คู่มือนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่อง การออกแบบชุดตัวอักษรสะท้อนอัตลักษณ์วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ โดย สมัชชา อภิสิทธิ์สุขสันติ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเงินรายได้ แผนงานยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม (โครงการสนับสนุนงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
& Service)
ตัว อักษร คือ สัญ ลักษ ณ์ช นิดห นึ่ ง ที่ ใ ช้ในการ สื่ อสาร จากคน ห นึ่ งไป สู่อีกคนห นึ่ งห รือ อีกก ลุ่ มห นึ่ ง ซึ่ งศาสต ร์การใ ช้งาน ตัว อักษร สามารถนาไปประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ ได้มากมายตั้งแต่งานเอกสารทั่วไป งานสิ่งพิมพ สื่อโฆษณา ในปัจจบันตัวอักษรไดพัฒนามาเป็นส่วนหนึ่ง ของการสร้างแบรนด (Brand) การสร้างอัตลักษณ์ใหกับองค์กร
ดังนั้น การ ใชตัวอักษรที่ด จะช่วยสนับสนุนให้การสื่อสารออกมาไดดีมากยิ่งขึ้นเช่น กัน ช่วย นา เสนอภาพ ลักษ ณ เ พิ่ ม มูล ค่า และเส ริมพ ลังใ ห กับสาร ที่ ต้องการจะสื่อออกไปด้วย การออกแบบตัวอักษรขึ้นใหม จาเป็นต้องศึกษาอัตลักษณ์จาก บุคลากรในองค์กรใหชัดเจนเสียก่อน เพื่อจะสามารถนามาวิเคราะห์และ ส ร้างแนวความ คิดเ ริ่ ม ต้นในการส ร้างสรร ค์งานออกแบบไ ด แบบ ตัว อักษรที่ไดจึงจะเป็นที่ยอมรับแกบุคลากรทุกคนในองค์กร มีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสม และสามารถ นา ไปใ ช้ภายในอง ค์กรและภายนอก องค์กร เพื่อเผยแพรอัตลักษณ์ขององค์กรไดต่อไป โดยผ่านการวจัยเรื่อง “การออกแบบ ชุด ตัว อักษรสะ ท้อน อัต ลักษ ณ วิทยา ลัยเพาะ ช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์” จัดทาโดย นายสมัชชา อภสิทธิ์สุขสันต อาจารย์ประจาหลักสูตรศิลปบัณฑิิต สาขาวิชาออกแบบ นิเทศศิลป วิทยาลัยเพาะช่าง โดยไดรับการสนับสนุนทุนงบประมาณ เงินรายได ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในแผนงานยุทธศาสตร การวจัยและพัฒนานวัตกรรม (โครงการสนับสนุนงานวจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร คู่มือ “แนวทางการใช ตัวอักษรอัตลักษณวิทยาลัยเพาะช่าง” ฉ บับ นี้ จัด ทาขึ้ นเ พื่ อ นา เสนอ ชุด ตัว อักษร “SA PohChang” อันเ ป็น ผลผลิตจากการวจัย มลักษณะเป็นอักษรพาดหัว (Display) เป็นชุดตัว อักษรทางเลือกสาหรับองค์กร ภายในคู่มือเป็นการนาเสนอแนวความ คิดการออกแบบชุดตัวอักษรและแนวทางการใช้ประโยชนกับสื่อต่าง ๆ เพื่อให้องค์กร หน่วยงาน หรือผู้ที่สนใจ สามารถนาชุดตัวอักษรนี้ไปใช ใน รูปแบบ ทิศทางเ ดียว กันอ ย่างเ ป็นระบบและ ต่อเ นื่ อง เ พื่ อใ ห้ภาพ ลักษณ์เกิดความชัดเจนเป็นที่รู้จักแก่กลุ่มเป้าหมายต่อไป
(Corporate Identity) สินค้าและบริการ (Product
แหล่งบ่มเพาะศิลปะการช่าง เป็นต้นกาเนิดแห่งศิลปวิทยา เพื่อผลิดอก
ออกผล สร้างความเจริญงอกงามใหกับแผ่นดินด้วยงานศิลปะและมรดก ทางวัฒนธรรมไทย ดังกระแสพระราชดารัสในวันเปิดโรงเรียนเพาะช่าง ตอนหนึ่งว่า
“ความเจริิญในศิิลปวิชาการิช่าง เป็นเคริ่�องวัดความเจริิญชาติิ”
ทรงมีพระมหากรุณาธคุณโปรดเกล้าฯแต่งตั้งให สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้้าจฑิาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณอินทราชัย ทรงดารงตาแหน่ง ที่ปรึกษาโรงเรียนเพาะช่าง เมื่อวันที่ 2 มถุนายน 2462 และต่อมาทรงเารโรงเรียนเพาะช่างเมื่อ วันที่ 13 มถุนายน 2466 นอกจากนี้โรงเรียน
เพาะ ช่างพระมหาก รุณา ธ คุณจากพระมหา
ก ษัต ร ย์และพระบรมวงศา นุวง ศ อีกหลาย
พระอง
วิทยา ลัยเพาะ ช่าง มหา วิทยา ลัยเทคโนโล ยีราชมงคล รัตนโก สินท ร เ ดิม ชื่ อ โรงเ รียนเพาะ ช่าง เ กิด ขึ้ นตามราชประสง ค์ของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ที่ต้องการจะสร้าง สถาบันการศึกษาด้านศิลปะการช่างของไทยขึ้น ด้วยการอนรักษ์มรดก ทางศิลปะและวัฒนธรรมของชาติและใหมีการเรียนรู้ศาสตรศิลปะของ
ไทยต่อไป แต่พระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวในการ ที่ จะ ทาน บารุง ศิลปะการ ช่างไทย ยังไ ม สา เ ร็จสม ดั่ งพระราช หฤทัยก็เสด็จสวรรคตเสียก่อน จนกระทั่งมาสาเร็จในสมัยรัชกาลที่ 6 โดย ใน วัน ที่ 7 มกราคม 2456 ทรงเส ด็จเ ป็นประธานใน พ ธีเ ปิดและทรง พระราชทานชื่อว่า “โรงเรียนเพาะช่าง” ซึ่งมีความหมายว่า สถาบันที่เป็น
ชาวตะวันตกให้เท่าทันเพื่อนาความรู้เหล่านั้นมาพัฒนาศิลปะการช่างของ
ค ที่ ทรงเส ด็จเ ยี่ ยมชม กิจการและเ ปิด นิทรรศการศิลปะในโอกาสต่าง
มาโดยตลอด ก ล่าวไ
ว่าเ ป็นสถา บัน ศิลปะแ
โดยในระยะเ ริ่ ม ต้นไ ด ดา เ นินการ จัดการ ศึกษา ทั้งสายช่างศิลปกรรมและครศิลปะซึ่งเทียบเท่า ระดับอุดมศึกษาในปัจจบัน
ๆ
ด
ห่งแรกของไทย
รููปแบบ Formal (เป็นทางการู) รูปแบบ อักษร หัวกลมโป ร่ง มีมาตรฐาน อ่านง่าย
• แม่ลายกนก (ตัวเหงา)
1. วิทยา ลัยเพาะ ช่างเ ป็นสถา บันการ ศึกษา ด้าน ศิลปกรรม ที่มุ่ งเ น้น ด้านงานเ ชิง ช่างไทยและ การอนรักษศิลปะไทยในรูปแบบต่าง ๆ อีกทั้งยังมุ่งเน้นงานด้านวิชาการ ศิลปะและการออกแบบ ผสมผสาน ระห ว่างไทย กับสากล เ ป็นสถา บันการ ศึกษา ด้าน ศิลปกรรม ที่มีประ ว ติศาสต ร์ยาวนาน มีความ ผูก พัน กับ สถา บันพระมหาก ษัต ร ย์มาโดยตลอด เ ป็นแรง บันดาลใจในการ ดา เ นินงานและ พัฒนา วิทยา ลัยเพาะ ช่าง มาจนปัจจบัน 2. วิทยา ลัยเพาะ ช่าง มีภาพ ลักษ ณ์และ บุค ลิก ที่ แสดงความ ส ขุม ความเ ป็นอ น รัก ษ นิยม เ น้น ความเป็นไทย แตกยังมีความร่วมสมัย อีกทั้งยังเผยแพร่ความร่วมสมัยและบูรณาการความเป็นไทยและสากล ในภาพลักษณ์ของตัวเองคู่กันไปด้วย 3. สภาพแวดล้อมของวิทยาลัยเพาะช่าง โดดเด่นด้วยอาคารสถานที่ บรรยากาศ มีความร่วมสมัย ผสมผสานความเป็นไทยและสากล ตัวอักษรพาดหัว (Display) สาหรับเป็นทางเลือกเพิ่มเติมใน การใช้งานกับสื่อที่หลากหลายมากขึ้นในยุคปัจจบัน ก้นหอยตัวเหงา ลดรูปเป็นหัวอักษรคงกลิ่นความเป็นไทย เอกลักษณ์ของปากกาหัวตัด ให้ความรู้สึกเป็นงานฝีีมือมีความลื่นไหลทางสายตา ใช้เส้นหลาย น้า หนักให้เกิดมต ดทันสมัยยิ่งขึ้น
มส่วนโค้งเว้า
• อารมณ์ปากกาหัวตัด งานฝีีมือ • รูปร่างสูง
• Stem หนา-บาง ม Contrast
สไตล์ตัวอักษร
ไม่สะดุด ใ ห้ความ รู้สึกเ ป็นทางการ ด น่าเ ชื่ อ ถือ เอาจ ริงเอา จัง มภมิฐาน รููปแบบ Elegant (ผู้�ดีี) รูปแบบ อักษรลด รูป หัว ใ ห เรียบง่าย มีความโค้งอ่อนช้อย ใ ช้เ ส้นหลาย น้า ห นัก ร่วม กัน เ กิดเ ป็นเอก ลักษ ณ์เ ด่น ใ ห ความ รู้สึก ทันส มัย สุภาพ เป็นผู้ด สง่างาม สงบ มีเกียรต ประณีต รููปแบบ Classic (ดี้�งเดีิม) รูปแบบอักษรพู่กันหรือปากกา หัวตัด เส้นให้ความรู้สึกจริงจัง ประ ณีต รู้สึก ย้อนอ ดีต ประณีตบรรจง มีความดั้งเดิม เชื่อมโยงกับอักษรเดิมในพื้นที่ สู่รูปลักษณ์ใหม
• ความรู้สึกร่วมสมัย
ก้นหอยตัวเหงา ตัดทอน คลายฟ้อร์มเป็น หัวอักษรลดรูปทันสมัย แรงบันดาลใจจากหางหงส์ไทยประยุกต สู่มุมตัดเฉียงสร้างเอกลักษณ์และน้าเสียง แบบสไตล Blackletter เสา 6 ต้น Landmark ของเพาะช่าง สร้าง Stem ที่ตั้งตรง ดสูง สง่า แข็งแรง
Regular / Oblique
SA PohChang
Loop Transformation ลดรูปหัวอักษร เพิ่มความทันสมัย (modern) สร้างอักษรแบบใหม รักษาโครงสร้างบุคลิกแบบดั้งเดิม (traditional) Curve ส่วนโค้งสร้างความสุภาพ ลดแรงเส้นตรง
90o ตัวตั้งตรง สร้างความแข็งแรง สง่า เป็นทางการ
Axis
Unique stem เส้นตั้ง แรงบันดาลใจจากสถาปัตยกรรม แข็งแรง หนักแน่น มั่นคง สง่างาม Fillet เชื่อมต่อหัว-หางกับเส้นตั้ง สร้างความต่อเนื่องสายตา Shear/Cut ตัดองศาคุมเอกภาพ สร้างระบบ High contrast เส้นหนาบางสร้างสัดส่วน และรสนิยมร่วมสมัย
SA PohChang
เพาะช่าง เพาะช่าง
Regular Oblique
ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ฦ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ ฯ ๚ ๅ ๆ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ Thai Basic Gylphs Latin Basic Gylphs
(Body/Text) (หมายเลข 7)
5. แบบอักษรนี้เหมาะสมแก่การนาไปใช้เป็นตัวพาดหัว (Display/Headline) แนะนาใหพิจารณา
(หมายเลข 8)
6. ไม่แนะนาให้ใช้ขนาดตัวอักษร เล็กกว่า 24pt
7. การสร้างภาพลักษณจาเป็นต้องอาศัยระยะเวลาใหผู้พบเห็นเกิดการจดจาและยอมรับ จึงควร
พิจารณาการใชชุดตัวอักษรสะท้อนอัตลักษณวิทยาลัยเพาะช่าง กับการสื่อสารองค์กรหรือภารกิจที่เกี่ยวข้อง
ชุุดีตัวอักษรูสะท�อันอั้ตัลักษณ์์วิทยาลัยเพาะชุ่าง มีข้�อัแนะนาการูใชุ�ดี้งนี 1. ห้าม บีบ ยืด หรือเปลี่ยนแปลงสัดส่วน ของตัวอักษร (หมายเลข 1, 2) 2. ห้ามปรับองศาความเอียงของอักษรโดยพลการ (หมายเลข 3, 4)
ห้ามเพิ่มน้าหนัก หรือเพิ่มเส้น Stroke (หมายเลข 5, 6)
ไม่เหมาะสมแก่การนาไปใช้เป็นตัวข้อความ
3.
4.
จับคู่กับแบบอักษรตัวข้อความที่เรียบง่ายจะเหมาะสมที่สุด
กับองค์กรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้ภาพลักษณ์เกิดความชัดเจนเป็นที่รู้จักแก่กลุ่มเป้าหมายต่อไป
ตัวอย่าง การใช้ตัวอักษร กับสื่อต่าง ๆ
สอัอั้ตัลักษณ์์อังค์์กรู
สินค์�าข้อังทีรูะลัึก
สินค์�า / ผู้ลัตัภั้ณ์ฑ์์อั่�น ๆ