นวัตกรรมที่นำมา แก้ปัญหาที่พบ

Page 1


คำ�แนะนำ�การใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเล่มที่ 4 ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง นวัตกรรมที่นำ�มา...แก้ปัญหาที่พบ ประกอบไปด้วย คำ�นำ� สารบัญ คำ�แนะนำ�การใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง แบบทดสอบ ก่อนเรียน ชื่อเรื่อง แนวคิด วัตถุประสงค์ หัวข้อเนื้อหากิจกรรมการอบรม สื่อการอบรม แบบทดสอบหลังเรียน และแบบเฉลยคำ�ตอบ ขอให้ท่านดำ�เนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. พยายามศึกษาโครงสร้างของชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง อย่างตั้งใจ และทำ� กิจกรรม ตามที่กำ�หนดไว้ทุกกิจกรรมอย่างต่อเนื่องกันจนจบในแต่ละชุด 2. ศึกษารายเอียดของเนื้อหาในแต่ชุด ผู้ศึกษาจะต้องทำ�แบบทดสอบก่อนเรียนเสียก่อน แล้วจึงศึกษารายละเอียดเนื้อหาของชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง และทำ�กิจกรรมฝึกปฏิบัติ ของแต่ละเรื่องตามลำ�ดับจนครบสมบูรณ์ 3. ทำ�แบบทดสอบหลังเรียนแล้วตรวจคำ�ตอบกับแบบเฉลย

1


เล่มที่ 4 แบบประเมินตนเอง....ก่อนเรียน นวัตกรรมที่นำ�มา...แก้ปัญหาที่พบ คำ�ชี้แจง: โปรดทำ�เครื่องหมาย x ทับตัวเลือกที่ถูกที่สุดเพียงตัวเลือกเดียวตอบลงใน กระดาษคำ�ตอบ 1. นวัตกรรมทางการศึกษาหมายถึงอะไร ก. สิ่งประดิษฐ์แปลกใหม่ที่ลงทุนด้วยราคาสูง ข. เทคนิควิธีการแก้ปัญหาทางการศึกษาทั่วไปที่ใช้ได้ผลดีเสมอมา ค. รูปแบบและกระบวนการสอนที่นำ�มาใช้แก้ปัญหาเฉพาะเรื่องได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ง. สิ่งประดิษฐ์และรูปแบบวิธีสอนที่นำ�มาใช้จัดการเรียนการสอนได้อย่าง สะดวกและประหยัด 2. นวัตกรรมทางการศึกษาควรมีการทดลองก่อนนำ�ไปใช้หรือไม่เพราะเหตุใด ก. ควร เพราะต้องการหาคุณภาพหรือประสิทธิภาพของนวัตกรรม ข. ควร เพราะต้องการนำ�มาปรับแก้ไขเพื่อใช้ในสถานที่อื่น ค. ไม่ควร เพราะมีขั้นตอนของการดำ�เนินการจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแล้ว ง. ไม่ควร เพราะจะทำ�ให้เสียงบประมาณระยะเวลาในการดำ�เนินงาน 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่แนวปฏิบัติในการสร้างต้นแบบนวัตกรรมทางการศึกษา ก. ใช้เทคนิคที่รู้จักกันแพร่หลายและเคยใช้ได้ผลมาแล้วแน่นอน ข. ใช้วิธีการที่ประหยัดเวลา แรงงาน หรือทรัพยากรในการจัดการเรียน การสอน ค. ใช้เทคนิคในการลดเวลาเรียนให้น้อยลงแต่ได้ประสิทธิภาพในการเรียน รู้เท่าเดิม ง. ใช้เทคนิควิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีกว่าเดิมเมื่อใช้เวลา เท่ากัน 2


4. นวัตกรรมทางการศึกษาควรจัดทำ�อย่างไร ก. จัดทำ�โดยทุ่มงบประมาณให้มากเพื่อมุ่งคุณภาพของนวัตกรรมนั้น ข. จัดทำ�อย่างรอบคอบโดยวางแผนจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องที่ทำ�นั้น ค. จัดทำ�แล้วเผยแพร่ให้กว้างขวางเพื่อเป็นประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่มาก ที่สุด ง. จัดทำ�อย่างเป็นระบบทั้งด้านการเตรียมการ การดำ�เนินการและการ ประเมินผล 5. เหตุใดจึงต้องหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมทางการศึกษาก่อนนำ�ไปทดลองใช้กับกลุ่มเป้า หมาย ก. เพื่อให้สามารถระบุเกณฑ์มาตรฐานของนวัตกรรมนั้นได้ ข. เพื่อยืนยันความถูกต้องของขั้นตอนการสร้างว่าเป็นไปตามลำ�ดับ ค. เพื่อความน่าเชื่อถือของนวัตกรรมนั้นเมื่อนำ�ไปเผยแพร่หรือจำ�หน่าย ง. เพื่อยืนยันความมั่นใจว่านวัตกรรมนั้นมีคุณภาพสามารถพัฒนาผู้เรียน ได้จริง 6. ข้อใดเป็นข้อจำ�กัดของการใช้บทเรียนสำ�เร็จรูปในการจัดการเรียนการสอน ก. ครูสามารถช่วยให้เด็กอ่อนเรียนรู้เท่าเด็กเก่งได้โดยให้เวลาเขามากขึ้น ข. ผู้เรียนแต่ละคนเรียนรู้ตามความสามารถของตนเองโดยใช้เวลาไม่เท่า กัน ค. ครูไม่สามารถยืนสอนหน้าชั้นเรียนได้เพราะครูเป็นเพียงผู้ให้คำ�ปรึกษา แก่ผู้เรียน ง. ถ้าใช้จัดการเรียนเป็นส่วนใหญ่ผู้เรียนอาจเบื่อหน่ายเพราะไม่มี ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น

3


7. ข้อใดไม่ใช่ข้อดีของการใช้ชุดการเรียนการสอน ก. สามารถจัดการเรียนการสอนได้ทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ข. ใช้ต้นทุนสูงในการผลิต ทดลอง และพัฒนาให้มีประสิทธิภาพก่อนนำ� มาใช้ ค. ช่วยขจัดปัญหาการขาดแคลนครูเพราะผู้เรียนสามารถเรียนด้วยตนเอง ได้ ง. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้โดยไม่จำ�กัดเวลา สถานที่ หรือระดับความรู้ 8. การทดลองใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนควรใช้รูปแบบใด ก. แบบที่แสดงการพยากรณ์ตัวแปร ข. แบบที่หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ค. แบบที่เปรียบเทียบความแตกต่างของตัวแปร ง. แบบที่ศึกษาความเป็นเหตุและเป็นผลของตัวแปร 9. ข้อใดไม่ใช่ข้อดีของการใช้ชุดการเรียนการสอน ก. สามารถจัดการเรียนการสอนได้ทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ข. ใช้ต้นทุนสูงในการผลิต ทดลอง และพัฒนาให้มีประสิทธิภาพก่อนนำ�มาใช้ ค. ช่วยขจัดปัญหาการขาดแคลนครูเพราะผู้เรียนสามารถเรียนด้วยตนเองได้ ง. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้โดยไม่จำ�กัดเวลา สถานที่ หรือระดับความรู้

4


10. เกณฑ์ประสิทธิภาพที่ตั้งไว้ 80 / 80 ผลการทดลองใช้นวัตกรรมคำ�นวณได้ 80.25 / 85.50 แสดงว่านวัตกรรมที่นำ�มาทดลองใช้เป็นอย่างไร ก. ประสิทธิภาพของนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้แสดงว่านวัตกรรมนี้มี ประสิทธิภาพ สามารถนำ�ไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง ข. ประสิทธิภาพของนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้แสดงว่านวัตกรรมนี้มี ประสิทธิภาพ ไม่สามารถนำ�ไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง ค. ประสิทธิภาพของนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้แสดงว่านวัตกรรมนี้มีไม่มี ประสิทธิภาพ สามารถนำ�ไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง ง. ประสิทธิภาพของนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้แสดงว่านวัตกรรมนี้มีไม่มี ประสิทธิภาพ ไม่สามารถนำ�ไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง

5


โครงสร้างชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เล่มที่ 4 นวัตกรรมที่นำ�มา...แก้ปัญหาที่พบ แนวคิด 1. นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง การนำ�เอาสิ่งใหม่ ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของ ความคิด หรือการกระทำ� รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์เข้ามาใช้ในกระบวนการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่ จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น นวัตกรรมที่ใช้ในการวิจัยในชั้นเรียนมี ลักษณะเป็นสื่อการเรียนการสอน เทคนิควิธี กิจกรรม หรือสิ่งอื่นใดที่ผู้สอนนำ�มาใช้ในการ จัดการเรียนการสอนหรือจัดประสบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมอาจเป็นสิ่งที่สอน สอนคิดขึ้นใหม่หรืออาจเป็นสิ่งที่มีผู้อื่นคิดค้นขึ้น หรือมีการใช้ทั่วไปในที่แห่งหนึ่งแล้วนำ�มา ปรับปรุง และใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลในที่อีกแห่งหนึ่ง 2. นวัตกรรมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ นวัตกรรมทางการศึกษาด้านสื่อการ สอน และนวัตกรรมการศึกษาด้านเทคนิคการสอน ,นวัตกรรมมีประโยชน์ คือ นักเรียนเรียน รู้ได้รวดเร็ว , เข้าในบทเรียนเป็นรูปธรรม, บรรยากาศการเรียนสนุกสนาน ,บทเรียนน่าสนใจ ,ลดเวลาในการสอน,ประหยัดค่าใช้จ่าย 3. กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา มีดังนี้ กำ�หนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กำ�หนดกรอบแนวคิดกระบวนการเรียนรู้ สร้างต้นแบบนวัตกรรม ทดลองใช้นวัตกรรม 4. การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมทางการศึกษา กำ�หนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ โดย การประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง(กระบวนการ) E1 กับพฤติกรรมขั้นสุดท้าย(ผลลัพธ์) E2 , การกำ�หนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2

6


วัตถุประสงค์

เมื่อศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เล่มที่ 4 จบแล้วท่านสามารถ 1. อธิยายความหมาย ของนวัตกรรมทางการศึกษาได้ 2. ระบุประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษาได้ 3. อธิบายขั้นตอนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาได้ 4. อธิบายการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมทางการศึกษาได้

หัวข้อเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความหมายและลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา เรื่องที่ 2 ประเภทและประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา เรื่องที่ 3 กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา เรื่องที่ 4 การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมทางการศึกษา

กิจกรรมการอบรม

ให้ครูผู้สอนศึกษารายละเอียดของหัวข้อเนื้อหาของชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เล่มที่ 4 จนครบสมบูรณ์แล้วทำ�กิจกรรมทบทวนความรู้ความเข้าใจเนื้อหา ของชุดฝึกอบรมที่กำ�หนดให้ตามลำ�ดับ

สื่อการอบรม

1. ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เล่มที่ 4 เรื่อง นวัตกรรมที่นำ�มา...แก้ปัญหาที่พบ 2. เอกสารแนวทางการจัดทำ�วิจัยในชั้นเรียน

7


การประเมินผล

ประเมินผลจากการทำ�แบบทดสอบก่อนและหลังการศึกษาชุดฝึก อบรมด้วยตนเอง เล่มที่ 4

เรื่องที่ 1 ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546 :565-566) ให้ความหมายว่า นวัตกรรมเป็นสิ่งที่ทำ�ขึ้นใหม่หรือแปลกจากเดิม ซึ่งอาจจะเป็นความคิด วิธีการ หรืออุปกรณ์ บุญเกื้อ ควรหาเวช, (2543 : 14-17) ให้ความหมายของนวัตกรรม ดังนี้ 1. ความคิด หรือการกระทำ�หรือสิ่งใหม่นั้น อาจจะเก่ามาจากที่อื่น แต่ใน สถานการณ์ ปัจจุบันนี้ เป็นการเหมาะสมที่จะเอามาใช้กับการเรียนการสอนของเรา เช่น การ สอนเป็นทีมและการสอนจากเครื่องช่วยสอน ฯลฯ 2. ความคิดหรือการกระทำ�หรือสิ่งใหม่นั้นครั้งหนึ่งเคยนำ�มาใช้แล้วแต่ไม่เกิดผลอาจ เพราะ สิ่งแวดล้อมไม่อำ�นวย พอมาถึงเวลานี้เมื่อระบบต่าง ๆ พร้อม จึงนำ�ความคิดนั้น มา ใช้ได้ เรียกว่า นวัตกรรมหรือของใหม่ เช่น เมื่อระบบการสื่อสารมวลชนโดยเฉพาะวิทยุและ โทรทัศน์เพื่อการศึกษาดีแล้ว การศึกษาเพื่อมวลชนจึงทำ�ได้ เป็นต้น 3. ความคิดหรือการกระทำ�หรือสิ่งใหม่นั้น เพราะมีสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาพร้อม ๆ กัน ความคิดที่จะทำ�การกระทำ�อะไรบ้างอย่างพอดี และมองเห็นการใช้สิ่งเหล่านั้น หรือวิธีการนั้น สามารถจะช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษา หรือทำ�ให้การดำ�เนินการทางการศึกษาไปสู่เป้าหมายที่ ต้องการได้อย่างดี ก็จะเป็นนวัตกรรมทางการศึกษา 4. ความคิดหรือการกระทำ�หรือสิ่งใหม่ ๆ นั้น ผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้องไม่เห็นด้วย เมื่อผู้บริหารเปลี่ยนเจตคติ ในทางสนับสนุน

8


นอกจากนี้ ยังสามารถใช้เกณฑ์อื่น ๆ พิจารณาว่าสิ่งนั้นเป็นนวัตกรรม หรือไม่ คือ 1. จะต้องเป็นสิ่งใหม่ทั้งหมดหรือบางส่วน 2. มีการนำ�วิธีการจัดระบบมาใช้พิจารณาองค์ ประกอบส่วนข้อมูลที่ใช้เข้าไปในกระบวนการและผลลัพธ์ให้เหมาะสมก่อนการ เปลี่ยนแปลง 3. มีการพิสูจน์ด้วยการวิจัยหรืออยู่ระหว่างการ วิจัยว่าจะช่วยให้ดำ�เนินงานบางอย่างให้มีประสิทธิภาพสูง

ลักษณะของนวัตกรรมที่ดี

สำ�นักงานสภาสถาบันราชภัฏ (2544 : 36-37) ได้ สรุปลักษณะของนวัตกรรมที่ เหมาะสม ไว้ดังนี้ 1. สามารถนำ�มาแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอนได้ตรงตามประเด็นหรือจุดพัฒนาที่ครู ผู้สอนกำ�หนดไว้ 2. ใช้ง่าย ผู้ใช้ไม่จำ�เป็นต้องพัฒนาทักษะหรือความรู้ใหม่เพื่อที่จะใช้นวัตกรรม 3. ประหยัด ราคาไม่แพง ดูแลรักษาง่าย 4. ไม่ขัดกับสภาพสังคม ค่านิยม ประเพณี วัฒนธรรมที่เป็นอยู่ในขณะนั้น 5. ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียนในทางบวก ในขณะเดียวกันสามารถแบ่ง เบาภาระของผู้สอนได้และทำ�ให้เกิดพัฒนาการในตัวผู้เรียน 6. สามารถทดลองหรือทดสอบได้โดยไม่ยุ่งยาก ไม่ซับซ้อน และไม่ใช้เวลามากนัก 7. คาดว่าน่าจะพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน มากกว่าวิธีการหรือสื่อที่ครูใช้อยู่เดิม

9


ข้อควรพิจาณาก่อนการตัดสินใจ นำ�นวัตกรรมใด ๆ มาใช้ควร คำ�นึงถึงสิ่งต่อไปนี้

-พิจารณาลักษณะผลที่จะได้รับและวิธีใช้นวัตกรรมนั้น -สามารถจัดการในนวัตกรรมนั้น ๆ ได้ทั้งกระบวนการ เวลา และบุคคล -ผลของการใช้นวัตกรรมนั้นต้องมีประโยชน์คุ้มค่า -ผู้เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือในการใช้นวัตกรรม -หน่วยงานให้การสนับสนุนและไม่ขัดแย้งกับโครงสร้างการปฏิบัติงาน -สำ�รวจความเป็นไปได้หรือมีการเปรียบเทียบกับนวัตกรรมอื่นก่อนนำ�ไปใช้

10


กิจกรรมที่ 1 ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้ ข้อที่ 1. จงบอกความหมายของนวัตกรรม ....................................................................................................................... ....................................................................................................................... ....................................................................................................................... ข้อที่ 2 จงบอกเกณฑ์การพิจารณานวัตกรรม ....................................................................................................................... ....................................................................................................................... ....................................................................................................................... ข้อที่ 3 ลักษณะของนวัตกรรมที่ดีเป็นอย่างไร ....................................................................................................................... ..................................................................................................................... ......................................................................................................................

11


เฉลย กิจกรรมที่ 1 ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา ข้อ 1. แนวการตอบหน้าที่ 8 ข้อ 2. แนวการตอบหน้าที่ 9 ข้อ 3. แนวการตอบหน้าที่ 9-10

12


เรื่องที่ 2 ประเภทและประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา 2.1 ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษามีหลายประเภท ในที่นี้ ขอกล่าวถึง 2 ประเภท ดังนี้ ประเภทที่ 1 นวัตกรรมด้านสื่อการสอน ประเภทที่ 2 นวัตกรรมด้านเทคนิคการสอน เรื่องที่ 2 ประเภทและประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา ประเภทที่ 1 นวัตกรรมทางการศึกษาด้านสื่อการสอน แบ่งออกเป็น - สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น เอกสารการสอน ชุดการสอน ชุดการเรียน ฯลฯ - สื่อโสตทัศนูปกรณ์ เช่น ภาพยนตร์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เทปเสียง ฯลฯ ประเภทที่ 2 นวัตกรรมทางการศึกษาด้านเทคนิคการสอน (สำ�หรับครูในยุคปฏิรูปการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2552 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มีดังนี้ - การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ - ทักษะการคิด - การเรียนแบบร่วมมือ - การใช้ผังกราฟิก - การเรียนตามแนวคอนสตัคติวิซึม - การเรียนตามแนวคอนสตัคตินิซึม - การบริหารกายสู่การบริหารสมอง - หมวกเพื่อการคิด 6 ใบ - พหุปัญญา - พอร์ตโพลิโอ - การสอนด้วยวิธีสตอรีไลน์ - โครงการ - การเรียนรู้แบบรวมพลัง - การเขียนอนุทิน

13


จากข้อมูลดังกล่าวสามารถเขียนแผนภาพประเภทของนวัตกรรม ได้ดังนี้ ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา

สื่อการสอน

สื่อสิ่งพิมพ์ - เอกสารประกอบการ สอน - บทเรียนสำ�เร็จรูป - ชุดการสอน/ชุดการ เรียน - รายงานการศึกษา ค้นคว้า - รายงานโครงการ - ฯลฯ

เทคนิควิธีการสอน

- การสอนแบบศูนย์การเรียน - การสอนด้วยการแสดง สื่อโสต บทบาทสมมติ - ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ - การสอนเพื่อเสริมสร้าง - สไลด์ แผ่นใส - คอมพิวเตอร์ช่วย ลักษณะนิสัย - การสอนโดยใช้เทคนิคการ สอน สอนซ่อมเสริม - เทปเพลง เทปเสียง - การสอนแบบโครงการ - หุ่นจำ�ลอง - การสอนแบบแก้ปัญหา - ฯลฯ - การเรียนการสอนที่เน้นผู้ เรียนเป็นสำ�คัญ - ทักษะการคิด - การเรียนแบบร่วมมือ - การใช้ผังกราฟิก ฯลฯ

แผนภาพที่ 1 ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา 14


2.2 ประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา การนำ�นวัตกรรมทางการศึกษาไปใช้จัดการเรียนการสอนนอกจากจะส่งผลให้นักเรียนได้ พัฒนาการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ของรายวิชาแล้ว ยังมีประโยชน์ดังต่อไปนี้ ประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา นักเรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น ลดเวลาในการสอน นักเรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม บรรยากาศการเรียนสนุกสนาน บทเรียนน่าสนใจ ประหยัดค่าใช้จ่าย แผนภาพที่ 2 ประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา 15


กิจกรรมที่ 2 ประเภทและประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา คำ�ชี้แจง : จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้ กิจกรรมที่ 2 ประเภทและประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา ข้อที่ 1 นวัตกรรมแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง (4 คะแนน) ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ข้อที่ 2 จงยกตัวอย่างนวัตกรรมทางการศึกษาต่อไปนี้ (6 คะแนน) 2.1 นวัตกรรมทางการศึกษาด้านสื่อการสอน .......................................................................................................................... ........................................................................................................................... ......................................................................................................................... 2.2 นวัตกรรมทางการศึกษาด้านเทคนิคการสอน ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ...........................................................................................................................

16


เฉลย กิจกรรมที่ 2 ประเภทและประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา ข้อ1 . แนวการตอบหน้าที่ 13 ข้อ 2 แนวการตอบหน้าที่ 14 ข้อ 3 แนวการตอบหน้าที่ 14

เมื่อท่านทำ�กิจกรรมที่ 2 แล้วลองทำ�กิจกรรมหน้าต่อไป ...ดูนะคะ

17


กิจกรรมลองทำ�ดู คำ�ชี้แจง : ให้ผู้เข้ารับการอบรมกำ�หนดนวัตกรรมที่จะพัฒนาขึ้นใช้ในการ แก้ปัญหาดังนี้ ปัญหา คือ ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... สภาพปัญหา ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... เลือกสาเหตุของปัญหาเพื่อนำ�มาใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนา คือ ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... แนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนา ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... นวัตกรรมที่จะใช้ ได้แก่ ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... 18


เรื่องที่ 3 กระบวนการสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา 3.1 กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา สม3.1 กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา สมบัติ กาญจนารักพงค์ (2548 : 27-30) ได้กล่าวถึงการคิดนวัตกรรมว่าต้องคิดให้แก้ปัญหาหรือ พัฒนาผู้เรียนถ้าสามารถสร้างความสนใจได้ด้วยยิ่งดีโดยเสนอแนวทางวิธีคิดนวัตกรรมให้ครู ดังนี้ ควรคิดคิดนวัตกรรมที่แปลกหรือแตกต่างจากคนอื่นที่สอนในระดับเดียวกัน เพื่อสร้างความ สนใจให้ผู้เรียนมากขึ้น ควรคิดนวัตกรรมที่ยังไม่เคยสอน โดยเฉพาะครูที่ใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย ควรเปลี่ยนใช้วิธีการสอนแบบอื่น หรือใช้สื่อประกอบการสอนบ้าง ควรคิดนวัตกรรมที่สอดคล้องกับปัญหาและความสามารถในการสร้างหรือ พัฒนานวัตกรรมของครู ( เน้นที่นวัตกรรมนั้นต้องสอดคล้องกับปัญหาของผู้เรียน) ปัญหาผู้เรียนแตกต่างกันครูจึงควรคิดนวัตกรรมที่ใช้พัฒนาผู้เรียนแตกต่างกัน ปัญหาเดียวกันที่เคยใช้นวัตกรรมได้ผลมาแล้ว ควรลองคิดนวัตกรรมใหม่ขึ้นมา อีกเพื่อเปรียบเทียบ ให้มีความหลากหลายและอาจได้ผลดีกว่าเดิม นวัตกรรมที่คิดขึ้นมาใหม่ควรเป็นนวัตกรรมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่รู้ มีส่วนร่วม ในการแสวงหาความรู้ระหว่างผู้เรียนกับครู หรือมีแนวทางหาความรู้เพิ่มเติมได้ เมื่อคิดนวัตกรรมเดี่ยว ๆ ได้แล้ว ควรนำ�นวัตกรรมแต่ละชนิดมาผสมผสาน บูรณาการเพื่อให้ได้นวัตกรรมที่แตกต่างจากเดิม ควรคิดนวัตกรรมที่ทำ�ให้ผู้เรียนภูมิใจและมีความรักท้องถิ่น ชุมชนของตนเอง โดยใช้เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น ปรับเนื้อหาเกี่ยวข้องกับบุคคลที่เคยสร้างชื่อเสียง หรือสถานที่ สำ�คัญของท้องถิ่นเป็นตน 3.1 กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา

19


สมบัติ กาญจนารักพงค์ (2548 : 27-30) ได้กล่าวถึงการคิดนวัตกรรมว่าต้องคิดให้แก้ปัญหาหรือ พัฒนาผู้เรียนถ้าสามารถสร้างความสนใจได้ด้วยยิ่งดีโดยเสนอแนวทางวิธีคิดนวัตกรรมให้ครู ดังนี้ ควรคิดคิดนวัตกรรมที่แปลกหรือแตกต่างจากคนอื่นที่สอนในระดับเดียวกัน เพื่อ สร้างความสนใจให้ผู้เรียนมากขึ้น ควรคิดนวัตกรรมที่ยังไม่เคยสอน โดยเฉพาะครูที่ใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย ควรเปลี่ยนใช้วิธีการสอนแบบอื่น หรือใช้สื่อประกอบการสอนบ้าง ควรคิดนวัตกรรมที่สอดคล้องกับปัญหาและความสามารถในการสร้างหรือ พัฒนานวัตกรรมของครู ( เน้นที่นวัตกรรมนั้นต้องสอดคล้องกับปัญหาของผู้เรียน) ปัญหาผู้เรียนแตกต่างกันครูจึงควรคิดนวัตกรรมที่ใช้พัฒนาผู้เรียนแตกต่างกัน ปัญหาเดียวกันที่เคยใช้นวัตกรรมได้ผลมาแล้ว ควรลองคิดนวัตกรรมใหม่ขึ้นมา อีกเพื่อเปรียบเทียบ ให้มีความหลากหลายและอาจได้ผลดีกว่าเดิม นวัตกรรมที่คิดขึ้นมาใหม่ควรเป็นนวัตกรรมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่รู้ มีส่วนร่วม ในการแสวงหาความรู้ระหว่างผู้เรียนกับครู หรือมีแนวทางหาความรู้เพิ่มเติมได้ เมื่อคิดนวัตกรรมเดี่ยว ๆ ได้แล้ว ควรนำ�นวัตกรรมแต่ละชนิดมาผสมผสาน บูรณาการเพื่อให้ได้นวัตกรรมที่แตกต่างจากเดิม ควรคิดนวัตกรรมที่ทำ�ให้ผู้เรียนภูมิใจและมีความรักท้องถิ่น ชุมชนของตนเอง โดยใช้เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น ปรับเนื้อหาเกี่ยวข้องกับบุคคลที่เคยสร้างชื่อเสียง หรือสถานที่ สำ�คัญของท้องถิ่นเป็นตน 3.1 กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา สมบัติ กาญจนารักพงค์ (2548 : 27-30) ได้กล่าวถึงการคิดนวัตกรรมว่าต้องคิดให้แก้ปัญหาหรือ พัฒนาผู้เรียนถ้าสามารถสร้างความสนใจได้ด้วยยิ่งดีโดยเสนอแนวทางวิธีคิดนวัตกรรมให้ครู ดังนี้ ควรคิดคิดนวัตกรรมที่แปลกหรือแตกต่างจากคนอื่นที่สอนในระดับเดียวกัน เพื่อ สร้างความสนใจให้ผู้เรียนมากขึ้น

20


ควรคิดนวัตกรรมที่ยังไม่เคยสอน โดยเฉพาะครูที่ใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย ควรเปลี่ยนใช้วิธีการสอนแบบอื่น หรือใช้สื่อประกอบการสอนบ้าง ควรคิดนวัตกรรมที่สอดคล้องกับปัญหาและความสามารถในการสร้างหรือ พัฒนานวัตกรรมของครู (เน้นที่นวัตกรรมนั้นต้องสอดคล้องกับปัญหาของผู้เรียน) ปัญหาผู้เรียนแตกต่างกันครูจึงควรคิดนวัตกรรมที่ใช้พัฒนาผู้เรียนแตกต่างกัน ปัญหาเดียวกันที่เคยใช้นวัตกรรมได้ผลมาแล้ว ควรลองคิดนวัตกรรมใหม่ขึ้นมา อีกเพื่อเปรียบเทียบ ให้มีความหลากหลายและอาจได้ผลดีกว่าเดิม นวัตกรรมที่คิดขึ้นมาใหม่ควรเป็นนวัตกรรมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่รู้ มีส่วนร่วม ในการแสวงหาความรู้ระหว่างผู้เรียนกับครู หรือมีแนวทางหาความรู้เพิ่มเติมได้ เมื่อคิดนวัตกรรมเดี่ยว ๆ ได้แล้ว ควรนำ�นวัตกรรมแต่ละชนิดมาผสมผสาน บูรณาการเพื่อให้ได้นวัตกรรมที่แตกต่างจากเดิม ควรคิดนวัตกรรมที่ทำ�ให้ผู้เรียนภูมิใจและมีความรักท้องถิ่น ชุมชนของตนเอง โดยใช้เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น ปรับเนื้อหาเกี่ยวข้องกับบุคคลที่เคยสร้างชื่อเสียง หรือสถานที่ สำ�คัญของท้องถิ่นเป็นตน 3.1 กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา สมบัติ กาญจนารักพงค์ (2548 : 27-30) ได้กล่าวถึงการคิดนวัตกรรมว่าต้องคิดให้แก้ปัญหาหรือ พัฒนาผู้เรียนถ้าสามารถสร้างความสนใจได้ด้วยยิ่งดีโดยเสนอแนวทางวิธีคิดนวัตกรรมให้ครู ดังนี้ ควรคิดคิดนวัตกรรมที่แปลกหรือแตกต่างจากคนอื่นที่สอนในระดับเดียวกัน เพื่อ สร้างความสนใจให้ผู้เรียนมากขึ้น ควรคิดนวัตกรรมที่ยังไม่เคยสอน โดยเฉพาะครูที่ใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย ควรเปลี่ยนใช้วิธีการสอนแบบอื่น หรือใช้สื่อประกอบการสอนบ้าง ควรคิดนวัตกรรมที่สอดคล้องกับปัญหาและความสามารถในการสร้างหรือ พัฒนานวัตกรรมของครู ( เน้นที่นวัตกรรมนั้นต้องสอดคล้องกับปัญหาของผู้เรียน) ปัญหาผู้เรียนแตกต่างกันครูจึงควรคิดนวัตกรรมที่ใช้พัฒนาผู้เรียนแตกต่างกัน ปัญหาเดียวกันที่เคยใช้นวัตกรรมได้ผลมาแล้ว ควรลองคิดนวัตกรรมใหม่ขึ้นมา อีกเพื่อเปรียบเทียบ ให้มีความหลากหลายและอาจได้ผลดีกว่าเดิม

21


นวัตกรรมที่คิดขึ้นมาใหม่ควรเป็นนวัตกรรมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่รู้ มีส่วนร่วม ในการแสวงหาความรู้ระหว่างผู้เรียนกับครู หรือมีแนวทางหาความรู้เพิ่มเติมได้ เมื่อคิดนวัตกรรมเดี่ยว ๆ ได้แล้ว ควรนำ�นวัตกรรมแต่ละชนิดมาผสมผสาน บูรณาการเพื่อให้ได้นวัตกรรมที่แตกต่างจากเดิม ควรคิดนวัตกรรมที่ทำ�ให้ผู้เรียนภูมิใจและมีความรักท้องถิ่น ชุมชนของตนเอง โดยใช้เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น ปรับเนื้อหาเกี่ยวข้องกับบุคคลที่เคยสร้างชื่อเสียง หรือสถาน ที่สำ�คัญของท้องถิ่นเป็นตน ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนถ้าสามารถสร้างความสนใจได้ด้วยยิ่งดีโดย เสนอแนวทางวิธีคิดนวัตกรรมให้ครู ดังนี้ ควรคิดคิดนวัตกรรมที่แปลกหรือแตกต่างจากคนอื่นที่สอนในระดับเดียวกัน เพื่อ สร้างความสนใจให้ผู้เรียนมากขึ้น ควรคิดนวัตกรรมที่ยังไม่เคยสอน โดยเฉพาะครูที่ใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย ควรเปลี่ยนใช้วิธีการสอนแบบอื่น หรือใช้สื่อประกอบการสอนบ้าง ควรคิดนวัตกรรมที่สอดคล้องกับปัญหาและความสามารถในการสร้างหรือ พัฒนานวัตกรรมของครู ( เน้นที่นวัตกรรมนั้นต้องสอดคล้องกับปัญหาของผู้เรียน) ปัญหาผู้เรียนแตกต่างกันครูจึงควรคิดนวัตกรรมที่ใช้พัฒนาผู้เรียนแตกต่างกัน ปัญหาเดียวกันที่เคยใช้นวัตกรรมได้ผลมาแล้ว ควรลองคิดนวัตกรรมใหม่ขึ้นมา อีกเพื่อเปรียบเทียบ ให้มีความหลากหลายและอาจได้ผลดีกว่าเดิม นวัตกรรมที่คิดขึ้นมาใหม่ควรเป็นนวัตกรรมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่รู้ มีส่วนร่วม ในการแสวงหาความรู้ระหว่างผู้เรียนกับครู หรือมีแนวทางหาความรู้เพิ่มเติมได้ เมื่อคิดนวัตกรรมเดี่ยว ๆ ได้แล้ว ควรนำ�นวัตกรรมแต่ละชนิดมาผสมผสาน บูรณาการเพื่อให้ได้นวัตกรรมที่แตกต่างจากเดิม ควรคิดนวัตกรรมที่ทำ�ให้ผู้เรียนภูมิใจและมีความรักท้องถิ่น ชุมชนของตนเอง โดยใช้เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น ปรับเนื้อหาเกี่ยวข้องกับบุคคลที่เคยสร้างชื่อเสียง หรือสถานที่ สำ�คัญของท้องถิ่นเป็นตน

22


สำ�นักงานสภาสถาบันราชภัฏ (2544:39) ได้กำ�หนดแนวทางการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ทางการศึกษา ดังต่อไปนี้ จากการกำ�หนดแนวทางการสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาสามารถสรุปเป็นขั้นตอนได้ ดังนี้ ขั้นที่ 1 กำ�หนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งมีแนวทางดังนี้ เมื่อครูผู้สอนได้วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้ เรียนแล้ว ต้อง ตั้งเป้าหมายในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียน ขั้นที่ 2 การกำ�หนดกรอบแนวคิดของกระบวนการเรียนรู้ 1. ครูผู้สอนควรศึกษาค้นคว้าหลักวิชาการแนวคิดทฤษฎีผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับจุดประสงค์ใน การพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน 2. นำ�มาผสมผสานกับความคิดและประสบการณ์ของตนเอง 3 กำ�หนดเป็นกรอบแนวคิดของกระบวนการเรียนร้ o นวัตกรรมนี้มุ่งแก้ปัญหาอะไร นำ�ไปสู่ผลลัพธ์ระยะสั้นหรือระยะยาวอย่างไร o ใครคือผู้จะใช้นวัตกรรมนี้ ภูมิหลังเป็นอย่างไร o นวัตกรรมนี้อาศัยทฤษฎีอะไร ผลการวิจัยอะไรบ้าง ผนวกความคิดริเริ่มของตนเองด้วยหรือไม่ มากน้อยเพียงใด o โครงสร้าง รูปแบบของนวัตกรรมเป็นอย่างไร o มีขั้นตอนการสร้างและพัฒนานวัตกรรมเป็นอย่างไร o มีวิธีใช้อย่างไรในสถานการณ์จริง ๆ จำ�เป็นต้องมีสิ่งอำ�นวยความสะดวก เช่น คู่มือ วัสดุ อุปกรณ์ การฝึกอบรมผู้ใช้ด้วยหรือไม่ o มีการติดตามช่วยเหลือแนะนำ�แก้ปัญหาระหว่างใช้ด้วยหรือไม่

23


ขั้นที่ 3 การสร้างต้นแบบนวัตกรรม 1. ตัดสินใจว่าจะเลือกจัดทำ�นวัตกรรมชนิดใด 2. ศึกษาวิธีการจัดทำ�นวัตกรรมชนิดนั้น ๆ อย่างละเอียด เช่น จะจัดทำ�บทเรียนสำ�เร็จรูปใน รายวิชาหนึ่ง ต้องศึกษาค้นคว้าวิธีการจัดทำ�บทเรียนสำ�เร็จรูปว่ามีวิธีการจัดทำ�อย่างไรจาก เอกสารตำ�ราที่เกี่ยวข้อง แล้วจัดทำ�ต้นแบบบทเรียนสำ�เร็จรูปให้สมบูรณ์ตามข้อกำ�หนดของวิธีการ ทำ�บทเรียนสำ�เร็จรูป ขั้นที่ 4 การหาและพิสูจน์ประสิทธิภาพของนวัตกรรม 4.1 ขั้นตอนการการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม อย่างง่าย ๆ ดังนี้ 4.1.1 การหาคุณภาพของนวัตกรรมเบื้องต้น ควรให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการเรียนการสอนในวิชานั้น ๆ ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและการสื่อความหมาย โดยนำ�นวัตกรรมที่สร้างขึ้นพร้อม แบบประเมินที่มีแนวทางหรือประเด็นในการพิจารณาคุณภาพให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพ 4.1.2 นำ�ข้อมูลในข้อที่1 ซึ่งเป็นข้อแนะนำ�ของผู้เชี่ยวชาญมาพิจารณาปรับปรุงแก้ไข หลังจาก นั้นจึงนำ�นวัตกรรมที่สร้างขึ้นไปทดลองกับผู้เรียนกลุ่มเล็ก ๆ อาจเป็น 1 คน หรือ 3 คน หรือ 5 คน แล้วแต่ความเหมาะสม โดยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม หรือฝึกปฏิบัติตามขั้นตอนที่ระบุไว้ แล้วเก็บผลระหว่างปฏิบัติกิจกรรม และผลหลังการทดลองใช้นวัตกรรม เพื่อหาประสิทธิภาพของ นวัตกรรมตามหลักการต่อไป 4.1.3 นำ�ผลการทดลองใช้นวัตกรรมจากผู้เรียนกลุ่มเล็กใน ข้อ 2 มาปรับปรุงข้อบกพร่องอีกครั้งหนึ่ง ก่อนนำ�ไปใช้จริงกับกลุ่มผู้เรียนที่สอน

24


ขั้นที่ 5 ทดลองใช้นวัตกรรม การทดลองภาคสนามเพื่อหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ดำ�เนินการทดลอง ใช้นวัตกรรมกับผู้เรียนที่เป็นกลุ่มทดลอง (กลุ่มที่ต้องการแก้ปัญหา) ในสภาพ ในชั้นเรียนจริง วิธีดำ�เนินการเหมือนกับวิธีการทดลองกับกลุ่มเล็กทุกอย่าง ต่างกันที่จุดประสงค์ ของการใช้นวัตกรรม ซึ่งการทดลองในที่ผ่านมาถือว่าเป็นการกระทำ�เพื่อหาข้อบกพร่องที่ควร แก้ไข ผู้เรียนเปรียบเสมือนที่ปรึกษา และนวัตกรรมที่ใช้ก็เป็นเพียงการยกร่าง เมื่อผ่านการ ทดลองกับกลุ่มเล็กแล้ว จึงจะถือว่าเป็นบทเรียนฉบับจริง การทดลองภาคสนามก็เป็นการทดลอง โดยเป็นการนำ�ไปใช้จริงก่อนเริ่มใช้นวัตกรรมผู้สอนควรแนะนำ�ผู้เรียนให้เข้าใจวิธีเรียนเสียก่อน และให้ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน และเมื่อใช้นวัตกรรมเสร็จแล้วก็ต้องมีการทดสอบหลังเรียนอีก ครั้ง ขั้นที่ 6 เผยแพร่นวัตกรรม เมื่อนำ�นวัตกรรมไปขยายผลโดยให้ผู้อื่นทดลองใช้และให้คำ�แนะนำ�ในการปรับปรุงแก้ไขจนเป็นที่ พอใจแล้วก็จัดทำ�นวัตกรรมนั้นเผยแพร่เพื่อบริการให้ใช้กันแพร่หลายต่อไป

25


จากขั้นตอนดังกล่าวสามารถเขียนเป็นแผนภาพกระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา ดังนี้ กำ�หนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กำ�หนดกรอบแนวคิดของกระบวนการเรียนรู้ สร้างต้นแบบนวัตกรรม หาและพิสูจน์ประสิทธิภาพของนวัตกรรม ทดลองใช้นวัตกรรม

ปรับปรุงต้นแบบ

ผลการทดลองใช้ ใช้ไม่ได้

ใช้ได้ เผยแพร่นวัตกรรม

แผนภาพที่ 3 กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา

26


3.1.1 นวัตกรรมทางการศึกษาด้านสื่อการสอน นวัตกรรมทางการศึกษาด้านสื่อการสอนแบ่งได้ 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ เอกสารประกอบการสอน บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอนหรือชุด การเรียน รายงานโครงการ ฯลฯ o เอกสารประกอบการสอน เอกสารประกอบการสอน หมายถึง เอกสารที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อให้ครูผู้สอนนำ�ไปใช้ประกอบการสอน มีลักษณะเป็นเอกสารหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอน เอกสารการสอน แบ่งเป็น 2 ประเภท ประเภทที่ 1 หนังสือเรียนหรือบทเรียน เป็นเอกสารสำ�หรับการเรียนของนักเรียนมีเนื้อหาตรงตาม สาระหลักสูตร เป็นหนังสือเล่มเดียวตามกลุ่มสาระวิชา หรือรายวิชา อาจมีเป็นชุด และมีแบบ ฝึกหัดประกอบด้วย ประเภทที่ 2 หนังสือเสริมประสบการณ์ เป็นหนังสือที่ผู้เรียนและผู้สอนใช้ประกอบการเรียนการ สอนซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น o หนังสืออ่านเพิ่มเติม เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาอ้างอิงหลักสูตร ช่วย ผู้เรียนสำ�หรับเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความเหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน o หนังสืออ่านนอกเวลา เป็นหนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน สำ�หรับให้นักเรียนอ่านนอกเวลา ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนตามหลักสูตร o หนังสือเสริมการอ่าน เป็นหนังสือที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อส่งเสริมทักษะใน การอ่าน o หนังสืออ่านประกอบ เป็นหนังสือที่ใช้อ่านประกอบเพื่อให้เกิดการ เรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา o หนังสืออ้างอิง เป็นหนังสือที่ใช้สำ�หรับการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ

27


o บทเรียนแบบโปรแกรมหรือบทเรียนสำ�เร็จรูป บทเรียนแบบโปรแกรมหรือบทเรียนสำ�เร็จรูป เป็นสื่อการสอนที่ครูผลิตขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วย ตนเองตามลำ�ดับขั้นตอน จากเนื้อหาง่ายไปสู่เนื้อหายากตามลำ�ดับ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และ ตรวจคำ�ตอบได้ด้วยตนเอง ข้อดีของการใช้บทเรียนแบบโปรแกรมหรือบทเรียนสำ�เร็จรูปมีดังนี้ 1. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. ผู้เรียนแต่ละคนได้เรียนรู้ตามความความสามารถของตนเอง 3. ทราบผลการเรียนรู้ของตนเองทุกขั้นตอน 4. ทำ�ให้เกิดแรงเสริมทางบวกทุกขั้นตอน 5. ครูประหยัดเวลาในการสอนหน้าชั้นเรียนและคอยตรวจแบบทดสอบ ก่อนและแบบทดสอบหลัง ลักษณะบทเรียนแบบโปรแกรมหรือบทเรียนสำ�เร็จรูป มีดังนี้ o มีการกำ�หนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม o เนื้อหาวิชาแบ่งออกเป็นหน่วยเล็ก ๆ เรียกว่ากรอบซึ่งมีความสั้นยาว แตกต่างกันตามความเหมาะสม o เรียงลำ�ดับกรอบจากเนื้อหาง่ายไปหายากมีความเหมาะสมกับ ความสามารถของผู้เรียน o ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนจากการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ อย่างทั่วถึง o ผู้เรียนสามารถตรวจคำ�ตอบได้ทันที o มีความน่าสนใจและทำ�ให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้ต่อไป o ไม่จำ�กัดเวลาในการเรียน o มีการวัดผลที่แน่นอน มีการทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรียนและ หลังเรียน

28


การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมหรือบทเรียนสำ�เร็จรูป บุญชม ศรีสะอาด ,( 2537: 79-83) กำ�หนดการสร้างบทเรียนโปรแกรมหรือบทเรียนสำ�เร็จรูปไว้ 4 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 เตรียมการ เป็นการศึกษาหลักสูตรและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนและ เนื้อหา เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนบทเรียนและการสร้างแบบทดสอบ การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมหรือบทเรียนสำ�เร็จรูป ขั้นที่ 2 ขั้นดำ�เนินการเขียน เขียนบทเรียนในลักษณะเป็นกรอบเนื้อหา จากง่ายไปหายากเป็นลำ�ดับขั้นตอนที่ชัดเจน ขั้นที่ 3 ขั้นทดลองและปรับปรุง • กำ�หนดการใช้โดยเริ่มใช้เป็นรายบุคคลกับผู้เรียนอ่อน หรือผู้เรียนปานกลาง 3-4 คน • หลังจากปรับปรุงแล้วนำ�ไปใช้กับกลุ่มเล็ก ( ประมาณ 5-10 คน) • มีแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนพร้อมกับบันทึกเวลาในการเรียนรู้ • เมื่อปรับปรุงแก้ไขแล้วจึงนำ�ไปทดลองใช้ในห้องเรียน ขั้นที่ 4 จัดพิมพ์บทเรียนแบบโปรแกรมฉบับจริง

29


o ชุดการสอน ชุดการสอน เป็นสื่อการสอนเป็นชุดสื่อประสม หมายถึง การใช้สื่อการสอนตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป ร่วมกัน สื่อที่นำ�มาใช้ร่วมกันนี้จะช่วยเสริมประสบการณ์ซึ่งกันและกัน มีการจัดไว้เป็นชุด ๆ แบ่ง ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ ประเภทที่ 1 ชุดการสอนประกอบคำ�บรรยาย ใช้สอนผู้เรียนเป็นกลุ่มใหญ่ ชุดการสอนนี้ช่วยลดการ พูดให้น้อยลง เรียกอีกอย่างว่าชุดการสอนสำ�หรับครู ประเภทที่ 2 ชุดการสอนแบบกลุ่มกิจกรรม เหมาะสำ�หรับผู้เรียน 5-7 คน มุ่งพัฒนาทักษะในการ เรียนและการทำ�กิจกรรมกลุ่ม ประเภทที่ 3 ชุดการสอนแบบรายบุคคล เป็นชุดการสอนสำ�หรับเรียนด้วยตนเองเป็นรายบุคคล อาจจะเรียนที่โรงเรียนหรือบ้านได้ องค์ประกอบของชุดการสอน ประกอบด้วย 4 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 คู่มือครู สามารถจัดทำ�เป็นเล่มหรือเป็นแผ่นก็ได้แต่ต้องมีส่วนประกอบดังนี้ • คำ�ชี้แจง • สิ่งที่ผู้สอนต้องเตรียม • บทบาทของผู้เรียน • การจัดชั้นเรียนพร้อมแผนผัง • แผนการสอน • เนื้อหาสาระประจำ�ศูนย์ต่าง ๆ • การประเมินผล(แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน) ส่วนที่ 2 แบบฝึกหัด เป็นคู่มือของผู้เรียนที่ใช้ประกอบการเรียน บันทึกคำ�อธิบายของผู้สอนและใบ งาน หรือแบบฝึกหัดตามที่ระบุไว้ในบัตรกิจกรรม แบบฝึกปฏิบัติอาจแยกเป็นชุด ชุดละ 1-3 หน้า หรือรวมกันเป็นเล่ม

30


ส่วนที่ 3 สื่อสำ�หรับศูนย์กิจกรรม ประกอบไปด้วย • บัตรคำ�สั่ง • บัตรเนื้อหา • บัตรกิจกรรม • บัตรคำ�ถาม • บัตรเฉลย • บทความ • บทเรียนแบบโปรแกรม • สไลด์ • เทปบันทึกเสียง • ฟิล์มสตริป • แผนภาพโปร่งใส • วัสดุกราฟิกส์ • หุ่นจำ�ลอง ฯลฯ ส่วนที่ 4 แบบประเมินผล ผู้เรียนประเมินความรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน การประเมินจะประเมิน ในรูปแบบฝึกหัด การเติมคำ�ในช่องว่าง การจับคู่ เป็นต้น ขั้นตอนในการผลิตชุดการสอน o กำ�หนดเนื้อหา และประสบการณ์ o กำ�หนดหน่วยการสอน o กำ�หนดหัวเรื่อง o กำ�หนดความคิดรวบยอด และหลักการ o กำ�หนดจุดประสงค์ให้สอดคล้องกับหัวเรื่อง( จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ) o กำ�หนดแบบประเมินต้องออกแบบประเมินให้ตรงกับจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมโดยใช้การสอนแบบอิงเกณฑ์ เพื่อให้ผู้สอนทราบว่าหลังผ่านกิจกรรมแล้วผู้เรียนได้ เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำ�หนดไว้หรือไม่ การเลือกและผลิตสื่อการสอน ผลิตสื่อการสอนตามหัวเรื่องที่กำ�หนดไว้แล้วจัดสื่อเหล่านั้นไว้เป็น หมวดหมู่

31


(ต่อ) ขั้นตอนในการผลิตชุดการสอน o การหาประสิทธิภาพชุดการสอน เป็นการยืนยันว่าชุดการสอนของแต่ละหัวเรื่อง o การใช้ชุดการสอน มีขั้นตอนดังนี้ - ให้ผู้เรียนทำ�แบบทดสอบก่อนเรียนใช้เวลาประมาณ 10 – 15 นาที - กำ�หนดกิจกรรมขั้นนำ�เข้าสู่บทเรียน - ขั้นจัดการเรียนการสอน - ขั้นสรุปผลการสอน - ทำ�แบบทดสอบหลังเรียน เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ เปลี่ยนไปหลังใช้ชุดการสอน o รายงานการศึกษาค้นคว้า เป็นเอกสารจากการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาที่สอนโดยศึกษา ค้นคว้าจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แล้วนำ�มาปรับปรุงวิธีการสอนให้งานที่ทำ�เกิดประสิทธิภาพ ขั้นตอนการจัดทำ�รายงานการศึกษาค้นคว้า o กำ�หนดขอบข่ายสาระสำ�คัญของเรื่องที่ศึกษาค้นคว้า o ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเนื้อหาสาระที่ค้นคว้ามาได้มาสรุปเรียบเรียงให้ตรงกับหัวข้อที่กำ�หนด ไว้ o บันทึกแหล่งอ้างอิงเพื่อจัดทำ�บรรณานุกรมท้ายเล่ม o นำ�ไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบให้ข้อคิดเห็นแล้วนำ�มาปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้รายงานการศึกษา ค้นคว้ามีความสมบูรณ์ที่สุด o จัดพิมพ์และนำ�ไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายที่กำ�ลังพัฒนา

32


o รายงานโครงการที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน เป็นการรายงานโครงการที่ดำ�เนินกิจกรรมเกี่ยวกับ สาขาวิชาที่สอน โดยระบุความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการ ขั้นตอนการจัดทำ�รายงานโครงการ 1. เขียนโครงการพัฒนาการเรียนการสอน หรือโครงการแก้ปัญหาการเรียนการสอน 2. นำ�โครงการไปปฏิบัติตามขั้นตอน 3. ประเมินผลการดำ�เนินโครงการ 4. พิมพ์เผยแพร่การดำ�เนินการโครงการ นวัตกรรมทางการศึกษาด้านสื่อการสอน ประเภทที่ 2 สื่อโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ภาพยนตร์ สไลด์ เทปเพลง เป็นต้น o คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI ) การนำ�คอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนการสอนนั้นจะกระทำ�โดย เนื้อหาวิชา แบบ ฝึกหัดและการทดสอบจะถูกพัฒนาขึ้นในรูปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งมักเรียกว่า Course Ware ผู้เรียนจะเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ ซึ่งคอมพิวเตอร์จะสามารถเสนอเนื้อหาวิชาซึ่งอาจ เป็นทั้งในรูปตัวหนังสือและภาพกราฟิคสามารถถามคำ�ถามรับคำ�ตอบจากผู้เรียนตรวจคำ�ตอบและ แสดงผลการเรียนในรูป ข้อมูลย้อนกลับ (Feed Back)

33


ลักษณะของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ขั้นตอนการจัดทำ�รายงานโครงการ 1. เขียนโครงการพัฒนาการเรียนการสอน หรือโครงการแก้ปัญหาการเรียนการสอน 2. นำ�โครงการไปปฏิบัติตามขั้นตอน 3. ประเมินผลการดำ�เนินโครงการ 4. พิมพ์เผยแพร่การดำ�เนินการโครงการ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีลักษณะการเรียน 5 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นนำ�เข้าสู่บทเรียน • เป็นขั้นตอนของการทักทายผู้เรียน • บอกวิธีการเรียน • แจ้งจุดประสงค์ของการเรียนเมื่อเรียนจบแล้วจะต้องรู้อะไรบ้าง ขั้นที่ 2 ขั้นการเสนอเนื้อหา • เมื่อผู้เรียนเลือกเรียนเรื่องอะไร คอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะเสนอเนื้อหาออกมาเป็น กรอบ ในลักษณะของภาพ หรือตัวอักษร ภาพเคลื่อนไหว เพื่อสร้างความสนใจในการเรียนในเรื่อง นั้น ๆ ขั้นที่ 3 คำ�ถามและคำ�ตอบ • เมื่อเสนอเสนอหาจบแล้วจะมีการทดสอบเพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา นั้น ๆ เพียงใด ขั้นที่ 4 ตรวจคำ�ตอบ • คอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้รับคำ�ตอบจากผู้เรียน • ตรวจคำ�ตอบและแจ้งผลให้ผู้เรียนทราบ การแจ้งผล ลักษณะข้อความเสียง หรือ กราฟฟิกส์ ถ้าตอบถูกจะได้รับการเสริมแรง เช่นคำ�ชม เสียงเพลง ฯลฯ แต่ถ้าผู้เรียนตอบผิด คอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะให้คำ�แนะนำ�หรือซ่อมเสริมเนื้อหาแล้วให้ตอบคำ�ถามใหม่อีกครั้งเมื่อตอบ ถูกจึงให้ศึกษาเรื่องต่อไป ขั้นที่ 5 การปิดบทเรียน เมื่อผู้เรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะทำ�การประเมินผลการเรียนของผู้เรียน 34


โดยการให้ทำ�แบบทดสอบ ซึ่งจุดเด่นของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ สามารถสุ่มข้อสอบจาก ตัวอย่างข้อสอบที่ได้สร้างเก็บไว้ และนำ�มาทดสอบให้ผู้เรียนแต่ละคนไม่เท่ากัน 3.1.2 นวัตกรรมทางการศึกษาด้านเทคนิคการสอน o การสอนแบบโครงการ o การสอนแบบคลินิก o การสอนแบบแก้ปัญหา o การสอนเพื่อปลูกฝังค่านิยม o การสอนโดยใช้เทคนิคการสอนซ่อมเสริม ฯลฯ ตัวอย่าง การสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาด้านเทคนิคการสอน การดำ�เนินการสอนแบบโครงการ มีขั้นตอน ดังนี้ 1) กำ�หนดความมุ่งหมายและลักษณะของโครงการ ซึ่งครูจะให้นักเรียนเป็นผู้กำ�หนด 2) ขั้นวางแผน นักเรียนช่วยกันวางแผนว่าจะทำ�อย่างไรจึงจะบรรลุถึงจุดมุ่งหมาย 3) ขั้นดำ�เนินการ นักเรียนเริ่มดำ�เนินการตามแผนโดยทำ�กิจกรรมตามที่ตกลงกันไว้ 4) ขั้นประเมินผล นักเรียนทำ�การประเมินผลว่ากิจกรรมหรือโครงการที่ทำ�นั้นบรรลุ ตามความมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่และควรแก้ไขให้ดีขึ้นอย่างไร การสอนแบบคลีนิค การสอนแบบคลินิก มาจากจุดเน้นทฤษฏีการเรียนรู้แบบรอบรู้ ดังนี้ o นำ�หลักสูตรมาจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้ย่อย ๆ แต่ละหน่วยจะสนองกับ จุดประสงค์การเรียนเฉพาะจุดประสงค์เดียว o ใช้การทดสอบก่อนเรียน เป็นการตรวจสอบความรู้เดิม เพื่อนำ�มาใช้ใน การตัดสินว่า มีพื้นฐานเดิมพอที่จะเรียนหน่วยการเรียนนี้หรือไม่ ถ้าบกพร่องพื้นฐานใด ก็จะมีการ จัดสอนสิ่งที่ขาดนั้นก่อนที่จะเรียนหน่วยการเรียน o จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับหน่วยการเรียน o ใช้การทดสอบหลังเรียนเพื่อตัดสินผลสัมฤทธิ์เรื่องนั้น ๆ ถ้าไม่ผ่าน

35


ขั้นตอนของการสอนแบบคลินิก 1) สร้างจุดประสงค์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและคำ� อธิบายรายวิชาที่สอน 2) จัดเรียงจุดประสงค์จากง่ายไปหายาก 3) สร้างข้อสอบวัดความรู้พื้นฐานของวิชาที่สอน 4) สร้างข้อสอบตามจุดประสงค์การเรียนรู้ตามข้อ 2 (จุดประสงค์ละหลาย ๆข้อ) 5) สร้างเอกสารการเรียนในแต่ละจุดประสงค์ 6) สร้างบัตรบันทึกผลการเรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคน 7) สร้างห้องตรวจสอบผลการเรียนของนักเรียน ภายในห้องประกอบด้วยโต๊ะครู ตู้บัตรบันทึกผล การเรียน ตู้เก็บแบบทดสอบตามจุดประสงค์และโต๊ะสำ�หรับให้นักเรียนสอน 8) ชี้แจงวิธีการเรียนการสอนให้นักเรียนทราบ ดังนี้ 8.1) ต้องทดสอบก่อนเรียนก่อน ถ้าใครไม่ผ่านจะต้องซ่อมเสริมส่วนคนที่ผ่านเกณฑ์ ให้เรียนจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อแรกก่อน 8.2) นักเรียนต้องเรียนด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการเรียนตามระดับความสามารถโดย พิจารณาจากผลการสอบพื้นฐาน 8.3) นักเรียนที่เรียนจากเอกสารจบแล้ว ใครพร้อมที่จะสอบให้มาแจ้งความประสงค์ขอสอบ 8.4) ถ้าผลสอบตามจุดประสงค์ การเรียนรู้ข้อใดนักเรียนผ่านเกณฑ์ จะอนุญาตให้เรียน 8.5) ในเวลาเรียนตามตารางครูจะสอนตามปกติ

36


กิจกรรมที่ 3

กระบวนการสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ข้อ1. จงอธิบายขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม ( 5 คะแนน ) …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. ข้อ 2 จงยกตัวอย่างนวัตกรรมทางการศึกษาด้านสื่อการสอนพร้อมอธิบายวิธีการสร้างและการนำ� ไปใช้ประกอบการเรียนการสอน ( 5 คะแนน) ……………………………………………………………………………………........ …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………….

37


เฉลย กิจกรรมที่ 3 กระบวนการสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ข้อ1 . แนวการตอบหน้าที่ 26 ข้อ 2. แนวการตอบหน้าที่ 27-28

38


เรื่องที่ 4 การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมทางการศึกษา เกณฑ์ประสิทธิภาพหมายถึง ระดับประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เป็น ระดับที่ผู้ผลิตนวัตกรรมมีความพึงพอใจ การกำ�หนดเกณฑ์ ประสิทธิภาพจากการประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) (E1) คือ การประเมินผลต่อเนื่อง คือ การ ประเมินพฤติกรรมต่อเนื่องหลาย ๆ พฤติกรรม เรียกว่า กระบวนการ ของผู้เรียนที่สังเกตจาก การประกอบกิจกรรมกลุ่มและรายบุคคล ประเภทที่ 2 พฤติกรรมขั้นสุดท้าย (ผลลัพธ์) (E2) ประเมินผลลัพธ์ของผู้เรียนโดยพิจารณาจากผล สอบหลังเรียน เรื่องที่ 4 การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมทางการศึกษา การกำ�หนดค่าประสิทธิภาพ เป็น E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ การกำ�หนดเกณฑ์ E1 / E2 มีค่าเท่าใดนั้น ผู้สอนจะเป็นผู้พิจารณา o เนื้อหาที่เป็นความรู้ ความจำ� มักจะตั้งค่า E1 / E2 ไว้ 80/80 ,85/85 , 90/90 o เนื้อหาที่เป็นทักษะอาจจะตั้งไว้ตํ่ากว่านี้ E1 / E2 ไว้ 75/75 วิธีหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมโดยใช้สูตร E1/ E2 การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมโดยวิธีนี้ ผู้สร้างนวัตกรรมจะต้องกำ�หนด E1 และ E ไว้ ล่วงหน้า 2 ก่อนทดลองนวัตกรรม เช่น 80 /80 หรือ 90 / 90 โดยทั่วไปนิยมกำ�หนดเกณฑ์อยู่ในช่วง 70% 90% ทั้งนี้แล้วแต่ความเหมาะสมของนวัตกรรมและการวัดความสามารถของผ้เรียน

39


4.1 ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม เมื่อผลิตนวัตกรรมแล้วจะต้องนำ�นวัตกรรมไปหาประสิทธิภาพตามขั้นตอน ดังนี้ 1) 1:1 หรือ ( แบบเดี่ยว) คือ ทดลองกับผู้เรียน 1 คน โดยใช้เด็กอ่อน ปานกลาง หรือเก่ง โดย ทดลองกับเด็กอ่อนก่อนทำ�การทดลองและปรับปรุงแล้วใช้กับเด็กปานกลางแล้วจึงนำ�ไปทดลองกับ เด็กเก่ง กรณีสถานการณ์ไม่อำ�นวยก็ให้ทดลองกับเด็กอ่อนหรือปานกลาง คำ�นวณหาประสิทธิภาพ แล้วปรับปรุงให้ดีขึ้น 2) 1: 10 หรือ (แบบกลุ่ม) คือทดลองกับผู้เรียน 6-10 คน คละผู้เรียนทั้งเก่งและอ่อน คำ�นวณ หาประสิทธิภาพแล้วปรับปรุง ในครั้งนี้ คะแนนจะเพิ่มขึ้นเกือบเท่าเกณฑ์ หรือ ห่างจากเกณฑ์ ประมาณ 10 % คือ ค่า E1/E2 ประมาณ 70/70 3) 1:100 หรือ ( ภาคสนาม ) คือ ทดลองกับผู้เรียน 40 – 100 คน คละผู้เรียนทั้งเก่งและอ่อน คำ�นวณหาประสิทธิภาพแล้วทำ�การปรับปรุง ซึ่งในครั้งนี้ ผลที่ได้ควรใกล้เคียงกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้

40


4.2 การยอมรับหรือไม่ยอมรับประสิทธิภาพของนวัตกรรม เมื่อทดลองนวัตกรรมภาคสนามแล้ว ให้เทียบค่า E1/E2 ที่หาได้จากนวัตกรรมกับค่า E1/E2 ของ เกณฑ์เพื่อดูว่าเรายอมรับประสิทธิภาพหรือไม่ การยอมรับประสิทธิภาพของนวัตกรรมมี 3 ระดับ คือ 1. สูงกว่าเกณฑ์ เมื่อประสิทธิของนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้มีค่าเกิน 2.5 % 2. เท่าเกณฑ์เมื่อประสิทธิภาพของนวัตกรรมเท่าหรือสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ไม่เกิน2.5 % 3. ตํ่ากว่าเกณฑ์ แต่ยอมรับว่ามีประสิทธิภาพ เมื่อประสิทธิภาพของนวัตกรรมตํ่ากว่า เกณฑ์แต่ตํ่ากว่าเกณฑ์ไม่เกิน 2.5 % เกณฑ์ประสิทธิภาพ E1 / E2 เช่น 80/80 มีความหมายดังนี้ 80 ตัวแรก หมายความว่า เมื่อเรียนจากนวัตกรรมแล้วผู้เรียนสามารถทำ�แบบฝึกหัดหรืองานได้ผลเฉลี่ย 80 % หรือ ร้อยละ 80 80 ตัวหลัง หมายความว่า ผู้เรียนทำ�การสอบหลังใช้นวัตกรรมได้ผลเฉลี่ย 80 % หรือร้อยละ 80

41


วิธีการคำ�นวณหาค่าประสิทธิภาพนวัตกรรม วิธีการคำ�นวณหาค่าประสิทธิภาพนวัตกรรม ดังนี้ จากสูตร ต่อไปนี้

E = ประสิทธิภาพของกระบวนการที่จัดไว้ในชุดการสอนคิดเป็นร้อยละจากการทำ�แบบฝึกหัด 1 และ / หรือการประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน E = ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (พฤติกรรมที่เปลี่ยนในตัวผู้เรียนหลังจากการเรียนชุดการสอนนั้น) 2 คิดเป็นร้อยละ จากการทำ�แบบทดสอบหลังเรียนและ/หรือการประกอบกิจกรรมหลังการเรียน EX = คะแนนรวมของผู้เรียนจากการทำ�แบบฝึกหัดและ/หรือการประกอบกิจกรรมการเรียน X = คะแนนรวมของผู้เรียนจากการทดสอบหลังเรียนและ/หรือการประกอบกิจกรรมหลังเรียน N = จำ�นวนผู้เรียน A = คะแนนเต็มของแบบฝึกหัด และ/ หรือกิจกรรมการเรียน B = คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียนและ/หรือกิจกรรมหลังเรียน

42


ตัวอย่างที่ 1 ครูนันทากร นำ�ชุดการสอน เรื่อง การหาร ไปทดลองกับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 จำ�นวน 15 คน โดยกำ�หนดเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ผลการ ทดสอบดังตารางต่อไปนี้ (จงหาประสิทธิภาพของชุดการสอนที่สร้างขึ้น)

43


ผลการประเมินกิจกรรมระหว่างเรียน ได้ค่าเฉลี่ยร้อยละ 80.40 ส่วนผลการประเมินหลังเรียน ได้ค่าเฉลี่ยร้อยละ 81.50 ซึ่งกำ�หนดไว้ 80 /80 ตามลำ�ดับ ดังนั้น ผลการประเมินประสิทธิภาพ ชุดการสอนนี้เท่ากับ 80.40/81.50 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ นับว่า ชุดการสอนนี้มีประสิทธิภาพ ตัวอย่างที่ 2 ครูนันทากร สร้างนวัตกรรมชิ้นหนึ่งต้องการหาประสิทธิภาพโดยกำ�หนด เกณฑ์ประสิทธิภาพไว้เป็น 80 / 80 ผลการทดลอง

ดังนั้นแทนค่าได้ 74 E = ×100 1 90 E = 82.22 1 35 E = × 100 2 40 E = 87.50 2 เกณฑ์ประสิทธิภาพที่ตั้งไว้ 80 / 80 ผลการทดลองใช้นวัตกรรมคำ�นวณได้ 82.22 / 87.50

สรุปได้ว่า ประสิทธิภาพของนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้แสดงว่านวัตกรรมนี้มีประสิทธิภาพ สามารถนำ�ไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง 44


กิจกรรมสร้างความเข้าใจ กิจกรรมที่ 4 : ทบทวนและสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการสร้างและพัฒนา นวัตกรรมทางการศึกษา คำ�ชี้แจง : จงหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม โดยวิธีใช้สูตร E1 / E2 จากข้อมูลการทดลองใช้ชุดฝึกทักษะการสังเกต ของนักเรียนชั้น ม.1/1 มีดังนี้

1. กำ�หนดเกณฑ์ประสิทธิภาพเป็น ............................................................................... 2. หาค่า E / E = .................................................................................................. 1 2 3. สรุปผลประสิทธิภาพของชุดฝึกฯได้ว่า. .....................................................................

45


เฉลย กิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจกิจกรรมที่ 4 1. กำ�หนดเกณฑ์ประสิทธิภาพเป็น70 / 70 ( แนวทางกำ�หนดหน้าที่ 35) 2. หาค่า E / E = .......................................................................................... 1 2 69 E = ×100 1 90 E = 74.44 2 E = 81.66 2 3. สรุปผลประสิทธิภาพของชุดฝึกฯได้ว่า. ผลการประเมินกิจกรรมระหว่างเรียน ได้ค่า เฉลี่ยร้อยละ 74.44 ส่วนผลการประเมินหลังเรียนได้ค่าเฉลี่ยร้อยละ 81.66 ซึ่งกำ�หนดไว้ 70/70 ตามลำ�ดับ ดังนั้น ผลการประเมินประสิทธิภาพ ชุดการสอนนี้เท่ากับ 74.44/81.66 ซึ่งสูง กว่าเกณฑ์ นับว่าชุดการสอนนี้มีประสิทธิภาพ

46


คำ�ชี้แจง: ให้ผู้ศึกษาออกแบบโครงสร้างหลักของนวัตกรรมตามที่กำ�หนดไว้ในกิจกรรมลองทำ�ดู (หน้า 18) ตามประเด็นที่กำ�หนดให้แล้วนำ�ไปสร้างให้เสร็จหลัง จากได้ศึกษาชุดฝึกอบรมนี้แล้ว พร้อมทั้งหาคุณภาพของนวัตกรรม ชื่อนวัตกรรม............................................................................................................. วัตถุประสงค์ 1............................................................................................................................ .............................................................................................................................. 2............................................................................................................................ ............................................................................................................................. 3............................................................................................................................ ............................................................................................................................. หลักการหรือแนวคิดที่ใช้ในการพัฒนานวัตกรรม ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ โครงสร้างสำ�คัญของนวัตกรรม ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ การหาคุณภาพของนวัตกรรม 1.1 การตรวจสอบเบื้องต้น.......................................................................................... .............................................................................................................................. ........................................................................................................................... 1.2 การทดลองและพัฒนา.......................................................................................... 1.2.1..................................................................................................................... 1.2.2..................................................................................................................... 1.2.3.....................................................................................................................

47


เล่มที่ 4 แบบประเมินตนเอง ....หลังเรียน นวัตกรรมทางการศึกษา คำ�ชี้แจง : โปรดทำ�เครื่องหมาย x ทับตัวเลือก ที่ถูกที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว ตอบลงในกระดาษคำ�ตอบ 1. นวัตกรรมทางการศึกษาหมายถึงอะไร ก. สิ่งประดิษฐ์แปลกใหม่ที่ลงทุนด้วยราคาสูง ข. เทคนิควิธีการแก้ปัญหาทางการศึกษาทั่วไปที่ใช้ได้ผลดีเสมอมา ค. รูปแบบและกระบวนการสอนที่นำ�มาใช้แก้ปัญหาเฉพาะเรื่องได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ง. สิ่งประดิษฐ์และรูปแบบวิธีสอนที่นำ�มาใช้จัดการเรียนการสอนได้อย่างสะดวก และประหยัด 2. นวัตกรรมทางการศึกษาควรมีการทดลองก่อนนำ�ไปใช้หรือไม่เพราะเหตุใด ก. ควร เพราะต้องการหาคุณภาพหรือประสิทธิภาพของนวัตกรรม ข. ควร เพราะต้องการนำ�มาปรับแก้ไขเพื่อใช้ในสถานที่อื่น ค. ไม่ควร เพราะมีขั้นตอนของการดำ�เนินการจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแล้ว ง. ไม่ควร เพราะจะทำ�ให้เสียงบประมาณระยะเวลาในการดำ�เนินงาน 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่แนวปฏิบัติในการสร้างต้นแบบนวัตกรรมทางการศึกษา ก. ใช้เทคนิคที่รู้จักกันแพร่หลายและเคยใช้ได้ผลมาแล้วแน่นอน ข. ใช้วิธีการที่ประหยัดเวลา แรงงาน หรือทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอน ค. ใช้เทคนิคในการลดเวลาเรียนให้น้อยลงแต่ได้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้เท่าเดิม ง. ใช้เทคนิควิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีกว่าเดิมเมื่อใช้เวลาเท่ากัน 4. นวัตกรรมทางการศึกษาควรจัดทำ�อย่างไร ก. จัดทำ�โดยทุ่มงบประมาณให้มากเพื่อมุ่งคุณภาพของนวัตกรรมนั้น ข. จัดทำ�อย่างรอบคอบโดยวางแผนจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องที่ทำ�นั้น ค. จัดทำ�แล้วเผยแพร่ให้กว้างขวางเพื่อเป็นประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่มากที่สุด ง. จัดทำ�อย่างเป็นระบบทั้งด้านการเตรียมการ การดำ�เนินการและการประเมินผล

48


5. เหตุใดจึงต้องหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมทางการศึกษาก่อนนำ�ไปทดลองใช้กับ กลุ่มเป้าหมาย ก. เพื่อให้สามารถระบุเกณฑ์มาตรฐานของนวัตกรรมนั้นได้ ข. เพื่อยืนยันความถูกต้องของขั้นตอนการสร้างว่าเป็นไปตามลำ�ดับ ค. เพื่อความน่าเชื่อถือของนวัตกรรมนั้นเมื่อนำ�ไปเผยแพร่หรือจำ�หน่าย ง. เพื่อยืนยันความมั่นใจว่านวัตกรรมนั้นมีคุณภาพสามารถพัฒนาผู้เรียนได้จริง 6. ข้อใดเป็นข้อจำ�กัดของการใช้บทเรียนสำ�เร็จรูปในการจัดการเรียนการสอน ก. ครูสามารถช่วยให้เด็กอ่อนเรียนรู้เท่าเด็กเก่งได้โดยให้เวลาเขามากขึ้น ข. ผู้เรียนแต่ละคนเรียนรู้ตามความสามารถของตนเองโดยใช้เวลาไม่เท่ากัน ค. ครูไม่สามารถยืนสอนหน้าชั้นเรียนได้เพราะครูเป็นเพียงผู้ให้คำ�ปรึกษาแก่ผู้เรียน ง. ถ้าใช้จัดการเรียนเป็นส่วนใหญ่ผู้เรียนอาจเบื่อหน่ายเพราะไม่มีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้อื่น 7. ข้อใดไม่ใช่ข้อดีของการใช้ชุดการเรียนการสอน ก. สามารถจัดการเรียนการสอนได้ทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ข. ใช้ต้นทุนสูงในการผลิต ทดลอง และพัฒนาให้มีประสิทธิภาพก่อนนำ�มาใช้ ค. ช่วยขจัดปัญหาการขาดแคลนครูเพราะผู้เรียนสามารถเรียนด้วยตนเองได้ ง. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้โดยไม่จำ�กัดเวลา สถานที่ หรือระดับความรู้ 8. การทดลองใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนควรใช้รูปแบบใด ก. แบบที่แสดงการพยากรณ์ตัวแปร ข. แบบที่หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ค. แบบที่เปรียบเทียบความแตกต่างของตัวแปร ง. แบบที่ศึกษาความเป็นเหตุและเป็นผลของตัวแปร

49


9. เกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 80/80 ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. 80 ตัวแรกหมายถึง เมื่อเรียนจากนวัตกรรมแล้วผู้เรียนสามารถทำ�แบบฝึกหัด หรืองานได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80 ข. 80 ตัวแรกหมายถึง เมื่อเรียนจากนวัตกรรมแล้วผู้เรียนสามารถทำ�แบบ ทดสอบหลังเรียนได้ร้อยละ 80 ค. 80 ตัวหลัง หมายถึง เมื่อเรียนจากนวัตกรรมแล้วผู้เรียนสามารถทำ�แบบฝึกหัด หรืองานได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80 ง. 80 ตัวแรกและ 80 ตัวหลังหมายถึง เมื่อเรียนจากนวัตกรรมแล้วผู้เรียน สามารถทำ�แบบฝึกหัดหรืองานได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80 10. เกณฑ์ประสิทธิภาพที่ตั้งไว้ 80 / 80 ผลการทดลองใช้นวัตกรรมคำ�นวณได้ 80.25 / 87.50แสดง ว่านวัตกรรมที่นำ�มาทดลองใช้เป็นอย่างไร ก. ประสิทธิภาพของนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้แสดงว่านวัตกรรมนี้มี ประสิทธิภาพสามารถนำ�ไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง ข. ประสิทธิภาพของนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้แสดงว่านวัตกรรมนี้มี ประสิทธิภาพไม่สามารถนำ�ไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง ค. ประสิทธิภาพของนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้แสดงว่านวัตกรรมนี้มีไม่มี ประสิทธิภาพสามารถนำ�ไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง ง. ประสิทธิภาพของนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้แสดงว่านวัตกรรมนี้มีไม่มี ประสิทธิภาพไม่สามารถนำ�ไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง

50


เล่มที่ 4. เฉลยแบบประเมินตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน ข้อ 1. ก ข้อ 2. ง ข้อ 3. ข ข้อ 4. ข ข้อ 5. ค ข้อ 6. ง ข้อ 7. ค ข้อ 8. ค ข้อ 9. ก ข้อ 10 ก

51


แบบบันทึกสรุปผลการศึกษา ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เล่มที่ 4 ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………...............

52


บรรณานุกรม กิดานันท์ มลิทอง. (2540) . เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์ชวน พิมพ์. ครุรักษ์ ภิรมย์รักษ์. (2543). เรียนรู้และฝึกปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน.พิมพ์ครั้งที่ 2 . ชลบุรี : โรงพิมพ์งามช่าง. ชวนชัย เชื้อสาธุชน. (2540). รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนโมดูลวิชาความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับการวิจัย สำ�หรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. อุบลราชธานี : ภาควิชาทดสอบและวิจัย การศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏอุบาราชธานี. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ . (2533). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษากับการสอนระดับอนุบาล. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2537). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2533) . เทคโนโลยีทางการศึกษา : หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช. เตือนใจ ทองสำ�ริด. (2515). บทเรียนสำ�เร็จรูป.รายงานประกอบการศึกษาวิชา Individual Study.บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน.กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . นิภา เพชรสม. (2550) . ชุดฝึกอบรมการวิจัยในชั้นเรียน. คณะครุศาสตร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบุรี. บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2543). นวัตกรรมทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : เอส อาร์ พริ้น ติ้ง. บุญชม ศรีสะอาด . (2537). การพัฒนาการเรียนการสอน. กรุงเทพ ฯ : สุวีริยสาส์น.

53


บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. (2526). การวัดและประเมินผลการศึกษา : ทฤษฎีและการประยุกต์ . กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริญทัศน์. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 7 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พิมพ์และทำ�ปกเจริญผล. บุญมี พันไทย. (2540). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : แสงจันทร์การพิมพ์. ประวิต เอราวรรณ์. (2545). การวิจัยในชั้นเรียน (ฉบับปรับปรุงใหม่).กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์ ดอกหญ้าวิชาการจำ�กัด. ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล. ( 2543). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น . วิจัยทางการศึกษา, กอง. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษา. (2542). วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. วีระศักดิ์ ชมพูคำ�. คู่มือการอบรมด้วยตนเองสำ�หรับครูวิทยาศาสตร์ . หน่วยศึกษานิเทศก์ กรม สามัญศึกษา เขต 8 . สมทรง อัศวกุล. (2537). เอกสารประกอบการสอนวิชาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย.พิมพ์ครั้ง ที่3. นครราชสีมา : ภาควิชาทดสอบและวิจัยการศึกษา คระครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏ นครราชสีมา. สำ�นักนิเทศและพัฒนามาตรฐานการศึกษา. (2544). การวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้. เอกสารลำ�ดับที่ 39/2544 . กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. สุพักตร์ พิบูลย์ . (2544). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ การวิจัยในชั้นเรียน. นนทบุรี : มหาวิท ทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สุวิมล ว่องวานิช. (2544). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยอักษร. อุทุมพร จามรมาน. (2538). การวิจัยของครู. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ฟันนี่ . 54


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.