NET ZERO BUILDING GUIDELINES
THAMMASAT DESIGN SCHOOL × SCG
2
3
ผู้้�เขีียน
ผศ.ดร. กััลยา ตัันติิยาสวััสดิิกุุล คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ รศ.ดร. ดารณีี จารีีมิิตร คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ นิิษฐา ภููษาชีีวะ บริิษััท เอสซีีจีี ซิิเมนต์์-ผลิิตภััณฑ์์ก่่อสร้้าง จำำ�กััด ดร. ภาณุุพัันธ์์ ผาพัันธุ์์� บริิษััท เอสซีีจีี ซิิเมนต์์-ผลิิตภััณฑ์์ก่่อสร้้าง จำำ�กััด กิิตติินััทธ์์ ธรรมรัักษ์์ บริิษััท เอสซีีจีี ซิิเมนต์์-ผลิิตภััณฑ์์ก่่อสร้้าง จำำ�กััด
จััดพิิมพ์์ โดย
คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต 99 ถนนพหลโยธิิน ตำำ�บลคลองหนึ่่�ง อำำ�เภอคลองหลวง จัังหวััดปทุุมธานีี 12121 โทร. 02 986 9605-6
ออกแบบและผลิิต art4d WORKS
วสวััตติ์์� เดชาภิิรมย์์ จิิตต์์โสมนััส กองแสง
พิิมพ์์ครั้้�งที่่�หนึ่่�ง กัันยายน 2566 ©2023 Thammasat Design School
“MAKING PEACE WITH NATURE IS THE DEFINING TASK OF THE ST 21 CENTURY.”
ข้้อมููลทางบรรณานุุกรมของหอสมุุดแห่่งชาติิ Net ZERO building guidelines.-- ปทุุมธานีี : คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์ และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์, 2566. 120 หน้้า. 1. การออกแบบสถาปััตยกรรม. I. กััลยา ตัันติิยาสวััสดิิกุุล. II. ชื่่�อเรื่่�อง. 729 ISBN 978-616-488-404-5
ANTONIO GUTERRES
UNITED NATIONS SECRETARY-GENERAL
สารบััญ
คำำ�นำำ� มุุมมองจากผู้้�เชี่่�ยวชาญ ข้้อมููลเบื้้�องต้้น บทนำำ�
1
BACKGROUND
2
GREENHOUSE GAS EMISSIONS FROM BUILDINGS
1.1 NET ZERO BUILDING GUIDELINES 1.2 SITUATION IN THAILAND
2.1 TYPES OF CARBON 2.2 FACTORS AFFECTED CARBON EMISSION RATIO
12 14 18 26
30 31 36
40 41
42
3 4
INITIAL PATHWAYS
3.1 DESIGN APPROACH 3.2 EMBODIED CARBON 3.3 HVAC SYSTEMS, LIGHTING SYSTEMS, AND HIGH-PERFORMANCE ELECTRONIC EQUIPMENT 3.4 RENEWABLE ENERGY IN BUILDINGS
CASE STUDIES
4.1 PTT STATION PUTTHAMONTHON SAI 3 4.2 SET 4.3 SCG CAMPUS 4.4 BEDDINGTON ZERO ENERGY DEVELOPMENT (BEDZED)
50 54 61
69 71
76 77 85 88 90
5
DRIVING FORCES 100
6
NEXT STEP
5.1 INCENTIVES 5.2 ESG 5.3 TRUST IN ECOSYSTEM
6.1 BASELINE AND MEASUREMENT 6.2 VERIFICATION 6.3 RESILIENCE
อภิิธานศััพท์์ ผู้้�เขีียน
101 103 104
108 109 110 110
112 115
คำำ�นำำ�
บทบาทของสถาบัันการศึึกษาในการมองเห็็นอนาคต สร้้างนวััตกรรมและเป็็นส่่วนหนึ่่�ง ในการผลัักดัันสัังคมสู่่�ความยั่่�งยืืน เป็็นพัันธกิิจสำำ�คััญของคณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์ และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ คณะฯ ให้้ความสำำ�คััญกัับการวิิจััยและ พััฒนาเพื่่�อสร้้างทางออกในการแก้้ปััญหาใหม่่ๆ บนความท้้าทายของบริิบทใหม่่ๆ ที่่� ยั่่�งยืืนและส่่งผลกระทบอย่่างสร้้างสรรค์์ต่่อสัังคมและประเทศมาอย่่างต่่อเนื่่�อง โลก ในอนาคตถููกขัับเคลื่่�อนด้้วยแรงขัับ (driving force) ที่่�สำำ�คััญ 3 ด้้าน ได้้แก่่ มิิติิ ด้้านสุุขภาวะและคุุณภาพชีีวิิต (well-being and quality of life) มิิติิด้้านคุุณค่่า หมุุนเวีียนและความยั่่�งยืืน (circular value and sustainability) และมิิติิด้้าน การผสานทางออกในการแก้้ไขปััญหาด้้วยเทคโนโลยีีดิิจิิทััล (digital solution and integration) โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งมิิติิด้้านคุุณค่่าหมุุนเวีียนและความยั่่�งยืืน ที่่�เป็็นโจทย์์ ความท้้าทายสำำ�คััญของโลก ที่่�ต้้องได้้รัับความร่่วมมืือในการร่่วมกัันแก้้ไขปััญหาการ เปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ (climate change) ซึ่่�งอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้างเป็็น ภาคส่่วนที่่�มีีบทบาทสำำ�คััญในการสร้้างผลกระทบที่่�เป็็นบวกอย่่างสร้้างสรรค์์ ได้้ คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ หนึ่่�งในสถาบััน การศึึกษาชั้้�นนำำ�ด้้านการออกแบบ และสิ่่�งแวดล้้อมสรรค์์สร้้าง (built environment) เล็็งเห็็นความสำำ�คััญของบทบาทของคณะฯ ในการประสานความร่่วมมืือกัับภาค อุุตสาหกรรมในการร่่วมขัับเคลื่่�อนประเทศไทยสู่่�เป้้าหมายการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก สุุทธิิเป็็นศููนย์์ (net zero) ตามกรอบนโยบายที่่�ถููกผลัักดัันให้้เป็็นวาระเร่่งด่่วนระดัับ ประเทศและระดัับโลก ความร่่วมมืือกัับบริิษััท เอสซีีจีี ซิิเมนต์์-ผลิิตภััณฑ์์ก่่อสร้้าง จำำ�กััด ซึ่่�งเป็็นผู้้�นำำ�ระดัับภููมิิภาคอาเซีียนในธุุรกิิจสร้้างสรรค์์นวััตกรรมเพื่่�อการก่่อสร้้าง ที่่�ยั่่�งยืืน ในการร่่วมกัันพััฒนาคู่่�มืือการออกแบบอาคารที่่�มีีการใช้้พลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์ จะเป็็นจุุดเริ่่�มต้้นที่่�ดีี ในการร่่วมผลัักดัันแนวนโยบายดัังกล่่าวสู่่�การลงมืือปฏิิบััติิอย่่าง เป็็นรููปธรรม และเป็็นตััวอย่่างความร่่วมมืือระหว่่างสถาบัันการศึึกษาและภาคเอกชน ในการมีีส่่วนร่่วมขัับเคลื่่�อนประเทศสู่่�การพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืน
เอสซีีจีี ซิิเมนต์์-ผลิิตภััณฑ์์ก่่อสร้้าง เป็็นองค์์กรที่่�มีีเป้้าหมายในการผลิิตและพััฒนา นวััตกรรมการก่่อสร้้างสำำ�หรัับสิ่่�งแวดล้้อมสรรค์์สร้้างมากว่่าร้้อยปีี ในฐานะตััวแทน ของหน่่วยงาน ผมรู้้�สึึกเป็็นเกีียรติิที่่� ได้้ร่่วมมืือกัับ คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และ การผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ จััดทำำ�เอกสารเผยแพร่่ชุุดนี้้� ที่่�มีีจุุดมุ่่�งหมาย เพื่่�อแนะนำำ�และนำำ�เสนอแนวทางการดำำ�เนิินการอาคารที่่�มีีความเป็็นกลางทางคาร์์บอน อัันเป็็นหนึ่่�งในเป้้าหมายสำำ�คััญของการลดวิิกฤตการณ์์ทางสภาวะแวดล้้อม และสร้้าง อนาคตที่่�ดีีสำำ�หรัับทุุกคน Net Zero Energy Building (NZEB) เป็็นแนวคิิดของการออกแบบ ก่่อสร้้าง และใช้้งานอาคารที่่�มีีจุุดมุ่่�งหมาย เพื่่�อลดผลกระทบทางลบต่่อสิ่่�งแวดล้้อม ด้้วยการลด การใช้้พลัังงาน และก๊๊าซเรืือนกระจกผ่่านมาตรการ เช่่น พลัังงานทางเลืือก การใช้้ แนวทางการออกแบบที่่�มีีประสิิทธิิภาพ และเทคโนโลยีีที่่�เหมาะสมสามารถสร้้างความ สมดุุลระหว่่างการใช้้ และการสร้้างพลัังงานทดแทนตลอดทางวงจรชีีวิิตของอาคาร ในเนื้้�อหา ท่่านจะได้้ทราบที่่�มาและแรงผลัักดัันของความตกลงร่่วมมืือระหว่่างประเทศ ทั่่�วโลกเพื่่�อลดการปล่่อยคาร์์บอน ผลกระทบที่่�คาร์์บอนมีีต่่อสภาพแวดล้้อม แนวทาง เบื้้�องต้้น ที่่�สามารถลดการปลดปล่่อย รวมถึึงการดำำ�เนิินการจริิง ผ่่านอาคารต้้นแบบ ต่่างๆ ที่่�มีีการดำำ�เนิินการและได้้รัับการรัับรองมาตรการ ว่่ามีีประสิิทธิิภาพทั้้�งใน และต่่างประเทศ ผมหวัังเป็็นอย่่างยิ่่�งว่่าเอกสารฉบัับนี้้�จะสามารถสร้้างแรงบัันดาลใจ รวมถึึงให้้ข้้อมููล ทั้้�งด้้านประโยชน์์และความท้้าทายของ NZEB และส่่งเสริิมให้้เกิิดการดำำ�เนิินการ อย่่างเป็็นรููปธรรมสู่่�เป้้าหมาย ที่่�แม้้จะท้้าทาย แต่่สามารถเป็็นจริิงได้้ และมีีความสำำ�คััญ อย่่างยิ่่�ง ในการร่่วมกัันแก้้ปััญหาสิ่่�งแวดล้้อมของโลก ผมขอขอบคุุณคณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ สำำ�หรัับความร่่วมมืือ และสนัับสนุุนให้้เกิิดผลลััพท์์อัันน่่าชื่่�นชมนี้้� และหวัังเป็็นอย่่างยิ่่�งว่่า จะได้้ร่่วมพััฒนา ความยั่่�งยืืน และนวััตกรรมสำำ�หรัับสิ่่�งแวดล้้อมสรรค์์สร้้างร่่วมกัันสืืบไป
ผศ.อาสาฬ์์ สุุวรรณฤทธิ์์�
นาย วชิิระชััย คููนำำ�วััฒนา
10
11
คณบดีี คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์
Head of Smart System Solution Business บริิษััท เอสซีีจีี ซิิเมนต์์-ผลิิตภััณฑ์์ก่่อสร้้าง จำำ�กััด
มุุมมองจากผู้้�เชี่่�ยวชาญ จากหลัักการ Circular Economy ที่่�ส่่งเสริิมการใช้้ทรััพยากรอย่่างรู้้�คุุณค่่า สู่่� ESG แนวทางดำำ�เนิินธุุรกิิจอย่่างยั่่�งยืืน เอสซีีจีี ในฐานะส่่วนหนึ่่�งของ Value Chain ได้้มีี โอกาสร่่วมมืือกัับองค์์กรที่่�มีีความรู้้�ความสามารถหลากหลาย เพื่่�อหาแนวทางสร้้าง บรรทััดฐานใหม่่สำำ�หรัับการออกแบบก่่อสร้้างในประเทศไทย ในวัันที่่� Net Zero 2050 เป็็นเป้้าหมายที่่�สำำ�คััญร่่วมกัันของทั้้�งประเทศและในประชาคมโลก อาคาร อัันเป็็นต้้นเหตุุของการปลดปล่่อยคาร์์บอนกว่่า 40% จึึงเป็็นความรัับผิิดชอบร่่วมกััน ในวงการอสัังหาริิมทรััพย์์ที่่�จะร่่วมกัันหาแนวทาง และส่่งต่่อการดำำ�เนิินการเพื่่�อลด ผลกระทบต่่อสิ่่�งแวดล้้อมที่่�สามารถ ใช้้ได้้จริิงให้้แพร่่หลาย ผมจึึงอยากขอขอบคุุณ คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ที่่�ร่่วมมืือกัับ SCG Building and Living Care Consulting จััดทำำ�เอกสารเผยแพร่่ฉบัับนี้้� Net Zero Energy Building (NZEB) ไม่่ ได้้เกิิดประโยชน์์เพีียงแค่่ด้้านสิ่่�งแวดล้้อม เท่่านั้้�น แต่่เรายัังสามารถคาดหวัังถึึงผู้้�คนที่่� ใช้้งานอาคาร ว่่าจะสามารถใช้้พื้้�นที่่� ได้้อย่่างสบาย สุุขภาพดีีขึ้้�น รวมถึึงประสิิทธิิภาพการทำำ�งานดีีขึ้้�น อาคารสามารถ ลดค่่าใช้้จ่่ายจากค่่าน้ำำ�� ค่่าไฟฟ้้าและพลัังงาน รวมถึึงมีีความยืืดหยุ่่�นในการใช้้งาน ถึึงแม้้ว่่าการพััฒนาโครงการตามเป้้าหมายจะไม่่ง่่าย ต้้องการองค์์ความรู้้� และ การสอดประสานด้้านการออกแบบ ก่่อสร้้าง ดำำ�เนิินการและบำำ�รุุงรัักษา รวมถึึง ต้้องการความร่่วมมืือระหว่่าง ผู้้�มีีส่่วนเกี่่�ยวข้้องทั้้�งนัักออกแบบ ผู้้�รัับเหมา เจ้้าของ โครงการ ผู้้� ใช้้งานอาคาร และรวมถึึงผู้้�กำำ�หนดนโยบาย แต่่ผมเชื่่�อว่่า ไม่่เกิินความ สามารถของเรา ด้้วยเหตุุผลข้้างต้้น ผมจึึงหวัังว่่าเอกสารเผยแพร่่ฉบัับนี้้� จะสร้้างแรงบัันดาลใจ เป็็นแนวทางเบื้้�องต้้น รวมถึึงนำำ�เสนอตััวอย่่างการดำำ�เนิินการ สำำ�หรัับผู้้�ที่่�สนใจหรืือ เกี่่�ยวข้้องกัับโครงการที่่�ต้้องการลดการปลดปล่่อยคาร์์บอน ด้้วยหลัักการออกแบบ และเทคโนโลยีี ที่่�มีีการดำำ�เนิินการจริิงแล้้วทั้้�งในประเทศไทยและต่่างประเทศ ด้้วยบริิบท ที่่�แตกต่่างกััน และหากสามารถทำำ�ให้้ท่่านที่่�อ่่านอยู่่�ในขณะนี้้� เกิิดความสนใจ สงสััย หรืืออยากศึึกษาเกี่่�ยวกัับเรื่่�อง NZEB เพิ่่�มเติิม ผมและคณะทำำ�งานก็็มีีความยิินดีีเป็็น อย่่างยิ่่�ง ที่่�ท่่านเข้้ามาเป็็นส่่วนหนึ่่�งในการสร้้างการเปลี่่�ยนแปลงของ สิ่่�งแวดล้้อม และอนาคตของลููกหลานไปพร้้อมกัันครัับ
นาย นิิธิิ ภััทรโชค
President ธุุรกิิจซิิเมนต์์และผลิิตภััณฑ์์ก่่อสร้้างและรัักษาการ Vice President Cement and Green Solution Business ธุุรกิิจซิิเมนต์์และผลิิตภััณฑ์์ก่่อสร้้าง บริิษััท ปููนซิิเมนต์์ ไทย จำำ�กััด (มหาชน) 14
นวััตกรรมอาคารพลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์ (net zero energy building) ได้้ถููกพััฒนา ขึ้้�นอย่่างต่่อเนื่่�องตามวิิสััยทััศน์์ของการพััฒนาอย่่างยั่่�งยืืน และเป็็นองค์์ประกอบ สำำ�คััญในการดำำ�เนิินธุุรกิิจด้้านอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้างและสิ่่�งแวดล้้อมสร้้างสรรค์์ ในอนาคต นวััตกรรมอาคารเหล่่านี้้� ได้้นำำ�เสนอการปรัับเปลี่่�ยนกระบวนทััศน์์เพื่่�อการ นำำ�ไปสู่่�อนาคตอย่่างมีีพลวััต เพื่่�อการใช้้ทรััพยากรธรรมชาติิอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ในมุุมมองของอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้าง การพััฒนา Net Zero Energy Building (NZEB) เป็็นการปรัับตััวครั้้�งสำำ�คััญ มีีการเปลี่่�ยนแปลงและปฏิิรููปวิิธีีการก่่อสร้้าง โดยการบููรณาการหลัักการออกแบบที่่�มีีประสิิทธิิภาพทางพลัังงาน เทคโนโลยีีพลัังงาน ทดแทน และงานระบบอาคารที่่�ก้้าวหน้้า อาคารเหล่่านี้้�ช่่วยลดการใช้้พลัังงานและ ลดการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนออกไซด์์เป็็นอย่่างมาก ซึ่่�งสอดคล้้องกัับความมุ่่�งมั่่�น ของการพััฒนาอุุตสาหกรรมที่่�ยั่่�งยืืน และเปิิดโอกาสให้้เกิิดนวััตกรรม การสร้้างงาน และการส่่งเสริิมการเติิบโตทางเศรษฐกิิจ ในด้้านการพััฒนาสิ่่�งแวดล้้อมสรรค์์สร้้างนั้้�น การออกแบบตามแนวทาง NZEB มีีการคำำ�นึึงถึึงการส่่งเสริิมคุุณภาพชีีวิิตของผู้้� ใช้้อาคาร การให้้ลำำ�ดัับความสำำ�คััญ ตั้้�งแต่่การเลืือกใช้้วััสดุุที่่�ยั่่�งยืืน การใช้้ฉนวนกัันความร้้อนที่่�มีีประสิิทธิิภาพ ความสบายของผู้้� ใช้้อาคาร คุุณภาพอากาศภายใน ระบบระบายอากาศธรรมชาติิ การจััดแสงสว่่างที่่�เหมาะสม และการออกแบบพื้้�นที่่�สีีเขีียวเพื่่�อเชื่่�อมโยงระหว่่างผู้้� ใช้้ อาคารและธรรมชาติิอย่่างใกล้้ชิิด อาคารเหล่่านี้้�ยัังส่่งเสริิมการอนุุรัักษ์์ทรััพยากร รวมทั้้�งกลยุุทธ์์การจััดการขยะอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ผลลััพธ์์ที่่�เกิิดขึ้้�น คืือ การสร้้าง สิ่่�งแวดล้้อมที่่�สร้้างสุุขภาวะและสร้้างผลิิตผลที่่�ดีี ในอนาคตแนวทาง NZEB จะมีีบทบาทสำำ�คััญในการแก้้ไขปััญหาการเปลี่่�ยนแปลง สภาพภููมิิอากาศ และการลดการใช้้ทรััพยากรและเชื้้�อเพลิิงธรรมชาติิอย่่างมีี นััยสำำ�คััญ ซึ่่�งส่่งผลโดยตรงต่่อการลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกและบรรเทา ปััญหาสภาวะโลกร้้อน เราสามารถสร้้างอาคารที่่�มีีประสิิทธิิภาพทางพลัังงาน โดยการบููรณาการแหล่่งพลัังงานหมุุนเวีียนที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อมเพื่่�อสร้้างเสริิม คุุณภาพชีีวิิต และเป็็นทางเลืือกที่่�นำำ�ไปสู่่�อนาคตที่่�ยั่่�งยืืน
ศาสตราจารย์์ ดร.ภููษิิต เลิิศวััฒนารัักษ์์ คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ 15
มุุมมองจากผู้้�เชี่่�ยวชาญ
ข้้อมููลเบื้้�องต้้น
ภาคอาคารประกอบด้้วยกลุ่่�มอาคารขนาดเล็็กและอาคารสููง เป็็นภาคที่่�สำำ�คััญของ ประเทศในการขัับเคลื่่�อนเศรษฐกิิจโดยมีีการใช้้พลัังงานในรููปแบบพลัังงานไฟฟ้้าเป็็น ส่่วนใหญ่่ ดัังนั้้�น อาคารที่่�มีีการใช้้พลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์ หรืือที่่�เรีียกว่่า “Net Zero Energy Building: NZEB” ช่่วยทำำ�ให้้ประเทศสามารถบรรลุุความเป็็นกลางทางคาร์์บอน หรืือที่่�เรีียกว่่า “Carbon Neutrality” หรืือ “Net Zero CO2: NZC” และบรรลุุการ ปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ หรืือที่่�เรีียกว่่า “Net Zero Emissions: NZE” ความตกลงปารีีส (paris agreement) เป็็นความตกลงตามกรอบอนุุสััญญา สหประชาชาติิว่่าด้้วยการเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change-UNFCCC) ที่่�ประเทศไทย เป็็นสมาชิิก เพื่่�อกำำ�หนดเป้้าหมายการลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกของประเทศ ในปีี ค.ศ. 2030 ผ่่านกลไกที่่�เรีียกว่่า Nationally Determined Contributions หรืือ NDCs และเป้้าหมายระยะยาวในปีี ค.ศ. 2050 ทั้้�งนี้้�วััตถุุประสงค์์ของความตกลง ปารีีสต้้องการให้้ทั้้ง� โลกบรรลุุความเป็็นกลางทางคาร์์บอนก่่อนให้้ได้้ภายในปีี ค.ศ. 2050 แล้้วจึึงบรรลุุการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ถััดไป เพื่่�อมุ่่�งพยายามควบคุุม การเพิ่่�มขึ้้�นของอุุณหภููมิิเฉลี่่�ยของโลกให้้ไม่่เกิิน 1.5 องศาเซลเซีียสภายในศตวรรษนี้้� เมื่่�อเทีียบกัับก่่อนปฏิิวััติิอุุตสาหกรรม (ราวปีี ค.ศ. 1850) ประเทศไทยได้้เข้้าร่่วมความตกลงปารีีสในปีี ค.ศ. 2015 พร้้อมกัับให้้สััตยาบััน ในปีี ค.ศ. 2016 และได้้ส่่งรายงานยุุทธศาสตร์์ระยะยาวในการพััฒนาแบบปล่่อย ก๊๊าซเรืือนกระจกต่ำำ�ข � องประเทศ หรืือ Thailand’s Long-Term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy (LT-LEDS) ฉบัับปรัับปรุุงตามความตกลง ปารีีสต่่อ UNFCCC ในปีี ค.ศ. 2022 ภาคส่่วนที่่�ทำำ�ให้้ประเทศไทยบรรลุุเป้้าหมาย ความเป็็นกลางทางคาร์์บอนและ NZE ประกอบด้้วย ภาคผลิิตไฟฟ้้า ภาคอุุตสาหกรรม ภาคขนส่่ง ภาคอาคารและที่่�อยู่่�อาศััย ภาคเกษตรกรรม ภาคของเสีีย และภาคการใช้้ ประโยชน์์ที่่�ดิินและป่่าไม้้ มาตรการในภาคอาคารของประเทศไทยประกอบด้้วยการปรัับตััวในการออกแบบ เลืือกใช้้วััสดุุก่่อสร้้าง เลืือกใช้้อุุปกรณ์์พลัังงานที่่�มีีประสิิทธิิภาพสููง มีีการใช้้พลัังงาน หมุุนเวีียนและพลัังงานตามธรรมชาติิ เลืือกใช้้เทคโนโลยีี Automation และ Internet of Things (IoT) และปััญญาประดิิษฐ์์ (artificial intelligence) หรืือที่่�เรีียกว่่า “AI” รวมถึึงการเปลี่่�ยนแปลงพฤติิกรรมของผู้้� ใช้้งานอาคารหรืือที่่�เรีียกว่่า “Behavior Change” เพื่่�อให้้บรรลุุเป้้าหมาย NZEB ทั้้�งนี้้� ธรรมาภิิบาลความรัับผิิดชอบต่่อ สิ่่�งแวดล้้อมและสัังคมของผู้้�บริิหารองค์์กรที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับมาตรการในอาคารที่่�กล่่าว มาแล้้วตั้้�งแต่่ออกแบบการใช้้วััสดุุก่่อสร้้างและเทคโนโลยีี ในอาคารรวมถึึงการบริิหาร อาคาร มีีส่่วนสำำ�คััญอย่่างยิ่่�งในการผลัักดัันให้้บรรลุุเป้้าหมาย NZEB
วิิกฤตการณ์์ โลกร้้อนและภััยธรรมชาติิต่่างๆ ที่่�เกิิดขึ้้�นในปััจจุุบััน มีีสาเหตุุสำำ�คััญ มาจากการเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ ประชาคมโลกไม่่ ได้้นิ่่�งนอนใจต่่อเรื่่�อง ดัังกล่่าว ได้้มีีการจััดตั้้�งกลไกหลัักภายใต้้กรอบสหประชาชาติิขึ้้�น 2 กลไก คืือ กรอบอนุุสััญญาสหประชาชาติิว่่าด้้วยการเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change – UNFCCC) ในปีี พ.ศ. 2535 และพิิธีีสารเกีียวโต (Kyoto Protocol – KP) ในปีี พ.ศ. 2540 ตลอดจนในปีี พ.ศ. 2558 ได้้มีีการประชุุมรััฐภาคีีกรอบอนุุสััญญาฯ สมััยที่่� 21 (COP 21) จััดขึ้้�นที่่�กรุุงปารีีส ประเทศฝรั่่�งเศส จนเกิิดความตกลงตามกรอบ อนุุสััญญาสหประชาชาติิว่่าด้้วยการเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ (UNFCCC) ที่่�เรีียกว่่า ความตกลงปารีีส (Paris Agreement) มีีวััตถุุประสงค์์หลัักเพื่่�อกำำ�หนด มาตรการการลดการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ โดยมีีสาระสำำ�คััญคืือ ประเทศ ต่่างๆ ตั้้�งเป้้าหมายร่่วมกัันขั้้�นพื้้�นฐานที่่�จะรัักษาการเพิ่่�มขึ้้�นของอุุณหภููมิิเฉลี่่�ยของโลก ให้้ต่ำำ��กว่่า 2 องศาเซลเซีียส และมีีการกำำ�หนดเป้้าหมายที่่�สููงขึ้้�นโดยควบคุุมไม่่ ให้้สููง เกิินกว่่า 1.5 องศาเซลเซีียส สำำ�หรัับประเทศไทย ได้้ให้้ข้้อเสนอการมีีส่่วนร่่วมของประเทศในการลดก๊๊าซเรืือนกระจก และการดำำ�เนิินงานด้้านการเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศกัับประชาคมโลก (National Determined Contributions – NDCs) โดยตั้้�งเป้้าลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก ให้้ได้้ร้้อยละ 20-25 ภายในปีี พ.ศ. 2573 ตามร่่างแผนที่่�นำำ�ทางการลดก๊๊าซเรืือน กระจกของประเทศ ปีี พ.ศ. 2564-2573 ผ่่านการดำำ�เนิินการในสาขาต่่างๆ อาทิิ สาขาพลัังงานและขนส่่ง สาขากระบวนการทางอุุตสาหกรรม และการใช้้ผลิิตภััณฑ์์ และสาขาการจััดการของเสีีย และมีีการตั้้�งเป้้าหมายความเป็็นกลางทางคาร์์บอน (carbon neutrality) ในปีี พ.ศ. 2593 (ค.ศ. 2050) และการปล่่อยก๊๊าซเรืือน กระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ (net zero emissions) ภายในปีี พ.ศ. 2608 (ค.ศ. 2065) ภาคอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้างเป็็นอุุตสาหกรรมหนึ่่ง� ที่่มี� กี ารปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ค่่อนข้้างสููงตลอดทั้้�ง วงจรชีีวิิตของอาคาร จากข้้อมููลขององค์์การพลัังงานระหว่่างประเทศ (International Energy Agency: IEA) พบว่่า อุุตสาหกรรมการก่่อสร้้างอาคารปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์สููงถึึง 40% เมื่่�อเทีียบกัับ การปล่่อยทั้้�งหมดในปีี พ.ศ. 2565 โดยมาจากการใช้้งานอาคาร (operational carbon) สููงถึึง 9.9 GT (27%) จากอุุตสาหกรรมการผลิิตวััสดุุ การก่่อสร้้าง และอุุตสาหกรรมที่่�เกี่่�ยวข้้องอื่่�นๆ หรืือจากการปล่่อย คาร์์บอนสะสมตั้้�งต้้น (embodied carbon) รวม 4.7 GT (13%) โดยเฉพาะอุุตสาหกรรมการผลิิต คอนกรีีต เหล็็ก และอะลููมิิเนีียม ที่่�ปลอยคาร์์บอนไดออกไซด์์รวมกัันมากถึึง 23% การประเมิินคาร์์บอนตลอดวงจรชีีวิิตของโครงการจะต้้องมีีการวััดและประเมิินผลกระทบของการปล่่อย คาร์์บอน ในทุุกขั้้�นตอนของวงจรชีีวิิตของโครงการ โดยการปล่่อยคาร์์บอนของโครงการแบ่่งเป็็น 2 ส่่วน คืือ 1) การปล่่อยคาร์์บอนจากในช่่วงของการใช้้อาคาร (operational carbon emissions) และ
รองศาสตราจารย์์ ดร.บััณฑิิต ลิ้้�มมีีโชคชััย คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ 16
17
2) การปล่่อยคาร์์บอนแฝง (embodied carbon emissions) การลดการปล่่อยคาร์์บอนควรพิิจารณา ตลอดวงจรชีีวิิตของอาคาร ตั้้�งแต่่การกำำ�หนดกรอบแนวคิิดในการออกแบบ และการศึึกษาความเป็็นไปได้้ เพื่่�อกำำ�หนดเป้้าหมายและใช้้เป็็นแนวทางในการดำำ�เนิินงานเพื่่�อลดปริิมาณการปล่่อยคาร์์บอน ไปจนถึึง กระบวนการออกแบบและการวางผัังอาคาร การเลืือกใช้้วััสดุุ การขนส่่ง การบริิหารจััดการ งานก่่อสร้้าง การใช้้ทรััพยากรของอาคาร รวมถึึงการจััดการของเสีียที่่�เกิิดขึ้้�นระหว่่างการใช้้งานอาคารและการทำำ�ลาย อาคาร หรืือการนำำ�กลัับมาใช้้ใหม่่ อย่่างไรก็็ตามสััดส่่วนของคาร์์บอนสะสมตั้้�งต้้น และคาร์์บอนในช่่วง ของการใช้้อาคารตลอดวงจรชีีวิิตของอาคารนั้้�นแตกต่่างกััน ขึ้้�นอยู่่�กัับปััจจััยหลายด้้าน ได้้แก่่ การออกแบบ อาคาร ขนาดของอาคารและการใช้้งาน และอายุุของอาคาร งานออกแบบโครงการสถาปััตยกรรมเพื่่�อบรรลุุความเป็็นกลางทางคาร์์บอนมีีหลายระดัับ ซึ่่�งอาจพิิจารณา ตลอดวััฏจัักรชีีวิิตของอาคารซึ่่�งต้้องอาศััยความร่่วมมืือจากผู้้�เกี่่�ยวข้้องหลายฝ่่าย ได้้แก่่ ผู้้�ผลิิตวััสดุุ ก่่อสร้้าง ผู้้�รัับเหมา สถาปนิิก วิิศวกร และผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียตลอดการดำำ�เนิินงานของโครงการ กรณีีที่่� มีีข้้อจำำ�กััดต่่างๆ ผู้้�ออกแบบอาจมุ่่�งเน้้นเฉพาะการลดการปล่่อยคาร์์บอนในช่่วงการออกแบบของอาคาร เพีียงอย่่างเดีียว เนื่่�องจากปริิมาณคาร์์บอนที่่�เกิิดขึ้้�นตลอดวััฏจัักรชีีวิิตของอาคารส่่วนใหญ่่เกิิดขึ้้�นใน ช่่วงที่่�อาคารมีีการใช้้งานโดยเฉพาะการใช้้พลัังงานไฟฟ้้าในการทำำ�ความเย็็น การใช้้พลัังงานทำำ�ความร้้อน และการใช้้ทรััพยากรน้ำำ��ในอาคาร แนวคิิดในการออกแบบอาคารที่่�มีีความเป็็นกลางทางคาร์์บอน (เฉพาะส่่วนของการ ใช้้พลัังงาน) ใช้้แนวทางพยายามสร้้างความสมดุุลระหว่่าง 2 ส่่วนคืือ การออกแบบ อาคารให้้มีีการใช้้พลัังงานต่ำำ��มาก และใช้้พลัังงานที่่�ผลิิตได้้จากแหล่่งพลัังงานหมุุนเวีียน ที่่�ผลิิตในพื้้�นที่่�ตั้้�งโครงการหรืือมาจากแหล่่งพลัังงานทดแทนจากพื้้�นที่่�บริิเวณใกล้้เคีียง เท่่ากัับพลัังงานที่่� ใช้้ภายในอาคาร ซึ่่�งการออกแบบดัังกล่่าวอยู่่�ภายใต้้กรอบแนวคิิด การออกแบบอาคารอย่่างยั่่�งยืืนซึ่่�งให้้ความสำำ�คััญกัับการออกแบบโดยวิิธีีธรรมชาติิ (passive design) เพื่่�อลดผลกระทบต่่อสิ่่�งแวดล้้อมจากการใช้้ทรััพยากร และพลัังงาน โดยมีีเป้้าหมายระยะยาวให้้มีีการใช้้พลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์ แนวทางการ ออกแบบดัังกล่่าว ประกอบด้้วย 1) การป้้องกัันปริิมาณความร้้อนเข้้าสู่่�ตััวอาคาร 2) การทำำ�ความเย็็นด้้วยวิิธีีธรรมชาติิแทนการใช้้เครื่่�องปรัับอากาศ 3) การออกแบบ ที่่�ยืืดหยุ่่�นและเปลี่่�ยนแปลงการใช้้งานได้้ และ 4) การเลืือกใช้้เทคโนโลยีี ในงานระบบ ภายในอาคาร สำำ�หรัับการลดการปล่่อยคาร์์บอนสะสมตั้้�งต้้นของแต่่ละช่่วงของวงจรชีีวิิตของอาคารพบว่่า ในขั้้�นตอน ของการผลิิตวััสดุุก่่อสร้้าง มีีสััดส่่วนของคาร์์บอนสะสมตั้้�งต้้นอยู่่�ที่่� 65%-85% ช่่วงของการขนส่่ง และการติิดตั้้�ง อยู่่�ที่่� 6%-10%, ช่่วงของการใช้้งานอาคารและบำำ�รุุงรัักษาอยู่่�ที่่� 8%-15% และขั้้�นตอน การจััดการของเหลืือใช้้ (waste) หรืือ End-of-life อยู่่�ที่่� 3%-15% ดัังนั้้�น เพื่่�อให้้เกิิดการลดการปล่่อย คาร์์บอนอย่่างยั่่�งยืืน เจ้้าของอาคาร ผู้้�พััฒนาอาคาร ผู้้�ออกแบบและผู้้�ผลิิตสิินค้้า ต้้องร่่วมมืือกัันเพื่่�อให้้ ไปถึึงเป้้าหมายในด้้านคาร์์บอนสุุทธิิเป็็นศููนย์์หรืืออื่่�นๆ ที่่�ตั้้�งไว้้ โดยมาตรการสำำ�หรัับอาคารในการลดสััดส่่วน ของคาร์์บอนสะสม ประกอบไปด้้วยมาตรการต่่างๆ ได้้แก่่ 1) การเลืือกใช้้วััสดุุดููดซัับคาร์์บอน (carbon sink) และมีีการปล่่อยคาร์์บอนต่ำำ�� (materials with low-carbon footprint) 2) การเลืือกใช้้สิินค้้า ที่่�ผลิิตในประเทศ (local products) 3) การเลืือกใช้้วััสดุุที่่�มีีเทคโนโลยีีการผลิิตและติิดตั้้�งที่่�เป็็นมิิตรต่่อ สิ่่�งแวดล้้อม (environmental performance of the production chains) 4) การยึึดหลัักการ ด้้านเศรษฐกิิจหมุุนเวีียน (circular economy principles) 18
สำำ�หรัับการเลืือกใช้้ระบบปรัับอากาศ นัับเป็็นปััจจััยสำำ�คััญในการประหยััดพลัังงานของ อาคาร ในการคำำ�นวณขนาดของเครื่่�องปรัับอากาศพิิจารณาจากปริิมาณความร้้อน ที่่�มีีอยู่่�ภายในห้้อง ปริิมาตรห้้อง และผนัังภายนอกอาคารที่่� ได้้รัับความร้้อนจากรัังสีี ดวงอาทิิตย์์ หรืือผนัังด้้านที่่�ติิดกัับห้้องทีี่่��มีีแหล่่งกำำ�เนิิดความร้้อน ส่่วนระบบไฟฟ้้า แสงสว่่าง การออกแบบระบบแสงประดิิษฐ์์ควรพิิจารณาร่่วมกัับการใช้้ประโยชน์์ จากแสงธรรมชาติิ สำำ�หรัับอุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าในอนาคตจำำ�นวนความต้้องการ และความหลากหลายของอุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ ไฟฟ้้าภายในบ้้านมีีแนวโน้้มสููงขึ้้�นซึ่่�ง ส่่งผลให้้สััดส่่วนการใช้้พลัังงานจากอุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าอาจมีีสััดส่่วนใกล้้เคีียง กัับการใช้้พลัังงานในระบบปรัับอากาศ ดัังนั้้�นการเลืือกใช้้อุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้า ที่่�มีีประสิิทธิิภาพและการส่่งเสริิมการปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรมการใช้้งานอุุปกรณ์์ เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าเหล่่านั้้�นจึึงเป็็นอีีกส่่วนที่่�มีีความสำำ�คััญ นอกจากนี้้�การใช้้พลัังงงานหมุุนเวีียนอาคารเป็็นหลัักการสำำ�คััญที่่�ทำำ�ให้้อาคารบรรลุุการใช้้พลัังงานสุุทธิิ เป็็นศููนย์์และบรรลุุความเป็็นกลางทางคาร์์บอน อาคารที่่� ใช้้พลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์จะต้้องมีีการผลิิตหรืือการนำำ� พลัังงานหมุุนเวีียนมาใช้้ในปริิมาณเท่่ากัับพลัังงานที่่�อาคารใช้้ พลัังงานหมุุนเวีียน คืือ พลัังงานที่่�มีีแหล่่งกำำ�เนิิด ขึ้้�นจากธรรมชาติิที่่�สามารถใช้้แล้้วไม่่มีีวัันหมด ได้้แก่่ พลัังงานความร้้อนจากดวงอาทิิตย์์ พลัังงานความร้้อน จากใต้้พิิภพ พลัังงานลมจากกัังหัันลม พลัังงานน้ำำ�� และพลัังงานชีีวมวล อาคารที่่�มีีการใช้้พลัังงานสุุทธิิ เป็็นศููนย์์จำำ�เป็็นต้้องมีีการระบุุว่่าแหล่่งพลัังงานหมุุนเวีียนที่่� ใช้้มาจากแหล่่งไหน ซึ่่�งโครงการสามารถผลิิต พลัังงานขึ้้�นเองในขอบเขตของพื้้�นที่่�โครงการเองโดยการติิดตั้้�งแผงโซลาร์์เซลล์์เพื่่�อผลิิตพลัังงานไฟฟ้้า บนตััวอาคาร หรืือติิดตั้้�งแผงโซลาร์์เซลล์์บริิเวณพื้้�นที่่�โดยรอบอาคาร ทั้้�งนี้้�โครงการสามารถจััดซื้้�อวััตถุุดิิบ เช่่น ไม้้ ชีีวมวล หรืือเอทานอลเพื่่�อผลิิตพลัังงานขึ้้�นใช้้ในพื้้�นที่่�ตั้้�งของโครงการเองได้้ หรืือสามารถจััดซื้้�อ พลัังงานไฟฟ้้าจากบริิษััทจำำ�หน่่ายไฟฟ้้าที่่�ผลิิตจากพลัังงานหมุุนเวีียนในพื้้�นที่่�ชุุมชนรอบข้้างได้้เช่่นกััน ในปััจจุบัุ นั การลดการปลดปล่่อยคาร์์บอนในอาคารวิิธีกี ารหนึ่่ง� ที่เ�่ ป็็นที่นิ�่ ยิ ม ได้้แก่่ การขอ การรัับรองมาตรฐานอาคารประหยััดพลัังงานและรัักษาสิ่่�งแวดล้้อม ซึ่่�งมาตรฐานทีี่่�� นิิยมใช้้กัันแพร่่หลาย ยกตััวอย่่าง เช่่น 1) มาตรฐาน LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) ของประเทศสหรััฐอเมริิกา โดยสภาอาคารเขีียว ของสหรััฐอเมริิกา (The U.S. Green Building Council) ซึ่่�งเป็็นมาตรฐานอาคาร ที่่� ได้้รัับการยอมรัับ และเป็็นที่่�นิิยมมากที่่�สุุดในปััจจุุบััน 2) มาตรฐาน TREES (Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability) โดยสถาบัันอาคาร เขีียวไทย (Thai Green Building Institute) 3) มาตรฐาน EDGE (Excellence in Design for Greater Efficiencies) พััฒนาโดย International Finance Corporation (IFC) 4) มาตรฐาน DGNB (Deutsche Gesellschaft für Nachhaltiges Bauen) โดยหน่่วยงานสภาอาคารยั่่�งยืืนของเยอรมนีี (German Sustainable Building Council) 5) เกณฑ์์มาตรฐานอาคารด้้านพลัังงาน BEC (Building Energy Code) ตามประกาศของกรมพลัังงานทดแทน และอนุุรัักษ์์พลัังงาน กระทรวงพลัังงาน
19
สำำ�หรัับกรณีีศึึกษา ประกอบด้้วย 4 กรณีีศึึกษาได้้แก่่ 1. สถานีีบริิการน้ำำ��มััน PTT Station พุุทธมณฑล สาย 3
ซึ่่�งเป็็นโครงการสถานีีบริิการน้ำำ��มัันต้้นแบบที่่�มีีแนวความคิิดหลัักเพื่่�อช่่วยในการลดการเกิิดก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ ในกระบวนการต่่างๆ ของการดำำ�เนิินโครงการให้้ได้้มากที่่�สุุด ตลอดจนออกแบบเพื่่�อส่่งเสริิมสุุข ภาวะที่่�ดีี (well-being design) ของคนทุุกกลุ่่�ม ร่่วมกัันได้้อย่่างลงตััวและมีีความเสมอภาคในการใช้้งาน (universal design) โดยใจความสำำ�คััญของการออกแบบโครงการ คืือการนำำ�แนวความคิิดในการ ออกแบบเพื่่�อความยั่่�งยืืน (sustainable design) มาใช้้ในการออกแบบ
2. อาคารตลาดหลัักทรััพย์์แห่่งประเทศไทย
ซึ่่�งมีีการวางแผนการก่่อสร้้างตั้้�งแต่่ระยะเริ่่�มต้้น โดยตั้้�งเป้้าให้้เป็็นอาคารที่่�อนุุรัักษ์์พลัังงาน และเป็็นมิิตร ต่่อสิ่่�งแวดล้้อมตามมาตรฐาน LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) ประเภท Building Design & Construction (BD+C) ของสภาอาคารเขีียวสหรััฐอเมริิกา ซึ่่�งเป็็นมาตรฐานที่่�ได้้ รัับความนิิยมอย่่างสููงทั่่�วโลก โดยได้้รัับการรัับรองในระดัับ Gold ในปีี ค.ศ. 2016 ทั้้�งนี้้�มีีการดำำ�เนิินการ ตามแนวทางเพื่่�อลดคาร์์บอนสะสั่่�ง (embodied carbon) จากการเลืือกใช้้วััสดุุ และการควบคุุมกระบวนการ ก่่อสร้้าง รวมไปถึึงการออกแบบเพื่่�อเตรีียมการลดการปล่่อยคาร์์บอนจากในช่่วงของการใช้้อาคาร (operational carbon) เมื่่�ออาคารก่่อสร้้างแล้้วเสร็็จ และเปิิดใช้้งานอาคารก็็ยัังมีีการวััดผลและประเมิิน ประสิิทธิิภาพของอาคารยัังอย่่างต่่อเนื่่�อง
3. SCG Campus
ที่่�เริ่่�มต้้นดำำ�เนิินการโครงการอาคารเขีียวตั้้�งแต่่ปีี ค.ศ. 2009 โดยการปรัับปรุุงอาคารและงานระบบใหม่่ ให้้กัับสำำ�นัักงานใหญ่่ 1, 2 และอาคาร 5 โดยใช้้เกณฑ์์ของ LEED นอกจากนี้้� โครงการก่่อสร้้างใหม่่อย่่าง อาคารเอสซีีจีี 100 ปีี ที่่�แล้้วเสร็็จในปีี ค.ศ. 2013 ได้้รัับการรัับรอง LEED Core and Shell (CS) ระดัับ Platinum ในปีี ค.ศ. 2014 อาคาร SCG Health Center ได้้รัับการรัับรอง LEED for New Construction (NC) ระดัับ Platinum ในปีี ค.ศ. 2018 การดำำ�เนิินการทั้้�งหมดนี้้� ไม่่เพีียงเป็็นการลงทุุนเพื่่�อให้้อาคาร เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม แต่่โดยหลัักการของการลดคาร์์บอน ยัังเป็็นการวางรากฐานของการดำำ�เนิินการลด คาร์์บอนฟุุตพริ้้�นท์์ ในพิื้้��นที่่�ที่่�ทำำ�การของเอสซีีจีีต่่อมา อาคารเอสซีีจีี 100 ปีี และ SCG Health Center สามารถลดการปล่่อยคาร์์บอนได้้มากถึึงเกืือบ 2,000 ตัันต่่อปีี เทีียบได้้กัับการส่่งมอบพื้้�นที่่�สีีเขีียวเท่่ากัับ 1.5 เท่่าของสวนลุุมพิินีีคืืนสู่่�สัังคมทุุกปีีไปจนตลอดอายุุการใช้้งาน
4. ชุุมชนที่่�อยู่่�อาศััยที่่�ปล่่อยคาร์์บอนต่ำำ�� Beddington Zero Energy Development (BedZED)
เป็็นชุุมชนแบบ mixed-use ที่่�มีีทั้้�งที่่�อยู่่�อาศััย พื้้�นที่่�สำำ�นัักงาน วิิทยาลััยและสิ่่�งอำำ�นวยความสะดวกของ ชุุมชนต่่างๆ ตั้้�งอยู่่�ที่่�เมืืองซััตตััน ซึ่่�งอยู่่�ทางตอนใต้้ของกรุุงลอนดอน ประเทศอัังกฤษ โครงการถููกสร้้างขึ้้�น และอาคารมีีการเข้้าอยู่่�อาศััยครบในปีี ค.ศ. 2002 แนวคิิดในการออกแบบโครงการ เพื่่�อลดการปล่่อย คาร์์บอน โครงการมีีการออกแบบอาคารที่่� ใช้้พลัังงานต่ำำ�� การเลืือกใช้้วััสดุุก่่อสร้้างที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม และมีีการปล่่อยคาร์์บอนต่ำำ�� ส่่งเสริิมการใช้้ระบบขนส่่งสาธารณะและรถยนต์์ ไฟฟ้้า การผลิิตพลัังงานไฟฟ้้า ในพื้้�นที่่�โครงการ การจััดการของเสีียจากการใช้้ทรััพยากรน้ำำ��และอาหาร การส่่งเสริิมเศรษฐกิิจชุุมชน รวมถึึง การสร้้างจิิตสำำ�นึึกด้้านสิ่่�งแวดล้้อมให้้แก่่คนในชุุมชน
20
สำำ�หรัับการขัับเคลื่่�อนสู่่�เป้้าหมายการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ (net zero greenhouse gas emissions) แรงขัับเคลื่่�อน (driving force) ที่่�สำำ�คััญประกอบ ด้้วยแรงจููงใจ (incentive) แนวคิิดการพััฒนา ESG (Environment, Social, Governance) และความเชื่่�อมั่่�นต่่อระบบนิิเวศ (ecosystem) ของความยั่่�งยืืน เมื่่�อความยั่่�งยืืน เป็็นแนวทางที่่�มีีความสำำ�คััญกัับการดำำ�เนิินธุุรกิิจในระดัับโลก แต่่ต้้นทุุน ที่่�ผู้้�ประกอบการดำำ�เนิินการตามแนวทางนี้้� โดยทั่่�วไปมัักจะสููงกว่่าการดำำ�เนิินธุุรกิิจ ในรููปแบบเดิิม หากไม่่มีีความจำำ�เป็็นในเชิิงธุุรกิิจหรืือแรงจููงใจ ก็็จะไม่่อยู่่�ในตััวเลืือก ของการพััฒนาโครงการ แต่่ ในช่่วงทศวรรศที่่�ผ่่านมา มีีแรงผลัักดัันให้้ผู้้�ประกอบการ ดำำ�เนิินการพััฒนาโครงการอย่่างยั่่�งยืืนมากขึ้้�น ได้้แก่่ แรงผลัักดัันในเชิิงกฎหมาย เชิิงการส่่งเสริิมผ่่านองค์์กรที่เ�่ กี่่ย� วข้้อง และเชิิงรางวััลและผลตอบแทน ในหลายประเทศ ที่่�มีีเป้้าหมายเพื่่�อสนัับสนุุนเรื่่�องความยั่่�งยืืน เช่่น สหรััฐอเมริิกา หรืือออสเตรเลีีย มีีมาตรการทางกฎหมาย หรืือภาษีีที่่�ออกมาเพื่่�อสนัับสนุุน รวมถึึงอาจควบคุุมให้้มีี การพััฒนาโครงการอย่่างยั่่ง� ยืืน หรืืออาคารเขีียว (green building) แต่่ในประเทศไทย ยัังไม่่มีีกฎหมายของอาคารที่่�เกี่่�ยวเนื่่�องกัับการลดคาร์์บอนอย่่างชััดเจน มีีเพีียงการ ส่่งเสริิมผ่่านองค์์กรที่่�เกี่่�ยวข้้องที่่�เป็็นภาคสมััครใจ เช่่น โครงการลดก๊๊าซเรืือนกระจก ภาคสมััครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program: T-Ver) โดยองค์์การบริิหารจััดการก๊๊าซเรืือนกระจก ส่่วน การให้้รางวััลและผลตอบแทน ปััจจุุบัันกลุ่่�มสถาบัันการเงิินทั้้�งใน และต่่างประเทศมีี ความเคลื่่�อนไหวเชิิงการผลัักดัันความยั่่�งยืืน โดยให้้การเข้้าถึึงเงิินทุุนดอกเบี้้�ยต่ำำ�� สำำ�หรัับโครงการที่่�มีีการดำำ�เนิินการอย่่างยั่่�งยืืน ในกลุ่่�มอสัังหาริิมทรััพย์์อาคารเขีียว จึึงได้้รัับความสนใจมากขึ้้�น เนื่่�องจากเป็็นหนึ่่�งในรููปแบบของอาคารที่่�มีีแนวทาง การลดคาร์์บอนฟุุตพริ้้�นท์์ อย่่างมีีหลัักการเชิิงวิิทยาศาสตร์์รัับรอง สำำ�หรัับ ESG เป็็นแนวคิิดที่่�พััฒนามาจากแนวคิิดความยั่่�งยืืน (sustainability) โดยคำำ�นึึงถึึงผู้้�คนและ ธรรมาภิิบาลควบคู่่�ไปกัับสิ่่�งแวดล้้อม ซึ่่�งเมื่่�อพิิจารณาร่่วมกัับความเชื่่�อมั่่�นต่่อระบบนิิเวศของความยั่่�งยืืน มีีส่่วนสร้้างความเชื่่�อมั่่�นให้้กัับผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียได้้ โดยข้้อมููลจากการศึึกษาของ State Street Global Advisor 2017 ที่่� ได้้ศึึกษาผู้้�ลงทุุนกว่่า 475 องค์์กร ในสหรััฐอเมริิกา ยุุโรป และเอเชีียแปซิิฟิิค พบว่่า ผู้้�ลงทุุนสถาบัันกว่่า 80% เลืือกลงทุุนกัับองค์์กรที่่�มีีการดำำ�เนิินธุุรกิิจตามหลััก ESG นอกจากนี้้�ยัังพบว่่ามีี บางธุุรกิิจที่่�กำำ�หนดให้้คู่่�ธุุรกิิจต้้องมีีการดำำ�เนิินการตามหลััก ESG นอกจากนี้้� ตลาดหลัักทรััพย์์แห่่งประเทศไทย ได้้จััดทำำ� Thailand Sustainability Investment (THSI) หรืือ รายชื่่�อหุ้้�นยั่่�งยืืน ตั้้�งแต่่ปีี พ.ศ. 2558 ซึ่่�ง เป็็นหุ้้�นของบริิษััทจดทะเบีียนที่่�มีีการดำำ�เนิินธุุรกิิจอย่่างยั่่�งยืืนโดยคำำ�นึึงถึึงสิ่่�งแวดล้้อม มีีความรัับผิิดชอบ ต่่อสัังคม และมีีการบริิหารงานตามหลัักบรรษััทภิิบาล หรืือ ESG เพื่่�อเป็็นอีีกทางเลืือกหนึ่่�งสำำ�หรัับผู้้�ลงทุุน ที่่�ต้้องการลงทุุนตามแนวทางของการลงทุุนอย่่างมีีความรัับผิิดชอบ (responsible investment) ซึ่่�งมีี แนวโน้้มจำำ�นวนของผู้้�ลงทุุนที่่�ต้้องการลงทุุนกัับหุ้้�นยั่่�งยืืนมากขึ้้�นเรื่่�อยๆ สอดคล้้องกัับตััวบทกฎหมายที่่�มีี การพััฒนาไปในแนวทางเดีียวกััน การลดการปล่่อยคาร์์บอนของอาคารก่่อให้้เกิิดผลลััพธ์์ที่่�ดีีกัับผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียในอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้าง เป็็นอย่่างมาก ทั้้�งต่่อสิ่่�งแวดล้้อม เศรษฐกิิจ และสัังคม ในด้้านสิ่่�งแวดล้้อม การช่่วยลดการปล่่อยก๊๊าซ คาร์์บอนไดออกไซด์์ช่่วยลดภาวะโลกร้้อน รวมทั้้�งช่่วยลดการใช้้ทรััพยากรธรรมชาติิจากผู้้�ผลิิตทางเศรษฐกิิจ จะช่่วยเพิ่่�มความสามารถในการแข่่งขัันของเจ้้าของอาคาร ผู้้�พััฒนาอาคาร และผู้้�ผลิิตวััสดุุก่่อสร้้าง และ ลดค่่าใช้้จ่่ายทางด้้านพลัังงาน และการใช้้ทรััพยากรอื่่�นๆ ในขณะเดีียวกัันการพััฒนาอาคารให้้มีีการปล่่อย คาร์์บอนสุุทธิิเป็็นศููนย์์ก็็ทำำ�ให้้สัังคมโดยรวมดีีขึ้้�น คุุณภาพชีีวิิตของคนดีีขึ้้�น รวมทั้้�งเป็็นส่่วนหนึ่่�งในการ สร้้างความเปลี่่�ยนแปลงสู่่�การพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืนในอนาคต 21
1.5 C °
เราสามารถหลีีกเลี่่�ยงผลกระทบที่่�เลวร้้ายนานััปการที่่�จะเกิิดขึ้้�นกัับโลกได้้ หากมีีการ ควบคุุมอุุณหภููมิิเฉลี่่�ยผิิวโลกไม่่ ให้้เพิ่่�มขึ้้�นเกิิน 1.5 °C เมื่่�อเทีียบกัับระดัับอุุณหภููมิิ ก่่อนยุุคปฏิิวััติิอุุตสาหกรรม
บทนำำ�
การตระหนัักถึึงความสำำ�คััญ ตื่่�นตััว และลุุกขึ้้�นมาขยัับปรัับเปลี่่�ยน ตลอดจนจััดการ กัับปััญหานี้้�อย่่างจริิงจััง เป็็นหน้้าที่่�ความรัับผิิดชอบของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียทุุกคนใน อุุตสาหกรรมการก่่อสร้้าง ไม่่ ใช่่บทบาทหรืือหน้้าที่่�ของเฉพาะภาคนโยบาย หรืือ ภาคส่่วนใดภาคส่่วนหนึ่่�ง คณะสถาปััตยกรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััย ธรรมศาสตร์์ ร่่วมกัับ บริิษััท เอสซีีจีี ซิิเมนต์์-ผลิิตภััณฑ์์ก่่อสร้้าง จำำ�กััด เล็็งเห็็นถึึง ความสำำ�คััญดัังกล่่าว และได้้ร่่วมกัันจััดทำำ�แนวทางการออกแบบอาคารที่่�มีีการ ใช้้พลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์ (net zero energy building) ขึ้้�น โดยเอกสารฉบัับนี้้� จััดทำำ�ขึ้้�นเพื่่�อเป็็นคู่่�มืือพื้้�นฐานในการทำำ�ความเข้้าใจเกี่่�ยวกัับเรื่่�องอาคารที่่�มีีการ ใช้้พลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์ ให้้หลัักการและข้้อแนะนำำ�ในการทำำ�ให้้เกิิดแนวทางร่่วมใน การดำำ�เนิินไปสู่่�เป้้าหมายการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ ในด้้านสิ่่�งแวดล้้อม สรรค์์สร้้าง (built environment) ซึ่่�งเป็็นภาคส่่วนสำำ�คััญที่่�สามารถสร้้างผลกระทบ ความเปลี่่�ยนแปลงไปสู่่�การพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืนได้้
การเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ (climate change) เป็็น หนึ่่�งในความท้้าทายสำำ�คััญของโลก ที่่�ต้้องการการจััดการอย่่าง เร่่งด่่วน การวิิจััยและประเมิินทางวิิทยาศาสตร์์ผ่่าน รายงาน ของคณะกรรมการระหว่่างรััฐบาลว่่าด้้วยการเปลี่่�ยนแปลงสภาพ ภููมิิอากาศ หรืือ Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) แสดงให้้เห็็นว่่า เราสามารถหลีีกเลี่่�ยงผลกระทบ ที่่�เลวร้้ายนานาประการที่่�จะเกิิดขึ้้�นกัับโลกได้้ หากมีีการควบคุุม อุุณหภููมิิเฉลี่่�ยผิิวโลกไม่่ ให้้เพิ่่�มขึ้้�นเกิิน 1.5 °C เมื่่�อเทีียบกัับระดัับ อุุณหภููมิิก่่อนยุุคปฏิิวััติิอุุตสาหกรรม ซึ่่�งหมายความว่่าโลกต้้องไป ถึึงเป้้าหมายของการปล่่อยก๊๊าชคาร์์บอนไดออกไซด์์สุุทธิิเป็็น ศููนย์์ หรืือ Net-zero CO2 emissions ก่่อนทศวรรษที่่� 2050s ควบคู่่�ไปกัับการลดปริิมาณการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกอื่่�นๆ [1,2] ซึ่่�งอุุตสาหกรรมอาคารและการก่่อสร้้างมีีสััดส่่วนถึึง 1 ใน 3 ในการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก โดย 30% อยู่่�ในกระบวนการ ก่่อสร้้าง และ 70% เป็็นการใช้้อาคารตลอดอายุุการใช้้งาน โดย ในปีี ค.ศ. 2021 อุุตสาหกรรมอาคารและการก่่อสร้้างซึ่่�งรวมทั้้�ง การผลิิตวััสดุุก่่อสร้้างได้้ปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์เฉลี่่�ย คิิดเป็็น 37% ของการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ทั้้�งโลก [3] 24
โดยเนื้้�อหาในคู่่�มืือเล่่มนี้้�ประกอบด้้วย บทที่่� 1 Background ที่่� ให้้ข้้อมููลเกี่่�ยวกัับที่่�มาและความสำำ�คััญของการปล่่อยก๊๊าซ เรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ ซึ่่�งได้้รวบรวมข้้อมููลได้้แก่่ ความตกลง ปารีีส (paris agreement) ซึ่่�งเป็็นความตกลงตามกรอบ อนุุสััญญาสหประชาชาติิว่่าด้้วยการเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change-UNFCCC) เพื่่�อกำำ�หนดมาตรการลดการปล่่อยก๊๊าซ คาร์์บอนไดออกไซด์์ และทิิศทางของประเทศไทยต่่อความตกลง ดัังกล่่าว บทที่�่ 2 Greenhouse Gas Emission from Buildings อธิิบายถึึงก๊๊าชเรืือนกระจกที่่�ถููกปล่่อยจากอาคาร ซึ่่�งเนื้้�อหา ประกอบด้้วยรายละเอีียดของชนิิดของคาร์์บอน รวมถึึงการปล่่อย คาร์์บอนจากในช่่วงของการใช้้อาคาร (operational carbon emissions) และการปล่่อยคาร์์บอนแฝง (embodied carbon emissions) ตลอดจนปััจจััยที่่�มีีผลต่่อสััดส่่วนคาร์์บอน ในอาคาร
25
บทที่�่ 3 Initial Pathways นำำ�เสนอแนวทางเบื้้อ� งต้้นในการออกแบบ เพื่่�อเป้้าหมายการปล่่อยคาร์์บอนสุุทธิิเป็็นศููนย์์ ซึ่่�งประกอบด้้วย แนวทางการออกแบบ คาร์์บอนสะสมตั้้�งต้้น การเลืือกใช้้ระบบ ปรัับอากาศ ระบบไฟฟ้้าแสงสว่่างและอุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้า ประสิิทธิิภาพสููง ตลอดจนการใช้้พลัังงานหมุุนเวีียน (renewable energy) ในอาคาร บทที่่� 4 Case Studies ให้้ตััวอย่่างกรณีี ศึึกษาโครงการที่่�ประสบความสำำ�เร็็จในการออกแบบและดำำ�เนิิน โครงการตามแนวทางการออกแบบอาคารที่่�มีีการใช้้พลัังงานสุุทธิิ เป็็นศููนย์์ ได้้แก่่ 1) PTT Station พุุทธมณฑล สาย 3, 2) อาคาร ตลาดหลัักทรััพย์์แห่่งประเทศไทย (SET), 3) SCG Campus และ 4) Beddington Zero Energy Development (BedZED) บทที่่� 5 Driving Forces ให้้ข้้อมููลแรงขัับเคลื่่�อนสำำ�คััญในการ ผลัักดัันสู่่�เป้้าหมายการปล่่อยคาร์์บอนสุุทธิิเป็็นศููนย์์ ได้้แก่่ นโยบาย และมาตรการด้้านแรงจููงใจ (incentive) จากภาครััฐ แนวทาง ESG รวมทั้้�งความเชื่่�อมั่่�นต่่อระบบนิิเวศของความยั่่�งยืืน ปิิดท้้าย ด้้วย บทที่่� 6 Next Step ก้้าวต่่อไปที่่�พวกเราในฐานะผู้้�มีีส่่วนได้้ ส่่วนเสีียในอุุตสาหกรรมสิ่่�งแวดล้้อมสรรค์์สร้้างควรพิิจารณา ซึ่่�ง ประกอบด้้วย แนวทางพื้้�นฐานและการวััดเพื่่�อประเมิิน (baseline and measurement) การตรวจสอบยืืนยััน (verification) และแนวทางความยืืดหยุ่่�น (resilience) หรืือความสามารถในการ ปรัับตััวเพื่่�อคืืนสู่่�สภาวะสมดุุล
เป้้าหมายการปล่่อยคาร์์บอนสุุทธิิเป็็นศููนย์์ ในด้้านสิ่่�งแวดล้้อมสรรค์์สร้้าง อาศััยการ สานพลััง (synergize) ระหว่่างทุุกภาคส่่วน รวมทั้้�งผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียทุุกคน คู่่�มืือ เล่่มนี้้�สามารถสร้้างความเข้้าใจให้้กัับผู้้�อ่่านได้้ตระหนัักถึึง ที่่�มาความสำำ�คััญของ วิิกฤตการณ์์ สาระ ตลอดจนแนวทางพื้้�นฐานในการรัับมืือและจััดการกัับปััญหา การเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ ด้้วยเป้้าหมายร่่วมของการปล่่อยคาร์์บอนสุุทธิิ เป็็นศููนย์์ โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�ง ในด้้านการออกแบบอาคารที่่�มีีการใช้้พลัังงานสุุทธิิ เป็็นศููนย์์ เพื่่�อให้้พวกเรามีีส่่วนร่่วมในการทำำ�หน้้าที่่�และรัับผิิดชอบต่่อสัังคมและ สิ่่�งแวดล้้อมสู่่�ความยั่่�งยืืนในอนาคต 26
REFERENCES
[1] IPCC, Sixth Assessment Report, Climate Change 2021: The Physical Science Basis. [Accessed 2023-0505] Available at: https://www.ipcc.ch/report/ar6/wg1/ [2] IPCC, Sixth Assessment Report, Climate Change 2022: Mitigation of Climate Change. [Accessed 202305-05] Available at: https://www.ipcc.ch/report/ar6/wg3/ [3] United Nations Environment Programme (2022). 2022 Global Status Report for Buildings and Construction: Towards a Zero‑emission, Efficient and Resilient Buildings and Construction Sector. Nairobi. Accessed 2023-05-05] Available at: www.globalabc.org.
1.1
NET ZERO BUILDING GUIDELINES วิิกฤตการณ์์ โลกร้้อนและภััยธรรมชาติิต่่างๆ ที่่�เกิิดขึ้้�นในปััจจุุบััน มีีความถี่่�และความรุุนแรงเพิ่่�มมากขึ้้�นเรื่่�อยๆ จากข้้อมููล ของ World Meteorological Organization พบว่่า ความถี่่�ของการ เกิิดภััยพิิบััติิและความรุุนแรงที่่�เพิ่่�มมากขึ้้�น มีีสาเหตุุสำำ�คััญ มาจาก การเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ (climate change) โดยข้้อมููล จาก Climate Action Tracker พบว่่า ด้้วยนโยบาย และ กิิจกรรมที่่�มนุุษ ย์์ทำำ�ในปััจจุุบััน ส่่งผลให้้อุุณหภููมิิบนโลกจะสููงขึ้้�น เฉลี่่�ย 2.7 องศาเซลเซีียส ในปีี ค.ศ. 2100 เมื่่�อเทีียบกัับยุุคก่่อน ปฎิิวััติิอุุตสาหกรรม [1]
1
BACKGROUND 30
การแก้้ไขปััญหาภาวะโลกร้้อน ได้้รับั ความร่่วมมืือจากประชาคมโลกภายใต้้กรอบสหประชาชาติิ ซึ่่�งได้้บััญญััติิ 2 กลไกความร่่วมมืือ ได้้แก่่ 1) กรอบอนุุสััญญาสหประชาชาติิว่่าด้้วยการ เปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change – UNFCCC) ในปีี พ.ศ. 2535 และ 2) พิิธีสี ารเกีียวโต (Kyoto Protocol – KP) ในปีี พ.ศ. 2540 จนกระทั่่�งในปีี พ.ศ. 2558 ได้้มีีการประชุุมรััฐภาคีีกรอบอนุุสััญญาฯ สมััยที่่� 21 (Conference of the Parties - COP 21) จััดขึ้้�นที่่�กรุุงปารีีส ประเทศฝรั่่�งเศส จนเกิิดความตกลงตามกรอบอนุุสัญ ั ญาสหประชาชาติิว่า่ ด้้วยการเปลี่่ย� นแปลงสภาพภููมิอิ ากาศ ที่่�เรีียกว่่า ความตกลงปารีีส (paris agreement) โดยความตกลงปารีีส มีีวััตถุุประสงค์์หลััก เพื่่�อกำำ�หนดมาตรการการลดการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ ในปััจจุุบัันมีีประเทศภาค สมาชิิกร่่วมลงนามในความตกลงปารีีสแล้้วทั้้�งสิ้้�น 197 ประเทศ ซึ่่�งรวมถึึงประเทศไทยด้้วย โดยความตกลงปารีีส มีีสาระสำำ�คััญดัังนี้้� 31
1. ประเทศต่่างๆ ตั้้�งเป้้าหมายร่่วมกัันขั้้�นพื้้�นฐานที่่�จะรัักษาการเพิ่่�มขึ้้�นของอุุณหภููมิิเฉลี่่�ยของ โลกให้้ต่ำำ��กว่่า 2 องศาเซลเซีียส และมีีการกำำ�หนดเป้้าหมายที่่�สููงขึ้้�นโดยควบคุุมไม่่ให้้สููง เกิินกว่่า 1.5 องศาเซลเซีียส โดยยึึดหลัักความเป็็นธรรม (equity) และหลัักการความรัับผิิดชอบ ร่่วมกัันในระดัับที่่�แตกต่่างของประเทศพััฒนาแล้้ว และประเทศกำำ�ลัังพััฒนาด้้วย โดยคำำ�นึึง ถึึงศัักยภาพของแต่่ละประเทศตามสภาวการณ์์ของประเทศที่่�แตกต่่างกััน 2. ความตกลงปารีีส ครอบคลุุมการดำำ�เนิินการในประเด็็นต่่างๆ อาทิิ การลดก๊๊าซเรืือนกระจก (mitigation) การปรัับตััวต่่อการเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ (adaptation) โครงสร้้าง ทางการเงิิน (climate finance) กลไกการสร้้างความโปร่่งใส (transparency) การทบทวน การดำำ�เนิินงานระดัับโลก (global stocktake) และการให้้การสนุุบสนุุนในด้้านต่่างๆ ทั้้�งใน ด้้านการพััฒนาและการถ่่ายทอดเทคโนโลยีีการเสริิมสร้้างศัักยภาพของประเทศกำำ�ลัังพััฒนา ซึ่่�งรวมถึึงการเสริิมสร้้างศัักยภาพทางการเงิินด้้วย ทั้้�งนี้้�รััฐภาคีีต่่างๆ ต้้องมีีข้้อเสนอการ ดำำ�เนิินการด้้านการเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศกัับประชาคมโลก (Nationally Determined Contributions: NDCs) ของประเทศทุุกๆ 5 ปีี [2]
ประเทศส่่วนใหญ่่ทั่ว่� โลก มีีการตั้้�งเป้้าหมายในการเป็็นประเทศที่่มีี� ความเป็็นกลางทางคาร์์บอน (carbon neutrality) และการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ (net zero emissions) ดัังแสดงในภาพที่่� 1.1 โดยประเทศภููฏานและประเทศซููริินาเม เป็็น 2 ประเทศแรกในโลกที่่� เข้้าถึึงเป้้าหมายการเป็็นประเทศที่่�มีีความเป็็นกลางทางคาร์์บอนแล้้ว ในขณะที่่ป� ระเทศอุุรุุกวััย ตั้้�งเป้้าหมายความเป็็นกลางทางคาร์์บอนภายในปีี ค.ศ. 2030 (พ.ศ. 2573) ประเทศฟิินแลนด์์ ปีี ค.ศ. 2035 (พ.ศ. 2578) ประเทศออสเตรีียและประเทศไอซ์์แลนด์์ตั้้�งเป้้าหมายในปีี ค.ศ. 2040 (พ.ศ. 2583) ประเทศเยอรมัันและประเทศสวีีเดนตั้้�งเป้้าหมายไว้้ในปีี ค.ศ. 2045 (พ.ศ. 2588) ในขณะที่่�ประเทศส่่วนใหญ่่มีีการตั้้�งเป้้าหมายสู่่�การเป็็นประเทศที่่�มีี ความเป็็นกลางทางคาร์์บอนในปีี ค.ศ. 2050 (พ.ศ. 2593) และตั้้�งเป้้าหมายสู่่�การปล่่อย ก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ภายในปีี ค.ศ. 2065 (พ.ศ. 2608) [4]
ก๊๊าซเรืือนกระจก คืือ ก๊๊าซที่่�มีีคุุณสมบััติิในการดููดซัับคลื่่�นรัังสีีความร้้อน หรืือรัังสีีอิินฟาเรด (Infrared) เช่่น ก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ (CO2) ก๊๊าซมีีเทน (CH4) ก๊๊าซไนตรััสออกไซด์์ (N2O) เป็็นต้้น ปริิมาณก๊๊าซเรืือนกระจกแต่่ละชนิิดมีีผลต่่อภาวะโลกร้้อนที่่�ไม่่เท่่ากััน [3] โดยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์สามารถกัักเก็็บรัังสีีความร้้อนในชั้้�นบรรยากาศได้้ดีี และสลายตััว ยาก ซึ่่�งส่่งผลต่่อภาวะโลกร้้อนมากที่่สุ� ุด ดัังนั้้�นในการประเมิินผลกระทบของกิิจกรรมหรืือ กระบวนการใดๆ ในการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก จึึงใช้้ก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์เป็็นตััวแทน ซึ่งอยู่ในรูปของการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO2 equivalent) หรือ CO2e หรือ CO2eq หรือ CO2-e โดยคู่มือฉบับนี้ใช้ชื่อย่อที่เป็นที่เข้าใจในวงกว้างของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ว่า “คาร์บอน”
ภาพที่่� 1.1 การแข่่งขัันสู่่�เป้้าหมาย ความเป็็นกลางทางคาร์์บอน และการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ ระหว่่างประเทศต่่าง ๆ ที่มา: https://www.visualcapitalist.com/sp/race-to-net-zero-carbon-neutral-goals-by-country/
32
33
30% 70% อุุตสาหกรรมอาคารและการก่่อสร้้างมีีสััดส่่วนถึึง 1 ใน 3 ในการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก โดย 30% มาจากกระบวนการก่่อสร้้าง และ 70% มาจากการใช้้อาคาร
34
35
จากการประชุุมคณะทำำ�งานจััดทำ�ำ แผนการลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกของประเทศไทย มีีการกำำ�หนดมาตรการในการลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกของประเทศ 15 มาตรการ โดย ตั้้�งเป้้าให้้ประเทศไทยสามารถลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกลง ภายในปีี พ.ศ. 2573 แบ่่งเป็็น มาตรการในสาขาพลังงานและขนส่ง 9 มาตรการ (ตั้งเป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจกลง 113.0 Mt-CO2e) มาตรการในสาขาการจัดการของเสีย 4 มาตรการ (ตั้งเป้าหมายในการลด ก๊๊าซเรืือนกระจกลง 2.0 Mt-CO2e) และมาตรการในสาขากระบวนการทางอุุตสาหกรรมและ การใช้้ผลิิตภััณฑ์์ 2 มาตรการ (ตั้้�งเป้้าหมายในการลดก๊๊าซเรืือนกระจกลง 0.6 Mt-CO2e) ทั้้�งนี้้� การใช้้พลัังงานในอาคารเชิิงพาณิิชย์์ (รวมอาคารรััฐ) จััดอยู่่�ในหนึ่่�งมาตรการในสาขา พลัังงานและขนส่่ง เนื่่�องจากมีีการใช้้พลัังงานในอาคารค่่อนข้้างมาก โดยมีีการกำำ�หนดมาตรการ ต่่างๆ ได้้แก่่ การใช้้เครื่่�องทำำ�ความเย็็นประสิิทธิิภาพสููง ระบบแสงสว่่าง อุุปกรณ์์สำำ�นัักงาน และระบบอื่่�นๆ เช่่น ระบบการใช้้อุุปกรณ์์ทำำ�ความร้้อนประสิิทธิิภาพสููง
1.2 SITUATION
IN THAILAND สำำ�หรัับประเทศไทย ได้้ให้้ข้้อเสนอการมีีส่่วนร่่วมของประเทศ ในการลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกและการดำำ�เนิินการ ด้้านการ เปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศกัับประชาคมโลก โดยตั้้�งเป้้าลดการ ปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกให้้ได้้ร้้อยละ 20-25 ภายในปีี พ.ศ. 2573 ตามร่่างแผนที่่�นำำ�ทางการลดก๊๊าซเรืือนกระจกของประเทศ ปีี พ.ศ. 2564-2573 (Thailand’s Nationally Determined Contribution Roadmap on Mitigation 2021-2030 หรืือ NDC Roadmap on Mitigation 2021-2030) [5] ผ่่านการดำำ�เนิินการในสาขาต่่างๆ อาทิิ สาขาพลัังงานและขนส่่ง สาขากระบวนการทางอุุตสาหกรรมและการใช้้ผลิิตภััณฑ์์ และ สาขาการจััดการของเสีีย และมีีการตั้้�งเป้้าหมายความเป็็นกลาง ทางคาร์์บอน ในปีี พ.ศ. 2593 (ค.ศ. 2050) และการปล่่อยก๊๊าซ เรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ ภายในปีี พ.ศ. 2608 (ค.ศ. 2065) 36
การบริิโภคพลัังงานและทรััพยากรของอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้างและอาคารมีีผลกระทบโดยตรง ต่่อการเปลี่่�ยนแปลงของสภาพภููมิิอากาศ การบริิโภคทรััพยากรของอาคารมีีผลกระทบทั้้�งทาง ตรงและทางอ้้อมต่่อสิ่่�งแวดล้้อม ภาคอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้างเป็็นอุุตสาหกรรมหนึ่่�งที่่�มีีการ ปล่่อยก๊๊าซคารบอนไดออกไซด์์ค่่อนข้้างมากตลอดทั้้�งวงจรชีีวิิตของอาคาร ตั้้�งแต่่การจััดเตรีียม วััตถุุดิิบ สำำ�หรัับการผลิิตวััสดุุก่่อสร้้าง การผลิิต การขนส่่ง การติิดตั้้�ง การใช้้งานอาคาร และขั้้�นตอนต่่างๆ หลัังจากการใช้้งาน จากข้้อมููลของ องค์์การพลัังงานระหว่่างประเทศ (International Energy Agency: IEA) พบว่่า อุุตสาหกรรมการก่่อสร้้างอาคารปล่่อยก๊๊าซ คาร์์บอนไดออกไซด์์สููงถึึง 40% เมื่่�อเทีียบกัับการปล่่อยทั้้�งหมดในปีี พ.ศ. 2565 โดยเป็็น การปล่่อยคาร์์บอนที่่ม� าจากการใช้้งานอาคาร (operational carbon) สููงถึึง 9.9 GT (27%) จากอุุตสาหกรรมการผลิิตวััสดุุ การก่่อสร้้าง และอุุตสาหกรรมที่่�เกี่่�ยวข้้องอื่่�นๆ หรืือจากการ ปล่่อยคาร์์บอนแฝง (embodied carbon) รวม 4.7 GT (13%) ดัังแสดงในภาพที่่� 1.2 [6] โดยเฉพาะอุุตสาหกรรมการผลิิตคอนกรีีต เหล็็ก และอะลููมิเิ นีียม ที่่ปล่ � อ่ ยคาร์์บอนไดออกไซด์์ รวมกัันมากถึึง 23% ดัังแสดงในภาพที่่� 1.3
37
ANNUAL GLOBAL CO2 EMISSIONS 27% BUILDING OPERATIONS
OTHER
(9.9 GT)
6%
BUILDING CONSTRUCTION INDUSTRY
7%
OTHER CONSTRUCTION INDUSTRY
(2.3 GT)
TRANSPORT
(2.4 GT)
BUILDING CONSTRUCTION INDUSTRY AND OTHER CONSTRUCTION INDUSTRY REPRESENT EMISSIONS FROM CONCRETE, STEEL, AND ALUMINUM FOR BUILDINGS AND INFRASTRUCTURE RESPECTIVELY.
OTHER INDUSTRY
@ ARCHITECTURE 2030. ALL RIGHTS RESERVED. DATA SOURCE: IEA (2022), BUILDINGS, IEA, PARIS
ภาพที่่� 1.2 สััดส่่วนการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ต่่อปีีในกิิจกรรมต่่างๆ เกี่่�ยวกัับอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้าง ที่มา: https://architecture2030.org/why-the-building-sector/
OTHER
BUILDING OPERATION TRANSPORTATION
23% 11% CONCRETE 10% STEEL 2% ALUMINIUM
INDUSTRY
@ ARCHITECTURE 2030. ALL RIGHTS RESERVED. DATA SOURCES: GLOBAL ABC GLOBAL STATUS REPORT 2018, EIA
ภาพที่ 1.3 สัดส่วนการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อปีในอุตสาหกรรมการผลิตคอนกรีต เหล็ก และอลูมิเนียม ที่มา: https://architecture2030.org/why-the-building-sector/
38
REFERENCES
[1] Climate Action Tracker. (n.d). Available at https://climateactiontracker.org/ [2] กรมองค์์การระหว่่างประเทศ กระทรวงการต่่างประเทศ. (2565). ความตกลงปารีีส: ก้้าวสำำ�คัญ ั ของการดำำ�เนิินการ ด้้านการเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิอิ ากาศ. https://thai-inter-org.mfa.go.th/th/page/ความตกลงปารีีส?menu=5d6bb81015e39c3c8c005d5b [3] Core Writing Team. (2007). In Pachauri, R. K., & Reisinger, A. (Eds), Climate Change 2007: Synthesis Report. Contribution of Working Groups I, II and III to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change. IPPC. Available at https://www.ipcc.ch/site/assets/ uploads/2018/02/ar4_syr_full_report.pdf [4] Wallach, O. (2022, July 20). Race to Net Zero: Carbon Neutral Goals by Country. Visual Capitalist. Available at https://www.visualcapitalist.com/sp/race-to-net-zero-carbon-neutral-goals-by-country/ [5] กองประสานการจััดการการเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิอิ ากาศ. แผนที่่�นำ�ำ ทางการลดก๊๊าซเรืือนกระจกของประเทศ ปีี พ.ศ. 2664-2573. https://climate.onep.go.th/wp-content/uploads/2019/07/NDC-Roadmap-for-Printing.pdf [6] Architecture 2030. (n.d). Why the Built Environment?. Available at https://architecture2030.org/whythe-building-sector/
2
GREENHOUSE GAS EMISSIONS FROM BUILDINGS
2.1 TYPES OF CARBON
การประเมิินการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ หรืือการปล่่อย คาร์์บอนตลอดวงจรชีีวิิตของโครงการจะต้้องมีีการวััดและประเมิิน ผลกระทบของการปล่่อยคาร์์บอน ในทุุกขั้้�นตอนของวงจรชีีวิิต ของโครงการ ดัังแสดงในภาพที่่� 2.1 ซึ่่�งการปล่่อยคาร์์บอน ของโครงการแบ่่งเป็็น 2 ส่่วน ได้้แก่่
1. การปล่่อยคาร์์บอนจากการใช้้งานอาคาร (operational carbon emission)
ในการใช้้งานอาคารมีีการใช้้พลัังงานในการทำำ�ความร้้อน/น้ำำ�ร้ � อ้ น การทำำ�ความเย็็น การระบาย อากาศ ระบบไฟฟ้้าแสงสว่่าง อุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้า การปรุุงอาหาร และระบบการขนส่่ง ภายในอาคาร รวมถึึงการใช้้พลัังงานในการจััดการทรััพยากรน้ำำ�� เพื่่�อบำำ�บัดั หรืือนำำ�กลัับมาใช้้ใหม่่ โดยทั่่�วไปในการออกแบบอาคารเขีียว และอาคารที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อมจะให้้ความสำำ�คััญ กัับส่่วนนี้้�เป็็นหลััก เนื่่�องจากมีีสััดส่่วนการใช้้พลัังงานมากที่่�สุุด
2. การปล่่อยคาร์์บอนแฝง (embodied carbon emmision)
เกิิดจากการใช้้พลัังงานในช่่วงก่่อนการก่่อสร้้างอาคาร เช่่น พลัังงานที่่�เกิิดจากกระบวนการ แปรรููปและผลิิตวััสดุุ พลัังงานที่่�เกิิดจากการขนส่่งวััสดุุมายัังพื้้�นที่่�ก่่อสร้้าง รวมถึึงพลัังงานที่่�ใช้้ ในกระบวนการก่่อสร้้างอาคาร นอกจากนี้้�การปล่่อยคาร์์บอนแฝงยัังพบในช่่วงของการใช้้งาน อาคาร เช่่น มีีการใช้้พลัังงานไฟฟ้้าในการซ่่อมแซมและบำำ�รุุงรัักษา การเปลี่่�ยนอุุปกรณ์์หรืือ ปรัับปรุุงอาคาร และในขั้้�นตอนรื้้�อถอนอาคาร ซึ่่�งใช้้พลัังงานในการทำำ�ลายและรื้้�อถอนอาคาร ตลอดจนการใช้้พลัังงานในการขนส่่งวััสดุุและขยะก่่อสร้้างออกจากพื้้�นที่่� เพื่่�อไปธนาคารขยะ หรืือฝัังกลบ 40
41
ภาพที่่� 2.1 การประเภทและการปล่่อยคาร์์บอนในกิิจกรรมต่่างๆ ตลอดวััฏจัักรชีีวิิตของอาคาร ที่มา: https://newbuildings.org/code_policy/embodied-carbon/
2.2 FACTORS AFFECTED CARBON EMISSION RATIO
อาคารแต่่ละประเภทมีีการปล่่อยคาร์์บอนแฝง (embodied carbon) ค่่อนข้้างแตกต่่างกััน จากการสำำ�รวจการปล่่อยคาร์์บอนแฝง เฉพาะ ในส่่วนของ Stage A (ขั้้�นตอนการผลิิตวััสดุุก่่อสร้้าง) ของอาคาร ในประเทศสหรััฐอเมริิกา ดัังแสดงในภาพที่่� 2.2 พบว่่า บ้้านพัักอาศััย มีีอััตราการปล่่อยคาร์์บอน ต่่อพื้้�นที่่� ใช้้สอยน้้อยที่่�สุุด (ค่่าเฉลี่่�ยอยู่่� ที่่� 193 kg CO2e/ m2) ในขณะที่่�การปล่่อยคาร์์บอนแฝงในอาคาร สำำ�นัักงานอยู่่�ที่่� 399 kg CO2e/ m2 และอาคารที่่�มีีการใช้้งานหลาย ประเภท (mixed used) มีีการปล่่อยคาร์์บอนแฝงต่่อพื้้�นที่่� ใช้้สอย โดยเฉลี่่�ย ค่่อนข้้างสููงที่่� 462 kg CO2e/ m2 ทั้้�งนี้้�เนื่่�องจากอาคาร ขนาดใหญ่่ ใช้้ทรััพยากรและพลัังงานในการก่่อสร้้างสููงกว่่าบ้้าน พัักอาศััย [2] 42
ภาพที่่� 2.2 ผลการสำำ�รวจอััตราการปล่่อยคาร์์บอนแฝงในกระบวนการผลิิต และขนส่่งวััสดุุของอาคารแต่่ละประเภทในประเทศสหรััฐอเมริิกา ที่มา: https://digital.lib.washington.edu:443/researchworks/handle/1773/38017
43
20-25% ประเทศไทยตั้้�งเป้้าลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกให้้ได้้ร้้อยละ 20-25 ภายในปีี พ.ศ. 2573
44
45
การลดการปล่่อยคาร์์บอนควรพิิจารณาตลอดวงจรชีีวิิตของอาคาร ตั้้�งแต่่การกำำ�หนดกรอบ แนวคิิดในการออกแบบและการศึึกษาความเป็็นไปได้้ เพื่่�อกำำ�หนดเป้้าหมายและใช้้เป็็น แนวทางในการดำำ�เนิินงานเพื่่�อลดปริิมาณการปล่่อยคาร์์บอนตั้้�งแต่่กระบวนการออกแบบ และการวางผัังอาคาร การเลืือกใช้้วััสดุุ การขนส่่ง การบริิหารจััดการงานก่่อสร้้าง การใช้้ ทรััพยากรของอาคาร รวมถึึงการจััดการของเสีียที่่�เกิิดขึ้้�นระหว่่างการใช้้งานอาคารและ การทำำ�ลายอาคารหรืือการนำำ�กลัับมาใช้้ใหม่่ อาคารที่่�มีีการปล่่อยคาร์์บอนสููง จะมีีการใช้้ ทรััพยากร พลัังงานและน้ำำ�� มาก มีีการใช้้วััสดุุก่่อสร้้างที่่�ใช้้พลัังงานสููง (ในกระบวนการผลิิต และขนส่่งมายัังพื้้�นที่่�โครงการ) และก่่อให้้เกิิดของเสีียจำำ�นวนมากโดยไม่่มีีการนำำ�ของที่่�ไม่่ได้้ ใช้้งานแล้้วกลัับมารีีไซเคิิล อาคารทั่่�วไปมีีสััดส่่วนการปล่่อยคาร์์บอนในการใช้้งานอาคาร (operational carbon) คิิดเป็็นร้้อยละ 80 ของการปล่่อยคาร์์บอนทั้้�งหมด [3] อย่่างไรก็็ตาม สััดส่ว่ นของคาร์์บอนแฝง และคาร์์บอนในการใช้้งานอาคารตลอดวงจรชีีวิิตของอาคารนั้้�น แตกต่่างกัันขึ้้�นอยู่่�กัับปััจจััยหลายด้้าน ได้้แก่่
6%-20%
CONVENTIONAL
11%-33% PASSIVE
26%-57% LOW ENERGY
74%-100% NET ZERO ENERGY
EMBODIED
OPERATIONAL
ภาพที่่� 2.4 สััดส่่วนการปล่่อยคาร์์บอนในช่่วงของการใช้้อาคารต่่อคาร์์บอนแฝง ของอาคารทั่่�วไปและอาคารที่่�มีีการออกแบบให้้ใช้้พลัังงานต่ำำ�� ที่มา: https://doi.org/10.1016/B978-0-12-811749-1.00004-3 [3]
1. การออกแบบอาคาร
อาคารเขีียวหรืืออาคารที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อมมีีสััดส่่วนปริิมาณการปล่่อยคาร์์บอนในการ ใช้้งานอาคารลดลง ส่่งผลให้้สัดส่ ั ่วนของการปล่่อยคาร์์บอนแฝงเพิ่่�มขึ้้�น ดัังแสดงในภาพ 2.3 ทั้้�งนี้้�สััดส่่วนดัังกล่่าวขึ้้�นอยู่่�กัับระดัับความเป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม เช่่น อาคารที่่มีี� อายุุการ ใช้้งาน 20 ปีี ไม่่มีีการใช้้เครื่่อ� งปรัับอากาศจะมีีการปล่่อยคาร์์บอนแฝง คิิดเป็็นร้้อยละ 60-70 ของปริิมาณคาร์์บอนที่่�อาคารปล่่อยทั้้�งหมด [4] การปล่่อยคาร์์บอนแฝงของอาคารที่่�มีีการ ใช้้พลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์ (net zero energy building) มีีสััดส่่วนคิิดเป็็นร้้อยละ 74-100 ดัังแสดงในภาพที่่� 2.4 ในขณะที่่ก� ารปล่่อยคาร์์บอนในการใช้้งานอาคารมีีค่่าต่ำำ�� มาก เนื่่�องจาก อาคารมีีการใช้้พลัังงานจากเชื้้�อเพลิิงฟอสซิิลน้้อยมากหรืือมีีการใช้้พลัังงานหมุุนเวีียนทดแทน เท่ากับปริมาณพลังงานที่อาคารใช้ ภาพที่ 2.3 ปริมาณการปล่อยคาร์บอนของอาคารทั่วไปและอาคารที่มีการออกแบบให้ใช้พลังงานต�่ำ ที่มา: https://doi.org/10.1016/B978-0-12-811749-1.00004-3
46
47
2. ขนาดของอาคารและการใช้้งานอาคาร
อาคารขนาดใหญ่่ที่่�มีีการใช้้เครื่่�องปรัับอากาศ ไฟฟ้้าแสงสว่่างและอุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้า เป็็นเวลานานจะมีีการใช้้พลัังงาน ต่่อพื้้�นที่่�ใช้้สอยสููงกว่่าอาคารขนาดเล็็กและบ้้านพัักอาศััย เนื่่�องจากอาคารขนาดใหญ่่มีีพื้้�นที่่�มากกว่่า [5] อีีกทั้้�งอาคารขนาดใหญ่่มีีการใช้้งานเครื่่�อง ปรัับอากาศในช่่วงเวลากลางวััน ซึ่่�งตััวอาคารได้้รัับความร้้อนจากรัังสีีดวงอาทิิตย์์ทำำ�ให้้ระบบ ปรัับอากาศใช้้พลัังงานในการกำำ�จััดความร้้อนในช่่วงเวลากลางวัันสููงกว่่าเวลากลางคืืน
3. อายุุของอาคาร
ในการคำำ�นวณผลกระทบต่่อสิ่่�งแวดล้้อมตลอดวััฏจัักรชีีวิิตของอาคารโดยทั่่�วไปจะกำำ�หนดให้้ อาคารมีีการใช้้งานอยู่่�ที่่� 60 ปีี ปริิมาณการปล่่อยคาร์์บอนแฝงมีีความสััมพัันธ์์เชิิงบวกกัับ อายุุอาคาร ปริิมาณการปล่่อยคาร์์บอนแฝงของอาคารที่่มีี� อายุุการใช้้งาน 150 ปีี คิิดเป็็น 1.85 เท่่าของปริิมาณคาร์์บอนแฝงของอาคารอายุุ 50 ปีี [6] ทั้้�งนี้้�ค่่าคาร์์บอนแฝงที่่�เพิ่่�มขึ้้�น เป็็นผลจากการใช้้พลัังงานเพื่่�อบำำ�รุุงรัักษาอุุปกรณ์์และการปรัับปรุุงอาคารให้้มีีสภาพแวดล้้อม ที่่�ดีี ปลอดภััยและพร้้อมใช้้งาน [7]
REFERENCES
[1] Bowles, W., Cheslak, K., & Edelson, J. (2022). Lifecycle GHG Impacts in Building Codes. New Building Institute. New Buildings Institute. Available at https://newbuildings.org/resource/lifecycle-ghg-impactsin-codes/ [2] Simonen, K., Droguett, B. R., Strain, L., & McDade, E. (2017). Embodied Carbon Benchmark Study: LCA for Low Carbon Construction [Technical Report]. University of Washington. Available at https://digital.lib. washington.edu:443/researchworks/handle/1773/38017 [3] Azari, R. (2019). Chapter 5—Life Cycle Energy Consumption of Buildings; Embodied + Operational. In V. W. Y. Tam & K. N. Le (Eds.), Sustainable Construction Technologies (pp. 123–144). Butterworth-Heinemann. https://doi.org/10.1016/B978-0-12-811749-1.00004-3 [4] IIEC. (2011). Addressing Climate Change with Low-Cost Green Housing. Available at https://www.worldbank.org/en/results/2011/11/15/addressing-climate-change-with-low-cost-green-housing [5] อรรจน์์ เศรษฐบุุตร. ค่่าดััชนีกี ารปลดปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ต่อ่ หััวของผู้้�ใช้้อาคารในประเทศไทย. https://www. arch.chula.ac.th/journal/files/article/ZQ0VmfKx8ZThu94740.pdf [6] Robati, M., Daly, D., & Kokogiannakis, G. (2019). A method of uncertainty analysis for whole-life embodied carbon emissions (CO2-e) of building materials of a net-zero energy building in Australia. Journal of Cleaner Production, 225, 541-553. Available at https://doi.org/10.1016/j.jclepro.2019.03.339
48
49
งานออกแบบโครงการสถาปััตยกรรมเพื่่�อบรรลุุความเป็็นกลาง ทางคาร์์บอน (carbon neutrality) มีีหลายระดัับ ซึ่่�งอาจ พิิจารณาตลอดวััฏจัักรชีีวิิตของอาคาร ซึ่่�งต้้องอาศััยความ ร่่วมมืือจากผู้้�เกี่่�ยวข้้องหลายฝ่่าย ได้้แก่่ ผู้้�ผลิิตวััสดุุก่่อสร้้าง ผู้้�รัับเหมา สถาปนิิก วิิศวกร และผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียตลอดการ ดำำ�เนิินงานของโครงการ กรณีีที่่�มีีข้้อจำำ�กััดต่่างๆ ผู้้�ออกแบบ อาจมุ่่�งเน้้นเฉพาะการลดการปล่่อยคาร์์บอน ในช่่วงการออกแบบ อาคารเพีียงอย่่างเดีียว เนื่่�องจากปริิมาณคาร์์บอนที่่�เกิิดขึ้้�นตลอด วััฏจัักรชีีวิิตของอาคารส่่วนใหญ่่ เกิิดขึ้้�นในช่่วงที่่�อาคารมีีการ ใช้้งานโดยเฉพาะการใช้้พลัังงานไฟฟ้้าในการทำำ�ความเย็็น การใช้้ พลัังงานทำำ�ความร้้อนและการใช้้ทรััพยากรน้ำำ��ในอาคาร ดัังแสดง ในภาพที่่� 3.1 และอาจกล่่าวได้้ว่่าแนวทางในการทำำ�ให้้อาคารมีี การปล่่อยคาร์์บอนต่ำำ�� คืืออาคารต้้องมีีการใช้้พลัังงานไฟฟ้้าและ ทรััพยากรน้ำำ��ต่ำำ��ด้้วยเช่่นกััน การออกแบบที่่�ดีีสามารถช่่วยลดการ ปล่่อยคาร์์บอนได้้ถึึงร้้อยละ 70 [1]
3
INITIAL PATHWAYS
ภาพที่ 3.1 การประเมินการปล่อยคาร์บอนในกิจกรรมต่างๆ ตลอดวัฏจักรชีวิตของอาคาร ที่มา: https://newbuildings.org/code_policy/embodied-carbon/
51
แนวคิิดในการออกแบบอาคารที่่มีี� ความเป็็นกลางทางคาร์์บอน (เฉพาะส่่วนของการใช้้พลัังงาน) จะพยายามสร้้างความสมดุุลระหว่่าง 2 ส่่วนคืือ การออกแบบอาคารให้้มีีการใช้้พลัังงาน ต่ำำ��มาก และใช้้พลัังงานที่่�ผลิิตได้้จากแหล่่งพลัังงานหมุุนเวีียนที่่�ผลิิตในพื้้�นที่่�ตั้้�งโครงการหรืือ มาจากแหล่่งพลัังงานทดแทนจากพื้้�นที่่�บริิเวณใกล้้เคีียงให้้เท่่ากัับพลัังงานที่่�ใช้้ภายในอาคาร [2] ซึ่่�งการออกแบบดัังกล่่าวอยู่่�ภายใต้้กรอบแนวคิิดการออกแบบอาคารอย่่างยั่่�งยืืนซึ่่�งให้้ ความสำำ�คััญกัับการออกแบบโดยวิิธีีธรรมชาติิ (passive design) เพื่่�อลดผลกระทบต่่อ สิ่่�งแวดล้้อมจากการใช้้ทรััพยากรและพลัังงาน โดยมีีเป้้าหมายระยะยาวให้้มีีการใช้้พลัังงาน สุุทธิิเป็็นศููนย์์
การออกแบบอาคารเพื่่�อประหยััดพลัังงานหรืืออาคารที่่� ใช้้พลัังงาน สุุทธิิเป็็นศููนย์์ควรพิิจารณาปััจจััยหลายด้้านเพื่่�อลดการใช้้พลัังงาน ของเครื่่�องปรัับอากาศซึ่่�งมีีสััดส่่วนมากที่่�สุุดคิิดเป็็นร้้อยละ 60-70 เมื่่�อเทีียบกัับการใช้้พลัังงานในส่่วนอื่่�นๆ เครื่่�องปรัับอากาศ ใช้้ พลัังงานเพื่่�อควบคุุมอุุณหภููมิิภายในห้้อง/อาคารให้้อยู่่�ในขอบเขต อุุณหภููมิิสภาวะน่่าสบายที่่� 24-26 องศาเซลเซีียส และมีีความชื้้�น สััมพััทธ์์ที่่�ร้้อยละ 50 ดัังนั้้�น ห้้อง/อาคารที่่�มีีความร้้อนสะสม ภายในอาคารอยู่่�มากจะใช้้พลัังงานในส่่วนของการทำำ�ความเย็็นมาก ด้้วยเช่่นกััน ดัังนั้้�นการออกแบบและรัักษาให้้อุุณหภููมิิอากาศภายใน ห้้อง/อาคารเย็็นจะช่่วยให้้ผู้้� ใช้้อาคารลดการใช้้เครื่่�องปรัับอากาศ ตามไปด้้วย และลดความร้้อนที่่�สะสมภายในห้้อง/อาคารที่่�เกิิดจาก แหล่่งความร้้อนภายในอาคาร เช่่น คน การทำำ�กิิจกรรม ไฟฟ้้าแสง สว่่างและอุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้า ดัังแสดงในภาพที่่� 3.1 นอกจากนี้้� การถ่่ายเทความร้้อนผ่่านผนััง และช่่องเปิิดยัังเป็็นแหล่่งความร้้อน สำำ�คััญที่่�ส่่งผลให้้อุุณหภููมิิภายในห้้อง/อาคารสููงขึ้้�น โดยปริิมาณ ความร้้อนที่่�ถ่่ายเทผ่่านกรอบอาคารคิิดเป็็นสััดส่่วนมากที่่�สุุดของ ภาระการทำำ�ความเย็็นของเครื่่�องปรัับอากาศ ดัังแสดงในภาพที่่� 3.2
ภาพที่ 3.1 ที่มาและแหล่งก�ำเนิดความร้อนภายในอาคาร ที่มา: https://basc.pnnl.gov/images/sources-heat-gain-house-include-solar-gains-infiltration-conductionthrough-walls-and-roof
ภาพที่่� 3.2 สััดส่่วนของแหล่่งความร้้อนที่่�เข้้ามาภายในอาคารและเครื่่�องปรัับอากาศใช้้พลัังงานในการทำำ�ความเย็็น ทีม่ า: Bhatia, A. (2020). HVAC Made Easy: A Guide to Heating & Cooling Load Estimation. https://pdhonline.com/
52
53
3.1 DESIGN APPROACH 1. การป้้องกัันปริิมาณความร้้อนเข้้าสู่่�ตััวอาคาร
หลัักการสำำ�คััญสำำ�หรัับการออกแบบอาคารประหยััดพลัังงานในพื้้�นที่่�เขตร้้อน-ชื้้�น ผู้้�ออกแบบ ควรให้้ความสำำ�คััญกัับการป้้องกัันปริิมาณความร้้อนเข้้าสู่่�ตััวอาคารซึ่่�งสามารถทำำ�ได้้หลายวิิธีี เช่่น การลดขนาดพื้้�นที่่�ผนัังอาคารที่่รั� ับความร้้อนจากรัังสีีดวงอาทิิตย์์โดยตรง เช่่น การวาง ด้้านแคบของอาคารรููปทรงสี่่�เหลี่่�ยมผืืนผ้้าตามทิิศตะวัันออก-ตะวัันตก ในขณะเดีียวกัันหาก อาคารหลัังนั้้�นมีีการใช้้เครื่่�องปรัับอากาศเป็็นหลััก ผู้้�ออกแบบควรคำำ�นึึงถึึงรููปทรงอาคารด้้วย โดยอาคารที่่�มีีสััดส่่วนพื้้�นที่่�กรอบอาคารต่่อพื้้�นที่่�ใช้้สอยรวมของอาคารน้้อย จะมีีพื้้�นที่่�ผิิวใน การรัับความร้้อนจากรัังสีีดวงอาทิิตย์น้์ ้อยกว่่าอาคารที่่มีีพื้้ � �นที่่�กรอบอาคารมาก การให้้ร่่มเงา โดยการปลููกต้้นไม้้โดยรอบตััวอาคาร การออกแบบแผงบัังแดดแนวนอนเพื่่�อใช้้ป้้องกัันความ ร้้อนทางทิิศใต้้ และใช้้แผงบัังแดดแนวตั้้�งเพื่่�อกัันความร้้อนทางทิิศตะวัันออกและตะวัันตก การทาสีีผนัังที่่มีีค่ � ่าการสะท้้อนความร้้อน (albedo) สููง การออกแบบระบบโครงสร้้างผนััง และหลัังคาที่่มีีค่ � า่ ความต้้านทานความร้้อนสููง และการเลืือกใช้้กระจกที่่ที่� มีีค่ ่� า่ สััมประสิิทธ์ก์ าร บัังเงา (shading coefficient - SC) ต่ำำ�� เพื่่�อลด ปริิมาณรัังสีีอาทิิตย์์ (คลื่่�นสั้้�น) เข้้าสู่่�ภายใน อาคาร และมีีค่่า VLT หรืือ Visual Light Transmission สููงเพื่่�อยอมให้้มีีการมองเห็็นแสง ภายนอกได้้มากขึ้้�น นอกจากการออกแบบเพื่่�อป้้องกัันความร้้อนถ่่ายเทผ่่านกรอบอาคารแล้้ว การจััดวางตำำ�แหน่่งของ พื้้�นที่่�ใช้้สอยอย่่างเหมาะสม สามารถป้้องกัันความร้้อนเข้้าสู่่�ภายในห้้องที่่มีี� การปรัับอากาศได้้ และสามารถช่่วยลดจำำ�นวนชั่่�วโมงการใช้้เครื่่อ� งปรัับอากาศลงด้้วย ยกตััวอย่่างเช่่น การกำำ�หนด ให้้ห้อ้ งที่่ใ� ช้้งานไม่่ประจำำ�หรืือพื้้�นที่่เ� ปีียก เช่่น ห้้องครััว ห้้องน้ำำ�� ห้้องเก็็บของเป็็นแนวกััน (buffer) ความร้้อนเข้้าสู่่�พื้้�นที่่�ใช้้งานหลััก ตำำ�แหน่่งของห้้องทานอาหาร และระเบีียงควรอยู่่�ทางทิิศใต้้ เพื่่�อใช้้เป็็นแนวป้้องกัันความร้้อนถ่่ายเทสู่่�พื้้�นที่่ใ� ช้้งานหลััก ตำำ�แหน่่งห้้องนั่่�งเล่่นควรอยู่่�ทิิศเหนืือ ตำำ�แหน่่งของห้้องนอน และห้้องทำำ�งานสามารถอยู่่�ทางทิิศตะวัันออกได้้ เนื่่�องจากความร้้อน ที่่�เข้้าสู่่�ห้้องนอนในช่่วงเช้้าสามารถระบายออกได้้ก่่อนมีีการใช้้งานพื้้�นที่่�ในช่่วงเวลากลางคืืน เป็็นต้้น 54
ภาพที่ 3.3 ต�ำแหน่งการวางทิศทางอาคารกับความร้อนที่เข้าสู่อาคาร ที่่�มา: https://www.yourhome.gov.au/passive-design/orientation [5]
2. การทำำ�ความเย็็นด้้วยวิิธีีธรรมชาติิแทนการใช้้เครื่่�องปรัับอากาศ
ผู้้�ออกแบบควรคำำ�นึึงถึึงบริิบทของพื้้�นที่่�โครงการ เช่่น สภาพอากาศ ขนาดพื้้�นที่่�โครงการ และอาคารหรืือสิ่่�งปลููกสร้้างข้้างเคีียงโดยรอบ เนื่่�องจากการใช้้ลมธรรมชาติินั้้�นต้้องมีีคุุณภาพ อากาศที่่ดีี� และไม่่ร้้อนหรืือชื้้�นจนเกิินไปทำำ�ให้้ผู้้�ใช้้อาคารรู้้�สึึกไม่่สบายได้้ ข้้อมููลของอาคารหรืือ สิ่่�งปลููกสร้้างข้้างเคีียงโดยรอบอาคารช่่วยให้้ผู้้�ออกแบบสามารถกำำ�หนดตำำ�แหน่่งช่่องเปิิด และ ออกแบบครีีบดัักลม เพื่่�อดัักลมเข้้าสู่่�ภายในอาคารได้้ ดัังนั้้�นในพื้้�นที่่�เมืืองที่่�มีีความหนาแน่่น สููงและมีีการจราจรคัับคั่่�ง การใช้้ลมธรรมชาติิ เพื่่�อสร้้างสภาวะน่่าสบายสำำ�หรัับอาคารจึึงเป็็น ไปได้้ค่่อนข้้างยากและเป็็นเรื่่�องที่่�ท้้าทายสำำ�หรัับผู้้�ออกแบบ 55
2,0 00
อาคารเอสซีีจีี 100 ปีี และ SCG Health Center สามารถลดการปล่่อยคาร์์บอน ได้้มากถึึงเกืือบ 2,000 ตัันต่่อปีี เทีียบได้้กัับการส่่งมอบพื้้�นที่่�สีีเขีียวเท่่ากัับ 1.5 เท่่า ของสวนลุุมพิินีี คืืนสู่่�สัังคมทุุกปีี ไปตลอดอายุุการใช้้งาน
56
57
สำำ�หรัับหลัักการออกแบบอาคารที่่�ใช้้การระบายอากาศด้้วยลมธรรมชาติิ ผู้้�ออกแบบควร ให้้ความสำำ�คััญกัับขนาดและพื้้�นที่่�ช่่องเปิิด อาคารควรมีีพื้้�นที่่�ช่่องเปิิดขนาดใหญ่่เพื่่�อให้้ลม เคลื่่�อนที่่�เข้้าสู่่�ภายในห้้องได้้มาก และมีีตำำ�แหน่่งของช่่องเปิิดแบบเยื้้�องกััน (cross ventilation) เพื่่�อให้้ลมสามารถเคลื่่�อนที่่�ผ่่านพื้้�นที่่�ใช้้งานได้้อย่่างทั่�ว่ ถึึง สำำ�หรัับห้้องที่่�มีีผนัังเพีียงด้้าน เดีียวการทำำ�ช่่องเปิิด 1 ช่่องไม่่สามารถช่่วยให้้ลมเคลื่่�อนที่่�เข้้าห้้องได้้ ผู้้�ออกแบบควรทำำ�ช่่อง เปิิด 2 ช่่องและออกแบบครีีบอาคารอยู่่�ระหว่่างช่่องเปิิด หรืือการยื่่�นองค์์ประกอบของผนััง อาคารเพื่่�อสร้้างความแตกต่่างของความดัันอากาศบริิเวณช่่องเปิิดทั้้�งสองช่่องได้้
SINGLE OPENING
TWO OPENINGS-SAME WALL
ความท้้าทายของการใช้้ลมธรรมชาติิในอาคารในสภาพภููมิิอากาศเขตร้้อน-ชื้้�นที่่�มีีอุุณหภููมิิ อากาศในช่่วงเวลากลางวัันค่่อนข้้างสููงเกิินขอบเขตอุุณหภููมิิสบายตลอดทั้้�งปีี การสร้้างพื้้�นที่่�สีี เขีียวขนาดใหญ่่ การปลููกต้้นไม้้ การสร้้างบ่่อน้ำำ��ลึึก และการระเหยของน้ำำ��หรืือการพ่่นละออง น้ำำ��เป็็นอีีกแนวทางเพื่่�อช่่วยให้้อุุณหภููมิิอากาศของสภาพแวดล้้อมเย็็นลงได้้ประมาณ 3-4 องศาเซลเซีียส [7] และเมื่่�ออากาศร้้อนเคลื่่�อนที่่�ผ่่านพื้้�นที่่�ที่่�มีีการออกแบบดัังกล่่าวอุุณหภููมิิ จะถููกปรัับลดให้้เย็็นลงและสามารถนำำ�อากาศเย็็นดัังกล่่าวมาใช้้ระบายอากาศและสร้้างสภาวะ น่่าสบายแก่่ผู้้�ใช้้อาคารได้้
TWO OPENINGS WITH WINGS
3. การออกแบบที่่�ยืืดหยุ่่�นและเปลี่่�ยนแปลงการใช้้งานได้้
แนวคิิดการออกแบบที่่ยื� ดื หยุ่่�นและปรัับเปลี่่ย� นได้้ ได้้รับั ความนิิยมมากขึ้้น� สำำ�หรัับการออกแบบ พื้้�นที่่�ใช้้สอยในเมืืองที่่�มีีข้้อจำำ�กััดเรื่่�องขนาดพื้้�นที่่�ใช้้สอยและราคาที่่�ดิินค่่อนข้้างสููง การปรัับเปลี่่�ยนพื้้�นที่่�ใช้้สอยมีีหลายระดัับตั้้�งแต่่การปรัับเปลี่่�ยนอย่่างง่่าย ไปจนถึึงการจััดเรีียงพื้้�นที่่� ใหม่่ที่่�มีีความซัับซ้้อนและการปรัับเปลี่่�ยนโครงสร้้างอาคาร แนวคิิดนี้้�สามารถช่่วยลดพลัังงาน และทรััพยากรที่่�ใช้้ในการรื้้�อถอนอาคารเดิิมและการก่่อสร้้างอาคารขึ้้�นใหม่่ รวมทั้้�งการกำำ�จััด ซากขยะจากการรื้้�อถอนอาคารได้้ นอกจากนี้้�ยัังช่่วยให้้ผู้้�ซื้้�อประหยััดค่่าใช้้จ่่ายในระยะยาว หากต้้องการปรัับเปลี่่�ยนการใช้้งานพื้้�นที่่�ใหม่่ หรืือต้้องการขยายพื้้�นที่่�ใช้้งานเพื่่�อรองรัับ จำำ�นวนสมาชิิกในครอบครััวเพิ่่�มขึ้้�น การออกแบบสามารถทำำ�ได้้โดยการปรัับเปลี่่�ยน และ เคลื่่�อนย้้ายเฟอร์์นิิเจอร์์ภายในห้้องเพื่่�อรองรัับการใช้้งานที่่�หลากหลาย [8] หรืือการต่่อเติิม โมดููล่่าร์์พื้้�นที่่�ใช้้งานเพื่่�อเพิ่่�มพื้้�นที่่�ใช้้สอยตามความต้้องการของผู้้�อยู่่�อาศััย ดัังแสดงใน ภาพที่่� 3.5
TWO OPENINGS ADJUCENT WALLS
TWO OPENINGS-OPPOSITE WALLS
ภาพที่ 3.4 ลักษณะการเคลื่อนที่ของอากาศผ่านช่องเปิดอาคาร ที่่�มา: https://indiansustainability.wordpress.com/2015/08/04/importance-of-cross-ventilation/ [6]
58
59
4. การเลืือกใช้้เทคโนโลยีี ในงานระบบภายในอาคาร
ภาพที่่� 3.5 แนวทางการออกแบบและปรัับเปลี่่�ยนพื้้�นที่่�ใช้้สอยของห้้องพัักอาศััยเพื่่�อรองรัับกิิจกรรมที่่�หลากหลายของโปรเจกต์์ AD-APT ที่่�มา: https://www.woodsbagot.com/journal/ad-apt-how-will-buildings-adapt-to-the-new-realities-of-home-as/ [8]
ภายหลัังที่่มีี� การใช้้การออกแบบแบบ passive ตามหััวข้้อก่่อนหน้้าแล้้ว หากยัังมีีความต้้องการ หรืือภาระพลัังงานที่่�คงเหลืืออยู่่� การออกแบบแบบ active จะมีีความจำำ�เป็็นและได้้รัับการ พิิจารณาในการออกแบบอย่่างเหมาะสมตามหลัักวิิศวกรรม ไม่่ว่่าจะเป็็นระบบปรัับอากาศ และระบายอากาศ ระบบไฟฟ้้าแสงสว่่าง ระบบขนส่่งภายในอาคาร ระบบปั้้ม� น้ำำ�� และอื่่น� ๆ ซึ่่ง� ในงานระบบเหล่่านี้้� ค่่าประสิิทธิภิ าพการใช้้พลัังงานเป็็นหััวข้้อสำำ�คัญ ั ในการพิิจารณาเลืือกใช้้ แต่่ทั้้�งนี้้�ด้้วยเทคโนโลยีีที่่�พััฒนาขึ้้�นเรื่่�อยๆ เทคโนโลยีีที่่�พลิิกผััน (disruptive technology) ได้้เข้้ามาปรัับเปลี่่�ยนหลัักการออกแบบงานระบบต่่างๆ นี้้� เช่่น การปรัับเปลี่่�ยนจากการทำำ� ความเย็็นผ่่านอากาศเป็็นตััวกลางเปลี่่ย� นไปเป็็นการทำำ�ความเย็็นผ่่านการแผ่่รังั สีี การนำำ�ความ เย็็นที่่เ� หลืือทิ้้�งกลัับมาใช้้ใหม่่ การกัักเก็็บความเย็็นในช่่วงไม่่ใช้้งานไปใช้้ในช่่วงเวลาที่่ต้� อ้ งการ การใช้้เทคโนโลยีีเซนเซอร์์ (sensor technology) มาทำำ� Real-time feedback control หรืือ การสั่่�งให้้ทำำ�งานเฉพาะบางช่่วงเวลาที่่�ต้้องการเท่่านั้้�น การใช้้เทคโนโลยีี AI (Artificial Intelligence) มาช่่วยควบคุุมการทำำ�งานให้้ได้้ประสิิทธิิภาพสููงสุุดตลอดเวลา การทำำ�การบำำ�รุุง รัักษาเชิิงคาดการณ์์ (predictive maintenance) ให้้ระบบอยู่่�ในสภาพที่่�ดีีที่่�สุุดเสมอ เป็็นต้้น ซึ่่�งหากมีีการเลืือกใช้้เทคโนโลยีีเหล่่านี้้�ที่่�เหมาะสม งานระบบจะมีีโอกาสในการลดการใช้้ พลัังงานในอาคารได้้สูงู สุุดถึึง 70% เลยทีีเดีียว
3.2 EMBODIED CARBON
ภาพที่่� 3.6 แนวคิิดการออกแบบพื้้�นที่่�ใช้้สอยและการเชื่่�อมต่่อการใช้้งานของแต่่ละยููนิตข ิ องโครงการ Nano Rescue House ที่มา: https://inhabitat.com/nano-rescue-house-provides-flexible-emergency-housing/new-2-82/ [9]
60
จากข้้อมููลของ Rocky Mountain Institute [10] พิิจารณา ปริิมาณการปล่่อยคาร์์บอนแฝง (embodied carbon) ของแต่่ละ ช่่วงของวงจรชีีวิิตของอาคารพบว่่า ในขั้้�นตอนของการผลิิตวััสดุุ ก่่อสร้้าง มีีสััดส่่วนของคาร์์บอนแฝงอยู่่�ที่่� 65% - 85% ช่่วงของ การขนส่่งและการติิดตั้้�ง อยู่่�ที่่� 6%-10%, ช่่วงของการใช้้งาน อาคารและบำำ�รุุงรัักษาอยู่่�ที่่� 8%-15% และขั้้�นตอนการจััดการ ของเหลืือใช้้ (waste) หรืือ End-of-life อยู่่�ที่่� 3%-15% 61
ดัังนั้้�น เพื่่�อให้้เกิิดการลดการปล่่อยคาร์์บอนอย่่างยั่่�งยืืน เจ้้าของอาคาร ผู้้�พััฒนาอาคาร ผู้้�ออกแบบและผู้้�ผลิิตสิินค้้าต้้องร่่วมมืือกััน เพื่่�อให้้ไปถึึงเป้้าหมายในด้้านคาร์์บอนสุุทธิิ เป็็นศููนย์์หรืืออื่่�นๆ ที่่�ตั้้�งไว้้ โดยมาตรการสำำ�หรัับอาคารในการลดสััดส่่วนของคาร์์บอนแฝง ประกอบไปด้้วยมาตรการต่่างๆ ได้้แก่่
1. การเลืือกใช้้วััสดุุดููดซัับคาร์์บอน (carbon sink) และมีีการปล่่อยคาร์์บอนต่ำำ�� (materials with low-carbon footprint) 1.1. วััสดุุดููดซัับคาร์์บอน (carbon sink building materials)
ภาพที่ 3.7 การประเมินวงจรชีวิตอาคาร ที่มา: https://rmi.org/embodied-carbon-101/ [10]
จะเห็็นได้้ว่่าสััดส่่วนของการผลิิตวััสดุุก่่อสร้้าง เป็็นสััดส่่วนที่่�ใหญ่่และมีีความสำำ�คััญ ดัังนั้้�น การลดการปล่่อยคาร์์บอนแฝง ของวััสดุุก่่อสร้้างจึึงเป็็นหััวใจสำำ�คััญของการลดคาร์์บอนสะสม ตั้้�งต้้นในอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้าง เมื่่�อพิิจารณาถึึงงานก่่อสร้้าง จากการศึึกษาของ The London Energy Transformation Initiative (LETI) [11] พบว่่างานโครงสร้้างมีีสััดส่่วน ของคาร์์บอนแฝงสููงถึึง 65% แบ่่งเป็็นงานโครงสร้้าง (superstructure) 48% และ งาน ฐานราก (substructure) 17%
ภาพที่ 3.8 สัดส่วนการปล่อยคาร์บอนสะสมตั้งต้น ที่มา: https://www.twinfm.com/article/how-to-reduce-a-buildings-whole-life-carbon [11]
62
คืือวััสดุุที่่�ส่่วนมากทำำ�มาจากวััสดุุประเภทไม้้ (harvested wood products – HWPs) เนื่่�องจากผลิิตภััณฑ์์ จากไม้้ที่่�มาจากป่่า ที่่�มีีการจััดการที่่�ดีี (sustainable sources) ทำำ�มา จากต้้นไม้้ ซึ่่�งมีีการกัักเก็็บก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ จากกระบวนการสัังเคราะห์์แสง (photosynthesis) ทั้้�งนี้้� 50% โดยน้ำำ��หนัักแห้้ง (dry weight) ของไม้้ คืือ คาร์์บอน และจากการศึึกษาพบว่่า ไม้้ขนาด 1 ลููกบาศก์์เมตรมีีปริิมาณคาร์์บอนเท่่ากัับก๊๊าซโซลีีน จำำ�นวน 350 ลิิตร [12] วััสดุุจำำ�พวก HWPs สามารถใช้้งานได้้ในรููปแบบต่่างๆ เช่่น พื้้�น วััสดุุปิิดผิิว (cladding materials) กรอบหน้้าต่่าง ประตูู เฟอร์์นิิเจอร์์ รวมไปถึึง วััสดุุโครงสร้้างต่่างๆ เช่่น เสา และคาน ปััจจุุบัันวััสดุุจำำ�พวกไม้้ไผ่่ กำำ�ลัังได้้รัับความสนใจ เป็็นอย่่างมาก เนื่่�องจากเป็็นพืืชที่่�โตไวสามารถผลิิตทดแทนได้้ (renewable) พบได้้ ในหลากหลายภููมิอิ ากาศทั่่ว� โลก และมีีความแข็็งแรง คงทน ตััวอย่่างเช่่น ไม้้ไผ่่ลามิิเนต (laminated bamboo) มีีความทนทานมากกว่่า soft steel หรืือ เหล็็กที่่�มีีคาร์์บอนอยู่่� เพีียงเล็็กน้้อย และตััวพื้้�นผิิวเองมีีความแข็็งแรงมากกว่่าไม้้โอ๊๊คแดง (red oak timber) และไฟเบอร์์กลาส (fiberglass)
1.2. วััสดุุที่่�มีีการปล่่อยคาร์์บอนต่ำำ�� (low carbon building materials and products)
วััสดุุต่่างชนิิดกัันมีีปริิมาณการปล่่อยคาร์์บอนแตกต่่างกัันออกไป ตามประเภทของวััสดุุ และกระบวนการผลิิตที่่�แตกต่่างกััน วััสดุุที่่�ใช้้พลัังงานในการผลิิตสููงทำำ�ให้้มีีค่่าการปล่่อย ก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ค่่อนข้้างสููง ในขณะเดีียวกััน วััสดุุที่่�มาจากธรรมชาติิ และวััสดุุ ที่่�มีีส่่วนผสมของวััสดุุรีีไซเคิิล หรืือ วััตถุุพลอยได้้ (by-products) ต่่างๆ จะเป็็นวััสดุุที่่�มีี การปล่่อยปริิมาณคาร์์บอนต่ำำ�� The Construction Material Pyramid จาก The Royal Danish Academy – Architecture, Design, Conservation แสดงให้้เห็็นว่่า เมื่่�อพิิจารณา เฉพาะขั้้�นตอนการผลิิตวััสดุุก่่อสร้้าง (A1-A3) ในปริิมาณของวััสดุุที่่� 1 ลููกบาศก์์เมตร พบว่่า กลุ่่�มวััสดุุจำำ�พวกโลหะมีีการปล่่อยคาร์์บอนแฝงสููงสุุด คืือกลุ่่�มวััสดุุก่่อสร้้างที่่�มีีการ ปล่่อยคาร์์บอนแฝงสููงมาก ได้้แก่่ แผ่่นอะลููมิิเนีียม (aluminium sheet) เป็็นวััสดุุที่่�มีี ค่่าการปล่่อยคาร์์บอนแฝงสููงสุุดที่่� 28,242.0 kg CO2e รองลงมาคืือแผ่่นเหล็็ก (roof panel steel) 26,578.0 kg CO2e, แผ่่นเหล็็กกััลวาไนซ์์ (galvanized steel) 22,923.1 kg CO2e, แผ่่นทองแดง (copper sheet) 12,433.6 kg CO2e และแผ่่นสัังกะสีี (zinc) 12,209.4 kg CO2e 63
25 93
ประเทศไทยตั้้�งเป้้าหมายความเป็็นกลางทางคาร์์บอน (Carbon Neutrality) ในปีี พ.ศ. 2593
64
65
ในขณะเดีียวกัันกลุ่่�มวััสดุุที่่�ผลิิตจากวััสดุุไม้้จากธรรมชาติิ และมีีส่่วนผสมของวััสดุุรีีไซเคิิล เป็็นกลุ่่�มที่่�มีีค่่าการปล่่อยคาร์์บอนแฝงต่ำำ�� ได้้แก่่ กำำ�แพงผนัังดิินอััดแน่่น (ammed earth wall) 9.3 kg CO2e, (wool paper) 6.2 kg CO2e และอิิฐที่่�นำำ�กลัับมาใช้้ใหม่่ อยู่่�ที่่� 4.9 kg CO2e นอกจากนี้้�ยัังมีีวััสดุุที่่�มีีค่่าการปล่่อยคาร์์บอนแฝงน้้อยกว่่าศููนย์์ หรืือช่่วย ในการดููดซัับคาร์์บอนได้้ด้้วย ยกตััวอย่่างเช่่น วััสดุุจำ�ำ พวกฟาง (straw) ที่่�มีีค่่าการปล่่อย คาร์์บอนสะสมตั้้�งต้้น -128.2 kg CO2e, ฉนวนที่่ทำ� ำ�งานเศษไม้้ (wood fibre insulation) -173.1 kg CO2e, แผ่่นไม้้อัดั (wood fibre board) -182.9 kg CO2e, แผ่่นไม้้สังั เคราะห์์ (modified wood) -519.0 kg CO2e, ไม้้อัดั (plywood) -649.0 kg CO2e, ไม้้ MDF -669.0 kg CO2e, และไม้้โอ้้ค (oak tree) มีีค่่าการปล่่อยคาร์์บอนสะสมตั้้�งต้้น ที่่� -1063.0 kg CO2e
ปััจจุุบัันผู้้�ผลิิตวััสดุุก่่อสร้้างได้้มีีการพััฒนาการออกแบบและเทคโนโลยีีการผลิิตสิินค้้า เพื่่�อ ให้้มีีค่่าการปล่่อยคาร์์บอน น้้อยลงเมื่่�อเปรีียบเทีียบกัับวััสดุุที่่�มีีหน้้าที่่�การทำำ�งานเหมืือนกััน กระบวนการผลิิตที่มีี่� การปรัับปรุุง ตััวอย่่างเช่่น การลดการใช้้พลัังงานในการผลิิตด้้วยการ ใช้้พลัังงานความร้้อนกลัับมาใช้้ใหม่่ หรืือการใช้้พลัังงานทดแทนในการผลิิต การปรัับปรุุง กระบวนการผลิิตที่่�มีีการลดการใช้้พลัังงานน้ำำ�� และขยะในการผลิิต และรวมไปถึึงการ ออกแบบผลิิตภััณฑ์์ให้้มีีความสามารถ ในการประหยััดพลัังงาน ประหยััดน้ำำ�� การออกแบบ ให้้ผลิตภั ิ ัณฑ์์มีีอายุุการใช้้งานนานขึ้้�น การนำำ�กลัับมาใช้้ใหม่่ได้้ การใช้้ทรััพยากรธรรมชาติิ น้้อยลง และการใช้้ส่่วนผสมของวััสดุุธรรมชาติิ เป็็นต้้น ยกตััวอย่่างเช่่น วััสดุุก่่อสร้้างที่่�มีี การปล่่อย ก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ค่อ่ นข้้างมาก ได้้แก่่ คอนกรีีต กระบวนการผลิิตซิเิ มนต์์ เป็็น 5% ของการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ของทั้้�งโลก โดย 80-90% ปล่่อยระหว่่าง กระบวนการผลิิตปูนู เม็็ด (clinker) [14] การลดการปล่่อยคาร์์บอนของซิิเมนต์์ คืือการใช้้วัสั ดุุ ทดแทนต่่างๆ เช่่น ปอซโซลาน (pozzolan), granulated slag, ซิิลิกิ าฟููม (silica fume), และเถ้้าลอยจากถ่่านหิิน (coal fly ash) ผสมเข้้าไปในกระบวนการผลิิตปููนเม็็ด
THE CONSTRUCTION MATERIAL PYRAMID THE DETAIL IS CRUCIAL
ตััวอย่่างสิินค้้าวััสดุุก่่อสร้้างที่่�เป็็นชนิิดปล่่อยคาร์์บอนต่ำำ�� (low carbon) ที่่�นิิยมใช้้ ในอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้าง ได้้แก่่ 1. อิิฐคาร์์บอนต่ำำ�� (low-carbon bricks)
การพััฒนาอิิฐผสมให้้มีีอััตราส่่วนของวััสดุุที่่�เวีียนกลัับมาใช้้ใหม่่ เช่่น เถ้้าลอย (fly ash) เพิ่่�มมากขึ้้�น แต่่ยัังคงมีีความแข็็งแรงที่่�สามารถใช้้งานได้้ ทำำ�ให้้การปล่่อยคาร์์บอนสะสม ตั้้�งต้้นลดลงเมื่่�อเทีียบกัับอิิฐทั่่�วๆ ไป โดยเถ้้าลอยเป็็นเถ้้าถ่่านหิินชนิิดหนึ่่�งซึ่่�งเป็็นวััตถุุ พลอยได้้ จากกระบวนการผลิิตกระแสไฟฟ้้าด้้วยการใช้้ถ่่านหิินเป็็นเชื้้�อเพลิิงในการ เผาไหม้้ (combustion process) [15]
2. คอนกรีีตและซิิเมนต์์คาร์์บอนต่ำำ�� (green cement and concrete)
ซึ่่�งพััฒนาจากการผสมวััสดุุที่่�เป็็นวััตถุุพลอยได้้จากอุุตสาหกรรม และวััสดุุรีีไซเคิิล ตััวอย่่างเช่่น ซิิเมนต์์และคอนกรีีตผสมเถ้้าลอย และ granulated blast-furnace slag หรืือ washed copper slag สำำ�หรัับทดแทนทรายเป็็นต้้น
3. กระเบื้้�องเซรามิิคคาร์์บอนต่ำำ�� (green tile)
ด้้วยส่่วนผสมของวััสดุุรีีไซเคิิลในกระบวนการผลิิตกระเบื้้�อง ทั้้�งในรููปแบบของ postrecycled (รีีไซเคิิลจากวััสดุุซึ่่�งถึึงผู้้�บริิโภคแล้้ว) และ pre-recycled (รีีไซเคิิลจากวััสดุุ ในโรงงานอุุตสาหกรรม) ภาพที่ 3.9 The Construction Material Pyramid ที่่�มา: https://www.materialepyramiden.dk/ [13]
66
67
4. โลหะรีี ไซเคิิล (recycled metals)
ด้้วยกระบวนการผลิิตโลหะมีีการปล่่อยคาร์์บอนค่่อนข้้างมากจากการผลิิตที่่�ใช้้ความ ร้้อน อย่่างไรก็็ตาม สามารถลดการปล่่อยคาร์์บอนแฝงได้้จากการลดการใช้้พลัังงาน ในการผลิิต ด้้วยการใช้้วััสดุุรีีไซเคิิล ทั้้�งนี้้�เนื่่�องจากคุุณสมบััติิของโลหะรีีไซเคิิลยัังคงมีี เหมืือนเดิิมเมื่่�อเทีียบกัับโลหะใหม่่ (virgin materials) [16] หรืือการใช้้ใหม่่ (reuse) ของวััสดุุพวกโลหะก็็สามารถลดการปล่่อยคาร์์บอนได้้เช่่นเดีียวกััน
2. การเลืือกใช้้สิินค้้าที่่�ผลิิตในประเทศ (local products)
เพื่่�อประโยชน์์ในการลดการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ระหว่่างการขนส่่ง ตั้้�งแต่่การขนส่่ง วััตถุุดิิบไปที่่�โรงงานผลิิต และการขนส่่งสิินค้้าไปใช้้งาน การเลืือกใช้้สิินค้้าที่่มีี� ระยะทางการ ขนส่่งสั้้�น และ/หรืือการเลืือกใช้้สิินค้้าที่่มีี� การขนส่่งด้้วยยานพาหนะที่่ปล่ � ่อยคาร์์บอนต่ำำ�� ก็็จะมีีส่่วนในการลดการปล่่อยคาร์์บอนอีีกด้้วย
3. การเลืือกใช้้วััสดุุที่่�มีีเทคโนโลยีีการผลิิตและติิดตั้้�งที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม (environmental performance of the production chains)
เทคโนโลยีีการผลิิตที่ทำ่� �ำ ให้้การปล่่อยคาร์์บอนของวััสดุุก่อ่ สร้้างลดลง เช่่น วััสดุุก่อ่ สร้้างที่่มีี� การใช้้พลัังงานสะอาด (renewable energy) ในการผลิิต หรืือการนำำ�ของเหลืือใช้้ (waste) ระหว่่างกระบวนการผลิิตกัับมาใช้้ใหม่่ เพื่่�อลดการก่่อให้้เกิิดของเหลืือใช้้ในการผลิิต เช่่น เดีียวกัันกัับในระหว่่างกระบวนการก่่อสร้้าง เครื่่�องจัักร เครื่่�องมืือที่่�เลืือกใช้้ก็็มีีส่่วนสำำ�คััญ ในการช่่วยลดการปล่่อยคาร์์บอนเช่่นเดีียวกััน เทคโนโลยีีการก่่อสร้้างที่่�ใช้้ระบบไฟฟ้้าแทน ระบบน้ำำ��มัันเชื้้�อเพลิิง หรืือการใช้้เชื้้�อเพลิิงชีีวภาพในการผลิิตก็็ทำำ�ให้้ปริิมาณคาร์์บอนลดลง เช่่นเดีียวกััน
4. การยึึดหลัักการด้้านเศรษฐกิิจหมุุนเวีียน (circular economy principles)
นอกจากเทคโนโลยีีในการติิดตั้้�งที่่�เป็็นมิิตรกัับสิ่่�งแวดล้้อมการลดปริิมาณขยะที่่�เกิิดขึ้้�นใน โครงการหรืือในการก่่อสร้้าง ก็็ทำำ�ให้้ปริิมาณคาร์์บอนลดลงเช่่นกััน เนื่่�องจากทำำ�ให้้ค่่าใช้้จ่่าย และขั้้�นตอนในการดำำ�เนิินการต่่างๆ ลดลงการป้้องกัันการเกิิดของเหลืือใช้้ (waste prevention) เป็็นหััวใจในการลดการเกิิดของเหลืือใช้้ เช่่น โครงการก่่อสร้้างที่่มีี� การวางแผนที่่�ดีี การออกแบบ การประเมิิน การใช้้วััสดุุให้้มีีความแม่่นยำำ�เป็็นสิ่่�งที่่�ความสำำ�คััญ ทั้้�งนี้้�เพื่่�อลด การเกิิดของเหลืือใช้้ที่่�จะเกิิดขึ้้�นในโครงการ หรืือการใช้้สิินค้้าประเภท modular system สิินค้้าถอดประกอบได้้ จะมีีปริิมาณคาร์์บอนแฝงน้้อยกว่่าสิินค้้าวััสดุุก่่อสร้้างที่่�มีีการติิดตั้้ง� หน้้า งาน ถััดมาคืือการพิิจารณาการนำำ�วัสั ดุุก่อ่ สร้้างกลัับมาใช้้ใหม่่ (reuse of building component) โดยการใช้้ประโยชน์์จากวััสดุุก่่อสร้้างที่่ยั� ังคงมีีคุุณภาพให้้เกิิดประโยชน์์สููงสุุด และลำำ�ดัับต่่อ มาคืือการพิิจารณาการนำำ�วััสดุุก่่อสร้้างที่่�ใช้้งานเสร็็จแล้้วไปเข้้าสู่่�กระบวนการรีีไซเคิิล ซึ่่�งจะ เป็็นการช่่วยลดคาร์์บอนแฝงในอาคารได้้ตลอดทั้้�งวงจรชีีวิิตของอาคาร
การเลืือกใช้้ระบบปรัับอากาศ 3.3 ระบบไฟฟ้้าแสงสว่่างและอุุปกรณ์์ เครื่่อ� งใช้้ไฟฟ้้าประสิิทธิภิ าพสููง การออกแบบและเลืือกระบบปรัับอากาศเป็็นปััจจััยสำำ�คััญในการประหยััดพลัังงานของอาคาร ในการคำำ�นวณขนาดของเครื่่�องปรัับอากาศพิิจารณาจากปริิมาณความร้้อนที่่�มีีอยู่่�ภายในห้้อง ปริิมาตรห้้อง และผนัังภายนอกอาคารที่่�ได้้รัับความร้้อนจากรัังสีีดวงอาทิิตย์์ หรืือผนัังด้้าน ที่่ติ� ิดกัับห้้องทีี่่�มีีแหล่่งกำำ�เนิิดความร้้อน ห้้องที่่มีีปริ � ิมาตรมากมีีแหล่่งกำำ�เนิิดความร้้อนภายใน ห้้องมาก และมีีช่่องเปิิดกว้้างซึ่่ง� รัับความร้้อนจากภายนอกต้้องการเครื่่อ� งปรัับอากาศขนาดใหญ่่ กว่่าห้้องด้้านในอาคารและมีีแหล่่งกำำ�เนิิดความร้้อนน้้อย ในปััจจุุบัันเครื่่�องปรัับอากาศที่่�มีีขาย ตามท้้องตลาดมีีการพััฒนาประสิิทธิิภาพสููงกว่่าฉลากเบอร์์ 5 การพิิจารณาประสิิทธิิภาพของ เครื่่อ� งปรัับอากาศพิิจารณาจากค่่าประสิิทธิภิ าพการใช้้พลัังงานตามฤดููกาลของเครื่่อ� งปรัับอากาศ (seasonal energy efficiency ratio – SEER) หรืือค่่าประสิิทธิิภาพการประหยััดพลัังงาน ภายใต้้อุุณหภููมิิภายนอกคงที่่� (energy efficiency ratio – EER) ซึ่่�งคิิดจากอััตราส่่วนของ ปริิมาณทำำ�ความเย็็นซึ่่�งมีีหน่่วยเป็็นบีีทีียูู (BTU) ต่่อกำำ�ลัังไฟฟ้้าที่่�เครื่่�องปรััั�บอากาศใช้้ใน การทำำ�ความเย็็น มีีหน่่วยเป็็นวััตต์์ต่่อชั่่�วโมง เครื่่�องปรัับอากาศที่่�มีีประสิิทธิิภาพสููงจะมีีค่่า สำำ�หรัับโครงการขนาดใหญ่่ที่่�มีีอาคารหลายหลััง การใช้้ระบบทำำ�ความเย็็นส่่วนกลางและ ส่่งท่่อน้ำำ��เย็็นเพื่่�อทำำ�ความเย็็น ให้้อาคารแต่่ละหลััง (district cooling system) สามารถ ช่่วยประหยััดพลัังงานได้้มากกว่่าการใช้้เครื่่�องปรัับอากาศแยกแต่่ละอาคาร บางโครงการมีี การออกแบบระบบ combined heat and power (CHP) ร่่วมกัับระบบทำำ�ความเย็็น โดย เทคโนโลยีีนี้้� สามารถนำำ�ความร้้อนที่่�ไม่่ได้้ใช้้ (waste heat) จากการะบวนการผลิิตพลัังงาน กลัับมาใช้้ผลิิตพลัังงานหรืือในระบบน้ำำ��ร้้อนใหม่่ ซึ่่�งสามารถประหยััดพลัังงานและลดการ สููญเสีียพลัังงานความร้้อนได้้
ภาพที่ 3.10 ระบบท�ำความเย็นส่วนกลางเพื่อส่งท่อน�้ำเย็นเพื่อใช้ในการท�ำความเย็นให้อาคารแต่ละหลัง (district cooling) ที่มา: https://www.alfalaval.co.th/industries/hvac/district-cooling/what-is-district-cooling-system/
68
69
ในอนาคตจำำ�นวนความต้้องการและความหลากหลายของอุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าภายในบ้้าน มีีแนวโน้้มสููงขึ้้�นซึ่่�งส่่งผลให้้สััดส่่วนการใช้้พลัังงานจากอุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าอาจมีีสััดส่่วน ใกล้้เคีียงกัับการใช้้พลัังงานในระบบปรัับอากาศ Gandhi และ Brager [18] ได้้ทำำ�การศึึกษา สััดส่่วนปริิมาณการใช้้ไฟฟ้้าของอุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้า (plug load) ซึ่่�งคิิดเป็็นร้้อยละ 30 ของพลัังงานไฟฟ้้าทั้้�งหมดของบ้้านและการศึึกษานี้้�ได้้คาดการณ์์ว่่าสััดส่่วนพลัังงานไฟฟ้้าจาก การใช้้อุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าจะเพิ่่�มขึ้้�นเป็็นร้้อยละ 50 ในปีี ค.ศ. 2030 เนื่่�องจากจำำ�นวน อุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าภายในบ้้านมีีจำำ�นวนมากขึ้้�น ดัังนั้้�นเพื่่�อส่่งเสริิมให้้เกิิดการประหยััด พลัังงานในอาคาร เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าบางประเภท เช่่น คอมพิิวเตอร์์ เครื่่�องเล่่นดีีวีีดีี เครื่่�องเสีียง ไมโครเวฟที่่มีี� การเสีียบปลั๊๊�กทิ้้�งไว้้ในขณะที่่�อุุปกรณ์์ดัังกล่่าวไม่่มีีการใช้้งาน ยัังคงมีีกระแส ไฟฟ้้าไหลเข้้าสู่่�ตััวอุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้า ซึ่่�งการสููญเสีียพลัังงานจากการเสีียบปลั๊๊�กทิ้้�งไว้้คิิด เป็็นร้้อยละ 3-12 ของพลัังงานไฟฟ้้าทั้้�งหมดของอาคาร [19] ผู้้�ออกแบบหรืือเจ้้าของอาคาร ควรตระหนัักถึึง การเลืือกใช้้อุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าที่่�มีีประสิิทธิิภาพและส่่งเสริิมการปรัับ เปลี่่�ยนพฤติิกรรมการใช้้งานอุุปกรณ์์เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าเหล่่านั้้�นด้้วย ภาพที่่� 3.11 หลัักการทำำ�งานของระบบ Combined Heat and Power (CHP) ร่่วมกัับระบบทำำ�ความเย็็นของอาคาร Ref: https://www.kts-eng.com/en/solutions/trigeneration/
การออกแบบระบบแสงประดิิษฐ์์ควรพิิจารณาร่่วมกัับการใช้้ประโยชน์์จากแสงธรรมชาติิ ปััจจุุบัันหลอดไฟ LED เป็็นทางเลืือก อัันดัับหนึ่่�งที่่ถู� ูกใช้้ในอาคารประหยััดพลัังงานเนื่่�องจาก หลอด LED มีีอายุุการใช้้งานที่่�ยาวนานกว่่า และให้้คุุณภาพแสงที่่�ดีีกว่่าหลอดไฟประเภทอื่่�นๆ การใช้้หลอด LED สามารถช่่วยประหยััดพลัังงานได้้ 50 ถึึง 70 เปอร์์เซ็็นต์์ [17] นอกจาก การใช้้หลอด LED แล้้ว การแบ่่งโซนการใช้้งานดวงโคมสามารถช่่วยประหยััดพลัังงานได้้ ผู้้�ออกแบบสามารถแบ่่งพื้้�นที่่�การวางผัังสายไฟและดวงโคมตามโซนการใช้้งานหรืือประเภท กิิจกรรม สำำ�หรัับการออกแบบดวงโคมสำำ�หรัับโซนพื้้�นที่่�ใช้้งานที่่�ติิดภายนอก ผู้้�ออกแบบ ควรพิิจารณาปริิมาณแสงธรรมชาติิซึ่่�งคุุณภาพแสงมีีการเปลี่่�ยนแปลงตลอดทั้้�งวััน ซึ่่�งอาจ ส่่งผลให้้คุุณภาพแสงในบริิเวณดัังกล่่าวมีีค่่าสููงหรืือต่ำำ��เกิินไป ดัังนั้้�นการตรวจวััดสภาพแสง ในพื้้�นที่่�หรืือการจำำ�ลองสภาพแสงเป็็นสิ่่�งจำำ�เป็็นเพื่่�อช่่วยในการออกแบบอาคาร ได้้นำำ�ระบบ เซนเซอร์์เพื่่�อควบคุุมการปรัับระดัับความสว่่างของหลอดไฟมาใช้้เพื่่�อประหยััดพลัังงาน กรณีี ที่่�ไม่่มีีคนอยู่่�ในพื้้�นที่่� ระบบจะปรัับลดความสว่่างลงและเมื่่�อเซนเซอร์์ตรวจจัับการเคลื่่�อนไหว หรืือความร้้อนของคนได้้จะสั่่�งข้้อมููลให้้ระบบปรัับเพิ่่�มความสว่่างขึ้้�น 70
การใช้้พลัั ง งาน 3.4 หมุุนเวีียนในอาคาร การใช้้พลัังงงานหมุุนเวีียนอาคารเป็็นหลัักการสำำ�คััญที่่�ทำำ�ให้้อาคาร บรรลุุการใช้้พลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์และบรรลุุความเป็็นกลางทาง คาร์์บอน อาคารที่่� ใช้้พลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์จะต้้องมีีการผลิิต หรืือ นำำ�พลัังงานหมุุนเวีียนมาใช้้ในปริิมาณเท่่ากัับพลัังงานที่่�อาคาร ใช้้พลัังงานหมุุนเวีียน คืือ พลัังงานมีีแหล่่งกำำ�เนิิดขึ้้�นจากธรรมชาติิ ที่่�สามารถใช้้แล้้วไม่่มีีวัันหมด ได้้แก่่ พลัังงานความร้้อนจาก ดวงอาทิิตย์์ พลัังงานความร้้อนจากใต้้พิิภพ พลัังงานลมจาก กัังหัันลม พลัังงานน้ำำ�� และพลัังงานชีีวมวล อาคารที่่�มีีการใช้้ พลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์จำำ�เป็็นต้้องมีีการระบุุว่่าแหล่่งพลัังงาน หมุุนเวีียนที่่� ใช้้มาจากแหล่่งไหน ซึ่่�งโครงการสามารถผลิิตพลัังงาน ขึ้้�นเอง ในขอบเขตของพื้้�นที่่�โครงการเองโดยการติิดตั้้�งแผงโซลาร์์ เซลล์์เพื่่�อผลิิตพลัังงานไฟฟ้้าบนตััวอาคารหรืือติิดตั้้�งแผงโซลาร์์ เซลล์์ บริิเวณพื้้�นที่่�โดยรอบอาคาร ทั้้�งนี้้�โครงการสามารถจััดซื้้�อ วััตถุุดิิบ เช่่น ไม้้ ชีีวมวล หรืือเอทานอลเพื่่�อผลิิตพลัังงานขึ้้�นใช้้ ในพื้้�นที่่�ตั้้�ง ของโครงการเองได้้ หรืือสามารถจััดซื้้�อพลัังงานไฟฟ้้า จากบริิษััทจำำ�หน่่ายไฟฟ้้าที่่�ผลิิตจากพลัังงานหมุุนเวีียนในพื้้�นที่่� ชุุมชนรอบข้้าง ได้้เช่่นกััน 71
การออกแบบและติิดตั้้ง� แผงโซลาร์์เซลล์์เพื่่�อผลิิตพลัังงานใช้้ในพื้้�นที่่โ� ครงการให้้เกิิด ประสิิทธิภิ าพสููงสุุดควรพิิจารณาปััจจััย 4 ด้้าน ได้้แก่่ 1. พื้้�นที่่ติ� ดตั้้ ิ ง� ต้้องไม่่มีีการบัังเงาจากอาคารข้้างเคีียง ต้้นไม้้ หรืือองค์์ประกอบ ส่่วนใดส่่วนหนึ่่ง� ของอาคาร 2. ความลาดชัันของพื้้�นที่่ที่� ติ่� ดตั้้ ิ ง� หากพื้้�นที่่ติ� ดตั้้ ิ ง� มีีความลาดชัันมาก จะทำำ�ให้้แผงโซลาร์์เซลล์์รับั ปริิมาณรัังสีีดวงอาทิิตย์ไ์ ด้้น้อ้ ย 3. สภาพอากาศและท้้องฟ้้า ในวัันที่่ฝ� นตกหรืือสภาพท้้องฟ้้ามีีเมฆมากจะทำำ�ให้้ แผงโซลาร์์เซลล์์ผลิติ พลัังงานไฟฟ้้าได้้ค่อ่ นข้้างต่ำำ�� 4. ขนาดพื้้�นที่่ติ� ดตั้้ ิ ง� ควรพิิจารณาถึึงความเหมาะสมระหว่่างปริิมาณพลัังงาน ไฟฟ้้าที่่ผลิ � ติ ได้้และค่่าใช้้จ่า่ ยในการติิดตั้้ง� ระบบ อาคารที่่มีีพื้้ � น� ที่่ติ� ดตั้้ ิ ง� แผง โซลาร์์เซลล์์ในจำำ�นวนจำำ�กัดั อาจไม่่คุ้้�มค่่าต่่อการลงทุุนติิดตั้้ง� ระบบ
ภาพที่ 3.12 อุปกรณ์และการติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าใช้ในอาคาร ที่มา: https://www.gogreensolar.com/pages/solar-components-101
ในปััจจุุบันั พลัังงานจากแสงอาทิิตย์เ์ ป็็นแหล่่งพลัังงานสำำ�คัญ ั ที่่ใ� ช้้ผลิติ พลัังงานไฟฟ้้าเพื่่�อรองรัับ กิิจกรรมต่่างๆ ของเมืือง รวมทั้้�งการใช้้พลัังงานภายในอาคาร ความต้้องการพลัังงานที่่�ผลิิต จากแผงโซลาร์์เซลล์์มีีแนวโน้้มการเติิบโตมากขึ้้�นเรื่่�อยๆ เมื่่�อเทีียบกัับเทคโนโลยีีพลัังงาน หมุุนเวีียนรููปแบบอื่่�นๆ เนื่่�องจากการผลิิตให้้พลัังงานปริิมาณมากและเทคโนโลยีีราคาถููกลง ทำำ�ให้้เจ้้าของบ้้านพัักอาศััยจััดซื้้�อและติิดตั้้�งเองได้้ โครงการที่่�อยู่่�อาศััยคาร์์บอนต่ำำ��ในหลาย ประเทศ โครงการได้้มีีการติิดตั้้ง� แผงโซลาร์์เซลล์์ บนหลัังคาของบ้้านทุุกหลัังเพื่่�อผลิิตพลัังงาน ไฟฟ้้าใช้้แทนพลัังงานจากเชื้้�อเพลิิงฟอสซิิล และมีีระบบการเชื่่�อมต่่อกัับสมาร์์ทกริิด (smart grid) เพื่่�อให้้เจ้้าของบ้้านสามารถขายพลัังงานไฟฟ้้าที่่ผลิ � ิตได้้เกิินจากปริิมาณที่่�ใช้้ให้้กัับบริิษััท จำำ�หน่่ายไฟฟ้้าในพื้้�นที่่�ใกล้้เคีียง
72
ในปััจจุุบันั การลดการปล่่อยคาร์์บอนในอาคารวิิธีกี ารหนึ่่ง� ที่่เ� ป็็นที่่นิ� ยิ ม ได้้แก่่ การขอการ รัับรองมาตรฐานอาคารประหยััด พลัังงานและรัักษ์์สิ่่ง� แวดล้้อม ซึ่่ง� มาตรฐานทีี่่นิ� ยิ มใช้้กันั แพร่่หลาย ยกตััวอย่่าง เช่่น
1. มาตรฐาน LEED (Leadership in Energy and Environmental Design)
ของประเทศสหรััฐอเมริิกา โดยสถาบัันอาคารเขีียวของสหรััฐอเมริิกา (The U.S. Green Building Council) ซึ่่�งเป็็นมาตรฐานอาคารที่่�ได้้รัับการยอมรัับ และเป็็นที่่นิ� ิยมมากที่่�สุุดใน ปััจจุุบััน โดยเกณฑ์์สำำ�หรัับมาตรฐานอาคาร จะพิิจารณา 5 หััวข้้อสำำ�คััญๆ ได้้แก่่ 1) การ เลืือกที่่�ตั้้�ง และการจััดการพื้้�นที่่�ตั้้�งของโครงการ 2) การบริิหารจััดการน้ำำ�� 3) การประหยััด พลัังงาน 4) การใช้้พลัังงานสะอาด และ 5) วััสดุุที่่�ใช้้ในการพััฒนาอาคารที่่�มีีการส่่งเสริิม การใช้้สิินค้้าที่่มีี� การแสดงฉลากแสดงผลกระทบต่่อสิ่่�งแวดล้้อม (Environmental Product Declaration - EPD), Life Cycle Assessment (LCA), การใช้้สิินค้้าซ้ำำ�� (reuse) สิินค้้าที่่� มีีส่่วนผสมของวััสดุุรีีไซเคิิล และสิินค้้าที่่ผลิ � ติ ใกล้้กัับสถานที่่�ก่่อสร้้าง และคุุณภาพอากาศใน อาคารสำำ�หรัับผู้้�ใช้้งานอาคาร
73
2. มาตรฐาน TREES (Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability)
โดยสถาบัันอาคารเขีียวไทย (Thai Green Building Institute) ซึ่่ง� จะพิิจารณาใน 7 หมวดหลััก ได้้แก่่ การบริิหารจััดการอาคาร ผัังบริิเวณและภููมิิทััศน์์ การประหยััดน้ำำ�� พลัังงานและ บรรยากาศ วััสดุุและทรััพยากรในการก่่อสร้้าง คุุณภาพของสภาวะแวดล้้อมภายในอาคาร และการป้้องกัันผลกระทบต่่อสิ่่�งแวดล้้อม ทั้้�งนี้้�หัวั ข้้อที่่เ� กี่่ย� วข้้องการลดการปลดปล่่อยคาร์์บอน เช่่น การประหยััดน้ำ�ำ� และพลัังงาน การเพิ่่�มประสิิทธิภิ าพการประหยััดพลัังงานด้้วยการติิดตั้้ง� โซลาร์์เซลล์์ การส่่งเสริิมการใช้้ซ้ำำ�� การส่่งเสริิมการใช้้วััสดุุรีีไซเคิิล วััสดุุในประเทศ และ การใช้้สิินค้้าที่่�มีีฉลากสิ่่�งแวดล้้อมประเภทต่่างๆ เช่่น ฉลากเขีียว ฉลากคาร์์บอน เป็็นต้้น
3. มาตรฐาน EDGE (Excellence in Design for Greater Efficiencies)
พััฒนาโดย International Finance Corporation (IFC) โดยมีีการพิิจารณาใน 3 ด้้าน ของอาคาร ได้้แก่่ 1) การใช้้พลัังงานซึ่่�งต้้องมีีการประหยััดอย่่างน้้อย 20% 2) การใช้้น้ำำ�� และ 3) การลดลงของพลัังงานสะสม (embodied energy) ในการเลืือกวััสดุุก่่อสร้้าง
4. มาตรฐาน DGNB (Deutsche Gesellschaft für Nachhaltiges Bauen)
โดยหน่่วยงานสภาอาคารยั่่�งยืืนของเยอรมััน (German Sustainable Building Council) ของ ประเทศเยอรมนีี โดยการคำำ�นึึงถึึงประโยชน์์ของพื้้�นที่่�โซนเมืืองที่่�มีีอยู่่�อย่่างจำำ�กััด สิ่่�งแวดล้้อม เศรษฐกิิจสัังคม วััฒนธรรมและกระบวนการจััดการอาคารด้้วยเทคโนโลยีี
5. เกณฑ์์มาตรฐานอาคารด้้านพลัังงาน (Building Energy Code - BEC)
ตามประกาศของกรมพลัังงานทดแทนและอนุุรัักษ์์พลัังงาน กระทรวงพลัังงาน สำำ�หรัับอาคาร ที่่�จะก่่อสร้้างใหม่่หรืือมีีการดััดแปลง ให้้มีีการออกแบบให้้เป็็นไปตามเกณฑ์์มาตรฐาน ได้้แก่่ ระบบกรอบอาคาร (OTTV, RTTV), ระบบไฟฟ้้าแสงสว่่าง (LPD), ระบบปรัับอากาศ, ระบบ ผลิิตน้ำ�ร้ ำ� ้อน
74
REFERENCES
[1] International Energy Agency (IEA). (2022). Roadmap for Energy-Efficient Buildings and Construction in ASEAN (p. 171). International Energy Agency (IEA). Available at https://www.iea.org/reports/roadmap-for-energy-efficient-buildings-and-construction-in-the-association-of-southeast-asian-nations/executive-summary [2] Intergovernmental Panel on Climate Change. (2006). IPCC Guidelines for national greenhouse gas inventories. Intergovernmental Panel on Climate Change. Available at https://www.ipcc-nggip.iges.or.jp/ public/2006gl/ [3] UCLA Energy Design Tools Group. (n.d). Sources of heat gain in a house include solar gains, infiltration, conduction through walls and roof, occupants, and internal equipment. Office of Energy Efficiency & Renewable Energy. Available at https://basc.pnnl.gov/images/sources-heat-gain-house-include-solar-gainsinfiltration-conduction-through-walls-and-roof [4] Bhatia, A. (2020). HVAC Made Easy: A Guide to Heating & Cooling Load Estimation. https://pdhonline. com/. [5] Australian Government. Orientation. Available at https://www.yourhome.gov.au/passive-design/orientation [6] Mathur, A. (2015, August 4). Importance of Cross Ventilation. Circular & Sustainable Earth. Available at https://indiansustainability.wordpress.com/2015/08/04/importance-of-cross-ventilation/ [7] Ignatius, M., Wong, N. H., & Jusuf, S. K. (2015). Urban microclimate analysis with consideration of local ambient temperature, external heat gain, urban ventilation, and outdoor thermal comfort in the tropics. Sustainable Cities and Society, 19, 121–135. Available at https://doi.org/10.1016/j.scs.2015.07.016 [8] Fraser, J. (n.d.). AD-APT: How will buildings adapt to the new realities of home? [Architectural Design]. Woods Bagot. Accessed June 11 2023 from https://www.woodsbagot.com/journal/ad-apt-how-willbuildings-adapt-to-the-new-realities-of-home-as/ [9] Michler, A. (2010, October 18). Nano Rescue House Provides Flexible Emergency Housing. INHABITAT. Available at https://inhabitat.com/nano-rescue-house-provides-flexible-emergency-housing/new-2-82/ [10] Esau, R., Rempher, A., & Weir, M. (2023, March 27). Embodied Carbon 101: Building Materials. AARMI. Available at https://rmi.org/embodied-carbon-101/ [11] Tansley, E. (2020, May 19). How To Reduce A Building’s Whole-Life Carbon. ThisWeekinFM. Available at https://www.twinfm.com/article/how-to-reduce-a-buildings-whole-life-carbon [12] Labbe S. (2010, October 11-14). Influence of Material Use in Green Building Policies (A Convenient Truth) [Presentation]. UNECE Timber Committee Market Discussions and Policy Forum. [13] The Construction Material Pyramid. (n.d). Available at https://www.materialepyramiden.dk/ [14] Huntzinger, D. N., & Eatmon, T.D. (2009). A life-cycle assessment of Portland cement manufacturing: comparing the traditional process with alternative technologies. Journal of Cleaner Production, 17, 668–675. https://doi.org/10.1016/j.jclepro.2008.04.007 [15] https://www.mtec.or.th/post-knowledges/56579/ [16] Stewart, D. L., Daley, J. C., & Stephens, R. L. (Eds.). (2000). The Importance of Recycling to the Environmental Profile of Metal Products. Pittsburgh: The Mineral, Metals & Materials Society. [17] Dilouie, C. (2019, November 25). Guidance for Net-Zero K-12 and Office Buildings. Lighting Control Association. Lighting Controls Association. Available at http://lightingcontrolsassociation.org/2019/11/25/ guidance-for-net-zero-k-12-and-office-buildings/ [18] Gandhi, P., & Brager, G. S. (2016). Commercial office plug load energy consumption trends and the role of occupant behavior. Energy and Buildings, 125, 1–8. Available at https://doi.org/10.1016/j.en build.2016.04.057 [19] Meier, P. J. (2002). Life-cycle assessment of electricity generation systems and applications for climate change policy analysis. The University of Wisconsin-Madison.
75
4
CASE STUDIES
4.1
PTT STATION PHUTTHAMONTHON SAI 3 ข้้อมููลโครงการ เจ้้าของโครงการ : PTT Oil and Retail Business PCL ผู้้�ออกแบบ : SCG Building & Living Care Consulting ผู้้�ก่่อสร้้าง : CPAC Construction Solution แนวความคิิดในการออกแบบ : Smart & Green แรงบัันดาลใจและแนวความคิิดในการออกแบบหลััก มาจาก จุุดมุ่่�งหมายและความตั้้�งใจในการสร้้างโครงการ สถานีีบริิการน้ำำ��มััน ต้้นแบบ ที่่�จะสื่่�อถึึงโครงการที่่�เป็็นมิิตรต่่อผู้้� ใช้้พื้้�นที่่�ทุุกคน ระบบการ ก่่อสร้้างอาคารที่่มี� คุี ณ ุ ภาพ ใส่่ใจสิ่่�งแวดล้้อมทั้้ง� ภายในโครงการรวมถึึง บริิบทแวดล้้อม และชุุมชนโดยรอบโครงการ อีีกทั้้ง� มีีแนวความคิิดหลััก เพื่่�อช่่วยในการลดการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ ในกระบวนการ ต่่างๆ ในการดำำ�เนิินโครงการให้้ได้้มากที่่สุ� ดุ (low carbon emission) ตามแนวทางของ Pathway to Net Zero ประกอบกัับการสร้้างสรรค์์ สุุนทรีียภาพทางงานสถาปััตยกรรม เชิิงสััญลัักษณ์์ที่่�โดดเด่่น มีี เอกลัักษณ์์ที่่�ช่่วยสามารถดึึงดููดความสนใจ สื่่�อสาร และสร้้างความ ตระหนัักรู้้�ของผู้้� ใช้้โครงการถึึงความสำำ�คััญในการอยู่่�รวมกัันอย่่าง สมดุุลระหว่่างการใช้้ชีีวิิตของมนุุษ ย์์ ธรรมชาติิ และเทคโนโลยีี สมััยใหม่่ ได้้โดยพึ่่�งพาซึ่่�งกัันและกัันอย่่างยั่่�งยืืน
76
77
GREEN AREA
พื้้�นที่่�สีีเขีียวมีีส่่วนสำำ�คััญในโครงการในหลายๆ ด้้าน เช่่น พื้้�นที่่�ที่่�เป็็นสนามหญ้้า ซึ่่�งเป็็นพื้้�นที่่� น้ำำ��ซึึมผ่่าน (biotope area) สามารถช่่วยลดความร้้อนสะสมในโครงการ ส่่งเสริิมระบบนิิเวศ และยัังเป็็นพื่่�นที่่�ระบายน้ำำ��ฝนออกจากพื้้�นที่่�โครงการ ไม่่ให้้เกิิดการท่่วมขัังอีีกด้้วย โดยพื้้�นที่่� สีีเขีียวที่่ไ� ด้้กล่่าวมานั้้�น จะรวมถึึงการเลืือกพัันธ์ุุ�ไม้้ต่า่ งๆ เช่่น ประเภทไม้้ยืนื ต้้น (ควรมีีขนาด เส้้นผ่่านศููนย์์กลางของทรงพุ่่�มเมื่่�อโตเต็็มที่่�ไม่่น้้อยกว่่า 4.5 เมตร หรืือมีีความสููงมากกว่่า 6 เมตร) กำำ�หนดตำำ�แหน่่งการปลููกในทิิศใต้้ ทิิศตะวัันตก และทิิศตะวัันออก โดยอััตราปลููก ไม้้ยืืนต้้นต่่อพื้้�นที่่�ที่่�เหมาะสม (1-2 ต้้น/100 ตร.ม.) โดยสามารถให้้ร่่มเงา ลดการสะสม ความร้้อนบนพื้้�นที่่�ดาดแข็็ง และลดการดููดซัับความร้้อนบนผนัังอาคารในโครงการเพื่่�อลดการ ใช้้พลัังงานได้้ โดยพัันธ์ุุ�ไม้้ที่่�เลืือกใช้้ควรเป็็นพัันธุ์์�ไม้้ท้้องถิ่่�น ได้้แก่่ แคนา สะเดา กระบก ปีีบ ชงโค ฯลฯ เพื่่�อให้้มีีความทนทานต่่อสภาพแวดล้้อมและศััตรููพืืช ตลอดจนดููแลรัักษาและหา ทดแทนได้้ง่่าย
ภาพที่ 4.1 ตัวอย่าง Landscape ในโครงการ PTT Station Phutthamonthon Sai 3 ที่มา: SCG Building & Living Care Consulting
การออกแบบและวางแผนการดำำ�เนิินงานโครงการ ได้้ดำำ�เนิินการภายใต้้แนวความคิิดในการ ออกแบบว่่าด้้วยการออกแบบเพื่่�อส่่งเสริิมสุุขภาวะที่่ดีี� (well-being design) การใช้้งานของ คนทุุกกลุ่่�มร่่วมกัันได้้อย่่างลงตััวและมีีความเสมอภาคในการใช้้งาน (universal design) โดย สาระความสำำ�คััญของการออกแบบโครงการ คืือการนำำ�แนวความคิิดในการออกแบบเพื่่�อความ ยั่่�งยืืน (sustainable design) มาใช้้ในการออกแบบ ซึ่่�งมีีรายละเอีียดที่่�น่่าสนใจ ได้้แก่่ MASTER PLANNING: SITE LANDSCAPE AND SURROUNDING
การออกแบบวางผัังอาคารและบริิบทให้้ส่่งเสริิม และเหมาะสมกลมกลืืนกัับสภาพแวดล้้อม โดยการพิิจารณาความสััมพัันธ์์ระหว่่าง 1) ตำำ�แหน่่งและพื้้�นที่่�ฐานอาคาร (building footprint) 2) พื้้�นที่่�เปิิดโล่่งเชิิงนิิเวศ (ecological open space) และ 3) พื้้�นที่่�สีีเขีียว (green area) ในโครงการให้้มีีสััดส่่วนและตำำ�แหน่่งที่่�เหมาะสม ซึ่่�งสามารถช่่วยลดโอกาสการเกิิด ปรากฏการณ์์เกาะความร้้อนจากพื้้�นที่่�ดาดแข็็ง (พื้้�นที่่�ที่่�เป็็นทางเท้้า ที่่�จอดรถ ที่่�เป็็นพื้้�น ลาดยาง พื้้�นอิิฐ หรืือพื้้�นคอนกรีีต เป็็นต้้น) ในโครงการ หรืือ heat island ช่่วยส่่งเสริิม บรรยากาศ และส่่งเสริิมคุุณภาพอารมณ์์และจิิตใจให้้ดีีขึ้้�นได้้ (healing envoronment) รวมทั้้�งส่่งเสริิมการใช้้พลัังงานในอาคารที่่�มีีประสิิทธิิภาพ (energy efficeint) ได้้อีีกด้้วย ซึ่่�งการออกแบบผัังบริิเวณขั้้�นต้้นนี้้� ถืือเป็็นพื้้�นฐานการออกแบบที่่�มีีความสำำ�คััญอย่่างมาก เพราะจะส่่งผลต่่อการจััดการบริิหารโครงการทุุกๆ ด้้านในระยะยาว 78
ภาพที่ 4.2 PTT Station Phutthamonthon Sai 3 ที่มา: SCG Building & Living Care Consulting
79
BUILDING DESIGN
MATERIALS AND EQUIPMENT
มีีการออกแบบสถาปััตยกรรมอาคารให้้สอดคล้้องกัับสภาพแวดล้้อมและภููมิิอากาศท้้องถิ่่�น เพื่่�อส่่งเสริิมการใช้้พลัังงานธรรมชาติิช่่วยในการสร้้างสมดุุลระหว่่างอาคารและบริิบทโดย รอบ (passive design) เช่่น การออกแบบให้้อาคารมีีการใช้้แสงธรรมชาติิได้้อย่่างเหมาะสม การออกแบบเปลืือกอาคาร และช่่องแสงให้้สััมพัันธ์์กัับทิิศทางแดดลม ทำำ�ให้้ช่่วยลดการใช้้ พลัังงานไฟฟ้้าในอาคารได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ประกอบกัับการนำำ�นวััตกรรมเครื่่�องกล สมััยใหม่่ (active design) มาช่่วยส่่งเสริิมการหมุุนเวีียนพลัังงานธรรมชาติิ มาใช้้เป็็น พลัังงานทดแทน ยกตััวอย่่างเช่่น มีีการติิดตั้้ง� ระบบโซลาร์์เซลล์์บนพื้้�นที่่ห� ลัังคาอาคารประกอบ โดยรอบ เพื่่�อนำำ�มาใช้้เป็็นพลัังงานไฟฟ้้าในอาคาร การวิิเคราะห์์พลัังงานอาคารด้้วยการทำำ� จำำ�ลองสภาพอาคาร (simulation) การจำำ�ลองการยกตััวของความร้้อนในอาคาร เพื่่�อการใช้้ เป็็นข้้อมููลสำำ�คััญประกอบการออกแบบอาคารให้้เหมาะสมและมีีประสิิทธิิภาพที่่สุ� ุด
วััสดุุที่่�ใช้้ในโครงการ เนื่่�องจากเป็็นสถานีีบริิการน้ำำ��มััน จึึงต้้องคำำ�นึึงถึึงข้้อกำำ�หนด และ ปฏิิบััติิตามมาตรฐานด้้านความปลอดภััยเป็็นสำำ�คััญ แต่่ได้้เพิ่่�มแนวความคิิดในการเลืือกใช้้ วััสดุุและอุุปกรณ์์ต่่างๆ ภายในแนวความคิิดการคััดเลืือกสิินค้้า หรืือ ผลิิตภััณฑ์์ที่่�เป็็นมิิตรกัับ สิ่่�งแวดล้้อม (green materials) ซึ่่�งหััวใจสำำ�คััญของสิินค้้าในกลุ่่�มนี้้� คืือ เป็็นวััสดุุที่่�ปลอดภััย ต่่อผู้้�ใช้้งาน ประหยััดพลัังงาน ไม่่มีีสารพิิษตกค้้าง เกิิดมลพิิษในกระบวนการผลิิตและขนส่่ง น้้อยที่่�สุุด รวมไปถึึงเป็็นวััสดุุที่่�สามารถหาได้้ในพื้้�นที่่� หามาทดแทนได้้ง่่าย มีีการเลืือกใช้้วััสดุุ ที่่�ได้้รัับการรัับรองมาตรฐาน ฉลากเขีียว หรืือฉลากคาร์์บอนเพื่่�อส่่งเสริิมการใช้้วััสดุุในอาคาร ที่่�มีีผลกระทบต่่อสิ่่�งแวดล้้อมน้้อยที่่สุ� ุด การใช้้สุุขภััณฑ์์และอุุปกรณ์์ห้้องน้ำำ��เป็็นรุ่่�นประหยััด การใช้้น้ำำ�� เลืือกก๊๊อกน้ำำ��ที่่�มีีการควบคุุมอััตราการไหลของน้ำำ��อยู่่�ในเกณฑ์์ที่่�มาตรฐานกำำ�หนด เช่่น การเลืือกติิดตั้้�งก๊๊อกน้ำำ�� เปิิดปิดอั ิ ัตโนมััติิที่่�มีีอัตั ราการไหลผ่่านก๊๊อกน้ำำ��ไม่่เกิิน 5.0 ลิิตร ต่่อนาทีี การเลืือกวััสดุุที่่�ไม่่ก่่อมลพิิษ/วััสดุุที่่�มีีสารระเหยต่ำำ�� (low-VOC) สีีสำำ�หรัับทาภายใน มีีการเลืือกใช้้สีีและวััสดุุเคลืือบผิิวภายในอาคารที่่�ได้้รัับรองฉลากเขีียว หรืือต้้องมีีปริิมาณค่่า สารอิินทรีีย์์ระเหยง่่ายที่่�ไม่่เป็็นพิิษไม่่เกิินเกณฑ์์ตามมาตรฐานอ้้างอิิง Green seal standard GS-11 paints ผลิิตภััณฑ์์จากไม้้หรืือทดแทนไม้้ ไม้้ที่่�ใช้้ในการตกแต่่ง เช่่น ไม้้อััด MDF ตลอดจนเลืือกใช้้ไม้้ที่่�ไม่่มีีส่่วนผสมของยููเรีีย-ฟอร์์มาดีีไฮด์์ (urea-formaldehyde resins) ในเนื้้�อวััสดุุ หรืือใช้้วััสดุุประสานระดัับ E0(E-zero) [1] CONSTRUCTION
ภาพที่ 4.3 สถานีจ่ายน�้ำมันรูปวงกลมแห่งแรกในประเทศไทย ที่มา: SCG Building & Living Care Consulting
แนวความคิิดในการออกแบบรููปทรงอาคารหลัักของโครงการเป็็นเส้้นโค้้ง บรรจบกัันเป็็นวงกลม สื่่�อถึึงความเป็็นมิิตร การเกี่่�ยวเนื่่�องกััน มีีความสััมพัันธ์์ที่่�ต่่อเนื่่�องเชื่่�อมต่่อกััน พึ่่�งพากััน อย่่างไม่่มีีที่่�สิ้้�นสุุด โดยทั้้�งมนุุษย์์ อาคาร เทคโนโลยีี และสิ่่�งแวดล้้อม สามารถอยู่่�ร่่วมกััน ได้้อย่่างมั่่�นคงและยั่่�งยืืนโดยมีีการออกแบบให้้มีีต้้นไม้้ยืืนต้้นขนาดใหญ่่ซึ่่�งเป็็นตััวแทนของ ธรรมชาติิ (natural iconic) อยู่่�ใจกลางพื้้�นที่่�เกาะจ่่ายน้ำำ��มััน โดยมีีเส้้นทางสััญจรวนอยู่่� โดยรอบ - หมายถึึงทุุกสิ่่�งบนโลก ล้้วนมีีธรรมชาติิเป็็นจุุดเริ่่�มต้้น และเป็็นศููนย์์กลางของ ทุุกสิ่่�งบนโลกใบนี้้� สื่่�อถึึงการเปรีียบเทีียบเชิิงการตระหนัักรู้้�ในบริิบทของสถานที่่� (sense of place) เช่่น ลัักษณะทางสััญจรที่่�เป็็นวงกลม วงเวีียนต่่างๆ โดยส่่วนใหญ่่จะเป็็นที่่�ตั้้�งของ สิ่่�งที่่�ถููกให้้คุุณค่่า หรืือยกย่่องเสมอๆ จนทำำ�ให้้โครงการนี้้�กลายเป็็น “สถานีีจ่่ายน้ำำ��มััน รููปวงกลมแห่่งแรกในประเทศไทย” 80
ใช้้ระบบการก่่อสร้้างภายใต้้แนวความคิิด ระบบโครงการก่่อสร้้างสีีเขีียว (green construction solution) ร่่วมกัับการใช้้โปรแกรมคอมพิิวเตอร์์เพื่่�อควบคุุมกระบวนการทำำ�งานทั้้�งหมด (Building Information Modeling - BIM) ทำำ�ให้้สามารถลดขั้้�นตอน ลดกระบวนการ และ จำำ�นวนคนงาน รวมถึึงการควบคุุมปริิมาณมลพิิษต่่างๆ เช่่น เสีียงดััง กลิ่่�นเหม็็น น้ำำ��เสีีย และ ฝุ่่�นละอองที่่�เกิิดจากงานก่่อสร้้าง โดยขอยกตััวอย่่างเทคโนโลยีีอื่่�นๆ ที่่�ใช้้ในโครงการเพื่่�อเป็็น กรณีีศึึกษาดัังนี้้�
1. 3D Printing
โดยใช้้นวััตกรรมการผลิิตและการก่่อสร้้างรููปแบบใหม่่ การผลิิตชิ้้�นงานจากปููนซิิเมนต์์ ประเภท hybrid cement (ลดการปล่่อย CO2) โดยใช้้ระบบคอมพิิวเตอร์์เป็็นตััวควบคุุม เครื่่�อง 3D printer สามารถตอบโจทย์์งานออกแบบที่่�มีีรูปท ู รงเอกลัักษณ์์เฉพาะตััว ทำำ�ให้้ ผู้้�ออกแบบสามารถสร้้างสรรค์์งานได้้หลากหลาย สร้้างประสบการณ์์ความแปลกใหม่่ และ แรงบัันดาลใจให้้กัับทุุกคนได้้ ระบบการก่่อสร้้าง ด้้วยวิิธีี 3D printing ช่่วยลดระยะเวลา ขั้้�นตอนการติิดตั้้�ง รวมถึึงแรงงานในการก่่อสร้้าง อีีกทั้้�งลดการเกิิดมลพิิษทางอากาศ และ เสีียงในโครงการก่่อสร้้างได้้เป็็นอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ระบบผนัังสองชั้้�น (double-wall/air gap) สามารถช่่วยกัันความร้้อนที่่�จะเข้้าสู่่�ตััวอาคารได้้ 5-10 องศาเซลเซีียส เป็็นการช่่วย ลดการทำำ�งานของระบบปรัับอากาศในอาคารได้้อีีกทางหนึ่่�ง 81
40% อุุตสาหกรรมการก่่อสร้้างอาคารปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์สููงถึึง 40% เมื่่�อเทีียบกัับการปล่่อยทั้้�งหมด ในปีี พ.ศ. 2565
82
83
2. Modular Bathroom System
CONCLUSION
ระบบก่่อสร้้างอาคารสำำ�เร็็จรููป ด้้วยการผลิิตและประกอบติิดตั้้�งอุุปกรณ์์และชิ้้�นส่่วนของ อาคารสำำ�เร็็จจากที่่�โรงงานแล้้ว (hybrid pod) จาก SCG มีีน้ำำ��หนัักเบา ช่่วยลดโครงสร้้าง ในการก่่อสร้้าง มีีความรวดเร็็วลดกระบวนการในการก่่อสร้้างในไซต์์งาน มีีความคงทน แข็็งแรง มีีความยืืดหยุ่่�นในการออกแบบ โดยสามารถออกแบบให้้เหมาะสมสอดคล้้องกัับ โครงการแต่่ละประเภทได้้ ระบบท่่อสุุขภััณฑ์์ และท่่อน้ำำ�ต่ � ่อออกผนัังด้้านนอก ทำำ�ให้้สามารถ ซ่่อมบำำ�รุุงได้้โดยไม่่รบกวนพื้้�นที่่�ภายใน ออกแบบรองรัับงานระบบไฟฟ้้าและสุุขาภิิบาล ที่่�เดิิน ซ่่อนระบบภายในผนัังได้้เรีียบร้้อยและปลอดภััยต่่อการใช้้งาน
โครงการนี้้�เป็็นเพีียงตััวอย่่างหนึ่่ง� จากหลายโครงการที่่ไ� ด้้เริ่่ม� ตระหนัักถึึงความสำำ�คัญ ั ของการ รัักษาสิ่่�งแวดล้้อม ริิเริ่่�มทดลองออกแบบเพื่่�อการต่่อยอดเรื่่�องความยั่่�งยืืน เพื่่�อหาจุุดสมดุุล ร่่วมกัันของปััจจััยต่่างๆ ที่่�เกี่่�ยวข้้อง โดยสิ่่�งที่่�ทำำ�ให้้เกิิดความสำำ�เร็็จของโครงการจนโครงการ ก่่อสร้้างแล้้วเสร็็จลุุล่่วง นั่่�นคืือ ผู้้�มีีส่่วนร่่วมทั้้�งในโครงการ และผู้้�เกี่่�ยวข้้องที่่�มีีความเข้้าใจ และความตระหนัักรู้้�รวมถึึงเล็็งเห็็นคุุณค่่าของการอยู่่�อาศััยร่่วมกัันในอนาคต อีีกทั้้�งเป็็น จุุดเรีียนรู้้�กรณีีศึึกษาในหลายๆ ด้้านเพื่่�อที่่�จะนำำ�ข้้อมููลไปพััฒนาต่่อยอดในโครงการอื่่�นๆ ให้้เกิิดประสิิทธิิภาพมากยิ่่�งขึ้้�น เพื่่�อส่่งต่่อแนวความคิิดและการเรีียนรู้้�นั้้�นๆ สู่่�คนรุ่่�นหลััง ต่่อไปอย่่างยั่่�งยืืน
4.2 SET ตลาดหลัักทรััพย์์แห่่งประเทศไทย (The Stock Exchange of Thailand) หรืือ SET ดำำ�เนิินงาน โดยคำำ�นึึงถึึง สิ่่�งแวดล้้อม สัังคม และ บรรษััทภิิบาล (Environmental, Social, Governance: ESG) ซึ่่�งมีีความสอดคล้้องกัับหลัักการของการลดคาร์์บอน ฟุุตพริ้้�นท์์ (carbon footprint) รวมถึึงการบริิหาร ทรััพยากร และอาคารตลอดอายุุการใช้้งาน เพื่่�อเป็็น การดำำ�เนิินการอย่่างต่่อเนื่่�องและยั่่�งยืืนอย่่างแท้้จริิง การวางแผนตั้้�งแต่่ช่่วงการออกแบบ และก่่อสร้้างจนถึึงการใช้้งานอาคาร
ภาพที่ 4.4 การออกแบบโครงการ PTT Station Phutthamonthon Sai 3 ที่มา: SCG Building & Living Care Consulting
84
อาคารตลาดหลัักทรััพย์์ฯ มีีการวางแผนการก่่อสร้้างตั้้�งแต่่ระยะเริ่่�มต้้น โดยตั้้�งเป้้าให้้เป็็น อาคารที่่�อนุุรัักษ์์พลัังงาน และเป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อมตามมาตรฐาน LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) ประเภท Building Design & Construction (BD+C) ของสภาอาคารเขีียวสหรััฐอเมริิกา (USGBC) ซึ่่�งเป็็นมาตรฐานที่่�ได้้รัับความนิิยมอย่่างสููง ทั่่�วโลก โดยได้้รัับการรัับรองในระดัับ Gold ในปีี ค.ศ. 2016 ทั้้�งนี้้�มีีการดำำ�เนิินการตาม แนวทางเพื่่�อลดคาร์์บอนแฝง (embodied carbon) จากการเลืือกใช้้วััสดุุ และการควบคุุม กระบวนการก่่อสร้้าง รวมไปถึึงการออกแบบ เพื่่�อเตรีียมการลดการปล่่อยคาร์์บอนจากการใช้้ งานอาคาร (operational carbon) เมื่่�ออาคารก่่อสร้้างแล้้วเสร็็จ และเปิิดใช้้งาน อาคารก็็ยััง 85
มีีการวััดผลและประเมิิน ประสิิทธิิภาพของอาคารยัังอย่่างต่่อเนื่่�อง โดยนำำ�มาตรฐาน LEED ในรููปแบบ operation and maintenance (OM) เพื่่�อตรวจสอบการบริิหารอาคาร และการใช้้ ทรััพยากรต่่างๆ อย่่างต่่อเนื่่�อง ทำำ�ให้้ได้้รับั การรัับรองในระดัับ Platinum ซึ่่ง� เป็็นระดัับสููงสุุด
มาตรการเพื่่�อสุุขภาวะของผู้้� ใช้้งานอาคาร
การดำำ�เนิินการอาคารเขีียวเป็็นมาตรการที่่�ชััดเจนของการดำำ�เนิินการด้้านสิ่่�งแวดล้้อม นอกจากนี้้� ตลาดหลัักทรััพย์์ฯ ยัังเล็็งเห็็นความสำำ�คััญของพนัักงาน ซึ่่�งถืือว่่าเป็็นทรััพยากร ที่่�มีีความสำำ�คััญ และมีีคุุณค่่าสููงสุุดขององค์์กร จึึงมีีแนวความคิิดในการพััฒนาอาคารเพื่่�อ การมีีสุุขภาวะที่่�ดีีต่่อผู้้�ใช้้งาน อัันเป็็นส่่วนหนึ่่�งในแนวทางที่่�สอดคล้้องกัับแนวคิิดการพััฒนา อย่่างยั่่�งยืืน กัับพนัักงานและผู้้�ใช้้อาคาร นัับเป็็นการให้้ความสำำ�คััญกัับการดููแลผู้้�คนและ สัังคม ในปีี ค.ศ. 2019 ตลาดหลัักทรััพย์์ฯ จึึงมีีการเพิ่่�มนโยบาย และมาตรการดููแลพื้้�นที่่� ตามมาตรฐาน Fitwel ซึ่่�งก่่อตั้้�งโดยกรมควบคุุมโรคสหรััฐอเมริิกา (U.S.CDC) ด้้วยความ มุ่่�งมั่่�นในการสร้้างสภาพแวดล้้อมที่่ดีี� ให้้กัับพนัักงาน อาคารจึึงได้้การรัับรองเป็็นอาคารแรก ในทวีีปเอเชีีย และเป็็นอาคารที่่�สามของโลกที่่�ได้้รัับการประเมิินในระดัับสููงสุุด คืือ 3 Stars รวมถึึงได้้รัับรางวััล Best in Building Health ในประเภท Single-tenant Building
การดำำ�เนิินการทั้้�งหมดเกิิดขึ้้�นก่่อนสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโควิิด-19 เมื่่�อเกิิดการ ล็็อคดาวน์์ (lock down) รวมถึึงการทำำ�งานแบบ new normal อัันเปลี่่ย� นแปลงพฤติิกรรมของ ผู้้�คนและการใช้้พื้้�นที่่�ในอาคารไป ตลาดหลัักทรััพย์์ฯ จึึงเพิ่่�มเติิมองค์์ความรู้้�จากผู้้�เชี่่�ยวชาญ ระดัับสากล และเพิ่่�มมาตรการอื่่�นๆ ที่่�ช่่วยลดอััตราการติิดเชื้้�อของโรคระบบทางเดิินหายใจ ตามมาตรฐาน Fitwel Viral Response Module เพื่่�อสร้้างความเชื่่�อมั่่�นให้้กัับผู้้�ใช้้งานอาคาร และมีีการปรัับปรุุงให้้สอดคล้้องกัับสถานการณ์์อย่่างต่่อเนื่่�อง
นโยบายและการบรรลุุเป้้าหมายการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ (net zero emissions)
ที่่�ผ่่านมาตลาดหลัักทรััพย์์ฯ ได้้รัับรางวััลสำำ�นัักงานสีีเขีียวที่่�เป็็นมิิตรกัับสิ่่�งแวดล้้อม (green office) ระดัับดีีเยี่่�ยม (gold level) จากกรมส่่งเสริิมคุุณภาพสิ่่�งแวดล้้อม รางวััล Thailand Energy Award ประเภทอาคารที่่�ใช้้พลัังงานเป็็นศููนย์์ (zero energy building) จากกรม พััฒนาพลัังงานทดแทนและอนุุรัักษ์์พลัังงาน และรางวััล ASEAN Energy Award จาก ASEAN Center of Energy (ACE) ซึ่่�งนอกเหนืือจากมาตรการด้้านอนุุรัักษ์์พลัังงาน และลด การใช้้ทรััพยากร ตลาดหลัักทรััพย์์ฯ ยัังมีีเป้้าหมายในการลดคาร์์บอนฟุุตพริ้้�นท์์ จากกิิจกรรม ที่่�เกิิดขึ้้�นอย่่างต่่อเนื่่�อง โดยดำำ�เนิินการลดปริิมาณขยะที่่�นำำ�ไปฝัังกลบ ให้้เป็็นศููนย์์ (zero waste to landfill) ตั้้�งแต่่ปีี ค.ศ. 2020 มีีการจััดการขยะเพื่่�อนำำ�ไปใช้้ประโยชน์์ตาม หลััก 3R (reduce-reuse-recycle) พร้้อมขยายความร่่วมมืือกัับองค์์กรพัันธมิิตร การนำำ� นวััตกรรมและเทคโนโลยีีมาบริิหารจััดการการใช้้ทรััพยากร รวมถึึงการส่่งเสริิมกระบวนการ จััดหาคู่่�ค้้า สิินค้้า และบริิการที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม นอกจากนี้้�ในปีี ค.ศ. 2022 อาคาร สำำ�นัักงานตลาดหลัักทรััพย์์ฯ ได้้รัับการรัับรอง “LEED Zero Waste Certified” แห่่งแรก ในโลก และ “TRUE Platinum Certification” แห่่งแรกในไทย ในปีี พ.ศ. 2565 ตลาดหลัักทรััพย์์ฯ ได้้กำำ�หนดกลยุุทธ์์การจััดการสิ่่�งแวดล้้อมเพื่่�อมุ่่�งสู่่�การ ปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุุทธิ � ใิ ห้้เป็็นศููนย์์ (net zero emissions) โดยจััดตั้้ง� คณะทำำ�งานขัับเคลื่่�อน การลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก เพื่่�อศึึกษากระบวนการกำำ�หนดเป้้าหมาย และแผนการ ลดปริิมาณก๊๊าซเรืือนกระจกตามแนวทางที่่�ได้้รัับการยอมรัับในระดัับสากล เช่่น แนวทาง Science-Based Targets initiative (SBTi) เป็็นต้้น ให้้ครอบคลุุุ�มการดำำ�เนิินงาน ของตลาด หลัักทรััพย์์ฯ ตลาดหลัักทรััพย์์แห่่งประเทศไทย ในฐานะหนึ่่�งในองค์์กรที่่เ� ป็็นผู้้�นำำ�ด้้านการพััฒนาอย่่างยั่่�งยืืน พร้้อมสนัับสนุุนให้้บริิษััทที่่�จดทะเบีียนในตลาดหลัักทรััพย์์ ดำำ�เนิินธุุรกิิจอย่่างยั่่�งยืืนด้้วยการ สร้้างการเติิบโตของธุุรกิิจไปพร้้อมกัับการดููแลสิ่่�งแวดล้้อม (E) รัับผิิดชอบต่่อสัังคม (S) บนพื้้�นฐานการกำำ�กัับดููแลกิิจการที่่�ดีี (G) ซึ่่�งแนวทางการดำำ�เนิินธุุรกิิจตามหลัักการ ESG นี้้� จะช่่วยให้้องค์์กรเติิบโตอย่่างยั่่�งยืืน
ภาพที่ 4.4 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่มา: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
86
87
ก็็ควรทำำ�ให้้เป็็นอาคารที่่ดีี� เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อมและพนัักงาน โดยมีีหลัักการที่่ชั� ดั เจน ดัังนั้้�น เกณฑ์์ LEED จึึงถููกนำำ�มาเป็็นแนวทางปรัับปรุุงอาคารทั้้�งสอง ให้้มีีประสิิทธิิภาพการใช้้ พลัังงานที่่�ดีีขึ้้�น จากการปรัับปรุุงกรอบอาคาร ใช้้วััสดุุที่่�สะท้้อนความร้้อนได้้ดีี ระบบปรัับ อากาศประสิิทธิิภาพสููง โซลาร์์เซลล์์ ปรัับปรุุงสุุขภััณฑ์์ที่่�ใช้้ทั้้�งหมดให้้ประหยััดน้ำำ��มากขึ้้�น เพื่่�อลดคาร์์บอนสโคป รวมถึึงทำำ�แบบสอบถามเพื่่�อวางมาตรการลดคาร์์บอนฟุุตพริ้้�นท์์จาก การเดิินทางด้้วยรถยนต์์ส่่วนตััว โดยมีีการเตรีียมที่่�จอด และห้้องอาบน้ำำ�� เพื่่�อสนัับสนุุนให้้ใช้้ จัักรยาน รวมถึึงที่่�จอดรถพิิเศษสำำ�หรัับรถที่่�มีีอัตั ราการปล่่อยคาร์์บอนต่ำำ��และรถยนต์์ไฟฟ้้า
ภาพที่ 4.5 ทัศนียภาพผังอาคาร SCG Campus ที่มา: SCG
4.3 SCG CAMPUS
นอกจากนี้้� ยัังปรัับปรุุงคุุณภาพอากาศ ให้้อากาศภายในมีีปริิมาณ PM 2.5 และคาร์์บอนไดออกไซด์์ต่ำำ�� เพื่่�อสุุขภาพของผู้้�ใช้้งาน ด้้วยการดำำ�เนิินการทำำ�ให้้ทั้้�งโครงการได้้รัับการรัับรอง LEED EB:OM ระดัับ Platinum เป็็นที่่�แรกในเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ และหลัักการนี้้�ยัังถููก นำำ�มาใช้้งานอย่่างต่่อเนื่่�องในโครงการก่่อสร้้างใหม่่ รวมถึึงปรัับปรุุงอาคารในพื้้�นที่่�ของเอสซีีจีี ได้้แก่่ อาคารเอสซีีจีี 100 ปีี ได้้รับั การรัับรอง LEED Core and Shell (CS) ระดัับ Platinum ในปีี ค.ศ. 2014 อาคาร SCG Health Center ได้้รับั การรัับรอง LEED for New Constructin (NC) ระดัับ Platinum ในปีี ค.ศ. 2018 การดำำ�เนิินการทั้้�งหมดนี้้� ไม่่เพีียงเป็็นการลงทุุน เพื่่�อ ให้้อาคารเป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม แต่่โดยหลัักการของการลดคาร์์บอน ยัังเป็็นการวางรากฐาน ของการดำำ�เนิินการลดคาร์์บอนฟุุตพริ้้�นท์์ในพิื้้��นที่่�ที่่�ทำ�ำ การของเอสซีีจีี อาคารเอสซีีจีี 100 ปีี และ SCG Health Center สามารถลดการปลดปล่่อยคาร์์บอนได้้มากถึึงเกืือบ 2,000 ตััน ต่่อปีี เทีียบได้้กัับการส่่งมอบพื้้�นที่่�สีีเขีียวเท่่ากัับ 1.5 เท่่าของสวนลุุมพิินีี คืืนสู่่�สัังคมทุุกปีี ไปจนตลอดอายุุการใช้้งาน
“ถืือมั่่�นในความรัับผิิดชอบต่่อสัังคม” เป็็นหนึ่่�งในอุุดมการณ์์ ของเอสซีีจีี มาตรการดููแลด้้านสิ่่�งแวดล้้อมระดัับสููง ในโรงงาน และพื้้�นที่่� โดยรอบถููกนำำ�มาใช้้และได้้รัับการรัับรองตลอดหลายปีี ที่ผ่�่ า่ นมา เพื่่�อให้้ผู้้� ใช้้งานมั่่น� ใจว่่านอกเหนืือจากคุุณภาพของวััสดุุแล้้ว กระบวนการผลิิตยัังเป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อมตามแนวทางการ พััฒนาอย่่างยั่่�งยืืน และเช่่นเดีียวกัับสำำ�นัักงานใหญ่่ของเอสซีีจีี ที่่�มีีความมุ่่�งมั่่�นจะพััฒนาให้้มีีความเป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม รวมทั้้�ง ดููแลผู้้�คน ที่่�ถืือเป็็นทรััพยากรอัันมีีค่่าสููงสุุดขององค์์กร การปรัับปรุุงอาคารเก่่าให้้เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม
เอสซีีจีีเริ่่ม� ดำำ�เนิินการโครงการอาคารเขีียวกลุ่่�มแรกในปีี ค.ศ. 2009 อัันได้้แก่่ สำำ�นักั งานใหญ่่ 1, 2 และอาคาร 5 ที่่�ในเวลานั้้�นมีีอายุุมากกว่่า 30 ปีี และถึึงกำำ�หนดที่่�ต้้องมีีการปรัับปรุุงงาน อาคารและงานระบบใหม่่ คุุณปราโมทย์์ เตชะสุุพััฒน์์กุุล กรรมการผู้้�จััดการใหญ่่ธุุรกิิจซิิเมนต์์ และประธานด้้านการพััฒนาอย่่างยั่่�งยืืนในเวลานั้้�น ได้้ให้้แนวทางว่่า เมื่่�อมีีโอกาสปรัับปรุุง 88
ภาพที่ 4.6 SCG HVAC Air Scrubber ที่มา: SCG
89
พััฒนาอย่่างต่่อเนื่่�องสู่่� Net Zero Building Campus
ภายหลัังที่่�อาคารสำำ�นัักงานใหญ่่เอสซีีจีีที่่มีี� ความสามารถในการจััดการพลัังงานอย่่างดีีเยี่่�ยม ได้้รัับการรัับรอง LEED standard ในระดัับสููงสุุดแล้้วนั้้�น ทางอาคารก็็ได้้มีีการปรัับปรุุงงาน ระบบปรัับอากาศและระบายอากาศเพิ่่�มเติิมด้้วยเทคโนโลยีีใหม่่ SCG HVAC Air Scrubber solutions ในปีี ค.ศ. 2022 ซึ่่�งสามารถทำำ�ความสะอาดให้้อากาศภายในอาคาร ด้้วยการดััก จัับก๊๊าซมลพิิษที่่�เกิิดขึ้้�นภายในอาคาร เช่่น CO2, VOCs และ HCHO ได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ แม้้ว่่าจะใช้้การเติิมอากาศจากภายนอกในปริิมาณที่่�ลดลงก็็ตาม ซึ่่�งสามารถทำำ�การประหยััด พลัังงานเพิ่่�มเติิมจากการลดภาระในการทำำ�ความเย็็น ที่่�ต้้องใช้้กัับอากาศภายนอกที่่ร้� ้อน และชื้้�นที่่�เติิมเข้้าภายในอาคาร โดยหลัังใช้้งานเทคโนโลยีีใหม่่ SCG HVAC Air Scrubber solutions อาคารสำำ�นัักงานใหญ่่ 1 อาคารสำำ�นัักงานใหญ่่ 1 และอาคารเอสซีีจีี 100ปีี สามารถลดการเติิมอากาศร้้อนชื้้�นจากภายนอกลงได้้ 75%, 68% และ 67% ตามลำำ�ดัับ ส่่งผลให้้เกิิดการประหยััดพลัังงานเพิ่่�มปีีละ 1.4 ล้้านบาท, 1.3 ล้้านบาท และ 2 ล้้านบาท ตามลำำ�ดัับ ซึ่่�งมีีการคืืนทุุนอยู่่�ในช่่วง 4-5 ปีี และคุุณภาพอากาศภายในอาคารยัังอยู่่�ในขั้้�นดีี เยี่่�ยมเท่่าเดิิม เช่่น CO2 ที่่ต่ำ� ำ��กว่่า 1000 ppm ตลอดเวลา
และออกแบบมาอย่่างดีีตั้้�งแต่่การสร้้างแนวคิิดของโครงการซึ่่�งเกิิดจากความร่่วมมืือของ 3 หน่่วยงาน ได้้แก่่ 1) BioRegional 2) ZEDfactory Arcitects และ 3) Peabody Trust ที่่� มีีเป้้าหมายเดีียวกัันในการสร้้างชุุมชนที่่�ใช้้พลัังงานสุุทธิิเป็็นศููนย์์และเป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม โดยต้้องการให้้คนอยู่่�อาศััยในชุุมชนอย่่างมีีความสุุขและมีีคุุณภาพชีีวิิตที่ดีี่� และมีีการแบ่่งปััน ทรััพยากรร่่วมกััน แนวคิิดในการออกแบบโครงการ เพื่่�อลดการปล่่อยคาร์์บอนโครงการมีีการ ออกแบบอาคารที่่�ใช้้พลัังงานต่ำำ�� การเลืือกใช้้วััสดุุก่่อสร้้างที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม และมีีการ ปล่่อยคาร์์บอนต่ำำ�� ส่่งเสริิมการใช้้ระบบขนส่่งสาธารณะและรถยนต์์ไฟฟ้้า การผลิิตพลัังงาน ไฟฟ้้าในพื้้�นที่่�โครงการ การจััดการของเสีียจากการใช้้ทรััพยากรน้ำำ��และอาหาร การส่่งเสริิม เศรษฐกิิจชุุมชน รวมถึึงการสร้้างจิิตสำ�นึึ ำ กด้้าน สิ่่�งแวดล้้อม ให้้แก่่คนในชุุมชน
BEDDINGTON 4.4 ZERO ENERGY DEVELOPMENT (BEDZED)
ชุุมชนที่่�อยู่่�อาศััยที่่�ปล่่อยคาร์์บอนต่ำำ�� แนวคิิดของเมืืองและชุุมชนที่่�ยั่่�งยืืนเป็็นมาตรการสำำ�คััญเพื่่�อส่่งเสริิม การใช้้พลัังงานและทรััพยากรของเมืืองให้้เกิิดประสิิทธิิภาพ และเป็็นมิิตรกัับสิ่่�งแวดล้้อม ซึ่่�งสามารถสร้้างดำำ�เนิินการได้้ โดยการมีีเทคโนโลยีีผลิิตพลัังงานหมุุนเวีียนใช้้ในชุุมชนและแชร์์ ทรััพยากร ร่่วมกัันของคนในชุุมชน
โครงการ Beddington Zero Energy Development (BedZED) [2, 3, 4, 5] เป็็นชุุมชน แบบ mixed-use ที่่มีีทั้้ � �งที่่�อยู่่�อาศััย พื้้�นที่่�สำำ�นัักงานวิิทยาลััยและสิ่่�งอำำ�นวยความสะดวกของ ชุุมชนต่่างๆ ตั้้�งอยู่่�ที่่�เมืืองซััตตััน (Sutton) ซึ่่�งอยู่่�ทางตอนใต้้ของกรุุงลอนดอน โครงการ ถููกสร้้างขึ้้น� และอาคารมีีการเข้้าอยู่่�อาศััยครบในปีี ค.ศ. 2002 โครงการดัังกล่่าวมีีการวางแผน 90
ภาพที่ 4.7 ผังโครงการ BedZED ที่มา: Adapted from a plan by ZEDfactory, originally published in Toolkit for Carbon Neutral Developments Part II, BioRegional (2003)
91
1. การก่่อสร้้างและเลืือกใช้้วััสดุุก่่อสร้้างที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม
ผู้้�ออกแบบได้้ให้้ความสำำ�คััญกัับการจััดหาวััสดุุก่่อสร้้างหรืือวััสดุุที่่�นำำ�กลัับมาใช้้ประโยชน์์ใหม่่ ที่่�หาได้้จากผู้้�จำำ�หน่่ายในพื้้�นที่่�รอบข้้างในรััศมีีไม่่เกิิน 56 กิิโลเมตร เพื่่�อลดการปล่่อยคาร์์บอน แฝงจากการใช้้พลัังงานในการขนส่่งวััสดุุมายัังพื้้�นที่่�โครงการ นอกจากนี้้�ผู้้�ออกแบบยัังเลืือกใช้้ วััสดุุก่่อสร้้างที่่�ลดพลัังงานในกระบวนการผลิิต เช่่น ระบบการก่่อสร้้างใช้้โครงสร้้างเหล็็ก ถึึงแม้้ว่่าวััสดุุเหล็็กจะใช้้พลัังงานในการผลิิตมาก แต่่โครงสร้้างเหล็็กสามารถนำำ�กลัับมาใช้้ซ้ำำ�� ได้้หลายครั้้�งเมื่่�อมีีการรื้้�อถอน ซึ่่�งช่่วยลดพลัังงานในการผลิิตวััสดุุขึ้้�นมาใหม่่ การใช้้วััสดุุไม้้ เพื่่�อทำำ�กรอบประตููหน้้าต่่าง ผนัังภายในอาคาร พื้้�นและวััสดุุปิิดผิิวอาคาร ทรายที่่�ใช้้รอง ปูพื้นภายนอกเป็นทรายรีไซเคิลที่เกิดจากท�ำจากเศษแก้วที่บดละเอียด
ดัังกล่่าวช่่วยให้้อาคารมีีการระบายอากาศในสภาวะที่่�อากาศภายนอกมีีสภาพนิ่่�งหรืือมีี ความเร็็วลมต่ำำ�� ผู้้�ใช้้งานอาคารสามารถเปิิด-ปิิดช่่องเปิิดเพื่่�อกำำ�หนดปริิมาณของอากาศ เข้้าออกและควบคุุมสภาวะน่่าสบายภายในอาคารได้้ นอกจากนี้้�จุุดเด่่นของการออกแบบการ ระบายอากาศที่่�พบในโครงการนี้้� คืือ wind cowls หรืือปล่่องดัักลม ที่่�ด้้านบนหลัังคาของ อาคาร โดยปล่่องดัักลมสามารถหัันปากปล่่องตามทิิศทางของลมเพื่่�อดัักลมที่่�อยู่่�ด้้านบนลง มายัังปล่่องและแจกจ่่ายสู่่�พื้้�นที่่�ใช้้งานด้้านล่่าง อาคารมีีการออกแบบเพื่่�อป้้องกัันความร้้อนโดยการวางด้้านสั้้�นของอาคารหัันทางทิิศตะวัันออกตะวัันตกเพื่่�อลดปริิมาณความร้้อนจากรัังสีีดวงอาทิิตย์์ที่่�ตกกระทบผนัังอาคาร นอกจากนี้้� ผู้้�ออกแบบได้้มีีการจััดโซนพื้้�นที่่�ใช้้สอยโดยกำำ�หนดให้้อาคารส่่วนที่่�พัักอาศััยอยู่่�ทางทิิศใต้้ เพื่่�อป้้องกัันความร้้อนให้้กัับอาคารส่่วนสำำ�นัักงานที่่�มีีการใช้้งานในช่่วงเวลากลางวััน อาคาร ในโครงการนี้้�มีีการใส่่ฉนวนที่่�ผนัังและหลัังคาซึ่่�งมีีความหนาพิิเศษมากกว่่าอาคารทั่่�วไป และมีีการใช้้กระจก 2 ชั้้�นเพื่่�อป้้องกัันความร้้อนที่่�ถ่่ายเทเข้้าสู่่�พื้้�นที่่�ใช้้งานทางด้้านทิิศใต้้ และใช้้กระจก 3 ชั้้�นทางฝั่่�งทิิศตะวัันออก-ตะวัันตก การออกแบบดัังกล่่าวสามารถช่่วยรัักษา อุุณหภููมิิอากาศภายในห้้องให้้คงที่่�และมีีความสบายต่่อการอยู่่�อาศััย อาคารถููกออกแบบให้้มีี การใช้้ประโยชน์์จากแสงธรรมชาติิทางทิิศเหนืือ โดยการลดระดัับชั้้�นความสููงอาคารและมีีการ ออกแบบพื้้�นที่่�สวนบริิเวณดาดฟ้้าเพื่่�อให้้พื้้�นที่่�ใช้้งานในแต่่ละส่่วนได้้รัับแสงธรรมชาติิมากที่่�สุุด โครงการมีีการติิดตั้้�งแผงโซลาร์์เซลล์์บนหลัังคาอาคารเพื่่�อผลิิตพลัังงานไฟฟ้้า และจ่่ายให้้กัับ อาคาร และมีีการซื้้�อไม้้รื้้อ� ถอนจากการจััดการป่่ามาใช้้ในระบบ Combined Heat and Power (CHP) เพื่่�อผลิิตพลัังงานความร้้อนและพลัังงานไฟฟ้้าใช้้ในกิิจกรรมอื่่�นๆ ของโครงการ
ภาพที่ 4.8 โครงการเลือกใช้วัสดุก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก ไม้และวัสดุรีไซเคิลที่มีการปล่อยคาร์บอนต�่ำ ที่มา: https://www.zedfactory.com/bedzed
2. การออกแบบอาคารที่่� ใช้้พลัังงานต่ำำ��และการผลิิตพลัังงานหมุุนเวีียน
ผู้้�ออกแบบมีีแนวคิิดในการออกแบบอาคารประหยััดพลัังงานโดยให้้ความสำำ�คััญกัับการใช้้ ประโยชน์์จากธรรมชาติิ ไม่่ว่่าจะเป็็นการใช้้ลมธรรมชาติิเพื่่�อการระบายอากาศภายในอาคาร การใช้้แสงธรรมชาติิและการใช้้พลัังงานความร้้อนจากรัังสีีดวงอาทิิตย์์ในการทำำ�ความร้้อน และผลิิตพลัังงานใช้้ภายในอาคาร สำำ�หรัับแนวคิิดการออกแบบโดยใช้้การระบายอากาศด้้วยวิิธีีธรรมชาติิ อาคารในโครงการ ส่่วนใหญ่่ถููกออกแบบให้้มีีช่่องเปิิด 2 ด้้านของผนัังเพื่่�อระบายอากาศแบบ cross ventilation และการใช้้ปล่่องลมแบบ solar chimney ระหว่่างอาคารอยู่่�อาศััยและอาคารสำำ�นัักงานเพื่่�อให้้ เกิิดระบายอากาศโดยอาศััยความแตกต่่างของอุุณหภููมิิ (stack ventilation) โดยอากาศร้้อน จะลอยตััวสููงขึ้้�นตามปล่่องและอากาศที่่�เย็็นกว่่าจะเคลื่่�อนที่่�เข้้ามาภายในห้้อง ซึ่่�งการออกแบบ 92
ภาพที่ 4.9 แนวคิดการออกแบบอาคารโดยใช้หลัก passive ที่มา: ARUP
93
3. การจััดการของเสีีย
โครงการมีีการนำำ�น้ำ�ำ� ฝนที่่�กัักเก็็บไว้้มาใช้้ในกระบวนการบำำ�บััดน้ำำ��และนำำ�น้ำำ��กลัับมาใช้้ในส่่วน ของสุุขภััณฑ์์ชัักโครก สำำ�หรัับการจััดการขยะของโครงการ ทางโครงการจััดเตรีียมพื้้�นที่่�ทิ้้�ง ขยะและถัังคััดแยกขยะให้้คนในชุุมชน ในขณะเดีียวกัันทางโครงการได้้มีีการทำำ�จดหมาย ข่่าวเพื่่�อประชาสััมพัันธ์์ สื่่�อสารและให้้ข้้อมููลเกี่่�ยวกัับการรีีไซเคิิลแก่่คนในชุุมชนเพื่่�อปลููกฝััง จิิตสำำ�นึึกในการคััดแยกขยะ
4. การเดิินทางและระบบการขนส่่งที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม
เนื่่�องจากที่่ตั้้� �งของโครงการอยู่่�ห่่างจากตััวเมืืองกรุุงลอนดอน ผู้้�พััฒนาโครงการได้้วางแผน การเดิินทางสำำ�หรัับให้้บริิการคนในชุุมชนไว้้ตั้้�งแต่่การคััดเลืือกพื้้�นที่่�ตั้้�งซึ่่�งสามารถใช้้ทั้้�งรถ ชััทเทิิลบััส บััส หรืือรถไฟเพื่่�อเดิินทางเข้้าเมืือง ซึ่่�งสามารถช่่วยลดการใช้้รถยนต์์ส่่วนตััวได้้ กรณีีที่่�ผู้้�อยู่่�อาศััยต้้องการใช้้รถยนต์์ในการเดิินทางเข้้าเมืืองหรืือไปยัังเมืืองอื่่�นๆ ที่่�ระบบขนส่่ง สาธารณะไม่่รองรัับ โครงการยัังได้้ทำำ�ความร่่วมมืือกัับ City Car Club ซึ่่�งเป็็นบริิษััทที่่�ให้้ บริิการแชร์์รถยนต์์ ซึ่่�งมีีสถานีีอยู่่�หลายแห่่งเพื่่�อให้้สะดวกในการรัับรถและคืืนรถ ผู้้�อยู่่�อาศััย สามารถจองเรีียกใช้้บริิการได้้หากต้้องการใช้้รถยนต์์ และสามารถจ่่ายค่่าบริิการแบบราย ชั่่�วโมงหรืือรายเดืือน นอกจากนี้้�โครงการยัังมีีมาตรการอื่่�นๆ ที่่�ช่่วยลดการปล่่อยคาร์์บอนจาก การใช้้รถยนต์์ส่่วนตััว คืือ การกำำ�หนดให้้สััดส่่วนพื้้�นที่่�จอดรถต่่อบ้้าน 1 หลัังน้้อยกว่่าบ้้านที่่� มีีอยู่่�ตามท้้องตลาด โดยค่่ามาตรฐานที่่กำ� ำ�หนดพื้้�นที่่�จอดรถให้้เท่่ากัับ 1.5 คัันต่่อหลััง การ กำำ�หนดพื้้�นที่่�จอดรถให้้อยู่่�ด้้านนอกเขตพื้้�นที่่�อยู่่�อาศััยและพื้้�นที่่�ทำำ�งาน และออกแบบโครงข่่าย ของเส้้นทางเดิินเท้้าและทางจัักรยาน เน้้นการออกแบบภููมิิทััศน์์เพื่่�อส่่งเสริิมการเดิินและการ ใช้้จัักรยานภายในชุุมชนเพื่่�อให้้คนในชุุมชนสามารถเข้้าถึึงพื้้�นที่่�ส่่วนกลางและอาคารต่่างๆ ได้้ สะดวก พร้้อมทั้้�งการจััดพื้้�นที่่�จอดจัักรยานที่่�ปลอดภััยใกล้้กัับพื้้�นที่่�อยู่่�อาศััยและระบบขนส่่ง สาธารณะ ระยะการเดิินทางไปยัังสถานีีรถบััสและรถไฟไม่่ไกลจากพื้้�นที่่ชุ� มุ ชนซึ่่ง� คนในชุุมชน สามารถเดิินและใช้้จัักรยานได้้สะดวก การบริิการสถานีีชาร์์จไฟฟ้้าให้้กัับรถยนต์์ไฟฟ้้า
5. การส่่งเสริิมคุุณภาพชีีวิิตและความเป็็นอยู่่�ที่่�ดีี
อีีกหนึ่่�งเป้้าหมายสำำ�คััญของโครงการคืือการทำำ�ให้้คนในชุุมชนมีีสุุขภาพร่่างกายและสุุขภาพ ใจที่่�ดีีด้้วยการสร้้างสัังคมที่่�ดีี คนในชุุมชนอยู่่�ในสภาพแวดล้้อมที่่�ดีีแวดล้้อมด้้วยธรรมชาติิ และปลอดภััย และเข้้าถึึงอาหารที่่�สะอาดและปลอดภััย เพื่่�อดำำ�เนิินการตามแนวคิิดดัังกล่่าว โครงการมีีขนาดพื้้�นที่่�สวนและพื้้�นที่่�สีีเขีียวค่่อนข้้างมากและกระจายพื้้�นที่่�สวนตามพื้้�นที่่� อยู่่�อาศััย และพื้้�นที่่�ต่่างๆ ของชุุมชน การออกแบบภููมิิทััศน์์และที่่นั่่� �งพัักผ่่อนที่่�ส่่งเสริิมการ ใช้้งานภายนอกอาคาร ทำำ�ให้้เด็็กออกมาเล่่นนอกบ้้านอย่่างปลอดภััย รวมถึึงการจััดตำ�ำ แหน่่ง ของสิ่่�งอำำ�นวยความสะดวกของชุุมชนและการแบ่่งปัันพื้้�นที่่�ใช้้สอยร่่วมกััน เช่่น คลาสเรีียน เต้้น การออกกำำ�ลัังกาย คาเฟ่่ นอกจากนี้้�ผู้้�ออกแบบตั้้�งใจให้้คนที่่�เดิินทางไปที่่�จอดรถหรืือ สถานีีรอรถบััสต้้องเดิินผ่่านบ้้านหรืือพื้้�นที่่�ส่่วนกลางของชุุมชน หรืือการทำำ�สะพานทางเดิิน ข้้ามระหว่่างอาคารที่่�เดิินผ่่านพื้้�นที่่�สวนบนดาดฟ้้า เพื่่�อให้้คนในชุุมชนได้้มีีโอกาสพบปะ พููดคุุยและทำำ�กิิจกรรมทางสัังคม
ภาพที่ 4.11 การออกแบบและจัดพื้นที่สวนดาดฟ้าขนาดเล็กอยู่ระหว่างส่วนพื้นที่พักอาศัยและส�ำนักงาน ที่มา: https://www.zedfactory.com/bedzed
นอกจากนี้้�โครงการยัังให้้ความสำำ�คััญกัับกระบวนการมีีส่่วนร่่วมของคนในชุุมชนตั้้�งแต่่ กระบวนการออกแบบและการบริิหารจััดการชุุมชนเพื่่�อให้้บรรลุุเป้้าหมายการเป็็นชุุมชน คาร์์บอนต่ำำ�� มีีกิิจกรรมให้้ความรู้้�แก่่คนในชุุมชนเรื่่�องการประหยััดพลัังงาน การเลืือกใช้้ อุุปกรณ์์และผลิิตภััณฑ์์และการปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรมที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อมและการใช้้ ทรััพยากรอย่่างมีีประสิิทธิิภาพเพื่่�อสร้้างจิิตสำำ�นึึกที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม เมื่่�อคนในชุุมชน รู้้�สึึกเป็็นส่่วนหนึ่่�งของชุุมชนจะทำำ�ให้้เกิิดความรัักและต้้องการพััฒนาชุุมชนให้้น่่าอยู่่�และดีีขึ้้�น โครงการมีีการจััดการเรื่่�องอาหารโดยจััดพื้้�นที่่�ขายผลิิตภััณฑ์์ในชุุมชน เช่่น พืืชผัักสวนครััว
ภาพที่ 4.10 บรรยากาศในโครงการ BedZED ที่มา: https://www.zedfactory.com/bedzed
94
95
และรณรงค์์ให้้ร้้านค้้าและหน่่วยงานในชุุมชนขายหรืือจััดหาอาหารเพื่่�อสุุขภาพและปลอดภััย และอาหารที่่่��มีีปริิมาณเนื้้�อสััตว์์น้้อยสำำ�หรัับคนในชุุมชน ด้้านความปลอดภััย โครงการมีี แนวทางการป้้องกัันปััญหาน้ำำ�ท่ � ่วมโดยใช้้การออกแบบภููมิทัิ ัศน์์ เช่่น การใช้้วััสดุุปููพื้้�นที่่�ยอม ให้้น้ำ�ซึึ ำ� มผ่่านลงดิินได้้ การปลููกพืืชซึึมน้ำำ�� การทำำ�สวนบนหลัังคาซึ่่ง� ช่่วยชะลอการไหลของน้ำำ�� ฝน และการทำำ�ร่่องระบายน้ำำ�� สามารถช่่วยป้้องกัันปััญหาน้ำำ�ท่ � ่วมในชุุมชนได้้ ในส่่วนความสำำ�เร็็จและความท้้าทายของโครงการความท้้าทายที่่สำ� �คั ำ ัญที่่�พบจากการพััฒนา โครงการชุุมชนและสร้้างสัังคมคาร์์บอนต่ำำ�� ของ BedZed คืือ การก่่อสร้้างอาคารที่่�เป็็นมิิตร ต่่อสิ่่�งแวดล้้อมมีีค่่าใช้้จ่่ายที่่�ค่่อนข้้างสููงกว่่าอาคารทั่่�วไป เนื่่�องจากมีีการใส่่ฉนวนผนัังและ หลัังคาเพื่่�อป้้องกัันความร้้อน การเลืือกใช้้กระจกกัันความร้้อน และการใช้้งานระบบและ เทคโนโลยีีขั้้�นสููงเพื่่�อบรรลุุเป้้าหมายการปล่่อยคาร์์บอนต่ำำ�� ซึ่่�งทำำ�ให้้ต้้นทุุนและราคาก่่อสร้้าง บ้้านค่่อนข้้างสููงเมื่่�อเปรีียบเทีียบกัับบ้้านที่่�มีีขายทั่่�วไปตามท้้องตลาด อย่่างไรก็็ตามเมื่่�อ ประเมิินความคุ้้�มทุุนที่่�ได้้กลัับคืืนภายหลัังและประโยชน์์ในมิิติิอื่่�นๆ พบว่่า โครงการ ประสบความสำำ�เร็็จหลายด้้าน ได้้แก่่ • การออกแบบอาคารประหยััดพลัังงานและการใช้้ระบบ CHP สามารถช่่วยประหยััด พลัังงานจากการทำำ�น้ำำ��ร้้อนได้้ 81% และลดการใช้้พลัังงานไฟฟ้้าได้้ถึึง 45% • ค่่าเฉลี่่�ยของการเดิินทางโดยรถยนต์์ส่่วนตััวของผู้้�อยู่่�อาศััยลดลง 64% ซึ่่�งต่ำำ��กว่่าค่่าเฉลี่่�ย การใช้้รถยนต์์ของคนในชุุมชนอื่่�นๆ และจากการประเมิินการเดิินทางโดยใช้้บริิการแชร์์ รถยนต์์ของคนในชุุมชนสามารถประหยััดค่่าใช้้จ่่ายประมาณ £1,391 ต่่อปีีเมื่่�อเทีียบกัับ ค่่าใช้้จ่่ายเฉลี่่�ยของคนที่่มีี� รถยนต์์ส่่วนบุุคคล • 39% ของอาหารออแกนิิคที่่�บริิโภคในชุุมชนปลููกโดยคนในชุุมชน • การใช้้อุุปกรณ์์และสุุขภััณฑ์์ประหยััดน้ำำ��ซึ่่�งสามารถช่่วยลดปริิมาณการใช้้น้ำำ��ได้้ถึึง 40% เมื่่�อเทีียบกัับการใช้้น้ำำ��ของบ้้านทั่�ว่ ไปในเมืืองซััตตััน • ขยะจากส่่วนที่่�อยู่่�อาศััยเข้้าสู่่�กระบวนการรีีไซเคิิลและที่่�นำำ�ไปหมัักทำำ�ปุ๋๋�ยคิิดเป็็น 60% ของน้ำำ��หนัักขยะทั้้�งหมด ซึ่่�งสััดส่่วนดัังกล่่าวมีีแนวโน้้มเพิ่่�มขึ้้�นมาก • โครงการมีีการใช้้น้ำ�ำ� 72 ลิิตรต่่อวัันซึ่่�งมีีอััตราต่ำำ��กว่่าค่่าเฉลี่่�ยการใช้้น้ำำ��ของชุุมชนทั่่�วไป โดย 15 ลิิตรมาจากน้ำำ��ฝนและน้ำำ�� จากการรีีไซเคิิล
96
REFERENCES
[1] สถาบัันอาคารเขีียวไทย. เกณฑ์์การประเมิินความยั่่�งยืืนทางลัังงานและสิ่่�งแวดล้้อมไทย สำำ�หรัับอาคารระหว่่างใช้้งาน. https://www.tgbi.or.th/uploads/trees/เกณฑ์์%20TREES-EB_160921.pdf [2] Dikmen, E. (2021, June 3). BedZED: An Inspiring Eco-Village in London. MozartCultures.. Available at https://mozartcultures.com/en/bedzed-an-inspiring-eco-village-in-london/ [3] BedZED. (n.d.). Zedfactory. Retrieved June 28 2023 from https://www.zedfactory.com/bedzed [4] Chance, T. (2009). Towards sustainable residential communities; the Beddington Zero Energy Development (BedZED) and beyond. Environment and Urbanization, 21(2), 527–544. Available at https://doi. org/10.1177/0956247809339007 [5] Zhu, D., Kung, M., & Zhou, L. (2015). Analysis of Sustainable Energy Systems in Ecovillages: A Review of Progress in BedZED and Masdar City. Low Carbon Economy, 6(1), Article 1. Available at https://doi. org/10.4236/lce.2015.61001
80% ผู้้�ลงทุุนสถาบัันกว่่า 80% เลืือกลงทุุนกัับองค์์กรที่่�มีีการดำำ�เนิินธุุรกิิจตามหลััก ESG
98
99
เมื่่�อความยั่่�งยืืน (sustainability) เป็็นแนวทางที่่�มีีความสำำ�คััญกัับ การดำำ�เนิินธุุรกิิจในระดัับโลก แต่่ต้้นทุุนที่่�ผู้้�ประกอบการดำำ�เนิินการ ตามแนวทางนี้้� โดยทั่่�วไปมัักจะสููงกว่่าการดำำ�เนิินธุุรกิิจในรููปแบบเดิิม หากไม่่มีีความจำำ�เป็็นในเชิิงธุุรกิิจหรืือแรงจููงใจ ก็็จะไม่่อยู่่�ในตััวเลืือก ของการพััฒนาโครงการ แต่่ ในช่่วงทศวรรษที่่�ผ่่านมา มีีแรงผลัักดััน ให้้ผู้้�ประกอบการดำำ�เนิินการพััฒนาโครงการอย่่างยั่่�งยืืนมากขึ้้�น ได้้แก่่
5.1 INCENTIVES รููปแบบของการออกแบบแรงจููงใจในปััจจุุบัันอาจสามารถแบ่่งได้้เป็็น 3 รููปแบบใหญ่่ คืือ เชิิงกฎหมาย เชิิงการส่่งเสริิมผ่่านองค์์กรที่่� เกี่่�ยวข้้อง และเชิิงการให้้รางวััลและผลตอบแทน [1] 1. เชิิงกฎหมาย
5
DRIVING FORCES
ในหลายประเทศที่่มีี� เป้้าหมายเพื่่�อสนัับสนุุนเรื่่อ� งความยั่่�งยืืน เช่่น สหรััฐอเมริิกา หรืือออสเตรเลีีย มีีมาตรการทางกฎหมายหรืือภาษีีที่่�ออกมาเพื่่�อสนัับสนุุน รวมถึึงอาจควบคุุมให้้มีีการพััฒนา โครงการอย่่างยั่่�งยืืนหรืืออาคารเขีียว ถึึงแม้้จะมีีข้้อจำำ�กััดทั้้�งการออกกฎเกณฑ์์ และในการ บัังคัับใช้้งานจริิง เนื่่�องจากมีีความเกี่่�ยวข้้องกัับหน่่วยงานราชการ และข้้อกฎหมายอื่่�นๆ แต่่ ก็็เป็็นการดำำ�เนิินการในภาพใหญ่่ที่่�ส่่งผลต่่อแนวคิิดของอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้าง ส่่วนใน ประเทศไทยยัังไม่่มีีกฎหมายของอาคารที่่�เกี่่�ยวเนื่่�องกัับการลดคาร์์บอนอย่่างชััดเจน
2. เชิิงการส่่งเสริิมผ่่านองค์์กรที่่�เกี่่�ยวข้้อง
ความเข้้มข้้นในการบัังคัับใช้้น้้อยกว่่า ไม่่ได้้ผลประโยชน์์ในเชิิงการเงิิน (financial benefit) จากหน่่วยงานอื่่น� แต่่สามารถเลืือกดำำ�เนิินการได้้อย่่างอิิสระและได้้ประโยชน์์เชิิงการส่่งเสริิม แบรนด์์ รวมทั้้�งเป็็นภาคสมััครใจ เช่่น โครงการลดก๊๊าซเรืือนกระจกภาคสมััครใจตาม มาตรฐานของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program) หรืือที่่� เรีียกว่่า T-VER ซึ่่�งเป็็นกลไกที่่�มีีเป้้าหมายในการส่่งเสริิมให้้ทุุกภาคส่่วนมีีส่่วนร่่วมลดการ ปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกในประเทศ นอกจากนี้้�มีีตััวอย่่างการส่่งเสริิมผ่่านองค์์กรอย่่าง Pathway to Net Zero Building Guideline โดย SCG Building & Living Care Consulting 101
3. เชิิงการให้้รางวััลและผลตอบแทน
มัักเป็็นแนวทางที่่ผู้้�ป � ระกอบการนึึกถึึง เนื่่�องจากมีีส่่วนช่่วยให้้ตััวเลขทางธุุรกิิจของผู้้�ประกอบ การดีีขึ้้�น ปััจจุุบัันกลุ่่�มสถาบัันการเงิินทั้้�งในและต่่างประเทศมีีความเคลื่่�อนไหวเชิิงการผลัักดััน ความยั่่�งยืืน โดยให้้การเข้้าถึึงเงิินทุุนดอกเบี้้�ยต่ำำ�สำ � �ำ หรัับโครงการที่่มีี� การดำำ�เนิินการอย่่างยั่่�งยืืน ดัังนั้้�นกลุ่่�มอสัังหาริิมทรััพย์์ อาคารเขีียว (green building) จึึงได้้รัับความสนใจมากขึ้้�น เนื่่�องจากเป็็นหนึ่่�งในรููปแบบของอาคารที่่�มีีแนวทางการลดคาร์์บอนฟุุตพริ้้�นท์์อย่่างมีีหลัักการ เชิิงวิิทยาศาสตร์์รัับรอง ตััวอย่่างผลิิตภััณฑ์์ทางการเงิิน เช่่นผลิิตภััณฑ์์ทางการเงิินของ ธนาคารกสิิกรไทยที่่�ออกผลิิตภััณฑ์์ Green Loan, Green Bond [2] สำำ�หรัับผู้้�ประกอบการที่่� ดำำ�เนิินการตามแนวทาง ESG นอกจากนี้้� ยัังมีีแนวทางการเลืือก supplier ที่่มีี� แนวทาง ESG ในการดำำ�เนิินธุุรกิิจเท่่านั้้�นอีีกด้้วย เจ้้าของโครงการที่่�พััฒนาโครงการคาร์์บอนต่ำำ��หรืืออาคารเขีียว สามารถคืืนทุุนได้้เร็็วขึ้้�นจาก ผลตอบแทนทางตรงจากค่่าสาธารณููปโภคที่่�ลดลง (ค่่าน้ำำ�� ค่่าไฟ) สำำ�หรัับตลาดต่่างประเทศ การดำำ�เนิินการอาคารเขีียวทำำ�ให้้เจ้้าของพื้้�นที่่�สามารถเรีียกค่่าเช่่าเพิ่่�มได้้ประมาณ 20% ส่่วนดำำ�เนิินการอาคารเพื่่�อสุุขภาวะสามารถเรีียกค่่าเช่่าเพิ่่�มได้้ 4.4-7% [3] ในตลาดพื้้�นที่่� สำำ�นัักงานให้้เช่่าในประเทศไทย พบว่่ามาตรการทาง ESG สามารถเพิ่่�มอััตราค่่าเช่่าได้้มากถึึง 200 บาทต่่อตารางเมตร ต่่อเดืือน [4] ESG VALUE - ADD OCCUPATIONAL ATTRIBUTES HOW ARE THE KEY ATTRIBUTES SHAPING OCCUPATIONAL STRATEGIES IN BANGKOK VALUED? CBD
CENTRAL BUSINESS DISTRICT 500M TO BTS/MRT EASY ACCESS TO MOTORYWAY
LOCATION
STRUCTURE /FORM
+71
+28
WIDE, COLUMN FREE FLOORPLATE (1,000+ SQM) HIGH FLOOR TO CEILING HEIGHT (2.7+ SQM) FULL OR NEAR FULL FLOOR TO CEILING WINDOWS
ENVIRONMENTAL IMPACT
FULL RETAIL SUPPORT HEALTH & WELLBEING FACILITIES OPEN, GREEN SPACES, COMMON AREAS LIMITED RETAIL SUPPORT
AMENITIES
TECHNOLOGY SUPPORT
CONTACTLESS TECHNOLOGY AIR QUALITY MONITORING & FILTRATION SYSTEM DIGITAL SECURITY & ACCESS CONTROL
ENGAGEMENT & ACTIVITIES
NETWORKING EVENTS, MARKETS/BAZAARS
AMBIENCE & MANAGEMENT
GOOD LANDLORD/PROPERTY MANAGEMENT SPACIOUS LOBBY WITH NATURAL LIGHTING MULTIPLE ENTRY/EXIT POINTS PROFESSIONAL CONCIERGE SERVICE
+57
+43 +40
CERTIFICATION (LEED, WELL, TREES) SOME FORM OF ENERGY - EFFICIENT DESIGN
+50
+33
+25 +21
+128
+42
+41
+52
+51 +47
+20
+32 +31 +25
5.2 ESG ESG เป็็นแนวคิิดที่่�พััฒนามาจากแนวคิิดความยั่่�งยืืน (sustainability) โดยคำำ�นึึงถึึงผู้้�คนและธรรมาภิิบาล ควบคู่่�ไปกัับสิ่่�งแวดล้้อม ESG เป็็นแนวคิิดเกี่่ย� วกัับการพััฒนาองค์์กรอย่่างยั่่ง� ยืืน ซึ่่ง� ย่่อมาจาก Environment, Social และ Governance เทรนด์์เรื่่�องการดำำ�เนิินธุุรกิิจอย่่างยั่่�งยืืนของภาคธุุรกิิจมีีความเข้้มข้้น โดยเฉพาะในระดัับ สากลที่่�มีีความเข้้มข้้นสููงกว่่ากฎหมายในบางประเทศ ดัังนั้้�น การดำำ�เนิินการเรื่่�องนี้้�ในภาค เอกชนจึึงมีีความเคลื่่�อนไหวชััดเจนกว่่า รวมถึึงมีีผลต่่อการตััดสิินใจเลืือกคู่่�ธุุรกิิจ ผลิิตภััณฑ์์ รวมถึึงพื้้�นที่่�สำำ�นัักงานและอาคารที่่�จะเช่่าอีีกด้้วย เมื่่�ออุุตสาหกรรมการก่่อสร้้างและใช้้งานอาคารเป็็นต้้นเหตุุของการปล่่อยคาร์์บอนถึึง 40% ของการปล่่อยทั้้�งหมด การลดคาร์์บอนฟุุตพริ้้น� ท์์ในกลุ่่�มอาคารจึึงมีีส่่วนสำำ�คัญ ั สำำ�หรัับองค์์กร และภาพรวม ดัังนั้้�น นอกจากมาตรการและการวััดค่่าทางสิ่่�งแวดล้้อม (environment) จึึงเกิิดการขยายตััวของแนวทางและเครื่่�องมืือทางสัังคม (social) และบรรษััทภิิบาล (corporate governance) เพื่่�อช่่วยให้้ผู้้�พััฒนาโครงการประเมิินคุุณค่่าเพื่่�อสื่่�อสารทั้้�ง เชิิงธุุรกิิจและสัังคม จากการศึึกษามุุมมองของนัักลงทุุนในไทยปีี ค.ศ. 2022 [4] พบว่่าแรงจููงใจหลัักที่่�ทำำ�ให้้มีี การนำำ�เอา ESG มาใช้้ในการดำำ�เนิินการโครงการสููงสุุดได้้แก่่ เพื่่�อลดผลกระทบของโครงการ ในพอร์์ตโฟลิิโอในอนาคต (39%) ความต้้องการสร้้างการเปลี่่�ยนแปลง (32%) ผลตอบแทน ที่่�ดีีขึ้้�น (29%) และลดความเสี่่�ยงจากข้้อบัังคัับทางกฎหมายที่่�อาจเกิิดขึ้้�นในอนาคต (16%) อีีกส่่วนหนึ่่ง� ของแรงขัับเคลื่่�อนได้้แก่่สถานการณ์์โควิิด-19 ที่่ทำ� �ำ ให้้เกิิดการล็็อกดาวน์์และปรัับเปลี่่ย� นโครงสร้้างของการเช่่าพื้้�นที่่สำ� �นั ำ กั งานเปลี่่ย� นไป จากที่่เ� คยอยู่่�ในระดัับสููงถึึง 93.2-93.5% ในช่่วงปีี ค.ศ. 2018-2019 มาอยู่่�ที่่� 82.9% ในปีี ค.ศ. 2022 และ 80% ในปีี ค.ศ. 2023 [5] ในขณะที่่�โครงการสำำ�นัักงานสร้้างใหม่่มีีการดำำ�เนิินการอย่่างต่่อเนื่่�อง ดัังนั้้�น การดำำ�เนิินการ เชิิง ESG ทำำ�ให้้พื้้�นที่่�มีีความน่่าสนใจสำำ�หรัับผู้้�เช่่ามากขึ้้�นในเชิิงความสอดคล้้องของนโยบาย บริิษััทและการลงทุุน
+61
NOTE: VALUES ARE IN THB/SQ M/MONTH
ภาพที่ 5.1 ESG Value ที่มา: https://assets.kpmg.com/content/dam/kpmg/th/pdf/2022/05/real-estate-in-the-new-esg-reality.pdf
102
103
TREND ในช วง 1-2 ป นี้
(OCCUPANCY RATES [%]) 93.5%
93.2%
90.6%
86.9%
82.9%
ออฟฟ ศสํานักงาน และห างค าปลีก: ดีมานด ที่อ อนแอจาก WFH/Online Shopping ทําให ธุรกิจอาจอยู ในภาวะที่ ไม เอื้อต อการขยายพื้นที่ หรือโครงการใหม 80.0%
87.9%
93.6%
95.2%
93.4%
91.0%
WHY ESG? ปรับปรุงอาคารเก าให ได มาตรฐานเพื่อ 1.
ประหยัดค าใช จ ายด านพลังงาน ทั้งไฟฟ าและนํ้าเพิ�มโอกาสในการสร าง ผลกําไรที่มากขึ้นแม ไม ได ขยายพื้นที่เช า
2. ขยายฐานผู เช าไปยังกลุ มที่ ให
ความสําคัญด าน ESG โดยเฉพาะ ผู เช าต างประเทศ Office WFH ทําให ความต องการเช าสํานักงานลดลง
2018
2019
OFFICE
2020
2021
2022F
• WFH ทําให ความต องการเช าสํานักงานลดลง • Supply พื้นที่เป ดใหม เพิ�มขึ้นมากใน 1-2 ป
2023F
2017E
2018E
2019E
2020E
2021E
RETAIL
• COVID-19 ทําให ผู บริโภคหันไป ช องทาง Online Shopping มากขึ้น
ภาพที่่� 5.2 ความสำำ�คััญของแนวทาง ESG กัับการปรัับตััวทางธุุรกิิจ ทีม่ า: https://krungthai.com/Download/economyresources/EconomyResourcesDownload_469Final_GRESB_LEED.pdf
IN ECOSYSTEM 5.3 TRUST ระบบนิิเวศ (ecosystem) ของความยั่่�งยืืน มีีส่่วนสร้้างความ เชื่่�อมั่่�นให้้กัับผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียได้้ โดยข้้อมููลจากการศึึกษาของ State Street Global Advisor 2017 [6] ที่่� ได้้ศึึกษาผู้้�ลงทุุน กว่่า 475 องค์์กร ในสหรััฐอเมริิกา ยุุโรป และเอเชีียแปซิิฟิิค พบว่่าผู้้�ลงทุุนสถาบััน กว่่า 80% เลืือกลงทุุนกัับองค์์กรที่่�มีีการ ดำำ�เนิินธุุรกิิจตามหลััก ESG นอกจากนี้้�ยัังพบว่่า มีีบางธุุรกิิจที่่� กำำ�หนดให้้คู่่�ธุุรกิิจต้้องมีีการดำำ�เนิินการตามหลััก ESG
สำำ�หรัับประเทศไทย ตลาดหลัักทรััพย์์แห่่งประเทศไทยจััดทำำ� Thailand Sustainability Investment THSI [7] หรืือรายชื่่�อหุ้้�นยั่่�งยืืนตั้้�งแต่่ปีี พ.ศ. 2558 ซึ่่�งเป็็นหุ้้�นของบริิษััท จดทะเบีียนที่่มีี� การดำำ�เนิินธุุรกิิจอย่่างยั่่�งยืืนโดยคำำ�นึึงถึึงสิ่่�งแวดล้้อม มีีความรัับผิิดชอบต่่อสัังคม และมีีการบริิหารงานตามหลัักธรรมาภิิบาล หรืือ ESG เพื่่�อเป็็นอีีกทางเลืือกหนึ่่�งสำำ�หรัับ ผู้้�ลงทุุน ที่่�ต้้องการลงทุุนตามแนวทางของการลงทุุนอย่่างมีีความรัับผิิดชอบ (responsible investment) ซึ่่�งมีีแนวโน้้มจำำ�นวนของ ผู้้�ลงทุุนที่่�ต้้องการลงทุุนกัับหุ้้�นยั่่�งยืืนมากขึ้้�นเรื่่�อยๆ สอดคล้้องกัับตััวบทกฎหมายที่่�มีีการพััฒนาไปในแนวทางเดีียวกััน [7,8] นอกจากนี้้� ONE Report ยัังมีีการจััดทำำ�รายงานประจำำ�ปีี มีีการเปลี่่�ยนแปลงจากการแยกเล่่มรายงานความ ยั่่�งยืืนกัับรายงานการดำำ�เนิินงานประจำำ�ปีีให้้รวมเป็็นเล่่มเดีียวกััน เป็็นการประสานมาตรการ ความยั่่�งยืืนให้้เข้้ามามีีส่่วนร่่วมในการดำำ�เนิินธุุรกิิจ รวมถึึงทำำ�ให้้ข้้อมููลด้้านความยั่่�งยืืนสามารถ เข้้าถึึงผู้้�ลงทุุนได้้มากขึ้้�น นอกจากนี้้�ยัังผลัักดัันให้้บริิษััทในตลาดหลัักทรััพย์์ฯ เข้้าสู่่�การเป็็น สมาชิิกของดััชนีีชี้้�วััดความยั่่�งยืืนระดัับสากลที่่�ได้้รัับการยอมรัับทั่่�วโลกทั้้�งหมด 3 แห่่ง คืือ S&P Global [9], MSCI [10] และ FTSE Russell [11] 104
REFERENCES
[1] Saka, N., Olanipekun, A. O., & Omotayo, T. (2021). Reward and compensation incentives for enhancing green building construction. Environmental and Sustainability Indicators, 11, 100138. Available at https://doi.org/10.1016/j.indic.2021.100138 [2] ประชาชาติิธุรุ กิิจ. (2022, September 21). ขััตติยิ า อิินทรวิิชัยั ประธานเจ้้าหน้้าที่่�บริิหาร ธนาคารกสิิกรไทย [Video]. Youtube. https://www.youtube.com/watch?v=PfXqZJClAIw [3] Chegut, A., Sadikin, N., & Turan, I. (2020, December 1). The Financial Impacts of Healthy Buildings. The MIT Real Estate Innovation Lab. Available at https://realestateinnovationlab.mit.edu/research_article/ the- financial-impact-of-healthy-buildings/ [4] Buranakul, E., Polijunreed, I., Sariman, P., & Tanitichattanon, N. (2022, May 17). Real estate in the new ESG reality [Webinar]. KPMG. Available at https://assets.kpmg.com/content/dam/kpmg/th/pdf/2022/05/realestate-in-the-new-esg-reality.pdf [5] ธนาคารกรุุงไทย. Krungthai COMPASS ชวนทำำ�ความรู้้�จััก “GRESB” และ “LEED” 2 มาตรฐาน ESG ระดัับโลกของ ธุุรกิิจอสัังหาฯ. (March 2022). https://krungthai.com/Download/economyresources/EconomyResourcesDownload_469Final_GRESB_LEED.pdf [6] State Street Global Advisors. (2017). Performing for the Future. Available at https://www.ssga.com/ investment-topics/environmental-social-governance/2017/esg-capabilities-brochure.pdf [7] Sustainable Capital Market Development. (n.d). Thailand Sustainability Investment (THSI). SET. Available at https://setsustainability.com/page/thsi-thailand-sustainability-investment [8] Stanley, M. (2023, February 1). 5 Sustainable Investing Trends for Companies and Investors. MorganStanley. Available at https://www.morganstanley.com/ideas/sustainable-investing-trends-outlook-2023 [9] S&P Global. (2023). Corporate Sustainability Assessment 2023. S&P Global. Available at https://www. spglobal.com/esg/csa/ [10] MSCI. (2023). Available at https://www.msci.com [11] FTSE Russell. (2023). Available at https://www.ftserussell.com
105
ESG ESG เป็็นแนวคิิดที่่�พััฒนามาจากแนวคิิดความยั่่�งยืืน โดยคำำ�นึึงถึึงผู้้�คน และธรรมาภิิบาลควบคู่่�ไปกัับสิ่่�งแวดล้้อม
106
107
AND 6.1 BASELINE MEASUREMENT
6
NEXT STEP
การลดการปล่่อยคาร์์บอนของอาคารส่่งผลประโยชน์์กัับผู้้�มีี ส่่วนได้้ส่่วนเสีียในอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้างเป็็นอย่่างมาก ทั้้�งต่่อ สิ่่�งแวดล้้อม เศรษฐกิิจ และสัังคม ในด้้านสิ่่�งแวดล้้อม การลดการ ปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ ช่่วยลดภาวะโลกร้้อน รวมทั้้�งช่่วย ลดการใช้้ทรััพยากรธรรมชาติิจากผู้้�ผลิิต ทางเศรษฐกิิจช่่วยเพิ่่�ม ความสามารถในการแข่่งขัันของเจ้้าของอาคาร ผู้้�พััฒนาอาคาร และผู้้�ผลิิตวััสดุุก่่อสร้้าง และลดค่่าใช้้จ่่ายทางด้้านพลัังงานและการ ใช้้ทรััพยากรอื่่�นๆ ในขณะเดีียวกััน การพััฒนาอาคารให้้มีีการปล่่อย คาร์์บอนสุุทธิิเป็็นศููนย์์ ก็็ทำำ�ให้้สัังคมโดยรวมดีีขึ้้�น คุุณภาพชีีวิิต ของคนดีีขึ้้�น เป็็นต้้น เพื่่�อให้้การดำำ�เนิินการไปสู่่� Pathway to Net Zero มีีความถููกต้้อง สมบููรณ์์ และเป็็นไปตาม หลัักการ ควรพิิจารณาให้้ครบถ้้วนตามการประเมิินผลกระทบตลอดวััฏจัักรชีีวิิต (life cycle assessment - LCA) ของอาคาร) ซึ่่�งขั้้�นตอนแรกที่่�มีีความจำำ�เป็็นเป็็นอย่่างมาก คืือ ขั้้�นตอน การคำำ�นวณปริิมาณการปล่่อยคาร์์บอน ณ ปััจจุุบัันของอาคาร ทั้้�งในสััดส่่วนของคาร์์บอน แฝง (embodied carbon) และ คาร์์บอนจากการใช้้งานอาคาร (operation carbon) ซึ่่�ง การคำำ�นวณค่่าพื้้�นฐาน (baseline) จำำ�เป็็นต้้องใช้้การคำำ�นวณทางวิิทยาศาสตร์์ที่่�ถููกต้้อง ตรวจสอบวิิเคราะห์์แหล่่งที่่�มาของการปล่่อยคาร์์บอน มีีแหล่่งข้้อมููลอ้้างอิิงค่่าการปล่่อย คาร์์บอนที่่�เชื่่�อถืือได้้เป็็นมาตรฐานสากล เพื่่�อนำำ�ไปสู่่�การตั้้�งเป้้าหมายในการลดการปล่่อย คาร์์บอน และการจััดทำำ�แผนการดำำ�เนิินการเพื่่�อการลดคาร์์บอนในอนาคตต่่อไป 109
6.2 VERIFICATION หลัังจากกระบวนการจััดทำำ�การคำำ�นวณค่่าพื้้�นฐาน (baseline) ของ ปริิมาณคาร์์บอนที่่�ปล่่อย รวมถึึงได้้มีีการดำำ�เนิินมาตรการเพื่่�อลด คาร์์บอนแล้้ว การเพิ่่�มความเชื่่�อมั่่�นว่่าการคำำ�นวณปริิมาณคาร์์บอนที่่� ปล่่อยออกมามีีความถููกต้้อง ต้้องการการทวนสอบข้้อมููลการปล่่อย คาร์์บอน (verification) ซึ่่�งนัับว่่าเป็็นอีีกหนึ่่�งขั้้�นตอนที่่�ถููกดำำ�เนิินการ ตามหลัักสากล เพื่่�อช่่วยให้้มั่่�นใจได้้ว่่า การกำำ�หนดเป้้าหมายการลด การปล่่อยคาร์์บอนจะเป็็นไปด้้วยความถููกต้้อง สามารถทำำ�ให้้อาคาร นั้้�นๆ เข้้าใกล้้ความเป็็นกลางทางคาร์์บอน หรืือ การปล่่อยก๊๊าซ เรืืื�อนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ที่่�แท้้จริิง โดยในปััจจุุบัันมีีหน่่วยงานใน ประเทศ ทั้้�งภาครััฐและเอกชนสามารถรัับหน้้าที่่�เป็็นผู้้�ทวนสอบให้้ กัับโครงการและองค์์กรได้้ และมีีแนวโน้้มจำำ�นวนผู้้�ทวนสอบเพิ่่�มขึ้้�น ซึ่่�งเป็็นประโยชน์์ต่่อการขัับเคลื่่�อนสัังคมคาร์์บอนต่ำำ��ในอนาคต
6.3 RESILIENCE การพััฒนาเป้้าหมายการเป็็นอาคารที่่�มีีการปล่่อยคาร์์บอนสุุทธิิ เป็็นศููนย์์ (net zero carbon building) จำำ�เป็็นต้้องอาศััยความ ร่่วมมืือของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียที่่�เกี่่�ยวข้้องทั้้�งหมดในอุุตสาหกรรมการ ก่่อสร้้างอาคาร มุ่่�งมั่่�นตั้้�งใจในการลดการปล่่อยคาร์์บอน ทั้้�งในแง่่มุุม ของผู้้�ผลิิตวััตถุุดิิบสำำ�หรัับการผลิิตสิินค้้า การพััฒนาเทคโนโลยีี การผลิิตและการติิดตั้้�งเพื่่�อลดผลกระทบต่่อสิ่่�งแวดล้้อม การพััฒนา รููปแบบการออกแบบอาคาร การเลืือกใช้้วััสดุุก่่อสร้้าง การเลืือกใช้้ อุุปกรณ์์ เครื่่�องจัักรกลในอาคาร และการคำำ�นึึงถึึงการจััดการซาก หลัังจากการใช้้งานอาคารสิ้้�นสุุดลง ซึ่่�งล้้วนเป็็นเป้้าหมายที่่�ท้้าทาย ต้้องอาศััยการเปลี่่�ยนแปลง และปรัับตััวขององคาพยพไปสู่่�มาตรฐาน ใหม่่ ทั้้�งนี้้�เพื่่�อให้้การพััฒนาอาคารบรรลุุเป้้าหมายและเพื่่�อยกระดัับ มาตรฐานการก่่อสร้้างให้้มีีส่ว่ นช่่วยในการลดการปล่่อยก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ และผลกระทบทางสิ่่ง� แวดล้้อมอื่่�นๆ ต่่อไป 110
อภิิธานศััพท์์
NET ZERO EMISSIONS
การปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์
การบรรลุุเป้้าหมาย net zero emissions นั้้�นโดยมากเป็็นเป้้าหมายระดัับ ประเทศ และหลัังจากความพยายาม “ลด” การปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก ผ่่านมาตรการต่่างๆ ที่่�สามารถทำำ�ได้้แล้้ว กิิจกรรมในบางอุุตสาหกรรม ก็็อาจยัังมีีการปล่่อยก๊๊าซ เรืือนกระจกอยู่่�ดีี เพื่่�อให้้บรรลุุเป้้าการปล่่อย สุุทธิิเป็็นศููนย์์ก็็ให้้ใช้้ มาตรการ “กำำ�จััด” ก๊๊าซเรืือนกระจกผ่่านกิิจกรรมที่่� สามารถดููดซัับก๊๊าซเรืือนกระจกออกจากชั้้�นบรรยากาศในระยะยาว เช่่น การปลููกป่่า การปลููกพืืชคลุุมดิินเพิ่่�มเติิมในพื้้�นที่่�เกษตรเพื่่�อเพิ่่�มการตรึึง คาร์์บอนในดิิน หรืือใช้้เทคโนโลยีีในการดููดคาร์์บอนที่่�ดัักจัับและกัักเก็็บ โดยตรง ที่่�มา: สถาบัันวิิจัยั เศรษฐกิิจ ป๋๋วย อึ๊๊�งภากรณ์์ https://www.pier.or.th/blog/2022/0301/
อาคารเขีียว
CARBON NEUTRALITY
ความเป็็นกลางทางคาร์์บอน
การบรรลุุเป้้าหมาย carbon neutrality นั้้�นอาจเป็็นเป้้าหมายระดัับบุุคคล องค์์กร หรืือประเทศ สามารถทำำ�ได้้โดยการ “ลด” และ “ชดเชย” (lower & offset) การปล่่อยคาร์์บอนจนเป็็นกลาง ซึ่่�งมาตรการ “ลด” การปล่่อย คาร์์บอนหรืือก๊๊าซเรืือนกระจก ได้้แก่่ การลดหรืือละกิิจกรรมบางอย่่าง ที่่�ไม่่จำำ�เป็็น (เช่่น กิิจกรรมโลจิิสติิกส์์) การใช้้เทคโนโลยีีการผลิิตและ การจััดการของเสีียที่่�สะอาดขึ้้�น หรืือการใช้้พลัังงานสะอาดเช่่นพลัังงาน แสงอาทิิตย์์ หรืือ พลัังงานลม เป็็นต้้น และหากยัังมีีการปล่่อยคาร์์บอน อยู่่� ก็็ “ชดเชย” หรืือ offset คาร์์บอนที่่�ยัังปล่่อยอยู่่�ผ่่านกิิจกรรมที่่�ไปลด คาร์์บอนที่่�อื่่�น เช่่น การปลููกป่่า การลงทุุนในพลัังงานหมุุนเวีียน หรืือการ ซื้้�อคาร์์บอนเครดิิต เป็็นต้้น
คืืออาคารที่่�ได้้รัับการออกแบบและก่่อสร้้างอย่่างพิิถีีพิิถััน โดยคำำ�นึึงถึึงการ ใช้้ทรััพยากรอย่่างชาญฉลาด เพื่่�อให้้ได้้อาคารที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม และใส่่ใจต่่อสุุขภาพของผู้้�ใช้้อาคาร ในสหรััฐอเมริิกาได้้มีีการพััฒนา เกณฑ์์ประเมิินอาคารเขีียวขึ้้�นมาชื่่�อว่่า LEED (Leadership in Energy & Environmental Design) สำำ�หรัับในประเทศไทยก็็มีีการสร้้างเกณฑ์์ที่่� ชื่่�อว่่า TREES (Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability) จััดตั้้�งโดย สถาบัันอาคารเขีียวไทย (TGBI) เพื่่�อใช้้เป็็นเกณฑ์์ ประเมิินอาคารเขีียวในไทย โดยมีีเค้้าโครงที่่�คล้้ายกัับ LEED พอสมควร แต่่มีีการปรัับให้้เหมาะสมกัับบริิบทสภาพแวดล้้อม และภููมิิภาคประเทศ ในฝั่่�งเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ให้้มากยิ่่�งขึ้้�น ที่่�มา : https://tgbi.or.th/news-activities/article/2022/06/13/1823/
ที่่�มา: สถาบัันวิิจัยั เศรษฐกิิจ ป๋๋วย อึ๊๊�งภากรณ์์ https://www.pier.or.th/blog/2022/0301/
112
113
CARBON FOOTPRINT
คาร์์บอนฟุุตพริ้้�นท์์
ผู้้�เขีียน
คาร์์บอนฟุุตพริ้้น� ท์์ขององค์์กร คืือ ปริิมาณก๊๊าซเรืือนกระจกที่่ปล่ � อ่ ย ออกมาจากกิิจกรรมต่่างๆ ขององค์์กร เช่่น การเผาไหม้้ของเชื้้�อเพลิิง การใช้้ไฟฟ้้า การจััดการของเสีีย และการขนส่่ง วััดออกมาในรููปตััน คาร์์บอนไดออกไซด์์เทีียบเท่่า โดยพิิจารณาจาก 3 ส่่วนหลััก แบ่่งเป็็น SCOPE ดัังนี้้� SCOPE I: การคำำ�นวณคาร์์บอนฟุุตพริ้้�นท์์ทางตรง (direct emissions)
จากกิิจกรรมต่่างๆ ขององค์์กรโดยตรง เช่่น การเผาไหม้้ของเครื่่�องจัักร การใช้้พาหนะขององค์์กร (ที่่�องค์์กรเป็็นเจ้้าของเอง) การใช้้สารเคมีี ในการบำำ�บััดน้ำำ��เสีีย การรั่่�วซึึม/ รั่่�วไหลจากกระบวนการหรืือกิิจกรรม เป็็นต้้น
SCOPE II: การคำำ�นวณคาร์์บอนฟุุตพริ้้�นท์์ทางอ้้อมจากการใช้้พลัังงาน
(energy indirect emissions) ได้้แก่่ การซื้้�อพลัังงานมาใช้้ในองค์์กร ได้้แก่่ พลัังงานไฟฟ้้า พลัังงานความร้้อน พลัังงานไอน้ำำ�� เป็็นต้้น
ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.กััลยา ตัันติิยาสวััสดิิกุุล
นิิษฐา ภููษาชีีวะ
รองศาสตราจารย์์ ดร.ดารณีี จารีีมิิตร
กิิตติินััทธ์์ ธรรมรัักษ์์
ปััจจุุบัันดำำ�รงตำำ�แหน่่งผู้้�ช่่วย ศาสตราจารย์์ คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััย ธรรมศาสตร์์ มีีความเชี่่ย� วชาญและ มีีประสบการณ์์ในการให้้คำ�ปรึึ ำ กษา ในการดำำ�เนิินโครงการวางแผนชุุดภาพ อนาคตเพื่่�อสร้้างความเปลี่่ย� นแปลง (Transformative Scenario Planning) และการคาดการณ์์อนาคตเชิิงกลยุุทธ์์ (Strategic Foresight) เพื่่�อสร้้าง นวััตกรรมองค์์กรให้้กับั ทั้้�งภาครััฐ และเอกชน
SCOPE III: การคำำ�นวณคาร์์บอนฟุุตพริ้้น� ท์์ทางอ้้อมด้้านอื่่น� ๆ การเดิินทาง
ของพนัักงานด้้วยพาหนะที่่ไ� ม่่ใช่่ขององค์์กร การเดิินทางไปสััมมนานอกสถานที่่� การใช้้วัสั ดุุอุปุ กรณ์์ต่า่ งๆ เป็็นต้้น
ปััจจุุบัันดำำ�รงตำำ�แหน่่ง Associate Director – Building Certification บริิษัทั เอสซีีจีี บิิลดิ้้�ง แอนด์์ ลีีฟวิ่่ง� แคร์์ คอนซััลติ้้�ง จำำ�กััด มีีประสบการณ์์ ให้้คำ�ปรึึ ำ กษาโครงการอาคารเขีียวและ อาคารเพื่่�อสุุขภาวะผ่่านมาตรฐานระดัับ สากลกว่่า 15 ปีี ด้้วยตำำ�แหน่่งที่่ปรึึ � กษา และผู้้�เชี่่ย� วชาญอาคารที่่เ� ป็็นมิิตรต่่อ สิ่่�งแวดล้้อม LEED AP, ผู้้�เชี่่ย� วชาญ อาคารเพื่่�อสุุขภาวะ WELL AP, ที่่ปรึึ � กษา ภููมิิภาคเอเชีียของมาตรฐาน fitwel โดยกรมควบคุุมโรคสหรััฐอเมริิกา (U.S.CDC) และ วิิทยากรอย่่างเป็็น ทางการคนแรกในประเทศไทย ของ สภาอาคารเขีียว สหรััฐอเมริิกา USGBC Faculty
ที่่�มา: องค์์การบริิหารจััดการก๊๊าซเรืือนกระจก (องค์์การมหาชน) http://thaicarbonlabel.tgo.or.th/index.php?lang=TH&mod=YjNKbllXNXBlbUYwYVc5dVgybHo
LIFE CYCLE ASSESSMENT (LCA)
Life Cycle Assessment (LCA) หรืือ การประเมิินผลกระทบตลอด วััฏจัักรชีีวิิต คืือวิิธีีการประเมิินเชิิงปริิมาณของการใช้้ทรััพยากร และ ผลกระทบต่่อสิ่่�งแวดล้้อมที่่�เกิิดขึ้้�นจากกิิจกรรมต่่างๆ โดยการพิิจารณา ตลอดวััฏจัักรชีีวิิต เช่่น การพิิจารณาวััฏจัักรชีีวิิตของการก่่อสร้้างอาคาร ซึ่่�งประกอบด้้วยผลิิตภััณฑ์์ วััสดุุ หรืือการก่่อสร้้างอาคาร ตั้้�งแต่่การ จััดหาวััตถุุดิิบ การผลิิตสิินค้้า การขนส่่ง การติิดตั้้�ง การใช้้งานอาคาร และการจััดการซากหลัังการใช้้งานอาคารหลัังการใช้้งาน โดยมีีการระบุุถึึง ปริิมาณพลัังงานและวััตถุุดิิบที่่�ใช้้ รวมถึึงของเสีียที่่�ปล่่อยออกสู่่�สิ่่�งแวดล้้อม ซึ่่�งสามารถทำำ�ให้้ทราบถึึงผลกระทบทางสิ่่�งแวดล้้อมตลอดวงจรชีีวิิตของ อาคาร ทำำ�ให้้สามารถปรัับปรุุงแก้้ไขปััญหาที่่�เกิิดขึ้้�นได้้ครบทุุกด้้าน
114
ปััจจุุบันั ดำำ�รงตำำ�แหน่่งรองศาสตราจารย์์ สาขาวิิชาสถาปััตยกรรม คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์และการผัังเมืือง มหาวิิทยาลััย ธรรมศาสตร์์ จบการศึึกษาปริิญญาเอก ด้้าน Architectural Engineering ที่่� Pennsylvania State University, USA มีีความสนใจด้้านการอนุุรักั ษ์์พลัังงานใน อาคาร การออกแบบสภาแวดล้้อมภายใน อาคารและเมืืองเพื่่�อส่่งเสริิมคุุณภาพ ชีีวิิตที่ดีี่�
ปััจจุุบันั ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง Associate Director - Project Enhancement for Health & Well-being Building บริิษััท เอสซีีจีี บิิลดิ้้�ง แอนด์์ ลีีฟวิ่่ง� แคร์์ คอนซััลติ้้�ง จำำ�กัดั เป็็นที่่ปรึึ � กษาด้้านการออกแบบอาคารเพื่่�อ สุุขภาวะที่่ดีี� (Consultant for Healthcare & Well-being Building : Architectural & Interior Design), ผู้้�เชี่่ย� วชาญอาคาร เขีียว (TREE-A NC), การออกแบบ สภาพแวดล้้อมเพื่่�อผู้้�สููงวััย (Elderly Design), การออกแบบอาคารเพื่่�อความ ยั่่�งยืืน (Sustainable Building Design) และ การออกแบบอาคารสถานพยาบาล (Hospital Design) ตามมาตรฐาน JCI/HA Standard
115
ดร.ภาณุุพัันธ์์ ผาพัันธุ์์�
ปััจจุุบันั ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง Associate Director – Net zero building services บริิษัทั เอสซีีจีี บิิลดิ้้�ง แอนด์์ ลีีฟวิ่่ง� แคร์์ คอนซััลติ้้�ง จำำ�กัดั เป็็นที่่ปรึึ � กษาด้้านคาร์์บอนฟุุตพริ้้น� ท์์ การประเมิินวััฏจัักรชีีวิิต และการปลดปล่่อย ก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิเิ ป็็นศููนย์์ เป็็นผู้้�เชี่่ย� วชาญ ด้้านวััสดุุก่อ่ สร้้างที่่เ� ป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม การจััดทำ�ำ รายงานความยั่่�งยืืน (GRI Report) การให้้คำ�ปรึึ ำ กษาการบริิหารจััดการอาคาร ตามหลัักการเศรษฐกิิจหมุุนเวีียน (Circular Economy), อาคารเป็็นมิิตรกัับสิ่่�งแวดล้้อม (Green Building), และอาคารเพื่่�อการมีี สุุขภาวะที่่ดีี� (Well-Being Building)
O 116
ประเทศไทยตั้้�งเป้้าหมายการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจกสุุทธิิเป็็นศููนย์์ (Net Zero Emissions) ภายในปีี พ.ศ. 2608
117
119
120
121
วิกฤตภาวะโลกร อนและความถี่ ตลอดจนความรุนแรงที่เพิ�มขึ้นของภัยพิบัติ ทางธรรมชาติมีสาเหตุหลักมาจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ โดยอุณหภูมิของโลกจะสูง เฉลี่ยถึง 2.7 องศาเซลเซียสภายในป ค.ศ. 2100 แนวทางแก ไขภาวะโลกร อนเกิดขึ้นได ผ าน ความร วมมือ ร วมกับสหประชาชาติ ซึ่งก อตั้ง กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว าด วยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) ขึ้นในป พ.ศ. 2535 และพิธีสารเกียวโต ข อตกลงปารีส มีเป าหมายเพื่อลดการปล อยก าซคาร บอนไดออกไซด การลดการปล อยก าซคาร บอนไดออกไซด ครอบคลุม ถึงการบรรเทาผลกระทบ การปรับตัว การเงิน เพื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กลไกความ โปร งใส การทบทวนการดําเนินงานระดับโลก และการ สนับสนุนในด านต างๆ รวมถึงการพัฒนาและการสร าง ขีดความสามารถในการถ ายทอดเทคโนโลยี ป จจุบันประเทศส วนใหญ ตั้งเป าที่จะเป นกลาง ทางคาร บอนและมีการปล อยก าซเรือนกระจกสุทธิ เป นศูนย แล ว สําหรับประเทศไทยได เสนอแผนงาน การบรรเทาผลกระทบระดับประเทศที่กําหนด ระดับชาติ ในป พ.ศ. 2564-2573 โดยมี เป าหมายเพื่อลดการปล อยก าซเรือนกระจก ร อยละ 20-25 ภายในป พ.ศ. 2573