Clmv pulse laos full report

Page 1

CLMV Pulse Consumer Behavior, Lifestyle & Attitude

สปป.ลาว ผลการวิจยั พฤติกรรมผูบ้ ริโภค 2013

Esaan Center for Business and Economic Research Khon Kaen University, Thailand

© Copyrights 2014 all rights reserved


หัวหน้าทีมวิจยั Ms. Mu Mu Thient, Yangon, Myanmar Dr. Phouphet KYOPHILAVONG, Laos National University, Vientiane, Laos Dr. Nguyen Luu Bao Doan, Hoa Sen University, Ho Chi Minh City, Vietnam Vin Spoann, Royal University of Phnom Penh, Phnom Penh, Cambodia Assit. Prof. Dr. Kullapapruk Piewthingngam, Khon Kaen University, Thailand

ข้อจากัดความรับผิดชอบ: ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ขอ สงวนสิทธิท้งั ปวง รวมทั้งสิทธิในการแก้ไข ทาซ้า ดัดแปลง ตลอดจนนาไปใช้อา้ งอิงหรือเผยแพร่รายงานนี้ ไม่ว่าส่วนหนึ่ ง ส่วนใดและด้วยวิธีการใด ๆ โดยไม่ได้รบั อนุ ญาตเป็ นหนังสือ บทความและความเห็นใด ๆ เป็ นบทความและความเห็นของ นั กวิจยั และเป็ นไปตามผลของการสารวจ ศูนย์วิจัยธุ รกิจและเศรษฐกิจอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสานั กงาน ส่งเสริมวิสาหกิจขนากลางและขนาดย่อม ไม่ตอ้ งรับผิดชอบและไม่รบั ประกันไม่ว่าในกรณีใด ๆ ในผลจากการนาข้อมูล ดังกล่าวไปใช้

ผูส้ นับสนุนทุนการวิจยั : รายงานฉบับนี้ ได้รับทุ นจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นในการดาเนิ นการศึ กษาวิจยั นอกจากนี้ ยังได้รับทุนสนั บสนุ นจาก สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับอาหารและการตกแต่งบ้าน

ราคา : 450 บาท สงวนลิขสิทธิ์ - ห้ามเผยแพร่หรือนาไปใช้ในเชิงพาณิชย์ก่อนได้รบั อนุญาต

ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 โทร.: +66(0) 43 202 566, โทรสาร: +66(0) 42 202 567

email: ecber.kku@gmail.com www.ecberkku.com/asean www.facebook.com/ecberkku


Table of contents Preface Methodology Sample Education norm Work life Eat & drink habits Beauty and skin care Fashion habits Health and medical Smoking habits Shopping habits and attitude Hobby and free time Home care and decorations Pet care Travel habits Holiday and leisure Saving and investment habits

หน้า 4 5 6 9 11 13 35 37 39 42 44 48 49 59 60 62 63


Preface ประเทศลาว เป็ นประเทศขนาดเล็ก มีเขตแดนติดกับประเทศไทย จีน เวียดนาม และกัมพูชา เมืองที่สาคัญ ในประเทศลาว ได้แก่ เวียงจันทร์ (เมืองหลวง) หลวงพระบาง (เมืองท่องเที่ยว) และสะหวันนะเขต (เมือง อุตสาหกรรม) ลาวเป็ นประเทศที่มีพื้นฐานมาจากการเกษตรกรรม มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ เศรษฐกิจภายในประเทศขึ้ นกับการลงทุนของภาคเอกชนและการบริโภคภายในประเทศ มูลค่าการนาเข้า สินค้าจากต่างประเทศสูงกว่ามูลค่าการส่งออก อย่างไรก็ตามมูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศกาลังเพิ่ม สูงขึ้ นและสัดส่วนคนยากจนเริ่มลดน้อยลง โดยแรงงานมีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานไปทางานในเขตเมืองเพิ่ม มากขึ้ น ทาให้โดยรวมแล้วพฤติกรรมผูบ้ ริโภคของลาว มีการเปลี่ยนแปลงไป ในประเทศลาว ผูช้ ายมักจะมี โอกาสมากกว่าผูห้ ญิ ง ทั้งในด้านการทางานและการศึ กษา นอกจากนี้ ระบบการศึ กษายังไม่ได้ก ระจาย อย่างทัว่ ถึงเท่าที่ควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตชนบท และชาวลาวโดยส่วนใหญ่ยงั คงเชื่อว่าจะมีหน้าที่การ งานที่ดีขนหากได้ ึ้ รบั การศึกษาที่ดี

1


Methodology ในรายงานการศึ ก ษาชิ้ นนี้ เราท าการวิ เ คราะห์พ ฤติ ก รรมผู ้บ ริ โ ภคชาวลาว โดยการเก็ บ ข้อ มู ลจาก แบบสอบถามจานวน 400 ชุด จากการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก และมีการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากการจัด สนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ร่วมกับผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการตลาดและพฤติกรรมผูบ้ ริโภค ซึ่งใน ส่วนของการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ได้กาหนดโครงสร้างของกลุ่มตัวอย่างตามลักษณะทางประชากรศาสตร์ ของประเทศลาว เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่น่าเชื่อถือและเป็ นตัวแทนของคนจานวนมากได้ โดยในประเทศ ลาวนั้นได้เก็บข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างในนครเวียงจันทน์ และเบื้ องต้นเราพบว่า ชาวลาวมีรายได้ค่อนข้างตา่ โดยกว่าร้อ ยละ 35 มีรายได้ไ ม่เกิ น 4,999 บาท และอี ก ร้อยละ 35 มีรายได้อ ยู่ระหว่าง 5,000 14,999 บาท มีเพียงไม่ถึงร้อยละ 10 ที่มีรายได้สูงกว่า 25,000 บาท อัตราแลกเปลี่ยนของลาว คือ กีบ (Kip) และมีค่าค่อนข้างตา่ เมื่อเทียบกับเงินตราต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเงินดอลลาร์ของประเทศ สหรัฐอเมริกา ผลจากการศึกษาเบื้ องต้นสะท้อนให้เห็นว่าชาวลาวพยายามเข้าถึงการศึกษามากขึ้ น เพื่อให้ มีอนาคตที่ดีและมีความมัน่ คงด้านการเงิน ซึ่งทางภาครัฐกาลังได้รบั การสนับสนุ นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยการให้การศึกษาแก่ประชาชนและเปิ ดโอกาสให้มีลงทุนจากต่างประเทศมากยิ่งขึ้ น

2


Sample ข้อมูลภาพรวมประชากรจากแบบสอบถาม จาแนกได้ดงั นี้ 1) เพศ (Gender)

2) ระดับอายุ (Age)

9% 27% 16% 44%

56%

13% 34%

Male

Female

3) ระดับรายได้ส่วนบุคคล (Personal Income)

18-22 ปี 40-49 ปี

23-29 ปี 50-60 ปี

4) ระดับรายได้ครัวเรือน (Household Income)

8%

16% 35%

21%

30-39 ปี มากกว่า 60 ปี

32%

50%

36%

รายได้ปานกลาง-ล่าง; <5,000 บาท

รายได้ปานกลาง-ล่าง; <5,000 บาท

รายได้ปานกลาง; 5,000 - 10,000 บาท

รายได้ปานกลาง; 5,000 - 10,000 บาท

รายได้ปานกลาง-สูง; 10,000 - 25,000 บาท

รายได้ปานกลาง-สูง; 10,000 - 25,000 บาท

รายได้สูง; >25,000 บาท

รายได้สูง; >25,000 บาท 3


5) อาชีพ (Current Occupation)

6) การศึกษา (Education Level) 7% 4% 6%

7% 28%

5%

22%

11% 3%

49% 13%

12%

22% 5%

นักเรียน นักศึกษา

พนักงานของรัฐ

พนักงานรัฐวิสาหกิจ

พนักงานเอกชน

ผู้ประกอบการขนาดกลางขึ้นไป

ผู้ประกอบการขนาดเล็ก

ลูกจ้างชัวคราว

พ่อบ้าน-แม่บ้าน

อาชีพอิสระ

ว่างงาน

ประถมศึกษา/ตา่ กว่า มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ปริญญาตรี ปริญญาเอก

มัธยมศึกษาตอนต้น อนุปริญญา/ปวส. ปริญญาโท

อืนๆ

7) ศาสนา (Religious)

96%

พุทธ คาทอลิก วิญญาณ/บรรพบุรุษ

8) เชื้ อชาติ/เผ่าพันธุ ์ (Ancestor’s Ethnicity)

92%

1% 2%

อิสลาม โปรเทสแตนท์

2% 1% 2%

จีน

ลาว-จีน

ญีปุ่น

เกาหลี

ลาว

ลาว-เวียดนาม

ไทย-ลาว

เวียดนาม 4


จากข้อมูลภาพรวมประชากรจากแบบสอบถามนั้ น พบว่า กลุ่มตัวอย่างเพศหญิ งและเพศชายมีสัดส่วนที่ ใกล้เคียงกัน โดยคิดเป็ นเพศหญิ งร้อยละ 56 และเพศชายร้อยละ 44 สาหรับสัดส่วนตามช่วงอายุ กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่ อายุ ระหว่า ง 23-29 ปี รองลงมาคื ออายุ ระหว่าง 18-22 ปี ด้านรายได้ส่ว นบุ คคล (Personal Income) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะมีระดับรายได้ปานกลาง คือ 5,001 – 10,000 บาทต่อเดือน และรายได้ครัวเรือน (Household Income) ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง – สูง คือ 10,001 – 25,000 บาทต่อเดือน สาหรับข้อมูลด้านอาชีพของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอาชีพนักเรียน นักศึกษา คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 28 รองลงมาคืออาชีพพนักงานของรัฐ สัดส่วนร้อยละ 22 และด้านการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่สาเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี คิดเป็ นร้อยละ 49 และรองลงมาคือระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายคิดเป็ นร้อยละ 22 นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ยงั นับถือศาสนาพุทธคิดเป็ นร้อยละ 96 และมีเชื้ อ สายลาวเป็ นส่วนใหญ่

5


Education norm ระดับการศึกษาของชาวลาว พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี คิดเป็ นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 50 รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ ปวช. ร้อยละ 22 ระดับอนุ ปริญญา ร้อย ละ 12 และกลุ่มตัวอย่างที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทมีประมาณร้อยละ 7 ตามลาดับ

ปริญญาโท 7%

มัธยมศึกษา ตอนต้น 6%

อนุ ปริญญา/ปวส. 12%

ประถมศึกษา 4%

ระดับการศึกษา สูงสุด

ปริญญาตรี 49%

มัธยมศึกษาตอน ปลาย/ปวช. 22%

นอกจากนี้ ยั ง พบว่ า โดยส่ ว นใหญ่ ก ว่ า ร้อ ยละ 81 จบการศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ หรื อ สถาบันการศึกษาของรัฐ รองลงมา ประมาณร้อยละ 10 สาเร็จการศึกษาจากสถาบันเอกชนในประเทศ อีก ร้อยละ 8 สาเร็จการศึ กษาจากสถาบันนานาชาติ (ต่างประเทศ) และมีประมาณร้อยละ 1 ที่สาเร็จ การศึกษาจากสถาบันการศึกษานานาชาติในประเทศ

สถาบันการศึกษา ของรัฐในประเทศ 81%

สถานศึกษาที่กลุ่มตัวอย่าง สาเร็จการศึกษา

สถาบันการศึกษา เอกชนในประเทศ 10%

สถาบันการศึกษาจาก นานาชาติ 8%

6


ในปั จจุบนั ลาวได้ใช้ระบบการศึกษาเป็ นแบบ 11 ปี คือระบบ 5 :3 :3 โดยระดับประถมศึกษา ใช้เวลาใน การศึกษา 5 ปี เด็กจะเริ่มเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้ คือเป็ นการศึกษาภาคบังคับ เด็กทุก คนต้องจบการศึกษาในระดับนี้ แต่ในทางปฏิบตั ิการศึกษาภาคบังคับจะมีผลดีแต่เฉพาะเด็ กในเมืองใหญ่ เท่านั้น เนื่ องจากลาวมีพื้นที่ประเทศกว้างขวางและประชากรกระจายกันอยู่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ใช้ เวลาในการศึกษา 3 ปี และในอนาคตจะให้เด็กได้เรียนภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้ น ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย ใช้เวลาในการศึกษา 3 ปี การศึกษาขั้นพื้ นฐานในระบบ 5 -3 -3 นี้ อยู่ในความดูแลและรับผิดชอบ ของกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ส่วนระดับ อุ ด มศึ ก ษาหรื อ การศึ ก ษาชั้น สูง รวมถึ ง การศึ ก ษาด้า นเทคนิ ค สถาบันการศึ ก ษาชั้น สูงหรื อ มหาวิทยาลัย ซึ่งอยูใ่ นความดูแลและรับผิดชอบของกรมอาชีวศึกษาและมหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ ยกเว้นการศึกษาเฉพาะทางซึ่งอยู่ในความดูแลของกระทรวงอื่น โดยเมื่อเด็กจบการศึกษาในระดับประถม และมัธยมศึ กษาแล้ว จะมีการคัดเลือกนั กเรียนเพื่อเสนอกระทรวงศึ กษาธิ การให้เด็ กได้เข้าศึ กษาต่อใน ระดับที่สูงขึ้ น ได้แก่ สายอาชีพ ใช้เวลาศึกษา 3 ปี ในวิทยาลัยเทคนิ คต่าง ๆ เช่น ทางด้านไฟฟ้ า ก่อสร้าง บัญชี ป่ าไม้ เป็ นต้น โดยมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาที่สาคัญ ได้แก่ 1. มหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ (เวียงจันทน์) ใช้เวลาศึกษา 6 ปี ขึ้ นกับกระทรวงสาธารณสุข 2. มหาวิทยาลัยแห่งชาติ (ดงโดก) ใช้เวลาศึกษา 4 ปี 3. สถาบันสรรพวิชา (National Polytechnic Institute) ใช้เวลาศึกษา 6 ปี

7


Work life ลัก ษณะการทางานของชาวลาวนั้ น จากผลการสารวจอาชี พ ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า นอกจากนั ก เรี ย น นักศึกษาซึ่ งมีสัดส่วนกว่าร้อยละ 28 แล้ว กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รอ้ ยละ 22 มีอาชีพเป็ นข้าราชการหรือ พนักงานของรัฐ รองลงมาคือลูกจ้าง หรือพนักงานของเอกชน ร้อยละ 13 และเจ้าของกิจการขนาดเล็ก ร้อย ละ 11 ตามลาดับ อาชีพอิสระ 2% ว่างงาน 1% ธุรกิจส่วนตัว 3% พ่อบ้าน/แม่บา้ น 3% รับจ้าง 5%

นักศึกษา 28%

พนักงานรัฐวิสาหกิจ 5%

อื่นๆ 7%

อาชีพ ค้าขาย 11% ข้าราชการ 22% พนักงานบริษัทเอกชน 13%

โดยการเดินทางไปทางานของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มักจะเดินทางโดยรถจักรยานยนต์ คิดเป็ นร้อยละ 53 แม้ว่า สภาพจราจรในเวี ย งจัน ทน์ น้ั น ยัง ไม่คับ คัง่ มาก แต่ ก ลุ่ ม ตัว อย่ า งก็ ใ ห้เ หตุ ผ ลว่า การเดิ น ทางด้ว ย รถจักรยานยนต์น้ันสะดวกทั้งในแง่ของการเดินทาง และการหาที่จอดรถ รวมถึงราคาของรถจักรยานยนต์ นั้นอยูใ่ นระดับที่สามารถซื้ อหาได้โดยไม่เป็ นภาระมากนัก รองลงมาจะเป็ นรถยนต์ส่วนตัว ประมาณร้อยละ 40

สภาพการจราจรในถนนของนครเวียงจันทร์ 8


รถรับส่งของบริษัท 1%

รถจักรยานยนต์ 53%

อื่นๆ 5%

เดิน 1%

วิธีการเดินทางไปทางาน ในชีวิตประจาวันของชาวลาว

รถยนต์ส่วนตัว 40%

สาหรับวันทางานโดยเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างจะอยูท่ ี่ 5.36 วันต่อสัปดาห์ และชัว่ โมงทางานของกลุ่มตัวอย่าง จะอยู่ที่ 7.57 ชัว่ โมงต่อวัน นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่ได้ทางานพาร์ทไทม์ แต่จะมีกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 22 ที่ทางานพาร์ทไทม์ควบคู่งานประจา

9


Eat & Drink Habits ห้องครัวและการเก็บอาหาร ลัก ษณะครัวที่ ใช้ประกอบอาหารของชาวลาว พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จ ะมีครัวแบบดั้งเดิ มซึ่ งจะอยู่ ภายในตัวบ้านบ้าน โดยคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 45 รองลงมาคือครัวแบบดั้งเดิมที่ ต้งั อยู่นอกบ้าน คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 23 โดยหลักแล้วเนื่ องมากจากเรื่องของพื้ นที่ของบ้านชาวลาวที่ยงั ไม่จากัดมากนัก สามารถ จัดสรรพื้ นที่สาหรับประกอบอาหารได้อย่างสะดวก โดยหากพิจารณาเรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้ าในครัวแล้ว พบว่า กลุ่มตัวอย่างคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 96 จะมีตเู้ ย็นอยู่ที่บา้ น รองลงมาคือกระติกน้ าร้อน คิดเป็ นสัดส่วนร้อย ละ 81 และเตาแก๊สหรือเตาไฟฟ้ า สัดส่วนร้อยละ 57 ของกลุ่มตัวอย่าง ตามลาดับ ซึ่งทาให้เห็นว่ามีการ ปรับตัวให้ทนั สมัยมากขึ้ น และยังมีกาลังซื้ อที่เพิ่มมากขึ้ นอีกด้วย เครื่องล้างจาน

2%

เครื่องดูดควัน

6%

98% 94%

เครื่องปิ้งขนมปัง

29%

71%

เครื่องกรองน้า

30%

70%

เตาอบ

30%

70%

เตาไมโครเวฟ

39%

เตาแก๊ส หรือเตาไฟฟ้า

61%

57%

กระติกน้าร้อน

43%

82%

ตู้เย็น

18%

96%

มี

4%

ไม่มี

เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีในห้องครัว

10


ลักษณะครัวที่ใช้ในการประกอบอาหารที่แตกต่างกันของบ้านแต่ละหลัง สาหรับพฤติกรรมการเก็บอาหารของชาวลาวนั้น พบว่ากลุ่มตัวอย่างจะซื้ ออาหารประเภทเนื้ อสัตว์ ผักสด ข้าวสารอาหารแห้ง และเครื่องปรุงต่าง ๆ เก็บตุนไว้ หรือซื้ อติดครัวไว้เพื่อใช้ในการประกอบอาหาร ส่วน อาหารประเภทผลไม้สด และอาหารแช่แข็ง จะไม่ซื้อมาเก็บเอาไว้เป็ นระยะเวลานาน จะซื้ อแค่ให้เพียงพอ สาหรับการบริโภคในแต่ละครั้ง

อาหารแช่แข็ง

24%

อาหารสาเร็จรูป

38%

อาหารแห้ง

75%

ผลไม้สด

87%

เครื่องปรุง

92%

ข้าวสาร

92%

ผักสด

93%

เนื้ อสัตว์

96% 0%

20%

40%

60%

80%

100%

โดยพบว่ากลุ่มตัวอย่างจะซื้ อผักสดทุกวัน หรือเกือบทุกวัน คิดเป็ นสัดส่วนมากที่สุดร้อยละ 55 ส่วนเนื้ อสัตว์ และผลไม้ ส่วนใหญ่จะมีความถี่ในการซื้ อสัปดาห์ละครั้งหรือสองครั้ง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 59 และ 56 ตามลาดับ โดยกลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 90 จะนิ ยมซื้ อสินค้าจาพวกผัก ผลไม้ และเนื้ อสัตว์ที่ ตลาดสด เนื่ องจากใกล้บา้ น สะดวกในการเดินทาง และราคาถูก 11


อาหารแช่แข็ง

5.87%

อาหารสาเร็จรูป

24.21%

9.05%

21.03%

อาหารแห้ง เครื่องปรุง

8.56% 8.07% 16.63%

50.61% 9.05%

27.14%

6.85 %

ข้าวสาร

48.90%

27.38%

13.94%

32.52 %

เนื้ อสัตว์

32.52%

ผักสด 10%

20%

6.60%

44.01%

12.71

55.50%

30%

ทุกวัน/เกือบทุกวัน ทุกเดือน (เดือนละครั้งสองครั้ง) ทุก 6 เดือน หรือนานกว่า

7.09% 10.76%

58.68% 55.01%

0%

12.22%

58.68%

16.63%

ผลไม้สด

41.08%

6.11% 41.08%

40%

50%

60%

70%

80%

90%

100%

ทุกสัปดาห์ (สัปดาห์ละครั้งสองครั้ง) ทุก 3 เดือน ไม่เคย/แทบจะไม่เคย

ความถี่ในการซื้ ออาหารประเภทต่างๆ สาหรับจาพวกอาหารแห้ง ข้าวสาร และเครื่องปรุงต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างจะมีความถี่ในการซื้ อประมาณเดือน ละครั้ง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 59 และส่วนใหญ่จะซื้ อที่รา้ นขายของชาใกล้บา้ น คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 46 โดยให้เหตุ ผลว่ามีความคุ น้ เคยระหว่างคนซื้ อและคนขาย สามารถต่อราคาได้ และบางครั้งยังช่วยสร้าง ความสัม พัน ธ์ใ นชุ ม ชนอี ก ด้ว ย ส่ ว นถ้า หากเป็ นเครื่ อ งปรุ ง ต่ า ง ๆ ส่ ว นใหญ่ จ ะซื้ อในซุ ป เปอร์ม าร์เ ก็ ต เนื่ องจากสิ นค้าและราคาที่ ไ ด้มาตรฐาน มัน่ ใจในคุ ณภาพ มักจะซื้ อสินค้านาเข้า โดยเฉพาะสิ นค้าจาก ประเทศไทย ที่เชื่อถือได้วา่ เป็ นสินค้าที่มีคุณภาพ และจะซื้ อเดือนละครั้ง

12


แผงขายสินค้าในตลาดสด นครเวียงจันทน์ (1)

แผงขายสินค้าในตลาดสด นครเวียงจันทน์ (2)

13


แต่อย่างไรก็ตาม จะพบว่า อาหารแบบพร้อมรับประทาน (Ready-to-eat) และอาหารแช่แข็งจะยังไม่เป็ นที่ รูจ้ กั และเป็ นที่นิยมในกลุ่มตัวอย่างชาวลาวมากเท่าใดนัก ซึ่งสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างชาวลาวที่ซื้ออาหาร ประเภทดังกล่าวมารับประทานคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 38 และ 24 ตามลาดับ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ซื้ออาหาร เหล่านี้ จะซื้ อตามซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ เนื่ องจากมีสินค้าที่ตรงตามความต้องการ หลากหลาย และ สะดวกในการซื้ ออาหารประเภทดังกล่าวมากกว่าที่อื่น

ลักษณะตูเ้ ย็น และอาหารที่เก็บในตูเ้ ย็น ส่วนปริมาณหรือจานวนของสินค้าที่ซื้อแต่ละครั้งของชาวลาว กลุ่มตัวอย่างผูม้ ีรายได้ปานกลาง – ตา่ และ กลุ่มตัวอย่างผูม้ ีรายได้ปานกลาง มักจะซื้ อให้เพียงพอต่อการใช้ในแต่ละครั้ง หรือประมาณ 1 – 2 ชิ้ นต่อ ครั้ง ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ปานกลาง – สูง และกลุ่มตัวอย่างรายได้สงู จะนิ ยมซื้ อสินค้าเผื่อบริโภคบ้าง เป็ นบางส่วน หรือประมาณ 3 – 5 ชิ้ นต่อครั้ง โดยจากการลงสารวจพื้ นที่ พบว่า แม้ชาวลาวส่วนใหญ่จะยังคุน้ เคยกับการซื้ อสินค้าตามร้านขายของชาอยู่ก็ ตาม แต่ บางส่วนได้เริ่ มปรับตัวต่อการเข้ามาของร้านค้าปลีกมากขึ้ น ปรับเปลี่ย นพฤติ ก รรมสู่ความเป็ น Modern Trade มากขึ้ น ทั้งพฤติกรรมการเลือกสินค้า การเปรียบเทียบราคาสินค้า เนื่ องจากในร้านค้าปลีก นั้นมีสินค้าที่หลากหลายมากกว่าร้านขายของชา ซึ่งจะเห็นได้ชดั เจนจากการเปลี่ยนแปลงของตลาดเช้า ที่ใน อดีตนั้นจะเปิ ดเฉพาะช่วงเช้า – ช่วงสาย แต่ในปั จจุบนั นั้นเปลี่ยนชื่อเป็ น Talat Sao Mall และเปิ ดขายทั้งวัน สินค้ามีความหลากหลายมากขึ้ น ซึ่งทาให้ผูค้ นได้รบั ความสะดวกสบายมากขึ้ น

14


บรรยากาศของ Talat Sao Mall (ตลาดเช้ามอลล์) สาหรับการปลูก ผัก และเลี้ ยงสัตว์เพื่ อการบริ โ ภคในครัวเรื อนของชาวลาว กลุ่มตัวอย่างคิ ดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 40 จะปลูกผักที่บา้ นเพื่อรับประทานเองในครัวเรือน กลุ่มตัวอย่างสัดส่วนร้อยละ 12 จะเลี้ ยงสัตว์ เพื่อการบริโภค และกลุ่มตัวอย่างสัดส่วนร้อยละ 5 จะปลูกข้าวสาหรับการบริโภคเช่นกัน ส่วนกลุ่มตัวอย่าง สัดส่วนร้อยละ 39 นั้น ไม่ได้ปลูกพืชหรือเลี้ ยงสัตว์เพื่อการบริโภคในครัวเรือนเลย

15


เมื่อสอบถามถึงปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างใช้ในการตัดสินใจซื้ อสินค้า พบว่าปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญ มากที่สุดคือ สินค้าที่มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพสินค้า เช่น ISO, HACCP หรือเครื่องหมายฮาลาล เป็ นต้น โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.27 ปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญรองลงมาคือ สินค้าที่ดีต่อสุขภาพ และเป็ น สิ น ค้า ออร์แ กนิ ค มีค่ าเฉลี่ ย เท่ ากับ 4.18 และสิ น ค้าที่ มีต ราสิ นค้าเป็ นที่ รูจ้ ัก มี ค่า เฉลี่ ย เท่ า กับ 4.14 ตามลาดับ ส่วนปั จจัยที่ไม่ค่อยให้ความสาคัญมากนักหรือไม่ได้นามาพิจารณาในการตัดสินใจซื้ อสินค้าเท่าใดนัก ได้แก่ สินค้านาเข้าจากต่างประเทศ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.33 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด เนื่ องจากสินค้าอุปโภคบริโภค ในลาวส่วนใหญ่แล้วเป็ นสินค้านาเข้าจากต่างประเทศ รองลงมาคือการโฆษณาของสินค้าตามที่ต่าง ๆ เช่น ป้ายบิลบอร์ด โทรทัศน์ วิทยุ หรือหนังสือพิมพ์ เป็ นต้น มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.57 และสินค้าที่มีของแถมให้ มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.69 ตามลาดับ 3.33

สินค้านาเข้า

3.57

โฆษณาตามป้ายบิลบอร์ด โทรทัศน์ วิทยุ ของแถม

3.69

สีสนั

3.73 3.83

สินค้าลดราคา

3.94

วางขายในร้านที่น่าเชื่อถือ หีบห่อที่ดีและสวยงาม

4.09

ราคา

4.11

ฉลากที่มีขอ้ มูลครบถ้วน

4.13

แบรนด์

4.14

ดีต่อสุขภาพ ออร์แกนิ ค

4.18 4.27

เครื่องหมายรับรองคุณภาพ 0

1

2

3

4

5

แสดงค่าเฉลี่ยปั จจัยในการตัดสินใจซื้ อสินค้าของผูบ้ ริโภคชาวลาว ส่วนเรื่องของรสชาติ อาหารนั้ น กลุ่มตัวอย่างชาวลาวส่วนใหญ่ จะชื่ นชอบอาหารรสเผ็ ด โดยพบว่า กลุ่ม ตัวอย่างที่เลือกระดับความเผ็ ดในระดับ 10 นั้นคิดเป็ นร้อยละ 30 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด โดยเฉพาะใน กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 18 – 29 ปี จะชื่นชอบอาหารรสเผ็ ดในสัดส่วนที่สูงที่สุด สาหรับรสหวานนั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะให้คะแนนอยูใ่ นระดับปานกลางมากที่สุด คือ 5 – 6 และรสเปรี้ ยวนั้นกลุ่มตัวอย่าง 16


ส่ ว นใหญ่ จ ะให้ค ะแนนอยู่ ใ นระดับ 10 และระดับ 5 คิ ด เป็ นร้อ ยละ 22 และร้อ ยละ 21 ตามล าดับ นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างชาวลาวส่วนใหญ่จะไม่ค่อยชอบรสเค็มและรสขมมากนัก ซึ่งกลุ่มตัวอย่างเลือกระดับ ของรสเข็มและรสขมที่ระดับ 1 คิดเป็ นร้อยละ 39 และ 40 ตามลาดับ จากการวิจัยเชิงปริ มาณพบว่า รสชาติ อาหารของลาวจะใกล้เคี ยงกับรสชาติ อาหารของไทย โดยเฉพาะ อาหารอี ส าน รวมถึ ง ลัก ษณะของการประกอบอาหารที่ มี ค วามใกล้เ คี ย งกั น เช่ น ส้ม ตาใส่ ป ลาร้าเป็ น ส่วนประกอบหลัก รสเผ็ด โดยจะแตกต่างกันเพียงเครื่องเคียงบางอย่างเท่านั้น เป็ นต้น ส่ ว นอาหารที่ ก ลุ่ ม ตัว อย่า งชาวลาวไม่ นิ ย มรับ ประทานมากที่ สุ ด คื อ หอย คิ ด เป็ นสัด ส่ ว นร้อ ยละ 22 รองลงมาคือ เนื้ อวัวและปู คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 15 และกุง้ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 14 ตามลาดับ ซึ่งหาก พิ จ ารณาแล้ว จะพบว่า มี ความสอดคล้องกับ สภาพภูมิ ประเทศของลาว ที่ ไ ม่มีพื้ นที่ ติด ทะเล ท าให้ก าร รับประทานอาหารทะเลนั้ น ยากมากขึ้ น ทั้งความสดของอาหาร และราคาที่ อยู่ในระดับ สูงกว่าอาหาร ประเภทอื่น ๆ อีกด้วย 95%

ผลไม้ 5% ผัก

6%

94%

ปลา

8%

92%

ไก่

9%

91%

เป็ ด

10%

90%

หมู

12%

88%

ปลาหมึก

12%

88%

กุง้

14%

86%

ปู

15%

85%

เนื้ อวัว

15%

85%

หอย

22% 0%

78% 20%

40%

ไม่รบั ประทาน

60%

80%

100%

รับประทานได้

17


พฤติกรรมการรับประทานอาหารนอกบ้าน จากการสารวจพบว่ากลุ่มตัวอย่างชาวลาวส่วนใหญ่มกั จะทาอาหารรับประทานอาหารเองที่บา้ น โดยเฉพาะ มื้ อเช้าและมื้ อเย็น โดยมื้ อเช้านั้นกลุ่มตัวอย่างจะทาอาหารรับประทานเองที่บา้ นคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 75 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด และมื้ อเย็น คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 85 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สาหรับอาหารมื้ อ กลางวันนั้ นส่วนใหญ่จะรับประทานนอกบ้าน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 53 และกลับมารับประทานอาหาร กลางวันที่ บา้ น คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 29 ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่นาอาหารจากที่บา้ นไปรับประทานในตอน กลางวัน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 8 เท่านั้ น อย่างไรก็ตาม การรับประทานอาหารกลางวันนอกบ้านนั้ นมี แนวโน้มที่จะเติบโตเพิ่มขึ้ น เนื่ องจากผูค้ นที่ทางานนอกบ้านมากขึ้ น ทาให้ไม่สะดวกในการเดินทางกลับ บ้านไปรับประทานอาหารเหมือนในอดีต ประกอบกับความหลากหลายของอาหารที่มีให้เลือกมากขึ้ น และ ยัง เห็ น ว่ า การรับ ประทานอาหารกลางวัน กับ เพื่ อ ร่ ว มงาน หรื อ เพื่ อ นที่ ม หาวิ ท ยาลัย นั้ น จะช่ ว ยสร้า ง ความสัมพันธ์ที่ดีอีกด้วย

มือเย็น

85%

มือกลางวัน

29%

9%

มือเช้า

8%

8%

53%

95%

ท้าทานเอง

ซือกลับบ้าน

4%

ห่อมาจากบ้าน

10%

ไปทานนอกบ้าน

พฤติกรรมการรับประทานอาหารในแต่ละมื้ อ กลุ่มตัวอย่างชาวลาวเกือบทุกคน รับประทานอาหารเช้าก่อนไปเรียนหรือไปทางาน คิดเป็ นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 97 ซึ่ งหมายความว่ายังมีกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ทานอาหารเพียงประมาณร้อยละ 3 ส่วนอาหารเช้าที่ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มัก จะรับประทาน คื อ อาหารจานเดี ยว คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 30รองลงมา คื อ อาหารเช้าจาพวก ข้าวต้ม ซุปต่าง ๆ สัดส่วนร้อยละ 20 ชา กาแฟ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 14 และนม ร้อย ละ 13 ตามลาดับ นอกจากนี้ ยังพบว่าประมาณร้อยละ 14 นิ ยมรับประทานอาหารจาพวกขนมปั ง แฮม ไส้ กรอก และร้อยละ 2 ทานอาหารประเภทธัญพืชหรือซีเรียล

18


ข้าวแกงทัว่ ไป 6%

ไม่ทาน 3%

ซีเรียล 2%

ขนมปั ง/บัน/บาแก๊ต 7% แซนวิช แฮม/ไส้กรอก 7%

อาหารจานเดียว 28%

อาหารเช้า

นมสด 13% ชา/กาแฟ 14%

ข้าวต้ม / โจ๊ก / ซุป 20%

สาหรับความถี่ ในการออกไปทานอาหารนอกบ้าน กลุ่มตัว อย่างที่ ออกไปรับ ประทานอาหารนอกบ้า น ประมาณสัปดาห์ละครั้ง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 29 รองลงมาคือ ออกไปทานเดื อนละครั้งคิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 28 และออกไปทานทุกวันหรือเกือบทุกวัน คิดเป็ นร้อยละ 21 ตามลาดับซึ่งจะไปรับประทานตาม ร้านอาหารที่ มีอยู่ทัว่ ไปถึ งร้อยละ 87 และส่วนใหญ่จะไปกับครอบครัวและเพื่อน ๆ โดยอาหารที่ ออกไป รับประทานนอกบ้านนั้ นส่วนใหญ่จะเป็ นอาหารลาว โดยจะรับประทานทุ กวัน หรือเกือบทุ กวัน คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 83 รองลงมาคืออาหารไทย ซึ่งกลุ่มตัวอย่างจะออกไปรับประทานนอกบ้าน 2-3 วันต่อ สัปดาห์ มีสัดส่วนร้อยละ 35 หากพิจารณาแล้วจะพบว่าในประเทศลาวนั้ น อาหารลาว และอาหารไทย สามารถหารับประทานได้ตามร้านทัว่ ไปในประเทศลาว

19


ไม่เคย/แทบจะไม่ เคย 3% ทุกวัน/เกือบทุกวัน 21%

มากกว่าเดือน 19%

ความถี่ในการ รับประทานอาหารนอกบ้าน

ทุกเดือน 28%

ทุกสัปดาห์ 29%

สาหรับอาหารญี่ปุ่น และอาหารเกาหลีน้ันกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะตอบว่าไม่เคยรับประทานเลย หรือเคย รับประทานเพียงครั้งเดี ยว แต่สาหรับกลุ่มตัวอย่างอายุ ระหว่าง 18 – 29 ปี นั้ น พบว่า มีความถี่ ในการ รับประทานอาหารญี่ปุ่น และอาหารเกาหลีประมาณเดือนละครั้ง ซึ่งจะนิ ยมไปรับ ประทานตามร้านอาหารที่ ขายอาหารญี่ปุ่น และอาหารเกาหลีที่มีอยูท่ วั ่ ไป และมีแนวโน้มจะเพิ่มจานวนมากขึ้ นในประเทศลาว ส่วนอาหารประเภทชาบู สุกี้ยากี้ และบาร์บีคิวนั้น ในปั จจุบนั พบว่ากลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 18 – 22 ปี และอายุระหว่าง 22 – 29 ปี มีความถี่ในการรับประทานประมาณเดือนละครั้ง โดยจะออกไปรับประทาน ตามร้านชาบู ร้านสุ กี้ ยากี้ ซึ่ งแนวโน้มของอาหารประเภทนี้ คาดว่าจะขยายตัวขึ้ นเพิ่ มเรื่ อย ๆ จากการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ตามสมัยนิ ยมมากขึ้ น อย่างไรก็ตาม จากการวิจยั เชิงปริมาณ พบว่า ประชากรชาวลาวมีแนวโน้มที่จะออกไปรับประทานอาหาร นอกบ้า นมากขึ้ น โดยเฉพาะกลุ่ ม คนรุ่ น ใหม่ ที่ จ ะชื่ น ชอบความแปลกใหม่ ใ นรสชาติ เปิ ดรับ อาหาร ต่างประเทศ และชอบรับประทานอาหารตามสมัยนิ ยมมากขึ้ น โดยเฉพาะอาหารปิ้ งย่าง หมูกระทะ อาหาร ญี่ปุ่น อาหารเกาหลี และอาหารฟาสต์ฟู๊ด เป็ นต้น โดยเห็นได้จากจานวนร้านอาหารที่เพิ่มมากขึ้ นเรื่อย ๆ ทั้งร้านอาหารท้องถิ่นเอง และร้านอาหารฟาสต์ฟดู๊ ร้านอาหารต่างประเทศอีกด้วย

20


ชาวลาวออกมารับประทานอาหารนอกบ้านที่ Center Point ในตอนกลางคืน (1)

ชาวลาวออกมารับประทานอาหารนอกบ้านที่ Center Point ในตอนกลางคืน (2) จากการสอบถามปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างใช้ในการตัดสินใจเลือกร้านอาหารที่ สาคัญที่ สุด 3 อันดับแรก คือ เรื่องของรสชาติของอาหาร มีสดั ส่วนมากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ 94 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด รองลงมา คือ เรื่องความสะอาดของอาหารและร้านอาหาร คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 68 และการให้บริการของพนักงานใน ร้าน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 44 สาหรับการรับรูห้ รือแหล่งข้อมูลข่าวสารในการเลือกร้านอาหารนั้น พบว่า เพื่อน มีความสาคัญมากที่สุด โดยกลุ่มตัวอย่างชาวลาวส่วนใหญ่น้ันจะรูจ้ กั หรือเลือกร้านอาหารจากการ แนะนาของเพื่อน หรือคนรูจ้ กั คิดเป็ นสัดส่วนกว่าร้อยละ 45 รองลงมาคือ รูจ้ ักและเห็นจากป้ายโฆษณา ต่างๆ ร้อยละ 16 และเห็นโฆษณาในโทรทัศน์ และวิทยุ คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 15

21


หนังสือพิมพ์ 4%

นิ ตยสาร 6% ผ่านหน้าร้าน 7% อินเตอร์เน็ ต 7%

เพื่อน/คนรูจ้ กั แนะนา 45%

แหล่งข้อมูลในการ เลือกร้านอาหาร โทรทัศน์ วิทยุ 15%

ป้ายโฆษณา 16% เมื่อกล่าวถึ งการใช้บริ ก ารส่งอาหารถึ งที่ (Delivery) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ จ ะยังไม่เคยสัง่ อาหารมา รับประทานที่บา้ น ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 49 ส่วนอีกร้อยละ 44 นั้นเคยสัง่ อาหารมารับประทานที่บา้ น บ้าง แต่นาน ๆ ครั้ง และอีกร้อยละ 8 จะสัง่ อาหารมารับประทานที่ บา้ นบ่อยครั้ง ส่วนการสัง่ อาหารมา รับประทานที่ทางาน ส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 47 จะเคยสัง่ มารับประทาน แต่นาน ๆ ครั้งเช่นกัน และร้อยละ 43 จะไม่เคยสัง่ อาหารมารับประทานที่ ที่ท างานเลย ส่วนร้อยละ10 จะสัง่ อาหารมารับประทานที่ ที่ ทางาน บ่อยครั้ง

ที่ทางาน

10.0%

46.9%

ที่บา้ น 7.8%

0%

43.0%

43.5%

20% สัง่ เป็ นประจา

48.7%

40%

60%

สัง่ บ้างเป็ นครั้งคราว

80%

100%

ไม่เคยสัง่

22


แนวโน้มการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ พฤติกรรมการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ/อาหารปลอดสารพิษ ของชาวลาว พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่จะรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ/อาหารปลอดสารพิษประมาณสัปดาห์ละครั้ง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 40 รองลงมาคือรับประทานทุกวันหรือเกือบทุกวัน และรับประทานประมาณเดือนละครั้ง ตามลาดั บ โดย พบว่าเพศหญิ งจะมีความถี่ ในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพมากกว่าเพศชาย และกลุ่มตัวอย่างอายุ ระหว่าง 50 – 60 ปี จะรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพบ่อยที่สุด คือ รับประทานทุกวันหรือเกือบทุกวัน ซึ่ง จากการวิจยั เชิงคุณภาพ พบว่า สาหรับชาวลาวแล้ว จะเห็นว่าอาหารลาวนั้นเป็ นอาหารเพื่อสุขภาพ หรือดี ต่อสุขภาพอยู่แล้ว เนื่ องจากมีไขมันอยู่ไม่มาก มีผักเป็ นส่วนประกอบหลัก เป็ นต้น ทั้ งยังพบว่ากลุ่มคนรุ่น ใหม่ และกลุ่มคนที่มีรายได้สงู จะมีความสนใจในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพมากขึ้ น นอกจากนี้ หากแบ่งพฤติ กรรมการรับประทานอาหารเพื่อสุ ขภาพตามระดับรายได้ของกลุ่มตัวอย่างแล้ว พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ มีระดับรายได้สูงจะมีความถี่ ในการรับประทานอาหารเพื่อสุ ขภาพสูงที่ สุด คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 75 รองลงมาคือกลุ่มตัวอย่างที่ มีระดับรายได้ระดับปานกลาง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 72 และกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ปานกลาง – ตา่ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 71 เมื่อสอบถามกลุ่มตัวอย่างที่ไม่รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ พบว่า ส่วนใหญ่จะบอกว่าเกิดจากความไม่ สะดวกในการเสาะหาอาหารเพื่อสุ ขภาพมารับประทาน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 54 รองลงมาคือ เห็นว่า ราคาของอาหารเพื่อสุ ขภาพแพงกว่าอาหารทัว่ ไป คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 25 และรสชาติของอาหารเพื่อ สุขภาพที่ไม่ค่อยถูกปาก คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 11 ตามลาดับ ไม่จาเป็ น 10% รสชาติไม่ดี 11%

เหตุผลที่ไม่ทาน อาหารเพื่อสุขภาพ ราคาแพง 25%

ไม่สะดวก/ ยุง่ ยาก 54%

ส่วนอาหารที่กลุ่มตัวอย่างมักจะหลีกเลี่ยงในการรับประทาน ได้แก่ อาหารประเภทมัน ๆ อาหารทอด ของ หวาน อาหารที่ใส่ผงชูรส ของหมักดอง และอาหารแบบพร้อมรับประทาน (Ready-to-eat) ส่วนอาหาร 23


ประเภทฟาสต์ฟดนั ู๊ ้ น พบว่ากลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 18 – 22 ปี จะมีความถี่ในการรับประทานมากที่สุด ส่วนกลุ่มอายุระหว่าง 23 – 29 ปี จะมีสดั ส่วนใกล้เคียงกันระหว่างรับประทานบ่อย กับพยายามหลีกเลี่ยงที่ จะไม่รบั ประทาน แต่อย่างไรก็ตาม แม้กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะพยายามที่จะหลีกเลี่ยงอาหารที่เป็ นอันตราย ต่อสุ ขภาพ แต่ สาหรับอาหารประเภทปิ้ งย่างแล้ว ส่วนใหญ่ก ลับรับประทานบ่อย โดยสัดส่วนของผู ้ที่ รับประทานเป็ นประจาอยูท่ ี่รอ้ ยละ 78 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด มีกลุ่มตัวอย่างพยายามจะหลีกเลี่ยงร้อยละ 22 และมีผทู้ ี่ไม่รบั ประทานเลย เพียงร้อยละ 1 เท่านั้น

อาหารประเภทหมักดอง ณ ตลาดสดแห่งหนึ่งในเวียงจันทน์

ขนมหวาน ของขบเคี้ ยวที่วางขายในตลาดสดกรุงเวียงจันทร์ 24


นอกจากนี้ ยังเป็ นที่ทราบกันดีว่าในลาวนั้นมีการบริโภคผงชูรส หรือแป้งนัว ในปริมาณมาก แต่จากการ สารวจนั้นกลับพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 68 จะพยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่ผงชูรส และกลุ่ม ตัวอย่างร้อยละ 9 จะไม่รับประทานอาหารที่ ใส่ผงชูรสเลย ซึ่ งสอดคล้องกับการวิจัยเชิงคุ ณภาพ ที่พบว่า ทัศนคติในการรับประทานอาหารของชาวลาวนั้นเปลี่ยนแปลงไป มีความรูค้ วามเข้าใจในการรับประทาน อาหารมากขึ้ น คานึ งถึงสุขภาพ สุขอนามัย และความปลอดภัยของอาหารมากขึ้ น

อาหารพร้อมรับประทาน

14%

อาหารฟาสต์ฟดู๊

15%

อาหารหมักดอง อาหารที่ใส่ผงชูรส

54% 44%

42%

20%

60%

9%

อาหารปิ้ งย่าง

32%

20%

68% 22%

23% 78%

ของหวาน 3%

51%

46%

ของทอด 1%

54%

44%

อาหารมัน

5%

74%

งดรับประทาน

พยายามหลีกเลี่ยง

21%

รับประทานเป็ นประจา

พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ

ส่ว นวัต ถุ ประสงค์ใ นการรับ ประทานอาหารเพื่ อ สุ ขภาพของกลุ่ ม ตัว อย่างชาวลาว ส่ ว นใหญ่ จ ะบอกว่า รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ เพื่อจะให้ตนเองมีสุขภาพดี คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 67 โดยเฉพาะในกลุ่ม ตัวอย่างเพศหญิง และกลุ่มที่มีอายุมากกว่า 60 ปี จะคานึ งถึงเหตุผลนี้ เป็ นหลัก รองลงมาคือเพื่อให้ตนเอง ไม่เจ็บป่ วย คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 17 และเพื่อให้ตนเองดูดี มีภาพลักษณ์ที่ดี มีสดั ส่วนคิดเป็ นร้อยละ 7 ตามลาดับ แต่หากจาแนกปั จจัยในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ ตามเพศของกลุ่มตัวอย่างจะพบว่า กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงให้ความสาคัญกับการรับประทานอาหารเพื่อสุ ขภาพ เนื่ องจากเหตุผลด้านสุ ขภาพ รสชาติ และความเป็ นที่นิยม มากกว่ากลุ่มตัวอย่างเพศชาย ส่วนกลุ่มตัวอย่างเพศชาย จะให้ความสาคัญกับ 25


การป้องกันการเจ็บป่ วย มากกว่ากลุ่มตัวอย่างเพศหญิงเล็กน้อย และนอกจากนั้นกลุ่ มตัวอย่างเพศชายยัง รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพน้อยกว่ากลุ่มตัวอย่างเพศหญิงด้วย คิดเป็ นสัดส่วนประมาณ 60 ต่อ 40

ป้องกันการเจ็บป่ วย 16.6%

เพื่อรูปร่างที่ดี 6.8% ไม่รบั ประทาน 5.6%

เหตุผลที่รบั ประทาน อาหารเพื่อสุขภาพ

รสชาติดี 1.5% อยากทดลอง 1.5%

เพื่อให้ดูสุขภาพ แข็งแรง 67.0%

กาลังเป็ นที่นิยม 1.0%

โดยอาหารเพื่ อสุ ขภาพที่ กลุ่มตัวอย่างรับประทานส่วนใหญ่คืออาหารออร์แกนิ ค และผักต่ าง ๆ คิ ดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 84 รองลงมาคือวิตามิน และอาหารเสริม คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 46 และเครื่องดื่มสมุนไพร เพื่อสุขภาพ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 37 ตามลาดับ ซึ่งระดับราคาที่ยอมจ่ายเพิ่มเพื่อซื้ ออาหารเพื่อสุขภาพ รับประทานนั้น ส่วนใหญ่จะยินดีที่จะจ่ายเพิ่มจากราคาอาหารทัว่ ไป 5% คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 40 และไม่ ยินดีที่จะจ่ายเพิ่มจากราคาอาหารทัว่ ๆ ไป คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 23 และยอมจ่ายเพิ่ม 10% จากราคา อาหารทัว่ ไป คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 20 ตามลาดับ

26


พฤติกรรมการดื่มเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ของชาวลาว กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในบางโอกาส ซึ่งมีสดั ส่วนคิดเป็ นร้อยละ 63 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ส่วนร้อยละ 28 จะไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เลย และมีกลุ่มตัวอย่างเพียงร้อยละ 9 เท่านั้นที่ตอบว่าดื่มเครื่องดื่ มแอลกอฮอล์เป็ นประจา ซึ่งผูท้ ี่ดื่มอยู่เป็ น ประจาส่วนใหญ่จะเป็ นกลุ่มอายุระหว่าง 23 – 29 ปี และ 30 – 39 ปี ตามลาดับ โดยเหตุผลหลักของผูท้ ี่ ไม่ดื่มแอลกอฮอล์น้ัน คือ ไม่ดีต่อสุขภาพ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 65 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด โดยเฉพาะ เพศหญิง จะคานึ งถึงสาเหตุนี้ มากถึงร้อยละ 66 ของผูท้ ี่ให้เหตุผลว่าไม่ดีต่อสุขภาพ รองลงมาคือ ไม่ชอบ รสชาติของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 22 และเห็นว่ายังไม่เหมาะสมกับอายุของตนเอง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 4 ตามลาดับ

ภาพรวม

9%

63%

เพศหญิง 4%

เพศชาย

28%

53%

15%

43%

76%

ดื่มเป็ นประจา

ดื่มบ้างบางโอกาส

9%

ไม่ดื่มเลย

พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แยกตามเพศ

27


พฤติกรรมการดื่มเครือ่ งดื่มประเภทต่าง ๆ ส าหรับ เครื่ อ งดื่ ม ที่ ก ลุ่ ม ตัว อย่า งดื่ ม อยู่เ ป็ นประจ า ได้แ ก่ นมสด นมถัว่ เหลื อ ง น้ า ผั ก ผลไม้ น้ า อัด ลม เครื่องดื่มไม่อดั ลม ซึ่งจะดื่มทุกวัน หรือเกือบทุ กวัน โดยมักจะหาซื้ อเครื่องดื่ มเหล่านี้ ตามร้านขายของชา หรือร้านโชห่วยทัว่ ไป ส่วนเครื่องดื่มประเภทกาแฟสด และชาต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบว่ามีความถี่ ในการดื่ มประมาณสัปดาห์ละครั้งหรือสองครั้ง ซึ่ งในลาวนั้นพบว่าเครื่องดื่มประเภทกาแฟจะได้รบั ความ นิ ยมมากกว่าชา โดยกลุ่มที่มกั จะเครื่องดื่มประเภทนี้ อยู่เป็ นประจา คือกลุ่มอายุระหว่าง 40 - 49 ปี และ 50 – 60 ปี และกลุ่มที่มีรายได้ปานกลาง และกลุ่มรายได้สูง ซึ่งจะซื้ อตามร้านกาแฟทัว่ ไป ส่วนเครื่องดื่ม ประเภท Functional Drink, Healthy and Beauty Drink และเครื่องดื่มสมุนไพรต่าง ๆ นั้น ขณะนี้ ยังไม่เป็ นที่ นิ ยมของชาวลาวมากนัก ส่วนใหญ่จะเป็ นผูม้ ีรายได้สงู ที่นิยมดื่ม โดยจะหาซื้ อตามร้านซุปเปอร์มาร์เก็ต หรือ ศูนย์การค้าต่าง ๆ สุราพื้ นบ้าน 80.0% เหล้าขาว วอดก้า 73.1% บรัน่ ดี วิสกี้ 64.3% ไวน์ / แชมเปญ 4.4% 52.6% เบียร์ต่างประเทศ 7.3% 15.6% 51.6% เครื่องดื่มบารุงกาลัง 11.0% 14.9% 57.7% เบียร์ในประเทศ 5.9% 20.5% 24.7% 27.6% เครื่องดื่มสมุนไพร 9.3% 17.4% 18.1% 35.9% ชาพร้อมดื่ม 11.5% 23.7% 20.0% 35.0% น้ าชา 11.5% 18.3% 19.6% 40.1% กาแฟชง 11.7% 17.4% 15.9% 43.8% เครื่องดื่มสุขภาพ-ความงาม 17.1% 21.5% 21.0% 25.7% กาแฟพร้อมดื่ม 18.3% 24.7% 20.8% 24.7% น้ าอัดลม 20.8% 31.5% 21.5% 13.9% นมถัว่ เหลือง 21.8% 38.9% 18.1% 12.0% น้ าหวานรสต่างๆ 23.5% 21.3% 19.6% 24.2% น้ าผัก/น้ าผลไม้ 27.9% 38.6% 20.3% 7.8% นมสด 39.6% 41.6% 11.5% 0%

20% ทุกวัน

40% ทุกสัปดาห์

60% ทุกเดือน

80%

100% ไม่เคย

28


สาหรับเครื่องดื่ มจ าพวกวอดก้า บรัน่ ดี วิสกี้ ไวน์ แชมเปญ และเบี ย ร์นาเข้าจากต่ างประเทศ นั้ น กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่จะไม่ได้ดื่มบ่อยนัก โดยกลุ่มที่ดื่มเครื่องดื่ มประเภทนี้ อยู่เป็ นประจา คือ กลุ่มที่มีรายได้สูง เป็ นหลัก โดยจะนิ ยมดื่มตามบาร์หรือ Nightclub

ร้านชานมไข่มุก นครเวียงจันทน์

พฤติกรรมการดื่มชา-กาแฟ และขนมหวาน กลุ่มตัวอย่างชาวลาวส่วนมากจะชอบดื่ มกาแฟมากกว่าดื่มชา โดยผูท้ ี่ดื่มวันละครั้ง มีสดั ส่วนมากที่สุดคิด เป็ นร้อยละ 25 และดื่มหลายครั้งต่อวัน คิดเป็ นร้อยละ 11 โดยเฉพาะในกลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 18 – 22 ปี มีความถี่สงู ที่สุด ซึ่งส่วนใหญ่จะซื้ อในร้านกาแฟ และนากลับมาดื่มที่บา้ น และที่ทางาน

29


ขนมหวานของชาวลาวในตลาดสด

บรรยากาศร้านกาแฟสมัยใหม่แห่งหนึ่งในกรุงเวียงจันทน์ สาหรับอาหารประเภทขนม ของหวาน เบเกอรี่ และไอศครีม จะรับประทานประมาณ 3 – 4 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยเฉพาะในกลุ่มตัวอย่างอายุ 18 – 29 ปี ซึ่งจะซื้ อตามร้านสะดวกซื้ อ ร้านขายของชา รวมถึงตลาดสด และส่วนใหญ่จะนิ ยมนากลับมารับประทานที่บา้ น และที่ทางาน

30


ค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกับอาหาร เมื่อสอบถามถึงค่าใช้จ่ายในการซื้ ออาหารส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า โดยเฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในระดับ 2,000 – 4,000 บาท ส่วนรายจ่ายค่าอาหารโดยรวมของครอบครัวอยู่ที่ระดับ 4,000 – 6,000 บาทต่อ เดื อน โดยผูท้ ี่มีรายได้สูงก็จะมีค่าใช้จ่ายในการซื้ ออาหารสูงสอดคล้องกัน ซึ่ งจากการวิจัยเชิงปริมาณนั้ น พบว่า กลุ่มผู ้มีรายได้สูงมัก จะรับประทานอาหารประเภทเนื้ อสัตว์แ ละอาหารต่ างประเทศในคว ามถี่ ที่ มากกว่ากลุ่มผูม้ ีรายได้ตา่ ซึ่งมักจะรับประทานเฉพาะช่วงโอกาสที่สาคัญเป็ นส่วนใหญ่

31


Beauty and Skin care สาหรับการดูแลตนเองของกลุ่มตัวอย่างชาวลาว พบว่า ส่วนใหญ่จะดูแลตัวเองด้วยการทาโลชัน่ บารุงผิวและ การแต่งหน้า ร้อยละ 77 และ 41 ตามลาดับ ส่วนการทาเลเซอร์ ฉีดโบทอกซ์ และพบแพทย์ดา้ นความงาม นั้น จะมีอยู่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ส่วนรับประทานอาหารเพื่อเสริมความงามมีอยู่รอ้ ยละ 20 ซึ่งส่วนใหญ่จะ เป็ นเพศหญิง และกลุ่มผูม้ ีรายได้สูงเท่านั้น จากการศึกษาเกี่ยวกับทัศนคติดา้ นความสวยความงามพบว่า กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงมักจะดูแลตนเองและให้ความสาคัญเป็ นพิเศษกับการดูแลผิวตนเองให้ดูสวยงาม โดย การมีผิวพรรณที่สวยงามถือเป็ นสิ่งที่สาคัญที่สุดของกลุ่มตัวอย่างเพศหญิงชาวลาว คิดเป็ นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 60 ของกลุ่มตัวอย่างเพศหญิงทั้งหมด รองลงมา คือ การดูอ่อนกว่าวัย ส่วนการศัลยกรรมพลาสติก นั้นกลุ่มตัวอย่างกว่าครึ่งหนึ่ งเห็นว่ายังไม่ใช่สิ่งที่จาเป็ นมากนัก

การทาศัลยกรรมเสริมความงาม

59.2%

การใช้บริการคลินิกเสริมความงาม

16.1%

การใช้ผลิตภัณฑ์ดแู ลผิวพรรณที่ดีและมี ยีห่ อ้ เป็ นที่รจู้ กั

13.2%

5.9%

20.0%

13.9%

26.4%

16.6%

ดูหนุ่ มสาวอยูเ่ สมอ

25.9%

43.5%

การมีผิวสวย

30.1%

44.3%

0%

20% สาคัญน้อยที่สุด

40%

60% สาคัญมาก

80%

100%

สาคัญมากที่สุด

ความสาคัญเกี่ยวกับเรื่องความสวยความงามของกลุ่มตัวอย่างเพศหญิง สาหรับการเข้าใช้บริการด้านความงาม เช่น ร้านทาผม ร้านสปาและคลินิกเสริมความงามนั้น กลุ่มตัวอย่าง ชาวลาวมักจะไปใช้บริการร้านทาผมเฉลี่ยประมาณเดือนละ 1-2 ครั้ง โดยกลุ่มตัวอย่างเพศชายจะมีความถี่ ในการเข้าร้านตัดผมมากกว่ากลุ่มตัวอย่างเพศหญิง ส่วนใหญ่ทุกๆ 3 เดือนครั้ง ส่วนกลุ่มตัวอย่างเพศหญิง ส่วนใหญ่กว่า 1 ใน 3 จะเข้าร้านตัดผมทุกๆ 6 เดือน ซึ่งถือเป็ นความถี่เดียวกันกับการเข้า ร้านทาเล็บ คือ ประมาณ 6 เดือนครั้ง แต่ในส่วนของ สปา นวด หรือ คลินิกเสริมความงามส่วนใหญ่จะตอบว่ายังไม่เคยเข้า รับบริการ แต่คาดว่าจะแพร่หลายมากขึ้ นโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น และคนรุ่นใหม่ 32


หญิง

7.4%

25.2%

25.2%

ชาย 6.1%

0%

ทุกวัน

33.5%

73.2%

10%

20%

ทุกสัปดาห์

30%

40%

ทุกเดือน

14.5% 2.8%

50%

60%

ทุก 3 เดือน

70%

80%

ทุก 6 เดือน

90%

100%

ไม่เคย

ความถี่ในการเข้าใช้บริการร้านตัดผมของกลุ่มตัวอย่างชาวลาว

อย่างไรก็ตามจากการวิจยั เชิงคุณภาพจะเห็นได้ว่าค่านิ ยมด้านความงามเริ่มมีอิทธิพลมากขึ้ นต่อกลุ่มวัยรุ่น โดยเฉพาะเพศหญิง ที่เห็นว่าการมีผิวพรรณที่สวยงาม หน้าตาสดใสนั้น ถือเป็ นเรื่องสาคัญต่อการดาเนิ น ชีวิตในปั จจุบนั ทั้งในแง่ของการเป็ นส่วนช่วยเพิ่มความมัน่ ใจในการเรียน การทางาน และการดึงดูดเพศตรง ข้ามอีก ด้วย ประกอบกับอิ ทธิ พลของสื่อทั้งจากโทรทัศน์ ป้ายโฆษณา และอิ นเตอร์เน็ ต ที่ ถือว่าเข้าไปมี บทบาทสาคัญในการสร้างค่านิ ยมดังกล่าว จึงทาให้ในปั จจุบนั กลุ่มวัยรุ่น และกลุ่มคนรุ่นใหม่หนั มาให้ความ สนใจกับการแต่งตัว และผลิตภัณฑ์เสริมความงามมากขึ้ น

33


Fashion habits พฤติกรรมการซื้ อเสื้ อผ้า สินค้าแฟชัน่ ของกลุ่มตัวอย่างชาวลาว พบว่า ส่วนใหญ่เกือบครึ่งหนึ่ งมักจะซื้ อของ ตามตลาดนัด ไม่วา่ จะเป็ นเสื้ อผ้า รองเท้า กระเป๋า ซึ่งความถี่น้ันจะซื้ อทุก ๆ เดือน ถึงทุก ๆ 3 เดือน แต่ใน ส่วนของเครื่องประดับนั้นมักจะซื้ อตามร้านที่ขายเครื่องประดับโดยเฉพาะ และจะมีความถี่ในการซื้ อที่นาน กว่าเสื้ อผ้า กระเป๋าต่าง ๆ โดยจะซื้ อประมาณ 6 เดือนต่อครั้งหรือนานกว่านั้ น ซึ่งแหล่งข้อมูลของสินค้า เหล่านี้ ส่วนใหญ่จะได้มาจากรายการโทรทัศน์ หรือละคร เช่น ซื้ อตามดาราที่ตนเองชื่นชอบ หรือตามแฟชัน่ ที่เห็นจากโทรทัศน์ โดยเฉพาะช่องรายการของไทย คิดเป็ นสัดสัดส่วนกว่าร้อยละ 42 ของกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด รองลงมา คือ ซื้ อตามเพื่อน หรือความนิ ยม และอินเตอร์เน็ ต คิดเป็ นสัดส่ว นร้อยละ 17 เท่าๆ กัน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับข้อมูลด้านแฟชัน่ จากนิ ตยสาร ป้ายโฆษณา มีเพียงประมาณ ร้อยละ 5 และ 3 ตามลาดับ นิ ตยสาร 5%

ป้ายโฆษณา 3%

อื่นๆ 1%

ในร้านค้า/ใน ศูนย์การค้า 15%

แหล่งข้อมูล ด้านแฟชั ่น

โทรทัศน์ 42%

อินเตอร์เน็ ต 17%

เพื่อนๆ 17% แต่อย่างไรก็ตามเหตุ ผลที่กลุ่มตัวอย่างชาวลาวโดยส่วนใหญ่ซื้อสินค้าแฟชัน่ เหล่านี้ พบว่า เกิดจากความ จาเป็ นจะต้องใช้ และทดแทนชิ้ นเดิมที่แตกหักเสียหาย คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 24 ของกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด รองลงมาคื อซื้ อเพื่ อสะท้อนความเป็ นตัวตน และซื้ อตามกระแสแฟชัน่ หรื อตามความนิ ย มของ เพื่อนๆ ร้อยละ 21 และร้อยละ 16 ตามลาดับ

34


โปรโมชัน่ 7%

สะท้อนสถานภาพ ทางสังคม 5%

ความจาเป็ น 24%

ราคา 13%

ปั จจัยที่มีผลต่อ การซื้ อสินค้าแฟชั ่น ของชาวลาว แบรนด์และคุณภาพ 14%

สะท้อนความเป็ น ตัวตน 21% ความนิ ยม 16%

สาหรับการครอบครองสินค้าหรูหรา หรือสินค้าฟุ่มเฟื อยที่มีมลู ค่ามากกว่า 30,000 บาทนั้น กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 77 บอกว่าไม่มีไว้ในครอบครอง ร้อยละ 17 บอกว่ามีอยู่ 1-2 ชิ้ น และร้อยละ 6 มีต้งั แต่ 3 ชิ้ นขึ้ น ไป โดยผูท้ ี่ มีสินค้าฟุ่ มเฟื อยนั้ นส่วนใหญ่ จ ะเป็ นกลุ่มผู ้มีรายได้สูง ซึ่ งเหตุ ผลที่ ซื้อก็ เพราะต้องการแสดง สถานะในสังคม และชอบในการออกแบบและคุณภาพของสินค้า

35


Health and Medical พฤติกรรมด้านการรักษาพยาบาล พบว่า กลุ่มตัวอย่างชาวลาวส่วนใหญ่กว่าครึ่งหนึ่ งเมื่อเจ็บป่ วยเล็กน้อย มักจะซื้ อตามร้านขายยาใกล้บา้ นมามารับประทานเอง รองลงมาคือพบแพทย์ที่คลินิก และไปพบแพทย์ที่ โรงพยาบาลของรัฐ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 23 และ 14 ตามลาดับ

ไปพบแพทย์ ที๋ โรงพยาบาล 14%

ไปพบแพทย์ที่ คลินิก 23%

รักษาด้วย สมุนไพร/แผน โบราณ 3%

ปล่อยให้หายเอง 5%

การรักษา เมื่อเกิดความเจ็บป่ วย เล็กๆ น้อยๆ ซื้ อยาจากร้านขาย ยามาทานเอง 57%

และหากกลุ่มตัวอย่างมีอาการเจ็ บป่ วยในระดับมาก ถึ งขั้นต้องเข้ารับการรักษาตัวที่ โ รงพยาบาล กลุ่ม ตัวอย่างชาวลาว กว่าร้อยละ 75 มักจะไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลของรัฐ นอกจากนี้ ยังมีกว่าร้อยละ 10 ที่ มักไปเข้ารับการรักษาที่ คลินิก และโรงพยาบาลเอกชน และส่วนที่เหลืออีกไม่ตา่ กว่า ร้อยละ 5 ซึ่งส่วนใหญ่ เป็ นผูท้ ี่มีรายได้ค่อนข้างสูงยังมักจะไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลที่ทนั สมัยในต่างประเทศอีกด้วย

36


คลินิกเวชกรรม 10% โรงพยาบาล เอกชน 9%

โรงพยาบาลที่ ทันสมัยใน ต่างประเทศ 7%

การเลือก ใช้สถานพยาบาล โรงพยาบาล ของรัฐ 74% อย่างไรก็ตาม ผลจากการศึกษาทาให้สามารถทราบได้ว่า กลุ่มตัวอย่างชาวลาวโดยส่วนใหญ่ยงั ไม่ค่อยได้รบั สวัสดิการในด้านสุขภาพเท่าที่ควร เนื่ องจากหลักๆ แล้วผูท้ ี่มีหน้าที่ตอ้ งจ่ายค่ารักษาพยาบาลเมื่อต้องเข้ารับ การรักษา คือ กลุ่มตัวอย่างเองหรือไม่ก็พ่อหรือแม่ของกลุ่ม ตัวอย่าง คิดเป็ นสัดส่วนรวมกว่าร้อยละ 87 มี เพียงไม่ถึงร้อยละ 10 ที่ได้รบั สวัสดิการประกันสังคม และมีเพียงร้อยละ 4 ที่ได้รบั เงินชดเชยการรักษาจาก บริษัทประกัน

สวัสดิการของ บริษัทประกัน 4% รัฐ/ประกันสังคม 8%

นายจ้าง/ สวัสดิการบริษัท 1%

ผูร้ บั ผิดชอบ ค่ารักษาพยาบาล พ่อ/แม่ 38%

ตนเอง/สามี ภรรยา 49% 37


ส่วนการเข้ารับการตรวจสุขภาพนั้น กลุ่มตัวอย่างชาวลาวร้อยละ 38 จะเข้ารับการตรวจสุขภาพทุก ๆ 1 ปี รองลงมาคือนานกว่า 1 ปี จึงจะเข้ารับการตรวจ นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 61 จะรับประทานวิตามิน หรืออาหารเสริมบ้างเป็ นครั้งคราว ส่วนร้อยละ 31 นั้นไม่เคย หรือแทบจะไม่เ คยรับประทานเลย มีเพียง ร้อยละ 9 เท่านั้นที่รบั ประทานอยูเ่ ป็ นประจา การออกกาลังกายของกลุ่มตัวอย่างชาวลาว ส่วนใหญ่จะออกกาลังกายประมาณสัปดาห์ละครั้ง หรือเกือบทุก วัน โดยมักจะออกกาลังกายด้วยการเดินหรือวิ่งเป็ นส่วนใหญ่ เพราะเห็นว่าไม่จาเป็ นต้องใช้อุปกรณ์อะไร มากให้เกิดความยุ่งยาก และยังมีพื้นที่ออกกาลังกายจานวนมากที่เหมาะแก่การเดิน หรือวิ่งในเวียงจันทน์ ภาพที่ 23 แสดงวิธีการออกกาลังกาย/เล่นกีฬา ที่เป็ นที่นิยมในกลุ่มตัวอย่างชาวลาว ซึ่งนอกเหนื อจากการ เดินหรือวิ่งแล้ว ยังนิ ยมเล่นกีฬากลางแจ้งและปั ่นจักรยาน อีกด้วย

โยคะ เล่นกีฬา/ออกกาลัง 4% กายในโรงยิม 7%

อื่นๆ 2%

แอร์โรบิก 9%

กีฬา/การออกกาลังกาย ที่นิยมของกลุ่มตัวอย่าง

ปั ่นจักรยาน 12%

เดิน/วิ่ง 50%

กีฬากลางแจ้ง 16%

38


Smoking habits พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของชาวลาว พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รอ้ ยละ 89 ตอบว่าไม่สูบบุหรี่ ส่วนผูท้ ี่สูบมี เพียงร้อยละ 11 ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นเพศชาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุต้งั แต่ 30- 39 ปี 40-49 ปี และ 50-60 ปี จะมีสดั ส่วนของผูท้ ี่สบู ประมาณร้อยละ 20 ของแต่ละช่วงอายุ ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ มีอายุ 60 ปี ขึ้ นไป ไม่มีผสู้ บู บุหรี่เลย

สูบ 60ปีขึนไป

ไม่สูบ

100%

50-60ปี

19%

84%

40-49ปี

18%

85%

30-39ปี

18%

85%

23-29ปี

9%

92%

18-22ปี

9%

92%

พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของชาวลาว จาแนกตามอายุ

การซื้ อบุหรี่ของกลุ่มตัวอย่างชาวลาว โดยส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 55 จะซื้ อบุหรี่ตามร้านค้าในร้านขายของชา ทัว่ ไป นอกจากนี้ บางส่วนยังซื้ อบุหรี่ตามห้างสรรพสินค้า และตลาด คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 24 และร้อยละ 12 ตามลาดับ ส่วนการซื้ อบุหรี่ในร้านค้าสะดวกซื้ อมีประมาณร้อยละ 7

39


ร้านค้าสะดวกซื้ อ 7%

ร้านค้าเฉพาะ ทาง 2%

ตลาดสด 12%

สถานที่ซื้อบุหรี่

ร้านค้าทัว่ ไป 55%

ห้างสรรพสินค้า 24%

ส่วนทัศนคติ ดา้ นเกี่ ย วกับ การสูบบุ ห รี่ของกลุ่มตัวอย่างชาวลาว พบว่า ร้อยละ 90 เห็ นด้วยว่าควรจะมี กฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในพื้ นที่สาธารณะ มีผูไ้ ม่เห็นด้วยเพียงร้อยละ 5 ส่วนอีกร้อยละ 5 ไม่ขอแสดงความ คิดเห็น นอกจากนี้ เมื่อถามถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับภัยบุหรี่ที่มีผลต่อสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่ถึง ร้อยละ 96 เห็นว่าบุหรี่น้ันเป็ นอันตรายต่อร่างกายและสร้างความราคาญให้แก่ผูอ้ ื่น และอีกประมาณร้อยละ 4 ไม่ขอแสดงความคิดเห็น

40


Shopping habits and Attitude พฤติกรรมการซื้ อสินค้าของชาวลาวนั้น ส่วนใหญ่แล้วสินค้าอุปโภคบริโภคทัว่ ไป เช่น ผงซักฟอก กระดาษ ชาระ สบู่ แชมพู ยาสีฟัน เป็ นต้น กลุ่มตัวอย่างจะซื้ อตามร้านขายของชาใกล้บา้ น ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 51 รองลงมาคื อร้านค้าสะดวกซื้ อ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 16 และตลาดสด คิ ดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 13 ตามลาดับ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ นิยมซื้ อสิ นค้าอุ ปโภคบริ โ ภคตามร้านสะดวกซื้ อส่วนใหญ่ น้ั นจะเป็ นกลุ่ม ตัวอย่างอายุระหว่าง 23 – 29 ปี สาหรับสินค้าประเภทผลิตภัณฑ์บารุงผิ ว โลชัน่ ต่าง ๆ นั้น กลุ่มตัวอย่างจะซื้ อที่รา้ นค้าสะดวกซื้ อเป็ นส่วน ใหญ่ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 22 รองลงมาคือร้านขายของชาหรือร้านโชห่วย คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 21 และ ซุ ป เปอร์ม าร์เ ก็ ต หรื อ ไฮเปอร์ม าร์เก็ ต คิ ด เป็ นสัดส่ ว นร้อ ยละ 16 ตามล าดับ ส่ วนสิ นค้า ประเภท เครื่องสาอางนั้นจะนิ ยมซื้ อตามร้านที่ ขายเครื่องสาอางโดยเฉพาะ โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 20 รองลงมาคือ ซุปเปอร์มาร์เก็ต หรือไฮเปอร์มาร์เก็ต คิดเป็ นสัดส่ว นร้อยละ 15 และห้างสรรพสินค้า คิดเป็ นสัดส่วนร้อย ละ 14 ตามลาดับ

ห้างสรรพสินค้าขนาดเล็ก

ตลาด ร้านค้าทั ่วไป

การซื้ อสินค้าทางออนไลน์ยงั จากัดอยู่ในวงแคบๆ ชาวเวียงจันทน์ที่มีรายได้ปานกลางขึ้ นไป นิ ยมข้ามมายัง ฝั ่งไทยโดยเฉพาะในช่วงวันหยุ ดสุ ดสัปดาห์เพื่อจับจ่ายซื้ อสินค้า ทั้งที่ ไฮเปอร์มาร์เก็ตและศูนย์การค้าใน จังหวัดหนองคายและอุดรธานี เพราะเดินทางสะดวกและมีสินค้าหลากหลาย ทัศนคติเกี่ยวกับการจับจ่ายซื้ อสินค้า สาหรับทัศนคติ เกี่ยวกับการเลือกซื้ อสินค้าของกลุ่มตัวอย่างชาวลาวนั้น สิ่งที่ให้ความสาคัญมากที่ สุด คือ การได้ใช้สินค้าที่ดี มีคุณภาพ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.68 รองลงมาคือ เมื่อเลือกซื้ อสินค้าในแต่ละครั้ง จะ เลือกซื้ อสินค้าที่ดีที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.52 และในการซื้ อสินค้าโดยทัว่ ไปแล้ว จะซื้ อสินค้าที่ดีที่สุดเสมอ 41


มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 ตามลาดับ ซึ่งหากกล่าวโดยรวมแล้วจะเห็นได้ว่าชาวลาวจะคานึ งถึงคุณภาพของ สินค้าเป็ นหลัก โดยจะพยายามเลือกสินค้าที่มีคุณภาพดีที่สุดในร้าน และจะเลือกใช้สินค้าที่มีคุณภาพดีที่สุด เสมอ และมักเลือกซื้ อสินค้าอย่างระมัดระวัง เพื่อให้ได้สินค้าที่ดีที่สุด

ห้าง Home Ideal ในนครเวียงจันทน์

ตลาดนัดในยามคา่ คืน อย่างไรก็ตาม ปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสาคัญมากนักในการเลือกซื้ อสินค้า คือ การซื้ อ สินค้าตามแฟชัน่ ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.65 รองลงมาคือ คิดว่าการใช้เวลาในการเลือก ซื้ อสิ นค้าเป็ นเรื่ องที่ เปลืองเวลา มีค่าเฉลี่ย เท่ ากับ 2.72 และไม่ค่อยคิดมากเมื่อจะซื้ อสิ นค้า มีค่าเฉลี่ ย เท่ากับ 2.80 ตามลาดับ ซึ่งสอดคล้องกับพฤติกรรมข้างต้น ที่ชาวลาวนั้นจะใช้เวลาในการเลือกซื้ อสินค้า เพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพดีที่สุด 42


2.65 2.72 2.80 2.81 2.85 2.92 3.03 3.08 3.08 3.08 3.12 3.12 3.18 3.19 3.21 3.22 3.45 3.46 3.47 3.50 3.60 3.62 3.63 3.74 3.74 3.74 3.78 3.82 3.82 3.88 3.89 3.89 3.93 4.12 4.25 4.26 4.33 4.52 4.68

เสื้ อผ้าในตูข้ องฉัน ปรับเปลี่ยนไปตามแฟชัน่ ฉันคิดว่า การช็อปปิ้ ง เป็ นเรื่องที่เปลืองเวลา ฉันไม่ค่อยคิดมาก เมื่อฉันจะซื้ อสินค้า บางครั้งฉันช็อปปิ้ งเพื่อความสนุ ก สินค้ายีห่ อ้ ที่แพงกว่า มักเป็ นตัวเลือกของฉัน การซื้ อสินค้ายี่หอ้ ที่เป็ นที่รจู ้ กั ทัว่ ไป สาคัญกับฉัน เมื่อมีสไตล์ใหม่ๆ ฉันจะต้องมีอย่างน้อย 1 ชุด ในสไตล์น้ัน การไปช็อปปิ้ ง เป็ นหนึ่ งในกิจกรรมที่เพลิดเพลินในชีวิตฉัน ห้างสรรพสินค้าที่ดีๆ หรือร้านเฉพาะทาง มักมีของที่ดีที่สุดให้ฉนั เลือกซื้ อเสมอ ฉันมักซื้ อของ โดยไม่ได้ต้งั ใจบ่อยครั้ง การช็อปปิ้ ง ไม่ใช่เรื่องสนุ กสนานสาหรับฉัน ฉันมักซื้ อของจากร้านเดิมๆ เสมอ เมื่อไปช็อปปิ้ ง ฉันมักจะทาเวลาให้เร็ว การแต่งตัวทันสมัยและดึงดูด เป็ นเรื่องสาคัญสาหรับฉัน ฉันมักเปลี่ยนยี่หอ้ ของที่ซื้อไปเรื่อยๆ ยี่หอ้ ที่มีการโฆษณาที่ดี มักเป็ นตัวเลือกของฉัน ฉันชอบที่จะซื้ อยี่หอ้ ที่ขายดี (Best Seller) บ่อยครั้งที่ฉนั ซื้ อแบบไม่ยบั ยั้งชัง่ ใจ ฉันหวังว่าจะไม่เกิดขึ้ นอีก ของที่ราคาถูกที่สุด มักเป็ นตัวเลือกของฉัน เมื่อฉันเจอยี่หอ้ ที่ชอบ ฉันจะใช้ไม่ยอมเปลี่ยน ฉันจะซื้ ออย่างรวดเร็ว หากสินค้าอันแรกที่พิจารณา นั้ นดูดีพอ ข้อมูลที่ได้รบั จากสินค้าต่างๆ มักทาให้ฉันสับสน เมื่อมีสินค้าหลายยี่หอ้ ให้เลือก ฉันมักจะสับสน ฉันจะซื้ อของจานวนมาก เมื่อมีการลดราคา บางครั้ง ฉันก็ตดั สินใจไม่ได้วา่ จะไปซื้ อของที่ไหน เพื่อให้ได้ความหลากหลาย ฉันซื้ อสินค้าหลายยี่หอ้ จากหลายๆ แหล่ง ยิ่งฉันมีความรูเ้ กีย่ วกับสินค้า ยิ่งทาให้ยากที่จะเลือกอันที่ดีที่สุด ฉันเชื่อว่าสินค้าที่มรี าคาที่แพง คุณภาพจะสูงตามไปด้วย ฉันมียหี่ อ้ ที่ฉนั ชอบ และซื้ อซ้าแล้วซ้าอีก ฉันจะตรวจสอบยอดการใช้จา่ ยอยูเ่ สมอ ฉันมีมาตรฐานหรือความคาดหวังจากสินค้าในระดับที่สงู การได้ซื้อสินค้าแปลกใหม่ เป็ นเรื่องสนุ กสาหรับฉัน ฉันคิดว่าฉันควรวางแผนการช็อปปิ้ งให้ดีกว่านี้ ฉันมักใช้เวลาอย่างเต็มที่ เพื่อจะซื้ อของอย่างระมัดระวัง ฉันเฟ้ นหาสินค้าที่คุม้ ค่าเงินที่สุด ฉันพยายามที่จะหาซื้ อสินค้า เพื่อให้ของที่ดีที่สุด โดยปกติแล้ว ฉันจะซื้ อสินค้าที่คุณภาพดีที่สุด เมื่อจะซื้ อของ ฉันมักจะเลือกตัวเลือกที่ดีที่สุดเสมอ การได้ใช้สินค้ามีคุณภาพดี เป็ นสิ่งสาคัญสาหรับฉัน 0

1

2

3

4

5

ทัศนคติการเลือกซื้ อสินค้าของชาวลาว (Sproles and Kendall, 1986; Sproles and Sproles 1990) 43


ในส่วนของสินค้าเฉพาะทางประเภทโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ รวมไปถึงรถยนต์ รถจักรยานยนต์ และอุปกรณ์ยานยนต์ต่าง ๆ นั้ น กลุ่มตัวอย่างตอบว่ามักจะไปซื้ อที่ โชว์รูม หรือร้านขาย เฉพาะสินค้าดังกล่าวโดยตรง

44


Hobby and Free time กิจกรรมยามว่างที่กลุ่มตัวอย่างชาวลาวทาเป็ นประจาได้แก่การดูโทรทัศน์ และทางานบ้าน ส่วนกิจกรรมอื่น ๆ เช่น การชมภาพยนตร์ที่บา้ น ฟั งเพลง ดูกีฬา อ่านหนังสือ เล่นอินเตอร์เน็ ต ออกกาลังกาย และทาอาหาร ทาบ้างเป็ นครั้งคราว ส่วนกิจกรรมที่แทบไม่ได้ทาเลย คืองานฝี มือ งานศิลปะ และทาสวน โดยจากการศึ กษาพบว่าชาวลาวจะนิ ย มการดูโ ทรทัศน์ เป็ นอย่างมาก โดยพบว่ากลุ่มตัวอย่างจะบริ โภค ข่าวสารจากสื่อโทรทัศน์เป็ นหลัก ซึ่งมีความถี่ในการดูโทรทัศน์เป็ นประจาทุกวัน หรือเกือบทุกวัน ซึ่งคิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 77 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด รองลงมาคื อการบริโภคข่าวสารจากสื่ออินเตอร์เน็ ต มีสดั ส่วน ร้อยละ 55 ที่บริโภคข่าวสารจากอินเตอร์เน็ ตทุกวันหรือเกือบทุกวัน โดยเฉพาะกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 18 – 22 ปี มีสดั ส่วนร้อยละ 71 ที่บริโภคข่าวสารจากอินเตอร์เน็ ตทุกวันหรือเกือบทุกวัน และกลุ่มอายุ ระหว่าง 23 – 29 ปี มีสดั ส่วนร้อยละ 66 ที่บริโภคข่าวสารจากอินเตอร์เน็ ตทุกวันหรือเกือบทุกวัน และ รองลงมาคือสื่อวิทยุ มีสดั ส่วนร้อยละ 31 ที่มีความถี่ทุกวัน หรือเกือบทุกวัน ดังภาพที่ 28 นอกจากนี้ กิจกรรมยามว่างอื่น ๆ ได้แก่ การออกไปรับประทานอาหารนอกบ้าน ที่จะทาอยู่เป็ นประจา ส่วน การไปชมภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์ ช็อปปิ้ ง ซื้ อของเข้าบ้าน ปาร์ตี้สังสรรค์ ออกไปท่องเที่ ยว เล่นกีฬา และท่องเที่ยว กลุ่มตัวอย่างบอกว่าจะทาบ้างเป็ นครั้งคราว ส่วนกิจกรรมที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้ ทาในเวลาว่าง ได้แก่ การร้องคาราโอเกะ

อินเตอร์เน็ ต

55%

ภาพยนตร์

9%

12%

วิทยุ

17%

2% 8% 29%

25%

12%

15%

77% 4%

หนังสือพิมพ์

22%

0%

10%

ทุกวัน/เกือบทุกวัน

17%

20%

30%

ทุกสัปดาห์

17% 9%

24%

19%

21%

33%

31%

โทรทัศน์ นิ ตยสาร

14%

21% 13%

40%

ทุกเดือน

60%

8%

29%

17%

50%

3% 3%

34%

70%

นานกว่า 1 เดือน

80%

90%

100%

ไม่เคย/แทบจะไม่เคย

ความถี่ของการบริโภคสื่อแต่ละประเภทของกลุ่มตัวอย่าง 45


Home care and Decorations นิ ยามคาว่าบ้านสาหรับชาวลาว กลุ่มตัวอย่างบอกว่าบ้านคือที่อยูอ่ าศัยที่ดีที่สุด ทั้งเพื่อพักผ่อน ได้ใช้เวลาอยู่ กับ ครอบครัว เป็ นที่ ที่ ท าให้รูส้ ึ ก ปลอดภัย อบอุ่ น สะดวกสบาย และเป็ นที่ ที่ อ ยู่แ ล้ว สบายใจมากที่ สุ ด นอกจากนี้ บ้านยังเป็ นเหมือนกับรางวัลในชีวิต รางวัลสาหรับการทางานหนัก และเป็ นความฝั นที่จะทาให้ ชีวิตสมบูรณ์

ลักษณะของที่อยูอ่ าศัย ภาพรวมด้านลักษณะที่อยู่อาศัยของชาวลาว บ้านของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะเป็ นบ้านเดี่ ยว (Detached House/Villa) ซึ่งมีสดั ส่วนคิดเป็ นร้อยละ 72 และอยู่กนั เป็ นครอบครัวใหญ่ โดยมีสมาชิกในครอบครัวโดย เฉลี่ยประมาณ 5 – 7 คน รองลงมาคือที่อยู่อาศัยแบบแมนชัน่ หรือแฟลต คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 8 และที่ อยูอ่ าศัยแบบอาคารพาณิชย์คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 6 ตามลาดับ

แฟลต, อพาร์ ทเมนท์ 8%

บ้านเดี่ยว, วิลล่า 72%

ประเภทของที่อยูอ่ าศัย ของกลุ่มตัวอย่าง

อาคารพาณิชย์ 6% หอพัก 3% อื่นๆ 10%

บ้านของกลุ่มตัวอย่างชาวลาวส่วนมากจะมีหอ้ งนอน 2 – 3 ห้อง และห้องน้ า 1 – 2 ห้อง ซึ่งลักษณะของ บ้านนั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตอบว่าเป็ นบ้านที่สร้างเอง ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 79 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ส่วนรองลงมา คือ บ้านเช่า คิดเป็ นร้อยละ 12 และบ้านพักของทางราชการร้อยละ 4 ตามลาดับ บ้านส่วน ใหญ่จะสร้างจากอิฐและปูนซีเมนต์เป็ นหลัก รองลงมาจะเป็ นบ้านแบบกึ่งไม้กึ่งปูน โดยการตกแต่งจะตกแต่ง แบบทัว่ ไป การตกแต่งผนังบ้านจะยังไม่นิยมการติดวอลล์เปเปอร์ หรือปูหินเท่าใดนัก ร้อยละ 78 ของกลุ่ม ตัวอย่างยังคงตกแต่งผนังด้วยการทาสีตามปกติ รองลงมาคือการตกแต่งผนังด้วยไม้ คิดเป็ นร้อยละ 11 ของ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ส่วนพื้ นบ้านนั้นส่วนใหญ่จะปูกระเบื้ อง คิดเป็ นร้อยละ 72 รองลงมาคือ พื้ นซีเมนต์ คิดเป็ นร้อยละ 34 ส่วนพื้ นไม้น้ัน มีอยูร่ อ้ ยละ 13 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 46


พฤติกรรมการอยูอ่ าศัย จากการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ห้องที่กลุ่มตัวอย่างใช้งานมากที่สุดในบ้าน คือ ห้องนั ง่ เล่น คิดเป็ น ร้อยละ 57 รองลงมาคือห้องนอน คิดเป็ นร้อยละ 30 และห้องครัว ร้อยละ 8 ตามลาดับ โดยห้องที่ กลุ่ม ตัวอย่างต้องการจะตกแต่งมากที่สุดคือห้องนัง่ เล่นหรือห้องรับแขก คิดเป็ นร้อยละ 74 รองลงมาคือห้องนอน ร้อยละ 18 และห้องครัว ร้อยละ 4 ตามลาดับ ซึ่งสอดคล้องกับห้องที่กลุ่มตัวอย่างต้องการโชว์แก่ผูท้ ี่มา เยี่ ย มมากที่ สุ ด คื อ ห้อ งนั ่ง เล่ น หรื อ ห้อ งรับ แขก สู ง ถึ ง ร้อ ยละ 91 รองลงมาคื อ ห้อ งน้ า และห้อ งนอน ตามลาดับ

อุปกรณ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบ้าน สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ านั้น พัดลม โทรทัศน์ และหม้อหุงข้าว มีสดั ส่วนสูงที่สุด โดยคิดเป็ นร้อยละ 96 ร้อยละ 95 และร้อยละ 90 ตามลาดับ นอกจากนี้ ยังพบว่ามีโทรทัศน์โดยเฉลี่ย 2 เครื่องต่อครัวเรือน ซึ่งสอดคล้อง กับการวิจยั เชิงคุณภาพ พบว่า โทรทัศน์ถือเป็ นอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าในบ้านที่สาคัญที่จาเป็ นต้องมี เพราะ นอกจากชาวลาวจะชอบดูโทรทัศน์แล้ว โทรทัศน์ยงั สามารถแสดงถึงฐานะของเจ้าของบ้า นได้อีกด้วย โดย มักจะวางโทรทัศน์ไว้ที่หอ้ งรับแขก หรือห้องนัง่ เล่นเป็ นหลัก 8.3%

เครื่องล้างจาน

34.5%

เครื่องดูดฝุ่น

42.1%

เตาอบไมโครเวฟ / เตาอบไฟฟ้ า

51.3%

เครื่องทาน้ าอุน่ (Shower Heater)

57.7%

เครื่องปรับอากาศ / แอร์ วิทยุ/เครื่องเสียง

68.2%

คอมพิวเตอร์ต้งั โต๊ะ

68.5% 72.6%

เครื่องซักผ้า

83.1%

เครื่องเล่นภาพยนตร์ วีซีดี/ดีวีดี

89.5%

หม้อหุงข้าว โทรทัศน์

95.4%

พัดลม

95.6%

0

20

40

60

80

100

47


พฤติกรรมการตกแต่งบ้าน และการซื้ อสินค้าตกแต่งบ้าน การตกแต่งบ้านของชาวลาว กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่บอกว่าไม่ได้จา้ งสถาปนิ ก มัณฑนากร หรือดีไซน์เนอร์ เพื่อออกแบบตกแต่งบ้าน โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 65 ของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่จา้ งเลย มีกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 24 ที่จา้ งออกแบบสาหรับบางส่วนภายในบ้าน ส่วนอีกร้อยละ 11 นั้นจ้างออกแบบบ้านทั้งหลัง หรือเกือบทั้ง หลัง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นกลุ่มกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับรายได้ปานกลาง – สูง และระดับรายได้สงู อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นว่าการที่มีบา้ นที่สะอาด เรียบร้อย สะดวกสบาย และสวยงามนั้ น เป็ นเรื่องที่สาคัญ โดยสัดส่วนร้อยละ 48 เห็นว่าเป็ นเรื่องที่สาคัญที่สุด และจะมีการจัด หรือย้ายเฟอร์นิเจอร์ ประมาณปี ละครั้งหรือนานกว่านั้น ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 43 และ 3 – 6 เดือนต่อครั้ง คิดเป็ นร้อยละ 18 ส่วนการซื้ อของตกแต่งบ้านชิ้ นเล็ก ๆ เช่น โคมไฟ กรอบรูป และอื่น ๆ นั้ น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะซื้ อ ประมาณปี ละครั้งหรือนานกว่านั้น คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 48 และซื้ อ 3 – 6 เดือนต่อครั้ง คิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 19 ส่วนของชิ้ นใหญ่ เช่น โต๊ะ ตู้ เตียงนอน ส่วนมากจะซื้ อทุก ๆ ปี คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 34 และ นานกว่า 1 ปี ต่อครั้ง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 29 โดยสาเหตุหลักที่ซื้อของตกแต่งบ้านชิ้ นใหม่มากที่สุด กลุ่ม ตัวอย่างตอบว่าเพื่อทดแทนเฟอร์นิเจอร์เดิมที่แตกหักเสียหาย คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 36 รองลงมาคือ เพื่อ ตกแต่งบ้านใหม่ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 25 และเพื่อความสะดวกในการใช้งานมากขึ้ น คิดเป็ นสัดส่วนร้อย ละ 19 ตามลาดับ ซึ่งพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้สูงส่วนใหญ่จะซื้ อสินค้าตกแต่งบ้านชิ้ นใหม่เพื่อความ สะดวกในการใช้งาน และต้องการเปลี่ยนสไตล์การตกแต่งบ้านใหม่

บรรยากาศร้านขายสินค้าตกแต่งบ้านในนครเวียงจันทน์ ส่วนไอเดียการตกแต่งบ้าน หรือแรงบันดาลใจในการตกแต่งบ้านของชาวลาวนั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะ บอกว่าได้ม าจากโทรทัศน์ ในรายการต่ าง ๆ คิ ดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 52 รองลงมาคื อ งานแสดงสิ นค้า เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 47 และจากหนังสือหรือนิ ตยสารต่าง ๆ ร้อยละ 29 48


ตามลาดับ โดยสไตล์เฟอร์นิเจอร์ที่ชื่นชอบนั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนมากจะชอบการตกแต่งด้วยเฟอร์นิเจอร์แบบ ที่ทนั สมัย สะดวก พร้อมใช้งาน ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 67 รองลงมาคือเฟอร์นิเจอร์แบบเก่า หรือโบราณ (Antique) สัดส่วนร้อยละ 15 และเฟอร์นิเจอร์แบบสัง่ ทา (Tailor-Made) สัดส่วนร้อยละ 10 ตามลาดับ

เฟอร์นิเจอร์สงั ่ ทา เป็ นชิ้ นๆ 10%

เฟอร์นิเจอร์ใหม่ ประกอบเสร็จ 67%

สไตล์เฟอร์นิเจอร์ ที่ชาวลาวชื่นชอบ

เฟอร์นิเจอร์สงั ่ ประกอบในพื้ นที่ (Built-in) 4%

เฟอร์นิเจอร์เก่า / ของโบราณ 15%

นอกจากนี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ ได้รับความนิ ยมมากที่ สุด คือ เฟอร์นิเจอร์ไม้ เนื่ องจากลาวเป็ นประเทศที่ อุดม สมบูรณ์ดว้ ยทรัพยากรไม้จึงทาให้ราคาเฟอร์นิเจอร์ไม้มีราคาที่อยูใ่ นระดับที่ชาวลาวสามารถครอบครองได้

สไตล์การตกแต่งบ้านด้วยไม้

สไตล์เฟอร์นิเจอร์ไม้

49


สาหรับการซื้ อเฟอร์นิเจอร์น้ัน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะซื้ อจากร้านขายเฟอร์นิเจอร์และสินค้าตกแต่งบ้าน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 46 รองลงมาคือร้านขายเฟอร์นิเจอร์ขนาดใหญ่ สัดส่วนร้อยละ 31 และซื้ อในงาน แสดงสินค้าเกี่ยวกับสินค้าบ้านและเฟอร์นิเจอร์คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 10 ตามลาดับ ซึ่งจากผลการสารวจ นั้นพบว่า กลุ่มตัวอย่างชาวลาวให้ความสนใจงานแสดงสินค้าตกแต่งบ้านและเฟอร์นิเจอร์คิดเป็ นร้อยละ 88 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด

ร้านขายเฟอร์นิเจอร์แห่งหนึ่งในกรุงเวียงจันทน์

บรรยากาศร้านขายเฟอร์นิเจอร์ในกรุงเวียงจันทน์

50


จะเห็ นได้ว่าความถี่ ในการซื้ อของตกแต่งบ้านของชาวลาวนั้ นยังมีไม่มากนั ก และมัก จะซื้ อตามร้านขาย เฟอร์นิเจอร์ขนาดใหญ่ สอดคล้องกับการวิจัยเชิงปริมาณ ที่ พบว่าร้านขายสินค้าตกแต่งบ้านในลาวยังมี จานวนน้อย และความหลากหลายของสินค้ายังมีไม่มาก จึงส่งผลต่อพฤติ กรรมการตกแต่งบ้านที่ ซื้อของ ตกแต่งปี ละครั้ง และซื้ อเมื่อของชารุดเสียหาย อย่างไรก็ตามคาดว่าแนวโน้มการตกแต่งบ้านของชาวลาวจะมี ความทันสมัยและหลากหลายมากขึ้ น จากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม อิทธิพลของสื่อต่าง ๆ และการ เปิ ดรับสิ่งใหม่ ๆ ของชาวลาวเอง สาหรับการตัดสินใจซื้ อเฟอร์นิเจอร์และสินค้าตกแต่งบ้านนั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนมากบอกว่าเป็ นผูต้ ัดสินใจ เอง และมักจะชาระค่าสินค้าตกแต่งบ้านและเฟอร์นิเจอร์ดว้ ยเงินสดเป็ นส่วนใหญ่ ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 96 โดย ค่าใช้จ่ายในการตกแต่งบ้าน และซื้ อสินค้าดังกล่าวของชาวลาวจะอยูท่ ี่ประมาณ 5% - 10% ของรายได้ท้งั ปี อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างชาวลาวส่วนมากยังคงคานึ งถึ งเรื่องฮวงจุย้ ในการจัดตกแต่งบ้านอยู่บา้ ง โดย สัดส่วนร้อยละ 23 จะเชื่อในเรื่องของฮวงจุย้ และจัดบ้านให้ถูกหลักฮวงจุย้ ส่วนร้อยละ 54 จะคานึ งถึงหลัก ฮวงจุย้ บ้างสาหรับบางส่วนของบ้าน และอีกร้อยละ 23 จะไม่ได้คานึ งถึงหลักฮวงจุย้ เลย

ปั จจัยในการตัดสินใจซื้ อสินค้าตกแต่งบ้าน การเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ของชาวลาวนั้ น ปั จจัยที่ กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญมากที่ สุด คือ บริการจัดส่ง สินค้าถึงบ้าน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.27 รองลงมาคือ ร้านขายเฟอร์นิเจอร์มีพนักงานคอยช่วยเหลือ และ ให้คาแนะนาในการเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 และเฟอร์นิเจอร์แบบที่ทนั สมัย มีค่าเฉลี่ ย เท่ากับ 4.07 ตามลาดับ ส่วนปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างไม่ค่อยให้ความสาคัญมากนัก คือ การชาระเงินด้วยบัตร เครดิต มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.67 รองลงมาคือ การเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์จากแบรนด์เดิมที่เคยซื้ อ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.80 และการซื้ อเฟอร์นิเจอร์จากร้านเดิมอยูเ่ สมอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.83 ตามลาดับ

51


ฉันจะตัดสินใจซื้อเร็วขึ้นถ้าสามารถใช้บัตรเครดิตได้

2.67

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์จากแบรนด์เดิม

2.80

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์จากร้านเดิมเสมอ

2.83

ฉันชอบซื้อเฟอร์นิเจอร์ตามดาราทีชืนชอบ

2.86

ฉันชอบซื้อเฟอร์นิเจอร์แบบทีเห็นในละคร

3.02

ฉันอยากตกแต่งบ้านให้เหมือนกับในนิตยสารหรือแคตตาล็อก

3.09

ฉันมักจะหาข้อมูลในการตกแต่งบ้านอยู่เสมอ

3.20

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์ทีราคาถูกทีสุด

3.21

ฉันจะไม่ซื้อสินค้า DIY ถ้ามีการบริการรับติดตั้งจากทางร้าน

3.38

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์ทีก่าลังลดราคา

3.52

การตกแต่งร้านมีผลต่อการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์

3.67

ฉันชอบเฟอร์นิเจอร์แบบใหม่มากกว่าแบบเก่า

3.82

ฉันชอบร้านทีมีเฟอร์นิเจอร์ทีหลากหลาย

3.84

ร้านทีมีบริการออกแบบตกแต่งจะช่วยให้ฉันตัดสินใจได้ง่ายขึ้น

3.90

ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์เฉพาะแบรนด์ทีชอบเท่านั้น

4.00

ฉันคิดว่าเฟอร์นิเจอร์ราคาแพงกว่าจะมีคุณภาพทีดีกว่า

4.00

การซื้อเฟอร์นิเจอร์จากหลายแบรนด์ช่วยให้บ้านดู…

4.06

ฉันชอบเฟอร์นิเจอร์ทีทันสมัย

4.07

ฉันชอบร้านทีมีพนักงานคอยช่วยเหลือ

4.13

การส่งสินค้าถึงบ้านคือปัจจัยส่าคัญทีตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์

4.27 0

1

2

3

4

5

การเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ของชาวลาว (ปรับปรุงจาก Sakpichaisakul, T., 2012) ส่วนปั จจัยที่ใช้ในการตัดสินใจซื้ อเฟอร์นิเจอร์ของชาวลาวที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญที่สุดคือ อายุการใช้ งานที่ยาวนาน และทนทาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.76 รองลงมาคือเรื่องคุณภาพของสินค้า มีค่าเฉลี่ย 4.74 และการรับประกันสินค้า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.63 ตามลาดับ ส่วนปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างจะคานึ งถึงน้อยที่สุด เมื่อเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ คือ โปรแกรมผ่อนชาระค่าสินค้า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.33 รองลงมาคือ สถานที่ต้งั ของร้าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50 และตรายี่หอ้ ของสินค้า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.59 ตามลาดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่า กลุ่มตัวอย่างนั้นจะคานึ งถึงคุณภาพของสินค้าเป็ นหลัก ส่วนการผ่อนชาระสินค้าจะให้ความสาคัญน้อยที่สุด เนื่ องจากชาวลาวจะใช้จ่ายด้วยเงินสดเป็ นส่วนใหญ่ 52


โปรแกรมผ่อนช่าระค่าสินค้า

3.33

สถานทีตั้งของร้าน

3.50

ตรายีห้อ

3.59

ระยะเวลาในการรอสินค้า

3.94

สี

3.95

การใช้เทคโนโลยีช่วยในการออกแบบ

3.97

เข้ากับเฟอร์นิเจอร์อืนๆ ได้ดี

4.10

เป็นมิตรกับสิงแวดล้อม

4.21

ราคา

4.21

การบริการทีสะดวกรวดเร็ว

4.22

ขนาดทีเหมาะสม

4.26

การบรืการ ติดตั้ง ขนส่งสินค้า

4.26

ประหยัดพลังงาน

4.31

วัตถุดิบ

4.35

ความเอาใจใส่ของพนักงานต่อลูกค้า

4.37

รูปแบบการใช้งาน

4.38

ท่าความสะอาดง่าย

4.43

ความสบาย

4.43

ไม่ต้องบ่ารุงรักษามาก

4.44

การบริการหลังการขาย

4.45

ความสวยงาม / การออกแบบ

4.57

การรับประกันสินค้า

4.63

คุณภาพ

4.74

อายุการใช้งานยาวนาน ทนทาน

4.76 0

1

2

3

4

5

ปั จจัยในการเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ของชาวลาว (ปรับปรุงจาก Sakpichaisakul, T., 2012)

53


สาหรับ สไตล์ใ นการตกแต่ ง บ้า นที่ ก ลุ่ ม ตัวอย่า งชาวลาวส่ว นใหญ่ ชื่ น ชอบ พบว่า การตกแต่ งบ้า นแบบ Modern มีสดั ส่วนมากที่สุด โดยคิดเป็ นร้อยละ 43 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด โดยเฉพาะในกลุ่มอายุระหว่าง 18 – 22 ปี และ 23 – 29 ปี ที่ชื่นชอบสไตล์การตกแต่งบ้านสไตล์ Modern ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 44 และสัดส่วนร้อยละ 46 ของกลุ่มตัวอย่างในระดับอายุดงั กล่าวตามลาดับ รองลงมาคือสไตล์ Contemporary คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 21 และสไตล์ Asia / Tropical คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 19 ตามลาดับ อย่างไรก็ตามหากพิจารณาตามระดับรายได้แล้ว พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ตา่ – ปานกลาง และกลุ่ม ตัวอย่างที่มีรายได้ปานกลาง ส่วนใหญ่จะชื่นชอบสไตล์การตกแต่งบ้านแบบ Modern แต่ในกลุ่มผูม้ ีรายได้สูง นั้นจะชื่นชอบสไตล์การตกแต่งบ้านแบบ Modern และ Contemporary ในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน European / Classic 14%

Contemporary 21%

American / Country 4%

สไตล์การตกแต่งบ้าน ที่ชื่นชอบ

Asian / Tropical 19%

Modern 43%

54


พฤติกรรมการจัดสวน และงานช่าง จากการสารวจ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จ ะไม่มีสวนในพื้ นที่ บา้ น และยังไม่มีการจัดสวนเพื่อความ สวยงามเท่าใดนัก โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่มีสวนอยู่ในบ้านคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 35 ของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งใน จานวนนี้ กว่าร้อยละ 80 มักจะมีกิจกรรมปลูกต้นไม้/ทาสวนที่บา้ น ในขณะที่อีกกว่า 20% จะไม่ค่อยทา กิจกรรมเหล่านี้ เลย ในส่วนของการทางานฝี มือต่างๆ ที่กลุ่มตัวอย่างคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 59 บอกว่าไม่เคยทางานฝี มือเลย หรือหากทาก็จะทานาน ๆ ครั้ง มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้นที่ทางานฝี มืออยู่เป็ นประจา และกลุ่มตัวอย่างร้อย ละ 36 ที่จะทางานฝี มือบ้างในบางโอกาส

เป็ นประจา 19%

ไม่เคย/ไม่บ่อยนัก 23%

การปลูกต้นไม้ และทาสวน

บางครั้ง 58%

ส่วนการซ่อมแซมข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านด้วยตนเองนั้น กลุ่มตัวอย่างสัดส่วนร้อยละ 46 จะซ่อมเอง บ้างในบางโอกาส กลุ่มตัวอย่างสัดส่วนร้อยละ 35 จะไม่เคยทาเลย หรือหากทาก็จะนาน ๆ ครั้ง และกลุ่ม ตัวอย่างสัดส่วนร้อยละ 19 จะซ่อมแซมข้าวของเครื่องใช้ที่ชารุดเสียหายเองอยูเ่ สมอ

เป็ นประจา 19%

ไม่เคย/ไม่บ่อยนัก 35%

การซ่อมแซมของใช้ ด้วยตนเอง บางครั้ง 46% 55


Pet care กลุ่มตัวอย่างในลาวส่วนใหญ่ยังคงนิยมการเลี้ยงสุนัขมากกว่าสัตว์ชนิดอืนๆ โดยมีกลุ่มตัวอย่างทีเลี้ยงสุนัขคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 58 ซึงมีจ่านวนเฉลียอยู่ที 2 ตัวต่อครัวเรือน ส่วนการเลี้ยงแมว และเลี้ยงปลา จะมีกลุ่มตัวอย่างที เลี้ยงอยู่บ้าง แต่จ่านวนผู้เลี้ยงยังมีสัดส่วนไม่มากเท่าจ่านวนผู้เลี้ยงสุนัข โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 22 และสัดส่วน ร้อยละ 16 ตามล่าดับ และยังพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะไม่ค่อยไปใช้บริการร้านตกแต่งขน หรือร้านสัตว์เลี้ยง โดยสัดส่วนร้อยละ 69 ตอบว่าไม่เคย หรือเกือบไม่เคยเข้าร้านดังกล่าว และสัดส่วนร้ อยละ 28 ตอบว่านานๆ ครั้ง จึงจะเข้าไปใช้บริการ ส่วนผู้ทีใช้บริการเป็นประจ่ามีสัดส่วนเพียงร้อยละ 2 เท่านั้น ส่าหรับกลุ่มตัวอย่างทีไม่เลี้ยง สัตว์นั้น ส่วนใหญ่จะให้เหตุผลว่าไม่ชอบเลี้ยงสัตว์ สถานทีพักอาศัยไม่อนุญาตให้เลี้ยงสัตว์และมีค่าใช้จ่ายในการ เลี้ยงสูง เป็ นโรคภูมิแพ้ 12%

ไม่ชอบเลี้ ยงสัตว์ 44%

ค่าใช้จ่ายสูง 20%

เหตุผลที่ไม่เลี้ ยงสัตว์ ของกลุ่มตัวอย่างชาวลาว สถานที่พกั อาศัย ห้ามให้มีการเลี้ ยง สัตว์ 24%

56


Travel habits กลุ่มตัวอย่างชาวลาว นิยมไปท่องเทียวตามสถานทีท่องเทียวทางธรรมชาติ โดยมากกว่าร้อยละ 38 ชอบการไป ท่องเทียวตามทะเล หมู่เกาะและชายหาด มีประมาณร้อยละ 29 ทีชืนชอบภูเขา และร้อยละ 20 ชืนชอบการ ท่องเทียวแบบมีกิจกรรมสันทนาการ

ท่องเที่ยวเชิง ศิลปวัฒนธรรม 12%

ท่องเที่ยวเชิง นันทนาการ 19%

ท่องเที่ยวเชิงเกษตร 2%

ทะเล 38% แหล่งท่องเที่ยว ที่ชื่นชอบ

ภูเขา 29% ส่วนความถีในการท่องเทียวในประเทศ ส่วนใหญ่จะเดินทางท่องเทียวประมาณปีละครั้งหรือนานกว่านั้น โดยนิยม ไปกับครอบครัวระยะเวลา 2-4 วัน และนิยมใช้รถยนต์ส่วนตัวในการเดินทาง คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 67 รองลงมาประมาณร้อยละ 22 ใช้บริการรถเช่า รถรับจ้าง มีเพียงประมาณร้อยละ 8 ทีใช้บริการรถประจ่าทาง

57


รถประจาทาง 8%

รถเช่า / รถรับจ้าง 22%

รถไฟ 3%

วิธีการเดินทาง ท่องเที่ยวในประเทศ

รถยนต์สว่ นตัว 67%

ส่าหรับความถีในการท่องเทียวในต่างประเทศ ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 40 ไม่เคยเดินทางท่องเทียวต่างประเทศ ส่วนผู้ทีเดินทางส่วนใหญ่จะเดินทางน้อยกว่าปีละ 1 ครั้ง โดยนิยมท่องเทียวไปจีน -ญีปุ่น-เกาหลีใต้ และในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โดยไปกับเพือนและครอบครัวระยะเวลา 5-7 วัน และนิยมเดินทางด้วยเครืองบิน สายการบิน แบบปกติ โดยมีประมาณร้อยละ 23 ของกลุ่มตัวอย่างทีเดินทางต่างประเทศ เดินทางด้วยรถยนต์ส่วนตัว และ ประมาณร้อยละ 14 ของกลุ่มตัวอย่างทีเดินทางต่างประเทศ เลือกเดินทางท่องเทียวด้วยสายการบินแบบต้นทุนต่า

อเมริกาเหนื อ 4%

เอเชียใต้ อินเดีย 2%

อัฟริกา 2%

ตะวันออกกลาง 1%

ออสเตรเลียนิ วซีแลนด์ 4%

ยุโรป 24%

เอเชียเหนื อ-จีน,ญี่ปุ่น ,เกาหลี,ฮ่องกง 33%

ประเทศที่นิยม เดินทางไปท่องเที่ยว เอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ 27%

58


Holiday and Leisure กิจกรรมที่กลุ่มตัวอย่างชาวลาวนิ ยมทาในวันหยุ ด ส่วนใหญ่นิยมอยู่กับบ้านและทากิจกรรมกับครอบครัว รองลงมานิ ยมออกไปสังสรรค์นอกบ้าน นอกจากนี้ ผูท้ ี่มีรายได้ปานกลาง-สูง มักออกไปท่องเที่ยว จับจ่ายซื้ อ สินค้าและทางาน มากกว่าผูท้ ี่มีรายได้ปานกลาง-ตา่ จะเดินทางออกไปท่องเที่ยวเพียงร้อยละ 5 กิจกรรมที่ น่ าสนใจอีกอย่างหนึ่ งของชาวลาวในวันหยุด คือ การไปกินข้าวป่ า ซึ่งได้รบั อิทธิพลมาจากคนรุ่นก่อน และ ถ่ายทอดมาจนถึงปั จจุบนั โดยชาวลาวจะชวนคนในครอบครัวและเพื่อนฝูง ทาอาหารออกไปรับประทาน ตามสถานที่ ต่ า ง ๆ เช่ น ทุ่ ง นา ภูเ ขา น้ า ตก เป็ นต้น ซึ่ ง ชาวลาวถื อ ว่า เป็ นกิ จ กรรมส าคัญ ที่ ช่ ว ยสร้า ง ความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวและกลุ่มเพื่อนด้วย

ปานกลาง-สูง

พักผ่อนที่บา้ น 6% 9%

5% 2%

พักผ่อนนอกบ้าน

3% 3%

6%

33%

ปานกลาง-ตา่

20%

47%

ทากิจกรรมกับครอบครัว จับจ่ายซื้ อสินค้า / ช็อปปิ้ ง เดินทางไปท่องเที่ยว ต่างพื้ นที่

34%

20%

ทางาน 12%

อื่นๆ

การใช้เวลาในวันหยุดของผูท้ ี่มีรายได้ในแต่ละระดับ

59


Saving and Investment habits กลุ่มตัวอย่างสัดส่วนสูงถึ งร้อยละ 99 จะใช้จ่ ายเงิ นในการซื้ อของต่ าง ๆ ด้วยเงินสด อย่างไรก็ตามยัง มี สัดส่วนผูถ้ ือบัตรเครดิตคิดเป็ นร้อยละ 47 ส่วนร้อยละ 53 นั้นไม่มีบตั รเครดิตเลย โดยกลุ่มตัวอย่างจะถือ บัตรเครดิตประมาณ 1-2 ใบ ส่วนการออมของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่น้ันจะฝากเงินสดกับธนาคาร คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 74 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด และออมเป็ นเงินสด ส่วนการลงทุนในทองคา มีสดั ส่วนร้อยละ 16 และการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และประกันชีวิต มีสดั ส่วนร้อยละ 6 และส่วนใหญ่เป็ นกลุ่มตัวอย่างที่ มีรายได้ปานกลางเช่นกัน สัดส่วนการออมของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่น้ั นจะอยู่ที่รอ้ ยละ 10 – 20 ของรายได้ รองลงมาคือน้อยกว่าร้อยละ 10 ของรายได้ สาหรับการใช้สินเชื่อของกลุ่มตัวอย่างนั้น มีผูท้ ี่ใช้ สินเชื่อคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 7 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นสินเชื่อเพื่อการซื้ อสินค้าอุปโภค บริโภคทัว่ ไป คิดเป็ นร้อยละ 30 รองลงมาคือสินเชื่อเพื่อธุรกิจ มีสดั ส่วนร้อยละ 28 และสินเชื่อส่วนบุคคล มีสดั ส่วนร้อยละ 19 ตามลาดับ

พฤติกรรมการใช้จา่ ย กลุ่มตัวอย่างชาวลาวนิ ยมใช้จ่ายด้วยเงินสดเป็ นหลัก คิดเป็ นสัดส่วนเกือบร้อยละ 100 เนื่ องจากอุปนิ สยั ของชาวลาว คื อ ไม่ชอบเป็ นหนี้ จึ งไม่นิย มใช้บัตรเครดิ ต โดยจากผลวิจัย พบว่า เกื อบทั้งหมดของกลุ่ม ตัวอย่างยังใช้จ่ายด้วยเงินสดเป็ นหลัก ในทุกๆ ระดับรายได้ กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้จ่ายด้วยบัตรเดบิต มีเพียงร้อย ละ 0.7 และที่เหลือบางส่วนใช้เช็คเงินสด

เงินสด 99%

วิธีการชาระเงิน เมื่อซื้ อสินค้า

บัตรเดบิต 1%

60


พฤติกรรมด้านการเงินและการออม การออมของกลุ่มตัวอย่างชาวลาวส่วนใหญ่ น้ั นจะฝากเงินสดกับธนาคาร ทุ ก กลุ่มระดับรายได้ คิ ดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 48 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด และออมเป็ นเงินสด คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 26 นอกจากนี้ ยังมี การลงทุนในทองคา อีกประมาณร้อยละ 11 การลงทุนในการลงทุนในรูปแบบของการซื้ อประกันชีวิตและ อสังหาริมทรัพย์ มีสดั ส่วนเท่าๆ กัน คือ ประมาณร้อยละ 4 ลงทุนในกองทุนและหุน้ เป็ นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 3 ซึ่งส่วนใหญ่พบว่าเป็ นกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ในระดับปานกลาง-สูง ลงทุนในหุน้ 3% ซื้ อที่ดิน/ อสังหาริมทรัพย์ 4% ซื้ อประกันชีวิต 4%

ลงทุนในพันธบัตร 2%

ลงทุนกับทองคา 11%

การออมเงิน

ไม่ได้ออมเงิน 1%

ฝากธนาคาร 48%

เก็บเงินสดไว้ 26%

สาหรับสัดส่วนการออมของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่น้ันจะอยู่ที่รอ้ ยละ 10 – 20 ของรายได้ ซึงมีสดั ส่วนร้อย ละ 34 รองลงมาคือน้อยกว่าร้อยละ 10 ของรายได้ มีสดั ส่วนร้อยละ 28 และสัดส่วนร้อยละ 20 – 30 ของ รายได้ มีสัดส่วนร้อยละ 23 ตามลาดับ สาหรับการใช้สินเชื่อของกลุ่มตัวอย่างนั้ น มีผูท้ ี่ ใช้สินเชื่อคิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 7 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นสินเชื่อเพื่ อการซื้ อสินค้าอุปโภคบริโภคทัว่ ไป คิดเป็ นร้อยละ 30 รองลงมาคือสินเชื่อเพื่อธุรกิจ มีสดั ส่วนร้อยละ 28 และสินเชื่อส่วนบุคคล มีสดั ส่วนร้อย ละ 19 ตามลาดับ

61


ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 โทร. 043-202-566 โทรสาร. 043-303-567

www.ecberkku.com

62


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.