CLMV Pulse Consumer Behavior, Lifestyle & Attitude
เวียดนาม ผลการวิจยั พฤติกรรมผูบ้ ริโภค 2013
Esaan Center for Business and Economic Research Khon Kaen University, Thailand
© Copyrights 2014 all rights reserved
หัวหน้าทีมวิจยั Ms. Mu Mu Thient, Yangon, Myanmar Dr. Phouphet KYOPHILAVONG, Laos National University, Vientiane, Laos Dr. Nguyen Luu Bao Doan, Hoa Sen University, Ho Chi Minh City, Vietnam Vin Spoann, Royal University of Phnom Penh, Phnom Penh, Cambodia Assit. Prof. Dr. Kullapapruk Piewthingngam, Khon Kaen University, Thailand
ข้อจากัดความรับผิดชอบ: ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสานั กงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ขอ สงวนสิทธิท้งั ปวง รวมทั้งสิทธิในการแก้ไข ทาซ้า ดัดแปลง ตลอดจนนาไปใช้อา้ งอิงหรือเผยแพร่รายงานนี้ ไม่ว่าส่วนหนึ่ ง ส่วนใดและด้วยวิธีการใด ๆ โดยไม่ได้รบั อนุ ญาตเป็ นหนังสือ บทความและความเห็นใด ๆ เป็ นบทความและความเห็นของ นักวิจยั และเป็ นไปตามผลของการสารวจ ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสานักงานส่งเสริม วิสาหกิจขนากลางและขนาดย่อม ไม่ตอ้ งรับผิดชอบและไม่รบั ประกันไม่ว่าในกรณี ใด ๆ ในผลจากการนาข้อมูลดังกล่าวไป ใช้
ผูส้ นับสนุนทุนการวิจยั : รายงานฉบับนี้ ได้รับทุนจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นในการดาเนิ นการศึกษาวิจัย นอกจากนี้ ยังได้รับทุ นสนั บสนุ นจาก สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับอาหารและการตกแต่งบ้าน
ราคา : 450 บาท สงวนลิขสิทธิ์ - ห้ามเผยแพร่หรือนาไปใช้ในเชิงพาณิชย์ก่อนได้รบั อนุญาต
ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 โทร.: +66(0) 43 202 566, โทรสาร: +66(0) 42 202 567
email: ecber.kku@gmail.com www.ecberkku.com/asean www.facebook.com/ecberkku
Table of contents Preface Methodology Sample Education norm Work life Eat & drink habits Beauty and skin care Fashion habits Health and medical Smoking habits Shopping habits and attitude Hobby and free time Home care and decorations Pet care Travel habits Holiday and leisure Saving and investment habits
หน้า 1 2 3 6 7 9 31 33 35 38 40 43 45 57 58 60 61
Preface เวียดนามเป็ นประเทศที่มีสภาพทางภูมิศาสตร์สวยงาม ตั้งอยู่ในพื้ นที่ชายฝั ง่ ทะเลจีนใต้ มีพรมแดนติดต่อ กับประเทศจีน ลาวและกัมพูชา นครโฮจิมินห์ (Ho Chi Minh) ในประเทศเวียดนาม ถือเป็ นเมืองที่มีขนาด ใหญ่ที่สุดเป็ นอันดับสอง รองจากเมืองฮานอย (Hanoi) ซึ่งเป็ นเมืองหลวงของประเทศ เมืองโฮจิมินห์ ถือ เป็ นเมืองท่าเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศเวียดนามที่เศรษฐกิจเติบโตได้อย่างรวดเร็วในศตวรรษที่ผ่านมา โฮจิมินห์ รูจ้ กั กันในชื่อเดิมว่า ไซ่ง่อน (Saigon) เป็ นเมืองที่มีผคู้ นไปอาศัยอยู่ค่อนข้างมาก จึงทาให้เป็ นหนึ่ ง ในเมืองที่มีประชากรอาศัยอยู่ในระดับหนาแน่ น พื้ นที่ที่อยู่อาศัย เป็ นปั จจัยหนึ่ งที่กาหนดความเชื่อของชาว เวียดนาม ชาวเวียดนามมีความเชื่อที่หลากหลายแตกต่างตามเขตพื้ นที่ อย่างไรก็ตามโดยส่วนใหญ่แล้วนับ ถือศาสนาพุทธ ประเทศเวียดนามเป็ นประเทศที่มีพื้นฐานมาจากการเกษตรและประชากรโดยส่วนใหญ่ก็ ยังคงอาศัยอยู่ในเขตชนบท แม้ว่าในปั จจุบนั เศรษฐกิจในประเทศขยายตัวอย่างรวดเร็ว อันเป็ นผลมาจาก การดาเนิ นนโยบายเปิ ดประเทศและมีนักลงทุนจากต่างประเทศเข้ามาลงทุน ในสาขาอุตสาหกรรม การค้า ปลีกและด้านการเงิน เพิ่มขึ้ นอย่างมาก โดยปกติ แล้ว ลักษณะนิ สัย ของชาวเวียดนามจะเป็ นคนประหยัด มัธยัสถ์ และมีความระมัดระวังด้านการใช้จ่าย แต่ ในปั จจุบัน ชาวเวียดนามสมัยใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วัยรุ่น มักจะใช้จ่ายเงินไปกับเสื้ อผ้าเครื่องแต่งกายแบบแฟชัน่ นิ ยม และใช้เวลาไปกับกิจกรรมในการพักผ่อน หย่อนใจมากขึ้ น แม้จะเผชิญสภาวะเศรษฐกิจซบเซาในช่วงปี ที่ผ่านมาก็ตาม
1
Methodology ในรายงานการศึ กษาชิ้ นนี้ เราทาการวิเคราะห์พฤติกรรมผูบ้ ริโภคชาวเวียดนาม โดยการเก็บข้อมูลจาก แบบสอบถามจานวน 400 ชุด จากการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก และมีการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากการจัด สนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ร่วมกับร่วมกับผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการตลาดและพฤติกรรมผูบ้ ริโภค เช่น นั กการตลาด นั กโฆษณา อาจารย์ในสถาบันอุ ดมศึ กษา และผูป้ ระกอบการ ซึ่ งในส่วนของการเก็ บ ข้อมูลเชิงปริ มาณ ได้กาหนดโครงสร้างของกลุ่มตัวอย่างตามลักษณะทางประชากรศาสตร์ของประเทศ เวียดนาม เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่น่าเชื่อถือและเป็ นตัวแทนของคนจานวนมากได้ โดยในประเทศเวียดนาม นั้นได้เก็บข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างในเมืองโฮจิมินห์ และเบื้ องต้นของการศึ กษาเราพบว่า ชาวเวียดนามมี รายได้ค่อนข้างตา่ โดยกว่าร้อยละ 35 มีรายได้ไม่เกิน 4,999 บาท และอีกร้อยละ 35 มีรายได้อยู่ระหว่าง 5,000 - 14,999 บาท มีเพียงไม่ถึงร้อยละ 7 ที่ มีรายได้สูงกว่า 25,000 บาท อัตราแลกเปลี่ยนของ เวียดนาม คือ ดอง (Vietnamese Dong) และมีค่าค่อนข้างตา่ เมื่อเทียบกับเงินตราต่างประเทศ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเงินดอลลาร์ของประเทศสหรัฐอเมริก า อย่างไรก็ตามผลจากการศึ กษายังสะท้อนให้เห็นว่าชาว เวียดนามพยายามยกระดับการศึกษาของตนให้สงู ขึ้ น เพื่อให้มชี ีวิตที่ดีและเพื่อให้มีโอกาสในชีวิตเพิ่มมากขึ้ น ชาวเวียดนามทางานอย่างขยันขันแข็ง และมีจานวนไม่น้อยที่ สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะในเขตเมือง
2
Sample ข้อมูลภาพรวมประชากรจากแบบสอบถาม จาแนกได้ดงั นี้ 1) เพศ (Gender)
2) ระดับอายุ (Age)
15.8%
21.5%
45.5% 17.8%
54.5 %
21.0% 22.5%
ชาย
18-22 ปี 30-39 ปี 50-60 ปี
หญิง
3) ระดับรายได้ส่วนบุคคล (Personal Income)
5%
23-29 ปี 40-49 ปี มากกว่า 60 ปี
4) ระดับรายได้ครัวเรือน (Household Income)
2%
7% 36%
31% 40%
53%
28%
รายได้ปานกลาง-ล่าง; ไม่เกิน 5,000 บาท
รายได้ปานกลาง-ล่าง; ไม่เกิน 5,000 บาท
รายได้ปานกลาง; 5,001-10,000 บาท
รายได้ปานกลาง; 5,001-10,000 บาท
รายได้ปานกลาง-สูง; 10,001-25,000 บาท
รายได้ปานกลาง-สูง; 10,001-25,000 บาท
รายได้สงู ; มากกว่า 25,000 บาท
รายได้สงู ; มากกว่า 25,000 บาท
3
เพศของกลุ่มตัวอย่าง เป็ นชายและหญิงใกล้เคียงกัน โดยเป็ นเพศหญิงร้อยละ 55 และเพศชายร้อย ละ 45 สาหรับช่วงอายุ ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างช่วงอายุ 18-39 ปี ด้านรายได้ สาหรับรายได้ส่วนบุคคล (Personal Income) กว่าครึ่งหนึ่ งรายได้ระดับปานกลาง คือ 5,000-10,000 บาทต่อเดือน รองลงมาคือ รายได้ปานกลาง-ล่าง คือไม่เกิน 5,000 บาทต่อเดือน ส่วนรายได้ครัวเรือน (Household Income) กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่มีรายได้ครัวเรือนประมาณ 5,000-10,000 บาท รองลงมาจะมีรายได้ครัวเรือนสูงกว่า 25,000 บาทต่อเดือน สาหรับด้านอาชีพของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่กว่า 1 ใน 3 เป็ นพนักงานบริษัทเอกชน รองลงมาเป็ น ผูป้ ระกอบการขนาดเล็ก และพนักงานของรัฐ สาหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง พบว่ากว่าร้อยละ 41 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี รองลงมาประมาณร้อยละ 25 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย/ปวช. ส่วนการนับถือศาสนา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็ นพุทธศาสนิ กชน มีประมาณร้อยละ 28 ที่ไม่ นับถือศาสนา และกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามโดยส่วนใหญ่มีเชื้ อสายขิ่น (จีน)
5) อาชีพ (Current Occupation)
6) การศึกษา (Education Level)
7% 7% 10%
4% 4% 16%
13%
5% 41%
9%
25%
32% 18% 1% นักเรียน นักศึกษา พนักงานของรัฐ, รัฐวิสาหกิจ พนักงานเอกชน ผูป้ ระกอบการขนาดกลางขึ้ นไป ผูป้ ระกอบการขนาดเล็ก ลูกจ้างชัว่ คราว พ่อบ้าน-แม่บา้ น
9% ประถมศึกษาหรือตา่ กว่า มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. อนุ ปริญญา/ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาโทขึ้ นไป
4
7) ศาสนา
8) เชื้ อชาติ/เผ่าพันธุ ์ 2% 1%
28% 46% 8% 1% 1%
15%
ศาสนาพุทธ คาทอลิก ซิกห์ ไม่นับถือศาสนา
98% ศาสนาอิสลาม โปรเทสแตนท์ ผี/วิญญาณ อื่นๆ
ฮั้ว
ขิ่น
ไท
5
Education norm ผลจากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามโดยส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับในระดับปริญญาตรี คิด เป็ นสัดส่วนกว่าร้อยละ 41 รองลงมาจบการศึ ก ษาระดับมัธยมศึ กษาตอนปลาย ร้อยละ 25 และระดับ มัธยมต้น ร้อยละ 16 ตามลาดับ ไม่ได้ศึกษา 0.5%
ปริญญาโทขึ้ นไป 3.8%
ปริญญาตรี 41.3%
ประถมศึกษา 4.3%
ระดับการศึกษาสูงสุด
มัธยมศึกษา ตอนต้น16.3% มัธยมปลาย/ ปวช. 25%
อนุ ปริญญา 9%
และนอกจากนี้ ผลการสารวจยังสะท้อนให้เห็นว่า ชาวเวียดนามในนครโฮจิมินห์ ซิตี้ ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 82 สาเร็จการศึกษาจากสถาบันของรัฐในประเทศ รองลงมาประมาณร้อยละ 13 สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน นานาชาติ ในประเทศ อีกร้อยละ 3 สาเร็จการศึกษาจากสถาบันเอกชนในประเทศ และมีประมาณร้อยละ 2 ที่สาเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มที่มีรายได้สงู
สถาบันการศึกษา นานาชาติ ภายในประเทศ 3% สถาบันการศึกษ าของรัฐ ภายในประเทศ 82%
สถานบันที่กลุ่ม ตัวอย่าง
สถาบันการศึกษา เอกชน ภายในประเทศ 13% สถาบันการศึกษา ในต่างประเทศ 2% 6
Work life ชาวเวียดนามมีลกั ษณะการทางานคล้ายชาวจีน คือ ขยัน ทางานหนักและจริงจังกับการทางานมาก คนรุ่น ใหม่หรือผูท้ ี่เพิ่งจบการศึกษา ล้วนต้องการที่จะมีโอกาสเข้าไปทางานในบริษัทข้ามชาติ ทั้งที่มาเปิ ดกิจการ ในเวียดนามหรือแม้แต่ ออกไปทางานในต่างประเทศ ทั้งนี้ เพราะค่าตอบแทนที่ สูงกว่าและถื อเป็ นความ ภาคภูมิใจส่วนบุคคล ชาวเวียดนามโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นและวัยเริ่มทางาน มักจะหารายได้พิเศษจากงาน นอกเวลาเพื่อนามาเป็ นค่าใช้จ่ายในการพัฒนาตนเอง โดยนิ ยมจะไปสมัครเรียนภาษาเพิ่มเติมหรือทักษะ อื่นๆ นอกจากที่เรียนในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย สาหรับสถานะของสตรีในสังคมเวียดนามนั้น ปั จจุบนั ถือ ว่ามีความเท่าเทียมกับเพศชาย โดยได้รบั การยอมรับให้ได้รบั ตาแหน่ งที่ดีตามความสามารถ อาชีพของชาวเวียดนามส่วนใหญ่น้ัน จากผลการสารวจอาชีพของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 40 ประกอบอาชีพเป็ นพนักงานบริษัทเอกชน รองลงมา กว่าร้อยละ 20 เป็ นเจ้าของธุรกิจขนาดเล็ก ด้วยตัวเอง และร้อยละ 12 ประกอบอาชีพอิสระ (Freelance)
นักเรียน/นักศึกษา 8% รับจ้าง 11% ราชการ 11%
อาชีพอิสระ 12%
พนักงาน บริษทั เอกชน 37%
อาชีพของกลุ่มตัวอย่าง
เจ้าของธุรกิจขนาด กลางและขนาดย่อม 21%
กลุ่ ม ตั ว อย่ า งชาวเวี ย ดนามโดยส่ ว นใหญ่ ไม่ ว่ า จะมี ฐ านะดี ห รื อ ไม่ มัก จะเดิ น ทางไปท างานโดยใช้ รถจักรยานยนต์ ทั้งนี้ เป็ นเพราะความสะดวก ประหยัดและเคยชิน วิธีการเดินทางโดยใช้รถจักรยานยนต์ ของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามคิดเป็ นสัดส่วนกว่าร้อยละ 80 รองลงมาร้อยละ 6 นิ ยมเดินไปทางาน มีเพียง ร้อยละ 2 ที่เดินทางด้วยรถยนต์ และด้วยขนส่งสาธารณะ ส่วนการใช้บริการรถรับส่งพนักงานของบริษัท และรถแท็กซี่ยงั มีไม่แพร่หลายนัก จึงมีสดั ส่วนค่อนข้างน้อยหรือประมาณร้อยละ 0.5 และ 0.25 ตามลาดับ สาหรับชัว่ โมงการทางาน พบว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามทางานกันสัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชัว่ โมง โดยประมาณร้อยละ 17 ของกลุ่มตัวอย่าง มีงานอื่นนอกเหนื อจากงานหลักของตนเองร่วมด้วย 7
อื่นๆ 9% เดิน 6%
รถจักรยานยนต์ 79%
วิธีการเดินทางไปทางาน ในชีวิตประจาวัน
รถยนต์ส่วนตัว 2% รถโดยสารสาธารณะ 2% รถจักรยาน 1% รถของบริษัท 1%
8
Eat & Drink habits ห้องครัวและการเก็บอาหาร ครัวของชาวเวียดนามส่วนใหญ่เป็ นครัวแบบดั้งเดิม อยู่ภายในบ้าน มีประมาณร้อยละ 10 ที่เป็ น ครัวฝรัง่ และประมาณร้อยละ 5 มีเพียงแพนทรีหรือส่วนเตรียมอาหาร โดยแทบทุกบ้านมีเตาแก๊ส/เตาไฟฟ้ า ใช้ เช่นเดียวกับตูเ้ ย็นที่มีกนั เกือบร้อยละ 90 ส่วนเครื่องใช้ในครัวที่มีนอ้ ยที่สุด คือ เครื่องกรองน้ าดื่ม
เครื่องกรองน้าดื่ม
2%
98%
เครื่องล้างจาน
3%
97%
เครื่องปิ้ งขนมปงั
6%
94%
เครื่องดูดควัน
21%
เตาอบ
79% 29%
ไมโครเวฟ
71% 41%
กาต้มน้าร้อน…
59% 67%
ตูเ้ ย็น
33% 88%
เตาแก๊ส/ไฟฟ้า
98% 0%
20%
40% มี
60% ไม่มี
80%
12% 2% 100%
ชาวเวียดนามกว่าร้อยละ 90 ประกอบอาหารรับประทานที่บา้ นทุกวัน โดยมักทาอาหารท้องถิ่นรับประทาน เช่น อาหารเวียดนามหรืออาหารจีน การเก็บอาหารของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามพบว่า อาหารแห้งและ ข้าว รวมทั้งเครื่องปรุงอาหารเช่น ซอส น้ าปลา น้ าตาล เป็ นอาหารที่กลุ่มตัวอย่างต้องมีไว้ประจาบ้านอยู่ ตลอดเวลา ส่วนเนื้ อสัตว์และผักผลไม้ กลุ่มตัวอย่างจะซื้ อมาเพื่อบริโภคในระยะสั้นจึงจะกักตุนอาหารสดไว้ บริโภคน้อย ส่วนอาหารประเภทแช่แข็งหรืออาหารพร้อมรับประทานไม่ค่อยเป็ นที่นิยม เพราะอาหารที่สด ใหม่ยงั หาซื้ อได้ในราคาถูกจึงได้รบั ความนิ ยมมากกว่า สาหรับอาหารประเภทเนื้ อสัตว์ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 43 ซื้ อทุกวัน/เกือบทุกวัน อีกร้อยละ 42 ซื้ อทุกๆ สัปดาห์ สาหรับอาหารประเภทผักสด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นิยมซื้ อเกือบทุกวัน โดยพบว่ากลุ่ม ตัวอย่างชาวเวียดนามนิ ยมไปซื้ อเนื้ อสัตว์ ฟั ก -ผลไม้จากตลาดสดเป็ นหลัก ทั้งนี้ เพราะราคาถูก อาหารแห้ง และเครื่องปรุงต่างๆ จะซื้ อเดือนละ 1-2 ครั้ง จากซูเปอร์มาร์เก็ตและร้านขายของชา ส่วนอาหารแช่แข็ง 9
และอาหารสาเร็จรูปพร้อมรับประทาน พบว่ากว่าครึ่งของกลุ่มตัวอย่างไม่เคยซื้ อมารับประทานเลย ส่วนกลุ่ม ที่ซื้อส่วนใหญ่จะซื้ อเดือนละ 1-2 ครั้งจากซูเปอร์มาร์เก็ต/ไฮเปอร์มาร์เก็ต เป็ นหลัก เมื่อสอบถามกลุ่มตัวอย่างถึ งพฤติกรรมการซื้ ออาหารในแต่ละครั้ง พบว่า กว่าร้อยละ 59 จะซื้ อมาเพื่อ บริโภคระยะสั้น หรือซื้ อเป็ นห่อขนาดเล็กไม่เกิน 12 ชิ้ น รองลงมาร้อยละ 38 ซื้ อเพื่อการบริโภคเป็ นครั้ง คราว 1-2 ชิ้ น โดยมีเพียงร้อยละ 3 ที่ซื้อคราวละมากๆ เช่นซื้ อยกโหล ยกหีบ ส่วนของรสชาติอาหารนั้น กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่จะทานอาหารที่รสค่อนไปทางเผ็ดและหวาน โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นและวัยกลางคน สาหรับประเภทเนื้ อสัตว์ กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามนิ ยมทานเนื้ อสัตว์ ทุกประเภท มีไม่ถึงร้อยละ 10 ที่งดรับประทานเนื้ อสัตว์ ยกเว้นเนื้ อเป็ ดที่มีผูง้ ดรับประทานร้อยละ 12 และ หอยต่างๆ มีผูง้ ดรับประทานร้อยละ 19 ในการเลือกซื้ ออาหารของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามนั้น พบว่าปั จจัยที่มีความสาคัญในการตัดสินใจซื้ อมาก 5 อันดับแรกได้แก่ 1) อาหารนั้นต้องปลอดสารพิษ, เป็ นอาหารที่ดีต่อสุขภาพ 2) มีฉลากที่ให้ขอ้ มูลชัดเจน 3) มีตรายี่หอ้ เป็ นที่รูจ้ กั 4) ราคาเหมาะสม 5) วางจาหน่ ายในสถานที่ที่เชื่อถือได้ เช่น ห้างค้าปลีก สมัยใหม่ต่างๆ ส่วนปั จจัยอื่นๆ เช่น เครื่องหมายรับรองคุณภาพต่างๆ ความสวยงามของบรรจุภัณฑ์ และ การลดราคา เป็ นปั จจัยที่มีความสาคัญในระดับปานกลาง
10
ภาพที่ ลักษณะครัวที่ใช้ในการประกอบอาหารที่แตกต่างกันของบ้านแต่ละหลัง สาหรับพฤติกรรมการเก็บอาหารของชาวเวียดนามนั้น พบว่ากลุ่มตัวอย่างจะซื้ ออาหารประเภท อาหารแห้ง ข้าวสาร และเครื่องปรุงต่างๆ เก็บตุนไว้ ซึ่งสามารถเก็บไว้ได้เป็ นเวลานาน และมีความถี่ในการซื้ อเดือนละ 1 ครั้ง ส่วนอาหารประเภทผัก ผลไม้ และเนื้ อสัตว์น้ัน จะซื้ อทุกวัน ไม่หรือไม่ก็ซื้อสัปดาห์ละครั้ง ให้เพียงพอ สาหรับการบริโภค โดยพบว่ากลุ่มตัวอย่างจะซื้ อผักสดทุกวัน หรือเกือบทุกวัน คิดเป็ นสัดส่วนมากที่สุดร้อย ละ 70 ส่วนผลไม้ จะมีความถี่ในการซื้ อทุกวันประมาณร้อยละ 50 เนื้ อสัตว์จะซื้ อทุกวันและซื้ อสัปดาห์ละ ครั้งหรือสองครั้ง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 44 และ 42 ตามลาดับ สาหรับสถานที่ ในการซื้ อสินค้าอาหาร 11
พบว่าโดยทัว่ ไปแล้วนิ ยมซื้ อสินค้าต่างๆ ที่ตลาดสด แต่หากมองเฉพาะสินค้าจะพบว่า กลุ่มตัวอย่างนิ ยมซื้ อ อาหารประเภทเนื้ อ ผักสดและผลไม้ที่ตลาดสด ส่วนเครื่องปรุงรสและอาหารแห้ง กลุ่มตัวอย่างจะนิ ยมซื้ อที่ ร้านซุปเปอร์มาร์เก็ตหรือไม่ก็หา้ งไฮเปอร์มาเก็ต เดือนละครั้ง เป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 60 ในขณะที่ ข้าวสาร กลุ่มตัวอย่างมักจะซื้ อ ประมาณเดือนละ 1– 2 ครั้ง จากร้านขายของชา คิดเป็ นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 60
แผงขายสินค้าในตลาดสด นครโฮจิมินห์ (1)
แผงขายสินค้าในตลาดสด นครโฮจิมินห์ (2)
12
แต่อย่างไรก็ตาม อาหารแบบพร้อมรับประทาน (Ready-to-eat) และอาหารแช่แข็งยังคงไม่เป็ นที่รจู ้ กั และ ไม่เป็ นที่นิยมในกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามเท่าใดนั ก โดยมีสัดส่วนกว่าครึ่งหนึ่ งของกลุ่มตัวอย่าง ไม่เคย หรือไม่ค่อยจะซื้ อสินค้าเหล่านี้ เลย ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างที่ซื้อสินค้าเหล่านี้ เป็ นประจาทุก วัน-ทุกสัปดาห์ มี สัดส่วนไม่ถึงร้อยละ 15 และมักจะหาซื้ อสินค้าเหล่านี้ จากซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ อาหารแช่แข็ง
10%
อาหารสาเร็จรูป/… ข้าวสาร/ข้าวเหนียว
21%
12%
8%
21%
12%
12%
อาหารแห้ง
5% เครื่องปรุงรส 8% เนื้อสัตว์สด/แช่แข็ง
55% 46%
59%
23%
17% 55%
20%
60%
44%
ผลไม้สด
12% 5% 10% 42%
50%
ผักสด
6% 5% 43%
66% 0%
ทุกวัน
20% ทุกสัปดาห์
29% 40%
ทุกเดือน
5%
ทุก 3 เดือน
60% ทุก 6 เดือน
80%
100%
ไม่เคย/มากกว่า 6 เดือน
ความถี่ในการซื้ ออาหารแต่ละประเภท
ภาพลักษณะตูเ้ ย็น และอาหารที่เก็บในตูเ้ ย็น
13
ส่วนปริมาณหรือจานวนในการซื้ อสินค้าในแต่ ละครั้งของชาวเวียดนาม โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะซื้ อเผื่ อไว้ เล็กน้อย (ซื้ อสินค้าครั้งละประมาณ 3-5 ชิ้ น) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับกลุ่มตัวอย่างผูท้ ี่ มีรายได้ปานกลาง–ตา่ คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 50 – 60 ส่วนผูท้ ี่มีรายได้นอ้ ยหรือผูท้ ี่ไม่มีรายได้ กว่าร้อยละ 60 มักจะซื้ อ ของเฉพาะที่จาเป็ นต้องใช้ (ซื้ อเพียง 1-2 ชิ้ น เพื่อการใช้เป็ นครั้งๆ) โดยจากการลงสารวจพื้ นที่ พบว่า แม้ชาวเวียดนามส่วนใหญ่จะยังคุน้ เคยกับการซื้ อสินค้าตามร้านขายของ ชาอยู่ก็ตาม แต่บางส่วนได้เริ่มปรับตัวต่อการเข้ามาของร้านค้าปลีกมากขึ้ น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ความ เป็ น Modern Trade มากขึ้ น ทั้งพฤติกรรมการเลือกสินค้า การเปรียบเทียบราคาสินค้า เนื่ องจากในร้านค้า ปลีกนั้นมีสินค้าที่หลากหลายมากกว่าร้านขายของชา
ภาพที่ ซุปเปอร์มาร์เก็ตแห่งหนึ่งในนครโฮจิมินห์ เมื่อสอบถามถึงปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้ อ/ตัดสินใจซื้ อสินค้าของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม พบว่าปั จจัยที่ กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญมากที่สุด คือ สินค้าที่ดีต่อสุขภาพ และเป็ นสินค้าออร์แกนิ ค มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.16 ปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญรองลงมา คือ สินค้าที่มีฉลากระบุขอ้ มูลครบถ้วน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 สินค้าที่มีแบรนด์/ตราสินค้าเป็ นที่รจู ้ กั มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.04 ตามลาดับ ส่ว นปั จจัย ที่ ก ลุ่ มตัว อย่างชาวเวีย ดนามไม่ค่ อยให้ค วามส าคัญ มากนั ก หรื อ ไม่ได้นามาพิ จ ารณาในการ ตัดสินใจซื้ อสินค้าเท่าใดนัก ได้แก่ สินค้านาเข้าจากต่างประเทศ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.51 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยน้อย ที่ สุ ด เนื่ อ งจากสิ น ค้า อุ ป โภคบริ โ ภคในเวี ย ดนามโดยส่ ว นใหญ่ แ ล้ว เป็ นสิ น ค้า น าเข้า จากต่ า งประเทศ 14
รองลงมาคือการโฆษณาของสินค้าตามที่ต่าง ๆ เช่น ป้ายบิลบอร์ด โทรทัศน์ วิทยุ หรือหนังสือพิมพ์ เป็ นต้น มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.65 และสินค้าที่มสี ีสนั สวยงาม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.93 ตามลาดับ 2.51
สินค้านาเข้า
2.65
โฆษณาตามป้ายบิลบอร์ด โทรทัศน์ วิทยุ สีสนั
2.93
ของแถม
2.94
หีบห่อที่ดีและสวยงาม
3.13
สินค้าลดราคา
3.15
3.69
เครื่องหมายรับรองคุณภาพ
3.78
วางขายในร้านที่น่าเชื่อถือ
ราคา
4.00
แบรนด์
4.04 4.07
ฉลากที่มีขอ้ มูลครบถ้วน
4.16
ดีตอ่ สุขภาพ ออร์แกนิค 1.00
2.00
3.00
4.00
5.00
แสดงค่าเฉลี่ยปั จจัยในการตัดสินใจซื้ อสินค้าของผูบ้ ริโภคชาวเวียดนาม ส่วนในเรื่องของรสชาติอาหารที่ชื่นชอบของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามนั้น พบว่า 1 ใน 4 จะชื่นชอบอาหาร รสเผ็ด โดยพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เลือกระดับความเผ็ดในระดับ 10 นั้นคิดเป็ นร้อยละ 25 ของกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด โดยเฉพาะในกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 23 – 39 ปี จะชื่นชอบอาหารรสเผ็ดในสัดส่วนที่สูงที่สุด ในขณะที่ 1 ใน 3 ของกลุ่มตัวอย่าง ชอบอาหารที่มีรสชาติหวานและเค็มในระดับกลางๆ (ชื่นชอบในระดับ 5 ใน 10) และรสเปรี้ ยวนั้ นกลุ่มตัวอย่ างส่วนใหญ่ จะให้คะแนนอยู่ในระดับ 5 เช่นเดียวกัน แต่มีสัดส่วน เพียงร้อยละ 28 ส่วนรสชม กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามเกือบครึ่งหนึ่ ง ลงคะแนนว่าไม่ใช่รสชาติที่ตนชื่นชอบ (ร้อยละ 43 ตอบว่าชื่นชอบในระดับ 1 หมายถึง ไม่ชื่นชอบเลย) ส่วนอาหารประเภทสัตว์ต่างๆ ที่ กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามไม่ชอบหรือไม่นิยมรับประทานมากที่ สุด คือ หอย คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 24 รองลงมาคือ เนื้ อเป็ ด ปลา และกุง้ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 15 13 15
และ 10 ตามลาดับ เนื่ องจากชาวเวียดนามจะชื่นชอบการรับประทานเนื้ อสัตว์ใหญ่ เช่น เนื้ อหมู เนื้ อไก่และ เนื้ อวัว มากกว่า นอกจากนี้ ในการรับประทานอาหารแทบทุกมื้ อของชาวเวียดนามยังมักจะประกอบไปด้วย ผักและผลไม้ดว้ ย ผลไม้ 2% ผัก 2% หมู 5% เนื้ อไก่ 6% เนื้ อเป็ ด 7% ปลาหมึก 7% ปู 9% กุง้ 10% ปลา 13% เนื้ อเป็ ด 15% หอย 24% 0%
98% 98% 95% 94% 93% 93% 91% 90% 87% 85% 76% 20%
40%
60%
80%
100%
ไม่นิยมรับประทาน อาหารที่ชาวเวียดนามไม่นิยมรับประทาน
พฤติกรรมการรับประทานอาหารนอกบ้าน สาหรับพฤติกรรมการรับประทานอาหารมื้ อต่างๆ ของชาวเวียดนามนั้ น ผลสารวจพบว่า สาหรับมื้ อเช้า ด้วยวิถีชีวิตเมืองที่เร่งรีบ และการจราจรที่ค่อนข้างติดขัด ทาให้กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามกว่าร้อยละ 52 ทานมื้ อเช้านอกบ้าน อีกร้อยละ 16 ซื้ ออาหารห่อเพื่อรับประทาน และมีประมาณร้อยละ 30 ที่ทานมื้ อเช้าที่ บ้าน โดยอาหารที่ทานในมื้ อเช้า ส่วนใหญ่คือข้าวต้ม อาหารง่ายๆ ทัว่ ไป ชา/กาแฟ และขนมปั งกับแซนด์วิช แต่ในมื้ อกลางวันกลับพบว่ามีกลุ่มตัวอย่างมากกว่าร้อยละ 58 ที่ รบั ประทานอาหารกลางวันที่ บา้ น ซึ่ ง สอดคล้องกับการสัมภาษณ์พดู คุยกับชาวเวียดนาม ที่ระบุว่าในช่วงกลางวันจะแวะกลับมาที่บา้ นเพื่อมาทาน อาหาร แล้วจึงกลับไปทางานต่อในช่วงบ่าย และมีประมาณร้อยละ 29 ที่รบั ประทานมื้ อกลางวันนอกบ้าน สาหรับมื้ อเย็น เกือบร้อยละ 90 รับประทานมื้ อเย็นที่บา้ น มีประมาณร้อยละ 7 ที่รบั ประทานมื้ อเย็นนอก บ้านเป็ นประจา เมื่อสอบถามถึงความถี่ในการรับประทานอาหารนอกบ้าน ร้อยละ 39 ของกลุ่มตัวอย่าง รับประทานอาหาร นอกบ้านทุกวัน/เกือบทุกวัน รองลงมาประมาณร้อยละ 37 ทานอาหารนอกบ้าน 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ อีก ร้อยละ 25 ทานอาหารนอกบ้าน 1-2 ครั้งต่อเดือนหรือนานกว่านั้น โดยกว่าร้อยละ 80 นิ ยมรับประทาน
16
อาหารในศูนย์อาหารหรือแผงขายอาหาร ประมาณร้อยละ 14 จะรับประทานตามร้านอาหารทัว่ ไป อีกร้อย ละ 5 รับประทานตามร้านอาหารในศูนย์การค้า โดยมักไปรับประทานกับเพื่อนและครอบครัวเป็ นส่วนใหญ่ สาหรับ ประเภทอาหารที่ ช าวเวีย ดนามนิ ย มออกไปรับ ประทานนอกบ้า น นอกจากอาหารเวี ย ดนามที่ รับประทานเป็ นปกติแล้ว อาหารทะเล/ซีฟ้ ดู ก็เป็ นอาหารที่ได้รบั ความนิ ยม โดยเกือบร้อยละ 30 ของกลุ่ม ตัวอย่าง ทานอาหารซีฟ้ ดนอกบ้ ู านสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง อีกร้อยละ 31 ทานเดือนละ 1-2 ครั้ง อาหาร ประเภทฟาส์ตฟู้ด ก็เป็ นที่นิยม โดยมีกว่าร้อยละ 18 ที่ทานสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ส่วนอาหารประเภทปิ้ ง ย่าง/บาร์บีคิว และประเภทสุกี้ /ฮ็อตพ็อต ก็เป็ นที่นิยมเช่นกัน โดยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 26 ไปทาน เดือนละ 1-2 ครั้ง ส่วนอาหารนานาชาติ เช่น อาหารไทย อาหารจีน และอาหารตะวันตก (อิตาเลียน/ ฝรัง่ เศส) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รบั ประทานน้อยกว่าเดือนละครั้ง โดยนิ ยมรับประทานตามศูนย์อาหาร แผง ขายอาหาร และร้านอาหารทัว่ ไปเป็ นหลัก กลุ่มตัวอย่างจะพิจารณาเลือกร้านอาหาร จากปั จจัยด้านราคา และด้านความสะอาด/สุขอนามัย เป็ นปั จจัย ที่สาคัญที่สุด รองลงมาคือรสชาติและการบริการ ส่วนการหาข้อมูลเกี่ยวกับร้านอาหาร มากกว่าครึ่งของ กลุ่มตัวอย่างเลือกร้านอาหารตามคาแนะนาของเพื่อน หรือคนรูจ้ กั , รองลงมาจึงดูจากสื่ออินเตอร์เน็ ต (ร้อย ละ 23) และผ่านหน้าร้าน (ร้อยละ 16) ส่วนการสัง่ อาหารมารับประทาน (Delivery Service) มีเพียงร้อย ละ 4 ที่สงั ่ อาหารมารับประทานที่บา้ นเป็ นประจา และร้อยละ 34 สัง่ มารับประทานที่บา้ นเป็ นครั้งคราว เช่นเดียวกับการสัง่ มารับประทานในที่ทางาน มีเพียงร้อยละ 3 ที่สงั ่ มาเป็ นประจา และร้อยละ 25 ที่สงั ่ อาหารมารับประทานที่ทางานเป็ นครั้งคราว จากการสารวจพบว่ากลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่ กว่าร้อยละ 90 มักจะทาอาหารรับประทานอาหาร เองที่บา้ นเป็ นประจาทุกวันหรือแทบทุก วัน โดยเฉพาะมื้ อเที่ยงและมื้ อเย็น โดยมื้ อเย็นนั้นกลุ่มตัวอย่างจะ ทาอาหารรับประทานเองที่ บา้ นคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 90 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ส่วนมื้ อเที่ยงคิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 60 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สาหรับอาหารมื้ อเช้านั้นกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่ กว่าร้อยละ 52 จะรับประทานนอกบ้าน มีเพียงร้อยละ 29 ที่ทาอาหารเช้ารับประทานเองที่บา้ น ร้อยละ 1 ที่ห่อจากที่บา้ นไปรับประทานที่ อื่นและมีเพียงร้อยละ 2 ของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม ที่ไม่รบั ประทาน อาหารเช้า ส่วนอาหารมื้ อกลางวัน นอกจากกลุ่มตัวอย่าง จะนิ ยมกลับมาทาอาหารรับประทานเองที่บา้ น แล้ว ยังนิ ยมออกไปรับประทานนอกบ้านกว่าร้อยละ 30 มีเพียงร้อยละ 10 ที่ห่อจากบ้านไปรับประทานและ เพียงร้อยละ 3 ที่ซื้อกลับมาทานที่ บา้ น สาหรับการรับประทานอาหารมื้ อเย็น กลุ่มตัวอย่างเกือบทุ กคน นิ ยมประกอบอาหารเองเพื่อรับประทานร่วมกันในครอบครัว มีเพียงร้อยละ 1 ที่ซื้อกลับมาทานที่บา้ น ร้อย ละ 7 ทานอาหารเย็นนอกบ้านและมีเพียงร้อยละ 1 ที่ไม่ทานอาหารมื้ อเย็น
17
อาหารเย็น
90%
อาหารเทีย่ ง
7%
58%
อาหารเช้า
29%
0%
10%
16%
20%
ประกอบอาหารเอง
40%
ซือ้ กลับมาทานทีบ่ า้ น
29%
52%
60%
80%
ห่อจากบ้านไปรับประทาน
100%
ทานนอกบ้าน
ไม่ทาน
พฤติกรรมการรับประทานอาหารในแต่ละมื้ อ ส่วนอาหารเช้าที่กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 23 นิ ยมรับประทาน คือ อาหารประเภท ข้าวต้ม/โจ๊ก /ซุ ป รองลงมานิ ยมรับประทานอาหารจานเดี่ ย ว และรับประทานชากาแฟ เป็ นอาหารเช้า ประมาณร้อยละ 21 และ 16 ตามลาดับ ซีเรียล/ธัญพืช 3% ข้าวราดแกง 5% นม 8% ขนมปั ง บัน บาแก๊ต 9% ขนมปั ง แซนวิช ไข่ แฮม ไส้กรอก 15%
ข้าวต้ม โจ๊ก ซุป 23%
อาหารเช้า ที่นิยมของชาวเวียดนาม อาหารจานเดี่ยว 21% ชา กาแฟ 16%
สาหรับความถี่ ในการรับประทานอาหารนอกบ้าน พบว่า กว่า 2 ใน 3 ของกลุ่มตัวอย่างชาวเวีย ดนาม รับประทานอาหารนอกบ้านไม่ตา่ กว่าสัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยกว่าร้อยละ 40 นิ ยมออกไปรับประทานอาหาร นอกบ้านทุกวัน รองลงมากว่าร้อยละ 37 รับประทานอาหารนอกบ้านประมาณสัปดาห์ละครั้ง และร้อยละ 13 ออกไปทานนอกบ้านเดือนละครั้ง ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เคยหรือไม่ค่อยออกไปรับประทานอาหารนอก 18
บ้านเลย มีเพียงประมาณร้อยละ 5 เท่านั้ น โดยกลุ่มตัวอย่างที่ รบั ประทานอาหารนอกบ้านมากที่ สุด คือ กลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นหรือผูท้ ี่มีอายุระหว่าง 18-22 ปี ส่วนสถานที่หรือร้านอาหารที่กลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 80 นิ ยมไป คือ ศูนย์อาหาร/แผงลอยอาหาร/ตลาด รองลงมาร้อยละ 14 นิ ยมไปภัตตาคารหรือร้านอาหาร ทัว่ ไป มีเพียงร้อยละ 5 ที่ไปรับประทานอาหารที่ หา้ งสรรพสินค้าและเพียงร้อยละ 0.5 ที่ ไปรับประทาน อาหารที่ภัตตาคารในโรงแรม ส่วนบุคคลที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ คิดเป็ นร้อยละ 37 ออกไปรับประทาน อาหารนอกบ้านด้วยมากที่ สุด คือ เพื่อน รองลงมาร้อยละ 33 นิ ยมไปกับคนในครอบครัวหรือญาติ ไป รับประทานกับแฟน ประมาณร้อยละ 13 และไปรับประทานเพียงคนเดียวประมาณร้อยละ 18 โดยอาหารที่ กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามกว่าร้อยละ 91 นิ ยมออกไปรับประทานนอกบ้านเป็ นประจา คือ อาหารท้องถิ่น ของชาวเวียดนามเอง รองลงมาคือ อาหารจีนและอาหารไทย ซึ่งกลุ่มตัวอย่างจะนิ ยมไปรับประทานนอก บ้านไม่ตา่ กว่าเดือนละครั้ง คิดเป็ นกว่าร้อยละ 20 ส่วนอาหารของชาติอื่นๆ ที่เริ่ มจะได้รบั ความนิ ยม ได้แก่ อาหารเกาหลี อาหารญี่ปุ่นและอาหารยุโรป โดยส่วนใหญ่รอ้ ยละ 10 นิ ยมรับประทานประมาณเดือนละครั้ง อย่างไรก็ตามกว่าร้อยละ 70 ไม่เคยรับประทานอาหารเหล่านี้ เลย
ไม่เคย/แทบจะไม่ 5% มากกว่าเดือน 6%
ทุกวัน/เกือบ ทุกวัน 40%
ทุกเดือน 13%
ความถี่ในการออกไป ทานอาหารนอกบ้าน
ทุกสัปดาห์ 37%
ชาวเวียดนามกว่าร้อยละ 40 ไม่เคยหรือไม่ค่อยจะได้รบั ประทานอาหารจาพวกอาหาร Fast food หรือ อาหารจานด่ ว นเลย มี เ พี ย งประมาณร้อ ยละ 5 ที่ รับ ประทานอาหารจานด่ ว นทุ ก วัน และร้อ ยละ 20 รับประทานประมาณสัปดาห์ละครั้งหรือเดือนละครั้งเท่านั้น ส่วนอาหารทะเล กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม ร้อยละ 60 ทานไม่ตา่ กว่าเดือนละครั้ง ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 30 รับประทานทุกเดื อน และมีผูไ้ ม่เคยรับประทาน อาหารทะเลเลยประมาณร้อยละ 20
19
สาหรับอาหารประเภทชาบู สุ กี้ ยากี้ และบาร์บี คิว นั้ น กลุ่ม ตัวอย่างชาวเวีย ดนามประมาณร้อ ยละ 30 รับประทานเดือนละครั้ง อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามอีกกลุ่มหนึ่ ง กว่าร้อยละ 35 กลับไม่เคย หรื อไม่ค่อยได้รับประทานอาหารประเภทนี้ เลย ส่วนผู ้ที่ นิย มทานอาหารประเภทนี้ มากที่ สุด คื อ กลุ่ ม ตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 30 – 39 ปี และอายุระหว่าง 18 – 22 ปี มีความถี่ในการรับประทานประมาณ เดือนละครั้ง- 2 ครั้ง โดยจะออกไปรับประทานตามฟู้ดคอร์ส แผงอาหารหรือตลาด นอกจานี้ จากการวิจยั เชิงปริมาณ พบว่า ประชากรชาวเวียดนามมีแนวโน้มที่จะออกไปรับประทานอาหาร นอกบ้านมากขึ้ น โดยเฉพาะกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่จะชื่นชอบความแปลกใหม่ จะเป็ นกลุ่มที่ มีทัศนคติ เปิ ดรับ วัฒนธรรมใหม่ๆ เปิ ดรับอาหารต่างประเทศ และชอบรับประทานอาหารตามสมัยนิ ยมมากขึ้ น โดยเฉพาะ อาหารปิ้ งย่าง หมูกระทะ อาหารญี่ปุ่น อาหารเกาหลี และอาหารฟาสต์ฟดู๊ เป็ นต้น โดยเห็นได้จากจานวน ร้านอาหารบรรยากาศที่คล้ายคลึงกันนี้ มี เพิ่มมากขึ้ นเรื่อย ๆ ทั้งร้านอาหารในท้องถิ่นเอง และร้านอาหาร ฟาสต์ฟดู๊ ร้านอาหารต่างประเทศอีกด้วย
อาหารปิ้ งย่างซึ่งกาลังเป็ นที่นิยมของชาวเวียดนาม
20
ร้านอาหารสไตล์เกาหลีและญี่ปุ่นใจกลางกรุงไซง่อน
ชาวเวียดนามออกมารับประทานอาหารมื้ อคา่ จากการสอบถามปั จจัยที่ กลุ่มตัวอย่างใช้ในการตัดสินใจเลือกร้านอาหารที่ สาคัญที่ สุด 3 อันดับแรกนั้ น อันดับหนึ่ งที่ กลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 60 ให้ความสาคัญมากที่ สุด คือ รสชาติ ของอาหาร รองลงมา คือ 21
เรื่องราคาและคุณภาพการบริการ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 30 และร้อยละ 9 ตามลาดับ และการให้บริการ ของพนักงานในร้าน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 44 และช่องทางที่ทาให้กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รูจ้ กั และเลือก ร้านอาหาร อันดับ 1 ร้อยละ 54 มาจากการแนะนาของเพื่อน กลุ่มเพื่อน หรือคนรูจ้ กั อันดับ 2 ร้อยละ 23 รูจ้ กั จากอินเตอร์เน็ ตและโซเชียลมีเดีย และอันดับ 3 รูจ้ กั จากการโฆษณาหน้าร้านหรือการผ่านหน้าร้าน
หนังสือพิมพ์ 2%
นิ ตยสาร 1% ป้ายโฆษณา 1%
เพื่อน/คนรูจ้ กั 54%
โทรทัศน์/วิทยุ 3%
แหล่งข้อมูลในการ เลือกร้านอาหาร
อินเตอร์เน็ต/ โซเชียลมีเดีย 23% หน้าร้าน 16%
เมื่อกล่าวถึงการใช้บริการส่งอาหาร (Delivery) กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามมากกว่าครึ่ง ไม่เคยใช้บริการส่ง อาหารถึงที่บา้ นหรือที่ทางานเลย โดยกว่าร้อยละ 73 ไม่เคยใช้บริการส่งอาหารถึงที่ทางานและร้อยละ 62 ไม่เคยใช้บริการส่งอาหารถึงที่บา้ น ส่วนผูท้ ี่เคยใช้บริการส่งอาหารแบบ Delivery เป็ นประจา มีสดั ส่วนเพียง เล็กน้อยหรือตา่ กว่าร้อยละ 5 โดยมีเพียงร้อยละ 3 ที่ ใช้บริการส่งอาหารถึ งที่ ทางานและร้อยละ 4 ที่ ใช้ บริการส่งอาหารถึงที่บา้ นเป็ นประจา และนอกจากนี้ ยังพบว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามมากกว่า 1 ใน 5 ก็ ยังมีการสัง่ อาหารมาที่ทางานเป็ นบางครั้ง และมากกว่า 1 ใน 3 ยังเคยใช้บริการส่งอาหารถึงที่บา้ นอีกด้วย
22
ที่ทางาน 2%
บ้าน 4% 0%
25%
73%
34% 20%
ประจา
62% 40%
60%
บางครัง้
80%
100%
ไม่เคย
ความถี่ในการใช้บริการส่งอาหาร (Delivery) ถึงทีบ่ า้ นและที่ทางาน
แนวโน้มการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ สาหรับการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ/ปลอดสารพิษ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 54 ระบุว่าตน รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพทุกวัน อีกร้อยละ 21 แทบไม่ได้รบั ประทานอาหารเพื่อสุขภาพเลย และมี ประมาณร้อยละ 13 ที่รบั ประทานทุกสัปดาห์ โดยกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้สูง มีแนวโน้มรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพบ่อยกว่ากลุ่มอื่นๆ ซึ่งกลุ่มที่ไม่รบั ประทานอาหารเพื่อสุ ขภาพ ส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าเป็ นเพราะ ไม่เห็นว่ามีความจาเป็ น และอาหารเพื่อสุขภาพมักมีราคาแพง แม้ผูบ้ ริโภคชาวเวียดนามจะเริ่มเลือกรับประทานอาหารโดยคานึ งถึ งสุ ขภาพ แต่ผลวิจัยก็ พบว่า อาหาร ประเภทของหวาน อาหารทอด อาหารปิ้ งย่าง อาหารหมักดอง ยังเป็ นอาหารที่กลุ่มตัวอย่ างชาวเวียดนาม จานวนไม่นอ้ ยบริโภคเป็ นประจา กว่าร้อยละ 83 ของกลุ่มตัวอย่างรับประทานของหวานเป็ นประจา ร้อยละ 47 รับประทานอาหารปิ้ งย่างเป็ นประจา ร้อยละ 39 รับประทานอาหารหมักดองเป็ นประจา และร้อยละ 37 รับประทานของทอดเป็ นประจา ส่วนอาหารประเภทฟาสท์ฟ้ ูด อาหารที่มีไขมั นสูง อาหารที่ใส่ผงชูรส กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะพยายามหลีกเลี่ยง สาหรับเหตุผลในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ ส่วนใหญ่รบั ประทานเพื่อให้ดูแข็งแรงมีสุขภาพดี และ เพื่อป้องกันตนเองจากการเจ็บป่ วย ร้อยละ 57 สาหรับอาหารเพื่อสุขภาพที่เลือกซื้ อมารับประทาน 3 อันดับ แรก (Top 3 Box) ได้แก่ อาหารและผักปลอดสารพิษ ข้าวออแกนิ ก /ปลอดสารพิษ และวิตามินหรือ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต่างๆ และเมื่อถามถึงความยินดีที่จะจ่ายเพื่อซื้ ออาหารเพื่อสุขภาพ ส่วนใหญ่ประมาณ ร้อยละ 38 ยินดีที่จะจ่ายเพิ่มประมาณ 5% จากราคาอาหารปกติ อีกร้อยละ 28 ยินดีจะจ่ายเพิ่มประมาณ 10% และอีกร้อยละ 25 หรือ 1 ใน 4 ยินดีจะจ่ายเท่ากับราคาอาหารปกติ 23
พฤติกรรมการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ/อาหารปลอดสารพิษ ของชาวเวียดนาม พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่จะรับประทานอาหารเพื่ อสุ ขภาพ/อาหารปลอดสารพิษ ทุ ก วันหรือเกือบทุ กวัน คิดเป็ นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 54 รองลงมาร้อยละ 14 รับประทานสัปดาห์ละครั้งหรือ 2 ครั้ง และประมาณร้อยละ 20 ไม่เคยหรือไม่ค่อยได้รบั ประทานอาหารเหล่านี้ เลย โดยพบว่าเพศหญิงจะมีความถี่ในการรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพมากกว่าเพศชาย และกลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 30 – 39 ปี จะรับประทานอาหารเพื่ อสุขภาพ บ่อยที่สุด คือ รับประทานทุกวันหรือเกือบทุกวัน ซึ่งจากการวิจยั เชิงคุณภาพ พบว่า สาหรับชาวเวียดนาม แล้ว จะเห็นว่าอาหารเวียดนามหรืออาหารท้องถิ่นของตน เป็ นอาหารเพื่อสุขภาพ หรือดีต่อสุขภาพอยู่แล้ว เนื่ องจากมีผกั หลากหลายชนิ ดเป็ นส่วนประกอบหลัก เป็ นต้น 100%
50,000 ขึ้ นไป 70.6%
35,000-49,999
11.8% 88.8%
25,000-34,999 72.2%
15,000-24,999 10,000-14,999
56.30%
5,000-9,999
57.1% 40.2%
ตา่ กว่า 4,999
11.1%
14.3% 9.4%
0%
20% ทุกวัน
ทุกสัปดาห์
21.4%
15%
62.5%
ไม่มีรายได้
12.7%
22.5%
29.9% 18.80%
40%
60%
ทุกเดือน
นานกว่าเดือน
18.8% 80%
100%
ไม่เคย/แทบจะไม่เคย
นอกจากนี้ หากแบ่งพฤติ กรรมการรับประทานอาหารเพื่อสุ ขภาพตามระดับรายได้ของกลุ่มตัวอย่างแล้ว พบว่ า กลุ่ ม ตัว อย่า งที่ มี ร ะดับ รายได้สูง จะมี ค วามถี่ ใ นการรับ ประทานอาหารเพื่ อ สุ ข ภาพสู ง ที่ สุ ด คื อ รับประทานเป็ นประจาทุกวัน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 100 รองลงมาคือกลุ่มตัวอย่างที่ มีระดับรายได้ระดับ ปานกลาง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 65 และกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ปานกลาง – ตา่ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 53 เมื่อสอบถามเหตุผลของกลุ่มตัวอย่างผูท้ ี่ไม่รบั ประทานอาหารเพื่อสุขภาพ กว่าร้อยละ 43 ให้เหตุผลว่าไม่มี ความจาเป็ นที่จะต้องรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ ทั้งนี้ อาจเป็ นไปได้ว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วน ใหญ่ต่างก็มีความเชื่อว่าอาหารประจาชาติของตนนั้นล้วนแล้วแต่เป็ นอาหารที่ดีต่อสุขภาพอยู่แล้ว รองลงมา คือ เห็นว่าราคาของอาหารเพื่อสุขภาพมีราคาแพงกว่าอาหารทัว่ ไป คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 23 และร้อยละ 16 เห็นว่าการเสาะหาอาหารเพื่อสุขภาพมารับประทานนั้นยุง่ ยากเกินไป/ไม่สะดวก
24
ส่วนอาหารประเภทที่อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพที่ กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่ พยายามหลีกเลี่ยงและ ไม่รบั ประทานเลย คือ อาหารที่ ใส่ผงชูรส อาหารแปรรูป/อาหารหมักดองต่างๆ และอาหารฟาสต์ฟ้ ูด คิด เป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 26 ร้อยละ 22 และร้อยละ 20 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดตามลาดับ ส่วน อาหารที่กลุ่มตัวอย่างทานได้แต่พยายามหลีกเลี่ยง คือ อาหารประเภทที่มีไขมันสูง อาหารที่ปรุงสุกโดยใช้ วิธีการทอดและอาหารฟาสต์ฟ้ ูด ซึ่ งมีสัดส่วนประมาณร้อยละ 70 ร้อยละ 56 และร้อยละ 52 ของกลุ่ม ตัวอย่างทั้งหมด ตามลาดับ และสาหรับอาหารที่กลุ่มตัวอย่างมักจะทานเป็ นปกติ หรือไม่ได้หลีกเลี่ยงเป็ น พิเศษ ก็คือ อาหารประเภทขนมหวานของหวาน อาหารปิ้ งย่างและอาหารหมักดอง คิดเป็ นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 83 ร้อยละ 46 และร้อยละ 40 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ตามลาดับ เมื่อพิจารณาตามกลุ่มอายุ เรา จะพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่พยายามหลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูงมากที่สุด คือ กลุ่มตัวอย่างที่อยู่ในวัย 50 ปี ขึ้ นไป ในทางตรงกันข้ามกลุ่มตัวอย่างที่หลีกเลี่ยงน้อยที่สุด คือ ผูท้ ี่มีอายุ ระหว่าง 23-29 ปี โดยกว่า 1 ใน 4 ของ กลุ่มตัวอย่างในช่วงวัยนี้ สามารถรับประทานอาหารไขมันสูงได้ตามปกติ
12.8%
ขนมหวาน
83.0%
ของทอด 6.3%
56.0%
อาหารปิ้ งย่าง 7.3%
37.3%
46.0%
อาหารไขมันสู
15.8%
อาหารฟาสต์ฟ้ ดู
20.3%
อาหารหมักดอง
20.3%
อาหารแปรรูปและพร้อมรับประทาน
22.3%
46.8% 69.3%
52.3%
0%
27.5%
40.5%
39.3%
49.0%
25.8%
อาหารที่ใส่ผงชูรส
15.0%
28.8%
47.3% 20%
ไม่รบั ประทานเลย
40%
27.0% 60%
พยายามหลีกเลี่ยง
80%
100%
ทานได้ปกติ
พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ ส่วนอาหารประเภทของทอดต่างๆ ก็เช่นเดียวกันกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุค่อนข้างมากมักจะพยายามหลีกเลี่ยง และกลุ่มที่ มีอายุ ไม่เกิน 29 ปี มักจะสามารถทานได้ตามปกติ อาหารปิ้ งย่างกลุ่มตัวอย่างที่หลีกเลี่ยงมาก ที่สุด คือ กลุ่มอายุระหว่าง 50-60 ปี อาหารที่ใส่ผงชูรส ผูท้ ี่หลีกเลี่ยงมากที่สุด คือ กลุ่มตัวอย่างที่เป็ น วัยรุ่น (อายุ 18-22 ปี )และกลุ่มตัวอย่างที่อายุมากกว่า 60 ปี ส่วนผูท้ ี่ทานได้ตามปกติ คือ กลุ่มตัวอย่างที่ มีอายุ 40-49 ปี 30-39 ปี และ 23-29 ปี ตามลาดับ อาหารแปรรูปกลุ่มตัวอย่างที่หลีกเลี่ยงมากที่สุด คือ ผูท้ ี่มีอายุ 23-29 ปี ผูท้ ี่หลีกเลี่ยงน้อยที่สุด คือ กลุ่มตัวอย่างผูส้ ูงอายุวยั 60 ปี ขึ้ นไป ในขณะที่กว่าครึ่งหนึ่ ง 25
ของกลุ่มตัวอย่างอายุ 60 ปี ขึ้ นไปพยายามหลีกเลี่ยงหรือไม่ทานเลย ส่วนอาหารประเภทฟาสต์ฟดนั ู๊ ้ น พบว่า กลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 18 – 22 ปี พยายามหลีกเลี่ยงน้อยที่สุดหรือทานได้เป็ นปกติมากที่สุด ส่วนกลุ่ม อายุ ระหว่าง 60 ปี ขึ้ นไปหลีกเลี่ยงที่ จะไม่รบั ประทานเลย อายุ 40-49 ปี และ 50-50 ปี หลีกเลี่ยงไม่ รับประทานร้อยละ 83 และ 79 ตามลาดับ อย่างไรก็ ตาม แม้กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ จ ะพยายามที่ จะหลีก เลี่ย งอาหารที่ เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ แต่ สาหรับขนมหวานหรือของหวานแล้ว กลับเป็ นอาหารบัน่ ทอนสุขภาพที่กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามหลีกเลี่ยง น้อยที่ สุดหรือกล่าวได้ว่ามีการรับประทานได้เป็ นปกติ คิดเป็ นสัดส่วนได้มากกว่าร้อยละ 80 โดยเฉพาะ อย่างยิ่งกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุไม่เกิน 22 ปี รับประทานอาหารหวานของหวานได้กว่าร้อยละ 90 ทั้งนี้ อาจ เป็ นเพราะรสชาติ ห วานน าเป็ นรสชาติ ที่ ช าวเวีย ดนามทุ ก รุ่น ทุ ก วัย คุ น้ เคยในอาหารจานหลัก ของชาว เวียดนาม
ขนมท้องถิ่นที่ขายตามรถ/แผงลอยในเวียดนาม จากข้อมูลข้างต้น เราจะพบว่ากลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่มกั จะใส่ใจกับการรับประทานอาหารเพื่อ สุขภาพและหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่บนั ่ ทอนสุขภาพกันเป็ นอย่างดี โดยวัตถุประสงค์สาคัญในการ รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่ หรือกว่าร้อยละ 60 คือ เพื่อป้องกัน และดูแลตนเองจากการเจ็บป่ วย และในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างเพศหญิงจะให้ความสาคัญกับการับประทาน อาหารเพื่อสุขภาพมากกว่ากลุ่มตัวอย่างเพศชาย คิดเป็ นสัดส่วน 55 ต่อ 45 และจากภาพจะพบว่ามีกลุ่ม ตัวอย่างเพศชายที่ไม่รบั ประทานอาหารเพื่อสุขภาพมากกว่ากลุ่ มตัวอย่างเพศหญิง คิดเป็ นสัดส่วนประมาณ 65 ต่อ 35 ทั้งนี้ อาจเนื่ องมาจากว่า กลุ่มตัวอย่างชายชาวเวียดนามยังใส่ใจในสุขภาพน้อยกว่าผูห้ ญิง โดย เหตุ ผลที กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพมากที่สุด คือ เพื่อให้มีรูปร่างที่ดี รองลงมา เพราะด้วยเหตุผลว่า อาหารเพื่อสุขภาพมีรสชาติดีและอยากทดลองอาหารเพื่อสุขภาพ ตามลาดับ ส่วนกลุ่ม ตัวอย่างเพศชายรับประทานอาหารสุขภาพเพราะด้วยเหตุผลว่ากาลังเป็ นที่นิยมมากที่สุด รองลงมา คือ เพื่อ สุขภาพที่แข็งแรง 26
ไม่รบั ประทาน 12%
อื่นๆ 0.5
รสชาติที่ดี 1.00% กาลังเป็ นที่นิยม 2.80%
เหตุผลที่รบั ประทาน อาหารเพื่อสุขภาพ
เพื่อทดลอง 3.50%
เพื่อรูปร่างที่ดี 5.80%
เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง 17.00%
ป้องกันการเจ็บป่ วย 57.50%
โดยอาหารเพื่อสุขภาพที่กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามรับประทาน ส่วนใหญ่ คืออาหารออร์แกนิ ค และผักต่างๆ คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 31 รองลงมาคือ ข้าวออร์แกนิ ค และอาหารเสริ ม หรื อวิตามิน คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 27 และร้อยละ 10 ตามลาดับ ส่วนการดื่มเครื่องดื่มสมุนไพรเพื่อสุ ขภาพในกลุ่มตัวอย่าง ชาวเวียดนาม ถื อว่า ยังมีในสัดส่วนที่ น้อย คิดเป็ นสัดส่วนเพียงร้อยละ 7 ส่วนระดับราคาที่ ยอมจ่ายเพิ่ ม เพื่อให้ได้รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพนั้ น ส่วนใหญ่จะยินดีที่จะจ่ายเพิ่มจากราคาอาหารทัว่ ไป 5% คิด เป็ นสัดส่วนร้อยละ 38 ยินดีจะจ่ายเพิ่มจากราคาอาหารทัว่ ไปร้อยละ 10 คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 28 และไม่ ยินดีที่จะจ่ายเพิ่มจากราคาอาหารทัว่ ๆ ไป คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 25 ตามลาดับ
พฤติกรรมการดื่มเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ เมื่อถามกลุ่มตัวอย่างถึ งการดื่ มเครื่องดื่ มที่ มีแอลกอฮอล์ พบว่า กว่าร้อยละ 70 ของกลุ่มตัวอย่างชาว เวียดนาม ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยดื่มเป็ นประจาร้อยละ 14 และดื่มเป็ นครั้งคราวร้อยละ 55 โดยเพศ ชายดื่ มมากกว่าเพศหญิ ง เกือบ 2 เท่า ซึ่งกว่าร้อยละ 50 ของกลุ่มตัวอย่างเพศหญิ ง ดื่มเครื่องดื่ ม แอลกอฮอล์ โดยดื่มเป็ นประจาเพียงร้อยละ 3 นอกจากนี้ ยังพบว่ากลุ่มตัวอย่างรายได้สูง มีแนวโน้มบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็ นประจา สูงกว่ากลุ่มอื่น เมื่อถามเหตุผลที่ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ส่วนใหญ่ให้ เหตุผลว่าเป็ นเพราะไม่ชอบรสชาติ และไม่ดีต่อสุขภาพ
27
13%
รวม
55%
หญิง 4%
31%
47%
49%
26%
ชาย
0%
10%
65%
20%
30%
40%
50%
เป็ นประจา
9%
60%
70%
80%
บางครั้ง
90%
100%
ไม่ดื่มเลย
พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จาแนกตามเพศ
พฤติกรรมการดื่มเครือ่ งดื่มประเภทต่างๆ สาหรับชาวเวียดนาม เครื่องดื่มประเภทนม ชา และกาแฟ เป็ นเครื่องดื่มที่กลุ่มตัวอย่างใหญ่ดื่มเป็ นประจา ทุกวันและดื่มมากกว่าวันละครั้ง ส่วนเครื่องดื่มที่ดื่มประมาณสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ได้แก่ ชาบรรจุขวด นม ถัว่ เหลือง น้ าอัดลม น้ าหวานต่างๆ น้ าผักและน้ าผลไม้ เป็ นต้น น้ าหวาน
4.3%
15.8%
15.8%
เครื่องดื่มบารุงกาลัง
4.5%
18.0%
16.5%
6.0%
เครื่องดื่มสมุนไพร
5.8%
8.8%
เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ/ความงาม
7.5%
12.0%
น้ าอัดลม
7.8%
6.8%
27.8%
25.5%
ชาพร้อมดื่ม
13.3%
22.3%
16.5%
นมถัว่ เหลือง/น้ าเต้าหู้
15.5%
29.3%
20.3%
น้ าผักผลไม้
15.8%
32.5% 17.5%
กาแฟสาเร็จรูป
23.8% 17.8%
33.8%
นม
26.3%
34.5%
กาแฟสด
0%
10%
20%
ทุกวัน
30%
15.5% 17.5%
35.3%
น้ าชา
11.8%
8.8%
18.8% 40%
50%
60%
70%
ทุกสัปดาห์
11.0% 80%
90%
100%
ทุกเดือน
พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มประเภทต่างๆ จาแนกตามความถี่ 28
โดยเครื่องดื่มประเภทนม กาแฟสาเร็จรูป ชา น้ าอัดลม น้ าหวาน และเครื่องดื่มบารุงกาลัง กลุ่มตัวอย่าง มักจะซื้ อหาจากร้านขายของชา ส่วนกาแฟสด ได้รบั ความนิ ยมในการซื้ อตามร้านกาแฟหรือคอฟฟี่ ช็อป กว่า ร้อยละ 44 รองลงมากลุ่มตัวอย่างซื้ อจากร้านขายของชา ซุปเปอร์มาเก็ตและทาเองที่บา้ น คิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 20 16 และ 13 ตามลาดับ นอกจากบางส่วนยังนิ ย มไปซื้ อเครื่ องดื่ มจ าพวกน้ าผัก ผลไม้แ ละ เครื่องดื่มบารุงกาลังที่รา้ นกาแฟด้วย ส่วนเครื่องดื่ มแอลกอฮอล์บางชนิ ด เช่น ไวน์ /แชมเปญ บรัน่ ดี /วิสกี้ วอดก้า และเบียร์ต่างประเทศ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะไม่ได้ดื่มบ่อยนัก โดยกลุ่มที่ดื่มเครื่องดื่มประเภทนี้ อยู่เป็ นประจา คือ กลุ่มที่มีรายได้สูงเป็ นหลัก และมักจะหาซื้ อ-ดื่มได้จากร้านอาหาร ภัตตาคาร บาร์หรือ Night club ส่วนเครื่องดื่มประเภท Functional Drink, Healthy and Beauty Drink และเครื่องดื่มสมุนไพรต่าง ๆ นั้น ขณะนี้ ยังไม่เป็ นที่นิยมของชาวเวียดนามมากนัก โดยมีสดั ส่วนผูไ้ ม่เคยหรือไม่ค่อยได้ดื่มเลยประมาณ 2 ใน 3 ของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามทั้งหมด ส่วนใหญ่จะเป็ นผูม้ ีรายได้สงู ที่นิยมดื่ม โดยจะหาซื้ อตามร้าน ซุปเปอร์มาร์เก็ต หรือศูนย์การค้าต่าง ๆ
พฤติกรรมการดื่มชา-กาแฟ และขนมหวาน กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่จะชอบดื่มชาและกาแฟมากกว่า 1 ครั้งต่อวัน โดยคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 19 เท่าๆ กัน แต่มีผูด้ ื่มกาแฟวันละครั้งมากกว่าชา คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 18 ต่อ 14 อย่างไรก็ ตามยังมีกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามกว่า 1 ใน 5 ที่ไม่ดื่มชา คิดเป็ นประมาณร้อยละ 24 และไม่ดื่มกาแฟ ประมาณร้อยละ 21 เมื่อพิจารณาจากกลุ่มอายุของผูบ้ ริโภค เราพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีความถี่ในการดื่ ม กาแฟบ่อยที่สุด มีอายุระหว่าง 40-49 ปี รองลงมาคือกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 50-60 ปี ซึ่งถือเป็ น กลุ่มอายุที่ใกล้เคียงกันกับกลุ่มตัวอย่างที่ชอบดื่มชา โดยสามารถกลุ่มตัวอย่างนิ ยมดื่มกาแฟที่ Coffee shop มากที่ สุดประมาณร้อยละ 33 ส่วนชานิ ยมซื้ อจากร้านขายของชา และซุ ปเปอรมาร์เก็ ต คิ ดเป็ นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 40 และร้อยละ 25 ตามลาดับ สาหรับอาหารประเภทขนม ของหวาน เบเกอรี่ และไอศครีม พบว่าโดยเฉลี่ยแล้วกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม ประมาณร้อยละ 10 จะรับประทานไม่ตา่ กว่าวันละครั้ง ร้อยละ 26 สัปดาห์ละไม่ตา่ กว่า 1 ครั้งและร้อยละ 23 จะรับประทานนานๆ ครั้ง ประมาณสัปดาห์- 2 สัปดาห์ครั้ง ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ ไม่ ค่อยหรือไม่เคย รับประทานเลยมีประมาณร้อยละ 60 โดยในที่ นี้เราพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความถี่ในการรับประทานขนม หวาน ของหวานและเบเกอรี่ มากกว่าไอศกรีม โดยสถานที่ในการซื้ อขนมหวานชนิ ดต่างๆ จะแตกต่างกัน ออกไป เช่น ขนมขบเคี้ ยวกลุ่มตัวอย่างมักจะซื้ อจากร้านชากาแฟมากที่ สุด ส่วนของหวาน ไอศกรีม เค้ก หรือเบเกอรี่ มักจะซื้ อจากร้านเบเกอรี่ และร้านซุปเปอร์มาเก็ตต่างๆ
29
ร้านไอศกรีมแห่งหนึ่งในเมืองไซง่อน
ค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกับอาหาร ค่าใช้จ่ายส่วนตัวสาหรับอาหารของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม ส่วนใหญ่อยู่ที่ประมาณ 1,000-4,000 บาท ต่อเดื อน (ไม่เกิน 45 บาทต่อมื้ อโดยประมาณ) และค่าใช้จ่ายครัวเรือนสาหรับอาหาร ส่วนใหญ่อยู่ที่ ประมาณ 6,000-8,000 บาทต่อเดือน (ไม่เกิน 90 บาทต่อมื้ อโดยประมาณ) และนอกจากนี้ ยังมีกลุ่ม ตัวอย่างชาวเวียดนามบางส่วน ประมาณร้อยละ 15 ปลูกผักและผลไม้รบั ประทานเองที่บา้ นอีกด้วย
30
Beauty and Skin care กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่ กว่าร้อยละ 62 ไม่ค่อยได้ดูแลผิ วเป็ นพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่ม ตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 30-39 ปี ผูท้ ี่มีรายได้ไม่เกิน 10,000 บาท และกลุ่มตัวอย่างเพศชาย ซึ่งร้อยละ 90 ไม่ได้ดูแลผิ วเป็ นพิเศษเลย ส่วนที่เหลือประมาณร้อยละ 38 มีวิธีการดูแลตัวเองแตกต่างกัน ออกไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มตัวอย่างวัย 18-22 ปี โดยประมาณมากกว่า 1 ใน 3 ที่ทาครีมหรือโลชัน่ เป็ นประจา ซึ่งในจานวนนั้น กว่าร้อยละ 60 เป็ นกลุ่มตัวอย่างเพศหญิง และกลุ่มตัวอย่างเพศหญิงประมาณร้อยละ 20 จะแต่งหน้า ส่วนวิทยาการเสริมความงามสมัยใหม่ เช่น โบท็อกซ์ การพบแพทย์ผิวหนัง รับประทานอาหาร เสริม ยังมีการเข้าถึงในระดับน้อย มีผทู้ ี่ดแู ลตัวเองด้วยวิธีนี้เพียงร้อยละ 0.03 ร้อยละ 2 และร้อยละ 10.5 สาหรับในด้านทัศนคติ เกี่ ย วกับ ความสาคัญ ของความสวยความงาม พบว่า กลุ่มตัวอย่า งเพศหญิ ง ชาว เวียดนามให้ความสาคัญกับการมีผิวสวยมากที่สุด รองลงมาคือ การและดูอ่อนเยาว์คงความสาวอยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 30-39 ปี และการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มียี่หอ้ เป็ นที่รจู ้ กั กันดี
63.8%
การทาศัลยกรรมเสริมความงาม
18.3%
การใช้บริการคลินิกเสริมความงาม
28.9%
22.5%
การใช้ผลิตภัณฑ์ดแู ลผิวพรรณที่ดีและมียี่หอ้ เป็ นที่รจู้ กั
8.3%
4.1%
34.4%
6.3%
53.2%
ดูหนุ่ มสาวอยู่เสมอ
31.2%
35.8%
การมีผิวสวย
0%
20% สาคัญน้อยที่สุด
50.9% 40%
60%
สาคัญมาก
80%
100%
สาคัญมากที่สุด
ความสาคัญเกี่ยวกับเรื่องความสวยความงามของกลุ่มตัวอย่างเพศหญิง ส่วนทัศนคติเกี่ยวกับความสาคัญของความสวยความงามของกลุ่มตัวอย่างเพศชาย พบว่า กลุ่มตัวอย่างเพศ ชายชาวเวี ย ดนามให้ค วามส าคัญ กับ การท าศัล ยกรรมเสริ ม ความงามมากที่ สุ ด รองลงมาคื อ การใช้ ผลิตภัณฑ์ที่มียี่หอ้ เป็ นที่รจู ้ กั กันดีและการใช้บริการคลินิกเสริมความงาม
31
กลุ่มตัวอย่างเพศชายโดยส่วนใหญ่มกั เข้าใช้บริการร้านตัดผมทุกเดือน คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 70 ส่วนกลุ่มตัวอย่างเพศหญิ ง เข้าร้านตัดผมหรื อร้านเสริ มสวยทุ ก 3 เดื อน คิ ดเป็ นสัดส่วนมากที่ สุดหรื อ ประมาณร้อยละ 40 รองลงมา นิ ยมเข้าทุกเดือน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 30
หญิง
7%
ชาย
3%
0%
33%
38%
16%
70%
10% ทุกวัน
20% 30% ทุกสัปดาห์
40% ทุกเดือน
19%
50%
60% ทุก 3 เดือน
70%
80% ทุก 6 เดือน
6%
5.5%
90%
100% ไม่เคย
ความถี่ในการเข้าใช้บริการร้านตัดผมของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามโดยส่วนใหญ่ยงั ไม่ค่อยมีคุน้ เคยกับร้านสปาเท่าใดนัก โดยมีสดั ส่วนกลุ่มตัวอย่าง ที่ไม่เคยเข้าร้านสปาเลยกว่าร้อยละ 70 อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างเพศหญิง ที่เข้าไปใช้บริการจากร้านสปา ก็มกั จะเข้าไปใช้บริการประมาณเดือนละครั้งหรือนานๆ ครั้ง คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 15 และ10 ตามลาดับ
8.3%
หญิง
6%
ชาย
0%
62.4%
9.6%
8.8% 6.6%
10% ทุกวัน
8.8%
20% 30% ทุกสัปดาห์
62.4%
40% ทุกเดือน
50%
60% ทุก 3 เดือน
70%
80% ทุก 6 เดือน
90%
100% ไม่เคย
ส่วนในเรื่องการใช้บริการคลินิกเสริมความงาม กลุ่มตัวอย่างเพศชายกว่าร้อยละ 90 ไม่เคยเข้าไปใช้บริการ สาหรับผูท้ ี่เคยเข้าไปใช้บริการ มีสดั ส่วนประมาณร้อยละ 5 โดยเข้าไปใช้บริการทุกเดือน ส่วนกลุ่มตัวอย่าง เพศหญิง มีผเู ้ คยเข้าไปใช้บริการเสริมความความประมาณร้อยละ 50 โดยส่วนใหญ่จะเข้าใช้บริการนานถึง 6 เดือนต่อครั้ง รองลงมาอีกส่วนหนึ่ งนิ ยมเข้าใช้บริการคลินิกเสริมความงามทุกเดือน
32
Fashion habits ชาวเวียดนามโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ค่อนข้างใส่ใจการแต่งตัวให้ดดู ี และมักจะติดตามกระแสนิ ยมอยู่เสมอ แต่ ก็ไม่ได้ฟ่ ุมเฟื อย หรือใช้เงินจานวนมากไปกับแฟชัน่ กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่จบั จ่ายซื้ อสินค้า แฟชัน่ จากร้านขายเสื้ อผ้า กระเป๋า รองเท้า ทัว่ ๆไป เป็ นหลัก คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 50 รองลงมา จึงไปซื้ อตามตลาดนั ด และศูนย์การค้า คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 20 และร้อยละ 15 ตามลาดับ ส่วนการ จับจ่ายทางออนไลน์ยงั อยู่ในวงแคบ คิดเป็ นสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 5 โดยความถี่ในการซื้ อนั้น ส่วนใหญ่จะ ซื้ อสินค้าแฟชัน่ ทุ กๆ 3-6 เดือนหรือนานกว่า ขึ้ นอยู่กบั ประเภท เช่นเสื้ อผ้าจะซื้ อบ่อยกว่ารองเท้า หรือ กระเป๋า โดยแหล่งข้อมูลในการอัพ เดทแฟชัน่ ที่ สาคัญ ของชาวเวียดนาม ได้แก่ อินเตอร์เน็ ต เพื่อน และ โทรทัศน์ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 34 ร้อยละ 21 และร้อยละ 18 ตามลาดับ
อื่นๆ 5% เพื่อน 21% โทรทัศน์ 18%
แหล่งข้อมูลสาหรับการซื้ อ สินค้าด้านแฟชั ่น
วิทยุ 1% นิ ตยสาร 9%
อินเตอร์เน็ต 34%
ป้ายโฆษณา 4% ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า, 9%
เหตุผลส่วนใหญ่ที่กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามซื้ อสินค้าแฟชัน่ พบว่า โดยส่วนใหญ่ซื้อบนพื้ นฐานความจาเป็ น ที่จะต้องใช้ หรืออาจซื้ อเพื่อทดแทนสิ่งเดิมที่แตกหักเสียหาย คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 54 รองลงมาคือซื้ อเพื่อ สะท้อนความเป็ นตัวตน คิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 19 และเพราะสินค้ามีราคาเป็ นที่ น่ าพึงพอใจ คิ ดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 8 ส่วนการซื้ อสินค้าตามโปรโมชัน่ มีสดั ส่วนเพียงประมาณร้อยละ 4 และการซื้ อสินค้าตาม คุณภาพหรือความเป็ นแบรนด์ มีสดั ส่วนประมาณร้อยละ 6
33
ความเป็ นที่นิยม 7%
อื่นๆ 3%
แบรนด์ คุณภาพ 6%
สะท้อนความเป็ น ตัวตน 19%
ปั จจัยต่อการซื้ อ สินค้าแฟชั ่น
ความจาเป็ น 54%
โปรโมชัน่ 4% ราคา 8%
ส่วนในแง่การครอบครองสินค้าแฟชัน่ หรูหรา และมีราคาแพง (มูลค่าเกิน 3 หมื่นบาท) พบว่ากว่าร้อยละ 90 ไม่นิยมสินค้าประเภทนี้ และมีประมาณร้อยละ 10 ที่มีสินค้าเหล่านี้ เพียง 1-2 ชิ้ น โดยเหตุผลสาคัญใน การซื้ อ คือ เพราะชอบการออกแบบและคุณภาพเป็ นหลัก มีเพียงร้อยละ 1.3 ที่ซื้อเพื่อการลงทุนและเพียง ร้อยละ 1 ที่ซื้อเพื่อสะท้อนหรือแสดงสถานะทางสังคมของตนเอง
34
Health and Medical เมื่อเจ็บป่ วยเล็กๆ น้อยๆ กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามเกือบร้อยละ 80 จะซื้ อยาจากร้านขายยามาบริโภคเอง มีเพียงประมาณร้อยละ 7 ที่มกั จะไปพบแพทย์ที่คลิ นิกและโรงพยาบาล และบางส่วนก็นิยมปล่อยให้อาการ เจ็บป่ วยเล็กๆ น้อยๆ นั้นหายไปเอง
ซื้ อยาจากเภสัชกร มาทานเอง 79%
พบแพทย์ที่คลินิก 8% พบแพทย์ที่ โรงพยาบาล 6%
การรักษา เมื่อเกิดความเจ็บป่ วย เล็กๆ น้อยๆ
รักษาด้วยสมุนไพร แผนโบราณ 1% อื่นๆ 1% ปล่อยให้หายเอง 7%
แต่เมื่อเกิดอาการเจ็บป่ วยในระดับมากพอสมควรและจาเป็ นต้องได้รบั การรักษาจากแพทย์ กลุ่มตัวอย่าง ชาวเวียดนามส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 70 เลือกเข้ารักษาในโรงพยาบาลของรัฐ อีกประมาณร้อยละ 20 เลือก เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเอกชน โดยมีประมาณร้อยละ 5 เลือกไปพบแพทย์ที่คลินิก
35
โรงพยาบาลของรัฐ 70%
โรงพยาบาลเอกชน 22%
การเลือก ใช้สถานพยาบาล
คลินิก 5% โรงพยาบาล ต่างประเทศ 3%
อย่างไรก็ ตาม ผลจากการศึ ก ษาท าให้ส ามารถทราบได้ว่า ชาวเวีย ดนามโดยส่ วนใหญ่ ย ัง ไม่ค่ อยได้รับ สวัสดิการในด้านสุขภาพจากการทางานมากนัก โดยส่วนใหญ่เมื่อต้องชาระค่ารักษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง ชาวเวียดนามหรือไม่ก็ค่สู มรสต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายด้วยตนเอง คิดเป็ นสัดส่วนมากกว่า 55% นอกจากนี้ อีกว่าร้อยละ 30 ใช้สิทธิ์ประกันชีวิต/ประกันสุขภาพ มีเพียงประมาณร้อยละ 3 เท่านั้นที่ใช้สวัสดิการของรัฐ หรือเอกชน จากหน่ วยงานที่ตนทางานอยู่
นายจ้าง/บริษัท 2% สวัสดิการรัฐ 2% พ่อแม่ 13%
ผูร้ บั ผิดชอบ ค่ารักษาพยาบาล ตนเอง/คู่สมรส 55%
ประกัน 27%
36
กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามมากกว่า 1 ใน 3 เข้ารับการตรวจสุขภาพประจาปี และอีกประมาณ 1 ใน 3 ของ กลุ่มตัวอย่าง ไม่เคยรับการตรวจสุขภาพเลย ส่วนผูท้ ี่เข้ารับการตรวจสุขภาพเป็ นประจาส่วนใหญ่จะตรวจ ทุกๆ 6 เดือน - 1 ปี โดยเฉพาะกลุ่มที่มีรายได้ปานกลาง-สูง มีแนวโน้มเข้ารับการตรวจสุขภาพมากกว่า กลุ่มรายได้ตา่ สาหรับการดูแลสุขภาพแบบอื่นๆ พบว่า ประมาณครึ่งหนึ่ งของกลุ่มตัวอย่างจะรับประทานอาหารเสริมหรือ วิตามิน และนอกจากนี้ 2 ใน 3 ของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามมักจะดูแลสุขภาพโดยการออกกาลังกาย อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างเพศหญิงมักจะออกกาลังกายน้อยกว่าผูช้ าย โดยมีประมาณ 1 ใน 3 ที่ออกกาลัง กายเป็ นประจ าทุ ก วัน กิ จ กรรมการเดิ น /วิ่ ง เป็ นกิ จ กรรมหลัก ที่ ก ลุ่ ม ตัว อย่า งชาวเวี ย ดนามนิ ย มท า โดยเฉพาะกลุ่มตัวอย่างเพศชาย ซึ่งส่วนใหญ่มกั จะไปออกกาลังกายตามสวนสาธารณะ โดยมีประมาณร้อย ละ 16 ที่ไปออกกาลังกายในฟิ ตเนส ส่วนกิจกรรมการออกกาลังกายที่กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงนิ ยมทาได้แก่ โยคะ ปั ่นจักรยานและเต้นแอโรบิก
ไม่ออกกาลัง
35.5%
อื่นๆ
64.5% 66.7%
โยคะ
33.3%
33.3%
แอโรบิก
66.7%
40.0%
กีฬาในยิม เช่น…
60.0% 64.0%
กีฬากลางแจ้ง
36.0% 87.0%
จักรยาน
34.5%
เดิน/วิ่ง
13.0% 65.5%
40.2% 0%
20%
59.8% 40% ชาย
60%
80%
100%
หญิง
กีฬา/การออกกาลังกายที่เป็ นที่นิยมของชาวเวียดนาม
37
Smoking habits สาหรับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามพบว่า มีผูส้ บู บุหรี่ประมาณร้อยละ 20 ของกลุ่ม ตัวอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 30-39 ปี ร้อยละ 80 ของผูท้ ี่สูบบุหรี่จะสูบเป็ นประจาทุก วัน อีกร้อยละ 20 จะสูบเป็ นครั้งคราว ในจานวนนี้ เป็ นกลุ่มที่อายุ 18-22 ปี ประมาณร้อยละ 16 และเป็ น เพศหญิงเพียงร้อยละ 5 โดยกว่าร้อยละ 90 ของกลุ่มตัวอย่างรูส้ ึกเห็นด้วยที่จะให้มีการห้ามสูบบุหรี่ในที่ สาธารณะ และผูท้ ี่ไม่สูบบุหรี่เกือบทั้งหมดรูส้ ึกว่าการสูบบุหรี่น้ั นเป็ นอันตรายต่อ สุ ขภาพและสร้างความ เดือดร้อนราคาญ สูบ 60 ปี ขึ้ นไป 50-60 ปี 40-49 ปี 30-39 ปี 23-29 ปี 18-22 ปี
ไม่สบู
100% 20.60% 16.90% 25.60% 17.90%
14.00%
79.40% 83.10% 74.40% 82.10%
86.00%
พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของชาวเวียดนาม จาแนกตามอายุ
สาหรับสถานที่ในการซื้ อบุหรี่ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 80 ซื้ อบุหรี่จากร้านขายของชา มีเพียงร้อย ละ 5 ที่จะซื้ อจากร้านสะดวกซื้ อ และตลาดสด
38
ร้านสะดวกซื้ อ 5%
ช่องทาง ในการซื้ อบุหรี่
ซุปเปอร์มาร์เก็ต/ ห้างสรรพสินค้า 3% ร้านค้าเฉพาะด้าน 7% อื่นๆ 3%
ร้านขายของชา 78%
ตลาดสด 4%
39
Shopping habits and Attitude การจับจ่ายซื้ อสินค้าของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม พบว่าชาวเวียดนาม มีพฤติกรรมการจับจ่ายแตกต่างกัน ไปตามแต่ละประเภทของสินค้า โดยสินค้าอุปโภคเช่น กระดาษชาระ ผงซักฟอก จะซื้ อเดือนละ 1-2 ครั้ง จากซูเปอร์มาร์เก็ต/ไฮเปอร์มาร์เก็ต เป็ นหลัก คิดเป็ นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 60 ส่วนสินค้าประเภทสบู่ แชมพู ยาสีฟัน ผลิตภัณฑ์ดูแลผิ วกาย กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ซื้อเดือนละ 1-2 ครั้งจากซูเปอร์มาร์เก็ต / ไฮเปอร์มาร์เก็ต และร้านขายของชา โดยเฉพาะผูม้ ีรายได้มากมักจะซื้ อจากซูเปอร์มาเก็ต กว่าร้อยละ 90 ส่วนสินค้าประเภทเครื่องสาอางต่างๆ ส่วนใหญ่ซื้อทุกๆ 3-6 เดือนจากซูเปอร์มาร์เก็ต/ไฮเปอร์มาร์เก็ต ศูนย์การค้า และร้านขายของเฉพาะด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มตัวอย่างวัยทางานที่มีอายุระหว่าง 23- 29 ปี หนั งสื อและนิ ตยสาร กลุ่ม ตัวอย่างร้อยละ 35 มักจะซื้ อจากร้านขายของช าในท้องถิ่ น และอี กส่วนหนึ่ ง ประมาณร้อยละ 33 ซื้ อจากร้านขายหนั งสือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ลูกค้าที่ มีอายุ อยู่ในวัยอายุ ไม่เกิน 30 ปี มักจะซื้ อหนังสือหรือนิ ตยสารทุกวันหรือเกือบทุกวัน และกว่าร้อยละ 80 ซื้ อหนังสือไม่ตา่ กว่าเดือนละครั้ง
ตลาด ร้านค้าทั ่วไปในโฮจิมินห์ (1)
ตลาด ร้านค้าทั ่วไปในโฮจิมินห์ (2)
ส่วนการซื้ อสินค้าต่างๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ยงั จากัดอยูใ่ นวงแคบๆ มีบา้ งที่ซื้อโดยดูสินค้าผ่านเฟซบุ๊ค แล้ว ไปรับสินค้าและชาระเงินที่บา้ นหรือร้านของผูข้ าย โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น ทัศนคติเกี่ยวกับการจับจ่ายซื้ อสินค้า สาหรับทัศนคติเกี่ยวกับการเลือกซื้ อสินค้าของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามนั้น สิ่งที่ให้ความสาคัญมากที่สุด คือ การได้ใช้สินค้าที่ดี มีคุณภาพ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.55 รองลงมาคือ เมื่อเลือกซื้ อสินค้าในแต่ละครั้ง จะเลือกซื้ อสินค้าที่ดีที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 และในการซื้ อสินค้าโดยทัว่ ไปแล้ว จะซื้ อสินค้าที่ดีที่สุด เสมอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 ตามลาดับ ซึ่งหากกล่าวโดยรวมแล้วจะเห็นได้ว่าชาวเวียดนามจะคานึ งถึ ง คุณภาพของสินค้าและเลือกซื้ อเฉพาะสิ่งที่คุม้ ค่า เป็ นหลัก โดยจะพยายามเลือกสินค้าที่มีคุณภาพดีที่สุดใน 40
ร้าน และจะเลือกใช้สินค้าที่มีคุณภาพดีที่สุดเสมอ และมักเลือกซื้ อสินค้าอย่างระมัดระวัง เพื่อให้ได้สินค้าที่ดี ที่สุด อย่างไรก็ตาม สิ่งที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสาคัญมากนักในการเลือกซื้ อสินค้า 3 อันดับ แรก ได้แก่ ไม่ค่อยคิดมากเมื่อจะซื้ อสินค้า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.59 ปรับเปลี่ยนตามแฟชัน่ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.57 และมักจะซื้ อของโดยไม่ได้ต้งั ใจอยูบ่ ่อยครั้ง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.40
ตลาดนัดในนครโฮจิมินห์
ซุปเปอร์มาร์เก็ตในนครโฮจิมินห์
41
สาหรับคอมพิวเตอร์ โทรศัทพ์มือถือ แทปเล็ต และอุปกรณ์สื่อสารมักจะซื้ อจากร้านอุปกรณ์เฉพาะทางกว่า ร้อยละ 60 รองลงมามักจะซื้ อจากศูนย์การค้า เช่นเดียวกับชิ้ นส่วนยานยนต์ และรถจักรยานยนต์ ซึ่งสินค้า ต่างๆ เหล่านี้ กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามมีความถี่ในการซื้ อประมาณ 6 เดือนหรือมากกว่านั้นต่อ 1 ครั้ง 2.89
ฉันมักเปลี่ยนยี่ห้อของที่ซื้อไปเรื่อยๆ ฉันมักซื้อของจากร้านเดิมๆ เสมอ เมื่อฉันเจอยี่ห้อทีช่ อบ ฉันจะใช้ไม่ยอมเปลีย่ น ฉันมียี่ห้อทีฉ่ ันชอบ และซื้อซ้าแล้วซ้าอีก ข้อมูลที่ได้รับจากสินค้าต่างๆ มักทาให้ฉนั สับสน ยิ่งฉันมีความรูเ้ กี่ยวกับสินค้า ยิ่งทาให้ยากที่จะเลือกอันที่ดีที่สดุ บางครั้ง ฉันก็ตัดสินใจไม่ได้ว่าจะไปซื้อของที่ไหน เมื่อมีสินค้าหลายยี่ห้อให้เลือก ฉันมักจะสับสน ฉันจะตรวจสอบยอดการใช้จ่ายอยู่เสมอ ฉันมักใช้เวลาอย่างเต็มที่ เพื่อจะซือ้ ของอย่างระมัดระวัง บ่อยครั้งทีฉ่ ันซือ้ แบบไม่ยับยั้งชั่งใจ ฉันหวังว่าจะไม่เกิดขึน้ อีก ฉันมักซื้อของ โดยไม่ได้ตั้งใจบ่อยครั้ง ฉันคิดว่าฉันควรวางแผนการช็อปปิ้งให้ดีกว่านี้ ฉันเฟ้นหาสินค้าที่คุ้มค่าเงินที่สุด ของที่ราคาถูกที่สุด มักเป็นตัวเลือกของฉัน ฉันจะซื้อของจานวนมาก เมื่อมีการลดราคา เมื่อไปช็อปปิ้ง ฉันมักจะทาเวลาให้เร็ว บางครั้งฉันช็อปปิ้งเพือ่ ความสนุก ฉันคิดว่า การช็อปปิ้ง เป็นเรือ่ งทีเ่ ปลืองเวลา การไปช็อปปิ้ง เป็นหนึ่งในกิจกรรมทีเ่ พลิดเพลินในชีวติ ฉัน การช็อปปิ้ง ไม่ใช่เรื่องสนุกสนานสาหรับฉัน การได้ซอื้ สินค้าแปลกใหม่ เป็นเรื่องสนุกสาหรับฉัน เพื่อให้ได้ความหลากหลาย ฉันซื้อสินค้าหลายยี่ห้อ จากหลายๆ แหล่ง การแต่งตัวทันสมัยและดึงดูด เป็นเรื่องสาคัญสาหรับฉัน เสื้อผ้าในตู้ของฉัน ปรับเปลี่ยนไปตามแฟชัน่ เมื่อมีสไตล์ใหม่ๆ ฉันจะต้องมีอย่างน้อย 1 ชุด ในสไตล์นั้น ยี่ห้อที่มกี ารโฆษณาที่ดี มักเป็นตัวเลือกของฉัน ฉันชอบทีจ่ ะซื้อยี่ห้อที่ขายดี (Best Seller) ห้างสรรพสินค้าทีด่ ีๆ หรือร้านเฉพาะทาง มักมีของที่ดที ี่สุดให้ฉันเลือกซื้อเสมอ ฉันเชื่อว่าสินค้าที่มรี าคาทีแ่ พง คุณภาพจะสูงตามไปด้วย สินค้ายี่ห้อทีแ่ พงกว่า มักเป็นตัวเลือกของฉัน การซือ้ สินค้ายี่ห้อที่เป็นทีร่ ู้จกั ทัว่ ไป สาคัญกับฉัน ฉันจะซื้ออย่างรวดเร็ว หากสินค้าอันแรกทีพ่ ิจารณา นั้นดูดีพอ ฉันมีมาตรฐานหรือความคาดหวังจากสินค้าในระดับที่สูง ฉันไม่คอ่ ยคิดมาก เมื่อฉันจะซือ้ สินค้า ฉันพยายามทีจ่ ะหาซื้อสินค้า เพื่อให้ของทีด่ ีที่สุด โดยปกติแล้ว ฉันจะซื้อสินค้าที่คุณภาพดีทสี่ ุด เมื่อจะซื้อของ ฉันมักจะเลือกตัวเลือกทีด่ ีทสี่ ุดเสมอ การได้ใช้สนิ ค้ามีคุณภาพดี เป็นสิ่งสาคัญสาหรับฉัน
2.40
2.89
3.44 3.53 3.70 3.33 3.37 3.43 3.56 3.68 3.89 3.68 3.84
2.66 2.67 2.97 3.19 2.65 3.31 2.89 3.41 3.62 2.91 2.57 2.68 2.63 3.38 3.59 2.96 2.73 3.28 3.23 3.58 2.59
.00
1.00
2.00
3.00
ทัศนคติการเลือกซื้ อสินค้าของชาวเวียดนาม (Sproles and Kendall, 1986; Sproles and Sproles 1990)
4.13 4.09 4.19 4.55
4.00
5.00
42
Hobby and Free time กิจกรรมยามว่างที่กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามทาเป็ นประจา ได้แก่ การดูโทรทัศน์ ชมภาพยนตร์ที่บา้ น ฟั ง เพลง เล่นอินเตอร์เน็ ต/โซเชียลเน็ ตเวิรก์ ทาอาหาร และทางานบ้าน ส่วนการออกกาลังกาย บางส่วนทา เป็ นประจา และแต่อีกบางส่วนกว่า ร้อยละ 50 แทบไม่เคยหรือไม่ค่อยได้ออกกาลังกายเลย ส่วนกิจกรรมที่ กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามแทบจะไม่ค่อยได้ทาหรือมีสดั ส่วนผูท้ ี่ ทาน้อยที่สุด คือ การทางานประดิษฐ์และ งานศิลปะ งานฝี มือ การทาสวนการไปชมกีฬา การเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์และการออกไปดูการแข่งขันกีฬา ตามลาดับ
ทางานศิลปะ เช่น วาดภาพ งาน… 13 ทางานฝี มือ
26
ทาสวน
29
14%
82%
15%
77%
18%
74%
17%
เล่นเกมส์ อ่านหนังสือ
20%
ดูการแข่งขันกีฬา
21%
35%
47%
46% 26%
52%
36%
ออกกาลังกายที่บา้ น
29%
44%
ทาอาหาร
33%
ชมภาพยนตร์ (ที่บา้ น)
52%
ทางานบ้าน ทาความสะอาดบ้าน
52%
ฟั งเพลง
52%
34% 35% 39%
0%
20%
เป็ นประจา
12%
38%
9%
23% 70%
ดูโทรทัศน์
8.2%
35%
54%
เล่นอินเตอร์เน็ ต / โซเชียล…
19%
40%
23% 26%
60%
บางครั้ง
80%
100%
ไม่เคย
43
นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมยามว่างหรือการพักผ่อนนอกบ้าน อื่นๆ ที่กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามนิ ยมทาเป็ น ประจา ได้แก่ กิจกรรมการออกไปรับประทานอาหารนอกบ้าน ส่วนกิจกรรมในเวลาว่างที่นิยมเป็ นบางครั้ง คราวใน ได้แก่ ช็อปปิ้ งจับจ่าย ปาร์ตี้สังสรรค์ ออกไปท่องเที่ยว การชมภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์และร้อง คาราโอเกะ และส่วนกิ จ กรรมที่ ก ลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ไม่ค่อยได้ท าในเวลาว่างเลย ได้แ ก่ การไปเที่ ย ว กลางคืนตามไนท์คลับ และการออกไปเล่นกีฬา หรือออกกาลังกาย
เที่ยวกลางคืน 0.5%
93.5%
ปาร์ตสัี้ งสรรกับเพื่อน
62.2%
ร้องคาราโอเกะ
33.3%
46%
ไปเที่ยวตามสถานพักผ่อน 7.3%
49.5%
ชมภาพยนตร์ 7.3% ช็อปปิ้ ง
48.8% 0%
50.3% 70.8%
31%
กินข้าวนอกบ้าน
43.2%
42.5%
14%
เล่นกีฬา/ออกกาลังกาย
48.8%
28.5%
15.8%
40.5% 41%
10.3%
10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% เป็ นประจา
บางครั้ง
ไม่เคย
44
Home care and Decorations ลักษณะของที่อยูอ่ าศัย ภาพรวมด้านลักษณะที่อยู่อาศัยของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม ส่วนใหญ่ กว่าร้อยละ 33 เป็ นบ้านเดี่ ยว (Detached House/Villa) อาศัยอยู่ในบ้านหลังปั จจุบนั มาแล้วเฉลี่ยกว่า 15 ปี กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม อยู่บา้ นเฉลี่ยสัปดาห์ละไม่ตา่ กว่า 5 วัน และอยู่กนั เป็ นครอบครัวใหญ่ มีสมาชิกตั้งแต่ 3-5 คนขึ้ นไป โดย สมาชิกภายในบ้านส่วนใหญ่จะมีอายุระหว่าง 30-60 ปี รองลงมา คือ ที่อยูอ่ าศัยแบบทาวน์เฮาส์/บ้านแฝด และอพาร์ทเมนต์/แมนชัน่ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 26 และร้อยละ 16 ตามลาดับ
ทาวน์เฮ้าส์/บ้าน แฝด 26%
อพาร์ทเมนท์/ แมนชัน่ 16% อาคารพาณิชย์ 12%
ประเภทที่อยูอ่ าศัย คอนโดมิเนี่ ยม 9% บ้านเดี่ยว 33%
หอพัก 1%
ที่พกั พนักงาน/ สวัสดิการ 3%
45
ได้รบั จัดสรรจาก รัฐบาล 3% บ้านเช่า 20%
อื่นๆ 3%
ที่อยูอ่ าศัย ของกลุ่มตัวอย่าง
สร้างเอง 53%
บ้านโครงการ จัดสรร 9% บ้านมือสอง 13%
นอกจากนี้ บ้านที่ ก ลุ่ม ตัวอย่างชาวเวีย ดนามส่วนใหญ่ อาศัย อยู่ เป็ นบ้านที่ สร้างขึ้ นเองกว่าร้อยละ 53 รองลงมาอาศัยอยู่ในบ้านเช่า และบ้านมือสอง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 20 และร้อยละ 13 ตามลาดับ ส่วน บ้านที่ได้รบั การจัดสรรหรือบ้านพักสวัสดิการยังคงมีสดั ส่วนค่อนข้างน้อย สาหรับภายในบ้านของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม ส่วนใหญ่จะมีหอ้ งนอนไม่ตา่ กว่า 3 ห้อง และมีหอ้ งน้ า ประมาณ 1 – 2 ห้อง วัสดุที่ใช้ในการสร้างบ้าน ส่วนใหญ่จะสร้างจากอิฐและปูนซีเมนต์เป็ นหลัก คิดเป็ น สัดส่วนกว่าร้อยละ 80 รองลงมาจะเป็ นบ้านแบบกึ่งไม้กึ่งปูน และบ้านไม้ คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 20 และร้อยละ 4 ตามลาดับ ร้อยละ 80 นิ ยมตกแต่งบ้านด้วยผ้าม่าน ส่วนการตกแต่งผนังบ้านส่วนใหญ่ ยังคงนิ ยมเพียงการทาสี มีการใช้วอลเปเปอร์เพียงร้อยละ 17 ส่วนพื้ นของบ้าน ร้อยละ 80 เป็ นพื้ นกระเบื้ อง รองลงมาคือ พื้ นซีเมนต์ คิดเป็ นร้อยละ 11 ส่วนพื้ นไม้น้ัน มีอยูร่ อ้ ยละ 9 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด
พฤติกรรมการอยูอ่ าศัย จากการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ห้องที่กลุ่มตัวอย่างใช้งานมากที่สุดในบ้าน คือ ห้องนั ง่ เล่น คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 50 รองลงมา คือ ห้องนอน คิดเป็ นร้อยละ 40 และห้องครัว หรือห้องรับประทานอาหาร ร้อยละ 8 ตามลาดับ สาหรับห้องที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญกับการตกแต่งมากที่สุดคือห้องนัง่ เล่นหรือ ห้องรับแขก คิ ดเป็ นร้อยละ 67 รองลงมาคื อห้องนอน ร้อยละ 28 ซึ่ งสอดคล้องกับห้องที่ กลุ่มตัวอย่าง ต้องการโชว์แก่ผูท้ ี่มาเยี่ยมมากที่สุดคือ ห้องนัง่ เล่นหรือห้องรับแขก สูงถึงร้อยละ 82 รองลงมา คือ สวนหรือ สนามหญ้า ส่วนห้องครัวกลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญในการตกแต่งเพียง ร้อยละ 2 ในขณะที่กลุ่มตัวอย่าง ต้องการจะใช้หอ้ งครัวแสดงความเป็ นหน้าเป็ นตาของบ้านมากที่สุดเป็ นอันดับ 3 คิดเป็ นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 5
46
อุปกรณ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบ้าน สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ าภายในบ้านนั้น กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามมีโทรทัศน์และพัดลมใช้แทบทุกครัวเรือน คิดเป็ นร้อยละ 96 และ 95 ตามลาดับ รองลงมามากกว่า 2 ใน 3 มีหม้อหุงข้าว เครื่องเล่นวีซีดีและและ เครื่องซักผ้าใช้ กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามมีโทรทัศน์โดยเฉลี่ย 2 เครื่องต่อครัวเรือน ซึ่งสอดคล้องกับการ วิจยั เชิงคุณภาพ พบว่า โทรทัศน์ถือเป็ นอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าในบ้านที่สาคัญที่จาเป็ นต้องมี เพราะนอกจาก ชาวเวียดนามจะชอบดูโทรทัศน์แล้ว โทรทัศน์ยงั เป็ นเครื่องหมายที่ แสดงถึงฐานะของเจ้าของบ้านได้อีกด้วย โดยกลุ่มตัวอย่าง มักจะวางโทรทัศน์ ไว้ที่หอ้ งรับแขก หรือห้องนัง่ เล่นเป็ นหลัก และจัดตกแต่งห้องรับแขก อย่างสวยงาม
29%
ไมโครเวฟ
71% 44%
เครื่องทาน้ าอุ่น
56% 52%
เครื่องปรับอากาศ
49%
55%
คอมพิวเตอร์
46%
เครื่องเล่นวีซีดี
74%
26%
เครื่องซักผ้า
74%
26% 78%
หม้อหุงข้าว
22%
95% 6%
พัดลม
96% 4%
โทรทัศน์ 0%
10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%
มี
ไม่มี
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีในครัวเรือนของชาวเวียดนาม
47
พฤติกรรมการตกแต่งบ้าน และการซื้ อสินค้าตกแต่งบ้าน การตกแต่งบ้านของชาวเวียดนาม กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 74 บอกว่าไม่ได้จา้ งสถาปนิ ก มัณฑนา กร หรือดีไซน์เนอร์ เพื่อมาออกแบบตกแต่งบ้าน อย่างไรก็ตามกว่าร้อยละ 14 มีการได้มีการจ้างสถาปนิ ก มาออกแบบสาหรับการตกแต่งพื้ นที่ บางส่วนภายในบ้าน ส่วนอีกร้อยละ 12 มีการจ้างให้มาออกแบบบ้าน ทั้งหลัง หรือเกือบทั้งหลัง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นกลุ่มกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับรายได้ปานกลาง – สูง และระดับ รายได้สงู นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามเกินกว่าครึ่ง เห็นว่าการที่มีบา้ นที่สะอาด เรียบร้อย สะดวกสบาย และ สวยงามนั้น เป็ นเรื่องที่สาคัญ โดยกลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 57 นั้นเห็นว่าเป็ นเรื่องที่สาคัญที่สุด และร้อยละ 34 เห็ น ว่า เป็ นเรื่ อ งส าคัญ อย่า งไรก็ ต ามกลุ่ ม ตัว อย่า งชาวเวี ย ดนามมัก จะไม่ค่ อ ยมี ก ารจัด หรื อ ย้า ย เฟอร์นิเจอร์ โดยมีการจัดหรือเคลื่อนย้ายนานๆ ครั้ง (มากกว่า 1 ปี ต่อครั้ง) ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 37 และอีก กว่าร้อยละ 25 จัดบ้านเพียงปี ละ 1 ครั้ง ส่วนความถี่ในการซื้ อของตกแต่งบ้านชิ้ นเล็ก ๆ เช่น โคมไฟ กรอบรูป และอื่น ๆ นั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ จะซื้ อประมาณปี ละครั้งหรือนานกว่านั้น คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 47 และซื้ อปี ละครั้ง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 25 ส่วนของชิ้ นใหญ่ เช่น โต๊ะ ตู้ เตียงนอน ก็เช่นเดียวกัน ส่วนมากนานๆ ครั้ง (มากกว่า 1 ปี ต่อครั้ง) จึง จะซื้ อ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 45 และซื้ อปี ละครั้ง คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 19 สาหรับเหตุผลที่กลุ่มตัวอย่าง ไปซื้ อของตกแต่งบ้านชิ้ นใหม่ กลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 70 ตอบว่าเพื่อทดแทนเฟอร์นิเจอร์เดิมที่แตกหัก เสียหาย สอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้เงินและซื้ อสินค้าซึ่งส่วนมากจะซื้ อสินค้าตามความจาเป็ น รองลงมา ร้อยละ 14 ซื้ อเพื่อตกแต่งบ้านใหม่ และร้อยละ 8 ซื้ อเพราะต้องการความสะดวกสบายหรือต้องการการใช้ สอยที่ดีขนึ้
บรรยากาศห้องรับประทานอาหารในบ้านของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม 48
การตกแต่งบ้านในห้องรับแขกของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม ส่วนไอเดี ย การตกแต่งบ้าน หรือแรงบันดาลใจในการตกแต่งบ้านของชาวเวียดนามนั้ น กลุ่มตัวอย่างได้ ไอเดียมาจากอินเตอร์เน็ ต ร้อยละ 40 ได้ไอเดียมาจากเพื่อนร้อยละ 32 และได้ไอเดียมาจากหนังสือหรือ นิ ตยสารร้อยละ 27 ตามลาดับ โดยสไตล์เฟอร์นิเจอร์ที่ กลุ่มตัวอย่างชื่นชอบนั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนมากจะ ชอบการตกแต่งด้วยเฟอร์นิเจอร์ใหม่ที่ทนั สมัย สะดวก พร้อมใช้งาน ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 55 รองลงมา คือ เฟอร์นิเจอร์แบบสัง่ ทาเป็ นชิ้ นๆ (Tailor-Made) คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 25 และเฟอร์นิเจอร์เก่า/ของ โบราณ (Antique) คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 12 ตามลาดับ ส่วนเฟอร์นิเจอร์แบบ Built-in มีกลุ่มตัวอย่างชื่น ชอบเพียง ร้อยละ 2 และส่วนสินค้าเฟอร์นิเจอร์ประกอบเองหรือ DIY กลุ่มตัวอย่างมากกว่าร้อยละ 55 ตอบ ว่าอาจจะสนใจถ้าหากมีราคาที่น่าสนใจ สาหรับสถานที่ ในการซื้ อเฟอร์นิเจอร์น้ัน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะซื้ อจากร้านขายเฟอร์นิเจอร์และสินค้า ตกแต่งบ้าน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 72 รองลงมา คือ สัง่ ทาจากช่างร้านเฟอร์นิเจอร์ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 10 และซื้ อจากห้า งสรรพสิ น ค้า ทัว่ ไป คิ ด เป็ นสัด ส่ ว นร้อ ยละ 7 ตามล าดับ ส่ ว นการซื้ อผ่ า นช่ อ งทาง อินเตอร์เน็ ตและการซื้ อจากงานแสดงสินค้ายังมีไม่มากนัก แม้วา่ จะมีสดั ส่วนผูใ้ ห้ความสนใจในการซื้ อสินค้า ในงานแสดงสินค้าตกแต่งบ้านและเฟอร์นิเจอร์อยูก่ ว่าร้อยละ 40 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด
49
สัง่ ประกอบในพื้ นที่ (Built-in) 2%
เป็ นเฟอร์นิเจอร์ ใหม่ ประกอบเอง (DIY) 4%
เป็ นเฟอร์นิเจอร์ ใหม่ประกอบเสร็จ พร้อมใช้งาน 55%
หาแบบ แล้วสัง่ ทา เป็ นชิ้ นๆ 25%
รูปแบบเฟอร์นิเจอร์ ที่ชื่นชอบ
อื่นๆ 2% เป็ นเฟอร์นิเจอร์เก่า / ของโบราณ 12%
สัง่ ทาจากช่าง เฟอร์นิเจอร์ / ช่างฝี มือ 9% ห้างสรรพสินค้าทัว่ ไป 7%
ร้านขายเฟอร์นิเจอร์ และของแต่งบ้าน 72%
สถานที่ซื้อเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่งบ้าน
ร้านขายของเก่า 5% ห้างที่ขายเฉพาะ เฟอร์นิเจอร์และของ ตกแต่งบ้าน อื่นๆ 3% 2% งานแสดงสินค้า 1% สัง่ ทางอินเตอร์เน็ ต 1%
50
สไตล์การตกแต่งบ้านด้วยไม้
สไตล์เฟอร์นิเจอร์ไม้
สาหรับผูม้ ีอิทธพลต่อการตัดสินใจซื้ อเฟอร์นิเจอร์และสินค้าตกแต่งบ้านนั้น กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามร้อย ละ 40 เป็ นผูต้ ดั สินใจด้วยตนเอง ส่วนอีกประมาณร้อยละ 30 มีผูร้ ่วมตัดสินใจ คือ สามีและภรรยา และอีก ประมาณร้อยละ 25 ซื้ อเพราะมีลกู เป็ นแรงบันดาลใจหรือเป็ นแรงผลัก ดันให้เกิดการซื้ อ กลุ่มตัวอย่างชาว เวียดนามกว่าร้อยละ 90 มักจะชาระค่าสินค้าตกแต่งบ้านและเฟอร์นิเจอร์ดว้ ยเงินสดเป็ นส่วนใหญ่ มีเพียง ไม่ถึงร้อยละ 10 ที่ชาระโดยใช้บตั รเครดิต ส่วนค่าใช้จ่ายสาหรับการตกแต่งบ้าน และซื้ อสินค้าดังกล่าวของ ชาวเวียดนามโดยส่วนใหญ่ คิดเป็ นร้อยละ 45 จะมีสดั ส่วนตา่ กว่าร้อยละ 5 ของรายได้ท้งั ปี
พ่อแม่ 4%
ลูก 25%
เพื่อน/ญาติ 1%
ผูม้ ีอิทธิพล ต่อการตัดสินใจซื้ อ
แฟน/สามีภรรยา 29%
การรีววิ ใน อินเตอร์เน็ ต 1%
ตนเอง 40%
51
อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามโดยส่วนใหญ่ คิดเป็ นร้อยละ 70 ยังคงคานึ งถึงเรื่องฮวงจุย้ ในการ จัดตกแต่งบ้านอยู่บา้ ง โดยสัดส่วนร้อยละ 43 จะเชื่อในเรื่องของฮวงจุย้ และจัดบ้านให้ถูกหลักฮวงจุย้ อย่าง มาก อีกร้อยละ 25 จะคานึ งถึ งหลัก ฮวงจุย้ บ้างสาหรับบางส่วนของบ้าน และอีกร้อยละ 32 จะไม่ได้ คานึ งถึงหลักฮวงจุย้ เลย
ปั จจัยในการตัดสินใจซื้ อสินค้าตกแต่งบ้าน การเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ของชาวเวียดนามนั้น ปั จจัยที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญมากที่สุด คือ ร้านขาย เฟอร์นิเจอร์มีพนักงานคอยช่วยเหลือ และให้คาแนะนาในการเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.92 รองลงมาคือ ร้านค้ามีเฟอร์นิเจอร์ในรูปแบบที่หลากหลาย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.88 และมีบริการจัดส่งสินค้า ถึงบ้าน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.74 ส่วนปั จจัยที่ กลุ่มตัวอย่างไม่ค่อยให้ความสาคัญมากนั ก คือ การซื้ อ สินค้าตามดาราที่ชื่นชอบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.27 รองลงมาคือ การใช้บตั รเครดิตในการซื้ อได้ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.46 และการซื้ อเฟอร์นิเจอร์ราคาถูก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.58 ตามลาดับ
52
ฉันชอบซื้อเฟอร์นิเจอร์ตามดาราที่ชื่นชอบ
2.27
ฉันชอบซื้อเฟอร์นิเจอร์แบบที่เห็นในละคร
2.63
ฉันชอบเฟอร์นิเจอร์แบบใหม่มากกว่าแบบเก่า
3.46
ฉันชอบเฟอร์นิเจอร์ที่ทันสมัย
3.45
ฉันคิดว่าเฟอร์นิเจอร์ราคาแพงกว่าจะมีคุณภาพที่ดีกว่า
3.05
ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์ที่กาลังลดราคา
2.89
ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์ที่ราคาถูกที่สุด
2.58
ร้านทีมีบริการออกแบบตกแต่งจะช่วยให้ฉันตัดสินใจได้ง่ายขึ้น
3.41
ฉันชอบร้านที่มีพนักงานคอยช่วยเหลือ
3.92
ฉันชอบร้านที่มีเฟอร์นิเจอร์ที่หลากหลาย
3.88
ฉันอยากตกแต่งบ้านให้เหมือนกับในนิตยสารหรือแคตตาล็อก
2.95
ฉันมักจะหาข้อมูลในการตกแต่งบ้านอยู่เสมอ
3.16
ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์จากร้านเดิมเสมอ
2.79
การตกแต่งร้านมีผลต่อการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์
3.28
ฉันจะตัดสินใจซื้อเร็วขึ้นถ้าสามารถใช้บัตรเครดิตได้
2.46
การส่งสินค้าถึงบ้านคือปัจจัยสาคัญที่ตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์
3.74
ฉันจะไม่ซื้อสินค้า DIY ถ้ามีการบริการรับติดตั้งจากทางร้าน
3.38
การซื้อเฟอร์นิเจอร์จากหลายแบรนด์ช่วยให้บ้านดูหลากหลายขึ้น
3.63
ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์จากแบรนด์เดิม
2.89
ฉันมักจะซื้อเฟอร์นิเจอร์เฉพาะแบรนด์ที่ชอบเท่านั้น
3.52 .00
1.00
2.00
3.00
4.00
5.00
การเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ของชาวเวียดนาม (ปรับปรุงจาก Sakpichaisakul, T., 2012) ส่วนปั จจัยที่ใช้ในการตัดสินใจซื้ อเฟอร์นิเจอร์ของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม ปั จจัยที่มีความสาคัญที่สุดคือ อายุ การใช้งานที่ ย าวนาน และทนทาน มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.61 รองลงมาคื อเรื่องคุ ณภาพของสิ นค้า มี ค่าเฉลี่ย 4.54 และความสวยงามหรือการออกแบบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.37 ตามลาดับ ส่วนปั จจัยที่กลุ่ม ตัวอย่างจะคานึ งถึงน้อยที่สุดเมื่อเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ คือ โปรแกรมผ่ อนชาระค่าสินค้า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.75 รองลงมาคือ สถานที่ต้งั ของร้าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.97 และการใช้เทคโนโลยีช่วยในการออกแบบ มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.29 ตามลาดับ ซึ่งเราจะเห็นได้ว่ากลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามนั้นจะคานึ งถึงคุณภาพของ 53
สินค้าเป็ นหลัก ส่วนการผ่อนชาระสินค้าจะให้ความสาคัญน้อยที่สุด เนื่ องจากชาวเวียดนามจะใช้จ่ายด้วย เงินสดเป็ นส่วนใหญ่และไม่นิยมการใช้บริการผ่อนชาระ การใช้เทคโนโลยีช่วยในการออกแบบ
3.29
สถานที่ตั้งของร้าน
2.97
รูปแบบการใช้งาน
4.18
ขนาดที่เหมาะสม
4.20
เข้ากับเฟอร์นิเจอร์อื่นๆ ได้ดี
4.08
ประหยัดพลังงาน
3.98
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
3.88
ทาความสะอาดง่าย
4.02
ไม่ต้องบารุงรักษามาก
3.71
ความสบาย
4.19
วัตถุดิบ
4.21
สี
3.84
โปรแกรมผ่อนชาระค่าสินค้า
2.75
การรับประกันสินค้า
4.11
ระยะเวลาในการรอสินค้า
3.47
การบริการที่สะดวกรวดเร็ว
3.56
ความเอาใจใส่ของพนักงานต่อลูกค้า
3.86
การบริการหลังการขาย
3.62
การบรืการ ติดตั้ง ขนส่งสินค้า
3.75
ตรายี่ห้อ
3.70
คุณภาพ
4.54
ราคา
4.25
ความสวยงาม / การออกแบบ
4.37
อายุการใช้งานยาวนาน ทนทาน
4.61 .00
1.00
2.00
3.00
4.00
5.00
ปั จจัยในการเลือกซื้ อเฟอร์นิเจอร์ของชาวเวียดนาม (ปรับปรุงจาก Sakpichaisakul, T., 2012)
54
อย่างไรก็ตามหากพิจารณาตามระดับรายได้แล้ว พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ตา่ – ปานกลาง และกลุ่ม ตัวอย่างที่มีรายได้ปานกลาง ส่วนใหญ่จะชื่นชอบสไตล์การตกแต่งบ้านแบบ Modern แต่ในกลุ่มผูม้ ีรายได้สูง นั้นจะชื่นชอบสไตล์การตกแต่งบ้านแบบ Modern European/Classic และ Asian/Tropical ในสัดส่วนที่ ใกล้เคียงกัน
Contemporary 6%
รูปแบบหรือสไตล์การตกแต่งบ้าน ที่กลุ่มตัวอย่างชื่นชอบ
Modern 54%
European / Classic 17% American / Country 6%
Asian / Tropical 18%
พฤติกรรมการจัดสวน และงานช่าง กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 30 จะปลูกต้นไม้และทาสวนที่บา้ น ส่วนการทางานช่าง และงานฝี มือ มีประมาณร้อยละ 18 ของกลุ่มตัวอย่างที่ทา นอกจากนี้ กว่าร้อยละ 66 ของกลุ่มตัวอย่างยังทา การซ่อมแซมอุปกรณ์เครื่องใช้ในบ้านเล็กๆ น้อยๆ ด้วยตนเอง เช่น เปลี่ยนหลอดไฟ ซ่อมท่อน้ า เป็ นต้น สาหรับการดูแลที่อยู่อาศัย กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่ให้ความสาคัญกับห้องรับแขก/ห้องนัง่ เล่น มากที่สุด และส่วนใหญ่จะตกแต่งบ้านเอง ไม่ได้ใช้บริการนักออกแบบหรือมัณฑนากร โดยเชื่อว่าการมีบา้ น ที่สะอาด เป็ นระเบียบเรียบร้อย และดูอบอุ่น เป็ นเรื่องที่สาคัญมากที่สุด อย่างไรก็ตาม กลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่ไม่ค่อยจัดบ้านใหม่บ่อยครั้ง โดยส่วนใหญ่นานกว่า 1 ปี จึงจะจัดบ้านใหม่สกั ครั้ง และมีประมาณเกือบ 1 ใน 4 ที่จดั บ้านใหม่ปีละ 1-2 ครั้ง เช่นเดียวกับความถี่ในการซื้ อเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน จากการสารวจ พบว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามส่วนใหญ่จะไม่มีสวนในพื้ นที่บา้ น และยังไม่มีการจัดสวน เพื่อความสวยงามเท่าใดนัก โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่มีสวนอยู่ในบ้านคิดเป็ นสัดส่ว นเพียงร้อยละ 25 ของกลุ่ม ตัวอย่างทั้งหมด อย่างไรก็ตามในจ านวนนี้ กว่าร้อยละ 33 มักจะมีกิจกรรมปลูกต้นไม้/ ทาสวนที่ บา้ น
55
ในขณะที่ อีกกว่า 67% จะไม่ค่อยท ากิจกรรมเหล่านี้ เลย นอกจากนี้ ร้อยละ 17 ของกลุ่มตัวอย่างชาว เวียดนามทั้งหมดยังชอบนาเฟอร์นิเจอร์หรือของตกแต่งมาจัดสวนให้สวยงามอีกด้วย ในส่วนของการทางานฝี มือต่างๆ ที่กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 83 ไม่เคยทางานฝี มือ เลย หรือหากทาก็จะทานาน ๆ ครั้ง มีเพียงร้อยละ 3 เท่านั้นที่ทางานฝี มืออยู่เป็ นประจา และกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 14 ที่จะทางานฝี มือบ้างในบางโอกาส ส่วนการซ่อมแซมข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านด้วยตนเองนั้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 45 จะซ่อมเองบ้างในบางโอกาส กลุ่มตัวอย่างสัดส่วนร้อยละ 35 จะไม่เคยทาเลย หรือหากทาก็จะนาน ๆ ครั้ง และกลุ่มตัวอย่างสัดส่วนร้อยละ 20 จะซ่อมแซมข้าวของเครื่องใช้ที่ชารุดเสียหายเองอยูเ่ สมอ
สม่าเสมอ 8.5%
พฤติกรรมการปลูกต้นไม้ และทาสวน
บางเวลา 24.3%
ไม่เคย/แทบจะ ไม่เคย 67.3%
สมา่ เสมอ 20.3% นานๆ ครั้ง 34.3%
การซ่อมแซมของใช้ ด้วยตนเอง บางเวลา 45.5%
56
Pet care สัตว์เลี้ ยงที่เป็ นที่นิยมของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม คือ สุนัขมากกว่าแมว โดยกลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 23 มีสุนัขเป็ นสัตว์เลี้ ยง และประมาณร้อยละ 10 มีแมวเป็ นสัตว์เลี้ ยง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เลี้ ยงสุนัขและแมว มากกว่า 1 ตัว และกลุ่มตัวอย่างเกือบร้อยละ 90 ไม่เคยนาสัตว์เลี้ ยงไปใช้บริการร้านอาบน้ า -ตัดแต่งขน สัตว์เลี้ ยงเลย ส่วนร้อยละ 10 ไปบ้างนานๆ ครั้ง ส่วนปลา มีสดั ส่วนผูเ้ ลี้ ยงประมาณร้อยละ 16 สาหรับกลุ่ม ตัวอย่างที่ไม่เลี้ ยงสัตว์ ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 46 ให้เหตุผลว่าเป็ นเพราะไม่ชอบสัตว์ และอีกกว่าร้อยละ 20 ให้เหตุผลว่าที่พกั ไม่อนุ ญาตให้เลี้ ยงและเป็ นโรคภูมิแพ้
อื่นๆ
3.8%
ปลา
16.3%
แมว
10.5%
สุนัข
23.0% สัดส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เลี้ยงสัตว์เลี้ยง จาแนกตามชนิด
เป็ นภูมิแพ้ 15%
ไม่ชอบสัตว์/ กลัว 64%
เหตุผล ที่ไม่เลี้ ยงสัตว์
มีค่าใช้จ่ายสูง 5%
ที่พกั ไม่อนุ ญาตให้ เลี้ ยง 16%
57
Travel habits กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม นิ ยมไปท่องเที่ยวตามสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ โดยมากกว่าร้อยละ 70 ชอบการไปท่องเที่ยวตามทะเล หมู่เกาะและชายหาด มีประมาณร้อยละ 13 ที่ชื่นชอบภูเขา และร้อยละ 8 ชื่นชอบการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม ในขณะที่การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพยังไม่เป็ นที่รจู ้ กั หรือไม่เป็ นที่นิยม มากนัก สาหรับความถี่ในการท่องเที่ยวในประเทศ ส่วนใหญ่จะเดินทางท่องเที่ยวประมาณปี ละครั้ง โดยร้อย ละ 60 นิ ยมไปกับครอบครัวและอีกร้อยละ 32 ไปกับเพื่อน โดยส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 70 มีระยะเวลาในการ ท่องเที่ยว 2-4 วัน มีเพียงร้อยละ 18 ที่เดินทางท่องเที่ยวประมาณ 5-7 วัน กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนาม ร้อยละ 60 นิ ยมเช่ารถยนต์เพื่อใช้เดินทาง ร้อยละ 9 เดินทางโดยใช้รถประจาทางและร้อยละ 8 เดินทาง โดยใช้รถยนต์ส่วนตัว ภูเขา 13%
ทะเล 74%
แหล่งท่องเที่ยว ที่ชื่นชอบ
ศิลปวัฒนธรรม 8% เที่ยวเชิงเกษตร 2% เที่ยวเชิง นันทนาการ 3%
58
รถบัส 10% รถไฟ 4%
รถเช่า 64%
วิธีการเดินทาง ท่องเที่ยวในประเทศ
สายการบิน Lowcost 6% สายการบิน 6% รถส่วนตัว 10%
สาหรับ ความถี่ ในการท่ องเที่ ย วในต่ างประเทศ กลุ่ม ตัวอย่า งส่ว นใหญ่ ก ว่า ร้อ ยละ 76 ไม่เ คยเดิ น ทาง ท่องเที่ยวต่างประเทศ ส่วนผูท้ ี่ เคยเดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศ มีเพียงร้อยละ 24 ซึ่งในจานวนนี้ โดย ส่วนใหญ่จะมีความถี่ในการเดินทางน้อยกว่าปี ละ 1 ครั้ง โดยปลายทางที่ นิยมท่องเที่ยว คือ ในโซนเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียเหนื อ (ญี่ปุ่น จีน เกาหลี ฮ่องกง) และยุโรป คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 70 ร้อยละ 19 และร้อยละ 7 ตามลาดับ และโดยมากนิ ยมเดินทางไปกับเพื่อนและครอบครัวระยะเวลารวมประมาณ 5-7 วัน นิ ยมเดินทางด้วยเครื่องบิน แบบสายการบินปกติ โดยมีประมาณร้อยละ 19 ของกลุ่มตัวอย่างที่เดินทาง ต่างประเทศ เลือกเดินทางท่องเที่ยวด้วยสายการบินแบบต้นทุนตา่ เอเชียใต้-อินเดีย 1%
ออสเตรเลียนิ วซีแลนด์ 1% อเมริกาเหนื อ 2%
เอเชียตะวันออก 70%
ประเทศที่นิยม เดินทางไปท่องเที่ยว
ยุโรป 7%
เอเชียเหนื อ (ญี่ปุ่น จีน เกาหลี ฮ่องกง) 19%
59
Holiday and Leisure ชาวเวียดนามทางานมากกว่าสัปดาห์ละ 5 วัน และทางานวันละไม่ตา่ กว่า 8 ชัว่ โมง อย่างไรก็ตามเมื่อถึง วันหยุดพักผ่อน เช่น วันหยุดสุดสัปดาห์หรือวันหยุดเทศกาล กิจกรรมที่ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ประมาณ 1 ใน 3 นิ ยม คือ ออกไปพักผ่อนสังสรรค์นอกบ้าน รองลงมาในสัดส่วนใกล้เคียงกัน นิ ยมพักผ่อนอยู่กบั บ้าน และร้อยละ 20 มักทากิจกรรมกับครอบครัว มีเพียงร้อยละ 3 ที่เดินทางไปท่องเที่ยวต่างพื้ นที่ในวันหยุด ที่ น่ าสนใจ คือ มีกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามเพียงประมาณร้อยละ 2 ที่ออกไปจับจ่ายซื้ อสินค้าในวันหยุดและมี กลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 8 ที่ทางานในช่วงวันหยุดพักผ่อน ทากิจกรรมกับ ครอบครัว 21%
ออกไปพักผ่อน นอกบ้าน 35%
จับจ่ายซื้ อสินค้า / ช็อปปิ้ ง 2%
กิจกรรมที่นิยม ทาในวันหยุด
ทางาน 8% เดินทางไป ท่องเที่ยว ต่างพื้ นที่ 3%
พักผ่อนอยูท่ ี่บา้ น 30%
อื่นๆ 1%
60
Saving and Investment habits กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามมากกว่าร้อยละ 90 ชาระค่าสินค้าด้วยเงินสด มีประมาณร้อยละ 5 ที่ใช้บตั ร เครดิ ตและบัตรเดบิ ตในการชาระค่าสิ นค้า โดยมากกว่าครึ่งหนึ่ งของกลุ่มตัวอย่างมีบัตรเครดิ ตเป็ นของ ตนเอง และประมาณร้อยละ 28 มีมากกว่า 1 ใบ สาหรับด้านการออมและลงทุน ประมาณครึ่งหนึ่ งของกลุ่ม ตัวอย่างจะฝากเงินกับธนาคาร ประมาณร้อยละ 10 ลงทุนกับทองคา ร้อยละ 7 ออมโดยใช้ประกันชีวิต และ ร้อยละ 3 ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ นอกจากนี้ ยังพบว่ากว่าร้อยละ 6 ที่ไม่ออมหรือลงทุนใดๆ เลย ส่วน สัดส่วนการออมและลงทุ นนั้ น ส่วนใหญ่จะออมสัดส่วนร้อยละ 10-20 ของรายได้ รองลงมาจะออมหรือ ลงทุนไม่เกินร้อยละ 10 ของรายได้ ส่วนด้านการใช้สินเชื่อนั้น มีประมาณร้อยละ 12 ที่ใช้บริการสินเชื่อ ส่วนบุคคล ส่วนสินเชื่อประเภทอื่นมีสดั ส่วนน้อย เพราะส่วนใหญ่ชาวเวียดนามนิ ยมใช้เงินสดเป็ นหลัก
บัตรเดบิต 3%
บัตรเครดิต 5%
วิธีการชาระเงิน เมื่อซื้ อสินค้า
เงินสด 91%
กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามร้อยละ 27 มักชาระบิลค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าน้ า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ฯลฯ ที่ สานักงานของผูใ้ ห้บริการโดยตรง มีเพียงร้อยละ 10 ชาระที่ธนาคารและร้อยละ 5 ที่ชาระโดยระบบหักบัญชี ธนาคาร
61
ธนาคาร 10%
ชาระที่สานักงาน 27%
ระบบหักบัญชี ธนาคาร 5%
การชาระค่าสาธารณูปโภค
ชาระโดยหักบัตร เครดิต 2%
อื่นๆ 56%
พฤติกรรมด้านการเงินและการออม กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามคิดเป็ นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 90 จะใช้จ่ายเงินสดในการซื้ อสินค้าต่างๆ ด้วยเงินสด แต่มีสดั ส่วนผูถ้ ือบัตรเครดิตคิดเป็ นร้อยละ 53 ส่วนร้อยละ 47 นั้นไม่ถือบัตรเครดิตเลย ส่วนลักษณะการ ออมของกลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามโดยส่วนใหญ่จะฝากเงินสดกับธนาคาร คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 39 ของ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด อีกประมาณร้อยละ 10 ลงทุนกับทองคา ร้อยละ 7 ออมโดยใช้ประกันชีวิต และร้อยละ 3 ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ นอกจากนี้ ที่สาคัญยังพบว่ากว่าร้อยละ 6 ที่ไม่ออมหรือลงทุนใดๆ เลย และกลุ่ม ตัวอย่างชาวเวียดนามมีการลงทุนในหุน้ เพียงร้อยละ 1 ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็ นกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุไม่ เกิน 40 ปี
62
ซื้ อที่ดิน/ อสังหาริมทรัพย์ 4.3%
ไม่ได้ออมเงิน 8.3%
เก็บเงินสดไว้ 42.8%
ลงทุนกับทองคา 12.8% ซื้ อประกันชีวิต 8.5% ลงทุนในหุน้ .8%
การออมเงิน
ลงทุนในกองทุน ต่างๆ 1.3%
ฝากธนาคาร 50.5%
โดยในรายละเอียดเรื่องการออมของชาวเวียดนาม พบว่า กลุ่มตัวสอย่างโดยส่วนใหญ่คิดเป็ นสัดส่วนกว่า ร้อยละ 30 ออมเงินประมาณร้อยละ 10-20 ของรายได้และกลุ่มตัวอย่างอีกส่วนหนึ่ งออมน้อยกว่าร้อยละ 10 ของรายได้ มีเพียงร้อยละ 12 ที่ออม ร้อยละ 30-50 ของรายได้และร้อยละ 3 ที่ออมมากกว่าร้อยละ 50 กลุ่มตัวอย่างชาวเวียดนามโดยส่วนใหญ่ไม่ชอบการเป็ นหนี้ และไม่นิยมใช้บริการด้านสินเชื่อ คิดเป็ น สัดส่วนกว่าร้อยละ 90 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ส่วนผูท้ ี่ใช้บริการสินเชื่อ โดยส่วนใหญ่กว่า ร้อยละ 12 ใช้ บริการสินเชื่อส่วนบุคคล ส่วนการใช้บริการสินเชื่อด้วยวิธีการอื่นๆ ยังไม่เป็ นที่ นิยมมากนัก ไม่ว่าจะเป็ น การใช้บริการสินเชื่อโดยการซื้ อสินค้าเงินผ่อน มีสดั ส่วนผูใ้ ช้บริการเพียงร้อยละ 8 และสินเชื่อรถยนต์ซึ่งมี สัดส่วนผูใ้ ช้บริการเพียงร้อยละ 6 และมีผไู้ ม่ใช้บริการเหล่านี้ ถึงร้อยละ 92 และร้อยละ 94 ตามลาดับ
63
ศูนย์วิจยั ธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 โทร. 043-202-566 โทรสาร. 043-303-567
www.ecberkku.com
64