แนะนำ สนก.สพฐ. ปี 2555

Page 1



1

¤íÒ·Ñ¡·Ò¨ҡ ʹ¡. สวัสดีคะ ในนามของสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ขอขอบคุณทุกทานที่ใหความสําคัญกับการ “เปดบานนวัตกรรม” ของเราในครั้งนี้ อาจกลาวไดวาตลอดเวลาหลายปที่เราทํางาน รวมกันมา เรามีผลงานทีภ่ มู ใิ จมากมายและปรากฏชัดเจนเปนรูปธรรม ทั้งกระบวนการเรียนการสอน การวิจัยผลสัมฤทธิ์และความสําเร็จ ของตัวนักเรียน แตเรายังไมเคยนํามาเผยแพรสูสาธารณชน จนเกิด เปนคําถามวา เราทําอะไร? เมือ่ การจัดงานครัง้ นีป้ รากฏขึน้ ทุกทานคงตอบคําถามไดดวี า เราทําอะไร ทานทําอะไร และเด็กของเราไดอะไร ขอบคุณทุกทานที่มีสวนชวยใหงานครั้งนี้ สําเร็จลงไดดวยดี ทั้งจากโรงเรียน จากเขตพื้นที่ จนกระทั่งถึง สนก. และ สพฐ. ขอ ใหวันที่ 5-7 มิถุนายน 2555 นี้ เปนวันที่ทานไดแลกเปลี่ยนเรียนรู อยางมีความสุขทุกวันนะคะ..... พบกันใหมในโอกาสหนาคะ

¾¨ÁÒ¹ ¾§É 侺ÙÅ ผูอํานวยการ สนก.


2

บาน... นวัตกรรม

E

DUCATIONAL

INNOVATION

Symposium 2012

เกิดขึ้นมาจากความปรารถนาที่จะให เด็กไทยไดรบั การศึกษาอยางมีคณ ุ ภาพ และเติบโตขึน้ เปนคนดี มีความสุข เพื่อผลักดันฝนนี้ใหเปนจริง การรวมตัวของพวกเราชาว สนก. จึงเกิดขึน้ โดยมีพนั ธกิจรวมกัน คือ การคนหาสิง่ ใหมๆ มาเติมเต็มใหกบั การศึกษาไทย โดยตลอดเวลาที่ผานมา บาน...นวัตกรรม ไดพิสูจนใหเห็นแลววา เราเปนผูน าํ ในการสรางสรรคสงิ่ ใหมและกําลังนําพาการศึกษาไทย ใหกา วสู ระดับคุณภาพ ดังวิสัยทัศนที่วา...

“สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา เปนองคกร ในการพัฒนานวัตกรรม เพื่อยกระดับคุณภาพ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ขับเคลือ่ นการวิจยั และพัฒนา นวัตกรรมทางการศึกษาสูการปฏิบัติ”


3 สิง่ ทีอ่ ยูใ นหัวใจของพวกเราตลอดเวลา คือ การสรางเด็กทีเ่ กง มีความรูร อบดานกวางไกล ทัดเทียมนานาชาติ เด็กทีด่ ี มีความซือ่ สัตย กตัญู มีความรับผิดชอบตอชุมชนและสังคม และเด็กทีม่ คี วามสุข มองโลกในแงบวก แกปญ  หาดวยปญญา เราจึงใหความสําคัญกับการสงเสริม ทั้งในดานวิชาการ การประดิษฐ ความคิดสรางสรรค สนับสนุน ใหมกี ารพัฒนาสือ่ พัฒนา นวัตกรรมใหมๆ ควบคูไ ปกับการแสวงหาความรวมมือจากหนวยงาน ทัง้ ในและตางประเทศ สุดทายคือการเผยแพร ใหเกิดประโยชนกบั การศึกษาของเด็กไทย ปจจุบนั บาน...นวัตกรรม อัดแนนไปดวยกิจกรรมความรู ทฤษฎี และวิธกี ารตางๆ มากมาย ทีช่ ว ยสงเสริมทัง้ ผูเ รียนและผูส อนใหมี คุณภาพรอบดาน โดยทั้งหมดนี้ไดมาจากการทํางานอยางมีระบบ เริม่ ตนจากการวิจยั ใหรลู กึ วิเคราะหใหรจู ริง นํามาสรางหลักการ สรุปเปนทฤษฎี มีการนําไปปฏิบัติ สุดทายจึงนําไปเผยแพรและ ขยายผล ภายใตการดําเนินงานที่ รอยรัก ชักใย ใจประสาน ในทุกๆ กลุม งาน ดังเชนการหมุนของฟนเฟองชิน้ สําคัญตางๆ อยางสอดคลอง เพือ่ กาวทีม่ นั่ คงของ บาน...นวัตกรรม สูก า วทีย่ งิ่ ใหญทางการศึกษาไทย


4 กลุมวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการบริหาร

E

DUCATIONAL

INNOVATION

Symposium 2012

“โรงเรียนในฝน” หรือ “โรงเรียนดีใกลบาน”

คือ ผลไมที่สุกงอมหอมหวานของตนไมใหญ ที่ชื่อวา กลุม วิจยั และพัฒนานวัตกรรมการบริหาร (วนบ.) ทีย่ นื หยัด ในการแสวงหาการบริหารจัดการแนวใหม เพื่อพัฒนา โรงเรียนในทุกระดับ ตลอดจนพัฒนาระบบศึกษาของไทย ใหกาวเดินไปในทิศทางแหงความสําเร็จ ดั ง ปณิ ธ าน ”พลิ ก ระบบการศึ ก ษา หยุ ด วงจร ความยากจน” ดวยวิสัยทัศน “สรางโอกาสใหเด็กไทย” สูพันธกิจ “สรางโรงเรียนชั้นดี ใหเด็กไทยไดเรียนรูดวย ตนเองตลอดชีวติ คิดวิเคราะห มีความสามารถดานเทคโนโลยี มีคุณธรรม รักษวัฒนธรรมไทยและมั่นใจในตนเอง”


5


6 กลุมวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน

E

DUCATIONAL

INNOVATION

Symposium 2012

การเรี ย นการสอน ถือเปนหัวใจของระบบ

การศึกษา ที่คอยสูบฉีดความรู ความสามารถแกเด็กและ เยาวชนของประเทศใหมีคุณภาพ กลุมวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน (วนส.) จึงไดปลุกเรา การเรียนการสอนรูปแบบใหมๆ ดวยบทบาทในการคนควา จัดหา พัฒนาและนําเสนอรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ทีป่ ระสบผลสําเร็จจากทัง้ ในและตางประเทศ นํามาเจียระไน ผานการวิเคราะห สังเคราะห วิจัย ใหเปนอัญมณีทาง การศึกษา เกิดเปนนวัตกรรมทีก่ า วลํา้ นําสมัย ทัง้ การเรียน ศาสตรและการสอนศิลป อันเหมาะสมกับการพัฒนา เด็กไทย บนฐานความเหมือนและความแตกตางทางศักยภาพ ระหวางบุคคล ภายใตรม ของการบูรณาการอยางสรางสรรค


7


8 กลุมวิจัยและสงเสริมคุณธรรมและอนุรักษสิ่งแวดลอมฯ

E

DUCATIONAL

INNOVATION

Symposium 2012

เสียงเรียกรองคนเกงและดีจากสังคมที่ดัง

ทวีขนึ้ ทุกวัน ทําใหกลุม วิจยั และสงเสริมคุณธรรมและอนุรกั ษ สิ่งแวดลอมในสถานศึกษา (วคส.) ตระหนักถึงการสราง สมดุลทางดานคุณธรรม จริยธรรมและการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม ใหแกเด็กและเยาวชน จึงมุงเนนการพัฒนาและเสริมสราง คุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค กระตุน ผูส อนใหมจี ติ วิญญาณครู อุม ชูผเู รียนใหมจี ติ สาธารณะ โดยจัดกิจกรรมผานกระบวนการที่ปลูกฝงหยั่งรากลึก ถึง จิตสํานึกแหงความดี และความรับผิดชอบตอสังคมสวน รวม ภายใตแนวคิดที่วา... “เด็กที่ดีในวันนี้ คือ ผูใหญที่ดี ในวันหนา”... ถือเปนรากฐานแหงคุณคาทีจ่ ะนําพาชาติไทย ใหพัฒนาอยางยั่งยืนสืบไป


9


10 กลุมวิจัยและพัฒนาองคกรแหงการเรียนรู

E

DUCATIONAL

INNOVATION

Symposium 2012

ในเวทีการแขงขันระดับนานาชาติมากมาย

ที่ถูกทาทายและพิชิตไดโดยความสามารถและความเปน อัจฉริยะของเด็กไทย กลุมวิจัยและพัฒนาองคกรแหง การเรียนรู (วพร.) คือ ผูอยูเบื้องหลังในการสรางภาพ แหงความสําเร็จดังกลาว โดยกอรางสรางการจัดการ ความรูค กู ารบริหารจัดการทีเ่ ปนระบบ รอยเรียงเปนวงแหวน แหงการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูสูระดับสากลอยาง ต อ เนื่ อ ง เพื่ อ อํ า นวยการคิ ด ค น รู ป แบบและเทคนิ ค ในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และเอื้อให ผูเ รียนเกิดความเปนเลิศในดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร เฉกเชนการติดอาวุธทางปญญาใหกับเด็กไทย ไปประลอง สมองในสนามความรูระดับสากล โดยมีเปาหมายเพื่อ ประโยชนสูงสุดของผูเรียนและประเทศชาติ


11


12 กลุมวิจัยและสงเสริมการวิจัยทางการศึกษา

E

DUCATIONAL

INNOVATION

Symposium 2012

การวิจยั เปนจิก๊ ซอวชนิ้ สําคัญของการพัฒนาประเทศ

เนือ่ งจากเปนตนตอและบอเกิดแหงองคความรูท างนวัตกรรม ดังนั้น กลุม วิจัยและสงเสริมการวิจัยทางการศึกษา (วสศ.) จึงเปนผูคนหาและขัดเกลาชิ้นสวนดังกลาว เพื่อเติมเต็ม ภาพความสําเร็จของการศึกษาไทย โดยการกําหนด ยุทธศาสตร ประเด็น และทิศทางการวิจัยทางการศึกษา รวมถึงการใชประโยชนดวยยุทธวิธีที่เหมาะสม สงเสริม การวิจัยใหเปนวัฒนธรรมหนึ่งของกระบวนการเรียนรู สรางเครือขายวิจยั อยางมีประสิทธิภาพทีท่ กุ ฝายมีสว นรวม เพื่อแสวงหาองคความรูใหมๆ มาปรับปรุงและพัฒนางาน ดานการศึกษา ตอบสนองตอวิสยั ทัศนดา นการวิจยั ในภาพ รวมของประเทศ คือ “ประเทศไทยมีการวิจัยที่มีคุณภาพ เพื่อการพัฒนาที่สมดุลยั่งยืน”


13 กลุมโครงการพิเศษ

การสนองแนวพระราชดําริและตอบรับนโยบาย

เรงดวนของรัฐบาล สงผลใหกลุมโครงการพิเศษ (คพศ.) มี ความปตยิ นิ ดีและภาคภูมใิ จทีไ่ ดรบั บทบาทในการขับเคลือ่ นและ พั ฒ นาการศึ ก ษาทุ ก หนแห ง แม ก ระทั่ ง พื้ น ที่ ย ากลํ า บาก ในดินแดนชายขอบ โดยมุงพัฒนาระบบการจัดการศึกษา ทางเลือกทีม่ คี ณ ุ ภาพ สรางแรงบันดาลใจ ใหความรูค เู ทคโนโลยี สูก ารประกอบอาชีพและธุรกิจทีป่ ระสบความสําเร็จ เสริมผูเ รียน ใหเกิดการเรียนรู เขาใจ คิดได ทําเปน โดยพัฒนาศักยภาพตาม ความถนัด ความสนใจ และความตองการที่มีอยูจริง ผสานกับ วิถีชีวิต และกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูที่หลากหลาย ภายใต พระราชปรัชญาการทรงงานของสมเด็จยา คือ “การพัฒนา คุณภาพชีวิต และสงเสริมใหคนอยูรวมกับธรรมชาติไดอยาง มีสํานึกและพึ่งพาอาศัยกัน”


14 กลุมบริหารทั่วไป

E

DUCATIONAL

INNOVATION

Symposium 2012

บานแข็งแรงเพราะรากฐานทีม่ นั่ คง กลุม บริหาร

ทัว่ ไป จึงเปนยิง่ กวาฐานรากทีแ่ ข็งแกรง หากเปนถึงขุมพลัง แหงการขับเคลื่อนกิจกรรมทั้งหมดของ สนก. ใหบรรลุซึ่ง วัตถุประสงคอยางเต็มประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งการบริหารจัดการงบประมาณที่ฉับไว โปรงใส ชัดเจน ภายใตเกณฑธรรมาภิบาล การจัดหาอุปกรณและเทคโนโลยี ทีท่ นั สมัย ครบเครือ่ งและรอบดาน การสรางสรรคกจิ กรรม สนับสนุนเพื่อสงเสริมเติมเต็มความรูและทักษะ รวมไป ถึงทัศนคติที่จําเปนอยางเหมาะสมตอการพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรภายใน สูศักยภาพในการพัฒนาการศึกษา ภายนอก เปนดังยาชูกาํ ลังทีผ่ ลักดันใหกา วยางอยางองคกร ทีม่ ชี วี ติ ในทิศทางทีส่ ะทอนภาพความสําเร็จตามเปาหมาย การศึกษาของประเทศไทย


15

ทั้งหมดนี้ คือการทํางานรวมกันภายใน

บาน...นวัตกรรม

เพื่อเปาหมายที่สําคัญคือการสรางใหเด็กไทย เกง ดี มี สุข สรางสรรคนวัตกรรมการศึกษา เพื่อความกาวหนาของ...การศึกษาไทย

Innovation creator for better education


16

E

DUCATIONAL

INNOVATION

Symposium 2012

กลุมบริหารทั่วไป • โทรศัพท 0 2288 5878, โทรสาร 0 2288 5886 กลุมโครงการพิเศษ • โทรศัพท 0 2288 5898, โทรสาร 0 2281 0828 กลุมวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน • โทรศัพท 0 2288 5892, 0 2280 5494 โทรสาร 0 2280 5559 กลุมวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการบริหาร • โทรศัพท 0 2288 5895, โทรสาร 0 2288 5894 กลุมวิจัยและพัฒนาองคกรแหงการเรียนรู • โทรศัพท 0 2288 5881, โทรสาร 0 2281 5216 กลุมวิจัยและสงเสริมการวิจัยทางการศึกษา • โทรศัพท 0 2288 5882, โทรสาร 0 2280 5561 กลุมวิจัยและสงเสริมคุณธรรมและอนุรักษสิ่งแวดลอมในสถานศึกษา • โทรศัพท 0 2288 5879, โทรสาร 0 2288 5879




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.