ทายาทหม่อนไหม
ภูไทบ้านโพน
“ทำ�อย่างไร เด็กๆจึงจะไม่ลืม รากเหง้าการทอผ้าไหมแพรวาที่สวยงาม แห่งชุมชนบ้านโพน?”
เป็นคำ�ถามทีผ่ ใู้ หญ่ตา่ งตัง้ ข้อสงสัย และร่วมมือกันหาคำ�ตอบ ว่านอกจากสถาบัน ครอบครัวทีเ่ ป็นหัวใจแรกในการบ่มเพาะให้เด็ก รุน่ ใหม่ รัก และ สืบสานเอกลักษณ์ทด่ี ขี องบ้าน เกิดพวกเขาแล้ว คำ�ตอบทีไ่ ด้กค็ อื ‘โรงเรียน’ ทีเ่ ปรียบเสมือนบ้านหลังทีส่ องนีเ่ อง ทีจ่ ะช่วย อบรมและปลูกฝังค่านิยมอันดีงามนีไ้ ว้ให้อยูค่ ู่ กับชุมชนบ้านโพน อ.คำ�ม่วง จ.กาฬสินธุ์
“วิชาเพิม่ เติมการทอผ้าไหมแพรวา อยูใ่ น หลักสูตรของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เพราะการทอผ้ า ไหมแพรวาเป็ น อาชี พ ที่อ ยู่ ชุมชนของเรา จึงอยากให้โรงเรียนเป็นอีกช่อง ทางหนึ่ง ที่ช่ว ยให้ เ ด็ ก ๆเห็ น ความสำ � คั ญ ของ เอกลักษณ์ทโ่ี ดดเด่นนีแ้ ละอยากทีจ่ ะสานต่อ” วัฒนะ บุตรสุวรรณ์ ผู้อำ�นวยการโรงเรียน เล่า ถึงการนำ�ภูมปิ ญ ั ญาทอผ้าไหมแพรวาเข้ามาเป็น ส่วนหนึง่ ในการเรียนการสอนของโรงเรียน วัฒนะ บุตรสุวรรณ์ ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียน
การพั ฒ นาให้ มีห ลั ก สู ต รทอผ้ า ไหม แพรวา ได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่าย ไม่ว่า จะเป็นภาครัฐ และชุมชน โดยคุณครูดาราพร บุตรสุวรรณ์ ครูผสู้ อนประจำ�วิชาการทอผ้าไหม แพรวาได้เล่าว่า หลักสูตรการเรียนการสอนได้ มีการพัฒนาให้มีการออกแบบลายผ้าไหมจาก คอมพิวเตอร์ สร้างความน่าสนใจให้กบั การเรียน มากขึน้ นักเรียนสามารถสร้างสรรค์ลายทีแ์่ ปลก ใหม่ เด็กๆจึงให้ความสนใจมากขึน้ “นอกจากการพัฒนาการเรียนการ สอนให้มคี วามน่าสนใจมากขึน้ แล้ว เรายังให้ผมู้ ี ความชำ�นาญ ปราชญ์ชาวบ้านในชุมชนมาเป็น วิทยากรในชั่วโมงเรียน ทำ�ให้เกิดความร่วมมือ กันในชุมชนและเด็กๆยังได้รบั ความรู้ ทักษะไป อย่างเต็มทีด่ ว้ ย” ครูดาราพรกล่าวถึงการพัฒนา หลักสูตรการเรียนทอผ้าไหมแพรวา
“หลักสูตรนี้ทำ�ให้เด็กมีความรักในท้องถิ่น สร้างความภาคภูมิใจในสินค้าของหมู่บ้าน และสามารถทีจ่ ะพัฒนาให้ดยี ง่ิ ขึน้ ”
ดาราพร บุตรสุวรรณ์ อาจารย์ช�ำ นาญการพิเศษ โรงเรียนชุมชนบ้านโพนพิทยาคม
“ที่สนใจเรียนวิชานี้ก็เพราะสามารถสร้าง รายได้ระหว่างเรียน ได้ฝกึ สมาธิ ความอดทน อีกอย่างคือเป็นภูมิปัญญาที่ปู่ย่าตายายเรา พากันทำ�มาด้วยค่ะ”
สุรชั นี ศรีบา้ นโพน นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท1่ี โรงเรียนชุมชนบ้านโพนพิทยาคม
“ไม่อยากให้การทอผ้าไหมแพรวาสูญหายไป เลยเปิดโอกาสให้เด็กๆนำ�ผ้ามาขาย ช่วยให้ มีรายได้ระหว่างเรียน แบ่งเบาภาระพ่อแม่”
สมพร นันทะสาร คณะกรรมการสหกรณ์ศนู ย์ศลิ ปาชีพทอผ้าไหมแพรวาบ้านโพนกาฬสินธุ์ จำ�กัด
“แล้วเด็กๆจะมีรายได้จากการทอผ้าไหม แพรวาอย่างไร ?”
เป็นอีกหนึ่งคำ�ถามที่หลายคนสงสัย เพราะฝีมอื การทอผ้าของเด็กๆคงมีความประณีต สวยงามไม่เท่ากับผู้ใหญ่ท่ีมีประสบการณ์และ ความชำ�นาญมากกว่า แล้วช่องทางการจำ�หน่าย อยูต่ รงไหน คำ�ตอบก็คอื ผลผลิตทีเ่ กิดจากความ ตั้งใจของเด็กๆนั้น มี‘ศูนย์ศิลปาชีพทอผ้าไหม แพรวาบ้านโพน’ สนับสนุนเป็นสถานที่ให้ฝาก จำ�หน่ายได้ รวมถึงร้านค้าในชุมชนและโรงเรียน ก็เป็นสถานทีจ่ �ำ หน่ายด้วยเช่นกัน การนำ�ภูมปิ ญ ั ญาทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของ ชุมชนบ้านโพนมาบูรณาการเข้ากับการเรียนการ สอน สร้างผลสำ�เร็จให้กับชุมชนเป็นอย่างมาก เพราะเป็นหลักสูตรที่เด็กสามารถนำ�ไปต่อยอด ได้ เรียกได้วา่ เป็นก้าวแรกของการมีรายได้ตง้ั แต่
ยังไม่จบการศึกษา และยังมีผลดีทางด้านการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายกระตุ้น เศรษฐกิจ ซึง่ หากว่าชุมชน โรงเรียน และทุกภาค ส่วนยังให้การสนับสนุนหลักสูตรการทอผ้าไหม แพรวา หรือเปิดโอกาสให้เยาวชนรุน่ ใหม่ได้มชี อ่ ง ทางในการแสดงความสามารถ เชือ่ ว่า วัฒนธรรม การทอผ้าไหมแพรวา จะไม่มกี ารสูญหายไปจาก ชุมชนบ้านโพนอย่างแน่นอน
ชมภาพยนตร์สารคดีสน้ั ‘ทายาทหม่อนไหม ภูไทบ้านโพน’