Clmv pulse myanmar full report

Page 1

CLMV Pulse Consumer Behavior, Lifestyle & Attitude

เมียนมาร์ ผลการวิจยั พฤติกรรมผูบ้ ริโภค 2013

Esaan Center for Business and Economic Research Khon Kaen University, Thailand

© Copyrights 2014 all rights reserved


หัวหน้าทีมวิจยั Ms. Mu Mu Thient, Yangon, Myanmar Dr. Phouphet KYOPHILAVONG, Laos National University, Vientiane, Laos Dr. Nguyen Luu Bao Doan, Hoa Sen University, Ho Chi Minh City, Vietnam Vin Spoann, Royal University of Phnom Penh, Phnom Penh, Cambodia Assit. Prof. Dr. Kullapapruk Piewthingngam, Khon Kaen University, Thailand

ข้อจากัดความรับผิดชอบ: ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสานั กงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ขอ สงวนสิทธิท้งั ปวง รวมทั้งสิทธิในการแก้ไข ทาซ้า ดัดแปลง ตลอดจนนาไปใช้อา้ งอิงหรือเผยแพร่รายงานนี้ ไม่ว่าส่วนหนึ่ ง ส่วนใดและด้วยวิธีการใด ๆ โดยไม่ได้รบั อนุ ญาตเป็ นหนังสือ บทความและความเห็นใด ๆ เป็ นบทความและความเห็นของ นักวิจยั และเป็ นไปตามผลของการสารวจ ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสานักงานส่งเสริม วิสาหกิจขนากลางและขนาดย่อม ไม่ตอ้ งรับผิดชอบและไม่รบั ประกันไม่ว่าในกรณีใด ๆ ในผลจากการนาข้อมูลดังกล่าวไป ใช้

ผูส้ นับสนุนทุนการวิจยั : รายงานฉบับนี้ ได้รับทุนจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นในการดาเนิ นการศึกษาวิจัย นอกจากนี้ ยังได้รับทุ นสนั บสนุ นจาก สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับอาหารและการตกแต่งบ้าน

ราคา : 450 บาท สงวนลิขสิทธิ์ - ห้ามเผยแพร่หรือนาไปใช้ในเชิงพาณิชย์ก่อนได้รบั อนุญาต

ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 โทร.: +66(0) 43 202 566, โทรสาร: +66(0) 42 202 567

email: ecber.kku@gmail.com www.ecberkku.com/asean www.facebook.com/ecberkku


Table of contents Preface Methodology Sample Education norm Work life Eat & drink habits Beauty and skin care Fashion habits Health and medical Smoking habits Shopping habits and attitude Hobby and free time Home care and decorations Pet care Travel habits Holiday and leisure Saving and investment habits

หน้า 1 2 3 6 8 10 36 38 40 44 46 51 53 69 70 73 74


Preface แม้เมียนมาร์จะเป็ นประเทศที่มีหลากหลายเชื้ อชาติ หลายเผ่าอาศัยอยู่ร่วมกัน แต่ก็เมียนมาร์ก็มีภาษาและ วัฒนธรรมเป็ นเอกลักษณ์ของตัวเอง ประชาชนชาวเมียนมาร์โดยส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธและปฏิบตั ิ ตามหลักคาสอนของพระศาสดาอย่างเคร่งครัด ซึ่งสิ่งเหล่านี้ สะท้อนออกมาในลักษณะการใช้ชีวิตประจาวัน ของชาวเมียนมาร์ได้เป็ นอย่างดี ประเทศเมียนมาร์เป็ นประเทศที่มีพื้นฐานมาจากการเกษตรและประชากร โดยส่วนใหญ่ยงั คงอาศัยอยู่ในเขตพื้ นที่ ชนบทซึ่งเป็ นพื้ นที่โดยส่วนใหญ่ ในช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยว ประชาชน ชาวเมียนมาร์จะทาบุญ จัดงานประเพณีที่สาคัญเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา และใส่ชุดประจาชาติ ชุดประจา ชาติของชาวเมียนมาร์คือชุด “ลองยี” (Longyi) อย่างไรก็ตามชาวเมืองหรือคนสมัยใหม่ก็เริ่มแต่งกายด้วย เสื้ อผ้าแบบสมัยนิ ยมมากขึ้ น ใช้จ่ายเงินเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจมากขึ้ น ในเมืองใหญ่ของประเทศเมียนมาร์ เช่น ย่างกุง้ (Yangon) มันดาเลย์ (Mandalay) รวมทั้งเมืองหลวงอย่างนครเนปยีดอ (บางครั้งเรียก เน ปิ ดอว์ Nay Pyi Daw หรือ Nay Pyi Taw) ประชาชนโดยส่วนใหญ่มกั จะประกอบอาชีพเป็ นนักธุรกิจ ลูกจ้าง หรือพนักงานบริษัท โรงงาน ไม่ก็ขา้ ราชการหรือพนักงานของรัฐ ในการศึกษาครั้งนี้ ร้อยละ 72 ของกลุ่มตัวอย่าง ถือเป็ นคนรุ่นใหม่ อายุระหว่าง 18-49 ปี กลุ่มตัวอย่าง โดยส่วนใหญ่มากกว่าครึ่ง มีรายได้ในระดับตา่ ประมาณไม่เกิน 5,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 24 มีรายได้ ประมาณ 5,000- 10,000 บาท และมีกลุ่มตัวอย่างที่ มีรายได้ค่อนข้างสูงหรือมากกว่า 25,000 บาท เพี ยงร้อยละ 9 สกุ ลเงินของเมีย นมาร์ คื อ จ๊าด (Kyat) ซึ่ งมีค่าค่อนข้างตา่ เมื่อเที ยบกับสกุ ลเงิ นตรา ต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกา (1 จ๊าด มีค่าประมาณ 0.001 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ) ในรายงานเล่มนี้ ทาการวิเคราะห์แนวโน้มพฤติกรรมผูบ้ ริโภคในนครย่างกุง้ ประเทศเมียนมาร์ เนื้ อหาแบ่ง ออกเป็ น 14 หัวข้อ ผลจากการสารวจและศึกษาในเบื้ งต้นสะท้อนให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ ต่าง ล้วนแล้วแต่ปรารถนาที่จะมีการศึกษาที่สูงขึ้ น เพื่อให้มีชีวิตและอนาคตที่ดี หลายคนจึงมุ่งมัน่ ทางานอย่าง หนักและมาศึกษาเล่าเรียนที่ในเมืองใหญ่

1


Methodology ในรายงานการศึ กษาชิ้ นนี้ เราทาการวิเคราะห์พฤติ กรรมผูบ้ ริโภคชาวเมียนมาร์ โดยการเก็บข้อมูลจาก แบบสอบถามจานวน 400 ชุด จากการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก และมีการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากการจัด สนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ร่วมกับร่วมกับผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการตลาดและพฤติกรรมผูบ้ ริโภค เช่น นักการตลาด นักโฆษณา อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา และผู ้ ประกอบการ ในสาขาอาหารและสินค้า ตกแต่งบ้าน ซึ่งในส่วนของการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ได้กาหนดโครงสร้างของกลุ่มตัวอย่างตามลักษณะทาง ประชากรศาสตร์ของประเทศเมียนมาร์ เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่น่าเชื่อถือและเป็ นตัวแทนของคนจานวน มากได้ โดยในประเทศเมียนมาร์น้ันได้เก็บข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างในเมืองย่างกุง้ ซึ่งเป็ นเมืองเศรษฐกิจที่ สาคัญของประเทศและเป็ นแหล่งรวมชาวเมียนมาร์จากทุกภูมิภาค

2


Sample ข้อมูลภาพรวมประชากรจากแบบสอบถาม จาแนกได้ดงั นี้ 1) เพศ (Gender)

2) ระดับอายุ (Age)

14%

47%

53%

14%

20%

ชาย

หญิง

3) ระดับรายได้ส่วนบุคคล (Personal Income)

15%

16%

21%

18-22 ปี

23-29 ปี

30-39 ปี

40-49 ปี

50-60 ปี

มากกว่า 60 ปี

4) ระดับรายได้ครัวเรือน (Household Income)

9%

9% 31%

15%

19% 52%

24% 41% รายได้ปานกลาง-ล่าง; ไม่เกิน 5,000 บาท

รายได้ปานกลาง-ล่าง; ไม่เกิน 5,000 บาท

รายได้ปานกลาง; 5,001-10,000 บาท รายได้ปานกลาง-สูง; 10,001-25,000 บาท รายได้สงู ; มากกว่า 25,000 บาท

รายได้ปานกลาง; 5,001-10,000 บาท

รายได้ปานกลาง-สูง; 10,001-25,000 บาท รายได้สงู ; มากกว่า 25,000 บาท 3


สัดส่วนเพศของกลุ่มตัวอย่างมีขนาดใกล้เคียงกัน คือ เพศหญิงร้อยละ 53และเพศชายร้อยละ 47 โดยช่วง อายุของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ อยู่ระหว่าง 30-39 และ 40-49 ปี กลุ่มตัวอย่างเป็ นผูท้ ี่มีรายได้ระดับปาน กลาง-ล่าง หรือไม่เกิน 5,000 บาทกว่าร้อยละ 50 ส่วนอีกร้อยละ 25 เป็ นผูท้ ี่ มีรายได้ระดับปานกลาง หรือไม่เกิน 10,000 บาท กลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่หรือประมาณร้อยละ 30 ประกอบอาชีพเป็ นพนักงานในหน่ วยงานเอกชน และ อีกร้อยละ 20 เป็ นผูป้ ระกอบการกิจการขนาดเล็กและและร้อยละ 15 พนักงานของรัฐ นอกจากนี้ ยังพบว่า กลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 60 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี รองลงมาร้อยละ 18 สาเร็จการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. สาหรับการนับถือศาสนา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็ นพุทธศาสนิ กชน โดยส่ วน ใหญ่มีเชื้ อสายพม่า และมีเชื้ อสายอื่นๆ เช่น จีน ยะไข่ คะฉิ่น ไทใหญ่ กะเหรี่ยง บ้างเล็กน้อย

5) อาชีพ (Current Occupation)

6%

6) การศึกษา (Education Level)

2% 2% 5%

4%

2%

7%

15%

10% 8%

1% 60%

18%

21% 31% 7%

นักเรียน นักศึกษา

พนักงานของรัฐ

พนักงานเอกชน

ผูป้ ระกอบการขนาดกลางขึ้ นไป

ผูป้ ระกอบการขนาดเล็ก

ลูกจ้างชัว่ คราว

พ่อบ้าน-แม่บา้ น

อาชีพอิสระ

ว่างงาน

อื่นๆ

ปริญญาตรี

มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.

ปริญญาโท

อนุ ปริญญา/ปวส.

มัธยมศึกษาตอนต้น

ปริญญาเอก

ประถมศึกษา

ไม่ได้ศึกษา

4


7) ศาสนา

8) เชื้ อชาติ/เผ่าพันธุ ์ 2% 1% 4% 3% 3%

84%

93%

ศาสนาพุทธ

ศาสนาอิสลาม

คาทอลิก

โปรเทสแตนท์

ฮินดู

อื่นๆ

พม่า กะเหรี่ยง จีน คะฉิ่น ฉิ่น

ฉาน/ไทใหญ่ ยะไข่ มอญ อินเดีย อื่นๆ

5


Education norm กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่า ร้อยละ 91 (363 คน) จบการศึกษาจากสถาบันของรัฐ ที่เหลือประมาณ ร้อยละ 12 จบการศึกษาจาก สถาบันการศึกษาเอกชนในประเทศ (ร้อยละ 3) สถาบันการศึกษานานาชาติ ในประเทศ (ร้อยละ 3) และสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ (ร้อยละ 3) โดยพบว่ากว่าร้อยละ 80 ของคน ที่จบการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศมักเป็ นผูท้ ี่มีรายได้ระดับปานกลาง-สูง ประถมศึกษา/ตา่ กว่า มัธยมศึกษาตอนต้น 1% ปริญญาโทขึ้ นไป 4% 10% มัธยมศึกษาตอน ปลาย/ปวช. 18%

ระดับการศึกษา สูงสุด

อนุ ปริญญา/ปวส. 7%

ปริญญาตรี 60%

และนอกจากนี้ ผลการสารวจยังสะท้อนให้เห็นว่า ชาวเมียนมาร์ในนครย่างกุง้ เกือบทั้งหมด หรือโดยส่วน ใหญ่กว่าร้อยละ 91 สาเร็จการศึกษาจากสถาบันของรัฐในประเทศ ส่วนผูท้ ี่สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน นานาชาติ ในประเทศ สถาบันเอกชนในประเทศ และสาเร็จการศึ กษาจากต่างประเทศโดยตรง มีสัดส่วน เท่าๆ กัน คือ ประมาณร้อยละ อีกร้อยละ 3 โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มตัวอย่างผูท้ ี่มีรายได้สงู

6


สถาบันการศึกษา เอกชนภายในประเทศ 3%

สถาบันการศึกษา นานาชาติ ภายในประเทศ 3%

สถาบันการศึกษาใน ต่างประเทศ 3%

สถาบันการศึกษา

สถาบันการศึกษา ของรัฐ ภายในประเทศ 91%

7


Work life กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่าร้อยละ 90 ไม่มีงานเสริมนอกเหนื อจากงานประจา ร้อยละ 31 ประกอบ อาชีพเป็ นพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 20 มักจะประกอบอาชีพค้าขายและมีเพียงร้อยละ 15 ที่ประกอบ อาชีพเป็ นข้าราชการหรือพนักงานของรัฐฯ ชาวเมียนมาร์โดยเฉพาะกลุ่มตัวอย่างวัยทางานที่มีอายุระหว่าง 30-49 ปี นอกจากจะทางานค่อนข้างหนักแล้วยัง มักใช้เวลาว่างในการหารายได้พิเศษนอกเหนื อจากงาน ประจา ชาวเมียนมาร์ที่มีเชื้ อสายพม่า เป็ นกลุ่มที่มีความขยันและสนุ กในการทางาน ไม่เกี่ยงงาน แม้ว่า รายได้ที่ได้รบั ในประเทศจะค่อนข้างตา่ อย่างไรก็ตามวัยแรงงานชาวเมียนมาร์มกั เข้ามาทางานและศึกษาหา วิชาชีพในประเทศไทย เนื่ องจากมองว่าไทยเป็ นเมืองเศรษฐกิจเป็ นแหล่งทามาหากินที่ดี เพื่อหาเงินเก็บและ ส่งกลับไปให้ครอบครัว

ว่างงาน อาชีพอิสระ 2% 6%

อื่นๆ 2%

นักศึกษา 5% ข้าราชการ/พนักงาน ของรัฐฯ 15%

พ่อบ้าน/แม่บา้ น 10% รับจ้าง/ลูกจ้าง 1%

อาชีพ พนักงาน บริษทั เอกชน 31%

ค้าขาย-เจ้าของ ธุรกิจขนาดเล็ก 21%

เจ้าของกิจการ/ธุรกิจ ส่วนตัว (SMEs) 7%

กลุ่มตัวอย่างชาวเมีย นมาร์โ ดยส่ วนใหญ่ นิ ย มเดิ น ทางไปท างานหรื อ ไปสถานที่ ต่างๆ ด้วยรถโดยสาร สาธารณะ คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 40 รองลงมานิ ยเดินทางโดยใช้รถยนต์ส่วนตัวและเดิ น โดยมี สัดส่วนประมาณร้อยละ 26 และร้อยละ 11 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด

8


ป้ายรถเมล์/รถโดยสารสาธารณะในนครย่างกุง้ กลุ่ ม ตัว อย่า งชาวเมี ย นมาร์เ พี ย งร้อ ยละ 2 เดิ น ทางโดยใช้ร ถจัก รยานยนต์ ร้อ ยละ 5 เดิ น ทางโดยใช้ รถจักรยาน และมีเพียงร้อยละ 6 ที่ได้รบั สวัสดิการจากบริษัทหรือหน่ วยงาน ให้เดินทางไปทางานได้โดยใช้ รถรับส่งพนักงาน สาหรับชัว่ โมงการทางาน พบว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ทางานไม่ตา่ กว่า 5 วันต่อ สัปดาห์และในแต่ละวัน ทางานไม่ตา่ กว่าละ 8 ชัว่ โมง และประมาณร้อยละ 13 ของกลุ่มตัวอย่าง มีงานอื่น นอกเหนื อจากงานหลักของตนเอง เช่น เป็ นเจ้าของธุรกิจหรือเป็ นลูกจ้างพาร์ทไทม์ตามบริษัทต่างๆ

รถจักรยานยนต์ 2% อื่นๆ 3%

รถไฟ, รถไฟฟ้ า, MRT 2%

รถจักรยาน 5%

รถโดยสาร สาธารณะ 38%

รถรับส่งพนักงาน 6% รถแท๊กซี่, รถรับจ้าง 7%

วิธีการเดินทาง ไปทางาน

เดิน 11%

รถยนต์สว่ นตัว 26%

9


Eat & Drink habits ห้องครัวและการเก็บอาหาร ห้องครัวของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์เป็ นครัวเพื่อใช้ประกอบอาหาร มากกว่าจะเป็ นเพียงพื้ นที่ สาหรับ เตรียมและอุ่นอาหาร โดยพบว่ากลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่าร้อยละ 95 ประกอบอาหารเองในบ้านทุกวัน หรือเกือบทุกวัน โดยเครื่องใช้ในครัว ที่กลุ่มตัวอย่างใช้ พบว่า เกือบทุกครัวเรือนมีเตาแก๊ส /เตาไฟฟ้ า ตูเ้ ย็น กาต้มน้ าร้อนไฟฟ้ า คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 93 ร้อยละ 84 และ 72 ตามลาดับ โดยมีประมาณ 1 ใน 4 ของ กลุ่มตัวอย่างที่มีเตาไมโครเวฟและเครื่องปิ้ งขนมปั งในบ้าน เครื่องล้างจาน

1%

99%

เครื่องดูดควัน

10%

90%

เตาอบ

13%

88%

เครื่องกรองน้าดื่ม

14%

ไมโครเวฟ

86% 25%

เครื่องปิ้ งขนมปงั

75%

29%

71%

กาต้มน้าร้อนไฟฟ้า

72%

ตูเ้ ย็น

28% 84%

เตาแก๊ส/ไฟฟ้า

16% 93% 7%

0%

20%

มี

40%

ไม่มี

60%

80%

100%

เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีในครัวเรือนของชาวกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์

กลุ่มตัวอย่างชาวเมีย นมาร์มัก รับประทานอาหารที่ ประกอบขึ้ นเองที่ บา้ น โดยพบว่า 1 ใน 3 ของกลุ่ม ตัวอย่างเป็ นผูท้ ี่มีหน้าที่ประกอบอาหารเอง และอีก 1 ใน 4 พ่อ-แม่ เป็ นผูม้ ีหน้าที่ประกอบอาหารให้ โดย ส่วนใหญ่นิยมทาอาหารท้องถิ่นของชาวเมียนมาร์เอง

10


การจัดครัวของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์

ห้องครัวของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ (ครอบครัวรายได้ปานกลาง-บน)

การเก็บอาหารของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ พบว่า เกือบทั้งหมด จะเก็บตุนอาหารประเภทข้าว น้ าตาล และเครื่องปรุงรสต่างๆ เช่น น้ าปลา ซอส น้ ามัน ซึ่งเป็ นอาหารที่ไม่เน่ าเสีย และสามารถซื้ อเก็บไว้ระยะยาว ได้ รองลงมาคือ ผัก-ผลไม้ และอาหารแห้ง-อาหารกระป๋อง ที่สามารถซื้ อมาเก็บไว้เพื่อบริโภคระยะเวลา สั้นๆ ได้ ส่วนอาหารประเภทที่ กลุ่มตัวอย่างไม่ค่อยเก็บไว้บริโภค ได้แก่ อาหารประเภทเนื้ อสัตว์ อาหาร พร้อมรับประทาน และอาหารแช่แข็ง โดยมีเพียงร้อยละ 9 เท่านั้น ที่เก็บอาหารแช่แข็งไว้ที่บา้ น สอดคล้อง 11


กับการวิจัยเชิงปริ มาณที่ พบว่า ชาวเมีย นมาร์นิย มซื้ ออาหารสดจากตลาดและไปจ่ายตลาดเกือบทุ กวัน อย่างไรก็ตาม เมื่อแยกกลุ่มตัวอย่างตามระดับรายได้ พบว่า กว่าร้อยละ 50 ของลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ปาน กลาง-สูง และกลุ่มรายได้สูง มีการเก็บอาหารประเภทอาหารพร้อมรับประทานไว้ในบ้าน ส่วนอาหารแช่ แข็ง ประมาณร้อยละ 19 ของกลุ่มตัวอย่างที่มีรายสูง ก็มีอาหารแช่แข็งเก็บไว้ในบ้าน

ข้าวสาร 20%

เนื้ อสัตว์ 7% ผักสด 15%

อาหารสาเร็จรูป/ พร้อมรับประทาน 8%

การเก็บอาหาร ผลไม้สด 15%

อาหารแช่แข็ง 2% อาหารแห้ง 13%

เครือ่ งปรุง 20%

สาหรับอาหารประเภทเนื้ อสัตว์ สาหรับเนื้ อสัตว์แช่เย็น -แช่แข็ง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 60 แทบ ไม่เคยซื้ อเลย อีกร้อยละ 23 ซื้ อทุกๆ สัปดาห์ โดยพบว่า ชาวเมียนมาร์นิยมไปซื้ ออาหารสดและเนื้ อสัตว์จาก ตลาดสด มากกว่าซื้ อเนื้ อสัต ว์แ ช่ แ ข็ง ส าหรับสถานที่ ซื้อเนื้ อสัตว์แ ช่ แ ข็ง ยังนิ ย มซื้ อจากตลาดสด และ ซูเปอร์มาร์เก็ต สาหรับอาหารประเภทผักสด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นิยมซื้ อเกือบทุกวัน จากตลาดสดเป็ น หลัก ทั้งนี้ เพราะราคาถูก สาหรับผลไม้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะซื้ อทุกๆ สัปดาห์ จากตลาดสดเป็ นหลัก สาหรับเครื่องปรุงต่างๆ น้ าตาล น้ าปลา น้ ามัน และซอสนั้น ส่วนใหญ่จะซื้ อ 1-2 ครั้งต่อเดือนจากตลาดสด และร้านขายของชาเป็ นหลัก เช่นเดียวกันกับอาหารแห้งและอาหารกระป๋อง ที่ส่วนใหญ่ซื้อเดือนละ 1-2 ครั้ง แต่จะซื้ อจากซูเปอร์มาร์เก็ตเป็ นหลัก ในส่วนของอาหารสาเร็จรูปพร้อมรับประทาน ส่วนใหญ่แทบไม่ได้ ซื้ อมาบริโภคเลย มีประมาณ 1 ใน 4 ของกลุ่มตัวอย่างที่ซื้อมาบริโภคทุกเดือน และอีกร้อยละ 21 ซื้ อมา บริโภคทุกสัปดาห์ โดยซื้ อจากซูเปอร์มาร์เก็ตเป็ นหลัก สาหรับข้าวสาร กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะซื้ อเดือนละ 1-2 ครั้ง โดยซื้ อจากตลาดสดเป็ นหลัก และประมาณร้อยละ 20 ซื้ อจากร้านค้าส่ง 12


ส่วน อาหารแบบพร้อมรับประทาน (Ready-to-eat) ประเภทที่อุ่นและรับประทานได้ทันทีดังที่เห็นและ คุน้ เคยกันดีในร้านสะดวกซื้ อในประเทศไทย ยังไม่เป็ นที่นิยมในกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์เท่าใดนัก โดยมี สัดส่วนกลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 90 ที่ไม่เคยหรือไม่ค่อยจะซื้ อสินค้าเหล่านี้ เลย ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างที่ซื้อ ซื้ อหรือบริโภคสินค้าเหล่านี้ จะซื้ อเป็ นประจาทุ กเดื อน มีสัดส่วนไม่ถึงร้อยละ 10 และมักจะหาซื้ อสินค้า เหล่านี้ จากซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่

ตลาดผัก-ผลไม้สดในกรุงย่างกุง้

13


อาหารแช่แข็ง

7.3%

อาหารแห้ง

86.2%

19.8%

46.5%

9.8

57.0%

ข้าวสาร เนื้ อสัตว์

7.0%

22.8%

อาหารสาเร็จรูป

7.3%

21.0%

เครื่องปรุง 7.3%

20.3%

ผลไม้สด

23.8% 7.3%

9.5

60.0% 24.5

42.5% 58.0

23.8%

56.8%

ผักสด

13.8%

67.8% 0%

ทุกวัน

20% ทุกสัปดาห์

ทุกเดือน

26.0%

40%

60%

ทุก 3 เดือน

ทุก 6 เดือน

80%

100%

ไม่เคย/มากกว่า 6 เดือน

ความถี่ในการซื้ ออาหารแต่ละประเภท

ซูเปอร์มาร์เก็ตสมัยใหม่กลางย่านชุมชน ในนครย่างกุง้ เมื่อสอบถามกลุ่มตัวอย่างถึง ขนาดและปริมาณในการซื้ ออาหารในแต่ละครั้ง พบว่า ร้อยละ 54 จะซื้ อมา สาหรับบริโภคระยะสั้น หรือซื้ อหีบห่อขนาดกลาง จานวน 3-5 ชิ้ น เป็ นต้น อีกร้อยละ 41 จะซื้ อเพื่อบริโภค 14


เป็ นครั้งๆ ไม่ได้ซื้อเผื่อบริโภคในคราวอื่นๆ มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้น ที่ซื้อคราวละมากๆ หรือซื้ อยกหีบ -ยก โหล อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจ ารณาตามระดับรายได้พ บว่า กว่าร้อยละ 11 ของกลุ่มที่ มีรายได้สูง จะมี พฤติกรรมการซื้ อคราวละมากๆ เนื่ องจากกลุ่มนี้ มักใช้ชีวิตแบบคนเมือง คือมีความเร่งรีบ และต้องการความ สะดวกสบาย

แผงขายสินค้า/ตลาดนัดในกรุงย่างกุง้ กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ไม่ค่อยนิ ยมอาหารประเภทเนื้ อสัตว์ โดยเฉพาะเนื้ อวัว ที่มีผูไ้ ม่รบั ประทานถึงร้อย ละ 56 เช่นเดียวกับเนื้ อสุกร ที่มีผไู้ ม่ทานถึงร้อยละ 45 ที่เป็ นเช่นนี้ อาจเพราะสังคมเมียนมาร์ เป็ นสังคมที่ เคร่งครัดในพุท ธศาสนา นอกจากนี้ จากการวิจัยเชิงคุ ณภาพยังพบว่า มีผูง้ ดทานเนื้ อสัตว์เพื่อเหตุ ผลทั้ง ทางด้านความเชื่ อและเหตุ ผลทางสุ ขภาพ โดยมีผู ้บริ โภคชาวเมีย นมาร์จ านวนหนึ่ ง ที่ จะงดรับประทาน เนื้ อสัตว์ ในบางวันของสัปดาห์ ส่วนเนื้ อสัตว์ชนิ ดอื่นๆ ที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์นิยมรับประทานหรือ รับประทานได้ ได้แก่ เนื้ อของสัตว์ปีก เช่น เนื้ อไก่ เนื้ อเป็ ด และสัตว์น้ า เช่น ปลา กุง้ หอย ปลาหมึก เป็ น ต้น ส่วนอาหารประเภทอื่นๆ ที่ ก ลุ่มตัวอย่างชาวเมีย นมาร์ไม่รับประทาน ได้แ ก่ สัตว์จ าพวกหอย ซึ่ งมีผู ้ไม่ รับประทานค่อนข้างมาก คิดเป็ นสัดส่วนกว่าร้อยละ 50 รองลงมา คือ เนื้ อไก่ หมึก และปู คิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 12 ร้อยละ 10 และร้อยละ 9 ตามลาดับ โดยชาวเมียนมาร์ไม่ทานเนื้ อวัวเนื่ องจากความเชื่อทาง ศาสนา และ นอกจากนี้ ในการรับประทานอาหารแทบทุกมื้ อของชาวเมียนมาร์ยงั มักจะประกอบไปด้วยผัก และผลไม้ดว้ ย

15


ผลไม้

31%

69%

ผัก

31%

69%

กุง้

33%

67%

เนื้ อไก่

33%

67%

ปลา

33%

67%

เนื้ อเป็ ด

34%

67%

ปู

37%

63%

หมึก

41%

59%

เนื้ อไก่

45%

55%

หอย

51%

50%

เนื้ อ

56%

44%

0%

20%

40%

ไม่ทาน

60%

80%

100%

ทาน

อาหารที่ชาวเมียนมาร์รบั ประทานและไม่นิยมรับประทาน ส่วนของรสชาติ อาหารนั้ น กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ส่วนใหญ่จะชื่นชอบอาหารเปรี้ ยว และรสเผ็ ด โดย พบว่า มีประมาณ 1 ใน 4 ของกลุ่มตัวอย่างที่ชอบรสเผ็ดมากที่สุด และเปรี้ ยวมากที่สุด (ระดับ 10 ใน 10) โดยเฉพาะกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุไม่เกิน 40 ปี สาหรับรสหวาน มีประมาณร้อยละ 17 ที่ชอบทานรสหวานจัด โดยรสขมและรสเค็ม มีกลุ่มตัวอย่างที่ชอบน้อยที่สุด เมื่อสอบถามถึงปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้ อ/ตัดสินใจซื้ อสินค้าของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ พบว่าปั จจัยที่ กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญมากที่สุด คือ สินค้าที่ดีต่อสุขภาพ และเป็ นสินค้าออร์แกนิ ค มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.72 ส่วนปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญรองลงมา คือ สินค้าที่มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.93 และสินค้าที่มีราคาน่ าสนใจ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.83 ตามลาดับ

16


2.47

ของแถม

2.69

การโฆษณา

2.87

ส่วนลดเงินสด

3.02

สินค้านาเข้า

3.26

หีบห่อที่ดีและสวยงาม

3.38

วางขายในร้านที่น่าเชื่อถือ

3.49

สีสนั

3.67

แบรนด์ ฉลากที่มีขอ้ มูลครบถ้วน

3.81

ราคา

3.83 3.93

เครื่องหมายรับรองคุณภาพ

4.72

ดีตอ่ สุขภาพ ออร์แกนิค .00

1.00

2.00

3.00

4.00

5.00

แสดงค่าเฉลี่ยปั จจัยในการตัดสินใจซื้ อสินค้าของผูบ้ ริโภคชาวเมียนมาร์

ส่ว นปั จจัย ที่ ก ลุ่ มตัวอย่า งชาวเมี ย นมาร์ไ ม่ค่ อยให้ความสาคัญ มากนั ก หรื อ ไม่ได้นามาพิ จ ารณาในการ ตัดสินใจซื้ อสินค้าอันดับแรก คือ ของแถมต่างๆ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.47 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด รองลงมาคือ การโฆษณาของสินค้าตามที่ต่าง ๆ เช่น ป้ายบิลบอร์ด โทรทัศน์ วิทยุ หรือหนังสือพิมพ์ เป็ นต้น มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.69 และสินค้าที่มีส่วนลดเงินสดหรือราคา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.87 ตามลาดับ

17


ตลาดโบโจ๊กมาร์เก็ต (Bogyoke Market) ตลาดที่ใหญ่ที่สุดในเมียนมาร์ แหล่งขายของฝากและของที่ระลึก

18


พฤติกรรมการรับประทานอาหารนอกบ้าน สาหรับพฤติกรรมการรับประทานอาหารมื้ อต่างๆ ของชาวเมียนมาร์น้ัน ผลสารวจพบว่า สาหรับอาหารมื้ อ เช้า กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่าร้อยละ 74 รับประทานมื้ อเช้าที่บา้ น มีเพียงร้อยละ 15 ที่รบั ประทาน อาหารเช้านอกบ้าน โดยกลุ่มตัวอย่าง ดื่มชา-กาแฟ ในมื้ อเช้ากว่าร้อยละ 75 ของกลุ่มตัวอย่าง และทาน ข้าว-อาหารจานเดียว ในมื้ อเช้า ร้อยละ 39 ของกลุ่มตัวอย่าง

ซีเรียล/ธัญพืช 8%

ข้าวต้ม โจ๊ก ซุป 3%

อาหารจานเดี่ยว 2%

ชา กาแฟ 37%

นม 10%

ขนมปั ง บัน บาแก๊ต 11%

ขนมปั ง แซนวิช ไข่ แฮม ไส้กรอก 10%

อาหารเช้า ที่นิยมของชาวเมียนมาร์

ข้าวราดแกง 19%

สาหรับมื้ อกลางวันก็เช่นกัน กว่าร้อยละ 58 ของกลุ่มตัวอย่าง รับประทานอาหารกลางวันที่บา้ น อีกร้อยละ 27 ห่ออาหารจากบ้านไปทานที่ทางาน โดยมีเพียงร้อยละ13 ที่รบั ประทานนอกบ้าน สาหรับมื้ อเย็น กว่า ร้อยละ 91 ของกลุ่มตัวอย่าง รับประทานอาหารเย็นที่บา้ น มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้นที่ออกไปรับประทาน นอกบ้าน ผลสารวจสอดคล้องกับการวิ จัย เชิ งปริ มาณ ที่ ระบุ ว่า ในนครย่างกุ ง้ ค่ าครองชี พ โดยเฉพาะ ค่าอาหารถือว่าค่อนข้างสูง อาหารที่จาหน่ ายในร้านอาหารนอกบ้านมีราคาค่อนข้างแพง และใส่สารปรุงแต่ง เช่ น ผงชูรสมาก ชาวเมีย นมาร์จึ งนิ ย มรับประทานอาหารที่ บา้ น ด้วยเหตุ ผ ลทั้งด้านค่าใช้จ่ายและด้ าน สุขภาพ

19


มื้ อเย็น

91.3%

มื้ อกลางวัน

5%

57.8%

มื้ อเช้า

27.5%

73.8%

0%

20% ทาทานเอง

40% ซื้ อกลับบ้าน

13%

10.3%

60% ห่อมาจากบ้าน

15.5%

80% ไปทานนอกบ้าน

100% ไม่ทาน

เมื่อสอบถามถึงความถี่ในการรับประทานอาหารนอกบ้าน ร้อยละ 36 ของกลุ่มตัวอย่าง รับประทานอาหาร นอกบ้าน 1-2 ครั้งต่อเดือน อีกร้อยละ 25 รับประทานอาหาร 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยมีกลุ่มตัวอย่างร้อย ละ 17 ที่รบั ประทานอาหารนอกบ้านทุกวัน/เกือบทุกวัน และร้อยละ 14 ที่มีนานกว่า 1 เดือนจึงจะได้ รับประทานอาหารนอกบ้านสักครั้ง ส่วนอีกร้อยละ 8 ไม่เคย/แทบไม่เคยรับประทานอาหารนอกบ้านเลย โดยส่วนใหญ่มกั ออกไปทานกับครอบครัว และเพื่อน

20


ไม่เคย/แทบจะไม่ เคย 8% นานกว่า 1 เดือน 14%

ทุกเดือน 36%

ความถี่ในการ ทานอาหารนอกบ้าน ทุกวัน/เกือบทุก วัน 17%

1-2 ครั้งต่อ สัปดาห์ 25%

สาหรับประเภทอาหารที่ชาวเมียนมาร์นิยมออกไปรับประทานนอกบ้าน ได้แก่อาหารท้องถิ่นเมียนมาร์ โดย กว่า 1 ใน 3 ของกลุ่มตัวอย่างรับประทานอาหารเมียนมาร์ทุกวัน ที่ได้รบั ความนิ ยมรองลงมาคืออาหารจีน / ติ่มซา ที่ส่วนใหญ่จะรับประทานเดือนละ 1-2 ครั้ง และอาหารไทย ที่มกั ออกไปรับประทานนอกบ้านเดือน ละ 1-2 ครั้งเช่นกัน ยังมีอาหารประเภทอื่นที่ชาวเมียนมาร์นิยม เช่น อาหารฟาสท์ฟ้ ดู ที่ประมาณร้อยละ 35 ทานอาหารฟาสท์ฟ้ ดู ตั้งแต่สปั ดาห์ละครั้ง - เดือนละครั้ง อาหารประเภทปิ้ ง-ย่าง บาร์บีคิว หรือหมู กระทะ ก็ได้รบั ความนิ ยมพอสมควร โดยเกือบร้อยละ 34 ออกไปรับประทานอาหารอาหารประเภทนี้ นอก บ้าน อย่างน้อยเดือนละครั้ง นอกจากนี้ จากการสารวจยังพบว่า อาหารเกาหลี ญี่ปุ่น และอาหารตะวันตก (ฝรัง่ เศส-อิตาเลียน) ได้รบั ความนิ ยมค่อนข้างน้อย โดยมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มตัวอย่าง ไม่ทาน/แทบ ไม่เคยทาน อาหารเหล่านี้ นอกบ้านเลย มากกว่าครึ่งหนึ่ งของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ ไม่เคยรับประทานอาหาร Fast food หรืออาหารจานด่วน เลย คิดเป็ นสัดส่วนกว่าร้อยละ 52 ส่วนผูท้ ี่เคยรับประทานอาหารจานด่วน จะรับประทานไม่เกินเดือนละ 1 ครั้ง ประมาณเดือนละครั้งหรือสัปดาห์ละครั้ง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 17 เท่าๆ กัน และมีกลุ่มตัวอย่างที่ บริโภคอาหารจานด่วนทุกวันกว่าร้อยละ 7 เช่นเดียวกันกับอาหารทะเล แม้เมียนมาร์จะเป็ นประเทศที่มีการ ทรัพยากรอาหารทะเลค่อนข้างมาก แต่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กลับไม่นิยมอาหารทะเลเท่าใดนัก โดย พบว่ากลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่าร้อยละ 70 ไม่เคยหรื อไม่ค่อยที่ จ ะรับประทานอาหารทะเล ผู ้ที่ รับประทานอาหารทะเลเป็ นประจาทุกสัปดาห์ มีเพียงประมาณร้อยละ 12 และผูท้ ี่รบั ประทานอาหารทะเล เป็ นประจาทุกเดือนมีประมาณร้อยละ 14 สาหรับผูท้ ี่รบั ประทานอาหารทะเลมากที่สุด คือ กลุ่มตัวอย่างที่มี อายุระหว่าง 23-29 ปี 21


อาหารเมียนมาร์ที่พบเห็นได้ทั ่วไปในพื้ นที่ขายอาหาร (1)

อาหารเมียนมาร์ที่พบเห็นได้ทั ่วไปในพื้ นที่ขายอาหาร (2) สาหรับอาหารประเภทชาบู สุกี้ยากี้ และบาร์บีคิวนั้น กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ประมาณร้อยละ 70 ไม่เคย หรือไม่ค่อยได้รบั ประทาน มีเพียงประมาณร้อยละ 20 ที่รบั ประทานประมาณนานๆ ครั้ง (นานกว่าเดือนละ 1 ครั้ง) และร้อยละ 10 ที่รบั ประทานอาหารประเภทนี้ เดือนละครั้ง อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างชาวเมียน 22


มาร์อีกกลุ่มหนึ่ ง กว่าร้อยละ 35 กลับไม่เคยหรือไม่ค่อยได้รบั ประทานอาหารประเภทนี้ เลย ส่วนผูท้ ี่นิยม ทานอาหารประเภทนี้ มากที่สุด คือ กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุมากกว่า 60 ปี และอายุระหว่าง 18 – 22 ปี โดย กว่าร้อยละ 50 เป็ นผูท้ ี่มีรายได้ระดับสูง นิ ยมรับประทานในร้านอาหาร สาหรับสถานที่ ที่ ชาวเมียนมาร์ออกไปรับประทานอาหารนอกบ้าน ส่วนใหญ่จะออกไปทานอาหารตาม ร้านอาหารทัว่ ๆ ไป มีบา้ งที่ไปรับประทานตามศูนย์การค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารฟาสท์ฟ้ ดู และอาหาร เกาหลี สาหรับอาหารญี่ปุ่น แม้วา่ ในนครย่างกุง้ จะมีรา้ นอาหารญี่ปุ่น เช่นร้านฟูจิ เปิ ดให้บริการ แต่จากการ สารวจพบว่าลูกค้าส่วนใหญ่มกั เป็ นชาวต่างชาติในนครย่างกุง้ มากกว่าชาวเมียนมาร์เอง

ชาวเมียนมาร์กบั การรับประทานอาหารมื้ อกลางวัน

ส่วนการหาข้อมูลเกี่ยวกับร้านอาหาร มากกว่าครึ่งหรือคิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 55 ของกลุ่มตัวอย่าง เลือกร้านอาหารตามคาแนะนาของเพื่อน หรือคนรูจ้ กั , รองลงมาจึงดูจากสื่อ เช่น หนังสือพิมพ์และโทรทัศน์ คิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 13 และร้อยละ 11 ส่วนการศึกษาข้อมูลโดยใช้ Social Network มีเพียงประมาณ ร้อยละ 10 ปั จจัยที่ สาคัญที่ทาให้กลุ่มตัวอย่างเลือกใช้บริการร้านอาหารแต่ละร้าน ได้แก่ อันดับที่ 1 รสชาติ อันดับที่ 2 ความสะอาด และสิ่งที่มีความสาคัญอันดับที่ 3 คือ ราคา โดยกลุ่มตัวอย่างเกือบทุกคน 23


ระบุว่า รสชาติ เป็ นเหตุผลที่สาคัญที่สุดในการเลือกร้านอาหาร รองลงมาคือปั จจัยด้านความสะอาด ที่กว่า ร้อยละ 78 ของกลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญกับปั จจัยด้านนี้ และ ด้านราคา ที่กว่าร้อยละ 46 ของกลุ่ม ตัวอย่างให้ความสาคัญกับปั จจัยข้อนี้

นิ ตยสาร 3%

ป้ายโฆษณา 2%

ผ่านหน้าร้าน 7% อินเตอร์เน็ ต / โซเชียล เน็ ตเวิรค์ 9%

โทรทัศน์ / วิทยุ 11%

แหล่งข้อมูลในการ เลือกร้านอาหาร

เพื่อน/คนรูจ้ กั แนะนา 55%

หนังสือพิมพ์ 13%

สาหรับการบริการส่งอาหาร (Delivery Service) ในเมียนมาร์ พบว่ามีเพียงร้อยละ 38 ของกลุ่มตัวอย่าง เท่านั้นที่เคยสัง่ อาหารมารับประทานที่บา้ น โดยผูท้ ี่สงั ่ เป็ นประจามีเพียงร้อยละ 4 ส่วนการสัง่ อาหารมา รับประทานที่ทางาน พบว่ามีเพียงร้อยละ 29 เท่านั้นที่เคยใช้บริการ โดยมีผทู้ ี่สงั ่ เป็ นประจามีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้ น จากผลการวิจัยทาให้เห็นว่าชาวเมียนมาร์ยงั ไม่ค่อยคุ น้ เคยกับการใช้บริการส่งอาหารเท่าใดนั ก รวมทั้งการสัง่ อาหารจากนอกบ้านมารับประทาน มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าประกอบอาหารรับประทานเอง จึงยังมี ผูบ้ ริโภคจานวนมากที่เลือกทาอาหารรับประทานเองที่บา้ น และห่ออาหารไปรับประทานในที่ทางาน

24


ที่ทางาน 5.3%

บ้าน

23.8%

4.3%

70.9%

33.8%

0%

62.0%

20%

40% ประจา

60% บางครั้ง

80%

100%

ไม่เคย

ความถี่ในการใช้บริการส่งอาหาร (Delivery) ถึงทีบ่ า้ นและที่ทางาน

แนวโน้มการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ สาหรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ/อาหารปลอดสารพิษนั้น ผลวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างชาว เมียนมาร์มากกว่าร้อยละ 40 เลือกรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ/อาหารปลอดสารพิษทุกวัน/เกือบทุกวัน รองลงมาเกือบร้อยละ 20 รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพทุกๆ สัปดาห์ โดยพบว่าสัดส่วนของผูท้ ี่บริโภค อาหารเพื่อสุขภาพเป็ นประจาจะเพิ่มมากขึ้ นตามช่วงอายุที่มากขึ้ น สาหรับกลุ่มที่ไม่เลือกบริโภคอาหารเพื่อ สุขภาพ ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 66 ให้เหตุผลว่าเป็ นเพราะหามาบริโภคยาก และร้อยละ 12 ไม่เลือกทาน อาหารเพื่อสุขภาพเนื่ องจากมีราคาแพง

ไม่จาเป็ น 5%

ราคาแพง 22%

รสชาติไม่ดี 6%

เหตุผลที่ไม่ทาน อาหารเพื่อสุขภาพ

ไม่สะดวก/ ยุง่ ยาก 67%

25


อย่างไรก็ตามจากข้อมูลการวิจัย เชิงปริมาณ พบว่าคนรุ่นใหม่ชาวเมีย นมาร์ ที่ ได้รับการศึ กษาที่ ดีและมี รายได้สูง ค่อนข้างสนใจบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสดั ส่วนผูท้ ี่มีรายได้สูงเกิน 35,000 บาทขึ้ นไป รับ ประทานอาหารเพื่ อ สุ ข ภาพกว่า ร้อยละ 50 โดยส่ วนใหญ่ สิ น ค้า อาหารเพื่ อ สุ ข ภาพที่ นาเข้าจาก ต่างประเทศจะถูกวางจาหน่ ายอยู่ในซูเปอร์มาร์เก็ตระดับบน เช่น Market Place by City Mart ซึ่งเป็ นแหล่ง จับจ่ายซื้ อสินค้าสาหรับชาวต่างชาติและกลุ่มชาวเมียนมาร์ที่มีรายได้สูง ส่วนอาหารที่ นาเข้าจากประเทศ ไทยจะได้รบั ความเชื่อถือในแง่ของความปลอดภัย ทั้งยังมีรสชาติดี กลุ่มผูบ้ ริโภคที่มีรายได้ปานกลาง-สูง ที่ มีกาลังซื้ อจึงนิ ยมเลือกซื้ อผลิตภัณฑ์อาหารจากประเทศไทย

55.6%

50,000 ขึ้ นไป

16.7%

40.0%

35,000-49,999

26.2%

15,000- 34,999

42.9%

ตา่ กว่า 4,999

44.5%

0%

ทุกวัน

20%

ทุกสัปดาห์

11.1% 5.6%

40.0%

19.0%

5,000-14,999

11.1%

23.8%

15.9%

4.8%

14.3%

21.1%

40%

ทุกเดือน

20.0%

7.9%

12.4%

60%

นานกว่าเดือน

26.2%

7.7%

80%

19.0%

14.4%

100%

ไม่เคย/แทบจะไม่

แม้ผูบ้ ริโภคชาวเมียนมาร์จะเริ่มเลือกรับประทานอาหารโดยคานึ งถึ งสุ ขภาพ แต่ผ ลวิจัยก็พบว่า อาหาร ประเภทของหวาน อาหารจานด่วนต่างๆ อาหารพร้อมรับประทาน และอาหารปิ้ งย่าง ยังเป็ นอาหารที่กลุ่ม ตัวอย่างชาวเมียนมาร์จานวนไม่น้อยบริโภคเป็ นประจา โดยมีสดั ส่วนกลุ่มตัวอย่างผูท้ ี่รบั ประทานเกือบร้อย ละ 50 ร้อยละ 44 ร้อยละ 42 และร้อยละ 35 ตามลาดับ ที่น่าสนใจคือการรับประทานอาหารประเภท หมักดอง ที่ ก ว่าครึ่งหนึ่ งของกลุ่มตัวอย่างไม่รับประทานเลย และอีกประมาณร้อยละ 40 พยายามจะ หลีกเลี่ยง 26


ของหวานหลากสีสนั ในประเทศเมียนมาร์

ขนมเมียนมาร์ที่ขายทั ่วไปตามท้องตลาดและพื้ นที่ขายอาหาร

27


สาหรับอาหารทอด/อาหารมัน มากกว่าร้อยละ 70 ของกลุ่มตัวอย่างพยายามที่จะหลีกเลี่ยง ในขณะที่อีก กว่า 1 ใน 3 ของกลุ่มตัวอย่าง สามารถบริโภคอาหารชนิ ดนี้ ได้อย่างปกติ อาหารที่ใส่ผงชูรส มีผูห้ ลีกเลี่ยง และพยายามหลีกเลี่ยงที่จะไม่รบั ประทานเกือบร้อยละ 90 มีผทู้ ี่สามารถรับประทานได้เพียงร้อยละ 13 โดย พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่อายุมากขึ้ น จะพยายามไม่บริโภคอาหารที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพมากขึ้ นด้วย

อาหารหมักดอง ต่างๆ

51.5%

อาหารที่ใส่ผงชูรส อาหารที่มีไขมันสูง ของทอดต่างๆ

42.3%6.3%

23.3% 12.5% 10.0%

อาหารปิ้ ง/ย่าง

64.0%

12.8%

74.5%

13.0%

70.8%

19.5%

อาหารแปรรูป

12.5%

อาหารฟาสท์ฟ้ ดู

13.5%

44.8% 45.3%

ขนมหวานต่างๆ 7.5%

42.0%

พยายามหลีกเลี่ยง

35.8% 42.3% 44.5%

43.0% ไม่รบั ประทานเลย

19.3%

49.5% ทานได้ปกติ

พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่อนั ตรายต่อสุขภาพ

สาหรับเหตุผลในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ ส่วนใหญ่รบั ประทานเพื่อให้ดูแข็งแรงมีสุขภาพดี และ เพื่อป้องกันตนเองจากการเจ็บป่ วย สาหรับอาหารเพื่อสุขภาพที่เลือกซื้ อมารับประทาน 3 อันดับแรก (Top 3 Box) ได้แก่ อาหารและผักปลอดสารพิษ ขนมปั งโฮลวีท วิตามินหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต่างๆ และเมื่อ ถามถึงความยินดีที่จะจ่ายเพื่อซื้ ออาหารเพื่อสุขภาพ ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 40 ไม่ตอ้ งการจะจ่ายเพิ่ม จากราคาอาหารปกติ อีกประมาณร้อยละ 28 ยินดีที่จะจ่ายเพิ่มประมาณ 5% จากราคาอาหารปกติ

28


จากข้อมูลข้างต้น เราจะพบว่ากลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ส่วนใหญ่มกั จะใส่ใจกับการรับประทานอาหารเพื่อ สุขภาพและหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่บนั ่ ทอนสุขภาพกันเป็ นอย่างดี โดยวัตถุประสงค์สาคัญในการ รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ส่วนใหญ่ หรือเกือบร้อยละ 65 คือ เพื่อให้ ตนเองมีสุขภาพที่แข็งแรง และอีกเกือบร้อยละ 30 เพื่อดูแลและป้องกันตนเองจากการเจ็บป่ วย และจาก การศึ กษาในกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ พบว่ากลุ่มตัวอย่างเพศชายจะให้ความสาคัญกับการับประทาน อาหารเพื่อสุขภาพมากกว่ากลุ่มตัวอย่างเพศหญิง เนื่ องจากมีจานวนกลุ่มตัวอย่างเพศหญิงไม่รบั ประทาน อาหารเพื่อสุขภาพมากกว่า ประมาณร้อยละ 65 ต่อ 35 นอกจากนี้ เมื่อเปรียบเทียบกันแล้ว ยังพบว่าโดย ส่วนใหญ่แล้วกลุ่มตัวอย่างเพศชายและหญิงยังมีเหตุผลในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่แตกต่างกัน อีก ด้วย โดยเหตุ ผลที ก ลุ่มตัวอย่างเพศชายรับประทานอาหารสุ ขภาพเพราะด้วยเหตุ ผ ลว่า อาหารเพื่ อ สุขภาพนั้นมีรสชาติที่ดีกว่าอาหารทัว่ ๆ ไป รองลงมา คือ กลุ่มตัวอย่างสนใจอยากลองอาหารเพื่อสุขภาพ และรับประทานอาหารเพื่อสุ ขภาพเพื่อให้มีรูปร่างที่ดี ส่วนกลุ่มตัวอย่างเพศหญิ งรับประทานอาหารเพื่อ สุขภาพ ด้วยเหตุผลเพราะอาหารเพื่อสุขภาพกาลังเป็ นที่นิยมมากที่สุด รองลงมา คือ เพื่อให้ตนมีสุขภาพ แข็งแรงและเพื่อป้องกันการเจ็บป่ วย ตามลาดับ

เพราะต้องการดูแล ตัวเองจากการ เจ็บป่ วย 29.3

เหตุผลที่รบั ประทาน อาหารเพื่อสุขภาพ เพราะต้องการมี สุขภาพที่แข็งแรง 64.2

เหตุผลที่รบั ประทานอาหารเพื่อสุขภาพ โดยอาหารเพื่อสุขภาพที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์โดยส่วนใหญ่รบั ประทาน คือ อาหารออร์แกนิ ค และผัก ผลไม้ต่างๆ โดยคิดเป็ นสัดส่วนจานวนกลุ่มตัวอย่างที่ชอบรับประทานอาหารประเภทนี้ มากถึง ประมาณร้อย ละ 56 รองลงมาคื อ ขนมปั งโฮลวี ท โฮลเกรน และอาหารเสริ ม หรื อ วิ ต ามิ น คิ ด เป็ นสัด ส่ ว นผู ้ที่ ช อบ รับประทานอาหารประเภทนี้ ร้อยละ 54 และร้อยละ 47 ตามลาดับ ส่วนการดื่ มเครื่องดื่ มสมุนไพรเพื่ อ สุขภาพในกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ ถือว่ายังมีในสัดส่วนที่นอ้ ย คิดเป็ นประมาณ 1 ใน 5 ของกลุ่มตัวอย่าง ที่ดื่มเครื่องดื่มเพื่อบารุงหรือดูแลสุขภาพ และการรับประทานข้าวกล้องข้าวซ้อมมือ ก็มีสดั ส่วนผูร้ บั ประทาน เพียงเล็กน้อย 29


กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่าร้อยละ 40 ไม่อยากจ่ายแพงขึ้ นเพื่อให้ได้รบั ประทานอาหารออร์แกนิ คหรือ อาหารเพื่อสุ ขภาพ โดยต้องการให้ราคาอาหารเพื่ อสุ ขภาพนั้ นมีราคาเท่าๆ กันกับราคาอาหารทัว่ ๆ ไป อย่างไรก็ตามมีกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์อีกกว่าร้อยละ 60 ยอมจ่ายแพงขึ้ นเพื่อซื้ ออาหารเพื่อสุขภาพ ซึ่ง ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 25 จะยินดีที่จะจ่ายเพิ่มจากราคาอาหารทัว่ ไป 5% และอีกประมาณร้อยละ 18 ยินดี จะจ่ายเพิ่มจากราคาอาหารทัว่ ไปร้อยละ 10

30


พฤติกรรมการดื่มเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ เมื่อถามกลุ่มตัวอย่างถึงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ พบว่า กว่าร้อยละ 70 ของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียน มาร์ ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยเพศชายดื่มมากกว่าเพศหญิง ซึ่งมีกลุ่มตัวอย่างเพศชายที่ดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ประมาณร้อยละ 55 ส่วนเพศหญิงที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีเพียงร้อยละ 7 เท่านั้น เมื่อ พิจารณาตามอายุของกลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มที่มีอายุ 50 ปี ขึ้ นไป มีสดั ส่วนผูไ้ ม่ดื่มแอลกอฮอล์สูงกว่ากลุ่ม อายุอื่นๆ นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับรายได้สงู ขึ้ น ก็จะมีสดั ส่วนผูท้ ี่ดื่มแอลกอฮอล์สงู ขึ้ นด้วย

รวม 1.8%

70.6%

6.2%

หญิง

ชาย

27.6%

92.9%

2.7% 0%

51.9% 10%

20%

30%

45.4% 40%

50%

60%

70%

80%

90%

100%

เป็นประจา บางครัง้ ไม่ด่มื เลย พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จาแนกตามเพศ

เมื่อถามเหตุผลที่ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าเป็ นเพราะผิดหลักคาสอนของศาสนา ไม่ ชอบรสชาติ และไม่ดีต่อสุขภาพ สอดคล้องกับการวิจยั เชิงคุณภาพที่พบว่า ผูบ้ ริโภคชาวเมียนมาร์ซึ่งส่วน ใหญ่เป็ นพุทธศาสนิ กชน และมีความเคร่งครัดต่อการปฏิบตั ิตามคาสอนของศาสนาพุทธมาก

31


พฤติกรรมการดื่มเครือ่ งดื่มประเภทต่างๆ เครื่องดื่มที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ดื่มทุกวัน /เกือบทุกวัน คือ กาแฟสาเร็จรูป โดยกว่าร้อยละ 43 ของ กลุ่มตัวอย่างดื่มกาแฟสาเร็จรูปทุกวัน /เกือบทุกวัน เช่นเดียวกับกาแฟสด (ร้อยละ 27) นมสด (ร้อยละ 25) และชา (ร้อยละ 28) อย่างไรก็ตาม จากการสังเกตจะพบว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์มากกว่า 1 ใน 3 ไม่เคยดื่มกาแฟเลย ส่วนเครื่องดื่มที่กลุ่มตัวอย่างดื่มสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ได้แก่ น้ าอัดลม (ร้อยละ 28) น้ าหวานรสต่างๆ (ร้อยละ 23) น้ าผักและผลไม้ (ร้อยละ 25) เครื่องดื่มบารุงกาลัง (ร้อยละ 18) และนม ถัว่ เหลือง (ร้อยละ 16) ส่วนเครื่องดื่มที่ดื่มเดือนละ 1-2 ครั้ง ได้แก่ น้ าสมุนไพร (ร้อยละ 12) เครื่องดื่ม ฟั งก์ชันนัล ดริ๊งค์ (ร้อยละ 8) และเครื่องดื่ มแอลกอฮอล์ต่างๆ คือ เบียร์ ซึ่ งเบียร์ทอ้ งถิ่นของเมียนมาร์ ได้รบั ความนิ ยมมากกว่าเบียร์นาเข้า บรัน่ ดี/วิสกี้ และไวน์ เหล้าขาว วอดก้า 95.5% ไวน์ / แชมเปญ 89.5% บรัน่ ดี วิสกี้ 7.5% 83.3% สุราพื้ นบ้าน 90.0% เบียร์ต่างประเทศ 81.3% เบียร์ในประเทศ 10.3% 74.3% เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ-ความงาม 8.3% 83.7% เครื่องดื่มสมุนไพร 6.3% 11.8% 71.8% เครื่องดื่มบารุงกาลัง 17.8% 16.8% 54.8% นมถัว่ เหลือง 16.5% 16.0% 58.5% น้ าหวานรสต่างๆ 7.0% 23.3% 19.3% 43.8% น้ าอัดลม 9.8% 28.5% 20.5% 34.8% ชาพร้อมดื่ม 10.8% 7.1% 71.3% น้ าผัก/น้ าผลไม้ 13.3% 24.8% 18.3% 37.3% นมสด 25.5% 24.0% 16.0% 29.8% กาแฟชง 27.5% 16.0% 8.8% 43.8% น้ าชา 28.0% 18.0% 11.3% 37.0% กาแฟพร้อมดื่ม 42.8% 14.0% 9.3% 32.5% 0%

20% ทุกวัน

40% ทุกสัปดาห์

60% ทุกเดือน

80%

100% ไม่เคย

พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มประเภทต่างๆ จาแนกตามความถี่ 32


แหล่งซื้ อเครื่องดื่ม สาหรับนม ชา และกาแฟสด ส่วนใหญ่นิยมซื้ อจากร้านกาแฟ/ร้านนม/ร้านน้ าชา ส่วนชา และกาแฟสาเร็จรูป นมถัว่ เหลือง น้ าหวาน น้ าอัดลม เครื่องดื่ มบารุ งกาลัง น้ าสมุนไพร และฟั งก์ชันนอ ลดริ๊งก์ ส่วนใหญ่นิยมซื้ อจากร้านสะดวกซื้ อต่างๆ สาหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิ ด ซื้ อจากภัตตาคาร และร้านสะดวกซื้ อเป็ นหลัก ยกเว้นเหล้าขาวที่นิยมซื้ อจากร้านขายของชา ที่น่าสนใจคือ เครื่องดื่มประเภท กาแฟสด น้ าผัก น้ าผลไม้ และน้ าสมุนไพร มากกว่า 1 ใน 4 ของกลุ่มตัวอย่าง ทาเครื่องดื่มเหล่านี้ เพื่อดื่ม เองที่บา้ น

พฤติกรรมการดื่มชา-กาแฟ และขนมหวาน สาหรับกาแฟ ผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่ดื่มวันละครั้งถึงมากกว่าวันละครั้ง มีกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ดื่มเพียงร้อยละ 17 ส่วนใหญ่ซื้อกาแฟจากร้านกาแฟ และร้านสะดวกซื้ อ โดยประมาณร้อยละ 20 ของผูท้ ี่ดื่มกาแฟ นิ ยมไปดื่มที่ ร้านกาแฟ สาหรับการดื่มชา ส่วนใหญ่ดื่มวันละครั้งถึงมากกว่าวันละครั้ง โดยมีกลุ่มตัวอย่างไม่ดื่มร้อยละ 32 ส่วนใหญ่ซื้อจากร้านกาแฟ/ร้านน้ าชา โดยกว่าร้อยละ 30 ของกลุ่มตัวอย่างที่ทานชานิ ยมไปทานที่รา้ น น้ าชา/ร้านกาแฟ

วิถกี ารดื่มชา-กาแฟสไตล์เมียนมาร์

33


ร้านกาแฟแบบดั้งเดิมแห่งหนึ่งในกรุงย่างกุง้

สาหรับขนม มีกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ที่ไม่รบั ประทานขนมเพียงร้อยละ 13.6 ซึ่งหมายถึงมีกลุ่มตัวอย่าง ชาวเมียนมาร์ที่ชอบทานขนมถึงกว่าร้อยละ 85 และส่วนใหญ่รบั ประทานวันละครั้ง/มากกว่าวันละครั้ง และ นิ ยมซื้ อจากร้านสะดวกซื้ อ และซื้ อมารับประทานที่บา้ นเป็ นส่วนใหญ่ ปั จจุบนั แนวโน้มวัฒนธรรมร้านกาแฟ (Cafe-Culture) เริ่มเป็ นที่แพร่หลายในนครย่างกุง้ ร้านชา-กาแฟแบบสมัยใหม่ เริ่มเปิ ดให้บริการทัว่ ไป โดยกลุ่มวัยรุ่น-คนรุ่นใหม่ จะนิ ยมไปนัง่ ตามร้านกาแฟ ร้านน้ าชา หรือร้านขนมหวานในศูนย์การค้าเพื่อดื่ม เครื่องดื่ม พบปะพูดคุยและใช้บริการอินเตอร์เน็ ตไวไฟฟรีที่ทางร้านจัดไว้บริการ

34


ค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกับอาหาร ค่าใช้จ่ายส่วนตัวสาหรับอาหารของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ พบว่าส่วนใหญ่ (ประมาณ 1 ใน 3) อยู่ที่ ประมาณ 34-66 ดอลล่าร์สหรัฐต่อเดือน หรือประมาณ 1,000-2,000 บาทต่อเดือน คิดเป็ นประมาณ 22 บาทต่อมื้ อ อีกประมาณร้อยละ 22 อยู่ที่ประมาณ 67-133 ดอลล่าร์สหรัฐ หรือประมาณ 2,0004,000 บาท คิดเป็ นประมาณ 44 บาทต่อมื้ อ สาหรับค่าใช้จ่ายสาหรับอาหารของทั้งครัวเรือน ประมาณ 1 ใน 4 ของกลุ่มตัวอย่าง มีค่าใช้จ่ายด้านอาหารอยู่ที่ประมาณ 134-200 ดอลล่าร์สหรัฐต่อเดือนหรือ ประมาณ 4,000-6,000 บาทต่อเดือน คิดเป็ นประมาณ 67 บาทต่อมื้ อ และอีก 1 ใน 4 มีค่าใช้จ่าย มากกว่า 333 ดอลล่าร์สหรัฐต่อเดือน หรือมากกว่า 10,000 บาทต่อเดือน คิดเป็ นประมาณ 115 บาทต่อ มื้ อขึ้ นไป นอกจากนี้ ยังพบว่าประมาณร้อยละ 15 ของกลุ่มตัวอย่าง ประหยัดค่าใช้จ่ายโดยการปลูกผักสวน ครัว-ผลไม้ ไว้รบั ประทานเองในครัวเรือนด้วย

35


Beauty and Skin care ผลจากการสารวจพบว่ากลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์เพศชายจะให้ความสาคัญในการใช้ผลิตภัณฑ์ดูแลตนเอง น้อยกว่าเพศหญิง โดยกลุ่มตัวอย่างเพศชายกว่าร้อยละ 68 ไม่ใช้ผลิตภัณฑ์บารุงผิวพรรณใดๆ เป็ นพิเศษ ไม่ ใช้โลชัน่ /ครีมบารุงผิ ว กว่าร้อยละ 75 ร้อยละ 99 ไม่แต่งหน้า ไม่ทาเลเซอร์ ไม่ทาโบท็อกซ์ และไม่ไปพบ แพทย์ผิวหนังเพื่อดูแลผิวพรรณรูปลักษณ์ และรับประทานวิตามิน /อาหารเสริม เพียงร้อยละ 24 ในขณะที่ กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงชาวเมียนมาร์จะใส่ใจในเรื่องนี้ มากกว่า โดยกว่าร้อยละ 70 จะนิ ยมดูแลผิวพรรณและ รูปลักษณ์ข องตนเป็ นพิเศษ ร้อยละ 65 ใช้โ ลชัน่ /ครี มบารุ งผิ ว แต่ก ลุ่มตัวอย่างเพศหญิ งชาวเมียนมาร์ แต่ งหน้าเพีย ง ร้อยละ 50 ท าเลเซอร์ ร้อยละ 1 ทาโบท็ อกซ์ ร้อยละ 15 ไปพบแพทย์ผิวหนั งเพื่ อดูแ ล ผิวพรรณรูปลักษณ์ ร้อยละ 2 รับประทานวิตามิน/อาหารเสริม ร้อยละ 33

สาหรับในด้านทัศนคติเกี่ยวกับความสาคัญของความสวยความงาม พบว่า กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงชาวเมียน มาร์ใ ห้ค วามส าคัญ กับ การมี ผิ ว สวยมากที่ สุ ด โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง กับ กลุ่ ม ตัว อย่า งที่ มี อ ายุ 18-22 ปี รองลงมาที่ มี ค วามส าคัญ เป็ นอัน ดับ 2 คื อ การแลดูอ่ อ นเยาว์ค งความสาวอยู่เ สมอ โดยช่ ว งอายุ ที่ ใ ห้ ความสาคัญกับการแลดูอ่อนเยาว์มากที่สุด คือ กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุประมาณ 40-49 ปี และอันดับ 3 คือ การใช้ผลิตภัณฑ์ที่ดี มียี่หอ้ เป็ นที่รจู ้ กั โดยกลุ่มตัวอย่างที่ให้ความสาคัญมากที่สุด คือ ผูท้ ี่มีรายได้ระดับสูง มากขึ้ นไป

การทาศัลยกรรมเสริมความงาม

85%

การใช้บริการคลินิกเสริมความงาม

4.2%

72.3%

การใช้ผลิตภัณฑ์ดแู ลผิวพรรณที่ดีและมี ยีห่ อ้ เป็ นที่รจู้ กั

22.1%

1.7%

21.1%

13.1%

ดูหนุ่ มสาวอยูเ่ สมอ

30%

25.4%

การมีผิวสวย

36.6%

29.1%

0%

20% สาคัญน้อยที่สุด

40% สาคัญมาก

60%

80%

100%

สาคัญมากที่สุด

ความสาคัญเกี่ยวกับเรื่องความสวยความงามของกลุ่มตัวอย่างเพศหญิง 36


ส่วนทัศนคติเกี่ยวกับความสาคัญของความดูดีของกลุ่มตัวอย่างเพศชาย พบว่า กลุ่มตัวอย่างเพศชายชาว เมียนมาร์ให้ความสาคัญกับการดูหนุ่ มดูอ่อนเยาว์อยูเ่ สมอมากที่สุด รองลงมาคือ การมีผิวพรรณที่ดี ผิวสวย และ การใช้ผลิตภัณฑ์ที่มียี่หอ้ เป็ นที่รจู ้ กั กันดี กลุ่มตัวอย่างเพศชายโดยส่วนใหญ่ คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 80 ไม่ค่อย/ไม่เคยเข้าใช้บริการร้านตัด ผม ส่วนผูท้ ี่เคยเข้าใช้บริการ โดยส่วนใหญ่นิยมเข้าร้านตัดผมทุก เดือน เดือนละ 1-2 ครั้ง คิดเป็ นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 17 ส่วนกลุ่มตัวอย่างเพศหญิง กว่าร้อยละ 50 เข้าร้านตัดผมหรือร้านเสริมสวยทุก เดือน ละ 1-2 ครั้ง คิดเป็ นสัดส่วนมากที่สุด รองลงมา เข้าร้านเสริมสวยทุกๆ 3 เดือนและกว่าร้อยละ 22 ไม่นิยม เข้าร้านตัดผม-ร้านเสริมสวย

หญิง

11%

ชาย 4%

0%

ทุกวัน

40%

18%

10%

19%

6%

20%

ทุกสัปดาห์

23%

70%

30%

40%

ทุกเดือน

50%

60%

ทุก 3 เดือน

70%

80%

ทุก 6 เดือน

90%

100%

ไม่เคย

ความถี่ในการเข้าใช้บริการร้านตัดผมของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์โดยส่วนใหญ่ยงั ไม่ค่อยมีคุน้ เคยกับร้านสปาเท่าใดนัก มีสดั ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ เคยเข้าร้านสปาเลยกว่าร้อยละ 86 โดยกลุ่มตัวอย่างเพศชายไม่เคยหรือไม่ค่อยเข้าร้านสปากว่าร้อยละ 98 ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างเพศหญิง ซึ่งมีสดั ส่วนกลุ่มตัวอย่างประมาณ 1 ใน 5 ที่เข้าใช้บริการร้านสปา ก็มกั จะ เข้าไปใช้บริการประมาณเดือนละครั้งหรือ 2 ครั้ง ในเรื่องการใช้บริการคลิกนิ กเสริมความงามก็เช่นเดียวกัน กลุ่มตัวอย่างเกือบทุกโดยคิดเป็ นสัดส่วนกว่าร้อย ละ 98 ไม่เคยเข้าไปใช้บริการ สาหรับผูท้ ี่เคยเข้าไปใช้บริการ มีสดั ส่วนประมาณไม่ถึงร้อยละ 1 โดยเข้าไป ใช้บริการทุกเดือน ทุก 6 เดือนและทุก 3 เดือนในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน ผูใ้ ช้บริการโดยส่วนใหญ่เป็ นกลุ่ม ตัวอย่างเพศหญิง

37


Fashion habits กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์มีทัศนคติในการซื้ อสินค้าแฟชัน่ ตามความจาเป็ น ไม่ฟ่ ุมเฟื อย โดยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มตัวอย่างจะไม่ถือสินค้าหรูหราราคาแพง (มูลค่าเกิน 30,000 บาท) ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ชื่น ชอบสินค้าหรูหราฟุ่ มเฟื อย โดยส่วนใหญ่ถือหรื อครอบครองสินค้าเหล่านี้ เพี ยงคนละ 1-2 ชิ้ น คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 15 อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ก็ยงั คงเลือกสินค้าที่ ดีมีคุณภาพและสะท้อน รสนิ ยม สาหรับช่องทางในการซื้ อสินค้าแฟชัน่ เช่น เสื้ อผ้า กระเป๋า รองเท้า กว่าร้อยละ 50 จะซื้ อจาก ศูนย์การค้า รองลงมาจะซื้ อจากซุปเปอร์มาร์เก็ต /ไฮเปอร์มาร์เก็ต และตลาดนัด ส่วนการซื้ อผ่านช่องทาง ออนไลน์มีสดั ส่วนเพียงเล็กน้อย แต่สินค้าประเภทเครื่องประดับ จะมีสดั ส่วนการซื้ อผ่านช่องทางออนไลน์ ค่อนข้างสูง รองจากการซื้ อจากศูนย์การค้า โดยความถี่ในการซื้ อนั้น ส่วนใหญ่จะซื้ อสินค้าแฟชัน่ ทุกๆ เดือน เดือนละ 1-2 ครั้งหรือนานกว่านั้น ขึ้ นอยูก่ บั ประเภท เช่น เสื้ อผ้าจะซื้ อบ่อยกว่ารองเท้า หรือกระเป๋า แหล่งข้อมูลในการอัพเดทแฟชัน่ ที่สาคัญของชาวเมียนมาร์ ได้แก่ สื่อโทรทัศน์ นิ ตยสาร และเพื่อน คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 41 ร้อยละ 15 และร้อยละ 14 ตามลาดับ ส่วนอินเตอร์เน็ ตมีสดั ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เข้าถึง ข้อมูลด้านนี้ เพียงร้อยละ 7 วิทยุ ป้ายโฆษณา 2% 6%

อื่นๆ 2%

อินเตอร์เน็ ต 7%

โทรทัศน์ 41%

ในร้านค้า/ใน ศูนย์การค้า 13%

แหล่งข้อมูล ด้านแฟชั ่น

เพื่อนๆ 14%

นิ ตยสาร 15%

เหตุผลส่วนใหญ่ที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ซื้อสินค้าแฟชัน่ พบว่า โดยส่วนใหญ่ซื้อบนพื้ นฐานความจาเป็ น ที่จะต้องใช้ หรืออาจซื้ อเพื่อทดแทนสิ่งเดิมที่แตกหักเสียหาย คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 65 รองลงมาคือซื้ อเพื่อ 38


แสดงสถานะหรือฐานะทางสังคม คิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 10 และเพื่อสะท้อนความเป็ นตัวตนหรือบุคลก คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 9 ส่วนการซื้ อสินค้าตามโปรโมชัน่ มีสดั ส่วนเพียงประมาณร้อยละ 3 และการซื้ อสินค้า ตามคุณภาพหรือความเป็ นแบรนด์ มีสดั ส่วนประมาณร้อยละ 8

โปรโมชัน่ 3%

ความเป็ นที่นิยม 3%

ราคา 2%

แบรนด์ที่มีชื่อเสียง/มี คุณภาพดี 8% สวยงาม สะท้อนบุคลิก 9%

ปั จจัยในการซื้ อ สินค้าแฟชั ่น บ่งบอกฐานะทาง เศรษฐกิจและสังคม 10%

ความจาเป็ น 65%

ส่วนในแง่การครอบครองสินค้าแฟชัน่ หรูหรา และมีราคาแพง (มูลค่าเกิน 3 หมื่นบาท) พบว่ากว่าร้อยละ 82 ของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ไม่นิยม/ครอบครองสินค้าประเภทนี้ ส่วนผูท้ ี่มี โดยส่วนใหญ่จะมี1-2 ชิ้ น คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 14 โดยเหตุ ผลสาคัญในการซื้ อหรือครอบครองสินค้าฟุ่ มเฟื อย คื อ เพราะชื่นชอบการออกแบบและเพราะเห็นว่าเป็ นสินค้ามีคุณภาพดี คิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 30 รองลงมาคือ ซื้ อเพื่อสะท้อนฐานะทางสังคม คิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 15 ส่วนซื้ อเพื่อการลงทุนหรือการออมมีเพียงร้อยละ 4 และการซื้ อเพื่อเป็ นมรดกเก็บเอาไว้ให้ลกู หลานมีสดั ส่วนราวร้อยละ 5

39


Health and Medical เมื่อเจ็บป่ วยเล็กๆ น้อยๆ เช่น ปวดศีรษะ เป็ นไข้หวัด กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์เกือบร้อยละ 43 จะซื้ อยา จากร้านขายยามาบริโภคเอง บางส่วนอีกกว่าร้อยละ 37 มักจะไปพบแพทย์ที่คลิกนิ ก และอีกกว่าร้อยละ 12 นิ ยมปล่อยให้อาการเจ็บป่ วยเล็กๆ น้อยๆ นั้นหายไปเอง

พบแพทย์ที่ โรงพยาบาล 3%

รักษาด้วย สมุนไพร/แผน อื่นๆ โบราณ 2% 3%

ปล่อยให้หายเอง 12%

การรักษา เมื่อเกิดความเจ็บป่ วย เล็กๆ น้อยๆ

ซื้ อยาจากเภสัชกร มาทานเอง 43%

พบแพทย์ที่คลินิก 37%

40


SML Medical Laboratory แต่เมื่อเกิดอาการเจ็บป่ วยในระดับมากพอสมควรและจาเป็ นต้องได้รบั การรักษาจากแพทย์ กลุ่มตัวอย่าง ชาวเมียนมาร์ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 77 เลือกที่จะเข้ารักษาในคลินิกเวชกรรม รองลงมาประมาณร้อยละ 20 เลือกเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเอกชน และอีกร้อยละ 3 จะเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลของรัฐ

โรงพยาบาลของรัฐ 3%

โรงพยาบาลที่ ทันสมัยใน ต่างประเทศ 2%

โรงพยาบาลเอกชน 18%

การเลือก ใช้สถานพยาบาล คลินิกเวชกรรม 77%

41


อย่างไรก็ตาม ผลจากการศึกษาทาให้สามารถทราบได้ว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์โดยส่วนใหญ่ยงั ไม่ค่อย ได้รบั สวัสดิการในด้านสุขภาพจากการทางานมากนัก โดยกลุ่มตัวอย่างไม่ถึงเพียงร้อยละ 1 ที่ ได้รับสิทธิ์ สวัสดิการของรัฐหรือประกันสังคม จากหน่ วยงานที่ตนทางานอยู่ในการรับผิ ดชอบค่าใช้จ่าย แต่ส่วนใหญ่ เมื่อต้องชาระค่ารักษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์หรือไม่ก็ค่สู มรส ต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่าย ด้วยตนเอง คิดเป็ นสัดส่วนมากกว่า 73% นอกจากนี้ อีกว่าร้อยละ 25 พ่อหรือแม่เป็ นคนจ่ายให้ มีเพียง ประมาณร้อยละ 2 เท่านั้นที่ใช้สวัสดิการของรัฐหรือเอกชน จากหน่ วยงานที่ตนทางานอยู่

นายจ้าง/สวัสดิการ บริษัท 2%

พ่อ/แม่ 24%

ผูร้ บั ผิดชอบ ค่ารักษาพยาบาล

ตนเอง/สามีภรรยา 74%

กว่าครึ่งหนึ่ งของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ไม่เคยเข้ารับการตรวจสุขภาพประจาปี และอีกประมาณ ร้อยละ 20 ตรวจสุขภาพนานๆ ครั้ง (นานกว่า 1 ปี ต่อครั้ง) ส่วนกลุ่มตัวอย่างอีกกว่า ร้อยละ 30 มักจะเข้ารับการ ตรวจสุขภาพเป็ นประจาทุกปี ปี ละครั้งหรือมากกว่านั้น โดยกลุ่มที่มีรายได้ปานกลาง-สูง ขึ้ นไปจะมีแนวโน้ม เข้ารับการตรวจสุขภาพเป็ นประจามากกว่ากลุ่มรายได้ตา่ สาหรับการดูแลสุขภาพแบบอื่นๆ พบว่า ประมาณร้อยละ 40 ของกลุ่มตัวอย่างจะรับประทานอาหารเสริม หรือวิตามิน และนอกจากนี้ ประมาณ 2 ใน 3 ของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์มกั จะดูแลสุขภาพโดยการออก กาลังกาย ประมาณสัปดาห์ละครั้งหรือบ่อยกว่านั้น แต่อีกประมาณ ร้อยละ 5 ก็ไม่เคยออกกาลังกายเลย กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์นิยมออกกาลังกายที่บา้ นและที่สวนสาธารณะ กีฬาส่วนใหญ่เป็ นกีฬาประเภท กลางแจ้ง เช่น วิ่งหรือเดิน ปั ่ นจักรยานและเล่นกีฬากลางแจ้ง หากเปรียบเทียบการออกกาลังกายระหว่าง กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงและเพศชายแล้ว จะพบว่ากลุ่มตัวอย่างเพศชายชาวเมียนมาร์มกั จะออกกาลังกายน้อย 42


กว่าผูห้ ญิง กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงโดยส่วนใหญ่ชอบออกกาลังกายโดยการเต้นแอร์โรบิก เล่นกีฬากลางแจ้ง เช่น แบดมินตัน และเล่นกีฬาในยิม ส่วนกลุ่มตัวอย่างเพศชายชื่นชอบการปั ่ นจักรยาน เดิ นวิ่ง เล่นกีฬา ในยิมและจากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์มีสดั ส่วนชอบการเล่นโยคะมากกว่ากลุ่มตัวอย่าง เพศหญิง

ไม่ออกกาลัง

86%

จักรยาน

14%

59%

โยคะ

41%

57%

เดิน/วิ่ง

43%

49%

กีฬาในยิม เช่น…

51%

45%

อื่นๆ

55%

33%

กีฬากลางแจ้ง

67%

31%

แอโรบิก

69%

24% 0%

76% 20% ชาย

40% หญิง

60%

80%

100%

กีฬา/การออกกาลังกายที่เป็ นที่นิยมของชาวเมียนมาร์

43


Smoking habits จากการศึกษาพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์พบว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์สูบ บุหรี่ ประมาณร้อยละ 20 ซึ่ งกว่าร้อยละ 90 ของกลุ่มตัวอย่างผูท้ ี่ สูบบุหรี่เป็ นเพศชาย โดยพบว่ากลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็ นวัยรุ่นและผูส้ ูงอายุ คือ กลุ่มตัวอย่างที่อยู่ในช่วงอายุ 18-22 ปี มีผูส้ ูบบุหรี่ประมาณ ร้อยละ 25 กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 60 ปี ขึ้ นไป สูบบุหรี่รอ้ ยละ 23 และกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 40-49 ปี และ 50-60 ปี สูบบุหรี่ประมาณร้อยละ 21 ในสัดส่วนเท่าๆ กัน โดยในผูท้ ี่สูบบุหรี่ ส่วนมากจะสูบเป็ น ประจาทุกวัน

60 ปี ขึ้ นไป

22.8%

77.2%

50-60 ปี

21.1%

78.9%

40-49 ปี

21.3%

78.8%

30-39 ปี

14.3%

23-29 ปี

85.7%

20.6%

18-22 ปี

79.4%

25.4% 0%

74.6%

20%

40% สูบ

60%

80%

100%

ไม่สบู

พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของชาวเมียนมาร์ จาแนกตามอายุ

สถานที่ในการซื้ อบุหรี่ของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ กว่าร้อยละ 53 คือ ร้านขายของชา รองลงมาร้อยละ 24 ร้านสะดวกซื้ อและตลาดสด ร้อยละ 12 มีเพียงร้อยละ 4 ที่ซื้อบุหรี่ในซุปเปอร์มาร์เก็ต/ห้างค้าปลีก และ ร้อยละ 3 ที่ซื้อในศูนย์การค้า

44


ศูนย์การค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต/ห้าง 3% ค้าปลีก 4%

ออนไลน์ 3%

ร้านค้าเฉพาะด้าน 1%

ตลาดสด 13%

ช่องทาง ในการซื้ อบุหรี่

ร้านขายของชา 53%

ร้านสะดวกซื้ อ 24%

ส่วนทัศนคติดา้ นการสูบบุหรี่ของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ พบว่ากลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 95 ของรูส้ ึกเห็น ด้วยที่จะให้มีการห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ และผูท้ ี่ไม่สบู บุหรี่เกือบทั้งหมด คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 95.4 มี ความเห็นหรือรูส้ ึกว่าการสูบบุหรี่น้ันเป็ นอันตรายต่อสุขภาพและสร้างความรบกวนต่อบุคคลอื่น

45


Shopping habits and Attitude พฤติกรรมการใช้จา่ ย พฤติกรรมการซื้ อสินค้าของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์น้ัน ส่วนใหญ่แล้วสินค้าอุปโภคทัว่ ไป เช่น ผงซักฟอก กระดาษชาระ จะนิ ยมซื้ อจากร้านสะดวกซื้ อ และซูเปอร์มาร์เก็ตเป็ นหลัก ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 32 และ 27 ตามลาดับ รองลงมาคือตลาดสด คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 17 และร้านขายของชา ร้อยละ 15 สาหรับ สินค้าประเภทใช้ในห้องน้ า เช่น สบู่ แชมพู ยาสีฟัน ก็นิยมซื้ อจากร้านสะดวกซื้ อและซูเปอร์มาร์เก็ตเช่นกัน ส่วนผลิตภัณฑ์บารุงผิว โลชัน่ ต่าง ๆ นั้น กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์จะนิ ยมซื้ อจากซูเปอร์มาร์เก็ตเป็ นส่วน ใหญ่ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 42 รองลงมาคือศูนย์การค้า /ห้างสรรพสินค้า คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 29 ส่วน สินค้าประเภทเครื่องสาอางนั้ นจะนิ ยมซื้ อจากซูเปอร์มาร์เก็ต /ไฮเปอร์มาร์เก็ต โดยมีสัดส่วนร้อยละ 40 รองลงมาคื อ ซื้ อจากศู น ย์ก ารค้า /ห้า งสรรพสิ น ค้า คิ ด เป็ นสัด ส่ ว นร้อ ยละ 35 โดยกลุ่ ม วัย ที่ ซื้ อสิ น ค้า เครื่องสาอางมากที่สุด มี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างที่ มีอายุระหว่าง 30-39 ปี ซึ่งนิ ยมซื้ อสินค้าทุกๆ เดือน และช่วงอายุระหว่าง 40-49 ปี จะนิ ยมซื้ อสินค้าทุกๆ 3 เดือน ส่วนหนังสือ/นิ ตยสาร กลุ่มตัวอย่างชาว เมียนมาร์นิยมซื้ อจากร้านหนังสือเป็ นหลัก โดยมีสดั ส่วนประมาณร้อยละ 26 ของกลุ่มตัวอย่าง รองลงมาซื้ อ จากซูเปอร์มาร์เก็ต/ไฮเปอร์มาร์เก็ต สัดส่วนประมาณร้อยละ 25 ของกลุ่มตัวอย่าง และพบว่ากลุ่มตัวอย่าง กว่าร้อยละ 43 จะนิ ยมซื้ อหนังสือเป็ นประจาทุกเดือน ในส่วนของสินค้าเฉพาะทางประเภทโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ รวมไปถึงรถยนต์ รถจักรยานยนต์ และอุปกรณ์ยานยนต์ต่าง ๆ นั้น กลุ่ม ตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่าร้อยละ 70 จะนิ ยมไปซื้ อจากโชว์รูม หรือร้านขายเฉพาะสินค้าดังกล่าวโดยตรง และมีการซื้ อผ่านช่องทางออนไลน์เพียงเล็กน้อยเท่านั้น

46


ห้างสรรพสินค้าแห่งหนึ่งในกรุงย่างกุง้

ร้านค้าทั ่วไปขายอุปกรณ์พลาสติกแห่งหนึ่งในกรุงย่างกุง้

47


ทัศนคติเกี่ยวกับการจับจ่ายซื้ อสินค้า สาหรับพฤติกรรมการเลือกซื้ อสินค้าของชาวเมียนมาร์น้ัน สิ่งที่ให้ความสาคัญมากที่สุด คือ การได้ใช้สินค้า ที่ดีมีคุณภาพ ซึ่ งมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.73 รองลงมาคือ เมื่อเลือกซื้ อสินค้าในแต่ละครั้งจะเลือกซื้ อ สินค้าที่ ดีที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 และ เมื่อจะเลือกซื้ อสินค้าจะเลือกสินค้าที่ ดีที่สุดเสมอ โดยมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 ซึ่งหากกล่าวโดยรวมแล้วจะเห็นได้ว่าชาวเมียนมาร์จะคานึ งถึงคุณภาพของสินค้าเป็ น หลัก โดยจะพยายามเลือกสินค้าที่มีคุณภาพดีที่สุดในร้าน และจะเลือกใช้สินค้าที่มีคุณภาพดีที่สุดเสมอ และ มักเลือกซื้ อสินค้าอย่างระมัดระวัง เพื่อให้ได้สินค้าที่ดีที่สุด

48


4.73 4.38 4.31 4.21 4.04 3.86 3.82 3.78 3.75 3.73 3.69 3.63 3.56 3.53 3.48 3.40 3.37 3.31 3.30 3.27 3.21 3.09 3.06 3.06 3.01 3.01 2.98 2.98 2.91 2.88 2.83 2.82 2.79 2.66 2.57 2.52 2.33 2.28 2.17

การได้ใช้สนิ ค้ามีคุณภาพดี เป็นสิ่งสาคัญสาหรับฉัน โดยปกติแล้ว ฉันจะซือ้ สินค้าที่คุณภาพดีที่สดุ เมื่อจะซื้อของ ฉันมักจะเลือกตัวเลือกที่ดที ี่สดุ เสมอ ฉันพยายามทีจ่ ะหาซื้อสินค้า เพื่อให้ของที่ดที ี่สุด ฉันจะตรวจสอบยอดการใช้จ่ายอยู่เสมอ ฉันเฟ้นหาสินค้าที่คุ้มค่าเงินที่สุด เมื่อมีสินค้าหลายยี่ห้อให้เลือก ฉันมักจะสับสน ฉันมักใช้เวลาอย่างเต็มที่ เพื่อจะซือ้ ของอย่างระมัดระวัง การได้ซื้อสินค้าแปลกใหม่ เป็นเรื่องสนุกสาหรับฉัน ยิ่งฉันมีความรู้เกี่ยวกับสินค้า ยิ่งทาให้ยากทีจ่ ะเลือกอันที่ดที ี่สุด เมื่อฉันเจอยี่ห้อที่ชอบ ฉันจะใช้ไม่ยอมเปลี่ยน บางครั้ง ฉันก็ตัดสินใจไม่ได้ว่าจะไปซื้อของที่ไหน ข้อมูลที่ได้รับจากสินค้าต่างๆ มักทาให้ฉนั สับสน ฉันมียี่ห้อที่ฉนั ชอบ และซื้อซ้าแล้วซ้าอีก การไปช็อปปิ้ง เป็นหนึ่งในกิจกรรมที่เพลิดเพลินในชีวติ ฉัน ฉันชอบที่จะซื้อยี่ห้อที่ขายดี (Best Seller) ห้างสรรพสินค้าที่ดๆี หรือร้านเฉพาะทาง มักมีของทีด่ ีที่สุดให้ฉันเลือกซื้อเสมอ ฉันเชื่อว่าสินค้าที่มีราคาที่แพง คุณภาพจะสูงตามไปด้วย ฉันคิดว่าฉันควรวางแผนการช็อปปิ้งให้ดีกว่านี้ ฉันมีมาตรฐานหรือความคาดหวังจากสินค้าในระดับที่สูง การซือ้ สินค้ายี่ห้อที่เป็นที่รจู้ ักทั่วไป สาคัญกับฉัน เมื่อไปช็อปปิ้ง ฉันมักจะทาเวลาให้เร็ว การแต่งตัวทันสมัยและดึงดูด เป็นเรื่องสาคัญสาหรับฉัน ฉันคิดว่า การช็อปปิ้ง เป็นเรื่องที่เปลืองเวลา ฉันจะซื้อของจานวนมาก เมื่อมีการลดราคา เพื่อให้ได้ความหลากหลาย ฉันซื้อสินค้าหลายยี่ห้อ จากหลายๆ แหล่ง เมื่อมีสไตล์ใหม่ๆ ฉันจะต้องมีอย่างน้อย 1 ชุด ในสไตล์นั้น ฉันมักซื้อของ โดยไม่ได้ตั้งใจบ่อยครั้ง ของที่ราคาถูกที่สุด มักเป็นตัวเลือกของฉัน ฉันมักเปลี่ยนยี่ห้อของที่ซื้อไปเรือ่ ยๆ ยี่ห้อที่มกี ารโฆษณาที่ดี มักเป็นตัวเลือกของฉัน สินค้ายี่ห้อทีแ่ พงกว่า มักเป็นตัวเลือกของฉัน บางครั้งฉันช็อปปิ้งเพือ่ ความสนุก ฉันจะซื้ออย่างรวดเร็ว หากสินค้าอันแรกทีพ่ ิจารณา นั้นดูดีพอ ฉันมักซื้อของจากร้านเดิมๆ เสมอ เสื้อผ้าในตู้ของฉัน ปรับเปลี่ยนไปตามแฟชัน่ บ่อยครั้งที่ฉนั ซื้อแบบไม่ยับยั้งชั่งใจ ฉันหวังว่าจะไม่เกิดขึน้ อีก การช็อปปิ้ง ไม่ใช่เรื่องสนุกสนานสาหรับฉัน ฉันไม่ค่อยคิดมาก เมือ่ ฉันจะซือ้ สินค้า

0

1

2

3

4

5

ทัศนคติการเลือกซื้ อสินค้าของชาวเมียนมาร์ (Sproles and Kendall, 1986; Sproles and Sproles 1990) 49


อย่างไรก็ตาม สิ่งที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสาคัญมากนักในการเลือกซื้ อสินค้า 3 อันดับแรก ได้แก่ ไม่ค่อยคิดมากเมื่อจะซื้ อสินค้า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.17 การช็อปปิ้ งไม่ใช่เรื่องสนุ กสนาน มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.28 และมักจะซื้ อของโดยไม่ได้ต้งั ใจอยู่บ่อยครั้ง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.33 โดยจากคะแนนเฉลี่ยจะ เห็ นว่าชาวเมีย นมาร์ส่วนใหญ่ ไ ม่ได้จับจ่ ายซื้ อสิ นค้าเพื่ อความเพลิ ดเพลิ น แต่ จ ะใช้เวลาพิ จ ารณาอย่าง ละเอียดถี่ถว้ น ในการให้ได้มาซึ่งสินค้าที่มีคุณภาพ

50


Hobby and Free time ในเวลาว่างกิจกรรมที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่าร้อยละ 50 ชอบทาเป็ นประจาตอนอยู่ที่บา้ น ได้แก่ การดูโทรทัศน์ ส่วนกิจกรรมยามว่างอื่นๆ นิ ยมทาเป็ นบางครั้ง ได้แก่ ชมภาพยนตร์ที่บา้ น ฟั งเพลง อ่าน หนั งสือ เดิ นทางท่องเที่ ยว ออกกาลังกาย เล่นกีฬา ทาอาหาร รับประทานอาหารนอกบ้าน ช็อปปิ้ งและ ทางานบ้าน สาหรับกิจกรรมที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยหรือไม่ค่อยได้ทาเลย ได้แก่ การทางานประดิษฐ์ และงานศิลปะ เล่นอินเตอร์เน็ ต/โซเชียลเน็ ตเวิรก์ การเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ ชมการแข่งขันกีฬา และการ ทาสวน เป็ นต้น

ทำงำนฝีมอื

79.0%

18.0% 3.0%

80.0%

15.3% 4.8%

ทำงำนศิลปะ เช่น วำดภำพ งำน… ดูกำรแข่งขันกีฬำ ระบุประเภท…

65.1%

ทำสวน

54.9%

เล่นเกมส์

24.8%

ทำอำหำร

19.5%

53.8%

21.5%

38.3%

22.0%

เล่นอินเตอร์เน็ต / โซเชียล…

27.0%

33.1%

7.3%

30.3%

60.3%

14.5%

32.5%

46.8%

ดูโทรทัศน์

38.8%

51.5% 0%

24.8%

51.0% 36.6%

ทำงำนบ้ำน ทำควำมสะอำดบ้ำน

9.8%

58.1%

37.0%

ฟงั เพลง

9.0%

30.4%

22.3%

ออกกำลังกำยทีบ่ ำ้ น

7.0%

41.5%

59.8%

ชมภำพยนตร์ (ทีบ่ ำ้ น)

20%

ไม่เคย

6.5%

38.1%

49.5%

อื่นๆ

อ่ำนหนังสือ

28.4%

48.0% 40%

60%

บางครั้ง

80%

100%

เป็ นประจา

51


ส่วนกิจกรรมในยามว่างหรือการพักผ่อนนอกบ้านอื่นๆ ที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ชอบทาเป็ นประจาหรือ บางครั้งบางคราวเมื่อมีโอกาส ได้แก่ การออกไปรับประทานอาหารนอกบ้าน คิดเป็ นสัดส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ กิจกรรมนี้ มากกว่าร้อยละ 90 รองลงมาคือ การเล่นกีฬา ออกกาลังกายและการช็อปปิ้ ง ส่วนการไปเที่ยว ตามสถานที่พกั ผ่อนและการไปชมภาพยนตร์ในวันหยุดโดยส่วนใหญ่จะไปบ้างเป็ นบางครั้ง กิจกรรมที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์เกือบทุกคนไม่เคยทาเลย คือ การท่องเที่ยวในตอนกลางคืน ทั้งนี้ อาจ เนื่ องมาจากความเคร่งครัดในข้อกาหนดหรือคาสัง่ สอนของศาสนา ส่วนการไปปาร์ตี้สังสรรค์กบั เพื่อน และ การร้องคาราโอเกะ มีกลุ่มตัวอย่างที่ทาเป็ นบางครั้งบางครา เฉลี่ยประมาณร้อยละ 30 ของกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด

เที่ยวกลางคืน

94.8%

ปาร์ตสัี้ งสรรกับเพื่อน

63.2%

ร้องคาราโอเกะ

36.6%

71.5%

ไปเที่ยวตามสถานพักผ่อน

27.0% 1.5%

13.8%

ชมภาพยนตร์ ช็อปปิ้ ง

5.3%

83.3% 36.0%

11.0%

เล่นกีฬา/ออกกาลังกาย

60.5%

3.5%

77.3% 36.8%

กินข้าว 7.5% 0%

3.0%

11.8% 47.0%

16.3%

76.0%

16.5%

10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% ไม่เคย

บางครั้ง

เป็ นประจา

52


Home care and Decorations สาหรับความหมายของบ้าน นอกจากความหมายในเชิงรูปธรรมคือการเป็ นที่อยู่อาศัยของคนในครอบครัว แล้ว ในเชิงนามธรรมนั้น ความรูส้ ึกของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ มกั รูส้ ึกว่าบ้าน เป็ นสถานที่ที่เต็มไปด้วย ความอบอุ่น และเป็ นสถานที่ปลอดภัย เป็ นสถานที่ที่สร้างความสุข และรูส้ ึกเหมือนได้พกั ผ่อนเมื่ออยูบ่ า้ น

ลักษณะของที่อยูอ่ าศัย นครย่างกุง้ ซึ่งเป็ นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สาคัญของเมียนมาร์ ผูค้ นจากทุกภูมิภาคจึงเข้ามาอาศัยและ ทางานในนครย่างกุง้ ที่อยู่อาศัยของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 37 เป็ นแบบแฟลต/ อพาร์ทเม้นต์ รองลงมาร้อยละ 30 เป็ นแบบทาวน์เฮ้าส์/บ้านแฝด มีประมาณร้อยละ 7 เป็ นบ้านเดี่ยวหรือ วิลล่า ร้อยละ 6 เป็ นอาคารพาณิชย์ และร้อยละ 4 เป็ นคอนโดมิเนี ยม โดยแฟลต/อพาร์ทเม้นต์ มักเป็ น อาคารลักษณะคล้ายอาคารพาณิชย์ แต่สูงประมาณ 5-8 ชั้น โดยส่วนใหญ่รอ้ ยละ 57 อาศัยอยู่มาแล้วไม่ เกิน 10 ปี อื่นๆ 14%

บ้านเดี่ยว, วิลล่า 7%

หอพัก 2% ทาวน์เฮ้าส์ บ้านแฝด 30%

อาคารพาณิชย์ 6%

ลักษณะที่อยูอ่ าศัย ของกลุ่มตัวอย่าง

แฟลต อพาร์ทเม้นต์ 37%

คอนโดมิเนี ยม 4%

53


อาคารที่อยูอ่ าศัยแบบแฟลต/อพาร์ทเม้นต์ ในนครย่างกุง้

อาคารที่อยูอ่ าศัยแบบ Condominium ในนครย่างกุง้

54


เช่า 8% ซื้ อต่อจากผูอ้ ื่น 10%

ที่อยูอ่ าศัยจาก รัฐบาล 12%

ที่พกั สวัสดิการ พนักงาน 3%

การได้มาซึ่ง ที่อยูอ่ าศัย

สร้างเอง 46%

ซื้ อจากโครงการ จัดสรร 21%

ลักษณะการได้มาซึ่งที่อยู่อาศัย ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 46 เป็ นบ้านของตัวเองที่ สร้างขึ้ นเองหรือพ่อ/แม่สร้าง ขึ้ น รองลงมาร้อยละ 21 เป็ นการซื้ อจากผูพ้ ฒ ั นาอสังหาริมทรัพย์ และร้อยละ 12 เป็ นที่อยู่อาศัยที่สร้างโดย รัฐบาล กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ซื้อบ้านมือสองเพื่ออยูอ่ าศัยเพียงร้อยละ 10 เช่าที่อยูอ่ าศัยเพียงร้อยละ 8 ส่วนบ้านพักสวัสดิการยังคงมีสดั ส่วนค่อนข้างน้อย ภายในบ้านของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 67 เป็ นบ้านก่ออิฐฉาบปูน ร้อยละ 20 เป็ น บ้านครึ่งไม้ครึ่งปูน และอีกร้อยละ 12 เป็ นบ้านไม้ ภายในบ้านมีหอ้ งนอนเฉลี่ยประมาณ 2 ห้อง และมี ห้องน้ า 1 ห้อง การตกแต่งผนังบ้าน ส่วนใหญ่เป็ นผนังฉาบเรียบทาสี มีประมาณร้อยละ 12 ที่ตกแต่งผนัง ด้วยไม้ และประมาณร้อยละ 6 ที่ตกแต่งด้วยวอลเปเปอร์ ส่วนพื้ นบ้าน ประมาณร้อยละ 50 ใช้ไม้เป็ นวัสดุ และประมาณร้อยละ 37 เป็ นพื้ นซีเมนต์ธรรมดา นอกจากนี้ ยังพบว่า บ้านของกลุ่มตัวอย่างเกือบร้อยละ 90 ติดตั้งผ้าม่าน หากจะต้องซื้ อบ้านหลังใหม่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ ประมาณร้อยละ 60 เลือกที่จะซื้ อบ้านเปล่า ยังไม่ ตกแต่ง อีกประมาณร้อยละ 40 เลือกที่จะซื้ อบ้านที่ตกแต่งครบ พร้อมเข้าอยู่

55


พฤติกรรมการอยูอ่ าศัย เมื่อสอบถามถึ งการใช้หอ้ งต่างๆ ในบ้าน ห้องที่ ถูกใช้บ่อยที่ สุดคือห้องนั ง่ เล่น /ห้องรับแขก รองลงมาคือ ห้องนอน เช่นเดียวกันกับเมื่อถามถึงห้องที่ตอ้ งการตกแต่งมากที่สุด มากกว่าร้อยละ 80 ก็ให้ความสาคัญ กับการตกแต่ งห้องนั ่ง เล่ น /ห้องรับ แขก โดยเป็ นห้องที่ ส ามารถใช้เ วลาร่ วมกับสมาชิ ก ในครอบครัวใน ชีวิตประจาวันได้ และยังใช้บ่งบอกฐานะ เมื่อมีแขกมาเยี่ยมเยือนได้ดว้ ย สอดคล้องกับการวิจยั เชิงคุณภาพ ที่พบว่าบ้านของชาวเมียนมาร์ จะให้ความสาคัญกับพื้ นที่หอ้ งรับแขก โดยจะตกแต่งให้โอ่โถง ประกอบด้วย ชุดรับแขกไม้ และโทรทัศน์จอใหญ่ รวมทั้งของตกแต่งบ้านต่างๆ

การตกแต่งห้องนั ่งเล่น/ห้องรับแขก ของชาวเมียนมาร์ ระดับรายได้ปานกลาง-บน

56


อุปกรณ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบ้าน ประเทศเมีย นมาร์ มัก จะมีปัญหาเกี่ ย วกับกระแสไฟฟ้ าดับ -ไฟตก บ่อยครั้ง สถานที่ ต่างๆ จึ งมัก ติ ดตั้ง อุ ป กรณ์ เ พื่ อ ป้ องกั น ความเสี ย หายจากความผิ ด ปกติ ข องกระแสไฟฟ้ า โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง ใน เครื่ อ งปรับ อากาศ ซึ่ ง กลุ่ ม ตัว อย่า งชาวเมี ย นมาร์ก ว่า ร้อ ยละ 50 มี เ ครื่ อ งปรับ อากาศใช้ภ ายในบ้า น นอกจากนี้ ผลจากการวิจยั ยังพบว่า บ้านของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์มีโทรทัศน์ แทบทุกครัวเรือน คิดเป็ น สัดส่วนกว่าร้อยละ 98 เฉลี่ยมีโทรทัศน์ประมาณ 2 เครื่อง ส่วนอุปกรณ์อื่นๆ ที่มีใช้กนั โดยทัว่ ไปแทบทุก ครัวเรือน ได้แก่ มีหม้อหุงข้าวและเครื่องเล่นดี วีดี คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 88 มี พัดลม ร้อยละ 83 กลุ่ม ตัวอย่างมากกว่าร้อยละ 60มีเครื่ องซัก ผ้า และเพี ย งร้อยละ 33 ที่ มีเตาไมโครเวฟใช้ภ ายในบ้าน ส่วน อุปกรณ์ที่ยงั มีไม่มากนักได้แก่ เครื่องล้างจาน เครื่องทาน้ าอุ่นและเครื่องดูดฝุ่น เครื่องล้างจาน

2.8%

เครื่องท้าน้าอุ่น

20.3%

เครื่องดูดฝุ่น

22.8%

เตาอบ/ไมโครเวฟ

33.0%

วิทยุ สเตอริโอ

40.5%

เครื่องปรับอากาศ

50.3%

คอมพิวเตอร์พีซี

56.8%

เครื่องซักผ้า

60.8%

พัดลม

82.8%

เครื่องเล่นดีวีดี

87.5%

หม้อหุงข้าว

87.8%

โทรทัศน์

97.8%

0

20

40

60

80

100

สัดส่วนการมีเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดของกลุ่มตัวอย่าง

57


พฤติกรรมการตกแต่งบ้าน และการซื้ อสินค้าตกแต่งบ้าน จากการวิจยั พบว่า มีเพียงร้อยละ 16 ของกลุ่มตัวอย่างเท่านั้น ที่ใช้บริการมัณฑนากร/สถาปนิ ก ในการ ออกแบบตกแต่งบ้าน ในจานวนนี้ มีเพียงร้อยละ 2 ที่ให้ออกแบบทั้งหลัง ที่เหลือให้ออกแบบเพียงบางห้อง/ บางส่วน โดยส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 80 จะตกแต่งบ้านด้วยตนเอง อย่างไรก็ตามในกลุ่มตัวอย่างที่ มี รายได้ระดับกลาง-สูง และกลุ่มรายได้สูง มีสดั ส่วนผูท้ ี่ใช้บริการมัณฑนากร/สถาปนิ กตกแต่งบ้าน สูงกว่า กลุ่มอื่น โดยประมาณร้อยละ 50 ของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ ให้ความสาคัญกับการแต่งบ้านตามหลัก ฮวงจุย้ หรือความเชื่อทางศาสนา โดยในจานวนนี้ ประมาณร้อยละ 7 ที่จะให้ความสาคัญกับฮวงจุย้ อย่างมาก

บรรยากาศการตกแต่งภายในบ้านของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ กว่าร้อยละ 86 ของกลุ่มตัวอย่างระบุว่า การมีบา้ นที่สวยงาม สะอาด และอบอุ่น เป็ นเรื่องที่สาคัญมากมากที่สุด และเป็ นไปในทิศทางเดียวกันทุกระดับรายได้ ส่วนพฤติกรรมการจัดบ้านใหม่ ปรับเปลี่ยนการจัด วางเฟอร์นิเจอร์น้ัน มีเพียงร้อยละ 13 ของกลุ่มตัวอย่าง ที่จดั บ้านทุกๆ เดือนหรือหลายๆ ครั้งต่อเดือน โดย ส่วนใหญ่จะจัดบ้านใหม่เพียงปี ละครั้ง หรือนานกว่าปี ละครั้ง สอดคล้องกับพฤติกรรมการซื้ อของตกแต่งบ้าน เช่น โคมไฟ นาฬิกา กรอบรูป ตุ๊กตา ที่พบว่าโดยส่วนใหญ่ของกลุ่มตัวอย่าง จะซื้ อสินค้าเหล่านี้ ปี ละครั้งหรือ นานกว่าปี ละครั้ง โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะซื้ อเครื่องเรือน เฟอร์นิเจอร์ เช่น ตู้ เตียง หรือโซฟา บ่อยครั้ง 58


กว่าของตกแต่ง โดยส่วนใหญ่ประมาณ 1 ใน 3 ของกลุ่มตัวอย่างจะซื้ อเฟอร์นิเจอร์ทุก 3-6 เดือน สาหรับ วัตถุประสงค์การซื้ อเฟอร์นิเจอร์ ส่วนใหญ่จะซื้ อเพื่อทดแทนเฟอร์นิเจอร์ชิ้นเก่า และเพื่อความสะดวกสบาย หรือประโยชน์ใช้สอยที่ดีขนึ้

การตกแต่งบ้านในห้องรับแขกของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์

สไตล์การตกแต่งบ้านของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ ประเภทของเฟอร์นิเจอร์ที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ชื่นชอบ โดยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 55 ชอบ เฟอร์นิเจอร์ใหม่ประกอบเสร็จ รองลงมาประมาณร้อยละ 22 ชอบเฟอร์นิเจอร์โบราณ (Antique) และ ประมาณร้อยละ 17 ชอบเฟอร์นิเจอร์ บิลท์-อิน มีเพียงร้อยละ 3.3 เท่านั้นที่ชอบเฟอร์นิเจอร์ประกอบเอง 59


(DIY) เมื่อสอบถามกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับความสนใจเฟอร์นิเจอร์ประกอบเอง (DIY) หากมีราคาตา่ กว่า เฟอร์นิเจอร์ทวั ่ ไป กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ค่อนข้างสนใจ โดยมีประมาณร้อยละ 40 ที่ไม่สนใจเลย และเกือบ ร้อยละ 50ของกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุต้งั แต่ 50 ปี ขึ้ นไป จะไม่สนใจเฟอร์นิเจอร์ประกอบเองเลย แม้จะมีราคา ตา่ กว่าก็ตาม ทั้งนี้ เพราะชาวเมียนมาร์ชอบความสะดวกสบาย อีกทั้งค่าแรงในการจ้างช่างประกอบยังอยู่ใน ระดับตา่ ทาให้ราคาเฟอร์นิเจอร์ประกอบเสร็จไม่ได้สงู มากนัก หากเทียบกับเฟอร์นิเจอร์ประกอบเอง (DIY)

เฟอร์นิเจอร์ใหม่ ประกอบเอง (DIY) 3%

สัง่ ทาเป็ นชิ้ นๆ 2%

Built-in 17%

เฟอร์นิเจอร์เก่า/ ของ โบราณ 22%

สไตล์เฟอร์นิเจอร์ ที่ชื่นชอบ เป็ นเฟอร์นิเจอร์ใหม่ ประกอบเสร็จ 56%

สถานที่ซึ่งกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ไปซื้ อเฟอร์นิเจอร์ และอุปกรณ์ตกแต่งบ้านต่างๆนั้น ส่วนใหญ่นิยมไป ซื้ อจากร้านค้าเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน รองลงมานิ ยมไปซื้ อตามห้างหรือศูนย์จาหน่ ายเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่งบ้านโดยเฉพาะ และห้างสรรพสินค้าทัว่ ไป มีประมาณร้อยละ 11 ที่สงั ่ ซื้ อจากผูผ้ ลิตหรือช่าง ทาเฟอร์นิเจอร์ และมีประมาณร้อยละ 5 ที่ซื้อจากงานแสดงสินค้า โดยเมื่อถามถึงความสนใจในการซื้ อ เฟอร์นิเจอร์และสินค้าตกแต่งบ้าน ในงานแสดงสินค้า ส่วนใหญ่ค่อนข้างสนใจ มีเพียงร้อยละ 27 เท่านั้นที่ ไม่สนใจเลย นอกจากนี้ เมื่อจาแนกตามระดับรายได้ พบว่ากลุ่มที่มีรายได้ระดับ ปานกลางขึ้ นไป จะสัง่ ผลิต เฟอร์นิเจอร์มากกว่ากลุ่มรายได้ปานกลาง-ตา่

60


งานแสดงสินค้า 5%

ร้านขายของเก่า 4%

สัง่ ทา 11%

ห้างสรรพสินค้าทัว่ ไป 14%

สถานที่ซื้อเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่งบ้าน

ร้านขายเฟอร์นิเจอร์ และของแต่งบ้าน 49%

ศูนย์คา้ เฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่งบ้าน 17%

บรรยากาศร้านขายสินค้าเฟอร์นิเจอร์แห่งหนึ่งในกรุงย่างกุง้

61


ร้านเฟอร์นิเจอร์แบบ Modern ในศูนย์การค้า Yusanna Plaza

โรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ ตามคาสั ่งผลิต สาหรับ ผู ้ที่ มี อิท ธิ พ ลในการตัด สิ น ใจซื้ อสิ น ค้า กลุ่ม นี้ กว่า ครึ่ งหนึ่ งของกลุ่ม ตัวอย่างระบุ ว่า คื อ ตนเอง รองลงมา คือ แฟน หรือสามี-ภรรยา และพ่อแม่ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 26 และ 17ตามลาดับ โดยเกือบ ทั้งหมดจะชาระค่าสินค้าเหล่านี้ ด้วยเงินสด มีเพียงไม่ถึงร้อยละ 3 ที่ชาระด้วยบัตรเครดิต โดยงบประมาณที่ เผื่อไว้สาหรับการตกแต่งบ้าน ส่วนใหญ่เกือบร้อยละ 80 ของกลุ่มตัวอย่างจะกันงบประมาณสาหรับการซื้ อ สินค้าเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้านไว้ไม่เกินร้อยละ 10 ของรายได้ในแต่ละปี

62


ส่วนแหล่งข้อมูลหรือแรงบันดาลใจในการตกแต่งบ้านนั้น 3 อันดับแรกที่ เป็ นแหล่งข้อมูลในการเลือกซื้ อ เฟอร์นิเจอร์ชิ้นใหม่ของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์เพื่อ การแต่งบ้าน ได้แก่ รายการโทรทัศน์ /ละคร ห้อง ตัวอย่างในร้านขายเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน และนิ ตยสารต่างๆ ลูก 3%

เพื่อน / ญาติ 3%

พ่อ-แม่ 17%

ผูม้ ีอิทธิพล ต่อการตัดสินใจซื้ อ

ตนเอง 51%

แฟน / สามีภรรยา 26%

ปั จจัยในการตัดสินใจซื้ อสินค้าตกแต่งบ้าน จากการศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ พบว่า ปั จจัยในการตัดสินใจซื้ อสินค้าตกแต่งบ้าน ของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ โดยส่วนใหญ่เป็ นเรื่องของการให้บริการและการมีสินค้าที่หลากหลาย โดย กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญกับบริการส่งสินค้าถึงบ้านมากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.41 รองลงมาคือ การ มีพนักงานให้ความช่วยเหลือหรือให้คาแนะนา มีคะแนนเฉลี่ย 4.18 และร้านที่มีสินค้าหลากหลาย คะแนน เฉลี่ย 4.01 ส่วนปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ให้ความสาคัญน้อยที่สุด ได้แก่ การซื้ อสินค้าตามดาราที่ ชื่นชอบ ซึ่ งมีคะแนนเฉลี่ย น้อยที่ สุด 2.38 คะแนน รองลงมา คือ การซื้ อตามที่ ดูในละคร-โทรทัศน์ มี คะแนนเฉลี่ย 2.46 และเฟอร์นิเจอร์ที่ลดราคา โดยพบว่ากลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญน้อย หรือมีคะแนน เฉลี่ยประมาณ 2.78 จะเห็นว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ให้ความสาคัญกับการให้บริการอย่างมาก ส่วน การเลียนแบบบุคคลที่มีชื่อเสียงหรือโปรโมชัน่ ด้านราคานั้น กลุ่มตัวอย่างยังคงให้ความสาคัญน้อย

63


ฉันชอบซื้อเฟอร์นิเจอร์ตามดาราทีช่ ื่นชอบ

2.38

ฉันชอบซื้อเฟอร์นิเจอร์แบบที่เห็นในละคร

2.46

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นเิ จอร์ที่กาลังลดราคา

2.78

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นเิ จอร์จากแบรนด์เดิม

2.82

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นเิ จอร์จากร้านเดิมเสมอ

2.83

ฉันมักจะหาข้อมูลในการตกแต่งบ้านอยู่เสมอ

2.86

ฉันจะไม่ซื้อสินค้า DIY ถ้ามีการบริการรับติดตั้งจากทางร้าน

2.95

ฉันจะตัดสินใจซื้อเร็วขึ้นถ้าสามารถใช้บัตรเครดิตได้

2.97 3.09

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นเิ จอร์ที่ราคาถูกที่สุด

3.23

การซื้อเฟอร์นิเจอร์จากหลายแบรนด์ช่วยให้บ้านดู… ฉันชอบเฟอร์นิเจอร์แบบใหม่มากกว่าแบบเก่า

3.44

ฉันคิดว่าเฟอร์นิเจอร์ราคาแพงกว่าจะมีคณ ุ ภาพที่ดีกว่า

3.45

ฉันอยากตกแต่งบ้านให้เหมือนกับในนิตยสารหรือแคต…

3.49

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นเิ จอร์เฉพาะแบรนด์ที่ชอบเท่านั้น

3.53

การตกแต่งร้านมีผลต่อการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์

3.62

ฉันชอบเฟอร์นิเจอร์ที่ทันสมัย

3.68 4.01

ร้านทีมีบริการออกแบบตกแต่งจะช่วยให้ฉันตัดสินใจได้ง่าย…

4.01

ฉันชอบร้านที่มีเฟอร์นิเจอร์ที่หลากหลาย

4.18

ฉันชอบร้านที่มีพนักงานคอยช่วยเหลือ

4.41

การส่งสินค้าถึงบ้านคือปัจจัยสาคัญที่ตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์ 0

1

2

3

4

5

พฤติกรรมการซื้ อเฟอร์นิเจอร์และสินค้าตกแต่งบ้านของกลุ่มตัวอย่าง (ปรับปรุงจาก Sakpichaisakul, T., 2012) ส่วนปั จจัยหรือสิ่งที่ ผูบ้ ริโภคชาวเมียนมาร์คานึ งถึง เมื่อจะพิจารณาซื้ อสินค้าตกแต่งบ้านแต่ละชิ้ น พบว่า กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญกับความทนทานและอายุการใช้งานมากที่สุด โดยปั จจัยนี้ มีคะแนนเฉลี่ย 4.62 รองลงมาคือคุณภาพของสินค้า คะแนนเฉลี่ย 4.48 และการรับประกันสินค้า คะแนนเฉลี่ย 4.46 ส่วน ปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ให้ความสาคัญน้อยที่สุด ได้แก่ การเข้ากับเฟอร์นิเจอร์ชิ้นอื่นๆ ในบ้านได้ ดี คะแนนเฉลี่ย 3.00 รองลงมาคือการผ่อนชาระสินค้า คะแนนเฉลี่ย 3.19 และสถานที่ต้งั ของร้าน ซึ่งมี 64


คะแนนเฉลี่ย 3.22 จะเห็นว่า ปั จจัยด้านคุณภาพของสินค้ามีความสาคัญมาก ส่วนการผ่อนชาระสิ นค้านั้น กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญน้อย เนื่ องจากชาวเมียนมาร์นิยมซื้ อและชาระค่าสินค้าด้วยเงินสดเป็ นหลัก

3.41 3.22 3.51 3.62 3.00 3.88 3.84 4.13 4.03 3.97 3.58 3.89 3.19 4.46 3.73 4.21 4.21 4.05 4.09 3.50 4.48 4.17 4.13 4.62

การใช้เทคโนโลยีช่วยในการออกแบบ สถานที่ต้งั ของร้าน รูปแบบการใช้งาน ขนาดที่เหมาะสม เข้ากับเฟอร์นิเจอร์อื่นๆ ได้ดี

ประหยัดพลังงาน เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทาความสะอาดง่าย ไม่ตอ้ งบารุงรักษามาก ความสบาย วัตถุดิบ สี โปรแกรมผ่อนชาระค่าสินค้า การรับประกันสินค้า ระยะเวลาในการรอสินค้า การบริการที่สะดวกรวดเร็ว

ความเอาใจใส่ของพนักงานต่อลูกค้า การบริการหลังการขาย การบรืการ ติดตั้ง ขนส่งสินค้า ตรายีห่ อ้ คุณภาพ ราคา ความสวยงาม / การออกแบบ อายุการใช้งานยาวนาน ทนทาน

0

1

2

3

4

5

ปั จจัยที่มีผลต่อการซื้ อเฟอร์นิเจอร์และสินค้าตกแต่งบ้านของกลุ่มตัวอย่าง (ปรับปรุงจาก Sakpichaisakul, T., 2012) 65


สาหรับสไตล์การตกแต่งภายในที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ชื่นชอบ พบว่า การตกแต่งภายในแบบ Modern เป็ นรูปแบบที่ได้รบั ความนิ ยมมากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ 44 โดยกลุ่มวัยรุ่นและวัยทางานจะชื่นชอบการ ตกแต่งบ้านแบบ Modern มากกว่ากลุ่มตัวอย่างช่วงอายุอื่น รองลงมาคือแบบ Contemporary คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 26 และแบบ ASIAN/TROPICAL คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 17 แบบ European ร้อยละ 8 และ แบบ American/Country ร้อยละ 5 โดยจากการวิจยั เชิงคุณภาพพบว่า ร้านเฟอร์นิเจอร์ในเมียนมาร์ มีหลาย ร้านที่จาหน่ ายเฟอร์นิเจอร์แบบ Modern โดยเฉพาะ รวมทั้งอิทธิพลของละครและรายการโทรทัศน์เกาหลี ที่ แสดงถึงวิถีชีวิตที่ทนั สมัย ก็ลว้ นมีอิทธิพลต่อความชอบและรสนิ ยมการตกแต่งบ้านของชาวเมียนมาร์มากขึ้ น

European / Classic 8%

Asian / Tropical 17%

American / Country 5%

สไตล์การตกแต่งบ้าน ที่ชื่นชอบ

Modern 44%

Contemporary 26% รูปแบบหรือสไตล์การตกแต่งบ้านที่กลุ่มตัวอย่างชื่นชอบ

66


พฤติกรรมการจัดสวน และงานช่าง จากการสารวจ พบว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่าร้อยละ 84 ไม่มีสวนในบ้าน ส่วนผูท้ ี่ มีสวนอยู่ในบ้าน คิดเป็ นสัดส่วนเพียงร้อยละ 16 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด อย่างไรก็ตามในจานวนนี้ กว่าร้อยละ 60 มักจะมี กิจกรรมปลูกต้นไม้/ทาสวนที่บา้ น แบ่งเป็ นผูท้ ี่ชอบการทาสวน-ปลูกต้นไม้เป็ นประจา ร้อยละ 16 และผูท้ ี่ ทาเป็ นบางครั้ง ร้อยละ 45 ในขณะที่อีกกว่า 40% จะไม่ค่อยทากิจกรรมเหล่านี้ เลย นอกจากนี้ ส่วนใหญ่ยงั ไม่นิยมตกแต่งสวนด้วยนาเฟอร์นิเจอร์หรือของตกแต่งบ้านมาจัดสวน คิดเป็ นสัดส่วนกว่าร้อยละ 90 ส่วนผู ้ ที่นิยมตกแต่งสวนและ จัดสวนให้สวยงามด้วยเฟอร์นิเจอร์หรือของตกแต่ง มี สดั ส่วนเพียงประมาณร้อยละ 10

การจัดตกแต่งสวน-ปลูกต้นไม้ในบริเวณบ้านของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์

ส่วนการทางานช่างหรือการซ่อมแซมสิ่งของภายในบ้านเมื่อมีการชารุดหรือเสียหายเล็กๆ น้อยๆ เช่น เปลี่ยนหลอดไฟ เปลี่ยนก็อกน้ า กลุ่มตัวอย่างเกือบร้อยละ 60 จะสามารถทาได้ดว้ ยตนเองเป็ นบางครั้ง คราว มีเพียงประมาณร้อยละ 11 ที่จะสามารถทาได้เป็ นประจา

67


ทาเป็ นประจา 16%

ไม่เคย/แทบไม่ได้ ทาเลย 39%

การปลูกต้นไม้ และทาสวน

บางครั้ง 45%

ทาเป็ นประจา 11%

ไม่เคย/แทบไม่ได้ ทาเลย 30%

การซ่อมแซม ของใช้ดว้ ยตนเอง

บางครั้ง 59%

สาหรับด้านงานฝี มือ สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ พบว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่าร้อยละ 62 แทบไม่ได้ทางาน ฝี มือต่างๆ เลย มีประมาณร้อยละ 35 ที่มีโอกาสทางานฝี มือบ้างเป็ นครั้งคราว และมีเพียงร้อยละ 3 เท่านั้น ที่ทางานฝี มือเป็ นประจา นอกจากนี้ ยังพบว่ากว่าร้อยละ 50 ของผูท้ ี่ชอบทางานประดิษฐ์เป็ นผูท้ ี่มีรายได้ใน ระดับสูง

68


Pet care สัตว์เลี้ ยงที่เป็ นที่นิยมของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีสดั ส่วนการเลี้ ยงแมวมากกว่าสุนัข โดยประมาณร้อยละ 23 ของกลุ่มตัวอย่าง มีแมวเป็ นสัตว์เลี้ ยง และประมาณร้อยละ 15 มีสุนัขเป็ นสัตว์ เลี้ ยง ส่วนปลา มีสดั ส่วนผูเ้ ลี้ ยงประมาณร้อยละ 10 ของกลุ่มตัวอย่าง ในแง่ของการดูแลรักษาสัตว์เลี้ ยง กลุ่มตัวอย่างที่เลี้ ยงสัตว์มากกว่าร้อยละ 80 ไม่เคยนาสัตว์เลี้ ยงไปใช้บริการร้านอาบน้ า -ตัดแต่งขนสัตว์ เลี้ ยงเลย มีเพียงประมาณร้อยละ 8 ของกลุ่มตัวอย่างที่เลี้ ยงสัตว์ที่นาสัตว์เลี้ ยงไปใช้บริการทุกเดือน และร้อย ละ 2 ของกลุ่มตัวอย่างที่ นาเลี้ ยงสัตว์ไปเข้าใช้บริการอาบน้ า ตัดแต่งขนทุกสัปดาห์ ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ เลี้ ยงสัตว์ ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 65 ให้เหตุผลว่าเป็ นเพราะไม่ชอบสัตว์ รองลงมา คือ ค่าใช้จ่ายสูง และ สถานที่พกั ไม่อนุ ญาตให้เลี้ ยง

อื่นๆ

1.6%

ปลา

9.6%

สุนัข

14.6%

แมว

22.8% สัดส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เลี้ ยงสัตว์เลี้ ยง จาแนกตามชนิด

ที่พกั ไม่อนุ ญาต ให้เลี้ ยง 9%

เป็ นภูมิแพ้ 5%

อื่นๆ 10%

มีค่าใช้จ่ายสูง 10%

เหตุผล ที่ไม่เลี้ ยงสัตว์

ไม่ชอบสัตว์ / กลัว 66%

69


Travel habits รูปแบบการท่องเที่ยวที่เป็ นที่ชื่นชอบของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ส่วนใหญ่ คือ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร และการท่องเที่ ยวเชิงสุ ขภาพ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 67 และร้อยละ 20 ตามลาดับ โดยผูท้ ี่ ชื่นชอบการ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเกือบทั้งหมดเป็ นผูท้ ี่มีรายได้ระดับปานกลาง-สูง นอกจากนี้ ยังมีสดั ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ ชอบการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมซึ่ งคิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 7 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ส่วน การท่องเที่ยวธรรมชาติกลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ ชอบท่องเที่ยวภูเขา ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วนเพียงร้อยละ 6

ภูเขา 6% ศิลปวัฒนธรรม 7%

แหล่งท่องเที่ยว ที่ชื่นชอบ

ท่องเที่ยวเชิง สุขภาพ 20%

เที่ยวเชิงเกษตร 67%

สาหรับการศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวในประเทศ เราพบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 55 เดินทางท่องเที่ยว ในประเทศเป็ นประจาทุกเดือน ร้อยละ 22 เดินทางท่องเที่ยว 3 เดือนต่อครั้ง ระยะเวลาในการท่องเที่ยว ประมาณ 5-7 วัน ต่อทริป วิธีการเดินทางท่องเที่ยวที่นิยมที่สุด คือ การใช้รถเช่า

70


รถยนต์ส่วนตัว เรือโดยสาร 2% 6% รถไฟ 10%

วิธีการเดินทาง ท่องเที่ยวในประเทศ

รถเช่า / รถรับจ้าง 49%

รถประจาทาง 33%

ส่ว นพฤติ ก รรมการท่ องเที่ ย วต่ า งประเทศ เราพบว่ากลุ่ ม ส่ว นใหญ่ ก ว่า ร้อ ยละ 62 ไม่ค่ อ ยหรื อ ไม่เ คย ท่องเที่ยวในต่างประเทศ มีเพียงร้อยละ 17 ที่เดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่ม ตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 18-22 ปี มักจะนิ ยมเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศทุกๆ 6 เดือนซึ่งถือว่ามีความถี่ มากกว่ากลุ่มอื่นๆ คิดเป็ นสัดส่วนกว่าร้อยละ 40 ของกลุ่มตัวอย่างในช่วงอายุนี้ทั้งหมด กลุ่มตัวอย่างชาว เมียนมาร์กว่าร้อยละ 80 มักจะเดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศด้วยสายการบินแบบปกติ มีเพียงร้อยละ 7 ที่เดินทางโดยสายการบินต้นทุนตา่ พื้ นที่ที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไปท่องเที่ยวมากที่สุด คือ ทวีปเอเชีย โดย กว่าร้อยละ 70 นิ ยมท่องเที่ยวในโซนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และร้อยละ 17 จะเดินทางไปท่องเที่ยวในโซน เอเชียเหนื อ เช่น จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ฮ่องกง นอกจากนี้ ยังพบว่ากว่าร้อยละ 40 ของกลุ่มตัวอย่างชาวเมียน มาร์ มักจะท่องเที่ยวกับครอบครัว /ญาติ ร้อยละ 30 มักจะเดินทางไปท่องเที่ยวเพียงคนเดียว และมักจะใช้ เวลาในการท่องเที่ยวประมาณ 5-10 วัน

71


เอเชียใต้ อินเดีย 2%

อเมริกาเหนื อ 3%

ยุโรป 7% อัฟริกา 1% ตะวันออกกลาง 2%

เอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ 68%

ประเทศที่นิยม เดินทางไปท่องเที่ยว

เอเชียเหนื อ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ฮ่องกง 17%

72


Holiday and Leisure ชาวเมียนมาร์ทางานมากกว่าสัปดาห์ละ 5 วัน และทางานวันละไม่ตา่ กว่า 8 ชัว่ โมง ร้อยละ 13 มีงานพิเศษ อื่นๆ นอกเหนื อจากงานประจาของตนเอง เช่น งานพาร์ทไทม์ (Part-time Job) อย่างไรก็ตามเมื่อถึง ช่วง วันหยุดและวันหยุดสัปดาห์ เช่น วันหยุดสุดสัปดาห์หรือวันหยุดเทศกาล กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่าร้อย ละ 90 มักจะนิ ยมออกไปสังสรรค์นอกบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผูท้ ี่มีรายได้สูงจะออกไปสังค์สรรนอกบ้าน ในช่วงวันหยุดกว่าร้อยละ 100 นอกจากนั้นประมาณร้อยละ 10 จะนิ ยมพักผ่อนอยูท่ ี่บา้ นในช่วงวันหยุด

อยูบ่ า้ น 11%

กิจกรรมในวันหยุด ออกไปเที่ยวนอก บ้าน 89%

73


Saving and Investment habits กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์ใช้จ่ายด้วยเงินสดกว่าร้อยละ 97 ส่วนการใช้บตั รเดบิตหรือเครดิตการ์ดยังไม่ถูก ใช้เป็ นช่องทางในการจับจ่ายซื้ อสินค้ามากนัก เนื่ องจากกลุ่มตัวอย่างไม่มีบตั รเครดิต กว่าร้อยละ 90 และ กว่าร้อยละ 97 ไม่ใช้บริการสินเชื่อใดๆ เลย สาหรับพฤติกรรมด้านการออม กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์กว่า ร้อยละ 20 ไม่ออมเงินในช่องทางใดๆ ส่วนผูท้ ี่ออมเงิน โดยส่วนใหญ่มกั ออมเงินโดยเก็บไว้เป็ นเงินสดและ ฝากธนาคารมากที่ สุด รวมแล้วกว่าร้อยละ 80 สัดส่วนในการออมของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 30 อยู่ที่ ประมาณร้อยละ 10-20 ของรายได้ นอกจากนั้นร้อยละ 20 ออมน้อยกว่าร้อยละ 10 ของรายได้ ส่วนการ ออมวิธีอื่นๆ ที่ได้รบั ความนิ ยม คือ การลงทุนในสินทรัพย์ โดยมีกลุ่มตัวอย่างประมาณร้อยละ 25 ลงทุนใน ทองคาและร้อยละ 10 ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์

พฤติกรรมด้านการเงินและการออม กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์นิยมใช้จ่ายด้วยเงินสดเป็ นหลัก ไม่ชอบเป็ นหนี้ และไม่มีบตั รเครดิต โดยจากผล วิจยั พบว่า เกือบทั้งหมดของกลุ่มตัวอย่างยังใช้จ่ายด้วยเงินสดเป็ นหลัก ในทุกๆ ระดับรายได้ กลุ่มตัวอย่างที่ ถือบัตรเดบิต มีเพียงร้อยละ 1 และมีเพียงประมาณร้อยละ 0.3 เท่านั้นที่ถือบัตรเครดิต เช็คเงินสด 2%

บัตรเดบิต 1%

วิธีการชาระเงิน เมื่อซื้ อสินค้า เงินสด 97%

74


กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาร์มากกว่าร้อยละ 97 มักชาระบิลค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าน้ า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ที่สานักงานของผูใ้ ห้บริการโดยตรง มีเพียงประมาณร้อยละ 6 ชาระที่หา้ งสรรพสินค้า ร้อยละ 2 ชาระที่ ธนาคารและร้อยละ 1 ที่ชาระโดยระบบหักบัญชีธนาคาร อื่นๆ 6%

ธนาคาร 2%

ระบบหักบัญชี ธนาคาร 1%

ห้างสรรพสินค้า 6%

วิธีการชาระบิล

ชาระที่ สานักงาน 85%

สาหรับ การออมเงิ น /การลงทุ นนั้ น กลุ่ม ตัว อย่า งส่ วนใหญ่ ออมโดยการซื้ อประกันชี วิตกว่า ร้อยละ 35 รองลงมานิ ยมออมกับทองคา ฝากธนาคารและถือเงินสดเก็บไว้ คิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 34 ร้อยละ 20 และ ร้อยละ 8 ตามลาดับ ส่วนการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์มีสดั ส่วนผูอ้ อมด้วยวิธีนี้ประมาณร้อยละ 2 ของกลุ่ม ตัวอย่าง โดยสัดส่วนการเก็บออมต่อรายได้น้ั น ส่วนใหญ่จะออมเงินเป็ นสัดส่วนไม่เกิ นร้อยละ 20 ของ รายได้

75


ซื้ อที่ดิน/ ลงทุนในพันธบัตร อสังหาริมทรัพย์ 1% 2% เก็บเงินสดไว้ 8%

ลงทุนในหุน้ 1%

ซื้ อประกันชีวิต 35% ฝากธนาคาร 19%

การออมเงิน

ลงทุนกับทองคา 34%

76


ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 โทร. 043-202-566 โทรสาร. 043-303-567

www.ecberkku.com

77


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.