ลักษณะรายวิชา (Course Description) หลักสู ตร : โรงเรี ยนจ่าอากาศ วิชาชีพเฉพาะสาขาในหลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขา ช่างอากาศ ภาคเรี ยนที่ 2 ชั้นปี ที่ 1 1. รหัสและชื่อวิชา (Title Heading) 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2. พื้นฐานวิชาที่จาเป็ น (Requisite Background)
-
3. คาอธิบายรายวิชา (Content) ศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมความปลอดภัยในการทางาน การจัดทีมงานส่ งเสริ มความปลอดภัยภายใน และภายนอกสานักงาน การป้ องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการทางานทางด้านชีวภาพ กายภาพ และ ทางเคมี เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัยเบื้องต้น ความปลอดภัยในบริ เวณพื้นที่ทางาน การใช้เครื่ องมือ เครื่ องจักรและยานพาหนะ การเคลื่อนย้ายวัสดุและเก็บรักษาวัสดุ ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้ าและในงานก่อสร้าง การ ป้ องกันและระงับอัคคีภยั การส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัยพนักงาน การป้ องกันและเฝ้ าระวังโรคจากการทางาน การปฐม พยาบาล การวิเคราะห์และปรับปรุ งสภาพการทางานตามหลักกายศาสตร์ การจัดอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เบื้องต้น การตรวจความปลอดภัย การสอบสวนและวิเคราะห์อุบตั ิเหตุในการทางาน การวิเคราะห์งานเพื่อความ ปลอดภัยและการฝึ กการหยัง่ รู ้อนั ตราย 4. จุดมุ่งหมายรายวิชา ( Course Objective) เมื่อนักศึกษาได้เรี ยนจบในวิชา 2001-0005 วัสดุก่อสร้าง นี้แล้วจะมีความสามารถดังต่อไปนี้ 1.เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น กฎหมาย พระราชบัญญัติและ สารสนเทศทางด้านความปลอดภัย เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัย หลักกายศาสตร์ เพื่ออาชีวอนามัยและเพิ่ม ผลผลิต และมาตรฐานการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2. เพื่อให้สามารถดาเนินงานด้านความปลอดภัยในการทางาน ป้ องกันและควบคุมอันตรายจาก สภาพแวดล้อมในการทางาน ดาเนินงานด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัย ส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัยพนักงาน ปรับปรุ งสภาพการทางานและจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น 3. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทางานด้วยความรอบครอบ หยัง่ รู ้อนั ตราย มีความตระหนักใน อาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย 5. การจัดการสอน (Organization of Course) ในแต่ละสัปดาห์มี 4 ชัว่ โมง ต่อสัปดาห์ ประกอบด้วยการสอนแบบบรรยาย , การสอนแบบอภิปรายกลุ่ม , การสอนแบบบรรยายประกอบภาพ , การสอนแบบทบทวนและตามความเหมาะสมตามเนื้อหาของวิชาหรื อ สถานการณ์ในการเรี ยน สาหรับการกาหนดเนื้อหาและการสอนกาหนดได้ดงั นี้
เอกสารประกอบการเรียน ( COURSE OUTLINE ) ชื่อวิชาและรหัสวิชา 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย หลักสู ตร โรงเรี ยนจ่าอากาศ สาขาช่างอากาศ 1. รายละเอียดเนือ้ หาวิชา ( Course Description ) ศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมความปลอดภัยในการทางาน การจัดทีมงานส่งเสริ มความปลอดภัย ภายใน และภายนอกสานักงาน การป้ องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการทางานทางด้าน ชีวภาพ กายภาพ และทางเคมี เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัยเบื้องต้น ความปลอดภัยในบริ เวณ พื้นที่ทางาน การใช้เครื่ องมือ เครื่ องจักรและยานพาหนะ การเคลื่อนย้ายวัสดุและเก็บรักษาวัสดุ ความ ปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้ าและในงานก่อสร้าง การป้ องกันและระงับอัคคีภยั การส่งเสริ มสุขภาพอนามัย พนักงาน การป้ องกันและเฝ้ าระวังโรคจากการทางาน การปฐมพยาบาล การวิเคราะห์และปรับปรุ ง สภาพการทางานตามหลักกายศาสตร์การจัดอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น การตรวจความ ปลอดภัย การสอบสวนและวิเคราะห์อุบตั ิเหตุในการทางาน การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ การฝึ กการหยัง่ รู้อนั ตราย 2. วิชาพืน้ ฐานที่จาเป็ น ( Require Background ) 3. วัตถุประสงค์รายวิชา ( Course Objective ) เมื่อนักศึกษาได้เรี ยนจบในวิชา 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย นี้แล้วจะมี ความสามารถดังต่อไปนี้ 1.เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น กฎหมาย พระราชบัญญัติและสารสนเทศทางด้านความปลอดภัย เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัย หลัก กายศาสตร์เพื่ออาชีวอนามัยและเพิ่มผลผลิต และมาตรฐานการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2. เพื่อให้สามารถดาเนินงานด้านความปลอดภัยในการทางาน ป้ องกันและควบคุมอันตรายจาก สภาพแวดล้อมในการทางาน ดาเนินงานด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัย ส่งเสริ มสุขภาพ อนามัยพนักงาน ปรับปรุ งสภาพการทางานและจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น 3. เพื่อให้มีกิจนิสยั ในการทางานด้วยความรอบครอบ หยัง่ รู้อนั ตราย มีความตระหนักใน อาชี วอนามัยและความปลอดภัย 4. ตาราประกอบการเรียน ( Textbook and Bibliography ) 1. โสภณ เสือพันธ์ : อาชีวะอนามัยและความปลอดภัย
5. วัสดุอุปกรณ์ที่นักศึกษาควรจะมี ( Minimum Student Materials ) 1. หนังสืออาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2. สมุดจดบันทึก 6. แผนการจัดแบ่ งเนือ้ หา ( Course Content Plan ) สัปดาห์
เนื้อหา
แนะนาบทเรียน บอกเกณฑ์การวัดผล 1. 12/10/52
คาบเรี ยน ทฤษฏี ปฏิบตั ิ 3
-
ความรู้เบือ้ งต้นเกีย่ วกับอาชีวะอานามัยและความปลอดภัย ความหมายและองค์ประกอบ ของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2. ประโยชน์ของอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทางาน 19/10/52 การปฏิบตั ิงานที่ไม่ปลอดภัย ผลกระทบที่เกิดจากความไม่ปลอดภัยในการทางาน
3
การป้องกันและควบคุมมลพิษในสภาพแวดล้อมการทางาน อันตรายจากมลพิษในสภาพแวดล้อมการทางาน 3. หลักการป้ องกันและควบคุมมลพิษในสภาพแวดล้อมการทางาน 26/10/52 การป้ องกันและควบคุมมลพิษในสภาพแวดล้อมการทางานด้าน ชีวภาพ ด้านกายภาพ ด้านเคมี
3
4. 2/11/52
เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย สัญลักษณ์สีที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทางาน เครื่ องหมายความปลอดภัย ประเภทของเครื่ องหมายความปลอดภัย การกาหนดเขตพื้นที่ความปลอดภัย
-
3
-
เครื่องป้องกันอันตราย 5. 9/11/52
ความหมายและความสาคัญของเครื่ องป้ องกันอันตรายส่วนบุคล หลักเกณฑ์ในการเลือกและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ประเภทของเครื่ องป้ องกันอันตรายส่วนบุคล
ความปลอดภัยในการทางานใช้ เครื่องจักร เครื่องมือและยานพาหนะ ความหมายและความสาคัญของเครื่ องจักร 6. ประเภทของเครื่ องจักรในงานอุตสาหกรรม 16/11/52 อันตรายจากเครื่ องจักร สาเหตุและลักษณะการเกิดความไม่ปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน เกี่ยวกับเครื่ องจักร 7. การเครื่องย้ายและจัดเก็บวัสดุ – อุปกรณ์ 23/11/52 ความสาคัญของการเคลื่อนย้ายและจัดเก็บวัสดุ – อุปกรณ์ หลักการเคลื่อนย้ายวัสดุ-อุปกรณ์ดว้ ยเครื่ องจักร เครื่ องกล และ กาลังคน 8. ความปลอดภัยเกีย่ วกับไฟฟ้ า 30/11/52 ความสาคัญของพลังงานไฟฟ้ า แหล่งกาเนิด สาเหตุของความไม่ปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับไฟฟ้ า อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้ า หลักความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับไฟฟ้ า
9. 7/12/52
3
-
3
-
3
-
3
-
3
-
3
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้ าง ความหมายและความปลอดภัยของงานก่อสร้าง ลักษณะของอันตรายที่เกิดจากงานก่อสร้าง สาเหตุของอันตรายที่เกิดจากงานก่อสร้าง หลักความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง
10. การป้องกันและระงับอัคคีภัย 14/12/52
ความปลอดภัยในการป้ องกันและระงับอัคคีภยั องค์ประกอบและประเภทของอัคคีภยั สาเหตุของการเกิดอัคคีภยั การป้ องกันและระงับอัคคีภยั
11. การส่ งเสริมสุ ขภาพอนามัยพนักงาน 21/12/52
ความหมายและความสาคัญของสุ ขภาพอนามัย องค์ประกอบของสุ ขภาพ ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุ ขภาพอนามัย วิธีการปฏิบตั ิตนเพื่อการมีสุขภาพที่ดี การบริ หารร่ างกายเพื่อเสริ มสร้างสุ ขภาพ
12. การป้องกันและเฝ้ าระวังโรคจากการทางาน 28/12/52 ความหมายและอันตรายของโรคจากการทางาน สาเหตุของการเกิดโรค ผลกระทบจากการเกิดโรค มาตรการป้ องกันโรคจากการทางาน 13. การปฐมพยาบาล 4/1/53 ความหมายและความสาคัญของการปฐมพยาบาล หลักทัว่ ไปของการปฐมพยาบาล ความรู้ที่จาเป็ นบางประการสาหรับการปฐมพยาบาล 14. 11/1/53
3
-
3
-
3
-
3
-
3
-
3
-
การวิเคราะห์ และปรับปรุงสภาพการทางานตามหลักการยศาสตร์ ความหมายและความสาคัญของการยศาสตร์ องค์ประกอบของการยศาสตร์ การปรับปรุ งสถานที่ปฏิบตั ิงานตามหลักการยศาสตร์
15. 18/1/53
16. 25/1/53
การสอบสวนและวิเคราะห์ อุบัตเิ หตุในการทางาน ความหมายของอุบตั ิเหตุจากการทางาน วัตถุประสงค์และปัจจัยของการสอบสวนอุบตั ิเหตุ การวิเคราะห์อุบตั ิเหตุจากการทางาน การตรวจความปลอดภัยและการวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย ความหมายและความสาคัญของการตรวจความปลอดภัย ลักษณะของกลุ่มงานอันตราย
ประเภทของการตรวจความปลอดภัย ขั้นตอนการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย 17. 1/2/53
กฎหมายที่เกีย่ วกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน ความสาคัญของกฎหมายต่อความปลอดภัยในการทางาน พระราชบัญญัติของ โรงงาน,คุม้ ครองแรงงาน,สาธารณสุข
18 8/2/53
3
สอบปลายภาค
7. วิธีการวัดผล (Methods of Evaluating Outcome) ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินผลแยกเป็ น 6 ส่วนโดยแบ่งแยกคะแนนแต่ละ ส่วนจากคะแนนเต็ม ทั้งรายวิชา 100 คะแนน 1. จิตพิสยั 2. รายงานกลุ่ม 3. รายงานเดี่ยว 4. สมุดจด + แบบฝึ กหัดท้ายบท 4. สอบย่อย 5. สอบปลายภาค
10 คะแนน 20 คะแนน 15 คะแนน 10 คะแนน 20 คะแนน 25 คะแนน
-
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
1
หน้าที่
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 12 ต.ค. 2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมความปลอดภัยในการทางาน การจัดทีมงานส่งเสริ มความปลอดภัยภายใน และ ภายนอกสานักงาน การป้ องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการทางานทางด้านชีวภาพ กายภาพ และทางเคมี เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัยเบื้องต้น ความปลอดภัยในบริ เวณพื้นที่ทางาน การใช้ เครื่ องมือ เครื่ องจักรและยานพาหนะ การเคลื่อนย้ายวัสดุและเก็บรักษาวัสดุ ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้ าและ ในงานก่อสร้าง การป้ องกันและระงับอัคคีภยั การส่งเสริ มสุขภาพอนามัยพนักงาน การป้ องกันและเฝ้ าระวัง โรคจากการทางาน การปฐมพยาบาล การวิเคราะห์และปรับปรุ งสภาพการทางานตามหลักกายศาสตร์การจัดอา ชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น การตรวจความปลอดภัย การสอบสวนและวิเคราะห์อุบตั ิเหตุในการ ทางาน การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและการฝึ กการหยัง่ รู้อนั ตราย จุดมุ่งหมายรายวิชา ( Course Objective) เมื่อนักศึกษาได้เรี ยนจบในวิชา 2001-0005 วัสดุก่อสร้าง นี้แล้วจะมีความสามารถดังต่อไปนี้ 1.เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น กฎหมาย พระราชบัญญัติและสารสนเทศทางด้านความปลอดภัย เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัย หลักกาย ศาสตร์เพื่ออาชีวอนามัยและเพิ่มผลผลิต และมาตรฐานการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2. เพื่อให้สามารถดาเนินงานด้านความปลอดภัยในการทางาน ป้ องกันและควบคุมอันตรายจาก สภาพแวดล้อมในการทางาน ดาเนินงานด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัย ส่งเสริ มสุขภาพอนามัย พนักงาน ปรับปรุ งสภาพการทางานและจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น 3. เพื่อให้มีกิจนิสยั ในการทางานด้วยความรอบครอบ หยัง่ รู้อนั ตราย มีความตระหนักใน อาชีวอนามัย และความปลอดภัย
สัปดาห์ที่
เนือ้ หาการสอน
1
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 12 ต.ค. 2552 เวลา : 8.00–12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ ตาราประกอบการเรียนการสอน 1. โสภณ เสือพันธ์, “ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ” , สานักพิมพ์แอมพันธ์, 2548 การวัดผลการเรียน 1. จิตพิสยั 2. รายงานกลุ่ม 3. รายงานเดี่ยว 4. สมุดจด + แบบฝึ กหัดท้ายบท 4. สอบย่อย 5. สอบปลายภาค
10 คะแนน 20 คะแนน 15 คะแนน 10 คะแนน 20 คะแนน 25 คะแนน
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
2
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 19 ต.ค. 2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
ความรู้ เบื้องต้ นเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน อาชีวอนามัย หมายถึง การจัดการดูแลสุขภาพอนามัยของผูป้ ระกอบอาชีพต่างๆ หรื ออีกนัยหนึ่งคือ การ ป้ องกันและเสริ มสร้างสุขภาพอนามัยที่ดีให้เกิดขึ้นในตัวบุคคลที่ประกอบอาชีพทุกสาขาอาชีพ ซึ่งทางองค์การ อนามัยโลก (WHO) ร่ วมกับองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ได้สรุ ปไว้ 5 ลักษณะ 1. การส่งเสริ ม 2. การป้ องกัน 3. การปกป้ องคุม้ ครอง 4. การจัดหรื อปรับสภาพ 5. การปรับงานให้เข้ากับคน ความหมายและองค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางาน ความปลอดภัยในการทางาน หมายถึง การปฏิบตั ิงานอย่างมีความสุข ปลอดจากเหตุอนั จะทาให้เกิด อันตรายจากเทคโนโลยีเครื่ องจักร เครื่ องมือ มลพิษ ที่ส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บ สูญเสียชีวิต ทรัพย์สินเสียหาย รวมไปถึงการไม่เป็ นโรคอันเนื่องจากการทางาน ส่งผลให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางาน 1. บุคลากรหรื อผูป้ ฏิบตั ิงานทุกระดับทุกหน้าที่ภายในองค์การทั้งภาครัฐและเอกชน ตั้งแต่พนักงาน จนถึงผูบ้ ริ หาร ต้องตระหนักในความสาคัญและมีจิตสานึกที่ดีต่อความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน ใน การปฏิบตั ิงานจาเป็ นต้องมีการพัฒนาบุคลากรทุกฝ่ าย โดยการให้การอบรม ปลุกจิตสานึกที่ดีดา้ น ความปลอดภัย 2. สภาพแวดล้อมในการทางานที่ปลอดภัย จากสถิติพบว่า มากกว่า 10% มีสาเหตุจากสภาพแวดล้อม เช่น สถานที่ทางานที่มีอากาศถ่ายเทไม่สะดวก ไม่มีเครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์เตือนภัย เป็ นต้น ประโยชน์ ของอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน 1. คุณภาพชีวิตของพนักงานดีข้ ึน 2. ผลผลิตเพิ่มขึ้น 3. ค่าใช้จ่ายลดลง 4. ผลกาไรเพิ่มมากขึ้น
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
2
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 19 ต.ค. 2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 5. ลดการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ของชาติ 6. ภาพลักษณ์ขององค์กรดีข้ ึน 7. เศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวมดีข้ ึน ผลกระทบที่เกิดจากความไม่ปลอดภัยในการทางาน 1. ผูป้ ระสบอุบตั ิเหตุและครอบครัว เป็ นผูไ้ ด้รับผลกระทบโดยตรง ต้องบาดเจ็บหรื อเสียชีวิต 2. เพื่อนร่ วมงานเกิดการเสียขวัญและกาลังใจในการทางาน สุขภาพจิตยา่ แย่ 3. หัวหน้างาน หรื อผูค้ วบคุมมีส่วนได้รับผลกระทบต่ออุบตั ิภยั ที่เกิดขึ้น ถือเป็ นความบกพร่ องในการ ควบคุมดูแลพนักงาน ต้องเสียเวลาในการสอบสวนและวิเคราะห์หาสาเหตุ 4. เจ้าของธุรกิจหรื อผูป้ ระกอบการ ได้รับผลกระทบโดยตรง คือผลผลิตลดลงแต่ค่าใช้จ่ายสูงขึ้น ทั้งเงิน ค่าชดเชยค่ารักษาพยาบาล ค่าซ่อมแซมเครื่ องจักร ทาให้ผลกาไรลดลง หรื อประสบกับการขาดทุน 5. เป็ นภาระต่อสังคมในเรื่ องการดูแลและช่วยเหลือคนงานที่ไร้สมรรถภาพในการปฏิบตั ิงานเพิ่มขึ้น ความเชื่อมัน่ นักลงทุนต่างชาติที่มีต่ออุตสาหกรรมไทยลดลง การเสริมสร้ างความปลอดภัยในการทางาน การเสริ มสร้างความปลอดภัยจาเป็ นต้องได้รับความร่ วมมือร่ วมใจจากบุคคลทุกๆฝ่ าย ที่มสี ่วน เกี่ยวข้อง เพราะอุบตั ิเหตุต่างๆ ส่วนใหญ่มาจากสาเหตุของการผิดพลาด ความบกพร่ องของมนุษย์และสภาวะ แวดล้อมต่างๆ ที่ไม่ปลอดภัย อาทิ เช่น เครื่ องจักร กระบวนการผลิต การสร้างเสริ มความปลอดภัยในการ ทางานสามารถทาได้ดงั นี้ 1. สร้างจิตสานึกและความรับผิดชอบที่ดีให้เกิดขึ้นในตัวบุคลากรทุกๆฝ่ าย 2. ปรับปรุ งสภาพแวดล้อมในการทางาน 3. มอบหมายงานให้เหมาะสมกับบุคคล 4. จัดทากฎระเบียบให้เป็ นมาตรฐาน กิจกรรมเสริมสร้ างความปลอดภัยในการทางาน กิจกรรมความปลอดภัยในการทางาน หมายถึง การรณรงค์ ส่งเสริ ม ป้ องกัน ตลอดจนถึงมาตรการใน การขจัดอุบตั ิเหตุต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในการทางานให้หมดไป โดยยึดหลักทุกคนมีส่วนร่ วม
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
3
หน้าที่
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 26 ต.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
การป้องกันและควบคุมมลพิษในสภาพแวดล้ อมการทางาน อันตรายจากมลพิษในสภาพแวดล้อมการทางาน แบ่ งออกเป็ น4 ประเภท 1 อันตรายจากมลพิษในสภาพแวดล้อมด้ านชีวภาพ - การติดเชื้อโรคต่างๆ จากการทางาน เช่น เชื้อรา แบคทีเรี ย ไวรัส เป็ นต้น - การเป็ นโรคพยาธิต่างๆ เช่น โรคพยาธิปากขอ โรคติดเชื้อของระบบทางเดินอาหาร - การเกิดระคายเคือง ภูมิแพ้ หรื อผืน่ คัน เป็ นต้น -การถูกสัตว์กดั ในขณะทางาน เช่น นักประดาน้ า ได้รับอันตรายจากงูทะเล ปลาฉลาม หรื อชาวไร่ ชาวนาถูก แมลงกัด งูพิษกัด ผึ้งต่อย เป็ นต้น 2 อันตรายจากมลพิษในสภาพแวดล้อมด้ านกายภาพ - เสียงดัง ที่เกิดจากเครื่ องจักร เครื่ องยนต์ กบใสไฟฟ้ า เป็ นต้น - ความร้อน เป็ นต้น - การสัน่ สะเทือน แสง หรื อ การแผ่รังสี - การทางานในที่อบั อากาศ เช่น ท่อระบายน้ า อุโมงค์ใต้ดิน ไซโล เป็ นต้น 3 อันตรายจากมลพิษในสภาพแวดล้อมด้ านเคมี ปัจจุบนั สารเคมีที่นามาใช้ในชีวิตประจาวันมีประมาณ 70000 – 80000ชนิด ซึ่งในจานวนนี้ มีประมาณ 8000 ที่ จัดเป็ นสารอันตรายต่อสุขภาพ และ อีกประมาณ 200 ชนิด นับเป็ นสารก่อมะเร็ ง ซึ่งสามารถ สามารถเข้า สูร้ าง กายได้ เช่นทาง จมูก ผิว หนัง ปาก และผ่านทางรกแม่ถึงลูก ซึ่งจาแนกได้ 3 กลุ่มใหญ่ 1 อันตรายของก๊าซและไอ เช่น สารที่ทาให้หมดสติ สารที่ทาให้เกิดความระคายเคือง เป็ นต้น 2 อันตรายของอนุภาค เช่น ฝุ่ น เป็ นพิษ ฝุ่ นสารก่อมะเร็ ง ละอองพิษ 3 อันตรายของสารเคมี ที่เป็ นของเหลวต่างๆ เช่น ยางสน น้ ามันเชื้อเพลิง สารสังเคราะห์ 4 อันตรายจากมลพิษในสภาพแวดล้อมด้ านการยศาสตร์ - การออกแบบงานไม่เหมาะสม กับผูป้ ฏิบตั ิงาน - เครื่ องมือ เครื่ องจักร อุปกรณ์ไม่เหมาะสม - อิริยาบถในการทางานที่ผดิ ธรรมชาติ นาไปสู่ความเมื่อยล้าเจ็บป่ วย
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
3
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 26 ต.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ หลักการป้องกัน และควบคุมมลพิษในสภาพแวดล้อมการทางาน 1 ป้องกันและควบคุมที่แหล่งกาเนิด หมายถึง การไม่ให้สารพิษหรื ออันตรายที่เกิด จากแหล่งกาเนิดแพร่ กระจายไปสู่สภาพแวดล้อมหรื อบรรยากาศ ในสถานที่ทางาน 2 ป้องกัน และควบคุมทางผ่านของอันตราย - เก็บรักษาจัดระเบียบ และทาความสะอาดสถานที่ทางานสม่าเสมอ - จัดให้มีการระบายอากาศโดยทัว่ ไป - ตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทางานหรื อติดตั้งสัญญาณเตือนภัย - เพิ่มระยะทางระหว่างแหล่งอันตราย กับผูป้ ฏิบตั ิงานให้ห่างมากขึ้น 3 ป้องกันและควบคุมที่ตวั ผู้ปฏิบัตงิ าน - ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยในการทางาน - ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนผูป้ ฏิบตั ิงานในส่วนงานที่เสี่ยงต่ออันตราย - จัดแยกผูป้ ฏิบตั ิงานอยูใ่ นส่วนที่เป็ นอันตรายน้อยที่สุด - ติดตั้งสัญญาณเตือนอันตรายที่ตวั ผูป้ ฏิบตั ิงาน - ใช้เครื่ องป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล - ตรวจสุขภาพผูป้ ฏิบตั ิงานก่อนและหลังจากการปฏิบตั ิงานเป็ นระยะๆ การป้องกัน และควบคุมมลพิษในสภาพแวดล้อมการทางานด้ านอาชีวภาพ อันตรายจากสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ เป็ นอันตรายที่เกิดจากทั้งสิ่งมีชีวิต เช่น เช่น แบคทีเรี ย เชื้อรา พยาธิและสัตว์มีพิษต่างๆ เช่น งู ตะขาบ แมงป่ อง และยังรวมถึงสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิตซึ่งเป็ นอันตรายต่อ สุขภาพอนามัย เช่น ฝุ่ นข้าว ฝุ่ นฝ้ าย ผูท้ ี่จะได้รับอันตรายจากสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพมีท้งั ผูป้ ระกอบอาชีพ ด้านเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม และอาชีพอื่นๆ การป้องกันและควบคุมมลพิษในสภาพแวดล้อม 1 หลักการควบคุม และป้องกันอันตรายจากเสียง หลักการป้ องกัน และควบคุมอันตราย จากเสียงนั้น โดยทัว่ ไปจะมุ่งดาเนินการป้ องกันและควบคุมที่แหล่ง หรื อต้นตอของเสียง ทางที่เสียงผ่านไปยังพนักงานและตัวพนักงานเอง
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
3
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 26 ต.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 2 หลักการควบคุมและป้องกันอันตรายจากความร้ อน การทางานที่ตอ้ งสัมผัสกับความร้อนมีหลักการ 2 ประการดังนี้ 2.1 การป้ องกันและควบคุมที่จุดต้นกาเนิดของความร้อน เน้นถึงหลักการที่พยายามจะลดปริ มาณความร้อนที่ ออกมาจากต้นกาเนิดให้มากที่สุด 2.2 การป้ องกันที่ผปู้ ฏิบตั ิงาน โดยทัว่ ไปแล้วการป้ องกันและควบคุมที่จุดต้นกาเนิดความร้อนบางครั้งอาจทา ได้ยาก ดังนั้น การป้ องกันที่ผปู้ ฏิบตั ิงานจึงมีความจาเป็ น 3 หลักการป้องกันและควบคุมอันตรายจากการสั่นสะเทือน การควบคุมที่แหล่งต้นกาเนิด และการป้ องกันที่ผปู้ ฏิบตั ิงานดังนี้ 3.1 แหล่งกาเนิดการสั่นสะเทือน -ใช้วสั ดุหรื อเทคนิคในการออกแบบที่เหมาะสม -ป้ องกันไม่ให้ได้รับการสัน่ สะเทือนที่ส่งผ่านมาทางพื้นที่ยนื ทางาน -ใช้วสั ดุป้องกันการสัน่ สะเทือนรองไว้ใต้เครื่ องจักร -ใช้วสั ดุป้องกันและดูดซับการสัน่ สะเทือนหุม้ ด้ามเครื่ องมือ อุปกรณ์ เช่น เครื่ องเจียระไน เครื่ องเจาะ เลื่อย ไฟฟ้ า เป็ นต้น -ดูแลบารุ งรักษาเครื่ องจักรอย่างสม่าเสมอ 3.2 การป้องกันที่ตวั บุคคล -ใช้ถุงมือสองชั้น -ใช้รองเท้าชนิดพิเศษ -ที่นงั่ ควรได้มีการบุดว้ ยวัสดุที่ป้องกันการสัน่ สะเทือน -ตรวจตราการทางานของคนงานที่ใช้เครื่ องมืออย่างใกล้ชิด 3.3 จากัดระยะเวลาทางานเช่ น -พัก 20 นาที ทุกๆ ระยะเวลาทางาน 2 ชัว่ โมง -ไม่ทางานที่ใช้เครื่ องสัน่ สะเทือนเกินกว่า 2-4 ชัว่ โมงต่อวัน 4 หลักการควบคุมและป้องกันอันตรายจากแสง การควบคุมและป้ องกันอันตรายจากแสง ควรเริ่ มต้นโดยทาการสารวจสภาพการทางานและสิ่งแวดล้อม ตรวจดูประเภทของรังสี ปริ มาณ รังสี การแผ่รังสี
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
3
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 26 ต.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 5 หลักการป้องกันและควบคุมอันตรายจากไฟฟ้ า 5.1 การเรี ยนรู้ทฤษฎีทางไฟฟ้ า 5.2 การเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ได้มาตรฐาน 5.3 ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ าตามหลักความปลอดภัย และกฎเกณฑ์ของการติดตั้ง 5.4 การซ่อมบารุ งและตรวจสภาพอุปกรณ์ไฟฟ้ า 5.5 การใช้ป้ายเตือน 5.6 การใช้เครื่ องจักรอุปกรณ์ ไฟฟ้ าให้ถกู วิธี 5.7 การปฏิบตั ิตามมาตรฐานทางไฟฟ้ า 6 หลักการควบคุมและป้องกันอันตรายจากการทางานในที่อบั อากาศ 6.1 มาตรการความปลอดภัยที่ตอ้ งถือปฏิบตั ิในการเข้าสู่ที่อบั อากาศ 6.2 มาตรการความปลอดภัยในขณะที่อยูใ่ นที่อบั อากาศ 6.3 มาตรการความปลอดภัยในการเตรี ยมรับเหตุฉุกเฉิน การป้องกันและควบคุมมลพิษในสภาพแวดล้อมการทางานด้ านเคมี 1.แยกบริ เวณที่ใช้สารเคมีไว้ในที่ที่จดั ไว้เฉพาะ ไม่ปะปนกับบริ เวณอื้นๆ 2.ให้ความรู้กบั คนงานเพื่อให้ทราบถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้น ถ้าบริ โภคสารพิษหรื อหายใจเข้าไป 3.จัดหาเครื่ องป้ องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม เช่น เสื้อผ้า ชุดป้ องกันการทางาน ถุงมือ เครื่ องช่วย หายใจ 4.ห้ามรับประทานอาหารหรื อสูบบุหรี่ บริ เวณที่ทางาน 5.ปกปิ ดน้ าดื่ม และแก้วน้ าให้มิดชิด เพื่อป้ องกันสารพิษเข้าไปปะปน 6.แนะนาให้ผปู้ ฏิบตั ิงานรักษาความสะอาดของร่ างกายหลักการปฏิบตั ิงาน ควรอาบน้ าทุกครั้ง และก่อน รับประทานอาหารต้องล้างมือทุกครั้ง 7. รักษาความสะอาดของสถานที่ทางาน เพื่อมิให้เป็ นที่สะสมของสารเคมี และติดตั้งระบบระบายอากาศ ทัว่ ไป เช่น การใช้พดั ลมเป่ าหรื อดูดอากาศออกจากบริ เวณที่อนั ตราย 8. ใช้สารเคมีที่มีพิษน้อยกว่าทดแทนสารที่มีพิษมากกว่า
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
4
หน้าที่
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 2 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ เครื่องหมาย และสัญญาลักษณ์ความปลอดภัย การปฏิบตั ิงานสาขาอาชีพต่างๆ ที่ภายในและภายนอกองค์การ จะดาเนินไปด้วยความปลอดภัยนั้น จาเป็ นที่บุคลากรทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูป้ ฏิบตั ิงานที่มีอตั ราเสี่ยงสูงต่ออันตรายในการ ทางานต้องเรี ยนรู้ทาความเข้าใจ และปฏิบตั ิตามสัญญาลักษณ์สี และเครื่ องหมายความปลอดภัย ที่ติดไว้ ตาม สถานที่ต่างๆ ที่ตอ้ งการความปลอดภัยเป็ นพิเศษ เช่นสถานที่เก็บวัตถุอนั ตราย สถานที่ที่ผใู้ ช้แรงงานต้องเสี่ยง ต่ออันตรายสูง ในการทางานกับเครื่ องจักร เครื่ องกล ฯลฯ การเรี ยนรู้ที่นาไปสู่ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และ ปฏิบตั ิตามสัญญาลักษณ์ ละเครื่ องหมายความปลอดภัยเหล่านี้อย่างเคร่ งครัดจะช่วยลดความสูญเสียอัน เนื่องมาจากอุบตั ิเหตุต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ สัญลักษณ์สีที่เกีย่ วข้ องกับความปลอดภัยในการทางาน สีถกู ใช้เป็ นสัญลักษณ์เพื่อสื่อสารให้ผปู้ ฏิบตั ิงานเกิดความระมัดระวังในการทางาน อันจะนาไปสู่ ความปลอดภัยในการทางานมากขึ้น โดยใช้ทาตามวัสดุ อุปกรณ์ ท่อ เครื่ องจักร หรื อเครื่ องหมายต่างๆ ที่มี โอกาสเกิดอันตราย สีที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยมีความหมายดังนี้ 1 สีแดง หมายถึง หยุด อันตราย ไฟ หรื อ ลักษณะงานที่เกี่ยวกับบริ เวณที่มีอนั ตรายสูง ระบบดับเพลิง และอุปกรณ์หยุดฉุกเฉินของเครื่ องจักรกลต่างๆ ตัวอย่างการใช้ งาน ใช้เพื่อแสดงเครื่ องหมายหยุดต่างๆ หรื อเครื่ องหมายห้าม เช่น ห้ามใช้ลิฟต์กรณี เกิดไฟไหม้ ห้าม หยอดน้ ามันขณะเดินเครื่ องจักร ห้ามใช้น้ าดับไฟ จะใช้สญ ั ลักษณ์ที่มีสีแดง ทั้งสิ้น 2 สีนา้ เงิน หมายถึง ข้อบังคับให้ปฏิบตั ิตามหรื อพึงระมัดระวังเป็ นพิเศษ เพราะอาจเกิดอันตายในการ ปฏิบตั ิงานได้ ตัวอย่างการใช้ งาน ใช้เพื่อแสดงเครื่ องหมายบังคับต่างๆ หรื อเครื่ องหมายให้ปฏิบตั ิตามและอธิบายถึง การป้ องกัน อันตรายที่จะเกิดขึ้น เช่น ต้องสวมหมวกนิรภัย ต้องสวมหน้ากาก ต้องใช้เข็มขัด และเชือกนิรภัย ฯลฯ 3 สีเขียว หมายถึง สภาวะความปลอดภัย ตัวอย่างการใช้ งาน ใช้เพื่อแสดงทางหนีไฟ ทางออกฉุกเฉิน ฝักบัวชาระล้างฉุกเฉิน หน่วยงานปฐมพยาบาล หน่วยกูภ้ ยั เครื่ องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับภาวะความปลอดภัย เช่น ชาระล้างดวงตาฉุกเฉิน โทรศัพท์ฉุกเฉิน น้ าใช้สาหรับ ดื่ม ฯลฯ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
4
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 2 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 4 สีเหลือง หมายถึง การเตือนให้ระวังอันตรายหรื อบ่งชี้ว่ามีอนั ตราย อุตสาหกรรมบางประเภทอาจใช้ สีสม้ แทนสีเหลือง ตัวอย่างการใช้ งาน ใช้แสดงวัตถุ หรื อสารเคมีที่บ่งชี้ว่ามีอนั ตราย เช่น ไฟ วัตถุระเบิด สารกัมมันตรังสี วัตถุมีพิษ สารเคมี หรื อเขตอันตราย ทางผ่านที่มีสารเคมี เครื่ องกีดขวางและเครื่ องหมายเตือนภัยต่างๆ เช่น ระวัง อันตรายจากกรด เคมี ระวังอันตรายจากเชื้อโรคระวังอันตรายจากเชื้อโรค ระวังอันตรายปั้นจัน่ เหนือศีรษะ ฯลฯ นอกจากความหมายของสัญลักษณ์สีตามที่กล่าวมาแล้ว สียงั ใช้สื่อสารเพื่อแยกประเภทของสิ่งของที่ บรรจุ อยูภ่ ายในท่อซึ่งใช้งานในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมการผลิตกระแสไฟฟ้ า อุตสาหกรรม น้ ามัน อุตสาหกรรมเคมี ฯลฯ โดยทาลงบนท่อที่บรรจุสารต่างๆ ดังนี้ สีท่อแยกประเภทสิ่งที่บรรจุภายในท่ อ สีเขียว หมายถึง น้ าในสภาพของเหลว สีเทาเงิน หมายถึง ไอน้ า สีนา้ ตาล หมายถึง แร่ ผัก น้ ามันสัตว์ น้ ามันพืช น้ ามันปิ โตรเลียม และของเหลวไวไฟ สีเหลืองหม่น หมายถึง ก๊าซทั้งสภาวะก๊าซและของเหลว (ยกเว้นอากาศ) สีม่วง หมายถึง กรดและด่าง สีฟ้าอ่อน หมายถึง อากาศ สีดา หมายถึง ของเหลวอืน่ ๆ เช่น โฟม สีส้ม หมายถึง ไฟฟ้ า เครื่องหมายความปลอดภัย 1 เครื่องหมายห้ าม หมายถึง เครื่ องหมายที่แสดงเกี่ยวกับคาสัง่ ห้ามตามที่แสดงไว้ในเครื่ องหมายความปลอดภัย แบบสัญลักษณ์หรื อข้อความ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายในการปฏิบตั ิงานเช่นห้ามสูบบุหรี่ ห้ามใช้น้ าดับไฟ ห้าม เข้า ฯลฯ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
4
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 2 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 2 เครื่องหมายบังคับ หมายถึง เครื่ องหมายที่แสดงเกี่ยวกับข้อบังคับให้ปฏิบตั ิ และอธิบายถึงการป้ องกัน อันตราย เช่น ใช้สวมอุปกรณ์ป้องกันเสียง หรื อให้ใช้เข็มขัดนิรภัย ให้ลา้ งมือ ให้ลอ็ กกุญแจ ฯลฯ 3 เครื่องหมายเตือน หมายถึง เครื่ องหมาย ที่แสดงสภาวะอันตรายที่ตอ้ งระมัดระวังโดยบ่งชี้อธิบายเป็ น สัญลักษณ์หรื อข้อความ เช่น ระวังอันตรายจากวัตถุมีพิษ ระวังศีรษะกระแทก ระวังอันตรายจากส่วนหมุนขิง เครื่ องจักร ฯลฯ 4 เครื่องหมายสารนิเทศเกีย่ วกับภาวะปลอดภัย หมายถึง เครื่ องหมายที่แสดงการบ่งชี้ถึงตาแหน่งหรื อสถานที่ ต่างๆ ที่ตอ้ งรู้เมื่อปฏิบตั ิงาน เช่น ทางออกฉุกเฉิน อุปกรณ์ ปฐมพยาบาล ปุ่ มกดสาหรับฉุกเฉิน ฯลฯ 5 เครื่องหมายเกีย่ วกับการป้องกัน และระงับอัคคีภัย หมายถึง เครื่ องหมายที่แสดงการบ่งชี้ถึงตาแหน่งของ อุปกรณ์ตาแหน่งของอุปกรณ์ป้องกันและระงับอัคคีภยั สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และข้อแนะนา ในการใช้ อุปกรณ์หรื สารเคมีแต่ล่ะชนิดที่ใช้ในการระงับอัคคีภยั ฯลฯ 6 เครื่องหมายสาหรับฉลากที่ต้องปกปิ ด หรือพิมพ์ไว้บนภาชนะบรรจุเคมีภัณฑ์ หมายถึง เครื่ องหมายที่จะบอก ถึงอันตรายของสารหรื อเคมีภณ ั ฑ์ที่บรรจุอยูใ่ นภาชนะนั้น เช่น วัตถุ มีพิษ สารกัดกร่ อน สารอันตราย ธาตุ กัมมันตรังสี ฯลฯ ประเภทของเครื่องหมายความปลอดภัย แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1 เครื่องหมายความปลอดภัยแบบสัญลักษณ์ หมายถึง เครื่ องหมายความปลอดภัย ที่ใช้สญ ั ลักษณ์ภาพ หรื อสัญลักษณ์สี ในการสื่อความหมายตามที่ตอ้ งการ สัญลักษณ์ภาพที่ใช้ดูแล้วเกิดความเข้าใจง่ายที่สุด และ เป็ นสัญลักษณ์ภาพที่เป็ นสากล 2 เครื่องหมายความปลอดภัยแบบข้ อความ หมายถึง เครื่ องหมายความปลอดภัยที่ใช้ตวั อักษรในการ สื่อความหมายตามที่ตอ้ งการ ในสภาพการใช้งานจริ งนั้น อาจใช้เครื่ องหมายความปลอดภัยแบบข้อความ ร่ วมกับแบบสัญลักษณ์เพื่อให้การสื่อความหมายเกิดความชัดเจน และตรงตามความหมายที่ตอ้ งการสื่อจริ ง
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
4
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 2 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ รูปแบบเครื่องหมายความปลอดภัยแบบสัญลักษณ์ 1 เครื่องหมายห้ าม รูปแบบ : วงกลมมีแถบตามขอบเขตและแถบขวาง สีพนื้ : ขาว สีของแถบตามขอบ และแถบขวาง : สีแดง สีของสัญลักษณ์ลกั ษณะภาพ : สีดา แสดงสัญลักษณ์ไว้ตรงกลางของเครื่ องหมาย ความปลอดภัย และถูกทับโดยแถบขวางพื้นที่ของสีแดง ต้องมี อย่างน้อยร้อยละ 35 ของพื้นที่ท้งั หมดของเครื่ องหมายความปลอดภัย ตัวอย่างเครื่องหมายห้ าม
ห้ามสูบบุหรี่
ห้ามถ่ายรู ป
ห้ามจุดไฟ
ห้ามเข้าก่อนได้รับอนุญาต ห้ามสวมรองเท้าแตะ
ห้ามแตะต้อง ขณะเครื่ องจักรกาลังทางาน
ห้ามใช้รถยก
ห้ามรับประทานอาหาร
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
4
หน้าที่
5
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 2 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 2 เครื่องหมายบังคับ รูปแบบ : วงกลม สีพนื้ : ฟ้ า สีของสัญลักษณ์ภาพ : ขาว แสดงสัญลักษณ์ภาพไว้ตรงกลางของเครื่ องหมายความปลอดภัย พื้นที่ขิงสีฟ้าต้องมีอย่างน้อยร้อยล่ะ 50 ของพื้นที่ท้งั หมดของเครื่ องหมายปลอดภัย ตัวอย่างเครื่องหมายบังคับ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
4
หน้าที่
6
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 2 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 3 เครื่องหมายเตือน รูปแบบ : สามเหลี่ยมด้านเท่ามีแถบตามขอบ สีพนื้ : เหลือง สีของแถบตามขอบ : ดา สีของสัญลักษณ์ภาพ : ดา แสดงสัญลักษณ์ภาพไว้ตรงกลางของเครื่ องหมายความปลอดภัย พื้นที่ของสีเหลืองต้องมีอย่างน้อยร้อยละ 50 ของพื้นที่ท้งั หมดของเครื่ องหมายความปลอดภัย ในกรณี ใช้แสดงสารกัมมันตรังสีให้ใช้สีสญ ั ลักษณ์ภาพสีม่วง
ตัวอย่างเครื่องหมายเตือน
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
4
หน้าที่
7
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 2 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 4 เครื่องหมายสารนิเทศเกีย่ วกับสภาวะปลอดภัย รูปแบบ : สีเหลี่ยมจัตุรัสหรื อสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีพนื้ : เขียว สีของสัญลักษณ์ภาพ : ขาว
แสดงสัญลักษณ์ภาพไว้ตรงกลางของเครื่ องหมายความปลอดภัย พื้นที่ของสีเขียวต้องมีอย่างน้อยร้อยละ 50 ของพื้นที่ท้งั หมดของเครื่ องหมายความปลอดภัย ตัวอย่างเครื่องหมายสภาวะปลอดภัย
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
4
หน้าที่
8
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 2 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 5 เครื่องหมายเกีย่ วกับการป้องกัน และระงับอัคคีภัย
สีพนื้ สีของสัญลักษณ์ภาพ
รูปแบบ : สีเหลี่ยมจัตุรัสหรื อสี่เหลี่ยมผืนผ้า : แดง : ขาว
แสดงสัญลักษณ์ภาพไว้ตรงกลางของเครื่ องหมายความปลอดภัย พื้นที่ของสีแดงต้องมีอย่างน้อยร้อยละ 50 ของพื้นที่ท้งั หมดของเครื่ องหมายความปลอดภัย ตัวอย่างเครื่องหมายเกีย่ วกับการป้องกัน และระงับอัคคีภัย
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
4
หน้าที่
9
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 2 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 6 เครื่องหมายสาหรับฉลากที่ต้องปิ ดหรือพิมพ์ไว้บนภาชนะบรรจุเคมีภัณฑ์ รูปแบบ : สีเหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า และสามเหลี่ยม สีพนื้ : เหลือง สีของสัญลักษณ์ภาพ : ดา แสดงสัญลักษณ์ภาพไว้ตรงกลางของเครื่ องหมายความปลอดภัย พื้นที่ของสีเขียวต้องมีอย่างน้อยร้อยละ 50 ของพื้นที่ท้งั หมดของเครื่ องหมายความปลอดภัย
ตัวอย่างเครื่องหมายบรรจุเคมีภัณฑ์
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
5
หน้าที่
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 9 พ.ย. 2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
เครื่องป้องกันอันตราย ความหมายและความสาคัญของเครื่องป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล เครื่ องป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล หมายถึง สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สวมใส่ลงบนอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ง ของร่ างกายหรื อหลายๆ ส่วนรวมกัน เช่น แว่นตานิรภัย เข็มขัดนิรภัย รองเท้านิรภัย เครื่ องป้ องกันใบหน้า เครื่ องป้ องกันศีรษะ เป็ นต้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อป้ องกันอันตรายหรื อลดความรุ นแรงจากอันตรายให้แก่ อวัยวะนั้นๆ จากความเจริ ญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทาให้มีเครื่ องมือเครื่ องจักที่ทนั สมัย และการนาสารเคมีมาใช้ เป็ นวัตถุดิบมากขึ้น ทาให้ผปู้ ฏิบตั ิงานในทุกสาขาวิชาชีพ มีความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ทุพพลภาพ เสียชีวิต หรื อเจ็บป่ วยจากการทางาน เราจึงต้องมีเครื่ องกันอันตรายส่วนบุคคลมาใช้ในการปฏิบตั ิงานต่างๆเช่น หมวก นิรภัย แว่นตา หน้ากาก เข็มขัด รองเท้า ถุงมือ ฯลฯ หลักเกณฑ์ในการเลือกและการเลือกและการใช้ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล วัตถุประสงค์ของการเลือกและใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลคือ การป้ องกันและลดอันตราย ที่เกิดขึ้น ขณะทางานหรื อประกอบกิจกรรมต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้มีความเหมาะสม และมีประสิทธิภาพสูงสุด จึงมี หลักเกณฑ์ในการเลือกและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายดังนี้ หลักเกณฑ์ในการเลือกอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล 1 เลือกให้ เหมาะสมกับลักษณะงานที่อนั ตราย เช่น การทางานเกี่ยวกับการเชื่อโลหะต้องสวมแว่นตา และหน้ากาก ทางานเกี่ยวกับอาหารต้องสวมถุงมือ เป็ นต้น 2 ควรมีให้ เลือกหลายแบบ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายต้องมีให้เลือกใช้ตามความพอใจทั้งขนาด สี และ แบบ ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน เช่น งานก่อสร้าง ต้องใช้หมวกนิรภัยที่มีหลายสีเพื่อแบ่งกลุ่ม คนงานและควรมีสีที่สดใส เพื่อการมองเห็นชัดเจนในระยะไกล 3 มีขนาดพอเหมาะกับผู้ใช้ เครื่ องป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล ต้องมีขนาดพอเหมาะกับขนาดละรู ปร่ าง ของผูใ้ ช้ และจะต้องเป็ นเครื่ องป้ องกันอันตรายที่ใช้เฉพาะบุคคลไม่ควรใช่ร่วมกัน
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
5
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 9 พ.ย. 2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 4 เป็ นอุปกรณ์ที่ผ่านการทดสอบหรือรับรองประสิทธิภาพ จากสถาบัน หรื อองค์การที่เกี่ยวกับงานด้าน ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล เช่น อุปกรณ์ป้องกันที่ผลิตขึ้นตามมาตรฐานกาหนด เช่นมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) มาตรฐานแห่งชาติอเมริ กนั (American National Standard Institute = ANSI ) เป็ นต้น 5 มีประสิทธิภาพในการป้องกันอันตรายสู ง เลือกอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจะต้องคานึงถึงประสิทธิภาพ ของเครื่ องมือชนิดนั้นๆ ให้มีสมรรถนะในการป้ องกันอันตรายได้เป็ นอย่างดี 6 มีนา้ หนักเบาสวมใส่ สบาย อุปกรณ์ที่ใช้จะต้องไม่หนักเกินไป ไม่คบั หรื อหลวมเพราะจะทาให้ ราคาญ หรื อต้องรับน้ าหนักมากเกินไป 7 ใช้ ง่ายไม่ย่งุ ยาก อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่นาไปใช้จะต้องไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน หรื อ เสียเวลามากใน การศึกษาทาความเข้าใจ เพราะอาจจะทาให้ผใู้ ช้หลงลืมวิธีการใช้ หรื อเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน นามาใช้ไม่ทนั การณ์ เป็ นต้น 8 รักษาและดูแลง่ าย อุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่างๆ จะต้องมีการดูแลรักษาและจัดเก็บหลักการใช้ให้ เป็ นระเบียบ เพื่อคงประสิทธิภาพและยืดอายุการใช้งาน ดังนั้น จะต้องเป็ นอุปกรณ์ที่เก็บรักษาได้ สะดวกไม่ยงุ่ ยาก 9 ทนทานและซ่ อมแซมได้ ง่าย ควรเป็ นอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่ใช้วสั ดุแข็งแรงทนทานและสามารถ หาอุปกรณ์ประกอบมาซ่อมแซมเมื่อเกิดชารุ ดเสียหายได้ง่าย หลักเกณฑ์ในการใช้ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายให้มีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะนาไปสู่ความปลอดภัยในการทางานมี หลักเกณฑ์และวิธีการดังนี้ 1 ใช้ ให้ เหมาะสมกับลักษณะของงาน เพราะอุปกรณ์ป้องกันอันตรายแต่ล่ะชนิดจะออกแบบเพื่อใช้ ป้ องกันอันตรายแต่ล่ะประเภท จึงควรพิจารณาว่าควรเลือกใช้แบบใดกับงานลักษณะใด 2 ต้องอบรมให้ รู้จกั วิธีการใช้ การเก็บรักษาให้ถกู วิธี เพื่อป้ องกันอันตรายที่อาจจะเกิดจากการใช้ เครื่ องมือต่างๆ ที่ไม่ถกู วิธี
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
5
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 9 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 3 สร้ างความเคยชินในการใช้ อุปกรณ์ โดยให้พนักงานใช้เครื่ องป้ องกันอันตรายในช่วงเวลาสั้นๆ ใน ระยะแรกของการทางาน ต่อไปให้เพิม่ ช่วงของการใช้ให้นานขึ้นเรื่ อยๆตลอดระยะเวลาการทางาน ทั้งนี้เพื่อสร้างความเคยชินให้เกิดขึ้นอย่างสม่าเสมอ 4 กาหนดเป็ นระเบียบข้ อบังคับ สถานประกอบการหรื อโรงงานอุตสาหกรรมทุกแห่งจะต้องกาหนดให้ พนักงานใช้เครื่ องป้ องกันอันตรายขณะปฏิบตั ิหน้าที่ทุกครั้งอย่างเคร่ งครัด 5 จัดให้ มปี ริมาณเพียงพอกับจานวนของพนักงานที่จาเป็ นต้องใช้ ซึ่งบางประเภทอาจจะต้องใช้แล้วทิ้ง เช่น ถุงมือที่เกี่ยวข้องกับเชื้อจุลินทรี ยบ์ างประเภท 6 มีการทาความสะอาดอย่างสมา่ เสมอ อุปกรณ์ที่จะใช้ตอ้ งทาความสะอาดทั้งก่อนและหลังการใช้ โดยเฉพาะอุปกรณ์ที่ตอ้ งใช้ร่วมกัน 7 มีการตรวจสอบและเก็บรักษาให้ ถูกต้อง เมื่อใช้เครื่ องมือแล้วจะต้องตรวจสอบสภาพของเครื่ องมืออยู่ เสมอ หากชารุ ดจะต้องเปลี่ยนใหม่หรื อซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพดี รวมทั้งต้องตรวจสอบหลังการใช้ ให้ดีว่าไม่มีสิ่งใดชารุ ด ถ้าพบเห็นให้แจ้งหน่วยซ่อม หากอยูใ่ นสภาพดีควรจัดเก็บให้ถกู ต้อง ประเภทของเครื่องป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล 1.เครื่องป้องกันหน้ าและดวงตา 1.1 เครื่องป้องกันหน้ า คือ อุปกรณ์ที่ใช้ป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับใบหน้าจากเศษวัสดุ และแสงที่จา้ เกินไป หรื อจากการแผ่รังสีที่บริ เวณใบหน้า 1.2 แว่นตา ดวงตาเป็ นอวัยวะที่สาคัญที่สุดอย่างหนึ่ง การทางานที่เป็ นอันตรายต่อดวงตาควรจะมีแว่นตาเป็ น อุปกรณ์ป้องกันอันตรายทุกครั้ง เพื่อป้ องกันเศษโลหะหรื อวัสดุต่างๆ จากการทางานที่ปลิวมาในอากาศ รังสีที่ เป็ นอันตรายในการทางาน แสงที่จา้ เกินไป แว่นตาที่ใช้เป็ นเครื่ องมือป้ องกันอันตรายในการทางานมีรูปร่ าง ลักษณะเหมือนกับแว่นตาที่ใช้ทวั่ ๆไป ต่างกันที่เลนส์ของแว่นตาที่ใช้ในการทางานเฉพาะอย่างนั้น จะมีความ ทนทานต่อแรงกระแทก แรงเจาะ ความร้อนและสารเคมีได้ดี
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
5
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 9 พ.ย. 2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 2.เครื่องป้องกันหู หูเป็ นอวัยวะที่สมั ผัสกับเสียงเกินกว่า 90 เดซิเบล จะทาให้เกิดอันตรายต่อการได้ยนิ เครื่ องป้ องกันหูจึงเป็ น อุปกรณ์ที่จะลดความดังของเสียงที่จะมารบกวนต่อแก้วหู กระดูกหู ซึ่งเป็ นการป้ องกันหรื อลดอันตรายที่มีต่อ ระบบการได้ยนิ ผลพลอยได้อีกอย่างหนึ่ง คือ สามารถป้ องกันเศษวัสดุที่จะกระเด็นเข้าหูได้อีก ในโรงงาน อุตสาหกรรมที่มีเสียงดังเกินกว่า 85-90 เดซิเบล จะต้องพยายามลดความดังของเสียงลดลง โดยใช้เครื่ อง ป้ องกันหู 3 เครื่องป้องกันศีรษะ เครื่ องป้ องกันศีรษะ หรื อหมวกนิรภัย ซึ่งประชาชนทัว่ ไปเรี ยกว่า “หมวกกันน็อค” วัตถุประสงค์ของ การใช้เพื่อป้ องกันอันตรายที่เกิดจากแรงกระแทกการเจาะทะลุของวัสดุที่ตกลงมากระทบศีรษะ นอกจากนี้ยงั สามารถต้านทานกระแสไฟฟ้ าและทนการไหม้ไฟได้ ในปัจจุบนั เกือบทุกประเทศทัว่ โลกรวมถึงประเทศไทย ได้ประกาศใช้กฎหมายสวมหมวกนิรภัยในหมู่ผขู้ บั ขี่รถจักรยานยนตร์และผูท้ ี่ทางานในอุตสาหกรรม เช่น งานก่อสร้าง โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เป็ นต้น 4 เครื่องป้องกันการตกจากที่สูง การปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งเสี่ยงกับการพลัดตกลงมา เช่น งานก่อสร้างอาคาร งานบารุ งรักษา งานทาความ สะอาดภายนอกอาคารสูง งานสายส่งไฟฟ้ า หรื องานที่ตอ้ งลงไปในที่ต่า เช่น ในท่อ ในหลุม งานเหล่านี้ตอ้ ง ใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกลงมาได้รับอันตราย ซึ่งเครื่ องป้ องกันอันตรายที่สูง แบ่งตามลักษณะการใช้ 5 รองเท้ านิรภัย เป็ นเครื่ องป้ องกันอันตรายจากเศษวัสดุ เชื้อโรค หรื อจากสัตว์บางชนิดซึ่งมีหลายประเภท บางชนิด อาจใช้รองเท้าธรรมดาทีใช้เครื่ องป้ องกันอันตรายครอบลงที่หวั รองเท้าก็ได้ แต่ตอ้ งรับน้ าหนัก 2500 ปอนด์ และทนแรงกระแทกได้ 50 ปอนด์
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
5
หน้าที่
5
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 9 พ.ย. 2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 6 ชุดป้องกันอันตราย การทางานในหลายลักษณะงานผูป้ ฏิบตั ิงานต้องเสียงกับอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อ แม้จะมีความ ระมัดระวังอยูแ่ ล้วก็ตามเพราะอุบตั ิเหตุยางครั้งไม่ได้เกิดจาการกระทาของผูป้ ฏิบตั ิงาน แต่เกิดจาก สภาพแวดล้อมที่เป็ นอันตราย เช่น ความร้อน เศษวัสดุต่างๆ ละอองสารเคมี ฯลฯ ด้วยเหตุน้ ีจึงเป็ นสิ่งที่จาเป็ น จะต้องสะสวมชุดป้ องกันอันตรายขณะปฏิบตั ิงานที่มีความเสียงต่ออันตรายนั้นๆ ทุกครั้งซึ่งชุดป้ องกันอันตราย มีหลายประเภท ได้แก่ 6.1 เสื้อหนัง เป็ นชุดที่สามารถป้ องกันความร้อนและการแผ่รังสีที่เกิดจากโลหะถูกเผา รังสีอินฟราเรด และ อัลตราไวโอเลต รวมทั้งแรงกระแทกที่อาจเกิดขึ้นกับร่ างกาย 6.2 ชุดอลูมิเนียม เป็ นชุดที่ทนความร้อนได้ดีแม้ในบริ เวณที่มีความร้อนตั้งแต่ 1000-2000 องศาฟาเรนไฮด์ เช่น ผูท้ ี่ทางานหน้าเตาหลอมหรื อตารวจดับเพลิงที่เข้าไปดับไฟ วัสดุที่นามาใช้ทาชุดนี้ ได้แก่ อลูมิเนียมหรื อไฟ เบอร์กลาส ที่มีขนสัตว์หุม้ อยูภ่ ายใน เป็ นต้น 6.3 ถุงมืออุปกรณ์ป้องกันมือ ถุงมือที่ใช้มีหลายประเภทขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของงาน เช่น งานที่เกี่ยวกับวัตถุมีคม ใช้ถุงมือที่ทาจากหนังสัตว์ หรื อตาข่ายโลหะ งานที่เกี่ยวกับความชื้น หรื อเพียงป้ องกันความสกปรกทาจาก พลาสติก เป็ นต้น
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
6
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 16 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
ความปลอดภัยในการทางานใช้ เครื่องจักรเครื่องมือและยานพาหนะ ความหมายและความสาคัญของเครื่องจักร ในสถานประกอบการหรื อโรงงานอุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท จาเป็ นต้องมีเครื่ องจักรใช้ใน กระบวนการผลิต โดยขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของการผลิตแต่ละประเภท เพื่อช่วยในการผลิตดาเนินไปอย่างรวดเร็ ว และมีประสิทธิภาพ ได้ผลิตภัณฑ์ครั้งละจานวนมากๆ การใช้เครื่ องจักรนับเป็ นการทดแทนการใช้แรงงานคน ซึ่งในปัจจุบนั หันมาใช้เครื่ องจักรมากขึ้นเพื่อป้ องกันการประหยัดและลดปัญหาด้านอื่น เช่น การให้สวัสดิการ การจัดการ การบริ หารบุคคล และการแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างคนงานกับนายจ้าง เป็ นต้น ประเภทของเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรม เครื่ องจักรที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมโดยทัว่ ไป แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ 1 เครื่องต้นกาลัง เป็ นเครื่ องจักรที่ใช้ผลิตหรื อเปลี่ยนพลังงานรู ปหนึ่งไปเป็ นอีกรู ปหนึ่ง เช่น มอเตอร์ใช้ไฟฟ้ า สาหรับเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าให้เป็ นพลังงานกล เครื่ องยนต์ต่างๆ และหม้อไอน้ า เป็ นต้น 2 เครื่องส่ งกาลัง เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ส่งผ่านกาลังจากเครื่ องจักรต้นกาลังเพื่อนาไปใช้ในงานอื่นต่อไป เช่น สายพาน โซ่ เฟื อง ฯลฯ 3 เครื่องจักรเพือ่ การผลิต คือ เครื่ องจักรที่ใช้ในการผลิตต่างๆ เช่น เครื่ องเจาะ เครื่ องอัด เครื่ องตัด เครื่ องกลึง เครื่ องไส เครื่ องเลื่อยกล ฯลฯ ซึ่งเครื่ องจักรเหล่านี้ลว้ นเป็ นเครื่ องจักรที่ใช้ในการผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบทั้งสิ้น อันตรายจากเครื่องจักร อันตรายที่คนงานได้รับจากเครื่ องจักร แต่ละประเภทแตกต่างกันออกไป เช่น 1 อันตรายจากเครื่องต้นกาลัง ได้แก่ เครื่ องยนต์ผลิตกระแสไฟฟ้ าขึ้นใช้เองภายในโรงงาน หม้อผลิตไอน้ า เป็ น ต้น ซึ่งอันตรายที่เกิดจากหม้อผลิตไอน้ า เช่น กรณี หม้อผลิตไอน้ าระเบิด ซึ่งทาอันตรายแก่ตวั โรงงานอาคาร และชีวิตของคนงานอย่างฉับพลันในเวลาอันรวดเร็ วเกินกว่าที่คนงานจะหลบหลีกได้ทนั รวมถึงเป็ นเหตุให้เกิด ความเสียหายอย่างต่อเนื่องจากการระเบิดซ้อนหรื อเพลิงไหม้ จากสารไวไฟต่างๆ ที่แตกกระจายออกจาก ภาชนะเก็บเนื่องจากแรงระเบิดของหม้อผลิตไอน้ า
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
6
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 16 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 2 อันตรายจากเครื่องส่ งกาลัง ได้แก่ พวกเพลา สายพาน โซ่ กระเดื่อง ท่อลมอัดต่างๆ เป็ นต้น อันตรายมักเกิด แก่คนงานในลักษณะถูกชนกระแทกหรื อหนีบรั้งเข้าไปติด ทาให้สูญเสียอวัยวะไปจนกระทัง่ เสียชีวิต โดยปกติ มักเกิดเป็ นรายบุคคล เพราะความประมาทเลินเล่อ หรื อความผิดพลาดในขณะทางาน อันตรายโดยทัว่ ไปจึงไม่ รุ นแรงหรื อกินบริ เวณกว้างขวาง 3 อันตรายจากเครื่องจักรเพือ่ การผลิต ได้แก่ เครื่ องกลึง เครื่ องกัด เครื่ องไส เครื่ องเจาะ ฯลฯ ซึ่งใช้เป็ น เครื่ องจักรในการผลิตชิ้นงานหรื อในการซ่อมบารุ งผลิตชิ้นส่วนอะไหล่ต่างๆ รวมทั้งงานเชื่อมลักษณะอันตราย อยูใ่ นรู ปของอุบตั ิเหตุที่เกิดแก่มือ แขน เท้า บริ เวณหน้า ศีรษะและผิวหนัง โดยเกิดแก่คนงาน ที่ทางานกับ เครื่ องจักรนั้นโดยตรงเป็ นส่วนใหญ่ สาเหตุและลักษณะการเกิดความไม่ปลอดภัยในการปฏิบัตงิ านเกีย่ วกับเครื่องจักร สาเหตุ 1 การปฏิบตั ิงานของคนงาน 2 เครื่ องจักร ลักษณะของความไม่ปลอดภัย 1 เสียชีวติ 2 พิการ ทุพพลภาพ ซึ่งอาจจะเป็ นสูญเสียอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ง หรื อหลายส่วน รวมทั้งความพิการทางสมอง โรคจิต เป็ นต้น 3 โรคที่เกิดจากการทางาน ซึ่งเกี่ยวกับเครื่ องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมมีเสียงดัง มีการทางานที่เร่ งรี บ อาจทา ให้เกิดโรคต่างๆได้ เช่น หูหนวก ตาบอด อัมพาต เป็ นต้น 4 การได้ รับบาดเจ็บ เช่น เครื่ องจักรกระแทกแขนหัก ศีรษะแตก และมีบาดแผลต่างๆ ซึ่งทาให้ตอ้ งหยุดงาน 5 ประสิทธิภาพในการทางานลดลง เนื่องจากการเกิดอันตรายจากข้อข้างต้น จึงทาให้ประสิทธิภาพในการ ทางานลดลง
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
6
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 16 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ หลักความปลอดภัยในการทางานปฏิบัตงิ านเกีย่ วกับเครื่องจักร เครื่องมือและยานพาหนะ ความปลอดภัยในการใช้ เครื่องจักร 1. ใช้ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร เครื่ องจักรเป็ นสิ่งสาคัญในกระบวนการผลิตส่งผลให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพในปริ มาณสูง ประหยัดทั้งทุน แรงงาน และเวลา ในขณะเดียวกันเครื่ องจักรก็เป็ นสิ่งที่ก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุตามมา ดังนั้น การป้ องกันอันตราย จากเครื่ องจักร คือ การใช้เครื่ องป้ องกันอันตราย เพื่อให้ผปู้ ฏิบตั ิงานมีความปลอดภัยมากขึ้น ซึ่งวัสดุที่ใช้ 2.ตรวจสอบและบารุงรักษาเครื่องจักร ควรทาอย่างสม่าเสมออย่างน้อย 6 เดือน หรื อ 1 ปี ต่อครั้ง เพื่อยืดอายุการใช้งาน และก่อให้เกิดความปลอดภัย ต่อผูใ้ ช้ เพราะการทางานด้วยเครื่ องจักรมีอตั ราการเสี่ยงอันตรายสูง ก่อนการทางานทุกครั้ง จะต้องตรวจสอบ สภาพความเรี ยบร้อยทุกด้าน หากชารุ ดต้องซ่อมแซมแก้ไข 3.ใช้ เครื่องจักรที่มคี ุณภาพมาตรฐานตามที่กฎหมายกาหนดไว้ ในประเทศไทยเรามีการออกกฎหมายบังคับสถานประกอบการต่างๆ ให้ใช้เครื่ องจักรที่ได้มาตรฐานหลาย ฉบับ เช่น กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 โดย รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในหมวดที2่ เกี่ยวกับเครื่ องจักรเครื่ องอุปกรณ์หรื อสิ่งที่นามาใช้ใน โรงงาน 4.พฤติกรรมของผู้ปฏิบัตงิ านกับเครื่องจักร สาเหตุสาคัญของการเกิดอุบตั ิเหตุต่างๆส่วนหนึ่งมาจากพฤติกรรมของผูป้ ฏิบตั ิงาน การปฏิบตั ิตนให้เหมาะสมและระมัดระวังในการทางาน ความปลอดภัยในการใช้ เครื่องมือ เครื่ องมือ คือ อุปกรณ์ขนาดเล็กที่ช่วยให้การทางานที่ตอ้ งทาด้วยมือมีความสะดวกสบาย รวดเร็ ว เช่น ค้อน ประแจ ไขควง คีม เลื่อย กรรไกร ปากกาจับงาน ซึ่งมีลกั ษณะการใช้งานที่แตกต่างกัน
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
6
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 16 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ ความปลอดภัยในการใช้ ยานพาหนะ ยานพาหนะที่ใช้ในการทางานและอาจก่อให้เกิดอันตรายมากที่สุด คือ ยานพาหนะสาหรับงานหนัก ซึ่งหมายถึง ยานพาหนะที่ใช้บริ เวณ โรงงานหรื อสถานประกอบการซึ่งอาจประกอบด้วยสิ่งต่างๆ ดังนี้ -อุปกรณ์ก่อสร้าง เช่น รถตัก รถขุด รถบด -อุปกรณ์ขนย้ายสิ่งของ เช่น รถยก -ยานพาหนะ เช่น รถบรรทุกและรถยนต์ส่วนบุคคล -ยานพาหนะสาหรับงานหนักพิเศษ (ที่ใช้บนถนนไม่ได้) วิธีการปฏิบัตกิ บั ยานพาหนะทั้ง 4 ลักษณะเพือ่ ให้ เกิดความปลอดภัยในการทางาน 1 ยานพาหนะสาหรับงานหนัก 3 ประเภทแรก ต้องมีใบอนุญาตขัยขี่จึงจะสามารถปฏิบตั ิงานได้ 2 ยานพาหนะสาหรับงานหนักจะอนุญาตให้ขบั ขี่ได้เฉพาะบุคคลที่มีใบอนุญาตขับขี่พิเศษ ซึ่งต้องผ่านการ ฝึ กอบรมจากสถาบันที่ได้รับรองเท่านั้น 3 การขับเคลื่อนยานพาหนะทั้ง 4 ประเภท ต้องขับชิดซ้ายในเส้นที่กาหนด โดยต้องระมัดระวังคนเดินถนน เครื่ องจักร อุปกรณ์ และจากัดความเร็ วไม่เกิน 8-15 กม./ ชม. 4 ต้องหยุดรถแล้วค่อยๆ เคลื่อนรถช้าๆ เมื่อผ่านทางแยกหัวมุมจุดอับ หรื อทางเข้า โดยบีบแตรให้สญ ั ญาณเสมอ 5 เมื่อเปลี่ยนทิศทางต้องให้สญ ั ญาณไฟเลี้ยวและขับแซงหรื อขับคู่ขนานกับรถคันอื่น 6 ห้ามมีผโู้ ดยสารบนยานพาหนสาหรับงานหนักเกินกว่า 2 คน ยกเว้นรถบรรทุกหรื อรถนัง่ ส่วนบุคคล 7 ไม่จอดรถกีดขวางอุปกรณ์ดบั เพลิง วัตถุระเบิด หัวมุม หรื อทางเข้า 8 หลีกเลี่ยงการบรรทุกน้ าหนักเกินพิกดั และบรรทุกวัตถุอนั ตราย 9 ดับเครื่ องและใส่เบรกมือทุกครั้งก่อนออกจากรถ 10 ต้องตรวจสอบยานพาหนะก่อนและหลังการใช้งานทุกครั้ง
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
6
หน้าที่
5
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 16 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ การตรวจสอบยานพาหนะเพือ่ ความปลอดภัย 1 ตรวจเช็คสภาพของยานพาหนะให้อยูใ่ นสภาพสมบูรณ์ทุกครั้งก่อนนาออกไปใช้งาน 2 ตรวจเช็คน้ ามันเครื่ อง น้ ามันรถ โดยน้ ามันรถควรมีเต็มถังเสมอ หรื ออยูท่ ี่ระดับที่พอเพียงกับการใช้งาน 3 ตรวจเช็คน้ ามันเบรก ให้อยูใ่ นระดับที่สูงสุดเสมอ เพราะเบรกเป็ นสิ่งสาคัญ 4 ตรวจหม้อน้ าละท่อยางว่ามีน้ าเต็มอยูห่ รื อไม่ หากต้องเดินทางไกล 5 ตรวจดูไฟส่องสว่างและระบบไฟหน้า ไฟท้าย ไฟเบรก ไฟเลี้ยว ต้องอยูใ่ นสภาพใช้งานได้ 6 ตรวจดูรอยรั่วซึม ร่ องรอยน้ ามันเครื่ อง น้ ามันเกียร์ น้ ามันเบรก หรื อน้ ารั่วซึมจากท้องรถ หากผิดปกติควร ตรวจซ่อมก่อนใช้งาน 7 ตรวจดูลมยางของรถทุกเส้น รวมทั้งยางอะไหล่ให้อยูใ่ นสภาพปกติ ใช้งานได้อย่างปลอดภัย 8 ตรวจแบตเตอรี่ และสายไฟ โดยตรวจดูและเติมน้ ากลัน่ ให้ได้ระดับที่กาหนด 9 ตรวจเช็คเข็มขัดนิรภัย ว่าสามารถล็อกได้เรี ยบร้อย 10 แตร ตรวจเช็คให้แน่ใจว่าเสียงดังปกติ และสามารถใช้งานได้ดี
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
7
หน้าที่
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 23 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ การเคลือ่ นย้ายและจัดเก็บวัสดุ-อุปกรณ์ ความสาคัญของการเคลือ่ นย้ายและจัดเก็บวัสดุ-อุปกรณ์ ในโรงงานอุตสาหกรรมแต่ล่ะแห่งมีวสั ดุ-อุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจานวนมาก ซึ่ง แตกต่างกันไปตามขนาด ประเภท ลักษณะของการผลิตของแต่ล่ะสถานประกอบการวัสดุ - อุปกรณ์ต่างๆ เหล่านั้นจะต้องมีการจัดเก็บอย่างเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยที่สะดวกในการนามาใช้งานและเป็ นการป้ องกัน อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการจัดเก็บไม่เป็ นระเบียบทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สิน วัสดุ -อุปกรณ์ที่ใช้ใน กระบวนการผลิตโรงงานอุตสาหกรรม มีจานวนมากและแตกต่างกันไปจึงมีการจัดเก็บและอยูค่ นละสถานที่ การเคลื่อนย้ายเพื่อนามาใช้ในกรบวนการผลิต จึงเป็ นเรื่ องสาคัญ โดยเฉพาะปัจจุบนั นี้ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีมากขึ้น การทางานบางอย่างที่เคยใช้แรงงานคน ได้เปลี่ยนมาใช้เครื่ องมือที่ทนั สมัย เพื่อช่วยแบ่งเบา ภาระของแรงงานทั้งยังเป็ นการเพิ่มปริ มาณและคุณภาพของงานให้รวดเร็ วขึ้น เช่น การขนส่งถ่ายสินค้าบริ เวณ ท่าเรื อ ท่าอากาศยาน หรื อการหามสินค้าขึ้น-ลงของกรรมกร ปัจจุบนั ใช้ รถยก ปั้นจัน่ รอก ต่างๆ ตารางแสดงสถิตกิ ารเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางานปี 2543 ตาย ทุพพล สูญเสีย หยุดงาน หยุดงานไม่ รวม ร้อยละ ภาพ อวัยวะ เกิน 3 วัน เกิน 3 วัน 1 ยกหรื อเคลื่อนย้ายของ 0 0 6 937 6796 7771 54.32 หนัก 2 อาการเจ็บป่ วยจากท่าทาง 0 0 4 284 1411 1699 11.87 การทางาน 3 สัมผัสสิ่งมีชีวิต สารเคมี 3 0 2 451 3788 4244 29.65 4 แพ้เนื่องจาการสัมผัส 0 0 1 27 529 557 3.89 5 โรคจากการทางาน 1 0 6 1 31 39 0.27 รวมการเจ็บป่ วยจากการ 4 0 19 1736 12555 1431 100 ทางาน 4 ที่มา : สานักงานประกันสังคม, กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
7
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 23 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ หลักการเคลือ่ นย้ายวัสดุ-อุปกรณ์ด้วยเครื่องจักร เครื่องกล 1 รถยก เป็ นเครื่ องมือที่ใช้เคลื่อนย้ายสิ่งของขนาดใหญ่น้ าหนักมาก หรื อสิ่งของที่ตอ้ งเคลื่อนย้ายคราวละมากๆ การใช้รถอย่างปลอดภัยต้องปฏิบตั ิดงั นี้ - คนขับรถยกต้องเรี ยนรู้และทาความเข้าใจอย่างดีเกี่ยวกับวิธีการขับขี่ - ห้ามบุคคลซึ่งไม่มีหน้าที่ขบั ขี่รถยกหรื อไม่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้างาน 2 รถเข็น รถเข็นมีหลายประเภท ตั้งแต่ 2 ล้อขึ้นไป โดยจะมีอยูใ่ นโรงงานอุตสาหกรรม และในชีวิตประจาวัน เพราะสะดวก ใช้ง่าย การใช้รถเข็นเพื่อเคลื่อนย้ายสิ่งของต่างๆ นั้นจะต้องปฏิบตั ิดงั นี้ - ไม่บรรทุกสิ่งของต่างๆ ที่มีน้ าหนักเกินกาลังของรถ - จัดวางสิ่งของให้เป็ นระเบียบ ของที่หนักควรอยูล่ ่างสุด และไม่ว่างของสูงจนผุเ้ ข็นมองไม่เห็นทาง 3 รถบรรทุก โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่มกั มีพ้นื ที่โรงงานกว้างขวาง เช่นโกดังเก็บสิ้นค้า การใช้รถบรรทุกอย่างปลอดภัย ต้องปฏิบตั ิดงั นี้ - ต้องตรวจสภาพยานพาหนะ จะต้องอยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์ก่อนนาออกไปใช้งานทุกครั้ง - ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องไม่ใช้ยานพาหนะที่อยูใ่ นสภาพชารุ ด หรื อไม่ปลอดภัย 4 ลิฟต์ ใช้มากในโรงงานอุตสาหกรรม หรื องานก่อสร้างสูงๆ เพื่อเคลื่อนย้ายวัสดุ- อุปกรณ์ข้ ึนหรื อลง และไม่ควรขนย้ายวัสดุ-อุปกรณ์ ที่มีน้ าหนักเกินที่ลิฟต์จะรับน้ าหนักได้ ในกรณี ที่เกิดขัดข้อง เช่น ลิฟต์คา้ ง ควรกดปุ่ มฉุกเฉิน (Emergency) ทันที และห้ามใช้ลิฟต์ขณะเกิดเพลิงไหม้ 5 ปั้นจัน่ มักพบในงานก่อสร้างหรื ออุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น การผลิตรถยนต์ เพราะสิ่งที่เคลื่อนย้ายมี น้ าหนักมาก เช่นการยกเสาเข็ม เหล็กเส้น ปูนซีเมนต์ในงานก่อสร้าง ควรตรวจสอบสายสลิงของปั้นจัน่ ก่อนใช้ งานทุกครั้ง
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
7
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 23 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 6 สายพานเลือ่ น ส่วนใหญ่ จะอยูใ่ ช้อยูใ่ นโรงงานอุตสาหกรรมที่ตอ้ งเคลื่อนย้ายวัสดุกบั สายพานเลื่อน ควรระวังเรื่ องการแต่งตัวให้รัดกุม และไม่ควรประมาท เพราะอาจถูกดึงเข้าสู่เครื่ องจักรเป็ นอันตราย - สายพานลาเลียงต้องมีสวิทช์หยุดฉุกเฉิน - มีอุปกรณ์ครอบหรื อบังส่วนที่หมุนได้ของสายพาน 7 รอก มักใช้เคลื่อนย้ายสิ่งของอุปกรณ์ในที่สูงและมีบริ เวณแคบ ซึ่งสามารถจัดทาได้อย่างรวดเร็ ว เช่น การใช้ รอกเพื่อส่งเครื่ องมือหรื ออุปกรณ์ ในงานก่อสร้างในอาคารสูงหรื อ อุโมงค์ และสิ่งของที่เคลื่อนย้ายไม่ควรมี น้ าหนักที่มากเกินกว่าที่รอกจะรับได้ 8 เครนและสลิง ช่วยในการเคลื่อนย้ายสิ่งของที่มีน้ าหนักมากซึ่งใช้อุปกรณ์ดงั กล่าวมีความเสี่ยงต่อการเกิด อันตรายสูง จึงต้องมีกฎหมายควบคุม ข้อกาหนดดังนี้ - เครนที่มีขนาด 5 ตันหรื มากกว่า จะต้องมีพนักงานขับเครนที่มีใบอนุญาตสาหรับเครนที่ใช้บนที่สูง - การทางานสลิง จะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรทางเทคนิคที่กาหนดเท่านั้น หลักการเคลือ่ นย้ายวัสดุ-อุปกรณ์ด้วยกาลังคน ในกรณีที่เคลือ่ นย้ายวัสดุ-อุปกรณ์ด้วยกาลังคน 1 ตรวจสอบน้ าหนัก ขนาด และลักษณะของวัสดุ- อุปกรณ์น้ นั ว่ามีสิ่งที่เป็ นอันตรายต่อการปฏิบตั ิงานหรื อไม่ อย่างไร เช่น เสี้ยน ลวด ตะปู 2 หากต้องยกสิ่งของนั้น จะต้องหามุมหรื อส่วนใดส่วนหนึ่งของวัสดุเพื่อจับให้ถนัดพร้อมก้มตัวลงหรื อนัง่ ยองๆ ใช้มือทั้ง 2 ข้างจับยกขึ้นช้าๆ โดยใช้เข่ารับน้ าหนักและใช้กาลังขา โดยส่วนหลังและลาตัวตรง 3 ในกรณี ที่กาลังยกของหนัก ไม่ควรขยับเปลี่ยนตาแหน่ง ควรจะว่างสิ่งของเหล่านั้นก่อนแล้วจึงยกขึ้นใหม่ 4 ในกรณี ที่ตอ้ งใช้แรงงานคนในการเคลื่อนย้ายวัสดุ-อุปกรณ์มากกว่า 2 คน ควรมีการสารวจสภาพชองวัสดุอุปกรณ์ว่าควรจะเคลื่อนย้ายไปในลักษณะใด ตรวจสภาพแวดล้อมว่ามีสิ่งกีดขวางหรื อไม่ และต้องมีคนนาทาง ในกรณี ที่มีคนหลายคน
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
7
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 23 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ ขั้นตอนยกวัสดุสิ่งของด้ วยมือเปล่า 1 เข้าใกล้วสั ดุสิ่งของที่เคลื่อนที่จะเคลื่อนย้ายให้มากที่สุด 2 วางเท้าไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้ายวัสดุ 3 ย่อตัวลงให้หลังตรง 4 จับยึดของให้มนั่ แล้วค่อยๆยกของขึ้นช้าๆ โดยยืดกล้ามเนื้อหลังขึ้นและให้น้ าหนักตัวลงที่ขา อุบัตเิ หตุจากการเคลือ่ นย้ายวัสดุ- อุปกรณ์ 1 อุบัตเิ หตุที่เกิดจากการกระทาของคนงาน สาเหตุสาคัญได้แก่ ขาดความรู้ ความชานาญ ความประมาท ขาดความเอาใจใส่และรับผิดชอบ หรื อปฏิบตั ิงาน โดยไม่มีหน้าที่รับผิดชอบหยอกล้อเล่นกันระหว่างปฏิบตั ิงาน 2 เครื่องมือที่ช่วยในการเคลือ่ นย้ายชารุด อุปกรณ์บางอย่างใช้งานมานานไม่ได้รับการตรวจสอบสภาพของการใช้งาน ก็จะเกิดอุบตั ิเหตุเพราะการ เคลื่อนย้ายวัสดุ-อุปกรณ์ในการทางานนั้นต้องมีอยูต่ ลอดเวลา และล้วนมีน้ าหนักมาก อุบตั ิเหตุจึงเกิดขึ้นได้ เสมอ เช่น สลิงของปั้นจัน หรื อเครนในงานก่อสร้าง เป็ นต้น แนวทางป้องกันอุบัตเิ หตุที่เกิดจากการเคลือ่ นย้ายวัสดุ-อุปกรณ์ 1 ตรวจสอบวัสดุ-อุปกรณ์เครื่ องจักร 2 เมื่อพบสิ่งผิดปกติปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่ องจักร เครื่ องกล เคลื่อนย้ายวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆควรแจ้งแก่ฝ่ายซ่อม บารุ ง 3 ควรมีป้ายบอกเขตอันตรายให้ชดั เจนในขณะที่มีการเคลื่อนย้ายวัสดุ-อุปกรณ์ 4 อบรมให้ความรู้แก่คนงานเกี่ยวกับวิธีการเคลื่อนย้ายวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆ 5 ให้คนงานที่กาลังปฏิบตั ิหน้าที่ทุกคนใช้เครื่ องป้ องกันส่วนบุคคลได้ตามเหมาะสมและตามลักษณะงาน 6 กาหนดกฎระเบียบให้ถือปฏิบตั ิ และติดป้ ายเตือนให้เห็นชัดเจนในเขตปฏิบตั ิงาน 7 กาหนดโทษในการหยอกล้อ หรื อแกล้งเพื่อนขณะทางานอย่างเข้มงวดและจริ งจัง 8 ผูค้ วบคุมควรดูแลผูป้ ฏิบตั ิงานอย่างใกล้ชิด คอยตรวจสอบ และตักเตือน
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
7
หน้าที่
5
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 23 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 9 ดูแลรักษาความระเบียบเรี ยบร้อยของพื้นโรงงาน 10 จัดเก็บหรื อวางวัสดุ - อุปกรณ์ต่างๆ ให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย การจัดเก็บวัสดุ-อุปกรณ์ในการทางาน 1 มีแผนผังแสดงการจัดเก็บวัสดุ-อุปกรณ์ไว้อย่างชัดเจน เพื่อความสะดวกในการใช้และเก็บ 2 มีเครื่ องหมายบอกชนิดและประเภทของวัสดุ-อุปกรณ์ไว้ให้ชดั เชน 3 วัสดุประเภทที่มกั ใช้งานบ่อยครั้งและมีการใช้ร่วมกันหลายขนาด เช่น เครื่ องมือที่ใช้ในการซ่อมเครื่ องจักร เครื่ องยนต์ เช่น ประแจ ไขควง ควรจัดให้อยูใ่ นที่เดียวกันโดยการเรี ยงตามขนาดความพร้อมที่ใช้งาน 4 วัสดุประเภทไวไฟหรื อที่เป็ นอันตรายควรจัดเก็บไว้ในที่ปลอดภัยเฉพาะที่ 5 สิ่งของที่แตกหักง่าย ควรวางซ้อนในแนวนอนเก็บอย่างระมัดระวังโดยใช้กระดาษหรื อผ้าว่างซ้อนไว้ 6 การจัดเก็บสิ่งของบางอย่างต้องมีการวางซ้อนกันเพื่อการประหยัดเนื้อที่ 7 การเก็บพัสดุจานวนมากๆ จะต้องจัดน้ าหนักให้แผ่ในแนวนอนตามพื้น แต่จะต้องตรวจความแข็งแรงของ พื้นที่รองรับว่าสามารถรับน้ าหนักได้หรื อไม่ 8 วัสดุ-อุปกรณ์ที่เป็ นลัง หรื อหีบห่อลักษณะทรงกลม ควรกองในแนวตั้ง 9ไม่จดั เก็บวัสดุ-อุปกรณ์และสิ่งของต่างๆ ในบริ เวณที่กีดขวางทางเดิน หรื อบริ เวณที่เป็ นอันตรายต่อ ผูป้ ฏิบตั ิงาน 10 สถานที่จดั เก็บวัสดุ-อุปกรณ์ของโรงาน จะต้องได้รับการดูแลให้สะอาดและเป็ นระเบียบอยูเ่ สมอ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
8
หน้าที่
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 30 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า ความสาคัญของพลังงานไฟฟ้ า ไฟฟ้ าเป็ นพลังงานรู ปหนึ่งที่เกิดจากพลังงานหลายประเภท เช่น พลังงานความร้อน พลังงานน้ า (ถ่าน หินขาว) พลังงานลม หรื อเกิดจากการเสียดทาน โดยนาวัตถุ 2 ชนิดมาขัดสีกนั หรื อเกิดจากปฏิกิริยาเคมี หรื อ ความกดดันของอานาจแม่เหล็ก เป็ นต้น ไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ไฟฟ้ าสถิตและไฟฟ้ ากระแส พลังงานไฟฟ้ าถือเป็ นพลังงานที่มีประโยชน์อย่างมหาศาลต่อการดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย์ เพราะ สามารถให้พลังงานความร้อน แสงสว่าง รวมทั้งนาไปดัดแปลงเป็ นพลังงานในรู ปอื่นๆ อีกหลายรู ปแบบ ซึ่งทา ให้มนุษย์ มีเครื่ องอานวยความสุข ความสะดวกสบาย ในโรงงานอุตสาหกรรมและสถานประกอบการทุก ประเภทต้องใช้พลังงานไฟฟ้ าทุกขั้นตอนการผลิต ทาให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพ รวดเร็ ว และได้ผลผลิตได้ทีล่ะ จานวนมากๆ เป็ นต้น จึงทาให้พฒั นาเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างต่อเนื่อง แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า 1 แบตเตอรี่ เป็ นแหล่งกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง ซึ่งได้จากการทาปฏิกิริยาทางเคมี 2 เซลล์แห้ งหรือถ่ านไฟฉาย เป็ นแหล่งกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงที่ได้จากการทาปฏิกิริยาทางเคมี 3 เซลล์แสงอาทิตย์ เป็ นการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งจะได้ไฟฟ้ ากระแสตรงเมื่อแสงอาทิตย์ตกกระทบบน แผ่นวัตถุก่ึงตัวนาสองชนิด ทาให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่างแผ่นที่พ่งึ ตัวนาทั้ง 2 ชนิด 4 ไดนาโม เป็ นการอาศัยหลักการเหนี่ยวนาทางแม่เหล็กไฟฟ้ า 5 ระบบพลังงานนา้ โดยการใช้แรงงานของน้ าไปผลักดันกังหันของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า ซึ่งจะได้จากเขื่อนเช่น เขื่อนภูมิพล เขื่อนศรี นคริ นทร์ ฯลฯ 6 พลังงานความร้ อน เกิดจากพลังงานความร้อนที่ทาให้น้ ากลายเป็ นไอน้ า ที่มีความดันสูงหรื อก๊าซบางชนิด เกิดการเผาไหม้และมีความดันสูง แรงดันเหล่านี้จะไปทาให้กงั หันของเครื่ องกาเนิดหมุนเพื่อผลิตพลังงาน ไฟฟ้ า เชื้อเพลิงที่ทาให้เกิดพลังงานความร้อนก่อให้เกิดเป็ นไอ ได้แก่ ถ่านหินลิกไนต์ น้ ามันเตาและกาซ ธรรมชาติ เพื่อการผลิตไฟฟ้ านิวเคลียร์ 7 ระบบพลังงานลม พลังงานไฟฟ้ าจากลม เป็ นการติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ่เป็ นจานวนมาก เมื่อกังหันลมพัด จะทาให้เกิดแรงดันไปทาให้กงั หันของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าผลิตพลังงานไฟฟ้ า
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
8
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 30 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ สาเหตุของความไม่ปลอดภัยในการปฏิบัตงิ านเกีย่ วกับไฟฟ้ า 1 ผู้ปฏิบัตงิ านทางด้ านไฟฟ้ า เนื่องจากผูป้ ฏิบตั ิงานเกี่ยวกับไฟฟ้ าทางานเสี่ยงภัยมากกว่าผูป้ ฏิบตั ิงานประเภท อื่น เพราะต้องปฏิบตั ิงานกับเครื่ องมือหรื ออุปกรณ์ที่มีกระแสไฟฟ้ า ด้วยตนเองหากเกิดข้อผิดพลาดเพียง เล็กน้อยก็อาจเสียชีวิตหรื อได้รับบาดเจ็บได้ ซึ่งเกิดจากความประมาท เช่นไม่ปิดสวิตช์ซ่อมแซมหรื อ ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้ า ใช้เครื่ องมือไม่เหมาะสมกับงาน เป็ นต้น 2 อุปกรณ์และเครื่องใช้ ไฟฟ้ าชารุด อุปกรณ์ไฟฟ้ าจะต้องมีการตรวจสอบสภาพการใช้งานสม่าเสมอ บางครั้ง อาจเกิดข้อบกพร่ องของอุปกรณ์ได้ เช่น การเดินสายดินไฟไม่ถกู ต้อง สายไฟเสื่อมคุณภาพ เป็ นต้น อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้ า อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้ า ที่มีต่อชีวิตทาให้เกิดการบาดเจ็บ และเสียชีวิตได้ หากใช้ไฟฟ้ าไม่ถกู ต้อง หรื อไม่ป้องกันไว้ก่อนทาให้มีผปู้ ระสบอุบตั ิภยั มากมาย อันตรายที่เกิดจากกระแสไฟฟ้ าลัดวงจรนีม้ ลี กั ษณะ คือ 1 อันตรายจากแสงสว่างที่มีความเข้มข้นสูงมาก ซึ่งเป็ นอันตรายต่อนัยน์ตาของมนุษย์ 2 อันตรายจากความร้อนซึ่งทาให้เกิดแผลไฟไหม้ 3 อันตรายจากควัน ควันที่เกิดจากกระแสไฟฟ้ าลัดวงจรเกิดจากควันของทองแดง ซึ่งเป็ นพวกตะกัว่ หรื อ ทองแดงออกไซด์ก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
8
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 30 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ เมือ่ ปริมาณของกระแสไฟฟ้ าเข้ าสู่ ร่างกายจะทาให้ เกิดอันตราย ดังนี้ 1 กล้ามเนือ้ กระตุก หรือ เกิดการหดตัว คนส่วนใหญ่มกั จะประสบ เช่น การเผลอไปจับต้องสิ่งที่มีไฟฟ้ ารั่วอยู่ จะรู้สึกมีอาการกระตุกและเกร็ ง ซึ่งหากหลุดออกมาได้จะไม่มีปัญหาอะไร แต่ถา้ กระแสไฟฟ้ ายังผ่านเข้าสู่ร่างกายได้ตลอดเวลา จะทาให้ กล้ามเนื้อหดตัวและถูกทาลายส่งผลให้ปอดทางานไม่ได้ หายใจติดขัดและเกิดการสลบได้ 2 ระบบประสาทเกิดอาการชะงักหรือเป็ นอัมพาตชั่วคราว หากมีกระแสไฟฟ้ าเข้าสู่ร่างกายมากกว่า 50 มิลลิแอมแปร์ จะทาให้การทางานของหัวใจเต้นผิดจังหวะ โลหิตไปเลี้ยงหัวใจและสมองไม่ปกติหรื อไม่เพียงพอ อาจส่งผลให้เสียชีวิตได้ 3 หัวใจหยุดทางานทันที ในกรณี ที่มีกระแสไฟฟ้ าปริ มาณ 250 มิลลิแอมแปร์ ไหลผ่านหัวใจแม้ในระยะเวลาอันสั้นก็จะทาให้ หัวใจหยุดเต้นได้ทนั ที 4 ดวงตาอักเสบ เกิดจากสาเหตุที่แสงสว่างมีความเข้มสูง เช่น จากการเชื่อมโลหะหรื อประกายไฟที่เกิดจากการ ลัดวงจร ทาให้ดวงตาอักเสบหรื อตาบอดได้ หลักความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ านเกีย่ วกับไฟฟ้ า 1 ศึกษาหาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายจากไฟฟ้ า ซึ่งการมีความรู้เกี่ยวกับเรื่ องไฟฟ้ าจะเป็ นการช่วยลด อุบตั ิเหตุที่เกิดขึ้นได้ 2 เลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ปลอดภัย คือ รู้จกั เลือกใช้เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน เพราะหากใช้ อุปกรณ์ที่ราคาถูกและไม่ได้มาตรฐานจะทาให้เกิดไฟฟ้ ารั่ว ไฟฟ้ ารัดวงจรได้ อันเป็ นสาเหตุของการเกิดอัคคีภยั ได้ 3 ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ าต้องปฏิบตั ิตามกฎหมายและมาตรฐานความปลอดภัยด้านไฟฟ้ าโดยช่างหรื อผูช้ านาญ ทางไฟฟ้ า 4 ใช้สญ ั ลักษณ์สีหรื อเครื่ องหมายเตือน โดยเฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรมหรื อสถานประกอบการขนาดใหญ่ ที่ใช้กระแสไฟฟ้ ามากๆ เพื่อช่วยเตือนให้ผทู้ ี่ไม่มีหน้าที่เข้าไปเขตอันตรายอันจะเป็ นการป้ องกันอันตรายที่จะ เกิดขึ้นได้ เช่น “เขตอันตราย” “ไฟฟ้ าแรงสูง” เป็ นต้น 5 ตรวจสอบสภาพอุปกรณ์ไฟฟ้ าอย่างสม่าเสมอ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
8
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 30 พ.ย.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 6 ในกรณี ที่ตอ้ งทาการตรวจซ่อมแซมเครื่ องจักร ต้องทาป้ ายหรื อสัญลักษณ์แขวนไว้ที่สวิตช์ให้ชดั เจนว่า “อยู่ ระหว่างการซ่อมแซม” หรื อ “กาลังซ่อม” 7 การใช้สวิตช์ควบคุมเครื่ องจักร ที่ตอ้ งใช้ร่วมกันหลายคน ควรมีหลักเกณฑ์หรื อข้อปฏิบตั ิที่เป็ นมาตรฐาน เดียวกัน 8 การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ าบางชนิด เช่น มอเตอร์ หม้อแปลง ควรมีผรู้ ับผิดชอบควบคุม ในการเปิ ด-ปิ ดใช้งาน 9 เมื่อเกิดไฟฟ้ าดับ ควรรี บสับสวิตช์ให้วงจรไฟฟ้ าเปิ ด 10 ถ้าเกิดไฟฟ้ าช๊อตหรื อลัดวงจรทาให้เกิดไฟไหม้ตอ้ งรี บสับสวิตช์ (วงจรปิ ด) แล้วทาการดับด้วยเครื่ อง ดับเพลิงชนิดสารเคมี สรุปแนวปฏิบัตติ ามกฎหมายความปลอดภัยในการทางานเกีย่ วกับไฟฟ้ า เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อควบคุมอันตรายจากไฟฟ้ าตั้งแต่อุปกรณ์ไฟฟ้ า สายไฟฟ้ า ปริ มาณไฟฟ้ าที่ใช้ การเดินสาย การ ป้ องกันกระแสไฟฟ้ าเกินขนาด สายดิน สายล่อฟ้ า ตลอดจนอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่ใช้ในการ ทางานเกี่ยวกับไฟฟ้ า ขอบเขตของกฎหมายและการบังคับใช้ ใช้บงั คับสถานประกอบการที่มีลกู จ้างตั้งแต่
1 คนขึ้นไปทุกประเภท
สาระสาคัญของกฎหมายที่นายจ้างจะต้องจัดการหรือดาเนินการ 1 ให้จดั ทาแผนผังวงจรไฟฟ้ าซึ่งการไฟฟ้ าท้องถิ่นรับรองและให้มีการตรวจสอบได้ทุกเวลา 2 ให้มีการตรวจสอบสภาพของสายไฟฟ้ าและอุปกรณ์ไฟฟ้ า ถ้าชารุ ดหรื อมีกระแสไฟฟ้ ารั่วให้ซ่อมแซมทันที 3 ให้มีป้ายเตือนอันตรายในที่จะเกิดอันตรายจากไฟฟ้ า 4 ให้การติดตั้งตรวจสอบ ซ่อมแซมไฟฟ้ า ต้องผูกป้ ายพื้นสีแดงห้ามสับสวิตช์ไว้ที่สวิตช์ หรื อใช้กุญแจป้ องก กันการสับสวิตช์ 5 ห้ามลูกจ้างสวมเครื่ องนุ่งห่มที่เปี ยกน้ าปฏิบตั ิงานขณะมีไฟฟ้ า
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 7 ธ.ค.2552 แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
9
หน้าที่
1 เวลา : 8.00 – 12.00 น.
ความปลอดภัยในการทางานก่ อสร้ าง ความหมายและความสาคัญของงานก่อสร้ าง งานก่อสร้ าง หมายถึง กิจกรรมที่ดาเนินการเกี่ยวข้องกับการสร้าง ต่อเติม ซ่อมแซมหรื อดัดแปลง อาคารบ้านเรื อน ถนน สถานที่และสิ่งของต่างๆ โดยใช้เครื่ องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยีและวิชาการ งานก่อสร้างถือเป็ นอุตสาหกรรมที่สาคัญของประเทศ เป็ นแหล่งรองรับแรงงานขนาดใหญ่ถือได้ว่างาน ก่อสร้างเป็ นกิจการที่สร้างความก้าวหน้าของสังคมให้เห็นเป็ นรู ปธรรม ไม่ว่าจะเป็ นอาคารสูงหลายสิบชั้น ทาง ด่วนหลายเส้นทาง ในขณะเดียวกันกิจการด้านการก่อสร้างก็สร้างความสูญเสียแก่ชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชนเช่นกัน ลักษณะของอันตรายที่เกิดจากการก่อสร้ าง 1. อันตรายจากงานเสาเข็ม เสาเข็มเป็ นส่วนของโครงสร้างที่อยูใ่ ต้ดินทาหน้าที่รับน้ าหนักฐานรากเพื่อถ่ายน้ าหนักของโครงสร้างทั้งหมด ลงสู่ดิน ซึ่งในงานก่อสร้างทุกประเภทที่ใช้เสาเข็มล้วนแต่มีอนั ตราย ทั้งนี้เพราะความมักง่าย ความ รู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น สายสิงขาด และปั่นจัน่ ล้ม เป็ นต้น 2. อันตรายจากปั้นจัน่ และลิฟต์ขนส่ ง ปั้นจัน่ คือ เครื่ องกลที่ใช้ยกของขึ้น -ลง และเคลื่อนย้ายไปในที่ต่างๆ ซึ่งมักเกิดอันตรายเช่น วัตถุตกลงขณะ เคลื่อนย้าย การบรรทุกของที่มีน้ าหนักเกินอัตราที่กาหนด เป็ นต้น 3. อันตรายจากรถขุดหรือรถแทรกเตอร์ ในการทาฐานรากของโครงการขนาดใหญ่หรื ออาคารที่มีช้นั ใต้ดินจะต้องทางานใน ที่ระดับต่ากว่าพื้น โดยใช้ รถแทรกเตอร์หรื อรถขุดเพื่อขนย้ายดินออก อันตรายจึงมักเกิดจากการพังทลายของดินทับคนงานและวัสดุ อุปกรณ์ หรื ออาคารข้างเคียงทรุ ดหรื อพังได้ 4. อันตรายจากงานนั่งร้ านและคา้ ยัน นัง่ ร้าน คือ ที่ปฏิบตั ิงาน ซึ่งจัดไว้สูงจากพื้นดินหรื อส่วนอาคาร งานก่อสร้าง สาหรับรองรับวัสดุและคนงานที่ ปฏิบตั ิงานเป็ นการชัว่ คราว ซึ่งอันตรายที่จะเกิด เช่น อาจมีของตกลงมาจากชั้นบน เพราะไม่มีที่ป้องกัน และ นัง่ ร้านอาจจะรับน้ าหนักมากเกินไป ใช้งานไม่ถกู วิธี จึงทาให้ผปู้ ฏิบตั ิงานได้รับอันตราย
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
9
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 7 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 5. อันตรายจากการใช้ ไฟฟ้ าที่เกีย่ วข้ องกับงานก่อสร้ าง การก่อสร้างทุกแห่งต้องใช้ไฟฟ้ า เพื่อให้แสงสว่างและเป็ นพลังงานของเครื่ องจักร เครื่ องมือ ซึ่งการเกิด อันตรายจากกระแสไฟฟ้ านั้นรุ นแรงมาก โดยเฉพาะในเขตการก่อสร้าง ในบางที่มกั เปี ยกชื้น มีโลหะที่เป็ นสื่อ นาไฟฟ้ า การใช้เครื่ องมือ เครื่ องจักร ไม่เป็ นระเบียบ สายไฟติดตั้งไม่ได้มาตรฐาน 6. อันตรายจากการก่อสร้ างผิดหลักวิชา การก่อสร้างทุกประเภทจะต้องมีวิศวกรควบคุมเพื่อให้งานดาเนินไปอย่างถูกต้องและมัน่ คงแข็งแรงตรงตาม วัตถุประสงค์ โดยจะต้องก่อสร้างตรงตามแบบที่ได้ตกลงไว้ ใช้วสั ดุ- อุปกรณ์ที่ ระบุ เพราะหากผิดแบบอาจทา ให้อาคารพังทลายลงมาได้ สาเหตุของอันตรายที่เกิดจากงานก่อสร้ าง 1. สาเหตุจากผู้ปฏิบัตงิ าน ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ของการเกิดอุบตั ิเหตุในงานก่อสร้าง เกิดจากพฤติกรรม ของบุคคลแทบทั้งสิ้น เช่น การแต่งกายไม่เหมาะสม ไม่ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ความประมาท และความมักง่าย เป็ นต้น 2. สาเหตุจากอุปกรณ์และเครื่องมือ ซึ่งอาจจะเป็ นเพราะใช้มาเป็ นเวลานาน เช่น นัง่ ร้านมีส่วนที่หกั หรื อ เก่าเกินไป อะไหล่ที่ใช้ในเครื่ องจักรไม่ครบถ้วน การเดินระบบสายไฟฟ้ าในเครื่ องสับสน เป็ นต้น 3. สภาพแวดล้อม บางโครงการใช้เวลาถึงหนึ่งปี หรื อหลายปี สภาพการทางานเกิดความไม่เหมาะสม และเกิดอันตรายเช่น บริ เวณก่อสร้างมีวสั ดุ อุปกรณ์วางเกะกะไม่เป็ นระเบียบ มีพ้นื ที่เฉอะแฉะเป็ นต้น หลักความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ านก่อสร้ าง 1. จัดอบรมคนงานให้มีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน 2. ออกกฎระเบียบข้อบังคับให้คนงานปฏิบตั ิตาม 3. ตรวจสอบแก้ไข เครื่ องจักร เครื่ องมือสม่าเสมอ 4. มีวิศวกรควบคุมงานอย่างใกล้ชิด 5. ในเขตการทางานจะต้องมีป้ายอันตรายหรื อห้ามเข้า 6. ใช้วสั ดุ-อุปกรณ์และเครื่ องจักรต่างๆ ตรงตามประเภทงาน 7. ไม่ใช้วสั ดุ-อุปกรณ์และเครื่ องจักรขนของเกินกาหนด 8. เครื่ องจักรและอุปกรณ์ที่อนั ตราย จะต้องมีเครื่ องป้ องกัน 9. จัดเก็บวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆ ให้เรี ยบร้อยเป็ นระเบียบ 10. เคารพเชื่อฟังคาแนะนาของหัวหน้างานและควรปฏิบตั ิงานอย่างเคร่ งครัด
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
10
หน้าที่
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่ : 14 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
การป้องกันและระงับอัคคีภัย ความสาคัญในการป้องกันและระงับอัคคีภัย ปัญหาอัคคีภยั เป็ นปัญหาใหญ่ที่ ส่งผลกระทบต่อทุกๆ ฝ่ ายทั้งตัวผูป้ ฏิบตั ิงาน สถานประกอบการ สังคม และ สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิง่ อัคคีภยั ที่เกิดขึ้นในงานอุตสาหกรรมนั้น มักจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สินอย่างมหาศาลอีกทั้งยังส่งผลต่อภาพลักษณ์ ชื่อเสียงของสถานประกอบการ และประเทศชาติเป็ น ระยะเวลายาวนาน ความสูญเสียที่เกิดขึ้นนั้นในส่วนที่ประเมินค่าได้นบั เป็ นจานวนมหาศาล ขณะเดียวกัน ความสูญเสียที่ไม่สามารถประเมินค่าได้อีกมากมาย เช่น ขวัญกาลังใจของผูป้ ฏิบตั ิงาน ความพิการหรื อเจ็บป่ วย ที่ส่งให้ไม่สามารถทางานได้อีก ซึงนับเป็ นความสูญเสียที่มีค่าสูงกว่าทรัพย์สินต่างๆ องค์ประกอบและประเภทของอัคคีภัย 1. เชื้อเพลิง หมายถึง สิ่งที่ติดไฟและลุกไหม้ได้ซ่ึงอาจจะอยูใ่ นสภาวะของแข็ง ของเหลวก๊าซ เช่น โลหะ ไวไฟ กระดาษ สีพ่น โฟม เป็ นต้น 2. ความร้ อน หมายถึง ความร้อนที่จะทาให้เชื้อเพลิงมีอุณหภูมิสูงขึ้น จนถึงจุดติดไฟ เชื้อเพลิงแต่ล่ะชนิด มีจุดติดไฟแตกต่างกัน 3. ออกซิเจน หมายถึง ก๊าซหลักที่พบอยูท่ วั่ ไปและเป็ นส่วนผสมของอากาศร้อยล่ะ 21 และมีส่วนช่วยให้ เกิดการเผาไหม้ข้ ึน 4. ปฏิกริ ิยาต่อเนื่อง เมื่อเกิดการติดไฟครั้งแรกด้วยองค์ประกอบทั้งสาม คือ เชื้อเพลิง ออกซิเจน และ ความร้อน ยังต้องอาศัยองค์ประกอบที่ 4 คือปฏิกิริยาเคมีของการเติมออกซิเจนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ ไฟสามารถลุกไหม้ต่อไปได้ ประเภทของอัคคีภัย 1. ประเภท ก (Class A ) คือ อัคคีภยั ที่เกิดจากวัตถุเชื้อเพลิงประเภทไม้ กระดาษ ผ้ายาง อาคาร บ้านเรื อน ฯลฯ 2. ประเภท ข (Class B) คือ อัคคีภยั ที่เกิดจากเชื้อเพลิงประเภทของเหลว เช่น น้ ามัน ก๊าซธรรมชาติ ไขมัน 3. ประเภท ค (Class C) คือ อัคคีภยั ที่เกิดจากอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่มีกระแสไฟฟ้ าอยูห่ รื ออัคคีภยั เกิดใกล้กบั อุปกรณ์ไฟฟ้ า เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า เตารี ด ฯลฯ 4. ประเภท ง (Class D) คือ อัคคีภยั ที่เกิดจากโลหะที่ติดไฟ เช่น แมกนีเซียม โปแตสเซียม ลิเซียม ฯลฯ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
10
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 14 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ สาเหตุของการเกิดอัคคีภัย 1. ความประมาท ได้แก่ ขาดความระมัดระวังในการใช้ไฟและความร้อน การฝ่ าฝื นกฎระเบียบ การใช้ ไฟฟ้ าเกินกาลัง เป็ นต้น 2. อุบัตเิ หตุ การเกิดอัคคีภยั บางครั้งเป็ นสิ่งที่ไม่สามารถป้ องกันได้ หรื อบางครั้งมีการดูแลป้ องกันเป็ น อย่างดีแล้วก็ตาม เช่น กรณี การเกิดฟ้ าผ่า อุบตั ิเหตุรถชนกันแล้วเกิดไฟไหม้ หม้อแปลงไฟฟ้ าหรื อถัง เคมีระเบิดเป็ นต้น ผลกระทบที่เกิดจากอัคคีภัย 1. ผลต่อเศรษฐกิจ คือ - เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจโดยรวม - สูญเสียความเชื่อถือในการลงทุนด้านอุตสาหกรรมทั้งภายในและภายนอกประเทศ - เกิดความเสียหายต่ออาคาร เครื่ องมือ และวัตถุดิบต่างๆ - เสียเวลาในการทางาน หากเกิดอัคคีภยั ที่เกิดขึ้นนั้นร้ายแรงมาก จะต้องหยุดกาเนินการเป็ นเวลานาน 2. ผลต่อแรงงงาน - ผูป้ ฏิบตั ิงานบาดเจ็บ - สูเสียแรงงานที่มีความรู้ ความสามารถและความชานาญเฉพาะด้าน - ผูป้ ฏิบตั ิงานเสียขวัญกาลังใจ ไม่มนั่ ใจในการทางาน มีผลต่อประสิทธิภาพในการทางานด้วย 3. ผลต่อสังคม - เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรม - เกิดภาวะทางสังคม ผูป้ ฏิบตั ิงานไม่สามารถทางานได้ ขาดรายได้ที่จะเลี้ยงตนเอง และครอบครัว กลายเป็ นภาระครอบครัวและสังคม
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
10
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 14 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ การป้องกันและระงับอัคคีภัย 1. ปลูกจิตสานึกด้านความปลอดภัยและให้ความรู้เกี่ยวกับการป้ องกันอัคคีภยั แก่ผปู้ ฏิบตั ิงาน 2. บารุ งรักษาเครื่ องจักรและอุปกรณ์ 3. ประสานกับหน่วยงานภายนอก 4. ดูแลความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของสภาพแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรม 5. จัดเตรี ยมอุปกรณ์ป้องกันและระงับอัคคีภยั หลักสาคัญในการดับเพลิง 1. กาจัดเชื้อเพลิงซึ่งจะส่งผลให้ไฟดับ โดยนาเชื้อเพลิงออกจากบริ เวณเกิดอัคคีภยั 2. กาจัดออกซิเจน เช่น การฉีดน้ าหรื อสารปกคลุมอื่นๆไปคลุมบริ เวณเพลิงไหม้ส่งผลให้ออกซิเจน น้อยลง 3. การลดอุณหภูมิของเชื้อเพลิงต่ากว่าจุดวาบไฟ หรื อจุดติดไฟแม้จะมีเชื้อเพลิงและออกซิเจนผสมอยูก่ ็ ไม่เกิดการสันดาป 4. การตัดปฏิกิริยาต่อเนื่อง คือการใช้สารบางชนิดที่มีความไวต่อออกซิเจน เช่น สารพวกไฮโดรคาร์บอน ฉีดลงไปในเพลิงที่กาลังลุกไหม้จะเกิดการดึงออกซิเจนออกจากปฏิกิริยาสันดาป ส่งผลให้ปฏิกิริยา ต่อเนื่องในการเผาไหม้ถกู ตัดลง ไฟจะดับ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
11
หน้าที่
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 21 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
การส่ งเสริมสุ ขภาพอนามัยพนักงาน ความหมายและความสาคัญของสุ ขภาพอนามัย ความหมายของสุ ขภาพอนามัย องค์การอนามัยโลก ได้ให้ความหมายของคาว่าสุขภาพอนามัย ในองค์รวมของสุขภาวะ 4 มิติ คือ กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ กาย หมายถึง การมีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง ไม่เจ็บป่ วย ไม่พิการ มีปัจจัยดารงชีวิตที่เพียงพอและเหมาะสม จิต หมายถึง สภาพจิตใจ ที่มีความสุข เบิกบาน มีสติ มีสมาธิ ใจสบายไม่เครี ยด ไม่บีบคั้น สังคม หมายถึง ความสามารถในการอยูร่ ่ วมกับครอบครัวและผูอ้ ื่นอย่างมีความสุข ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ดี มี ความเสมอภาค และสมานฉันท์ จิตวิญญาณ หมายถึง สภาพจิตที่สมั ผัสกับความปี ติสุข จากการทาความดี หรื อ ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมทาง ศาสนา มีความเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ ไม่เห็นแก่ตวั พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความของคาว่า “สุขภาพอนามัย” ไว้ดงั นี้ สุ ขภาพ หมายถึง ความปราศจากโรค ความสบาย อนามัย หมายถึง ความไม่มีโรค มีสุขภาพดี บุคคลทัว่ ไปมักจะเรี ยกคาทั้งสองรวมกันว่า “สุขภาพอนามัย” กล่าวโดยสรุ ปว่า คาว่า “สุขภาพอนามัย” หมายถึง ภาวะที่ร่างกายและจิตใจของบุคคลมีความแข็งแรง สมบูรณ์ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ สามารถดารงชีวิต อยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข ความสาคัญของสุ ขภาพอนามัย ในการทางานทุกสาขาอาชีพ สุขภาพอนามัยถือเป็ นปัจจัยที่สาคัญอีกปัจจัยที่สาคัญอีกปัจจัยหนึ่งที่ ส่งผลต่อความสาเร็ จหรื อล้มเหลวของบุคคลและองค์กร ปัญหาพฤติกรรมในการทางานของบุคคลในสาขา อาชีพต่างๆ หากบุคลากรมีสุขภาพอนามัยที่ดี ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการทางานดังนี้ 1 ลดอัตราการหยุดงาน 2 เกิดความปลอดภัยในการทางานมากขึ้น 3 เกิดความร่ วมมือร่ วมใจในการทางานเพราะบุคคลที่มีสุขภาพอนามัยที่ดี 4 งานที่สาเร็ จอย่างประสิทธิภาพ เกิดการเพิ่มผลผลิตทั้งเชิงปริ มาณและคุณภาพ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
11
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 21 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ องค์ประกอบของสุ ขภาพอนามัย สุขภาพอนามัยของบุคคลประกอบด้วยองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ประการ ซึ่งมีความสัมพันธ์และส่งผล กระทบซึ่งกันและกัน ดังนี้ 1 สุ ขภาพกาย หมายถึง สภาพความแข็งแรงสมบูรณ์ของร่ างกายมีภูมิตา้ นทานต่อโรคภัยต่างๆ ส่งผลให้บุคคล สามารถปฏิบตั ิงานในหน้าที่ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลักษณะของผู้ที่มสี ุ ขภาพกายดี 1 ร่ างกายแข็งแรงสมบูรณ์มีภูมิตา้ นโรคต่างๆ ดี 2 มีรูปร่ างได้สดั ส่วน ไม่อว้ นหรื อผอมเกินไป 3 ผิวพรรณเต่งตึงไม่เหี่ยวย่น ไม่บวม ไม่ซีด มีเลือดฝาด 4 การเคลื่อนไหวร่ างกายคล่องแคล่วว่องไว ไม่เหนื่อยง่าย 5 นัยน์ตาสดใส มีชีวิตชีวา ไม่ง่วงซึม 6 ระบบการย่อยอาหารและระบบการขับถ่ายเป็ นปกติดี 7 การนอนหลับผักผ่อนเป็ นปกติ นอหลับสนิท เมื่อตื่นนอนรู้สึกสดชื่นแจ่มใส 8 ร่ างกายมีความแข็งแรง สามารถทางานหนักได้นานๆ ไม่เหนื่อยและทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 สุ ขภาพจิต หมายถึง สภาวะของจิตใจที่มีความสุข สามารถควบคุมอารมณ์ให้มนั่ คง ทาให้จิตใจเบิกบาน แจ่มใส ปรับตัวเข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้ทุกสถานการณ์ โดยปราศจากความวิตกกังวล คับข้องใจ หรื อ ข้อขัดแย้งใดๆ ไม่ก่อให้เกิดความเดือนร้อนกับตนเองและบุคคลอื่นๆ ลักษณะของผู้มสี ุ ขภาพจิตดี 1 มีพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสมกับเพศวัยของตนเองและมองโลกในแง่ดี 2 มีวุฒิภาวะทางอารมณ์คือ อารมณ์มนั่ คง ไม่หวัน่ ไหวง่ายในทุกสถานการณ์ 3 มีความสามารถในการปรับตัวกับบุคคล สิ่งแวดล้อมและสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 สร้างความสัมพันธ์กบั บุคลภายในครอบครัวและรอบข้างได้อย่างเป็ นอย่างดี 5 มีขวัญและกาลังใจการกระทากิจกรรมต่างๆ และสามารถเอาชนะอุปสรรคต่างๆ โดยไม่ทอ้ ถอย 6 มีความตั้งใจจดจ่อในการทางานที่ทา มีความกระตือรื อร้น ไม่ทอ้ แท้เหนื่อยหมดหวังง่าย 7 มีความร่ าเริ งแจ่มใสไม่เคร่ งเครี ยดจนเกินไป มีอารมณ์ขนั ตามสมควร
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
11
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 21 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุ ขภาพอนามัย 1 กรรมพันธุ์หรือพันธุกรรม คือ ลักษณะ ที่ได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ ซึ่งติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่กาเนิด และเป็ นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ยากหรื อเปลี่ยนแปลงไม่ได้ เช่น โรคเบาหวาน โรคเกี่ยวกับโลหิตบางชนิด โรค ลมบ้าหมู ดังนั้น หาก บรรพบุรุษ หรื อ บิดา – มารดา มีสุขภาพดี ย่อมส่งผลให้ลกู หลานมีสุขภาพดีตามไปด้วย 2 สิ่งแวดล้อม คือ สิ่งต่างๆ ที่อยูร่ อบตัวมนุษย์ รวมไปถึงขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ซึ่งประกอบ ไปด้วยสิ่งต่างๆดังนี้ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ คือ สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ ความร้อน และเสียงเครื่ องจักร อุปกรณ์ ดิน ฟ้ าอากาศ สิ่งแวดล้อมทางเคมี ได้แก่ สารเคมีในรู ปต่างๆ เช่น ฝุ่ น โฟม ควัน สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ เช่น เชื้อไวรัส แบคทีเรี ย สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ คือ ฐานะความเป็ นอยู่ สิ่งแวดล้อมทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรม ความเชื่อ ศาสนา การศึกษา ล้วนมีผล ต่อสุขภาพ 3 สุ ขนิสัยส่ วนบุคคล หมายถึง การประพฤติปฏิบตั ิ หรื อการกระทาของบุคคลที่ส่งผลต่อสุขภาพในทางบวก เช่น การบริ โภคอาหาร การพักผ่อน การออกกาลังกาย เป็ นต้น สาเหตุของการเกิดปัญหาทางสุ ขภาพอนามัย ปัจจุบนั ปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัยของบุคลากรในสาขาอาชีพต่างๆ นับวันจะทวีความรุ นแรงมาก ยิง่ ขึ้น เพราะโลกแห่งอาชีพยุคปัจจุบนั ที่มีการแข่งขันสูงตลอกเวลา โดยเฉพาะในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมที่มี การนาเทคโนโลยีมาช่วยในการผลิตสินค้าและบริ การ การเกิดปัญหาทางด้ านสุ ขภาพอนามัยของบุคลากร ประกอบด้ วยสาเหตุใหญ่ ๆ3 ด้ าน 1 ด้ านตัวบุคลากร 2 หน้ าที่การงาน 3 สิ่งแวดล้อม
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
11
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 21 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ หลักการส่ งเสริมและพัฒนาสุ ขภาพอนามัย 1 การป้องกัน หมายถึง การระวังรักษา การดารงไว้ซ่ึงสุขภาพที่ดี โดยผูป้ ฏิบตั ิงานต้องระมัดระวัง รู้จกั ป้ องกัน ตัวเองให้พน้ จากอันตรายต่างๆ 2 การส่ งเสริม หมายถึง การสนับสนุนส่งเสริ มให้ปฏิบตั ิงานมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี โดยการให้ ความรู้ ความเข้าใจ การจัดกิจกรรมและสวัสดิการต่างๆ 3 การแก้ไข หมายถึง การปรับปรุ งหรื อจัดสภาพสิ่งแวดล้อม สภาพการทางาน และพฤติกรรมต่างๆ ที่อาจเป็ น อันตรายต่อสุขภาพ เช่น การระบายอากาศในที่ทางาน เป็ นต้น
การบริหารร่ างกายเพือ่ ส่ งเสริมสร้ างสุ ขภาพ การออกกาลังกายในสานักงาน งานในสานักงานส่วนใหญ่จะมีลกั ษณะการทางานในท่านัง่ หรื อยืนเป็ นเวลานาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ งานที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งการทางานในท่าเดียวนานๆ เป็ นสาเหตุให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อและ ความเครี ยดได้ เราควรปฏิบตั ิตามข้อแนะนานอกเหนือจากออกกาลังกายเล็กน้อยที่โต๊ะทางาน 1 ควรเปลี่ยนอิริยาบถท่าทางการทางานหน้าจอคอมพิวเตอร์ ควรสลับด้วยงานที่แตกต่างออกไปเพื่อเป็ นการ หยุดพักและให้ร่างกายได้เปลี่ยนท่าลักษณะทางาน 2 ทางานในความเร็ วพอเหมาะเนื่องจากหากเร่ งทางานเร็ วเกินไปจะทาให้กล้ามเนื้อล้า แต่ถา้ หากทาช้าเกินไปก็ จะเกิดอาการเบื่อ 3 ละสายตาจากจอภาพในบางโอกาสและมองไปที่วตั ถุที่อยูร่ ะยะไกลเพื่อพักสายตา 4 หยุดพักเป็ นระยะๆ เพื่อลดความเครี ยดของกล้ามเนื้อและตา โดยการยืนเคลื่อนไหวไหมาและเปลี่ยนกิจกรรม การทางาน 5 ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ การเกร็ ง เปลี่ยนอิริยาบถโดยการออกกาลังกาย
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
12
หน้าที่
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 28 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
การป้องกันและเฝ้าระวังโรคจากการทางาน ความหมายและอันตรายของโรคจากการทางาน โรคจากการทางาน หมายถึง โรคที่มีสาเหตุโดยตรงจากการทางาน หรื อความเจ็บป่ วยต่างๆ ที่เกิดขึ้น ต่อตัวผูป้ ฏิบตั ิงานในขณะทางานหรื อสัมผัสงาน เช่น โรคประสาทเสื่อมจากเสียงดังเกินมาตรฐานของ เครื่ องจักร โรคมะเร็ งปอดจากฝุ่ นละออง หรื อสิ่งแวดล้อมของการทางานที่เป็ นอันตรายส่งผลให้เกิดความ ผิดปกติต่อ กาย จิตใจ เกิดโรคต่างๆ ตามมา รวมไปถึง โรคที่เกิดจากสาเหตุทางอ้อมในการทางาน เช่น ภาวะ เศรษฐกิจตกต่าเกิดกระแสการเลิกจ้าง การลดเงินเดือน ลดเวลาทางาน เกิดความกดดันทางด้านจิตใจ เครี ยด วิตกกังวล นอนไม่หลับ ส่งผลให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บตามมา สาเหตุของการเกิดโรค โรคอันเนื่องมาจากการทางาน คือ อาการที่สภาพร่ างกายและจิตใจของผูป้ ฏิบตั ิงานเปลี่ยนไปใน ทิศทางที่ไม่ดีต่อสุขภาพอันเป็ นผลมาจากการปฏิบตั ิงาน เช่น เป็ น อัมพาต เพราะได้รับสารพิษสะสมเข้าสู้ ร่ างกาย หูหนวกหรื อประสาทหูเสื่อม เพราะทางานกับเครื่ องจักร เครื่ องกล มาเป็ นเวลานาน เป็ นต้น ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ประเภทหรื อลักษณะของงานที่ปฏิบตั ิและวิธีป้องกันอันตราย สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคในการทางานมี 2 สาเหตุ ใหญ่ คือ 1 เกิดจากตัวผู้ปฏิบัตงิ าน โรคที่เกิดจากการทางานอันมีสาเหตุมาจากตัวผูป้ ฏิบตั ิงานและเกิดจากความบกพร่ อง ทางร่ างกายของผูป้ ฏิบตั ิงานเอง ได้แก่ ความประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวัง 2 เกิดจากสภาพแวดล้อม ได้แก่ -เสียง -แสงสว่าง -ความร้ อน -ความสั่นสะเทือน -ความเย็น -สารเคมี -อุปกรณ์ในการทางาน -พลังงานที่เกิดจากแม่เหล็กไฟฟ้ า -สารกัมมันตรังสี -ฝุ่ นละออง
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
12
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 28 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ ผลกระทบจากการเกิดโรค 1. เศรษฐกิจของประเทศตกตา่ เมื่อแรงงานมีสุขภาพทรุ ดโทรม เกิดโรคภัยไข้เจ็บ ส่งผลให้ไม่ สามารถทางานได้ตามปกติ ขาดรายได้ แต่ตอ้ งเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล หาก ประชากรในชาติเกิดภาวะเจ็บป่ วยจากโรคเนื่องจากการ ทางานจานวนมากย่อมส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ส่งผลให้รายได้ประชาชาติลดลง 2. ผลผลิตขาดคุณภาพ ทั้งนี้เพราะผูป้ ฏิบตั ิงานหรื อแรงงานที่มีสุขภาพร่ างกายไม่สมบูรณ์แข็งแรง ย่อมทางานได้ไม่มีประสิทธิภาพส่งผลให้รายได้ประชาชาติลดลง 3. ประสิทธิภาพของแรงงานลดลง เมื่อผูใ้ ช้แรงงงานประสบกับปัญหาด้านสุขภาพอนามัยเกิดโรค ต่างๆ ร่ างกายอ่อนแอ ย่อมทาให้ขาดขวัญและกาลังใจในการทางานพฤติกรรมที่แสดงออก คือ ความท้อแท้ วิตกกังวล ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในงานลดลง ขาดงาน ทางานไม่มีประสิทธิภาพ 4. บรรยากาศที่ดีของการทางานลดลง การที่ผใู้ ช้แรงงานมีปัญหาด้านสุขภาพที่ไม่สมบูรณ์แข็งแรง เหมือนเดิม เกิดโรคเนื่องจากการทางานหรื อบางรายต้องพิการและอาจรุ นแรงจนถึงเสียชีวิตย่อมมี ผลต่อการทางาน เพราะคนงานจะมีความรู้สึกไม่มนั่ คงปลอดภัยขณะทางานและรู้สึกว่าตนต้อง เผชิญกับอันตรายจากสิ่งที่ทาให้เกิดโรคตลอดเวลา 5. ภาระของสังคมเพิม่ ขึน้ การเกิดโรคจากการทางานทาให้สภาพร่ างกายและจิตใจของคนงาน เปลี่ยนแปลงไป บางรายพิการจนต้องเปลี่ยนหน้าที่รับผิดชอบหรื อต้องออกจากงานเพราะไม่ สามารถทางานใดๆได้ บางรายไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ทาให้ตอ้ งกลายเป็ นภาระของ ครอบครัวและสังคมที่ตอ้ งการดูแลรับผิดชอบในด้านต่างๆ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
12
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 28 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ โรคอันเนื่องมาจากการประกอบอาชีพ ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย เมื่อปี พ.ศ.2515 ได้กาหนดโรคซึ่งเกิดจากสาเหตุโดยตรงจาก การทางานหรื อเกิดขึ้นตามลักษณะหรื อสภาพการทางาน จานวน 22 โรค ที่จะได้รับเงินทดแทนตาม พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ยกตัวอย่างเช่น 1 โรคเกิดจากสารหนูหรื อสารประกอบเป็ นพิษของสารหนู 2โรคเกิดจากตะกัว่ หรื อสารประกอบเป็ นพิษของสารตะกัว่ 3 โรคเกิดจากแมงกานิสหรื อสารประกอบเป็ นพิษของแมงกานิส 4 โรคเกิดจากสารกัมมันตรังสี 5 โรคผิวหนังเกิดจากการสัมผัสสารเนื่องจากการทางาน นอกจากโรคอันเนื่องมาจากการประกอบอาชีพที่ระบุไว้ในกฎหมายคุม้ ครองแรงงานข้างต้นแล้ว ประกาศของกระทรวงยังได้กาหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยสาหรับลูกจ้างไว้เพื่อการป้ องกันโรคจาก การปฏิบตั ิงาน ดังนี้ 1. ให้นายจ้างจัดบริ การด้านต่างๆแก่ลกู จ้าง เช่น 1.1 สถานที่ทางานที่มีลกู จ้างทางานไม่เกิน15 คน ให้มีน้ าสะอาดสาหรับดื่มไม่นอ้ ยกว่า 1 ที่ ห้องน้ า และห้องส้วมไม่นอ้ ยกว่าอย่างล่ะ1 1.2 สถานที่ทางานที่มีลกู จ้างทั้งชายและหญิง ให้มีหอ้ งน้ าและห้องส้วมสาหรับหญิงไว้เฉพาะตาม สมควรและห้องน้ าจะต้องทาให้ถกู ต้องตามสุขลักษณะ 2. นายจ้างต้องจัดให้มีบริ การเพื่อช่วยเหลือลูกจ้างเมื่อประสบอันตรายหรื อเจ็บป่ วยในการปฐมพยาบาล หรื อในการรักษาพยาบาล
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
12
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 28 ธ.ค.2552 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ มาตรการป้องกันโรคจากการทางาน 1. ปรับปรุ งพัฒนาและส่งเสริ มคุณภาพของสิ่งแวดล้อมในโรงงานให้มีความปลอดภัยสูงสุดในการทางาน 2.ตรวจสอบสภาพการทางานและดูแลรักษาความสะอาดความเป็ นระเบียบของเครื่ องจักร ให้อยูใ่ นสภาพดี พร้อมใช้งานอยูเ่ สมอ 3.ให้ความรู้ดา้ นอนามัยแก่ผปู้ ฏิบตั ิงาน หัวหน้างานและผูเ้ กี่ยวข้อง 4.จัดอบรม ปฐมนิเทศเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานเป็ นระยะๆ 5.จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่มีคุณภาพ 6.คัดเลือกพนักงานให้มีเหมาะสมกับลักษณะงานมากที่สุด 7.ควรตรวจสุขภาพพนักงานสม่าเสมอ ทั้งก่อนเข้าสู่ตาแหน่งงาน ระหว่างปฏิบตั ิงาน และก่อนออกจากงาน 8.ควรมีการจัดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยให้คนงานตามข้อกาหนดของกฎหมาย 9.มีการจัดหาวัตถุหรื อสารเคมีที่ไม่เป็ นพิษหรื อมีพิษเข้ามาใช้แทนสารเคมีอนั ตราย 10.การหมุนเวียนให้คนงานได้ปฏิบตั ิหน้าที่สบั เปลี่ยนไปเรื่ อยๆ องค์ประกอบของการเฝ้ าระวังโรคจาการทางาน 1.การรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลต้องมีการวางระบบ ว่าจะเก็บข้อมูลอะไร ส่งไปให้ใคร รวมทัง่ แนวทางในการควบคุมโรค 2.การวิเคราะห์ เป็ นการนาข้อมูลที่รวบรวมได้มาเรี ยบเรี ยงจัดหมวดหมู่ ให้เห็นลักษณะของตัวแปรต่างๆ เช่น จานวนผูป้ ่ วย 3.การแปลผลข้อมูล การแปลผลข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงการกระจายของโรค 4.การกระจายข่าวสาร เป็ นการส่งข้อมูลสาร และผลการวิเคราะห์ที่แปลผลข้อมูลแล้วไปยังผูท้ ี่เกี่ยวข้องระดับ ต่างๆ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
13
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 4 ม.ค.2553 แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
หน้าที่
1 เวลา : 8.00 – 12.00 น.
การปฐมพยาบาล ความหมายและสาคัญของการปฐมพยาบาล การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นต่อผูป้ ระสบอันตราย ผูบ้ าดเจ็บจากอุบตั ิเหตุ หรื อการเจ็บป่ วยในสถานที่เกิดเหตุ โดยใช้เครื่ องมือเท่าที่จะหาได้ เพื่อลดอันตรายหรื อป้ องกันมิให้เกิด อันตรายเพิ่มขึ้นกับผูป้ ระสบอันตรายก่อนนาส่งต่อแพทย์เพื่อทาการรักษาต่อไป หลักการทั่วไปของการปฐมพยาบาล 1 จัดสถานที่ให้มีอากาศถ่ายเทได้สะดวกและห้ามคนมุงล้อม 2 สังเกตดูอาการของผูป้ ่ วยให้แน่ใจว่าได้รับอันตรายตรงส่วนใดจองร่ างกายและควรจะแก้ไขอย่างรี บด่วน 3 ถ้าผูป้ ่ วยหมดสติให้ถอดเครื่ องแต่งกายให้หลวม ๆ และยกเท้าให้สูงกว่าศีรษะ 4 ไม่ควรเคลื่อนย้ายผูป้ ่ วยถ้าไม่แน่ใจว่าป่ วยได้รับอันตรายกับส่วนใดของร่ างกาย เพราะถ้าเกิดการบาดเจ็บของ กระดูกสันหลัง การเคลื่อนย้ายที่ผดิ วิธีอาจทาให้เกิดความพิการตามาหากมีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง การ เคลื่อนย้ายต้องให้หลังตรง โดยการดามไม้กระดาน 5 ถ้าเลือดกาลังไหลให้หา้ มเลือดทันที 6 ตรวจชีพจรและการหายใจ ถ้าพบว่าผูป้ ่ วยหายใจไม่สะดวกต้องช่วยการหายใจทันทีทาให้ทางเดินหายใจโล่ง โดยการจัดท่า และล้วงสิ่งที่อยูใ่ นปากออก 7 ถ้าพบว่ามีบาดแผลหรื อกระดูกหักทิ่มแทงส่วนใดของร่ างกาย ให้ทาการพยาบาลในส่วนนั้นๆ ก่อน 8 ขณะทาการปฐมพยาบาลควรพูดจาให้กาลังใจผูป้ ่ วยเพื่อลดความกังวลใจ 9 ช่วยผูป้ ่ วยพ้นจากภาวะอันตรายโดยเร็ ว เช่น รี บนาออกจากห้องที่มีควันหรื อมีแก๊สพิษทันที 10 รี บนาส่งแพทย์หรื อสถานพยาบาลทันที ความรู้ที่จาเป็ นบางประการสาหรับการปฐมพยาบาล วัตถุประสงค์ของการปฐมพยาบาล คือ การลดปัญหาหรื ออาการที่รุนแรงของผูป้ ่ วยลงและเป็ นการช่วยให้ แพทย์รักษาคนไข้เมื่อมาถึงมือแพทย์ได้ง่ายขึ้น ดังนั้น จาเป็ นต้องมีความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลที่สาคัญ บางประการ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
13
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 4 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ การใช้ ปรอทวัดไข้ วัดทางปากหรือใต้ลนิ้ เป็ นวิธีที่เหมาะสมกับเด็กที่มีอายุเกินกว่า 7 ขวบ และผูใ้ หญ่ไม่เหมาะกับเด็กที่มีอายุต่ากว่า 7 ขวบ ผูท้ ี่ไม่ รู้สึกตัว ก่อนใช้ทุกครั้งต้องสะบัดปรอทลงให้อยูใ่ นจุดต่าสุด แล้วให้ผปู้ ่ วยอมไว้ใต้ลิ้น ประมาณ 1-2 นาที แล้ว ดึงออกมาดูปริ มาณปรอทว่าสูงเท่าใด การตรวจวัดชีพจร ชีพจร (Pulse) คือ คลื่นที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวและหดตัวของเส้นโลหิตแดงสลับกันไปคลื่นที่หดและ ขยายตัวนี้จะตรงกับการเต้นของหัวใจ การปลดสิ่งที่รัดกุมออกจากร่ างกาย เมื่อผูป้ ่ วยที่ได้รับอุบตั ิเหตุ เกิดอาการช็อก เป็ นลมหรื อเป็ นสาเหตุที่ทาให้หายใจไม่สะดวกหัวใจทางานไม่ เต็มที่ การถอดเครื่ องแต่งกายหรื อสิ่งที่รัดกุมออกจากร่ างกาย จึงถือเป็ นการช่วยให้ผปู้ ่ วยหายใจสะดวกและ หัวใจจะได้ทางานได้เต็มที่ การกระตุ้นหัวใจ บางครั้งผูเ้ จ็บป่ วยที่ได้รับอุบตั ิเหตุอาจจะมีอาการหัวใจทางานอ่อนลง การปฐมพยาบาลให้ถกู ต้องและเป็ นการ ช่วยชีวิตผูป้ ่ วยก่อนถึงมือแพทย์ การผายปอด การผายปอด คือ การช่วยให้ออกซิเจนผ่านเข้าไปทางปาก จมูกเข้าสู่ปอดได้เพียงพอเพื่อจะได้ฟอกโลหิตเข้าสู่ หัวใจ ซึ่งหัวใจก็จะสูบฉีดไปเลี้ยงสมองและร่ างกายตามปกติ การพันแผล การประสบอุบตั ิเหตุหรื อการเจ็บป่ วยอาจจะเกิดบาดแผลขึ้นหลายลักษณะ ผูท้ ี่จะปฐมพยาบาลจาเป็ นจะต้องรู้ วิธีการพันแผล เพื่อช่วยลดการเสียเลือดและห้ามเลือด ลดการเจ็บปวดทั้งป้ องกันไม่ให้แผลติดเชื้อ ผ้าพันแผลที่ ใช้น้ นั ขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์และสิ่งของที่มีอยูใ่ นขณะนั้น เช่น ผ้าขาวม้า ผ้าพันคอ ริ บบิ้น เสื้อผ้าที่สวมใสใน ขณะนั้นๆ เป็ นลม เป็ นอาการที่เกิดเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอชัว่ คราว ทาให้ผทู้ ี่เป็ นไม่รู้สึกตัวชัว่ ระยะหนึ่ง
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
13
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 4 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ ช็อก เป็ นอาการที่หวั ใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่ างกายได้อย่างเพียงพอทาให้ร่างกายมีความ ดันโลหิตต่า ไม่สามารถทรงตัวอยูไ่ ด้ ต้องนอนลง มีชีพจรเต้นเร็ วกว่า 100 ครั้ง/นาที หน้าซีดเซียว มือเย็น กล้ามเนื้ออ่อนกาลัง มีเหงื่อออก หายใจเร็ ว มีอาการกระสับกระส่าย จนถึงขั้นหมดสติและเสียชีวิตได้ การเกิดบาดแผล บาดแผล หมายถึง ผิวหนัง เนื้อเยือ่ และส่วนที่ลึกกว่าชั้นผิวหนัง เป็ นรอยฉีกขาดหรื อถูกทาลาย ทาให้แยกจาก กัน จนเนื้อเยือ่ ได้รับอันตราย การห้ ามเลือด เมื่อมีเลือดไหลออกจากร่ างกายเนื่องจากเป็ นแผล นอกจากนี้การมีเลือดออกยังเกิดจากสาเหตุ เช่น เลือดกาเดา ไหลหรื อไอเป็ นเลือด หากเกิดมีอาการเลือดออกร่ างกายไม่ว่าจะเป็ นอาการใดก็ตาม จะต้องทาการห้ามเลือด เพื่อไม่ให้ร่างกายเสียเลือดมาก ซึ่งอาจเป็ นอันตรายถึงชีวิตได้ การช่ วยคนจมนา้ อาการ ผูจ้ มน้ าจะมีอาการหน้าเขียว หายใจติดขัด หมดสติ จนในที่สุดหัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ กระดูกหัก กระดูกหักเป็ นอันตรายมาก การที่กระดูกหักนั้น ร่ างกายอาจจะมีบาดแผลหรื อไม่มีก็ได้ ลักษณะการหักจะ เหมือนถูกตัด หรื ออาจจะแตก เดาะ ร้าว ซึ่งเกิดจากสาเหตุเช่น ถูกรถชน ตกจากที่สูง เล่นกีฬา ถูกของหนักทับ หกล้ม อันตรายจากสารพิษ 1 สารพิษชนิดกัดทาลาย 2 สารพิษที่ไม่ใช่ ชนิดทาลาย
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
14
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 11 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
การวิเคราะห์ และปรับปรุงสภาพการทางานตามหลักการยศาสตร์ ความหมายของการยศาสตร์ (Ergonomics) การยศาสตร์ เป็ นคาศัพท์ที่ถกู บัญญัติ โดยราชบัณฑิตยสถานหรื อที่รู้จกั กันในชื่อภาษาอังกฤษว่า Ergonomics (เออร์กอนอนิกส์) เป็ นคาศพท์ ที่มาจากรากศัพท์ในภาษากรี ก 2 คาคือ Ergos หมายถึง งาน และคา ว่า Nomos หมายถึงระเบียบหรื อกฎธรรมชาติหรื อที่รู้จกั ในชื่อวิทยาศาสตร์ คานี้จึงหมายถึงการศึกษาทาง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสภาพแวดล้อมในการทางาน เพื่อนาไปประยุกต์หรื อ ปรับปรุ งสภาวะและสิ่งแวดล้อมในการทางานให้เหมาะสมกับผูป้ ฏิบตั ิงาน โดยคานึงถึงปัจจัยด้านสรี รวิทยา จิตวิทยาและสัดส่วนโครงสร้างทางด้านร่ างกายของผูป้ ฏิบตั ิงาน ส่งผลให้การปฏิบตั ิงานเป็ นไปอย่างมี ประสิทธิภาพตลอดจนผูป้ ฏิบตั ิงานมีความเป็ นอยูแ่ ละมีสุขภาพอนามัยที่ดี
ความสาคัญของการยศาสตร์ การยศาสตร์มีความสาคัญต่อการทางานทุกสาขาอาชีพ เพราะความรู้ทางด้านการยศาตร์จะช่วย ป้ องกันให้ผปู้ ฏิบตั ิงานได้รับอันตรายจากการทางานหรื อเกิดโรคจากการทางานน้อยลงส่งผลให้มีความ ปลอดภัยในการทางานสูงขึ้น เกิดการเพิม่ ผลผลิตตามมา ดังนั้น จะเห็นได้ว่า การนาเอาความรู้ทางด้านการยศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการทางานจะนาไปสู่ความ ปลอดภัยในการทางาน ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมหาศาลต่อองค์การและผูป้ ฏิบตั ิงานสรุ ปได้ดงั นี้ 1. ลดความผิดพลาดในการปฏิบตั ิงานต่างๆ 2. ลดความเมื่อยล้าและการบาดเจ็บจากการทางาน 3. ลดอุบตั ิเหตุจากการทางาน เกิดความปลอดภัยในการทางานมากขึ้น 4. ลดค่าใช้จ่ายในการฝึ กอบรม การควบคุม ค่ารักษาพยาบาลตลอดจนค่าวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ 5. เกิดขวัญ กาลังใจ ความพึงพอใจในการเพิม่ มากกขึ้น 6. เกิดการเพิ่มผลผลิตทั้งในเชิงปริ มาณและคุณภาพ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
14
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 11 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
องค์ประกอบของการยศาสตร์ การยศาสตร์ ประกอบไปด้วยศาสตร์ต่างๆ ดังนี้ 1. กายวิภาคศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่มุ่งศึกษาโครงสร้างขนาดร่ างกายของมนุษย์ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ตลอดจนปัญหาที่อาจเกิดจากการใช้แรงหรื อออกแรงในขณะปฏิบตั ิงานเพื่อนาข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ใน การออกแบบสภาพงานได้เหมาะสม เช่น ออกแบบเก้าอี้สาหรับนัง่ ทางาน ออกแบบโต๊ะสาหรับยืน ทางาน ออกแบบเสื้อผ้า อุปกรณ์ป้องกันอันตราย เครื่ องจักร เป็ นต้น 2. สรีรวิทยา คือ ศาสตร์ที่มุ่งศึกษาใน 2 ลักษณะ คือ 2.1 สรี รวิทยาการทางาน เพื่อประเมินความสามารถและข้อจากัดของผูป้ ฏิบตั ิงานตลอดจนการใช้ พลังงานในการทางานแต่ล่ะประเภท 2.2 สรี รวิทยาสิ่งแวดล้อม เพื่อพิจารณาถึงสภาวะแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ความร้อน ความเย็น แสง เสียง ความสัน่ สะเทือน การแผ่รังสี ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของผูป้ ฏิบตั ิงาน 3. จิตวิทยา คือ ศาสตร์ที่มุ่งศึกษาพฤติกรรมการทางาน อารมณ์ ความคิด ความรู้สึก การรับรู้ การ ตัดสินใจในการทางานนั้นๆ เช่น ช่วงเวลาในการทางาน ช่วงเวลาพักที่เหมาะสม เป็ นต้น
การประยุกต์ใช้ หลักการยศาสตร์ กับการทางาน 1 การออกแบบสถานที่ทางาน ควรออกแบบให้ผปู้ ฏิบตั ิงานทุกคนทางานได้สะดวกแม้ว่าขนาดโครงสร้างและ รู ปร่ างของแต่ล่ะคนจะแตกต่างกัน เช่น จัดที่รองเท้าเพื่อช่วยในการปรับระดับความสูงให้เหมาะสมกับงาน 2 การจัดอิริยาบถในการทางาน การเคลือ่ นไหวร่ างกาย เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและคงไว้ซ่ ึงการมีสุขภาพอนามัยที่ดีของผูป้ ฏิบตั ิงาน 1 การก้มตัวควรย่อตัวจากระดับสะโพกหรื อย่อเข่าลงโดยใช้กล้ามเนื้อสะโพกและขา ไม่ควรก้มพับเอว 2 การยกของหนักให้เข้าใกล้ของที่ยกให้มากที่สุด แยกเท้าให้พอเหมาะ ย่อเข่าลงแล้วยกของนั้นขึ้นมา ไม่ควร บิดตัวขณะยกของ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
14
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 11 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
การปรับปรุงสภาพแวดล้ อมในการทางานตามหลักการยศาสตร์ เสียง เสียงดังหรื อเสียงรบกวนจากสภาพกรรทางาน เช่น เสียงมอเตอร์ เครื่ องจักร เครื่ องยนต์ต่างๆ มีผลกระทบต่อ ความปลอดภัย สุขภาพอนามัย ซึ่งส่งผลกระทบต่อผูป้ ฏิบตั ิงาน คือ 1 เกิดการสูญเสียการได้ยนิ (หูตึง) 2 ราคาญ หงุดหงิดและเกิดความเครี ยดตามมา 3 ความดันโลหิตสูงขึ้น 4 ระบบการย่อยอาหารผิดปกติ 5 สมาธิในการทางานลดลง 6 ประสิทธิภาพในการทางานลดลง การปรับปรุงแก้ไขตามหลักการยศาสตร์ 1 การปรับปรุ งที่แหล่งกาเนิดเสียง โดยใช้หลักวิศวกรรม เช่น - ออกแบบเครื่ องจักรให้ได้มาตรฐาน - ปรับเปลี่ยนเครื่ องจักรหรื ออุปกรณ์ที่ก่อให้เกิดเสียงดังเกินมาตรฐาน - ซ่อมบารุ งรักษาอุปกรณ์ เครื่ องจักรสม่าเสมอ - ใช้ระบบครอบปิ ดแหล่งเสียงหรื อกั้นเป็ นห้องแยกแหล่งกาเนิดเสียงออกจากผูป้ ฏิบตั ิงาน 2 แก้ไขปัญหาเส้นทางผ่านของเสียง เช่น - ติดตั้งวัสดุดูดซับเสียงหรื อกั้นเสียงตามผนัง เพดาน พื้นทางเดิน - สร้างสิ่งกีดขวางเส้นทางผ่านของเสียง เช่น กาแพงกั้นเสียง - แยกแหล่งกาเนิดเสียงให้ห่างจากตัวผูป้ ฏิบตั ิงานให้มากที่สุด 3 แก้ไขที่ตวั ผูป้ ฏิบตั ิงาน เช่น - ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในขณะปฏิบตั ิงาน เช่น ที่ครอบหู ที่อุดหู
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
14
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 11 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ แสงสว่าง แสงน้ อยเกินไป แสงมากเกินไป 1 ปวดเมื่อยตา 1 ปวดเมื่อตา 2 มึนหรื อปวดศีรษะ 2 สุขภาพของตาแหน่งตาแย่ลง เช่น อักเสบ 3 บรรยากาศในการทางานไม่ดี ปวดบวม 4 อาจเกิดความเบื่อหน่าย 3 สูญเสียพลังงานไฟฟ้ าเกินความจาเป็ น 5 โอกาสเกิดความผิดพลาดสูง 4 โอกาสเกิดความผิดพลาด อุบตั ิเหตุสูง 6 ประสิทธิภาพในการทางานลดลง การปรับปรุงแสงสว่างในการทางานตามหลักการยศาสตร์ 1 จัดให้มีระดับแสงสว่างในที่ทางานให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่ทา เช่น งานเขียนเขียนแบบ เจียระไนพลอย ซ่อมนาฬิกา เป็ นต้น 2 จัดให้มีแสงสว่างในพื้นที่ทางานให้กระจายสม่าเสมอทัว่ ทั้งห้อง เพื่อให้เกิดความสบายตาในการมองเห็น 3 การจัดแสงสว่างไม่ให้เกิดแสงพร่ าตา เช่น ลดค่าความสว่างของแหล่งกาเนิดแสง อุณหภูมิ อุณหภูมิ ของอากาศภายในสถานที่ทางาน ถือเป็ นอีกปัจจัย หนึ่งที่ส่งผลต่อการปฏิบตั ิงาน หากที่ทางานมี สภาวะอุณหภูมิที่ไม่เหมาะสม เช่น ร้อนอบอ้าวจนเกินไปก็จะส่งผลให้อวัยวะต่างๆ ของร่ างกายทางานผิดปกติ ร่ างกายอ่อนเพลีย เมื่อยล้า ง่วงนอน ประสิทธิภาพ ในการทางานลดลง การปรับอุณหภูมทิ ี่เหมาะสมตามหลักการยศาสตร์ การปรับอุณหภูมิที่เหมาะสมต้องคานึงถึงปัจจัย ดังต่อไปนี้ 1 อุณหภูมิของอากาศในที่ทางาน 2 อุณหภูมิของพื้นผิวต่างๆ ที่อยูร่ อบตัวผูป้ ฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
15
หน้าที่
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 18 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
การสอบสวนและวิเคราะห์ อุบัติเหตุในการทางาน ความหมายของอุบัตเิ หตุในการทางาน อุบตั ิเหตุในการทางาน คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดมาก่อน หรื อโดยไม่ต้งั ใจหรื อขาดการ ควบคุม ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา นาไปสู่ความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน เกิดการบาเจ็บ ทุพพลภาพหรื อ ส่งผลให้ขบวนการผลิตเกิดการชะงักงัน การป้ องกันอุบตั ิเหตุมิให้เกิดขึ้นจึงถือเป็ นสิ่งสาคัญยิง่ การสอบสวน และการวิเคราะห์อุบตั ิเหตุในการทางาน ถือ เป็ นวิธีการหนึ่งที่ช่วยป้ องกันอุบตั ิเหตุ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะจะทาให้ทราบสาเหตุที่แท้จริ งของการเกิดอุบตั ิเหตุ และเป็ นข้อมูลในการวางแผน เพื่อลดอุบตั ิเหตุ วัตถุประสงค์ของการสอบสวนอุบัตเิ หตุ 1 เพื่อค้นหาสาเหตุของการเกิดอุบตั ิเหตุและสภาพการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดให้เกิดอันตราย 2 เพื่อค้นหาข้อเท็จจริ งที่เป็ นมูลเหตุให้ปฏิบตั ิงานไม่ปฏิบตั ิตามกฎข้อบังคับ 3 เพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุและส่งเสริ มความปลอดภัยในการทางาน 4 เพื่อรวมรวมข้อมูลทางสถิติและการวิเคราะห์อุบตั ิเหตุ 5 เพื่อศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงขบวนการผลิตหรื อวิธีการปฏิบตั ิงานของคนที่ทาให้เกิดความผิดพลาดแล้ว นาไปสู่การเกิดอุบตั ิเหตุ ขั้นตอนการดาเนินการสอบสวนอุบัตเิ หตุ 1 ผูค้ วบคุม (Supervisor ) ได้รับแจ้งการเกิดอุบตั ิเหตุเกิดขึ้น 2 ผูค้ วบคุมงานแจ้งให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ผูจ้ ดั การโรงงานหรื อคณะกรรมการความปลอดภัยทราบถึง การเกิดอุบตั ิเหตุ 3 ผูท้ าการสอบสวนอุบตั ิเหตุรีบไปยังสถานที่เกิดอุบตั ิเหตุ 4 ผูค้ วบคุมงานทาบันทึกรายงานอุบตั ิเหตุ 5 ส่งรายงานนี้ไปยังหัวหน้างาน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องกับสถานการณ์จริ งอีกครั้ง 6 หลังตรวจสอบแล้วส่งนาสาเนาไปยังเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยและผูจ้ ดั การโรงงาน 7 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยพิจารณารายงานการสอบสวนอุบตั ิเหตุ และเสนอวิธีการแก้ไขข้อบกพร่ องไปยังผู้ ควบคุมงาน เพื่อดาเนินการปรับปรุ งแก้ไขต่อไป โดยแจ้งให้ผจู้ ดั การโรงงาน และคณะกรรมการความปลอดภัย ให้ทราบด้วย
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
15
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 18 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ ปัจจัยที่เกีย่ วข้ องกับการสอบสวนอุบัตเิ หตุ 1 เวลา การสอบสวนอุบตั ิเหตุที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั้น ต้องดาเนินการสอบสวนอุบตั ิเหตุทนั ทีที่มี อุบตั ิเหตุเกิดขึ้น 2 สถานที่ การตรวจตราสถานที่เกิดอุบตั ิเหตุถือเป็ นสิ่งจาเป็ นยิง่ นอกเหนือจากการสอบปากคาพยานหรื อ ผูเ้ ห็นเหตุการณ์ 3 ผู้ทาการสอบสวน บุคคลที่มีหน้าที่รับผิดชอบและมีความเหาะสมยิง่ ในการสอบสวนอุบตั ิเหตุ คือ หัวหน้า งานหรื อผูค้ วบคุมงาน เพราะเป็ นผูใ้ กล้ชิดผูป้ ฏิบตั ิงาน มีความคุน้ เคยกับผูป้ ฏิบตั ิงาน รู้ข้นั ตอน กระบวนการ ผลิตตลอดจนเครื่ องจักร อุปกรณ์ สิ่งแวดล้อมในการปฏิบตั ิงานสาหรับโรงงานหรื อสถานประกอบการที่มี เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยประจา 4 การจัดอันดับความสาคัญ ในกรณี ที่เกิดอุบตั ิเหตุในการทางานเป็ นจานวนมากมักเกิดปัญหาเสมอมาว่า ควร สอบสวนอุบตั ิเหตุรายใดก่อน-หลัง และสอบสวนละเอียดมากน้อยแตกต่างกันอย่างไร ในประเด็นนี้สถาน ประกอบการต้องกาหนดหลักเกณฑ์เพื่อเป็ นแนวปฏิบตั ิ 5 กระบวนการดาเนินงาน ควรมีการกาหนดกระบวนการทางาน แนวทางปฏิบตั ิ วิธีการสอบสวน โดยแจ้งผูท้ ี่ เกี่ยวข้องทราบ เพื่อความรวดเร็ วและปฏิบตั ิงานที่เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน อันนาไปสู่ประสิทธิภาพในการ สอบสวน หลักการสาคัญในการสอบสวนอุบัตเิ หตุ 1 ต้องดาเนินการสอบสวนทันทีภายหลังการเกิดอุบตั ิเหตุให้เร็ วที่สุด เพราะหากช้าอาจทาให้ขอ้ เท็จจริ งและ หลักฐานต่างๆสูญหายหรื อคลาดเคลื่อนได้ 2 ต้องดาเนินการสอบสวนทั้งพยานบุคคลที่รู้เห็นเหตุการณ์และตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุควบคู่ไปด้วย 3 ผูท้ าการตรวจสอบสวนต้องเป็ นผูท้ ี่มีความรู้ ความคุน้ เคยกับกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน 4 ผูท้ าการสอบสวนไม่ควรเป็ นผูใ้ ต้บงั คับบัญชาของหัวหน้างานหรื อผูค้ วบคุมงานของแผนกที่เกิดเหตุเพราะ อาจเกิดความเกรงใจ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
15
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 18 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ การบันทึกและรายงานอุบัตเิ หตุ หลังจากการสอบสวนอุบตั ิเหตุ สิ่งสาคัญที่ตอ้ งกระทาต่อเนื่องคือการบันทึกและรายงานอุบตั ิเหตุ เพื่อ รวบรวมข้อมูลและสถิติในการเกิดอุบตั ิเหตุ การจ่ายเงินทดแทน การวิเคราะห์เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อเป็ น แนวทางในการป้ องกันและแก้ไขปัญหา หลักการบันทึกและรายงานอุบัตเิ หตุ 1 ต้องทาการบันทึกและรายงานอุบตั ิเหตุทุกครั้งทั้งกรณี บาดเจ็บเล็กน้อยจนถึงบาดเจ็บรุ นแรง หรื อก่อให้เกิด ความเสียหายต่อโรงงาน อุปกรณ์ เครื่ องจักร 2 การบันทึกและรายงานต้องครอบคลุมหัวข้อที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์อุบตั ิเหตุ การสอบสวนหาสาเหตุ ข้อเสนอแนะในการป้ องกัน และแก้ไข 3 รายงานอุบตั ิเหตุตอ้ งง่ายต่อการศึกษาวิเคราะห์และทาความเข้าใจ เพื่อประโยชน์ในทางสถิติ ประเภทของรายงานอุบัตเิ หตุ 1 รายงานการปฐมพยาบาล คือ รายงานที่เกี่ยวกับการบาดเจ็บจากอุบตั ิเหตุ บันทึกและรายงานโดยผ่านพยาบาล ของโรงงานหรื อสถนพยาบาลภายนอก โดยสาเนาจะส่งไปที่หวั หน้างาน ผูค้ วบคุมงาน 2 รางานอุบตั ิเหตุของหัวหน้างานหรื อผูค้ วบคุมงานในแผนกที่เกิดอุบตั ิเหตุข้ ึนต้องรายงานทุกครั้งที่เกิด อุบตั ิเหตุ 3 รายงานอุบตั ิเหตุประจาเดือน เป็ นรายงานสรุ ปรวมของแผนกหรื อคณะกรรมการความปลอดภัยทาให้ทราบ อัตราการเกิดอุบตั ิเหตุ 4 รายงานสรุ ปประจาปี การวิเคราะห์ อุบัตเิ หตุในการทางาน 1 เพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องรายละเอียดของการเกิดอุบตั ิเหตุในการทางานเช่น บุคคล สถานที่ วัน เวลา อุปกรณ์ เครื่ องจักร เป็ นต้น 2 เพื่อทราบถึงลักษณะปัญหา ขนาดสถานที่เกิดอุบตั ิเหตุในเขตของสถานประกอบการต่างๆ 3 เพื่อชี้ให้เห็นถึงความจาเป็ นที่ตอ้ งมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยตรวจตราควบคุมดูแลสภาพการ ทางานให้ปลอดภัยอยูเ่ สมอ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
15
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 18 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ 4 เพื่อบรรจุแต่งตั้งคนให้เหมาะสมกับลักษณะงาน 5 เพื่อประเมินผลความก้าวหน้าของการจัดกิจกรรม เพื่อความปลอดภัย สิ่งที่ควรคานึงถึงในการวิเคราะห์ อุบัตเิ หตุ 1 รายละเอียดของการสอบสวนอุบตั ิเหตุตอ้ งครบถ้วนถูกต้องตรงตามข้อเท็จจริ ง 2 ต้องครอบคลุมบุคคลที่อยูใ่ นเหตุการณ์และผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกคน 3 บุคคลที่ทาการวิเคราะห์อุบตั ิเหตุ ต้องเป็ นผูท้ ี่รู้จกั วิธีการทางาน ระบบการทางานของเครื่ องมือ เครื่ องจักร อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการทางานเป็ นอย่างดี สมาคมส่ งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทางานได้ กาหนดรูปแบบการวิเคราะห์ อุบัตเิ หตุ เพือ่ ค้นหา สาเหตุของการเกิดอุบัตเิ หตุ 1 ลักษณะและชนิดของการบาดเจ็บ เช่น กระดูกหัก นิ้วมือขาด มือบวม แผลถูกของมีคม 2 ส่วนอวัยวะของร่ างกายที่ได้รับการบาดเจ็บ เช่น ตา มือ แขน ขา ใบหน้า 3 แหล่งต้นตอที่ทาให้เกิดการบาดเจ็บ หมายถึง วัสดุสิ่งของ เครื่ องจักร เครื่ องมือ หรื อร่ างกายที่เคลื่อนไหว แล้วส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บ 4 ประเภทของอุบตั ิเหตุ เช่น ตกจากที่สูง ถูกวัสดุหล่นทับ ถูกเฉี่ยวชน กระแทก ลื่นหกล้ม 5 สภาพที่เป็ นอันตราย หมายถึง สภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุ เช่น แสงสว่างน้อยเกินไป การระบาย อากาศไม่เหมาะสม เครื่ องมือชารุ ด การแต่งกายไม่เหมาะสม 6 สิ่งที่ทาให้เกิดอุบตั ิเหตุ หมายถึง ส่วนประกอบ อุปกรณ์ วัสดุ หรื อสิ่งที่ทาให้เกิดอุบตั ิเหตุ ซึ่งอาจเป็ นสิ่ง เดียวกับแหล่งต้นตอหรื อคนล่ะสิ่งก็ได้ เช่น พื้น บันได ลิฟต์ 7 ส่วนของสิ่งของหรื อตัวการที่ทาให้เกิดอุบตั ิเหตุ เช่น พนักงานใช้สว่านเจาะเหล็กเกิดอุบตั ิเหตุดอกสว่านแทง มือ กรณี น้ ี 8 การกระทาที่ไม่ปลอดภัย หมายถึง การกระทาหรื อการปฏิบตั ิงานที่ไม่ปลอดภัยนาไปสู่การเกิดอุบตั ิเหตุแก่ ตนเองหรื อผูอ้ ื่น เช่น ไม่สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ทางานฝ่ าฝื นกฎระเบียบ 9 ปัจจัยอื่นที่สนับสนุน เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา ลักษณะงาน การขาดการศึกษา เป็ นต้น
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
16
1
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 25 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
การตรวจสอบความปลอดภัยและวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย ความหมายและความสาคัญของการตรวจความปลอดภัย การตรวจสอบความปลอดภัย หมายถึง การติดตาม กากับ ดูแลการปฏิบตั ิงานหรื อตรวจสอบสภาพการ ทางาน เพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุ อันจะนาไปสู่ความปลอดภัยในการทางานมากยิง่ ขึ้น ซึ่งสามารถกระทาได้ 2 ลักษณะดังนี้ 1 การตรวจสอบความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมการทางาน สภาพโรงงาน เครื่ องจักร และวัสดุอุปกรณ์ 2 การตรวจความปลอดภัยสภาพการทางานของผูป้ ฏิบตั ิงาน ลักษณะของกลุ่มงานอันตราย 1 กลุ่มอันตรายของสถานที่ทางาน เช่น พื้นทางเดิน พื้นฐาน บันได นัง่ ร้าน อุปกรณ์ ดับเพลิง การระบายอากาศ แสงสว่าง หม้อไอน้ า ไฟฟ้ าและอุปกรณ์ไฟฟ้ า เป็ นต้น 2 กลุ่มอันตรายจากเครื่องจักรและอุปกรณ์ เช่น ลิฟต์ เครื่ องตัด เครื่ องเย็บ กลไก อันตรายที่ตอ้ งติดตั้งการ์ด การ์ดของเครื่ องเจียระไน เป็ นต้น 3 กลุ่มอันตรายจากวัสดุ เช่น สารมลพิษ สารก่อมะเร็ ง รังสี ฝุ่ นที่ติดไฟ ของเหลวไวไฟ กรด ด่าง วัตถุระเบิด และสารอันตรายอื่นๆ 4 กลุ่มอันตรายจากแหล่งกาลัง - กาลังไฟฟ้ า เช่น การติดตั้งสายดิน สะพานไฟ สายไฟ ฯลฯ - กาลังจากลมที่มีความดัน เช่น สายท่อลม อุปกรณ์ลดความดัน ท่อ ภาชนะ ฯลฯ - กาลังไฮโดรลิก เช่น สายท่อ ภาชนะ ที่ต้งั และการบารุ งรักษา ฯลฯ - กาลังไอน้ า เช่น อุปกรณ์ลดความดัน ระบบต่างๆ ความร้อน การก่อสร้างฯลฯ - เครื่ องมือจุดวัตถุระเบิด ฯลฯ 5 กลุ่มอันตรายจากกระบวนการผลิตพิเศษ เช่น การเชื่อม การเตรี ยมผิวงาน งานโครงเหล็ก การรื้ อถอนทาลาย งานระเบิด งานในอุโมงค์
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
16
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 25 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ ประเภทของการตรวจความปลอดภัย 1 การตรวจเป็ นระยะ หมายถึง การตรวจสอบที่มีการวางแผนกาหนดตารางการตรวจไว้ล่วงหน้าชัดเจนและ แน่นอนเป็ นระยะแล้วแต่ความเหมาะสม เช่น ประจา 3 เดือน ประจาทุก 6 เดือน หรื อประจาปี การตรวจ ลักษณะนี้ ควรมีการกาหนดตารางการตรวจสอบให้คลอบคลุมทั้งโรงงานรวมไปถึงกระบวนการทางาน 2 การตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง หมายถึง การตรวจความปลอดภัยที่กระทาอย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับการทางาน ปกติ โดยถือเป็ นหน้าที่สาคัญของผูป้ ฏิบตั ิงานในตาแหน่งหน้าที่น้ นั ๆ เช่นการตรวจสอบเครื่ องมือ เครื่ องจักร การซ่อมบารุ ง เป็ นต้น 3 การตรวจที่มไิ ด้ กาหนดระยะเวลาแน่ นอน หมายถึง การตรวจสอบที่กระทาบ่อยๆ โดยไม่ได้มีการแจ้ง ล่วงหน้าว่าจะทาการตรวจแผนกใด เครื่ องจักร เครื่ องมือ อุปกรณ์หรื อบริ เวณใดส่งผลให้พนักงานต้องเตรี ยม ตัวพร้อมเสมอและตื่นตัวที่จะปรับปรุ งแก้ไขสภาพการทางานที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัย 4 การตรวจ หมายถึง การตรวจอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตใหม่ การติดตั้งเครื่ องจักรใหม่ บุคลากรที่เกีย่ วข้ องกับการตรวจความปลอดภัย 1 ผู้บริหารโรงงานหรือผู้บริหารสถานประกอบการ ต้องให้ความสาคัญต่อการตรวจสอบความปลอดภัย หากมี โอกาสเดินตรวจแผนกงานต่างๆ อย่างคร่ าวๆ อาจส่งผลให้ผปู้ ฏิบตั ิงานมีความตื่นตัวด้านความปลอดภัยมาก ขึ้นเมื่อพบสภาพงานหรื อการกระทาที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต้องสัง่ ให้แก้ไขทันที 2 ผู้บริหารระดับล่าง หรื อหัวหน้างานที่เป็ นพนักงานตรวจ ถือเป็ นบุคคลที่มีบทบาทสาคัญยิง่ เพราะอยูใ่ กล้ชิด กับผูป้ ฏิบตั ิงาน เข้าใจสภาพงาน ดังนั้น หัวหน้างานควรทาการตรวจโดยการเฝ้ าสังเกตดูแลสภาพการทางาน 3 วิศวกรและช่ างซ่ อมบารุง ควรรับผิดชอบเดินตรวจให้ทวั่ บริ เวณโรงงานให้บ่อยครั้งหากพบสภาพงานหรื อ การปฏิบตั ิงานที่ไม่ปลอดภัยต้องแจ้งหัวหน้างานทาการแก้ไขอย่างเร่ งด่วน 4 ผู้ปฏิบัตงิ าน ต้องถือเป็ นหน้าที่ในการตรวจสอบความปลอดภัยควบคู่ไปกับการปฏิบตั ิงานที่ตนรับผิดชอบ โดยการสังเกตหรื อค้นหาสภาพงานที่อาจก่อให้เกิดอันตราย หากพบจุดบกพร่ องต้องรี บทาการแก้ไขทันที 5 คณะกรรมการความปลอดภัย คือบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดูแลงานด้านความปลอดภัย จึงถือเป็ นหน้าที่ใน การตรวจความปลอดภัย 6 เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัย กฎหมายแรงงานฉบับปัจจุบนั ได้กาหนดให้สถานประกอบการ ต้องมีเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยปฏิบตั ิงานด้านความปลอดภัยตลอดเวลา ตรวจความปลอดภัยได้อย่างเต็มที่ตลอดเวลา
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
16
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 25 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ กระบวนการตรวจความปลอดภัย 1 การเริ่ มการตรวจ ควรปฏิบตั ิดงั นี้ - ติดต่อหัวหน้าแผนกงานที่เข้าไปทาการตรวจเพื่อขอความร่ วมมือในการตรวจ - ยึดมาตรฐานที่กาหนดไว้หรื อแบบตรวจเป็ นแนวทางในการตรวจและต้องดาเนินการอย่างละเอียด รอบคอบ - เก็บรวบรวมข้อมูลและบันทึกข้อมูลในขณะปฏิบตั ิหน้าที่ตรวจ เพื่อป้ องกันการหลงลืม 2 จัดทารายงาน ในการตรวจความปลอดภัยทุกครั้ง ต้องมีการเขียนรายงานอย่างละเอียด เพื่อเสนอต่อหัวหน้า งาน และผูเ้ กี่ยวข้อง โดยปกติรายงานการตรวจจะมี 3 ประเภทดังนี้ - รายงานฉุกเฉิน หมายถึง รายงานที่ตอ้ งมีการแก้ไขสิ่งที่เป็ นอันตราย โดยเร่ งด่วนทันที - รายงานปกติ หมายถึง รายงานที่ตรวจพบสภาพงานที่อนั ตรายจาเป็ นต้องแก้ไขแต่ไม่ตอ้ งเร่ งด่วน - รายงานเป็ นระยะ หมายถึง รายงานที่สรุ ปผลการดาเนินความปลอดภัยเป็ นระยะ เช่น ทุก 3 เดือน 6 เดือน หรื อ 1 ปี 3 การห้ามใช้อุปกรณ์ หลังจากการตรวจความปลอดภัยพบว่า อุปกรณ์ เครื่ องจักร วัสดุ ที่มีการชารุ ด สึกหรอ เสียหายหรื อไม่ปลอดภัยในการใช้งาน ต้องมีระบบห้ามใช้งาน โดยพนักงานตรวจความปลอดภัยต้องผูกป้ าย ห้ามใช้งานให้ชดั เจน และต้องแจ้งให้ผรู้ ับผิดชอบในแผนกนั้นๆทราบ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
16
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 25 ม.ค.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ ความหมายและความสาคัญของการวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย หมายถึง เทคนิควิธีการหรื อกระบวนกรอย่างเป็ นระบบในการ รวบรวมข้อมูล เพื่อทบทวนระบบงาน ตรวจค้นหาสภาพอันตราย ซึ่งเป็ นวิธีการหรื อแผนการปรับปรุ งงานให้มี ความปลอดภัย ในการทางานสามารถจาแนกได้ ขั้นตอนการวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย 1 การคัดเลือกงานที่จะทาการวิเคราะห์ เพือ่ ความปลอดภัย โดยปกติงานเกือบทุกลักษณะงาน ควรจะได้รับการวิเคราะห์เพื่อความปลอดภัย แต่หลักสาคัญในการ คัดเลือกงานนั้นต้องเป็ นไปตามระดับของอันตรายและความสาคัญนั้น โดยพิจารณาจากสถิติ ข้อมูลและ รายงานต่างๆ ของโรงงาน เช่น สถิติการเกิดอุบตั ิเหตุของงานต่างๆ ความถี่ของการเกิดอุบตั ิเหตุ เป็ นต้น 2 การดาเนินการวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย - แบ่งรายละเอียดของงานออกแบบเป็ นขั้นตอนต่างๆ ตามลาดับ โดยการสังเกตการทางานของ ผูป้ ฏิบตั ิงานแล้ว ทารายงานของขั้นตอนเรี ยงตามลาดับ - ตรวจค้นหาอันตรายหรื อเหตุปัจจัยที่ทาให้เกิดอันตรายในแต่ล่ะขั้นตอนของงาน เพื่อปรับปรุ ง แก้ไข งานนั้นๆ ให้มีความปลอดภัย และผูต้ รวจต้องมีความรู้ในงานนั้นๆ - เสนอแนะในการป้ องกันอันตรายและปรับปรุ งแก้ไข ในขั้นตอนนี้คือการพยายามหามาตรการต่างๆ ในการขจัดอันตรายต่างๆ ออกไป เช่น กาหนดวิธีการทางานใหม่ เปลี่ยนขั้นตอนการทางาน หรื อลด ความถี่ของการทางาน 3 การปรับปรุงแก้ไขการวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัยเป็ นระยะ เพื่อให้การวิเคราะห์งานนั้นมีประสิทธิภาพสูงสุดนาไปสู่การลดอุบตั ิเหตุ ลดการบาดเจ็บ หรื อการ สูญเสียชีวิต และทรัพย์สิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 การจัดทารายงานเสนอผู้บังคับบัญชา เมื่อได้ดาเนินการวิเคราะห์งานเรี ยบร้อยแล้ว ผูร้ ับผิดชอบต้องจัดทารายงานเพื่อเสนอต่อผูบ้ งั คับบัญชา ตามลาดับขั้น เพื่อพิจารณาดาเนินการปรับปรุ งแก้ไข
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
17
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 1 ก.พ.2553 แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ
1 เวลา : 8.00 – 12.00 น.
กฎหมายที่เกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทางาน ความสาคัญของกฎหมายต่อความปลอดภัยในการทางาน การออกกฎหมายบังคับใช้ ถือเป็ นวิธีการหนึ่งที่นาไปสู่ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน เพราะ กฎหมายจะนาไปสู่วิธีการประพฤติปฏิบตั ิที่เป็ นมาตรฐานเดียวกันและมีบทลงโทษสาหรับ ผูท้ ี่ฝ่าฝื นหรื อไม่ ปฏิบตั ิตาม กฎหมาย คือ ระเบียบแบบแผน ข้อบังคับที่ใช้ในการบังคับหรื อควบคุมความประพฤติของมนุษย์ใน สังคม เพื่อป้ องกันและแก้ไขปัญหา ตลอดจนการจัดระเบียบทางสังคมหรื อเป็ นแนวทางประพฤติปฏิบตั ิร่วม ของมนุษย์ในสังคมอันจะนาไปสู่สนั ติสุขร่ วมกัน พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 เป็ นกฎหมายที่ต้งั ขึ้น เพื่อควบคุมการดาเนินงานอุตสาหกรรมให้มีความปลอดภัยต่อชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชน ตลอดจนสภาพแวดล้อมในสังคม ให้ได้มาตรฐานตามกฎหมาย กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 หมวดที่ 1 ที่ต้งั สภาพแวดล้อม ลักษณะอาคารและลักษณะภายในของโรงงาน - โรงงานจาพวกที่ 1 และที่ 2 ห้ามตั้งโรงงานในบ้านจัดสรรเพื่อพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย และบ้าน แถวเพื่อพักอาศัย ส่วนสถานที่ราชการไม่ตอ้ งห้าม - โรงงงานจาพวกที่ 3 ห้ามตั้งโรงงานในบ้านจัดสรรเพื่อพักอาศัย ส่วนโรงงานให้อยูห่ ่างสาธารณะสถาน ไม่นอ้ ยกว่า 50 เมตร ที่เหมาะสมไม่ก่อให้เกิดความราคาญ ความเสียหายต่อบุคคลและทรัพย์สิน - อาคารโรงงาน ต้องมีลกั ษณะ มัน่ คง แข็งแรง เหมาะสม มีการระบายอากาศที่ดี มีประตูหรื อทางออกให้ พอกับจานวนคนที่จะหลบภัย มีที่เก็บวัตถุอนั ตราย เป็ นต้น หมวดที่ 2 เครื่ องจักร อุปกรณ์ หรื อสิ่งที่นาไปใช้ในโรงงาน - เครื่ องจักร อุปกรณ์ หรื อสิ่งที่นาไปใช้ในโรงงานต้องมัน่ คงแข็งแรง มีความปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดการ สัน่ สะเทือน เกิดเสียง รบกวน - ระบบไฟฟ้า การเดินสายไฟ และการติดตังเครื ้ ่องยนต์ไฟฟ้า ต้ องมีวิศวกรควบคุมให้ ดาเนินการไป ตามหลักวิชาการ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
17
2
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 1 ก.พ.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ หมวดที่ 3 คนงานประจาโรงงาน - โรงงานจะต้ องมีวิศวกรควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษหรือสิ่งใดๆ เช่น สารกัมมันตรังสี หม้ อไอน ้า หมวดที่ 4 การควบคุมการปล่อยตกของเสีย มลพิษ หรื อสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม - การกาจัดขยะ มีการกาจัดที่ถกู ต้องตามหลักวิชาการ ตามลักษณะและประเภทของขยะ - ห้ามระบายน้ าเสียออกจากโรงงาน หมวดที่ 5 ความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน - โรงงานต้องมีมาตรการคุม้ ครองความปลอดภัยในการดาเนินงาน - เครื่ องจักร หรื อสิ่งที่นาไปใช้ในโรงงานแต่ละประเภท ต้องมาตรการคุม้ ครองความปลอดภัย พระราชบัญญัตคิ ้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มีมาตราต่างๆที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทางาน ได้ดงั นี้ 1. การใช้ แรงงานทั่วไป เวลาทางานปกติไม่เกิน 8 ชัว่ โมงต่อวัน สัปดาห์ล่ะ 48 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ ส่วน งานที่อนั ตรายต่อสุขภาพ จะทางานไม่เกิน 7 ชัว่ โมงต่อวัน สัปดาห์ล่ะ 42 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ เช่นงาน เชื่อมโลหะ งานใต้น้ า งานในอุโมงค์ เป็ นต้น 2. การทางานล่วงเวลา ห้ามมิให้นายจ้างให้ลกู จ้างทางานล่วงเวลาในวันทางาน เว้นแต่ได้รับความยินยอม จากลูกจ้างก่อนเป็ นคราวไป งานล่วงเวลา และชัว่ โมงในการทางานในวันหยุด สัปดาห์หนึ่งต้องไม่ เกิน 36 ชัว่ โมง 3. วันหยุดและวันลา ลูกจ้างต้องมีวนั หยุดประจาสัปดาห์ละไม่นอ้ ยกว่า 1 วัน ในระยะห่างไม่เกิน 5 วัน วันหยุดประเพณี ในแต่ล่ะปี ไม่นอ้ ยกว่า 13 วัน 4. การใช้ แรงงานหญิง พระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงานห้ามนายจ้างใช้แรงงานหญิง เช่น งานเหมืองแร่ หรื องานก่อสร้าง งานอุโมงค์ ใต้น้ า และงานอื่นที่กาหนดในกฎหมายกระทรวง 5. การใช้ แรงงานเด็ก ห้ามมิให้นายจ้างจ้างเด็กอายุต่ากว่า 15 ปี เป็ นลูกจ้าง
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
หน้าที่
17
3
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 1 ก.พ.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ ห้ามจ้างเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ทางานที่เกี่ยวกับความร้อน ความเย็น ความสัน่ สะเทือน งานที่เกี่ยวกับสารเคมีที่ เป็ นอันตราย วัตถุมีพิษ วัตถุระเบิด หรื อไวไฟ และงานที่เกี่ยวกับ จุลชีวนั เป็ นพิษ เชื้อไวรัส และแบคทีเรี ย 6. ความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน - ให้มีคณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ประกอบไปด้วย ปลัดกระทรวง อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน ผูแ้ ทนกรมโรงงาน กรมควบคุมมลพิษเป็ น กรรมการ เพื่อเสนอแนวคิดเห็นต่อรัฐมนตรี เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน หรื อมาตรการความปลอดภัย ในการทางานต่อลูกจ้าง และเสนอความเห็นต่อรัฐมนตรี ในการออกกฎหมายกระทรวง 7. พนักงานตรวจแรงงาน - คือเจ้ าหน้ าที่ของรัฐที่มีอานาจหน้ าที่ในการคุ้มครองดูแลความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้ าง พระราชบัญญัตสิ ่ งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่ งชาติ พ.ศ. 2535 - ได้ระบุไว้ดงั นี้ คือ 1. ให้รัฐมนตรี กระทรวงที่เกี่ยวข้องกับแหล่งกาเนิดพิษ โดยคาแนะนาจากคณะกรรมการควบคุมมลพิษ ละความเห็นจากคณะกรรมการ ร่ างกฎหมายเพื่อกาหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษ เช่น การควบคุมการ ระบายน้ าทิ้ง เพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน 2. เจ้าของสถานประกอบการ ต้องติดตั้งระบบป้ องกัน ควบคุม กาจัด หรื อลดมลพิษทางอากาศ และเสียง ทีมีผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน และให้ติดตั้งระบบบาบัดน้ าเสีย
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
17
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2001-0005 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วันที่: 1 ก.พ.2553 เวลา : 8.00 – 12.00 น. แผนกวิชา : ช่ างอากาศ ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนจ่าอากาศ พระราชบัญญัตสิ าธารณสุ ข พ.ศ. 2535 - เป็ นพระราชบัญญัติที่ให้การคุม้ ครองประชาชน ด้านสาธารณะสุขสิ่งแวดล้อม มีท้งั หมด 16 หมวดมี หมวดที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความปลอดภัยและมลพิษในโรงงานอุตสาหกรรมคือ หมวด 5 เหตุ ราคาญ กาหนดให้อาคารที่เป็ นอยูข่ องคนหรื อสัตว์ โรงงานหรื อสถานประกอบการที่ไม่มีการระบาย อากาศ การระบายน้ า การควบคุมมลพิษและการกระทาใดๆ ที่เป็ นเหตุให้เกิดกลิ่น แสง รังสี ความ ร้อน สิ่งมีพิษ ฝุ่ นละออง จนเป็ นเหตุให้เสื่อมหรื อเป็ นอันตราต่อสุขภาพ พระราชบัญญัตเิ งินทดแทน พ.ศ. 2537 - เป็ นพระราชบัญญัติที่ให้การช่วยเหลือผูป้ ฏิบตั ิงานที่ประสบอันตรายทั้งต่อร่ างกายและจิตใจ อัน เนื่องมาจากการทางานโดยช่วยเหลือในรู ปของเงินทดแทน ค่ารักษาพยาบาล ค่าฟื้ นฟูสมรรถภาพใน การทางานและค่าทาศพ เพื่อเป็ นขวัญกาลังใจและความมัน่ ใจให้แก่ผปู้ ฏิบตั ิงาน
ข้ อสอบย่อย (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ตอนที 1 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด x ลงในกระดาษคาตอบที่กาหนดให้ 6 ข้อใดคือวิธีการปฏิบตั ิงานที่ไม่ปลอดภัย 1 ข้อใดคือความหมายของอาชีวอนามัยที่ถกู ต้อง ก. ปฏิบตั ิงานแทนเพื่อนโดยไม่ได้รับมอบหมาย ที่สุด ก. การส่ งเสริ มสุ ขภาพ ข. การสส่ งเสริ มอาชีพ ค. การป้ องกันโรคจากการทางาน ง. การป้ องกันและส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัยที่ดีให้ เกิดขึ้นในตัวผูป้ ระกอบอาชีพ 2 ข้อใดไม่ใช่ขอบเขตของอาชีวอนามัยตามแนวคิด ขององค์การอนามัยโลก ก. การส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัย ข. การป้ องกันสุ ขภาพอนามัยที่ทรุ ดโทรม ค. การปรับงานให้เข้ากับคน ง. การรักษาโรคจากการทางาน 3 ข้อใดคือความปลอดภัยในการทางาน ก. เกศินีทางานที่บริ ษทั โตโยต้าอย่างมีความสุ ข ข. มานะปวดหลังจากการก้มเงยขายผลไม้ ค. คงฉกาจปวดเมื่อยจากการพิมพ์คอมพิวเตอร์ ง. เทพฤทธิ์ มีผื่นคันตามตัวเพราะแพ้สารเคมีใน การ ทางาน 4 ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของความปลอดภัยในการ ทางาน ก. ค่าใช้จ่ายลดลง ข. มีพนักงานเพิ่มมากขึ้น ค. คุณภาพชีวติ พนักงานดีข้ นึ ง. ผลผลิตเพิ่มขึ้น 5 บุคคลข้อใดที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสริ มสร้ าง ความปลอดภัยในการทางาน ก.นายจ้าง ข.ลูกจ้าง ค.เจ้าหน้าที่ของรัฐ ง.ถูกทุกข้อ
ง. ถูกทุกข้อ
ข. เก็บและบรรจุสารเคมีตามความคิดของตนเอง ค. ดัดแปลง แก้ไขอุปกรณ์และเครื่ องมือ เพื่อ ความสะดวกของตนเอง 7 ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่นาไปสู่ ความปลอดภัยในการ ทางาน ก. เคราะห์และกรรมเก่า ข. ความประมาท เลินเล่อ ค. อุปกรณ์และเครื่ องมือชารุ ด ง. สภาพแวดล้อมไม่ปลอดภัย 8.บุคคลข้อใดควรได้รับการเสริ มสร้ างจิตสานึกด้าน ความปลอดภัยในการทางาน ก.วิศวกร ข.หัวหน้างาน ค.ผูป้ ฏิบตั ิงาน ง.ถูกทุกข้อ 9.ข้อใดคือวิธีการเสริ มสร้ างความปลอดภัยในการ ทางานที่มีประสิ ทธิ ภาพ ก. สร้ างจิตสานึกที่ดีต่อความปลอดภัย ข. ลงโทษอย่างรุ นแรงเมื่อเกิดอุบตั ิเหตุ ค. สร้ างกฎระเบียบในการทางาน ง. จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายมาให้ ผูป้ ฏิบตั ิงานใช้ 10 ข้อใดที่ผปู ้ ฏิบตั ิงานไม่ควรปฏิบตั ิ เพราะอาจ นาไปสู่ ความไม่ปลอดภัย ก. มีน้ าใจช่วยทางานแทนเพื่อนโดยไม่ได้รับ มอบหมาย ข. ปฏิบตั ิงานตามกฎข้อบังคับของโรงงานอย่าง เคร่ งครัด ค. รับผิดชอบในหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ง. ฝึ กฝนทักษะการปฏิบตั ิงาน 11 ข้อใดคืออันตรายจากมลพิษในสภาพแวดล้อมการ ทางานด้านชีวภาพ
ก. การระคายเคืองหรื อภูมิแพ้ ข. เสี ยงดัง ค. สารเคมี ง. การสั่นสะเทือน 12 การเลือกวิธีการควบคุมสิ่ งแวดล้อมการทางานให้ เหมาะสมที่สุด จะเกิดผลด้านใดมากที่สุด ก. ประหยัดเงิน ไม่ตอ้ งจ่ายทดแทนให้คนงาน ข. ผูป้ ฏิบตั ิงานที่มีสุขภาพอนามัยดี มีความ ปลอดภัยในการทางานสู ง ค. เครื่ องจักรใช้งานได้นาน ง. ใช้คนงานจานวนน้อยกว่าเป้ าหมายที่ต้งั ไว้ 13 การใช้ฉากดูดเสี ยงกั้นไว้หรื อทาห้องเก็บเสี ยงเพื่อ แยกกระบวนการผลิตหรื อเครื่ องจักรเสี ยงดัง ก่อให้เกิดผลดีทางด้านใด ก. กระบวนการผลิตที่ดีข้ นึ ข. ป้ องกันอันตรายของผูป้ ฏิบตั ิงาน ค. เสี ยงไม่รบกวนหน่วยงานอื่นๆ ง. ลดการแพร่ กระจายของมลพิษ 14 หลักการควบคุมฝุ่ นละอองในสภาพแวดล้อมการ ทางาน ใช้วธิ ี ใดเหมาะสมที่สุด ก. ใช้สารเคมีที่มีอนั ตรายน้อยกว่า ข. หาอุปกรณ์ปกปิ ด ค. ใช้เครื่ องจักรอัตโนมัติ ง. ทาให้เปี ยกชื้นแทน 15ข้อใดถูกต้องที่สุดในกระบวนการระเบิดหิน ก. ให้คนงานสวมหน้ากากเพื่อป้ องกันฝุ่ นละออง ข. ใช้หุ่นระเบิดหินแทนคน ค. ต่อสายไฟให้ยาวออกจากจุดระเบิดเพื่อป้ องกัน คนงานได้รับฝุ่ นจากการระเบิดหิน ง. ใช้กลไกอัตโนมัติ
16 ข้อใดไม่ใช่วธิ ี การป้ องกันการเจ็บป่ วยหรื อ อันตรายจากการสัมผัสสารเป็ นพิษ
ก. ให้คนงานที่มีประสบการณ์ทางานมานาน ปฏิบตั ิงานเพื่อความเคยชิน ข. ให้การศึกษาอบรมเกี่ยวกับสุ ขภาพอนามัย และความปลอดภัย ค. จัดหาห้องทางานที่มีอากาศถ่ายเทดี ง. ใช้เครื่ องป้ องกันอันตรายส่ วนบุคคล 17 ข้อใดเป็ นหลักระบายอากาศแบบวิธีทางธรรมชาติ ก. ให้คนงานทางานกลางแจ้ง ข. เปิ ดช่องว่างบนหลังคา ค. ติดพัดลมดูดอากาศจากภายในออกไป ง. ท้องที่ทึบควรให้คนทางานน้อยที่สุด 18 ข้อใดไม่ใช่วธิ ี ป้องกันการควบคุมและป้ องกัน อันตรายจากไฟฟ้ า ก. ใช้เครื่ องป้ องกันอันตรายส่ วนบุคคล ข. จัดเตรี ยมอุปกรณ์ช่วยหายใจไว้ให้พร้ อม ค. จัดเตรี ยมผูเ้ ฝ้ าสังเกตไว้ภายนอกเสมอ ง. ถูกทุกข้อ 19 ข้อต่อไปนี้ขอ้ ใดถูกต้องที่สุดในการควบคุมและ ป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ า ก. ชัยสิ ทธิ์ เอาป้ ายแขวนไว้ที่คทั เอาท์วา่ ตนทา การซ่ อมปั๊ มน้ าหน้าบ้าน ข. ธันวรัตน์ ซ่ อมปั๊ มน้ าด้วยวิธีเฝ้ าระวังไม่ให้ ใครไปยุ่งกับคัทเอาท์ ค. ยุทธศิลป์ ถอดฟิ วส์ เพื่อตัดกระแสไฟฟ้ า ง. สุ ภทั รชัย เขียนป้ ายไว้ที่ทางเข้าบ้านว่า ขณะนี้ซ่อมเครื่ องปั๊ มน้ าอยู่ 20 ข้อใดคือวิธีการที่ผิดในการป้ องกันอันตรายจาก เสี ยงโดยการควบคุมที่แหล่งเสี ยง ก. ซ่ อมบารุ งรักษาเครื่ องจักรสม่าเสมอ ข. สัง่ ให้หยุดการปฏิบตั ิงาน ค. หาวัสดุพิเศษรองเครื่ องจักร ง. ทากล่องครอบเสี ยง 21 สัญลักษณ์สีใดที่หมายถึงข้อบังคับให้ปฏิบตั ิตาม หรื อพึ่งระมัดระวังเป็ นพิเศษ ก. สี แดง
ข. สี น้ าเงิน ค. สี เขียว ง. สี เหลือง 22 สี เขียวเป็ นสัญลักษณ์สีที่เกี่ยวข้องกับความ ปลอดภัยในการทางาน หมายถึงอะไร ก. เครื่ องหมายห้าม ข. เครื่ องหมายเตือน ค. เครื่ องหมายบังคับ ง. สภาวะปลอดภัย 23 ข้อใดคือลักษณะของเครื่ องหมายเตือน ก. ให้สวมอุปกรณ์ป้องกันสี ยง ข. ห้ามใช้น้ าดับไฟ ค. ให้ใช้เข็มขัดนิรภัย ง. ระวังอันตรายจากวัตถุมีพิษ 24 เครื่ องหมายความปลอดภัยที่ใช้ในการปฏิบตั ิงาน อุตสาหกรรม แบ่งออกเป็ นกี่ประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 25 เครื่ องหมายรู ปสามเหลี่ยมด้านเท่ามีแถบตามขอบ มีสีพ้นื สี เหลือง สี ของแถบตามขอบพื้นสี ดา เป็ น ลักษณะของเครื่ องหมายใด ก. เครื่ องหมายห้าม ข. เครื่ องหมายบังคับ ค. เครื่ องหมายเตือน ง. เครื่ องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะ ปลอดภัย
26 ข้อใดไม่ใช่เครื่ องหมายบังคับ ก. ระวังอย่าให้เข้าใกล้ ข. ต้องสวมใส่ หน้ากาก ค. ผูไ้ ม่ได้รับอนุญาตห้ามซ่ อมเครื่ อง
ง. ต้องสวมใส่ ที่คลุมหัว 27 ข้อใดเป็ นลักษณะรู ปแบบพื้นที่อนั ตราย ก. เป็ นเส้นสลับสี เอียงเป็ นมุม 45 องศา กว้าง 10 ซม. ข. แต่ล่ะสี มีความยาว 20 ซม. ค. เป็ นแถบสี เหลืองสลับขาวหรื อสี เหลือง สลับดา ง. ถูกทุกข้อ 28 ข้อใดไม่ใช่พ้นื ที่อนั ตรายตลอดเวลา ก. ก๊าซไวไฟ ข. สารเคมี ค. เครื่ องกลึง ง. แผงควบคุม 29 การกาหนดขอบนอกของเส้นแถบสี พ้นื ที่อนั ตราย จะต้องมีระยะห่างจากสารเคมีหรื อเครื่ องจักร ที่เป็ น อันตรายประมาณเท่าไร ก. 10-20 ซม. ข. 30-40 ซม. ค. 40-80 ซม. ง. 50-80 ซม. 30 ข้อใดคือความสาคัญของเครื่ องป้ องกันอันตราย ก. ป้ องกันหรื อลดอันตรายที่จะเกิดขึ้น ข. เป็ นเครื่ องช่วยชีวติ จากอุบตั ิภยั ทุกชนิด ค. เป็ นเครื่ องช่วยทางานให้มีประสิ ทธิ ภาพดี ขึ้น ง. เป็ นเครื่ องมือช่วยควบคุมการทางาน
31 หน่วยงานใดมีหน้าที่ออกเครื่ องหมายมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. กรมอนามัยและสวัสดิการ กระทรวง สาธารณสุ ข
ค. กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย ง. กรมโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม 32 “ANSI” คือหน่วยงานข้อใด ก. สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ข. สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริ กนั ค. องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ ง. สานักงานป้ องกันอุบตั ิเหตุแห่งชาติ 33 ข้อใดคือหลักเกณฑ์ในการใช้เครื่ องมือป้ องกัน อันตราย ก. ใช้ให้เหมาะสมกับงาน ข. ซ่ อมแซมได้ง่าย ค. มีแบบให้เลือกหลายแบบ ง. ต้องผ่านการทดสอบมาตรฐาน 34 หมวกนิรภัยชนิดใดที่คนงานก่อสร้ างนิยมใช้ ก. แบบมีปีกขอบแข็ง ข. แบบมีปีกทรงลู่ ค. แบบไม่มีปีก ง. แบบไม่มีปีกเต็มศีรษะ 35 เครื่ องป้ องกันหูชนิดใดที่ลดเสี ยงได้ดีที่สุด ก. ที่อุดหูแบบสาลี ข. ที่อุดหูแบบใยแก้ว ค. ที่ครอบหูแบบพลาสติก ง. ที่ครอบหูแบบของเหลว 36 หมวกนิรภัยประเภทใดเหมาะสมที่จะใช้กบั งาน ดับเพลิง ก. A ข. B ค. C ง. D 37 ข้อใดคือเข็มขัดนิรภัยที่ใช้กบั ผูท้ างานในสถานที่ อันตราย ก. Direct Type ข. Indirect Type ค. Normal Type ง. Emergency Type
38 ข้อใดคือปริ มาณน้ าหนักที่รองเท้านิรภัยควรรับได้ ก. 3500 ปอนด์ ข. 2500 ปอนด์ ค. 1500 ปอนด์ ง. 1000 ปอนด์ 39 รองเท้านิรภัยชนิดใดที่ใช้แพร่ หลายในงาน อุตสาหกรรมทัว่ ไปมากที่สุด ก. ชนิดหัวโลหะ ข. ชนิดป้ องกันสารเคมี ค. ชนิดป้ องกันไฟฟ้ า ง. ชนิดป้ องกันการระเบิด 40 Leather Clothing มีคุณสมบัติในข้อใด ก. ทนกับความร้ อนและการแผ่รังสี ข. ทนความร้ อนสู งได้ดี ค. ทนต่อการถูกกระแทกและของมีคม ง. ทนต่อการถูกกยิงหรื อระเบิด 41 ข้อใดคือประโยชน์สูงสุ ดของเครื่ องจักร ก. ป้ องกันความปลอดภัยของแรงงานคน ข. เครื่ องบ่งชี้ความเจริ ญทางเศรษฐกิจ ค. ผลิตสิ นค้าได้รวดเร็ วในปริ มาณมาก ง. ถูกทุกข้อ 42 ข้อใดคือความหมายของเครื่ องจักร ก. สิ่ งที่ก่อให้เกิดพลังงาน ข. สิ่ งที่ก่อให้เกิดการแปรสภาพพลังงาน ค. สิ่ งที่ก่อให้เกิดการส่ งพลังงาน ง. ถูกทุกข้อ
43 ลักษณะเช่นใดของเครื่ องจักรที่ก่อให้เกิดอันตราย มากที่สุด ก. เครื่ องจักรที่กาลังเคลื่อนไหว ข. เครื่ องจักรที่กาลังติดตั้ง ค. เครื่ องจักรที่กาลังซ่ อมบารุ ง ง. เครื่ องจักรที่กาลังทาความสะอาด
44 ข้อใดคือสิ่ งจาเป็ นในการป้ องกันอันตรายจาก เครื่ องจักร ก. ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่ องจักร ข. จัดคนงานควบคุมตามกะการทางาน ค. ใช้เครื่ องจักรที่มีราคาแพงเพื่อป้ องกัน อันตราย ง. ให้วศิ วกรควบคุมการทางานตลอดเวลา 45 ข้อดีของเครื่ องป้ องกันอันตรายที่ทาจากพลาสติก คืออะไร ก. มองเห็นการทางานของเครื่ องจักร ข. แข็งแรงทนทาน ค. ป้ องกันอันตรายได้ดี ง. ราคาถูก 46 ข้อใดไม่ใช่ปัญหาอุปสรรคที่เกิดจากพฤติกรรม ของคนในการใช้เครื่ องจักร ก. ขาดความรู ้ ข. ขาดแสงสว่าง ค. ใช้งานไม่เป็ น ง. ประมาท 47 ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. การขับเคลื่อนยานพาหนะภายในโรงงาน ต้องขับชิดขวาเสมอ ข. ผูป้ ฏิบตั ิภายในโรงงานต้องระมัดระวัง ยานพาหนะที่ขยั เคลื่อนไปมาเสมอ ค. ความเร็ วในการขับเคลื่อนย้ายพาหนะ สาหรับงานหนักต้องไม่เกิน 8-15 กม./ชม. ง. เมื่อผ่านทางแยกหัวมุม จุดอับหรื อทางเข้า ให้ใช้สัญญาณไฟฉุ กเฉิ นเสมอ 48 ข้อใดคือข้ อดีของการใช้เครื่ องมือช่วยเคลื่อนย้าย ของ ก. บรรทุกของได้มากไม่จากัดจานวน ข. ลดอัตราการจ้างแรงงานได้มาก ค. ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ง. ประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่าย 49 การยกของที่ถูกวิธีควรใช้ส่วนใดรับน้ าหนัก
ก. หลัง ข. ไหล่ ค. ขา ง. บ่า 50 การจัดเก็บของที่มีน้ าหนัก ควรทาอย่างไร ก. วางซ้อนกันในแนวตั้งชิดฝา ข. วางขยายในแนวนอนตามพื้น ค. วางของให้สูงเพื่อประหยัดเนื้อที่ ง. ไม่มีขอ้ ถูก ข้ อ 51-56 ให้ นักศึกษาเลือก (ข้ อ ก)ในข้ อที่มีข้อความ ถูกต้ อง และเลือก (ข้ อ ข)ในข้ อที่มีข้อความที่ผิด 51 แบตเตอรี่ เป็ นแหล่งกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง 52 การทาปฏิกิริยาทางเคมี เป็ นกระบวนการผลิต ไฟฟ้ าของไดนาโม 53 พลังงานไฟฟ้ าจากพลังน้ า จะได้จากเขื่อน เช่น เขื่อนสิ ริกิต์ ิ,เขื่อนลาตะคลอง,เขื่อนต้นน้ าแม่กลอง 54 ปริ มาณกระแสไฟฟ้ า 8-20 (มิลลิแอมแปร์ )รู ้ สึก จัก๊ จี้ หรื อกระตุกเล็กน้อย 55 สายดินต้องเป็ นโลหะ ไม่ผุกร่ อนง่าย 56 ไซเกิลสู งๆ จะมีอนั ตรายน้อยสามารถนามาใช้ ประโยชน์ทางการแพทย์ได้โดยไม่มีอนั ตราย 57 กระแสไฟฟ้ าสลับ 220 โวลต์ ทาให้หวั ใจเต้น ผิดปกติ 58 กระแสไฟฟ้ าสลับ 1000 โวลต์ ทาให้หยุดหายใจ 59 เมื่อเกิดไฟฟ้ าดับ ควรสับสวิตซ์ให้วงจรไฟฟ้ าเปิ ด 60 ผิวหนังปกติของมนุษย์จะมีความต้านทาน กระแสไฟฟ้ าประมาณ 4000 โอห์ม
เฉลยข้ อสอบย่อย ชื่อ-นามสกุล................................................................ห้อง................................เลขที่................................. วันที่ทาการสอบ............................................................................................................................................ ข้ อ ก ข ค ง ข้ อ ก 1 21 2 22 3 23 4 24 5 25 6 26 7 27 8 28 9 29 10 30 11 31 12 32 13 33 14 34 15 35 16 36 17 37 18 38 19 39 20 40
ข ค ง ข้ อ ก ข ค ง ข้ อ ก ข ค ง 41 61 42 62 43 63 44 64 45 65 46 66 47 67 48 68 49 69 50 70 51 71 52 72 53 73 54 74 55 75 56 76 57 77 58 78 59 79 60 80