Vol. 8 No.28 January - March 2022 : TH/EN
www.sugar-asia.com Published By
นำำ � เสนอนวัั ต กรรมการผลิิ ต เชื้้ � อ เพลิิ ง เอทานอลจากเซลลูู โ ลสแบบเชิิ ง พาณิิ ช ย์์ สู่่ � ป ระเทศไทย
The sunliquid® process:
The sunliquid® process: Bringing new proven solutions for commercial cellulosic ethanol production to Thailand Page 24
www.sugar-asia.com
THB 150 : USD 5
BULK SOLID HEAT EXCHANGERS BULK SOLID COOLER for SUGAR based on indirect cooling.
FOR BEET and CANE SUGAR BEST PRODUCT QUALITY No Contamination No Odours Controlled Humidity
LOWEST ENERGY CONSUMPTION and COST: Less then 0,5 kWh/Ton Limited OPEX;
PACKING AND STORAGE
at constant Temperature, regardless ambient and wheather conditions
IDEAL FOR BOTH NEW INSTALLATION and RETROFITTING TOTAL STAINLESS STEEL CONSTRUCTION
FIC s.p.a Via Trivulzia, 54 23020 Mese (SO) - Italy
www.fic.com
Tel +39 0343 41051 Fax +39 0343 41304 fic@fic.com
Cellulosic ethanol from agricultural residues THINK AHEAD, THINK SUNLIQUID®
Highly efficient sunliquid is an economic and sustainable process to generate biobased products from lignocellulosic biomass. It opens up new feedstocks not only for fuel, but also for sustainable chemistry from untapped resources – like cellulosic ethanol from straw. www.clariant.com www.sunliquid.com
sunliquid_Anzeige_A4_RZ.indd 1
19.12.12 10:53
www.sugar-asia.com
Kenny Yong Guest Editor Managing Director
Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd.
EDITOR’S MESSAGE Editor Managing Director Kenny Yong Publications Manager Rungnapa Manathanakit rungnapa@fireworksbi.com
Editorial Consultants Poontarika Saenrit Board of Directors Kenny Yong Susan Tricia Content Editor editor.th@fireworksbi.com
Translator Korapat Pruekchaikul Designer Kridsada Prasomthongthae
Greetings Readers! A VERY HAPPY NEW YEAR TO ALL OUR READERS! It seems brisk as we are now in 2022. Travelling had been restricted since 2020 and we are glad to be seeing a glimmer of light at the end of the tunnel this year as we anticipate a better outlook for 2022! Our regional Sugar events in Thailand and Indonesia are all slated to run in 2022 allowing us to finally meet up with the Sugar & Ethanol industry again and our Publications team are getting all excited! As expos begin to open, we are glad to be announcing that our exhibitions division would be running the 3rd edition of Sugarex Thailand Expo 2022, Asia’s largest sugar & ethanol event is scheduled to be held in the sugar hub of Thailand. The physical event would be held on 8- 9 September 2022 at KICE, KhonKaen Thailand. Sugar Asia Magazine would be having a booth there and visitors would be able to get copies of the hard copy magazines at the event! Stay safe and make a date to see us at our Sugarex Thailand (www.thaisugarexpo.com) events in 2022! Cheerios!
Follow us on Sugar Asia Magazine
FBI Publications (Thailand) Promphan 2 Office & Residence, 8th Floor (Office Zone, Room 807) 1 Soi Lat Phrao 3, Lat Phrao Road, Jompol, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand
Tel : (+66) 2513-1418 ext 108 Fax : (+66) 2513-1419 Email : thai@fireworksbi.com
Publisher :
SugarAsiaMag
Sugar Asia Magazine
Sugar TV
Sugarcane mills Operating processes and appropriate tools There are multiple processes for manufacturing and maintenance of equipment and containers. PFERD offers a wide range of appropriate tools to service all quality requirements in surface restructuring and or restoration. Cutting and grinding discs, machinist and specialty files, TC Burrs, HSS rotary cutters, mounted points, along with tools for fine finishing of sundry sugarcane mill materials. For other abrasive tools, ask for our catalog by e-mail Visit our website www.pferd.com info@pferd.com or consult your nearest PFERD sales office. Office Located in Samutprakan. Tel. +66 85 316 3666, +66 2 136 2068 Email: thippawan.moolpong@pferd.com
C
ONTENTS Vol. 8 No.28 January - March 2022
6 9
REGIONAL INDUSTRY NEWS
6
มิิตรผล ผนึึกกำ�ลั ำ ัง Meat Avatar ตอบรัับเทรนด์์ตลาด Plant-based Food สู่่�เวทีีโลก
8
“บางจาก-น้ำำ�� ตาลขอนแก่่น” เล็็งหาพัันธมิิตร ร่่วมลงทุุนตั้้ง� โรงงานผลิิต สิินค้้าชีีวภาพมููลค่่าสููง
9
MSM มาเลเซีีย - โคคาโคล่่า ลงนามสััญญาน้ำำ�� ตาลมููลค่่ากว่่า 290 ล้้าน ริิงกิิต
Mitr Phol invests in food tech startup Meat Avatar
Bangchak & KSL Seek Partner for High Value Bio Based Product Factory Investment
MSM Malaysia Bags RM290mil Sugar Supply Contract with Coca-Cola
10 อุุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลเวีียดนามเร่่งฝ่่าฟัันการแข่่งขัันในประเทศ
Vietnam sugar industries speeds up domestic trade competition
INTERNATIONAL NEWS
12 แทนซาเนีียก้้าวสู่่ก� ารเป็็นศูนู ย์์กลางน้ำำ�� ตาลแอฟริิกา
Tanzania can become Africa’s hub for sugar
นเดีียมุ่่�งปฏิิวััติิทางการเกษตรกรรม 2.0 เพื่่�อให้้การเกษตรทนต่่อ 14 อิิสภาพอากาศและยั่่� งยืืนมากขึ้้�น India needs Green Revolution 2.0 to make Agri more climate-resistant, sustainable
12
PLANTER CORNER
16 บราซิิลพััฒนาอ้้อยพัันธุ์์� CRISPR ได้้สำ�ำ เร็็จเป็็นครั้้�งแรกของโลก
World’s first CRISPR-edited sugarcane developed in Brazil
16 COVER STORY
19
19
พลิิกฟื้้�นภาคอุุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลพร้้อมเผชิิญหน้้ากัับความท้้าทายใหม่่ ในฤดููกาลหน้้า Sugar Sector Recovery to Face New Challenges for Next Season
www.sugar-asia.com
SUGAR ASIA MAGAZINE
SPECIAL INSIGHT
24
sunliquid® process:นำำ�เสนอนวััตกรรมการผลิิตเชื้้�อเพลิิง 24 The เอทานอลจากเซลลููโลสแบบเชิิงพาณิิชย์์สู่่�ประเทศไทย
The sunliquid® process:Bringing new proven solutions for commercial cellulosic ethanol production to Thailand
Ability™ เปิิดตััวระบบ Sugar Library 800xA เน้้นช่่วยผู้้� 28 ABB ผลิิตเพิ่่�มความยืืดหยุ่่�นและควบคุุมการตรวจสอบ
New release of ABB Ability™ System 800xA Sugar Library boosts manufacturers’ monitoring and control flexibility
30
28
ETHANOL NEWS
30 ‘บางจาก’ ผุดโปรเจ็คต่อยอดเอทานอล ผลิตน�้ำมันเครื่องบินคาร์บอนต�่ำ
Bangchak Kicks off Ethanol Project for Low Carbon Jet Fuel
32 อิินเดีียนำำ�จีีนใช้้เอทานอลเป็็นอัันดัับ 3 ของโลก
India to surpass China as 3rd largest user of Ethanol
BIOENERGY NEWS
32
33 สถาบัันน้ำำ�� ตาลคานปููร์์ประสบความสำำ�เร็็จผลิิต ‘ไบโอชาร์์’
Sugar Institute achieves success in producing ‘activated bio-char’
33 RESEARCH NEWS
34
นัักวิิทยาศาสตร์์พััฒนาพอลิิเมอร์์จากน้ำำ�� ตาลที่่�นำำ�มารีีไซเคิิลได้้
Scientists Develop Mechanically Recyclable Sugar-based Polymers
www.sugar-asia.com
34 36 ADVERTISERS’ INDEX
Regional News
มิิตรผล ผนึึกกำำ�ลััง Meat Avatar ตอบรัับเทรนด์์ ตลาด Plant-based Food สู่่�เวทีีโลก Mitr Phol invests in food tech startup Meat Avatar
M
itr Phol Group, Asia’s largest sugar producer, has made a new investment in Meat Avatar Co, a food technology startup, as it diversifies into the plant-based meat business to catch the trend in future food in Thailand and overseas.
Mr Voradate, Mr Wiphu and Warut Janpoe, deputy managing director of Meat Avatar Co, at a press conference on a plant-based meat business. Mitr Phol Group
มิิ
ตรผล จัับมืือ Meat Avatar สตาร์์ทอััพไทย ผู้้�ผลิิต plant-based food ตอกย้ำำ��จุุดยืืนด้้านความยั่่�งยืืน พร้้อมตั้้�งเป้้าพาธุุรกิิจ Food Tech Startup ไทยสู่่�เวทีี การค้้าระดัับโลก นายวรเดช ฉัันทศาสตร์์โกศล ผู้้�จััดการฝ่่ายพััฒนา ธุุรกิิจ Energy & New Business กลุ่่�มมิิตรผล เปิิดเผย ว่่า ตลอดระยะเวลาที่่�ผ่่านมา กลุ่่�มมิิตรผลให้้ความสำำ�คััญ กัับการสร้้างธุุรกิิจที่่�ยั่่�งยืืน จะทำำ�ให้้องค์์กรสามารถเติิบโต อย่่างยั่่�งยืืนได้้อย่่างแท้้จริิง จึึงดำำ�เนิินงานโดยยึึดหลััก ESG (environmental, social and governance) ภายใต้้ปรััชญา “ร่่วมอยู่่� ร่่วมเจริิญ” ในการพััฒนาธุุรกิิจ ด้้วยการนำำ�การวิิจัยั นวััตกรรมและเทคโนโลยีีเข้้ามาต่่อยอดการใช้้ทรััพยากร ชีีวภาพให้้เกิิดประโยชน์์สููงสุุด เพื่่�อมุ่่�งสู่่� New S-curve เช่่น Future food ประจวบเหมาะกัับเทรนด์์การบริิโภค Plant-based Food ที่่�กำำ�ลัังมาแรงในกลุ่่�มผู้้�บริิโภคยุุคใหม่่ที่่�หัันมาใส่่ใจ สุุขภาพและสิ่่�งแวดล้้อมมากขึ้้�น รวมถึึงเทรนด์์การทานอาหาร มัังสวิิรััติิแบบยืืดหยุ่่�น (Flexitarian) ที่่�ทำำ�ให้้ง่่ายและสะดวก ต่่อการใช้้ชีีวิิตอย่่างเร่่งรีีบในยุุคนี้้� ส�ำหรับในประเทศไทย ตลาด Plant-based Food คาดวา่ จะมีมูลค่าสูงถึง 4.5 หมื่นล้านบาท ในปี 2567 หรือ เติบโตเฉลี่ยปีละ 10% ยิ่งท�ำให้ Plant-based Food กลาย เป็นทางเลือกใหม่ในใจของผู้บริโภคหลาย ๆ คน จึงมองว่า ตลาด Plant-based Food ยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก ทั้้�งนี้้� การประกาศจัับมืือกัับ Meat Avatar ครั้้�งนี้้�
6
จึึงเป็็นโอกาสที่่�ดีสำี ำ�หรัับกลุ่่�มมิิตรผลที่่�จะได้้สานต่่อเจตนารมณ์์ ในการดำำ�เนิินธุุรกิิจสู่่�ความยั่่�งยืืน โดยเรามีีความตั้้�งใจที่่�จะ สนัับสนุุน Startup ไทยโดยคนรุ่่�นใหม่่มากศัักยภาพอย่่าง Meat Avatar ให้้เติิบโตอย่่างแข็็งแกร่่ง พร้้อมเป็็นส่่วนหนึ่่�ง ในการขัับเคลื่่อ� นธุุรกิิจนวััตกรรมอาหารเพื่่อ� อนาคตของไทย สู่่�การแข่่งขัันในเวทีีการค้้าโลก โดยกลุ่่�มมิิตรผลเผยถึึงทิิศทางการสนัับสนุุนแบรนด์์ Meat Avatar ในเชิิงธุุรกิิจ ด้้วยการมุ่่�งเสริิมทัพค ั วามแข็็งแกร่่ง ใน 3 ด้้าน ได้้แก่่ 1) การเสริิมทััพด้้านการวิิจัยั และพััฒนา (Research and Development) เพื่่�อส่่งเสริิมให้้เกิิดนวััตกรรมอาหาร ที่่�ใส่่ใจสุุขภาพและสิ่่�งแวดล้้อมในอนาคต 2) การเสริิมศัักยภาพด้้านกระบวนการผลิิต เพื่่�อ เตรีียมรองรัับการขยายฐานการเติิบโตในอนาคต 3) การเชื่่อ� มโยงเครืือข่่ายธุุรกิิจ เพื่่อ� ขยายฐานลููกค้้า ในฐานะที่่�กลุ่่ม� มิิตรผลอยู่่ใ� นอุุตสาหกรรมอาหารมายาวนาน มีีฐานการผลิิตในหลายประเทศ จึึงสามารถช่่วยสร้้างโอกาส การขยายธุุรกิิจในต่่างประเทศและเพิ่่�มขีีดความสามารถใน การแข่่งขัันในระดัับสากล นายวิิภูู เลิิศสุุรพิิบููล ประธานเจ้้าหน้้าที่่�บริิหาร บริิษััท มีีท อวตาร จำำ�กััด กล่่าวว่่า Meat Avatar เราเป็็น ธุุรกิิจ Food Tech Startup ที่่�มุ่่�งมั่่�นพััฒนาและนำำ�เสนอ Plant-based Meat ที่่�มีีคุณ ุ ภาพ โดยเรามีีความตั้้�งใจอยาก ให้้คนไทยได้้ทานอาหาร Plant-based ในราคาไม่่แพง เพราะ ความได้้เปรีียบของเมืืองไทยทีีเป็็นเมืืองเกษตรกรรม ควบคู่่� ไปกัับการได้้สนับั สนุุนเกษตรกรไทย มารวมกัับความโดดเด่่น ของการนำำ�เสนอผลิิตภััณฑ์์ในรููปแบบหมููกรอบ หมููสัับ ซึ่่�ง เป็็นวััตถุุดิบิ หลัักในสไตล์์เมนููอาหารที่่�คนไทยและชาวเอเชีีย ชื่่�นชอบ แตกต่่างจาก Plant-based Meat ของต่่างประเทศ ที่่�มัักมาในรููปแบบเนื้้�อเบอร์์เกอร์์ นอกจากนี้้� ในอนาคตจะเพิ่่�มความหลากหลายด้้วย ผลิิตภััณฑ์์ทดแทนเนื้้�อสััตว์์ประเภทอื่่�น ๆ เพื่่�อตอบความ ต้้องการของผู้้�บริิโภคให้้ได้้มากขึ้้�น เช่่น ปลา ปลาหมึึก เป็็นต้้น รวมถึึงเตรีียมบุุกตลาด Ready to eat โดยร่่วมมืือกัับ แบรนด์์ร้า้ นอาหารต่่าง ๆ นำำ�ความเชี่่�ยวชาญของแต่่ละฝ่่ายมา เสริิมทััพกััน เพื่่�อสร้้างสรรค์์ไอเดีียนวััตกรรม Plant-based Food ที่่�ยิ่่�งใหญ่่ออกสู่่�ตลาดต่่อไป ขณะที่่�การร่่วมเป็็นพัันธมิิตรกัับกลุ่่�มมิิตรผลในครั้้�งนี้้� เป็็นการประกาศจุุดยืืนร่่วมกัันในการมุ่่�งสู่่�ธุุรกิิจเพื่่�อความ ยั่่�งยืืน พร้้อมยกระดัับขีีดความสามารถของภาคเกษตรและ นวััตกรรมอาหารแห่่งอนาคตของไทย โดยการเสริิมความ แข็็งแกร่่งทางธุุรกิิจจากกลุ่่�มมิิตรผล จะช่่วยให้้ Startup ได้้มีโี อกาสเติิบโต และก้้าวสู่่ก� ารแข่่งขัันในระดัับประเทศและ ระดัับโลกได้้ต่่อไป.
Both companies expect to see revenue reach 100 million baht by the end of this year, said Voradate Chantasatkoso, manager for energy and new business development of Mitr Phol Group. He did not reveal the value of the investment. Thailand is a high potential market for this type of food because of more public awareness of healthcare issues and the trend for vegetarian food in the country. Mitr Phol expects the value of plant-based food products in the Thai market to reach 45 billion baht by 2024, with a growth of 10% a year. “We focus on innovations and high technologies that can add value to agricultural products,” said Mr Voradate. His company currently runs a research and development centre in the northeastern province of Chaiyaphum to develop new products. The investment in Meat Avatar will lead to a new business opportunity to promote plant-based products through more R&D on new healthy food and better production process to serve increasing demand in the market. Mitr Phol also aims to expand customer base by applying its expertise and decades of experience in the food industry. The company owns production facilities in many countries. These factors will pave the way for Mitr Phol and Meat Avatar to enhance competitiveness and expand the market overseas. Wiphu Loetsuraphibun, chief executive of Meat Avatar, said his company has already developed two products -- crispy and minced pork -- derived from plants. Crispy and minced pork are key ingredients in a range of local dishes. His company has 10 more products in the pipeline, scheduled to be launched later this year. “We will first focus on the Thai market before expanding the business into the Asean market,” said Mr Wiphu. Meat Avatar believes the investment will help it increase production capacity for the business expansion plan. The company not only aims to be a leader in the plant-based food business but also wants its technology to support Thai farmers by adding value to farm produce. “We want to offer non-meat food, which will not be limited to vegan-friendly burgers but also cover a wide array of other types of plant-based meat to satisfy diverse needs of consumers in the future,” said Mr Wiphu.
www.sugar-asia.com
Zuper Cera Block / Zuper Knife Tip IMCO เป็นบริษัทชั้นน้ำในอุตสำหกรรมโรงน้้ำตำลมีประสบกำรณ์ยำวนำนกว่ำ 40 ปี มีควำมรู้ ควำมช้ำนำญในกำรคิดค้นและผลิตสินค้ำที่ชว่ ยป้องกันกำรสึกหรอ และยืดอำยุกำรใช้งำนของสินค้ำ
IMCO ให้บรกิ ำรโรงงำนนำ้ ตำลมำกกวำ่ 2,000 แห่งในประเทศอนิ เดยี และส่งออกสนิ ค้ำสอู่ ุตสำหกรรมนำ้ ตำลทวั่ โลก Zuper Cera Block คือ หัวค้อนที่ใช้ส้ำหรับทุบให้แตกละเอียด ก่อนน้ำไปเข้ำกระบวนกำรผลิต เหมำะส้ำหรับกำรทุบอ้อยในโรงงำน น้้ำตำล หรือกำรทุบถ่ำนหิน ทุบหินปูน เป็นต้น Zuper Cera Block มีกำรผสม Ceramic ลงไปในเนื้อของ Chromium Carbide ทีม่ ีควำมแข็ง 62-64 HRC ท้ำให้เกิดควำมแข็งและเหนียว ทนต่อกำรแตกหัก และมีอำยุ กำรงำนมำกกว่ำค้อนที่เป็น Chromium Carbide อย่ำงเดียว ควำมพิเศษ Zuper Cera Block มำพร้อม High tensile bolt ที่เป็น bolt อบพิเศษ เพื่อป้องกันกำรหลุดของ หัว Tip ขณะใช้งำน Zuper Cera Block สำมำรถสั่งท้ำตำมขนำดที่ต้องกำร หรือตำมขนำด Hammer Body เพื่อลด ผลกระทบใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และลดต้นทุนเพรำะมีอำยุกำรใช้งำนมำกขึ้นกว่ำเดิม Zuper Cera Block
Zuper Knife Tip ใช้ส้ำหรับกำรสับ กำรตัด ท้ำจำก Chromium Carbide มี ควำมแข็ง 60-62 HRC สำมำรถสั่งท้ำตำมขนำดที่ต้องกำร 4”, 6”, 8” และ 10” ช่วยลดต้นทุน ด้ำนเวลำ และค่ำใช้จ่ำยในกำรผลิต (ชุดมีด)
ตัวแทนจ้ำหน่ำยในประเทศไทย อย่ำงเป็นทำงกำร
ลดเวลำกำรซ่อมบ้ำรุง
เพิ่มผลผลิตอย่ำงต่อเนื่อง ค่ำ P.I. สูงขึ้น
เพิ่มประสิทธิภำพและประสิทธิผล
ชุด CUTTING BODY ใช้ได้มำกกว่ำ 1 ครั้ง
Zuper Knife Tip ของ IMCO ออกแบบใหมโ่ ดยเลอื กใช้ Chromium Carbide เป็นสว่ นผสม จึงท้ำใหว้ สั ดทุ ผี่ ลิตออกมำประสทิ ธภิ ำพดีขนึ้ เพิ่มควำมแข็งและควำมเหนยี ว Zuper Knife Tip จะมีควำมทนทำน สำมำรถยืดอำยุกำรใช้งำนของตัวใบมีดได้นำนกว่ำ สินค้ำอื่นๆ ในประเภทเดียวกัน และที่ส้ำคัญมีผลต่อกำรบดสับที่ท้ำให้อัตรำส่วน กำรผลิตได้รับปริมำณเพิ่มมำกขึ้นกว่ำเดิม และลดต้นทุนค่ำใช้จ่ำย
Zuper Knife
VIPTEL CO., LTD. Moo 8, 71/39 Highway 36, T.Tabma, Muang, Rayong 21000 Hotline: (66) 063 271 1991 Tel: (66) 038-026-700, Fax: 038-026-710, www.viptel.asia, E-mail: sales@viptel.co.th
Regional News
“บางจาก-น้ำำ��ตาลขอนแก่่น” เล็็งหาพัั นธมิิตร ร่่วมลงทุุนตั้้�งโรงงานผลิิตสิินค้้าชีีวภาพมููลค่่าสููง Bangchak & KSL Seek Partner for High Value Bio Based Product Factory Investment
ก
ลุ่่�มบางจากฯ – กลุ่่�มน้ำำ��ตาลขอนแก่่น ดััน “บีีบีี จีีไอ” เล็็งหานัักลงทุุนต่่างชาติิ ลงทุุน 1-2 พัันล้้าน ตั้้�งโรงงาน CDMO ในไทย ผลิิตผลิิตภััณฑ์์ชีวี ภาพมููลค่่า สููง เอนไซม์์ คอลลาเจน โปรตีีนทางเลืือก ชูู SynBio นวััตกรรมสีีเขีียวตั้้�งเป้้า 5 ปีี เพิ่่�มสัดั ส่่วนรายได้้ ธุุรกิิจ High Value Bio-Based Products แตะ 50%
เมื่่�อวัันที่่� 8 กุุมภาพัันธ์์ 2565 ที่่�ผ่่านมา นายกิิตติิ พงศ์์ ลิ่่มสุ � วุ รรณโรจน์์ ประธานเจ้้าหน้้าที่่�บริิหารและกรรมการ ผู้้�จััดการใหญ่่ บริิษััท บีีบีจีี ีไอ จำำ�กััด (มหาชน) หรืือ BBGI กล่่าวว่่า BBGI มีีเป้้าหมายที่่�จะเริ่่�มโครงการโรงงานพััฒนา ผลิิต และจััดจำำ�หน่่ายผลิิตภััณฑ์์ชีวี ภาพที่่�มีมููี ลค่่าสููง (Contract Development and Manufacturing Organization (CDMO)) ซึ่่�งสามารถผลิิตผลิิตภััณฑ์์ชีวี ภาพมููลค่่าสููงต่่างๆ เช่่น เอนไซม์์, คอลลาเจน, เวย์์โปรตีีนจากนม, โปรตีีนจากไข่่ ตลอด จนผลิิตภััณฑ์์โปรตีีนทางเลืือก ซึ่่�งช่่วยเพิ่่�มประสิิทธิิภาพ ลด การเบีียดเบีียนทรััพยากรธรรมชาติิ และลดต้้นทุุนได้้ดีีกว่่า การผลิิตแบบดั้้�งเดิิม ล่่าสุุด บริิษััทอยู่่�ระหว่่างการพิิจารณาหาผู้้�ร่่วมทุุนกัับ พัันธมิิตร 2-3 ราย ที่่�มีคี วามชำำ�นาญในการทำำ� CDMO อีีกทั้้ง� มีีฐานการผลิิตที่่�ยุโุ รป สหรััฐฯ ซึ่่�งสนใจลงทุุนในประเทศไทย โดยโจทย์์ของบริิษัทั ต้้องพิิจารณาเลืือกผู้้�ที่่�จะสามารถต่่อยอด โรงงานไปสู่่ก� ารพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ชีวี ภาพที่่�มีมููี ลค่่าสููงดัังข้้างต้้น โดยอยู่่�ระหว่่างการศึึกษา เบื้้�องต้้น คาดว่่าโรงงานจะ ใช้้เงิินลงทุุน ประมาณ 1,000-2,000 ล้้านบาท ส่่วนที่่�ตั้้�ง โรงงานอาจใช้้ฐานพื้้�นที่่�เดิิมของบริิษัทั ที่่�มีอี ยู่่ห� ลายจัังหวััด เช่่น ฉะเชิิงเทรา หรืือกำำ�ลังั พิิจารณาพื้้�นที่่�ใหม่่ที่่�มีศัี กั ยภาพเหมาะสม นอกจากนี้้� BBGI ยัังมองหาพัันธมิิตรร่่วมลงทุุนใน ประเทศไทย ที่่�จะเป็็นการทำำ�ธุุรกิิจต้้นน้ำำ�� แม้้ว่่าที่่�ผ่่านมาจะ มีีความร่่วมมืือกัับพัันธมิิตรระดัับโลก คืือ “มนััสไบโอ” ใน การจััดทำำ�แพลฟอร์์ม SynBio ไปแล้้ว และปััจจุุบััน BBGI ก็็มีีความร่่วมมืือกัับจุุฬาฯ ผลิิตน้ำำ��ยาล้้างสารเคมีีในผัักและ ผลไม้้ พััฒนาไปสู่่�การเป็็นผู้้�ร่่วมทุุน โดยล่่าสุุดอยู่่�ระหว่่าง ออกแบบผลิิตภััณฑ์์สำำ�หรัับวางจำำ�หน่่ายผ่่านซุุปเปอร์์มาร์์เก็็ต และแบบ B2C ตรงถึึงผู้้�ซื้้�อ นายกิิตติิพงศ์์ กล่่าว่่า บริิษััทตั้้�งเป้้าหมายบริิษััท คาด ว่่าภายใน 5 ปีี จะมีีสััดส่่วนรายได้้จากธุุรกิิจ High Value Bio-Based Products ประมาณ 50% โดยผลการดำำ�เนิิน งานย้้อนหลััง 3 ปีี BBGI มีีรายได้้เกืือบ 10,000 ล้้านบาท แม้้ว่่าต้้องเผชิิญกัับสถานการณ์์การระบาดของโควิิด-19 แต่่ด้้วยการบริิหารจััดการที่่�ดีี ส่่งผลให้้มีกำี ำ�ไรสุุทธิิเติิบโตอย่่าง ต่่อเนื่่�อง โดยในปีี 2561 – 2563 มีีกำ�ำ ไรสุุทธิิจำำ�นวน 152 ล้้านบาท 387 ล้้านบาท และ 845 ล้้านบาท ตามลำำ�ดัับ เติิบโตอย่่างแข็็งแกร่่งมากกว่่า 100% ต่่อปีี นายชลััช ชิินธรรมมิิตร์์ กรรมการผู้้�จััดการใหญ่่ บมจ.น้ำำ�� ตาลขอนแก่่น จำำ�กััด (มหาชน) หรืือกลุ่่�มน้ำำ�� ตาล ขอนแก่่น กล่่าวว่่า บริิษััทฯ มีีนโยบายการดำำ�เนิินธุุรกิิจ ที่่�มีีความรัับผิิดชอบต่่อสัังคมและสิ่่�งแวดล้้อม โดยพััฒนา เทคโนโลยีีการผลิิตน้ำำ��ตาลให้้มีีประสิิทธิิภาพสููงสุุด พร้้อม ส่่งเสริิมนวััตกรรมผ่่านการวิิจััยและพััฒนา เพื่่�อรองรัับการ ขยายธุุรกิิจใหม่่ๆ ที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับธุุรกิิจน้ำำ��ตาลอย่่างครบวงจร
8
โดยนำำ�ผลพลอยได้้ที่่เ� กิิดจากกระบวนการผลิิตไปสร้้างมููลค่่า เพิ่่�มให้้เกิิดประโยชน์์สููงสุุด บริิษััทฯ จึึงร่่วมมืือกัับกลุ่่�มบาง จากฯ เพื่่�อดำำ�เนิินธุุรกิิจผลิิตภััณฑ์์เชื้้�อเพลิิงชีีวภาพ ซึ่่�งจะ ช่่วยสร้้างความมั่่�นคงด้้านพลัังงานและต่่อยอดไปสู่่ผ� ลิิตภััณฑ์์ ชีีวภาพที่่�มีมููี ลค่่าสููง โดยนำำ�จุดุ แข็็งของกลุ่่�มน้ำำ��ตาลขอนแก่่น ที่่�เป็็นผู้้�ผลิิตน้ำำ��ตาลรายใหญ่่เป็็นอัันดัับ 4 ของประเทศมา ช่่วยสร้้างความมั่่�นคงทางวััตถุุดิิบให้้แก่่ BBGI จากฐานการ ผลิิตของโรงงานน้ำำ��ตาลรวม 5 แห่่ง ซึ่่�งมีีอััตราการหีีบอ้้อย รวม 131,500 ตัันอ้้อยต่่อวััน โดยมีีคาดการณ์์ปริิมาณอ้้อย เข้้าหีีบปีี 2565 อยู่่�ที่่� 6.14 ล้้านตัันอ้้อย บีีบีีจีีไอฯ ดำำ�เนิินธุุรกิิจในรููปแบบ Holding Company เพื่่�อเข้้าลงทุุนในบริิษััทต่่างๆ ที่่�ประกอบธุุรกิิจผลิิตและ จำำ�หน่่ายผลิิตภััณฑ์์เชื้้�อเพลิิงชีีวภาพ ได้้แก่่ เอทานอล ไบ โอดีีเซล ซึ่่�งสนัับสนุุนให้้ BBGI เป็็นผู้้�ผลิิตและจำำ�หน่่ายเชื้้�อ เพลิิงชีีวภาพรายใหญ่่ของประเทศไทย และต่่อยอดองค์์ความ รู้้�ไปสู่่ผู้้�สร้ � า้ งสรรค์์ผลิิตภััณฑ์์ชีวี ภาพที่่�มีีมููลค่่าสููง โดยนำำ�เอา เทคโนโลยีีชีวี วิิทยาสัังเคราะห์์ (Synthetic Biology: SynBio) มาใช้้ เพื่่อ� ผลัักดันั ให้้ BBGI เป็็นผู้้�นำำ�ธุรุ กิิจผลิิตภััณฑ์์ชีวี ภาพ ที่่�มีมููี ลค่่าสููง สอดรัับกัับโมเดล Bio-Circular-Green Economy หรืือ BCG ของภาครััฐ และมีีส่่วนผลัักดัันให้้ประเทศไทย พััฒนาไปสู่่�กลุ่่�มประเทศที่่�มีีรายได้้สููง
B
angchak and Khon Kaen Sugar Industry (KSL) Group are at present seeking partners from overseas for a joint-investment worth 1-2 million Baht to found a Contract Development and Manufacturing Organization (CDMO) in Thailand for production of high value biobased products, namely enzyme, collagen and alternative protein. The companies have shown SynBio as a green innovation, targeting to increase revenue proportion within 5 years and achieve 50% of High Value Bio Based Products. On 8 February 2022, Chief Executive Officer and President, BBGI Public Company Limited, Mr. Kittiphong Limsuwannarot addressed that BBGI aimed to start a project for the CDMO to develop, produce and sell high value bio-based products. It can produce a range of high-value bio-based products such as enzymes, collagen, milk whey proteins, egg proteins, as well as alternative protein products. All of them help improve efficiency, reduce the encroachment of natural resources and cut costs more effectively than traditional production. Recently, BBGI is seeking joint ventures
with 2-3 partners who have expertise in CDMO as well as production base lines in Europe and the US. Those partners should be interested in investing in Thailand. The company’s present issue is to consider choosing someone able to extend the factory to the development of high-value bio-products as mentioned above. Initially, it is expected that the company will invest approximately 1,000-2,000 million Baht, while the factory location may belong to the company’s existing areas in many provinces, such as Chachoengsao, or new areas with suitable potential. In addition, BBGI is also looking for partners to invest in Thailand to create an upstream business. However, in the past there was cooperation with a world-class partner, “Manas Bio”, in the preparation of the SynBio platform, and, at present, BBGI has cooperation with Chulalongkorn University to produce detergents to rid fruits and vegetables of chemical substances, enabling the university to become a joint venture. Lately, the process of designing products for sale has been launched through supermarkets and directly to buyers via B2C. Mr. Kittiphong added that the company had set its target, with an expectation that, within 5 years, there would be a proportion of revenue from the High Value Bio-Based Products business of approximately 50%. In the past 3 years, BBGI had revenues of almost 10 billion Baht already. Mr, Chalat Chinthammit, Managing Director of Khon Kaen Sugar Industry Public Company Limited or Khon Kaen Sugar Group, explained that his company implemented a business policy that is socially and environmentally responsible by developing sugar production technology for maximum efficiency which is ready to promote innovation through research and development to support new business expansion related to the integrated sugar business. By using the by-products from the production process to create added value for maximum benefits, the company therefore cooperated with the Bangchak Group. to run biofuel products business. This will help ensure energy security and build on high-value bio-based products by taking the strengths of Khon Kaen Sugar Group, the 4th largest sugar manufacturer in the country, to enable stability of raw materials for BBGI. From the production bases of 5 sugar mills where a total sugar cane crushing rate is of 131,500 tons per day, it is estimated that the amount of sugar cane to be crushed in 2022 will be 6.14 million tons. BBGI operates in the form of a holding company to invest in various others which run business of manufacturing and distributing biofuel products, such as ethanol and biodiesel, enabling BBGI to become a major producer and distributor of biofuels in Thailand while extending knowledge to other creators of high-value bio- based products. By applying Synthetic Biology (SynBio) technology, BBGI is a leader in high-value bio-based products in line with the model Bio-Circular-Green Economy or BCG pioneered by the government. The company has contributed to driving Thailand to become a country of high revenue.
www.sugar-asia.com
Regional News
MSM มาเลเซีีย - โคคาโคล่่า ลงนามสััญญาน้ำำ��ตาล มููลค่่ากว่่า 290 ล้้านริิงกิิต MSM Malaysia Bags RM290mil Sugar Supply Contract with Co ca-Cola
M
SM Prai Bhd ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของเอ็มเอสเอ็ม มาเลเซีย โฮลดิง้ ส์ ได้ท�ำสัญญาจัดหาน�้ำตาลทราย ขาวบริสทุ ธิ์มูลค่า 290 ล้านริงกิตกับบริษทั โคคาโคล่า จ�ำกัด ส�ำหรับการผลิตทั้งในและต่างประเทศ งานแถลงข่่าวเมื่่อ� วัันที่่� 7 มกราคม ที่่�ผ่่านมา บริิษัทั ผู้้� ผลิิตน้ำำ��ตาลทรายขาวบริิสุทุ ธิ์์�รายนี้้�กล่่าวว่่าสััญญาดัังกล่่าวจะ เสริิมความแข็็งแกร่่งของบริิษัทั ในฐานะผู้้�กลั่่�นน้ำำ��ตาลชั้้น� นำำ�ซึ่่ง� เป็็นที่่�ต้อ้ งการของมาเลเซีียในภููมิิภาคเอเชีียและแปซิิฟิกิ นายซาอีีด ไฟซาล ซาอีีด โมฮััมหมััด ประธานเจ้้า หน้้าที่่�บริิหารกลุ่่�มบริิษััทเอ็็มเอสเอ็็ม กล่่าวว่่าการเป็็นส่่วน หนึ่่�งของห่่วงโซ่่อุุปทานของบริิษัทั โคคาโคล่่าซึ่่�งเป็็นแบรนด์์น้ำำ�� อััดลมที่่�มีมููี ลค่่ามากที่่�สุดุ ในโลก เป็็นส่่วนหนึ่่�งของแผนงานการ ส่่งออกของกลุ่่�มบริิษััทเอ็็มเอสเอ็็มในฐานะหนึ่่�งในบริิษััท ผู้้�กลั่่�นน้ำำ��ตาลแบบครบวงจรเป็็นอัันดัับที่่� 8 ต้้นๆของโลก ถืือเป็็นส่่วนเพิ่่�มเติิมจากสััญญาอุุปทานการขายแบบมีีกำำ�หนด ระยะเวลาที่่�บริิษัทั มีีอยู่่กั� บั ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียในอุุตสาหกรรม สิินค้้าอุุปโภคบริิโภคที่่�มีีความเคลื่่�อนไห วอย่่างรวดเร็็วราย ใหญ่่ต่่างๆ ในท้้องถิ่่�นและในภููมิิภาค นายซาอีีด ไฟซาล ซาอีีด โมฮััมหมััด กล่่าวว่่า ความ สำำ�เร็็จนี้้�จะช่่วยเพิ่่�มแรงผลัักดันั ให้้กลุ่่�มบริิษัทั เอ็็มเอสเอ็็มซึ่่ง� ประสบความสำำ�เร็็จในปีี 2564 และเร่่งขยายกลุ่่�มบริิษัทั นี้้�ไป สู่่�ตลาดที่่�กว้้างขวางขึ้้�นทั่่�วทั้้�งภููมิิภาค บริิษัทั เอ็็มเอสเอ็็มยังั จััดหาน้ำำ��ตาลดิิบในรููปแบบที่่�ยั่่ง� ยืืน ให้้กับั ตลาดภายในประเทศของโคคา-โคล่่า ซึ่่�งเป็็นส่่วนหนึ่่�ง ของความมุ่่�งมั่่�นของบริิษััทที่่�มีีต่่อกรอบการทำำ�งานด้้านสิ่่�ง แวดล้้อม สัังคม และธรรมาภิิบาล
จากข้้อมููลของบริิษััทเอ็็มเอสเอ็็ม บริิษััทนี้้�ได้้ทำำ�งาน ร่่วมกัันกัับโคคาโคล่่ามากว่่าสิิบปีีแล้้ว สััญญาสองปีีกับั บริิษัทั โคคาโคล่่าในมาเลเซีียนี้้�ทำำ�ให้้เอ็็มเอสเอ็็มสามารถจััดหา น้ำำ��ตาลทรายขาวบริิสุทุ ธิ์์�ได้้ระหว่่างปีี 2565 ถึึง 2566 สััญญาดัังกล่่าวยัังมีีผลบัังคัับใช้้สำำ�หรัับการส่่งออกที่่� เริ่่�มในเดืือนธัันวาคม 2564 โดยที่่�อุุปทานน้ำำ�� ตาลทรายขาว บริิสุทุ ธิ์์�จะถููกส่่งไปยัังปลายทางระหว่่างประเทศอื่่น� ที่่�ซึ่่ง� บริิษัทั โคคาโคล่่ามีีสถานะทางเศรษฐกิิจที่่�แข็็งแกร่่ง บริิษัทั MSM Prai ดำำ�เนิินอุุตสาหกรรมกลั่่�นน้ำำ��ตาลใน กรุุงปีีนังั มาเลเซีีย โรงงานของบริิษัทั แห่่งนี้้�ตั้้ง� อยู่่บ� นชายฝั่่�ง ตะวัันตกเฉีียงเหนืือของคาบสมุุทรมาเลเซีีย โรงงานแห่่งนี้้�เป็็น โรงกลั่่�นน้ำำ��ตาลที่่�ใหญ่่ที่่�สุดุ ของประเทศ โดยมีีกำำ�ลังั การผลิิต น้ำำ��ตาลทรายขาวบริิสุุทธิ์์� 1.05 ล้้านตัันต่่อปีี ในขณะเดีียวกััน โรงกลั่่�นน้ำำ��ตาลเอ็็มเอสเอ็็ม ที่่�ยะโฮร์์ (MSM Sugar Refinery (Johor) Sdn Bhd) ซึ่่�งตั้้�งอยู่่ที่่� ท่่� าเรืือ ทัันจุุง ลัังสััด รััฐยะโฮร์์ มีีกำำ�ลังั การผลิิตน้ำำ��ตาลทรายขาวบริิสุทุ ธิ์์� 1 ล้้านตัันต่่อปีี โดยคาดว่่าจะเพิ่่�มการผลิิตในปีี 2565 กลุ่่�มบริิษัทั เอ็็มเอสเอ็็มปฏิิบัติั ติ ามการควบคุุมคุณ ุ ภาพ อย่่างเข้้มงวดและขั้้น� ตอนการปฏิิบัติั งิ านที่่�เป็็นมาตรฐาน รวม ทั้้�งมีีการตรวจสอบโรงกลั่่�นอย่่างสม่ำำ��เสมอเพื่่อ� รัักษามาตรฐาน ความปลอดภััยและคุุณภาพอาหารสููงสุุด กลุ่่�มบริิษััทดัังกล่่าวยัังมีีความสามารถในการผลิิต น้ำำ��ตาลตามข้้อกำำ�หนดของโคคาโคล่่า ซึ่่�งรวมถึึงการปฏิิบััติิ ตามมาตรฐานการรัับรองของฮาลาลในมาเลเซีีย, การรัับรอง MS1500:2009, การรัับรองด้้านระบบความปลอดภััยทาง อาหาร (FSSC 22000 – ด้้านการผลิิต), การรัับรอง การควบคุุมและวิิเคราะห์์พิิษภััยที่่�มีีอัันตรายสููง (Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP)) และแนว ปฏิิบััติิที่่�ดีีด้้านการผลิิต รวมทั้้�งการรัับรองอื่่�นๆ ที่่�เกี่่�ยวข้้อง กัับอุุตสาหกรรม กลุ่่�มบริิษัทั เอ็็มเอสเอ็็มมีผี ลิิตภััณฑ์์น้ำำ��ตาลคุุณภาพสููงที่่� หลากหลายวางตลาดและจำำ�หน่่ายในบรรจุุภััณฑ์์ต่่างๆ เพื่่�อ ตอบสนองความต้้องการในประเทศและการส่่งออก ความ สามารถของบริิษััทฯ ในการผลิิตตามข้้อกำำ�หนดระหว่่าง ประเทศด้้วยวิิธีกี ารที่่�คงที่่�ในการวิิเคราะห์์น้ำำ��ตาล (ICUMSA) 25 ของน้ำำ��ตาลทรายขาวบริิสุุทธิ์์�ที่่�มีีคุณ ุ ภาพระดัับพรีีเมีียม ได้้สร้า้ งความพึึงพอใจอย่่างมากสำำ�หรัับอุุตสาหกรรมการผลิิต สิินค้้าอุุปโภคบริิโภคในมาเลเซีีย
M นายซาอีีด ไฟซาล ซาอีีด โมฮััมหมััด ประธานเจ้้าหน้้าที่บ่� ริิหารกลุ่่ม� บริิษััท เอ็็มเอสเอ็็มมาเลเซีีย โฮลดิ้้�งส์์
www.sugar-asia.com
SM Malaysia Holdings Bhd’s subsidiary, MSM Prai Bhd (MSM Prai), has secured about RM290 million worth of refined sugar supply contract with The Coca-Cola Company (Coca-Cola) for both domestic and international production.
In a statement on January 7, the refined sugar producer said the contract solidified the company’s place as Malaysia’s leading and preferred refined sugar producer in the Asia Pacific. Group chief executive officer Syed Feizal Syed Mohammad said the opportunity to be part of the Coca-Cola supply chain, the world’s most valuable soft drink brand, is part of MSM’s export blueprint as the top eight global integrated sugar refiner. This was in addition to the company’s existing secured term sales supply contracts with various major local fast-moving consumer goods (FMCG) industry players locally and in the region. “This accomplishment added a boost to MSM group having achieved a turnaround in 2021 and accelerating MSM’s expansion to wider markets across the region,” he said. Syed Feizal said MSM would provide sustainable raw sugar supply for Coca-Cola domestic market as part of the company’s commitment towards environmental, social and governance framework. MSM said the company had been serving Coca-Cola domestically for more than ten years. The two-year contract with Coca-Cola Bottlers (Malaysia) Sdn Bhd allows MSM to supply refined sugar between 2022 and 2023. The contract also applied for the export that commenced in December 2021, where the refined sugar supply would be shipped to a different international destination where Coca-Cola has a strong presence. MSM Prai operates the Prai sugar refinery in Penang. Located on the northwest coast of Peninsular Malaysia, the facility is the country’s largest sugar refinery, with an annual production capacity of 1.05 million tonnes of refined sugar. Meanwhile, MSM Sugar Refinery (Johor) Sdn Bhd, is strategically located at Tanjung Langsat Port, Johor, with an annual production capacity of one million tonnes of refined sugar, is set to ramp up its production in 2022. MSM group observes strict quality control and standard operating procedures, and its refineries are regularly audited to maintain the highest standard of food safety and quality. MSM is capable of producing sugar according to Coca-Cola’s specification which also includes JAKIM Halal Certification Standards of Malaysia, MS1500:2009, Food Safety System Certification (FSSC 22000 – Manufacturing), Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) Certifications and Good Manufacturing Practices, amongst others that are relevant to the industry. MSM group offers a variety of high-quality sugar products marketed and sold in various packaging and grades to fulfil the domestic and export demand. The capability of MSM to produce the International Commission for Uniform Methods of Sugar Analysis (ICUMSA) 25 specification of refined sugar of global premium quality has established a strong preference for Gula Prai in the FMCG production industry.
9
Regional News
อุุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลเวีียดนามเร่่งฝ่่าฟัันการแข่่งขััน ในประเทศ Vietnamese sugar failing to compete on home ground
จ
ากข้อมูลอ้างอิงของสมาคมน�้ำตาลและอ้อย เวียดนาม (VASA) เวียดนามสูญเสียอ้อยไปแล้ว เทียบเทา่ เนอื้ ทีเ่ พาะปลูกกวา่ 120,000 เฮกตาร์ในช่วง ปี 2559-2564 ซึง่ เป็นปริมาณทีล่ ดลงอย่างมากถึงร้อย ละ 45 โดยผลผลิตอ้อยลดลงจาก 64.8 เหลือ 61.5 ตันต่อเฮกตาร์ในช่วงเวลาดังกล่าว จำำ�นวนครััวเรืือนที่่�ปลููกอ้้อยลดลงจาก 219,500 เป็็น 126,000 ครััวเรืือน ยิ่่�งไปกว่่านั้้�น โรงงานน้ำำ��ตาล 11 แห่่ง ได้้ปิิดตััวลง ส่่งผลให้้ผลผลิิตน้ำำ��ตาลของประเทศลดลงจาก 1.24 เป็็น 0.77 ล้้านตััน หรืือลดลงร้้อยละ 38 ในขณะเดีียวกััน เวีียดนามได้้นำำ�เข้้าน้ำำ��ตาลมากขึ้้�นใน ช่่วงสองถึึงสามปีีที่่�ผ่่านมา โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�ง การนำำ�เข้้า น้ำำ��ตาลในปีี 2563 อยู่่�ที่่� 3.4 เท่่าของปริิมาณในปีี 2562 โดยน้ำำ��ตาลส่่วนใหญ่่มาจากประเทศไทยที่่�นำำ�ส่่งออกผ่่าน กััมพููชาและลาว การผลิิตน้ำำ�� ตาลในประเทศเวีียดนามตอบสนองความ ต้้องการของตลาดได้้เพีียง 40% ในขณะที่่�เวีียดนามนำำ� เข้้าน้ำำ��ตาลสำำ�หรัับทดแทนปริิมาณส่่วนที่่�เหลืือ จากข้้อมููล เกา อััน ดอง ประธานสมาคมน้ำำ�� ตาลและอ้้อยเวีียดนาม ใน ช่่วงปีี 2560-2563 ประเทศเวีียดนามนำำ�เข้้าน้ำำ��ตาลจำำ�นวน 1.2-1.8 ล้้านตััน ผู้้�ผลิิตน้ำำ��ตาลในประเทศไม่่สามารถแข่่งขัันกัับน้ำำ��ตาลที่่� นำำ�เข้้าซึ่่�งส่่วนใหญ่่มาจากประเทศไทยได้้ โดยเฉพาะหลัังจากที่่� ได้้ยกเลิิกภาษีีศุลุ กากรบวกกัับอุุปสรรคทางเทคนิิค เนื่่อ� งจาก ประเทศเวีียดนามได้้ทำำ�ข้อ้ ตกลงการค้้าเสรีีเพิ่่�มเติิม โดยเฉพาะ อย่่างยิ่่�ง ความตกลงการค้้าสิินค้้าของอาเซีียน (ATIGA) ลงนามในเดืือนเมษายน 2562 ซึ่่�งยกเลิิกภาษีีนำำ�เข้้าน้ำำ��ตาล ของเวีียดนามอย่่างเป็็นรููปธรรมตั้้�งแต่่ต้้นปีี 2563
เกา อััน ดอง แถลงว่่า แม้้ว่่าเวีียดนามสามารถพิิจารณา จััดเก็็บภาษีีต่่อต้้านการทุ่่�มตลาดและต่่อต้้านการอุุดหนุุนน้ำำ��ตาล จากไทย แต่่อาจมีีการลัักลอบนำำ�เข้้า ซึ่่�งถืือเป็็นขวากหนาม ของอุุตสาหกรรมน้ำำ�� ตาลภายในประเทศมานานหลายปีีแล้้ว อย่่างไรก็็ ต าม ปัั ญ หาหลัั ก อยู่่� ที่่� ต้้ น ทุุ น การผลิิ ต กระบวนการผลิิต และการจััดการของเวีียดนามที่่�เพิ่่�มสููงขึ้้น� เมื่่อ� เปรีียบเทีียบกัับประเทศไทยที่่�ร้้อยละ 30, 183 และ 53 ตามลำำ�ดัับ อ้้อยสููญเสีียความนิิยมในหมู่่�เกษตรกรเวีียดนาม เนื่่อ� งจากพืืชผลอื่่น� ๆ ให้้ผลผลิิตทางการเงิินที่่�สููงขึ้้น� ต่่อเฮกตาร์์ ตััวอย่่างเช่่น มัันสำำ�ปะหลัังและข้้าวโพดนำำ�เงิินมาสู่่เ� กษตรกร มากขึ้้�นถึึงร้้อยละ 500-800 ในที่่�ราบสููงตอนกลาง และร้้อย ละ 1,000-3,000 ในพื้้�นที่่�สามเหลี่่�ยมปากแม่่น้ำำ�� โขง จากข้้อมููลของโต ชวน พััค นัักวิิจััยอาวุุโสจากองค์์ กรฟอร์์เรสต์์ เทรนด์์ส ซึ่่�งเป็็นองค์์กรไม่่แสวงผลกำำ�ไรที่่� ส่่งเสริิมการอนุุรักษ์ ั ป่์ า่ ไม้้และการเกษตรแบบยั่่ง� ยืืนในเวีียดนาม อุุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลได้้รัับความเดืือดร้้อนจากการปลููกและ ดููแลรัักษาที่่�ไม่่ถููกต้้องของชาวไร่่อ้้อยซึ่่�งเป็็นผู้้�ผลิิตหลััก โต ชวน พััคยัังเสริิมว่่า โดยทั่่�วไปแล้้ว เกษตรกรจะ ได้้รับั ส่่วนแบ่่งน้้อยที่่�สุดุ เพีียงร้้อยละ 11 ของกำำ�ไรทั้้�งหมดที่่� เกิิดจากห่่วงโซ่่อุุปทาน เทีียบกัับร้้อยละ 44 ที่่�โรงงานน้ำำ��ตาล ได้้รัับ และร้้อยละ 45 ที่่�ผู้้�จััดจำำ�หน่่ายได้้รัับ ที่่�เลวร้้ายกว่่านั้้�น มีีรายงานความผิิดปกติิในสััญญา การจััดหาวััตถุุดิิบระหว่่างโรงงานน้ำำ��ตาลกัับเกษตรกร ซึ่่�ง ส่่งผลให้้เกิิดการสููญเสีียความไว้้วางใจระหว่่างทั้้�งสองฝ่่าย และเกิิดอุุปทานที่่�ผัันผวน โต ชวน พััคกล่่าวว่่า หากอุุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลยัังคง ไม่่สามารถแข่่งขัันกัับน้ำำ��ตาลที่่�นำำ�เข้้าได้้ การดำำ�รงอยู่่ข� องน้ำำ�� ตาลเวีียดยามก็็จะตกอยู่่�ในอัันตราย “เราสัังเกตเห็็นพื้้�นที่่�เพาะปลููก ความสามารถในการ ผลิิต และผลผลิิตลดลงอย่่างมากตั้้�งแต่่ ATIGA นี่่�เป็็นหลััก ฐานที่่�แสดงว่่าผู้้�ผลิิตน้ำำ��ตาลในประเทศขาดการเตรีียมการ ก่่อนมีีข้้อตกลงการค้้าเสรีีที่่�สำำ�คััญ” นายโต ชวน พััคสรุปุ อุุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลเวีียดนามอยู่่ใ� นอัันดัับที่่�สี่่ใ� นเอเชีีย ตะวัันออกเฉีียงใต้้ รองจากประเทศไทย อิินโดนีีเซีีย และ ฟิิลิปปิ ิ นิ ส์์ และอัันดัับที่่� 15 ของโลกของพื้้�นที่่�เพาะปลููกทั้้�งหมด.
V
ietnam has lost over 120,000 hectares of sugarcane in the 2016-21 period, a staggering 45 percent decrease. Productivity has also gone down from 64.8 to 61.5 tons per hectare during the same period, according to the Vietnam Sugar and Sugarcane Association (VASA). The number of households cultivating sugarcane has decreased from 219,500 to
10
126,000. Eleven sugar factories have since closed, sending the country’s sugar production output plummeting from 1.24 to 0.77 million tons, a 38 percent decrease. Meanwhile, Vietnam has been importing more sugar in recent years. Notably, sugar imports in 2020 were recorded at 3.4 times the amount in 2019, with most of the sugar coming from Thailand via Cambodia and Laos. Domestic sugar production only meets around 40 per cent of market demand while Vietnam has been importing sugar for the rest, according to President of VSSA Cao Anh Duong. During 2017-20, the country imported 1.2-1.8 million tons of sugar. Domestic sugar producers have been failing to compete with imported sugar, mostly from Thailand, on home turf, especially after a number of tariffs and technical barriers were removed as the country entered additional free trade agreements; notably, the ASEAN Trade in Goods Agreement (ATIGA) signed in April 2019, which effectively removed Vietnam import tariff for sugar since the beginning of 2020. “While Vietnam can consider imposing anti-dumping and anti-subsidy taxes on sugar from Thailand it may encourage smuggling, a thorn of the side of the country’s sugar industry for years now,” Duong said. The core issue, however, lies with Vietnam’s higher production, process and management cost in comparison to Thailand at 30 percent, 183 percent and 53 percent, respectively. The sugarcane has been losing popularity among farmers as many other crops produce higher financial yield per hectare. For example, cassava and corn bring home 500-800 percent more money for farmers in the Central Highlands and 1,000-3,000 percent in the Mekong Delta. The sugar industry suffered as a result of the mistreatment of sugarcane farmers, its main suppliers, according to To Xuan Phuc, a senior researcher from Forest Trends, a non-profit promoting the conservation of forests and sustainable agriculture. Phuc said the farmers typically received the smallest share of the pie, just 11 percent of the total profit produced by the supply chain compared against 44 percent received by sugar factories and 45 percent by distributors. To make matter worse, there have been reports of irregularities in supply contracts between sugar factories and farmers, which resulted in a loss of trust between the two sides and unstable supply. “If the sugar industry continues to fail to compete with imported sugar, its very existence will be in jeopardy,” said Phuc. “We observe a sharp decline in cultivation hectares, productivity and output since ATIGA. This is evidence for a lack of preparation by domestic sugar producers prior to a major free trade pact,” he said. The V sugar industry ranks fourth in Southeast Asia, after Thailand, Indonesia and the Philippines, and 15th in the world in total cultivation hectares.
www.sugar-asia.com
Water Solutions
DuPont’s Multi-Tech offering in processing of sugars and sweetener DuPont
Founded in 1802, DuPont is a world top 500 enterprise based on scientific research, with its business distributed in more than 90 countries and regions around the world. By providing technology-based materials, raw materials and solutions, DuPont is committed to becoming one of the global innovation promoters and bringing innovation to all walks of life and people's daily life. Using diversified science, technology and professional experience, DuPont helps customers realize necessary innovations in the key markets such as electronics, transportation, construction, water treatment, health care and work protection.
Life sciences and specialty solutions of DuPont
DuPont's life science and specialty solutions are subordinate to DuPont Water Solutions (DWS). As a global leader in sustainable development technology in the field of separation and purification, DuPont Water Solutions is the unique product manufacturer and supplier worldwide capable of simultaneously integrating the special organic spiral membrane, ion exchange resins and adsorbents in food processing. The three series of products of DuPont have been successfully applied to the commercialization of a new generation of healthy functional sugars, facilitating the sugar and sweetener enterprises to develop the novel sweeteners. For example, the allulose with low calorie and moderate sweetness can effectively reduce the potential obesity of sugar-loving people, the sucrose with adding polyphenol lowering glycemic index can effectively avoid the blood sugar rising, and the sugar alcohol products that cannot be metabolized by bacteria can prevent from being dental caries. In addition, DuPont has actively cooperated with local governments in terms of regulatory compliance on food safety for the three series of products, and always keeps at a leading position in the industry in meeting the food-level standards and the relevant international certification.
Continuous Ion Exchange Deashing Chromatography Separation Enzyme immobilization Cane sugar decolorization
Innovative products • • • •
AmberLite™ CR7300 AmberLite™ CR1360 AmberLite™ MAC-3 H AmberLite™ FPA900UPS CI
Organic Sp i
m l Me brane ra
& NF) (RO
• • • •
ticular R ore e cr
sin
Applications
Ma
change Re Ex
sin
Ion
DuPont’s Multi-Tech offering enable a successful novel sugar and sweetener development
• Odor improvement • Condensate Water Polishing • Concentration of sweet water, liquid syrup and sugar alcohol
• Separation of Mono/Di Saccharides • Liquid Sucrose Mix Bed Polishing
• AmberLite™ FPC23UPS H • AmberLite™ FPA77UPS • FilmTec™ Hypershell™ HTRO-8038/48
• FilmTec™ Hypershell™ NF245N-8038/48-FF • FilmTec™ HTNF-8040/34
www.dupontwatersolutions.com Copyright ©2022 DuPont. The DuPont Oval Logo, DuPont™, and all products denoted with ® or ™ are registered trademarks or trademarks of DuPont or its affiliates.
International News
แทนซาเนีียก้้าวสู่่�การเป็็นศููนย์์กลางน้ำำ��ตาลแอฟริิกา Tanzania can become Africa’s hub for sugar
บ
ทความเกี่่�ยวกัับความท้้าทายของภาคการเพาะปลููกและเลี้้�ยงสััตว์์ที่่�เขีียนโดย ธนาคารรีีเซิิร์์ฟ แบงค์์ของประเทศอิินเดีียชี้้�ให้้เห็็นว่่า อิินเดีียจำำ�เป็็นต้้องมีีการ ปฏิิวััติิทางการเกษตรกรรมครั้้�งที่่�สองไปพร้้อมกัับการปฏิิรููปทางการเกษตรรุ่่�นต่่อ ไป เพื่่�อให้้การทำำ�การเกษตรทนต่่อสภาพอากาศและสิ่่�งแวดล้้อมในรููปแบบที่่�ยั่่�งยืืน มากขึ้้�น จากการสัังเกตว่่าการเกษตรของอิินเดีียสามารถฟื้้น� ตััวได้้อย่่างน่่าทึ่่�งในช่่วง ระยะเวลาของการระบาดของเชื้้อ� ไวรััสโควิิด-19 ซึ่่�งบทความดัังกล่่าวชี้้ใ� ห้้เห็็นว่่า “เป็็น ที่่�แน่่นอนยิ่่�งว่่าจะเกิิดความท้้าทายใหม่่เกี่่�ยวกัับการปฏิิวัติั ทิ างการเกษตรกรรมครั้้�งที่่� สองพร้้อมๆ กัับการปฏิิรููปรุ่่�นต่่อไป” พื้้�นที่่�ส่่วนใหญ่่ของประเทศแทนซาเนีียสามารถใช้้เพาะปลููกต้้นอ้้อยได้้ ดัังนั้้�นจึึงเป็็นที่่� ที่่�มีศัี กั ยภาพหลัักในการผลิิตน้ำำ��ตาล นอกเหนืือจากการวางกลยุุทธ์์และการลงทุุนรวมทั้้�งการ มีีส่่วนร่่วมของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย ซึ่่�งรวมถึึงชาวไร่่อ้้อยด้้วย ผู้้�เชี่่�ยวชาญนี้้�กล่่าวกัับนิิตยสารบิิสเนสวีีคว่่า บริิษัทั น้ำำ��ตาลภายในประเทศจะช่่วยทำำ�ให้้ ลดการนำำ�เข้้าน้ำำ��ตาลจำำ�นวณมากสำำ�หรัับอุุตสาหกรรมและแม้้แต่่การบริิโภคในครััวเรืือน โดย ทำำ�ให้้ชาวไร่่อ้้อยมีีโอกาสอยู่่�ในกระบวนการผลิิตน้ำำ�� ตาล รััฐมนตรีีกระทรวงเกษตรของแทนซาเนีีย ศ. อดอล์์ฟ เคนดา กล่่าวว่่าแทนซาเนีีย มีีชาวไร่่อ้้อยจำำ�นวนมาก แต่่น่่าเสีียดายที่่�ผลผลิิตทั้้�งหมดที่่�ได้้จากพวกเขาไม่่ได้้ถููกนำำ�ไปใช้้ใน การผลิิตน้ำำ��ตาล เป็็นเหตุุให้้เกิิดการขาดแคลน ศ. อดอล์์ฟรายงานว่่า ชาวแทนซาเนีียนแปลกใจที่่�เกษตรกรสามารถปลููกอ้้อยได้้เพีียง พอ แต่่ประเทศยัังคงต้้องนำำ�เข้้าน้ำำ��ตาลอยู่่� ศ. อดอล์์ฟซึ่่�งเพิ่่�งจะเข้้าเยี่่�ยมชมโรงงานน้ำำ��ตาลคิิลอมเบโรพร้้อมทั้้�งพููดคุุยกัับเกษตรกร ในโมโรโกโร คาดว่่าปีี 2564 อาจเป็็นปีีสุุดท้้ายสำำ�หรัับบริิษััทในประเทศที่่�จะนำำ�เข้้าสาร ให้้ความหวาน โดยกล่่าวว่่าการนำำ�เข้้าน้ำำ��ตาลนั้้�นมีีราคาถููกกว่่า แต่่ธุุรกิิจนี้้�กลัับกลายเป็็น เหมืือน “การค้้ายา” เพราะการนำำ�เข้้าน้ำำ��ตาลเริ่่�มดููเหมืือนยาเสพติิดหรืือแก๊๊งค์์มาเฟีียที่่�ต้้อง หลบๆ ซ่่อนๆ ในการนำำ�เข้้า แต่่ปีีนี้้จ� ะเป็็นครั้้�งสุุดท้้ายแล้้วที่่�มีกี ารกระทำำ�อย่่างนี้้� เพราะแทนซาเนีีย ต้้องการให้้บริิษััทต่่างๆ นำำ�เข้้าน้ำำ��ตาล และฝ่่ายบริิหารน้ำำ�� ตาลจะดำำ�เนิินการนำำ�เข้้าน้ำำ�� ตาล อย่่างไรก็็ดีี ศ. อดอล์์ฟตั้้�งข้้อสัังเกตว่่าวิิกฤตการณ์์น้ำำ��ตาลในประเทศไม่่ได้้เกิิดจากการ ขาดอ้้อยแต่่ขาดนัักลงทุุนในการผลิิตอ้้อย ปััจจุุบััน แทนซาเนีียมีีโรงงานซึ่่�งผลิิตน้ำำ��ตาลได้้ 128,000 ตัันต่่อปีีในชื่่�อบริิษััท คิิลอมเบโรซึ่่�งเป็็นของนัักลงทุุนเอกชนอิิลโลโวซึ่่�งถืือหุ้้�น 75% และหุ้้�นส่่วนที่่�เหลืือรััฐบาล แทนซาเนีียเป็็นเจ้้าของ รายงานล่่าสุุดระบุุว่่าในปีี 2562 ความต้้องการน้ำำ��ตาลในประเทศของแทนซาเนีียอยู่่� ที่่� 470,000 เมตริิกตัันต่่อปีี ในขณะที่่�โรงงานแปรรููปน้ำำ��ตาลทั้้�ง 5 แห่่งของประเทศมีีกำำ�ลััง การผลิิต 378,000 ตััน จากรายงานดัังกล่่าว การเพิ่่�มขึ้้�นของจำำ�นวนอุุตสาหกรรมใหม่่ที่่�ใช้้สารให้้ความหวาน เป็็นวััตถุุดิิบทำำ�ให้้ความต้้องการน้ำำ��ตาลทั้้�งแบบบริิโภคในครััวเรืือนและแบบอุุตสาหกรรมใน ประเทศเพิ่่�มขึ้้�นกว่่าร้้อยละ 16 จาก 610,000 ตัันในปีี 2561 เป็็น 710,000 ตัันในปีี 2562 ปััจจุุบััน ความต้้องการน้ำำ��ตาลในระดัับอุุตสาหกรรมอยู่่�ที่่� 165,000 ตััน ในขณะที่่� ความต้้องการน้ำำ��ตาลสำำ�หรัับอาหารอยู่่�ที่่� 545,000 ตััน โดยบริิษััทน้ำำ��ตาลคิิลอมโบโรผลิิต ได้้ 134,000 ตััน เริ่่�มต้้นการพััฒนาในปััจจุุบััน เป้้าหมายของแทนซาเนีียในเร็็วๆ นี้้� คืือการทำำ�ให้้น้ำำ��ตาลมีีปริมิ าณที่่�พอเพีียงได้้ภายใน ปีี 2568 ซึ่่�งเป็็นความเคลื่่�อนไหวที่่�เกิิดจากการขาดแคลนน้ำำ��ตาลอย่่างต่่อเนื่่�องในตลาด การเคลื่่�อนไหวดัังกล่่าวได้้รัับการสนัับสนุุนอย่่างมากจากบางอุุตสาหกรรมที่่�คิิดค้้นกลยุุทธ์์ ที่่�จะช่่วยบรรลุุเป้้าหมายในปีี 2568 ในที่่�สุุด บริิษััทน้ำำ��ตาลคิิลอมเบโรกล่่าวว่่ามีีแผนจะเพิ่่�มการผลิิตถึึง 144,000 ตัันจากระดัับ น้ำำ��ตาลปััจจุุบัันที่่� 127,000 ตัันต่่อปีีเป็็น 271,000 ตััน
12
แรงผลัักดัันเบื้้�องหลัังการขยายการผลิิตดัังกล่่าวคืืออุุปทานอ้้อยที่่�เพิ่่�มขึ้้�นเกืือบ สามเท่่าจากเกษตรกรรายย่่อยของบริิษัทั จาก 600,000 ตัันในปััจจุุบันั เป็็น 1,700,000 ตััน นายโจเซฟ รููไกมููคามูู ผู้้�อำำ�นวยการฝ่่ายสื่่�อสารองค์์กรของบริิษััทฯ กล่่าวว่่า ที่่�สำำ�คััญ โรงงานน้ำำ��ตาลแห่่งใหม่่นี้้�ได้้มีกี ารปรัับขนาดเพื่่อ� รัับอ้้อยทั้้�งหมดมาเข้้ารัับการบดภายในสิ้้�นเดืือน ธัันวาคมของทุุกปีี เพื่่อ� ลดการหยุุดชะงัักและความสููญเสีียที่่�มักั เกิิดจากการเริ่่มต้ � น้ ของฤดููฝน ปััจจุุบัันประเทศแทนซาเนีียผลิิตน้ำำ��ตาลได้้น้้อยกว่่า 470,000 ตัันต่่อปีี แต่่รััฐบาล คาดว่่าการผลิิตน้ำำ��ตาลในครััวเรืือนจะเพิ่่�มขึ้้�นเป็็น 700,000 ตัันภายในฤดููการเพาะปลููก ปีี 2067/2568 รััฐบาลแทนซาเนีียยัังคาดการณ์์ด้้วยว่่าการผลิิตอ้้อยที่่�เพิ่่�มขึ้้�นอย่่างรวดเร็็วจะควบคู่่� ไปกัับการลงทุุนในกำำ�ลัังการผลิิตที่่�เพิ่่�มขึ้้�น การอนุุมััติิอ้้อยพัันธุ์์�ใหม่่ (ที่่�เหมาะสำำ�หรัับดิินในท้้องถิ่่�น) ได้้ดำำ�เนิินการแล้้วในเดืือน มกราคมปีีนี้้� ในช่่วงเวลาที่่�กำำ�ลัังอยู่่�ระหว่่างการขยายโรงงานน้ำำ��ตาลที่่�คาเกร่่า บากาโมโย คิิลอมเบโร และมููคุุลาซีีแห่่งที่่�หนึ่่�งและสอง นายโจเซฟกล่่าวว่่า จะมีีการผลิิตเอทานอลเพิ่่�มขึ้้�น 4,000 กิิโลลิิตรที่่�โรงกลั่่�น เอทานอลที่่�อยู่่�ใกล้้กัันกัับบริิษััทน้ำำ��ตาลคิิลอมเบโร ซึ่่�งจะทำำ�ให้้การผลิิตรวมต่่อปีีสููงถึึง 16,000 กิิโลลิิตร เพื่่อ� ตอบสนองความต้้องการส่่งออกที่่�เพิ่่�มขึ้้น� ของแอลกอฮอล์์ที่่ใ� ช้้บริิโภคได้้ ในประเทศและแอฟริิกาตะวัันออก นายเอมีี พัังเว ประธานบริิษััทน้ำำ��ตาลคิิลอมเบโรกล่่าวว่่าความมุ่่�งมั่่�นอย่่างลึึกซึ้้�งของ ประธานาธิิบดีีซามีีอา ซููลููฮูู ฮััสซันั ในการสร้้างสภาพแวดล้้อมที่่�เอื้้อ� อำำ�นวยสำำ�หรัับการเติิบโต ของภาคเอกชนนั้้�นได้้รัับการสนัับสนุุนจากมาตรการคุ้้�มครองอัันมั่่�นคงสำำ�หรัับอุุตสาหกรรม น้ำำ��ตาลระดัับท้้องถิ่่�น ซึ่่�งถืือเป็็นการตััดสิินใจที่่�แน่่วแน่่ในการขออนุุมััติิจากผู้้�ถืือหุ้้�นสำำ�หรัับ โครงการดัังกล่่าวในแทนซาเนีีย นายเอมีีตั้้ง� ข้้อสัังเกตว่่าจำำ�นวนเกษตรกรรายย่่อยทั้้�งหมดที่่�ส่่งอ้้อยให้้กับั โรงงานน้ำำ��ตาล ของบริิษััทฯ จะเพิ่่�มขึ้้�นจาก 7,500 เป็็น 14,000 ถึึง 16,000 ราย ซึ่่�งส่่งผลกระทบโดยตรง ต่่อชาวบ้้านอีีก 50,000 คนในหุุบเขาคิิลอมเบโร นายเกวิิน ดาลเกลอิิช ผู้้�ถืือหุ้้�นของบริิษัทั น้ำำ��ตาลแอฟริิกาอิิลโลโว อธิิบายว่่าการลงทุุน ในโครงการนี้้�มีีขนาดใหญ่่ที่่�สุุดทั่่�วทั้้�งทวีีปแอฟริิกา ซึ่่�งเป็็นความภาคภููมิิใจในการร่่วมมืือกัับ ชาวแทนซาเนีียเพื่่�อลดปริิมาณการนำำ�เข้้าน้ำำ��ตาลทุุกปีีและตอบสนองความต้้องการบริิโภค นายเกวิินเสริิมว่่าด้้วยการลดการนำำ�เข้้าน้ำำ��ตาลอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ 144,000 ตััน อาจประเมิินได้้ว่่าแทนซาเนีียจะประหยััดเงิินได้้ 71 ล้้านดอลลาร์์จากการแลกเปลี่่�ยนเงิิน ตราต่่างประเทศต่่อปีี มุ่่�งเน้้นที่่�น้ำำ��ตาลในระดัับอุุตสาหกรรม ดร. ยููซุุฟ บาชา หุ้้�นส่่วนการพััฒนาและอดีีตเจ้้าหน้้าที่่�โรงงานน้ำำ��ตาลแห่่งหนึ่่�งของ ประเทศแทนซาเนีีย กล่่าวว่่า น้ำำ��ตาลระดัับอุุตสาหกรรมยัังคงเป็็นผลิิตภััณฑ์์จากอ้้อยที่่�นำำ�เข้้า มากที่่�สุุด ดัังนั้้�นจึึงไม่่ควรลืืมแนวคิิดในการผลิิตน้ำำ�� ตาลในระดัับนี้้�เพราะประเทศแทนซาเนีีย มีีศัักยภาพมากพอที่่�จะทำำ�เช่่นนั้้�นได้้ ดร. ยููซุุฟกล่่าวว่่า หากแผนขยายงานในปััจจุุบัันเป็็นไปด้้วยดีี จะเกิิดความมั่่�นใจว่่า ปััญหาการขาดแคลนน้ำำ��ตาลบริิโภคในครััวเรืือนในประเทศจะคลี่่�คลาย แม้้ว่่าจะต้้องเผชิิญ กัับการเมืืองมากมายในอดีีต โดยความคิิดริิเริ่่ม� เหล่่านี้้�ต้อ้ งเน้้นที่่�น้ำำ��ตาลในระดัับอุุตสาหกรรม และอาจเป็็นโอกาสสำำ�หรัับประเทศแทนซาเนีีย สิ่่�งที่่�ต้อ้ งการในขณะนี้้�คืือการลงทุุนมหาศาล จากผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียของภาคเอกชนเพื่่อ� ให้้สามารถดำำ�เนิินชีีวิติ ตามครรลองของเศรษฐกิิจ อุุตสาหกรรมได้้อย่่างเต็็มที่่� อย่่างไรก็็ตาม ดร. ยููซุุฟกล่่าวว่่า จะต้้องเริ่่�มต้้นตรวจสอบให้้แน่่ใจว่่าน้ำำ��ตาลใน ครััวเรืือนซึ่่�งชาวแทนซาเนีียนกัังวลใจตลอดเวลานั้้�นมีีอยู่่�ในตลาดก่่อนที่่�จะเริ่่�มผลิิตน้ำำ��ตาล เชิิงอุุตสาหกรรม เนื่่�องจากเราไม่่สามารถเริ่่�มการผลิิตน้ำำ��ตาลระดัับอุุตสาหกรรมได้้หากยััง มีีความต้้องการน้ำำ��ตาลในครััวเรืือนไม่่พอเพีียง ในการขยายการผลิิตนี้้�นี้้� ต้้องตั้้�งเป้้าที่่�จะ เริ่่มต้ � น้ ด้้วยน้ำำ��ตาลที่่�ใช้้ในครััวเรืือนก่่อน จากนั้้�นจึึงจะเริ่่ม� ผลิิตน้ำำ��ตาลเพื่่อ� อุุตสาหกรรมต่่อไป ในส่่วนของนายโมเสส บวานา ผู้้�ปลููกอ้้อยในเขตอำำ�เภอบากาโมโย กล่่าวว่่าหากได้้รัับ ความช่่วยเหลืือและมีีแรงจููงใจในการเพิ่่�มการผลิิต ก็็จะสามารถช่่วยประเทศชาติิให้้บรรลุุ เป้้าหมายในการผลิิตน้ำำ��ตาลให้้เพีียงพอสำำ�หรัับใช้้ในบ้้านและในระดัับอุุตสาหกรรม โดย พื้้�นฐานแล้้ว นี่่�คืือกลยุุทธ์์ในการยกระดัับและจููงใจเกษตรกรให้้เห็็นว่่าการปลููกอ้้อยเป็็นโอกาส เพราะผู้้�ปลููกอ้้อยต้้องการให้้อ้้อยของตนแปรรููป ในขณะที่่�สามารถผลิิตอ้้อยได้้มากขึ้้�นและ ทำำ�ให้้แทนซาเนีียเป็็นศููนย์์กลางของน้ำำ��ตาลทั่่�วโลก ในขณะนี้้� ได้้มีกี ารพยายามทำำ�ให้้เกิิดความแน่่ใจว่่าน้ำำ�� ตาลที่่�นำำ�เข้้ามีีปริมิ าณลดลงและ การผลิิตในท้้องถิ่่�นเพิ่่�มขึ้้�นแล้้วในประเทศแทนซาเนีีย
www.sugar-asia.com
International News
T
anzania has the potential to become a hub for domestic and industrial sugar if it takes advantage of the existing opportunities, including huge arable land, according to trade and agricultural experts. They argue that sugarcane can grow in most parts of the country, hence providing the key potential for sugar production, all is needed is strategising and putting in the requisite investment and engaging stakeholders, including sugarcane growers. The experts told BusinessWeek separately also that sugar companies have the opportunity to help the nation reduce the import of large quantities of sugar for industry and even table consumption by utilising the many sugarcane farmers in sugar processing. In February, Agriculture Minister Adolf Mkenda said there were many sugarcane growers but it was unfortunate that not all their produce was used for sugar production, creating the shortage. “Tanzanians are surprised that we have farmers producing enough sugarcane but we are still importing sugar,” Prof Mkenda was quoted as saying. Prof Mkenda, who visited Kilombero Sugar and talked to farmers in Morogoro, hinted that 2021 could be the last year for companies to import the sweetener, saying that as it is sugar imports were cheaper but the business had become like “drug dealing.” “Sugar is starting to look like drug dealing or mafia. We want it to be imported by these companies but for the last time this year. The sugar board will start importing sugar,” he said. Prof Mkenda, however, noted that the crisis of sugar in the country was not due to lack of sugarcane but the lack of investors to process sugarcane. Currently, the factory - which produces 128,000 tonnes of sugar per year as Kilombero Sugar Company - is owned by private investor Illovo, holding 75 percent of the shares, with the remaining shares owned by the government of Tanzania. For instance, recent reports indicate that Tanzania’s demand for domestic sugar was 470,000 metric tons (tonnes) per year, while the country’s five sugar processing factories had the capacity of producing 378,000 tonnes in 2019. The increase in the number of new industries that use the sweetener as raw material has raised demand for both table and industrial sugar in the country by over 16 percent, from 610,000 tonnes in 2018 to 710,000 tonnes in 2019, according to reports. Currently, data shows that demand for industrial sugar stands at 165,000 tonnes while that for table sugar is 545,000 tonnes with Kilombero Sugar Company Limited producing 134,000 tonnes. Begin with recent development Tanzania’s goal has so far been to become sugar self-sufficient by 2025, a move that is precipitated by constant sugar shortages in the market. The move received a huge boost following some industries coming up with strategies that would eventually help in the realisation of the country’s 2025 goal. For instance, Kilombero Sugar says it plans to increase production by 144,000 tonnes from current levels of around 127,000 tonnes of sugar per annum, to 271,000 tonnes. A driving force behind manufacturing expansion, they say in an interview with BusinessWeek, would be the almost three-fold increase in cane supply from the company’s small-scale growers, from 600,000 tonnes currently to 1,700,000 tonnes. “Importantly, the proposed new sugar factory has been sized so that all of the available cane will be crushed by the end of December each year, in order to minimize disruptions and losses often caused by the onset of the rainy season,” says communications director of Kilombero Sugar
www.sugar-asia.com
Company, Mr Joseph Rugaimukamu. The country currently produces less than 470,000 tonnes of sugar annually, but the government expects production will jump to 700,000 tonnes of table sugar by the 2024/25 farming season. The government also expects that the sharp rise in sugarcane production will go hand in hand with increased investment in processing capacity. The approval of the new varieties (suitable for local soil) was made in January this year. It came at a time when sugar factories at Kagera, Bagamoyo, Kilombero, Mukulazi-I and II were undergoing expansion. Mr Rugaimukamu also says the company would have a 4,000 kilolitre increase in the production of ethanol at the adjacent ethanol distillery, bringing total annual production up to 16,000 kilolitres in order to meet growing local and East African export demand for potable alcohol. “President Samia Suluhu Hassan’s profound commitment to creating a conducive environment for accelerated private sector growth, underpinned by firm protective measures for the local sugar industry, have been decisive in securing approval of shareholders for this transformational project in the country,” says the chairman of Kilombero Sugar Company, Mr Amy Mpungwe. He notes that the total number of small-scale farmers supplying cane to the expanded company sugar factories will increase from 7,500 to between 14,000 and 16, 000 growers, thus positively impacting directly an additional 50,000 people in the Kilombero Valley. According to a shareholder of Illovo Sugar Africa, Mr Gavin Dalgleish, the investment in the expansion project is their biggest to-date across the continent. “We are proud to be partnering with the Tanzanian people in a landmark investment aimed at reducing the amount of sugar imports into the country every year, to meet consumption demand,” he notes. Mr Dalgleish adds that, by effectively reducing sugar imports by 144,000 tonnes, their estimates are that Tanzania would be saving $71 million in foreign exchange a year. Focus on industrial sugar Bearing in mind that industrial sugar is still the most imported cane product, Dr Yusuph Mbasha, a development partner and former staff at one of the country’s sugar factories, says the idea of producing industrial sugar should not be forgotten as the country has a huge potential to do so. “If the current expansion plan goes well, I am sure that the problem of table sugar shortage in the country will be curbed even though this product has been faced with lots of politics in the past,” says Dr Mbasha. “These initiatives must highlight industrial sugar as well as it could be an opportunity for our nation. What we need is a huge investment from other private sector stakeholders so that we can live the industrial economy dream fully,” he adds. However, Mr Rugaimukamu says that, to begin with, they must ensure that table sugar which has been a constant concern for Tanzanians, is available in the market before starting to produce industrial sugar. “We cannot start production of industrial sugar at a time when there is still demand for table sugar which we have not satisfied. In this expansion, we aim to start with table sugar and then later we will start producing for industries,” he says. For his part, Mr Moses Mbwana - a sugarcane grower in Bagamoyo District - says if they are helped and motivated to increase production, they will be able to help the nation achieve its goal of producing enough sugar for domestic and industrial use. “Basically, it is a strategy to uplift and give the farmer reason to see that sugarcane cultivation is an opportunity. We need our sugarcane to be processed as we can produce even more and make Tanzania a hub for sugar globally,” believes Mr Mbwana. Already, efforts have been made to make sure that imported sugar is reduced, and that local production is increased.
13
International News
อิินเดีียมุ่่�งปฏิิวััติิทางการเกษตรกรรม 2.0 เพื่่� อให้้การ เกษตรทนต่่อสภาพอากาศและยั่่�งยืืนมากขึ้้�น India needs Green Revolution 2.0 to make Agri more climate-resistant, sustainable
I
ndia needs a second green revolution along with the next generation of reforms with a view to make agriculture more climate-resistant and environmentally sustainable, said the Reserve Bank of India (RBI) article on farm sector challenges. Observing that Indian agriculture has exhibited remarkable resilience during the COVID-19 period, the article said “new emerging challenges warrant a second green revolution along with next-generation reforms”. Despite the success in terms of production that has ensured food security in the country, food inflation and its volatility remain a challenge, which requires supply-side interventions such as higher public investment, storage infrastructure and promotion of food processing, said the article titled ‘Indian Agriculture: Achievements and Challenges’. The article said Indian agriculture scaled new heights with record production of various foodgrains, commercial and horticultural crops, exhibiting resilience and ensuring food security during the COVID-19 period.
บ
ทความเกี่่�ยวกัับความท้้าทายของภาคการเพาะปลููกและเลี้้�ยงสััตว์์ที่่�เขีียนโดย ธนาคารรีีเซิิร์์ฟ แบงค์์ของประเทศอิินเดีียชี้้�ให้้เห็็นว่่า อิินเดีียจำำ�เป็็นต้้องมีีการ ปฏิิวััติิทางการเกษตรกรรมครั้้�งที่่�สองไปพร้้อมกัับการปฏิิรููปทางการเกษตรรุ่่�นต่่อ ไป เพื่่�อให้้การทำำ�การเกษตรทนต่่อสภาพอากาศและสิ่่�งแวดล้้อมในรููปแบบที่่�ยั่่�งยืืน มากขึ้้�น จากการสัังเกตว่่าการเกษตรของอิินเดีียสามารถฟื้้น� ตััวได้้อย่่างน่่าทึ่่�งในช่่วง ระยะเวลาของการระบาดของเชื้้อ� ไวรััสโควิิด-19 ซึ่่�งบทความดัังกล่่าวชี้้ใ� ห้้เห็็นว่่า “เป็็น ที่่�แน่่นอนยิ่่�งว่่าจะเกิิดความท้้าทายใหม่่เกี่่�ยวกัับการปฏิิวัติั ทิ างการเกษตรกรรมครั้้�งที่่� สองพร้้อมๆ กัับการปฏิิรููปรุ่่�นต่่อไป”
จากบทความเรื่่อ� ง “การเกษตรแบบอิินเดีีย: ความสำำ�เร็็จและความท้้าทาย” ยัังอธิิบาย ว่่า แม้้จะประสบความสำำ�เร็็จในด้้านการผลิิตที่่�มีคี วามมั่่�นคงด้้านอาหารในประเทศอิินเดีีย แต่่ อััตราเงิินเฟ้้อและความผัันผวนของอาหารยัังคงเป็็นความท้้าทาย ซึ่่�งอาจต้้องมีีการแทรกแซง จากฝั่่�งอุุปทาน เช่่น การลงทุุนภาครััฐที่่�สููงขึ้้�น โครงสร้้างพื้้�นฐานในการจััดเก็็บอาหาร และ การส่่งเสริิมการแปรรููปอาหาร เป็็นต้้น บทความดัังกล่่าวยัังระบุุว่่า การทำำ�การเกษตรของอิินเดีียเพิ่่�มสููงเป็็นประวััติิการณ์์ใน การผลิิตธััญพืืชอาหาร พืืชผลทางการค้้าและพืืชสวนต่่างๆ ซึ่่�งแสดงถึึงความยืืดหยุ่่�นและรัับ ประกัันความมั่่�นคงด้้านอาหารในช่่วงระยะเวลาของการระบาดโควิิด-19 และบทความนี้้�ยังั ระบุุว่่า “อย่่างไรก็็ตาม ทุุกภาคส่่วนต้้องเผชิิญกัับความท้้าทายต่่างๆ ซึ่่�งในการบรรเทาผลกระทบต้้องใช้้แนวทางนโยบายแบบองค์์รวม” ตััวอย่่างเช่่น ผลผลิิตพืืชผลในอิินเดีียต่ำำ�กว่่ � าประเทศเศรษฐกิิจก้้าวหน้้าและตลาดใหม่่ อื่่น� ๆ อย่่างมาก เนื่่อ� งจากปััจจััยหลายประการ เช่่น การจััดสรรแบ่่งส่่วนที่่�ดินิ การใช้้เครื่่อ� งจัักร ในฟาร์์มน้้อย และการลงทุุนภาครััฐและเอกชนในด้้านการเกษตรที่่�ลดลง อีีกประการหนึ่่�ง บทความนี้้�ยัังกล่่าวว่่าการผลิิตพืืชผลมากเกิินไปในปััจจุุบััน เช่่น ข้้าว ข้้าวสาลีี และอ้้อย ได้้ทำำ�ให้้น้ำำ��ใต้้ดิินหมดลงอย่่างรวดเร็็ว ความเสื่่�อมโทรมของดิิน และ มลพิิษทางอากาศจำำ�นวนมาก จนทำำ�ให้้เกิิดคำำ�ถามเกี่่�ยวกัับความยั่่�งยืืนด้้านสิ่่�งแวดล้้อมของ การทำำ�การเกษตรในปััจจุุบัันของอิินเดีีย
“The sector, however, confronted various challenges, mitigation of which requires a holistic policy approach,” it said. For instance, crop productivity in India is much lower than other advanced and emerging market economies due to various factors, like fragmented landholdings, lower farm mechanisation and lower public and private investment in agriculture. Second, the article said the current overproduction of crops like rice, wheat and sugarcane, has led to rapid depletion of the ground-water table, soil degradation and massive air pollution raising questions about the environmental sustainability of current agricultural practices in India. Also, despite surplus production in many of the commodities, food inflation and volatility in prices continue to remain high causing inconvenience to consumers and low and fluctuating income for farmers. “Addressing these challenges would require a second green revolution focussed on the agriculture water-energy nexus, making agriculture more climate resistant and environmentally sustainable. The use of biotechnology and breeding will be important in developing eco-friendly, disease-resistant, climate-resilient, more nutritious and diversified crop varieties,” it said. Wider use of digital technology and extension services will be helpful in information sharing and generating awareness among the farmers. It also stressed that better post-harvest loss-management and a revamp of co-operative movement through the formation of farmer-producer organisations (FPOs) can arrest the volatility in food prices and farmers’ income and help harness the true potential of Indian agriculture.
นอกจากนั้้�น แม้้ว่่าจะมีีการผลิิตสิินค้้าโภคภััณฑ์์เกิินเป็็นจำำ�นวนมาก แต่่อััตราเงิินเฟ้้อ ของอาหารและความผัันผวนของราคายัังคงสููง ทำำ�ให้้เกิิดความไม่่สะดวกแก่่ผู้้�บริิโภคและราย ได้้สำำ�หรัับเกษตรกรยัังคงต่ำำ��และผัันผวน ซึ่่�งการจััดการกัับความท้้าทายเหล่่านี้้�จำำ�เป็็นต้้องมีีการปฏิิวััติิธรรมชาติิครั้้�งที่่�สอง โดย มุ่่�งเน้้นที่่�การเชื่่�อมโยงพลัังงานน้ำำ�� เพื่่�อการเกษตร (water-energy nexus) ทำำ�ให้้การเกษตร ทนต่่อสภาพอากาศและสิ่่�งแวดล้้อมอย่่างยั่่�งยืืนมากขึ้้�น การใช้้เทคโนโลยีีชีีวภาพและการ ปรัับปรุุงพัันธุ์์�จะมีีความสำำ�คััญในการพััฒนาพัันธุ์์�พืืชที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม ต้้านทานโรค ทนต่่อสภาพอากาศ มีีคุุณค่่าทางโภชนาการมากขึ้้�น และมีีความหลากหลาย การใช้้เทคโนโลยีีดิจิิ ทัิ ลั และบริิการเพิ่่�มเติิมอื่น่� ๆ ในวงกว้้างจะเป็็นประโยชน์์ในการแบ่่ง ปัันข้้อมููลและสร้้างความตระหนัักในหมู่่�เกษตรกร นอกจากนี้้� บทความดัังกล่่าวยัังเน้้นว่่า การจััดการความเสีียหายหลัังการเก็็บเกี่่�ยวที่่� ได้้มีีการปรัับปรุุงให้้ดีีขึ้้�นและปรัับกระบวนการสหกรณ์์ด้้วยการจััดตั้้�งองค์์กรเกษตรกรและ ผู้้�ผลิิต (FPO) ที่่�สามารถตรวจสอบความผัันผวนของราคาอาหารและรายได้้ของเกษตรกร และช่่วยควบคุุมศัักยภาพที่่�แท้้จริิงของการเกษตรในอิินเดีียได้้ในที่่�สุุด
14
www.sugar-asia.com
Planters Corner
Thailand
UGAR S 2022 Conference
WHY YOU SHOULD ATTEND?
ANNUAL MEETING POINT FOR SUGAR INDUSTRY PLAYERS IN THAILAND AND SOUTH-EAST ASIA
DISCOVER NEW OPPORTUNITIES FOR BUSINESS NETWORKING, PARTICIPANTS
MAY COME FROM A RANGE OF INDUSTRIES AND FUNCTIONS, THE PROGRAM WILL BENEFIT SENIOR PROFESSIONALS.
CONFERENCE SESSIONS AND KEYNOTE SPEAKING PRESENTATIONS FROM A LEADING EXPERT.
2 DAYS FOR A MIXTURE OF INDUSTRY STRATEGIC AND FACTORY VISIT.
100+ ATTENDEES FROM SUGAR AND BIOETHANOL INDUSTRY PLAYERS.
8 - 9 SEPTEMBER 2022 KICE, KHON KAEN, THAILAND www.sugar-conference.com CONTACT US FOR FURTHER INFORMATION
thai@juz-talk.com | (+66) 2513 1418 ext.110 www.sugar-asia.com
In Conjunction With
Conference By
Official Media
3 Edition rd
THAILAND 2022
15
Planters Corner
The Flex sugarcanes respond to challenges of the sector and facilitate the production of (first and second generation) ethanol and the extration of other bioproducts. In the photo, Flex II
บราซิิลพัั ฒนาอ้้อยพัั นธุ์์� CRISPR ได้้สำำ�เร็็จ เป็็นครั้้�งแรกของโลก World’s first CRISPR-edited sugarcane developed in Brazil
จ
ากข้้อมููลของ Normative Resolution 16 (RN 16) โดยคณะกรรมการแห่่ง ชาติิบราซิิลว่่าด้้วยเทคนิิคความปลอดภััยทางชีีวภาพ (CTNBio) ที่่�เผยแพร่่เมื่่อ� วัันที่่� 9 ธัันวาคม 2564 นัักวิิทยาศาสตร์์จาก Embrapa Agroenergy ได้้พััฒนา อ้้อยดััดแปลงยีีนตััวแรกของโลกที่่�จัดั ว่่าปราศจากการดััดแปลงพัันธุุกรรม (โดยผ่่าน การแก้้ไขจีีโนมที่่�ปราศจากดีีเอ็็นเอ) ต้้นอ้้อยที่่�ว่่านี้้�คืือพัันธุ์์� Flex I และ Flex II ซึ่่�ง มีีความสามารถในการย่่อยได้้ตามผนัังเซลล์์ที่่�สููงขึ้้�นตามลำำ�ดัับและมีีซููโครสเข้้มข้้น ในเนื้้�อเยื่่�อมากขึ้้�น โดยอ้้อยพัันธุ์์�นี้้�ตอบสนองอย่่างน่่าสนใจที่่�สุุดประการหนึ่่�ง นั่่�น คืือ มีีการเพิ่่�มการเข้้าถึึงของเอ็็นไซม์์ไปยัังน้ำำ��ตาลที่่�ถููกขัังในเซลล์์ ซึ่่�งช่่วยอำำ�นวย ความสะดวกในการผลิิตเอทานอล (รุ่่�นที่่�หนึ่่�งและสอง) และการสกััดผลิิตภััณฑ์์ ชีีวภาพอื่่�นๆ เป็็นต้้น
อ้้อยพัันธุ์์� Flex I เป็็นผลมาจากการปิิดยีีนที่่�ทำำ�หน้้าที่่�สร้้างความแข็็งแกร่่ง ของผนัังเซลล์์ โครงสร้้างนี้้�ได้้รัับการแก้้ไขและแสดง “ความสามารถในการย่่อย” ที่่�สููงขึ้้น� กล่่าวคืือ มีีการปล่่อยให้้เข้้าถึึงการโจมตีีของเอนไซม์์ได้้มากขึ้้�นในระหว่่างขั้้น� ตอนการ hydrolysis ด้้วยเอนไซม์์ ซึ่่�งเป็็นกระบวนการทางเคมีีที่่�สกััดสารประกอบ จากชีีวมวลของพืืช
อ้้อยพัันธุ์์� Flex II มีีน้ำำ�� ตาลซููโครสมากกว่่า ในขณะเดีียวกััน อ้้อยพัันธุ์์�ที่่ส� องถููกสร้้างขึ้้น� โดยการปิิดยีีนในเนื้้�อเยื่่อ� ซึ่่ง� ทำำ�ให้้เกิิด การผลิิตซููโครสเพิ่่�มขึ้้น� อย่่างมากในลำำ�ต้น้ ของตััวต้้นแบบ นั่่�นคืือ Setaria viridis อููโก โมลิินารีี นัักวิิทยาศาสตร์์จาก Embrapa Agroenergy อธิิบายว่่า เมื่่�อ ลัักษณะของการสะสมน้ำำ��ตาลในลำำ�อ้อ้ ยนี้้�ได้้รับั การระบุุแล้้ว จะมีีการถ่่ายทอดข้้อมููล นี้้�ไปยัังต้้นอ้้อย ซึ่่�งเป็็นเป้้าหมายของการวิิจัยั เพราะน้ำำ�� ตาลซููโครสในลำำ�อ้อ้ ยจะเพิ่่�ม ขึ้้�นอีีกประมาณ 15% ควบคู่่�ไปกัับการเพิ่่�มขึ้้�นของน้ำำ��ตาลอื่่�นๆ ที่่�มีีอยู่่� เช่่น กลููโคส และฟรุุกโตส ทั้้�งในตััวอ้้อยและในเนื้้�อเยื่่�ออ้้อย ทีีมนักวิ ั จัิ ยั ยัังได้้สังั เกตการเพิ่่�มขึ้้น� ของน้ำำ��ตาลในใบอ้้อยประมาณ 200% และ ทำำ�การทดสอบเพื่่�อดููว่่ายีีนมีีปฏิิกิิริิยาต่่อการปรัับ กระบวนการ saccharification หรืือไม่่ ซึ่่�งเป็็นการเปลี่่�ยนเซลลููโลสให้้เป็็นน้ำำ�� ตาลที่่�ผลิิตในอุุตสาหกรรม และมีีการ เพิ่่�มขึ้้�นประมาณ 12% อููโกยัังระบุุข้อ้ ดีีบางประการของอ้้อยพัันธุ์์� Flex II นั่่�นคืือ ประสิิทธิิภาพที่่�เพิ่่�ม ขึ้้�นในการผลิิตไบโอเอทานอล รวมทั้้�งการค้้นพบพัันธุ์์�อ้้อยที่่�หลากหลายที่่�เหมาะสม กัับการแปรรููปทางอุุตสาหกรรม การรัับชานอ้้อยที่่�ย่่อยได้้สููงขึ้้น� เพื่่อ� ใช้้ในอาหารสััตว์์ และมููลค่่ารวมของอ้้อยในห่่วงโซ่่การผลิิตโดยรวม
16
Hugo Bruno Correa Molinari, Researcher of Embrapa Agroenergy
อููโกยัังย้ำำ��ว่่าในปีี 2563/2564 การผลิิตน้ำำ��ตาลทั้้�งหมดในโลกอยู่่ที่่� ป� ระมาณ 188 ล้้านตััน และบราซิิลผลิิตได้้ 39 ล้้านตััน คิิดเป็็น 21% ของการผลิิตทั่่�วโลก อีีกประเด็็นหนึ่่�งที่่�นัักวิิจััยนี้้�เน้้นย้ำำ�คืื � อ การสนัับสนุุนอ้้อยในการเพิ่่�มศัักยภาพ พลัังงานสะอาด เพราะทุุกวัันนี้้�มากกว่่า 45% ของส่่วนผสมพลัังงานที่่�ใช้้ในบราซิิล สามารถหมุุนเวีียนได้้ และอ้้อยนั้้�นมีีส่่วนช่่วยมากกว่่า 30% ของแหล่่งพลัังงาน หมุุนเวีียนดัังกล่่าว
การวิิจััยที่่�ใช้้เทคนิิคล้ำำ�� สมััยในการตััดต่่อจีีโนม อููโกอธิิ บ ายว่่า Embrapa Agroenergy ได้้ ศึึ ก ษายีี น ที่่� เ กี่่� ย วข้้ อ งกัั บ Acyltransferases ซึ่่�งเป็็นเอนไซม์์ที่่มี� หี น้้าที่่�ในการสร้้างและดััดแปลงโครงสร้้างของผนััง เซลล์์และเปิิดให้้เข้้าถึึงน้ำำ�� ตาลได้้ โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งในกรณีีของอ้้อยพัันธุ์์� Flex II กลุ่่�มนักวิ ั จัิ ยั ดัังกล่่าวได้้กล่่าวถึึงยีีนที่่�เป็็นตััวเลืือกซึ่่�งมาจากตระกููล acyltransferases ซึ่่�งพิิสููจน์์แล้้วว่่าเป็็นสิินทรััพย์ชี์ วี ภาพที่่�มีศัี กั ยภาพสููงและมีีความเป็็นไปได้้ในการเพิ่่�ม การผลิิตน้ำำ�� ตาลในต้้นหญ้้า การศึึกษาวิิจััยทั้้�งสองที่่�กล่่าวมาข้้างต้้นใช้้กระบวนการ CRISPR (Clustered Regularly Interspaced Shorts Palindromic Repeats) ซึ่่�งเป็็นเทคนิิคล้ำำ��สมััย เพื่่�อจััดการกัับยีีนที่่�ค้้นพบในปีี 2555 โดยเทคโนโลยีีนี้้�ใช้้เอนไซม์์ Cas9 เพื่่�อตััด ดีีเอ็็นเอในจุุดที่่�กำำ�หนด โดยปรัับเปลี่่�ยนเนื้้�อที่่�เฉพาะ การค้้นพบนี้้�ทำำ�ให้้เอ็็มมานููแอล ชาร์์เพ็็นเทีียร์์และเจนนิิเฟอร์์ เอ โดด์์นาได้้รับั รางวััลโนเบลสาขาเคมีีประจำำ�ปีี 2020 www.sugar-asia.com
Planters Corner ซึ่่�งทั้้�งสองได้้ตีีพิิมพ์์งานวิิจััยในเรื่่�องดัังกล่่าวนี้้�เป็็นครั้้�งแรก การพััฒนาอ้้อยพัันธุ์์� Flex I และ II จึึงไม่่ทำำ�ให้้เกิิดการเปลี่่�ยนแปลงดีีเอ็็นเอ แต่่เกี่่�ยวข้้องกัับการปิิดของยีีนเท่่านั้้�น นั่่�นคืือเหตุุผลที่่�คณะกรรมการเทคนิิคแห่่งชาติิ ว่่าด้้วยความปลอดภััยทางชีีวภาพ (CTNBio) ได้้จัดั ประเภทพัันธุ์์�อ้้อยใหม่่นี้้�ว่่าไม่่ผ่่าน การดััดแปลงพัันธุุกรรมหรืือไม่่มีีการดััดแปลงพัันธุุกรรมใดๆ เลย อููโกยัังรายงานเพิ่่�มเติิมว่่าข้้อโต้้แย้้งเกี่่�ยวกัับการใช้้พืืชดััดแปลงพัันธุุกรรมใน การเกษตรทำำ�ให้้แต่่ละประเทศในโลกสร้้างเกณฑ์์เฉพาะในเรื่่�องดัังกล่่าว ซึ่่�งทำำ�ให้้ ต้้นทุุนในการดััดแปลงพัันธุุกรรม (GM) ในตลาดเพิ่่�มสููงขึ้้�น ทุุกวัันนี้้� มีีการเพิ่่�ม ขึ้้�นของเทคโนโลยีีใหม่่ๆ มากมาย การแก้้ไขจีีโนมโดยการใช้้การลำำ�ดัับจีีโนมจาก สปีีชีส์ี อื่์ น่� ๆ ภายนอกเข้้าสู่่จี� โี นมของสปีีชีส์ี เ์ ป้้าหมายนั้้�นไม่่มีีความจำำ�เป็็นอีีกต่่อไป มีีนัักวิิทยาศาสตร์์กล่่าวว่่า แม้้ว่่ายีีนแปลงพัันธุ์์�ยัังคงเป็็นกลยุุทธ์์สำ�คั ำ ัญในการ แก้้ปััญหามากมายในการเกษตรและเพิ่่�มมููลค่่าให้้กัับสายพัันธุ์์�พืืช แต่่การแก้้ไข จีีโนมด้้วยเทคนิิคเช่่น CRISPR จะช่่วยให้้จััดการดีีเอ็็นเอได้้อย่่างแม่่นยำำ� รวดเร็็ว และประหยััดมากขึ้้�นเมื่่�อเปรีียบเทีียบกัับการดััดแปลงพัันธุุกรรมอื่่�น อููโกกล่่าวเพิ่่�มเติิมว่่า เทคโนโลยีี CRISPR ทำำ�ให้้เกิิดการยอมรัับในการ นำำ�มาใช้้เทคโนโลยีีชีีวภาพในการเกษตร ไม่่เพีียงแต่่จากมุุมมองของบริิษััทและ สถาบัันต่่างๆ ที่่�เข้้าร่่วมในการพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ที่่�เข้้าถึึงตลาดมากขึ้้�นเท่่านั้้�น แต่่ ยัังช่่วยให้้สายพัันธุ์์�อื่่�นๆ ที่่�น่่าสนใจได้้รัับประโยชน์์มากยิ่่�งขึ้้�น โดยค่่าใช้้จ่่ายโดย ประมาณสำำ�หรัับการพััฒนาโรงงานดััดแปลงพัันธุุกรรมนี้้�อยู่่�ที่่�ประมาณ 136 ล้้าน ดอลลาร์์สหรััฐฯ และระหว่่าง 30% ถึึง 60% ของค่่าใช้้จ่่ายนี้้�มุ่่�งเป้้าไปที่่�ขั้้�นตอน การยกเลิิกกฎระเบีียบเก่่าๆ การพััฒนาเทคโนโลยีีการปลููกอ้้อยอย่่างสม่ำำ��เสมอเป็็นปััจจััยหลัักที่่ทำ� ำ�ให้้เกิิดการ ขยายของภาคส่่วนต่่างๆ เป็็นเวลาหลายทศวรรษแล้้วที่่�กลุ่่�มนักวิ ั จัิ ยั ต่่างๆ ทั่่�วโลกได้้ ทุ่่�มเทความพยายามในการวิิจัยั ขั้้น� พื้้�นฐานเพื่่อ� ความเข้้าใจการเผาผลาญน้ำำ��ตาลในพืืช และการควบคุุมที่่�ดีีขึ้้�นในระหว่่างการพััฒนาพืืชในสายพัันธุ์์�ต้้นแบบ การเผาผลาญ น้ำำ��ตาลเป็็นที่่�รู้้�จักกั ั นั ดีีในขณะนี้้� เนื่่อ� งจากพบการรวมตััวของเอ็็นไซม์์หลายชนิิดรวม ทั้้�งกระบวนการเผาผลาญของการส่่งและการสะสมเอ็็นไซม์์ บรููนูู ลาวิิโอลา รองหััวหน้้าฝ่่ายวิิจััยและพััฒนาจาก Embrapa Agroenergy กล่่าวว่่า การพััฒนาพัันธุ์์�อ้้อยใหม่่ๆ ด้้วยเทคนิิค CRISPR ถืือเป็็นการความรู้้�ใหม่่ ขั้้�นแนวหน้้า เพราะพัันธุ์์�อ้้อยดัังกล่่าวเป็็นเพีียงจุุดเริ่่�มต้้นเท่่านั้้�น และเป็็นการ ปููทางสำำ�หรัับการพััฒนาและส่่งมอบพัันธุ์์�อ้้อยอื่่น� ๆ ให้้กับั ภาคการผลิิต โดยมีีลักั ษณะ เฉพาะที่่�จะส่่งผลโดยตรงต่่อผลผลิิตอ้้อยและการลดต้้นทุุนการผลิิตอีีกด้้วย
ที่่�เป็็นไปตามกฎเกณฑ์์เดิิมๆ โดยสถานการณ์์แรกจะเป็็นการขยายการใช้้อ้้อย Flex II ทีีละน้้อยในปริิมาณ 1% ต่่อปีี จนถึึง 10% ของการผลิิตที่่�สัังเกตได้้ในการ เก็็บเกี่่�ยวอ้้อยในปีี 2563/2564 ในบราซิิลภายในสิิบปีีนี้้� ในสถานการณ์์แบบที่่�สอง โรซานาอธิิบายว่่า อััตราการขยายตััวจะอยู่่ที่่� � 0.5% ต่่อปีี ซึ่่�งสููงถึึง 5% ของผลผลิิตอ้้อยที่่�สัังเกตได้้ในการเก็็บเกี่่�ยวปีี 2563/2564 ใน ทั้้�งสองสถานการณ์์นี้้� โรงงานแบบมาตรฐานจะแปรรููปการผลิิตดัังกล่่าว โดยอ้้อยร้้อย ละ 50 จะใช้้เพื่่อ� ผลิิตน้ำำ��ตาลและอีีกร้อ้ ยละ 50 จะใช้้สำำ�หรัับเอทานอลรุ่่น� แรก และ ซางและชานอ้้อยอีีก 60% จะใช้้เพื่่อ� ผลิิตเอทานอลรุ่่น� ที่่�สองในโรงงานน้ำำ��ตาล การวิิเคราะห์์ความเป็็นไปได้้ทางเศรษฐกิิจของกระแสรายได้้จะพิิจารณาถึึงข้้อดีี ที่่�พยากรณ์์ได้้จากอ้้อยพัันธุ์์� Flex II ที่่�ได้้จากการผลิิตน้ำำ�� ตาล และเอทานอลรุ่่�น 1 และ 2 เมื่่�อเปรีียบเทีียบกัับอ้้อยทั่่�วไป ในการขยายโครงสร้้างพื้้�นฐานและความสามารถในการประมวลผลของโรงงาน น้ำำ��ตาลนั้้�น มีีการพิิจารณาการลงทุุนประมาณ 2 พัันล้้านเรีียลบราซิิล (ในสถานการ์์ ที่่�เป็็นไปในทางบวก) และการเบิิกจ่่าย 2 ครั้้�งมููลค่่า 1 พัันล้้านเรีียลบราซิิล (ใน สถานการณ์์ที่่เ� ป็็นไปตามเกณฑ์์เดิิม) โดยทั้้�งสองสถานการณ์์มีค่่ี าใช้้จ่่ายบำำ�รุงุ รัักษา ประจำำ�ปีีประมาณ 100 ล้้านเรีียลบราซิิล การวิิเคราะห์์ขั้้น� สุุดท้้ายระบุุว่่าการลงทุุนจะเป็็นไปได้้ เมื่่อ� กำำ�ไรเพิ่่�มเติิมที่่ค� าด หวัังจากอ้้อย Flex II มีีอัตั ราผลตอบแทนภายในที่่� 27% และ 16% และมููลค่่าสุุทธิิ ปััจจุุบันั อยู่่ที่่� � 4.19 ล้้านดอลลาร์์สิงิ คโปร์์และ 982,700 เรีียลบราซิิล ในสถานการณ์์ ที่่�เป็็นไปในทางบวกและสถานการณ์์ที่่�เป็็นไปตามเกณฑ์์เดิิม ตามลำำ�ดัับ. โปรดอ่่านข้้อมููลที่่�เกี่่�ยวข้้องเพิ่่�มเติิมได้้ที่่� Citizen Attention Service (SAC) www.embrapa.br/contact-us/sac/
S
cientists from Embrapa Agroenergy developed the first gene-edited sugarcanes that are considered non-transgenic in the world (through DNA-free genome editing), according to the Normative Resolution 16 (RN 16) by the Brazilian National Technical Commission on Biosafety (CTNBio) published on Dec 9, 2021. They are the Flex Iand Flex II sugarcane varieties, which respectively offer higher cell wall digestibility and higher concentration of sucrose in plant tissues. They respond to one of the biggest challenges of the sector: increasing the access of enzymes to the sugars imprisoned in the cells, which facilitates the production of ethanol (first and second generation) and the extraction of other bioproducts.
The Flex I sugarcane is the result of silencing the gene responsible for the rigidity of the plant’s cell walls. This structure was modified and showed higher “digestibility”, that is, allowed more access to enzyme attacks during the stage of enzymatic hydrolysis, a chemical process that extracts compounds from plant biomass.
Flex II: more sucrose
Flex I
อ้้อย Flex II ให้้ผลตอบแทนการลงทุุนขั้้�นต่ำำ�� 10% ต่่อปีี โรซานา กีีดุชุ ชีี นัักวิจัิ ยั ด้้านเศรษฐศาสตร์์ของ Embrapa Agroenergy กล่่าว ว่่า อ้้อยพัันธุ์์� Flex II ได้้รัับการวิิเคราะห์์ในสถานการณ์์การนำำ�ไปใช้้หลากหลาย และมีีการประเมิินผลกระทบทางเศรษฐกิิจในภาคน้ำำ��ตาลและพลัังงาน การวิิเคราะห์์ นี้้�อยู่่ใ� นวิิทยานิิพนธ์์ปริญ ิ ญาโทสาขาการบริิหารธุุรกิิจซึ่่�งเขีียนโดยอููโกและมีีโรซานา เป็็นที่่�ปรึกึ ษาร่่วมในงานนี้้� งานวิิทยานิิพนธ์์ดังั กล่่าวมีีจุดุ มุ่่�งหมายเพื่่อ� ประเมิินความอยู่่ร� อดทางเศรษฐกิิจ ของอ้้อยพัันธุ์์�ใหม่่นี้้�เกี่่�ยวกัับการเพิ่่�มขึ้้น� ของปริิมาณน้ำำ��ตาลและการใช้้ประโยชน์์จาก ชานอ้้อยและซางอ้้อยที่่�ดีีขึ้้�นในการผลิิตเอทานอลรุ่่�นที่่�สอง เพื่่อ� ประเมิินผลกำำ�ไรด้้วยการนำำ�เทคโนโลยีีมาใช้้ การศึึกษาดัังกล่่าวได้้ประเมิิน สถานการณ์์ที่่เ� ป็็นไปได้้สองสถานการณ์์ นั่่�นคืือ สถานการณ์์ในแง่่ดีีและสถานการณ์์ www.sugar-asia.com
Meanwhile the second variety was generated by silencing a gene in the plant tissue, which caused a considerable increment in the production of sucrose in the culms of the model plant, Setaria viridis. “Once this trait of sugar accumulation was identified in the model plant, we transferred this knowledge to sugarcane, the target of our research. Again an increment in sucrose of around 15% in the sugarcane culms was observed, alongside an increase in other sugars that are present in the plant like glucose and fructose, both in the plant and in the fresh plant tissue”, explains the Embrapa researcher Hugo Molinari. The team also observed increments of around 200% in sugar in sugarcane leaves. “We also performed tests to see if the gene had action towards improving saccharification, which is the conversion of cellulose into industrial sugar, and we observed an increment of around 12%”, the researcher adds. Molinari lists some of the advantages of the Flex II sugarcane: increased efficiency in bioethanol production, the discovery of a variety that is more suited to industrial processing, the obtainment of bagasse with higher digestibility for use in animal feed, and aggregating value to the sugarcane production chain as a whole. “In 2020/2021, the estimated total sugar production in the world was 188 million tons, and Brazil was responsible for 39 million tons, the equivalent to 21% of the world production”, Molinari asserts.
17
Planters Corner Another point underscored by the researcher is sugarcane’s contribution to a cleaner energy mix. “Today we know that more than 45% of the Brazilian energy mix is renewable and that sugarcane contributes with a share of over 30% of such renewable sources,” he informs.
Research used revolutionary genome editing technique Embrapa Agroenergy had already been studying genes related to acyltransferases, enzymes responsible for the formation and modification in the structure of plant cell walls and that allow access to sugar. “Specifically in the case of the Flex II sugarcane, our group identified a candidate gene belonging to the family of acyltransferases that proved to be a very promising and viable biotechnological asset to increase the production of sugars in grasses”, the researcher explains. Both studies used CRISPR (Clustered Regularly Interspaced Shorts Palindromic Repeats), a revolutionary technique to manipulate genes discovered in 2012. The technology uses the Cas9 enzyme to cut DNA in given points, modifying specific regions. The discovery yielded the 2020 Nobel Prize in Chemistry to the researchers who published the first paper on the subject: Emmanuelle Charpentier and Jennifer A. Doudna. Developing the Flex I and II sugarcanes thus did not entail changing the DNA of the plant, it only involved the silencing of the genes. That is why, the National Technical Commission on Biosafety (CTNBio) classified the new varieties as non-transgenic or not genetically modified. “The controversy around the use of transgenic plants in agriculture has made each country in the world create specific regulation on the subject, which escalated the cost of inserting genetically modified (GM) varieties in the market. Nowadays we have seen the rise of a new technology, genome editing, with which the introduction of exogenous sequences from other species into the genome of the target species is no longer necessary”, Molinari reports. According to the scientist, although transgenics remains an important strategy to solve countless problems in agriculture and to add value to species, genome editing with techniques like CRISPR allow for more precise, expeditious and economical manipulation of DNA in comparison with transgenics. “The CRISPR technology has allowed a democratization of the use of biotechnology in agriculture, not only from the point of view of more
companies and institutions participating in the development of products that reach the market, but also by allowing more species of interest to benefit from it”, Molinari explains. According to him, the estimated cost for the development of a GM plant is of about US$ 136 million and between 30% and 60% of this amount is aimed at the deregulation stages. Molinari recalls that the technological development of sugarcane crops throughout time was the main factor responsible for the expansion of the sector. For decades, different research groups in the world have dedicated basic research efforts towards a better understanding of plant sugar metabolism and control during plant development in model species. “Sugar metabolism is well-known today, as the integration of several enzymes and the metabolic processes of transportation and accumulation have been unveiled”, the researcher observes. According to the deputy head of Research and Development at Embrapa Agroenergy, Bruno Laviola, othe development of new sugarcane cultivars throught the CRISPR technique is at the frontier of knowledge. “These cultivars are only the beginning and they pave the way for the development and delivery of other cultivars for the production sector with characteristics that will directly impact on the productivity of sugarcane and reduce production costs,” he announces.
Flex II
Flex II: minimal return on investment of 10% a year With the aid of the economist Rosana Guiducci, researcher of Embrapa Agroenergy, the Flex II sugarcane variety was analysed in different adoption scenarios and there was an assessment of economic impacts in the sugar and energy sector. The analysis was the subject of Molinari’s MBA thesis, and the economist was his co-advisor. The work conducted in his MBA aimed at assessing the economic viability of this new variety regarding the increase in sugar content and better exploitation of bagasse and straw for the production of second generation ethanol (2GE). To estimate economic gains with the adoption of the technology, the study assessed two possible scenarios, an optimist one and a conservative one. The first one would be the gradual expansion of the adoption of the Flex II sugarcane in 1% a year, reaching 10% of the production observed in the 2020/2021 sugarcane harvest in Brazil within ten years. In the second, more conservative scenario, the expansion rate would be of 0.5% a year, reaching 5% of the sugarcane yield observed in the 2020/2021 harvest within ten years. “In both scenarios, we considered that a standard mill would process such production, separating 50% of the sugarcane to produce sugar and 50% for first generation ethanol, and 60% of the straw and bagasse to produce 2GE in the mill”, Guiducci explains. The economic viability analysis of the revenue stream considered the advantages expected from Flex II sugarcane, obtained in the production of sugar, and 1G and 2G ethanol, in comparison with conventional sugarcane. To expand the mill’s infrastructure and processing capacity, it considered an investment of around R$ 2 billion (optimistic scene) and two disbursements of R$ 1 billion (conservative scenario), both with annual maintenance expenses at around R$100 million. The final analysis indicated that the investment is viable, once the additional gains expected from Flex II recorded an internal rate of return (IRR) of 27% and 16% and a net present value (NPV) of R$ 4.19 million and R$ 982,700 in the optimistic and conservative scenarios, respectively.
The technological development of sugarcane crops throughout time was the main factor responsible for the expansion of the sector. - Photo: Hugo Molinari
18
Further information Contact Citizen Attention Service (SAC) www.embrapa.br
www.sugar-asia.com
Cover Story
พลิิกฟื้้�นภาคอุุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลพร้้อมเผชิิญหน้้า กัับความท้้าทายใหม่่ในฤดููกาลหน้้า Sugar Sector Recovery to Face New Challenges for Next Season มื่่�อพฤศจิิกายน 2564 ที่่�ผ่่านมา บริิษััท ไฟร์์เวิิร์์คส์์ มีีเดีีย (ประเทศไทย) จำำ�กััด ได้้จััดงานประชุุมแบบ ออนไลน์์ Thailand Sugar Online Conference 2021 ซึ่่�งงานนี้้�เป็็นเวทีีหลัักให้้ผู้้�มีส่่ี วนได้้ส่่วนเสีียในอุุตสาหกรรม น้ำำ��ตาลในประเทศไทยและประเทศในเอเชีียตะวัันออกเฉีียง ใต้้ได้้พบปะกัันเป็็นประจำำ�ทุุกปีี เพื่่�อเปิิดโอกาสให้้ค้้นพบ โอกาสใหม่่ ๆ ในการสร้้างเครืือข่่ายทางธุุรกิิจและได้้รัับ ความรู้้�ที่่�ทันั สมััยเกี่่�ยวกัับการปลููกอ้้อยและการผลิิตน้ำำ��ตาล งานนี้้�จึงึ มีีผู้้�เข้้าร่่วมกว่่า 100 รายจากอุุตสาหกรรมน้ำำ��ตาล และไบโอเอทานอล ในการประชุุมครั้้�งนี้้�มีีหััวข้้อเสวนาที่่�น่่าใจสนใจในช่่วง Panel Discussion ใน หััวข้้อ “พลิิกฟื้้�นภาคอุุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลพร้้อมเผชิิญหน้้ากัับความท้้าทายใหม่่ ในฤดููกาลหน้้า” ซึ่่�งได้้รัับความสนใจจากผู้้�เข้้าร่่วมประชุุมเป็็นอย่่างมาก เนื่่�องจาก เป็็นการเสวนาของผู้้�เชี่่�ยวชาญในสาขาที่่�เกี่่�ยวข้้องทั้้�ง 3 ท่่าน ได้้แก่่ คุุณศิิวะ โพธิิ ตาปนะ ผู้้�เชี่่�ยวชาญด้้านนโยบายและพััฒนาอุุตสาหกรรมอ้้อยและน้ำำ�� ตาล จาก สำำ�นัักงานคณะกรรมการอ้้อยและน้ำำ��ตาลทราย (สอน.), คุุณรัังสิิต เฮีียงราช ผู้้�อำำ�นวยการ บริิษััท ไทยชููการ์์มิิลเลอร์์ จำำ�กััด (TSMC) และคุุณพิิพััฒน์์ สุุทธิิวิิเศษศัักดิ์์� กรรมการผู้้�จััดการ บริิษััท เคทิิส ไบโอเอทานอล จำำ�กััด และได้้ รัับเกีียรติิจาก ดร. พิิพััฒน์์ วีีระถาวร จากกรรมการสมาคมนัักวิิชาการอ้้อยและ น้ำำ�� ตาลแห่่งประเทศไทย เป็็นผู้้�ดำำ�เนิินรายการในครั้้�งนี้้�
นโยบายหรืือมาตรการของรััฐบาลในการนำำ�เศรษฐกิิจ โครงการของ สอน. เพื่่อ� พััฒนาผลผลิิตอ้้อยและน้ำำ��ตาล ในประเทศ ชีีวภาพมาใช้้ในประเทศไทย คุุณศิิวะกล่่าวว่่าขณะนี้้� สอน. มีีการรณรงค์์เพื่่�อส่่งเสริิมอุุตสาหกรรมชีีวภาพ โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งการผลิิตกรดแลคติิกเอทานอลและผลิิตภััณฑ์์ที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�ง แวดล้้อมอื่่�นๆ ซึ่่�งน้ำำ��ตาลถููกใช้้เป็็นวััตถุุดิิบ โดยสามารถติิดต่่อโดยตรงกัับผู้้�ผลิิต น้ำำ��ตาล คุุณศิิวะ กล่่าวเสริิมว่่า ในปีีนี้้�น้ำำ��ตาลดิิบ 300,000 ตัันได้้ใช้้ในการผลิิต ผลิิตภััณฑ์์ชีีวภาพในปััจจุุบัันแล้้ว โดยเฉพาะการผลิิตเอทานอลจากกากน้ำำ��ตาล และคุุณศิวิ ะกล่่าวเสริิมอีกว่่ ี า ราคาน้ำำ��ตาลทรายดิิบสำำ�หรัับอุุตสาหกรรมชีีวภาพของ ประเทศไทยนั้้�นถููกกว่่าน้ำำ��ตาลทรายดิิบที่่�นำำ�เข้้าจากต่่างประเทศ ซึ่่�งเป็็นประโยชน์์ ต่่อการผลิิตในประเทศเอง www.sugar-asia.com
สำำ�นักั งานคณะกรรมการอ้้อยและน้ำำ��ตาลทราย (สอน.) ไม่่ได้้มีแี ค่่โครงการใน ประเด็็นนี้้�เท่่านั้้�น แต่่ยัังมีีกิิจกรรมการวิิจััยและพััฒนาเพื่่�อปรัับปรุุงพัันธุ์์�อ้้อยให้้แข็็ง แรงและโตเร็็วขึ้้�น นอกจากนี้้� สอน. ได้้กำ�ำ หนดเป้้าหมายของ CCS ไว้้ที่่�ระดัับ 13 เป็็นอย่่างน้้อย เพื่่อ� ให้้ผู้้�ปลููกอ้อ้ ยมีีอ้อ้ ยทางเลืือกที่่�เหมาะสมกัับพื้้�นที่่�ปลููกมากขึ้้�น ซึ่่�ง ปััจจุุบััน สอน. กำำ�ลัังสนัับสนุุนเกษตรกรผู้้�ปลููกอ้้อยในแง่่ของเครื่่�องจัักรการเกษตร สำำ�หรัับการเก็็บเกี่่�ยวอ้้อย เพื่่อ� ช่่วยเหลืือผู้้�ปลููกอ้้อยในประเทศ อััตราดอกเบี้้�ยจึึงต่ำำ��เพีียง 2% ซึ่่�งกระตุ้้�นให้้มีีการซื้้�อหรืือเช่่าเครื่่�องเก็็บเกี่่�ยวอ้้อยในฟาร์์มของตน กล่่าวอีีก นััยหนึ่่�ง การสนัับสนุุนนี้้�จะช่่วยแก้้ปัญ ั หาการขาดแคลนแรงงานและปััญหาทางการเงิิน ตลอดจนส่่งเสริิมการใช้้เครื่่อ� งจัักรในการปลููกและเก็็บเกี่่�ยวอ้้อยในประเทศไทย
19
Cover Story
ดร. พิิพัฒ ั น์์ ถามเสริิมเกี่่�ยวกัับการอบรมของ สอน. ที่่�ศรีรี าชา ชลบุุรีี คุุณศิวิ ะ ได้้ชี้้�แจงว่่าสถานที่่�ฝึึกอบรมซึ่่�งทำำ�หน้้าที่่�เป็็นศููนย์์ส่่งเสริิมศัักยภาพด้้านการส่่งเสริิม ชีีวภาพ มุ่่�งเป้้าไปที่่�ผู้้�ประกอบการผู้้�ที่่�ทำำ�งานด้้านผลิิตภััณฑ์์ชีีวภาพ โดยจะช่่วย ส่่งเสริิมการเปลี่่�ยนผลิิตภััณฑ์์พลาสติิกธรรมดาเป็็นผลิิตภััณฑ์์พลาสติิกชีีวภาพที่่� เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อมโดยเฉพาะ
การมีีส่่วนร่่วมของโรงงานน้ำำ��ตาลไทยในด้้านเศรษฐศาสตร์์ ชีีวภาพ คุุณรังั สิิตกล่่าวว่่า เนื่่อ� งจากรััฐบาลไทยกำำ�ลังั ส่่งเสริิมเศรษฐกิิจชีีวภาพ โดยเฉพาะ อย่่างยิ่่�งอุุตสาหกรรมชีีวภาพ อ้้อยอาจเป็็นวััตถุุดิิบที่่�มีปี ระสิิทธิิภาพและมีีศักั ยภาพ สำำ�หรัับการพััฒนาดัังกล่่าว อย่่างไรก็็ตาม สำำ�หรัับโรงงานน้ำำ��ตาลในประเทศไทย ยัังคงมีีปััจจััยที่่�น่่าเป็็นห่่วงอยู่่� 3 ประการ ประการแรกคืือการได้้อ้้อยในปริิมาณที่่� เพีียงพอ ประการที่่�สองคืือการเพิ่่�มมููลค่่าให้้กัับผลิิตภััณฑ์์น้ำำ��ตาล ประการสุุดท้้าย คืือวิิธีีการเพิ่่�มระบบการแบ่่งปัันผลประโยชน์์ เนื่่อ� งจากปััจจุุบันั โรงงานน้ำำ��ตาลของไทยสามารถแบ่่งออกได้้คร่่าวๆ เป็็นโรงงาน ดั้้�งเดิิมและโรงงานเอทานอลชีีวภาพ คุุณรังั สิิตจึึงเสนอว่่าเราควรแสวงหาเทคโนโลยีี ชีีวภาพที่่�มีปี ระสิิทธิิภาพทััดเทีียมกัับประเทศตะวัันตกสำำ�หรัับโรงงานน้ำำ��ตาลไทย อีีก ทั้้�งหากไม่่มีีการลงทุุน เทคโนโลยีีดังั กล่่าวก็็อาจไม่่ก้้าวหน้้า นอกจากนี้้� บุุคคลที่่�จะมีี ส่่วนร่่วมด้้วยก็็มีีความสำำ�คััญเช่่นกััน กลุ่่�มมิิตรผลและ KTIS เป็็นตััวอย่่างที่่�มีีความ ห่่วงใยในประเด็็นดัังกล่่าว เนื่่�องจากทั้้�งสองบริิษััทมีีเทคโนโลยีีที่่�ทัันสมััยสำำ�หรัับ การผลิิตน้ำำ��ตาลและความร่่วมมืือระหว่่างประเทศ อย่่างไรก็็ตาม ความร่่วมมืือจาก ภาครััฐเป็็นสิ่่�งที่่�ขาดไม่่ได้้ ส่่งผลให้้โรงงานน้ำำ��ตาลในท้้องถิ่่�นมีีการพััฒนาในระยะยาว และยั่่�งยืืน เนื่่�องจากบางแห่่งได้้รัับการปรัับปรุุงให้้ทัันสมััยแล้้ว ในขณะที่่�บางแห่่ง ยัังต้้องการการสนัับสนุุนและปรัับปรุุง ทั้้�งนี้้�คุุณรัังสิิตยัังได้้กล่่าวทิ้้�งท้้ายถึึงการหาตลาดผลิิตภััณฑ์์ชีีวภาพ อีีกด้ว้ ย โดยได้้ยกตััวอย่่างวิิธีกี ารเพิ่่�มความต้้องการพลาสติิกชีีวภาพซึ่่�งอาศััยนโยบาย และการสนัับสนุุนจากรััฐบาล
อ้้อยสดแล้้วทิ้้�งยอดและใบไว้้เพื่่อ� ขายให้้กับั โรงไฟฟ้้าในท้้องถิ่่�นในภายหลััง จนถึึงขณะ นี้้� โรงงาน 19 แห่่งได้้ร่่วมมืือกัับ สอน. และบริิษัทั ในเครืือเอสซีีจีี เก็็บยอดอ้้อยแล้้ว ผลิิตไฟฟ้้าได้้สููงถึึง 82 เมกะวััตต์์ นอกจากนี้้� มีีการขอให้้เกษตรกรไทยตััดอ้้อยสด โดยใช้้เครื่่�องจัักรที่่�ทัันสมััยแต่่ราคาสมเหตุุสมผล นั่่�นคืือเหตุุผลที่่�ปริิมาณอ้้อยที่่�ถููก เผาลดลงเหลืือเพีียง 26% เมื่่�อเทีียบกัับ 50% ของปีีที่่�แล้้ว ดร.พิิพัฒ ั น์์ ยัังเน้้นย้ำำ��ว่่า เนื่่อ� งจากโรงงานน้ำำ��ตาลของไทยกำำ�ลังั พยายามปรัับปรุุง ตนเองอย่่างมาก อ้้อยที่่�เผาแล้้วจึึงลดลงจากกว่่า 80% เป็็น 30% ในปััจจุุบััน และปริิมาณอ้้อยสดอยู่่�ที่่� 70% นอกจากนั้้�น ปริิมาณผลผลิิตน้ำำ��ตาลขยัับขึ้้�นเป็็น 110-113 กิิโลกรััมเช่่นกััน ซึ่่�งหมายความว่่าการใช้้อ้้อยสดในการผลิิตน้ำำ��ตาลจะ ช่่วยเพิ่่�มประสิิทธิิภาพให้้กัับอุุตสาหกรรมโดยรวม อย่่างไรก็็ตาม ยัังคงต้้องการ การสนัับสนุุนทางการเงิินจากภาคส่่วนต่่างๆ คุุณรังั สิิตยัังกล่่าวเสริิมอีกว่่ ี า เนื่่อ� งจากปีีนี้้มี� อ้ี อ้ ยที่่�เก็็บเกี่่�ยวได้้ในประเทศไทยมากขึ้้�น คุุณรัังสิิต เฮีียงราช บริิษััทไทยชููการ์์ มิิลเลอร์์ จำำ�กััด (TSMC)
การอััพเกรดโรงงานน้ำำ��ตาลในท้้องถิ่่�น และการสนัับสนุุน จากภาครััฐสู่่�เกษตรกร คุุณรังั สิิตกล่่าวเพิ่่�มเติิมเกี่่�ยวกัับการพััฒนาโรงงานน้ำำ��ตาลในท้้องถิ่่�นทั้้�งในด้้าน อุุปกรณ์์ใหม่่และเครื่่อ� งคััดแยกอ้้อยที่่�ดียิ่่ี ง� ขึ้้น� โดยเฉพาะเรื่่อ� งของโครงการต่่างๆ ใน โรงงานน้ำำ��ตาลขนาดเล็็กๆ ในท้้องถิ่่�น คุุณรังั สิิตตอบว่่าการเพิ่่�มประสิิทธิิภาพตนเอง ของโรงงานน้ำำ��ตาลในท้้องถิ่่�นไม่่ใช่่วิิธีีการแก้้ปััญหาวิิธีีเดีียว แต่่ยัังต้้องเพิ่่�มคุุณภาพ อ้้อยที่่�มีี CCS สููงด้้วย เนื่่�องจาก สอน. ทำำ�งานอย่่างใกล้้ชิิดแบบเชิิงรุุกร่่วมกัับโรงงานน้ำำ��ตาลใน ท้้องถิ่่�น คุุณศิิวะกล่่าวเสริิมว่่า มีีนโยบายที่่�สำำ�คััญเกี่่�ยวกัับอ้้อยสดและอ้้อยเผา ในเรื่่�องที่่�เกี่่�ยวกัับอ้้อยเผา รััฐบาลไทยกำำ�ลัังวางแผนที่่�จะลดปริิมาณอ้้อยประเภทนี้้� ลงในอีีกสองปีีข้า้ งหน้้า ขณะนี้้�เกษตรกรผู้้�ปลููกอ้้อยในท้้องถิ่่�นได้้รับั การสนัับสนุุนให้้ตัดั
20
คุุณศิิวะ โพธิิตาปนะ ผู้้�เชี่่�ยวชาญด้้านนโยบายและพัั ฒนาอุุตสาหกรรมอ้้อยและน้ำำ��ตาลทราย สำำ�นัักงานคณะกรรมการอ้้อยและน้ำำ��ตาลทราย กระทรวงอุุตสาหกรรม (OCSB)
www.sugar-asia.com
Cover Story การสนัับสนุุนอย่่างแข็็งขัันจากเกษตรกรผู้้�ปลููกอ้้อยและหน่่วยงานของรััฐ โดยเฉพาะ สอน. จึึงมีีความจำำ�เป็็นอย่่างมากในการบริิหารจััดการการส่่งมอบอ้้อยจากฟาร์์มไป ยัังโรงงาน มิิฉะนั้้�น กระบวนการนี้้�อาจไม่่สามารถเกิิดขึ้้�นได้้
ธุุรกิิจเอทานอลกัับกระแสโลกเปลี่่�ยนไปสู่่� EV ธุุรกิิจเอทานอลเป็็นผลิิตภััณฑ์์ร่่วมของโรงงานน้ำำ��ตาล จึึงเป็็นประเด็็นถาม คุุณพิพัิ ฒ ั น์์ สุุทธิิวิเิ ศษศัักดิ์์� ว่่าธุุรกิิจเอทานอลโดยเฉพาะธุุรกิิจ EV จะมีีผลใช้้บังั คัับ ภายในกี่่�ปีี คุุณพิิพััฒน์์ ตอบว่่า ประเทศไทยมีีโรงงานน้ำำ��ตาลทั้้�งหมด 57 แห่่ง และ การสกััดอ้้อยรายวัันเพื่่�อผลิิตต่่อไปได้้ระหว่่าง 1 ถึึง 1.2 ล้้านตััน ดัังนั้้�น การใช้้ เครื่่อ� งจัักรในการสกััดอ้้อยจึึงต้้องใช้้เวลาไม่่น้้อยกว่่าร้้อยวััน ซึ่่�งหมายถึึงอ้้อยจำำ�นวน ร้้อยล้้านตัันต่่อปีี ปริิมาณดัังกล่่าวจึึงเป็็นผลดีีต่่อชาวไร่่อ้้อยไทย คุุณพิพัิ ฒ ั น์์ กล่่าวเพิ่่�มเติิมว่่า หากประเทศไทยมีีอ้อ้ ยร้้อยล้้านตัันต่่อปีี จะผลิิต น้ำำ��ตาลได้้ 11 หรืือ 12 ล้้านตััน ซึ่่�งจะใช้้ในประเทศ 2 หรืือ 2.2 ล้้านตััน ส่่งผลให้้ ราคาน้ำำ��ตาลลดลง ตามความคิิดของคุุณพิิพััฒน์์ แนวทางแก้้ไขปััญหาคืือ ประเทศ จำำ�เป็็นต้้องผลิิตน้ำำ��ตาลให้้น้้อยลงโดยใช้้อ้้อยในปริิมาณที่่�เท่่ากััน นอกจากนี้้� ด้้วย ปริิมาณอ้้อยที่่�เท่่ากัันทุุกปีี ประเทศไทยจึึงต้้องให้้ความสำำ�คััญกัับพลาสติิกชีีวภาพ เช่่น PLA หรืือ PBS หรืือพลาสติิกชีีวภาพมากขึ้้�น ทั้้�งหมดนี้้�เป็็นนวััตกรรมใหม่่ นอกจากนี้้� การผลิิตทางชีีวเคมีีก็็น่่าสนใจเช่่นกััน แต่่น่่าเสีียดายที่่�คนไทยใช้้หรืือ บริิโภคผลิิตภััณฑ์์ดังั กล่่าวเพีียงเล็็กน้อ้ ย ทางแก้้ปัญ ั หาคืือเอทานอลสำำ�หรัับการขนส่่ง คุุณพิิพััฒน์์จึึงแนะนำำ�ว่่า ปััจจุุบััน ประเทศตะวัันตกหลายประเทศ เช่่น แคนาดา สหรััฐอเมริิกา และบราซิิล เป็็นต้้น กำำ�ลัังรณรงค์์ใช้้พลัังงานที่่�สะอาดขึ้้�น ดัังนั้้�น เชื้้�อเพลิิงชีีวภาพจึึงเป็็นทางเลืือกที่่�ดีี ดร.พิิพััฒน์์สรุุปว่่า ปััจจุุบัันประเทศไทยกำำ�ลัังสนัับสนุุนให้้เปลี่่�ยนน้ำำ��ตาลเป็็น ผลิิตภััณฑ์์ประเภทอื่่น� นอกเหนืือจากอาหาร อย่่างไรก็็ตาม ตามที่่�คุณพิ ุ พัิ ฒ ั น์์ อธิิบาย เพิ่่�มเติิมว่่า รถยนต์์ไฟฟ้้าไม่่ได้้ส่่งผลกระทบมากนัักต่่อการใช้้พลังั งานในประเทศไทย เนื่่�องจากไม่่ใช่่ตััวเลืือกหลัักสำำ�หรัับครอบครััวชาวไทยในขณะนี้้� และรถยนต์์ไฟฟ้้า เดิินทางได้้ในระยะใกล้้ๆ แต่่ราคายัังแพง ระยะเวลาการชาร์์จก็็ไม่่เร็็วนััก นั่่�นคืือ เหตุุผลที่่�ดร. พิิพััฒน์์เน้้นว่่า อาจจะใช้้เวลาประมาณ 5 ปีีสำ�ำ หรัับการใช้้เอทานอล หรืือเชื้้�อเพลิิงชีีวภาพอื่่�นๆ
การเผชิิญหน้้ากัับความท้้าทายใหม่่ สุุดท้้าย ดร. พิิพััฒน์์ ขอให้้ผู้้�ร่่วมเสวนาแต่่ละคนพููดสรุุปส่่งท้้าย โดยคุุณศิิวะ กล่่าวถึึงผลผลิิตน้ำำ��ตาลในประเทศไทยและโรงกลั่่�นชีีวภาพในประเทศว่่าสถานการณ์์ ทางการเงิินของการผลิิตน้ำำ��ตาลในประเทศไทยควรจะมีีเสถีียรภาพเพื่่อ� ให้้มีกี ารลงทุุน ใหม่่และเพื่่อ� สร้้างงานใหม่่ให้้กับั คนในท้้องถิ่่�น รวมทั้้�งความเป็็นอยู่่ที่่� ดี� ขี องประชาชน
และความยั่่�งยืืนของสิ่่�งแวดล้้อม ส่่วนคุุณรังั สิิต กล่่าวว่่าต้้องมีีการใช้้น้ำำ��ตาลในปริิมาณ ที่่�เหมาะสม แต่่ไม่่สามารถทำำ�ได้้ในเวลาอัันสั้้�น และคุุณพิพัิ ฒ ั น์์ กล่่าวว่่า ประเทศไทย ควรพิิจารณาผสมผสานการผลิิตน้ำำ��ตาล เอทานอล และสุุรา อย่่างเหมาะสม โดยใช้้ ทุุกส่่วนของอ้้อยอย่่างชาญฉลาด เนื่่อ� งจากจะช่่วยลดการนำำ�เข้้าน้ำำ��มันั ดิิบของประเทศ เพื่่อ� รัักษาเสถีียรภาพค่่าเงิินบาท อย่่างไรก็็ตาม EV ยัังไม่่ใช่่ทางเลืือกที่่�สำำ�คัญ ั สำำ�หรัับ คนไทยในช่่วงนี้้� เนื่่�องจากไม่่ได้้ให้้ประโยชน์์อะไรกัับประเทศมากนััก
n 2 November 2021, Thailand Sugar Online Conference 2021 was organized by Fireworks Media (Thailand) Co. Ltd. This event principally serves as a platform, though virtually, for sugar industry stakeholders in Thailand and south-east Asian countries to meet one another annually so that they discover new opportunities for business networking and obtaining state-of-the-art knowledge on sugar growing and production. The event consequently saw over a hundred participants and attendants from sugar and bioethanol industries. The panel discussion entitled, “Sugar Sector Recovery to Face New Challenges for Next Season”, took place as a final activity of the conference. Even so, it received much attention from the attendants, thanks mainly to interesting discussion of the three panelists, namely Mr. Siwa Pothitapana, an expert in cane and sugar industry policy and development from Office of the Cane and Sugar Board (OCSB), Thailand, Mr. Rangsit Hiangrat, Director General of Thai Sugar Millers Corporation Limited (TSMC) and Mr. Pipat Suttiwisedsak, Chief Operatiing Officer/ Managing Director of KTIS BioEthanal Co. Ltd.
The governmental policy or measures to introduce the bio-economy in Thailand Beginning the discussion on biotechnology and sugar production in Thailand, Mr. Siwa Pothitapana from OCSB talked about the governmental policy or measures to introduce the so-called bio-economy in Thailand. He explained that the OCSB currently had a campaign to promote bioindustries, especially ones producing ethanol lactic acid and other eco-friendly products from which sugar was used as a raw material. Manufacturers of the industries can contact directly the sugar producers. According to Mr. Siwa, this year, 300,000 tons of raw sugar has been used currently in bio-product manufacturing, especially molasses-based ethanol.
ดร. พิิ พััฒน์์ วีีระถาวร กรรมการสมาคมนัักวิิชาการอ้้อยและน้ำำ��ตาลแห่่งประเทศไทย (TSSCT)
คุุณพิิ พััฒน์์ สุุทธิิวิิเศษศัักดิ์์� กรรมการผู้้�จััดการ บริิษััท เคทิิส ไบโอเอทานอล จำำ�กััด (KTBE)
www.sugar-asia.com
The OCSB’s program to improve productivity of cane and sugar in the country Not only does the OCSB have a program but it also provides research and development activities to improve cane varieties so that they were physically strong and grew faster. Moreover, the OCSB set target of the CCS to the level of 13 at the minimum, allowing cane growers to have alternative cane that suits better with the area of plantation. Mr. Siwa also said that the OCSB was currently supporting cane growers in terms of agricultural machines for harvesting cane. To help local cane growers, the interest rate is as low as 2%, encouraging them to buy or rent cane harvesters in their farm. In other words, according to Dr. Pipat, this support will help solve problems on labor shortage and financial issues as well as promoting mechanization in cane growing and harvesting in Thailand. Dr. Pipat would like to know about the training of the OCSB in Sri Racha, Cholburi. Mr. Siwa then clarified that the training venue, serving as a capacity-building center on biopromotion, aimed for entrepreneurs and staff of bioproducts. It will help promote changing of conventional plastic products to environmentally-friendly bioplastic products in particular.
21
Cover Story Engagement of Thai sugar mills in bioeconomy Dr. Pipat then discussed with Mr. Rangsit from the TSMC about general engagement of Thai sugar mills in bioeconomy. According to Mr. Rangsit, since the Thai government is promoting bioeconomy, especially the bioindustries, sugarcane may be an effective and potential material for such development. In terms of sugar mills in Thailand, there are three major factors of concern. The first is how to obtain sufficient amount of sugarcane. The second is how to add value for sugar products. The final factor is how to boost the benefit sharing system. At present, Thai sugar mills can be roughly categorized into traditional and bioethanol ones. Mr. Rangsit hence proposed that we should seek for biotechnology as effective as the western countries for Thai sugar mills. Moreover, without investment, such technology might not progress. Also, specific people to engage with are crucial. Mitr Phol and KTIS are examples that have acknowledged such concerns as both companies have modern technology for sugar production as well as international cooperation. Nevertheless, governmental cooperation is indispensable as it results in long-term and sustainable development among local sugar mills because some are already modernized whereas others are still needing support and improvement. Mr. Rangsit also talked about how to find market for bioproducts. He gave an example of how to increase demands for bioplastics which relies on policy and support from the government.
Upgrading local sugar mills and support to farmers from the government Dr. Pipat asked Mr. Rangsit further about self-improvement of local sugar mills in terms of new equipment and better extraction machines. He would like to know if there is any program among small local sugar mills. Mr. Rangsit replied to him that increasing self-efficiency of local sugar mills was not the only way, but increasing good quality of sugarcane with high CCS was also a must. Since the OCSB is working closely and actively with local sugar mills, Mr. Siwa stated that there was an important policy on fresh and burnt sugarcane. Regarding the burnt cane, the Thai government is planning to reduce the amount of it for the next two years. Local cane growers are now being encouraged to cut fresh cane and leave the top and leaves of it so that they can sell them to local power plants later. So far, 19 factories have work cooperatively with the OCSB, and one company of SCG collected cane’s top and leaves for as high as 82-megawatt electricity generation. Furthermore, Thai farmers are asked to cut fresh cane by using modern but reasonably-priced mechanization. That is why the amount of burnt cane decreased to as low as 26% in comparison to 50% of last year. In response to the aforementioned report of the OCSB, Dr. Pipat reiterated that, as Thai sugar mills were trying hard for self-improvement, burnt cane had been reduced from over 80% to currently 30%, and fresh cane amount was at 70%. Sugar yield amount moved up to 110-113 kilograms, as well. This means that using fresh cane for sugar production increases efficiency to the industry as a whole. However, financial support from various sectors is still required.
Mr. Rangsit also stressed that, due to higher amount of harvested sugarcane in Thailand this year, strong and active support from cane growers and governmental agencies, especially the OCSB. was much required to manage delivery of sugarcane from a farm to a mill. Otherwise, the process may not be possible.
Ethanol business, especially the EV one Since the ethanol is regarded as a co-product of sugar mills, Mr. Pipat Suttiwisedsak discussed about how many years ethanol business, especially the one on EV, would be in effect. He answered the moderator that the country had a total of 57 sugar mills and the daily crushing of sugarcane for further production was between 1 and 1.2 million tons. As a result, utilization of machines to crush sugarcane should take no less than a hundred days, meaning a hundred million tons of sugarcane per year. Such amount is good and beneficial to Thai cane growers. Mr. Pipat Suttiwisedsak added that, in case Thailand had a hundred million tons of cane annually, 11 or 12 million tons of sugar might be produced, 2 or 2.2 million tons of which would be consumed locally. Consequently, the sugar price will drop. Solution to the problem, according to Mr. Pipat Suttiwisedsak, is that the country needs to produce less sugar with the same amount of sugar cane. Moreover, with the same amount of sugarcane every year, Thailand has to focus more on bioplastics, like PLA or PBS, or bio-based plastics. All of these are innovative. Also, biochemical production is interesting. Unfortunately, Thai people use or consume little amount of such products. The solution to the problem is ethanol for transportation, suggested Mr. Pipat Suttiwisedsak. At present, many western countries, such as Canada, the US and Brazil, are campaigning for the use of cleaner energy, so biofuel is a good alternative. The moderator of the panel Dr. Pipat then concluded that Thailand was currently supporting the change of sugar to other kinds of product besides food. However, as Mr. Pipat Suttiwisedsak explained further, the EV has not affected much on energy consumption in Thailand recently as it is not the prime choice of Thai families now. This is because the EV takes short distances to travel; its price is not cheap; the charging period is not that quick. That is why, as the moderator emphasized, it will take around five years for the use of ethanol or other biofuels.
Facing new challenges Finally, the moderator asked individual panelists to say something to the audience. Mr. Siwa remarked about sugar productivity in Thailand as well as biorefinery in the country. He said that the financial situation of sugar production in Thailand should be stable so that new investment existed to create new jobs for local people, hence people’s well-being and environmental sustainability. Mr. Rangsit said that appropriate amount of sugar was required, but this can not be successfully done in a short time. Mr. Pipat Suttiwisedsak addressed that Thailand should consider proper blending of production of sugar, ethanol and liquor by using all parts of sugarcane wisely as it can help reduce the country from importing crude oil, thus maintaining stability of Thai Baht. Nevertheless, the EV for now is not a prime choice for Thais as it does not contribute much benefits to the country, in the viewpoint of Mr. Pipat Suttiwisedsak.
22
www.sugar-asia.com
In Conjunction With :
3 rd Edition
Co-Located With:
THAILAND 2022 SUGAR Thailand
Conference 2022
ASIA'S LARGEST SPECIALIZED SUGAR, SUGARCANE, BIOETHANOL AND AGRICULTURE EXHIBITION & CONFERENCE
8-9 SEPTEMBER 2022
KICE KHONKAEN THAILAND
CALL FOR MORE INFORMATION
(+66) 2 513 1418
thai@asiafireworks.com
www.thaisugarexpo.com
Sugar Expo & Conference
ENDORSED BY
Ministry of Agriculture and Cooperatives
Thai Sugar Millers Corporation Limited
Office of the Cane and Sugar Board
Thailand Society of Sugar Cane Technologists
Department of Agriculture
Thai sugar and bio-energy producers association
Department of Agricultural Extension
KTIS Bioethanol Co.,Ltd.
The Federation Of Thai Industries, Khonkaen
Bio-Sensing and Field Robotic Laboratory
PREMIUM EXHIBITOR
OFFICIAL MEDIA :
Clariant (Thailand) Ltd.
Sugar Asia Magazine
CONFERENCE BY :
ORGANIZED BY :
JuzTalk (Thailand)
Fireworks Media (Thailand) Co.,Ltd. Part of The Fireworks Trade Media Group
Special Insight
The sunliquid® process: นำำ�เสนอนวััตกรรม การผลิิตเชื้้�อเพลิิงเอทานอลจากเซลลููโลส แบบเชิิงพาณิิชย์์สู่่�ประเทศไทย The sunliquid® process: Bringing new proven solutions for commercial cellulosic ethanol production to Thailand ารพััฒนาสู่่ค� วามยั่่�งยืืนไม่่ใช่่แค่่โฆษณาเกิินจริิง แต่่เป็็นจุุดเปลี่่�ยนของ เศรษฐกิิจโลก นัับตั้้�งแต่่มีีข้อ้ ตกลงปารีีส (Paris Agreement) เมื่่อ� ปีี พ.ศ. 2558 ซึ่่�งเป็็นอนุุสัญ ั ญาสหประชาชาติิว่่าด้้วยการเปลี่่�ยนแปลง สภาพภููมิิอากาศ ที่่�มีีสมาชิิกกว่่า 195 ประเทศ ได้้ตกลงที่่�จะร่่วมมืือกััน ตรึึงระดัับการเพิ่่�มขึ้้น� ของอุุณหภููมิิโลกไม่่ให้้สููงขึ้้น� เกิิน 2 องศาเซลเซีียส ภายใน ปีี พ.ศ. 2593 เมื่่�อเทีียบกัับระดัับก่่อนยุุคอุุตสาหกรรม หลัังจากที่่�ยุุโรปได้้ ประกาศเป้้าหมายดัังกล่่าว เมื่่�อเร็็ว ๆ นี้้� สหรััฐอเมริิกาก็็ได้้ตั้้�งเป้้าที่่�จะสร้้าง ความเปลี่่�ยนแปลงเพื่่�อลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิให้้เป็็นศููนย์์ หรืือ เป็็น Net Zero ภายในปีี พ.ศ. 25931 ในขณะที่่�ประเทศจีีนได้้วางแนวทาง ปฏิิบััติิเพื่่�อลดการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์หรืือก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิ ให้้เป็็นศููนย์์ หรืือเป็็นกลางทางคาร์์บอน (Carbon Neutral) ภายในปีี พ.ศ. 2603 ทั้้�งนี้้� ประเทศอื่่น� ๆ ทั่่�วโลกก็็กำำ�ลังั ก้้าวตามเป้้าหมายเหล่่านี้้�เช่่นกััน
การดำำ�เนิินงานของประเทศไทย ในส่่วนของประเทศไทย พลเอก ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี ได้้เข้้าร่่วมในการประชุุมสมััชชาประเทศภาคีีอนุุสััญญาสหประชาชาติิ ว่่าด้้วยการ เปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ ครั้้�งที่่� 26 (COP 26) ณ เมืืองกลาสโกว์์ สหราช อาณาจัักร และประกาศจุุดยืืนของไทยในการต่่อสู่่กั� บั ภาวะโลกร้้อนในเวทีีโลก ทำำ�ให้้ ทั่่�วโลกได้้ทราบถึึงเป้้าหมายของไทยที่่�จะเป็็นกลางทางคาร์์บอนภายในปีี พ.ศ. 2593 และลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิให้้เป็็นศููนย์์ภายในปีี พ.ศ. 2608
24
นอกจากนี้้� ประเทศไทยยัังส่่งเสริิมการผลิิตและการใช้้เชื้้�อเพลิิงเอทานอล เพื่่อ� ลดการนำำ�เข้้าพลัังงาน ส่่งเสริิมการใช้้และเพิ่่�มมููลค่่าให้้กับั วััตถุุดิบิ ทางการเกษตร และลดการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนเมื่่�อเทีียบกัับการใช้้เชื้้�อเพลิิงฟอสซิิล ซึ่่�งตามแผน พััฒนาพลัังงานทดแทนและพลัังงานทางเลืือก พ.ศ. 2561-2580 (AEDP 2018) ไทยมีี เป้้าหมายที่่�จะส่่งเสริิมการผลิิตและการใช้้เชื้้�อเพลิิงเอทานอลให้้ได้้ 7.5 ล้้าน www.sugar-asia.com
Special Insight ลิิตรต่่อวัันภายในปีี พ.ศ. 2580 อย่่างไรก็็ตาม ผลผลิิตอ้้อยในปีี พ.ศ. 2563 และ 2564 มีีปริมิ าณลดลงอยู่่�ที่่� 74.89 ล้้านตััน และ 66.65 ล้้านตััน ตามลำำ�ดัับ อีีก ทั้้�งผลผลิิตมัันสำำ�ปะหลัังมีีปริมิ าณเพิ่่�มขึ้้น� ไม่่เพีียงพอต่่อความต้้องการของตลาด ทำำ�ให้้ ราคาของกากน้ำำ��ตาลและมัันสำำ�ปะหลัังเพิ่่�มสููงขึ้้น� ซึ่่�งส่่งผลให้้ราคาของเอทานอลเพิ่่�ม ขึ้้�นเป็็น 25-26 บาทต่่อลิิตร ทำำ�ให้้มีีการเลื่่�อนการยกเลิิกใช้้น้ำำ��มัันแก๊๊สโซฮอล์์ E10 ออกเทน 91 หลายต่่อหลายครั้้�ง ซึ่่�งถืือเป็็นกลไกสำำ�คััญในการเพิ่่�มปริิมาณการใช้้ เชื้้�อเพลิิงเอทานอลในประเทศ ล่่าสุุด การยกเลิิกใช้้น้ำำ��มัันแก๊๊สโซฮอล์์ E10 ออกเทน 91 ถููกเลื่่�อนออกไปจนถึึงสิ้้�นปีี พ.ศ. 2565
ความเป็็นไปได้้ในการนำำ�เทคโนโลยีี sunliquid® มาสู่่ป� ระเทศไทย นอกจากกากน้ำำ��ตาลและมัันสำำ�ปะหลััง ซึ่่�งมีีปริมิ าณจำำ�กัดั ยัังมีีวัตั ถุุดิบิ อื่่น� ที่่� สามารถนำำ�มาผลิิตเอทานอลจากเซลลููโลสได้้ อาทิิ กากและเหง้้ามัันสำำ�ปะหลััง ยอด และใบอ้้อย ฟางข้้าว และทะลายปาล์์มเปล่่า หากกระบวนการเก็็บเกี่่�ยวและรวบรวม วััตถุุดิบิ เหล่่านี้้�ถููกพััฒนาให้้มีต้ี น้ ทุุนที่่�เป็็นไปได้้ในเชิิงพาณิิชย์์ จะเป็็นการเพิ่่�มตัวั เลืือก ในการบรรลุุเป้้าหมายของไทยในการส่่งเสริิมการใช้้เชื้้�อเพลิิงเอทานอล ยกตััวอย่่าง เช่่น ฟางข้้าวที่่�ยังั เหลืือในพื้้�นที่่�และมีีการนำำ�มาใช้้ไม่่มากในปััจจุุบันั ยัังมีีศักั ยภาพสููง ที่่�สามารถนำำ�มาใช้้เป็็นวััตถุุดิิบได้้ จากการประเมิินของแผน AEDP2018 มีีฟางข้้าว มากถึึง 27 ล้้านตัันยัังอยู่่�ในนาข้้าว เทีียบเท่่ากัับเอทานอลมากถึึง 14 ล้้านลิิตรต่่อ วััน ในราคาตัันละ 1,200 บาท ที่่�ความชื้้�น 12 เปอร์์เซ็็นต์์ ต้้นทุุนวััตถุุดิิบของเอ ทานอลจะมีีราคาเพีียง 6-7 บาทต่่อลิิตร โดยฟางข้้าว 1 ตััน เมื่่�อผลิิตเป็็นเซลลููโลสิิ กเอทานอลแล้้วอาจมีีมููลค่่าสููงถึึง 4,600 บาท ซึ่่�งสามารถช่่วยลดการนำำ�เข้้าพลัังงาน จากต่่างประเทศได้้มากถึึง 125,000 ล้้านบาทต่่อปีี วััตถุุดิิบเหล่่านี้้�สามารถใช้้ได้้กัับกระบวนการ sunliquid® ของคลาเรีียนท์์ ซึ่่�งจะเปลี่่�ยนวััสดุุเหลืือทิ้้�งทางการเกษตรที่่�ได้้จากกระบวนการผลิิตในอุุตสาหกรรม การเกษตรในพื้้�นที่่�ให้้เป็็นไบโอเอทานอลที่่�มีีคุุณภาพสููง โดยปรกติิทุ่่�งข้้าวสาลีีหนึ่่�ง เฮกตาร์์สามารถผลิิตฟางข้้าวได้้ราว ๆ 2-3 ตััน ที่่�ความชื้้�นเฉลี่่�ย 13 เปอร์์เซ็็นต์์ ซึ่่�ง หากใช้้กระบวนการ sunliquid® จะสามารถเปลี่่�ยนฟางข้้าวให้้กลายเป็็นเอทานอล ได้้ประมาณ 550 ลิิตร หมายความว่่าฟางข้้าว 5 ตััน จะสามารถผลิิตเอทานอล จากเซลลููโลสได้้เกืือบ 1 ตััน หรืือราวๆ 1,267 ลิิตร ซึ่่�งเทีียบเท่่ากัับผลผลิิตเอทา นอลประมาณ 20 เปอร์์เซ็็นต์์ และนอกจากเอทานอลแล้้ว ยัังมีีผลิิตภััณฑ์์พลอย ได้้จากกระบวนการนี้้� คืือ ลิิกนิิน และน้ำำ��กากส่่า ซึ่่�งสามารถใช้้เป็็นปุ๋๋�ยอิินทรีีย์ที่่์ �มีี ประสิิทธิิภาพทางการเกษตร
ประสิิทธิิภาพ ทำำ�ให้้ไม่่มีีความจำำ�เป็็นในการใช้้สารเคมีี
ขั้้�นตอนที่่ส� อง เอนไซม์์จะถููกเติิมลงในฟางข้้าวที่่�ผ่่านความร้้อนแล้้วเพื่่อ� แปร สภาพฟางข้้าวให้้เป็็นของเหลว และแยกส่่วนประกอบของเซลลููโลสและเฮมิิเซลลููโลส ออกเป็็นน้ำำ��ตาลประเภทต่่าง ๆ ในส่่วนหนึ่่�งของการผลิิตเอนไซม์์แบบบููรณาการนั้้�น มีี การใช้้น้ำำ��ตาลเล็็กน้อ้ ยในการเลี้้ย� งเชื้้อ� จุุลินิ ทรีีย์เ์ พื่่อ� ผลิิตวััตถุุดิบิ และเอนไซม์์ที่่มี� คี วาม จำำ�เพาะ ซึ่่�งเอนไซม์์เหล่่านี้้�มีหี น้้าที่่�สลายสายโซ่่เซลลููโลสที่่�ยาวให้้กลายเป็็นน้ำำ��ตาลที่่� หมัักได้้ เช่่น กลููโคส ไซโลส และอะราบิิโนส ในขณะที่่�ลิิกนิิน ซึ่่�งเป็็นส่่วนประกอบ ที่่�ไม่่ละลายน้ำำ��ของฟางข้้าว จะถููกแยกออกมาเพื่่�อนำำ�มาสร้้างพลัังงานให้้กัับโรงงาน กระบวนการ sunliquid® สามารถใช้้ได้้กับั วััตถุุดิบิ ที่่�หลากหลาย สภาวะของ ผลิิตเอทานอลจากเซลลููโลสได้้ กระบวนการและตััวเร่่งปฏิิกิริิ ยิ าทางชีีวภาพได้้รับั การพััฒนาและทดสอบประสิิทธิิภาพ ในโรงงานต้้นแบบก่่อนนำำ�ออกมาใช้้เชิิงพาณิิชย์์ (pre-commercial plant ) เพื่่อ� ผลิิต ขั้้�นตอนที่่�สาม น้ำำ��ตาลที่่�มีีจำำ�นวนคาร์์บอน 5 และ 6 อะตอม จะผ่่าน เอทานอลจากชีีวมวลลิิกโนเซลลููโลส (Lignocellulosic biomass) ที่่�หลากหลาย ปฏิิกิิริยิ าเคมีีต่่อเนื่่อ� งในถัังหมัักเดีียวกััน ซึ่่�งน้ำำ��ตาลทั้้�งสองประเภทจะถููกหมัักพร้อ้ ม กัันจนกลายเป็็นเอทานอลโดยยีีสต์์สายพัันธุ์์�ที่่�เป็็นกรรมสิิทธิ์์�เฉพาะของเราที่่�ได้้รัับ การดััดแปลงและปรัับให้้เข้้ากัับสภาวะเหล่่านี้้�โดยเฉพาะ ทำำ�ให้้ได้้ผลผลิิตเอทานอล สููงขึ้้�น 50 เปอร์์เซ็็นต์์ เมื่่�อเทีียบกัับยีีสต์ส์ ายพัันธุ์์�มาตรฐาน ขั้้�นตอนสุุดท้้าย เอทานอลจะถููกเพิ่่�มความบริิสุทุ ธ์์โดยกระบวนการกลั่่�นที่่� ได้้รัับการพััฒนาและมีีประสิิทธิิภาพสููง เชื้้�อเพลิิงชีีวภาพรุ่่�นที่่�สอง ซึ่่�งผลิิตจากวััตถุุดิิบที่่�ไม่่ใช่่อาหาร ช่่วยลดการ ปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ได้้มากกว่่าเชื้้�อเพลิิงชีีวภาพรุ่่�นแรก ไบโอเอทานอลที่่�ผลิิตขึ้้น� จากกระบวนการ sunliquid® ช่่วยลดคาร์์บอนของ ภาคการขนส่่งโดยลดการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ได้้มากถึึง 95 เปอร์์เซ็็นต์์ เมื่่อ� เทีียบกัับเชื้้�อเพลิิงฟอสซิิล และมากถึึง 120 เปอร์์เซ็็นต์์ หากคำำ�นึงึ ถึึงการกัักเก็็บ กระบวนการ sunliquid® สามารถใช้้ได้้กัับวััตถุุดิิบที่่�หลากหลาย คาร์์บอนในกระบวนการผลิิตด้้วย กล่่าวอีีกนััยหนึ่่�ง โรงงาน sunliquid® ซึ่่�งมีีกำำ�ลััง การผลิิต 50,000 ตัันต่่อปีี สามารถช่่วยลดการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ได้้ราว ในปี พ.ศ. 2555 เทคโนโลยีนี้ได้ประสบความส�ำเร็จในการผลิตในระดับโรงงาน ๆ 120,000 ตัันต่่อปีี หรืือเท่่ากัับการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์จากรถยนต์์ที่่ใ� ช้้ ต้นแบบก่อนน�ำออกมาใช้เชิงพาณิชย์ (pre-commercial plant ) โดยที่สิทธิในการ เชื้้�อเพลิิงจากฟอสซิิลประมาณ 35,000 คัันต่่อปีี ใช้เทคโนโลยี sunliquid® ได้ถูกจ�ำหน่ายทั้งในยุโรปและจีนตั้งแต่นั้นมา เป้าหมาย การผลิิตเซลลููโลสิิกเอทานอลจากวััสดุุชีีวภาพทางการเกษตรไม่่เพีียงช่่วย ส�ำคัญของการก่อสร้างโรงงาน sunliquid® เชิงพาณิชย์แห่งแรกของเราในประเทศ โรมาเนียคือ การตอกย�้ำความมุ่งมั่นของเราในการสร้างอนาคตที่ย่ังยืนมากขึ้น” ลดคาร์์บอนฟุุตพริ้้�นท์์ แต่่ยัังป้้องกัันการเผาทิ้้�งของวััสดุุชีีวภาพทางการเกษตรโดย คริสเตียน ลิเบรรา่ หัวหน้ากลุ่มธุรกิจเชื้อเพลิงชีวภาพและอนุพนั ธ์ คลาเรียนท์ กล่าว เฉพาะอย่่างยิ่่�งฟางข้้าวและใบอ้้อย ปััจจุุบัันเกษตรกรยัังคงเผาฟางข้้าวและใบอ้้อย เพราะใช้้แรงงานน้้อยและลดต้้นทุุนการเก็็บเกี่่�ยวอ้้อย รวมถึึงการเตรีียมพื้้�นที่่�นา ข้้าวสำำ�หรัับการเพาะปลููกรอบต่่อไปได้้เร็็วขึ้้น� ซึ่่�งการเผาไหม้้เหล่่านี้้�ทำำ�ให้้หมอกควััน และมลพิิษ PM2.5 เพิ่่�มขึ้้�นอย่่างมีีนััยสำำ�คััญในระดัับวิิกฤตทุุกปีี โดยเฉพาะในช่่วง กระบวนการ sunliquid® ท�ำงานอย่างไร เดืือนพฤศจิิกายนถึึงมีีนาคมในจัังหวััดหลัักๆที่่�ทำำ�การเกษตร กรุุงเทพมหานคร และ ขั้้�นแรก ฟางข้้าวจะถููกหั่่�นเป็็นชิ้้�นเล็็กๆ ก่่อนแล้้วจึึงให้้ความร้้อนเพื่่�อเปิิด จัังหวััดใกล้้เคีียง ซึ่่�งมีีการประมาณการด้้วยข้้อมููลทางวิิทยาศาสตร์์ไว้้ว่่าการเผาไหม้้ โครงสร้้างลิิกโนเซลลููโลสที่่�เกาะกัันแน่่น ทำำ�ให้้เอนไซม์์ที่่จ� ะใช้้ในขั้้น� ตอนที่่�สองสามารถ มวลชีีวภาพส่่งผลต่่อระดัับ PM2.5 ในกรุุงเทพฯ ตั้้�งแต่่ร้้อยละ 24 จนถึึงร้้อยละ 38 เข้้าถึึงโมเลกุุลน้ำำ�� ตาลได้้ง่่ายขึ้้น� กระบวนการปรัับสภาพเบื้้�องต้้นของเราถููกปรัับให้้มีี โดยที่่�ส่่วนใหญ่่มาจากการเผาใบอ้้อยและฟางข้้าว2 www.sugar-asia.com
25
Special Insight การดำำ�เนิินงานของ sunliquid® เมื่่�อวัันที่่� 15 ตุุลาคม 2564 คลาเรีียนท์์ได้้ประกาศความสำำ�เร็็จอย่่างเป็็นทางการ ในการก่่อสร้้างโรงงาน sunliquid® สำำ�หรัับกระบวนการผลิิตเซลลููโลสิิกเอทานอลใน เมืืองโพดาริิ ประเทศโรมาเนีีย ซึ่่�งสามารถผลิิตเอทานอลได้้ 50,000 ตัันต่่อปีี จาก ฟางข้้าวประมาณ 250,000 ตััน ความสำำ�เร็็จในการก่่อสร้้างโรงงานนัับเป็็นขั้้น� ตอน สำำ�คััญในการนำำ�เทคโนโลยีี sunliquid® มาปรัับใช้้ในเชิิงพาณิิชย์์ ซึ่่�งจะมีีกำำ�ลัังผลิิต เอทานอลตั้้�งแต่่ 12,000 ถึึง 50,000 ตัันต่่อปีี และเป็็นการสนัับสนุุนกลยุุทธ์์ทาง ธุุรกิิจสิิทธิิในการใช้้เทคโนโลยีี sunliquid® ของคลาเรีียนท์์ ทั้้�งนี้้� โรงงานในเมืือง โพดาริิ เขตโดลจ์์ ถููกสร้้างบนพื้้�นที่่� 10 เฮกตาร์์ ซึ่่�งเริ่่�มก่่อสร้้างในปีี 2019 โดยมีี พนัักงานประจำำ�มากถึึง 800 คน และมีีการทำำ�สัญ ั ญากัับเกษตรกรในพื้้�นที่่�มากกว่่า 300 ราย เพื่่�อให้้แน่่ใจว่่าวััตถุุดิิบจะมีีเพีียงพอต่่อความต้้องการ การลงทุุนครั้้�งนี้้�ยััง ก่่อให้้เกิิดประโยชน์์ทางเศรษฐกิิจอย่่างมากให้้กัับพื้้�นที่่�อีีกด้้วย เนื่่�องจากการจััดหา วััตถุุดิิบจากพื้้�นที่่�ท้้องถิ่่�นสามารถลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกได้้อย่่างมาก ทั้้�งยััง เพิ่่�มโอกาสทางธุุรกิิจตามห่่วงโซ่่อุุปทานในระดัับภููมิิภาค นอกจากนี้้� ผลิิตภััณฑ์์พลอยได้้ จากกระบวนการนี้้�จะถููกนำำ�มาใช้้ผลิิตพลัังงานหมุุนเวีียน ทำำ�ให้้โรงงานไม่่จำำ�เป็็น ต้้องพึ่่�งพลัังงานฟอสซิิล ดัังนั้้�น เอทานอลจากเซลลููโลสจึึงเป็็นเชื้้�อเพลิิงชีีวภาพ รุ่่น� ที่่�สองที่่�การปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์แทบจะเป็็นเป็็นศููนย์์ ซึ่่�งนอกจากจะเป็็น นวััตกรรมและผลิิตภััณฑ์์สำำ�หรัับการผสมเชื้้�อเพลิิงแล้้ว ยัังสามารถนำำ�ไปประยุุกต์ใ์ ช้้ เพิ่่�มเติิมสำำ�หรัับอุุตสาหกรรมเคมีีชีวี ภาพ และการผลิิตผลิิตเชื้้�อเพลิิงที่่�ยั่่ง� ยืืนสำำ�หรัับ อุุตสาหกรรมการบิินได้้อีีกด้้วย
บทสรุุป เทคโนโลยีี sunliquid® ของคลาเรีียนท์์เป็็นเทคโนโลยีีที่่�พร้อ้ มใช้้งาน สามารถผลิิต เอทานอลจากเซลลููโลสได้้อย่่างยั่่�งยืืน ซึ่่�งพิิสููจน์์แล้้วถึึงความคุ้้�มค่่าในเชิิงพาณิิชย์์ รวมถึึงมีีความยืืดหยุ่่�นทั้้�งด้้านวััตถุุดิบิ การเลืือกขนาดโครงการ และการผลิิตน้ำำ��ตาล สำำ�หรัับการผลิิตสารเคมีีชีวี ภาพที่่�หลากหลาย นัับเป็็นตััวอย่่างสำำ�คัญ ั สำำ�หรัับเศรษฐกิิจ หมุุนเวีียนที่่�ไม่่เพีียงช่่วยเพิ่่�มรายได้้ของเกษตรกรเท่่านั้้�น แต่่ยัังเป็็นนวััตกรรมที่่�มีี ศัักยภาพในการลดการปลดปล่่อยคาร์์บอน และส่่งเสริิมการใช้้เชื้้�อเพลิิง เอทา นอลภายใต้้แผน AEDP2018 ของประเทศไทย
ustainability is not a hype. It marks a turning point for the global economy. With the Paris Agreement from 2015, a legally binding international treaty on climate change, 195 countries gave their commitment to limit global warming to 2 degrees by 2050 compared to preindustrial levels. Following Europe, the US has recently committed to enable the transformations required to reach net-zero by 20501 while China has outlined a roadmap to become carbon neutral by 2060. Other countries are globally following these examples.
Spotlight on Thailand Looking at Thailand, the prime minister Gen. Prayut Chan-o-cha’s participation at the 26th United Nations Climate Change Conference (COP26) in Glasgow, United Kingdom has enabled Thailand to solidify its role in fighting climate change on the global stage and created awareness within the global community to achieve carbon neutrality within 2050 and net zero emissions by 2065. In addition, Thailand has promoted the production and use of ethanol fuel in order to reduce energy imports, to promote the use and value of agricultural raw materials, and consequently to reduce carbon emissions compared to fossil fuels. According to the Alternative Energy Development Plan 2018 – 2037 (AEDP2018), the goal is to promote the production and use of ethanol fuel to reach 7.5 million liters per day by 2037. However, in 2020 and 2021, sugarcane production dropped to 74.89 and 66.65 million tons, respectively. In addition, cassava production did not increase enough to serve the demand. As a result, the prices of the molasses and cassava raw materials were higher, and the ethanol price rose to 25 - 26 baht per liter. This has caused the repeated cancellation of the phase-out of gasohol E10 octane 91, which is an important mechanism to increase the volume of domestic ethanol fuel use. Most recently, this phase-out has been postponed until the end of 2022.
Possibilities to bring sunliquid® to Thailand Apart from sugarcane molasse and cassava, which are limited, other materials can also be used to produce cellulosic ethanol, such as cassava pulps and rhizomes, sugar cane tops and leaves, rice straw, and empty fruit bunches (EFB). If the harvesting process and collection of these raw materials can be developed to be economically feasible for cellulosic ethanol, it will bring additional options to support Thailand’s targets. For example, there is a high potential in the use of regional rice straw as a raw material, which is currently underutilized. According to the assessment of the AEDP2018, up to 27 million tons of rice straw remain in the field, equivalent to up to 14 million liters of ethanol per day. At rice straw price of 1,200 baht per ton, moisture 12 percent, the feedstock cost is only 6-7 baht per liter of ethanol. Rice straw is valued at up to around 189 liters ethanol or 4,600 baht per ton, which could reduce energy imports from abroad by as much as 125,000 million baht per year. This feedstock could be utilized with Clariant’s sunliquid® process that converts regionally sourced agricultural residues into high quality bioethanol. A one-hectare wheat field will produce about 2-3 tons of straw on average. At an average humidity of 13 percent, this straw can be converted to about 550 liters of ethanol using the sunliquid® process. Translating to a yield of just over 20 percent, this means five tons of straw will give nearly one ton of cellulosic ethanol (1 t = 1267 l). The two by-products of this process are lignin and vinasse, the latter can be used as an efficient organic fertilizer in agriculture. The sunliquid® process shows a flexibility on a broad range of feedstock. Process conditions & biocatalysts were developed & performance runs executed in our pre-commercial plant for a wide range of lignocellulosic biomass. The technology was successfully implemented in pre-commercial plant in 2012 and five sunliquid® technology licenses have been sold in both Europe and China since then. The milestone of the construction completion of our first commercial sunliquid® plant in Romania underlines our commitment to building a more sustainable future”, says Christian Librera, Clariant’s Head of Business Line Biofuels and Derivatives.
How does sunliquid® work? The sunliquid® process is divided into four technological sections. In the first step, the straw is shredded and thermally pre-treated to open the stable lignocellulosic structure. This makes it easier for the enzymes, added in the second production step, to access the sugar chains. Our pre-treatment process has been optimized so that the need for any chemicals could be eliminated. In the second step, enzymes are added to the pre-treated straw to liquefy and split its cellulosic and hemi-cellulosic components into different sugar types. As part of the integrated enzyme production, a small fraction of the sugars is used to feed microorganisms to produce
26
www.sugar-asia.com
Special Insight
feedstock and process-specific enzymes. These enzymes act to break up the long cellulose chains into fermentable sugars, such as glucose, xylose and arabinose. The insoluble woody component of the straw, lignin, is separated to generate energy which can be used to operate the cellulosic ethanol production plant. In the third step, the C5 and C6 sugars are simultaneously fermented into ethanol in a one-pot reaction. Our proprietary yeast strain is specifically modified and adapted to these conditions, leading to a 50% higher ethanol yield, compared to standard yeasts. In the final step, a highly optimized purification process removes the water to yield pure ethanol.
Clariant’s sunliquid® process 2019 with up to 800 workers onsite. Contracts with more than 300 local farmers have been signed to ensure the supply of the necessary feedstock. This investment also brings substantial economic benefits to the region. By locally sourcing feedstock, greenhouse gas emission reduction can be maximized. Also, additional business opportunities will arise along the regional value chain. Co-products produced by the process will be used for the generation of renewable energy, making the plant independent of fossil energy sources. Therefore, the resulting cellulosic ethanol is an almost carbon neutral second-generation biofuel. Besides application as a drop-in solution for fuel blending, this offers further downstream application opportunities into bio-based chemicals and for sustainable aviation fuel.
Second generation biofuels produced from non-edible feedstocks offer additional CO2 savings compared to first generation biofuels. The bioethanol produced using the sunliquid® process helps decarbonize the transport sector by providing up to 95 percent CO2 savings compared to fossil fuel, and by as much as 120 percent if carbon sequestration is considered and used as part of the production process. In other words, a sunliquid® plant with an output of 50,000 tons per year can help avoid ~120,000 tons of CO2 emissions per year, equivalent to the annual CO2 emissions of ~35,000 cars. Producing cellulosic ethanol from agricultural biomass could not only help to reduce carbon footprints but also prevent burning of biomasses, particularly, rice straw and sugarcane leaves. Farmers currently still burn them because of less labor & cheaper harvesting costs for sugarcane, and a faster preparation of the rice fields for next round of crop. These activities contribute to significantly increasing smog and PM2.5 pollution at crisis levels every year, especially in the period of November to March in the main agricultural provinces, Bangkok and its surrounding provinces. In Bangkok, scientific estimates for biomass burnings’ contribution to the PM2.5 levels vary from 24percent to 38percent, with the majority of it coming from sugarcane and rice burning2.
Sunliquid® in action On October 15 2021, Clariant announced the official completion of its sunliquid® cellulosic ethanol plant in Podari, Romania, 50,000 TPA of ethanol, consuming around 250,000 tons of straw. The completed construction is an important next step for the commercial deployment of sunliquid® technology, with a range of 12kta to 50kta, and thus supports Clariant’s sunliquid® licensing business strategy. The plant in Podari, Dolj county, is built on a 10-hectare area on which construction was initiated in
References 1 https://www.whitehouse.gov/briefing-room/statements-releases/2021/04/23/fact-sheet-presidentbidens-leaders-summit-on-climate/ 2 https://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/2051899/why-farmers-continue-to-burn-despite-city-smog
www.sugar-asia.com
Summary Clariant’s sunliquid® is ready to use technology that can provide sustainable cellulosic ethanol with commercial proven technology, flexibilities in both feedstocks, project scalability, and sugar platform for other biobased chemicals. It is a prime example for circular economy which is not only help to increase farmers income but also it is a potential solution for decarbonization and fuel ethanol promotion under Thailand AEDP2018. FOR MORE INFORMATION CONTACT Dr. Seksan Phrommanich Business Development Manager SEAP, Business Line Biofuels & Derivatives Tel : +66 (0) 80 065 480 / +66 (0) 62 303 6633 Email: seksan.phrommanich@clariant.com CLARIANT (THAILAND) LTD. 3195/11, 6th FL., Vibulthani Tower 1, Rama 4 Road, Klongtan, Klongtoey, Bangkok, 10110, Thailand.
27
Special Insight
ABB Ability™ เปิิดตััวระบบ Sugar Library 800xA เน้้นช่่วยผู้้�ผลิิตเพิ่่� มความยืืดหยุ่่�นและควบคุุม การตรวจสอบ New release of ABB Ability™ System 800xA Sugar Library boosts manufacturers’ monitoring and control flexibility
ริิษััท ABB เปิิดตััว ABB Ability™ Sugar Library รุ่่�นใหม่่ล่่าสุุด ที่่�มาพร้้อมกัับฟัังก์์ชันั ใหม่่เพื่่อ� ทำำ�หน้้าที่่�ในการควบคุุมสินิ ค้้าคงคลััง ทางวิิศวกรรมสำำ�หรัับผู้้�ผลิิตน้ำำ��ตาล ซึ่่�งจะช่่วยลดต้้นทุุนเชิิงวิิศวกรรม ในส่่วนของข้้อได้้เปรีียบด้้านความยั่่�งยืืนของ ABB Ability™ Sugar Library จะ และระยะเวลาในการพััฒนาการผลิิต ลดความซัับซ้้อนและขจััดข้้อผิิดพลาดด้้าน มีีโหมดประหยััดไอน้ำำ��ที่่ช่่� วยให้้มั่่น� ใจว่่าจะไม่่มีีการสร้้างไอน้ำำ��มากเกิินความจำำ�เป็็นใน วิิศวกรรม รวมทั้้�งปรัับปรุุงคุุณภาพและความน่่าเชื่่อ� ถืือในการปฏิิบัติั งิ าน ผลิิตภััณฑ์์รุ่่น� ใหม่่นี้้�มีเี ทมเพลตทำำ�ขึ้้น� โดยเฉพาะสำำ�หรัับใช้้ในกระบวนการผลิิต น้ำำ��ตาลในอุุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลจากหััวบีีทและอ้้อย และเป็็นไปตามข้้อกำำ�หนดทั่่�วไป ของกระบวนการดัังกล่่าว รวมทั้้�งการจััดการวััตถุุดิิบ การทำำ�ให้้น้ำำ��ตาลบริิสุุทธิ์์� การ ตกผลึึกและการจััดการน้ำำ�� ตาล รวมถึึงการระเหยและการกรองที่่�ทันั สมััย เทมเพลต นี้้�จะส่่งผลให้้เกิิดประสิิทธิิภาพทางวิิศวกรรม สำำ�หรัับผู้้�ปฏิิบััติิงาน การตรวจสอบ กระบวนการอย่่างมีีประสิิทธิิภาพดัังกล่่าวจะช่่วยเพิ่่�มศักั ยภาพทั้้�งทางทรััพยากรและ การใช้้พลัังงานอีีกด้้วย การสร้้างเทคโนโลยีีช่่วยให้้มนุษุ ย์์สื่อ่� สารและมีีส่่วนร่่วมกัับเครื่่อ� งจัักร(HMI) ที่่� มีีประสิิทธิิภาพสููงได้้การออกแบบมาเพื่่�อการตรวจจัับที่่�รวดเร็็วและการแก้้ไขปััญหา การรบกวนในระหว่่างกระบวนการด้้วยข้้อความแจ้้งเตืือน ในการบำำ�รุุงรัักษา ทีีมผู้้� ผลิิตจะได้้รัับแจ้้งข้้อมููลที่่�ถููกต้้องตามเวลา เพื่่�อการติิดตามและพิิจารณาความเป็็น ไปได้้ที่่�มองเห็็น การแสดงภาพ HMI ที่่�มีปี ระสิิทธิิภาพสููงแบบไดนามิิกที่่�กำำ�หนดค่่า ใหม่่ได้้อัตั โนมััติที่่ิ มี� ใี ห้้ในไลบรารีีนี้้สำ� ำ�หรัับการดำำ�เนิินการที่่�ตั้้ง� ค่่าไว้้ ซึ่่�งจะช่่วยลดเวลา การทำำ�งานได้้อย่่างมาก และยัังช่่วยให้้วิศิ วกรโรงงานและผู้้�ปฏิิบัติั งิ านให้้ตระหนัักถึงึ ความสำำ�คััญกัับการพััฒนาอย่่างต่่อเนื่่�อง
28
ระหว่่างขั้้�นตอนการระเหย นอกจากนี้้�ยัังรวบรวมไอน้ำำ��และนำำ�กลัับมาใช้้ใหม่่ในช่่วง การตกผลึึก ซึ่่�งช่่วยประหยััดเชื้้�อเพลิิงที่่�ใช้้ในการผลิิตไอน้ำำ��และลดต้้นทุุนการผลิิต อีีกด้้วย โซลููชัันนี้้�สร้้างขึ้้�นจากความรู้้�ที่่�ได้้รัับจากความร่่วมมืือกัับซััพพลายเออร์์ราย ใหญ่่และผู้้�ผลิิตน้ำำ��ตาล จึึงทำำ�ให้้มั่่�นใจได้้ว่่าการควบคุุมกระบวนการครั้้�งล่่าสุุดนี้้�จะ รวมอยู่่ใ� นไลบรารีี ประกอบด้้วยส่่วนประกอบสำำ�หรัับการควบคุุมโดยแต่่ละส่่วนการ ทำำ�งานนั้้�นมีีความสมบููรณ์์พร้้อมสำำ�หรัับการใช้้งานและสามารถปรัับให้้เข้้ากัับความ ต้้องการของผู้้�ใช้้โดยเฉพาะได้้ ABB Ability™ Sugar Library จะเป็็นประโยชน์์ต่่อลููกค้้าของ ABB รวมทั้้�ง พัันธมิิตรคู่่ค้� า้ และผู้้�รวบรวมระบบเทคโนโลยีีต่่างๆเพื่่อ� เพิ่่�มประสิิทธิิภาพโรงงานและ การขยายกิิจการ ตลอดจนการติิดตั้้�งพื้้�นที่่�เพื่่อ� สิ่่�งแวดล้้อมใหม่่ ซึ่่�งจะทำำ�ให้้ต้น้ ทุุนรวมใน การเป็็นเจ้้าของกิิจการลดลง ซึ่่�งการทำำ�งานร่่วมกัับระบบควบคุุมแบบกระจาย (DCS) เวอร์์ชัันล่่าสุุดของ ABB Ability™ System 800xA สามารถรองรัับระบบสำำ�หรัับ การจััดการกระบวนการผลิิต Manufacturing Operations Management (MOM) แบบ end-to-end เพื่่อ� เพิ่่�มประสิิทธิิภาพ รวมทั้้�งมีีความยั่่�งยืืนในการปรัับปรุุงคุุณภาพ และการคิิดริิเริ่่�มในการลดของเสีียได้้อีีกด้้วย นายมาร์์เซลโล กุุลีเี นลลีี หััวหน้้างานด้้านอุุตสาหกรรมกระบวนการผลิิตอาหาร และเครื่่�องดื่่ม� โลกของ ABB Ability™ กล่่าวว่่า “Sugar Library ของ ABB นั่่�นช่่วย
www.sugar-asia.com
Special Insight สร้้างความน่่าเชื่่�อถืือ คุุณภาพ วิิศวกรรม และผลประโยชน์์ในการดำำ�เนิินงานของ ลููกค้้า คู่่ค้� า้ และผู้้�รวบรวมระบบเทคโนโลยีีต่่างๆ และจะสอดคล้้องกัับกลยุุทธดิิจิทัิ ลั ไลเซชั่่�นโดยรวมในอุุตสาหกรรมอาหารและเครื่่�องดื่่ม� ” “ทางบริิษัทั สนัับสนุุนให้้มีกี ารตรวจสอบกระบวนการผลิิตอย่่างมีีประสิิทธิิภาพเพื่่อ� ช่่วยเพิ่่�มศักั ยภาพในการใช้้ทรััพยากรและพลัังงาน ข้้อมููลนี้้�จะช่่วยให้้ผู้้�ปฏิิบัติั งิ านได้้รับั ข้้อมููลที่่�จำำ�เป็็นตามเวลา และช่่วยให้้เกิิดความยืืดหยุ่่�น ซึ่่�งทางบริิษัทั มุ่่�งที่่�จะนำำ�ไปใช้้ใน วงกว้้างมากขึ้้�นในทั่่�วทั้้�งฐานการติิดตั้้�งและอาจรวมถึึงลููกค้้าใหม่่ทั่่�วโลกอีีกด้ว้ ย” ผู้้�ผลิิตน้ำำ��ตาลสามารถใช้้ประโยชน์์จากเทมเพลตพร้้อมใช้้งานและรููปแบบการ ควบคุุมหม้้อเคี่่�ยวระบบสุุญญากาศและการควบคุุม Brix control รวมถึึงกระบวนการ ที่่�สำำ�คััญอื่่�นๆ ทั้้�งหมด และกระบวนการทำำ�ให้้น้ำำ��ตาลเกิิดความใส การระเหย และ การจััดการวััตถุุดิบิ พร้้อมกัับอุุปกรณ์์ที่่เ� กี่่�ยวข้้อง ข้้อกำำ�หนดของไลบรารีียังั รวมถึึงการ แสดงแนวเส้้นโค้้งจุุดเดืือดที่่�ทรงประสิิทธิิภาพด้้วยการใช้้อััลกอริิธึึมที่่�ปรัับแต่่งได้้ ผู้้� ปฏิิบััติิงานจะสามารถมีีการควบคุุมที่่�ดีีขึ้้�นในการประหยััดไอน้ำำ�� และความเป็็นเนื้้�อ เดีียวกัันของผลึึกน้ำำ��ตาล พร้้อมการแจ้้งเตืือนและมีีการบัันทึึกข้อ้ มููลตลอดเวลา บริิษััท ABB พร้้อมให้้ความสนัับสนุุนทั่่�วโลกโดยมีีผู้้�เชี่่�ยวชาญประจำำ�ประเทศ ต่่างๆ คอยช่่วยเหลืือสำำ�หรัับฐานติิดตั้้�งขนาดใหญ่่ ระบบควบคุุม และแอปพลิิเคชััน ที่่�เกี่่�ยวข้้อง พร้้อมแผนงานการพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ที่่�ชััดเจน
BB has launched its latest release of ABB Ability™ Sugar Library enhanced with new functionalities to serve as a control engineering inventory for sugar manufacturers. It will help to reduce engineering costs and development timelines, simplify expansions and eliminate errors in engineering and improve quality and reliability in operational use.
Clariant’s sunliquid® is ready to use technology that can providesustainable cellulosic ethanol with commercial proven technology, flexibilities in both feedstocks, project scalability, and sugar platform for other biobased chemicals. It is a prime example for circular economy which is not only help to increase farmers income but also it is a potential solution for decarbonization and fuel ethanol promotion under Thailand AEDP2018. The release features a range of specifically designed templates for sugar process applications in beet and cane sugar industries. It fulfils all process area requirements including raw material handling, purification, crystallization and sugar handling, and now evaporation and filtration. Customizable templates will result in engineering efficiencies. For operators, efficient monitoring of process helps to optimize resources and energy usage. A high-performance human-machine interface (HMI) has been designed for fast detection and resolution of process disturbances, with
www.sugar-asia.com
alarm messages. In maintenance, teams will gain the right information at the right time, with tracking and trends visually available. The autoreconfigurable dynamic, high-performance HMI visualizations provided in the library for selected operations will greatly reduce the commissioning time and will also help plant engineers and operators to focus on continuous improvement. Among sustainability advantages, ABB Ability™ Sugar Library features a steam economy mode that ensures no more steam than required is generated during the evaporation phase. It is also collected and reused for the crystallization phase, saving any fuel used to make the steam and therefore reducing production costs. The solution is built from knowledge attained through collaboration with major process and equipment suppliers and sugar manufacturers. This ensures that the latest process control philosophies are incorporated within the library. It comprises components for control and supervision, with each a complete functional unit ready for use and able to be adapted to specific user needs. ABB Ability™ Sugar Library will benefit ABB’s installed base customers, channel partners and system integrators for plant optimization and expansion requirements as well as new greenfield installations, ensuring a reduced total cost of oawnership. It integrates with the latest versions of ABB’s distributed control system (DCS) ABB Ability™ System 800xA and provisions support for ABB Ability™ Manufacturing Operations Management (MOM). It can support end-customers’ digitalization strategies, sustainability, quality improvement and waste reduction initiatives. “ABB Ability™ Sugar Library enables reliability, quality, engineering and operational benefits for our customers, channel partners and system integrators and aligns with our overall digitalization strategy in the food and beverage industry,” said Marcello Gulinelli, Global Head of Food & Beverage, Process Industries, ABB. “We are encouraging efficient monitoring of the production process to help optimize resource and energy
ABB Ability™ System 800xA Sugar Library Control Templates usage. This gives operators the information they need at the right time and allows flexible controls. We look forward to wider adoption across our installed base and potentially with new customers globally.” Sugar manufacturers can take advantage of ready-to-use templates with control schemes for not only vacuum pans and associated Brix control, but also for all other critical process areas including purification, evaporation and raw material handling along with associated process equipment. Library provisions include efficient boil up curves with customizable algorithms. Operators will experience improved control for steam economy, better shape and homogeneity for crystals, with alerts and data logging capabilities throughout. ABB offers worldwide support, with local experts on hand, for the large installed base, its control systems and associated applications, with clear product development roadmaps in place.
29
Ethanol News
‘บางจาก’ ผุุดโปรเจ็็คต่่อยอดเอทานอล ผลิิตน้ำำ��มััน เครื่่�องบิินคาร์์บอนต่ำำ�� Bangchak Kicks off Ethanol Project for Low Carbon Jet Fuel
ก
ลุ่่�มบางจากฯ ผนึึก วช.ทดลองการผลิิต SAF เชื้้�อ เพลิิงอากาศยานชีีวภาพแบบยั่่�งยืืน ช่่วยลดการ ปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ได้้สููงสุุดถึึง 80% เพื่่�อ ต่่อยอดองค์์ความรู้้�จากฐานงานวิิจััยในประเทศ เดิิน หน้้าสู่่� เป้้าหมาย Net Zero นายชััยวััฒน์์ โควาวิิสารััช ประธานเจ้้าหน้้าที่่บ� ริิหาร และกรรมการผู้้จั� ดั การใหญ่่ บริิษัทั บางจาก คอร์์ปอเรชั่่น� จำำ�กัดั (มหาชน) เปิิดเผยว่่า บริิษัทั บางจาก คอร์์ปอเรชั่่�น จำำ�กัดั (มหาชน) บริิษัทั บีีบีีจีีไอ จำำ�กัดั (มหาชน) สำำ�นักั งาน การวิิจััยแห่่งชาติิ (วช.) และมหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราช มงคลอีีสาน (มทร.อีีสาน) ได้้ร่่วมลงนามในบัันทึึกข้้อ ตกลงความร่่วมมืือโครงการนวััตกรรมสีีเขีียวเพื่่�อทดลอง ผลิิต Sustainable Aviation Fuel (SAF) หรืือเชื้้�อเพลิิง อากาศยานชีีวภาพแบบยั่่�งยืืนจากเอทานอล สู่่ก� ารพััฒนาน้ำำ��มันั เครื่่�องบิินคาร์์บอนต่ำำ�� ทั้้�งนี้้�นำำ�มาจากฐานงานวิิจัยั เพื่่อ� นำำ�องค์์ความรู้้�ที่่�ได้้จาก โครงการวิิจัยั “การผลิิตเชื้้อ� เพลิิงชีีวภาพจากฟููเซลแอลกอฮอล์์ ที่่�ได้้จากโรงงานเอทานอล” เมื่่�อปีี พ.ศ. 2563 ดำำ�เนิินการ โดย มทร. อีีสาน ภายใต้้การสนัับสนุุนการวิิจัยั โดย วช. ซึ่่�ง จะช่่วยเพิ่่�มมููลค่่าของเอทานอลจากการเปลี่่�ยนเป็็นแก๊๊สโซฮอล์์ ต่่อยอดเป็็นผลิิตภััณฑ์์มููลค่่าสููงในการผลิิต SAF และช่่วย ส่่งเสริิมการพััฒนาเครืือข่่าย Supply Chain ของเชื้้�อเพลิิง ชีีวภาพ ตอบรัับความต้้องการใช้้งาน SAF ที่่�กำำ�ลัังขยายตััว สููงขึ้้�นเพื่่�อส่่งเสริิมความยั่่�งยืืนให้้กัับอุุตสาหกรรมการบิิน ทั่่�วโลก พร้้อมรองรัับการก้้าวเข้้าสู่่ก� ารเปลี่่�ยนผ่่านด้้านพลัังงาน สู่่�การใช้้พลัังงานสะอาด อย่่างไรก็็ตามในฐานะผู้้�นำำ�การเปลี่่�ยนผ่่านด้้านพลัังงาน ที่่�ตั้้�งเป้้าหมายการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกเป็็นศููนย์์ (Net Zero) ภายในปีีพ.ศ. 2593 โดยมีีเป้้าหมายสำำ�คัญ ั เป้้าหมาย แรกคืือความเป็็นกลางทางคาร์์บอน (Carbon Neutral) ในปีี พ.ศ. 2573 บางจากฯ มุ่่�งมั่่�นที่่�จะเพิ่่�มสัดั ส่่วนการใช้้เชื้้อ� เพลิิง ชีีวภาพแทนการใช้้ฟอสซิิล เพื่่อ� ลดปริิมาณก๊๊าซเรืือนกระจก
30
ที่่�ถููกปล่่อยออกสู่่�ชั้้�นบรรยากาศ โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งในภาค ขนส่่ง ซึ่่�งบางจากฯ ได้้พััฒนาเชื้้�อเพลิิงชีีวภาพสำำ�หรัับใช้้ใน การขนส่่งทางบกมาอย่่างต่่อเนื่่�อง “วัันนี้้�มีโี อกาสนำำ�องค์์ความรู้้�จากฐานงานวิิจัยั ในประเทศ มาทดลองผลิิตเพื่่อ� พััฒนา SAF ซึ่่�งไม่่เพีียงช่่วยลดการปล่่อย ก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ได้้สููงสุุดถึึง 80% ตลอดทั้้�งวงจร ชีีวิิตผลิิตภััณฑ์์เมื่่�อเทีียบกัับน้ำำ��มัันอากาศยานทั่่�วไปแต่่ยััง ขึ้้น� ชื่่อ� ว่่าเป็็นน้ำำ��มันั อากาศยานคุุณภาพสููงเหมาะสำำ�หรัับเป็็น เชื้้อ� เพลิิงเครื่่อ� งบิินไอพ่่นขัับไล่่ของกองทััพอากาศอีีกด้ว้ ย” นายกิิตติิพงศ์์ ลิ่่�มสุุวรรณโรจน์์ ประธานเจ้้าหน้้าที่่� บริิหารและกรรมการผู้้�จััดการใหญ่่ บริิษััท บีีบีีจีีไอ จำำ�กััด (มหาชน) กล่่าวว่่า การศึึกษาต่่อยอดจากฐานงานวิิจััยใน
ครั้้�งนี้้�เป็็นอีีกหนึ่่�งโอกาสสำำ�คััญในการส่่งเสริิมและผลัักดััน ผลิิตภััณฑ์์ชีวี ภาพในประเทศให้้มีมููี ลค่่าสููงขึ้้น� จากวััตถุุดิบิ ภาค การเกษตรที่่�มีีอยู่่�มากมาย พััฒนาเป็็นเชื้้�อเพลิิงคาร์์บอนต่ำำ�� ที่่�มีปี ระโยชน์์มหาศาลต่่ออุุตสาหกรรมการบิิน โดยองค์์ความ รู้้�ในการผลิิต SAF นี้้� มีีฟููเซลแอลกอฮอล์์ ผลิิตภััณฑ์์พลอยได้้ จากกระบวนการกลั่่�นเอทานอลเป็็นวััตถุุดิิบ ซึ่่�งบีีบีีจีีไอฯ มีีโรงงานผลิิตและจััดจำำ�หน่่ายไบโอดีีเซลและเอทานอล ด้้วยโรงงานผลิิตไบโอดีีเซลกำำ�ลังั การผลิิตรวม 1 ล้้านลิิตรต่่อ วััน และโรงงานผลิิตเอทานอลที่่�มีีกำ�ลั ำ งั การผลิิตรวมสำำ�หรัับ เอทานอลทั้้�งหมด 6 แสนลิิตรต่่อวััน ทำำ�ให้้มีคี วามเชี่่ย� วชาญ เต็็มศักั ยภาพและพร้้อมสนัับสนุุนการศึึกษาครั้้�งนี้้� เพื่่�อเพิ่่�ม มููลค่่าจากกระบวนการผลิิตเอทานอลและสนัับสนุุนนวััตกรรม
www.sugar-asia.com
Ethanol News พลัังงานสีีเขีียว ร่่วมเป็็นส่่วนหนึ่่�งในการมุ่่�งสู่่�เป้้าหมาย Net Zero ในนามกลุ่่�มบางจากฯ ด้้าน ดร.วิิภารััตน์์ ดีีอ่่อง ผู้้อำ� ำ�นวยการสำำ�นักั งานการ วิิจัยั แห่่งชาติิ กระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจัยั และนวััตกรรม กล่่าวว่่า โครงการวิิจััย “การผลิิตเชื้้�อเพลิิง ชีีวภาพจากฟููเซลแอลกอฮอล์์ที่่�ได้้จากโรงงานเอทานอล” นี้้� ประสบผลสำำ�เร็็จในระดัับห้้องปฏิิบัติั กิ ารหรืือ Lab Scale ใน การผลิิตน้ำำ��มันั ชีีวภาพ สำำ�หรัับใช้้ในเครื่่อ� งบิินซึ่่�งเป็็นน้ำำ��มันั ที่่�มีี คุุณภาพสููงจากวััตถุุดิบิ ที่่�เรีียกว่่า “ฟููเซล (Fusel)” ของโรงงาน ผลิิตเอทานอลที่่�มีวัี ตั ถุุดิบิ จากอ้้อย มัันสำำ�ปะหลััง และกากส่่า ถืือเป็็นพืืชเศรษฐกิิจตามการส่่งเสริิมของนโยบายภาครััฐ นอกจากนี้้� งานวิิ จััยยัั งสอดคล้้ องกัั บยุุ ทธศาสตร์์ การขัับเคลื่่�อนประเทศไทยด้้วยโมเดลเศรษฐกิิจ BCG (Bio-Circular-Green Economy) ที่่�ประเทศกำำ�ลังั มุ่่�งเน้้นและ ให้้ความสำำ�คััญในการพััฒนาเศรษฐกิิจของประเทศ รองศาสตราจารย์์ ดร.โฆษิิต ศรีีภููธร อธิิการบดีี มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลอีีสาน กล่่าวว่่า โครงการ ดัังกล่่าว เป็็นหนึ่่�งในโครงการพััฒนาเทคโนโลยีีและนวััตกรรม ของมหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลอีี สาน ที่่�ได้้ รัับ งบประมาณสนัับสนุุนจากสำำ�นักั งานการวิิจัยั แห่่งชาติิ มุ่่�งเน้้น การใช้้ผลิิตภััณฑ์์ที่่�เกิิดจากกระบวนการหมัักวััสดุุทางการ เกษตรเพื่่�อเปลี่่�ยนเป็็นน้ำำ��มััน SAF ที่่�มีีมููลค่่าสููงขึ้้�น เพิ่่�ม การใช้้พลังั งานหมุุนเวีียนเพื่่อ� ลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก ซึ่่�งทั่่�วโลกต่่างให้้ความสำำ�คัญ ั กัับปััญหาการเปลี่่�ยนแปลงสภาพ ภููมิิอากาศ อีีกทั้้ง� จะช่่วยกระตุ้้�นให้้เกิิดการยกระดัับเทคโนโลยีี และการสร้้างนวััตกรรมสีีเขีียวให้้กับั ภาคอุุตสาหกรรม และ เป็็นแพลตฟอร์์มที่่�ดีีที่่�หน่่วยงานของภาครััฐทำำ�หน้้าที่่�ช่่วย ผลัักดันั ให้้เกิิดการวิิจัยั และพััฒนานวััตกรรมขึ้้�นในภาคธุุรกิิจ.
B
angchak Corporation Public Company Limited (BCP) joins hands with National Research Council of Thailand (NRCT) to pioneer production of sustainable bio-based aviation fuel, aka SAF, which helps reduce carbon emissions by up to 80%. The project also aims to build on knowledge from national research bases towards the goal of Net Zero.
Mr. Chaiwat Kovavisarach, President and Group Chief Executive Officer of Bangchak Corporation Public Company Limited., announced that the company, the BBGI Public Company Limited, the NRCT and Rajamangala University of Technology Isan had already signed a cooperation agreement on the green innovation project to produce sustainable aviation fuel (SAF) from ethanol, which would later enable development of a new type of low carbon fuel. This project, based on knowledge from the research, “Biofuel production from fusel alcohol obtained from ethanol plants”, done in 2020 by the Rajamangala University of Technology Isan under the NRCT’s support, aims to add more values to ethanol from changes to gasohol. It can be
www.sugar-asia.com
further developed into high-value products in SAF production and helps to promote biofuel supply chain networks. Also, it will meet the growing demand for SAF to support the sustainability of the global aviation industry, hence available for the transition to green energy. Nevertheless, as an energy transition leader that set a Net Zero emissions target by 2050, with the first major goal being Carbon Neutral by 2030, Bangchak is committed to increasing the share of biofuels instead of fossil fuels to reduce the amount of greenhouse gases emitted into the atmosphere caused especially by the transport sector. Bangchak has continuously developed biofuels for use in land transportation. “Today is a good occasion to bring knowledge from research in the country for production to develop SAF. It not only reduces CO emissions by up to 80% over the entire product lifecycle compared to conventional jet fuel, but it is also known for its high quality suitable for the Royal Air Force’s fighter jet,” said Mr. Chaiwat. Chief Executive Officer and President, BBGI Public Company Limited, Mr. Kittiphong Limsuwanrot explained that further study from this research was another important opportunity to promote and drive bio-products in the country for higher values. From raw materials in the agricultural sector that are abundant, the products can be developed into a low-carbon fuel that has immense benefits for the aviation industry. This SAF production know-how contains fusel alcohol, a by-product from the ethanol refining process as a raw material. The BBGI has a production and distribution plant for biodiesel and ethanol. With a biodiesel plant with a total production capacity of 1 million liters per day and an ethanol plant with a total production capacity of 600,000 liters of ethanol per day,
the plant is equipped with full expertise and potential and is ready to support this research to add value from the ethanol production process and support green energy innovation, thus being a part to achieve Net Zero goals on behalf of Bangchak Corp. The Director of NRCT Dr. Wipharat Dee-ong added that the research, “Biofuel production from fusel alcohol obtained from ethanol plants”, was successful in terms of lab scale on biofuel production to be used in aviation. It is a high-quality fuel from the raw material called “Fusel” of the ethanol factory with raw materials from sugar cane, cassava and slag. All of them are considered a cash crop under the promotion of government policies. In addition, the research is in line with the strategy of mobilizing Thailand with the BCG (Bio-Circular-Green Economy) economic model on which the country is focusing and giving importance to the development of its economy. Assoc. Prof. Dr. Khosit Sriphuthon, the Rector of Rajamangala University of Technology Isan, concluded that the project was one of the technology and innovation development projects of Rajamangala University of Technology Isan that had received a budget from the NRCT. It focuses on using products made by fermentation of agricultural raw materials to convert to higher value SAF oil, besides increasing the use of renewable energy to reduce greenhouse gas emissions, on which all over the world are focusing due to the problem of climate change. It will also promote technology upgrading, create green innovations for the industrial sector, and serve as a good platform for government agencies to help drive research and innovation in the business sector.
The ceremony of signing a cooperation agreement on the green innovation project to produce sustainable aviation fuel from ethanol for development of low carbon fuel on 24 July 2022.
31
Ethanol News
อิินเดีียนำำ�จีีนใช้้เอทานอลเป็็นอันดั ั ับ 3 ของโลก India to surpass China as 3rd largest user of Ethanol
อิิ
นเดีียกำำ�ลัังจะแซงหน้้าจีีนในฐานะผู้้�ใช้้เอทานอลรายใหญ่่อัันดัับสามของโลก ภายในปีี 2569 พร้้อมเร่่งการเปลี่่�ยนแปลงไปสู่่ร� ะบบนิิเวศพลัังงานสะอาด โดย สำำ�นัักงานพลัังงานระหว่่างประเทศของอิินเดีีย (IEA) เปิิดเผยว่่า ความต้้องการเอ ทานอลในอิินเดีียเพิ่่�มขึ้้�นสามเท่่าระหว่่างปีี 2560-2564 โดยคาดว่่าการบริิโภคจะ อยู่่�ที่่� 3 สิิบล้้านลิิตรในปีีที่่�แล้้ว
I
ndia is on course to race past China as the world’s third largest ethanol consumer by 2026 as it accelerates the transformation towards a clean energy ecosystem. Ethanol demand in India tripled between 2017 and 2021 with consumption expected at 3 crore litres in the last calendar year, the International Energy Agency (IEA) said.
จากรายงานของ IEA ในเดืือนมกราคม 2564 อิินเดีียได้้เพิ่่�มเป้้าหมายของการผสม เอทานอลร้้อยละ 20 ในน้ำำ��มัันเบนซิินตั้้�งแต่่ปีี 2568 ถึึง 2573 และตั้้�งเป้้าที่่�จะเริ่่ม� ขาย ส่่วนผสมร้้อยละ 20 ในปีี 2566 รายงานนี้้�ยัังเพิ่่�มเติิมด้้วยว่่า ประเทศอิินเดีียกำำ�ลัังสนัับสนุุนเอทานอลเนื่่�องจากช่่วย ลดการนำำ�เข้้าน้ำำ��มััน ลดมลพิิษทางอากาศ และให้้โอกาสทางเศรษฐกิิจและการจ้้างงานแก่่ เกษตรกร ความต้้องการเอทานอลที่่�เพิ่่�มขึ้้�นนั้้�นสอดคล้้องกัับวิิถีกี ารปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก สุุทธิิเป็็นศููนย์์(Net Zero)เช่่นกััน ซึ่่�งอิินเดีียเป็็นผู้้�นำำ�เข้้าและผู้้�บริิโภคน้ำำ�มั � ันรายใหญ่่อัันดัับ สามของโลก นำำ�เข้้าผลิิตภััณฑ์์ปิโิ ตรเลีียมมููลค่่ากว่่า 1.09 แสนล้้านรููปีีในปีีงบประมาณ 2564 ‘มีีความรุุดหน้้าที่่น่่� าจัับตามอง’ สำำ�นักั งาน IEA ตั้้�งข้้อสัังเกตว่่า อิินเดีียมีี “มีีความรุุดหน้้าที่่�น่่าจัับตามอง” ในการเพิ่่�ม การผสมเอทานอล ในปีี 2560 อยู่่ที่่� �ร้้อยละ 2 แต่่เมื่่�อถึึงฤดููร้้อนปีี 2564 ก็็แตะที่่�ร้้อยละ 8 ซึ่่�งทำำ�ให้้ประเทศอยู่่�ในเส้้นทางที่่�จะบรรลุุถึึงร้้อยละ 10 เปอร์์เซ็็นต์์ที่่�ในปีีนี้้� นอกจากนั้้�น อิินเดีียได้้เพิ่่�มความมุ่่�งมั่่�นด้้านนโยบาย เพื่่�อบรรลุุเป้้าหมายร้้อยละ 20 จึึงได้้กำำ�หนดราคารัับประกัันเอทานอลต่่อลิิตรตามวััตถุุดิิบ จััดตั้้�งการสนัับสนุุนทางการเงิิน สำำ�หรัับกำำ�ลังั การผลิิตเอทานอลใหม่่ เผยแพร่่แผนงานเอทานอล และวางแผนที่่�จะมอบอำำ�นาจ ให้้กัับยานยนต์์เชื้้�อเพลิิงแบบยืืดหยุ่่�นที่่�สามารถใช้้ส่่วนผสมเอทานอลที่่�สููงขึ้้�นได้้ อย่่างไรก็็ดีี เป้้าหมายในการบรรลุุผลสำำ�เร็็จในการผสมเอทานอลร้้อยละ 20 มีี “ความ ท้้าทายที่่�สำำ�คัญ ั ” ทางสถาบััน IEA ระบุุว่่า ความเข้้ากัันได้้ของรถยนต์์ ก๊๊าซเรืือนกระจก และ เกณฑ์์ความยั่่�งยืืน ความพร้้อมของวััตถุุดิบิ และการรัักษาสิ่่�งจููงใจให้้อยู่่ใ� นระดัับที่่�เหมาะสม ล้้วนต้้องได้้รับั การเอาใจใส่่เป็็นพิิเศษ ในกรณีีที่่เ� ร่่งด่่วนของอิินเดีีย ถืือว่่าประเทศกำำ�ลังั เผชิิญ กัับความท้้าทายเหล่่านี้้�และบรรลุุเป้้าหมายการผสมเอทานอลในน้ำำ��มัันเชื้้�อเพลิิงร้้อยละ 20 ในปีี 2568
“In January 2021, India brought forward its target of 20 per cent ethanol blending of gasoline to 2025 from 2030, and is aiming to start selling 20 per cent blends in 2023,” the agency said in a report. IEA added that the country is supporting ethanol as it helps reduce oil imports, cut down air pollution and offers economic and employment opportunities for farmers. Lifting ethanol demand is also aligned with its net zero pathway. India, the world’s third largest oil importer and consumer, imported petroleum products worth more than 1.09-lakh crore in FY21.
ความสามารถในการทำำ�งานร่่วมกัันที่่น่่� ากัังวล สถาบััน IEA อธิิบายว่่ากลุ่่�มยานพาหนะส่่วนใหญ่่ของอิินเดีียที่่�มีีอยู่่�อาจมีีปััญหาเรื่่�อง ความสามารถในการทำำ�งานร่่วมกัันกัับเชื้้�อเพลิิงผสมที่่�สููงกว่่า E10 ดัังนั้้�น การปรัับปรุุง แก้้ไขเป็็นทางเลืือกหนึ่่�ง แต่่ขนาดของการดำำ�เนิินการอาจทำำ�ให้้ไม่่สามารถปฏิิบััติิได้้จริิง ยานพาหนะที่่�ใช้้เชื้้อ� เพลิิงแบบยืืดหยุ่่�นหรืือยานพาหนะอื่่น� ๆ ที่่�เข้้ากัันได้้กับั ส่่วนผสมร้้อยละ 20 จะต้้องมีีพร้้อมและผู้้�บริิโภคจะต้้องได้้รัับการจููงใจที่่�จะซื้้�อมาใช้้ ข้้อกำำ�หนดด้้านก๊๊าซเรืือนกระจกและเกณฑ์์ความยั่่�งยืืนที่่�ชััดเจนจะช่่วยให้้มั่่�นใจได้้ว่่า การผลิิตเอทานอลจะลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกและหลีีกเลี่่�ยงผลกระทบอื่่�นๆ อิินเดีีย ประมาณการว่่าการผสมเอทานอลได้้ลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกลงได้้ 19 ล้้านตััน เทีียบเท่่าก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ตั้้�งแต่่ปีี 2557 และแผนงานเอทานอลยัังระบุุถึึงความ จำำ�เป็็นในการนำำ�อ้้อยมาเสริิม ซึ่่�งเป็็นพืืชผลที่่�ต้้องใช้้น้ำำ��มาก ร่่วมกัับวััตถุุดิิบที่่�ใช้้น้ำำ��น้้อย
Compatibility concerns A large segment of India’s existing vehicle fleet may have compatibility issues with fuel blends above E10. Retrofits are an option, but the scale of the undertaking may make that impractical. Flex-fuel vehicles or vehicles otherwise compatible with 20 per cent blends will need to be made available and consumers will need to be convinced to purchase them, IEA explained. Clear GHG performance requirements and sustainability criteria will also help ensure ethanol production reduces emissions and avoids other impact. India estimates that ethanol blending has reduced its GHG emissions by 19 million tonnes of carbon dioxide equivalent since 2014 and its ethanol roadmap notes the need to supplement sugarcane, a water-intensive crop, with less water-intensive feedstock, IEA said.
การตรึึงราคา ปััจจุุบัันอิินเดีียรัับประกัันอััตราคงที่่�สำำ�หรัับเอทานอลตามวััตถุุดิิบที่่�ผลิิตในเดืือน พฤศจิิกายน และเพิ่่�มอััตราจููงใจขึ้้�นร้้อยละ 1-2 เพื่่�อกระตุ้้�นการผลิิต สถาบััน IEA แนะว่่า โครงสร้้างแรงจููงใจและระบบเงิินทุุนจะต้้องมีีโครงสร้้างที่่�ระมััดระวััง อิินเดีียสามารถเรีียนรู้้�จากตััวอย่่างอื่่น� ๆ ของประเทศทั่่�วโลก ตััวอย่่างเช่่น อิินโดนีีเซีียได้้ปรับั ลดจำำ�นวนในการผสมไบโอดีีเซลเนื่่�องจากต้้นทุุนที่่�สููง ซึ่่�งเป็็นสถานการณ์์ที่่�อิินเดีียต้้องการ หลีีกเลี่่�ยง อิินเดีียอาจมองไปยัังรููปแบบอื่่�นๆ ด้้วย เช่่น เป้้าหมายที่่�มีีการซื้้�อขายสิินเชื่่�อ ตามที่่�บัังคัับใช้้ภายใต้้โปรแกรมมาตรฐานพลัังงานทดแทน (Renewable Fuel. Standard Program: RFS) ของสหรััฐฯ ปััจจุุบันั บริิษัทั การตลาดน้ำำ�มั � นั ของภาครััฐในอิินเดีียจำำ�หน่่ายน้ำำ�มั � นั เบนซิินผสมเอทานอล ร้้อยละ 10 ในทำำ�นองเดีียวกััน ไบโอดีีเซลร้้อยละ 5 จะได้้รัับการผสมเมื่่�อเกิิดความพร้้อม.
Fixed rates India is currently guaranteeing fixed rates for ethanol according to the feedstock it is produced from. In November, it increased the incentive rates by 1-2 per cent to encourage production, it added. “The incentive structure and funding system will need to be carefully structured. Here, too, India can learn from other examples. Indonesia for instance has scaled back its biodiesel blending ambitions because of high costs, a situation India would like to avoid. India may also look to other models, such as targets with credit trading, as applied under the US RFS, the agency suggested. At present, public sector oil marketing companies are selling 10 per cent ethanol blended petrol. Similarly, 5 per cent biodiesel is blended as per availability.
32
‘Impressive progress’ The agency noted that India made “impressive progress” in increasing ethanol blending. In 2017, blending stood at 2 per cent, but by the summer of 2021 it touched 8 per cent, putting the country on track to achieve 10 per cent blending this calendar year. “India has also increased its policy commitment. In pursuit of its 20 per cent target, the country has set guaranteed prices per litre of ethanol according to feedstock; established financial support for new ethanol capacity; released an ethanol roadmap; and is planning to mandate flex-fuel vehicles that can operate on higher ethanol blends, it pointed out. However, the target of achieving 20 per cent blending of ethanol has “significant challenges”, IEA said adding that “Vehicle compatibility, greenhouse gas (GHG) and sustainability criteria, feedstock availability, and maintaining incentives at the right level will all require dedicated attention”. “In our accelerated case, we assume India meets these challenges and achieves its 20 per cent blending target in 2025,” IEA projected.
www.sugar-asia.com
Bioenergy News
สถาบัันน้ำำ��ตาลคานปููร์์ประสบความสำำ�เร็็จ ผลิิต ‘ไบโอชาร์์’ Sugar Institute achieves success in producing ‘activated bio-char’
บำำ�บััดด้้วยกรดภายใต้้สภาวะควบคุุม ชาลิินีี กุุมารีี นัักวิิทยาศาสตร์์ประจำำ�โครงการนี้้� กล่่าวทิ้้�งท้้ายว่่า ‘ไบโอชาร์์’ นี้้� จะมีี ประมาณ 10% จะผลิิตได้้มาจากชานอ้้อย ดัังนั้้�น หากพิิจารณาจากราคาชานอ้้อยที่่� 2,000 รููปีีต่่อล้้านตััน ต้้นทุุนการผลิิตนั่่�นคาดว่่าน่่าจะลดลงได้้อีกี .
N
ational Sugar Institute, Kanpur has achieved success in producing ‘Activated Bio-char’ from sugarcane bagasse rendered surplus by the sugar factories. At present, bagasse, the fibrous material received after crushing the sugarcane is utilized mostly as a fuel.
Prof. Narendra Mohan Director, National Sugar Institute, and Shalini Kumari, Project Scientist.
ส
ถาบัันน้ำำ��ตาลคานปููร์์ ประเทศอิินเดีีย ประสบความสำำ�เร็็จในการผลิิต ‘ไบโอชาร์์’ จากชานอ้้อยที่่�เหลืือใช้้ในผลิิตจากโรงงานน้ำำ��ตาล ซึ่่�งปััจจุุบัันชานอ้้อยเป็็นวััสดุุ เส้้นใยที่่�เกิิดขึ้้น� หลัังจากการบดอ้้อย และโดยส่่วนใหญ่่จะใช้้ผลิิตต่่อเป็็นเชื้้อ� เพลิิง
ศ. นเรนดรา โมฮาน ผู้้�อำำ�นวยการจากสถาบัันแห่่งนี้้�อธิิบายว่่า ปััจจุุบันั โรงกลั่่�นน้ำำ��ตาล ใช้้ ‘เรซิินแลกเปลี่่�ยนไอออน’ (Ion Exchange Resin) เพื่่อ� ขจััดสีีของน้ำำ��ตาลที่่�หลอมละลาย ให้้กลายเป็็นน้ำำ�� ตาลค่่าสีีต่ำำ��ที่่�มีีคุุณภาพสููงกว่่าเดิิม อย่่างไรก็็ตาม การใช้้เรซิินดัังกล่่าวทำำ�ให้้ ต้้นทุุนการผลิิตสููงขึ้้น� นอกเหนืือจากการสร้้างของเสีียในปริิมาณมาก การพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ และการทดลองในห้้องปฏิิบััติิการจึึงมีีจุุดมุ่่�งหมายเพื่่�อประเมิินความเป็็นไปได้้ในการแทนที่่� เรซิินแลกเปลี่่�ยนไอออน ด้้วย ‘ไบโอชาร์์’ ที่่�ผลิิตจากชานอ้้อยแทน การทดลองในระดัับห้้องปฏิิบััติิการสำำ�หรัับการลดสีีของน้ำำ��ตาลละลายนั้้�นได้้ให้้ผลที่่� น่่าพึึงพอใจเพราะมีีการลดสีีได้้ถึึง 30% ถ่่านชีีวภาพดัังกล่่าวที่่�ผลิิตจากชานอ้้อยได้้รัับการ จััดเตรีียมโดยการทำำ�ให้้ชานอ้้อยแห้้ง ก่่อนนำำ�ไปบดและกรองให้้ได้้ขนาดอนุุภาคที่่�ต้้องการ แล้้วเข้้าสู่่�กระบวนการไพโรไลซิิส(Pyrolysis) ภายใต้้สภาวะไร้้อากาศ หรืือการกระตุ้้�น การสลายตััวด้้วยอุุณหภููมิิสููงในที่่�ไม่่มีีอากาศ หลัังจากนั้้�น จึึงมีีการกระตุ้้�นพื้้�นผิิวผ่่านการ www.sugar-asia.com
National Sugar Institute is working on developing various value added products to enhance revenues of sugar factories and ‘Activated Bio-char’ is another such product in the series. At present, sugar refineries use ‘Ion Exchange Resins’ to de-colorize their sugar melt to produce superior quality sugar of low colour value. However, use of such resins escalates cost of production, besides generation of substantial quantity of effluents. The product development and laboratory scale trials were aimed to assess possibilities of replacing ‘Ion Exchange Resins’ with the ‘Activated Bio-char’ produced from bagasse, informed Director, National Sugar Institute, Professor Narendra Mohan. The laboratory scale trial for decolorizing the sugar melt are encouraging with a colour reduction to the extent of 30%.The ‘Activated Bio-char’ from bagasse has been prepared by carrying out drying the bagasse, grinding and screening it to desired particle size, conducting pyrolysis under anaerobic conditions, that is in the absence of air and then activating the surface through acid treatment under controlled conditions. About 10% recovery of ‘Activated Bio-char’ has been obtained from the bagasse. Thus, looking to the price of bagasse as Rs. 2000/- per MT, the cost of production is expected to be lower, said Shalini Kumari, Project Scientist.
33
Research News
นัักวิิทยาศาสตร์์พััฒนาพอลิิเมอร์์จากน้ำำ��ตาล ที่่�นำำ�มารีีไซเคิิลได้้ Scientists Develop Mechanically Recyclable Sugar-based Polymers
นัั
กวิิจััยจากมหาวิิทยาลััยเบอร์์มิิงแฮม สหราชอาณาจัักร และมหาวิิทยาลััยดุ๊๊�ก ประเทศสหรััฐอเมริิกา (University of Birmingham, U.K., and Duke University, U.S) ได้้สร้า้ งกลุ่่�มพอลิิเมอร์์ใหม่่จากแหล่่งทรััพยากรที่่�ยั่่ง� ยืืนซึ่่�งมีีคุณ ุ ภาพ แบบเดีียวกัับพลาสติิกทั่่ว� ไป แต่่ยัังสามารถย่่อยสลายได้้และมีีกลไกที่่�รีไี ซเคิิลได้้ด้ว้ ย
วััสดุุตั้้ง� ต้้นที่่ม� าจากน้ำำ�� ตาล นัักวิิจััยข้้างต้้นได้้ใช้้วััสดุุตั้้�งต้้นที่่�มีีน้ำำ��ตาลเป็็นพื้้�นฐานแทนอนุุพัันธ์์ของปิิโตรเคมีีเพื่่�อ สร้้างพอลิิเมอร์์ใหม่่ 2 ชนิิด โดยแบบหนึ่่�งยืืดหยุ่่�นได้้เหมืือนยาง และอีีกแบบที่่�เหนีียวแต่่ ยืืดหยุ่่�นได้้ เช่่นเดีียวกัับพลาสติิกเชิิงพาณิิชย์์ส่่วนใหญ่่ นัักวิิจััยดัังกล่่าวได้้สร้้างพอลิิเมอร์์ชนิิดใหม่่โดยใช้้ไอโซไดด์์ (Isoidide) และไอโซ แมนไนด์์ (Isomannide) เป็็นส่่วนประกอบ และสารประกอบทั้้�งสองนี้้� ทำำ�มาจากน้ำำ�� ตาล แอลกอฮอล์์และมีีอะตอมแบบวงแหวนที่่�แข็็งแรง พวกเขาพบว่่าพอลิิเมอร์์ที่่�ใช้้ไอโซไดด์์ มีี ความแข็็งและยืืดหยุ่่�นได้้คล้้ายกัับพลาสติิกทั่่�วไป และมีีความทนทานใกล้้เคีียงกัับพลาสติิก วิิศวกรรมเกรดสููง เช่่น ไนลอน-6 ถึึงแม้้ว่่าไอโซอิิไดด์์และไอโซแมนไนด์์จะต่่างกัันเพีียงแค่่ การวางแนวเชิิงพื้้�นที่่� 3 มิิติิของพัันธะสองพัันธะที่่�เรีียกว่่า Stereochemistry อย่่างไรก็็ตาม วััสดุทีุ่่ มี� ไี อโซมัันไนด์์นั้้น� มีีความแข็็งแรงและความเหนีียวเหมืือนกััน แต่่ยัังมีีความยืืดหยุ่่�นสููง โดยจะคืืนรููปแบบเดิิมหลัังจากการเสีียรููป นั่่�นเป็็นที่่�น่่าสัังเกตได้้ว่่าวััสดุเุ หล่่านี้้�ยังั คงคุุณสมบัติั ิ เชิิงกลไกที่่�ยอดเยี่่�ยมหลัังจากมีีการบดเป็็นผงและถููกแปรรููปด้้วยความร้้อน ซึ่่�งเป็็นวิิธีีการ ปกติิสำำ�หรัับการรีีไซเคิิลพลาสติิกด้้วยเครื่่�องจัักร
แบบจำำ�ลองทางคอมพิิวเตอร์์
พอลิิเมอร์์ยัังคงคุุณสมบััติิแบบเดิิมภายหลัังกลไกการรีีไซเคิิล
34
ด้้วยเทคโนโลยีีคอมพิิวเตอร์์ที่่�ล้ำำ��สมัยั ได้้จำำ�ลองวิิธีีที่่�สายโซ่่พอลิิเมอร์์บรรจุุและโต้้ตอบ เพื่่อ� ผลิิตพอลิิเมอร์์ที่่มี� คุี ณสมบั ุ ติั แิ ตกต่่างกััน รููปร่่างแบบ 3 มิิติที่่ิ เ� ป็็นเอกลัักษณ์์ของอนุุพันั ธ์์ น้ำำ��ตาลช่่วยให้้เกิิดการเคลื่่อ� นไหวและปฏิิสัมั พัันธ์์ที่่แ� ตกต่่างกัันของสายโซ่่ยาวของพอลิิเมอร์์นี้้� ทำำ�ให้้เกิิดความแตกต่่างที่่�สัังเกตได้้เกี่่�ยวกัับคุุณสมบััติิทางกายภาพเป็็นอย่่างมาก จากการสร้้างพอลิิเมอร์์แบบร่่วมที่่�มีีทั้้�งหน่่วยไอโซไดด์์และไอโซแมนไนด์์ นัักวิิจััย จากสองสถาบัันข้้างต้้นพบว่่าสามารถควบคุุมคุุณสมบััติิเชิิงกลไกและอััตราการย่่อยสลาย ได้้โดยอิิสระจากกััน ดัังนั้้�น ระบบนี้้�จึึงเปิิดประตููสู่่�การใช้้น้ำำ��ตาลรููปทรงพิิเศษเพื่่�อปรัับแต่่ง ความสามารถในการย่่อยสลายสำำ�หรัับการใช้้งานเฉพาะโดยไม่่เปลี่่�ยนแปลงคุุณสมบััติิของ วััสดุุอย่่างมีีนััยสำำ�คััญ ความคล้้ายคลึึงกัันทางเคมีีของพอลิิเมอร์์มีีความหมายว่่า พลาสติิกเหล่่านี้้�สามารถ ผสมกัันได้้เพื่่�อสร้้างวััสดุุที่่�มีีคุุณสมบััติิเทีียบเท่่าหรืือวััสดุุที่่�ได้้รัับการปรัับปรุุงให้้ดีียิ่่�งขึ้้�น ซึ่่�ง แตกต่่างจากพลาสติิกสำำ�หรัับสิินค้้าโภคภััณฑ์์ทั่่�วไปในปััจจุุบััน www.sugar-asia.com
Research News จุุดเด่่น: รีีไซเคิิลได้้ ดร. จอช วอร์์ช จากคณะเคมีีแห่่งมหาวิิทยาลััยเบอร์์มิงิ แฮมและผู้้�เขีียนร่่วมงานวิิจัยั นี้้� กล่่าวว่่า ความสามารถในการผสมผสานพอลิิเมอร์์เหล่่านี้้�เข้้าด้้วยกัันเพื่่อ� สร้้างวััสดุทีุ่่ มี� ปี ระโยชน์์ และมีีข้้อได้้เปรีียบในการรีีไซเคิิล มัักจะต้้องดำำ�เนิินการกัับการผสานส่่วนผสมให้้เข้้ากััน ดร.คอนเนอร์์ สตัับส์์ จากคณะเคมีีแห่่งมหาวิิทยาลััยเบอร์์มิิงแฮม กล่่าวเสริิมว่่า พลาสติิกจากน้ำำ�มั � ันมีีการวิิจััยมาหลายทศวรรษแล้้ว ดัังนั้้�นการไล่่ตามงานวิิจััยให้้ทัันจึึงเป็็น ความท้้าทายครั้้�งใหญ่่ เราสามารถมองไปที่่�โครงสร้้างและรููปทรงที่่�เป็็นเอกลัักษณ์์ที่่�ต้้องนำำ� เสนอเชิิงชีีววิิทยาเพื่่อ� สร้้างพลาสติิกที่่ดี� ขึ้้ี น� ด้้วยคุุณสมบัติั ที่่ิ กว้ � า้ งขวางเช่่นเดีียวกัับที่่�พลาสติิก เชิิงพาณิิชย์์ในปััจจุุบัันสามารถทำำ�ได้้ ดร.แมทธิิว เบกเกอร์์ ศาสตราจารย์์แห่่งมหาวิิทยาลััยดุ๊๊�ก กล่่าวว่่า ผลการวิิจััยแสดง ให้้เห็็นจริิงๆ ว่่า Stereochemistry สามารถใช้้เป็็นหลัักในการออกแบบวััสดุุที่่�ยั่่�งยืืนด้้วย คุุณสมบััติิเชิิงกลไกที่่�ไม่่เคยมีีมาก่่อนโดยแท้้ ศาสตราจารย์์แอนดรููว์์ โดฟ หััวหน้้าทีีมวิิจััยจากมหาวิิทยาลััยเบอร์์มิิงแฮม กล่่าวว่่า การศึึกษานี้้�แสดงให้้เห็็นชััดเจนว่่าพลาสติิกที่่ยั่่� ง� ยืืนสามารถทำำ�อะไรได้้บ้า้ ง ในขณะที่่�นักวิ ั จัิ ยั กลุ่่�มนี้้�จำำ�เป็็นต้้องทำำ�งานมากขึ้้�นเพื่่อ� ลดต้้นทุุนและศึึกษาผลกระทบต่่อสิ่่�งแวดล้้อมที่่�อาจเกิิด ขึ้้น� ของวััสดุเุ หล่่านี้้�ในระยะยาว แต่่ก็็เป็็นไปได้้ที่่วั� สดุ ั ดัุ งั กล่่าวจะสามารถแทนที่่�พลาสติิกที่่ผ� ลิิต จากปิิโตรเคมีีซึ่่�งย่่อยสลายได้้ไม่่ง่่ายนััก อย่่างไรก็็ตาม มีีการยื่่น� คำำ�ขอรัับสิิทธิิบัตั รร่่วมกัันโดยทั้้�งสองมหาวิิทยาลััยข้้างต้้น และ ขณะนี้้�นัักวิิจััยกำำ�ลัังมองหาพัันธมิิตรทางอุุตสาหกรรมที่่�มีีความสนใจในการออกใบอนุุญาต ทางเทคโนโลยีี.
R
esearchers from the University of Birmingham, U.K., and Duke University, U.S., have created a new family of polymers from sustainable sources that retain all of the same qualities as common plastics, but are also degradable and mechanically recyclable.
Sugar-based Starting Materials The scientists used sugar-based starting materials rather than petrochemical derivatives to make two new polymers, one which is stretchable like rubber and another which is tough but ductile, like most commercial plastics. The researchers made the new polymers using isoidide and isomannide as building blocks. Both these compounds are made from sugar alcohols and feature a rigid ring of atoms. The researchers found that the isoidide-based polymer, showed a stiffness and malleability similar to common plastics, and a strength that is similar to high grade engineering plastics such as Nylon-6. Despite isoidide and isomannide only differing by the 3D spatial orientation of two bonds, known as stereochemistry, the isomannide-based material had similar strength and toughness but also showed high elasticity, recovering its shape after deformation. Notably, the materials retained their excellent mechanical properties following pulverization and thermal processing, which is the usual method for mechanically recycling plastics.
Computational Modelling Simulation Cutting edge computational modelling simulated how the polymer chains pack and interact to produce such different polymer properties. The unique 3D shapes of the sugar derivatives facilitate different movements and interaction of the long chains causing the huge difference in physical properties that was observed. By creating copolymers that contain both isoidide and isomannide units, the researchers found that they could control the mechanical properties and degradation rates independently of one another. Hence, this system opens the door to using the unique shapes of sugars to independently tune the degradability for a specific use without significantly altering the properties of the material. The chemical similarity of the polymers means that, unlike a lot of current commodity plastics, they can be blended to yield materials with comparable or improved properties.
Added Advantage: Recyclability
Preparation of Isohexide-Containing Polyurethanes from Step-Growth Polymerizationa
www.sugar-asia.com
Dr. Josh Worch, from Birmingham’s School of Chemistry, and a co-author in the research said: “The ability to blend these polymers together to create useful materials, offers a distinct advantage in recycling, which often has to deal with mixed feeds”. Dr. Connor Stubbs, also from Birmingham’s School of Chemistry, added: “Petrol based plastics have had decades of research, so catching up with them is a huge challenge. We can look to the unique structures and shapes that biology have to offer to create far better plastics with the same expanse of properties that current commercial plastics can offer” Duke University professor Dr. Matthew Becker said: “Our findings really demonstrate how stereochemistry can used as a central theme to design sustainable materials with what truly are unprecedented mechanical properties.” Professor Andrew Dove, who led the research team from Birmingham, noted: “This study really shows what is possible with sustainable plastics. While we need to do more work to reduce costs and study the potential environmental impact of these materials, in the long term it is possible that these sorts of materials could replace petrochemically-sourced plastics that don’t readily degrade in the environment.” A joint patent application has been filed by University of Birmingham Enterprise and Duke University. The researchers are now looking for industrial partners who are interested in licensing the technology.
35
Advertisers’s Index
Advertisers’ Index
SUGAR ASIA MAGAZINE BRINGS YOUR PRODUCT CLOSER TO THE ASIA SUGAR INDUSTRY!
DuPont Water Solutions www.dupontwatersolutions.com
Clariant (Thailand) Ltd. www.clariant.com
ADVERTISING CONTACTS
ENEOS (Thailand) Ltd. www.eneos.co.jp
thai@fireworksbi.com | (+66)2 513 1418
www.sugar-asia.com
FIC s.p.a www.fic.com
Event calendars 2022 8 - 9 SEPTEMBER 2022 SUGAREX THAILAND 2022 @ KICE, KHONKOEN, THAILAND
PFERD (Thailand) Co., Ltd.
www.thaisugarexpo.com
www.pferd.com
8 - 9 SEPTEMBER 2022 Spareparts 24 CO., LTD. www.forlangaplus.com
THAILAND SUGAR CONFERENCE 2022 @ KICE, KHONKOEN, THAILAND www.sugar-conference.com
23 - 24 NOVEMBER 2022 SUGAREX INDONESIA 2022 @ DCC SURABAYA, INDONESIA
Sugar Conference 2022
www.sugarindo.com
www.sugar-conference.com
8 - 9 SEPTEMBER 2022 Sugarex Thailand 2022 www.thaisugarexpo.com
AGRI EXPO THAILAND 2022 @ KICE, KHONKOEN, THAILAND www.agriculturethai.com
25 - 27 MAY 2022 VIPTEL CO., LTD. www.viptel.asia
36
AGRITECHNICA ASIA 2022 @ BITEC, BANGKOK, THAILAND www.agritechnica-asia.com
www.sugar-asia.com