โลก
วิญญาณ
ในลานพิธีกรรม เรื่อง/ภาพ ธนาวุฒิ ฤทธิ์ช่วย
ผมเคยได้ยินมาว่าโลกเรามีมิติคู่ขนานที่ทับซ้อนกันเมื่อ นานมาแล้ว อาจเป็นมิติที่ต่างไปตามการอธิบายของ ไอ สไตน์ แต่สิ่งที่ปรากฏตรงหน้าในลานพิธีคือการฟ้อนรํา หากมองในมุมคนนอกแบบครั้งรักที่ปรากฏต่อสายตา คงไม่ ต่ า งอะไรไปกั บ งานเลี ้ ย งรื ่ น เริ ง ที ่ มี ด นตรี ไ ทย บรรเลงท่วงทํานองที่สนุกสนาน ผู้สูงอายุ หนุ่มสาว เด็ก ต่างเคลื่อนไหวตัวไปตามจังหวะเสียงเพลง บ้างมี สูบยา บ้างดื่มเหล้า บ้างดื่มนํ้ามะพร้าว สิ่งที่น่าสังเกตุอีกอย่างหนึ่งคือผู้ที่ร่ายรําในลานพิธีมี ลั ก ษณะที ่ จ ํา แนกได้ ส องส่ ว นคื อ การแต่ ง กาย และ ลักษณะท่าทาง ส่วนแรกคือการแต่งกายด้วยผ้าพื้น เมือง ผู้หญิงบางคนแต่งกายเป็นชาย ผู้ชายบางคนนุ่ง ผ้าแบบผู้หญิง สิ่งนี้เองเป็นสิ่งแรกที่เราพยามทําความ เข้ า ใจว่ า เหตุ ใ ดการแต่ ง กายจึ ง เป็ น เช่ น นั้น จากการ
สัมภาษณ์ผู้เข้าร่วมพิธีจึงได้ความว่า เป็นการแต่งการ ภาพหน้าปก : ผู้มาร่วมบวงสวงผีมด-ผีเม็ง(ตามความเชื่อแบบล้านนา)กําลังโหนขื่อ อันแสดงความเชื่อของ ของร่ า งทรงที ่ วิ ญ ญาณที ่ ม าทรงเป็ น ผู ้ ช าย ซึ ่ ง การสื่อสารระหว่างโลกนี้และโลกวิญญาณ สามารถทรงในร่างผู้หญิงได้ เช่นเดียวกับวิญญาณผู้ ภาพด้านบน : อ.วิษณุกร ทรายแก้ว(เจ้าสํานัก) เป็นร่าทรง ณ ม่อนสะหรีสัพพัญญู กําลังแต่งกายเพื่อไปร่วม หญิ ง ที่ส ามารถใช้ ร่ า งทรงผู้ช ายในการเข้ า ทรงเพื่อ บวงสวงผีมด-ผีเม็งในลานพิธีด้านหน้าสํานัก สื่อสารได้เช่นกัน
ภาพด้านบน : การร่ายรําบวงสรวงผีมด-ผีเม็ง ซึ้งขณะร่ายรําร่างทรงจะถูกใช้ร่างเพื่อเป็นสื่อกลางของพิธีกรรม เสมือนวิญญาณบรรพบุรุษได้เข้าสู่ร่างกาย และ กําลังเฉลิมฉลอง ในบรรยากาศของงาน และในร่างของมนุษย์
สิ่ง ปรากฏเบื้อ งหน้ า เป็ น โลกของพิ ธี ก รรม หากมอง เพียงแค่เปลือกนอกก็ไม่ต่างกับการฟ้อนรําทั่วไป แต่นี่ คื อ โลกศั ก ดิ ์ สิ ท ธิ ์ ข องเหล่ า ร่ า งทรง ผู ้ ที ่ ยิ น ยอมให้ วิญญาณใช่ร่างการของตนเพื่อการสื่อสารหากมองใ้ห้ ลึกในมุมทฤษฏี ทฤษฎีของเดอไคม์อธิบายว่า “คนที่ไร้ ความเจริญ” (เช่นคนพื้นเมือง) จะมีประสบการณ์เกี่ยว กั บ “ความแจ่ ม ใส” เมื่อ ได้ ทํ า กิ จ กรรมกั บ เพื่อ นฝู ง ประสบการณ์ นี้แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า มี อํ า นาจบางอย่ า งอยู่ นอกตัวมนุษย์ เมื่อพิธีกรรมเสร็จสิ้นลง คนจํานวนมาก ก็ แ ยกย้ า ยออกไปเพื่อ ไปทํ า กิ จ กรรมในชี วิ ต ประจํ า วั น ตามปกติ เดอร์ ไ คม์ แ บ่ ง แยกโลกในชี วิ ต ประจํ า วั น (profane) กับโลกที่ศั กดิ์สิทธิ์(sacred)ออกจากกัน โลก ในชีวิตประจําวันเป็นโลกของการทํางานแบบจําเจและมี ความสกปรก ส่วนโลกศักดิ์สิทธิ์จะเกิดในพิธีกรรม มี ความสะอาดบริสุทธิ์และมีอํานาจ ในพิธีกรรมจะมีความ รู้สึ ก แบบแจ่ ม ใสเบิ ก บาน รู ป ปั้น ศั ก ดิ์สิ ท ธิ์ใ นพิ ธี ก รรม หรือ โทเทม จะเป็นสัญลักษณ์ของอํานาจและทําให้เกิด ความรู้สึกเบิกบาน โทเทมเป็นสัญลักษณ์ของการรวม กลุ ่ ม และความเป็ น ปึ ก แผ่ น ของสั ง คม ซึ ่ ง จะเกิ ด ใน พิธีกรรม (นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ จาก Paul A. Erickson. A History of Anthropological Theory. Broadview Press,New York. 2001. Pp.91-99.)
การรั บ ขั น ครู เ องเสมื อ นหนึ่ง คื อ การฝากตั ว เป็ น ศิ ษ ย์ และการ ยินยอมมองร่างกาย(ของเรา) ให้กับสิ่งที่เหนือกว่าคือโลกของ วิญญาณ ใช้ร่างกายเป็นตัวกลางในการสื่อสาร และเป็นที่มาของ ร่างทรง การสื่อสารของร่างทรงและโลกวิญญาณ มีคําถามหนึ่งที่ผู้เขียน สอบถามร่างทรงว่า “เราสื่อสารกับวิญญาณอย่างไร” คําตอบที่ ได้จากร่างทรงอายุ 17 ปีคือ เราจะมีอาการง่วงอย่างไม่มีสาเหตุ แต่ไม่สามารถพูดคุยแบบที่เข้าใจกันทั่วไป จากคําถามของผู้เขียน เองมีกรอบคิดที่เกิดจากการสร้างภาพตัวแทน(Representation) ที่เกิดในโลกภาพยนตร์และละครไทยอย่างเห็นได้ชัด โดยมีความ สัมพันธ์กับชุดความคิด (a set of concept) หรือ ภาพแทนใน ภาพด้านบน : การร่ายรําบวงสวงผีมด-ผีเม็ง ซึ้งขณะร่ายรําร่างทรงจะถูกใช้ร่างเพื่อเป็นสื่อกลางของพิธีกรรม เสมือนวิญญาณบรรพบุรุษได้เข้าสู่ร่างกาย และกําลัง
ความคิด (mental representation) อย่างชัดเจน
เฉลิมฉลอง ในบรรยากาศของงาน และในร่างของมนุษย์ในการสื่อสาร
แต่ในที่นี้ผู้เขียนเองมิได้มองเหมือนเดอไคม์เสียทั้งหมด เพราะการสังเกตการณ์และการพูดคุย ทําให้เห็นบางแง่มุมที่ผู้เขียนเองก็ไม่เคยเข้าใจและพยามทําความเข้าใจ และหวังว่าบทความนี้จะ พาคุณท่องโลกพิธีกรรมที่ไม่เคยพบเจอเช่นกัน ร่างทรงเป็นใคร ร่างทรงเป็นผู้ที่ถูกเลือกมาแล้วและสืบทอดผ่านสายตระกูล แต่ในที่นี้ไม่ได้ หมายความว่าทุกคนในสายตระกูลจะเป็นร่างทรง เพราะวิญญาณเองจะเป็นคนเลือกร่างทรง เราเลยเห็นทั้งร่างทรงหญิงชายหลากหลายอายุและหากร่างทรงไม่ยอมรับที่จะเป็นจะเป็นเช่นไร จากคําสัมภาษณ์ได้ความว่า เกิดเรื่องไม่ดีกับชีวิต เช่นป่วยไม่ทราบสาเหตุ รักษาด้วยวิธี ทางการแพทย์แผนปัจจุบันไม่สามารถหาสาเหตุได้ เช่น อ.วิษณุกร ทรายแก้ว(เจ้าสํานัก) เล่าถึง ลูกศิษย์ว่า “อาเจียนเป็นเลือดทุกตอนเย็นเป็นเวลาหนึ่งอาทิตย์ แต่โรงพยาบาลไม่สามารถหา สาเหตุ ได้ ” เมื่อวิ ทยาศาสตร์ ไม่ ส ามารถอธิ บ ายได้ ค รอบครั ว จึง พาเด็ก คนนั้นมารั บ ขั น ครู อาการก็ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดและไม่มีอาการอีกเลย
ดังนั้นเมื่อมองลึกลงไปในลานพิธีครั้งนี้จึงเป็นเสมือนงานที่รําลึก ถึงวิญญาณบรรพบุรุษ ที่คอยดูแลปกปักรักษาลูกหลานและช่วย เหลือผู้มีความทุกข์ให้พ้นจากความทุกข์ยาก หาใช่เรื่องงมงาย อย่างที่กรอบความรู้เดิม หรือการประกอบสร้างความจริงทาง สังคม (Construction of Social Reality) อีกทั้งยังมีการโหนผ้ า ข้าวม้อในลานพิธี ซึ่งเป็นสัญญะอย่างหนึ่ง อันมีความหมายถึง การคลอดในสมัยก่อนที่มัดผ้ากับขื่อบ้าน อันเป็นการเชื่อมโยงโลก ของคนเป็นและคนตาย หมายรวมถึงการถือกําเนิดและการปกปัก จากผีมดอีกด้วย และนี่เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่ใช้พิธีกรรมเป็นกระบวนการหนึ่งในการ สืบทอดวัฒนธรรมและดํารงไว้ซึ่งความเชื่อ อันเป็นอัตลักษณ์ที่ สะท้อนถึงคุณค่า และตัวตนอีกด้วย
ภาพด้านบน : การร่ายรําบวงสวงผีมด-ผีเม็ง ซึ้งขณะร่ายรําร่างทรงจะถูกใช้ร่างเพื่อเป็นสื่อกลางของพิธีกรรม เสมือนวิญญาณบรรพบุรุษได้เข้าสู่ร่างกาย และกําลังเฉลิมฉลอง ในบรรยากาศของงาน และในร่างของมนุษย์
อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ฟ้อนผีมดผีเม็ง : http://www.sac.or.th/databases/rituals/detail.php?id=11 แนวคิดการสร้างภาพตัวแทน https://phdcommunication.wordpress.com/2013/03/07/แนวคิดการสร้างภาพแทน-representation/ อิทธิพลของอีมิล เดอร์ไคม์ http://www.vcharkarn.com/varticle/38117
ก า ร ฟ้ อ น ผี ม ด ผี เ ม็ ง คื อ ก า ร ฟ้ อ น ร ํา เ พื ่ อ เป็นการสังเวย หรือแก้บนผีบรรพบุรุษ ซึ่งชาว บ้านทางภาคเหนือนับถือกัน แต่ปัจจุบันได้เลือน หายไปมากแล้ว อย่างไรก็ตาม ยังมีปฏิบัติกัน อยู่บ้ า งในชนบทของล้ า นนาไทย ประเพณี นี้ สันนิษฐานว่าเป็นประเพณีมาจากมอญ เพราะ สังเกตได้จากการแต่งตัวในเวลาเข้าทรงจะเป็น แบบการแต่งตัวของพวกมอญโบราณ และพวก มอญนี้เองที่คนไทยภาคเหนือเรียกว่าเม็ง การ ฟ้อนผีมดผีเม็งนี้เป็นการสังเวยบรรพบุรุษ ซึ่ง จะจั ด อยู่ใ นวงศาคณาญาติ หรื อ ที่เ รี ย กว่ า ตระกูลเดียวกัน ในวันครบรอบปี หรือบางครั้ง ก็รอบ 2-3 ปี แล้วแต่จะสะดวก แต่บางทีพี่น้อง หรือญาติกันเกิดมีการเจ็บไข้ได้ป่วย ก็จะมีการ บนบานสารกล่าว ถ้าหายจากการเจ็บป่วยแล้ว ก็จะทําการแก้บน หรือฟ้อนแก้บนนั่นเอง สงวน โชติ สุ ข รั ต น์ . (2512).ประเพณี ไ ทยภาคเหนื อ . พระนคร : โอเดียนสโตร์. สุนีย์ ประสงค์บัณฑิต. (2546). ประเพณีสิบสองเดือน : พิธีกรรมที่ เปลี่ยนไป.กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
ภาพด้านบน : การร่ายรําบวงสวงผีมด-ผีเม็ง ซึ้งขณะร่ายรําร่างทรงจะถูกใช้ร่างเพื่อเป็นสื่อกลางของพิธีกรรม เสมือนวิญญาณบรรพบุรุษได้เข้าสู่ร่างกายและร่ายรําตามท่วงทํานอง