Clmv pulse cambodia full report

Page 1

CLMV Pulse Consumer Behavior, Lifestyle & Attitude

กัมพูชา ผลการวิจยั พฤติกรรมผูบ้ ริโภค 2013

Esaan Center for Business and Economic Research Khon Kaen University, Thailand

© Copyrights 2014 all rights reserved


หัวหน้าทีมวิจยั Ms. Mu Mu Thient, Yangon, Myanmar Dr. Phouphet KYOPHILAVONG, Laos National University, Vientiane, Laos Dr. Nguyen Luu Bao Doan, Hoa Sen University, Ho Chi Minh City, Vietnam Vin Spoann, Royal University of Phnom Penh, Phnom Penh, Cambodia Assit. Prof. Dr. Kullapapruk Piewthingngam, Khon Kaen University, Thailand

ข้อจากัดความรับผิดชอบ: ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ขอ สงวนสิทธิท้งั ปวง รวมทั้งสิทธิในการแก้ไข ทาซ้า ดัดแปลง ตลอดจนนาไปใช้อา้ งอิงหรือเผยแพร่รายงานนี้ ไม่ว่าส่วนหนึ่ ง ส่วนใดและด้วยวิธีการใด ๆ โดยไม่ได้รบั อนุ ญาตเป็ นหนังสือ บทความและความเห็นใด ๆ เป็ นบทความและความเห็นของ นั กวิจยั และเป็ นไปตามผลของการสารวจ ศูนย์วิจัยธุ รกิจและเศรษฐกิจอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสานั กงาน ส่งเสริมวิสาหกิจขนากลางและขนาดย่อม ไม่ตอ้ งรับผิดชอบและไม่รบั ประกันไม่ว่าในกรณีใด ๆ ในผลจากการนาข้อมูล ดังกล่าวไปใช้

ผูส้ นับสนุนทุนการวิจยั : รายงานฉบับนี้ ได้รบั ทุนจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นในการดาเนิ นการศึกษาวิจยั นอกจากนี้ ยังได้รบั ทุนสนับสนุ นจาก สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับอาหารและการตกแต่งบ้าน

ราคา : 450 บาท สงวนลิขสิทธิ์ - ห้ามเผยแพร่หรือนาไปใช้ในเชิงพาณิชย์ก่อนได้รบั อนุญาต

ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 โทร.: +66(0) 43 202 566, โทรสาร: +66(0) 42 202 567

email: ecber.kku@gmail.com www.ecberkku.com/asean www.facebook.com/ecberkku


Table of contents Preface Methodology Sample Education norm Work life Eat & drink habits Beauty and skin care Fashion habits Health and medical Smoking habits Shopping habits and attitude Hobby and free time Home care and decorations Pet care Travel habits Holiday and leisure Saving and investment habits

หน้า 1 2 3 6 7 8 22 23 24 25 26 29 30 39 40 41 41


Preface ประเทศกัมพูชา เป็ นประเทศขนาดเล็ก มีเขตแดนติดกับประเทศลาว ไทย เวียดนาม และอ่าวไทย เมืองที่ ส าคัญ ในประเทศกัม พูช า ได้แ ก่ พนมเปญ ซึ่ ง เป็ นเมื อ งหลวงและเป็ นศู น ย์ก ลางทางด้า นการเมื อ ง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม นอกจากนี้ ยังมี พระตะบอง และเสียมเรียบ ที่มีความสาคัญด้านวัฒนธรรมและ กาท่องเที่ยว ในช่วงที่ผ่านมาเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาได้เติบโตอย่างต่อ เนื่ อง สินค้าเกษตรกรรมและ ปศุสตั ว์ถือเป็ นแหล่งรายได้สาคัญของประเทศ โดยเฉพาะข้าว ไม้ และยางพารา ซึ่งเป็ นสินค้าสาคัญที่ช่วย ผลักดันให้ GDP ของประเทศขยายตัว เพิ่มขึ้ น แต่อย่างไรก็ตามกัมพูชายังถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศด้อย พัฒนาที่มีความยากจนมากประเทศหนึ่ ง ดังนั้น รัฐบาลกัมพูชาจึงให้ความสาคัญอย่างสูงสุดต่อการกาหนด ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศเพื่อมุง่ ขจัดความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตและ ความเป็ นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในพื้ นที่ชนบทให้ดีขึ้น เร่งรัดการพัฒนาโครงพื้ นฐานทางเศรษฐกิจ เช่ น การสร้างสนามบิ น ถนน ไฟฟ้ า ประปา และสาธารณู ปโภคต่ างๆ รวมทั้งส่งเสริ มการลงทุ นจาก ต่างชาติ โดยจากการริเริ่มของทางรัฐบาลและการสนับสนุ นงบประมาณจากต่างประเทศ ทาให้ในปั จจุบนั กัมพูชาได้พฒ ั นาระบบการดูแลสุขภาพและการศึกษาในเขตชนบทมากขึ้ น

1


Methodology ในรายงานการศึ ก ษาชิ้ นนี้ เราท าการวิเคราะห์พ ฤติ กรรมผู ้บริ โภคชาวกัมพูช า โดยการเก็บข้อมูลจาก แบบสอบถามจานวน 400 ชุด จากการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก และมีการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากการจัด สนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ร่วมกับผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการตลาดและพฤติกรรมผูบ้ ริโภค ซึ่งใน ส่วนของการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ได้กาหนดโครงสร้างของกลุ่มตัวอย่างตามลักษณะทางประชากรศาสตร์ ของประเทศกัมพูช า เพื่ อให้ไ ด้ก ลุ่มตัวอย่างที่ น่าเชื่ อถื อและเป็ นตัวแทนของคนจ านวนมากได้ โดยใน ประเทศกัมพูชานั้นได้เก็บข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างในกรุงพนมเปญ ซึ่งเบื้ องต้นเราพบว่า ชาวกัมพูชามีรายได้ ค่อนข้างตา่ โดยกว่าร้อยละ 42 มีรายได้ไม่เกินเดือนละ 5,000 บาท อีกร้อยละ 31 มีรายได้อยู่ระหว่าง เดือนละ 5,001 - 10,000 บาท ร้อยละ 20 มีรายได้ระหว่างเดือนละ 10,001 – 25,000 บาท มีเพียง ไม่ถึงร้อยละ 7 เท่านั้นที่มีรายได้สงู กว่า 25,000 บาทต่อเดือน อัตราแลกเปลี่ยนของกัมพูชา คือ เรียล (Riel: KHR) ซึ่งมีค่าค่อนข้างตา่ เมื่อเทียบกับเงินตราต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเงินดอลลาร์ของประเทศสหรัฐอเมริกา (1 เหรียญสหรัฐฯ = 3,987 กัมพูชารีล) ผล จากการศึกษาเบื้ องต้นสะท้อนให้เห็นว่าชาวกัมพูชาพยายามเข้าถึงการศึกษามากขึ้ น เพื่อให้มีอนาคตที่ดี และมีความมัน่ คงด้านการเงิน ซึ่งทางภาครัฐกาลังได้รบั การสนับสนุ นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยการให้ การศึกษาแก่ประชาชนและเปิ ดโอกาสให้มีลงทุนจากต่างประเทศมากยิ่งขึ้ น

2


Sample ข้อมูลภาพรวมประชากรจากแบบสอบถาม จาแนกได้ดงั นี้ 1) เพศ (Gender)

2) ระดับอายุ (Age)

8% 1%

17%

11% 39% 61% 34%

29%

Male

Female

3) ระดับรายได้ส่วนบุคคล (Personal Income)

18-22 ปี

23-29 ปี

30-39 ปี

40-49 ปี

50-60 ปี

มากกว่า 60 ปี

4) ระดับรายได้ครัวเรือน (Household Income)

7%

14% 30%

20% 42% 31% 25%

31%

รายได้ปานกลาง-ล่าง; <5,000 บาท

รายได้ปานกลาง-ล่าง; <5,000 บาท

รายได้ปานกลาง; 5,000 - 10,000 บาท

รายได้ปานกลาง; 5,000 - 10,000 บาท

รายได้ปานกลาง-สูง; 10,000 - 25,000 บาท

รายได้ปานกลาง-สูง; 10,000 - 25,000 บาท

รายได้สงู ; >25,000 บาท

รายได้สงู ; >25,000 บาท 3


5) อาชีพ (Current Occupation)

17%

6) การศึกษา (Education Level)

10%

21%

24% 13%

18% 19%

17% 2%

33%

25%

นักเรียน นักศึกษา

พนักงานของรัฐ

ประถมศึกษา/ตา่ กว่า

มัธยมศึกษาตอนต้น

พนักงานเอกชน

ผูป้ ระกอบการขนาดเล็ก

มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.

อนุ ปริญญา/ปวส.

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ลูกจ้างชัว่ คราว

อื่นๆ ปริญญาเอก

7) ศาสนา (Religious)

8) เชื้ อชาติ/เผ่าพันธุ ์ (Ancestor’s Ethnicity)

94% 4% 2% 95%

พุทธ

คาทอลิก

โปรเทสแตนท์

อื่นๆ

จีน

เขมร

เขมร-จีน

4


จากข้อมูลภาพรวมประชากรจากแบบสอบถามนั้ น พบว่า กลุ่มตัวอย่างเพศหญิ งมีสัดส่วนมากกว่าเพศ ชายตาลักษณะประชากรของกัมพูชา โดยคิดเป็ นเพศหญิ งร้อยละ 61 และเพศชายร้อยละ 39 สาหรับ สัดส่วนตามช่วงอายุ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อายุระหว่าง 23-29 ปี รองลงมาคืออายุระหว่าง 30-39 ปี ด้านรายได้ส่วนบุคคล (Personal Income) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะมีระดับรายได้ปานกลาง-ล่าง คือ ตา่ กว่า 5,000 บาทต่อเดือน และรายได้ครัวเรือน (Household Income) ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง – สูง คือ 10,001 – 25,000 บาทต่อเดือน สาหรับข้อมูลด้านอาชีพของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอาชีพเป็ นเจ้าของกิจการขนาดเล็ก คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 25 รองลงมาคืออาชีพพนักงานของรัฐ สัดส่วนร้อยละ 21 และด้านการศึกษา กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่สาเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี คิดเป็ นร้อยละ 33 และรองลงมาคือระดับปริญญา โทคิดเป็ นร้อยละ 24 นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ยงั นับถือศาสนาพุทธคิดเป็ นร้อยละ 96 และมีเชื้ อ สายเขมรเป็ นส่วนใหญ่

5


Education norm ระดับการศึ ก ษาของชาวกัมพูช า พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จ บการศึ ก ษาในระดับปริญญาตรี สัดส่วน ร้อยละ 33 รองลงมาคือระดับปริญญาโท ร้อยละ 24 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ ปวช.ร้อยละ 17 ตามลาดับ โดยส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 70 จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยของรัฐ หรือสถาบันการศึกษา ของรัฐ โดยหน่ วยงานจัดการศึกษาของกัมพูชา ได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการ เยาวชน และการกีฬา (Ministry of Education, Youth and Sport – Cambodia) ระบอบการจัดการศึกษาของกัมพูชาได้บรรจุไว้ใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ มีเป้าหมายเพื่อให้การศึกษาเป็ นกลไกสาคัญของประเทศในการขจัด ความยากจน ในปั จจุบนั กัมพูชาได้ใช้ระบบการศึกษาแบบ 12 ปี (6+3+3) โดยจะแบ่งเป็ นการศึ กษาก่อน ประถมศึ ก ษา 3 ปี ประถมศึ ก ษา 6 ปี มัธ ยมศึ ก ษาตอนต้น 3 ปี มัธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย 3 ปี และ ระดับอุดมศึกษา 4-7 ปี ส่วนการจัดการศึกษาด้านอาชีวะและเทคนิ คจัดให้ต้งั แต่ 1 ปี ไปจนถึง 3-5 ปี การจัดการศึกษาระดับอุดมศึ กษานี้ บางสถาบันการศึ กษาอยู่ภายใต้การกากับดูแลของกระทรวงเกษตร สาธารณสุขหรือแรงงาน การจัดการศึกษานอกระบบจะเน้นการฝึ กทักษะ ให้กบั ประชาชน

สถาบันการศึกษา นานาชาติในประเทศ 3% สถาบันการศึกษาของรัฐ ในประเทศ 70%

สถาบันการศึกษา ที่กลุ่มตัวอย่าง สาเร็จการศึกษา

สถาบันการศึกษาเอกชน ในประเทศ 16%

สถาบันการศึกษาจาก นานาชาติ 11%

โดยทัว่ ไปแล้วอย่างตา่ เด็ กชาวกัมพูชาที่ มีอายุ 6 ปี จะต้องเริ่มเข้ารับการศึ กษา แต่ก็ มีเป็ นจ านวนมาก เช่นกันที่อายุล่วงเลยไปมากกว่านั้นกว่าจะเริ่มเข้าโรงเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบชนบท สาหรับอัตรา การอ่านออกเขียนได้ขอ้ มูลจาก CIA Fact Book เมื่อปี พ.ศ. 2555 พบว่า ประชากรอายุต้งั แต่ 15 ปี ขึ้ นไป ในภาพรวมของประเทศ มีอตั ราการอ่านออกเขียนได้ประมาณร้อยละ 78 และมีค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาคิด เป็ นร้อยละ 2.6 ของ GDP

6


Work life ลักษณะการทางานของชาวกัมพูชานั้น จากผลการสารวจอาชีพของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 25 เป็ นเจ้าของธุ รกิจ ซึ่งเป็ นธุ รกิจขนาดเล็ก รองลงมาคือเป็ นข้าราชการ พนักงานของรัฐ คิดเป็ นร้อยละ 21 และลูกจ้าง หรือพนักงานของเอกชน คิดเป็ นร้อยละ 19 ตามลาดับ การเดินทางไปทางาน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มกั จะเดินทางโดยรถจักรยานยนต์ เนื่ องจากความสะดวก และ การซื้ อรถจักรยานยนต์น้ั นราคาตา่ กว่าการซื้ อรถยนต์ และวันทางานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 5.72 วันต่อสัปดาห์ ชัว่ โมงทางานเฉลี่ย 8.81 ชัว่ โมงต่อวัน นอกจากนี้ มีกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะไม่ทางานพาร์ทไทม์ มีเพียง ร้อยละ 19 ที่ทางานพาร์ทไทม์ควบคู่กบั งานประจา

รถจักรยานยนต์ 59% รถจักรยาน 3% รถโดยสารสาธารณะ 2%

วิธีการเดินทางไปทางาน ในชีวิตประจาวัน ของชาวกัมพูชา

เดิน 21% รถยนต์ส่วนตัว 13%

กัมพูชาไม่มีการกาหนดอัตราค่าจ้างขั้นตา่ ยกเว้นในกลุ่มอุตสาหกรรมสิ่งทอ ที่มีการกาหนดค่าจ้างขั้นตา่ ไว้ 51 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเดือน สาหรับในระยะฝึ กงาน และ 56 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเดือนเมื่อผ่านระยะฝึ กงาน และการกาหนดค่าจ้างขั้นตา่ ในอุตสาหกรรมอื่นๆ ให้เป็ นไปในแนวทางที่สนับสนุ นการครองชีพประจาวัน และต้องเป็ นไปเพื่อเหตุผลทางมนุ ษยธรรม แต่อย่างไรก็ตามแรงงานชาวกัมพูชาได้รวมตัวกั นเรียกร้องให้ ทางการปรับเพิ่มค่าแรงขัน้ ตา่ เป็ นเดือนละ 100 เหรียญสหรัฐฯ

7


Eat & Drink habits ห้องครัวและการเก็บอาหาร ลักษณะของครัวที่ ใช้ทาอาหารของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชานั้ น ส่วนใหญ่ จ ะเป็ นครัวแบบดั้งเดิ มที่ ต้ังอยู่ ภายในบ้านคิดเป็ นร้อยละ 86 ส่วนรองลงมาจะเป็ นครัวแบบดั้งเดิมที่ตงั อยู่นอกบ้าน ส่วนครัวแบบสมัยใหม่ นั้นมีสดั ส่วนเพียงเล็กน้อยเท่านั้น นอกจากนี้ กลุ่ม ตัวอย่างชาวกัมพูชามักจะทาอาหารรับประทานเองที่บา้ น ทุกวันหรือเกือบทุกวัน คิดเป็ นสัดส่วนถึงร้อยละ 88 และอาหารที่ทาเองส่วนใหญ่ก็จะเป็ นอาหารท้องถิ่นของ กัมพูชาเอง โดยส่วนใหญ่ จ ะท าหน้าที่ ประกอบอาหารด้วยตนเอง หรื อไม่ก็ จ ะเป็ นแม่ที่ ท าหน้าที่ นี้ และ สาหรับกลุ่มที่ไม่ได้ทาอาหารรับประทานเองที่บา้ น สาเหตุส่วนใหญ่บอกว่าไม่สะดวกและไม่มีเวลาที่จะทา โดยเครื่องใช้ไฟฟ้ าในบ้านของชาวกัมพูชาหลักๆ แล้วจะเป็ นเตาแก๊ส หรือเตาไฟฟ้ า ซึ่งมีอยู่เกือบทุกบ้าน แต่ สาหรับตูเ้ ย็นมีกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 54 เท่านั้นที่มีอยู่ที่บา้ น นอกเหนื อจากนั้นจะเป็ นกระติกน้ าร้อนไฟฟ้ า เตาอบ เตาไมโครเวฟ ซึ่งก็จะเห็นได้ว่าแม้กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะยังไม่มีเครื่องใช้ไฟฟ้ าแบบครบครัน แต่ คาดว่าแนวโน้มในอนาคตน่ าจะเพิ่มมากขึ้ น

มี เครื่องกรองน้ า

100%

เครื่องล้างจาน

99%

เครื่องดูดควัน 3%

97%

เครื่องปิ้ งขนมปั ง

6%

94%

เตาอบ

6%

94%

เตาไมโครเวฟ

7%

93%

กระติกน้ าร้อน ตูเ้ ย็น เตาแก๊ส หรือเตาไฟฟ้า

30%

ไม่มี

70% 54%

46% 98%

2%

เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีในห้องครัว

8


ในส่วนของการซื้ ออาหารและการเก็บอาหารของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่จะไม่ซื้อเนื้ อสัตว์แช่แข็ง แต่จะซื้ อ เป็ นเนื้ อสดมากกว่า โดยเกือบร้อยละ 60 มีความถี่ในการซื้ อเกือบทุกวันหรือสัปดาห์ละครั้ง และมักจะซื้ อที่ ตลาดสดเป็ นหลัก หรือคิดเป็ นร้อยละ 81 ส่วนผักสดส่วนใหญ่จะซื้ อแทบทุกวัน หรือสัปดาห์ละครั้ง คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 80 และซื้ อที่ตลาดสดเช่นกัน และผลไม้สดจะซื้ อประมาณสองสามวันต่อครั้ง หรือสัปดาห์ละ ครั้ง คิดเป็ นร้อยละ 73 และซื้ อที่ตลาดสดเป็ นส่วนใหญ่ เช่นกัน ส่วนอาหารประเภทข้าวสาร อาหารแห้ง เครื่องปรุง อาหารกระป๋อง อาหารกึ่งสาเร็จรูปต่าง ๆ นั้น กว่าครึ่งหนึ่ งจะซื้ อประมาณเดือนละครั้ง และซื้ อ ตามร้านขายของในตลาดสด และร้านขายของชา ร้านโชห่วยเป็ นส่วนใหญ่ โดยเกือบร้อยละ 70 มักจะซื้ อให้ เพียงพอต่อการใช้ในแต่ละครั้งเท่านั้น หรือประมาณ 1-2 ชิ้ น ไม่ค่อยซื้ อเผื่อสาหรับใช้ครั้งต่อไปมากนัก แต่ จากการสารวจพบว่าในกลุ่มผูม้ ีรายได้สูงก็มกั จะซื้ อของเผื่อในการบริโภคครั้งต่อไปเป็ นส่วนใหญ่ ส่วนการ ซื้ ออาหารแช่แข็งหรืออาหารพร้อมรับประทาน พบว่ากลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชาส่วนใหญ่จะยังไม่ เคยซื้ อมา บริโภคเท่าใดนัก ซึ่งสูงถึงร้อยละ 60 แบะมีกลุ่มตัวอย่างประมาณร้อยละ 30 เท่านั้นที่ซื้ออย่างตา่ เดือนละ ครั้ง เพราะยังเห็นว่าชีวิตยังไม่ได้เร่งรีบจนต้องซื้ ออาหารสาเร็จรูปดังกล่าว แต่หากจะซื้ อก็มกั จะซื้ อตาม ซุปเปอร์มาร์เก็ตเป็ นส่วนใหญ่ เพราะยังไม่มีจาหน่ ายอย่างแพร่หลาย และมีสินค้าให้เลือกหลากหลาย

9


ข้าวสาร

6%

อาหารพร้อม รับประทาน

13%

อาหารแช่แข็ง

12%

46% 18% 12%

17%

8%

เครื่องปรุงต่างๆ

40%

41% 25%

14%

30%

0%

7%

24% 29%

20%

40%

16%

15%

63%

เนื้ อสัตว์ (แช่แข็ง)

6%

55% 53%

ผัก

10%

64%

20%

ผลไม้

8%

4% 7%

5% 5%

20%

อาหารแห้ง

25%

5%

60%

4%

11% 4%

7%

33%

80%

ทุกวันเกือบทุกวัน

ทุกสัปดาห์

ทุกเดือน

ทุกๆ 3 เดือน

ทุกๆ 6 เดือน หรือนานกว่านั้น

ไม่เคย/แทบจะไม่เคย

100%

ความถี่ในการซื้ ออาหารแต่ละประเภท

10


แผงขายอาหารในตลาดสด กรุงพนมเปญ

11


แผงขายสินค้าในตลาดสด กรุงพนมเปญ

แผงขายอาหารริมถนนในกรุงพนมเปญ

12


สาหรับการปลูกผักและเลี้ ยงสัตว์เพื่อการบริโภคในครัวเรือนของชาวกัมพูชา ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 72 บอกว่า ไม่ไ ด้ปลูก ผักหรื อเลี้ ยงสัตว์ไ ว้เพื่ อการบริ โ ภคเลย มี ก ลุ่มตัวอย่างร้อยละ 17 บอกว่า ปลูกผัก ที่ บา้ นเพื่ อ รับประทานเองในครัวเรือน ส่วนการปลูกข้าวนั้นกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มพนมเปญบอกว่าปลูกเพียงร้อยละ 4 เท่านั้น เมื่อสอบถามถึ งปั จจัย ที่ ก ลุ่มตัวอย่างใช้ในการตัด สิ นใจซื้ อสิ นค้า ปั จจัย หลัก สาคัญ ที่ สุดคื อเป็ นสิ นค้า ที่ ปลอดภัยต่อสุขภาพ ออร์แกนิ ค ซึ่งมีค่าเฉลี่ย 4.60 รองลงมาจะเป็ นเรื่องราคา มีค่าเฉลี่ย 4.16 และตรา สินค้า ค่าเฉลี่ย 3.97 ส่วนปั จจัยที่ไม่ค่อยให้ความสาคัญมากนักหรือไม่ได้นามาพิจารณาในการตัดสินใจซื้ อ สินค้าเท่าใดนัก ได้แก่ สินค้าที่มีของแถมต่าง ๆ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเพียง 2.99 รองลงมาเป็ นเรื่องของการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ทั้งทางโทรทัศน์ วิท ยุ ป้ายบิลบอร์ด และลักษณะของสินค้าที่มีสีสนั สดใส ฉู ดฉาด มี ค่าเฉลี่ย 3.05 และ 3.11 ตามลาดับ สินค้านาเข้า

3.30

โฆษณาตามป้ายบิลบอร์ด โทรทัศน์ วิทยุ

3.05

วางขายในร้านที่น่าเชื่อถือ

3.67

ของแถม

2.99

สินค้าลดราคา

3.62

ดีต่อสุขภาพ ออร์แกนิ ค

4.60

ราคา

4.16

สีสนั

3.11

เครื่องหมายรับรองคุณภาพ

3.76

หีบห่อที่ดีและสวยงาม

3.58

ฉลากที่มีขอ้ มูลครบถ้วน

3.78

แบรนด์

3.97 1.00

2.00

3.00

4.00

5.00

แสดงค่าเฉลี่ยปั จจัยในการตัดสินใจซื้ อสินค้าของผูบ้ ริโภคชาวกัมพูชา

13


ส่วนเรื่องของรสชาติอาหาร กลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชาส่วนใหญ่กว่าครึ่งหนึ่ งบอกวาสระดับการรับประทาน อาหารรสเผ็ ด จะอยู่ในระดับ 5 ขึ้ นไป โดยค่าเฉลี่ ย รวมอยู่ที่ 5.8 แต่ อย่างไรก็ตามเมื่อเที ย บรสเผ็ ด ของ อาหารกัมพูชากับอาหารไทยหรืออาหารลาวแล้ว พบว่าจะมีรสชาติไม่เผ็ ดเท่า ส่วนรสหวานนั้นส่วนใหญ่จะ บอกว่าอยู่ในระดับกลาง ๆ คือระดับ 5 ซึ่งมีรอ้ ยละ 31 และมีค่าเฉลี่ยของระดับการรับประทานอาหารรส หวานอยู่ที่ 5.5 สาหรับรสเค็มกลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 80 บอกว่ารับประทานในระดับตา่ กว่า 5 และมี ค่าเฉลี่ย 3.9 ต่อมาคือรสเปรี้ ยวส่วนใหญ่จะบอกว่าอยู่ที่ระดับ 5 เช่นกัน และมีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 5.1 และ รสขมกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 86 จะรับประทานตา่ กว่าระดับ 5 ซึ่งพบว่ามีค่าเฉลี่ยรวมเพียง 2.9 เท่านั้น ส่วน อาหารที่กลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชาไม่นิยมรับประทานมากที่สุด คือ หอย คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 50 ของกลุ่ม ตัวอย่างทั้งหมด รองลงมาคือ เนื้ อเป็ ดและปู คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 21 และ 11 ตามลาดับ

พฤติกรรมการรับประทานอาหารนอกบ้าน กลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชาส่วนใหญ่จะรับประทานอาหารเช้านอกบ้าน คิดเป็ นร้อยละ 52 ของกลุ่มตัวอย่าง เพราะในช่ วงเช้านั้ น จะเร่งรีบในการไปทางาน ไม่ค่อยมีเวลาในการเตรี ยมและปรุ งอาหารมากนั ก และ อาหารเช้านอกบ้านนั้นยังมีหลากหลายให้เลือก และราคาไม่สูงมากนั ก ซึ่ งอาหารเช้าที่ กลุ่มตัวอย่างกว่า ครึ่ ง หนึ่ ง หรื อ ร้อ ยละ 56 มัก จะรับ ประทานจะเป็ นอาหารประเภทข้า วราดแกงหรื อ อาหารจานเดี ย ว รองลงมาจะเป็ นอาหารประเภทข้าวต้ม ซุป ชา และกาแฟ ส่วนกลุ่มที่ทาอาหารเช้ารับประทานเองที่บา้ นนั้น มีสดั ส่วนร้อยละ 29 สาหรับอาหารกลางวันกลับพบว่าส่วนใหญ่รอ้ ยละ 58 จะรับประทานที่บา้ น มีเพียง ร้อยละ 29 เท่านั้นที่รบั ประทานอาหารกลางวันนอกบ้าน และส่วนของอาหารเย็นส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 90 จะ ทารับประทานเองที่บา้ น เพราะหากรับประทานนอกบ้านแล้ว กลุ่มตัวอย่างบอกว่าค่าใช้จ่ายจะสูงเกินไปเมื่อ เทียบกับรายได้

มื้อเย็น

90%

มื้อกลางวัน

58%

มื้อเช้า

29%

ทาทานเอง

7%

3%

10%

16%

ซื้อกลับบ้าน

29%

52%

ห่อมาจากบ้าน

ไปทานนอกบ้าน

พฤติกรรมการรับประทานอาหารในแต่ละมื้ อ

14


สาหรับพฤติกรรมการออกไปรับประทานอาหารนอกบ้าน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่บอกว่ามักจะไปกับกลุ่ม เพื่อน ๆ ร้อยละ 39 และออกไปกับครอบครัวร้อยละ 34 โดยการออกไปรับประทานอาหารนอกบ้านของ กลุ่มตัวอย่างจะมีความถี่อยู่ที่สปั ดาห์ละครั้งถึงเดือนละครั้ง ซึ่งมีสดั ส่วนเท่ากันคือร้อยละ 27 รองลงมาจะ บอกว่าออกไปรับประทานอาหารนอกบ้านทุกวันหรือเกือบจะทุกวัน คิดเป็ นร้อยละ 24 ส่วนผูท้ ี่บอกว่าไม่ เคยหรือแทบจะไม่เคยออกไปรับประทานอาหารนอกบ้านเลย มีสดั ส่วนร้อยละ 7 และสาหรับสถานที่ที่กลุ่ม ตัวอย่างมักจะไปรับประทานอาหาร จะเป็ นร้านอาหารหรือศูนย์อาหารต่าง ๆ สัดส่วนร้อยละ 45 รองลงมา จะเป็ น Food Court ตามศูนย์การค้า หรือแผงขายอาหารทัว่ ไป และในตลาด คิดเป็ นร้อยละ 38 ไม่เคย/แทบจะไม่เคย 7% มากกว่าเดือน 15%

ทุกวัน/เกือบทุกวัน 24%

ความถี่ในการ ออกไปรับประทาน อาหารนอกบ้าน ทุกเดือน 27%

ทุกสัปดาห์ 27%

ประเภทของอาหารที่มกั จะรับประทาน กลุ่มตัวอย่างบอกว่าหลัก ๆ แล้ว จะเป็ นอาหารท้องถิ่นของกัมพูชา เอง ซึ่งกว่าร้อยละ 90 จะรับประทานทุกวัน หรือเกือบทุกวัน หรืออย่างน้อยคือสัปดาห์ละครั้ง ซึ่งนัน่ เพราะ อาหารท้องถิ่นนั้นหาง่าย ราคาไม่แพง และยังคุน้ เคยกับรสชาติอีกด้วย ส่วนอาหารชาติอื่นๆ นั้นความถี่ใน การรับประทานจะไม่สูงมากนั ก ส่วนใหญ่จะอยู่ที่เดื อนละครั้ง หรือ 3 เดือนครั้ง ซึ่ งมักจะเป็ นอาหารจีน อาหารเวียดนาม รวมไปถึ งอาหารไทยด้วย ส่วนอาหารประเภทปิ้ งย่าง ฟาสต์ฟู๊ด ชาบู หม้อไฟนั้น แม้ใน ปั จ จุบันจะมีความถี่ ในการรับประทานไม่มากนั ก แต่ ถือว่าอยู่ในระดับที่ กาลังเริ่ มได้รับความนิ ยม คื อมี ความถี่ ประมาณเดื อนละครั้ง ถึ ง 2-3 เดื อนต่อครั้ง ประกอบกับ การวิจัยเชิงคุ ณภาพแล้วพบว่า อาหาร ประเภทนี้ กาลังเริ่มเป็ นที่นิยมมากขึ้ นในกัมพูชา โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น วัยทางาน ที่มีแนวโน้มการออกไป รับประทานอาหารนอกบ้านมากขึ้ น และเปิ ดรับอาหารจากต่างประเทศมากขึ้ น รวมไปถึงอาหารที่ทาให้ได้ ทดลองรสชาติใหม่ ๆ ทั้งยังมีความสะดวกสบายในการออกไปรับประทานอาหารนอกบ้าน รวมทั้งกลุ่มนี้ จะ มีกาลังซื้ อมากกว่ากลุ่มอื่น ๆ อีกด้วย นอกจากนี้ จานวนร้านอาหารประเภทดังกล่าวยังได้เพิ่มขึ้ นอย่าง รวดเร็วในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้มีโอกาสเป็ นอย่างยิ่งที่จะเติบโตต่อไป

15


การเลือกร้านอาหารของกลุ่มตัวอย่างนั้น ส่วนใหญ่ คิดเป็ นร้อยละ 93 บอกว่าจะเลือกจากรสชาติเป็ นหลัก รองลงมาคือราคา และการบริ การ ตามลาดับ และร้อยละ 60 บอกว่า มัก จะไปตามร้านที่ กลุ่มเพื่อน ๆ แนะนาต่อ ๆ กันมา และมีบางส่วน ร้อยละ 15 ที่เลือกเพราะเห็นจากโฆษณาทางโทรทัศน์และวิทยุ และ ร้อยละ 13 บอกว่าเลือกเพราะผ่านร้านอาหารร้านนั้นพอดี

ชาวกัมพูชาออกมารับประทานอาหารนอกบ้านกันเป็ นครอบครัว

ร้านอาหารสมัยใหม่ในกรุงพนมเปญ

16


เมื่อกล่าวถึ งการใช้บริ ก ารส่งอาหารถึ งที่ (Delivery) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ จ ะยังไม่เคยสัง่ อาหารมา รับประทานที่บา้ น ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 61 ส่วนอีกร้อยละ 35 นั้นเคยสัง่ อาหารมารับประทานที่บา้ น บ้าง แต่นาน ๆ ครั้ง และมีเพียงร้อยละ 4 ที่สงั ่ อาหารมารับประทานที่บา้ นอยู่เสมอ ส่วนการสัง่ อาหารมา รับประทานที่ทางาน ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 67 ไม่เคยสัง่ อาหารมารับประทานที่ที่ทางาน ร้อยละ 31 บอกว่าเคย สัง่ มาบ้างเป็ นบางครั้ง แต่ไม่บ่อย มีเพียงร้อยละ 2 เท่านั้นที่สงั ่ อาหารมาส่งที่ที่ทางานอยูเ่ ป็ นประจา

แนวโน้มการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รอ้ ยละ 41 บอก ว่ารับประทานทุกวันหรือเกือบทุกวัน และร้อยละ 21 รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพทุก ๆ สัปดาห์ แต่จะ พบว่ามีกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 24 ที่บอกว่าไม่เคย หรือแทบจะไม่เคยรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพเลย และ เมื่อถามถึงอาหารเพื่อสุขภาพที่กลุ่มตัวอย่างรับประทาน ส่วนใหญ่เกือบร้อยละ 70 บอกว่าจะเป็ นอาหาร ประเภทออร์แกนิ คและผักต่าง ๆ รองลงมาจะเป็ นอาหารจาพวกอาหารเสริมหรือวิตามิน และเครื่องดื่ ม สมุนไพรต่าง ๆ สาหรับวัตถุประสงค์ในการรับประทานอาหารเพื่ อสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างที่รบั ประทานนั้น ร้อยละ 78 บอกว่าอยากมีสุขภาพที่ดี และร้อยละ 9 บอกว่าเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง ไม่เจ็บป่ วย ส่วนราคา ของอาหารเพื่อสุขภาพที่กลุ่มตัวอย่างยอมจ่ายเพิ่มนั้น ร้อยละ 32 จ่ายเพิ่ม 5% จากราคาอาหารปกติ และ ร้อยละ 29 บอกว่าจ่ายเพิ่ม 10% จากราคาอาหารปกติ มีกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 19 ที่บอกว่าไม่จ่ายเพิ่มจาก ราคาอาหารปกติเลย ส่วนกลุ่มที่ไม่รบั ประทานอาหารเพื่อสุขภาพนั้น สาเหตุหลัก ๆ แล้วเนื่ องมาจากอาหารเพื่อสุขภาพนั้นหา ยาก และไม่สะดวกเท่าใดนัก คิดเป็ นร้อยละ 53 ของผูท้ ี่ไม่รบั ประทาน รองลงมาจะเป็ นเรื่องราคาที่แพงกว่า อาหารปกติ สัดส่วนร้อยละ 25 และร้อยละ 16 เห็นว่ายังไม่จาเป็ นที่จะต้องรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ ทุกสัปดาห์ 21% ทุกเดือน 8% ทุกวัน/เกือบทุกวัน 41%

ความถี่ในการรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพ ของกลุ่มตัวอย่าง

มากกว่าเดือน 6%

ไม่เคย/แทบจะไม่เคย 24%

17


ส่วนพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีผลต่อสุขภาพอื่น ๆ นั้น ส่วนใหญ่กว่าครึ่งหนึ่ งของกลุ่มตัวอย่างจะ พยายามหลีกเลี่ยงอาหารมัน ของทอด อาหารที่ใส่ผงชูรส อาหารหมักดอง อาหารพร้อมปรุง และอาหาร สาเร็จรูปต่าง ๆ แต่อาหารปิ้ งย่างและของหวานนั้น พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 69 และร้อยละ 64 ตามลาดับ ยังคงรับประทานอยูบ่ ่อยครั้ง และสาหรับอาหารฟาสต์ฟดู๊ ร้อยละ 34 รับประทานอยู่เป็ นประจา ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นกลุ่มวัยรุ่น และกลุ่มคนทางานรุ่นใหม่ ส่วนกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47 บอกว่าพยายามที่จะ หลีกเลี่ยงอาหารฟาสต์ฟดู๊ และมีรอ้ ยละ 19 ที่ไม่รบั ประทานเลย

อาหารพร้อมรับประทาน

17%

อาหารฟาสต์ฟู๊ด

19%

อาหารหมักดอง

13%

อาหารที่ใส่ผงชูรส

15%

อาหารปิ้งย่าง

3%

ของหวาน

3%

ของทอด อาหารมัน

59%

25%

47%

34%

52%

35%

51%

34%

27%

69%

33%

8%

64% 62%

17%

งดรับประทาน

31% 75%

พยายามหลีกเลี่ยง

8%

รับประทานเป็นประจา

พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ มแอลกอฮอล์ของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา ส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 59 บอกว่าดื่มบ้าง เป็ นบางครั้ง ซึ่งมีสดั ส่วนของเพศชายและเพศหญิงใกล้เคียงกัน และมี กลุ่มตัวอย่างเพียงร้อยละ 4 ที่บอกว่า ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อยู่เป็ นประจา และร้อยละ 37 ที่บอกว่าไม่ดื่มเลย โดยหากพิจารณาแยกตามเพศ แล้วจะเห็นว่าเพศชายดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงกว่าเพศหญิง โดยดื่มอยู่เป็ นประจาร้อยละ 8 และดื่มบ้าง เป็ นครั้งคราวร้อยละ 79 มีเพศชายเพียงร้อยละ 13 เท่านั้นที่บอกว่าไม่ดื่มเครื่องดื่ มแอลกอฮอล์เลย ส่วน เพศหญิงกลุ่มที่ดื่มเป็ นประจามีรอ้ ยละ 1 เท่านั้น กลุ่มที่ดื่มอยูเ่ ป็ นประจามีรอ้ ยละ 46 และร้อยละ 53 บอก ว่าไม่ดื่มเลย โดยเหตุผลที่ไม่ดื่มนั้น ร้อยละ 56 บอกว่าเป็ นเพราะไม่ชอบรสชาติ และร้อยละ 37 บอกว่า เป็ นสิ่งที่ไม่ดีต่อสุขภาพ

18


สาหรับกัมพูชานั้น ถือได้ว่าเป็ นอีกประเทศที่มีกิจกรรมสังสรรค์ เฉลิมฉลองเทศกาลต่าง ๆ อยู่เป็ นประจา ทาให้ปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์สูงตามไปด้วย และกัมพูชานั้นยังเป็ นประเทศที่ผลิตเบียร์ในประเทศ ซึ่ ง ยี่หอ้ ที่มีความโดดเด่นที่สุด คือ Angkor Beer ที่ยงั ได้รบั การยอมรับในเรื่องของคุณภาพในระดับนานาชาติ อีกด้วย

ภาพรวม 4%

59%

เพศหญิง

เพศชาย

37%

46%

8%

53%

79%

ดื่มเป็นประจา

ดื่มบ้างบางโอกาส

13%

ไม่ดื่มเลย

พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แยกตามเพศ

พฤติกรรมการดื่มเครือ่ งดื่มประเภทต่าง ๆ เครื่องดื่มประเภทอื่น ๆ นั้น เครื่องดื่มพวกนมสด กาแฟกึ่งสาเร็จรูป ชา น้ าผักผลไม้ และนาอัดลม กลุ่ม ตัวอย่างประมาณครึ่งหนึ่ งจะดื่มอยู่เป็ นประจา คือเกือบทุ กวัน หรือประมาณสัปดาห์ละครั้ง และมักจะซื้ อ จากร้านนม ร้านขายของชา เป็ นส่วนใหญ่ ส่วนกาแฟสดส่วนใหญ่รอ้ ยละ 55 บอกว่าไม่เคยดื่ม หรือแทบจะ ไม่เคยดื่ม มีกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 26 ที่บอกว่าดื่มอยูเ่ ป็ นประจา และจะซื้ อจากร้านกาแฟ สาหรับเครื่องดื่มที่ กลุ่มตัวอย่างบอกว่าแทบจะไม่เคยดื่ม หรือไม่เคยดื่มเลยนั้น ได้แก่ ชากึ่งสาเร็จรูป หรือชาบรรจุขวด นมถัว่ เหลือง เครื่องดื่มไม่อดั แก๊ส เครื่องดื่มชูกาลัง เครื่องดื่มเพื่อความงาม และเครื่องดื่มสมุนไพร ส่วนเครื่องดื่ม จาพวกแอลกอฮอล์ ได้แก่ วอดก้า บรัน่ ดี วิสกี้ ไวน์ และแชมเปญ กว่าร้อยละ 80 บอกว่าไม่เคยดื่มหรือแทบ จะไม่เคยดื่มเลย ส่วนกลุ่มที่ดื่มจะนาน ๆ ดื่มครั้ง กลุ่มที่ดื่มเป็ นประจาจะมีอยู่เพียงร้อยละ 5 โดยจะซื้ อจาก บาร์ หรือไนต์คลับเป็ นส่วนใหญ่ สาหรับการดื่ มเบียร์ทอ้ งถิ่น กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 42 บอกว่าไม่เคยดื่ ม หรือแทบจะไม่ดื่มเลย มีรอ้ ยละ 22 ที่ดื่มประมาณเดือนละครั้ง และร้อยละ 16 ที่ดื่มอยู่เป็ นประจา คือเกือบ ทุกวัน หรือสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง และจะซื้ อจากร้านขายของชาเป็ นส่วนใหญ่

19


พฤติกรรมการดื่มชา-กาแฟ และขนมหวาน การดื่มชาของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชาร้อยละ 28 บอกว่าดื่มวันละหลายครั้ง และร้อยละ 16 ดื่มวันละครั้ง มีกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 25 ที่บอกว่าไม่เคยดื่ม หรือแทบจะไม่ได้ดื่มเลย ซึ่งสถานที่ที่ซื้อจะซื้ อตามร้าน Coffee Shop ทัว่ ไป และมักจะซื้ อกลับมาดื่มที่บา้ น ส่วนพฤติกรรมการดื่มกาแฟนั้นแม้ความถี่จะไม่เท่ากับชาแต่ก็ พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 20 ดื่มวันละหลายครั้ง ร้อยละ 24 บอกว่าดื่มวันละครั้ง โดยสถานที่จะซื้ อที่รา้ น Coffee Shop เช่นกัน และซื้ อกลับมาดื่มที่บา้ น ที่ทางาน และบางส่วนมักนัง่ ดื่มที่รา้ น สาหรับพฤติกรรมการรับประทานขนมขบเคี้ ยวต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะรับประทานวันละครั้ง คิดเป็ นร้อยละ 25 ส่วนของหวาน ไอศกรีม และเบเกอรี่ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะรับประทาน 2-3 ครั้ง ต่อสัปดาห์ ซึ่ งกลุ่ม วัยรุ่นและกลุ่มคนทางานตอนต้นจะรับประทานบ่อยกว่ากลุ่มวัยกลางคนและกลุ่มผูส้ ูงอายุ สถานที่ที่มกั จะ ไปรับประทาน ส่วนใหญ่ จะเป็ นตามร้านเบเกอรี่ หรือร้านกาแฟต่ าง ๆ ซึ่ งในปั จจุ บันก็มีอินเตอร์เน็ ตไว้ บริการภายในร้านอีกด้วย

ผูม้ าใช้บริการร้านกาแฟ ในกรุงพนมเปญ (1)

20


ผูม้ าใช้บริการร้านกาแฟ ในกรุงพนมเปญ (1)

ค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกับอาหาร ด้านค่าใช้จ่ายด้านอาหารโดยส่วนตัวของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รอ้ ยละ 33 จะมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ประมาณเดือน ละ 2,000 - 4,000 บาท (ไม่เกิน 45 บาทต่อมื้ อโดยประมาณ) ร้อยละ 31 จะมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ประมาณ เดือนละ 1,000 - 2,000 บาท (ไม่เกิน 20 บาทต่อมื้ อโดยประมาณ) สาหรับค่าใช้จ่ายด้านอาหารของ ครัวเรือน กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 25 จะมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่เดือนละ 4,000 – 6,000 บาท (ไม่เกิน 60 บาทต่อ มื้ อโดยประมาณ) และร้อยละ 19 จะมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่เดือนละ 2,000 – 4,000 บาท (ไม่เกิน 45 บาทต่อ มื้ อโดยประมาณ)

21


Beauty and Skin care สาหรับการดูแลตนเองของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา พบว่า ส่วนใหญ่จะไม่ได้ดูแลตัวเองเป็ นพิเศษมากนัก มี เพียงการทาโลชัน่ บารุงผิวและการแต่งหน้า ร้อยละ 39 และ 21 ตามลาดับ ส่วนการทาเลเซอร์ ฉีดโบทอกซ์ พบแพทย์ หรือรับประทานอาหารเสริมเพื่อความงามนั้น มีอยู่เพียงเล็กน้อย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นเพศหญิ ง และกลุ่มผูม้ ีรายได้สงู เท่านั้น โดยจะเห็นว่าสิ่งสาคัญในการดูแลตนเองนั้น คือการดูแลผิวตนเองให้ดูสวยงาม ซึ่งกลุ่มตัวอย่างจะให้ความสาคัญมากที่สุด และรองลงมาคือดูอ่อนกว่าวัย แต่กลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชาเห็นว่า การศัลยกรรมพลาสติกนั้นยังไม่ใช่สิ่งที่จาเป็ นมากนัก ซึ่งกลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 81 เห็นว่าเป็ นสิ่งที่สาคัญ น้อยที่สุดในทาให้ตนเองดูดี โดยมักจะไปใช้บริการร้านทาผม และร้านทาเล็บประมาณเดือนละ 1-2 ครั้ง แต่สปา นวด หรือคลินิคเสริมความงามส่วนใหญ่จะตอบว่ายังไม่เคยเข้ารับบริการ แต่คาดว่าจะแพร่หลาย มากขึ้ นโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น และกลุ่มผูม้ ีรายได้สงู ใชผลิตภัณฑ์บารุง ผิว

30%

21%

ศัลยกรรมเสริม ความงาม

23%

14%

82%

ใช้บริการคลินิค ความงาม

8%

39%

ดูอ่อนกว่าวัย

7%

มีผิวสวย

7%

10%

7%

1

21%

22%

18%

23%

3

5%

11%

6%

31%

29%

44%

24%

2

13%

4

5

การให้ความสาคัญของกิจกรรมด้านความงามของกลุ่มตัวอย่าง (5 – มากที่สุด / 1 – น้อยที่สุด) อย่างไรก็ตามจากการวิจยั เชิงคุณภาพจะเห็นได้ว่าค่านิ ยมด้านความงามเริ่มมีอิทธิพลมากขึ้ นต่อกลุ่มวัยรุ่น โดยเฉพาะเพศหญิง ที่เห็นว่าการมีผิวพรรณที่สวยงาม หน้าตาสดใสนั้น ถือเป็ นเรื่องสาคัญต่อการดาเนิ น ชีวิตในปั จจุบนั ทั้งในแง่ของการเป็ นส่วนช่วยเพิ่มความมัน่ ใจในการเรียน การทางาน และการดึงดูดเพศตรง ข้ามอีก ด้วย ประกอบกับอิ ทธิ พลของสื่อทั้งจากโทรทัศน์ ป้ายโฆษณา และอิ นเตอร์เน็ ต ที่ ถือว่าเข้าไปมี บทบาทสาคัญในการสร้างค่านิ ยมดังกล่าว จึงทาให้ในปั จจุบนั กลุ่มวัยรุ่น และกลุ่มคนรุ่นใหม่หนั มาให้ความ สนใจกับการแต่งตัว และผลิตภัณฑ์เสริมความงามมากขึ้ น

22


Fashion habits การซื้ อเสื้ อผ้า สินค้าแฟชัน่ ของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา ส่วนใหญ่ เกือบครึ่งหนึ่ งของกลุ่มตัวอย่างบอกว่าซื้ อ ตามตลาดนัด ซึ่งจะซื้ อความถี่ประมาณ 3-6 เดือนต่อครั้ง แต่ในส่วนของเครื่องประดับนั้นมักจะซื้ อตามร้าน ที่ ข ายเครื่ อ งประดับ โดยเฉพาะ และจะมีค วามถี่ ในการซื้ อที่ น านกว่า เสื้ อผ้า กระเป๋ าต่ า ง ๆ โดยจะซื้ อ ประมาณ 6 เดือนต่อครั้ง ซึ่งแหล่งข้อมูลของสินค้าเหล่านี้ ส่วนใหญ่ จะได้มาจากคาแนะนาของเพื่อน ๆ คิด เป็ นร้อยละ 28 ดูจากในโทรทัศน์ คิดเป็ นร้อยละ 22 และได้ขอ้ มูลจากในร้านค้าเอง ร้อยละ 21 โดยเหตุผล ส่วนใหญ่ที่ซื้อสินค้าแฟชัน่ เหล่านี้ คือ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 38 บอกว่าจาเป็ นจะต้องใช้ และทดแทนชิ้ นเดิมที่ เสียหาย ชารุด รองลงมาคือร้อยละ 21 บอกว่าซื้ อเพราะยี่หอ้ และคุณภาพของสินค้า และร้อยละ 11 บอกว่า สินค้าที่ซื้อนั้นแสดงถึงรสนิ ยมในการเลือกสินค้าของตนเอง

เป็นที่นิยมในกลุ่ม เพื่อนๆ 9%

แบรนด์ / คุณภาพ สินค้า 21%

แสดงถึงฐานะ 9% อื่นๆ 1%

ปั จจัยที่มีผลต่อการซื้ อสินค้า แฟชั ่นของชาวกัมพูชา แสดงถึงรสนิยมของ ตนเอง 11% โปรโมชั่น / ของแถม 7%

ราคา 4%

ความจาเป็น / ทดแทนของเดิม 38%

สาหรับการครอบครองสินค้าหรูหรา หรือสินค้าฟุ่มเฟื อยที่มีมลู ค่ามากกว่า 30,000 บาทนั้น กลุ่มตัวอย่าง กว่าร้อยละ 96 บอกว่าไม่มีไว้ในครอบครอง มีเพียงร้อยละ 4 เท่านั้นที่มีครอบครองตั้งแต่ 1 ชิ้ นขึ้ นไป ซึ่ง เหตุผลที่ซื้อก็เพราะยี่หอ้ และคุณภาพของสินค้าดังกล่าว และเป็ นสมบัติของครอบครัวที่ตกทอดมาอีกด้วย

23


Health and medical พฤติกรรมด้านการรักษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 57 บอกว่าเมื่อเจ็บป่ วยเล็กน้อย มักจะซื้ อ ตามร้านขายยาใกล้บา้ นมารับประทานเอง รองลงมาร้อยละ 18 จะไปพบแพทย์ที่คลินิก และร้อยละ 10 จะ ไปพบหมอที่โรงพยาบาล มีรอ้ ยละ 9 ที่บอกว่าไม่ทาอะไรเลย ปล่อยให้หายเอง และหากเจ็บป่ วยมากขึ้ นต้อง ไปพบแพทย์ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 46 มักจะไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลเอกชน รองลงมาคือร้อยละ 27 จะไป พบแพทย์ที่โรงพยาบาลของรัฐ และร้อยละ 22 ไปพบแพทย์ที่คลินิก ซึ่งส่วนใหญ่ ร้อยละ 63 จะรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลด้วยตนเอง หรือคู่สมรสเป็ นผูร้ บั ผิดชอบ และรองลงมาร้อยละ 27 บอกว่าพ่อ กับแม่เป็ นผูอ้ อกให้ พบหมอที่คลินิค 18%

ซื้อยาจากร้านขายยา ใกล้บ้าน 57%

พฤติกรรมด้าน การรักษาพยาบาล ของกลุ่มตัวอย่าง เมื่อเจ็บป่ วยเล็กน้อย

พบหมอที่โรงพยาบาล 10% ใช้ยาสมุนไพร หรือ หมอพื้นบ้าน อื่นๆ 2% 4% ไม่ทาอะไรเลย 9%

ส่วนการเข้ารับการตรวจสุขภาพนั้น กลุ่มตัวอย่างประมาณ 1 ใน 4 จะไม่เคยเข้ารับการตรวจสุขภาพ ส่วน อี ก ร้อ ยละ 21 บอกว่า ตรวจทุ ก ๆ 6 เดื อ น และร้อ ยละ 20 ตรวจประมาณปี ละครั้ง หรื อ นานกว่า นั้ น นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างกว่าครึ่งหนึ่ งจะรับประทานวิตามินหรืออาหารเสริมบ้างเป็ นครั้งคราว ส่วนร้อยละ 38 นั้นไม่เคย หรือแทบจะไม่เคยรับประทานเลยอาหารเสริมเลย มีเพียงร้อยละ 7 เท่านั้นที่รบั ประทานอยู่ เป็ นประจา การออกกาลังกายของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา กว่าครึ่งหนึ่ งจะออกกาลังกายด้วยการเดินหรือวิ่ง รองลงมา จะเป็ นกีฬากลางแจ้ง เช่น ฟุตบอล เทนนิ ส เป็ นต้น คิดเป็ นร้อยละ 18 และมักจะออกกาลังกายที่บา้ นเป็ น ส่วนใหญ่ คือคิดเป็ นร้อยละ 39 รองลงมาจะเป็ นสวนสาธารณะ ร้อยละ 23 โดยความถี่ในการออกกาลัง กายส่วนใหญ่รอ้ ยละ 32 จะออกกาลังกายสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ส่วนกลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ 27 บอกว่า ไม่ได้ออกกาลังกาย หรือแทบจะไม่ได้ออกกาลังกายเลย

24


Smoking habits พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของชาวกัมพูชา พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รอ้ ยละ 97 ตอบว่าไม่สูบบุหรี่ มีเพียง ร้อยละ 3 เท่านั้นที่สูบซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นเพศชาย ส่วนการซื้ อบุหรี่ จะซื้ อตามร้านค้าในตลาดหรือตามร้าน ขายของช าทัว่ ไป นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 90 เห็ นว่าควรจะมีก ฎหมายห้ามสูบบุ หรี่ ในพื้ นที่ สาธารณะ และส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 97 เห็นว่าบุหรี่น้ันเป็ นอันตรายต่อร่างกายและสร้างความราคาญให้แก่ ผูอ้ ื่นอีกด้วย

60 ปีขึ้นไป 50-60ปี

100% 10%

90%

40-49ปี

2%

98%

30-39ปี

4%

96%

23-29ปี

2%

98%

18-22 ปี

100% สูบ

ไม่สูบ

พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของชาวกัมพูชา จาแนกตามอายุ

25


Shopping habits and Attitude การซื้ อสินค้าของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา พบว่า สินค้าอุปโภคที่ใช้ในครัวเรือน เช่น ผงซักฟอก สบู่ แชมพู ยาสีฟัน กระดาษชาระ กว่าครึ่งหนึ่ งมักจะซื้ อตามร้านค้าในตลาดเป็ นส่วนใหญ่ ส่วนสินค้าพวกโลชัน่ ครีม บารุงผิ ว น้ าหอมดับกลิ่นกาย มักจะซื้ อตามซุปเปอร์มาร์เก็ต โดยจะซื้ อประมาณเดื อนละ 1-2 ครั้ง ส่วน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ จะซื้ อตามห้างสรรพสินค้าต่าง ๆ และรถยนต์ รถจักรยานยนต์จะซื้ อตามร้านขาย รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์โดยเฉพาะ ซึ่งจะนาน ๆ ซื้ อครั้ง จากการวิจยั เชิงคุณภาพพบว่าชาวกัมพูชาจะชื่อมัน่ ในคุณภาพของสินค้าไทย ราคาเหมาะสม และถ้าให้เลือก ระหว่างสินค้าของไทยและเวียดนามในราคาที่เท่ากันหรือแตกต่างกันไม่มาก คนกัมพูชาจะเลือกสินค้าไทย โดยไม่ลังเล ส่วนสินค้าจากจีน และเกาหลีใต้ในปั จจุบนั ได้เริ่มเข้ามามีส่วนแบ่งตลาดมากขึ้ น โดยเฉพาะ สินค้าจากประเทศเกาหลีใต้ เนื่ องจากได้รบั อิทธิพลจากซีรี่ยเ์ กาหลี ที่ในปั จจุบนั ได้รบั ความนิ ยมในกัมพูชา เป็ นอย่างมาก

บรรยากาศห้างโสรยา ห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ในกัมพูชา สาหรับชาวกัมพูชานั้น สื่อถือได้วา่ มีความสาคัญมาก การบอกปากต่อปากใช้ได้เฉพาะกรณีของเป็ นที่รจู ้ กั ใน ตลาดอยู่แล้ว ซึ่งสินค้าไทยก็ได้รบั ความนิ ยมจากอิทธิพลสื่อ โดยเฉพาะโทรทัศน์ นิ สยั ชาวกัมพูชาจะชอบ อวดสถานะใช้เครื่องประดับ เครื่องแต่งกาย ของใช้ รถยนต์ บ้าน และคานาหน้าชื่อ ซึ่ งยี่หอ้ ดังๆ ตั้งแต่ Louis Vuitton Patek Phillip Rolls Royce ก็มีให้เห็นอยูม่ ากมาย

26


ทัศนคติเกี่ยวกับการจับจ่ายซื้ อสินค้า ด้านทัศนคติในการซื้ อสินค้าของชาวกัมพูชา กลุ่มตัวอย่างจะให้ความสาคัญเรื่องคุณภาพของสินค้ามากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยูท่ ี่ 4.62 รองลงมาจะเป็ นเรื่องของความคุม้ ค่าในการซื้ อของ ระมัดระวังการใช้จ่ายในแต่ละ ครั้ง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.10 และมักจะใช้เวลานานในการเลือกซื้ อสินค้าแต่ละครั้ง เพื่อให้ได้ของที่มีคุณภาพ มากที่สุด และคุม้ ค่าที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยูท่ ี่ 3.98 ส่วนสิ่งที่เห็นว่าไม่ค่อยทาหรือไม่ตรงกับตนเองนักในการซื้ อ สินค้า คือ มักจะซื้ อสินค้าแบบไม่ได้ต้ังใจ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 2.58 รองลงมาคือการเป็ นคนที่ตามกระแสอยู่ ตลอดเวลา จะต้องซื้ อสินค้าตามแฟชัน่ อยู่เสมอ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.64 และการที่ ซื้อสินค้าที่ ตัวเองไม่ได้ อยากได้แต่มกั จะซื้ อด้วยความไม่ระมัดระวัง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.65 แต่อย่างไรก็ตามอุปนิ สัยในการอุปโภคบริโภคของคนกัมพูชา คือ พร้อมที่ จะจ่ายเงินเท่าใดก็ตามเท่าที่ มี เพื่อบ่งบอกถึ งสถานะทางสังคม ทั้งนี้ คนกัมพูชามีรายได้จากการค้าขาย การทาการเกษตร การเข้ามา รับจ้างทางานในโรงงาน โรงแรม ร้านอาหาร และรายได้ที่สาคัญคือ การขายที่ดินให้กบั ชาวต่างชาติ ทาให้ คนกัมพูชามีฐานะขึ้ น อันดับแรกมักจะซื้ อรถมอเตอร์ไซค์ รถยนต์ โทรศัพท์มือถือ เครื่องใช้ไฟฟ้ า และแม้แต่ การซื้ อเพชร ซื้ อทอง เพื่อเก็บสะสมแทนเงินสด และใช้เป็ นเครื่องประดับ นอกจากนี้ ในงานสังคม เช่น งาน แต่งงาน งานหมัน้ งานวันเกิด หญิงสาวหรือหญิงสูงวัยจะแต่งตัวสวยงามด้วยผ้าไหมตัดเป็ นชุดราตรีหรูหรา ทาผมแต่งหน้าที่ รา้ นเสริมสวย ซึ่ งร้านไหนที่ มาจากเมืองไทยหรือจบหลักสูตรจากประเทศไทย จะได้รับ ความนิ ยมเป็ นพิเศษ โดยสังเกตได้วา่ ร้านเสริมสวยส่วนใหญ่จะติดรูปดาราไทยไว้ที่หน้าร้าน

27


3.03

ฉันมักเปลี่ยนยี่ห้อของที่ซื้อไปเรื่อยๆ ฉันมักซื้อของจากร้านเดิมๆ เสมอ เมื่อฉันเจอยี่หอ้ ที่ชอบ ฉันจะใช้ไม่ยอมเปลี่ยน ฉันมียี่ห้อทีฉ่ ันชอบ และซื้อซ้าแล้วซ้าอีก ข้อมูลที่ได้รับจากสินค้าต่างๆ มักทาให้ฉนั สับสน ยิ่งฉันมีความรู้เกี่ยวกับสินค้า ยิ่งทาให้ยากที่จะเลือกอันที่ดีที่สุด บางครั้ง ฉันก็ตัดสินใจไม่ได้ว่าจะไปซื้อของที่ไหน เมื่อมีสินค้าหลายยี่ห้อให้เลือก ฉันมักจะสับสน ฉันจะตรวจสอบยอดการใช้จา่ ยอยู่เสมอ ฉันมักใช้เวลาอย่างเต็มที่ เพื่อจะซื้อของอย่างระมัดระวัง บ่อยครั้งที่ฉันซื้อแบบไม่ยับยั้งชั่งใจ ฉันหวังว่าจะไม่เกิดขึ้นอีก ฉันมักซื้อของ โดยไม่ได้ตั้งใจบ่อยครั้ง ฉันคิดว่าฉันควรวางแผนการช็อปปิ้งให้ดกี ว่านี้ ฉันเฟ้นหาสินค้าที่คุ้มค่าเงินที่สุด ของที่ราคาถูกที่สุด มักเป็นตัวเลือกของฉัน ฉันจะซื้อของจานวนมาก เมื่อมีการลดราคา เมื่อไปช็อปปิ้ง ฉันมักจะทาเวลาให้เร็ว บางครั้งฉันช็อปปิ้งเพื่อความสนุก ฉันคิดว่า การช็อปปิ้ง เป็นเรื่องที่เปลืองเวลา การไปช็อปปิ้ง เป็นหนึ่งในกิจกรรมที่เพลิดเพลินในชีวิตฉัน การช็อปปิ้ง ไม่ใช่เรื่องสนุกสนานสาหรับฉัน การได้ซื้อสินค้าแปลกใหม่ เป็นเรื่องสนุกสาหรับฉัน เพื่อให้ได้ความหลากหลาย ฉันซื้อสินค้าหลายยี่ห้อ จากหลายๆ แหล่ง การแต่งตัวทันสมัยและดึงดูด เป็นเรื่องสาคัญสาหรับฉัน เสื้อผ้าในตู้ของฉัน ปรับเปลี่ยนไปตามแฟชั่น เมื่อมีสไตล์ใหม่ๆ ฉันจะต้องมีอย่างน้อย 1 ชุด ในสไตล์นั้น ยี่ห้อที่มกี ารโฆษณาที่ดี มักเป็นตัวเลือกของฉัน ฉันชอบที่จะซื้อยี่ห้อทีข่ ายดี (Best Seller) ห้างสรรพสินค้าที่ดีๆ หรือร้านเฉพาะทาง มักมีของที่ดีที่สุดให้ฉันเลือกซื้อเสมอ ฉันเชื่อว่าสินค้าที่มีราคาที่แพง คุณภาพจะสูงตามไปด้วย สินค้ายี่ห้อที่แพงกว่า มักเป็นตัวเลือกของฉัน การซื้อสินค้ายี่หอ้ ที่เป็นที่รู้จักทัว่ ไป สาคัญกับฉัน ฉันจะซื้ออย่างรวดเร็ว หากสินค้าอันแรกที่พิจารณา นั้นดูดีพอ ฉันมีมาตรฐานหรือความคาดหวังจากสินค้าในระดับที่สูง ฉันไม่ค่อยคิดมาก เมื่อฉันจะซื้อสินค้า ฉันพยายามทีจ่ ะหาซื้อสินค้า เพื่อให้ของที่ดีที่สุด โดยปกติแล้ว ฉันจะซื้อสินค้าที่คุณภาพดีที่สุด เมื่อจะซื้อของ ฉันมักจะเลือกตัวเลือกทีด่ ีที่สุดเสมอ การได้ใช้สินค้ามีคุณภาพดี เป็นสิ่งสาคัญสาหรับฉัน

3.52 3.81 3.25 3.32 3.33 3.50 3.51 4.10 3.98

2.65 2.58 3.70 3.94 2.76 2.79 3.24 3.55 2.95 3.69 2.72 3.35 3.22 3.14 2.64 2.66 2.88 3.29 3.25 3.38 2.79 3.07 3.82 3.37 2.80 3.84 3.72 3.49 4.62 0

1

2

3

4

5

ทัศนคติการเลือกซื้ อสินค้าของชาวกัมพูชา (Sproles and Kendall, 1986; Sproles and Sproles 1990) 28


Hobby and Free time กิจกรรมยามว่างของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชาเมื่อพักผ่อนที่บา้ น กิจกรรมที่ กลุ่มตัวอย่างทาอยู่เป็ นประจาคือ การดูโทรทัศน์ และการทาความสะอาดบ้าน คิดเป็ นร้อยละ 56 และร้อยละ 50 ตามลาดับ ส่วนกิจกรรมที่ ไม่ได้ทาหรือแทบไม่ได้ทาเลยเมื่ออยู่บา้ น ส่วนใหญ่จะเป็ นงานประเภทดูแลสวน งานฝี มือ งานช่าง เป็ นต้น ส่วนกิจกรรมการดูหนัง ฟั งเพลง อ่านหนังสือ เล่นเกมส์น้ัน ส่วนใหญ่บอกว่าจะทาบ้างเป็ นบางครั้ง ส่วนกิจกรรมที่มกั จะทาเมื่อออกนอกบ้าน ส่วนใหญ่มกั จะออกไปรับประทานอาหาร ช็อปปิ้ ง สังสรรค์ ออก กาลังกาย และท่องเที่ยว ส่วนการดูหนัง เที่ยวกลางคืน และร้องคาราโอเกะ ยังมีจานวนไม่มากนัก แต่คาด ว่าน่ าจะเพิ่มมากขึ้ น โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น และกลุ่มวัยทางาน

อินเตอร์เน็ต

46%

ภาพยนตร์

25%

13% 20%

วิทยุ

35%

18%

48%

17%

โทรทัศน์ นิตยสาร

5%

35% 17%

80% 6%

20%

หนังสือพิมพ์

23%

ทุกวัน/เกือบทุกวัน

ทุกสัปดาห์

11% 3% 5% 41%

20%

31% 25%

ทุกเดือน

16%

นานกว่า 1 เดือน

32%

ไม่เคย/แทบจะไม่เคย

ความถี่ของการบริโภคสื่อแต่ละประเภทของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนการบริโภคสื่อของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา สื่อโทรทัศน์จะมีความถี่มากที่สุด คือ ดูทุกวันคิดเป็ นร้อยละ 80 มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้นที่ไม่เคย หรือแทบจะไม่เคยดู ส่วนรองลงมาจะเป็ นวิทยุ ที่กลุ่มตัวอย่างฟั งทุกวัน คิดเป็ นร้อยละ 48 และจะเห็นได้ว่าสื่ออินเตอร์เน็ ตในกัมพูชานั้น มีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้งานอยู่เป็ นประจาถึง ร้อยละ 46 ซึ่งคาดว่าในอนาคตการใช้สื่ออินเตอร์เน็ ตจะเพิ่มมากขึ้ น จากการพัฒนาทางด้านประชากรเอง และการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีต่าง ๆ

29


Home care and Decorations นิ ยามคาว่าบ้านสาหรับชาวกัมพูชา กลุ่มตัวอย่างบอกว่าบ้านคือที่ที่ทาให้ได้อยู่กบั ครอบครัว ใช้เวลาร่วมกัน เป็ นที่สาหรับพักผ่อน เป็ นที่ ที่แสดงถึ งฐานะของตนเอง ทั้งการตกแต่ง การใช้ของ ล้วนสื่อถึ งรสนิ ยมและ ฐานะของผูเ้ ป็ นเจ้าของบ้านทั้งสิ้ น และยังเป็ นที่ที่ช่วยเติมเต็มความฝันให้เป็ นจริง

ลักษณะของที่อยูอ่ าศัย ลักษณะที่อยูอ่ าศัยของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา ร้อยละ 52 อยูอ่ าศัยแบบแฟลต และหากพิจารณาถึงจานวน ของห้องนอนและห้องน้ าแล้วพบว่า บ้านของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 35 เป็ นแบบมีหอ้ งนอน 1 ห้องนอน และ ร้อยละ 23 เท่ากัน เป็ นแบบ 2 และ 3 ห้องนอน ส่วนห้องน้ า กลุ่ มตัวอย่างร้อยละ 46 มีหอ้ งน้ า 1 ห้อง และร้อยละ 27 มีหอ้ งน้ า 2 ห้อง ส่วนที่เหลือมีหอ้ งน้ าตั้งแต่ 3 ห้องขึ้ นไป ผนังบ้านส่วนใหญ่เป็ นผนังฉาบ ปูนซีเมนต์ พื้ นปูน มีการติดตั้งผ้าม่านเป็ นส่วนใหญ่ โดยบ้านของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่น้ัน ร้อยละ 36 บอก ว่าเป็ นบ้านที่สร้างเอง คือ เลือกแบบ ออกแบบ จ้างช่างก่อสร้างเอง รองลงมาร้อยละ 28 บอกว่าเป็ นบ้าน เช่า และร้อยละ 17 เป็ นบ้านที่ซื้อจากโครงการบ้านจัดสรร

บ้านเดี่ยว, วิลล่า 2%

อื่นๆ 39%

ประเภทของที่อยูอ่ าศัย ของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา หอพัก 1% อาคารพาณิชย์ 3%

ทาวน์เฮ้าส์, บ้าน แฝด 4%

แฟลต, อพาร์ทเมนท์

51%

30


พฤติกรรมการอยูอ่ าศัย ส่ ว นของบ้า นที่ ก ลุ่ ม ตัว อย่า งใช้ง านบ่ อ ยที่ สุ ด กว่ า ร้อ ยละ 55 บอกว่ า เป็ นห้อ งนอน รองลงมาจะเป็ น ห้องนั ่งเล่นหรื อห้องรับแขก สัดส่วนร้อยละ 26 แต่ สาหรับห้องที่ ก ลุ่มตัวอย่างต้องการตกแต่ งมากที่ สุด พบว่า สัด ส่ ว นของห้อ งนอน และห้อ งรับ แขกมี สัด ส่ ว นที่ ใ กล้เ คี ย งกัน คื อ ร้อ ยละ 48 และร้อ ยละ 46 ตามลาดับ และห้องที่ อยากโชว์แ ก่ แขกที่ มาเยี่ย มเยื อนมากที่ สุดคื อห้องนั ่งเล่นหรือห้องรับแขก คิ ดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 76

อุปกรณ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบ้าน สาหรับอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าภายในบ้านของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีโทรทัศน์รอ้ ยละ 90 โดยจานวนเฉลี่ยของโทรทัศน์อยู่ที่ 1.62 เครื่อง พัดลมร้อยละ 93 และหม้อหุงข้าวร้อยละ 72 ส่วน อุ ป กรณ์ที่ มี อ ยู่ ก ว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของกลุ่ ม ตัว อย่ า ง คื อ วิ ท ยุ ห รื อ สเตอริ โ อ เครื่ อ งเล่ น วี ซี ดี ห รื อ ดี วี ดี และ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ส่วนอุปกรณ์ที่ถือว่ายังมีอยูใ่ นสัดส่วนที่ไม่สงู นัก คือ เครื่องซักผ้า แอร์ และเครื่องทา น้ าอุ่น และอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่แทบจะไม่มีเลย คือ เตาไมโครเวฟหรือเตาไฟฟ้ า เครื่องดูดฝุ่น และเครื่องล้างจาน เครื่องทาน้าอุ่น

21%

79%

คอมพิวเตอร์

53%

47%

เครื่องล้างจาน 2%

98%

หม้อหุงข้าว เครื่องดูดฝุ่น

72%

28%

10%

90%

พัดลม แอร์ เครื่องซักผ้า

93%

7%

34%

66%

37%

63%

เตาไมโครเวฟ/เตาไฟฟ้า 4%

96%

วีซีดี / ดีวีดี

60%

40%

วิทยุ/สเตอริโอ

59%

41%

โทรทัศน์

90%

มี

10%

ไม่มี

สัดส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา 31


พฤติกรรมการตกแต่งบ้าน และการซื้ อสินค้าตกแต่งบ้าน ส่วนการตกแต่งบ้านของชาวกัมพูชานั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะไม่เคยว่าจ้างสถาปนิ ก มัณฑนากร หรือนัก ออกแบบ มาออกแบบดูแลตกแต่งบ้าน มีเพียงร้อยละ 3 เท่านั้นที่บอกว่าให้ สถาปนิ ก มัณฑนากร หรือนัก ออกแบบ มาออกแบบตกแต่งบ้านทั้งหลัง ซึ่งเป็ นกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้สูง และหากถามกลุ่มตัวอย่างว่าถ้า ซื้ อบ้านหรือคอนโดมิเนี ยมใหม่ ร้อยละ 77 จะชอบบ้านหรือคอนโดมิเนี ยมแบบตกแต่งเสร็จพร้อมเข้าอยู่ ส่วนเรื่องความถี่ในการจัดบ้านนั้น พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 24 บอกว่าจัดสัปดาห์ละครั้ง รองลงมาร้อยละ 20 บอกว่าเดือนละครั้ง และร้อยละ 17 จัดปี ละครั้ง ส่วนการซื้ อของตกแต่งบ้านเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น โคมไฟ กรอบรูป ตุ๊กตา เป็ นต้น จะมีความถี่นาน ๆ ซื้ อครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่รอ้ ยละ 37 จะบอกว่าซื้ อแต่ละครั้งนานกว่า 1 ปี รองลงมาร้อยละ 26 บอกว่าซื้ อทุก ๆ 3-6 เดือน ส่วนสินค้าตกแต่งบ้านชิ้ นใหญ่ เช่น โต๊ะ เตียง ตู้ เป็ น ต้น ร้อยละ 34 บอกว่าจะนาน ๆ ซื้ อครั้ง คือนานกว่า 1 ปี และรองลงมาร้อยละ 21 จะซื้ อทุก ๆ 3-6 เดือน โดยเหตุผลที่ซื้อนั้น ร้อยละ 44 บอกว่ามักจะซื้ อเพราะของเดิมมีการแตกหักเสียหาย จึงต้องซื้ อมาทดแทน รวมถึงร้อยละ 22 บอกว่าต้องการความสะดวกสบายในการใช้งาน และมักจะซื้ อตามคาแนะนาของเพื่อน ๆ และดูจ ากรายการโทรทัศ น์ ต่ าง ๆ โดยกลุ่ ม ตัวอย่า งร้อ ยละ 55 จะซื้ อสิ น ค้าตกแต่ ง บ้า นจากร้า นขาย เฟอร์นิเจอร์และสินค้าตกแต่งบ้าน รองลงมาร้อยละ 16 จะซื้ อจากร้านที่ขายสินค้าตกแต่งบ้านโดยเฉพาะ และร้อยละ 9 จะสัง่ ซื้ อจากร้านรับท าเฟอร์นิเจอร์ โดยเมื่อถามถึ งงานแสดงเฟอร์นิเจอร์น้ั น พบว่ากลุ่ม ตัวอย่างร้อยละ 74 บอกว่าสนใจบ้าง อาจจะไปหรือไม่ไป มีกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 18 ที่บอกว่าสนใจและไป ร่วมชมงานแน่ นอน และมีกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 8 ที่บอกว่าไม่สนใจเลย และไม่เข้าร่วมชมงานแสดงสินค้า

ร้านขายสินค้าตกแต่งบ้านในกรุงพนมเปญ

32


โดยจะเห็นได้ว่าความถี่ในการซื้ อสินค้าตกแต่งบ้านและเฟอร์นิเจอร์ของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชานั้นอยู่ใน ระดับปานกลาง ทั้งนี้ เนื่ องมาจากเฟอร์นิเจอร์ในกัมพูชานั้นหาได้ง่าย โดยเฉพาะเฟอร์นิเจอร์ที่ผลิตจากไม้ ซึ่งถือว่ามีจานวนทรัพยากรป่ าไม้ในระดับสูง และสินค้าไม่ตอ้ งใช้ระดับฝี มือสูงนัก จึงทาให้ราคาของสินค้าที่ ผลิตจากไม้ยงั ไม่สงู มากนัก

ลักษณะการตกแต่งบ้านของชาวกัมพูชา สาหรับการตัดสินใจซื้ อเฟอร์นิเจอร์และสินค้าตกแต่งบ้านนั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนมากร้อยละ 51 บอกว่าเป็ น ผูต้ ดั สินใจเอง รองลงมาร้อยละ 22 จะเป็ นพ่อแม่เป็ นผูต้ ดั สินใจ และเกือบร้อยละ 96 บอกว่ามักจะชาระค่า สินค้าตกแต่งบ้านและเฟอร์นิเจอร์ดว้ ยเงินสด มีเพียงร้อยละ 2 ที่ชาระค่าสินค้าโดยโปรแกรมการผ่อนชาระ กับทางร้าน ซึ่งค่าใช้จ่ายในการตกแต่งบ้าน และซื้ อสินค้าดังกล่าวของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชาร้อยละ 36 จะอยูท่ ี่ประมาณ 5% - 10% ของรายได้ท้งั ปี และร้อยละ 27 จะอยูท่ ี่ไม่เกิน 5% ของรายได้ท้งั ปี

33


ส่วนการตกแต่งบ้านโดยคานึ งถึงเรื่องของหลักฮวงจุย้ หรือไม่น้ัน กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 60 บอกว่าคานึ งอยู่ บ้างบางส่วนของบ้าน มีรอ้ ยละ 20 ที่คานึ งถึงการตกแต่ งบ้านตามหลักฮวงจุย้ ทั้งหมด และอีกร้อยละ 20 เท่ากันที่ไม่คานึ งถึงหลักฮวงจุย้ ในการตกแต่งบ้านเลย สาหรับสไตล์เฟอร์นิเจอร์ที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ชื่นชอบคือเฟอร์นิเจอร์สไตล์ใหม่ ๆ แบบโมเดิรน์ ประกอบ เสร็ จเรี ยบร้อยพร้อมใช้งาน คิ ดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 47 รองลงมาเป็ นเฟอร์นิเจอร์แ บบเก่า ของโบราณ สัดส่วนร้อยละ 33 และจะพบว่าเฟอร์นิเจอร์แบบประกอบเอง หรือ DIY นั้น ยังไม่เป็ นที่ชื่นชอบของกลุ่ม ตัวอย่างมากนัก และเมื่อถามถึงการซื้ อเฟอร์นิเจอร์แบบต้องมาประกอบเอง แต่มีราคาถูกลง พบว่ากลุ่ม ตัวอย่างร้อยละ 41 บอกว่าอาจจะสนใจ หรือสนใจอยู่บา้ ง ส่วนร้อยละ 38 บอกว่าสนใจแน่ นอน และมีกลุ่ม ตัวอย่างร้อยละ 21 ที่บอกว่าไม่สนใจเลย เฟอร์นิเจอร์สั่ง ประกอบในพื้นที่ (Built-in), 8% เฟอร์นิเจอร์สั่งทา เป็นชิ้นๆ, 7%

อื่นๆ

เฟอร์นิเจอร์ใหม่ ประกอบเอง (DIY), 3%

เฟอร์นิเจอร์เก่า / ของโบราณ, 33%

แสดงสัดส่วนสไตล์เฟอร์นิเจอร์ ทีก่ มั พูชาชื่นชอบ เฟอร์นิเจอร์ใหม่ ประกอบเสร็จ, 47%

ปั จจัยในการตัดสินใจซื้ อสินค้าตกแต่งบ้าน การเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชานั้น ปั จจัยสาคัญที่ใช้ในการตัดสินใจซื้ อคือ การที่รา้ น ขายสินค้าตกแต่งบ้านนั้นมีพนักงานคอยช่วยเหลือให้คาแนะนาในการเลือกซื้ อสินค้า โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.97 ปั จจัยรองลงมาคือ กลุ่มตัวอย่างจะเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์จากแบรนด์ที่ชอบเท่านั้น มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.76 และปั จจัยเกี่ยวกับการที่รา้ นขายสินค้าตกแต่งบ้านมีสินค้าให้เลือกหลากหลาย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75 ส่วนปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างไม่ได้ให้ความสาคัญมากนัก หรือไม่ได้มีส่วนในการตัดสินมากเท่าปั จจัยอื่น ๆ คือ การใช้เฟอร์นิเจอร์ตามดาราที่ชื่นชอบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.53 รองลงมาคือการซื้ อเฟอร์นิเจอร์ตาม แบบที่เห็นในละคร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.65 และการตัดสินใจที่เร็วขึ้ นหากร้านค้านั้นมีโปรแกรมให้ใช้บตั ร เครดิต หรือผ่อนชาระกับบัตรเครดิต มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.66

34


ฉันชอบซื้อเฟอร์นิเจอร์ตามดาราที่ชื่นชอบ

2.53

ฉันชอบซื้อเฟอร์นิเจอร์แบบที่เห็นในละคร

2.65

ฉันชอบเฟอร์นิเจอร์แบบใหม่มากกว่าแบบเก่า

3.54

ฉันชอบเฟอร์นิเจอร์ที่ทันสมัย

3.56

ฉันคิดว่าเฟอร์นิเจอร์ราคาแพงกว่าจะมีคุณภาพที่ดีกว่า

3.64

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์ที่กาลังลดราคา

3.45

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์ที่ราคาถูกที่สุด

2.90

ร้านทีมีบริการออกแบบตกแต่งจะช่วยให้ฉันตัดสินใจได้…

3.63

ฉันชอบร้านที่มีพนักงานคอยช่วยเหลือ

3.97

ฉันชอบร้านที่มีเฟอร์นิเจอร์ที่หลากหลาย

3.75

ฉันอยากตกแต่งบ้านให้เหมือนกับในนิตยสารหรือแคต…

3.39

ฉันมักจะหาข้อมูลในการตกแต่งบ้านอยู่เสมอ

2.87

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์จากร้านเดิมเสมอ

2.76

การตกแต่งร้านมีผลต่อการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์

3.21

ฉันจะตัดสินใจซื้อเร็วขึ้นถ้าสามารถใช้บัตรเครดิตได้

2.66

การส่งสินค้าถึงบ้านคือปัจจัยสาคัญที่ตัดสินใจซื้อ…

3.25

ฉันจะไม่ซื้อสินค้า DIY ถ้ามีการบริการรับติดตั้งจากทางร้าน

3.18

การซื้อเฟอร์นิเจอร์จากหลายแบรนด์ช่วยให้บ้านดู…

3.52

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์จากแบรนด์เดิม

2.94

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์เฉพาะแบรนด์ที่ชอบเท่านั้น

3.76 1

2

3

4

5

การเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ของชาวกัมพูชา (ปรับปรุงจาก Sakpichaisakul, T., 2012)

35


ส่ ว นปั จจัย ที่ ใ ช้ใ นการตัด สิ น ใจซื้ อเฟอร์นิ เ จอร์ข องกลุ่ ม ตัว อย่ า งชาวกัม พู ช านั้ น สิ่ ง ส าคัญ ที่ ใ ช้เ ลื อ ก เฟอร์นิเจอร์มากที่สุดคือ คุณภาพของสินค้า ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.64 รองลงมาคืออายุการใช้งานที่ยาวนาน ทนทาน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 และวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 ส่วนปั จจัยที่ไม่ได้คานึ งถึง มากนั ก หรือไม่ได้มีผลต่อการเลือกสินค้า ได้แก่ โปรแกรมการผ่ อนชาระสินค้า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.20 รองลงมาคือสถานที่ต้งั ของร้าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.34 และตราสินค้า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.41 การใช้เทคโนโลยีช่วยในการออกแบบ สถานที่ตั้งของร้าน

3.84 3.34

รูปแบบการใช้งาน

3.90

ขนาดที่เหมาะสม

3.78

เข้ากับเฟอร์นิเจอร์อื่นๆ ได้ดี

3.76

ประหยัดพลังงาน

4.37

เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทาความสะอาดง่าย

4.16 4.15

ไม่ต้องบารุงรักษามาก

4.13

ความสบาย

4.37

วัตถุดิบ

4.42

สี โปรแกรมผ่อนชาระค่าสินค้า

3.53 3.20

การรับประกันสินค้า

4.02

ระยะเวลาในการรอสินค้า

3.76

การบริการที่สะดวกรวดเร็ว

3.95

ความเอาใจใส่ของพนักงานต่อลูกค้า

4.03

การบริการหลังการขาย

3.57

การบรืการ ติดตั้ง ขนส่งสินค้า ตรายี่ห้อ

3.66 3.41

คุณภาพ

4.64

ราคา

4.11

ความสวยงาม / การออกแบบ

4.31

อายุการใช้งานยาวนาน ทนทาน

4.57

ปั จจัยในการเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ของชาวลาว (ปรับปรุงจาก Sakpichaisakul, T., 2012)

36


สาหรับสไตล์การตกแต่งบ้านที่ ชื่นชอบของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา ร้อยละ 34 บอกว่าชอบการตกแต่ง สไตล์ Contemporary หรือการตกแต่งแบบร่วมสมัย ผสมผสาน เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน รองลงมาคือแบบ Modern ร้อยละ 26 และแบบ European หรือแบบคลาสสิค ร้อยละ 21 โดยหากแบ่งตามรายได้ของกลุ่ม ตัวอย่างแล้วกลับพบว่ากลุ่มผูม้ ีรายได้สูงส่วนใหญ่จะชอบการตกแต่งแบบ Asian / Tropical ส่วนกลุ่มผูม้ ี รายได้ปานกลางส่วนใหญ่จะชอบการตกแต่งแบบ Contemporary เช่นเดียวกับกลุ่มผูม้ ีรายได้ตา่ European / Classic 21%

Contemporary 34%

สไตล์การตกแต่งบ้านที่ชื่นชอบ

American / Country 6%

Asian / Tropical 13% Modern 26%

37


พฤติกรรมการจัดสวน และงานช่าง สาหรับพฤติกรรมการทาสวนของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รอ้ ยละ 86 ไม่มีสวน ในพื้ นที่บา้ น และไม่มีการตกแต่งสวน หรือปลูกต้นไม้ จัดสวนกันเป็ นส่วนใหญ่ คือร้อยละ 61 มีเพียงร้อยละ 7 ที่ ท าอยู่เป็ นประจา และร้อยละ 32 ที่ ท าบ้างเป็ นบางครั้ง ส่วนการท างานฝี มือ ด้วยตนเอง ส่วนใหญ่ ร้อยละ 52 บอกว่าไม่เคยหรือทาไม่บ่อยนัก ร้อยละ 41 บอกว่าทาบ้างเป็ นบางครั้ง มีเพียงร้อยละ 7 เท่านั้น ที่ ท าอยู่เป็ นประจ า ส่วนการดูแ ลรัก ษาข้าวของเครื่ องใช้ภ ายในบ้าน งานซ่อมแซมเล็ ก ๆ น้อย ๆ กลุ่ม ตัวอย่างร้อยละ 47 จะทาเองบ้างเป็ นบางครั้ง ซึ่งจะเป็ นงานเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ไม่ตอ้ งใช้ความเชี่ยวชาญมาก นัก ส่วนร้อยละ 21 บอกว่าทาเองอยูเ่ ป็ นประจา และร้อยละ 32 บอกว่าไม่เคยหรือแทบจะไม่ได้ทาเลย

ไม่เคย/ไม่ บ่อยนัก 52%

เป็น ประจา 7%

ไม่เคย/ไม่ บ่อยนัก 32%

การซ่อมแซม ของใช้ดว้ ยตนเอง

การทางานฝี มือ

บางครั้ง 41%

บางครั้ง 47%

เป็น ประจา 21%

38


Pet care สาหรับสัตว์เลี้ยงที่กลุ่มตัวอย่างเลี้ยงไว้ที่บ้านนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นสุนัข คิดเป็นร้อยละ 27 ของกลุ่มตัวอย่าง ส่วน แมวและปลานั้นคิดเป็นร้อยละ 13 โดยเหตุผลของผู้ที่ไม่มีสัตว์เลี้ยงนั้น ร้อยละ 71 บอกว่าเป็นเพราะไม่ชอบหรือ กลัว ส่วนการพาสัตว์เลี้ยงเข้าร้านตกแต่งขนนั้น กว่าร้อยละ 90 บอกว่าไม่เคยเข้าใช้บริการร้านดังกล่าวเลย ส่วน ร้อยละ 6 บอกว่านาน ๆ จึงจะพาไปครั้ง และที่เหลืออีกร้อยละ 4 พาสัตว์เลี้ยงเข้าไปใช้บริการอย่างต่าเดือนละครั้ง สถานที่พักอาศัยห้าม เลี้ยงสัตว์ 5%

ค่าใช้จ่ายสูง 4% อื่นๆ 18%

เหตุผลที่ไม่เลี้ ยงสัตว์ ของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา

ไม่ชอบเลี้ยงสัตว์ 71%

เป็นโรคภูมิแพ้ 2%

39


Travel habits พฤติ ก รรมการท่ อ งเที่ ย ว กลุ่ ม ตัว อย่ า งส่ ว นใหญ่ ร ้อ ยละ 46 บอกว่ า ชอบที่ จ ะไปเที่ ย วตามธรรมชาติ โดยเฉพาะทะเล รองลงมาคื อภูเ ขา คิ ดเป็ นร้อยละ 22 และร้อยละ 14 ชอบไปท่ อ งเที่ ย วตามสถานที่ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม โดยหากท่องเที่ยวภายในประเทศนั้นกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะท่องเที่ยวประมาณปี ละครั้ง คิดเป็ นร้อยละ 27 รองลงมาคือทุก ๆ 6 เดือน คิดเป็ นร้อยละ 24 และทุก ๆ 3 เดือน คิดเป็ นร้อยละ 22 ซึ่ งส่ว นใหญ่ ก ว่าร้อยละ 58 มัก จะไปกับพ่อ แม่ ครอบครัว และญาติ พี่ น้อง กว่าครึ่ งหนึ่ ง จะใช้เวลา ท่องเที่ ยวประมาณ 2-4 วัน และเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว คิดเป็ นร้อยละ 34 รองลงมาคือรถยนต์เช่า ร้อยละ 32 ส่วนการเดิ นทางท่องเที่ยวในต่างประเทศนั้ น ส่วนใหญ่บอกว่ายังไม่เคยเดิ นทางไปต่างประเทศ คิดเป็ น ร้อยละ 70 ส่วนรองลงมาคือร้อยละ 18 จะนาน ๆ ครั้ง จึงจะได้เดินทางไปต่างประเทศ ซึ่งจะนานกว่า 1 ปี โดยกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47 จะเดินทางไปในประเทศภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองลงมาคือประเทศ ญี่ปุ่น จีน เกาหลี คิดเป็ นร้อยละ 24 และทวีปยุโรปคิดเป็ นร้อยละ 15 โดยมักจะไปกับพ่อแม่ ครอบครัว และญาติพี่นอ้ งเช่นกัน โดยการเดินทางในแต่ละครั้งจะใช้เวลาประมาณ 5-7 วัน และเดินทางด้วยเครื่องบิน เป็ นหลัก

ทะเล 46%

ออสเตรเลีย -นิวซีแลนด์ 7%

ภูเขา 22%

สันทนาการ 14%

ยุโรป 14%

สถานที่ท่องเที่ยวต่างประเทศ

สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศ ท่องเที่ยว ทาง ท่องเที่ยว วัฒนธรรม เชิงเกษตร 14% 3%

อเมริกา เหนือ 6%

เอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้ 47%

จีน ญี่ปุ่น เกาหลี 24%

40


Holiday and leisure ในช่วงวันหยุด กลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชาส่วนใหญ่จะใช้เวลาอยู่บา้ น ทากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับครอบครัว รวมถึงทาความสะอาดบ้าน ทางานบ้าน คิดเป็ นร้อยละ 44 รองลงมาคือการทากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันกับ ครอบครัว คิดเป็ นร้อยละ 26 และออกไปสังสรรค์กบั กลุ่มเพื่อน ๆ คิดเป็ นร้อยละ 8

Saving and investment habits พฤติกรรมการใช้จ่ายของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา กว่าร้อยละ 99 จะใช้จ่ายด้วยเงินสด มีบัตรเครดิ ตใน ครอบครองคิดเป็ นร้อยละ 35 และกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 68 จะเก็บเงินในรูปของเงินสด และมีรอ้ ยละ 39 ที่ ฝากธนาคาร ส่ วนการลงทุ นด้า นอื่ น ๆ เช่ น กองทุ น หุ น้ เป็ นต้น ยัง มีสัด ส่ว นที่ ไ ม่สูง นั ก แต่ จ ะมี ก ลุ่ ม ตัวอย่างที่ลงทุนในทองคาอยู่สดั ส่วนร้อยละ 14 ของทั้งหมด โดยสัดส่วนการออมของกลุ่มตัวอย่างจะอยู่ที่ 10 – 20% ของรายได้ ส่วนภาระหนี้ สินนั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะไม่มีภาระหนี้ สิน หากมีการกูย้ ืมแล้ว จะเป็ นเงินกูย้ ืมประเภทสินเชื่อส่วนบุคคลคิดเป็ นร้อยละ 30 ของผูม้ ีหนี้ สิน รองลงมาคือสินเชื่อบ้านคิดเป็ น ร้อยละ 29 และสินเชื่อเพื่อธุรกิจร้อยละ 20 ของกลุ่มตัวอย่างที่มีหนี้ สิน ส่วนการจ่ายค่าสาธารณูปโภคต่าง ๆ นั้น กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 68 จะจ่ายที่สานักงานของหน่ วยงานโดยตรง รองลงมาร้อยละ 19 มีคนมาเก็บที่ บ้าน และร้อยละ 8 จะจ่ายที่ธนาคาร

10 - 20% 27%

น้อยกว่า 10% 28%

ไม่ออม 8% มากกว่า 50% 3%

สัดส่วนการออม ของกลุ่มตัวอย่างชาวกัมพูชา

30 - 50% 14%

20 - 30% 20%

41


ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 โทร. 043-202-566 โทรสาร. 043-303-567

www.ecberkku.com 42


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.