation, it seems that research has become one of the main driving forces of your design. Could you tell us the story behind it, maybe with projects like Made in Tokyo and Pet Architecture? I like houses and urban spaces. I always want to know why a house is like that or an urban space is like that, or why people behave like that. My interest is always about learning from the locals. After that, we try to bring that character into our design. In ‘Made in Tokyo’ and ‘Pet Architecture’, before we did the research, nobody cared about this kind of building, because a lot of Japanese people tended to admire the European style more, seeing it as something stylish and hi-class. These buildings were not designed by famous architects, but more like the vernacular designed by the local architects. Then we came up with the question of what the character of Tokyo was and we came up with the fact that this kind of vernacular building was very important to our life. So that’s basically what we’ve tried to introduce. Made in Tokyo is like the animated urban structure, while Pet Architecture is about the small scale buildings and architecture. The notion comes from the evolution of urban space and the changes of urban space because the development of urban space tends to be more about the high-rise buildings and highways, more about the infrastructure. And due to the direction of the development, they have to expand the size of the streets and the new streets usually cut parts of the land. So along the big loop of roads and streets, there are a lot of small areas of land and people still want to build something on them because the they are so expensive, and everything comes down to the presence of these small buildings. These kinds of building are not mentioned by the public or recognized by any architectural magazine. We start to explain why such phenomenon happened and how these architectural constructions have their own stories of their own urban development with their own historical backgrounds. I think we try to establish another definition of urban design. In a way, the two researches are about what people really want from architecture, rather than the architecture that is conceived according to governmental authority.

71


I think in Bangkok and other urban environments, many interesting urban behaviors take place, either in buildings or the people.

The Government does control the construction, but it’s not something that is discussed or regarded in the academic arena. I think in Bangkok and other urban environments, many interesting urban behaviors take place, either in buildings or the people. But it’s not recorded in the history of Thai architecture or Japan’s historical background. So that’s why we want to add some historical aspect to the existence and stories of vernacular architecture. What does vernacular mean according to your understanding and perception, since most times when people talk about it, it is likely to be referred to in the nostalgic sense? Vernacular, for me, is the contemporary or something that’s really today’s issues. We integrate what’s happening today, not from tradition. But, I think it’s related to, somehow, the change of our lifestyle or the way of life, the way we live. Tradition is usually clearer when it’s put to discussion, because for a lot of people, the sight of a traditional house allows you to understand things better. It’s easier for us to learn how people in the past lived and what their lifestyles were like. We can also see that sort of thing in everyday living, too. Vernacular, for me, well, every building is the same, even the ones that still exist today. They show how people live. We can still know where the buildings came from, although they are not used as a house like before. Maybe they are turned into museums or galleries, but these buildings do not show today’s lifestyle anymore. They only remind you of the old lifestyle. We have a lot of vernacular architecture, old houses and stuff, but the question is can we keep the diversity of life under today’s condition. There used to be a life without air conditioners, people could breathe in the nice outdoor space, and why can’t we have that today?

It seems like vernacular, for you, is rather contemporary, but the past is still valid and should be brought into consideration. What about old buildings and their functionalities and how they have to transform their original functionality? Do you think they can still be able to maintain the old value? Today’s families, they cannot live in old wooden houses like their ancestors used to in the past. There’s a case where we decided to create another subject for an old house and we renovated the house and cleaned it. We needed new managing and supporting systems for the house to function again - as a museum. I think the function of a museum is similar to how people pay money for people to look after their houses. But there’s also governmental support that comes in the form of a budget. We want the number of houses to be more sustained in the future. I don’t know what’s it like in Thailand, but I can still see Thai traditional houses along the canal and stuff. Partly, it’s preserved for tourism purposes, as a place with nostalgic memories. Pretty much like the way people go to Disney Land because it reminds them of their childhood and the old way of life. But what’s the difference between Disney Land and this type of preservation anyway? It’s like how for us Japanese Tatami is a type of measurement and it’s a material that we use for the floor of a traditional house. But it’s still being used in the contemporary context as well, you know, in the countryside. In this case, it’s diversity in the way of life. We might have furniture to sit on now, but we can also sit on the floor. So this kind of mixed diversity of culture is like a hybrid situation that’s happening today. I think urban space and culture, or way of life, should be developed to fit the comfort of people in the present time. If you start to think about the meaning of ‘comfort’ in life, it’s like you ask yourself - should it be an air conditioner or should it be the breeze that comes into the house. To me, I think the answer is let’s keep the diversity of what we had in the past. Disney Land is like the promotion of cultural space by a big corporation, entertainment wise, and I think it’s another way of keeping the diversity of culture. Nonetheless, for us, we want to mix it more naturally. We try to combine the old and the new, and we’re very curious about what’s happening in the concept that’s between the old and new.

73


Could you explain your transition from Made in Tokyo to Pet Architecture? Does it play a big role in your profession? How did you transform yourself from the early days to what you are now? When we did Made in Tokyo and other house projects, the scale of work was larger than it used to be. Observation is very important - how you observe what’s happening in the society and the surrounding environment. Made in Tokyo is a good example. We can show the society and behaviors of people and that’s why it’s interesting for us. It’s not only the scale, but it’s more like a very good report of Tokyo’s architecture. Pet Architecture is a good way to describe Tokyo’s situation. For most of our projects, it’s about how we can describe or explain the architecture as a situation to people, because if someone wants to build a building, that building will come with a background, history and stories attached to it. The architecture needs a lot of money and a lot of support from society and people. After the building is done, there is the management. So it means if we design architecture, the meaning should be explained and described to the people. Made in Tokyo is like an observation, not a design. But if we were to design a building, we would do it by describing the situation of the building as we did in Made in Tokyo.

Tugged in between two buildings, Aoyama Real Estate Agent’s overall dimension is only 10 x 0.8 x 2 meters. 75


In the early stage of your career most of your works dealt with the density of urban areas, mainly the residential programs. Later in your career, you worked in both public building projects and the ones that were not in the city. Is there any synthesis going on between the two periods of your architectural profession? In the house case, for example, we have two types of single houses. One is the urban house, existing in urban space with a high-density, mostly in Tokyo and sometimes in the suburban areas. The other is the weekend house or the second house. They are actually two similar situations, but with different habitants. Today, Tokyo people want to have two houses - one in the center and one outside of Tokyo for the owners to enjoy the freedom and to be closer to nature. The owner, who has a house in the countryside, actually lives in Tokyo. Even though these two houses are two different houses in two different areas, their existences still evolve around the Tokyo way of life. As for my landscape building, the big one is more like the cultural park in the city and we do collaborate with landscape designers. In the current Japanese design commission; landscape design doesn’t actually connect to the architecture. I should explain further about this. In Japan, there is an architectural faculty, a landscape faculty and a civil engineering faculty. They’re different and independent of each other. A lot of park projects are organized by the civil engineer and landscape personnel. And they are the ones who have positions in the governmental authority, which is the place most architects try to escape. So, that’s why it’s very normal that architects don’t have that many connections. If they want to make a nice-looking building in the park, they don’t have efficient architectural personnel to do the job. I’m currently teaching in the university, and there, landscape design, urban management design and architectural design are taught really close to one another in one faculty group. There was a project from a landscape professor who’s my colleague, and he asked me to help as the architect in his project. From our discussions, I found out that there was a big distance between the two professional fields. They work on big programs, but they do the design without the architects. So we were concerned about the project. Then I met this landscape designer and people from civil engineering, and they were also worried about the design. We can help them, you know, we can start to collaborate with each other. It’s a really a different situation from a house project.

It seems like you use the architectural limitations and obstacles that you encounter as the driving force for your design. Where do your inspirations and objectives come from? I think there is a borderline that exists unconsciously before I start the design. Today, architects should think about where the border or framework of the design is. That’s why yesterday, I tried to explain why the framework is so important in the development of a building. The framework given from a client isn’t always challenging, and we don’t want that. That’s why we always try to find the way out; an environment, a border of the design; what the possibility is, and we start to think about the edge that we can expand. Sometimes it’s much easier to understand the inner part of the program of a building when you put yourself outside. So landscapes, park projects, houses, urban issues; they’re the same. The house cannot escape from the site due to certain economic limitations. In a way, it represents the repositioning of our society, our economic growth, urban issues etc. So, if we stand outside, we can see more clearly what the design point is, or what the landscape is. Our goal is to make a new standing position through architecture to express the new possibility of design to society; both to the public and to other architects.

Acco House (2005)- A house in Tokyo insoired by Atelier Bow-Wow’s fascination of the popular culture. 77


Could you define your own perception of aesthetics of the 21st century? Last century was all about advanced technology, new materials and design processes and the inside development of architectural technology. But we have to think outside of technology - issues like the environment and the influences that technology might have on the environment, and how to make the technology more touchable. We can do more with architecture, because it’s experimental physically and mentally. In the 21st century, I think, aesthetics is concerned with the development of common sense; what’s the common meaning or validation between building and society. Aesthetics in the 20th century was more about the visual, but the 21st is something more experimental. How about issues about architectural details and craftsmanship? I think while technology stems from craftsmanship and people’s efficiency in production, it becomes like the connecting point or surface between people and architecture. Japanese carpenters, for example, are masterful in their techniques. These people learn from their masters, so it’s a type of culture and knowledge, and it’s important that this knowledge is passed on to the next generation. I think young craft artists are growing with the ability to create connection and experience between people; how people touch and connect. It’s like even though I use email and stuff, I still need face-to-face interactions and conversations with other people. Ceramic is an example of something that’s touchable. Japanese crafts are either ceramic or woodwork. They can touch people despite their unique differences and the different areas they originate from. It’s the same way with architecture—it should be something touchable; something that has its own character and story.

Momoyo Kaijima was born in Tokyo in 1969. She pursued her undergraduate degree at in Faculty of Domestic Science at Japan Women’s University in 1991 and her post graduate degree at the Tokyo Institute of Technology in 1999. During her time as a post graduated student, Kaijima was also a guest student at Eidgenössische Technische Hochshchule Zurich. In 1992, she co-founded Atelier Bow-Wow along with Yoshihara Tsukamoto, exploring the urban conditions of micro and ad hoc architecture. The firm is well known for theorizing the urban condition of Tokyo where the pressure on land is prominent, while attempting to find solutions for present issues architecturally.

79


ในแง่หนึง่ ผลงานทัง้ สองชิน้ ว่าด้วยเรือ่ งของความต้องการจริงๆ ของผูใ้ ช้ งานสถาปัตยกรรมมากกว่างานสถาปัตยกรรมทีถ่ อื ก�าเนิดขึน้ ตามความ ต้องการหรือข้อก�าหนดขององค์กรของรัฐ?

จริงๆ แล้วรัฐก็ยงั เป็นผูค้ วบคุมการก่อสร้างของงานสถาปัตยกรรมอยู่ เพียงแต่มนั ไม่ได้รบั การถกเถียง หรือค�านึงถึงในเชิงวิชาการ ฉันคิดว่ามีพฤติกรรมทีน่ า่ สนใจมากมายทีเ่ กิดขึน้ ในบริบทของความ เป็นเมือง ไม่วา่ จะในในกรุงเทพฯ หรือเมืองอืน่ ๆ ไม่วา่ จะเป็นในลักษณะของตึกหรือผูค้ น แต่มนั ไม่ได้ถกู บันทึกไว้ในประวัตศิ าสตร์ของสถาปัตยกรรมไทย หรือแม้แต่ของญีป่ นุ่ เอง เพราะอย่างนัน้ เราถึงอยากทีจ่ ะเพิม่ แง่มมุ เชิงประวัตศิ าสตร์ให้กบั การมีอยูแ่ ละเรือ่ งราวของตึกและอาคารอยูอ่ าศัย ท้องถิน่ (Vernacular) เหล่านี้ จากพรีเซนเทชั่นของคุณ ดูเหมือนว่าการท�าวิจัยได้กลายมาเป็นหนึ่งใน แรงผลักส�าคัญในงานออกแบบของคุณไปแล้ว ช่วยเล่าให้เราฟังสักหน่อย ถึงสาเหตุและแนวทางในการใช้งานวิจัย อย่างเช่นในโปรเจ็คต์ Made In Tokyo และ Pet Architecture?

คือฉันชอบบ้านและพืน้ ทีท่ มี่ ลี กั ษณะของความเป็นเมือง ฉันมักจะมีความสนใจเสมอว่าท�าไมบ้าน หลังนีถ้ งึ เป็นอย่างนัน้ ท�าไมพืน้ ทีน่ นั้ ถึงเป็นอย่างนี้ รวมไปถึงพฤติกรรมของผูท้ ใี่ ช้พนื้ ทีเ่ หล่านัน้ ด้วย ความสนใจของฉันมักจะเกีย่ วข้องกับการเรียนรูจ้ ากท้องถิน่ ซึง่ มันก็ได้ถกู น�ามาใช้เป็นส่วน หนึง่ ของงานออกแบบของเราด้วยเหมือนกัน ส�าหรับในกรณีของ Made in Tokyo และ Pet Architecture ก่อนทีเ่ ราจะเริม่ การวิจยั นัน้ ไม่มใี ครสนใจการมีอยูข่ องตึกพวกนีม้ าก่อน เพราะ คนญี่ปุ่นส่วนใหญ่นั้นมักจะชื่นชมงานสไตล์ยุโรปเสียมากกว่า พวกเขามองว่ามันเป็นงานที่ดูดีมี ระดับ เพราะฉะนัน้ ตึกพวกนีซ้ งึ่ ไม่ได้มสี ถาปนิกชือ่ ดังคนไหนมาออกแบบให้ เป็นตึกส�าหรับอยู่ อาศัยธรรมดา ก็ไม่มใี ครสนใจสักเท่าไหร่ แต่เราก็ตงั้ ค�าถามขึน้ ว่า อะไรคือความเป็นโตเกียว ถ้า เราพูดถึงเมืองนีใ้ นเชิงของงานสถาปัตยกรรม โตเกียวจะมีลกั ษณะนิสยั อย่างไร ซึง่ สถาปัตยกรรม ทีเ่ ป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยเหล่านีเ้ ป็นสิง่ ทีม่ บี ทบาทส�าคัญต่อวิถชี วี ติ ของชาวโตเกียวมาก มันก็เลยกลายเป็น สิง่ หลักๆ ทีเ่ ราพยายามจะน�าเสนอ Made in Tokyo เป็นเหมือนโครงสร้างของความเป็นเมืองที่ ชาวโตเกียวสร้างขึน้ ในขณะที่ Pet Architecture พูดถึงตึกและสถาปัตยกรรมขนาดเล็กๆ ที่ ั นาการของพืน้ ทีเ่ มือง และความเปลีย่ นแปลงต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ใน มีเป็นผลลัพธ์มาจากการวิวฒ พืน้ ทีเ่ หล่านัน้ เพราะส่วนมากแล้วพืน้ ทีเ่ มืองมักจะถูกพัฒนาและให้ความส�าคัญไปในทิศทางทีเ่ กีย่ ว กับการสร้างตึกสูงๆ ทางด่วนต่างๆ ง่ายๆ ก็คอื เป็นเรือ่ งของโครงสร้างพืน้ ฐานเสียมากกว่า ซึง่ เมือ่ ทิศทางการพัฒนาด�าเนินไปแบบนัน้ มันก็เลยต้องมีการขยายขนาดถนน ทีม่ กั จะตัดโดนทีด่ นิ ของชาวบ้าน เพราะฉะนัน้ รอบๆ วงแหวนของถนนใหญ่ๆ ทีต่ ดั ไปตัดมาเหล่านี้ ก็จะกลายเป็น พืน้ ทีข่ นาดจิว๋ เต็มไปหมด ซึง่ คนทีเ่ ป็นเจ้าของก็ยงั อยากทีจ่ ะสร้างอะไรบนทีด่ นิ เหล่านัน้ ต่อให้มนั เล็กแค่ไหนก็ตาม เพราะราคาทีด่ นิ มันสูงมาก ทัง้ หลายทัง้ ปวงก็เป็นทีม่ าของตึกขนาดจิว๋ เหล่านีน้ ลี่ ะ่ ค่ะ ตึกรามพวกนีไ้ ม่ได้เป็นตึกทีจ่ ะมีใครมาสนใจ ไม่วา่ จะเป็นคนทัว่ ๆ ไปหรือหนังสือสถาปัตยกรรม เล่มไหนๆ เราจึงริเริม่ ทีจ่ ะเป็นคนอธิบายถึงทีม่ าทีไ่ ปและเรือ่ งราวทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลังการมีอยูข่ องตึกและ สิง่ ก่อสร้างเหล่านี้ ว่ามันมีพฒั นาการของมันเอง มีประวัตศิ าสตร์ของมันเองในพืน้ ทีเ่ มืองทีม่ นั ตัง้ อยู่ สิง่ ทีเ่ ราท�าก็คอื เราพยายามทีจ่ ะแสดงให้การมีอยูข่ องของตึกเหล่านีเ้ ป็นทีย่ อมรับในฐานะของ อีกนิยามหนึง่ ในการออกแบบพืน้ ทีเ่ มือง

ตามความเข้าใจของคุณแล้ว Vernacular มีความหมายว่าอย่างไร เพราะ คนส่วนใหญ่มกั คิดถึงมันในเชิงของสิง่ ทีท่ า� ให้รสู้ กึ ถวิลหาถึงอดีต?

ส�าหรับฉันแล้ว Vernacular คือ ความเป็นปัจจุบนั สิง่ ทีเ่ ราน�ามาใช้คอื สิง่ ทีก่ า� ลังเกิดขึน้ ในเวลา ปัจจุบนั ไม่ใช่สงิ่ ทีเ่ คยท�าในอดีต แต่ในบางแง่มมุ ฉันคิดว่ามันมีสว่ นเกีย่ วข้องกับการเปลีย่ นไป ของวิถชี วี ติ และการด�ารงชีวติ ของคน มันเป็นเรือ่ งง่ายทีจ่ ะพูดถึงธรรมเนียมประเพณี เพราะมัน เป็นสิ่งที่มีความชัดเจน เวลาคนส่วนมากเห็นบ้านแบบสมัยก่อน พวกเขาจะมีความเข้าใจว่าคน สมัยก่อนอยูก่ นั อย่างไร และวิถชี วี ติ ของพวกเขาเป็นอย่างไร สิง่ เหล่านีก้ ม็ ปี รากฏให้เห็นในวิถชี วี ติ ในปัจจุบนั เช่นกัน ส�าหรับฉันแล้ว Vernacular หรือตึกแบบไหนก็เหมือนกัน จะเป็นสมัยก่อนหรือ สมัยนี้ มันก็ลว้ นแสดงให้เห็นถึงวิถชี วี ติ ของผูค้ น เราอาจจะรูท้ มี่ าทีไ่ ปของตึกๆ หนึง่ แม้มนั จะไม่ได้ ถูกใช้งานในแบบทีม่ นั เคยเป็น บ้านเก่าอาจจะถูกน�ามาใช้เป็นพิพธิ ภัณฑ์หรือแกลเลอรี่ แต่มนั ก็ไม่ ได้แสดงให้เห็นถึงวิถชี วี ติ ในปัจจุบนั หากแต่เป็นเครือ่ งเตือนใจเราถึงการมีอยูข่ องวิถชี วี ติ แบบเก่าๆ เรามีสถาปัตยกรรมแบบ Vernacular มากมาย ไม่วา่ จะเป็นบ้านเก่าหรืออะไรก็ตาม แต่คา� ถามก็ คือเราจะคงความหลากหลายของการใช้ชวี ติ ภายใต้สภาวการณ์ปจั จุบนั ได้อย่างไร มันก็เหมือนกับ ว่าเราเคยมีชวี ติ อยูโ่ ดยไม่มแี อร์ เราเคยได้สดู อากาศ ออกไปอยูข่ า้ งนอกบ้านบ้าง แล้วท�าไมปัจจุบนั เราไม่ทา� อย่างนัน้ กันอีกแล้ว ดูเหมือนว่าส�าหรับคุณแล้ว Vernacular เกี่ยวข้องกับความร่วมสมัย มากกว่า แต่ในขณะเดียวกัน อดีตก็ยงั มีความส�าคัญ และเป็นสิง่ ทีค่ วรถูก ค�านึงถึง แล้วถ้าเป็นตึกรามเก่าๆ และการทีม่ นั ค่อยๆ เปลีย่ นผ่านลักษณะ การใช้งานจากเก่าไปสู่ใหม่ล่ะครับ คุณคิดว่ามันยังจะสามารถคงคุณค่า แบบเก่าของมันเอาไว้ได้หรือไม่ครับ เมื่อมันไม่ได้ถูกใช้งานในแบบดั้งเดิม แบบทีม่ นั เคยเป็นอีกต่อไป? ครอบครัวสมัยใหม่ไม่สามารถอยูใ่ นบ้านไม้แบบเก่าได้เหมือนทีบ่ รรพบุรษุ พวกเขาเคยอยูใ่ นอดีต

มันมีกรณีหนึง่ ทีเ่ ราสร้างหัวข้อให้กบั บ้านเก่าหลังหนึง่ เราท�าการบูรณะมัน ท�าความสะอาดมัน

House Tower (2006) Tokyo, Japan 81


แล้วก็นา� เอาระบบการจัดการและรองรับใหม่ๆ เข้ามาใช้สา� หรับการใช้งานบ้านเก่านัน้ ในฐานะของ พิพิธภัณฑ์ ฉันว่าพิพิธภัณฑ์ท�างานเหมือนกับเวลาที่เจ้าของบ้านจ่ายเงินให้คนเข้ามาดูแลความ เรียบร้อยให้บา้ นของพวกเขา แต่มนั ก็ยงั มีความช่วยเหลือจากรัฐบาลทีม่ าในรูปของงบประมาณอีก ด้วย เรายังอยากทีจ่ ะคงปริมาณของบ้านเก่าเหล่านีเ้ อาไว้ ฉันไม่ทราบว่าในเมืองไทยเป็นอย่างไร แต่ฉนั ก็ยงั เห็นบ้านไทยโบราณอยูน่ ะ ตามริมคลองอะไรแบบนัน้ ในเมืองไทย บ้านเหล่านัน้ ส่วนหนึง่ ถูกอนุรกั ษ์เพือ่ จุดประสงค์เชิงท่องเทีย่ ว เหมือนเป็นทีท่ มี่ คี วามทรงจ�าในอดีต เหมือนกับเวลาทีค่ นไป Disney Land เพราะมันท�าให้พวกเขานึกถึงวัยเด็กและวิถชี วี ติ แบบเก่า แต่ความแตกต่างระหว่าง Disney Land กับการอนุรกั ษ์แบบนีอ้ ยูท่ ไี่ หนกันล่ะ มันเหมือนกับการที่ คนญีป่ นุ่ คิดถึงเสือ่ ตาตามิในฐานะทีม่ นั เป็นหน่วยวัดพืน้ ทีแ่ บบหนึง่ และมันก็ยงั เป็นวัสดุทเี่ ราใช้ใน

การปูพนื้ บ้านสมัยก่อน แต่ในขณะเดียวกันมันก็ยงั ถูกใช้ในบริบทปัจจุบนั ด้วยเหมือนกัน เพราะบ้าน ในต่างจังหวัดก็ยงั ใช้มนั อยู่ ในกรณีนี้ มันเป็นความหลากหลายในวิถชี วี ติ เราอาจจะมีเฟอร์นเิ จอร์ ไว้นงั่ แต่เราก็ยงั นัง่ บนพืน้ บนเสือ่ ตาตามิได้เหมือนกัน ความหลากหลายทีเ่ กิดจากการผสมผสาน กันแบบนีเ้ ป็นสถานการณ์ทกี่ า� ลังเกิดขึน้ ในปัจจุบนั ฉันคิดว่าพืน้ ทีเ่ มืองและวัฒนธรรม หรือวิถชี วี ติ ควรจะได้รบั การพัฒนาขึน้ เพือ่ ตอบสนองต่อความสะดวกสบายของคนในยุคปัจจุบนั ถ้าคุณคิดถึง ความหมายของค�าว่าสะดวกสบาย มันก็เหมือนกับการทีค่ ณุ ตัง้ ค�าถามกับตัวเองว่า จะเป็นแอร์ หรือ ลมเย็นๆ ทีจ่ ะพัดผ่านเข้ามาในบ้านของคุณดีนะ ซึง่ ส�าหรับฉันแล้ว ฉันคิดว่าค�าตอบคือ เราน่าจะ คงเอาความหลากหลายของสิง่ ทีเ่ ราเคยมีในอดีตไว้ Disney Land ก็เหมือนกับการส่งเสริมการมี อยูข่ องพืน้ ทีท่ างวัฒนธรรมพืน้ ทีห่ นึง่ โดยองค์กรใหญ่องค์กรหนึง่ โดยมีจดุ ประสงค์คอื การสร้าง ความบันเทิง ซึง่ มันก็เป็นอีกหนทางหนึง่ ของการรักษาความหลากลายทางวัฒนธรรมด้วยเหมือน กัน อย่างไรก็ตาม ส�าหรับทีมงานเราเองนัน้ เราอยากทีจ่ ะผสมผสานสิง่ ต่างๆ ให้เป็นธรรมชาติ มากกว่านัน้ เราพยายามทีจ่ ะรวมเอาของเก่าและใหม่เข้าไว้ดว้ ยกัน และเราก็มคี วามสนใจใคร่รกู้ บั สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีต่ รงกลางระหว่างความเก่าและความใหม่

คุณช่วยอธิบายให้เราฟังถึงการเปลีย่ นผ่านจาก Made in Tokyo ไปยัง Pet Architecture สักหน่อยได้ไหมครับ ช่วงเวลานัน้ มีสว่ นส�าคัญในอาชีพ การเป็นสถาปนิกของคุณบ้างหรือไม่ ในวันนี้ คุณเปลีย่ นไปมากแค่ไหนเมือ่ เทียบกับช่วงแรกของการเป็นสถาปนิก? ช่วงทีเ่ ราท�า Made in Tokyo และโปรเจ็คต์บา้ นอืน่ ๆ นัน้ ขนาดของงานใหญ่กว่าทีเ่ ราเคยท�า

กันมา การสังเกตเป็นสิ่งที่มีความส�าคัญมาก ฉันหมายถึงการที่คุณสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นในสังคม และสิง่ แวดล้อมรอบๆ ตัวคุณ Made in Tokyo เป็นตัวอย่างทีด่ ที เี่ ราจะได้แสดงให้เห็นว่าสังคม และพฤติกรรมของคนทีอ่ ยูใ่ นสังคมนัน้ เป็นอย่างไร ซึง่ นัน่ เป็นสิง่ ทีพ่ วกเราคิดว่าน่าสนใจ ไม่ใช่

แค่ในเรือ่ งของขนาดของโปรเจ็คต์ทใี่ หญ่ขนึ้ เท่านัน้ แต่เป็นเรือ่ งของการทีม่ นั เป็นเหมือนรายงาน ความเป็นไปและการมีอยูข่ องสถาปัตยกรรมของโตเกียว ส่วน Pet Architecture ก็เป็นการอธิบาย สถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในโตเกียว ส่วนมากโปรเจ็คต์ของเราจะเป็นเรือ่ งของการอธิบายสถาปัตยกรรม เหมือนกับว่ามันเป็นสถานการณ์ๆ หนึง่ ให้คนได้เข้าใจ เพราะเวลาทีค่ นเราสร้างตึกหรืออาคารขึน้ มา สักหลัง ตึกนัน้ ย่อมมาพร้อมกับเรือ่ งราวและประวัตศิ าสตร์ของมันเอง เนือ่ งจากสถาปัตยกรรม จ�าเป็นจะต้องใช้เงินจ�านวนมากในการสร้าง รวมไปถึงการสนับสนุนจากผูค้ นอีกด้วย ซึง่ หลังจาก ทีอ่ าคารสร้างแล้วเสร็จ มันก็จะมีเรือ่ งของการจัดการเข้ามาเกีย่ วข้อง ดังนัน้ มันจึงหมายความว่า ถ้าเราออกแบบงานสถาปัตยกรรมสักชิน้ งานสถาปัตยกรรมนัน้ จะต้องได้รบั การอธิบายให้ผคู้ นได้ รับรูแ้ ละเข้าใจถึงความหมายของการมีอยูข่ องมัน Made in Tokyo จึงเป็นเหมือนการสังเกต ไม่ใช่การออกแบบ แต่ถา้ เราจะต้องออกแบบอาคารสักหลัง เราก็จะท�ามันให้เหมือนกับทีเ่ ราได้พดู เอาไว้ใน Made in Tokyo นัน่ คือการอธิบายสถาปัตยกรรมเหมือนมันเป็นสถานการณ์ๆ หนึง่ ในช่วงแรกๆของอาชีพการเป็นสถาปนิกของคุณ งานส่วนใหญ่ของคุณจะ เกีย่ วเนือ่ งกับความหนาแน่นของพืน้ ทีเ่ มือง และโปรแกรมสถาปัตยกรรม ของพืน้ ทีพ ่ กั อาศัย มาหลังๆ คุณท�างานกับทัง้ ตึกสาธารณะและงานทีไ่ ม่ ได้อยูใ่ นพืน้ ทีเ่ มืองด้วยเช่นกัน คุณมีการผสมผสานวิธคี ดิ และการท�างาน ในทัง้ สองช่วงเวลาเข้าด้วยกันบ้างไหมครับ?

หน้าปกหนังสือ Made in Tokyo Guide Book (2001) 83


Tradition is usually clearer when it’s put to discussion, because for a lot of people, the sight of a traditional house allows you to understand things better.

ถ้าเป็นในกรณีของบ้าน เรามีบา้ นเดีย่ ว 2 แบบด้วยกัน แบบแรกคือบ้านในเมืองทีต่ งั้ อยูใ่ นพืน้ ที่ เมืองทีม่ คี วามหนาแน่นค่อนข้างสูง ส่วนมากจะอยูใ่ นโตเกียวและมีอยูใ่ นแถบชานเมืองบ้าง อีก แบบหนึง่ คือบ้านหลังทีส่ องหรือบ้านสุดสัปดาห์ แม้ความต้องการของผูอ้ ยูอ่ าศัยจะแตกต่างกันไป บ้านทัง้ สองแบบก็เป็นสถานการณ์ 2 สถานการณ์ทมี่ ลี กั ษณะคล้ายคลึงกัน ปัจจุบนั คนโตเกียว อยากทีจ่ ะมีบา้ นสองหลัง หลังหนึง่ อยูใ่ นเมือง อีกหลังอยูน่ อกเมืองเอาไว้ตากอากาศ ใกล้ชดิ กับ ธรรมชาติ เจ้าของบ้านต่างจังหวัดนัน้ จริงๆ แล้วก็เป็นคนทีอ่ าศัยอยูใ่ นโตเกียวนัน่ แหละ เพราะ ฉะนัน้ จะเห็นได้วา่ แม้จะเป็นบ้าน 2 หลังทีแ่ ตกต่างกันในเรือ่ งของทีต่ งั้ การมีอยูข่ องบ้าน 2 หลัง ก็ยังคงด�าเนินไปภายใต้วิถีชีวิตแบบโตเกียว ส่วนงานภูมิทัศน์ของฉัน ตัวงานโปรเจ็คต์ใหญ่มัน เหมือนกับเป็นการพยายามน�าระบบนิเวศของป่ามาอยู่กับวัฒนธรรมเมือง ซึ่งเราได้ท�างานร่วม กับนักออกแบบภูมทิ ศั น์ ซึง่ ถือเป็นเรือ่ งทีด่ เี พราะปกติขนั้ ตอนในการท�างานออกแบบในญีป่ นุ่ งาน ภูมทิ ศั น์กบั งานสถาปัตยกรรมจะไม่คอ่ ยได้ทา� งานร่วมกัน ถ้าจะให้อธิบายก็คอื ในญีป่ นุ่ นัน้ เรามี คณะสถาปัตย์ คณะออกแบบภูมทิ ศั น์ คณะวิศวกรรมโยธา ซึง่ ทัง้ 3 คณะนัน้ แตกต่างกันและแยก ออกจากกันโดยสิน้ เชิง โปรเจ็คต์ทเี่ ป็นสวนสาธารณะส่วนใหญ่จะอยูภ่ ายใต้การดูแลและจัดการของ บุคลากรทางวิศวกรรมโยธา และออกแบบภูมทิ ศั น์ ซึง่ คนพวกนีม้ กั จะเป็นคนทีเ่ ข้าไปมีตา� แหน่งทีท่ าง ในองค์กรของรัฐ ซึง่ เป็นทีท่ สี่ ถาปนิกส่วนใหญ่ไม่คอ่ ยอยากจะไปข้องแวะเท่าไหร่นกั นีเ่ ป็นเหตุผล ว่าท�าไมเราจึงไม่ได้มีเส้นสายหรือความสัมพันธ์แข็งแรงและแน่นหนานัก เวลาที่พวกเขาอยาก จะสร้างอาคารสวยๆ ในสวนสาธารณะ พวกเขาก็ไม่ได้มบี คุ ลากรทางสถาปัตยกรรมไปช่วยเหลือ ตอนนีฉ้ นั เองเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย ซึง่ มหาวิทยาลัยทีฉ่ นั สอนอยูน่ นั้ การออกแบบภูมทิ ศั น์ การจัดการพื้นที่เมือง และการออกแบบสถาปัตยกรรมถูกสอนอย่างใกล้ชิดภายใต้กลุ่มคณะวิชา เดียวกัน มีโครงการหนึง่ ทีเ่ พือ่ นร่วมงานทีเ่ ป็นอาจารย์ของฉันดูแลอยู่ และเขาก็ได้ขอให้ฉนั ไปช่วย งานนีใ้ นฐานะของสถาปนิก หลังจากทีเ่ ราคุยกันแล้ว ฉันพบว่ามันมีระยะห่างอย่างมากระหว่างสอง อาชีพ คือพวกเขารับผิดชอบงานทีม่ ขี นาดใหญ่มากแต่พวกเขาท�าการออกแบบโดยไม่มสี ถาปนิกเลย พวกเราก็เป็นห่วงกันหมด ไม่วา่ จะเป็นนักออกแบบภูมทิ ศั น์หรือวิศวกรโยธา หลังจากทีพ่ วกเราได้ พบและพูดคุยกันแล้ว ทุกคนก็มคี วามกังวลเหมือนกันหมด คือมันเป็นงานทีพ่ วกเราสามารถช่วย เหลือและท�าร่วมกันได้นะ คุณนึกออกไหม มันเป็นสถานการณ์ทแี่ ตกต่างไปจากการออกแบบบ้าน โดยสิน้ เชิงเลยทีเดียว

ดูเหมือนว่าคุณใช้ขอ้ จ�ากัดและอุปสรรคทางสถาปัตยกรรมทีค่ ณ ุ ต้องเจอ มาเป็นแรงผลักดันในการออกแบบหรือเปล่าครับ คุณได้รบั แรงบันดาลใจ และจุดมุง่ หมายในการท�างานมาจากไหนครับ?

ฉันคิดว่ามันมีเส้นขอบเขตบางอย่างที่เกิดขึ้นภายในความรู้สึกนึกคิดของฉันก่อนที่ฉันจะท�าการ ออกแบบด้วยซ�า้ ไป ซึง่ ฉันว่าฉันก็ไม่รตู้ วั หรอกว่ามันมีอยู่ ทุกวันนี้ สถาปนิกควรจะคิดว่าเส้นขอบเขต ของการออกแบบของตัวเองอยูท่ ไี่ หน หรือขอบข่ายหรือโครงร่างของการออกแบบของคุณอยูต่ รงไหน นีเ่ ป็นเหตุผลว่าท�าไมการบรรยายใน ASA Forum ทีผ่ า่ นมาของฉันจึงพยายามทีจ่ ะอธิบายว่าท�าไม ขอบข่ายหรือโครงร่างจึงมีความส�าคัญนักในการพัฒนาแบบอาคารสักหลัง โครงร่างหรือขอบข่าย ทีเ่ ราได้รบั จากลูกค้าอาจจะไม่ใช่สงิ่ ทีน่ า่ ท้าทายทีส่ ดุ เสมอไป เราไม่ตอ้ งการทีจ่ ะท�างานในลักษณะ นัน้ นัน่ เป็นเหตุผลว่าท�าไมเราถึงพยายามหาทางออกให้ตวั เองเสมอ เรามองหาสิง่ แวดล้อม หรือ เส้นสุดเขตแดนของการออกแบบ แล้วมองหาว่าความเป็นได้มอี ะไรบ้าง จากนัน้ เราจึงค่อยเริม่ คิด ว่าเราจะขยายขอบเขตนัน้ ออกไปได้อย่างไรบ้าง บางทีมนั ก็เป็นการง่ายกว่าทีจ่ ะท�าความเข้าใจสิง่ ทีอ่ ยูภ่ ายในโปรแกรมการออกแบบของอาคารหนึง่ ๆ จากการวางตัวเองไว้ขา้ งนอก เพราะฉะนัน้ ไม่วา่ จะเป็นภูมทิ ศั น์ สวนสาธารณะ บ้านหรืออะไรก็ตาม มันก็เหมือนกันหมดนัน่ แหละ บ้านไม่ สามารถโยกย้ายตัวเองออกจากพืน้ ทีก่ อ่ สร้างได้เนือ่ งด้วยข้อจ�ากัดทางเศรษฐกิจ แต่ในแง่มมุ หนึง่ มันก็เป็นตัวแสดงให้เห็นการปรับตัวหรือเปลีย่ นแปลงของสังคม การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประเด็นปัญหาทีเ่ กีย่ วข้องกับพืน้ ทีเ่ มือง และอืน่ ๆ เพราะฉะนัน้ ถ้าเรายืนอยูข่ า้ งนอก เราก็จะมอง เห็นชัดเจนขึน้ ว่าจุดยืนของการออกแบบของเราคืออะไร หรือภูมทิ ศั น์คอื อะไร จุดมุง่ หมายของเรา ก็คอื การสร้างจุดยืนใหม่ผา่ นงานสถาปัตยกรรมเพือ่ ให้สาธารณะชนและสถาปนิกคนอืน่ ๆ ได้รถู้ งึ ความเป็นไปได้ใหม่ๆ ในการออกแบบ คุณช่วยนิยามความหมายของค�าว่าสุนทรียภาพแห่งศตวรรษที่ 21 ในมุมมอง ของคุณสักหน่อยได้ไหมครับ?

ศตวรรษที่ 20 เป็นเรือ่ งของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี วัสดุใหม่ๆ และกระบวนการออกแบบ ใหม่ๆ พัฒนาการต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ภายในขอบข่ายเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม แต่เราต้องคิดนอกกรอบ ของเทคโนโลยีบ้างเหมือนกัน ประเด็นอย่างเรื่องของสิ่งแวดล้อมและอิทธิพลของเทคโนโลยี ต่อสิง่ แวดล้อม และเราจะท�าอย่างไรให้เทคโนโลยีเป็นสิง่ ทีจ่ บั ต้องได้มากขึน้ เราสามารถท�าอะไร ได้มากกว่านีก้ บั งานสถาปัตยกรรม เพราะมันเป็นศาสตร์ทเี่ ป็นการทดลองทัง้ ในเชิงกายภาพและ เชิงจิตใจ สุนทรียภาพแห่งศตวรรษที่ 21 ตามความคิดของฉันนัน้ เกีย่ วเนือ่ งกับกับการพัฒนา ของสามัญส�านึก ความหมายและการให้เหตุผลทีส่ ถาปัตยกรรมและสังคมมีรว่ มกัน สุนทรียภาพ ในศตวรรษที่ 20 เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับการมองเห็น แต่ศตวรรษที่ 21 เป็นเรือ่ งของการทดลองสิง่ ใหม่ๆ มากกว่า

8585


แล้วเรือ่ งของรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมและทักษะฝีมอื เชิงช่างล่ะครับ?

ฉันคิดว่าในขณะทีเ่ ทคโนโลยีเติบโตขึน้ มาจากทักษะฝีมอื เชิงช่างและความสามารถในการผลิตของ มนุษย์ ตัวมันเองได้กลายมาเป็นเหมือนจุดเชือ่ มต่อ หรือพืน้ ผิวทีเ่ ชือ่ มคนกับสถาปัตยกรรมเข้า ไว้ดว้ ยกัน ยกตัวอย่างเช่นวิชาชีพช่างไม้ในญีป่ นุ่ พวกเขาเป็นบุคคลทีม่ ที กั ษะความสามารถชัน้ สูง มีเทคนิคที่เก่งกาจ พวกเขาเรียนรู้จากจากปรมาจารย์ ดังนั้นมันจึงเป็นวิชาชีพที่มีค่าทั้งในเชิง วัฒนธรรมและความรู้ และมันก็เป็นเรือ่ งส�าคัญทีค่ วามรูเ้ หล่านีจ้ ะต้องได้รบั การส่งต่อไปยังคนรุน่ หลัง ฉันคิดว่าช่างฝีมอื หรือศิลปินรุน่ ใหม่ๆ ก�าลังเติบโต และพวกเขาก็มคี วามสามารถทีจ่ ะสร้างความ ความสัมพันธ์และประสบการณ์ระหว่างมนุษย์ ในแง่ที่ว่าคนเราจะสัมผัสและเกี่ยวข้องสัมพันธ์ กันอย่างไร มันเหมือนกับว่าฉันเองก็ใช่อเี มล์และเทคโนโลยีอนื่ ๆ นะคะ แต่ฉนั ก็ยงั ต้องการทีจ่ ะ มีปฏิสมั พันธ์กบั มนุษย์คนอืน่ ๆ แบบตัวต่อตัวทีฉ่ นั สามารถเห็นหน้าเห็นตัวคนจริงๆ ของคนที่ ฉันมีปฏิสมั พันธ์ดว้ ยเหมือนกัน งานเซรามิคเป็นอีกตัวอย่างหนึง่ ของสิง่ ทีส่ ามารถจับต้องได้ ซึง่ งานฝีมอื ของญีป่ นุ่ ไม่วา่ จะเป็นเซรามิคหรืองานไม้กใ็ ห้ความรูส้ กึ แบบนัน้ ทัง้ นัน้ มันสามารถเข้า ถึงผูค้ นได้แม้งานแต่ละชิน้ จะมีลกั ษณะเฉพาะตัวทีแ่ ตกต่างกันไปตามแต่ละพืน้ ทีท่ มี่ นั ถูกสร้างสรรค์ ขึน้ มันก็เหมือนกับงานสถาปัตยกรรมนัน่ ล่ะค่ะ มันควรเป็นสิง่ ทีจ่ บั ต้องได้ เป็นสิง่ ทีม่ คี ณุ ลักษณะ และเรือ่ งราวเป็นของตัวเอง

“We always try to find the way out; what the possibility is, and we start to think about the verna edge that we can expand.”

Gae House (2003) Tokyo, Japan 87


First published in art4d 146, March 2008.

Li Xiao Dong urban

cular

preservation


“Every designer has to learn to understand problems, before they design. If you are a responsible architect, you have to learn a lot.”

We’ve seen your work only once, at Arcasia, it’s very impressive. Arcasia, yes. Thank you. Could you tell us about your background in this career, both your practice as an architect and in the academic field. I was educated here, in China, and went to Holland in 1989 where I lived for eight years. In Amsterdam? In Delft. I studied there for eight years then practiced in the Netherlands. Thereafter I went to Singapore and taught at the National University of Singapore for eight years, then I came back to Tsinghua University two years ago. Actually, this design here, it was done when I was in Singapore. Who is the owner of the School in Lijiang? Nobody, I am the sponsor of the project as well. Oh really? I actually donated the project to the people there. And it’s your own project? It’s my own project and also, I did the fund raising myself. I wrote hundreds of letters of get big funds. I also donated some money myself because this is in a very poor area. This is in the area of Shangri La? Very close to Shangri La.

education

And what impressed you most in terms of designing and building the school. I went to Singapore in 1997 and started to teach; I took a group of my students, about 20, to Lijiang and that was our first field trip to China. I was very impressed by the whole package of Lijiang, not just the culture, but also the nature. It has

Yuhu Elementary School and Community Center, Lijiang

91


a very good combination of nature and culture. Since then, we have been going to Lijiang almost every year for field trips. In 2002, I decided to do something for the people there so I talked to the local government about designing a school there and they were happy. They were good and they gave it to me, the village, so that was the starting point. Starting in 2002, I did the design, wrote many letters and got the money. In 2003 we started the project and finished everything by the end of the same year. But we did not get much money and that’s why it is a very low budget project. We had to use local products and resources, materials that local people could acknowledge, for the building. It’s also about sustainability of how traditional and local cultures can continue. We only spent about US$40,000 on the project. The students were supposed to join the construction part, but when we started the project in 2003 there was the SARS outbreak and so the students could not come. That is why the whole project was constructed by the villagers and supervised by one of my Ph.D. students. Fortunately, we got it done. It was very painstaking because the local people could not read the drawings; they had never read architectural drawings before. So, how the supervisor oversaw the whole construction process was quite different and it was quite a tough job. What is the project’s main concept? The concept is very easy. Actually, I have a design method in all my designs. There is the “how to make full use of resources you have, how do define the problems you have in hand, and how to maximize the resource”, and that is how I started. First of all, we had only about US$40,000. The resources we had were the local people and materials. What we tried to achieve is sustainability and how to set a good example for the locals to gain knowledge of making new designs, so that in the future they can learn from this whole process of building. You know, this building, compared with the other buildings in the village, has some kind of differences. We used similar details and construction methods, but this one is a public building so the function is quite different from a house. In a traditional house you have a cultural space like this, so all the windows are inward looking. But for a public space, a school, you need lighting from both sides, right? So the school building has to be open and the lighting is quite different. Also, they are not really concerned about insulation methods,

so in this case we used double skin to make the building; in the summer it can be opened up for cross-circulation. Both these things are new for the people because this is new knowledge. I tried to combine these new houses with local traditions so somehow they can understand and they can also learn from it because of the low budget, and they can build themselves similar things in future. We have a very important neighbor on the site - Joseph Rock’s house. Joseph Rock was an American journalist who worked for National Geographic in the 1920s. He lived in that particular village for over twenty years - in the same house for twenty years. His building has now become a kind of a monument for the villagers. So this building is Joseph Rock’s house and the current school is located here, there is a basketball court here, and those are the villagers’ houses. It is an open site but somehow there is a wall here and there is a tree here, so the plan naturally is of two sheds. One shed opens to the school and another opens to the villagers’ side. Also, we tried to combine Joseph Rock’s house together with our school. You see, here is Joseph Rock’s house and it actually becomes a part of the boundary of the new compound. When you are looking at it from over there, these are the villagers’ houses. Actually, you are looking in front of the courtyard; you see the mountains, you see the blue sky and the villages, together with this new building, so it all kid of integrates together as one piece. That is how I made this building. I think what makes this building special is the local material, but it is a new form. Anyway this form is not completely in contrast with the neighbors, it has got an integration approach. Also, water is a very important part. It’s a very symbolic thing for the local people because these people originally were nomads. They moved round a lot and didn’t live in one place. Then, they suddenly felt at home because of the water that comes from melting snow and that is why they settled down there. 93


Because we all have backgrounds as architects, we are very enthusiastic about your project and we’ve decided that if we have a chance to go to Lijiang, we will certainly make it there. Currently the school building is run down and under renovation because of the material we chose when we constructed the building. At that time we did not have enough money so we bought very cheap materials. We didn’t treat the material and so there is water damage, hence we are now changing its façade. Hopefully everything will begin by September [2007]. In Singapore, there is a TV station that wants to shoot us building it, so I told them to wait until September. Did you get sponsorship for the renovation? Yes, I got a developer and they sponsored another $40,000. Also now, the best projects, like yours, become pilot projects for schools in remote areas of China? Not for schools but this project has other impacts, like many architects want to build this kind of interiors for schools. Because before this project nobody realized that a small design can achieve so much and impact things. So now, a lot architects want to do volunteer work, that’s the first thing. Another thing is, low budget design. This had had a huge impact on Chinese architects coming in. After this a lot of designers started to rethink about what to do in terms of design.

This project makes me think about the future of new architecture in China. What do you think about it? Maybe I should talk about my new designs to let you know my thoughts about how China’s architecture should be. You see this building (the School of Architecture, Tsinghua University). This is a very poor building. It was designed about 15 years ago and it was constructed in 1992-1993. You can see there is no imagination; it doesn’t look like a School of Architecture. What I’m doing now is trying to modify, renovate this building into something different, into a more architectural, more design-based space so my students can learn from the space itself. I’ll show you my design for this building first. Do you know Phoenix TV? Phoenix is a very popular Chinese TV station based in Hong Kong and now they have moved their headquarters to Beijing, so I am designing the headquarters for them. I shouldn’t go by trends or fashion because this is a media building. So, a media building is different from this kind of a building. This one is low profile and its vernacular is part of the nature. But for a media building, it has to announce its presence so the design method is quite different. So what I’m trying to promote in Chinese architectural projects is to be reflective - reflective means you reflect from the situation, the conditions and the budget you have. Every design is not preconceived images, rather, it is a process of denotation of problems you have. Based on it, you realize your design results. That is how it should be. That’s why, when I show the new designs, image or the style of the building itself has nothing to do with each other because the situation is different. This one is in a remote, rural area, very low budget. But the TV media station is high profile; I’s a city building. So the surrounding and site is different; the context is different; the function is different; and also the idea is supposed to be different. This one, is the library in Zhang Tsu province. and also, we try to think of and to do reflective art, what is in our tradition. This one, its like a book. You know Chinese books in ancient times are like this - you open up the bamboo. It’s not like the book with which you are familiar, but rather, you open it in another way. So we try to combine that kind of concept into the library design. Here actually is the storage of the books and those are the reading rooms. The reading rooms are wrenched around the cultural spaces. The culture is a very important typology of architecture in Zheng Tsu province. In this design, we try to combine two

95


things - the books and the cultural spaces. We try to incorporate a new concept in the design of the library space. Those are the texts; you can see the Chinese characters in them. This one actually goes into a big atrium space inside the building. If you see a book up close like this, it looks different from when you see it like that, so this becomes part of the interior design. The name of this TV station is Phoenix. There are two phoenixes turning like this; it’s a rotating image. So we try to incorporate this image in the building design. This is a very recognizable model. This is a park, and the site is actually in the southwest corner of the park. Here are the Olympic games venues, this is the site for the Phoenix TV station and CCTV is here. We are just neighbors, but CCTV, at 250 meters height, is a high-building space. It is ten times the size of our building; Phoenix is a small one and also the height limit is 60 meters, which means I have less height. But I want to announce the building so that people can recognize the building from far away or from a close distance. Inside the Chao Yang Park, you don’t design the building like a box because the park is a big player and very natural, right? You don’t design a very artificial form, so you design a sculptural form. This form comes from the idea of the rotating image. When you rotate, according to the site this one is facing the crossroad, the Forbidden City, this road, the Olympic Stadium, and this side is facing the park. So the raw material or the information goes from the entrance to the other building. The whole thing is like a processor. So, the raw material goes in through the processor, and then you view it, in the end it is onto the big screen. That’s the concept. The material I used is perforated stainless steel. Its reflective, but, also, you can see through it. The building has to be one complete form and not the collection of small forms so they can give a clearer image. It is because this looks too small to be recognized from afar, I shoot this image up in the sky, which is the hologram. So we can create an animation image in the middle of nowhere, in the sky. When you are landing at the airport, you can see the phoenix facing you in the sky. Even though the building is not going to go that high, I can project its image into the sky. From the front square, at night, you can see a very delightful phoenix in the park. Those are the offices, the production room. These are the clubhouses, public spaces and the studios. So we have different groups of people, officers and staff working on the difficult artwork, and the rest goes downwards when you move along

Xu House- an extension to a chapel in the woods. The glass facade allows the external atmostphere to be experienced inside out.

the way. For the internal space, I wanted to create a very vibrant form, both supernatural and also very futuristic because Phoenix TV has this philosophy, to be number one or to be whatever. So we tried to create this very refreshing image inside. Another example is a house in Boston. You know Goldman Sachs, the American investment firm and bank. The CEO of Goldman Sachs, Asia, wanted me to design a small house. He bought this house in Boston because his son went to Harvard, but the space was not really enough for them so he wanted me to redesign this place. Because I didn’t visit the site, that’s why when I designed this one, I could not do any modifications on the existing. What I did is, demolished this and designed a new part on this side. I am not frustrated about not being able to go into the site, because the site is away from this one, so it is easier to work. So here is the plan that we are doing. This is the existing one, and there is the trouble. There is a building when you just look up from here, so I will make a connection here. It’s like a glass box. The reason why this is a glass box is here is where we started from, so when you go out of this door, you will see a big contrast and it is actually suspended from the fourth floor. The floor looks like this, going downwards. Also, when you demolish this building and make this one glass, you will see a stone façade, also because this way it is a much better courtyard. The material is timber, a natural material. Within this glass box, I have two small boxes, one is this one, and the other box is here. This one is the master bedroom, this is the living room, and this double room stays here. Another box is the staircase, so we go up the staircase and to the open deck on top. You will see a very clear idea of what it is going to be; a very simple and clean construction. Nature is so beautiful, and you cannot compete with nature. This is the living room, so you go downwards into a big bottom space, which is surrounded by big beautiful trees. There is a tree on the back of this existing one and it still exists. I retained the tree that extends in the middle of the house. This one is like we are going into nature, so there is a lot of height and also places where you can enjoy the view as well. So, my design is quite different, right?

Model of Phoenix TV Station on site located next to OMA’s CCTV Headquarters 97


Yes. Because the site is different and also the function is different, so that’s what I call the reflective design thinking. You see, the idea of modifying this building (the School of Architecture) is to increase the efficiency of spatial use. This building does not have a public space. When you come in, there is a stair hall and the corridors. There are no public spaces and no exhibition spaces. You see, this kind of building is a double corridor, covered in the middle; there are offices on both sides that are not really ideal for the air quality because there is no cross-ventilation. So what I’m trying to do in this design is to change all those problems. We are here now; the other wing doesn’t belong to us, it belongs to another department. So architecture is simply an ‘L’ shape, and what I did is put an event space here, and then build some steps here to connect these two buildings. Those will be the public spaces in the future, and then the offices will be here and here, so it’s one-sided. And then I did some kind of cross-ventilation on this façade, so in the future it will be easy to have cross-ventilation in this part. This is the new plan. You won’t see corridors on this plan because they are open so students can have a lot of wonderful space. When you enter here, there are exhibition spaces, so we, of course, have about 2,000 square meters, which is almost ten times of the current space and will be enough for their needs. Then I have the sunken open auditorium, so students can study here as well. Also, we can have a lecture here. Simultaneously, you have participation here and students can sit here and watch movies, attend lectures etc. Here is the backyard. And, this is the existing plan. You see the difference now? So when we finish this one it will be completely different. On every floor, there is an open deck. In the future, this building will become very complicated. There are lots of event spaces and students can choose to stay within any corner of the box. The students will stay in this corner, so level one, level two, and level three go all the way up. The library will be three times the size of the present library. This is the cross-ventilation device, so when you open up in the summer and other seasons, the air can easily go through. In the winter, you close them up. This is the roof material I use, very light, because its for both buildings so I cannot use new structures that are too heavy.

What is it? Yes, this one. The new Olympic swimming pool uses this material. You know the other project? Yes, it’s the same material and it’s going to be very hot, right? So what I try to design here is without using any air conditioning to cool down the space. What I did is to open up on top here, as it gets hot on top, air is sucked out. If you have the entrance of cool air from the bottom, the cool air will be sucking in all the hot air. I have a very long water pipe to sprinkle out very foggy water. The water temperature is seven degrees, which can cool down the thirty degrees hot air to about twenty degrees. The cool air will be sucked in from here, so the air quality here is very high. Its about twenty-three to twenty-five degrees. We have the calculations. We cycle the water here, back to the underground. Without using electricity, or a little bit of electricity, I can cool down the air without using any air conditioning. That’s how it looks in the future, that is the material that is going to be used. In two years, this will be done. Come back again in two years, it will be a different school of architecture. To date, its two years that you have been in this position? Yes, it is about two years that I have been the Chair of the Department of Architecture. How many programs do you have? In school, we have four programs: architecture, urban design, landscape, and architectural technology. Did you get the idea to change this building since the first day? Yes. If you have the power to work for us, you have to change the hardware. 99


Every design is not preconceived images, rather, it is a process of denotation of problems you have. Have you studied the feasibility and possibility of this project with your students, or you just do it alone? I do it with my students, and my colleagues from the other programs and department of technology. They did the calculations. When I finished the design they calculated how much water I am going to consume to cool down the place. And, also, I have to change the façade and the internal space. How ecologically viable the design is going to be? How much energy we are going to save? We have all the tech readings, the whole package. And the University already approved of this? Yes, but I have no money now and again, I had to run a fundraiser. So I went to this guy in Hong Kong, he is the chairman of the Shangri La. Besides your teaching career, do you have your own studio? Yes. To practice? To practice, yes. I call it Li Xiaodong Design Studio. When did you start? 1997.

Compared with? With many other countries actually, even compared with small countries like Singapore and Hong Kong, the Chinese are very behind. The reason behind this is because we opened the doors only in the 1980s and there has only been twenty years of change; there hasn’t been two generations of architects practicing. The main problem is the architectural education system - it is a continuation of the past. We are still focusing on skills, but design concepts have changed tremendously. There are different rules of looking at architecture but the Chinese education has kept the same system for so many years. This is the reason behind design quality in practice. And then we have some people, some architects, coming back from studying abroad. Also, some other people from Europe for instance, right? But those people, sometimes they have a problem. They work with Zaha Hadid or some very fashionable designers then they copy their work in China, which I think is very problematic. It’s not really their goal. You are supposed to deal with problems you have, not come with preconceived ideas and concepts and superimpose them onto the problems you have. This is wrong, and, also, we have people like, in Shanghai, we have an architect, Ma Qing Yun, MADA s.p.a.m., this is another one. Ma Quin Yu, MADA s.p.a.m. Yes. He copied OMA. You can tell from his design right away, and OMA people recognized it right away. Even though they are not out of their design office yet, but MADA s.p.a.m. has already built it. So he is very fast in copying things, and getting good. In China, the construction period is very short compared with any other country, it is super-fast and this is part of the reason. People come from abroad, they actually, I mean, in general, they don’t digest the problems in real practice. They just copy whatever they have in mind from magazines, or from their experiences from going overseas. And then, you know, the implant of style onto a different situation is very wrong to begin with so we have two problems: the people coming from abroad don’t have this integration with local problems; internally, we don’t have a very good system to produce quality designers. Hangzhou is very nice, right? Do you like Hangzhou?

Oh, ten years already! Next, I want to ask about your opinion about Chinese architecture. We came here with the information, a lot of information, about the changing city of Beijing, including what will happen in 2008 and also 2010. What do you think about that? In general, the practice in China is still very low quality in terms of design quality. 101


It’s a city for vacation? For vacation. I’d like to keep that. But the lakes are nice, huh?

Oh really. We met them in Shenzhen. Shenzhen. The three of them. There are four of them, not three.

Yes, nice. Lots of space around the lakes, it is very refined. So we have two things that are problematic, and also another thing that comes to join this problem - in these past twenty years, the speeding. The economy is increasing so fast, continuously increasing for almost thirty years now; every year is a nine percent increase. Also, in practice itself, computers support architectural design. Computers speed up the design process, which I think is a global thing, but for the Chinese, this is especially so. None of the clients ask me to show them different concepts within one week or two weeks and then get it done in one month, and start construction. So that is the major problem behind this. There is no time for reflection.

They mentioned that in the past five years, China has given a lot of opportunities to young designers and architects because the cities grow everyday. What do you think about them? What is your opinion about this kind of a studio? Somebody calls these kinds of studios, experimental studios. There are mainstream designers and there are experimental designers, so the so-called mainstream designers are design firms. I think there are firms like Beijing Design Institute, China Design Institute; the whole kind of public sector designs firms. They are huge ones. They are like a production team, so their finished design is good within two weeks. Its like, you know….

Do you think that it happens around the country? All of this country, yes. Is this the result of the policy, to open the country or not? Yes. You think its right or wrong? Of course, it’s right; you have to open up your doors. It’s good to mention about the young architects, are there a lot of emerging architect studios at this moment? I mean, the new and young architect studios in Beijing. We have a few interesting firms in Beijing, like Urbanus. We met them last year and we published their work last year too. They are my classmates actually.

The double layer facade at the Yuhu Elementary School. The simple construction method can be applied by locals to reduce maintainence costs.

103


A product? Yes. And people like Pei-Zhu, Urbanus, myself, and also…. Yung Ho Chang. Yes, Yung Ho Chang; these people are experimental. They have ambitions to achieve something different, to change the practice somehow. We have these two groups of people. So you hope to change something? Yes. That is, to push the design standard slightly higher, if not very much higher. And what about in terms of society and culture; you know, the traditional way and the modern way? Do you have any philosophy to blend it together, or do you just let it be? You see, I’m finishing a book on China and space. This is part of my research. Because I think, what is Chinese architecture? It is a big question mark because China is a huge country. You don’t have one way to define Chinese architecture. Maybe like Singapore, they have tropical in Thailand, they have tropical architecture, and architects not only belong to the culture, but also belong to the region in terms of climatic of conditions. And, I’m thinking in a similar way, what is Chinese architecture? I’m trying to define it conceptually, what do these words mean? What is traditional? Because if you are not sure about these words, then the whole discussion is meaningless. The whole idea of my research on this area is to try to define what is culture, what is tradition, what is Chinese architecture? If you can define this one, it’s easier to continue and to move forward. What is architecture now? My thinking is that we don’t have one architecture called Chinese architecture. We probably have Beijing architecture, but Beijing architecture has a long tradition from Ming Dynasty, from Qing Dynasty, or from Yuan Dynasty, three dynasties. Why buildings now have to imitate buildings from five hundred years ago? It doesn’t make any sense, but you have to respect your memory. It’s a part of your history and your culture. Somehow, in what ways to respect this one? This is one exercise of how I see a new building. When I think of a village in Lijiang, how to respect the people and how to make progress, based on your understanding of the local cultural conditions. But it doesn’t mean you have to build it like this in Beijing. That’s why when I do designs like what I have just showed you, each one is different based on the conditions, to understand it from the side, the functionality, and also the context and aesthetics, or whatever. So you don’t

design Chinese architecture directly from the form, but rather you design a building based on the conditions you have. That is the real Chinese architecture and its what I understand about it. what role do Chinese architects see themselves playing in future in terms of their practice related to the urban environment? That’s a big question and I think, firstly, every designer has to learn to understand problems, before they design. If you are a responsible architect, you have to learn a lot. China was the center before, in history, and then it became peripheral afterwards, especially for the last two hundred years. We were actually occupied by some countries, not colonized, but actually occupied by many countries. We were defeated in the war by the Japanese, by different people. After the Cultural Revolution, we closed the door for many years, and when we opened them we realized that we were behind. So we have become peripheral. Now, the problem is we have the center and the periphery. The center, I mean, is like the United States, the European countries. They are developed countries. We are developing countries, so we become peripheral in this sense, not just economically, but also culturally. And, the peripheral wants to learn from the center to become the center. The problem is that the peripheral, in many senses, they copy the center or the ideas of the center to become the center. The problem is when you copy, you always lose something, lose your own voice. Then it becomes very problematic. I think the impression we got from China is that Shanghai looks like New York, it looks like Hong Kong, looks like something. These things come from abroad because you copy them and when you copy, you will always become the peripheral because you don’t have your own voice anymore. What Chinese architects are supposed to do is come back to their own situation, forget about the center, forget about copying, and just treat your problems seriously, logically and honestly. Then the solution will be original and you will not be copying anymore. Then, you will become the center again. Thank you so much, we have learnt a lot from you. Okay. Thank you.

105


เราได้เห็นงานของคุณในงาน Arcasia ซึง่ เป็นงานทีเ่ ราชอบมาก

Arcasia เหรอครับ ใช่ ขอบคุณ

คุณพอจะช่วยเล่าให้เราฟังถึงตัวคุณเองและงานของคุณทั้งในส่วนที่เป็น งานออกแบบและงานวิชาการหน่อยได้ไหม?

ผมเรียนทีน่ ี่ ในจีน จนกระทัง่ ปี 1989 ผมได้ไปเรียนทีฮ่ อลแลนด์และอยูท่ นี่ นั่ ไปอีก 8 ปี ในอัมเตอร์สเตอร์ดมั หรือ?

ในเดลฟ์ ผมเรียนอยูท่ เี่ ดลฟ์ 8 ปี จากนัน้ ก็ท�างานออกแบบอยูใ่ นเนเธอร์แลนด์และก็ยา้ ยมาอยู่ สิงคโปร์ ผมสอนหนังสืออยูท่ ี่ National University of Singapore อีก 8 ปี แล้วค่อยกลับมาที่ มหาวิทยาลัย Tsinghua เมือ่ สองปีทแี่ ล้ว จริงๆ แล้ว งานนี้ (School in Lijiang) ผมออกแบบ เมือ่ ตอนทีผ่ มยังอยูท่ สี่ งิ คโปร์ ใครเป็นคนว่าจ้างคุณให้ออกแบบงานนี?้

ไม่มใี ครหรอก ผมเป็นคนสปอนเซอร์โครงการนีเ้ อง จริงเหรอ?

จากนัน้ ผมก็ยกโรงเรียนให้กบั ชาวบ้านทีน่ นั่ ไป

Professor Li Xiao Dong is an architect, researcher and educator who completed his studies in Architecture at Tsinghua University in 1984 before completing his Ph.D. at Delft/Eindhoven University of Technology in 1993. In 1997, He established Li Xiao Dong Atelier. His projects include Yuhu Elementary School, Bridge School and Phoenix International Media Center. Li strongly believes that a good design is the result of a spiritual exploration of ideas paired with rational thinking. He is currently teaching at the School of Architecture, Tsinghua University in Beijing, and has won many prestigious architecture awards including the Aga Khan Award for Architecture in 2010 and Architecture Review Emerging Architecture Award in 2009.

และมันก็เป็นโปรเจ็คต์ของคุณเอง?

มันเป็นโปรเจ็คต์ของผมเองทัง้ หมด ผมเป็นคนจัดการหาทุนเอง ผมเขียนจดหมายเป็นร้อยฉบับ เพือ่ จะหาเงินทุนก้อนใหญ่เข้ามา และผมก็บริจาคเงินส่วนตัวของผมเข้าไปด้วย เพราะว่าโปรเจ็คต์ นีต้ งั้ อยูใ่ นพืน้ ทีท่ กี่ นั ดารมาก โครงการนีอ้ ยูใ่ นพืน้ ทีข่ อง Shangri La ใช่ไหม?

มันใกล้กนั กับ Shangri La มาก

อะไรคือแรงบันดาลใจให้คณ ุ อยากออกแบบโครงการนี?้

ผมไปสิงคโปร์เมือ่ ปี ‘97 ตอนนัน้ ผมพานักศึกษากลุม่ หนึง่ ประมาณ 20 คนไปลีเ่ จียงด้วยกัน นัน่ เป็นการออกไปทัศนศึกษาครัง้ แรกในจีน ผมประทับใจทุกอย่างในลีเ่ จียงนะ ซึง่ ก็ไม่ใช่แค่วฒั นธรรม อย่างเดียวแต่รวมถึงสภาพธรรมชาติของแถบนัน้ ด้วย ทีน่ นั่ มันคือความลงตัวระหว่างวัฒนธรรมกับ ธรรมชาติ ตัง้ แต่นนั้ มาผมก็ไปลีเ่ จียงเพือ่ ออกภาคสนามเกือบทุกปี จนเมือ่ ปี 2002 ผมเลยตัดสิน ใจทีจ่ ะท�าอะไรเพือ่ คนทีน่ นั่ สักอย่างหนึง่ ผมเลยเข้าไปคุยกับหน่วยงานราชการของทีน่ นั่ พวกเขา ก็ดใี จกันมากและผมก็บอกเขาว่า ผมอยากจะมาออกแบบโรงเรียนสักแห่งให้ทนี่ ี่ พวกเขาแนะน�า

Yuhu Elementary School and Community Centre, Lijiang 107


หมูบ่ า้ นมาให้ผมแห่งหนึง่ ซึง่ ก็คอื หมูบ่ า้ นนัน้ แหละ นัน่ คือจุดเริม่ ต้นของโครงการนี้ เราเริม่ ต้นกัน ตอนปี 2002 ผมท�างานออกแบบ นัง่ เขียนจดหมายแล้วก็ได้เงินมา ปี 2003 เราก็เริม่ งานก่อสร้าง และปิดงานทุกอย่างกันตอนปลายปี 2003 ตอนนัน้ เราหาเงินมาได้ไม่มากนัก และนัน่ ก็เป็นเหตุผล ทีว่ า่ ท�าไมโครงการนีถ้ งึ ใช้งบประมาณน้อยมาก เราต้องใช้วสั ดุทมี่ อี ยูใ่ นท้องถิน่ หรือผลิตในท้องถิน่ โดยเป็นวัสดุทชี่ าวบ้านสามารถใช้มนั ในการก่อสร้างได้ ฉะนัน้ โครงการนีจ้ งึ เป็นเรือ่ งของความยัง่ ยืน ในเรือ่ งการสืบสานวัฒนธรรมแบบประเพณีและของท้องถิน่ ให้สามารถด�ารงอยูต่ อ่ ไปได้ เราใช้เงิน กับโปรเจ็คต์นี้ไปทั้งหมด 40,000 ดอลลาร์ ตอนแรกผมคาดว่านักเรียนของผมจะเข้ามาช่วยใน ส่วนของงานก่อสร้าง แต่เราเริม่ งานกันตอนปี 2003 ปีนนั้ เป็นปีทโี่ รคซาร์ระบาด ท�าให้นกั ศึกษา ของผมเข้าไปช่วยไม่ได้ และนัน่ ก็ทา� ให้โครงการทีก่ อ่ สร้างโดยชาวบ้านเองทัง้ หมดและมีนกั ศึกษา ปริญญาเอกคนหนึง่ ทีส่ งิ คโปร์ของผมคอยควบคุมดูแลในภาพรวม โชคดีวา่ เราท�ามันส�าเร็จ มัน เป็นงานทีย่ ากล�าบากมาก เพราะคนท้องถิน่ ไม่สามารถอ่านแบบก่อสร้างได้ เพราะเขาไม่เคยอ่าน แบบสถาปัตยกรรมกันมาก่อน ฉะนัน้ ภาพรวมของงานก่อสร้างทัง้ หมดทีผ่ ดู้ แู ลโครงการมองเห็น จึงค่อนข้างแตกต่างออกไป แล้วมันก็เป็นงานทีโ่ หดมาก แนวความคิดหลักของโครงการนีค้ อื อะไร?

แนวคิดของมันง่ายมาก จริงๆ แล้วผมมีวธิ กี ารในการออกแบบในงานออกแบบของผมทุกงาน ผม เริม่ ต้นจาก ‘ท�าอย่างไรเราจะใช้สงิ่ ทีเ่ รามีอยูไ่ ด้อย่างเต็มที’่ ‘เราจะตีประเด็นปัญหาทีเ่ ราเจอ อย่างไร’ และ ‘ท�าอย่างไรเราจึงจะท�าให้สงิ่ ทีม่ มี นั มีมากขึน้ ’ จากนัน้ ก่อนอืน่ เลยเราก็มาดูวา่ เรามีเงิน แค่ 40,000 ดอลลาร์เท่านัน้ เรามีชาวบ้านทีน่ นั่ และวัสดุทอ้ งถิน่ สิง่ ทีเ่ ราพยายามจะท�ากันก็คอื สภาวะ ทีม่ คี วามยัง่ ยืนและการสร้างตัวอย่างทีด่ ที คี่ นทีน่ นั่ จะสามารถเรียนรูค้ วามรูใ้ หม่ๆ ในการท�างานออก แบบใหม่ๆ ฉะนัน้ ในอนาคตข้างหน้าพวกเขาจะสามารถเรียนรูไ้ ด้จากกระบวนการทัง้ หมดในการ ก่อสร้างนี้ คุณรูไ้ หมว่า เมือ่ เราเอาอาคารนีไ้ ปเทียบกับอาคารเดิมในพืน้ ที่ คุณจะเห็นความแตก ต่างได้ ทัง้ ทีเ่ ราใช้รายละเอียดงานและวิธกี ารก่อสร้างเหมือนกัน แต่นเี่ ป็นอาคารสาธารณะ ฉะนัน้ ประโยชน์ใช้สอยมันก็จะแตกต่างออกไปจากบ้านใช่ไหม บ้านแบบเดิมๆ มันจะเป็นแบบนี้ ดังนัน้ คุณก็จะมีทเี่ ว้นว่างแบบหนึง่ และมีทวี่ า่ งเชิงวัฒนธรรมแบบหนึง่ ฉะนัน้ หน้าต่างทัง้ หมดจะเป็นแบบ เปิดเข้าหาภายในตัวบ้าน แต่สา� หรับพืน้ ทีส่ าธารณะอย่างโรงเรียน คุณจ�าเป็นทีจ่ ะต้องเปิดให้มแี สง เข้ามาจากทัง้ สองด้าน ฉะนัน้ สเปซก็จะถูกเปิดออกเพือ่ เป็นโรงเรียน แสงทีเ่ กิดขึน้ ก็จะแตกต่างกัน อีกเรือ่ งหนึง่ ก็คอื พวกเขาไม่คอ่ ยสนใจเรือ่ งวิธกี ารในการป้องกันความหนาวเย็นเข้าสูอ่ าคาร ใน กรณีนเี้ ราท�าเปลือกภายนอกอาคารออกมาเป็น 2 ชัน้ ในฤดูรอ้ นเราสามารถเปิดให้อากาศถ่ายเท ได้ เรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งใหม่สา� หรับพวกเขา เพราะว่ามันเป็นความรูใ้ หม่ ผมพยายามทีจ่ ะผสานบ้านหลัง ใหม่เข้ากับประเพณีทอ้ งถิน่ เดิม อย่างไรก็ดพี วกเขาเข้าใจมันและสามารถเรียนรูจ้ ากมัน เพราะว่ามัน ไม่ได้ใช้เงินมากมายอะไร มันเลยท�าให้พวกเขาสามารถสร้างมันขึน้ เองได้

เรายังมีเพือ่ นบ้านคนส�าคัญคนหนึง่ ก็คอื Joseph Rock นักหนังสือพิมพ์ชาวอเมริกนั ทีเ่ คยท�างาน ให้ National Geographic เมือ่ ราวทศวรรษ 1920 เขาอาศัยอยูท่ หี่ มูบ่ า้ นเดียวกันนีม้ ากว่า 20 ปีแล้ว ตอนนีบ้ า้ นของเขาก็เลยเป็นเหมือนสถานทีส่ า� คัญอีกแห่งหนึง่ ของชาวบ้านทีน่ ี่ รอบๆ โรงเรียนก็ จะล้อมไปด้วยบ้านของ Joseph Rock สนามบาสเก็ตบอล และก็บา้ นชาวบ้าน มันเป็นทีเ่ ปิดโล่ง นะ คือจะมีขอบเขตให้เห็นก็แค่กา� แพงล้อมอยูบ่ างส่วนและก็มตี น้ ไม้อยูบ่ า้ ง แปลนอาคารจะถูกแบ่ง ของเป็น 2 ส่วน ส่วนหนึง่ เปิดเข้าหาภายในโรงเรียน อีกส่วนเปิดออกสูบ่ า้ นของชาวบ้านรอบๆ เราก็พยายามผสานบ้านของ Rock เข้ามากับตัวโรงเรียน แล้วก็ทา� ให้มนั เป็นกลุม่ อาคารเดียวกัน ทัง้ หมดนีค้ อื การผนวกเอาบริบทเข้ามาเป็นชิน้ เดียวกันกับตัวงาน นัน่ คือวิธกี ารทีผ่ มท�าอาคารหลังนี้ ผมคิดว่าสิง่ หนึง่ ทีท่ า� ให้อาคารหลังนีม้ นั พิเศษขึน้ มาก็คอื วัสดุทอ้ งถิน่ ทีน่ า� มาใช้ในแบบใหม่ทตี่ า่ งไป แต่รปู แบบในลักษณะนีก้ ไ็ ม่ได้ขดั กันกับสภาพโดยรอบ ทว่ามันเป็นแนวทางทีผ่ นวกเอาทุกอย่างเข้า มาอยูด่ ว้ ยกัน น�า้ เป็นสิง่ ทีส่ า� คัญมาก มันเป็นสิง่ ทีม่ คี วามหมายเชิงสัญลักษณ์บางอย่างส�าหรับ ชาวบ้านทีน่ ี่ เพราะแต่เดิมนัน้ คนทีน่ เี่ ป็นคนเร่รอ่ นมาก่อนพวกเขาจะไม่ปกั หลักอยูท่ ใี่ ดทีห่ นึง่ แต่ จะอพยพย้ายทีไ่ ปเรือ่ ยๆ พวกเขาจะรูส้ กึ ว่าได้อยูบ่ า้ นจริงๆ ก็ตอนทีม่ นั มีนา�้ ทีล่ ะลายจากหิมะไหล ลงมา นัน่ คือเหตุผลว่าท�าไมเขาตัง้ ถิน่ ฐานกันทีน่ แี่ ละมีสวนอยูภ่ ายในชุมชน จากทีเ่ ราทัง้ หมดต่างก็เป็นสถาปนิกเหมือนกัน เราจึงอยากไปเห็นลีเ่ จียง สักครัง้ เราเคยพูดกันว่า ถ้ามีโอกาสก็อยากจะไปทีน่ นั่ ดูสกั ที

ตอนนีท้ นี่ นั่ ก�าลังปรับปรุงอาคารกันอยู่ เพราะว่าเรามีเงินไม่พอ วัสดุทเี่ ราเลือกใช้ตอนก่อสร้างครัง้ นัน้ จึงเป็นวัสดุทมี่ รี าคาถูกมาก เราไม่ได้เคลือบผิวหรือท�าอะไรกับตัววัสดุเลย ดังนัน้ วัสดุเหล่านัน้ เลยบวมชืน้ และเราก็กา� ลังจะเปลีย่ นผิวภายนอกอาคารใหม่ ก็หวังว่าทุกอย่างจะเริม่ ท�าตอนกันยายน 2007 มีสถานีโทรทัศน์ในสิงคโปร์อยากไปถ่ายท�าอาคารหลังนีเ้ หมือนกันและผมก็บอกให้เขารอให้ พ้นเดือนกันยายนไปก่อน ในส่วนของการปรับปรุงคุณได้รับเงินสนับสนุนมาจากทางไหน เป็น รายเดิมทีเ่ คยให้หรือเปล่า?

ใช่ มีบริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย์แห่งหนึง่ ให้ทนุ ผมอีกประมาณ 40,000 ดอลลาร์

109


ในตอนนี้ โครงการดีๆ หลายต่อหลายงานกลายเป็นโครงการน�าร่อง ส�าหรับโรงเรียนในชนบททีห่ า่ งไกลในจีนใช่ไหม?

ไม่ใช่แค่โรงเรียน แต่มนั ยังส่งผลออกไปในอีกหลายรูปแบบ อย่างแรกก็คอื สถาปนิกหลายคนอยาก จะท�างานออกแบบภายในให้กบั โรงเรียนแบบนีม้ ากขึน้ เพราะว่าก่อนหน้าทีจ่ ะมีโครงการนี้ ไม่มี ใครคิดว่างานออกแบบเล็กๆ จะส่งผลออกไปได้อย่างมากมายแบบนี้ ตอนนีม้ สี ถาปนิกจ�านวนมาก อยากจะท�างานเป็นอาสาสมัคร อย่างต่อมาก็คอื งานออกแบบทีม่ งี บประมาณจ�ากัดมากๆ ทัง้ หมด นีส้ ง่ ผลอย่างมากต่อการเข้ามาร่วมของสถาปนิกจีนเอง หลังจากโครงการนีเ้ ผยแพร่ออกไปแล้ว ก็ มีสถาปนิกจ�านวนมากหันมาเริม่ คิดกันว่า เราจะท�าอะไรกับงานออกแบบได้บา้ ง จากโปรเจ็คต์นี้ท�าให้ผมคิดต่อไปถึงอนาคตของงานสถาปัตยกรรมรุ่น ใหม่ๆ ในจีน คุณมีความเห็นในเรือ่ งนีอ้ ย่างไร? ผมจะให้คุณดูงานออกแบบสถานีโทรทัศน์ Pheonix ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์ของฮ่องกงที่ได้

รับความนิยมมาก และตอนนีเ้ ขาย้ายส�านักงานใหญ่มาอยูท่ ปี่ กั กิง่ แล้วผมก็ได้เป็นคนออกแบบ ส�านักงานใหญ่ให้เขาและมันก็เป็นเหตุผลว่าท�าไมผมถึงไม่ควรท�างานที่เดินตามแฟชั่น เพราะว่า มันเป็นอาคารของธุรกิจสือ่ อาคารแบบนีม้ คี วามแตกต่างจากอาคารโรงเรียนทีม่ ลี กั ษณะเรียบง่าย สมถะ มันดูคล้ายงานสถาปัตยกรรมท้องถิน่ เป็นหนึง่ เดียวกับธรรมชาติ แต่สา� หรับอาคารสือ่ แบบ นี้ มันจ�าเป็นทีจ่ ะต้องแสดงตัวมันเองออกมาให้ชดั เจน ดังนัน้ วิธกี ารออกแบบมันจึงแตกต่างกัน ประเด็นทีผ่ มจะพูดก็คอื สิง่ ทีผ่ มพยายามจะท�าในงานสถาปัตยกรรมจีน มันคือลักษณะทีส่ ะท้อน (Reflexive) คุณลักษณะบางอย่างออกมา Reflexive หมายถึงคุณสะท้อนสถานการณ์ทคี่ ณุ เจอ ออกมา ตัง้ แต่เรือ่ งสถานการณ์ เงือ่ นไข และงบประมาณ งานออกแบบทุกๆ งานไม่ได้เกิดจาก ภาพทีม่ มี าก่อน แต่มนั เป็นกระบวนการทีเ่ ราแตกประเด็นปัญหาทีค่ ณุ มีออกมา และเมือ่ คุณเริม่ ต้น จากตรงนัน้ คุณก็จะรูว้ า่ ผลทีอ่ อกมาจะเป็นอย่างไร และผมคิดว่านีค่ อื สิง่ ทีค่ วรจะเป็น ฉะนัน้ คุณจะ เห็นว่า แต่ละโปรเจ็คต์มนั ไม่เหมือนกันเลย เพราะว่าสถานการณ์มนั ต่างกัน งานนีก้ จ็ ะอยูใ่ นชนบท ทีห่ า่ งไกลและมีงบประมาณจ�ากัดมาก แต่งานสถานีโทรทัศน์เป็นงานแบบไฮโปรไฟล์และเป็นงานที่ อยูใ่ นเมือง เมือ่ สภาพแวดล้อมต่างกัน บริบทต่างกัน ประโยชน์ใช้สอยต่างกัน ฉะนัน้ แนวความคิด ทีอ่ อกมาก็ยอ่ มจะแตกต่างกัน งานชิน้ นีท้ เี่ ป็นห้องสมุดอยูท่ จี่ งั หวัด Zhang Tsu และผมก็พยายามทีจ่ ะท�า Reflexive Art ทีส่ ะท้อน ให้เห็นว่า ประเพณีคืออะไร อาคารหลังนี้มีลักษณะเหมือนกับหนังสือ คุณรู้จักหนังสือโบราณ ของจีนที่ท�าจากไม้ไผ่ใช่ไหม หนังสือแบบนี้มีวิธีเปิดที่ไม่เหมือนกับที่เราคุ้นเคย คุณต้องเปิดมัน อีกแบบหนึง่ ดังนัน้ เราจึงพยายามจะรวมเอาแนวคิดสองอย่างนีเ้ ข้าด้วยกันในการออกแบบห้อง สมุด ดังนั้นตรงบริเวณนี้จะเป็นที่เก็บหนังสือและส่วนตรงนั้นก็จะเป็นห้องอ่านหนังสือ ซึ่งวาง ล้อม Cultural Space เอาไว้ ทีว่ า่ งแบบนีเ้ ป็น Typology ทางสถาปัตยกรรมทีม่ คี วามส�าคัญมาก

ใน Zhang Tsu ดังนัน้ ในการออกแบบเราจึงพยายามทีจ่ ะผนวกเอาสองส่วนเข้าหากัน หนึง่ คือตัว เล่มหนังสือเองกับส่วนทีเ่ ป็น Cultural Space นอกจากนีเ้ รายังน�าเอาระบบการจัดแบ่งดัชนีแบบ ใหม่และการขนส่งหนังสือเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการออกแบบห้องสมุด บนผนังคุณจะเห็นตัว หนังสือจีน ซึง่ เข้าไปเป็นส่วนหนึง่ ของโถง Atrium ข้างในอาคาร ถ้าคุณมองหนังสือจากอีกด้าน ของม้วนหนังสือไม้ไผ่คณุ ก็จะเห็นมันแตกต่างไปจากทีเ่ คย นัน่ ก็เป็นส่วนหนึง่ ของแนวคิดในการ ออกแบบภายในอาคารโปรเจ็คต์นดี้ ว้ ย กลับมาทีโ่ ปรเจ็คต์สถานีโทรทัศน์ Phoenix ในโลโก้ของสถานีคณุ จะเห็นนกฟีนกิ ซ์ 2 ตัวบินวน เป็นวงกลมอยู่ เราพยายามจะน�าเอาสัญลักษณ์นี้เข้ามาใช้ในงานออกแบบอาคาร โมเดลที่ออก มามีลักษณะที่จ�าได้ง่ายทีเดียว ตรงนี้คือที่ตั้งของโครงการ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสวน สาธารณะ ตรงนีเ้ ป็น Wind City นีเ่ ป็นอาคารส�าหรับโอลิมปิกเกมส์ และ CCTV อยูต่ รงนี้ เรา เป็นเพือ่ นบ้านกัน แต่ CCTV เป็นอาคารทีส่ งู ถึง 250 เมตร หรือใหญ่กว่าอาคารของฟีนกิ ซ์สบิ เท่า ในขณะทีส่ ถานีฟนี กิ ซ์สงู ได้ไม่เกิน 60 เมตร แต่ผมอยากจะท�าให้ตวั อาคารปรากฏชัดขึน้ เพือ่ ทีค่ นทัว่ ไปจะสามารถรูจ้ กั อาคารนีไ้ ด้ทงั้ จากระยะไกลและใกล้ (อาคารตัง้ อยูใ่ นส่วนหัวมุมของสวน สาธารณะ Chao Yang) คุณไม่สามารถออกแบบอาคารให้เป็นกล่องตัง้ อยูข่ า้ งในสวน เพราะสวน เป็นพืน้ ทีข่ นาดใหญ่และเป็นธรรมชาติใช่ไหมล่ะ ฉะนัน้ คุณจึงไม่สามารถออกแบบรูปทรงทีถ่ กู ท�า ขึน้ มา คุณจึงออกแบบมันเป็นรูปทรงประติมากรรมและรูปทรงนีก้ เ็ กิดขึน้ มาจากตัวโลโก้ของสถานี นัน่ เอง เมือ่ คุณหมุนมันไปตามเงือ่ นไขของทีต่ งั้ แต่ละด้านของตัวอาคารก็จะเป็นไปตามสภาพของ ทีต่ งั้ ซึง่ มีทงั้ ถนนสีแ่ ยก พระราชวังต้องห้าม ถนน ทีต่ งั้ ของสนามกีฬาโอลิมปิก และสวนสาธารณะ ฉะนัน้ วัตถุดบิ ของตัวอาคารทีเ่ ป็นข้อมูลจึงเริม่ มาจากจุดนี้ จากทางเข้าอาคารไปยังอาคารหลังอืน่ ๆ ในภาพรวมอาคารทัง้ หลังจะเป็นเหมือนส่วนประมวลผล โดยสิง่ ต่างๆ ก็จะผ่านเข้ามาทีต่ วั มันและ ฉายออกมาทีจ่ อใหญ่ในตอนท้าย นัน่ คือคอนเซ็ปต์ในการออกแบบ วัสดุทใี่ ช้ในโปรเจ็คต์เป็นแผ่น สเตนเลสสตีลเจาะรู มันจึงมีลกั ษณะสะท้อนเงาและสามารถมองผ่านทะลุได้ในเวลาเดียวกัน อาคาร ถูกออกแบบให้เป็นรูปทรงทีส่ มบูรณ์เป็นชิน้ เดียว ไม่มลี กั ษณะของการรวมเอารูปทรงก้อนเล็กๆ เข้า มาไว้ดว้ ยกัน เพือ่ ให้ภาพทีอ่ อกมามีความชัดเจนมากขึน้ เนือ่ งจากว่าอาคารหลังนีม้ ขี นาดเล็กมาก เมือ่ มองจากระยะไกล เราจึงคิดให้มกี ารฉายภาพโฮโลแกรมขึน้ กลางท้องฟ้า ซึง่ เราสร้างเป็นภาพ เคลือ่ นไหว ฉะนัน้ เมือ่ เครือ่ งบินของคุณก�าลังลงจอด คุณจะเห็นภาพของสถานีฟนี กิ ซ์ในท้องฟ้า ถึงแม้วา่ อาคารหลังนีจ้ ะไม่สงู เท่าไหร่นกั ผมก็สามารถโชว์ภาพของฟีนกิ ซ์ขนึ้ ไปบนท้องฟ้าได้ จาก ลานด้านหน้าคุณจะเห็นฟีนกิ ซ์ตงั้ อยูท่ า่ มกลางฉากหลังทีเ่ ป็นสวนสาธารณะ ในอาคารจะมีทงั้ ส่วน ส�านักงาน ส่วนโปรดักชัน่ คลับเฮาส์ ทีว่ า่ งสาธารณะและสตูดโิ อ เรามีกลุม่ คนหลายกลุม่ เข้ามาใช้ อาคาร ในส่วนของทีว่ า่ งในอาคาร ผมอยากทีจ่ ะสร้างรูปทรงทีว่ า่ งทีม่ ลี กั ษณะโดดเด่น เหนือจริง และดูลา�้ ยุค เพราะว่าสถานีฟนี กิ ซ์มหี ลักการทีว่ า่ เขาต้องการเป็นทีห่ นึง่ หรืออะไรท�านองนัน้ ฉะนัน้ เราจึงพยายามจะสร้างภาพลักษณ์ใหม่นขี้ า้ งในอาคารด้วย

อาคารสถานีโทรทัศน์ทถี่ อดรูป จากโลโก้ Phoenix 111


หลังคาท�าจากวัสดุอะไร?

วัสดุตวั นีเ้ ป็นตัวเดียวกับทีใ่ ช้ในอาคารสระว่ายโอลิมปิกตอนนี้ มันเป็นวัสดุชนิดเดียวกัน ซึง่ มันจะ ท�าให้อาคารร้อนมากเหมือนกัน เพราะว่าการใช้วสั ดุนเี้ ข้ามาจะท�าให้ทวี่ า่ งข้างในมีอณุ หภูมสิ งู มาก ผมเลยพยายามทีจ่ ะใช้วสั ดุตวั นีโ้ ดยทีไ่ ม่ใช่เครือ่ งปรับอากาศในการท�าให้อาคารเย็นลง สิง่ ทีผ่ มท�าคือ ไปเปิดตรงส่วนบนของอาคารแทน ถ้าอากาศร้อนอยูด่ า้ นบน มันก็ท�าให้เกิดการดูดอากาศขึน้ ไปข้าง บนได้ใช่ไหมล่ะ ถ้าคุณสามารถท�าให้อากาศบริเวณประตูทางเข้าเย็นลง อากาศเย็นทัง้ หมดก็จะถูก ดึงขึน้ ไปด้านบน ฉะนัน้ ตรงนีเ้ ราจะมีทอ่ น�า้ ยาวๆ อยูเ่ ส้นหนึง่ เอาไว้สร้างละอองน�า้ อุณหภูมนิ า�้ จะ อยูป่ ระมาณ 7 องศาเซลเซียส ซึง่ สามารถช่วยลดอุณหภูมอิ ากาศร้อนที่ 30 องศาให้เย็นลงเหลือที่ ประมาณ 20 องศา เรามีการค�านวณเอาไว้แล้ว เรามีการดึงน�า้ กลับมาใช้ใหม่อยูต่ ลอด ฉะนัน้ เราจึง สามารถท�าให้อณุ หภูมลิ ดลงโดยแทบไม่ตอ้ งใช้กระแสไฟฟ้าเลย หรืออาจจะใช้แต่กไ็ ม่มากอะไร และยัง ไม่ตอ้ งใช้เครือ่ งปรับอากาศอีกด้วย นัน่ ก็คอื ภาพทีค่ ณุ จะได้เห็น มันคงจะเสร็จเรียบร้อยในอีก 2 ปี ข้างหน้า คุณลองกลับมาดูตอนนัน้ สิ รับรองว่ามันจะดูเป็นอีกโรงเรียนไปเลย ใช่ 2 ปีแล้วล่ะ

จนถึงตอนนีค้ ณ ุ อยูใ่ นต�าแหน่งนีม้ าสองปีแล้วใช่ไหม? งานในหน้าทีต่ อนนีข้ องคุณมีอะไรบ้างหรือ?

ผมอยูใ่ นต�าแหน่งหัวหน้าภาควิชาสถาปัตยกรรม กลับมาทีอ่ าคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ของทีน่ คี่ ณุ ก็คงเห็นว่า เราต้องท�าให้เกิดการใช้พนื้ ทีอ่ ย่าง เต็มประสิทธิภาพ ตอนที่พวกคุณเข้ามาคุณจะเจอโถงบันไดก่อนจากนั้นก็ระเบียงทางเดินใช่ไหม มันไม่มที วี่ า่ งสาธารณะส�าหรับทุกคน ไม่มพี นื้ ทีส่ า� หรับจัดนิทรรศการ คุณก็เห็นว่าอาคารเป็นแบบ Double Corridor ซึง่ มันท�าให้อากาศถ่ายเทได้ไม่เต็มที่ ฉะนัน้ งานออกแบบของผมก็คอื การแก้ปญั หา พวกนีน้ นั่ แหละ ปีกของอาคารอีกด้านไม่ใช่ของภาควิชาเรา ส่วนทีเ่ ป็นของภาควิชาสถาปัตยกรรม จึงเป็นรูปตัวแอล ผมเพิม่ สเปซทีเ่ ป็นตัวกระตุน้ กิจกรรมลงไป และก็ทา� ขัน้ บันไดขึน้ มาเพือ่ เชือ่ ม อาคารเข้าหากัน หลังจากนีเ้ ราก็จะมีพนื้ ทีก่ จิ กรรมตรงกลางขึน้ มา ส่วนส�านักงานทัง้ หมดจะถูก ผลักไปไว้ทดี่ า้ นเดียวกัน แล้วผมก็ใส่อปุ กรณ์ทชี่ ว่ ยเรือ่ งการถ่ายเทอากาศไว้ทดี่ า้ นนอกของอาคาร เพือ่ ให้เกิดการถ่ายเทของอากาศในอาคาร แปลนชัน้ ล่างของคณะจะเป็นผังแบบเปิด หลักๆ ก็จะมีหอ้ งบรรยาย บันไดและทางเดิน นักศึกษา ก็จะมีสถานทีด่ ๆี ส�าหรับพวกเขา เมือ่ คุณเข้ามาก็จะเห็นส่วนจัดแสดงกว้าง 2,000 ตรม. ซึง่ เพิม่ มากกว่าเดิมประมาณ 10 เท่า และน่าจะเพียงพอต่อความต้องการ นอกจากนีเ้ รายังมีหอ้ งบรรยาย แบบเปิดโล่ง ซึง่ ออกแบบลดระดับลงจากพืน้ เดิม ซึง่ สามารถใช้เป็นห้องบรรยายหรือจะท�าอะไรก็ได้ ในแต่ละชัน้ จะมีระเบียงโล่ง ในอนาคตอาคารหลังนีค้ งดูซบั ซ้อนมากเหมือนกัน มันจะมีพนื้ ทีท่ า� กิจกรรมอยูเ่ ต็มไปหมด นักศึกษาสามารถเลือกหามุมนัง่ ตรงไหนก็ได้ ส่วนห้องสมุดก็จะมีขนาดใหญ่ ขึน้ อีกสามเท่าจากเดิม ส่วนอุปกรณ์ชว่ ยในการถ่ายเทอากาศจะเปิดออกในฤดูรอ้ นและฤดูอนื่ ๆ เพือ่ ให้ อากาศผ่านไปได้งา่ ยๆ โดยทีจ่ ะปิดกันลมในฤดูหนาว ในส่วนหลังคาเราจ�าเป็นต้องใช้วสั ดุทมี่ นี า�้ หนัก เบา เพราะเป็นโปรเจ็คต์ปรับปรุงอาคารเดิม

ทีน่ เี่ ปิดสอนทัง้ หมดกีห่ ลักสูตร?

ในโรงเรียน เราเปิดทัง้ หมด 4 หลักสูตร คือ สาขาสถาปัตยกรรม สาขาการออกแบบเมือง สาขา ภูมสิ ถาปัตยกรรม และสาขาเทคโนโลยีทางสถาปัตยกรรม คุณมีความคิดทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงอาคารหลังนีต้ งั้ แต่วนั แรกทีม่ าถึงเลยหรือเปล่า?

ใช่ เพราะว่าถ้าคุณมีอา� นาจพอทีจ่ ะท�าอะไรได้ คุณก็จา� เป็นต้องเปลีย่ นเรือ่ งใหญ่ๆ ทีเ่ ป็นปัญหา

คุณได้ศึกษาถึงความเป็นไปได้ของโปรเจ็คต์นี้เพียงล�าพังหรือท�าร่วมกับ นักเรียนแล้วหรือยัง?

ผมท�างานร่วมกับนักศึกษาและเพือ่ นร่วมงานของผมทีท่ า� งานอยูภ่ าควิชาอืน่ และภาควิชาเทคโนโลยี เราได้ทา� การค�านวณไปแล้ว ตอนทีผ่ มออกแบบเสร็จ ผมก็สง่ แบบให้เขาช่วยค�านวณว่า เราต้องใช้ ปริมาณน�า้ เท่าไหร่ถงึ จะเพียงพอทีจ่ ะลดอุณหภูมภิ ายในอาคาร ผมเปลีย่ นทัง้ ข้างนอกและข้างใน อาคาร ฉะนัน้ เราคิดไว้หมดแล้ว อาคารควรจะมีลกั ษณะที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมแค่ไหน เราจะประหยัดพลังงานได้เท่าไหร่ เราท�าเป็นแพคเกจเดียวกันเลย

113


แล้วทางมหาวิทยาลัยอนุมตั โิ ครงการของคุณหรือยัง?

ทางนัน้ อนุญาตแล้วล่ะ แต่เรายังไม่มเี งิน ผมเลยต้องเป็นคนวิง่ หาเงินทุนอีกรอบ ผมเลยไปทีฮ่ อ่ งกง คนทีเ่ คยให้เงินทุนท�าโรงเรียนที่ Shangri La นัน่ ล่ะ ใช่

นอกจากสอนหนังสือทีน่ แี่ ล้วคุณยังมีสตูดโิ อออกแบบของตัวเองใช่ไหม? เพือ่ ท�างานออกแบบหรือเปล่า?

ใช่ เพือ่ ท�างานออกแบบ ผมตัง้ ชือ่ ว่า Li Xiao Dong Studio ปี 1997

คุณเริม่ ท�ามันตัง้ แต่เมือ่ ไหร่? ก็ 10 ปีพอดีเลย ผมจะขอถามคุณว่า คุณมีความเห็นอย่างไรกับงาน สถาปัตยกรรมของจีนบ้าง เรามาทีน่ พ ี่ ร้อมกับได้รบั รูข้ อ้ มูลเกีย่ วกับความ เปลีย่ นแปลงของปักกิง่ รวมถึงปี 2008 และ ปี 2010 คุณมีความคิดเห็น อย่างไรต่อความเปลีย่ นแปลงเหล่านี?้

โดยทัว่ ไปแล้ว งานสถาปัตยกรรมในจีนยังมีคณุ ภาพต�า่ มากในแง่ของคุณภาพการออกแบบ เมือ่ เปรียบเทียบกับอะไรหรือ?

เมือ่ เทียบกับหลายๆ ประเทศนะ แม้แต่เมือ่ เทียบกับประเทศเล็กๆ อย่างสิงคโปร์หรือฮ่องกง จีนยัง ตามหลังคนอืน่ อยู่ และเหตุผลของสิง่ เหล่านีก้ ค็ อื เราเพิง่ จะเปิดประเทศเมือ่ ราวปี 1980 ช่วงเวลา ความเปลีย่ นแปลงมันแค่ 20 ปีเอง และเราก็ยงั มีสถาปนิกเกิดขึน้ มาแค่ 2 รุน่ ปัญหาอีกอย่างก็ คือ ระบบการศึกษาทางด้านสถาปัตยกรรม มันยังคงเป็นเหมือนทีเ่ คยเป็นมาในอดีตน่ะ เรายังคง มุง่ เน้นกันทีเ่ รือ่ งทักษะ ในขณะทีแ่ นวคิดในการออกแบบมันเปลีย่ นแปลงไปโดยสิน้ เชิงแล้ว มันมี กฎเกณฑ์ทแี่ ตกต่างออกไปส�าหรับการเรียนสถาปัตยกรรม แต่ระบบการศึกษาของจีนก็ยงั คงเป็น ระบบเดิมมานานหลายปีแล้ว ถึงแม้วา่ ตอนนีจ้ ะมีความเปลีย่ นแปลงบ้างแล้ว แต่การเรียนการสอน ก็ยงั คงเป็นเหมือนเมือ่ 20 ปีทผี่ า่ นมา นีค่ อื เหตุผลทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลังคุณภาพของงานออกแบบทีท่ า� กันอยูใ่ นตอนนี้ นอกจากนีเ้ ราก็มสี ถาปนิกทีก่ ลับมาจากยุโรป ยกตัวอย่างนะ คนเหล่านีบ้ างทีก็ เป็นปัญหาเช่นกัน พวกเขาเคยท�างานให้กบั Zaha Hadid หรือไม่กน็ กั ออกแบบทีท่ า� งานแบบตาม สมัยมากๆ แล้วพวกเขาก็กลับมาท�างานแบบนัน้ ทีจ่ นี ซึง่ ผมคิดว่ามันเป็นเรือ่ งทีแ่ ก้ไขได้ยากนะ มันไม่ใช่เป้าหมายจริงของพวกเขา คุณจ�าเป็นทีจ่ ะต้องท�างานกับปัญหาทีอ่ ยูต่ รงหน้า ไม่ใช่จบั เอา ความคิดทีค่ ณุ มีอยูแ่ ล้วยัดลงไปในงาน มันไปผิดทางน่ะ เรามีคนแบบนัน้ อยูท่ เี่ ซีย่ งไฮ้ Qing Yun Ma จาก MADA s.p.a.m. ก็เป็นอีกคน

Qing Yun Ma น่ะหรือ?

ใช่ งานของเหมือนกับ OMA คนที่ OMA รูเ้ รือ่ งนีด้ ี ถึงแม้วา่ มันจะไม่ใช่งานออกแบบของออฟฟิศ เขาจริงๆ แต่งานของเขาก็ได้สร้างจริง เขาสามารถลอกงานได้เร็วมากและก็ทา� ได้ดดี ว้ ย ระยะเวลา การก่อสร้างในจีนจะสัน้ มากเมือ่ เปรียบเทียบกับประเทศอืน่ และนีก่ เ็ ป็นอีกเหตุผลหนึง่ เหมือนกัน ในระดับทัว่ ๆ ไปผมเห็นว่าเวลาทีใ่ ครสักคนกลับมาจากต่างประเทศ พวกเขาไม่ได้ขบคิดกับปัญหาใน การปฏิบตั วิ ชิ าชีพจริงๆ สิง่ ทีเ่ ขาท�าคือการลอกงานจากตามหน้านิตยสาร หรือจากประสบการณ์ทไี่ ด้ ไปอยูต่ า่ งประเทศมา คุณก็รนู้ วี่ า่ การเอาแนวทางใดแนวทางหนึง่ มาใช้กบั สถานการณ์ทมี่ นั แตกต่าง มันเป็นเรือ่ งทีผ่ ดิ ตัง้ แต่ตน้ เลย ดังนัน้ เราจึงมี 2 ปัญหา หนึง่ คือส่วนทีเ่ กิดจากกลุม่ คนทีเ่ พิง่ กลับ มาจากต่างประเทศซึง่ ไม่สามารถประสานตัวเองกับปัญหาของท้องถิน่ ได้ ส่วนปัญหาภายในก็คอื เราไม่มรี ะบบทีด่ พี อจะผลิตนักออกแบบทีม่ คี ณุ ภาพได้ อ้อ คุณไปหางโจวมาเป็นอย่างไรบ้าง คุณ ชอบทีน่ นั่ ไหม? อืม มันเป็นเมืองส�าหรับพักผ่อนใช่ไหม?

ใช่ ผมอยากให้มนั เป็นอย่างนัน้ ต่อไป ทะเลสาบทีน่ นั่ สวย คุณว่าไหม? ใช่

ทีว่ า่ งรอบๆ ทะเลสาบสวยงามมาก ดังนัน้ เราจึงมีสองปัญหาและก็ยงั มีอกี เรือ่ งทีเ่ ข้ามาเสริมคือ ความเร็วทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่าง 20 ปีทผี่ า่ นมา คุณคงรูน้ ะว่า เศรษฐกิจของเราเติบโตอย่างรวดเร็ว ขนาดไหนและมันก็ยงั เติบโตอย่างต่อเนือ่ งมาโดยตลอดเวลาเกือบ 30 ปีนี้ อัตราการเติบโตอยูท่ ี่ ประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์ตอ่ ปี ในส่วนของการท�างานออกแบบเราก็มคี อมพิวเตอร์เข้ามาท�าให้ยน่ ระยะ เวลาของกระบวนการออกแบบ ซึง่ มันก็เป็นเรือ่ งทีเ่ กิดทัว่ โลกและส�าหรับคนจีนมันเป็นเหมือนกัน ลูกค้าส่วนใหญ่มักขอให้ผมส่งแบบคอนเซ็ปต์ที่แตกต่างกันภายในหนึ่งสัปดาห์หรือสองสัปดาห์ และท�ามันเสร็จในหนึง่ เดือน จากนัน้ ก็เริม่ ก่อสร้างกันเลย นีแ่ หล่ะคือปัญหาส�าคัญทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลัง สิง่ เหล่านี้ คือเราไม่มเี วลาทีจ่ ะมาย้อนดูตวั เราเองเลย ใช่ ทัง้ ประเทศนะ ใช่

คุณคิดว่าสิง่ ทีค่ ณ ุ พูดมานัน้ เกิดขึน้ อยูท่ วั่ ประเทศเลยหรือเปล่า? นีเ่ ป็นผลจากนโยบายการเปิดประเทศของรัฐบาลหรือเปล่า? คุณคิดว่ามันเป็นการตัดสินใจทีถ่ กู ต้องหรือเปล่า?

แน่นอน ผมคิดว่ามันถูกต้องแล้วล่ะทีเ่ ราเปิดประตูออกไป

115


ส�าหรับสถาปนิกรุน่ ใหม่ ตอนนีม้ สี า� นักงานออกแบบทีเ่ พิง่ จะเกิดขึน้ จ�านวน มากใช่หรือเปล่า? ผมหมายถึงส�านักงานสถาปนิกรุน่ ใหม่ในปักกิง่

เรามีสา� นักงานทีน่ า่ สนใจในปักกิง่ อย่าง Urbanus

เราได้ไปพบเขามาและก็ลงตีพมิ พ์ผลงานของพวกเขาเมือ่ ปีทแี่ ล้ว?

จริงๆ แล้วพวกเขาเป็นเพือ่ นร่วมชัน้ เดียวกันกับผมนะ

จริงหรือ เราพบกับพวกเขาทัง้ 3 คนทีเ่ สินเจิน้

พวกเขามีกนั 4 คนนะ ไม่ใช่ 3

พวกเขาพูดถึงจีนเอาไว้ว่า เมื่อ 5 ปีที่ผ่านมา ทางการจีนเปิดโอกาสให้ สถาปนิกและนักออกแบบรุน่ ใหม่มาก เพราะว่าเมืองมันโตขึน้ ทุกวันและแผ่ ขยายออกไปกว้างขึน้ เรือ่ ยๆ แล้วคุณมีความคิดเห็นในเรือ่ งนีอ้ ย่างไร คุณ มีความเห็นอย่างไรกับส�านักงานออกแบบเหล่านี?้ บางคนเรียกสตูดโิ อออกแบบเหล่านีว้ า่ เป็นสตูดโิ อแนวทดลอง คือจะมีกลุม่ หนึง่ เป็นนักออกแบบ

ในกระแสหลัก และก็จะมีคนอีกกลุม่ ทีเ่ ป็นนักออกแบบทีท่ า� งานในเชิงทดลอง ดังนัน้ เราคงพอจะ เรียกกลุม่ นักออกแบบกระแสหลักว่า บริษทั ออกแบบ ผมคิดว่ากลุม่ นีจ้ ะมีรปู แบบคล้ายกับ Beijing Designs Institute, China Design Institute ซึง่ กลุม่ นีจ้ ะเป็นคนกลุม่ ใหญ่ของทัง้ ระบบในภาพรวม เป็นกลุม่ ทีม่ ขี นาดใหญ่มาก พวกเขาจะเป็นเหมือนทีมการผลิต ดังนัน้ พวกเขาจะสามารถจบงาน ออกแบบภายในเวลาสองสัปดาห์ได้สบายๆ

เขาเน้นไปทีโ่ ปรดักท์ทอี่ อกมา?

ใช่ และคนอย่าง Pei Zhu, Urbanus ตัวผมเอง และก็.. Yung Ho Chang

ใช่ Yung Ho Chang คนในกลุม่ นีจ้ ะเป็นพวกท�างานเชิงทดลอง พวกเขามีความทะเยอทะยานที่ จะท�าสิง่ ทีม่ นั แตกต่างออกไป และบางทีมนั ก็เป็นการเปลีย่ นแปลงการท�างานออกแบบไปเลย ทีน่ ี่ เรามีทงั้ สองกลุม่ คุณหวังว่าคุณจะสร้างความเปลีย่ นแปลงบางอย่างขึน้ มาได้อย่างนัน้ หรือ เปล่า?

ใช่ นัน่ ก็คอื การผลักดันให้มาตรฐานในการออกแบบขยับสูงขึน้ ไปอีกนิด ถ้ามันไม่สามารถขึน้ ไป ได้มากๆ

แล้วคุณคิดอย่างไรในแง่มมุ ทางสังคมและวัฒนธรรม อย่างแนวทางแบบ เดิมๆ ทีท่ า� กันมา กับแนวทางสมัยใหม่ คุณมีหลักการบางอย่างในการผสม ผสานทัง้ สองสิง่ นีเ้ ข้าหากันไหม หรือว่าคุณเพียงแต่ปล่อยให้มนั เป็นไป?

คุณก็ได้เห็นแล้ว ผมก�าลังจะเขียนหนังสือเกีย่ วกับจีนและสเปซเสร็จสมบูรณ์ ประเด็นนีก้ เ็ ป็นส่วน หนึง่ ในงานวิจยั ของผม เพราะว่าผมก�าลังคิดถึงเรือ่ งสถาปัตยกรรมจีนคืออะไร มันเป็นค�าถามส�าคัญ เพราะว่าจีนเป็นประเทศใหญ่ สถาปัตยกรรมจีนไม่ได้มแี นวทางเดียว เราอาจจะมีสงิ่ ทีค่ ล้ายๆ กันกับ สิงคโปร์ หรือลักษณะแบบเขตร้อนในไทย ไม่ใช่แต่วา่ ตัวสถาปนิกเป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมนะ แต่ ยังเป็นส่วนหนึง่ ของภูมภิ าคในแง่ของสภาพภูมอิ ากาศ ผมก็คดิ คล้ายๆ อย่างนัน้ สถาปัตยกรรมจีน คืออะไร ผมพยายามจะนิยามมันในเชิงการเชือ่ มโยงความคิดเข้าด้วยกันว่าค�าเหล่านีห้ มายถึงอะไร แล้วแบบประเพณีนยิ มคืออะไร เพราะว่าถ้าคุณไม่มนั่ ใจในนิยามค�าเหล่านี้ การถกเถียงในภาพรวม ย่อมไม่มคี วามหมายไปเอง ฉะนัน้ แนวคิดทัง้ หมดของงานวิจยั ทีผ่ มท�าในเรือ่ งนีก้ ค็ อื การพยายามที่ จะนิยามว่า วัฒนธรรมคืออะไร ประเพณีคอื อะไร สถาปัตยกรรมจีนคืออะไร จากนัน้ ถ้าคุณสามารถ วางกรอบนิยามตรงนีม้ นั ก็จะไปข้างหน้าต่อได้งา่ ยขึน้ แล้วสถาปัตยกรรมคืออะไรล่ะทีน่ ี้ ความคิด ของผมก็คอื เราไม่มสี ถาปัตยกรรมทีเ่ ป็นค�าตอบเพียงหนึง่ เดียวทีเ่ รียกกันว่า สถาปัตยกรรมจีน เรา อาจจะมีสถาปัตยกรรมปักกิง่ แต่สถาปนิกปักกิง่ ก็มปี ระเพณีอนั ยาวนานทีส่ บื ทอดต่อมาตัง้ แต่สมัย ราชวงศ์หมิง ราชวงศ์ชงิ และราชวงศ์หยวน สามราชวงศ์นี้ แล้วท�าไมอาคารในตอนนีจ้ ะต้องไปท�า เลียนแบบอาคารในสมัยเมือ่ 500 กว่าปีกอ่ นด้วยล่ะ มันดูไม่สมเหตุสมผลเท่าไหร่ แต่คณุ ก็ตอ้ งให้ ความเคารพต่อความทรงจ�าของคุณเองด้วย มันเป็นส่วนหนึง่ ของประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรมของ คุณเอง อย่างไรก็ตามแล้วเราจะให้ความเคารพกับสิง่ เหล่านีอ้ ย่างไรดีละ่ นีค่ อื มุมมองของผมทีม่ ตี อ่ อาคารใหม่ๆ ตอนผมนึกถึงหมูบ่ า้ นในลีเ่ จียง คุณจะให้ความเคารพต่อชาวบ้านทีน่ นั่ อย่างไร และ

ด้วยการน�าวิธกี ารก่อสร้างทีไ่ ม่ซบั ซ้อนนอกจากจะ ช่วยลดค่าใช้จา่ ยในการบ�ารุงรักษาอาคารทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตแล้ว ยังเป็นการช่วยกระตุน้ ให้คนในท้องถิน่ มีโอกาสเข้ามามีสว่ นร่วมในโครงการด้วยเช่นกัน

117


คุณจะก้าวไปข้างหน้าได้อย่างไร มันขึน้ อยูก่ บั ความเข้าใจของคุณทีม่ ตี อ่ เงือ่ นไขทางวัฒนธรรมของ ท้องถิน่ แต่มนั ก็ไม่ได้หมายความว่า คุณต้องมาท�าอาคารแบบนีใ้ นปักกิง่ ซึง่ มันคือทีม่ าของงาน ออกแบบทัง้ หมดทีผ่ มให้คณุ ดู แต่ละงานจะแตกต่างกันไปตามเงือ่ นไขแวดล้อมแล้วท�าความเข้าใจ มันจากตัวทีต่ งั้ การตอบสนองต่อประโยชน์ใช้สอย บริบทและสุนทรียภาพ หรืออะไรก็ตาม คุณคง ไม่ออกแบบสถาปัตยกรรมจีนจากรูปทรงโดยตรง แต่คณุ ควรจะออกแบบมันไปตามเงือ่ นไขทีค่ ณุ มี นัน่ ถึงจะเป็นงานสถาปัตยกรรมจีน ทัง้ หมดนีค้ อื ความเข้าใจของผมในเรือ่ งนีน้ ะ สถาปนิกจีนได้วางบทบาทตัวเองต่อประเด็นเรือ่ งอนาคตของเมืองและการ ท�างานออกแบบกันอย่างไรในตอนนี?้

มันเป็นค�าถามส�าคัญนะ อย่างแรกเลย ผมคิดว่า นักออกแบบทุกคนจ�าเป็นทีจ่ ะต้องเรียนรูท้ จี่ ะ ท�าความเข้าใจปัญหาต่างๆ ก่อนทีจ่ ะลงมือออกแบบ ถ้าคุณเป็นสถาปนิกทีม่ คี วามรับผิดชอบ คุณ ต้องเรียนรูอ้ ย่างมากเลย ในประวัตศิ าสตร์จนี เคยเป็นศูนย์กลางมาก่อน จากนัน้ ก็กลายเป็นไปอยู่ รอบนอกโดยเฉพาะในช่วงใน 200 ปีทผี่ า่ นมา เราเคยถูกประเทศอืน่ เข้ามายึดครอง แต่ไม่ได้เป็น อาณานิคมนะ จริงๆ แล้วเป็นการเข้ามายึดจากหลายๆ ประเทศ แล้วเราก็กลายเป็นประเทศแพ้ สงครามเพราะญีป่ นุ่ หลังจากการปฏิวตั วิ ฒั นธรรมเราปิดประตูเป็นเวลาหลายปี แล้วต่อมาเราก็เปิด ประตูออกมาและพบว่าเราตามหลังเขาอยู่ ดังนัน้ เราจึงอยู่รอบนอก ตอนนีป้ ญั หาคือ เรามีทงั้ ความ เป็นศูนย์กลางและรอบนอกชายขอบในเวลาเดียวกัน ศูนย์กลางก็คอื ประเทศในแถบยุโรปและสหรัฐ เขาเป็นประเทศทีพ่ ฒั นาแล้ว ส่วนเรายังเป็นประเทศทีก่ า� ลังพัฒนา ฉะนัน้ เราจึงกลายเป็นคนทีอ่ ยู่ รอบนอกไปในแง่นี้ ซึง่ ก็ไม่ใช่แค่ในเชิงเศรษฐกิจอย่างเดียว แต่รวมถึงในเชิงวัฒนธรรมด้วย คนที่ อยูร่ อบนอกก็พยายามทีจ่ ะเรียนรูจ้ ากศูนย์กลางเพือ่ ทีจ่ ะก้าวขึน้ มาเป็นศูนย์กลาง ประเด็นก็คอื เมือ่ มองในหลายแง่มมุ แล้ว เราจะเห็นคนทีอ่ ยูร่ อบนอกแบบนีเ้ ดินตามอย่างศูนย์กลาง ผลก็คอื ในการ เดินตามอย่างแบบนัน้ คุณต้องสูญเสียอะไรไปเสมอ คุณสูญเสียตัวตนของคุณเองไป มันเป็นเรือ่ ง ทีแ่ ก้ไขได้ยากทีเดียว ความประทับใจทีเ่ ราได้จากจีนมันจึงเหมือนมีนวิ ยอร์กมาตัง้ อยูท่ เี่ ซีย่ งไฮ้ มัน ดูคล้ายฮ่องกงหรือไม่กท็ ไี่ หนซักแห่ง สิง่ เหล่านีก้ ม็ าจากต่างประเทศเพราะคุณไปเอาของคนอืน่ มา หมด เมือ่ คุณไปท�าตามอย่างเขา คุณก็จะกลายเป็นคนตามหลังอยูต่ ลอด เพราะคุณได้สญู เสียตัว คุณเองไปแล้วไง สิง่ ทีส่ ถาปนิกจีนควรจะท�าในตอนนีก้ ค็ อื การกลับมาทีส่ ถานการณ์ของตัวเราเอง แล้วก็ลมื ๆ เรือ่ งการเป็นผูน้ �าหรือการท�าตามอย่างคนอืน่ แบบนัน้ ไป คุณแค่เพียงจัดการปัญหาของ คุณอย่างจริงจัง มีเหตุผลและจริงใจ ผลทีอ่ อกมาก็จะเป็นแบบฉบับของตัวคุณเอง คุณเองก็ไม่ตอ้ ง ไปท�าอย่างใครๆ และกลับมาเป็นศูนย์กลางไปเอง ขอบคุณครับ

เราได้สงิ่ ต่างๆ จากคุณเยอะมากเลย ขอบคุณมากครับ

“The main problem is the architectural education systemit is a continuation of the past. We edu are still focusing on skills, but design concepts have changed tremendously” preservation


First published in art4d 185, September 2011.

Francis Kere

ucation

local

verna


‘‘Using local materials, working with and training people so people can do it themselves, this is how you make architecture in Africa.’’ cular

Can you introduce yourself and give us your background? How did Kéré Architecture come about? I was born in a small village in Burkina Faso, which had some 5,000 children. When I was seven, my father sent me to a city to stay with a relative, to be able to get a primary education. I left my family and my sweet home village to go to a city. I was trained to do carpentry and then I got a scholarship from the German Government to go to Berlin, to be trained as a development activist. I was 18. When I was in Germany I went to evening high school. There, I tried to do my high school degree. I managed to do it and then started studying architecture. This was my way. Two years later, while I was a student, I decided to build a school in my home village because there was no school. I began to collect money and made the design myself for a school. Everybody was surprised - why a student was trying to build a school [Primary School, Gando]. I built it as a third year student, and, after that, I my intention was to stop studying because they were saying nobody would hire me in Burkina Faso as an architect because there was no need, or may be nobody could pay me. But fortunately I did my degree in architecture and kept on with what I was doing. In 2004, my first project [Primary School] was awarded by the Aga Khan Award. People got to know about my work, and in 2006 I set up my own office in Berlin. That is it. The interior space of one of the classrooms at Gando Primary School (1999) 123


To look only at some architects, you will never be like them. Look up for your own way and it will be yourself. Keep on fighting; never give up. How many people worked with you for the Primary school at that time? I can say the entire village helped me - women, children, everybody came to work with us. I did all drawings myself, and I managed and organized all projects before we started to work. Could you explain more about materials that you used in the school project? I introduced the technology to my village. It was an existing technique; we call it ‘composite clay block’. You don’t need to burn them. There is no brick there because we don’t have enough energy; we don’t have forests so no wood to burn, or to use for cooking. So why should we try to use it? [We use] compressed clay with ten percent of cement and it works! This knowledge exists and was developed by some organizations in France to make good buildings in Africa. But they did not use it because they don’t know how to bring it to the people. It’s just in a book. You can say I brought it into life. I tried to do so with this building and now people try to do the same, and it’s great! How about the technique of construction? In Burkina Faso you have access to iron and rebar [reinforcing bar]. Concrete is very cheap compared to wood. We don’t have wood and also we encounter the problem of termites. That’s why we use rebar; it’s good, it’s solid. People are used to welding it. So I just use it. Metal and iron are also available. People are changing their ways to build, and they are using it as it’s there, it’s common. But I use it in a different way. I make it better to protect the house against rain and overheating. This is an innovative approach that I bring to my village. How long did it take to construct your first project? To design and to raise the money, it took two years. But building process took only six months, because there were a lot of people who joined my project.

How did the School extension come about? It still was you who funded the project? Yes. And some people found that my project was good and strong so they decided to support us financially. Why don’t you find funding for your projects in Africa? I hope to have funding. When you get big support it’s easy to do a project. But you will depend on somebody. I have the philosophy - when you don’t try for something, it’s nothing. That’s why I don’t care. I will keep on fighting. For the School extension project, the design seems to look more elevated compared with the Primary school? The intention was to show different ways to build with the same materials. It’s innovation. We tried to show them a way to make it better. I connect the building process with education so that people can be trained to do that. It’s good and we need it. To myself it looks like research but for people, they are learning. Building is connected to education. When you don’t own technology this is the best way to improve the way of living. You also have many projects in Europe, like in Switzerland and in Spain. The design outcome looks different from projects in Africa. So, how do you deal with these different approaches? It’s the climate. Switzerland is a rich country and you can do whatever you want because they have money and their own technology; you can do more. But you have to fight because of regulations. In Burkina Faso, it’s very poor, you have to deal with people who are not educated, and no architects. It’s a challenge to deal with this continent. Architecture is a dialogue with society, client and climate. I do not take one model and bring it to another place. You need scale and model to check construction and site. Sometimes, in Burkina Faso, I do one by one models to show to people. You have to be there when it is being constructed. In Switzerland you don’t need to do that. A small model is enough, but you do a lot of drawings. In Africa - less drawing, more models.

The extension of Gando Primary School built three years after the original school was built. 125


How many staff work in your office? Eight architects and they come from around the world. It’s too many. I have to go slow. You know, when you have people to feed every month it kills creativity. Small is better. What do you wish for your office and for Africa? For my office, it’s important that I keep the bridge between being and learning in the West and bringing it to Africa. What I hope the most is to have good projects in Europe where I can earn a lot of money and bring that for my social projects in Africa. What do you think about sustainability in Africa and in Europe? Today Africa needs architects and local materials that people can build with. Before, the problem in Africa was that many people brought many things here and then they went bad. This is bad. You need the head to go forward, need knowledge. Today things are changing. Using local materials, working with and training people so people can do it themselves later, this is how you make architecture in Africa. This is sustainability. But in Europe there is no need. They have everything. Now people try to think about energy, to save cost of heating - how to reduce cost of production of a building. They introduce new technology; it’s good to make better glass for insulation. They put some fakes, they say this is sustainability but it’s not true, it’s just a fashion and it does not go deep. In the West, it’s just a change of some few things. But in Africa you empower people because we have nothing. They have to change their way of life. That is not easy.

Architecture is a dialogue with society, client and climate. I do not take one model and bring it to another place.

What is ‘Architecture’ for you? Architecture is a necessity to give housing to people. It is to deal with form, to empower people, and it’s a tool to improve life of people. That is, it is a dialogue between client, using materials, technology, and also traditional knowledge to create an environment, a building. What are you working on at the moment? I’m doing a Library in Gando which will be complete in May (2011), a High school in Burkina Faso; in Switzerland, a permanent exhibition in museum of international Red Cross; a project in China, Luiazhi garden at Zhou Shan, but there has not been a decision on this project yet; an Education center in Togo; a Zoo in Bamako, in Mali, supported by H.R.H of Aga Kahn. It’s the second phase of the project. The last question, do you have any suggestion for young architects? First, you have to be educated at University, but you have to fight. Keep on fighting and open your eyes to new ways in architecture. If you just focus on some great architects it is okay, but you won’t find anything new. You should pay more attention to your own environment. In this direction, put something in to make it better, to reactivate some techniques and don’t close your eyes. To look only at some architects, you will never be like them. Look for your own way and it will be yourself. Keep on fighting; never give up. If you don’t do so you will be lost. Open up your mind to other cultures. That is what I hope young architects do. Enjoy doing architecture; architecture is passion.

127


คุณช่วยแนะน�ำตัวเอง และเล่ำควำมเป็นมำก่อนทีจ่ ะมำเป็นออฟฟิศ Kéré Architecture ให้เรำฟังหน่อยได้ไหม?

Born in 1965 in Gando, a village south east of Ouagadougou in Burkina Faso, Diebedo Francis Kere, the first child of the village chief, was also the first child in the village to be sent to school. He became a carpenter and later received a scholarship from the Carl Duisburg Society to participate in an apprenticeship in Germany where he served as a supervisor in development aid. He later continued his studies in architecture at the Technical University of Berlin. After graduating in 2004, Kere established his own practice, Kere Architecture. Feeling the need to give back to his village that supported him in his education, Kere built the first school in Gando as his diploma project in 2004. His interest lies in community driven architecture and combining vernacular materials with innovative building methods, pursuits which have gained him the Aga Khan Award for Architecture, the Global Award and many more. In 2014, Kere began teaching at the Academia de Architettura in Mendrisio.

ผมเกิดในหมูบ่ า้ นเล็กๆ ที่ บูรก์ นิ าฟาโซ มีเด็กๆ อยูร่ าว 5,000 คน พออายุ 7 ขวบ พ่อก็สง่ เข้า เมืองเพือ่ เข้าเรียนชัน้ ประถมโดยให้พกั อยูก่ บั ญาติ ผมต้องจากครอบครัวและหมูบ่ า้ นทีน่ า่ รักด้วย เหตุผลนัน้ ช่วงแรกผมถูกฝึกให้เป็นช่างไม้ แต่ตอ่ มาก็ได้รบั ทุนจากรัฐบาลเยอรมันให้ไปเรียนต่อ ทีก่ รุงเบอร์ลนิ เพือ่ ศึกษาทางด้านการเป็นนักพัฒนาเมือ่ อายุ 18 ตอนอยูท่ เี่ ยอรมันผมพยายามหา โอกาสเรียนชัน้ มัธยมปลายภาคค�า่ จนกระทัง่ ได้เข้าเรียนต่อทางสถาปัตยกรรม นีเ่ ป็นเส้นทางการ ศึกษาของผมครับ 2 ปีตอ่ มาในช่วงทีก่ า� ลังเรียนอยูน่ นั่ แหละ ผมก็ตดั สินใจทีจ่ ะสร้างโรงเรียนใน หมูบ่ า้ นของผมเองในแอฟริกา เพราะว่าทีน่ นั่ ไม่มโี รงเรียน ผมเริม่ ต้นเก็บเงินและออกแบบโรงเรียน ด้วยตัวผมเอง คนรอบๆ ข้างก็คอ่ นข้างประหลาดใจว่าท�าไมนักเรียนถึงพยายามทีจ่ ะสร้างโรงเรียน (ทีอ่ า้ งถึงคือโรงเรียนประถมใน Gando, ผูแ้ ปล) ผมสร้างมันตอนเรียนอยูช่ นั้ ปีทสี่ าม หลังจากนัน้ ผมก็มคี วามคิดทีจ่ ะเลิกเรียนเพราะใครๆ ต่างก็พดู ว่าผมคงตกงานแน่ๆ คงไม่มคี นจ้างผมในฐานะ สถาปนิกทีบ่ รู ก์ นิ าฟาโซ หรือไม่กพ็ ดู ว่าคงไม่มคี นทีม่ เี งินพอทีจ่ ะจ้างผม แต่กเ็ ป็นความโชคดีนะทีผ่ ม เลือกทีจ่ ะเรียนต่อจนจบและก็เดินหน้าต่อไปในสิง่ ทีผ่ มก�าลังท�าอยู่ ในปี 2004 โปรเจ็คต์แรกของ ผมได้รบั รางวัล Aga Khan Award หลายๆ คนเริม่ ทีจ่ ะรูจ้ กั งานของผม และในปี 2006 ผมก็ตงั้ ออฟฟิศของผมขึน้ ทีเ่ บอร์ลนิ นัน่ แหละครับทีม่ าทีไ่ ป ตอนนัน้ มีกคี่ นทีช่ ว่ ยคุณท�ำโปรเจ็คต์โรงเรียนประถม?

ทัง้ หมูบ่ า้ นก็วา่ ได้นะครับทีช่ ว่ ย ทัง้ ผูห้ ญิงทัง้ เด็ก ทุกๆ คนต่ำงยืน่ มือเข้ำมำช่วย ตัวผมก็ทา� ใน ส่วนงานเขียนแบบทัง้ หมด เตรียมการและจัดการเรือ่ งต่างๆ ก่อนเริม่ ขัน้ ตอนก่อสร้าง คุณช่วยอธิบำยเพิม่ เติมเกีย่ วกับเรือ่ งวัสดุทใี่ ช้ในโปรเจ็คต์โรงเรียนหน่อย ได้ไหม?

ผมเป็นคนน�าเอาความรูเ้ รือ่ งนีเ้ ข้าสูห่ มูบ่ า้ นครับ อันทีจ่ ริงมันก็เป็นเทคนิคทีม่ อี ยูก่ อ่ นแล้วนัน่ แหละ ที่เรียกกันว่า บล็อกดินอัดแบบผสม คุณไม่จ�าเป็นต้องเผามัน เราไม่ใช้อิฐเนื่องจากเราไม่มี พลังงานเพียงพอในการผลิตมัน เราไม่มปี า่ ทีจ่ ะเผามัน นีค่ อื เหตุผลทีว่ า่ ท�าไมเราเลือกใช้วสั ดุทวี่ า่ นี้ มันเป็นดินอัดทีผ่ สมคอนกรีตอยูป่ ระมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ ใช้การได้ดที เี ดียวครับ ความรูต้ รงนีจ้ ริงๆ มันก็มกี ารศึกษาและพัฒนาอยูแ่ ล้วโดยองค์กรต่างๆ ในประเทศฝรัง่ เศสทีท่ า� งานเกีย่ วกับก่อสร้าง อาคารต่างๆ ในแอฟริกา แต่พวกเขาไม่รวู้ ธิ กี ารทีจ่ ะเผยแพร่มนั ไปสูช่ าวบ้าน มันกลายเป็นเพียงสิง่ ทีถ่ กู บันทึกไว้ในกระดาษ คุณจะเรียกว่าผมเป็นคนทีท่ �าให้มนั ใช้การได้กไ็ ด้ ผมพยายามประยุกต์มนั เข้ากับการสร้างอาคาร แล้วตอนนีช้ าวบ้านก็พยายามเลียนแบบวิธกี ารทีว่ า่ ผมว่ามันสุดยอดเลย

คนในหมูบ่ า้ นรวมตัวกันเพือ่ ช่วยก่อสร้าง อาคารพักอาศัยของบรรดาครูในหมูบ่ า้ น แกนโด ประเทศบูรก์ นิ าฟาโซ 129


เรือ่ งของเทคนิคกำรก่อสร้ำงล่ะ?

ทีบ่ รู ก์ นิ าฟาโซ คุณหาวัสดุประเภทเหล็กและเหล็กเส้นได้ทวั่ ไป พวกคอนกรีตก็มรี าคาทีถ่ กู มากเมือ่ เทียบกับวัสดุประเภทไม้ แถมเรายังมีปญั หาเรือ่ งของมอดปลวกอีก นัน่ ก็เลยเป็นเหตุผลทีเ่ ราเลือก ใช้พวกเหล็กเส้น มันแข็งแรง และชาวบ้านก็เคยชินกับพวกงานเชือ่ มอยูแ่ ล้ว เหล็กและโลหะหาได้ ง่ายในท้องตลาด เป็นวัสดุทพี่ บเห็นได้โดยทัว่ ไป พวกเขามีความถนัดในการใช้มนั แต่ผมก็นา� มา ประยุกต์ใช้ในวิธกี ารทีต่ า่ งออกไป ผมใช้มนั เพือ่ ป้องกันบ้านจากฝนและกันความร้อนเข้าสูอ่ าคาร นี่ ถือสิง่ ใหม่ทผี่ มน�ามันมาสูห่ มูบ่ า้ นของผม ใช้เวลำในกำรก่อสร้ำงนำนเท่ำไรส�ำหรับโปรเจ็คต์แรก?

ในช่วงของการออกแบบและการหาทุน ผมใช้เวลาประมาณ 2 ปี ส่วนระยะเวลาในการก่อสร้าง มัน กินเวลาเพียง 6 เดือน เพราะคนมียนื่ มือเข้ามาช่วยมากทีเดียว แล้วโครงกำรในส่วนขยำยของโรงเรียน คุณยังเป็นคนทีห่ ำเงินมำสร้ำงมัน เองอีกหรือเปล่ำ?

ครับ แต่กม็ บี างคนทีเ่ ห็นว่าโปรเจ็คต์ของผมดีและมีเอกลักษณ์ พวกเขาเลยตัดสินใจให้เงินสนับสนุน เราเพิม่

ท�ำไมคุณไม่หำแหล่งเงินทุนสนับสนุนโครงกำรต่ำงๆ ของคุณให้เป็นเรื่อง เป็นรำว?

ผมก็หวังว่าอย่างนัน้ นะ เมือ่ คุณมีผสู้ นับสนุนเงินทุนรายใหญ่ อะไรๆ มันก็งา่ ยขึน้ แต่คณุ ก็จะ ท�างานไม่ได้อย่างอิสระเป็นเงาตามตัวไปด้วย ผมมีปรัชญานะ คือเมือ่ คุณไม่ออกแรงพยายามท�า อะไรๆ มันก็ไม่มที างส�าเร็จหรอก นัน่ เป็นเหตุผลทีผ่ มว่าผมไม่คอ่ ยสนใจว่าจะต้องมีคนมาช่วยหรือ เห็นด้วย ผมจะพยายามท�ามันมากกว่า ส�ำหรับโปรเจ็คต์โรงเรียนในส่วนขยำย ในแง่ของกำรออกแบบ ดูมันมี พัฒนำกำรทีม่ ำกขึน้ เมือ่ เทียบกับโครงกำรในส่วนแรก

ความตัง้ ใจของผมคือการแสดงวิธกี ารสร้างทีแ่ ตกต่าง แม้วา่ จะใช้วสั ดุกอ่ สร้างชนิดเดียวกันก็ตาม มัน นับเป็นสิง่ ใหม่นะ พวกเราพยายามทีจ่ ะแสดงให้เห็นวิธกี ารทีด่ ขี นึ้ ผมเชือ่ มโยงขบวนการก่อสร้างนี้ เข้ากับระบบการศึกษา ชาวบ้านสามารถเรียนรูส้ งิ่ ต่างๆ ผ่านทางนีไ้ ด้ มันเป็นสิง่ ทีด่ ี เราต้องการ มัน ส�าหรับผมแล้วมันเหมือนกำรท�ำวิจยั แต่สา� หรับชาวบ้านแล้วมันคือการเรียนรู้ สิง่ ก่อสร้าง มันสัมพันธ์กบั เรือ่ งของการศึกษาหาความรู้ เมือ่ คุณไม่มคี วามรูเ้ รือ่ งเทคโนโลยีเป็นของคุณเอง นี่ คือหนทางทีด่ ที สี่ ดุ ทีช่ ว่ ยปรับปรุงคุณภาพชีวติ ให้ดขี นึ้

131


คุณมีโปรเจ็คต์อยูห่ ลำยๆ ชิน้ ในประเทศตะวันตก อย่ำงในสวิตเซอร์แลนด์ และสเปน ผลลัพธ์ทอี่ อกมำในแง่ของกำรออกแบบดูมคี วำมแตกต่ำงจำก โปรเจ็คต์ในแอฟริกำ คุณมีวธิ กี ำรจัดกำรกับควำมแตกต่ำงนีอ้ ย่ำงไร?

มันเป็นเรือ่ งของภูมอิ ากาศ สวิสเซอร์แลนด์เป็นประเทศทีร่ า�่ รวย คุณสามารถท�าอย่างไรก็ได้ตามที่ คุณต้องการ เหตุเพราะเรือ่ งของเงินและเทคโนโลยี อะไรๆ ก็มคี วามเป็นไปได้ทมี่ ากกว่า แต่คณุ ก็ ต้องต่อสูก้ บั เรือ่ งของข้อก�าหนดทางการก่อสร้าง ส่วนทีบ่ รู ก์ นิ าฟาโซ ซึง่ เป็นประเทศทีย่ ากจนมาก คุณต้องท�างานกับชาวบ้านทีไ่ ม่มกี ารศึกษา ไม่มสี ถาปนิก แต่มนั ก็ถอื เป็นความท้าทายนะส�าหรับการ ท�างานในทวีปนี้ สถาปัตยกรรมเป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วพันธ์กบั สังคม ลูกค้าและสภาพภูมอิ ากาศ ผมไม่มี สูตรส�าเร็จส�าหรับทีห่ นึง่ และน�าไปใช้กบั อีกทีห่ นึง่ หรอก เรือ่ งของสัดส่วนและการท�าหุน่ จ�าลองเป็น สิง่ ทีจ่ า� เป็นมากทีบ่ รู ก์ นิ าฟาโซ บางครัง้ ผมต้องสร้างหุน่ จ�าลองขนาดเท่าจริงเพือ่ แสดงให้ชาวบ้าน เข้ำใจ และคุณต้องอยูท่ นี่ นั่ ในช่วงการก่อสร้างด้วย แต่ในสวิสเซอร์แลนด์คณ ุ ไม่ตอ้ งท�าอย่างนัน้ หุน่ จ�าลองขนาดเล็กเพียงพอแล้ว แต่คณุ ต้องเตรียมงานเขียนแบบมากหน่อย ท�างานเขียนแบบ ให้นอ้ ยแต่แสดงแบบด้วยหุน่ จ�าลองให้มากเป็นวิธกี ารท�างานในแอฟริกาครับ

ใหม่ๆ ขึน้ มา อย่างการผลิตกระจกทีม่ คี วามเป็นฉนวนทีด่ ขี นึ้ กว่าเดิม ผมว่ามันดูปลอม แต่เขา บอกว่ามันคือความยัง่ ยืน ไม่มจี ริงหรอกครับ มันเป็นเพียงแฟชัน่ ผิวเผิน ในประเทศตะวันตกมัน เป็นการเปลีย่ นแปลงเพียงเล็กน้อยเท่านัน้ แต่ในแอฟริกา คุณสร้างให้ชาวบ้านเกิดความเข้มแข็ง เพราะพวกเราไม่มอี ะไรเลย พวกเขาต้องเปลีย่ นแปลงการด�าเนินชิวติ มันไม่ใช่เรือ่ งง่ายๆ เลยครับ ‘สถำปัตยกรรม’ ส�ำหรับคุณคืออะไร?

สถาปัตยกรรมคือความจ�าเป็นในการมอบทีอ่ ยูอ่ าศัยให้กบั ผูค้ น เป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับรูปทรง และ เสริมสร้างคน มันเป็นเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยปรับปรุงคุณภาพชิวติ ของคน มันสัมพันธ์กบั ลูกค้า เรือ่ ง การใช้วสั ดุ เทคโนโลยี และองค์ความรูแ้ บบประเพณีนยิ มเพือ่ สร้างสภำพแวดล้อม สร้างอาคาร

คุณมีพนักงำนกีค่ นในออฟฟิศ?

มีทงั้ หมด 8 คน ทุกคนเป็นสถาปนิกครับ พวกเขามาจากประเทศต่างๆ ทัว่ โลก ดูเหมือนว่าจะมีคน มากเกินไปด้วยซ�า้ ผมอยากให้บริษทั โตไปอย่างช้าๆ คุณรูไ้ หมเมือ่ มีคนให้เลีย้ งทุกเดือนมันบัน้ ทอน ความคิดสร้างสรรค์นะ มีทมี งานขนาดเล็กๆ ดีกว่าครับ คุณหวังอะไรบ้ำงส�ำหรับออฟฟิศคุณและแอฟริกำ?

ส�าหรับออฟฟิศ มันส�าคัญทีเดียวที่ผมต้องรักษาความต่อเนื่องระหว่างการอยู่และเรียนรู้ในฝั่ง ประเทศตะวันตก และน�าสิง่ เหล่านัน้ ไปสูท่ วีปแอฟริกา สิง่ ทีผ่ มคาดหวังมากทีส่ ดุ คือการมีโปรเจ็คต์ ดีๆ ทางฝัง่ ยุโรปทีซ่ งึ่ ผมจะได้รบั ผลตอบแทนมากๆ และน�าปัจจัยเหล่านัน้ ใช้ในโครงการทางสังคม ของผมในทวีปแอฟริกา คุณคิดอย่ำงไรเกีย่ วกับควำมยัง่ ยืนในทวีปแอฟริกำและยุโรป?

ทุกวันนีแ้ อฟริกาต้องการสถาปนิกและวัสดุทอ้ งถิน่ ทีผ่ ลิตโดยชาวบ้าน เมือ่ ก่อนนี้ เรามีปญั หาเรือ่ ง ทีค่ นภายนอกมักจ�าน�าสิง่ ต่างๆ มาให้ เสร็จแล้วก็จากไป มันเป็นเรือ่ งทีแ่ ย่ครับ เราต้องการเพียง มันสมองและองค์ความรูเ้ พือ่ น�าพาทุกสิง่ ทุกอย่างก้ำวไปข้ำงหน้ำ ทุกวันนีส้ งั คมในแอฟริกาก�าลัง เปลีย่ น เราใช้วสั ดุทอ้ งถิน่ กันมากขึน้ ท�างานร่วมกันและสอนชาวบ้าน ท�าให้เขาเหล่านัน้ พึง่ พาตนเอง ได้ภายหลัง นีค่ อื การสร้างงานสถาปัตยกรรมในทวีปแอฟริกา นีค่ อื ความยัง่ ยืน แต่สา� หรับยุโรปมัน คงไม่มคี วามจ�าเป็น พวกเขามีทกุ สิง่ ทุกอย่างอยูแ่ ล้ว ขณะนีห้ ลายๆ คนคิดกันถึงเรือ่ งพลังงาน เรือ่ งการป้องกันความร้อน ท�าอย่างไรเพือ่ ทีจ่ ะลดค่าใช้จา่ ยของอาคาร พวกเขาก็เลยสร้างเทคโนโลยี โรงเรียนระดับมัธยมในเมืองดาโน ประเทศบุรก์ นิ าฟาโซ 133


ตอนนีค้ ณ ุ ก�ำลังท�ำโปรเจ็คต์อะไรบ้ำง?

มีหอ้ งสมุดที่ Gando คาดว่าน่าจะเสร็จเรียบร้อยภายในเดือนพฤษภาคม (2554) มีโปรเจ็คต์โรงเรียน มัธยมปลายทีบ่ รู ก์ นิ าฟาโซ ส�าหรับสวิสเซอร์แลนด์เป็นโปรเจ็คต์นทิ รรศการถาวรในพิพธิ ภัณฑ์ของ กาชาดสากล โปรเจ็คต์ในประเทศจีนทีช่ อื่ สวน Zuiazhi ทีเ่ มือง Zhou Shan แต่โครงการนีย้ งั ต้อง รอค�าตอบการด�าเนินการต่ออยูค่ รับ มีโครงการศูนย์การศึกษาในโตโก โปรเจ็คต์สวนสัตว์ทเี่ มือง บำมำโก ประเทศมำลี ทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากเจ้าฟ้าชาย Aga Khan เป็นเฟสทีส่ องโครงการครับ ส�ำหรับค�ำถำมสุดท้ำย คุณมีอะไรอยำกฝำกถึงบรรดำสถำปนิกรุน่ ใหม่ไหม?

อย่างแรกคุณต้องศึกษาให้จบจากรัว้ มหาวิทยาลัย แต่คณุ ต้องใช้ความพยายามมากๆ นะ ในการ ต่อสู้และท�าในสิ่งที่คุณต้องการ เปิดใจของคุณมองหาสิ่งใหม่ๆ ในงานสถาปัตยกรรม ถ้าคุณ จ�ากัดตัวเองอยูก่ บั สถาปนิกทีม่ ชี อื่ เสียงเพียงแค่ไม่กคี่ น มันก็ดี แต่คณุ จะไม่มที างเจอกับสิง่ ใหม่ๆ ได้ คุณควรสนใจกับสิง่ แวดล้อมรอบๆ ตัวคุณ และมองหาว่าจะสามารถท�าอะไรให้มนั ดีขนึ้ ได้บา้ ง พยายามน�าเอาเทคนิคทีม่ อี ยูม่ าประยุกต์ใช้ อย่าปิดตัวเองครับ การมองแต่สถาปนิกทีม่ ชี อื่ เสียง คุณไม่มที างเป็นอย่างเขาได้หรอกครับ เปิดใจคุณแล้วมองไปทีว่ ฒั นธรรมของชาติอนื่ ๆ นีค่ อื สิง่ ที่ ผมอยากจะฝากถึงสถาปนิกรุน่ ใหม่ สนุกกับการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมครับ สถาปัตยกรรม คือความปรารถนาครับ การปรับปรุงพืน้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติในเมืองบามาโก เนือ่ งในโอกาสครบรอบ 50 ปี ของการประกาศ เอกราชของประเทศมาลี โดยมีการเพิม่ พืน้ ทีร่ า้ น อาหาร ศูนย์กฬ ี า และอาคารต่างๆ

“The intention was to show different ways to build with the same materials. It’s innovation. We tried to show vernacular them a way to make it better.” edu

135 135


First published in art4d 198, November 2012.

TYIN

verna

cation

Tegnestue Arkitekter local


‘‘A lot of design today is about conceptual design, and a lot of the concepts are cular based on forms and ideas that people have, and not based on real issues. I think all of our concepts now are really downto-earth.’’

What are Tyin’s objectives at the moment? Right now, after last year, we’re a bit tired because last year was very intense for us. First we were working in Bangkok for two months on the Klong Toey project, then we spent a very short time in Norway, before we went off to Indonesia for the Cinnamon Factory project. Sumatra, Indonesia was a lot harder, because in Bangkok you have nice food, you can relax a little bit, but in Sumatra, it was crazy. So, this year I think we want to stay in Norway, and I dream about traveling to Haiti next year. Before you started, did you ever thought that it would be this tiring? No. And it’s really been an interesting journey for us. We were doing our studies in 2008, and we just packed our backpacks and left for Thailand, and then we met this guy and we went to Tak province, and to Tha Song Yang. We did our first project there, and then we met this lady called Tassanee, and we did two projects there. We later decided to go to Bangkok because six months of jungle life was a bit too much (smile). So, we went to Bangkok and we met with Patama (Patama Roonrakwit of CASE Studio), and she introduced us to Ploy, so almost everything that we know from this way of working socially with architecture, I would say, is from Ploy and CASE Studio. They taught us so much.

139


What drove you into taking this direction, was it accidental? I guess it’s not like we really wanted to work like this, and we went for it. We started to do it, and the more we did it, the more we enjoyed it, and the more we knew that this is an extremely good way of working with architecture, and I think some of the people who were working with us, the Kariang people, they have a tougher life than we have in Norway, and I think all people want to feel that they can help, it’s a very universal feeling. So, for us to be able to do that and also working with architecture at the same time, that’s like the perfect combination. If I’m not mistaken, you had just graduated in 2010, which means that in 2008, you guys just students. During those two years, what did you learn about architecture, what are the differences between the classroom and the experiences from reality? I think the most important thing you learn from working in the field is that when you work in school, like someone once said that university is the only place that is like university; it’s a different universe, it’s not real life. That’s a shame because we have to deal with reality like working in the field, which was something we suddenly did, we didn’t know anything when we started it, and we learnt very fast. We describe it like jumping into the pool, and you hope there’s going to be water when you hit the pool. It was like, suddenly, we had real people, real consequences, and the decisions that we were making, they were important for someone else as well, and it wasn’t just about us. A lot of design today is about conceptual design, and a lot of the concepts are based on forms and ideas that people have, and not based on real issues. I think all of our concepts now are really down-to-earth. For example, the old market library in Minburi, because of the annual flooding that year, we need 1-meter concrete in the whole area, and that’s more like a concept than aesthetic or shapes. What’s the major of your study back in Norway? It’s general master of architecture. There’s no branch in our university, like, there’s no urban planning or anything.

Had you always wanted to study architecture? To be honest, I love houses and I’ve always loved building things. I consider myself more of a builder than an architect, because I really love handcraft, and being able to work with wood and concrete. So my dream was to be a carpenter, but I was lucky to be able to get into architecture school. I later realized that it was pretty much what I was used to from being a child building everything I was building when I was a small kid. If in 2008 you didn’t go to Tak province and did what you did, do you think things would be a lot different today? Oh yeah. I think one thing that we have learnt is that we’re really aware of opportunities. When we get opportunities, we try our best to grab them, and everyday there’s a train passing by, and we have to jump on the right train all the time and this is one opportunity. I think, in my mind, we have made good decisions because we chose the right trains, because we get so many opportunities everyday. I have no idea what will happen if we didn’t go to Thailand because the time we had in Thailand was so intense, and I think we’d learnt very rapidly. I would say that one week in Bangkok is like, for a Norwegian architectural student, it’s like two months of sitting in school. You learn really fast. Is it the same with Andreas, your partner? Andreas is more like an artist. He went to art school first and then he started architecture. I would say that he’s a mix between an artist and an architect. He’s a very good drawer and designer. We are a bit different. My strength is more in getting things done, when I set my mind to something, I’m really structured and I want things done. I want to build stuff. Andreas is more like flying in the sky. He’s a dreamer. At the same time, we also describe ourselves as, like I’m the one who’s always pushing, so I’m the gas of the car, while he’s more like a break. But without the gas or the break, you will crash, so you need both. It’s balance. Could you tell us in detail what you have learnt from your time in Thailand, both in Bangkok and Tha Song Yang?

Safe Haven Bath House (2009) A bathing facility for the Safe Haven Orphanage.

141


I think now I see four dimensions in architecture. For us, it’s used to be only material, construction and detailing. But I also learn that there’s the fourth dimension, which is time and people, because without them, there’s no architecture. It’s a shame that during my study at the university, I never understood that architecture is about people. It’s not for us, it’s for the people you’re working with. That’s a good experience to learn. And also of course, the Thai climate. We’ve learnt a lot about that. It’s very different from the Norwegian. You think really differently in Thailand. Thai people are a lot more social. You’re more open. Norwegians, we like to keep a distance. So, socially, it’s been really good for us. In one of our first meetings, Pattama told us that, really what you need in a climate like this, you need a big, nice floor, and then you need the roof, and the walls are not so important in this kind of architecture. I think when we did our last project in Sumatra, we were using a lot of ideas we got from Thailand and we brought them to Sumatra because the climate is not very different. In Sumatra, for the Cinnamon Factory project, did you do research about the climate and the risk of natural disasters as well? Because from the presentation, we notice that the buildings are quite light, and they’re located next to the lake. I think the most challenging thing in that specific area is the earthquakes. We had this discussion with one of my friends, he’s a French architect who’s very good at earthquake engineering and architecture. One of the most important things he was telling us was to always try to separate the different building materials so that the two sequences never meet. For example, in this Sumatra project, the wood and the bricks are never connected because if they start moving, they move separately. We had a big earthquake there. I don’t remember how long ago, but we had this 40 cm. crack on one of the walls, from the window upwards. But I think that was a good test for the building because it was a very powerful quake, and they said that the whole roof was shaking pretty hard, but the wood was very flexible, while the bricks had small errors.

Situated in an old market building that was destroyed by the fire in the late 90’s, the library acts as a starting point to ameliorate the living conditions of the slum in Minburi

I also learn that there’s the fourth dimension, which is time and people, because without them, there’s no architecture.

Looking at your previous works, both in Thailand and Sumatra, the physical appearance of the buildings look pretty much like a temporary construction. What’s the intention of your architecture, is it intended to be temporary or long-lasting? Do you think about the maintenance issues of your architecture? Somebody told me that all architecture is temporary. For example, with the first project we did, we used a lot of bamboo, and yes, you have to change the cladding every 2-3 years, but it’s a part of the Ka-riang culture, it’s a part of their lives, it’s very natural. I think it was the response to everything in France or Norway where everything is so permanent. When you build something, it’s supposed to last for 200 years. And I think also, for example, the Old Market Library project, it’s the idea of being the starting point of something else. When we came back last year, we saw that it’s changed a lot, they painted and put in doors. So I think whatever we build is the start of something else, and I think about the ripple effects of what we do, I hope that it’s going to be something much bigger than the actual building. We want to leave behind more than just the actual building, we want to leave something more than that after we left. For example, in Sumatra, the money we spent in all of these local shops in the village, I have read that in theory, this amount of money would multiply by five in the period of five years. Because everybody interact financially and then the money grows. Klongtoey is a good example because the base is the concrete and it’s supposed to last for a long time, while the frame is quality wood, so the main construction is very permanent, but whenever you add the cladding, there’s the hierarchy of permanency, I would say. And all the stuff, the lamp, the bench, the bamboo; that’s more dependent on the time we live in, it’s more about the design and fashion. 143


How many people are working in your team now? We used to have five, now we have four. How does it work? From the presentation we saw that you guys recruit volunteers as well. Yes. Every time we do a project, we bring together a nice team. We’ve learnt that it’s always good to have a mix between professional architects and students, so when we work in the field, we have quite a lot of people working together. It’s different every time. For example, if someone wants to work in our office, like students, they come and work for six months, and if we go to Indonesia, they would come with us. We get a lot of applications from students especially in the past two years, we received 200-250 emails from students each year. There’s so much energy in these students. Most students really want to do something outside of school, and I think that’s great. But how do they know you, is it because of your completed works or after you won an award? Maybe. Before that we invited friends from the university. Do you think this kind of teamwork is an advantage for the project? Are you happy to work this way? Absolutely. Architecture, for us, is very much a team effort. Personally, I don’t think that we should work like they did in the old days, like many architects are great architects, but they have big ego. This is a new age. We need big design teams, we need people who can work together. I think I learnt that a lot in Thailand. I think Thai people are more like that. Norwegians are a bit more individual, but we try to work together.

Maybe it’s because you found the right one, because a lot of Thai architects are like what you said. Maybe (smile). Pattama (Patama Roonrakwit of CASE Studio) and Case Studio, we are dependent on each other. For example, last week, we had a workshop in Oslo with 30 students, and in five days, they design this amazing music platform. And to be able to do that, you need 30 heads designing everyday. The more ideas you get the better your work is. I don’t think that there’s only one genius person who has all the good ideas. I don’t think that’s how it works. The Cinnamon Factory project, you had the brainstorming session right on site, does that mean that you didn’t have any preconceived design before you started working? No. We do have a planner for the project who’s called Nabeel Hamdi, and he always says that don’t think too much before you start doing, and don’t do to much that you stop thinking. It’s very important that you have to just start something. In Sumatra, we decided that this is the footprint, we needed the concrete base, let’s start doing it, so we started doing it. It’s dark at night, we stopped, we started to think, we’re critical of ourselves, we design and we built parallel all the time. Apart from your team, we know that you also collaborate with the local people and you encourage them to participate in the design and maintenance. Yes, absolutely. I think this is what we learnt in Minburi. If the people don’t care about the project, the project is dead. It cannot live on. This is very universal, I think. When I feel the ownership of something, I will take care of it. That’s the whole point. In Sumatra, if they were just working on the site, and I was telling them what to do, and they did it but then what? We said what do you think about this, let’s try doing this. They would say, it’s a good idea, we would like to try do it maybe like this. Okay, let’s do it. This way, they feel the ownership, we feel the ownership, and everyone’s happy. It’s like what our professor in Oslo said “It’s not what you do, it’s how you do it.” It’s not so important what you do, you just have to do it well. It’s not so important that the idea is so brilliant, just do something, but do it well.

145


You once said that architecture is about development, it’s not about perfection or completion. Since when did you start to have this sort of belief? At the university, there’s a lot of focus on final results, not so much on the process. For us, the process is so important because it’s the way you create architecture that’s interesting, not the object or whatever it is that’s final. That’s also important because it becomes something real, but the focus that we have on the process leads us into working with methods that are really good, and when you have good methods, you are able to build good design and good architecture over and over again, because you are using a good method. If you don’t know how to use a method, you can maybe do only one good building your whole life, and that’s it. We’ve seen a lot of craftsmanship in your projects, both in Thailand and Sumatra. How do you merge, adapt, or localize European wisdom and know-how to suit the geographical and cultural contexts of your projects in Asia? It seems that when you’re working on site, you learn from the locals as well. Absolutely. What’s interesting is that handcrafting in Norway, I don’t know how it’s like in other European countries, but in Norway, we’re forgetting about craftsmanship. We’re forgetting how to use our hands to create details. Look at Studio Mumbai, the details they have are so amazing, because they’re working in the area where people care about the making of something with the hands. In Norway, it’s so industrialized that everything is made by machines. People sitting in the machine, everyone has their roles, everyone is doing one thing, architects design, give it to another guy who makes it into shapes, the crane lifts it and construct it into building. The result of this is not only that you get bad details, but you get inhuman buildings. Buildings that are not made by man. Everything is out of scale, out of proportion. This is what we see in Bangkok; I would say that parts of Klong Toey is a lot more human and friendly than parts of Oslo because it’s manmade, it’s intimate, it has the human scale. You can travel in this area, and find someone who’s great at welding, you can find great carpenters, you’ll find someone that’s really good in tying knots.

In Norway, we don’t know anything anymore. We just rely on factories. These are the resources you have in this part of Asia, and we really need to use it. On the other hand, the one thing that I think is good about the Norwegian way of building is we do things really properly, we do it permanently. We’ve seen some examples, for instance, in Sumatra, people are not too concerned about the final quality and doing things properly. I think that Europeans do things properly, but I think the strength of the Asian countries, especially Thailand, is that the handcrafting skills are so much higher. So, we’re really struggling. We are now trying to do a project, the Boat House, I don’t know if you’ve seen it, but we have to do some of the details ourselves, because the carpenter, he knows nothing about welding, he has no idea how to weld. We have to involve 50 different people to do very simple things.

Klong Toey Community Lantern is a youth center within the slums in Klong Toey, which is designed to be a public space and playground for the community. 147


What are you currently doing in Norway right now? We are trying to do some small projects in Norway now. It’s really because the projects we’ve done so far haven’t given us any income. It’s becoming hard for us, because we were students, and although we still have some money left from our student loans after our study, now we don’t have that much money. We need to earn some money. So, my dream is to work in architecture and make a living from architecture. I don’t want to be an architect and having to drive a taxi as my second job. We’re trying our best to establish our studio in Norway, but here architecture involves big companies, big contracts and all sorts of paperworks. It’s very difficult for young architects in Norway. I thought that you would get support from foundations or something like that. Well, the projects we’ve done so far are for Norwegian architects offices, and they have paid for the buildings, but they cannot accept to pay for our salary. I sort of understand that because they have to mix two different economies. For example, in the north of Thailand, if we work there for six months, if we were to get the salary, then the price of the house that we built would maybe only one percent of the whole budget because everything goes to the salary, because Norwegian salaries are so high. It’s the big issue for everyone who wants to work in parts of the world where the price is lower, because you are the expensive factor. For example in Sumatra, it’s cheaper for us, but we still need to get this much money, while the budget for the construction of the house is low. It’s a conflict collision. What’s next for you guys? We have just started a project on Svalbard. It’s an archipelago in the Arctic. It’s a research facility and we accepted it because it’s completely opposite to the jungle in Thailand. This is so harsh, the climate, we have polar bears, snow blizzards. Everything is constantly frozen. We like the challenge, so I think that’s a good project for us. We also have some small houses in Norway, for next year, we will try not only to design, but we’ll be responsible for building them. Because this is what we’ve tried to do when we were working before, we were responsible for the construction. Even though it’s a lot tougher in Norway Soe Ker Tie House (2008) Noh Bo, Tak, Thailand

Boat House (2011) More og Romsdal, Norway

149


because of all the legal papers that you need, we want to try to give the clients a complete price for the project, and we take care of everything and we assure that the project is as good as it should be because now in Norway everything is rushed, everything is supposed to go so fast that we’re building houses that will fall down in 15 years. It’s really bad quality. Since we are here in Paris for the Global Award for Sustainable Architecture, what do you think is the purpose of this sort of award, and the issue about sustainability? To me, sustainability is a fashion word. I really don’t like to discuss this, especially not in Paris (smile). When we were working, for example, in Klong Toey the choices that you make are because that’s how you have to do it. Like when you use recycled materials, you use them because you have to. You can’t import Italian wood. The projects we have done are sustainable because they have to be sustainable. It’s the only way we can achieve them. What I like about the award is that it’s bringing together some really brilliant offices, and we can meet and discuss. And also some of my big inspirations won this award earlier, so it’s so great for us to get it because, for example, Francis Kéré and Anna Heringer, they are really great architects. What’s dangerous about these meetings is that there’s a lot of champagne and talking, you know what I mean. We like to build, we don’t like to talk so much, so…

But that’s how others see you, that’s how the media sees you. I agree that it’s a fashion word, sustainable architecture or architecture for humanity, whatever it might be, but that’s how you are perceived and recognized. It’s funny because when you get awards and you get published in different magazines. We’ve spent a lot of time on it, dealing with media and stuff. I think one way, it’s really not important. It’s all bullshit. Why are we doing it? But then on the other hand, we are inspiring lots of students, we’re inspiring a lot of architects; we’re being heard. For example, I was in Italy for this conference and I discussed with Andreas that I have this thing I want to say about sustainability, because the conference was, of course, about sustainability, and Andreas said that ‘No, no, you cannot say that. What if Thomas Herzog or Shigeru Ban was sitting there, what if they disagree. And I said no, because we are here, and whatever we say about sustainability, they would write in their books, so we are very privileged to be in the position where what we say is determining the future. We are telling that this is good, this is not so good. That’s a nice privilege for any architect to be heard like that, and this award is giving us this opportunity. But we find what you and your team, or Pattama and the guys at Case Studio or Suriya Umpansiriratana are doing is very impressive. It has to be hard for you to work, while you’re being branded by the media as the architects who do economical, cheap buildings for the poor. Pattama said that no rich, hi-end clients hire her even though she can do all types of work, because that’s how she’s being perceived by the media. Absolutely. I totally agree with what Pattama said. It’s strange that there’s a big gap between what we do and rich clients, because a small building like Ten House, for example, if you multiply that building ten times bigger, it’s just the same amount of detailing. It’s the same project, but it’s so different. But Pattama is very big-hearted and she’s still determined to continue working for the community, which is very admirable and inspiring. We hope to be like that. We’ve just started, we’re very young, and I want to come back to Paris when I’m 60 years old, not with eight projects, but 80 more projects. 151


โดยส่วนตัวแล้ว คุณคิดว่า TYIN ในปัจจุบนั เป็นอย่างไร?

หลังจากปีทแี่ ล้ว ตอนนีเ้ ราก็ลา้ กันพอสมควร เพราะปีทแี่ ล้วเป็นปีทหี่ นักมากส�าหรับเราเหมือนกัน เราท�างานโปรเจ็คต์ทคี่ ลองเตยอยู่ 2 เดือน แล้วก็กลับมานอร์เวย์ชว่ งสัน้ ๆ ก่อนจะไปอินโดนีเซีย เพือ่ ไปท�าโปรเจ็คต์ Cinnamon Factory กันต่อ แล้วทีส่ มุ าตราก็ทา� งานยากกว่าทีก่ รุงเทพฯ เยอะ เพราะในกรุงเทพฯ มีอาหารอร่อยๆ มีทใี่ ห้ไปพักผ่อนบ้าง แต่ทสี่ มุ าตราการท�างานแล้วก็การด�าเนิน ชีวติ บ้าคลัง่ พอสมควรครับ ปีนเี้ ราก็เลยอยากจะอยูใ่ นนอร์เวย์บา้ ง แล้วผมก็ฝนั ไว้วา่ ปีหน้าผมจะได้ เดินทางไปเฮติครับ แต่กอ่ นทีค่ ณ ุ จะเริม่ ฟอร์มทีมกันขึน้ มาเป็นรูปเป็นร่างแบบนี้ คุณคิดมาก่อน ไหมว่ามันจะเหนือ่ ยขนาดนี?้

TYIN Tegnestue Arkitekter is a collective of young architects based in Trondheim, Norway. Established in 2008, the practice was co-founded by Andreas G. Gjertsen and Yashar Hanstad who graduated from the Norwegian University of Science and Technology in 2010. Both were inspired by the idea of ‘low key’ architecture and the need to provide real solutions for problems. By involving the local populace actively in both the design and building of their projects, TYIN are able to establish a framework for mutual exchange of knowledge and skills. Their projects center around a philosophy grounded in an architecture of necessity for underdeveloped communities in Asia and Africa as well as in Norway. In 2012, TYIN won the European Prize for Architecture for their humanitarian contributions, designing and building with community participation. Both Gjertsen and Hanstad are currently teaching at NTNU.

ไม่เลยครับ มันเป็นการเดินทางทีน่ า่ สนใจมากส�าหรับเรา ตอนนัน้ ในปี 2008 เรายังเรียนหนังสือ ไม่จบกันเลย แล้วอยูๆ่ เราก็ตดั สินใจเก็บกระเป๋าเดินทางมาเมืองไทย ได้มาเจอคนทีช่ กั น�าให้เรา เข้าไปท�างานโปรเจ็คต์แรกของเราที่ตากและก็ทที่ า่ สองยางในเวลาต่อมา เราได้รจู้ กั กับสุภาพสตรี ชือ่ ทัศนีย์ แล้วก็ได้ทา� โปรเจ็คต์อกี สองโปรเจ็คต์กอ่ นทีเ่ ราจะตัดสินใจเดินทางเข้ากรุงเทพฯ เพราะ ว่าการใช้ชวี ติ อยูแ่ ต่ในป่า 6 เดือนติดต่อกันมันก็สาหัสเอาการนะครับ (ยิม้ ) พอเรามาถึงกรุงเทพฯ เราก็ได้พบกับปฐมา (ปฐมา หรุน่ รักวิทย์ แห่ง CASE Studio) แล้วเธอก็แนะน�าให้เรารูจ้ กั กับพลอย เรียกได้วา่ เกือบทุกอย่างทีเ่ ราได้รเู้ กีย่ วกับการท�างานสถาปัตยกรรมเชิงสังคมก็มาจากพลอยและ CASE Studio นีแ่ หละครับ พวกเขาสอนอะไรเราหลายอย่างมากๆ อะไรเป็นแรงขับหรือแรงผลักดันให้คณ ุ เดินมาในทิศทางนีค้ รับ มันเป็นการ จับพลัดจับผลูหรือว่าเป็นความตัง้ ใจ?

ผมว่ามันก็ไม่ใช่วา่ เรามีความคิดอย่างแรงกล้าทีจ่ ะท�างานแบบนีม้ าตัง้ แต่ตน้ เราจึงออกไปท�ามัน มัน เป็นลักษณะทีว่ า่ พอเราได้เริม่ ท�า ยิง่ ท�าเราก็ยงิ่ ชอบ และก็ยงิ่ รูส้ กึ ว่านีเ่ ป็นแนวทางในการท�างาน สถาปัตยกรรมทีด่ มี ากๆ คนทีไ่ ด้ทา� งานร่วมกับเรา อย่างคนกะเหรีย่ งก็เป็นคนทีม่ ชี วี ติ ทีล่ า� บากกว่า เรามาก ผมว่าทุกคนมีความรูส้ กึ ทีอ่ ยากจะช่วยเหลือคนอืน่ ถ้าเขาท�าได้กนั ทัง้ นัน้ แหละครับ มันเป็น ความรูส้ กึ ทีเ่ ป็นสากลมากนะ เพราะฉะนัน้ การทีเ่ ราสามารถได้ทา� อะไรแบบนัน้ แล้วก็ยงั ได้ทา� งาน สถาปัตยกรรมไปด้วยจึงเป็นส่วนผสมทีส่ มบูรณ์แบบมากๆ ถ้าเราเข้าใจไม่ผดิ คุณเพิง่ จะจบการศึกษาในปี 2010 ซึง่ นัน่ ก็หมายความ ว่าพวกคุณเริม่ ท�างานตัง้ แต่คณ ุ ยังเป็นนักเรียนกันอยู่ ในช่วงเวลา 2 ปีนนั้ คุณคิดว่าคุณได้เรียนรูอ้ ะไรเกีย่ วกับสถาปัตยกรรมบ้าง อะไรคือความแตก ต่างระหว่างห้องเรียนและประสบการณ์จริงครับ? ผมคิดว่าสิ่งที่ส�าคัญที่สุดที่คุณจะสามารถเรียนรู้ได้จากการท�างานในสถานที่จริงก็คือเวลาที่คุณ

อยูท่ โี่ รงเรียน

Soe Ker Tie House บ้านพักของชาวกะเหรีย่ ง ทีล่ ภี้ ยั มาในประเทศไทย บริเวณชายแดนแม่สอด จังหวัดตาก TYIN ร่วมกับชาวบ้านทีน่ นั่ ออกแบบ และสร้างโดยช่างพืน้ บ้าน

153


มันก็เหมือนกับทีใ่ ครเคยพูดไว้วา่ มหาวิทยาลัยเป็นสถานทีท่ ไี่ ม่มที ไี่ หนเหมือน มันเป็นเหมือนอีก จักรวาลหนึ่ง มันไม่ใช่ชีวิตจริงน่ะครับ ซึ่งก็เป็นเรื่องที่น่าเสียดายเพราะเราต้องรับมือกับความ เป็นจริงเหมือนกับที่เราต้องออกไปท�างานในสถานที่จริง ซึ่งนั่นก็เป็นสิ่งที่เราจับพลัดจับผลูได้ ไปท�า ตอนทีเ่ ราเริม่ เราไม่รอู้ ะไรเลยสักอย่าง แต่เราก็เรียนรูก้ นั ได้เร็วมาก เรามักจะพูดกันว่ามัน เหมือนกับเวลาทีค่ ณุ กระโดดลงไปในสระแล้วคุณก็หวังว่าในนัน้ จะมีนา�้ รอคุณอยู่ มันเหมือนกับว่า จูๆ่ เราก็ตอ้ งมารับมือกับคนจริงๆ ผลลัพธ์จริงๆ แล้วการตัดสินใจอะไรต่างๆ ทีเ่ ราท�าไปมันก็มี ความส�าคัญและส่งผลกระทบต่อคนอืน่ จริงๆ มันไม่ใช่แค่เรือ่ งของเราอย่างเดียวอีกต่อไปแล้ว งาน ออกแบบมากมายในปัจจุบนั เป็นเรือ่ งของการออกแบบแนวคิด และแนวคิดหลายๆ อย่างก็วางอยู่ บนรูปทรงและความคิดต่างๆ ทีน่ กั ออกแบบแต่ละคนมี มันไม่ได้วางอยูบ่ นเรือ่ งราวหรือประเด็น ทีม่ คี วามส�าคัญ ผมคิดว่าแนวคิดของเราทัง้ หมดนับตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั มีความติดดินมากๆ อย่างเช่น โครงการห้องสมุดทีต่ ลาดเก่ามีนบุรี ทีผ่ ลของน�า้ ท่วมใหญ่ปที แี่ ล้วท�าให้เราต้องถมทีด่ นิ ให้สงู ขึน้ กว่า 1 เมตรแล้วก็ทา� การลาดคอนกรีตพืน้ ทีท่ งั้ หมด ซึง่ นัน่ เป็นผลลัพธ์ทเี่ กิดขึน้ จากแนวคิด มากกว่าเรือ่ งของสุนทรียภาพหรือรูปทรง ตอนทีเ่ รียนทีน่ อร์เวย์คณ ุ เรียนเอกอะไรครับ?

ก็เป็นปริญญาทางสถาปัตยกรรมธรรมดานะครับ ทีม่ หาวิทยาลัยของเราไม่มสี าขาวิชาย่อยอย่าง วางผังเมืองหรืออะไร แล้วคุณสนใจทีจ่ ะเรียนสถาปัตย์มาตลอดเลยรึเปล่า?

จริงๆ แล้วผมก็ชอบบ้าน ชอบสร้างโน่นสร้างนีม่ าตัง้ แต่เด็ก ผมมองว่าตัวเองเป็นนักสร้างมากกว่า เป็นสถาปนิกนะครับ เพราะผมรักงานท�ามือทัง้ หลายแหล่ การได้ทา� งานกับไม้กบั คอนกรีต อะไร แบบนัน้ ความฝันของผมก็คอื การได้เป็นช่างไม้ แต่ผมโชคดีทสี่ ามารถเข้าโรงเรียนสถาปัตยกรรม มาได้ ผมก็เพิง่ มาตระหนักได้ไม่นานมานีเ่ องว่าทีจ่ ริงนีก่ เ็ ป็นสิง่ ทีผ่ มคุน้ เคยมาตัง้ แต่ผมยังเป็นเด็ก สร้างโน่นสร้างนีไ่ ปเรือ่ ยนัน่ แหละครับ

ถ้าหากว่าในปี 2008 คุณไม่ได้ไปทีต่ ากและท�าในสิง่ ทีค่ ณ ุ ได้ทา� คุณว่าวันนี้ ของคุณจะแตกต่างไปจากทีม่ นั เป็นอยูม่ ากไหมครับ? แน่นอนครับ ผมคิดว่าสิง่ หนึง่ ทีเ่ ราได้เรียนรูก้ ค็ อื เราไม่มองข้ามโอกาสต่างๆ ทีเ่ ข้ามา เมือ่ เรามี

โอกาสทีจ่ ะท�าอะไรสักอย่าง เราพยายามอย่างสุดความสามารถทีจ่ ะฉกฉวยมันไว้ รถไฟผ่านหน้า คุณไปทุกวันล่ะครับ ทีค่ ณุ ต้องท�าคือกระโดดขึน้ ขบวนทีถ่ กู ต้อง มันก็เหมือนกับโอกาสทีค่ ณุ ได้รบั หรือไขว่คว้ามาได้ ในความคิดผมเราตัดสินใจถูกมาตลอดเพราะเราเลือกขบวนรถได้ถกู ต้อง เพราะ โอกาสมีให้เลือกมากมายในแต่ละวันที่ผ่านไป ผมเองก็ไม่รู้ว่าจะเป็นยังไงถ้าเราไม่ได้ไปเมืองไทย เพราะช่วงเวลาทีเ่ ราอยูท่ เี่ มืองไทยมันเป็นช่วงเวลาทีเ่ ข้มข้นแล้วก็หนักหน่วงมาก และเราก็เรียนรู้ อะไรๆ ได้เร็วมากด้วยเช่นกัน ผมว่าเวลาหนึง่ อาทิตย์ในกรุงเทพฯ อาจจะเทียบเท่ากับเวลา 2 เดือน ในห้องเรียนของนักเรียนสถาปัตยกรรมในนอร์เวย์เลยก็วา่ ได้ เราเรียนรูไ้ ด้รวดเร็วมากจริงๆ มันเป็นแบบเดียวกันรึเปล่ากับ Andreas (Andreas G. Gjertsen) พาร์ทเนอร์ ของคุณ?

Andreas มีความเป็นศิลปินมากกว่า เขาเคยเรียนทีโ่ รงเรียนศิลปะมาก่อนทีจ่ ะมาเรียนสถาปัตย์ ผมว่าเขาเป็นลูกครึ่งระหว่างศิลปินกับสถาปนิก เราสองคนไม่เหมือนกันนักหรอกครับ จุดแข็ง ของผมอยูท่ กี่ ารจัดการท�าให้ทกุ อย่างมันเสร็จเรียบร้อย เวลาผมตัง้ ใจจะท�าอะไร ผมจะเป็นคนที่ มีแบบแผนมากๆ แล้วผมก็อยากจะให้ทกุ อย่างมันเสร็จออกมาเป็นรูปเป็นร่าง ผมอยากจะสร้าง สิง่ ต่างๆ ขึน้ มา ส่วน Andreas จะเป็นนักฝันหน่อยๆ แต่ในขณะเดียวกัน เรามองกันว่าผมเป็น แก๊ส ส่วนเขาจะเป็นเบรค ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึง่ ไปรถก็ไม่สามารถวิง่ ได้ใช่ไหมล่ะครับ มันเป็น ความสมดุลทีล่ งตัวครับ ช่วยเล่าให้เราฟังสักหน่อยได้ไหมครับว่าคุณได้เรียนรูอ้ ะไรบ้างจากเวลาที่ คุณอยูท่ เี่ มืองไทย ทัง้ ทีก่ รุงเทพฯ และท่าสองยาง?

ผมคิดว่าเดีย๋ วนีผ้ มมองว่าสถาปัตยกรรมมี 4 มิติ ถ้าในมุมมองเดิมมันเคยมีแค่ 3 มิติ คือ วัสดุ การก่อสร้าง และรายละเอียด แต่ผมก็ได้เรียนรูอ้ กี ว่ามันยังมีมติ ทิ ี่ 4 ซึง่ ก็คอื เรือ่ งของเวลาและ คน เพราะหากปราศจากทัง้ สองอย่างแล้ว มันก็คงไม่มสี ถาปัตยกรรม เป็นเรือ่ งน่าเสียดายทีต่ อน ทีผ่ มเรียนมหาวิทยาลัยผมไม่เคยเข้าใจเลยว่าสถาปัตยกรรมเกีย่ วพันกับผูค้ นมากขนาดไหน ไม่ใช่ กับสถาปนิกแต่กบั คนทีค่ ณุ ร่วมงานด้วย คนทีจ่ ะมาใช้มนั จริงๆ ต่างหาก นัน่ ก็นบั ว่าเป็นหนึง่ ใน สิง่ ดีๆ ทีผ่ มได้เรียนรู้ แล้วก็ยงั มีเรือ่ งของสภาพอากาศทีน่ ซี่ งึ่ ต่างจากทีน่ อร์เวย์มาก เพราะฉะนัน้ เวลาทีค่ ณุ อยูท่ เี่ มืองไทย คุณจะคิดอะไรต่างไปเลย แล้วคนไทยก็เปิดกว้างมากกว่า เข้ากับคนอืน่ ได้งา่ ยมากกว่าคนนอร์เวย์ เราจะรักษาระยะห่างจากคนอืน่ พอสมควร ผมว่าถ้าเป็นเรือ่ งของการ เข้าสังคมและการท�างานท�าความรูจ้ กั กับผูอ้ นื่ การมาทีเ่ มืองไทยก็ชว่ ยสอนเราเรือ่ งนีไ้ ด้เยอะ ใน การประชุมครัง้ แรกๆ ของเรา ปฐมาบอกกับเราว่าสิง่ จ�าเป็นส�าหรับสภาพอากาศแบบนีก้ ค็ อื พืน้ กว้างๆ แล้วก็หลังคา ในขณะทีก่ า� แพงไม่คอ่ ยมีความส�าคัญในสถาปัตยกรรมลักษณะนีเ้ ท่าไหร่นกั โปรเจ็คต์สดุ ท้ายทีเ่ ราท�าทีส่ มุ าตรา เราก็ได้นา� เอาความคิดหลายๆ อย่างทีเ่ ราได้จากเมืองไทยไปใช้ ด้วยเหมือนกัน เพราะสภาพอากาศของทัง้ สองทีไ่ ม่ได้ตา่ งกันมากเท่าไหร่ 155


กับโปรเจ็คต์ Cinnamon Factory ทีส่ มุ าตรา คุณได้ทา� การศึกษาเกีย่ วกับ เรือ่ งของภูมอิ ากาศและความเสีย่ งต่อการเกิดภัยพิบตั มิ ากน้อยแค่ไหนครับ เพราะจากพรีเซนเทชั่น เราสังเกตเห็นว่าตัวอาคารดูมีลักษณะค่อนข้าง เบา แล้วมันก็ตงั้ อยูร่ มิ ทะเลสาบเลย?

สิง่ ทีท่ า้ ทายทีส่ ดุ ทีเ่ ราต้องเจอกับการท�างานในพืน้ ทีน่ คี้ อื เรือ่ งของแผ่นดินไหว เราก็มกี ารปรึกษาพูด คุยกับเพือ่ นของเราคนหนึง่ เขาเป็นสถาปนิกชาวฝรัง่ เศสทีเ่ ชีย่ วชาญในการท�างานสถาปัตยกรรมและ วิศวกรรมในสภาวะแวดล้อมทีม่ แี ผ่นดินไหว และหนึง่ ในสิง่ ทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ทีเ่ ขาบอกเราก็คอื เราต้องแยก วัสดุแต่ละวัสดุทใี่ ช้ในการก่อสร้างอาคารออกจากกันเสมอ เพือ่ ทีแ่ ต่ละองค์ประกอบจะได้ไม่เชือ่ มโยง กัน ยกตัวอย่างจากโปรเจ็คต์สมุ าตราทีเ่ ราก�าลังพูดถึงกันอยูน่ กี่ แ็ ล้วกันนะครับ ส่วนของไม้และอิฐ จะไม่เชือ่ มต่อกันเพือ่ ทีถ่ า้ หากมันมีความเคลือ่ นไหวเกิดขึน้ มันจะเกิดแยกกัน เราเจอกับแผ่นดินไหว ครัง้ หนึง่ ตอนทีเ่ ราอยูท่ นี่ นั่ และมันก็กอ่ ให้เกิดรอยแยกยาว 40 ซม. บนก�าแพง ยาวขึน้ ไปจากขอบ หน้าต่าง ซึง่ ผมว่ามันก็ถอื เป็นบททดสอบทีด่ สี า� หรับตัวอาคาร เพราะแผ่นดินไหวครัง้ นัน้ ก็รนุ แรง เอาการ ผมได้ยนิ ว่าหลังคาสัน่ ไปหมด แต่ตวั ไม้มีความยืดหยุน่ มาก และอิฐก็เสียหายไปไม่เท่าไหร่ ดูจากโปรเจ็คต์กอ่ นหน้านีข้ องคุณ ทัง้ ทีท่ า� ในไทยและทีส่ มุ าตรา ลักษณะ ทางกายภาพของมันให้ความรูส้ กึ เหมือนเป็นสิง่ ก่อสร้างชัว่ คราวมากกว่า ถาวร นัน่ เป็นความตัง้ ใจของคุณรึเปล่าครับ แล้วคุณค�านึงถึงประเด็นเรือ่ ง การดูแลรักษาด้วยรึเปล่าครับ?

เคยมีใครบางคนบอกผมว่าสถาปัตยกรรมทุกชิน้ ก็เป็นสิง่ ก่อสร้างชัว่ คราวด้วยกันทัง้ นัน้ อย่างโปรเจ็คต์ แรกของเรา เราใช้ไม่ไผ่กนั เยอะมาก ซึง่ ผมก็ไม่ปฏิเสธว่ามันต้องได้รบั การเปลีย่ นทุก 2-3 ปีอยู่ แล้ว แต่วา่ นัน่ ก็เป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมกะเหรีย่ งอยูแ่ ล้ว มันเป็นส่วนหนึง่ ของวิถชี วี ติ พวกเขา เป็นเหมือนธรรมชาติอย่างหนึง่ ก็วา่ ได้ ซึง่ ผมคิดว่านัน่ เป็นการโต้ตอบกับสิง่ ก่อสร้างในโลกตะวัน ตก ในประเทศอย่างฝรัง่ เศสหรือนอร์เวย์ทที่ กุ อย่างถูกสร้างให้มคี วามถาวรไปหมด ทีน่ ถี่ า้ คุณสร้าง อะไรมันอาจจะอยู่ไปอีกร้อยสองร้อยปีหรือมากกว่านั้น โปรเจ็คต์อย่างห้องสมุดตลาดเก่ามีนบุรี แนวคิดจริงๆ ของมันก็คอื การทีส่ ถาปัตยกรรมเข้าไปเป็นจุดเริม่ ต้นหรือจุดก�าเนิดของสิง่ อืน่ ๆ ที่ จะตามมา ปีทแี่ ล้วทีเ่ รากลับไปทีน่ นั่ และก็ได้เห็นความเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ มากมาย คนในชุมชน ทาสีมนั ใหม่ ใส่ประตูเพิม่ ผมคิดว่าสิง่ ทีเ่ ราสร้างไม่วา่ มันจะเป็นอะไรก็ตามแต่ มันได้กลายเป็นจุด ก�าเนิดของสิง่ อืน่ ๆ ต่อไปอีก ซึง่ ผมก็หวังว่าแรงกระเพือ่ มทีเ่ กิดขึน้ จากงานสถาปัตยกรรมของเรา จะก่อให้เกิดสิง่ ทีย่ งิ่ ใหญ่นอกเหนือไปจากตัวตึกหรืออาคาร สิง่ ทีเ่ ราอยากจะทิง้ ไว้เบือ้ งหลังคืออะไร ทีม่ ากกว่าสิง่ ก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม อย่างกรณีของสุมาตรา เงินทีเ่ ราใช้ไปกับร้านรวงต่างๆ ในหมูบ่ า้ น ในทางทฤษฎีแล้วเงินพวกนัน้ จะเพิม่ มูลค่าขึน้ ไปอีก 5 เท่าหลังจากเวลาผ่านไป 5 ปี เพราะปฏิสมั พันธ์เชิงเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ โปรเจ็คต์คลองเตยเองก็เป็นตัวอย่างทีด่ ใี นเรือ่ งของความ ชัว่ คราว/ถาวร เพราะแม้ตวั ฐานจะเป็นคอนกรีตเพราะมันเป็นสิง่ ทีจ่ ะต้องอยูไ่ ปอีกนาน และโครงที่ ท�าจากไม้คณุ ภาพดีทา� ให้โครงสร้างมีความคงทนถาวรมาก องค์ประกอบอืน่ ๆ เช่น ส่วนของการปู พืน้ ผิวก็จะมีลา� ดับขัน้ ของความถาวรลดหลัน่ กันไป ในขณะทีโ่ คมไฟ ม้านัง่ ไม้ไผ่ ก็จะไปขึน้ อยูก่ บั เวลาของการใช้งาน การออกแบบ และความนิยมทีแ่ ตกต่างกันไปตามบริบท

แล้วคุณท�างานกันอย่างไรครับ เพราะจากพรีเซนเทชัน่ เราเห็นว่าคุณมีการ ประกาศรับอาสาสมัครด้วย? ใช่ครับ ทุกครัง้ ทีเ่ ราเริม่ โปรเจ็คต์ใหม่ เราก็จะรวบรวมสมาชิกจนได้เป็นทีมทีด่ ขี นึ้ มาหนึง่ ทีม เรา

เรียนรูว้ า่ มันเป็นเรือ่ งดีเสมอทีจ่ ะมีทมี ทีร่ วมเอาสถาปนิกอาชีพและนักเรียนไว้ดว้ ยกัน เวลาเราออก ท�างานกันทีไ่ ซต์กจ็ ะมีคนท�างานร่วมกันหลายคน แต่วา่ แต่ละครัง้ แต่ละโปรเจ็คต์กจ็ ะต่างกันไป อย่าง บางทีกจ็ ะมีนกั เรียนสมัครเข้ามาฝึกงานกับเราซึง่ นัน่ ก็อาจจะกินช่วงเวลา 6 เดือนหรืออะไรก็วา่ ไป แล้วถ้าในช่วงเวลานัน้ เราต้องเดินทางไปอินโดนีเซีย พวกเขาก็จะมากับเราด้วย เราได้รบั ใบสมัคร จากนักเรียนเยอะมากขึน้ โดยเฉพาะในช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมานีเ่ ราได้รบั อีเมลจากนักศึกษาปีละ 200-250 ฉบับ พวกเขายังเด็กแล้วก็เต็มไปด้วยพลัง นักศึกษาส่วนใหญ่อยากจะลองท�าอะไรนอกห้องเรียน กันอยูแ่ ล้ว ซึง่ ผมว่ามันก็เป็นเรือ่ งทีเ่ ยีย่ มมาก แล้วพวกเขารูจ้ กั พวกคุณได้อย่างไรครับ มันเกิดขึน้ หลังจากปี 2008 ทีค่ ณ ุ มีผลงานเป็นทีร่ จู้ กั แล้วก็ได้รางวัลแล้วอะไรแบบนัน้ หรือเปล่า?

ก็อาจเป็นได้นะครับ แต่กอ่ นหน้านัน้ เราก็จะชวนเพือ่ นจากในมหาวิทยาลัยนีแ่ หละครับ

คุณคิดว่าการท�างานเป็นทีมแบบนี้เป็นผลดีต่อโปรเจ็คต์หรือเปล่า คุณ พอใจไหมครับทีก่ ารท�างานเป็นไปในลักษณะแบบนี?้ แน่นอนครับ ส�าหรับเราแล้วสถาปัตยกรรมเป็นผลพวงของการท�างานเป็นทีมอย่างไม่ตอ้ งสงสัย

โดยส่วนตัวแล้วผมไม่คดิ ว่าเราควรจะท�างานเหมือนทีเ่ ขาท�าๆ กันในสมัยก่อน คือสถาปนิกทีเ่ ก่งๆ ก็เก่งจริงๆ นัน่ แหละครับ แต่พวกเขาก็มอี โี ก้เยอะมากด้วยเหมือนกัน นีค่ อื ยุคใหม่แล้ว เราต้องการ ทีมทีจ่ ะมาออกแบบร่วมกัน ต้องการคนทีจ่ ะมาร่วมสร้างร่วมท�างานด้วยกัน ผมว่าผมได้เรียนรูเ้ รือ่ ง นีจ้ ากเมืองไทยไปเยอะมาก เพราะคนไทยมีลกั ษณะแบบนัน้ ในขณะทีค่ นนอร์เวย์จะมีความเป็น ปัจเจกมากกว่า แต่เราก็พยายามทีจ่ ะท�างานร่วมกันกับคนอืน่ นะครับ นัน่ อาจเป็นเพราะว่าคุณบังเอิญไปเจอสถาปนิกนิสยั ดีเข้า เพราะสถาปนิก ไทยหลายคนก็เป็นอย่างทีค่ ณ ุ ว่าเหมือนกัน?

ก็อาจจะเป็นอย่างนัน้ นะครับ (ยิม้ ) อย่างปฐมาและ CASE Studio กับทีมของเราก็พงึ่ พาช่วยเหลือ กันและกันนะครับ ผมจะยกตัวอย่างให้คณุ ฟัง เมือ่ อาทิตย์ทแี่ ล้วเรามีเวิรก์ ช็อปทีอ่ อสโลกับนักศึกษา 30 คน และภายในเวลาเพียง 5 วัน ทุกคนร่วมกันออกแบบสิง่ ทีเ่ ป็นเหมือนลานดนตรีซงึ่ พวกเขา ก็ทา� มันออกมาได้ยอดเยีย่ มมาก และการทีจ่ ะท�าอะไรแบบนัน้ ออกมาได้ คุณต้องการหัวคิด 30 หัว ช่วยกัน เพราะยิง่ คุณมีความคิดเยอะเท่าไหร่งานคุณก็จะยิง่ ดี ผมไม่คดิ หรอกว่าความคิดดีๆ ทัง้ หมด ทัง้ มวลจะมาจากหัวของอัจฉริยะเพียงคนเดียว ผมว่าอะไรๆ มันไม่ได้ขบั เคลือ่ นแบบนัน้ อีกต่อไปแล้ว

ตอนนีท้ มี ของคุณมีคนท�างานกันอยูก่ คี่ นครับ?

เราเคยมีกนั อยู่ 5 คน แต่ตอนนีเ้ หลืออยู่ 4 ครับ

157


ครั้งหนึ่งคุณเคยพูดว่าสถาปัตยกรรมเป็นเรื่องของการพัฒนา ไม่ใช่ ความสมบูรณ์แบบหรือการเสร็จสมบูรณ์ คุณมีความเชื่อแบบนี้ตั้งแต่ เมือ่ ไหร่ครับ? ทีม่ หาวิทยาลัย เราพุง่ ความสนใจไปทีผ่ ลลัพธ์มากกว่ากระบวนการ แต่สา� หรับเราแล้วกระบวน

ในโปรเจ็คต์ Cinnamon Factory เราเห็นว่าคุณมีการระดมสมองทีไ่ ซต์ งานกันเลย นัน่ แปลว่าคุณไม่ได้ทา� การออกแบบไปล่วงหน้าเลยหรือครับ?

ไม่ครับ แต่เรามีคนวางแผนประจ�าโปรเจ็คต์ชอื่ Nabeel Hamdi เขามักจะพูดกับเราเสมอว่าอย่า คิดมากเกินไปก่อนทีจ่ ะลงมือท�า แล้วก็อย่าท�ามากเกินไปจนคุณหยุดทีจ่ ะคิด มันเป็นเรือ่ งส�าคัญ มากทีค่ ณ ุ จะเริม่ ลงมือท�าเลย ในสุมาตราเราตัดสินใจกันว่านีค่ อื พืน้ ทีท่ เี่ ราจะท�าการก่อสร้าง เรา ต้องมีฐานคอนกรีต แล้วก็เริม่ ท�ากันเลย ตอนกลางคืนฟ้ามืด ท�างานไม่ได้ เราก็หยุด แล้วก็คดิ กัน ต่อ เราคิดและวิพากษ์ความคิดตัวเองกันตลอด เหมือนกับทีเ่ ราออกแบบแล้วก็สร้างขนานกันไป ตลอดเวลานัน่ แหละครับ นอกเหนือไปจากภายในทีมกันเองแล้ว เราทราบมาว่าคุณก็ท�างานร่วมกับ คนท้องถิน่ ด้วยเช่นกัน และคุณก็สนับสนุนให้พวกเขาเข้ามามีสว่ นร่วมใน การออกแบบและการดูแลรักษาด้วย

ใช่ครับ ผมคิดว่านัน่ คือสิง่ ทีเ่ ราได้เรียนรูจ้ ากโครงการมีนบุรี ถ้าหากคนทีอ่ ยูท่ นี่ นั่ ไม่ได้มคี วามใส่ใจ ในสิง่ ทีเ่ ราท�าให้เขา มันก็เหมือนกับโปรเจ็คต์นนั้ ตายลงนัน่ แหละครับ เพราะมันไม่สามารถมีชวี ติ อยู่ ต่อไปได้ มันเป็นแนวคิดทีส่ ากลมากซึง่ ผมว่าทุกคนก็เป็นเหมือนกันหมดนัน่ แหละครับ นัน่ คือถ้าเรา รูส้ กึ ว่าเราเป็นเจ้าของอะไรสักอย่าง เราก็จะหวงแหนมัน จะดูแลมัน นัน่ คือประเด็นหลักเลยล่ะครับ ทีส่ มุ าตรา ถ้าคนทีม่ าท�างานให้เราก็แค่ทา� งานไปวันๆ โดยทีม่ เี ราคอยบอกให้พวกเขาท�าอย่างทีเ่ รา ต้องการ แล้วพวกเขาก็ทา� ตาม แต่หลังจากนัน้ มันจะเป็นอย่างไรต่อล่ะ แต่ถา้ เราถามว่า คุณคิดว่า นีเ่ ป็นไง ลองท�าอย่างนีด้ ไี หม เขาก็อาจจะบอกว่า มันก็ดนี ะ แต่เราอยากจะลองท�าแบบนีม้ ากกว่า โอเค อย่างนัน้ ก็ลองท�ากันดู ซึง่ ถ้าเป็นแบบนี้ พวกเขาก็จะรูส้ กึ เป็นเจ้าของมัน เราก็รสู้ กึ เป็นเจ้าของ มัน ทุกคนก็แฮปปี้ มันก็เหมือนทีอ่ าจารย์ของเราท่านหนึง่ ทีอ่ อสโลเคยพูดไว้ “มันไม่ใช่เรือ่ งของการ ทีค่ ณุ ท�าอะไร แต่ทา� มันอย่างไรต่างหาก” มันไม่สา� คัญว่าคุณจะท�าอะไรหรอกครับ แต่คณุ ต้องท�า มันให้ดี ความคิดจะล�า้ เลิศแค่ไหนก็ไม่สา� คัญเท่ากับการท�ามันออกมา แล้วก็ทา� มันให้ดเี ท่านัน้ เอง

การเป็นเรือ่ งทีส่ า� คัญมากเพราะสิง่ ทีน่ า่ สนใจในงานสถาปัตยกรรม คือ วิธกี ารทีค่ ณุ สร้างมันขึน้ มา ไม่ใช่ตวั วัตถุหรืออะไรก็แล้วแต่ทเี่ ป็นผลลัพธ์สดุ ท้าย คือผลลัพธ์มนั ก็ส�าคัญนะครับเพราะมันคือการ ทีค่ วามคิดกลายเป็นจริงได้ แต่การทีเ่ ราให้ความส�าคัญกับกระบวนการท�าให้เราได้ลองท�างานกับวิธี การต่างๆ ซึง่ ผมว่ามันดีมากเพราะเวลาทีค่ ณุ มีวธิ กี ารทีด่ แี ล้ว คุณก็จะสามารถสร้างงานออกแบบ ทีด่ ไี ด้มากกว่า แต่ถา้ คุณไม่รถู้ งึ วิธกี าร คุณก็อาจจะสร้างอาคารทีด่ ไี ด้แค่อาคารเดียวตลอดชีวติ การ เป็นสถาปนิกของคุณ เราเห็นรายละเอียดเชิงหัตถกรรมในงานของคุณเยอะทีเดียว ทัง้ โปรเจ็คต์ ในเมืองไทยและสุมาตรา คุณรวมหรือปรับความรูแ้ ละวิธกี ารแบบยุโรปให้ เข้ากับบริบททางกายภาพและวัฒนธรรมของแต่ละโปรเจ็คต์ที่คุณท�าใน เอเชียได้อย่างไร ดูเหมือนว่าเวลาทีค่ ณ ุ ท�างานทีไ่ ซต์คณ ุ ก็เรียนรูอ้ ะไรจาก คนท้องถิน่ ด้วยเช่นกันใช่ไหมครับ?

แน่นอนครับ คือผมไม่รวู้ า่ ประเทศอืน่ ๆ ในยุโรปจะเป็นเหมือนกันรึเปล่า แต่ทนี่ อร์เวย์คนก�าลัง ลืมงานหัตถกรรม เราก�าลังลืมว่าการสร้างอะไรสักอย่างหรือสร้างรายละเอียดต่างๆ ด้วยมือมัน ท�าอย่างไร ดูอย่างงานของ Studio Mumbai สิครับ รายละเอียดของงานของพวกเขามันน่าทึง่ มาก เพราะพวกเขาท�างานในพืน้ ทีท่ คี่ นให้ความส�าคัญกับการสร้างหรือท�าอะไรสักอย่างขึน้ มาด้วยมือ ที่ นอร์เวย์ทกุ อย่างถูกดึงเข้าสูร่ ะบบอุตสาหกรรมกันหมดเสียจนกระทัง่ อะไรต่อมิอะไรก็ถกู ผลิตขึน้ มา จากเครือ่ งจักรทัง้ นัน้ คนนัง่ ท�างานหน้าเครือ่ งจักร แต่ละคนก็มหี น้าทีข่ องตัวเองต่างๆ กันไป คน หนึง่ ท�างานได้อย่างเดียว สถาปนิกออกแบบ แล้วก็สง่ ต่อไปให้คนทีท่ า� ให้ความคิดเป็นรูปเป็นร่างขึน้ มา ก่อนจะใช้เครนยกสร้างมันขึน้ มาเป็นอาคาร สิง่ ทีค่ ณุ ได้ไม่ใช่แค่เพียงรายละเอียดทีแ่ ย่อย่างเดียว แต่เป็นอาคารทีไ่ ม่มคี วามเป็นมนุษย์อยูเ่ ลย เพราะมันเป็นอาคารทีไ่ ม่ได้ทา� ขึน้ โดยมนุษย์ ทุกอย่าง ผิดสเกลผิดสัดส่วน สิง่ ทีผ่ มเห็นในกรุงเทพฯ เช่น บางส่วนของคลองเตย ผมว่ามันมีความเป็น มนุษย์มากกว่าแล้วก็เป็นมิตรมากกว่าอาคารในออสโลซะอีกเพราะมันเป็นอาคารทีม่ นุษย์เป็นผูส้ ร้าง ขึน้ มันมีความใกล้ชดิ คุน้ เคย แล้วคุณก็สามารถเดินทางไปตามทีต่ า่ งๆ ในเมืองไทยแล้วก็ได้เจอ กับช่างไม้เก่งๆ ช่างเชือ่ มเก่งๆ หรือเจอคนทีผ่ กู ปมเชือกได้เก่งมาก ในนอร์เวย์เราไม่รวู้ ธิ ใี นการท�า อะไรต่อมิอะไรอีกแล้ว เพราะเราพึง่ พาการผลิตจากโรงงานไปเสียหมด ในขณะทีใ่ นส่วนนีข้ องเอเชีย คุณมีทรัพยากรแบบนีเ้ ต็มไปหมด เราจึงมองว่ามันเป็นสิง่ ทีเ่ ราต้องน�ามาใช้ให้เป็นประโยชน์ แต่ใน อีกมุมหนึง่ ส่วนดีๆ ของการสร้างอะไรแบบคนนอร์เวย์กน็ า่ จะเป็นเรือ่ งของการท�างานทีม่ คี วามเป็น ระเบียบเรียบร้อยและมีความแข็งแรงคงทน กรณีอย่างสุมาตราผมว่าบางทีคนทีน่ นั่ เขาก็ไม่คอ่ ยจะ

Cassia Coop Training Center (2011) Sumatra, Indonesia 159


ใส่ใจในเรือ่ งคุณภาพหรือการท�าอะไรให้เป็นระเบียบแบบแผนสักเท่าไหร่ แต่ผมว่าคนยุโรปจะเป็นอีก แบบ จุดแข็งของประเทศในเอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเทศไทยก็คอื ทักษะทางหัตถกรรมทีอ่ ยูใ่ น ระดับทีส่ งู มาก ตอนนีเ้ ราก็ลา� บากกันพอดู อย่างโปรเจ็คต์ Boathouse ทีเ่ ราก�าลังท�ากันอยูท่ นี่ ี่ เราก็ตอ้ งมานัง่ จัดการเรือ่ งรายละเอียดกันเอง เพราะช่างไม้ทนี่ ไี่ ม่มคี วามรูเ้ รือ่ งการเชือ่ มเลย เขา ก็รเู้ ฉพาะสิง่ ทีเ่ ขารู้ เราก็เลยต้องจ้างคนตัง้ มากตัง้ มายเพือ่ มาท�าในสิง่ ทีเ่ ป็นพืน้ ฐานมากๆ เพราะ แต่ละคนก็รแู้ ละท�าอะไรเป็นกันไม่มากเท่าไหร่ ตอนนีค้ ณ ุ ก�าลังท�าอะไรกันอยูบ่ า้ งหลังจากทีค่ ณ ุ ย้ายกลับมานอร์เวย์แล้ว?

เราก็พยายามท�างานโปรเจ็คต์เล็กๆ ในนอร์เวย์ไปเรือ่ ยๆ เพราะว่างานทีเ่ ราท�าๆ มาเราก็ไม่ได้คา่ แรง อะไรเลย ซึง่ มันก็กลายเป็นเรือ่ งทีล่ า� บากส�าหรับเราเหมือนกัน เพราะตอนนัน้ เราก็ยงั เป็นนักเรียน กันอยู่ และถึงแม้วา่ เราจะยังมีเงินกูย้ มื ทางการศึกษาเหลืออยูบ่ า้ ง ตอนนีม้ นั ก็เหลือไม่เยอะเท่าไหร่ แล้ว เราก็ตอ้ งการรายได้เข้ามาบ้างน่ะครับ ความฝันของผมคือการท�างานสถาปัตยกรรมและมันก็ ต้องเป็นอาชีพทีท่ า� ให้ผมสามารถหาเลีย้ งตัวเองได้ดว้ ย คือผมไม่อยากเป็นสถาปนิกคนยากทีต่ อ้ งไป ขับรถแท็กซีเ่ พือ่ หารายได้เสริมอะไรแบบนัน้ เราก็พยายามกันอย่างมากทีจ่ ะตัง้ สตูดโิ อให้เป็นเรือ่ ง เป็นราวในนอร์เวย์ แต่ทนี่ กี่ ารท�างานสถาปัตยกรรมก็ตอ้ งเกีย่ วข้องกับบริษทั ใหญ่ๆ ต้องมีสญั ญา ว่าจ้าง แล้วก็มงี านเอกสารหลายอย่างเลยล่ะครับ ก็ไม่ใช่เรือ่ งง่ายเลยทีส่ ถาปนิกเด็กๆ จะตัง้ บริษทั กันขึน้ มาเองในนอร์เวย์ เรานึกว่าคุณได้รบั การสนับสนุนจากองค์กรต่างๆ หรืออะไรแบบนัน้ เสียอีก

โปรเจ็คต์ทเี่ ราได้ทา� มาเรือ่ ยๆ ก่อนหน้านีก้ เ็ ป็นงานมาจากส�านักงานสถาปนิกในนอร์เวย์นะครับ คือ พวกเขาเป็นคนออกเงินส�าหรับสร้างอาคาร แต่พวกเขาไม่ได้จา่ ยค่าแรงหรือเงินเดือนให้เรา ซึง่ ผมก็ ค่อนข้างเข้าใจเขานะ เพราะไม่อย่างนัน้ เขาต้องว่าจ้างงานภายใต้ระบบเศรษฐกิจสองระบบทีม่ คี วาม แตกต่างกันมากๆ เลย อย่างเช่นถ้าเราท�างานในโปรเจ็คต์ทตี่ งั้ อยูท่ ภี่ าคเหนือของเมืองไทย แล้ว เราท�าอยูท่ นี่ นั่ เป็นเวลา 6 เดือน แล้วถ้าเราได้เงินเดือนด้วยละก็ ราคาของบ้านทีเ่ ราสร้างอาจจะมี มูลค่าแค่เปอร์เซ็นต์เดียวของงบประมาณทัง้ หมดเลยก็วา่ ได้เพราะเงินส่วนใหญ่กจ็ ะต้องถูกใช้เพือ่ จ่าย เงินเดือนให้เรา เพราะอย่างทีค่ ณุ ก็คงรูว้ า่ เงินเดือนของคนนอร์เวย์นนั้ สูงมาก มันก็เป็นปัญหาใหญ่ เหมือนกันนะครับ โดยเฉพาะกับคนทีอ่ ยากจะท�างานในประเทศทีค่ า่ ครองชีพต�า่ เพราะตัวคุณก็จะ กลายเป็นตัวแปรทีท่ า� ให้มลู ค่าของโปรเจ็คต์สงู ขึน้ ไปโดยปริยาย อย่างทีส่ มุ าตราค่าก่อสร้างค่าแรง อาจจะถูก เราเองทีเ่ ป็นสถาปนิกก็ตอ้ งได้รบั ค่าตอบแทนในส่วนของเราบ้าง แต่งบประมาณในการ ท�าโปรเจ็คต์กต็ า�่ มันเป็นประเด็นทีข่ ดั แย้งกันพอสมควร แผนต่อไปของพวกคุณคืออะไรครับ?

เราเพิง่ เริม่ โปรเจ็คต์ใหม่ไป มันเป็นศูนย์วจิ ยั ทีต่ งั้ อยูบ่ นเกาะหนึง่ ในหมูเ่ กาะ Svalbard ในทะเล อาร์กติก เรารับงานนีเ้ พราะมันเป็นสิง่ ทีต่ รงกันข้ามอย่างสิน้ เชิงกับป่าเขตร้อนในเมืองไทย สภาพ อากาศมันเลวร้ายมากเลยครับ มีทงั้ หมีโพลาร์ พายุหมิ ะ ทุกอย่างทีน่ นั่ เป็นน�า้ แข็งเกือบตลอดเวลา เราชอบความท้าทาย โปรเจ็คต์นกี้ เ็ ลยถือว่าเป็นโปรเจ็คต์ทดี่ มี ากส�าหรับเรา แล้วเราก็มโี ปรเจ็คต์บา้ น หลังไม่ใหญ่มากทีเ่ ราท�ากันอยูใ่ นนอร์เวย์ ปีหน้าเราก็จะลองท�าทัง้ ส่วนของงานออกแบบแล้วก็จะ ครอบคลุมไปในส่วนของการก่อสร้างด้วย ซึง่ เราก็เคยมีประสบการณ์ในโปรเจ็คต์กอ่ นๆ มาแล้ว

แต่วา่ ทีน่ อร์เวย์อะไรๆ มันก็จะยุง่ ยากกว่าเพราะว่ามันมีเรือ่ งของเอกสารทางกฎหมายมาเกีย่ วข้อง เราอยากจะให้ลกู ค้าได้รบั บริการและราคาทีเ่ บ็ดเสร็จไปเลย แล้วเราก็จะดูแลทุกอย่างให้ เพราะตอน นีท้ นี่ อร์เวย์ทกุ อย่างมันเร่งรีบไปหมด อะไรๆ ก็ตอ้ งท�าให้เสร็จไวๆ จนกลายเป็นว่าคนนอร์เวย์สร้าง บ้านทีอ่ กี 15 ปีกจ็ ะพังลงเพราะคุณภาพมันแย่มาก เนือ่ งด้วยว่าตอนนีเ้ รามาคุยกันอยูท่ ปี่ ารีสเพราะงาน GLOBAL AWARD FOR SUSTAINABLE ARCHITECTURE เราก็เลยอยากจะขอถามคุณ สักหน่อยว่า คุณคิดว่าจุดประสงค์ของงานรางวัลแบบนีค้ อื อะไร รวมไปถึง แนวคิดเรือ่ งความยัง่ ยืนด้วย?

ส�าหรับผมแล้ว sustainability เป็นค�ากระแสนิยม ผมไม่คอ่ ยชอบพูดถึงมันเท่าไหร่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เวลาทีเ่ ราอยูใ่ นเมืองอย่างปารีส (ยิม้ ) ในกรณีของเรา เวลาเราเลือกทีจ่ ะใช้หรือจะท�าอะไร เราท�ามัน เพราะนัน่ เป็นสิง่ ทีเ่ ราต้องท�า อย่างการใช้วสั ดุรไี ซเคิล เราใช้มนั เพราะเราต้องใช้ จะให้เราใช้ไม้นา� ุ สมบัตขิ องความเป็นสถาปัตยกรรมทีย่ งั่ ยืน เข้าจากอิตาลีมนั ก็คงไม่ใช่ โปรเจ็คต์ตา่ งๆ ทีเ่ ราท�ามีคณ และเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมเพราะว่ามันต้องเป็นสถาปัตยกรรมแบบนัน้ เพราะไม่อย่างนัน้ โปรเจ็คต์ นัน้ ก็ไม่สามารถถูกสร้างให้เสร็จสมบูรณ์ได้ สิง่ ทีผ่ มชอบเกีย่ วกับงานประกาศรางวัลพวกนีก้ ค็ อื มัน น�าพาออฟฟิศเก่งๆ ให้ได้มาพบปะพูดคุยกัน สถาปนิกทีเ่ ป็นแรงบันดาลใจให้ผมอย่าง Francis Kere และ Anna Heringer ก็เคยได้รบั รางวัลนีก้ นั มาก่อน เพราะฉะนัน้ การทีพ่ วกเราได้รบั รางวัล นีบ้ า้ งมันก็ทา� ให้เรารูส้ กึ ดีมากนัน่ แหละครับ เพราะทัง้ สองคนก็เป็นสถาปนิกทีย่ อดเยีย่ มมากๆ แต่ สิง่ ทีผ่ มคิดว่าอันตรายส�าหรับการประชุมแบบนีค้ อื มันมีแชมเปญเยอะ แล้วก็มแี ต่คนพูด คุณพอ เข้าใจไหมครับ คือเราเป็นพวกชอบสร้าง เราไม่คอ่ ยชอบพูดเท่าไหร่ ก็เลย...นัน่ แหละครับ...(ยิม้ ) แต่วา่ นัน่ ก็เป็นสิง่ ทีค่ นอืน่ รวมทัง้ สือ่ มองคุณใช่ไหมล่ะครับ พวกคุณเป็นที่ รู้จักคุณในมุมมองและฐานะนั้น จริงอยู่ว่ามันอาจเป็นเรื่องของกระแส ไม่ ว่าจะค�าอย่างสถาปัตยกรรมยั่งยืนเพื่อสิ่งแวดล้อม หรือสถาปัตยกรรม เพือ่ ชุมชนเพือ่ มนุษยชาติหรืออะไรก็แล้วแต่?

โรงเก็บเรือ Naust paa Aure ที่ TYIN ได้รบั แรงบันดาลใจจาก เอกลักษณ์ของอาคารเดิม โดยเฉพาะในส่วนโครงสร้างหลัก และผนังอาคารทีเ่ ปิดปิดได้ 161 161


มันก็ตลกดีเพราะเวลาทีค่ ณุ ได้รางวัล งานคุณก็ได้ตพี มิ พ์ลงในนิตยสาร แล้วคุณก็ใช้เวลาไปมากมาย กับการพูดคุยกับสื่อและอะไรต่อมิอะไร คือในมุมหนึ่งแล้วมันก็ไม่ได้ส�าคัญเท่าไหร่ส�าหรับผม ผมว่ามันไม่ใช่สาระส�าคัญอะไรของการท�างานของเราเลย ผมหมายถึงว่าเราจะท�าสิง่ เหล่านีไ้ ปท�าไม กัน แต่ในอีกมุมหนึง่ เราก็เป็นแรงบันดาลใจให้กบั นักศึกษาสถาปัตย์และสถาปนิกจ�านวนไม่นอ้ ย สิง่ ทีเ่ ราท�าเสียงทีเ่ ราส่งออกไปถูกมองเห็นและถูกได้ยนิ ผมมีโอกาสได้ไปงานประชุมทีอ่ ติ าลี แล้ว ผมก็ได้คยุ กับ Andreas ว่าผมมีสงิ่ ทีผ่ มอยากจะพูดเกีย่ วกับเรือ่ งความยัง่ ยืนนีอ่ ยูเ่ หมือนกัน แต่ เขาบอกผมว่า ไม่ได้ นายจะพูดอย่างนัน้ ไม่ได้นะ ถ้า Thomas Herzog หรือ Shigeru Ban นัง่ อยู่ ตรงนัน้ แล้วพวกเขาไม่เห็นด้วยกับนายล่ะ ซึง่ ผมก็บอกเขาว่า ไม่ ผมอยากจะพูด เพราะเราได้มาอยู่ ทีน่ แี่ ล้ว สิง่ ทีผ่ มพูดจะได้รบั การบันทึกและเผยแพร่ นัน่ หมายถึงว่าเราได้รบั สิทธิทพี่ เิ ศษมากๆ ทีไ่ ด้ ไปอยูใ่ นจุดทีส่ งิ่ ทีเ่ ราพูดสามารถเป็นตัวก�าหนดอนาคตได้ เราก�าลังบอกให้ทกุ คนได้รวู้ า่ อะไรดีอะไร ไม่ดี ผมว่ามันเป็นเกียรติมากทีส่ ถาปนิกสักคนจะสามารถท�าให้สงิ่ ทีพ่ วกเขาพูดเป็นทีไ่ ด้ยนิ แบบนัน้ และการทีเ่ ราได้รางวัลก็ทา� ให้เรามีโอกาสทีจ่ ะท�าแบบนัน้ ได้นะ่ ครับ แต่เรามองว่าสิ่งที่พวกคุณหรือปฐมาและทุกคนที่ CASE รวมไปถึง สถาปนิกอย่าง สุรยิ ะ อัมพันศิรริ ตั น์ ก�าลังท�าอยูน่ นั้ เป็นเรือ่ งทีน่ า่ ประทับใจ มาก และมันก็คงเป็นเรื่องยากมากเช่นกันที่คุณต้องท�างานโดยที่โดนติด ยี่ห้อของการเป็นสถาปนิกที่ท�างานสร้างอาคารราคาถูกเพื่อคนรายได้ ต�า่ ปฐมาเองก็เคยพูดเอาไว้วา่ ไม่มลี กู ค้ารวยๆ จากตลาดบนมาจ้างเธอ เลย ทัง้ ๆ ทีเ่ ธอก็ทา� งานได้ทกุ แบบ เพราะว่านัน่ คือสิง่ ทีค่ นอืน่ มองว่าเธอ เป็นและท�าไปแล้ว

ใช่ครับ ผมเห็นด้วยกับสิง่ ทีป่ ฐมา พูดมากๆ มันก็นา่ แปลกทีม่ นั มีชอ่ งว่างขนาดใหญ่ขนาดนีร้ ะหว่าง สิง่ ทีเ่ ราท�ากับลูกค้าระดับบน เพราะอาคารเล็กๆ อย่าง TEN house เนีย่ ถ้าคุณเพิม่ สเกลให้มนั ใหญ่เข้าไปอีก 10 เท่ารายละเอียดมันก็ยงั แน่นเหมือนเดิม คือมันก็จะยังเป็นโปรเจ็คต์เดิมนัน่ แหละ แต่มนั กลับแตกต่างกันอย่างมาก

แต่ปฐมาเป็นคนที่มีจิตใจดีมาก และเธอก็ยังคงมีความมุ่งมั่นเหมือนเดิม ในการที่จะท�างานเพื่อชุมชนต่อไป ซึ่งสิ่งที่เธอท�าก็น่าชื่นชมและก็เป็น แรงบันดาลใจทีย่ อดเยีย่ มมาก

เราก็หวังว่าเราจะเป็นได้แบบนัน้ เราเพิง่ เริม่ ต้นกันเท่านัน้ เรายังเด็กกันอยูม่ าก ผมเองก็อยากจะ กลับมาทีป่ ารีสอีกครัง้ ตอนทีผ่ มอายุสกั 60 แต่ผมจะกลับมาพร้อมโปรเจ็คต์อกี 80 โปรเจ็คต์ทผี่ ม ท�าส�าเร็จ ไม่ได้มแี ค่ 8 โปรเจ็คต์อย่างในวันนี้

“If the people don’t care about the project, the project is dead... When I feel the ownership of something, I will education take care of it. That’s the whole point.”

163


First published in art4d 210, December 2013.

local

Dirk Hebel education

up


“The new mines will not be for gold or for silver or for any other metals. The new mines will be in our cities because vernacular I think so many materials are simply conceived as waste, which could have the potential to become new building materials in the future.” cycling

So, as an architect, what made you become interested in social development? As an architect I come from a very special angle towards social development meaning that I’m interested in of course the built environment as mediator between people as a space and therefore for me I got more and more attentive in the last years to the question where does the stuff or the goods that surround me come from and is it necessary for example that somebody in Europe buys all year round fruits from Asia for example. And similar to the question is that is it necessary that we built with materials…that in the case of Africa where I lived for three years are basically produced somewhere in China or India and then shipped for a lot of money with a high CO2 footprint to Africa and then being built or kind of being used there as a building system which for me makes absolutely no sense in terms of culture and social activity. So therefore there is my interest and that’s also what I’m researching on right now if we can find alternatives to this endeavor.

167


I’m promoting the idea of going to the future and looking back at these vernacular materials, but using them in a completely different way. Your project titled ‘United Bottle’ is really interesting. It looks practical. How is the progress? Well, you can implement right away, it’s no problem. We have all the machines ready, we have the patterns, we have everything ready to go. The question is how can we convince the industry using it and kind of taking away their fear that with the introduction of such a new shape or form of a bottle they would lose clients. That is the biggest obstacle you have right now and we’re trying right now to get in contact with small startup companies which are starting their bottling of maybe another product and would like to associate their product with an idea of recycling a PET bottle.

The only way we can deal with it or kind of overcome that dilemma is that we are building capacity that people know more about it. I mean, the people will not be willing to move into the structure if they think that these vernacular materials are still used in the same way as they were done hundreds of years ago. I’m really not promoting the idea of going back to the past, I’m promoting the idea of going to the future and looking back at these vernacular materials but using them in a completely different way, and this is what has to be promoted. And funny enough in our westernized societies, that idea is very much or very easy to be transported because people think that this is the future and therefore they want to be associated with the future. While in Africa the people think that this is the past, and don’t want to be associated with it. So helping them to understand that this is a much more efficient, cheaper, and a long term, more sustainable way to live and to build their own houses without being dependent constantly on foreign help. I think that will bring a kind of a change in mentality, which is necessary that these people are willing to live in those structures.

Does the design make the bottle more expensive? No. The same amount of plastic is used, the same technique is used, the same machines are used, the same speed is given by the production, so it is the same price as any other PET bottles. The companies said that they’re afraid that they will lose clients if you change the appearance of the bottle? Yes. Funny enough, the shape or form of a bottle is so strong in the market, that big companies are afraid of changing, as they think they could lose any client. I see, that is difficult. Similarly, as an architect, most of the time, we tend to be interested in designing with natural or vernacular materials but most people want new and modern industrialized materials.

An experimental projecttesting on the potential of PET bottles as building material.

Hebel at the Design Research Society 2012 in Bangkok on ‘Which Kind of More?’ 169


What was your role as Scientific Director of the Ethiopian Institute of Architecture, Building Construction and City Development? Yes I was for three years in this position. And basically my role was to educate young architects. So basically we built up a new institute. Before 2006, there were only roughly 20 architects per year educated in Ethiopia for a population of 80 million people, and you can imagine what the backload of that is. And therefore we started a new school with new curriculum, with new buildings, with everything from scratch more or less, and helping to introduce a curriculum which exactly formulates these thoughts that they just presented, so not designing buildings out of steel constructions and glass façades because they make no sense in these areas. And therefore interesting the students in the alternatives, teaching them the alternatives. Building of capacity to talk to the clients, to convince the clients that there might be other alternatives. And that was my role for three years to lead the school, to lead these youngsters to hopefully a future where they’re again not dependent anymore on any other country, on other people telling them constantly what to do. How is the school going at the moment? Right now it’s very well actually. We started with roughly 800 students. 800, wow. And now already we are at three and a half thousand, so the number is growing every year. That’s crazy, that’s a lot? I mean, not only architects. We also educate urban planners and we’re also educating building managers so to have a broad understanding of the building industry. But yeah, the numbers are growing every year which is necessary and hopefully also these youngsters when they’re educated they go back to the rural areas and start to develop their own country from inside out and not from outside in.

171


How is your architectural practice in Singapore? At the moment, I’m practicing as an architect and I’m also practicing as a researcher, so what I showed before is the research in bamboo, well kind of replacing steel by bamboo composite materials is part of my research in Singapore. That is a project which is funded by the Singapore government together with the ETH (Swiss Federal Institute of Technology Zurich) and I’m one small member of a team of 170 researchers doing different research in different fields.

SECU research project from the Sustainable Emerging City Unit, Ethiopian Institute of Architecture, Building Condtruction and City Development

What are the projects you are doing at the moment? My project is to push this research, to push this idea of new materials that we can use in the future to build structures. That is my project right now and I’m hundred percent behind it and pushing. You seem to experiment with so many materials like earth, straw, bamboo, what are the materials that you think have the biggest potential? The biggest potential is in waste. Waste is ‘the potential’ of the future. I think that we can mine our cities. I think that the new mines will not be for gold or for silver or for any other metals. The new mines will be in our cities because I think so many materials are simply conceived as waste, which could have the potential to become new building materials in the future. If we turn one building down, then we can use the material to build another building out of it one to one. I think for me there is right now no reason why that should not work. Last question for Thai architects and for Thai architectural educators, what would be your suggestions…you know Thailand is a developing country, we have a lot of waste, and we have a lot of vernacular materials. It’s very easy. Look around you. Look around the next 10 kilometers, and don’t follow Shanghai or someone else. And that is also the ultimate which I told my students, simply open your eyes and look around you and I think there is so many potentials to research and to design things which are outstanding and incredible but if everybody is following right now this kind of mainstream

The bamboo structure experiment in Ethiopia.

thing right? This glass tower facades…crap…you have no chance to become anything outstanding. So to be outstanding, I think start with your immediate environment and I think there’s a lot to do. I mean, just look at this building right when we came in here…the air conditioning…why don’t you think of other alternatives…it is your climate right, the European climate is completely different. So I think it would be great to have young designers looking into possibilities to replace air conditioning, new alternatives have to be developed, they have to be tested, they have to be promoted. And I think that is something that could come especially out of countries like Thailand. 173


Born in Germany, Dirk Hebel is currently holding the position of Assistant Professor of Architecture and Construction at the Future Cities Laboratory (FLC) in Singapore, a research project established by ETH Zurich (Swiss Federal Institute of Technology Zurich) and Singapore’s National Research Foundation. Hebel is interested in architectural education that promotes the teaching of design that are appropriate to the environment and the local context. His research and design work encompass social development, the growth of cities in developing countries and experimenting with building materials conceived from waste or local materials. One of his most recognized projects is United Bottle, a PET water bottle design that can be reused as a prefabricated building unit for temporary shelter structures as the shape of the bottles allows them to be fitted neatly together.

ในฐานะสถาปนิก อะไรท�าให้คณ ุ หันมาสนใจในพัฒนาการทางสังคม?

ในฐานะสถาปนิก ผมมองพัฒนาการทางสังคมในแง่มมุ ทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะมากๆ ซึง่ ก็หมายความ ว่าผมสนใจสภาพแวดล้อมทางกายภาพในฐานะสือ่ กลางระหว่างผูค้ นและทีว่ า่ ง ดังนัน้ ส�าหรับ ผม ในปีหลังๆ มานี้ ผมให้ความสนใจมากขึน้ เรือ่ ยๆ กับค�าถามเกีย่ วกับสินค้าและผลิตภัณฑ์ทอี่ ยู่ รอบๆ ตัวเราว่ามันมาจากไหน ยกตัวอย่างเช่น มันจ�าเป็นหรือเปล่าทีค่ นในยุโรปสามารถซือ้ ผลไม้ ของทุกฤดูกาลจากเอเชียได้ และค�าถามทีใ่ กล้เคียงกันก็คอื มันจ�าเป็นหรือเปล่าทีเ่ ราจะสร้างอาคาร ด้วยวัสดุอย่างในกรณีของแอฟริกาทีผ่ มใช้ชวี ติ อยู่ 3 ปี วัสดุทนี่ นั่ ถูกผลิตในจีนหรืออินเดีย และขน ขึน้ เรือมาด้วยค่าใช้จา่ ยทีส่ งู มาก และมีอตั ราการปล่อย CO2 สูงในแอฟริกา จากนัน้ ก็ถกู สร้างขึน้ ในฐานะระบบการก่อสร้าง ซึง่ ส�าหรับผม มันเป็นเรือ่ งทีไ่ ร้สาระทีส่ ดุ ในแง่กจิ กรรมทางวัฒนธรรม และสังคม ดังนัน้ นีเ่ ป็นเรือ่ งทีผ่ มสนใจและสิง่ ทีผ่ มก�าลังศึกษาอยูต่ อนนี้ มันเป็นไปได้หรือไม่ทเี่ รา จะพบทางเลือกอืน่ ๆ เพือ่ ผลักดันเรือ่ งราวเหล่านี้ โครงการของคุณทีช่ อื่ United_Bottle เป็นเรือ่ งทีน่ า่ สนใจมากและมันดู ใช้ได้จริง ตอนนีโ้ ครงการพัฒนาไปถึงไหนแล้ว?

คุณสามารถเอามันไปปฏิบตั ไิ ด้เลย มันไม่มปี ญั หาถ้าเรามีเครือ่ งมือพร้อม เรามีแบบ เรามีทกุ อย่าง พร้อมทีจ่ ะท�ามัน ค�าถามก็คอื คุณจะโน้มน้าวให้กลุม่ อุตสาหกรรมใช้มนั ได้อย่างไรและจะท�าอย่างไร ให้เขาเลิกกลัวว่าการใช้รปู ทรงขวดแบบใหม่อาจจะท�าให้เขาเสียลูกค้าไปได้ นัน่ เป็นอุปสรรคทีใ่ หญ่ ทีส่ ดุ ทีค่ ณุ มีในตอนนี้ และเราก�าลังจะพยายามติดต่อกลุม่ บริษทั ขนาดเล็กทีก่ �าลังจะเริม่ การบรรจุ ขวดของผลิตภัณฑ์สกั อย่าง และมีความสนใจทีจ่ ะดึงเอาความคิดเรือ่ งการน�าขวด PET กลับมาใช้ ใหม่รว่ มกับผลิตภัณฑ์ของเขา

United_Bottle โครงการ ทดลองน�าขวดพลาสติกมา พัฒนาเป็นวัสดุกอ่ สร้าง

175


การออกแบบขวดน�า้ รูปแบบใหม่นนั้ ท�าให้ขวดมีราคาแพงขึน้ หรือเปล่า?

ไม่นะครับ เราใช้ขนั้ ตอนการท�าแบบเดียวกัน พลาสติกชนิดเดิม ปริมาณเท่าเดิม เทคนิคเดียวกัน เครือ่ งจักรแบบเดียวกัน ความเร็วทีถ่ กู ก�าหนดจากการผลิตแบบเดียวกัน ฉะนัน้ ราคาของมันก็พอๆ กับราคาของขวด PET ทัว่ ไป

Is it necessary that somebody in Europe buys all year round fruits from Asia?

คุณพูดว่าพวกเขากลัวทีจ่ ะสูญเสียลูกค้าหากมีการเปลีย่ นแปลงรูปลักษณ์ ของขวดอย่างนัน้ หรือ?

มันก็ตลกดี รูปทรงเป็นประเด็นส�าคัญในตลาด บริษทั ใหญ่ๆ กลัวการเปลีย่ นแปลงเพราะเขากลัว จะเสียลูกค้า มันเป็นประเด็นที่ยากเหมือนกัน เหมือนกับที่สถาปนิกส่วนใหญ่มักพบ ว่าตัวเองสนใจวัสดุท้องถิ่นในการออกแบบ แต่ชาวบ้านและคนทั่วไปเขา ต้องการวัสดุสมัยใหม่?

ทางเดียวทีเ่ ราสามารถจัดการกับเงือ่ นไขทีย่ งุ่ ยากนีไ้ ด้กค็ อื เราต้องส่งเสริมให้คนมีความเข้าใจเกีย่ ว กับมันมากขึน้ ถูกไหม คงไม่มใี ครอยากจะย้ายเข้าไปอยูใ่ นอาคารและนัง่ คิดว่าวัสดุทอ้ งถิน่ เหล่านี้ ยังคงถูกใช้ในแบบเดิมๆ เหมือนทีม่ นั เคยเป็นมาตลอดหลายร้อยปี ผมไม่สนับสนุนความคิดของ การย้อนกลับไปหาอดีตเลยนะ ผมส่งเสริมแนวคิดของการมองไปข้างหน้า ขณะเดียวกันก็มองย้อน กลับไปทีว่ สั ดุพนื้ ถิน่ เหล่านัน้ แต่หยิบใช้มนั ในแบบทีแ่ ตกต่างออกไปโดยสิน้ เชิง นีเ่ ป็นสิง่ ทีจ่ ะต้อง ให้การสนับสนุน ประหลาดดีเหมือนกัน ในสังคมตะวันตกของเรา มันง่ายทีเ่ ราจะสือ่ สารแนวคิด นีเ้ พราะผูค้ นเห็นว่านีค่ อื อนาคต ดังนัน้ พวกเขาก็ตอ้ งการทีจ่ ะโยงตัวเองเข้ากับอนาคต ฉะนัน้ การ ท�าให้คนเข้าใจประเด็นนีเ้ ป็นทางทีม่ ปี ระสิทธิภาพทีส่ ดุ ระหว่างทีผ่ มอยูใ่ นแอฟริกา คนทัว่ ไปคิด ว่าสิง่ นีเ้ ป็นอดีตไปแล้วและเขาไม่อยากไปยุง่ เกีย่ วกับมันอีก ดังนัน้ การช่วยให้พวกเขาเข้าใจว่าสิง่ นี้ มันเป็นสิง่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพมาก ราคาถูกกว่า และในระยะยาว มันคือทางทีย่ งั่ ยืนกว่า ไม่วา่ จะเป็น ในแง่ของการอยูอ่ าศัยหรือการสร้างบ้านของพวกเขา โดยไม่จา� เป็นต้องพึง่ พาอยูแ่ ต่การช่วยเหลือ จากต่างชาติ ผมคิดว่าสิง่ นัน้ จะช่วยสร้างความเปลีย่ นแปลงในระดับความคิด ซึง่ จ�าเป็นต่อคนเหล่า นีท้ ตี่ อ้ งการจะอาศัยในสิง่ ปลูกสร้างเหล่านัน้

บทบาทของคุณในฐานะผู้อ�านวยการวิจัยของสถาบันสถาปัตยกรรม เทคโนโลยีการก่อสร้าง และการพัฒนาเมืองแห่งเอธิโอเปียเป็นอย่างไรบ้าง?

ใช่ผมอยูใ่ นต�าแหน่งเป็นเวลา 3 ปี โดยหลักการแล้ว หน้าทีข่ องผมคือการให้ความรูแ้ ก่สถาปนิกรุน่ ใหม่ เราสร้างสถาบันขึน้ มาใหม่เลย ก่อนปี 2006 ทีน่ นั่ มีสถาปนิกจบในประเทศประมาณ 20 คนต่อปี ส�าหรับปริมาณประชากร 80 ล้านคน คุณลองคิดดูสวิ า่ ภาระมันหนักขนาดไหน ดังนัน้ เราจึงเริม่ โรงเรียนใหม่พร้อมหลักสูตรใหม่และอาคารหลังใหม่ ทุกอย่างเกือบจะเริม่ ต้นจากศูนย์ นอกจากนี้ เราก็ชว่ ยแนะน�าหลักสูตรทีอ่ ยูบ่ นฐานคิดของการออกแบบทีไ่ ม่ยดึ ติดอยูแ่ ต่กบั โครงสร้างเหล็กและ ผืนหน้าต่างกระจก เพราะมันเป็นเรือ่ งทีไ่ ร้เหตุผลมากส�าหรับพืน้ ทีแ่ บบนัน้ สิง่ ทีเ่ ราท�าก็คอื การกระตุน้ ความสนใจของนักศึกษาในเรือ่ งของทางเลือกเหล่านี้ สอนให้เขารูถ้ งึ ทางเลือกในการออกแบบ การ สร้างความสามารถในการสือ่ สารกับลูกค้า โน้มน้าวให้ลกู ค้าตระหนักว่ามันยังมีทางเลือกอืน่ ๆ อยู่ และนัน้ ก็คอื บทบาทของผมในการอ�านวยการโรงเรียงตลอดช่วง 3 ปี เป็นเรือ่ งของการน�าคนรุน่ ใหม่ไปสูอ่ นาคตทีเ่ ต็มไปด้วยความหวัง หรือจุดทีเ่ ขาไม่ตอ้ งพึง่ พาประเทศอืน่ ๆ หรือรอให้คนอืน่ มาบอกว่าตัวเองต้องท�าอะไรต่อไปอีก ตอนนีโ้ รงเรียนเป็นอย่างไรบ้าง?

ตอนนีโ้ รงเรียนก�าลังไปได้สวย เราเริม่ ก่อตัง้ โรงเรียนจากจ�านวนนักศึกษา 800 คน 800 คน ว้าว!

ตอนนีเ้ รามีนกั ศึกษาประมาณ 3,500 คน แล้วจ�านวนคนเรียนก็เพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ทุกปี มันเหลือเชือ่ นัน่ เป็นจ�านวนทีเ่ ยอะมากนะ

ผมหมายถึง มันไม่ได้มแี ต่สถาปนิกเท่านัน้ นะ เรายังสอนนักวางผังเมือง รวมถึงผูจ้ ดั การอาคาร ฉะนัน้ เราจึงมีความเข้าใจแบบมุมกว้างต่ออุตสาหกรรมการก่อสร้าง แต่จริงอยูท่ จี่ า� นวนคนเรียน เพิม่ ขึน้ ทุกปี ซึง่ เป็นเรือ่ งจ�าเป็นและเป็นความคาดหวังว่าคนหนุม่ สาวเหล่านีจ้ ะกลับไปพัฒนาพืน้ ที่ ชนบท และเริม่ พัฒนาประเทศของตนจากก�าลังของตน ไม่ใช่การรอความช่วยเหลือจากภายนอก

177


การท�างานของคุณในฐานะสถาปนิกในสิงคโปร์ตอนนีเ้ ป็นอย่างไรบ้าง?

ตอนนี้ผมท�างานในฐานะสถาปนิกและยังคงท�างานวิจัยต่อไป สิ่งที่ผมให้คุณดูก่อนหน้านี้เป็น งานวิจยั เรือ่ งไม้ไผ่ ซึง่ การแทนทีเ่ หล็กโดยใช้วสั ดุดดั แปลงจากไม้ไผ่ เป็นส่วนหนึง่ ของงานวิจยั ของผมในสิงคโปร์ โครงการนีไ้ ด้รบั การสนับสนุนจากรัฐบาลสิงคโปร์รว่ มกับ ETH และผมก็เป็น สมาชิกตัวเล็กๆ คนหนึง่ ในทีมทีป่ ระกอบด้วยนักวิจยั 170 คน โดยต่างคนก็ทา� งานวิจยั ในสาขา ทีแ่ ตกต่างกันไป ตอนนีค้ ณ ุ มีโครงการอะไรทีก่ า� ลังท�าอยูบ่ า้ ง?

จริงๆ แล้ว โครงการของผมก็คือการผลักดันงานวิจัยนี้ การผลักดันแนวความคิดเกี่ยวกับวัสดุ ใหม่ๆ ทีเ่ ราสามารถใช้สร้างอาคารได้ในอนาคต นีค่ อื โปรเจ็คต์ในตอนนีข้ องผม และผมก็เต็มร้อย ทีจ่ ะท�าและผลักดันมัน ในบรรดาวัสดุทคี่ ณ ุ เคยทดลองมา ไม่วา่ จะเป็น ดินดิบ ฟาง ไม้ไผ่ วัสดุอะไร ทีค่ ณ ุ คิดว่ามีศกั ยภาพสูงสุด?

สิง่ ทีม่ ศี กั ยภาพสูงสุดคือขยะ มันคือศักยภาพแห่งอนาคต ผมคิดว่าเราสามารถขุดเหมืองในเมือง ผม คิดว่าเหมืองแบบใหม่จะไม่ใช่เรือ่ งของการขุดหาทอง เงิน หรือโลหะอะไรก็ตามแต่ แต่มนั หมายถึง เหมืองใหม่ๆ เหล่านี้ มันจะอยู่ในเมืองของเรา เพราะวัสดุมากมายที่ถูกมองว่าเป็นขยะ มันมี ศักยภาพทีจ่ ะเอามาท�าเป็นวัสดุกอ่ สร้างใหม่ๆ ในอนาคต และผมก็ไม่เห็นเหตุผลว่าท�าไมเราจะไม่ สามารถเอาวัสดุจากอาคารที่ถูกรื้อมาสร้างอาคารหลังใหม่ขึ้นมา ผมคิดว่ามันไม่มีเหตุผลอะไรที่ จะท�ามันออกมาไม่ได้นะ ค�าถามสุดท้ายส�าหรับผู้สอนสถาปัตยกรรมและสถาปนิกไทย คุณมีข้อ แนะน�าอะไรบ้างเมื่อคุณก็รู้ว่าเราเป็นประเทศที่ก�าลังพัฒนา เรามีขยะ เยอะมากและเรามีวสั ดุพนื้ ถิน่ มากมาย?

มันเป็นเรือ่ งง่ายมาก คุณลองมองไปรอบตัวคุณ มองออกไปไกลออกไปอีก 10 กิโลเมตร คุณไม่ตอ้ ง ไปตามเมืองอย่างเซีย่ งไฮ้หรืออะไรแบบนัน้ และสิง่ ส�าคัญทีส่ ดุ ทีผ่ มเคยบอกนักศึกษาของผมก็คอื เปิดตากว้างๆ และมองไปรอบๆ ตัวคุณ และผมคิดว่ามันมีสงิ่ ทีม่ ีศกั ยภาพมากมายให้เราได้ศกึ ษา วิจยั และออกแบบมันออกมา ซึง่ มันเป็นสิง่ ทีเ่ ยีย่ มมากและน่าทึง่ แต่ถา้ ทุกคนวิง่ ไล่ตามสิง่ ทีอ่ ยูใ่ น กระแสหลักตอนนี้ หน้าอาคารทีเ่ ป็นกระจกแบบนี้ มันก็หว่ ย คุณจะไม่มโี อกาสท�าให้มนั ยอดเยีย่ มได้ เลย ฉะนัน้ การท�างานทีแ่ ตกต่างออกไป ผมคิดว่าควรเริม่ จากสิง่ แวดล้อมรอบๆ ตัวคุณ และผมคิด ว่ามันก็มอี ะไรให้ทา� อีกเยอะ ผมหมายถึงว่าคุณลองดูอาคารหลังนีส้ ิ เมือ่ คุณเข้ามาข้างใน คุณก็เจอ ระบบปรับอากาศ ท�าไมไม่เอามันออก ภูมอิ ากาศของคุณมันเป็นแบบนีไ้ ม่ใช่เหรอ สภาพอากาศใน ยุโรปมันแตกต่างออกไปโดยสิน้ เชิง ผมคิดว่า มันคงจะเป็นเรือ่ งทีด่ มี ากถ้าจะมีนกั ออกแบบรุน่ ใหม่ ทีม่ องถึงความเป็นไปได้ใหม่ๆ ทีจ่ ะหาอะไรมาแทนทีร่ ะบบปรับอากาศ ซึง่ มันเป็นเทคโนโลยีทลี่ า้ สมัยแล้ว แต่สงิ่ ทีจ่ ะมาแทนทีน่ จี้ า� เป็นทีจ่ ะต้องได้รบั การพัฒนา ทดสอบ และส่งเสริม ผมคิดว่านี่ เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ได้ในสถานทีอ่ ย่างประเทศไทย ด้วยความยินดี

“simply open your eyes and look around you and I think there is so many potentials to research and to upcycling design things which are outstanding and incredible but if everybody is following right now this kind of mainstream thing right?”

เยีย่ มไปเลย ขอบคุณมาก การทดลองน�าไม้ไผ่มา ออกแบบเป็นโครงสร้าง

179

lo


First published in art4d 158, April 2009.

zlg design green

cal


“It might not be enough just to look at the quality of a practice but more to look at the quality of education in general.” experience

There is a common view that Sustainability has become an ornament and is very often abused by developers to increase prices but not the value of a development. We could say that sustainability has become fashionable. Also there’s an idea of looking into this field of sustainability out of a belief system that we can change the world in a different or ‘Greener’ form. You were educated at the AA in London and you got your first work experience in Europe with Sir Norman Foster. Returning to Malaysia, how do you work here and what do you think about the new discourse on Sustainability? Huat Lim: We should talk about qualities, assuming that we don’t talk about sustainability. It might not be enough just to look at the quality of a practice but more to look at the quality of education in general. I was back in Europe a few weeks ago and I realized that the quality of the environment is reliant on the quality of the skills that you bring into the construction industry. You can see this in countries like Sweden, Norway and even more in Germany where the builders are actually educated in construction. It took me a while to figure out what we need in Asia. I think the quality of the architecture that we see here is lacking because we haven’t been educating the constructors. People who build the building are the ones that actually make the difference. It is vital that they understand it as a trade. You can get a family business that is putting up multi-storey buildings and I think there isn’t a substantial knowledge base in the actual construction industry. When we talk about sustainability, a lot of people think about ‘Green’ buildings. These typologies have been around for about five to eight years. First the Green idea came into public buildings and nowadays it has gone into residences and condominiums. I still question whether people really understand the value of Green buildings. The fact that the developers brand it in their brochures doesn’t make a building more Green. Their concept of Green is completely different from our understanding of Green. Yet the public hasn’t recognized the concept as much as the developers have wanted. Green buildings are the new luxury of having much more open space. It is Green to have less architecture and more natural environment. In terms of architecture it may not be about finishes, it may be about the balance of the energy of a place. It is not necessarily poor design or insufficiency in executed quality. Some people may say it is sufficient to have some bushes, solar panels or a doublescreen façade. I don’t think that’s Green. Instead we should take less out of the environment, and put something more substantial in. 183


When you work in a local context, how do you incorporate the understanding of Green? Suzanne Zeidler: In Southeast Asia we have an immature understanding of Green, compared to a high technological precursor like some countries in Europe, where it is about educated contractors, environmental learning, and the discipline in saving energy by using the latest ecofriendly building materials. In Asia it is more about the marketing and the branding of a building. Developers are too powerful and too ignorant to use these things. They see it from the perspective of branding, marketing and sales. We asked ourselves how to intervene in that marketing agenda. Our approach is shown in the BOH Visitor Centre in the Cameron Highlands. We like to do things that are very specific to a site. The climate in the mountains is very good for that. We’re using natural products and recycled local materials from the site that are not imported. We build around the trees to utilize their shadow space, which allows a more passive-energy building. We’re elevating the building from the ground to allow natural ventilation. We don’t need very sophisticated features like double-glazing. We prefer to go with natural ventilation, natural products and local materials. Does it make your building Greener by using local materials instead of, let’s say, high-tech tripleglazing, or is it a combination of green and vernacular material with good craftsmanship? Lim: Everything comes together. Architecture is a matrix of people’s behaviors and expectations, where economics and developers’ dreams are adjacent with the conception of quality and workmanship. Government policy and the authorities are members of that matrix as well as the landscape architect or the employee who does the detailing for the façade and who will have an effect on the sustainability of that project. Eventually the person who demands that his balcony must have plants will have an influence on what you call the building discourse of sustainability, but that is about everyone in the whole realm of architecture. To say that using a certain material makes a building Greener than another is not enough. The most important thing is attitude and education. And the client has to know what it is to be Green. No developer can

The elevation drawing of the BOH Visitor Centre, illustrating the circulation path.

sell any condominiums if he is talking about something outside of this realm of understanding and labeling it as Green. The responsibility is how we use materials, how we work in an office and create a pool of knowledge of what reduction of energy is about. It is no good having a building that has received a very high Green Mark score when all the users in there just blast out energy while opening up the windows. Waste management, buying the wrong furniture or renovating your office in an unacceptable way, not knowing what patterns have changed in flexibility or capacity—all these combine to make an equation that results, at the end, in a successful project. All these contributors come from this whole matrix that is under the Green label and reduction of energy. That matrix comes together with its high responsibility and quality. How do you approach this responsibility and how can you change people’s mindset about the quality of buildings? Lim: Sustainable buildings have high equity in terms of value. How do you make somebody believe that? It’s the same as educating them about their lifestyles in terms of product consumption. We tell our clients to forget the look and need of ordinary glass. They don’t need to have air conditioning in the public lobby. This is not what the market wants. For us, you select the right materials and you go through the whole process of being very careful about your choice of materials. For them, it’s “Oh it doesn’t look like it’s going to sell”, so that gap is still very challenging. Developers see an image, and then consumers see another image, and then the investors see yet another image. We’re not driven by images. Our philosophy is that we don’t care so much about the end product but we are very tactful about the entire process.

185


In your writings, you deny a typology in a historical theoretical background according to a specific context. Do you believe in a form of a green typology that you could use as a module to work with a newer, more technical and more environmentally friendly material? Zeidler: We don’t think of creating a typology. Every time we get a project it’s a new step. Every project is a custom-made new mold. Sometimes when we have done a design for one client and the project could not continue we might later find another suitable client for this idea. Then we take time in the process to explain and to educate the client. This process of education happens in every project. It is interesting to bring up the educator. If we look at your work as displayed online, you’re probably one of the few firms that displays all its production up on a blog. This recalls Corbusier, who wrote more books than he did buildings. In Singapore, there are changes affecting politics, for example, because the blog world is getting more influential. I wonder if you have a critical approach to an architectural blog, which could be seen as a medium for conversation, a medium for communication in architectural terms. Lim: In architecture, the blog successfully puts theory and practice together. The name Peter Cook appeared two months ago in a blog followed by a conversation about the architect in academia. Peter Cook has a very profound knowledge of development, thinking and teaching architecture. Only recently has he gone into practice. And his interview became my inspiration. Academia and practice must go together. Very successful teachers build interesting work. In our practice, we do smaller work and we do very humble, straightforward architecture. At the same time we try to put in some continuity between our projects, even though visually there may not be an immediate continuity. It’s a conscious effort to build up a position for the work. Our blog has a very good balance between practice and theory. It’s not the credibility that we’re looking for. A good body of work cannot evolve if there isn’t some kind of infrastructure, some intellectual pursuits being displayed of how you produce something or create something. Our blog is self-critical and examines what we do and this is very important for us. Susanne and myself hardly agree on directions, but that develops thinking and that enriches the process.

It’s difficult enough to run a practice and to find time to pursue intellectual production. The most interesting theoretical work came out in the 1970s and early 1980s when the economy was down and architects had nothing to do. So they wrote books. But in Southeast Asia, especially in the context of Singapore, there is work. How do you, as an intellectual practice, back off sometimes or move forward in terms of doing projects and doing your intellectual production? Lim: There is an influence from the early days, like when Susanne came out of Germany and I came out of London with Peter Cook as a teacher. We create and then we criticize a lot in our office. We’re open to criticism from our staff and from our colleagues. Zeidler: In Germany there is more intellectual production. We’re running and we’re also producing but it’s the extra effort that we put in. We could have made our lives much easier. Putting the intellectual and intuitive content into our practice develops the process of designing. And this has value. Lim: My first contact with the concept of sustainability as an intellectual pursuit was from Ken Yeang at the National Library project in Singapore. It was very good to protect the interest of the environment in terms of built form, to try to reduce wastage on-site, to try to prefabricate as much as possible, to reduce the energy that is put into the building site. The whole agenda was complex in the sense that it wasn’t my understanding of what it is to be Green or what is sustainable. Today, sustainability is not just an agenda, not about following only the Green Mark; it’s not about getting the endorsement from the city council, not getting any other awards. It is more about being a responsible person towards your colleagues. It’s all about examining the question of architecture as a whole. For example, to achieve a comfort level, is it about air-conditioning or is it about another choice? It’s not about a list of products, a list of materials, energy building, and load lifecycle course. It’s not about the walls, direct energy or latent cooling. It’s asking ourselves as architects how much we have to put back into the buildings to make them sustainable and to understand the design brief. We have to ask, what is the new luxury? Is it about being in a very comfortable building or is it about being

187


Lim: The engineering of energy in the building is derived not only in terms of the scores but also where the architect decides to design in the influence. For example, the simple decision of where the architect decides to park a car. This decision is not determined by the engineers but is the single responsibility of the architect. If a decision is misguided, all the energy or the numbers that come after that are no longer significant because the first approach is architectural. This has the most impact on sustainability. Of course there are a lot of possibilities for engineers and architects to work relatively at the same level, but the concept of designing the first model for spatial organization is within the realm of the architects. That’s where the equations or the scores don’t come in until it is more significant, as you said, for the architect that graphs energy in their terms rather than measurement and equipment for power supply. It is more important to measure energy in terms of how we perceive space, how we perceive usability or functionality of a project. closer to nature and going back to the first principles of comfort? There was a long interval between the caveman and the first Palladian house, and then from the first Palladian house to the boutique condominium and a chic resort. Sustainability is about all these progressions and it is about examining building types, the balance of energy, of function, the aesthetics, the visual perception, the economics. This is an important point because sustainability is being embraced within the conversation of hard science and engineers, by economics and the quantitative disciplines that are now making the determination of sustainability in specific knowable criteria. For example, if your building consumes a specific amount of energy that is put back into the grid or one is able to consume a limited quantity of carbon and store it within the architecture, the building gets a mark. Yet architects are not specialists but rather generalists and there is this pressure today to become engineer-like in our ability to claim certain Green points. But what you’re talking about is something that we are experts in, which is the way people occupy space, the kind of programs that we promote, the way things occur in habitation. It is at this moment the discourse of sustainability moves from the control of the engineers and into the realm of architecture. This is empowerment.

One idea is very rational while the other is very reasonable, which seems to be a very clear approach to your design. Do you think we need new technologies? Lim: Do I mind? No. Zeidler: I think the challenge is not in using new technologies but in understanding the traditional way of thinking and learning from, for example, the vernacular building in the kampong. They were elevated so you have a certain relation to the climate and are using the traditional knowledge of construction and material. Is it then going back to the primitive? Lim: No. This is where I want to share my feeling about the new luxury that comes in when we are able to decide between open spaces, calculating the economic value that is very different now than it was 20 years ago. So sustainability is about going back to basics. That is where the economics has to be reviewed, the whole process of where we put in that value in terms of building an enclosure or just an envelope. Or we put value in just the satisfaction and comfort that can be archived in many ways.

BOH Visitor Centre’s cantilevered balcony allows visitors to enjoy the view of the vaalley.

189


How do you approach the client’s need, let’s say, for an office space with 22 degrees to please those who want comfort in a hot and humid climate where crossventilation is not a functional option. Lim: Air-conditioned buildings or air-conditioned office space, that’s not a bad thing. Zeidler: It’s not about good and bad. Lim: It’s not about making everything in your building naturally ventilated. It is about saying where you don’t need it. In the 1960s and 1970s, we had Archigram and Superstudio as experimental think tanks. There was a vision of utopia in the context of social studies. Archigram at that time was already a pioneer in ‘Green’. Today with the prognosis of climate change we have to educate our society. To be responsible might be a combination of being sensitive to the site and to the tradition, but also the usage of modern technologies. Going back to the primitive or to the simplest might not be the best solution. There are new materials; we can learn from different fields of material technologies like, let’s say, aeronautics. There are materials in that area that are highly insulated but environmentally friendly. We could use this insulation in combination with traditional tropical architecture to cut down on energy consumption. Zeidler: I very much agree with you that it is a combination, as much as totally going back to the old time is the combination of technology. Considering materials at this stage, I don’t believe in it in Malaysia. Here we are not at this stage of using higher sophisticated materials, which are common in Germany. We’re looking at using simple materials like ventilation blocks, which were often used in the 1950s and 1960s. We are using it at the moment for a 23-storey car park from the bottom to the top. It is cheap but aesthetically modified. We don’t have to import it and it does not involve high costs and

technology to produce that. Simplicity used as an every day material. We are not thinking of something very sophisticated. You mentioned that contractors are not educated enough to work with high-tech materials and as a consequence you have to deal with local craftsmanship. Do you see this as a handicap? Zeidler: I personally like the challenge. And there is a lot of flexibility in it. In Germany it is very rigid with all the rules and regulations. Everyone is a policeman and everyone is watching. It is similar in Singapore. In Malaysia there is much more flexibility. So I quite like that non perfect system that is happening, and I like the way that we can go on-site and still change things because we have not fully developed every detail. We have more space to change the process onsite. I know it is not a professional way of documenting details like we know from Foster’s office. I like it that even on-site, we can do a sketch and we can change something, when we recognize something that we were not aware of before. We just create. Its sounds like a poetic rebirth of the traditional master builder with a certain intuition like Louis Kahn used to build. The illiterate execution of details by the contractors on-site becomes your architectonic advantage. You design on site with a one-to-one mock-up model. Zeidler: We like details, but yes, sometimes we develop a detail and give it to the contractor, but they are actually not able to execute it. Then we have to simplify it. In the end simplification is the way to go. We don’t even need to have it so complicated. It challenges us to do something simple but relatively affordable, that is still something very exciting, interesting and equally architectural. I think that’s the challenge. It’s easier if we have a big budget. But I find it more challenging when your budget is not so high. In some of your designs you are reusing a certain amount of material. Some of our Malaysian colleagues like Kevin Low work very carefully to recycle resources, because of availability and costs. To clean and reuse the bricks, that is a form of sustainability as well.

191


Zeidler: More and more people go in this direction. But I personally find it is dangerous. I don’t have a better word now for that but it shouldn’t become a dogma. Like, “I never use granite”. Come on, there might be a situation where you might want to use granite. Lim: I think when you say dogma, it is misleading to think that certain things come to exist. I’d like to clarify the position, the duality or the mutual exclusivity of two concepts. I think the fact that something is sustainable does not mean that it is ugly—very poor plastering and everything leaks—that is the connection that we make. If sustainable buildings with green have black tinted windows, it looks like a robot but has plants growing on the roof—that is not sustainability for me. The balance, to answer your question, between technology and Green are buildings that are environmentally very sound and responsible. We can walk into a building and we can have a very sophisticated wall grating system, yet it has very responsible materials. For example, to use recycled concrete where the aggregate comes from a demolished building, yet the wall system could be very sophisticated. So it can co-exist! How it looks and feels in the end is just a position that we take with regards to energy and how we bring it together. We create awareness about how the building should be used and how we deal with the waste. Eventually all works of architecture will generate waste. Waste management means the controlled use of energy, refuse, the collection of rubbish, light pollution and all the sorts of downstream energy that come out of putting up a residential development. Zeidler: It is very difficult to practice here in Malaysia, when there is no proper waste management or separation of rubbish for a recycling chain, which we have in Germany. The basics are not even there yet. It is a mindset of even throwing paper out on the street. It is normal to have an expensive car and the whole family’s inside, the child opens the window and throws out a Coca-Cola can. Here nobody says anything. Imagine—in Germany, you’ll already have someone stopping you. Yes, in Europe we have a very careful understanding of the environment. Architecture also means changing the environment. Where do you draw your line in a careful understanding of the context and the tradition of a site when you work on a site? BOH is a very good example, because it has a very strong site to deal with. The building in itself has beautiful simplicity. How do you read the site and decide to be sustainable when it comes to a simple decision such as building a ramp or an elevator?

I think the challenge is not in using new technologies but in understanding the traditional way of thinking and learning from, for example, the vernacular building in the kampong. Zeidler: I think the first thing is intuition, where the first reaction is the intuitive reaction. And then comes the thinking. Lim: If we can get to the first floor by walking on a plank, then we will put a plank there. This is the logical process. As architects we have some intelligence as to how we process the brief. The choice is made, if you have a wall where you don’t need someone to walk up the wall, there you have a choice to make it Green. There you have the choice of reducing energy because you can say that you want a material with high sustainability in terms of repainting and maintenance. It’s not the choice of the lift and the stairs, it has to be the basis for it to work. Zeidler: And if you have nothing in your surrounding that you want to react to, I understand that you want to stand out and ignore the surrounding. It is great, and in a way allows much more freedom. Do you think that working with the state of the vernacular in a rural landscape and a simple village is a way to keep traditions alive? Zeidler: I wouldn’t call it tradition. It is the simplest and most direct way of acting in an environment. It is simplicity of thinking. I don’t mean simple as not very intelligent.

193


Lim: A very successful model for a housing estate or a condominium can be taken completely from tradition. When we take, for example, the blueprint of a kampong, that could be the blueprint for a new high-end resort in Papua New Guinea. Your question about cultural reference is good, but the reference is not so much the culture of that architecture, but how you perceive the quality of that space. The fact that your model in the kampong works is because the scale is a low scale which has sociological reasons for the placement of the buildings. You can go from one building, then you see the bicycle shop, then you turn around and you have the newspaper shop. That pattern of living with that blueprint is very sophisticated and in a way it is very sustainable. It has its applications today in resort hotels and very high-end boutique hotels as a model without a cultural reference. It’s just the fact that in that arrangement, the sociological advantages and quality of arrangement is still valid today. Zeidler: Maybe we’re looking at this kind of living nowadays because it has a much longer lifespan. It was not destroyed in a short period of time with so-called ‘advanced technology’. Resources are getting lesser. All kinds of environmental pollution come with technology. This is really questionable, isn’t it? And on the other hand what we see with this kind of traditional simplicity is that it lasts many years.

zlgdesign was established by Huat Lim and Suzanne Zeidler who met in London over two decades ago. Zeidler had worked and studied with Sir Peter Cook of Archigram at the Bartlett School of Architecture, Faculty of the Built Environment at University College London whereas Lim trained at the Architectural Association School of Architecture before moving on to work at Fosters and Partners in 1984 before relocating to Kuala Lumpur. zlgdesign’s works revolve around ideas and concepts that go beyond predefined architectural persuits or entities, and rather, attempting to engage the human experience in space.

You don’t use a quotation of a figure. It is an interpretation of how people live and we build and want to engage the human experience. So it’s definitely much more about the people. Your current work is in Malaysia. Are you expanding in a different environment? Zeidler: We have some work in China, but at the moment mainly in Malaysia. Ms. Zeidler and Mr. Lim, we wish you all success and thank you for the discussion.

195


ทุกวันนี้เรื่องความยั่งยืนเหมือนจะกลายเป็นเรื่องที่เราน�ามาพูดกันเพื่อ ให้ ตัวเองดูดเี ท่านัน้ แต่แล้วสุดท้ายก็มกั จะถูกละเลยไปง่ายๆ เพราะเอาเข้า จริง ดีเวลลอปเปอร์สว่ นมากก็ตอ้ งการเพิม่ มูลค่าทางการขาย โดยไปใช้วธิ ี ลดคุณภาพของสินค้าให้นอ้ ยลงด้วยกันทัง้ นัน้ สถานการณ์ดงั กล่าวน่าจะ ท�าให้เราพูดได้วา่ ประเด็นเรือ่ งความยัง่ ยืนนัน้ กลายเป็นแฟชัน่ ไปเสียแล้ว หรือแม้การทีเ่ ราเชือ่ กันว่าสถาปัตยกรรมทีย่ งั่ ยืนสามารถเปลีย่ นแปลงโลก ได้นั้น มันก็ยังเป็นแค่ความเชื่อที่ยังไม่ได้ถูกน�ามาท�าให้เกิดขึ้นได้จริงๆ... ในฐานะทีค่ ณ ุ เรียนมาที่ AA ในลอนดอนและได้ทา� งานในยุโรปกับ Norman Foster เราก็เลยอยากจะถามคุณว่า เมือ่ กลับมาทีม่ าเลเซียแล้ว คุณจะมี วิธกี ารท�างานอย่างไร และคิดอย่างไรกับเรือ่ งความยัง่ ยืนทีเ่ ราพูดถึงกัน อยูท่ กุ วันนี?้

Huat Lim: ก่อนอืน่ ถ้าจะพูดกันเรือ่ งความยัง่ ยืนเราต้องท�าเป็นว่าเราไม่ได้กา� ลังพูดถึงมันอยู่ แต่

ก�าลังพูดถึงเรือ่ งคุณภาพเสียมากกว่า คือคุณภาพทัง้ ในเชิงปฏิบตั แิ ละคุณภาพของการศึกษา เมือ่ สองสามสัปดาห์กอ่ น ผมกลับไปทีย่ โุ รปและก็ได้เห็นความจริงข้อหนึง่ ว่าคุณภาพของสิง่ แวดล้อมนัน้ เป็นผลต่อเนือ่ งมาจากทักษะความรูข้ องผูค้ นทีเ่ กีย่ วข้องกับการก่อสร้างในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ดูงา่ ยๆ ใน สวีเดน นอร์เวย์ หรือแม้แต่เยอรมนี ช่างก่อสร้างทุกคนจะได้รบั การศึกษาเกีย่ วกับเรือ่ งการก่อสร้าง อย่างดีดว้ ยกันทัง้ นัน้ แต่ในบ้านเรา มันไม่ได้เป็นอย่างนัน้ เพราะฉะนัน้ มันก็คงจะไม่ผดิ นักทีจ่ ะ บอกว่าปัจจัยที่ทา� ให้คณ ุ ภาพของงานสถาปัตยกรรมของเราด้อยลงนั้นก็คือการศึกษา เราไม่ได้ ให้ความรูท้ ดี่ พี อแก่ชา่ งก่อสร้าง ทัง้ ๆ ทีพ่ วกเขาคือกลุม่ คนทีม่ บี ทบาทส�าคัญมาก และเราก็ควรจะ ท�าให้พวกเขาเห็นความส�าคัญในอาชีพของตัวเองให้มากกว่านีด้ ว้ ย เพราะจะว่าไปมันไม่ใช่เรือ่ งยาก เลยทีค่ ณุ จะหาช่างมาสร้างอาคารสูงๆ ขึน้ มาสักหลังหนึง่ แต่มนั ก็ไม่ใช่เรือ่ งง่ายเหมือนกัน ทีค่ ณุ จะได้อาคารทีถ่ กู หลักการก่อสร้างอย่างครบถ้วน มันก็เหมือนกับทีเ่ ราพูดกันเรือ่ งความยัง่ ยืนของ สิง่ แวดล้อม หลายคนก็มกั จะนึกถึงอาคาร Green ขึน้ มาโดยอัตโนมัตซิ งึ่ มันก็เป็นแบบนีม้ า 5 ปี 8 ปีแล้ว เริม่ จากที่ Green เข้ามาอยูใ่ นอาคารทีเ่ ป็นพืน้ ทีส่ าธารณะจนปัจจุบนั ทีไ่ ปถึงทีอ่ ยูอ่ าศัย ส่วนตัวและคอนโดมิเนียม อย่างไรก็ตาม ผมก็ยงั สงสัยอยูว่ า่ เราเข้าใจกันแค่ไหนกับเรือ่ ง Green ที่ ว่า เพราะเพียงแค่พวกนักลงทุนเขียนลงไปในโบรชัวร์วา่ อาคารของพวกเขาเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม มันก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นอย่างนัน้ จริงๆ ขึน้ มาหรอกนะบางทีความคิดเรือ่ ง Green ของพวก เขาก็ไม่เหมือนกันสักนิดเดียวกับความเข้าใจทีพ่ วกเรามี แต่กอ็ กี นัน่ แหละ ดูเหมือนว่าหลายคนเองก็ ยังไม่เข้าใจจริงๆ ว่างานออกแบบทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมนัน้ คืออะไรกันแน่ บ้างก็บอกว่าเป็น งานสถาปัตยกรรมทีล่ ดทอนตัวเองลง แต่เพิม่ องค์ประกอบทางธรรมชาติเข้ามามากขึน้ หรืออาจจะ เป็นอาคารทีไ่ ม่จา� เป็นต้องสร้างเสร็จอย่างสวยงาม แต่ตอ้ งเกีย่ วข้องกับความสมดุลกันของพลังงาน ทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีน่ นั้ ๆ หรือบางคนอาจจะบอกว่าแค่มตี น้ ไม้ 2-3 ต้น พลังงานแสงอาทิตย์ และผนัง ภายนอก 2 ชัน้ ก็เพียงพอแล้วส�าหรับการเป็นอาคาร Green ...แต่สา� หรับผมแล้ว นัน่ มันไม่ใช่คอน เซ็ปต์ของ Green เลย ส�าหรับผม การเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมหมายถึงว่าเราควรจะเอาธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมมาใช้ให้นอ้ ยทีส่ ดุ ขณะเดียวกันก็หาอะไรอย่างอืน่ ทีส่ ามารถแทนทีธ่ รรมชาติได้มาใช้ดว้ ย เวลาทีล่ งมาท�างานในชุมชนท้องถิน่ คุณสร้างความเข้าใจเรือ่ ง Green ให้ เกิดขึน้ มาอย่างไร? Suzanne Zeidler: ต้องยอมรับว่าเมือ่ เอาไปเทียบกับสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในบางประเทศในยุโรป ความ

เข้าใจเรือ่ ง Green ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้นนั้ ยังจัดอยูใ่ นขัน้ อนุบาล เพราะในประเทศแถบ

ยุโรปเหล่านัน้ พวกเขามีทงั้ ผูร้ บั เหมาทีไ่ ด้รบั การศึกษามาอย่างถูกต้อง มีการอบรมเกีย่ วกับเรือ่ ง สิ่งแวดล้อม และมีระเบียบวินัยอย่างมากในการประหยัดพลังงานด้วยการใช้เทคโนโลยีการผลิต แบบ Eco Friendly ที่ทันสมัยที่สุดในเวลานั้น ส่วนในเอเซียความส�าคัญทั้งหมดกลับไปตกที่ เรื่องการตลาด การสร้างแบรนด์ของอาคารที่อยู่อาศัยต่างๆ มากกว่าที่จะท�าทุกอย่างเพื่อรักษา สิง่ แวดล้อมจริงๆ เหตุผลนัน้ ก็เพราะเรามีดเี วลลอปเปอร์ทมี่ อี ทิ ธิพลมากเกินไป ให้ความส�าคัญเกีย่ วกับ เรือ่ งการสร้างแบรนด์ การตลาด และการขายมากเกินไป รวมทัง้ ยังคิดถึงแต่ประโยชน์ของตัวเอง มากเกินไปทีจ่ ะสนใจเรือ่ งราวเหล่านี้ ก่อนหน้านี้ ฉันกับ Lim ก็เคยถามตัวเองเหมือนกันว่าเราจะ เข้าไปแทรกแซงเรือ่ งการตลาดพวกนีไ้ ด้อย่างไร ซึง่ ค�าตอบนัน้ คุณน่าจะสามารถเห็นได้จากโปรเจ็คต์ BOH Visitor Centre ใน Cameron Highlands มันน่าจะเป็นตัวอย่างทีด่ ที สี่ ดุ เพราะอย่าง แรก มันเป็นความชอบของเราอยูแ่ ล้วทีจ่ ะใช้งานออกแบบบางอย่างทีเ่ หมาะสมส�าหรับพืน้ ทีน่ นั้ ๆ เท่านัน้ และก็โชคดีทสี่ ภาพภูมอิ ากาศทีน่ นั่ เอือ้ อ�านวยให้เราสามารถท�าอย่างทีเ่ ราต้องการได้ดว้ ย คือเราสามารถเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทที่ า� จากธรรมชาติและวัสดุรไี ซเคิลทีห่ าได้ในท้องถิน่ นัน้ เราเลือก สร้างอาคารรอบๆ ต้นไม้เพือ่ ทีจ่ ะได้ใช้ประโยชน์จากร่มเงาของมันแทนทีจ่ ะไปใช้พลังงานด้านอืน่ นอกจากนัน้ เรายังยกพืน้ อาคารให้สงู ขึน้ มาเพือ่ ทีจ่ ะได้เกิดการหมุนเวียนของอากาศ เราเลือกทีจ่ ะ ใช้องค์ประกอบทางธรรมชาติและวัสดุในท้องถิน่ แบบนี้ แทนทีจ่ ะไปใช้อะไรทีย่ งุ่ ยากวุน่ วายอย่าง กระจก 2 ชัน้ เป็นต้น มันท�าให้อาคารของคุณเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นไหมกับการเลือก ใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่นนั้นๆ แทนที่จะเป็นกระจก 3 ชั้น หรือว่ามันเป็น สูตรว่า Green เกิดจากการผสมผสานระหว่างวัสดุทอ้ งถิน่ กับทักษะงาน ช่างฝีมอื ทีด่ ?ี

Lim: จริงๆ แล้วทุกอย่างมันสัมพันธ์กันหมดนะสถาปัตยกรรมมีรากฐานมาจากพฤติกรรมของ

มนุษย์และความคาดหวังอื่นๆ ในขณะที่ประเด็นด้านเศรษฐกิจและความฝันของดีเวลลอปเปอร์ ก็มผี ลต่อคุณภาพของงาน ส่วนนโยบายของภาครัฐและหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบก็มสี ว่ นเกีย่ วข้อง ด้วย เช่นเดียวกับวิชาชีพเกีย่ วเนือ่ งอย่างภูมสิ ถาปนิกหรือทีมผูเ้ ชีย่ วชาญทีป่ รึกษาเรือ่ งระบบและ รายละเอียดงาน facade ของอาคาร ทัง้ หมดนีล้ ว้ นแล้วแต่มผี ลกระทบต่อความยัง่ ยืนหรือความ ‘Green’ ของอาคารทัง้ นัน้ ท้ายทีส่ ดุ แล้ว คนทีส่ งั่ ว่าระเบียงจะต้องมีทปี่ ลูกต้นไม้นนั่ แหละทีม่ ผี ล กระทบต่อเรือ่ งนีม้ ากทีส่ ดุ แต่มนั ก็เป็นเรือ่ งทีท่ กุ ๆ ฝ่ายทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับงานสถาปัตยกรรมอย่าง ทีผ่ มบอกนัน่ แหละ มันไม่เพียงพอหรอกทีจ่ ะบอกว่าอาคารหลังนี้ Green กว่าหลังโน้น เพราะว่าเรา เลือกใช้วสั ดุอนั นีแ้ ทนทีจ่ ะเป็นอันโน้น แต่สงิ่ ส�าคัญทีส่ ดุ ก็คอื เราต้องสร้างทัศนคติทถี่ กู ต้องจากการ ศึกษาทีด่ ี เพราะถ้าเราทุกคนเข้าใจความหมายทีแ่ ท้จริงของ Green แล้ว ก็คงไม่มดี เี วลลอปเปอร์ คนไหนทีจ่ ะสามารถย้อมแมวขายเราได้อกี ทีนกี้ ม็ าว่ากันถึงว่าทัศนคติทถี่ กู ต้องนัน้ คืออะไรบ้างก็ คือการเลือกใช้วสั ดุกอ่ สร้างทีเ่ หมาะทีค่ วรและว่าเราจะท�าอย่างไรทีจ่ ะท�าให้คนอืน่ ๆ รูว้ า่ การลดทอน

ทางเดินยาว 145 เมตร ทีน่ า� ผูเ้ ยีย่ มชม ไปสูพ ่ นื้ ทีร่ ะเบียง 197


จากงานเขียนของคุณ เห็นได้ชดั ว่าคุณทัง้ สองไม่เห็นด้วยกับการใช้กรอบ ทฤษฎีแบบเดิมๆ ในทุกปัญหา แต่เชือ่ ว่าเราต้องปรับเปลีย่ นไปตามแต่ละ บริบทมากกว่า แล้วในเรื่องของสิ่งแวดล้อมนี้ล่ะ คุณคิดว่าเราสามารถ ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบเพื่อความยั่งยืนที่มีเป็นกรอบใน การท�างานกับประเด็นเรื่องความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นใหม่ๆ ได้ไหม?

Zeidler: เราไม่เคยคิดทีจ่ ะสร้างกรอบการแบ่งแยกประเภทอะไรขึน้ มานะ เราจะถือว่าทุกครัง้ ทีเ่ ราได้

ท�าโปรเจ็คต์ตา่ งๆ มันก็คอื การเรียนรูค้ รัง้ ใหม่เสมอผลลัพธ์ของทุกโปรเจ็คต์กค็ อื แม่พมิ พ์ทถี่ กู สร้าง ขึน้ มาตอบสนองโจทย์นนั้ ๆ หรือบางทีหากเราออกแบบงานชิน้ หนึง่ เพือ่ โจทย์ของลูกค้ารายหนึง่ ขึน้ มา มันก็อาจจะเป็นค�าตอบทีไ่ ม่สามารถพัฒนาไปได้ไกลนักส�าหรับโจทย์ขอ้ นี้ แต่ตอ่ มาเราก็อาจจะ พบว่ามันลงตัวทีส่ ดุ กับโจทย์ของลูกค้าอีกรายหนึง่ หลังจากนัน้ ทีเ่ ราต้องท�าก็คอื อธิบายให้ลกู ค้าเข้าใจ ความเป็นมาทัง้ หมด กระบวนการสือ่ สารให้ความรูน้ สี้ า� คัญมาก มันจะเกิดขึน้ ในทุกๆ โปรเจ็คต์ทเี่ ราท�า

การใช้พลังงานนัน้ จะเกิดขึน้ ได้ดว้ ยวิธไี หนได้บา้ งส่วนความคิดทีผ่ ดิ ๆ นัน้ ก็คอื การสร้างอาคารขึน้ มาหลังหนึง่ ทีบ่ งั เอิญได้คะแนน Green Mark สูงลิว่ แต่วา่ ผูอ้ ยูอ่ าศัยทุกคนกลับใช้พลังงานอย่าง ฟุม่ เฟือย ซือ้ เฟอร์นเิ จอร์ผดิ ๆ มาใช้รโี นเวทห้องแย่เอามากๆ และก็ไม่มคี วามรูอ้ ะไรเลยเกีย่ วกับ สมรรถภาพของสิง่ ต่างๆ ทัง้ หมดนีแ้ หละคือปัจจัยทีจ่ ะชีว้ า่ โปรเจ็คต์นนั้ ๆ ประสบความส�าเร็จหรือ ไม่ในการวางตัวเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม วิธที คี่ ณ ุ พูดถึงนัน้ มักจะต้องมาพร้อมกับคุณภาพและความรับผิดชอบที่ ยิ่งใหญ่ แล้วคุณจะจัดการกับความรับผิดชอบเหล่านี้อย่างไร รวมทั้งจะ ท�าอย่างไรเพื่อเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงความคิดของผู้คนเกี่ยวกับคุณภาพ ของอาคาร?

Lim: ตามค่านิยมแล้ว อาคารทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมจัดว่ามีคณ ุ ภาพอยูใ่ นระดับสูง แต่วา่ เราจะท�า

อย่างไรให้ทกุ คนเชือ่ ความจริงข้อนีก้ นั ล่ะ หรือเหมือนกับเวลาทีน่ กั โฆษณาพยายามจะบอกผูบ้ ริโภค ว่าลืมเรือ่ งความจ�าเป็นของกระจกไปเถอะ หรือคุณไม่จา� เป็นต้องติดแอร์ในล็อบบีห้ รอก แน่นอน มัน ไม่ใช่อย่างนัน้ แต่วธิ ขี องเรานัน้ คือเราต้องเลือกวัสดุทเี่ หมาะสมทีส่ ดุ และก็ใช้วธิ กี ารเลือกทีร่ ะมัดระวัง มากที่สุดด้วย อย่างไรก็ตาม ที่ท้าทายมากที่สุดก็คือสิ่งที่เราเลือกมักจะไม่ใช่สิ่งที่ตลาดต้องการ และนายทุนก็มกั จะบอกว่า “โอ้ย... มันจะขายได้เหรอ” เพราะดีเวลลอปเปอร์กม็ องเห็นภาพหนึง่ ผูบ้ ริโภคก็เห็นภาพหนึง่ นักลงทุนก็อกี ภาพ ส่วนพวกเรากลับไม่ได้ไปยึดติดกับภาพตรงนัน้ หลักการ ของเราก็คอื เราไม่ได้สนใจกับผลิตภัณฑ์ทอี่ อกมาในท้ายทีส่ ดุ มากไปกว่ากระบวนการท�าทัง้ หมดเลย

ผมสนใจที่คุณพูดเรื่องผู้ที่เป็นฝ่ายให้การศึกษาขึ้นมานะ เพราะถ้าเราดู บล็อคของพวกคุณ เราจะเห็นได้ว่าคุณเอางานมาโชว์เยอะมาก จนพวก คุณน่าจะเป็นหนึ่งในบริษัทไม่กี่แห่งที่จัดแสดงผลงานทุกชิ้นลงในบล็อค ตรงนี้มันท�าให้เรานึกไปถึง Corbusier เพราะเขาเป็นสถาปนิกที่มีผล งานการเขียนมากกว่างานออกแบบเสียอีก ผมขอยกตัวอย่างเกี่ยวกับ เรื่องชุมชนออนไลน์นี้อีกอย่างว่า ในสิงคโปร์ มันส่งผลกระทบไปถึงเรื่อง การเมืองเลยทีเดียว เพราะว่าโลกออนไลน์มนั มีอทิ ธิพลมากขึน้ ทุกวันๆ... ที่พูดมาทั้งหมดนี้ ผมอยากจะถามคุณว่า คุณมีมุมมองต่อเรื่องบล็อคที่ เกีย่ วกับสถาปัตยกรรมอย่างไร เพราะมันอาจจะเป็นสือ่ ในการสนทนาและ การสือ่ สารในเรือ่ งเกีย่ วกับสถาปัตยกรรมได้อย่างดีเลยนะ?

Lim: ผมว่าในเรือ่ งของสถาปัตยกรรมนัน้ บล็อคสามารถท�าให้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ดิ า� เนินไป

ด้วยกันได้อย่างยอดเยีย่ มเลยทีเดียว ยกตัวอย่างเรือ่ งของ Peter Cook ทีช่ อื่ ของเขาปรากฏขึน้ ใน บล็อคอันหนึง่ เมือ่ ราวๆ 2 เดือนก่อน หลังจากนัน้ ก็ตามมาด้วยบทสนทนาทีเ่ กีย่ วกับสถาปนิกใน โลกของการศึกษา Peter Cook นัน้ เป็นผูท้ มี่ คี วามรูก้ ว้างขวางเกีย่ วกับเรือ่ งการพัฒนา แนวคิด และการศึกษาทางสถาปัตยกรรม แต่ในทางปฏิบตั นิ นั้ เขาเพิง่ จะลงสูส่ นามเมือ่ ไม่นานมานีเ้ อง บท สัมภาษณ์ของ Peter Cook นี้ สร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผมเพราะมันแสดงให้เห็นว่า ภาควิชาการ และทฤษฎีนนั้ ต้องไปด้วยกันกับภาคปฏิบตั ิ เราก็เห็นกันอยูแ่ ล้วว่ามีอาจารย์ทางสถาปัตยกรรมเก่งๆ หลายคนทีส่ ร้างสรรค์งานทีน่ า่ สนใจออกมามากมาย ฝ่ายสถาปนิกอย่างพวกเรา แม้วา่ อาจจะท�างาน ในสเกลทีเ่ ล็กกว่าหรือเป็นสถาปัตยกรรมแบบตรงไปตรงมา แต่พวกเราก็พยายามทีจ่ ะสร้างความ ต่อเนือ่ งระหว่างโปรเจ็คต์ตา่ งๆ ให้เกิดขึน้ แม้วา่ มันจะเป็นการพัฒนาความต่อเนือ่ งทีไ่ ม่ได้เห็นกัน ชัดๆ แต่ความตัง้ ใจตรงนีก้ เ็ ป็นเรือ่ งส�าคัญทีเดียว ส่วนเรือ่ งบล็อคนัน้ ผมว่าบล็อคของเรามีความ สมดุลระหว่างทฤษฎีและปฏิบตั ิ และเราก็ไม่ได้ทา� มันขึน้ มาเพือ่ สร้างความน่าเชือ่ ถือแต่อย่างใด แต่ เราเชือ่ ว่าแม้แต่ผลงานทีด่ กี จ็ ะไม่สามารถพัฒนาต่อไปได้เลยถ้าปราศจากองค์ความรูท้ สี่ ามารถน�ามา ปรับใช้กบั ภาคปฏิบตั ไิ ด้ บล็อคของเราเหมือนการวิจารณ์ตวั เราเองและก็เป็นการตรวจสอบด้วยว่า สิง่ ทีเ่ ราก�าลังท�าอยูน่ นั้ เกิดประโยชน์สา� หรับตัวเราเองหรือเปล่า จริงๆ แล้ว Suzanne กับผมนัน้ ไม่คอ่ ยจะเห็นตรงกันเท่าไรในบางเรือ่ ง แต่นนั่ ก็เป็นบททดสอบให้เราพัฒนาวิธกี ารคิดของเรา รวม ทัง้ มันก็ยงั ท�าให้กระบวนการมีความส�าคัญมากขึน้ ด้วย 199


เรือ่ งแนวคิดต่างๆ เพราะเห็นได้เลยว่าทฤษฎีทนี่ า่ สนใจทีส่ ดุ ทางสถาปัตยกรรมเกิดขึ้นในช่วงยุค 1970s และต้นยุค 1980s ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ เศรษฐกิจซบเซา และไม่มงี านให้สถาปนิกท�ามากนัก เมือ่ สถาปนิกไม่มงี าน พวกเขาก็หนั มาเขียนหนังสืออย่างไรก็ตาม ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ โดย เฉพาะสถานการณ์ในสิงคโปร์ตอนนี้ เรามีงานจ�านวนไม่น้อยเลยที่รอให้ สถาปนิกเข้ามาท�า ค�าถามก็คอื ว่า ในฐานะทีเ่ ป็น Intellectual practice คุณท�าอย่างไรทีจ่ ะสามารถสร้างสรรค์งานภาคปฏิบตั อิ อกมาได้ระหว่างที่ ก็พฒ ั นาเรือ่ งทางความคิดไปด้วย?

Lim: เราอาจจะได้รบั การฝึกให้ทา� ทัง้ สองอย่างนีม้ าตัง้ แต่ตอนทีเ่ ป็นนักเรียนแล้วล่ะ อย่างตอนที่

Suzanne กลับมาจากเยอรมนีและผมจากลอนดอน โดยมี Peter Cook เป็นอาจารย์ เราก็ทงั้ สร้างสรรค์งานและก็สร้างบรรยากาศในการวิพากษ์วิจารณ์ค่อนข้างมากในออฟฟิศของเรา เรา เปิดกว้างเสมอส�าหรับมุมมองความคิดเห็นใดๆ ก็ตามจากทีมงานและเพือ่ นร่วมงานของเราทุกคน Zeidler: ในเยอรมนี การพัฒนาทางความคิดเกิดขึน้ เยอะมาก และก็เกิดขึน้ ขณะทีท่ กุ คนก็ตอ้ ง ท�างานโปรเจ็คต์ตา่ งๆ ไปในเวลาเดียวกันด้วย จริงๆ เราไม่จา� เป็นต้องเหนือ่ ยท�าทัง้ สองอย่างก็ได้ แต่เราทุกคนก็ได้พสิ จู น์แล้วว่าการด�าเนินทัง้ สองอย่างนีไ้ ปพร้อมๆ กัน ก่อให้เกิดผลลัพธ์ของการ พัฒนาในเรือ่ งงานออกแบบได้ดแี ค่ไหน Lim: ผมรู้จักความคิดเรื่องงานออกแบบที่ยั่งยืนในฐานะที่เป็นทฤษฎีแนวความคิดครั้งแรกจาก Ken Yeang ระหว่างการท�าโปรเจ็คต์ National Library ทีส่ งิ คโปร์ ซึง่ มันเป็นเรือ่ งดีมากทีไ่ ด้รู้ ว่าเราสามารถรักษาสภาพแวดล้อมไว้ได้ด้วยวิธีการมากมาย ไม่ว่าจะเป็นจากรูปฟอร์มของงาน สถาปัตยกรรม ความพยายามทีจ่ ะลดความสิน้ เปลืองต่างๆ ในการก่อสร้าง พยายามทีจ่ ะใช้การ ก่อสร้างแบบเสร็จพร้อมประกอบให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ หรือ การพยายามที่จะลดการใช้ พลังงานภายในอาคารนัน้ ๆ แต่สารภาพเลยว่าตอนนัน้ ข้อมูลทัง้ หมดมันดูซบั ซ้อนมากส�าหรับผม โดยเฉพาะอย่างยิง่ กับความจริงว่า ความคิดเหล่านีไ้ ม่ตรงกับความเข้าใจทีผ่ มมีตอ่ เรือ่ ง Green หรือ ความยัง่ ยืนเลย ส่วนในปัจจุบนั เรือ่ งความยัง่ ยืนคือเป้าหมายทีถ่ กู วางไว้วา่ ต้องท�าให้ลลุ ว่ ง ซึง่ ก็ ต้องไม่ใช่ Green ทีเ่ กิดจากการด�าเนินตาม Green Mark และก็ไม่ได้หมายความว่าเราต้องได้รบั การรับรองจากใครหรือได้รางวัลใดๆ ทัง้ นัน้ แต่วา่ เรือ่ งการยัง่ ยืนมันหมายถึงการทีเ่ ราแสดงความ รับผิดชอบต่อเพือ่ นร่วมงาน และมันเกีย่ วกับว่าเราจะตอบค�าถามทัง้ หมดทีม่ ตี อ่ เรือ่ งสถาปัตยกรรม อย่างไร ยกตัวอย่าง ถ้าเราต้องการงานออกแบบเพือ่ ความสะดวกสบาย ค�าตอบนัน้ จะเกีย่ วกับเรือ่ ง เครือ่ งปรับอากาศหรือว่ามันมีทางเลือกอืน่ ๆ อีก... ในความคิดของผม มันไม่เกีย่ วกับว่าเราจะใช้ โปรดักท์อะไร วัสดุอะไร การสร้างพลังงาน มันไม่เกีย่ วกับผนัง การใช้พลังงานทางตรงหรือว่าทาง อ้อม แต่มนั เป็นการถามตัวเราเองว่าในฐานะสถาปนิก เราต้องท�าอย่างไรบ้างเพือ่ ทีจ่ ะท�าให้อาคาร นัน้ เป็นงานออกแบบทีย่ งั่ ยืน รวมทัง้ ก่อให้เกิดความเข้าใจในเรือ่ งงานออกแบบขึน้ มาด้วย นอกจาก นัน้ เราก็ตอ้ งตัง้ ค�าถามว่า New Luxury หรือนิยามอันใหม่ของค�าว่า ‘หรูหรา’ ในปัจจุบนั นีม้ นั เปลีย่ นไปเป็นอย่างไรกันแน่แล้ว ดังนัน้ สิง่ ทีเ่ ราต้องการคืออาคารทีใ่ ห้ความสะดวกสบายแก่ผอู้ ยู่ อาศัย หรือว่าต้องเป็นการกลับเข้าไปหาธรรมชาติให้มากขึ้นและกลับไปหากฎข้อแรกของความ สะดวกสบาย เพราะในความเป็นจริงแล้ว ตัง้ แต่ยคุ มนุษย์ถา�้ กับบ้านแบบ Palladian นัน้ มันเป็นช่วง เวลาทีห่ า่ งกันมากเช่นเดียวกันจาก Palladian มาจนถึงคอนโดแบบบูตคิ และรีสอร์ทดีไซน์เก๋ๆ ใน ความคิดของผมงานออกแบบทีย่ งั่ ยืนมันเป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับพัฒนาการเหล่านีแ้ ละก็เกีย่ วกับการตรวจ สอบอาคารประเภทต่างๆ ความสมดุลของพลังงาน ฟังก์ชนั่ ความสวยงาม การรับรูท้ างภาพ และเศรษฐกิจ

Today, sustainability is not just an agenda, not about following only the Green Mark; it’s not about getting the endorsement from the city council, not getting any other awards. สิ่งที่คุณพูดนี่เป็นเรื่องส�าคัญเลยนะ เพราะเราจะพบว่าเรื่องความยั่งยืน ก็ไปปรากฏอยู่ในบทสนทนาที่เกี่ยวกับเรื่องวิทยาศาสตร์หรือว่าวิศวกร รมหนักๆ เหมือนกัน เช่นเดียวกับในวงสนทนาเรื่องเศรษฐกิจและอะไร ก็ตามที่เกี่ยวกับตัวเลข สิ่งเหล่านี้ได้ท�าให้เรื่องความยั่งยืนก�าลังถูก ตัดสินด้วยบรรทัดฐานอะไรบางอย่าง ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณออกแบบให้ อาคารหลังหนึ่งสามารถประหยัดการใช้พลังงานได้ในระดับหนึ่ง อาคาร หลังนัน้ ก็จะได้หนึง่ คะแนน เรือ่ ง Green Point นีม่ นั ท�าให้สถาปนิกกดดัน เหมือนกันนะ เพราะเรายังไม่เชีย่ วชาญในเรือ่ งวิศวกรรมศาสตร์ขนาดนัน้ แต่ เ รื่ อ งความยั่ ง ยื น ที่ คุ ณ พู ด ไม่ เ หมื อ นกั บ ตรงนี้ มั น เป็ น เรื่ อ งที่ เ รา เชี่ ย วชาญ คื อ เรื่ อ งของพื้ น ที่ ที่ ผู ้ ค นเข้ า ไปอยู ่ อ าศั ย เรื่ อ งราวที่ เ รา สนับสนุน และสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในที่อยู่อาศัย ซึ่งตอนนี้เองที่เรื่อง ความยัง่ ยืนเริม่ เคลือ่ นตัวจากความรับผิดชอบของวิศวกรไปอยูใ่ นมือของ สถาปนิก

Lim: จริงๆ แล้ว วิศวกรรมพลังงานในอาคารไม่ได้เกิดขึน้ จากการท�างานของตัวเลขเท่านัน้ แต่

ยังมาจากการตัดสินใจของสถาปนิกในงานออกแบบอย่างใดอย่างหนึ่งด้วย ตัวอย่างเช่น เรื่อง ง่ายๆ อย่างการที่สถาปนิกเลือกว่าจะใช้พื้นที่ตรงไหนเป็นที่จอดรถ มันไม่ใช่เรื่องที่มาจากเรื่อง วิศวกรรมเลย แต่เป็นความรับผิดชอบของสถาปนิกล้วนๆ และถ้าการตัดสินใจนัน้ เกิดผิดพลาด ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งพลังงานหรือเรือ่ งตัวเลขอะไรก็ตามทีต่ ามมาหลังจากนัน้ ก็ไม่สา� คัญแล้วล่ะ เพราะ วิธกี ารอย่างแรกทีเ่ ราท�าไปคือเรือ่ งทางสถาปัตยกรรมและมันก็สง่ ผลอันยิง่ ใหญ่ตอ่ เรือ่ งความยัง่ ยืน แน่นอน มันมีความเป็นไปได้มากมายทีส่ ถาปนิกกับวิศวกรจะท�างานไปพร้อมๆ กันอย่างเท่าเทียม แต่เราก็ปฏิเสธไม่ได้วา่ การออกแบบโมเดลแรกทีเ่ ป็นเรือ่ งของพืน้ ทีน่ นั้ มันเป็นหน้าทีข่ องสถาปนิก ไอเดียหนึ่งก็มีเหตุผลหนักแน่น อีกอันหนึ่งก็เรียกว่าพอที่จะเข้าใจได้ ซึ่ง ทัง้ หมดก็ดจู ะเป็นวิธกี ารในการออกแบบของคุณ แล้วคุณว่าเราต้องการ เทคโนโลยีใหม่ๆด้วยไหม?

201


Lim: ถ้าถามว่าผมรังเกียจเทคโนโลยีใหม่ๆ ไหม ก็ตอ้ งบอกว่าไม่ Zeidler: ฉันว่าความท้าทายมันไม่ได้อยูท่ วี่ า่ เราจะใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ หรือเปล่า แต่มนั อยูท่ คี่ วาม เข้าใจทีเ่ รามีตอ่ วิธกี ารคิดและการเรียนรูแ้ บบเก่า อย่างเช่น อาคารแบบท้องถิน่ ในหมูบ่ า้ นเล็กๆ ของ

มาเลเซีย บ้านเหล่านัน้ สร้างขึน้ ตามความรูแ้ บบประเพณีดงั้ เดิม ใช้วสั ดุทอ้ งถิน่ และก็ถกู ยกพืน้ ขึน้ จนคุณมีปฏิสมั พันธ์กบั สภาพอากาศแบบหนึง่ โดยเฉพาะ คุณก�าลังพูดถึงเรือ่ งการกลับไปหาสิง่ เก่าๆ เหรอ? Lim: เปล่า แต่ผมอยากจะพูดถึงเรื่อง New Luxury นิดนึงว่ามันเกิดขึ้นก็เมื่อเรามีทางเลือก

มากขึน้ และเมือ่ เรือ่ งของการตลาดในวันนีไ้ ด้เปลีย่ นจากเมือ่ 20 กว่าปีกอ่ น ไปเยอะมากแล้ว เพราะ ฉะนั้นเรื่องความยั่งยืนนั้นก็คือการกลับไปหารากฐานเดิมและจุดนั้นเองประเด็นทางเศรษฐกิจ จะถูกน�าเอามาทบทวนอีกครัง้ หนึง่ และเราก็ตอ้ งมาตรวจสอบกระบวนการกันด้วยว่าค่านิยมทีเ่ รา ยึดถือนัน้ มันโอเคแล้วหรือยัง แล้วคุณตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างไร สมมติว่า ลูกค้า ต้องการพืน้ ทีส่ า� นักงานทีส่ ามารถปรับอุณหภูมใิ ห้อยูท่ ี่ 22 องศา สภาพ อากาศทีจ่ ดั ว่าก�าลังดีในประเทศร้อนชืน้ และในพืน้ ทีท่ อี่ ากาศจากภายนอก ไม่สามารถไหลเวียนเข้ามาได้?

Lim: ผมว่าอาคารทีต่ ดิ แอร์หรือพืน้ ทีท่ ตี่ ดิ แอร์ไม่ใช่เรือ่ งเลวร้ายอะไรนะ Zeidler: ไม่ เราไม่ได้พดู ว่าอะไรดีอะไรไม่ดี Lim: ถ้างั้นก็ต้องบอกว่า มันไม่ใช่ประเด็นว่าเราจ�าเป็นต้องท�าให้ทุกส่วนในอาคารมีการระบาย

อากาศตามธรรมชาติ แต่อยูท่ วี่ า่ คุณคิดว่าส่วนไหนทีม่ นั ไม่จา� เป็นบ้างเท่านัน้

ระหว่างช่วงยุค 1960s และ 1970s เรามี Archigram และ Superstudio เป็นกลุม่ Think Tank แนวทดลอง และเราก็มกี ารมองไปถึงเรือ่ งยูโทเปีย ในบริบทของทาง Social Studies และตอนนัน้ Archigram เองก็จดั ว่า เป็นผู้บุกเบิกในทาง Green ด้วย ทีนี้เมื่อมองกลับมาในปัจจุบัน ก็จะเห็น ว่าโลกของเรามีการเปลี่ยนแปลงทางสภาพอากาศที่เห็นได้ชัดเจนอย่าง ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เราก็อาจจะต้องบอกว่ามันถึงเวลาแล้วล่ะที่เรา ต้องให้ความรูแ้ ก่สงั คมอย่างจริงๆ จังๆ เสียที และบางทีการแสดงความ รับผิดชอบต่อเรือ่ งสภาพแวดล้อมเหล่านีก้ อ็ าจจะหมายความว่าเราต้อง เพิม่ ความละเอียดอ่อนกับเรือ่ งราวพวกนีใ้ ห้มากขึน้ รวมทัง้ กลับไปยึดถือ แนวทางดั้งเดิมให้มากขึ้นด้วย อย่างไรก็ตาม ในขณะเดียวกันเราก็ต้อง ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ให้เกิดประโยชน์ขนึ้ มาด้วย เพราะมันไม่ได้หมายความ ว่าการกลับไปหาวิธแี บบดัง้ เดิมหรืออะไรทีเ่ รียบง่ายทีส่ ดุ นัน้ จะเป็นหนทาง การแก้ปัญหาที่ดีที่สุดเสมอไป มันยังมีวัสดุใหม่ๆ อีกมากมายบนโลกใบ นี้ที่เราสามารถเรียนรู้และน�ามาปรับใช้กับงานสถาปัตยกรรมเพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดได้ ตัวอย่างเช่น มันมีวัสดุหลายชิ้นมากในวิทยาศาสตร์ การบินที่มีคุณสมบัติที่ดีมากในการเป็นฉนวนและในเวลาเดียวกันก็เป็น มิตรกับสิง่ แวดล้อมด้วย ซึง่ เราเองก็สามารถน�าเอาวัสดุทเี่ ป็นฉนวนพวก นีม้ าใช้ในงานสถาปัตยกรรมแบบประเพณีแนว Tropical เพือ่ ทีจ่ ะลดการ ใช้พลังงานได้

Zeidler: ฉันเห็นด้วยอย่างยิง่ เลยกับเรือ่ งการน�าวัสดุมาใช้ผสมผสานกันนี้ แล้วก็เห็นด้วยกับการกลับ ไปศึกษาเรือ่ งในอดีตเพือ่ น�ามาประยุคต์ใช้เช่นกัน แต่ถา้ พูดกันเรือ่ งวัสดุ คงต้องบอกว่า ฉันไม่

เชื่อว่าเราจะสามารถพัฒนาอะไรไปได้ไกลนักในมาเลเซียเพราะที่นี่เรายังไม่คุ้นเคยกับการใช้วัสดุ ขั้นสูงที่มีความซับซ้อนเลยแม้แต่น้อย แต่ในทางตรงกันข้ามเรื่องวัสดุพวกนี้กลับเป็นเรื่องเบสิค ไปแล้วในเยอรมนี แต่จะว่าไปนะ วัสดุธรรมดาทีเ่ ราใช้กนั อย่างเช่นพวกอิฐระบายอากาศหรือพวก Ventilation Blocks ทีใ่ ช้กนั บ่อยมากในช่วงยุค 1950s และ 1960s มาจนถึงทุกวันนี้ เราก็ยงั ใช้ กันส�าหรับอาคารจอดรถ 23 ชัน้ ซึง่ เรือ่ งดีกค็ อื ต้นทุนต�า่ และก็เรียกว่าไม่ได้ขรี้ วิ้ อะไร แถมเราก็ไม่ จ�าเป็นต้องอิมพอร์ตมาจากนอกประเทศเลย เพราะมันไม่จา� เป็นต้องใช้ตน้ ทุนทุนหรือเทคโนโลยีชนั้ สูงในการผลิต ฉันหมายความว่า กับเรือ่ งวัสดุในชีวติ ประจ�าวัน เราก็ใช้กนั แบบเรียบง่าย เราไม่ได้ คิดกันไปถึงอะไรทีส่ ลับซับซ้อนมากกว่านัน้ คุณก�าลังบอกว่าผู้รับเหมาในมาเลเซียไม่มีความรู้ที่ดีพอในเรื่องวัสดุที่ ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงหรือเปล่า และผลที่ตามมาหลังจากนั้นก็คือพวกเรา ก็เลยต้องใช้วัสดุและเทคนิคงานช่างแบบท้องถิ่นคุณมองเรื่องนี้เป็น จุดอ่อนของพวกเราหรือเปล่า?

Zeidler: โดยส่วนตัวแล้ว ฉันชอบความท้าทายทีซ่ อ่ นอยูน่ ะ และสถานการณ์ในมาเลเซียเช่นนีก้ ็ ท�าให้เกิดความยืดหยุน่ ในการท�างานได้มากด้วย ถ้าเปรียบเทียบกับในเยอรมนีอกี ครัง้ หนึง่ เรา

จะไม่สามารถประนีประนอมได้เลย ทุกอย่างต้องเป๊ะๆๆ ทุกอย่างมีกฎทีต่ ายตัวไว้แล้ว และทุกคน ก็ทา� ตัวเหมือนเป็นต�ารวจทีค่ อยตรวจตราและตรวจสอบในสิงคโปร์เองก็เป็นแบบนีเ้ หมือนกัน เพราะ ฉะนัน้ ถ้าถามฉัน ฉันก็คงบอกว่าฉันชอบระบบทีไ่ ม่ได้เพอร์เฟคท์เลิศเลออย่างนีม้ ากกว่า ฉันชอบ เวลาที่เราดูงานที่ไซต์และเราก็ยังสามารถเปลี่ยนแปลงอะไรหลายๆ อย่างได้ เพราะเรายังไม่ได้ พัฒนาทุกรายละเอียดอย่างเต็มขัน้ ระบบแบบนีก้ อ่ ให้เกิดช่องว่างพอสมควรทีเ่ ราสามารถจะเปลีย่ น โน่นเปลีย่ นนีร่ ะหว่างการก่อสร้างได้ แน่นอน ฉันรูด้ วี า่ มันไม่โปรฯ เลยทีจ่ ะท�าแบบนี้ และมันก็แตก ต่างอย่างมากจากสิง่ ทีเ่ ราเรียนรูม้ าจากการท�างานกับ Foster แต่ฉนั ก็ยงั ชอบ บางทีเรายังสามารถ สเก็ตช์งานขึน้ ใหม่อกี ครัง้ ตรงหน้างานได้เลย หรือถ้าเรามีไอเดียอะไรใหม่ๆ ในเรือ่ งทีเ่ ราไม่ทนั ได้ ฉุกคิดมาก่อนเลย เราก็สามารถแต่งเติมมันลงไปได้ทนั ที ฟังดูเหมือนการกลับมาเกิดใหม่ของพวกสถาปนิกชัน้ ครูทชี่ อบใช้สญ ั ชาตญาณของตัวเองในการออกแบบเลยนะ อย่าง Louis Kahn น่ะ เพราะความ ไม่รู้บางอย่างของผู้รับเหมาก็ได้ก่อให้เกิดข้อดีบางอย่างทางสถาปัตยกรรมทีไ่ ซต์กอ่ สร้างตรงนัน้ แล้วคุณก็ออกแบบตรงหน้างานนัน้ แหละ

Zeidler: เราชอบงานทีม่ รี ายละเอียดเยอะๆ นะ แต่บางครัง้ เมือ่ เราส่งงานออกแบบของเราทีเ่ ต็มไป

ด้วยรายละเอียดมากมายไปยังผูร้ บั เหมาเพือ่ ให้เขาสานต่อแล้ว มันก็จบลงแค่นนั้ พวกเขาไม่สามารถ

203


ท�าอย่างทีเ่ ราต้องการได้ เพราะฉะนัน้ เราก็เลยต้องกลับมาท�าให้มนั ง่ายขึน้ และท้ายทีส่ ดุ แล้วความ เรียบง่ายก็กลายเป็นทางออกทีด่ ขี นึ้ มาเหมือนกัน เราได้เรียนรูว้ า่ เราไม่จา� เป็นต้องท�าให้อะไรๆ มัน ยุง่ ยากเกินไปเลย มันเป็นเรือ่ งท้าทายนะทีเ่ ราต้องออกแบบงานทีเ่ รียบง่ายและก็อยูใ่ นงบประมาณ ด้วย นีแ่ หละคือความท้าทาย ความตืน่ เต้น ความน่าสนใจ และเป็นเรือ่ งของสถาปัตยกรรมจริงๆ เพราะมันไม่ใช่เรือ่ งยากเลยถ้าเรามีเงินทุนก้อนโตเราจะท�าอะไรก็ได้ แต่กบั เงินก้อนเล็กๆ ทีจ่ า� กัด มันกลับเป็นโจทย์ทที่ า้ ทาย ในงานออกแบบของคุณบางชิน้ พวกคุณมีการน�าเอาวัสดุบางอย่างกลับ มาใช้ใหม่ เช่นเดียวกับสถาปนิกชาวมาเลเซียบางคน อย่าง Kevin Low ที่ พยายามน�าเอาทรัพยากรบางอย่างมารีไซเคิลอย่างระมัดระวัง เพราะมี ทรัพยากรนัน้ ๆ จ�ากัดและก็เป็นเพราะเรือ่ งเงินทุนด้วย เราสามารถบอก ได้ใช่ไหมว่า การน�าเอาก้อนอิฐกลับมาใช้ใหม่นนั้ เป็นรูปแบบอย่างหนึง่ ของ งานออกแบบทีย่ งั่ ยืน

Zeidler: หลายคนเริม่ หันไปใช้วธิ รี ไี ซเคิลแบบนัน้ ในงานออกแบบของพวกเขา แต่ถา้ ถามฉัน ส่วนตัว

แล้วฉันว่ามันเป็นเรื่องอันตรายนะ คือฉันอาจจะยังไม่สามารถหาค�าที่ดีกว่าค�าว่าอันตรายได้ใน ตอนนี้แต่มันก็ไม่ควรจะกลายเป็นอะไรแบบก�าปั้นทุบดินแบบนั้นนะ เหมือนแบบ ‘ฉันไม่เคยใช้ หินแกรนิต’ เพราะ โธ่... ยอมรับเถอะว่ามันต้องมีสกั ครัง้ แหละทีค่ ณุ อาจจะอยากใช้หนิ แกรนิตบ้าง Lim: เสริมนิดนึงนะ เราไม่ได้หมายความว่าการเอาก้อนอิฐมาใช้ใหม่เป็นเรือ่ งผิดหรืออะไรนะ ผม ต้องบอกก่อนเพราะกลัวว่าสิง่ ที่ Suzanne เพิง่ พูดไปจะถูกน�าเอาไปตีความผิดๆ ส่วนตัวแล้ว ผม เชือ่ ว่าอะไรก็ตามทีช่ ว่ ยสร้างความยัง่ ยืนได้นนั้ ไม่จา� เป็นว่าจะต้องเป็นอะไรทีข่ เี้ หร่ เพราะเรามักจะ ไปตัดสินแบบนัน้ โดยอัตโนมัตเิ หมือนกับบอกว่าอะไรก็ตามทีถ่ กู อุดรูรวั่ ไว้กต็ า่ งต้องมีรอยโหว่ดว้ ยกัน ทัง้ นัน้ ส�าหรับผม ถ้าบอกว่าอาคารทีม่ หี น้าต่างสีดา� รูปร่างหน้าตาเหมือนหุน่ ยนต์ และปลูกต้นไม้ ไว้บนหลังคา คือ อาคาร Green ผมคงไม่เห็นด้วย แต่ Green น่าจะเป็นความสมดุลทีเ่ กิดขึน้

ระหว่างเทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม โดยออกมาเป็นอาคารสักหลังทีแ่ สดงความรับผิดชอบต่อสภาพ แวดล้อมโดยอาจจะมีระบบผนังทีค่ อ่ นข้างซับซ้อน แต่กเ็ ป็นผนังทีใ่ ช้วสั ดุทแี่ สดงถึงความรับผิดชอบ ต่อธรรมชาติ เช่น เป็นการรีไซเคิลเอาคอนกรีตจากตึกเก่ามาใช้... นีค่ อื ผมพยายามจะยกตัวอย่างให้ เห็นว่าบางครัง้ เรือ่ งบางเรือ่ งทีเ่ ราคิดว่าไม่ใช่ มันก็กลายเป็นใช่ได้เหมือนกัน เพราะสุดท้ายแล้ว เรา ก็ตอ้ งดูวา่ มันได้ชว่ ยเรือ่ งการประหยัดพลังงานอย่างไรบ้างในหน้าทีข่ องเรานัน้ เราต้องท�าให้ผคู้ น ตระหนักได้วา่ อาคารนัน้ ควรจะถูกใช้งานอย่างไรและเราจะจัดการกับสิง่ ทีเ่ หลือใช้อย่างไร เพราะโดย ปกติแล้ว สถาปัตยกรรมมักเกีย่ วกับความสิน้ เปลืองและขยะเหลือใช้ ดังนัน้ ถ้าเราจัดการกับเรือ่ งขยะ พวกนีไ้ ด้กเ็ ท่ากับว่าเรามีความสามารถทีจ่ ะควมคุมการใช้พลังงานซึง่ จะน�าไปสูก่ ารพัฒนาทีด่ ขี นึ้ ได้ Zeidler: แต่กน็ า่ เสียดายนะทีเ่ ราไม่สามารถจะน�าแนวทางเหล่านีม้ าปฏิบตั กิ นั ได้จริงในมาเลเซีย เพราะการจัดการขยะ หรือการแยกขยะ เรายังไม่มรี ะบบทีด่ พี อเลย หรือเอาแค่เรือ่ งพืน้ ฐานอย่าง การทิง้ ขยะ เรายังไม่สามารถสร้างจิตส�านึกให้เกิดขึน้ กับทุกคนในสังคมได้เลย ทุกวันนี้ เราก็ยงั เห็นเด็กที่นั่งอยู่ในรถคันหรูกับครอบครัว เปิดกระจกและโยนกระป๋องโค้กลงมาบนถนนหน้าตา เฉยแถมยังไม่มใี ครว่าอะไรด้วยซ�า้ ลองนึกดูซิ ถ้าเกิดเหตุการณ์อย่างนีใ้ นเยอรมัน คงมีใครสักคน เข้าไปห้ามแล้วล่ะ ใช่ คนในยุโรปส่วนใหญ่มีความเข้าใจเรื่องสิ่งแวดล้อมกันเป็นอย่างดี ทีเดียว และพวกเขาก็ตระหนักว่าสถาปัตยกรรมยังมีอีกความหมาย นั่นคือการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม มาถึงตอนนี้ ผมสงสัยว่าพวก คุณขีดเส้นแบ่งระหว่างความเข้าใจในเรื่องบริบทกับการท�างานบนพื้นที่ นัน้ จริงๆอย่างไร ในกรณีนี้ BOH น่าจะเป็นตัวอย่างทีด่ ที สี่ ดุ เพราะมันมี เรื่องพื้นที่ที่ชัดเจนมากเข้ามาเกี่ยวข้อง ตัวอาคารก็เป็นความเรียบง่าย ทีส่ วยงาม พวกคุณตีความพืน้ ทีน่ นั้ ๆ อย่างไร รวมทัง้ ตัดสินใจเรือ่ งงาน ออกแบบเพือ่ ความยัง่ ยืนอย่างไร โดยเฉพาะ กับเรือ่ งง่ายๆ อย่างการใช้ ทางเดินลาดหรือว่าลิฟท์?

Zeidler: ฉันว่าอย่างแรกเลยก็คอื สัญชาตญาณ ว่าเราคิดและรูส้ กึ อย่างไรเป็นอันดับแรก ก็คอื อันนัน้

Kenanga Textile Center Kuala Lumpur

แหละ หลังจากนัน้ จึงค่อยคิดต่อไป Lim: ถ้าเราสามารถเดินเข้าไปในชัน้ แรกของอาคารได้บนกระดานเพียงแผ่นเดียว เราก็จะใช้กระดาน แผ่นนัน้ แหละเป็นทางเดิน นีค่ อื หลักการเหตุและผลเบือ้ งต้น แต่ในฐานะของสถาปนิก เราต้อง พัฒนาจุดเริม่ ต้นนัน้ ให้ดขี นึ้ ไปอีก คือ เราสามารถเสนอทางเลือกของการลดการใช้พลังงานได้โดย การใช้วสั ดุทสี่ ามารถช่วยลดค่าใช้จา่ ยในการดูแลรักษาได้ มันไม่ใช่แค่วา่ เราจะใช้บนั ไดแทนลิฟท์ดี ไหม แต่มนั เป็นเรือ่ งง่ายๆ ทีส่ ามารถช่วยให้งานออกแบบเวิรก์ ได้มากขึน้ Zeidler: และถ้าสมมติวา่ ในสิง่ แวดล้อมนัน้ ไม่มปี จั จัยอะไรเลยทีค่ ณ ุ อยากจะน�ามาใช้ตอบสนอง... ฉันเข้าใจว่าในกรณีนนั้ คุณน่าจะต้องอยากลืมเรือ่ งสิง่ แวดล้อมไปเลย แล้วก็ออกแบบงานทีแ่ ตกต่าง ออกมา มันดีทเี ดียวนะและก็นา่ จะดูเป็นอิสระมากด้วย

205


คุณคิดว่าการท�างานออกแบบที่อยู่ในบริบทความเป็นพื้นถิ่น ในพื้นที่ ชนบทที่ห่างไกล และในหมู่บ้านเล็กๆ นั้น จะเป็นหนทางที่รักษาประเพณี ดัง้ เดิมไว้ไหม?

Zeidler: ใช่ แต่ฉนั ไม่เรียกมันว่าประเพณีดงั้ เดิมนะแต่เป็นหนทางทีเ่ รียบง่ายทีส่ ดุ และตรงไปตรงมา

ทีส่ ดุ ในการตอบสนองในเรือ่ งสิง่ แวดล้อม มันเป็นเรือ่ งวิธคี ดิ ทีเ่ รียบง่าย ซึง่ ฉันก็ไม่ได้หมายความ ว่าวิธคี ดิ เรียบง่ายนัน้ เป็นเรือ่ งไม่ฉลาดนะ Lim: แต่มนั ก็เป็นไปได้วา่ โมเดลของบ้านจัดสรรหรือคอนโดมิเนียมทีด่ ี ก็อาจจะมาจากประเพณี เก่าๆ ก็ได้นะ ยกตัวอย่างเช่น แปลนของหมูบ่ า้ นดัง้ เดิมสามารถจะน�าไปเป็นแบบของรีสอร์ทห้าดาว ในปาปัวนิวกีนไี ด้เหมือนกัน เพราะฉะนัน้ ค�าถามของคุณทีเ่ กีย่ วกับ reference ทางวัฒนธรรม เป็นเรือ่ งทีน่ า่ สนใจมาก แต่เราต้องจ�าไว้อย่างหนึง่ ว่าสถาปัตยกรรมทีส่ ร้างขึน้ ตาม reference นัน้ ไม่ได้เกีย่ วข้องกับต้นแบบเดิมในทางวัฒนธรรมเท่าไรนัก แต่มนั เกีย่ วกับว่าเรารับรูค้ ณ ุ ภาพของ พืน้ ทีน่ นั้ อย่างไรต่างหาก และความจริงทีว่ า่ แปลนของหมูบ่ า้ นนัน้ น�าไปใช้แล้วเวิรก์ นัน้ ก็เพราะ มันอยูใ่ นสเกลเล็กๆ ทีก่ ารจัดวางแบ่งสัดส่วนในอาคารส่วนใหญ่เกิดขึน้ จากเหตุผลทางสังคม เช่น ว่าเราเดินจากตรงนีไ้ ปก็จะเจอร้านจักรยาน แล้วหันไปอีกทางก็จะเจอแผงขายหนังสือ แบบแผน ที่อยู่อาศัยแบบนี้อาจจะซับซ้อนมาก แต่มันก็ยั่งยืนมากเหมือนกันในบางที ทุกวันนี้ มันถูกน�า ไปปรับใช้ในบูตคิ โฮเต็ลหรูโดยไม่มอี ะไรเกีย่ วข้องกับเรือ่ งวัฒนธรรม แต่ขอ้ ดีทางเรือ่ งสังคมและ ประสิทธิภาพในการจัดการพืน้ ทีน่ นั้ ยังมีอยูเ่ ต็มเปีย่ ม Zeidler: บางทีที่เราหันกลับมาสนใจเรื่องพวกนี้มากขึ้นก็เพราะมันไม่ได้ตายไปตามยุคสมัย หรือสูญหายไป แม้ว่าจะมีเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าเข้ามาเทคโนโลยีมักมาพร้อมกับมลภาวะและก็ ท�าให้ทรัพยากรทางธรรมชาติลดน้อยลงไปด้วย เรือ่ งนีย้ งั เป็นปัญหาส�าหรับพวกเราอยูใ่ ช่ไหมล่ะ ในทางกลับกัน เราน่าจะต้องมาคิดกันนะว่าเราเห็นอะไรบ้างในความเรียบง่ายแบบดัง้ เดิมทีม่ ชี วี ติ อยูม่ าได้ตลอดหลายปีทผี่ า่ นมา ผมสังเกตว่าคุณไม่ค่อยจะยกพวกเรื่องตัวเลขมาอ้าง แต่จะเป็นเรื่อง การตีความพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้คนและการออกแบบสร้าง สถาปัตยกรรมของสถาปนิกทีด่ เู หมือนจะเข้าไปเกีย่ วข้องกับประสบการณ์ ของผูค้ นมากกว่า พูดง่ายๆ ก็คอื ส�าหรับคุณ สถาปัตยกรรมจะยัง่ ยืนหรือไม่ อย่างไรมันเกีย่ วข้องกับมนุษย์... ตอนนีค้ ณ ุ ท�างานกันในมาเลเซีย คุณคิดว่า จะขยายการท�างานของคุณไปทีอ่ นื่ ด้วยไหม?

Zeidler: จริงๆ เรามีโปรเจ็คต์บางอันทีจ่ นี ด้วยนะ แต่สว่ นใหญ่กจ็ ะเป็นทีม่ าเลเซียนีแ่ หละ

ขอบคุณมากส�าหรับการสนทนาและขออวยพรให้คณ ุ ประสบความส�าเร็จ ต่อไปครับ

‘‘Architecture is a matrix of people’s behaviors and experience expectations, where economics and developers’ dreams are adjacent with the conception of quality and workmanship.’’


First published in art4d 170, May 2010.

upcycling

Seksan Ng cross-disciplinary


‘‘Because there wasn’t really precedence to follow the next thing to do was to experiment, to try to pump in new ideas intogreen the landscape scene and in the process, hopefully initiate something that can be distilled and developed over the next fifty or hundred years into something worth thinking about and refining.’’ local

Landscaping is a process of authoring or shaping nature according to the ideology that underpins the work of a particular landscape architect. Venerable traditions exist both in the West and East disciplines. How do you respond or react to these traditions? Let me begin by giving you a short history of landscape architecture. As a modern discipline, it is only about a hundred years old. Modern landscape architecture got its datum from the creation of New York City’s Central Park. Federick Law Olmstead, who designed it, is today considered as the father of modern landscape architecture. From then on, landscape architecture is recognised as a profession. My practice is located within this modern discipline. In Asia, the modern profession developed with landscape architects coming over from the West to design resort hotels in our region with one of the most significant projects being Shangri-La hotel built in Singapore. Although it is a city hotel, it included a lot of gardens within its compound. This signified a major departure from city hotels in the past where it used to be just rooms for people to stay over night. Because it was such a major success, other developers began simulating the idea of landscape as integral to resorts and hotels. In the early days, most landscape architects working in the Southeast Asia region were from America and England. Within the development of Malaysian landscape architecture, the pioneers who appeared in the scene in the late Seventies and early Eighties were all foreign trained. As a professional practice, it is only about thirty years old. I probably belong to the second or third generation. In relation to your question, when I first came back to Malaysia, we were looking at what is the tradition of landscape in this country or how landscape can be imagined. In Japan or in Bali, for example, one can see a strong aesthetic sensibility rooted in their cultural worldview that is translated into their garden or landscape design. After our initial research, we came to the conclusion that Malaysia being a relatively new country is too young to have a tradition. As such, our main thrust was towards experimentation. Because there wasn’t really precedence to follow the next thing to do was to experiment, to try to pump in new ideas into the landscape scene and in the process, hopefully initiate something that can be distilled and developed over the next fifty or hundred

211


years into something worth thinking about and refining. Seeing a Malaysian vernacular, which is tied into what can be described as a Malaysian sensibility, I realised probably won’t happen within my lifetime. What is important is to kick-start this. Because we are constantly experimenting, there are a lot less hang-ups. Therefore we can afford to be eclectic in our approach, drawing references from both East and West. That is from a philosophical and historical point of view. From a material point of view, we were quite clear we wanted to use local material to compose our landscape, to give it the local context which we felt is important, especially in this age of globalization where local identity is muddled. Landscape architecture needs to be inspired by local arts and culture as well as understand its local climate and vegetation. A landscape that is inspired by local arts, material and culture often means that the research process is a collaborative one. How integral is collaboration to your practice? What kind of working relationship must one foster? We did a lot of collaboration when we first started. One of my first projects in Malaysia, a condominium project called Kampung Warisan, was collaboration with Malaysia’s best known cartoonist – Lat. Lat is celebrated for his ability to capture the quintessence of the Malaysian experience through his illustrative depictions of rural life in Malaysia. We wanted to draw upon his experience and translate some of the values and ideas associated with village life into an urban context. At that stage of my career, we romanticised the kampung (village), which is about neighbourliness, taking bath by the river together, communal feasts and festivals, etc. It was the romantic part of our development. We wanted to see if we can induce some of these lost neighbourly values in a condominium environment. Another example of a collaborative project we did was with the New Zealand sculptor Neil Dawson. We worked together on an urban project where there was very little ground surface for us to work on. We decided therefore to take the landscape element up into the air. Neil was making a lot of suspension sculpture. Neil was probably our last resort; we went to look for Malaysian

and Singaporean artists to see if we can come up with something that is quite difficult to suspend in the air. Unfortunatel, none of our local artists felt confident about it. Having spent twelve years in New Zealand, I am familiar with Neil’s work. In this collaboration, Neil made a suspension sculpture in the shape of a sphere, composed with leaves found in Malaysia, for us at Jalan P Ramlee in Kuala Lumpur. There was a subversive element to the work that most people did not realise. Within the composition, we included marijuana leaves. I often like to introduce some of these subversive elements into my designs. Collaboration is not an easy process. It involves a lot of negotiation and includes a lot of opinionated parties in the designing process. In the last few years, I have grown a little lazy. We do most things in-house these days. Collaboration sometimes brings out a lot more creativity. However, because it involves so many parties, sometimes ideas and creativity are compromised in order to achieve a common denominator. My recent belief is that good design needs to be single minded. I keep everybody out of the design process, as an experimentation to see how far we can push design to a level that is acceptable to us.

213


Play is crucial. Playing suggests a state of engagement that is not serious, it is not supposed to be permanent...

If a singular vision is increasingly important to your design practice, who do you look to for inspiration? Do you have any architects or landscape architects you admire particularly? Because I went to a school that is horticulturally driven, landscape architecture is a branch off from horticulture. Most early schools of landscape architecture developed and branched out from the horticulture department and not architecture, as many would commonly assume. I studied at Lincoln University at Christchurch. I was trained in two very boring disciplines – engineering and landscape architecture, from a horticultural tradition. My prime influence was Martha Schwartz, who is based in Boston. She was trained in fine art before she took up landscape architecture. As her entry point was from a fine art point of view, she treated the landscape as a canvas, to paint and build objects on. I found her ideas very refreshing. She was constructing stuff like varnished bagels as landscape elements. For her husband’s birthday, she created a temporary garden where we reconfigured her front yard with bagels strewn on the floor. That was both a cultural and intellectual shock for me. She was also using smarties and car tyres or millions of plastic frogs as garden elements.

I find her ideas very refreshing and we started to emulate her works. Early works of mine are quite colourful, lots of fluorescent colours and primary colours in it, using very mundane ordinary objects such as flowerpots in a very repetitive and big scale fashion to compose our landscape. However, after my eight or ten years, we started to reflect back on some of influences and found that it only has a short-term appeal. We began to depart from that philosophy, because we feel that landscape and architecture should have more of a timeless quality to it – an idea that a successful piece of work is one that is still relevant 10 or 20 years later. Other gurus include Geoffrey Bawa from Sri Lanka, Frank Lloyd Wright, Mies Van de Rohe, etc. The scale of the projects must vary a lot in landscape architecture. One can be approached to design a private garden and on a larger scale, a public park. Are there differences in terms of approaches? What considerations do you bring into these different projects? And what do you prefer to train your practice on? I look at my body of work through a number of categories. One of them is whether a project has multi users or single users. I do not enjoy working with single users at all. I stopped taking on commissions of that nature because ultimately it involves imposing certain design ideas on this particular user. If there is a meeting of minds, that’s fine. However, ninety nine percent of the time our minds do not meet. Often, it is some guy who wants to build a garden that encapsulates his lifestyle and perception of security. I have done a number of jobs earlier on in my career, thinking I can persuade people to lead the kind of lifestyle that I lead. I have since given up on that because it’s a process of either imposing my idea on them or the idea is totally butchered because the owner could not appreciate my ideas. For multi-users, I can take contextual considerations to the extreme and work within a multi-spectrum context. Another catergorisation is whether it is a bread and butter project or an awardwinning project. Bread and butter projects keep the office going, pay the bills and subsidise the cutting edge, experimental and award winning projects that get us excited. What we’ve been trying to do is to find a balance over the past 15 years, to create possibilities to push design and to seek that crystallisation of a Malaysian vernacular for landscape design.

215


In terms of designing a space for multi-users, how can landscape architecture shape the way we use public spaces as well as interact with each other in it? We are quite mindful that in designing a landscape, we are not creating an object or an art piece. It is more about people and creating a situation. An example would be the Sibu streetscape project, where we collaborated with traffic engineers to realign the traffic flow and give priority to the pedestrian because Sibu is a very pedestrian-friendly town. In managing the traffic flow, we were also able to turn a four-lane stretch of road back into a park right in the heart of the city. In terms of design, we were drawing on some of inspiration from Borneo. The park is called the Mist Garden, the mist referencing the local context of the Borneo rainforest. If one has ever been to Borneo, you will notice that in the morning, the mist comes down to the jungle floor and only dissipates in the late morning. We wanted to create a misty environment right in the middle of town. We also look at traditional art forms for inspiration, planting totem poles in our garden. A second layer of metaphor emerges in this sense, as the garden now suggests a deforested landscape in the middle of a city with all these sprawling deadwoods. The totem poles had a lot of texts on it. Back then we were influenced by visual artist Wong Hoy Cheong that the text can become an aesthetic bridge for the common layman who are not used to the abstraction in visual language. This is another example of subversion in my practice. The politicians were sidetracked by the mist garden while we were more interested in the social commentary of the park. At the end of the day, these are just objects. What is most rewarding for landscape architecture when revisiting some of our projects is to see how it is utilised. The people are a critical component in landscape design. That is the most rewarding thing to photograph at the end of our project. These things can’t be designed, because it is almost transient. We measure the success in the ways people use it and how people use it in ways we didn’t anticipate it. A similar project would be the Sentul Park in Sentul West. Again, it is not about posturing the landscape as an object. The idea behind Sentul Park is not what we put in but what we use to highlight what is already in existence - the trees, the wetland, the terrain, etc. The foreground is not as important as

An urban park converted from a driving range, which encourages outdoor activities in Kuala Lumpur

Spicata Web (2008) Kuala Lumpur

the background. That is why the building and structures are made to look as transparent and minimal as possible. Some of the landscape follies allow people to be inside the park even during rainy weather or hot afternoons. Where is the local element in this project? This is often asked when we use a lot of steel and glass in our work since these are modern materials. Traditionally, we think of timber or attap roofs or classical motifs as signifier of the local. In this instance, we wanted to use neutral material instead because we wanted to create transparent structures. We didn’t want to use traditional motifs because these will detract attention to the natural surrounding we want to highlight. Very often as architects and designers, we make man second fiddle to God. John Lennon said, ‘We see things with our eyes closed, misunderstanding everything we see’. We are looking at the wrong thing all the time. An example, we go into a site that is so beautiful with mature trees and beautiful land formations. In many instances, what we do with it is that we bring in our bulldozers, cut down all the trees and flatten the land to build our houses on. It’s happening everywhere. Sekeping Serendah, I think, is my most important project. It embodies the idea of God giving us a beautiful piece of land and how we can engage with that landscape by building and building on it lightly, thereby highlighting its locality. It is a small demonstration we can build on it without cutting the trees. I’ve been talking to developers for the past 10-15 years about this, but they are not listening. Sekeping Serendah is something of a demonstration that this is possible. 217


You play a lot too. On your website, there’s a special category dedicated to some of the ephemeral land art projects of yours. Can you tell us a bit more about this? Why I do it? I think element of play is important for any creative design studio. Because when you play, you are at your most creative. It is this creative spirit that we are constantly trying to maintain in the midst of all the heavy expectation and demand from our commercial work. Play is crucial. Playing suggests a state of engagement that is not serious, it is not supposed to be permanent and our clients’ money is not involved. It is a process allowing the possibility of experimentation. By play I would include designing theatre sets, which we did in our early career. An example would be our set design and installations for a Five Arts Centre production, Family (1998), which was staged in Malaysia and Berlin. When we play, we are testing out ideas and also testing out materials in certain ways for our larger projects. Example, on a family vacation in Sipadan, we started playing with the sand. We filled it into plastic bags and hang the bags on trees. We then punched holes into them so that when the sand fell, it resembled a waterfall. The project is called Sandfall of Sipadan. The image stayed with us and a few years later, this became an inspiration for some of our commercial projects in shopping centres. Instead of creating waterfalls, we play with the idea of sandfall. It became most relevant when we worked in places like Abu Dhabi, where sand is such a defining feature of its landscape. Often playing includes journeying and travel, going out there, and exposing one’s self to a new environment and possibly encountering new ideas. How important is travel to your work? Where have you been? When I first left New Zealand in 1990, I took one year off to travel. That time, after receiving a Western education, I was inclined towards the West. I wanted to see all the references in the textbook, so I went to America and Western Europe. That was my early thirties. Since I have grown older, I have been more rooted in Asian traditions. I have more recently traveled around Asia - to Cambodia, Tibet, Nepal, Indonesia Yunnan, etc. You can say the idea of travel has a more spiritual element to it now.

219


Regarding the ephemeral earth art I create during my travels, I am interested in how to make a piece of landscape a bit more memorable. There are certain places we have vivid memories of. To create objects or installations in these landscapes is an attempt for myself to remember that place deeper. Because I intervene in it, I have also personalised a big landscape. What I want to do is also to leave something for others to look at, enjoy and take something away from it. For Trash Vortex, the idea was to make rubbish more than rubbish. It is part of the core philosophy of our landscape design – to make something out of nothing, or, rather, to take something mundane and turn it into something else. With our trained eyes we are also able to transform waste and excess into an aesthetic form since we are able to understand the intrinsic quality of the material and use them to compose our landscape. All these are informed by the element of play. You are also an avid collector of contemporary art from Southeast Asia. Your collection boasts some of the most exciting emerging and mid-career artists practicing in Southeast Asia today. What prompted you to collect?

As part of Singapore Garden Festival in 2008, Ng created a mural from different coloured plants depicting the portrait of Marilyn Monroe. The work is titled, ‘Mao Marilyn and the Big Garden.’

When we started the collection, it was from an era or a period of time where I was drawing inspiration from artwork, the Martha Schwartz period. We were looking at a lot of installations, performance art, and generally anything related to the arts. With that deep connection to the art world, it was quite natural for us to collect some of these works. The collection started from the premise of wanting to use artwork as inspiration for our landscape work allowing the painting or sculpture to inspire us. In terms of how painting is inspirational, it is mostly from a philosophical standpoint. For example, pioneer modernist painter Latiff Mohidin’s exploration of a shared Southeast identity and aesthetic through his Pago-pago series, exemplifies an approach to thinking that I very much admire. What I derive from paintings is not so much the actual physical manifestation but the underlying philosophy that drives it. It is ultimately about allowing minimal gesture to create maximum impact. Other examples include Balinese or Thai dances. Because it is such a disciplined and slow-paced performance, where the flicker of the eyelid or finger connote a great range of meanings. An instrument in the gamelan for example, probably has only about six notes. It is all about small movements, about details. When you slow things down, you get into every single twitch. I think that is what Asian landscape architecture is about. How it is going to manifest itself in 10 or 20 years, I don’t know. But, for me at least, it is taking its cue from all these things. We want to create a living environment, spaces that articulate some of the values that are part of our identity, of relationship, extended family, and a caring, communal life. Unfortunately, a lot of our physical developments are Americanised. Our gated communities are one example. It designs a false sense of security by responding to the paranoia of a consumer class through segregation rather than collective agency. Our agenda has been hi-jacked by politicians and bureaucrats as well as the architectural profession. I do all the things I do as a means of critiquing my own profession as a way of making a statement about the different ways we can live.

Trash Vortex (2008) is a beach installation made with rubbish collected from Kuantan in Malaysia. 221


การออกแบบภู มิ ทั ศ น์ เ ป็ น กระบวนการสร้ า งหรื อ ก� า หนดรู ป แบบให้ ธรรมชาติเป็นไปตามมโนทัศน์ของภูมสิ ถาปนิกผูร้ บั หน้าทีใ่ นแต่ละงาน โดย มีธรรมเนียมทีถ่ อื กันอยูท่ งั้ ในศาสตร์แบบโลกตะวันตกและตะวันออก คุณ ตอบสนองหรือมีปฏิกริ ยิ าต่อธรรมเนียมเหล่านีอ้ ย่างไร?

Returning to his home country after spending twelve years in New Zealand, Ng Seksan went on to found Seksan Design in Kuala Lumpur, a landscape architecture practice in 1994 that has successfully balance its commercial ventures with artistic play. Known primarily as an avid collector and arts activist in the local art world, Ng Seksan is also the initiator of many ephemeral earth art projects created during his travels. His practice, both work and play, demonstrates critical insights on landscape architecture as a creative pursuit that places primary importance in articulating a respectful approach to nature.

ผมขอเริม่ จากการเล่าให้คณุ ฟังถึงประวัตศิ าสตร์สนั้ ๆ ของภูมสิ ถาปัตย์กอ่ น ในฐานะทีเ่ ป็นศาสตร์ แขนงใหม่ ซึง่ เริม่ มีมาแค่ประมาณ 100 ปี ภูมสิ ถาปัตย์สมัยใหม่มรี ากฐานมาจากการสร้าง Central Park ในนิวยอร์ก Federick Law Olmstead คนทีอ่ อกแบบถูกยกให้เป็นบิดาแห่งภูมสิ ถาปัตย์สมัย ใหม่ของทุกวันนี้ ตัง้ แต่นนั้ มา ภูมสิ ถาปัตย์กไ็ ด้รบั การยอมรับให้เป็นศาสตร์แขนงหนึง่ การท�างาน ของผมมีพนื้ ฐานอยูบ่ นศาสตร์สมัยใหม่นี้ ในเอเชีย ศาสตร์สมัยใหม่ถกู พัฒนาโดยภูมสิ ถาปนิกจาก ตะวันตกทีม่ าออกแบบรีสอร์ต โรงแรมในบ้านเรา ซึง่ หนึง่ ในโครงการทีส่ า� คัญก็คอื โรงแรม ShangriLa ในสิงคโปร์ ซึง่ แม้วา่ จะเป็นโรงแรมใจกลางเมืองแต่กต็ กแต่งด้วยสวนมากมาย นีแ่ สดงให้เห็นถึง ความเปลีย่ นแปลงอย่างยิง่ ใหญ่จากโรงแรมใจกลางเมืองสมัยก่อนซึง่ ใช้เป็นเพียงทีพ่ กั ค้างคืนของ นักเดินทาง ด้วยความทีโ่ รงแรมแห่งนีป้ ระสบความส�าเร็จอย่างมาก นักพัฒนาทีด่ นิ คนอืน่ ๆ จึง เริม่ เลียนแบบไอเดียเรือ่ งการผนวกภูมทิ ศั น์เข้าเป็นส่วนหนึง่ ของรีสอร์ตและโรงแรม ในช่วงแรกๆ ภูมสิ ถาปนิกส่วนใหญ่ทที่ า� งานในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ลว้ นแต่มาจากอเมริกาและอังกฤษ ภายใต้การพัฒนาของภูมสิ ถาปัตย์ในมาเลเซีย ภูมสิ ถาปนิกในช่วงปลายทศวรรษที่ 70 และต้น 80 ล้วนแต่เป็นผูท้ จี่ บการศึกษามาจากต่างประเทศ ในฐานะศาสตร์แขนงหนึง่ มันมีอายุเพียง 30 ปี ผมเองก็นา่ จะเป็นแค่รนุ่ ทีส่ องหรือสามเท่านัน้ กลับมาทีค่ า� ถามของคุณ ตอนทีผ่ มกลับมามาเลเซียครัง้ แรก ผมมองหาธรรมเนียมในการออกแบบ ภูมทิ ศั น์ของทีน่ วี่ า่ เป็นแบบไหน ภูมทิ ศั น์ถกู จินตนาการไว้อย่างไร ยกตัวอย่างเช่นญีป่ นุ่ หรือบาหลี เราสามารถมองเห็นความรูส้ กึ แรงกล้าต่อสุนทรียศาสตร์ทฝี่ งั อยูใ่ นโลกทัศน์ทางวัฒนธรรมของ พวกเขาซึ่งถูกน�ามาถ่ายทอดลงในการออกแบบสวนหรือภูมิทัศน์ หลังจากที่เราท�าการส�ารวจใน เบือ้ งต้น เราก็สรุปได้วา่ มาเลเซียนัน้ ยังเป็นประเทศทีใ่ หม่เกินกว่าจะมีธรรมเนียมเป็นของตัวเอง ดังนัน้ ความหวังหลักของพวกเราจึงมุง่ ไปทีก่ ารทดลอง เพราะไม่มตี น้ แบบจริงๆ ให้ทา� ตาม สิง่ ที่ ต้องท�าต่อมาก็คอื ทดลองผลักดันไอเดียใหม่ๆ ใส่ไปในภูมทิ ศั น์และกระบวนการออกแบบ และหวัง ว่าจะจุดประกายบางสิง่ ทีส่ ามารถเติบโตและพัฒนาต่อไปใน 50 หรือ 100 ปีขา้ งหน้าจนกลายเป็น สิง่ ทีค่ มุ้ ค่าต่อการคิดและท�าให้ดขี นึ้ การได้เห็นความเป็นพืน้ เมืองแบบมาเลเซียทีอ่ าจพูดได้วา่ เป็น สุนทรียะแบบมาเลเซียนัน้ ผมรูว้ า่ ชีวติ นีอ้ าจจะไม่ได้เห็น สิง่ ทีส่ า� คัญคือการจุดประกายการเริม่ ต้น เพราะเรายังอยูใ่ นขัน้ ทดลองเราเลยมีเรือ่ งให้ตอ้ งกังวลน้อยมาก ดังนัน้ เราจึงสามารถแสวงหาสิง่ ที่ ดีทสี่ ดุ ในการไปให้ถงึ จุดหมาย โดยใช้มมุ มองทางด้านประวัตศิ าตร์และปรัชญาจากทัง้ แนวคิดแบบ ตะวันออกและตะวันตก ในเรือ่ งของวัสดุ เราค่อนข้างชัดเจนว่าเราต้องการใช้วสั ดุทอ้ งถิน่ ในการตกแต่งภูมทิ ศั น์ เพือ่ สร้าง บริบทความเป็นท้องถิน่ ซึง่ เราคิดว่าเป็นสิง่ ส�าคัญ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในยุคโลกาภิวตั น์ทอี่ ตั ลักษณ์ ท้องถิน่ ก�าลังถูกกลืน ภูมสิ ถาปัตย์จา� เป็นต้องอาศัยแรงบันดาลใจจากศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิน่ พอๆ กับทีต่ อ้ งมีความเข้าใจในภูมอิ ากาศและพืชพรรณธรรมชาติของท้องถิน่ นัน้ ๆ 223


ภูมทิ ศั น์ทไี่ ด้แรงบันดาลใจมากจากศิลปะ วัสดุ และวัฒนธรรมท้องถิน่ มัก จะแสดงให้เห็นว่าขัน้ ตอนการรีเซิรจ์ เหล่านัน้ ได้รบั ความร่วมมือจากหลาย ฝ่าย การท�างานร่วมกันในงานของคุณมีความส�าคัญขนาดไหน? และความ สัมพันธ์ในการท�างานแบบใดทีต่ อ้ งใส่ใจเป็นพิเศษ?

เราได้รว่ มงานกับศิลปินคนอืน่ เยอะมากตอนทีต่ งั้ บริษทั ใหม่ๆ หนึง่ ในโครงการแรกๆ ในมาเลเซีย ของผมเป็นโครงการคอนโดมิเนียมทีช่ อื่ ว่า Kampung Warisan ซึง่ เป็นการท�างานร่วมกับนักวาด การ์ตนู ทีด่ งั ทีส่ ดุ ในมาเลเซียชือ่ Lat ซึง่ Lat นัน้ ถูกยกย่องว่ามีพรสวรรค์ในการดึงเอาแก่นแท้ของ ความเป็นมาเลเซียมาถ่ายทอดผ่านการวาดภาพเล่าเรือ่ งวิถชี วี ติ ชนบทในมาเลเซีย เราต้องการใช้ ประโยชน์จากประสบการณ์ของเขา และแปรคุณค่ารวมทัง้ แนวคิดบางอย่างเกีย่ วกับชีวติ ชนบทมา ใส่ไว้ในบริบทแบบในเมือง ตอนทีผ่ มท�างานนัน้ เราฝันให้หมูบ่ า้ น kampung เป็นสถานทีท่ มี่ แี ต่ การช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน ชาวบ้านอาบน�า้ ในแม่นา�้ ร่วมกัน มีประเพณีและงานฉลองร่วมกัน ฯลฯ มันเป็นช่วงทีเ่ ต็มไปด้วยจินตนาการในการเติบโตของพวกเรา เราอยากเห็นว่าเราจะสามารถท�าให้ คุณค่าของมิตรไมตรีทหี่ ายไปเหล่านีก้ ลับมาอยูใ่ นสิง่ แวดล้อมของคอนโดมิเนียมนีไ้ ด้หรือไม่ อีกตัวอย่างหนึ่งเป็นโครงการที่เราท�าร่วมกับปฏิมากรชาวนิวซีแลนด์ชื่อ Neil Dawson งานที่ เราท�าร่วมกันเป็นโครงการในเมืองซึ่งมีพื้นที่ให้เราท�างานขนาดเล็กมาก เราตัดสินใจว่าจะท�าให้ องค์ประกอบทางภูมทิ ศั น์ตงั้ ลอยขึน้ ไปบนอากาศ Neil สร้างประติมากรรมแบบแขวนขึน้ มาหลาย ชิน้ และ Neil ถือว่าเป็นตัวเลือกสุดท้ายของเราในตอนนัน้ เรามองหาศิลปินมาเลเซียและสิงคโปร์ ว่ามีใครทีพ่ อจะสร้างสิง่ ทีจ่ ะน�ามาแขวนอยูใ่ นอากาศซึง่ ถือเป็นเรือ่ งค่อนข้างยากได้ไหม โชคไม่ดที ี่ ไม่มศี ลิ ปินท้องถิน่ ของเราคนไหนมีความมัน่ ใจพอว่าจะท�าได้ การใช้ชวี ติ 12 ปีในนิวซีแลนด์ ท�าให้ ผมคุน้ เคยกับงานของ Neil ในการร่วมงานกันครัง้ นี้ เขาสร้างประติมากรรมแบบแขวนเป็นรูปทรง กลม น�ามาตกแต่งด้วยใบไม้ทหี่ าได้ในมาเลเซีย ซึง่ เราน�ามาจาก Jalan P Ramlee ในกัวลาลัมเปอร์ เราใช้ของผิดกฎหมายอย่างกัญชามาตกแต่ง ผมชอบทีจ่ ะน�าเสนอของผิดกฎหมายบางอย่างนีใ้ น งานออกแบบของผม การท�างานร่วมกันไม่ใช่เรื่องง่ายๆ กระบวนการออกแบบมีทั้งการต่อรองและเต็มไปด้วยข้อคิด เห็นจากหลายฝ่าย ช่วงปีหลังๆ ผมไม่อยากจะท�าอะไรโตมาก ทุกวันนีเ้ ราท�างานกันเองในบริษทั เป็นส่วนใหญ่ การท�างานร่วมกันอาจได้ความคิดสร้างสรรค์มากกว่าก็จริง แต่อย่างไรก็ตาม การมี หลายฝ่ายมาเกีย่ วข้องบางครัง้ ไอเดียและความคิดสร้างสรรค์กต็ อ้ งถูกน�ามาให้ประนีประนอม เพื่อผู้ร่วมงานทุกฝ่าย เดี๋ยวนี้ผมเชื่อว่าการออกแบบที่ดีต้องมีความเป็นเอกภาพ ผมกันทุกคน ออกไปจากกระบวนการออกแบบ เพือ่ ทดสอบว่าเราจะผลักดันให้งานออกแบบไปสูร่ ะดับทีพ่ วกเรา ยอมรับร่วมกันได้อย่างไร

ถ้ามุมมองทีเ่ ป็นเอกภาพ กลายมาเป็นสิง่ ส�าคัญในงานออกแบบของคุณ ใคร คือ แรงบันดาลใจ? คุณชืน่ ชมสถาปนิกหรือภูมสิ ถาปนิกคนไหนบ้างไหม?

ด้วยเหตุผลทีว่ า่ ผมศึกษาในโรงเรียนสอนท�าสวน ภูมสิ ถาปัตย์กค็ อื หนึง่ ในสาขาทีแ่ ตกออกมาจาก การท�าสวน โรงเรียนภูมสิ ถาปัตย์ชว่ งแรกๆ พัฒนาและแตกสาขาออกมาจากภาควิชาการท�าสวน ไม่ใช่สถาปัตย์ ซึง่ ทุกคนก็ยอมรับ ผมเรียนทีม่ หาวิทยาลัย Lincoln ใน Christchurch ผมถูกสอน มาด้วยศาสตร์ที่น่าเบื่อตามค่านิยมของวิชาการท�าสวน 2 ศาสตร์นั่นก็คือวิศวกรรมศาสตร์และ ภูมสิ ถาปัตย์ อิทธิพลแรกทีผ่ มได้รบั มาจาก Martha Schwartz ซึง่ เป็นคนบอสตัน เธอเรียนวิจติ ร ศิลป์กอ่ นทีจ่ ะมาเป็นภูมสิ ถาปนิก ด้วยความทีเ่ ธอใช้มมุ มองแบบวิจติ รศิลป์แต่ใช้พนื้ ดินแทนผืนผ้าใบ ในการวาดและสร้างสรรค์สงิ่ ต่างๆ ผมพบว่าไอเดียของเธอสุดยอดมาก เธอสร้างสิง่ ทีด่ เู หมือนขนม ปังเบเกิลไว้สา� หรับแต่งสวน แล้วเธอก็สร้างสวนทีด่ า้ นหน้าปูดว้ ยแผ่นขนมปังเบเกิลนีเ้ ป็นของขวัญ ให้สามีในวันเกิด นัน่ เป็นความตกตลึงทัง้ ในแง่ของวัฒนธรรมและความฉลาดส�าหรับผม เธอยัง ใช้ทงั้ สมาร์ตตีแ้ ละล้อรถ หรือกบพลาสติกเป็นล้านตัวมาเป็นของตกแต่งสวน ผมพบว่าไอเดียของเธอสุดยอดมากและผมก็เริม่ เอาอย่างงานของเธอ งานช่วงแรกของผมมีสสี นั ค่อนข้างจัดจ้าน เต็มไปด้วยสีสะท้อนแสงและแม่สแี รงๆ ผมใช้สงิ่ ของทีห่ าได้งา่ ยทัว่ ไป เช่น กระถาง ดอกไม้หลายๆ ใบ และใบใหญ่มากๆ มาตกแต่งภูมทิ ศั น์ แต่หลังจาก 8 หรือ 10 ปี ผมก็เริม่ มอง ย้อนกลับไปยังงานเหล่านั้นและพบว่ามันน่าสนใจอยู่แค่แป๊บเดียว ผมจึงเริ่มถอนตัวออกมาจาก แนวคิดแบบนัน้ เพราะคิดว่าภูมทิ ศั น์และสถาปัตยกรรมควรไร้กาลเวลา งานทีป่ ระสบความส�าเร็จ ต้องเป็นงานทีย่ งั คงโดดเด่นอยูแ่ ม้เวลาจะผ่านไป 10 หรือ 12 ปี กูรคู นอืน่ ๆ ก็มที งั้ Geoffrey Bawa สถาปนิกชาวศรีลงั กา Frank Lloyd Wright และ Mies Van de Rohe

Sekeping Tenggiri โรงแรมขนาดเล็กในเมือง Bangsar แบ่งห้องพักออกเป็น 7 ห้อง ทีใ่ ห้บรรยากาศแตกต่าง ภายใต้การใช้วสั ดุพนื้ ถิน่ และบรรยากาศทีร่ ายล้อม ด้วยธรรมชาติ 225


Landscape architecture needs to be inspired by local arts and culture as well as understand its local climate and vegetation.

ภูมสิ ถาปัตย์เป็นงานทีต่ อ้ งเจอกับขนาดของพืน้ ทีแ่ ตกต่างกันมาก อาจเป็น ได้ทงั้ การออกแบบสวนในบ้าน พืน้ ทีท่ ใี่ หญ่ขนึ้ หรือสวนสาธารณะ แต่ละ โปรเจ็คต์มีวิธีการท�างานต่างกันไหม? อะไรเป็นสิ่งที่คุณน�ามาพิจารณา ในการท�าโครงการทีแ่ ตกต่างกันเหล่านี?้ และคุณชอบท�างานประเภทไหน มากกว่ากัน?

ผมมองที่ขนาดของงานของผมตามปริมาณการใช้งาน หนึ่งในนั้นคือโครงการนี้มีผู้ใช้หลายคน หรือเพียงคนเดียว ผมไม่ชอบท�างานทีม่ ผี ใู้ ช้แค่คนเดียว ผมไม่รบั ท�างานประเภทนัน้ เพราะว่าทีส่ ดุ แล้วมันเกีย่ วข้องกับไอเดียการออกแบบเพือ่ คนแต่ละคน ถ้าไอเดียมาบรรจบกันได้กด็ ไี ป แต่ 99% ไอเดียของเรามักไม่ตรงกัน บ่อยครั้งจะมีคนที่ต้องการสร้างสวนเพื่อปิดบังรักษาความเป็นส่วน ตัวและให้ความรูส้ กึ ปลอดภัย ผมเคยท�างานพวกนัน้ ตอนเริม่ ท�างานแรกๆ คิดว่าตัวเองสามารถ ชักจูงให้คนอืน่ เดินไปสูว่ ถิ ชี วี ติ ทีผ่ มอยากให้เป็น ผมเพิง่ ยอมแพ้เพราะมันเป็นการท�างานทีต่ กี รอบ แนวคิดของผม และไอเดียแบบนีเ้ ป็นการฆ่าตัวตายย่างแรงเพราะลูกค้าอาจไม่ปลืม้ กับไอเดียของผม ถ้าเป็นงานทีม่ ผี ใู้ ช้หลายคน ผมสามารถพิจารณากรอบของการท�างานได้อย่างเต็มทีแ่ ละได้ทา� งาน บนบริบททางความคิดทีห่ ลากหลาย อีกประเภทหนึง่ ก็คอื โครงการนัน้ เป็นงานทีท่ า� รายได้ให้กบั บริษทั หรือเป็นงานประกวด งานทีท่ า� รายได้ให้บริษทั ช่วยให้บริษทั ยังด�าเนินต่อไปได้ ช่วยจ่ายบิล สนับสนุนความก้าวหน้า ขณะเดียวกัน งานเชิงทดลอง และงานทีไ่ ด้รบั รางวัลท�าให้พวกเราตืน่ เต้น สิง่ ทีพ่ วกเราพยายามท�ามาตลอด 15 ปี ทีผ่ า่ นมาคือการหาความสมดุลทีจ่ ะสร้างความเป็นไปได้ในการผลักดันการออกแบบและมองหาการ ตกผลึกของความเป็นมาเลเซียส�าหรับการออกแบบภูมทิ ศั น์

กรณีของการออกแบบพื้นที่ส�าหรับผู้ใช้หลายคน ภูมิสถาปัตย์สามารถ ก�าหนดวิธใี ช้พนื้ ทีส่ าธารณะและปฏิสมั พันธ์ซงึ่ กันและกันระหว่างผูค้ นได้ อย่างไร?

เราค่อนข้างให้ความสนใจต่อการออกแบบภูมทิ ศั น์ เราไม่ได้สร้างสิง่ ของหรืองานศิลปะ เป็นอะไรที่ เกีย่ วกับผูค้ นและการสร้างบรรยากาศมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น โครงการสร้างสิง่ แวดล้อมของถนน ใน Sibu เราร่วมงานกับวิศวกรโยธาในการจัดระเบียบการจราจรใหม่และมอบสิทธิพเิ ศษให้แก่คน เดินถนนเพราะ Sibu เป็นเมืองทีเ่ ป็นมิตรกับคนเดินถนนมาก ในการจัดการระบบการจราจร เรายังได้ขยายถนน 4 เลนให้ตดั ตรงไปยังสวนทีอ่ ยูก่ ลางเมือง ในแง่ ของการดีไซน์ เราใช้แรงบันดาลใจจากบอร์เนียว สวนแห่งนีถ้ กู เรียกว่า สวนหมอก หมอกอ้างอิงไป ยังบริบทท้องถิน่ ของป่าฝนในบอร์เนียว ถ้าใครเคยมีโอกาสได้ไปบอร์เนียว ในตอนเช้าคุณจะเห็น หมอกลอยลงมาจนถึงพืน้ ป่า และค่อยๆ จางไปในตอนสาย เราต้องการทีจ่ ะสร้างบรรยากาศของ หมอกเอาไว้ใจกลางเมือง เรายังใช้รปู แบบของศิลปะแบบประเพณีนยิ มมาเป็นแรงบันดาลใจ เช่น การน�าเสาแกะสลักใส่ตน้ ไม้มาตกแต่งสวน การเปรียบเทียบในขัน้ ที่ 2 เกิดขึน้ ณ จุดนีเ้ อง สวนที่ ชีใ้ ห้เห็นถึงภูมทิ ศั น์ทถี่ กู ถางท�าลายอยูใ่ จกลางเมืองด้วยซากต้นไม้ทแี่ ผ่กงิ่ ก้านสาขา เสาไม้ทถี่ กู แกะ สลักข้อความมากมาย ในตอนนัน้ เราได้แรงบันดาลใจจากศิลปินทัศนศิลป์ชอื่ Wong Hoy Cheong ซึ่งข้อความกลายเป็นสะพานสื่อความหมายให้กับคนธรรมดาทั่วไปผู้ซึ่งไม่คุ้นเคยกับภาษาที่เป็น นามธรรมของตัวงาน นีเ่ ป็นอีกตัวอย่างหนึง่ ของสิง่ ต้องห้ามในการท�างานของผม ขณะทีเ่ จ้าหน้าที่ รัฐถูกเบีย่ งเบนความสนใจไปทีส่ วนหมอก เรากลับให้ความสนใจในค�าวิจารณ์ถงึ สวนแห่งนีม้ ากกว่า เมือ่ สิน้ สุดวัน สิง่ เหล่านีก้ เ็ ป็นเพียงแค่วตั ถุ สิง่ ทีเ่ ป็นเหมือนรางวัลส�าหรับการออกแบบภูมทิ ศั น์กค็ อื เมือ่ เราย้อนกลับไปดูงานบางชิน้ ทีเ่ ราเคยท�าอีกครัง้ แล้วพบว่างานของเรามีประโยชน์อย่างไร ผูค้ น เป็นตัวตัดสินในการออกแบบภูมทิ ศั น์ นัน่ เป็นสิง่ ทีค่ มุ้ ค่าทีส่ ดุ ทีจ่ ะเก็บภาพในตอนสิน้ สุดงานของ พวกเรา สิง่ เหล่านีไ้ ม่สามารถออกแบบได้ เพราะมันเป็นสิง่ ทีเ่ กือบจะหายไปในทันที เราวัดระดับ ความส�าเร็จจากวิธที ผี่ คู้ นใช้มนั และการทีผ่ คู้ นใช้มนั ในแบบทีเ่ ราไม่ได้หวังเอาไว้ โครงการทีค่ ล้ายกันอีกแห่งก็คอื สวน Sentul Park ใน Sentul ตะวันตก เช่นเดียวกัน มันไม่ใช่ การท�าให้ภมู ทิ ศั น์กลายเป็นเพียงวัตถุ แนวคิดของสวนแห่งนีไ้ ม่ใช่การทีเ่ ราจับอะไรไปใส่แต่เป็นวิธี การทีเ่ ราใช้เพือ่ ดึงจุดเด่นของสิง่ ทีม่ อี ยูแ่ ล้วเช่น ต้นไม้ หนอง บึง หรือภูมปิ ระเทศ ฯลฯ ฉากหน้า ไม่สา� คัญเท่าฉากหลัง นัน่ เป็นเหตุผลทีท่ า� ไมสิง่ ก่อสร้างและประติมากรรมถึงถูกออกแบบให้โปร่งใส และเรียบง่ายทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�าได้ หอคอยบางบางจุดในสวนช่วยให้ผคู้ นสามารถเข้าไปชมสวนได้ไม่ ว่าฝนจะตกหรือแดดจะออก เรามักถูกถามว่า “องค์ประกอบท้องถิน่ ในผลงานนีอ้ ยูต่ รงไหน?” เวลาทีเ่ ราใช้โลหะหรือแก้วซึง่ ถือ เป็นวัสดุสมัยใหม่จา� นวนมากในงานของพวกเรา ตามหลักแล้ว เราคิดถึงการใช้ไม้ซงุ หรือหลังคา มุงจาก หรือลวดลายแบบคลาสสิกเพือ่ บ่งบอกความเป็นท้องถิน่ ในกรณีนี้ เราต้องการใช้วสั ดุที่

227


คุณแสดงงานไว้เยอะเหมือนกัน ในเว็บไซต์ คุณยกพื้นที่ส่วนหนึ่งให้กับ โครงการภูมิศิลป์ชั่วคราวที่คุณเคยท�า คุณช่วยเล่าถึงงานพวกนี้ให้เรา ฟังหน่อยได้ไหม?

ท�าไมผมถึงท�าหรอ? ผมคิดว่าการแสดงงานเป็นสิง่ ส�าคัญของทุกดีไซน์สตูดโิ อ เพราะเวลาทีค่ ณุ แสดง งานคือช่วงเวลาทีค่ ณุ ได้ปลดปล่อยความคิดสร้างสรรค์ออกมามากทีส่ ดุ จิตวิญญาณการสร้างสรรค์ คือสิง่ ทีเ่ ราพยายามด�ารงรักษาท่ามกลางเมฆหมอกของทุกความคาดหวังและความต้องการจากงาน เชิงพาณิชย์ของพวกเรา การแสดงงานเป็นสิง่ ส�าคัญมาก การแสดงงานท�าให้สภาวะทีเ่ ราท�างานอยู่ ไม่เครียด งานพวกนีไ้ ม่จา� เป็นต้องคงอยูถ่ าวรและไม่มเี งินของลูกค้าเข้ามาเกีย่ ว มันคือกระบวนการ ทีย่ อมให้เราได้ทดลองสิง่ ต่างๆ ในแง่ของการแสดงงาน ผมรวมถึงการออกแบบฉากในโรงละคร ซึง่ เราเคยท�าตอนช่วงทีเ่ ริม่ งานแรกๆ ตัวอย่างการออกแบบและติดตัง้ ฉากของพวกเราให้กบั ทีมงาน ของ Five Arts Centre ชือ่ ว่า Family (ในปีค.ศ.1998) ซึง่ ไปแสดงทีม่ าเลเซีย และกรุงเบอร์ลนิ ตอนทีเ่ ราแสดงงาน เราได้ทดลองไอเดียและวัสดุเพือ่ น�าไปใช้กบั โครงการทีใ่ หญ่กว่าของพวกเรา ยกตัวอย่างเช่น ตอนไปพักผ่อนที่ Sipadan เราเริม่ เล่นกับทราย เราเอาทรายมาใส่ในถุงพลาสติก และแขวนถุงพวกนัน้ กับต้นไม้ แล้วเราก็เจาะก้นถุงให้ทรายไหลลงมาเหมือนกับเป็นน�า้ ตก งานนัน้ มีชอื่ ว่า Sandfall of Sipadan เราเก็บภาพมันไว้และไม่กปี่ หี ลังจากนัน้ งานนีก้ ลายเป็นแรงบันดาลใจ ให้กับงานเชิงพาณิชย์ของเราบางชิ้นที่ท�าให้กับห้างสรรพสินค้า แทนที่เราจะสร้างน�้าตกขึ้นมา เราไปเล่นกับไอเดียเรือ่ งน�า้ ตกทรายแทน แล้วมันก็มนั โยงไปถึงตอนทีเ่ ราไปท�างานในเมืองอย่าง อาบู ดาบี ซึง่ ทรายเป็นองค์ประกอบส�าคัญของภูมทิ ศั น์ทนี่ นั่ การแสดงงานมักรวมไปถึงการเดินทางและท่องเทีย่ ว การออกไปข้างนอก และเปิดตัวเองให้กบั สิง่ แวดล้อมใหม่ๆ และมีโอกาสจะท�าให้ได้ไอเดียใหม่ๆ การท่องเทีย่ วมีความส�าคัญกับงานของคุณอย่างไร? และคุณเดินทางไป ทีไ่ หนมาบ้าง? ตอนทีผ่ มออกจากนิวซีแลนด์ในปี 1990 ผมพักงานเพือ่ ท่องเทีย่ วอยู่ 1 ปี ตอนนัน้ หลังจากจบ

เป็นกลางแทนเพราะเราต้องการสร้างสิง่ ก่อสร้างทีโ่ ปร่งใส เราไม่อยากใช้ของแบบประเพณีนยิ ม เพราะนัน่ จะลดทอนความน่าสนใจของธรรมชาติทรี่ ายล้อมอยูซ่ งึ่ เป็นสิง่ ส�าคัญทีเ่ ราต้องการจะเน้น เหมือนกับเหล่าสถาปนิกและนักออกแบบทัง้ หลาย เราท�าให้คนเป็นรองจากพระเจ้า เหมือนที่ John Lennon พูด “เรามองสิง่ ต่างๆ ด้วยตาทีป่ ดิ แล้วเราก็เข้าใจผิดในทุกสิง่ ทีเ่ รามองเห็น” เราก�าลัง มองสิง่ ทีผ่ ดิ อยูต่ ลอดเวลา ยกตัวอย่างเช่น เราไปยังสถานทีส่ วยงามแห่งหนึง่ ซึง่ เต็มไปด้วยต้นไม้ ใหญ่ และผืนดินอันงดงาม หลายครัง้ สิง่ ทีเ่ ราท�าก็คอื เราเอารถแทรกเตอร์ไปไถ ตัดต้นไม้ และถาง พืน้ ทีน่ นั้ เพือ่ สร้างบ้าน กรณีแบบนีเ้ กิดขึน้ ทุกที่ ผมคิดว่า Sekeping Serendah คือโครงการทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ของผม โครงการนีเ้ ป็นโครงการที่ สะท้อนไอเดียเรือ่ งการทีพ่ ระเจ้ามอบผืนดินอันสวยงามแก่เรา แล้วเราจะสามารถผนวกสิง่ ก่อสร้าง เข้าไปโดยไม่ทา� ลายและในขณะเดียวกันก็ดงึ เอาความงดงามของธรรมชาติออกมาได้อย่างไร นีเ่ ป็น ข้อพิสจู น์เล็กๆ ถึงการทีเ่ ราสามารถท�าการก่อสร้างได้โดยไม่ตอ้ งตัดต้นไม้ ผมบอกเรือ่ งนีก้ บั นัก พัฒนาทีด่ นิ มาตลอด 10-15 ปีทผี่ า่ นมา แต่พวกเขาไม่รบั ฟัง Sekeping Serendah คือ ข้อพิสจู น์ ได้วา่ เป็นไปได้

การศึกษาตามแบบตะวันตก ผมค่อนข้างจะมีความคิดเอนไปทางตะวันตก ผมต้องการจะเห็นทุกสิง่ ทีถ่ กู พูดถึงในหนังสือเรียน ดังนัน้ ผมจึงเดินทางไปอเมริกาและยุโรปตะวันตก ตอนนัน้ ผมมีอายุ 30 ต้นๆ พอผมเริม่ โตขึน้ ผมกลับรับเอาค่านิยมจากทางเอเชียเข้ามามากกว่า ผมออกเดินทางไป ทัว่ เอเชีย ไปกัมพูชา ธิเบต เนปาล อินโดนิเซีย ยูนนาน ฯลฯ บอกได้เลยว่าไอเดียทีไ่ ด้มาจากการ ท่องเทีย่ วมีผลกับผมมากเลยในตอนนี้ ในแง่ของภูมศิ ลิ ป์ชวั่ คราวทีผ่ มท�าขึน้ ระหว่างเดินทาง ผมสนใจว่าจะท�าให้เศษเสีย้ วของภูมทิ ศั น์นนั้ เป็นทีจ่ ดจ�าขึน้ มาได้อย่างไร เวลาเราไปเทีย่ วเราจะมีสถานทีท่ จี่ ดจ�าได้อย่างชัดเจน การสร้างสรรค์ วัตถุหรืองานศิลปะบนภูมิทัศน์เหล่านี้คือความพยายามของผมที่จะท�าให้จดจ�าสถานที่แห่งนั้นได้ อย่างขึน้ ใจ เพราะการทีผ่ มไปเยือนสถานทีน่ นั้ ๆ ผมยังได้สร้างเอกลักษณ์ให้กบั ภูมทิ ศั น์กว้างใหญ่ ของผมอีกด้วย Sekeping Serandah โครงการทีแ่ สดงให้เห็นถึง ความสามารถของ Seksan ในการออกแบบและ จัดการพืน้ ทีป่ า่ โดยไม่มกี ารตัดต้นไม้ทมี่ อี ยูเ่ ดิมทิง้ ไป

229


สิง่ ทีผ่ มอยากท�ายังรวมถึงการได้ทงิ้ บางสิง่ เอาไว้ให้คนอืน่ ๆ มอง รูส้ กึ สนุกและเก็บเอาบางสิง่ มาด้วย ส�าหรับ Trash Vortex ไอเดียคือการท�าให้ขยะเป็นมากกว่าขยะ นัน่ เป็นส่วนหนึง่ ของแก่นปรัชญา ทีพ่ วกเรายึดในการออกแบบภูมทิ ศั น์ คือการท�าให้สงิ่ หนึง่ มีคา่ ขึน้ มา หรือการน�าสิง่ ทีธ่ รรมดามาแปร สภาพให้เป็นอย่างอืน่ ด้วยสายตาทีผ่ า่ นประสบการณ์ของพวกเรา เราสามารถแปรขยะและสิง่ ของ เหลือใช้ให้กลายมาเป็นงานศิลปะ เพราะเราท�าความเข้าใจคุณสมบัตทิ แี่ ท้จริงของวัสดุตา่ งๆ และ น�ามันมาใช้ในงานตกแต่งภูมทิ ศั น์ของพวกเรา เรือ่ งพวกนีเ้ ป็นสิง่ ทีเ่ ราเรียนรูจ้ ากการแสดงงาน คุณยังเป็นนักสะสมงานศิลปะร่วมสมัยจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตวั ยง คอลเล็คชัน่ สะสมของคุณมีทงั้ งานทีน่ า่ ตืน่ ตามากทีส่ ดุ และงานของศิลปิน มีชอื่ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบนั อะไรเป็นเหตุผลทีท่ า� ให้คณ ุ เริม่ สะสม?

ตอนทีผ่ มเริม่ สะสมเป็นยุคทีผ่ มได้แรงบันดาลใจมาจากงานศิลปะ ‘ช่วง Martha Schwartz’ ผมได้ เห็นงานอินสตอลเลชัน่ งานเพอร์ฟอร์แมนซ์ และงานศิลปะจ�านวนมาก การคลุกคลีกบั โลกศิลปะ อย่างมากนีเ่ อง เลยเป็นเรือ่ งธรรมชาติให้เราสะสมงานพวกนีบ้ างชิน้ การสะสมเริม่ ขึน้ จากความ ต้องการใช้งานศิลปะเป็นแรงบันดาลใจให้กบั งานภูมทิ ศั น์ของพวกเรา โดยใช้ภาพเขียนหรืองาน ประติมากรรมมาเป็นแรงบันดาลใจให้ ในแง่ทวี่ า่ ภาพเขียนให้แรงบันดาลใจได้อย่างไรนัน้ ส่วนใหญ่มากจากจุดยืนทางปรัชญา ยกตัวอย่าง เช่น จิตรกรสมัยใหม่รนุ่ บุกเบิกอย่าง Latiff Mohidin ท�าการส�ารวจอัตลักษณ์และสุนทรียศาสตร์รว่ ม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านผลงานชุด Pago-pago ของเขา ซึง่ เป็นตัวอย่างวิธคี ดิ ทีผ่ มชอบ มาก สิง่ ทีผ่ มได้รบั จากภาพเขียนนัน้ อาจไม่ใช่สงิ่ ทีม่ องเห็นเป็นรูปธรรมชัดเจนนัก แต่มปี รัชญาแฝง ทีข่ บั เคลือ่ นมันอยู่ ทีส่ ดุ แล้วมันคือการยอมให้สงิ่ เล็กๆ มาสร้างผลกระทบอันยิง่ ใหญ่ อีกตัวอย่างหนึง่ ก็คอื ระบ�าบาหลีและการร�าไทย เพราะมันเป็นศาสตร์และการแสดงทีเ่ ป็นไปอย่าง เชื่องช้า ซึ่งแค่การกระพริบตาหรือกรีดนิ้วก็สื่อถึงความหมายได้มากมาย ยกตัวอย่างเช่นเครื่อง ดนตรีในวงมโหรี ซึง่ บรรเลงโดยใช้แค่โน้ตเพียง 6 ตัว ทีส่ ดุ แล้วมันเกีย่ วข้องกับการเคลือ่ นไหว เพียงเล็กน้อย เกีย่ วกับรายละเอียด เวลาทีค่ ณุ ท�าให้อะไรหมุนช้าลง คุณจะรับรูท้ กุ การเคลือ่ นไหว ของสิ่งนั้น ผมคิดว่านี่คือสิ่งที่เกี่ยวข้องกับภูมิสถาปัตย์แบบเอเชีย มันจะแสดงให้เห็นตัวมันเอง อย่างไรใน 10 หรือ 20 ปี อันนีผ้ มไม่ทราบ แต่อย่างน้อยส�าหรับผมสิง่ เหล่านีก้ า� ลังส่งสัญญาณ บางอย่าง เราต้องการสร้างสิง่ แวดล้อมทีน่ า่ อยู่ พืน้ ทีซ่ งึ่ เชือ่ มโยงคุณค่าบางอย่างทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ใน อัตลักษณ์ ของความสัมพันธ์ ของครอบครัว และความห่วงใยซึง่ กันและกันในวิถชี วี ติ ของพวกเรา น่าเสียดายทีก่ ารพัฒนาทางกายภาพของพวกเราได้รบั อิทธิพลมากจากอเมริกา ยกตัวอย่างเช่น ประตูรกั ษาความปลอดภัย ซึง่ เป็นการตอบสนองความหวาดระแวงของผูบ้ ริโภคอย่างผิดๆ ด้วย ระบบรักษาความปลอดภัยที่กีดกันออกจากสังคมรอบข้างแทนที่จะรวมตัวกันไว้ สิ่งที่พวกเราท�า เราถูกชนชั้นปกครอง เหล่าข้าราชการ และสถาปนิกครอบง�าอยู่ ผมท�างานเหล่านี้ทั้งหมดเพื่อ เป็นเครื่องหมายถึงการวิพากษ์วิชาชีพของผมผ่านถ้อยแถลงเกี่ยวกับอีกหนทางหนึ่งในการด�ารง ชีวติ ของพวกเรา

“At the end of the day, these are just objects. What is most rewarding for landscape architecture when revisiting some of our projects is to see how it is utilised.” local

231 231


First published in art4d 168, March 2010.

Mathieu Lehanneur experience

cross-

upcycling


“When a designer starts to make a chair, I think it is my job to find experience a way to absorb the side effect of this chair.” disciplinary

Can you start by telling us about how you started designing after you graduated, how did you generate your designs after finishing school? Just after school, I didn’t want to work for an office or for a company. I wanted to try to remain independent and freelance. So, I first tried to produce my project on medical design but as you can understand, the pharmaceutical industry is very hard; they are very powerful and they are not interested in design. So my project on medicine became a part of the Museum of Modern Art in New York and after that I got many contacts. I was also following my research on the relationship between objects and human beings. In the beginning I was alone in my office and then had one assistant, then another, and so on. So, it was step by step but today I am very happy. What about your most recent projects, what are you trying to do now? Currently, I am working on many projects. I am working on a new space for the Centre Pompidou, Paris, and it is a new space for teenagers. In Centre Pompidou, you have workshops for children but no space for teenagers. This is a very interesting population for a museum like the Centre Pompidou so they asked me to design a new space for teenagers. I am also working for, maybe you saw this product in the presentation – it is an object that is able to spray a kind of micro energy of water and its not really hi-tech stuff. It is the most ancient element of water sealing that is efficient for health. So, this is a kind of liquid containing some minerals with some mechanical elements, and this product can be displayed on your desk, for example, and in five or ten minutes it will spray a kind of fog, a kind of mist, and you will breathe it and it will improve your immune system. Also, I am currently working for a company in South Korea to produce some products: air filters, as well as a water dispenser. Today, my work is industrial design and for art galleries. I am working for a gallery in London called the Carpenter’s Workshop Gallery, and for restaurants in Centre Pompidou. So, this is a great range of products and projects and this is a very good thing for me because I am definitely not specialized in these kinds of things, but I am working on a very technological product. At the same time, I am working for interior design for a church, a very old church, so this is a very good thing for my studio.

Studio 13/16 (2010) Paris, France 235


And, in my opinion after seeing your presentation, I can see you are trying to blend human beings, technology, and nature. I mean, as compared with other speakers, they are still concentrating on technology and materials instead of human beings and nature. What is the idea behind that? The idea behind this is very simple and very essential. Design is useful only for human beings. In the first steps of many projects, I made some partnerships with scientists to really understand what human beings are, in their brains, in their bodies, in their feelings, in their physiology. So, I start to understand these kinds of things and after that it is easier and more coherent to be able to create a good product for this person. In my first project on medicines, I did not want them to create a beautiful shape with chemistry of science. My goal was to understand the relationship between a person and a patient and his or her treatment, when do they want to take it and when they don’t want to take it, when they believe in it, and when they stop to believe in it. All these kinds of things are very interesting to me. And, nature is the same aspect. So, nature is definitely useless if you just want to create some figurative aspect in your home. Of course, if you put a plant on this table, so what? Nature is very interesting in our lives. We use it like an ecosystem. When I use a plant, it is not just to create a beautiful object, but I want to use nature and the technology to improve these kinds of things.

We also had a conversation with Patrick Blanc this morning and saw his Vertical Garden. It is something like you are coming at the right place and the right time when people are aware about nature more than ever. By the way, what do you think about the future of industrial design, especially ecological design? I am going to tell you a short story. When I started working on Andrea, that is the leading air filter, it was around two or three years ago. Three years ago, and at this time in France and in Europe, I don’t know about Thailand, but nobody was aware of indoor air quality. Of course, some air filters already existed at the time but nobody was aware of it. And, I didn’t start to work on this project to say that I wanted to have big success for my product because nobody was interested in this kind of a thing. So, I just wanted to find a way to absorb the side effects of the product that other designers can make. When a designer starts to make a chair, I think it is my job to find a way to absorb the side effect of this chair. A lot of designers are never at the same time with the market. Sometimes you feel you are just a little bit forward than the market. The first time I showed these prototypes, one day before that I was thinking, “Okay, I am just a little forward from the market and from people’s behavior.” But as soon as the project was shown, I received many e-mails from customers, retailers, investors, telling me, “Oh, we are interested and we want to purchase it.” But the project was a prototype and was not available in the market. So, this is always a game - you are forward and then you are not. But what would the future be? I don’t know. I was just thinking that a lot of products will disappear, and I hope not. But I do hope many will consider that we do not need to get many, many products, and to be more aware about the kind of invisible thing like indoor pollution, for example, like their facilities, like their sleeping [environment]. I hope there will be more focus on very few objects, the very few projects that are able to improve their lives and are not just interesting in terms of showing to their friends. So, I just hope your and my future will be more in the less than more in the more. In general, people who might look at your products are in the hospital, the clinic, or in a sanitized space. What are you trying to do exactly? Is it just to kind of introduce your design to the everyday life of people? dB (2006)- a household appliance that absorbs the excess noise from the source by emitting white noise.

237


I hope there will be more focus on very few objects, the very few projects that are able to improve their lives and are not just interesting in terms of showing to their friends.

I do not think my products look like hospital ones. I do not think so. And, I hope they do not look like hospital products. If you go to the hospital, you will see what the products and the machines are like - whoa! They are awful, huh? So impressive, so serious! But an object like Andrea, it is just a toy. It is just an artificial bed. It’s not like a huge machine. But you are right, the technology and the research I did to create this product often came from medicine research, or military research, or from astronautical research. But my way of thinking is that this technology seems to be very interesting in the spacecraft for astronauts, but we have the same problem at home because we are living in a kind of spacecraft. The materials are exactly the same. It’s the same problem, so why don’t you use this research or this technology for daily life. And, of course, this is the reason why during my speech I said, “Please do not read too many design magazines” because the answers and too many questions come from magazines, and because inspiration can come from research on medicine, or on military. So, it is more interesting for designers to read some magazines and books coming from other fields than coming from our own field. Yours is a good magazine as well. (laughs) Reading a design magazine is perfect for after work, but not during the project.

So what kind of technicians or what kind of different professionals do you collaborate with quite often when you design? The scientist I collaborated with for Andrea, for example, is an engineer professor at the University of Auburn and a specialist in…oh, it is too hard to explain because I am definitely not a scientist, but he works on the mathematics of the street, of the air and the particles of air. A few years ago, I collaborated with a specialist of light therapy. In the military field, there is a specialist in France working on a way to improve the concentration of airplane pilots for the military. They are trying to find a way, by using light and not drugs, to be able to improve their concentration and fly a plane for four or five hours; to be so focused on their target, or so focused on their mission. So, what I am working on is a product that is able to provide the right light in the right quantity to improve your brain capacity. I met him in order to understand, in order to be able to use light in a good way. What is fantastic is that even these kinds of scientists, and they are so smart and clever and so busy, when you call them, when you e-mail them, nine or ten times for examples, they answer you. And, they are okay to meet you and to help you and to collaborate with you. They do not ask me for money, but they are so interested to find a person in another field who is interested in their specialty. Can you explain in detail, some samples of your design? Maybe the last one I saw. It’s like a bowl with a tree. It is Andrea, right? What about its function? The problem of indoor pollution is that all the objects, this sock, this sofa, the foam inside the sofa, this table, all these kinds of things are made from materials coming from oil, petrol, and from chemistry. And, even if they were produced five, ten, fifteen years ago, they are continuously emitting some invisible pollution. This pollution, all the scientists agree today, is more dangerous, more toxic, than outer pollution. So this is the beginning of the project and after that, I read many science magazines and science books telling about some plants that are able to absorb those toxic elements. After that, I met the scientist and we read many articles explaining that the efficiency of the plant is not in the leaves, but in the roots. So the plant alone is definitely

239


Do you think your product is going to help our environment, I mean our everyday life environment, to be more sustainable? Not more sustainable. My focus is really on the human being and it is not a vision for the Earth. It’s too huge for me. My first step is, “Oh, can I improve daily life? “And, maybe make people live longer.” Why not? Maybe with Andrea, and I don’t know, you don’t know, nobody can know, but maybe we are going to live ten years longer.

not efficient. My goal was, maybe, as a designer, I could try to improve the efficiency of this plant. After that, the idea is so simple. It just consists of forcing air to go to the roots and through the soil to be completely cleanedup. And, this is so difficult to explain, and maybe with this object… maybe I failed in my design job because this object seems so simple, so many people just think that this object just makes the air go through the leaves, so why am I going to buy this? I just need to get the right plant at home and that’s all. But the system is more complex. The air comes in, but it goes through the soil and through the roots. The object doesn’t show this way of air circulation, so maybe I have to redesign it just to explain that even if it is with a simple plant, even if it is not expensive, it is like a fan and the aircirculation is so complex, and this is a way to really absorb the pollution in air.

Last question, what do you think about product design or industrial design today? I met people from Oregon Scientific yesterday morning because I would like to collaborate with them, and they showed me all the weather stations. They have a catalog of around one hundred weather stations. It’s stupid to have a hundred weather stations. Some of them are so designed, and some of them are so traditional. Some of them are so technological and some are so sporty. But it is the same weather for everyone. So, we are living in a world, and its the same one with Oregon Scientific, but all the competitors try to, and it’s too confusing for me as a designer, think in the same way. They think about the population of Asia, of Europe, of the world, in this kind of a bucket: old people, young people, and kids, and then try to make products for all these different kinds of people. But I think this way of thinking is so old-school. It’s so marketing. It’s so stupid and I take the example of the weather station. You and I prefer when the sun is shining, and you and I would like to know what the weather will be tomorrow. We don’t need to get the choice from more than one hundred stations. It’s just one company, just Oregon Scientific. But I try to make some products that are liked by children, adults, girls, boys, old people, and by people from China, or from U.S.A. So, I never try to give a style, to give a shape for these kinds of people. I think they are going to love it. I try to make a good shape for a good product and I hope it can raise the interest of many people. Thank you very much. Okay. Thank you so much.

241


ช่วยเล่าถึงการท�างานของคุณหลังจากช่วงเรียนจบแล้วให้ฟงั หน่อยได้ไหม อย่างพวกรูปแบบหรือทิศทางในงานออกแบบคุณเป็นอย่างไร?

ตอนเรียนจบผมไม่อยาก ท�างานประจ�าอยากเป็นฟรีแลนซ์หรือท�างานคนเดียวมากกว่าผมลอง ท�าโปรเจ็คต์สว่ นตัวเกีย่ วกับ Medical Design แต่กอ็ ย่างทีค่ ณุ เห็น มันยากทีค่ ณุ จะสร้างอะไรที่ น่าสนใจให้กบั อุตสาหกรรมด้านเภสัชศาสตร์ ธุรกิจด้านนีม้ นั แข็งแรงในตัวเองอยูแ่ ล้ว แถมพวกเขา ไม่ได้แคร์เรือ่ งดีไซน์เสียเท่าไหร่ ตอนนัน้ ผมท�าโปรเจ็คต์กบั Museum of Modern Arts ทีน่ วิ ยอร์ก ซึง่ ก็รจู้ กั คนเยอะขึน้ จากโปรเจ็คต์นี้ จากนัน้ ก็ท�าวิจยั ต่อเนือ่ งเรือ่ งความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั ตัว วัตถุ ผมเริม่ จากท�างานคนเดียว ต่อมาก็มผี ชู้ ว่ ย และขยายสเกลขึน้ เรือ่ ยๆ จนทุกวันนี้ ก็แฮปปีด้ คี รับ แล้วตอนนีค้ ณ ุ ก�าลังท�าโปรเจ็คต์อะไรอยู?่

Born in 1974 in Rochefort, France, Mathieu Lehanneur graduated from French National School for Industrial Design, ENSCI-Les Ateliers in 2001, and then opened his own studio dedicated to industrial design and interior architecture. Impressed by science’s ability to investigate the human being, Lehanneur quickly developed a real passion for interactions between the body and its environment, living systems and the scientific world. In 2009, Lehanneur founded Everything But The Molecules, a company specializing in design solutions for the pharmaceutical industry in USA. Between 2004 and 2008, Lehanneur was also the ‘Design and Research’ postgraduate manager at l’Ecole Superieur d’Art de Saint-Etienne. He is known for his modernist designs that combine advanced technology and nature in his creations without sacrificing aesthetics and style. His early works focused on the design of medical objects aimed to improve patient compliance to medications. His projects are part of several permanent museum collections including MoMA New York, MoMA San Francisco, FRAC Ile-de-France in Paris, and Musee des Arts Decoratifs in Paris.

มีโปรเจ็คต์หลายชิน้ ในมือผมตอนนี้ ผมท�างานให้กบั Centre Pompidou ทีป่ ารีส เป็นพืน้ ทีใ่ หม่ สร้างขึ้นส�าหรับกลุ่มวัยรุ่น เพราะว่าถ้าเป็นพื้นที่ที่ใช้อยู่ปัจจุบันนั้น มีแค่พื้นที่เวิร์กช็อปส�าหรับ เด็ก แต่กลับไม่มพี นื้ ทีส่ า� หรับวัยรุน่ ซึง่ ถือว่าเป็นกลุม่ ประชากรทีน่ า่ สนใจส�าหรับพิพธิ ภัณฑ์อย่าง Centre Pompidou มากทีเดียว นอกนัน้ ก็มโี ปรดักท์ทสี่ ามารถพ่นละอองน�า้ ขนาดเล็กมาก ซึง่ ก็ไม่ใช่ เทคโนโลยีใหม่อะไร มันเป็นเทคนิคทีใ่ ช้กนั ในสมัยก่อนด้วยซ�า้ ทีเ่ ขาใช้นา�้ ชโลมร่างกายเพือ่ สุขภาพ ดังนัน้ โปรดักท์ชนิ้ นีจ้ ะเป็นของเหลวทีเ่ ต็มไปด้วยแร่ตา่ งๆ การใช้หรือติดตัง้ ก็คอื คุณอาจตัง้ ไว้บน โต๊ะท�างาน ทุกๆ 5 หรือ 10 นาที ไอ้เครือ่ งนีก้ จ็ ะพ่นไอละอองน�า้ ซึง่ คุณก็สามารถสูดเข้าไป มัน จะช่วยพัฒนาระบบภูมิคุ้มกันของคุณให้ดีขึ้น มีงานออกแบบเครื่องกรองอากาศและตู้กดน�้าดื่ม ให้กบั บริษทั ทีเ่ กาหลีใต้ ถ้าถามว่าทุกวันนีผ้ มท�าอะไรบ้าง คงแบ่งได้เป็นสองส่วนใหญ่ หลักๆ ก็มี งาน Industrial Design และงานแกลเลอรีศ่ ลิ ปะน่ะครับ ผมท�างานให้กบั Carpenter’s Workshop Gallery ทีล่ อนดอน มีงานออกแบบให้กบั ร้านอาหารใน Centre Pompidou โปรเจ็คต์ทผี่ มท�าอยู่ มันกว้างมาก ซึง่ ก็เป็นข้อดีสา� หรับตัวผมเอง เพราะผมไม่ได้เชีย่ วชาญด้านใดด้านหนึง่ แต่ทแี่ น่ๆ ผมถนัดเรือ่ ง Technological Product นอกจากนีก้ ย็ งั มีโปรเจ็คต์ออกแบบภายในให้กบั โบสถ์เก่า ก็ถอื ว่าเป็นอีกงานทีน่ า่ สนใจส�าหรับสตูดโิ อผม

Bucky’s Nightmare (2009) ผลงานทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจ จากโดม Geodesic ของ Buckminster Fuller 243


หลังจากได้ฟงั คุณบรรยาย ผมรูส้ กึ ว่าคุณพยายามทีน่ า� มนุษย์ เทคโนโลยี และธรรมชาติมารวมเป็นเรือ่ งเดียวกัน ต่างจากนักออกแบบคนอืน่ ๆ ทีม่ า พูดในงานนี้ ซึง่ เน้นแต่เรือ่ งของเทคโนโลยีและวัสดุ ช่วยเล่าให้ฟงั ถึงไอเดีย เหล่านีห้ น่อยได้ไหม?

มันเป็นไอเดียทีด่ งู า่ ยๆ แต่กเ็ ป็นเรือ่ งทีส่ า� คัญนะครับ งานออกแบบจะมีคณุ ค่าก็ตอ่ เมือ่ มันถูกสร้าง เพือ่ ให้มนุษย์ได้ใช้งานได้จริง ถ้าผมจะสร้างโปรดักท์หรือของเล่นขึน้ มาซักชิน้ เพือ่ ให้คนได้ใช้งาน ผม ก็ตอ้ งเข้าใจว่าจะสร้างขึน้ มาเพือ่ อะไร มันไม่ใช่เฉพาะแค่เรือ่ งของผูบ้ ริโภคเวลาผมเริม่ โปรเจ็คต์ตา่ งๆ จะเป็นการท�างานร่วมกับนักวิทยาศาสตร์ เพือ่ เข้าใจมนุษย์มากขึน้ ว่าพวกเขาก�าลังคิดอะไร เข้าใจ การท�างานของร่างกาย อารมณ์ความรูส้ กึ รวมถึงเรือ่ งทางกายภาพด้วย ซึง่ เราจะท�างานง่าย ขึน้ เพราะเรามีจดุ เชือ่ มโยงทีส่ ามารถสร้างโปรดักท์ทดี่ ขี นึ้ ซักชิน้ ส�าหรับผูใ้ ช้งาน อย่างตอนทีผ่ มท�า โปรเจ็คต์ยาในช่วงแรก ผมไม่ได้เริม่ จากการสร้างรูปแบบทีด่ ดู นี ะ เป้าหมายคือการท�าความเข้าใจ ถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล คนไข้ และการรักษา อาทิ เมือ่ ไหร่ทคี่ ณุ ต้องการหรือไม่ตอ้ งการใช้ งานมันหรือเมือ่ ไหร่ทคี่ ณุ มีความเชือ่ มัน่ หรือไม่เชือ่ มัน่ อีกต่อไปในตัวโปรดักท์นนั้ ๆ ซึง่ ก็เป็นเรือ่ ง เดียวกันกับธรรมชาติ เพราะธรรมชาติจะไม่มคี วามส�าคัญเลยหากคุณแค่สร้างวัตถุซกั ชิน้ เพือ่ ตัง้ ไว้ ในบ้าน เหมือนคุณเอาต้นไม้มาตัง้ บนโต๊ะตัวนีแ้ ล้วไงต่อล่ะ? ธรรมชาติสา� คัญต่อชีวติ เรามากมัน ก็เหมือนระบบนิเวศวิทยา เมือ่ น�าต้นไม้เข้ามาใช้ มันไม่ใช่แค่เรือ่ งของการสร้างฟอร์มทีส่ วยให้แก่ วัตถุ แต่ผมต้องการใช้ธรรมชาติและเทคโนโลยีนา� มาพัฒนาร่วมกันต่างหาก เมือ่ เช้านีเ้ ราได้คยุ กับ Patrick Blanc คุยกันเรือ่ ง Vertical Garden ของเขา กรณีของ Patrick ดูแล้วก็เหมือนกับคุณทีส่ ร้างงานขึน้ แบบถูกจังหวะมาก เพราะคนต่างตืน่ ตัวกับเรือ่ งธรรมชาติ แล้วคุณคิดอย่างไรกับอนาคตของ Industrail Design โดยเฉพาะงานในเชิง Eco Design? ผมจะเล่าแบบย่อๆ ให้ฟงั นะ เมือ่ 2-3 ปีกอ่ น ตอนทีผ่ มเริม่ ท�า Andrea ตัวเครือ่ งกรองอากาศ ช่วงนัน้

ในฝรัง่ เศสหรือแม้แต่ในยุโรป ซึง่ ผมไม่รวู้ า่ ในเมืองไทยด้วยหรือเปล่า ตอนนัน้ ยังไม่มใี ครใส่ใจเรือ่ ง คุณภาพของอากาศภายในแน่นอนมันก็มกี รองอากาศแล้วล่ะ แต่กไ็ ม่มใี ครใส่ใจเท่าไหร่ ผมไม่ตอ้ งการ ท�าเพือ่ ให้ดงั เพียงเพราะไม่มคี นเล่นเรือ่ งนีม้ าก่อน ผมอยากท�าความเข้าใจเรือ่ งผลกระทบจากโป รดักท์ชนิ้ นีเ้ พือ่ เป็นการต่อยอดให้แก่ดไี ซเนอร์คนอืน่ ๆ อย่างถ้ามีดไี ซเนอร์ออกแบบเก้าอีต้ วั หนึง่ หน้าทีผ่ มก็คอื การหาผลกระทบของเก้าอีต้ วั นัน้ ดังนัน้ หน้าทีข่ องเราต่างกัน ดีไซเนอร์หลายคนไม่ ใส่ใจเรือ่ งของตลาด ท�าให้บางครัง้ เขาอาจรูส้ กึ ว่าเขาล�า้ หน้าตลาดไปหนึง่ ก้าว ก่อนหน้าหนึง่ วันที่ ผมจะเสนองานต้นแบบชิน้ นี้ ผมคิดว่าเราก�าลังก้าวล�า้ หน้าตลาดและพฤติกรรมการบริโภคของ ผูค้ นไปอีกหนึง่ ก้าว แต่หลังจากงานเปิดตัว ผมได้รบั อีเมลจากทัง้ ลูกค้า บรรดาร้านค้าต่างๆ และ นักลงทุน บอกว่าสนใจแล้วก็อยากจะซือ้ โปรดักท์ตวั นีม้ าก แต่ตอนนัน้ มันยังเป็นงานต้นแบบอยูเ่ ลย ไม่สามารถจ�าหน่ายได้ จากช่วงเวลาทีค่ ณุ คิดว่าคุณก�าลังล�า้ หน้าตลาด กลายเป็นว่าคุณช้าไปหนึง่

เครือ่ งฟอกอากาศทีก่ รองมลพิษ ทีเ่ กิดขึน้ ในห้องด้วยรากของต้นไม้

ก้าวแล้ว เพราะโปรดักท์ชนิ้ นีเ้ ริม่ เป็นทีต่ อ้ งการของตลาด ผมเองก็ทา� อะไรไม่ได้ เรามีตวั อย่างงาน แค่ชิ้นสองชิ้นเอง ที่คุณถามว่าอนาคตจะเป็นอย่างไรน่ะเหรอ? ผมคงตอบไม่ได้ผมเคยคิดว่า โปรดักท์หลายชิน้ จะค่อยๆ หายไปก็ได้แต่หวังว่าคงไม่เกิดขึน้ ผมอยากให้มคี นคิดว่าเราไม่ตอ้ งการมี โปรดักท์มากมายไปมากกว่านีแ้ ล้วก็จะคิดถึงเรือ่ งทีเ่ รามองไม่เห็นอย่างพวก Indoor Pollution มาก ขึน้ ผมอยากให้เราขมวดโฟกัสของเราให้เล็กลง หันมาสนใจกับโปรดักท์หรือโปรเจ็คต์ทสี่ ามารถ พัฒนาชีวติ ของชีวติ เราได้จริง ไม่ใช่แค่ตวั งานทีห่ วือหวาหรือเอาไว้โชว์ ผมได้แต่หวังว่าอนาคตของ เราจะเริม่ ลดทอนสิง่ ทีไ่ ม่จา� เป็นออกไปมากขึน้ หลายคนมองว่ า โปรดั ก ท์ ข องคุ ณ นั้ น ถู ก สร้ า งขึ้ น เพื่ อ พื้ น ที่ อ ย่ า ง โรงพยาบาล คลินคิ หรือพืน้ ทีอ่ นามัยต่างๆ คุณพยายามน�าเสนออะไรกัน?

ผมไม่เคยคิดว่างานโปรดักท์ผมเข้ากับโรงพยาบาลนะ แล้วก็หวังว่ามันจะไม่เหมือนโปรดักท์ทเี่ ขา ใช้กนั ในโรงพยาบาลด้วย ถ้าเทียบกับ Andrea ดูเหมือนของเล่นไปเลย คือมันไม่ได้เป็นอุปกรณ์ที่ ใหญ่โตมโหฬารอะไร แต่ทคี่ ณุ พูดก็ถกู นะ คือบรรดางานเทคโนโลยีหรืองานวิจยั ทีผ่ มท�า ส่วนใหญ่ ก็มาจากงานวิจยั ทางการแพทย์และทางการทหาร หรืองานวิจยั ทางอวกาศ แต่วธิ คี ดิ ของผมก็คอื เทคโนโลยีเป็นเรือ่ งส�าคัญในยานอวกาศส�าหรับนักบินอวกาศ แต่เราก็เจอปัญหาแบบเดียวกันทีบ่ า้ น เราเองนีแ่ หละ เพราะเราก็ใช้วสั ดุเดียวกัน มันคือปัญหาเดียวกัน แล้วท�าไมเราจะน�างานวิจยั หรือ เทคโนโลยีชนิ้ นีม้ าใช้ในชีวติ ประจ�าวันไม่ได้ นัน่ ก็คอื เหตุผลว่าท�าไมผมถึงได้พดู ว่า “อย่าอ่านนิตยสาร ออกแบบให้มากนัก” เพราะว่าบรรดาค�าตอบและค�าถามต่างๆ นัน้ มาจากพวกนิตยสารเหล่านัน้ ซึง่ แท้จริงแล้วแรงบันดาลใจสามารถมาจากการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์หรือด้านทหารก็ได้ มันน่า สนใจกว่าไหมทีด่ ไี ซเนอร์จะหันมาอ่านนิตยสารและหนังสือทีต่ า่ งแขนงกันไป แต่นติ ยสารของคุณก็ ดีเหมือนกันนะ (หัวเราะ) คือคุณควรอ่านหลังจากทีง่ านคุณเสร็จ แต่ไม่ใช่ตอนทีค่ ณุ ก�าลังสร้างงาน 245


ช่วยอธิบายถึงรายละเอียดหรือตัวอย่างงานออกแบบของคุณให้เราฟัง หน่อยสิครับ อืม... อย่าง Andrea มีฟงั ก์ชนั่ อะไรบ้างครับ?

ปัญหาของ Indoor Pollution มาจากบรรดาวัตถุตา่ งๆ ภายในบ้าน ไม่วา่ จะเป็นถุงเท้า โซฟา โฟมในโซฟา หรือโต๊ะ พวกมันล้วนผลิตจากวัสดุประเภท น�า้ มัน น�า้ มันปิโตรเลียม หรือสารเคมี บางชนิด ถึงจะผ่านไปเป็นสิบๆ ปี มันก็ยงั ปล่อยสารพิษทีเ่ ราไม่สามารถมองเห็นได้ออกมาอยูด่ ี นักวิทยาศาสตร์เองต่างก็ออกมายอมรับว่าสารพิษพวกนีร้ า้ ยกว่ามลพิษข้างนอกเสียอีกนีค่ อื ทีม่ าทีไ่ ป ครับ ผมอ่านนิตยสารและหนังสือวิทยาศาสตร์หลายเล่ม ก็เจอว่ามีตน้ ไม้บางชนิดทีส่ ามารถดูดซึม สารพิษพวกนีไ้ ด้ จากนัน้ ผมได้พบนักวิทยาศาสตร์คนหนึง่ เราได้รว่ มศึกษาและอ่านบทความหลาย ชิน้ ซึง่ อธิบายว่าประสิทธิภาพของต้นไม้เหล่านีไ้ ม่ได้อยูท่ ใี่ บแต่อยูท่ รี่ ากของมันต่างหาก มีแค่ตวั ต้น อย่างเดียว ก็ไม่ได้ชว่ ยอะไร ในฐานะของนักออกแบบผมสามารถพัฒนางานชิน้ นีใ้ ห้มปี ระสิทธิภาพ อธิบายยากครับ หรือผมอาจออกแบบไม่ดีก็ได้ เพราะ Andrea ดูเรียบง่ายมาก ดังนั้นผู้คนอาจ คิดว่ามันเป็นแค่ผลิตภัณฑ์ทสี่ ร้างอากาศไหลเวียนผ่านใบไม้ แล้วจะซือ้ ท�าไม งัน้ ก็ไปหาต้นไม้ทชี่ อบ แล้วมาใส่ในบ้านไม่ดกี ว่าเหรอ แต่ตวั ระบบภายในค่อนข้างซับซ้อนน่ะครับ เพราะอากาศไหลเข้ามา ผ่านดินลงไปยังราก คือตัวงานไม่ได้โชว์ระบบการไหลเวียนของอากาศ ผมอาจต้องลองออกแบบใหม่ เอาทีส่ ามารถอธิบายตัวระบบนีไ้ ด้ ท�าให้เห็นว่ามันช่วยดูดซับมลพิษภายในได้อย่างไร คุณคิดว่างานของคุณจะสามารถช่วยแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมไหม คือใน แง่ของงานออกแบบทีย่ งั่ ยืนน่ะ? ผมค่อนข้างอิม่ ตัวกับเรือ่ งนี้ โฟกัสของผมมันเกีย่ วข้องกับมนุษย์จริงๆ ไม่ได้เป็นสเกลใหญ่หรือ

ปัญหาโลก มันใหญ่เกินตัวผม ผมอยากเริม่ จากจะท�าอย่างไรให้มคี ณุ ภาพชีวติ เราดีขนึ้ ซึง่ อาจช่วย ให้เรามีอายุยนื มากขึน้ ตัว Andrea เองก็อาจช่วยได้ ไม่มใี ครรูห้ รอก บางทีเราอาจมีอายุยนื ขึน้ อีก สัก 10 ด้วยงานชิน้ นีก้ เ็ ป็นได้ ใครจะรู้ คงเป็นค�าถามสุดท้ายแล้ว คุณคิดอย่างไรกับงานโปรดักท์ดไี ซน์หรืองาน ออกแบบอุตสาหกรรมในปัจจุบนั ?

เมือ่ วานเช้าผมเจอคนจาก Oregon Scientific ผมอยากจะร่วมงานกับพวกเขา เขาโชว์แคตตาล็อค ทีเ่ ต็มไปด้วยช่องข่าวพยากรณ์อากาศ มีสกั ร้อยช่องมัง้ ส�าหรับผมมันดูงเี่ ง่าทีค่ ณุ จะมีชอ่ งพยากรณ์ อากาศ 100 ช่องท�าไม ในเมือ่ มันก็เป็นเนือ้ หาพยากรณ์อากาศแบบเดียวกัน บางอันก็ดดู ไี ซน์จา๋ บางอันก็ดเู ชยๆ บางอันก็เทคโนโลยีสดุ ๆ คือเราก็อยูบ่ นโลกใบเดียวกับ Oregon Scientific นัน่ แหละครับ แต่พวกเขาคิดถึงคนในเอเชีย ยุโรป หรือทัง้ โลกนี้ ซึง่ ก็เหมือนกับกระป๋องใบใหญ่ทมี่ ี ทัง้ คนแก่ คนหนุม่ สาว เด็กเล็ก แล้วเราต้องสร้างโปรดักท์ให้กบั ผูค้ นทีว่ า่ ทัง้ หมดนี่ ผมว่าความคิด นีล้ า้ สมัยไปหน่อยมันการตลาดมากๆ ลองคิดถึงเรือ่ งช่องพยากรณ์สคิ รับ มันงีเ่ ง่าก็ตรงทีเ่ ราต่าง ก็ชอบแสงแดดคุณและผมต่างก็อยากรูว้ า่ อากาศพรุง่ นีจ้ ะเป็นอย่างไร Oregon Scientific แค่บริษทั เดียว ไม่เห็นต้องมีตวั เลือกถึง 100 ช่องเลย ผมอยากสร้างงานทีท่ งั้ เด็ก ผูใ้ หญ่ ชาย หญิงหรือคน แก่จะชอบหรือผูค้ นจากทัง้ เมืองจีนและอเมริกาจะชอบผมไม่เคยต้องการให้สไตล์มาเป็นตัวก�าหนด รูปแบบของโปรดักท์ ก็แค่คดิ ว่าคนน่าจะชอบมันแน่นอนก็ตอ้ งออกมาดูดดี ว้ ย และหวังว่าจะดึงดูด ความสนใจของผูค้ นได้ดว้ ยก็เท่นะ่

‘‘And, of course, this is the reason why during my speech I said, ‘Please do not read too many design magazines’ because the answers and too many questions come from magazines, and because inspiration can come from research on medicine, or on military.’’ cross247


First published in art4d 213, April 2014.

Alexander Brodsky preservation

- disciplinary

upcycling


“I’m not generally against building something urban bigger, I’m really against building as the result of destroying...”

Can we start with that period in your life when you had just graduated and you didn’t want to build under the Soviet systems, so you went into creating drawings with your partner? Yes Were you only drawing or were you also writing about architecture as well? No, actually, I was never writing about architecture. The only thing that I was doing was small tips for the projects, the paper projects. Yes, I originally wrote these stories, very short, because according to the rules they had to be very short. One piece of paper, limited space, limited drawings and very little text. So these were actually real texts, which you can’t really tell, but on the drawings were real texts. The only explanations for the projects were on the piece of paper, so everywhere you can see the little texts. And you had to write it backwards? I had to write it backwards, and in English... How did you do that? It was not easy in the beginning, but somehow making etchings turns your brain backwards.

preservation

251


And when they flip these images, sometimes it’s not quite right. The proportions don’t look quite right. The people, everything looks a little bit skewed, does that happen when you do the etchings? No, this is different because we made all the very precise final sketches normally. And then we just take tracing paper and put it on the sheet of metal, so it was done as a normal thing and then it was just mechanically transformed like this. You have this paper, transparent paper, and you turn it and then you draw on it. You’ll see the lines on the metal, that’s how we do it.

So the drawings were also done backwards? Everything was done backwards when you were making the drawings. Any forms or texts that are supposed to be printed must be made backwards, including all text and all the drawings, everything - like a mirror. So, after some period of making it, you start thinking like that, you see something and you can see it backwards. Do you draw the correct layer version first? In Japanese comics, as in Japanese books, everything is read from back to front.

What do you think is special about these drawings as a medium? How are they better, and what are the advantages as opposed to, say, making models? Well, for me personally, drawing is always the most important thing, for the beginning of every work. I mean, some drawings are supposed to stay drawings and some drawings are transformed into etchings later. Some drawings become architectures, become real buildings, but the difference is what will be the later life of a drawing. In the beginning, it is always the hand drawing, for me. I start every work by taking a pencil and a pen and making some sketches on the paper. This is very important, the most important thing for me for the beginning of every work. Then I take it somewhere else, so for me it’s kind of a thing, an obvious thing but still, for me, the pencil and the drawing are the door to many things. They are the process of thinking. The entrance, yes. I start drawing at the beginning and I enter to go in some directions that I probably didn’t predict in the beginning. So the drawing is very important for me. In that same period, or when you had just finished studying, you mentioned that traveling was difficult. It was quite difficult to travel abroad.

Oh really? And then there are problems when they export these comic books to western countries, or to Thailand, when we have to flip the drawings, because we read it from the front and then we go this way, whereas there, they would start at the back. Oh they would start at the back - I didn’t know that this was in Japan, usually this is found in Hebrew. They go from right to left.

Right.

253


A lot of people see a bit of a difference between your art installations and your buildings, being that in the art installations there’s a lot more direct criticism of contemporary arts or the city. Is it a bit of a separation between art where you can explore and express ideas and buildings where it becomes more about an experience? Do you think that they can be combined? Well, this is a big problem that I’ve been working on for many years. I would like to combine these two things but it’s really not easy so, of course there is a big difference. You can say whatever you want about architecture and art, how they work together, but in real life when you make art and you make architecture you see the border which is, you cannot be critical when you build a real building. I can be critical when I make an installation or I make a drawing or I write a text, but when I have to build something that people must actually use, not just a pavilion for a few days but something practical needed by people, a lot of other problems immediately appear and it’s very difficult to keep this level of, the disposition of an artist and build at the same time. I know that it’s possible but it’s very, very difficult and I’m afraid that I am still quite far away from a resolution. I’m still thinking how to do it. I have built not a huge number, but some number of structures and buildings, and every time in the beginning I really want to combine my art ideas with my architecture ideas and day by day am moving toward some directions, such as working with clients, working with budgets, working with materials or with construction workers, and a lot of things slowly go away. It’s very difficult to keep them there. You also mentioned the word responsibility, when thinking about the people who would actually use the building as well? Yes, of course. Well, there are different responsibilities of course. There is one basic responsibility - if you create something as an artist, as a writer, as a composer or as architects, if you are dealing with some creative things, you always have a very big responsibility to yourself that what you are doing must be something that you really honestly like and that satisfies you at a

Coma (2000)- an unbaked clay cityscape of Moscow slowly flooded with motor oil.

high level, this is one responsibility. The other responsibility, when I make a building that’s a new work, you are dealing with your client’s money, you are dealing with engineers, with safety, all these building materials again, and all these engineering problems, so this is another responsibility that really kind of settles you, or, especially if you don’t have much experience, it’s not easy to maintain some artistic level, there can always be problems, with money, the budget, and so on and so on. This responsibility can sometimes really change the whole and the result a lot so you have to be strong enough to keep the line you’ve started from the beginning. And for me, it’s not easy, at all. Some of your works have been described as nostalgic. Would you agree with that definition? Well, I never used this word about my work, but I agree that for some people it can look nostalgic and probably is nostalgic for some of them. And with nostalgia, there can be different kinds of nostalgia. Nostalgia can be for some place, like if I’ve lived in some city and had to go to another place and I feel nostalgic for that place that I, for some reason, cannot return to; but my nostalgia is probably more about time, so I feel sad a lot of times looking for instance at all the cultural things disappearing, all the buildings and the spirit of the city which is very important to me. So, living in my city, the thing that I feel very nostalgic about is old times, when it had a different spirit, different atmosphere, which will surely never come back, because you could never return the buildings that were destroyed over years and years, the whole area was totally destroyed. The atmosphere will never come back to the city. This makes me really nostalgic sometimes, but of course there is an even bigger nostalgia that we feel for the time when we were younger. I’m trying to avoid this kind of nostalgia. Sometimes it comes in the world without us even knowing it. I remember some old times when I was young and I always felt like something was better at that time, I don’t know exactly what it is but a lot of people feel like this. So this is another kind of nostalgia. But how much of it is the building? Say, for example, if there were still the buildings but inside the way of life was the way it is now; on Sunday you mentioned an example about buying water, whether you buy water from a person or a machine. Yes

255


If you’re still buying water from the machine but it is in a nice building does it make a difference? For me, it’s a big difference. Yes, yes. I miss these nice little things that could exist now but that were thrown away by pride. I don’t know how it happened, but it’s how life goes on, a lot of nice small things are not fashionable at all and then you remember the thing that they were, which was much, much better than what came after, but it’s too late sometimes. There’s no way to get these things back, and this makes me sad. Architects and architecture inevitably, especially in big cities, big projects with big money and so on - do you imagine that there could be a different model of practice? Well, I don’t think it can be much different because, of course it’s obvious big projects on big scales, and urban is seeing huge scales, must have huge money otherwise they cannot be owned and it’s normal, so I don’t think anything can be done about this. Of course it’s big money involved in the creation of big spaces in big cities, you cannot avoid this, but my concern is how they use this big money. So I’m against the big thing that appears after destroying other things. I’m not against big scale projects, but there is a big difference for me where exactly these huge things are built, if it’s built in an empty space it’s fine, then I can just look at the architecture itself and think whether I like it or not. But when I see a huge shopping mall built in the historical center of a place where I remember nice old strong-enough buildings that were burned down just because of money, then I cannot look at this building as an architectural thing. It doesn’t matter for me how much better or worse the architectural detail is if I think it’s totally wrong from the beginning and it shouldn’t be there. So this is the use of this huge money and I’m, it’s very sad for me when they use their big historical city as their oil field. Or when every millimeter can give you a lot of money so you don’t care. These people who put money in the development, basically they don’t care about culture. I think it’s everywhere but in Moscow it’s really crazy, they don’t care about culture, beauty or the overall city. They just want to pump money out of every centimeter of this expensive land, in the center most, and it goes in crazy, crazy directions and a lot of things disappear very fast. So this is what disturbs me very much, it makes me sad.

So you are now quite picky about what projects and what commissions you take. What do you look for when someone comes to you and wants you to build something? Does there need to be, if someone comes with the high rise…? I work basically on small projects of private houses, not just because I like it, I like it very much, but I’m not generally against building something bigger, I’m really against building as the result of destroying, so I’m not involved in this process of changing the face of the city, the central city, and after avoiding this for so many years I stopped getting any suggestions in these directions, because they knew that I wouldn’t do this. So on one hand it’s nice, I do what I like. On the other hand it’s, now it’s getting more and more difficult for me to built something in Moscow, even not in the historical center but somewhere else as well because I’m kind of an outsider in this architecture world. But I still have commissions and even with the commissions of private houses, of course I have done everything. There is a big difference between working with different clients, so if I see that this person came specially to me because he likes what I’m doing and we understand each other, let’s do it. If it’s something else and I can see that he doesn’t understand what I’m trying to make, I won’t work with him.

257


In most of your projects you look for discarded objects. When you started thinking about this was it just about preserving heritage and these objects or was there also something about the environment as well? Well, I was always interested in making art and using some found objects, that doesn’t mean that I make a lot of stuff like this, but I was interested and I looked at the artists who made installations using found objects and I made some installation works and some sculptures with found pieces, some things that have already a history. Some mysterious objects that they found on the street and then somehow I thought that they could be used in an architectural way too, so I was looking at these wonderful doors, and wonderful windows in the garbage and I thought, what a pity, that they just throw it away and they disappear. So I was always thinking about how to give a second life to this and this was how I got this idea. That doesn’t mean that it’s my main direction, my architecture, but it’s a big part of it and I made several projects, actually a few using these sorts of things but they became very well known. Sometimes I was even invited to conferences about recycled materials and so on, but I didn’t go because I don’t think it is really my main thing, but I’m doing it still. I’m still interested in this. I’m still interested in saving some pieces of architecture and giving them a new life. And it seems like, in the wider architectural context, a lot more designers and architects are interested in this idea. Yes, yes. I see this everywhere now and it’s nice. You mentioned that, with the restaurant project on the lake you didn’t do any drawing, there was only the model and then you worked from that so I was wondering how much you were involved with the construction process on site? Of course I go on site all the time, as does every architect. This is a very important part of the process, for me of course. This restaurant was built very fast and I went there every day to control the work that was being done. Talking Pavilion for Vodka Ceremonioes (2004)- Located in Klyazma Reservoir, the pavilion is built with reclaimed window frames from a demolished factory in Moscow.

about this restaurant, I think it’s really funny because now, after coming here and looking around in Bangkok, I see these kinds of buildings every 10 meters. Including along the canal, I see these restaurants, different variations of them, everywhere. So I think it was quite strange for people here to see, but for us, for Moscow, it was some strange and unique thing. We don’t have this kind of structure on the water. It was one of your earliest buildings? This one was my first separate standing structure that I designed. That’s why I was wondering about the construction, was that a difficult part? Well, I had very good help from my friend, an architect who was more practically trained and had experience working with wood, so he was somehow between me and the work, I was controlling everything but, especially in the beginning, it was he who told us how to do the work. I checked if everything was correct but this architect did a big part of the work, he didn’t take part in the designing, only in the building process, but he was really good. Were you learning along the way then? I was learning something every day, how to deal with something. Because I came on the construction site without any experience, I was just jumping into the wood. And the project with the roof made of plastic bags, was that, you mentioned that the sound that it made was from the strong wind. Was that something you thought about beforehand, that this would happen? Well, this came from the beginning when I was drawing some sketches and the sound came later. I didn’t think about the sound, I just wanted to make an image of some kind of a cloud on wooden posts and I thought, how can I make this cloud? I decided, ok, let’s make it from plastic with thousands of bags and then we started, the workers started fixing them and the sound appeared immediately, so once they were made of plastic, the sound became really strong. So that’s how it happened, I didn’t predict it in the beginning.

Cafe ‘Oblaka’ (2003) Klyazma Resevoir, Russia 259


And, in a lot your installations, like the Rotunda. There’s a little bit of a classical language .... Yes of course, of course. Classical images are always in my head and always a part of architecture so somehow the Rotunda itself was a classical theme. Usually it’s round, so my original idea was to make it a round thing. And then, somehow, I thought that the oval shape would be much better in this exact case and I made an oval rotunda, but of course it was somehow inspired by classical architecture. That was what I was interested in, combining classical roots, thrown away objects and contemporary architecture. It was really interesting what could come out of this strange makeshift combination. I’m still thinking about some other variations of this. Can you tell us a little of your perspective on current architecture, and architects working in Moscow and Russia? Do you see anything happening that you think is interesting, or going in the right direction? Maybe younger architects... I know there are quite a large number of young architects who are really nice and clever. And I’m sure that something good is gonna happen. For me, it’s still a bit of a problem with destroying all the city. I feel so sad about this and sometimes I don’t notice the good things that have definitely happened. So I’m too deep in these tragic things that are still going on in this city. But, of course there are some good architects, which are managing to do some good things. For me, one of the problems, in general, is that it’s difficult for me to talk about this because I’m not a building architect in the normal sense of the word. I’m not doing big projects in the city, so in someways I always think that I cannot judge, because I’m just looking in from the outside. It’s easy to criticize things that you have never done yourself; it’s too easy. So I prefer to just look and make my own notes. But I still think that a lot of architects, for many years, concentrated too much on the idea of reaching the western level of architecture and forgot about the local things, about the kind of identity, and the unique things that must be in Russia, Moscow, they were trying to reach this mirage of the western architecture and now the quality of the building is more or less the same like the west. The architecture itself is also really like the western Built with reclaimed doors, the oval shaped pavilion is a small structure in the middle of the field, which allows visitors to enjoy the panoramic view of the landscape. 261


examples. But, for me, it’s not what is really new. I’m thinking about what kind of architecture must be unique like it had been before. Like the regular real face of the city, the new architecture is special when you can recognize and say that this is Moscow, because now there are a lot of buildings. If you don’t know where is it, like in any other city, you look and you think it’s Berlin, or it’s in the United States, or Vienna, or any other city, it’s a difficult thing, but I think it’s what we missed. Recently I was in Penang, in Malaysia, in Georgetown. It’s a historic city. In the central area there are heritage buildings and, as a tourist, it’s really nice, but then my friend took me through to this other place which was a recent development and it had all these condos, shopping malls by the water and, on an architectural ground, it was a really big surprise because it felt like you were in America or something, it was completely different and it wasn’t nice but, I was talking to one of the Malaysian architects who was there as well, and he said that it’s a shame but that actually most people in Georgetown go out to the new place and they actually like it because of the lifestyle, the newer buildings. Do you think the majority of people actually want these kinds of spaces that maybe, as architects, we think are boring? Unfortunately, yes. I think there are a lot of people. Like what I see happens in Moscow, they build huge, enormous supermarkets and they build a lot of them. And I don’t know where these people come from but they are all full of people. They build new ones and they are full of people, they build another one and again, it’s full of people, which means that people need it but they’re so ugly, so terrible. I feel really depressed when I come in but a lot of people they carry the carriages with food and they’re quite happy, so I was really happy to see that these old markets here are so popular, not only the shopping malls. There are wonderful old markets in Bangkok, which are a real treasure, and they’re also full of people. But the shopping malls are too. But in Moscow we have only shopping malls now, the normal markets have disappeared one by one,

But I still think that a lot of architects, for many years, concentrated too much on the idea of reaching the western level of architecture and forgot about the local things...

one after another and it is really bad so, I think to keep this balance is the most important thing. You cannot avoid these big modern things so they must be build somewhere on the edge of the city or outside for people who want to go there. As for people who don’t, who still prefer to take a basket and go to the floating market and buy food there, we must preserve this place that is really, really important. So I think you are very lucky that you still have these kinds of places here. Somehow I think we’re still figuring further down the road and we are moving very slowly, but maybe if enough people realize, or want a different model, it might be better. But I don’t know, we’re still building a lot of new condos, shopping malls.... It’s fashion, it’s a problem of fashion which you cannot avoid, like in the sixties when a new style of furniture became fashionable. These triangle tables, on three legs, this kind of stuff. People were throwing away wonderful pieces of furniture from the 19th century; they were just throwing these real treasures away on the streets and they disappeared. Now, they cost a lot of money in the antique shows, it is exactly this kind of thing and nobody cares much about these sixties-looking furniture pieces now except some people but, at that time, everyone was throwing away grandfather’s and grandmother’s furniture, just on the streets, they couldn’t even sell it because nobody cared. That was fashion, and that’s what happens with architecture too. 263


Alexander Brodsky is a Russian sculptor and architect who served as a former member of Paper Architects during the time of the Soviet Union where he worked alongside renown Russian architect, Ilya Utkin. The utopian movement acted as a critique against the state sanctioned, standardized architecture that imposed the soulless communist aesthetics to skylines of cities such as Moscow and St Petersburg. The movement defies Soviet architecture through whimsical drawings and vivid depictions of constructivism, deconstructionism and postmodernism. In 1996, Brodsky moved to New York to concentrate on artistic activities, producing sculptures and public installations before returning to Moscow in 2000 to practice as an architect. Brodsky’s work is characterized by his use of local materials and celebration of Russian heritage, a stark contrast to contemporary Russian architecture. In 2010, Brodsky received the Kandinsky Prize, one of the country’s most honored art awards.

ครับ

ตอนทีค่ ณ ุ เพิง่ เรียนจบและคุณไม่ตอ้ งการทีจ่ ะสร้างอะไรขึน้ มาภายใต้ระบบ ของโซเวียต ดังนัน้ คุณก็เลยเริม่ ไปท�างานดรออิง้ แทน? คุณแค่ทา� งานดรออิง้ หรือคุณเขียนงานเกีย่ วกับสถาปัตยกรรมด้วย?

จริงๆ แล้วไม่นะ ผมไม่เคยเขียนอะไรเกีย่ วกับสถาปัตยกรรม สิง่ เดียวทีผ่ มเคยท�าคือข้อเขียนสัน้ ๆ เกีย่ วกับโครงการต่างๆ สัน้ มากเพราะว่าตามกฎแล้วมันต้องเป็นอะไรทีส่ นั้ มาก กระดาษแผ่นเดียว จ�ากัดเนือ้ ที่ จ�ากัดภาพวาดและมีขอ้ เขียนน้อยมาก มันเป็นข้อเขียนจริงๆ ที่คุณไม่สามารถบอกได้แต่ข้อความจริงๆ มันอยู่ บนดรออิง้ ?

ค�าอธิบายอย่างเดียวส�าหรับโครงการทีอ่ ยูบ่ นหน้ากระดาษ ดังนัน้ คุณก็จะเห็นข้อเขียนเล็กๆ น้อยๆ ในทุกที่ และคุณต้องเขียนมันกลับด้าน?

ผมต้องเขียนมันกลับด้าน และเขียนเป็นภาษาอังกฤษ คุณท�าได้อย่างไร?

ในตอนแรกก็ไม่งา่ ยนัก แต่การทีเ่ คยท�างานแกะสลักมันก็เลยท�าให้สมองของคุณคิดกลับด้าน ถ้าอย่างนัน้ ภาพดรออิง้ ก็ทา� กลับด้านด้วยใช่ไหม?

ทุกอย่างท�ากลับด้านทัง้ หมด เมือ่ คุณท�าดรออิง้ ไม่วา่ จะเป็นฟอร์มหรือข้อเขียนต่างๆ ทีจ่ ะน�าไปพิมพ์ ต้องท�ากลับด้าน รวมทัง้ ข้อเขียนและดรออิง้ ทุกอย่างเหมือนกับกระจกเงา ท�าไปสักระยะ คุณก็เริม่ ทีจ่ ะคิดอะไรเป็นแบบนัน้ อะไรทีค่ ณุ เห็นคุณก็สามารถทีจ่ ะเห็นมันกลับด้านด้วย จริงๆ เหรอ

คุณร่างภาพทีถ่ กู ด้านก่อนในชัน้ แรกใช่ไหม เหมือนกับหนังสือญีป่ นุ่ ทีต่ อ้ ง อ่านจากหลังมาหน้า? แล้วมันก็มปี ญ ั หาตอนทีพ ่ วกเขาเริม่ ส่งออกหนังสือการ์ตนู มายังประเทศ ทางตะวันตก หรือประเทศไทย เราต้องพลิกไปดูภาพวาดเพราะว่าเรา อ่านเนือ้ เรือ่ งจากด้านหน้าเนือ่ งจากเราอ่านไปจากด้านนี้ พวกเขาจะเริม่ จากด้านหลัง

ผมไม่ยกั รูว้ า่ พวกเขาเริม่ จากด้านหลัง ผมไม่ทราบนะว่าญีป่ นุ่ เป็นแบบนี้ ปกติคณุ จะเจอแบบนีใ้ น ภาษาฮิบรู พวกเขาอ่านโดยเริม่ จากขวาไปซ้าย

265


เวลาพวกเขาพลิกไปทีร่ ปู ภาพบางทีมนั ก็ไม่ถกู ต้องนัก สัดส่วนมันไม่คอ่ ย ตรง พวกคน ทุกอย่างดูไม่ได้สดั ส่วน เรือ่ งอย่างนีเ้ กิดขึน้ กับงานแกะสลัก ของคุณด้วยไหม?

ไม่ครับ นีม่ นั แตกต่างเพราะว่าเรามักจะท�าสเก็ตช์สดุ ท้ายให้มนั ถูกต้องแม่นย�าทีส่ ดุ แล้วเราก็จะลอก มันด้วยกระดาษลอกลายแล้วเอาไปวางลงบนแผ่นโลหะอีกที มันก็เลยอยูใ่ นต�าแหน่งทีป่ กติ ปกติเรา ท�ามันแบบนี้ คุณมีกระดาษนี่ กระดาษลอกลาย แล้วคุณก็กลับมันแล้วก็วาดมันลงไป คุณจะเห็น ลายบนแผ่นโลหะ เราท�ามันแบบนีแ้ หละ คุณคิดว่ามีอะไรพิเศษในการใช้ดรออิ้งเป็นสื่อในการท�างาน มันดีกว่า อย่างไรและมันมีขอ้ ได้เปรียบอะไรในการท�าโมเดล?

โดยส่วนตัวแล้วส�าหรับผม ดรออิง้ เป็นอะไรทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ส�าหรับการเริม่ ต้นงานทุกชิน้ ผมหมายถึง งานดรออิง้ บางชิน้ น่าจะคงไว้เป็นแค่งานดรออิง้ แต่บางชิน้ ก็นา่ จะแปลงให้เป็นงานแกะในตอนหลัง งานดรออิง้ บางชิน้ ก็กลายมาเป็นงานสถาปัตยกรรม มาเป็นอาคารขึน้ มาจริงๆ แต่ทตี่ า่ งก็คอื อะไร ทีต่ อ่ มาจะกลายมาเป็นชีวติ ของงานดรออิง้ ในตอนเริม่ ต้น มันมักจะเป็นงานวาดด้วยมือส�าหรับผม ผมเริม่ งานทุกชิน้ ด้วยการสเก็ตช์ภาพด้วยดินสอและปากกาบนกระดาษ นีส่ า� คัญมาก มันส�าคัญทีส่ ดุ ส�าหรับผมในการเริม่ ต้นของงานทุกชิน้ แล้วผมก็นา� มันยังไปทีจ่ ดุ อืน่ ส�าหรับผมแล้วมันเดนชัดมาก ทีด่ นิ สอและดรออิง้ เป็นประตูเปิดออกไปสูส่ งิ่ ต่างๆ มากมาย มันเป็นกระบวนการทางความคิด?

เป็นจุดเริม่ ต้น ใช่แล้ว ผมเริม่ วาดในตอนต้นและก็ผา่ นเข้าไปเพือ่ ไปสูท่ ศิ ทางต่างๆ ทีผ่ มอาจจะไม่ ได้คาดการณ์ไว้กอ่ น ดังนัน้ การวาดจึงเป็นอะไรทีส่ า� คัญส�าหรับผม

ใช่ครับ

และในช่วงเวลาเดียวกัน หรือว่าเป็นตอนทีค่ ณ ุ เพิง่ จะเรียนจบคุณเคยพูด ว่าการเดินทางเป็นเรื่องยากล�าบาก มันค่อนข้างยากที่จะเดินทางไปต่าง ประเทศ? และมีคนมากมายทีม่ องเห็นความแตกต่างเพียงเล็กน้อยระหว่างงานศิลปะ อินสตอลเลชัน่ และงานก่อสร้างอาคารของคุณ ในงานศิลปะอินสตอลเลชัน่ ของคุณมีการวิพากษ์วจิ ารณ์งานศิลปะหรือเมืองทีร่ ว่ มสมัยทีต่ รงไปตรง มามากกว่า หรือว่ามันค่อนข้างแปลกแยกระหว่างศิลปะที่คุณสามารถ ส�ารวจและแสดงออกทางความคิดและในส่วนของการสร้างอาคารทีเ่ ป็น อะไรทีเ่ กีย่ วกับประสบการณ์ คุณคิดว่ามันจะผสมผสานกันได้ไหม?

จริงๆ แล้วมันเป็นปัญหาใหญ่สา� หรับผมทีพ่ ยายามแก้ไขมาหลายปี ผมอยากทีจ่ ะผสมผสานเจ้า 2 สิง่ นีเ่ ข้าด้วยกันแต่มนั ไม่งา่ ยเลย แน่นอนมันมีความต่างทีใ่ หญ่มาก คุณอยากจะพูดอะไรได้ตามที่ ต้องการเกีย่ วกับสถาปัตยกรรมและศิลปะ ว่ามันเข้ากันได้อย่างไรแต่ในความเป็นจริงเมือ่ คุณต้อง มาท�างานศิลปะและสร้างงานสถาปัตยกรรมคุณก็จะมองเห็นขอบเขต คุณไม่อาจจะท�าได้อย่าง ใจได้มากนักเมือ่ คุณต้องมาสร้างตึกจริงๆ เพราะว่าผมสามารถทีจ่ ะท�าอะไรก็ได้ดงั่ ใจตอนท�างาน อินสตอลเลชัน่ หรือวาดแบบหรือเขียนรายละเอียด แต่เมือ่ ผมต้องสร้างอะไรทีค่ นต้องน�ามาใช้ ไม่ใช่ เพียงแค่เป็นศาลาทีใ่ ช้งานแค่ 2-3 วันแต่เป็นอะไรทีใ่ ช้งานได้ตามความต้องการของคนจริงๆ ก็

จะมีปญั หามากมายเกิดขึน้ มาทันทีและมันเป็นการยากมากทีจ่ ะรักษาความเป็นศิลปินและสร้างตึกไป พร้อมๆ กัน ผมรูว้ า่ มันเป็นไปได้แต่มนั ก็ยากมากๆ และผมเกรงว่าผมยังห่างไกลจากข้อสรุปนัน้ และ ยังคงคิดอยูว่ า่ จะท�ามันอย่างไร ผมไม่ได้สร้างอะไรมากมาย แต่กม็ จี า� นวนไม่นอ้ ยทัง้ ทีเ่ ป็นโครงสร้าง และอาคารและทุกครัง้ ในตอนเริม่ ต้นผมอยากจะใส่ความแนวความคิดทางด้านศิลปะของผมเข้าไป ในแนวคิดทางสถาปัตยกรรม นับวันการทีต่ อ้ งท�างานกับลูกค้า กับงบประมาณ กับวัสดุ กับคน งานก่อสร้าง หลายๆ อย่างก็เริม่ หายไปอย่างช้าๆ มันเป็นการยากมากทีจ่ ะเก็บรักษามันเอาไว้ให้ได้ คุณได้เอ่ยถึงค�าว่ารับผิดชอบ เมือ่ คิดถึงคนทีต่ อ้ งมาใช้อาคารนัน้ ๆ จริงๆ?

ใช่ครับ มันมีความแตกต่างในเรื่องของความรับผิดชอบแน่นอน มี่มันเป็นความรับผิดชอบขั้น พืน้ ฐาน ถ้าคุณสร้างอะไรขึน้ มาในฐานะศิลปิน นักเขียน นักประพันธ์เพลง หรือในฐานะสถาปนิก ถ้าคุณต้องรับมือกับอะไรทีเ่ กีย่ วกับการสร้างสรรค์ คุณก็มกั จะมีความรับผิดชอบทีย่ งิ่ ใหญ่กบั ตัวเอง ทีว่ า่ อะไรก็ตามทีค่ ณุ สร้างสรรค์มนั ขึน้ มามันก็ตอ้ งเป็นอะไรทีค่ ณุ ต้องซือ่ สัตย์กบั มันจริงๆ และท�าให้ คุณพึงพอใจในระดับทีส่ งู นีก่ เ็ ป็นความรับผิดชอบอย่างหนึง่ ความรับผิดชอบอีกอย่าง เมือ่ ผมสร้าง อาคารทีเ่ ป็นงานใหม่ คุณก็กา� ลังรับมือกับเงินของลูกค้า รับมือกับวิศวกร กับความปลอดภัย วัสดุ ต่างๆ ทีใ่ ช้กบั อาคาร และก็กบั ปัญหาทางวิศวกรรม นีก่ เ็ ป็นความรับผิดชอบอีกอย่างทีเ่ ป็นประเภท ทีเ่ ป็นตัวก�าหนด หรือโดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าคุณไม่มปี ระสบการณ์มากนัก มันก็ไม่งา่ ยทีจ่ ะคงระดับ ความเป็นศิลปะเอาไว้ได้ มันอาจจะมีปญั หาอยูเ่ สมอ เรือ่ งเงิน เรือ่ งงบประมาณ และอืน่ ๆ ต่อไป เรือ่ ยๆ เจ้าความรับผิดชอบนีบ้ างทีอาจจะเปลีย่ นทุกอย่างและผลลัพธ์มากมายจนคุณต้องเข้มแข็ง พอทีจ่ ะรักษาแนวทางทีค่ ณุ เริม่ ต้นมาตัง้ แต่แรก และส�าหรับผม มันไม่งา่ ยเลย ผลงานชือ่ 20 Trash Bin ที่ Brodsky หยิบเอาถังขยะ 20 ใบ มาจัดแสดงเป็นผลงานอินสตอลเลชัน่ ใน Moscow Contemporary Art Biennale เพือ่ แสดงให้เห็นถึงเมือง แห่งอนาคต

267


งานบางส่วนของคุณถูกจัดว่าย้อนยุคหรือมีอารมณ์โหยหาอดีต คุณเห็น ด้วยกับค�าจ�ากัดความนัน้ ไหม?

ผมไม่เคยใช้คา� นีเ้ กีย่ วกับงานของผม แต่ผมเห็นด้วยว่าส�าหรับบางคนมันอาจจะดูยอ้ นยุคและบางที ย้อนยุคส�าหรับงานบางงาน และด้วยความถวิลหาอดีต มันอาจจะเป็นความถวิลหาความหลัง ทีแ่ ตกต่างกันไป การถวิลหาความหลังอาจจะเป็นเรือ่ งเกีย่ วกับสถานที่ เหมือนกับว่าถ้าเราอยูใ่ น เมืองเมืองหนึง่ และจะต้องไปอยูท่ อี่ นื่ และผมรูส้ กึ ถวิลหาสถานทีน่ นั้ ๆ ด้วยเหตุผลบางอย่างทีผ่ ม ไม่สามารถจะกลับไปได้ แต่ความถวิลหาของผมน่าจะเกีย่ วกับเวลามากกว่า ผมจะรูส้ กึ เศร้าบ่อยๆ ตอนทีม่ องหาพวกวัฒนธรรมต่างๆทีส่ ญู หายไป อาคารทุกหลังและจิตวิญญาณของเมืองทีม่ คี วาม ส�าคัญมากส�าหรับผม ดังนัน้ การทีอ่ าศัยอยูใ่ นเมืองของผมสิง่ ทีผ่ มรูส้ กึ ถวิลหามากก็คอื วันเวลาเก่าๆ ตอนทีม่ นั มีจติ วิญญาณทีต่ า่ งออกไป บรรยากาศทีแ่ ตกต่าง ซึง่ แน่นอนว่ามันคงจะไม่หวลคืนกลับ มา เพราะว่าแน่นอนคุณไม่สามารถจะเอาอาคารทีถ่ กู ท�าลายไปตามกาลเวลากลับคืนมา ทัง้ บริเวณ ถูกท�าลายเรียบ บรรยากาศเก่าๆ จะไม่มที างกลับมาสูเ่ มืองอีก แบบนีแ้ หละทีท่ า� ให้บางทีผมถวิลหามันจริงๆ แต่แน่นอนมันมีความถวิลหาทีย่ งิ่ ใหญ่กว่าทีเ่ รารูส้ กึ ถึง สมัยทีย่ งั เป็นเด็ก ผมพยายามทีจ่ ะหลีกเลีย่ งอารมณ์แบบนี้ บางทีมนั ก็มาในโลกของเราโดยทีเ่ ราก็ยงั ไม่รู้ ผมยังจ�าวันเก่าๆ ได้ตอนทีผ่ มเป็นเด็กและมักจะรูส้ กึ ว่าบางอย่างดีกว่าในเวลานัน้ ผมไม่รแู้ น่ๆ ว่ามันคืออะไรแต่กม็ หี ลายๆ คนทีร่ สู้ กึ อย่างเดียวกับผม และนีก่ เ็ ป็นการถวิลหาอดีตในอีกรูปแบบหนึง่

ใช่

แต่มันเป็นเรื่องเกี่ยวกับอาคารสักแค่ไหนกันล่ะ อย่างเช่นถ้าหากว่ายัง มีอาคารอยู่แต่วิถีชีวิตที่อยู่ภายในนั้นเป็นวิถีชีวิตแบบปัจจุบัน ในการ บรรยายของคุณ คุณเคยพูดถึงตัวอย่างเกีย่ วกับการซือ้ น�า้ ว่าคุณซือ้ น�า้ จากคนหรือเครือ่ ง? ถ้าคุณต้องซื้อน�้าจากเครื่องแต่มันตั้งอยู่ภายในอาคารที่สวยงาม มันให้ ความแตกต่างไหม?

ส�าหรับผม มันแตกต่างกันมาก ใช่ครับผมคิดถึงสิง่ เล็กๆ น้อยๆ ทีส่ วยงามเหล่านีท้ นี่ า่ จะยังคงมี อยูใ่ นปัจจุบนั แต่มนั ก็ถกู โยนทิง้ ไปด้วยทิฐิ ผมไม่รวู้ า่ มันเกิดขึน้ ได้อย่างไร แต่ชวี ติ มันก็ดา� เนินต่อไป แบบนีแ้ หละ สิง่ เล็กๆ น่ารักมากมายทีไ่ ม่อยูใ่ นสมัยนิยมอีกต่อไปและแล้วคุณก็ระลึกถึงสิง่ ต่างๆ อย่างทีม่ นั เคยเป็น ซึง่ มันดีกว่าสิง่ ทีม่ าทีหลังมากเลย แต่บางครัง้ มันก็สายเกินไปเสียแล้ว ไม่มที าง ทีจ่ ะเอาสิง่ เหล่านีก้ ลับคืนมา และนีแ่ หละทีท่ า� ให้ผมเศร้าใจ ส�าหรับสถาปนิกและสถาปัตยกรรมอย่างที่รู้ๆ กันโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน เมืองใหญ่ๆ โครงการใหญ่ๆ กับเงินจ�านวนมหาศาลและอะไรต่อมิอะไร คุณ คิดหรือไม่วา่ นัน่ อาจจะมีวธิ กี ารท�างานทีแ่ ตกต่างออกไป?

269


ผมไม่คดิ ว่ามันจะมีอะไรแตกต่างมากมายนักเพราะว่าแน่นอนเห็นชัดๆ ว่าโครงการใหญ่บนสเกล ที่ใหญ่ และในเมืองก็จะเห็นงานสเกลใหญ่ๆ ที่ต้องมีเงินจ�านวนมหาศาลไม่อย่างนั้นมันก็ไม่ สามารถทีจ่ ะเป็นเจ้าของได้และมันก็เป็นเรือ่ งธรรมดา ผมก็เลยไม่คดิ ว่าจะท�าอะไรได้มากนักในเรือ่ ง นี้ แน่นอนมันเป็นเรือ่ งของการทีม่ เี งินจ�านวนมหาศาลเข้ามาเกีย่ วข้องในการสร้างพืน้ ทีข่ นาดใหญ่ ในเมืองใหญ่ คุณไม่สามารถหลีกเลีย่ งมันได้ แต่สงิ่ ทีผ่ มกังวลก็คอื เขาใช้เงินจ�านวนมหาศาลอย่างไร ต่างหาก ด้วยเหตุนผี้ มก็เลยต่อต้านสิง่ ทีม่ ขี นาดใหญ่ทผี่ ดุ ขึน้ มาหลังจากท�าลายบางสิง่ บางอย่างไป ผมไม่ได้ตอ่ ต้านโครงการขนาดใหญ่แต่มนั มีความแตกต่างมากส�าหรับผมทีว่ า่ ไอ้สงิ่ ทีม่ ขี นาดมหึมา นีส้ ร้างขึน้ ตรงไหนต่างหาก ถ้ามันสร้างขึน้ บนพืน้ ทีว่ า่ งเปล่ามันก็ไม่เป็นไร ผมก็จะสามารถมองดู มันแต่ในแง่ของงานสถาปัตยกรรมของมันเพียงอย่างเดียวแล้วก็คดิ ว่าผมชอบมันหรือไม่กเ็ ท่านัน้ แต่เมือ่ ผมมองดูหา้ งสรรพสินค้าขนาดใหญ่ทปี่ ลูกสร้างบนศูนย์กลางทางประวัตศิ าสตร์ทซี่ งึ่ ผมจ�า ได้ถงึ อาคารเก่าทีส่ วยงามและแข็งแรงทีถ่ กู เผาท�าลายลงก็เพียงเพือ่ เงิน ผมก็เลยไม่สามารถทีม่ อง อาคารนี้ว่ามันเป็นสถาปัตยกรรมได้ ส�าหรับผมมันไม่ส�าคัญหรอกนะว่ามันจะดีหรือเลวกว่าใน รายละเอียดทางสถาปัตยกรรมถ้าหากผมคิดว่ามันผิดมาตัง้ แต่ตน้ แล้วและมันก็ไม่ควรจะไปตัง้ อยู่ ตรงนัน้ นีเ่ ป็นการใช้เงินจ�านวนมหาศาลและมันน่าเศร้ามากส�าหรับผมทีเ่ ขามาใช้เมืองทีเ่ ต็มไปด้วย ประวัตศิ าสตร์มาเป็นแหล่งขุดเจาะน�า้ มันทีแ่ ต่ละตารางนิว้ จะท�าเงินได้อย่างมาก คนทีเ่ อาเงินมาเป็น ตัวพัฒนาก็เพราะจริงๆ แล้วเขาไม่ใส่ใจกับวัฒนธรรมเลย มันมีให้เห็นทุกที่ แต่ในกรุงมอสโคว์นมี่ นั บ้ามาก พวกเขาไม่สนใจเรือ่ งวัฒนธรรม ความสวยความงาม หรืออะไรทีเ่ กีย่ วกับเมืองทัง้ หมด พวก เขาแค่อยากจะปัม๊ เงินออกมาจากทุกตารางนิว้ ของทีท่ มี่ รี าคาแพง แล้วมันก็บา้ กันไปใหญ่ ดังนัน้ มีหลายสิง่ หลายอย่างทีห่ ายไปอย่างรวดเร็ว นีเ่ ป็นอะไรทีก่ วนใจผมอย่างมาก มันท�าให้ผมเศร้า

ตอนนีค้ ณ ุ ก็เลยค่อนข้างเลือกเกีย่ วกับโครงการหรืองานทีไ่ ด้รบั ว่าจ้างให้ ท�า คุณมองหาอะไรตอนทีม่ คี นมาหาคุณและอยากให้คณ ุ สร้างบางอย่าง ให้ เช่น ถ้ามีคนมาพร้อมกับโครงการตึกสูง…?

ปกติผมท�าโครงการเล็กๆ ประเภทบ้านส่วนตัว ไม่ใช่แค่วา่ ผมชอบมัน ผมชอบมันมากเลย แต่โดย ทัว่ ไปผมก็ไม่ได้ตอ่ ต้านการสร้างอะไรทีใ่ หญ่กว่านัน้ ทีผ่ มต่อต้านก็คอื การสร้างอะไรทีเ่ ป็นผลพวงจาก การท�าลาย ผมก็เลยไม่เข้าไปเกีย่ วข้องกับกระบวนการเปลีย่ นโฉมหน้าของเมือง ใจกลางของเมือง และหลังจากหลีกเลีย่ งมาเป็นเวลานานหลายปีผมก็ไม่ได้รบั ข้อเสนอทีไ่ ปในทิศทางนีอ้ กี ต่อไปเพราะ พวกเขาคงรูแ้ ล้วว่าผมจะไม่ยอมท�า ในด้านหนึง่ ก็ดนี ะทีผ่ มได้ทา� ในสิง่ ทีผ่ มชอบ แต่ในอีกด้านหนึง่ มันก็เริม่ จะยากขึน้ เรือ่ ยๆ ในการทีผ่ มจะสร้างอะไรในกรุงมอสโคว์ ถึงแม้วา่ จะไม่ใช่บริเวณศูนย์กลาง ทางประวัตศิ าสตร์แต่รวมไปถึงทีอ่ นื่ ด้วยเพราะผมกลายเป็นพวกคนนอกของโลกสถาปัตยกรรมไป แล้ว แต่ผมก็ยงั มีคนว่าจ้างและแม้แต่วา่ จ้างให้ทา� บ้านส่วนตัว แน่นอนผมท�ามาหมดทุกอย่าง มันมี ความแตกต่างอย่างมากระหว่างการท�างานกับลูกค้าทีแ่ ตกต่างกัน ดังนัน้ ถ้าหากผมเห็นว่าคนนีม้ า หาผมโดยเฉพาะเพราะว่าเขาชอบในสิง่ ทีผ่ มท�าและเราพูดกันเข้าใจก็เอาเลยมาท�ากัน ถ้าเป็นอย่าง อืน่ และผมเห็นว่าน่าจะไม่เข้าใจว่าผมก�าลังจะท�าอะไร ผมก็ไม่ทา� งานด้วย ในโครงการส่วนใหญ่ของคุณคุณมองหาของที่ทิ้งแล้ว ตอนที่คุณเริ่มคิด เกีย่ วกับเรือ่ งนี้ นัน่ เป็นเพราะคุณต้องการจะอนุรกั ษ์มรดกและของพวกนี้ หรือเป็นอะไรทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดล้อมด้วย? จริงๆ แล้วผมสนใจทีจ่ ะท�างานศิลปะและก็ใช้ของทีห่ าเจอ แต่นนั่ ไม่ได้หมายความว่าผมท�าของ

หลายๆอย่างแบบนัน้ แต่ผมสนใจและผมก็ดพู วกศิลปินทีท่ า� งานอินสตอลเลชัน่ โดยใช้สงิ่ ของทีเ่ ขา พบและผมเองก็ทา� งานอินสตอลเลชัน่ และงานประติมากรรมบางชิน้ ก็ทา� มาจากของทีเ่ ราเจอทัว่ ๆ ไป ของบางอย่างก็กลายเป็นประวัตศิ าสตร์ไปแล้ว ของลึกลับบางอย่างทีห่ าพบจากท้องถนนและ ผมก็คดิ ว่ามันน่าจะเอามาใช้ในงานสถาปัตยกรรมได้ดว้ ย ผมมองเห็นประตูสวยๆ เหล่านี้ และก็ หน้าต่างสวยๆ ในกองขยะแล้วก็คดิ ว่ามันน่าเสียดายทีพ่ วกเขาโยนมันทิง้ แล้วมันก็จะหายไป ผม ก็เลยคิดว่าน่าจะชุบชีวติ มันขึน้ มาและนัน่ คือทีม่ าของแนวคิดเรือ่ งนี้ นัน่ ก็ไม่ได้หมายความว่ามัน เป็นแนวทางหลักหรืองานสถาปัตยกรรมของผม แต่มนั ก็เป็นส่วนทีใ่ หญ่และผมก็ทา� มันในหลาย โครงการ อันทีจ่ ริงก็แค่ 2-3 โครงการเท่านัน้ ทีใ่ ช้ของพวกนีแ้ ต่มนั กลับเป็นทีร่ จู้ กั กันมาก บางทีผม ถึงกับได้รบั เชิญให้ไปร่วมงานประชุมเกีย่ วกับเรือ่ งรีไซเคิลสิง่ ของและอืน่ ๆ แต่ผมไม่ได้ไปเพราะผม ไม่คดิ ว่ามันเป็นเรือ่ งหลักของผม แต่ผมก็ยงั คงท�ามันอยู่ ผมยังสนใจมันอยู่ ผมยังสนใจทีจ่ ะช่วย รักษางานสถาปัตยกรรมบางชิน้ และอยากจะให้ชวี ติ ใหม่กบั มัน และมันก็ดเู หมือนว่าในบริบทของสถาปัตยกรรมในวงกว้าง มีนกั ออกแบบ และสถาปนิกจ�านวนมากทีใ่ ห้ความสนใจในแนวคิดนีด้ ว้ ยเหมือนกัน?

ใช่ครับ ผมเห็นมันทุกทีเ่ ลยตอนนีแ้ ละมันก็ดนี ะ โครงการ Vodka Ceremony Pavilion ในเทศกาล ArtKlyazma ศาลาน�า้ แข็งที่ Brodsky น�าวัสดุทใี่ ช้ ในการก่อสร้างมาจากการรือ้ ถอนอาคารต่างๆ ใน มอสโคว์โดยน�ามาประกอบเข้าด้วยกันเหมือนจิก๊ ซอว์

271


คุณเคยพูดว่าคุณไม่ได้ทา� ดรออิง้ ส�าหรับโครงการร้านอาหารทีท่ ะเลสาบ มีเพียงโมเดลเท่านัน้ แล้วคุณก็ทา� มันต่อจากนัน้ ผมก็เลยสงสัยว่าคุณต้อง เข้าไปเกีย่ วข้องกับกระบวนการก่อสร้างทีไ่ ซท์มากขนาดไหน?

แน่นอนครับ ผมต้องไปทีไ่ ซต์ตลอดเวลาเหมือนกับทีส่ ถาปนิกคนอืน่ ท�ากัน มันส�าคัญมากส�าหรับ การท�างาน แน่นอนส�าหรับผมนะ ร้านอาหารนีส้ ร้างอย่างเร็วมากและผมก็ไปทีน่ นั่ ทุกวันเลยเพือ่ ไปควบคุมงานทีก่ า� ลังท�าอยู่ พูดถึงร้านอาหารนี้ ผมคิดว่ามันตลกดีเพราะว่าตอนนีห้ ลังจากมาทีน่ ี่ และก็มองดูไปทัว่ ๆ กรุงเทพฯ ผมเห็นสิง่ ก่อสร้างประเภทนีท้ กุ ๆ 10 เมตรก็วา่ ได้ รวมทัง้ ทีอ่ ยูร่ มิ คลอง ผมเห็นร้านอาหารเหล่านี้ หลากหลายมากมายทุกที่ ผมก็เลยคิดว่ามันค่อนข้างแปลกส�าหรับ คนทีน่ ที่ จี่ ะเห็นมัน แต่สา� หรับพวกเราทีก่ รุงมอสโคว์ มันเป็นอะไรทีแ่ ปลกและมีลกั ษณะเฉพาะไม่ เหมือนใคร เราไม่มสี งิ่ ก่อสร้างแบบนีบ้ นน�า้ มันเป็นหนึง่ ในงานแรกๆของคุณใช่ไหม?

มันเป็นสิง่ ก่อสร้างทีต่ งั้ อยูแ่ ยกออกมาชิน้ แรกทีผ่ มออกแบบ

เราเลยอยากรูเ้ กีย่ วกับการก่อสร้างว่ามันเป็นส่วนทีย่ ากใช่ไหม?

ผมได้ความช่วยเหลืออย่างดีจากเพือ่ นทีเ่ ป็นสถาปนิกทีฝ่ กึ ฝนและมีประสบการณ์ในการท�างานกับไม้ เขาก็เลยเป็นเหมือนตัวกลางระหว่างผมกับงาน ผมควบคุมทุกอย่างแต่เขาเป็นคนบอกเราว่าจะท�า อย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตอนเริม่ ต้น ผมจะเช็คว่าทุกอย่างถูกต้องแต่สถาปนิกคนนีเ้ ป็นคนท�า ส่วนใหญ่ของงาน เขาไม่ได้มสี ว่ นในการออกแบบแค่เฉพาะในขัน้ ตอนการก่อสร้างแต่เขาเก่งจริงๆ คุณก็เลยได้เรียนไปด้วยในช่วงการท�างานนัน้ ?

ผมได้เรียนอะไรต่อมิอะไรทุกวัน วิธที จี่ ะจัดการกับบางอย่าง เพราะว่าผมมาทีไ่ ซต์กอ่ สร้างโดยทีไ่ ม่มี ประสบการณ์เลย ผมกระโดดเข้าใส่งานไม้เลย และก็โครงการที่มีหลังคาที่ท�าด้วยถุงพลาสติก แล้วคุณก็ได้พูดถึงเสียง ที่เกิดขึ้นเวลาที่ลมแรง นั่นเป็นอะไรที่คุณคิดเอาไว้ล่วงหน้าหรือไม่ว่ามัน จะเป็นแบบนี?้

ตอนทีผ่ มเริม่ งานผมท�าแต่ภาพสเก็ตช์และเสียงตามมาทีหลัง ผมไม่ได้คดิ ถึงเรือ่ งเสียง ผมก็แค่อยาก จะสร้างอะไรให้ดเู หมือนเมฆทีอ่ ยูบ่ นเสาไม้และผมก็คดิ ว่าผมจะท�าเมฆได้อย่างไร ผมก็เลยตัดสินใจ ว่าเอาล่ะใช้ถงุ พลาสติกก็แล้วกันโดยใช้เป็นพันๆ ถุงเลยแล้วเราก็เริม่ ท�ามัน และทันทีทคี่ นงานเริม่ ติดมันขึน้ ไปเสียงก็มาทันที เพราะว่ามันท�าจากพลาสติกเสียงก็เลยดังจริงๆ นัน่ คือว่ามันเกิดได้ อย่างไร เราไม่ได้คาดการณ์ไว้ในตอนเริม่ ต้น

และก็ในงานศิลปะอินสตอลเลชั่นของคุณอย่างเช่น Rotunda มันมีกลิ่น อายของคลาสสิค …?

ใช่เลย ภาพของคลาสสิคมักจะอยู่ในหัวของผมเสมอและก็มักจะมีส่วนอยู่ในงานออกแบบ สถาปัตยกรรม ดังนั้นงาน Rotunda เลยมีคลาสสิคเป็นธีม ปกติมันจะเป็นลักษณะทรงกลม แนวความคิดในตอนแรกของผมก็คอื ท�าอะไรทีม่ นั เป็นทรงกลมๆ แล้วไม่รเู้ ป็นเพราะอะไรผมคิด ว่าทรงรีนา่ จะดีกว่าในกรณีนี้ แล้วผมก็สร้างหอกลมทีม่ ที รงรี แต่แน่นอนมันมีแรงบันดาลใจมา จากสถาปัตยกรรมคลาสสิค นัน่ คือสิง่ ทีผ่ มสนใจ ผสมผสานรากของคลาสสิคเข้ากับของทีท่ งิ้ แล้วกับสถาปัตยกรรมร่วมสมัยเข้าด้วยกัน มันน่าสนใจมากว่ามันจะออกมาเป็นอย่างไรในการ ผสมผสานแบบไม่ตงั้ ใจแปลกๆ เข้าด้วยกัน ผมยังคงคิดถึงความหลากหลายแบบอืน่ ๆ อีกด้วยนะ คุณช่วยให้มุมมองของคุณกับสถาปัตยกรรมในปัจจุบันได้ไหม และก็ เกี่ยวกับสถาปนิกที่ท�างานในกรุงมอสโคว์และรัสเซีย คุณเห็นอะไรที่ น่าสนใจที่ก�าลังเกิดขึ้นอยู่ไหม หรือว่าไปในทิศทางที่ถูกต้อง อาจจะเป็น พวกสถาปนิกรุน่ ใหม่?

ผมรูว้ า่ มีสถาปนิกรุน่ ใหม่จา� นวนมากทีเ่ ก่งจริงๆ และผมแน่ใจว่าอะไรดีๆ ก็จะเกิดขึน้ ส�าหรับผม มันก็ยงั มีปญั หาอยูบ่ า้ งกับเรือ่ งทีม่ กี ารท�าลายทัง้ เมือง ผมรูส้ กึ เศร้าเกีย่ วกับเรือ่ งนีแ้ ละบางทีผมก็ไม่ ได้สงั เกตว่ามีสงิ่ ดีๆ เกิดขึน้ เพราะว่าผมเศร้าอยูก่ บั เรือ่ งแย่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับเมืองนีม้ ากเกินไป แต่ แน่นอนว่ามีสถาปนิกเก่งๆ หลายคนทีส่ ามารถจะท�าอะไรดีๆ ขึน้ มา โดยทัว่ ไปปัญหาอย่างหนึง่ ส�าหรับผมก็คอื มันค่อนข้างยากทีผ่ มจะพูดถึงเรือ่ งนีเ้ พราะว่าผมเองก็ไม่ใช่สถาปนิกทีส่ ร้างงานขึน้ มามากมายอะไร ผมไม่ได้ทา� งานโครงการใหญ่ๆ ในเมือง มันก็เป็นอีกเหตุผลหนึง่ ทีผ่ มมักจะคิด เสมอว่าผมไม่ตดั สินอะไรก็จะดีกว่านะ เพราะว่าผมแค่เป็นคนทีม่ องเข้าไปจากข้างนอก มันง่ายนะ ทีจ่ ะวิพากษ์วจิ ารณ์สงิ่ ต่างๆ ทีค่ ณุ ไม่เคยท�ามันขึน้ มา ผมเลยชอบทีจ่ ะมองดูมนั และตัง้ ข้อสังเกต ของผมเอง แต่ผมก็ยงั คิดว่าสถาปนิกหลายคนในช่วงหลายปีนใี้ ห้ความใส่ใจกับแนวความคิดทีจ่ ะไป ให้ถงึ ระดับเดียวกับสถาปัตยกรรมตะวันตกมากจนเกินไปและก็หลงลืมสิง่ ทีเ่ ป็นของท้องถิน่ เกีย่ ว กับเอกลักษณ์และอะไรทีเ่ ป็นของเฉพาะเจาะจงทีม่ อี ยูแ่ ต่ในรัสเซียหรือมอสโคว์เท่านัน้ พวกเขา พยายามทีจ่ ะเข้าถึงภาพลวงตาของสถาปัตยกรรมตะวันตกและตอนนีค้ ณ ุ ภาพของอาคารก็ไม่ตา่ ง กับตะวันตกไม่มากก็นอ้ ย สถาปัตยกรรมเองก็ดเู หมือนตามอย่างของตะวันตกจริงๆ แต่สา� หรับ ผมมันไม่ใช่อะไรที่ใหม่จริงๆ ผมก�าลังคิดว่าสถาปัตยกรรมแบบไหนที่จะมีความเป็นเอกลักษณ์ ของตัวเองเหมือนทีม่ นั เคยเป็นมาในสมัยก่อน มันก็เหมือนกับหน้าตาทีแ่ ท้จริงตามปกติของเมือง สถาปัตยกรรมสมัยใหม่จะเป็นความพิเศษก็ตอ่ เมือ่ คุณสามารถทีจ่ ะท�าให้จดจ�าได้วา่ นีค่ อื กรุงมอสโคว์ เพราะเดีย๋ วนีม้ อี าคารผุดขึน้ มามากมาย ถ้าคุณไม่รวู้ า่ คุณอยูท่ ไี่ หน เหมือนกับเมืองอืน่ ๆ คุณมอง ไปแล้วก็คดิ ว่ามันเป็นเบอร์ลนิ หรือว่ามันอยูใ่ นอเมริกา หรือเวียนนา หรือว่าเมืองอืน่ ๆ มันเป็น เรือ่ งยากแต่ผมว่านัน่ ล่ะคือสิง่ ทีเ่ ราคิดว่ามันขาดหายไป

ภัตตาคาร 95º Restaurant ในพิโรโกโว อาคารยกพืน้ ไม้กงึ่ ทึบกึง่ โปร่งทีอ่ ยูบ่ น ชายน�า้ โดยมีเสาสูงทีเ่ อนในองศาเดียวกับ ชือ่ ของภัตตาคาร 273


เราไป Georgetown ของปีนงั ในมาเลเซียมาเมือ่ ไม่นานมานี้ มันเป็นเมือง ประวัติศาสตร์ บริเวณศูนย์กลางของเมืองมีอาคารที่เป็นมรดกเก่าแก่ ในฐานะนักท่องเที่ยวมันสวยจริงๆ แต่พอไปอีกที่หนึ่งซึ่งเป็นพื้นที่เพิ่ง พัฒนาและก็มคี อนโด มีชอ็ ปปิง้ มอลล์ทตี่ งั้ อยูร่ มิ น�า้ เต็มไปหมด และในฐานะ สถาปนิกมันเป็นอะไรทีน่ า่ แปลกใจเพราะว่ามันรูส้ กึ เหมือนว่าคุณก�าลังอยู่ ในอเมริกาหรืออะไรประมาณนี้ มันแตกต่างกันโดยสิน้ เชิงและมันก็ไม่คอ่ ย ดีนกั แล้วก็มคี นพาเราไปพบกับสถาปนิกชาวมาเลเซียคนหนึง่ ทีอ่ ยูท่ นี่ นั่ ด้วย และเขาก็พดู ว่ามันน่าเสียดายแต่ในความเป็นจริงแล้วคนส่วนใหญ่ใน Georgetown ต่างก็ไปทีใ่ หม่กนั และก็ชอบมันด้วยเพราะว่ามันเป็นไลฟ์สไตล์ และอาคารก็ใหม่กว่า คุณคิดว่าจริงๆ แล้วคนส่วนใหญ่ตอ้ งการพืน้ ทีเ่ หล่า นีท้ บี่ างทีสถาปนิกอาจคิดว่ามันน่าเบือ่ ?

โชคร้าย ทีม่ นั ใช่ซะด้วย ผมคิดว่ามันมีคนจ�านวนมาก เหมือนกับทีผ่ มเห็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ กับกรุงมอสโคว์ เขาสร้างตึกขนาดใหญ่ ซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดมหึมาและก็สร้างมันเต็มไปหมด และผมเองก็ไม่รวู้ า่ คนพวกนีม้ าจากไหนแต่มนั ก็มคี นเต็มไปหมด พอเขาสร้างหลังใหม่ขนึ้ มาก็มคี นเต็มไปหมด เขา ก็สร้างมันขึน้ มาอีกมันก็เต็มอีก ซึง่ ก็หมายความว่าผูค้ นต้องการมันแต่มนั ช่างน่าเกลียดมาก แย่ จริงๆ ผมรูส้ กึ หดหูจ่ ริงๆ ตอนทีผ่ มเข้าไปแต่กม็ ผี คู้ นจ�านวนมากทีเ่ ข็นรถทีเ่ ต็มไปด้วยอาหารและ ก็ดเู ขามีความสุขดี ดังนัน้ ผมจึงมีความสุขจริงๆ ทีไ่ ด้เห็นตลาดเก่าๆ เหล่านีท้ ยี่ งั เป็นทีน่ ยิ มอยู่ ไม่ใช่เฉพาะช็อปปิง้ มอลล์อย่างเดียว มีตลาดเก่าทีน่ า่ อัศจรรย์เหล่านีใ้ นกรุงเทพฯ ซึง่ เป็นสมบัตทิ มี่ ี ค่าจริงๆ และมันก็เต็มไปด้วยผูค้ น แต่ชอ็ ปปิง้ มอลล์กม็ คี นเต็มเหมือนกัน แต่เดีย๋ วนีใ้ นกรุงมอสโคว์ เรามีแต่ชอ็ ปปิง้ มอลล์อย่างเดียว ตลาดเก่าก็คอ่ ยๆ หายไปทีละตลาด มันแย่มากๆ ผมคิดว่าการ เก็บความสมดุลเอาไว้นเี้ ป็นสิง่ ทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คุณคงจะหลีกเลีย่ งความทันสมัยขนาดใหญ่เหล่านีไ้ ม่ ได้ แต่มนั ก็คงต้องสร้างให้อยูต่ ามชานเมืองหรือนอกเมืองส�าหรับคนทีต่ อ้ งการทีจ่ ะไป ส�าหรับคนที่ ไม่ตอ้ งสิง่ เหล่านัน้ และชอบทีจ่ ะหิว้ ตะกร้าและก็ไปยังตลาดน�้าและก็ซอื้ อาหารทีน่ นั่ เราต้องอนุรกั ษ์ สถานทีน่ ซี้ งึ่ มีความส�าคัญจริงๆ ผมคิดว่าพวกคุณโชคดีมากทีใ่ นกรุงเทพฯ ยังมีสถานทีเ่ หล่านีอ้ ยู่ เราก็พยายามกันอยู่และพยายามที่จะไปในทิศทางนั้นและเราก็ขับเคลื่อน ไปช้าๆ แต่บางทีนะถ้ามีคนตระหนักถึงเรือ่ งนีม้ ากพอ หรือต้องการรูปแบบ ทีแ่ ตกต่างมันก็นา่ จะดีขนึ้ แต่ไม่รซู้ นิ ะ เราก็ยงั สร้างคอนโด ช็อปปิง้ มอลล์ ใหม่ขนึ้ มามากมาย ….

มันเป็นกระแสนิยม มันเป็นปัญหาของความนิยมทีค่ ณุ ไม่สามารถจะหลีกเลีย่ งได้เหมือนในยุค 60 ตอนทีเ่ ฟอร์นเิ จอร์สไตล์ใหม่กลายเป็นกระแสนิยม พวกโต๊ะสามเหลีย่ มบน 3 ขา ของพวกนัน้ น่ะ คนต่างก็โยนทิง้ ของสวยๆ งามๆ ของยุคศตวรรษที่ 19 ทิง้ พวกเขาได้ทงิ้ สมบัตทิ มี่ คี ณุ ค่าไปอยู่ ทีข่ า้ งถนนแล้วมันก็หายไป ตอนนีม้ นั มีราคาสูงมากในงานขายของโบราณ ซึง่ มันเหมือนกันเลย ที่ตอนนี้ไม่มีใครสนใจเฟอร์นิเจอร์ในยุค 60 อีกต่อไปนอกจากบางคนแต่ในตอนนั้นทุกคนโยน เฟอร์นเิ จอร์ของปูย่ า่ ตายายทิง้ ไปทีถ่ นน เขาไม่สามารถขายมันได้เพราะว่าไม่มใี ครสนใจ นัน่ คือ กระแสนิยมและนัน่ ก็เกิดขึน้ กับสถาปัตยกรรมเหมือนกัน

“But when I see a huge shopping mall built in the historical center of a place where I remember nice old strongenough buildings that were burned down just because of money, thenpreservation I cannot look at this building as an architectural thing.” 275


cross-disciplinary “the concept is not about living at home, but rather a professional world where you share knowledge and where you meet people.’’ Jurgen Bey 48 “Play is crucial. Playing suggests a state of engagement that is not serious, it is not supposed to be permanent...” Seksan Ng 214 “When a designer starts to make a chair, I think it is my job to find a way to absorb the side effect of this chair.” Mathieu Lehanneur 234 ‘‘And, of course, this is the reason why during my speech I said, ‘Please do not read too many design magazines’ because the answers and too many questions come from magazines, and because inspiration can come from research on medicine, or on military.’’ Mathieu Lehanneur 247

education “Every designer has to learn to understand problems, before they design. If you are a responsible architect, you have to learn a lot.” Li Xiao Dong 90 ‘‘Every design is not preconceived images, rather, it is a process of denotation of problems you have.’’ Li Xiao Dong 100 “The main problem is the architectural education system it is a continuation of the past. We are still focusing on skills, but design concepts have changed tremendously” Li Xiao Dong 119 “To look only at some architects, you will never be like them. Look up for your own way and it will be yourself. Keep on fighting; never give up.” Francis Kere 124 “It might not be enough just to look at the quality of a practice but more to look at the quality of education in general.” zlgdesign 182

experience “Architecture is about communication and you have to make it possible for people who enter the space to understand what you do, even though it sounds simple at the beginning, there’s complexity behind it.” Jürgen MayerHermann 10 “I know we shouldn’t talk about feelings when it comes to architecture, we are

told not to. But the more I work as an architect, the more I think that it’s a very important ingredient for producing architecture.” Jürgen Mayer-Hermann 27 “Time is not a problem because we all have 24 hours.” Jurgen Bey 67 “Architecture is a dialogue with society, client and climate. I do not take one model and bring it to another place.” Francis Kere 127 “If the people don’t care about the project, the project is dead...When I feel the ownership of something, I will take care of it. That’s the whole point.” TYIN Tegnestue Arkitekter 163 ‘‘Architecture is a matrix of people’s behaviours and expectations, where economics and developers’ dreams are adjacent with the conception of quality and workmanship.’’ zlgdesign 207 “I hope there will be more focus on very few objects, the very few projects that are able to improve their lives and are not just interesting in terms of showing to their friends.” Mathieu Lehanneur 238

green “So you see, for outdoor garden, there is much more term to take in consideration; but it’s still interesting or challenging; so every time, I chose different plants because it’s very special for in outdoor. For me, it’s very interesting.” Patrick Blanc 43 “Vertical garden is really kind a piece of nature inside the town.” Patrick Blanc 45 “Today, sustainability is not just an agenda, not about following only the Green Mark; it’s not about getting the endorsement from the city council, not getting any other awards.” zlgdesign 201 “Because there wasn’t really precedence to follow the next thing to do was to experiment, to try to pump in new ideas into the landscape scene and in the process, hopefully initiate something that can be distilled and developed over the next fifty or hundred years into something worth thinking about and refining.’’ Seksan Ng 210 “Landscape architecture needs to be inspired by local arts and culture as well as understand its local climate and vegetation.” Seksan Ng 226

local

‘‘A lot of design today is about conceptual design, and a lot of the concepts are based on forms and ideas that people have, and not based on real issues. I think all of our concepts now are really down-to-earth.’’ TYIN Tegnestue Arkitekter 138 “I also learn that there’s the fourth dimension, which is time and people, because without them, there’s no architecture.” TYIN Tegnestue Arkitekter 143 “Is it necessary that somebody in Europe buys all year round fruits from Asia?” Dirk Hebel 177 “At the end of the day, these are just objects. What is most rewarding for landscape architecture when revisiting some of our projects is to see how it is utilised.” Seksan Ng 231

preservation

“Tradition is usually clearer when it’s put to discussion, because for a lot of people, the sight of a traditional house allows you to understand things better.” Mamoyo Kaijima 84 “I’m not generally against building something bigger, I’m really against building as the result of destroying...” Alexander Brodsky 250 “But I still think that a lot of architects, for many years, concentrated too much on the idea of reaching the western level of architecture and forgot about the local things” Alexander Brodsky 263 “But when I see a huge shopping mall built in the historical center of a place where I remember nice old strong-enough buildings that were burned down just because of money, then I cannot look at this building as an architectural thing.” Alexander Brodsky 275

are outstanding and incredible but if everybody is following right now this kind of mainstream thing right?” Dirk Hebel 179

urban

“Mostly, architecture happens in places where development is needed. It’s rare to see architecture getting built in an already perfect location, that’s maybe different.” Jürgen Mayer-Hermann 16 “Everything is better and better, but anywhere everybody try to tell you it worse and worse.” Patrick Blanc 30 “But one thing in this issue is that people is more and more living in town, more and more in form of biology, biodiversity; more and more contact with the plants but it can’t be a nature forest because it’s too far from their home.” Patrick Blanc 32 “People hardly turn their phones off these days, so the amount of communication is growing.” Jurgen Bey50 “I think in Bangkok and other urban environments, many interesting urban behaviours take place, either in buildings or the people.” Mamoyo Kaijima 72

vernacular

‘‘Vernacular, for me is the contemporary or something that’s really today’s issues. We integrate what’s happening today, not from tradition.’’ Mamoyo Kaijima 70 “We always try to find the way out; what the possibility is, and we start to think about the edge that we can expand.” Mamoyo Kaijima 87 ‘‘Using local materials, working with and training people so people can do it themselves, this is how you make architecture in Africa.’’ Francis Kere 122 “The intention was to show different ways to build with the same materials. It’s innovation. We tried to show them a “The new mines will not be for gold or for way to make it better.” Francis Kere 135 silver or for any other metals. The new ‘‘I’m promoting the idea of going to the mines will be in our cities because I think future and looking back at these so many materials are simply conceived vernacular materials, but using them in a as waste, which could have the potential completely different way.’’ Dirk Hebel 168 to become new building materials in the “I think the challenge is not in using new future.” Dirk Hebel 166 technologies but in understanding the “simply open your eyes and look around traditional way of thinking and learning you and I think there is so many potentials from, for example, the vernacular to research and to design things which building in the kampong.” zlgdesign 193

upcycling


Publisher art4d/Corporation 4d Limited 81 Sukhumvit 26 Bangkok 10110 Thiland www.art4d.com Editors Mongkon Ponganutree Pratarn Teeratada Rapee Chaimanee Rebecca Vickers Editorial Manager Sudaporn Jiranukornsakul Designers Wilapa Kasviset Manussanit Srirajongdee Darunee Terdtoontaveedej Vanicha Srathongoil Production Manager Areewan Suwanmanee Special thanks to Pirak Anurakyawachon Narong Othavorn Natre Wannathepsakul Veena Mahasith Supitcha Tovivich Florian Schaetz Simon Soon ISBN 978-616-91669-3-1 Š 2014 Corporation4d All rights reserved. No part of this publication may be reproduced or transmitted in any form or by any means, electronic or mechanical, including photocopy or any storage and retrieval system, without written permission from the publisher. Printed in Thailand



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.