TOP : Annual Report 2013

Page 1

เ ชื่ อ มั่ น ใ น ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร อ ม แ ล ะ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ บุ ค ล า ก ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จ ำ กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 5 6

ส ร า ง ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ใ น สิ น ค า แ ล ะ บ ริ ก า ร

เ ป น ที่ ไ ว ว า ง ใ จ ข อ ง สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

มุ ง มั่ น สู อ ง ค ก ร แ ห ง ค ว า ม ไ ว ว า ง ใ จ

STRIVING FOR

THE MOST RELIABLE CO MPAN Y


วิสัยทัศน บริษัท ไทยออยล จำกัด (มหาชน) มุ งที่จะเป นผู นำในการดำเนินธุ รกิจเชิงบูรณาการ ด านการกลั่นน้ำมันและป โตรเคมีที่ต อเนื่อง อย างครบวงจรในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

พันธกิจ

+ เป นหนึ่งในองค กรชั้นนำในด านผลการดำเนินงาน และผลตอบแทนการลงทุน + ก าวสู องค กรแห งความเป นเลิศ ส งเสริมการทำงานเป นทีม มุ งสร างสรรค สิ่งใหม บนพื้นฐานแห งความเชื่อมั่นระหว างกัน เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน + มุ งเน นหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และยึดมั่นในความรับผิดชอบต อสังคม


. 6 ' 5 g 002

ę1%=).7 5g 6 6'A è

004

.6' 6 4 ''% 6'

014

'6& 6 1 4 ''% 6' '+ .1

016

'6& 6 1 4 ''% 6' .''/6B)4"ô 6' 6 Ę6 1 B

018

'6& 6 1 4 ''% 6' 7 5 =B) 8 6'

022

'6& 6 1 4 ''% 6' 'è/6' +6%A.9I&

024

+è.5& 5, Ĝ "5 8 B)4 )&< Ĝ D 6' 7A 8 6 1 A 'ë1E &11&)Ĝ

025

.'< +6%.7A'H D 6' 7A 8 <' 8 D '1 Đ ¡¡¢

030

'4%+)A/ < 6' Ĝ.7 5g Đ ¡¡¢

034

.'< $6+4 )6 Đ ¡¡¢ $6+41< .6/ ''% B)4 6'B Ę 5 D 1 6

046

'4 + 6' )8 6'"5 6 6' )8 B)4 6' 'è/6' 5 6' ę6 < $6" +6%%5I 16 9+1 6%5& B)4.8ø B+ )ę1%

056

C ' 6'D 1 6

060

6' 'è/6',5 &$6"1 Ĝ '

062

4 ''% 6' 'è-5 3

072

C ' .'ę6 !ē6& 5 6'

074

!ē6& 5 6' 'è-5 3

078

ę1%=)/)5 '5"&ĜB)4 =ę ;1/<ę B)4C ' .'ę6 6' 5 6'

092

6' 'è/6' +6%A.9I& 1 Ĝ '

096

6' + <%$6&D 1 'è-5 3

098

'6& 6 6' 8 5 8 6%/)5 6' 7 5 =B) 8 6'

122

+6%&5I &; D 6' 7A 8 <' 8 1 A 'ë1E &11&)Ĝ

126

+6%'5 ċ 1 Ę1.5 % 1 A 'ë1E &11&)Ĝ

127

ę1%=) 5I+E 1 'è-5 3 B)4 'è-5 D A 'ë13

136

C ' .'ę6 <' 8 1 A 'ë1E &11&)Ĝ

138

C ' .'ę6 '6&E ę

140

71 8 6&B)4 6'+èA '64/Ĝ 6 4 6'A è B)4 ) 6' 7A 8 6 1 !ē6& 5 6'

144

'6& 6''4/+Ę6 5

151

'6& 6 +6%'5 ċ 1 1 4 ''% 6' Ę1'6& 6 6 6'A è

153

6'A è


аЄВ¬М аЄ≠ аЄ°аЄє аЄ• аЄ™аєН аЄ≤ аЄДаЄ± аЄН аЄЧ аЄ≤ аЄЗ аЄБ аЄ≤ аЄ£ аєА аЄЗаЄі аЄЩ

002

аЄВ¬М аЄ≠ аЄ°аЄє аЄ• аЄ™аєН аЄ≤ аЄДаЄ± аЄН аЄЧ аЄ≤ аЄЗ аЄБ аЄ≤ аЄ£ аєА аЄЗаЄі аЄЩ

.8 '5"&ƒЬ'+%

'6&E ƒЩ 6 6' 6&

2553

2554

414,599

.ƒШ+ 1 =ƒЩ ;1/<ƒЩ ¬Ы.< 8

2552

2555

10,394

447,432

2555

12,320

208,519 2

2554

446,241

170,676

2553

318,391

154,568

2552

284,123

147,148

)ƒЩ6 6

137,745

)ƒЩ6 6

2555

7E'.< 8 90,724

94,838

2553

2554

2555

2552

2553

14,853

85,034

2552

8,956

75,570

)ƒЩ6 6

71,687

)ƒЩ6 6

12,062

01

аЄЪ аЄ£аЄі аЄ©аЄ± аЄЧ аєД аЄЧ аЄҐ аЄ≠ аЄ≠ аЄҐ аЄ•¬П аЄИаєН аЄ≤ аЄБаЄ± аЄФ ( аЄ° аЄЂ аЄ≤ аЄК аЄЩ ) аЄ£ аЄ≤ аЄҐ аЄЗ аЄ≤ аЄЩ аЄЫ аЄ£ аЄ∞ аЄИаєН аЄ≤ аЄЫ¬В 2 5 5 6

2554


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ข อ มู ล สํ า คั ญ ท า ง ก า ร เ งิ น

003

2556

2555

2554 (1)

2553 (2)

2552

ล้านบาท ” ” บาท/หุ้น

414,599 22,361 10,394 5.09

447,432 20,350 12,320 6.04

446,241 28,760 14,853 7.28

318,391 17,381 8,956 4.39

284,123 21,393 12,062 5.91

ล้านบาท ” ”

208,519 113,681 94,838

170,676 79,952 90,724

154,568 69,534 85,034

147,148 71,578 75,570

137,745 66,058 71,687

เท่า ” ” ร้อยละ ”

5.9 2.6 0.3 11.2 5.5

8.7 2.9 0.2 14.0 7.6

13.5 3.1 0.3 18.5 9.8

9.7 2.7 0.4 12.2 6.3

10.1 2.7 0.5 17.8 8.9

บาท/หุ้น ล้านบาท บาท/หุ้น ร้อยละ บาท/หุ้น

56.25 114,752 2.30 (3) 4.1 46.49

67.50 137,702 2.70 4.0 44.47

58.50 119,342 3.30 5.6 41.68

78.25 159,632 2.00 2.6 37.04

42.75 87,211 2.55 6.0 35.14

ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น รายได้จากการขาย EBITDA กําไรสุทธิ กําไรต่อหุ้น

ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ

อั ต ร า ส ว น ท า ง ก า ร เ งิ น อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบี้ย อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม

ข อ มู ล สํ า คั ญ ใ น ต ล า ด ทุ น ราคาปิดของหุ้น ณ วันสิ้นงวด มูลค่าตลาดรวม เงินปันผล อัตราผลตอบแทนเงินปันผล (4) มูลค่าหุ้นตามบัญชี

หมายเหตุ (1) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ได้มีการจัดประเภทรายการใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการนําเสนอในงบการเงินปี 2555 (2) ปรับปรุงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีตามมาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์ของพนักงาน (3) รวมเงินปันผลระหว่างกาล สําหรับผลประกอบการ 6 เดือนแรกของปี 2556 จํานวน 0.80 บาท/หุ้น ซึ่งจ่ายเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2556 และคงเหลือเป็น เงินปันผลที่จะจ่ายอีกจํานวน 1.50 บาท/หุ้น โดยจะนําเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป (4) คํานวณจากราคาปิดของหุ้น ณ วันสิ้นงวด


004

02

สารจากคณะกรรมการ

สารจาก คณะกรรมการ

น า ย ณ อ คุ ณ สิ ท ธิ พ ง ศ ประธานกรรมการ บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

น า ย วี ร ศั ก ดิ์ โ ฆ สิ ต ไ พ ศ า ล ป ร ะ ธ า น เ จ า ห น า ที่ บ ริ ห า ร แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ผู จั ด ก า ร ใ ห ญ บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

การได้รับการคัดเลือกให้เป็นสมาชิกของ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI ) ประจําปี 2556 ในกลุ่มอุตสาหกรรมนํ้ามันและก๊าซ และการได้รับ การประกาศจาก RobecoSAM ซึ่งเป็นผู้ประเมินความยั่งยืนให้แก่ DJSI ให้เป็นผู้นําด้านความยั่งยืนในกลุ่มธุรกิจนํ้ามันและก๊าซระดับ Gold Class ซึ่งถือเป็นรางวัลระดับสูงสุดจากการประกวด Sustainability Award 2014 นั บ เป็ น ความภาคภู มิ ใจและเป็ น อี ก หนึ่ ง ตั ว อย่ า งของความสํ า เร็ จ ของ เครื อ ไทยออยล์ ที่ แ สดงถึ ง ความมุ่ ง มั่ น และเป็ น นํ้ า หนึ่ ง ใจเดี ย วกั น ของ คณะกรรมการบริษัทฯ ฝ่ายจัดการ และพนักงานทุกคนในการกําหนด นโยบายบริหารจัดการธุรกิจ และการปฏิบัติงานโดยยึดหลักความสมดุล ทั้งมิติทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้วยหลักธรรมาภิบาล และตอบสนองผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มอย่างเป็นธรรม เพื่อเป้าหมาย ความสําเร็จที่ยั่งยืนในระยะยาว ในภาพรวมเชิงธุรกิจ สภาพเศรษฐกิจโลกที่อ่อนไหวเนื่องจากอยู่ในระยะ ฟื้ น ตั ว และเติ บ โตในอั ต ราที่ ช ะลอตั ว ลงเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ปี 2555 ได้ส่งผลกระทบต่อปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ของตลาด ประกอบกับ กํ า ลั ง การผลิ ต ใหม่ ที่ เข้ า สู่ ต ลาดทั้ ง ในอุ ต สาหกรรมนํ้ า มั น ปิ โ ตรเลี ย ม อะโรมาติ ก ส์ และนํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐาน เป็ น ปั จ จั ย สํ า คั ญ ที่ ก ดดั น ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบในรอบปี 2556 คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายจัดการตระหนักเป็นอย่างดีถึงสภาวะอุตสาหกรรมที่มีแนวโน้ม ผั น ผวนและไม่ เ อื้ อ อํ า นวย จึ ง ได้ เ ตรี ย มมาตรการรองรั บ โดยกํ า หนด กลยุทธ์ทางธุรกิจที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศในด้านการดําเนินการผลิตและ การบริ ห ารจั ด การกลุ่ ม ธุ ร กิ จ แบบบู ร ณาการมาโดยตลอด เพื่ อ ให้ เครือไทยออยล์สามารถดํารงความได้เปรียบทางด้านขีดความสามารถ ในการแข่ ง ขั น ในเชิ ง ธุ ร กิ จ และได้ ป รากฏผลลั พ ธ์ ที่ ชั ด เจนทํ า ให้ เครือไทยออยล์สามารถเดินเครื่องโรงกลั่นในอัตราที่สูงถึงร้อยละ 102 ของกํ า ลั ง การผลิ ต ที่ อ อกแบบไว้ ใ นปี 2556 โดยมี ผ ลประกอบการ คิ ด เป็ น กํ า ไรสุ ท ธิ 10,394 ล้ า นบาท และบริ ษั ท ในเครื อ ฯ ทุ ก บริ ษั ท มี ผลการดําเนินงานเป็นกําไรสุทธิทุกบริษัท ซึ่งนับเป็นผลการดําเนินงาน ที่น่าพึงพอใจเป็นอย่างยิ่งหากเปรียบเทียบกับสภาวะทางเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรมที่ผันผวนและไม่เอื้ออํานวยดังกล่าว ปี 2556 นั บ เป็ น อี ก ปี ห นึ่ ง ที่ เ ครื อ ไทยออยล์ ส ามารถเร่ ง รั ด ดํ า เนิ น โครงการเชิงกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อวางรากฐานการดําเนินธุรกิจในอนาคต จนมีความคืบหน้าเป็นอย่างมาก ทั้งในส่วนของการปรับปรุงประสิทธิภาพ การกลั่นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ตัวอย่างเช่น โครงการ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พ ลั ง งานของหน่ ว ยกลั่ น นํ้ า มั น ดิ บ ที่ 3 และ โครงการปรั บ ปรุ ง หน่ ว ยกลั่ น สุ ญ ญากาศที่ 2 ซึ่ ง ทั้ ง 2 โครงการมี กําหนดแล้วเสร็จพร้อมเดินเครื่องในปี 2557 และในส่วนของโครงการ ขยายและต่ อ ยอดธุ ร กิ จ ต่ า งๆ เช่ น โครงการขยายกองเรื อ โครงการ โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก 2 โครงการ โครงการร่วมทุนจัดตั้งบริษัท ลาบิกซ์ จํากัด เพื่อดําเนินโครงการผลิตสาร LAB (Linear Alkyl Benzene ) ซึ่งเป็น วัตถุดิบสําคัญในการผลิตสารทําความสะอาด มูลค่าโครงการกว่า 400 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีกําหนดการเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ในปี 2558 นอกจากนี้โครงการขยายธุรกิจไปสู่ตลาดอาเซียนซึ่งฝ่ายจัดการพยายาม เร่งรัดศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการก็มีความคืบหน้าไปเป็นลําดับ เช่ น กั น โดยหากผลการศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ข องโครงการเป็ น ไปใน

สารจากคณะกรรมการ

005

ทิ ศ ทางที่ ดี และโครงการต่ า งๆ ที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งดํ า เนิ น การแล้ ว เสร็ จ คณะกรรมการบริษัทฯ มีความมั่นใจเป็นอย่างยิ่งว่าการดําเนินธุรกิจของ เครือไทยออยล์ในอนาคตจะมีการเติบโตอย่างมั่นคงจากธุรกิจที่หลากหลาย และอิงอยู่กับตลาดทั้งภายในและภายนอกประเทศที่มีศักยภาพสูง นอกเหนื อ จากมิ ติ ใ นเชิ ง ธุ ร กิ จ แล้ ว เครื อ ไทยออยล์ ไ ม่ เ คยละเลยการ ให้ ค วามสํ า คั ญ ในการดํ า เนิ น โครงการและกิ จ กรรมด้ า นสั ง คมและ สิ่งแวดล้อมคู่ขนานกันไปอย่างต่อเนื่อง ตัวอย่างเช่น การลงทุนโครงการ ปรับปรุงและควบคุมคุณภาพก๊าซที่ปล่อยจากโรงงาน มูลค่ากว่า 7,000 ล้านบาท ที่ออกแบบเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งบริษัทฯ สามารถ ทําได้ดีกว่าที่กฎหมายกําหนด โดยโครงการดังกล่าวมีกําหนดจะแล้วเสร็จ และเริ่ ม เดิ น เครื่ อ งได้ ใ นราวต้ น ปี 2557 การดํ า เนิ น กิ จ กรรมต่ า งๆ ผ่านศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เพื่อชุมชนบริเวณรอบโรงกลั่น ที่อําเภอ ศรี ร าชา จั ง หวั ด ชลบุ รี ซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ สํ า คั ญ เพื่ อ การพั ฒ นาสภาพ ความเป็ น อยู่ ข องชุ ม ชนทั้ ง ทางด้ า นสุ ข ภาพ การศึ ก ษา ศาสนาและ วัฒนธรรมภายใต้แนวคิด “สามประสาน” ระหว่าง บริษัท-ชุมชน-องค์กร ท้องถิ่น ซึ่งมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายส่งผลให้การดําเนินโครงการ และกิ จ กรรมต่ า งๆ เกิ ด ประโยชน์ ที่ ยั่ ง ยื น อย่ า งแท้ จ ริ ง ต่ อ ชุ ม ชน ซึ่งความสําเร็จดังกล่าวเมื่อประสานเข้ากับทัศนคติด้านความปลอดภัย และการใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมของบุคลากรเครือไทยออยล์ในการดําเนิน การผลิต ทําให้ผลสํารวจความพึงพอใจของชุมชนต่อการดําเนินธุรกิจ ของเครื อ ไทยออยล์ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ ดี ม าโดยตลอด และเครื อ ไทยออยล์ ได้ นํ า ความรู้ แ ละประสบการณ์ ที่ สั่ ง สมจากความสํ า เร็ จ ที่ ไ ด้ รั บ มานี้ ไปต่อยอดประยุกต์ใช้กับโครงการเพื่อตอบแทนประโยชน์คืนกลับสู่สังคม ระดับประเทศที่ห่างไกลจากการเข้าถึงระบบสาธารณูปโภคของรัฐ เช่น โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากของเสียในการผลิตยางแผ่นและของเสียจาก ครัวเรือน และส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชน เกาะหมากน้อย ตําบลปันหยี จังหวัดพังงา ซึ่งได้รับรางวัล Thailand Energy Awards ประจําปี 2556 ประเภทรางวัลดีเด่นด้านพลังงานทดแทน ประเภท โครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off Grid ) จากระทรวงพลังงาน เป็นต้น ความสําเร็จและรางวัลต่างๆ มากมายที่เครือไทยออยล์ได้รับในรอบปี 2556 ทั้งในระดับประเทศและระดับสากล ซึ่งท่านจะพบรายละเอียดใน รายงานประจําปีเล่มนี้ เป็นเครื่องยืนยันได้เป็นอย่างดีถึงความมุ่งมั่นและ ทุ่มเทของคณะกรรมการบริษัทฯ ฝ่ายจัดการ และพนักงานทุกคนในการ ขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ความสําเร็จทางธุรกิจอย่างยั่งยืน คณะกรรมการ บริษัทฯ ใคร่ขอถือโอกาสนี้ ขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น นักลงทุน ลูกค้า คู่ค้า สถาบันการเงิน องค์กร และหน่วยงานราชการ ฯลฯ ที่ให้ความไว้วางใจ และสนับสนุนการดําเนินธุรกิจของไทยออยล์ด้วยดีอย่างต่อเนื่องเสมอมา คณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของเครือไทยออยล์ ขอให้คาํ มัน่ ว่าจะบริหารจัดการ และดําเนินธุรกิจอย่างเต็มกําลังความสามารถ ด้ ว ยความโปร่ ง ใส และยึ ด มั่ น การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ควบคู่ ไ ปกั บ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มเพื่ อ เสริ ม สร้ า งความมั่ น คง ด้านพลังงานให้กับประเทศและนําพาเครือไทยออยล์ไปสู่องค์กรแห่งความ ยั่งยืนต่อไป


006

เ ชื่ อ มั่ น ใ น ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

Reliable

PERF RMANCE A ; I 1 %5 I D ) 6 ' 7 A 8 6 INVESTMENT OF CHOICE


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

เ ชื่ อ มั่ น ใ น ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น

007

'4 5 6'D ę 7)5 6' )5I RELIABLE PERFORMANCE

102%

Ę6% )6 A,'- 8 C) 9 I 5 + E &11&)Ĝ&5 .6%6' '5 -6'4 5 ) 6' 7A 8 6 9I B H B 'Ę ę +& )&< Ĝ 9 I%<Ę A ę +6%A ğ A)8, D 6' 7A 8 6' )8 ·ijƻÁÀ³¾ yʵ·¾¾·Àµ· B)4 'è/ 6' 5 6' )< Ę% <' 8 B =' 6 6'

'4 5 6'D ĕ 7)5 6' )5I .= : 'ĕ1&)4 1 7)5 6' )8 9I11 B E+ĕ

+6%.7A'H D 6'11 /<ę =ę

) 7E'.< 8'+% Đ ¡¡¢

10,394

)ę6 6

) 6 B + 6 6' 7A 8 <' 8 9I%<Ĕ A ĕ +6%A ě A)8,D 6' )8 B)4 6' 'è/6' 5 6' )<Ĕ% <' 8 B =' 6 6'

1,000

1

Ę6D ę Ę6& D 6' 7A 8 6

$

)ę6 A/'é&g ./'5 3

'è-5 3E ĕ11 B)4A. 1 6&/<ĕ =ĕ 8 E%Ĕ%9/)5 '4 5 B)4E%Ĕ ĕ1&.8 8MD/ĕ 5 5 ) < . 6 5 Ĕ6 '4A , 7 + )ĕ6 A/'é&g./'5 3 C &/<ĕ =ĕ E &11&)Ę E ĕ'5 6' 5 15 5 +6% Ĕ6A ;I1 ;1 6 ¨É¶Ã¹¶Ç¹ ¶Ã¹ ¥ÄÄÇãÈ B)4 ¢ÄĹÎãÈ 9I'4 5 B)4 ¶¶ 6%)7 5

st

quartile Rankin g

E &11&)Ę E ĕ'5 6' 5 15 5 D/ĕ1&=ĔD '4 5 5J B +/ ĕ6 1 C' )5I D $=%8$6 D ĕ6 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 7A 8 6' 7D/ĕ E ĕA 'é& D 6'B Ĕ 5 6 <' 8


008

เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร อ ม แ ล ะ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ บุ ค ล า ก ร

Reliable

W RK FORCE

A 'é & % + 6 % " 'ę 1 % B ) 4 "5 6 ,5 & $ 6 " < ) 6 ' ENHANCE POTENTIAL AND SUCCESSOR READINESS

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร อ ม แ ล ะ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ บุ ค ล า ก ร

009

+6% = "5 1 " 5 6 Ę11 Ĝ ' RELIABLE WORKFORCE

83 %

A 'ë1E &11&)ĜA 'é&% +6%"'ę1% 1 < )6 ' 1&Ę6 Ę1A ;I1 Ę6 6' 5 7B .; 1 7B/ Ę

B)4 6' 'è/6' '5"&6 ' < )1&Ę6 %9 '4.8 8$6" '+% : 6'A.'è%.'ę6 B' ā D D/ę < )6 ' A"÷I1 ) 6 9IA ğ A)8,

6?DM=A# AL;6S 8K3 G"83K "L3Z35 ¡ W1 L K4= G<?J £ W5 36?#L L=8K,3L L=DQ_GDL= K483K "L3

KM

6' 5 6'1 Ĝ +6%'=ę ÀÁɾ·¶¹· ³À³¹·¿·ÀÆ

[1<GG<? ZE AL;DM K} K4 L=#K. L= AL;=S W8č_G=A4=A;G" AL;=S X?J 5=JD4 L=- G"4R ?L =;L8K,3L ZE W5 3=J44 W8č_GZE 83K "L3DL;L=0 W L0P" AL;=S X?J8K,3L/3WG" D "6?0P" L=8K,3LBK <:L8G" =

100 %

=ę.; 1 7B/ Ę

6 .7 5g

Z35 ¡ 4=þCK1I [. ME3.6S DQ41G. /MXE3 ""L3 ¾àÎÎÐÞÞÚÝ G"/MXE3 "1O_ DM K}Z3=J.K46S #K. L=X63 Ā`3[5 =40 A3 1R /MXE3 " W8č_GZE L=4=þEL="L3 G" G" =W5 3[5G< L"/ GW3Q_G"

100 %

B 6'"5 6 B)4B +6% ę6+/ ę6'6& < ) Z35 ¡ 83K "L31R 3 G"4=þCK1I ;OX63 L=8K,3LX?JX63 AL; LAE3 L Z3DL<GL%O8=L<4R ? ´ÙÏÔáÔÏàÌ× ¯ÐáÐ×ÚÛØÐÙß »×ÌÙ ´ÙÏÔáÔÏàÌ× ®ÌÝÐÐÝ »×ÌÙ


010

р╕к р╕г┬М р╕▓ р╕З р╕Д р╕з р╕▓ р╕б р╣А р╕Кр╕╖р╣И р╕н р╕бр╕▒р╣И р╕Щ р╣Г р╕Щ р╕кр╕┤ р╕Щ р╕Д┬М р╕▓ р╣Б р╕е р╕░ р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕Б р╕▓ р╕г

р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕йр╕▒ р╕Ч р╣Д р╕Ч р╕в р╕н р╕н р╕в р╕е┬П р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Бр╕▒ р╕Ф ( р╕б р╕л р╕▓ р╕К р╕Щ ) р╕г р╕▓ р╕в р╕З р╕▓ р╕Щ р╕Ы р╕г р╕░ р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Ы┬В 2 5 5 6

Reliable

PRODUCT COMMITMENT . '─Щ 6 + 6 % A ; I 1 %5 I D .8 ─Щ 6 B ) 4 '├и 6 ' THE RIGHT BUSINESS PARTNER FOR CUSTOMERS


р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕йр╕▒ р╕Ч р╣Д р╕Ч р╕в р╕н р╕н р╕в р╕е┬П р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Бр╕▒ р╕Ф ( р╕б р╕л р╕▓ р╕К р╕Щ ) р╕г р╕▓ р╕в р╕З р╕▓ р╕Щ р╕Ы р╕г р╕░ р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Ы┬В 2 5 5 6

р╕к р╕г┬М р╕▓ р╕З р╕Д р╕з р╕▓ р╕б р╣А р╕Кр╕╖р╣И р╕н р╕бр╕▒р╣И р╕Щ р╣Г р╕Щ р╕кр╕┤ р╕Щ р╕Д┬М р╕▓ р╣Б р╕е р╕░ р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕Б р╕▓ р╕г

011

CUSTOMER FOCUS

RELIABLE PRODUCT COMMITMENT E &11&)─Ь%<─Ш A ─Щ 6' 5 .─Ш )8 $5 ─Ь 9I%9 < $6" E ─Щ%6 ' 6 ' ─Ш1A+)6 B ─Щ E ─Эg/6D/─Щ)= ─Щ61&─Ш6 '+ A'H+ = ─Щ1 B%─Ш &7 B)4'5 -6%6 ' 6 +6% )1 $5&D 6' ─Ш6& )8 $5 ─Ь 6' '├и/6' ─Х6 6'"6 8 &─ШB)4 1 . 1

+6% ─Х1 6' 1 )= ─Х61&─Ф6 ─Ф1A ;I1 .─Ф )D/─Х E &11&)─Ш E ─Х'5 4B ).7'+ +6%"├╢ "1D 1 )= ─Х6 }┬Ш├К├И├Й├Д├В┬║├З ┬и┬╢├Й┬╛├И┬╗┬╢┬╕├Й┬╛├Д├Г~ .= : '─Х1&)4 ┬Н┬О D ─М ┬З┬К┬К┬Л

)= ─Щ6 ─Ш6 '4A ,

)= ─Щ6D '4A , 100

80

60

40

2556

2555

2554

2553

20

2552

7 + )= ─Щ6A"├┤├╕% ├кJ 1&─Ш6 ─Ш1A ;I1

)1 ┬б ─Р 9I ─Ш6 %6

0


012

р╣А р╕Ы┬Ъ р╕Щ р╕Чр╕╡р╣И р╣Д р╕з┬М р╕з р╕▓ р╕З р╣Г р╕И р╕В р╕н р╕З р╕кр╕▒ р╕З р╕Д р╕б р╣Б р╕е р╕░ р╕кр╕┤р╣И р╕З р╣Б р╕з р╕Ф р╕е┬М р╕н р╕б

р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕йр╕▒ р╕Ч р╣Д р╕Ч р╕в р╕н р╕н р╕в р╕е┬П р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Бр╕▒ р╕Ф ( р╕б р╕л р╕▓ р╕К р╕Щ ) р╕г р╕▓ р╕в р╕З р╕▓ р╕Щ р╕Ы р╕г р╕░ р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Ы┬В 2 5 5 6

Reliable

C MPLIANCE A ─Я 9 I E +─Щ + 6 D 1 .5 % B ) 4 .8 ├╕ B + )─Щ 1 % S O C I A L & E N V I R O N M E N TA L TRUSTWORTHINESS


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

เ ป น ที่ ไ ว ว า ง ใ จ ข อ ง สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

013

E &11&)ĜA"÷I1 <% .5 % B)4.8ø B+ )ę1% RELIABLE COMPLIANCE E &11&)Ĝ 7/ C& 6& 'è/6' 5 6' <' 8 B)4 6' 8 5 8 6 C &&: /)5 +6%.% <) 5J %8 8 6 ę6 A,'- 8 .5 % B)4.8ø B+ )ę1% ę+&/)5 ''%6$8 6) B)4 1 . 1 =ę%9.Ę+ E ę.Ę+ A.9& < )<Ę%1&Ę6 A ğ ''% &; &5 +6%.7A'H B)4 +6%"'ĕ1% 9I 4 ĕ6+.=Ĕ 6'A 8 C 1&Ĕ6 &5I &; A ě 1 Ę ' Č ĕ+& 6'E ĕA ĕ6A ě .%6 8 ÄÌ ÄÃºÈ ¨ÊÈɶ¾Ã¶·¾Á¾ÉΠù¾¸ºÈ } ¨ ~ D )<Ĕ%1< .6/ ''% J7%5 B)4 Ė6 '4 7 Č

Gold Class 2014

C ' 6' '5 '< < $6" Ě6 8ù

'4%6 ) < '+%

7,000

)ę6 6

'è-5 3 ) < D C ' 6' '5 '<

< $6" Ė6 8ù %=) Ĕ6 +Ĕ6 )ĕ6 6 A"÷I1 + <% < $6" Ė6 9I )Ĕ1& 6 C'

6 B)4) ) '4 Ĕ1.8ø B+ )ĕ1%

E &11&)Ę E ĕ'5 6' '4 6, 6 §Ä·º¸Ä¨ ¢ :I A ě =ĕ '4A%8 +6%&5I &; D/ĕB Ĕ ¨ D/ĕA ě =ĕ 7 ĕ6 +6%&5I &; D )<Ĕ% <' 8 J7%5 B)4 Ė6 '4 5 ÄÁ¹ Á¶ÈÈ :I ;1A ě '6 +5)'4 5 .= .< 6 6' '4 + ¨ÊÈɶ¾Ã¶·¾Á¾ÉΠ̶ǹ

5

+6%A ğ A)8, ę6 ''%6$8 6)

Đ 8 Ę1 5

E &11&)Ę E ĕ'5 '6 +5) 'è-5 4A 9& ĕ6 6''6& 6 ''-5 $8 6)D '4 5 ä 9A)8,å A ě Č 9I 8 Ĕ1 5

2

'6 +5) y u u x ę6 +6%'5 ċ 1 Ę1.5 %&1 A&9I&% A ğ Đ 9I

'6 +5) 'è-5 4A 9& ĕ6 +6%'5 8 1 Ĕ1.5 %&1 A&9I&% D 6 ¨ © Ì¶Ç¹È '4 7 Č B)4


014

03

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ จสอบ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) หาชน)

เ รี ย น ท า น ผู ถื อ หุ น คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ ว ยกรรมการอิ ส ระ ซึ่ ง เป็ น ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละมี ประสบการณ์ ด้ า นบั ญ ชี ด้ า นการเงิ น ด้ า นเศรษฐศาสตร์ ด้ า นกฎหมาย และด้ า นธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเลี ย ม ปิ โ ตรเคมี และพลั ง งานเป็ น อย่ า งดี มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมที่ จ ะสามารถ ปฏิบัติหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินตาม ข้ อ กํ า หนดของสํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ประกอบด้ ว ยตั ว กระผมเองนายอภิ สิ ท ธิ์ รุ จิ เ กี ย รติ กํ า จร ดํ า รงตํ า แหน่ ง ประธานคณะกรรมการ และกรรมการอิ ส ระอี ก 3 ท่าน ได้แก่ นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร และ นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์ เป็นกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ย่ า งเป็ น อิ ส ระตามที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งระบุไว้ในกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องกับข้อกําหนดของ ก.ล.ต. และ ตลท. อย่างครบถ้วน ได้แก่ การสอบทานงบการเงิน รายการ ระหว่างกัน การบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายใน กํากับ ดูแลงานตรวจสอบภายใน การปฏิบัติตามกฎหมาย การพิจารณา เสนอแต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี แ ละค่ า สอบบั ญ ชี โดยในปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 8 ครั้ง ผลการ สอบทานของคณะกรรมการตรวจสอบ มีสาระสําคัญสรุปได้ ดังนี้ 1. สอบทานรายงานทางการเงิ น คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานข้อมูลที่สําคัญของรายงานทางการเงิน ทั้งรายไตรมาส และงบการเงินประจําปี 2556 ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ร่วมกับ ผู้สอบบัญชี ผู้บริหารระดับสูง และผู้จัดการแผนกตรวจสอบระบบงาน ภายใน ผลการสอบทานรายงานทางการเงินพบว่า บริษัทฯ มีการ

จัดทํารายงานทางการเงินอย่างถูกต้องครบถ้วน เชื่อถือได้ การจัดทํา เป็ น ไปตามข้ อ กํ า หนดของกฎหมายและมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอและ ทั น เวลา เพื่ อ เป็ น ประโยชน์ ต่ อ ผู้ ใช้ ง บการเงิ น ซึ่ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี ไ ด้ สอบทานและตรวจสอบแล้ ว เป็ น รายงานความเห็ น อย่ า งไม่ มี เงื่ อ นไข นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ระชุ ม ร่ ว มกั บ ผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วมประชุม เพื่อปรึกษาหารือกัน อย่างเป็นอิสระถึงขอบเขตการตรวจสอบ ข้อมูลที่มีสาระสําคัญใน การจัดทํางบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ รวมทั้งอุปสรรค ปัญหาในระหว่างการตรวจสอบ ซึ่งผู้สอบบัญชีแจ้งว่าไม่พบประเด็น ที่เป็นสาระสําคัญ 2. สอบทานรายการระหว่ า งกั น คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานรายการระหว่ า งกั น ที่ เ ข้ า ข่ า ยรายการเกี่ ย วโยงกั น ตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ เรื่ อ งการเปิ ด เผย ข้ อ มู ล และการปฏิ บั ติ ก ารของบริ ษั ท จดทะเบี ย นในรายการที่ เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546 ซึ่งอาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ผลการสอบทานรายการระหว่างกันที่บริษัทฯ มีการดําเนินการกับ ผู้ที่เกี่ยวข้องพบว่า บริษัทฯ ได้ดําเนินการตามเงื่อนไขการค้าทั่วไป มี ค วามเป็ น ธรรม สมเหตุ ส มผล และไม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด การถ่ า ยเท ผลประโยชน์ รวมทั้ง มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่างครบถ้วน และเพี ย งพอ โดยยึ ด ถื อ การปฏิ บั ติ ต ามนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ล กิจการที่ดี และตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย 3. สอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ มี ก ระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ หมาะสมและมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ผลการสอบทานพบว่ า การดํ า เนิ น การบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น ไป ตามนโยบายและแผนงานที่ กํ า หนด มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลสอดคล้ อ งกั บ เป้ า หมายและแผนเชิ ง กลยุ ท ธ์ ทั้ ง ระยะสั้ น และระยะยาวของ เครื อ ไทยออยล์ ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ ป รั บ ปรุ ง โครงสร้ า งการบริ ห าร ความเสี่ ย งให้ ส อดคล้ อ งกั บ โครงสร้ า งการบริ ห ารจั ด การของ เครื อ ไทยออยล์ ใ หม่ และการบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษั ท ฯ จะ ดําเนินการให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม และสถานการณ์ ต่ า งๆ ทั้ ง จากภายในและภายนอก ครอบคลุ ม ทุกหน่วยงานของเครือไทยออยล์ 4. สอบทานระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ ประจําปี 2556 ตามข้อกําหนดของ ก.ล.ต. และ ตลท. โดยให้ฝ่าย บริหารในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทําการประเมินการควบคุมภายใน โดยใช้แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในตาม กรอบแนวทางปฏิบัติด้านการควบคุมภายในของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) ผลการประเมินพบว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดีและ เหมาะสมเพียงพอกับการดําเนินธุรกิจ ซึ่งสอดคล้องกับความเห็น ของผู้ ส อบบั ญ ชี ใ นการประเมิ น การควบคุ ม ภายในในส่ ว นงานที่ เกี่ยวข้องกับการจัดทํางบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยแล้ว เห็นว่า มีความเหมาะสม บุคลากรมีความรู้ความสามารถเพียงพอ ในการปฏิบัติงาน และไม่พบการปกปิดข้อมูล 5. การกํากับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบ ได้กํากับดูแลให้แผนกตรวจสอบระบบงานภายในมีความเป็นอิสระ โดยให้ ร ายงานตรงต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ กํ า กั บ ดู แ ลและ เสนอข้อแนะนําในการดําเนินการของแผนกตรวจสอบฯ ให้การ ปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนงานตรวจสอบประจําปี 2556 ที่ได้รับ อนุมัติ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กรอย่างยั่งยืนและต่อเนื่อง พบว่ า ผลการปฏิ บั ติ ง านบรรลุ ผ ลตามเป้ า หมายและแผนงานที่ กําหนดไว้ รวมทั้ง ได้สอบทานความเหมาะสมของผังโครงสร้าง หน่วยงานตรวจสอบภายใน กระบวนการตรวจสอบ และอัตรากําลัง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามมาตรฐานสากล 6. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทาน และกํากับให้บริษัทฯ ดําเนินกิจการต่างๆ อย่างถูกต้อง ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกําหนด

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

015

ของ ก.ล.ต. และ ตลท. และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด โดยในปี 2556 ไม่พบรายการที่ บริษัทฯ กระทําการที่ขัดต่อกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 7. การพิ จ ารณาเสนอแต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี แ ละค่ า สอบบั ญ ชี ประจํ า ปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาคั ด เลื อ ก ผู้สอบบัญชี โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงาน ความเป็นอิสระ ของผู้สอบบัญชี ค่าตอบแทนของการสอบบัญชี และได้นําเสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อนําเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ ในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจาก บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด โดยนายวินิจ ศิลามงคล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3378 หรือ นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เสิศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4068 หรือ นายไวโรจน์ จินดามณีพิทักษ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3565 เป็ น ผู้ ส อบบั ญ ชี บ ริ ษั ท ฯ ประจํ า ปี 2557 และรายไตรมาส และ พิจารณาอนุมัติค่าตอบแทนสอบบัญชีดังกล่าว เป็นเงิน 2.54 ล้านบาท โดยสรุ ป ในปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ติ ด ตามการ ดําเนินงานของบริษัทฯ โดยใช้ความรู้ความสามารถ มีความเป็น อิ ส ระอย่ า งเพี ย งพอ ตามหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ ร ะบุ ไว้ ในกฎบั ต รคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมี ค วามเห็ น ว่ า บริ ษั ท ฯ ได้จัดทํางบการเงินแสดงข้อมูลอันเป็นสาระสําคัญและเชื่อถือได้ สอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการเปิดเผยข้อมูล รายการระหว่างกัน หรือรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์อย่างเพียงพอ มีระบบการกํากับดูแลกิจการที่ดี มีระบบ การบริหารความเสี่ยงอย่างเพียงพอ มีระบบการควบคุมภายในที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล รวมทัง้ มีการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจอย่างถูกต้องครบถ้วน

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)


016

04

ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ พิ จ า ร ณ า ค า ต อ บ แ ท น

รายงานของคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค าตอบแทน

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์ ประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

เ รี ย น ท า น ผู ถื อ หุ น คณะกรรมการ บริ ษั ท ไทยออยล์ จํ า กั ด (มหาชน) ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (“คณะกรรมการ สรรหาฯ”) ตามแนวทางการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท จดทะเบี ย น และได้ อ นุ มั ติ ก ฎบั ต รคณะกรรมการสรรหาฯ เพื่ อ เป็ น กรอบในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ รวมทั้ ง กํ า หนดองค์ ป ระกอบและ คุณสมบัติของกรรมการสรรหาฯ ไว้อย่างชัดเจน ซึ่งประกอบด้วย กรรมการบริษัทฯ จํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยส่วนใหญ่ต้องเป็น กรรมการอิสระ และไม่เป็นประธานกรรมการ หรือประธานเจ้าหน้าที่ บริ ห ารฯ อี ก ทั้ ง ต้ อ งเป็ น ผู้ มี ค วามรู้ ค วามสามารถ ประสบการณ์ มีความรู้ความเข้าใจถึงคุณสมบัติ หน้าที่ ความรับผิดชอบของตน และสามารถอุทิศเวลาอย่างเพียงพอในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้การ ดําเนินงานของคณะกรรมการสรรหาฯ สําเร็จตามวัตถุประสงค์ คณะกรรมการสรรหาฯ ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรฯ ในการพิจารณา หลักเกณฑ์ แนวทาง และกระบวนการสรรหา รวมถึงพิจารณากําหนด ค่ า ตอบแทนที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ กรรมการบริ ษั ท ฯ และกรรมการ ชุดย่อยคณะต่างๆ เพื่อนําเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนที่จะนําเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติเป็นประจําทุกปี รวมถึงพิจารณาค่าตอบแทนของ ผู้บริหารสูงสุดของบริษัทฯ เพื่อนําเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ พิ จ า ร ณ า ค า ต อ บ แ ท น ชุ ด ป จ จุ บั น ป ร ะ ก อ บ ด ว ย 1. นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์

ประธานคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ)

2. พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ) 3. พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ) หมายเหตุ 1. นายสมชาย พูลสวัสดิ์ ลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ และ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2556

ก า ร ป ร ะ ชุ ม ใ น ป 2 5 5 6 แ ล ะ ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ในรอบปี 2556 คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ได้ ป ฏิ บั ติ ง านตามที่ กํ า หนดไว้ ใ นกฎบั ต รฯ อย่ า งครบถ้ ว น โดยมี การประชุมทั้งสิ้น 5 ครั้ง และกรรมการเข้าร่วมประชุมคิดเป็น 100% ทั้งปี โดยข้อมูลการเข้าประชุมแสดงในหน้า 85 สรุปสาระสําคัญของการประชุม มีดังนี้ 1. ประเมินผลการปฏิบัติงานและพิจารณากําหนดอัตราการปรับขึ้น เงินเดือนที่สะท้อนผลการปฏิบัติงานจริง ตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ ให้แก่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ พิ จ า ร ณ า ค า ต อ บ แ ท น

2. แต่ ง ตั้ ง เลขานุ ก ารคณะกรรมการสรรหาฯ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ ง กับโครงสร้างบริหารองค์กรใหม่ ซึ่งบริษัทฯ ได้ประกาศใช้ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2556 3. สรรหาและกลั่ น กรองบุ ค คลที่ เ หมาะสมเพื่ อ นํ า เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ก่ อ นเสนอให้ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการแทนกรรมการที่ อ อกตามวาระ ประจําปี 2556 4. กําหนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2556 โดยใช้ หลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนอย่างเหมาะสมกับหน้าที่ ความรั บ ผิ ด ชอบของกรรมการ โดยเชื่ อ มโยงค่ า ตอบแทนกั บ ผลการดําเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ และอัตราส่วนการจ่าย เงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้น ตลอดจนเทียบเคียงกับบริษัทจดทะเบียน ในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน 5. สรรหาและคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมนําเสนอให้คณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนกรรมการที่ขอลาออก ระหว่างกาล 6. สรรหาและคัดเลือกกรรมการบริษัทฯ เข้าเป็นกรรมการชุดย่อย ได้แก่ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการ บริหารความเสี่ยง และกรรมการสรรหาฯ และนําเสนอรายชื่อ ต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง แทนตําแหน่งที่ว่างลงเมื่อมีกรรมการลาออก/ครบวาระ 7. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อย เป็นผู้เสนอวาระและรายชื่อบุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการ บริษัทฯ ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2557 อย่างน้อย 3 เดื อ นล่ ว งหน้ า โดยมี ร ะยะเวลาตั้ ง แต่ 1 ตุ ล าคม 2556 – 31 มกราคม 2557 ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ 8. แต่งตั้งประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน แทนตําแหน่งที่ว่างลง

วันที่ 23 มกราคม 2557 ในนามคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

(นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์) ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

017


018

05

ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

รายงานของคณะกรรมการ กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

เ รี ย น ท า น ผู ถื อ หุ น การที่บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ได้รับการรับรองให้เข้าเป็น สมาชิกของ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI ) ประจําปี 2556 ซึ่งเป็นเกณฑ์วัดความยั่งยืนในการดําเนินธุรกิจที่เป็นที่ยอมรับ ในระดับสากล เป็นสิ่งที่สามารถยืนยันได้เป็นอย่างดีถึงเจตนารมณ์ และความมุ่งมั่นร่วมกันของคณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และ พนักงาน ในการที่จะดําเนินธุรกิจอยู่บนรากฐานแห่งความยั่งยืน โดยคํานึงถึงปัจจัยหลักทั้ง 3 ประการ อันได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการบริ ษั ท ไทยออยล์ จํ า กั ด (มหาชน) ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการขึ้น เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ ของคณะกรรมการบริษัทฯ ในการกําหนดนโยบายและแนวปฏิบัติ ด้านการกํากับดูแลกิจการ เพื่อให้การบริหารกิจการของบริษัทฯ ดํ า เนิ น ไปบนพื้ น ฐานของหลั ก ธรรมาภิ บ าล รวมถึ ง มาตรฐาน จริยธรรมทางธุรกิจ และสนับสนุนให้มีการประเมินระดับมาตรฐาน การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การภายในองค์ ก ร เพื่ อ ให้ เ กิ ด การยอมรั บ ในระดับสากล ตลอดจนติดตามดูแลการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ให้ เ ป็ น ไปตามแนวทางดั ง กล่ า ว รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การเผยแพร่ แ ละปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มในการปฏิ บั ติ ง านตามหลั ก การ กํากับดูแลกิจการให้กับผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ เพื่อพัฒนา สู่การเป็นวัฒนธรรมองค์กร ด้วยการยึดมั่นความเป็นธรรมในการ ปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ เพื่อผลประโยชน์ของบริษัทฯ ด้วยความสุจริต โปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ ทั้ ง นี้ โดยมี จุ ด มุ่ ง หมายหลั ก สํ า คั ญ เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้การประกอบธุรกิจของบริษัทฯ ดําเนินไปบนพื้นฐานแห่งความ ยั่งยืน

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ประกอบด้วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึง่ เป็นกรรมการอิสระ จํานวน 3 ท่าน ได้แก่ กระผม ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์ ดํารงตําแหน่งประธานคณะกรรมการกํากับดูแล กิจการ พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว และนายถาวร พานิชพันธ์ ในปี 2556 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง และได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กําหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ โดยได้มีการพิจารณาอนุมัติ และให้ความเห็นชอบกิจกรรมและแผนงานด้านการกํากับดูแลกิจการ ที่สําคัญ สรุปได้ดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาอนุมัติแผนการดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการกํากับดูแล กิจการ ประจําปี 2557 เพื่อให้การดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ เป็นไป โดยสอดคล้องกับหลักการกํากับดูแลกิจการ และเพื่อพัฒนาการกํากับ ดูแลกิจการของบริษัทฯ ให้เทียบเท่าระดับสากล ส่งเสริมให้เกิดความ เชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม กระตุ้นและปลูกฝัง ค่านิยมแก่พนักงานทุกคนในการปฏิบัติงานตามหลักการกํากับดูแล กิจการและจริยธรรมธุรกิจอย่างเคร่งครัด 2. พิจารณาให้ความเห็นชอบการปรับปรุงนโยบายการกํากับดูแล กิ จ การ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ กลยุ ท ธ์ ข องบริ ษั ท ฯ และแนวทาง การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี สํ า หรั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย น ปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงจัดหมวดหมู่เนื้อหา ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ หรือหลักการ REACT (R : Responsibility - มีความสํานึกรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ E : Equitable Treatment - ปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

อย่างเท่าเทียมกันด้วยความเป็นธรรม, A : Accountability - มีความ รับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการกระทําของตนเอง สามารถชี้แจง และอธิบายการตัดสินใจนั้นได้, C : Creation of Long Term Value มี วิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ แ ก่ อ งค์ ก รในระยะยาว, T : Transparency - มีความโปร่งใสในการดําเนินงานที่สามารถ ตรวจสอบได้ และเปิ ด เผยข้ อ มู ล อย่ า งโปร่ ง ใสแก่ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง) โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติการปรับปรุงนโยบายการ กํากับดูแลกิจการดังกล่าว และบริษัทฯ ได้ดําเนินการเผยแพร่ผ่าน เว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ ( www . thaioilgroup . com ) เพื่ อ เปิ ด โอกาส ให้ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลด 3. พิจารณาให้ความเห็นชอบนโยบายการบริหารจัดการความยั่งยืน กลุ่มไทยออยล์เพื่อให้เป็นไปตามแนวทางการเปิดเผยข้อมูลของ สํานักคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ที่กําหนดให้บริษัทจดทะเบียนเปิดเผยนโยบายและการดําเนินการ ที่แสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม โดยต้องระบุถึง นโยบายภาพรวม วิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ ฯลฯ ในแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และรายงานประจําปี (แบบ 56-2) 4. พิจารณาให้ความเห็นชอบนโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่นและการ เข้าสู่กระบวนการรับรองการเป็นสมาชิกของ CAC (Private Sector Collective Action Coalition against Corruption ) เพื่อแสดงให้เห็น ถึงความมุ่งมั่นในการดําเนินธุรกิจ ด้วยความเป็นธรรม สุจริต โปร่งใส รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทุ ก กลุ่ ม ตามหลั ก การกํากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ได้เพิ่มเติมแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันการมีส่วนเกี่ยวข้อง กับการคอร์รัปชั่น คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัตินโยบาย ดั ง กล่ า ว และบริ ษั ท ฯ ได้ เ ผยแพร่ ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในปี 2556 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ดําเนินกิจกรรมและโครงการต่างๆ ตามแผนงานซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกํากับดูแล กิจการ เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการกํากับดูแลกิจการของ บริ ษั ท ฯ โดยครอบคลุ ม ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริษัทฯ ทุกกลุ่ม โดยสรุปสาระสําคัญได้ ดังต่อไปนี้

ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

019

ผู ถื อ หุ น นั ก ล ง ทุ น แ ล ะ นั ก วิ เ ค ร า ะ ห บริษัทฯ มีนโยบายที่จะสื่อสารผลการดําเนินงาน ตลอดจนข้อมูล ต่ า งๆ กั บ นั ก ลงทุ น ทั้ ง ในและต่ า งประเทศอย่ า งสมํ่ า เสมอ ผ่ า น กิจกรรมต่างๆ เช่น การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยและนักวิเคราะห์ เยี่ยมชมโรงกลั่น เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการดําเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ การจัดประชุมร่วมกับนักลงทุนและนักวิเคราะห์ทุก สิ้นไตรมาสเพื่อรายงานผลการดําเนินงาน รวมถึงการพบปะนักลงทุน ในกิ จ กรรม Opportunity Day ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ อี ก ทั้ ง บริ ษั ท ฯ ได้ เ พิ่ ม ช่ อ งทางการสื่ อ สารแก่ ผู้ ถื อ หุ้ น นั ก ลงทุ น และ นั ก วิ เ คราะห์ ผ่ า นการจั ด ทํ า Investor Relations Web Page จั ด ทํ า จดหมายข่ า วอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ด้ า นนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ และ รายงานสถานการณ์นํ้ามัน รวมถึงรายงานข่าวสารเกี่ยวกับสภาวะ อุตสาหกรรมของบริษัทฯ ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราวเมื่อมีเหตุการณ์ สําคัญ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ส่งเสริมความรู้ให้แก่นักลงทุน ผ่านการ จัดนิทรรศการในกิจกรรมที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจัดเป็น ประจําทุกปี เช่น งาน SET in the City และงาน Money Expo เป็นต้น ตลอดจนการนํ า เสนอข้ อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทุ ก กลุ่ ม สามารถรับทราบข้อมูลข่าวสารต่างๆ ได้อย่างถูกต้องรวดเร็วและ เท่าเทียมกัน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ลู ก ค า บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์อย่างเคร่งครัด และ ส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามสัญญาซื้อขาย รวมถึงใบรับรอง คุณภาพที่ถูกต้องให้กับลูกค้า ตลอดจนเปิดโอกาสให้ลูกค้าเข้าร่วม เป็นพยานการตรวจวัดปริมาณสินค้าเมื่อมีการร้องขอ และได้ดําเนิน การสํารวจความพึงพอใจของลูกค้าเป็นประจําทุกปี รวมถึงมีการ สื่อสารนโยบายกํากับดูแลกิจการเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อลูกค้าและ เปิดช่องทางการร้องเรียนและให้ข้อเสนอแนะสําหรับลูกค้า และในปีนี้ ได้ มี ก ารจั ด ทํ า เว็ บ ไซต์ สํ า หรั บ รั บ ข้ อ ร้ อ งเรี ย นโดยตรงจากลู ก ค้ า ซึ่ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ช่ อ งทางในการรั บ ข้ อ เสนอแนะและข้ อ ร้ อ งเรี ย น จากลูกค้า และมีการเชื่อมต่อข้อมูลดังกล่าวกับระบบการจัดการ ข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียน (Customer Relations Management – Voice of Customers (CRM -VOC Management )) ที่ช่วยเพิ่มความ รวดเร็วในการป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที


020

ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

คู ค า บริษัทฯ ได้ทบทวนปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้างของบริษัทฯ และบริ ษั ท ในเครื อ ฯ รวมถึ ง ระเบี ย บและหลั ก เกณฑ์ ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการประกวดราคา เพื่อให้กระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้างของ บริษัทฯ มีความโปร่งใส มีระบบการตรวจสอบและถ่วงดุลอย่าง เหมาะสม และเพื่อให้มั่นใจว่าคู่ค้าของบริษัทฯ ทุกรายจะได้รับการ ปฏิบัติอย่างเท่าเทียม เสมอภาค และเป็นธรรม บริษัทฯ ได้จัดการ ประชุมกับบริษัทคู่ค้ารายใหญ่ ตลอดจนการจัดกิจกรรมสานสัมพันธ์ กับคู่ค้า เพื่อสื่อสารนโยบายและมาตรการด้านการกํากับดูแลกิจการ ช่องทางการร้องเรียน การปฏิบัติที่ขัดต่อนโยบายด้านการกํากับดูแล กิจการและพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างกัน และได้จัดทําแผนงานและ เริ่มทดลองการนําเกณฑ์ด้าน CSR มาเป็นหนึ่งในเงื่อนไขการคัดเลือก คู่ค้า นอกจากนี้ ในปี 2556 บริษัทฯ ยังได้เข้าร่วมกับบริษัทคู่ค้า ได้แก่ บริษัท แอร์ลิควิด (ประเทศไทย) จํากัด และบริษัท จัดการและพัฒนา ทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ในการดําเนินกิจกรรม เพื่อสังคม ภายใต้โครงการ CSR -DIW ของกระทรวงอุตสาหกรรม ในการสร้างบ่อเก็บนํ้าประปาให้กับโรงเรียนวัดแหลมฉบัง อําเภอ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ซึ่งโครงการดังกล่าวส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับ รางวัลรวม 2 รางวัล ประกอบด้วย รางวัล CSR -DIW ในฐานะองค์กร ที่ ส ามารถปฏิ บั ติ ต ามเกณฑ์ ม าตรฐานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และรางวั ล CSR-DIW Advance 5 หรือ CSR -DIW in Supply Chain ซึ่งสะท้อน ให้เห็นถึงการอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างบริษัทฯ คู่ค้า และชุมชน

เพื่อหลีกเลี่ยงและป้องกันเหตุปัจจัยที่จะนําไปสู่การกระทําที่ขัดต่อ นโยบายของบริษัทฯ ในการที่จะปฏิบัติต่อลูกค้าและคู่ค้าทุกราย บนพื้ น ฐานของความเป็ น ธรรมและเสมอภาค บริ ษั ท ฯ ได้ ริ เริ่ ม การส่งหนังสือไปยังลูกค้าและคู่ค้าทุกราย ในการขอความร่วมมือ งดให้ของขวัญ ของกํานัลที่มีมูลค่าสูง ตลอดจนการจัดงานเลี้ยง รั บ รองแก่ พ นั ก งานทุ ก ระดั บ ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ในเครื อ ฯ ในช่วงเทศกาลขึ้นปีใหม่

เ จ า ห นี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโดยตรงในการติดต่อสื่อสาร กับเจ้าหนี้ เพื่อให้มั่นใจว่าเจ้าหนี้แต่ละรายจะได้รับข้อมูลข่าวสาร อย่างเท่าเทียมกัน มีการจัดประชุมทุกไตรมาส เพื่อให้ข้อมูลผลการ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ดําเนินงาน อีกทั้งยังเป็นโอกาสในการชี้แจงและสื่อสารนโยบาย รวมถึงช่องทางการร้องเรียนของบริษัทฯ

พ นั ก ง า น บริ ษั ท ฯ ได้ ริ เริ่ ม โครงการให้ พ นั ก งานและผู้ บ ริ ห ารทุ ก ระดั บ ของ บริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ จัดทํา “แบบรายงานความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้พนักงานแสดงออก ถึ ง ความโปร่ ง ใสในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม นิ ติ ธ รรม และมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การกระทํ า ของตน ตลอดจนการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการดํ า เนิ น งานด้ ว ยความโปร่ ง ใสและเป็ น ธรรม สอดคล้องกับหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ นอกจากนี้ ยั ง ได้ มี ก ารเผยแพร่ บ ทความและข่ า วสารเกี่ ย วกั บ การกํ า กั บ ดู แ ล กิจการในวารสารภายใน และ CG e -newsletters เพื่อเสริมสร้าง ความรู้ ค วามเข้ า ใจและเน้ น ยํ้ า ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการกํ า กั บ ดู แ ล กิจการให้แก่พนักงานทุกคน และได้บรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการ กํ ากั บดู แลกิจการ จริ ยธรรมธุ รกิจ การรายงานความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ และการต่อต้านคอร์รัปชั่นเป็นเนื้อหาส่วนหนึ่งในการ ปฐมนิเทศพนักงานใหม่ เพื่อให้พนักงานมีความเข้าใจและตระหนัก ถึงความสําคัญของหลักการกํากับดูแลกิจการ ตั้งแต่วันแรกที่เข้ามา ทํางานในบริษัทฯ

ชุ ม ช น สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม บริษัทฯ มีนโยบายอย่างชัดเจนในการดําเนินธุรกิจ โดยคํานึงถึง การเติบโตอย่างยั่งยืนและปลอดภัย ไปพร้อมกับชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อม ในรอบปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ดําเนินโครงการต่างๆ ที่ ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ ชุ ม ชนบริ เวณรอบโรงกลั่ น ซึ่งครอบคลุมกิจกรรมทั้งทางด้านสาธารณสุข การศึกษา วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ผ่านศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์ เพื่ อ ชุ ม ชนของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ที่ อํ า เภอศรี ร าชา จั ง หวั ด ชลบุ รี นอกจากนี้ยังได้นําความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้าน พลังงานของบริษัทฯ เข้าร่วมพัฒนาสังคมระดับประเทศ ผ่านโครงการ ต่ า งๆ อาทิ โครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง นํ้ า บ้ า นแม่ โจ้ ตั้ ง อยู่ ที่ อํ า เภอ แม่ แ ตง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เป็ น โครงการพั ฒ นาด้ า นพลั ง งานเพื่ อ เสริมสร้างความมั่นคงของกระแสไฟฟ้าสําหรับชุมชน รวมถึงการ สร้างแหล่งศึกษาเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และส่งเสริมการ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ทําเกษตรปลอดสารเคมี เพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของ ชุมชนอย่างต่อเนือ่ ง โครงการจัดการของเสียจากการผลิตยางแผ่นและ ของเสียจากครัวเรือนด้วยระบบบ่อหมักก๊าชชีวภาพ ที่เกาะหมากน้อย จังหวัดพังงา เป็นโครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อ สุขภาวะที่ดีของชุมชน ร่วมกับมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ และสร้าง “เกาะต้นแบบ ด้านพลังงานชุมชนที่ยั่งยืน” ที่มีระบบก๊าซชีวภาพใช้ทั่วทั้งเกาะ และ มีความหลากหลายด้านการใช้พลังงานอย่างครบวงจร เป็นต้น

ห น ว ย ง า น ร า ช ก า ร แ ล ะ อ ง ค ก ร ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง บริษัทฯ จัดให้มีการประเมินความสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ในด้านต่างๆ รวมถึงการติดตามการประกาศบังคับใช้กฎหมายใหม่ ซึ่งดําเนินการควบคู่ไปกับการปลูกฝังจิตสํานึกความรับผิดชอบต่อ การปฏิบัติตามกฎหมายให้กับพนักงานอย่างสมํ่าเสมอ รวมถึงการ ให้ความร่วมมือแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ และประสบการณ์ในการ ดําเนินธุรกิจ เมื่อได้รับการขอความอนุเคราะห์ นอกเหนือจากการได้รับการคัดเลือกให้เข้าเป็นสมาชิกของ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI ) ประจําปี 2556 แล้ว บริษัทฯ ยังได้รับรางวัลระดับนานาชาติและระดับประเทศ ทางด้านการกํากับ ดูแลกิจการ ดังต่อไปนี้

ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

ร า ง วั ล ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ >>

รางวัล “บริษัทจดทะเบียนด้านการรายงานบรรษัทภิบาล” ประเภท “รางวัลดีเยี่ยม” จาก SET Awards 2013

>>

ผลการประเมิ น อยู่ ใ น “50 บริ ษั ท แรกของบริ ษั ท จดทะเบี ย น ในประเทศไทยที่มีคะแนนดีเลิศ ด้านบรรษัทภิบาล (Corporate Governance : Top 50 Publicly Listed Companies – Thailand )” ตามเกณฑ์ของ ASEAN CG Scorecard

ด้วยผลงานอันเป็นที่ยอมรับของสถาบันที่มีชื่อเสียง ทั้งในและ ต่างประเทศดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ จึงมีความเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า ด้วยความร่วมแรงร่วมใจอย่าง มุ่งมั่นและทุ่มเทของคณะกรรมการบริษัทฯ ฝ่ายจัดการ และ พนักงานทุกคน บริษัทฯ จะสามารถพัฒนา ส่งเสริม และยกระดับ มาตรฐานการกํากับดูแลกิจการ และจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ ควบคู่ไปกับการดําเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อมให้ก้าวหน้ายั่งยืนต่อไป ทั้งนี้ เพื่อประสิทธิภาพและ ความยั่ ง ยื น ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อั น จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ท่ า น ผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนสังคมและประเทศชาติใน ท้ายที่สุด

ร า ง วั ล ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ >>

รางวัล “Asia’s Outstanding Company on Corporate Governance” ในงาน Corporate Governance Asia Recognition Awards 2013 โดยนิตยสาร Corporate Governance Asia

>>

รางวัล “The Strongest Adherence to CG ” จากนิตยสาร Alpha Southeast Asia Magazine ที่ ทํ า การสํ า รวจบริ ษั ท ชั้ น นํ า ใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีผลงานดีเด่นในด้านการบริหาร การเงิน ด้านการกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance: CG ) ด้านการรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Rosponsibility: CSR) และด้านนักลงทันสัมพันธ์ (Investor Relations: IR)

>>

รางวัล“The Asset Excellence in Management and Corporate Governance Awards 2013” ในระดั บ Gold โดยนิ ต ยสาร The Assets ของประเทศฮ่องกง

021

วันที่ 21 มกราคม 2557 ในนามคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ

(ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์) ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)


022

06

ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง

รายงานของคณะกรรมการ บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

เ รี ย น ท า น ผู ถื อ หุ น เพือ่ เป็นการสนับสนุนคณะกรรมการ บริษทั ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ในการกํากับดูแลการบริหารจัดการความเสี่ยงขององค์กร ซึ่งเป็น กลไกและเครื่องมือสําคัญที่จะช่วยส่งเสริมให้บริษัทฯ สามารถบรรลุ เป้าหมายทางธุรกิจที่ตั้งไว้ โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ชุดปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยกรรมการผู้มีความรู้ความสามารถและ ประสบการณ์ ตลอดจนมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ จํานวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (กรรมการอิสระ) 2. นายณัฐชาติ จารุจินดา

กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการ)

3. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการ/ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่)

ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ย ง ใ น ป 2 5 5 6 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ทําหน้าที่กําหนดและทบทวน กรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กร นโยบาย และกระบวนการบริหาร ความเสี่ ย ง ตามบทบาทหน้ า ที่ ใ นกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ ย ง และให้ ข้ อ เสนอแนะแนวทางในการบริ ห ารจั ด การ ความเสี่ยง ให้เหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องต่อทิศทางกลยุทธ์การดําเนินงานและแผนธุรกิจ รวมทั้ง สนับสนุนและพัฒนาการบริหารความเสี่ยงในทุกระดับทั่วทั้งองค์กร

อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากล เพื่อให้เกิด เป็ น วั ฒ นธรรมองค์ ก ร สํ า หรั บ ในปี 2556 คณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ยงได้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 7 ครั้ง สรุปสาระสําคัญของ การประชุมได้ดังนี้ 1. พิจารณาและให้ความเห็นชอบก่อนนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ ในเรื่องโครงสร้างการบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ใหม่ ให้สอดคล้องกับคณะกรรมการชุดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร ความเสี่ยงและความเสี่ยงองค์กรของเครือไทยออยล์ ปี 2556 แผนการบริหารจัดการความเสี่ยงขององค์กร และแผนการบริหาร ความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management ) ของเครือไทยออยล์ 2. พิจารณาและให้ความเห็นชอบก่อนนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ ในเรื่องการแก้ไขเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์บริษัทฯ 3. พิจารณาและให้ความเห็นชอบประเด็นความเสี่ยงของการกํากับ ดูแลและติดตามผลการดําเนินงานตามกรอบการบริหารความเสี่ยง ด้านราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและนํ้ามันดิบปี 2556 รวมทั้งการ แก้ไขกรอบบริหารความเสี่ยงด้านราคา สมมติฐานราคาวัตถุดิบ และส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์สําหรับแผนธุรกิจ และการปรับเพิ่ม ปริมาณนํ้ามันดิบคงคลังอ้างอิงสําหรับการบริหารความเสี่ยง ด้านราคา 4. พิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น ชอบประเด็ น ความเสี่ ย งและความ ครบถ้ ว นของโครงการลงทุ น ที่ สํ า คั ญ ต่ า งๆ ก่ อ นนํ า เสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยการทําสัญญาเพื่อสนับสนุน


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

โครงการผลิตสาร LAB กับบริษัทร่วมทุน การจัดตั้งบริษัทย่อย ของบริ ษั ท ไทยออยล์ ม ารี น จํ า กั ด เพื่ อ ลงทุ น จั ด หาเรื อ AFRAMAX และการทําสัญญาเช่าเหมาลําระยะยาว (Time Charter) เรือขนส่งนํ้ามันดิบ VLCC ลําที่สาม การอนุมัติวงเงินกู้เพิ่มเติม เพื่อซื้อหุ้นเพิ่มทุนตามสัดส่วนการถือครองหุ้นในบริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด แผนการลงทุนของบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซิ น เนอร์ ยี่ จํ า กั ด และโครงการโรงไฟฟ้ า ขนาดเล็ ก ( SPP ) จํานวน 2 โรง 5. ให้คําแนะนําเพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาการบริหารความเสี่ยง ขององค์กรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น

วันที่ 24 มกราคม 2557 ในนามคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

(นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง

023


024

07

วิ สั ย ทั ศ น พั น ธ กิ จ แ ล ะ ก ล ยุ ท ธ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

วิ สั ย ทั ศ น พั น ธ กิ จ แ ล ะ ก ล ยุ ท ธ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล เครือไทยออยล์มีวิสัยทัศน์ที่จะเป็นผู้นําในการดําเนินธุรกิจเชิงบูรณาการด้านการกลั่นนํ้ามัน และปิโตรเคมีที่ต่อเนื่องอย่างครบวงจรในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมีพันธกิจหลักคือ

เป นหนึ่งในองค กรชั้นนํา ในด านผลการดําเนินงาน และผลตอบแทนการลงทุน

เพื่อก าวสู องค กรแห งความเป นเลิศ ส งเสริมการทํางานเป นทีม มุ งสร างสรรค สิ่งใหม บนพื้นฐานความเชื่อมั่น ระหว างกัน เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน

มุ งเน นหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดี และยึดมั่นใน ความรับผิดชอบต อสังคม และสิ่งแวดล อม

เครือไทยออยล์เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นกลยุทธ์ (Strategy -Focused Organization ) มีการทบทวนวิสัยทัศน์และทิศทางการดําเนินธุรกิจ อย่างสมํ่าเสมอ เพื่อพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ พร้อมกับการสร้างความเติบโตทางธุรกิจ และเตรียมความพร้อมในการเผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และการแข่งขันที่มีแนวโน้มทวีความเข้มข้นขึ้นในอนาคต ทั้งนี้เครือไทยออยล์ ได้มีการกําหนดแนวทางการเติบโตอย่างยั่งยืนผ่าน 3 กลยุทธ์หลัก ดังนี้ 1. กลยุทธ์ด้านการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Operational Excellence ) เน้นด้าน การผลิตอย่างต่อเนื่อง (Reliability ) การวางแผนการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ (Effi ciency ) สามารถยืดหยุ่นการผลิตและการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า (Flexibility ) และรักษาระดับต้นทุนให้แข่งขันได้ 2. กลยุทธ์ด้านการเติบโต เน้นด้านที่บริษัทฯ มีความเชี่ยวชาญ เพิ่มประสิทธิภาพ และต่อยอด ธุรกิจที่บริษัทฯ มีอยู่โดยการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ อีกทั้งขยายการเติบโตในต่างประเทศ 3 ประเทศหลัก ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม และประเทศเมียนมาร์ เพื่อการ ขยายฐานลูกค้าที่เป็นอุตสาหกรรมต่างประเทศ ทําให้เพิ่มผลการดําเนินงานและศักยภาพ การแข่งขันระยะยาวของเครือไทยออยล์ 3. กลยุทธ์ด้านการพัฒนาองค์กรและบุคลากร เน้นการเสริมสร้างความพร้อมขององค์กร และทักษะความรู้ ความสามารถของบุคลากรในการพัฒนาเพิ่มความพร้อมที่จะขับเคลื่อน องค์กรไปสู่ความสําเร็จ อีกทั้งรองรับการเติบโตธุรกิจในต่างประเทศและธุรกิจใหม่


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

08

ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ใ น ร อ บ ป 2 5 5 6

025

ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ใ น ร อ บ ป 2 5 5 6

DOW JONES S U S TA I N A B L I T Y I N D I C E S

E & 1 1 & )Ĝ E ę '5 6 ' '5 ' 1 D /ę A ę 6 A ğ . % 6 8 x Á É ~ Á À · Å Ç Å Æ ³ » À ³ ´ » ¾ » Æ Ë } À ¶ » µ · Å x ~ } D )<Ę % y ¿ · Ä ¹ » À ¹ ³ Ä ½ · Æ Å ' 4 N 6 Đ ¡ ¡ ¢

S U S TA I N A B I L I T Y AWARD 2014

E & 1 1 & )Ĝ E ę '5 ' 6 +5 ) ' 4 5 { Á ¾ ¶ w ¾ ³ Å Å Ç Å Æ ³ » À ³ ´ » ¾ » Æ Ë u É ³ Ä ¶ ä å ' 4 A %8 C & Á ´ · µ Á u

ผลการดําเนินงานแข็งแกรง ทามกลางภาวะเศรษฐกิจโลก ที่ ผั น ผ ว น ยืนยันความสําเร็จและความพร้อมที่จะก้าวสู่การเติบโตอย่าง ยั่งยืนเป็นองค์กร 100 ปี ด้วยการได้รับการรับรองให้เข้าเป็น สมาชิ ก Dow Jones Sustainability Indices ( DJSI ) ในกลุ่ ม Emerging Markets ประจําปี 2556 ด้วยประสบการณ์และความชํานาญกว่าครึ่งศตวรรษบนเส้นทาง การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ า นพลั ง งาน จนเป็ น องค์ ก รที่ เ ปี่ ย มศั ก ยภาพ ทั้งด้านการผลิต การตลาด และการบริหารจัดการในอุตสาหกรรม พลั ง งาน จึ ง ทํ า ให้ เ ครื อ ไทยออยล์ ส ามารถดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ได้ อ ย่ า ง เต็มประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับในระดับภูมิภาค อีกทั้งเป็นองค์กร ที่มีผลประกอบการเติบโต และมีเจตนารมณ์ที่จะดูแลสิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม บริษัทฯ มีความพยายามที่จะพัฒนาขีดความสามารถขององค์กร เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนโดยการสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิก Dow Jones Sustainability Indices ( DJSI ) ซึ่ ง เป็ น การนํ า Best Practice ขององค์ ก รที่ ยั่ ง ยื น มาสร้ า งเป็ น ดั ช นี เปรี ย บเสมื อ นแนวทางให้ บริษัทฯ นําไปพัฒนาระบบการบริหารจัดการ แก้ไขจุดอ่อน และ เสริมสร้างจุดแข็ง โดยมุ่งเน้นการประเมินความเสี่ยงและโอกาส ทั้งมิติด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม จนในที่สุดเครือไทยออยล์ ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของ DJSI ในกลุ่ม Emerging Markets ประจําปี 2556 โดยมีผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืน อย่ า งเป็ น เลิ ศ อยู่ ที่ Percentile Ranking 99 ซึ่ ง เป็ น การสร้ า ง ความเชื่ อ มั่ น ต่ อ การดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ให้ แ ก่ นั ก ลงทุ น และ สถาบันการเงิน ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล นอกจากนี้ ไทยออยล์ยังได้รับการประกาศจาก RobecoSAM ซึ่งเป็น ผู้ ป ระเมิ น ความยั่ ง ยื น ให้ แ ก่ DJSI ให้ เ ป็ น ผู้ นํ า ด้ า นความยั่ ง ยื น ในกลุ่มธุรกิจนํ้ามันและก๊าซระดับ Gold Class ซึ่งถือเป็นเหรียญรางวัล ระดับสูงสุดจากรางวัล Sustainability Award 2014


026

ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ใ น ร อ บ ป 2 5 5 6

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น แ ข็ ง แ ก ร ง ท า ม ก ล า ง ค ว า ม ผั น ผ ว น ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ป โ ต ร เ ลี ย ม อ ะ โ ร ม า ติ ก ส แ ล ะ นํ้ า มั น ห ล อ ลื่ น พื้ น ฐ า น

'4 5 6'D ę 7)5 6' )5I

ในปี 2556 เครือไทยออยล์ยังคงมุ่งเน้นการบริหารงานเชิงรุก แม้ว่า เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นโดยเฉพาะประเทศพัฒนาแล้ว อย่างสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป แต่ตลาดปิโตรเลียม อะโรมาติกส์ และ นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานกลับได้รับแรงกดดันจากนโยบายการชะลอ เศรษฐกิจของประเทศจีน และกําลังการผลิตใหม่ที่เข้ามาแข่งขัน ส่ ง ผลให้ ส่ ว นต่ า งราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ า งๆ ปรั บ ลดลง อย่ า งไรก็ ดี นโยบายกระตุ้ น เศรษฐกิ จ ต่ า งๆ ของภาครั ฐ รวมทั้ ง มาตรการ สนั บ สนุ น พลั ง งานทดแทนโดยเฉพาะเอทานอลอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ส่ ง ผลให้ ค วามต้ อ งการนํ้ า มั น ในประเทศโดยรวมยั ง คงเพิ่ ม ขึ้ น จากปีก่อน ร้อยละ 3

A 'ë1E &11&)Ĝ&5 .6%6' '4 5 6'D ę 7)5 6' )5I ·¸»À·ÄË Æ»¾»Ì³Æ»ÁÀ E ę.= : 'ę1&)4 åä

เครือไทยออยล์ยังสามารถคงระดับการใช้กําลังการกลั่น (Refi nery Utilization) ได้สูงถึงร้อยละ 102 และรายงานผลกําไรสุทธิรวม 10,394 ล้านบาท โดยมีกําไรขั้นต้นจากการกลั่นรวมผลกระทบจากราคา สต็อกนํ้ามัน (Accounting Gross Refi nery Margin : Accounting GRM ) และกํ า ไรขั้ น ต้ น จากการผลิ ต ของกลุ่ ม รวมผลกระทบ จากราคาสต็อกนํ้ามัน (Accounting Gross Integrated Margin : Accounting GIM ) อยู่ที่ 5.1 และ 7.6 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ตามลํ า ดั บ เป็ น ผลมาจากแนวทางการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ มุ่ ง เน้ น ความเป็นเลิศในการผลิต (Operational Excellence ) รวมทั้งมุ่งเน้น การบริหารด้านการพาณิชย์และตอบสนองความต้องการของลูกค้า (Customer Focus ) และการร่วมมือกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Synergy ) เช่น การลดค่าขนส่ง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านแนวโน้ม ธุรกิจ เทคโนโลยีการผลิต และการปฏิบัติงาน

) 7E'.< 8'+% Đ ¡¡¢

อ ง ค ก ร ที่ มุ ง เ น น ค ว า ม เ ป น เ ลิ ศ ด า น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ผ ลิ ต โ ด ย อ า ศั ย ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ บ บ บู ร ณ า ก า ร

10,394 )ę6 6

โรงกลั่นนํ้ามันไทยออยล์ มีกระบวนการกลั่นนํ้ามันแบบคอมเพล็กซ์ (Complex Refinery) ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่ง ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งมุ่งเน้นการบริหารจัดการแบบบูรณาการ เป็ น กลุ่ ม ( Group Integration ) ระหว่ า งธุ ร กิ จ การกลั่ น ธุ ร กิ จ อะโรมาติกส์ และธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน เพื่อความเชื่อมโยง ของหน่วยงานต่างๆ โดยการวางแผนการผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ ร่วมกัน ทําให้บริษัทฯ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสําเร็จรูป และวั ต ถุ ดิ บ ปิ โ ตรเคมี ที่ มี ร าคาและคุ ณ ภาพสู ง จากนํ้ า มั น ดิ บ ได้ มากกว่าโรงกลั่นนํ้ามันแบบพื้นฐาน เครื อ ไทยออยล์ ยั ง คงเน้ น กิ จ กรรมด้ า นการเพิ่ ม มู ล ค่ า กํ า ไรขั้ น ต้ น (Margin Improvement ) ซึ่งทําให้ได้รับกําไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นประมาณ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ใ น ร อ บ ป 2 5 5 6

และสามารถเพิ่ ม ยอดขายจากการขยายตลาดสู่ ป ระเทศอาเซี ย น นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารนํ า เข้ า วั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ การผลิ ต แก๊ ส โซฮอล์ สารพาราไซลี น และสารเบนซี น เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการ ที่เพิ่มสูงมากขึ้นของลูกค้า และสร้างสถานีจ่ายกํามะถันเหลวทาง รถบรรทุกใหม่ ส่งผลให้ได้คะแนน Customer Satisfaction เพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 89

)&< Ĝ 6' 7A 8 6 1 A 'ë1E &11&)Ĝ

%<Ę A ę +6%A ğ A)8, D 6' )8

.'ę6 +6%A 8 C 1&Ę6 Ę1A ;I1

027

"5 6 +6%"'ę1% 1

< )6 'B)41 Ĝ ' .=Ę +6%.7A'H

0.56 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ บาร์ เรล โดยส่ ว นใหญ่ ม าจากการกลั่ น นํ้ามันหนัก (Unconventional Crude ) การเพิ่มยอดขายนํ้ามันเบนซิน จากการเพิ่มมูลค่าสาร Naphtha การปรับลด Naphtha Cut Point เพื่อเพิ่มปริมาณนํ้ามันอากาศยาน การจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยมาจากการพัฒนาเพื่อตอบสนองความต้องการลูกค้า เช่น นํ้ามัน กํามะถันตํา่ (Low Sulfur Fuel Oil) การเปลีย่ น Catalyst หน่วยแตกโมเลกุล ด้ ว ยสารเร่ ง ปฏิ กิ ริ ย า โดยใช้ ไ ฮโดรเจนร่ ว มที่ 2 ( HCU -2) และ การลดเวลาซ่ อ มบํ า รุ ง หน่ ว ยกลั่ น รวมทั้ ง การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การผลิ ต และการจํ า หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพ ผ่ า นโครงการ Operational Excellence ซึ่งมุ่งเน้นการวางแผนเพื่อการผลิตอย่าง ต่อเนื่อง (Reliability ) การวางแผนการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ( Effi ciency ) การวางแผนการผลิ ต ที่ มี ค วามยื ด หยุ่ น ตอบสนอง ความต้องการของตลาด (Flexibility) และหัวใจหลักในการดําเนินงาน ด้านความปลอดภัย (Safety) ซึ่งทําให้ไทยออยล์จัดอยู่ในกลุ่มโรงกลั่น ชั้นนําของโลก ทั้งด้านสถิติด้านความปลอดภัยอยู่ในระดับดีเยี่ยม ได้แก่ อัตราความถี่ของการบาดเจ็บที่ต้องเข้ารับการรักษาพยาบาล ทางการแพทย์ (Total Record Case Frequency ) ในกลุ่มร้อยละ 10 อั น ดั บ แรกของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเลี ย มและก๊ า ซของประเทศ สหรัฐอเมริกา ด้านการใช้พลังงาน (Energy Intensity Index ) ที่ลดลง อย่างต่อเนื่อง และด้านต้นทุนการผลิต (Cash Cost ) ที่ยังคงสามารถ รักษาระดับ Top Quartile

ในด้านการบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ได้มีแผนบริหารความต่อเนื่อง ทางธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM ) โดยในปีนี้ ได้จัดทําแผน Business Continuity Process (BCP ) ของกระบวนการ ต่างๆ ที่สําคัญภายในองค์กร เพื่อให้มั่นใจได้ว่าแม้มีเหตุการณ์ที่ เสี่ยงต่อการหยุดชะงักของบริษัทฯ แต่บริษัทฯ ยังสามารถป้องกัน ความเสี่ยง ลดการสูญเสีย และดําเนินธุรกิจต่อไปได้ อีกทั้งมีมาตรการ ป้องกันความเสี่ยงทางด้านราคานํ้ามัน (Hedging ) เพื่อลดความ ผันผวนของราคานํ้ามันจากการดําเนินธุรกิจ

ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม แ ผ น ก ล ยุ ท ธ อ ย า ง ต อ เ นื่ อ ง เครือไทยออยล์ยังคงเป็นองค์กรที่มุ่งเน้นกลยุทธ์ (Strategy-Focused Organization ) โดยในปี 2556 นี้ได้ตั้งเป้าหมายเร่งแผนกลยุทธ์ ให้เป็นรูปธรรมหรือ Speed Up Execution เพื่อให้เครือไทยออยล์ สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ในการเป็นผู้นําด้านการกลั่นและปิโตรเคมี ในภูมิภาค และรักษาความเป็นผู้นําด้านโรงกลั่นของกลุ่ม ปตท. (PTT Flagship Refi nery) ในปีที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ดําเนินการติดตั้งหน่วยเพิ่ม Upgrading และลดมลภาวะ ได้แก่ หน่วยแยกไฮโดรเจนความบริสุทธิ์สูงที่ 3 (PSA -3) โครงการปรับปรุงคุณภาพก๊าซก่อนปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศ ส่วนที่ 1 และระบบผสมนํ้ามันดิบ (Crude Oil Injection Pump ) ส่งผลให้หน่วยกลั่นนํ้ามันดิบที่ 3 (CDU -3) สามารถรับนํ้ามันดิบหนัก ได้มากขึ้น แล้วเสร็จตามแผน นอกจากนี้ ยังมีโครงการที่อยู่ระหว่างดําเนินการ ได้แก่ โครงการ ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพก๊ า ซก่ อ นปล่ อ ยสู่ ชั้ น บรรยากาศส่ ว นที่ 2

ก ล ยุ ท ธ ท า ง ก า ร ต ล า ด เ ชิ ง รุ ก แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ย ง อี ก หนึ่ ง หั ว ใจสํ า คั ญ ของความสํ า เร็ จ ของเครื อ ไทยออยล์ คื อ การมุ่ ง บริ ห ารความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ต่ อ ลู ก ค้ า (Customer Relation Management ) จากคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ดีตรงตามมาตรฐาน การจัดส่งที่ตรงต่อเวลา ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ การบริการ และแก้ไขปัญหาให้แก่ลูกค้าได้อย่างรวดเร็วแม่นยํา และมาตรฐาน ความปลอดภัยในการรับสินค้า ทําให้มีสัดส่วนการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ ในประเทศและอิ น โดจี น เป็ น ร้ อ ยละ 87 ของกํ า ลั ง การผลิ ต

Customer Focus

Synergy

%<Ę A ę 6' 'è/6' ę6 6'"6 8 &ĜB)4 1 . 1

+6% ę1 6' 1 )= ę6

6''Ę+%%;1 5 'è-5 D )<Ę% A"÷I1A"ôø% '4.8 8$6" D 6' 7A 8 6


028

ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ใ น ร อ บ ป 2 5 5 6

ตามมาตรฐานกฎหมายด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มที่ อ นุ ญ าตให้ ป ล่ อ ย ก๊ า ซซั ล เฟอร์ อ อกไซด์ ( SO X ) น้ อ ยกว่ า 500 ppm โครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการใช้ พ ลั ง งานของหน่ ว ยกลั่ น นํ้ า มั น ดิ บ ที่ 3 (CDU -3) โครงการปรับปรุงหน่วยกลั่นสุญญากาศที่ 2 (HVU -2) อยู่ ร ะหว่ า งดํ า เนิ น การก่ อ สร้ า งและคาดว่ า จะดํ า เนิ น การผลิ ต เชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ ภ ายในปี 2557 และโครงการขยายกํ า ลั ง การผลิ ต บริ ษั ท ศั ก ดิ์ ไชยสิ ท ธิ จํ า กั ด ดํ า เนิ น การก่ อ สร้ า งการขยายกํ า ลั ง การผลิต จากกําลังการผลิตกลุ่มผลิตภัณฑ์ Hydro Carbon Solvent และ Aromatic Solvent จาก 76 KTA เป็น 143 KTA เพื่อรองรับ การขยายตลาดในกลุ่ ม ประเทศ AEC กํ า หนดเริ่ ม ดํ า เนิ น การ เชิงพาณิชย์ในไตรมาสที่ 4 ปี 2557

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

สามารถเพิ่มประสิทธิภาพมาตรฐานการบริการให้ดียิ่งขึ้น โดยได้ ขยายกองเรือเพิ่มขึ้น เช่น การจัดหาเรือขนส่งนํ้ามันดิบ (Very Large Crude Carrier : VLCC ) และเรือขนส่งสัมภาระและพนักงาน (Crew Boat) เป็นต้น นอกจากนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ามีการเติบโตอย่างยั่งยืน สร้างความเชื่อมั่น ให้กับผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เครือไทยออยล์จึงได้มีการ จัดทํากรอบการบริหารพอร์ตการลงทุน (Portfolio Management ) เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสมดุ ล ของการเติ บ โตทั้ ง ผลตอบแทนการลงทุ น กําไร สัดส่วนของรายได้ที่ยั่งยืน และวินัยทางการเงิน

ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต อ สั ง ค ม แ ล ะ อีกทั้ง บริษัทฯ ได้จัดตั้งบริษัทใหม่ในนาม “บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด” ก า ร ดู แ ล ผู มี ส ว น ไ ด ส ว น เ สี ย ซึ่งเป็นการร่วมทุนกับบริษัท มิตซุยแอนด์คัมปนี จํากัด (Mitsui ) เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า สารเบนซี น โดยการผลิ ต ต่ อ ยอดเป็ น สารอนุ พั น ธ์ เบนซีน (Benzene Derivatives ) ที่เรียกว่าสาร LAB (Linear Alkyl Benzene ) โดยกระบวนการผลิ ต ทั้ ง หมดจะถู ก เชื่ อ มต่ อ เข้ า กั บ โครงสร้างการผลิตของกลุ่มบริษัทในเครือไทยออยล์ ทําให้สามารถ ใช้ ป ระโยชน์ ร่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ คาดว่ า จะดํ า เนิ น การผลิ ต เชิงพาณิชย์ได้ในปี 2558 ด้านธุรกิจเอทานอล บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด สามารถ เริ่มเดินเครื่องผลิตเอทานอลเกรดเชื้อเพลิงเชิงพาณิชย์ได้ตามแผน ทําให้สามารถมีกําลังการผลิตเอทานอล 400,000 ลิตรต่อวัน ด้านธุรกิจไฟฟ้า บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (GPSC ) ออกหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 6,000 ล้านบาท เพื่อลงทุนรับซื้อหุ้น/โอน กิจการไฟฟ้าที่บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด (PTTI ) และ บริษัท PTT International Holdings Limited (PTTIH ) ถือหุ้นจํานวน 7 บริ ษั ท ในราคา 7,296 ล้ า นบาท ในการนี้ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด ได้เข้าซื้อหุ้นเพิ่มทุนจาก GPSC ตามที่ ได้ รั บ การจั ด สรรเป็ น เงิ น ลงทุ น ทั้ ง หมดจํ า นวน 2,375 ล้ า นบาท เพื่อรักษาสัดส่วนการถือหุ้นเดิมในปัจจุบัน เพื่อเพิ่มสัดส่วนผลกําไร จากธุรกิจไฟฟ้าซึ่งเป็นธุรกิจที่มีผลตอบแทนดีและมั่นคง นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ดําเนินการจัดตั้ง บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด ขึ้น เพื่อบริหาร โครงการโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก (SPP ) ของบริษัทฯ ซึ่งมีกําลังการผลิต ไฟฟ้าทั้ง 2 โครงการรวม 239 เมกะวัตต์ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดกับบริษัทฯ โดยคาดว่าจะเริ่มดําเนินการ เชิงพาณิชย์ในปี 2559 บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด ได้ปรับโครงสร้างธุรกิจ จากบริษัท ที่ให้บริการขนส่งนํ้ามันและเดินเรือด้วยตนเอง เป็นการสร้างกลุ่ม บริษัทเรือที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะในเรือชนิดต่างๆ โดยเฉพาะเรือ เดินสมุทรขนาดใหญ่ และมุ่งแสวงหาพันธมิตรทางธุรกิจ ซึ่งช่วยให้

เครือไทยออยล์มีการบริหารจัดการที่เป็นเลิศ ผ่านกระบวนการดําเนิน ธุรกิจและกิจกรรมต่างๆ ทําให้ได้รับการยอมรับจากภาคธุรกิจและ ภาคอุตสาหกรรมในวงกว้าง ส่งผลทําให้เครือไทยออยล์ได้รับการ จั ด อั น ดั บ Platts Top 250 Global Energy Company Ranking ประจําปี 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 38 ของเอเชีย และอันดับที่ 136 ของโลก รวมทั้งได้รับการจัดอันดับการเปิดเผยข้อมูลในรายงาน ความยั่งยืนตามแนวทางของ Global Reporting Initiative รูปแบบ 3.1 ที่ระดับ A นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน จากนิตยสาร Alpha Southeast Asia ซึ่ ง เป็ น นิ ต ยสารด้ า นการลงทุ น สถาบั น ฉบับแรกและฉบับเดียวที่เน้นเรื่องการธนาคารและตลาดทุนในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ รางวั ล พั น ธกิ จ สู่ ค วามยั่ ง ยื น ด้ า นพลั ง งาน ( The Strongest Commitment to Sustainable Energy in Southeast Asia ) ในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ >> รางวัลการยึดมั่นในบรรษัทภิบาลที่แข็งแกร่งที่สุด (The Strongest Adherence to Corporate Governance) >> รางวัลความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงกลยุทธ์ที่ดีที่สุด (The Best Strategic CSR ) >>

เครือไทยออยล์ยังตระหนักและให้ความสําคัญด้านความปลอดภัย และการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้ได้รับรางวัล Thailand Energy Awards เป็นครั้งที่ 6 โดยในปี 2556 นี้ ได้รับรางวัลดีเด่นด้านพลังงาน ทดแทน ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบ สายส่งไฟฟ้า (Off -Grid ) จากโครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากของเสีย ในการผลิ ต ยางแผ่ น และของเสี ย จากครั ว เรื อ น และส่ ง เสริ ม การ ปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชน ณ เกาะหมากน้อย จังหวัดพังงา โดยยึดแนวทางการพัฒนาแบบยั่งยืน เน้นกระบวนการ ร่ ว มคิ ด ร่ ว มลงมื อ ทํ า กั บ ชุ ม ชน อี ก ทั้ ง บริ ษั ท ไทยลู้ บ เบส จํ า กั ด (มหาชน) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ในเครื อ ไทยออยล์ ไ ด้ รั บ มอบโล่ ป ระกาศ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ใ น ร อ บ ป 2 5 5 6

029

THAILAND ENERGY AWARDS

SET AWARDS 2013

THAI INSTITUTE OF DIRECTORS (IOD)

CSR-DIW

E &11&)Ĝ E ę'5 '6 +5) º³»¾³À¶ yÀ·Ä¹Ë uɳĶŠA ğ '5J 9I ¢ C &D Đ ¡¡¢ 9J E ę'5 '6 +5) 9A Ę ę6 ")5

6 B '4A$ C ' 6'")5

6 /%< A+é& 9I E%ĘA ;I1%C& 5 '4 .6&.Ę E##Ĕ6 ¸¸ {Ä»¶

'6 +5) 'è-5 4A 9& ę6 +6%'5 ċ 1 Ę1.5 %&1 A&9I&% '4 7 Đ ¡¡¢ D 6 y uɳĶÅ

E &11&)Ĝ E ę'5 ¥¢ 4B 6 4B A H% åää 4B 1&=ĘD '4 5 9A)8, A ğ Đ 9I ¡ 8 Ę1 5 B)4E ę'5 '6 +5) 'è-5 4A 9& ę6 6''6& 6 ''-5 $8 6) Á wÁÄÂÁijƷ {ÁÈ·ÄÀ³Àµ· ·ÂÁÄÆ uɳĶ '4A$ Ø'6 +5) 9A&9I&%Ù A ğ Đ 9I 8 Ę1 5

'6 +5)C ' 6'.Ę A.'è% C'

6 1< .6/ ''% 9I%9 +6%'5 ċ 1 Ę1.5 % D/ę& '4 5 .=Ę+5 ''%B)4 A 'ë1 Ę6&.9A é&+1&Ę6 Ę1A ;I1

B)4&5I &; '4 7 Đ ¡¡¢

เกียรติคุณโครงการรณรงค์ลดสถิติอุบัติเหตุจากการทํางานให้เป็นศูนย์ (Zero Accident Awards ) ประจําปี 2556 ภายใต้การประกอบธุรกิจการกลั่นและปิโตรเคมีชั้นนําที่เป็นเลิศ ในภูมิภาค เครือไทยออยล์มุ่งเน้นการยกระดับมาตรฐานการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง ผ่านแผนงานที่ชัดเจน การบริหารงาน อย่างมีเป้าหมาย และการปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม อีกทั้งยึดมั่นใน ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยให้ความสําคัญกับ ความต้องการและความคาดหวังของชุมชน เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทําให้ได้รับรางวัลจากหน่วยงานองค์กร ชั้นนําต่างๆ จํานวนมาก อาทิ >> รางวัลบริษัทจดทะเบียนด้านการรายงานบรรษัทภิบาลดีเยี่ยม และ รางวัลบริษัทจดทะเบียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคมยอดเยี่ยม ประจําปี 2556 ในงาน SET Awards ซึ่งจัดขึ้นโดยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย >> รางวัลรายงานความยั่งยืน (Sustainability Report Award ) ประเภท รางวัลดีเด่น จากสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย โดยรางวัลดังกล่าว ได้รับจากการดําเนินการเปิดเผยข้อมูลด้าน ESG (Environment , Social, and Governance) ในรูปของรายงานความยั่งยืน >> ผลการประเมิ น การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท จดทะเบี ย น (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies ) ประจําปี 2556 โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD ) ได้รับ 96 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน อยู่ในระดับ “ดีเลิศ” ซึ่งเป็นระดับสูงสุดเป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน >> รางวัล The Assets Excellence in Management and Corporate Governance ประจํ า ปี 2556 ในระดั บ Gold จากนิ ต ยสาร The Assets ของประเทศฮ่องกง >> รางวัล Asia’s Outstanding Company on Corporate Governance จากโครงการ Corporate Governance Asia Recognition Awards ประจําปี 2556 จัดโดยวารสาร Corporate Governance Asia วารสารด้านการกํากับดูแลกิจการ ทีไ่ ด้รบั การยอมรับในภูมภิ าคเอเชีย

รางวัล The 1st Asian Company Secretary of the Year 2013 จากวารสาร Corporate Governance Asia >> รางวัลจาก Asian Excellence Recognition Awards ประจําปี 2556 ได้แก่ รางวัลความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมยอดเยี่ยม (Best Corporate Social Responsibility Awards ) จากการมุ่งเน้น ดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อม การจัดทําโครงการดูแลสุขภาพชุมชน รวมทั้งเป็นผู้นําด้านนวัตกรรมการผลิตพลังงานสะอาดของเอเชีย >> รางวัล CSRI Recognition ประจําปี 2556 ประเภทรางวัลทั่วไป จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสถาบันธุรกิจเพื่อสังคม >> รางวัลโครงการส่งเสริมโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม ให้ยกระดับสูว่ ฒ ั นธรรมและเครือข่ายสีเขียวอย่างต่อเนือ่ ง และยั่งยืน (CSR -DIW ) ประจําปี 2556 จากสํานักงานส่งเสริมและ พัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว กรมโรงงานอุตสาหกรรม >>

นอกจากนี้ เครือไทยออยล์ได้ตระหนักถึงการดูแลและสร้างความ พึงพอใจแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ส่งผลให้เครือไทยออยล์ได้รับ รางวัลชนะเลิศด้านนักลงทุนสัมพันธ์ ประเภทธุรกิจพลังงาน (Best Investor Relations in Sector Energy - South East Asia ) จาก IR Magazine South East Asia Awards & Conference 2013 ที่ประเทศ สิงคโปร์ และรางวัลนักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยี่ยมของประเทศไทย (Best Investor Relations Company - Thailand ) จากการมีนโยบาย และถือปฏิบัติต่อนักลงทุนด้วยการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส เครือไทยออยล์มุ่งมั่นในการนําองค์ความรู้และประสบการณ์ด้าน พลั ง งานที่ สั่ ง สมมากว่ า 50 ปี ทั้ ง ด้ า นการดํ า เนิ น งานที่ เ ป็ น เลิ ศ การกํากับดูแลกิจการที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และการสร้างความพึงพอใจแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อมุ่งพัฒนา ธุรกิจของเครือไทยออยล์ให้เติบโตควบคู่กับสังคมและประเทศไทย อย่างยั่งยืน


030

09

ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ สํ า คั ญ ป 2 5 5 6

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ สํ า คั ญ ป 2 5 5 6 มกราคม

01 กุมภาพันธ

02

ไ ท ย อ อ ย ล

ไ ท ย อ อ ย ล

• บริษัทฯ ได้เข้าร่วมทุนในบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (GPSC ) ซึ่งเกิดจากการควบรวม บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด (IPT) และบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด (PTTUT) เพื่อดําเนิน ธุ ร กิ จ ไฟฟ้ า รวมทั้ ง ลงทุ น และพั ฒ นาโครงการ ด้านธุรกิจไฟฟ้าในอนาคต มีกําลังการผลิตไฟฟ้า เที ย บเท่ า รวมทั้ ง สิ้ น ประมาณ 1,357 เมกะวั ต ต์ แบ่งเป็นกําลังการผลิตไฟฟ้าจํานวน 1,038 เมกะวัตต์ และเป็นกําลังการผลิตไอนํ้าจํานวน 1,340 ตันต่อ ชั่วโมง (เทียบเท่ากับกําลังการผลิตไฟฟ้าจํานวน ประมาณ 319 เมกะวัตต์) ทั้งนี้ ภายใต้การควบรวม บริษัทดังกล่าว บริษัทฯ ได้ถือหุ้นทั้งในทางตรงและ ทางอ้อมเป็นสัดส่วนร้อยละ 32.39

พิ ธี ฉ ลองความสํ า เร็ จ ในการออกหุ้ น กู้ 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

• บริษัทฯ ได้ดําเนินการออกและเสนอขายหุ้นกู้ไม่มี หลักประกันและไม่ดอ้ ยสิทธิให้กบั นักลงทุนสถาบัน ต่ า งประเทศ โดยเป็ น ไปตาม Rule 144 A และ Regulation S จํานวน 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แบ่งออกเป็น 2 ชุด ได้แก่ ชุดที่ 1 อายุ 10 ปี วงเงิน 500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และชุดที่ 2 อายุ 30 ปี วงเงิน 500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (หุน้ กูด้ งั กล่าวได้รบั การจัด อันดับความน่าเชื่อถือจาก Standard and Poor ’s และ Moody’s ที่ระดับ BBB และ Baa1 ตามลําดับ) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการดําเนินงาน รวมถึง เงินทุนหมุนเวียน เงินลงทุน และ/หรือชําระคืนหนี้


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

เมษายน

ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ สํ า คั ญ ป 2 5 5 6

04

031

07

กรกฎาคม

ไ ท ย อ อ ย ล

ไ ท ย อ อ ย ล

ไ ท ย อ อ ย ล

บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ รางวั ล จาก Asian Excellence Recognition Awards 2013 ซึ่ ง จั ด โดยนิ ต ยสาร Corporate Governance Asia โดยบริษัทฯ ได้รับ 2 รางวัล ได้แก่ • รางวัลบริษัทไทยยอดเยี่ยมด้านนักลงทุนสัมพันธ์ (Best Investor Relations Company (Thailand)) • รางวัลความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ยอดเยี่ยม (Best CSR)

• บริษทั ฯ ได้รบั รางวัล Asia’s Outstanding Company on Corporate Governance จาก Asian Excellence Recognition Awards 2013 ซึ่งจัดโดยนิตยสาร

• พิธีลงนามในสัญญา Engineering Procurement and Construction (EPC ) ระหว่าง บริษัท ลาบิกซ์ จํ า กั ด และบริ ษั ท ฮุ น ไดเอนจิ เ นี ย ริ่ ง จํ า กั ด กั บ บริษทั ฮุนไดเอนจิเนียริง่ แอนด์ คอนสตรัคชัน่ จํากัด (Consortium ) และสัญญา Project Management Consultancy (PMC) ระหว่าง บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด และบริษัท แบคเทิลอินเตอร์เนชั่นแนลอิ้งค์ จํากัด

Corporate Governance Asia • ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการ ใหญ่ของบริษัทฯ พร้อมด้วยเอกอัครราชทูตญี่ปุ่น ประจําประเทศไทย และผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั มิตซุยแอนด์คัมปนี จํากัด เข้าพบ ฯพณฯ นายก รัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เพื่อรายงาน ความคื บ หน้ า ของโครงการร่ ว มทุ น ผลิ ต สาร ตั้งต้นสําหรับผลิตภัณฑ์ทําความสะอาดระหว่าง เครือไทยออยล์ และบริษทั มิตซุยแอนด์คมั ปนี จํากัด

บ จ. ไ ท ย พ า ร า ไ ซ ลี น • บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด (TPX) เข้าร่วมทุนกับ บริษัท มิตซุยแอนด์คัมปนี จํากัด (Mitsui) เพื่อจัดตั้ง บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด (LABIX ) โดยมีวัตถุประสงค์ ในการลงทุนเพื่อประกอบกิจการผลิตและจําหน่าย สาร Linear Alkyl Benzene (LAB) ซึ่งเป็นสารตั้งต้น สําหรับการผลิตผลิตภัณฑ์สารทําความสะอาด เช่น ผงซักฟอก และผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง รวมทั้งผลผลิต และผลิตภัณฑ์พลอยได้อื่นๆ โดย TPX และ Mitsui จะถือหุ้นใน LABIX ในสัดส่วนร้อยละ 75 และ 25 ตามลําดับ ซึ่งจะสามารถเริ่มดําเนินการเชิงพาณิชย์ ในไตรมาสที่ 2 ปี 2558

บ จ. ไ ท ย อ อ ย ล ม า รี น • บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด (TM) เข้าร่วมทุนกับ บริษัท นทลิน จํากัด (Nathalin ) และ TOP -NTL Shipping Trust (TOP -NTL ) ซึ่งถือหุ้นโดย TM และ นทลิน ฝ่ายละร้อยละ 50 เพื่อจัดตั้งบริษัท ท็อปนอติคอลสตาร์ จํากัด โดยมีสัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ 35:35:30 ตามลําดับ และมีวตั ถุประสงค์หลัก ในการลงทุนจัดหาเรือเพื่อดําเนินธุรกิจให้บริการ จัดเก็บและขนส่งนํา้ มันดิบ ฟีดสต๊อกและผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมโดยเรือขนาดใหญ่


032

ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ สํ า คั ญ ป 2 5 5 6

สิ ง ห า ค ม

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

08

กั น ย า ย น

บ ม จ. ไ ท ยลูบเบส

ไ ท ย อ อ ย ล

• บริษทั ไทยลูบ้ เบส จํากัด (มหาชน) ได้รบั โล่ประกาศ เกียรติคุณโครงการรณรงค์ลดสถิติอุบัติเหตุจาก การทํางานให้เป็นศูนย์ (Zero Accident Awards ) ประจําปี 2556 จากกระทรวงแรงงาน เนื่องจากเป็น สถานประกอบการทีไ่ ม่มกี ารประสบอุบตั เิ หตุถงึ ขัน้ หยุดงานต่อเนื่อง ตั้งแต่ 3,000,000 ถึง 10,000,000 ชั่วโมงการทํางาน

• บริษัทฯ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลสําหรับปี 2556 ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ จํานวน 2,040,027,873 หุน้ ในอัตราหุ้นละ 0.80 บาท หรือคิดเป็นจํานวนเงิน ประมาณ 1,632 ล้านบาท

ไ ท ย อ อ ย ล • บริษัทฯ เป็นบริษัทเดียวในภูมิภาคที่ได้รับรางวัล Alpha Southeast Asia 2013 ทั้งในระดับภูมิภาค และระดับประเทศ จากนิตยสาร Alpha Southeast Asia ซึง่ เป็นนิตยสารด้านการลงทุนสถาบันฉบับแรก และฉบับเดียวที่เน้นเรื่องการธนาคารและตลาดทุน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยรางวัลทีไ่ ด้รบั มีดงั นี้ - รางวัลพันธกิจสู่ความยั่งยืน (The Strongest

Commitment to Sustainable Energy in Southeast Asia) - รางวัลการยึดมั่นบรรษัทภิบาลที่แข็งแกร่งที่สุด ( The Strongest Adherence to Corporate Governance) - รางวั ล ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมเชิ ง กลยุ ท ธ์ ที่ดีที่สุด (The Best Strategic CSR)

• บริษัทฯ ได้รับรางวัล Thailand Energy Awards ประจําปี 2556 รางวัลดีเด่นด้านพลังงานทดแทน จากโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับ ระบบสายส่งไฟฟ้า (Off Grid ) จากโครงการผลิต ก๊ า ซชี ว ภาพจากของเสี ย ในการผลิ ต ยางแผ่ น และของเสี ย จากครั ว เรื อ น และส่ ง เสริ ม การ ปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชน เกาะหมากน้ อ ย ตํ า บลปั น หยี จั ง หวั ด พั ง งา ซึ่งจัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน • ร า ง วั ล จ า ก โ ค ร ง ก า ร ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม โร ง ง า น อุ ต สาหกรรมที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมให้ ยกระดั บ สู่ วั ฒ นธรรมและเครื อ ข่ า ยสี เขี ย วอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งและยั่ ง ยื น จากกรมโรงงาน กระทรวง อุตสาหกรรม - รางวั ล CSR - DIW in Supply Chain Award ซึ่ ง ไ ด้ ม อ บ ใ ห้ แ ก่ บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ คู่ ค้ า จ า ก ความร่ ว มมื อ กั น ปฏิ บั ติ ต ามเกณฑ์ ม าตรฐาน ความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม ต่อสังคม และรางวัล CSR -DIW Continuous Award ในฐานะองค์ ก รที่ ส ามารถปฏิ บั ติ ตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง - บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) ได้รับรางวัล CSR-DIW Advance 4 - บริ ษั ท ไทยพาราไซลี น จํ า กั ด ได้ รั บ รางวั ล CSR-DIW Continuous Award

09 • บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ การประกาศให้ เ ป็ น สมาชิ ก ของ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ในกลุ่ม Emerging Markets ประจํ า ปี 2556 โดยมี คะแนนสูงถึง 82 คะแนน ซึ่งเป็น Top 10% ของ องค์กรแห่งความยั่งยืนด้านผู้ผลิตนํ้ามันและก๊าซ (Oil and Gas Producer ) โดย DJSI นั้น เป็นดัชนี จัดอันดับผลการปฏิบัติงานด้านความยั่งยืนของ บริ ษั ท จดทะเบี ย นทั่ ว โลก โดยมี RobecoSAM

Corporate Sustainability Assessment ผู้ ใ ห้ คํ า ปรึ ก ษาด้ า นการลงทุ น เป็ น ผู้ ป ระเมิ น การจัดอันดับ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ตุ ล า ค ม

ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ สํ า คั ญ ป 2 5 5 6

10

พ ฤ ศ จิ ก า ย น

11 ธันวาคม

033

12

ไ ท ย อ อ ย ล

ไ ท ย อ อ ย ล

ไ ท ย อ อ ย ล

บริษัทฯ ได้รับการจัดอันดับจาก Platts : TOP 250

• บริษัทฯ ได้รับรางวัล 2 รางวัลที่แสดงถึงการ

• บริษัทฯ ได้รับรางวัล “The Asset Corporate Award 2013 – Gold Award ” จากนิตยสาร The Asset โดยปีนี้เป็นปีแรกที่บริษัทฯ ได้รับรางวัลดังกล่าว ซึ่ ง พิ จ ารณาจากการดํ า เนิ น งานด้ า นการบริ ห าร จั ด การที่ เ น้ น การเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ สิ่ ง แวดล้ อ ม และนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ซึ่ ง ถื อ เป็ น อีกหนึ่งความสําเร็จของเครือไทยออยล์ในระดับ เอเชี ย อี ก ทั้ ง ยั ง สะท้ อ นถึ ง ความมุ่ ง มั่ น ในการ ดําเนินงานด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดี ความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และนักลงทุน สัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง อันเป็นแนวทางที่บริษัทฯ ได้ยึดถือเสมอมา

Global Energy Company Rankings • อั น ดั บ 38 ในภู มิ ภ าคเอเชี ย และอั น ดั บ ที่ 136 ของโลก จากการประเมินมูลค่าสินทรัพย์ รายได้ ผลกําไร และผลตอบแทนการลงทุนในกลุ่มธุรกิจ ผลิตนํ้ามันและก๊าซธรรมชาติ

ดําเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม และเป็ น องค์ ก รที่ มี ก ารเผยแพร่ ร ายงาน ความยั่งยืนที่เป็นประโยชน์ ดังนี้ - รางวัล CSRI Recognition ประจําปี 2556 ประเภท รางวัลทั่วไป โดยรางวัลนี้ได้มอบให้กับบริษัท จดทะเบี ย นที่ ผ่ า นเกณฑ์ ก ารประกวดและ เข้ า รอบสั ม ภาษณ์ ร างวั ล บริ ษั ท จดทะเบี ย น ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมยอดเยี่ยม (Best Corporate Social Responsibility Awards: CSR Awards ) เพื่อยกย่อง และเป็นกําลังใจแก่บริษัท จดทะเบียนที่แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่น ตั้งใจ ในการพั ฒ นาและดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี ค วาม รับผิดชอบต่อสังคมให้เป็นทีป่ รากฏมาโดยตลอด และสามารถเป็นแบบอย่างทีด่ แี ก่บริษทั จดทะเบียน หน่วยงานอื่นๆ และสาธารณชนทั่วไป - รางวัลความยั่งยืน ประจําปี 2556 (Sustainability Report Award) ประเภทรางวัลดีเด่น โดยรางวัลนี้ ได้มอบให้กบั บริษทั จดทะเบียนทีม่ กี ารดําเนินการ เปิดเผยข้อมูลด้าน ESG (Environmental, Social and Governance) ในรูปของรายงานความยั่งยืน อั น เป็ น ประโยชน์ แ ละส่ ง ผลต่ อ การตั ด สิ น ใจ ลงทุนต่อกลุ่มผู้ลงทุนในแวดวงตลาดทุน • บริษัทฯ ได้รับรางวัล SET Awards 2013 จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) - รางวัลบริษทั จดทะเบียนด้านความรับผิดชอบต่อ สังคม (Best Corporate Social Responsibility Award) ประเภท“รางวัลยอดเยี่ยม” - รางวั ล บริ ษั ท จดทะเบี ย นด้ า นการรายงาน บรรษัทภิบาล (Top Corporate Governance Report Award) ประเภท“รางวัลดีเยี่ยม” • บริษทั ฯ ได้รบั รางวัล Asian Company Secretary of the Year 2013 จากวารสาร Corporate Governance Asia จาก Corporate Governance Asia วารสาร ด้านการกํากับดูแลกิจการที่ได้รับการยอมรับใน ภูมิภาคเอเชีย

• บริษัทฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศด้านนักลงทุนสัมพันธ์ ประเภทธุ ร กิ จ พลั ง งาน หรื อ Best Investor Relations in Energy Sector – South east Asia จากผลสํ า รวจของ IR Magazine นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้รับการเสนอชื่อและเข้าสู่รอบสุดท้าย ในอีก 2 สาขารางวัล ได้แก่ รางวัล Grand Prix for Best Overall Investor Relations – Southeast Asia (รางวั ล สู ง สุ ด ประเภทรวมธุ ร กิ จ สํ า หรั บ บริ ษั ท ทุนจดทะเบียนขนาดเล็กถึงกลาง ประจําภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) นับเป็นปีแรกที่ไทยออยล์ ได้ รั บ การเสนอชื่ อ และรางวั ล Best Investor Relations by a Thai Company (รางวัลชนะเลิศ สําหรับบริษัทในประเทศไทย) • บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อย โดยบริษทั ฯ เป็นผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 100 เพือ่ ดําเนินการธุรกิจโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก (SPP ) จํานวน 2 โครงการ ภายใต้ชื่อบริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด (TOP SPP ) โดยมีทุนจดทะเบียน จํานวน 3,500,000,000 บาท


034

10

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ใ น ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ ต ล า ด แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โ ล ก ใ น ป 2 5 5 6

' 6 6 NJ 6 %5 8 1Ę 1 5 + ) A )H ę 1 & D Đ ¡ ¡ £ 5 6 = 1< 6 NJ 6 %5 8 6 =ę )8 1 )<Ę % C 1 A B ) 4 A / < 6 ' Ĝ + 6 % E %Ę . D 4 +5 1 1 ) 6

B ) 4 B 1 # 'è 6 A / ; 1 9I 4 . 'ę 6

+ 6 % 5 + Ę 1 ' 6 6 NJ 6 %5

+ 6 % ę 1 6 ' . 6 ' 1 4 C ' % 6 8 .Ĝ B ) 4 NJ 6 %5 / )Ę 1 );I "÷J 6 %9 B + C ę % A 8 % C 9 6 % A , ' - 8 C ) 9I & 6 & 5 + .= êJ 4 9I N 6 )5 6 ' )8 %9 6 ' & 6 & 5 + 6 % + 6 % ę 1 6 ' 9I A "ôø % êJ

1< . 6 / ' ' % Ę 1 A ;I 1 1;I G 5J . 6 ' N 6 ) 4 ) 6 & A 1 6 1 ) A 'ë 1 .Ę NJ 6 %5 B ) 4 E # #Ĕ 6 &5 %9 C 1 6 . D 6 ' & 6 & ) 6 A "ôø % A 8 % 6 % 6 ' A 8 C 6 A , ' - 8

เศรษฐกิ จ โลกในปี 2556 ถื อ ได้ ว่ า มี ก ารขยายตั ว ในอั ต ราเฉลี่ ย ร้อยละ 2.9 ซึ่งลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2555 ที่ขยายตัวในน อัตราร้อยละ 3.2 เนื่องจากผู้นําคนใหม่ของจีนที่เข้ารับตําแหน่น่ง อย่ า งเป็ น ทางการในช่ ว งเดื อ นมี น าคมมี น โยบายเศรษฐกิ จ เพื่ อ การเติบโตอย่างยั่งยืน โดยเน้นการพึ่งพาภายในประเทศมากขึ้น อีกทัง้ ยังลดการพึง่ พาการส่งออกและการลงทุน ส่งผลให้การขยายตัตัว ทางเศรษฐกิจของจีนชะลอตัวลง ขณะที่การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของสหรัฐฯ ก็ปรับลดลงเนื่องจากปัญหาหน้าผาการคลัง (Fiscalal Cliff ) ที่เกิดขึ้นในช่วงต้นปี และปัญหาหนี้ชนเพดานหนี้ (วงเงิน สูงสุดที่รัฐบาลจะกู้ได้) รวมถึงมาตรการการตัดลดค่าใช้จ่ายของ อง ประเทศกระทบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ทําให้เกิดภาวะะ หยุดการทํางานของหน่วยงานราชการในช่วงไตรมาสที่ 4 เป็นเวลา ลา 17 วัน ประกอบกับในช่วงปี 2556 มีการคาดการณ์ว่าธนาคารกลาง าง สหรั ฐ ฯ อาจปรั บ ลดจํ า นวนเงิ น ที่ ใช้ ใ นการเข้ า ซื้ อ ตราสารที่ มมี​ี อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ คํ้ า ประกั น และพั น ธบั ต รรั ฐ บาลระยะยาวว ในวงเงิ น รวม 85,000 ล้ า นเหรี ย ญฯ ต่ อ เดื อ นลง และเริ่ ม ชะลออ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ (QE 4) ในช่วงปลายปี 2556 ทําให้ตลาดด เกิ ด ความกั ง วลต่ อ ภาพรวมการฟื้ น ตั ว ทางเศรษฐกิ จ อย่ า งไรก็ ดดี​ี มาตรการ QE 4 ของธนาคารกลางสหรัฐฯ ที่ดําเนินมาอย่างต่อเนื่อง อง ในปี 2556 ช่วยให้การเติบโตทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ปรับตัวดีขึ้น นอกจากนี้ การแก้ ปั ญ หาภาวะหนี้ สิ น เรื้ อ รั ง ของหลายประเทศศ ในยุ โรปเริ่ ม มี แ นวโน้ ม ดี ขึ้ น แม้ ว่ า ในช่ ว งไตรมาสที่ 1-2 ตลาดมีมี ความกังวลเรื่องการเลือกตั้งในอิตาลี หลังผู้นําคนใหม่ไม่สามารถถ จัดตั้งรัฐบาลได้ นําไปสู่การเลือกตั้งครั้งใหม่ซึ่งทําให้แผนการแก้ไไขข ปัญหาหนี้ล่าช้าออกไป ประกอบกับภาวะหนี้ในไซปรัสที่ส่งผลให้ห้ ธนาคารอั น ดั บ 2 ของประเทศต้ อ งล้ ม ละลาย แต่ ห ากมองง โดยภาพรวมแล้ ว จะเห็ น ว่ า การเติ บ โตของเศรษฐกิ จ ยุ โรปมี ก ารร หดตัวลดลง


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น ดิ บ แ ล ะ นํ้ า มั น สํ า เ ร็ จ รู ป ใ น ป 2 5 5 6 ราคานํ้ า มั น ดิ บ ในปี 2556 มี ก ารเคลื่ อ นไหวผั น ผวนตลอดทั้ ง ปี โดยราคานํ้ามันดิบดูไบเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 95–115 เหรียญสหรัฐฯ ต่ อ บาร์ เรล และมี ร าคาเฉลี่ ย ทั้ ง ปี อ ยู่ ที่ 105.45 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่อบาร์เรล ปรับลดลงจากราคาเฉลี่ยในปี 2555 ที่ 109 เหรียญสหรัฐฯ โดยราคานํ้ามันดิบในช่วงต้นปีถือว่าปรับเพิ่มขึ้นจากปลายปี 2555 เนื่องจากตัวเลขเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการผลิตของทั้งสหรัฐฯ และจีนออกมาดี ทําให้ราคานํ้ามันดิบดูไบปรับเพิ่มขึ้นไปแตะระดับ สูงสุดในรอบปีที่ 113 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในช่วงกลางเดือน กุมภาพันธ์ อย่างไรก็ตามราคานํ้ามันยังคงได้รับผลกระทบจากปัญหา หน้าผาการคลังและปัญหาหนี้ชนเพดานหนี้ของสหรัฐฯ ที่คาดว่า จะชนเพดาน และมาตรการตัดลดค่าใช้จ่ายของประเทศที่หลายฝ่าย มองว่าจะส่งผลเสียต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ขณะเดียวกัน การเข้ารับตําแหน่งอย่างเป็นทางการของผู้นําคนใหม่ของจีนในเดือน มีนาคม ทําให้ราคานํ้ามันปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากนโยบาย ทางเศรษฐกิจแนวใหม่ที่ลดการส่งออกและการลงทุนจากต่างชาติ ส่งผลให้ตลาดเกิดความกังวลว่านโยบายใหม่น้ี จะทําให้ความต้องการ ใช้ นํ้ า มั น ของประเทศผู้ บ ริ โ ภคนํ้ า มั น หลั ก อั น ดั บ ที่ 2 ของโลก ปรั บ ตั ว ลดลง ด้ า นปั ญ หาหนี้ ใ นยุ โรป ก็ ยั ง คงสร้ า งแรงกดดั น ต่ อ ราคานํ้ามันในช่วงต้นปี โดยเฉพาะความไม่แน่นอนทางการเมืองของ ประเทศอิตาลี ที่ผู้ชนะการเลือกตั้งในช่วงเดือนมีนาคมไม่สามารถ จัดตั้งรัฐบาลได้ ทําให้ต้องมีการจัดการเลือกตั้งครั้งใหม่ขึ้นภายหลัง

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

035

ส่ ง ผลกระทบให้ ค วามต่ อ เนื่ อ งของการพิ จ ารณาแผนช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบปั ญ หาหนี้ ใ นภู มิ ภ าคต้ อ งล่ า ช้ า ออกไปด้ ว ย นอกจากนี้ การล้มละลายของธนาคารที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของไซปรัสในช่วง ปลายไตรมาสที่ 1 อันเนื่องมาจากภาวะหนี้ของประเทศทําให้ตลาด เกิดความกังวลอย่างมากว่าปัญหาหนี้ในภูมิภาคจะบานปลาย ในไตรมาสที่ 2 ราคานํ้ามันดิบได้รับแรงกดดันอย่างหนักจากสภาพ เศรษฐกิจโลกที่อ่อนตัวลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะหนี้ในยุโรปที่ รุนแรงขึ้นในไซปรัสและเศรษฐกิจของจีนที่แย่ลง จนทําให้ทั้งกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF ) และองค์การเพื่อความร่วมมือทาง เศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ออกมาปรับลดคาดการณ์การเติบโต ทางเศรษฐกิจของปี 2556 ลงเหลือร้อยละ 7.7-7.8 ซึ่งเศรษฐกิจจีนที่ แย่ลงนี้ ยังส่งผลต่อเนื่องให้ IMF และธนาคารโลกปรับลดคาดการณ์ GDP โลกปี 2556 ลงเหลือร้อยละ 3.3 และ 2.4 ตามลําดับ นอกจากนี้ การที่ มี ข่ า วออกมาว่ า ธนาคารกลางสหรั ฐ ฯ ประกาศจะปรั บ ลด จํ า นวนเงิ น ที่ ใช้ ใ นการเข้ า ซื้ อ พั น ธบั ต รรั ฐ บาลมู ล ค่ า 85,000 ล้านเหรียญฯ ต่อเดือนลงก่อนกําหนด ทําให้ตลาดเกิดความกังวล ต่อภาพรวมของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่จะกระทบทําให้ความต้องการใช้ นํ้ า มั น โลกปรั บ ตั ว ลดลง ซึ่ ง ในช่ ว งไตรมาสที่ 2 นี้ 3 สถาบั น พลังงานหลักของโลกคือ สํานักงานพลังงานสากล (IEA) องค์การข้อมูล ข่าวสารด้านพลังงาน (EIA) และองค์การประเทศผู้ส่งนํ้ามันเป็น สินค้าออก (OPEC) ต่างออกมาปรับลดคาดการณ์ความต้องการใช้ นํ้ามันโลกในปี 2556 ลงอย่างต่อเนื่องด้วย


036

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

แต่ในไตรมาสที่ 3 ราคานํ้ามันกลับปรับตัวพุ่งสูงขึ้นมาก เนื่องจาก เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในกลุ่มประเทศผู้ผลิตนํ้ามันหลักของโลก ในหลายประเทศ ได้แก่ การใช้อาวุธเคมีในซีเรียซึ่งสร้างความกังวล ต่อการใช้กําลังทางทหารเข้าแทรกแซงซีเรียโดยสหรัฐฯ การประท้วง ปิ ด ท่ า ขนส่ ง นํ้ า มั น ดิ บ ในลิ เ บี ย ซึ่ ง ทํ า ให้ กํ า ลั ง การผลิ ต นํ้ า มั น ดิ บ ลดลงมาอยู่ ที่ ป ระมาณ 0.55 ล้ า นบาร์ เรลต่ อ วั น ในไตรมาสที่ 3 จากประมาณ 1.2 ล้านบาร์เรลต่อวันในช่วงเดือนมิถุนายน เหตุการณ์ ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ร ะหว่ า งซู ด านเหนื อ และซู ด านใต้ ซึ่ ง อาจนํ า ไปสู่ ก ารปิ ด ท่ อ ขนส่ ง นํ้ า มั น ดิ บ การปะทะกั น ระหว่ า ง กลุ่มผู้สนับสนุนอดีตประธานาธิบดีและทหารในอียิปต์ รวมไปถึง เหตุการณ์การระเบิดท่อนํ้ามันดิบในอิรัก และการขโมยนํ้ามันจาก ท่อขนส่งในไนจีเรีย ล้วนส่งผลให้อปุ ทานนํา้ มันดิบโลกเกิดความตึงตัว นอกจากนี้ในช่วงไตรมาสที่ 3 ยังเป็นช่วงปิดซ่อมบํารุงประจําปี ของแหล่ ง ผลิ ต นํ้ า มั น ดิ บ ในทะเลเหนื อ ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ป ริ ม าณ กํ า ลั ง การผลิ ต นํ้ า มั น ดิ บ ในบริ เวณดั ง กล่ า วปรั บ ลดลง ด้ า นภาวะ เศรษฐกิจโลก ทั้งสหรัฐฯ สหภาพยุโรป และจีนในไตรมาสนี้มีแนวโน้ม ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น โดยตั ว เลขภาคการผลิ ต และภาคบริ ก ารของทั้ ง สามภู มิ ภ าคโดยรวม ปรั บ ตั ว ในทิ ศ ทางที่ ดี ขึ้ น อย่ า งมากจาก ไตรมาสก่อนหน้า อย่ า งไรก็ ต าม ราคานํ้ า มั น ดิ บ ไม่ ไ ด้ ยื น อยู่ ที่ ร ะดั บ สู ง นานนั ก เพราะเหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบในซี เ รี ย และอี ยิ ป ต์ ค ลี่ ค ลายลง ในช่วงปลายเดือนกันยายน ส่งผลให้ตลาดคลายความกังวลเรื่อง อุ ป ทานนํ้ า มั น ดิ บ ในตะวั น ออกกลางที่ ตึ ง ตั ว ลงได้ นอกจากนี้ ราคานํ้ามันดิบยังปรับตัวลดลงต่อเนื่องในช่วงต้นของไตรมาสที่ 4 หลังสหรัฐฯ ต้องประสบกับปัญหาการขาดแคลนงบประมาณรายจ่าย ของประเทศ ซึ่งส่งผลให้หน่วยงานราชการของสหรัฐฯ จําเป็นต้อง ปิดตัวลงชั่วคราวเป็นเวลา 17 วัน และทําให้ข้าราชการต้องหยุดงาน กว่า 8 แสนคน ขณะที่การเจรจาขยายเพดานหนี้ของสหรัฐฯ ที่ครบ กํ า หนดในช่ ว งกลางเดื อ นตุ ล าคม ก็ ยั ง ไม่ ส ามารถหาข้ อ สรุ ป ได้ และทําให้สหรัฐฯ มีความเสี่ยงที่จะต้องผิดนัดชําระหนี้เป็นครั้งแรก ในประวัติศาสตร์ โดยเหตุการณ์นี้สร้างความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจ ของสหรัฐฯ และกระทบต่อราคานํ้ามันดิบเป็นอย่างมาก แต่เหตุการณ์ ความไม่ ส งบในประเทศลิ เ บี ย ที่ ป ะทุ รุ น แรงขึ้ น อี ก ครั้ ง ส่ ง ผลให้ การผลิ ต และส่ ง ออกนํ้ า มั น ดิ บ ของลิ เ บี ย ปรั บ ลดลงสู่ ร ะดั บ ตํ่ า สุ ด ในรอบปี ขณะที่ ก ารเจรจาเพื่ อ หาข้ อ สรุ ป เรื่ อ งปั ญ หานิ ว เคลี ย ร์

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ระหว่างอิหร่านกับชาติมหาอํานาจตะวันตก 6 ชาติ ในช่วงต้นเดือน พฤศจิกายน ดูจะไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน จึงเป็นเหตุให้ราคานํ้ามัน ปรั บ ตั ว เพิ่ ม ขึ้ น อี ก ครั้ ง แม้ ใ นภายหลั ง การเจรจาเรื่ อ งโครงการ นิ ว เคลี ย ร์ อิ ห ร่ า นจะประสบความสํ า เร็ จ ด้ ว ยข้ อ ตกลงว่ า ด้ ว ย การควบคุ ม การสะสมแร่ ยู เรเนี ย มของอิ ห ร่ า น เพื่ อ แลกกั บ การ ผ่อนปรนมาตรการควํ่าบาตรเป็นเวลา 6 เดือน แต่หลายฝ่ายยังคง มองว่าการบรรลุข้อตกลงดังกล่าวถือว่ายังอยู่ในขั้นตอนเบื้องต้น และ การที่อุปทานนํ้ามันดิบจากอิหร่านจะกลับมาอยู่ในระดับเดิมที่ราว 2.6 ล้านบาร์เรลต่อวันได้นั้น คงต้องใช้เวลาอย่างน้อย 6-12 เดือน ราคานํ้ามันสําเร็จรูปในปี 2556 ปรับตัวลดลงตามราคานํ้ามันดิบ โดยส่ ว นต่ า งระหว่ า งนํ้ า มั น ดิ บ ดู ไ บกั บ นํ้ า มั น เบนซิ น นํ้ า มั น ก๊ า ด นํ้ามันอากาศยาน และนํ้ามันเตา ปรับลดลงมากเมื่อเทียบกับปี 2555 โดยส่วนต่างราคานํ้ามันที่ลดลงนี้ เป็นผลกระทบมาจากการที่ค่าเงิน ของหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียที่อ่อนตัวลงอย่างมาก กดดัน ให้ ป ระเทศผู้ นํ า เข้ า นํ้ า มั น สํ า เร็ จ รู ป ได้ แ ก่ อิ น โดนี เซี ย นํ า เข้ า นํ้ามันลดลง ขณะที่ค่าเงินที่อ่อนตัวลงส่งเสริมให้ประเทศผู้ส่งออก นํ้ า มั น สํ า เร็ จ รู ป รายใหญ่ ได้ แ ก่ อิ น เดี ย ส่ ง ออกนํ้ า มั น สํ า เร็ จ รู ป เพิ่ ม มากขึ้ น นอกจากนั้ น ความต้ อ งการใช้ ใ นประเทศผู้ บ ริ โ ภค นํ้ามันหลักอย่างประเทศจีนที่ลดลง ส่งผลให้มีการส่งออกนํ้ามัน สําเร็จรูปจากจีนเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับการส่งออกนํ้ามันสําเร็จรูป จากยุ โ รปมาขายยั ง เอเชี ย ก็ อ ยู่ ใ นระดั บ สู ง ในปี นี้ อย่ า งไรก็ ดี ส่ ว นต่ า งระหว่ า งนํ้ า มั น ดิ บ ดู ไ บกั บ นํ้ า มั น ดี เซลปรั บ ตั ว เพิ่ ม ขึ้ น เล็กน้อย หลังได้รับแรงหนุนจากความต้องการนําเข้าของประเทศใน แถบตะวันออกกลางและแอฟริกาตะวันตกทีเ่ พิม่ มากขึน้ หนุนให้ราคา นํ้ามันดีเซลในเอเชียสูงขึ้น

ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น สํ า เ ร็ จ รู ป ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น ป 2 5 5 6 ภาวะเศรษฐกิจไทย ปี 2556 ในช่วงครึ่งปีแรกมีการขยายตัวในเกณฑ์ดี จากแรงสนับสนุนในภาคการบริโภคที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ภาคการลงทุนมีการขยายตัวขึ้นเล็กน้อยจากแรงส่งของภาค อุตสาหกรรมรถยนต์ที่มีการเร่งผลิตสินค้าเพื่อตอบสนองอุปสงค์ ภายใต้โครงการรถยนต์คันแรก ส่วนภาคบริการยังสามารถขยายตัว ได้ ใ นระดั บ ดี อย่ า งไรก็ ต ามในช่ ว งครึ่ ง ปี ห ลั ง เศรษฐกิ จ ไทยเริ่ ม ส่ ง สั ญ ญาณการชะลอตั ว มากขึ้ น โดยการบริ โ ภคภาคเอกชนได้ ปรับตัวลง จากผลกระทบของฐานการบริโภคทีส่ งู ขึน้ จากการเร่งบริโภค ในช่ ว งก่ อ นหน้ า ส่ ว นการลงทุ น ในภาคเอกชนและภาครั ฐ บาล


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

+ 6 % ę 1 6 ' D ę NJ 6 %5 .N 6 A 'H '= D ' 4 A , Đ ¡¡¡ B)4 ¡¡¢

Ě6 /< ę%

NJ6%5 A 8

NJ6%5 16 6,&6

2555

NJ6%5 9A )

037

NJ6%5 A 6

2556

900,000 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000

ธ.ค.

พ.ย.

ต.ค.

ก.ย.

ส.ค.

ก.ค.

มิ.ย.

พ.ค.

เม.ย.

มี.ค.

ก.พ.

ม.ค.

ธ.ค.

พ.ย.

ต.ค.

ก.ย.

ส.ค.

ก.ค.

มิ.ย.

พ.ค.

เม.ย.

มี.ค.

ก.พ.

ม.ค.

0

บาร์เรลต่อวัน

ที่มา: สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน

เริ่มส่งสัญญาณชะลอตัวลง หลังจากที่ภาครัฐมีความล่าช้าในการ เบิกจ่ายงบประมาณในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน ขณะเดียวกัน ภาคการส่ ง ออกยั ง ไม่ มี สั ญ ญาณการฟื้ น ตั ว ที่ ชั ด เจน เนื่ อ งจาก อุปสงค์จากประเทศคู่ค้าหลักยังอยู่ในสภาวะซบเซาจากแรงกดดัน ของสภาวะเศรษฐกิ จ โลกที่ ยั ง ไม่ ส ามารถฟื้ น ตั ว ได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ จากปั จ จั ย ข้ า งต้ น ส่ ง ผลให้ อั ต ราการขยายตั ว ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ มวลรวมในประเทศในปี 2556 อยู่ที่ระดับร้อยละ 2.9 ปรับตัวลดลง จากการขยายตั ว ในปี 2555 ที่ อ ยู่ ที่ ร ะดั บ ร้ อ ยละ 6.5 (รายงาน ภาวะเศรษฐกิจไทย สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ 17 กุมภาพันธ์ 2557) สํ า หรั บ ความต้ อ งการใช้ นํ้ า มั น สํ า เร็ จ รู ป ภายในประเทศโดยรวม ในปี 2556 ขยายตั ว ประมาณร้ อ ยละ 3 นํ า โดยการขยายตั ว ของ นํ้ า มั น เบนซิ น ที่ ร้ อ ยละ 7 เนื่ อ งจากปริ ม าณรถยนต์ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จากมาตรการคืนเงินภาษีรถคันแรกของภาครัฐ โดยในครึ่งแรกของ ปี 2556 ปริมาณยอดขายรถยนต์นั่งและรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ใน ประเทศมีปริมาณสูงถึง 690,497 คัน โดยปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 29 เทียบกับครึง่ แรกของปี 2555 สําหรับนํา้ มันดีเซลปรับเพิม่ ขึน้ ทีร่ อ้ ยละ 2 เนื่ อ งจากรั ฐ บาลยั ง คงควบคุ ม ราคาขายปลี ก นํ้ า มั น ดี เซลที่ ร ะดั บ 30 บาทต่อลิตร โดยการขยายเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิต และการใช้กลไกกองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิง ในขณะที่ปริมาณการใช้นํ้ามัน

อากาศยานปรับเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9 จากปริมาณนักท่องเทีย่ วทีป่ รับตัวสูงขึน้ นอกจากนี้นํ้ามันเตาหดตัวร้อยละ 8 เนื่องจากภาคอุตสาหกรรมและ โรงงานไฟฟ้าใช้เชื้อเพลิงทดแทนประเภทอื่น เช่น ก๊าซธรรมชาติ ในปี 2556 โรงกลั่ น ภายในประเทศกลั่ น นํ้ า มั น ในปริ ม าณเฉลี่ ย 1,077,977 บาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ที่ 976,745 บาร์เรล ต่อวัน เนื่องจากการฟื้นตัวของสภาพเศรษฐกิจโดยรวม ส่งผลให้ ปริมาณความต้องการใช้นํ้ามันในประเทศปรับสูงขึ้น ทั้งนี้ ไทยออยล์ ยังคงมีสัดส่วนการกลั่นเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 28 ของปริมาณการกลั่นรวมของทั้งประเทศ

ภ า ว ะ ต ล า ด อ ะ โ ร ม า ติ ก ส ใ น ป 2 5 5 6 ตลาดอะโรมาติกส์ในปี 2556 มีความผันผวนค่อนข้างมาก เนื่องจาก อุปสงค์และอุปทานอยู่ในภาวะไม่สมดุลกันตลอดทั้งปี โดยตลาด พาราไซลีนในช่วงครึ่งแรกของปีอยู่ในภาวะค่อนข้างตึงตัว เนื่องจาก ความต้ อ งการโพลี เ อสเตอร์ ใ นจี น ซึ่ ง เป็ น อุ ต สาหกรรมปลายนํ้ า ของพาราไซลี น ปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น มากถึ ง ร้ อ ยละ 7.7 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ก่ อ นหน้ า ตามการขยายตั ว ของเศรษฐกิ จ จี น ซึ่ ง เป็ น ผู้ ที่ นํ า เข้ า สารพาราไซลีนรายใหญ่ที่สุดของโลก ในขณะที่มีอุปทานพาราไซลีน เพิ่มขึ้นจากโรงอะโรมาติกส์ใหม่ของ HC Petrochem ที่ประเทศ


ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

038

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

.5 .Ę + 'è % 6 6 ' )5I 1

C ' )5I NJ 6 %5 $ 6 & D ' 4 A , D Đ ¡ ¡ ¢

9% 6 6 13%

E &11&)Ĝ

A1.C Ę

"õ 9 9 C ) 1) A %8 1)

17% E116'Ĝ"õ 9

. 6'Ĝ ďC 'A)9&%

28%

16% 17%

ที่มา: สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน

เกาหลี ใ ต้ กํ า ลั ง การผลิ ต 800,000 ตั น ต่ อ ปี เ ท่ า นั้ น ประกอบกั บ โรงอะโรมาติกส์แห่งใหม่ Tenglong ที่ประเทศจีน กําลังการผลิต 800,000 ตันต่อปี ได้เลื่อนดําเนินการผลิตออกไปยังช่วงครึ่งหลัง ของปี ส่ ง ผลให้ ต ลาดเพิ่ ม ความกั ง วลว่ า อุ ป ทานจะตึ ง ตั ว มากขึ้ น อย่ า งไรก็ ดี ราคาสารพาราไซลี น ปรั บ ตั ว ลดลงในช่ ว งปลาย ไตรมาสที่ 2 เนื่ อ งจากผู้ ผ ลิ ต พี ที เ อรายใหญ่ ห ลายโรงในจี น เช่ น โรงงาน Hengli โรงงาน Yisheng และ โรงงาน Yuandong ซึ่ ง ปกติ แ ล้ ว เป็ น ผู้ ซื้ อ สารพาราไซลี น เพื่ อ เป็ น สารตั้ ง ต้ น ในการ ผลิ ต สาร PTA กลั บ ออกมาเทขายสารพาราไซลี น ในตลาด หลั ง มี ก ารปรั บ ลดกํ า ลั ง การผลิ ต ส่ ง ผลให้ ต ลาดเกิ ด ความกั ง วล ต่ อ สถานการณ์ ค วามต้ อ งการใช้ โ พลี เ อสเตอร์ ข องจี น และทํ า ให้ การซื้อขายในตลาดไม่คึกคักเท่าที่ควร

ทําให้อุปทานพาราไซลีนอยู่ในสภาวะตึงตัวมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ดี ภาวะตึงตัวของอุปทานสารพาราไซลีนเริ่มปรับตัวลดลงในช่วงปลาย ไตรมาสที่ 4 หลังโรงอะโรมาติกส์แห่งใหม่ในจีน 2 แห่งของบริษัท Tenglong กําลังการผลิตรวม 1,600,000 ตันต่อปี และโรงอะโรมาติกส์ TPPI ที่อินโดนีเซีย ซึ่งมีกําลังการผลิต 550,000 ตันต่อปี เริ่มดําเนิน การผลิต อย่างไรก็ตาม ภาพรวมตลาดพาราไซลีนในปี 2556 ยังคง ดีกว่าปีก่อนหน้า เนื่องจากส่วนต่างราคาสารพาราไซลีนและนํ้ามัน เบนซิน 95 ปรับเพิ่มขึ้นกว่า 20 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เมื่อเทียบกับ ปีก่อนหน้า สําหรับตลาดเบนซีนในปี 2556 ได้รับแรงสนับสนุนต่อเนื่องจากภาวะ อุปทานตึงตัวในสหรัฐฯ เนื่องจากโรงโอเลฟินส์หันไปใช้สารตั้งต้นที่ เบาขึ้น เช่น อีเทน โพรเพน และบิวเทน ทําให้มีปริมาณสารเบนซีน ออกมาลดลง ประกอบกับจีนยังมีการนําเข้าสารเบนซีนเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง หลังจากที่มีโรงสไตรีนโมโนเมอร์โรงใหม่ในจีนหลายโรง เริ่ ม ดํ า เนิ น การผลิ ต ในปี ก่ อ นหน้ า นอกจากนี้ ส่ ว นต่ า งราคาของ สารสไตรีนโมโนเมอร์และเบนซีนที่อยู่ในระดับสูงในปีนี้ เป็นแรงจูงใจ ให้ผู้ผลิตสไตรีนโมโนเมอร์เพิ่มกําลังการผลิต ทําให้มีความต้องการ สารเบนซีนเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ส่วนต่างราคาของสารเบนซีนและนํ้ามัน เบนซิน 95 ปรับเพิ่มขึ้นมากกว่าปีก่อนถึง 130 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน สําหรับตลาดโทลูอีน ได้รับแรงสนับสนุนจากตลาดพาราไซลีนที่ยังคง สดใส ทําให้มีความต้องการนําสารโทลูอีนไปผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่าเป็น พาราไซลีนเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ดี สารโทลูอีนคงคลังในจีนที่ปรับตัว เพิ่มขึ้นสูงที่สุดในรอบ 3 ปี ที่ 170,000 ตันในช่วงไตรมาสที่ 3 เป็นเหตุ ให้จีนซึ่งเป็นผู้นําเข้ารายใหญ่ลดการนําเข้าสารโทลูอีนลง และกดดัน ให้ส่วนต่างราคาสารโทลูอีนและเบนซิน 95 ในปีนี้ปรับเพิ่มขึ้นได้ ไม่มากนักเมื่อเทียบกับสารอะโรมาติกส์ชนิดอื่นๆ

ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น ห ล อ ลื่ น พื้ น ฐ า น แ ล ะ ย า ง ม ะ ต อ ย สํ า หรั บ ในช่ ว งครึ่ ง ปี ห ลั ง ตลาดพาราไซลี น กลั บ มาคึ ก คั ก อี ก ครั้ ง ใ น ป 2 5 5 6 ในช่วงไตรมาสที่ 3 เนื่องจากได้รับแรงสนับสนุนจากการที่ผู้ผลิต พีทีเอหลายโรงในจีนปรับเพิ่มกําลังการผลิต เนื่องจากส่วนต่างราคา สารพีทีเอและพาราไซลีนที่ยังอยู่ในระดับสูง นอกจากนี้โรงพาราไซลีน บางโรง เช่น HC Petrochem และ Lotte Chemical ในประเทศ เกาหลีใต้ปรับลดกําลังการผลิตลง เนื่องจากราคาสารมิกซ์ไซลีนอยู่ ในระดับสูงจนกระทั่งไม่สามารถนําเข้ามาผลิตเป็นสารพาราไซลีนได้

สภาพตลาดนํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐานในปี 2556 ปรั บ ตั ว ลดลงจาก ปี 2555 โดยในช่วงต้นปี 2556 ตลาดนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานภายใน ภู มิ ภ าค ถู ก กดดั น จากปั จ จั ย พื้ น ฐานของนํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐาน ที่อ่อนตัวลง โดยอุปสงค์ในภูมิภาคชะลอตัวนับตั้งแต่วันหยุดยาวใน ช่วงปีใหม่และตรุษจีน ประกอบกับมีการแข่งขันทางด้านราคาอย่าง รุนแรงระหว่างนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานเกรดที่สูงกว่า (กรุ๊ป 2) ที่ลด


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ราคาลงมาแข่ ง กั บ นํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐานของบริ ษั ท ฯ (กรุ๊ ป 1) อย่ า งต่ อ เนื่ อ งมาจากปลายปี 2555 อย่ า งไรก็ ต าม ในช่ ว งปลาย ไตรมาสที่ 1 เป็นต้นมา สภาพตลาดนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานได้ปรับตัว ดีขึ้นจากอุปทานที่ปรับลดลง จากการลดกําลังการผลิตของโรงกลั่น นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานในประเทศจีน ขณะที่อุปสงค์ภายในภูมิภาค ปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ นํ า ไปผลิ ต เป็ น นํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น สํ า หรั บ ใช้ ใ นภาค การเกษตรในช่ ว งฤดู ก ารเปลี่ ย นถ่ า ยนํ้ า มั น เครื่ อ ง ต่ อ มาในช่ ว ง กลางปี จีนซึ่งเป็นผู้นําเข้ารายใหญ่ของภูมิภาคได้กลับเข้ามาในตลาด อีกครั้ง ขณะที่อุปทานมีความตึงตัวอย่างต่อเนื่องจากการที่โรงกลั่น นํ้ามันหล่อลื่นในภูมิภาคได้ปิดซ่อมบํารุงตั้งแต่ต้นปี ส่งผลให้ราคา นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานปรับตัวสูงขึ้น ทั้งนี้ในช่วงสิ้นปีคาดว่าอุปทาน นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานจะปรับลดลงอีกครั้งจากการที่ผู้เล่นในตลาด พยายามรักษาระดับนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานคงคลังให้อยู่ที่ระดับตํ่า ตลาดยางมะตอยในปี 2556 ปรับตัวดีขึ้นจากปี 2555 โดยในช่วง ต้นปี 2556 ตลาดได้รับแรงหนุนจากอุปสงค์ที่ลดลงของผู้นําเข้าหลัก ได้แก่ จีน เวียดนาม และอินโดนีเซีย หลังสิ้นสุดโครงการสร้างถนน ประกอบกับการอนุมัติงบประมาณใหม่สําหรับโครงการสร้างระบบ โครงสร้างพื้นฐานที่ล่าช้า ส่งผลให้ผู้ประกอบการมีสินค้าคงคลังอยู่ ในระดับสูง นอกจากนี้อุปสงค์ของจีนซึ่งเป็นผู้เล่นหลักในตลาด ได้ปรับลดจากปีก่อนหน้าลงมาก สืบเนื่องจากนโยบายรัดเข็มขัด ของรั ฐ บาลจี น ส่ ง ผลให้ ธ นาคารมี ค วามเข้ ม งวดขึ้ น ในการปล่ อ ย เงินกู้ให้กับผู้นําเข้าและการอนุมัติโครงการสร้างถนน อย่างไรก็ดี อุ ป สงค์ ข องยางมะตอยในภู มิ ภ าคได้ ป รั บ เพิ่ ม ขึ้ น ในช่ ว งปลาย ไตรมาสที่ 1 เป็ น ต้ น มา เพื่ อ เพิ่ ม ปริ ม าณสํ า รองคงคลั ง สํ า หรั บ การสร้างและซ่อมแซมถนนในช่วงหน้าร้อนที่จะมาถึง โดยเฉพาะ จากผู้ เ ล่ น หลั ก ในตลาดอย่ า งอิ น โดนี เซี ย ซึ่ ง มี ค วามต้ อ งการ ใช้ยางมะตอยเพื่อสร้างถนนภายในประเทศ ส่วนในช่วงปลายปี คาดว่ า อุ ป สงค์ ย างมะตอยในภู มิ ภ าคมี แ นวโน้ ม ที่ ดี จ ากการสร้ า ง ถนนในช่วงฤดูร้อนของประเทศออสเตรเลียและการเร่งสร้างถนน ก่อนปิดวันหยุดปีใหม่ในประเทศอินโดนีเซียและเวียดนาม

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

039

เศรษฐกิ จ โลกที่ ส่ ง สั ญ ญาณชะลอตั ว จากวิ ก ฤตหนี้ ยุ โ รปและ เศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่อ่อนแอ รวมทั้งราคาของวัตถุดิบที่ปรับตัวลดลง อย่างต่อเนื่อง ทําให้อุตสาหกรรมโดยรวมมีการผลิตลดลง โดยในช่วง ไตรมาสที่ 2 ค่าเงินบาทของไทยมีความผันผวนสูง ค่าเงินบาทที่แข็งขึ้น ทําให้การส่งออกของประเทศลดลงอย่างเห็นได้ชัดนั้น ส่งผลกระทบ โดยตรงต่อผู้ส่งออก ทางด้านอุปทานของสารทําละลาย ในปี 2556 ได้มีผู้ผลิตในประเทศต่างๆ เช่น จีน เกาหลี สิงคโปร์ ไต้หวัน เพิ่ม กํ า ลั ง การผลิ ต มากขึ้ น ทํ า ให้ อุ ป ทานมี ม ากกว่ า อุ ป สงค์ ที่ น้ อ ยลง เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจทั่วโลก ในช่วงครึ่งปีหลัง อุปสงค์ของผลิตภัณฑ์สารทําละลายยังคงลดลง อย่างต่อเนื่อง ในขณะที่อุปทานจากจีนและเกาหลี เข้ามาในตลาด ทางประเทศแถบตะวันออกเฉียงใต้มากขึ้น เนื่องจากความต้องการ ในจีนมีน้อยลงทําให้มีการแข่งขันทางด้านราคาขายมากขึ้น และ ในช่วงไตรมาสที่ 3 เกิดอุทกภัยในบริเวณภาคกลางตอนล่างและ ภาคตะวันออก ทําให้หลายบริษัทที่ใช้ผลิตภัณฑ์สารทําละลายต้อง ปิดชั่วคราวทําให้มีการใช้ผลิตภัณฑ์น้อยลง ด้วยเหตุนี้ ความต้องการ ใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ารทํ า ละลายในประเทศโดยรวมลดลงประมาณ ร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับปี 2555

ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ข น ส ง นํ้ า มั น ใ น ป 2 5 5 6 ตลาดเรือขนส่งนํ้ามันและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมในปี 2556 โดยรวม ยั ง คงเติ บ โตอยู่ ใ นเกณฑ์ ดี จ ากเศรษฐกิ จ ในภู มิ ภ าคที่ ยั ง คงเติ บ โต ทําให้ความต้องการขนส่งยังมีอย่างต่อเนื่อง อัตราการใช้งานของ เรือขนส่งนํ้ามัน ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และปิโตรเคมีของบริษัทฯ อยู่ที่ร้อยละ 85 แต่ปริมาณเรือที่เพิ่มขึ้นในตลาดได้กดดันค่าขนส่ง ให้อยู่ในระดับตํ่า นอกจากนั้นเหตุการณ์นํ้ามันรั่วที่จังหวัดระยอง ในเดือนกรกฎาคม ส่งผลให้การถ่ายโอนนํ้ามันจากเรือหนึ่งไปอีก เรือหนึ่ง (Ship To Ship ) ในบริเวณดังกล่าวต้องหยุดชั่วคราว กระทบ ถึงธุรกิจ Ship to Ship ของบริษัทฯ แต่ก็สามารถกลับมาดําเนินงาน ตามปกติได้ในเดือนตุลาคม

ภ า ว ะ ต ล า ด ส า ร ทํ า ล ะ ล า ย ใ น ป 2 5 5 6

ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ อ ท า น อ ล ใ น ป 2 5 5 6

สํ า หรั บ ในช่ ว งไตรมาสที่ 1 อุ ต สาหกรรมรถยนต์ ยั ง คงมี ก าร เติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจากนโยบายรถคั น แรกของรั ฐ บาล ทํ า ให้ มี การใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ารทํ า ละลายเพิ่ ม มากขึ้ น แต่ ภ าพรวมของ

ในปี 2556 ปริ ม าณความต้ อ งการใช้ เ อทานอลสํ า หรั บ ผสมเป็ น เชื้ อ เพลิ ง แก๊ ส โซฮอล์ ภ ายในประเทศปรั บ ตั ว เพิ่ ม สู ง ขึ้ น มาก อย่ า งต่ อ เนื่ อ งตั้ ง แต่ ช่ ว งต้ น ปี 2556 ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากมาตรการ


040

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

ของกระทรวงพลังงานที่ยกเลิกการขายนํ้ามันเบนซินไร้สารตะกั่ว ULG91 ทําให้ปริมาณการใช้เอทานอลในช่วงครึ่งปีแรกปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยมียอดความต้องการใช้เอทานอลเฉลี่ยวันละ 2.46 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 95.24 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2555 นอกจากนี้ การขยายตัวจํานวนมากของสถานีบริการนํ้ามันแก๊สโซฮอล์ E 20 และ E 85 และจํานวนรถยนต์ที่ออกใหม่สามารถใช้นํ้ามันแก๊สโซฮอล์ E 20 และ E 85 ได้ ส่ ง ผลให้ ย อดขายนํ้ า มั น แก๊ ส โซฮอล์ E 20 และ E 85 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอย่างมากตามด้วย ทําให้คาดว่าทั้งปีจะมี ยอดความต้ อ งการใช้ เ อทานอลเฉลี่ ย วั น ละประมาณ 2.6-2.7 ล้านลิตรต่อวัน ในปี 2556 มี โรงงานเอทานอลก่ อ สร้ า งเพิ่ ม ขึ้ น 2 แห่ ง มี กํ า ลั ง การผลิตเพิ่มขึ้นอีก 0.65 ล้านลิตรต่อวัน ทําให้ในปี 2556 มีกําลัง การผลิ ต รวมทั้ ง หมด 3.95 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น แบ่ ง เป็ น โรงงาน เอทานอลจากนํ้าอ้อย 0.23 ล้านลิตรต่อวัน จากกากนํ้าตาล 1.74 ล้านลิตรต่อวัน จากมันสําปะหลัง 0.88 ล้านลิตรต่อวัน จากทั้งกาก นํ้าตาลและมันสําปะหลัง 1.1 ล้านลิตรต่อวัน และจากการที่กระทรวง พลังงานมีนโยบายกําหนดให้บริษัทนํ้ามันรับซื้อเอทานอลที่ผลิต ทั้งจากกากนํ้าตาลเป็นสัดส่วนร้อยละ 62 และจากมันสําปะหลัง ร้อยละ 38 อีกทั้งมีผู้ผลิตเอทานอลจากกากนํ้าตาลส่วนหนึ่งได้มี สัญญาการขายเอทานอลเพื่อส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศตั้งแต่ ช่วงปลายปี 2555 ประกอบกับโรงงานเอทานอลจากมันสําปะหลัง บางแห่งไม่สามารถผลิตได้อย่างต่อเนื่อง และบางแห่งมีปัญหาภายใน ต้องหยุดการผลิตชั่วคราวเพื่อปรับปรุงเครื่องจักร ส่งผลให้ในช่วง ครึ่งปีแรกมีการตึงตัวของอุปทานของเอทานอลโดยรวมอย่างมาก แต่สถานการณ์ก็ได้ปรับตัวคลี่คลายลงในไตรมาสที่ 3 และ 4 ของปี ราคาเอทานอลในปี 2556 มีการปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอย่างมากเมื่อ เทียบกับปี 2555 โดยเฉพาะอย่างยิ่งเอทานอลที่ผลิตจากมันสําปะหลัง ซึ่งได้รับประโยชน์จากนโยบายของกระทรวงพลังงาน ที่กําหนดให้ บริษัทนํ้ามันรับซื้อเอทานอลที่ผลิตทั้งจากกากนํ้าตาลเป็นสัดส่วน ร้อยละ 62 และจากมันสําปะหลังร้อยละ 38 โดยราคาเอทานอลจาก มันสําปะหลังมีราคาสูงขึ้นมากอยู่ระหว่าง 26-31 บาทต่อลิตร ส่วน เอทานอลจากกากนํ้าตาลมีราคาอยู่ระหว่าง 22-26 บาทต่อลิตร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

(Independent Power Producer ) และการเปิดรับซื้อไฟฟ้าพลังงาน ทดแทนแบบ Solar Rooftop สําหรับการประมูล IPP 2556 ที่ประกาศ ผลในเดื อ นมิ ถุ น ายนที่ ผ่ า นมานั้ น บริ ษั ท กั ล ฟ์ เอนเนอร์ จี้ ดี เวลลอปเมนท์ จํ า กั ด เป็ น ผู้ ช นะการประมู ล ทั้ ง หมด จํ า นวน 5,000 เมกะวัตต์ จํานวน 2 สัญญา โดยเสนอค่าไฟฟ้าตํ่าสุดที่ 4.2371 บาทต่อหน่วย เมื่อเทียบกับผู้ประมูลอีก 2 รายได้แก่ GLOW และ EGCO โดยทยอยก่ อ สร้ า งและเริ่ ม จํ า หน่ า ยไฟฟ้ า ตั้ ง แต่ ปี 2564 เป็นต้นไป ในส่วนของ Solar Rooftop นั้น มีการรับซื้อที่ขนาดกําลังการผลิต ติ ด ตั้ ง รวม 200 เมกะวั ต ต์ แบ่ ง เป็ น บ้ า นอยู่ อ าศั ย ที่ มี ข นาดกํ า ลั ง การผลิตติดตัง้ 0-10 กิโลวัตต์ รวมทัง้ สิน้ 100 เมกะวัตต์ และอาคารธุรกิจ ขนาดเล็ก-กลาง-ใหญ่ ที่มีกําลังการผลิตติดตั้ง 10-1,000 กิโลวัตต์ อีก 100 เมกะวัตต์ โดยมีราคารับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าตามอัตรา รับซื้อไฟฟ้าตามต้นทุนจริง (Feed -in Tariff ) ระยะเวลาสนับสนุน 25 ปี นับจากกําหนดวันจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ โดยแบ่งเป็น กลุ่มบ้านอยู่อาศัย รับซื้ออัตรา 6.96 บาทต่อหน่วย กลุ่มอาคารธุรกิจ ขนาดเล็ก รับซื้ออัตรา 6.55 บาทต่อหน่วย และกลุ่มอาคารธุรกิจ ขนาดกลาง-ใหญ่ รับซื้ออัตรา 6.16 บาทต่อหน่วย ซึ่งได้เปิดรับ การเสนอขายเมือ่ วันที่ 23 กันยายน – 11 ตุลาคม 2556 และประกาศผล ไปแล้วเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2556 ที่ผ่านมา

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ใ น ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ ต ล า ด แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โ ล ก ใ น ป 2 5 5 7 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF ) คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจโลก ในปี 2557 จะขยายตัวในอัตราร้อยละ 3.6 (ณ เดือนตุลาคม 2556) ปรับเพิ่มขึ้นจากประมาณการปี 2556 ที่ร้อยละ 2.9 โดยเศรษฐกิจ ของประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว ในปี 2557 จะเติ บ โตที่ ร้ อ ยละ 2.0 ขณะที่ เ ศรษฐกิ จ ของประเทศที่ กํ า ลั ง พั ฒ นารวมถึ ง เศรษฐกิ จ ของจีน อินเดีย และหลายๆ ประเทศในเอเชียเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 5.1 อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจโลกยังคงมีความเสี่ยงที่จะขยายตัวได้ น้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ ทั้งนี้เนื่องจากยังมีปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบ ให้เศรษฐกิจของแต่ละประเทศในโลกมีความไม่แน่นอน ได้แก่

ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ฟ ฟ า ใ น ป 2 5 5 6 ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าไทยในปี 2556 นั้นต้องกล่าวถึงกิจกรรมใหญ่ ที่เกิดขึ้น ได้แก่ การเปิดประมูลโรงไฟฟ้าเอกชนขนาดใหญ่ หรือ IPP

สหรัฐฯ: แม้ว่าล่าสุดสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐฯ ที่ประกอบด้วย ตัวแทนจากพรรคเดโมแครตกับรีพับลิกันจะมีมติเห็นชอบให้ผ่าน


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร่ า งงบประมาณฉบั บ ใหม่ แ ล้ ว เมื่ อ กลางเดื อ นธั น วาคมที่ ผ่ า นมา ซึ่งจะช่วยหลีกเลี่ยงไม่ให้สหรัฐฯ ต้องเผชิญกับภาวะ Government Shutdown อีกครั้งเหมือนกับที่เคยเกิดขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม ปี 2556 ที่ทําให้หน่วยงานของรัฐต้องหยุดดําเนินการไปเป็นเวลา 17 วัน โดยข้ อ ตกลงงบประมาณใหม่ นี้ ถื อ เป็ น สั ญ ญาณที่ ดี ที่ พ รรค การเมืองใหญ่ของประเทศทั้ง 2 พรรคหาจุดยืนร่วมกันได้ และถือเป็น การก้าวไปข้างหน้าร่วมกันเพื่อเศรษฐกิจของประเทศ อย่างไรก็ตาม ตลาดยังคงต้องจับตามองว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะแข็งแรงพอที่จะ เติ บ โตต่ อ ไปได้ อ ย่ า งดี ห รื อ ไม่ หลั ง ธนาคารกลางสหรั ฐ ฯ เริ่ ม ลด มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ (QE 4) หรือเริ่มลดทอนเงินที่ใช้ในการ เข้ า ซื้ อ พั น ธบั ต รรั ฐ บาลเป็ น ครั้ ง แรกในเดื อ นธั น วาคม ปี 2556 หลั ง จากมี ก ารอั ด ฉี ด เงิ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในช่ ว ง 1 ปี ที่ ผ่ า นมา โดยธนาคารกลางฯ คาดว่ า จะทยอยลดเงิ น อั ด ฉี ด ลงต่ อ เนื่ อ ง ไปอีกด้วย ยุ โ รป: ภาวะหนี้ ใ นภู มิ ภ าคยุ โ รปก็ ยั ง คงเป็ น ที่ น่ า จั บ ตามอง เพราะมีความเป็นไปได้ที่หลายๆ ประเทศในยูโรโซนอาจต้องขอ เงินช่วยเหลือจากสหภาพยุโรปเพิ่มเติม ได้แก่ กรีซ อิตาลี และสเปน เป็นต้น โดยคณะกรรมาธิการยุโรปยังคงมีความกังวลกับสถานการณ์ เศรษฐกิ จ ของอิ ต าลี แ ละสเปนที่ อ ยู่ ใ นภาวะถดถอย ขณะที่ หนี้สาธารณะยังคงปรับตัวสูงขึ้นเรื่อยๆ อย่างไรก็ตาม สหภาพยุโรป ได้ มี ก ารหารื อ เกี่ ย วกั บ แผนงบประมาณปี 2557 และแผนการ ช่วยเหลือประเทศที่ประสบปัญหาหนี้แล้วในเบื้องต้น ซึ่งคาดว่าจะ ช่วยให้ภาพรวมเศรษฐกิจของภูมิภาคมีแนวโน้มดีขึ้น ขณะที่ IMF ยังคงคาดการณ์ว่าการเติบโตของเศรษฐกิจสหภาพยุโรปในปี 2557 จะมี ก ารขยายตั ว เป็ น ครั้ ง แรกในรอบหลายปี ห ลั ง ประสบกั บ ปัญหาหนี้เรื้อรัง จีน: แม้ว่าการเติบโตของประเทศยักษ์ใหญ่แห่งเอเชียอย่างประเทศ จีน จะยังคงมีอัตราการเติบโตในระดับสูง แต่ IMF มองว่านโยบาย การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ประเทศแบบยั่ ง ยื น จากผู้ นํ า คนใหม่ ข องจี น ที่ เ น้ น การพั ฒ นาภายในประเทศ ลดการพึ่ ง พาการส่ ง ออกและ การลงทุน อาจทําให้การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนมีการขยายตัว ที่ตํ่ากว่าในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เพราะจีนคงจะไม่มีการลงทุนกับ โครงการใหญ่ ๆ ที่ ต้ อ งอาศั ย เงิ น ลงทุ น จากต่ า งชาติ ม ากนั ก โดยในปี 2557 นี้ IMF มองว่าจีนจะมีการเติบโตที่ร้อยละ 7.3 ลดลง

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

041

จากปี 2556 ที่เติบโตที่ร้อยละ 7.6 นอกจากนี้ แผนระยะยาว 5 ปีของ รั ฐ บาลจี น ยั ง คงกํ า หนดเป้ า หมายของการเติ บ โตของเศรษฐกิ จ ประเทศเฉลี่ยที่ร้อยละ 7.5 เท่านั้น

ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น ดิ บ แ ล ะ นํ้ า มั น สํ า เ ร็ จ รู ป ใ น ป 2 5 5 7 ในปี 2557 คาดว่ า ราคานํ้ า มั น ดิ บ ดู ไ บจะมี ร าคาเฉลี่ ย อยู่ ที่ ประมาณ 102 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ซึ่งถือว่าปรับลดลงเล็กน้อย จากราคาเฉลี่ ย ในปี 2556 ที่ ป ระมาณ 105.45 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ บาร์ เรล ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากมี แ นวโน้ ม ว่ า อั ต ราการขยายตั ว ของ อุปทานนํ้ามันดิบโลกจะเพิ่มขึ้นสูงกว่าอัตราการขยายตัวของอุปสงค์ นํ้ามันโลก โดยอุปทานนํ้ามันดิบที่เพิ่มขึ้นมากนั้น ส่วนใหญ่เป็น อุ ป ทานนํ้ า มั น ดิ บ ที่ ม าจากประเทศผู้ ผ ลิ ต นอกกลุ่ ม โอเปก ได้ แ ก่ สหรัฐฯ และแคนาดา เป็นต้น อย่างไรก็ดี ความไม่สงบในประเทศ ผู้ ผ ลิ ต นํ้ า มั น ดิ บ รายใหญ่ ข องโลก ได้ แ ก่ ประเทศในภู มิ ภ าค ตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ รวมถึงภัยธรรมชาติและปัจจัย เสี่ยงต่างๆ จะส่งผลให้ราคานํ้ามันดิบดูไบปรับลดลงไปไม่มากนัก และจะยังคงมีความผันผวนตลอดทั้งปี อุปทานนํ้ามันดิบ: อุปทานนํ้ามันดิบโลกในปี 2557 ถือว่ามีการ ขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ งด้ ว ยอั ต ราที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น เป็ น ประวั ติ ก ารณ์ โดยสํานักงานพลังงานสากล (IEA ) ได้คาดการณ์ว่าอุปทานนํ้ามันดิบ จากผู้ ผ ลิ ต นอกกลุ่ ม โอเปกในปี 2557 (ณ เดื อ นตุ ล าคม 2556) จะเฉลี่ ย อยู่ ที่ 56.37 ล้ า นบาร์ เ รลต่ อ วั น ปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น 1.77 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากปี 2556 ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วอุปทานนํ้ามันดิบ นอกกลุ่ ม โอเปกก็ ม าจากการผลิ ต นํ้ า มั น ดิ บ จากชั้ น หิ น ดิ น ดาน (Tight oil ) ของสหรัฐฯ ด้วยการใช้เทคโนโลยีการขุดเจาะแนวราบ ซึง่ คาดว่าจะทําให้การผลิตนํา้ มันของสหรัฐฯ เพิม่ ขึน้ มาอยูเ่ หนือระดับ 4 ล้ า นบาร์ เรลต่ อ วั น ในปี 2557 ขณะเดี ย วกั น ก็ ค าดว่ า การผลิ ต นํ้ า มั น ดิ บ จากผู้ ผ ลิ ต หลั ก ในโอเปกอย่ า งอิ รั ก จะเพิ่ ม ขึ้ น ราว 2 ล้านบาร์เรลสหรัฐฯ ต่อวันในปี 2557 เช่นกัน หากโครงการสร้าง แหล่งผลิตนํ้ามันดิบของประเทศเสร็จสิ้นตามกําหนดการ อุ ป สงค์ นํ้ า มั น สํ า เร็ จ รู ป : ความต้ อ งการใช้ นํ้ า มั น ของโลกยั ง คง ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยสํานักงานพลังงานสากล (IEA ) คาดว่า ความต้ อ งการใช้ นํ้ า มั น ของโลกในปี 2557 (ณ เดื อ นตุ ล าคม 2556) จะเฉลี่ ย อยู่ ที่ 92.12 ล้ า นบาร์ เ รลต่ อ วั น ปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น


042

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

1.12 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากปี 2556 โดยความต้องการหลักยังคงมาจาก ประเทศกําลังพัฒนาอย่างจีนและอินเดีย ขณะที่เศรษฐกิจของประเทศ พัฒนาแล้วอย่างสหภาพยุโรปมีแนวโน้มจะขยายตัวเป็นครั้งแรก ในรอบ 2-3 ปี ส่ ง ผลให้ ค วามต้ อ งการใช้ นํ้ า มั น ในภู มิ ภ าค ปรับเพิ่มขึ้นด้วย อย่างไรก็ตาม ความต้องการใช้นํ้ามันในภาพรวม ของประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างสหรัฐฯ แม้จะยังคงสูงอยู่ เนื่องจาก เศรษฐกิจที่คาดว่าจะดีขึ้นในปี 2557 แต่ยังคงมีความเสี่ยงที่ความ ต้องการใช้จะปรับลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากสหรัฐฯ มีประสิทธิภาพ การใช้นํ้ามันที่สูงขึ้น ประกอบกับรัฐบาลยังมีนโยบายสนับสนุนให้มี การใช้พลังงานทดแทนเพิ่มมากขึ้นด้วย

ไม่ ส ามารถกลั บ มาส่ ง ออกนํ้ า มั น ดิ บ ได้ ที่ ร ะดั บ เดิ ม คื อ 500,000– 700,000 บาร์เรลต่อวัน เหมือนช่วงก่อนจะมีการประท้วงในช่วง กลางปี ที่ ผ่ า นมา นอกจากนี้ ในช่ ว งกลางปี นี้ ยั ง ต้ อ งจั บ ตาว่ า ซีเรียจะสามารถทําตามข้อตกลงที่ได้ให้ไว้กับองค์กรนานาชาติได้ หรือไม่ ที่จะให้มีการตรวจสอบและทําลายล้างอาวุธเคมีให้เสร็จสิ้น ซึ่งหากซีเรียไม่สามารถทําตามข้อตกลงได้จริง ก็มีความเสี่ยงที่สหรัฐฯ อาจนําเรื่องการใช้กําลังทางทหารเข้าแทรกแซงในซีเรียกลับขึ้นมา พิ จ ารณาอี ก ครั้ ง ก็ เ ป็ น ได้ ซึ่ ง หากเป็ น เช่ น นั้ น ก็ จ ะส่ ง ผลให้ ต ลาด เกิดความกังวลว่าเหตุการณ์ความไม่สงบในตะวันออกกลางจะรุนแรง ขึ้นอีกทวีคูณ และกระทบต่ออุปทานนํ้ามันดิบจากภูมิภาคดังกล่าวได้

กําลังการผลิตของโรงกลั่นในภูมิภาค: ในปี 2557 กําลังการผลิต ส่ ว นเพิ่ ม ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟิ ก และตะวั น ออกกลางคาดว่ า จะ เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 1.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งส่วนใหญ่มาจากจีน ประมาณ 0.89 ล้ า นบาร์ เรลต่ อ วั น และอิ น เดี ย อี ก ประมาณ 0.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน ขณะที่กําลังการผลิตส่วนเพิ่มในตะวันออกกลาง มี เ พี ย งเล็ ก น้ อ ยเท่ า นั้ น แต่ ใ นปี 2557 นี้ จะมี โรงกลั่ น บางแห่ ง ต้ อ งปิ ด ตั ว ลง โดยเฉพาะโรงกลั่ น ในญี่ ปุ่ น และออสเตรเลี ย ซึ่ ง มี กํ า ลั ง ผลิ ต รวม 0.7 ล้ า นบาร์ เ รลต่ อ วั น เนื่ อ งจากต้ อ งปฏิ บั ติ ตามกฎระเบี ย บใหม่ ข องรั ฐ บาลหรื อ ปิ ด ตั ว ลงเพราะมี ปั ญ หา ทางการเงิน ส่งผลให้อุปทานส่วนเพิ่มในปี 2557 มีน้อยกว่าอุปสงค์ ในภู มิ ภ าคที่ ข ยายตั ว นอกจากนี้ โรงกลั่ น เก่ า บางแห่ ง ที่ ไ ม่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพโดยเฉพาะในยุ โรป และภาคชายฝั่ ง ตะวั น ออก ของสหรัฐฯ อาจมีความเสี่ยงที่จะต้องปิดตัวลงเช่นกัน

ฤดูกาลและภัยธรรมชาติ: นอกจากความต้องการใช้นํ้ามันแต่ละ ประเภทในแต่ ล ะฤดู ก าลจะมากน้ อ ยแตกต่ า งกั น แล้ ว ภั ย พิ บั ติ ทางธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น อยู่ บ่ อ ยครั้ ง ในปั จ จุ บั น ยั ง ส่ ง ผลต่ อ ราคา นํ้ า มั น ด้ ว ย ไม่ ว่ า จะเป็ น พายุ เ ฮอริ เ คนในมหาสมุ ท รแอตแลนติ ก ที่ มั ก จะสร้ า งความเสี ย หายให้ กั บ แหล่ ง ผลิ ต นํ้ า มั น ดิ บ รวมถึ ง โรงกลั่นในแถบอ่าวเม็กซิโก เช่นพายุแคเรน (Karen ) ที่ส่งผลกระทบ ต่อการผลิตนํ้ามันดิบในอ่าวเม็กซิโกเมื่อปีที่แล้ว รวมถึงพายุหมุน เขตร้ อ น หรื อ พายุ ไ ต้ ฝุ่ น ในมหาสมุ ท รแปซิ ฟิ ก หรื อ ทะเลจี น ใต้ ที่ไม่เพียงสร้างความเสียหายให้แก่โรงกลั่นในประเทศแถบเอเชีย แปซิฟิก แต่ยังส่งผลให้ความต้องการใช้ในประเทศขาดหายไปด้วย โดยพายุที่พัดถล่มหลายประเทศในปีที่ผ่านมา ได้แก่ พายุไต้ฝุ่นนารี ไต้ฝุ่นวิภา และไต้ฝุ่นไหเหยียน เป็นต้น

สถานการณ์ ก ารเมื อ งระหว่ า งประเทศในตะวั น ออกกลาง: แม้การเจรจาระหว่างอิหร่านและชาติมหาอํานาจ 6 ชาติจะสิ้นสุดลง ด้ ว ยข้ อ ตกลงที่ อิ ห ร่ า นจะยุ ติ ก ารพั ฒ นาสมรรถนะแร่ ยู เรเนี ย ม ไม่ ใ ห้ ไ ปถึ ง ระดั บ ที่ จ ะสามารถนํ า ไปผลิ ต เป็ น อาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร์ ไ ด้ เพื่ อ แลกกั บ การลดทอนมาตรการควํ่ า บาตรการนํ า เข้ า นํ้ า มั น ดิ บ ของอิหร่าน แต่การที่อุปทานขาดหายไปช่วงหนึ่งนั้น กว่าอิหร่าน จะกลั บ มาส่ ง ออกนํ้ า มั น ได้ เ ต็ ม ที่ อี ก ครั้ ง ต้ อ งอาศั ย เวลาในการ ฟื้ น ฟู อุ ป กรณ์ ก ารดํ า เนิ น การต่ า งๆ และอาจใช้ เวลาอย่ า งน้ อ ย 6-12 เดือน เพื่อที่จะทําให้นํ้ามันดิบจากอิหร่านอีกราว 1 ล้านบาร์เรล ต่ อ วั น กลั บ มาสู่ ต ลาดเหมื อ นช่ ว งก่ อ นที่ จ ะถู ก ควํ่ า บาตรจาก ตะวั น ตก ขณะที่ ก ารประท้ ว งและเหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบ ในประเทศลิเบียที่ดําเนินอยู่อย่างต่อเนื่องจะยังคงกดดันให้ลิเบีย

กฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่างๆ: ในปัจจุบันนี้หลายประเทศ ทั่ ว โลกได้ ต ระหนั ก ถึ ง การใช้ พ ลั ง งานที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม เพิ่ ม มากขึ้ น จึ ง ทํ า ให้ มี ห ลายประเทศออกนโยบายสนั บ สนุ น การใช้พลังงานทดแทนเพื่อแก้ปัญหาโลกร้อนกันอย่างแพร่หลาย ทั้งในสหรัฐฯ ยุโรป หรือแม้แต่หลายๆ ประเทศในเอเชียไม่ว่าจะเป็น อิ น โดนี เ ซี ย เวี ย ดนาม ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ หรื อ แม้ แ ต่ ป ระเทศไทย ที่มีการบังคับสัดส่วนการใช้เอทานอลในนํ้ามันเบนซินและไบโอดีเซล ในนํ้ามันดีเซลเพิ่มมากขึ้น

ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น สํ า เ ร็ จ รู ป ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น ป 2 5 5 7 สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมคาดการณ์ว่า เศรษฐกิจไทยในปี 2557 จะมีแนวโน้มการขยายตัวอยู่ระหว่างร้อยละ 4.0–5.0 (รายงานภาวะ เศรษฐกิจไทย สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

18 พฤศจิ ก ายน 2556) โดยมี ปั จ จั ย สนั บ สนุ น จากเศรษฐกิ จ โลก ที่คาดว่าจะมีแนวโน้มฟื้นตัวมากขึ้น โดย IMF คาดการณ์ว่าปีหน้า เศรษฐกิจโลกจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.6 จากเดิมร้อยละ 2.9 ในปีนี้ ซึ่ ง จะเป็ น แรงขั บ เคลื่ อ นสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให้ ภ าคการส่ ง ออกของไทย มีการฟื้นตัวดีขึ้น ส่วนภาคการบริโภคของครัวเรือนนั้น คาดว่าจะมี การปรับตัวขึ้นเล็กน้อย จากฐานการบริโภคสูงในช่วงครึ่งแรกของปี 2556 ขณะที่ ภ าคการลงทุ น คาดการณ์ ว่ า จะสามารถขยายตั ว ได้ ต ามเป้ า หมาย หากแผนการลงทุ น โครงสร้ า งพื้ น ฐานสามารถ ดํ า เนิ น การได้ ภ ายใต้ ก รอบระยะเวลาที่ กํ า หนด อย่ า งไรก็ ต าม เศรษฐกิ จ ของประเทศไทยยั ง คงต้ อ งเผชิ ญ กั บ ปั จ จั ย เสี่ ย งจาก ความผันผวนของตลาดการเงินจากแนวทางการดําเนินนโยบาย ผ่อนคลายเชิงปริมาณของธนาคารกลางสหรัฐฯ ในปี 2557 ที่ยัง ขาดความชัดเจน รวมถึงปัญหาด้านการเมืองไทยที่ขาดเสถียรภาพ และสภาวะการชะลอการลงทุนเพื่อรอความชัดเจนของนโยบาย ส่งเสริมการลงทุนภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนใหม่ ปี 2557 ทิศทางการใช้นํ้ามันสําเร็จรูปโดยรวมในประเทศ คาดว่า จะขยายตัวประมาณร้อยละ 2 โดยคาดว่าก๊าซแอลพีจีจะขยายตัว ที่ ร้ อ ยละ 4 ส่ ว นนํ้ า มั น ดี เซลและนํ้ า มั น อากาศยานจะขยายตั ว เล็กน้อยที่ประมาณร้อยละ 2 สําหรับนํ้ามันเบนซินคาดว่าจะกลับ เข้ า สู่ ก ารขยายตั ว ในอั ต ราปกติ ที่ ร้ อ ยละ 1 ส่ ว นด้ า นปริ ม าณ การผลิ ต นํ้ า มั น สํ า เร็ จ รู ป ในประเทศมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะปรั บ ลดลง เมื่อเทียบจากปีก่อน เนื่องจากมีโรงกลั่นนํ้ามันหลายแห่งจะหยุด ซ่อมบํารุงในปีนี้

ภ า ว ะ ต ล า ด อ ะ โ ร ม า ติ ก ส ใ น ป 2 5 5 7 ปี 2557 ตลาดอะโรมาติ ก ส์ โ ดยรวม มี แ นวโน้ ม ทรงตั ว ถึ ง ลดลง เล็กน้อย นําโดยตลาดพาราไซลีนที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลงเนื่องจาก ได้รบั แรงกดดันจากอุปทานสารพาราไซลีนทีจ่ ะปรับเพิม่ ขึน้ อย่างไรก็ดี ตลาดพาราไซลี น ยั ง คงได้ รั บ แรงสนั บ สนุ น จากความต้ อ งการที่ ขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากตลาดเครื่องนุ่งห่มและบรรจุภัณฑ์ รวมถึง โรงผลิตสารพาราไซลีนบางแห่งมีแนวโน้มที่จะไม่สามารถดําเนินการ ผลิตได้เต็มกําลังเนื่องจากหาสารตั้งต้นได้ไม่เพียงพอ ทําให้ภาพ รวมตลาดพาราไซลีนจะไม่ล้นตลาดมากนัก ขณะที่ตลาดเบนซีนมี แนวโน้มที่ค่อนข้างสดใส เนื่องจากอุปทานของสารเบนซีนจะอยู่ใน สภาวะตึงตัวอย่างต่อเนื่อง หลังจากโรงโอเลฟินส์หลายแห่งในสหรัฐฯ ได้เปลี่ยนไปใช้สารตั้งต้นที่เบาขึ้น

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

043

พาราไซลีน: ในปี 2557 คาดว่าอุปสงค์พาราไซลีนจะเติบโตอยู่ที่ ร้อยละ 6 CAGR (อัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยสะสมต่อปี) ซึ่งถือเป็น ระดับที่ดีเมื่อเทียบกับสารอะโรมาติกส์ตัวอื่นๆ เนื่องจากพาราไซลีน ถูกนําไปใช้เพื่อผลิตสินค้าจําเป็นต่อชีวิตประจําวัน ได้แก่ เส้นใย โพลีเอสเตอร์ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ และขวด PET ในอุตสาหกรรม บรรจุ ภั ณ ฑ์ ซึ่ ง ความต้ อ งการของสิ น ค้ า ดั ง กล่ า วจะเติ บ โต อย่างต่อเนื่องแม้ว่าเศรษฐกิจจะชะลอตัวก็ตาม อุปสงค์พาราไซลีน ที่ เ ติ บ โตยั ง เป็ น ผลมาจากจํ า นวนประชากรที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น รวมถึ ง อุตสาหกรรมปลายนํ้าของสารพาราไซลีน ดังจะเห็นได้จากโรงพีทีเอ ที่ต้องขยายกําลังการผลิตเพิ่มเพื่อรองรับกับความต้องการ โดยในปี 2557 จะมีกําลังการผลิตพีทีเอส่วนเพิ่มขึ้นกว่า 7 ล้านตัน (คิดเป็น ความต้องการสารพาราไซลีน 4.69 ล้านตันต่อปี จากจีน 3 แห่ง อินเดีย 1 แห่ง เกาหลี 1 แห่ง และไต้หวัน 1 แห่ง) เข้ามาในระบบ ขณะที่ ในปี 2557 มี อุ ป ทานพาราไซลี น ใหม่ เข้ า มาในระบบค่ อ นข้ า งสู ง เช่นกันที่ 6.8 ล้านตัน จากจีน 2 แห่ง เกาหลี 3 แห่ง และสิงคโปร์ 1 แห่ง รวมถึงการขยายกําลังการผลิตในคาซัคสถานและอัลจีเรีย อย่ า งไรก็ ดี คาดว่ า ผู้ ผ ลิ ต สารพาราไซลี น บางแห่ ง มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะ ไม่ ส ามารถดํ า เนิ น การผลิ ต ได้ เ ต็ ม กํ า ลั ง เนื่ อ งจากอุ ป ทาน สารมิ ก ซ์ ไซลี น และโทลู อี น ที่ ใช้ เ ป็ น สารตั้ ง ต้ น นั้ น ค่ อ นข้ า งตึ ง ตั ว ซึ่งจะช่วยให้ภาพรวมของพาราไซลีนไม่ล้นตลาดมากนัก เบนซีน: ในปี 2557 สารเบนซีน มีแนวโน้มตึงตัว โดยความต้องการ เบนซี น ค่ อ ยๆปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น ในอั ต ราร้ อ ยละ 2-3.5 CAGR (อั ต รา การเติบโตโดยเฉลี่ยสะสมต่อปี) ตามการเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ของเล่น บรรจุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งใช้สารเบนซีนเป็นส่วนประกอบ ในการผลิ ต อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากการที่ จี น ยั ง นํ า เข้ า สารเบนซี น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เนื่ อ งจากโรงผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ลายนํ้ า เช่ น สไตรีนโมโนเมอร์และฟีนอล ที่ใช้สารเบนซีนเป็นสารตั้งต้นมีเพิ่มขึ้น ในขณะที่อุปทานสารเบนซีนที่เพิ่มขึ้นยังคงไม่เพียงพอ นอกจากนี้ คาดว่ า การที่ โรงงานผลิ ต โอเลฟิ น ส์ ใ นประเทศต่ า งๆ โดยเฉพาะ สหรัฐฯ เปลี่ยนมาใช้สารตั้งต้นที่เบาขึ้น (Shale Gas ) ด้วยจะไม่ให้ สารเบนซีนออกมาจากกระบวนการผลิต ทําให้สหรัฐฯ มีความต้องการ นํ า เข้ า สารเบนซี น จากภู มิ ภ าคเอเชี ย เพิ่ ม มากขึ้ น และช่ ว ยให้ ภาพอุปสงค์และอุปทานของสารเบนซีนเข้าสู่ภาวะสมดุลมากขึ้น และ เป็นปัจจัยสนับสนุนให้ภาพรวมตลาดสารเบนซีนยังคงอยู่ในระดับที่ดี


044

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น ห ล อ ลื่ น พื้ น ฐ า น แ ล ะ ย า ง ม ะ ต อ ย ก็ ต าม ผลพวงจากสภาวะเศรษฐกิ จ ที่ ถ ดถอยทั่ ว โลกในปี ที่ แ ล้ ว ยังคงส่งผลต่ออุปสงค์ของสารทําละลายภายในประเทศโดยรวม เช่น ใ น ป 2 5 5 7 ในปี 2557 อุปสงค์นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานทั่วโลกคาดว่าจะยังคง เติบโตประมาณร้อยละ 1.4 เนือ่ งจากอุปสงค์จากประเทศทีก่ าํ ลังพัฒนา โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียคาดว่าจะยังเติบโตได้ดี โดยอุปสงค์ของ นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานกรุ๊ป 1 จะยังคงเติบโต จากภาคอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลหนักและอุตสาหกรรมเรือขนส่ง ทางทะเล ในขณะที่อุปสงค์ของนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานกรุ๊ป 2 และ 3 จะปรับเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการเปลี่ยนสูตรการใช้นํ้ามันหล่อลื่น ไปสูเ่ กรดทีม่ มี าตรฐานสูงกว่าของอุตสาหกรรมยานยนต์ ตามกฎหมาย สิ่งแวดล้อมที่ต้องการจะลดมลพิษจากรถยนต์ ในขณะที่ด้านอุปทาน นํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐานกรุ๊ ป 1 คาดว่ า จะลดลงเล็ ก น้ อ ยจากการ ปรั บ เปลี่ ย นโรงผลิ ต นํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐานกรุ๊ ป 1 ไปเป็ น กรุ๊ ป 2 ในขณะที่อุปทานนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานกรุ๊ป 2 และ 3 มีการปรับ เพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย ทําให้ราคานํ้ามันหล่อลื่น พื้นฐานและส่วนต่างราคานํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานกับราคานํ้ามันเตา ปรับลดลงเล็กน้อยในปี 2557 ในปี 2557 ตลาดยางมะตอยในภูมิภาคคาดว่าจะมีการเติบโตจาก อุปสงค์ที่ดีของประเทศกําลังพัฒนาหลายประเทศในภูมิภาค เช่น อินเดียและอินโดนีเซีย ที่มีความต้องการใช้ยางมะตอยเพื่อสร้างและ ซ่อมถนนอย่างมากตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ กลุ่มประเทศอินโดจีน ที่ทําการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมเพื่อเตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 รวมทั้งไทยที่จะมีการใช้ ยางมะตอยเพิ่มขึ้นมากสําหรับโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน คมนาคมขนส่งของประเทศในช่วง 7 ปีข้างหน้า นอกจากนี้อุปสงค์ จากออสเตรเลี ย มี แ นวโน้ ม ที่ เ ติ บ โตดี เช่ น กั น ในขณะที่ อุ ป ทาน ภายในภูมิภาคยังคงทรงตัวทําให้ตลาดยางมะตอยน่าจะมีแนวโน้ม ที่สดใส อย่างไรก็ดี จากการคาดการณ์ว่าราคานํ้ามันดิบในปี 2557 จะปรั บ ลดลงจากปี 2556 ส่ ง ผลให้ ร าคานํ้ า มั น เตาและราคา ยางมะตอยปรับลดลงเล็กน้อย

ภ า ว ะ ต ล า ด ส า ร ทํ า ล ะ ล า ย ใ น ป 2 5 5 7 จากธนาคารแห่ ง ประเทศไทยคาดการณ์ ว่ า อั ต ราการเติ บ โต ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP ) ในปี 2557 จะเติบโต ประมาณร้ อ ยละ 4.0-5.0 ซึ่ ง ดี ก ว่ า ปี 2556 ที่ ผ่ า นมา อย่ า งไร

กลุ่มยานยนต์ สี กาว หมึกพิมพ์ เป็นต้น รวมทั้งยังมีอุปทานจากจีน และเกาหลีเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ยิ่งไปกว่านั้น บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด จังหวัดระยอง จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัวในช่วง ปลายไตรมาสที่ 2 และบริ ษั ท ไออาร์ พี ซี จํ า กั ด (มหาชน) ก็ มี การผลิ ต เพิ่ ม ขึ้ น ในบางผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทํ า ให้ อุ ป ทานของ C 9 และ C 10 ภายในประเทศมี ม ากเกิ น ความต้ อ งการของตลาด จึ ง ต้ อ ง มีการส่งออกเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามหากโครงการก่อสร้างพื้นฐาน ของรัฐบาลไทยได้รับการอนุมัติ ก็จะช่วยให้เกิดอุปสงค์ของการใช้ สารทําละลายโดยเฉพาะไซลีน โทลูอีน และไวต์สปิริตในประเทศ เพิ่มมากขึ้น

ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ข น ส ง นํ้ า มั น ใ น ป 2 5 5 7 ภาวะตลาดเรือ VLCC คาดการณ์ว่าภายในปี 2557-2558 กําลังการกลั่นทั่วโลกจะมีการ ขยายตัวเพิ่มขึ้นอีก 6 ล้านบาร์เรลต่อวัน จึงคาดการณ์ว่าอัตราการ ใช้งาน VLCC จะเพิ่มประมาณร้อยละ 3 ต่อปี อย่างไรก็ตามจาก ปริมาณเรือซึ่งออกมามากในช่วงปีที่ผ่านมา รวมทั้งการใช้ Tight Oil ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จะยั ง คงกดดั น ราคาค่ า ขนส่ ง ต่ อ ไปอี ก ระยะ แต่ จ าก ราคาเรือใช้แล้วในปัจจุบันยังถือว่าอยู่ในช่วงที่ลงทุนได้ ประกอบกับ ในช่ ว งปี 2557-2558 เป็ น ต้ น ไป บริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. จะมี ความต้องการใช้เรือในการนําเข้านํ้ามันดิบ เพื่อการปฏิบัติงานของ โรงกลั่นเพิ่มขึ้นจากการขยายและปรับปรุงหน่วยผลิต ทําให้ยังมี โอกาสในการลงทุนเพื่อให้ได้ค่าขนส่งที่ตํ่าในระยะยาว ภาวะตลาดเรือ AFRAMAX เนื่องจากแนวโน้มการสํารวจนํ้ามันดิบที่เพิ่มสูงขึ้นทั้งในประเทศ และภูมิภาค รวมทั้งการขนส่งนํ้ามันดิบเกรดพิเศษและนํ้ามันหนัก ในภูมิภาคยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ความต้องการเรือ AFRAMAX ทั้งเป็นคลังลอยนํ้าและขนส่งวัตถุดิบยังคงมีอยู่ แต่ตลาด มีการสั่งต่อเรือชนิดนี้เพิ่มขึ้นน้อยมาก ทําให้ปริมาณเรือชนิดนี้ใน ตลาดมี อั ต ราการเติ บ โตตํ่ า จึ ง คาดว่ า ในอนาคตเรื อ ชนิ ด นี้ จ ะมี จํานวนลดลง ภาวะตลาดเรือเคมี การขนส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี ยั ง คงเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

จากความต้ อ งการใช้ ง านของบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. เพื่ อ ใช้ ในการขนส่งสินค้าภายในประเทศ และส่งออกไปยังประเทศต่างๆ ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แต่ เ นื่ อ งจากปริ ม าณเรื อ ที่ มี อ ยู่ ใ นตลาดยั ง คง รองรับได้ ทําให้ค่าขนส่งยังคงถูกกดดันให้อยู่ในระดับตํ่า ภาวะตลาดเรือ Crew Boat การลงทุนในด้านการสํารวจและขุดเจาะนํ้ามันและก๊าซธรรมชาติ มีแนวโน้มการเติบโตอย่างต่อเนื่อง จึงทําให้ความต้องการใช้เรือ Crew Boat เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( SEA ) ส่ ง ผลให้ จํ า นวนเรื อ ที่ มี ใ นปั จ จุ บั น จะไม่ เ พี ย งพอกั บ ความต้องการที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับผู้ประกอบการธุรกิจขุดเจาะ นํ้ า มั น ดิ บ และก๊ า ซธรรมชาติ ก ลางทะเล ( Offshore ) ได้ ผ ลั ก ดั น ให้ มี ก ารออกกฎระเบี ย บใหม่ ที่ เข้ ม งวดมากขึ้ น สํ า หรั บ อายุ เรื อ ที่จะให้บริการและให้มีความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม (Younger and Greener ) ดังนั้นเรือที่มีอายุน้อยหรือเรือใหม่จึงเป็นที่ต้องการ ของตลาดใน SEA เพิ่มมากขึ้นอีก

ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ อ ท า น อ ล ใ น ป 2 5 5 7 ปริมาณความต้องการใช้เอทานอลในประเทศปี 2557 คาดว่าจะ ปรับขึ้นมาอยู่ที่ระดับประมาณ 3 ล้านลิตรต่อวัน เนื่องจากผู้บริโภค มีแนวโน้มหันมาใช้นํ้ามันแก๊สโซฮอล์เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากปริมาณ รถยนต์ใหม่ที่เข้ามาในระบบซึ่งสามารถใช้นํ้ามันแก๊สโซฮอล์ E 20 และ E 85 รวมทั้งจํานวนสถานีบริการมีเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2557 คาดว่าจะมีโรงงานเอทานอลใหม่ก่อสร้างแล้วเสร็จ 1-2 โรงงาน โดยจะเป็นโรงงานเอทานอลที่ผลิตจากมันสําปะหลัง ทําให้ มี กํ า ลั ง การผลิ ต เพิ่ ม ขึ้ น อี ก ประมาณ 0.34-0.54 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น ส่ ง ผลให้ กํ า ลั ง การผลิ ต เอทานอลรวมในประเทศเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น ประมาณ 4.59 ล้านลิตรต่อวัน ทั้งนี้ ในปี 2557 ภาครัฐมีแนวโน้ม จะดํ า เนิ น นโนบายการกํ า หนดสั ด ส่ ว นให้ บ ริ ษั ท นํ้ า มั น รั บ ซื้ อ เอทานอลจากกากนํ้ า ตาลและมั น สํ า ปะหลั ง ในสั ด ส่ ว น 55:45 โดยมีเป้าหมายในการนํามันสําปะหลังมาผลิตเป็นเอทานอลซึ่งมี ปริมาณทั้งสิ้น 3 ล้านตัน หรือคิดเป็นปริมาณเอทานอลประมาณ 1.31 ล้านลิตรต่อวัน อย่างไรก็ดี ในปี 2557 ราคาเฉลี่ยของเอทานอล จากมันสําปะหลังมีแนวโน้มปรับตัวลดลงเล็กน้อย เนื่องจากปริมาณ การผลิตเอทานอลในปี 2557 ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2556 ซึ่งทําให้เกิดสภาวะตึงตัวในช่วงครึ่งปีแรก

ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 6 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต

045

ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ฟ ฟ า ใ น ป 2 5 5 7 ในปี 2557 แม้โรงไฟฟ้าของทั้ง กฟผ. และเอกชนบางแห่งจะเริ่มทยอย หมดอายุออกจากระบบไป แต่ในขณะเดียวกันโรงไฟฟ้าใหม่ๆ ก็จะ ทยอยเข้ า มาในระบบ ขณะที่ แ หล่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ แ หล่ ง ใหม่ ท าง ฝั่งตะวันตกของประเทศพม่า Zawtika ก็จะเริ่มจ่ายก๊าซในไตรมาสที่ 2 ของปี 2557 ด้วย ซึ่งปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้ กฟผ.ในฐานะผู้ควบคุม กํ า ลั ง ไฟฟ้ า ของประเทศต้ อ งมี ก ารเตรี ย มแผนการผลิ ต และ ส่งไฟฟ้าสําหรับปี 2557-2561 และต้องให้สอดคล้องกับแผนการ บํารุงรักษาของแหล่งก๊าซและให้มีต้นทุนการผลิตตํ่าสุด โดยสรุปคือ มี ผ ลทํ า ให้ โรงไฟฟ้ า ฝั่ ง ตะวั น ตกต้ อ งมี ก ารเดิ น เครื่ อ งเพิ่ ม มากขึ้ น สวนทางกับโรงไฟฟ้าฝั่งตะวันออกที่ต้องมีการเดินเครื่องน้อยลง และมีโรงไฟฟ้าบางโรง ได้แก่ โรงไฟฟ้า GPSC -SRC (IPT เดิม) และ Glow IPP ต้องหยุดเดินเครื่องตั้งแต่ปี 2558 – 2561 โดยสรุ ป การผลิ ต ไฟฟ้ า ของประเทศยั ง คงพึ่ ง พาก๊ า ซธรรมชาติ ในสั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 63–67 แม้ ว่ า ภาครั ฐ จะสนั บ สนุ น เรื่ อ ง พลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น โดยในปี 2557-2561 ภาครัฐคาดว่าการ ผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานทดแทนจะมี ก ารเติ บ โตร้ อ ยละ 20 โดยประมาณ ขณะที่ ค วามต้ อ งการไฟฟ้ า ในปี 2561 คาดว่ า จะมี มากถึง 32,062 เมกะวัตต์ โดยจากนี้ไปต้องจับตามองแผนพัฒนา กําลังไฟฟ้าแห่งชาติ หรือ PDP ฉบับต่อไปที่กําลังจัดเตรียมและ มีแนวโน้มว่าจะประกาศใช้ในปี 2557 ซึ่งเป็นแนวทางในการสร้าง ความมั่ น คงของระบบไฟฟ้ า และลดปั ญ หาการพึ่ ง พาเชื้ อ เพลิ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ที่ มี น้ อ ยลงและมี แ นวโน้ ม แพงขึ้ น เพื่ อ ให้ ป ระเทศ ได้ มี ร ะบบไฟฟ้ า ที่ มั่ น คงและราคาที่ เ หมาะสมกั บ การพั ฒ นา ประเทศต่อไป


046

11

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ป โ ต ร เ ค มี ในปี 2556 ไทยออยล์ ส ามารถกลั่ น นํ้ า มั น ดิ บ และวั ต ถุ ดิ บ อื่ น ๆ โดยเฉลี่ยประมาณ 279,940 บาร์เรลต่อวัน หรือคิดเป็นร้อยละ 102 ของกําลังการกลัน่ ทีอ่ อกแบบไว้ ขณะทีบ่ ริษทั ไทยลูบ้ เบส จํากัด (มหาชน) มีอัตราการเดินเครื่องหน่วยผลิตที่ 272,457 ตันต่อปี คิดเป็นร้อยละ 102.0 ของกําลังการผลิตที่ออกแบบไว้ และบริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด มีอัตราการเดินเครื่องหน่วยผลิตที่ 749,258 ตันต่อปี คิดเป็น ร้อยละ 89.4 ของกําลังการผลิตที่ออกแบบไว้ ทั้งนี้ อัตราการผลิต ดังกล่าวเป็นไปตามการวางแผนการผลิตร่วมกับไทยออยล์ เพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดโดยภาพรวม เพื่อเป็นการคงไว้ซึ่งศักยภาพด้านการผลิตให้มีความพร้อมอย่าง ต่อเนื่องและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ไทยออยล์ยังคง ดําเนินโครงการต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยผลิต รวมถึงการ วางแผนการผลิต เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดังนี้ >>

ติดตั้งระบบฐานข้อมูลการผลิตใหม่ (Plant Information – High Availability) เพื่อบูรณาการข้อมูลด้านการผลิตของเครือไทยออยล์ เป็ น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ได้ ทุ ก พื้ น ที่ การผลิ ต อย่ า งครบถ้ ว น พร้ อ มระบบ Automatic Fail Over ทําให้ระบบมีความพร้อมใช้งานสูงถึงร้อยละ 99.99 ซึ่งโครงการนี้ เป็ น แผนพั ฒ นาระบบความมั่ น คงปลอดภั ย ของฐานข้ อ มู ล การผลิ ต ตามระบบ ISO / IEC 27001 ( Information Security Management System: ISMS) ที่เครือไทยออยล์ได้รับการรับรอง มาตั้งแต่ปี 2553

>>

บริ ห ารจั ด การความผิ ด ปกติ ใ นกระบวนการผลิ ต บริ ษั ท ฯ ได้ พั ฒ นาและให้ ค วามสํ า คั ญ ในเรื่ อ งความปลอดภั ย ใน กระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งจํานวนสัญญาณเตือน ความผิดปกติ (Alarm ) ลดลงอย่างมีนัยสําคัญ ดีกว่าค่ามาตรฐาน สากล ทํ า ให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ก ารมี เวลาในการดู แ ลการผลิ ต ได้ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพและมี เวลาแก้ ปั ญ หาในกระบวนการผลิ ต อย่ า ง เพี ย งพอ การบริ ห ารด้ า น Alarm Management ของบริ ษั ท ฯ ถือเป็นผู้นําในระดับโลก (World Best in Class )


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

>>

>>

>>

>>

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

ติดตั้งระบบควบคุมขั้นสูง Advanced Process Control (APC ) and Real Time Optimization (RTO) ครอบคลุมหน่วยผลิตสําคัญ ทั้งเครือไทยออยล์ ดังนี้ • ติดตั้งระบบ APC ที่หน่วย TDAE ในพื้นที่ผลิตนํ้ามันหล่อลื่น พื้นฐาน เพื่อเพิ่มผลิตภัณฑ์ TDAE ให้สูงขึ้น • ติ ด ตั้ ง ระบบ RTO ซึ่ ง จั ด ว่ า เป็ น ระบบควบคุ ม ที่ มี เ ทคโนโลยี ขั้นสูงสุดในปัจจุบัน เพิ่มเติมอีก 4 หน่วย ได้แก่ - หน่ ว ยเพิ่ ม ค่ า ออกเทนด้ ว ยสารเร่ ง ปฏิ กิ ริ ย าที่ 1 และ 2 (CCR -1/2) เพื่อเพิ่มปริมาณสารตั้งต้นอะโรมาติกส์ ทําให้ได้ ผลิตภัณฑ์ Paraxylene และ Toluene สูงขึ้น - หน่วยกลั่นเพิ่มมูลค่านํ้ามันเตาด้วยสารเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ ไฮโดรเจนร่วมที่ 2 (HCU-2) เพื่อเพิ่มปริมาณนํ้ามันอากาศยาน และนํ้ามันดีเซล - หน่วยกลั่นสุญญากาศ (VDU ) เพื่อเพิ่มปริมาณนํ้ามันหล่อลื่น พื้นฐาน ดําเนินโครงการปรับปรุงคุณภาพก๊าซทิ้ง (Emission Improvement Project : EIP ) เพื่อลดความเข้มข้นของก๊าซซัลเฟอร์ออกไซด์ ให้ได้ตามข้อกําหนดของกฎหมายใหม่ โดยโครงการประกอบด้วย การก่ อ สร้ า งหน่ ว ยผลิ ต กํ า มะถั น ( SRU -5) และหน่ ว ยบํ า บั ด ก๊าซทิ้ง (TGTU ) รวมถึงการปรับปรุงหน่วยบําบัดที่เกี่ยวข้องต่างๆ ให้ ส ามารถบํ า บั ด ก๊ า ซทิ้ ง ได้ ต ามกฎหมาย เช่ น หน่ ว ยบํ า บั ด Shell Claus Off -Gas Treating (SCOT ) และหน่วยผลิตกํามะถัน (SRU -3/4) ดําเนินโครงการขยายท่อระบบก๊าซเชื้อเพลิงในพื้นที่หน่วยกลั่น ที่ 1 และพื้นที่หน่วยกลั่นที่ 2 เพื่อรองรับการเพิ่มปริมาณการใช้ ก๊าซธรรมชาติในอนาคต และปรับเปลี่ยนหัวเผาเป็นชนิดก่อให้ เกิดก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ในปริมาณตํ่า (Low NOx Burner ) เพื่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น ติดตั้งหน่วยเพิ่มความบริสุทธิ์ของก๊าซไฮโดรเจนที่ 3 (PSA -3) เพื่อรองรับปริมาณการใช้ก๊าซไฮโดรเจนที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเริ่มดําเนิน การผลิตตั้งแต่เดือนธันวาคม 2556 เป็นต้นไป

>>

047

มีการปรับปรุงประสิทธิภาพของหน่วยผลิตในช่วงหยุดซ่อมบํารุง ตามแผนประจําปี สําหรับหน่วยผลิตดังต่อไปนี้ • หน่วยกลั่นนํ้ามันดิบที่ 2 (CDU -2) • หน่วยเพิ่มค่าออกเทนด้วยสารเร่งปฏิกิริยาที่ 2 (CCR -2) • หน่วยเพิ่มมูลค่านํ้ามันเตาด้วยความร้อน (TCU ) • หน่วยเพิ่มมูลค่านํ้ามันเตาด้วยสารเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ไฮโดรเจน ร่วมที่ 2 (HCU -2) • หน่วยกลั่นสุญญากาศที่ 2 (HVU -2) เป็นผลให้สามารถประหยัดพลังงาน เพิ่มผลผลิตของผลิตภัณฑ์ที่ มีมูลค่าสูง เช่น นํ้ามันอากาศยาน นํ้ามันดีเซลจากหน่วย HCU -2 และดําเนินการผลิตที่กําลังการผลิตสูงสุดได้

>>

ได้รับ PTT Best Practice Platinum Award ซึ่งเป็นรางวัลที่หนึ่ง ในหัวข้อ Best Practice Sharing ของกลุ่ม ปตท. ในปี 2556 จากการ ใช้ ไ อนํ้ า ในเตาเผาของหน่ ว ยกลั่ น นํ้ า มั น ดิ บ ที่ 3 ( CDU -3) ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

>>

ได้รับการรับรองระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน (Energy Management System : ISO 50001) ในส่ ว นของไทยออยล์ มีขอบข่ายที่หน่วยกลั่นนํ้ามันดิบที่ 3 (CDU -3) ทั้งนี้ ไทยออยล์ มี แ ผนที่ จ ะขยายขอบข่ า ยของการรั บ รองที่ ห น่ ว ยผลิ ต อื่ น ๆ และบริษัทในเครือไทยออยล์ในอนาคต

>>

สร้างถังเก็บนํ้ามันเบนซินใหม่ 2 ใบ เพื่อรองรับความต้องการ นํ้ามันเบนซินพื้นฐานเกรด 91 ที่เติบโตขึ้น

>>

ปรั บ ปรุ ง ระบบการผสมนํ้ า มั น ดิ บ เพื่ อ สามารถป้ อ นนํ้ า มั น ดิ บ คุ ณ ภาพตํ่ า เข้ า หน่ ว ยกลั่ น นํ้ า มั น ดิ บ ที่ 3 ( CDU -3) ทํ า ให้ เ พิ่ ม ขีดความสามารถในการกลั่นนํ้ามันดิบคุณภาพตํ่าได้

>>

สร้างสถานีจ่ายกํามะถันเหลวทางรถบรรทุกใหม่ที่ทันสมัยและ จ่ า ยได้ ร วดเร็ ว ขึ้ น เพื่ อ รองรั บ ปริ ม าณการขายกํ า มะถั น เหลว ที่มากขึ้น

>>

สามารถดําเนินการผลิตสารพาราไซลีนด้วยกําลังการผลิตสูงสุด 1,490 ตันต่อวัน


048

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

' 4 + 6 ' )8 )8 $5 Ĝ ď C ' A )9 & % .N 6 A 'H '= 6 NJ 6 %5 8 B ) 4 +5 < 8 1;I G ' + % :

' 4 + 6 ' )8 ď C ' A %9 B ) 4 6 ' )8 NJ 6 %5 / )Ę 1 );I "÷J 6 1 'è -5 D A 'ë 1 E & 1 1 & )Ĝ

FUEL GAS

ADIP

LPG

ISOM

HDT-1

PLATFORM

HDT-2 CCR-1 HDT-3 PREMIUM

CCR-2 CCG HDS CDU-1

REGULAR

CRUDE CDU-2 JET

KMT CDU-3

KEROSENE

FCCU HDS-1

HVU-1 HMU-1

HVU-2

HDS-2

LONG RESIDUE

AGO

HMU-2

HVU-3

TCU

HDS-3

HCU-1

DIESEL

HCU-2

FUEL OIL ADIP

SRU-1/2 SRU-3/4

SULPHUR

รูปที่ 1 แสดงแผนผังของหน่วยผลิต (Flow Diagram) ภายในโรงกลั่นของไทยออยล์ อาจกล่าวได้ว่าโรงกลั่นไทยออยล์เป็นโรงกลั่นที่มีขีดความสามารถในการกลั่นสูง (Complex Refinery) แห่งหนึ่งของประเทศ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

SIMPLIFIED AROMATICS CONFIGURATION

DISTILLATION

QUALITY IMPROVEMENT

UPGRADING

049

PRODUCT

Aromatics Capacity : 838 KTA

ED

Byproducts

Benzene

Sulfolane BT Fract. I/II Toluene 144 KTA

Platformate 1,800 KTA

CCR

259 KMTA

Mixed Xylene 52 KMTA

MX

MX

PX

Paraxylene

Byproducts

527 KMTA

BZ

PX Max

Imported Toluene 88 KTA

MX (90% PX)

Byproducts

รูปที่ 2 แสดงแผนผังของหน่วยผลิต (Flow Diagram) ของบริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด ซึ่งทําการผลิตสารอะโรมาติกส์ เพื่อเป็นวัตถุดิบป้อนอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นปลายต่อไป

SIMPLIFIED LUBE CONFIGURATION

QUALITY IMPROVEMENT

DISTILLATION

PRODUCT

VGO / Extract / Slack Wax

60/150SN

60/150VGO Import Long Residue

VDU

500SN

500VGO

MPU

HFU

Base oil

SDU 150BS

DAO Hydrocracker Bottom

Slack Wax Vacuum Residue

Sulphur

PDA

Extract

TDAE 2 nd Extract

รูปที่ 3 แสดงแผนผังของหน่วยผลิต (Flow Diagram) ของบริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) ซึ่งทําการผลิตนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน

TDAE

Bitumen

Slack Wax

Sulphur

Extract

TDAE

Bitumen


050

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

การวัดผลการดําเนินงานด้านการกลั่น จากการศึกษาเปรียบเทียบการดําเนินงานที่สําคัญๆ ของไทยออยล์ กับโรงกลั่นต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในปี 2555 โดย Solomon พบว่ า ไทยออยล์ ยั ง คงรั ก ษาระดั บ อยู่ ใ นกลุ่ ม โรงกลั่ น ที่ เ ป็ น ผู้ นํ า (1st Quartile : กลุ่มโรงกลั่นที่มีผลการดําเนินงานอยู่ในอันดับร้อยละ 25 อั น ดั บ แรก) ในด้ า นค่ า ใช้ จ่ า ยดํ า เนิ น การ ( Total Operating Expense ) ขณะที่ ก ารใช้ ป ระโยชน์ ข องหน่ ว ยผลิ ต ( Process Utilzation ) และประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นพลั ง งาน ( Energy Intensity Index ) ของโรงกลั่นไทยออยล์จัดอยู่ในกลุ่มรอง (2nd Quartile : กลุ่มโรงกลั่นที่มีผลการดําเนินงานอยู่ในอันดับร้อยละ 25–50)

ตั้ ง แต่ ปี 2539 จวบจนปั จ จุ บั น ไทยออยล์ ยั ง คงรั ก ษาและพั ฒ นา ระบบการจั ด การทุ ก ระบบอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยมี น โยบายคุ ณ ภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม การจัดการ พลั ง งาน และความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมของเครื อ ไทยออยล์ ครอบคลุม : >>

ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพและให้ บ ริ ก ารที่ ต อบสนองความ คาดหวังและความพึงพอใจแก่ลูกค้า ด้วยระบบการจัดการที่ได้ มาตรฐาน สอดคล้องตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับของราชการ มาตรฐาน และข้อกําหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

>>

วางแผนการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ ควบคุมและลด ความเสี่ยงที่เกิดจากการปฏิบัติงาน ทั้งในด้านกายภาพ (Physical ) เคมี (Chemical) ชีวภาพ (Biological) และจิตสังคม (Psychosocial) เพื่อป้องกันอุบัติการณ์ที่อาจส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บและความ เจ็บป่วยของผู้ปฏิบัติงาน ตลอดจนให้ความสําคัญด้านการใช้ แรงงานอย่างเหมาะสม

>>

กํ า หนดแผน เป้ า หมาย และนํ า ไปปฏิ บั ติ เ พื่ อ ควบคุ ม และ ลดผลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จากกระบวนการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ตาม มาตรฐานสากล ทั้งทางนํ้า อากาศ เสียง ความร้อน ขยะมูลฝอย กากของเสีย การปล่อยก๊าซเรือนกระจก และการจัดการพลังงาน พร้อมทั้งมีการทบทวน ติดตาม และตรวจสอบเพื่อปรับปรุงพัฒนา อย่างต่อเนื่อง

>>

สนั บ สนุ น ด้ า นทรั พ ยากรและสารสนเทศอย่ า งเพี ย งพอในการ ปฏิบัติตามนโยบายและการดําเนินธุรกิจ โดยในการออกแบบ จัดหาผลิตภัณฑ์และบริการ ให้พิจารณาถึงประสิทธิภาพและการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้านคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม การจัดการพลังงาน และความรับผิดชอบ ต่อสังคม

>>

ส่งเสริมให้มีการพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขนโยบายและระเบียบวิธี ปฏิบัติให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลง ของกฎหมาย การพั ฒ นาทางด้ า นเทคโนโลยี การใช้ พ ลั ง งาน สถานการณ์สิ่งแวดล้อม และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง

ไทยออยล์ยังคงมุ่งมั่นที่จะปรับปรุงพัฒนาศักยภาพด้านการกลั่น นํ้ามันปิโตรเลียมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นโรงกลั่นในระดับผู้นําใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในอนาคต

ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม เครื อ ไทยออยล์ ไ ด้ ว างแนวทางการบริ ห ารจั ด การด้ า นคุ ณ ภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม การจัดการ พลังงาน และความรับผิดชอบต่อสังคม โดยนําระบบมาตรฐานสากล (ISO System ) มาพัฒนาใช้ดังนี้ 1. ระบบบริหารงานด้านคุณภาพ ตามมาตรฐาน มอก. 9001 2. ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐาน มอก. 14001 3. ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตามมาตรฐาน มอก. 18001 4. Occupational Health and Safety Management System BS OHSAS 18001 5. ระบบการจั ด การเชิ ง บู ร ณาการ ( Integrated Management Systems: IMS ) 6. ระบบการจัดการว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบ (ISO /IEC 17025) 7. มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม CSR (ISO 26000) ภายใต้ โครงการ CSR -DIW 8. ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของข้อมูล (ISO /IEC 27001) 9. ระบบการจัดการพลังงาน (ISO 50001)

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ทั้งนี้ไทยออยล์จะยังคงมุ่งมั่นที่จะนําระบบการจัดการต่างๆ มาใช้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

การจัดการด้านความมั่นคง ไทยออยล์ดําเนินมาตรการรักษาความมั่นคง เพื่อปกป้องคุ้มครอง บุคลากร ทรัพย์สิน ข้อมูล และภาพลักษณ์ของเครือไทยออยล์ให้ ปลอดจากภัยคุกคามด้านความมั่นคงที่อาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากปัจจัย ภายในและภายนอกองค์ ก รอย่ า งเข้ ม งวด ตามการจํ า แนกระดั บ ความเสี่ ย ง โดยยึ ด ถื อ ตามแนวนโยบายคุ ณ ภาพ ความมั่ น คง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม การจัดการพลังงาน และ ความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์ ซึ่งเป็นหน้าที่ของ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนที่ร่วมมือกันปฏิบัติตามปฏิญญาสากล ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนอย่างเคร่งครัด โดยได้ดําเนินการ ดังนี้ >>

กํ า หนดและทบทวนแผนการดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ มาตรการ ด้านความมั่นคงให้สอดคล้องกับภัยคุกคาม เชื่อมโยงแผนและ สนธิกําลังกับเครือข่ายด้านการข่าว (ภาครัฐและเอกชน) และ หน่ ว ยงานสนั บ สนุ น จากภายนอก ตลอดจนฝึ ก ซ้ อ มให้ กั บ ที ม ปฏิ บั ติ ก ารตอบโต้ เ หตุ ฉุ ก เฉิ น เพื่ อ ประเมิ น และปรั บ ปรุ ง แผนงานให้มีประสิทธิผลสูงสุด

>>

จัดทําคู่มือความมั่นคงปลอดภัยสําหรับพนักงานเครือไทยออยล์ ทุ ก คน สํ า หรั บ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ให้ ป ลอดภั ย ทั้งในและนอกงาน

>>

จัดทําโครงการบริหารจัดการความมั่นคงผ่านโครงการ Safe White Green เพื่อให้ปลอดสารเสพติด (White ) ในสถานประกอบการ โดยให้บริษัทผู้รับเหมาเข้ามามีส่วนร่วม ตั้งแต่การจัดทํานโยบาย แผนงานด้านความมั่นคงในการรณรงค์และป้องกันสารเสพติด และสิ่งผิดกฎหมายทุกชนิด รวมถึงการละเมิดกฎระเบียบทางด้าน ความมั่นคง

การบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย อาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย สํ า หรั บ พนั ก งาน ชุ ม ชน และ ผู้รับเหมา ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จัดเป็นลําดับความสําคัญ สู ง สุ ด ไทยออยล์ มี ค วามภู มิ ใจมาโดยตลอดในการรั ก ษาผลการ ดํ า เนิ น งานด้ า นอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย ที่ เ ป็ น เลิ ศ ซึ่ ง กล่ า วได้ ว่ า ไทยออยล์ เ ป็ น ผู้ นํ า ในอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น ของ ประเทศไทย อย่างไรก็ตาม การดํารงรักษาไว้ซึ่งตําแหน่งผู้นํานี้จะ

051

ไม่ ยั่ ง ยื น หากไทยออยล์ ไ ม่ มี ก ารปรั บ ปรุ ง กระบวนการ พั ฒ นา และยกระดับการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่บริษัทอื่นๆ อาจมี การปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาอยู่ ต ลอดเวลา ดั ง นั้ น ไทยออยล์ ไ ด้ ท บทวน และพัฒนาแผนงาน 5 ปี ด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย การจัดการ เหตุ ฉุ ก เฉิ น และวิ ก ฤติ ใ ห้ เ ป็ น ปั จ จุ บั น สอดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลง และยกระดับผลการดําเนินงานให้ดียิ่งขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ไทยออยล์ประสบความสําเร็จในการดําเนินงานด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ซึ่งสอดคล้องตามแผนงาน 5 ปี ด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภั ย ป้ อ งกั น และระงั บ อั ค คี ภั ย ครอบคลุ ม ดั ง นี้ อาชีวอนามัย (Occupational ) ความปลอดภัยของบุคคล (Personal Safety) ความปลอดภัยกระบวนการผลิต (Process Safety) การจัดการ เหตุฉุกเฉินและวิกฤติ (Emergency and Crisis Management ) และ ภาวะผู้นําความปลอดภัย (Safety Leadership) โดยมีหน่วยงานเฉพาะ เพื่ อ ควบคุ ม และผลั ก ดั น การดํ า เนิ น งานตามแผนงานด้ า น อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตลอดจนมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ อาชี ว อนามั ย ความปลอดภั ย และสภาพแวดล้ อ มในการทํ า งาน ประกอบด้วยตัวแทนจากพนักงานระดับปฏิบัติการไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 50 ของคณะกรรมการทั้งหมด (ไม่รวมประธานคณะกรรมการ) โดยมี การประชุมอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง เพื่อแจ้งข่าวสาร และติดตาม ความก้าวหน้าของการดําเนินงานและแผนการดําเนินงานในอนาคต เป็นต้น ไทยออยล์ ไ ด้ พั ฒ นาและยกระดั บ ระบบการบริ ห ารจั ด การ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย ป้องกันและระงับอัคคีภัยผ่านระบบ การจัดการ Operational Excellence Management System (OEMS ) ซึ่งประกอบด้วย 12 องค์ประกอบหลัก หนึ่งในนั้นคือระบบการ จัดการความมั่นคง (Security ) ความปลอดภัย (Safety ) อาชีวอนามัย ( Occupational Health ) และสิ่ ง แวดล้ อ ม ( Environment ) หรื อ SSHE องค์ ป ระกอบอื่ น ๆ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น องค์ ป ระกอบหลั ก ของ ความปลอดภัยกระบวนการผลิต หรือ Process Safety ที่ช่วยพัฒนา และยกระดับผลการดําเนินงานด้านความปลอดภัยของกระบวน การผลิต เช่น Strategy and Leadership , Operation , Management of Change , Reliability and Asset Integrity , Management of


052

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

Contractor and Supplier เป็นต้น ทัง้ นี้ ได้มกี ารทบทวนสถานะเบือ้ งต้น ตามข้อกําหนดใหม่ของ OEMS จากนั้นทบทวนแผนงาน 5 ปี ให้เป็น ปัจจุบัน รวมถึงมีการสื่อสารให้กับพนักงานในระดับต่างๆ เพื่อนําไป ปฏิ บั ติ ทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ร รวมทั้ ง ได้ กํ า หนดตั ว ชี้ วั ด ผลการดํ า เนิ น งาน ด้านความปลอดภัยกระบวนการผลิต (Process Safety Indicator ) เพื่ อ รั ก ษาไว้ ซึ่ ง ระบบการบริ ห ารจั ด การอาชี ว อนามั ย และความ ปลอดภัยให้อยู่ในระดับดีเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง เพื่อความได้เปรียบ ในการแข่ ง ขั น อย่ า งยั่ ง ยื น ในรอบปี นี้ ไทยออยล์ ยั ง ได้ ส ร้ า ง ความเป็ น เลิ ศ ในการเป็ น ผู้ นํ า และทั ก ษะด้ า นอาชี ว อนามั ย ความปลอดภัย การจัดการภาวะฉุกเฉินและวิกฤติผ่านโปรแกรม การพัฒนาความรู้ความสามารถ ซึ่งจะเป็นการตอกยํ้าความสําคัญ และปลู ก ฝั ง ให้ เ กิ ด เป็ น วั ฒ นธรรมและความตระหนั ก แก่ พนักงานทุกคน อีกทั้งยังป้องกันอุบัติการณ์ร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้นได้ ตลอดจนรักษาตําแหน่งผู้นําในอุตสาหกรรมนํ้ามันอีกด้วย นอกจากนี้ ไทยออยล์ได้จัดโครงการ Safe White Green สําหรับบริษัท ผู้รับเหมา โดยให้บริษัทผู้รับเหมาเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ ด้านความปลอดภัย (Safe ) ความมั่นคง (White ) และสิ่งแวดล้อม (Green ) ซึ่งเป้าหมายของโครงการคือ อุบัติเหตุต้องเป็นศูนย์ ไม่มี สิ่ ง เสพติ ด หรื อ การกระทํ า ผิ ด กฎหมาย และทุ ก กิ จ กรรมต้ อ งไม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มหรื อ สร้ า งความเดื อ ดร้ อ นรํ า คาญ ต่อชุมชน ไทยออยล์ได้มีการดําเนินการด้านอาชีวอนามัยที่สําคัญ ได้แก่ >>

จัดทําระเบียบวิธีปฏิบัติการประเมินสมรรถภาพร่างกาย (Fitness for Work ) ให้ กั บ พนั ก งานและผู้ รั บ เหมา โดยกํ า หนดให้ มี การประเมินสมรรถภาพร่างกายให้กับพนักงานและผู้รับเหมา ที่ ป่ ว ยและประสบอุ บั ติ เ หตุ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งและ ไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การทํ า งาน รวมถึ ง ประเมิ น สมรรถภาพหรื อ ความพร้อมของจิตใจเพื่อกลับเข้ามาทํางาน ภายหลังจากการ เจ็บป่วย หรือประสบอุบัติเหตุได้รับบาดเจ็บด้วย ทั้งนี้เพื่อให้ มั่นใจว่าพนักงานและผู้รับเหมาแต่ละคนมีความพร้อม สามารถ ทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเอง และเพื่อนร่วมงาน

>>

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

จัดทําโครงการด้านการยศาสตร์สําหรับการทํางานในสํานักงาน (Ergonomics Approaches for Offi ce Work ) โดยมีการตรวจ สถานีงาน (Work Station ) และประเมินความเสี่ยงของลักษณะ การนั่งและท่าทางการทํางานในสํานักงาน พร้อมกําหนดมาตรการ แก้ไขป้องกันให้เหมาะสมกับโครงสร้างและสภาพร่างกายของ พนักงานแต่ละคน เพื่อป้องกันโรคกล้ามเนื้อและกระดูกที่เกิดจาก การทํางานของพนักงานในสํานักงาน และมัน่ ใจว่าพนักงานจะได้รบั การดูแลจัดการด้านความเสี่ยงต่อสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ อัน จะส่งผลให้พนักงานมีสุขภาพที่ดีตลอดไป

เนื่องจากข้อมูลเป็นปัจจัยสําคัญที่จะทําให้การบริหารจัดการเป็นผล หรื อ ล้ ม เหลว ไทยออยล์ จึ ง ได้ จั ด ทํ า ระบบข้ อ มู ล เพื่ อ การบั น ทึ ก ติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยสําหรับ พนักงานและผู้รับเหมา รวมทั้งรายงานอุบัติเหตุต่างๆ และเหตุการณ์ ที่ มี แ นวโน้ ม ก่ อ ให้ เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ เช่ น การปฏิ บั ติ ที่ ไ ม่ ป ลอดภั ย สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย และเหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ เป็นต้น การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เครือไทยออยล์ได้กําหนดกรอบการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ที่คํานึงถึงดุลยภาพด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจ (Triple Bottom Line ) ขึ้นภายใต้แผนแม่บทด้านสิ่งแวดล้อม ปี 2555-2559 (Environmental Master Plan 2012-2017) เพื่อให้สามารถตอบสนอง ความท้ า ทายและโอกาสของเครื อ ไทยออยล์ จ ากผู้ มี ส่ ว นได้ ส่วนเสียต่างๆ ที่สําคัญ อาทิ ชุมชน หน่วยงานอนุญาต แผนธุรกิจ เครือไทยออยล์ แนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น กอปรกับการใช้จุดแข็งและประสบการณ์ความเชี่ยวชาญด้านพลังงาน ที่สั่งสมมากว่า 50 ปี จัดทําเป็นแผนพัฒนาในรูปแบบแผนแม่บท ด้านสิ่งแวดล้อม ปี 2555-2559 ซึ่งประกอบด้วยโครงการพัฒนา 9 แผนงาน อันได้แก่ 1. Governance Structure เครือไทยออยล์ยังคงใช้แนวทาง ISO 14001 กํากับและพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมอย่าง ต่ อ เนื่ อ งเสมอมา ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น ได้ นํ า เอากรอบของการพั ฒ นา อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ (Eco Industry ) Global Reporting Initiative


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

(GRI ) และ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI ) มาประยุกต์ วางแนวทางในการดําเนินการเพื่อให้ครอบคลุมมุมมองผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียต่างๆ ตลอดจนประยุกต์ใช้มาตรฐานความรับผิดชอบต่อ สังคม CSR (ISO 26000) ภายใต้โครงการ CSR -DIW 2. Technical Procedures เพื่อให้การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมตาม จรรยาบรรณเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยจะไม่กระทําการใดๆ ที่ส่งผลเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและ สภาพแวดล้อม และดําเนินการปลูกฝังจิตสํานึกความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อมให้กับพนักงานทุกระดับอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ ได้ กํ า หนดหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ ในส่ ว นนโยบายคุ ณ ภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม การจัดการ พลังงาน และความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์ ซึ่งได้ ดําเนินการและสือ่ สารนโยบายฯ ผ่านช่องทางต่างๆ อาทิ CG e-learning การอบรมพนักงานใหม่ระหว่างการปฐมนิเทศ การให้ความรู้และ ฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ หลักสูตร STA .1 – Safety , Security and Environment in Refinery กิจกรรมในสัปดาห์ QSSHE การจัดส่ง พนักงานเข้ารับการอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและ ภายนอกองค์กร หลักสูตรด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น รวมทั้งผลักดันนําไปสู่การปฏิบัติและสื่อสารตามข้อกําหนด ของ ISO-14001 ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ได้ ถู ก พั ฒ นาสู่ ค วามเป็ น เลิ ศ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและสามารถถ่ า ยทอด จากรุ่นสู่รุ่น ผ่านระบบการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM ) ตามหลักการที่เรียกว่า COSSAI 6 ขั้นตอน ได้แก่ การรวบรวม (Capture) การจัดหมวดหมู่ (Organize) การจัดเก็บ (Store) การแบ่งปัน (Share ) การนําไปใช้ (Apply) และการนําไปต่อยอดความคิด (Innovate) 3. Climate Strategy เครือไทยออยล์ให้ความสําคัญต่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะเชื้อเพลิงและพลังงาน โดยมีการ จัดตั้งคณะทํางาน Energy and Loss Committee (E &L ) เพื่อวางแผน ดําเนินงาน ติดตามตรวจสอบ และหาแนวทางปรับปรุงพัฒนาด้าน การจัดการพลังงานอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ไทยออยล์ยังได้จัดทํา แผนแม่บทการจัดการพลังงาน ระยะ 10 ปี (2553 – 2562) โดยมี การกําหนดเป้าหมายเพื่อก้าวขึ้นสู่ 1st Quartile ของกลุ่มโรงกลั่นใน

053

ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในด้านการใช้พลังงาน อันส่งผลโดยตรงต่อ สภาพบรรยากาศโลก คือ การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก 4. Water Resource Management การบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า อย่ า งเป็ น ระบบเพื่ อ ลดความเสี่ ย งจากการขาดแคลนนํ้ า ใน กระบวนการผลิ ต และป้ อ งกั น ความขั ด แย้ ง กั บ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ ตลอดจนมี ค วามพร้ อ มในการรายงานปริ ม าณการใช้ นํ้ า ต่อสาธารณชนและสามารถตรวจสอบได้ นอกจากนี้ เครือไทยออยล์ ได้วางกรอบการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการนํ้า ทั้งในส่วนการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้นํ้าในกระบวนการผลิตและ การใช้ ท รั พ ยากรนํ้ า อย่ า งคุ้ ม ค่ า ซึ่ ง ขณะนี้ อ ยู่ ร ะหว่ า งการศึ ก ษา ออกแบบโครงการ 5. Eco -Effi ciency Performance นอกจากการดูแลและปฏิบัติตาม มาตรการป้องกันและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมตามที่กําหนดไว้ ในรายงาน Environmental Impact Assessment (EIA ) และการ ดํ า เนิ น การตามกฎหมายด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งครบถ้ ว นแล้ ว เครื อ ไทยออยล์ ยั ง คํ า นึ ง ถึ ง การปรั บ ปรุ ง กระบวนการผลิ ต ต่ า งๆ อันใส่ใจต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้แก่ >>

มลภาวะทางอากาศ ที่เริ่มเข้าสู่กระบวนการจัดการ ตั้งแต่การ วางแผนซ่ อ มบํ า รุ ง การควบคุ ม ปริ ม าณกํ า มะถั น ในเชื้ อ เพลิ ง ตั้งแต่ต้นทาง การเลือกใช้อุปกรณ์และกระบวนการผลิตที่สะอาด การควบคุ ม อั ต ราการระบายและการตรวจวั ด อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในเครือไทยออยล์

>>

มลภาวะทางนํ้า ที่ถูกบริหารจัดการ ตั้งแต่การลดปริมาณและแยก สายการบําบัดตั้งแต่ต้นทาง ตามหลักการ 3R (Reduce Reuse Recycle) อันเป็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า รวมไปถึง การควบคุมระบบบําบัดนํ้าเสียอย่างมีประสิทธิภาพ

>>

กากอุตสาหกรรม ภายใต้รูปแบบการบริหารจัดการ ตั้งแต่การจัด ทํ า บั ญ ชี ( Inventory ) การลดปริ ม าณกากอุ ต สาหกรรมตั้ ง แต่ ต้นทางตามหลักการ 3R (Reduce Reuse Recycle ) ตลอดจนการ ควบคุมการจัดเก็บ การขนส่ง และการกําจัดกากอุตสาหกรรม อย่างปลอดภัย เป็นไปตามกฎหมายและถูกต้องตามหลักวิชาการ


054

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

6. Biodiversity จากมุมมองของความรับผิดชอบต่อถิ่นที่อยู่อาศัย และทรั พ ยากรธรรมชาติ โ ดยรอบโรงกลั่ น เครื อ ไทยออยล์ ยั ง คง ดําเนินการโครงการที่สําคัญอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ โครงการ Refi nery Park เพื่อปรับภูมิทัศน์และสร้างบรรยากาศในการทํางานให้มีความ กลมกลืนกับสภาพธรรมชาติ รวมทั้งเป็นส่วนช่วยกระตุ้นจิตสํานึก ด้านการดูแลใส่ใจธรรมชาติให้กับพนักงาน ผู้รับเหมา และผู้เยี่ยมชม โครงการศึ ก ษาระบบนิ เวศน์ เขาภู ไ บ ซึ่ ง อยู่ ร ะหว่ า งการศึ ก ษา ความเป็นไปได้ของโครงการ 7. Supplier and Contractor Program การบริหารจัดการคู่ค้าและ ผู้รับเหมาเป็นปัจจัยหลักที่มีความสําคัญต่อความยั่งยืนของไทยออยล์ อีกทั้งยังเป็นการแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมในการบริหาร จัดการผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมจากการดําเนินงานของ คู่ค้าและผู้รับเหมา ดังนั้น ไทยออยล์จึงกําหนดให้มีแนวปฏิบัติสําหรับ คู่ค้าและผู้รับเหมาในด้านสิ่งแวดล้อม รวมถึงด้านสังคม ตลอดจน ส่งเสริมและสนับสนุนให้คู่ค้าและผู้รับเหมามีการดําเนินงานตาม ข้อกําหนดของเครือไทยออยล์ รวมทั้งยังได้เข้าร่วมกับโครงการ CSR -DIW อย่างต่อเนื่อง เพื่อแสดงเจตจํานงที่ชัดเจนด้านความ รับผิดชอบต่อสังคม 8. Environmental Audit จากการดําเนินการภายใต้กรอบการบริหาร จั ด การด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ( ISO 14001) อย่ า งจริ ง จั ง และปรั บ ปรุ ง อย่างต่อเนื่องตลอดมา ทําให้เครือไทยออยล์ไม่มีข้อบกพร่องหลัก (NC Major = 0) จากการตรวจสอบโดยสํานักงานรับรองมาตรฐาน อุตสาหกรรม (สรอ.) รวมทั้งอยู่ระหว่างวางแนวทางการ Audit และ Assurance รายงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามแนวทาง Global Reporting Initiative (GRI ) 9. Management Information Solutions เพื่อให้เกิดการบริหาร จัดการอย่างยั่งยืน เครือไทยออยล์อยู่ระหว่างศึกษาแนวทางการวาง รู ป แบบฐานข้ อ มู ล ทางด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มเพื่ อ ที่ จ ะสามารถต่ อ ยอด ไปสูก่ ารบริหารจัดการในระดับสากล อาทิ Environmental Dashboard , LCA/LCI, CO2 Foot Print, Water Foot Print เป็นต้น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

การดํ า เนิ น การภายใต้ ก รอบของแผนแม่ บ ทด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ปี 2555-2559 มี ก ารทบทวนเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง เป็ น ประจํ า ทุ ก ปี ซึ่ ง ถื อ เป็ น ส่ ว นสํ า คั ญ ในการสนั บ สนุ น วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ ที่ ยึ ด มั่ น ในความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม รวมทั้ ง เป็ น การสร้ า ง ความพึงพอใจและความผูกพันแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อันนําไปสู่ การเติบโตอย่างยั่งยืนของเครือไทยออยล์ต่อไป การให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงานเรื่องสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้กําหนดจรรยาบรรณเกี่ยวกับแนวปฏิบัติต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยจะไม่กระทําการใดๆ ที่ส่งผลเสียต่อทรัพยากร ธรรมชาติและสภาพแวดล้อม และจะปลูกฝังจิตสํานึกความรับผิดชอบ ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นในบริษัทฯ และพนักงานทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง ในการดังกล่าวบริษัทฯ ได้กําหนดแนวปฏิบัติที่ชัดเจน ในการให้ ค วามรู้ แ ละฝึ ก อบรมพนั ก งานเกี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยมอบหมายให้ ฝ่ า ยบริ ห ารคุ ณ ภาพองค์ ก รเป็ น ผู้รับผิดชอบหลักในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรซึ่งจะมุ่งเน้น ให้ความสําคัญในการสื่อสารนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทฯ และการให้ ค วามรู้ แ ก่ พ นั ก งานตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ต้ น เข้ า ทํ า งานใหม่ ระหว่างการปฐมนิเทศ โดยเฉพาะพนักงานสายปฏิบัติการ ช่างเทคนิค และวิศวกร ซึ่งจะเป็นผู้ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องโดยตรงกับการดูแล ผลกระทบและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ได้แก่ โครงการ Safe White Green , การอบรมหลั ก สู ต ร STA .1 – Safety , Security and Environment in Refi nery การจัดกิจกรรมสัปดาห์ QSSHE การจัดส่ง พนักงานเข้ารับการอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทั้งภายใน และภายนอกองค์ ก ร การอบรมหลั ก สู ต รผู้ จั ด การ/ผู้ ค วบคุ ม / ผู้ ป ฏิ บั ติ ก ารประจํ า ระบบควบคุ ม มลพิ ษ นํ้ า /กากอุ ต สาหกรรม/ อากาศ การอบรมหลักสูตรด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม โดยส่ ง วิ ศ วกรที่ รั บ ผิ ด ชอบหน่ ว ยผลิ ต ต่ า งๆ เข้ า รั บ การอบรม ด้านเทคนิคของกระบวนการผลิตจากบริษัทฯ เจ้าของเทคโนโลยีกว่า 20 หลักสูตร เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการนําระบบรับรองคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อม และระบบบริ ห ารงานชั้ น นํ า มาใช้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อาทิ ระบบ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

ISO -14001 ระบบ ISO -26001 ผ่านโครงการ CSR -DIW และระบบ การบริหารงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ หรือ Thailand Quality Award (TQA) เป็นต้น รวมทั้งมีการกระตุ้นจิตสํานึกด้าน การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มให้ กั บ พนั ก งานอย่ า งสมํ่ า เสมอ ได้ แ ก่ การตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่การผลิต การรณรงค์การใช้ ทรั พ ยากรในสํ า นั ก งานอย่ า งคุ้ ม ค่ า ไม่ ว่ า จะเป็ น การปิ ด ไฟฟ้ า แสงสว่ า งในห้ อ งประชุ ม เมื่ อ เลิ ก ใช้ ง าน การควบคุ ม อุ ณ หภู มิ เครื่องปรับอากาศในสํานักงานให้เหมาะสม การประหยัดนํ้าประปา การสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนการใช้กระดาษพิมพ์ เป็นต้น ผลของการดําเนินกิจกรรมต่างๆ นี้จะถูกรายงานให้กับผู้บริหาร เป็นประจํา ซึ่งในแต่ละปีจะมีกระบวนการทบทวน (Management Review ) อันนํามาซึ่งการกําหนดแนวทางการปรับปรุง รวมทั้งการ กําหนดแผนงานประจําปี และสื่อสารให้พนักงานรับทราบและนําไป สู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผลต่อไป

055


056

12

โครงการในอนาคต

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

โครงการ ในอนาคต

มุ ง สู ก า ร เ ป น ผู นํ า ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ เ ชิ ง บู ร ณ า ก า ร โ ค ร ง ก า ร ที่ อ ยู ร ะ ห ว า ง ดํ า เ นิ น ก า ร ด า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ป โ ต ร เ ค มี ที่ ต อ เ นื่ อ ง อ ย า ง ค ร บ ว ง จ ร โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพหน่วยกลั่นนํ้ามันสุญญากาศที่ 2 โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพของหน่วยกลั่นสุญญากาศที่ 2 (High ใ น ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย แ ป ซิ ฟิ ก บริ ษั ท ฯ วางแผนกลยุ ท ธ์ ก ารลงทุ น ของเครื อ ไทยออยล์ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่ อ สร้ า งความเจริ ญ เติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น มุ่ ง สู่ การเป็ น ผู้ นํ า ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เชิ ง บู ร ณาการด้ า นการกลั่ น และ ปิ โ ตรเคมี ที่ ต่ อ เนื่ อ งอย่ า งครบวงจรในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟิ ก อย่างแข็งแกร่ง เพื่อก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC ) อั น จะเป็ น การขยายขอบเขตตลาด เปิ ด กว้ า งการลงทุ น ตลอดจนโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น ไทยออยล์ได้เตรียมแผนการลงทุนทั้งในด้านการขยายกําลังการผลิต เพื่อรองรับความต้องการผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น การเพิ่มคุณค่าของ ผลิตภัณฑ์ การผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้ บ ริ โ ภค รวมถึ ง การลงทุ น เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ และศั ก ยภาพ ในการแข่ ง ขั น เช่ น การพั ฒ นาธุ ร กิ จ ขนส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเลี ย ม และปิโตรเคมี รวมถึงโลจิสติกส์ ตลอดจนโครงการด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

Vacuum Unit ) เป็นโครงการเพิ่มขีดความสามารถในการกลั่นแยก นํ้ามันเตาชนิดเบา (Vacuum Gas Oil หรือ Waxy Distillated ) ออกจาก นํ้ามันหนัก (Short Residue ) ซึ่งนํ้ามันเตาชนิดเบาที่กลั่นแยกได้ เพิ่มขึ้นนี้ สามารถนําไปเพิ่มคุณค่าเป็นนํ้ามันสําเร็จรูปมูลค่าสูงได้ เช่ น นํ้ า มั น เบนซิ น และนํ้ า มั น ดี เซล เป็ น ต้ น โครงการดั ง กล่ า ว ครอบคลุมการติดตัง้ หน่วยกลัน่ Deep Cut และการปรับปรุงหน่วยผลิต ต่อเนื่องอื่นๆ โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 3,000 ล้านบาท ขณะนี้ อยู่ระหว่างการดําเนินการก่อสร้าง คาดว่าโครงการจะแล้วเสร็จ และ สามารถดําเนินการผลิตในเชิงพาณิชย์ได้ในไตรมาสที่ 1 ปี 2557 โครงการปรับปรุงคุณภาพก๊าซทิ้ง บริ ษั ท ฯ ได้ ดํ า เนิ น โครงการปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพก๊ า ซทิ้ ง ( Emission Improvement Project : EIP ) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัด ก๊าซซัลเฟอร์ออกไซด์ (SO X ) ในก๊าซทิ้งจากการเผาไหม้ให้อยู่ใน มาตรฐานที่ ตํ่ า กว่ า 500 ส่ ว นในล้ า นส่ ว น เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้อมให้ดียิ่งขึ้น และรองรับโครงการต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นใน อนาคตตามแผนกลยุทธ์องค์กร โดยโครงการดังกล่าวใช้เงินลงทุน ประมาณ 7,000 ล้านบาท และครอบคลุมการติดตั้งหน่วยกําจัด กํามะถันหน่วยใหม่ (Sulfur Recovery Unit & Tail Gas Treating Unit ) โดยบริษัทฯ ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล จากคณะกรรมการ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment: BOI ) สําหรับกําไรสุทธิ ที่ได้จากการประกอบกิจการ เทียบเท่ากับเงินลงทุนในโครงการ ดังกล่าว โครงการผลิตสาร LAB ของบริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด และบริษัท มิตซุย แอนด์ คัมปนี จํากัด ได้ร่วมกันจัดตั้งบริษัท ลาบิกซ์ จํากัด ขึ้นเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2556 เพื่ อ ประกอบธุ ร กิ จ ผลิ ต สาร LAB ขนาดกํ า ลั ง การผลิ ต 100,000 ตั น ต่ อ ปี เป็ น แห่ ง แรกในประเทศไทย ซึ่ ง สาร LAB นี้ เป็ น วั ต ถุ ดิ บ หลั ก ในการผลิ ต สารซั ก ล้ า ง บริ ษั ท ลาบิ ก ซ์ จํ า กั ด ได้เลือกใช้กระบวนการผลิตของ UOP Limited Liability Company ที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยเชื่อมต่อ กระบวนการผลิ ต ทั้ ง หมดเข้ า กั บ กระบวนการผลิ ต หลั ก ของ เครื อ ไทยออยล์ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในการดํ า เนิ น การสู ง สุ ด เพื่ อ เพิ่ ม ความสามารถในการแข่ ง ขั น โดยใช้ เ งิ น ลงทุ น ประมาณ 12,000 ล้านบาท สาร LAB ที่ผลิตขึ้นนี้จะทดแทนการนําเข้าของประเทศไทยที่มีการ นําเข้าสูงถึงประมาณ 70,000 ตันต่อปี และยังสามารถส่งออกไปยัง ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ซึ่ ง เป็ น ผู้ นํ า เข้ า สุ ท ธิ เนื่ อ งจาก ปัจจุบันมีโรงงานผลิตสาร LAB เพียงแห่งเดียว โดยโรงงานดังกล่าว ไม่สามารถดําเนินการผลิตได้อย่างสมํ่าเสมอ เนื่องจากไม่ได้ต่อเชื่อม กับโรงกลั่นเหมือนบริษัท ลาบิกซ์ จํากัด ในขณะที่ความต้องการ

โครงการในอนาคต

057

สาร LAB ในภูมิภาคนี้เพิ่มขึ้นตามความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โครงการผลิตสาร LAB นี้จะช่วยเสริมศักยภาพของประเทศไทย ให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต และส่ ง ออกสารซั ก ล้ า งให้ กั บ ประเทศ และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขณะนี้โครงการอยู่ในระหว่างการดําเนินการก่อสร้าง และคาดว่า จะแล้วเสร็จ พร้อมดําเนินการเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2558 เพื่อรองรับ การเปิดตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC ) โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าแห่งใหม่ภายใต้โครงการผู้ผลิตไฟฟ้า รายเล็ก (SPP ) ระบบ Cogeneration ไทยออยล์ มี ก ลยุ ท ธ์ ก ารลงทุ น ในธุ ร กิ จ ผลิ ต ไฟฟ้ า เพื่ อ กระจาย ความเสี่ ย งจากการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โรงกลั่ น นํ้ า มั น และปิ โ ตรเคมี ที่ วั ฏ จั ก รธุ ร กิ จ มี ค วามผั น ผวน ไปยั ง ธุ ร กิ จ ที่ มี โ ครงสร้ า งรายได้ ที่ แน่นอน มีความเสี่ยงตํ่า และยังช่วยเสริมความมั่นคงในการจัดหา ไฟฟ้าและไอนํ้าของเครือไทยออยล์อีกด้วย โดยในปี 2554 ไทยออยล์ ได้ผ่านการคัดเลือกให้ขายไฟฟ้าภายใต้โครงการผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (Small Power Producer : SPP ) ระบบ Cogeneration ประเภทสัญญา ระยะยาวหรือประเภท Firm จํานวน 2 โครงการ โครงการละ 90 เมกะวัตต์ เงินลงทุนโครงการคิดเป็นมูลค่าประมาณ 12,000 ล้านบาท ปั จ จุ บั น อยู่ ร ะหว่ า งดํ า เนิ น การก่ อ สร้ า งและมี กํ า หนดจ่ า ยไฟฟ้ า เชิงพาณิชย์ ภายในปี 2559


058

โครงการในอนาคต

โครงการขยายกองเรือของบริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริ ษั ท ไทยออยล์ ม ารี น จํ า กั ด มุ่ ง เน้ น ที่ จ ะเป็ น ผู้ นํ า ด้ า นกองเรื อ ในกลุ่ ม ปตท. และในระดั บ ภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟิ ก เพื่ อ รองรั บ การขยายตัวของตลาดพลังงาน ปิโตรเลียม และปิโตรเคมี โดยเน้น การลงทุนทั้งในเรือขนาดใหญ่ เช่น เรือ VLCC และเรือ AFRAMAX ตลอดจนเรื อ ขนาดเล็ ก Crew Boat เพื่ อ สนั บ สนุ น การบริ ห าร จั ด การด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ใ นกลุ่ ม ปตท. โดยเฉพาะเมื่ อ ก้ า วเข้ า สู่ การเป็ น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น ( AEC ) รวมทั้ ง เพื่ อ รองรั บ แผนกลยุทธ์ในการขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศ (Step -Out ) ของเครือไทยออยล์ ในปี 2557 บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด มีแผนการลงทุนในการ จัดหาเรือ AFRAMAX จํานวน 1 ลํา เรือ VLCC จํานวน 1 ลํา และ เรือขนส่งพนักงานและสัมภาระ (Crew Boat ) จํานวน 3 ลํา ภายใต้ งบลงทุนประมาณ 1,000 ล้านบาท โดยลงทุนผ่านบริษัทในเครือ ซึ่ ง จะทํ า ให้ บ ริ ษั ท ไทยออยล์ ม ารี น จํ า กั ด มี ก ลุ่ ม กองเรื อ ที่ มี ศักยภาพแข็งแกร่ง และมีความพร้อมเป็นฐานสําคัญในการสนับสนุน การเติบโตของกลุ่ม ปตท. และเครือไทยออยล์อย่างยั่งยืน อีกทั้ง เป็นส่วนสําคัญที่สนับสนุนการขนส่งนํ้ามันและก๊าซของกลุ่ม ปตท. เพื่อความมั่นคงของพลังงานไทยอีกด้วย โครงการขยายกําลังการผลิตสารทําละลายบริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด บริ ษั ท ศั ก ดิ์ ไชยสิ ท ธิ จํ า กั ด ผู้ ผ ลิ ต สารทํ า ละลายขนาดกํ า ลั ง การผลิตใหญ่ที่สุดของประเทศ กําลังอยู่ระหว่างการก่อสร้างเพื่อ ขยายกําลังการผลิตจาก 76,000 เป็น 141,000 ตันต่อปี หรือเพิ่มขึ้น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

อี ก ประมาณ 1 เท่ า ภายใต้ ง บลงทุ น ประมาณ 2,000 ล้ า นบาท เพื่ อ รองรั บ ความต้ อ งการสารทํ า ละลายที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น ทั้ ง จาก ภายในประเทศ และในภู มิ ภ าค ทั้ ง นี้ มี ก ารขยายทั้ ง ในส่ ว นของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ดิ ม เช่ น Hexane Rubber Solvent TOPSol A 100 TOPSol A 150 และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ๆ เช่ น Pentane เกรดต่ า งๆ โดยขณะนี้การดําเนินการใกล้แล้วเสร็จ และคาดว่าจะเริ่มดําเนินการ เชิงพาณิชย์ได้ในไตรมาสที่ 2 ปี 2557 โครงการผลิตไบโอก๊าซจากกากมันสําปะหลังของ บริษัท เอ็นพี ไบโอ เอนเนอยี่ จํากัด บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด อยู่ระหว่างการดําเนินโครงการ นํ า กากมั น สํ า ปะหลั ง จากกระบวนการผลิ ต แป้ ง มั น ของบริ ษั ท อุ บ ลเกษตรพลั ง งาน จํ า กั ด ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ในเครื อ มาผลิ ต เป็ น ไบโอก๊ า ซ สํ า หรั บ ใช้ ใ นโครงการผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ขนาดกํ า ลั ง การผลิต 5.6 เมกกะวัตต์ เพื่อจําหน่ายให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ภายใต้ โ ครงการผู้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า ขนาดเล็ ก มาก ( Very Small Power Plant – VSPP ) โดยได้ รั บ สิ ท ธิ อั ต ราส่ ว นเพิ่ ม ราคารั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า (Adder) เนือ่ งจากผลิตจากก๊าซชีวภาพ โดยบริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด จะลงทุนโครงการดังกล่าว ผ่านบริษัท เอ็นพี ไบโอ เอนเนอยี่ จํากัด โดยคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จ และเริ่มจ่ายไฟฟ้าเข้าสู่ระบบ ได้ภายในไตรมาสที่ 1 ปี 2558 โครงการเพิ่มศักยภาพแข่งขันโดยเพิ่มการใช้มันสําปะหลังสด เป็นวัตถุดิบ ของบริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด ได้ดําเนินโครงการปรับปรุงกระบวนการผลิต เอทานอล ให้สามารถรองรับวัตถุดิบที่หลากหลาย กล่าวคือสามารถ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

รองรั บ มั น สํ า ปะหลั ง สด เพิ่ ม เติ ม จากการใช้ มั น สํ า ปะหลั ง เส้ น เพียงอย่างเดียวในปัจจุบัน ซึ่งจะช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นในกระบวน การผลิต สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ โดยเฉพาะระหว่างฤดูเก็บเกี่ยว มันสําปะหลังสดในเดือนธันวาคมถึงพฤษภาคมของทุกปี โครงการ ดังกล่าวใช้เงินลงทุนประมาณ 80 ล้านบาท และคาดว่าจะดําเนินการ แล้วเสร็จในไตรมาสที่ 4 ปี 2557

โ ค ร ง ก า ร ที่ อ ยู ร ะ ห ว า ง ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม เ ป น ไ ป ไ ด โครงการเพิ่มมูลค่านํ้ามันหนัก จากการเติบโตทางเศรษฐกิจทั้งในประเทศและภูมิภาคที่เพิ่มสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีความต้องการใช้นํ้ามันสําเร็จรูปในภาค ขนส่งและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีมากขึ้น เครือไทยออยล์จึงมีแนวคิด ศึกษาโครงการเพิ่มมูลค่านํ้ามันหนัก (Residue ) โดยนํานํ้ามันเตาที่มี มูลค่าตํ่ามาผลิตให้เป็นผลิตภัณฑ์อื่นที่มีมูลค่าสูงขึ้น เพื่อตอบสนอง ความต้องการในตลาดที่เติบโตอย่างรวดเร็ว การศึกษาครอบคลุม การติดตั้งหน่วยแตกตัวโมเลกุลหน่วยใหม่ (Cracking Unit ) การติดตั้ง หน่วยผลิตต่อเนื่องอื่นๆ เพื่อปรับปรุงคุณภาพนํ้ามัน ตลอดจนการ ปรับปรุงกระบวนการผลิตเดิมให้เหมาะสม ขณะนี้อยู่ในระหว่างการ ดําเนินการคัดเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม และการศึกษาความเป็น ไปได้เบื้องต้น โครงการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานของ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) มีโครงการศึกษาความเป็นไปได้ ในการผลิตนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานคุณภาพสูง (High Quality Base Oil ) เพื่อรองรับความต้องการทั้งจากภายในประเทศและต่างประเทศ ที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว ซึ่ ง ส่ ง ผลมาจากการพั ฒ นามาตรฐาน เครื่ อ งยนต์ และมาตรการสิ่ ง แวดล้ อ มที่ เข้ ม งวดขึ้ น โดยนํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐานคุ ณ ภาพสู ง ดั ง กล่ า วมี ป ริ ม าณกํ า มะถั น ตํ่ า มี อ ายุ ใช้งานยาว และยังช่วยลดความสิ้นเปลืองของเชื้อเพลิงได้อีกด้วย นอกจากนี้บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) ยังมีแผนงานที่จะ ต่อยอดธุรกิจไปสู่การผลิตนํ้ามันหล่อลื่น (Lubricant ) เพื่อให้ครบ ห่วงโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain ) ของธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่น โครงการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ จากการขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ งของอุ ต สาหกรรมพลั ง งานและ ปิโตรเคมี เครือไทยออยล์และกลุ่ม ปตท. ได้เล็งเห็นความสําคัญของ

โครงการในอนาคต

059

การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ให้แข็งแกร่งเพื่อสนับสนุนให้ธุรกิจปัจจุบัน มี ค วามคล่ อ งตั ว และเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ขึ้ น จึ ง ได้ ร่ ว มกั น ศึ ก ษา โครงการพัฒนาระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ของธุรกิจพลังงานและ ปิโตรเคมี ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งทางบก ทางนํ้า ตลอดจนการพัฒนา ระบบการจัดการ โดยมุ่งเน้นให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินที่ มีอยู่อย่างเต็มที่ การสร้างประโยชน์ร่วม (Synergy ) รวมถึงศึกษา ความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาต่อยอดเป็นอีกธุรกิจหนึ่งที่จะเสริมสร้าง ความมั่งคง และสร้างผลตอบแทนที่ดีให้กับกลุ่มในอนาคตด้วย โครงการขยายธุรกิจด้านสารทําละลาย บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้นําด้านการตลาดธุรกิจสารทําละลาย ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟิ ก ผ่ า นการศึ ก ษาโอกาสในการผลิ ต สาร ทําละลายชนิดใหม่ๆ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อรองรับผู้บริโภค ที่ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มเพิ่ ม ขึ้ น ตลอดจนขยายตลาดสู่ ผลิตภัณฑ์พิเศษ (Niche Solvent ) อีกทั้งยังมีแผนงานที่จะขยายฐาน การผลิต และการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ไปยังภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เพิ่มมากขึ้น โครงการขยายธุรกิจสารลดแรงตึงผิว บริษัทฯ มีแผนศึกษาความเป็นไปได้ในการขยายธุรกิจสารลดแรง ตึงผิว ที่เป็นวัตถุดิบสําคัญในการผลิตสารทําความสะอาด ทั้งในส่วน ผลิตภัณฑ์สําหรับครัวเรือน และผลิตภัณฑ์ส่วนบุคคล เพื่อเป็นการ เสริมและต่อยอดในโครงการผลิตสาร LAB ที่กล่าวถึงแล้วข้างต้น โดย มุ่งเน้นที่จะส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของอุตสาหกรรม การผลิตสารทําความสะอาดของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โครงการขยายธุรกิจอื่นๆ ไทยออยล์มีแผนงานที่จะขยายธุรกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยมุ่ ง เน้ น ประเทศในกลุ่ ม ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น ( AEC ) ผ่ า นการแสวงหาพั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ตลอดจนการเข้ า ซื้ อกิ จ การ ( Merger & Acquisition : M & A ) โดยมุ่ ง เน้ น ที่ จ ะศึ ก ษาโอกาส ในการลงทุ น ที่ ส ามารถนํ า จุ ด แข็ ง ของเครื อ ไทยออยล์ ไ ปต่ อ ยอด ให้เกิดประโยชน์หรือมูลค่าเพิ่ม (Value Added ) ได้ ทั้งธุรกิจหลัก ไ ด้ แ ก่ ธุ ร กิ จ ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี ร ว ม ถึ ง ธุ ร กิ จ อื่ น ๆ ในเครื อ ไทยออยล์ ตลอดจนธุ ร กิ จ ใหม่ ๆ ที่ จ ะเสริ ม สร้ า งความ แข็งแกร่งให้บริษัทฯ ก้าวสู่การเป็นผู้นําในธุรกิจอย่างยั่งยืนต่อไป


060

13

ก า ร บ ริ ห า ร ศั ก ย ภ า พ อ ง ค ก ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ก า ร บ ริ ห า ร ศั ก ย ภ า พ อ ง ค ก ร

เ น น บ ริ ห า ร ศั ก ย ภ า พ อ ง ค ก ร ผ า น ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ก า ร บ ริ ห า ร ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล แ ล ะ ก า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข ม แ ข็ ง ข อ ง อ ง ค ก ร จ า ก ภ า ย ใ น

Succession Planning

6' 5 7B .; 1 7B/ Ę

Organizational Health Check

6' '4A%8 ).< $6"1 Ĝ '

Knowledge Management

6' 5 6' +6%'=ę

ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล จากแผนกลยุ ท ธ์ สู่ แ ผนแม่ บ ทในด้ า นทรั พ ยากรบุ ค คลของ เครือไทยออยล์ ตลอดหลายปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้สร้างรากฐาน ความพร้อมในเรื่องของบุคลากรเพื่อให้สามารถรองรับการเติบโต ของธุรกิจได้อย่างเป็นระบบ สอดรับกับสถานการณ์ขององค์กรใน สภาวะปัจจุบัน โดยมุ่งเน้นใน 2 มิติคือ การเตรียมความพร้อมในด้าน ขีดความสามารถและจํานวนให้เหมาะสม สอดคล้องกับแผนงาน การเติบโตของบริษัทฯ มีการสร้างรากฐานของระบบงานบริหาร ทรัพยากรบุคคลให้มีนโยบายและกระบวนการที่ชัดเจน สามารถ นํามาบูรณาการได้ รวมทั้งต้องสามารถสร้างแรงจูงใจให้พนักงาน สามารถสร้างสรรค์ผลงานที่นํามาสู่องค์กรที่มีศักยภาพเป็นเลิศ ในปี นี้ เ อง บริ ษั ท ฯ ไม่ ห ยุ ด ที่ จ ะต่ อ ยอดสร้ า งรากฐานของงาน ทรั พ ยากรบุ ค คลให้ มั่ น คง ด้ ว ยการดํ า เนิ น งานแบบศู น ย์ ร วมการ ให้บริการในระบบงานต่างๆ ของทรัพยากรบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการ สรรหา การคัดเลือกพนักงาน การพัฒนาพนักงาน การบริหารจัดการ สายอาชี พ การบริ ห ารค่ า จ้ า งเงิ น เดื อ นและสวั ส ดิ ก าร ตลอดจน งานทางด้านแรงงานสัมพันธ์และการบริหารต่างๆ เพื่อให้เกิดความ สอดคล้องด้านนโบบาย มีแนวทางปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าไม่ว่าจะเป็นความรวดเร็ว ที่เพิ่มขึ้น สามารถเพิ่มโอกาสและประโยชน์ต่างๆ ให้กับพนักงาน มากยิ่ ง ขึ้ น รวมไปถึ ง สามารถบริ ห ารจั ด การค่ า ใช้ จ่ า ยได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังได้มีการสานต่อการเตรียมความพร้อมของบุคลากร อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ไม่ ว่ า จะเป็ น การจั ด ทํ า แผนสื บ ทอดตํ า แหน่ ง (Succession Planning ) ซึ่งเพิ่มความเข้มข้นในการจัดทํามากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในตํ า แหน่ ง งานที่ มี ค วามสํ า คั ญ กั บ องค์ ก ร ให้ มี ความเชื่ อ มโยงกั บ การวางแผนสายอาชี พ ที่ ไ ด้ ว างไว้ ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ระบวนการเร่ ง รั ด ในการพั ฒ นาผ่ า นการจั ด ทํ า การประเมิ น รายบุคคล เทียบกับตําแหน่งงานในอนาคต ทําให้สามารถพัฒนา พนักงานได้ตรงจุดและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งถือเป็นการพัฒนาพิเศษ นอกเหนื อ จากการพั ฒ นาแบบมาตรฐานของพนั ก งานทุ ก คน ซึ่ ง เริ่ ม ตั้ ง แต่ วั น แรกที่ พ นั ก งานก้ า วมาเป็ น สมาชิ ก ครอบครั ว ไทยออยล์ บริษัทฯ มีโปรแกรมการพัฒนาที่มุ่งสร้างความรู้ในธุรกิจ เครื อ ไทยออยล์ การปรั บ ตั ว เข้ า กั บ ที ม งานและวั ฒ นธรรมของ เครือไทยออยล์ เพื่อสร้างความผูกพันตั้งแต่ช่วงแรก หลังจากนั้น


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

จะมี โ ปรแกรมการพั ฒ นาที่ จั ด ให้ ส อดคล้ อ งเหมาะสมกั บ หน้ า ที่ ความรับผิดชอบของพนักงานแต่ละระดับ โดยเน้นการพัฒนาด้าน ทักษะการจัดการบริหารการทํางาน หลักการดําเนินธุรกิจ ทักษะ การเป็นผู้นําทั้งของตนเองและทีมงาน อีกทั้งหากพนักงานมีการ เปลี่ยนแปลงตําแหน่งหรือระดับงาน ก็จะมีโปรแกรมการพัฒนาที่ ปรับพื้นฐาน สร้างความพร้อมให้สามารถทํางานในตําแหน่งใหม่ ได้ ต รงตามหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบนั้ น ๆ อี ก ด้ ว ย ซึ่ ง เรี ย กได้ ว่ า เป็ น การสร้ า งเส้ น ทางการพั ฒ นาที่ เ หมาะสมและชั ด เจนสํ า หรั บ พนักงานทุกคนในองค์กร นอกเหนือจากนี้แล้ว บริษัทฯ ยังคงมุ่งสร้างให้พนักงานรักษ์องค์กร อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ได้ แ ก่ การจั ด ทํ า กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การสร้ า งความ ผู ก พั น และแรงจู ง ใจในการทํ า งาน โดยเน้ น เรื่ อ งการปรั บ ปรุ ง รูปแบบการสื่อสารให้มีความชัดเจนและหลากหลาย เข้าถึงพนักงาน ในทุกระดับอย่างแท้จริง โดยมุ่งหวังให้พนักงานเข้าใจระบบ และ รั บ ทราบข้ อ มู ล ข่ า วสารอย่ า งถู ก ต้ อ ง ไม่ ว่ า จะเป็ น การจั ด ทํ า สื่ อ ระบบงานทรัพยากรบุคคลให้เป็นคู่มือที่เข้าใจง่ายสําหรับหัวหน้างาน การจัดทําโครงการพี่พบน้องให้กับกลุ่มพนักงานใหม่เพื่อเสริมสร้าง ความเข้าใจและแก้ไขปัญหาในเรื่องต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว การจัดทํา โครงการ Best Delivery ซึ่งเป็นช่องทางสําคัญในการสื่อสารความ เคลื่อนไหวหรือข่าวสารต่างๆ ของหน่วยงานทรัพยากรบุคคล อีกทั้ง ยังมีการจัดตั้ง Call Center เพื่อเป็นสายด่วนให้พนักงานสามารถ สอบถามข้อมูลเบื้องต้นได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย กิจกรรมและโครงการดังที่กล่าวมาแล้วนั้น แสดงให้เห็นความมุ่งมั่น ของเครื อ ไทยออยล์ ใ นการสร้ า งความพร้ อ มของบุ ค ลากร อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดรับกับความต้องการของธุรกิจ ตลอดจน แผนการขยายธุ ร กิ จ ไปสู่ ต่ า งประเทศอี ก ด้ ว ย ซึ่ ง ในการเตรี ย ม ความพร้ อ มเพื่ อ ให้ ร องรั บ แผนการขยายธุ ร กิ จ ดั ง กล่ า ว เราได้ เตรียมจัดทําโครงการ Mobility ซึ่งเป็นกระบวนการในการบริหาร และพัฒนาบุคลากรผู้มีศักยภาพเพื่อให้พร้อมรับต่อการปฏิบัติงาน ในต่างประเทศ ซึ่งเป็นแผนงานที่ท้าทายของเราในอนาคตต่อไป

ก า ร พั ฒ น า อ ง ค ก ร การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในโลกธุรกิจปัจจุบัน มีผลกระทบต่อ สภาวะการแข่งขันขององค์กรโดยตรง ผู้ที่แข็งแกร่งที่สุดย่อมยืนอยู่ ได้ น านกว่ า ผู้ อื่ น การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง จากภายในองค์ ก รเป็ น สิ่งสําคัญอย่างยิ่งในการช่วงชิงความเป็นหนึ่งในธุรกิจ ในปี 2556 นี้ ไทยออยล์ ไ ด้ นํ า ผลการประเมิ น สุ ข ภาพองค์ ก ร ( Organizational Health Check : OHI ) มาจัดทําแผนเพื่อปรับปรุงและเสริมสร้าง

ก า ร บ ริ ห า ร ศั ก ย ภ า พ อ ง ค ก ร

061

ภูมิคุ้มกันให้กับบริษัทฯ โดยได้กําหนดให้ OHI เป็นหนึ่งในกลยุทธ์ หลักขององค์กร และมีการจัดตั้งคณะทํางาน OHI ขึ้น เพื่อผลักดัน กลยุทธ์ OHI สู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง คณะทํางานดังกล่าวเกิดจาก ความร่วมมือกันแบบข้ามสายงาน (Cross Functional Team ) และ ในคณะทํางานยังประกอบด้วยพนักงานหลากหลายระดับ ตั้งแต่ ผู้บริหารสูงสุดจนถึงตัวแทนพนักงาน ปั จ จุ บั น กลยุ ท ธ์ OHI ได้ ถู ก ถ่ า ยทอดและนํ า ไปปฏิ บั ติ ไ ด้ ต าม วัตถุประสงค์ ก่อให้เกิดมุมมองใหม่ๆ ที่ส่งเสริมค่านิยม POSITIVE ของบริ ษั ท ฯ อย่ า งลงตั ว ทั้ ง ในส่ ว นของการจั ด ทํ า Leadership Backbone Model รวมถึงแนวปฏิบัติความเชื่อใจและห่วงใย (Trust & Care ) ที่ส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับมุ่งมั่นส่งต่อความเชื่อใจ และห่วงใยให้กันและกัน อันเป็นปัจจัยสําคัญที่ส่งเสริมให้สุขภาพ ของไทยออยล์แข็งแกร่งขึ้นจากภายใน การจัดการความรู้ บริษัทฯ ได้พัฒนาการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) เพื่อก้าวสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) โดยมุ่งตอบสนองวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ ได้แก่ การสนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ของเครื อ ไทยออยล์ ใ ห้ เ ติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น การส่ ง เสริ ม ขี ด ความสามารถของพนั ก งานเครื อ ไทยออยล์ และ การสนับสนุนเครือไทยออยล์ให้เป็น HPO (High Performance Organization ) โดยบริษัทฯ ได้เน้นผลลัพธ์ของการจัดการความรู้ ซึ่ ง นํ า ไปสู่ สิ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า แก่ อ งค์ ก ร ได้ แ ก่ การปรั บ ปรุ ง กระบวน การทํางานและกระบวนการทางธุรกิจ แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice ) นวั ต กรรม รวมถึ ง การสร้ า งผู้ เชี่ ย วชาญ ที ม งานด้ า น การจัดการความรู้ (KM Team ) ได้ทํางานร่วมกับ KM Governance ซึ่งเป็นตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ โดยนําเครื่องมือต่างๆ ของการ จัดการความรู้ มาดําเนินการและประยุกต์ใช้ ไม่ว่าจะเป็น Knowledge Base, KM Process , Community of Practice ( CoP ) และ การจั ด กิ จ กรรมต่ า งๆ เพื่ อ ให้ เ กิ ด วั ฒ นธรรมการจั ด การความรู้ (KM Culture Cultivation ) เครื่องมือเหล่านี้ ล้วนส่งเสริมให้เกิดการ เรียนรู้ร่วมกันในองค์กร เกิดการแบ่งปันความรู้ และมีส่วนสําคัญ อย่ า งยิ่ ง ในการสนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ของเครื อ ไทยออยล์ ใ ห้ เ ติ บ โต อย่างยั่งยืน สําหรับปี 2556 นี้ บริษัทฯ ได้ส่ง TOP Group KM CoP เข้าประกวดในโครงการ PTT Group KM Award 2013 เป็นครั้งแรก และได้ รั บ รางวั ล ประเภท The Best Process ระดั บ Platinum ซึ่งถือเป็นเครื่องหมายรับประกันคุณภาพและเป็นความภาคภูมิใจ สําหรับการดําเนินการจัดการความรู้ของเครือไทยออยล์


062

14

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

คณะกรรมการ บ ริ ษั ท ฯ

นายณอคุณ สิทธิพงศ์

นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร

ประธานกรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 60 ปี

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ อายุ 68 ปี

ประวัติการศึกษา >> วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) สาขาเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> M .Sc . (Mechanical Engineering ) Oregon State University ประเทศสหรัฐอเมริกา >> Ph .D . (Mechanical Engineering ) Oregon State University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP 21/2009) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 47 >> สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 4 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 2 สถาบันวิทยาการ พลังงาน ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2546-2553 รองปลัดกระทรวงพลังงาน 2553-2556 ปลัดกระทรวงพลังงาน 2554-2556 ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี

ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปริญญาโท วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัย Lamar รัฐ Texas ประเทศสหรัฐอเมริกา

>> >>

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 27/2004) >> หลักสูตร Finance for Non -Finance Director (FND 24/2005) >> หลักสูตร Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS 5/2006) >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP 22/2008) >> หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP 26/2011) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 166/2012) ประวัติการอบรมอื่นๆ

- ไม่มี

ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2547-2555 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ฟอร์จูน พาร์ท อินดัสตรี้ จํากัด (มหาชน) 2549-2554 ประธานกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2549-2554 ประธานกรรมการกลุ่มบริษัท เทเลเดต้า (กรุงเทพฯ) จํากัด 2549-2554 กรรมการสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น 2549-2556 กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 2551-2555 ประธานกรรมการ บริษัท พีเออี (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2551-2556 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยโรตารี่ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> ประธานกรรมการ บริษัท สยามโกลบอลเฮ้าส์ จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด (1) >> ประธานกรรมการ บริษัท ซีออยล์ จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด (2) >> ประธานกรรมการ บริษัท อีโค่ไลท์ติ้ง จํากัด >> กรรมการอิสระและประธานกรรมการสรรหา บริษัท ซาคารี รีซอร์สเซส จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการตรวจสอบ อายุ 42 ปี

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการตรวจสอบ อายุ 59 ปี

ประวัติการศึกษา >> วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (สาขาวิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยรังสิต >> การจัดการภาครัฐและเอกชนมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ >> รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์

- ไม่มี

ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2545-2554 กรรมการผู้จัดการ บริษัท คอมเมอชัล อะไลอันซ์ จํากัด 2546-2550 กรรมการและผู้อํานวยการ บริษัท หาดสวยฟ้าใส จํากัด 2554-2555 กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - ไม่มี 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด(1) >> กรรมการ บริษัท แอร์ อินเตอร์ ทรานสปอร์ต จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ (1) >> ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการ บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จํากัด (สังกัดกระทรวงการคลัง) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี เศรษฐศาตร์สาขาวิชาการเงินการธนาคาร (เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ >> Master of Development Studies สาขาวิชา Economic Policy and Planning Institute of Social Studies, Rotterdam Erasmus University ประเทศเนเธอร์แลนด์ >>

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP 40/2012) >> หลักสูตร Advance Audit Committee Program (AACP 9/2012) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 155/2012) >> หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD 15/2012) >> หลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE 14/2012) >> หลักสูตร Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR 16/2012) >> หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM 8/2012) >> หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA 13/2012) >> หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 13/2012) >> หลักสูตร How to Develop a Risk Management Plan (HRP 1/2012) >> หลักสูตร How to Measure the Success of Corporate Strategy (HMS 1/2012) ประวัติการอบรมอื่นๆ

063

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 40/2005) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 72/2006) >> หลักสูตร Finance for Non -Finance Director (FND 28/2006) >> หลักสูตร Finance Statement for Director (FSD 10/2010) >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP 39/2012) >> หลักสูตร The Role of Chairman Program (RCP 28/ 2012) >> หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP 4/2012) >> หลักสูตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG 3/ 2012) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นบส.1) รุน ่ ที่ 41 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน >> หลักสูตร Strategic Thinking and Executive Action , Kellogg Executive Program Northwestern University ประเทศสหรัฐอเมริกา >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 19 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงชั้นสูง รุ่นที่ 1 (วปอ.มส1) สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 12 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCOT ) รุ่นที่ 5 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 3 ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2548-2550 รองผู้อํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 2550-2552 กรรมการบริหารสํารอง ธนาคารโลก กรุงวอชิงตัน ดี ซี สหรัฐอเมริกา มิ.ย.-ธ.ค. 2552 รองผู้อํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 2552-2554 ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) 2554-2555 ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชนจํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> ผู้อํานวยการสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง 5. รัฐวิสาหกิจ (2) >> กรรมการ ธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง >> กรรมการอํานวยการและประธานอนุกรรมการงบประมาณ โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี


064

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์

นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการตรวจสอบ อายุ 63 ปี

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 63 ปี

ประวัติการศึกษา >> นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา >> Master of Comparative Law (MCL .) University of IIIinois ประเทศสหรัฐอเมริกา >> นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง >> นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยโยนก >> ประกาศนียบัตร Harvard Business School ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 35/2003) >> หลักสูตร Finance for Non -Finance Director (FND 7/2003) >> หลักสูตร Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS 1/2006) >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP 17/ 2007) >> หลักสูตร DCP Refresher Course (1/2008) >> หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP 4/2012) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. 388) >> สถาบันพระปกเกล้า หลักสูตรการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหาร ระดับสูง (ปปร. 8) >> สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 5 (วตท. 5) >> สถาบันวิทยาการพลังงาน หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 1 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCOT ) รุ่นที่ 5 >> หลักสูตรภูมิพลังแห่งแผ่นดินรุ่นที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2548-2552 รองอัยการสูงสุด สํานักอัยการสูงสุด 2552-2556 อัยการสูงสุด สํานักอัยการสูงสุด 2553-2556 กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2553-2556 กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - ไม่มี 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด - ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (4) >> นายกสมาคม สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> ศาสตราจารย์พิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> กรรมการกฤษฎีกา 5. รัฐวิสาหกิจ (1) >> ประธานกรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี

ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

>> >>

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 125/2009) >> หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD 6/2009) >> หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC 14/2012) ประวัติการอบรมอื่นๆ หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 15 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 8 สถาบันพระปกเกล้า >> หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรให้เป็นนักบริหารมืออาชีพ โดยสถาบันวิจยั นโยบายเศรษฐกิจ การคลัง ร่วมกับ The Kellogg School of Management และ The Maxwell School of >>

Citizenship and Public Affairs >>

หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 12

ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2550-2552 รองอธิบดีกรมศุลกากร 2552-2554 ที่ปรึกษาด้านพัฒนาระบบควบคุมทางศุลกากร กรมศุลกากร ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน บริษัท เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด - ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (2) >> ที่ปรึกษาประจําสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ >> ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ คณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน วุฒิสภา 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต

พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 59 ปี

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 63 ปี

ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี (วิทยาศาสตรบัณฑิต) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 24 >> วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) 2550

ประวัติการศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต (วทบ.ทบ.) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า วิทยาลัยการทัพบก รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รศ.) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

>> >> >>

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 16/2004) ประวัติการอบรมอื่นๆ หลักสูตรชั้นนายพัน ประเทศออสเตรเลีย Fort Benning ประเทศสหรัฐอเมริกา

>> >>

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 158/2012) >> หลักสูตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG 3/2012) >> หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD 17/2012) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 4616 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี ต.ค. 2551 รองแม่ทัพภาคที่ 1 กองทัพบก เม.ย. 2552 แม่ทัพน้อยที่ 1 กองทัพบก ต.ค. 2553 รองเสนาธิการทหารบก ต.ค. 2555 ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไมด้า ลิสซิ่ง จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด - ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> ประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

065

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี

ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2548-2550 ผู้บัญชาการ มณฑลทหารบกที่ 22 จังหวัดอุบลราชธานี 2550-2552 ที่ปรึกษากองทัพบก 2555-2556 กรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ (1) >> ที่ปรึกษา คณะกรรมการฝ่ายกิจการสัมพันธ์ โรงงานยาสูบแห่งประเทศไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี


066

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์

พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ อายุ 53 ปี

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการกํากับดูแลกิจการ อายุ 59 ปี

ประวัติการศึกษา >> รัฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> M .A .P .A . Pi Alpha Alpha (National Honor Society for Public Affairs and Administration) Northern Illinois University, U.S.A. >> Ph .D . สาขาการวิเคราะห์นโยบายการบริหารรัฐกิจและการเมืองเปรียบเทียบ Northern Illinois University, U.S.A.

ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.(ตร.)) โรงเรียนนายร้อยตํารวจ (นรต.รุน่ 29) ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.(พัฒนาสังคม)) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาบัตรหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 42 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

>> >> >>

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 80/2006) >> หลักสูตร Financial Statements for Non -Directors (FND 30/2006) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงสถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 10 >> หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บยส.) รุ่นที่ 15 ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2545-2556 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 2549-2552 กรรมการธรรมาภิบาล บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2555-2556 กรรมการอิสระ ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> กรรมการอิสระ และประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ปตท.จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชนจํากัด – ไม่มี 3. บริษัทจํากัด – ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (6) >> เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา >> กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการนโยบายตํารวจแห่งชาติ (กตช.) >> กรรมการนโยบายบุคลากรสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> กรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลสถาบันพระปกเกล้า >> ประธานกรรมการอิสระติดตามและประเมินผลสภาพัฒนาการเมือง >> กรรมการอํานวยการ สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA ) 5. รัฐวิสาหกิจ (1) >> กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดีและส่งเสริมกิจกรรม เพื่อสังคม บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) - ไม่มี ประวัติการอบรมอื่นๆ >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ รุ่นที่ 5 โดยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมกับ กระทรวงพาณิชย์ และหอการค้าไทย >> หลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสูง โดยสถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง >> หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นที่ 15 โดยวิทยาลัยการยุติธรรม >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 5 โดยสถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.5) >> วิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ 33 ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2550 ผู้ช่วย ผบ.ตร. และปฏิบัติหน้าที่ ผบ.ศปก.ตร.สน. (จว.ยะลา) 2552 ที่ปรึกษา (สบ 10) (ด้านความมั่นคงและกิจการพิเศษ) 2552 กรรมการ องค์การตลาด กระทรวงมหาดไทย 2553 กรรมการ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2553–2555 รองผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ 2554–2555 เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (2) >> กรรมการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท ไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ 5. รัฐวิสาหกิจ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี -

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

นายถาวร พานิชพันธ์

นายสมเกียรติ หัตถโกศล

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการกํากับดูแลกิจการ อายุ 63 ปี

กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 63 ปี

ประวัติการศึกษา >> นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา >> นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

067

ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ Pennsylvania State University ประเทศสหรัฐอเมริกา

>> >>

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS 8/2007) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 108/2008) >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 73/2008) >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP 22/2008) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 4313 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สําหรับนักบริหารสูงสุด วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 14 ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2550-2556 รองอัยการสูงสุด ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (4) >> อัยการอาวุโส ที่ปรึกษาอัยการสูงสุด >> กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง >> กรรมการกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน >> กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านกฎหมาย) สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 5. รัฐวิสาหกิจ

- ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 158/2012) ประวัติการอบรมอื่นๆ

- ไม่มี

ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2547-2555 กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 2549-2552 กรรมการ บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด 2549-2555 กรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด 2550-2554 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ จํากัด 2551-2553 รองกรรมการอํานวยการ- ด้านธุรกิจ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) 2551-2556 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด 2551-2556 กรรมการ บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด 2551-2556 ประธานกรรมการ บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด 2551-2556 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด 2552-2553 ผู้อํานวยการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) 2552-2556 กรรมการ TOP Solvent (Vietnam) Limited Liability 2553-2556 กรรมการ บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด (3) >> รองประธาน บริษัท ไทยโตไกคาร์บอนโปรดักท์ จํากัด >> กรรมการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด >> กรรมการ บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ไม่มี - ไม่มี

- ไม่มี - ไม่มี 0.0519% - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี


068

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

นายณัฐชาติ จารุจินดา

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ 60 ปี

กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ 59 ปี

ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> MBA , Industrial Management , University of Tennessee ประเทศสหรัฐอเมริกา

>> >>

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 18/2002)

ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 129/2010)

ประวัติการอบรมอื่นๆ >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปริญญาบัตรปรอ.) รุ่นที่ 16

>>

ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการอบรมอื่นๆ หลักสูตร Program for Global Leadership (PGL) สถาบัน Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา >> หลักสูตร Oxford Energy Seminar ประเทศอังกฤษ >> หลักสูตร Break through Program for Senior Executives (BPSE ) สถาบัน IMD International ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ >> หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 20 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาลัยตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 15 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการพลังงาน

ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2547-7 พ.ย. 2555 กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 2549-2553 กรรมการอิสระ บริษัท อินโดรามาโพลีเมอร์ส จํากัด (มหาชน) 2550-2552 ประธานสมาคมธนาคารอาเซียน 2550-2553 ประธานสมาคมธนาคารไทย 2550-2553 กรรมการบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท) 2550-2553 กรรมการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 2555-ก.พ. 2556 กรรมการอิสระ บริษัท ซีพีออลล์ จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (4) >> กรรมการอิสระ บริษัทซินเน็ค (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) >> กรรมการอิสระ บริษัท อินโดรามาเวนเจอร์ส จํากัด (มหาชน) >> ประธานกรรมการ บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จํากัด (มหาชน) >> ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ธนาคาร ไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชนจํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด (2) >> รองประธาน คณะกรรมการการลงทุน บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์ จํากัด >> กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท บางกอกกล๊าส จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี

ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2548–2552 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธุรกิจก๊าซธรรมชาติสําหรับยานยนต์ บมจ. ปตท. 2552 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ บมจ. ปตท. 2553–2554 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์องค์กร บมจ. ปตท. 2554–2556 ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บมจ. ปตท. ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (3) >> ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท ปตท.สผ. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด - ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> ประธานกลุ่มโครงการพิเศษ Water Resource Management องค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

069

นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการ (เป็นผู้บริหาร) กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการคณะกรรมการ อายุ 59 ปี

ประวัติการศึกษา >> วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> Master of Science (Mechanical Engineering), Texas A&I University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 82/2006) >> หลักสูตร Finance for Non -Finance Directors (FND 30/2006) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCOT ) รุ่นที่ 2/2009 >> สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 11 >> ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง Leadership Development Program “Enhancing Competitiveness” โดยสถาบัน International Institute for Management Development (IMD) พ.ศ. 2555 ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2549–2551 รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานธุรกิจการค้า บริษทั ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั บางกอกโพลีเอททีลนี จํากัด (มหาชน) 2551 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 2551–2554 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 2554–2555 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)

ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด (1) >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด (12) >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด >> กรรมการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด >> กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (5) >> รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย >> ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย >> กรรมการสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย >> นายกสมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> กรรมการมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาปิโตรเลียมและปิโตรเคมี สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี


070

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

นายชัยเกษม นิติสิริ

นายสมชัย สัจจพงษ์

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (ลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2556) อายุ 65 ปี

กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการตรวจสอบ (ลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2556) อายุ 52 ปี

ประวัติการศึกษา >> นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา >> LL .M . Columbia University โดยทุนรัฐบาล ตามความต้องการของกรมอัยการ (สํานักงานอัยการสูงสุด) และทุนของมูลนิธิ Starr ประเทศสหรัฐอเมริกา >> นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง >> นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ >> ศาสตราจารย์พิเศษ ในสาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 8/2001) >> หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP 16/2007) >> หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD 5/2009) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> นักบริหารงานยุติธรรมระดับสูง (อส.) รุ่นที่ 1 >> วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 38 >> นักบริหารระดับสูง (ก.พ.) หลักสูตรที่ 1 รุ่นที่ 14 >> การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 9 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 5 >> Cert . in International Procurement , Georgetown University (2524) >> หลักสูตร “การกํากับดูแลกิจการสําหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชน” รุ่นที่ 6 สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ สถาบันพระปกเกล้า >> หลักสูตร “ภูมิพลังแผ่นดิน” สําหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> หลักสูตร “ผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน” (วพน.) รุ่นที่ 2 สถาบันวิทยาการพลังงาน ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2546-2556 กรรมการกฤษฎีกา 2547-2556 กรรมการสภามหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น 2550–2552 อัยการสูงสุด สํานักงานอัยการสูงสุด 2550-2556 กรรมการสภามหาวิทยาลัยเนชั่น 2551-2555 กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) 2552–2556 อัยการอาวุโส (ที่ปรึกษาอัยการสูงสุด) 2555-2556 กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) 2555-2556 ประธานกรรมการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2555-2556 ประธานกรรมการ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน - ไม่มี 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด - ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน - ไม่มี ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง - ไม่มี

ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ Ohio State University ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร์ Ohio State University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certification Program (DCP 75/2006) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> นักบริหารระดับสูง - ผู้นําที่มีวิสัยทัศน์ รุ่นที่ 44 >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 20 >> สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 2 ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2551-2552 ผู้อํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 2552-2553 อธิบดีกรมศุลกากร 2552-2554 กรรมการ การไฟฟ้านครหลวง 2553-2554 ผู้อํานวยการสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ 2553-2554 กรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) 2555-มิ.ย. 2556 กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (2) >> กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด (1) >> กรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> ผู้อํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 5. รัฐวิสาหกิจ (1) >> กรรมการ การไฟฟ้านครหลวง สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

นายสมชาย พูลสวัสดิ์ กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (ลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2556) อายุ 57 ปี

ประวัติการศึกษา >> นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ >> รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 136/2010) ประวัติการอบรมอื่นๆ หลักสูตร วปอ.49 จากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร The Customs International Executive Management Program (CIEMP) ประเทศออสเตรเลีย >> หลักสูตรการพัฒนาการจัดการ Mini MM กระทรวงการคลัง >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.รุ่นที่ 2) >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.รุ่นที่ 17) >> >>

ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2551–2552 รองอธิบดี กรมศุลกากร 2552–2553 ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง 2553–2554 รองปลัดกระทรวงการคลัง 2554–2555 อธิบดีกรมศุลกากร 2554-2556 กรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) 2555- ก.ย. 2556 กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> กรรมการ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> อธิบดีกรมสรรพสามิต 5. รัฐวิสาหกิจ (1) >> กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

- ไม่มี - ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

-

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี

071


072

15

โ ค ร ง ส ร า ง ฝ า ย จั ด ก า ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

โ ค ร ง ส ร า ง ฝ า ย จั ด ก า ร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

''% 6'17 +& 6' ''% 6'17 +& 6' ''% 6'17 +& 6' ''% 6'17 +& 6' ''% 6'17 +& 6' ''% 6'17 +& 6' ''% 6' =ę 5 6' ''% 6' =ę 5 6'

-

TLB TPX TM TES TET TP TS SAKC

'1 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 C ' 6'"ôA, 5&+5 Ĝ 7' Ĝ% ) <)

'1 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 )&< Ĝ1 Ĝ ' .% 5& + ,Ĝ+5 ,6 Ĝ

=ę 5 6'!ē6&+6 B )&< Ĝ

$5 ') 6 . Ę6B.

=ę 5 6'!ē6&"5 6 <' 8

+ "' 9'$6"E".8

'1 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 6'A è B)4 5g 9 8 8%6 A "+ 5 ='

=ę 5 6'!ē6&+6 B 6'A è

,8'è"' %/5 'è&+ ,Ĝ

=ę 5 6'!ē6& 6' )5

6' 9 % 6 < )8

=ę 5 6'!ē6& 5g 9

'4"ô 1 A 9&%

'1 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 6'"6 8 &Ĝ1 Ĝ ' +è- < + ,Ĝ.% =' Ĝ

=ę 5 6'!ē6&+6 B 6'"6 8 &Ĝ

5 ' 6" ,Ĝ +5 6 ' '5 -6 6'

=ę 5 6'!ē6& 6'"6 8 &Ĝ

15 'é&Ĝ 9&6$' Ĝ

=ę 5 6'!ē6& 'è/6' 5"")6&A

5 ' 6" ,Ĝ +5 6 '

=ę Ę+& ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 6' )8

&< 6 $6.<' ĝgg6

=ę 5 6'!ē6& )8 ę6 6' )5I

/%6&A/ < 01/05/2552 >> 8 5, Ę '1 +6 8 & <) E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I £ £ 01/09/2552 >> A 1 6 8 < '5 Ę E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I £¢ £¢ 01/10/2553 >> 1'' +< 8 +è 8 A,'- E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I ££ 01/01/2553 >> " -Ę"5 <Ę 1%'+è+5 Ę E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I £ B)4 £ § 01/01/2556 >> +èC' Ę + ,Ę. 8'&6 < E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I £ ¢ 10/01/2556 >> )ĕ6/6g C 7 6g+è &Ę E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I ¢ 11/07/2556 >> .< 6 8 %5 &6 Ę E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I §

C ,) "ô% 4C 5&

=ę 5 6'!ē6& )8 ę6 ďC 'A %9 B)4)=ę A .

" -Ĝ"5 <Ĝ 1%'+è+5 Ĝ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

โ ค ร ง ส ร า ง ฝ า ย จั ด ก า ร

4 ''% 6' 'è-5 3 4 ' ' % 6 ' ' + . 1

'4 6 A ę6/ ę6 9I 'è/6' B)4 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ +é',5 8M C .8 E",6)

=ę 5 6'B '+ .1 '4 6 $6&D

=ę 5 6'!ē6& +5 ''% B)4 6' 'è/6' +6%&5I &;

.5 8 +6. .8'è

'1 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 6' )5I B)4 ďC 'A %9 1$8 5 Ĝ .<$5 ' < '

'1 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 'è/6',5 &$6"1 Ĝ '

+é',5 8M C .8 E",6) '5 -6 6'

=ę 5 6'!ē6& '5"&6 ' < )

+èC' Ĝ + ,Ĝ. 8'&6 <

=ę 5 6'!ē6&"5 61 Ĝ '

17") .8 /Ĝ,5 6

=ę Ę+& ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 '4.8 8$6" 6' )8

E% 'é A'éI&+A 4

=ę 5 6'!ē6&+è,+ ''%

.<' 5& B. .7'6g

=ę 5 6'!ē6&A C C)&9

5 8 ''% '4 7 è

=ę 5 6'!ē6&"5 6.8 '5"&Ĝ

.%A 9&' 8 ' '4 5 <)

=ę 5 6'!ē6& 'è/6' < $6"1 Ĝ '

'4A.'è A'èø%+6 8 &Ĝ

=ę Ę+& ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 7 5 8 6'1 Ĝ '

+èC' Ĝ %9 4"5 Ĝ '5 -6 6'

=ę 5 6'!ē6& 8 6'.5%"5 Ĝ

+èC' Ĝ %9 4"5 Ĝ '5 -6 6'

=ę 5 6'!ē6& 8 6'1 Ĝ '

$6 <%6, = 6 8 5& <) 6'

073


074

16

ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

01. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล

10. นายกล้าหาญ โตชํานาญวิทย์

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านบริหารศักยภาพองค์กร (รักษาการ)

ผู้จัดการฝ่าย - ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานที่ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด

02. นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล

11. นายโกศล พิมทะโนทัย

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านโครงการพิเศษ

ผู้จัดการฝ่ายผลิต - ด้านการกลั่น

03. นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์

12. นายจีราวัฒน์ พัฒนสมสิทธิ์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกลยุทธ์องค์กร

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด

04. นางนิธิมา เทพวนังกูร

13. นายฉัตรฐาพงศ์ วังธนากร

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการเงินและบัญชี

ผู้จัดการฝ่ายบริหารซัพพลายเชน ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการพาณิชย์ (รักษาการ)

05. นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการพาณิชย์องค์กร

14. นางสาวดวงพร ธีรภาพไพสิฐ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

06. นายอภินันท์ สุภัตรบุตร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี

15. นางดารณี มนธาตุผลิน ผู้จัดการฝ่ายการคลัง

07. นายยุทธนา ภาสุรปัญญา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการผลิต

16. นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์

08. นายไมตรี เรี่ยวเดชะ

ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการ บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านประสิทธิภาพการผลิต กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์ เพาเวอร์ จํากัด

17. นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล

09. นายวิโรจน์ มีนะพันธ์

ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกํากับกิจการองค์กร (รักษาการ) ผู้จัดการฝ่ายกิจการสัมพันธ์ (รักษาการ)


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

01

02

03

04

05

06

07

08

09

10

11

12

13

14

15

16

17

075


076

ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

18. นายบัณฑิต ธรรมประจําจิต

26. นางสาวศิริพร มหัจฉริยวงศ์

ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยี

ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการเงิน

19. นางประพิณ ทองเนียม

27. นายสมเกียรติ ขจรประดับกุล

ผู้จัดการฝ่ายบัญชี

ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์

20. นายประเสริฐ เริ่มวานิชย์

28. นายสันติ วาสนสิริ

ผู้จัดการฝ่ายบริหารคุณภาพองค์กร

ผู้จัดการฝ่ายนวัตกรรมและการบริหารความยั่งยืน

21. นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์

29. นายสุชาติ มัณยานนท์

ผู้จัดการฝ่ายผลิต - ด้านปิโตรเคมีและลู้บเบส ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด

ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด

22. นางสาวภัทรลดา สง่าแสง

31. นางสาวอัจฉรีย์ ตียาภรณ์

ผู้จัดการฝ่ายวางแผนกลยุทธ์

ผู้จัดการฝ่ายการพาณิชย์

23. นางภาณุมาศ ชูชาติชัยกุลการ

32. นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ

ผู้จัดการฝ่ายกิจการองค์กร

ผู้จัดการฝ่าย - ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานที่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

30. นายสุรชัย แสงสําราญ ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม

24. นายวิโรจน์ วงศ์สถิรยาคุณ ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด

25. นายศรัณย์ หะรินสุต กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด

33. นายอําพล สิงห์ศักดา ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาองค์กร


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

077


078

17

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น

ทุ น ชํ า ระแล้ ว จํ า นวน 20,400,278,730 บาท โดยเป็ น หุ้ น สามั ญ ทั้งสิ้น 2,040,027,873 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท

จํ า น ว น ทุ น จ ด ท ะ เ บี ย น แ ล ะ ทุ น ชํ า ร ะ แ ล ว หุ้นสามัญ ณ วั น ปิ ด สมุ ด ทะเบี ย นพั ก การโอนหุ้ น วั น ที่ 31 ตุ ล าคม 2556 บริ ษั ท ฯ มี ทุ น จดทะเบี ย นจํ า นวน 20,400,278,730 บาท เป็ น

รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 ลําดับแรก(1) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)(2)

STATE STREET BANK EUROPE LIMITED STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY CHASE NOMINEES LIMITED 15 JX Holdings, Inc. HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD THE BANK OF NEW YORK MELLON GIC PRIVATE LIMITED-C บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) THE BANK OF NEW YORK (NOMINEES) LIMITED รวม

ผู ถื อ หุ น รายชื่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ 10 รายแรก ณ วั น ที่ 31 ตุ ล าคม 2556 มีดังนี้

จํานวนหุ้น

สัดส่วนการถือหุ้น

1,001,647,483 75,856,763 58,452,670 54,727,319 36,137,200 33,494,299 28,912,824 20,033,700 16,900,000 14,701,498 1,340,863,756

49.10% 3.72% 2.87% 2.68% 1.77% 1.64% 1.42% 0.98% 0.83% 0.72% 65.73%

หมายเหตุ: (1) ไม่นับรวมผู้ถือหุ้นบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการลงทุนของผู้ลงทุน โดยเฉพาะชาวต่างประเทศ ให้สามารถลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนได้โดยไม่ติดเรื่องเพดานการถือครองหลักทรัพย์ของชาวต่างชาติ (Foreign Limit) ซึ่งไม่มีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมของบริษัทจดทะเบียน (2) บมจ. ปตท. ในฐานะที่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ มีส่วนในการกําหนดนโยบายการจัดการและการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งนี้ มีกรรมการที่เป็นกรรมการ และ/หรือ ผู้บริหารของ บมจ. ปตท. จํานวน 3 คน จากจํานวนกรรมการบริษัทฯ ทั้งหมด 15 คน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ก า ร อ อ ก ห ลั ก ท รั พ ย อื่ น หุ้นกู้ บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ ชนิดไม่มีหลักประกัน 3 ชุด จํานวนรวม 1,350 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งจะครบกําหนดชําระ คืนเงินต้นปี 2558 จํานวน 350 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ปี 2566 จํานวน 500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และปี 2586 จํานวน 500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้สกุลเงินบาทชนิดไม่มีหลักประกันและไม่ด้อย สิทธิ 4 ชุดจํานวนรวม 25,000 ล้านบาท ซึ่งจะครบกําหนดไถ่ถอนปี 2557 จํานวน 12,000 ล้านบาท ปี 2560 จํานวน 2,500 ล้านบาท ปี 2565 จํานวน 3,000 ล้านบาท และปี 2570 จํานวน 7,500 ล้านบาท

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

079

จ่ายเงินปันผลได้เป็นครั้งคราว เมื่อเห็นว่าบริษัทฯ มีผลกําไรสมควร จะทําเช่นนั้น แล้วให้รายงานการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลดังกล่าว ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป สํ า หรั บ นโยบายการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลของบริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ คณะกรรมการของบริษัทย่อยจะพิจารณาให้ความเห็นชอบ และ เสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทนั้นๆ อนุมัติในแต่ละปีเช่นกัน โดยจะพิ จ ารณาการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลจากแผนการลงทุ น ตามความ จําเป็นและความเหมาะสมอื่นๆ เช่น ความเพียงพอของกระแสเงินสด ของบริษัทย่อยหลังจากหักสํารองเงินตามที่กฎหมายกําหนดแล้ว

ข อ มู ล ก า ร จ า ย เ งิ น ป น ผ ล ย อ น ห ลั ง น โ ย บ า ย ก า ร จ า ย เ งิ น ป น ผ ล บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของกําไรสุทธิของงบการเงินรวม ภายหลังจากการหักทุนสํารองต่างๆ ทุกประเภทตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษัทฯ การพิจารณา การจ่ายเงินปันผลขึ้นอยู่กับกระแสเงินสดและแผนการลงทุนของ บริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ ในแต่ละปี ตามความจําเป็นและความ เหมาะสมอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ เห็นสมควร โดยจะต้อง ได้ รั บ อนุ มั ติ จากที่ ประชุ ม ผู้ ถื อหุ้ นในแต่ ละปี เว้ นแต่ เป็ นการจ่ าย เงินปันผลระหว่างกาล ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ มีอํานาจอนุมัติให้

ปี

2551 2552 2553 2554 2555

อัตรากําไรสุทธิต่อหุ้น (บาท/หุ้น)

0.11 5.91 4.39 7.28 6.04

อัตราเงินปันผลต่อหุ้น (บาท/หุ้น)

2.75 2.55 2.00 3.30 2.70

อัตราการจ่ายเงินปันผล ต่อกําไรสุทธิ (%)

2,500 43.0 45.0 45.0 45.0


080

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

>>

โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร โครงสร้ า งการจั ด การของบริ ษั ท ไทยออยล์ จํ า กั ด (มหาชน) ประกอบด้วย >> คณะกรรมการบริษัทฯ >> คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย ที่ ช่ ว ยกลั่ น กรองเรื่ อ งที่ สํ า คั ญ ซึ่ ง ได้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จํ า นวน 4 คณะ ได้ แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่าตอบแทน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ฝ่ า ยจั ด การ โดยมี ป ระธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ เป็นผู้บริหารสูงสุดของบริษัทฯ

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ปัจจุบนั คณะกรรมการบริษทั ฯ มีกรรมการจํานวน 15 คน ประกอบด้วย >> กรรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารจํ า นวน 14 คน โดยในจํ า นวนนี้ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จํานวน 11 คน >> กรรมการที่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารจํ า นวน 1 คน คื อ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วย ชื่อ - นามสกุล

ตําแหน่ง

วันที่ได้รับแต่งตั้ง (วาระปัจจุบัน)

1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์

กรรมการ ประธานกรรมการ

5 เมษายน 2555 (ต่อวาระ) 10 กุมภาพันธ์ 2555

2. นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

21 พฤศจิกายน 2554 7 สิงหาคม 2556

3. นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

27 มีนาคม 2555 27 เมษายน 2555

4. นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

20 กันยายน 2556 20 กันยายน 2556

5. นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

29 พฤศจิกายน 2556 29 พฤศจิกายน 2556

6. นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

27 มีนาคม 2555 29 พฤศจิกายน 2556 (เป็นกรรมการสรรหาฯ ตั้งแต่ 27 เมษายน 2555)

7. พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต

กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

21 พฤศจิกายน 2554 10 กุมภาพันธ์ 2555

8. พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี

กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

5 เมษายน 2555 29 พฤศจิกายน 2556

9. ศ. พิเศษ ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ

25 พฤษภาคม 2555 31 สิงหาคม 2556 (เป็นกรรมการกํากับดูแลกิจการ ตั้งแต่ 22 มิถุนายน 2555)


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ชื่อ - นามสกุล

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

081

ตําแหน่ง

วันที่ได้รับแต่งตั้ง (วาระปัจจุบัน)

10. พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว

กรรมการอิสระ กรรมการกํากับดูแลกิจการ

2 เมษายน 2556 (ต่อวาระ) 26 เมษายน 2556

11. นายถาวร พานิชพันธ์

กรรมการอิสระ กรรมการกํากับดูแลกิจการ

29 พฤศจิกายน 2556 29 พฤศจิกายน 2556

12. นายสมเกียรติ หัตถโกศล

กรรมการ

27 มีนาคม 2555

13. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

2 เมษายน 2556 (ต่อวาระ) 29 พฤษภาคม 2556 (เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง ตั้งแต่ 26 เมษายน 2556)

14. นายณัฐชาติ จารุจินดา

กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง

2 เมษายน 2556 (ต่อวาระ) 26 เมษายน 2556

15. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล

กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ / เลขานุการคณะกรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง

1 พฤษภาคม 2555 1 พฤษภาคม 2555 22 มิถุนายน 2555

รายชื่อกรรมการที่ครบวาระและลาออกระหว่างปี 2556 ได้แก่ ชื่อ - นามสกุล

ตําแหน่ง

เหตุผลที่ออก

1. นายชัยเกษม นิติสิริ

กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

ลาออกจากการดํารงตําแหน่ง กรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 26 มิถุนายน 2556

2. นายสมชัย สัจจพงษ์

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

ลาออกจากการดํารงตําแหน่ง กรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 28 มิถุนายน 2556

3. นายสมชาย พูลสวัสดิ์

กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

ลาออกจากการดํารงตําแหน่ง กรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 11 กันยายน 2556


082

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

รายงานการถือหลักทรัพย์ของกรรมการบริษัทฯ ในปี 2555 และ 2556 (รวมคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ)

ชื่อ - นามสกุล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.

นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์ นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์ พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี ศ. พิเศษ ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์ พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว นายถาวร พานิชพันธ์ นายสมเกียรติ หัตถโกศล นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ นายณัฐชาติ จารุจินดา นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล

อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท ฯ กํ า หนดให้ ค ณะกรรมการของบริ ษั ท จะต้ อ ง ประกอบด้ ว ยกรรมการอย่ า งน้ อ ยห้ า (5) คน และไม่ เ กิ น สิ บ ห้ า (15) คน โดยกรรมการไม่ น้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจํ า นวนกรรมการ ทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย และกรรมการจะเป็นผู้ถือหุ้น ของบริษัทหรือไม่ก็ได้

ก า ร แ ต ง ตั้ ง แ ล ะ ก า ร พ น จ า ก ตํ า แ ห น ง ข อ ง ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ข้อบังคับบริษัทฯ มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการแต่งตั้ง ถอดถอน หรือ พ้นจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ สรุปสาระสําคัญได้ดังนี้ การแต่งตั้งกรรมการ ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้

จํานวนหุ้น (หุ้น) 31 ธ.ค. 55 31 ธ.ค. 56 -

N /A N /A -

N /A 1,058,900 -

1,058,900 -

จํานวนหุ้น เพิ่ม (ลด) ระหว่างปี -

1. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับ 1 หุ้นต่อ 1 เสียง 2. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตามข้อ 1 เลือก ตั้ ง บุ ค คลคนเดี ย ว หรื อ หลายคนเป็ น กรรมการก็ ไ ด้ แต่ จ ะแบ่ ง คะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุ ค คลซึ่ ง ได้ รั บ คะแนนเสี ย งสู ง สุ ด ตามลํ า ดั บ ลงมาเป็ น ผู้ ไ ด้ รั บ เลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึง เลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลําดับ ถั ด ลงมามี ค ะแนนเสี ย งเท่ า กั น เกิ น จํ า นวนกรรมการที่ จ ะพึ ง มี ให้ประธานที่ประชุมเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด ตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติเห็นชอบให้ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเข้ารับ การเลือกตั้งเป็นกรรมการล่วงหน้าก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจํ า ปี ตามหลั ก เกณฑ์ ก ารสรรหากรรมการของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ในรอบปี 2556 ไม่มีผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการ เลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ การถอดถอน และการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการบริษัทฯ 1. ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจาก ตําแหน่งจํานวนหนึ่งในสาม (1/3) ของจํานวนกรรมการในขณะนั้น ถ้าจํานวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออก โดยจํานวนใกล้ที่สุดกับจํานวนหนึ่งในสาม (1/3) และกรรมการที่ พ้นจากตําแหน่ง อาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามารับตําแหน่งอีกได้ โดยกรรมการที่ จ ะต้ อ งออกจากตํ า แหน่ ง ในปี แรกและปี ที่ ส อง ภายหลังจากจดทะเบียนแปรสภาพบริษัทฯ นั้น ให้ใช้วิธีจับสลาก กั น ว่ า ผู้ ใ ดจะออก ส่ ว นปี ห ลั ง ๆ ต่ อ ไปให้ ก รรมการคนที่ อ ยู่ ใ น ตําแหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตําแหน่ง 2. นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการจะพ้นจาก ตําแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้าม ตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัด และ/หรือกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติ ให้ออก หรือศาลมีคําสั่งให้ออก 3. กรรมการคนใดจะลาออกจากตําแหน่ง ให้ยื่นใบลาออกต่อบริษัทฯ โดยการลาออกนั้นจะมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึงบริษัทฯ ทั้งนี้ กรรมการซึ่งลาออกจะแจ้งการลาออกของตนให้นายทะเบียน ทราบด้วยก็ได้ 4. ในการลงมติให้กรรมการคนใดออกจากตําแหน่งก่อนถึงคราวออก ตามวาระให้ถือคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจํานวน ผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุม และมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน 5. ในกรณีที่ตําแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราว ออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติ และ ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัดและ กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เข้าเป็นกรรมการ แทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของ กรรมการผู้นั้นจะเหลือน้อยกว่าสอง (2) เดือน โดยบุคคลซึ่งเข้า เป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยู่ในตําแหน่งกรรมการได้เพียง

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

083

เท่ า วาระที่ ยั ง เหลื อ อยู่ ข องกรรมการที่ ต นเข้ า มาแทน มติ ข อง คณะกรรมการจะต้ อ งประกอบด้ ว ยคะแนนเสี ย งไม่ น้ อ ยกว่ า สามในสี่ของจํานวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่

ก ร ร ม ก า ร ผู มี อํ า น า จ ล ง น า ม ผู ก พั น บ ริ ษั ท ฯ ตามข้อบังคับบริษัทฯ ได้กําหนดให้กรรมการผู้มีอํานาจผูกพันบริษัท คือ กรรมการสองคน ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสําคัญ ของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการมีอํานาจพิจารณากําหนดและแก้ไข ชื่อกรรมการซึ่งมีอํานาจผูกพันบริษัทฯ ได้ คณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 3/2555 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2555 และ ครั้งที่ 5/2555 เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2555 ได้มี มติกําหนดชื่อและจํานวนกรรมการซึ่งมีอํานาจลงลายมือชื่อแทน บริษัทฯ คือ นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล และ นายณั ฐ ชาติ จารุ จิ น ดา กรรมการสองในสามคนนี้ ล งลายมื อ ชื่ อ ร่วมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัทฯ

ข อ บ เ ข ต อํ า น า จ ห น า ที่ แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ตามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี อํ า นาจและ หน้ า ที่ ใ นการดํ า เนิ น กิ จ การของบริ ษั ท ฯ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นโดยยึดหลัก “ข้ อ พึ ง ปฏิ บั ติ ที่ ดี สํ า หรั บ กรรมการบริ ษั ท จดทะเบี ย น” ตามที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกําหนด ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ และเพื่อผลประโยชน์ สูงสุดของผู้ถือหุ้น ดังนั้น บริษัทฯ จึงกําหนดบทบาทหน้าที่และ หลักปฏิบัติของคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อเป็นแบบอย่างให้พนักงาน ทุกระดับยึดมั่นเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และเพื่อสร้างความ เชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น และนักลงทุนทั่วไป ดังนี้ 1. ทบทวนและให้ความเห็นชอบในการดําเนินงานใดๆ ที่กฎหมาย กําหนด 2. ประเมินผลงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหารฯ เป็นประจําทุกปี และกําหนดค่าตอบแทนประธานเจ้าหน้าที่บริหารฯ 3. การกําหนดวิสัยทัศน์ของกิจการและรับผิดชอบต่อผลประกอบการ และการปฏิบัติงานผู้บริหารด้วยความตั้งใจ และความระมัดระวัง ในการปฏิบัติงาน


084

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

4. ทบทวนและให้ ค วามเห็ น ชอบกลยุ ท ธ์ แ ละนโยบายที่ สํ า คั ญ รวมถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงาน และ งบประมาณ รวมทั้งกํากับ ควบคุม ดูแลให้ฝ่ายจัดการดําเนินงาน ตามนโยบาย และแผนที่ กํ า หนดไว้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล 5. ให้ความมั่นใจว่าระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการ สอบบัญชีมีความเชื่อถือได้ รวมทั้งดูแลให้มีกระบวนการในการ ประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบ ภายในให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมถึงการรายงาน การเงินและการติดตามผล 6. ให้ มี ก ารกํ า หนดนโยบายด้ า นการบริ ห ารความเสี่ ย ง ( Risk Management Policy) ให้ครอบคลุมทั้งองค์กร โดยให้ฝ่ายจัดการ เป็นผู้ปฏิบัติตามนโยบายและรายงานผลการบริหารความเสี่ยงต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ โดยการรายงานผ่านคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงเป็นประจําทุกไตรมาส บริษัทฯ จัดให้มีการประเมิน ประสิ ท ธิ ผ ลของการจั ด การความเสี่ ย งอย่ า งน้ อ ยปี ล ะ 1 ครั้ ง ให้ความสําคัญกับสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าและรายการผิดปกติ ทั้งหลาย

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

7. สอดส่องดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทฯ กําหนด แนวทางในการทํารายการที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ เพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยรวมเป็นสําคัญ โดยที่ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ไม่ ค วรมี ส่ ว นร่ ว มในการตั ด สิ น ใจ กํ า หนด ขั้นตอนการดําเนินการและการเปิดเผยข้อมูลของรายการที่อาจมี ความขัดแย้งของผลประโยชน์ให้ถูกต้องครบถ้วน 8. ส่ ง เสริ ม ให้ จั ด ทํ า จรรยาบรรณธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนเข้าใจถึงมาตรฐาน ด้านจริยธรรมที่บริษัทฯ ใช้ในการดําเนินธุรกิจ โดยคณะกรรมการ จะติดตามให้มีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณดังกล่าวอย่างจริงจัง 9. แต่งตั้งเลขานุการบริษัท เพื่อทําหน้าที่ให้คําแนะนําด้านกฎหมาย และกฏเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการจะต้องทราบ และปฏิบัติ หน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ รวมทั้งประสานงาน ให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ รวมทั้งหน้าที่และความ รับผิดชอบอื่นๆ ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ


กรรมการ / ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน พลเอกจิระเดช โมกขะสมิต กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน พลเอกไตรศักดิ์ อินทรรัสมี (3) กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ศ. พิเศษ ดร. ทศพร ศิรสิ มั พันธ์ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว กรรมการอิสระ / กรรมการกํากับดูแลกิจการ นายถาวร พานิชพันธ์ (4) กรรมการอิสระ / กรรมการกํากับดูแลกิจการ นายสมเกียรติ หัตถโกศล กรรมการ นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง นายณัฐชาติ จารุจินดา กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง / ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ / เลขานุการคณะกรรมการ

นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์ นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร (1) นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ (2) นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์

ตําแหน่ง

3/3

4/6 7/8

3/3

7/8 8/8 3/3 0/1

4/4

5/5 1/1

5/5

2/3 3/3 1/3 1/1

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ สรรหาและพิจารณา กํากับดูแล ค่าตอบแทน กิจการ ประชุม 8 ครั้ง ประชุม 5 ครั้ง ประชุม 3 ครั้ง

6/6

9/12 12/12 9/12 6/12 1/1 12/12 11/12 11/12 12/12

12/12 12/12 10/12 3/3 1/1 12/12

ประชุม คณะกรรมการ บริษทั ฯ ประชุม 12 ครั้ง

7/7 7/7 7/7

ประชุม 7 ครั้ง

คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง

1/1

0/1

1/1

1/1 1/1 1/1 0/1 N/A 1/1 1/1 1/1 1/1

1/1 1/1 1/1 N/A N/A 1/1

ประชุม ผูถ้ อื หุน้ (AGM) ประชุม 1 ครั้ง

หมายเหตุ: (1) ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 9/2556 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556 (2) ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 11/2556 เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 (3) ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 9/2556 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556 และลาออกจากตําแหน่งกรรมการกํากับดูแลกิจการ มีผลวันที่ 28 พฤศจิกายน 2556 (4) ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระและกํากับดูแลกิจการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 11/2556 เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556

กรรมการที่ลาออกระหว่างปี 2556 1 นายชัยเกษม นิติสิริ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (ลาออก 26 มิ.ย. 56) 2 นายสมชัย สัจจพงษ์ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ (ลาออก 28 มิ.ย. 56) 3 นายสมชาย พูลสวัสดิ์ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ (ลาออก 11 ก.ย. 56)

7 8 9 10 11 12 13 14 15

1 2 3 4 5 6

ชื่อ - นามสกุล

การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการชุดย่อย และประชุมผู้ถือหุ้น ในปี 2556

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6 ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

085


ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

2 นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร

3 นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์

4 นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร

5 นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์

6 นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์

7 พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต

8 พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี

9 ศ. พิเศษ ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์

10 พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว

11 นายถาวร พานิชพันธ์

12 นายสมเกียรติ หัตถโกศล

13 นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

14 นายณัฐชาติ จารุจินดา

27 นายฉัตรฐาพงศ์ วังธนากร

//

//

25 นายโกศล พิมทะโนทัย

26 นายจีราวัฒน์ พัฒนสมสิทธิ์

//

21 นายยุทธนา ภาสุรปัญญา*

24 นายกล้าหาญ โตชํานาญวิทย์**

//

20 นายอภินันท์ สุภัตรบุตร

//

//

19 นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์

//

//

18 นางนิธิมา เทพวนังกูร

23 นายวิโรจน์ มีนะพันธ์

//

17 นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์

ü

ü

v

บจ. ไทย พาราไซลีน

ü

ü

v

บมจ. ไทย ลูบ้ เบส

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

v

ü

ü

v

ü

ü

v

ü

ü

v

บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ มารีน เอนเนอร์ยี โซลเว้นท์ เอทานอล เพาเวอร์ เซอร์วสิ

ü

v

บจ. ท็อป เอสพีพี

ü

ü

v

ü

ü

ü

ü

v

บจ. บจ. ท็อป ศักดิ์ (1) โซลเว้นท์ ไชยสิทธิ (2)

v

ü

ü

v

TOP บจ. Solvent ทรัพย์ทพิ ย์ (4) Vietnam LLC. (3)

Thaioil บจ. Marine ท๊อป International มารีไทม์ Pte. Ltd. (5) เซอร์วสิ (6)

บริษทั ย่อยทางอ้อม

ü

v

บจ. ลาบิกซ์ (7)

กิจการทีค่ วบคุมร่วมกัน ของบริษทั ย่อย TOP-NTL บจ. TOP- NYK บจ. Pte. Ltd. ( 8) ท๊อป MarineOne พีทที ี ( 10) นอติคอล Pte. Ltd. ไอซีที สตาร์ (9) โซลูชน่ั ส์

ü

//

ü

ü

ü

ü

ü

v

ü

ü

บริษทั ที่ เกีย่ วข้องกัน บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. พีทที ี โกลบอล แม่สอด อุบล ทอม ชิพ ท่อส่ง เอนเนอร์ย่ี เพาเวอร์ พลังงาน ไบโอ แมนเนจเมนท์ ปิโตรเลียม โซลูชน่ั ส์ ซินเนอร์ย่ี สะอาด (11) เอทานอล (12) (ประเทศไทย) (13) ไทย บริษทั ร่วม

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

22 นายไมตรี เรี่ยวเดชะ

//

//

16 นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล*

15 นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล

v

ไทยออยล์

1 นายณอคุณ สิทธิพงศ์

รายชือ่

บริษทั ย่อย

ตารางแสดงข้อมูลการดํารงตําแหน่งของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอํานาจควบคุม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

086 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6


//

//

//

//

//

//

//

//

//

//

29 นางดารณี มนธาตุผลิน

30 นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์

31 นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล

32 นายบัณฑิต ธรรมประจําจิต

33 นางประพิณ ทองเนียม

34 นายประเสริฐ เริ่มวานิชย์

35 นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์

36 นางสาวภัทรลดา สง่าแสง

37 นางภาณุมาศ ชูชาติชัยกุลการ

38 นายวิโรจน์ วงศ์สถิรยาคุณ

//

//

//

//

//

42 นายสันติ วาสนสิริ

43 นายสุชาติ มัณยานนท์

44 นายสุรชัย แสงสําราญ

45 นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรฐ ***

46 นางสาวอัจฉรีย์ ตียาภรณ์

47 นายอําพล สิงห์ศักดา

= กรรมการ

บจ. ไทย พาราไซลีน

บมจ. ไทย ลูบ้ เบส

ü

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

บจ. ท็อป เอสพีพี

ü

บจ. ท็อป โซลเว้นท์ เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ โดย บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 100 บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ โดย บจ. ท็อปโซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 80.52 TOP Solvent Vietnam LLC. เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ โดย บจ.ท็อปโซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 100 บจ. ทรัพย์ทิพย์ เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยออยล์ เอทานอล โดย บจ.ไทยออยล์ เอทานอล ถือหุ้นร้อยละ 50 Thaioil Marine International Pte. Ltd. เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยออยล์ มารีน โดย บจ. ไทยออยล์ มารีน ถือหุ้นร้อยละ 100 บจ. ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยออยล์ มารีน โดย บจ. ไทยออยล์ มารีน ถือหุ้นร้อยละ 55 บจ. ลาบิกซ์ เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยพาราไซลีน โดย บจ. ไทยพาราไซลีน ถือหุ้นร้อยละ 75

(8) (9) (10) (11) (12) (13)

ü

บจ. บจ. ท็อป ศักดิ์ (1) โซลเว้นท์ ไชยสิทธิ (2)

= ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฯ กรรมการอํานวยการ หรือ กรรมการผู้จัดการ

ü

ü

บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ มารีน เอนเนอร์ยี โซลเว้นท์ เอทานอล เพาเวอร์ เซอร์วสิ

* ครบกําหนดเกษียณอายุวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ** ได้รับมอบหมายไปปฏิบัติงานกับบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 *** ได้รับมอบหมายไปปฏิบัติงานกับบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553

= ประธานกรรมการ

//

41 นายสมเกียรติ ขจรประดับกุล

หมายเหตุ

//

//

40 นางสาวศิริพร มหัจฉริยวงศ์

39 นายศรัณย์ หะรินสุต

//

ไทยออยล์

28 นางสาวดวงพร ธีรภาพไพสิฐ

รายชือ่

บริษทั ย่อย

ü

ü

ü

ü

Thaioil บจ. Marine ท๊อป International มารีไทม์ Pte. Ltd. (5) เซอร์วสิ (6)

ü

บจ. ลาบิกซ์ (7)

ü

ü

กิจการทีค่ วบคุมร่วมกัน ของบริษทั ย่อย TOP-NTL บจ. TOP- NYK บจ. Pte. Ltd. ( 8) ท๊อป MarineOne พีทที ี ( 10) นอติคอล Pte. Ltd. ไอซีที สตาร์ (9) โซลูชน่ั ส์

ü

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

บจ. แม่สอดพลังงานสะอาด เป็นบริษัทร่วมของ บจ. ไทยออยล์ เอทานอล โดย บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ถือหุ้นร้อยละ 30 บจ. อุบล ไบโอ เอทานอล เป็นบริษัทร่วมของ บจ. ไทยออยล์ เอทานอล โดย บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ถือหุ้นร้อยละ 21.28 บจ. ทอม ชิพ แมนเนจเม้นท์ (ประเทศไทย) เป็นบริษัทร่วมของ บจ. ไทยออยล์ มารีน โดย บจ. ไทยออยล์ มารีน ถือหุ้นร้อยละ 33

TOP-NYK MarineOne Pte. Ltd. เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของ Thaioil Marine International Pte. Ltd. (TOMI) โดย TOMI ถือหุ้นร้อยละ 50

บจ. ท็อป นอติคอล สตาร์ เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของ บจ. ไทยออยล์ มารีน โดย บจ. ไทยออยล์ มารีน ถือหุ้นร้อยละ 35

ü

ü

บริษทั ที่ เกีย่ วข้องกัน บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. พีทที ี โกลบอล แม่สอด อุบล ทอม ชิพ ท่อส่ง เอนเนอร์ย่ี เพาเวอร์ พลังงาน ไบโอ แมนเนจเมนท์ ปิโตรเลียม โซลูชน่ั ส์ ซินเนอร์ย่ี สะอาด (11) เอทานอล (12) (ประเทศไทย) (13) ไทย บริษทั ร่วม

TOP-NTL Pte. Ltd. เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของ บจ. ไทยออยล์ มารีน โดย บจ. ไทยออยล์ มารีน ถือหุ้นร้อยละ 50

= ผู้บริหาร

ü

TOP บจ. Solvent ทรัพย์ทพิ ย์ (4) Vietnam LLC. (3)

บริษทั ย่อยทางอ้อม

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

087


088

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ รายชื่อฝ่ายจัดการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีดังต่อไปนี้ ชื่อ - นามสกุล 1. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ นางนิธิมา เทพวนังกูร นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ นายอภินันท์ สุภัตรบุตร นายยุทธนา ภาสุรปัญญา นายไมตรี เรี่ยวเดชะ

9. นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ 10. 11. 12. 13.

นายกล้าหาญ โตชํานาญวิทย์ นายโกศล พิมทะโนทัย นายจีราวัฒน์ พัฒนสมสิทธิ์ นายฉัตรฐาพงศ์ วังธนากร

14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21.

นางสาวดวงพร ธีรภาพไพสิฐ นางดารณี มนธาตุผลิน นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์ นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล นายบัณฑิต ธรรมประจําจิต นางประพิณ ทองเนียม นายประเสริฐ เริ่มวานิชย์ นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์

22. นางสาวภัทรลดา สง่าแสง 23. นางภาณุมาศ ชูชาติชัยกุลการ 24. นายวิโรจน์ วงศ์สถิรยาคุณ 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33.

นายศรัณย์ หะรินสุต นางสาวศิริพร มหัจฉริยวงศ์ นายสมเกียรติ ขจรประดับกุล นายสันติ วาสนสิริ นายสุชาติ มัณยานนท์ นายสุรชัย แสงสําราญ นางสาวอัจฉรีย์ ตียาภรณ์ นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ นายอําพล สิงห์ศักดา

ตําแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านบริหารศักยภาพองค์กร (รักษาการ) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านโครงการพิเศษ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกลยุทธ์องค์กร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการเงินและบัญชี รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการพาณิชย์องค์กร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการผลิต ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านประสิทธิภาพการผลิต กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์ เพาเวอร์ จํากัด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกํากับกิจการองค์กร (รักษาการ) ผู้จัดการฝ่ายกิจการสัมพันธ์ (รักษาการ) ผู้จัดการฝ่าย - ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานที่ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด ผู้จัดการฝ่ายผลิต - ด้านการกลั่น กรรมการผู้จัดการ บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด ผู้จัดการฝ่ายบริหารซัพพลายเชน ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการพาณิชย์ (รักษาการ) ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ผู้จัดการฝ่ายการคลัง ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการ บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยี ผู้จัดการฝ่ายบัญชี ผู้จัดการฝ่ายบริหารคุณภาพองค์กร ผู้จัดการฝ่ายผลิต - ด้านปิโตรเคมีและลู้บเบส ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด ผู้จัดการฝ่ายวางแผนกลยุทธ์ ผู้จัดการฝ่ายกิจการองค์กร ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการเงิน ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์ ผู้จัดการฝ่ายนวัตกรรมและการบริหารความยั่งยืน ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม ผู้จัดการฝ่ายการพาณิชย์ ผู้จัดการฝ่าย - ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานที่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาองค์กร


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

089

เ ล ข า นุ ก า ร บ ริ ษั ท ฯ

ค า ต อ บ แ ท น ข อ ง ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู บ ริ ห า ร

คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งเลขานุการบริษัทฯ ขึ้น เพื่อทําหน้าที่ รับผิดชอบในการดูแลและให้คําแนะนําแก่คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารในด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการ ต้ อ งทราบ และปฏิ บั ติ รวมถึ ง การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข อง บริษัทฯ และรับผิดชอบการจัดประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ การประชุมผู้ถือหุ้น ติดตามและประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติ คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น อีกทั้งการรักษาเอกสารสําคัญ ของบริษัทฯ ตามข้อกําหนดทางกฎหมาย โดยได้มอบหมายให้บุคคล ผู้ดํารงตําแหน่งผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกํากับกิจการ องค์กร ปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการบริษัทฯ ซึ่งปัจจุบัน นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ เป็นผู้ดํารงตําแหน่งดังกล่าว

ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2556 ได้มีมติอนุมัติค่าตอบแทน กรรมการบริ ษั ท ฯ และกรรมการชุ ด ย่ อ ยเป็ น รายเดื อ น รวมทั้ ง อนุมัติเงินโบนัสซึ่งสะท้อนจากผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ดังนี้

ประวัติโดยย่อ ดังนี้ ชื่อ-นามสกุล นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ วุฒิการศึกษา วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการทํางาน 2544-2546

ผู้จัดการฝ่ายกิจการองค์กร บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 2546-2547 ผู้จัดการฝ่ายการเงิน บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 2548-2549 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ และแผนกลยุทธ์ 2549-2550 ผู้จัดการฝ่ายวางแผนกลยุทธ์ 2550-เม.ย. 2552 ผู้จัดการฝ่าย - กิจการพิเศษ ได้รับมอบหมาย ให้ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด 2552-ธ.ค. 2555 ผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการอํานวยการ และเลขานุการบริษัทฯ 1 ม.ค. 2556-ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกํากับ กิจการองค์กร (รักษาการ) และเลขานุการ บริษัทฯ ประวัติการอบรมด้านเลขานุการบริษัท มิ.ย. 2552 หลักสูตร Company Secretary Program (CSP 31/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD )

องค์ประกอบค่าตอบแทน ปี 2556 ค่าตอบแทนรายเดือนกรรมการบริษัทฯ ประธานกรรมการ (1) รองประธานกรรมการ (ถ้ามี)(1) กรรมการ โบนัสกรรมการทั้งคณะ (2)

(บาท / เดือน) 75,000 67,500 60,000 37 ล้านบาท / ปี

ค่าตอบแทนกรรมการชุดย่อย (ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง) ประธานกรรมการ (1) 31,250 กรรมการ 25,000 หมายเหตุ: (1) ประธานกรรมการบริษัทฯ และประธานคณะกรรมการชุดย่อย ได้รับ ค่าตอบแทนสูงกว่ากรรมการในอัตราร้อยละ 25 และรองประธานกรรมการ (ถ้ามี) ได้รับค่าตอบแทนสูงกว่ากรรมการในอัตราร้อยละ 12.5 (2) โบนัสสําหรับกรรมการที่ดํารงตําแหน่งในปี 2555 รวมทั้งกรรมการที่ ครบวาระหรือออกระหว่างปี 2555โดยจัดสรรตามระยะเวลาการดํารง ตําแหน่งของกรรมการแต่ละคน และให้ประธานกรรมการบริษัทฯ ได้รับ ค่าตอบแทนสูงกว่ากรรมการในอัตราร้อยละ 25

สรุปค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯปี 2556 จํานวน 18 รายซึ่งรวม กรรมการที่ปฏิบัติหน้าที่ระหว่างปี 2556 เป็นระยะเวลา 12 เดือน สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และกรรมการที่ครบวาระ/ลาออก ระหว่างปี 2556 เท่ากับ 14.26 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยค่าตอบแทน รายเดือนสําหรับกรรมการบริษัทฯ จํานวน 10.35 ล้านบาท และ ค่าตอบแทนรายเดือนสําหรับกรรมการชุดย่อยจํานวน 3.91 ล้านบาท ค่ า ตอบแทนกรรมการบริ ษั ท ฯในรู ป เงิ น โบนั ส สํ า หรั บ ผลการ ดําเนินงานปี 2555 จํานวน 37 ล้านบาทซึ่งเป็นไปตามมติที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2556 เมื่อวันที่ 2เมษายน 2556 โดยพิจารณา ถึงความเหมาะสมประการต่างๆ และเปรียบเทียบกับองค์กรที่อยู่ใน อุตสาหกรรมเดียวกันและมีขนาดธุรกิจใกล้เคียงกันตลอดจนผลการ ดําเนินงานของบริษัทฯ ผลงานและบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทฯและสภาวการณ์ของธุรกิจโดยรวม


นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์ นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์ พลเอกจิระเดช โมกขะสมิต พลเอกไตรศักดิ์ อินทรรัสมี ศ. พิเศษ ดร. ทศพร ศิรสิ มั พันธ์ พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว นายถาวร พานิชพันธ์ นายสมเกียรติ หัตถโกศล นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ นายณัฐชาติ จารุจินดา นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล

กรรมการ / ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (2) กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ / กรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ / กรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (3) กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง / ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ / เลขานุการคณะกรรมการ

ตําแหน่ง

1,121,546

10,350,000

187,500 150,000 -

330,040 300,000 84,167 26,667 43,172 -

-

360,000 360,000 480,000

900,000 720,000 720,000 202,000 64,000 720,000 720,000 720,000 720,000 720,000 64,000 720,000 720,000 720,000 720,000

คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัทฯ ตรวจสอบ

932,085

-

-

-

260,417

306,667 280,834 84,167 -

927,675

-

-

-

-

275,000 326,008 300,000 26,667 -

925,189

-

-

-

-

344,355 280,834 300,000

คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ สรรหาและ กํากับดูแล บริหาร พิจารณา กิจการ ความเสี่ยง ค่าตอบแทน

14,256,495

-

-

-

547,500 510,000 740,417

900,000 1,050,040 1,020,000 286,167 90,667 1,026,667 1,000,834 1,079,167 1,046,008 1,020,000 90,667 720,000 1,107,527 1,000,834 1,020,000

37,000,000

917,972.03 805,177.75 832,942.50

666,354.00

416,471.25

2,540,474.63 2,540,474.63 2,540,474.63

3,104,446.11 2,540,474.63 1,943,532.50 1,943,532.50 2,540,474.63 1,874,120.63 1,534,002.44 2,540,474.63 1,943,532.50 2,540,474.63 1,534,002.44 1,700,590.94

(จ่ายในเดือนเมษายน 2556)

ค่าตอบแทน เงินโบนัสสําหรับ รวม ผลการดําเนินงาน ปี 2555 (1)

(บาท)

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

หมายเหตุ: (1) เงินโบนัสสําหรับผลการดําเนินงานปี 2555 ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2556 วันที่ 2 เมษายน 2556 ซึ่งจ่ายให้กรรมการบริษัทฯ ในวันที่ 25 เมษายน 2556 (2) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาฯ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556 และลาออกจากตําแหน่งกรรมการกํากับดูแลกิจการ เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2556 (3) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2556 และลาออกจากตําแหน่งกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2556

กรรมการที่ครบวาระ / ลาออกระหว่างปี 2555 (รับเงินโบนัสสําหรับผลการดําเนินงานปี 2555) 1 นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน / กรรมการบริหารความเสี่ยง (ลาออก 1 มีนาคม 2555) 2 นายมนู เลียวไพโรจน์ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (ครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2555 วันที่ 5 เมษายน 2555) 3 นายพิชัย ชุณหวชิร กรรมการ / ประธานกรรมการ / รองประธานกรรมการ (ลาออก 23 เมษายน 2555) 4 นายเทวินทร์ วงศ์วานิช กรรมการ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (ลาออก 26 เมษายน 2555) 5 นายสุรงค์ บูลกุล กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / เลขานุการคณะกรรมการ (ลาออก 1 พฤษภาคม 2555) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น

กรรมการที่ลาออกระหว่างปี 2556 1 นายชัยเกษม นิติสิริ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (ลาออก 26 มิถุนายน 2556) 2 นายสมชัย สัจจพงษ์ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ (ลาออก 28 มิถุนายน 2556) 3 นายสมชาย พูลสวัสดิ์ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ (ลาออก 11 กันยายน 2556)

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ลําดับ ชื่อ - นามสกุล

ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2556

090 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ค่าตอบแทนผู้บริหารบริษัทฯ รอบปีบัญชี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 รวม 26 ราย เท่ากับ 229.47 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นค่าตอบแทนในรูปเงินเดือนและ เบี้ยเลี้ยงจํานวน 141.93 ล้านบาท เงินรางวัลพิเศษจํานวน 47.45 ล้านบาท เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจํานวน 15.51 ล้านบาท และเงินบําเหน็จเมื่อออกจากงาน จํานวน 14.12 ล้านบาท และอื่นๆ 10.46 ล้านบาท หมายเหตุ >> ค่าตอบแทนของผูบ ้ ริหารบริษทั ฯ 26 ราย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ไม่รวม ผู้บริหารที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทอื่นๆ ดังนี้ นายกล้าหาญ โตชํานาญวิทย์ นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์ นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์

ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร

091


092

18

ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค ก ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค ก ร

ค ว า ม เ ป น ม า ไทยออยล์ให้ความสําคัญต่อการบริหารความเสี่ยงองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM ) มาโดยตลอด โดยได้พัฒนาแนวทางการ บริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และสอดคล้ อ งกั บ แผนกลยุ ท ธ์ อ งค์ ก รและการปรั บ โครงสร้ า ง องค์กรใหม่ โดยบริษัทฯ ได้จัดให้มีกระบวนการประเมิน ติดตาม วิเคราะห์ และทบทวนความเสี่ยงสําคัญในการดําเนินธุรกิจ และ การเจริ ญ เติ บ โตตามวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ า หมายขององค์ ก รทั้ ง ระยะสั้นและระยะยาว เพื่อให้สามารถระบุปัจจัยเสี่ยงทั้งภายใน และภายนอก พร้อมทั้งกําหนดมาตรการ แผนรองรับ และมาตรการ ป้ อ งกั น เพื่ อ ลดผลกระทบจากความเสี่ ย งที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น โดยครอบคลุ ม และเชื่ อ มโยงกิ จ กรรมสํ า คั ญ ของทุ ก หน่ ว ยงาน ตามแผนการบริ ห ารความเสี่ ย ง โดยได้ มี ก ารพิ จ ารณาและ รายงานผลการบริ ห ารความเสี่ ย งสํ า คั ญ ของเครื อ ไทยออยล์ อย่ า งเป็ น ระบบและมี ห น่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบเป็ น ขั้ น ตอน อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการขั บ เคลื่ อ นงาน บริ ห ารความเสี่ ย งซึ่ ง มี ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของเครื อ ไทยออยล์ เป็นกรรมการ และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงซึ่งได้รับการ แต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ รวมทั้งคณะกรรมการบริษัทฯ ที่ ช่ ว ยกํ า กั บ ดู แ ล สนั บ สนุ น และพั ฒ นาการบริ ห ารความเสี่ ย ง ในองค์กรทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนการกําหนด กลยุทธ์ขององค์กรจนเกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กร นอกจากนี้ ไทยออยล์ได้ส่งเสริมให้พนักงานทุกคนในทุกหน่วยงาน มีความรู้และทัศนคติที่จะพัฒนาศักยภาพในการบริหารความเสี่ยง ของหน่ ว ยงาน ให้ ส ามารถกํ า หนดแนวทางและมาตรการ ลดผลกระทบของความเสี่ ย ง และการบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งทาง ธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM ) ให้มีความพร้อม ในการรับกรณีที่เกิดสถานการณ์ร้ายแรงจนธุรกิจต้องหยุดดําเนินการ เพื่ อ ความสํ า เร็ จ ในการปฏิ บั ติ ง านบรรลุ ต ามเป้ า หมายและ วิสัยทัศน์ขององค์กร ทั้งนี้ ไทยออยล์ได้จัดให้มีการตรวจประเมิน กระบวนการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อปรับปรุงเพิ่มเติม ในการบริ ห ารความเสี่ ย งของเครื อ ไทยออยล์ ใ ห้ เ ที ย บเท่ า บริ ษั ท

ชั้นนําในประเทศ เตรียมความพร้อมในการที่จะขยายธุรกิจออกไปสู่ ต่างประเทศตามแผนการเจริญเติบโตของเครือไทยออยล์ สร้างความ มั่ น ใจในการบริ ห ารความเสี่ ย งขององค์ ก ร และสอดคล้ อ งกั บ หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

ค ว า ม เ สี่ ย ง ร ะ ดั บ อ ง ค ก ร แ ล ะ ม า ต ร ก า ร ห รื อ แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง ไทยออยล์ ไ ด้ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารติ ด ตามทบทวนความเสี่ ย งและ ประสิทธิผลของมาตรการบริหารความเสี่ยงขององค์กรให้สอดคล้อง กั บ การเปลี่ ย นแปลง และปั จ จั ย เสี่ ย งที่ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ การ เจริญเติบโตของทั้งเครือไทยออยล์ โดยได้นําเสนอความเสี่ยงของ เครือไทยออยล์ในปี 2556 และมาตรการบริหารความเสี่ยง รวมทั้ง ดัชนีชี้วัดประสิทธิผลของมาตรการบริหารความเสี่ยง (Key Risk Indicator : KRI ) ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงก่อนนําเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งความเสี่ยงสําคัญของเครือไทยออยล์ได้จัด กลุ่มเป็น 5 ด้าน จํานวน 10 ความเสี่ยง พร้อมทั้งกําหนดมาตรการ หรื อ แผนงานป้ อ งกั น หรื อ ลดผลกระทบจากความเสี่ ย งดั ง กล่ า ว เพื่อให้การดําเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายขององค์กร ดังนี้

ค ว า ม เ สี่ ย ง ท า ง ด า น ก ล ยุ ท ธ 1. ผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงนโยบายรั ฐ บาล ระเบี ย บ ข้อบังคับ และกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ การปรั บ เปลี่ ย นนโยบายของรั ฐ บาล หรื อ การออกกฎหมายหรื อ ข้ อ บั ง คั บ ของราชการอาจส่ ง ผลต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โดยเฉพาะ การลงทุนในโครงการใหม่และการขยายกิจการของเครือไทยออยล์ ที่กําหนดตามแผนการเจริญเติบโต ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ไทยออยล์จึงให้ความสําคัญกับมาตรการในการติดตาม วิเคราะห์ นโยบายด้ า นเศรษฐกิ จ ของรั ฐ บาลที่ จ ะมี ผ ลต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริษัทฯ เป็นการล่วงหน้า และเพิ่มการติดตาม การประสานงาน และการให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐ ที่จะประกาศบังคับ ใช้กฎหมายใหม่ โดยเฉพาะกฎหมายที่เกี่ยวกับสังคม ชุมชนและ สิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง ได้ กํ า หนดขั้ น ตอนในการปฏิ บั ติ ง านให้ สอดคล้องกับระเบียบและการขออนุญาตต่างๆ และมีการตรวจสอบ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

การปฏิ บั ติ เพื่ อ ให้ แ ผนงานในการบริ ห ารจั ด การมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้งได้สื่อสารภายในองค์กรให้พนักงานได้ตระหนักถึงผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้น และเพิ่มความระมัดระวังในการปฏิบัติงานให้สอดคล้อง กับระเบียบของราชการ

ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค ก ร

093

สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ในการ ตัดสินใจลงทุนในโครงการและการขยายธุรกิจที่สร้างการเจริญเติบโต ของเครือไทยออยล์

ค ว า ม เ สี่ ย ง ท า ง ด า น ต ล า ด 2. บริ ษั ท ฯ ไม่ ส ามารถบรรลุ เ ป้ า หมายตามแผนกลยุ ท ธ์ ทั้ ง ใน ระยะสั้นและระยะยาว ไทยออยล์ได้ตระหนักถึงความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สภาพแวดล้อมทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ และ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยได้ติดตามวิเคราะห์ข้อมูลทาง เศรษฐกิจ สังคม การเมือง กฎหมาย และนโยบายทั้งภายในประเทศ และต่ า งประเทศอย่ า งใกล้ ชิ ด แล้ ว นํ า มาวางแผนกลยุ ท ธ์ ข อง ไทยออยล์ ทั้งระยะสั้น กลาง และยาว รวมทั้งประกาศใช้นโยบาย บริหารจัดการการลงทุน หรือ TOP Group Investment Management (TIM) และ Portfolio Management และจัด Leadership Brainstorming Workshop ในระดั บ ผู้ บ ริ ห ารและกรรมการบริ ษั ท ฯ โดยพั ฒ นา Strategic Financial Model ให้เพียงพอเพื่อให้แผนกลยุทธ์ของ เครือไทยออยล์สอดคล้องกับทิศทางกลยุทธ์ของกลุ่ม ปตท. และ นโยบายพลังงานของประเทศ 3. การลงทุนหรือการขยายธุรกิจไม่บรรลุตามแผนกลยุทธ์องค์กร การลงทุนและการขยายกิจการเป็นกลยุทธ์หนึ่งของไทยออยล์ในการ สร้างความเจริญเติบโต ซึ่งต้องวิเคราะห์ความเสี่ยงในการลงทุน เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลตอบแทนของการลงทุ น ตามกลยุ ท ธ์ จึ ง พิ จ ารณา กําหนดมาตรการรองรับหรือป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่การ วิเคราะห์โครงการและผลตอบแทนการลงทุน ผ่านคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการขับเคลื่อนการเจริญเติบโตและ การลงทุนของเครือไทยออยล์ (TOP Group Growth and Investment Steering Committee) เพื่อพิจารณากลั่นกรองโครงการและการลงทุน ในธุ ร กิ จ ที่ จ ะสร้ า งการเจริ ญ เติ บ โตและมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ บริ ษั ท ฯ รวมทั้งกระบวนการลงทุน (TOP Group Investment Management ) ซึ่ ง เป็ น กระบวนการสํ า หรั บ พิ จ ารณา กลั่ น กรอง และตั ด สิ น ใจ ลงทุนตามหลักเกณฑ์มาตรฐาน ก่อนที่จะนําเสนอคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาเห็นชอบ เพื่อลดความเสี่ยงจากการลงทุนและรักษาผลประโยชน์ พร้อมทั้ง

4. ความผันผวนของราคานํ้ามันในตลาดโลก จากการที่ราคาและตลาดนํ้ามันของโลกซึ่งเป็นตัวแปรสําคัญในการ สร้ า งผลกํ า ไร ยั ง คงมี ค วามผั น ผวนรุ น แรงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทํ า ให้ การคาดการณ์ ล่ ว งหน้ า เป็ น ไปได้ ย ากยิ่ ง ขึ้ น ไทยออยล์ จึ ง ได้ เ พิ่ ม การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ทางการตลาด เพื่ อ ใช้ ใ นการกํ า หนดกลยุ ท ธ์ และมาตรการทางการตลาด รวมทั้ ง การวางแผนการขาย และ การบริ ห ารสิ น ค้ า คงคลั ง ร่ ว มกั น ทั้ ง เครื อ ไทยออยล์ แ ละบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. นอกจากนี้ ไทยออยล์ ไ ด้ ป รั บ กลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห าร ความเสี่ยงด้านราคา (Oil Hedging ) ในเชิงรุกมากขึ้น ทั้งในด้าน การป้ อ งกั น ความเสี่ ย งจากส่ ว นต่ า งราคา ( Crack Spread ) และ ความเสี่ยงของราคานํ้ามันและสินค้าคงเหลือ (Stock Loss ) โดย ได้ นํ า เสนอขออนุ มั ติ แ นวทางการปฏิ บั ติ ใ นเรื่ อ ง Oil Hedging ต่ อ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งพิ จ ารณา และได้ ร ายงานผล การปฏิ บั ติ อ ย่ า งสมํ่ า เสมอเพื่ อ ลดผลกระทบจากความเสี่ ย ง ดังกล่าวให้มากที่สุด ทําให้ไทยออยล์สามารถรักษากําไรขั้นต้นรวม ของกลุ่ม (Gross Integrated Margin : GIM ) ได้ตามเป้าหมาย 5. ความเสี่ยงจากการจัดหาวัตถุดิบ จากสถานการณ์ ท างการเมื อ งและความไม่ ส งบในประเทศต่ า งๆ และภัยทางธรรมชาติ ยังคงเป็นปัจจัยเสี่ยงสําคัญที่ส่งผลต่อการ ขนส่งนํ้ามันดิบ ซึ่งกระทบต่อการจัดหานํ้ามันดิบในปริมาณและ ราคาที่กําหนดตามแผนการผลิต ไทยออยล์จึงได้กําหนดมาตรการ เพิ่มเติมในการจัดหานํ้ามันดิบสํารองเพิ่มเติมและศึกษาโครงการ สร้างถังเก็บนํ้ามันดิบใหม่ นอกเหนือจากการติดตามสถานการณ์และ วิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาและค้นหาแหล่งนํ้ามันดิบใหม่ๆ รวมทั้ง วัตถุดิบของบริษัทในเครือฯ การปรับปรุงประสิทธิภาพในการกลั่น เพื่อให้รองรับนํ้ามันดิบจากแหล่งใหม่ และการประสานความร่วมมือ ในกลุ่ ม โรงกลั่ น ของกลุ่ ม ปตท. ในเรื่ อ งการวางแผนจั ด หาและ บริหารจัดการให้มีนํ้ามันดิบเพียงพอในราคาที่เหมาะสม


094

ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค ก ร

6. ความผันผวนของความต้องการใช้นํ้ามัน เนื่องจากการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีรถยนต์ ปัจจัยทางการเมือง นโยบายและการเพิ่ ม กฎระเบี ย บต่ า งๆ ของรั ฐ รวมถึ ง ภาวะ เศรษฐกิ จ สั ง คม และการเมื อ งของโลก ตลอดจนภั ย ธรรมชาติ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความต้องการนํ้ามัน พฤติกรรมการใช้นํ้ามัน และการผลิ ต ซึ่ ง สร้ า งผลกํ า ไรส่ ว นใหญ่ ข องไทยออยล์ จึ ง จํ า เป็ น ที่จะต้องเร่งมาตรการในการขยายตลาด รวมทั้งการจัดหาลูกค้า รายใหม่ในภูมิภาคใกล้เคียงอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความพึงพอใจ ความสะดวกและความคล่องตัวในการขายผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด ให้กับลูกค้า รวมทั้งการปรับปรุงขยายท่าเรือ นอกจากนี้ ไทยออยล์ ยั ง คงร่ ว มมื อ กั บ กลุ่ ม โรงกลั่ น อื่ น ๆ และหน่ ว ยงานราชการอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพในการขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ห าร ผลิตภัณฑ์ส่วนเกิน (Surplus Management )

ค ว า ม เ สี่ ย ง ด า น ก า ร เ งิ น 7. การจัดหาเงินทุนและต้นทุนทางการเงิน เนื่ อ งจากปั ญ หาวิ ก ฤติ ห นี้ ข องประเทศในทวี ป ยุ โรป และภาวะ เศรษฐกิ จ ชะลอตั ว ในสหรั ฐ อเมริ ก าและจี น ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ แผนการลงทุ น และแผนการจั ด หาเงิ น ทุ น ของเครื อ ไทยออยล์ บริษัทฯ จึงบริหารให้มีการกระจายฐานเงินกู้ผ่านทั้งตลาดเงินและ ตลาดทุน โดยล่าสุดในเดือนมกราคม 2556 ได้มีการออกหุ้นกู้สกุล เหรียญสหรัฐฯ ในตลาดต่างประเทศ (USD Bond ) อายุ 10 และ 30 ปี รวม 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อนํามาใช้ในการปรับวงเงินกู้ การเพิ่มสภาพคล่อง และการลงทุนของเครือไทยออยล์ตามนโยบาย การลงทุ น ของเครื อ ไทยออยล์ ที่ มี ก ารจั ด ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ ของ โครงการลงทุ น และการจั ด โครงสร้ า งเงิ น ลงทุ น เพื่ อ การเติ บ โต ในอนาคตอย่ า งมั่ น คง พร้ อ มทั้ ง มี ก ารติ ด ตามความเคลื่ อ นไหว ของตลาดเงิ น และตลาดทุ น อย่ า งใกล้ ชิ ด การวางแผนการเงิ น ล่วงหน้าเพื่อจ่ายชําระคืนเงินกู้ที่ครบกําหนด ตลอดจนการพัฒนา การใช้เครื่องมือทางการเงิน (Derivatives) ต่างๆ และเน้นความร่วมมือ ทางการเงินในกลุ่ม ปตท. อย่างต่อเนื่อง ทําให้ไทยออยล์มีความ เชื่อมั่นว่าจะสามารถจัดหาเงินทุนตามแผนด้วยต้นทุนทางการเงิน ที่เหมาะสม

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

8. ความเสี่ยงจากความผันผวนของค่าเงินบาท ความผั น ผวนของค่ า เงิ น บาทต่ อ เงิ น เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ มี ผ ลกระทบ ต่ อ ผลการดํ า เนิ น งานของไทยออยล์ เนื่ อ งจากการชํ า ระต้ น ทุ น ในการผลิตที่สําคัญคือ นํ้ามันดิบหรือวัตถุดิบ ชําระเป็นเงินเหรียญ สหรัฐฯ ไทยออยล์จึงได้จัดโครงสร้างหนี้ของเครือไทยออยล์ให้มี สัดส่วนเงินสกุลเหรียญสหรัฐฯ อยู่ในระดับที่เหมาะสมกับโครงสร้าง รายได้ ( Natural Hedge ) ตลอดจนทํ า รายการซื้ อ ขายเงิ น ตรา ต่ า งประเทศล่ ว งหน้ า สํ า หรั บ ธุ ร กรรมการค้ า การเบิ ก เงิ น กู้ และ การชํ า ระคื น เงิ น กู้ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ ภาระรั บ จ่ า ยจริ ง ( Forward Contracts) เช่นเดียวกับปีที่ผ่านมา

ค ว า ม เ สี่ ย ง ด า น ก า ร ผ ลิ ต 9. สถานการณ์รุนแรงที่มีผลต่อการดําเนินธุรกิจหรือทําให้ธุรกิจ หยุดชะงัก ไทยออยล์ มี ค วามมั่ น ใจและให้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ การบริ ห าร ความเสี่ ย งในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ จึ ง ได้ วิ เ คราะห์ ปั จ จั ย เสี่ ย งและ ความเสี่ ย งที่ อ าจส่ ง ผลทํ า ให้ ธุ ร กิ จ เกิ ด การหยุ ด ชะงั ก นอกเหนื อ จากการวางแผนป้ อ งกั น และมาตรการเตรี ย มพร้ อ มในกระบวน การผลิตแล้ว ยังมีการกําหนดแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ตามมาตรฐานสากล การดําเนินกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และการสร้ า งเครื อ ข่ า ยชุ ม ชนสั ม พั น ธ์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ ง พิ จ ารณาเพิ่ ม การทํ า ประกั น ภั ย แบบประกั น ความสู ญ เสี ย จาก การหยุดชะงักของธุรกิจ นอกจากนี้ ไทยออยล์ได้สืบต่อนโยบาย ประสานความร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานราชการ ทหาร และท้ อ งถิ่ น ในการรักษาความปลอดภัยและความมั่นคง และเข้าร่วมประชุม เพื่อหาแนวทางป้องกันร่วมกันในกลุ่ม ปตท. พร้อมทั้งดําเนินการ เชื่ อ มโยงแผนฉุ ก เฉิ น ของเครื อ ไทยออยล์ กั บ แผนของจั ง หวั ด เพื่ อ รองรั บ หากเกิ ด สถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น รวมทั้ ง พั ฒ นามาตรการ เพิ่ ม เติ ม จากแผนบริ ห ารความเสี่ ย งที่ มี อ ยู่ เพื่ อ ให้ ธุ ร กิ จ สามารถ ดําเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้าได้ ตามที่สัญญา พร้อมกับสามารถดูแลปกป้องชีวิต ทรัพย์สิน ชุมชน และ สิ่งแวดล้อมได้


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ค ว า ม เ สี่ ย ง ด า น บ ริ ห า ร อ ง ค ก ร 10. อัตรากําลังและความสามารถของบุคลากรไม่เพียงพอต่อ ความต้องการทางธุรกิจ ไทยออยล์ ไ ด้ กํ า หนดแผนกลยุ ท ธ์ ทั้ ง ระยะสั้ น และระยะยาว เพื่ อ สร้ า งความเจริ ญ เติ บ โตในอนาคต ซึ่ ง ปั จ จั ย สํ า คั ญ ที่ จ ะ เร่ ง ให้ ส ามารถบรรลุ เ ป้ า หมายได้ อ ย่ า งมั่ น ใจคื อ บุ ค ลากรที่ มี ความรู้ แ ละประสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ การกลั่ น และปิ โ ตรเคมี เพื่ อ ทดแทนบุ ค คลากรที่ เ กษี ย ณอายุ แ ละรองรั บ การขยายธุ ร กิ จ ตามแผนการเจริ ญ เติ บ โตของเครื อ ไทยออยล์ ดั ง นั้ น ไทยออยล์ จึ ง ปรั บ ปรุ ง กระบวนการสรรหา และเร่ ง การพั ฒ นาบุ ค ลากร ตามกระบวนการกําหนดกลยุทธ์ และแผนกลยุทธ์ระยะยาว รวมทั้ง ทบทวนโครงสร้างองค์กร และวิเคราะห์แผนความต้องการอัตรา กําลังคนและแผนพัฒนาบุคลากร ให้สอดคล้องกับการเจริญเติบโต ตามแผนกลยุ ท ธ์ ใ นระยะยาว ปรั บ ปรุ ง กระบวนการสรรหาให้ มี

ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค ก ร

095

ประสิ ท ธิ ภ าพ จั ด การประชุ ม ผู้ บ ริ ห ารเพื่ อ พิ จ ารณาคั ด เลื อ ก ผู้สืบทอดตําแหน่ง และพัฒนาตามแผนเพื่อบูรณาการทิศทางและ กลยุทธ์ทางธุรกิจและอัตรากําลังของเครือไทยออยล์อย่างสมํ่าเสมอ จากการที่ ไ ทยออยล์ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ การดํ า เนิ น การบริ ห าร ความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ภายใต้กรอบและโครงสร้างการบริหาร ความเสี่ยง รวมทั้งนโยบายบริหารความเสี่ยงองค์กร ทําให้มั่นใจ ได้ ว่ า กระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งของเครื อ ไทยออยล์ ดํ า เนิ น ไปอย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากล สามารถป้องกันและ ลดผลกระทบจากความเสี่ยงต่างๆ ได้ ซึ่งเป็นกระบวนการที่สําคัญ ที่ จ ะผลั ก ดั น ให้ อ งค์ ก รประสบความสํ า เร็ จ ก้ า วพ้ น วิ ก ฤติ ห รื อ อุ ป สรรคต่ า งๆ พร้ อ มทั้ ง สร้ า งโอกาสให้ อ งค์ ก รสามารถดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ได้ สํ า เร็ จ ตามเป้ า หมายและแผนกลยุ ท ธ์ ที่ กํ า หนดไว้ และ สร้างความมั่นใจให้กับผู้ถือหุ้น


096

19

ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ

บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ได้ให้ความสําคัญต่อการควบคุม ภายในที่ ดี อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ ร ะบบการทํ า งานของ บริษัทฯ มีความถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสามารถลดหรือ ป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้ ม อบหมายให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบ สอบทานระบบการ ควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ค วามมั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ มี ร ะบบการควบคุ ม เพี ย งพอ และเหมาะสมกั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพประสิ ท ธิ ผ ลในการดํ า เนิ น งาน การใช้ ท รั พ ยากร การดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย์ สิ น ระบบบั ญ ชี และรายงานทางการเงิ น มีความถูกต้องเชื่อถือได้ รวมทั้ง การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ครั้ ง ที่ 2/2557 เมื่ อ วั น ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความเห็นชอบ การรายงานผลการประเมินการควบคุมภายในของบริษัทฯ ประจําปี 2556 ของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ ง มี ค วามเห็ น ว่ า บริ ษั ท ฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดีและเหมาะสมเพียงพอต่อการดําเนิน ธุรกิจ โดยแสดงแยกตามองค์ประกอบการควบคุมภายใน ได้ดังนี้

1. ส ภ า พ แ ว ด ล อ ม ข อ ง ก า ร ค ว บ คุ ม บริษัทฯ ได้จัดทําและทบทวนทิศทางและแผนกลยุทธ์การดําเนินงาน 10 ปี โดยมีการกําหนดเป้าหมายและโครงการเชิงกลยุทธ์ทั้งด้าน ธุรกิจและองค์กรอย่างชัดเจน กลยุทธ์ที่ได้รับอนุมัติดังกล่าวจะนําไป จัดทําเป็นแผนธุรกิจระยะ 1 ปี และ 5 ปี เพือ่ ขออนุมตั จิ ากคณะกรรมการ บริษัทฯ อย่างเป็นระบบ บริษัทฯ ได้จัดโครงสร้างองค์กรเพื่อให้ สามารถสนับสนุนการดําเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง ได้จัดทํานโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษร โดยคํานึงถึงความเป็นธรรมต่อคู่ค้า รวมทั้ง มีการมอบอํานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบที่เหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้กําหนด จรรยาบรรณว่าด้วยความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และมาตรการ การแจ้งเบาะแสเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งระบุไว้ในคู่มือหลักการกํากับ ดูแลกิจการ และคู่มือจรรยาบรรณธุรกิจ โดยผู้บริหารและพนักงาน ทุกคนทั้งในบริษัทฯ และบริษัทในเครือไทยออยล์ จะต้องลงนาม

ในใบลงนามรับทราบและยึดถือปฏิบัติ โดยมุ่งมั่นสร้างประโยชน์ สู ง สุ ด ให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น และคํ า นึ ง ถึ ง ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่อสร้างความเชื่อมั่น และการเติบโตอย่างยั่งยืน

2. ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ สี่ ย ง บริษัทฯ ให้ความสําคัญและจัดให้มีการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร โดยแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อทําหน้าที่กําหนด นโยบายและกํ า กั บ ดู แ ลให้ ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษั ท ฯ เป็ น ไปอย่ า งเหมาะสมและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บริ ษั ท ฯ มี ก ารจั ด ทํ า แผนงานการบริหารความเสี่ยงที่ครอบคลุมการประเมิน ทบทวน ปัจจัยเสี่ยงซึ่งได้พิจารณาจากปัจจัยภายในและภายนอกที่อาจมีผล กระทบต่อการดําเนินธุรกิจ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้กําหนดแผนงาน เพื่อติดตามทุกหน่วยงานรวมทั้งบริษัทในเครือฯ ให้มีการดําเนินการ ตามมาตรการเพื่อลดความเสี่ยงที่กําหนด โดยใช้ระบบฐานข้อมูล ในการบริหารความเสี่ยง ซึ่งสามารถแจ้งเตือนพนักงานที่เกี่ยวข้อง ให้รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการบริหารความเสี่ยงตามกําหนด

3. กิ จ ก ร ร ม ก า ร ค ว บ คุ ม บริษัทฯ มีการจัดทําระเบียบกําหนดอํานาจการอนุมัติรายการธุรกิจ ซึ่งกําหนดขอบเขตอํานาจหน้าที่และวงเงินอนุมัติของฝ่ายบริหาร และพนั ก งานในระดั บ ต่ า งๆ ในการอนุ มั ติ ร ายการธุ ร กิ จ ไว้ อ ย่ า ง ชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ และเพื่ อ ให้ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ เ หมาะสม มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบในงานที่สําคัญ เพื่อให้มีการ สอบยันความถูกต้องระหว่างกัน รวมทั้งได้กําหนดกระบวนการ ในการพิ จ ารณาอนุ มั ติ ร ายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ไว้ อ ย่ า งชั ด เจน ซึ่ ง จะต้ อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากที่ ป ระชุ ม ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และคณะกรรมการตรวจสอบ ก่อนนําเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยการอนุมัติธุรกรรม จะกระทําโดย ผู้ที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เป็ น สํ า คั ญ บริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดให้ ทุ ก หน่ ว ยงานดํ า เนิ น งานตาม กฎหมาย รวมทั้งได้กําหนดมาตรการป้องกันการกระทําผิดโดยการ ติดตามกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ บริษัทฯ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

มี ก ารติ ด ตามดู แ ลการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ยหรื อ บริ ษั ท ร่ ว ม อย่ า งสมํ่ า เสมอ ซึ่ ง ได้ ม อบหมายให้ ผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ เข้ า ไป ทํ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารจั ด การในตํ า แหน่ ง กรรมการอํ า นวยการหรื อ กรรมการผู้จัดการ และได้แต่งตั้งผู้แทนเข้าไปดํารงตําแหน่งกรรมการ ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ทําให้บริษัทฯ มีส่วนร่วมในการกําหนด นโยบาย และได้รับทราบข้อมูลและติดตามผลการดําเนินงานได้เป็น ระยะๆ ตามดัชนีวัดผลการดําเนินงานที่สําคัญ

4. ข อ มู ล ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ทํ า ข้ อ มู ล ที่ สํ า คั ญ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ อย่ า งเพี ย งพอต่ อ การตั ด สิ น ใจ รวมทั้ ง ได้ จั ด ให้ มี ร ะบบข้ อ มู ล สารสนเทศที่สนับสนุนการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การรายงาน ทางการเงินอย่างเป็นระบบ เพื่อช่วยให้เกิดประสิทธิผลของระบบ การควบคุมภายใน เอกสารทางบัญชีได้จัดเก็บไว้อย่างครบถ้วนเป็น หมวดหมู่ตามระยะเวลาการจัดเก็บที่กฎหมายกําหนด นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได้ สื่ อ สารข้ อ มู ล สารสนเทศที่ สํ า คั ญ ไปยั ง ผู้ บ ริ ห าร และ ผู้ใช้ภายในบริษัทฯ ในรูปแบบที่ช่วยให้ผู้รับข้อมูลสารสนเทศปฏิบัติ หน้าที่ตามความรับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทําให้บริษัทฯ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กําหนดไว้ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณาการใช้นโยบาย บัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไปและเหมาะสมกับลักษณะ ธุรกิจของบริษัทฯ โดยกําหนดให้มีการรายงาน การอนุมัติการใช้และ การเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีอย่างเป็นระบบ

5. ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล บริษัทฯ กําหนดให้เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหาร ทุ ก ระดั บ ในการดู แ ลและตรวจสอบระบบการทํ า งานภายใน หน่วยงานของตนให้มีประสิทธิภาพและถูกต้องตามระเบียบการ ปฏิบัติงาน โดยมีระบบการควบคุมภายในที่รัดกุม โดยหน่วยงาน ตรวจสอบภายในจะเป็นผู้สนับสนุน ให้คําปรึกษาและสอบทานระบบ การควมคุมภายในทั้งองค์กร คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณา และทบทวนผลการดําเนินการจริงเทียบเป้าหมายของแผนธุรกิจ เป็นรายเดือน รวมทั้ง ทบทวนความสําเร็จของการดําเนินการตาม

ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ

097

แผนกลยุทธ์เป็นรายไตรมาส ซึ่งหากผลการดําเนินงานจริงแตกต่าง จากเป้าหมาย คณะกรรมการบริษัทฯ จะให้คําแนะนําในการปรับปรุง และแก้ ไขประเด็ น ต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งทั น ท่ ว งที นอกจากนี้ แผนกตรวจสอบระบบงานภายในจะรายงานผลการปฏิ บั ติ ง าน ตรวจสอบภายในต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบอย่ า งเป็ น อิ ส ระ และตรงไปตรงมา รวมทั้ง ติดตามความคืบหน้าของการปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่องจนกว่าจะแล้วเสร็จ กรณีพบข้อบกพร่อง หัวหน้า หน่ ว ยงานตรวจสอบจะรายงานต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ ให้รับทราบ


098

20

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) มีความมุ่งมั่นในการดําเนินธุรกิจ ด้ ว ยความเป็ น ธรรม สุ จ ริ ต โปร่ ง ใส โดยยึ ด แนวปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ตามแนวทางที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (ตลท.) และคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กําหนด เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับ ผู้ลงทุน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ซึ่งเป็นส่วนสําคัญในการ ส่งเสริมให้เกิดความยั่งยืนของบริษัทฯ

การบริหารการเงิน ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และนักลงทุนสัมพันธ์ >>

บริษัทฯ ได้รับรางวัล “The Asset Corporate Award 2013 – Gold Award ” จากโครงการ The Asset Excellence in Management and Corporate Governance Awards 2013 ซึ่งจัดโดยนิตยสาร

The Asset

1. น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร คณะกรรมการบริษัทฯ ให้ความสําคัญต่อนโยบายการกํากับดูแล กิจการมาโดยตลอด และได้กําหนดให้การกํากับดูแลกิจการเป็นหนึ่ง ในดั ช นี วั ด ผลการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง กํ า หนดให้ มี การจัดทําแผนการดําเนินงาน เพื่อยกระดับการกํากับดูแลกิจการ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยในปี 2556 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้รับรางวัลและการรับรองด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ >>

บริษัทฯ ได้รับผลการประเมินการกํากับดูแลกิจการของบริษัท จดทะเบียน ประจําปี 2556 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2013) โดยได้รับร้อยละ 96 ซึ่งอยู่ใน ระดับ “ดีเลิศ” อันเป็นระดับสูงสุดต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 และเป็น 1 ใน 30 บริษัท ในกลุ่ม Top Quartile ที่มีมูลค่าทางการตลาด มากกว่า 10,000 ล้านบาท ดําเนินการโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD )

>>

บริษทั ฯ ได้รบั รางวัลบริษทั จดทะเบียนด้านการรายงานบรรษัทภิบาล ดีเยี่ยม (Top Corporate Governance Report Awards ) ในงาน SET Awards 2013 ดําเนินการโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

>>

บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ ผลการประเมิ น ให้ อ ยู่ ใ น “ Top 50 ของบริ ษั ท จดทะเบียนในประเทศไทย” ตามเกณฑ์ ASEAN CG Scorecard

>>

บริษัทฯ ได้รับการจัดอันดับ “Asia ’s Outstanding Company on Corporate Governance ” จากโครงการ Corporate Governance Asia Recognition Awards 2013 ซึ่งจัดโดยนิตยสาร Corporate

Governance Asia >>

บริษัทฯ ได้รับรางวัล The Strongest Adherence Corporate Governance จาก Alpha Southeast Asia Magazine ที่ทําการ สํารวจบริษัทชั้นนําในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกี่ยวกับ

บริษัทฯ ได้จัดทํานโยบายกํากับดูแลกิจการเป็นลายลักษณ์อักษร อย่างชัดเจน ตั้งแต่ปี 2544 ซึ่งบริษัทฯ กําหนดให้เป็นหน้าที่และ ความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนของ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ในเครื อ ฯ ที่ จ ะต้ อ งรั บ ทราบและปฏิ บั ติ ต าม นโยบายฯ ในปี 2556 บริษัทฯ ได้ทบทวนและปรับปรุงนโยบายการ กํากับดูแลกิจการ เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษัทฯ และ แนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงแบ่งหมวดหมู่เนื้อหา ให้ชัดเจน ครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการที่สําคัญ โดยได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และคณะกรรมการ บริษัทฯ อนุมัตินโยบายการกํากับดูแลกิจการซึ่งได้ผ่านการทบทวน และปรับปรุงดังกล่าว และบริษัทฯ ได้ทําการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของ บริษัทฯ ที่ www .thaioilgroup .com เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สนใจสามารถ ศึกษาและดาวน์โหลดได้ โดยนโยบายดังกล่าว มีเนื้อความดังต่อไปนี้

บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะเป็นบริษัทชั้นนําของภูมิภาค สร้างความ น่าเชื่อถือให้กับผู้ลงทุน และผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการดําเนินธุรกิจ เพิ่มมูลค่าขององค์กรและส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ ด้ ว ยการบริ ห ารจั ด การธุ ร กิ จ ด้ ว ยความเป็ น ธรรม สุ จ ริ ต โปร่ ง ใส ตามหลักการกํากับดูแลกิจการอันเป็นสากล และเป็นคุณค่าพื้นฐาน ขององค์กรชั้นนํา ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้กําหนดนโยบายการกํากับดูแล กิจการ เพื่อเป็นกรอบในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคน จะปฏิบตั หิ น้าที่ ด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเทและรับผิดชอบอย่างเต็มความสามารถ เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และยึดมั่นคู่มือหลักการกํากับ ดู แ ลกิ จ การและจรรยาบรรณธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ เป็ น แนวทาง


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

099

ด้วยความเข้าใจ เชื่อมั่น และศรัทธา โดยถือเป็นกิจวัตรจนเป็น วัฒนธรรมที่ดีขององค์กร

3. ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การตั ด สิ น ใจและการกระทํ า ของตนเอง สามารถชี้แจงและอธิบายการตัดสินใจนั้นได้ (Accountability )

2. คณะกรรมการบริษัทฯ มีบทบาทสําคัญร่วมกับผู้บริหารในการ กําหนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ นโยบาย และแผนงานที่สําคัญของ บริษัทฯ รวมทั้งการจัดโครงสร้างการบริหารงานที่สอดคล้องและ สัมพันธ์กันอย่างเป็นธรรมระหว่างคณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และผู้ ถื อ หุ้ น และมี ก ารวางแนวทางการบริ ห ารจั ด การ และ การดําเนินธุรกิจที่มีความเหมาะสม

4. การมีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กรในระยะยาว (Creation of Long Term Value )

3. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และผู้ บ ริ ห าร จะต้ อ งเป็ น ผู้ นํ า ในเรื่ อ ง จริ ย ธรรม และเป็ น ตั ว อย่ า งในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความ ซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม โปร่งใสตรวจสอบได้ ตามแนวปฏิบัติ ด้านจริยธรรมของบริษัทฯ 4. คณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน จะยึดมั่น ในความเป็ น ธรรมโดยปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทุ ก ฝ่ า ย อย่างเท่าเทียมกัน พร้อมทั้งดูแลสอดส่อง ควบคุมและป้องกัน การตัดสินใจหรือการกระทําใดๆ ที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 5. การปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ถือเป็น ดัชนีชี้วัดที่สําคัญในการประเมินผลการบริหารจัดการทางธุรกิจ ของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ กั บ ผู้ บ ริ ห าร และการประเมิ น ผล การปฏิบัติงานของพนักงานทุกคน หลักการกํากับดูแลกิจการ บริ ษั ท ฯ มี ค วามมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะส่ ง เสริ ม ให้ บ ริ ษั ท ฯ เป็ น องค์ ก รที่ มี ประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจเชิงบูรณาการด้านการกลั่นนํ้ามัน และปิโตรเคมี ที่มีการกํากับดูแลกิจการและการบริหารจัดการที่ดี มุ่งเน้นการสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกกลุ่มโดยรวม มีคุณธรรม ความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ โดยบริษัทฯ ได้กําหนดหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี หรือหลักการ REACT เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และพนักงาน ยึดเป็น แนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. มีความสํานึกรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยขีดความสามารถ และประสิทธิภาพที่เพียงพอ (Responsibility ) 2. การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทุ ก กลุ่ ม อย่ า งเท่ า เที ย มกั น ด้วยความเป็นธรรม (Equitable Treatment )

5. ความโปร่งใสในการดําเนินงานที่สามารถตรวจสอบได้ และเปิดเผย ข้อมูลอย่างโปร่งใสแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง (Transparency ) 6. การมี จ ริ ย ธรรมและจรรยาบรรณในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โดยมี โครงสร้างการบริหารที่มีความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ผู้ บ ริ ห าร และผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งเสมอภาคและเป็ น ธรรม (Ethics ) บริษัทฯ มีการสื่อสารกับพนักงานถึงหลักการและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การและจรรยาบรรณธุ ร กิ จ การรายงาน ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Confl ict of Interest Disclosure Form ) และการต่อต้านคอร์รัปชั่น ตั้งแต่การปฐมนิเทศพนักงานใหม่ เพื่ อ ให้ พ นั ก งานเกิ ด ความรู้ ค วามเข้ า ใจ และสามารถนํ า ไปเป็ น แนวทางตั้งแต่เริ่มปฏิบัติงานได้ นอกจากนี้ ยังได้มีการสื่อสารเป็น ระยะผ่านวารสารอัคนี (วารสารภายในองค์กร) และ CG e-newsletter เป็นต้น

2. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ชุ ด ย อ ย คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการชุ ด ต่ า งๆ เพื่ อ กลั่นกรองและกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทฯ เฉพาะเรื่อง ทั้งนี้ เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุด และให้เป็นไปตามกฎระเบียบและข้อบังคับ ของ ก.ล.ต. และตลท. คณะกรรมการชุดย่อยของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบที่ มี คุณสมบัติครบถ้วนตามที่ ก.ล.ต. และตลท. กําหนดเพื่อทําหน้าที่ สอบทานการดําเนินงานของบริษัทฯ รายการทางการเงิน ระบบ การควบคุ ม ภายใน คั ด เลื อ กผู้ ต รวจสอบบั ญ ชี รวมทั้ ง พิ จ ารณา รายการระหว่างกัน โดยกรรมการตรวจสอบทุกท่านเป็นผู้มีความรู้ และประสบการณ์เพียงพอที่จะทําหน้าที่สอบทานความน่าเชื่อถือ ของงบการเงิน


100

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วย กรรมการอิสระที่ไม่เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ จํานวน 4 คน ดังนี้ ชื่อ - นามสกุล

ตําแหน่ง

1. นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (อิสระ) 2. นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ กรรมการตรวจสอบ(อิสระ) 3. นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์ กรรมการตรวจสอบ(อิสระ) 4. นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร กรรมการตรวจสอบ(อิสระ) ซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ ด้านบัญชีและการเงินเพียงพอ ในการสอบทานความน่าเชื่อถือ ของงบการเงิน โดยมี น างสาวหั ส ยา นิ พั ท ธ์ ว รนั น ท์ ผู้ จั ด การแผนกตรวจสอบ ระบบงานภายใน ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานรายงานทางการเงิ น เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า มี ค วามถู ก ต้ อ ง และเชื่อถือได้ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอโดยการ ประสานงานกับผู้สอบบัญชีภายนอกและผู้บริหารที่รับผิดชอบ จัดทํารายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและประจําปี 2. สอบทานให้บริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ มีระบบการควบคุม ภายใน ระบบการตรวจสอบภายใน และระบบการบริ ห าร ความเสี่ ย งที่ เ หมาะสมและมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล และอาจเสนอแนะ ให้ มี ก ารสอบทานหรื อ ตรวจสอบรายการใดที่ เ ห็ น ว่ า จํ า เป็ น และเป็นสิ่งสําคัญ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุง แก้ ไขระบบการควบคุ ม ภายใน ระบบการบริ ห ารความเสี่ ย ง และรายงานผลการสอบทานเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ 3. สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อกําหนดของ ตลท. นโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ 4. สอบทานหลั ก ฐานหากมี ข้ อ สงสั ย เกี่ ย วกั บ การดํ า เนิ น การที่ อาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อฐานะการเงินและผลการ ดําเนินงานของบริษัทฯ หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

การฝ่าฝืนกฎหมายและข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องที่อาจมีผลกระทบ ต่อการดําเนินงานของบริษัทฯ 5. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ในกรณีที่เกิดรายการที่ เกี่ยวโยง หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ตามกฎหมายและข้อกําหนดของ ตลท. ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า รายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 6. พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระ เพื่อทําหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาเสนอ ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี โดยคํานึงถึงความน่าเชื่อถือ ความ เพียงพอของทรัพยากร ปริมาณงานตรวจสอบของสํานักงาน ตรวจสอบบั ญ ชี นั้ น และประสบการณ์ ข องบุ ค ลากรที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ ทํ า การตรวจสอบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง เข้ า ร่ ว มประชุ ม กั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี โ ดยไม่ มี ฝ่ า ยจั ด การอย่ า งน้ อ ย ปีละ 1 ครั้ง 7. สอบทานความถูกต้องและประสิทธิผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับรายงานทางการเงินและการควบคุมภายใน 8. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบรายงานทางการเงินให้ทัดเทียมกับ มาตรฐานบัญชีสากล 9. สอบทานแผนงานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตามวิธีการและ มาตรฐานที่ยอมรับโดยทั่วไป 10. พิ จ ารณาความเป็ น อิ ส ระของหน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน รวมถึงให้คําแนะนําเรื่องงบประมาณและกําลังพลของแผนก ตรวจสอบระบบงานภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการ พิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย หรือเลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน และประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปีของผู้จัดการแผนก ตรวจสอบระบบงานภายใน 11. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ และเปิดเผยไว้ในรายงานประจําปีของ บริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ที่ ตลท. กําหนด 12. คณะกรรมการตรวจสอบอาจแสวงหาความเห็นที่เป็นอิสระจาก ที่ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นใดเมื่อเห็นว่าจําเป็น ด้วยค่าใช้จ่ายของ บริ ษั ท ฯ โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ การดํ า เนิ น การว่ า จ้ า งให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บข้ อ กํ า หนดของ บริษัทฯ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

13. ประธานกรรมการตรวจสอบหรื อ กรรมการตรวจสอบต้ อ ง เข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เพื่อชี้แจงในเรื่องเกี่ยวกับ คณะกรรมการตรวจสอบหรือการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 14. พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ 15. ปฏิ บั ติ ง านอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในรอบปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้ กล่าวไว้ในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ หน้า 14-15 2) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนซึ่งต้องประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารของ บริษัทฯ จํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยส่วนใหญ่ต้องเป็นกรรมการ อิสระและต้องไม่เป็นประธานกรรมการ หรือประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จํานวน 3 คน ดังนี้ ชื่อ - นามสกุล

ตําแหน่ง

1. นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์

ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ (อิสระ) 2. พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต กรรมการสรรหาฯ (อิสระ) 3. พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี กรรมการสรรหาฯ (อิสระ) โดยมีนายวิโรจน์ มีนะพันธ์ (รักษาการ) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ด้านกํากับกิจการองค์กร ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน หน้าที่ด้านการสรรหา 1. กําหนดวิธีการและหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการ 2. กําหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะดํารงตําแหน่งกรรมการโดยคํานึงถึง ทักษะประสบการณ์ความสามารถเฉพาะด้านที่เป็นประโยชน์

101

ต่อบริษัทฯ การอุทิศเวลา และความพยายามในการปฏิบัติหน้าที่ ของกรรมการ 3. สรรหาคั ด เลื อ กผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ ส มควรได้ รั บ การเสนอชื่ อ เป็ น กรรมการ เพื่ อ เสนอความเห็ น ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และ ขออนุมัติต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 4. สนับสนุนให้บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอรายชื่อ บุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการบริษัทฯ 5. ทบทวนแผนการสืบทอดตําแหน่งของผู้บริหารสูงสุด พร้อมทั้ง รายชื่อผู้ที่อยู่ในเกณฑ์เหมาะสมที่จะได้รับการพิจารณาสืบทอด ตําแหน่งเป็นประจําทุกปี 6. คัดเลือกกรรมการบริษัทฯ ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการ ในคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อนําเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาแต่งตั้งเมื่อมีตําแหน่งว่างลง หน้าที่ด้านการพิจารณาค่าตอบแทน 1. เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับโครงสร้างและ องค์ประกอบค่าตอบแทนสําหรับกรรมการเป็นประจําทุกปี 2. เสนอหลั ก เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนอย่ า งเหมาะสมกั บ หน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ โดยเชื่อมโยงค่าตอบแทน กับผลการดําเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ เพื่อให้สามารถจูงใจ และรักษากรรมการที่มีความสามารถมีคุณภาพและศักยภาพ ทั้งนี้ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เป็ น ผู้ พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบ ก่อนนําเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปีเพื่อขออนุมัติ 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานและพิจารณาค่าตอบแทนที่เหมาะสม ให้แก่ผู้บริหารสูงสุด ในรอบปี 2556 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนได้ ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้กล่าวไว้ในรายงานคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน หน้า 16-17 3) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ซึ่งต้องประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ จํานวน ไม่น้อยกว่า 3 คน โดยกรรมการส่วนใหญ่ต้องเป็นกรรมการอิสระ


102

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2556 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จํานวน 3 คน ดังนี้ ชื่อ - นามสกุล

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

7. พิจารณาและให้ความเห็นชอบแบบประเมินและผลการประเมิน การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ นํ า เสนอต่ อ คณะกรรมการบริษัทฯ ต่อไป

ตําแหน่ง 8. รับผิดชอบต่อการอื่นใดที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย

1. ศ.(พิเศษ) ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์ ประธานคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการ (อิสระ) 2. พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว กรรมการกํากับดูแลกิจการ (อิสระ) 3. นายถาวร พานิชพันธ์ กรรมการกํากับดูแลกิจการ (อิสระ) โดยมีนายวิโรจน์ มีนะพันธ์ (รักษาการ) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ด้านกํากับกิจการองค์กร ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการกํากับ ดูแลกิจการ อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ 1. กําหนดนโยบายการพัฒนาแนวทางปฏิบัติด้านการกํากับดูแล กิ จ การที่ ดี ต ามมาตรฐานสากลอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ใช้ เ ป็ น หลักปฏิบัติของบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ สืบต่อไป 2. กํ า หนดนโยบายพร้ อ มทั้ ง สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารประเมิ น ระดั บ มาตรฐานการกํากับดูแลกิจการภายในองค์กรด้วยตนเอง รวมทั้ง เข้ า รั บ การตรวจประเมิ น จากองค์ ก รภายนอกที่ มี ชื่ อ เสี ย งและ เป็นที่ยอมรับทั่วไปเป็นประจํา 3. กํากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามหลักการ กํากับดูแลกิจการที่ดีของสถาบันกํากับฯ ได้แก่ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ 4. พิ จ ารณาทบทวนนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ฯ อย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติของสากล และข้อเสนอแนะของสถาบันกํากับฯ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. สนับสนุนให้มีการเผยแพร่วัฒนธรรมในการกํากับดูแลกิจการที่ดี ให้เป็นที่เข้าใจของผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ และให้มีผล ในทางปฏิบัติทั้งในบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ 6. ให้ คํ า ปรึ ก ษาแก่ ค ณะทํ า งานเพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มในการ เข้ารับการจัดอันดับการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยหน่วยงานกลาง ภายนอกองค์กรอย่างน้อย 1 ครั้ง ทุกๆ 3 ปี

ในรอบปี 2556 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการได้ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามทีไ่ ด้กล่าวไว้ในรายงานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ หน้า 18-21 4) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งต้องประกอบด้วยกรรมการบริษัทฯ จํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยให้ ป ระธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยงโดยตําแหน่ง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2556 ประกอบด้วยกรรมการ จํานวน 3 คน ดังนี้ ชื่อ - นามสกุล

ตําแหน่ง

1. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

ประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง (อิสระ) 2. นายณัฐชาติ จารุจินดา กรรมการบริหารความเสี่ยง 3. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการบริหารความเสี่ยง

โดยมี น ายสมชั ย วงศ์ วั ฒ นศานต์ รองกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ด้านกลยุทธ์องค์กร ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และนายวิชัย ไหมทอง ผู้จัดการแผนกบริหารความเสี่ยง ปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. กําหนดและทบทวนกรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กรที่เหมาะสม กับการดําเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามมาตรฐาน สากล รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ที่สอดคล้องต่อทิศทางกลยุทธ์การดําเนินงานและแผนธุรกิจ 2. กําหนดและทบทวนปรับปรุงนโยบายและกระบวนการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร รวมทั้งกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ให้ ส อดคล้ อ งกั บ กรอบการบริ ห ารความเสี่ ย งองค์ ก รเพื่ อ ให้ มี ประสิ ท ธิ ผ ลและมี ค วามเพี ย งพอสอดคล้ อ งตามสภาวการณ์ ที่เปลี่ยนแปลง


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

103

3. สนั บ สนุ น และพั ฒ นาการบริ ห ารความเสี่ ย งในทุ ก ระดั บ ทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ร รวมทั้ ง เครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและมี ประสิทธิภาพรวมถึงส่งเสริมวัฒนธรรมบริหารความเสี่ยง

6. สนั บ สนุ น ให้ ก รรมการบริ ษั ท ฯ เข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และ ทําหน้าที่เป็นประธานในที่ประชุม เพื่อควบคุมการประชุมให้มี ประสิทธิภาพ และตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้น

4. กํากับดูแลติดตามและสอบทานการรายงานการบริหารความเสี่ยง ที่สําคัญ พร้อมทั้งให้คําแนะนําเพื่อให้มั่นใจว่ามีการบริหารจัดการ ความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ และสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงต่างๆ ให้อยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้สอดคล้องกับนโยบายบริหารความเสี่ยงองค์กร

7. สนับสนุนให้คณะกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต อํ า นาจหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ตามกฎหมาย และตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

5. รายงานผลการบริหารความเสี่ยงที่สําคัญให้คณะกรรมการบริษัทฯ รั บ ทราบในกรณี ที่ มี ปั จ จั ย หรื อ เหตุ ก ารณ์ ที่ สํ า คั ญ ซึ่ ง อาจมี ผ ล กระทบต่อบริษทั ฯ อย่างมีนยั สําคัญ โดยต้องรายงานต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาโดยเร็วที่สุด 6. รับผิดชอบต่อการอื่นใดที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในรอบปี 2556 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามทีไ่ ด้กล่าวไว้ในรายงานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง หน้า 22-23

3. ข อ บ เ ข ต ห น า ที่ แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ธ า น เ จ า ห น า ที่ บ ริ ห า ร แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ผู จั ด ก า ร ใ ห ญ ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานกรรมการ 1. ประธานกรรมการ หรือผู้ที่ประธานกรรมการมอบหมายมีหน้าที่ เรี ย กประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ โดยส่ ง หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุม เพื่อให้กรรมการบริษัทฯ มีเวลา เพียงพอที่จะศึกษา พิจารณา และตัดสินใจอย่างถูกต้องในเรื่อง ต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ 2. มี บ ทบาทในการกํ า หนดระเบี ย บวาระการประชุ ม ร่ ว มกั บ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฯ 3. ประธานกรรมการ มีหน้าที่ควบคุมการประชุมให้มีประสิทธิภาพ จัดสรรเวลาให้เพียงพอที่ฝ่ายจัดการจะนําเสนอข้อมูล สนับสนุน และเปิดโอกาสให้กรรมการซักถามและแสดงความคิดเห็นอย่าง อิสระ ควบคุมประเด็นในการอภิปราย และสรุปมติที่ประชุม 4. มีบทบาทสําคัญในการส่งเสริมให้กรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติตาม หลักการกํากับดูแลกิจการ เช่น การแสดงตน งดออกเสียงลงมติ และการออกจากห้องประชุม เมื่อมีการพิจารณาระเบียบวาระ ที่กรรมการมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 5 สื่อสารข้อมูลสําคัญต่างๆ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้รับทราบ

ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ของบริษัทฯ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ทําหน้าที่เกี่ยวกับ การดําเนินธุรกิจตามปกติของบริษัทฯโดยบริหารงานตามแผนและ งบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และรั ก ษาผลประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ บ ริ ษั ท ฯ และ ผู้ ถื อ หุ้ น ไม่ ทํ า การใดที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย หรื อ มี ผ ลประโยชน์ ลั ก ษณะ ขั ด แย้ ง กั บ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ โดยหน้ า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบประกอบด้วย 1. จัดทําและเสนอแผนธุรกิจ 5 ปี/10 ปี ตลอดจนกลยุทธ์ในการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ แก่คณะกรรมการบริษัทฯ 2. จัดหาข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจกรรมของบริษทั ฯ ให้แก่คณะกรรมการ บริษัทฯ รวมถึงข้อมูลอื่นที่คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องการ 3. บริหารงานของบริษัทฯ ตามแผนธุรกิจและกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ 4. จัดโครงสร้างและบริหารจัดการองค์กรตามแนวทางทีค่ ณะกรรมการ บริษัทฯให้คําแนะนํา 5. ปรั บ วั ฒ นธรรมองค์ ก รของบริ ษั ท ฯ (POSITIVE) เพื่ อ สนั บ สนุ น วิสัยทัศน์พันธกิจและกลยุทธ์ของบริษัทฯ 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ 7. มอบอํานาจช่วง และ/หรือ มอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิบัติงาน เฉพาะอย่ า งแทนได้ โดยอยู่ ใ นขอบเขตที่ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บ ข้อกําหนด หรือคําสั่งที่คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทฯ ได้กําหนดไว้ 8. จัดทําและเสนอรายงานการดําเนินงานของบริษทั ฯ ต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ ในเรื่องที่สําคัญอย่างสมํ่าเสมอ รวมถึงการจัดทํารายงาน เรื่องอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องการ 9. เป็นตัวแทนของบริษัทฯ ในการติดต่อกับบุคคลภายนอก


104

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

4. ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ แ ต ง ตั้ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ธ า น ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กําหนดนโยบายเกี่ยวกับการกําหนด เ จ า ห น า ที่ บ ริ ห า ร แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ผู จั ด ก า ร ใ ห ญ จํานวนบริษัทจดทะเบียนที่กรรมการสามารถดํารงตําแหน่งกรรมการ บริ ษั ท ฯ มี แ นวปฏิ บั ติ ซึ่ ง ได้ กํ า หนดไว้ ใ นคู่ มื อ หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ล กิจการในหมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ กล่ า วคื อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ต้ อ งประกอบด้ ว ย ผู้ มี ค วามรู้ ความเชี่ ย วชาญและประสบการณ์ ที่ ส ามารถเอื้ อ ประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ บริษัทฯ ได้เป็นอย่างดี มีความทุ่มเท และให้เวลาอย่างเต็มที่ในการ ปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้รับการ แต่งตั้งจากผู้ถือหุ้นมาเป็นผู้กํากับแนวทางดําเนินการของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้แต่งตั้งฝ่ายบริหารรับผิดชอบการดําเนิน ธุรกิจ และแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่องเพื่อรับผิดชอบเฉพาะเรื่อง ที่ได้รับมอบหมาย โดยสาระสําคัญสําหรับแนวปฏิบัติในการสรรหา และแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูง มีดังต่อไปนี้ องค์ประกอบและคุณลักษณะของกรรมการ คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการ จํานวนไม่น้อยกว่า 5 คน และไม่ เ กิ น 15 คน ตามที่ กํ า หนดในข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ทําหน้าที่สรรหาและคัดเลือกกรรมการ และผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ในกรณี ที่ ตํ า แหน่ ง ว่ า งลง องค์ ป ระกอบของ คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องมีจํานวนสัดส่วนของกรรมการที่เป็น อิ ส ระเพี ย งพอที่ จ ะสามารถตรวจสอบถ่ ว งดุ ล การทํ า งานของ คณะกรรมการบริษัทฯ และการดําเนินงานของฝ่ายจัดการ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยบุคคลที่มีความสามารถ ได้รับ ความเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป และต้องมีความหลากหลาย ของทักษะ ประกอบด้วยทักษะทางด้านอุตสาหกรรม ด้านบัญชี การเงิน ด้านธุรกิจ ด้านการจัดการ ด้านการตลาดระหว่างประเทศ ด้านกลยุทธ์ ด้านการบริหารวิกฤติ ด้านกฎหมาย และด้านการกํากับ ดูแลกิจการ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ ต้องประกอบด้วยกรรมการ อิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ และมีจํานวนไม่น้อย กว่า 3 คน ซึ่งปัจจุบันจํานวนกรรมการอิสระของบริษัทฯ มีจํานวน ครบถ้วน และเกินกว่าที่กฎหมายกําหนด ปัจจุบันคณะกรรมการ บริษัทฯ มีจํานวน 15 ท่าน ประกอบด้วย กรรมการที่เป็นผู้บริหาร จํานวน 1 ท่าน และกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร จํานวน 14 ท่าน โดยในจํานวนนี้ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จํานวน 11 ท่าน สําหรับ รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เลขานุ ก ารบริ ษั ท ฯ ได้ แ สดงไว้ ใ น หมวดข้ อ มู ล หลั ก ทรั พ ย์ แ ละผู้ ถื อ หุ้ น และโครงสร้ า งการจั ด การ หน้า 80-84 และหน้า 89

เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท ฯ ได้ รั บ ประโยชน์ สู ง สุ ด ในการที่ ก รรมการบริ ษั ท ฯ สามารถทุ่มเทเวลาสําหรับการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกําหนดให้กรรมการบริษัทฯ สามารถดํารงตําแหน่งกรรมการของ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ไม่เกิน 5 บริษัท วิธีการสรรหาแต่งตั้งกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ การคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสม เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ แทนกรรมการที่ออกตามวาระ โดยบริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น รายย่ อ ยเสนอรายชื่ อ บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และตามคุ ณ สมบั ติ ที่ บ ริ ษั ท ฯ กําหนด เพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็นกรรมการบริษัทฯ โดยจะประกาศ เชิญชวนในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ให้ผู้ถือหุ้นเสนอรายชื่อและประวัติ บุคคลเข้ามายังบริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ ได้กําหนดสัดส่วนของการถือหุ้น ขั้นตํ่า สําหรับผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเสนอชื่อกรรมการล่วงหน้า โดยต้อง ถือหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของบริษัทฯ และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จะทําการคัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลของผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ตามกฎหมายและหลักเกณฑ์ที่กําหนด โดยพิจารณาจากประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถที่ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ บริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ พิ จ ารณา เมื่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ บริษัทฯ มีมติเห็นชอบแล้ว บริษัทฯ จะเสนอชื่อบุคคลดังกล่าวเพื่อ ขออนุมัติเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น โดยขอมติ ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ให้ ถื อ คะแนนเสี ย งข้ า งมาก ของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน รวมทั้ง คัดเลือกกรรมการบริษัทฯ ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการใน คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย แทนตํ า แหน่ ง กรรมการชุ ด ย่ อ ยที่ ว่ า งลง หลังจากการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี และนําเสนอรายชื่อ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติแต่งตั้งต่อไป ส่ ว นการคั ด เลื อ กบุ ค คลที่ เ หมาะสม เข้ า ดํ า รงตํ า แหน่ ง ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ นั้ น คณะกรรมการ บริษัทฯ เป็นผู้แต่งตั้งฝ่ายบริหารเพื่อรับผิดชอบการดําเนินธุรกิจ โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จะพิจารณา หลักเกณฑ์และกระบวนการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ในการดํ า รงตํ า แหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ เพื่อเสนอแก่คณะกรรมการบริษัทฯ รวมถึงทบทวน


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

แผนการสืบทอดตําแหน่ง พร้อมทั้งรายชื่อผู้ที่อยู่ในเกณฑ์เหมาะสม ที่จะได้รับการพิจารณาสืบทอดตําแหน่ง คุณสมบัติกรรมการอิสระ องค์ ป ระกอบของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ต้ อ งมี จํ า นวนสั ด ส่ ว น ของกรรมการที่เป็นอิสระเพียงพอที่จะสามารถตรวจสอบถ่วงดุล การทํ า งานของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และการดํ า เนิ น งานของ ฝ่ายจัดการ ซึ่งต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ และมีจํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน ตามที่คณะกรรมการกํากับ ตลาดทุนกําหนด ดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของ ผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงานลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจํา หรือผู้มีอํานาจควบคุม ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลําดับ เดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 3. ไม่ เ ป็ น บุ ค คลที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างสายโลหิ ต หรื อ โดยการ จดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตรของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะ ได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจควบคุม ของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุม ของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณ อย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือ ผู้มีอํานาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อํานาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทํารายการ ทางการค้าที่กระทําเป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือ

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

105

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือ ให้ กู้ ยื ม คํ้ า ประกั น การให้ สิ น ทรั พ ย์ เ ป็ น หลั ก ประกั น หนี้ สิ น รวมถึงพฤติการณ์อื่นทํานองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทฯ หรือ คู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องชําระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทฯ หรือตั้งแต่ 20 ล้านบาท ขึ้นไป แล้วแต่จํานวนใดจะตํ่ากว่า ทั้งนี้การคํานวณภาระหนี้ ดั ง กล่ า วให้ เ ป็ น ไปตามวิ ธี ก ารคํ า นวณมู ล ค่ า ของรายการที่ เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วย หลักเกณฑ์ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันโดยอนุโลม แต่ในการ พิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่าง 1 ปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5. ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุม ของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอํานาจควบคุม หรือ หุ้นส่วนของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อํานาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการ มีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้ บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับ ค่ า บริ ก ารเกิ น กว่ า 2 ล้ า นบาทต่ อ ปี จ ากบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุม ของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอํานาจควบคุม หรือ หุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 7. ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ตั ว แทนของ กรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็น ผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขัน ที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วน ที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา หรือถือหุ้นเกิน ร้อยละ 1 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันที่ มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย


106

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทําให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ เกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทฯ 10. กรรมการอิสระของบริษัทฯ มีวาระการดํารงตําแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน (ทั้งนี้ เริ่มต้นนับวาระการดํารงตําแหน่ง ตั้งแต่ วันที่ 23 สิงหาคม 2555 เป็นต้นไป) เพื่อเป็นการส่งเสริมให้กรรมการอิสระและกรรมการซึ่งไม่ได้เป็น ผู้บริหาร ได้มีโอกาสประชุมปรึกษาหารือระหว่างกันเองอย่างเป็น อิ ส ระ สํ า หรั บ การเสนอแนะความคิ ด เห็ น ต่ า งๆ เพื่ อ พั ฒ นา การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการบริษัทฯ รวมทั้งการกําหนดแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ จึงได้กําหนดให้มี การประชุมกรรมการอิสระอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และการประชุม คณะกรรมการโดยไม่มีฝ่ายจัดการอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

5. ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ ในการกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษทั ในเครือฯ นัน้ คณะกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ได้แต่งตั้งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ และผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ฯ เข้ า ดํ า รงตํ า แหน่ ง กรรมการบริ ษั ท ในเครื อ ฯ ที่ บ ริ ษั ท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 100 โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ของบริษัทฯ จะเข้าไปดํารงตําแหน่งประธาน กรรมการ หรือกรรมการในคณะกรรมการบริษัทในเครือฯ นอกจากนี้ ไทยออยล์ ยั ง ได้ จั ด ทํ า นโยบายและแนวปฏิ บั ติ ต่ า งๆ ให้ บ ริ ษั ท ในเครือฯ นําไปปฏิบัติ เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน การเข้าทํารายการที่เกี่ยวข้องกัน หรือการได้มาหรือจําหน่ายไป ซึ่งทรัพย์สินของบริษัทฯ ในกรณี ที่ บ ริ ษั ท ฯ หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย* ของบริ ษั ท ฯ มี ร ายการที่ เกี่ยวข้องกัน หรือการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินที่สําคัญ ของบริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ของ ตลท. บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามที่ ตลท. กําหนดไว้ในเรื่องดังกล่าว โดยขอความเห็นชอบของผู้ถือหุ้น ในการตกลงเข้าทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือการได้มาหรือจําหน่าย ไปซึ่งทรัพย์สินที่สําคัญของบริษัทฯ โดยมีคะแนนเสียงไม่ตํ่ากว่า สามในสี่ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบฉันทะ ที่ ม าประชุ ม และมี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งลงคะแนน โดยไม่ นั บ ส่ ว นของ ผู้ถือหุ้นที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ( * บริษัทซึ่งบริษัทฯ เข้าถือหุ้นไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่า ร้อยละ 50 ของทุนชําระแล้วของบริษัทนั้น)

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

การส่งเสริมการกํากับดูแลกิจการที่ดีให้พนักงานบริษัทในเครือฯ ตามนโยบายกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ กําหนดให้เป็นหน้าที่และ ความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนทั้งของ บริษทั ฯ และบริษทั ในเครือฯ ทีจ่ ะต้องรับทราบและปฏิบตั ติ ามนโยบาย ดังกล่าว รวมถึงจรรยาบรรณ นโยบายสําคัญ และระเบียบวิธีปฏิบัติ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับหลักการกํากับดูแลกิจการ เพื่อให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน ทั้งนี้ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และเน้นยํ้าถึงความ สําคัญของการกํากับดูแลกิจการให้แก่พนักงานทุกระดับของบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ ผ่านการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการกํากับดูแล กิจการต่างๆ โดยบริษัทฯ ได้เชิญพนักงานบริษัทในเครือฯ เข้าร่วม และได้เผยแพร่บทความและข่าวสารเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการ ไปสู่พนักงานในบริษัทในเครือฯ ด้วยเช่นเดียวกัน นอกจากนั้ น บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ทํ า “แบบรายงานความขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์” (Conflict of interest Disclosure Electronic Form) สําหรับพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้พนักงานมีความโปร่งใสในการ ปฏิบัติหน้าที่ ส่งเสริมคุณธรรม นิติธรรม และมีความรับผิดชอบ ต่ อ การกระทํ า ของตน ตลอดจนการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการ ดําเนินงานด้วยความโปร่งใส และเป็นธรรม สอดคล้องกับหลักการ กํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ

6. ก า ร ดู แ ล เ รื่ อ ง ก า ร ใ ช ข อ มู ล ภ า ย ใ น บริ ษั ท ฯ กํ า หนดให้ มี จ รรยาบรรณด้ า นการรั ก ษาความลั บ และ การใช้ ข้ อ มู ล ภายใน ไว้ ใ นคู่ มื อ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การและ จรรยาบรรณธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ เป็ น แนวทางในการดํ า เนิ น ธุรกิจ สําหรับคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ในการยึดถือ ปฏิบัติ ทั้งนี้ เนื่องจากการป้องกันข้อมูลภายในมีความสําคัญอย่างยิ่ง ต่อความสําเร็จของบริษัทฯ เพื่อให้การให้ข้อมูลข่าวสารต่อบุคคล ภายนอกเป็ น ไปในแนวทางที่ จ ะไม่ เ กิ ด ผลเสี ย หายต่ อ ธุ ร กิ จ และ ชื่อเสียงของบริษัทฯ จึงกําหนดให้มีจรรยาบรรณเกี่ยวกับการรักษา ความลับและการใช้ข้อมูลภายในดังนี้ 1. พนั ก งานทุ ก ระดั บ ของบริ ษั ท ฯ ควรรั ก ษาข้ อ มู ล ภายในและ เอกสารที่ไม่สามารถเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก อันนําไปสู่การ แสวงหาผลประโยชน์ เพื่อตนเองหรือครอบครัว หรือพวกพ้อง ในทางมิ ช อบ เช่ น ข้ อ มู ล ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ราคาหุ้ น ความลั บ ทางการค้า สูตร การประดิษฐ์คิดค้นต่างๆ ซึ่งถือเป็นสิทธิของ บริษัทฯ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

107

2. พนักงานทุกระดับของบริษัทฯ จะไม่นําข้อมูลที่เป็นความลับไปใช้ เพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือบุคคลอื่น

8. ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ใ น ป 2 5 5 6

3. พนักงานทุกระดับของบริษัทฯ ที่ได้รับข้อมูลส่วนบุคคลต้องเก็บ รักษา หรือใช้ข้อมูลดังกล่าวอย่างระมัดระวัง

บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี จึ ง ได้ กํ า หนดนโยบายและแนวปฏิ บั ติ ใ นคู่ มื อ หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ล กิจการ ที่เกี่ยวข้องในด้านต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน (สามารถดาวน์โหลด ที่ www .thaioilgroup .com ) และบริษัทฯ ได้ดําเนินการตามหลักการ กํากับดูแลกิจการที่ดีอย่างเคร่งครัด สรุปได้เป็น 5 หมวด ดังนี้

4. บริษัทฯ กําหนดให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคู่สัญญาและข้อตกลง ที่มีไว้กับคู่สัญญา ถือเป็นความลับที่ไม่อาจเปิดเผยให้บุคคลอื่น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากบริษัทฯ และคู่สัญญาเท่านั้น 5. บริษัทฯ ควรจัดให้มีมาตรการและระบบควบคุมดูแลข้อมูลบริษัทฯ ภายในฝ่ายหรือแผนกของตนอย่างรัดกุม เพื่อป้องกันไม่ให้ข้อมูล ภายในที่ สํ า คั ญ ของบริ ษั ท ฯ เปิ ด เผยออกสู่ ภ ายนอกก่ อ นการ เผยแพร่ อ ย่ า งเป็ น ทางการ โดยให้ ถื อ ว่ า มาตรการและระบบ ควบคุมนี้เป็นส่วนหนึ่งของมาตรการควบคุมความเสี่ยงที่สําคัญ ของบริษัทฯ ด้วย 6. บริษัทฯ มอบหมายให้เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บังคับ บัญชาในลําดับขั้นต่างๆ ที่จะต้องควบคุมดูแลไม่ให้มีการรั่วไหล ของข้ อ มู ล และข่ า วสารที่ สํ า คั ญ ของบริ ษั ท ฯ ออกสู่ ภ ายนอก โดยพนักงานในสายบังคับบัญชาของตน ก่อนการเผยแพร่ข้อมูล อย่างเป็นทางการของบริษัทฯ 7. การใช้ข้อมูลภายในร่วมกันของพนักงานจะต้องอยู่ในกรอบหน้าที่ และความรับผิดชอบเท่าที่พนักงานพึงได้รับมอบหมายเท่านั้น 8. พนักงานทุกระดับของบริษัทฯ จะไม่เปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับ ของบริษัทฯ แม้พ้นสภาพหรือสิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่ไปแล้ว

7. ค า ต อ บ แ ท น ข อ ง ผู ส อ บ บั ญ ชี 1) ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fees ) บริษัทฯ บริษัทย่อย และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงานกลุ่มบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ สํานักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีที่ผ่านมา จํานวน 6,143,000 บาท (หกล้านหนึ่งแสนสี่หมื่นสามพันบาทถ้วน) 2) ค่าบริการอื่นๆ (Non -Audit Fees ) บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนค่าบริการอื่นๆ ซึ่งได้แก่ การตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขของบัตรส่งเสริมการลงทุนและ ค่าธรรมเนียมในการจัดทํา Letter of Comfort และ Accounting Comments ให้แก่สํานักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปี ที่ผ่านมา จํานวน 10,225,000 บาท (สิบล้านสองแสนสองหมื่นห้า พันบาทถ้วน)

หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ให้ความสําคัญในการคํานึงถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยส่งเสริม ให้ผู้ถือหุ้น มีโอกาสใช้สิทธิขั้นพื้นฐานทางกฎหมายต่างๆ ที่ผู้ถือหุ้น พึ ง ได้ รั บ อาทิ สิ ท ธิ ใ นการเข้ า ร่ ว มการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น การเสนอวาระการประชุ ม และชื่ อ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ พื่ อ เข้ า รั บ การ พิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุม การเลื อ กตั้ ง หรื อ ถอดถอนกรรมการ การพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน กรรมการ การพิจารณาส่วนแบ่งในผลกําไร (เงินปันผล) และการได้รับ ข้อมูลข่าวสารอย่างเพียงพอ เป็นต้น นอกจากสิทธิพื้นฐานดังกล่าว บริษัทฯ ได้เอาใจใส่ผู้ถือหุ้นมากกว่าที่ กฎหมายกําหนด อาทิ การให้ข้อมูลที่สําคัญผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ การส่งจดหมายข่าวอิเล็กทรอนิกส์ให้กับผู้ถือหุ้นรายย่อย การจัดให้ ผู้ถือหุ้นรายย่อย นักวิเคราะห์ และนักลงทุนเยี่ยมชมกิจการ เป็นต้น บริ ษั ท ฯ กํ า หนดให้ มี ก ารประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น ประจํ า ทุ ก ปี โดยจะจัดขึ้นภายใน 4 เดือนนับตั้งแต่วันสิ้นรอบปีบัญชีของบริษัทฯ และหากมีความจําเป็นเร่งด่วนที่จะต้องพิจารณาวาระพิเศษในเรื่อง ที่อาจกระทบหรือเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ซึ่งจําเป็น ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทฯ สามารถ เรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นได้เป็นกรณีไป โดยในปี 2556 บริษัทฯ ได้ จั ด การประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ในวั น อั ง คารที่ 2 เมษายน 2556 ณ ห้องบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ ชั้น 5 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมรวม 2,211 คน แบ่งเป็นผู้ถือหุ้นที่มา ด้วยตนเอง 1,681 คน และผ่านการมอบฉันทะ 530 คน โดยมีจํานวน หุ้นที่ถือรวมกันได้ ทั้งหมด 1,455,014,350 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 71.32 ของจํานวนหุ้นทั้งหมดของบริษัทฯ ซึ่งในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ทุกครั้ง บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามแนวทางของโครงการประเมินคุณภาพ การจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น (AGM Checklist ) ซึ่งจัดทําขึ้นโดย สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย ดังนี้


108

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นก่อนวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น >>

เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอระเบียบวาระการประชุม และเสนอชื่อ ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการของ บริษัทฯ โดยชี้แจงรายละเอียดและวิธีการผ่านทางเว็บไซต์บริษัทฯ 3 เดื อ นก่ อ นวั น สิ้ น สุ ด รอบบั ญ ชี รวมถึ ง ส่ ง หนั ง สื อ ถึ ง ตลาด หลั ก ทรั พ ย์ ฯ ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ จ ะเสนอ ระเบียบวาระการประชุมต้องเป็นผู้ถือหุ้นคนหนึ่งหรือหลายคน ซึ่งถือหุ้นและมีสิทธิออกเสียงนับรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ

>>

เผยแพร่ ข้ อ มู ล หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ระเบี ย บวาระการประชุ ม พร้อมความเห็นของคณะกรรมการ หนังสือมอบฉันทะทุกแบบ ประกอบด้ ว ยแบบ ก แบบ ข และแบบ ค (สํ า หรั บ ผู้ ถื อ หุ้ น ต่างประเทศที่แต่งตั้งคัสโตเดียนในประเทศไทยเท่านั้น) ตามที่ กระทรวงพาณิชย์กําหนด ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อม ระบุเงื่อนไขและวิธีการลงทะเบียน เอกสาร/หลักฐานที่ใช้ในการ มอบฉันทะไว้อย่างชัดเจน รวมทั้งข้อมูลประกอบการพิจารณา ระเบียบวาระ ผ่านทางเว็บไซต์ ล่วงหน้าก่อนการประชุม 30 วัน ก่อนที่จะจัดส่งเอกสารดังกล่าวให้ผู้ถือหุ้น

>>

>>

จั ด ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น สามั ญ ประจํ า ปี โดยระบุ วั น เวลา และสถานที่ จั ด ประชุ ม ชั ด เจน พร้ อ มทั้ ง รายละเอี ย ด ระเบียบวาระการประชุม วัตถุประสงค์และเหตุผล ความเห็นของ คณะกรรมการ รายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา รายงานประจําปี หนั ง สื อ มอบฉั น ทะพร้ อ มระบุ วิ ธี ก ารมอบฉั น ทะอย่ า งชั ด เจน และเอกสารประกอบการประชุมอื่นๆ โดยบริษัทฯ ได้ทําการจัดส่ง ให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า 21 วัน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับข้อมูลข่าวสาร ซึ่งนํามาใช้ตัดสินใจในการลงมติที่เพียงพอ ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และมีโอกาสศึกษาวาระการประชุมล่วงหน้า พร้อมทั้ง ประกาศลงหนั ง สื อ พิ ม พ์ ทั้ ง ฉบั บ ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ ติดต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุมอย่างน้อย 3 วัน เพื่อเป็นการ บอกกล่าวการเรียกประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้า เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นเตรียมตัวมาร่วมประชุม ในกรณีที่มีการเพิ่มวาระการประชุมจะมีการแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบ โดยจะปฏิบัติในกรณีจําเป็นเร่งด่วนเพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ ของบริษัทฯ เท่านั้น และจะส่งหนังสือนัดประชุมไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม รวมทั้งเผยแพร่ข้อมูลประกอบวาระการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นล่วงหน้าไว้ในเว็บไซต์ก่อนจัดส่งเอกสาร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นในวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น >> อํานวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นในวันประชุมอย่างเท่าเทียมกัน ทั้ง ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และผู้ถือหุ้นรายย่อย โดยเฉพาะนักลงทุนสถาบัน และมีการจัดเจ้าหน้าที่ต้อนรับและให้ข้อมูลในการตรวจเอกสาร และลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมประชุมอย่างเพียงพอ โดยบริษัทฯ จะเปิดให้ผู้ถือหุ้นสามารถลงทะเบียนก่อนเวลาประชุม 2 ชั่วโมง และแม้จะพ้นเวลาลงทะเบียนแล้ว ก็ยังเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น ที่ประสงค์จะเข้าร่วมประชุม สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม ได้โดยไม่เสียสิทธิ >>

จั ด ให้ มี ส ถานที่ จั ด การประชุ ม ที่ ส ะดวกต่ อ การเดิ น ทางมาเข้ า ร่วมประชุม และมีขนาดเพียงพอรองรับจํานวนผู้ถือหุ้นซึ่งอยู่ใน กรุงเทพมหานครหรือจังหวัดใกล้เคียง และมีแผนรองรับกรณี เกิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น ณ วั น ประชุ ม เพื่ อ เพิ่ ม ความมั่ น ใจและรั ก ษา ความปลอดภัยให้กับผู้ถือหุ้นทุกราย

>>

นําระบบบาร์โค้ดมาใช้ในการลงทะเบียนและนับคะแนน เพื่อความ ถูกต้อง สะดวกและรวดเร็ว

>>

บริ ษั ท ฯ ไม่ ก ระทํ า การใดๆ ที่ มี ลั ก ษณะเป็ น การจํ า กั ด สิ ท ธิ ใ น การเข้าร่วมประชุมของผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นทุกคนย่อมมีสิทธิเข้า ร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้นตลอดระยะเวลาการประชุม

>>

ก่อนเริ่มประชุมทุกครั้ง ประธานที่ประชุมจะเป็นผู้ชี้แจงหลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้องกับการประชุมทั้งหมด อาทิ การเปิดประชุม และการ ออกเสียงลงคะแนน รวมทั้งวิธีการนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่ จะต้องลงมติในแต่ละวาระตามข้อบังคับของบริษัทฯ

>>

บริษัทฯ จะระบุการมีส่วนได้ส่วนเสียของกรรมการไว้ในหนังสือ เชิญประชุมฯ และในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น หากกรรมการ ท่านใดมีส่วนได้เสีย หรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการพิจารณาวาระใด ประธานที่ ป ระชุ ม จะแจ้ ง ให้ ผู้ เข้ า ร่ ว มประชุ ม ทราบก่ อ นการ พิจารณาวาระ โดยกรรมการท่านที่มีส่วนได้เสียนั้นจะไม่เข้าร่วม ประชุมในวาระนั้นๆ

>>

บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นอาสาทําหน้าที่เป็นสักขีพยาน ในการนับคะแนนเสียง รวมทั้ง เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสอบถาม เกี่ยวกับกระบวนการและวิธีการลงคะแนนเสียง

>>

สนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถใช้สิทธิในการดูแลรักษา ผลประโยชน์ ข องตน โดยการซั ก ถาม แสดงความคิ ด เห็ น


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

ให้ข้อเสนอแนะ และออกเสียงร่วมกันตัดสินใจในเรื่องที่สําคัญ ต่างๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อบริษัทฯ ในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เช่น การแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการ การเสนอชื่อบุคคลเพื่อเป็น กรรมการอิ ส ระ การอนุ มั ติ ผู้ ส อบบั ญ ชี การจั ด สรรเงิ น ปั น ผล การลดทุ น หรื อ เพิ่ ม ทุ น การกํ า หนดหรื อ การแก้ ไขข้ อ บั ง คั บ บริคณห์สนธิ และการอนุมัติรายการพิเศษ เป็นต้น >>

จัดให้มีแบบประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เพื่อนํา ข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาการจัดประชุมให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น โปร่งใส และเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น

การเมือง หรือความพิการ บริษัทฯ มีแนวปฏิบัติในการกํากับดูแล เพื่ อ ปกป้ อ งสิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐานของผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งเท่ า เที ย มกั น และเป็นธรรม สร้างความมั่นใจในการลงทุนกับบริษัทฯ ดังนั้น จึงเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิเสนอระเบียบวาระการประชุม และเสนอชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ บริษัทฯ อย่างน้อย 3 เดือนก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และ เผยแพร่ ห ลั ก เกณฑ์ ก ารใช้ สิ ท ธิ ดั ง กล่ า วผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข อง บริษัทฯ >>

บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุม และลงมติแทนผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นมีสิทธิได้รับเอกสารและคําแนะนํา ในการมอบฉันทะ ผู้รับมอบฉันทะที่ถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อยื่น หนั ง สื อ มอบฉั น ทะให้ ก รรมการในที่ ป ระชุ ม แล้ ว ย่ อ มมี สิ ท ธิ เข้าร่วมประชุมและลงมติเช่นเดียวกับผู้ถือหุ้นทุกประการ ผู้ถือหุ้น อาจมอบฉันทะให้กรรมการอิสระของบริษัทฯ มาประชุมและ ลงมติ แ ทนได้ ผู้ ถื อ หุ้ น มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ ประวั ติ ข้ อ มู ล การทํ า งาน และรายงานความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการพิจารณาวาระ ต่างๆ ของกรรมการอิสระแต่ละท่านอย่างครบถ้วนเหมาะสม

>>

ดําเนินการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นตามลําดับระเบียบวาระที่ได้แจ้ง ไว้ในหนังสือเชิญประชุม และมีนโยบายที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระใน ที่ประชุมโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า

>>

จัดสรรเวลาประชุมอย่างเพียงพอ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น มีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นและตั้งคําถาม ในที่ประชุม และได้ใช้สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถออกเสี ย งในทุ ก วาระการประชุ ม ผ่ า นบั ต ร ลงคะแนนเสียงที่บริษัทฯ ได้แจกให้ในวันประชุม

>>

กรรมการและผู้บริหารที่เกี่ยวข้องจะเข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เพื่อตอบคําถามในที่ประชุม รวมทั้งได้บันทึกประเด็นซักถามและ ข้อคิดเห็นทีส่ าํ คัญไว้ในรายงานการประชุมฯ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถ ตรวจสอบได้ภายหลัง

>>

เปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ปั จ จุ บั น ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ผู้ถือหุ้น ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารสําคัญของบริษัทฯ ที่มีการ เปลี่ยนแปลง รวมถึงสารสนเทศที่บริษัทฯ เปิดเผยตามข้อกําหนด ต่ า งๆ โดยภายหลั ง จากการเปิ ด เผยต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (ตลท.) แล้ว ได้นําข้อมูลเผยแพร่ในเว็บไซต์ของ บริษัทฯ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นหลังวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น >> บริ ษั ท ฯ ได้ เ ปิ ด เผยมติ ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น พร้ อ มผลการ ลงคะแนนเสียงในวันทําการถัดไปจากวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น โดยแจ้ ง เป็ น จดหมายข่ า วไปยั ง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ผ่ า นระบบ Electronic Listed Company Information Disclosure (ELCID ) ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และเปิดเผยไว้ใน เว็บไซต์ของบริษัทฯ >>

>>

บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ทํ า รายงานการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น แจ้ ง ต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (ตลท.) ภายใน 14 วั น หลั ง วั น ประชุ ม ตามข้ อ กํ า หนดของ ตลท. และเผยแพร่ บั น ทึ ก รายละเอียดการประชุมฯ อย่างครบถ้วนเหมาะสม ประกอบด้วย บันทึกรายงานการประชุมฯ การออกเสียงและข้อซักถามของ ผู้ ถื อ หุ้ น ในแต่ ล ะวาระอย่ า งละเอี ย ด พร้ อ มทั้ ง เผยแพร่ วี ดิ ทั ศ น์ ก ารประชุ ม ฯ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น รั บ ทราบบนเว็ บ ไซต์ บ ริ ษั ท ฯ (www .thaioilgroup .com ) นํ า ข้ อ เสนอแนะและความคิ ด เห็ น ที่ ไ ด้ รั บ จากผู้ ถื อ หุ้ น ในการ ประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น มาพิจารณาและ หาแนวทางการปรับปรุง เพื่อพัฒนาการจัดการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับคะแนน 98 คะแนน จากคะแนนเต็ ม 100 คะแนน จากการประเมิ น คุ ณ ภาพการ จั ด ประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ในโครงการประเมิ น คุ ณ ภาพการ จั ด ประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ( AGM Checklist ) ประจํ า ปี 2556 ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย

หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน >> บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก ราย โดยไม่ คํ า นึ ง ถึ ง เพศ อายุ สีผิว เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา ความเชื่อ ความคิดเห็นทาง

109


110

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้กําหนดจรรยาบรรณด้านการรักษาข้อมูลความลับ และการใช้ข้อมูลภายใน และจรรยาบรรณด้านความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ไว้ ใ นคู่ มื อ หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ และคู่ มื อ จรรยาบรรณเครื อ ไทยออยล์ ซึ่ ง สามารถดาวน์ โ หลดได้ ผ่ า นทาง เว็บไซต์ของบริษัทฯ หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารดู แ ลและคํ า นึ ง ถึ ง ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทุ ก กลุ่ ม โดยคํานึงถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามกฎหมายหรือข้อตกลง ที่ มี กั บ บริ ษั ท ฯ และได้ กํ า หนดแนวทางการปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่วนเสียแต่ละกลุ่มไว้อย่างชัดเจนใน คู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ เพื่อให้บุคลากรทุกระดับ ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติโดยถือเป็นภาระหน้าที่ ที่สําคัญ ดังนี้ การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทฯ ต่อผู้ถือหุ้น มุ่ ง มั่ น เป็ น ตั ว แทนของผู้ ถื อ หุ้ น ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งโปร่ ง ใส มีระบบบัญชีและการเงินที่มีความเชื่อถือได้ สร้างความพึงพอใจสูงสุด ให้กับผู้ถือหุ้น โดยคํานึงถึงการเจริญเติบโตของบริษัทฯ ในระยะยาว และผลตอบแทนในระดับที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง โดยคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ตลอดจนตัดสินใจดําเนินการใดๆ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ และเป็นธรรม ต่อผู้ถือหุ้น ทั้งรายใหญ่และรายย่อย และเพื่อผลประโยชน์ของกลุ่ม ผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเต็มความสามารถ ไม่ดําเนินการใดๆ ในลักษณะ ที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัทฯ ไม่แสวงหา ประโยชน์ให้ตนเอง และไม่เปิดเผยข้อมูลลับต่อบุคคลภายนอก ต่อลูกค้า สร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าโดยการส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ตามความต้องการของลูกค้า เปิดเผยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการ บริ ห ารอย่ า งครบถ้ ว น ถู ก ต้ อ ง ทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ แ ละไม่ บิ ด เบื อ น ข้อเท็จจริง จัดให้มีช่องทางการสื่อสารเพื่อให้ลูกค้าระบุข้อร้องเรียน เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ไม่กําหนดเงื่อนไขการค้าที่ไม่เป็นธรรมต่อลูกค้า ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง หรือเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อลูกค้าอย่าง โปร่งใสและเท่าเทียมกัน และให้ความสําคัญในการรักษาข้อมูลที่เป็น ความลับของลูกค้าอย่างสมํ่าเสมอ และไม่นําข้อมูลดังกล่าวมาใช้เพื่อ ผลประโยชน์ของตนเอง และ/หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ต่อคู่ค้า คู่แข่งทางการค้า และเจ้าหนี้ คํานึงถึงความเสมอภาคและความซื่อสัตย์ในการดําเนินธุรกิจและ ผลประโยชน์ ร่ ว มกั น กั บ คู่ ค้ า โดยปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและกติ ก า ต่างๆ อย่างเคร่งครัด และมีจรรยาบรรณที่ดีทางธุรกิจในการแข่งขัน ทางธุรกิจ บริษัทฯ ยึดถือกติกาการแข่งขันที่เป็นธรรมโดยมีแนวทาง ปฏิบัติดังนี้ คู่ค้า : ไม่เรียกร้อง ไม่รับ ไม่จ่ายผลประโยชน์ใดๆ ทางการค้ากับคู่ค้า โดยไม่สุจริต และบริษทั ฯ ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลงและเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อคู่ค้าอย่างเคร่งครัด ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขได้ จะรีบแจ้งให้คู่ค้าทราบล่วงหน้า เพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไข ปัญหาด้วยหลักแห่งความสมเหตุสมผล รวมถึงมีการทบทวนปรับปรุง กระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้างของบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ รวมถึง ระเบี ย บและหลั ก เกณฑ์ ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการประกวดราคา เพื่อให้การดําเนินการด้านการจัดซื้อ/จัดจ้างงานทั่วไป และโครงการ ขนาดใหญ่ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ร ะบบ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เหมาะสมกั บ สภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน และเป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการ ที่ดี โดยยึดหลักธรรมาภิบาลและโปร่งใสตรวจสอบได้ คู่แข่งทางการค้า : ประพฤติปฏิบัติตามกรอบกติกาของการแข่งขันที่ เป็นธรรม และตั้งอยู่บนพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรม ต่อทั้งสองฝ่าย ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้า ด้วยวิธีการที่ไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสม และไม่ทําลายชื่อเสียงของ คู่แข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทางเสื่อมเสียโดยปราศจากข้อมูล ความจริง เจ้าหนี้ : ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง และเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้อย่าง เคร่งครัด รายงานฐานะทางการเงินของบริษัทฯ แก่เจ้าหนี้ด้วยความ ซื่อสัตย์ ถูกต้อง และตรงเวลาอย่างสมํ่าเสมอ และแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบ ล่วงหน้า หากไม่สามารถปฏิบัติตามข้อผูกพันในสัญญา เพื่อร่วมกัน หาแนวทางแก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหาย ต่อพนักงาน พัฒนา เสริมสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศการทํางานที่ดี รวมทั้งการ ส่งเสริมการทํางานเป็นทีม เพื่อสร้างความมั่นใจและเป็นขวัญกําลังใจ ให้แก่พนักงานในการปฏิบัติงานกับบริษัทฯ ด้วยความมั่นคงในอาชีพ โดยมีแนวปฏิบัติ คือ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

111

>>

ให้ ผ ลตอบแทนที่ เ ป็ น ธรรม และเหมาะสมตามความรู้ ความสามารถ ความรั บ ผิ ด ชอบ และผลการปฏิ บั ติ ง านของ พนักงานแต่ละคน

>>

ในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ บริษัทฯ จะคํานึงถึง ทางเลือกที่มีผลกระทบต่อความเสียหายของสังคม สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้น้อยที่สุด

>>

ดู แ ลรั ก ษาสภาพแวดล้ อ มการทํ า งานให้ มี ค วามปลอดภั ย ต่ อ ชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน

>>

ไม่กระทําการใดๆ ที่ส่งผลเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและ สภาพแวดล้อมเกินกว่าที่กฎหมายกําหนด

>>

การแต่งตั้ง การโยกย้าย รวมทั้งการให้รางวัลและการลงโทษ พนักงานต้องกระทําด้วยความเสมอภาค บริสุทธิ์ใจ และตั้งอยู่บน พื้นฐานของความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสม รวมทั้ง การกระทําหรือการปฏิเสธของพนักงานนั้นๆ

>>

ส่งเสริมการใช้และการอนุรักษ์ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมและชนรุ่นหลัง

>>

ไม่สนับสนุนกิจกรรมใดๆ ที่เป็นภัยต่อสังคม หรือศีลธรรมอันดีงาม และ/หรือเป็นการส่งเสริมอบายมุข

>>

ปฏิบัติต่อพนักงานบนพื้นฐานแห่งความยุติธรรม และให้ความ สําคัญต่อการพัฒนา การถ่ายทอดความรู้ และความสามารถของ พนักงาน โดยให้โอกาสกับพนักงานอย่างทั่วถึงและสมํ่าเสมอ

>>

จัดให้มีระบบการร้องทุกข์ในเรื่องที่อาจมีผลกระทบต่อชุมชน ดําเนินการตรวจสอบหาสาเหตุ ปรับปรุงแก้ไข และแจ้งผลการ ดําเนินการให้ผู้ร้องทุกข์ทราบในเวลาอันควร

>>

รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากพนักงานทุกระดับอย่าง ทั่วถึงและสมํ่าเสมอ

>>

>>

ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงาน อย่างเคร่งครัด

ส่งเสริมให้พนักงานได้รับการฝึกอบรมความรู้ด้านการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการปลูกฝังจิตสํานึกของความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มให้ เ กิ ด ขึ้ น ในหมู่ พ นั ก งานทุ ก ระดั บ อย่างต่อเนื่องและจริงจัง

>>

บริหารงานโดยหลีกเลี่ยงการกระทําใดๆ ที่ไม่เป็นธรรม ซึ่งอาจมี ผลกระทบต่อความมั่นคงในหน้าที่การงานของพนักงาน

>>

ปฏิ บั ติ แ ละให้ ค วามร่ ว มมื อ หรื อ ควบคุ ม ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ อย่างเคร่งครัดตามเจตนารมณ์ของกฎหมายและกฎระเบียบที่ ออกโดยหน่วยงานที่กํากับดูแล

>>

ปฏิบัติต่อพนักงานด้วยความสุภาพและให้ความเคารพต่อความ เป็นปัจเจกชนและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

>>

ให้ ค วามสนั บ สนุ น กิ จ กรรมของชุ ม ชนและสั ง คม โดยมุ่ ง เน้ น ให้เกิดการพัฒนาสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการสนับสนุน การศึกษาแก่เยาวชนและกิจกรรมสาธารณประโยชน์

>>

ให้การตอบสนองอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพต่อเหตุการณ์ ที่มีผลกระทบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจาก การดําเนินงานของบริษัทฯ โดยให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่กับ เจ้าหน้าที่ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

>>

มีช่องทางให้พนักงานแจ้งเรื่องที่ส่อไปในทางผิดทางระเบียบวินัย และกฎหมายได้

>>

ส่งเสริมให้พนักงานเข้าใจในเรื่องจรรยาบรรณและบทบาทหน้าที่ เพื่อส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมที่อยู่ในกรอบของจรรยาบรรณอย่าง ทั่วถึง

>>

ส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการกําหนดทิศทางในการทํางาน รวมถึงการแก้ไขปัญหาของหน่วยงานและบริษัทฯ โดยรวม

ต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม คํ า นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ของสั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ มและคุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชน รวมถึงให้ความสําคัญกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อประโยชน์ต่อชนรุ่นหลังตลอดจนส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยบริษัทฯ กําหนด แนวทางปฏิบัติดังนี้

ต่อหน่วยราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ถื อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด ต่ อ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งในด้ า นต่ า งๆ ทั้งสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย แรงงาน การจัดการ ด้านภาษีอากรและบัญชี ฯลฯ รวมทั้งประกาศต่างๆ ของทางราชการ ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยพนักงานทุกระดับ จะต้องศึกษาและทําความเข้าใจในกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ งานของตนเองและไม่ดําเนินการใดๆ อันเป็นการขัดต่อกฎหมายนั้นๆ อี ก ทั้ ง ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาควรจั ด ให้ มี ข้ อ มู ล ด้ า นกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง


112

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

เพื่อใช้อ้างอิงและคอยติดตามปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ พนักงาน และผู้ปฏิบัติงานควรมีโอกาสเข้าถึงข้อมูลโดยสะดวก บริษัทฯ มุ่งมั่น ปลูกจิตสํานึกของความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติตามกฎหมายและ ระเบียบ/ข้อบังคับของบริษัทฯ ให้เกิดขึ้นในหมู่พนักงานทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง และมุ่งมั่นสร้างความสัมพันธ์ที่ดีโดยให้ความร่วมมือ กั บ หน่ ว ยราชการและองค์ ก รที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการให้ ข้ อ มู ล เพื่ อ ประโยชน์ของประเทศและส่วนรวม นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้กําหนดนโยบายด้านคุณภาพ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม จรรยาบรรณด้านการเคารพกฎหมาย และหลั ก สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนสากล และจรรยาบรรณด้ า นการเคารพ ทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ ไว้ในคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ และคู่มือจรรยาบรรณเครือไทยออยล์ การต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น บริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดแนวปฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การต่ อ ต้ า นทุ จ ริ ต คอร์รัปชั่นในจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ เช่น จรรยาบรรณว่าด้วย การขัดแย้งทางผลประโยชน์ จรรยาบรรณว่าด้วยการรักษาความลับ และการใช้ข้อมูลภายใน จรรยาบรรณว่าด้วยการให้หรือรับของขวัญ หรือทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด เป็นต้น โดยห้ามมิให้พนักงาน ทุกคนเรียกรับของขวัญหรือทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่ส่อไป ในทางจูงใจให้ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในทางมิชอบ หรือ การกระทําใดๆ ที่อาจนําไปสู่การแสวงหาผลประโยชน์เพื่อตนเอง หรือครอบครัว อีกทั้งยังมีการกําหนดจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน เพื่ อ เป็ น แนวทางในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ดี สํ า หรั บ คณะกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน ยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ซึ่งมุ่งเน้นหลักการสําคัญของหลักการกํากับดูแลกิจการ การปฏิบัติต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเสมอภาค เป็นธรรม ตรวจสอบได้ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดทํา “แบบรายงานความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์”(Confl ict of Interest Disclosure Electronic Form ) สําหรับพนักงานทุกระดับของบริษัทฯ และบริษัท ในเครื อ ไทยออยล์ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งาน มีความโปร่งใสในการปฏิบัติหน้าที่ ส่งเสริมคุณธรรม นิติธรรม และ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การกระทํ า ของตน ตลอดจนการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการดํ า เนิ น งานด้ ว ยความโปร่ ง ใส เป็ น ธรรม สอดคล้องกับหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ในปี 2553 ไทยออยล์ ไ ด้ แ สดงเจตนารมณ์ เข้ า ร่ ว มปฏิ บั ติ ข อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition against Corruption ) ดํ า เนิ น การโดยสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย หอการค้ า ไทย หอการค้ า แห่ ง ชาติ สมาคม บริษัทจดทะเบียนไทย สมาคมธนาคารไทย และสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ซึ่งโครงการดังกล่าวถือเป็นโครงการที่ได้รับการ สนับสนุนการจัดทําโดยรัฐบาลและสํานักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือ ป.ป.ช. ต่อมาในปี 2555 บริษัทฯ ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกภาคีข้อตกลงโลก แห่งสหประชาชาติ (United Nations Global Compact : UNGC ) ทําให้บริษัทฯ สามารถนําหลักการทั้ง 10 ประการของ “ข้อตกลง โลกแห่งสหประชาชาติ” ซึ่งได้รับการยอมรับในระดับสากลในการ ส่งเสริมธรรมาภิบาลด้านสิทธิมนุษยชน แรงงาน สิ่งแวดล้อม และ การต่อต้านการทุจริต มาประยุกต์ใช้ในการดําเนินธุรกิจ ในปี 2556 บริษัทฯ ได้มีการจัดทํานโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น โดยได้กําหนดคํานิยาม บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ แนวปฏิบัติ ตลอดจนมาตรการในการดําเนินการ เกี่ยวกับการกํากับดูแลและ ควบคุมการเกิดคอร์รัปชั่นภายในองค์กร เพื่อแสดงให้เห็นถึงความ มุ่งมั่นอย่างเป็นรูปธรรมในการดําเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรม สุจริต โปร่งใส รับผิดชอบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มตาม หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละจรรยาบรรณของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ประกาศของคณะกรรมการกํ า กั บ ตลาดทุ น ที่ ทจ.44/2556 เรือ่ งหลักเกณฑ์ เงือ่ นไข และวิธกี ารรายงานการเปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออก หลักทรัพย์ เกณฑ์การประเมินด้านการกํากับดูแลกิจการของบริษัท จดทะเบียน ปี 2557 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD ) และโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริต (Collective Action Coalition against Corruption : CAC ) ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้จัดทํานโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่นขึ้น โดยได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และคณะกรรมการ บริษัทฯ อนุมัตินโยบายดังกล่าว ซึ่งได้สื่อสารไปยังพนักงานทุกคน ผ่านทางหนังสือเวียน และวารสารสื่อสารภายใน และได้จัดส่งหนังสือ แจ้งนโยบายฯ ไปยังลูกค้าและคู่ค้า รวมถึงได้ประกาศนโยบายดังกล่าว ผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ฯ สําหรับเผยแพร่แก่สาธารณชนทีส่ นใจอีกด้วย โดยนโยบายดังกล่าว มีเนื้อความดังต่อไปนี้


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

นโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น บริษัทฯ ยึดมั่นในการดําเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรม สุจริต โปร่งใส รับผิดชอบต่อสังคม และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม่ ตามหลักการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณของบริษัทฯ และตามหลักการสากล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม และสนับสนุน การเติบโตอย่างยัง่ ยืนให้กบั บริษทั ฯ บริษทั ฯ ตระหนักว่า การคอร์รปั ชัน่ ถือเป็นอุปสรรคสําคัญต่อการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว รวมทั้งเป็น ปัญหาต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ดังนั้นในปี 2553 บริษัทฯ จึงได้ร่วมลงนามแสดงเจตนารมณ์เข้าร่วมโครงการ “แนวร่วม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต” เพื่อให้บรรลุเจตนารมณ์ดังกล่าว บริษัทฯ จึงได้จัดทํานโยบายการ ต่อต้านคอร์รัปชั่น พร้อมทั้งกําหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ แนวปฏิบัติ ตลอดจนมาตรการในการดําเนินการ ดังนี้ คํานิยามตามนโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น การคอร์รัปชั่น หมายถึง การกระทําการใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการนําเสนอ (offering ) การให้คํามั่นสัญญา (promising ) การขอ (soliciting ) การเรียกร้อง (demanding ) การให้หรือรับ (giving or accepting ) ทรั พ ย์ สิ น หรื อ ผลประโยชน์ อื่ น ใดกั บ เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ หรื อ บุ ค คลอื่ น ใดที่ ทํ า ธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท ฯ ไม่ ว่ า จะโดยทางตรงหรื อ ทางอ้อม เพื่อให้บุคคลดังกล่าวปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้ได้มาหรือรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์อื่นใดที่ไม่เหมาะสมทาง ธุรกิจ ยกเว้นกรณีที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ขนบธรรมเนียม ประเพณีท้องถิ่น หรือจารีตทางการค้าให้กระทําได้ การช่วยเหลือทางการเมือง หมายถึง การช่วยเหลือไม่ว่าจะเป็น ทางด้านการเงินหรือในรูปแบบอื่น (in –kind ) เพื่อสนับสนุนกิจกรรม ทางการเมือง เช่น การให้สิ่งของหรือบริการ การโฆษณาส่งเสริม หรือสนับสนุนพรรคการเมือง การซื้อบัตรเข้าชมงานที่จัดเพื่อระดมทุน หรื อ บริ จ าคเงิ น ให้ แ ก่ อ งค์ ก รที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ใ กล้ ชิ ด กั บ พรรคการเมือง เป็นต้น นโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น กรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และพนักงาน จะไม่กระทําหรือยอมรับ การคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบไม่ว่ากรณีใดๆ โดยครอบคลุมถึงธุรกิจของ บริษัทฯ ในทุกประเทศและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ โดยบริษัทฯ ได้ กํ า หนดแนวปฏิ บั ติ มาตรการดํ า เนิ น การ และบทบาทหน้ า ที่ ผู้รับผิดชอบ ตลอดจนจัดให้มีการสอบทานและทบทวนการปฏิบัติ

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

113

ตามนโยบายการต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น นี้ อ ย่ า งสมํ่ า เสมอ เพื่ อ ให้ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ ระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ นอกเหนือจากการปฏิบัติตามนโยบาย แนวปฏิบัติ และมาตรการต่างๆ โดยเคร่งครัดแล้ว บริษัทฯ ได้กําหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ บริษัทฯ คณะกรรมการชุดย่อย และฝ่ายจัดการ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัทฯ มีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบใน การกําหนดนโยบาย กํากับดูแล ติดตาม รวมทั้งจัดสรรทรัพยากร ที่ เ พี ย งพอและเหมาะสม เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ จะบรรลุ วัตถุประสงค์ของการนํานโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่นนี้ไปปฏิบัติ 2. คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ มี บ ทบาทหน้ า ที่ แ ละ ความรั บ ผิ ด ชอบในการทบทวนนโยบายตามความจํ า เป็ น เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และให้ความเห็นชอบการแก้ไขปรับปรุง เพื่อเสนอขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริษัทฯ รวมถึงให้ความเห็น และข้อแนะนําที่เป็นประโยชน์ต่อฝ่ายจัดการในการจัดทําแผนงาน และการนํามาตรการไปปฏิบัติ 3. คณะกรรมการตรวจสอบ มีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ในการสอบทานการดําเนินกิจการของบริษัทฯ ตามมาตรการ ต่อต้านคอร์รัปชั่น รวมทั้งรายงานทางการเงิน ระบบการควบคุม ภายใน และงานตรวจสอบภายใน เพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานต่างๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องตาม กฎหมาย สอดคล้ อ งตามระเบี ย บปฏิ บั ติ และมาตรฐานทาง จริยธรรมที่ดี 4. ฝ่ า ยจั ด การ มี บ ทบาทหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบในการนํ า นโยบายฯ ไปปฏิบัติ สนับสนุนทรัพยากร สื่อสารและส่งเสริม ให้พนักงานทุกระดับ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความรู้ความ เข้าใจในนโยบายแนวปฏิบัติและมาตรการ ส่งเสริมและสนับสนุน ให้บริษัทในเครือฯ พิจารณานํานโยบายและมาตรการต่อต้าน คอร์รัปชั่นนี้ไปใช้หรือประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม ตลอดจน นํ า ความเห็ น และข้ อ แนะนํ า ของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และ คณะกรรมการชุดย่อยไปปฏิบัติ รวมถึงการทบทวนความเหมาะสม ของระบบและมาตรการต่ า งๆ การรายงานต่ อ คณะกรรมการ บริษัทฯ และ/หรือคณะกรรมการชุดย่อย ตามบทบาทหน้าที่และ ความรับผิดชอบ


114

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

แนวปฏิบัติ 1. การดํ า เนิ น การตามนโยบายนี้ ใ ห้ ใช้ แ นวปฏิ บั ติ ต ามที่ บ ริ ษั ท ฯ ได้กําหนดไว้ในคู่มือการกํากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณ รวมทั้ง ระเบียบข้อบังคับ และคู่มือการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องของบริษัทฯ 2. การดํ า เนิ น การเรื่ อ งที่ มี ค วามเสี่ ย งสู ง ต่ อ การเกิ ด คอร์ รั ป ชั่ น บริ ษั ท ฯ กํ า หนดให้ ก รรมการบริ ษั ท ฯ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน จะต้องปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องต่อไปนี้ด้วยความระมัดระวัง 2.1 ความเป็นกลางและการช่วยเหลือทางการเมือง (Political Contribution) บริ ษั ท ฯ มี น โยบายเป็ น กลางทางการเมื อ ง โดยจะไม่ ใ ห้ การสนั บ สนุ น หรื อ การกระทํ า อั น เป็ น การฝั ก ใฝ่ พ รรค การเมื อ ง ทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม ซึ่ ง รวมถึ ง การใช้ ทรัพยากรของบริษัทฯ ในกิจกรรมที่จะทําให้บริษัทฯ สูญเสีย ความเป็นกลางทางการเมือง และ/หรือได้รับความเสียหาย จากการเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในกิจกรรมดังกล่าว 2.2 การบริ จ าคเพื่ อ การกุ ศ ลและเงิ น สนั บ สนุ น ( Charitable Contribution and Sponsorship) บริ ษั ท ฯ มี น โยบายที่ จ ะควบคุ ม ดู แ ลการบริ จ าคเพื่ อ การ กุศลหรือการให้เงินสนับสนุนในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้มั่นใจ ว่ า การดํ า เนิ น กิ จ กรรมดั ง กล่ า วจะไม่ เ ป็ น ช่ อ งทางให้ เ กิ ด การคอร์รัปชั่น โดยการกําหนดขั้นตอนและการควบคุมที่ ชัดเจนรัดกุมและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถสอบทาน และติดตามเอกสารหลักฐานต่างๆ ได้

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

และจรรยาบรรณของบริษัทฯ โดยต้องไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับ เรื่องคอร์รัปชั่น ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม 2. พนักงานไม่ควรละเลยหรือเพิกเฉย เมื่อพบเห็นหรือมีข้อสงสัย เกี่ยวกับการกระทําที่เข้าข่ายคอร์รัปชั่น โดยต้องแจ้งให้ผู้บังคับ บั ญ ชาหรื อ บุ ค คลที่ รั บ ผิ ด ชอบทราบ หรื อ ผ่ า นช่ อ งทางการ รายงานที่ กํ า หนดไว้ และให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการตรวจสอบ ข้อเท็จจริงต่างๆ ตามที่กําหนดไว้ในระเบียบบริษัทฯ 3. บริ ษั ท ฯ จะให้ ค วามเป็ น ธรรมและความคุ้ ม ครองพนั ก งานที่ ปฏิเสธหรือแจ้งเรื่องคอร์รัปชั่นที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของบริษัทฯ โดยจะไม่ลดตําแหน่ง ลงโทษ หรือให้ผลทางลบ และบริษัทฯ จะดําเนินการตามมาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียน หรือผู้ให้ความ ร่วมมือในการรายงานการคอร์รัปชั่นโดยเคร่งครัด ตามที่กําหนด ในนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติด้านบุคคล และ/หรือมาตรการ การร้องเรียนและการแจ้งเบาะแสของบริษัทฯ 4. ผู้ที่กระทําการคอร์รัปชั่น เป็นการกระทําผิดจรรยาบรรณของ บริษัทฯ จะต้องได้รับการพิจารณาทางวินัยตามระเบียบบริษัทฯ ที่กําหนดไว้ และอาจจะได้รับโทษตามกฎหมาย หากการกระทํา นั้นผิดกฎหมาย 5. บริษัทฯ สื่อสารนโยบายและมาตรการต่อต้านคอร์รัปชั่น รวมทั้ง ช่ อ งทางการแจ้ ง เบาะแส ข้ อ ร้ อ งเรี ย นหรื อ ข้ อ เสนอแนะ ภายในบริษัทฯ ผ่านวิธีการต่างๆ เช่น การปฐมนิเทศกรรมการ และพนักงาน ระบบอินทราเน็ต จดหมายข่าว เป็นต้น เพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจในการนํานโยบายนี้ไปปฏิบัติ 6. บริษัทฯ สื่อสารนโยบายและมาตรการต่อต้านคอร์รัปชั่น รวมทั้ง ช่องทางการแจ้งเบาะแส ข้อร้องเรียน หรือข้อเสนอแนะให้แก่ สาธารณชน และผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ผ่ า นวิ ธี ก ารต่ า งๆ เช่ น เว็บไซต์ของบริษัทฯ รายงานประจําปี เป็นต้น

2.3 การให้ของขวัญ การเลี้ยงรับรองและค่าใช้จ่ายอื่น (Gifts , Hospitality, and Expenses) บริษัทฯ กําหนดให้ การให้ มอบหรือรับของขวัญ ของกํานัล และการเลี้ยงรับรอง ต้องเป็นไปตามการกระทําในวิสัยที่ สมควร ตามขนบธรรมเนี ย มประเพณี ป ฏิ บั ติ แต่ ต้ อ งไม่ มี มูลค่าเกินสมควร และไม่เป็นการกระทําเพื่อจูงใจให้ปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติ ซึ่งอาจนําไปสู่ปัญหาการทุจริตและ คอร์รัปชั่น

7. บริษัทฯ จัดให้มีการบริหารความเสี่ยงด้านคอร์รัปชั่น โดยมีการ ประเมินความเสี่ยง จัดลําดับความสําคัญ และกําหนดมาตรการ ที่เหมาะสม รวมทั้งติดตามความก้าวหน้าของมาตรการที่ได้ ดําเนินไปแล้ว

มาตรการดําเนินการ 1. กรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และพนักงาน ต้องปฏิบัติตามนโยบาย และมาตรการต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ

8. บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ก ระบวนการบริ ห ารงานบุ ค คลที่ ส ะท้ อ นถึ ง ความมุ่งมั่นต่อนโยบายและมาตรการต่อต้านคอร์รัปชั่น ตั้งแต่ การคัดเลือกบุคลากร การฝึกอบรม การประเมินผลงาน การให้


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ผลตอบแทน การเลื่อนตําแหน่ง การจัดโครงสร้างองค์กรให้มี การแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ง านอย่ า งเหมาะสมให้ เ กิ ด การตรวจสอบ ถ่วงดุล ตลอดจนการดําเนินการเพื่อให้มั่นใจว่ามีทรัพยากรและ บุคลากรที่มีทักษะเพียงพอและเหมาะสมต่อการนํานโยบายนี้ ไปปฏิบัติ 9. บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ร ะเบี ย บกํ า หนดอํ า นาจอนุ มั ติ ร ายการธุ ร กิ จ ( Corporate Authorization Procedure ) ที่ ชั ด เจน รั ด กุ ม มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ 10. บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในซึ่ ง ครอบคลุ ม ด้ า น การเงิน การบัญชี การเก็บบันทึกข้อมูล รวมถึงกระบวนการอื่น ภายในบริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องกับมาตรการต่อต้านคอร์รัปชั่นและ มีการสื่อสารผลการควบคุมภายในให้บุคลากรที่รับผิดชอบทราบ 11. บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ก ารตรวจสอบระบบงานภายใน ครอบคลุ ม กิจกรรมที่สําคัญของบริษัทฯ เช่น การดําเนินงานด้านพาณิชย์ การจัดซื้อ/จัดจ้าง เป็นต้น เพื่อให้มั่นใจว่า ระบบการควบคุม ภายในจะบรรลุ เ ป้ า หมายที่ กํ า หนดไว้ รวมทั้ ง ตรวจสอบ การปฏิบัติงาน ว่าเป็นตามระเบียบวิธีปฏิบัติงาน ข้อกําหนด กฎระเบี ย บ และให้ คํ า แนะนํ า ในการพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง ระบบ การปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าว บริษัทฯ กําหนดให้มีมาตรการ การแจ้งเบาะแส และกลไกคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส รวมถึงวิธีการสื่อสาร มาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ ต่างๆ ผ่านการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ จดหมายข่ า วอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ วารสารสื่ อ สารภายในองค์ ก รและ ภายนอก ผ่านจดหมายแจ้งนโยบายฯ ถึงคู่ค้าและลูกค้า และเว็บไซต์ ของบริษัทฯ การติดตามดูแลให้มีการปฏิบัติ บริษัทฯ กําหนดให้เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานทุ ก คนที่ จ ะต้ อ งรั บ ทราบ และปฏิ บั ติ ต าม นโยบายและข้อกําหนดที่มีอยู่ในคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ และจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ อีกทั้งผู้บริหารทุกระดับจะต้อง ดูแลรับผิดชอบ และถือเป็นเรื่องสําคัญในการส่งเสริมให้พนักงาน ภายใต้การบังคับบัญชามีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตามคู่มือ หลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

115

บริษัทฯ จะไม่ดําเนินการใดๆ ที่ผิดกฎหมาย หรือขัดกับหลักการ กํากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ หากกรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานกระทําผิดหลักการกํากับดูแลกิจการตามที่กําหนดไว้ จะได้รับโทษทางวินัยอย่างเคร่งครัด และหากมีการกระทําที่เชื่อได้ว่า ทําผิดกฎหมาย กฎเกณฑ์ ระเบียบ และข้อบังคับของภาครัฐ บริษัทฯ จะส่งเรื่องให้เจ้าหน้าที่รัฐดําเนินการต่อไป หากพนักงานทุกระดับ ของบริษัทฯ ประสบปัญหาในการตัดสินใจหรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับ จรรยาบรรณธุรกิจที่มิได้กําหนดไว้ในจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ ได้กําหนดแนวทางการพิจารณาโดยให้ตั้งคําถามเกี่ยวกับ การกระทํานั้นกับตนเอง ดังต่อไปนี้ 1) การกระทํานั้นขัดต่อกฎหมายหรือไม่ 2) การกระทํ า นั้ น ขั ด ต่ อ นโยบาย หรื อ จรรยาบรรณ หรื อ ส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของบริษัทฯ หรือไม่ 3) การกระทํานั้นส่งผลเสียต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทฯ อย่างร้ายแรงหรือไม่ 4) การกระทํานั้นเป็นที่ยอมรับ และสามารถเปิดเผยต่อสังคม ได้หรือไม่ ทั้งนี้ หากพนักงานพบการกระทําผิดกฎหมาย และ/หรือหลักการ กํากับดูแลกิจการ ให้แจ้งข้อร้องเรียนหรือข้อกล่าวหาไปยังประธาน กรรมการ ประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ หรือเลขานุการบริษัทฯ บริษัทฯ จะดําเนินการตรวจสอบโดยไม่ เปิดเผยชื่อผู้แจ้งเบาะแส เพื่อคุ้มครองผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้แจ้ง ข้อร้องเรียนหรือข้อกล่าวหาดังกล่าว มาตรการ ขอบเขต และกลไกการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส บริษัทฯ กําหนดให้ผู้บริหารทุกระดับในองค์กร จะต้องดูแลรับผิดชอบ และถือเป็นเรื่องสําคัญที่จะดําเนินการให้พนักงานภายใต้สายบังคับ บัญชาของตนทราบ เข้าใจ และปฏิบัติตามคู่มือหลักการกํากับดูแล กิจการของบริษัทฯ อย่างจริงจัง ผู้ที่กระทําผิดจริยธรรมที่กําหนดไว้ จะได้ รั บ โทษทางวิ นั ย อย่ า งเคร่ ง ครั ด เพื่ อ ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทุ ก ฝ่ า ยอย่ า งเท่ า เที ย มกั น และมี ค วามเป็ น ธรรม ตามหลักการกํากับดูแลกิจการ บริษัทฯ ได้จัดให้มีช่องทางรับแจ้ง เบาะแส ข้ อ ร้ อ งเรี ย น ข้ อ คิ ด เห็ น หรื อ ข้ อ เสนอแนะใดที่ แ สดงว่ า ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ได้ รั บ ผลกระทบ หรื อ มี ค วามเสี่ ย งที่ จ ะ ได้ รั บ ผลกระทบอั น จะก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้


116

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

ส่ ว นเสี ย ทุ ก กลุ่ ม จากการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ หรื อ จากการ ปฏิบัติของพนักงานของบริษัทฯ เกี่ยวกับการกระทําผิดกฎหมายหรือ จรรยาบรรณ รวมถึงพฤติกรรมที่อาจส่อถึงการทุจริต การปฏิบัติ อย่างไม่เท่าเทียมกัน หรือการกระทําที่ขาดความระมัดระวัง และ ขาดความรอบคอบ ในกรณี ที่ เ ป็ น เรื่ อ งสํ า คั ญ เช่ น เป็ น เรื่ อ งที่ ก ระทบต่ อ ชื่ อ เสี ย ง ภาพลักษณ์ หรือฐานะทางการเงินของบริษัทฯ หรือเป็นการกระทํา ที่ขัดต่อนโยบายของบริษัทฯ หรือเกี่ยวข้องกับผู้บริหารระดับสูง จะส่งเรื่องต่อไปยังหน่วยงานตรวจสอบภายใน (หรือคณะกรรมการ ตรวจสอบ) เพื่อดําเนินการหาข้อเท็จจริง ส่วนในกรณีที่เป็นคําถาม ทั่วไป เช่น ราคาหุ้น การจ่ายเงินปันผล หรือข้อมูลอื่นใดเกี่ยวกับ บริษัทฯ ไม่ถือว่าเป็นการร้องเรียน แต่จะส่งเรื่องให้กับหน่วยงานที่ รับผิดชอบโดยตรง เพื่อตอบกลับแก่ผู้สอบถาม ทั้งนี้ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียสามารถแจ้งเบาะแสโดยตรง ผ่านช่องทางต่อไปนี้ ประธานกรรมการ / ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ / ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ / เลขานุการบริษทั ฯ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900

cgcoordinate@thaioilgroup.com หรือ company_secretary@thaioilgroup.com โทรศัพท์ 0-2797-2900 หรือ 0-2797-2999 หรือ 0-2299-0000 ต่อ 7440-7442 โทรสาร 0-2797-2973 ทั้งนี้ ผู้แจ้งเบาะแสจะต้องระบุชื่อ วิธีการติดต่อกลับ ไม่ว่าจะเป็น ทางโทรศัพท์ อีเมล์ หรือโทรสาร รวมทั้งชื่อบุคคลหรือเหตุการณ์ ที่ร้องเรียน และข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ ไม่ได้มีเจตนาในการให้ความร้าย หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ ผู้ อื่ น หรื อ ต่ อ บริ ษั ท ฯ โดยบริ ษั ท ฯ จะดํ า เนิ น การตรวจสอบตาม ขั้ น ตอนและบั น ทึ ก การสอบสวนไว้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร โดยไม่ เปิ ด เผยชื่ อ ผู้ แจ้ ง เบาะแส รวมทั้ ง ดํ า เนิ น การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล การ ร้องเรียนเป็นความลับ และบริษัทฯ จะให้ความคุ้มครองผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้แจ้งร้องเรียนอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม เช่น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตําแหน่งงาน ลักษณะงาน สถานที่ที่ทํางาน พักงาน ข่มขู่ รบกวนการปฏิบัติงาน เลิกจ้าง หรือการกระทําอื่นใด ที่ไม่เป็นธรรมแก่ผู้ร้องเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแสดังกล่าว โดยในปี 2556 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่ได้รับเรื่องร้องเรียนหรือการ แจ้ ง เบาะแสถึ ง เรื่ อ งการกระทํ า ผิ ด จริ ย ธรรม หรื อ การกระทํ า ที่ ไม่เป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการ หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส การรายงานข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการ และการถือหลักทรัพย์ ของกรรมการและผู้บริหาร ข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการของกรรมการและผู้บริหารจะถูกเปิดเผย ไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และรายงาน ประจําปี (แบบ 56-2) กรรมการและผู้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ ร ายงานการถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย หรือโอนหลักทรัพย์ต่อ ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีแนวปฏิบัติสําคัญที่จะส่งเสริมการกํากับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน ได้ เ ป็ น อย่ า งดี โดยบริ ษั ท ฯ จะจั ด ส่ ง หนั ง สื อ แจ้ ง เตื อ นขอความ ร่วมมือจากกรรมการ และผูบ้ ริหารในการงดซือ้ ขาย หรือโอนหลักทรัพย์ ล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือนก่อนการรายงานผลการดําเนินงานต่อ ตลาดหลักทรัพย์ในแต่ละไตรมาส นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้กําหนด นโยบายให้มีการรายงานการซื้อขาย และการถือครองหลักทรัพย์ ของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการและผู้บริหารต้องรายงานให้ที่ประชุม คณะกรรมการทราบทุกครั้งที่มีการประชุม และกรรมการบริษัทและ ผู้บริหารจะต้องรายงานการเปลี่ยนแปลงการมีส่วนได้เสียของตนต่อ บริษัทฯ เป็นประจําทุกไตรมาส และจะต้องจัดทํารายงานใหม่ทุกปี โดยข้อมูลดังกล่าวจะเก็บไว้ใช้ภายในบริษัทฯ เท่านั้น เพื่อให้เป็นไป ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 2/2552 เรื่องการ รายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีความ เกี่ยวข้อง การรายงานข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯ บริษัทฯ ให้ความสําคัญกับการเปิดเผยสารสนเทศที่เป็นข้อมูลสําคัญ ของบริษัทฯ รวมถึงรายงานทางการเงิน และสารสนเทศเรื่องอื่นๆ ตามเกณฑ์ที่ ตลท. และก.ล.ต. กําหนด อย่างถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน โปร่งใส ด้วยภาษาที่กระชับ เข้าใจง่าย มีการเปิดเผยสารสนเทศ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ที่สําคัญ ทั้งด้านบวกและด้านลบ และผ่านการพิจารณากลั่นกรอง ตามขั้นตอนที่กําหนด เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับ สารสนเทศอย่างเท่าเทียมกันตามที่กําหนดโดยกฎหมายข้อบังคับ ของบริษัทฯ โดยมีการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

117

การเปิดเผยข้อมูลบนเว็บไซต์ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้ที่สนใจอื่นๆ สามารถสืบค้นข้อมูล ที่เปิดเผยต่อสาธารณะได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว บริษัทฯ ได้นําเสนอ ข้อมูลสําคัญต่างๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในเว็บไซต์ของ บริษัทฯ ดังนี้

>>

ระบบอิเล็กทรอนิกส์ของ ตลท. และ ก.ล.ต.

>>

>>

แบบแสดงรายการข้ อ มู ล ประจํ า ปี (แบบ 56-1) และรายงาน ประจําปี (แบบ 56-2)

ข้อมูลบริษัทฯ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้างธุรกิจ และผลิตภัณฑ์ โครงสร้างองค์กร เป็นต้น

>>

การกํากับดูแลกิจการ ประกอบด้วยหลักการกํากับดูแลกิจการ จรรยาบรรณเครือไทยออยล์ คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการ ชุ ด ย่ อ ย ผู้ บ ริ ห ารและฝ่ า ยจั ด การ กฎบั ต รของคณะกรรมการ เป็นต้น

>>

เว็บไซต์ของบริษัทฯ (www .thaioilgroup .com ) ซึ่งมีทั้ง 2 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

>>

สื่อสาธารณะต่างๆ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร โทรทัศน์ และ วารสารของบริษัทฯ

>>

การให้ข้อมูลต่อผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ และนักลงทุน ที่มาเยี่ยมชม กิจการ และพบปะกับผู้บริหาร

นักลงทุนสัมพันธ์ ประกอบด้วยข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลราคา หลักทรัพย์ ข้อมูลผู้ถือหุ้น เป็นต้น

>>

ความรับผิดชอบต่อสังคม ประกอบด้วยนโยบายการดําเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม กิจกรรมสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ เป็นต้น

>>

ข่าวบริษัทฯ ประกอบด้วยข่าวสัมภาษณ์ผู้บริหาร โฆษณา บทความ จากประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นต้น

>>

>>

การเดิ น ทางไปให้ ข้ อ มู ล แก่ นั ก ลงทุ น ทั้ ง ในประเทศและ ต่างประเทศ

>>

การจัดกิจกรรมดูแลนักลงทุนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาดทุน เช่น งาน SET in the City และงาน Money Expo

>>

การจัดส่งหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นผ่านทางไปรษณีย์

>>

การจัดทํา E -News เพื่อรายงานผลการดําเนินงานรายไตรมาส และประกาศทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ

นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ทํ า รายงานความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการต่ อ รายงานทางการเงิ น แสดงควบคู่ กั บ รายงาน ของผู้สอบบัญชีในรายงานประจําปี และมีมาตรการป้องกันการ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายใน โดยกําหนดให้พนักงานทุกระดับ ของบริษัทฯ ต้องไม่นําข้อมูลที่เป็นความลับไปใช้ เพื่อประโยชน์ ส่ ว นตนหรื อ บุ ค คลอื่ น และรั ก ษาข้ อ มู ล ภายในและเอกสารที่ ไม่ ส ามารถเปิ ด เผยต่ อ บุ ค คลภายนอก อั น นํ า ไปสู่ ก ารแสวงหา ประโยชน์เพื่อตนเองหรือครอบครัว หรือพวกพ้องในทางมิชอบ เช่น ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น ความลับทางการค้า หรือสูตรการ ประดิษฐ์คิดค้นต่างๆ เป็นต้น พนักงานที่เปิดเผยข้อมูลและข่าวสาร ที่สําคัญของบริษัทฯ ออกสู่บุคคลภายนอก โดยมิได้รับความเห็นชอบ จากประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ จะได้รับ พิจารณามาตรการทางวินัยตามระเบียบของบริษัทฯ และอาจถูก ดําเนินคดีตามกฎหมายอีกด้วย

นักลงทุนสัมพันธ์ บริษัทฯ ได้ให้ความสําคัญอย่างสูงต่อการบริหารความสัมพันธ์กับ นั ก ลงทุ น ซึ่ ง จะมุ่ ง เน้ น การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นทุ่มเท ความถูกต้อง ความเพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา เพื่อให้นักลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้เกี่ยวข้องได้รับ สารสนเทศอย่างเพียงพอ ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และเท่าเทียมกัน บริษัทฯ จัดให้มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อเป็นศูนย์กลางใน การดําเนินกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ในเชิงรุก เพื่อให้เป็นไปตาม แนวปฏิบตั ขิ ององค์กรสากลชัน้ นํา เพือ่ ส่งเสริมให้ชอ่ งทางในการสือ่ สาร กับนักลงทุน นักวิเคราะห์ และผูท้ ีเ่ กีย่ วข้องเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุด รวมทั้งเปิดโอกาสให้นักลงทุนได้ซักถาม ตลอดจนรับทราบ ข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ผ่านหลากหลายช่องทาง เช่น การจัด กิจกรรม Road Show และสัมมนากับนักลงทุนและนักวิเคราะห์ทั้งใน และต่ า งประเทศ การประชุ ม ร่ ว มกั บ นั ก ลงทุ น และนั ก วิ เ คราะห์ หลักทรัพย์ทุกสิ้นไตรมาส รายงานผลการดําเนินงานด้านนักลงทุน สัมพันธ์ให้คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง การทํ า สรุ ป ผลการดํ า เนิ น งานเผยแพร่ ใ นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ


118

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

การจัดให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยและนักลงทุนเข้าเยี่ยมชมโรงกลั่นและ พบปะผู้ บ ริ ห ารเพื่ อ เสริ ม สร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจในการดํ า เนิ น ธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจนการจัดนิทรรศการส่งเสริมความรู้ให้แก่ นักลงทุนในงานที่ ตลท. จัดเป็นประจําทุกปี เช่น งาน SET in the City และงาน Money Expo ซึ่งผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนสามารถสอบถาม ข้ อ มู ล มายั ง ฝ่ า ยนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ข องบริ ษั ท ฯ โดยติ ด ต่ อ ผ่ า น 4 ช่องทาง ดังนี้ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคาร เอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900

ir@thaioilgroup.com โทรศัพท์ 0-2797-2961 (สายตรง) หรือ 0-2797-2999 หรือ 0-22299-0000 ต่ อ 7372-7374 โทรสาร 0-2797-2976 หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ในส่ ว นขององค์ ป ระกอบและคุ ณ ลั ก ษณะของกรรมการ วิ ธี ก าร สรรหาแต่ ง ตั้ ง กรรมการและประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และ กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ รวมถึ ง คุ ณ สมบั ติ ก รรมการอิ ส ระ กล่ า วไว้ ใ นการสรรหาและแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ และประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน้า 104-105 การประชุมคณะกรรมการ การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะมี ก ารกํ า หนดขึ้ น เป็ น การ ล่ ว งหน้ า ในแต่ ล ะปี เพื่ อ ให้ ก รรมการสามารถจั ด เวลาและเข้ า ร่วมประชุมได้ โดยประธานกรรมการเป็นผู้ให้ความเห็นชอบในการ บรรจุวาระการประชุม โดยจะปรึกษาหารือกับประธานเจ้าหน้าที่ บริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ประกอบกั บ การพิ จ ารณา ตามคํ า ขอของกรรมการที่ จ ะบรรจุ เรื่ อ งอื่ น ที่ สํ า คั ญ เป็ น วาระ การพิจารณาในการประชุมแต่ละครั้ง โดยบริษัทฯ จะจัดส่งเอกสาร ประกอบการประชุมให้กรรมการพิจารณาล่วงหน้า เพื่อที่จะมีเวลา เพียงพอในการศึกษาพิจารณาและตัดสินใจอย่างถูกต้องในเรื่องต่างๆ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ข้อบังคับของบริษัทฯ กําหนดให้คณะกรรมการจะต้องประชุมกัน อย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง ทั้งนี้กรรมการบริษัทฯ ต้องมาประชุม อย่ า งน้ อ ยกึ่ ง หนึ่ ง จึ ง จะเป็ น องค์ ป ระชุ ม และอาจมี ก ารประชุ ม พิ เ ศษเพิ่ ม เติ ม ตามความจํ า เป็ น โดยในปี 2556 มี ก ารจั ด ประชุ ม คณะกรรมการบริษทั ฯ ทัง้ หมด 12 ครัง้ การประชุมกรรมการอิสระ 1 ครัง้ และการประชุมกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร โดยไม่มีฝ่ายจัดการ 1 ครั้ง และมีการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่กรรมการเพื่อพิจารณาก่อน การประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วันก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณี จําเป็นรีบด่วน เพือ่ ให้กรรมการมีเวลาทีจ่ ะศึกษา พิจารณา และตัดสินใจ อย่างถูกต้องในเรื่องต่างๆ อย่างเพียงพอ และสามารถจัดเวลาการ เข้าร่วมประชุมได้ หากกรรมการบริษัทฯ ที่อาจมีส่วนเกี่ยวข้องหรือ มีส่วนได้เสียในแต่ละวาระการประชุม จะต้องงดออกเสียงลงมติ เพื่อเป็นการรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทฯ ในการประชุม ทุ ก ครั้ ง จะมี ก ารกํ า หนดวาระการประชุ ม ที่ ชั ด เจน โดยในการ ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ กรรมการทุกคนสามารถอภิปรายและ แสดงความคิดเห็นได้อย่างเปิดเผย และมีการจดบันทึกการประชุม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ผลการประชุ ม และความคิ ด เห็ น ของ คณะกรรมการบริษัทฯ จะต้องมีความชัดเจน เพื่อใช้อ้างอิง การกําหนดค่าตอบแทนของกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทฯ มีนโยบายกําหนดค่าตอบแทนของกรรมการและประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ให้อยู่ในระดับที่สามารถ จูงใจ และอยู่ในระดับที่เทียบเคียงกับบริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรม เดียวกัน โดยการพิจารณาจะเชื่อมโยงกับผลงานและความรับผิดชอบ ของกรรมการ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รวมทั้งผลการดําเนินงานของบริษัทฯ และผลประโยชน์ที่สร้างให้ กับผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ คณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่และ ความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นเป็นพิเศษจะได้รับค่าตอบแทนเพิ่ม และ เชื่อมโยงกับระดับความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายนั้น ผู้ที่เป็น ประธานอาจได้รับค่าตอบแทนเพิ่มจากที่กรรมการได้รับ โดยทุกปี คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนจะเป็ น ผู้ กํ า หนด ค่าตอบแทนดังกล่าว นําเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขอ ความเห็นชอบก่อนนําเสนอที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอนุมัติต่อไป สําหรับรายละเอียดการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการและผู้บริหาร ในปี 2556 ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วในหมวด ข้อมูลหลักทรัพย์และ ผู้ถือหุ้นและโครงสร้างการจัดการ หน้า 89-91


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ บริษัทฯ ได้ทําการประเมินคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจําทุกปี โดยจัดทําการประเมิน 3 รูปแบบ คือ 1) แบบประเมินตนเอง 2) แบบประเมินทั้งคณะและคณะกรรมการชุดย่อย 3) แบบประเมินรายบุคคล (ประเมินกรรมการท่านอื่น) โดยแบบฟอร์มการประเมินครอบคลุมประเด็นสําคัญดังนี้ 1) นโยบายคณะกรรมการ 2) โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 3) การจัดเตรียมและดําเนินการประชุม 4) แนวปฏิบัติ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยเรื่องความพร้อมของคณะกรรมการ การจัดการ ความเสี่ยงและการควบคุมภายใน การดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ การติดตามรายงานทางการเงิน การดําเนินงาน การสรรหา การพิจารณาค่าตอบแทน และการประเมินผลงาน โดยจัดทําหลักเกณฑ์การประเมินผล คิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็ม ในแต่ละข้อทั้งหมด ดังนี้ มากกว่าร้อยละ 85 มากกว่าร้อยละ 75 มากกว่าร้อยละ 65 มากกว่าร้อยละ 50 ตํ่ากว่าร้อยละ 50

= = = = =

ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

ผลการประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2556 สรุปได้ดังนี้ ตารางแสดงผลการประเมินการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการบริษัทฯ แบบที่ 1 : ประเมินรายบุคคล (ประเมินตนเอง) แบบที่ 2 : ประเมินทั้งคณะและกรรมการชุดย่อย แบบที่ 3 : ประเมินรายบุคคล (ประเมิน กรรมการท่านอื่น) โดยบริษัทฯ จะใช้วิธีการจับสลากเพื่อสุ่มเลือก กรรมการผู้ประเมินและผู้ถูกประเมิน

2556 (%) 98 98

เกณฑ์

99

ดีเยี่ยม

ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม

119

สรุปโดยรวมจากการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ประจํ า ปี 2556 พบว่ า มี ผ ลการปฏิ บั ติ ง านอยู่ ใ นเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยจากการประเมิน ทั้ง 3 แบบ ประมาณ “ร้อยละ 98” บริษัทฯ ได้นําเรียนผลประเมินและข้อคิดเห็นต่างๆ ต่อที่ประชุม คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ และคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่อร่วมกันสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการให้ดียิ่งขึ้น ต่อไป นอกจากนี้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ยั ง มี ส่ ว นร่ ว มในการอธิ บ ายความคาดหวั ง ของตนเองที่ จ ะได้ รั บ การสนับสนุนจากคณะกรรมการอีกด้วย การประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทฯ จัดทําการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่ บริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ทุ ก สิ้ น ปี โดยคณะกรรมการ สรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน เป็ น ผู้ ป ระเมิ น และนํ า เสนอ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ขอความเห็ น ชอบ ทั้ ง นี้ สรุ ป ผล การประเมิ น การปฏิ บั ติ ง านของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ถือเป็นข้อมูลลับเฉพาะบุคคล ไม่สามารถ เปิ ด เผยได้ การปฏิ บั ติ ง านของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ มีเกณฑ์การประเมินเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 - การประเมินผลจากดัชนีชี้วัดผลการดําเนินงาน ส่วนที่ 2 - การประเมินด้านความเป็นผู้นํา ส่วนที่ 3 - การประเมินด้านการบริหารงบประมาณและโครงการต่างๆ ผลการประเมิ น ดั ง กล่ า วจะถู ก นํ า ไปพิ จ ารณากํ า หนดอั ต ราการ ปรั บ ขึ้ น เงิ น เดื อ นของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ และนําเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา อนุมัติต่อไป การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ บริษัทฯ ได้จัดทําเอกสารปฐมนิเทศสําหรับกรรมการใหม่ เพื่อเป็น ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการจัดปฐมนิเทศ แนะนําลักษณะประกอบธุรกิจและแนวทางการดําเนินธุรกิจของ บริษัทฯ ให้แก่กรรมการใหม่ด้วย โดยบริษัทฯ มีนโยบายสนับสนุน ให้กรรมการบริษัทฯ เข้าอบรมหลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD ) เพื่อเป็นการพัฒนา สนับสนุน และส่งเสริม การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ


120

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ ได้ส่งเสริมและสนับสนุนการฝึกอบรมและให้ความรู้ในเรื่อง หลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ให้กับคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย ผู้ บ ริ ห าร เลขานุ ก ารบริ ษั ท ฯ เป็ น ต้ น เพื่ อ เป็ น การเสริ ม สร้ า งและพั ฒ นาการปฏิ บั ติ ง านอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และมี ก ารพั ฒ นาผู้ บ ริ ห ารอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ ม สํ า หรั บ การหมุ น เวี ย นตํ า แหน่ ง ภายในองค์ ก ร รวมทั้ ง เตรี ย ม ความพร้อมสําหรับการสืบทอดตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ โดยจั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ศั ก ยภาพ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ ผู้ ช่ ว ยกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ขึ้ น ไป ( Currently Estimated Potential หรือ CEP ) และประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้ KPI และ Competency Assessment 360-Degree ตามระบบ Performance Management System หรือ PMS ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ส่ง ผู้บริหารระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป เข้า Executive Pool

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ของ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ตามโครงการ Group Leadership Development (GLD) เพื่อรับการประเมินความสามารถ ความพร้อม จุดแข็ง และจุดอ่อนเป็นรายบุคคลโดยผู้ประเมินอิสระ และมีการจัดทํา แผนพัฒนาผู้บริหารเฉพาะบุคคล (IDP - Individual Development Plan ) ตามผลที่ได้รับจากการประเมินความพร้อม อีกทั้ง จัดให้มี ระบบพี่ เ ลี้ ย ง ( Mentoring Program ) เพื่ อ พั ฒ นาความพร้ อ ม ในการปฏิ บั ติ ง านระดั บ ผู้ บ ริ ห ารอาวุ โ ส หรื อ ตํ า แหน่ ง ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เมื่ อ ถึ ง เวลาสรรหา ผู้ สื บ ทอดตํ า แหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้ จั ด การใหญ่ บริ ษั ท ฯ จะพิ จ ารณาผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ ไ ด้ รั บ การ สรรหาและคัดเลือกจากภายนอก หรือผู้บริหารระดับผู้ช่วยกรรมการ ผู้ จั ด การใหญ่ ขึ้ น ไป หรื อ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ อาวุ โ สที่ มี ค วามพร้ อ ม เข้ า สู่ ก ระบวนการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่าตอบแทนของบริษัทฯ


กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการและกรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่

13 นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

14 นายณัฐชาติ จารุจินดา

15 นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล

กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ

9 ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์

กรรมการ

กรรมการอิสระและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

8 พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี

12 นายสมเกียรติ หัตถโกศล

กรรมการอิสระและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

7 พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต

กรรมการอิสระและกรรมการกํากับดูแลกิจการ

กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการสรรหา DCP 125/2009 และพิจารณาค่าตอบแทน

6 นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์

กรรมการอิสระและกรรมการกํากับดูแลกิจการ

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

5 นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์

11 นายถาวร พานิชพันธ์

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

4 นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร

10 พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

3 นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์

DCP 82/2006

DCP 129/2010

DCP 18/2002

DCP 158/2012

DCP 108/2008

DCP 80/2006

DCP 158/2012

DCP 35/2003

DCP 72/2006

DCP 155/2012

กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

2 นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร

DCP 166/2012

กรรมการและประธานกรรมการ

ตําแหน่ง

1 นายณอคุณ สิทธิพงศ์

กรรมการ

Director Certification Program (DCP)

DAP 73/2008

DAP 16/2004

DAP 40/2005

DAP 27/2004

Director Accreditation Program (DAP)

ACP 22/2008

ACP 17/2007

ACP 39/2012

ACP 40/2012

ACP 22/2008

Audit Committee Program (ACP)

RCC 14/2012

RNG 3/2012

RNG 3/2012

Role of the Role of the Nomination and Compensation Governance Committee Committee (RCC) (RNG)

กรรมการบริษัทฯ ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ดังนี้

RCP 28/2012

RCP 26/2011

RCP 21/2009

Role of the Chairman Program (RCP)

FSD 17/2012

FSD 6/2009

FSD 10/2010

FSD 15/2012

Financial Statements for Directors (FSD)

FND 30/2006

UFS 8/2007

FND 30/2006

FND 7/2003 UFS 1/2006 FGP 4/2012

FND 28/2006 FGP 4/2012

AACP 9/2012 SFE 14/2012 MFM 8/2012 MIA 13/2012 MFR 16/2012 MIR 13/2012 HRP 1/2012 HMS 1/2012

FND 24/2005 UFS 5/2006

Others

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6 ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร

121


122

21

ค ว า ม ยั่ ง ยื น ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ค ว า ม ยั่ ง ยื น ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล

ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล คื อ ก า ร เ ติ บ โ ต อ ย า ง ยั่ ง ยื น แ ล ะ ค ง อ ยู ใ น ร ะ ย ะ ย า ว โ ด ย ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ที่ เ ป น เ ลิ ศ ต ล อ ด จ น ใ ห ค ว า ม สํ า คั ญ กั บ ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต อ สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร รั ก ษ า สิ่ ง แ ว ด ล อ ม เ พื่ อ ส ร า ง มู ล ค า ใ ห กั บ ผู มี ส ว น ไ ด ส ว น เ สี ย

ความยั่งยืนของสังคมคือความยั่งยืนของเครือไทยออยล เป็นเวลามากกว่า 50 ปี ที่ไทยออยล์อยู่เคียงคู่กับสังคมไทย โดยมี อัตราการกลั่นนํ้ามันเฉลี่ยในปี 2556 เป็น 279,940 บาร์เรลต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 26.6 ของอัตราการกลั่นรวมของทั่วประเทศ เพื่อให้ ทุ ก คนในประเทศสามารถเข้ า ถึ ง พลั ง งาน อั น เป็ น ปั จ จั ย สํ า คั ญ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ปีที่ผ่านมาไทยออยล์ จําหน่ายนํ้ามันเชื้อเพลิงในปริมาณ 13.7 ล้านเมตริกตัน คิดเป็น มู ล ค่ า 414,599 ล้ า นบาท นอกจากนี้ ไทยออยล์ ยั ง มี ก ารลงทุ น ในธุ ร กิ จ ผลิ ต เอทานอลผ่ า นบริ ษั ท ในเครื อ ฯ โดยจํ า หน่ า ยได้ ในปริ ม าณ 147,680 เมตริ ก ตั น คิ ด เป็ น มู ล ค่ า มากกว่ า 5,120 ล้ า นบาท ซึ่ ง เอทานอลเป็ น พลั ง งานทางเลื อ กในการนํ า ไปผสม กับนํ้ามันเชื้อเพลิงทั่วไปให้เป็นแก๊สโซฮอล์ และเมื่อเปรียบเทียบ ระหว่ า งนํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ทั่ ว ไปกั บ แก๊ ส โซฮอล์ ต ลอดวั ฏ จั ก รชี วิ ต ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล้ ว ปรากฏว่ า สามารถช่ ว ยลดเหตุ ข องการเกิ ด ก๊าซเรือนกระจกที่ส่งผลต่อปรากฏการณ์ภาวะโลกร้อนได้อีกด้วย

ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ อ ย า ง ยั่ ง ยื น ไทยออยล์ผนวกประเด็นด้านความยั่งยืนที่สําคัญเข้ากับกระบวนการ ทําธุรกิจตั้งแต่ขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ และการกําหนดตัวชี้วัด ของบริษัทฯ ตามหลัก Balanced Score Card ที่มีตัวชี้วัดในด้าน ต่างๆ ดังนี้ >>

ด้านความยั่งยืน ได้แก่ การประเมินความยั่งยืนของ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI)

>>

ด้านผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ได้แก่ ความพึงพอใจของลูกค้า การประเมิน การกํากับดูแลกิจการ ความพึงพอใจของชุมชน และความผูกพัน ของพนักงานต่อองค์กร

>>

ด้านการดําเนินงานภายในองค์กร ได้แก่ อัตราความถีข่ องอุบตั เิ หตุ การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่เทียบเท่ามาตรฐานสากล ในอุตสาหกรรมเดียวกัน และระดับการรายงานที่สอดคล้องกับ แนวทาง Global Reporting Initiative (GRI )

>>

ด้านการเรียนรู้และพัฒนา ได้แก่ การเตรียมบุคลากรในระยะยาว และการทดแทนบุคลากรในตําแหน่งที่มีความสําคัญ การพัฒนา


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ค ว า ม ยั่ ง ยื น ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล

123

ตั ว ชี้ วั ด สุ ข ภาพขององค์ ก ร ซึ่ ง ได้ รั บ การถ่ า ยทอดตั้ ง แต่ ร ะดั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ไปสู่ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก ระดั บ ดั ง นั้ น ประเด็ น ที่ สํ า คั ญ ด้านการดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนจึงถูกติดตามและประเมินผล โดยคณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหาร ในลักษณะเดียวกับตัวชี้วัด ด้านการเงิน บริ ษั ท ฯ ได้ ป ระกาศนโยบายการบริ ห ารจั ด การความยั่ ง ยื น เครือไทยออยล์ เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินงานด้านเศรษฐกิจ สิ่ ง แวดล้ อ ม และสั ง คมของทุ ก บริ ษั ท ในเครื อ ฯ ตลอดจนจั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานด้ า นการพั ฒ นาเพื่ อ ความยั่ ง ยื น และจั ด ทํ า แผนแม่ บ ท ด้ า นความยั่ ง ยื น เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ในเครื อ ฯ มี ค วาม สามารถในการดําเนินธุรกิจต่อไปในอนาคต ซึ่งคาดว่าจะมีความ ท้ า ทายมากยิ่ ง ขึ้ น ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดเป้ า ประสงค์ ข อง ทั้ง 3 ด้านไว้ ดังนี้

A , ' - 8

.Ę A.'è% +6%&5I &; 6 <' 8 1 A 'ë1E &11&)Ĝ )1 6'"5 61 Ĝ ' Ę6 6' 'è/6' ę < 1&Ę6 %9 '4.8 8$6" B)4 6' 'è/6' 5 6'/Ę+ C Ę 1< 6 B =' 6 6'

.5 %

'5 ċ 1 Ę1 6'& '4 5 < $6" 9+è 1 .5 %B)4 <% )1 =ę%9.Ę+ A 9I&+ ę1 5 <' 8 1 A 'ë1E &11&)Ĝ 5J 6 ' B)4 6 1ę1%

.8ø B + )ę 1 %

%<Ę %5I Ę1 6'D ę '5"&6 ' ''% 6 81&Ę6 %9 è .7 : B)4 Ĕ1 5 .8ø B+ )ę1% 6 ''% 6 8 Ę6 +è 9 6' 7A 8 <' 8 1&Ę6 &5I &;

ก า ร เ ป ด เ ผ ย ข อ มู ล บริษัทฯ ได้เปิดเผยข้อมูลด้านการดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนผ่านรายงานประจําปี รายงานความยั่งยืน และเว็บไซต์ของบริษัทฯ โดยใช้ แนวทางการรายงานความยั่งยืนของ Global Reporting Initiative (GRI ) G 4 และแนวทางการรายงานข้อมูลเพิ่มเติมของอุตสาหกรรม นํ้ามันและก๊าซ โดยเปิดเผยข้อมูลในระดับครบถ้วนตามมาตรฐาน และคัดเลือกเนื้อหาโดยประยุกต์ใช้หลักการของ AA 1000 APS และหลักการ กําหนดเนื้อหา (Materiality Assessment ) ของ GRI


124

ค ว า ม ยั่ ง ยื น ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ไทยออยล ได รับคัดเลือกให เป นสมาชิกในกลุ มดัชนี DJSI Emerging Markets ประจําป 2556 ซึ่ ง เป น การคั ด เลื อ กบริ ษั ท ที่ เ ป น ผู นํ า ในการดํ า เนิ น งานด า นเศรษฐกิ จ สิ่ ง แวดล อ ม และสั ง คม ของอุตสาหกรรมแต ละประเภท ส งผลด านความเชื่อมั่นต อนักลงทุนที่สนใจในบริษัทที่สามารถ สร างผลตอบแทนที่มั่นคงและต อเนื่องในระยะยาว นอกจากนี้ ไทยออยล ยั ง ได รั บ การจั ด ให เ ป น บริ ษั ท ในอุ ต สาหกรรมนํ้ า มั น และก า ซที่ มี ความยั่งยืนในระดับ Gold Class ซึ่งเป นระดับสูงที่สุดโดย RobecoSAM บริษัทหลักทรัพย จั ด การกองทุ น ที่ เ ชี่ ย วชาญด า นการลงทุ น อย า งยั่ ง ยื น แห ง แรกของโลก การประเมิ น ของ RobecoSAM พิจารณาแนวทางการดําเนินงานและประสิทธิผลการดําเนินงานด านเศรษฐกิจ สิ่ ง แวดล อ ม และสั ง คม รวมถึ ง ด า นความปลอดภั ย และการบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คลของกว า 3,000 บริษัทชั้นนําทั่วโลกใน 59 อุตสาหกรรม

ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ที่ สํ า คั ญ ไทยออยล์มีกรอบการดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนภายใต้ 3 แนวทาง คือ การสร างความเข มแข็งให กับไทยออยล เอง ไม ว าจะเป นด านการกํากับดูแลกิจการที่ดี และการดูแลพนักงาน ทั้งด านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ตลอดจนความก าวหน า ในอาชีพและความผูกพันต อบริษัทฯ

การขยายความรับผิดชอบ ไปสู ผู ที่เกี่ยวข องกับธุรกิจ ไม ว าจะเป นคู ค า ผู รับเหมา ลูกค า ตลอดจนชุมชนและสังคม

ความมุ งมั่นของไทยออยล ในการป องกันและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล อม

ผลการดําเนินงานที่สําคัญ

ความสําเร็จในปีที่ผ่านมา

การกํากับดูแลกิจการที่ดี

ผลการประเมินองค์กรด้านการกํากับดูแล กิจการที่ดีโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD ) ร่วมกับ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีค่า 96% ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมาย

มีการจัดทํานโยบายและแนวปฏิบัติการด้านการ ต่อต้านคอร์รัปชั่น ซึ่งได้สื่อสารให้กับคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานเครือไทยออยล์ และจะขยายผล ไปสู่คู่ค้าและผู้รับเหมาในปี 2557

การบริหารทรัพยากรบุคคล

ดัชนีความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร มีค่า 82.45% ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมาย

ได้ดําเนินการศึกษาสุขภาพขององค์กร (Organizational Health Index: OHI ) เพื่อหาสาเหตุที่เกิดขึ้น และบรรจุ แผนพัฒนาให้เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดระดับ

ความปลอดภัยและ อาชีวอนามัย

อัตราการบาดเจ็บจากการทํางานรวมและ อัตราการเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานของ พนักงานและผู้รับเหมาลดลงจากปีที่ผ่านมา

พัฒนาประสิทธิผลการดําเนินงาน ด้านความปลอดภัยของผู้รับเหมาที่เข้ามาทํางาน ในเครือไทยออยล์ ภายใต้แผนงาน Safe , White , Green


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

คู่ค้าและผู้รับเหมา

ค ว า ม ยั่ ง ยื น ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล

125

ผลการดําเนินงานที่สําคัญ

โครงการที่สําคัญบางส่วนในปีที่ผ่านมา

คู่ค้าและผู้รับเหมาที่สําคัญเข้าร่วมโครงการ

บริษัทฯ ได้รับรางวัลโครงการอุตสาหกรรมสีเขียว กระทรวงอุตสาหกรรม ในระดับ 5

CSR in Supply Chain ลูกค้า

ดัชนีความพึงพอใจของลูกค้ามีค่า 89% สูงกว่าเป้าหมายที่กําหนดไว้

การพัฒนาระบบ E -ordering เป็นระยะที่สอง ซึ่งมุ่งเน้นไปที่การขยายฐานลูกค้าในการรับสินค้า ทางรถให้กว้างยิ่งขึ้น โดยให้ครอบคลุมถึงผลิตภัณฑ์ ในกลุม่ ปิโตรเคมีบางกลุม่ นอกเหนือจากกลุม่ ปิโตรเลียม ช่วยลดข้อผิดพลาดในขั้นตอนการดําเนินงาน ลดเวลา การดําเนินงานของพนักงาน และเกิดความสะดวก ต่อการใช้งานสําหรับลูกค้า

ชุมชนและสังคม

ครัวเรือน 2,347 ครัวเรือน และสาธารณสถาน 8 แห่ง ได้รับประโยชน์จากโครงการพัฒนา พลังงานทางเลือกเพื่อชุมชน และโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

บริษัทฯ จัดการแข่งขันกระโดดเชือกชิงแชมป์ในพื้นที่ จังหวัดชลบุรี เพือ่ สรรหาตัวแทนไปแข่งขันระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน โดยมีจํานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 400 คน ซึ่งเครือไทยออยล์ยังได้สนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการเดินทางเพื่อไปแข่งขันระดับประเทศ โดยตัวแทน จากโรงเรียนในพื้นที่ชนะเลิศการแข่งขัน 10 ประเภท จากทั้งหมด 20 ประเภทการแข่งขัน

ผลการดําเนินงานที่สําคัญ

โครงการที่สําคัญบางส่วนในปีที่ผ่านมา

พลังงานและ การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

ดัชนีการใช้พลังงาน (Energy Intensity Index ) มีค่า 82.1 และมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสามารถคํานวณค่าใช้จ่ายที่ลดลงมากกว่า 95 ล้านบาท (เทียบจากปริมาณก๊าซธรรมชาติ ที่ประหยัดได้)

ได้รับรางวัล PTT Best Practice Platinum Award ซึ่งเป็นรางวัลที่หนี่งของกลุ่ม ปตท. ในปี 2556 จากการใช้ไอนํ้าในเตาเผาของหน่วย CDU -3 ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทําให้เพิ่มปริมาณการผลิต นํ้ามันอากาศยานที่มีมูลค่าสูง คิดเป็นผลกําไร ประมาณ 204 ล้านบาทต่อปี

การบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อม

ไม่พบกรณีที่มีการดําเนินงานไม่สอดคล้อง กับกฎหมายหรือมาตรฐานสิ่งแวดล้อม

ติดตั้งระบบ Bio Filter เพื่อใช้ลดกลิ่นและสารอินทรีย์ ระเหยง่ายในกระบวนการผลิต ส่งผลให้มสี ภาพแวดล้อม การทํางานที่ดีขึ้น และลดโอกาสที่จะเกิดผลกระทบต่อ ชุมชนใกล้เคียง

การป้องกันการรั่วไหล ของนํ้ามัน

ไม่พบกรณีการรั่วไหลของนํ้ามันและสารเคมี จากกระบวนการผลิตที่ทําให้เกิดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม

เครือไทยออยล์มมี าตรการและอุปกรณ์ทสี่ ามารถป้องกัน การรั่วไหลได้เป็นอย่างดี และมีความพร้อมในการ ตอบสนองหากเกิดเหตุการณ์รั่วไหลได้อย่างทันท่วงที

ข้อมูลโดยละเอียดได้รายงานไว้ในรายงานความยั่งยืน ประจําปี 2556 สามารถเข้าชมได้ที่ www.thaioilgroup.com


126

22

ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต อ สั ง ค ม ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต อ สั ง ค ม ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล

บริษัทฯ ได้เปิดเผยนโยบายและการดําเนินงานที่แสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของเครือไทยออยล์ ไว้ในรายงาน ความยั่งยืน (Sustainability Report ) ประจําปี 2556 ในการจัดทํารายงานความยั่งยืน ประจําปี 2556 บริษัทฯ ได้คัดเลือกเนื้อหาตามหลักการกําหนดเนื้อหา (Materiality Assessment ) ของ Global Reporting Initiative (GRI ) รุ่นที่ 4 ซึ่งเป็นมาตรฐานสากลด้านการรายงานแนวทางและผลการดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ และการกํากับดูแลกิจการฉบับล่าสุด พร้อมทั้งแนวทางการรายงานข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับอุตสาหกรรมนํ้ามันและก๊าซ (Oil and Gas Sector Supplement) โดยเปิดเผยข้อมูลในระดับครบถ้วนตามมาตรฐานที่กําหนดไว้


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

23

ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ

127

ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ

ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ชื่อย่อหลักทรัพย์

TOP

เลขทะเบียนบริษัทฯ

0107547000711

ประเภทธุรกิจ

บริษัทฯ เป็นผู้ประกอบธุรกิจการกลั่น และจําหน่ายนํ้ามันปิโตรเลียมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ซึ่งก่อตั้งขึ้น ในปี พ.ศ. 2504 เป็นโรงกลั่นที่มีประสิทธิภาพสูงสุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมีธุรกิจหลักคือ การกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียม ปัจจุบันมีกําลังการผลิต 275,000 บาร์เรลต่อวัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังประกอบธุรกิจ อื่นๆ ในบริษัทย่อย ซึ่งประกอบด้วยธุรกิจการผลิตสารอะโรมาติกส์ และสารตั้งต้นสําหรับการผลิตผลิตภัณฑ์ สารทําความสะอาด เช่น ผงซักฟอก ธุรกิจการผลิตนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งและ บริการจัดเก็บนํ้ามันดิบ นํ้ามันปิโตรเลียม และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีทางเรือและทางท่อ ธุรกิจด้านการบริหาร จัดการเรือ ธุรกิจพลังงานทดแทน ธุรกิจสารทําละลาย และธุรกิจให้บริการด้านการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร สําหรับเครือไทยออยล์

ทุนจดทะเบียน

20,400,278,730 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดจํานวน 2,040,027,873 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท

จํานวนพนักงาน

794 คน (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556)

สถานที่ตั้ง

สํานักงานกรุงเทพ เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย โทรศัพท์ : 0-2797-2999, 0-2797-2900, 0-2299-0000 โทรสาร : 0-2797-2970 สํานักงานศรีราชาและโรงกลั่นนํ้ามัน 42/1 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท กม.ที่ 124 ตําบลทุ่งสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 ประเทศไทย โทรศัพท์ : 0-3840-8500, 0-3835-9000 โทรสาร : 0-3835-1554, 0-3835-1444

เว็บไซต์

www.thaioilgroup.com

แผนกนักลงทุนสัมพันธ์

โทรศัพท์ : 0-2797-2961 E -mail : ir @thaioilgroup.com

เลขานุการบริษัท

โทรศัพท์ : 0-2797-2999, 0-2797-2900, 0-2299-0000 E -mail : company_secretary@thaioilgroup.com


0107539000090

เลขทะเบียน

0105556110246

0105551116050

บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2974

บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970

ธุรกิจปิโตรเคมี บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด 0105539103288 เลขที่ 105/12 หมูท่ ่ี 2 ถนนสุขมุ วิท ตําบลทุง่ สุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : 0-3835-1317-9, 0-3835-1878 โทรสาร : 0-3835-1320

ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970

ชื่อและที่อยู่บริษัท

ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ที่ ไ ท ย อ อ ย ล ถื อ หุ น

2,572,414,160 บาท

1,757,890,730 บาท

1,250,000,000 บาท

สามัญ

125,000,000

465,496,500

257,241,416

175,789,073

จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)

10 บาท/หุ้น

10 บาท/หุ้น

10 บาท/หุ้น

10 บาท/หุ้น

มูลค่าหุ้น

100

75 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยพาราไซลีน)

100

100

สัดส่วน การถือหุ้น (%)

ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ

ลงทุนในธุรกิจผลิต ผลิตภัณฑ์ สารทําละลายและ เคมีภัณฑ์

สามัญ

สามัญ

สามัญ

ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น

ผลิตและจําหน่ายสาร 4,654,965,000 LAB (สารตั้งต้นสําหรับ บาท การผลิต ผลิตภัณฑ์ สารทําความสะอาด เช่น ผงซักฟอกและ ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง)

ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี อะโรมาติกส์ขั้นต้น

ผลิตและจําหน่าย นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน

ประเภทธุรกิจ

128 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6


0105527011880

บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0003, 0-2797-2993 โทรสาร : 0-2797-2983

ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์สารทําละลาย ประเภทไฮโดรคาร์บอน

จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ สารทําละลายและ เคมีภัณฑ์

ประเภทธุรกิจ

180,000,000 บาท

1,200,000,000 บาท

ธุรกิจผลิตไฟฟ้า บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970

โทรศัพท์ : +84-83827-9030-4 โทรสาร : +84-83827-9035

0105539103296

ธุรกิจโรงไฟฟ้า ขนาดเล็ก (SPP )

เวียดนาม

2,810,000,000 บาท

สามัญ

สามัญ

สามัญ

สามัญ

ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น

TOP Solvent (Vietnam) Limited Liability 472043000745 จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ 178,000,000,000 Go Dau Industrial Zones, Long Thanh District, (จดทะเบียน สารทําละลายและ ดองเวียดนาม Dong Nai Province, Vietnam ทีป่ ระเทศเวียดนาม) เคมีภัณฑ์ในประเทศ

0105551116491

เลขทะเบียน

บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0003, 0-2797-2993 โทรสาร : 0-2797-2983

ชื่อและที่อยู่บริษัท

281,000,000

17,800,000

1,800,000

120,000,000

จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)

10 บาท/หุ้น

10,000 ดอง เวียดนาม/ หุ้น

100 บาท/หุ้น

10 บาท/หุ้น

มูลค่าหุ้น

73.99

100 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ท็อป โซลเว้นท์)

80.52 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ท็อป โซลเว้นท์)

100 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์)

สัดส่วน การถือหุ้น (%)

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6 ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ

129


0105556198933

บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2974

ลงทุนในธุรกิจ ให้บริการขนส่ง นํ้ามันดิบและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ทางเรือ

Thaioil Marine International Private Limited 201021606H 391A Orchard Road #12-01104, #12-05 & (จดทะเบียน 12-10 Ngee Ann City Tower A , ที่ประเทศสิงคโปร์) Singapore 238873

9,000,000 เหรียญสหรัฐฯ

970,000,000 บาท

3,500,000,000 บาท

11,237,256,000 บาท

สามัญ

สามัญ

สามัญ

สามัญ

ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น

9,000,000

97,000,000

350,000,000

1,123,725,600

จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)

100

100

11.88 (และ ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ เพาเวอร์ 27.71)

สัดส่วน การถือหุ้น (%)

1 100 เหรียญ (ถือหุ้นผ่าน สหรัฐฯ/หุ้น บจ. ไทยออยล์ มารีน)

10 บาท/หุ้น

10 บาท/หุ้น

10 บาท/หุ้น

มูลค่าหุ้น

ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ

โทรศัพท์ : +65-6734 6540 โทรสาร : +65-6734 3397, +65-6734 5801

ให้บริการขนส่งนํ้ามัน นํ้ามันปิโตรเลียมและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ทางเรือ

ธุรกิจโรงไฟฟ้า ขนาดเล็ก (SPP )

ธุรกิจไฟฟ้า รวมทั้งการลงทุนและ พัฒนาโครงการด้าน ธุรกิจไฟฟ้าในอนาคต

ประเภทธุรกิจ

0105541047578

ธุรกิจขนส่งนํ้ามัน บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด เลขที่ 223/97 อาคารคันทรี่ คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 22 ถนนสรรพาวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : 0-2361-7500 โทรสาร : 0-2361-7498-9

0105556004811

เลขทะเบียน

บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 02-140-4600 โทรสาร : 02-140-4601

ชื่อและที่อยู่บริษัท

130 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6


เลขทะเบียน

ประเภทธุรกิจ

0105551087343

201202478W บริษัทจัดการกองทุน (จดทะเบียน ธุรกิจ ที่ประเทศสิงคโปร์)

บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 88 ซอยบางนา-ตราด 30 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : 0-2331-0080-5 โทรสาร : 0-2331-0086

TOP-NTL Private Limited 5 TEMASEK BOULEVARD # 11-02 SUNTEC TOWER FIVE Singapore 038985

20,000 เหรียญสิงคโปร์

3,000,000 บาท

180,000,000 บาท

สามัญ

สามัญ

สามัญ

20,000

30,000

1,800,000

18,000,000

จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)

สัดส่วน การถือหุ้น (%)

33.3 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ มารีน)

55 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ มารีน)

1 50 เหรียญ (ถือหุ้นผ่าน สิงคโปร์/หุ้น บจ. ไทยออยล์ มารีน)

100 บาท/หุ้น

100 บาท/หุ้น

International Pte. Ltd.)

1 50 เหรียญ (ถือหุ้นผ่าน สหรัฐฯ/หุ้น Thaioil Marine

มูลค่าหุ้น

ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ

โทรศัพท์ : +65-6361-0383 โทรสาร : +65-6361-0377

ให้บริการเดินเรือ รับส่งลูกเรือและ สัมภาระทางทะเล ในอ่าวไทย

0115554017087

บริษัท ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส จํากัด เลขที่ 223/97 อาคารคันทรี่ คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 22 ถนนสรรพาวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : 0-2361-7500 โทรสาร : 0-2361-7498-9 ให้บริการบริหาร จัดการเรือ และพัฒนา กองเรือในระดับสากล และเป็นที่ปรึกษา และ พัฒนาบุคลากรด้านการ ปฏิบัติการ ด้านเทคนิค และด้านคุณภาพ ในธุรกิจขนส่งทางเรือ

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ทางเรือ

โทรศัพท์ : +65-6290-8405 โทรสาร : +65-6293-2080

สามัญ

ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น

TOP-NYK MarineOne Private Limited 201104774G จัดหาเรือขนส่ง 18,000,000 1 Harbourfront Place #13-01, (จดทะเบียน นํ้ามันดิบเพื่อให้บริการ เหรียญสหรัฐฯ Harbourfront Tower One, Singapore 098633 ที่ประเทศสิงคโปร์) ขนส่งนํ้ามันดิบและ

ชื่อและที่อยู่บริษัท

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

131


0105556123275

เลขทะเบียน

บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970

ธุรกิจอื่นๆ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970 0105551121754

0105550078006

บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด 0105534002696 เลขที่ 2/8 หมู่ 11 ถนนลําลูกกา ตําบลลาดสวาย อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150 โทรศัพท์ : 0-2991-9130-59 โทรสาร : 0-2533-2186

บริษัท ท็อปนอติคอลสตาร์ จํากัด เลขที่ 88 ซอยบางนา-ตราด 30 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : 0-2331-0080-5 โทรสาร : 0-2331-0086

ชื่อและที่อยู่บริษัท

ลงทุนในธุรกิจ เอทานอล และ ผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม พลังงานทางเลือก

ให้บริการ ด้านการสรรหาและ คัดเลือกบุคลากร สําหรับเครือไทยออยล์

บริการขนส่งผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมสําเร็จรูป ทางท่อ

ให้บริการจัดเก็บและ ขนส่งนํ้ามันดิบ ฟีดสต๊อกและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม โดยเรือขนาดใหญ่

ประเภทธุรกิจ

1,450,000,000 บาท

40,000,000 บาท

8,479,000,000 บาท

150,000,000 บาท

สามัญ

สามัญ

สามัญ

สามัญ

ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น

145,000,000

4,000,000

84,790,000

1,500,000

จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)

10 บาท/หุ้น

10 บาท/หุ้น

100 บาท/หุ้น

100 บาท/หุ้น

มูลค่าหุ้น

100

100

9.19

TOP-NTL)

35 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ มารีน) 30 (ถือหุ้นผ่าน

สัดส่วน การถือหุ้น (%)

132 ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6


0105539017543

0105549129891

0345550000315

0105549076496

0105554075621

บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด เลขที่ 191/18-25 อาคารซีทีไอ ทาวเวอร์ ชั้น 26-27 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2656-7761-3 โทรสาร : 0-2251-1138

บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด เลขที่ 333 หมู่ที่ 9 ตําบลนาดี อําเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี โทรศัพท์ : 045-252-905 โทรสาร : 045-252-908

บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 4-5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2140-2000 โทรสาร : 0-2140-2999

บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด เลขที่ 555 อาคาร 2 สํานักงานใหญ่ ชั้น 7 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2537-3645 โทรสาร : 0-2537-3685

เลขทะเบียน

บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด เลขที่ 68 ซอยสันติภาพ ถนนทรัพย์ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0-2233-0444-5 โทรสาร : 0-2233-0441

ชื่อและที่อยู่บริษัท

ให้บริการคําปรึกษา และอื่นๆ ด้านเทคนิควิศวกรรม

ให้บริการด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

ผลิตและจําหน่าย เอทานอลจาก มันสําปะหลัง และกากนํ้าตาล

ผลิตและจําหน่าย เอทานอลจากอ้อย และกากนํ้าตาล

ผลิตและจําหน่าย เอทานอลจาก มันสําปะหลัง

ประเภทธุรกิจ

150,000,000 บาท

150,000,000 บาท

2,740,000,000 บาท

675,000,000 บาท

800,000,000 บาท

สามัญ

สามัญ

สามัญ

สามัญ

สามัญ

ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น

1,500,000

15,000,000

2,740,000

67,500,000

8,000,000

จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)

100 บาท/หุ้น

10 บาท/หุ้น

1,000 บาท/หุ้น

10 บาท/หุ้น

100 บาท/หุ้น

มูลค่าหุ้น

20

20

21.28 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ เอทานอล)

30 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ เอทานอล)

50 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ เอทานอล)

สัดส่วน การถือหุ้น (%)

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6 ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ

133


134

ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

บุ ค ค ล อ า ง อิ ง นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2800, 0-2229-2888 (Call center ) นายทะเบียนหุ้นกู้และตัวแทนชําระเงิน ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) Head of Marketing & Sales Investor Services เลขที่ 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-1321, 0-2299-1536 โทรสาร : 0-2299-1028 ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) Head of Marketing & Sales Investor Services เลขที่ 333 อาคารตรีทิพย์ ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0-2230-1477, 0-2230-1478 โทรสาร : 0-2626-4545-6 ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) Head of Marketing & Sales Investor Services เลขที่ 400/22 อาคารสํานักพหลโยธิน ถนนสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2470-5978 โทรสาร : 0-2273-2279

ผู้สอบบัญชี บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ชั้น 22 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ 195 ถนนสาธรใต้ กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 0-2677-2000 โทรสาร : 0-2677-2222 อื่นๆ (กรณีการแจ้งใบหุ้นสูญหาย / การเปลี่ยนแปลงข้อมูลผู้ถือหุ้น และงานให้บริการผู้ถือหุ้นอื่นๆ)

Counter Service ชั้น 1 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2888 (Call center ) หรือ ส่วนบริการผู้ออกหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2870-80 โทรสาร : 0-2654-5642, 0-2654-5645


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

135


136

24

โ ค ร ง ส ร า ง ธุ ร กิ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

โ ค ร ง ส ร า ง ธุ ร กิ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

<' 8 6' )5I J7%5

<' 8 ďC 'A %9 B)4 J7%5 /)Ę1);I "÷J 6 100%

% E &11&)Ĝ

E &"6'6E )9

7)5 6' )5I 275,000 บาร์เรล/วัน

.6'14C'%6 8 .Ĝ กำลังการผลิต: "6'6E )9 527,000 ตัน/ปี %8 ĜE )9 52,000 ตัน/ปี A 9 259,000 ตัน/ปี '+% 838,000 ตัน/ปี

B") #1'ĜA% 1.8 ล้านตัน/ปี

100%

% E &)= ę A . J7%5 /)Ę1);I "÷J 6 กำลังการผลิต: J7%5 /)Ę1);I "÷J 6 267,015 ตัน/ปี &6 %4 1& 350,000 ตัน/ปี J7%5 &6 %)"ô- I7 67,520 ตัน/ปี

25% มิตซุย

75% )6 8 Ĝ ผลิตและจำหน่ายสาร LAB กำลังการผลิต: 100,000 ตัน/ปี เริ่มดำเนินการเชิงพาณิชย์: ปี 2558

100% E &11&)Ĝ C )A+ę Ĝ 100%

H1 C )A+ę Ĝ จัดจำหน่ายสารทำละลายในประเทศไทย

<' 8 /)5

80.5%

100%

,5 8ME &.8 8 กำลังการผลิต: 76,000 ตัน/ปี

H1 C )A+ę Ĝ A+é& 6% จัดจำหน่ายสารทำละลาย ในประเทศเวียดนาม

A.'è%.'ę6 '6&E ę


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

โ ค ร ง ส ร า ง ธุ ร กิ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล

137

บริษัทฯ เป็นผู้ประกอบธุรกิจการกลั่น และจําหน่ายนํ้ามันปิโตรเลียมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2504 เป็นโรงกลั่นที่มีประสิทธิภาพสูงสุด แห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมีธุรกิจหลักคือการกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียม ปัจจุบันมีกําลังการผลิต 275,000 บาร์เรลต่อวัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังประกอบธุรกิจอื่นๆ ในบริ ษั ท ย่ อ ย ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยธุ ร กิ จ การผลิ ต สารอะโรมาติ ก ส์ และสารตั้ ง ต้ น สํ า หรั บ การผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ารทํ า ความสะอาด เช่ น ผงซั ก ฟอก ธุ ร กิ จ การผลิ ต นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งและบริการจัดเก็บนํ้ามันดิบ นํ้ามันปิโตรเลียม และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีทางเรือและทางท่อ ธุรกิจด้านการบริหาร จัดการเรือ ธุรกิจพลังงานทดแทน ธุรกิจสารทําละลาย และธุรกิจให้บริการด้านการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรสําหรับเครือไทยออยล์

<' 8 E##Ĕ6 26% ปตท.

74%

E &11&)Ĝ A "6A+1'Ĝ 6&E##Ĕ6B)4E1 J7D/ę )<Ę% โครงการผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม (ก๊าซธรรมชาติ) ไฟฟ้า 118 เมกะวัตต์ ไอน้ำ 168 ตัน/ชั่วโมง

100% H1 A1."õ"õ โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก(SPP) 2 โรง กำลังการผลิตรวม 239 เมกะวัตต์ (เริ่มดำเนินการปี 2559)

ปตท. 30.1% พีทีที โกบอล เคมิคอล 30.3% 27.7% C ) 1) A"6A+1'Ĝ 8 A 1'Ĝ&9I 11.9% ธุรกิจผลิตไฟฟ้าของกลุ่ม ปตท.

ไฟฟ้า 1,038 เมกะวัตต์ ไอน้ำ 1,340 ตัน/ชั่วโมง กำลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 1,357 เมกะวัตต์

<' 8 .Ę B)4 <' 8 1;I G 100%

E &11&)Ĝ % 6'é A'ë1 .Ę ďC 'A)9&% ďC 'A %9 )7 กำลังขนส่งรวม 47,250 ตันบรรทุก A'ë1 .Ę J7%5 8 6 D/gĘ )7 กำลังขนส่งรวม 882,050 ตันบรรทุก A'ë1'5 .Ę )= A'ë1 .5%$6'4 ¢ )7 รวม 720 ตันบรรทุก A'ë1 6 D/gĘ )7 A"÷I1 7A 8 <' 8 D/ę 'è 6' 5 A H .Ę J7%5 8 #í . Ě1 B)4 )8 $5 Ĝ ďC 'A)9&% กำลังการขนส่งรวม 192,000 ตันบรรทุก D/ę 'è 6' 6 ę6 6' 'è/6' 5 6'A'ë1 B)4"5 6 1 A'ë1

100%

E &11&)Ĝ A1 6 1) 35%

35%

กลุ่มมิตรผล

ผาแดง

B%Ę.1 ")5

6 .416

30% เอทานอลจากอ้อย

กำลังการผลิต: 230,000 ลิตร/วัน

'5"&Ĝ 8"&Ĝ

50% เอทานอลจากมันสำปะหลัง กำลังการผลิต: 200,000 ลิตร/วัน 57.4%

21.3%

อื่นๆ

บางจาก

1< ) E C1 A1 6 1)

21.3% เอทานอลจากมันสำปะหลังและกากนํา้ ตาล กำลังการผลิต: 400,000 ลิตร/วัน

E &11&)Ĝ A1 A 1'Ĝ&9 100% A 1'Ĝ+è. ดำเนินธุรกิจให้บริการด้านการสรรหา และคัดเลือกบุคลากร

31% ปตท. 60% อื่นๆ

9% Ę1.Ę ďC 'A)9&%E & ท่อขนส่งปิโตรเลียม กำลังการขนส่ง : 26,000 ล้านลิตร/ปี

80% กลุ่ม ปตท.

"õ 9 9 A1 A 1'Ĝ&9I C )= 5I .Ĝ ดำเนินธุรกิจที่ปรึกษาบริการ 20% ด้านเทคนิควิศวกรรม 80% กลุ่ม ปตท.

"õ 9 9 E1 9 9 C )= 5I .Ĝ ให้บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร

A"ôø% +6%%5I D '6&E ę

. 5 . < ę6 6' )6 B)4A"ôø% '4.8 8$6"D 6' 7A 8 6

20%


138

25

โ ค ร ง ส ร า ง ร า ย ไ ด

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

โ ค ร ง ส ร า ง ร า ย ไ ด

บริษัทฯ มีรายได้จากธุรกิจกลั่นนํ้ามันเป็นหลัก นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีรายได้จากธุรกิจกลั่นนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ธุรกิจปิโตรเคมี ธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและเคมีภัณฑ์ ธุรกิจสารทําละลาย ธุรกิจเอทานอล และอื่นๆ โดยมีรายละเอียดปรากฏตามตารางแสดงรายได้ ดังต่อไปนี้ (จํานวนเงิน หน่วย: ล้านบาท)

ดําเนิน % การถือหุน้ 2554 (4) การโดย ของบริษัทฯ จํานวนเงิน ก. ขายสุทธิ 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน 2. ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน 3. ธุรกิจปิโตรเคมี 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า 5. ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและเคมีภัณฑ์ 6. ธุรกิจสารทําละลาย (5) 7. ธุรกิจเอทานอล (5) 8. อื่นๆ หัก รายการระหว่างกัน รวม

รอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2556 % จํานวนเงิน % จํานวนเงิน

%

TOP TLB TPX TP/IPT TM Thaioil Solvent TET TES

100 100 74/24 100 100 100 100

431,572 28,614 67,090 14,120 1,016 9,146 1,152 208 (106,677) 446,241

96 6 15 3 3 (24) 99

434,850 29,089 67,861 17,124 1,233 9,856 615 377 (113,573) 447,432

96 7 15 4 2 (25) 99

409,229 26,954 64,519 5,440 1,232 9,781 1,505 516 (104,577) 414,599

98 6 15 2 3 (25) 99

TOP TPX

100

-

-

892 (2) 890

-

1,292 1,292

-

ค. กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ (2) 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน TOP 2. ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน TLB 3. ธุรกิจปิโตรเคมี TPX 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า TP/IPT 5. ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและเคมีภัณฑ์ TM (5) 6. ธุรกิจสารทําละลาย Thaioil Solvent รวม

100 100 74/24 100 100

-

-

1,927 16 10 24 3 7 1,987

1 1

-

-

ข. กําไรจากอนุพันธ์เพื่อประกัน ความเสี่ยงสุทธิ (1) 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน 2. ธุรกิจปิโตรเคมี รวม


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

โ ค ร ง ส ร า ง ร า ย ไ ด

139

(จํานวนเงิน หน่วย: ล้านบาท)

ดําเนิน % การถือหุน้ 2554 การโดย (4) ของบริษัทฯ จํานวนเงิน ง. รายได้อื่น (3) 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน 2. ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน 3. ธุรกิจปิโตรเคมี 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า 5. ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและเคมีภัณฑ์ 6. ธุรกิจสารทําละลาย (5) 7. ธุรกิจเอทานอล (5) 8. อื่นๆ หัก รายการระหว่างกัน รวม รวมรายได้ (ก – ง)

TOP TLB TPX TP/IPT TM Thaioil Sovent TET TES

100 100 74/24 100 100 100 100

3,472 163 395 158 3 26 12 (1,697) 2,532 448,773

รอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2556 % จํานวนเงิน % จํานวนเงิน 1 -

1 100

2,047 376 406 102 23 21 24 (1,649) 1,350 451,659

100

3,085 166 445 469 26 19 25 24 (1,636) 2,623 418,514

% 1 1 100

หมายเหตุ (1) ปี 2554 ขาดทุนจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยงสุทธิ (2) ปี 2554 และ 2556 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ (3) ได้แก่ ดอกเบี้ยรับ เงินชดเชยภาษีสินค้าส่งออก รายได้จากการให้บริการแก่บริษัทในเครือ ค่าเช่าที่ดิน ค่าบริการใช้ทุ่นผูกเรือนํ้าลึก ค่าเช่าถังเก็บนํ้ามัน กําไรจากการขาย เงินลงทุน เงินชดเชยนํ้ามันมาตรฐานยูโร 4 เป็นต้น (4) TOP หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) TLB หมายถึง บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) TPX หมายถึง บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด TP หมายถึง บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด ซึ่งบริษัทฯ เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นจากเดิมร้อยละ 55 เป็นร้อยละ 74 เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2555 IPT หมายถึง บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งในปี 2554 และ 2555 บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อม โดย TP ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 56 และบริษัทฯ ถือหุ้นทางตรง อีกร้อยละ 24 จนถึงเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด และบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด ถูกควบรวมเป็นบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด ซึ่งมีสถานะเป็นบริษัทร่วมของกลุ่มบริษัท TM หมายถึง บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด Thaioil Solvent หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด TES หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด TET หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด (5) ปี 2554 และ 2555 ได้ปรับปรุงย้อนหลังการนําเสนอส่วนงานใหม่ คือ ส่วนงานธุรกิจสารทําละลาย และส่วนงานธุรกิจเอทานอล ซึ่งนําเสนอแยกออกจากส่วนงานธุรกิจ ปิโตรเคมีและธุรกิจอื่นๆ


140

26

คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ฝ า ย จั ด ก า ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ฝ า ย จั ด ก า ร

ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น – ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม กําไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มไม่รวมผลกระทบ จากสต็อกนํ้ามัน (1) กําไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มรวมผลกระทบ จากสต็อกนํ้ามัน (1) รายได้จากการขาย

EBITDA กําไรสุทธิ กําไรสุทธิต่อหุ้น

2556

2555

+/-

เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล

6.8

7.6

-0.8

เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท บาท

7.6 414,599 22,361 10,394 5.09

6.9 447,432 20,350 12,320 6.04

+0.7 -32,833 +2,011 -1,926 -0.95

หมายเหตุ (1) เป็นกําไรขั้นต้นจากการผลิตรวมของบริษัทฯ บจ.ไทยพาราไซลีน (TPX) และ บมจ.ไทยลู้บเบส (TLB)

ในปี 2556 เครือไทยออยล์มุ่งเน้นการบริหารงานเชิงรุกท่ามกลาง ภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว จากการลดลงของอุปสงค์ส่งผลให้ ราคาผลิตภัณฑ์โดยเฉลี่ยปรับลดลง ทําให้เครือไทยออยล์มีรายได้ จากการขาย 414,599 ล้ า นบาทปรั บ ลดลงร้ อ ยละ 7 นอกจากนี้ จากส่วนต่างราคาของผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบของโรงกลั่นก็ปรับตัว ลดลงเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ส่วนต่างราคาของสารอะโรมาติกส์กับ ULG 95 ปรับตัวดีขึ้น จากความต้องการสารอะโรมาติกส์โดยเฉพาะ เบนซีนที่เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ตลาดนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานยังคงได้รับ แรงกดดันจากอุปทานโดยรวมในตลาดที่ยังคงมีมากกว่าอุปสงค์ ส่งผลกระทบให้ราคานํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานปรับตัวลดลงจากปีก่อน จากปั จ จั ย ดั ง กล่ า ว ส่ ง ผลให้ เ ครื อ ไทยออยล์ มี กํ า ไรขั้ น ต้ น จาก การผลิตรวมของกลุ่มไม่รวมผลกระทบจากสต็อกนํ้ามันอยู่ที่ 6.8 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลง 0.8 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากผลกําไรจากสต็อกนํ้ามัน 0.8 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล หรือ 2,624 ล้านบาท ทําให้กําไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มรวมผลกระทบ จากสต็ อ กนํ้ า มั น ปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง มี กํ า ไรจากอนุ พั น ธ์ เพือ่ ประกันความเสีย่ งสุทธิเพิม่ ขึน้ 402 ล้านบาท ทําให้ EBITDA เพิม่ ขึน้ 2,011 ล้านบาท เป็น 22,361 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม เครือไทยออยล์

มีต้นทุนทางการเงินเพิ่มขึ้นจากการออกหุ้นกู้สกุลเหรียญสหรัฐฯ และ มีขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิเพิ่มขึ้นจากเงินบาทที่อ่อนค่าลง ทําให้มีกําไรสุทธิจํานวน 10,394 ล้านบาทหรือกําไรต่อหุ้น 5.09 บาท

ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น แ ย ก ร า ย บ ริ ษั ท บริษัทฯ (TOP ) มีการใช้กําลังการกลั่น 102% คิดเป็นปริมาณวัตถุดิบ ที่ป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิต 280,000 บาร์เรลต่อวัน โดยมีรายได้ จากการขายจํานวน 409,229 ล้านบาท ลดลง 25,621 ล้านบาท จากปีก่อน สาเหตุหลักจากส่วนต่างราคาเฉลี่ยผลิตภัณฑ์ปรับลดลง อย่ า งไรก็ ต าม จากผลกํ า ไรจากสต็ อ กนํ้ า มั น 0.8 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่อบาร์เรล หรือ 2,624 ล้านบาท ทําให้มี EBITDA อยู่ที่ 12,415 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 1,959 ล้านบาท ทัง้ นีจ้ ากค่าเงินบาททีอ่ อ่ นค่า ทําให้มผี ลขาดทุน จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ 3,412 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2555 ซึ่งมีกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ 1,927 ล้านบาท ส่งผลให้ในปี 2556 TOP มีผลกําไรสุทธิก่อนเงินปันผลรับ 3,012 ล้านบาท เทียบกับ กําไรสุทธิ 6,359 ล้านบาทในช่วงเดียวกันของปีก่อน บจ. ไทยพาราไซลีน (TPX ) มีอัตราการผลิตสารอะโรมาติกส์ 89% โดยมีรายได้จากการขาย 64,519 ล้านบาท ลดลง 3,342 ล้านบาท


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ฝ า ย จั ด ก า ร

เมื่อเทียบกับปีก่อน แต่จากส่วนต่างราคาของสารอะโรมาติกส์กับ ULG 95 ที่เพิ่มขึ้นทุกชนิด ทําให้ Product to Feed Margin ปรับตัว เพิ่มขึ้น 21 เหรียญสหรัฐฯต่อตัน ทําให้มี EBITDA 5,555 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 478 ล้านบาท และ มีกําไรสุทธิ 4,004 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 742 ล้านบาทจากปีก่อน ทั้งนี้ได้รวมผลการดําเนินงานของ LABIX ซึ่งเป็น บริษัทย่อย โดย TPX ถือหุ้นร้อยละ 75 ซึ่งมีกําไรสุทธิ 30 ล้านบาท

จํานวน 351 ล้านบาท และได้บันทึกกําไรจากการควบรวมสําหรับส่วน ของกลุ่มบริษัทโดยไม่รวมส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมจํานวน 450 ล้านบาท

บมจ. ไทยลู้บเบส (TLB ) มีอัตราการใช้กําลังการผลิตนํ้ามันหล่อลื่น พื้นฐาน 102% โดยมีรายได้จากการขาย 26,954 ล้านบาท ลดลง 2,136 ล้านบาทจากปี 2555 จากราคาขายของนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ที่ปรับลดลง เนื่องจากได้รับแรงกดดันจากอุปทานโดยรวมในตลาด ที่ยังคงมีมากกว่าอุปสงค์ อย่างไรก็ตาม จากระดับราคาของนํ้ามันเตา ซึ่งเป็นต้นทุนวัตถุดิบปรับตัวลดลงในระหว่างปี 2556 ส่งผลให้ TLB มี Product to Feed Margin เพิ่มขึ้น และมี EBITDA 2,339 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 217 ล้านบาท เมื่อหักค่าใช้จ่ายทางภาษี ทําให้ในปี 2556 TLB มีกําไรสุทธิ 1,668 ล้านบาท ลดลง 76 ล้านบาทจากปีก่อน บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ (TP ) มีอัตราการใช้กําลังการผลิต 88% โดยมีรายได้จากการขาย 5,132 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 201 ล้านบาท จากปี 2555 และมี EBITDA 641 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 25 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม TP มีค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น 26 ล้านบาท เนื่องจาก ได้ใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีจากการส่งเสริมการลงทุนในโครงการ ปรับปรุงระบบเผาไหม้ของเครื่องกําเนิดไฟฟ้าชนิดกังหันก๊าซออกไซด์ ของไนโตรเจน (NOx ) สู่บรรยากาศ หมดลงในไตรมาสที่ 3 ปี 2555 ทํ า ให้ TP มี กํ า ไรสุ ท ธิ จํ า นวน 358 ล้ า นบาท ลดลง 9 ล้ า นบาท จากปีก่อน อนึ่ง การควบรวมบริษัทระหว่างบจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) (IPT) และ บจ. พีทีที ยูทิลิตี้ (PTTUT) ที่ได้ดําเนินการแล้วเสร็จ เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 โดยมีชื่อบริษัทใหม่ว่า บจ. โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ (GPSC ) และมีทุนจดทะเบียนเริ่มต้น 8,630 ล้านบาท ซึ่ง TOP ถือหุ้นทางตรงในสัดส่วนร้อยละ 11.88 และถือหุ้นทางอ้อม ผ่ า น TP ในสั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 20.51 ( TP ถื อ หุ้ น ทางตรงใน GPSC ในสัดส่วนร้อยละ 27.71) รวม TOP ถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นสัดส่วนร้อยละ 32.39 ทั้งนี้ ในปี 2556 เครือไทยออยล์บันทึก ส่วนแบ่งกําไรจากการลงทุนใน GPSC เฉพาะส่วนของกลุ่มบริษัทรวม

141

บจ. ไทยออยล์ โซลเว้ น ท์ ( Thaioil Solvent ) มี อั ต ราการผลิ ต สารละลาย 130% โดยมีรายได้จากการขายรวม 9,781 ล้านบาท และ EBITDA 500 ล้านบาท ลดลง 75 ล้านบาท และ 163 ล้านบาท ตามลําดับ เนื่องจากอัตรากําไรขั้นต้นที่ลดลง แม้ว่าจะมีปริมาณการ จําหน่ายสารละลายที่เพิ่มขึ้นประมาณ 6,000 ตันจากปีก่อน ทําให้ กลุ่มธุรกิจไทยออยล์ โซลเว้นท์ มีกําไรสุทธิ 232 ล้านบาท ลดลง 101 ล้านบาท จากปีก่อน บจ. ไทยออยล์มารีน (TM ) มีอัตราการใช้เรือ 88% โดยมีรายได้จาก การให้บริการรวม 1,232 ล้านบาท และ EBITDA 496 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 109 ล้านบาท โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการปรับปรุงค่าซ่อมแซม เรือภูไบภัทรา 1 และการได้รับค่าสินไหมรวม 63 ล้านบาทจากเหตุ ไฟไหม้ ห้ อ งเครื่ อ งของเรื อ ภู ไ บภั ท รา 1 ในไตรมาสที่ 3 ปี 2555 โดยในปี 2556 TM มี ส่ ว นแบ่ ง กํ า ไรจากการลงทุ น ในบริ ษั ท ร่ ว ม รวมจํ า นวน 25 ล้ า นบาทลดลง 41 ล้ า นบาทจากปี ก่ อ นอั น เป็ น ผลมาจากการเข้ า อู่ แ ห้ ง ของเรื อ VLCC ในไตรมาสที่ 2 ปี 2556 เมื่ อ รวมผลขาดทุ น จากการจํ า หน่ า ยเรื อ ภู ไ บอั ม รา 2 จํ า นวน 108 ล้ า นบาท ทํ า ให้ TM มี กํ า ไรสุ ท ธิ ร วม 118 ล้ า นบาท ลดลง 55 ล้านบาทจากปี 2555 บจ. ไทยออยล์ เอทานอล (TET ) มีอัตราการผลิตเอทานอล 84% โดยมีรายได้จากการขายรวม 1,505 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 890 ล้านบาท เนื่องจากการดําเนินการผลิตเอทานอลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น อีกทั้งการยกเลิกการจําหน่ายนํ้ามันเบนซิน 91 ตั้งแต่ต้นปี 2556 ยั ง ช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ ค วามต้ อ งการใช้ แ ก๊ ส โซฮอล์ ใ นประเทศ เพิ่มมากขึ้นจากปีที่แล้ว ซึ่งส่งผลต่อทั้งปริมาณและราคาจําหน่าย เอทานอลที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ทํ า ให้ มี EBITDA 348 ล้ า นบาท ทั้ ง นี้ TET มีส่วนแบ่งกําไรจากการลงทุนใน บจ. อุบล ไบโอ เอทานอล จํานวน 34 ล้านบาท และส่วนแบ่งขาดทุนจาก บจ. แม่สอดพลังงานสะอาด จํานวน 2 ล้านบาท ทําให้ TET มีกําไรสุทธิจํานวน 114 ล้านบาท เปรียบเทียบกับขาดทุนสุทธิจํานวน 162 ล้านบาทในปีก่อน


142

คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ฝ า ย จั ด ก า ร

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ท า ง ก า ร เ งิ น - ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ฐานะทางการเงิน (ล้านบาท) สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ

สินทรัพย์รวม ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2556 บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยมี สิ น ทรั พ ย์ รวมทั้งสิ้น 208,519 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากวันที่ 31 ธันวาคม 2555 จํานวน 37,843 ล้านบาท สาเหตุหลักจากเงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น 10,650 ล้านบาท และเงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น 10,211 ล้านบาท จากการควบรวมบริษัทระหว่าง IPT และ PTTUT เป็น GPSC จึงได้ มีการบันทึกเงินลงทุนใน GPSC เป็นเงินลงทุนในบริษัทร่วมตามวิธี ส่วนได้เสียในงบการเงินรวม นอกจากนี้ยังได้มีการซื้อหุ้นเพิ่มทุนใน GPSC อีกด้วย หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 113,681 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากวันที่ 31 ธันวาคม 2555 จํานวน 33,729 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากหนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้นตามเจ้าหนี้ การค้าที่เพิ่มขึ้น 4,939 ล้านบาท อีกทั้งยังมีหนี้เงินกู้ระยะยาวและหุ้นกู้ เพิ่มขึ้นหลังจากบริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้จํานวน 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แบ่งเป็นหุ้นกู้ระยะเวลาไถ่ถอน 10 ปี จํานวน 500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และหุ้นกู้ระยะเวลาไถ่ถอน 30 ปี จํานวน 500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพือ่ ใช้ในการดําเนินงาน รวมถึงเงินทุนหมุนเวียน เงินลงทุน นอกจากนี้ TP ยังได้เบิกเงินกู้ยืมจํานวน 1,200 ล้านบาท เพื่อใช้ในการซื้อหุ้น เพิ่มทุนของ GPSC อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ชําระ คืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ จํานวน 17,944 ล้านบาท ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีส่วนของผู้ถือหุ้น รวมทั้งสิ้น 94,838 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4,114 ล้านบาท จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 สาเหตุหลักจากผลการดําเนินงานประจําปี 2556 ที่มี

31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2555 208,519 113,681 94,838

170,676 79,952 90,724

+/+37,843 +33,729 +4,114

กําไรสุทธิจํานวน 10,394 ล้านบาท หักเงินปันผลจ่ายจํานวน 6,116 ล้านบาท

วิ เ ค ร า ะ ห ก ร ะ แ ส เ งิ น ส ด แ ล ะ อั ต ร า ส ว น ท า ง ก า ร เ งิ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินสดและ รายการเทียบเท่าเงินสดจํานวน 15,303 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสด ได้มาจากกิจกรรมดําเนินงานจํานวน 16,131 ล้านบาท กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุนมีจํานวน 26,242 ล้านบาท สาเหตุหลักเกิดจากการซื้อเงินลงทุนชั่วคราวจํานวน 11,129 ล้านบาท และเงินสดจ่ายเพื่อลงทุนในสินทรัพย์ถาวร จํานวน 12,330 ล้านบาท กระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินมีจํานวน 16,616 ล้านบาท สาเหตุหลักเกิดจากเงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ 1,000 ล้านเหรียญ สหรั ฐ ฯ หรื อ เที ย บเท่ า 29,356 ล้ า นบาท และชํ า ระคื น เงิ น กู้ ยื ม ระยะยาวก่อนกําหนดจํานวน 4,445 ล้านบาท และหุ้นกู้ที่ครบกําหนด ไถ่ถอนปี พ.ศ. 2556 จํานวน 2,750 ล้านบาท จากรายการกระแสเงินสดจากกิจกรรมข้างต้น บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 จํานวน 6,505 ล้านบาท อนึ่ง บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 217 ล้านบาท และการควบรวมบริษัทระหว่าง IPT และ PTTUT โดยมีการจดทะเบียน บริษัทใหม่เป็น GPSC ทําให้เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ของบริ ษั ท ย่ อ ยลดลงจากการจํ า หน่ า ยเงิ น ลงทุ น ในระหว่ า งงวด จํานวน 1,879 ล้านบาท ดังนั้น บริษัทฯ และบริษัทย่อยจึงมีเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จํานวน 15,303 ล้านบาท


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ฝ า ย จั ด ก า ร

143

อั ต ร า ส ว น ท า ง ก า ร เ งิ น 2556

2555

+/-

(%) (%)

5 2

5 3

(1)

อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว

(เท่า) (เท่า)

2.6 1.5

2.9 1.6

(0.3) (0.1)

อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

(เท่า) (เท่า) (เท่า) (%) (เท่า)

1.2 0.8 5.9 44 0.3

0.9 0.5 8.7 34 0.2

0.3 0.3 (2.8) 10 0.1

อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหากําไร อัตราส่วนความสามารถการทํากําไร อัตราส่วนกําไรสุทธิ

หมายเหตุ อัตราส่วนความสามารถการทํากําไร (%) อัตราส่วนกําไรสุทธิ (ขาดทุนสุทธิ) (%) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) หนี้เงินกู้ระยะยาว อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (เท่า) อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว (%) เงินทุนระยะยาว อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) หนี้สินสุทธิ

= = = = = = = = = = = =

EBITDA / รายได้จากการขาย กําไรสุทธิ (ขาดทุนสุทธิ) / รายได้รวม สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด + เงินลงทุนชั่วคราว + ลูกหนี้การค้า) / หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินรวม / ส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้เงินกู้ระยะยาว / ส่วนของผู้ถือหุ้น เงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงิน + หุ้นกู้ (รวมส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี) EBITDA / ต้นทุนทางการเงิน หนี้เงินกู้ระยะยาว / เงินทุนระยะยาว หนี้เงินกู้ระยะยาว + ส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินสุทธิ / ส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย – เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด – เงินลงทุนชั่วคราว


144

27

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

รายการ ร ะ ห ว า ง กั น

สําหรับรอบบัญชีปี 2556 บริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบริษัทย่อย และบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน โดยมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และ/หรือมีกรรมการร่วมกัน สามารถพิจารณาได้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษัทฯ รายการระหว่างกันได้กําหนดขึ้นโดยใช้ ราคาตลาด หรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ โดยความสัมพันธ์กับบริษัทต่างๆ มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท

ความสัมพันธ์กับบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

บมจ. ปตท.

เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยถือหุ้นบริษัทฯ อยู่ร้อยละ 49.10 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์

บจ. ไทยพาราไซลีน

บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ไทยพาราไซลีน คือ นางนิธิมา เทพวนังกูร นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ และนายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์

บมจ. ไทยลู้บเบส

>>

>>

>>

บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 มีกรรมการร่วมกัน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บมจ. ไทยลู้บเบส คือ นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล นายอภินันท์ สุภัตรบุตร และนายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์ >>

บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์

>>

บจ. ท็อป โซลเว้นท์

>>

บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 26 >> บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 73.99 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ คือ นายยุทธนา ภาสุรปัญญา นายไมตรี เรี่ยวเดชะ นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ และนายบัณฑิต ธรรมประจําจิต บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 100 มีกรรมการร่วมกัน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ท็อป โซลเว้นท์ คือ นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์ นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ และนายสุรชัย แสงสําราญ >>

บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ

บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 80.52 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ คือ นายอภินันท์ สุภัตรบุตร นางนิธิมา เทพวนังกูร นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์ และนายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ >>


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น

ชื่อบริษัท

TOP Solvent (Vietnam) LLC.

ความสัมพันธ์กับบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 >> >>

บจ. ทรัพย์ทิพย์

145

บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 100 มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน TOP Solvent (Vietnam ) LLC . คือ นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล และนายเทอดชาติ ผดุงรัตน์

บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ถือหุ้นร้อยละ 50 มีกรรมการร่วมกัน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ทรัพย์ทิพย์ คือ นายไมตรี เรี่ยวเดชะ นางนิธิมา เทพวนังกูร และนายศรัณย์ หะรินสุต >> >>

บมจ. สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง

>>

บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 36

บมจ. ไออาร์พีซี

>>

บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 38.51

บมจ. บางจากปิโตรเลียม

>>

บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 27.22

บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล

>>

บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 48.89

PTT International Trading Pte. Ltd.

>>

บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 100

บจ. พีทีที ฟีนอล

>>

บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้นร้อยละ 100


146

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ / ห รื อ บ ริ ษั ท ย อ ย กั บ ผู ถื อ หุ น ร า ย ใ ห ญ ข อ ง บ ริ ษั ทฯ รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บมจ. ปตท. ชื่อบริษัท บมจ. ปตท.

ลักษณะรายการ

มูลค่าในปี 2556 หน่วย (ล้านบาท)

รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์นํ้ามัน: บริษัทฯ ได้ทําสัญญาจัดหานํ้ามันดิบและรับซื้อ ผลิตภัณฑ์นํ้ามันสําเร็จรูป (POCSA ) กับ บมจ. ปตท. โดย บมจ. ปตท. และบริษัทฯ ตกลงที่จะซื้อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสําเร็จรูป ณ ราคาตลาด ตามขั้นตอน การกําหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ ข้อกําหนด และเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญา

186,226

ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันและก๊าซธรรมชาติ: บริษัทฯ ได้ทําสัญญา จัดหานํ้ามันดิบและรับซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันสําเร็จรูป (POCSA ) กับ บมจ. ปตท. โดย บมจ. ปตท. และบริษัทฯ ตกลงที่จะซื้อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสําเร็จรูป ณ ราคาตลาด ตามขั้นตอนการกําหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ ข้อกําหนด และเงื่อนไข ตามที่ระบุไว้ในสัญญา >> บริษัทฯ ได้ทําสัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 8 ปี (2548–2556) และระยะเวลา 15 ปี (2550-2565) เพื่อจัดหาก๊าซธรรมชาติสําหรับใช้ในโรงกลั่นของ บริษัทฯ ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาดตามปกติของธุรกิจ

157,284

>>

>>

>>

การซื้อขายนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบเพื่อสํารองนํ้ามันตามกฎหมาย

2,380

รายการระหว่างบริษัทย่อยของบริษัทฯ กับ บมจ. ปตท. ชื่อบริษัท บจ. ไทยพาราไซลีน

บมจ. ไทยลู้บเบส

บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์

ลักษณะรายการ >>

รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอะโรมาติกส์ให้ บมจ. ปตท. เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

>>

ค่าใช้จ่ายซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันเป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

>>

รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานให้ บมจ. ปตท. เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

>>

บมจ. ไทยลู้บเบส ได้ทําสัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 5 ปี ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาดตามปกติของธุรกิจ

>>

บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทําสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 25 ปี (2541-2565) ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาดตามปกติของธุรกิจ

มูลค่าในปี 2556 หน่วย (ล้านบาท) 1,028

904 4,855

815

3,245


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น

ชื่อบริษัท

ลักษณะรายการ

147

มูลค่าในปี 2556 หน่วย (ล้านบาท)

บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย)*

>>

บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ได้ทําสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 25 ปี (2542-2567) ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาด ตามปกติของธุรกิจ

269

บจ. ทรัพย์ทิพย์

>>

บจ. ทรัพย์ทิพย์ ได้ทําสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์เอทานอลกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 10 ปี (2554-2564) ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาด ตามปกติของธุรกิจ

840

*หมายเหตุ: เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด และบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด ได้ทําการควบรวมบริษัท ภายใต้ชื่อใหม่ว่า บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ กั บ บ ริ ษั ท ย อ ย ( ที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ น น อ ย ก ว า ร อ ย ล ะ 1 0 0 ) ห รื อ บ ริ ษั ท ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ชื่อบริษัท บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์

บมจ. ไออาร์พีซี

ลักษณะรายการ

มูลค่าในปี 2556 หน่วย (ล้านบาท)

บริษัทฯ ได้ทําสัญญาให้บริการเดินเครื่องจักรบํารุงรักษา ซ่อมแซม และให้บริการ สนับสนุนอื่น และจัดหาวัตถุดิบ และอะไหล่ รวมไปถึงนํ้ามันเชื้อเพลิงสํารอง ระยะเวลา 24 ปี นับจากวันที่ 1 เมษายน 2541 โดยค่าบริการเป็นราคาตามต้นทุน บวกกําไรส่วนเพิ่มตามปกติธุรกิจ >> บริษัทฯ ได้ทําสัญญาให้ใช้ประโยชน์ในระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน กับ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ระยะเวลา 24 ปี นับแต่วันที่ 1 เมษายน 2541 โดย บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ จะต้องจ่ายค่าใช้ประโยชน์ในระบบสาธารณูปโภค ทุกๆ เดือนในอัตราร้อยละ 2 ของรายได้รายเดือนของ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์

1,076

>>

บริษัทฯ ได้ทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้ากับ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ระยะเวลา 25 ปี (2541-2565) ตามปริมาณที่ตกลงไว้ โดยราคาค่าไฟฟ้า และค่าพลังงานไอนํ้าเป็นไปตามราคาตลาด

2,053

>>

รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามันให้กับ บมจ. ไออาร์พีซี เป็นครั้งคราว ตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

2,602

>>

ค่าใช้จ่ายการจัดซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันจาก บมจ. ไออาร์พีซี เป็นครั้งคราว ตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

2,249

>>

การซื้อขายนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบเพื่อสํารองนํ้ามันตามกฎหมาย

1,741

>>


148

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ชื่อบริษัท บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล

บมจ. บางจาก ปิโตรเลียม

ลักษณะรายการ

มูลค่าในปี 2556 หน่วย (ล้านบาท)

>>

รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามันให้กับ บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

860

>>

ค่าใช้จ่ายการจัดซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันจาก บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

499

รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามันให้กับ บมจ. บางจากปิโตรเลียม เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ >> บริษัทฯ ได้ทําสัญญาเพื่อให้บริการรับวัตถุดิบของ บมจ. บางจากปิโตรเลียม จากทุ่นรับนํ้ามันดิบของบริษัทฯ โดยค่าบริการเป็นไปตามราคาตลาดและเงื่อนไข ไม่แตกต่างจากบุคคลอื่น สัญญามีกําหนดระยะเวลา 15 ปี >>

7,290

>>

ค่าใช้จ่ายการจัดซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันจาก บมจ. บางจากปิโตรเลียม เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

493

บมจ. สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง

>>

การซื้อขายนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบเพื่อสํารองนํ้ามันตามกฎหมาย

2,131

PTT International Trading Pte. Ltd .

>>

รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามัน PTT International Trading Pte . Ltd . เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

1,940

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น ข อ ง บ ริ ษั ท ย อ ย ห รื อ บ ริ ษั ท ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ บ ริ ษั ท ย อ ย ห รื อ บ ริ ษั ท ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ชื่อบริษัท

ชื่อบริษัทที่ทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกัน

ลักษณะรายการ

มูลค่าในปี 2556 หน่วย (ล้านบาท)

บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์

บจ. ไทยพาราไซลีน

>>

บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและ พลังงานไอนํ้ากับ บจ.ไทยพาราไซลีน ระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดปี พ.ศ. 2565 เพื่อจําหน่ายไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้า โดยราคาเป็นไปตามราคาตลาด

1,344

บมจ. ไทยลู้บเบส

>>

บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและ พลังงานไอนํ้ากับ บมจ. ไทยลู้บเบส ระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดปี พ.ศ. 2565 เพื่อจําหน่ายไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้า โดยราคาเป็นไปตามราคาตลาด

724


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

ชื่อบริษัท บมจ. ไทยลู้บเบส

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น

ชื่อบริษัทที่ทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกัน

ลักษณะรายการ

149

มูลค่าในปี 2556 หน่วย (ล้านบาท)

บมจ. ไออาร์พีซี

>>

ซื้อผลิตภัณฑ์พลอยได้ เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

1,450

บมจ. บางจาก ปิโตรเลียม

>>

ขายผลิตภัณฑ์พลอยได้ เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

868

บมจ. ไออาร์พีซี

>>

ขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอะโรมาติกส์ เป็นครั้งคราว ตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

563

>>

ซื้อผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอะโรมาติกส์ เป็นครั้งคราว ตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

661

PTT International Trading Pte. Ltd .

>>

ขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอะโรมาติกส์ เป็นครั้งคราว ตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

3,027

บมจ. ไออาร์พีซี

>>

ซื้อผลิตภัณฑ์โซลเว้นท์ เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

2,165

บจ. พีทีที ฟีนอล

>>

ซื้อผลิตภัณฑ์โซลเว้นท์ เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

139

บมจ. ไออาร์พีซี

>>

บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ ได้ทําสัญญาจํานวน 3 ฉบับ เพื่อซื้อวัตถุดิบกับ บมจ. ไออาร์พีซี ตามปริมาณที่ตกลง โดยกําหนดราคาอ้างอิงราคาตลาด สัญญากําหนด ระยะเวลา 1 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดปี พ.ศ. 2556

572

บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล

>>

บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ ได้ทําสัญญาเพื่อซื้อวัตถุดิบกับ บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ตามปริมาณที่ตกลง โดยกําหนดราคาอ้างอิงราคาตลาด สัญญาจะดําเนินต่อไป จนกระทั่งฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะยกเลิกสัญญาด้วยการแจ้ง เป็นลายลักษณ์อักษร

2,294

TOP Solvent (Vietnam) บมจ. ไออาร์พีซี LLC.

>>

ซื้อผลิตภัณฑ์โซลเว้นท์ เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจ ของบริษัทฯ

662

บจ. ทรัพย์ทิพย์

>>

ขายผลิตภัณฑ์เอทานอล เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

105

บจ. ไทยพาราไซลีน

บจ. ท็อป โซลเว้นท์

บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ

บมจ. บางจาก ปิโตรเลียม


150

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6

28

ร า ย ง า น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต อ ร า ย ง า น ท า ง ก า ร เ งิ น

151

ร า ย ง า น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต อ ร า ย ง า น ท า ง ก า ร เ งิ น

คณะกรรมการบริษัทฯ รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษัทฯ ที่จัดทําขึ้น เพื่อให้มีความมั่นใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน ผลการ

ดําเนินงาน และกระแสเงินสดถูกต้องในสาระสําคัญ จัดให้มีระบบ การควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีที่ ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น และเพี ย งพอที่ จ ะดํ า รงรั ก ษาไว้ ซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น รวมทั้งป้องกันการทุจริตและการดําเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระ สําคัญ ในการจัดทํารายงานทางการเงินได้มีการพิจารณาเลือกใช้ นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดยสมํ่าเสมอ และเป็นไป ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมทั้งได้มีการเปิดเผยข้อมูล สําคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งผู้สอบบัญชี ได้แสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และงบการเงิ น รวมของบริ ษั ท ไทยออยล์ จํ า กั ด (มหาชน) และ บริษัทย่อย ไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

(นายณอคุณ สิทธิพงศ์) ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

(นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

งบการเงินของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และงบการเงินรวม ของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ได้จัดทําขึ้น ตามข้ อ กํ า หนดพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจํ า กั ด พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และ ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2554 ออกตามความในมาตรา 11 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 โดยปฏิ บั ติ ต ามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ประกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ


152

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 6


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ร า ย ง า น ข อ ง ผู้ ส อ บ บั ญ ชี รังบบอกนุาญ ร เางิ ตน

153

ร า ย ง า น ข อ ง ผู้ ส อ บ บั ญ ชี รั บ อ นุ ญ า ต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) และ ของเฉพาะบริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) (บริษัท) ตามล�ำดับ ซึ่ง ประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงิน เฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม และงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะ กิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุซึ่งประกอบด้วย สรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญและเรื่องอื่น ๆ

รวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระส�ำคัญของงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือ ข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณา การควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงิน โดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดง ความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การ ตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีท่ีจัดท�ำ ขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการน�ำเสนองบการเงินโดยรวม

ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการ

ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและ เหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินรวม และงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การเหล่ า นี้ โ ดยถู ก ต้ อ งตามที่ ค วรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุม ภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบการเงิน รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การที่ ป ราศจากการแสดงข้ อ มู ล ที่ ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือ ข้อผิดพลาด

ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของกลุ่มบริษัท และบริษัท ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ผลการด�ำเนินงาน รวมและผลการด�ำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและ กระแสเงินสดเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้อง ตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่ง ก�ำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึง วางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุ สมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการปราศจากการ แสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่

(นายวินิจ ศิลามงคล) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3378

การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐาน การสอบบัญชีเกี่ยวกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่ง

บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 13 กุมภาพันธ์ 2557


154

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม สินทรัพย์ หมายเหตุ 2556 2555 2556 2555 สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 7, 20 15,302,596,629 10,459,746,357 9,074,889,657 6,738,889,455 เงินลงทุนชั่วคราว 8, 20 28,512,000,000 17,862,427,375 28,500,000,000 17,000,000,000 ลูกหนี้การค้า 6, 9 28,746,177,747 27,089,542,903 28,289,142,388 25,795,553,828 ลูกหนี้อื่น 6, 10 1,322,847,554 1,655,525,414 1,282,403,394 906,784,100 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 90,000,000 90,000,000 2,923,000,000 3,184,000,000 สินค้าคงเหลือ 6, 11 48,508,807,787 40,004,178,949 42,361,363,192 33,639,608,985 ภาษีเงินได้นิติบุคคลจ่ายล่วงหน้า 9,014,978 19,965,214 - ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน 3,088,564,968 1,468,247,238 2,075,108,135 709,258,977 ลูกหนี้กองทุนน�้ำมันเชื้อเพลิง 1,318,657,423 1,732,088,139 1,318,657,423 1,732,088,139 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย 12 250,280,999 - - รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 127,148,948,085 100,381,721,589 115,824,564,189 89,706,183,484 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย 13 เงินลงทุนในบริษัทร่วม 14 เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน 14 เงินลงทุนระยะยาวอื่น 8 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 15 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 6, 16, 20 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 17 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 18 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 19 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

- - 11,920,419,002 11,156,463,132 945,772,980 1,260,604,927 422,154,069 339,557,501 - 940,260,153 1,001,921,900 940,260,153 82,382,568 82,382,568 777,696,716 65,467,628,690 64,863,666,249 36,558,279,054 1,970,634,442 1,713,297,540 432,423,608 174,316,076 29,477,674 142,535,935 1,156,605,913 1,318,628,510 1,106,778,144 81,370,445,043 70,294,704,922 53,138,997,539 208,519,393,128 170,676,426,511 168,963,561,728

11,533,387,002 60,000,000 1,001,921,900 637,676,536 31,084,256,661 420,051,501 1,106,580,179 45,843,873,779 135,550,057,263


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

155

ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุ 2556 2555 2556 2555 หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้น 20 663,559,344 607,500,000 - เจ้าหนี้การค้า 6, 21 31,554,321,436 26,614,728,223 32,138,993,360 26,358,929,761 เจ้าหนี้อื่น 6, 22 3,298,064,678 2,242,489,559 2,853,632,501 1,775,071,855 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6, 20 - - 5,836,250,522 5,019,974,425 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 7, 8, 16, 20 484,646,300 1,277,572,897 - 595,935,559 หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 20 12,329,716,612 2,750,000,000 12,329,716,612 2,750,000,000 ภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย 496,947,661 617,591,787 496,947,661 617,591,787 ภาษีเงินได้ค้างจ่าย 748,349,343 1,061,369,341 182,445,481 721,118,998 รวมหนี้สินหมุนเวียน 49,575,605,374 35,171,251,807 53,837,986,137 37,838,622,385 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 7, 8, 16, 20 4,314,378,700 6,375,980,419 - 3,873,581,134 หุ้นกู้ 20 57,070,452,017 35,786,183,962 57,070,452,017 35,786,183,962 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 18 - 93,272,252 - 62,919,780 ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน 23 2,635,001,299 2,472,747,809 2,454,850,874 2,304,958,071 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 85,552,881 53,167,300 263,591,066 220,537,164 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 64,105,384,897 44,781,351,742 59,788,893,957 42,248,180,111 รวมหนี้สิน 113,680,990,271 79,952,603,549 113,626,880,094 80,086,802,496

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


156

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุ 2556 2555 2556 2555 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 24 ทุนจดทะเบียน 20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730 ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 25 ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนส�ำรองตามกฎหมาย 25 อื่นๆ ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730

รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

90,810,080,334 86,534,953,065 55,336,681,634 55,463,254,767 4,028,322,523 4,188,869,897 - 94,838,402,857 90,723,822,962 55,336,681,634 55,463,254,767 208,519,393,128 170,676,426,511 168,963,561,728 135,550,057,263

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2,456,261,491

2,456,261,491

2,456,261,491

2,456,261,491

2,040,027,873 2,040,027,873 2,040,027,873 2,040,027,873 244,500,000 244,500,000 244,500,000 244,500,000 65,971,964,270 61,694,846,105 30,286,676,370 30,352,204,670 (302,952,030) (300,961,134) (91,062,830) (30,017,997)


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

157

งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ 2556 2555 2556 2555 รายได้ รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ 6, 33 414,598,779,589 447,431,630,372 409,228,916,094 434,849,848,259 เงินปันผลรับ 6, 13, 14 - - 3,039,021,349 3,245,976,607 ก�ำไรจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยงสุทธิ 1,292,127,100 890,053,288 1,292,127,100 892,218,031 ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ - 1,987,135,724 - 1,926,529,193 รายได้อื่น 6, 27 2,623,195,185 1,350,142,502 3,085,563,854 2,047,335,521 รวมรายได้ 418,514,101,874 451,658,961,886 416,645,628,397 442,961,907,611 ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ 6, 11 397,555,520,583 432,312,365,410 401,089,756,322 428,328,643,286 ค่าใช้จ่ายในการขาย 6 477,276,026 400,454,154 403,318,666 438,673,303 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 6, 28 2,104,837,135 2,231,016,820 1,891,289,773 1,588,301,133 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ 3,111,428,545 - 3,411,994,680 รวมค่าใช้จ่าย 403,249,062,289 434,943,836,384 406,796,359,441 430,355,617,722 ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน 14 533,266,909 72,696,667 - ก�ำไรก่อนต้นทุนทางการเงิน และค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 15,798,306,494 16,787,822,169 9,849,268,956 12,606,289,889 ต้นทุนทางการเงิน 6, 31 3,786,253,098 2,342,954,198 3,766,202,306 2,259,103,746 ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 32

12,012,053,396 14,444,867,971 1,158,491,093 1,789,034,233

6,083,066,650 10,347,186,143 32,186,229 741,991,288

ก�ำไรส�ำหรับปี

10,853,562,303 12,655,833,738

6,050,880,421

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

9,605,194,855


158

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ 2556 2555 2556 2555 ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมสุทธิ ของเงินลงทุนเผื่อขาย (61,044,833) 5,692,589 (61,044,833) 5,692,589 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 58,936,603 (33,443,930) - ส่วนแบ่งก�ำไรเบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วม 117,334 - - ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี - สุทธิจากภาษี (1,990,896) (27,751,341) (61,044,833) 5,692,589 ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี 10,851,571,407 12,628,082,397 5,989,835,588 9,610,887,444 ส่วนของก�ำไรส�ำหรับปีที่เป็นของ ส่วนของบริษัทใหญ่ 10,393,526,886 12,319,792,285 6,050,880,421 9,605,194,855 ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม 460,035,417 336,041,453 - ก�ำไรส�ำหรับปี 10,853,562,303 12,655,833,738 6,050,880,421 9,605,194,855 ส่วนของก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมที่เป็นของ ส่วนของบริษัทใหญ่ 10,391,535,990 12,292,040,944 5,989,835,588 9,610,887,444 ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม 460,035,417 336,041,453 - ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี 10,851,571,407 12,628,082,397 5,989,835,588 9,610,887,444 ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน 34 5.09 6.04 2.97 4.71

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


งบการเงินรวม

(บาท)

รวมก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

- -

- -

- -

- -

- -

– 12,319,792,285

- 12,319,792,285 - -

- -

- -

5,692,589 (33,443,930)

- - 5,692,589 (33,443,930)

- -

336,041,453 12,628,082,397

336,041,453 12,655,833,738 - (27,751,341) (127,795,383) 86,534,953,065 4,188,869,897 90,723,822,962

– 12,292,040,944

- 12,319,792,285 - (27,751,341)

- - 70,875,000 70,875,000 (127,795,383) (127,795,383) (1,522,204,617) (1,650,000,000)

– 79,469,573,274 5,564,069,534 85,033,642,808 - (5,098,865,770) (259,911,473) (5,358,777,243)

ง บ ก า ร เ งิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000 61,694,846,105 (30,017,997) (143,147,754)

- -

ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

- -

20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000 54,473,919,590 (35,710,586) (109,703,824) - - - - (5,098,865,770) - -

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เงินปันผล 35 การเพิ่มขึ้นของส่วนได้เสียที่ไม่มี อ�ำนาจควบคุมจากการลงทุน ในบริษัทย่อย 5 การซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่ม 5

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

ก�ำไรสะสม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ส่วนขาดทุน การเปลี่ยน- ผลต่าง จากการ ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกิน ทุนส�ำรอง แปลงในมูลค่า จากการ เปลี่ยนแปลง รวม ส่วนของส่วน ที่ออกและ มูลค่า ตาม ยังไม่ได้ ยุติธรรมของ แปลงค่า สัดส่วนการถือ ส่วนของ ได้เสียที่ไม่มี รวมส่วน หมายเหตุ ช�ำระแล้ว หุ้นสามัญ กฎหมาย อื่นๆ จัดสรร เงินลงทุน งบการเงิน หุ้นในบริษัทย่อย บริษัทใหญ่ อ�ำนาจควบคุม ของผู้ถือหุ้น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ง บ แ ส ด ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส่ ว น ข อ ง ผู้ ถื อ หุ้ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

159


ก�ำไรสะสม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม

(บาท)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000 61,694,846,105 (30,017,997) (143,147,754) - - - - (6,116,408,721) - -

-

-

-

– -

-

-

-

- 1,204,241,250 1,204,241,250

- 1,217,460,257 1,217,460,257

- (2,889,152,993) (2,889,152,993)

(127,795,383) 86,534,953,065 4,188,869,897 90,723,822,962 - (6,116,408,721) (153,131,305) (6,269,540,026)

20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000 65,971,964,270 (91,062,830) (84,211,151)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

117,334

(127,795,383) 90,810,080,334 4,028,322,523 94,838,402,857

ง บ ก า ร เ งิ น

ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไรส�ำหรับปี - - - - 10,393,526,886 - - - – 10,393,526,886 460,035,417 10,853,562,303 ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น - - - - - (61,044,833) 58,936,603 117,334 - (1,990,896) - (1,990,896) รวมก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จส�ำหรับปี – – – – 10,393,526,886 (61,044,833) 58,936,603 117,334 – 10,391,535,990 460,035,417 10,851,571,407

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เงินปันผล 35 การลดลงของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุมจากการจ�ำหน่ายเงิน ลงทุนในบริษัทย่อย 5 การเพิ่มขึ้นของส่วนได้เสียที่ไม่มี อ�ำนาจควบคุมจากการลงทุน ในบริษัทร่วม 5 การเพิ่มขึ้นของส่วนได้เสียที่ไม่มี อ�ำนาจควบคุมจากการลงทุน ในบริษัทย่อย 5

ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2556

ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ส่วนขาดทุน การเปลี่ยน- ผลต่าง ส่วนแบ่ง จากการ ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกิน ทุนส�ำรอง แปลงในมูลค่า จากการ ก�ำไร เปลี่ยนแปลง รวม ส่วนของส่วน ที่ออกและ มูลค่า ตาม ยังไม่ได้ ยุติธรรมของ แปลงค่า เบ็ดเสร็จอื่น สัดส่วนการถือ ส่วนของ ได้เสียที่ไม่มี รวมส่วน หมายเหตุ ช�ำระแล้ว หุ้นสามัญ กฎหมาย อื่นๆ จัดสรร เงินลงทุน งบการเงิน ในบริษัทรวม หุ้นในบริษัทย่อย บริษัทใหญ่ อ�ำนาจควบคุม ของผู้ถือหุ้น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ง บ แ ส ด ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส่ ว น ข อ ง ผู้ ถื อ หุ้ น

160 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6


(บาท)

- - - - - - - - – – – – 20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000

ก�ำไรเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

9,605,194,855 - 9,605,194,855 30,352,204,670

25,845,875,585 (5,098,865,770)

- 5,692,589 5,692,589 (30,017,997)

(35,710,586) -

9,605,194,855 5,692,589 9,610,887,444 55,463,254,767

50,951,233,093 (5,098,865,770)

ง บ ก า ร เ งิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000 - - - -

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เงินปันผล 35

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ องค์ประกอบอื่น ก�ำไรสะสม ของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จ ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกิน การเปลี่ยนแปลง ที่ออกและ มูลค่า ทุนส�ำรอง ในมูลค่ายุติธรรม รวมส่วน หมายเหตุ ช�ำระแล้ว หุ้นสามัญ ตามกฎหมาย อื่นๆ ยังไม่ได้จัดสรร ของเงินลงทุน ของผู้ถือหุ้น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ง บ แ ส ด ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส่ ว น ข อ ง ผู้ ถื อ หุ้ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

161


(บาท)

- - - - - - - - – – – – 20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000

6,050,880,421 - 6,050,880,421 30,286,676,370

- (61,044,833) (61,044,833) (91,062,830)

6,050,880,421 (61,044,833) 5,989,835,588 55,336,681,634

ง บ ก า ร เ งิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไรส�ำหรับปี ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000 30,352,204,670 (30,017,997) 55,463,254,767 เงินปันผล 35 - - - - (6,116,408,721) - (6,116,408,721)

งบการเงินเฉพาะกิจการ องค์ประกอบอื่น ก�ำไรสะสม ของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จ ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกิน การเปลี่ยนแปลง ที่ออกและ มูลค่า ทุนส�ำรอง ในมูลค่ายุติธรรม รวมส่วน หมายเหตุ ช�ำระแล้ว หุ้นสามัญ ตามกฎหมาย อื่นๆ ยังไม่ได้จัดสรร ของเงินลงทุน ของผู้ถือหุ้น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ง บ แ ส ด ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส่ ว น ข อ ง ผู้ ถื อ หุ้ น

162 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

163

งบกระแสเงินสด

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ 2556 2555 2556 2555 กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรส�ำหรับปี 10,853,562,303 12,655,833,738 6,050,880,421 9,605,194,855 รายการปรับปรุง (กลับรายการ) ค่าเผื่อการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ ให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 31,941,713 (147,695,259) - (134,871,178) ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย 30 6,046,854,203 6,640,306,097 3,820,395,696 3,914,949,043 ต้นทุนทางการเงิน 31 3,786,253,098 2,342,954,198 3,766,202,306 2,259,103,746 (ก�ำไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง 3,996,183,839 (595,474,544) 4,048,155,522 (620,556,007) ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน 14 (533,266,909) (72,696,667) - เงินปันผลรับ 6, 13, 14 - - (3,039,021,349) (3,245,976,607) ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ ที่ถือไว้เพื่อขาย 12 107,704,767 - - (ก�ำไร) ขาดทุนจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 18,916,369 26,643,138 19,847,210 (2,839,611) (ก�ำไร) ขาดทุนจากการขายเงินลงทุน 5 (568,473,840) - 209,911 การรับรู้รายได้ค่าธรรมเนียมการเช่าที่ดิน และอื่นๆ รับล่วงหน้า (11,184,954) (11,657,132) (123,491,753) (114,187,583) ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 32 1,158,491,093 1,789,034,233 32,186,229 741,991,288 24,886,981,682 22,627,247,802 14,575,364,193 12,402,807,946

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


164

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

งบกระแสเงินสด

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ 2556 2555 2556 2555 การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน ลูกหนี้การค้า (2,874,751,673) (1,027,928,191) (2,431,667,590) (566,056,333) ลูกหนี้อื่น (5,865,311,942) (5,791,320,515) (4,451,051,868) (3,784,468,653) สินค้าคงเหลือ (8,706,729,555) (5,838,786,875) (8,721,754,207) (4,365,236,261) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น (11,880,877) (14,039,852) (512,550) (3,087,889) เจ้าหนี้การค้า 5,903,546,102 9,585,913,835 5,717,302,747 7,776,201,553 เจ้าหนี้อื่น (8,480,918) 437,654,050 (24,582,934) 495,956,723 ภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย (120,644,126) (975,336) (120,644,126) (975,336) หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 151,043,602 4,697,097 259,162,175 80,510,003 จ่ายภาษีเงินได้ (1,677,518,093) (2,151,768,214) (776,315,461) (473,227,163) รับคืนเงินภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม 4,455,092,661 5,218,259,011 2,746,382,032 3,577,770,628 เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน 16,131,346,863 23,048,952,812 6,771,682,411 15,140,195,218

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

165

งบกระแสเงินสด

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ 2556 2555 2556 2555 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับเงินปันผล - - 3,039,021,349 3,245,976,607 ซื้อเงินลงทุนชั่วคราว (11,129,258,636) (16,699,533,753) (11,500,000,000) (17,000,000,000) เงินสดจ่ายส�ำหรับเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 - - (231,500,000) (902,500,000) รับช�ำระคืนเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 - - 492,500,000 2,530,000,000 เงินสดจ่ายจากการลงทุนในบริษัทย่อย 5, 13 - (1,650,000,000) (875,000,000) (1,650,000,000) เงินสดจ่ายจากการลงทุนในบริษัทร่วม 5, 14 (2,375,456,340) - (712,636,927) เงินสดจ่ายจากการลงทุนในกิจการ ที่ควบคุมร่วมกัน 5, 14 (38,045,000) (1,256,312) - ขายเงินลงทุนระยะยาวอื่น 407,003 - 407,003 เงินสดจ่ายส�ำหรับเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่ สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน (61,249,195) (14,398,464) (61,249,195) (14,398,464) เงินสดรับล่วงหน้าส�ำหรับสินทรัพย์ ที่ถือไว้เพื่อขาย 26,947,914 - - ซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 15 - - (4,977,142) ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (12,333,930,789) (6,169,246,502) (8,521,718,165) (4,314,368,609) ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 3,836,975 66,613,147 2,550,000 3,783,364 ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (396,570,494) (294,884,886) (57,240,454) (47,897,456) ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 60,846,613 23,819 - เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (26,242,471,949) (24,762,682,951) (18,429,843,531) (18,149,404,558)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


166

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

งบกระแสเงินสด

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ 2556 2555 2556 2555 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายต้นทุนทางการเงิน (3,067,799,060) (2,243,757,340) (3,049,693,393) (2,160,967,707) จ่ายเงินปันผล (6,269,540,026) (5,358,777,243) (6,116,408,721) (5,098,865,770) เงินสดรับ (จ่าย) เงินกู้ยืมระยะสั้น 56,059,344 (7,500,000) - เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจาก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 - - 816,276,097 766,182,985 จ่ายช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (15,193,550,000) (7,489,832,385) (14,960,750,000) (5,367,485,000) เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 13,280,425,000 2,052,000,000 10,515,500,000 จ่ายช�ำระคืนหุ้นกู้ (2,750,000,000) (2,978,869,958) (2,750,000,000) (2,978,869,958) เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ 29,356,029,346 10,000,000,000 29,356,029,346 10,000,000,000 เงินสดรับค่าหุ้นจากส่วนที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทย่อย 5 1,204,241,250 70,875,000 - เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน 16,615,865,854 (5,955,861,926) 13,810,953,329 (4,840,005,450) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ 6,504,740,768 (7,669,592,065) 2,152,792,209 (7,849,214,790) ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตรา ต่างประเทศคงเหลือสิ้นปี 216,833,895 - 183,207,993 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของบริษัทย่อย ลดลงจากการจ�ำหน่ายเงินลงทุนในระหว่างปี (1,878,724,391) - - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี 10,459,746,357 18,129,338,422 6,738,889,455 14,588,104,245 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี 7 15,302,596,629 10,459,746,357 9,074,889,657 6,738,889,455 รายการที่ไม่ใช่เงินสด เจ้าหนี้จากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 743,289,232 349,630,793 673,574,845 215,959,537

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

167

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุ สารบัญ

หมายเหตุ สารบัญ

1 ข้อมูลทั่วไป 2 เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน 3 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 4 นโยบายการบัญชีท่ีส�ำคัญ 5 การได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน 6 บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 7 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 8 เงินลงทุนอื่น 9 ลูกหนี้การค้า 10 ลูกหนี้อื่น 11 สินค้าคงเหลือ 12 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย 13 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 14 เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน 15 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 17 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 18 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 19 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 20 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย

21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41

เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกินทุนและส�ำรอง ข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน เงินปันผล เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น นโยบายประกันภัย เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้


168

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ คณะกรรมการได้อนุมัติให้ออกงบการเงินนี้เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557

1 ข้อมูลทั่วไป บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีส�ำนักงานและโรงกลั่นที่จดทะเบียนดังนี้ ส�ำนักงานใหญ่ : ส�ำนักงานศรีราชาและโรงกลั่นน�้ำมัน :

เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 ประเทศไทย เลขที่ 42/1 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท กม. 124 ต�ำบลทุ่งสุขลา อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 ประเทศไทย

บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2547 บริษัทเป็นบริษัทในกลุ่มของบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) (“ปตท.”) ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และ ปตท. เป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของบริษัท โดยมีอัตราส่วนการถือหุ้นร้อยละ 49.1 ของทุนที่ออกและช�ำระแล้วของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (31 ธันวาคม 2555: ร้อยละ 49.1) บริษัทด�ำเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการกลั่นน�้ำมันและการจ�ำหน่ายน�้ำมัน รายละเอียดของบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ ชื่อกิจการ ลักษณะธุรกิจ

ประเทศที่ ถือหุ้นร้อยละ กิจการจัดตั้ง 2556 2555

บริษัทย่อยทางตรง บริษัท ไทยพาราไซลีน จ�ำกัด ผลิตพาราไซลีน ไทย 99.99 บริษัท ไทยลู้บเบส จ�ำกัด (มหาชน) ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน ไทย 99.99 บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด ให้บริการขนส่งผลิตภัณฑ์น�้ำมันปิโตรเลียมและ ผลิตภัณฑ์เคมีเหลวทางเรือ ไทย 99.99 บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จ�ำกัด ให้บริการบริหารงานด้านการจัดการและบริการอื่น ไทย 99.99 บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จ�ำกัด ลงทุนในธุรกิจผลิตภัณฑ์สารท�ำละลายและ เคมีภัณฑ์ ไทย 99.99 บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จ�ำกัด ลงทุนในธุรกิจเอทานอล และผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม พลังงานทางเลือก ไทย 99.99 บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด ผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�้ำ ไทย 73.99 บริษัท ท็อป เอสพีพี จ�ำกัด ผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�้ำ ไทย 99.99

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 73.99 -


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

169

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ชื่อกิจการ ลักษณะธุรกิจ

ประเทศที่ ถือหุ้นร้อยละ กิจการจัดตั้ง 2556 2555

บริษัทย่อยทางอ้อม บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จ�ำกัด จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์สารท�ำละลายและเคมีภัณฑ์ ไทย 99.99 99.99 บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผลิตกระแสไฟฟ้า ไทย - 80.00* บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จ�ำกัด ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์สารท�ำละลายและเคมีภัณฑ์ ไทย 80.52 80.52 TOP Solvent (Vietnam) LLC. จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์สารท�ำละลายและเคมีภัณฑ์ เวียดนาม 100.00 100.00 บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จ�ำกัด ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์เอทานอล ไทย 50.00 50.00 Thaioil Marine International Pte. Ltd. ลงทุนในธุรกิจให้บริการขนส่งน�้ำมันดิบและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทางเรือ สิงคโปร์ 100.00 100.00 บริษัท ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส จ�ำกัด ให้บริการเดินเรือรับส่งลูกเรือและสัมภาระ ทางทะเลในอ่าวไทย ไทย 55.00 55.00 บริษัท ลาบิกซ์ จ�ำกัด ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์สารลิเนียร์ แอลคิลเบนซีน ไทย 75.00 * บริษัทและบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด) ถือหุ้นในบริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ในอัตราร้อยละ 24 และ ร้อยละ 56 ตามล�ำดับ

2 เกณฑ์การจัดทำ�งบการเงิน (ก) เกณฑ์การถือปฏิบัติ งบการเงินนี้น�ำเสนอเพื่อวัตถุประสงค์ของการรายงานเพื่อใช้ในประเทศไทยและจัดท�ำเป็นภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษได้จัดท�ำขึ้น เพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงินที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพ บัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท และมี ผลบังคับใช้ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 การบัญชีส�ำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ ความช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 ส่วนงานด�ำเนินงาน


170

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ข้างต้นนั้น มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของกลุ่ม บริษัท ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ข้างต้น สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับส�ำหรับงบการเงินที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 เป็นต้นไป และไม่ได้มีการน�ำมาใช้ส�ำหรับการจัดท�ำงบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังกล่าวได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 41 (ข) เกณฑ์การวัดมูลค่า งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นที่กล่าวไว้ในนโยบายบัญชี (ค) สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานและน�ำเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จัดท�ำและแสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาทซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัท ข้อมูลทางการเงินทั้งหมดมีการปัดเศษ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็นหลักล้านบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น (ง) การประมาณการและใช้วิจารณญาณ ในการจัดท�ำงบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารต้องใช้วิจารณญาณ การประมาณและข้อสมมติฐานหลาย ประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการก�ำหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจ�ำนวนเงินที่เกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิด ขึ้นจริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดท�ำงบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึกในงวด บัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับผลกระทบ ข้อมูลเกี่ยวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานที่ส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบายการบัญชีมีผลกระทบส�ำคัญต่อการรับรู้จ�ำนวน เงินในงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 8 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 36

การได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน เงินลงทุนอื่น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน เครื่องมือทางการเงิน


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

171

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

3 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ก) ภาพรวม ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ผลจากการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ ดังที่กล่าวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 2 กลุ่มบริษัทได้เปลี่ยนนโยบายการบัญชีดังนี้ • การบัญชีส�ำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล • การบัญชีเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ • การน�ำเสนอข้อมูลส่วนงานด�ำเนินงาน ส�ำหรับมาตรฐานการรายงานทางการเงินอื่นที่ออกและปรับปรุงใหม่นั้นไม่มีผลกระทบต่อนโยบายการบัญชี ฐานะการเงินและผลการด�ำเนิน งานของกลุ่มบริษัท รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายการบัญชีใหม่ที่กลุ่มบริษัทถือปฏิบัติได้รวมอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 (ข) ถึง 3 (ง) ดังนี้ ข) การบัญชีส�ำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล กลุ่มบริษัทถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 เรื่อง การบัญชีส�ำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความ ช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ก�ำหนดวิธีปฏิบัติทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ ความช่วยเหลือจากรัฐบาลในรูปแบบอื่น เงินอุดหนุนจากรัฐบาลจะต้องรับรู้เมื่อกิจการมีความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุผลว่ากิจการจะสามารถปฏิบัติ ตามเงื่อนไขของเงินอุดหนุนที่ก�ำหนดไว้และกิจการจะได้รับเงินอุดหนุนนั้น กลุ่มบริษัทเลือกแสดงเงินอุดหนุนที่เกี่ยวข้องกับรายได้แสดงเป็น รายได้อื่นในก�ำไรหรือขาดทุนและแสดงเป็นรายได้รอการตัดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินส�ำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับ สินทรัพย์ ค) การบัญชีเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัทถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงหลักการของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 เพื่อเสนอแนวคิดของสกุลเงินต่างๆ ที่ใช้ในการรายงาน ซึ่งเป็นสกุลเงินที่พิจารณา ว่าเป็นสกุลเงินในสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่กิจการนั้นประกอบกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 ก�ำหนดให้กิจการระบุสกุลเงินที่ใช้ ในการด�ำเนินงานและแปลงค่ารายการที่เป็นสกุลต่างประเทศให้เป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงาน และรายงานผลกระทบจากการแปลงค่า ดังกล่าวตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 ซึ่งมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 ได้ให้ค�ำนิยามส�ำหรับเงินตราต่างประเทศ คือ เงินตราสกุลอื่น นอกเหนือจากสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของกิจการ


172

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ผู้บริหารก�ำหนดสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทเป็นสกุลเงินบาท ดังนั้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 ส�ำหรับ รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 จะไม่ได้รับผลกระทบที่มีสาระส�ำคัญต่อสินทรัพย์ หนี้สิน และ ก�ำไรสะสมของกลุ่มบริษัท และบริษัท ง) การน�ำเสนอข้อมูลส่วนงานด�ำเนินงาน กลุ่มบริษัทถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 เรื่อง ส่วนงานด�ำเนินงาน นโยบายการบัญชีใหม่เกี่ยวกับการแสดงข้อมูล ส่วนงานด�ำเนินงานและนโยบายการบัญชีเดิมนั้นอธิบายในย่อหน้าถัดไป กลุ่มบริษัทได้ปรับย้อนหลังข้อมูลตามส่วนงานในงบการเงินส�ำหรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ที่รวมอยู่ในงบการเงินปี 2556 ของกลุ่มบริษัทเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลเปรียบเทียบ ทั้งนี้การ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวกระทบเพียงการเปิดเผยข้อมูลเท่านั้นและไม่มีผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน ก�ำไรหรือก�ำไรต่อหุ้นของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 น�ำเสนอมุมมองของผู้บริหารในการรายงานข้อมูลส่วนงาน จึงมีการเปลี่ยนแปลงการน�ำเสนอและ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนงาน ทั้งนี้ข้อมูลส่วนงานอ้างอิงจากข้อมูลภายในที่ได้รายงานต่อผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน ของกลุ่มบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อประเมินผลการด�ำเนินงานของส่วนงานและเพื่อจัดสรรทรัพยากรให้ส่วนงานดังกล่าว ที่ผ่านมากลุ่มบริษัท น�ำเสนอข้อมูลส่วนงานตามส่วนงานธุรกิจตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 14 เรื่อง การเสนอข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน การเปลี่ยนแปลงการน�ำเสนอและการเปิดเผยข้อมูลส่วนงานนี้มีผลกระทบต่อการน�ำเสนอข้อมูลส่วนงาน (หมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 26) ซึ่งส่วนงานใหม่ คือ ส่วนงานธุรกิจสารท�ำละลาย และส่วนงานธุรกิจเอทานอล ซึ่งน�ำเสนอแยกออกจากส่วนงานธุรกิจปิโตรเคมีและ ธุรกิจอื่นๆ ตามล�ำดับ

4 นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ นโยบายการบัญชีที่น�ำเสนอดังต่อไปนี้ได้ถือปฏิบัติโดยสม�่ำเสมอส�ำหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน ยกเว้นที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 3 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี (ก) เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วย งบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) และส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน การรวมธุรกิจ กลุ่มบริษัทจะบันทึกบัญชีโดยปฏิบัติตามวิธีซื้อส�ำหรับการรวมธุรกิจ ยกเว้นในกรณีที่เป็นการรวมกิจการหรือธุรกิจที่อยู่ภายใต้การควบคุม เดียวกัน ค่าความนิยม ถูกวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ โดยวัดจากมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ซึ่งรวมถึงการรับรู้จ�ำนวนส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุมในผู้ถูกซื้อ หักด้วยมูลค่าสุทธิ (มูลค่ายุติธรรม) ของสินทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาซึ่งวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

173

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

สิ่งตอบแทนที่โอนให้วัดด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอนไป หนี้สินที่กลุ่มบริษัทก่อขึ้นเพื่อจ่ายช�ำระให้แก่เจ้าของเดิม และส่วนได้เสียใน ส่วนของเจ้าของที่ออกโดยกลุ่มบริษัท สิ่งตอบแทนที่โอนให้รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและโครงการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ที่ออกแทนโครงการของผู้ถูกซื้อเมื่อรวมธุรกิจ หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของบริษัทที่ถูกซื้อจากการรวมธุรกิจ รับรู้เมื่อหนี้สินนั้นเป็นหนี้สิน ณ ปัจจุบัน และเป็นหนี้สินที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ใน อดีต และสามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมตามอัตราส่วนได้เสียในสินทรัพย์สุทธิที่ได้มาจากผู้ถูกซื้อ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อที่เกิดขึ้นซึ่งเป็นผลมาจากการรวมธุรกิจ เช่น ค่าที่ปรึกษากฎหมาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพและค่าที่ปรึกษาอื่นๆ ถือ เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น บริษัทย่อย บริษัทย่อยเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริษัทมีอ�ำนาจควบคุมทั้งทางตรงหรือทางอ้อมใน การก�ำหนดนโยบายทางการเงินและการด�ำเนินงานของกิจการนั้น เพื่อได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมของบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัท ย่อยได้รวมอยู่ในงบการเงินรวมนับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนตาม ความจ�ำเป็นเพื่อให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท ผลขาดทุนในบริษัทย่อยจะต้องถูกปันส่วนไปยังส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม แม้ว่าการปันส่วนดังกล่าวจะท�ำให้ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม การสูญเสียอ�ำนาจควบคุม เมื่อมีการสูญเสียอ�ำนาจควบคุมกลุ่มบริษัทตัดรายการสินทรัพย์และหนี้สินในบริษัทย่อย ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมและส่วนประกอบอื่น ในส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยนั้น ก�ำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียอ�ำนาจควบคุมในบริษัทย่อยรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ส่วนได้ เสียในบริษัทย่อยเดิมที่ยังคงเหลืออยู่ให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียอ�ำนาจควบคุม และจัดประเภทเงินลงทุนเป็นเงินลงทุนตาม วิธีส่วนได้เสียหรือเป็นสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ขึ้นอยู่กับระดับของอิทธิพลที่คงเหลืออยู่ บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญโดยมีอ�ำนาจเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินและ การด�ำเนินงานแต่ไม่ถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญถูกสันนิษฐานว่ามีอยู่เมื่อกลุ่มบริษัทมีอ�ำนาจในการ ออกเสียงในกิจการอื่นตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 50 กิจการที่ควบคุมร่วมกันเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีส่วนร่วมในการควบคุมกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจตามที่ตกลงไว้ในสัญญาและได้รับความเห็นชอบ เป็นเอกฉันท์ในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ทางการเงินและการด�ำเนินงาน


174

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบการเงินรวมของกลุ่มบริษัทได้รวมส่วนแบ่งก�ำไรหรือขาดทุนของบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันตามวิธีส่วนได้เสียนับจากวันที่มี อิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญหรือมีส่วนร่วมในการควบคุมจนถึงวันที่การมีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญหรือมีส่วนร่วมในการควบคุมสิ้นสุดลง เมื่อ ผลขาดทุนที่กลุ่มบริษัทได้รับปันส่วนจากบริษัทร่วมหรือกิจการที่ควบคุมร่วมกันมีจ�ำนวนเกินกว่าเงินลงทุนในบริษัทร่วมหรือกิจการที่ควบคุม ร่วมกัน เงินลงทุนจะถูกทอนลงจนเป็นศูนย์และหยุดรับรู้ส่วนผลขาดทุน เว้นแต่กรณีที่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรืออนุมานหรือ ยินยอมที่จะช�ำระภาระผูกพันของบริษัทร่วมหรือกิจการที่ควบคุมร่วมกัน การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงที่เกิดจากรายการระหว่างกิจการในกลุ่ม ถูกตัดรายการในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงที่เกิดจากรายการกับบริษัทร่วมถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่มบริษัท มีส่วนได้เสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่เท่าที่เมื่อไม่มี หลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น (ข) เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงานแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่าได้รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน สินทรัพย์และหนี้สินที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ ใช้ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ หน่วยงานในต่างประเทศ สินทรัพย์และหนี้สินของหน่วยงานในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน ค่าความนิยมและรายการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อหน่วยงานในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน รายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยงานในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยในระหว่างงวด ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่าบันทึกในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและแสดงเป็นรายการผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนในส่วน ของผู้ถือหุ้นจนกว่ามีการจ�ำหน่ายเงินลงทุนนั้นออกไป


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

175

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ค) เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ได้ถูกน�ำมาใช้เพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่าง ประเทศ อัตราดอกเบี้ย และราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่เกิดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน เครื่องมือทางการเงินที่ เป็นตราสารอนุพันธ์ไม่ได้มีไว้เพื่อค้า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ที่ไม่เข้าเงื่อนไขการก�ำหนดให้เป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงถือเป็นรายการ เพื่อค้า การป้องกันความเสี่ยงจากรายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่จะมีในอนาคต สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากรายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่จะมีในอนาคตแปลงค่าเป็น สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ก�ำหนดไว้ในสัญญาและจะถูกวัดค่า ณ วันที่รายงานด้วยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนจะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราและอัตราดอกเบี้ย สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราและอัตราดอกเบี้ยเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยในอนาคต สินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่มีการป้องกันความเสี่ยงโดยสัญญาแลกเปลี่ยน แปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ ใช้ในการด�ำเนินงาน โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ก�ำหนดไว้ในสัญญาและจะถูกวัดค่า ณ วันที่รายงานด้วยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น ผลต่างจาก อัตราแลกเปลี่ยนจะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน ส่วนผลต่างที่ได้รับหรือจ่ายตามสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยบันทึกปรับปรุงกับดอกเบี้ย จ่ายของภาระหนี้สินทางการเงินที่ได้รับการป้องกันความเสี่ยงในก�ำไรหรือขาดทุน สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน�้ำมัน ผลต่างระหว่างราคาคงที่ท่ีก�ำหนดในสัญญาและราคาตลาดที่เกิดขึ้นจริงบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อครบก�ำหนดสัญญา (ง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวันและออมทรัพย์ และเงินลงทุน ระยะสั้ น ที่ มี ส ภาพคล่ อ งสู ง เงิ น เบิ ก เกิ น บั ญ ชี ธ นาคารซึ่ ง จะต้ อ งช� ำ ระคื น เมื่ อ ทวงถามถื อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกิ จ กรรมจั ด หาเงิ น ใน งบกระแสเงินสด (จ) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการช�ำระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการช�ำระหนี้ในอนาคตของลูกค้า ลูกหนี้ จะถูกตัดจ�ำหน่ายออกจากบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ


176

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ฉ) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า ต้นทุนของสินค้าค�ำนวณโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ต้นทุนสินค้าประกอบด้วย ต้นทุนสินค้าที่ซ้ือ ต้นทุนในการแปลงสภาพ และต้นทุนอื่น เพื่อให้สินค้าอยู่ในสถานที่ตั้งและสภาพปัจจุบัน ในกรณีของสินค้าส�ำเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุนสินค้ารวมการปันส่วนของ ค่าโสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสม โดยค�ำนึงถึงระดับก�ำลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการด�ำเนินธุรกิจปกติหักด้วยประมาณการต้นทุนที่จะผลิตให้เสร็จและพร้อมที่จะ ขาย (ช) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่คาดว่ามูลค่าตามบัญชีที่จะได้รับคืนส่วนใหญ่มาจากการขายมากกว่ามาจากการใช้สินทรัพย์น้ันต่อไป จัดเป็นประเภท สินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย สินทรัพย์วัดมูลค่าด้วยจ�ำนวนที่ต�่ำกว่าระหว่างมูลค่าตามบัญชีกับมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ผลขาดทุน จากการด้อยค่าส�ำหรับการลดมูลค่าในครั้งแรกและผลก�ำไรและขาดทุนจากการจากการวัดมูลค่าในภายหลังรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ผลก�ำไร รับรู้ไม่เกินยอดผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสมที่เคยรับรู้ (ซ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการที่ควบคุมร่วมกัน และบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการที่ควบคุมร่วมกัน และบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุน ส่วน การบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันในงบการเงินรวมใช้วิธีส่วนได้เสีย การเปลี่ยนแปลงส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัทย่อยโดยที่ไม่ได้ท�ำให้กลุ่มบริษัทสูญเสียอ�ำนาจในการควบคุม กลุ่มบริษัทบันทึกรายการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นรายการในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น ตราสารหนี้ซึ่งกลุ่มบริษัทตั้งใจและสามารถถือจนกว่าครบก�ำหนดจัดประเภทเป็นเงินลงทุนที่ถือจนครบก�ำหนด และแสดงในราคาทุนตัด จ�ำหน่ายหักด้วยขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อมากับมูลค่าไถ่ถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจ่ายโดยวิธีอัตรา ดอกเบี้ยที่แท้จริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไว้จนครบก�ำหนด จัดประเภทเป็นหลักทรัพย์ เผื่อขายและแสดงในมูลค่ายุติธรรม ก�ำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์ได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรง ยกเว้นขาดทุนจากการ ด้อยค่าของเงินลงทุนและก�ำไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน เมื่อมีการจ�ำหน่ายเงินลงทุนจะรับรู้ผลก�ำไรหรือขาดทุน ที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรงเข้าในก�ำไรหรือขาดทุน


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

177

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า การจ�ำหน่ายเงินลงทุน เมื่อมีการจ�ำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจ�ำนวนเงินสุทธิที่ได้รับและมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงก�ำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวข้องที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน ในกรณีที่กลุ่มบริษัทจ�ำหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การค�ำนวณต้นทุนส�ำหรับเงินลงทุนที่จ�ำหน่ายไปและเงินลงทุนที่ยังถืออยู่ใช้วิธี ถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก (ฌ) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนได้แก่อสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่าหรือจากมูลค่าที่เพิ่มขึ้นหรือทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ ไม่ได้มีไว้เพื่อขายตามปกติธุรกิจหรือใช้ในการผลิตหรือจัดหาสินค้าหรือให้บริการหรือใช้ในการบริหารงาน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนแสดงในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ต้นทุนรวมค่าใช้จ่ายทางตรงเพื่อให้ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ต้นทุนการก่อสร้างที่กิจการก่อสร้างเองรวมถึงต้นทุนวัตถุดิบ ค่าแรง ทางตรงและต้นทุนทางตรงอื่นเพื่อให้อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและรวมถึงต้นทุนการกู้ยืม (ญ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรง ที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสินทรัพย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสินทรัพย์รวมถึงต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินทรัพย์เพื่อให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนใน การรื้อถอน การขนย้าย การบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์และต้นทุนการกู้ยืม นอกจากนี้ต้นทุนอาจรวมถึงก�ำไรหรือขาดทุนจากการป้องกัน ความเสี่ยงกระแสเงินสดจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เป็นเงินตราต่างประเทศซึ่งถูกโอนจากก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส�ำหรับ เครื่องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ซึ่งไม่สามารถท�ำงานได้โดยปราศจากลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์นั้นถือว่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ดังกล่าวเป็น ส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันกลุ่มบริษัทได้บันทึกแต่ละส่วนประกอบ ที่มีนัยส�ำคัญแยกต่างหากจากกัน ก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คือ ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจ�ำหน่ายกับมูลค่าตาม บัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยรับรู้สุทธิในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อสินทรัพย์ถูกขาย


178

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

การจัดประเภทไปยังอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการใช้งานจากอสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้ใช้งานไปยังอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน มูลค่าตามบัญชี ณ วันที่มีการจัด ประเภทใหม่ถือเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ต่อไป ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ต้นทุนในการเปลี่ยนแทนส่วนประกอบจะรับรู้เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ถ้ามีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริษัทจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการนั้นได้อย่าง น่าเชื่อถือ ชิ้นส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจ�ำหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการซ่อมบ�ำรุงที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกิดขึ้น เป็นประจ�ำจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาค�ำนวณจากมูลค่าเสื่อมสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ์ ซึ่งประกอบด้วยราคาทุนของสินทรัพย์หรือต้นทุนในการเปลี่ยน แทนอื่นหักด้วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคาบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนค�ำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณของส่วนประกอบของสินทรัพย์แต่ละ รายการ ประมาณการอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ อาคาร ส่วนปรับปรุงสินทรัพย์ที่เช่า โรงกลั่นน�้ำมันและอุปกรณ์ (เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2537 บริษัทคิด ค่าเสื่อมราคาโรงกลั่นน�้ำมันตามอายุการใช้งานโดยประมาณที่เหลืออยู่) โรงกลั่นน�้ำมันหล่อลื่นขั้นพื้นฐานและอุปกรณ์ โรงผลิตพาราไซลีน โรงผลิตกระแสไฟฟ้า ระบบสายส่งไฟฟ้า เครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์โรงงาน เรือบรรทุกน�้ำมันและผลิตภัณฑ์เคมีเหลว และเรือขนส่งผู้โดยสาร เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง เครื่องใช้ส�ำนักงานและอื่นๆ ยานพาหนะ

10 - 25 ปี 5 - 20 ปี 20 -35 ปี 16 - 20 ปี 10 - 25 ปี 20 - 25 ปี 25 ปี 3 - 20 ปี 10 - 25 ปี 5 - 10 ปี 5 ปี

กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบปีบัญชีและปรับปรุง ตามความเหมาะสม


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

179

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ฎ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม ค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อกิจการของบริษัทย่อยรับรู้ในสินทรัพย์ไม่มีตัวตน การรับรู้มูลค่าเริ่มแรกของค่าความนิยม ได้อธิบายในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน 4(ก) ภายหลังจากการรับรู้เริ่มแรก ค่าความนิยมจะถูกวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนหักผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม ส�ำหรับ ตราสารทุน - การบัญชีด้านผู้ลงทุนมูลค่าตามบัญชีของค่าความนิยมให้รวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน และผลขาดทุนจากการ ด้อยค่าในเงินลงทุนต้องไม่ถูกปันส่วนให้สินทรัพย์ใดๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนรวมถึงค่าความนิยม ฐานข้อมูลลูกค้า ฐานข้อมูลลูกค้าแสดงในราคาทุนหักผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม ค่าสิทธิและคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ ค่าสิทธิและคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจ�ำกัดแสดงในราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและผลขาดทุนจาก การด้อยค่าสะสม รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการจะรับรู้เป็นสินทรัพย์เมื่อก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็นสินทรัพย์ที่สามารถระบุได้ที่ เกี่ยวข้องนั้น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมถึงค่าความนิยมและตราผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นภายในรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าตัดจ�ำหน่ายค�ำนวณโดยน�ำราคาทุนของสินทรัพย์หรือจ�ำนวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจ�ำหน่ายรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มีตัวตนซึ่งไม่รวมค่าความนิยม โดยเริ่มตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนเมื่อสินทรัพย์นั้นพร้อมที่จะให้ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์แสดงได้ดังนี้ ค่าสิทธิ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์

10 - 20 ปี 5 - 10 ปี

วิธีการตัดจ�ำหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ และมูลค่าคงเหลือ จะได้รับการทบทวนทุกสิ้นรอบปีบัญชีและปรับปรุงตาม ความเหมาะสม


180

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ฏ) ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากค่าใช้จ่ายนั้นๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไปตามอายุของ สัญญาที่เกี่ยวข้อง (ฐ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้จะท�ำการ ประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน ส�ำหรับค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอนหรือยังไม่ พร้อมใช้งาน จะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทุกปีในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะ ได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีความชัดเจนว่าสินทรัพย์ดังกล่าวมี การด้อยค่า ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนโดยไม่ต้องปรับกับยอดสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าว ยอดขาดทุนที่บันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนเป็นผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อกับมูลค่ายุติธรรมในปัจจุบันของสินทรัพย์หักขาดทุนจากการด้อยค่า ของสินทรัพย์ทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรู้แล้วในก�ำไรหรือขาดทุน การค�ำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษัทที่ถือไว้จนกว่าจะครบก�ำหนดและลูกหนี้ที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจ�ำหน่ายค�ำนวณ โดยการหามูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคต คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ส�ำหรับลูกหนี้ระยะสั้นไม่มีการ คิดลด มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ทางการเงินส�ำหรับหลักทรัพย์เผื่อขายค�ำนวณโดยอ้างอิงถึงมูลค่ายุติธรรม มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินหมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์หรือมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หักต้นทุนในการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคต จะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนค�ำนึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลา และความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ ส�ำหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่นจะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับ คืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกกลับรายการเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้น สัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ ส�ำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจ�ำหน่ายและตราสารหนี้ที่จัด ประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน ส่วนสินทรัพย์ทางการเงินที่เป็นตราสารทุนที่จัดประเภท เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกรับรู้โดยตรงในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

181

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมจะไม่มีการปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน อื่นๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับ รายการหากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการค�ำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียง เท่าที่มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรือค่าตัดจ�ำหน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึก ขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน (ฑ) ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้เป็นผลต่างระหว่างจ�ำนวนเงินที่ได้รับจากการขายหุ้นกู้และยอดเงินเมื่อถึงก�ำหนดช�ำระบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนตลอดอายุ การกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ฒ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยแสดงในราคาทุน (ณ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ด) ผลประโยชน์พนักงาน โครงการสมทบเงิน โครงการสมทบเงินเป็นโครงการผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงานซึ่งกิจการจ่ายสมทบเป็นจ�ำนวนเงินที่แน่นอนไปอีกกิจการหนึ่งแยก ต่างหาก (กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ) และจะไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายสมทบเพิ่มเติม ภาระผูกพัน ในการสมทบเข้าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายพนักงานในก�ำไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานท�ำงานให้กับกิจการ โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้เป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการสมทบเงิน ภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริษัท จากโครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ถูกค�ำนวณแยกต่างหากเป็นรายโครงการจากการประมาณผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการท�ำงาน ของพนักงานในปัจจุบันและในงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ดังกล่าวได้มีการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน ทั้งนี้ได้สุทธิจากต้นทุน บริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้และมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ อัตราคิดลดเป็นอัตรา ณ วันที่รายงานจากพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งมีระยะเวลา ครบก�ำหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุ่มบริษัทและมีสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินของผลประโยชน์ท่ีคาดว่าจะจ่าย การค�ำนวณ จัดท�ำโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ได้รับอนุญาต โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการ เมื่อมีการเพิ่มผลประโยชน์ในโครงการผลประโยชน์ สัดส่วนที่เพิ่มขึ้นของผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนบริการในอดีตของพนักงานรับรู้ ในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาถัวเฉลี่ยจนถึงวันที่ผลประโยชน์นั้นเป็นสิทธิขาด ผลประโยชน์ที่เป็นสิทธิขาดจะรับรู้เป็น ค่าใช้จ่ายในก�ำไรหรือขาดทุนทันที


182

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

กลุ่มบริษัทรับรู้ก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยทั้งหมดที่เกิดขึ้นในก�ำไรหรือขาดทุน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริษัทที่เป็นผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานเป็นผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการท�ำงานของพนักงานใน ปัจจุบันและงวดก่อน ซึ่งผลประโยชน์นี้ได้คิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็นมูลค่าปัจจุบันและสุทธิจากมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง อัตราคิดลดเป็นอัตรา ณ วันที่รายงานจากพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งมีระยะเวลาครบก�ำหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุ่มบริษัท การค�ำนวณจัดท�ำโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ได้รับอนุญาต โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการ ก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการตาม หลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกลุ่มบริษัทแสดงเจตนาผูกพันอย่างชัดเจนเกี่ยวกับการเลิกจ้าง และไม่มีความเป็นไปได้ที่จะยกเลิก มีรายละเอียดอย่างเป็นทางการทั้งการเลิกจ้างก่อนวันเกษียณตามปกติหรือการสนับสนุนการออกจากงานโดยสมัครใจ ผลประโยชน์เมื่อ เลิกจ้างรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกลุ่มบริษัทเสนอให้มีการออกจากงานโดยสมัครใจและมีความเป็นไปได้ที่จะได้รับการตอบรับข้อเสนอนั้น และ สามารถประมาณจ�ำนวนของการยอมรับข้อเสนอได้อย่างสมเหตุสมผล มีการคิดลดกระแสเงินสดหากระยะเวลาการจ่ายผลประโยชน์เกินกว่า 12 เดือนนับจากวันที่รายงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานวัดมูลค่าโดยมิได้คิดลดกระแสเงินสดและรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายพนักงานในก�ำไรหรือขาดทุนใน รอบระยะเวลาที่พนักงานได้ท�ำงานให้กับกิจการ หนี้สินรับรู้ด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายช�ำระส�ำหรับการจ่ายผลประโยชน์ระยะสั้นที่เป็นเงินสด หากกลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมาย หรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายอันเป็นผลมาจากการที่พนักงานได้ท�ำงานให้ในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่าง สมเหตุสมผล (ต) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้นอันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ใน อดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อช�ำระภาระหนี้สินดังกล่าว และสามารถประมาณ จ�ำนวนภาระหนี้สินได้อย่างน่าเชื่อถือ ประมาณการหนี้สินจะพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตราคิดลดในตลาด ปัจจุบันก่อนค�ำนึงถึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจ�ำนวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน (ถ) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีขายอื่นๆ และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

183

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

การขายสินค้าและให้บริการ รายได้รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าที่มีนัยส�ำคัญไปให้กับผู้ซื้อแล้ว และจะไม่ รับรู้รายได้ถ้าผู้บริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรือมีความไม่แน่นอนที่มีนัยส�ำคัญในการได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ จากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ไม่อาจวัดมูลค่าของจ�ำนวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ หรือมีความเป็นไปได้ค่อนข้าง แน่นอนที่จะต้องรับคืนสินค้า รายได้จากการให้บริการรับรู้เมื่อมีการให้บริการ รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าเช่าจากสินทรัพย์เพื่อการลงทุนรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ดอกเบี้ยรับและเงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล ซึ่ง ตามปกติในกรณีเงินปันผลที่จะได้รับจากหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดจะพิจารณาจากวันที่มีการประกาศสิทธิการรับเงินปันผล (ท) ค่าใช้จ่าย สัญญาเช่าด�ำเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าด�ำเนินงานบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าซ่อมแซมและค่าบ�ำรุงรักษา รายจ่ายในการซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในก�ำไรหรือขาดทุนในงวดที่เกิดรายจ่ายนั้น ส่วนรายจ่ายที่มีลักษณะเป็นรายจ่าย ฝ่ายทุนได้บันทึกรวมไว้ในอาคารและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วยดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในท�ำนองเดียวกัน ต้นทุนการกู้ยืมที่ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มา การก่อสร้างหรือ การผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนในงวดที่ค่าใช้จ่ายดังกล่าว เกิดขึ้น (ธ) ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้จากก�ำไรหรือขาดทุนส�ำหรับปีประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันคือ ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายช�ำระหรือได้รับช�ำระ โดยค�ำนวณจากก�ำไรหรือขาดทุนประจ�ำปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตรา ภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ


184

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีบันทึกโดยค�ำนวณจากผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินและจ�ำนวนที่ใช้ เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะไม่ถูกรับรู้เมื่อเกิดจากผลแตกต่างชั่วคราวต่อไปนี้ การรับรู้ค่าความนิยมในครั้งแรก การรับรู้สินทรัพย์หรือหนี้สินในครั้งแรกซึ่งเป็นรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและรายการนั้นไม่มีผลกระทบต่อก�ำไรขาดทุนทางบัญชีหรือก�ำไร ขาดทุนทางภาษี และผลแตกต่างที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกันหากเป็นไปได้ว่าจะไม่มีการกลับรายการใน อนาคตอันใกล้ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีวัดมูลค่าโดยใช้อัตราภาษีที่คาดว่าจะใช้กับผลแตกต่างชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการโดยใช้อัตราภาษี ที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน การวัดมูลค่าของภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีต้องสะท้อนถึงผลกระทบทางภาษีที่จะเกิดจากลักษณะวิธีการที่กลุ่มบริษัทคาดว่าจะได้รับผล ประโยชน์จากสินทรัพย์หรือจะจ่ายช�ำระหนี้สินตามมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน ในการก�ำหนดมูลค่าของภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กลุ่มบริษัทค�ำนึงถึงผลกระทบของสถานการณ์ทางภาษีที่ ไม่แน่นอนและอาจท�ำให้จ�ำนวนภาษีที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ต้องช�ำระ กลุ่มบริษัทเชื่อว่าได้ตั้งภาษีเงินได้ค้างจ่ายเพียงพอส�ำหรับ ภาษีเงินได้ที่จะจ่ายในอนาคต ซึ่งเกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณ์ ในอดีต การประเมินนี้อยู่บนพื้นฐานการประมาณการและข้อสมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆอาจจะท�ำให้กลุ่มบริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยู่กับความเพียงพอของภาษีเงินได้ค้างจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษี เงินได้ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้เมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมายที่จะน�ำสินทรัพย์ภาษี เงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้นี้ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกัน ส�ำหรับหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วยภาษีต่างกัน ส�ำหรับหน่วยภาษีต่างกันนั้นกิจการมีความตั้งใจจะจ่ายช�ำระหนี้สินและสินทรัพย์ภาษีเงินได้ ของงวดปัจจุบันด้วยยอดสุทธิหรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพย์และจ่ายช�ำระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าก�ำไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมีจ�ำนวนเพียงพอกับ การใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลง เท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริง (น) รายงานทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน ผลการด�ำเนินงานของส่วนงานที่รายงานต่อผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึ้นจากส่วนงานด�ำเนินงาน นั้นโดยตรงหรือรายการที่ได้รับการปันส่วนอย่างสมเหตุสมผล


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

185

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

5 การได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทย่อย LABIX เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2556 บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยพาราไซลีน จ�ำกัด) ได้ลงทุนในบริษัท ลาบิกซ์ จ�ำกัด ร่วมกับบริษัท มิตซุยแอนด์ คัมปนี จ�ำกัด โดยบริษัทย่อยถือหุ้นร้อยละ 75 บริษัทดังกล่าวมีทุนจดทะเบียนหุ้นสามัญจ�ำนวน 465 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท รวมทุน จดทะเบียนหุ้นสามัญ 4,655 ล้านบาท โดยเรียกช�ำระค่าหุ้นครั้งแรกร้อยละ 40 ของมูลค่าที่ตราไว้ ต่อมาบริษัทย่อยได้ช�ำระค่าหุ้นส่วนที่เหลือ จนเต็มจ�ำนวนตามสัดส่วนการถือหุ้น คิดเป็นเงินลงทุนทั้งสิ้นจ�ำนวน 3,491 ล้านบาท เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2556 TMS เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2555 บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด) ได้ช�ำระค่าหุ้นส่วนที่เหลือร้อยละ 75 ของมูลค่าที่ตราไว้ของ บริษัท ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส จ�ำกัด (“TMS”) คิดเป็นจ�ำนวน 37.1 ล้านบาท ในระหว่างปี 2555 และ 2556 TMS ได้เพิ่มทุนจดทะเบียนปีละ 90 ล้านบาท รวมเป็นทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 270 ล้านบาท ทั้งนี้ บริษัทย่อยได้ช�ำระค่าหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวเต็มจ�ำนวนตามสัดส่วนการถือหุ้นคิดเป็น จ�ำนวน 49.5 ล้านบาท และ 49.5 ล้านบาท เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2555 และวันที่ 23 ธันวาคม 2556 ตามล�ำดับ TOP SPP เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2556 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท ท็อป เอสพีพี จ�ำกัด โดยบริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.99 บริษัทดังกล่าวมีทุนจดทะเบียนหุ้น สามัญจ�ำนวน 350 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท รวมทุนจดทะเบียนหุ้นสามัญ 3,500 ล้านบาท โดยเรียกช�ำระค่าหุ้นครั้งแรกร้อยละ 25 ของ มูลค่าที่ตราไว้ คิดเป็นเงินลงทุนจ�ำนวน 875 ล้านบาท TP เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2555 บริษัทได้ซื้อหุ้นในบริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด เพิ่มเติมร้อยละ 19 เป็นเงินสดจ�ำนวน 1,650 ล้านบาท ท�ำให้ สัดส่วนการถือหุ้นเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 54.99 เป็นร้อยละ 73.99 ณ วันที่ซื้อ บริษัทรับรู้ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมลดลงเป็นจ�ำนวน 1,522 ล้านบาทและรับรู้ส่วนขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทย่อยเป็นจ�ำนวน 128 ล้านบาทในส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทร่วม GPSC เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (“IPT”) กับบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จ�ำกัด (“PTTUT”) ได้จดทะเบียน ควบบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์ และจดทะเบียนบริษัทใหม่เป็นบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (“GPSC”)


186

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ภายใต้การควบรวมบริษัทดังกล่าว กลุ่มบริษัทในฐานะผู้ถือหุ้นเดิมของ IPT ได้แลกหุ้นสามัญทั้งหมดที่ถือใน IPT เป็นหุ้นสามัญที่ออกใหม่ โดย GPSC เป็นผลให้กลุ่มบริษัทได้ถือหุ้นใน GPSC ทั้งทางตรงโดยบริษัท (ร้อยละ 11.88) และทางอ้อมผ่านบริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด (ร้อยละ 27.71) ทั้งนี้จากการแลกหุ้นดังกล่าว กลุ่มบริษัทได้ตัดจ�ำหน่ายเงินลงทุนใน IPT และบันทึกเงินลงทุนใน GPSC เป็นเงินลงทุนในบริษัท ร่วมตามวิธีส่วนได้ส่วนเสียในงบการเงินรวม ส�ำหรับงบการเงินเฉพาะกิจการ กลุ่มบริษัทบันทึกเงินลงทุนใน GPSC ด้วยวิธีราคาทุน โดยบันทึกเงินลงทุนเริ่มแรกใน GPSC ด้วยมูลค่าตาม บัญชีของเงินลงทุนใน IPT ณ วันที่เกิดการควบรวมบริษัท ส�ำหรับงบการเงินรวม กลุ่มบริษัทบันทึกเงินลงทุนใน GPSC เป็นเงินลงทุนในบริษัทร่วมตามวิธีส่วนได้เสีย โดยบันทึกเงินลงทุนเริ่มแรกใน GPSC ด้วยมูลค่ายุติธรรมของหุ้นของ GPSC ที่ได้รับ ณ วันควบรวมบริษัท และรับรู้ผลแตกต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมในหุ้นของ GPSC ที่ได้รับ กับส่วนได้เสียใน IPT ของกลุ่มบริษัท ณ วันควบรวมบริษัทดังกล่าว เป็นก�ำไรจากการจ�ำหน่ายเงินลงทุนจ�ำนวน 568 ล้านบาท รวมอยู่ใน รายได้อื่นในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม โดยเป็นส่วนของกลุ่มบริษัทและเป็นส่วนของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม จ�ำนวน 450 ล้านบาท และจ�ำนวน 118 ล้านบาท ตามล�ำดับ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการของ GPSC เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556 ได้มีมติอนุมัติแผนการเพิ่มทุน ซึ่งได้จัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตาม สัดส่วนการถือหุ้น โดยเสนอขายหุ้นสามัญให้ผู้ถือหุ้นเดิม จ�ำนวน 6,000 ล้านบาท ทั้งนี้ บริษัทและบริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด ได้ช�ำระ ค่าหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวเต็มจ�ำนวนตามสัดส่วนการถือหุ้นเป็นจ�ำนวน 713 ล้านบาท และจ�ำนวน 1,663 ล้านบาท ตามล�ำดับ เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2556 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน TOP-NTL เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด) ได้ลงทุนใน TOP-NTL Shipping Trust ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้ง ที่ประเทศสิงคโปร์ ร่วมกับบริษัท นทลิน จ�ำกัด ฝ่ายละร้อยละ 50 กองทุนธุรกิจดังกล่าวมีหน่วยลงทุนจ�ำนวน 80,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้ หน่วยละ 1 เหรียญสิงคโปร์ รวมทุนจดทะเบียน 80,000 เหรียญสิงคโปร์ ทั้งนี้ บริษัทย่อยได้ช�ำระค่าหน่วยลงทุนดังกล่าวเต็มจ�ำนวนตามสัดส่วน การถือหน่วยลงทุน คิดเป็นเงินลงทุนจ�ำนวน 40,000 เหรียญสิงคโปร์ หรือเทียบเท่ากับ 1 ล้านบาท ในระหว่างปี 2556 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหน่วยลงทุนของ TOP-NTL Shipping Trust ได้มีมติให้ออกหน่วยลงทุนเพิ่มเติมอีก 2 ครั้ง รวมเป็นจ�ำนวน 950,000 หน่วย ทั้งนี้ บริษัทย่อยได้ช�ำระค่าหน่วยลงทุนเพิ่มเติมดังกล่าวเต็มจ�ำนวนตามสัดส่วนการถือหน่วยลงทุน คิดเป็นจ�ำนวน 475,000 เหรียญสิงคโปร์ หรือเทียบเท่ากับ 12 ล้านบาท เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2556 และ 30 ตุลาคม 2556 TOP Nautical Star เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2556 บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด (“TM”)) ได้ลงทุนในบริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จ�ำกัด ร่วมกับ บริษัท นทลิน จ�ำกัด (“นทลิน”) และ TOP-NTL Shipping Trust (“TOP-NTL”) ซึ่งถือหุ้นโดย TM และนทลิน ฝ่ายละร้อยละ 50 โดยสัดส่วนการ ถือหุ้นของ TM นทลิน และ TOP-NTL เท่ากับร้อยละ 35, 35 และ 30 ตามล�ำดับ บริษัทดังกล่าวมีทุนจดทะเบียนหุ้นสามัญจ�ำนวน 1.5 ล้านหุ้น


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

187

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

มูลค่าหุ้นละ 100 บาท รวมทุนจดทะเบียนหุ้นสามัญ 150 ล้านบาท โดยเรียกช�ำระค่าหุ้นครั้งแรกร้อยละ 25 ของมูลค่าที่ตราไว้ ต่อมาบริษัท ย่อยได้ช�ำระค่าหุ้นเพิ่มเติมอีกร้อยละ 25 คิดเป็นเงินลงทุนทั้งสิ้นจ�ำนวน 26 ล้านบาท เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2556 TOP-NTL PTE เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2555 บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด) ได้ลงทุนใน TOP-NTL Pte. Ltd. ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งที่ประเทศ สิงคโปร์ ร่วมกับบริษัท นทลิน จ�ำกัด ฝ่ายละร้อยละ 50 บริษัทดังกล่าวมีทุนจดทะเบียนหุ้นสามัญจ�ำนวน 20,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 เหรียญ สิงคโปร์ รวมทุนจดทะเบียน 20,000 เหรียญสิงคโปร์ ทั้งนี้ บริษัทย่อยได้ช�ำระค่าหุ้นดังกล่าวเต็มจ�ำนวนตามสัดส่วนการถือหุ้น คิดเป็นเงินลงทุน จ�ำนวน 10,000 เหรียญสิงคโปร์ หรือเทียบเท่ากับ 0.3 ล้านบาท

6 บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้แก่ บุคคลหรือกิจการต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทโดยการเป็นผู้ถือหุ้น หรือมีผู้ถือหุ้นร่วมกัน หรือมีกรรมการร่วมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้ก�ำหนดขึ้นโดยใช้ราคาตลาด หรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญา หากไม่มีราคาตลาดรองรับ ความสัมพันธ์ที่กลุ่มบริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมร่วมกันในกลุ่มบริษัท หรือเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัท ควบคุม หรือควบคุมร่วมกัน หรือเป็นบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุ่มบริษัท มีดังนี้ ชื่อกิจการ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยพาราไซลีน จ�ำกัด บริษัท ไทยลู้บเบส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จ�ำกัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จ�ำกัด บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จ�ำกัด บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษัท ท็อป เอสพีพี จ�ำกัด บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จ�ำกัด บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จ�ำกัด TOP Solvent (Vietnam) LLC. บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จ�ำกัด

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง ลักษณะความสัมพันธ์ ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย เวียดนาม ไทย

เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน


188

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ชื่อกิจการ

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง ลักษณะความสัมพันธ์

Thaioil Marine International Pte Ltd. สิงคโปร์ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน บริษัท ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ บริษัท ลาบิกซ์ จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน TOP-NTL Pte. Ltd. สิงคโปร์ เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัทย่อย TOP-NTL Shipping Trust สิงคโปร์ เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัทย่อย บริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จ�ำกัด ไทย เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัทย่อยและ/หรือมีผู้บริหารของ บริษัทเป็นกรรมการ TOP-NYK MarineOne Pte. Ltd. สิงคโปร์ เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือ มีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทร่วมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทร่วมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด* ไทย เป็นบริษัทร่วมทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทร่วมทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทร่วมทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทร่วมทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ PTT International Trading Pte. Ltd. สิงคโปร์ เป็นบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม ไทย เป็นบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท.สผ.อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) ไทย เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) ไทย เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) ไทย เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) ไทย เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด ไทย เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกันและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ * เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด เป็นบริษัทซึ่งเกิดจากการควบรวมบริษัทระหว่างบริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จ�ำกัด


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

189

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

นโยบายการก�ำหนดราคาส�ำหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดังต่อไปนี้ รายการ นโยบายการก�ำหนดราคา รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ รายได้ค่าเช่า ซื้อสินค้าและสินทรัพย์ ดอกเบี้ยรับและดอกเบี้ยจ่าย ตามอัตราที่ตกลงกันตามสัญญา รายได้เงินปันผล ตามสิทธิการได้รับเงินปันผล รายได้อื่นและค่าใช้จ่ายอื่น ราคาตามสัญญา ค่าตอบแทนกรรมการ ตามจ�ำนวนที่ได้รับการอนุมัติโดยผู้ถือหุ้นของกลุ่มบริษัท รายการที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 สรุปได้ดังนี้ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ 192,982 208,927 186,226 201,445 ซื้อน�้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ 162,647 189,164 157,284 173,402 ซื้อขายน�้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ เพื่อส�ำรองน�้ำมันตามกฎหมาย* 2,380 1,076 2,380 1,076 รายได้อื่น 22 184 22 184 ดอกเบี้ยจ่าย - 1 - 1 ค่าใช้จ่ายอื่น 39 26 29 25

บริษัทย่อย รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ - - 61,693 64,965 ซื้อน�้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ - - 39,813 44,911 ซื้อขายน�้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ เพื่อส�ำรองน�้ำมันตามกฎหมาย* - - 4,962 5,525 ดอกเบี้ยรับ - - 122 149 รายได้เงินปันผล - - 3,024 3,246


190

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ล้านบาท)

รายได้ค่าเช่าที่ดิน รายได้อื่น ดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายอื่น ซื้อสินทรัพย์

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 - - 50 49 - - 1,022 869 - - 135 117 - - 828 495 - - 7 3

กิจการที่ควบคุมร่วมกัน ค่าใช้จ่ายอื่น 648 407 640 405 บริษัทร่วม รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ 11 16 7 ซื้อน�้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ 783 204 736 204 ดอกเบี้ยรับ 4 4 - รายได้เงินปันผล 15 - 15 รายได้ค่าเช่าที่ดิน 7 - 7 รายได้อื่น 63 3 38 ค่าใช้จ่ายอื่น 213 326 182 137 ซื้อสินทรัพย์ 99 60 99 60 กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ 17,509 23,438 12,684 21,288 ซื้อน�้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ 11,222 8,793 3,241 1,263 ซื้อขายน�้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ เพื่อส�ำรองน�้ำมันตามกฎหมาย* 3,873 1,337 3,873 1,337 รายได้อื่น 13 13 10 13 ค่าใช้จ่ายอื่น 151 152 151 152 ซื้อสินทรัพย์ - 4 - 4 ค่าตอบแทนกรรมการ

91 112 51 59

* รายการซื้อขายน�้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบเพื่อการรักษาระดับส�ำรองน�้ำมันตามที่กฎหมายก�ำหนดนี้เป็นรายการที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หลายแห่ง และได้ถูกกลับรายการในงบการเงินส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 แล้ว


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

191

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 12,436

12,625

11,566

12,322

บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จ�ำกัด - - 5,709 5,286 บริษัท ไทยลู้บเบส จ�ำกัด (มหาชน) - - 573 77 บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด - - 53 54

บริษัทร่วม บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จ�ำกัด - 3 - -

กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) 66 17 - บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) 370 493 310 490 บริษัท ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) 19 8 - PTT International Trading Pte. Ltd. 134 - - บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) 20 2 - 13,045 13,148 18,211 18,229 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - - - สุทธิ 13,045 13,148 18,211 18,229 หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญส�ำหรับปี – – – –


192

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 9

18

9

18

บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จ�ำกัด - - 39 12 บริษัท ไทยลู้บเบส จ�ำกัด (มหาชน) - - 43 9 บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด - - 1 3 บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จ�ำกัด - - 4 3 บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จ�ำกัด - - 17 16 บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จ�ำกัด - - 4 3 บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด - - 38 35 บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จ�ำกัด - - 2 บริษัท ลาบิกซ์ จ�ำกัด - - 24 บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จ�ำกัด - - - 2 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน TOP-NYK MarineOne Pte. Ltd. - 31 - บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 4 3 4 3 บริษัท พีทีที เอนเนอร์ย่ี โซลูชั่นส์ จ�ำกัด - 1 - 1 บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จ�ำกัด 1 1 - บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด 2 - 2 บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 1 - - กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) - 1 - 1 บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จ�ำกัด 2 - 2 รวม 19 55 189 106


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

193

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)

บริษัทย่อย บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จ�ำกัด บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จ�ำกัด

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 - - -

- - -

- 2,486 437

243 2,579 362

บริษัทร่วม บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จ�ำกัด 90 90 - รวม 90 90 2,923 3,184 อัตราดอกเบี้ยในระหว่างปี 2556 และ 2555 มีอัตราเท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะสั้นตามตลาดเงิน (MMR) แต่ไม่เกินอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ยืมขั้นต�่ำ (MLR) ถัวเฉลี่ยของสถาบันการเงิน 5 แห่ง หักด้วยอัตราส่วนลด รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ (ล้านบาท)

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 90 90 3,184 4,812 - - 231 902 - - (492) (2,530) 90 90 2,923 3,184


194

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) 15,873 12,656 14,918 11,004 บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จ�ำกัด - - 3,157 3,140 บริษัท ไทยลู้บเบส จ�ำกัด (มหาชน) - - 583 336 บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด - - 57 4 บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด - - 193 181 บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จ�ำกัด - - 2 4 บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จ�ำกัด - - 10 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน TOP-NTL Shipping Trust - 2 - บริษัทร่วม บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จ�ำกัด 49 27 49 27 บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 6 - - บริษัทร่วม บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด - 2 - บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จ�ำกัด 54 - 54 บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด 5 - - กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ปตท.สผ.อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด - 44 - 44 บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) 411 375 - บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) 243 224 - บริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด 12 11 - รวม 16,653 13,341 19,023 14,740


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

195

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) 4 2 3 1

บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จ�ำกัด - - 2 บริษัท ไทยลู้บเบส จ�ำกัด (มหาชน) - - 3 3 บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด - - 5 50 บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จ�ำกัด - - 107 12

บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 63 9 60 9

กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จ�ำกัด 1 5 1 5 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) - 1 - 1 บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) 16 - 16 บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด 3 3 3 3 รวม 87 20 200 84 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จ�ำกัด - - 2,171 798 บริษัท ไทยลู้บเบส จ�ำกัด (มหาชน) - - 3,481 4,046 บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด - - 184 176 รวม – – 5,836 5,020


196

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

อัตราดอกเบี้ยในระหว่างปี 2556 และ 2555 มีอัตราเท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะสั้นตามตลาดเงิน (MMR) แต่ไม่เกินอัตราดอกเบี้ย เงินกู้ยืมขั้นต�่ำ (MLR) ถัวเฉลี่ยของสถาบันการเงิน 5 แห่ง หักด้วยอัตราส่วนลด รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ (ล้านบาท)

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 - - 5,020 4,254 - - 816 766 - - - – – 5,836 5,020

สัญญาส�ำคัญที่ท�ำกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริษัทมีสัญญาที่ส�ำคัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันดังนี้ สัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์น้�ำมัน บริษัทมีสัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์น�้ำมันกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ น�้ำมันจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ในสัญญา จนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยกเลิกสัญญาด้วย การแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 6 เดือน สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์น�้ำมัน บริษัทมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์น�้ำมันกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายผลิตภัณฑ์จะเป็นไปตามที่ก�ำหนด ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ในสัญญา จนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ก�ำหนดไว้ สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ บริษัทมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้กับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จะเป็นไป ตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับนี้มีระยะเวลา 10 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนกันยายน 2557 หรือจนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะตกลง ยินยอมยกเลิกสัญญาร่วมกัน สัญญาใช้บริการเทคโนโลยีและการสื่อสาร บริษัทมีสัญญาใช้บริการเทคโนโลยีและการสื่อสารกับบริษัทร่วมแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับนี้มี ระยะเวลา 4 ปี 6 เดือน ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558 และสามารถต่ออายุสัญญาได้ครั้งละ 5 ปี


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

197

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน�้ำมัน บริษัทมีสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน�้ำมันส�ำเร็จรูป และน�้ำมันดิบล่วงหน้ากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง (“คู่สัญญา”) โดยบริษัทหรือ คู่สัญญาดังกล่าวมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายส่วนต่างระหว่างราคาคงที่กับราคาลอยตัวส�ำหรับงวดนั้นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทมีปริมาณน�้ำมันภายใต้สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน�้ำมันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวเป็นจ�ำนวน 0.3 ล้านบาร์เรล (2555: 0.3 ล้านบาร์เรล) สัญญาจัดหาน�้ำมันปิโตรเลียมดิบและซื้อน�้ำมันส�ำเร็จรูป บริษัทมีสัญญาจัดหาน�้ำมันปิโตรเลียมดิบและซื้อน�้ำมันส�ำเร็จรูปกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดย (ก) บริษัทจะขายผลิตภัณฑ์น�้ำมัน ปิโตรเลียมซึ่งผลิตจากโรงกลั่น และบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวจะเป็นผู้รับซื้อในปริมาณ ร้อยละ 49.99 ของจ�ำนวนการกลั่นที่ 270,000 บาร์เรล ต่อวัน และ (ข) บริษัทที่เกี่ยวข้องกันจะจัดหาและบริษัทจะรับซื้อน�้ำมันปิโตรเลียมดิบและ/หรือวัตถุดิบเพื่อรองรับโรงกลั่นที่การผลิตร้อยละ 49.99 ของจ�ำนวนการกลั่นที่ 270,000 บาร์เรลต่อวัน ระยะเวลาการจ่ายช�ำระค่าน�้ำมันปิโตรเลียมดิบเป็นไปตามข้อตกลงที่ตกลงร่วมกัน สัญญาให้บริการรับวัตถุดิบผ่านทุ่นรับน�้ำมันดิบ บริษัทมีสัญญาให้บริการรับวัตถุดิบจากทุ่นรับน�้ำมันดิบกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง สัญญาฉบับนี้มีระยะเวลา 15 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2566 โดยบริษัทจะคิดค่าบริการตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาการใช้บริการขนส่งน�้ำมันทางท่อ บริษัทมีสัญญาการใช้บริการขนส่งน�้ำมันทางท่อกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้ มีระยะเวลา 20 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2557 และสามารถต่ออายุสัญญาได้ สัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติ บริษัทและบริษัทย่อยสองแห่งมีสัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวจะจัดหาก๊าซ ธรรมชาติให้กับบริษัทและบริษัทย่อยดังกล่าวตามปริมาณและราคาที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 5 ถึง 25 ปี ซึ่ง จะสิ้นสุดในระหว่างปี 2559 ถึง 2566 สัญญาชดเชยต้นทุน บริษัทย่อยแห่งหนึ่งและบริษัทร่วมแห่งหนึ่งมีสัญญาชดเชยต้นทุนกับบริษัทเพื่อชดเชยต้นทุนการก่อสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติและเพื่อมีสิทธิใน การใช้ท่อส่งก๊าซดังกล่าว ท่อส่งน�้ำ และการใช้ประโยชน์บนที่ดินส�ำหรับการก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าเพื่อเชื่อมโยงระบบของบริษัทย่อยและบริษัท ร่วมกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาเหล่านั้น บริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังกล่าวตกลงที่จะจ่ายชดเชย ต้นทุนการลงทุนที่เกิดขึ้นให้กับบริษัทตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 25 ปี หรือสิ้นสุดพร้อม กับสัญญาซื้อไฟฟ้าที่บริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังกล่าวท�ำไว้กับ กฟผ. แล้วแต่เวลาใดจะถึงก่อน


198

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

สัญญาซื้อกระแสไฟฟ้าและพลังงานไอน�้ำ บริษัทย่อยหลายแห่ง (“ผู้ขาย”) มีสัญญาซื้อกระแสไฟฟ้าและพลังงานไอน�้ำกับบริษัทและบริษัทย่อยสองแห่งเป็นเวลา 20 และ 25 ปี ซึ่งจะ สิ้นสุดในปี 2566 และ 2570 โดยผู้ขายจะขายกระแสไฟฟ้าและพลังงานไอน�้ำให้กับบริษัทและบริษัทย่อยดังกล่าวในปริมาณและราคาที่ตกลง กันตามที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาบริการและจัดหา บริษัทย่อยหลายแห่งและบริษัทร่วมหนึ่งแห่งมีสัญญาบริการและจัดหากับบริษัท โดยบริษัทจะให้บริการเกี่ยวกับการด�ำเนินงาน การซ่อมแซม และบ�ำรุงรักษา การบริหาร การควบคุมและการจัดการ การจัดซื้อจัดจ้าง การขนส่งน�้ำมันทางท่อ การบ�ำบัดน�้ำเสียและสาธารณูปโภค การให้ บริการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การเงิน การบัญชี และทรัพยากรบุคคลแก่บริษัทย่อยและบริษัทร่วม ซึ่งบริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังกล่าว ตกลงที่จะจ่ายค่าธรรมเนียมให้กับบริษัทตามที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 3 ปี หรือ 24 ปี หรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญา เช่าที่ดินที่บริษัทย่อยแห่งหนึ่งท�ำไว้กับบริษัทแล้วแต่เวลาใดจะถึงก่อน หรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญาซื้อไฟฟ้าที่บริษัทร่วมท�ำไว้กับการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาบริการและจัดหากับบริษัท โดยบริษัทย่อยจะให้บริการทางด้านทรัพยากรบุคคล ค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนด ไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะเวลา 2 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558 สัญญาเช่าที่ดิน บริษัทย่อยหลายแห่งและบริษัทร่วมแห่งหนึ่งมีสัญญาเช่าที่ดินกับบริษัท เพื่อเช่า/เช่าช่วงที่ดินบางแห่ง ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนกันยายน 2565 และ เดือนสิงหาคม 2586 โดยมีค่าเช่ารวมส�ำหรับปี 2556 เป็นจ�ำนวนเงิน 57 ล้านบาท และจะมีการปรับอัตราค่าเช่าทุก 5 ปี บริษัทมีสัญญาเช่าที่ดินกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งเพื่อเช่าที่ดินบางแห่ง ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนสิงหาคม 2569 โดยมีค่าเช่ารวมส�ำหรับ ปี 2556 เป็นจ�ำนวนเงิน 2.7 ล้านบาท หากบริษัทไม่แจ้งยกเลิกสัญญาภายใน 1 เดือนก่อนวันที่สัญญาจะสิ้นสุดลง สัญญาจะถูกต่ออายุออกไป อีก 15 ปี สัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันหลายแห่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคา ซื้อขายของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลา 1 ปี ถึง 15 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในระหว่าง ปี 2557 ถึง 2560 สัญญาให้บริการให้ค�ำแนะน�ำทางด้านเทคนิค บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการให้ค�ำแนะน�ำด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงานและปิโตรเคมีกับบริษัทและบริษัทย่อยสามแห่ง โดย ค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี จนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยกเลิกสัญญาด้วย การแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 ปี


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

199

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัทร่วมแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการให้ค�ำแนะน�ำด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงานและปิโตรเคมีกับบริษัท โดยค่าบริการจะเป็นตาม ที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนสิงหาคม 2559 และจะต่ออายุออกไปโดยอัตโนมัติอีก 5 ปี จนฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายใดจะยกเลิกสัญญาด้วยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน สัญญาให้บริการขนส่งทางเรือแบบเช่าเหมา บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการขนส่งทางเรือแบบเช่าเหมากับบริษัทและบริษัทย่อยอีกแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีก�ำหนดระยะเวลา 1 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในระหว่างปี 2557 กิจการที่ควบคุมร่วมกันสองแห่งมีสัญญาให้บริการขนส่งทางเรือแบบเช่าเหมากับบริษัท โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีก�ำหนดระยะเวลา 10 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2564 และ 2565 สัญญาให้บริการขนส่งลูกเรือและสัมภาระ บริษัทย่อยทางอ้อมแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการขนส่งลูกเรือและสัมภาระกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนด ไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีก�ำหนดระยะเวลา 3 ปี และ 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2559 และ 2560 และสามารถต่อสัญญาได้อีก 2 ปี โดยให้แจ้ง คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วัน ก่อนวันที่สัญญาจะสิ้นสุดลง สัญญาเช่าพื้นที่ส�ำนักงาน บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ท�ำสัญญาเช่าพื้นที่ส�ำนักงานกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยค่าเช่าจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้ ไม่ได้ระบุวันที่ส้ินสุดของสัญญา ดังนั้นการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญาจะด�ำเนินต่อไปจนกระทั่งฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะยกเลิกสัญญาด้วย การแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน บริษัทมีสัญญาเช่าพื้นที่และบริการส�ำนักงานกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยค่าเช่าและค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลา 3 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนพฤศจิกายน 2558 และสามารถต่ออายุสัญญาได้ครั้งละ 3 ปี สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์เอทานอล บริษัทย่อยแห่งหนึ่งและบริษัทร่วมแห่งหนึ่งมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์เอทานอลกับบริษัท โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายของ ผลิตภัณฑ์เอทานอลจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับหนึ่งสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2553 และสัญญาอีกฉบับหนึ่งสิ้นสุดในเดือน ธันวาคม 2556 ทั้งนี้สัญญาเหล่านี้จะต่ออายุออกไปโดยอัตโนมัติอีกครั้งละ 1 ปี จนกว่าคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดแจ้งยกเลิกสัญญาเป็น ลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์เอทานอลกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายของ ผลิตภัณฑ์เอทานอลจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับนี้มีระยะเวลา 10 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนมิถุนายน 2564 และสามารถต่อ สัญญาได้โดยให้แจ้งคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 6 เดือน ก่อนวันที่สัญญาจะสิ้นสุดลง


200

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

สัญญาบริการ บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการกับบริษัท โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลา 1 ปี ซึ่งจะสิ้นสุด ในเดือนธันวาคม 2557 บริษัทมีสัญญาให้บริการกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะเวลา 2 ปี 6 เดือน ซึ่งจะ สิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558 บริษัทมีสัญญาให้บริการกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยบริษัทจะให้บริการเกี่ยวกับการบริหาร การควบคุมและการจัดการ ค่าบริการจะเป็นไปตาม ที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะเวลาไม่เกิน 27 เดือนหรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญาเช่าที่ดินที่บริษัทย่อยท�ำไว้กับบริษัทแล้วแต่เวลาใดจะ ถึงก่อน สัญญาให้บริการบริหารจัดการเรือ บริษัทร่วมทางอ้อมแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการบริหารจัดการเรือกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งโดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญา เหล่านี้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี จนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยกเลิกสัญญาด้วยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้า 3 เดือน สัญญาให้บริการถังเก็บน�้ำมันดิบ บริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการถังเก็บน�้ำมันดิบกับบริษัท โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะ เวลา 3 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนกันยายน 2559 บริษัทมีสัญญาให้บริการถังเก็บน�้ำมันดิบกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะ เวลา 1 ปี 1 เดือน ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2557 สัญญากู้ยืมเงิน บริษัทมีสัญญากู้ยืมเงินระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งเพื่อใช้บริหารสภาพคล่องของบริษัท ซึ่งเป็นวงเงินสินเชื่อระยะสั้นชนิด ไม่ผูกพันและไม่มีหลักประกันโดยมีวงเงินกู้ยืมและวงเงินให้กู้ยืมจ�ำนวนวงละไม่เกิน 2,000 ล้านบาท ที่อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอัตราดอกเบี้ย ระยะสั้น BIBOR หรือ LIBOR บวกส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย โดยค�ำนึงถึงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะสั้น อัตราผลตอบแทนเงินลงทุนระยะสั้น และ อันดับความน่าเชื่อถือของบริษัทและของคู่สัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลา 1 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2557


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

201

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

7 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

เงินสดในมือ 2 1 1 1 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ และกระแสรายวัน 13,801 4,413 7,574 2,738 เงินฝากธนาคารประเภทประจ�ำ (ระยะสั้นกว่า 3 เดือนนับตั้งแต่วันที่ลงทุน) 1,500 6,046 1,500 4,000 รวม 15,303 10,460 9,075 6,739 ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

สกุลเงินบาท 9,808 10,079 4,044 6,739 สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา 5,478 253 5,031 อื่นๆ 17 128 - รวม 15,303 10,460 9,075 6,739 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริษัทไม่มีเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากกระแสรายวัน และเงินฝากประจ�ำ ที่น�ำไปเป็นหลักประกันวงเงินสินเชื่อ ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 20 (2555: 1,879 ล้านบาท)


202

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

8 เงินลงทุนอื่น (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

เงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากธนาคารประเภทประจ�ำ 28,512 17,560 28,500 17,000 ตั๋วสัญญาใช้เงินสถาบันการเงิน - 302 - 28,512 17,862 28,500 17,000 เงินลงทุนระยะยาวอื่น ตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย 161 223 161 223 ตราสารอื่นที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด 779 779 779 779 940 1,002 940 1,002 รวม 29,452 18,864 29,440 18,002 เงินลงทุนอื่นทั้งหมดของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 เป็นสกุลเงินบาท เงินฝากธนาคารประเภทประจ�ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริษัทไม่มีเงินฝากธนาคารประเภทประจ�ำไปเป็นหลักประกันวงเงินสินเชื่อตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 20 (2555: 481 ล้านบาท) ตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย ในปี 2550 บริษัทได้เข้าร่วมท�ำสัญญาการลงทุนในกองทุนเปิด เอ็มเอฟซี เอนเนอร์จี ฟันด์ กับบริษัทหลายแห่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระดม เงินลงทุนจากผู้ลงทุนสถาบันที่ต้องการลงทุนส่วนใหญ่ในธุรกิจหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ในการนี้ บริษัทผูกพันจองซื้อหน่วยลงทุน จ�ำนวน 40 ล้านหน่วย ในราคาเท่ากับมูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 10 บาท หรือคิดเป็นเงินลงทุน 400 ล้านบาท ในระหว่างปี 2556 กองทุนดังกล่าว ได้มีการรับซื้อคืนหน่วยลงทุนแบบอัตโนมัติจ�ำนวน 0.06 ล้านหน่วย หรือเป็นจ�ำนวน 0.4 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทได้ลงทุน ในหน่วยลงทุนแล้วจ�ำนวน 25.2 ล้านหน่วย หรือคิดเป็นจ�ำนวนเงินลงทุน 252 ล้านบาท โดยมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในกองทุนนี้เป็น จ�ำนวนเงิน 161 ล้านบาท (2555 : 223 ล้านบาท)


กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด ขนส่งน�้ำมันทางท่อ 9.19 9.19 8,479 8,479 779 779 - 779 779 – –

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ ประเภท สัดส่วนความเป็นเจ้าของ ทุนช�ำระแล้ว วิธีราคาทุน เงินปันผลรับ ของธุรกิจ 2556 2555 2556 2555 2556 2555 2556 2555 (ร้อยละ) (ล้านบาท)

ตราสารอื่นที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6 ง บ ก า ร เ งิ น

203


204

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

9 ลูกหนี้การค้า (ล้านบาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 13,045 13,148 18,211 18,229 กิจการอื่น 15,702 13,943 10,078 7,567 28,747 27,091 28,289 25,796 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1 1 - รวม 28,746 27,090 28,289 25,796 กลับรายการหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ ส�ำหรับปี – (7) – – การวิเคราะห์อายุลูกหนี้การค้ามีดังนี้ (ล้านบาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ภายในก�ำหนดระยะเวลาการรับช�ำระหนี้ 13,040 13,148 18,211 18,229 เกินก�ำหนดระยะเวลาการรับช�ำระหนี้ น้อยกว่า 3 เดือน 5 - - 13,045 13,148 18,211 18,229 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - - - สุทธิ 6 13,045 13,148 18,211 18,229


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

205

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

กิจการอื่น ภายในก�ำหนดระยะเวลาการรับช�ำระหนี้ 15,682 13,754 10,078 7,567 เกินก�ำหนดระยะเวลาการรับช�ำระหนี้ น้อยกว่า 3 เดือน 13 76 - 3 - 6 เดือน 2 4 - 6 - 12 เดือน 2 1 - มากกว่า 12 เดือน 3 108 - 15,702 13,943 10,078 7,567 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1 1 - สุทธิ 15,701 13,942 10,078 7,567 รวม 28,746 27,090 28,289 25,796 โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัทมีระยะเวลาตั้งแต่ 15 วัน ถึง 90 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ลูกหนี้การค้ากิจการอื่นที่มียอดค้างช�ำระเกินกว่า 12 เดือน ของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้รวมลูกหนี้การค้ารัฐวิสาหกิจ แห่งหนึ่งเป็นจ�ำนวนเงิน 108 ล้านบาท เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 กลุ่มบริษัทได้ตัดรายการสินทรัพย์และหนี้สินในบริษัทย่อยดังกล่าวออก จากงบการเงินรวมภายหลังจดทะเบียนควบบริษัทเป็นบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด และมีสถานะเป็นบริษัทร่วมของกลุ่มบริษัท ยอดลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

สกุลเงินบาท 20,843 23,017 23,307 23,974 สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา 7,621 3,851 4,982 1,822 อื่นๆ 282 222 - รวม 28,746 27,090 28,289 25,796


206

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

10 ลูกหนี้อื่น (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 510 551 363 297 ลูกหนี้อื่น 335 417 466 281 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ ของพนักงานส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 42 40 42 40 อื่นๆ 436 648 411 289 รวม 1,323 1,656 1,282 907 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2555 ศาลฎีกาได้มีค�ำพิพากษาให้บริษัทย่อยแห่งหนึ่งชนะคดีความจากการถูกประเมินภาษีสรรพสามิต รวมทั้งเบี้ยปรับ และเงินเพิ่มจากการน�ำเข้าน�้ำมัน Reduced Crude บางเที่ยวเรือโดยกรมศุลกากรและกรมสรรพากร ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทย่อย ดังกล่าวมีลูกหนี้จากผลของคดีความรวมอยู่ในบัญชีลูกหนี้อื่นเป็นจ�ำนวนเงิน 145 ล้านบาท ซึ่งบริษัทย่อยได้รับเงินทั้งหมดแล้วเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2556

11 สินค้าคงเหลือ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

น�้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ 12,132 10,197 9,859 8,268 วัสดุ อะไหล่และของใช้ส้ินเปลือง 1,135 1,229 884 813 ผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป และผลิตภัณฑ์กึ่งส�ำเร็จรูป 14,167 12,802 10,605 8,804 สินค้าระหว่างทาง น�้ำมันปิโตรเลียมดิบ 21,120 15,784 21,012 15,750 วัสดุ อะไหล่และของใช้ส้ินเปลือง 2 7 1 5 48,556 40,019 42,361 33,640 หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลงให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 47 15 - สุทธิ 48,509 40,004 42,361 33,640


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

207

ง บ ก า ร เ งิ น

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สินค้าคงเหลือข้างต้นของกลุ่มบริษัทและบริษัทได้รวมสินค้าคงเหลือที่ต้องส�ำรองไว้ตามกฎหมายเป็นจ�ำนวนเงิน 15,244 ล้านบาท และ 14,548 ล้านบาท ตามล�ำดับ (2555: 12,515 ล้านบาท และ 11,875 ล้านบาท ตามล�ำดับ) (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ต้นทุนของสินค้าคงเหลือที่บันทึกเป็น ค่าใช้จ่ายและได้รวมในบัญชีต้นทุนขาย - ต้นทุนขาย 396,256 431,237 401,090 428,464 - (กลับรายการ) การปรับลดมูลค่า 32 (148) - (135) สุทธิ 396,288 431,089 401,090 428,329

12 สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนถูกน�ำเสนอเป็นสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขายซึ่งเป็นไปตามข้อผูกมัดในการขายของผู้บริหารของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง บริษัทย่อยได้เริ่มพยายามด�ำเนินการขายและคาดว่าการขายจะเกิดขึ้นภายในเดือนมกราคม 2557 ผลขาดทุนจากการด้อยค่าจ�ำนวน 108 ล้านบาท จากการวัดมูลค่าใหม่ของสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขายให้เป็นจ�ำนวนที่ต�่ำกว่าระหว่างมูลค่าตาม บัญชีกับมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหารในงบก�ำไรขาดทุน (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 28) สินทรัพย์ที่จัดประเภทเป็นถือไว้เพื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังต่อไปนี้ (ล้านบาท)

หมายเหตุ สินทรัพย์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ – เรือบรรทุกน�้ำมันและผลิตภัณฑ์เคมีเหลว 16

งบการเงินรวม 2556 250 250


208

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

13 เงินลงทุนในบริษัทย่อย (ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2556 2555

ณ วันที่ 1 มกราคม 11,533 9,883 ซื้อเงินลงทุน 5 875 1,650 จ�ำหน่ายเงินลงทุน 5, 14 (488) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 11,920 11,533


(ร้อยละ) (ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สัดส่วนความเป็นเจ้าของ ทุนช�ำระแล้ว วิธีราคาทุน เงินปันผลรับ 2556 2555 2556 2555 2556 2555 2556 2555

บริษัทไม่มีเงินลงทุนในบริษัทย่อยซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ดังนั้นจึงไม่มีราคาที่ต้องเปิดเผยต่อสาธารณชน

บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จ�ำกัด 99.99 99.99 2,572 2,572 2,161 2,161 450 2,058 บริษัท ไทยลู้บเบส จ�ำกัด (มหาชน) 99.99 99.99 1,758 1,758 1,979 1,979 2,109 879 บริษัท ไทยออยล์มารีน จ�ำกัด 99.99 99.99 970 970 970 970 49 บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จ�ำกัด 99.99 99.99 40 40 40 40 - บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จ�ำกัด 99.99 99.99 1,250 1,250 1,250 1,250 - บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จ�ำกัด 99.99 99.99 1,450 1,450 1,450 1,450 - บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด 73.99 73.99 2,810 2,810 3,195 3,195 416 309 บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จ�ำกัด - 24.00 - 1,771 - 488 - บริษัท ท็อป เอสพีพี จ�ำกัด 99.99 - 875 - 875 - - รวม 11,725 12,621 11,920 11,533 3,024 3,246

เงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 และเงินปันผลรับส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันเดียวกัน มีดังนี้

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6 ง บ ก า ร เ งิ น

209


210

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

14 เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน (ล้านบาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ณ วันที่ 1 มกราคม 1,286 1,253 60 ส่วนแบ่งก�ำไรสุทธิจากเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 533 73 - ซื้อเงินลงทุน 5, 13 9,749 1 1,201 เงินปันผลรับ (15) (31) - ผลต่างจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ 26 (10) - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 11,579 1,286 1,261

60 60


กิจการที่ควบคุมร่วมกัน TOP-NTL Pte. Ltd. 50.00 50.00 1 1 - - 3 1 - TOP-NTL Shipping Trust 50.00 50.00 26 2 13 1 11 2 - บริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จ�ำกัด 35.00 - 75 - 26 - 16 - - TOP-NYK MarineOne Pte. Ltd. 50.00 50.00 548 548 274 274 392 337 - 31 650 551 313 275 422 340 - 31 รวม 15,605 4,269 5,201 1,308 11,579 1,286 15 31

บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 20.00 20.00 150 150 30 30 152 124 15 บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 20.00 20.00 150 150 30 30 37 33 - บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด 39.59* - 11,237 - 3,855 - 10,140 - - บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จ�ำกัด 30.00 30.00 675 675 203 203 58 60 - บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จ�ำกัด 21.28 21.28 2,740 2,740 769 769 763 729 - บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 33.33 33.33 3 3 1 1 7 - - 14,955 3,718 4,888 1,033 11,157 946 15 -

(ร้อยละ) (ล้านบาท)

งบการเงินรวม สัดส่วนความเป็นเจ้าของ ทุนช�ำระแล้ว วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย เงินปันผลรับ 2556 2555 2556 2555 2556 2555 2556 2555 2556 2555

เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 และเงินปันผลรับส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันเดียวกัน มีดังนี้

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6 ง บ ก า ร เ งิ น

211


150 150 - 300

30 30 1,201 1,261

30 30 - 60

15 - - 15

บริษัทไม่มีเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ดังนั้นจึงไม่มีราคาที่เปิดเผยต่อสาธารณชน

* บริษัทและบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด) ถือหุ้นในบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด ในอัตราร้อยละ 11.88 และร้อยละ 27.71 ตามล�ำดับ

150 150 11,237 11,537

(ร้อยละ) (ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สัดส่วนความเป็นเจ้าของ ทุนช�ำระแล้ว วิธีราคาทุน เงินปันผลรับ 2556 2555 2556 2555 2556 2555 2556 2555

บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 20.00 20.00 บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 20.00 20.00 บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด 11.88* - รวม

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น 212 ง บ ก า ร เ งิ น บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

213

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ซึ่งกลุ่มบริษัทบันทึกเงินลงทุนใน บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสียตามสัดส่วนที่ถือหุ้นโดยกลุ่มบริษัทมีดังนี้

สัดส่วนความ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ ก�ำไร เป็นเจ้าของ รวม รวม รวม (ขาดทุน) (ร้อยละ) (ล้านบาท)

ปี 2556 บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 20 1,947 1,190 2,362 214 บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 20 412 225 452 21 บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด 39.59* 45,490 20,810 26,080 1,187 บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จ�ำกัด 30 2,257 2,065 1,523 (8) บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จ�ำกัด 21.28 6,679 3,931 3,579 159 บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 33.33 294 273 47 22 57,079 28,494 34,043 1,595 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน TOP-NTL Pte. Ltd. 50 6 1 9 3 TOP-NTL Shipping Trust 50 81 58 17 (4) บริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จ�ำกัด 35 758 711 15 (28) TOP-NYK MarineOne Pte. Ltd. 50 2,068 1,284 319 57 รวม 59,992 30,548 34,403 1,623 ปี 2555 บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 20 1,786 1,168 2,358 242 บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 20 352 187 407 7 บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จ�ำกัด 30 2,467 2,267 1,143 (69) บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จ�ำกัด 21.28 5,899 3,310 1,040 (106) บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 33.33 144 144 330 (2) 10,648 7,076 5,278 72 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน TOP-NTL Pte. Ltd. 50 2 1 2 1 TOP-NTL Shipping Trust 50 78 75 56 1 TOP-NYK MarineOne Pte. Ltd. 50 1,941 1,267 343 132 รวม 12,669 8,419 5,679 206


214

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

15 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (ล้านบาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 88 88 679 679 เพิ่มขึ้น - - 5 โอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 16 - - 160 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 88 88 844 679 ขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่ 1 มกราคม (6) (6) (41) (41) โอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 16 - - (25) ณ วันที่ 31 ธันวาคม (6) (6) (66) (41) มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 82 82 638 638 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 82 82 778 638 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ประเมินราคาโดยบริษัทผู้ประเมินอิสระแห่งหนึ่ง โดยพิจารณาราคาตลาด ตามเกณฑ์ของสินทรัพย์ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน ราคาประเมินส�ำหรับกลุ่มบริษัทและบริษัทเป็นจ�ำนวน 217 ล้านบาท และ 1,071 ล้านบาท ตามล�ำดับ (2555: 217 ล้านบาท และ 848 ล้านบาทตามล�ำดับ)


งบการเงินรวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 3,748 1,656 5 83,914 23,003 15,823 193 5,011 3,416 621 35 6,169 143,594 เพิ่มขึ้น 115 1 - 230 - - - 34 14 38 - 12,295 12,727 โอน – สุทธิ (77) 153 - 1,079 42 36 - 27 144 12 - (1,416) โอนออกจากการจ�ำหน่าย เงินลงทุนในบริษัทย่อย - (9) (5) - - (10,455) - (1,370) - (22) (3) (23) (11,887) โอนไปสินทรัพย์ท่ีถือไว้ เพื่อขาย (หมายเหตุ 12) - - - - - - - - (417) (1) - - (418) จ�ำหน่าย - (2) - (40) - - - (2) - (3) (2) - (49) ผลต่างจากการแปลงค่าใน การจัดท�ำงบการเงินรวม - - - - - - - 8 - - - 1 9 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 3,786 1,799 – 85,183 23,045 5,404 193 3,708 3,157 645 30 17,026 143,976

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 3,740 1,635 5 83,022 21,895 15,893 193 4,920 3,002 607 41 2,926 137,879 เพิ่มขึ้น 8 1 - 133 - - - 21 2 22 7 5,780 5,974 โอน – สุทธิ - 20 - 759 1,108 - - 120 526 4 - (2,537) จ�ำหน่าย - - - - - (70) - (45) (114) (12) (13) - (254) ผลต่างจากการแปลงค่าใน การจัดท�ำงบการเงินรวม - - - - - - - (5) - - - - (5)

รวม

(ล้านบาท)

เรือบรรทุก เครื่อง น�้ำมันและ ตกแต่ง ส่วน เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์ ติดตั้ง ปรับปรุง โรงกลั่น โรงผลิต ระบบ เครื่องมือ เคมีเหลว และ เครื่องใช้ สินทรัพย์ สินทรัพย์ น�้ำมันและ โรงผลิต กระแส สายส่ง และอุปกรณ์ เรือขนส่ง ส�ำนักงาน ระหว่าง ที่ดิน อาคาร ที่เช่า อุปกรณ์ พาราไซลีน ไฟฟ้า ไฟฟ้า โรงงาน ผู้โดยสาร และอื่นๆ ยานพาหนะ ก่อสร้าง

16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6 ง บ ก า ร เ งิ น

215


งบการเงินรวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี โอนออกจากการจ�ำหน่าย เงินลงทุนในบริษัทย่อย โอนไปสินทรัพย์ที่ถือไว้ เพื่อขาย (หมายเหตุ 12) จ�ำหน่าย ผลต่างจากการแปลงค่าใน การจัดท�ำงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

-

- (2)

(598)

2,558 231

(20)

475 61

(60) - - (3)

-

622 170

- (5,650)

– 78,337 - 5,513

- - (60) (2) - (27)

(2)

23 4

- - - - - - - 2 - - - - 2 – 1,040 – 61,186 8,915 3,382 133 2,191 732 513 23 – 78,115

- - - - - -

- (5,022)

7,785 8,179 126 1,130 225 7

ง บ ก า ร เ งิ น

- - - - - (2) - (18)

-

(3)

-

(5)

3 57,595 - 3,609

– 971 - 76

ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 - 905 3 53,790 6,684 7,588 120 2,272 555 408 29 - 72,354 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี - 66 - 3,805 1,101 624 6 324 182 78 5 - 6,191 จ�ำหน่าย - - - - - (33) - (37) (115) (11) (11) - (207) ผลต่างจากการแปลงค่าใน การจัดท�ำงบการเงินรวม - - - - - - - (1) - - - - (1)

รวม

(ล้านบาท)

เรือบรรทุก เครื่อง น�้ำมันและ ตกแต่ง ส่วน เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์ ติดตั้ง ปรับปรุง โรงกลั่น โรงผลิต ระบบ เครื่องมือ เคมีเหลว และ เครื่องใช้ สินทรัพย์ สินทรัพย์ น�้ำมันและ โรงผลิต กระแส สายส่ง และอุปกรณ์ เรือขนส่ง ส�ำนักงาน ระหว่าง ที่ดิน อาคาร ที่เช่า อุปกรณ์ พาราไซลีน ไฟฟ้า ไฟฟ้า โรงงาน ผู้โดยสาร และอื่นๆ ยานพาหนะ ก่อสร้าง

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น 216 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6


– 2

2

393

3,357 3,395

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556

วันที่ 31 ธันวาคม 2556

759

685 –

2 23,997

26,319 14,130

15,218

2,022

7,644

60

67

1,515

2,451

2,425

2,794

132

146

7

12

17,026 65,468

6,169 64,864

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 3,349 730 2 29,232 15,211 8,305 73 2,646 2,447 199 12 2,926 65,132

391

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

393

391

ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 –

รวม

งบการเงินรวม

(ล้านบาท)

เรือบรรทุก เครื่อง น�้ำมันและ ตกแต่ง ส่วน เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์ ติดตั้ง ปรับปรุง โรงกลั่น โรงผลิต ระบบ เครื่องมือ เคมีเหลว และ เครื่องใช้ สินทรัพย์ สินทรัพย์ น�้ำมันและ โรงผลิต กระแส สายส่ง และอุปกรณ์ เรือขนส่ง ส�ำนักงาน ระหว่าง ที่ดิน อาคาร ที่เช่า อุปกรณ์ พาราไซลีน ไฟฟ้า ไฟฟ้า โรงงาน ผู้โดยสาร และอื่นๆ ยานพาหนะ ก่อสร้าง

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6 ง บ ก า ร เ งิ น

217


(ล้านบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 เพิ่มขึ้น โอน - สุทธิ โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (หมายเหตุ 15) จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

376 30 7

- - - (160) (2) - - (44) 411 7 13,096 94,621

2,019 777 76,035 1,061 72 - 230 14 - 44 1,056 1 (160) - - - - - (40) (2) 1,931 821 77,281 1,074

7 5,571 85,846 - 8,633 8,979 - (1,108) -

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องจักร เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ ติดตั้ง สินทรัพย์ โรงกลั่นน�้ำมัน และอุปกรณ์ เครื่องใช้ส�ำนักงาน ระหว่าง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โรงงาน และอื่นๆ ยานพาหนะ ก่อสร้าง รวม ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 2,011 777 75,365 1,046 364 17 1,993 81,573 เพิ่มขึ้น 8 - 133 15 12 - 4,115 4,283 โอน - สุทธิ - - 537 - - - (537) จ�ำหน่าย - - - - - (10) - (10)

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น 218 ง บ ก า ร เ งิ น บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6


(ล้านบาท)

ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (หมายเหตุ 15) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 – - –

356 (25) 331

- –

– 604 52,750 - 31 3,222 - - (18) – 635 55,954

- –

774 48 (2) 820

- –

273 46 (2) 317

- –

5 1 - 6

- –

(25) 331

356

– 54,406 - 3,348 - (22) – 57,732

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องจักร เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ ติดตั้ง สินทรัพย์ โรงกลั่นน�้ำมัน และอุปกรณ์ เครื่องใช้ส�ำนักงาน ระหว่าง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โรงงาน และอื่นๆ ยานพาหนะ ก่อสร้าง รวม ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 - 582 49,328 725 232 13 - 50,880 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี - 22 3,422 49 41 1 - 3,535 จ�ำหน่าย - - - - - (9) - (9)

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6 ง บ ก า ร เ งิ น

219


31,084 36,558

30,337

รวม

(ล้านบาท)

ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัทย่อยหลายแห่งได้จ�ำนองที่ดิน อาคารและเครื่องจักร และเรือขนส่งผู้โดยสาร เพื่อเป็นหลักทรัพย์ค�้ำประกันเงินกู้ยืมระยะยาวตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 20 ราคาตามบัญชีของที่ดิน อาคารและเครื่องจักร และเรือขนส่งผู้โดยสารดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีจ�ำนวนเงิน 1,806 ล้านบาท (2555: 7,125 ล้านบาท ส�ำหรับ ที่ดิน อาคารและเครื่องจักร เรือขนส่งผู้โดยสาร และโรงผลิตกระแสไฟฟ้า)

ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจ�ำนวนแล้วแต่ยังคงใช้งานถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ในงบการเงิน รวมมีจ�ำนวนเงิน 4,999 ล้านบาท (2555: 4,776 ล้านบาท) และในงบการเงินเฉพาะกิจการมีจ�ำนวนเงิน 3,531 ล้านบาท (2555: 3,260 ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องจักร เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ ติดตั้ง สินทรัพย์ โรงกลั่นน�้ำมัน และอุปกรณ์ เครื่องใช้ส�ำนักงาน ระหว่าง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โรงงาน และอื่นๆ ยานพาหนะ ก่อสร้าง มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 1,655 195 26,037 321 132 4 1,993 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 1,663 173 23,285 287 103 2 5,571 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 1,600 186 21,327 254 94 1 13,096

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น 220 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

221

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

17 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน (ล้านบาท)

งบการเงินรวม คอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล ค่าความ ค่าสิทธิ ซอฟท์แวร์ ลูกค้า นิยม รวม ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 1,176 447 205 635 2,463 เพิ่มขึ้น 244 51 - - 295 ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดท�ำงบการเงินรวม - - - (21) (21) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 1,420 498 205 614 2,737 เพิ่มขึ้น 290 40 - - 330 โอนออกจากการจ�ำหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อย - (13) - - (13) ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดท�ำงบการเงินรวม - - - 33 33 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 1,710 525 205 647 3,087 ค่าตัดจ�ำหน่าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 773 156 - - 929 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 65 30 - - 95 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี โอนออกจากการจ�ำหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

838 74 - 912

186 29 (10) 205

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

403 582 798

291 312 320

– - - – 205 205 205

– 1,024 - 103 - (10) – 1,117

635 614 647

1,534 1,713 1,970


222

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ คอมพิวเตอร์ ค่าสิทธิ ซอฟท์แวร์ รวม ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 791 303 1,094 เพิ่มขึ้น - 48 48 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 791 351 1,142 เพิ่มขึ้น 18 39 57 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 809 390 1,199 ค่าตัดจ�ำหน่าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 632 49 681 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 21 20 41 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 653 69 722 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 24 21 45 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 677 90 767 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 159 254 413 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 138 282 420 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 132 300 432


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

223

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

18 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม สินทรัพย์ หนี้สิน 2556 2555 2556

รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสุทธิ

594 548 (420) (612) (420) (519) 420 519 174 29 – (93)

2555

(ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์ หนี้สิน 2556 2555 2556

รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสุทธิ

561 514 (418) (577) (418) (514) 418 514 143 – – (63)

2555


224

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรวมที่เกิดขึ้นในระหว่างปี 2556 และ 2555 มีดังนี้ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม บันทึกเป็น (รายจ่าย)/รายได้ ใน โอนออกจาก ณ วันที่ งบก�ำไรขาดทุน การจ�ำหน่าย ณ วันที่ 1 มกราคม เบ็ดเสร็จ ส่วนของ เงินลงทุน 31 ธันวาคม 2556 (หมายเหตุ 32) ผู้ถือหุ้น ในบริษัทย่อย 2556 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ผลประโยชน์พนักงาน 465 48 - (2) 511 ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ 79 - - - 79 อื่นๆ 4 - - - 4 รวม 548 48 – (2) 594 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา (577) 161 - - (416) ค่าตัดจ�ำหน่ายระบบสายส่งกระแส ไฟฟ้าที่โอนให้ กฟผ. (5) - - 5 ลูกหนี้อื่นจากการชนะคดีความ ถูกประเมินภาษีสรรพสามิต (29) 29 - - อื่นๆ (1) (3) - - (4) รวม (612) 187 – 5 (420) สุทธิ (64) 235 – 3 174


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

225

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ล้านบาท)

ณ วันที่ 1 มกราคม 2555

งบการเงินรวม บันทึกเป็น (รายจ่าย)/รายได้ ใน งบก�ำไรขาดทุน ณ วันที่ เบ็ดเสร็จ ส่วนของ 31 ธันวาคม (หมายเหตุ 32) ผู้ถือหุ้น 2555

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ผลประโยชน์พนักงาน 449 16 - 465 ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ 79 - - 79 ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย 20 (20) - อื่นๆ 4 - - 4 รวม 552 (4) – 548 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา (644) 67 - (577) ส�ำรองการประกันความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศและสัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า (3) 3 - ค่าตัดจ�ำหน่ายระบบสายส่งกระแสไฟฟ้าที่โอนให้ กฟผ. (10) 5 - (5) ลูกหนี้อื่นจากการชนะคดีความถูกประเมินภาษีสรรพสามิต - (29) - (29) อื่นๆ (1) - - (1) รวม (658) 46 – (612) สุทธิ (106) 42 – (64)


226

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ล้านบาท)

ณ วันที่ 1 มกราคม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็น (รายจ่าย)/รายได้ ใน งบก�ำไรขาดทุน ณ วันที่ เบ็ดเสร็จ ส่วนของ 31 ธันวาคม (หมายเหตุ 32) ผู้ถือหุ้น 2556

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ผลประโยชน์พนักงาน 435 47 - 482 ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ 79 - - 79 รวม 514 47 – 561 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา (577) 161 อื่นๆ - (2) รวม (577) 159 สุทธิ (63) 206

- (416) - (2) – (418) – 143


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

227

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ล้านบาท)

ณ วันที่ 1 มกราคม 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็น (รายจ่าย)/รายได้ ใน งบก�ำไรขาดทุน ณ วันที่ เบ็ดเสร็จ ส่วนของ 31 ธันวาคม (หมายเหตุ 32) ผู้ถือหุ้น 2555

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ผลประโยชน์พนักงาน 416 19 - 435 ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ 79 - - 79 ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย 20 (20) - รวม 515 (1) – 514 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา (644) 67 - (577) ส�ำรองการประกันความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศและสัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า (3) 3 - รวม (647) 70 – (577) สุทธิ (132) 69 – (63) สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของขาดทุนสะสมทางภาษีที่มิได้รับรู้ในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เป็นจ�ำนวนเงิน 104 ล้านบาท (2555: 103 ล้านบาท)


228

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

19 สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน 598 537 598 537 ระบบสายส่งไฟฟ้าที่โอนให้ กฟผ. - สุทธิ - 27 - ค่าสิทธิในการใช้ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ท่อส่งน�้ำ และการใช้ประโยชน์บนที่ดินรอตัดบัญชี - สุทธิ 105 162 85 94 ค่าธรรมเนียมการเช่าที่ดินและค่าธรรมเนียม การจดทะเบียนสัญญาเช่าที่ดินรอตัดบัญชี - สุทธิ 365 425 376 419 ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีอื่นๆ - สุทธิ 24 86 2 11 เงินมัดจ�ำและอื่นๆ 65 82 46 46 รวม 1,157 1,319 1,107 1,107

20 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (ล้านบาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ส่วนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้น - ส่วนที่มีหลักประกัน 26 - - - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน 638 607 - เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 - - 5,836 5,020 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี - ส่วนที่มีหลักประกัน 163 532 - - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน 321 746 - 596 หุ้นกู้ที่ไม่มีหลักประกัน 12,330 2,750 12,330 2,750 13,478 4,635 18,166 8,366


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

229

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - ส่วนที่มีหลักประกัน 911 1,227 - - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน 3,404 5,149 - 3,874 หุ้นกู้ที่ไม่มีหลักประกัน 57,070 35,786 57,070 35,786 61,385 42,162 57,070 39,660 รวม 74,863 46,797 75,236 48,026 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยแยกแสดงตามระยะเวลาครบก�ำหนดการจ่ายช�ำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ได้ดังนี้ (ล้านบาท)

ครบก�ำหนดภายในหนึ่งปี ครบก�ำหนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ครบก�ำหนดหลังจากห้าปี รวม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 13,478 4,635 18,166 8,366 17,475 30,997 14,213 29,160 43,910 11,165 42,857 10,500 74,863 46,797 75,236 48,026


230

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยส่วนที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีรายละเอียดของหลักประกัน ซึ่งเป็นสินทรัพย์ดังนี้ (ล้านบาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝาก ออมทรัพย์และเงินฝากประจ�ำ 7 - 1,879 เงินลงทุนชั่วคราวในเงินฝากประจ�ำ 8 - 481 ที่ดิน อาคารและเครื่องจักรโรงผลิต กระแสไฟฟ้า และเรือขนส่งผู้โดยสาร - ราคาตามบัญชี 16 1,806 7,125 รวม 1,806 9,485

- - - –

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีวงเงินสินเชื่อระยะยาวซึ่งยังมิได้เบิกใช้เป็นจ�ำนวนเงินรวม 23,340 ล้านบาท และ 14,290 ล้านบาท ตามล�ำดับ (2555: 13,891 ล้านบาท และ 13,856 ล้านบาท ตามล�ำดับ) ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ (ล้านบาท)

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 23,333 26,012 23,836 27,548 51,400 20,785 51,400 20,478 130 - - 74,863 46,797 75,236 48,026


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

231

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ประกอบด้วย (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

เงินกู้ยืมระยะสั้น 664 607 - เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - - 5,836 5,020 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 4,799 7,654 - 4,470 หุ้นกู้ 69,400 38,536 69,400 38,536 รวม 74,863 46,797 75,236 48,026 เงินกู้ยืมระยะยาว รายละเอียดของเงินกู้ยืมระยะยาวของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

บริษัท 1) วงเงินกู้ยืมร่วมจ�ำนวน 4,927 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย THBFIX 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 2553 - 3,720 - 3,720 2)

วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 1,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย THBFIX 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 2553

-

750

-

750


232

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

บริษัทย่อย 3) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 40 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา อัตราดอกเบี้ย LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2543 - 308 - 4) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 1,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2543

-

256

-

-

5) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 920 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2543

-

234

-

-

6) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 371.4 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2543 - 92 - 7) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 308.6 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นรายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนธันวาคม 2542 - 27 - 8) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 565 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โ ดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นงวด ทุก 3 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2553 325 325 - 9) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 1,500 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 2555 1,275 1,425 - -


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

233

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

10) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 324 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นรายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 242 289 - 11) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 228 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นรายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2556

192

228

-

-

12) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 365 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นรายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2557

242

-

-

-

13) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 365 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นรายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557

73

-

-

-

300

-

-

-

15) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 1,200 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย FDR 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2557

1,200

-

-

-

16) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 1,800 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย FDR 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2558 รวม

950 4,799

- 7,654

- –

4,470

14) วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 300 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 2558


234

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หุ้นกู้ เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2556 บริษัทได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ให้กับนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ จ�ำนวน 2 ชุด เป็นจ�ำนวนเงินรวม 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ หุ้นกู้ชุดหนึ่งมีเงินต้นจ�ำนวนเงิน 500 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา อายุหุ้นกู้ 10 ปี ซึ่งจะครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2566 และมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 3.625 ต่อปี และหุ้นกู้อีกชุดหนึ่งมีเงินต้นจ�ำนวนเงิน 500 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา อายุหุ้นกู้ 30 ปี ซึ่งจะครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2586 และมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 4.875 ต่อปี เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2555 บริษัทได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ วงเงินรวม 10,000 ล้านบาท โดยมี รายละเอียดดังนี้ หุ้นกู้ชุดที่ 1 : จ�ำนวนเงิน 2,500 ล้านบาท อายุหุ้นกู้ 5 ปี ซึ่งจะครบก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 23 มีนาคม 2560 และมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 3.99 ต่อปี โดยมีก�ำหนดจ่ายช�ำระดอกเบี้ยทุกวันที่ 23 มีนาคม และวันที่ 23 กันยายน หุ้นกู้ชุดที่ 2 : จ�ำนวนเงิน 7,500 ล้านบาท อายุหุ้นกู้ 15 ปี ซึ่งจะครบก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 23 มีนาคม 2570 และมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 5.05 ต่อปี โดยมีก�ำหนดจ่ายช�ำระดอกเบี้ยทุกวันที่ 23 มีนาคม และวันที่ 23 กันยายน รายละเอียดหุ้นกู้ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ (ล้านบาท)

หุ้นกู้ หัก ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ รวม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 69,994 (594) 69,400

38,540 (4) 38,536

69,994 (594) 69,400

38,540 (4) 38,536

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทมีสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย (Cross Currency Swap) กับสถาบันการเงินในประเทศ หลายแห่ง เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยของภาระหนี้สินทางการเงินระยะยาวสกุลเงินบาทเป็นจ�ำนวนเงิน รวม 7,000 ล้านบาท (2555: 10,023 ล้านบาท) โดยคู่สัญญามีข้อตกลงจะจ่ายช�ำระดอกเบี้ยและเงินต้นระหว่างกันตามเงื่อนไขและข้อก�ำหนด ที่ระบุไว้ในสัญญา


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

235

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

21 เจ้าหนี้การค้า (ล้านบาท)

หมายเหตุ

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 กิจการอื่น รวม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 16,653 13,341 19,023 14,740 14,901 13,274 13,116 11,619 31,554 26,615 32,139 26,359

ยอดเจ้าหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ (ล้านบาท)

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 18,507 14,094 19,266 14,146 13,047 12,516 12,873 12,213 - 5 - 31,554 26,615 32,139 26,359

22 เจ้าหนี้อื่น (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานค้างจ่าย 240 433 124 83 กองทุนน�้ำมันเชื้อเพลิงค้างจ่าย 219 661 219 661 เจ้าหนี้อื่น 1,603 710 1,459 586 อื่นๆ 1,236 438 1,052 445 รวม 3,298 2,242 2,854 1,775


236

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

23 ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 1 มกราคม 2,473 2,428 2,305 2,281 ผลประโยชน์ที่จ่าย (99) (98) (94) (73) ต้นทุนบริการปัจจุบัน และดอกเบี้ย 271 259 244 242 ต้นทุนบริการในอดีต - ผลประโยชน์ที่เป็นสิทธิขาด - 8 - 5 ก�ำไรจากการประมาณตามหลักการ คณิตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู้ในปี - (124) - (150) ลดลงจากการจ�ำหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อย (10) - - ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2,635 2,473 2,455 2,305 ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในรายการต่อไปนี้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ 194 62 172 17 ค่าใช้จ่ายในการขาย 1 - - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 76 81 72 80 รวม 271 143 244 97


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

237

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ข้อสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (ร้อยละต่อปี)

อัตราคิดลด อัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว การเพิ่มขึ้นของเงินเดือน 4.0-10.0 อัตราการหมุนเวียนของพนักงาน 0.0-1.5 อัตรามรณะ อ้างอิงตามตารางมรณะปี พ.ศ. 2551 (TMO08)

24 ทุนเรือนหุ้น

มูลค่าหุ้น 2556 2555 ต่อหุ้น จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนเงิน (บาท)

(ล้านหุ้น/ ล้านบาท)

ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ 10 2,040 20,400 2,040 20,400 ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ 10 2,040 20,400 2,040 20,400 หุ้นที่ออกและช�ำระแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ 10 2,040 20,400 2,040 20,400 ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ 10 2,040 20,400 2,040 20,400

25 ส่วนเกินทุนและสำ�รอง ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียนไว้ บริษัทต้องน�ำค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนส�ำรอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้


238

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ส�ำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนส�ำรอง (“ส�ำรองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าส�ำรองดังกล่าวมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ ทุนจดทะเบียน เงินส�ำรองนี้จะน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมแสดงในส่วนของผู้ถือหุ้นประกอบด้วยผลรวมการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ ทางการเงินเผื่อขายจนกระทั่งมีการตัดรายการหรือเกิดการด้อยค่า ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินแสดงในส่วนของผู้ถือหุ้นประกอบด้วยผลต่างการแปลงค่าทั้งหมดจากงบการเงินของหน่วยงานใน ต่างประเทศ

26 ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงาน กลุ่มบริษัทได้น�ำเสนอข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงานโดยแสดงส่วนงานธุรกิจเป็นรูปแบบหลักในการรายงาน ส่วนงานด�ำเนินงาน พิจารณาจากระบบการบริหารจัดการและโครงสร้างการรายงานทางการเงินภายในที่ได้รายงานต่อผู้มีอ�ำนาจการตัดสินใจสูงสุดด้านการ ด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทเป็นเกณฑ์ในการก�ำหนดส่วนงาน ผลการด�ำเนินงาน สินทรัพย์และหนี้สินตามส่วนงาน รวมรายการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่วนงานหรือที่สามารถปันส่วนให้กับส่วนงานได้ อย่างสมเหตุสมผล ส่วนงานที่รายงาน กลุ่มบริษัทเสนอส่วนงานที่รายงานดังนี้ ส่วนงานที่ 1 ส่วนงานที่ 2 ส่วนงานที่ 3 ส่วนงานที่ 4 ส่วนงานที่ 5 ส่วนงานที่ 6 ส่วนงานที่ 7 ส่วนงานที่ 8

ธุรกิจโรงกลั่นน�้ำมัน ธุรกิจโรงกลั่นน�้ำมันหล่อลื่น ธุรกิจปิโตรเคมี ธุรกิจโรงผลิตกระแสไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งน�้ำมันและเคมีภัณฑ์ ธุรกิจสารท�ำละลาย ธุรกิจเอทานอล ธุรกิจอื่นๆ


(ล้านบาท)

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 โรงกลั่น โรงผลิต ขนส่ง โรงกลั่น น�้ำมัน กระแส น�้ำมันและ สารท�ำ ตัดรายการ น�้ำมัน หล่อลื่น ปิโตรเคมี ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล อื่นๆ ระหว่างกัน รวม รายได้จากการขายสินค้า และการให้บริการ - ลูกค้าภายนอก 347,536 21,175 33,184 1,321 548 9,702 1,130 3 - 414,599 - ระหว่างส่วนงาน 61,693 5,779 31,335 4,119 684 79 375 513 (104,577) เงินปันผลรับ 3,039 - - - - - - - (3,039) ก�ำไรจากอนุพันธ์เพื่อ ประกันความเสี่ยงสุทธิ 1,292 - - - - - - - - 1,292 รายได้อื่น 3,085 166 445 469 26 19 25 24 (1,636) 2,623 รวมรายได้ 416,645 27,120 64,964 5,909 1,258 9,800 1,530 540 (109,252) 418,514 ต้นทุนขายสินค้าและ ต้นทุนการให้บริการ 401,090 24,783 60,410 5,009 838 8,988 1,220 443 (105,225) 397,556 ค่าใช้จ่ายในการขาย 403 232 79 - - 177 17 - (431) 477 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 1,891 125 72 16 202 209 53 15 (478) 2,105 (ก�ำไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน สุทธิ 3,412 (29) (242) (2) (7) (21) - - - 3,111 รวมค่าใช้จ่าย 406,796 25,111 60,319 5,023 1,033 9,353 1,290 458 (106,134) 403,249

ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนงานที่รายงาน

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6 ง บ ก า ร เ งิ น

239


(ล้านบาท)

ง บ ก า ร เ งิ น

ส่วนของก�ำไรส�ำหรับปีที่เป็น ของส่วนของ บริษัทใหญ่ 6,051 1,668 4,004 1,115 118 232 114 66 (2,974) 10,394 ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม - - 10 2 28 32 99 - 289 460 ก�ำไรส�ำหรับปี 6,051 1,668 4,014 1,117 146 264 213 66 (2,685) 10,854

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 โรงกลั่น โรงผลิต ขนส่ง โรงกลั่น น�้ำมัน กระแส น�้ำมันและ สารท�ำ ตัดรายการ น�้ำมัน หล่อลื่น ปิโตรเคมี ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล อื่นๆ ระหว่างกัน รวม ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุน ในบริษัทร่วมและกิจการ ที่ควบคุมร่วมกัน - - - 300 25 - 32 - 176 533 ก�ำไรก่อนต้นทุนทางการเงิน และค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 9,849 2,009 4,645 1,186 250 447 272 82 (2,942) 15,798 ต้นทุนทางการเงิน 3,766 1 - 6 102 109 59 - (257) 3,786 ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 6,083 2,008 4,645 1,180 148 338 213 82 (2,685) 12,012 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 32 340 631 63 2 74 - 16 - 1,158 ก�ำไรส�ำหรับปี 6,051 1,668 4,014 1,117 146 264 213 66 (2,685) 10,854

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น 240 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6


(ล้านบาท)

ต้นทุนขายสินค้าและ ต้นทุนการให้บริการ 428,329 27,246 64,142 16,125 934 8,922 628 334 (114,348) 432,312 ค่าใช้จ่ายในการขาย 439 158 125 - - 156 8 - (485) 401 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 1,588 127 78 156 90 207 155 15 (185) 2,231 รวมค่าใช้จ่าย 430,356 27,531 64,345 16,281 1,024 9,285 791 349 (115,018) 434,944

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 โรงกลั่น โรงผลิต ขนส่ง โรงกลั่น น�้ำมัน กระแส น�้ำมันและ สารท�ำ ตัดรายการ น�้ำมัน หล่อลื่น ปิโตรเคมี ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล อื่นๆ ระหว่างกัน รวม รายได้จากการขายสินค้า และการให้บริการ - ลูกค้าภายนอก 369,885 22,961 30,466 13,180 522 9,823 575 20 - 447,432 - ระหว่างส่วนงาน 64,965 6,128 37,395 3,944 711 33 40 357 (113,573) เงินปันผลรับ 3,246 - - - - - - - (3,246) ก�ำไร (ขาดทุน) จากอนุพันธ์เพื่อ ประกันความเสี่ยงสุทธิ 892 - (2) - - - - - - 890 ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ 1,927 16 10 24 3 7 - - - 1,987 รายได้อื่น 2,047 376 406 102 23 21 24 - (1,649) 1,350 รวมรายได้ 442,962 29,481 68,275 17,250 1,259 9,884 639 377 (118,468) 451,659

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6 ง บ ก า ร เ งิ น

241


(ล้านบาท)

ง บ ก า ร เ งิ น บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 โรงกลั่น โรงผลิต ขนส่ง โรงกลั่น น�้ำมัน กระแส น�้ำมันและ สารท�ำ ตัดรายการ น�้ำมัน หล่อลื่น ปิโตรเคมี ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล อื่นๆ ระหว่างกัน รวม ส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน - - - - 66 - (43) - 50 73 ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนต้นทุน ทางการเงินและค่าใช้จ่าย ภาษีเงินได้ 12,606 1,950 3,930 969 301 599 (195) 28 (3,400) 16,788 ต้นทุนทางการเงิน 2,259 1 22 50 100 112 65 - (266) 2,343 ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 10,347 1,949 3,908 919 201 487 (260) 28 (3,134) 14,445 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 742 205 646 71 12 109 - 4 - 1,789 ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี 9,605 1,744 3,262 848 189 378 (260) 24 (3,134) 12,656 ส่วนของก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปีที่เป็นของส่วนของ บริษัทใหญ่ 9,605 1,744 3,262 636 173 333 (161) 24 (3,296) 12,320 ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม - - - 212 16 45 (99) - 162 336 ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี 9,605 1,744 3,262 848 189 378 (260) 24 (3,134) 12,656

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น 242


(ล้านบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 โรงกลั่น โรงผลิต ขนส่ง โรงกลั่น น�้ำมัน กระแส น�้ำมันและ สารท�ำ ตัดรายการ น�้ำมัน หล่อลื่น ปิโตรเคมี ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล อื่นๆ ระหว่างกัน รวม ลูกหนี้การค้า 28,289 1,886 6,345 538 193 1,918 138 107 (10,668) 28,746 สินค้าคงเหลือ 42,361 3,227 1,740 49 40 756 362 - (26) 48,509 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 45,175 4,659 5,621 1,557 675 965 154 63 (8,975) 49,894 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 11,920 - - - - - - - (11,920) เงินลงทุนในบริษัทร่วม 1,261 - - 7,097 7 - 821 - 1,971 11,157 เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน - - - - 422 - - - - 422 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 36,558 3,275 16,677 2,164 2,737 1,902 1,520 - 634 65,467 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 3,400 68 769 33 7 1,308 3 141 (1,405) 4,324 รวมสินทรัพย์ 168,964 13,115 31,152 11,438 4,081 6,849 2,998 311 (30,389) 208,519 เจ้าหนี้การค้า 32,139 2,306 6,130 694 42 741 93 10 (10,601) 31,554 เงินกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงินที่ถึงก�ำหนด ก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี - - - 172 263 - 50 - - 485 หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 12,330 - - - - - - - - 12,330 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 9,369 298 454 58 175 2,755 1,094 43 (9,039) 5,207 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - - - 1,028 2,061 950 275 - - 4,314 หุ้นกู้ 57,070 - - - - - - - - 57,070 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 2,719 76 37 - 15 43 12 137 (318) 2,721 รวมหนี้สิน 113,627 2,680 6,621 1,952 2,556 4,489 1,524 190 (19,958) 113,681

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6 ง บ ก า ร เ งิ น

243


(ล้านบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 โรงกลั่น โรงผลิต ขนส่ง โรงกลั่น น�้ำมัน กระแส น�้ำมันและ สารท�ำ ตัดรายการ น�้ำมัน หล่อลื่น ปิโตรเคมี ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล อื่นๆ ระหว่างกัน รวม ลูกหนี้การค้า 25,796 1,304 5,667 1,793 124 1,726 - 29 (9,349) 27,090 สินค้าคงเหลือ 33,640 3,405 1,902 221 49 716 97 - (26) 40,004 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 30,270 4,312 1,904 3,661 343 981 108 46 (8,337) 33,288 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 11,533 - - - - - - - (11,533) เงินลงทุนในบริษัทร่วม 60 - - - - - 789 - 97 946 เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน - - - - 340 - - - - 340 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 31,084 3,619 15,800 8,521 2,809 968 1,590 - 473 64,864 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 3,167 59 505 1,240 16 1,235 6 125 (2,208) 4,145 รวมสินทรัพย์ 135,550 12,699 25,778 15,436 3,681 5,626 2,590 200 (30,883) 170,677

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น 244 ง บ ก า ร เ งิ น บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6


(ล้านบาท)

รายได้จากลูกค้ารายหนึ่งของกลุ่มบริษัทเป็นเงินประมาณ 192,982 ล้านบาท (2555 : 208,927 ล้านบาท) จากรายได้จากการขายสินค้าและบริการของกลุ่มบริษัท

ลูกค้ารายใหญ่

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 โรงกลั่น โรงผลิต ขนส่ง โรงกลั่น น�้ำมัน กระแส น�้ำมันและ สารท�ำ ตัดรายการ น�้ำมัน หล่อลื่น ปิโตรเคมี ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล อื่นๆ ระหว่างกัน รวม เจ้าหนี้การค้า 26,359 1,524 5,408 1,661 104 802 9 2 (9,254) 26,615 เงินกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงินที่ถึงก�ำหนด ก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 596 - - 449 233 - - - - 1,278 หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 2,750 - - - - - - - - 2,750 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 8,134 210 529 118 262 2,712 985 22 (8,444) 4,528 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 3,874 - - 468 1,709 - 325 - - 6,376 หุ้นกู้ 35,786 - - - - - - - - 35,786 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 2,588 89 37 14 14 40 10 120 (292) 2,620 รวมหนี้สิน 80,087 1,823 5,974 2,710 2,322 3,554 1,329 144 (17,990) 79,953

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6 ง บ ก า ร เ งิ น

245


246

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

27 รายได้อื่น (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ดอกเบี้ยรับ 1,577 901 1,634 890 รายได้จากการให้เช่าที่ดิน 18 10 68 59 รายได้ค่าบริการ 50 10 1,075 891 ก�ำไรจากการขายเงินลงทุน 568 - - รายได้ค่าสินไหมทดแทนจากการที่ธุรกิจหยุดชะงัก - 18 - รายได้จากการชนะคดีความจากการ ถูกประเมินภาษีสรรพสามิต - 118 - อื่นๆ 410 293 309 207 รวม 2,623 1,350 3,086 2,047

28 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ค่าที่ปรึกษาและกฎหมาย 221 109 213 82 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร 881 897 703 672 ค่าเสื่อมราคา 98 175 59 47 ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ 108 - - อื่นๆ 797 1,050 916 787 รวม 2,105 2,231 1,891 1,588


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

247

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

29 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าแรง 204 205 156 119 เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ 19 17 16 11 เงินสมทบกองทุนเงินบ�ำเหน็จ 14 66 14 48 อื่นๆ 137 166 95 111 374 454 281 289

พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง 1,830 1,893 1,289 1,299 เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ 117 118 94 94 เงินสมทบกองทุนเงินบ�ำเหน็จ 141 40 141 40 อื่นๆ 379 291 300 188 2,467 2,342 1,824 1,621 รวม 2,841 2,796 2,105 1,910 กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับพนักงานของกลุ่มบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเข้าเป็นสมาชิกของ กองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราระหว่างร้อยละ 2 ถึงอัตราร้อยละ 15 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริษัทจ่ายเงินสมทบเป็น รายเดือนในอัตราระหว่างร้อยละ 2 ถึงอัตราร้อยละ 15 ของเงินเดือนของพนักงาน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพตามข้อก�ำหนดของกระทรวงการคลัง และจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต


248

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

30 ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ งบก�ำไรขาดทุนนี้ได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ ส�ำหรับค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่ส�ำคัญมีรายละเอียดดังนี้ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

การเปลี่ยนแปลงในสินค้าส�ำเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิต (1,596) (2,576) (2,064) (1,527) ซื้อสินค้าและวัตถุดิบที่ใช้ไป 362,347 386,476 375,403 400,785 ค่าก๊าซธรรมชาติใช้ไป 7,506 17,761 3,177 3,447 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน 2,841 2,796 2,105 1,910 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย 6,047 6,640 3,820 3,915 ภาษีสรรพสามิต 14,491 19,796 14,491 19,796

31 ต้นทุนทางการเงิน (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ดอกเบี้ยจ่ายที่เกี่ยวกับสถาบันการเงินและอื่นๆ 3,736 2,271 3,720 2,197 ค่าใช้จ่ายทางการเงิน 55 73 46 62 3,791 2,344 3,766 2,259 ส่วนที่บันทึกเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง (5) (1) - สุทธิ 3,786 2,343 3,766 2,259


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

249

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

32 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ (ล้านบาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ภาษีเงินได้ปัจจุบัน ส�ำหรับปีปัจจุบัน 1,393 1,831 238 811 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 18 การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชั่วคราว (235) (32) (206) (60) อัตราภาษีเงินได้ลดลง - (10) - (9) รวม 1,158 1,789 32 742 การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริง (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 12,012 14,445 6,083 10,347 จ�ำนวนภาษีเงินได้ตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล 2,402 3,322 1,217 2,380 การลดภาษีเงินได้ – รอการตัดบัญชี - (10) - (9) รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี (1,420) (1,583) (1,336) (1,651) ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี 183 71 151 22 การใช้ขาดทุนทางภาษีที่เดิมไม่ได้บันทึก (7) (11) - รวม 1,158 1,789 32 742


250

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

การลดภาษีเงินได้นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 530 พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2554 ให้ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิเป็นระยะเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชีได้แก่ปี 2555 2556 และ 2557 จากอัตราร้อยละ 30 เหลืออัตราร้อยละ 23 ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 และร้อยละ 20 ของก�ำไรสุทธิส�ำหรับสองรอบ ระยะเวลาบัญชีถัดมา (2556 และ 2557) ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และ 2557 ตามล�ำดับ ทั้งนี้เป็นที่เชื่อได้ว่ารัฐบาลจะด�ำเนินการแก้ไขกฎหมายเพื่อให้อัตราภาษีไม่สูงไปกว่าร้อยละ 20 ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือ หลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2554 ในการเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ

33 สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนอนุมัติให้บริษัทและบริษัทย่อยในประเทศบางแห่งได้รับสิทธิประโยชน์หลายประการในฐานะผู้ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับการผลิตน�้ำมันเชื้อเพลิงส�ำเร็จรูป ผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�้ำ การผลิตผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมี การผลิตผลิตภัณฑ์เคมี การผลิตเอทานอล การให้บริการขนส่งทางเรือ การให้บริการทุ่นรับน�้ำมันดิบ กลางทะเล และเขตอุตสาหกรรม ซึ่งพอสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ (ก) ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีส�ำหรับเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ได้รับอนุมัติโดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (ข) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมเป็นระยะเวลา 3 ถึง 8 ปี นับแต่ วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น และ (ค) ให้ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 50 ส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีก�ำหนด เวลา 5 ปี นับแต่วันที่สิ้นสุดสิทธิประโยชน์ตามข้อ (ข) เนื่องจากเป็นกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน บริษัทและบริษัทย่อยดังกล่าวจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อก�ำหนดตามที่ระบุไว้ใน บัตรส่งเสริมการลงทุน


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

251

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

รายได้ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสรุปได้ดังนี้ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม 2556 2555 กิจการ กิจการ กิจการ กิจการ ที่ได้รับ ที่ไม่ได้รับ ที่ได้รับ ที่ไม่ได้รับ การส่งเสริม การส่งเสริม รวม การส่งเสริม การส่งเสริม รวม ขายต่างประเทศ 56,395 22,275 78,670 8,829 55,576 64,405 ขายในประเทศ 359,375 84,414 443,789 424,788 75,379 500,167 ตัดรายการระหว่างกัน (107,860) (117,140) รวมรายได้ 414,599 447,432 (ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 กิจการ กิจการ กิจการ กิจการ ที่ได้รับ ที่ไม่ได้รับ ที่ได้รับ ที่ไม่ได้รับ การส่งเสริม การส่งเสริม รวม การส่งเสริม การส่งเสริม รวม ขายต่างประเทศ 40,986 3,530 44,516 - 34,449 34,449 ขายในประเทศ 333,774 30,939 364,713 396,302 4,099 400,401 รวมรายได้ 409,229 434,850


252

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

34 กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ค�ำนวณจากก�ำไรส�ำหรับปีที่เป็นส่วนของบริษัทใหญ่และจ�ำนวน หุ้นสามัญที่ออกจ�ำหน่ายแล้วในระหว่างปีตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก โดยแสดงการค�ำนวณดังนี้ (ล้านบาท/ล้านหุ้น)

ก�ำไรส�ำหรับปีที่เป็นส่วนของบริษัทใหญ่ จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว ในระหว่างปีตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ก�ำไรต่อหุ้น (ขั้นพื้นฐาน) (บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 10,394 12,320 6,051 9,605 2,040 5.09

2,040 6.04

2,040 2.97

2,040 4.71

35 เงินปันผล ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2556 คณะกรรมการของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลระหว่างกาล ส�ำหรับปี 2556 ในอัตราหุ้นละ 0.80 บาท เป็นจ�ำนวนเงินรวม 1,632 ล้านบาท เงินปันผลระหว่างกาลดังกล่าวได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัท แล้วในเดือนกันยายน 2556 ในการประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2556 ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลส�ำหรับ ปี 2555 ในอัตราหุ้นละ 2.70 บาท เป็นจ�ำนวนเงินรวม 5,508 ล้านบาท เงินปันผลส�ำหรับปีดังกล่าวได้รวมเงินปันผลระหว่างกาลในอัตรา หุ้นละ 0.50 บาท ซึ่งบริษัทได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนกันยายน 2555 ดังนั้นเงินปันผลที่จะต้องจ่ายเพิ่มอีกจึงเท่ากับอัตรา หุ้นละ 2.20 บาท คิดเป็นจ�ำนวนเงินรวม 4,488 ล้านบาท ได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนเมษายน 2556 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2555 คณะกรรมการของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลระหว่างกาล ส�ำหรับปี 2555 ในอัตราหุ้นละ 0.50 บาท เป็นจ�ำนวนเงินรวม 1,020 ล้านบาท เงินปันผลระหว่างกาลดังกล่าวได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัท แล้วในเดือนกันยายน 2555 ในการประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2555 ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลส�ำหรับ ปี 2554 ในอัตราหุ้นละ 3.30 บาท เป็นจ�ำนวนเงินรวม 6,732 ล้านบาท เงินปันผลส�ำหรับปีดังกล่าวได้รวมเงินปันผลระหว่างกาลในอัตรา หุ้นละ 1.30 บาท ซึ่งบริษัทได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนกันยายน 2554 ดังนั้นเงินปันผลที่จะต้องจ่ายเพิ่มอีกจึงเท่ากับอัตรา หุ้นละ 2.00 บาท คิดเป็นจ�ำนวนเงินรวม 4,080 ล้านบาท ได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนเมษายน 2555


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

253

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

36 เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากการด�ำเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และจาก การไม่ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริษัทไม่มีการถือหรือออกเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์เพื่อการเก็ง ก�ำไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนส�ำคัญของธุรกิจของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุลของระดับความเสี่ยงที่ยอมรับ ได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝ่ายบริหารได้มีการควบคุมกระบวนการการจัดการ ความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่าเกิดความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง การบริหารจัดการส่วนทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการส่วนทุนของกลุ่มบริษัทคือ เพื่อด�ำรงไว้ซึ่งความสามารถในการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างผลตอบแทน ต่อผู้ถือหุ้นของกลุ่มบริษัทและเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียอื่น ฝ่ายบริหารได้มีการก�ำหนดกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของ กลุ่มบริษัทให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และมีผลประกอบการและฐานะการเงินที่ดีและแข็งแกร่งยิ่งขึ้น รวมทั้งการก�ำหนดนโยบายการ จ่ายเงินปันผลและการบริหารเงินทุนเพื่อการด�ำรงไว้ซึ่งโครงสร้างของทุนและต้นทุนทางการเงินของทุนที่เหมาะสม ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยหมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท ดังนั้นกลุ่มบริษัทจึงได้ท�ำสัญญาเพื่อป้องกันความเสี่ยงกับสถาบันการเงินหลายแห่ง ที่อยู่ในอันดับการลงทุนที่น่าเชื่อถือเพื่อป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินให้กู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 และระยะที่ครบก�ำหนดรับช�ำระมีดังนี้

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

งบการเงินรวม ภายใน 1 ปี

หลังจาก 1 ปี

รวม

(ร้อยละต่อปี) (ล้านบาท)

ปี 2556 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ MLR หักอัตราส่วนลด 42 598 640 ออมทรัพย์ของพนักงาน เงินให้กู้ยืมแก่พนักงาน MMR หักอัตราส่วนลด 1 4 5 รวม 43 602 645


254

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

งบการเงินรวม ภายใน 1 ปี

หลังจาก 1 ปี

รวม

(ร้อยละต่อปี) (ล้านบาท)

ปี 2555 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ MLR หักอัตราส่วนลด 40 537 577 ออมทรัพย์ของพนักงาน เงินให้กู้ยืมแก่พนักงาน MMR หักอัตราส่วนลด 1 5 6 รวม 41 542 583

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

งบการเงินเฉพาะกิจการ ภายใน 1 ปี หลังจาก 1 ปี

รวม

(ร้อยละต่อปี) (ล้านบาท)

ปี 2556 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย MMR แต่ไม่เกิน MLR ถัวเฉลี่ยของ ธนาคาร 5 แห่ง หักอัตราส่วนลด 2,923 - 2,923 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ MLR หักอัตราส่วนลด 42 598 640 ออมทรัพย์ของพนักงาน รวม 2,965 598 3,563 ปี 2555 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย MMR แต่ไม่เกิน MLR ถัวเฉลี่ยของ ธนาคาร 5 แห่ง หักอัตราส่วนลด 3,184 - 3,184 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ MLR หักอัตราส่วนลด 40 537 577 ออมทรัพย์ของพนักงาน รวม 3,224 537 3,761


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

255

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 และระยะเวลาที่ครบก�ำหนดช�ำระ ได้เปิดเผยไว้แล้วในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 20 ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งเกิดจากการซื้อวัตถุดิบและเงินกู้ยืมระยะยาวที่เป็นสกุลเงินต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทได้ท�ำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าบางส่วน เพื่อป้องกันความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนในระยะสั้นตาม ความเหมาะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นผลมาจากการมีสินทรัพย์และ หนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศดังนี้ (ล้านบาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 7 5,478 253 5,031 ลูกหนี้การค้า 9 7,621 3,851 4,982 1,822 ลูกหนี้อื่น 186 158 186 158 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 20 (51,400) (20,785) (51,400) (20,478) เจ้าหนี้การค้า 21 (13,047) (12,516) (12,873) (12,213) เจ้าหนี้อื่น (226) (44) (208) (27) (51,388) (29,083) (54,282) (30,738)

สกุลอื่นๆ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 7 17 128 - ลูกหนี้การค้า 9 282 222 - ลูกหนี้อื่น 4 2 2 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 20 (130) - - เจ้าหนี้การค้า 21 - (5) - เจ้าหนี้อื่น (46) (23) (45) (14) 127 324 (43) (14) ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง (51,261) (28,759) (54,325) (30,752) สัญญาซื้อขายเงินต่างประเทศ (599) - - ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ (51,860) (28,759) (54,325) (30,752)


256

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อคือ ความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถช�ำระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้เมื่อครบก�ำหนด เนื่องจาก กลุ่มบริษัทด�ำเนินธุรกิจกับลูกค้าที่เป็นบริษัทขนาดใหญ่ในกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและไฟฟ้า และก�ำหนดให้มีการวางหลักประกันชั้นดี ส�ำหรับลูกค้าอื่นๆ ท�ำให้กลุ่มบริษัทไม่มีความเสี่ยงที่เป็นสาระส�ำคัญด้านสินเชื่อกับบริษัทใดบริษัทหนึ่งหรือในกลุ่มของบริษัท ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอต่อการ ด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท และเพื่อท�ำให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมหมายถึง จ�ำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์หรือช�ำระหนี้สินกัน ในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และเต็มใจ ในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน กลุ่มบริษัทใช้วิธีการและสมมติฐานดังต่อไปนี้ในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้จะครบก�ำหนดในระยะเวลาอันสั้น มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่เป็นตราสารทุนประเภทเผื่อขาย พิจารณาโดยอ้างอิงกับมูลค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยลงทุน ณ วันที่ในรายงาน มูลค่ายุติธรรมของเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และเจ้าหนี้การค้าและอื่นๆ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคา ที่บันทึกไว้ในบัญชี เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้จะครบก�ำหนดในระยะเวลาอันสั้น มูลค่ายุติธรรมของเงินให้กู้ยืมระยะยาวและเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ซึ่งเป็นอัตราท้องตลาดมีราคาตามบัญชีใกล้เคียงกับ มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่ตราสารอนุพันธุ์ ซึ่งพิจารณาเพื่อวัตถุประสงค์ในการเปิดเผยในงบการเงิน ค�ำนวณจากมูลค่า ปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตของเงินต้นและดอกเบี้ย และคิดลดโดยใช้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ณ วันที่ในรายงาน หรือใช้ราคาตลาด ณ วันที่รายงาน ในกรณีที่มีราคาตลาด


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

257

ง บ ก า ร เ งิ น

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

มูลค่ายุติธรรมและมูลค่าตามบัญชีของหุ้นกู้ตามที่ปรากฏในงบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่ายุติธรรม มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม มูลค่าตามบัญชี

ปี 2556 หมุนเวียน หุ้นกู้ 11,753 12,330 11,753 12,330

ไม่หมุนเวียน หุ้นกู้ 53,554 57,070 53,554 57,070 รวม 65,307 69,400 65,307 69,400

ปี 2555 หมุนเวียน หุ้นกู้ 2,809 2,750 2,809 2,750

ไม่หมุนเวียน หุ้นกู้ 37,317 35,786 37,317 35,786 รวม 40,126 38,536 40,126 38,536


258

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

37 ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555

ภาระผูกพันส�ำหรับรายจ่ายฝ่ายทุน สัญญาก่อสร้างโครงการ 22,955 7,192 15,035 6,747 สัญญาค่าสิทธิ 1,113 - - สัญญาอื่นๆ 750 - - รวม 24,818 7,192 15,035 6,747 ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานที่ไม่สามารถยกเลิกได้ ภายในระยะเวลาหนึ่งปี 208 217 201 200 ภายหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี 851 829 842 812 ภายหลังจากห้าปี 852 1,084 852 1,083 รวม 1,911 2,130 1,895 2,095 ภาระผูกพันอื่นๆ สัญญารับบริการจัดการสินค้า 134 30 - สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 599 - - หนังสือค�้ำประกันจากสถาบันการเงิน 584 682 404 403 สัญญาการสั่งซื้อน�้ำมันดิบ 45,617 48,500 45,617 48,500 รวม 46,934 49,212 46,021 48,903


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

259

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

สัญญาซื้อกระแสไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (“กฟผ.”) มีสัญญาซื้อกระแสไฟฟ้ากับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเป็นระยะเวลา 25 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2566 โดยบริษัทย่อยดังกล่าวจะจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. ในปริมาณและราคาที่ตกลงกัน ในฐานะที่บริษัทย่อยดังกล่าวเป็นคู่สัญญากับ กฟผ. บริษัทย่อยจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อก�ำหนดต่างๆ ที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา

38 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริษัทมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้นดังนี้ ก) บริษัทมีสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน�้ำมันส�ำเร็จรูปและน�้ำมันดิบล่วงหน้ากับบริษัทต่างประเทศหลายแห่ง (“คู่สัญญา”) โดยบริษัท หรือคู่สัญญาดังกล่าวมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายส่วนต่างระหว่างราคาคงที่กับราคาลอยตัวส�ำหรับงวดนั้นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทมีปริมาณน�้ำมันภายใต้สัญญาดังกล่าวเป็นจ�ำนวน 20.7 ล้านบาร์เรล (2555: 13.2 ล้านบาร์เรล) ข) บริษัทมีสัญญา Commodity Option กับบริษัทต่างประเทศหลายแห่ง (“คู่สัญญา”) โดยบริษัทหรือคู่สัญญาดังกล่าวมีภาระผูกพันที่ จะต้องจ่ายส่วนต่างระหว่างราคาใช้สิทธิ (Strike Price) กับราคาลอยตัวของราคาน�้ำมันดิบ (Floating Price) เมื่อครบก�ำหนดอายุสัญญา (Maturity Date) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทมีปริมาณน�้ำมันดิบภายใต้สัญญาดังกล่าว เป็นจ�ำนวน 0.3 ล้านบาร์เรล (2555: ไม่มี)

39 นโยบายประกันภัย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริษัทได้ท�ำกรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองความเสี่ยงทุกประเภทรวมถึงการชดเชยการสูญเสียรายได้กับกลุ่ม ผู้รับประกันและผู้รับประกันต่อ โดยมีวงเงินประกันรวม 9,242 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (2555: 7,501 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา) กรมธรรม์ ดังกล่าวมีการต่ออายุทุกปีโดยบริษัทย่อยบางแห่งได้โอนสิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยให้กับเจ้าหนี้ตามสัญญาเงินกู้


260

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

40 เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557 คณะกรรมการของบริษัทได้มีมติเห็นชอบให้เสนอที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินปันผลส�ำหรับปี 2556 ในอัตราหุ้นละ 2.30 บาท เป็นจ�ำนวนเงินรวม 4,692 ล้านบาท เงินปันผล ส�ำหรับปีดังกล่าวได้รวมเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 0.80 บาท ซึ่งบริษัทได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนกันยายน 2556 ดังนั้นเงินปันผลที่จะต้องจ่ายเพิ่มอีกจึงเท่ากับอัตราหุ้นละ 1.50 บาท คิดเป็นจ�ำนวนเงินรวม 3,060 ล้านบาท โดยมีก�ำหนดการ จ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้นในวันที่ 30 เมษายน 2557 ทั้งนี้การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวขึ้นอยู่กับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของ บริษัทในวันที่ 2 เมษายน 2557

41 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้ บริษัทและบริษัทย่อยในประเทศยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและ ปรับปรุงใหม่แต่ยังไม่มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ ก�ำหนดให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง

ปีที่มีผลบังคับใช้

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555)

การน�ำเสนองบการเงิน

2557

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555)

งบกระแสเงินสด

2557

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555)

ภาษีเงินได้

2557

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555)

สัญญาเช่า

2557

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555)

รายได้

2557

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555)

ผลประโยชน์ของพนักงาน

2557

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ

2557

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555)

การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

2557

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555)

เงินลงทุนในบริษัทร่วม

2557

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555)

ส่วนได้เสียในการร่วมค้า

2557


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

261

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง

ปีที่มีผลบังคับใช้

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555)

งบการเงินระหว่างกาล

2557

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555)

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

2557

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555)

การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์

2557

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555)

การรวมธุรกิจ

2557

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4

สัญญาประกันภัย

2559

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการด�ำเนินงาน (ปรับปรุง 2555) ที่ยกเลิก

2557

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555)

2557

ส่วนงานด�ำเนินงาน

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะและหนี้สินที่มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน

2557

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4

2557

การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอน การบรูณะและ การปรับปรุงสภาพแวดล้อม

2557

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่มีภาวะ เงินเฟ้อรุนแรง

2557

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10

งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า

2557

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12

ข้อตกลงสัมปทานบริการ

2557

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13

โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า

2557


262

ง บ ก า ร เ งิ น

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง

ปีที่มีผลบังคับใช้

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17

การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ

2557

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18

การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า

2557

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15

สัญญาเช่าด�ำเนินงาน – สิ่งจูงใจที่ให้แก่ผู้เช่า

2557

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27

การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ท�ำขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย

2557

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29

การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ

2557

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน – ต้นทุนเว็บไซต์

2557

ผู้บริหารคาดว่าจะน�ำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ตามประกาศ วิชาชีพบัญชีมาใช้และถือปฏิบัติ โดยผู้บริหารพิจารณาถึงผลกระทบจากการใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังกล่าวต่องบการเงินของกลุ่มบริษัทซึ่งคาดว่าไม่มีผลกระทบที่มีสาระส�ำคัญต่องบการเงินในงวด ที่ถือปฏิบัติ


บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6

ง บ ก า ร เ งิ น

263

ค่ า ต อ บ แ ท น ผู้ ส อ บ บั ญ ชี 2 5 5 6 1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fees) บริษัทฯ บริษัทย่อย และกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพพนักงานกลุ่มบริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีที่ผ่านมา จ�ำนวน 6,143,000 บาท (หกล้านหนึ่งแสนสี่หมื่นสามพันบาทถ้วน)

2. ค่าบริการอื่น ๆ (Non-Audit Fees) บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนค่าบริการอื่นๆ ซึ่งได้แก่การตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขของบัตรส่งเสริมการลงทุนและ ค่าธรรมเนียมในการจัดท�ำ Letter of Comfort และ Accounting Comments ให้แก่ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีที่ผ่านมา จ�ำนวน 10,225,000 บาท (สิบล้านสองแสนสองหมื่นห้าพันบาทถ้วน)


264

ง บ ก า ร เ งิ น

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 5 6


Professionalism ท ำ ง า น อ ย า ง มื อ อ า ชี พ

Ownership and Commitment มี ค ว า ม รั ก ผู ก พั น แ ล ะ เ ป น เ จ า ข อ ง อ ง ค ก ร

Social Responsibility ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต อ สั ง ค ม

Integrity ค ว า ม ซื่ อ สั ต ย แ ล ะ ยึ ด มั่ น ใ น ค ว า ม ถู ก ต อ ง แ ล ะ เ ป น ธ ร ร ม

Teamwork and Collaboration ค ว า ม ร ว ม มื อ ท ำ ง า น เ ป น ที ม

Initiative ค ว า ม ริ เ ริ่ ม ส ร า ง ส ร ร ค

Vision Focus ก า ร มุ ง มั่ น ใ น วิ สั ย ทั ศ น

Excellence Striving ก า ร มุ ง มั่ น สู ค ว า ม เ ป น เ ลิ ศ


สํ า นั ก ง า น ก รุ ง เ ท พ

สํ า นั ก ง า น ศ รี ร า ช า แ ล ะ โ ร ง ก ลั่ น นํ้ า มั น

เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2797-2999, 0-2797-2900, 0-2299-0000 โทรสาร : 0-2797-2970

42/1 หมู่ที่1 ถนนสุขุมวิท กม.124 ตำบลทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : 0-3840-8500, 0-3835-9000 โทรสาร : 0-3835-1554, 0-3835-1444 www.thaioilgroup.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.