คู่มือแบบฟอร์มและเอกสารการตรวจรับบ้านก่อนโอน

Page 1

คู่มือ

แบบฟอร์มและเอกสารการตรวจรับ บ้านก่อนโอน

แบบฟอร์ มและเอกสารการตรวจรับบ้ านก่อนโอนได้ จดั ทาขึ ้นเพื่อรวบรวม ข้ อมูลหลังจากบ้ านสร้ างเสร็จก่อนขาย เป็ นการตรวจสอบความสวยงาม ความเรี ยบร้ อย ข้ อบกพร่ องและลักษณะทางกายภาพของตัวบ้ าน เพื่อจะได้ บ้ านที่มีคณ ุ ภาพและสามารถใช้ งานได้ พร้ อมทังน่ ้ าอยู่ น่าอาศัย

เรี ยบเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร ครุศาสตร์ โยธา มจธ.


คำนำ คูม่ ือเล่มนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของโครงการวิจยั นักศึกษาชันปี ้ ที่ 4 คณะครุศาสตร์ อตุ สาหกรรมและ เทคโนโลยีภาควิชาครุศาสตร์ โยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี ได้ จดั ทาขึ ้น เพื่อ ตรวจสอบบ้ านก่อนโอน ซึง่ เป็ นลักษณะบ้ านที่สร้ างเสร็จพร้ อมโอนโดยที่ผ้ ซู ื ้อ สามารถหาซื ้อได้ จาก บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ตา่ งๆ ตามท้ องตลาด สิ่งที่ควรทราบก่อนการตรวจรับบ้ านคือ การตรวจสอบบ้ านก่อนโอน ซึง่ เป็ นการตรวจบ้ านแค่ปลาย ทางเท่านัน้ ไม่สามารถที่จะตรวจเช็คความเรี ยบร้ อยของตัวบ้ านโดยเฉพาะความแข็งแรง ทางที่ดีที่สดุ คือ ต้ องมีการตรวจเช็คการสร้ างบ้ าน เป็ นระยะๆ ตลอดเวลาการก่อสร้ าง อย่างไรก็ตาม บ้ านจัดสรรที่ขายตามโครงการส่วนใหญ่นนจะขายบ้ ั้ านเป็ นลักษณะบ้ านสร้ างเสร็จก่อน ขาย ทาให้ เจ้ าของบ้ านเองไม่สามารถทราบข้ อมูลบ้ านที่ซื ้อมานันจะไม่ ้ มีปัญหาตามมากวนใจในอนาคต ดังนันผู ้ ้ จดั ทาคูม่ ือเล่มนี ้จึงได้ รวบรวมข้ อมูลเกี่ยวกับการตรวจรับบ้ านก่อนโอน จากเอกสาร ตารา ผู้เชี่ยวชาญและตามโครงการบ้ านจัดสรต่างๆ คูม่ ือการตรวจรับบ้ านก่อนโอนเล่มนี ้จึงได้ เรี ยบเรี ยงเนื ้อหา เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ ในการตรวจรับบ้ าน วิธีการตรวจบ้ าน ปั ญหาที่มกั พบในการตรวจรับบ้ านและ แบบฟอร์ มที่สามารถนาไปใช้ ในการจดบันทึกขณะตรวจรับบ้ านได้ ด้วยตนเอง เพื่อให้ บคุ คลที่ยงั ขาด ความรู้ความชานาญในเรื่ องการตรวจรับบ้ านด้ วยตนเอง นาเอาข้ อมูลเหล่านี ้ไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ในชีวิตประจาวันได้ จริง หากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี ้ด้ วย

วรัชญา มาตรไตร ผู้จดั ทา


สำรบัญ เรื่ อง

หน้ ำ

1. การตรวจรับบ้ านคืออะไร………………………………………………………………………1 2. ประโยชน์ในการตรวจรับบ้ านก่อนโอนด้ วยตนเอง…………………………………………… 1 3. อุปกรณ์ที่ใช้ ในการตรวจบ้ าน………………………………………………………………… 2-4 4. สิ่งที่ต้องตรวจสอบ……………………………………………………………………………. 5 5. ขันตอนการตรวจสอบ………………………………………………………………………… ้ 6 5.1 พื ้นที่นอกตัวบ้ าน…………………………………………………………………….7 บริเวณรัว้ บ้ าน………………………………………………………………….7 ดินถม………………………………………………………………………….7 การระบายน ้า………………………………………………………………….8 การลาดเอียงของพื ้นบริเวณจอดรถ……………………………………………8 วัสดุปพู ื ้นบริเวณภายนอก………………………………………………………8 ผนังภายนอก…………………………………………………………………..8 งานโครงสร้ าง…………………………………………………………………..9 ตรวจสอบรอยร้ าว……………………………………………………………..9 ตรวจสอบโครงสร้ างต่างๆ………………………………………………………9 โครงสร้ างเหล็กรับหลังคาที่อยูด่ ้ านบน…………………………………………9 โครงสร้ างคอนกรี ตเสริมเหล็กและโครงสร้ างที่เป็ นวัสดุอื่นๆ……………….....10 5.2 งานหลังคา………………………………………………………………………….11 หลังคาทังหมดของบ้ ้ าน………………………………………………………...11 ชายหลังคา……………………………………………………………………..11


เรื่ อง

หน้ ำ 5.3 งานพื ้น……………………………………………………………………………….12 พื ้นที่ปดู ้ วยกระเบื ้องหินและพื ้นโมเสก……………………………………………..12 พื ้นปาร์ เก้ …………………………………………………………………………...12 พื ้นไม้ จริงและพื ้นไม้ แผ่น…………………………………………………………...12 พื ้นไม้ ลามิเนต หรื อไม้ เทียม………………………………………………………...12 พื ้นปูหินธรรมชาติ พื ้นหินแกรนิต พื ้นหินอ่อน………………………………………13 พื ้นกระเบื ้องเซรามิค………………………………………………………………..13 วัสดุจาพวกพรม…………………………………………………………………….13 5.4 งานผนัง………………………………………………………………………………14 ผนังภายในและภายนอก(คอนกรี ต)………………………………………………..14 งานวอลเปเปอร์ ……………………………………………………………………..14 กระเบื ้องติดผนัง…………………………………………………………………….14 5.5 งานฝ้าเพดาน………………………………………………………………………...15 ฝ้าเพดานแบบฉาบเรี ยบ…………………………………………………………….15 ฝ้าเพดานทีบาร์ ………………………………………………………………………15 ฝ้าเพดานแบบปูนเปลือย…………………………………………………………….15 ฝ้าเพดานแบบสาเร็จหรื อฝ้าอลูมิเนียม………………………………………………16 ฝ้าเพดานแบบไม้ …………………………………………………………………….16

5.6 งานช่องเปิ ด………………………………………………………………………………17 ประตูบานเปิ ด……………………………………………………………………….17 ประตูบานเลื่อน……………………………………………………………………...17 ช่องบานเปิ ด…………………………………………………………………………17


เรื่ อง

หน้ ำ ช่องกระจก………………………………………………………………………….17 ลูกบิด………………………………………………………………………………17 กลอนประตู-ลูกบิด…………………………………………………………………18 วงกบ………………………………………………………………………………..18 ตัวล็อคและกลอนต่างๆ…………………………………………………………….18 มือจับบานเปิ ด……………………………………………………………………..18 มุ้งลวด………………………………………………………………………………19 การอัดซิลิโคนและยางกันฝุ่ นขอบประตู – หน้ าต่าง………………………………..19 ส่วนของช่องปิ ดอื่นๆ………………………………………………………………..19 5.7 ระบบไฟฟ้า…………………………………………………………………………20 สวิทซ์ไฟฟ้าแบบทางเดียว………………………………………………………..20 สวิทซ์ไฟฟ้าแบบ 2 ทาง…………………………………………………………..20 ระบบไฟตัดอัตโนมัติ……………………………………………………………...21 ระบบน ้าร้ อนและระบบปรับอากาศ………………………………………………21 การร้ อยสายไฟ…………………………………………………………………...22 การตรวจสอบระบบสายโทรศัพท์………………………………………………..22 สายไฟฟ้า………………………………………………………………………...23 กริ่ งไฟ…………………………………………………………………………….23 5.8 ระบบสุขภัณฑ์…………………………………………………………………….24 อ่างล้ างหน้ า……………………………………………………………………..24 อ่างอาบน ้า………………………………………………………………………24 ชักโครก………………………………………………………………………….24


เรื่ อง

หน้ ำ

โถปั สสาวะชาย…………………………………………………………………….25 วัสดุ-อุปกรณ์ อื่นๆ…………………………………………………………………25 5.9 ระบบสุขาภิบาล…………………………………………………………………….26 ระบบท่อน ้าดี………………………………………………………………………26 ระบบท่อน ้าเสีย……………………………………………………………………26 ท่อโสโครก…………………………………………………………………………26 บ่อดักไขมัน………………………………………………………………………..27 ท่อระบายอากาศ………………………………………………………………….27 ระบบระบายน ้าฝน………………………………………………………………..27 5.10 งานบันได………………………………………………………………………….28 5.11 งานทาสี…………………………………………………………………………...28 6. ตัวอย่างที่มกั พบบ่อยครัง้ ในการตรวจรับ……………………………………………29-31 7. ตารางแบบฟอร์ มที่ใช้ ในการตรวจสภาพบ้ าน พื ้นที่นอกบ้ าน……………………………………………………………………32-35 ห้ องโถง-รับแขก………………………………………………………………….36-43 ห้ องครัว………………………………………………………………………….44-45 ห้ องนอน…………………………………………………………………………46-53 ห้ องน ้า…………………………………………………………………………..54-58 ระบบสุขาภิบาล………………………………………………………………...59-60 8. ข้ อมูลที่ควรทราบภายหลังรับมอบบ้ านแล้ ว……………………………………….61


1 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

การตรวจรับบ้ าน เป็ นการตรวจสอบลักษณะทางกายภาพของระบบต่างๆภายในบ้ าน เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบสุขาภิบาล งานสถาปั ตยกรรมตกแต่ง (ตกแต่ง) และงานโครงสร้ างว่ามี มาตรฐานหรื อไม่ โดยการตรวจสอบสภาพด้ วยสายตาและใช้ เครื่ องมือทดสอบ จะใช้ เวลาใน นานมากน้ อยขึ ้นอยู่กบั ขนาดพื ้นที่ใช้ สอยและรายละเอียดของบ้ านก่อนเจ้ าของบ้ านจะย้ าย เข้ าไปอาศัย เพื่อได้ บ้านที่ดีมีคณ ุ ภาพ สวยงาม .

1.เป็ นแนวทางป้องกันปั ญหาและช่วยลดปั ญหาที่เกิดจากการบ้ านที่ไม่มี

คุณภาพ 2.เป็ นแนวทางศึกษาหาความรู้ ในการตรวจรับบ้ านให้ ผ้ ท ู ี่สนใจทราบ 3.ได้ ทราบถึงวัสดุต่างๆของบ้ านว่ามีมาตรฐาน และอายุการใช้ งานที่ยาวนานขึ ้นหรื อไม่

4.สามารถอธิบายหลักการตรวจสอบบ้ านก่อนโอนให้ ผ้ อู ื่นทราบได้

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


2 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

อุปกรณ์ ท่ ใี ช้ ในกำรตรวจบ้ ำน ลำดับที่

หัวข้ อหลัก

วิธีใช้ งำน

1.

กระดำษจดข้ อมูล (แบบฟอร์ ม)

2.

อุปกรณ์ สำหรั บ บันทึก

3.

ผังแบบแปลน ของบ้ ำน

เจ้ าของบ้ านอาจขอได้ จากผู้ขาย หากท่านเจ้ าของบ้ านหา แบบบ้ านไม่ได้ ให้ ถ่ายจากสาเนาแบบบ้ านโฆษณาจะช่วย แก้ ไขได้ ถ้ าแบบที่ได้ มาไม่แสดงขอบเขตที่ดิน ให้ เขียนเส้ น ขอบเขตที่ดินและถนนหน้ าบ้ านลงไปด้ วยและใส่ สัญลักษณ์ทิศเหนือให้ ชดั เจนบนผังจะทาให้ สามารถ อ้ างอิงบริเวณต่างๆของบริเวณบ้ านได้ ง่ายและชัดเจนเพิ่ม มากขึ ้น

4.

อุปกรณ์ ทำ เครื่ องหมำย

อุปกรณ์ที่แนะนาคือ เทปพันสายไฟ และชอล์ก หรื อทา เป็ นสติกเกอร์ มาติด ข้ อดีของเทปพันสายไฟ คือ มีสีเด่นชัด เมื่อลอกออกแล้ ว ไม่ทาให้ วสั ดุของตัวบ้ านเสียหาย ข้ อเสียของชอล์ก คือ อาจจะเขียนไม่ติดบนบางพื ้นผิว อุปกรณ์ทาเครื่ องหมายสามารถทาให้ ทราบจุดบกพร่อง ของบ้ าน และยังเป็ นประโยชน์สาหรับการอ้ างอิงเมื่อ พนักงานของโครงการจะมาซ่อมแซมจุดบกพร่องได้ ง่าย

แนะนาให้ ใช้ กระดาษแบบมีเส้ นบรรทัดขนาด A4 ทังนี ้ ้ เอกสารการจดข้ อมูลต้ องมีหวั ข้ อและรายการพร้ อมกับ แสดงวันเวลาสถานที่ ที่ไปทาการตรวจเพื่อใช้ แสดง จุดดีจดุ ด้ อยของบ้ าน เช่น ดินสอ ปากกา

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


3 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

5.

ไฟฉำย

ใช้ เพื่อส่องดูตามจุดต่างๆที่แสงสว่างไม่เพียงพอ เช่น บริเวณเหนือฝ้าเพดาน ภายในช่องท่อต่างๆ

6.

คัตเตอร์ หรื อ กรรไกร

ใช้ สาหรับตัดเทปพันสายไฟ หรื อถ้ าสะดวกก็สามารถดึง เทปด้ วยมือก็ได้

7.

เศษผ้ ำ

8.

ไม้ ท่ วั ไปหรื อ ไม้ บรรทัด

9.

ลูกแก้ วหรื อ เหรี ยญบำท

ใช้ สาหรับเช็ดบริเวณที่น ้าซึมรวมถึงใช้ อดุ ช่องระบายน ้า เพื่อขังน ้าไว้ ในบริเวณต่างๆ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของ การระบายน ้า เป็ นไม้ ที่มีความตรงและยาว หรื อใช้ ไม้ บรรทัดที่มีขนาด ยาว เพื่อใช้ สาหรับการตรวจสอบระนาบต่างๆว่ามีความ เรี ยบเสมอกันหรื อไม่ ใช้ เพื่อตรวจสอบความลาดเอียงต่างๆของบ้ าน

10.

ขนมปั ง

11.

กล้ องถ่ ำยรู ป

12.

อุปกรณ์ ไฟฟ้ำที่ เสียบกับระบบ

13.

โทรศัพท์ บ้ำน

ใช้ สาหรับเป็ นตัวแทนของสิ่งปฏิกลู ต่างๆ เพื่อตรวจสอบ การไหลเวียนของระบบสุขภัณฑ์ให้ เลือกแบบที่ไม่มีขอบ ขนมปั ง ใช้ สาหรับบันทึกจุดที่ต้องการให้ โครงการแก้ ไข การ บันทึกภาพควรบันทึกภาพโดยการเรี ยงตามลาดับให้ ตรงกับรายการที่จดไว้ เช่น โคมไฟ หรื ออุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีความสามารถเสียบกับ ปลัก๊ ไฟฟ้าได้ เพื่อทดสอบระบบไฟฟ้านันว่ ้ าใช้ งานได้ หรื อไม่ ควรใช้ อย่างน้ อย 2 เครื่ องแบบใช้ ถ่านไฟฉาย ใช้ เพื่อ ตรวจสอบระบบโทรศัพท์ภายในบ้ านว่าสามารถใช้ ติดต่อกันได้

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


4 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

14.

ไขควง

15.

ถุงมือรองเท้ ำยำง

16.

ตลับเมตร

ใช้ สาหรับตรวจวัด เช็คระยะของสัดส่วนต่างๆภายในบ้ าน เช่น ขันบั ้ นได ลูกตัง้ ลูกนอน เป็ นต้ น

17.

ระดับนำ้

ใช้ สาหรับตรวจวัดระดับของพื ้นบ้ าน เพื่อเช็คความ สม่าเสมอกันของพื ้น

ใช้ สาหรับตรวจสอบว่าจุดใดมีไฟฟ้าไม่มีไฟฟ้า สามารถใช้ ตรวจสอบระบบสายดินและการต่อสายไฟที่ผิดประเภท การใช้ งานอุปกรณ์ประเภทนี ้หากขาดความรู้และความ ชานาญ ให้ งดการตรวจสอบในเรื่ องนี ้ ควรให้ ผ้ ทู ี่มีความ ชานาญตรวจสอบ ใช้ สาหรับสวมใส่เพื่อความปลอดภัยเวลาตรวจระบบ ไฟฟ้า เพื่อไม่ให้ ไฟฟ้าที่อาจจะลัดวงจรวิ่งเข้ าสู่ร่างกาย

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


5 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

สิ่งที่ต้องตรวจสอบ 1.

พื ้นที่นอกตัวบ้ าน

2.

งานโครงสร้ าง

3.

งานหลังคา

4.

งานพื ้น

5.

งานผนัง

6.

งานฝ้าเพดาน

7.

งานช่องเปิ ด

8.

ระบบไฟฟ้า

9.

ระบบสุขภัณฑ์

10.

ระบบสุขาภิบาล

11.

งานบันได

12.

งานทาสี

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


6 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ขัน้ ตอนกำรตรวจสอบ กำรตรวจสอบบ้ ำนก่ อนโอน ควรที่จะศึกษาสัญญาซื ้อขาย เงื่อนไขต่างๆที่ทาไว้ กบั โครงการ โดยเฉพาะเพื่อรักษาผลประโยชน์ตา่ งๆที่โครงการเสนอให้ ตงแต่ ั ้ ตอนแรกท่านเจ้ าของบ้ านควร ทาการวางแผนนัดวันตรวจรับบ้ านในตอนเช้ า เพื่อให้ ได้ มีเวลาในการตรวจสอบบ้ านได้ ทงวั ั้ น ไม่แนะนาการตรวจรับบ้ านเวลาเย็นหรื อกลางคืน เนื่องจากจะมีแสงสว่างไม่เพียงพอที่จะทาให้ การตรวจสอบข้ อบกพร่องของงานก่อสร้ างได้ ทงหมด ั้ ควรไปอย่างน้ อย 2-3 คน จะได้ ให้ คน หนึง่ เป็ นคนตรวจสอบ อีกคนทาการบันทึกภาพ เพื่อเก็บหลักฐานในการตรวจสอบบ้ าน

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


7 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่ 1.

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

พืน้ ที่นอกตัวบ้ ำน

บริเวณรัว้ บ้ ำน

- ตรวจลักษณะการก่อสร้ างรัว้ รัว้ ต้ องไม่เอียง ไม่ล้ม ไม่มีรอยร้ าว - สีทาและวัสดุที่ใช้ บผุ ิวรัว้ ต้ องเรียบร้ อย สวยงาม - ไม่มีรอยสกปรกต่างจากการก่อสร้ าง เหลือไว้ ให้ เห็น

ดินถม

- บริ เวณรอบบ้ านดินต้ องถมเต็มพื ้นที่ อย่างน้ อยต้ องมีการปรับระดับของดิน - ลักษณะในการถมที่เป็ นเนินต้ องเป็ น เนินที่สวยงาม ไม่มีหลุม มีบอ่ นอกจากจะทา บ่อขึ ้นมาเอง - ไม่มีเศษวัสดุก่อสร้ างค้ างเหลือในพื ้นที่ โดยเฉพาะเศษปูนก่อสร้ างต้ องให้ โครงการ เก็บออกไปให้ หมดเพราะเศษปูนเหล่านี ้ถ้ า หากทิ ้งไว้ จะมีผลต่อการปลูกต้ นไม่และ การจัดสวน

Note : - ท่อระบายน ้าควรจะต้ องมีบอ่ พักน ้าที่มีฝาเปิ ดเพื่อทาการซ่อมบารุงทุกระยะ 12 เมตรและทุกจุดที่ เปลีย่ นทิศทางของท่อการใช้ ปนู ทรายซ่อมแซมนันไม่ ้ มีความแข็งแรงเพียงพอต่อการใช้ งานเป็ นถนน และที่จอดรถยนต์ โดยถ้ ามีการใช้ งานไปนานๆแล้ วปูนทรายที่ใช้ ซอ่ มแซมนันจะเกิ ้ ดการแตกร้ าวและหลุดร่อนไป

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


8 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย กำรระบำยนำ้

ขัน้ ตอนกำรตรวจ - ตรวจสอบรางระบายน ้าหรื อจุดสาหรับการ ระบายน ้าอยูร่ อบที่ดิน อย่างน้ อยควรมี แนวทางน ้าไหลไปในทิศทางที่ไม่ไหลกลับ เข้ าหาตัวบ้ าน โดยนาน ้าเทลาดในปริ มาณ ที่มากพอสมควร เพื่อดูแนวการไหลของน ้า ออกจากตัวบ้ านโดยไม่ทว่ มขัง - น ้าทิ ้งทังหมดต้ ้ องมีวิธีระบายออกจากที่ดิน ของบ้ านได้ เร็ วที่สดุ - สอบถามแนวทางการระบายน ้าของบ้ าน กับทางโครงการ

กำรลำดเอียงของพืน้ - ทดสอบเทน ้าใส่ถงั ลาดลงพื ้น เพื่อตรวจหา บริเวณจอดรถ รอยรั่วซึมของน ้าเวลาฝนตกจะไม่ขงั - พื ้นที่จอดรถจะต้ องเรี ยบเสมอไม่มีผิว ขรุขระ ไม่มีรอยซ่อมแซมโดยการใช้ ปนู ทราย การซ่อมแซมพื ้นถนนต้ องใช้ คอนกรี ตเสมอ

วัสดุปูพนื ้ บริเวณ ภำยนอก

ผนังภำยนอก

- ให้ สงั เกตความเรียบร้ อยของผิว การตรวจสอบสามารถสวมรองเท้ าเดิน บนพื ้น เพื่อเช็คความสมา่ เสมอพื ้น - ตรวจหารอยร้ าวต่างๆทังรอยใหญ่ ้ และเล็กว่ามี รอยร้ าว จดบันทึกและ ถ่ายรูปให้ ชดั เจน - สีที่ทาผนังต้ องมีความสม่าเสมอเรี ยบร้ อย - ถ้ าเป็ นวัสดุบผุ ิวภายนอกอื่นๆ ให้ ตรวจสอบดู ความเรี ยบร้ อยสวยงาม วัสดุตกแต่งต้ องไม่ แตกบิ่น และไม่มีร่องรอยสกปรก

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


9 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ หัวข้ อหลัก ที่ 2. งำนโครงสร้ ำง “การตรวจสอบ โครงสร้างบ้านก่อนโอน นัน้ สามารถดูทีป่ ลาย เหตุเท่านัน้ เนือ่ งจาก บ้านทีส่ ร้างเสร็ จแล้ว ส่วนของโครงสร้าง ทัง้ หมดจะถูกปิ ดบัง เอาไว้ดว้ ยส่วนตกแต่ง ต่างๆไปทัง้ หมด เช่น เสาและคานจะถูกทับ ด้วยปูนฉาบ ดังนัน้ ปั ญหาโครงสร้างทีต่ รวจ พบจึ งเป็ นแค่ปลาเหตุ”

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

ตรวจสอบรอยร้ ำว

- สังเกตดูรอยร้ าวที่แตกตามของมุมวงกบ ประตูหน้ าต่างที่เป็ นรอยเฉียง แต่ก็ไม่ ใช่ รอย แตกร้ าวของโครงสร้ างหลัก เช่น ไม่มีการทา เสาเอ็นหรื อทับหลังรอบช่องเปิ ดที่เป็ นประตู หรื อหน้ าต่าง

ตรวจสอบ โครงสร้ ำงต่ ำงๆ

- การตรวจสอบโครงสร้ างต่างๆ คือ การดูรูปร่าง ลักษณะของโครงสร้ างต่างๆ เช่น เสา คาน ต้ องไม่มีรูปร่าง ผิดปกติ เช่น คานไม่งอ ไม่โค้ ง ไม่แอ่น -โครงสร้ างฝ้ าเพดาน โครงสร้ างผนัง ไม้ ทังหมดต้ ้ องทาด้ วยน ้ายากันปลวกรอบทุกด้ าน ของโครงไม้ และไม้ ทงหมดต้ ั้ องไม่มีรอยผุ ไม่มี รอยกักแทะมอดและปลวก

โครงสร้ ำงเหล็กรับ หลังคำที่อยู่ด้ำนบน

- ใช้ บนั ไดปี นขึ ้นไปเหนือเพดานชันบนใน ้ บริ เวณช่องเปิ ดฝ้ าเพดาน เพื่อตรวจสอบดู โครงสร้ างเหล็กที่รับหลังคา

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


10 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

โครงสร้ ำงคอนกรีตเสริม - โครงสร้ างเหล็กปั จจุบนั นิยมนามาทา โครงสร้ างหลังคาแทนโครงสร้ างไม้ หรื อ เหล็กและโครงสร้ ำง คอนกรี ตเสริ ม ที่เป็ นวัสดุอ่ ืนๆ - การตรวจสอบโครงสร้ างเหล็ก คือ ผิวของ โครงสร้ างเหล็กทังหมดต้ ้ องทาสีกนั สนิมหรื อสี น ้ามัน และต้ องเคลือบปิ ดผิวเหล็กทุกบริ เวณ เพื่อป้องกันอากาศสัมผัสกับผิวเหล็ก ซึง่ เป็ น สาเหตุของการเกิดสนิมเหล็ก - ตรวจสอบการเชื่อมต่อโครงเหล็ก ว่าอยูใ่ น สภาพเรี ยบร้ อยหรื อไม่ ควรจะมีรอยเชื่อมที่ เต็มพื ้นที่หน้ าตัดเหล็ก - ตรวจสอบระยะห่างของระแนงหรื อแปรที่รับ กระเบื ้องหลังคาต้ องมีระยะห่างที่สม่าเสมอ

Note : การตรวจสอบเหนือฝ้าเพดานควรดาเนินการในช่วงเช้ าเพราะว่า ถ้ าเป็ นช่วงสายบริ เวณเหนือฝ้าเพดาน จะมีอณ ุ หภูมิสงู มากจะทาให้ เป็ นอุปสรรคในการตรวจสอบ และใช้ ไฟฉายที่เตรี ยมเป็ นอุปกรณ์ทชี่ ่วยในเรื่ องของแสงไม่ เพียงพอ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


11 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่ 3.

หัวข้ อหลัก งำนหลังคำ

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

หลังคำทัง้ หมดของบ้ ำน - ใช้ สายยางฉีดไปบนหลังคาหาก หลังคารั่วจะ ทิ ้งคราบน ้าตามบริเวณต่างๆ เช่น ขอบฝ้า เพดาน หรื อสีที่ทาเพดานอาจจะมีรอยด่าง - ตรวจหาแสงที่ลอดเข้ ามาบริเวณผิวใต้ หลังคา ถ้ ามีแสงลอดเข้ ามาอย่างชัดเจนแสดงว่า บริ เวณดังกล่าวอาจจะเป็ นจุดทีม่ ีฝนรั่วเข้ าได้

ชำยหลังคำ

- กระเบื ้องหลังคาที่ปิดรอบชายคาจะต้ องติดตัง้ ได้ อย่างแข็งแรงมีตะปูหรื อหรื ออุปกรณ์ยดึ ขัน อยูท่ กุ รูของกระเบื ้องปิ ดชายคา - ถ้ ามีการเจาะช่องระบายอากาศที่บริ เวณฝ้า ชายคาควรจะต้ องติดตังมุ ้ ้ งลวด เพื่อป้องกัน สัตว์และแมลงเข้ าใต้ หลังคา ต้ องไม่มีรอยของ น ้าซึมหรื อน ้ารั่วปรากฏให้ เห็นทุกบริ เวณ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


12 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่ 4.

หัวข้ อหลัก งำนพืน้

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

พืน้ ที่ปูด้วยกระเบือ้ งหิน - ใช้ เหรียญเคาะไปบนวัสดุปพู ื ้นทุกแผ่น หรื อใช้ แท่งไม้ เคาะ ฟั งเสียงจากการเคาะ และพืน้ โมเสก หากพบว่าเสียงกลวง แสดงว่าปูพื ้นไม่เต็มแผ่น

พืน้ ปำร์ เก้

- ใต้ พื ้นปูปาร์ เก้ ต้องมีรองกันความชื ้นก่อน - ตรวจการขัดพื ้นและการลงแลคเกอร์ มีความ เรี ยบเนียนให้ ครบทุกจุด - ตรวจแนวระยะและลายของการปูปาร์ เก้ ต้ องเรี ยบร้ อย สวยงาม

พืน้ ไม้ จริงและ พืน้ ไม้ แผ่ น

- สังเกตดูไม่มีไม้ ชิ ้นใดที่สดี าไหม้ ไม่มีแผ่นไม้ บางส่วนที่สขี องไม้ ที่แตกต่างออกไปจากกลุม่ - ผิวของไม่ปพู ื ้นจะต้ องมีความเรียบสม่าเสมอ เวลาเดินด้ วยเท้ าเปล่าแล้ วต้ องไม่สะดุด หรื อมี เสี ้ยนไม้ ตาเท้ า - ร่องระหว่างแผ่นไม้ ไม่ใหญ่จนเกินไป ให้ สมมุติ ว่าช่องว่างระหว่างแผ่นไม้ ไม่ควรเกินความ หนาของก้ านไม้ ขีดไฟ

พืน้ ไม้ ลำมิเนต หรือไม้ เทียม

- วัสดุประเภทนี ้ไม่คอ่ ยมีปัญหา เนื่องจากเป็ น วัสดุที่ผลิตจากโรงงาน - ตรวจสอบ หลังจากปูพื ้นแล้ วพื ้นต้ องเรี ยบ เนียน สม่าเสมอ ไม่โก่ง หรื อแอ่นตัว

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


13 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย พืน้ ปูหนิ ธรรมชำติ พืน้ หินแกรนิต พืน้ หินอ่ อน

ขัน้ ตอนกำรตรวจ - ตรวจสอบหินธรรมชาติเรื่ องสีของหิน และ ความเรี ยบของพื ้น - ตรวจดูการมีรอยด่างของแผ่นหิน - ตรวจหารอยแตกร้ าว รอยบิ่น

พืน้ กระเบือ้ งเซรำมิค

- ตรวจสอบเรื่ องโพรงใต้ พื ้น - ตรวจเรื่ องสี ปั จจุบนั กระเบื ้องเซรามิคที่ผลิต มาจากโรงงานที่ได้ มาตรฐาน มักไม่คอ่ ยมี ปั ญหา เนื่องจากเทคโนโลยีการผลิตกระเบื ้อง ในปั จจุบนั ดีขึ ้นมาก - ตรวจสอบรอยแตกต่างๆของกระเบื ้อง - แนวการปู ต้ องได้ แนวเรี ยบร้ อยสวยงาม ตังฉากกั ้ บผนังและวัสดุแผ่นอื่นๆ

วัสดุจำพวกพรม

- เป็ นพรมทอหรื อพรมพีวซี ี ปั จจุบนั วัสดุชนิดนี ้ แม้ วา่ จะไม่เป็ นที่นิยม แต่ยงั คงมีการใช้ อยู่ ถ้ าเลือกใช้ พรมทีเ่ ป็ นพื ้น - ระวังเรื่ องการติดตังพื ้ ้นพรมต้ องมีความ เรี ยบร้ อย - ระดับพื ้นต้ องสมา่ เสมอ พรมต้ องไม่ชื ้น พรมต้ องสะอาดไม่มีคราบต่างๆ เมื่อตบผิว พรมจะต้ องไม่มีฝนฟุ ุ่ ้ งออกมา - การติดตังพรมบริ ้ เวณขอบพื ้นรอบห้ องพื ้น แนวของพรมต้ องสนิทกับขอบผนัง

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


14 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

Note : ควรขอแผ่นกระเบื ้องสารองเก็บไว้ ด้วย เพราะตามหมูบ่ ้ านจัดสรรต่างๆนิยมสัง่ กระเบื ้องจากประเทศจีน และมักจะมีแผ่นใหญ่และราคาถูกกว่ากระเบื ้องไทย ดังนันถ้ ้ ากระเบื ้องที่ปไู ปแล้ วแตกเสียหายในภายหลัง การหาซื ้อ กระเบื ้องทดแทนเกือบเป็ นสิง่ ที่เป็ นไปไม่ได้ เนื่องจากซื ้อจากคนละที่

ลำดับ ที่ 5.

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

งำนผนัง

ผนังภำยในและ ภำยนอก (คอนกรีต)

- ตรวจเรื่ องการได้ ดงิ่ ได้ ฉาก - ตรวจการฉาบปูน มีลกั ษณะที่เรี ยบสม่าเสมอ ต้ อง ไม่มีสว่ นใดปูดออก และเป็ นหลุม ไม่มี รอยแตกร้ าวทังขนาดใหญ่ ้ และขนาดเล็ก - งานบัวพื ้นและมอบฝ้ าทีด่ ีนนต้ ั ้ องมีการติดตัง้ ที่แนบสนิทกับผนังและไม่แอ่นไม่โก่งตัว ไม่คด ไม่งอ และได้ ระดับเท่ากันทัว่ ทังห้ ้ อง

งำนวอลเปเปอร์

- กรณีที่ติดวอลเปเปอร์ ให้ ตรวจการติด วอลเปเปอร์ ตามผนังบ้ าน มีความเรียบร้ อย สวยงาม รอยต่อแนบสนิทกันดี ไม่มีโพรง อากาศ - ตรวจวอลเปเปอร์ ต้องไม่มีรอยขีดข่วน ฉีกขาด - ตรวจสอบคราบสกปรก และรอยเปื อ้ นต่างๆ

กระเบือ้ งติดผนัง

- ตรวจการยาแนวกระเบื ้องต้ องเรี ยบร้ อย สวยงาม ระยะห่างเท่ากัน ไม่สกปรก

- ตรวจการปูกระเบื ้องที่ติดผนังเมื่อเคาะต้ องไม่ มีเสียงกลวง ปูได้ แน่นสนิทกัน - ผนังกระเบื ้องไม่แตกหรื อบิ่น

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


15 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่ 6.

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

งำนฝ้ำเพดำน

ฝ้ำเพดำนแบบฉำบเรียบ

ฝ้ำเพดำนทีบำร์

ฝ้ำเพดำนแบบปูนเปลือย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ - ฝ้ าเพดานจะต้ องไม่เห็นรอยยาแนวของแผ่น - บริ เวณรอยต่อที่ฉาบเรียบต้ องไม่ปดู บวม ออกมาจากพื ้นที่อื่น - ไม่มีรอยแตกราว และคราบสกปรก - ฝ้ าเพดานต้ องเรี ยบตรง สม่าเสมอรอยต่อของ เส้ นทีบาร์ ต้องไม่เกยกัน - แผ่นยิบซัม่ บอร์ ดทีใ่ ส่ไว้ ในช่องทีบาร์ ต้องมี ขนาดเท่ากับช่องฝ้ าเพดาน ไม่มีช่องว่าง ระหว่างแผ่นกับเส้ นทีบาร์ - เส้ นทีบาร์ ต้องไม่มีรอยเปื อ้ นโดยเฉพาะรอย น ้ามันจากมือช่างทีต่ ิดตัง้ โดยเฉพาะเส้ นทีบาร์ แบบสีขาว มักทาความสะอาดได้ ยาก กว่าเส้ นทีบาร์ สอี ะลูมิเนียมธรรมชาติ

- ข้ อดีของการใช้ ฝ้าแบบปูนเปลือย คือ ประหยัดค่าใช้ จา่ ย - ข้ อเสีย คือ ระยะความสูงลดลง - ตรวจสอบท้ องฝ้ าปูนเปลือยต้ องไม่มีรอย แตกราว รอยบิ่น - ตรวจความเรี ยบเนียน สม่าเสมอกันของฝ้ า

Note : ฝ้าเพดานแผ่นซีเมนต์บอร์ ดชนิดต่างๆเช่น ฝ้าเพดานชนิดที่ผสมใยหิน หรื อชนิดที่ไม่ผสม ใยหิน ฝ้าเพดานประเภทนี ้ต้ องแสดงรอยต่อระหว่างแผ่นเสมอ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


16 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย ฝ้ำเพดำนแบบสำเร็จ หรือฝ้ำอลูมิเนียม

ฝ้ำเพดำนแบบไม้

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

- การติดตังเรี ้ ยบร้ อยถูกต้ อง สวยงาม - ตรวจระยะการแขวงโครงยึดต้ องเท่ากัน - ตรวจสอบรอยต่อของฝ้ าเพดานต้ องแนบสนิท

- ข้ อจำกัด มีความสวยงาม แต่ฝ้าไม้ เพดานมี ราคาแพง มักมีปัญหาเรื่ องปลวก - ตรวจแนวระยะห่างฝ้ าต้ องเท่ากัน - ฝ้ าไม้ มีความเรี ยบเนียน ทาน ้ายากันปลวก ไม่มีรอยแตกหรื อตาหนิของฝ้ าไม้

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


17 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่ 7.

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

งำนช่ องเปิ ด

ประตูบำนเปิ ด

“ช่องเปิ ดจะนับรวมช่อง เปิ ดของบ้าน ได้แก่ ช่องประตู ช่องแสง ช่องระบายอากาศ บานเกล็ด รวมไปถึง ผนังก่ออิ ฐแก้ว ฯลฯ”

ประตูบำนเลื่อน

ช่ องบำนเปิ ด

ขัน้ ตอนกำรตรวจ - ตรวจ รัว้ -ประตู จะต้ องปิ ด-เปิ ดได้ สะดวก ตัวประตูจะต้ องไม่เคลือ่ นตัวได้ เอง เวลาเปิ ด ประตูค้างไว้ ประตูต้องอยูก่ บั ที่ - เวลาเลือ่ นต้ องไม่ฝืด ทดสอบผลักเข้ า-ออก หลายๆ ครัง้ เพื่อให้ แน่ใจว่าประตูไม่ตกราง

- สาหรับส่วนของช่องบานเปิ ดให้ ตรวจสอบโดย การลองเปิ ด - ปิ ดหลายๆ ครัง้ - ระบบรางเลือ่ นไม่มีปัญหา ไม่ตกราง ตัวบาน ต้ องไม่โกงตัว ขอบบานไม่บิ่นหรื อมีตาหนิ

ช่ องกระจก

- ช่องกระจกให้ ตรวจสอบว่ากระจกทังหมดต้ ้ อง ไม่มีรอยแตกร้ าวหรื อมีรอยขีดข่วน

ลูกบิด

- ตรวจการติดตังลู ้ กบิด ลองบิดลูกบิด 2-3 ครัง้ โดยออกแรงดึงลูกบิดให้ สดุ แรง เพื่อทดสอบว่า ลูกบิดจะหลุดออกจากบานหรื อไม่ - ทดสอบกดล็อคลูกบิด โดยใช้ กญ ุ แจไข 2-3 ครัง้ เพื่อให้ แน่ใจว่าระบบต่างๆใช้ งาน ได้ ดี ถ้ าพบอุปกรณ์ใดใช้ งานไม่ดี ขอให้ โครงการเปลีย่ นให้ ใหม่

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


18 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

กลอนประตู-ลูกบิด - ระบบลงกลอน สามารถลงได้ ทกุ ตัวอย่าง สะดวก ต้ องไม่ฝืน - กลอนชนิดเสียบลงพื ้น ต้ องมีการเจาะรูที่พื ้น - รูที่เจาะพื ้นคอนกรี ตควรให้ โครงการใช้ ทาพีวีซี (PVC) ฝั งไว้ ในพื ้นสาหรับลงกลอง จะช่วยทาให้ รูที่พื ้นคอนกรี ตดูเรี ยบร้ อยมากขึ ้น

วงกบ

- ตรวจสอบวัสดุที่ใช้ ทากรอบของช่องเปิ ด ต้ องติดตังเรี ้ ยบร้ อยและแนบสนิทกับผนัง ขอบวงกบต่างๆ ไม่มีช่องว่างระหว่างบาน กรอบกับวงกบให้ เห็นอย่างชัดเจนไม่แตกราว ไม่บิ่น - มีการทาบังใบต้ องเรี ยบร้ อย

ตัวล็อคและกลอนต่ ำงๆ - ทดลองใส่กลอน โดยใส่ตวั ล็อคทุกตัว ต้ อง สามารถลงกลอนและล็อคทุกตัวได้ อย่าง สะดวกและลงได้ สดุ

มือจับบำนเปิ ด

- ตรวจการติดตังมื ้ อจับ ต้ องอย่างแข็งแรงไม่ หลุดออกจากตัวบานได้ โดยง่าย

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


19 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

มุ้งลวด

- ตรวจกรอบบานและตัวมุ้งว่าไม่มีรูรั่ว - ติดอุปกรณ์ครบ การเปิ ดปิ ดบานมุ้งลวดต้ อง ไม่เป็ นอุปสรรคต่อการเปิ ดปิ ดบานประตู หน้ าต่างและอุปกรณ์ของบานประตูหน้ าต่าง เช่น ลูกบิด อุปกรณ์เปิ ดบานเกร็ดต้ องไม่กีด ขวางการปิ ดเปิ ดบานมุ้งลวด

กำรอัดซิลิโคนและ ยำงกันฝุ่ นขอบ ประตู – หน้ ำต่ ำง

ส่ วนของช่ องปิ ดอื่นๆ

- ตรวจแนวการอัดซิลโิ คลตามขอบประตู หน้ าต่างทุกบาน แนวการอัดถูกต้ อง ครบทุกจุด - ตรวจการอัดซิลโิ คนต้ องทาได้ แน่น - ตรวจสอบการติดตังยางกั ้ นฝุ่ นถูกต้ อง ครบถ้ วนหรื อไม่

- ตรวจสภาพของวัสดุ เช่น ช่องแสง หรื อ ช่องอิฐแก้ ว โดยตรวจสอบดูความเรียบร้ อย ของวัสดุการติดตัง้ - ช่องเปิ ดทุกบานต้ องไม่มีรอยเปื อ้ นของเศษปูน ถ้ าพบให้ ทางโครงการทาความสะอาด

Note : สอบถามทางโครงการเรื่ องได้ ทาเสาเอ็นและทับหลัง คสล. รับช่องวงกบทุกช่องหรื อไม่ ถ้ าไม่ได้ ทา ขอให้ โครงการหาวิธีซอ่ มแซมเรื่ องนี ้และยืนยันว่าเป็ นเอกสารว่าจะไม่เกิดการแตกร้ าวบริ เวณมุมวงกบภายหลัง

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


20 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่ 8.

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ระบบไฟฟ้ำ

สวิทซ์ ไฟฟ้ำแบบ ทำงเดียว

“สาหรับการตรวจสอบ ระบบไฟฟ้ ามี วิธีการ ตรวจสอบตัง้ แต่ระดับ ง่ายจนกระทัง่ ถึงระดับ ยากทีต่ อ้ งใช้ความ สามารถเชิ งช่าง “

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

- เปิ ดไฟทุกดวง ตังแต่ ้ ไฟหน้ าบ้ าน ไฟสนาม แล้ วไล่เข้ ามาภายในตัวบ้ าน ลองเปิ ดไฟไว้ สกั ระยะหนึง่ แล้ วปิ ด-เปิ ดใหม่ ทาอย่างนี ้ 2-3 ครัง้ กับไฟทุกดวงเพื่อทดสอบระบบไฟฟ้ าแสง ทางานได้ ปกติ - ถ้ าหลอดไฟดวงใดดวงหนึง่ ไม่ตดิ ให้ แจ้ งทาง โครงการให้ แก้ ไขหรื อเปลีย่ นอุปกรณ์จนกว่า จะใช้ งานได้ ดี

สวิทซ์ ไฟฟ้ำแบบ 2 ทำง - ใช้ วิธีการตรวจสอบแบบเดียวกัน และ สามารถควบคุมการปิ ดเปิ ดของหลอด ไฟฟ้ าจากทัง้ 2 สวิทซ์ได้ - นาอุปกรณ์ไฟฟ้ าทีใ่ ช้ ในบ้ านมาทดสอบเสียบ ดูที่เต้ าไฟฟ้ าทุกตัวในบ้ าน แต่ละปลัก๊ ไฟฟ้ าใช้ งานได้ จริ ง - สาหรับคนที่มีความรู้ทางช่างและมีความ ชานาญมากพออาจจะใช้ ไขควงตรวจไฟฟ้ ามา ใช้ ในการทดสอบแทนก็ได้ - สาหรับปลัก๊ ไฟฟ้ าภายนอกอาคารและใน ห้ องน ้า ต้ องเป็ นปลัก๊ ที่มีฝาปิ ดกันน ้า เพื่อป้อง กันฝนสาดและน ้าซึมเข้ า จะได้ ไม่เป็ นอันตราย ต่อผู้ใช้ งาน

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


21 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

ระบบไฟตัดอัตโนมัติ - กรณีมีระบบไฟตัดอัตโนมัติ ที่เรี ยกว่า “เซฟทีคทั ” (SAFE-T-CUT) จะมีปมทดสอบให้ ุ่ กดปุ่ มนันสั ้ ก 2-3 ครัง้ และตรวจดูปมหน้ ุ่ า เครื่ องต้ องที่เลขศูนย์ ถ้ าไม่อยูท่ ี่เลขศูนย์ ให้ หมุนไปที่เลขศูนย์ หากพบว่าไฟดับ แสดง ว่าระบบไฟฟ้ าของบ้ านมีไฟฟ้ ารั่ว ให้ แจ้ งทาง โครงการทราบเพื่อแก้ ไขปั ญหานี ้ก่อนรับบ้ าน ที่สาคัญต้ องไม่ลมื ขอใบประกันเครื่ อง - กรณีไม่ มีเครื่องตัดไฟฟ้ำอัตโนมัติวิธีการ ตรวจสอบดูวา่ มีไฟฟ้ ารั่วลงดินหรื อไม่ให้ ปิด ไฟฟ้ าให้ หมดทังบ้ ้ าน แต่ไม่ต้องปิ ดระบบแผง ไฟฟ้ าหลัก เสร็ จแล้ วไปดูที่มิเตอร์ ถ้ าหาก มิเตอร์ ยงั เดินอยูแ่ สดงว่ามีไฟฟ้ ารั่ว ขอให้ ทางโครงการทาการตรวจหาจุดรั่ว แล้ วทาการ แก้ ไขก่อนรับมอบบ้ าน

ระบบนำ้ ร้ อนและ ระบบปรับอำกำศ

- สอบถามเรื่ องการเดินสายไฟฟ้ าขนาดใด - เน้ นเรื่ องการเดินสายดิน ต้ องมีตวั ตัดไฟฟ้ า ติดตังแยกออกมาต่ ้ างหาก จากระบบตู้ไฟฟ้ า ไว้ ใกล้ ตวั ทาน ้าร้ อน หากโครงการบอกว่า ติดตังตั ้ วตัดไฟฟ้ าไว้ แล้ วทีต่ ้ ตู ดั ไฟฟ้ า ให้ ยืนยัน การติดตังแบบแยกจุ ้ ดเพื่อความปลอดภัยของ เจ้ าของบ้ าน

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


22 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

กำรร้ อยสำยไฟ - ถ้ าเจ้ าของบ้ านมีความรู้เรื่ องระบบไฟฟ้ าให้ ปีน ขึ ้นไปดูใต้ หลังคาก่อนที่จะปี นขึ ้นไปให้ ปิด ระบบไฟฟ้ าทังหมด ้ โดยเอาไฟฉายขึ ้นไป - ตรวจการร้ อยสายไฟฟ้ าไว้ ในท่อต้ องเรียบร้ อย - สายไฟฟ้ าหลักของบ้ านต้ องมีขนาดเท่ากับ 16 square/mm และสายไฟต้ องไม่มีรอยต่อ หรื อรอยตัดเป็ นอันขาดหากมีการตัดต่อให้ ทาง โครงการเปลีย่ นให้ เพราะเป็ นเรื่องอันตราย - เปิ ดเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าทุกตัวที่ติดตังมาพร้ ้ อม กับตัวบ้ าน เช่น พัดลมดูดอากาศ เครื่ องดูด ควัน พัดลมเพดาน เปิ ด-ปิ ดหลายๆครัง้ จน แน่ใจว่าใช้ งานได้ จริ ง - ถ้ ามีจดุ ใดเสียหายหรื อใช้ งานไม่ปกติ ให้ จด บันทึกไว้ แล้ วแจ้ งให้ ทางโครงการแก้ ไขให้ เรี ยบร้ อยก่อนรับมอบบ้ าน

กำรตรวจสอบ ระบบสำยโทรศัพท์

- นาโทรศัพท์แบบที่มีระบบใช้ ถา่ นไฟฉายมา เพื่อขยายสัญญาณอย่างน้ อย 2 เครื่ อง โดยต่อ สายกับปลัก๊ โทรศัพท์ที่กาแพงพร้ อมกัน 2 เครื่ อง ทดลองยกหูฟังเสียงสัญญาณว่าใช้ การ ได้ จริ ง ดาเนินการอย่างนี ้จนครบทุกจุด

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


23 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

สำยไฟฟ้ำ - ตรวจสอบหลอดไฟฟ้ า โดยให้ ปิดสวิทซ์ไฟ ของแสงสว่างดวงที่จะตรวจสอบ เสร็ จแล้ วใช้ ไขควงตรวจสอบจิ ้มเข้ าไปที่ขวของไฟฟ ั้ ้ าทุก จุด ถ้ าการเดินสายไฟฟ้ าถูกต้ องหลอดไฟใน ไขควงจะไม่สว่าง แต่ถ้าไขควงมีไฟฟ้ าแสดงว่า เดินไว้ ผิดปกติ ให้ จดบันทึกไว้ ในรายการที่ต้อง แก้ ไข

กริ่งไฟ

- ทดสอบ กดกระดิง่ ไฟ สามารถใช้ งานได้ ปกติ - ตรวจระบบกระดิง่ ไฟหน้ าบ้ าน โดยใช้ ไขควงไข อุปกรณ์ออกมาตรวจสอบว่ามีการเดินระบบ สายไฟฟ้ า ต้ องครบทัง้ 3 เส้ น กริ่ งหน้ าบ้ าน ต้ องเป็ นรุ่นที่มียางกันน ้า เพื่อป้องกันความ ชื ้นจากฝนตกจะทาให้ ไฟฟ้ ารั่วหรื อไฟฟ้ า ลัดวงจรได้

Note : ผู้ที่ตรวจสอบระบบไฟฟ้ า ควรเตรี ยมตัวให้ พร้ อม ให้ ใส่ถงุ มือและรองเท้ ายางที่เตรียมมาเพื่อป้องกันไฟรั่ว ยกเว้ นตอนตรวจไฟฟ้ าด้ วยไขควงไฟฟ้ าซึง่ ต้ องถอดถุงมือและรองเท้ ายางออกก่อนจึงสามารถใช้ อปุ กรณ์ตรวจสอบนี ้ได้

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


24 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่ 9.

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

ระบบสุขภัณฑ์

อ่ ำงล้ ำงหน้ ำ

- ตรวจสอบระหว่างผนังควรมีคานเอ็นยึด เพื่อดูความแข็งแรง - เปิ ดน ้าขังทิ ้งไว้ สกั พัก เพื่อตรวจหาจุดรั่วซึม ของน ้า - สะดืออ่าง จุกยาง ต้ องมีครบ - เคาน์เตอร์ ไม่ชารุดหรื อแตกบิ่น มีเครื่ องหมาย มอก.(มำตรฐำนผลิตภัณฑ์ อุตสำหกรรม)

อ่ ำงอำบนำ้

- ตรวจวัสดุ-อุปกรณ์ ตาแหน่งและลักษณะที่ ติดตังถู ้ กต้ อง (ขันตอนการตรวจคล้ ้ ายคลึงกับ

“เป็ นระบบทีท่ าให้เกิ ด สุขอนามัยทีด่ ี สามารถ ใช้น้าได้อย่างมีคณ ุ ภาพ และน้าทีใ่ ช้งานแล้วยัง ต้องมี ระบบบาบัดน้า เสียรองรับก่อนทิ้ งลงสู่ สาธารณะ โดยการ ติ ดตัง้ ระบบท่อทีด่ ีคือ จะต้องไม่รวั่ ซึม ไม่เสีย่ ง ต่อการอุดตัน สามารถ บารุงรักษาได้ง่ายและ คงสภาพทีด่ ีตลอดไป”

การตรวจสอบอ้ างล้ างหน้ า)

ชักโครก

- ตรวจวัสดุที่ยดึ และทดสอบการกดน ้าทิ ้ง 2-3 ครัง้ ที่ชกั โครกโดยใช้ ขนมปั งเป็ นตัวแทน สิง่ ปฏิกลู ทิ ้งลงในเพื่อทดสอบแรงดันน ้า - การไหลของน ้าต้ องสะดวกไม่ตดิ ขัด หากกดน ้าทิ ้งแล้ วพบว่าน ้าทิ ้งไหลติดขัดแสดง ว่ามีโพรงอากาศมากเกินไปควรบอกให้ ทาง โครงการแก้ ไขให้ - ตรวจสอบการติดตัง้ ต้ องมีอปุ กรณ์ภายใน หม้ อน ้าครบ มีการยาแนวเรี ยบร้ อย - อุปกรณ์ที่ต้อจากท่อต้ องมี Stop Valve

Note : มอก.ย่อมาจาก"มำตรฐำนผลิตภัณฑ์ อุตสำหกรรม" หมายถึงข้ อกาหนดทางวิชาการที่ สำนักงำน มำตรฐำนผลิตภัณฑ์ อุตสำหกรรม(สมอ.)ได้ กาหนดขึ ้นเพื่อเป็ นแนวทางแก่ ผู้ผลิตในการผลิตสินค้ าให้ มีคณ ุ ภาพในระดับที่เหมาะสมกับการใช้ งานมากที่สดุ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


25 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

โถปั สสำวะชำย

- ตรวจสอบวัสดุที่ใช้ ยดึ และทดสอบการกด น ้าทิ ้ง 2-3 ครัง้ เพื่อทดสอบแรงดันน ้า (ลักษณะจะคล้ ายกับการตรวจสอบชักโครก)

วัสดุ-อุปกรณ์ อื่นๆ

- มีการติดตังสายช ้ าระ ตาแหน่งการติดตัง้ ถูกต้ อง ใช้ งานได้ ปกติ - มีที่ใส่กระดาษชาระ ตาแหน่งการติดตัง้ ถูกต้ อง - มีราวตากผ้ า ตาแหน่งการติดตังถู ้ กต้ อง - มีฝักบัว ตาแหน่งการติดตังถู ้ กต้ อง - มีที่วางสบู่ ตาแหน่งการติดตังถู ้ กต้ อง - มีตะแกรงกรองผงท่อเดรนน ้าทิ ้ง การลาดเอียง ของพื ้นเมื่อน ้าไหลผ่าน ต้ องสามารถคัดกรอง เศษต่างๆได้ - มีกระจก ตาแหน่งการติดตังถู ้ กต้ อง ไม่มีรอยขีดข่วนหรื อแตกร้ าวของอุปกรณ์ตา่ งๆ - ก๊ อกน ้าต้ อง เปิ ด-ปิ ดใช้ งานง่าย สะดวก - วัสดุตา่ งๆไม่แตกหรื อบิ่น ไม่มีครบสกปรก

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


26 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ หัวข้ อหลัก ที่ 10. ระบบสุขำภิบำล “ในการตรวจงานระบบ สุขาภิ บาลจะเป็ นขัน้ ตอนการตรวจภายนอก เท่านัน่ ไม่สามรถตรวจ ภายในได้ เนือ่ งจาก เป็ นการตรวจสอบบ้าน ทีส่ ร้างเสร็ จแล้ว หาก ต้องการตรวจแนะนาให้ ตรวจสอบในระหว่าง การก่อสร้างบ้าน”

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

ระบบท่ อนำ้ ดี

- ชนิดและขนาดถูกต้ องตามแบบ - ตรวจสอบตาแหน่งและแนวการวางท่อต้ อง เป็ นไปตามแบบและรายการทีก่ าหนด - ตรวจสอบการใช้ วสั ดุรองพื ้นดินวางท่อ และ การบดอัดถูกต้ องตามแบบและรายการ - ตรวจสอบวัสดุเชื่อมประสาน ข้ อต่อ คุณภาพ ของท่อ แนวรับท่อ แท่นรับท่อและอุปกรณ์ทอ่ ทีน่ ามาใช้

ระบบท่ อนำ้ เสีย

- ชนิดและขนาดถูกต้ องตามแบบ - ตรวจสอบแนวการลาดเอียงของท่อ สารวจ ข้ อต่อ ข้ องอ ต่างๆ ทีเ่ ชื่อมกัน - สารวจการต่อท่อใช้ ทอ่ ถูกประเภทหรื อไม่ ขนาดของท่อเท่าใด ควรสอบถามจาก โครงการให้ ชดั เจน - ตรวจสอบตาแหน่งและแนวการวางท่อต้ อง เป็ นไปตามแบบและรายการทีก่ าหนด

ท่ อโสโครก

- ชนิดและขนาดถูกต้ องตามแบบ - ตรวจสอบตาแหน่งและแนวการวางท่อให้ เป็ นไปตามแบบและรายการ - ตรวจสอบคุณภาพงานติดตัง้ ประสาน และ วางท่อให้ ได้ มาตรฐานกาหนด

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


27 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ

บ่ อดักไขมัน

- ตรวจสอบระยะจุดพักบ่อดักไขมันก่อนปล่อย ออกสูท่ อ่ สาธารณะ - ตรวจสอบตาแหน่งและแนวการวางท่อให้ เป็ นไปตามแบบและรายการ - ตรวจสอบคุณภาพงานติดตัง้ ประสาน และ วางท่อให้ ได้ มาตรฐานกาหนด

ท่ อระบำยอำกำศ

- ตรวจสอบตาแหน่งและแนวการวางท่อให้ เป็ นไปตามแบบและรายการ - ตรวจสอบคุณภาพงานติดตัง้ การประสาน และการวางท่อได้ มาตรฐานกาหนด

ระบบระบำยนำ้ ฝน

- รางน ้าฝนต้ องสามารถรับน ้าหนักได้ ดี - ตรวจสอบจุดบรรจบของท่อระบายน ้ากับทาง ระบายน ้าสาธารณะ ต้ องไม่รั่ว - มีระดับลาดเอียงที่สามารถระบายน ้าออกจาก โครงการ ไปสูท่ างระบายน ้าสาธารณะ โดยน ้า จะไม่ไหลย้ อนกลับเข้ าโครงการ

(ควรตรวจสอบพร้อมกันกับ ขัน้ ตอนการตรวจหลังคา)

Note: การทางานของบ่อดักไขมัน แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ 1. ท่อน ้าเข้ า เมื่อน ้าเสียไหลสูบ่ อ่ ดักไขมัน จะมี ตระแกรงสแตนเลส ดักเศษอาหารและคราบไขมัน 2. ส่วนแยกไขมัน เมื่อน ้าเสียเข้ าสูส่ ว่ นนี ้จะช้ าลง ทาให้ ไขมันลอยตัวสูผ่ ิวหน้ า ต้ องตักไขมันส่วนนี ้ทิ ้ง (ตักไขมัน 1 เดือนต่อครัง้ ) 3. ส่วนระบายไขมัน เมื่อไขมันแยกจากน ้าเสีย ก็ จะสามารถระบายไขมันทิ ้งได้ โดยน ้าที่เหลือก็จะระบายสูท่ อ่ สาธารณะ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


28 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับ ที่ 11.

หัวข้ อหลัก

หัวข้ อย่ อย

งำนบันได

ขัน้ ตอนกำรตรวจ - เมื่อทดลองโยกราวบันไดจะไม่มีอาการสัน่ ถ้ ามีให้ โครงการแก้ ไขทันที - เสาบันได ควรทาการแต่งผิวยาแนวให้ เรี ยบร้ อย เพื่อความถูกต้ องและสวยงาม - ขันบั ้ นได ควรได้ ระยะลูกตัง้ ลูกนอนถูกต้ อง ตามแบบกาหนด ตามขอบมุมมีและสีคราบ สกปรก ควรทาความสะอาดให้ เรียบร้ อย

(การตรวจสอบบันไดให้ รวมอยู่ในส่วนหนึ่งของ การตรวจระบบพืน้ )

Note :บันไดที่ดีต้องแข็งแรง เวลาเดินต้ องไม่มเี สียง ต้ องไม่ร้ ูสกึ ว่าบันไดสันเวลาใช้ ้ งาน พื ้นผิวของบันไดทีใ่ ช้ วสั ดุ ปูพื ้นต้ องดูเรี ยบร้ อยและไม่ลนื่ ถ้ าใช้ วสั ดุบผุ ิวเป็ นผิวลืน่ ควรมีจมูกบันไดที่ใช้ วสั ดุกนั ลืน่ ติดตังเอาไว้ ้ ด้วย ลูกตังและลู ้ กนอน จะต้ องมีขนาดเท่ากันตังแต่ ้ ขนแรกจนกระทั ั้ ง่ ขันสุ ้ ดท้ าย ราวบันใดควรสูงอย่างน้ อย 90 เซนติเมตร และติดตังอย่ ้ างแข็งแรง

ลำดับ ที่ 12.

หัวข้ อหลัก งำนทำสี (การตรวจสอบงานทาสี ให้รวมอยู่ในส่วนหนึ่ง ของการตรวจผนัง)

หัวข้ อย่ อย

ขัน้ ตอนกำรตรวจ - สีทาภายนอกและภายในต้ องดูให้ เรี ยบร้ อย สวยงามไม่เป็ นคลืน่ หรื อปูดบวม สีโดยรวมมี ความเรี ยบเนียน

Note : การแก้ ไขการทาสีของผนังทาสีไม่ได้ ยงุ่ ยาก ช่างมักจะเข้ ามาทาสีให้ ทนั ที ข้ อสังเกตเรื่ องนี ้ คือ อย่าให้ มีการทาสีทบั มากครัง้ เกินไป ไม่ควรทาทับกันเกิน 5 ครัง้ ถ้ าทาหนาเกินไปนันอาจจะเป็ ้ นสาเหตุที่ทาให้ สหี ลุดล่วง ได้ ในภายหลัง

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


29 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ตัวอย่ ำงที่มักพบบ่ อยครั ง้ ในกำรตรวจรั บ บ้ ำน ลำดับที่

1.

หัวข้ อ

ข้ อบกพร่ องที่พบ

งำนพืน้ เมื่อเคาะพื ้นจะมีเสียงกลวง เกิดจาก การปูพื ้นกระเบื ้องที่ช่างปูแบบซาลาเปา ไม่เต็มแผ่น ให้ ทาเครื่ องหมายแสดงไว้ เพื่อจะได้ ทาการแก้ ไข

2.

กำรลำดเอียงของพืน้ พื ้นที่ในห้ องน ้าที่ไม่ได้ ระดับและไม่ลาด เอียงเข้ าหาช่องระบายทาให้ น ้าขังอยู่ ตลอดเวลา

3.

กำรรั่วซึมบริเวณข้ อต่ อ บริเวณรอยต่อของท่อที่เกิดจากการรั่วซึม ของน ้า จุดที่พบเห็นบ่อย คือ ใต้ อ้างล้ าง หน้ า และใต้ อ้างล้ างจาน ทาเครื่ องหมาย ไว้ เพื่อให้ โครงการแก้ ไข

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


30 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

4.

หัวข้ อ

ข้ อบกพร่ องที่พบ

กำรตรวจสอบบำนประตู บานประตูไม่สามารถปิ ดได้ เสมอกัน

5.

ช่ องเปิ ดที่มีช่องว่ ำงระหว่ ำงบำนเปิ ดกับวงกบ

6.

ผนังกระเบือ้ งห้ องนำ้

ลักษณะของช่องเปิ ดที่มีช่องว่างระหว่าง บานเปิ ดกับวงกบซึง่ อาจจะเกิดจากการ ติดตังที ้ ่ไม่ถกู ต้ อง

ผนังแผ่นกระเบื ้องมีเสียงกลวง แสดงว่า การปูผนังกระเบื ้องไม่เต็มแผ่น และการยา แนวสกปรกไม่เรี ยบร้ อย

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


31 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

7.

หัวข้ อ

ข้ อบกพร่ องที่พบ

พืน้ ลำมิเนต การปูพื ้นไม้ ลามิเนตโก่งตัว

8.

งำนบันได

9.

งำนวอลล์ เปเปอร์

พื ้นไม้ บนั ไดทีขดั เงาเรี ยบร้ อยจะมีสองลาย สลับกัน คืออันที่เป็ นลายแบบตรง กับลาย แบบตาไม้

วอลล์เปเปอร์ มีคราบสกปรกสี และติด ไม่เรี ยบร้ อย

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


32 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ตำรำงแบบฟอร์ มที่ใช้ ในกำรตรวจสภำพบ้ ำน พืน้ ที่นอกบ้ ำน….. วันที่ตรวจ ___/___/___ ชื่อเจ้ าของบ้ าน__________________________ เบอร์ โทรศัพท์_________________ E-mail_________________________ ชื่อโครงการ_____________________________ แปลง_______________________ แบบบ้ าน_______________________

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

1.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

ประตูรัว้ หน้ ำบ้ ำน(เหล็ก) 1.1 แบบรำงเลื่อน - เลือ่ นแล้ วไม่ตกราง ไม่กระโดด - เปิ ดปิ ดได้ สะดวกไม่ติดขัด ไม่ฝืด และเลือ่ นได้ สดุ - รอยเชื่อมแผ่นเหล็กเต็มพื ้นที่ หน้ า ตัดได้ สนิท ไม่มีรูรั่วซึมเข้ าในเหล็ก - มีอปุ กรณ์ครบ เช่น กลอนประตู ลูกบิด - ทาสีกนั สนิมและสีทาเหล็ก ทัว่ บริ เวณรัว้ เรียบเนียน - อื่นๆ 1.2 แบบบำนเปิ ด - เปิ ดได้ สดุ - ปิ ดได้ แนบสนิทกับตัวล็อก - เปิ ดแล้ วขอบประตูไม่ตดิ กับพื ้น - การยึดประตูทาได้ แข็งแรง - มีอปุ กรณ์ครบ เช่น กลอนประตู ลูกบิด - ทาสีกนั สนิมและสีทาเหล็ก ทัว่ บริ เวณรัว้ เรียบเนียน เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


33 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่ หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน ไม่ผา่ น

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

- รอยเชื่อมแผ่นเหล็กเต็มพื ้นที่ หน้ า ตัดได้ สนิท ไม่มีรูรั่วซึมเข้ าในเหล็ก - อื่นๆ

2.

รัว้ บ้ ำน - รัว้ บ้ านได้ ดงิ่ ได้ ฉาก ไม่ขรุขระ - รัว้ ไม่เอียง ไม่ล้ม - รัว้ บ้ านไม่มีรอยแตกร้ าว - รัว้ ไม่เป็ นคราบสกปรก - มีการหลังรัว้ เรียบร้ อย - สีทารัว้ เรียบเนียน ไม่ปดู บวม - มีการทาสีรอบนอกรัว้ โครงการ - มีการทาสีบริ เวณบัวรัว้ ทังหมด ้ - อื่นๆ

3.

ดินถม - ปรับระดับดินได้ เรี ยบร้ อย สวยงาม - ไม่เป็ นหลุมเป็ นบ่อ(นอกจากทาขึ ้น) - ไม่มีเศษขยะและเศษปูนเหลืออยู่

- ตรวจการฉาบผนังรัว้ บ้ าน อย่าง น้ อยต้ องลึก 5-10 cm - อื่นๆ

4.

วัสดุปูพนื ้ ภำยนอก 4.1 ปูนเปลือย - เรี ยบเนียน ไม่ขรุ ขระ ไม่แตกร้ าว - ได้ ระดับเสมอกัน ไม่โก่ง ไม่แอ่นตัว

- ไม่มีเศษปูนติด เป็ นรอยเปื อ้ น - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


34 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

4.2 กระเบือ้ ง - เรี ยบเนียน ไม่ขรุ ขระ ไม่แตกร้ าว

- เคาะกระเบื ้องไม่มเี สียงกลวง ผิดปกติ แสดงว่าปูเต็มแผ่น - ได้ ระดับเสมอกัน ไม่โก่ง ไม่แอ่นตัว - ยาแนวทัว่ บริเวณเป็ นแนวได้ เท่ากัน - การยาแนวสะอาด ไม่เปื อ้ นรอยด่าง - ได้ ระดับเสมอกัน ไม่โก่ง ไม่แอ่นตัว

- ไม่มีเศษปูนติด เป็ นรอยเปื อ้ น - อื่นๆ 4.3 ตัวหนอน - ปูได้ แนวเสมอเท่ากันทัว่ บริ เวณ - ไม่โก่งตัวหรื อ ไม่แอ่นตัว - ไม่มีเศษปูนติด เป็ นรอยเปื อ้ น - อื่นๆ 4.4 ลำนจอดรถ-ลำนซักล้ ำง - เทพื ้นได้ เสมอกันและเรี ยบเนียน

- ไม่ขรุขระ ไม่แตกร้ าว ไม่มเี ศษปูนติด - ได้

slope พื ้นผิวไม่มีน ้าขัง

- ไม่โก่งตัวหรื อ ไม่แอ่นตัว - อื่นๆ

5.

มิเตอร์ ประปำ - ติดตังแล้ ้ วใช้ งานได้ จริ ง - ใช้ งานแล้ วมิเตอร์ วงิ่ ปกติ - เป็ นมิเตอร์ ใหม่ที่ยงั ไม่ผา่ นการใช้ งาน - อุปกรณ์ไม่ชารุดเสีย ไม่แตกหัก - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


35 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

6.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

ปั๊ มนำ้ - การติดตังอุ ้ ปกรณ์ถกู ต้ องครบถ้ วน - มีหมายเลขวาล์วแสดงชัดเจน - ติดตังอุ ้ ปกรณ์บอลวาล์วที่ปั๊มน ้า - เปิ ดใช้ งานได้ ไม่ชารุ ดเสีย

- อื่นๆ

7.

งำนจัดสวน - การจัดสวนเป็ นระเบียบ สวยงาม - หญ้ าบริ เวณที่จดั สวนเขียวสดไม่เหี่ยว - ไม่มีเศษปูนหรื อเศษขยะ - อื่นๆ

8.

กริ่งไฟหน้ ำบ้ ำน - กดแล้ วมีเสียงดังชัดเจน - ติดตังในต ้ าแหน่งเหมาะสม - กริ่ งไฟมีฝาครอบกันน ้า - กริ่ งไฟไม่ชารุดเสียหาย เป็ นกริ่ งไฟ ใหม่ ไม่มีการใช้ งานมาก่อน - อื่นๆ

9.

ก๊ อกสนำม - ติดตังในต ้ าแหน่งที่เหมาะสม - เปิ ดแล้ วใช้ งานได้ จริ ง - ก๊ อกไม่ชารุดเสียหาย ไม่แตกหัก - ก๊ อกน ้าไม่โยกหรื อสัน่ เมื่อเปิ ดปั๊ มน ้า - อื่นๆ

10.

บล็อกปลวก - ติดตังบล็ ้ อกในตาแหน่งที่ถกู ต้ อง - เปิ ดบล็อกตรวจสภาพมีน ้ายาจริ ง - อื่นๆ เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


36 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ตำรำงแบบฟอร์ มที่ใช้ ในกำรตรวจสภำพบ้ ำน ห้ องโถง-รั บแขก….. วันที่ตรวจ ___/___/___ ชื่อเจ้ าของบ้ าน__________________________ เบอร์ โทรศัพท์_________________ E-mail_________________________ ชื่อโครงการ_____________________________ แปลง_______________________ แบบบ้ าน_______________________

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

1.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

ประตู 1.1 แบบอลูมิเนียม - ขนาดและชนิดถูกต้ องตามแบบ - เป็ นประตูที่เปิ ดเข้ าด้ านใน ป้องกัน น ้าซึมเข้ าตัวบ้ าน - การใช้ งานประตู เปิ ด ปิ ด สะดวก ไม่ฝืด ลงกลอนได้ สนิท - มีซิลโิ คนป้องกันน ้าฝน ซึมเข้ า ตามประตู ครบถ้ วน - กระจกของประตู ติดตังเรี ้ ยบร้ อย ไม่มีรอยแตกร้ าวหรื อรอยขีดข่วน - มีลกู บิด กลอนประตู ครบถ้ วน - ขอบประตูเก็บงานได้ เรี ยบร้ อย ไม่มีรอยขรุขระ ไม่มีคราบสกปรก - ประตูมียางกันฝุ่ นติดรอบบานประตู - อื่นๆ 1.2 แบบไม้ - ขนาดและชนิดถูกต้ องตามแบบ - เป็ นประตูที่เปิ ดเข้ าด้ านใน ป้องกัน น ้าซึมเข้ าตัวบ้ าน - ติดตังบั ้ งใบกับวงกบแบบเปิ ดเข้ า ตัวบ้ านป้องกันน ้าซึมผ่าน เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


37 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

- การใช้ งานประตู เปิ ด ปิ ด สะดวก ไม่ฝืด ลงกลอนได้ สนิท - ขอบประตูเรี ยบเนียน ไม่มีรอยขรุขระ ไม่มีคราบสกปรก - มีการทาสีและเคลือบเงา ทังขอบด้ ้ าน ล้ าง ด้ านบนและทัว่ บานเรี ยบร้ อย - มีลกู บิด กลอนประตู ครบถ้ วน - อื่นๆ 1.3 แบบ UPVC - ขนาดและชนิดถูกต้ องตามแบบ - การใช้ งานประตู เปิ ด ปิ ด สะดวก ไม่ฝืด ลงกลอนได้ สนิท - การยึดประตู ติดตังได้ ้ แข็งแรงทนทาน - ประตูไม่มีรอยแตกหักหรื อรอยเปื อ้ น - มีลกู บิด กลอนประตู ครบถ้ วน - อื่นๆ

2.

หน้ ำต่ ำง 2.1 หน้ ำต่ ำงแบบอลูมิเนียม - ขนาดและชนิดถูกต้ องตามแบบ - หน้ าต่าง เปิ ด ปิ ด สะดวก ไม่ฝืด ลงกลอนได้ สนิท - มีซิลโิ คนป้องกันน ้าฝน ซึมเข้ า ตามขอบหน้ าต่าง - มีการติดกันฝุ่ นรอบขอบบานหน้ าต่าง - ลงกลอนหน้ าต่างทุกบานได้ สนิท - การยึดบานหน้ าต่างกับขอบหน้ าต่าง ได้ แข็งแรง ไม่มีสว่ นใดหลุด - หน้ าต่างไม่มขี ีดข่วนหรื อรอยเปื อ้ น - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


38 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

2.2 หน้ ำต่ ำงกระจกขอบเป็ นไม้ - ขนาดและชนิดถูกต้ องตามแบบ - เปิ ด ปิ ด สะดวก ไม่ฝืด - ลงกลอนได้ สดุ ตรงรูพอดี - กระจกหน้ าต่าง ไม่มีรอยแตกร้ าว หรื อรอยขีดข่วน - ขอบหน้ าต่างสัมผัสแล้ วเรี ยบเนียน ไม่มีร้อยขรุขระ - ลงยาแนวได้ สนิทและทัว่ ขอบ หน้ าต่าง ไม่มีคราบสกปรก - ตัวหน้ าต่างยึดได้ แข็งแรงกับตัว ขอบบาน - อื่นๆ

3.

พืน้ 3.1 พืน้ ที่ปดู ้ วยกระเบือ้ งหิน และพืน้ โมเสก - การยาแนวเรี ยบร้ อย สวยงาม - กระเบื ้องปูเต็มแผ่นทุกจุด ไม่มีเสียงกลวง - ไม่มีรอยแตกหรื อรอยบิ่น - ยาแนวไม่มีคราบสกปรก 3.2 พืน้ ปำร์ เก้ - ระยะห่างช่องว่างแนวการปูเท่ากัน

- ไม่แตก และไม่มีคราบด่างสกปรก - มีการทาแลคเกอร์ ครบทุกจุดทีป่ ู - การขัดพื ้นเรี ยบเนียน สวยงาม - พื ้นไม่โก่งหรื อแอ่นตัว - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


39 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

3.3 พืน้ ไม้ จริงและพืน้ ไม้ แผ่ น - การขัดพื ้นเรี ยบเนียน สวยงาม - พื ้นไม่โก่งหรื อแอ่นตัว

- ไม่แตก และไม่มีคราบด่างสกปรก - ระยะห่างช่องว่างแนวการปูเท่ากัน สวยงาม - อื่นๆ 3.4 พืน้ ไม้ ลำมิเนตหรือ พืน้ ไม้ เทียม - พื ้นเรี ยบเนียน สวยงาม - พื ้นไม่โก่งหรื อแอ่นตัว - การยาแนวเรี ยบร้ อย สวยงาม - อื่นๆ 3.5 พืน้ ปูหนิ ธรรมชำติ, พืน้ หินแกรนิต, พืน้ หินอ่ อน - การขัดพื ้นเรี ยบเนียน สวยงาม - ไม่มีรอยแตกหรื อรอยบิ่น - ไม่มีคราบด่างสกปรก - การยาแนวใส่ขอบเรียบร้ อย สวยงาม - อื่นๆ 3.6 พืน้ กระเบือ้ งเซรำมิค - ไม่เป็ นโพรงใต้ พื ้น - แนวการปูระยะห่างเท่ากัน สวยงาม - ปูพื ้นได้ ระดับเท่ากับทุกแผ่น - ไม่มีรอยแตกหรื อรอยบิ่น - ไม่มีคราบสกปรก - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


40 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

3.7 วัสดุปูพรม - พรมใหม่ยงั ไม่มีการใช้ งานมาก่อน - การติดตังวัสดุปพู รมเรี ยบร้ อย สวยงาม และสัมพันธ์กนั ดี - ไม่มีคราบด่างสกปรก - บริ เวณพรมทีต่ ิดขอบห้ องแนบสนิท กันเรี ยบร้ อย - อื่นๆ

4.

ผนัง - ผนังทุกส่วนได้ ดงิ่ ได้ ฉาก

- มีความเรียบเนียน สมา่ เสมอกัน - ไม่มีสว่ นใดปูดออกมาหรือเป็ นหลุม - ไม่มีคราบรอยเปื อ้ นสกปรก - อื่นๆ 4.1 งำนวอลเปเปอร์ - การติดวอลเปเปอร์ มีความเรี ยบร้ อย สวยงาม - รอยต่อแนบสนิทกันดี ไม่มีโพรง อากาศ - ตรวจวอลเปเปอร์ ต้องไม่มีรอยขีดข่วน ฉีกขาด - ตรวจสอบคราบสกปรก และรอย เปื อ้ นต่างๆ - อื่นๆ 4.2 งำนบัวผนัง - การติดตังแนบสนิ ้ ทกับผนังเรี ยบร้ อย สวยงาม - งานบัวพื ้นไม่แอ่น ไม่โก่งตัว ไม่คดงอ - ได้ ระดับเท่ากันทัว่ ทังห้ ้ อง

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


41 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

5.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

งำนฝ้ำเพดำน 5.1 ฝ้ำเพดำนแบบฉำบเรียบ - ไม่เห็นรอยยาแนวของแผ่น - บริ เวณรอยต่อ - การติดตังเรี ้ ยบร้ อย ไม่ขรุขระ สวยงาม - ไม่ปดู บวมออกมาจากพื ้นที่อื่น - ไม่มีรอยแตกร้ าว และคราบสกปรก - อื่นๆ 5.2 ฝ้ำเพดำนทีบำร์ - ฝ้ าเพดานเรี ยบตรง รอยต่อของ เส้ นทีบาร์ ต้องไม่เกยกัน - แผ่นยิบซัม่ บอร์ ดทีใ่ ส่ไว้ ในช่องที บาร์ มีขนาดเท่ากับช่องฝ้ าเพดาน - ไม่มีช่องว่างระหว่างแผ่นกับ เส้ นทีบาร์ - ไม่เป็ นคราบสกปรก - อื่นๆ 5.3 ฝ้ำเพดำนแบบปูนเปลือย - ตรวจสอบท้ องฝ้ าปูนเปลือยต้ อง ไม่มีรอยแตกราว รอยบิ่น - การติดตังเรี ้ ยบร้ อย สวยงาม - ไม่มีรอยเปื อ้ น คราบสกปรก

- อื่นๆ

5.4ฝ้ำเพดำนแบบสำเร็จหรือ ฝ้ำอลูมิเนียม - การติดตังเรี ้ ยบร้ อยถูกต้ อง สวยงาม - ไม่มีสว่ นใดส่วนหนึง่ โก่งตัวออกมา

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


42 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

- ตรวจระยะการแขวงโครงยึดต้ อง เท่ากัน - ตรวจสอบรอยต่อของฝ้ าเพดานต้ อง แนบสนิท - ไม่มีรอยแตกร้ าว และคราบสกปรก - อื่นๆ 5.5 ฝ้ำเพดำนแบบไม้ - การติดตังเรี ้ ยบร้ อยถูกต้ อง สวยงาม - ตรวจแนวระยะห่างฝ้ าต้ องเท่ากัน - ไม่มีช่องว่างระหว่างแผ่นกับ เส้ นทีบาร์ - ฝ้ าไม้ มีความเรี ยบเนียน ทาน ้ายา กันปลวกไม่มีรอยแตกหรื อตาหนิ ของฝ้ าไม้ - อื่นๆ

6.

งำนระบบไฟฟ้ำ 6.1สวิทซ์ ไฟฟ้ำแบบทำงเดียว - หลอดเปิ ดติดไฟทุกดวง ใช้ งานได้ - ติดตังหลอดไฟถู ้ กต้ องสัมพันธ์กนั - อุปกรณ์ที่ติดตังครบ ้ ไม่ชารุด เสียหาย -อื่นๆ 6.2 สวิทซ์ ไฟฟ้ำแบบ 2 ทำง - สามารถควบคุมการปิ ดเปิ ดของ หลอดไฟฟ้ าจากทัง้ 2 สวิทซ์ได้ - การติดตังไฟฟ้ ้ าถูกต้ องสัมพันธ์กนั - อุปกรณ์ติดตังครบ ้ ไม่ชารุด

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


43 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

6.3 ตู้ระบบไฟตัดอัตโนมัติ - อุปกรณ์ที่ติดตังครบ ้ ไม่ชารุดเสียหาย - เปิ ดสวิทซ์หรื อเสียบปลัก๊ ไฟฟ้ าแล้ ว สามารถใช้ งานได้ - ตาแหน่งการติดตังเหมาะสม ้ - อื่นๆ 6.4 ระบบปรับอำกำศ - เปิ ดใช้ งานแล้ วไม่มีเสียงเครื่ องดัง - มีความเย็นขณะเปิ ดใช้ งาน -การยึดตัวแอร์ กบั ตัวแขวงแข็งแรง - ติดตังท่ ้ อระบายน ้าเพื่อเอาความชื ้นออกจาก ตัวห้ องที่ติดตัง้ มีระยะที่พอดีไม่ไกลเกินไป - ตาแหน่งการติดตังคอล์ ้ ยร้ อนและ คอล์ยเย็นได้ เหมาะสม -อื่นๆ 6.5 ระบบโทรศัพท์ - ทดลองใช้ งานแล้ วมีสญ ั ญาณติด - อุปกรณ์ที่ติดตังครบ ้ ไม่ชารุดเสียหาย -อื่นๆ

7.

- บันได - การติดตังบั ้ นไดถูกต้ อง เรี ยบร้ อย - ติดตังจมู ้ กบันได เรี ยบร้ อยสวยงาม - ติดตังส่ ้ วนประกอบครบถ้ วน - ขันบั ้ นไดระยะลูกตังลู ้ กนอน เท่ากัน - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


44 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ตำรำงแบบฟอร์ มที่ใช้ ในกำรตรวจสภำพบ้ ำน ห้ องครั ว….. วันที่ตรวจ ___/___/___ ชื่อเจ้ าของบ้ าน__________________________ เบอร์ โทรศัพท์_________________ E-mail_________________________ ชื่อโครงการ_____________________________ แปลง_______________________ แบบบ้ าน______________________

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

1.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

อ้ ำงล้ ำงจำน - ติดตังอ้ ้ างจานได้ ตรงตาแหน่งรูทอ่ น ้าทิ ้งพอดี - ขังน ้าในอ้ างไหลไว้ ก้ มดูทใี่ ต้ อ้าง ต้ องไม่มีจดุ รั่วซึมของน ้า - เปิ ดจุกสามารถระบายน ้าออกจาก อ้ างได้ สะดวก - น ้าทิ ้งจากอ้ างล้ างจากต่อท่อลงบ่อ ดักไขมัน - อ้ างล้ างจาน ไม่ชารุดเสียหาย - อื่นๆ

2.

ท่ อนำ้ ทิง้ ที่ต่ออ้ ำงล้ ำงจำน - ตาแหน่งการติดตังตรงกั ้ น - ไม่มีรอยรั่วซึม ไม่แตกหัก - ใช้ ชนิดและขนาดถูกประเภท -อื่นๆ

3.

เคำน์ เตอร์ ห้องครัว - การติดตังชุ ้ ดเคาน์เตอร์ เก็บงาน เรี ยบร้ อย ตกแต่งสวยงาม - ไม่ชารุดเสียหายแข็งแรง -อื่นๆ เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


45 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

4

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

. ตู้เก็บของใต้ เคำน์ เตอร์ - การติดตังประตู ้ ต้ เู ปิ ดปิ ดได้ สะดวก ไม่ติดขัด ไม่ฝืด - อุปกรณ์ครบถ้ วน ไม่ชารุดเสียหาย - อื่นๆ

5.

พัดลมดูดควันอำกำศ - เปิ ดใช้ แล้ วไม่เสียงดัง ใช้ งานได้ จริ ง - ตาแหน่งการติดตังไม่ ้ สงู และไม่ต่า จนเกินไป - การยึดอุปกรณ์แข็งแรง ไม่หลุด - ชุดอุปกรณ์ ไม่ชารุดเสียหาย - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


46 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ตำรำงแบบฟอร์ มที่ใช้ ในกำรตรวจสภำพบ้ ำน ห้ องนอนที่….. วันที่ตรวจ ___/___/___ ชื่อเจ้ าของบ้ าน__________________________ เบอร์ โทรศัพท์_________________ E-mail_________________________ ชื่อโครงการ_____________________________ แปลง_______________________ แบบบ้ าน______________________

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

1.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

ประตู 1.1 แบบอลูมิเนียม - ขนาดและชนิดถูกต้ องตามแบบ - เป็ นประตูที่เปิ ดเข้ าด้ านใน ป้องกัน น ้าซึมเข้ าตัวบ้ าน - การใช้ งานประตู เปิ ด ปิ ด สะดวก ไม่ฝืด ลงกลอนได้ สนิท - มีซิลโิ คนป้องกันน ้าฝน ซึมเข้ า ตามประตู ติดครบด้ าน - กระจกของประตู ติดตังเรี ้ ยบร้ อย ไม่มีรอยแตกร้ าวหรื อรอยขีดข่วน - มุ้งลวดและบานประตูไม่มีรอย ขีดข่วน - มีลกู บิด กลอนประตู ครบถ้ วน - ขอบประตูเก็บงานได้ เรี ยบร้ อย ไม่มีรอยขรุขระ ไม่มีคราบสกปรก - ประตูมียางกันฝุ่ นติดรอบบานประตู - อื่นๆ 1.2 แบบไม้ - ขนาดและชนิดถูกต้ องตามแบบ - เป็ นประตูที่เปิ ดเข้ าด้ านใน ป้องกัน น ้าซึมเข้ าตัวบ้ าน

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


47 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

- ติดตังบั ้ งใบกับวงกบแบบเปิ ดเข้ า ตัวบ้ านป้องกันน ้าซึมผ่าน - การใช้ งานประตู เปิ ด ปิ ด สะดวก ไม่ฝืด ลงกลอนได้ สนิท - ขอบประตูเรี ยบเนียน ไม่มีรอยขรุขระ ไม่มีคราบสกปรก - มีการทาสีและเคลือบเงา ทังขอบ ้ ด้ านล่าง ด้ านบนและทัว่ บาน - มีลกู บิด กลอนประตู ครบถ้ วน - อื่นๆ 1.3 แบบ UPVC - ขนาดและชนิดถูกต้ องตามแบบ - การใช้ งานประตู เปิ ด ปิ ด สะดวก ไม่ฝืด ลงกลอนได้ สนิท - การยึดประตู ติดตังได้ ้ แข็งแรงทนทาน - ประตูไม่มีรอยแตกหักหรื อรอยเปื อ้ น - มีลกู บิด กลอนประตู ครบถ้ วน - อื่นๆ

2.

หน้ ำต่ ำง 2.1 หน้ ำต่ ำงแบบอลูมิเนียม - ขนาดและชนิดถูกต้ องตามแบบ - หน้ าต่าง เปิ ด ปิ ด สะดวก ไม่ฝืด ลงกลอนได้ สนิททุกบาน - มีซิลโิ คนป้องกันน ้าฝน ซึมเข้ า ตามขอบหน้ าต่าง - มีการติดกันฝุ่ นรอบขอบบานหน้ าต่าง - การยึดบานหน้ าต่างกับขอบหน้ าต่าง ได้ แข็งแรง ไม่มีสว่ นใดหลุด เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


48 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

- หน้ าต่างไม่มขี ีดข่วนหรื อรอยเปื อ้ น - อื่นๆ 2.2 หน้ ำต่ ำงกระจกขอบเป็ นไม้ - ขนาดและชนิดถูกต้ องตามแบบ - เปิ ด ปิ ด สะดวก ไม่ฝืด - ลงกลอนได้ สดุ ตรงรูพอดี - กระจกหน้ าต่าง ไม่มีรอยแตกร้ าว หรื อรอยขีดข่วน - ขอบหน้ าต่างสัมผัสแล้ วเรี ยบเนียน ไม่มีร้อยขรุขระ - ลงยาแนวได้ สนิทและทัว่ ขอบ หน้ าต่าง ไม่มีคราบสกปรก - ตัวหน้ าต่างยึดได้ แข็งแรงกับตัว ขอบบาน - อื่นๆ

3.

พืน้ 3.1 พืน้ ที่ปดู ้ วยกระเบือ้ งหิน และพืน้ โมเสก - การยาแนวเรี ยบร้ อย สวยงาม - กระเบื ้องปูเต็มแผ่นทุกจุด ไม่มีเสียงกลวง - ไม่มีรอยแตกหรื อรอยบิ่น - อื่นๆ 3.2 พืน้ ปำร์ เก้ - ระยะห่างช่องว่างแนวการปูเท่ากัน สวยงาม - มีการปูพลาสติกใต้ พื ้นป์เก้ ป้องกัน ความชื ้น - มีการทาแลคเกอร์ ครบทุกจุดทีป่ ู - การขัดพื ้นเรี ยบเนียน สวยงาม เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


49 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

- พื ้นไม่โก่งหรื อแอ่นตัว

- ลายพื ้นปาร์ เก้ สมั พันธ์กนั - ไม่แตก และไม่มคี ราบด่างสกปรก - อื่นๆ 3.3 พืน้ ไม้ จริงและพืน้ ไม้ แผ่ น - การขัดพื ้นเรี ยบเนียน สวยงาม - พื ้นไม่โก่งหรื อแอ่นตัว

- ไม่แตก และไม่มีคราบด่างสกปรก - ระยะห่างช่องว่างแนวการปูเท่ากัน สวยงาม - อื่นๆ 3.4 พืน้ ไม้ ลำมิเนตหรือพืน้ ไม้ เทียม - พื ้นเรี ยบเนียน สวยงาม - พื ้นไม่โก่งหรื อแอ่นตัว - การยาแนวเรี ยบร้ อย สวยงาม - อื่นๆ 3.5 พืน้ ปูหนิ ธรรมชำติ, พืน้ หินแกรนิต, พืน้ หินอ่ อน - การขัดพื ้นเรี ยบเนียน สวยงาม - ไม่มีรอยแตกหรื อรอยบิ่น - ไม่มีคราบด่างสกปรก - การยาแนวใส่ขอบเรียบร้ อย สวยงาม - อื่นๆ 3.6 พืน้ กระเบือ้ งเซรำมิค - ไม่เป็ นโพรงใต้ พื ้น

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


50 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

- แนวการปูระยะห่างเท่ากัน สวยงาม - ปูพื ้นได้ ระดับเท่ากับทุกแผ่น - ไม่มีรอยแตกหรื อรอยบิ่น - ไม่มีคราบสกปรก - อื่นๆ 3.7 วัสดุปูพรม - พรมใหม่ยงั ไม่มีการใช้ งานมาก่อน - การติดตังวัสดุปพู รมเรี ยบร้ อย สวยงาม และสัมพันธ์กนั ดี - ไม่มีคราบด่างสกปรก - บริ เวณพรมทีต่ ิดขอบห้ องแนบสนิท กันเรี ยบร้ อย - อื่นๆ

4.

ผนัง - ผนังทุกส่วนได้ ดงิ่ ได้ ฉาก

- มีความเรียบเนียน สมา่ เสมอกัน - ไม่มีสว่ นใดปูดออกมาหรือเป็ นหลุม - ไม่มีคราบรอยเปื อ้ นสกปรก - อื่นๆ 4.1 งำนวอลเปเปอร์ - การติดวอลเปเปอร์ มีความเรี ยบร้ อย สวยงาม - รอยต่อแนบสนิทกันดี ไม่มีโพรง อากาศ - ตรวจวอลเปเปอร์ ต้องไม่มีรอยขีดข่วน ฉีกขาด - ตรวจสอบคราบสกปรก และรอย เปื อ้ นต่างๆ - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


51 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

4.2 งำนบัวผนัง - การติดตังแนบสนิ ้ ทกับผนังสวยงาม - งานบัวพื ้นไม่แอ่น ไม่โก่งตัว ไม่คดงอ - ได้ ระดับเท่ากันทัว่ ทังห้ ้ อง - อื่นๆ

5.

งำนฝ้ำเพดำน 5.1 ฝ้ำเพดำนแบบฉำบเรียบ - ไม่เห็นรอยยาแนวของแผ่น - บริ เวณรอยต่อ - การติดตังเรี ้ ยบร้ อย ไม่ขรุขระ สวยงาม - ไม่ปดู บวมออกมาจากพื ้นที่อื่น - ไม่มีรอยแตกร้ าว และคราบสกปรก - อื่นๆ 5.2 ฝ้ำเพดำนทีบำร์ - ฝ้ าเพดานเรี ยบตรง รอยต่อของ เส้ นทีบาร์ ต้องไม่เกยกัน - แผ่นยิบซัม่ บอร์ ดทีใ่ ส่ไว้ ในช่องที บาร์ มีขนาดเท่ากับช่องฝ้ าเพดาน - ไม่มีช่องว่างระหว่างแผ่นกับเส้ นทีบาร์ - ไม่เป็ นคราบสกปรก - อื่นๆ 5.3 ฝ้ำเพดำนแบบปูนเปลือย - ตรวจสอบท้ องฝ้ าปูนเปลือยต้ อง ไม่มีรอยแตกราว รอยบิ่น - การติดตังเรี ้ ยบร้ อย สวยงาม - ไม่มีรอยเปื อ้ น คราบสกปรก

- อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


52 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

5.4 ฝ้ำเพดำนแบบสำเร็จ หรือฝ้ำอลูมิเนียม - การติดตังเรี ้ ยบร้ อยถูกต้ อง สวยงาม - ตรวจระยะการแขวงโครงยึดต้ อง เท่ากัน - ตรวจสอบรอยต่อของฝ้ าเพดานต้ อง แนบสนิท - ไม่มีสว่ นใดส่วนหนึง่ โก่งตัวออกมา - ไม่มีรอยแตกร้ าว และคราบสกปรก - อื่นๆ 5.5 ฝ้ำเพดำนแบบไม้ - การติดตังเรี ้ ยบร้ อยถูกต้ อง สวยงาม - ตรวจแนวระยะห่างฝ้ าต้ องเท่ากัน - ไม่มีช่องว่างระหว่างแผ่นกับ เส้ นทีบาร์ - ฝ้ าไม้ มีความเรี ยบเนียน ทาน ้ายา กันปลวกไม่มีรอยแตกหรื อตาหนิ ของฝ้ าไม้ - อื่นๆ

6.

งำนระบบไฟฟ้ำ 6.1สวิทซ์ ไฟฟ้ำแบบทำงเดียว - หลอดเปิ ดติดไฟทุกดวง ใช้ งานได้ - ติดตังหลอดไฟถู ้ กต้ องสัมพันธ์กนั - อุปกรณ์ที่ติดตังครบ ้ ไม่ชารุด เสียหาย -อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


53 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

6.2 สวิทซ์ ไฟฟ้ำแบบ 2 ทำง - สามารถควบคุมการปิ ดเปิ ดของ หลอด ไฟฟ้ าจากทัง้ 2 สวิทซ์ได้ - การติดตังไฟฟ้ ้ าถูกต้ องสัมพันธ์กนั - อุปกรณ์ติดตังครบ ้ ไม่ชารุด - อื่นๆ 6.3 ตู้ระบบไฟตัดอัตโนมัติ - อุปกรณ์ที่ติดตังครบ ้ ไม่ชารุดเสียหาย - เปิ ดสวิทซ์หรื อเสียบปลัก๊ ไฟฟ้ าแล้ ว สามารถใช้ งานได้ - ตาแหน่งการติดตังเหมาะสม ้ - อื่นๆ 6.4 ระบบปรับอำกำศ - เปิ ดใช้ งานแล้ วเครื่ องไม่เสียงดัง - อุปกรณ์ที่ติดตังครบ ้ ไม่ชารุดเสียหาย - มีความเย็นขณะเปิ ดใช้ งาน -การยึดตัวแอร์ กบั ตัวแขวงแข็งแรง - ติดตังท่ ้ อระบายน ้าเพื่อเอาความชื ้นออกจาก ตัวห้ องที่ติดตัง้ มีระยะที่พอดีไม่ไกลเกินไป - ตาแหน่งการติดตังคอล์ ้ ยร้ อนและ คอล์ยเย็นได้ เหมาะสม -อื่นๆ 6.5 ระบบโทรศัพท์ - อุปกรณ์ที่ติดตังครบ ้ ไม่ชารุด เสียหาย - สามารถใช้ งานได้ - ติดตังระบบได้ ้ ถกู ต้ อง -อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


54 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ตำรำงแบบฟอร์ มที่ใช้ ในกำรตรวจสภำพบ้ ำน ห้ องนำ้ ที่….. วันที่ตรวจ ___/___/___ ชื่อเจ้ าของบ้ าน__________________________ เบอร์ โทรศัพท์_________________ E-mail_________________________ ชื่อโครงการ_____________________________ แปลง_______________________ แบบบ้ าน______________________

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

1.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

ประตูห้องนำ้ (ชนิดกันนำ้ ) -ขนาดและชนิดถูกต้ องตามประเภท - เป็ นประตูที่สามารถทนความชื ้น จากน ้าได้ - การใช้ งานประตู เปิ ด ปิ ด สะดวก ไม่ฝืด ลงกลอนได้ สนิท - มีลกู บิด กลอนประตู ครบถ้ วน - ขอบประตูเก็บงานได้ เรี ยบร้ อย - ประตูไม่มีรอยขีดข่วน และไม่มี คราบสกปรก - อื่นๆ

2.

พืน้ ห้ องนำ้ - เป็ นพื ้นที่เหมาะสาหรับใช้ งานใน ห้ องน ้า ใช้ พื ้นถูกประเภท - มีการปูเต็มแผ่นทุกจุด ไม่มีเสียงกลวง - ไม่มีรอยแตกหรื อรอยบิ่น - การยาแนวเรี ยบร้ อย สวยงาม - ระดับการลาดเอียงของพื ้น เหมาะสม - อื่นๆ เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


55 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

3.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

ผนังห้ องนำ้ - ผนังห้ องน ้าต้ องเป็ นผนังเฉพาะ ใช้ ผนังถูกประเภท - การยาแนวของแผ่นผนัง เรี ยบร้ อย ผนังไม่ขรุขระ - ผนังทุกส่วนได้ ดงิ่ ได้ ฉาก - ไม่ปดู บวมออกมาจากพื ้นที่อื่น - ไม่มีรอยแตกร้ าว และคราบสกปรก - อื่นๆ

4.

ฝ้ำเพดำนห้ องนำ้ - ฝ้ าห้ องน ้าต้ องเป็ นฝ้าเฉพาะ กัน ความชื ้นได้ ใช้ ฝ้าถูกประเภท - ไม่มีช่องว่างระหว่างแผ่นฝ้ าให้ เห็น - การติดตังเรี ้ ยบร้ อย สวยงาม - ไม่มีรอยแตกราว หรื อเสียหาย - ฝ้ าไม่เป็ นรอยเปื อ้ นคราบสกปรก - อื่นๆ

5.

ช่ องเปิ ดต่ ำงๆ - การติดตังเรี ้ ยบร้ อยถูกต้ อง สวยงาม - ไม่มีรอยแตกร้ าว และคราบสกปรก - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


56 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

6.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

อ่ ำงล้ ำงหน้ ำ - ติดตังอ่ ้ างล้ างหน้ าได้ ตรงตาแหน่งรู ท่อน ้าทิ ้งพอดี - ขังน ้าในอ่างไว้ ก้ มดูที่ใต้ อ้าง ต้ องไม่มีจดุ รั่วซึมของน ้า - เปิ ดจุกสามารถระบายน ้าออกจาก อ่างได้ สะดวก - มีเครื่ องหมาย มอก.แสดงกากับ - ไม่ชารุดหรื อแตกบิ่น - อื่นๆ

7.

อ่ ำงอำบนำ้ - ติดตังอ่ ้ างอาบน ้าได้ ตรงตาแหน่งรู ท่อน ้าทิ ้งพอดี - ไม่มีจดุ รั่วซึมจากตัวอ่างอาบน ้า - น ้าทิ ้งจากอ่างต่อลงท่อระบายน ้า - มีเครื่ องหมาย มอก.แสดงกากับ - ไม่ชารุดหรื อแตกบิ่นไม่มีรอยเปื อ้ น

8.

- อื่นๆ ชักโครก - ติดตังได้ ้ ตรงตาแหน่งรูทอ่ โสโครก - วัสดุที่ยดึ ชักโครกกับพื ้นแข็งแรง - อุปกรณ์ติดตังภายในตั ้ วชักโครก ครบถ้ วน - มีเครื่ องหมาย มอก.แสดงกากับ - ไม่มีจดุ รั่วซึมจากตัวชักโครก - ไม่ชารุดหรื อแตกบิ่น - ไม่มีรอยเปื อ้ นคราบสกปรก - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


57 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

9.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

โถปั สสำวะชำย - ติดตังได้ ้ ตรงตาแหน่งรูทอ่ โสโครก - ไม่มีจดุ รั่วซึมจากท่อน ้าทิ ้ง - อุปกรณ์ติดตังครบถ้ ้ วน - มีเครื่ องหมาย มอก.แสดงกากับ - ไม่ชารุดหรื อแตกบิ่น - อื่นๆ

10.

ฝั กบัว - การติดตังเรี ้ ยบร้ อย สวยงาม - ตาแหน่งการติดตังถู ้ กต้ อง - ไม่ชารุดหรื อแตกบิ่น - ไม่มีรอยเปื อ้ นคราบสกปรก

11.

- อื่นๆ ที่วำงสบู่ - การติดตังเรี ้ ยบร้ อย สวยงาม - ตาแหน่งการติดตังถู ้ กต้ อง - ไม่ชารุดหรื อแตกบิ่น - ไม่มีรอยเปื อ้ นคราบสกปรก

12.

- อื่นๆ รำวตำกผ้ ำ - การติดตังเรี ้ ยบร้ อย สวยงาม - ตาแหน่งการติดตังถู ้ กต้ อง - ไม่ชารุดหรื อแตกบิ่น - ไม่มีรอยเปื อ้ นคราบสกปรก - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


58 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

13.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

กระจกห้ องนำ้ - การติดตังเรี ้ ยบร้ อย สวยงาม - ไม่ชารุดหรื อแตกบิ่น - ตาแหน่งการติดตังถู ้ กต้ อง - ไม่มีรอยเปื อ้ นคราบสกปรก - อื่นๆ

14.

floor drain - ตาแหน่งฝากับรูทอ่ น ้าทิ ้งตรงกัน - ไม่มีกลิน่ รบกวน - การติดตังไม่ ้ หลุดหรื อชารุด

15.

- อื่นๆ ก๊ อกนำ้ - การติดตังเรี ้ ยบร้ อย สวยงาม - เปิ ด-ปิ ดใช้ งานง่าย สะดวก - ไม่ชารุดหรื อเสียหายหรื อปิ ดแล้ ว น ้าซึมออก - อื่นๆ

16.

สำยชำระ - การติดตังเรี ้ ยบร้ อย - เปิ ด-ปิ ดใช้ งานง่าย สะดวก - ตาแหน่งการติดตังถู ้ กต้ อง - มี Stop Valve ติดตังถู ้ กต้ อง - ไม่ชารุดหรื อเสียหาย - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


59 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ตำรำงแบบฟอร์ มที่ใช้ ในกำรตรวจสภำพบ้ ำน ระบบสุขำภิบำล….. วันที่ตรวจ ___/___/___ ชื่อเจ้ าของบ้ าน__________________________ เบอร์ โทรศัพท์_________________ E-mail_________________________ ชื่อโครงการ_____________________________ แปลง_______________________ แบบบ้ าน______________________

ลำดับที่

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผลกำรตรวจ ผ่าน

1.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

ท่ อระบำยนำ้ -ขนาดและชนิดถูกต้ องตามแบบ - ไม่มีรอยแตกบริ เวณของท่อ - ระบายน ้าได้ สะดวก - ได้ ระยะการวางแนวท่อ - มีการติดตังฝาปิ ้ ดท่อ เรี ยบร้ อย - มีแนวการระบายน ้าออกสู่ สาธารณะที่เหมาะสม - อื่นๆ

2.

บ่ อดักไขมัน -ขนาดถูกต้ องตามแบบ - มีอปุ กรณ์ตะแกรงดักไขมันติดตัง้ - ระยะห่างของการวางบ่อถูกต้ อง - ระดับความลึกของบ่อเหมาะสม - มีการติดตังฝาปิ ้ ดบ่อ เรี ยบร้ อย - บริ เวณปากบ่อไม่มีรอยแตกหรือบิ่น - อื่นๆ

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


60 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ลำดับที่

ผลกำรตรวจ

หมวดงำนที่ตรวจสอบ

ผ่าน

3.

รำยกำรแก้ ไข

หมำยเหตุ

ไม่ผา่ น

บ่ อพัก -ขนาดถูกต้ องตามแบบ - ไม่มีรอยแตกบริ เวณของบ่อ - มีการพักได้ ก่อนปล่อยออกสู่ สาธารณะ - มีการติดตังฝาปิ ้ ดบ่อ เรี ยบร้ อย - อื่นๆ

4.

ถังบำบัดนำ้ เสีย -ขนาดถูกต้ องตามประเภท - ระบบการทางานปกติ ใช้ งานได้ - แนวการฝั งถังบาบัดน ้าเสียได้ ระดับ เสมอกัน ไม่เอียง - ถังบาบัดไม่มีรอยแตกหรื อรั่วซึม

5.

ท่ ออำกำศ - ตาแหน่งการติดตังท่ ้ ออากาศ ถูกต้ อง เรี ยบร้ อย - ท่ออากาศไม่แตกเสียหาย - อื่นๆ

6.

ท่ อนำ้ ดี -ชนิดและขนาดถูกต้ องตามประเภท - การติดตังถู ้ กต้ อง เรี ยบร้ อย - อื่นๆ

7.

ท่ อนำ้ เสีย -ชนิดและขนาดถูกต้ องตามประเภท - การติดตังถู ้ กต้ อง เรี ยบร้ อย - อื่นๆ

ลงชื่อวิศวกรโครงการ ……………………………………….

ลงชื่อเจ้ าของบ้ าน ..………………………………….

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


61 คู่มือการตรวจรับบ้านก่อนโอน

ข้ อมูลทีค่ วรทราบภายหลังรับมอบบ้ านแล้ ว

ระยะเวลาประกันผลงาน 1 ปี ในการซ่อมแซมบ้ าน นับจากวันรับมอบบ้ าน มีดงั นี ้ ‐ งานโครงสร้ าง ‐ การแตกร้ าว ‐ การรั่วซึมหลังคา ‐ งานระบบประปา ท่อน ้าดี น ้าเสีย การรั่ว การแตกเสียหาย ‐ งานไฟฟ้าช๊ อต (รายการดังกล่าวข้ างต้ น ทางโครงการหมูบ่ ้ านจัดสรรหรื อบริ ษัทรับสร้ างบ้ านต่างๆ จะไม่รับผิดชอบในกรณีที่ลกู ค้ าได้ ตอ่ เติมหรื อเปลีย่ นแปลงงานก่อสร้ าง หากเกิดจากสาเหตุดงั กล่าว การประกันรายการนันๆเป็ ้ นอันสิ ้นสุดลง)

เรี ยงเรี ยงโดย : นางสาววรัชญา มาตรไตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.