กรณีศึกษา : ความสํ าเร็จ ระบบโทรศัพท์ IP-PBX อัจฉริยะด้ วย Elastix
โรงพยาบาลพุทธชินราช
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติพงษ์ สุวรรณราช Email : kitti@psru.ac.th มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม
ทีป่ รึกษา ระบบ IP-PBX ที่ปรึกษา : อาจารย์กิตติพงษ์ สุ วรรณราช (RHCT) Red Hat Certified Technician
ตําแหน่ ง : ผูอ้ าํ นวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ผูด้ ูแลระบบเครื อข่ายของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม จ.พิษณุโลก วิทยากรอบรม FreeBSD , OpenSource IP-PBX , Server ติดตัง้ ระบบโทรศัพท์ VoIP ให้ กับหน่ วยงานต่ าง ๆ Email : kitti@psru.ac.th MSN : kitti1411@hotmail.com
ระบบตูส้ าขา PBX เดิม (ยกเลิกแล้ว) ระบบตู้สาขาโทรศัพท์ PBX ที่มีอายุมากกว่า 15 ปี เริ่ มชํารุด ทําให้ เกิดค่าใช้ จา่ ยในการ ซ่อมบํารุงสูงในแต่ละปี และทําให้ ระบบการ สื่อสารให้ บริ การกับ ผู้ป่วยไม่ได้ รับความ สะดวก
แผนผังระบบ Elastix (รพ.พุทธชินราช)
ระบบโทรศัพท์ Elastix (รพ.พุทธชินราช) โรงพยาบาลพุทธชินราช ดําเนินการเปลี่ยนระบบ โทรศัพท์แบบเดิม PBX มาเป็ นระบบใหม่ IP-PBX ซึง่ ควบคุมด้ วย Elastix ที่ 2,000 หมายเลขภายใน , 100 หมายเลขภายนอก (e1) ตัดถ่ายระบบเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2553 โดยทีมงาน อาจารย์กิตติพงษ์ สุวรรณราช คุณชนิ
ศวรา ชูสนิท มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม และทีมงานโทรศัพท์โรงพยาบาล พุทธชินราช
ระบบ IP-PBX แบ่งออกเป็ น 2 ระยะ • ระยะที่ 1 ส่วนที่ 1 ติดตั้งระบบโทรศัพท์ IP-PBX รองรับ 30 คู่สายนอก และ 2,000 เลขหมายภายใน (หน่วยงานต่าง ๆ และบ้ านพัก) • ระยะที่ 2 ส่วนที่ 2 ติดตั้งระบบอินเทอร์ เน็ต ADSL ที่วิ่งบนระบบ โทรศัพท์ IP-PBX นี ้ เพื่อรองรับการให้ บริการอินเทอร์ เน็ตของแพทย์ และ จนท. ทั้งโรงพยาบาล ส่วนที่ 3 ติดตั้งระบบ VPN เพื่อรองรับการการเชื่อมต่อระบบ โทรศัพท์กบั โรงพยาบาลอื่น ๆ ในเครื อข่าย เพื่อความสะดวกในการ ประสานงานและลดค่าใช้ จ่าย ส่วนที่ 4 ติดตั้งระบบ Fax Server เพื่อรองรับการรับ-ส่ง แฟกซ์แบบไร้ กระดาษสําหรับโรงพยาบาลในเครื อข่าย
IP Phone สําหรับ Operator IP-Phone นี ้ จะช่วยอํานวยความ สะดวกให้ กบั จนท. ใน การโอนสายหรื อตอบ รับผู้ป่วยที่โทรฯมาติด ต่อประสานงาน ซึง่ สามารถทํางานเป็ นคิว พร้ อมๆ กันได้
Elastix and Asterisk Server Dell Poweredge 2900 ใช้ ควบคุมระบบ โทรศัพท์และรับสายนอก ทั ้งหมด (ติดตั ้ง Elastix 1.5) Dell T410 ใช้ สร้ าง Trunk เพื่อโทรออกสายนอก (ติดตัง้ Asterisk 1.4)
MSAN IES6000 series
จํานวน 3 Chasis รองรับมากกว่า 2,000 extensions (อุปกรณ์นี ้ ให้ บริ การหน่วยงานต่าง ๆ ทัง้ รพ.)
จุดพักสาย MDF
จัดระเบียบคูส่ ายใหม่ทงระบบ ั้ ติดตั ้งที่ฝาด้ านข้ าง Rack 42U
ระบบโทรศัพท์รองรับ Smart Phone • โรงพยาบาล ได้ ติดตัง้ Access Point ประมาณ 30 จุดตามอาคาร ต่าง ๆ ที่รองรับกับการใช้ งานโทรศัพท์ภายในแบบไร้ สาย (Smart Phone) เพื่อเพิ่มความสะดวกในการติดต่อสื่อสารสําหรับแพทย์ และ จนท. โทรศัพท์ที่รองรับระบบนี ้ จะต้ องรองรับ SIP Protocol ได้ แก่ โทรศัพท์มือถือ เช่น Nokia Eseries (E63) และปั จจุบนั รองรับ บนโทรศัพท์ iPhone และ Andriod เรี ยบร้ อยแล้ ว จึงทําให้ บุคลากรที่มีโทรศัพท์ดงั กล่าว สามารถเชื่อมต่อระบบได้ ทนั ที
ประโยชน์ที่ได้รับ • โรงพยาบาลฯ ใช้ เงินลงทุนประมาณ 9 ล้ านบาท จากเดิมที่จะต้ อง ลงทุนสูงถึง 25 ล้ านบาท และเป็ นระบบที่ทนั สมัยมากกว่า พร้ อมทัง้ ยังเป็ นระบบเปิ ดที่ไม่ผกู ติดกับผู้ผลิตรายใด ทําไม่เป็ นเกิดการผูกขาด ทางการค้ า • โรงพยาบาลฯ มีช่องทางการให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตผ่านทางระบบ โทรศัพท์นี ้ ผ่านเทคโนโลยี ADSL ซึง่ เป็ นเครื อข่ายภายในเอง ทําให้ แพทย์และจนท. สามารถค้ นคว้ าข้ อมูลจากอินเทอร์ เน็ตได้ ด้วยค่าใช้ จ่าย ที่ตํ่า และฟรี
ประโยชน์ที่ได้รับ (ต่อ) • ระบบนี ้ มีความพร้ อมในการเชื่อมต่อระบบโทรศัพท์แบบ VoIP กับ โรงพยาบาลต่าง ๆ ผ่านทาง VPN ซึง่ จะเป็นการเพิม่ ช่องทางในการ ติดต่อสื่อสารและทําให้ ลดค่าใช้ จ่ายทั้งสองฝั่ งอีกด้ วย ซึง่ ได้ ติดตั้งอุปกรณ์ พร้ อมแล้ ว • ระบบนี ้มีระบบ Fax Server ที่ช่วยอํานวยความสะดวกในการรับส่ง เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ทําให้ ลดปริมาณการใช้ กระดาษในองค์กรได้ • ระบบนี ้ใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ ควบคุมการทํางานทั้งระบบ และใช้ Software Opensource (Elastix) ซึง่ ทําให้ ไม่มีค่าใช้ จ่ายในการ ซื ้อระบบ และเป็นมาตรฐานเปิด และไม่ผกู ขาดทางการค้ า ซึง่ ปั ญหานี ้ทาง โรงพยาบาลก็จะพบปั ญหามาพอสมควร นับเป็นทางเลือกที่ดีที่สดุ
ประโยชน์ที่ได้รับ (ต่อ) • ระบบนี ้ช่วยประหยัดค่าโทรศัพท์ได้ มาก ซึง่ เดิมทีจะเสียค่าบริการเดือนละ ประมาณ 200,000 – 300,000 บาท แต่ปัจจุบนั ใช้ การโทรศัพท์ผ่าน ทาง E1 ของ TOT (ได้ รับสิทธิพเิ ศษในการโทรฯ) แต่ละเดือนจะจ่าย ประมาณ 50,000-60,000 บาท • บุคลากรมีความคล่องตัวในการใช้ ระบบสื่อสารนี ้ในการติดต่อประสานงาน มากขึ ้น และใช้ เส้ นทางนี ้ในการสืบค้ นความรู้ผ่านทาง ADSL ผ่านในรพฯ ได้ สะดวกขึ ้น • ในด้ านเทคนิค การขยายเพิม่ เลขหมายต่าง ๆ ทําได้ สะดวกมากขึ ้น และ รองรับกับการใช้ งานในอนาคต และช่วยลดค่าบํารุงรักษาในแต่ละปี ลง ได้ มาก
ประโยชน์ที่ได้รับ (ต่อ) • ในด้ านภาพลักษณ์: ทางโรงพยาบาลได้ สนองตอบกับนโยบายภาครัฐ ของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการนําเอา Opensource มาใช้ ในการทํางานเพื่อลดต้ นทุน และเป็ นต้ นแบบ ของโรงพยาบาลแห่งแรกในประเทศไทยที่มีการใช้ งานระบบนี ้มากที่สดุ ทังระบบ ้ และเป็ นเทคโนโลยีที่ทนั สมัยที่สดุ โดยใช้ เงินลงทุนที่ค้ มุ ค่าและ ตอบสนองกับการทํางานได้ เป็ นอย่างดี