Vo l.1 2 no.40 J ul y-S e p tember 2015
Vol. 12 n o .4 0 J u ly - S e p te mb e r 2 015
CONTENTS
วารสาร TDSA News จัด ทำ � ขึ้ น เพื่ อ เผยแพร่ ข่ า วสาร ของสมาคมการขายตรงไทย ไ ม่ มี ว า ง จำ � ห น่ า ย ทั่ ว ไ ป ข้ อ ความใดๆ ในวารสาร นี้ เ ป็ น ลิ ข สิ ท ธิ์ ข องสมาคม โดยชอบตามกฏหมาย แ ล ะ ส ง ว น ลิ ข สิ ท ธิ์ ใ น ทุ ก กรณี ห้ า มผู้ ใ ดละเมิ ด ทำ�ซ้ำ� คัดลอกข้อความใดๆ ผูล้ ะเมิดจะถูกดำ�เนินคดีสงู สุด ตามกฎหมาย
02
สารจากนายกสมาคม
04
บทบรรณาธิการ
Activities 05 06
07
บก.ปคบ. เยี่ยมเยือนสมาคมการขายตรงไทย สมาคมการขายตรงไทยให้ความรู้แก่สถาบัน การศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีนีรชาบริหารธุรกิจ และนีรชาศึกษา สมาคมการขายตรงไทยเยี่ยมเยือน บริษัท 4ไล้ฟ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
Knowledge 08
แนวปฏิบัติที่ดีในอุตสาหกรรม: การจัดทำ�ระบบการ บริหารงานและประเมินผลองค์กร!
12
อุตสาหกรรมการขายตรงระดับโลก
19
การสำ�รวจข้อมูลสถิติของสมาคมการขายตรงไทย
24
CEO TIP: นายกสมาคมการขายตรงไทยฉายภาพ “ขายตรง” สดใสในเออีซี
26
New Products
Mayor’s
MESSAGE สวั ส ดี ค่ ะ ท่ า นสมาชิ ก คณะกรรมการ และนักธุรกิจอิสระ ที่เคารพรักทุกท่าน ก่ อ นอื่ นในนามของสมาคมการขายตรงไทย ดิ ฉั น ขอขอบคุ ณ บริ ษั ท สมาชิ ก ที่ ไ ด้ ร่ ว มแรงร่ ว มใจจั ด งานวันเกียรติยศนักขายตรงไทยประจำ�ปี 2558 ได้ สำ�เร็จลุล่วงด้วยดี นับเป็นอีกหนึ่งค่ำ�คืนแห่งความภาค ภูมิใจของหลายๆ ท่านที่มีโอกาสร่วมงานภายใต้แนวคิด “The Proud Night” ไม่ว่าจะเป็นนักธุรกิจที่ขึ้นรับ รางวัล ตัวแทนบริษัทสมาชิก แขกผู้มีเกียรติทั้งตัวแทน จากภาครัฐ รวมถึงคณะเจ้าหน้าทีจ่ าก WFDSA ตัวแทน ของสมาคมขายตรงจากเอเชีย – แปซิฟิค ที่ต่างชื่นชม กิจกรรมที่เราได้ร่วมกันจัดขึ้น เพราะสิ่งเหล่านี้สะท้อน ให้เห็นถึงการเชิดชูเกียรตินักธุรกิจขายตรง และส่งเสริม ให้เกิดการพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนเสริมสร้างและยก ระดับภาพลักษณ์ของสมาคมที่มีความมั่นคงมายาวนาน ให้เป็นที่รู้จักแก่สาธารณชนมากยิ่งขึ้น
Association Performance Program เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจขายตรง หารือแลกเปลี่ยนกรณีศึกษาของสมาคมต่างๆ ใน ด้านแผนการระยะยาว (Long Range Plan) มาตรฐานการปฏิบัติงาน (DSA Performance Standards) คู่มือและการยกระดับจรรยาบรรณ ธุ ร กิ จ ขายตรง (Code of Ethics toolkit and update) การแลกเปลี่ยนแบบแผนปฏิบัติ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพระหว่ า งสมาคมแต่ ล ะประเทศ (Exchange of Best Practice) และการหารือ เกี่ยวกับกรณีศึกษาที่หยิบยกขึ้นมาเพื่อหาแนวทางที่ สามารถปรับใช้ได้ทั่วโลก (Discussion on case studies) รวมถึงการเยี่ยมชมบริษัทสมาชิกของ สมาคม ได้แก่ บริษทั กิฟฟารีน สกายไลน์ ยูนติ ี้ จำ�กัด และ บริษัท แอมเวย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ซึ่งข้อมูล เหล่านีท้ างสมาคมได้รวบรวมไว้เพือ่ เป็นประโยชน์ดา้ น ต่างๆ ในโอกาสต่อไป
และในโอกาสเดี ย วกั น ที่ ค ณะเจ้ า หน้ า ที่ จ าก WFDSA และสมาคมการขายตรงจากเอเชี ย แปซิฟิค เดินทางมายังประเทศไทย เรายังได้ร่วมประชุม
ในด้านที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารสมาคม มี เ จตนารมณ์ ที่ จ ะเป็ น ศู น ย์ ก ลางของการรวบรวม ข่าวสารต่างๆ โดยได้เคยขอความร่วมมือจากท่าน
สมาชิกเพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ ขายตรง และจัดทำ�เป็นบทสรุปผลสถิติการวิจัยธุรกิจ ขายตรงไทยเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ซึง่ สมาคมหวังว่าท่าน สมาชิกจะนำ�ไปใช้เป็นประโยชน์แก่การดำ�เนินธุรกิจของ ท่านต่อไปไม่มากก็น้อย และล่ า สุ ด สมาคมได้ ร่ ว มกั บ สคบ. และ DSI จัดทำ�วิดีทัศน์ในรูปแบบแอนนิเมชั่น ภายใต้ชื่อ “แยกแยะธุรกิจขายตรงจากแชร์ลูกโซ่” เพื่อเป็นสื่อ ความรู้ที่อธิบายเกี่ยวกับความแตกต่างของธุรกิจขาย ตรงที่แท้จริงออกจากแชร์ลูกโซ่ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อทุกภาคส่วนทั้งผู้ประกอบการ นักธุรกิจอิสระ ผู้บริโภค รวมถึงหน่วยงานภาครัฐที่ เกี่ยวข้อง ซึ่งท่านสามารถรับชม หรือดาวน์โหลดไฟล์ ได้ทเี่ ว็บไซต์ของสมาคม http://www.tdsa.org
ดร.ภคพรรณ ลีวุฒินันท์ นายกสมาคมการขายตรงไทย
3
EDITOR’S
talk
‘พลังใจ’ เป็นแรงขับเคลื่อนที่ท�ำให้เกิดความส�ำเร็จมาแล้วมากมาย ยิง่ ในธุรกิจเครือข่ายของพวกเรา แรงใจจะน�ำมาสูแ่ รงกายทีพ่ ร้อมจะทุม่ เทและ ก้าวเดินสู่เป้าหมายอย่างไม่หวั่นเกรงอุปสรรคใดๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง สภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ยิ่งต้องอาศัยใจที่มั่นคงและเข้มแข็ง เพื่ออนาคตที่ดี ยิ่งๆ ขึ้นกว่านี้ ผมยังเชื่อเสมอว่า เมื่อผ่านช่วงๆ นี้ไปได้ ธุรกิจเครือข่ายของไทยจะยิ่ง เติบโตขึน้ แน่นอน ผมจึงขอน�ำข่าวดีมากมายในธุรกิจขายตรงมาเล่าสูก่ นั ฟังเพือ่ เป็นก�ำลังใจให้ทุกท่านครับ! เมื่อปีที่แล้ว ขณะที่เศรษฐกิจทั่วโลกยังผันผวน แต่ธุรกิจเครือข่ายของ เรากลับเติบโตถึง 6.4%* นั่นหมายความว่า อุตสาหกรรมนี้มีรากฐานที่ เข้ ม แข็ ง มี บ ริ ษั ท ที่ มั่ น คง ผู ้ จ�ำหน่ า ยอิ ส ระทั่ ว โลกที่ เ ก่ ง และแกร่ ง เกื อ บ 100 ล้านคน* หรือเพิ่มขึ้นถึง 3.4%* รวมทั้งมีฐานลูกค้าที่มีความภักดี ซึ่งเมื่อน�ำมารวมกันแล้ว จะเป็นจุดแข็งที่หาไม่ได้ในธุรกิจอื่นๆ เรื่องดีๆ อีกเรื่อง คือการเติบโตของโซเชียลมีเดียในประเทศไทย น�ำมาซึ่งรูปแบบใหม่ๆ ของการสื่อสารเพื่อเข้าถึงลูกค้า เพื่อนๆ บริษัทใดได้ เตรียมความพร้อมและท�ำการบ้านเรื่องนี้อย่างจริงจัง จะท�ำให้เกิดลูกค้า ที่เหนียวแน่นกับแบรนด์ ชนิดที่เรียกว่า ‘ครองใจ’ กันทีเดียว ขณะเดียวกัน หลายๆ ท่านก็อาจใช้ช่วงเวลานี้ศึกษาหาข้อมูล เพื่อจะได้ก้าวตามกระแส ออนไลน์ได้ไม่ตกเทรนด์ ความมาแรงของผลิตภัณฑ์เพือ่ สุขภาพและความงาม น�ำมาซึง่ ภาพอัน สดใสของธุรกิจเครือข่าย ทีผ่ มกล้ากล่าวเช่นนี้ เพราะผลิตภัณฑ์ทงั้ สองประเภท ต้องอาศัยการอธิบาย ทดลอง และมีตัวอย่างของผู้ใช้ที่ได้ผลมาประกอบ ซึ่งตรงกับแนวทางการด�ำเนินธุรกิจเครือข่ายเป็นอย่างยิ่ง เรามีผลิตผลของ ผลิตภัณฑ์จ�ำนวนมาก นั่นคือ ผู้จ�ำหน่ายอิสระที่ได้ใช้ผลิตภัณฑ์ของเรานั่นเอง จึงนับได้ว่า เรามีพรีเซ็นเตอร์ (Presenter) ที่ภักดีกับแบรนด์ ในขณะที่ ธุรกิจอื่นๆ ไม่มี ข่าวดีทั้งสามเรื่อง เป็นเพียงแค่เรื่องราวที่ผมหยิบยกมาเล่าเท่านั้น ความเป็ น จริ ง แล้ ว ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ก่ พ วกเราในฐานะผู ้ ท�ำธุ ร กิ จ ยังมีอีกมาก อยู่รอบๆ ตัวเรานั่นเอง... ขอเป็นก�ำลังใจให้ทุกท่านครับ ขอบคุณครับ กิจธวัช ฤทธีราวี กรรมการฝ่ายการสื่อสาร * ข้อมูลจากสมาพันธ์การขายตรงโลก
สมาคมการขายตรงไทย หมู่บ้าน เดอะพาราไดซ์ 48/49 หมู่ที่ 1 ซอยแจ้งวัฒนะ 14 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท์ (66) 0-2574-3208 โทรสาร (66) 0-2574-3209 เว็บไซต์ www.tdsa.org ผู้จัดทำ�
นายกสมาคม ภคพรรณ ลีวุฒินันท์ กรรมการฝ่ายการสื่อสาร/ บรรณาธิการ กิจธวัช ฤทธีราวี กองบรรณาธิการ สุกานดา ชุณหชัชราชัย ศิลปกรรม บริษัท พรอสเพอริที รีวีล จำ�กัด
Activities
บก.ปคบ. เยี่ยมเยือน สมาคมการขายตรงไทย พญ.นลินี ไพบูลย์ อุปนายกฝ่ายรัฐสัมพันธ์ ให้การต้อนรับ พ.ต.อ.ประเสริฐ วิจิตรทัศนา และ พ.ต.ท.ธรรมนิตย์ บุญเพ็ญ ผู้กำ�กับและรองผู้กำ�กับ 2 ตามลำ�ดับ จากกองบังคับการปราบปราม การกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ในโอกาสเยี่ยมเยือน สมาคมการขายตรงไทย เพื่อขอทราบข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจขายตรงและการพิจารณาข้อแตกต่างระหว่างขายตรงที่ถูกต้อง กับแชร์ลูกโซ่
5
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
สมาคมการขายตรงไทยให้ความรู้แก่สถาบันการศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีนีรชาบริหารธุรกิจและนีรชาศึกษา คุณสุชาดา ธีรวชิรกุล กรรมการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ ให้เกียรติเป็นวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อให้ ความรูเ้ กีย่ วกับธุรกิจขายตรงแก่นกั เรียนและนักศึกษาระดับปวช. และปวส. สาขาการตลาด และ การจัดการ จำ�นวนเกือบ 100 คน ณ ห้องประชุม 423 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีนรี ชาบริหารธุรกิจ และนีรชาศึกษา ถนนพระยาสุเรนทร์ (รามอินทรา 109) เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 6
Activities
สมาคมการขายตรงไทยเยี่ยมเยือน บริษัท 4ไล้ฟ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด คุณกิจภูเบศ ธนกิจสุนทร ผู้จัดการทั่วไป บริษัท 4ไล้ฟ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ให้การต้อนรับ คณะกรรมการบริ ห ารสมาคมซึ่ ง นำ �โดย ดร.ภคพรรณ ลี วุ ฒิ นั น ท์ นายกสมาคม ในโอกาส เยี่ ย มเยื อ นบริ ษั ท สมาชิ ก ของสมาคมตามนโยบายการสร้ า งความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ร ะหว่ า งสมาคม กับบริษัทสมาชิก พร้อมทั้งร่วมประชุมคณะกรรมการบริหารสมาคม ครั้งที่ 4/2558 ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารอัมรินทร์พลาซ่า ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ โดยมีคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ร่วมกิจกรรมครั้งนี้ 30 ท่าน
7
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
แนวปฏิบัติที่ดีในอุตสาหกรรม: การจัดทำ�ระบบการบริหารงานและประเมินผลองค์กร! โพสต์เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2015 โดยฮาคกิ ออซโมราลิ ผู้ เ ขี ย นบทความของเรา คื อ มิ เ ชล แม็ กโดโนห์ (Michele McDonough) ซึ่ ง เ ป็ น ที่ ป รึ ก ษ า ท า ง ธุ ร กิ จ แ ล ะ นั ก ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร ข า ย ด้ า น สื่ อ สั ง ค ม ผู้ มี ป ระสบการณ์ ใ นสาขาการขายด้ า นสื่ อ สั ง คมและการพั ฒ นาการขาย การทำ�การตลาด/ทำ�แบรนด์ การให้รางวัล/การสร้างให้เป็นที่ รู้ จัก การฝึกอบรมความเป็นผู้นำ� การพัฒนากลยุทธ์และธุรกิจ และกลยุทธ์การบริหาร ช่องทางการจัดจำ�หน่าย รวมทั้งมีบทบาทรับผิดชอบด้านการบริหารให้กับบริษัทขาย ตรงต่างๆ จากประสบการณ์ทำ�งานที่ผ่านมา
8
Knowledge บทความโดย มิเชล แม็กโดโนห์
แนวปฏิบัติที่ดีในอุตสาหกรรม: การจัดทำ�ระบบการบริหารงานและ ประเมินผลองค์กร! ฉันมักจะถูกถามว่า “อะไรคือเคล็ดลับสูค่ วามส�ำเร็จของ บริษัทขายตรง” ค�ำตอบง่ายๆ (และสั้น) เพียงค�ำตอบ เดียว คือ วัฒนธรรมที่ถูกต้องเหมะสม ดังนั้น จึงน�ำ มาสู่อีกค�ำถามหนึ่ง “วัฒนธรรมที่เหมาะสมคืออะไร” ค�ำตอบง่ายๆ ของฉัน คือ องค์ประกอบที่เหมาะสม ทั้งหมดผสานรวมกันเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งส่งผลให้เกิด วัฒนธรรมที่ยืนยาวที่บริษัทขายตรงทั้งหลายจะต้อง พยายามอย่างมากทีจ่ ะท�ำให้เกิดขึน้ บางบริษทั สามารถ ท�ำได้ดี ในขณะที่บางบริษัทไม่เคยประสบความส�ำเร็จ! ฉั น ขออธิ บ ายองค์ ป ระกอบบางประการที่ ฉั น มอง หาหรือจัดท�ำเมื่อเข้าไปมีส่วนร่วมในโครงการหนึ่งๆ ไม่วา่ จะเป็นธุรกิจทีว่ างแผนเพือ่ เติบโตแบบก้าวกระโดด หรือองค์กรที่อยู่มานานที่ก�ำลังรู้สึกถึงความเจ็บปวดที่ เพิ่มขึ้น
วิสัยทัศน์ วิสยั ทัศน์คอื ภาพของโลกทีถ่ กู ท�ำให้ดขี นึ้ เนือ่ งจากบริษทั ของท่านเป็นตัวแทน บริษัทจัดท�ำวิสัยทัศน์และให้ค�ำ จ�ำกัดความว่า “เหตุผลในการเชื่อมโยง” องค์ประกอบ บางประการที่สร้างให้เกิดวิสัยทัศน์ของท่าน ได้แก่ เรื่องราวในอดีต อนาคต เหตุผล ความแตกต่างจาก บริษัทอื่น/ข้อได้เปรียบในการแข่งขัน และความใฝ่ฝัน!
ปณิธาน ท่าน (บริษัท) เกี่ยวข้องกับอะไรและท่านเป็นตัวแทน อะไร ท่ า นได้ รั บ การยอมรั บ จากพนั ก งานขาย ภาคสนาม การสรรหาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ และ ชุมชน (ท้องถิน่ และห่างไกล) อย่างไร โอกาสทางธุรกิจ เป็นอย่างไรและรู้สึกอย่างไรต่อผู้อื่น (เช่น การเสริม
9
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
ประสิทธิภาพ การเดินทาง การช่วยท�ำให้โลกน่าอยู่มาก ยิ่งขึ้น การกระตุ้นให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น เป็นต้น) แผนการ จ่ายค่าตอบแทนเหมาะสมกับปณิธานหรือไม่ ทุกสิง่ ทีท่ า่ น ท�ำและสร้างสรรค์อยูเ่ บือ้ งหลังและสนับสนุนปณิธานและ วิสัยทัศน์หรือไม่
ผลิตภัณฑ์ ท่ า นมี ก ลยุ ท ธ์ ด ้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ บรรลุ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละ ปณิธานของบริษัทหรือไม่ และที่ส�ำคัญที่สุด อะไรคือ จุ ด เด่ น และคุ ณ ประโยชน์ ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ท�ำให้ ท ่ า น แตกต่างจากผู้อื่น • ท่านมี “ผลิตภัณฑ์เฉพาะกลุ่มลูกค้า” หรือไม่ • ท่านมีผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพพร้อมด้วยการบริการ ลูกค้าที่ดีเยี่ยมหรือไม่ • ท่านมีนโยบายการคืนสินค้าที่แข่งขันได้หรือมีการ รับประกัน/การรับรองสินค้าหรือไม่ • ท่านรักษาระดับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ นวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง (การวิจัยและพัฒนา) เพื่อให้อยู่ล�้ำหน้าผู้อื่นหรือไม่ • ท่านตั้งราคาผลิตภัณฑ์ที่ตลาดสามารถรับได้และ มีคุณค่าที่รับรู้ได้หรือไม่ • ท่านน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่ดีที่สุดส�ำหรับประเภท ผลิตภัณฑ์หรือไม่ • ท่านน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่พนักงานขายภาคสนามมี ความภูมิใจที่จะอธิบายให้แก่เพื่อนและครอบครัว หรือไม่ • ผลิตภัณฑ์แก้ปัญหาหรือจัดการกับความกังวลได้ หรือไม่
รูปแบบการจัดจำ�หน่าย • ที่ปรึกษาอิสระมีการขับเคลื่อนผลิตภัณฑ์หรือ การบริการอย่างไร (อาทิ แผนส่งเสริมการ ขาย การตลาดแบบตัวต่อตัว) • ขั้นตอนการจัดจ�ำหน่ายสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และปณิธาน (วัฒนธรรม) หรือไม่ • การท�ำธุรกิจง่ายหรือไม่ (เส้นทางการ เดินทาง) การได้รับบริการหรือผลิตภัณฑ์ ท�ำได้ง่ายหรือไม่
อาชีพหรือแผนการจ่ายผลตอบแทน • บริษัทของท่านให้เงินตอบแทนพนักงานขาย ภาคสนามอย่างไร (และลูกค้าเช่นเดียวกัน) • แผนการจ่ายผลตอบแทนสอดคล้องกับ ปณิธาน วิสัยทัศน์และรูปแบบการจัด จ�ำหน่ายหรือไม่ • เป็นสิ่งที่สามารถแข่งขันได้ เป็นการให้รางวัล และมีก�ำไรงามหรือไม่ • สร้างแรงจูงใจแก่พนักงานขายภาคสนามให้ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องหรือไม่ รวมทั้ง ขับเคลื่อนพฤติกรรมหลักที่ส�ำคัญของแผน ความก้าวหน้าในสายอาชีพที่เข้มแข็งและ ยั่งยืนหรือไม่ • สร้างแรงจูงใจให้แก่ประชากรตั้งแต่ ยุคมิลเลนเนียลไปถึงยุคเบเบี้บูมเมอร์หรือไม่ • เป็นที่รับรู้ได้ว่าสามารถท�ำให้ส�ำเร็จ • สามารถอธิบายต่อผู้อื่นได้ง่ายหรือไม่และ มีเส้นทางที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จทางการเงินที่ ชัดเจนหรือไม่ • เป็นสิ่งที่ขับเคลื่อนพฤติกรรมที่เหมาะสมบน พื้นฐานวิสัยทัศน์ ปณิธาน และแผนธุรกิจของ บริษัทได้หรือไม่ • มีการจ่ายเงินล่วงหน้าและบ่อยครั้งหรือไม่
การขายและแผนการสนับสนุน • อะไรคือตัวขับเคลื่อนที่ไม่ใช่ตัวเงิน (รวมถึง แรงจูงใจ โครงการยกย่องชมเชยพนักงาน กลยุทธ์การสื่อสารองค์กรและการฝึกอบรม) • ท่านมีการขับเคลื่อนประสิทธิภาพและผลลัพธ์ทาง ธุรกิจหรือไม่ โปรแกรมเหล่านั้นสร้างแรงกระตุ้น หรือไม่ • ระบบที่มีอยู่ขับเคลื่อนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง หรือไม่ • โครงการต่างๆ มีความซ�้ำซ้อนหรือสอนผู้อื่นได้ ง่ายหรือไม่ • ท่านมีหุ้นส่วนที่เหมาะสมในทีมบริหารงานที่จะน�ำ พนักงานขายภาคสนามหรือไม่
เอกลักษณ์ตราสินค้า
• เครื่องหมายการค้าและทรัพย์สินทางปัญญาของ ท่านได้รับการคุ้มครองหรือไม่ • ตราสินค้าของท่านท�ำให้ลูกค้ายิ้มและคิดถึงสิ่งที่มี ความสุขหรือไม่ • ท่านได้สร้างความตระหนักถึงตราสินค้าในทุกๆ สิ่งที่ท่านท�ำหรือไม่ • ตราสินค้าของท่านเป็นปัจจุบันและล�้ำสมัยหรือเก่า และโบราณ • ท่านสามารถที่จะกลายเป็นตราสินค้าระดับโลกที่ สามารถระบุได้หรือไม่ • ผลิตภัณฑ์และวัฒนธรรมส่งเสริมตราสินค้าของ ท่านหรือไม่ (และในทางกลับกัน) ปณิธานและ วิสัยทัศน์บอกเล่าเรื่องราวตราสินค้าของท่าน หรือไม่ • ตราสินค้าบอกเล่าเรื่องราวที่กระตุ้นความสนใจ และเร้าอารมณ์หรือไม่ • สโลแกนของท่านคัดลอกปรัชญาองค์กรและ ตราสินค้าหรือไม่
10
Knowledge
คุณภาพและการบริการลูกค้า • ท่านสามารถน�ำเสนอตราสินค้าพร้อมด้วย คุณภาพและการบริการลูกค้าหรือไม่ • ท่านสามารถจัดหาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงสุด ได้ในราคาดีที่สุดหรือไม่ (และส่งมอบให้ผู้ บริโภคอย่างรวดเร็ว) • ท่านมอบการบริการลูกค้าที่มีคุณค่าล�้ำสมัยบน พื้นฐานความต้องการของลูกค้าหรือไม่ (ท่าน ได้สร้างสรรค์ประสบการณ์ที่น่าจดจ�ำหรือไม่) • มาตรฐานลูกค้าได้รวมอยู่ในปณิธานและวิสัย ทัศน์ของท่านหรือไม่ • การให้บริการที่ท่านมอบให้เป็นมาตรฐานสูงสุด ในการให้บริการลูกค้าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ กิจวัตรประจ�ำวันหรือไม่ (ในการขายภาคสนาม และองค์กร)
เทคโนโลยี • เทคโนโลยีล�้ำสมัยในทุกแง่มุมของธุรกิจส�ำหรับ ปัจจุบันและอนาคตหรือไม่ • ท่านน�ำเสนอธุรกิจที่ง่ายและไม่เข้มงวดหรือไม่ (และเหนือสิ่งอื่นใด มีความสนุกสนาน) • ท่านสร้างระบบและขั้นตอนที่ซ�้ำซ้อนหรือไม่ • กระบวนการเทคโนโลยี (ขั้นตอน) ด�ำเนินการ ได้ง่ายหรือไม่ พึงระลึกไว้ว่า ทั้งหมดเกี่ยวกับ ประสบการณ์และเส้นทางการเดินทางของผู้ บริโภคหรือไม่ • เทคโนโลยีของท่านสนับสนุนความส�ำเร็จของที่ ปรึกษาอิสระหรือไม่ • เทคโนโลยีของท่านสามารถน�ำท่านไปสู่ระดับ โลกได้หรือไม่ • ท่านได้รับซอฟต์แวร์บนพื้นฐานความจ�ำเป็น ในปัจจุบันและในอนาคตหรือไม่
11
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
• คุณลักษณะส�ำคัญและการท�ำหน้าที่สอดคล้องกับ รูปแบบธุรกิจของท่านหรือไม่ • ท่านสามารถด�ำเนินการในทันทีและจัดท�ำรายงาน ผลการด�ำเนินงานเพื่อทราบให้แน่ชัดว่าธุรกิจของ ท่านอยู่จุดใดในแต่ละวันได้หรือไม่ • ท่านได้รับทราบข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับโลกที่มีการ เปลี่ยนแปลงของสื่อสังคมออนไลน์บ้างหรือไม่
การฝึกอบรมและการศึกษา • ท่านจัดโครงการเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อสนับสนุน ที่ปรึกษาอิสระและผู้บริโภคเพื่อสร้างสรรค์ ประสบการณ์ที่ดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้บ้างหรือไม่ • ท่านจัดโครงการฝึกอบรมและสนับสนุนระบบเพื่อ “เส้นทางสู่ความส�ำเร็จ” ส�ำหรับพนักงานขายภาค สนามหรือไม่ • ท่านจัดการฝึกอบรมในทุกวิธี: การถ่ายทอดสด วิดีโอ ดิจิทัล การประชุมทางไกล หรือไม่ • ท่านมีการติดตามผลตอบแทนจากการลงทุนใน การฝึกอบรมหรือไม่ • ท่านจัดการฝึกอบรมที่ปรึกษาอิสระคนใหม่ในวัน แรกหรือไม่ • ท่านจัดการโครงการอบรมการเป็นวิทยากรฝึก อบรมเพื่อให้เข้าถึงผู้ฟังมากขึ้นหรือไม่ • ท่านจัดให้มีการฝึกอบรมด้วยวิธีการจูงใจและการ เป็นพี่เลี้ยงรวมถึงทักษะการฝึก “กลยุทธ์” หรือไม่
ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้น�ำไปสู่ วัฒนธรรม ระดับสูงที่สุด หากปัจจัยทั้ง หมดนี้ได้รับการจัดการแก้ไข สนับสนุน และมีการตัดสินใจที่ดีที่สุด ท่านจะอยู่ในเส้นทางที่น�ำไป สู่วัฒนธรรมที่ยั่งยืน ซึ่งเป็นการสร้างแรงบันดาลใจและ ความน่าตื่นเต้นให้ผู้คนเข้ามามีส่วนร่วมด้วย!
อุตสาหกรรม การขายตรงระดับโลก ทามูนา กาบิไลอา สมาพันธ์การขายตรงโลก การขายตรง เครือข่ายสังคมแบบดั้งเดิม หรือต้นฉบับสังคมเครือข่าย
ผู้อำ�นวยการบริหาร วันที่ 28 มิถุนายน 2558 กรุงเทพฯ ประเทศไทย
12
Knowledge สมาพันธ์การขายตรงโลก และสมาคมการขายตรงทั่วโลก • • • •
ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2521 มีส�ำนักงานใหญ่ ณ กรุงวอชิงตัน (สหรัฐอเมริกา) สมาคมการขายตรงระดับประเทศ 60 สมาคมและ 1 สมาพันธ์ระดับภูมิภาค ผู้บริหารที่เป็นกรรมการสมาพันธ์การขายตรงโลก ประกอบธุรกิจในประเทศต่างๆ มากกว่า 170 ประเทศ
ภาพลักษณ์ การขายตรง
จริยธรรม
เป้าหมายเชิงกลยุทธ์
กระบวนการและ โครงสร้างของสมาพันธ์ การขายตรงโลก และ สมาคมการขายตรง
การบูรณาการและก�ำกับ ดูแลการท�ำงานของบริษัท สมาชิกให้เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน
การริเริ่มของสมาพันธ์การขายตรงโลก • • • • • •
การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ-สังคม การส�ำรวจความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร/การแบ่งปัน การริเริ่มส่งเสริมพลังในการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสตรีในระดับโลก การริเริ่มด้านจรรยาบรรณระดับโลก การริเริ่มและแผนการที่หลากหลายของผู้บริโภค/นักวิชาการ/รัฐบาล กิจกรรมสื่อสารมวลชนสู่ชุมชน/กิจกรรมสาธารณะ
การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ-สังคม เอินส์ท แอนด์ ยัง อิปซอส โมริ และหุ้นส่วนที่สามซึ่งมาจากบุคคลภายนอก ตั้งแต่ พ.ศ. 2547 สมาพันธ์การขายตรงโลกมีการศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ-สังคมในประเทศต่างๆ รวม 29 เรื่องดังนี้ • บราซิล แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลี เม็กซิโก รัสเซีย ไต้หวัน และสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2548) • สาธารณรัฐเช็ก ฝรั่งเศส ฟินแลนด์ เยอรมนี โปแลนด์ อิตาลี ตุรกี สหราชอาณาจักร (พ.ศ. 2550) • แอฟริกาใต้ ไทย (พ.ศ. 2551) • โคลัมเบีย อินเดีย (พ.ศ. 2552) • แคนาดา ชิลี (พ.ศ.2553) • บราซิล และเอกวาดอร์ (พ.ศ. 2554) • เปรู (พ.ศ. 2555) • ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ กัวเตมาลา (พ.ศ. 2556) • โคลัมเบีย (พ.ศ. 2557) • จีน (พ.ศ. 2558 อยู่ระหว่างด�ำเนินการ) 13
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
มูลค่ารวมธุรกิจเครือข่ายทั่วโลก
การขายปลีกระดับโลกเพิ่มขึ้นประมาณ 6.4 % ในปี 2557
การขายปลีกระดับโลกและอัตราที่เพิ่มขึ้น พ.ศ. 2554 – 2557
(ล้านเหรียญสหรัฐ – เหรียญสหรัฐคงที่ พ.ศ.2557)
ธุรกิจเครือข่ายทั่วโลกอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสมต่อปีอยู่ที่ 6.5% ส�ำหรับ พ.ศ. 2554 – 2557
ส่วนแบ่งการขายตามภูมิภาค ตะวันออกกลางและแอฟริกา ยุโรป
เอเชียแปซิฟิก
อเมริกากลาง และอเมริกาใต ้
อเมริกาเหนือ
14
Knowledge อัตราเติบโตเฉลีย ่ สะสมตามภูมิภาค
เอเชียแปซิฟิก
อเมร ิกา
ยุโรป
หมายเหตุ: CAGR คือ อัตราเติบโตเฉลี่ยสะสม
ตลาดโลก
10 ล�ำดับสูงสุด ของธุรกิจเครือข่าย
15
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
ในพ.ศ. 2557 มีผู้ขายตรงจ�ำนวนเกือบ 100 ล้านคน เพิ่มขึ้น 3.4% จาก พ.ศ. 2556 ผู้จ�ำหน่ายอิสระมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นในทุกภูมิภาค พ.ศ. 2556 – 2557 (ล้านคน)
ผู้จ�ำหน่ายอิสระ พ.ศ. 2554 – 2557 (ล้านคน)
เอเชียแปซิฟิค*
อเมริกา
ยุโรป
45% ของการขายปลีกโดยตรงใน พ.ศ. 2557
มาจากตลาดทีเ่ กิดขึ้นใหม่ ซึง่ เพิ่มขึ้น 7 แห่ง ใน พ.ศ. 2553
16
Knowledge
การด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม พ.ศ. 2558 ผลการด�ำเนินงาน ที่มาในการบริจาค: • มากกว่า 1 ใน 5 บริษัทที่มีกิจกรรมการบริจาค นับตั้งแต่การก่อตั้งบริษัท • สะท้อนคุณค่าของผู้ก่อตั้ง • บริจาคให้กับปัญหาที่หลากหลาย
รูปแบบการบริจาค: • • • • • •
บริจาคเงิน 91% โครงการที่เกี่ยวข้องกับปัญหา 56% การบริจาคที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน 53% อาสาสมัคร 49% การสนัับสนุน 40% การจับคู่โครงการกองทุน 27%
ปัญหาที่ได้รับสิทธิประโยชน์ • • • • •
17
การให้บริการบุคคลและสุขภาพ 91% การศึกษา 69% การพัฒนาเศรษฐกิจ 36 % การปกป้องสิ่งแวดล้อม 31% ศิลปะและวัฒนธรรม 20%
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
เราบริจาคอย่างไร – หลักเกณฑ์ • 8% มองหาองค์กรที่มีเป้าหมายและคุณค่าเช่น เดียวกับบริษัท • 60% พิจารณาผลกระทบและประสิทธิผลของ องค์กร • 49% พิจารณาชื่อเสียงและสถานภาพทาง กฎหมายของบริษัท
เราบริจาคอะไร • เกือบ 74.2 ล้านเหรียญสหรัฐในระหว่าง พ.ศ. 2557 • รายงานการบริจาคเพิ่มขึ้นประมาณ 7% ใน พ.ศ. 2557 • การบริจาคเงินจากผู้ขายตรงเพิ่มขึ้น 21% ใน พ.ศ. 2557 รวมทั้งสิ้น 17.4 ล้านเหรียญสหรัฐ
การส่งเสริมพลังทางเศรษฐกิจของสตรีในระดับโลก
พัฒนาและสนับสนุนเจ้าของกิจการที่เป็นสตรีผ่านการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างขีด ความสามารถซึ่งจะช่วยให้เขาเหล่านั้นสามารถสร้างและดูแลธุรกิจใหม่รวมทั้งรัฐวิสาหกิจรายย่อยได้
ขอบเขตโครงการและหุ้นส่วน • การส่งเสริมพลังของสตรีซึ่งเป็นลักษณะเด่นของสมาพันธ์การขายตรงโลกได้รับการรับรองในการประชุม ระดับรัฐมนตรีเอเปคว่าด้วยวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เอสเอ็มอี) ณ ประเทศสิงคโปร์ • สอดคล้องกับการประชุมระดับรัฐมนตรีในกลุ่มเอเปคที่ให้ความส�ำคัญสูงสุดในการพัฒนาวิสาหกิจราย ย่อยและการลงทุนโดยสตรี • การเป็นหุ้นส่วนของภาคเอกชน – ภาครัฐ อย่างแท้จริงระหว่างเขตเศรษฐกิจและภาคธุรกิจเอเปค
แผนผังการส่งเสริมพลังทางเศรษฐกิจของสตรีในระดับโลก สมาพันธ์การขายตรงโลก / โรงเรียนธุรกิจเคลลีย์แห่งสถาบันส�ำหรับธุรกิจระหว่างประเทศ
รัฐบาล
ดีโอซี
สมาคมการขายตรงท้องถิ่น
องค์กรเอกชนเพื่อสาธารณประโยชน์ / นักวิชาการ
(การประชุมมเอเปค) (การประชุ เอเปค) 18
Knowledge
การสำ�รวจข้อมูลสถิติ ของสมาคมการขายตรงไทย มิถุนายน 2558
19
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
ยอดขายสุทธิรวม (พ.ศ. 2552 - 2557) ล้านบาท 80,000 70,000
68,700
70,000
67,200
64,200 60,000
60,000 52,895
50,000
47,500 42,000
42,200
40,427
40,000
40,512
32,077
30,000 20,000
20,818
18,000
16,700
2010
2011
28,272
27,800
26,688
2012
2013
2014
10,000 0
2009
สมาชิกสมาคมการขายตรงไทย
ไม่ใช่สมาชิกสมาคมฯ
อุตสาหกรรมทั �งหมด
ยอดขายปลีกรวม (พ.ศ. 2552 - 2557) ล้านบาท 100,000
93,333
91,600 90,000 80,000
80,000 70,527
70,000
63,333
60,000 50,000
56,000
56,268
53,903
54,016
42,769
40,000 30,000
89,600
85,600
27,757
24,000
22,266
2010
2011
37,696
37,064
35,584
2012
2013
2014
20,000 10,000 0
2009
สมาชิกสมาคมการขายตรงไทย
ไม่ใช่สมาชิกสมาคมฯ
อุตสาหกรรมทั �งหมด
20
Knowledge จ�ำนวนผู้จ�ำหน่ายอิสระรวม (พ.ศ. 2552 - 2557) ผู้จ�ำหน่ายอิสระ (ล้านคน) 18 15.63
16 14 12 10 8
6.80
6 3.42
11.00
9.20
6.58
4
11.10
10.90
10.43
10.00
5.00 4.20
5.20
5.70 5.20
2010
2011
2012
6.50
4.30
4.50
2013
2014
2 0
2009
สมาชิกสมาคมการขายตรงไทย
ไม่ใช่สมาชิกสมาคมฯ
อุตสาหกรรมทั �งหมด
หมายเหตุ: จ�ำนวนผู้จ�ำหน่ายอิสระในพ.ศ. 2554 หมายรวมถึงผู้จ�ำหน่ายอิสระทั้งที่ธุรกิจมีความเคลื่อนไหวและไม่เคลื่อนไหว
ประเภทผลิตภัณฑ์ของสมาคมการขายตรงไทยใน พ.ศ. 2557 เปอร์เซ็นต์ (%) 50 44.67
45 40 34.03
35 30 25 20 15
12.46
10
6.27
5 0
0.17
1.74
0.24
0.42
0.00
0.00
0.00
หมายเหตุ: อื่นๆ หมายรวมถึงผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ชุดคู่มือการด�ำเนินธุรกิจและค่าสมาชิก เป็นต้น
21
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
วิธีการขายของสมาคมการขายตรงไทยใน พ.ศ. 2557 เปอร์เซ็นต์ (%) 80 69.48
70 60 50 40
29.29
30 20 10
1.23
0
การขายแบบตัวต่อตัว
การตลาดผลิตภัณฑ์
อื�นๆ
หมายเหตุ: อื่นๆ หมายรวมถึงการขายในต่างประเทศและอีคอมเมิร์ซ
แผนการจ่ายผลตอบแทนของสมาคมการขายตรงไทยใน พ.ศ. 2557 เปอร์เซ็นต์ (%) 100 90
90
80 70 60 50 40 30 20 10
10 0
ขายตรงหลายชั �น
ขายตรงชั �นเดียว
22
Knowledge ผู้จ�ำหน่ายอิสระจ�ำแนกตามเพศใน พ.ศ. 2557 เปอร์เซ็นต์ (%) 70
65.18
60 50 40
34.82
30 20 10 0
เพศหญิง
เพศชาย
ต�ำแหน่งหน้าทีพ ่ นักงานของกลุ่มสมาคมการขายตรงไทยใน พ.ศ. 2557 เปอร์เซ็นต์ (%) 40 34.14
35 30 25
21.46
20 15.55
15 9.53
10 5
2.52
3.84
5.23 2.00
0
หมายเหตุ: อื่นๆ หมายรวมถึงการพัฒนาคุณภาพ
23
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
5.73
นายกสมาคมการขายตรงไทย ฉายภาพ “ขายตรง” สดใสในเออีซี ดร.ภคพรรณ ลีวุฒินันท์
นายกสมาคมการขายตรงไทย และรองประธานกรรมการภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแฟซิฟิก บริษัท นูสกิน เอ็นเตอร์ไพร์ส
นายกสมาคมการขายตรงไทยเผยธุร กิจ ขาย ตรงในภูมิภาคเอเชียมีส่วนแบ่งการตลาดสูงถึง 43% ของยอดขายทั่วโลก แนะผู้ประกอบการธุรกิจขายตรง ไทยใช้กลยุทธ์รุกและรับ ด้วยการสร้างโอกาสทางธุรกิจ โดยใช้การตลาดแบบหนึง่ เดียว ขณะเดียวกัน ชีใ้ ห้เห็นถึง ศักยภาพของตลาดกลุ่มอาเซียนใหม่ CLMV ที่เหมาะ กับการต่อยอดธุรกิจและเจาะกลุ่มตลาดคนรุ่นใหม่ที่มี แนวโน้มทำ�ธุรกิจขายตรงมากขึน้ ล่าสุดสมาคมฯ ลงนาม MOU ร่วมกับกลุ่มอุตสาหกรรมขายตรง (ASEAN DSA) 6 ประเทศ เพื่อสนับสนุนการทำ�ธุรกิจร่วมกันใน กลุม่ ประเทศอาเซียนและช่วยเหลือกันในด้านต่างๆ อาทิ กิจกรรม ข้อมูล กฎหมาย และอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ ดร.ภคพรรณ ลีวุฒินันท์ นายกสมาคมการ ขายตรงไทย เผยโอกาสทางธุรกิจของอุตสาหกรรมขาย ตรงไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนว่า มูลค่าตลาด รวมสุ ท ธิ ข องอุ ต สาหกรรมขายตรงไทยในปั จ จุ บั น มี ประมาณ 70,000 ล้านบาท โดยมีจำ�นวนผู้เกี่ยวข้อง กับธุรกิจขายตรงกว่า 11 ล้านคน และมีแนวโน้มที่ จะเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ซึ่งมีความสัมพันธ์ กัน กับ ธุ ร กิ จขายตรงโลกที่มีมูล ค่าตลาดกว่า 178.5 ล้านเหรียญสหรัฐ และมีผู้คนกว่า 96 ล้านคนทั่วโลก ที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ ขายตรงที่ มี อั ต ราเพิ่ ม ขึ้ น เฉลี่ย 7% “จากข้ อ มู ล ของสมาพั น ธ์ ก ารขายตรงโลก พบว่า ภูมิภาคเอเชียเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดสำ�หรับธุรกิจ ขายตรง คิดเป็น 43% ของยอดขายทั่วโลก รองลง มาคือ ตลาดอเมริกาคิดเป็น 38% หากจะมองเจาะ ลึ ก ลงไปถึ ง ประเทศต่ า งๆ ที่ มี ย อดขายในอั น ดั บ ต้ น ๆ
ของโลก พบว่า ประเทศมาเลเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ล้วนเป็นประเทศในกลุ่มอาเซียนทั้งสิ้น ขณะที่ตลาดหลักใน ภูมิภาคอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย 6 ประเทศคือ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และเวียดนาม มีรายได้ รวมกันกว่า 10,839 ล้านเหรียฐสหรัฐ โดยประเทศมาเลเซีย มีอัตราการเติบโตประมาณ 4.7% ไทยมีอัตราการเติบโต ประมาณ 5.3% อินโดนีเซียเติบโต 12% ฟิลิปปินส์เติบโต 17.8% สิงคโปร์เติบโต 8.5% และเวียดนามมีอตั ราการเติบโต 28.5% หากวิเคราะห์เปรียบเทียบจำ�นวนประชากรต่อคนทำ� ธุรกิจขายตรงในอาเซียน พบว่า ประเทศมาเลเซียและไทย มี สัดส่วนผูท้ �ำ ธุรกิจขายตรง 1 คนต่อประชากร 6 คน ประเทศ สิงคโปร์ 1 ต่อ 13 อินโดนีเซีย 1 ต่อ 27 ฟิลิปปินส์ 1 ต่อ 32 เวียดนาม 1 ต่อ 79” นายกสมาคมการขายตรงไทย กล่าวเพิ่มเติมว่า การเปิ ด เขตการค้ า เสรี อ าเซี ย น (AEC) จึ ง เป็ น ปั จ จั ย สนับสนุนธุรกิจขายตรงให้สามารถสร้างโอกาสทางธุรกิจด้วย การทำ� “ตลาดแบบไร้พรมแดน” หัวใจของการทำ�ตลาดแบบ ไร้พรมแดน คือ การมองตลาดทั่วโลก หรือ ตลาดในภูมิภาค ให้เป็น “ตลาดหนึ่งเดียว” โดยการสร้างและดำ�เนินการด้วย ระบบเครือข่าย ซึ่งเป็นจุดเด่นของธุรกิจขายตรง ปัจจัยการ สร้างโอกาสทางธุรกิจอีกประการหนึ่งคือ การขยายธุรกิจ ด้วยการเจาะตลาดกลุ่มอาเซียนใหม่ CLMV คือ กลุ่ม ประเทศที่มีศักยภาพดี ได้แก่ กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และ เวียดนาม เหล่านี้เป็นประเทศในกลุ่ม ASEAN ที่มีแนวโน้ม เศรษฐกิจโตต่อเนื่องและยังมีแร่ธาตุทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ และค่าจ้างแรงงานไม่สูงนัก กลุ่มประเทศ CLMV จึงเป็น ประเทศที่ มี ค นสนใจเข้ าไปลงทุ น การผลิ ต และการตลาด แต่เนื่องด้วย CLMV นั้นมีพรมแดนติดกับประเทศไทย ประเทศในกลุ่ม CLMV จึงเหมาะมากที่ผู้ประกอบการไทย จะเข้าไปลงทุนหรือหาลู่ทางในการต่อยอดธุรกิจ 24
CEO Tip
จากข้ อ มู ล ของศู น ย์ วิ จั ย กสิ ก รไทยพบว่ า ประชากรของประเทศในอาเซี ย นที่ มี อ ายุ ร ะหว่ า ง 20-34 ปี มีแนวโน้มทำ�ธุรกิจขายตรงมากกว่าคนวัยอื่น โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ในประเทศเวียดนามและฟิลิปปินส์ มีจำ�นวนมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ซึ่งผลสำ�รวจยัง พบอีกว่า ยอดขายของธุรกิจขายตรงในอาเซียนมาจาก กลุ่มผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเป็นหลัก ฉะนั้นการเจาะกลุ่ม ตลาดคนรุ่นใหม่ก็เป็นอีกปัจจัยที่ควรคำ�นึงถึง ฉะนั้น เมื่อมองเห็นข้อดีของโอกาสทางธุรกิจแล้ว ก้าวต่อไปคือ การเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ เข้ า สู่ ต ลาดในแต่ ล ะ ประเทศ โดย 2 วิธีการหลักๆ คือ การเข้าตลาดเชิงรุก กับการเข้าตลาดเชิงรับ การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ตลาดในเชิงรุก มี ดั ง นี้ 1) การพั ฒ นาคนให้ มี ทั ก ษะในด้ า นต่ า งๆ เพือ่ ส่งเสริมการขยายตลาดขายตรงใน AEC เช่น ความ รู้ด้านภาษาหรือความชำ�นาญเฉพาะทาง 2) การพัฒนา สินค้าและนวัตกรรมทีแ่ ตกต่าง 3) การศึกษาโอกาสและ ความสำ�เร็จในการขยายตลาด 4) การเรียนรู้คู่แข่งขัน ให้ทันกับตลาดที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว 5) การ สร้างระบบธุรกิจที่เชื่อมโยงทั่วถึงกัน เพื่อรองรับบริการ ทั้งด้านการเงิน สต็อกสินค้า ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วน การเข้าตลาดในเชิงรับ ได้แก่ 1) เรียนรู้พฤติกรรมและ ทัศนคติของผู้บริโภค 2) ทำ�ความเข้าใจในเรื่องธุรกิจ ขายตรงของคนในประเทศนั้นๆ ถือเป็นเรื่องสำ�คัญมาก เพราะ คน คือสิ่งสำ�คัญกว่าอื่นใด 3) ศึกษาเงื่อนไข ด้านการค้า ความได้เปรียบ-เสียเปรียบในการดำ�เนิน ธุรกิจ เช่น ค่าเงิน มาตรการทางภาษี ระบบขนส่ง 4) ศึกษาวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง โครงสร้าง พื้นฐาน สาธารณูปโภค กฎหมายของแต่ละประเทศ 5) 1 ตลาด 1 มาตรฐาน บนแบบแผนเดียวกัน เพราะ เมื่อทุกอย่างไร้พรมแดน ผู้บริโภคควรได้รับการบริการ หรือสินค้าที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
25
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
สำ � หรั บ สมาคมการขายตรงไทยนั้ น สมาคมฯ มีความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน โดยเมื่อไม่นาน มานี้ กลุ่มอุตสาหกรรมขายตรง (DSA) 6 ประเทศ ได้แก่ เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และ ไทย และร่วมกับสมาพันธ์การขายตรงโลก (WFDSA) ได้ ร่วมกันลงนาม MOU ข้อตกลงที่จะช่วยเหลือกันในด้าน กิจกรรม ข้อมูล กฎหมาย และอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อ บริษัทสมาชิกในการทำ�ธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน โดยส่ง เสริมและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างกลุม่ สมาชิก อำ�นวย ความสะดวกและช่ ว ยเหลื อ บริ ษั ท สมาชิ ก สมาคมที่ ร ะบุ ในข้ อ ตกลง เมื่ อ ทำ � การขยายตลาดสู่ ป ระเทศที่ เ ข้ า ร่ ว ม การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่เกี่ยวกับการออกกฎหมายที่ เกี่ยวข้องอุตสาหกรรมขายตรง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ อุตสากรรมในระดับภูมภิ าค การแบ่งปันข้อมูลรวมถึงแนวทาง การปฏิบัติที่เกิดผลสำ�เร็จกับกลุ่มสมาชิก รวมถึงความช่วย เหลือการติดต่อกับหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรม เช่น กลุ่มลูกค้า หรือ หน่วยงานภาครัฐ ฯลฯ และการให้ ความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนมุมมองหรือข้อปฏิบัติของ กลุ่ ม สมาชิ ก อั น ก่ อให้ เ กิ ด ประโยชน์ ใ นการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ในภาพรวม ไม่ เ พี ย งแต่ อุ ต สาหกรรมขายตรงไทยที่ ต้ อ ง เตรี ย มความพร้ อ ม อุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ ก็ เ ช่ น กั น ต้ อ งปรั บ กระบวนทั ศ น์ ตั้ ง และรั บ การเข้ า สู่ ป ระชาคม อาเซียนในอนาคตอันใกล้นี้ ทั้งการค้า สังคม วัฒนธรรม ให้เข้ากับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สอดคล้องกับสโลแกน ของสมาคมประชาชาติ แ ห่ ง เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ที่ ว่ า หนึง่ วิสยั ทัศน์ หนึง่ เอกลักษณ์ หนึง่ ประชาคม (One Vision, One Identity, One Community) เพราะฉะนั้น หากโอกาสมาถึงหน้าบ้านเราแล้ว จงเปิดประตูต้อนรับและ อย่าละทิ้งโอกาสนั้น
PRODUCTS
NEW
บริษัท กิฟฟารีน สกายไลน์ ยูนิตี้ จำ�กัด กิฟฟารีน-สุพรีเดอร์ม ไลน์ กิ ฟ ฟารี น เปิ ด ตั ว สุ ด ยอดกลุ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ กิฟฟารีน-สุพรีเดอร์ม ไลน์ พร้อมแนะนำ� ดีฟ มารีน เวย์ (Deep Marine Whey) ผลิตภัณฑ์สำ�หรับ ผู้ที่ใส่ใจรูปร่าง ประกอบไปด้วย เวย์ มารีน ดริ้งค์, เวย์ มารี น คุ ก กี้ , เวย์ มารี น คาโนล่ า มั ล ติ สี ด เบรดสติ๊ก, ขนมปังธัญพืชรวม เวย์ มารีน คาโนล่า, ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สำ � หรั บ ทาหน้ า ขนมปั ง , ขนมปั ง บั น และ มัฟฟิน และซุปเวย์โปรตีนเข้มข้น ผสมคอลลาเจน จำ�หน่ายในราคา 40-750 บาท สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กิฟฟารีน 1101 กิฟฟารีนเดลิเวอรี่ โทร. 02-619-5222 และ www.giffarine.com
26
New Products
บริษัท คังเซน-เคนโก อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด
บริษัท นู สกิน เอ็นเตอร์ไพร์ส (ประเทศไทย) จำ�กัด
คังเซน เอสซี มิกซ์
นู สกิน เอจล็อค ทรูเฟซ เอสเซ็นซ์ อัลตร้า
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร คังเซน เอสซี มิกซ์ (Kangzen SZ Mix) ผสานคุณค่าของสารสกัดจากแอปเปิ้ล ซึ่ ง สกั ด จากแอปเปิ้ ล สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ และมารี น คอลลาเจนกับสารสกัดจากเบอร์รี่ 4 ชนิด ประกอบ ด้ ว ย สารสกั ด อะเซโลร่ า เชอร์ รี่ , สารสกั ด จาก โกจิ เบอร์รี่, สารสกัดจากบลูเบอร์รี่ และสารสกัดจาก บิลเบอร์รี่
นู สกิน เอจล็อค ทรูเฟซ เอสเซ็นซ์ อัลตร้า เซรั่ม ล่าสุดจากเทคโนโลยีเอจล็อค ทีผ่ สานคุณประโยชน์จาก สารเอ็ธโธซิน พร้อมสารสำ�คัญที่ช่วยต่อต้านอนุมูล อิสระให้กบั ผิว เพือ่ ผิวทีแ่ ลดูยกกระชับเรียบเนียน และ ใช้เป็นประจำ�ต่อเนื่อง จะรู้สึกได้ถึงความเปลี่ยนแปลง ของผิวที่ดีขึ้น แลดูอ่อนเยาว์
Call Center 0-2378-8777 www.kangzen.com
27
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
บริษัท ยูโร พีทูพี ไดเรคท์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
บริษัท ออริเฟลม คอสเมติกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
เครื่องกรองน้ำ�ดื่ม โฟรบส์ ระบบน้ำ�ร้อน-น้ำ�เย็น-น้ำ�อุณหภูมิปกติ รุ่น Forbes Pro F1000FS
ไทม์ รีเวอร์ซิ่ง สกินจีนิสต์ ไนท์ รีคัฟเวอร์รี่ ซีรั่ม
เป็ น เครื่ อ งกรองน้ำ � ดื่ ม ระบบน้ำ � ร้ อ น-น้ำ � เย็ น น้ำ�อุณหภูมิปกติ ที่ตอบทุกโจทย์ความต้องการเรื่อง สุขภาพและความสะดวก วางใจได้ถึงประสิทธิภาพ ชั้นสูง ด้วยระบบกรองอัจฉริยะที่มีทั้งอาร์โอและยูวี ในเครื่องเดียว วัสดุภายนอกเครื่องได้รับการปกป้อง ด้วย BioCote ซึ่งเป็นเทคโนโลยี Anti-microbial ที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลชีพ มั่นได้ว่าจุดจ่ายน้ำ� จะปราศจากเชื้อโรคแน่นอน พร้อมถังเก็บขนาดใหญ่ เพื่อความต่อเนื่องในการใช้งาน เหมาะสำ�หรับใช้ใน สำ�นักงานหรือบ้านที่มีสมาชิกหลายท่าน
ฟื้ น คื น ผิ ว สวย ตื่ น มาสั ม ผั ส ผิ ว ดู อ่ อ นเยาว์ ด้ ว ย เซรั่มบำ�รุงผิว เนื้อนุ่มบางเบาดุจไหมที่มีส่วนช่วยใน กระบวนการฟื้นฟูตัวเองตามธรรมชาติของผิว ผสาน พลังของ GenisteinSOY รวมทั้ง CelluRepair และวิตามินซี ที่ฟื้นบำ�รุงผิวที่มีสัญญาณบอกความ ร่วงโรย เริ่มปรากฎให้กลับดูเรียบเนียน เปล่งปลั่ง สัมผัสนุ่มกระชับขึ้น ขนาด 30 มล.
สอบถามเพิ่มเติม Call Center 02-946-2100 www.forbes.co.th
28
New Products
บริษัท เอวอน คอสเมติคส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
บริษัท เอลเคน (ประเทศไทย) จำ�กัด
อัจฉริยภาพแห่งนวัตกรรมต่อต้านริ้วรอย 10 วัน 10 ปัญหาผิวลดเลือน เผยผิวแลดูอ่อนเยาว์
เอล มาริโน ทู ผลิตภัณฑ์ คอลลาเจน
เอนิว อัลทิเมท นวัตกรรมสุดล้ำ� เซลลูไวฟ์ เทคโนโลยี (CELLUVIVE TECHNOLOGY) สกัดจากสมุนไพร ชั้นเลิศจากทวีปเอเชีย Tiliacora เปี่ยมศักยภาพ ช่วยฟื้นบำ�รุงผิว ช่วยขจัดเซลล์ผิวชั้นบนที่เสื่อมสภาพ เผยผิวแลดูอ่อนเยาว์ กลุ่มผลิตภัณฑ์ เอนิว อัลทิเมท ประกอบด้วย เคล็นเซอร์ 600 บาท, โทนเนอร์ 600 บาท, เอลิเซีย (เซรั่ม) 2,800 บาท, เดย์ ครีม 1,600 บาท และ ไนท์ ครีม 1,600 บาท สนใจผลิตภัณฑ์หรือสมัครเป็นผู้จำ�หน่ายอิสระเอวอนติดต่อ: นั ก ธุ ร กิ จ เอวอนและผู้ จำ � หน่ า ยอิ ส ระเอวอนทั่ ว ประเทศ, เอวอน คอลเซ็นเตอร์ 0-2729-9700 www.avon.co.th, www.facebook.com/avonthailand, Instagram: AVONTHAILAND
29
Vol.1 2 n o. 40 Ju ly-Se ptem ber 2015
เอล มาริโน ทู ผลิตภัณฑ์ คอลลาเจน ชง ดื่ม ผสาน 3 เทคโนโลยีใหม่ด้านความงามอย่างสมบูรณ์แบบ ด้วย R.O.C® Red Orange Complex, VIQUA® สารสกัดทับทิมจากฝรัง่ เศส CollactiveTM คอลลาเจน จากปลาทะเลน้ำ � ลึ ก แถบทะเล เมดิ เ ตอร์ เ รเนี่ ย น ช่วยเสริมสร้างตาข่ายผิว และ ADS® Nano Delivery System ช่วยให้ร่างกายดูดซึมได้อย่างสมบูรณ์แบบ ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ผิวแลดูกระจ่างใส กระชับ เปล่งปลั่ง และเรียบเนียนอย่างเป็นธรรมชาติ
บริษัท แอมเวย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด อาร์ทิสทรี ซูพรีม แอลเอ็กซ์ ปรับสมดุลนาฬิกาชีวภาพ เพื่อที่สุดแห่งผิวอ่อนเยาว์ ที่สุ ด แห่ งผลิ ต ภั ณ ฑ์ ความงามที่ถูก ค้น พบ เพื่อการ Regenerate ผิ วสวย พร้อมปรับสมดุลนาฬิกา ชีวภาพของผิว อุดมด้วย Gardenia Meristem Cell* จากดอกการ์ดเิ นีย แกรนดิฟลอรา ช่วยฟืน้ บำ�รุง ผิวให้ผิวกลับคืนสู่จังหวะชีวภาพ ด้วยการตั้งค่าใหม่ให้ กับนาฬิกาตามธรรมชาติของผิว พร้อมเซลล์เอฟเฟ็คท์ 24 คอมเพล็กซ์** ช่วยเสริมและเพิ่มความสามารถ ผิวในการสร้างพลังงานด้วยตัวเอง ให้ผิวอ่อนเยาว์ลง อย่างที่คุณรู้สึกได้ *Gardenia Jasminoides Meristem Cell Culture ทำ�หน้าที่ในการ แอนตี้ออกซิแดนท์และปกป้องผิว **เซลล์เอฟเฟ็คท์ 24 คอมเพล็กซ์ – เทคโนโลยีเฉพาะของอาร์ทิสทรี ที่ช่วยฟื้น บำ�รุงและปกป้องผิวอย่างต่อเนื่อง
30