∫ √‘ …— ∑ ‰ ∑ ¬ Õ Õ ¬ ≈å ® ” °— ¥ ( ¡ À “ ™ π ) √ “ ¬ ß “ π ª √ – ® ” ªï 2 5 5 0
° “ √ ‡ μ‘ ∫ ‚ μ Õ ¬à “ ß ¬—Ë ß ¬◊ π
«‘ —¬∑—»πå·≈–æ—π∏°‘®¢Õß∫√‘…—∑œ ª√–®”ªï 2549-2553
«‘ —¬∑—»πå ‰∑¬ÕÕ¬≈å¡ÿàß∑’Ë®–‡ªìπºŸâπ”„π°“√¥”‡π‘π∏ÿ√°‘®‡™‘ß∫Ÿ√≥“°“√¥â“π°“√°≈—ËππÈ”¡—π ·≈–ªî ‚ μ√‡§¡’ ∑ ’ Ë μ à Õ ‡π◊ Ë Õ ßÕ¬à “ ߧ√∫«ß®√„π¿Ÿ ¡ ‘ ¿ “§ ‚¥¬¡’ ° “√‡μ‘ ∫ ‚μ∑’ Ë ¬ — Ë ß ¬◊ π “¡“√∂‡æ‘ Ë ¡ ¡Ÿ ≈ §à “ ·°à º Ÿâ ¡ ’ à « π‰¥â à « π‡ ’ ¬ Õ¬à “ ߇À¡“– ¡ ·≈–§”π÷ ß ∂÷ ß ¥ÿ ≈ ¬¿“æ ¥â“π ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ ·≈–°“√‡Õ◊ÈÕª√–‚¬™πåμàÕ —ߧ¡
æ—π∏°‘® ¥”√ß ∂“𖇪ì π ‚√ß°≈— Ë π À≈— ° ∑’ Ë ‡ Õ◊ È Õ ª√–‚¬™πå Ÿ ß ÿ ¥ „π°“√∫√‘ À “√®— ¥ °“√¢Õß °≈ÿà¡‚√ß°≈—Ëπ ªμ∑. ¢¬“¬¢’¥§«“¡ “¡“√∂‡æ◊ËÕμÕ∫ πÕߧ«“¡μâÕß°“√¿“¬„π ª√–‡∑»∑’ˇæ‘Ë¡¡“°¢÷Èπ ‡ √‘¡ √â“ß»—°¬¿“æ°“√·¢àߢ—π„π∞“π–ºŸâº≈‘μ‰øøÑ“‡æ◊ËÕ ‡æ‘Ë¡§«“¡·¢Áß·°√àß„Àâ∏ÿ√°‘®À≈—° °â“« ŸàÕߧå°√·Ààߧ«“¡‡ªìπ‡≈‘»¥â«¬∑’¡ß“π ∑’Ë¡ÿàß √â“ß √√§å ‘Ëß„À¡à∫πæ◊Èπ∞“π·Ààߧ«“¡‡™◊ËÕ¡—Ëπ√–À«à“ß°—π
00
สารบัญ
002
038
069
ข้อมูลสำคัญทางการเงิน
ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ ในรอบปี 2550
รายการระหว่างกัน
014
042
073
สารจากคณะกรรมการ
ระบบการจัดการด้านบริหาร งานคุณภาพ อาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
016
046
083
รายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ
ความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนร่วมกัน
การบริหารความเสี่ยง
018
049
085
ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ
ภาวะอุตสาหกรรม และการแข่งขัน
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ
022
056
093
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
โครงการในอนาคต
การควบคุมภายในของบริษัทฯ
025
058
095
คณะกรรมการบริษัทฯ
การดำเนินงานและการดำเนินธุรกิจ ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี
รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน
032
063
097
โครงสร้างองค์กร
การบริหารทรัพยากรบุคคล
งบการเงิน
034
065
187
คณะผู้บริหาร
คำอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน
ศัพท์เทคนิคและคำนิยาม
00
ข้อมูลสำคัญ ทางการเงิน
ข้อมูลสำคัญ ทางการเงิน 2549(1)
2550
2548
ผลการดำเนินงาน รายได้จากการขาย EBITDA กำไรสุทธิ กำไรต่อหุ้น
ล้านบาท ” ” บาทต่อหุ้น
261,051 29,030 19,176 9.40
279,109 24,577 17,659 8.66
249,111 29,003 18,753 9.19
ล้านบาท ” ”
137,063 65,177 71,886
110,324 50,158 60,166
124,169 57,316 66,852
ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ
ลานบาท
ลานบาท
150,000
300,000
125,000
250,000
100,000
200,000
75,000
150,000
50,000
100,000
25,000
50,000
0
0
สินทรัพยรวม
2548
2549
2550
รายไดจากการขาย
2548
2549
2550
ข้อมูลสำคัญ ทางการเงิน
2550
2549(1)
2548
16.8 0.4
12.8 0.4
13.5 0.4
86.50 176,462 4.50(2) 5.2
52.50 107,101 3.50 6.7
63.50 129,542 3.50 5.5
อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนความสามารถชำระดอกเบี้ย อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
เท่า ”
ข้อมูลสำคัญในตลาดทุน ราคาปิดของหุ้น ณ วันสิ้นงวด มูลค่าตลาดรวม เงินปันผล อัตราผลตอบแทนเงินปันผล(3)
บาทต่อหุ้น ล้านบาท บาทต่อหุ้น ร้อยละ
หมายเหตุ : (1) ปรับปรุงผลกระทบจากการเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเรื่อง 1) การบันทึกสินทรัพย์ถาวรจากวิธีตีราคาเป็นวิธีราคาทุน 2) การบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและ บริษัทร่วมเป็นวิธีราคาทุน และ 3) เปลี่ยนวิธีการคำนวณราคาทุนของต้นทุนน้ำมันดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และน้ำมันเชื้อเพลิงตามราคาทุนเป็นวิธีถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนัก (2) รวมเงินปันผลระหว่างกาลสำหรับผลประกอบการ 6 เดือนแรกของปี 2550 อัตราหุ้นละ 1.75 บาท ซึ่งจ่ายเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2550 และคงเหลือเป็นเงิน ปันผลที่จะจ่ายอีกในอัตราหุ้นละ 2.75 บาท โดยจะนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ประจำปี 2551 อนุมัติต่อไป (3) คำนวณจากราคาปิดของหุ้น ณ วันสิ้นงวด
ลานบาท
ลานบาท
100,000
35,000
80,000
28,000
60,000
21,000
40,000
14,000
20,000
7,000
0
0
สวนของผูถือหุน - สุทธิ
2548
2549
2550
กำไรสุทธิ
2548
2549
2550
00
00
00
00
00
00
0010
0011
0012
0013
014
สารจาก คณะกรรมการ
สารจาก คณะกรรมการ
นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์
ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)
นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์
กรรมการอำนวยการ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)
ปี 2550 นับเป็นปีมหามงคลอีกปีหนึง ่ ทีม ่ ค ี วามสำคัญ ยิง ่ ต่อปวงชนชาวไทย เนือ ่ งจากเป็นปีทพ ่ี ระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระชนมายุครบ 80 พรรษาใน วันที่ 5 ธันวาคม 2550 พสกนิกรทุกหมู่เหล่าต่าง พร้อมใจกันแสดงความจงรักภักดีและสำนึกในพระมหา กรุณาธิคณ ุ ด้วยการทำความดีเพือ ่ ถวายเป็นพระราชกุศล
ในวโรกาสอันสำคัญยิง่ นี้ บริษทั ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ได้รว่ ม แสดงความจงรักภักดีดว้ ยการดำเนินโครงการต่างๆ เพือ่ เทิดพระเกียรติ และถวายเป็นพระราชกุศล อาทิ โครงการศูนย์สขุ ภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน โครงการสารคดีเฉลิมพระเกียรติ ชุด “ประพาสต้นบนดอย” และโครงการแต่งแต้ม เติมฝัน ตามรอยบาท พ่อหลวง เป็นต้น ในรอบปีที่ผ่านมา ราคาน้ำมันในตลาดโลกมีความผันผวนมาก โดยขึ้นสูงสุดกว่า 90 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในช่วงปลายปี
เนือ่ งจากสถานการณ์ความตึงเครียดในตะวันออกกลาง ภัยพิบตั ทิ าง ธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ ทัว่ โลก และเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐฯ ทีอ่ อ่ นค่าลง อย่างต่อเนื่อง อีกทั้งสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศที่ยังมี ความไม่แน่นอน แต่ด้วยความร่วมมือร่วมใจในการปฏิบัติงานของ พนักงานบริษัทฯ และบริษัทในเครือ กอปรกับความมุ่งมั่นของ คณะกรรมการบริษัทฯ ในการกำหนดทิศทางและวางแผนกลยุทธ์ ในการดำเนินธุรกิจร่วมกับฝ่ายจัดการ ทำให้บริษัทฯ สามารถ ดำเนินกิจการประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ดังจะเห็นได้จากผล ประกอบการในรอบปีทผี่ า่ นมา โดยมีกำไรสุทธิรวมของเครือฯ ทัง้ สิน้ 19,176 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นร้อยละ 9 และบริษทั ฯ สามารถ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลสำหรับผลประกอบการ 6 เดือนแรกของ ปี 2550 ให้แก่ผู้ถือหุ้นได้ในอัตรา 1.75 บาทต่อหุ้น นอกจากนี้ ความสำเร็จครัง้ สำคัญซึง่ นับเป็นความภาคภูมใิ จอย่างยิง่ ของบริษทั ฯ คือ บริษัทฯ สามารถดำเนินการก่อสร้างหน่วยกลั่นส่วนขยายเพื่อ เพิ่มกำลังการผลิตของหน่วยกลั่นน้ำมันดิบหน่วยที่ 3 (CDU-3) รวมถึงการหยุดเดินเครื่องเพื่อซ่อมบำรุงครั้งใหญ่ตามวาระของ
สารจาก คณะกรรมการ
หน่วยกลั่นต่างๆ แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2550 ซึ่งเร็วกว่า กำหนดประมาณ 1 สัปดาห์ และสามารถดำเนินการผลิตได้เต็ม กำลังตามที่ได้ออกแบบไว้ ทำให้ปัจจุบันบริษัทฯ มีกำลังการกลั่น เพิ่มจาก 225,000 บาร์เรลต่อวัน เป็น 275,000 บาร์เรลต่อวัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 22 ในด้านการบริหารงานภายในองค์กรนั้น บริษัทฯ ให้ความสำคัญใน การพัฒนาบุคลากรของบริษัทฯ และบริษัทในเครืออย่างต่อเนื่อง เพือ่ รองรับการเจริญเติบโตอย่างยัง่ ยืนของเครือไทยออยล์ ในอนาคต บริษัทฯ จึงได้จัดอบรมพนักงานอย่างมีเป้าหมายและต่อเนื่อง จัด กิจกรรมต่างๆ เพือ่ ส่งเสริมค่านิยมองค์กรของเครือฯ ทีเ่ รียกขานว่า POSITIVE และสนับสนุนให้พนักงานทุกระดับนำค่านิยมดังกล่าว มาปรับใช้ในการปฏิบตั งิ านประจำวันให้เป็นกิจวัตร นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีความมุ่งมั่นในการปลูกฝังจิตสำนึกและจริยธรรมในการทำงาน ตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี (Corporate Governance : CG) จึงได้เปิดหลักสูตรการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เรื่องการกำกับ ดูแลกิจการที่ดี (CG E-Learning) ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2550 เพือ่ ให้พนักงานทุกระดับได้เข้าเรียนรูด้ ว้ ยตนเองผ่านระบบ Intranet ของบริษัทฯ นอกจากการให้ความสำคัญเรื่องหลักการกำกับดูแล กิจการที่ดีในระดับพนักงานแล้ว บริษัทฯ ยังให้ความสำคัญเรื่อง ดังกล่าวในระดับคณะกรรมการด้วยเช่นกัน เป็นผลให้บริษทั ฯ ได้รบั รางวัลคณะกรรมการแห่งปีดีเด่น ประจำปี 2549/50 เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2550 ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย (IOD) ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และ สถาบันอื่นๆ ในฐานะองค์กรที่นำโดยคณะกรรมการ ซึ่งสามารถ ปฏิบัติหน้าที่ในการบริหารจัดการองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผู้ถือหุ้นได้ในระยะยาว นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังให้ความสำคัญอย่างยิง่ ในการพัฒนาทรัพยากร บุคคลของประเทศ รวมทั้งการดูแลและเอื้อประโยชน์ต่อชุมชนและ สังคมโดยรวม ในปี 2550 บริษัทฯ ได้จัดตั้ง “กองทุนการศึกษา บริษทั ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) เพือ่ รำลึกถึง ดร.ปราโมทย์ ไชยเวช”
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมเคมี ของประเทศ เพิ่ ม เติ ม จากการมอบทุ น การศึ ก ษาผ่ า นกองทุ น “บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)” ในมูลนิธิอานันทมหิดล และ กองทุ น อื่ น ๆ ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ได้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ทำการวางศิลาฤกษ์ศูนย์สุขภาพและการ เรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน ซึ่งมีวัตถุประสงค์ให้ชุมชนได้รับ บริการด้านสาธารณสุขขัน้ พืน้ ฐานทีม่ มี าตรฐานอย่างทัว่ ถึง รวมทัง้ มี แผนทีจ่ ะขยายศูนย์ฯ ให้ครอบคลุมถึงการสร้างทักษะความรูด้ า้ นต่างๆ ในอนาคต ด้วยความมุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศในการดำเนินธุรกิจที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม และการกำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ และบริษัท ผลิ ต ไฟฟ้ า อิ ส ระ (ประเทศไทย) จำกั ด จึ ง ได้ รั บ รางวัล EIA Monitoring Awards ประจำปี 2550 จากสำนักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ในฐานะสถาน ประกอบการทีป่ ฏิบตั ติ ามมาตรการในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิง่ แวดล้อม และมีการจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่น จากความสำเร็จ ดังกล่าวทำให้แม้ในภาวะเศรษฐกิจที่ผันผวน บริษัทฯ ยังคงได้รับ ความเชื่อถือจากสถาบันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือทั้ง Moody’s, S&P’s และ Fitch Ratings ให้คงอันดับเครดิตเดิมที่ดีไว้เหมือน ในปีที่ผ่านมา ในนามของบริษทั ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และคณะกรรมการ บริษัทฯ ขอขอบคุณ ท่านผู้ถือหุ้น ผู้ร่วมทุน ลูกค้า สถาบันการเงิน ทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงพนักงาน ที่ให้การสนับสนุนเครือ ไทยออยล์ด้วยดีเสมอมา บริษัทฯ ขอให้สัญญาว่าจะดำเนินธุรกิจ ด้วยความโปร่งใสและยึดมั่นในหลักคุณธรรมและการกำกับดูแล กิจการที่ดี พร้อมๆ กับการนำพาเครือไทยออยล์ไปสู่ความสำเร็จ และการเติบโตอย่างยั่งยืนและมั่นคง และจะมุ่งมั่นพัฒนาศักยภาพ ของเครือไทยออยล์ให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้นเพื่อไปสู่จุดหมายการเป็น ผู้นำในกลุ่มธุรกิจการกลั่นน้ำมันและปิโตรเคมีในอนาคต
015
016
รายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายงานของ คณะกรรมการ ตรวจสอบ
นายมนู เลียวไพโรจน์
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ได้ แต่งตัง ้ คณะกรรมการตรวจสอบ รวม 3 ท่าน ประกอบ ด้วย นายมนู เลียวไพโรจน์ เป็นประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ นายนิตย์ จันทรมังคละศรี และนายณอคุณ สิทธิพงศ์ เป็นกรรมการ ทั้ง 3 ท่านเป็นผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในด้านเศรษฐศาสตร์ บัญชี การเงิน กฎหมาย รวมทั้งธุรกิจอุตสาหกรรมด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และพลังงาน
คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต หน้าที่และ ความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ โดยในปี 2550 คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารประชุมรวม 7 ครัง้ โดยได้ประชุมร่วมกับผู้บริหารระดับสูงที่เกี่ยวข้อง ผู้จัดการแผนก ตรวจสอบระบบงานภายใน และผู้สอบบัญชีได้เข้าร่วมประชุมใน วาระที่เกี่ยวข้อง ผลการสอบทานของคณะกรรมการตรวจสอบมี สาระสำคัญ สรุปได้ดังนี้
รายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ
การจั ด ทำงบการเงิ น คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานงบ การเงินรายไตรมาสและงบการเงินสำหรับปี 2550 ร่วมกับฝ่าย บริหารระดับสูงและผูส้ อบบัญชี พบว่ารายงานทางการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ได้จดั ทำอย่างถูกต้องเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ทีร่ บั รองโดยทัว่ ไป โดยไม่มกี ารแก้ไขข้อมูลในส่วนทีเ่ ป็นสาระสำคัญ ทีม่ ผี ลกระทบต่องบการเงิน มีการเปิดเผยข้อมูลในรายงานทางการเงิน อย่างเพียงพอ ครบถ้วนและเชือ่ ถือได้ ทันตามเวลาทีต่ ลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (ตลท.) และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กำหนด การทำรายการระหว่างกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการ เปิดเผยรายการระหว่างกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึง่ อาจทำให้ เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้มีส่วนได้เสียกับบริษัทฯ ผลการสอบทานพบว่า รายการระหว่างกันเป็นไปตามเงื่อนไขธุรกิจ การค้าปกติทั่วไป และได้ดำเนินตามหลักเกณฑ์ที่ ตลท. กำหนด การบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานนโยบาย แนวทางการบริหารความเสี่ยง แผนการบริหารความเสี่ยง และ สอบทานความคืบหน้าของการบริหารความเสี่ยงประจำปี 2550 เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ ได้บริหารจัดการความเสี่ยงให้ลดลงอยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้ ผลการสอบทานพบว่า ประสิทธิภาพของระบบ การบริหารจัดการความเสีย่ งสามารถควบคุมและลดระดับความเสีย่ ง ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในจากรายงานการตรวจสอบ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยในปี 2550 มีความเห็นว่า การควบคุม ภายในของบริษัทฯ มีความเหมาะสมเพียงพอในการป้องกันและ ลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น และไม่พบจุดอ่อนที่เป็นสาระสำคัญ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความสำคัญในการสอบทาน การบริหารงานให้ดำเนินไปตามคู่มือหลักการกำกับดูแลกิจการของ
บริษัทฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติ ตามประกาศของ ก.ล.ต. และ ตลท. และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินธุรกิจอย่างเคร่งครัด เพื่อให้บังเกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงสุด รวมถึงการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียต่อธุรกิจของ บริษทั ฯ ด้วยความเป็นธรรมอย่างเท่าเทียมกันด้วยความโปร่งใสและ สามารถตรวจสอบได้ ทั้งนี้ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ลงทุน และผู้ที่มีส่วนได้เสียต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี 2551 เพื่ อ แต่ ง ตั้ ง 1. นายวิ นิ จ ศิ ล ามงคล ทะเบี ย นเลขที่ 3378 หรือ 2. นายเทอดทอง เทพมังกร ทะเบียนเลขที่ 3787 หรือ 3. นางวิไล บูรณกิตติโสภณ ทะเบียนเลขที่ 3920 แห่งบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจำปี 2551 วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2551 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)
017
018
ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ
ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ ข้อมูลทั่วไปของบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ชื่อย่อ
เลขทะเบียนบริษัทฯ ประเภทธุรกิจ
ทุนจดทะเบียน
สถานที่ตั้ง
สำนักงานกรุงเทพฯ โรงกลั่นฯ เว็บไซต์ แผนกนักลงทุนสัมพันธ์
TOP 01075747000711 ประกอบธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันที่มีกระบวนการกลั่นหลายขั้นตอน (Complex Refinery) ซึ่งมีกระบวนการผลิตที่ ทันสมัย เพื่อผลิตและจำหน่ายน้ำมันปิโตรเลียมสำเร็จรูป ป้อนตลาดในประเทศเป็นส่วนใหญ่ 20,400,278,730 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมด จำนวน 2,040,027,873 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท เลขที่ 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชั้น 16 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2617-8300 โทรสาร : 0-2299-0024 TELEX : 85802 THAIOIL TH 42/1 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท กม.ที่ 124 ตำบลทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : 0-3840-8500, 0-3835-9000 โทรสาร : 0-3835-1554, 0-3835-1444 http://www.thaioil.co.th โทรศัพท์ : 0-2299-0124 E-mail : ir@thaioil.co.th
ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ
ข้อมูลทั่วไปของบริษัทในเครือ ชื่อและที่อยู่บริษัท
เลขทะเบียน
ประเภทธุรกิจ
ทุนจดทะเบียน (บาท)
ชนิดของหุ้น
จำนวนหุ้น จำหน่ายแล้ว (มูลค่าหุ้นละ 10 บาท)*
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) เลขที่ 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชั้น 16 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2617-8300 โทรสาร : 0-2299-0024
0107539000090 ผลิตและจำหน่าย 1,757,890,730 สามัญ น้ำมันหล่อลื่น พื้นฐาน
175,789,073
100
บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด 105/12 หมู่ที่ 2 ถนนสุขุมวิท ตำบลทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : 0-3835-1317, 0-3835-1878 โทรสาร : 0-3835-1320
ผลิตและ จำหน่าย 0105539103288 ผลิตภัณฑ์ 2,572,414,160 ปิโตรเคมี อะโรมาติกส์ขั้นต้น
สามัญ
257,241,416
100
บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด เลขที่ 2/84 หมู่ที่ 15 ถนนทางรถไฟสายเก่า แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : 0-2331-0080-5 โทรสาร : 0-2331-0086
ขนส่งน้ำมัน ปิ 0105541047578 โตรเลียม และผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีทางเรือ
630,000,000
สามัญ
63,000,000
100
บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี จำกัด เลขที่ 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชั้น 16 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2617-8300 โทรสาร : 0-2299-0024
0105550078006 รองรับธุรกิจ ผลิตไฟฟ้า ในอนาคต
40,000,000
สามัญ
4,000,000
100
บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด เลขที่ 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชั้น 16 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2617- 8300 โทรสาร : 0-2299-0024
ดำเนินธุรกิจ 0105539103296 ผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายเล็ก (SPP)
2,810,000,000
สามัญ
281,000,000
55
บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด เลขที่ 191/18-25 อาคารซีทีไอ ทาวเวอร์ ชั้น 26-27 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2656-8488 โทรสาร : 0-2251-1138
0105549129891 ผลิตเอทานอล จากน้ำอ้อย
100,000,000
สามัญ
10,000,000
30
019
020
ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ
ชื่อและที่อยู่บริษัท
บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชั้น 16 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2617-8300 โทรสาร : 0-2299-0024
เลขทะเบียน
ประเภทธุรกิจ
ชนิดของหุ้น
จำนวนหุ้น จำหน่ายแล้ว (มูลค่าหุ้นละ 10 บาท)*
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
สามัญ
177,100,000
24
150,000,000
สามัญ
15,000,000
20
8,479,000,000
สามัญ
84,790,000
9
ทุนจดทะเบียน (บาท)
ดำเนินธุรกิจ 0105539126962 ผู้ผลิตไฟฟ้า 1,771,000,000 เอกชนรายใหญ่ (IPP)
บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด ให้บริการ เลขที่ 555 ชั้น 13 และชั้น 21 ถนนวิภาวดีรังสิต ด้ แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0105549076496 านเทคโนโลยี สารสนเทศ โทรศัพท์ : 0-2537-0200 และการสื่อสาร โทรสาร : 0-2537-0234 บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด เลขที่ 2/8 หมู่ 11 ถนนลำลูกกา ตำบลลาดสวาย บริการ อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150 0105534002696 ขนส่งน้ำมัน โทรศัพท์ : 0-2991-9130 ทางท่อ โทรสาร : 0-2533-2186, 0-2991-9160-2 *หมายเหตุ : บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด เป็นบริษัทเดียวที่มีมูลค่าหุ้นหุ้นละ 100 บาท
ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ
จำนวนพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
• • • • • • • • • •
บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี จำกัด * บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด ** บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด * บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด
จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน
825 134 67 45 - - 107 2 255 204
คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน
* ไม่มีพนักงาน เนื่องจากยังไม่มีการดำเนินธุรกิจเชิงพาณิชย์ มีเพียงกรรมการดำเนินการแทนเท่านั้น ** ไม่มีพนักงาน เนื่องจากใช้บุคลากรของบริษทั ฯ ตามสัญญาบริการและจัดหาระหว่างกัน
บุคคลอ้างอิง
นายทะเบียนหลักทรัพย์ นายทะเบียนหุ้นกู้และ ตัวแทนชำระเงิน ผู้สอบบัญชี อื่นๆ (กรณีการแจ้งใบหุ้นสูญหาย / การเปลี่ยนแปลงข้อมูลผู้ถือหุ้น และงานให้บริการผู้ถือหุ้นอื่นๆ)
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย กทม. 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2888 (Call center) ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) Head of Marketing & Sales Investor Services เลขที่ 393 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0-2230-6295, 0-2230-5647 โทรสาร : 0-2230-6093 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ชั้น 22 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ 195 ถนนสาธรใต้ กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 0-2677-2000 โทรสาร : 0-2677-2222 Counter Service ชั้น 1 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โทรศัพท์ : 0-2229-2888 (Call center) หรือ ส่วนบริการผู้ออกหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 2/7 หมู่ที่ 7 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กทม. 10210 โทรศัพท์ : 0-2596-9302-10 โทรสาร : 0-2832-4994-6
021
022
ลักษณะ การประกอบธุรกิจ
ลักษณะ การประกอบธุรกิจ บริษัทฯ ได้ขยายการลงทุนสู่ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง เพื่อมุ่งเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขัน โดยนอกเหนือจากการ ประกอบธุรกิจโรงกลัน ่ น้ำมันทีท ่ น ั สมัยและมีขนาดใหญ่ทส ่ี ด ุ ในประเทศไทยซึง ่ ถือเป็นธุรกิจหลักแล้ว บริษท ั ฯ ยังได้ ลงทุนในบริษัทในเครือ เพื่อดำเนินธุรกิจปิโตรเคมีและน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน ธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งน้ำมัน และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ทางเรือและทางท่อ และธุรกิจพลังงานทดแทน เช่น โครงการผลิตเอทานอลจากพืช เป็นต้น ทัง ้ นี้ การลงทุนในธุรกิจเกีย ่ วเนือ ่ งจะช่วยเสริมสร้างความมัน ่ คงของแหล่งทีม ่ าของรายได้และการเจริญ เติบโตอย่างเป็นปึกแผ่นในอนาคต
โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯ และการถือหุ้นของบริษัทฯ ในบริษัทอื่นๆ ธุรกิจการกลั่นน้ำมัน
ธุรกิจปิโตรเคมีและน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน
ธุรกิจผลิตไฟฟ้า
ธุรกิจขนส่งและอื่นๆ
ปตท. 26%
ปตท. 33% อื่นๆ 58%
J-Power 19%
100%
บมจ.ไทยออยล์ (TOP)
กำลังการกลั่น : 275,000 บาร์เรลต่อวัน
100%
บจ.ไทยพาราไซลีน (TPX)
กำลังการผลิต : ปัจจุบัน : • พาราไซลีน 348,000 ตันต่อปี • มิกซ์ไซลีน 72,000 ตันต่อปี
100%
55%
บมจ.ไทยลู้บเบส (TLB)
กำลังการผลิต : น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน : 270,000 ตันต่อปี
บจ.ไทยออยล์ เพาเวอร์ (TP)
บจ.ไทยออยล์มารีน (TM)
โครงการผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายเล็ก โรงงานไฟฟ้าพลังงานความ ร้อนร่วม (ก๊าซธรรมชาติ) ไฟฟ้า 118 เมกะวัตต์ ไอน้ำ 168 ตันต่อ ช.ม.
เรือขนส่งน้ำมัน/ปิโตรเคมี กำลังการขนส่งรวม : 61,000 ตันบรรทุก
9%
บจ.ท่อส่งปิโตรเลียมไทย (Thappline)
ท่อขนส่งปิโตรเลียม กำลังการขนส่ง : 26,000 ล้านลิตรต่อปี กลุ่ม ปตท. 80%
ขายไฟฟ้า และไอน้ำให้กลุ่ม
แพลตฟอร์เมต 1.8 ล้านตันต่อปี
20% 56%
ภายหลังการขยาย (ไตรมาส 1/2551) พาราไซลีน 489,000 ตันต่อปี เบนซิน 177,000 ตันต่อปี โทลูอีน 144,000 ตันต่อปี มิกซ์ไซลีน 90,000 ตันต่อปี รวม 900,000 ตันต่อปี
ปตท. 20% ไทยออยล์ 24%
บจ.พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ (PTTICT) กลุ่มมิตรผล 35% ผาแดง 35%
บจ.ผลิตไฟฟ้าอิสระ (IPT)
30%
โครงการผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม (ก๊าซธรรมชาติ) ไฟฟ้า 700 เมกะวัตต์ 100%
บจ.ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี
บจ.แม่สอด พลังงานสะอาด ผลิตเอทานอลจากน้ำอ้อย
2552 : 200,000 ลิตรต่อวัน ธุรกิจหลัก
เสริมสร้างรายได้
เพิ่มความมั่นคง ให้รายได้
สนับสนุนด้านการตลาด และเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน
ลักษณะ การประกอบธุรกิจ
โครงสร้างรายได้
บริษัทฯ มีรายได้จากธุรกิจกลั่นน้ำมันเป็นหลัก นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีรายได้จากธุรกิจกลั่นน้ำมันหล่อลื่น ธุรกิจผลิตสารพาราไซลีน ธุรกิจผลิตไฟฟ้า และธุรกิจขนส่งน้ำมันและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีโดยมีรายละเอียดปรากฏตามตารางแสดงรายได้ดังต่อไปนี้
ก. ขายสุทธิ 1. ธุรกิจกลั่นน้ำมัน 2. ธุรกิจน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน 3. ธุรกิจผลิตสารพาราไซลีน 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า 5. ธุรกิจขนส่งน้ำมันและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี หัก รายการระหว่างกัน รวม ข. กำไรจากการปรับมูลค่า สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตรา 1. ธุรกิจกลั่นน้ำมัน 2. ธุรกิจผลิตสารพาราไซลีน รวม ค. กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ(3) 1. ธุรกิจกลั่นน้ำมัน 2. ธุรกิจน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน 3. ธุรกิจผลิตสารพาราไซลีน 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า 5. ธุรกิจขนส่งน้ำมัน และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี รวม ง. ค่าสินไหมทดแทนสุทธิจากบริษัทประกันภัย 1. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า จ. กลับรายการค่าเผื่อจากการด้อยค่า ของสินทรัพย์ 1. ธุรกิจน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน
ดำเนิน การโดย (1)
% การถือ หุ้นของ บริษัทฯ
TOP TLB TPX TP/IPT TM
หน่วย:ล้านบาทยกเว้นอัตราร้อยละ รอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 2550 ปรับปรุงใหม่(2)
2548 ปรับปรุงใหม่(2) จำนวนเงิน
%
จำนวนเงิน
%
จำนวนเงิน
%
100 100 55/24 100
246,213 14,206 32,127 11,141 691 (55,267) 249,111
97 6 13 5 (22) 99
280,148 17,647 41,604 11,820 518 (72,628) 279,109
99 6 15 4 (26) 98
253,959 21,582 33,247 12,203 731 (60,671) 261,051
96 8 13 5 (23) 99
TOP TPX
100
-
-
81 81
-
515 114 629
-
TOP TLB TPX TP/IPT TM
100 100 55/24 100
-
-
2,887 (18) 98 523 3,490
1 1
1,433 (23) (80) 191 (1) 1,520
1 1
TP/IPT
55/24
-
-
393
-
-
-
TLB
100
2,894
1
-
-
-
-
023
024
ลักษณะ การประกอบธุรกิจ
ฉ. กำไร/(ขาดทุน) จากการขายทรัพย์สิน 1. ธุรกิจกลั่นน้ำมัน 2. ธุรกิจน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน 3. ธุรกิจผลิตสารพาราไซลีน 4. ธุรกิจขนส่งน้ำมัน และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี หัก รายการระหว่างกัน รวม ช. รายได้อื่น(4) 1. ธุรกิจกลั่นน้ำมัน 2. ธุรกิจน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน 3. ธุรกิจผลิตสารพาราไซลีน 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า 5. ธุรกิจขนส่งน้ำมัน และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี หัก รายการระหว่างกัน รวม รวมรายได้ (ก - ช)
ดำเนิน การโดย (1)
% การถือ หุ้นของ บริษัทฯ
TOP TLB TPX TM
TOP TLB TPX TP/IPT TM
หน่วย:ล้านบาทยกเว้นอัตราร้อยละ รอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 2550 ปรับปรุงใหม่(2)
2548 ปรับปรุงใหม่(2) จำนวนเงิน
%
จำนวนเงิน
%
จำนวนเงิน
%
100 100 100
(305) 154 134 55 152 190
-
-
-
-
-
100 100 55/24 100
1,711 343 110 44 7 (1,512) 703 252,898
1 (1) 100
3,143 131 206 70 4 (2,919) 635 283,708
1 (1) 100
4,826 178 151 205 4 (4,731) 633 263,833
2 (2) 100
หมายเหตุ : (1) TOP หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) TLB หมายถึง บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) TPX หมายถึง บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด TP หมายถึง บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด IPT หมายถึง บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อม โดย TP ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 56 และบริษัทฯ (2) สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานบัญชีฉบับปรับปรุงใหม่ ตั้งแต่ 1 มกราคม 2550 ดังนั้นงบการเงินสำหรับปี 2548 และ 2549 ที่นำมาแสดงเปรียบเทียบจึง ได้รับการปรับปรุงใหม่ (3) ปี 2548 ขาดทุนสุทธิจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (4) ได้แก่ ดอกเบี้ยรับ เงินชดเชยภาษีสินค้าส่งออก รายได้จากการให้บริการแก่บริษัทในเครือ ค่าเช่าที่ดิน ค่าบริการใช้ทุ่นผูกเรือน้ำลึก ค่าเช่าถังน้ำมัน ค่าบริการใช้สถานี จ่ายน้ำมันทางรถ เป็นต้น
คณะกรรมการ บริษัทฯ
025
คณะกรรมการบริษัทฯ นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์
นายมนู เลียวไพโรจน์
กรรมการอิสระและ ประธานกรรมการ
กรรมการอิสระและ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -ไม่มี-
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -ไม่มี-
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • M.A. Economics, Georgetown University, ประเทศสหรัฐอเมริกา • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 40 • ประกาศนียบัตรหลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รุ่นที่ 5 สถาบันพระปกเกล้า • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุน่ ที่ 5 • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)
ประกาศนียบัตรหลักสูตร The Role of Chairman Program (RCP) ประกาศนียบัตรหลักสูตร Finance for Non-Finance Director สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นบส.1) รุ่น 13 สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน ปัจจุบัน
• ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด ประสบการณ์ทำงาน
• 2543 - 2544 - อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม • 2544 - 2545 - เลขาธิการสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม • 2545 - 2545 - รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม • 2545 - 2549 - ปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน • 2546 - 2547 - ประธานกรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • 2546 - 2550 - ประธานกรรมการบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) • 2547 - 2550 - ประธานกรรมการบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • 2549 - 2550 - ประธานกรรมการบริษัท โรงกลั่นน้ำมันระยอง จำกัด (มหาชน) ประวัติการกระทำผิด - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• เศรษฐศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • M.Sc. (Econ.) University of Kentucky, ประเทศสหรัฐอเมริกา • วุฒิบัตร การพัฒนาอุตสาหกรรม ศูนย์อบรมนาโงยา ประเทศญี่ปุ่น • วุฒิบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 34 • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Chairman 2000 รุ่น 3/2001 ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 30/2003 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
ปัจจุบัน
• ประธานกรรมการบริหาร สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจ กับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) • กรรมการ กฤษฎีกา คณะที่ 5 (ด้านกฎหมายการค้า และอุตสาหกรรม) • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ประสบการณ์ทำงาน
• 2542 - 2546 - ประธานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย • 2542 - 2547 - ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม • 2544 - 2546 - ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • 2544 - 2548 - ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) • 2547 - 2548 - กรรมการบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • 2548 - 2550 - กรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ประวัติการกระทำผิด - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
026
คณะกรรมการ บริษัทฯ
นายพละ สุขเวช
นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์
กรรมการอิสระและ ประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -0.01645คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (เกียรตินยิ มอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • MS. in Industrial Engineering (Operation Research), Oregon State University, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐร่วมเอกชน รุน่ 3 (วปรอ.333) • CERT. In Advanced Management Program, Harvard Business School, Harvard University, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)
ประกาศนียบัตรหลักสูตร The Role of Chairman Program (RCP) ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ปัจจุบัน
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -ไม่มีคุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ, UTAH STATE UNIVERSITY, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ ร่วมเอกชน รุ่นที่ 10 • ประกาศนียบัตร Advanced Management Program (AMP 155), Harvard Business School, Harvard University, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรหลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รุ่นที่ 6 สถาบันพระปกเกล้า • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 26/2004) ประกาศนียบัตรหลักสูตร The Role of Chairman Program (RCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (รุ่นที่ 3) สถาบันวิทยาการตลาดทุน
• กรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด • กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ซีพีพีซี จำกัด (มหาชน) • ประธานมูลนิธิส่งเสริมการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมไทย
• กรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน)
ประสบการณ์ทำงาน
ประสบการณ์ทำงาน
• 2538 - 2542 - ผู้ว่าการ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • 2542 - 2544 - กรรมการ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • 2546 - 2548 - กรรมการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • 2538 - 2550
- ประธานกรรมการ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ประวัติการกระทำผิด - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
ปัจจุบัน
• 2539 - 2542 - ผู้จัดการใหญ่ ปตท. น้ำมัน การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ระดับรองผู้ว่าการ) • 2543 - 2544 - ผู้จัดการใหญ่ ปตท. ก๊าซธรรมชาติ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ระดับรองผู้ว่าการ) • 2544 - 2546 - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) ประวัติการกระทำผิด - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
คณะกรรมการ บริษัทฯ
นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช
นายนิพัทธ พุกกะณะสุต
กรรมการอิสระและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการอิสระ
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -ไม่มี-
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -ไม่มี-
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • M.A. in Economics, California State University in Northridge, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 12 • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 39 • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Finance for Non - Finance Director ประกาศนียบัตรหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 14 ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 71 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
ปัจจุบัน
• ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม • สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ • กรรมการข้าราชการพลเรือน • กรรมการนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย • กรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 5) • กรรมการบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย • กรรมการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน • กรรมการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม • ประธานกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย • กรรมการสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ • ประธานกรรมการสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ • ประธานกรรมการสถาบันยานยนต์ • ประธานกรรมการสถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • ประธานกรรมการสถาบันสิ่งทอ • กรรมการอิสระ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ประสบการณ์ทำงาน
• 2544 - 2545 - เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน • 2545 - 2547 - เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - ไม่มี ประวัติการกระทำผิด การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
027
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ University of Hawaii, ประเทศสหรัฐอเมริกา • M.A. (Political Science), University of Hawaii, ประเทศสหรัฐอเมริกา • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 35 • ประกาศนียบัตรหลักสูตรประธานกรรมการบริษัทมหาชน ปี 2548
ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 5 ปัจจุบัน
• ประธานกรรมการ มูลนิธิกองทุนพัฒนาระบบตลาดทุน • ประธานกรรมการ บริษัท ทีซีเจ เอเชีย จำกัด (มหาชน) • ที่ปรึกษาตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ที่ปรึกษากลุ่ม ยูนิไทยไลน์ จำกัด (มหาชน) ประสบการณ์ทำงาน
• 2533 - 2535 - ผู้อำนวยการ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง • 2535 - 2539 - อธิบดีกรมธนารักษ์ • 2538 - 2539 - ประธานกรรมการ สมาพันธ์ออมสินโลก • 2539 - 2540 - อธิบดีกรมบัญชีกลาง • 2540 - 2541 - รองปลัดกระทรวงการคลัง • 2546 - 2547 - ที่ปรึกษาการคลังด้านนโยบายภาษีอากร • 2545 - 2550
- รองผู้อำนวยการ สำนักงานระบบการเงินการคลังภาครัฐ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี - ไม่มี ประวัติการกระทำผิด การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
028
คณะกรรมการ บริษัทฯ
นายปรัชญา ภิญญาวัธน์
นายนิตย์ จันทรมังคละศรี
กรรมการ และกรรมการกำกับดูแลกิจการ
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -0.00723-
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -ไม่มี-
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • M.Sc. in Civil Engineering, Stanford University, ประเทศสหรัฐอเมริกา • Ph.D. in Civil Engineering, University of Texas at Austin, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
ปัจจุบัน
• ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (1 ม.ค. 2551) • กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด ประสบการณ์ทำงาน
• 2537 - 2539 - ผู้จัดการใหญ่ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • 2539 - 2543 - กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) • 2543 - 2544 - รองผู้ว่าการแผนและพัฒนาองค์กร การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • 2544 - 2545 - รองผู้ว่าการกลยุทธ์และพัฒนาองค์กร การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • 2545 - 2546 - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • 2546 - 2547 - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • 2547 - 2550 - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ประวัติการกระทำผิด - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโทและปริญญาเอก ด้าน Industrial and Energy Technology Policy
and Technology Management จาก Science Policy Research Unit (SPRU) University of Sussex สหราชอาณาจักร • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ประกาศนียบัตรหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ปัจจุบัน
• ที่ปรึกษา บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนเอ็มเอฟซี • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิกองทุนร่วมทุนวิสาหกิจ • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิกองทุนพัฒนานวัตกรรม • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิกองทุนพลังงาน เอ็มเอฟซี ประสบการณ์ทำงาน
• 2535 - 2536 - รองผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ • 2536 - 2539 - ผู้อำนวยการ Science and Technology Development (TDRI) • 2537 - 2549 - Trustee of New International School of Thailand • 2539 - 2543 - รองประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) • 2546 - 2549 - กรรมการสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน • 2547 - 2549 - กรรมการคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ • 2546 - 2550
- กรรมการและกรรมการสรรหา บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) - ไม่มี ประวัติการกระทำผิด การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
คณะกรรมการ บริษัทฯ
นายพิชัย ชุณหวชิร
นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
กรรมการ
กรรมการอิสระ และกรรมการกำกับดูแลกิจการ
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -ไม่มี-
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -ไม่มี-
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• บัญชีบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • MBA. (Business Administration), Indiana University of Pennsylvania, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 13 • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 2918 • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 49/2005) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.5) รุ่นที่ 5 ปัจจุบัน
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ การเงินและบัญชีองค์กร บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • ประธานอนุกรรมการบริหารการลงทุน กองทุนประกันสังคม • ประธานคณะกรรมการวิชาชีพบัญชีด้านบัญชีบริหาร สภาวิชาชีพบัญชี • กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) • กรรมการและกรรมการตรวจสอบ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด • กรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด • กรรมการ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) ประสบการณ์ทำงาน
• 2539 - 2542 - รองผู้ว่าการการเงินและบัญชีองค์กร การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • 2543 - 2544 - ผู้จัดการใหญ่ ปตท. น้ำมัน การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย - รักษาการผู้จัดการใหญ่ ปตท. อินเตอร์เนชั่นแนล การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย - รักษาการรองผู้ว่าการการเงินและบัญชีองค์กร การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • 2544 - รองผู้ว่าการการเงินและบัญชีองค์กร การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • 2546 - 2547 - รักษาการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) • 2544 - 2550 - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ประวัติการกระทำผิด - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยเทนเนสซี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP),
สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ปัจจุบัน
• กรรมการและกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) • ประธานสมาคมธนาคารไทย • กรรมการ บริษัท ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท อินโดรามาโพลีเมอร์ จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท) ประสบการณ์ทำงาน
• 2537 - 2540 - กรรมการและผู้จัดการทั่วไป บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ไอเอฟซีที ไฟแนนซ์ จำกัด (มหาชน) • 2540 - 2541 - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชยการ จำกัด (มหาชน) • 2542 - กรรมการและผู้จัดการทั่วไป บริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด • 1 เม.ย. - 4 ก.ค. 2544 - รองผู้จัดการทั่วไป บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย • 2544 - 2547 - กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) ประวัติการกระทำผิด - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
029
030
คณะกรรมการ บริษัทฯ
พลโท ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์
กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ
กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -ไม่มี-
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -0.00135-
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• 2515 - โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 • 2519 - โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 23 • 2519 - หลักสูตรชั้นนายร้อย รุ่นที่ 51 • 2524 - หลักสูตรชั้นนายพัน รุ่นที่ 38 • 2527 - โรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลักประจำชุดที่ 63 ปัจจุบัน
• แม่ทัพภาคที่ 1 • สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ • กรรมการการไฟฟ้านครหลวง ประสบการณ์ทำงาน
• 2533 - ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ (ผบ.ร.21 พัน.2 รอ.) • 2541 - ผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ (ผบ.ร.21 รอ.) • 2545 - รองผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ (รอง ผบ.พล. ร.2 รอ.) • 2546 - ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ (ผบ.พล.ร.2 รอ.) • 2548 - รองแม่ทัพภาคที่ 1 (รอง มทภ.1) เครื่องราชอิสริยาภรณ์
• 2533 - เหรียญรามมาลา เข็มกล้ากลางสมร • 2542 - ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ต.จ.ว.) • 2545 - ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) • 2548 - ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) ประวัติการกระทำผิด - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2 วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • M.Sc. and Ph.D. in Civil Engineering, University of Texas at Austin, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)
ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ปัจจุบัน
• กรรมการอำนวยการ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด • กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด • กรรมการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด • กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด • กรรมการคณะกรรมการนักธุรกิจ เพื่อสิ่งแวดล้อมไทย • กรรมการ The Offshore Technology & Management (OTM), AIT • กรรมการ Council of Trustees, สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย
(กรรมการของการประชุมกรรมการอำนวยการ สถาบันปิโตรเลียม แห่งประเทศไทย) ประสบการณ์ทำงาน
• 2537 - รองผู้ว่าการ การเงินองค์กร การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • 2539 - ผู้อำนวยการกลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • 2542 - 2548
- กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการบริษัท เอ็นพีทีซี เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริ่ง เซอร์วิสเซส จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัล จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด
ประวัติการกระทำผิด - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
คณะกรรมการ บริษัทฯ
กรรมการที่ครบวาระและลาออกระหว่างปี 2550 นายโอฬาร ไชยประวัติ
นายณอคุณ สิทธิพงศ์
กรรมการอิสระและประธาน คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
(ครบวาระการเป็นกรรมการและ ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี 2550 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2550)
(ลาออกจากการเป็นกรรมการ และกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม 2550)
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) -ไม่มี-
สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทฯ (ร้อยละ) 0.00392
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• B.S. (Magna Cum Laude), Economics, Wharton School, University of Pennsylvania, ประเทศสหรัฐอเมริกา • Ph.D. Economics, Massachusetts Institute of Technology (M.I.T.), ประเทศสหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ประกาศนียบัตรหลักสูตร The Role of Chairman Program (RCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 4 ปัจจุบัน
• ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง • กรรมการอิสระ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) • กรรมการสภามหาวิทยาลัยชินวัตร • รองประธาน มูลนิธิศึกษาพัฒน์ • ประธานกรรมการ บริษัทหลักทรัพย์เพื่อธุรกิจหลักทรัพย์ จำกัด • ประธานกรรมการ บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท.) • ประธานกรรมการบริหาร สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา • กรรมการ บริษัท เชียงใหม่ โฟรเซนฟูดส์ จำกัด (มหาชน) ประสบการณ์ทำงาน
• 2525 - 2544 - กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) • 2550 - กรรมการและประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ประวัติการกระทำผิด - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเครื่องกล) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ Oregon State University, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ Oregon State University, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 47 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 4 ปัจจุบัน
• รองปลัดกระทรวงพลังงาน • ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (18 ม.ค. 2551) ประสบการณ์ทำงาน
• 2541 - 2544 - กรรมการ กองทุนสินทรัพย์ไทย หนึ่ง • 2544 - 2545 - กรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • 2545 - 2546
- กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) • 2547 - 2549 - กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) - กรรมการ การไฟฟ้านครหลวง • 2550 - กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ประวัติการกระทำผิด - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี -
031
032
โครงสร้าง องค์กร
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการบริษัทฯ
ณ วั น ที่ 31 ธั นวาคม 2550 กรรมการอำนวยการ
วิโรจน มาวิจักขณ
คณะกรรมการตรวจสอบ
ผ�ูจัดการแผนกตรวจสอบระบบงานภายใน ปฏิบัติหน�าที่ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
รองกรรมการอำนวยการ ด�านธุรกิจ
รองกรรมการอำนวยการ ด�านโรงกลั่น
สมเกียรติ หัตถโกศล
สมเกียรติ หัตถโกศล (รักษาการ)
กรรมการผ�ูจัดการ กรรมการอำนวยการ กรรมการอำนวยการ กรรมการอำนวยการ กรรมการอำนวยการ
-
TLB TPX TM IPT TP
ผ�ูช�วยกรรมการอำนวยการ ด�านธุรกิจ
ผ�ูช�วยกรรมการอำนวยการ ด�านโรงกลั่น
สุกฤตย สุรบถโสภณ
อภินันท สุภัตรบุตร
ผ�ูจัดการฝ�ายวางแผนกลยุทธ�
ผ�ูจัดการฝ�ายเทคโนโลยี
ผ�ูจัดการฝ�ายผลิตภัณฑ� และคุณภาพ
ภัทรลดา สงาแสง
ภาวนา ศุภวิไล
โกศล พิมทะโนทัย
ผ�ูจัดการฝ�ายพัฒนาธุรกิจ
ผ�ูจัดการฝ�ายผลิต I
ผ�ูจัดการฝ�ายวิศวกรรม
สุกฤตย สุรบถโสภณ (รักษาการ)
ไฟโก วิลเล็ม สโนฟ
ยุทธนา ภาสุรปญญา
ผ�ูจัดการฝ�ายการพาณิชย�
ผ�ูจัดการฝ�ายผลิต II
ผ�ูจัดการฝ�ายโครงการ และพัฒนา
พงษพันธุ อมรวิวัฒน
สันติ วาสนสิริ
ไมตรี เรี่ยวเดชะ
โครงสร้าง องค์กร
033
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
รองกรรมการอำนวยการ ด�านการเงิน
วิโรจน มาวิจักขณ (รักษาการ) ฝ�ายจัดการ - กิจการพิเศษ
ผ�ูช�วยกรรมการอำนวยการ ด�านการเงิน
ผ�ูช�วยกรรมการอำนวยการ ด�านบริหารองค�กร
วิรัตน เอื้อนฤมิต
ณรงคฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร
ชัยวัฒน ดำรงคมงคลกุล ประมินทร พันทวีศักดิ์ บวร วงศสินอุดม สมชัย วงศวัฒนศานต กลาหาญ โตชำนาญวิทย อรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ วิโรจน มีนะพันธ เชิดชัย สวนแกว ดวงพร ธีรภาพไพสิฐ
ผ�ูจัดการฝ�ายสำนักกรรมการ อำนวยการ
นิทัศน ครองวานิชยกุล ผ�ูจัดการฝ�ายบัญชี
ผ�ูจัดการฝ�ายทรัพยากรบุคคล
ประพิณ ทองเน�ยม
สดุดี สุริยคำ
ผ�ูจัดการฝ�ายการคลัง
ผ�ูจัดการฝ�ายพัฒนาองค�กร และระบบงาน
ศิริพร มหัจฉริยวงศ (รักษาการ)
สิริมาส จิญกาญจน
หมายเหตุ : 08/01/2005 01/03/2006 01/07/2006 01/07/2006 01/10/2006 01/10/2006 22/06/2007 01/07/2006 01/09/2007
: : : : : : : : :
คุณชัยวัฒน ปฏิบัติงานที่ TLB คุณบวร ปฏิบัติงานที่ PTT คุณประมินทร ปฏิบัติงานที่ TPX คุณสมชัย ปฏิบัติงานที่ IPT คุณกลาหาญ ปฏิบัติงานที่ PTT คุณอรรถวุฒิ ปฏิบัติงานโครงการเอทานอล คุณวิโรจน ปฏิบัติงานที่ TM คุณเชิดชัย ปฏิบัติงานที่ TP คุณดวงพร ปฏิบัติงานที่ TPX
034
คณะผู้บริหาร
คณะผู้บริหาร
นายณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร
นายอภินันท์ สุภัตรบุตร
นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ
ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการ - ด้านบริหารองค์กร
ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการ - ด้านโรงกลั่น
ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการ - ด้านธุรกิจ และ รักษาการผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
นายประมินทร์ พันทวีศักดิ์
นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์
นายวิโรจน์ มีนะพันธ์
ฝ่ายจัดการ - กิจการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการอำนวยการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด
ฝ่ายจัดการ - กิจการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่กรรมการ อำนวยการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด
ฝ่ายจัดการ - กิจการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการอำนวยการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด
นางประพิณ ทองเนียม
นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์
นายไฟโก วิลเล็ม สโนฟ
ผู้จัดการ ฝ่ายบัญชี
ผู้จัดการ ฝ่ายการพาณิชย์
ผู้จัดการ ฝ่ายผลิต - I
นายยุทธนา ภาสุรปัญญา
นางสาวศิริพร มหัจฉริยวงศ์
นางสดุดี สุริยคำ
ผู้จัดการ ฝ่ายวิศวกรรม
รักษาการผู้จัดการ ฝ่ายการคลัง
ผู้จัดการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
คณะผู้บริหาร
นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์
กรรมการอำนวยการ และ รักษาการรองกรรมการอำนวยการ - ด้านการเงิน นายสมเกียรติ หัตถโกศล
รองกรรมการอำนวยการ - ด้านธุรกิจ และ รักษาการรองกรรมการอำนวยการ - ด้านโรงกลั่น นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต
นายเชิดชัย สวนแก้ว
นายชัยวัฒน์ ดำรงค์มงคลกุล
ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการ - ด้านการเงิน
ฝ่ายจัดการ - กิจการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการอำนวยการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด
ฝ่ายจัดการ - กิจการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน)
นายโกศล พิมทะโนทัย
นางสาวดวงพร ธีรภาพไพสิฐ
นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล
ผู้จัดการ ฝ่ายผลิตภัณฑ์และคุณภาพ
ฝ่ายจัดการ - กิจการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่ ผู้จัดการฝ่ายผลิต บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด
ผู้จัดการ ฝ่ายสำนักกรรมการอำนวยการ
นางสาวภัทรลดา สง่าแสง
นางภาวนา ศุภวิไล
นายไมตรี เรี่ยวเดชะ
ผู้จัดการ ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์
ผู้จัดการ ฝ่ายเทคโนโลยี
ผู้จัดการ ฝ่ายโครงการและพัฒนา
นายสันติ วาสนสิริ
นางสิริมาส จิญกาญจน์
นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ
ผู้จัดการ ฝ่ายผลิต - II
ผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาองค์กรและระบบงาน
ฝ่ายจัดการ - กิจการพิเศษ ปฏิบัติงานโครงการเอทานอล
035
036
คณะผู้บริหาร
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ - ตารางแสดงข้อมูลการดำรงตำแหน่งของผู้บริหาร และผู้มีอำนาจควบคุม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บมจ. ไทยออยล์
รายชื่อ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 Œ=
นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ นายมนู เลียวไพโรจน์ นายพละ สุขเวช นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช นายนิพัทธ พุกกะณะสุต นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายนิตย์ จันทรมังคละศรี นายพิชัย ชุณหวชิร นายณอคุณ สิทธิพงศ์ (3) นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ พลโทประยุทธ์ จันทร์โอชา นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์ นายสมเกียรติ หัตถโกศล นายณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร นายอภินันท์ สุภัตรบุตร นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต นายเชิดชัย สวนแก้ว นายชัยวัฒน์ ดำรงค์มงคลกุล นายประมินทร์ พันทวีศักดิ์ นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ นายโกศล พิมทะโนทัย นายกล้าหาญ โตชำนาญวิทย์ (11) นางสาวดวงพร ธีรภาพไพสิฐ นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล นายบวร วงศ์สินอุดม (12) นางประพิณ ทองเนียม ประธานกรรมการ
P=
กรรมการ
บริษัทย่อย บจ. ไทยพารา ไซลีน
บมจ. ไทย ลู้บเบส
บจ. บจ. บจ. ไทยออยล์ ผลิตไฟฟ้า ไทยออยล์ เพาเวอร์ อิสระ มารีน
Œ
P
P
Œ
P
P
P
Œ
บริษัทที่เกี่ยวข้อง
P
บจ. ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี
บจ. บจ. พีทีที บจ. แม่สอด ท่อส่ง ไอซีที พลังงาน ปิโตรเลียม โซลูชั นส์ สะอาด
(1) Œ
Œ
Œ
(2)
P P P
P
P
P P
P
P
P
P
Œ
P
(4) P (4) P P/
// // // // // // // // // // // // // // // //
P P
P
P P
P P
P
(5) P
P
(6) P (7) P
P P
P
P P P/
P/ P/
(8) P
P/
P P/
//
/ = กรรมการอำนวยการ
// = ผู้บริหาร
(10)
(9) P
คณะผู้บริหาร
รายชื่อ
30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40
นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์ นายไฟโก วิลเล็ม สโนฟ นางสาวภัทรลดา สง่าแสง นางภาวนา ศุภวิไล นายไมตรี เรี่ยวเดชะ นายยุทธนา ภาสุรปัญญา นางสดุดี สุริยคำ นายสันติ วาสนศิริ นางสิริมาส จิญกาญจน์ นางสาวศิริพร มหัจฉริยวงศ์ นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ
บมจ. ไทยออยล์
// // // // // // // // //
บริษัทย่อย บจ. ไทยพารา ไซลีน
บมจ. ไทย ลู้บเบส
บริษัทที่เกี่ยวข้อง
บจ. บจ. บจ. ไทยออยล์ ผลิตไฟฟ้า ไทยออยล์ เพาเวอร์ อิสระ มารีน
บจ. ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี
บจ. บจ. พีทีที บจ. แม่สอด ท่อส่ง ไอซีที พลังงาน ปิโตรเลียม โซลูชั นส์ สะอาด
P
P //
//(13) //
Œ=
ประธานกรรมการ P = กรรมการ / = กรรมการอำนวยการ // = ผู้บริหาร หมายเหตุ: (1) ลาออกจากการเป็นประธานกรรมการบริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2550 (2) ลาออกจากการเป็นประธานกรรมการบริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2550 (3) ลาออกจากการเป็นกรรมการและกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2550 (4) เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 10 เมษายน 2550 (จากการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ประจำปี 2550 ) (5) เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี จำกัด เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2550 (6) เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี จำกัด เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2550 (7) เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2550 แทนนายธวัชชัย เฮงรัศมี ที่ลาออก เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2550 (8) เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด ณ วันที่ 27 เมษายน 2550 (9) เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี จำกัด เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2550 (10) เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการอำนวยการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด ณ วันที่ 22 มิถุนายน 2550 (11) ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานกับ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2549 (12) ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานกับ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2549 (13) ได้รับแต่งตั้งเป็น รักษาการผู้จัดการฝ่ายการคลัง บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ตั้งแต่วันที่ 5 กันยายน 2550
ทั้งนี้ ไม่มีผู้บริหารที่มีประวัติการกระทำความผิดตามกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมาเกี่ยวกับ 1) การถูกพิพากษาว่ากระทำผิดทางอาญา หรืออยู่ระหว่างการถูกฟ้องร้องคดีอาญา ยกเว้นที่เป็นความผิดอันเกิดจากการฝ่าฝืนกฎจราจร ความผิดลหุโทษ หรือความผิดอื่นในทำนอง เดียวกัน 2) การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย หรือถูกพิทักษ์ทรัพย์ และ 3) ไม่เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจควบคุมในบริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนที่ถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลายหรือถูกพิทักษ์ทรัพย์
037
038
ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ ในรอบปี 2550
ความสำเร็จ ในการดำเนินธุรกิจ ในรอบปี 2550 ในปี 2550 บริษัทฯ และบริษัทในเครือประสบความ สำเร็จเป็นอย่างมากในการพัฒนาประสิทธิภาพการ ดำเนินงานด้านการกลั่นและปิโตรเคมี การรวมพลัง ร่วมกันเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในการประกอบธุรกิจผลิต น้ำมันสำเร็จรูปและปิโตรเคมีโดยคำนึงถึงการพัฒนา บุคลากรและพัฒนาระบบการจัดการทีด ่ อ ี ย่างต่อเนือ ่ ง พร้อมทั้งมุ่งเน้นในเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งจะช่วยเกื้อกูลให้ธุรกิจของเครือ ไทยออยล์มก ี ารเจริญเติบโตอย่างยัง ่ ยืน ความสำเร็จ ในการดำเนินงานที่สำคัญในรอบปี 2550 ได้แก่
ความสำเร็จในการบริหารธุรกิจในกลุ่มเชิงบูรณาการอย่าง ต่อเนื่อง
บริษทั ฯ เป็นผูป้ ระกอบธุรกิจการกลัน่ และจำหน่ายน้ำมันปิโตรเลียม ทีไ่ ด้รบั การยอมรับว่าเป็นโรงกลัน่ ทีม่ คี วามทันสมัยและมีประสิทธิภาพ สูงสุดแห่งหนึง่ ในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ มีกระบวนการผลิตเชือ่ มโยง กับธุรกิจเกี่ยวเนื่อง เช่น ธุรกิจอะโรมาติกส์ ธุรกิจน้ำมันหล่อลื่น พื้นฐาน ธุรกิจผลิตกระแสไฟฟ้า ธุรกิจการขนส่งน้ำมันทางเรือ และทางท่อ การบริหารธุรกิจในลักษณะนี้ส่งผลให้บริษัทฯ มีผล ประกอบการทีด่ มี าโดยตลอดนับตัง้ แต่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในปี 2547
ในปี 2550 ทีผ่ า่ นมา แม้วา่ บริษทั ฯ มีการหยุดเดินเครือ่ งหน่วยกลัน่ น้ำมันดิบหน่วยที่ 3 (CDU-3) ในช่วงไตรมาส 4 เพื่อเชื่อมต่อกับ โครงการส่วนขยายและซ่อมบำรุงตามวาระ แต่บริษัทฯ และบริษัท ในเครือก็สามารถบริหารงาน จนสามารถรายงานกำไรสุทธิรวมสูง ถึง 19,176 ล้านบาท เพิ่มจากปีก่อนร้อยละ 9 ซึ่งนับว่าเป็นระดับ สูงสุดตั้งแต่บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจมากว่า 46 ปี ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ มีการลงทุนในบริษัทในเครือทั้งหมดรวม 10 บริษัท โดยมีสินทรัพย์รวม 137,047 ล้านบาท
ความสำเร็จด้านการดำเนินโครงการขยายกำลังการผลิต รวมทัง้ การซ่อมบำรุงครัง้ ใหญ่ตามวาระของหน่วยกลัน่ น้ำมันดิบ ที่ 3 เพื่อเพิ่มศักยภาพทางธุรกิจ
บริษัทฯ สามารถดำเนินการก่อสร้างโครงการขยายกำลังการผลิต ของหน่วย CDU-3 เพื่อเพิ่มกำลังการกลั่นจาก 100,000 เป็น 150,000 บาร์เรลต่อวัน สำเร็จลงภายในวงเงินงบประมาณที่ได้รับ อนุมัติ และเร็วกว่ากำหนด 1 สัปดาห์ ทำให้กำลังการกลั่นรวมของ โรงกลั่นไทยออยล์เพิ่มจาก 225,000 บาร์เรลต่อวัน เป็น 275,000 บาร์เรลต่อวันตั้งแต่วันที่ 16 ธันวาคม 2550 ในการนี้บริษัทฯ ได้หยุดเดินเครื่องหน่วย CDU-3 และหน่วยกลั่นที่ เกี่ยวเนื่องอื่นๆ ตั้งแต่วันที่ 6 ตุลาคม 2550 ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ ส่วนใหญ่ของโรงกลัน่ และยังรวมถึงหน่วยผลิตสารมิกซ์ไซลีน (Mixed Xylenes) ของ บจ. ไทยพาราไซลีน การดำเนินโครงการก่อสร้าง และหยุ ด ซ่ อ มบำรุ ง ซึ่ ง แล้ ว เสร็ จ เร็ ว กว่ า กำหนดในครั้ ง นี้ ถื อ เป็ น ความสำเร็จครัง้ สำคัญของบริษทั ฯ เนือ่ งจากเป็นงานทีม่ คี วามยุง่ ยาก ซับซ้อนและท้าทายมากเพราะต้องดำเนินการเชื่อมต่อส่วนขยาย และซ่อมบำรุงไปพร้อมๆ กับการเดินเครือ่ งตามปกติของหน่วยกลัน่ อืน่ ที่เหลือ ทั้งนี้ ในช่วงไตรมาส 4 บริษัทฯ ต้องระดมกำลังพนักงาน ผู้รับเหมาเข้ามาทำงานมากกว่า 7,300 คนต่อวัน แต่บริษัทฯ ก็ สามารถบริหารและดำเนินโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ปลอดภัย นอกจากนี้ ยังสามารถดำเนินการผลิตและจัดจำหน่าย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ สนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า ได้ ด้ ว ยดี โ ดยการ วางแผนการผลิตและจำหน่ายสำเร็จรูปล่วงหน้า นอกจากการดำเนินการก่อสร้างโครงการขยายกำลังการกลั่นของ หน่วย CDU-3 แล้วเสร็จเร็วกว่ากำหนดแล้ว ในขณะเดียวกันบริษทั ฯ ก็ได้ดำเนินโครงการติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและโครงการทุ่นรับ น้ำมันดิบหน่วยที่ 2 ซึง่ เป็นโครงการระบบสาธารณูปโภคทีจ่ ำเป็นต่อ การขยายกำลังการกลัน่ โดยโครงการดังกล่าวได้ดำเนินการก่อสร้าง แล้วเสร็จในปลายปี 2550 และกุมภาพันธ์ 2551 ตามลำดับ
ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ ในรอบปี 2550
ความสำเร็จในการบริหารการเงินเชิงบูรณาการของเครือ ไทยออยล์
บริษทั ฯ ได้รเิ ริม่ การบริหารการเงินของเครือไทยออยล์ในเชิงบูรณาการ เพื่ อ ลดความเสี่ ย งทางการเงิ น อั น จะส่ ง ผลให้ ส ามารถประหยั ด ค่าใช้จ่ายทางการเงินได้ในที่สุด นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ให้ความ สำคัญในการเพิ่มช่องทางการระดมทุน โดยมุ่งเน้นการรักษาความ สัมพันธ์ที่ดีกับนักลงทุนสถาบันในตลาดทุนอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ นักลงทุนมีความมั่นใจและเชื่อถือในการดำเนินงาน โดยเฉพาะ จะช่วยให้บริษัทฯ สามารถรองรับภาวการณ์ที่มีความต้องการใช้ เงินทุนหมุนเวียนในระดับสูง เนื่องจากภาวะตลาดน้ำมันของโลก ที่ตึงตัว รวมทั้ง สามารถสนับสนุนแผนงานลงทุนของบริษัทฯ ใน อนาคตด้วย บริษทั ฯ ยังให้ความสำคัญในการบริหารความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น และดอกเบี้ยของกลุ่ม โดยมีการบริหารสร้างโครงสร้างเงินกู้ที่อิง สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นส่วนใหญ่เพือ่ ให้สอดคล้องกับโครงสร้าง รายได้ อย่างไรก็ตาม ในช่วงที่เงินบาทเริ่มปรับแข็งค่าขึ้น บริษัทฯ ก็ได้ทยอยชำระคืนเงินกู้บางส่วน ในขณะเดียวกัน บริษัทฯ และ บริ ษั ท ในเครื อ มี การเจรจากั บ สถาบั น การเงิ น เพื่ อ ปรั บ ลดอั ต รา ดอกเบี้ยเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะตลาดเงินที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้ ยังได้มีการร่วมมือกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. เพื่อจัดทำ ประกันภัยในลักษณะกลุ่ม ซึ่งช่วยเพิ่มศักยภาพในการต่อรอง และ ทำให้สามารถลดเบี้ยประกันภัยโดยรวมได้ การบริหารบุคลากร จากการทีบ่ ริษทั ฯ ได้พฒ ั นาระบบงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล อย่างต่อเนื่องในหลายปีที่ผ่านมานั้น ในรอบปี 2550 นี้ บริษัทฯ ก็ได้ดำเนินการตามแผนงานต่างๆ เพื่อต่อยอดสิ่งที่ได้ดำเนินการ ไปแล้ ว โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่ อ เพิ่ ม ความแข็ ง แกร่ ง ในการ บริหาร “ทุนมนุษย์” ซึ่งจะช่วยให้บริษัทฯ มุ่งไปสู่การเป็นองค์กรที่ มีประสิทธิผลในการบริหารงานสูง สามารถตอบสนองความต้องการ ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียและเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันเชิงธุรกิจ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ใช้ระบบการจัดการด้านการบริหาร ได้แก่ ระบบ Balanced Scorecard และระบบการจั ด การผลงาน (Performance Management System) เป็นเครื่องมือในการ บริหารเชิงกลยุทธ์เพื่อให้การวัดผลการปฏิบัติงานของบุคลากรมี บรรทัดฐานเดียวกันทั้งองค์กร นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ดำเนินการ อย่างต่อเนื่องในการส่งเสริมการปลูกฝังค่านิยมองค์กร POSITIVE
โดยเน้นการปฏิบัติให้เกิดเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยสนับสนุน การพั ฒ นาชื่ อ เสี ย งขององค์ ก ร ให้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก และยอมรั บ จาก สาธารณชนว่าเป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมบนพื้นฐาน ของบรรษัทภิบาล รวมทั้งมีการบริหารจัดการองค์ความรู้อย่างเป็น ระบบอั น เป็ น รากฐานในการพั ฒ นาความรู้ ค วามสามารถแบบ บูรณาการของพนักงานที่ส่งเสริมให้องค์กรมีความสามารถในการ แข่งขันเชิงธุรกิจอย่างยั่งยืน
การบริหารระบบการจัดการด้านคุณภาพและสิ่งแวดล้อม ของกลุ่ม
บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ในการบริ ห ารงานคุ ณ ภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม (QSHE) รวมถึง การพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและมีการควบคุมคุณภาพ และปฏิบัติตามมาตรฐานสากล ISO/IEC 17025 อย่างเคร่งครัด ตลอดมา ส่งผลให้บริษัทฯ ผ่านการประเมินคุณภาพยกระดับ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ เ คราะห์ โ ดยกรมโรงงานอุ ต สาหกรรม (กรอ.) และได้ รั บ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ ก ารรั บ รองห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ ดี ภายใต้ ข้อกำหนดของ กรอ. นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้นำระบบบริหารความ ปลอดภัยซึ่งเป็นมาตรฐานสากลมาใช้ในการดำเนินงานควบคู่กับ มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก. 18001 อีกทั้ง บริษัทฯ และบจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ได้รับรางวัล สถานประกอบการที่ปฏิบัติตามมาตรการในรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมีการจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่นประจำ ปี 2550 (EIA Monitoring Awards 2007) ของสำนักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบ ให้แก่สถานประกอบการที่มีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและมีความ สัมพันธ์อันดีกับชุมชน
การดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมด้วยความรับผิดชอบ
บริษัทฯ ได้ริเริ่มและสร้างสรรค์โครงการเพื่อสังคมต่างๆ มาอย่าง ต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 46 ปีที่ผ่านมา เช่น โครงการด้านการ ศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและประเพณี รวมถึง ด้านสิ่งแวดล้อม และสุขอนามัย ในปี 2550 ซึ่งเป็นปีมหามงคลเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเจริญพระชนมมายุครบ 80 พรรษา บริษัทฯ ได้จัดโครงการศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์ เพื่อชุมชน เพื่อให้บริการด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานแก่ชุมชน และ สร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน ในด้านต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะเรือ่ งการเรียนรู้ การส่งเสริม สุขอนามัย ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น ตลอดจนสภาพแวดล้อม ของชุมชนให้ดียิ่งขึ้น
039
040
ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ ในรอบปี 2550
มกราคม ไทยออยล์ รางวัลโรงงานน่าอยู่ร่วมใจเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
กันยายน ไทยออยล์ ได้รับการจัดอันดับให้เป็นบริษัท จดทะเบียนขนาดใหญ่อันดับที่ 1,354 ของโลก จากนิตยสาร FORBES ในการจัดอันดับ FORBES GLOBAL 2000 ประจำปี 2550
มีนาคม ไทยพาราไซลี น รางวัลสถานประกอบการที่ปฏิบัติตามมาตรการ ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมีการจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่นประจำปี 2549 (EIA Monitoring Awards 2006) ของสำนักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ไทยออยล์ รางวัล Best Managed Company (อันดับที่ 5) รางวัล Investor Relations (อันดับที่ 5) และรางวัล Best Corporate Governance (อันดับที่ 6) สำหรับบริษัทจดทะเบียน ในภูมิภาคเอเชียจากนิตยสาร Finance Asia ประจำปี 2550
ประมวลเหตุการณ์ และรางวัลสำคัญ ในปี 2550 กันยายน ไทยออยล์ รางวัลการรับรองห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ที่ดี (Good Laboratory Practice / Department of Industrial Works : GLP / DIW ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม
กรกฎาคม ไทยออยล์ สถาบันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ S&P’s ได้คงการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับองค์กรของบริษัทฯ ไว้ที่ระดับ “BBB” และอันดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ ไม่มีหลักประกันของบริษัทฯ วงเงิน 350 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ไว้ที่ “BBB”
ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ ในรอบปี 2550
041
ธันวาคม
กันยายน ไทยออยล์ รางวัล Platts TOP 250 Global Energy Companies Awards ในฐานะที่เป็นบริษัทชั้นนำ ในการประกอบธุรกิจพลังงานในหมวด Platts Top Companies in Asia ในอันดับที่ 35 ของภูมิภาคเอเชียและอันดับที่ 154 ของโลก รวมถึงรางวัล Platts TOP 250 Global Energy Companies Fastest-Growing Companies in Asia อันดับที่ 17 ของภูมิภาค
ไทยออยล์ รางวัลคณะกรรมการแห่งปีดีเด่น ประจำปี 2549/50 (Board of the Year 2006/07 for Distinctive Practices) จากสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ไทยออยล์ บริษัท ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) จำกัด คงอันดับเครดิตภายในประเทศ (National Rating) ของบริษัทฯ ระยะยาวไว้ที่ระดับ AA- (tha) และระยะสั้นที่ระดับ F1+ (tha) และคงอันดับเครดิต หุ้นกู้ไม่มีหลักประกันและไม่ด้อยสิทธิของบริษัทฯ มูลค่ารวม 5.5 พันล้านบาทไว้ที่ระดับ AA-(tha)
พฤศจิกายน
ธันวาคม
ไทยออยล์ สถาบันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ Moody’s ได้คงการจัดอันดับความน่าเชื่อถือหุ้นกู้ของบริษัทฯ ไว้ที่ระดับ “Baa 1”
ไทยออยล์ และ ผลิตไฟฟ้าอิสระ บริษัทฯ และบจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ได้รับรางวัล สถานประกอบการที่ปฏิบัติตามมาตรการในรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมีการจัดการ สภาพแวดล้อมดีเด่นประจำปี 2550 (EIA Monitoring Awards 2007) ของสำนักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไทยออยล์ บริษัทฯ ดำเนินการก่อสร้างหน่วยกลั่นส่วนขยาย เพื่อเพิ่มกำลังการผลิตของหน่วย CDU-3 รวมถึง การหยุดเดินเครื่องเพื่อซ่อมบำรุงครั้งใหญ่ตามวาระ ของหน่วยกลั่นต่างๆ ซึ่งเสร็จเร็วกว่ากำหนดประมาณ 1 สัปดาห์ ปัจจุบัน บริษัทฯ มีกำลังการกลั่นรวม เพิ่มจาก 225,000 บาร์เรลต่อวัน เป็น 275,000 บาร์เรลต่อวัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 22
กันยายน ไทยพาราไซลี น Zero Accident Award หรือบริษัทที่มี สถิติความปลอดภัย ไม่มีการประสบอุบัติเหตุ ถึงขั้นหยุดงาน (No loss time injury) เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี ของกระทรวงแรงงาน
042
ระบบการจัดการด้านบริหารงานคุณภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม
ระบบการจัดการ ด้านบริหาร งานคุณภาพ อาชีวอนามัย และความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม นับตั้งแต่ปี 2539 ที่บริษัทฯ ได้นำระบบการจัดการ มาตรฐานอุ ต สาหกรรม (มอก.) และมาตรฐาน ไอเอสโอ (ISO) มาพัฒนาใช้ในการดำเนินงานโดยมี ความมุง ่ มัน ่ ทีจ ่ ะธำรงรักษาไว้ซง ่ึ คุณภาพ อาชีวอนามัย ความปลอดภั ย และสิ ่ ง แวดล ้ อ มอย ่ า งเคร ่ ง ครั ด รวมถึงการบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรในทุกๆ ด้าน อย่างเหมาะสมเพียงพอและมีประสิทธิภาพ โดยสอดคล้อง กับนโยบาย วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของบริษัทฯ และให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลเพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อชุมชนโดยรอบโรงกลั่นและบริษัทฯ ทั้งใน ระยะสั้นและระยะยาว ทั้งนี้ตลอดการดำเนินงานของ บริษัทฯ ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ดำเนินการดังนี้
1. การบริหารจัดการน้ำ
บริษัทฯ มีการบริหารจัดการความเสี่ยงเรื่องการจัดการน้ำเพื่อใช้ใน กิจการของบริษัทในเครือไทยออยล์ โดยติดตามสถิติปริมาณน้ำท่า ในแหล่งน้ำภาคตะวันออก ติดตามแผนงานโครงการจัดสรรน้ำ ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน และที่สำคัญ บริษัทฯ ได้เฝ้าติดตาม การเปลี่ยนแปลงสภาพอุตุนิยมวิทยาและอุทกศาสตร์ระดับโลก ซึ่งทำให้สามารถคาดการณ์ปริมาณน้ำฝนและน้ำท่าในประเทศได้ โดยจะนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการจัดทำแผนการบริหารจัดการความ เสี่ยงเรื่องการจัดการน้ำได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมยิ่งขึ้นต่อไป
2. การบริหารจัดการคุณภาพอากาศ
บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำคัญของคุณภาพอากาศโดยรอบพื้นที่ โรงกลั่นเนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของประชาชน ในพื้นที่ จึงเน้นนโยบายการจัดการคุณภาพอากาศโดยการป้องกัน ก่อนเกิดปัญหามาตลอดตั้งแต่เปิดดำเนินการ และได้ปฏิบัติตาม มาตรการต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และปรับปรุงให้ทันต่อเหตุการณ์และ สภาพปัจจุบัน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐมากที่สุด ปัจจุบัน ภาครัฐให้ความสำคัญใน 2 เรื่อง กล่าวคือ • เฝ้าระวังคุณภาพอากาศในพื้นที่อย่างใกล้ชิดด้วยระบบ CEMs เนื่องด้วยกระทรวงอุตสาหกรรมออกกฎหมายเกี่ยวกับการติดตั้ง ระบบตรวจคุณภาพอากาศจากปล่องแบบอัตโนมัติ (Continuous Emission Monitoring System: CEMs) เมื่อปี 2545 โดยบังคับ ใช้เฉพาะโรงงานที่ตั้งอยู่ในเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นิคม อุตสาหกรรมผาแดง นิคมอุตสาหกรรมตะวันออก นิคมอุตสาหกรรม เอเชีย จังหวัดระยอง อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้พจิ ารณาเห็นว่าการ เฝ้าระวังคุณภาพอากาศในพื้นที่อย่างใกล้ชิด เป็นเรื่องที่บริษัทฯ ต้องให้ความเอาใจใส่ในลำดับแรก จึงได้ติดตั้ง CEMs ในปล่อง ระบายอากาศของหน่วยผลิตทีส่ ามารถดำเนินการได้ทนั ที โดยตรวจ วัดปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน อย่างต่อเนือ่ ง และพิจารณาติดตัง้ เพิม่ เติมในปล่องใหม่ของโครงการ ขยายต่อไป • การป้องกันปัญหาจากสารอินทรีย์ระเหย ปัจจุบัน ภาครัฐโดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ให้ความ สำคัญในการแก้ไขปัญหาเรื่องสารอินทรีย์ระเหยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ มาบตาพุ ด โดยเร่ ง ออกมาตรฐานคุ ณ ภาพสารอิ น ทรี ย์ ร ะเหย ในบรรยากาศ 9 ชนิด และจัดทำร่างมาตรฐานเฉพาะสำหรับ แหล่ ง กำเนิ ด สารอิ น ทรี ย์ ร ะเหย โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง โรงกลั่ น น้ ำ มั น ปิ โ ตรเลี ย ม และโรงปิ โ ตรเคมี
ระบบการจัดการด้านบริหารงานคุณภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม
บริษัทฯ เล็งเห็นถึงการป้องกันปัญหาสุขภาพของชุมชนในพื้นที่ และมิได้นิ่งเฉยต่อปัญหาดังกล่าว ตลอดเวลาที่ผ่านมา บริษัทฯ จัดให้มีการบ่งชี้อุปกรณ์ที่คาดว่าจะก่อให้เกิดการรั่วซึมมากที่สุด (Inventory) และตรวจสอบการรัว่ ซึมของสารอินทรียร์ ะเหยเป็นระยะ พร้อมกับการซ่อมบำรุง ปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ มากที่สุด ขณะนี้ บริษัทฯ กำลังพิจารณาดำเนินการเพิ่มเติมเพื่อให้ สอดคล้องกับร่างมาตรฐานที่กฎหมายจะบังคับใช้ดังกล่าวข้างต้น ต่อไป ในขณะเดียวกัน บริษัทฯ ได้ดำเนินการตรวจสอบสารอินทรีย์ระเหย ทีอ่ ยูใ่ นบรรยากาศ เพือ่ เป็นการเฝ้าระวังสารอินทรียร์ ะเหยทีม่ คี วาม เกีย่ วข้องกับกิจกรรมของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ โดยได้จดั จ้าง บริษัทที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อตรวจวัดเบนซีน โทลูอีน ไซลีน และไฮโดรคาร์ บ อนในบรรยากาศบริ เ วณพื้ น ที่ แ ละชุ ม ชนรอบ
ดัชนีพลังงานและการสูญเสีย (Energy and Loss Index) และ มีการติดตามประเมินผลการใช้พลังงานเป็นประจำทุกเดือน เพื่อวิเคราะห์และวางแผนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ - การจัดตัง้ คณะกรรมการด้านการอนุรกั ษ์พลังงาน (Energy and Loss Improvement Committee) ประกอบด้วยผูแ้ ทนจากฝ่าย ต่างๆ เพื่อเป็นตัวแทนในการประสานนำนโยบายและมาตรการ ที่เกี่ยวข้องตามที่ที่ประชุมกำหนดแจ้งให้บุคลากรของบริษัทฯ ถือปฏิบัติต่อไป - การปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานและชนิดอุปกรณ์บางประเภท เช่น การลดอัตราก๊าซไหลเวียน (Recycle Gas Rate) ใน หน่วย Continuous Catalyst Regeneration-1 (CCR-1) เพือ่ ลดการใช้ไอน้ำและการใช้ถงั ดับเพลิงประเภท Halon ซึง่ จัด เป็นสารทำลายชั้นโอโซนและมีศักยภาพในการทำให้เกิดภาวะ โลกร้อนสูง
โรงกลั่น พร้อมกับจัดหน่วยสาธารณสุขเคลื่อนที่ไปตามแหล่งที่อยู่ ของประชาชนในพื้ น ที่ เ พื่ อ ตรวจสุ ข ภาพและรั บ ฟั ง ทุ ก ข์ สุ ข ของ ประชาชนตลอดปี
จวบจนถึงปัจจุบัน บริษัทฯ ได้มีการพัฒนาและปรับปรุงระบบการ บริหารด้าน QSHE อย่างต่อเนื่อง อาทิเช่น การบ่งชี้ประเด็น ปัญหาคุณภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม แบบบูรณาการ (Integrated QSHE Aspect Identification) Corrective & Preventive Report Online การปรับการรับรอง ระบบ QSHE ทั้ง 3 ระบบโดยให้ใบรับรองมีผลในวันเดียวกัน ในปี 2551 บริษัทฯ จะขยายขอบเขตการรับรองระบบการบริหาร ด้าน QSHE ให้ครอบคลุมทั่วทั้งโรงกลั่น เพื่อให้สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ของบริษัทฯ ในการดำเนินธุรกิจเชิงบูรณาการด้านการ กลั่นน้ำมัน
3. ลดสภาวะโลกร้อน
ปัจจุบนั มีการกล่าวถึงปัญหาสภาวะโลกร้อนอย่างกว้างขวางเนือ่ งจาก สภาวะดังกล่าวส่งผลกระทบให้เห็นชัดเจนมากขึ้น การใช้พลังงาน อย่างคุม้ ค่าและมีประสิทธิภาพ รวมถึงการลดการใช้หรือปลดปล่อย ก๊าซเรือนกระจก เป็นกลไกที่จะช่วยลดสภาวะโลกร้อนได้ บริษัทฯ ตระหนักถึงการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ ดังนัน้ นโยบายการอนุรกั ษ์พลังงานและการรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม จึงเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายหลักที่บริษัทฯ กำหนดไว้ โดยมุ่งเน้น การดำเนินกิจการทุกด้านอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการจัดการ ด้านเชื้อเพลิงและพลังงาน และการรักษาสภาพแวดล้อม อาทิ - กำหนดเป้าหมายในการลดการใช้พลังงาน โดยกำหนดเป็นค่า
ระบบการจัดการว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการ ทดสอบ (ISO/IEC 17025)
ตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้มีการควบคุมคุณภาพ ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ ำ มั น อย่ า งเข้ ม งวดและได้ ม าตรฐานสากลมา
043
044
ระบบการจัดการด้านบริหารงานคุณภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม
การยกระดับห้องปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อม สู ่มาตรฐานสากล
บริษัทฯ ผ่านการประเมินคุณภาพจากการเข้าร่วมโครงการ ยกระดั บ ห้ อ งปฏิ บั ติ การวิ เ คราะห์ ข องเอกชนที่ ขึ้ น ทะเบี ย น กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) และได้รับตราสัญลักษณ์ การรั บ รองห้ อ งปฏิ บั ติ การวิ เ คราะห์ ที่ ดี GLP/DIW (Good Laboratory Practice) ภายใต้ข้อกำหนดของ กรอ. เมื่อ วันที่ 12 กันยายน 2550 โดยตลอด โดยควบคุมคุณภาพผ่านห้องปฏิบัติการทดสอบที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานสากล ISO/IEC 17025 อย่างเคร่งครัด เพื่อให้ได้ ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กระทรวงพาณิชย์ กำหนดไว้และตรงตามข้อตกลงกับลูกค้าด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ก่อนที่จะจัดส่งผลิตภัณฑ์เหล่านั้นให้แก่ลูกค้าต่อไป นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้รว่ มกับภาครัฐเพือ่ ยกระดับห้องปฏิบตั กิ าร ทางด้านสิง่ แวดล้อมสูม่ าตรฐานสากล โดยตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ทั้งใน ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์และขั้นตอนการผลิต ตลอดจนการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งแนวทางหนึ่งใน การเพิม่ ขีดความสามารถดังกล่าว คือ การส่งเสริมให้หอ้ งปฏิบตั กิ าร วิเคราะห์มีศักยภาพในการวิเคราะห์ทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมอย่างมี ประสิทธิภาพ ถูกต้องและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ดังนัน้ เมือ่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ได้จดั โครงการยกระดับ ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของเอกชนที่ขึ้นทะเบียนกับ กรอ. ขึ้น โดย มีบริษัท United Analyst and Engineering Consultant (UAE) ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นที่ปรึกษา โครงการ บริษัทฯ ซึ่งเป็นองค์กรที่ให้ความสำคัญกับปัญหาด้าน สิง่ แวดล้อม จึงได้สมัครเข้าร่วมโครงการทันที และได้รบั การคัดเลือก ให้เป็นห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ 1 ใน 40 แห่งแรกในประเทศไทย ที่มีความพร้อมและประสิทธิภาพสูงที่จะดำเนินโครงการดังกล่าว เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาอันสั้น เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ห้อง ปฏิบัติการวิเคราะห์เอกชนรายอื่นๆ ต่อไป บริษัทฯ ผ่านการประเมินคุณภาพจากการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว และได้รับตราสัญลักษณ์การรับรองห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ที่ดี
GLP/DIW (Good Laboratory Practice ภายใต้ข้อกำหนดของ กรอ.) เป็นการประกันคุณภาพ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2550 การ เข้าร่วมโครงการยกระดับห้องปฏิบัติการวิเคราะห์กับ กรอ. ครั้งนี้ นับเป็นอีกหนึ่งในความมุ่งมั่นที่จะก้าวสู่ระดับสากลของบริษัทฯ เพื่อความเป็นผู้นำในการดำเนินธุรกิจเชิงบูรณาการด้านการกลั่น น้ำมัน และปิโตรเคมีที่ต่อเนื่องอย่างครบวงจรในภูมิภาคที่คำนึงถึง ดุลยภาพด้านสิ่งแวดล้อม และการเอื้อประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม นอกจากนี้ ทางห้องปฏิบัติการทดสอบได้พัฒนาบุคลากรและระบบ การจัดการ รวมทั้งเตรียมความพร้อมของเครื่องมือและอุปกรณ์ ทดสอบไว้เพือ่ รองรับนโยบายของหน่วยงานราชการในด้านพลังงาน ทดแทน เช่น น้ำมันแก๊สโซฮอล์ และไบโอดีเซล เรียบร้อยแล้ว
การบริหารการจัดการด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย
ตลอดระยะเวลาการดำเนินกิจการของบริษัทฯ ได้นำระบบบริหาร ความปลอดภัย Enhanced Safety Management ซึ่งเป็น มาตรฐานการจัดการสากลมาใช้ในการดำเนินงาน ควบคูก่ บั มาตรฐาน ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก.18001 ดังนั้น เพื่อให้การบริหารงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับนโยบายขององค์กร บริษัทฯ จึงได้ กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย (KPI) การดำเนินงานด้าน อาชีวอนามัย ความปลอดภัย ป้องกันและระงับอัคคีภัยประจำปี เพื่ อ เป็ น แนวทางในการดำเนิ น งาน และเพื่ อ ให้ ส ามารถบรรลุ วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ บริษัทฯ จึงได้กำหนด แผนงานย่ อ ยด้ า นอาชี ว อนามั ย ความปลอดภั ย ป้ อ งกั น และ ระงับอัคคีภัยขึ้น เพื่อสนับสนุนให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด สามารถตรวจติดตามและประเมินผลการ ดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน
ระบบการจัดการด้านบริหารงานคุณภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม
สรุปผลการดำเนินงานในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา สถิติความปลอดภัย อยู่ในระดับดีกว่าค่าเฉลี่ยเมื่อเทียบกับกลุ่มโรงกลั่น SGS (Shell benchmarking) โดยมี ก ารตรวจติ ด ตามและประเมิ น ผลการ ดำเนินงานตามแผนงานย่อยที่ได้กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง ผลการ ประเมินพบว่า บริษัทฯ สามารถดำเนินการตามแผนงานย่อยที่ได้ กำหนดไว้ และได้มีการพัฒนาบุคลากรและปรับปรุงการดำเนินงาน ด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย ป้องกันและระงับอัคคีภัยให้ สอดคล้องกับข้อกำหนด กฎหมาย ทางด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย โดยได้มกี ารปรับปรุงระบบใบอนุญาตในการทำงาน ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานขยายหน่วย CDU-3 การฝึกซ้อม แผนฉุกเฉินสำหรับผู้อยู่เวรคอยเหตุฉุกเฉิน การวางแผนล่วงหน้า กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ถังบรรจุผลิตภัณฑ์ การวางแผนล่วงหน้า กรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน การเตือนอันตรายในพื้นที่หน่วยกลั่น การทบทวนประเด็นความเสีย่ งและแผนงานบริหารจัดการความเสีย่ ง ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม การทบทวนประเด็นความเสี่ยง และแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยงตามมาตรฐานระบบการ บริหารจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย (มอก.18001) การฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ การฝึก อบรมผู้ ค วบคุ มและสั่ ง การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ตลอดจนการปรั บ ปรุ ง / แก้ ไ ขเอกสารควบคุ ม ในระบบการบริ ห ารจั ด การอาชี ว อนามั ย ความปลอดภัย และระงับอัคคีภัยให้เป็นปัจจุบันตลอดเวลาเพื่อ ความปลอดภั ย สู ง สุ ด สำหรั บ การปฏิ บั ติ ง านของพนั ก งาน และ พนั ก งานผู้ รั บ เหมา ตลอดจนชุ ม ชน และสั ง คม นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังเป็นศูนย์รวมทางด้านวิชาการและเทคโนโลยี การบริหารงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย ป้องกันและระงับ อัคคีภัย จึงมีหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถานศึกษาทั้งในและ ต่างประเทศขอเข้าเยีย่ มชม และเชิญบุคลากรของบริษทั ฯ ไปบรรยาย และสาธิต ตลอดจนร่วมเป็นคณะกรรมการร่างข้อกำหนด กฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย ป้องกันและระงับอัคคีภัยอย่างต่อเนื่อง
รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award: TQA)
บริษทั ฯ ตระหนักถึงการพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานของบริษทั ฯ อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ในปี 2551 บริษัทฯ จะนำเกณฑ์รางวัล คุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award: TQA) มาพัฒนาใช้ เพื่อเตรียมความพร้อมที่จะก้าวไปสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศตาม แนวทางรางวัลดังกล่าว เพื่อให้เป็นที่ยอมรับว่าเป็นองค์กรที่ประสบ ความสำเร็จในการบริหารและการจัดการในระดับมาตรฐานโลก ซึ่ง แสดงถึงศักยภาพของบริษัทฯ ในด้านความสามารถในการแข่งขัน ระดับโลก รวมถึงมีการจัดการองค์ความรูใ้ นองค์กรเพือ่ ทีจ่ ะถ่ายทอด และรักษาองค์ความรู้ไว้ให้อยู่ในองค์กรอย่างยั่งยืน อันจะส่งผลให้ ธุรกิจ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่
ISO 26000: ความรับผิดชอบต่อสังคม
บริษทั ฯ ได้สร้างสรรค์โครงการเพือ่ สังคมตลอดระยะเวลา 4 ทศวรรษ ทีผ่ า่ นมา อาทิเช่น โครงการด้านการศึกษา ด้านศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่น ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย ด้านชุมชน สั ม พั น ธ์ ตามเจตนารมณ์ อั น แน่ ว แน่ ข องบริ ษั ท ฯ ที่ แ สดง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของค่ า นิ ย มองค์ ก ร “POSITIVE” สำหรับประเทศไทยนั้น สถาบันสิ่งแวดล้อมไทยได้จัดโครงการแลก เปลี่ ย นเรี ย นรู้ ก ารดำเนิ น งานด้ า นธุ ร กิ จ ที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม บริษัทฯ จึงได้เข้าร่วมโครงการดังกล่าวเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์ดังกล่าว ซึ่งบริษัทฯ ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องและ ยัง่ ยืนมาเป็นเวลา 46 ปี และจะยังคงเจตนารมณ์ทจี่ ะร่วมรับผิดชอบ ต่อสังคมตลอดไป
045
046
ความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนร่วมกัน
ความรับผิดชอบ ต่อสังคม เพื่อการเติบโต ที่ยั่งยืนร่วมกัน บริษัทฯ ให้ความสำคัญอย่างยิ่งในการใส่ใจดูแลและ แสดงความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาค ส่วนของสังคม โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนิน ธุรกิจ นับแต่แรกก่อตัง ้ โรงกลัน ่ นอกจากความมุง ่ มัน ่ ภายในองค์กรทีต ่ อ ้ งการดำเนินธุรกิจด้วยความเป็นเลิศ โดยมิให้เกิดผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมแล้ว บริษัทฯ ยังมุ่งเน้นการสร้างสรรค์กิจกรรมช่วยเหลือ สังคมในด้านอืน ่ ๆ อย่างเต็มที่ อาทิ กิจกรรมการกุศล เพื่อผู้ด้อยโอกาสและเอื้อประโยชน์ต่อสาธารณะ ซึ่ง บริษัทฯ ได้ให้การสนับสนุนเป็นจำนวนมากในแต่ละปี การพัฒนาคุณ ภาพชี ว ิ ต ของชุ ม ชนและสิ ่ ง แวดล้อม โดยเฉพาะการให้ต้นทุนด้านการศึกษา การสร้างองค์ ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการสืบสานคุณค่าทาง สังคม ซึง ่ ถือเป็นรากฐานสำคัญของการเติบโตอย่าง ยั่งยืนร่วมกันตามวิสัยทัศน์ที่บริษัทฯ กำหนดไว้
ในปี 2550 บริษัทฯ ได้พัฒนาโครงการเพื่อสังคมให้เป็นระบบ ยิ่งขึ้นและขับเคลื่อนให้สอดคล้องกับเป้าหมายของเครือไทยออยล์ และตรงกับความต้องการของชุมชน โดยถือวโรกาสเฉลิมพระชนม พรรษา 80 พรรษาดำเนินโครงการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวที่ทรงให้ความสำคัญต่อการสร้างสรรค์ความรู้และ นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งจะเป็นโครงการนำร่องให้เครือ ไทยออยล์สามารถต่อยอดคุณค่าให้แก่สังคมได้อย่างแท้จริงต่อไป
1. โครงการเทิดพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 80 พรรษา
โครงการสารคดีเฉลิมพระเกียรติชุด “ประพาสต้นบนดอย” ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ สังคมไทยตลอดพระชนมายุ 80 พรรษา บริษัทฯ จึงร่วมเทิด พระเกียรติในปีมหามงคลนี้ ด้วยการสนับสนุนการถ่ายทอดแนว พระราชดำริและการทรงงานอันเหนื่อยยากผ่านโครงการหลวง อย่างสมบูรณ์แบบเป็นครั้งแรกผ่านสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อสมท. ในสารคดีพิเศษชุด “ประพาสต้นบนดอย” เพื่อสะท้อนพระราชดำริ อันล้ำลึกและพระวิสัยทัศน์อันยาวไกลกว่า 40 ปีของพระองค์ที่ ทรงพลิกโฉมหน้าแหล่งปลูกฝิ่นที่ใหญ่ที่สุดให้คืนสู่เกียรติภูมิของ ประเทศและกลายเป็นแหล่งผลิตอาหารเลี้ยงชาวโลก โครงการศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน เครือไทยออยล์ตามรอยพระราชดำริในการพัฒนาให้สังคมเติบโต อย่างยั่งยืน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั ด้วยการจัดสร้าง “ศูนย์สขุ ภาพและการเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์ เพื่อชุมชน” โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ชุมชนด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานที่มีมาตรฐานสุขอนามัยอย่างเป็น รูปธรรมและทั่วถึงโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย และยังจะขยายรูปแบบการ ดำเนินการให้ครอบคลุมถึงการสร้างทักษะความรู้ เช่น การให้บริการ ห้องสมุด การฝึกฝีมืออาชีพให้แก่ประชาชน การจัดลานกิจกรรม เพือ่ ส่งเสริมสุขภาพทางกายและใจ ตลอดจนการส่งเสริมพัฒนาการ สำหรับเด็กเล็กอีกด้วย
ความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนร่วมกัน
โครงการแต่งแต้ม เติมฝัน ตามรอยบาทพ่อหลวง เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ในฐานะองค์ อัครศิลปินแห่งชาติ เครือไทยออยล์และบริษัท ไทยโตไกคาร์บอน โปรดักท์ จำกัด จึงได้ร่วมกับสวนสัตว์เปิดเขาเขียวจัดโครงการ “แต่งแต้ม เติมฝัน ตามรอยบาทพ่อหลวง” ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ เยาวชนที่มีทักษะทางด้านการวาดภาพได้ถ่ายทอดความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ผ่านงานศิลปะ อันจะนำไปสู่การบูรณาการทางความคิด และจินตนาการ นอกจากนี้ ยังเป็นการปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามแนวพระราชดำริอีกด้วย
2. โครงการด้านการศึกษา
โครงการมอบทุนการศึกษา การศึ ก ษาถื อ เป็ น ปั จ จั ย หลั ก ที่ จ ะช่ ว ยให้ สั ง คมไทยเจริ ญ เติ บ โต อย่างยั่งยืน บริษัทฯ จึงมีนโยบายที่ให้ความสำคัญยิ่งในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ โดยให้การสนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนอย่าง ต่อเนื่อง อาทิ • กองทุนสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรีฯ ในพระราชูปถัมภ์ เพือ่ พระราชทาน เป็นทุนการศึกษาตามแต่จะทรงมีพระราชวินิจฉัย ซึ่งบริษัทฯ ได้จัดสรรเงินสมทบกองทุนฯ อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2534 • ทุน “บริษทั ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)” ในมูลนิธอิ านันทมหิดล ซึ่งได้รับพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งขึ้นเมื่อปี 2548 • โครงการปริ ญ ญาโททั ก ษะวิ ศ วกรรมเคมี ส ำหรั บ นั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เพือ่ สร้างวิศวกรรองรับ อุตสาหกรรมของประเทศ ซึง่ ดำเนินการต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ปี 2540 • กองทุนการศึกษา บริษัท ไทยออยล์ เพื่อรำลึกถึงศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ ไชยเวช ซึ่งเป็นทุนที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาภาค วิชาวิศวกรรมเคมีทั่วประเทศสมัครเข้ารับการคัดเลือก โดยทาง บริษัทฯ จะให้การสนับสนุนการศึกษาแก่นักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ การคัดเลือกอย่างต่อเนื่องจนจบการศึกษา • โครงการมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียน นักศึกษาในชุมชุนเป็น ประจำทุกปี โครงการสร้างองค์ความรู้ นอกจากการให้การสนับสนุนด้านการศึกษาแล้ว บริษทั ฯ ยังสนับสนุน การสร้างองค์ความรู้ด้วยประสบการณ์ตรง ด้วยการเปิดโอกาสให้ สถาบันการศึกษาทั่วประเทศเข้าเยี่ยมชมโรงกลั่น เพื่อให้โรงกลั่น ไทยออยล์เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่สัมผัสได้ของเยาวชน นอกจากนั้น ทางเครือไทยออยล์ยังได้ร่วมจัดค่ายวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อ ปลูกฝังให้เยาวชนรู้จักใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการเรียนรู้ อย่างเป็นระบบและมีการตัดสินใจอย่างมีเหตุผลบนพื้นฐานของ
ข้อมูลที่ถูกต้อง รวมถึงการฝึกวิธีการดับเพลิงให้กับหน่วยราชการ ในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ
3. โครงการสืบสานคุณค่าด้านศาสนา สังคมและวัฒนธรรม
ในฐานะองค์กรชั้นนำที่ให้ความสำคัญในการมีส่วนร่วมจรรโลงและ อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีที่สืบสานศรัทธาร่วมกันมายาวนาน เครือไทยออยล์จึงเข้าร่วมกิจกรรมในเทศกาลและประเพณีสำคัญ ของไทยเป็นประจำทุกปี เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีกองข้าว การสนับสนุนการเทศน์มหาชาติ การถวายเทียนพรรษา และการจัด ทอดกฐินสามัคคีร่วมกับชุมชน เป็นต้น
4. โครงการด้านสุขอนามัยและคุณภาพชีวิต
เครื อ ไทยออยล์ ต ระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ด้ า นสุ ข ภาพพลานามั ย เนื่องจากการมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่แข็งแรงสมบูรณ์ จะเป็น รากฐานสำคัญในการพัฒนาประเทศในทุกๆ ด้าน โดยควรเริ่มต้น จากการให้ความรูค้ วามเข้าใจพืน้ ฐานด้านโภชนาการ การเสริมสร้าง ความแข็งแรงด้วยการออกกำลังกาย การสนับสนุนการให้บริการ รักษาพยาบาลเมื่อยามเจ็บป่วย โดยมีโครงการของเครือไทยออยล์ รองรับ ดังนี้ โครงการออกหน่วยสาธารณสุขเคลื่อนที่ เพื่อก้าวเคียงคู่กับชุมชนได้อย่างมั่นคงด้วยความจริงใจและห่วงใย อย่างแท้จริง เครือไทยออยล์จงึ ได้จดั โครงการออกหน่วยสาธารณสุข เคลือ่ นที่ เพือ่ ออกให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขแก่ชมุ ชน รวมถึงให้การสนับสนุนนักศึกษาแพทย์ในการลงพื้นที่เพื่อให้ความรู้ ด้านสุขภาพแก่ชาวบ้านอย่างสม่ำเสมอ
047
048
ความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนร่วมกัน
โครงการสนับสนุนด้านงบประมาณ บุคลากรและอุปกรณ์เพือ่ การกีฬา เครือไทยออยล์ได้ให้การสนับสนุนกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ ด้านสุขอนามัยของประชาชนอย่างต่อเนื่อง เช่น การสนับสนุนการ ฝึกซ้อมและแข่งขันแก่ทีมฟุตบอลอำเภอศรีราชาในการแข่งขัน ฟุตบอลอาชีพของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย การสนับสนุน ทีมฟุตบอลโรงเรียนศรีราชาในการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน กีฬาชุมชนสัมพันธ์ เป็นต้น
5. โครงการด้านสิ่งแวดล้อม
การประกอบการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ถือเป็นหัวใจสำคัญอีก ประการหนึ่งในการประกอบธุรกิจ เครือไทยออยล์จึงมุ่งเน้นในการ ดู แ ลและรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มทั้ ง ในองค์ ก รและชุ ม ชนรอบโรงกลั่ น โดยการจัดโครงการส่งเสริมและรณรงค์เพื่อกระตุ้นจิตสำนึกด้าน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ โครงการรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อม น้อมเกล้าถวายราชินี เครือไทยออยล์และบริษทั ไทยโตไกคาร์บอนโปรดักท์ จำกัด ร่วมกัน จัดโครงการ “รณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อม น้อมเกล้าถวายราชินี” ขึ้น เป็นประจำทุกปี เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องใน วโรกาสวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษาของสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ อีกทั้ง เพื่อกระตุ้นจิตสำนึกของเยาวชนและ ประชาชนในการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะด้านความสะอาด และสุขอนามัยของชุมชนโดยรวม โครงการผลิตน้ำมันสำเร็จรูปตามมาตรฐาน EURO IV ตามทีร่ ฐั บาลกำหนดให้มกี ารบังคับใช้นำ้ มันตามมาตรฐาน Euro IV โดยมีข้อกำหนดว่า น้ำมันเบนซินและน้ำมันแก๊สโซฮอล์จะต้องลด ปริมาณสารกำมะถันลงเหลือเพียง 50 ส่วนในล้านส่วน (ppm) และมีการลดปริมาณสารเบนซีนลงเหลือเพียงร้อยละ 1.0 โดยปริมาตร รวมถึงน้ำมันดีเซลก็จะต้องลดปริมาณสารกำมะถันลงเหลือ 50 ส่วน ในล้านส่วน (ppm) ในวันที่ 1 มกราคม 2555 นั้น ด้วยวิสัยทัศน์ของบริษัทฯ ที่คำนึงถึงดุลยภาพด้านสิ่งแวดล้อมและ มุ่งเน้นการเอื้อประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม จึงได้เล็งเห็นถึงความ สำคัญของการส่งเสริมการใช้พลังงานสะอาด เพือ่ รองรับการพัฒนา เทคโนโลยีเพือ่ สิง่ แวดล้อมในอนาคต บริษทั ฯ จึงได้เร่งทำการศึกษา
และพบว่า สามารถปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต เพื่อผลิตน้ำมัน ดีเซลตามมาตรฐาน Euro IV และพร้อมจัดจำหน่ายเป็นครั้งแรก ได้ในไตรมาส 1 ปี 2551 หรือก่อนกำหนดการของภาครัฐถึง 4 ปี
6. โครงการด้านชุมชนสัมพันธ์
ตลอด 46 ปีทผี่ า่ นมา บริษทั ฯ ประสบความสำเร็จในการดำเนินการ ด้วยการสนับสนุนอย่างดีเยี่ยมจากชาวศรีราชา ความสัมพันธ์กับ ชุมชนจึงเป็นปัจจัยทีบ่ ริษทั ฯ ให้ความสำคัญมาโดยตลอด ในปัจจุบนั ได้มกี ารดำเนินงานด้านชุมชนสัมพันธ์เชิงบูรณาการ เพือ่ ให้นโยบาย ด้ า นชุ ม ชนสั ม พั น ธ์ ข องเครื อ ไทยออยล์ เ ป็ น รู ป ธรรมและยั่ ง ยื น ขณะเดียวกัน ก็เน้นการให้ชมุ ชนเข้ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนาชุมชน ให้เข้มแข็งภายใต้แนวคิด “เราคิด เราทำ ร่วมกัน” ซึ่งกิจกรรม เหล่านี้จะช่วยกระชับความสัมพันธ์ระหว่างเครือไทยออยล์และ ชุมชนให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น โดยในปี 2550 ที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ ได้จัดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์กับชุมชนมากมาย อาทิเช่น โครงการเราคิด เราทำ ร่วมกัน (การประชุมไตรภาคี) เครือไทยออยล์ได้ริเริ่มโครงการนี้ขึ้น โดยเป็นการประชุมระหว่าง เครือฯ ชุมชน 7 ชุมชนรอบโรงกลั่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา และเทศบาลตำบลแหลมฉบังเป็นประจำทุกไตรมาส เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และระดมความคิดในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเน้นให้ทุกฝ่ายได้เข้ามามีส่วนร่วมให้ เกิดการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน โครงการสื่อความห่วงใย แบ่งสรร ปันสุข เพื่อเชื่อมสายสัมพันธ์ เครือไทยออยล์มุ่งเน้นการส่งเสริมศักยภาพของคณะกรรมการ ชุมชนในการประสานงาน การทำงานเป็นทีม และการพัฒนาทีมงาน เพื่อก่อให้เกิดความสำเร็จร่วมกัน โดยมีการสอดแทรกความรู้ต่างๆ ในกิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ ในการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร เพือ่ ให้คณะกรรมการ ชุมชนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานต่อไปได้ โครงการเยีย่ มชมเครือไทยออยล์และบริษทั ไทยโตไกคาร์บอนโปรดักท์ จำกัด และโครงการเปิดบ้าน สานใจ เยาวชนไทยสู่โรงกลั่น เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อให้ประชาชนในชุมชนโดยรอบได้รับรู้และ ทราบถึงการดำเนินงานของเครือไทยออยล์ ซึ่งจะช่วยให้ชุมชนเกิด ความเข้าใจและมั่นใจในความรู้ ความชำนาญ ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยของเครือไทยออยล์อีกประการหนึ่งด้วย
ภาวะอุตสาหกรรม และการแข่งขัน
ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ภาวะอุตสาหกรรมน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูป ราคาน้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป
น้ำมันอากาศยาน น้ำมันดีเซล น้ำมันเบนซิน น้ำมันดิบดูไบ น้ำมันเตา
เหรียญสหรัฐฯ ตอบารเรล 120 110 100 90 80 70 60 50 40 30
2549
2550
ในปี 2550 ราคาน้ำมันดิบดูไบและน้ำมันสำเร็จรูปในตลาดสิงคโปร์มีความผันผวนและได้ปรับตัวสูงขึ้นจากปี 2549 โดยเป็นผลมาจากปัจจัย ที่สำคัญต่างๆ เช่น สถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศผู้ผลิตน้ำมันดิบของโลก ความกังวลเกี่ยวกับเศรษฐกิจสหรัฐฯ และค่าเงินสกุล ดอลลาร์สหรัฐฯ ความกังวลเกี่ยวกับปริมาณน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูปคงคลัง อัตราเติบโตที่รวดเร็วของประเทศในทวีปเอเชียแปซิฟิกต่อ อุปสงค์น้ำมันโดยรวม เป็นต้น ผลจากราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้นส่งผลให้อุปสงค์น้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศขยายตัวในอัตราที่ไม่สูงนัก เทียบกับในอดีต นอกเหนือจากปัจจัยด้านราคาแล้ว บทบาทของน้ำมันชีวมวลทั้งน้ำมันแก๊สโซฮอล์และน้ำมันไบโอดีเซลก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ที่ทวีความสำคัญมากขึ้นในตลาดน้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศ โดยเฉพาะในช่วงภาวะราคาน้ำมันแพงและมีแรงสนับสนุนจากภาครัฐในการ ใช้เชือ้ เพลิงทีผ่ ลิตจากภาคการเกษตรภายในประเทศ ส่วนภาวะอุตสาหกรรมสารพาราไซลีนและน้ำมันหล่อลืน่ พืน้ ฐานของภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ในปี 2550 นั้น ได้รับแรงสนับสนุนจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างแข็งแกร่งของประเทศต่างๆ ในภูมิภาค โดยเฉพาะจีนและอินเดีย ส่งผลให้อปุ สงค์ของผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวยังอยู่ในเกณฑ์ทดี่ ี ประกอบกับอุปทานทีเ่ ข้ามาใหม่ยงั ไม่มากนักส่งผลให้ราคาของผลิตภัณฑ์ยงั ทรงตัว อยู่ในระดับค่อนข้างสูง ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ราคาน้ำมันดิบดูไบและน้ำมันสำเร็จรูปในตลาดสิงคโปร์ปรับตัวสูงขึ้น สรุปได้ดังนี้ สถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศผู้ผลิตน้ำมันดิบของโลก: ตลาดมีความกังวลเกี่ยวกับปริมาณการผลิตน้ำมันดิบที่อาจหยุดชะงัก จากปัญหาทางการเมืองต่างๆ เช่น ความขัดแย้งระหว่างตุรกีกับกลุ่มกบฏชาวเคิร์ดทางตอนเหนือของอิรัก ปัญหาโครงการพัฒนานิวเคลียร์ ของประเทศอิหร่าน และความรุนแรงที่เกิดขึ้นภายในประเทศไนจีเรีย ความกังวลเกี่ยวกับเศรษฐกิจสหรัฐฯ: ผลจากปัญหาสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ด้อยคุณภาพในสหรัฐฯ ส่งผลให้เกิดความกังวลเกี่ยวกับภาวะ เศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มชะลอตัวลง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการบริโภคน้ำมัน ความกังวลเกี่ยวกับปริมาณน้ำมันเบนซินคงคลังของสหรัฐฯ ในช่วงฤดูกาลเดินทาง: จากปัญหาทางด้านเครื่องจักรและเทคนิคของโรงกลั่น น้ำมันในสหรัฐฯ ทำให้โรงกลั่นหลายแห่งในสหรัฐฯ ต้องลดกำลังการกลั่นจนถึงขั้นหยุดการดำเนินการผลิตชั่วคราว ส่งผลให้ปริมาณน้ำมัน เบนซินคงคลังของสหรัฐฯ ในช่วงก่อนเข้าฤดูกาลท่องเที่ยวอยู่ในระดับต่ำ
049
050
ภาวะอุตสาหกรรม และการแข่งขัน
ความกังวลเกีย่ วกับปริมาณน้ำมันก๊าดคงคลังของญีป่ นุ่ ในช่วงก่อนเข้าฤดูหนาว: มีการพยากรณ์อากาศว่า ในปี 2550 อุณหภูมใิ นฤดูหนาวของญีป่ นุ่ จะอุน่ กว่าปกติ ทำให้ญปี่ นุ่ ไม่เร่งรีบทีจ่ ะสำรองน้ำมันก๊าดดังเช่นในอดีต ส่งผลให้ปริมาณน้ำมันก๊าดคงคลังของญีป่ นุ่ ตัง้ แต่เดือนตุลาคมเป็นต้น มาอยูใ่ นระดับต่ำ ส่งผลให้ตลาดเกิดความกังวลว่าอาจจะมีนำ้ มันก๊าดไม่เพียงพอต่อความต้องการหากอุณหภูมปิ รับลดลงตรงข้ามกับทีพ่ ยากรณ์ไว้ ความกังวลเกีย่ วกับปริมาณการผลิตน้ำมันดิบเนือ่ งจากสภาพอากาศ: ตลาดเกิดความกังวลเกีย่ วกับปริมาณการผลิตน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูป ในแถบอ่าวเม็กซิโก จากการพยากรณ์อากาศว่าจะเกิดพายุเฮอริเคนทีม่ คี วามรุนแรงขึน้ ในมหาสมุทรแอตแลนติก แต่อย่างไรก็ตาม พายุเฮอริเคน ที่เกิดขึ้นในปี 2550 ไม่ได้สร้างความเสียหายอย่างมีนัยสำคัญให้กับโรงกลั่นในแถบอ่าวเม็กซิโกมากนัก ผลกระทบจากการเก็งกำไรในตลาดซือ้ ขายล่วงหน้าและค่าเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐฯ ทีอ่ อ่ นค่าลง: กองทุนเฮดจ์ฟนั ด์ได้เข้ามาซือ้ น้ำมันเพือ่ การ เก็งกำไรในตลาดซื้อขายล่วงหน้าเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ อ่อนค่าลง สภาพเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ที่ชะลอตัวลง รวมทั้งการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ ส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินลงทุนมาสู่ตลาดน้ำมันดิบเพิ่มขึ้น บทบาทของกลุ่มประเทศโอเปกในการปรับเพิ่มเพดานการผลิตน้ำมันดิบ: จากการที่ราคาน้ำมันดิบปรับตัวสูงขึ้นมากในช่วงครึ่งปีหลัง โอเปก จึงประกาศเพิ่มกำลังการผลิตน้ำมันดิบจำนวน 500,000 บาร์เรลต่อวัน เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 อย่างไรก็ตาม ตลาดมองว่า การปรับเพิ่มเพดานของโอเปกนั้นน้อยและช้าเกินไป จึงทำให้ราคาน้ำมันดิบในช่วงเวลานั้นยังคงปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลกระทบจากอัตราเติบโตที่รวดเร็วของประเทศในทวีปเอเชียแปซิฟิกต่ออุปสงค์น้ำมันโดยรวม: ในปีที่ผ่านมา จีน อินเดีย อินโดนีเซียและ เวียดนาม มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง ส่งผลให้การบริโภคน้ำมันเพิ่มขึ้นมากแม้แต่ในช่วงที่ราคาน้ำมันแพง เนื่องจากราคาขายปลีก น้ำมันในประเทศถูกรัฐบาลควบคุมให้อยู่ในระดับต่ำ
สถานการณ์ความต้องการใช้และการจัดหาน้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศปี 2550 อุปสงค์และอุปทาน น้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศ
อุปสงคโดยรวม อุปทานน้ำมันสำเร็จรูป น้ำมันเตา น้ำมันดีเซล น้ำมันอากาศยาน น้ำมันเบนซิน กาซแอลพีจี
บารเรลตอวัน 1,000,000
800,000
600,000
400,000
200,000
ที่มา : กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน
0 2546
2547
2548
2549
2550
จากตัวเลขประเมินเบือ้ งต้นของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ในปี 2550 อยูท่ ปี่ ระมาณร้อยละ 4.8 เทียบกับปี 2549 โดยการบริโภคภายในประเทศยังคงถูกกดดันจากภาวะความไม่แน่นอนทางการเมือง และราคาน้ำมันทีป่ รับตัวสูงขึน้ ในช่วงครึง่ ปีหลัง ประกอบกับการลงทุนจากภาคเอกชนทีช่ ะลอตัวลงต่อเนือ่ งตัง้ แต่ชว่ งปลายปี 2549 เนือ่ งจาก สถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองและเศรษฐกิจส่งผลให้ภาคธุรกิจชะลอการลงทุนออกไป แต่อย่างไรก็ดี การขยายตัวอย่างแข็งแกร่ง ของภาคส่งออกและการเร่งเบิกจ่ายงบประมาณของภาครัฐเป็นปัจจัยสำคัญที่สนับสนุนเศรษฐกิจโดยรวมให้ขยายตัวอยู่ในระดับที่ดีได้
ภาวะอุตสาหกรรม และการแข่งขัน
ในส่วนของความต้องการใช้นำ้ มันสำเร็จรูปภายในประเทศโดยรวมมีอตั ราการขยายตัวประมาณร้อยละ 0.3 หรือคิดเป็นความต้องการรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 724,000 บาร์เรลต่อวัน โดยก๊าซปิโตรเลียมเหลวและน้ำมันอากาศยานเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีอัตราการขยายตัวของความต้องการอยู่ ในระดับสูง เป็นผลโดยตรงจากราคาขายปลีกก๊าซปิโตรเลียมเหลวภายในประเทศที่อยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับน้ำมันเชื้อเพลิงประเภทอื่น และจำนวนเที่ยวบินที่มาใช้บริการสนามบินภายในประเทศที่เพิ่มขึ้น สำหรับน้ำมันเบนซินและดีเซล ความต้องการปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเทียบกับปีก่อนแม้ระดับราคาขายปลีกภายในประเทศจะอยู่ในระดับ ค่อนข้างสูง โดยน้ำมันเบนซินได้รับแรงสนับสนุนจากนโยบายของภาครัฐในส่วนของแก๊สโซฮอล์ ส่งผลให้ยอดจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ภายในประเทศปรับสูงขึ้นมาก ชดเชยความต้องการที่ลดลงของน้ำมันเบนซิน 91 และ 95 ในส่วนของน้ำมันดีเซล แม้ว่าความต้องการจะ ปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยแต่ยังอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยในอดีต โดยส่วนหนึ่งได้รับแรงกดดันจากภาวะราคาทรงตัวอยู่ในระดับ สูงต่อเนื่อง ประกอบกับภาวะการณ์ผลิตภาคอุตสาหกรรมภายในประเทศที่ชะลอตัวลง รวมทั้งปัญหาอุทกภัยในช่วงกลางปี ซึ่งทั้งหมดล้วน เป็นปัจจัยกดดันส่งผลให้อัตราการขยายตัวของความต้องการใช้น้ำมันดีเซลในปี 2550 เพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเบนซิน ในประเทศแยกตามชนิด
น้ำมันเบนซิน 91 น้ำมันเบนซิน 95 น้ำมันแกสโซฮอล
บารเรลตอวัน 100,000
80,000
60,000
40,000
20,000
ที่มา : กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน
0 2548
2549
2550
ผลจากการที่อุปสงค์น้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศโดยรวมขยายตัวเพิ่มขึ้นเทียบกับปี 2549 ประกอบกับอุปทานน้ำมันสำเร็จรูปทรงตัวจาก ปีก่อนส่งผลให้ปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมโดยรวมของประเทศลดลงมาอยู่ที่ 133,000 บาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2549 ซึ่งอยู่ที่ 142,000 บาร์เรลต่อวัน หรือคิดเป็นอัตราการลดลงกว่าร้อยละ 6 โดยน้ำมันดีเซลและน้ำมันเตายังคงเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการส่งออกมากที่สุด ปริมาณการส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป
บารเรลตอวัน 200,000
น้ำมันเตา น้ำมันดีเซล น้ำมันอากาศยาน น้ำมันเบนซิน กาซแอลพีจี
160,000
120,000
80,000
40,000
ที่มา : กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน
0 2546
2547
2548
2549
2550
051
052
ภาวะอุตสาหกรรม และการแข่งขัน
แนวโน้ม และทิศทางตลาดปี 2551
ภาพโดยสรุปของราคาน้ำมันดิบโลก และน้ำมันสำเร็จรูปทีส่ งิ คโปร์ในปี 2551 ยังคงแกว่งตัวอยูใ่ นระดับสูง เนือ่ งจากกำลังการผลิตสำรองของ ทั้งแหล่งขุดเจาะน้ำมัน และโรงกลั่นยังคงอยู่ในภาวะตึงตัวโดยเฉพาะช่วงครึ่งแรกของปี โดยมีประเด็นความเสี่ยงที่สำคัญคือ อุปสงค์จากจีน และอินเดีย ผลกระทบต่อเศรษฐกิจสหรัฐฯ จากปัญหาสินเชื่อด้อยคุณภาพภาคอสังหาริมทรัพย์ กำลังการผลิตทางด้านโรงกลั่นที่เพิ่มขึ้นใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกโดยเฉพาะจากจีนและอินเดีย แนวโน้มการใช้พลังงานทดแทนประเภทต่างๆ รวมถึงปัญหาการเมืองระหว่างประเทศ ผู้ผลิตน้ำมันดิบและปัญหาด้านการผลิตของโรงกลั่นในสหรัฐฯ ซึ่งบริษัทฯ ยังคงแนวทางในการรักษาตลาดในประเทศให้ได้มากที่สุด และจะ บริหารความเสี่ยงด้านราคาอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดความผันผวนจากราคาน้ำมันในตลาดโลกจากปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น
ภาวะอุตสาหกรรมสารพาราไซลีน
อุปสงค์ของสารพาราไซลีนเป็นไปตามอุตสาหกรรมไฟเบอร์และสิ่งทอซึ่งใช้โพลีเอสเตอร์เป็นวัตถุดิบ ในปี 2550 ความต้องการผลิตภัณฑ์ โพลีเอสเตอร์ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องตามการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติของประเทศในแถบเอเชียโดยเฉพาะจีนและ อินเดีย ซึ่งสูงถึงร้อยละ 8-9 ต่อปี และคาดว่าความต้องการใช้สารโพลีเอสเตอร์ของโลกจะเพิ่มสูงขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 6 ต่อปี กำลังการผลิตโพลีเอสเทอร�ของโลก ป� 2548 - 2554
เอเชีย อเมริกาเหน�อ ยุโรป ตะวันออกกลาง/แอฟริกา อเมริกาใต * กำลังการผลิตสูงสุด
ลานตัน 50 45 40
*
38.9
* 41.6
*
45.6
* 48.6
2550
2551
* 52.3
* 55.4
* 58.0
35 30 25 20 15 10
หมายเหตุ : ป 2551 - 2554 เปนขอมูลประมาณการ
5 0 2548
2549
2552
2553
2554
ถึงแม้ว่าอุปสงค์จะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง แต่อุปทานก็เพิ่มสูงขึ้นด้วยเช่นกัน โดยมาจากส่วนขยายใหม่ในภูมิภาคเอเชียและตะวันออกกลาง สำหรับประเทศไทย จะเปลี่ยนจากผู้นำเข้าสารพาราไซลีนสุทธิเป็นผู้ส่งออกสารพาราไซลีนสุทธิ หลังจากโครงการขยายของ บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น (เดิมคือ บมจ. อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย)) แล้วเสร็จในปี 2551
ภาวะอุตสาหกรรมสารเบนซีน
ในปี 2551 คาดว่า แนวโน้มความต้องการใช้สารเบนซีนในภูมิภาคจะเพิ่มสูงขึ้นจากการขยายกำลังการผลิตสารฟีนอลในประเทศสิงคโปร์ ดังนัน้ เพือ่ รองรับอุปสงค์ทเี่ พิม่ ขึน้ ปริมาณการผลิตสารเบนซีนก็ปรับเพิม่ สูงขึน้ ด้วยเช่นกัน โดย บจ. ไทยพาราไซลีน จะเริม่ ผลิตสารเบนซิน เพื่อรองรับอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นในภูมิภาคในปี 2551 นอกจากนี้ ยังอาจมีโอกาสในการส่งผลิตภัณฑ์สารเบนซินไปจำหน่ายในสหรัฐอเมริกา และยุโรป ซึ่งมีแนวโน้มว่าในภูมิภาคดังกล่าวจะมีความต้องการใช้สารเบนซีนมาก จากผลกระทบของการยกเลิกการใช้สาร MTBE และ การเพิ่มการใช้เอทานอลในน้ำมันสำเร็จรูป ซึ่งทำให้สารตั้งต้นของการผลิตเบนซีนมีปริมาณลดลง
ภาวะอุตสาหกรรมสารโทลูอีน
ตลาดโทลูอนี ในภูมภิ าคยังคงอยูใ่ นภาวะค่อนข้างสมดุล และคาดว่าด้วยอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศจีน อินเดีย และเวียดนาม จะทำให้ความต้องการใช้สารโทลูอนี ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง และอุตสาหกรรมเกีย่ วข้องอืน่ ๆ เพิม่ สูงขึน้ มากในปี 2551 โดย บจ. ไทยพาราไซลีน จะเริ่มผลิตสารโทลูอีนได้ในปี 2551
ภาวะอุตสาหกรรม และการแข่งขัน
ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าปี 2550
ความต้องการพลังงานไฟฟ้าสูงสุดในปี 2550 เกิดขึ้นในวันที่ 24 เมษายน 2550 ที่ 22,586 เมกะวัตต์ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากความต้องการ พลังงานไฟฟ้าสูงสุดปี 2549 เป็นสัดส่วนร้อยละ 7 ปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2550 อยูท่ ี่ 150,665 กิกะวัตต์ชั่วโมง ซึ่งเพิ่มขึ้น กว่าปีที่ผ่านมาร้อยละ 6 กำลังผลิตติดตั้งไฟฟ�า ป� 2550
36% กฟผ. 15,794 เมกะวัตต
5 6%
7% 1%
ที่มา : สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
รวม
28,230
IPP 10,026
เมกะวัตต
เมกะวัตต นำเขา 340 เมกะวัตต SPP 2,070
เมกะวัตต
สัดส�วนการผลิตไฟฟ�า จากเชื้อเพลิงต�างๆ ป� 2550
21% 5%
กาซธรรมชาติ
67%
5% 2%
ลิกไนต/ถานหิน พลังน้ำ นำเขาและอื่นๆ น้ำมันเตา
ที่มา : สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
ในเดือนกันยายน 2550 กำลังการผลิตติดตั้งทั้งหมดของประเทศอยู่ที่ 28,230 เมกะวัตต์ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดือนกันยายน 2549 เป็นสัดส่วน ร้อยละ 7 โดยเป็นการผลิตของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) 15,794 เมกะวัตต์ (ร้อยละ 56) ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) 10,026 เมกะวัตต์ (ร้อยละ 36) ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายย่อย (SPP) 2,070 เมกะวัตต์ (ร้อยละ 7) ส่วนที่เหลือนำเข้าจากประเทศ เพือ่ นบ้าน 340 เมกะวัตต์ (ร้อยละ 1) กำลังการผลิตแยกตามประเภทของเชือ้ เพลิงโดยใช้เชือ้ เพลิงจากก๊าซธรรมชาติคดิ เป็นสัดส่วนร้อยละ 67 จากถ่านหินและลิกไนต์ ร้อยละ 21 จากพลังน้ำร้อยละ 5 จากน้ำมันเตาร้อยละ 2 และจากการนำเข้าและแหล่งอื่นๆ ร้อยละ 5 ในเดือนพฤษภาคม 2550 กระทรวงพลังงานได้ประกาศเปิดประมูลโรงไฟฟ้าสำหรับผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่รอบสองเพือ่ ผลิตไฟฟ้าให้กบั กฟผ. ในปริมาณ 3,200 เมกะวัตต์ โดยจะเริ่มดำเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ได้ในระหว่างปี 2554-2557 โดยเปิดให้ผู้สนใจประมูลลงทะเบียน ในวันที่ 29 มิถุนายน 2550 และยื่นเอกสารร่วมประมูลในวันที่ 19 ตุลาคม 2550 มีผู้ร่วมประมูลทั้งสิ้น 13 ราย โดยได้ยื่นโครงการประมูล รวม 20 โครงการ คิดเป็นกำลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 17,000 เมกะวัตต์ หรือ 5.3 เท่าของกำลังการผลิตทั้งหมดที่ประกาศให้ประมูล ในการ ประมูลโรงไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่รอบแรกในปี 2537 นั้น มีผู้ร่วมประมูลทั้งสิ้น 89 รายคิดเป็นกำลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 39,000 เมกะวัตต์ เปรียบเทียบกับกำลังการผลิตที่ประกาศให้ประมูลในคราวนั้น ที่ 5,943 เมกะวัตต์
053
054
ภาวะอุตสาหกรรม และการแข่งขัน
ในวันที่ 7 ธันวาคม 2550 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติได้ประกาศผลการประมูลโรงไฟฟ้ารอบสอง มีผู้ชนะการประมูล 4 ราย ประกอบไปด้วยโรงไฟฟ้าถ่านหิน 2 ราย และโรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ 2 ราย โดยมีกำลังการผลิตทั้งสิ้น 4,400 เมกะวัตต์ กำลังการผลิต สูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ที่ 3,200 เมกะวัตต์เนื่องจากราคาค่าไฟฟ้าที่ประมูลค่อนข้างต่ำ ปริมาณไฟฟ้าทั้งหมดจะขายให้กับ กฟผ. ที่ราคา 2.135 ถึง 2.648 บาทต่อหน่วย โดยมีแผนที่จะเริ่มจ่ายไฟเข้าระบบในปี 2555-2557 หน่วยผลิตหน่วยที่ 2 ของบริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ ได้ผลิตไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟผ. ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2550 ด้วยกำลังการผลิต 717 เมกะวัตต์ หน่วยผลิตหน่วยที่ 1 ได้เริ่มดำเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ไปแล้วตั้งแต่เดือนตุลาคม 2549 หน่วยผลิตหน่วยที่ 1 ของบริษัท กัลฟ์ เพาเวอร์ เจนเนอเรชั่น ได้เริ่มดำเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2550 ด้วยกำลังการผลิต 734 เมกะวัตต์ หน่วยผลิต หน่วยที่ 2 คาดว่าจะเริ่มทำการผลิตได้ในเดือนมีนาคม 2551
ภาวะอุตสาหกรรมน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน
ปริมาณการผลิต น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานในภูมิภาค
อุปสงค อุปทาน
ลานตัน/เดือน 12.0 10.0 8.0 6.0 4.0 2.0
หมายเหตุ : ป 2551 - 2552 เปนขอมูลประมาณการ
0 2549
2550
2551
2552
ในปี 2549 ปริมาณการผลิตน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานในภูมิภาคสำหรับ Group I ไม่เพียงพอกับความต้องการอยู่ที่ 2.4 ล้านเมตริกตัน ประกอบกับไม่มีกำลังการผลิตน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานใหม่ของ Group I เข้ามาในปี 2550 สำหรับน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน Group II มีเพียง โรงกลั่น ExxonMobil ที่ตั้ง ณ Jurong ในประเทศสิงค์โปร์ได้ขยายกำลังการผลิตอีกประมาณ 200,000 เมตริกตันต่อปี คาดการณ์ความต้องการในภูมิภาคเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 3-4 ต่อปี จนถึงปี 2553 ในขณะที่อุปทานน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานของ Group I มีปริมาณค่อนข้างคงที่ เนื่องจากไม่มีกำลังการผลิตใหม่เข้ามา และอุปทานที่เพิ่มขึ้นในส่วนของ Group I จะได้จากการเพิ่มอัตราการผลิต เท่านัน้ ทัง้ นี้ อุปทานของ Group I จะมีไม่เพียงพออยูท่ ี่ 2.8 ล้านเมตริกตันในปี 2563 เนือ่ งจากอุปสงค์ทสี่ งู ขึน้ และอุปทานคงที่ อย่างไรก็ตาม ความต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ บางส่วนทดแทนได้จากน้ำมันหล่อลืน่ พืน้ ฐานของ Group II และ Group III อันเป็นผลมาจากอุปทานเกินความต้องการ ในภูมิภาคตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นไป สำหรับสถานการณ์ตลาดในประเทศ อุปทานยังมีปริมาณมากกว่าความต้องการในประเทศ ในปี 2550 ความต้องการในประเทศลดลงอยู่ที่ ร้อยละ 1.6 เปรียบเทียบกับปี 2549 อันเป็นผลมาจากภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยจากอัตราการขยายตัวที่ติดลบของภาคยานยนต์และอัตรา การใช้กำลังการผลิตทีต่ ำ่ ลงของภาคอุตสาหกรรม ซึง่ ได้สง่ ผลกระทบให้ความต้องการน้ำมันหล่อลืน่ ตลาดในประเทศลดลง ประกอบกับมีการ ขยายเวลาในการเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องที่ยาวขึ้น เนื่องจากผลการพัฒนาคุณภาพของน้ำมันหล่อลื่นที่ดียิ่งขึ้น ซึ่งเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ ความต้องการน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานในประเทศปรับตัวลดลงจากปีที่ผ่านมา
ภาวะอุตสาหกรรม และการแข่งขัน
อุปสงค์และอุปทานของ น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานภายในประเทศ
อุปสงคน้ำมันหลอลื่นพื้นฐาน อุปทานน้ำมันหลอลื่นพื้นฐานในประเทศ TLB
ตัน/เดือน 60,000 50,000 40,000
IRPC 30,000 20,000 10,000 0 2545
2546
2547
2548
2549
2550
ภายหลังจากที่ บมจ. ไทยลู้บเบส (TLB) และ บมจ. ไออาร์พีซี (IRPC) ได้ผ่านการปิดซ่อมบำรุงใหญ่ในปี 2549 แล้ว ส่งผลให้ผู้ผลิต ในประเทศทั้งสองรายผลิตเต็มกำลังการผลิต ทำให้อุปทานในประเทศเกินความต้องการค่อนข้างมากเปรียบเทียบกับปี 2549 และต้องเปิด ตลาดส่งออกไปสู่ภูมิภาคที่มีอุปสงค์สูง คือ ประเทศสิงคโปร์ เวียดนาม จีน ไต้หวัน อินโดนีเซีย อินเดีย และบังคลาเทศ นอกจากนี้ มีการ คาดการณ์วา่ อุปทานเกินความต้องการในปีถดั ไป และความต้องการน้ำมันหล่อลืน่ พืน้ ฐานจะปรับตัวสูงขึน้ ประมาณร้อยละ 1-2 ตามมาตรการ แผนกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ
ภาวะอุตสาหกรรมยางมะตอย อุปสงค์และอุปทาน ยางมะตอยในประเทศ
อุปสงคในประเทศ อุปทานยางมะตอยในประเทศ TLB ARC IRPC TOP ESSO
ตัน/เดือน 140,000 120,000 100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 0 2545
2546
2547
2548
2549
2550
ประเทศไทยยังคงเป็นหนึง่ ในประเทศในตลาดภูมภิ าคทีม่ อี ตั ราการเติบโตสูง ทัง้ นี้ ความต้องการยางมะตอยในประเทศมีอตั ราการเติบโตเฉลีย่ อยู่ที่ร้อยละ 4-5 ต่อปีในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลมาจากโครงการขยายถนนสายหลักจาก 4 เป็น 8 เลนทั่วทั้งประเทศ อย่างไรก็ตาม อุปทานของยางมะตอยจากผูผ้ ลิตหลักทัง้ สีร่ าย (TLB, ARC, IRPC และ Esso) ยังเกินความต้องการประมาณ 50,000 - 60,000 เมตริกตัน ต่อเดือน และ TLB และ IRPC เป็นผู้ส่งออกหลักไปสู่ตลาดภูมิภาคเอเชียที่มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะจากประเทศจีน เวียดนาม ออสเตรเลีย และอินเดีย
055
056
โครงการ ในอนาคต
โครงการ ในอนาคต บริ ษ ั ท ฯ ได ้ ว างแผนกลยุ ท ธ ์ ก ารลงทุ น ของเครื อ ไทยออยล์โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเสริมศักยภาพ ในการดำเนินธุรกิจให้มีการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ตลอดจนเพิม ่ เสถียรภาพเพือ ่ รองรับความผันผวนของ อุตสาหกรรมน้ำมันและปิโตรเคมีในอนาคต โดยมุง ่ เน้น การขยายงานด้านการกลั่นน้ำมัน ที่เชื่อมโยงกับการ ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ตลอดจนธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ การลงทุนเพิ่มเติมใน ธุรกิจไฟฟ้า และพลังงานทดแทน เพื่อก้าวสู่การเป็น เครือบริษัทพลังงานชั้นนำในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
โครงการที่อยู่ระหว่างการดำเนินการ
โครงการขยายกำลังการผลิตสารอะโรมาติกส์ ของบจ. ไทยพาราไซลีน การขยายกำลังการผลิตสารอะโรมาติกส์ในส่วนแรก คือการขยาย กำลังการผลิตสารมิกซ์ไซลีนได้ดำเนินการแล้วเสร็จในปี 2550 และ ได้เริม่ ดำเนินการผลิตแล้ว ทำให้กำลังการผลิตสารมิกซ์ไซลีนเพิม่ ขึน้ สารมิกซ์ไซลีนที่ผลิตได้จะถูกป้อนเข้าหน่วยผลิต สารพาราไซลีน ต่อเนือ่ งและส่งออก ส่วนการก่อสร้างหน่วยผลิตใหม่และการขยาย กำลังการผลิตในส่วนที่เหลือมีกำหนดแล้วเสร็จในช่วงไตรมาส 1 ปี 2551 หลังโครงการแล้วเสร็จ บจ.ไทยพาราไซลีน จะเป็นผูผ้ ลิตสารอะโรมาติกส์ แบบครบวงจร คือผลิตสารพาราไซลีน มิกซ์ไซลีน เบนซิน และ
โทลูอีน โดยมีกำลังการผลิตสารอะโรมาติกส์รวมเพิ่มสูงขึ้นจาก 420,000 ตันต่อปีในปัจจุบันเป็น 900,000 ตันต่อปี
โครงการขยายงานอื่นๆ ในอนาคต
โครงการผลิตน้ำมันสำเร็จรูปตามมาตรฐาน EURO IV บริษทั ฯ ได้เตรียมโครงการปรับปรุงคุณภาพน้ำมันเบนซิน และดีเซล ให้ตรงตามมาตรฐาน EURO IV ที่จะมีการบังคับใช้ในปี 2555 ในขณะนี้บริษัทฯ สามารถผลิตน้ำมันสำเร็จรูปให้ตรงตามมาตรฐาน ใหม่ได้แล้ว โดยเฉพาะน้ำมันดีเซล ซึ่งจะสามารถออกจำหน่ายได้ ในไตรมาสแรกของปี 2551 อีกทั้งบริษัทฯ มีความพร้อมที่จะผลิต น้ำมันเบนซินทีม่ ปี ริมาณสารเบนซินต่ำกว่าร้อยละ 1 ได้ทนั ทีหลังจาก โครงการขยายกำลังการผลิตสารอะโรมาติกส์ ของ บจ. ไทยพาราไซลีน แล้วเสร็จ โครงการผลิตผลิตภัณฑ์พิเศษของ บมจ. ไทยลู้บเบส บมจ. ไทยลูบ้ เบส อยูร่ ะหว่างการดำเนินการเตรียมก่อสร้างหน่วยผลิต เพื่อเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์น้ำมันยาง (Extract) เดิมให้เป็นน้ำมัน ยางมลพิษต่ำ (Treated Distillate Aromatic Extract - TDAE) ซึ่งมีสารอะโรมาติกส์หนัก (Poly Cyclic Aromatic - PCA) ใน ปริมาณต่ำ เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตยางรถยนต์มลพิษต่ำ ที่ จะมีผลบังคับใช้ในกลุ่มประเทศประชาคมยุโรปในอนาคตอันใกล้ คาดว่าโครงการก่อสร้างจะแล้วเสร็จในปี 2553 และสามารถผลิต น้ำมันยางมลพิษต่ำได้ 50,000 ตันต่อปี โครงการขยายกองเรือของ บจ. ไทยออยล์มารีน บจ. ไทยออยล์มารีน มีแผนงานจัดซื้อเรือผนัง 2 ชั้น (Double Hull Vessel) ในการขนส่งผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมีและปิโตรเลียมจำนวน 5 ลำ เพื่อรองรับความต้องการส่งออกของกลุ่ม ปตท. ที่เพิ่มสูงขึ้น
โครงการ ในอนาคต
อย่างต่อเนื่อง อีกทั้งเพื่อรองรับข้อตกลงการเดินเรือสากลจาก International Maritime Organization (IMO) ซึ่งกำหนดให้ใช้เรือ ผนัง 2 ชั้น ในการขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีและน้ำมันสำเร็จรูป ตั้งแต่ปี 2550 และ 2553 ตามลำดับ โครงการผลิตเอทานอล บริษทั ฯ ได้รว่ มลงทุนกับ บมจ. ผาแดงอินดัสทรี และ บจ. เพโทรกรีน (บริษัทในเครือ บมจ. มิตรผล) จัดตั้ง บจ. แม่สอดพลังงานสะอาด เพื่อผลิตเอทานอลจากน้ำอ้อยโดยตรงเป็นรายแรกของประเทศไทย โดยมีกำลังการผลิต 200,000 ลิตรต่อวัน คาดว่าจะเริ่มดำเนินการ ผลิตได้ในช่วงต้นปี 2552 ส่วนโครงการผลิตเอทานอลจากมันสำปะหลังขนาด 500,000 ลิตร ต่อวันนัน้ บริษทั ฯ ได้ชะลอโครงการเพือ่ รอดูสถานการณ์ดา้ นอุปสงค์ และอุปทานภายในประเทศซึ่งขึ้นกับนโยบายพลังงานจากภาครัฐ ในการสนับสนุนการใช้เอทานอลผสมในน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ตลอดจน การศึกษาตลาดเอทานอลในภูมภิ าคซึง่ คาดว่าจะมีความต้องการสูงขึน้ ในอนาคต
โครงการก่อสร้างสถานีจ่ายน้ำมันทางรถแห่งใหม่ บริษทั ฯ อยูใ่ นระหว่างการดำเนินการก่อสร้างสถานีจา่ ยน้ำมันทางรถ แห่งใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการและรองรับความ ต้องการของลูกค้าทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ตลอดจนขยายการบริการให้ครอบคลุม การจ่ายน้ำมันไบโอดีเซลและสารโทลูอีน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ ติดตั้งหน่วยควบคุมไอน้ำมัน (Vapour Recovery Unit) เพื่อรักษา สภาพแวดล้อมในการทำงานและรองรับข้อกำหนดของภาครัฐ ทัง้ นี้ คาดว่าโครงการจะก่อสร้างแล้วเสร็จพร้อมดำเนินการได้ในปี 2551 โครงการผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ (IPP) แม้วา่ บริษทั ฯ จะไม่ได้รบั การประกาศรายชือ่ เป็นผูผ้ า่ นการคัดเลือก ด้านการเงินในการประมูล IPP ในรอบนี้ แต่บริษัทฯ ก็ได้เตรียม ความพร้อมในการเข้าร่วมประมูลโครงการ IPP ของกระทรวง พลังงานในรอบถัดไป
057
058
การดำเนินงานและการดำเนินธุรกิจ ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี
การดำเนินงานและการดำเนินธุรกิจ ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี
1) การดำเนินงานด้านการกลั่น
ในปี 2550 โรงกลั่นไทยออยล์ ได้ดำเนินการกลั่นน้ำมันดิบและ วัตถุดิบอื่นๆ รวมทั้งสิ้นเฉลี่ย 216,500 บาร์เรลต่อวันหรือเทียบ เท่ากับร้อยละ 96 ของกำลังการผลิต ทั้งนี้ เนื่องจากบริษัทฯ ได้หยุดซ่อมหน่วยกลั่น รวมทั้งหยุดเดินเครื่องหน่วยกลั่นน้ำมันดิบ หน่วยที่ 3 เพื่อปรับปรุงและดัดแปลงแก้ไขเพื่อเพิ่มกำลังการผลิต เพื่ อ เตรี ย มรองรั บ การขยายตั ว ของความต้ อ งการบริ โ ภคน้ ำ มั น เชื้อเพลิงในอนาคต ซึ่งจากการขยายกำลังการผลิตของหน่วยกลั่น น้ำมันดิบหน่วยที่ 3 ครัง้ นี้ ทำให้โรงกลัน่ มีกำลังการกลัน่ น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นจากเดิมกว่าร้อยละ 22 อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความ มุ่งมั่นและใส่ใจของบริษัทฯ ในการเพิ่มประสิทธิภาพและขีดความ สามารถของหน่วยกลั่นให้ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความ มั่นคงด้านพลังงานของประเทศ รวมถึงความมุ่งมั่นของบุคลากร ผู้มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญในการติดตามตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาหน่วยกลั่นตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ ให้มีสภาพที่ดี และพร้อมใช้งานอยูเ่ สมอ รวมถึงการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้โรงกลั่นมีความสมบูรณ์พร้อมใช้งานอยู่เสมอและสามารถ ดำรงความเป็นผู้นำในด้านการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมและวัตถุดิบ สำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่ได้รับการยอมรับในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก
ในปีที่ผ่านมา บริษัทฯ มีแผนหยุดซ่อมหน่วยกลั่นหลายหน่วย รวมถึงการหยุดเดินเครื่องหน่วยกลั่นน้ำมันดิบหน่วยที่ 3 เพื่อ ปรับปรุงและดัดแปลงให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการกลั่น น้ำมันให้สูงขึ้นรวมถึงการเชื่อมต่อหน่วยผลิตสารปิโตรเคมีเข้ากับ หน่วยผลิตบางหน่วย ดังนั้น เพื่อมิให้ผลิตผลที่ได้ในช่วงการหยุด เดินเครื่องบางหน่วยลดต่ำลงจนอาจส่งผลกระทบต่อความต้องการ ของตลาด บริษัทฯ จึงได้แบ่งการหยุดซ่อมหน่วยกลั่นออกเป็น 2 ช่วงเวลา ในช่วงแรก (กรกฎาคม - สิงหาคม 2550) โรงกลั่น ได้หยุดเดินเครื่องหน่วยกลั่นหลักๆ ประกอบด้วย กลุ่มหน่วยกลั่น น้ำมันดิบที่ 2 เพื่อทำการเชื่อมต่อกับหน่วยผลิตสารปิโตรเคมี หยุดเดินเครื่องหน่วยกลั่นแยกก๊าซเบาจากก๊าซหุงต้มหน่วยที่ 1 (Depropanizer-1) เพื่อดัดแปลงให้สามารถรองรับการเพิ่มกำลัง การผลิตก๊าซหุงต้มทีจ่ ะเพิม่ มากขึน้ หลังจากทีก่ ารเพิม่ กำลังการผลิต หน่วยกลัน่ น้ำมันดิบหน่วยที่ 3 แล้วเสร็จ หยุดเดินเครือ่ งหน่วยกลัน่ สุญญากาศหน่วยที่ 2 และหน่วยไฮโดรแครกกิง้ หน่วยที่ 1 เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพหอแยกก๊าซหุงต้มออกจากแนฟทาเบาและหยุดซ่อม หน่วยเพิ่มออกเทนด้วยสารเร่งปฏิกิริยาหน่วยที่ 2 (Continuous Catalyst Regeneration-2) เพื่อตรวจสอบและซ่อมบำรุงตามวาระ รวมถึ ง การหยุ ด เดิ น เครื่ อ งหน่ ว ยแตกโมเลกุ ล ด้ ว ยความร้ อ น (Thermal Cracking) เพื่อขจัดถ่านโค้ก สำหรับการหยุดเดินเครือ่ งหน่วยกลัน่ ในช่วงที่ 2 (ตุลาคม - ธันวาคม 2550) โรงกลั่นได้หยุดเดินเครื่องหน่วยกลั่นภายใต้สุญญากาศ หน่วยที่ 3 หยุดเดินเครื่องหน่วยไฮโดรแครกกิ้งหน่วย ที่ 2 เพื่อ เปลี่ยนสารเร่งปฏิกิริยาทำให้สามารถผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีมูลค่า สูงกว่าได้มากขึ้น หยุดเดินเครื่องหน่วยเพิ่มออกเทนด้วยสารเร่ง ปฏิกิริยาโดยใช้ ไฮโดรเจนร่วม (Isomerization) และหน่วยเพิ่ม ออกเทนด้วยสารเร่งปฏิกิริยาหน่วยที่ 1 (Continuous Catalyst Regeneration-1) เพื่อตรวจสอบและซ่อมบำรุงตามวาระ รวมทั้ง หยุดเดินหน่วยกลัน่ น้ำมันดิบหน่วยที่ 3 และหน่วยกลัน่ แยกก๊าซเบา จากก๊าซหุงต้มหน่วยที่ 3 (Depropanizer-3) เพื่อปรับปรุงและ ดัดแปลงหน่วยกลั่นให้สามารถรองรับการผลิตน้ำมันดิบได้เพิ่มขึ้น อีกกว่าร้อยละ 22 ของกำลังการกลั่นน้ำมันดิบรวมก่อนการขยาย กำลังการผลิต
การดำเนินงานและการดำเนินธุรกิจ ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี
กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมสำเร็จรูปจากน้ำมันดิบและวัตถุดิบอื่นๆ ADIP
FUEL GAS
ISOM
LPG
HDT-1
PLATFORM
HDT-2 CCR-1
HDT-3
CCR-2
CRUDE
PREMIUM
CDU-1 CDU-2 CDU-3
REGULAR KMT
JET KEROSENE FCCU
HVU-1 LONG RESIDUE
HDS-1
HVU-2
HMU-1
HDS-2
HVU-3
HMU-2
HDS-3 AGO
TCU
HCU-1 HCU-2
DIESEL
FUEL OIL ADIP
2) การวัดผลการดำเนินงานด้านการกลั่น
จากการประเมินผลการดำเนินงานของโรงกลั่นในรอบปี 2549 เปรียบเทียบกับโรงกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมชั้นนำกว่า 40 แห่งทั่วโลก ที่ใช้บริการทางเทคนิค หรือ Technical Service Agreement จาก บริษัท Shell Global Solutions International (SGSI) โดยใช้ ดัชนีวัดผลการดำเนินงานที่สำคัญเป็นตัวชี้วัด จะเห็นว่าดัชนีวัดผล การดำเนิ น งานบางตั ว ของโรงกลั่ นมี ค่ า เพิ่ ม สู ง ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2548 เนือ่ งจากโรงกลัน่ มีการหยุดเดินเครือ่ งหน่วยผลิตบางหน่วย เพื่อตรวจสอบและซ่อมบำรุงทั้งที่เป็นไปตามแผนและนอกเหนือ แผนการหยุดเดินเครือ่ งตามวาระ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้โรงกลัน่ มีความพร้อม และสามารถเดิ น เครื่ อ งหน่ ว ยกลั่ น ได้ อ ย่ า งเต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ กล่าวได้ว่าผลการดำเนินงานของโรงกลั่นโดยภาพรวมยังคงอยู่ใน ระดับที่น่าพอใจ ดังแสดงในกราฟหน้าถัดไป
SRU-1/2 SRU-3/4
SULPHUR
เมือ่ พิจารณาจากดัชนีชวี้ ดั ผลการดำเนินงานทีส่ ำคัญๆ ของโรงกลัน่ ในรอบปี 2549 ตัวอย่างเช่น ค่าใช้จ่ายดำเนินการของโรงกลั่นที่ ไม่รวมค่าใช้จ่ายด้านพลังงานและค่าเสื่อมราคา ค่าใช้จ่ายในการ ซ่อมบำรุงหน่วยกลั่น ค่าแรงของพนักงานและผู้รับเหมา และดัชนี ด้านพลังงาน ได้รับการจัดกลุ่มให้อยู่ใน 1st Tercile* เมื่อเปรียบ เทียบกับกลุ่มโรงกลั่นฯ ภายใต้การให้บริการทางเทคนิคจาก SGSI ขณะเดียวกัน จากการที่คณะกรรมการด้านปรับปรุงประสิทธิภาพ การใช้พลังงานและลดการสูญเสียไฮโดรคาร์บอน (Energy & Loss Improvement Committee) ได้เฝ้าติดตามด้านประสิทธิภาพการ ใช้พลังงานและการลดการสูญเสียไฮโดรคาร์บอนอย่างต่อเนื่อง ทำให้โรงกลัน่ สามารถควบคุมการสูญเสียน้ำมันจากกระบวนการผลิต ได้ดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา จึงทำให้ดัชนีชี้วัดการสูญเสีย (Loss Index) ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตาม ดัชนีพนักงานและผู้รับเหมา
059
060
การดำเนินงานและการดำเนินธุรกิจ ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี
SRI Efficiency Performance ดัชนีวัดประสิทธิภาพโรงกลั่น Operating Cost excl. Fuel & Depre. 2005 2006
Operational Availability
Annualized Maintenance Cost
Peer group comparisons st
1 Tercile nd 2 Tercile rd 3 Tercile
Loss Index
Maintenance Effort
Energy Index Centre : Less Opportunities Outside : More Opportunities
Labor Cost Shell Personnel Index
* Tercile หมายถึงการแบ่งจำนวนของกลุ่มตัวอย่าง (โรงกลั่น) ที่มีการเรียงลำดับ (ordered distribution) ออกเป็น 3 ส่วนเท่าๆ กัน ซึ่ง SGSI กำหนดให้ 1st tercile หมายถึงกลุ่มตัวอย่างที่มีผลการดำเนินงานนั้นๆ ในระดับที่ดี (less improving opportunities) : Center 2nd tercile หมายถึงกลุ่มตัวอย่างที่มีผลการดำเนินงานนั้นๆ ในระดับปานกลาง 3rd tercile หมายถึงกลุ่มตัวอย่างที่มีผลการดำเนินงานนั้นๆ ในระดับต่ำ (more improving opportunities): Outside เพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากมีการใช้แรงงานผู้รับเหมาในงานหยุดซ่อม หน่วยกลั่นดังกล่าวข้างต้น ซึ่งแรงงานดังกล่าวเป็นแรงงานที่มีการ ว่าจ้างทำงานชั่วคราวเฉพาะในช่วงหยุดซ่อมหน่วยกลั่นเท่านั้น อนึ่ ง ในปี 2549 ที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท ฯ ได้ ท ำการประเมิ น ผลการ ดำเนินงานของโรงกลั่นโดย Solomon Associates เพื่อเปรียบ เทียบผลการดำเนินงานกับโรงกลั่นอื่นกว่า 70 แห่งในภาคพื้น เอเชียแปซิฟิก นอกเหนือจากกลุ่มโรงกลั่นที่ใช้บริการทางเทคนิค ดังกล่าวข้างต้นด้วย ผลการประเมินชี้ให้เห็นว่าโรงกลั่นของบริษัทฯ มีความได้เปรียบในเรื่องค่าใช้จ่ายดำเนินการ (Cash Operating Expense, US cents/UEDC, Non-Energy Operating Expense และ Maintenance Index, US$/EDC) และความพร้อมของ หน่วยกลั่น (Mechanical Availability, %) อย่างไรก็ตาม โรงกลั่นมี การใช้ แ รงงานในอั ต ราที่ สู ง เมื่ อ เที ย บกั บ โรงกลั่ น อื่ น ในภาคพื้ น เอเชียแปซิฟิก จะเห็นได้ว่าผลการประเมินการดำเนินงานของ โรงกลั่นไทยออยล์โดย Solomon Associates เป็นไปในแนวทาง เดียวกับผลการประเมินการดำเนินงานโดย SGSI
3) การติดตามและปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานของ โรงกลั่น
โรงกลั่นยังคงดำเนินการผลิตโดยคำนึงถึงประสิทธิภาพด้านการใช้ พลังงานและการสูญเสียของน้ำมันอย่างต่อเนื่องอยู่เสมอ กล่าวคือ ในการขยายกำลั ง การผลิ ต ของหน่ ว ยกลั่ น น้ ำ มั น ดิ บ หน่ ว ยที่ 3
ในปี 2550 นี้ บริ ษั ท ฯ คำนึ ง ถึ ง การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พลังงานของหน่วยกลั่นน้ำมันดิบหน่วยที่ 3 ให้สูงขึ้น ขณะเดียวกัน บริษัทฯ ได้เฝ้าติดตามประสิทธิภาพด้านการผลิตสำหรับหน่วยกลั่น อื่นๆ อยู่เสมอ ทั้งนี้ หากพบว่าประสิทธิภาพด้านการใช้พลังงาน มีแนวโน้มลดต่ำลงก็จะดำเนินการแก้ ไขโดยทันที อาทิเช่น การ ขจัดเขม่าภายในเตาเผาอย่างต่อเนื่อง การทำความสะอาดเครื่อง แลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger) รวมถึงการเลือกใช้สาร เร่งปฏิกิริยาที่ต้องการพลังงานในกระบวนการผลิตที่ลดลงกว่าเดิม เป็นต้น
4) ความร่วมมือในการบริหารงานด้านการผลิตกับ บมจ. ไทยลู้บเบส
ระบบจัดการสัญญาณเตือน (Alarm Management) บุคลากรของบริษัทฯ และ บมจ. ไทยลู้บเบส ได้ร่วมกันลดจำนวน สัญญาณเตือนลงต่อเนือ่ งจากปีทแี่ ล้ว เพือ่ คุมจำนวนสัญญาณเตือน ให้อยู่ในระดับมาตรฐานหรือดีกว่ามาตรฐาน และร่วมกันตัง้ เป้าหมาย (KPI) ของจำนวนสัญญาณเตือนในแต่ละปี รวมทั้งทบทวนความ สามารถที่จะบรรลุเป้าหมายทุกเดือน การพัฒนาระบบควบคุม (Control System Improvement) บริษัทฯ ได้นำระบบควบคุมการกลั่นของ บมจ. ไทยลู้บเบส เข้ามา เป็นส่วนหนึง่ ของฝ่ายเทคโนโลยี และมีผเู้ ชีย่ วชาญระบบควบคุมเป็น ผู้ดูแลระบบควบคุมการกลั่นใน บมจ. ไทยลู้บเบส ทั้งหมด ให้มี
การดำเนินงานและการดำเนินธุรกิจ ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี
ความแม่นยำและมีประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมทั้งมีการฝึกอบบรม พนักงานของ บมจ. ไทยลู้บเบส ให้มีความชำนาญมากขึ้นเพื่อ สามารถดูแลระบบควบคุมการกลั่นได้เองในอนาคต ซึ่งจะส่งผล โดยตรงต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ระบบจัดการข้อมูลกระบวนการผลิต (Plant Information System) เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต บริษทั ฯ ได้สง่ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านระบบจัดการข้อมูลกระบวนการผลิตเข้าไปช่วย บมจ. ไทยลูบ้ เบส ในการติด ตั้ง และทดสอบระบบเพื่ อที่ จะให้ ระบบเก็ บ และจั ดการ ข้อมูลพร้อมใช้งานได้ตั้งแต่ต้นปี 2550 ระบบนี้สามารถรองรับการ เก็บข้อมูลทุกประเภท (Digital และ Analog) ได้มากกว่า 5 ปี ซึ่งข้อมูลเหล่านี้สามารถนำมาใช้ในการวิเคราะห์กระบวนการผลิต ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ระบบควบคุมการกลั่นขั้นสูง (Advance Process Control) บริษัทฯ ได้ส่งผู้เชี่ยวชาญระบบควบคุมการกลั่นขั้นสูงเพื่อให้การ สนับสนุนการดำเนินงานของ บมจ. ไทยลู้บเบส โดยเริ่มต้นจาก การศึกษาความเป็นไปได้เพือ่ หาจุดคุม้ ทุนและกำไรทีจ่ ะได้จากระบบ ความคุมการกลั่นขั้นสูง จากนั้นได้ดำเนินการคัดเลือกผู้รับเหมา ที่ เ หมาะสมและมี ความชำนาญในการติ ด ตั้ ง ระบบให้ เ หมาะกั บ กระบวนการกลั่นน้ำมันหล่อลื่น ระบบดังกล่าวจะช่วยเพิ่มกำไรจาก การเพิ่มปริมาณผลิตภัณท์โดยการใช้พลังงานให้น้อยที่สุด
5) ความร่วมมือในการบริหารงานด้านการผลิตกับ บจ. ไทย พาราไซลีน
ในปี 2550 บจ.ไทยพาราไซลีน อยู่ในระหว่างการดำเนินการขยาย โรงงาน เพือ่ เพิม่ กำลังการผลิตผลิตภัณฑ์พาราไซลีน จาก 348,000 ตันต่อปี เป็น 489,000 ตันต่อปี มิกซ์ไซลีนสำหรับการจำหน่าย ในปี 2550 บริษัทฯ ได้หยุดซ่อมหน่วยกลั่น รวมทั้งหยุด เดินเครื่องหน่วยกลั่นน้ำมันดิบหน่วยที่ 3 เพื่อปรับปรุง และดั ด แปลงแก้ ไ ขเพื่ อ เพิ่ ม กำลั ง การผลิ ต เพื่ อ เตรี ย ม รองรั บ การขยายตั ว ของความต้ อ งการบริ โ ภคน้ ำ มั น เชื้อเพลิงในอนาคต ซึ่งจากการขยายกำลังการผลิตของ หน่วยกลั่นน้ำมันดิบหน่วยที่ 3 ครั้งนี้ ทำให้โรงกลั่นมี กำลังการกลั่นน้ำมันดิบเพิ่มขึ้นจากเดิมกว่าร้อยละ 22
จาก 72,000 ตันต่อปี เป็น 90,000 ตันต่อปี และเพิ่มการผลิต ผลิตภัณฑ์อีก 2 ชนิดคือ เบนซีน และ โทลูอิน ที่กำลังการผลิต 177,000 ตันต่อปี และ 144,000 ตันต่อปี ตามลำดับ จากเดิม คาดการณ์ว่าในไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 บจ. ไทยพาราไซลีน จะหยุดเดินเครื่องโรงงานเพื่อเชื่อมต่อโรงงานในส่วนขยาย ซึ่งจะ ทำให้ผลกำไรของ บจ. ไทยพาราไซลีน ในปี 2550 ลดลงจากปี 2549 อย่างมาก อย่างไรก็ตาม จากการวางแผนการผลิตร่วมกัน อย่างเต็มรูปแบบกับบริษัทฯ ซึ่งต่อเนื่องมาจากปี 2549 รวมทั้ง การพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิตและการดำเนินการ ในด้านต่างๆ ของ บจ. ไทยพาราไซลีน ประกอบกับราคาผลิตภัณฑ์ พาราไซลี น และมิ ก ซ์ ไ ซลี น ในตลาดโลกที่ ยั ง คงอยู่ ใ นระดั บ สู ง ส่งผลให้ในรอบปี 2550 ที่ผ่านมา บจ.ไทยพาราไซลีน ยังคงมี ผลประกอบการที่โดดเด่นและมีผลกำไรดีกว่าที่คาดการณ์ โดยการ ดำเนินการดังนี้ แผนการผลิตและการขาย บริษทั ฯ ได้รว่ มมือกับ บจ. ไทยพาราไซลีน ในการวางแผนการผลิต และการขายร่วมกัน ทัง้ แผนระยะสัน้ และระยะยาว เพือ่ ให้สอดคล้อง กับสถานการณ์ด้านการตลาดที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการดำเนินงานของทั้งสองบริษัท ปรับแผนการผลิตให้สอดคล้องกับโครงการขยายของ บจ. ไทย พาราไซลีน บริษัทฯ ได้ร่วมมือกับ บจ. ไทยพาราไซลีน ปรับแผนการผลิตโดย หยุดเดินเครือ่ งเฉพาะหน่วยมิกซ์ไซลีนพร้อมๆ กับบริษทั ฯ ในเดือน ตุลาคม 2550 เพื่อเชื่อมต่อส่วนขยายในส่วนของหน่วย Tatoray และหน่วยมิกซ์ไซลีนที่อยู่ภายในโรงกลั่นของบริษัทฯ ก่อน ทั้งนี้ ในระหว่างที่หยุดเดินเครื่องหน่วยมิกซ์ไซลีน บจ. ไทยพาราไซลีน
061
062
การดำเนินงานและการดำเนินธุรกิจ ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี
ได้ซอื้ มิกซ์ไซลีนจากแหล่งอืน่ มาเป็นวัตถุดบิ ทำให้ บจ. ไทยพาราไซลีน ไม่ตอ้ งหยุดเดินเครือ่ งหน่วยผลิตพาราไซลีน และยังคงมีพาราไซลีน ส่ ง ขายให้ ลู ก ค้ า ได้ ตามสั ญ ญา และทำให้ ใ นไตรมาสที่ 4 บจ. ไทยพาราไซลีน ยังคงมีรายได้และผลกำไรจากการขายพาราไซลีน อยู่ และในช่วงที่ บจ. ไทยพาราไซลีน ใช้ Cold Mixed Xylene (CMX) เป็นวัตถุดบิ เพียงอย่างเดียวนัน้ ก็สามารถเพิม่ ปริมาณ CMX ที่ใช้เป็นวัตถุดิบได้ถึงประมาณวันละ 780 ตันต่อวัน จากที่เคยผลิต ได้เพียง 650 ตันต่อวัน โดยไม่มกี ารลงทุนเพิม่ เติม ในขณะเดียวกัน การใช้ มิ ก ซ์ ไ ซลี น เป็ นวั ต ถุ ดิ บ เพี ย งอย่ า งเดี ย วที่ ก ำลั ง การผลิ ต ประมาณร้อยละ 75 ซึ่งทำให้ บจ. ไทยพาราไซลีน สามารถหยุด การเดินเครื่องปั๊ม (Pump) ที่ใช้ในหน่วยผลิตพาราไซลีนได้ ส่งผล ให้ลดค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าลงไปได้ถึงเดือนละ 1 ล้านบาท ระบบจัดการสัญญาณเตือน (Alarm Management) บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ผู้เชี่ยวชาญเข้าไปศึกษาเพื่อลดจำนวน สั ญ ญาณเตื อ น (Alarm) โดยได้ อ อกแบบโปรแกรมนั บ จำนวน สัญญาณเตือน เพื่อหาวิธีควบคุมให้จำนวนสัญญาณเตือนอยู่ ใน ระดับมาตรฐาน และศึกษาข้อมูลในการตั้งค่าเป้าหมาย (KPI) ของ จำนวนสัญญาณเตือนในแต่ละปี การพัฒนาระบบควบคุม (Control System Improvement) บริษัทฯ ได้นำระบบควบคุมการผลิต (Process Control System) ของ บจ. ไทยพาราไซลีน เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของฝ่ายเทคโนโลยี และมีผู้เชี่ยวชาญระบบควบคุม (Process Control Technologist) เป็นผู้ดูแลระบบควบคุมการผลิตใน บจ. ไทยพาราไซลีน ทั้งหมด ตั้งแต่กลางปี 2550 เพื่อควบคุมและดูแลให้ระบบดังกล่าวทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบจัดการข้อมูลกระบวนการผลิต (Plant Information System) บริษัทฯ ได้ส่งผู้เชี่ยวชาญด้านระบบจัดการข้อมูลกระบวนการผลิต
(Plant information) เข้าไปช่วย บจ. ไทยพาราไซลีน ในการติดตั้ง และทดสอบระบบเพื่ อ ที่ จ ะให้ ร ะบบเก็ บ และจั ด การข้ อ มูลพร้อม ใช้งานได้ตั้งแต่กลางปี 2550 ระบบนี้สามารถรองรับการเก็บข้อมูล ทุกประเภท (Digital และ Analog) ได้มากกว่า 5 ปี ซึ่งข้อมูล เหล่ า นี้ ส ามารถนำมาใช้ ใ นการวิ เ คราะห์ กระบวนการผลิ ต ให้ มี ประสิทธิภาพสูงสุด เตรียมการสำหรับการหยุดเดินเครื่องโรงงาน ในช่วงที่บริษัทฯ หยุดเดินเครื่องหน่วยกลั่น CDU-3 เพื่อเชื่อมต่อ ส่วนขยาย บจ. ไทยพาราไซลีน ได้ส่งบุคลากรในฝ่ายผลิตเข้ามา ศึกษาดูงานในบริษัทฯ เพื่อเป็นกรณีศึกษาสำหรับการวางแผนการ หยุดเดินเครือ่ งโรงงานเพือ่ เชือ่ มต่อส่วนขยายของ บจ. ไทยพาราไซลีน ที่จะดำเนินการในเดือนมกราคม 2551 ความร่วมมือในกรณีฉุกเฉิน บาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยที่รุนแรง ด้วยเหตุที่ บจ. ไทยพาราไซลีน มีจำนวนพนักงานน้อย จึงต้องการ ทีมดับเพลิงสำรองสำหรับการสนับสนุนเหตุฉุกเฉินประเภท Red Alert จากบริษัทฯ ดังนั้น บริษัทฯ และ บจ. ไทยพาราไซลีน จึงได้ กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานร่วมกัน โดยทั้งสองบริษัทจะจัดส่ง First Line Team ไปช่วยเหลือซึง่ กันและกันในกรณีทเี่ กิดเหตุฉกุ เฉิน นอกจากนัน้ ยังได้กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการร้องขอรถพยาบาล จากบริษทั ฯ ในกรณีทมี่ กี ารบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยทีร่ นุ แรงกับพนักงาน บจ. ไทยพาราไซลีน ได้ตลอด 24 ชั่วโมงอีกด้วย เครื่องมือวิเคราะห์สำหรับห้องปฏิบัติการทดสอบ บริษทั ฯ และ บจ. ไทยพาราไซลีน ได้รว่ มกันศึกษาเครือ่ งมือวิเคราะห์ ที่สามารถรองรับการใช้งานของทั้งสองบริษัทและกำหนดขั้นตอน การปฏิบตั งิ านสำหรับการใช้เครือ่ งมือดังกล่าวร่วมกัน เช่น เครือ่ งมือ วิเคราะห์ซลั เฟอร์และไนโตรเจน ซึง่ สามารถลดค่าใช้จา่ ยในการจัดซือ้ อุปกรณ์ใหม่ได้ถึง 7 ล้านบาท
การบริหาร ทรัพยากรบุคคล
การบริหาร ทรัพยากรบุคคล ในปี 2550 บริษท ั ฯ ได้เสริมความแข็งแกร่งและต่อยอด การพัฒนาบุคลากรจากปีทผ ่ี า่ นมาในลักษณะบูรณาการ และการผสานจุดแข็งของทุกบริษัทในเครือไทยออยล์ เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจทั้งในปัจจุบันและ อนาคต
การออกแบบโครงสร้างองค์กร (Macro Structure Design) เป็น หนึ่งในกิจกรรมหลักของปี 2550 ที่เตรียมความพร้อมด้านการ จั ด โครงสร้ า งองค์ กรและพั ฒ นาบุ ค ลากรเพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ ความ มุ่ ง มั่ น ของบริ ษั ท ฯ ในการเพิ่ ม ศั ก ยภาพของการบริ ห ารกิ จ การ ระยะยาวประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย โดยได้นำแบบโครงสร้าง องค์ กรดั ง กล่ า วมาดำเนิ น การอย่ า งเป็ น ขั้ น ตอนตั้ ง แต่ ไ ตรมาส สุดท้ายของปีเป็นต้นมา ส่งผลให้เกิดเอกภาพในการบริหารธุรกิจ และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้พัฒนา ประสิทธิภาพของการบริหารเครือไทยออยล์ในลักษณะ Shared Services ซึง่ ได้ดำเนินการควบคูแ่ ละสอดประสานไปกับการออกแบบ โครงสร้างองค์กรดังกล่าว บริ ษั ท ฯ ประสบความสำเร็ จ ในการนำระบบการจั ด การผลงาน (Performance Management System: PMS) มาใช้กับผู้บริหาร ระดับผู้จัดการแผนกขึ้นไปตามดัชนีชี้วัดผลงานหลักขององค์กร (Corporate KPI) ส่ ง ผลให้ ส ามารถสื่ อ สารถ่ า ยทอดวิ สั ย ทั ศ น์ พันธกิจ และกลยุทธ์ของบริษทั ฯ ให้เป็นเป้าหมายในการปฏิบตั งิ าน ที่มุ่งไปสู่ทิศทางเดียวกันและสอดคล้องกันทั่วทั้งองค์กร นอกจากนี้ ยังเน้นย้ำและปลูกฝังค่านิยมองค์กร POSITIVE ให้มีการปฏิบัติ บังเกิดผลเป็นรูปธรรม อันจะสอดคล้องและส่งผลต่อการดำเนิน การพัฒนาชื่อเสียงขององค์กร (Corporate Brand) ให้เป็นที่ ประจักษ์และยอมรับต่อสาธารณชน โดยการรณรงค์ให้พนักงานมี ส่วนร่วมในโครงการด้านจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) บนพื้นฐานของบรรษัทภิบาล (Corporate Governance) อย่างแท้จริง การบริหารจัดการความเสีย่ ง (Risk Management) ด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่บริษัทฯ ได้ดำเนินการอย่าง ต่อเนื่องเพื่อนำหลักการบริหารจัดการความเสี่ยงมาประยุกต์ใช้กับ
การบริหารองค์กรและทรัพยากรบุคคล บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ หน่ ว ยงานบริ ห ารความเสี่ ย งรั บ ผิ ด ชอบในการประมวลประเด็น ความเสี่ยงขององค์กรและหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในบริษัทฯ และ บริษทั ในเครือ โดยพิจารณาจากดัชนีชวี้ ดั ผลงานหลักของแต่ละฝ่าย รวมถึงการจัดฝึกอบรมและกลุ่มสัมมนาย่อยให้แก่พนักงานในแต่ละ แผนกเพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจและปลูกจิตสำนึกเรื่องการ บริ หารจัดการความเสี่ย งให้บั งเกิ ดขึ้น อย่า งมีป ระสิ ทธิผลทั่วทั้ง องค์กร บริษทั ฯ ได้สง่ เสริมให้ผบู้ ริหารระดับผูจ้ ดั การแผนกขึน้ ไป รับผิดชอบ ในการบริหารจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ภายใน หน่วยงานของตนอย่างเหมาะสมกับการบริหารงานในหน่วยงาน เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้เกิดจิตสำนึกที่นำมาสู่การปฏิบัติในเรื่อง การจัดเก็บ รวบรวม ถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ อย่างมีประสิทธิผล เพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาความรู้ความ สามารถของพนักงานอย่างเป็นระบบโดยการเรียนรู้ด้วยตนเองที่จะ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาความสามารถขององค์กร (Organization Capability Development) อย่างยั่งยืนได้ในที่สุด บริษทั ฯ มีความมุง่ มัน่ ในการพัฒนาภาวะผูน้ ำในทุกๆ ด้านแก่พนักงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูท้ มี่ ศี กั ยภาพในระดับสูง จึงได้มกี ารทบทวนแผน การสืบทอดตำแหน่ง (Succession Plan) ของผูบ้ ริหารระดับสูงทีม่ ี ความสำคัญอย่างยิ่งยวด (Critical Positions) เพื่อมั่นใจว่าบริษัทฯ มีบุคลากรที่เพรียบพร้อมด้วยความรู้ความสามารถ มีวิสัยทัศน์และ
063
064
การบริหาร ทรัพยากรบุคคล
ทัศนคติทดี่ ี รวมถึงมีภาวะผูน้ ำอันเป็นทีย่ อมรับ เตรียมพร้อมทดแทน ผูบ้ ริหารระดับสูงทีจ่ ะเกษียณอายุ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้บริหารการพัฒนา บุคลากรเหล่านี้โดยใช้เครื่องมือและช่องทางการพัฒนาต่างๆ ที่มี ประสิทธิผลและเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกันบนพื้นฐานความร่วมมือ ทีด่ กี บั บมจ. ปตท. และกลุม่ บริษทั เชลล์ (Shell Global Solutions) นอกจากนี้ การโยกย้ายหมุนเวียนระหว่างผู้บริหารภายในบริษัทฯ กับบริษทั ในเครือดำเนินไปอย่างมีประสิทธิผล สนับสนุนให้ผบู้ ริหาร ได้ พั ฒ นาทั ก ษะด้ า นการจั ด การความเปลี่ ย นแปลง (Change Management) อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม บริษทั ฯ สามารถสรรหาคัดเลือกบุคลากรทีม่ ที ศั นคติทดี่ ี มีคณ ุ ธรรม และคุณภาพเข้ามาร่วมงานกับองค์กรได้ในจำนวนและเวลาทีเ่ หมาะสม เพือ่ รองรับการขยายงานในอนาคตทีก่ ำหนดอยู่ในแผนธุรกิจระยะยาว บริษัทฯ ได้ใช้กลยุทธ์ใหม่ในการสรรหาคัดเลือกบุคลากรเหล่านั้น โดยร่วมมือกับสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศอย่างต่อเนื่อง ซึง่ รวมถึงการให้ทนุ การศึกษา การเปิดโอกาสให้ฝกึ งาน การร่วมมือ กับสถาบันการศึกษาเพือ่ ถ่ายทอดแลกเปลีย่ นความรูแ้ ละประสบการณ์ ด้านวิชาชีพ และการพัฒนาองค์ความรู้ เป็นต้น
ผลตอบแทนจากการพัฒนาทรัพยากรบุคคลทุกด้าน (Human Capital Development) ดังกล่าวข้างต้น ส่งผลทีเ่ ป็นรูปธรรมในหลายๆ ด้าน อาทิเช่น การบรรลุถึงเป้าหมาย (KPI) ด้านความปลอดภัย การมี ระบบการบริหารงานที่มีเอกภาพในเครือไทยออยล์ การได้รับการ ยอมรับในเรือ่ งความรูค้ วามสามารถของพนักงานจากองค์กรภาครัฐ และภาคธุรกิจ รวมถึงความสามารถในการบรรลุยอดขายกับผลกำไร ที่เพิ่มสูงขึ้นของบริษัทฯ และบริษัทในเครือด้วย บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญของบุคลากรในฐานะทีเ่ ป็นทรัพยากร ทีม่ คี า่ สูงสุดขององค์กร จึงใส่ใจดูแลเรือ่ งพัฒนาการและความพร้อม ในทุกด้านของพนักงานนับตั้งแต่วันแรกที่เข้ามาเป็นพนักงานใน ครอบครัวไทยออยล์จนถึงวาระทีต่ อ้ งเกษียณอายุงาน บริษทั ฯ จึงจัด ให้มโี ครงการส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพ การวางแผนด้านการเงิน ส่วนบุคคล การวางแผนชีวิตหลังวัยเกษียณ ฯลฯ โดยส่งเสริมให้ พนักงานนำการเรียนรู้จากโครงการดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติเป็น รูปธรรมจนประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี จึงสะท้อนความเป็นจริงทีว่ า่ ทรัพยากรบุคคลของเครือไทยออยล์เป็นส่วนหนึ่งของทรัพยากร อันมีค่าของสังคมไทยได้อย่างเต็มภาคภูมิ
คำอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน
คำอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน ในปี 2550 นับเป็นปีแห่งความสำเร็จของบริษัทฯ ซึ่งเกิดจากการบริหารธุรกิจของเครือไทยออยล์ในเชิง บูรณาการอย่างต่อเนื่อง โดยมีกำไรสุทธิ 19,176 ล้านบาท หรือ 9.40 บาทต่อหุ้น เพิ่มขึ้น 1,517 ล้านบาท หรือ 0.74 บาทต่อหุ้นจากปีก่อน ซึ่งนับเป็นกำไรจากการดำเนินงานที่สูงเป็นประวัติการณ์ แม้ว่าบริษัทฯ มี การหยุดเดินเครือ ่ งหน่วยกลัน ่ น้ำมันดิบหน่วยที่ 3 (CDU-3) เพือ ่ เชือ ่ มต่อกับโครงการส่วนขยายและซ่อมบำรุง ตามวาระตั้งแต่ 6 ตุลาคม - 5 ธันวาคม 2550
ผลการดำเนินงาน - งบการเงินรวม GRM - โรงกลั่นฯ Integrated Margin* รายได้จากการขาย EBITDA กำไรสุทธิ กำไรต่อหุ้น
เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ” ล้านบาท ” ” บาท
2550
2549
เปลี่ยนแปลง
9.0 10.5 261,051 29,030 19,176 9.40
4.8 7.6 279,109 24,577 17,659 8.66
+4.2 / +88% +2.9 / +38% -18,058 / -6% +4,453 / +18% +1,517 / +9% +0.74 / +9%
* Integrated Margin คำนวณจากกำไรขั้นต้นรวมจากการผลิตของบริษัทฯ บจ. ไทยพาราไซลีน และ บมจ. ไทยลู้บเบส หารด้วยอัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยของแต่ละช่วง เวลาและหารด้วยจำนวนรวมของวัตถุดิบที่ใช้ทั้งหมดของบริษัทฯ บจ. ไทยพาราไซลีน และ บมจ. ไทยลู้บเบส
บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้จากการขายในปี 2550 จำนวน 261,051 ล้านบาท ลดลง 18,058 ล้านบาท จากการแข็งค่าขึน้ ของ เงินบาท อย่างไรก็ตาม ราคาน้ำมันเฉลีย่ ในตลาดโลกทีย่ งั คงผันผวน อยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะราคาเฉลี่ยน้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่วและ ราคาเฉลี่ยน้ำมันเตาที่เพิ่มขึ้นจากปี 2549 กว่า 9 เหรียญสหรัฐฯ และความกังวลจากการก่อการร้ายที่ส่งผลต่ออุปสงค์และอุปทาน น้ำมันทำให้ GRM ของโรงกลั่นในปี 2550 เพิ่มขึ้นจากปี 2549 ร้อยละ 88 หรือ 4.2 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล อยู่ที่ 9.0 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยมีกำไรจากสต๊อกน้ำมัน (Stock Gain)
3.2 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล กำไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่ม (Integrated Margin) ในปี 2550 อยู่ที่ 10.5 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรล เพิ่มขึ้นจากปี 2549 ร้อยละ 38 ส่งผลให้มี EBITDA จำนวน 29,030 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4,453 ล้านบาทจากปีก่อน หรือ ร้อยละ 18 ดังนั้น กำไรสุทธิของปี 2550 จึงอยู่ที่ 19,176 ล้านบาท หรือ 9.40 บาทต่อหุ้น เพิ่มขึ้น 1,517 ล้านบาท หรือ 0.74 บาท ต่อหุ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน ซึ่งนับเป็นกำไรจากการดำเนินงานที่สูง เป็นประวัติการณ์
หมายเหตุ : ในปี 2550 บริษัทฯ ได้เปลี่ยนนโยบายบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีสินทรัพย์ถาวรจาก วิธีตีราคา เป็น วิธีราคาทุน การบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมเป็น วิธรี าคาทุน และการเปลีย่ นวิธกี ารคำนวณราคาทุนของต้นทุนน้ำมันดิบ ผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม และน้ำมันเชือ้ เพลิงตามราคาทุนเป็นวิธถี วั เฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก และได้ปรับปรุง ข้อมูลสำหรับปี 2549 เพื่อใช้เปรียบเทียบ ทั้งนี้ ผลกระทบดังกล่าวทำให้งบการเงินรวมมีกำไรเพิ่มขึ้น 2,396 ล้านบาทในปี 2550 และ 1,064 ล้านบาทในปี 2549
065
066
คำอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานแยกรายบริษัท (ล้านบาท) รายได้จากการขาย / ให้บริการ EBITDA ดอกเบี้ยจ่ายฯ กำไร/(ขาดทุน) อัตราแลกเปลี่ยน ภาษีเงินได้ กำไร / (ขาดทุน) สุทธิ (1)
TOP
TPX
TLB
IPT
TP
TM
งบรวม
253,959 33,247 21,582 21,384 3,865 1,932 (1,411) (8) 1,948 34 (23) (4,694) - (485) 14,083 3,401 1,130
8,924 1,203 (288) 191 (16) 627
3,285 649 (31) (113) 262
731 68 (5) 13
261,051 29,030 (1,728) 2,150 (5,308) 19,176
หมายเหตุ : (1) กำไร / (ขาดทุน) สุทธิ ไม่รวมเงินปันผลรับจากบริษัทย่อยและกำไรจากการลดทุนของบริษัทย่อย
• ในปี 2550 บริษัทฯ (TOP) มีรายได้จากการขายจำนวน
253,959 ล้านบาท ลดลง 26,189 ล้านบาทจากปีกอ่ น เนือ่ งจาก ผลกระทบของค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง และการ หยุดเดินเครื่องหน่วยกลั่นน้ำมันหน่วยที่ 3 (CDU-3) ตาม โครงการขยายกำลังการกลั่นตั้งแต่ 6 ตุลาคม - 5 ธันวาคม 2550 (61 วัน) แต่จากราคาน้ำมันสำเร็จรูปเฉลีย่ ทีเ่ พิม่ ขึน้ เกือบ 10 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่งผลให้คา่ การกลัน่ เฉลีย่ เพิม่ ขึน้ อยู่ที่ 9.0 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เปรียบเทียบกับ 4.8 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในปี 2549 ทำให้ EBITDA ของ โรงกลั่นอยู่ที่ 21,384 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8,599 ล้านบาทจาก ปีก่อน อย่างไรก็ตาม การที่เงินบาทแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้ TOP มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนส่วนใหญ่จากเงินกู้ยืม สกุลเหรียญสหรัฐฯ และกำไรจากการยกเลิกสัญญาแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศกับคูส่ ญั ญาเดิมรวมจำนวน 1,948 ล้านบาท ในปี 2550 และมีดอกเบี้ยจ่ายฯ อยู่ที่ 1,411 ล้านบาท ทั้งนี้ กำไรก่อนเงินปันผลรับและกำไรจากการลดทุนของบริษัทย่อย อยู่ที่ 14,083 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 5,627 ล้านบาท เมื่อรวม เงินปันผลรับจากบริษัทย่อยจำนวน 2,253 ล้านบาทและกำไร จากการลดทุนหุ้นบุริมสิทธิของ TPX จำนวน 1,528 ล้านบาท ดังนั้น กำไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะกิจการในปี 2550 อยู่ที่ 17,864 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 7,719 ล้านบาทจากปีก่อน หรือ ประมาณร้อยละ 76 • บจ. ไทยพาราไซลีน (TPX) มีรายได้จากการขายจำนวน 33,247 ล้านบาท และ EBITDA จำนวน 3,865 ล้านบาท ลดลง 8,357 ล้านบาท และ 2,260 ล้านบาทจากปีก่อน เนื่องจาก การหยุดหน่วยมิกซ์ไซลีน ตั้งแต่วันที่ 6 ตุลาคม - 14 ธันวาคม 2550 (70 วัน) เพือ่ ซ่อมบำรุงและติดตัง้ อุปกรณ์ใหม่เพือ่ รองรับ
+ / (-) จากปี 2549 -18,058 +4,453 -189 -1,420 +2,105 +1,517
-6% +18% -10% -40% +66% +9%
การขยายกำลังการผลิต ทำให้ในช่วงเวลาดังกล่าว TPX ต้องซือ้ มิกซ์ไซลีน ซึง่ มีราคาสูงมาใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตแทนการรับ Platformate จาก TOP ประกอบกับส่วนต่างราคาระหว่าง PX และวัตถุดิบที่ลดลงมากจากการปรับตัวสูงขึ้นของวัตถุดิบตาม ราคาน้ำมันเบนซิน ในขณะทีร่ าคา PX ยังคงใกล้เคียงกับปี 2549 ทั้งนี้ ดอกเบี้ยจ่ายในปี 2550 จำนวน 8 ล้านบาท ลดลง 88 ล้านบาทจากปีกอ่ น เนือ่ งจากการชำระคืนหนีเ้ งินกูร้ ะยะยาวเดิม ทัง้ จำนวนในไตรมาส 4/2549 ทำให้ TPX มีกำไรสุทธิในปี 2550 จำนวน 3,401 ล้านบาท ลดลง 2,265 ล้านบาทจากปีก่อน
• บมจ. ไทยลู้บเบส (TLB) มีรายได้จากการขายจำนวน 21,582 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3,935 ล้านบาทจากปีก่อน เนื่องจากในปี 2550 TLB มีอัตราการใช้กำลังการผลิต Base Oil ร้อยละ 88 เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 และปริมาณขายผลิตภัณฑ์รวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 21 อย่างไรก็ตาม TLB มี EBITDA จำนวน 1,932 ล้านบาท ลดลง 961 ล้านบาทจากปีกอ่ น เนือ่ งจากการแข็งค่าของเงินบาท และราคาวัตถุดิบปรับตัวเพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมันเตาทำให้ส่วน ต่างระหว่างราคาผลิตภัณฑ์และวัตถุดบิ ลดลง ทัง้ นี้ ตัง้ แต่ไตรมาส 3/49 TLB เริ่มเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ทำให้ TLB มีกำไรสุทธิ หลังหักภาษีเงินได้ในปี 2550 จำนวน 1,130 ล้านบาท ลดลง 1,282 ล้านบาทจากปีก่อน • บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ (IPT) มีรายได้จากการขายจำนวน 8,924 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 540 ล้านบาทจากปีกอ่ น จากอัตราความพร้อม ในการผลิตร้อยละ 87 เพิ่มขึ้นร้อยละ 13 จากปี 2549 อย่างไร ก็ตาม IPT มี EBITDA จำนวน 1,203 ล้านบาท ลดลง 794 ล้านบาทจากปีก่อน เนื่องจากอัตราค่า AP ลดลงตามสัญญา PPA (Power Purchase Agreement) และอัตราค่าซ่อมบำรุง
คำอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน
รั ก ษาต่ อ ชั่ ว โมงการผลิ ต ของเครื่ อ งกำเนิ ด ไฟฟ้ า กั ง หั น ก๊ า ซ ที่เพิ่มสูงขึ้นตามสัญญา LTMC (Long Term Maintenance Contract) รวมทั้งในปี 2549 IPT ได้รับค่าสินไหมทดแทน จากการประกันภัยรวมทั้งสิ้นจำนวน 394 ล้านบาท นอกจากนี้ กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ลดลงจำนวน 332 ล้านบาทจาก ปีก่อน ส่งผลให้ IPT มีกำไรสุทธิจำนวน 627 ล้านบาท ลดลง 947 ล้านบาทจากปีก่อน
• บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ (TP) มีรายได้จากการขายจำนวน 3,285 ล้านบาท ลดลง 157 ล้านบาทจากปีกอ่ น และมี EBITDA จำนวน 649 ล้านบาท ลดลง 75 ล้านบาทจากปีก่อน เนื่องจากอัตรา การใช้กำลังการผลิตที่ลดลงจากการหยุดเดินเครื่องหน่วยกลั่น น้ำมันหน่วยที่ 3 ของ TOP ตามโครงการขยายกำลังการกลั่น อีกทั้งต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมันเตาที่ปรับตัว สูงขึ้นจากปีก่อน นอกจากนี้ TP ยังมีภาระภาษีเงินได้หลังจาก สิทธิประโยชน์ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนได้สิ้นสุดลงในเดือน
มีนาคม 2549 ทำให้มีภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น 19 ล้านบาท ส่งผล ให้ TP มีกำไรสุทธิจำนวน 262 ล้านบาท ลดลง 56 ล้านบาท จากปีก่อน
• บจ. ไทยออยล์มารีน (TM) มีรายได้จากการให้บริการจำนวน 731 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 213 ล้านบาทจากปีก่อน มี EBITDA จำนวน 68 ล้านบาท ลดลง 13 ล้านบาทจากปีก่อน เนื่องจาก ต้นทุนค่าน้ำมันเชื้อเพลิงที่สูงขึ้น เมื่อรวมภาระดอกเบี้ยจ่าย และค่าใช้จ่ายบริหารของเรือไทยออยล์ 10 ก่อนเริ่มดำเนินงาน เชิงพาณิชย์ในวันที่ 21 ธันวาคม 2550 ทำให้ TM มีกำไรสุทธิ จำนวน 13 ล้านบาท ลดลง 17 ล้านบาทจากปีก่อน ทั้งนี้ TM ได้รับมอบเรือขนส่งน้ำมัน “ไทยออยล์ 10” ขนาด 32,250 ตันบรรทุก มูลค่าประมาณ 35 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในเดือน ธันวาคม 2550 และได้จำหน่ายเรือสถิตธารา ขนาด 7,000 ตันบรรทุกในเดือนมกราคม 2551 ทำให้ปจั จุบนั กองเรือของ TM มีเรือทั้งสิ้น 5 ลำ
วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน - งบการเงินรวม
ฐานะทางการเงิน (ล้านบาท) สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ
สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวม ทั้งสิ้น 137,063 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 26,739 ล้านบาทจากปีก่อน เนื่องจากการลงทุนขยายงานของกลุ่มไทยออยล์ ได้แก่ โครงการ ขยายหน่วยกลั่นน้ำมันดิบที่ 3 ของบริษัทฯ โครงการขยายทุ่นผูก เรือน้ำลึก (SBM) การขยายกำลังการผลิตของ TPX และ การ ขยายกองเรือของ TM เป็นต้น รวมทั้งสินค้าคงคลังและลูกหนี้ การค้าที่เพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมันและการขยายกำลังการผลิต หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวม ทั้งสิ้น 65,177 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 15,019 ล้านบาทจากปีก่อน เนื่องจากเจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้นตามระดับราคาน้ำมันที่สูงขึ้นและ การเบิกเงินกู้เพื่อโครงการขยายงานของ TPX เพิ่มขึ้น สำหรับหนี้
31 ธ.ค. 2550
31 ธ.ค. 2549
+/-
%
137,063 65,177 71,886
110,324 50,158 60,166
+ 26,739 + 15,019 + 11,720
+ 24% + 30% + 19%
เงินกู้ระยะยาวของบริษัทฯ และบริษัทย่อย (รวมส่วนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีจำนวน 31,959 ล้านบาท คิดเป็นเงินสกุลดอลลาร์จำนวน 416 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เงินสกุลบาทจำนวน 15,034 ล้านบาท และเงินสกุลเยนจำนวน 9,438 ล้านเยน ซึง่ เงินสกุลเยนได้มกี ารทำสัญญาแลกเปลีย่ นเงินตรา เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นเงินเหรียญสหรัฐฯ เท่ากับ 80 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีส่วนของผู้ถือ หุ้น-สุทธิรวมทั้งสิ้น 71,886 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 11,720 ล้านบาท จากปีกอ่ น อันเป็นผลมาจากผลประกอบการทีด่ ี โดยมีกำไรสุทธิของ ปีจำนวน 19,176 ล้านบาทหักลดด้วยเงินปันผลจ่ายและเงินปันผล จ่ายระหว่างกาลรวม 7,858 ล้านบาท
067
068
คำอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน
วิเคราะห์กระแสเงินสดและอัตราส่วนทางการเงิน ในปี 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้รับเงินสดจากกิจกรรมดำเนิน งานรวมจำนวน 22,703 ล้านบาท เงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุน จำนวน 17,178 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการจ่ายเงินสำหรับโครงการ ต่างๆ ได้แก่ โครงการขยายกำลังการผลิต CDU-3 จำนวน 3,720 ล้านบาท โครงการขยายทุ่นผูกเรือน้ำลึก (SBM) จำนวน 2,006 อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย (เท่า) อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว (เท่า) อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)
ล้านบาท โครงการ New GT จำนวน 417 ล้านบาท โครงการ ขยายกำลังการผลิตของ บจ. ไทยพาราไซลีน จำนวน 7,875 ล้านบาท บริษัทฯ และบริษัทย่อยใช้เงินสดไปในกิจกรรมจัดหาเงิน จำนวน 7,837 ล้านบาท ดังนั้น บริษัทฯ และบริษัทย่อยจึงมีเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จำนวน 4,213 ล้านบาท 2550
2549
1.9 16.8 0.3 0.4 0.9 0.4
2.6 12.8 0.3 0.5 0.8 0.4
รายการ ระหว่างกัน
รายการ ระหว่างกัน 1. รายการระหว่างกันของบริษัทฯ และ/ หรือ บริษัทย่อยกับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ
(1) รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บมจ. ปตท. ลักษณะของรายการ - บริษทั ฯ ได้ทำสัญญาจัดหาน้ำมันดิบและรับซือ้ ผลิตภัณฑ์นำ้ มัน สำเร็จรูป (POCSA) กับ บมจ. ปตท. โดย บมจ. ปตท. และบริษัทฯ ตกลงที่จะซื้อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสำเร็จรูป ณ ราคาตลาด ตามขั้นตอนการกำหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ ข้อกำหนด และเงือ่ นไขตามทีร่ ะบุไว้ในสัญญา โดย บมจ. ปตท. ต้องเสนอชนิดและปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่ บมจ.ปตท. ต้องการ เพื่อการจำหน่ายในประเทศและ/หรือการส่งออก ซึ่งต้องเป็น ปริมาณอย่างน้อยร้อยละ 49.99 ของกำลังการกลั่นน้ำมันของ บริษัทฯ และบริษัทฯ จะต้องแจ้งให้ทราบถึงชนิดและปริมาณ ผลิตภัณฑ์ทบี่ ริษทั ฯ สามารถส่งมอบให้ได้ภายในเวลาทีต่ กลงกัน ซึง่ บมจ. ปตท. จะต้องซือ้ ผลิตภัณฑ์ในจำนวนทีบ่ ริษทั ฯ ตกลง ส่งมอบดังกล่าว นอกจากนี้ บมจ. ปตท. มีสทิ ธิพเิ ศษตามสัญญา ที่จะซื้อผลิตภัณฑ์ ณ ราคาตลาดในขณะนั้นก่อนลูกค้ารายอื่น ในปริมาณสูงสุดร้อยละ 100 ของกำลังการกลั่นน้ำมันของ บริษัทฯ ภายใต้เงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาดังกล่าวนี้ สามารถถูกยกเลิกได้ดว้ ยสาเหตุตา่ งๆ ซึง่ รวม ถึงการยกเลิกโดยการที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้แจ้งความ ประสงค์ดังกล่าวแก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเป็นลายลักษณ์อักษร เป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 12 เดือน แต่ทั้งนี้ คู่สัญญา ไม่สามารถแจ้งความประสงค์ก่อนครบรอบปีที่ 13 นับจาก วันที่ 20 เมษายน 2543 - บริษทั ฯ ได้ทำสัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติกบั บมจ. ปตท. ระยะ เวลา 8 ปี (2549 - 2556) และ ระยะเวลา 15 ปี (2550 2564) เพือ่ จัดหาก๊าซธรรมชาติสำหรับใช้ในโรงกลัน่ ของบริษทั ฯ ในปริมาณที่ตกลงกัน แต่ทั้งนี้ บริษัทฯ สามารถเปลี่ยนแปลง ปริมาณดังกล่าวได้โดยการแจ้งล่วงหน้าแก่ บมจ. ปตท. ราคา ค่าก๊าซธรรมชาติในแต่ละเดือนนั้น จะประกอบด้วยค่าก๊าซ ธรรมชาติซึ่งคำนวณตามสูตรที่กำหนดในสัญญา และค่าใช้ ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ซึง่ เป็นไปตามปกติของธุรกิจ ทัง้ นี้ คูส่ ญั ญา
ทั้งสองฝ่ายสามารถต่ออายุสัญญาต่อไปอีกได้โดยแจ้งความ ประสงค์เป็นลายลักษณ์อักษรให้อีกฝ่ายทราบล่วงหน้าไม่น้อย กว่า 6 เดือน
- บริษทั ฯ ได้ทำสัญญาซือ้ ขายราคาน้ำมันล่วงหน้ากับ บมจ. ปตท. เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อแลกเปลี่ยนราคา น้ำมันดิบ หรือส่วนต่างราคาสำเร็จรูปและน้ำมันดิบล่วงหน้ากับ บมจ. ปตท. ตามสัญญา ในแต่ละครัง้ บมจ. ปตท. และบริษทั ฯ ต้องจ่ายส่วนเกินหรือส่วนขาดระหว่างราคาคงที่กับส่วนต่าง ราคาลอยตัวสำหรับแต่ละงวดแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ เพื่อเป็นการ ประกันความเสี่ยงสำหรับราคาน้ำมันที่แปรผันอยู่ตลอดเวลา - บริษัทฯ ได้ทำสัญญากับ บมจ. ปตท. เพื่อเข้าร่วมในการใช้ เครื่องมือ อุปกรณ์ รวมถึงเจ้าหน้าที่ของบริษัท Oil Spill Response จำกัด ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2548 ในการ กำจัดคราบน้ำมันที่รั่วไหลลงทะเล หรือบริเวณชายฝั่ง โดย บริษัทฯ ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมรายปี และ ค่าใช้จ่ายอื่น เป็น สัดส่วนกับ บมจ. ปตท. คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายสามารถต่ออายุ สัญญาต่อไปอีกได้โดยแจ้งความประสงค์เป็นลายลักษณ์อักษร ให้อีกฝ่ายทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 6 เดือน (2) รายการระหว่างบริษัทย่อยของบริษัทฯ กับ บมจ. ปตท. ลักษณะของรายการ - บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทำสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 25 ปี (2541-2565) เพื่อจัดหาก๊าซ ธรรมชาติสำหรับใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าของ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ในแต่ละปี บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ มี ข้อผูกพันที่จะต้องซื้อก๊าซธรรมชาติตามปริมาณขั้นต่ำหรือ ชำระค่าก๊าซธรรมชาติตามที่กำหนดในสัญญา (Take-or-Pay) โดยค่าก๊าซธรรมชาติเป็นราคาตลาดตามปกติของธุรกิจ ทั้งนี้ คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายสามารถต่ออายุสัญญาต่อไปอีกได้ โดยแจ้ง ความประสงค์เป็นลายลักษณ์อักษรให้อีกฝ่ายทราบล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 1 ปี - บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ได้ทำสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 25 ปี (2542-2567) เพื่อจัดหา ก๊าซธรรมชาติสำหรับใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าในโรงไฟฟ้า ของ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ โดยมีการกำหนดคุณภาพและปริมาณ ไว้ตามสัญญา ค่าก๊าซธรรมชาติเป็นราคาตลาดตามปกติของ ธุรกิจ ทั้งนี้ สัญญานี้สามารถถูกยกเลิกโดยคู่สัญญา หรือ เมื่อ
069
070
รายการ ระหว่างกัน
สัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ กับ กฟผ. ถู ก ยกเลิ ก และคู่ สั ญ ญาสามารถต่ อ อายุ สั ญ ญาต่ อ ไปได้ อี ก โดยการแจ้งความประสงค์เป็นลายลักษณ์อักษรให้อีกฝ่ายทราบ ล่วงหน้า
- บจ. ไทยออยล์มารีน ได้ทำสัญญาเช่ากับ บมจ. ปตท. เพื่อ เป็นสำนักงานเป็นระยะเวลา 3 ปี โดยสามารถต่ออายุต่อไปได้ ครั้งละไม่เกิน 3 ปี โดยค่าเช่าคิดตามต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง และ ในเงื่อนไขที่ไม่แตกต่างจากบุคคลภายนอก - บจ. ไทยออยล์มารีน ได้ทำสัญญากับ บมจ. ปตท. เพือ่ ให้บริการ ขนส่งน้ำมันและเคมีภณั ฑ์ ตามสัญญาวันที่ 25 มกราคม 2550 และมีกำหนดให้บริการจนถึง สิ้นเดือนธันวาคม 2550
2. รายการระหว่างกันของบริษัทฯ กับบริษัทย่อยหรือบริษัท ที่เกี่ยวข้อง
(1) รายการกับ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ลักษณะของรายการ - บริษัทฯ ได้ทำสัญญาให้บริการเดินเครื่องจักร บำรุงรักษา ซ่อมแซม และให้บริการสนับสนุนอื่น และจัดหาวัตถุดิบ และ อะไหล่รวมไปถึงน้ำมันเชื้อเพลิงสำรอง (“สัญญาบริการและ จัดหา”) กับ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ระยะเวลา 24 ปี นับจาก วันที่ 1 เมษายน 2541 หรือจนกว่าสัญญาเช่าที่ดินหรือสัญญา เช่าช่วงที่ดินระหว่างบริษัทฯ กับ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ จะ สิ้นสุดลงแล้วแต่เหตุการณ์ใดจะเกิดขึ้นก่อน โดยค่าบริการเป็น ราคาตามต้นทุนบวกกำไรส่วนเพิ่มตามปกติธุรกิจ สัญญานี้ สามารถถูกยกเลิกได้ด้วยสาเหตุต่างๆ ซึ่งรวมถึงโดยที่คู่สัญญา ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้แจ้งความประสงค์ให้คู่สัญญาอีกฝ่ายทราบ - บริษัทฯ ได้ทำสัญญาให้ใช้ประโยชน์ในระบบสาธารณูปโภค พื้นฐาน กับ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ระยะเวลา 24 ปี นับแต่ วันที่ 1 เมษายน 2541 หรือจนกว่าสัญญาเช่าที่ดินหรือสัญญา เช่าช่วงที่ดินระหว่างบริษัทฯ กับ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ จะ สิ้นสุดลงแล้วแต่เหตุการณ์ใดจะเกิดขึ้นก่อน เพื่อสิทธิที่จะใช้ และ/ หรือใช้ประโยชน์ในระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐานของบริษทั ฯ อาทิเช่น ระบบจ่ายไฟฟ้า ไอน้ำ และน้ำ ระบบควบคุม และ สาธารณูปโภคอื่นๆ ของบริษัทฯ ในบริเวณโรงงานไฟฟ้า โดย บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ จะต้องจ่ายค่าใช้ประโยชน์ในระบบ สาธารณูปโภคทุกๆ เดือนในอัตราร้อยละ 2 ของรายได้รายเดือน ของ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ทั้งนี้ สัญญานี้สามารถถูกยกเลิก
ได้ดว้ ยสาเหตุตา่ งๆ ซึง่ รวมถึงการยกเลิกโดยการทีค่ สู่ ญั ญาฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งได้แจ้งความประสงค์ให้คู่สัญญาอีกฝ่ายทราบ
- บริษทั ฯ ได้ทำสัญญาเช่าและสัญญาเช่าช่วงทีด่ นิ กับ บจ. ไทยออยล์ เพาเวอร์ ระยะเวลา 25 ปี 9 เดือน (ธันวาคม 2539 กันยายน 2565) เพื่อใช้ประโยชน์ในที่ดินบางส่วนบนที่ดิน ที่ อำเภอศรีราชาของบริษัทฯ ซึ่งเป็นที่ดินที่บริษัทฯ ครอบครอง ตามสั ญ ญาเช่ า ที่ ร าชพั ส ดุ กั บ กระทรวงการคลั ง และในที่ ดิ น บางส่วนทีอ่ ยูใ่ นกรรมสิทธิข์ องบริษทั ฯ เพือ่ ก่อสร้างและประกอบ กิจการโรงงานผลิตไฟฟ้าและกิจการอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยคิดค่าเช่า รวมต่อปี ซึ่งจะมีการปรับค่าเช่าทุกๆ 5 ปี โดยเป็นไปตามการ ปรับราคาเช่าทีร่ ะบุในสัญญาเช่าทีร่ าชพัสดุ ทัง้ นี้ เมือ่ สัญญาเช่า/ สัญญาเช่าช่วงสิ้นสุดลง กรรมสิทธิ์ในอาคารรวมทั้งส่วนควบ และเครื่องอุปกรณ์ของอาคารที่มิใช่โรงงานจะตกเป็นกรรมสิทธิ์ ของกระทรวงการคลัง และ/หรือ บริษัทฯ แล้วแต่กรณี - บริษัทฯ ได้รับเงินค่าชดเชยคืนจาก บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ สำหรับปริมาณการซื้อไฟฟ้าและพลังงานไอน้ำในปริมาณขั้นต่ำ ซึ่ง บมจ. ไทยลู้บเบส ไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาซื้อขาย ไฟฟ้าและพลังงานไอน้ำระหว่าง บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ กับ บมจ. ไทยลูบ้ เบส ได้ในช่วงที่ บมจ. ไทยลูบ้ เบส หยุดดำเนินงาน ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะได้รบั เงินชดเชยคืนเมือ่ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้รับชำระหนี้จาก บมจ. ไทยลู้บเบส สำหรับหนี้ค่าไฟฟ้าและ พลังงานไอน้ำขัน้ ต่ำตามแผนการปรับโครงสร้างหนี้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีภาระภายใต้สัญญาซื้อขายหุ้นใน บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ลง วันที่ 31 มกราคม 2543 ระหว่างบริษัทฯ กับ บจ. ปตท. สผ. อินเตอร์เนชั่นแนล ที่บริษัทฯ จะต้องใช้ความพยายามในการ รักษาสมดุลของปริมาณการซื้อไฟฟ้าและพลังงานไอน้ำของ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ - บริ ษั ท ฯ ได้ ท ำสั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า และพลั ง งานไอน้ ำ กั บ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ระยะเวลา 25 ปี (2541-2565) ตาม ปริมาณทีต่ กลงไว้ โดยราคาค่าไฟฟ้าและค่าพลังงานไอน้ำเป็นไป ตามราคาตลาด สัญญานี้สามารถถูกยกเลิกได้ด้วยสาเหตุต่างๆ ซึ่งรวมถึงการยกเลิกโดยการที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้แจ้ง ความประสงค์ให้คู่สัญญาอีกฝ่ายทราบ - บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทำสัญญาชำระคืนค่าก่อสร้างท่อ ก๊าซธรรมชาติ กับบริษัทฯ เพื่อสิทธิในการใช้ท่อก๊าซธรรมชาติ เป็นระยะเวลา 25 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2541 หรือ
รายการ ระหว่างกัน
จนกว่าสัญญาซื้อขายไฟฟ้าที่ทำกับ กฟผ. จะสิ้นสุดลงแล้วแต่ เหตุการณ์ใดจะเกิดขึ้นก่อน โดย บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ชำระคืนค่าก่อสร้างดังกล่าวครบถ้วนแล้วในปี 2541 ทั้งนี้ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทยอยตัดเป็นค่าใช้จ่ายตามอายุสัญญา
(2) รายการกับ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ลักษณะของรายการ - บริษัทฯ ได้ทำสัญญาให้บริการสนับสนุนงานด้านต่างๆ เช่น งานด้านทรัพยากรบุคคล งานฝึกอบรม การคัดสรรพนักงาน งานบริการประสานงานกับหน่วยราชการ และบริการอื่นๆ ตาม ที่ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ แจ้งความประสงค์ นับจากวันที่ 28 กรกฎาคม 2541 โดยค่าบริการเป็นราคาตามต้นทุนบวกกำไร ส่วนเพิ่มตามปกติธุรกิจ และสัญญาจะสิ้นสุดเมื่อสัญญาซื้อขาย ไฟฟ้ากับ กฟผ. สิ้นสุดลง แต่อย่างไรก็ตาม สัญญานี้สามารถ ถูกยกเลิกได้ด้วยสาเหตุต่างๆ ซึ่งรวมถึงการยกเลิกโดยการที่ คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้แจ้งความประสงค์ให้คู่สัญญาอีกฝ่าย ทราบอย่างน้อย 120 วัน - บริษัทฯ ได้ทำสัญญาชดเชยต้นทุนการก่อสร้างเพื่อสิทธิในการ ใช้ท่อส่งน้ำดิบ กับ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ระยะเวลา 25 ปี นับจากวันที่ 28 กรกฎาคม 2541 หรือจนกว่าสัญญาซื้อขาย ไฟฟ้ากับ กฟผ. จะสิน้ สุดลง แล้วแต่เหตุการณ์ใดจะเกิดขึน้ ก่อน โดยที่บริษัทฯ ได้ลงทุนสำหรับค่าก่อสร้างท่อส่งน้ำดิบเพื่อมา ใช้ในโรงกลั่นน้ำมันของบริษัทฯ ที่อำเภอศรีราชา และ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ได้ขอใช้สิทธิในการใช้ท่อส่งน้ำดิบดังกล่าว โดย บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ จะจ่ายค่าชดเชยต้นทุนการก่อสร้าง ให้แก่บริษทั ฯ เป็นรายปี ค่าชดเชยดังกล่าวเป็นราคาตามต้นทุน บวกกำไรส่วนเพิ่มตามปกติธุรกิจ - บริษัทฯ ได้ทำสัญญาเพื่อชดเชยต้นทุนการใช้ประโยชน์บนที่ดิน
- บริษัทฯ ได้ทำสัญญาเพื่อชดเชยต้นทุนการใช้ประโยชน์บนที่ดิน สำหรับการก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าเพื่อเชื่อมโยงระบบของ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ กับ กฟผ. ระยะเวลา 25 ปี นับจากวันที่ 15 สิงหาคม 2543 หรือจนกว่าสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. จะสิ้ น สุ ด ลงแล้ ว แต่ เ หตุ ก ารณ์ ใ ดจะเกิ ด ขึ้ น ก่ อ น โดย บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ได้จา่ ยค่าชดเชยต้นทุนการใช้ประโยชน์บนทีด่ นิ เป็นราคาตามต้นทุนบวกกำไรส่วนเพิ่มตามปกติธุรกิจ ซึ่งได้ ชำระครบถ้วนแล้วในปี 2541 ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ทยอยบันทึก การรับรู้รายได้เท่าอายุสัญญา - บริษัทฯ ได้ทำสัญญาเช่าช่วงที่ดินกับ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ระยะเวลา 25 ปี 9 เดือน (ธันวาคม 2539 - กันยายน 2565) เพื่ อ ก่ อ สร้ า งและประกอบกิ จ การโรงไฟฟ้ า และกิ จ การอื่ น ที่ เกี่ยวข้อง โดยคิดค่าเช่ารวมต่อปี ซึ่งจะมีการปรับค่าเช่าทุกๆ 5 ปี โดยเป็นไปตามหลักการการปรับราคาค่าเช่าทีร่ ะบุในสัญญา เช่าที่ราชพัสดุ ทั้งนี้ เมื่อสัญญาเช่าช่วงสิ้นสุดลง กรรมสิทธิ์ ในอาคารรวมทั้งส่วนควบ และเครื่องอุปกรณ์ของอาคารที่มิใช่ โรงงานจะตกเป็นกรรมสิทธิ์ของกระทรวงการคลัง - บริษัทฯ เข้าทำสัญญาซื้อขายน้ำมันเชื้อเพลิงสำรอง กับ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ระยะเวลา 25 ปี (สิงหาคม 2543 - สิงหาคม 2568) เว้นแต่จะมีการขยายระยะเวลาของสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ระหว่าง บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ กับ กฟผ. หรือมีการยกเลิกสัญญา ซื้อขายไฟฟ้าดังกล่าว โดยที่บริษัทฯ จะจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิง สำรองให้ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ตามที่ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ ได้แจ้งความประสงค์ และให้บริการคลังเก็บน้ำมันสำรองดังกล่าว ในปริมาณทีต่ กลงไว้ โดยค่าบริการเป็นราคาตามต้นทุนบวกกำไร ส่วนเพิ่มตามปกติธุรกิจ
071
072
รายการ ระหว่างกัน
(3) รายการกับ บจ. พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ - บริษทั ฯ เข้าทำสัญญาเพือ่ ใช้บริการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารกับ บจ. พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ โดยมีกำหนด อายุสัญญาในเบื้องต้น 5 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 เมือ่ ครบกำหนดอายุสญั ญา ทัง้ สองฝ่ายจะพิจารณาทำความตกลง ต่ออายุออกไปอีกเป็นคราวๆ คราวละ 5 ปี ทั้งนี้หากคู่สัญญา ฝ่ายใดประสงค์จะขอแก้ไขเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข และข้อกำหนดต่างๆ ที่มีอยู่เดิม ให้คู่สัญญาฝ่ายนั้นแจ้งความ ประสงค์เป็นลายลักษณ์อักษรไปยังคูส่ ัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเป็นการ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันครบกำหนดอายุสัญญา ในแต่ละคราว (4) รายการกับ บมจ. บางจากปิโตรเลียม - บริษทั ฯ เข้าทำสัญญาแลกเปลีย่ นลองเรสสิดวิ (Long Residue) และน้ำมันเตากับ บมจ. บางจากปิโตรเลียม เพือ่ นำลองเรสสิดวิ ของ บมจ. บางจากปิโตรเลียม เข้าหน่วยการกลั่นน้ำมันของ บริษทั ฯ โดย บมจ. บางจากปิโตรเลียม จะรับน้ำมันเตาทีไ่ ด้จาก กระบวนการกลั่นเพื่อขายในตลาด สัญญาไม่ได้ระบุวันที่สิ้นสุด ของสัญญา จนกระทัง่ ฝ่ายหนึง่ ฝ่ายใดยกเลิกสัญญาด้วยการแจ้ง เป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 90 วัน การจ่ายเงิน จะหักกลบลบหนี้ตามราคาที่ระบุในสัญญา
3. รายการระหว่างกันของบริษัทย่อยหรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง กับบริษัทย่อยหรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง
ลักษณะของรายการ - บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทำสัญญาซื้อขายไฟฟ้าสำรองกับ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ โดย บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ จะต้องสำรอง ไฟฟ้าในปริมาณตามที่ตกลง โดยค่าไฟฟ้าเป็นราคาตามต้นทุน บวกกำไรส่วนเพิ่มตามปกติธุรกิจ ระยะเวลา 25 ปีนับจากวันที่ 6 มกราคม 2543 หรือจนกว่าสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ กับ กฟผ. จะสิ้นสุดลง แล้วแต่เหตุการณ์ ใดเกิดขึ้นก่อน สัญญานี้สามารถถูกยกเลิกได้ด้วยสาเหตุต่างๆ โดยทีค่ สู่ ญั ญาทีต่ อ้ งการเลิกสัญญาแจ้งความประสงค์ให้คสู่ ญั ญา อีกฝ่ายทราบล่วงหน้า - บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทำสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าและพลังงาน ไอน้ำกับ บจ. ไทยพาราไซลีน และ บมจ. ไทยลู้บเบส ระยะ เวลา 25 ปี สิ้นสุดปี 2565 เพื่อจำหน่ายไฟฟ้าและพลังงาน ไอน้ำตามปริมาณที่ตกลงโดยราคาค่าไฟฟ้าและพลังงานไอน้ำ เป็นราคาตลาด โดยมีข้อผูกพันที่จะต้องซื้อไฟฟ้าและพลังงาน ไอน้ำตามปริมาณขั้นต่ำหรือชำระค่าไฟฟ้าและพลังงานไอน้ำ ตามปริมาณขั้นต่ำตามที่กำหนดในสัญญา สัญญานี้สามารถถูก ยกเลิกได้ด้วยสาเหตุต่างๆ โดยที่คู่สัญญาที่ต้องการเลิกสัญญา แจ้งความประสงค์ให้คู่สัญญาอีกฝ่ายทราบล่วงหน้า
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
โครงสร้าง การถือหุ้น และการจัดการ 1. หลักทรัพย์ของบริษัทฯ
ณ วันที่ปิดสมุดทะเบียนเพื่อตรวจสอบรายย่อย วันที่ 19 ตุลาคม 2550 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจำนวน 20,400,278,730 บาท และทุนชำระแล้วจำนวน 20,400,278,730 บาท เป็นหุ้นสามัญ ทั้งสิ้น 2,040,027,873 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท
นอกจากนี้ บริษัทฯ มีหุ้นกู้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ชนิดไม่มีหลัก ประกัน (USD Bond) จำนวน 350 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อายุของ หุ้นกู้ 10 ปี ประเภทชำระคืนเงินต้นครั้งเดียว และจะครบกำหนด ชำระคืนเงินต้นในวันที่ 9 มิถุนายน 2558 และมีหุ้นกู้สกุลเงินบาท ชนิดไม่มีหลักประกันและไม่ด้อยสิทธิ จำนวน 5,500 ล้านบาท แบ่งเป็น 2 ชุด ชุดละ 2,750 ล้านบาท ชุดแรกมีอายุ 3 ปี จะครบ กำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2552 ชุดที่ 2 มีอายุ 7 ปี จะครบกำหนด ไถ่ถอนปี พ.ศ. 2556
2. ผู้ถือหุ้น
รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2550 โดยนับรวมการถือหุน้ ตามมาตรา 258 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มีดังนี้
จำนวนหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 อันดับแรก(1) 1. บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)(2) 2. State Street Bank and Trust Company 3. Mellon Bank, N.A. 4. Nortrust Nominees Ltd. 5. HSBC (Singapore) Nominees PTE Ltd. 6. Nippon Oil Corporation 7. The Bank of New York (Nominees) Limited 8. Somers (U.K.) Limited 9. Gerlach & Co.-UMB Funds 10. State Street Bank and Trust Company for Australia, รวม
1,010,647,483 65,781,586 65,431,900 40,467,485 36,468,870 36,137,200 29,728,267 28,069,700 19,812,300 18,808,415 1,351,353,206
สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) 49.54 3.22 3.21 1.98 1.79 1.77 1.46 1.38 0.97 0.92 66.24
หมายเหตุ: (1) ไม่นบั รวมผูถ้ อื หุน้ บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ส่งเสริมการลงทุนของผูล้ งทุนโดยเฉพาะ ชาวต่างประเทศ ให้สามารถลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนได้โดยไม่ติดเรื่องเพดานการถือครองหลักทรัพย์ของชาวต่างชาติ (Foreign Limit) ซึ่งไม่มีสิทธิ ในการออกเสียงในที่ประชุมของบริษัทจดทะเบียน (2) บมจ. ปตท. ในฐานะทีเ่ ป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ มีสว่ นในการกำหนดนโยบายการจัดการและการดำเนินงานของบริษทั ฯ โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ บริษัทฯ ทั้งนี้ มีกรรมการที่เป็นผู้บริหารของ บมจ. ปตท. จำนวน 4 คน จากจำนวนกรรมการบริษัทฯ ทั้งหมด 13 คน ณ ปี 2550
3. นโยบายการจ่ายเงินปันผล
คณะกรรมการบริษัทฯ อาจพิจารณาจ่ายเงินปันผลประจำปีของ บริษัทฯ โดยจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นการจ่าย เงินปันผลระหว่างกาล ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ มีอำนาจอนุมัติ ให้จ่ายเงินปันผลได้เป็นครั้งคราวเมื่อเห็นว่าบริษัทฯ มีผลกำไร สมควรจะทำเช่นนั้น แล้วให้รายงานการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล
ดังกล่าวให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบในการประชุมคราวต่อไป ในปัจจุบนั คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิของงบการเงินรวมภายหลังจากการหัก ทุนสำรองต่างๆ ทุกประเภทตามทีไ่ ด้กำหนดไว้ในข้อบังคับของบริษทั ฯ และตามกฎหมาย ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับ
073
074
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
กระแสเงินสดของบริษัทฯ และแผนการลงทุนของบริษัทฯ และ บริษทั ในเครือในแต่ละปี ความจำเป็นและความเหมาะสมอืน่ ๆ ตามที่ คณะกรรมการบริษัทฯ เห็นสมควร สำหรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยของบริษัทฯ คณะ กรรมการของบริษัทย่อยจะพิจารณาและเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้น เห็นชอบเป็นปีๆ ไป โดยพิจารณาจากแผนการลงทุน ความจำเป็น และความเหมาะสมอื่นๆ
กำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และฝ่ายจัดการ
5. คณะกรรมการบริษัทฯ
คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความรับผิดชอบหลักในการกำหนดวิสยั ทัศน์ นโยบายและงบประมาณในการดำเนินธุรกิจร่วมกับฝ่ายจัดการ ในการ ตัดสินใจดำเนินงานทีจ่ ะเป็นประโยชน์กบั บริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสีย รวมทั้งพนักงานและชุมชนสังคมที่บริษัทฯ เกี่ยวข้อง ในปี 2550 คณะกรรมการบริษทั ฯ มีกรรมการจำนวน 13 คน* ประกอบด้วย • กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 12 คน โดยในจำนวนนี้มีกรรมการ 4. โครงสร้างการจัดการองค์กร อิสระจำนวน 9 คน* โครงสร้ า งองค์ ก รของบริ ษั ท ฯ ประจำปี 2550 ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 1 คน คือ กรรมการอำนวยการ รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ ประจำปี 2550 (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550) ได้แก่ ชื่อ
ตำแหน่ง
1. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ 2. นายมนู เลียวไพโรจน์ 3. นายพละ สุขเวช 4. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 5. นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช 6. พลโทประยุทธ์ จันทร์โอชา 7. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ 8. นายนิพัทธ พุกกะณะสุต 9. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ 10. นายนิตย์ จันทรมังคละศรี 11. นายพิชัย ชุณหวชิร 12. นายณอคุณ สิทธิพงศ์* 13. นายโอฬาร ไชยประวัติ* 14. นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์
กรรมการอิสระและประธานกรรมการ กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระและกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ กรรมการและกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ
* กรรมการที่ครบวาระเมื่อการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ประจำปี 2550 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2550 และไม่ได้รับการเลือกตั้งกลับมาจำนวน 1 คน คือ นายโอฬาร ไชยประวัติ และ กรรมการลาออกระหว่างปี 2550 จำนวน 1 คน คือนายณอคุณ สิทธิพงศ์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2550
กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่มีความเป็นอิสระจากผู้ถือหุ้น รายใหญ่หรือกลุ่มของผู้ถือหุ้นรายใหญ่และผู้บริหารของบริษัทฯ กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (ตลท.) และคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กำหนด ได้แก่
1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด ในบริษัทฯ บริษัทย่อย หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งกัน 2. ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน รวมทั้งไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้รบั เงินเดือนประจำ หรือเป็นผูม้ อี ำนาจควบคุมของ บริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ โดยต้องไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียใน ลักษณะดังกล่าวมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
3. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสีย ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านการเงิน และการบริหาร งานของบริษัทฯ บริษัทย่อย หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ในลักษณะที่จะทำให้ขาดความเป็นอิสระ 4. ไม่เป็นญาติสนิทกับผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ บริษัทย่อย หรือบุคคลที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และ ไม่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของ กรรมการ หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการอิสระ มีอำนาจหน้าที่แสดงความคิดเห็นอย่างเสรี ตาม ภารกิจที่ได้รับมอบหมายในการปกป้องผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น รายย่อย บริษัทฯ จึงได้กำหนดให้มีการประชุมกรรมการอิสระ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เพื่อส่งเสริมให้กรรมการอิสระได้มีโอกาส ประชุมระหว่างกันเอง เพือ่ เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ การกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียนของ ตลท. กรรมการผู้มีอำนาจลงนามแทนบริษัทฯ กรรมการผูม้ อี ำนาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ ได้ คือ กรรมการสองคน ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสำคัญของบริษัทฯ ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตามข้อบังคับของบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีอำนาจและหน้าที่ ในการดำเนินกิจการของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ และเพื่อผลประโยชน์ สูงสุดของผู้ถือหุ้น ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ เลือกกรรมการคนหนึง่ เป็นประธานกรรมการ ในกรณีทคี่ ณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาเห็นสมควรจะเลือกกรรมการ คนหนึง่ หรือหลายคนเป็นรองประธานกรรมการก็ได้ โดยรองประธาน กรรมการมี ห น้ า ที่ ต ามข้ อ บั ง คั บ ในกิ จ การซึ่ ง ประธานกรรมการ มอบหมาย ทั้งนี้ ตามข้อบังคับของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ มีกำหนดประชุมอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง และอาจมีการประชุม พิเศษเพิ่มเติมตามความจำเป็น ในปี 2550 คณะกรรมการบริษัทฯ มีการประชุม 7 ครั้ง คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำคัญ ดังนี้ - ทบทวนและให้ความเห็นชอบในการดำเนินงานใดๆ ที่เสนอโดย ฝ่ายจัดการหรือฝ่ายบริหาร
- ประเมินผลงานของกรรมการอำนวยการและกำหนดค่าตอบแทน กรรมการอำนวยการ - กำหนดวิสัยทัศน์ของกิจการและรับผิดชอบต่อผลประกอบการ และการปฏิ บั ติ ง านของผู้ บ ริ ห ารด้ ว ยความตั้ ง ใจและความ ระมัดระวังในการปฏิบัติงาน - ทบทวนและให้ความเห็นชอบแผนกลยุทธ์และนโยบายที่สำคัญ รวมถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายทางการเงิน ความเสีย่ ง แผนงาน และงบประมาณ รวมทั้งกำกับควบคุม ดูแลให้ฝ่ายจัดการ ดำเนินงานตามนโยบาย และแผนทีก่ ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล - มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบดำเนินการสอบทานระบบ บัญชีและการรายงานทางการเงิน รวมทั้งดูแลให้มีกระบวนการ ในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการ ตรวจสอบภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล มีรายงานทาง การเงินที่น่าเชื่อถือ - มอบหมายให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบดำเนิ น การสอบทาน นโยบายด้านการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Policy) ให้ครอบคลุมทั้งองค์กร โดยให้ฝ่ายจัดการเป็นผู้ปฏิบัติตาม นโยบายและรายงานให้ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ ทราบทุกครั้ง - สอดส่ อ งดู แ ลและจั ด การแก้ ไ ขปั ญ หาความขั ด แย้ ง ทางผล ประโยชน์ที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ กำหนดแนวทางในการทำรายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ เพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยรวม เป็นสำคัญ กำหนดขัน้ ตอนการดำเนินการและการเปิดเผยข้อมูล ของรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้ถูกต้อง ครบถ้วน - กำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ และจรรยาบรรณ ทางธุรกิจ เป็นลายลักษณ์อักษร และให้ความเห็นชอบนโยบาย ดังกล่าว โดยบริษัทฯ จะนำเสนอให้มีการทบทวนนโยบายการ กำกับดูแลกิจการและประเมินผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายดังกล่าว ปีละ 1 ครั้ง
6. คณะกรรมการชุดต่างๆ
เพื่อให้บริษัทฯ มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี ตามหลักการกำกับดูแล กิจการที่ดีของ ตลท. คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้แต่งตั้งคณะ กรรมการชุดต่างๆ เพื่อกำกับดูแลงานเฉพาะเรื่องและเพื่อให้มั่นใจ ว่าการดำเนินงานในด้านต่างๆ ของบริษทั ฯ เป็นไปตามกฎ ระเบียบ และ ข้อบังคับของ ก.ล.ต. และ ตลท. บริษัทฯ มีคณะกรรมการชุดต่างๆ ดังนี้
075
076
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
6.1 คณะกรรมการตรวจสอบ ตลท. กำหนดให้บริษัทฯ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ จัดให้ มีคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทำหน้าที่สอบทานการดำเนินงาน ของบริษัทฯ รายการทางการเงิน ระบบการควบคุมภายใน การ คัดเลือกผู้ตรวจสอบบัญชี การพิจารณาข้อขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทั้งการจัดทำรายการกิจกรรมโดยคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบ ด้วยกรรมการอิสระทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ จำนวน 3 คน ดังนี ้ 1. นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (อิสระ) 2. นายนิตย์ จันทรมังคละศรี กรรมการตรวจสอบ (อิสระ) 3. นายณอคุณ สิทธิพงศ์* กรรมการตรวจสอบ (อิสระ) * นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทฯ และกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2550
โดยมี นางสาวหัสยา นิพทั ธ์วรนันท์ ผูจ้ ดั การแผนกตรวจสอบระบบ งานภายใน ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานรายงานทางการเงินรายไตรมาสและประจำปีเพื่อให้ มัน่ ใจว่า มีความถูกต้องและเชือ่ ถือได้ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูล อย่างเพียงพอ โดยการประสานงานกับผู้สอบบัญชีภายนอก และผู้บริหารที่รับผิดชอบในการจัดทำรายงานทางการเงิน 2. สอบทานระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ให้มีความ เหมาะสมและมีประสิทธิผล เสนอแนะให้แผนกตรวจสอบฯ ดำเนินการสอบทานหรือตรวจสอบรายการใดที่เห็นว่าจำเป็น และเป็นสิง่ สำคัญ พร้อมทัง้ นำข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการปรับปรุง แก้ ไ ขระบบการควบคุ ม ภายในที่ ส ำคั ญ และจำเป็ น เสนอ คณะกรรมการบริษทั ฯ โดยสอบทานร่วมกับผูส้ อบบัญชีภายนอก และผู้จัดการแผนกตรวจสอบระบบงานภายใน 3. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ หรือข้อกำหนดของตลท. นโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ 4. สอบทานหลักฐานที่เกี่ยวกับการดำเนินการซึ่งมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์หรืออาจมีผลกระทบต่อผลการดำเนินงาน ของบริษัทฯ 5. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ในกรณีที่เกิดรายการ ที่เกี่ยวโยงหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน
6. สอบทานระบบบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ และเสนอแนะ การปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 7. รายงานผลการสอบทานการบริหารความเสีย่ งต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ 8. สอบทานความถูกต้องและประสิทธิผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับรายงานการเงิน และการควบคุมภายใน 9. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบรายงานทางการเงินให้ทัดเทียม กับมาตรฐานบัญชีสากล 10. พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี โดยคำนึง ถึงความน่าเชือ่ ถือ ความเพียงพอของทรัพยากร และปริมาณ งานตรวจสอบของสำนั ก งานตรวจสอบบั ญ ชี นั้ น รวมถึ ง ประสบการณ์ ข องบุ ค ลากรที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ ท ำการ ตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ 11. ให้ ค ำแนะนำในเรื่ อ งงบประมาณและกำลั ง พลของแผนก ตรวจสอบระบบงานภายใน 12. สอบทานแผนงานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตามวิธีการ และมาตรฐานที่ยอมรับโดยทั่วไป 13. ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านประจำปี ข องผู้ จั ด การแผนก ตรวจสอบระบบงานภายใน 14. จัดทำรายงานผลการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษทั ฯ ตามหลักเกณฑ์ ที่ ตลท. กำหนดไว้ 15. ประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการตรวจสอบ เข้า ร่วมประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เพื่อชี้แจงในเรื่องเกี่ยวกับ คณะกรรมการตรวจสอบ หรือ การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 16. พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ 17. ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายภายใน ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ ในรอบปีทผี่ า่ นมา คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีด่ งั ต่อไปนี ้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำปี 2550 ร่วมกับฝ่ายบริหาร ผู้จัดการแผนกตรวจสอบระบบงานภายใน และผู้สอบบัญชี เพื่อให้แน่ใจว่าระบบบัญชีและรายงานทาง การเงินของบริษัทฯ ถูกต้อง เชื่อถือได้ และเปิดเผยข้อมูล สำคัญครบถ้วน เพียงพอ และทันเวลา เป็นไปตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองทั่วไปและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2. สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในและระบบการ ตรวจสอบภายในที่ดีเพียงพอ และมีประสิทธิภาพเหมาะสม กับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
3. สอบทานการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของ ตลท. หรือกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษทั ฯ โดยเฉพาะในกรณีทมี่ ี รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ เพื่อให้มีความถูกต้องครบถ้วน 5. พิจารณาแผนงานการตรวจสอบประจำปี และสอบทานรายงาน ผลการตรวจสอบพร้อมทั้งให้คำแนะนำเพื่อการปรับปรุงงาน ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
6. พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 7. ทบทวนรายงานการบริหารความเสี่ยงทุกไตรมาส 8. ทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ 9. พิจารณาและให้ความเห็นชอบในเรื่องที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นกรณีพิเศษ
ในปี 2550 คณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมทัง้ สิน้ 7 ครัง้ และมีอัตราการเข้าร่วมประชุมร้อยละ 95 ตามรายละเอียดดังต่อไปนี ้ การประชุมคณะกรรมการการตรวจสอบ ปี 2550 รายชื่อคณะกรรมการ นายนิตย์ นายมนู เลียวไพโรจน์ จันทรมังคละศรี ครั้งที่ ประธาน กรรมการ วันที่ประชุม 1/2550 2/2550 3/2550 4/2550 5/2550 6/2550 7/2550
วันศุกร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ 2550 วันอังคารที่ 24 เมษายน 2550 วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2550 วันพฤหัสที่ 17 พฤษภาคม 2550 วันศุกร์ที่ 10 สิงหาคม 2550 วันพฤหัสที่ 8 พฤศจิกายน 2550 วันพฤหัสที่ 20 ธันวาคม 2550
6.2 คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุม ครั้งที่ 5/2550 เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2550 ได้มีมติแต่งตั้ง พลโทประยุทธ์ จันทร์โอชา (กรรมการอิสระ) และ นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ (กรรมการอิสระ) เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการกำกับดูแลกิจการ แทนตำแหน่งทีว่ า่ งลง 2 ตำแหน่ง จึงทำให้คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการประกอบด้วย กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ จำนวน 3 คน ดังนี้ 1. พลโทประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานคณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการ (อิสระ) 2. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ กรรมการกำกับดูแลกิจการ (อิสระ) 3. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการกำกับดูแลกิจการ หมายเหตุ: นายโอฬาร ไชยประวัติ ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ครบวาระการ เป็นกรรมการบริษัท ฯ ในการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น สามั ญ ประจำปี 2550 วั น ที่ 10 เมษายน 2550
P P P P P P P
P P P P P P P
นายณอคุณ สิทธิพงศ์ กรรมการ P P P P Œ P
ลาออกจาก คณะกรรมการบริษัทฯ วันที่ 20/12/2550
โดยมี นายณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการ ด้านบริหารองค์กร ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการกำกับดูแล กิจการ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ 1. กำหนดนโยบายการพัฒนาแนวทางปฏิบัติด้านการกำกับดูแล กิจการที่ดีตามมาตรฐานสากลอย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้เป็นหลัก ปฏิบัติของบริษัทฯ สืบต่อไป 2. กำหนดนโยบายพร้ อ มทั้ ง สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารประเมิ น ระดั บ มาตรฐานการกำกับดูแลกิจการภายในองค์กรด้วยตนเองทุกปี 3. กำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดี ของสถาบันกำกับฯ ได้แก่ ตลท. และ ก.ล.ต.
077
078
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2550 ได้มีมติแต่งตั้งพลโทประยุทธ์ จันทร์โอชา และ นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ เข้าดำรงตำแหน่ง กรรมการกำกับดูแลกิจการแทนตำแหน่งที่ว่างลงสองตำแหน่ง 2. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติที่บริษัทฯ ควรปรับปรุง จากผลการประเมินตนเองเรื่องการปฏิบัติตามหลักการกำกับ ดูแลกิจการที่ดีโดยใช้แนวทางตามแบบประเมินของ ตลท. เช่น การจัดทำกฎบัตรของคณะกรรมการชุดต่างๆ แผนการสืบทอด ตำแหน่งผู้บริหารระดับสูง (CEO) เป็นต้น 3. ให้คำแนะนำในการปรับปรุงแก้ไขแบบประเมินผลการปฏิบัติ งานของคณะกรรมการบริษัทฯ ประจำปี 2550 โดยจัดให้มี การประเมิน 3 แบบ ได้แก่ การประเมินตนเอง การประเมิน กรรมการทั้งคณะและการประเมินกรรมการท่านอื่น 4. ให้ ค ำแนะนำเกี่ ย วกั บ แนวทางสนั บ สนุ น ให้ พ นั ก งานทุ ก คน เข้าเรียนหลักสูตร CG E-Learning ที่บริษัทฯ จัดทำขึ้นเพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาความรู้ความเข้าใจของพนักงาน เกีย่ วกับหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละจริยธรรมในการทำงาน ในปี 2550 คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ มีการประชุมทั้งสิ้น 2 ครั้ง และมีคณะกรรมการเข้าร่วมประชุมครบถ้วนทุกครั้ง ตาม รายละเอียดดังต่อไปนี้
4. พิจารณาทบทวนนโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติของสากล และข้อเสนอแนะของสถาบันกำกับฯ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. สนับสนุนให้มีการเผยแพร่วัฒนธรรมในการกำกับดูแลกิจการ ที่ดีให้เป็นที่เข้าใจของผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ และให้มี ผลในทางปฏิบัติ 6. ให้คำปรึกษาแก่คณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้า รับการจัดอันดับการกำกับดูแลกิจการที่ดีโดยหน่วยงานกลาง ภายนอกองค์กรไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง ทุกๆ 3 ปี 7. พิจารณาและให้ความเห็นชอบแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการบริษัทฯ ในรอบปีที่ผ่านมา คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ได้ปฏิบัติหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1. จัดให้มีการเลือกตั้งประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ หลังจากคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 5/2550
การประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ปี 2550 รายชื่อคณะกรรมการ พลโทประยุทธ์ นายปรัชญา จันทร์โอชา ภิญญาวัธน์ ครั้งที่ วันที่ประชุม ประธาน กรรมการ 1/2550 2/2550
วันศุกร์ที่ 14 กันยายน 2550 วันพุธที่ 19 ธันวาคม 2550
6.3 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ จำนวน 3 คน โดยกรรมการส่วนใหญ่ต้องเป็นกรรมการอิสระ ดังนี้ ประธานคณะกรรมการสรรหา 1. นายพละ สุขเวช และพิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ) 2. นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ) 3. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
P P
P P
นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ กรรมการ P P
โดยมีนายณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการ ด้านบริหารองค์กร ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 1. กำหนดวิธีการและหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการ 2. กำหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะดำรงตำแหน่งกรรมการ โดยคำนึง ถึงทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้านทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อบริษทั ฯ การอุทศิ เวลา และความพยายามในการปฏิบตั หิ น้าที่ ของกรรมการ
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
ค่ า ตอบแทน ซึ่ ง จะเสนอชื่ อ บุ ค คลผู้ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมตาม คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ที่กำหนด รวมทั้งมีประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถที่จะเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ เพื่อให้คณะกรรมการ บริษัทฯ ได้พิจารณา เมื่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติ อนุมัติแล้ว บริษัทฯ จะเสนอรายชื่อบุคคลดังกล่าวเพื่อขออนุมัติ แต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้น มติที่ประชุม ผู้ถือหุ้นให้ถือคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและ มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ในรอบปีที่ผ่านมา คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้ปฏิบัติหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. สรรหาคัดเลือกบุคคลผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อเสนอชื่อเป็น กรรมการบริษทั ฯ โดยนำเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น 2. ให้คำแนะนำแก่คณะกรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับโครงสร้างและ องค์ประกอบค่าตอบแทนสำหรับกรรมการ 3. กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนอย่างเหมาะสมกับ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ โดยเชือ่ มโยงค่าตอบแทน กับผลการดำเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ 4. สรรหาคัดเลือกกรรมการบริษัทที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็น กรรมการกำกับดูแลกิจการ และนำเสนอรายชื่อต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาแต่งตัง้ แทนตำแหน่งทีว่ า่ งลง 5. รายงานผลการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ 6. สนับสนุนให้บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอรายชื่อ บุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการบริษัทฯ ในปี 2550 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีการประชุมทั้งสิ้น 4 ครั้ง และมีอัตราการเข้าร่วมประชุมร้อยละ 92 ตาม รายละเอียดดังต่อไปนี้
3. สรรหาคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็น กรรมการเพื่อเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และ ขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี 4. สนับสนุนให้บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอรายชื่อ บุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการบริษัทฯ 5. ทบทวนแผนการสืบทอดตำแหน่งกรรมการอำนวยการ พร้อมทัง้ รายชื่อผู้ที่อยู่ในเกณฑ์เหมาะสมที่จะได้รับการพิจารณาสืบทอด ตำแหน่งเป็นประจำทุกปี 6. คัดเลือกกรรมการบริษทั ฯ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเป็นกรรมการ ในคณะกรรมการชุดย่อยเพือ่ นำเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาแต่งตั้งเมื่อมีตำแหน่งว่างลง 7. เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เกีย่ วกับโครงสร้างและ องค์ประกอบค่าตอบแทนสำหรับกรรมการเป็นประจำทุกปี 8. เสนอหลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนอย่างเหมาะสมกับ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ โดยเชือ่ มโยงค่าตอบแทน กับผลการดำเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ เพื่อให้สามารถจูงใจ และรักษากรรมการที่มีความสามารถ มีคุณภาพ และศักยภาพ ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้พิจารณาเพื่อให้ความเห็น ชอบก่อนนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปีเพื่อขอ อนุมัติ 9. ประเมินผลการปฏิบัติงานและพิจารณาค่าตอบแทนที่เหมาะสม ให้แก่กรรมการอำนวยการ วิธีสรรหากรรมการ การคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมเพื่อจะได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ของบริษัทฯ นั้น กระทำโดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา
การประชุมคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ปี 2550 รายชื่อคณะกรรมการ นายพละ นายประเสริฐ สุขเวช บุญสัมพันธ์ ครั้งที่ วันที่ประชุม ประธาน กรรมการ 1/2550 2/2550 3/2550 4/2550
วันอังคารที่ 13 กุมภาพันธ์ 2550 วันพฤหัสที่ 15 มีนาคม 2550 วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม 2550 วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม 2550
P P P P
P P P Œ
นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช กรรมการ P P P P
079
080
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
6.4 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริ ษั ท ฯ ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งขึ้ น โดยมี นายสมเกียรติ หัตถโกศล รองกรรมการอำนวยการเป็นประธาน คณะกรรมการ ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการ และฝ่ายจัดการบริษัทฯ เป็นกรรมการ โดยมีนางสาวเพิล ชินวัตร นักบริหารความเสี่ยง ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. กำกับดูแลให้กระบวนการบริหารความเสีย่ งโดยรวมของบริษทั ฯ และบริษัทในเครือดำเนินไปอย่างมีประสิทธิผล สอดคล้องกับ นโยบายบริหารความเสี่ยง 2. สนับสนุนให้การตรวจ ติดตามผลการบริหารความเสี่ยงและ การควบคุมความเสี่ยงทางธุรกิจดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3. สนั บ สนุ น ฝ่ า ยจั ด การอย่ า งเพี ย งพอเหมาะสมกั บ สภาพการ ดำเนิ น ธุ ร กิ จ ให้ ส ามารถจั ด การความเสี่ ย งให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ ยอมรับได้ 4. สนับสนุนให้พนักงานทุกคนนำกระบวนการบริหารจัดการความ เสี่ยงไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ 5. นำเสนอผลการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งต่ อ คณะกรรมการ ตรวจสอบ และกรรมการอำนวยการเพื่อยืนยันประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ในรอบปีที่ผ่านมา คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ปฏิบัติหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาการบริหารความเสีย่ งระดับองค์กร เดือนมกราคม 2550 2. อนุมัติการจัดจ้างบริษัทที่ปรึกษาอิสระภายนอก ประเมินระดับ คุณภาพการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ 3. ทบทวนและเร่งรัดให้ทุกหน่วยงานบริหารความเสี่ยงตรงตาม แนวทางมาตรฐานสากล 4. อนุมัติแผนบริหารความเสี่ยงและมาตรการควบคุมที่หน่วยงาน นำเสนอ 5. พิจารณาผลการบริหารความเสีย่ งของโครงการสำคัญ คือ โครงการ ขยายกำลังการผลิตหน่วยกลัน่ น้ำมันดิบหน่วยที่ 3 โครงการทุน่ รับ น้ำมันดิบหน่วยที่ 2 และ โครงการขยาย บจ.ไทยพาราไซลีน 6. จัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยง ของเครือ ไทยออยล์ (Risk Management Steering Committee “RMSC”) เพื่อส่งเสริมให้การขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ และบริษัทในเครือดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
7. มอบหมายตัวแทนบริษทั เข้าประชุมร่วมกับคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงกลุ่มธุรกิจน้ำมัน บริษัทในเครือ ปตท.ในเรื่องราคา ผลิตภัณฑ์และการแลกเปลี่ยนเงินสกุลต่างประเทศ 8. อนุมตั แิ ผนการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ
7. องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการ
บริษัทฯ ได้กำหนดองค์ประกอบ และการสรรหา แต่งตั้ง ถอดถอน หรือพ้นจากตำแหน่งกรรมการบริษัทฯ ไว้ในข้อบังคับบริษัทฯ สรุป สาระสำคัญได้ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการจำนวนไม่นอ้ ยกว่า 5 คน โดยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการ ทั้งหมด ต้องมีถิ่นฐานอยู่ในประเทศไทยและกรรมการทั้งหมด ต้องมาจากการเลือกตั้งโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยมีกรรมการที่ เป็นกรรมการตรวจสอบไม่น้อยกว่า 3 คน และในจำนวนนี้ อย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นผูม้ คี วามรูด้ า้ นบัญชีและการเงิน ทัง้ นี้ กรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจำนวนกรรมการทัง้ หมดต้องมี ถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร 2. ให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เลือกตัง้ กรรมการ ตามหลักเกณฑ์และวิธกี าร ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับ 1 หุ้นต่อ 1 เสียง (2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมาเป็นผู้ได้ รับเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำนวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการ เลือกตั้งในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำนวน กรรมการทีจ่ ะพึงมี ให้ประธานทีป่ ระชุมเป็นผูอ้ อกเสียงชีข้ าด 3. ในการประชุมสามัญประจำปีทกุ ครัง้ ให้กรรมการออกจากตำแหน่ง จำนวนหนึ่งในสาม (1/3) ของจำนวนกรรมการในขณะนั้น ถ้า จำนวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออก โดยจำนวนใกล้ที่สุดกับจำนวนหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการ ที่จะต้องออกจากตำแหน่งในปีแรกและปีที่สองภายหลังจาก จดทะเบียนแปรสภาพบริษัทฯ นั้น ให้ใช้วิธีจับสลากกันว่าผู้ใด จะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในตำแหน่งนาน ที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตำแหน่ง กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่ง ตามวิธีการนี้อาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามารับตำแหน่งอีกได้ 4. กรรมการคนใดจะลาออกจากตำแหน่ง ให้ยนื่ ใบลาออกต่อบริษทั ฯ โดยการลาออกนั้นจะมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึงบริษัทฯ
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
5. ในการลงมติให้กรรมการคนใดออกจากตำแหน่งก่อนถึงคราวออก ตามวาระให้ถอื คะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจำนวน ผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกัน ได้ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจำนวนหุน้ ทีถ่ อื โดยผูถ้ อื หุน้ ทีม่ าประชุม และมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
8. ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ อำนวยการ
กรรมการอำนวยการของบริษทั ฯ ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ให้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจตามปกติของบริษัทฯ โดยบริ ห ารงานตามแผนและงบประมาณที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์ สุจริต และรักษา ผลประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ และผู้ถือหุ้น ไม่ทำการใดที่มีส่วนได้ เสียหรือมีผลประโยชน์ในลักษณะขัดแย้งกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย ของบริษัทฯ โดยหน้าที่และความรับผิดชอบประกอบด้วย (1) จัดทำและเสนอแผนธุรกิจ 5 ปี/10 ปี ตลอดจนกลยุทธ์ในการ ดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ แก่คณะกรรมการบริษัทฯ (2) จัดหาข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจกรรมของบริษทั ฯ ให้แก่คณะกรรมการ บริษัทฯ รวมถึงข้อมูลอื่นที่คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องการ (3) บริหารงานของบริษทั ฯ ตามแผนธุรกิจของบริษทั ฯ และกลยุทธ์ การดำเนินธุรกิจตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ (4) จัดโครงสร้างและบริหารจัดการองค์กรตามแนวทางทีค่ ณะกรรมการ บริษัทฯ ให้คำแนะนำ (5) ปรับวัฒนธรรมองค์กรของบริษัทฯ (POSITIVE) เพื่อสนับสนุน วิสัยทัศน์ พันธกิจและกลยุทธ์ของบริษัทฯ (6) ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ นื่ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ (7) มอบอำนาจช่วง และ/หรือ มอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิบัติงาน เฉพาะอย่างแทนได้ โดยอยู่ในขอบเขตที่เป็นไปตามระเบียบ ข้อกำหนด หรือคำสัง่ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือบริษทั ฯ ได้กำหนดไว้ (8) จัดทำและเสนอรายงานการดำเนินงานของบริษัทฯ ต่อคณะ กรรมการบริษัทฯ เป็นประจำทุกสองเดือนรวมถึงการจัดทำ รายงานเรื่องอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องการ
9. การเข้ า ทำรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ การได้ ม าหรื อ จำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินของบริษัทฯ
ในกรณีทบี่ ริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ (บริษทั ซึง่ บริษทั ฯ ถือหุน้ ไม่วา่ โดยทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 50 ของทุนชำระแล้ว
ของบริษัทนั้น) มีรายการที่เป็นรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือการได้มา หรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่สำคัญของบริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ ของตลท. บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามที่ตลท. กำหนดไว้ในเรื่องดังกล่าว โดยขอความเห็นชอบของผู้ถือหุ้นในการตกลงเข้าทำรายการที่ เกี่ ย วโยงกั น หรื อ การได้ ม าหรื อ จำหน่ า ยไปซึ่ ง สิ น ทรั พย์ที่สำคัญ ของบริษทั ฯ โดยมีคะแนนเสียงไม่ตำ่ กว่าสามในสี่ (3/4) ของจำนวน เสี ย งทั้ ง หมดของผู้ ถื อ หุ้ น หรื อ ผู้ รั บ มอบฉั น ทะของผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ม า ประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน โดยไม่นับส่วนของผู้ถือหุ้นที่ มีส่วนได้เสีย
10. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร
10.1 ค่าตอบแทนกรรมการ ในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ปี 2550 ได้กำหนดค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการชุดย่อยเป็นรายเดือน รวมทั้งการให้เงินรางวัลพิเศษ ซึ่งสะท้อนจากผลการดำเนินงานของบริษัท ดังนี้ 1. กำหนดค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ เป็นค่าตอบแทนรายเดือน เดือนละ 60,000 บาท ค่าตอบแทนคณะกรรมการชุดย่อยประกอบด้วย 3 คณะ คือ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน และคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ เป็นค่า ตอบแทนรายเดือน เดือนละ 25,000 บาท โดยประธานกรรมการบริษทั ฯ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และ ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ จะได้รับค่าตอบแทน สูงกว่ากรรมการในอัตราร้อยละ 25 สรุปค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ รวม 14 ราย ซึ่งรวม กรรมการที่ปฏิบัติหน้าที่ระหว่างปี 2550 ระยะเวลา 12 เดือน สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และกรรมการที่ครบวาระ และลาออกระหว่างปี 2550 เท่ากับ 12.02 ล้านบาท ซึ่ง ประกอบด้วย ค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับกรรมการบริษัทฯ จำนวน 9.42 ล้านบาท และค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับ กรรมการชุดย่อย จำนวน 2.60 ล้านบาท 2. ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ในรูปเงินรางวัลพิเศษสำหรับ ผลการดำเนินงานปี 2549 จำนวน 50 ล้านบาท ซึ่งเป็นไป ตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ประจำปี 2550 วันที่ 10 เมษายน 2550 โดยพิ จ ารณาจากความสำเร็ จ ของผลการ ดำเนินงานบริษัทฯ และจากการที่กรรมการบริษัทฯ ได้เสียสละ และทุ่มเทในการปฏิบัติงานให้กับบริษัทฯ ตลอดปี 2549
081
082
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
ทั้งนี้ สรุปรายละเอียดค่าตอบแทนที่กรรมการบริษัทฯ ได้รับเป็นรายบุคคล ดังนี้
ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ประจำปี 2550 (บาท)
ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง
ค่าตอบแทนทั้งปี กรรมการ กรรมการ บริษัทฯ ชุดย่อย(1)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
900,000 - 4,961,126.52 5,861,126.52 720,000 375,000 3,968,901.21 5,063,901.21 720,000 375,000 3,968,901.21 5,063,901.21
นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ นายมนู เลียวไพโรจน์ นายพละ สุขเวช นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์(3) พลโทประยุทธ์ จันทร์โอชา(4) นายนิพัทธ พุกกะณะสุต นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายนิตย์ จันทรมังคละศรี นายพิชัย ชุณหวชิร นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์
กรรมการอิสระและประธานกรรมการ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระและกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ กรรมการและกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ
กรรมการที่ครบวาระและลาออกระหว่างปี 2550 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการ 1 นายโอฬาร ไชยประวัติ(5) กำกับดูแลกิจการ (6) กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 2 นายณอคุณ สิทธิพงศ์ รวมทั้งสิ้น
เงินรางวัล พิเศษ(2)
ค่าตอบแทนรวม
720,000 300,000 3,968,901.21 4,988,901.21 720,000 300,000 3,968,901.21 4,988,901.21 540,000 100,000 540,000 125,000
- -
640,000.00 665,000.00
720,000 - 3,968,901.21 4,688,901.21 720,000 300,000 3,968,901.21 4,988,901.21 720,000 300,000 3,968,901.21 4,988,901.21 720,000 - 2,783,667.70 3,503,667.70 720,000 - 3,968,901.21 4,688,901.21 240,000 125,000 3,968,901.21 4,333,901.21 720,000 300,000 108,737.05 1,128,737.05 9,420,000 2,600,000 43,573,642.16 55,593,642.16
หมายเหตุ: (1) กรรมการชุดย่อยประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ (2) เงินรางวัลพิเศษ สำหรับผลการดำเนินงานปี 2549 ตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ประจำปี 2550 วันที่ 10 เมษายน 2550 นำมาจ่ายในเดือนเมษายน 2550 ทั้งนี้ ยอดรวมเงินรางวัลพิเศษ ไม่ได้คิดรวมเงินรางวัลพิเศษที่จ่ายให้กรรมการที่ลาออกไปก่อนปี 2550 จำนวน 2 ท่านคือ นายประพันธ์ นัยโกวิท และ นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ จำนวน 6,426,357.84 ล้านบาท (3) ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ ในที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ประจำปี 2550 วันที่ 10 เมษายน 2550 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการกำกับดูแลกิจการ ในการ ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2550 วันที่ 14 กันยายน 2550 (4) ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ ในที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ประจำปี 2550 วันที่ 10 เมษายน 2550 และได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2550 วันที่ 14 กันยายน 2550 (5) ครบวาระการดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ประจำปี 2550 วันที่ 10 เมษายน 2550 (6) เข้าดำรงตำแหน่งในวันที่ 22 ธันวาคม 2549 แทน นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ลาออกจากการดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทฯ และกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2550
10.2 ค่าตอบแทนรวมของผูบ้ ริหารบริษทั ฯ รอบปีบัญชี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 รวม 17* ราย เท่ากับ 152.4 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นค่าตอบแทนในรูปเงินเดือน และเบี้ยเลี้ยงจำนวน 100.9 ล้านบาท เงินรางวัลพิเศษจำนวน 29.7 ล้านบาท เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพจำนวน 9.5 ล้านบาท และเงินบำเหน็จเมือ่ ออกจากงาน จำนวน 12.3 ล้านบาท
10.3 ค่าตอบแทนอืน่ ๆ ผู้บริหารบริษัทฯ ที่เป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพจะได้รับอัตรา สมทบร้อยละ 15 ของอัตราเงินเดือน ตามระเบียบข้อบังคับกองทุน สำรองเลี้ยงชีพซึ่งถือปฏิบัติโดยทั่วไปของบริษัทฯ
หมายเหตุ : * ค่าตอบแทนของผู้บริหารบริษัทฯ 17 ราย ณ 31 ธันวาคม 2550 ไม่รวมผู้บริหารที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทอื่นๆ ดังนี้ นายประมินทร์ พันทวีศักดิ์ นายชัยวัฒน์ ดำรงค์มงคลกุล นายบวร วงศ์สินอุดม นายกล้าหาญ โตชำนาญวิทย์ นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ และ นางสาวดวงพร ธีรภาพไพสิฐ รวม นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ ตั้งแต่เดือนมกราคม - มิถุนายน 2550
การบริหาร ความเสี่ยง
การบริหาร ความเสี่ยง บริษท ั ฯ ได้ดำเนินการพัฒนาระบบงานบริหารความเสีย ่ ง อย่างต่อเนื่องตลอดมา โดยมุ่งหวังให้บริษัทฯ และ บริษัทในเครื อ ไทยออยล์ ย กระดั บ คุ ณ ภาพของการ บริหารความเสี่ยงเป็นวัฒนธรรมองค์กร
ในการดำเนินการพัฒนาระบบการบริหารความเสีย่ งให้ครอบคลุมทัว่ ทัง้ เครือไทยออยล์นั้น บริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนงาน บริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ (Risk Management Steering Committee “RMSC”) ขึน้ เพือ่ สนับสนุนให้ผจู้ ดั การฝ่าย ทุกฝ่ายจัดการบริหารความเสี่ยงในกระบวนการและหน่วยงานที่ รับผิดชอบตามแนวทางบริหารความเสี่ยงและประเมินการควบคุม ด้วยตนเอง (Control Self Assessment) มีการบ่งชี้และจัดการ ความเสี่ ย งภายในหน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบให้ ส อดคล้ อ งกั บ ระดั บ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) และระดับค่าความเบี่ยง เบนที่กำหนด (Risk Tolerance) ทั้งนี้ ผู้จัดการฝ่ายจะนำเสนอ แผนงานจัดการบริหารความเสีย่ ง (Risk Mitigation) ต่อคณะกรรมการ ขับเคลื่อนฯ เพื่อพิจารณา ให้คำแนะนำและ/หรืออนุมัติให้ดำเนิน ตามแผนงานที่ผู้จัดการฝ่ายเสนอ บริษัทฯ ได้ปรับปรุงมาตรการในการบริหารความเสี่ยงให้สอดคล้อง กับกรอบบริหารความเสีย่ งตามมาตรฐานสากล AS/NZS 4360 และ ได้ปรับปรุงวิธีการประเมินความเสี่ยงและการควบคุมตามคำแนะนำ ของบริษทั ทีป่ รึกษาซึง่ บริษทั ฯ ได้วา่ จ้างมาดำเนินการประเมินคุณภาพ การบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ และของหน่วยงานบริหารความเสีย่ ง ที่ดำเนินการมาตลอดปีที่ผ่านมาโดยสรุป ดังนี้ 1. ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้งานระบบฐานข้อมูลความเสี่ยง (Risk Management Information Systems) (RMIS) เพือ่ ให้ผบู้ ริหาร และผูจ้ ดั การทุกหน่วยงานสามารถใช้เป็นช่องทางสือ่ สารในหน่วยงาน กับหน่วยงานบริหารความเสีย่ ง ควบคุมให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมาตรการ ควบคุมความเสี่ยงตามแผน อีกทั้งใช้ข้อมูลที่บันทึกไว้ในระบบฐาน ข้อมูลเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลสำเร็จและรายงานผลการ บริหารความเสี่ยงได้ครบถ้วนถูกต้อง
2. ปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งการบริ ห ารความเสี่ ย งให้ ค รอบคลุ ม ทุ ก หน่ ว ยงานในบริ ษั ท ฯ และปรั บ บทบาทของผู้ ป ระสานงาน ความเสี่ยงที่กำหนดในคู่มือบริหารความเสี่ยง ส่งเสริมให้ผู้จัดการ ฝ่ายวางแผนควบคุมปัจจัยเสี่ยงในฝ่ายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และสนับสนุนการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ให้สำเร็จตามเป้าหมาย และวิ สั ย ทั ศ น์ ข องบริ ษั ท ฯ ที่ จ ะเป็ น ผู้ น ำทางด้ า นปิ โ ตรเคมีและ การกลั่ น ในภู มิ ภาค 3. พัฒนาทักษะพนักงานของหน่วยงานบริหารความเสี่ยงและ ผู้ประสานงานความเสี่ยงของหน่วยงานต่างๆ ให้มีความสามารถ ในการประเมินความเสีย่ งและกำหนดกระบวนการบริหารความเสีย่ ง ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทัง้ เครือไทยออยล์ รวมทัง้ เชือ่ มโยงกับการ บริหารความเสี่ยงของบริษัทในธุรกิจปิโตรเคมีและโรงกลั่นในกลุ่ม บริษัท ปตท. ปัจจัยเสี่ยงที่อาจเป็นอุปสรรคในการบริหารธุรกิจให้บรรลุเป้าหมาย ในปีที่ผ่านมา ได้แก่ 1. ปัจจัยเสี่ยงภายนอก ประกอบด้วย สภาวะเศรษฐกิจของโลกที่มี ความผันผวนส่งผลต่อการขยายตัวของธุรกิจและความต้องการใช้ น้ำมัน ความไม่สงบในประเทศต่างๆ โดยเฉพาะในประเทศที่เป็น ผู้ค้าน้ำมันมีผลต่อการจัดหาปริมาณน้ำมันดิบที่มีคุณภาพและราคา ซื้อขายน้ำมันในตลาด ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยและอัตรา แลกเปลี่ยนเงินสกุลต่างประเทศที่กระทบต่อกระแสเงินหมุนเวียน ค่าน้ำมันดิบ และการขนส่ง รวมทั้งค่าใช้จ่ายซื้ออุปกรณ์เครื่องจักร เสถี ย รภาพของรั ฐ บาลที่ อาจส่ ง ผลต่ อ การกำหนดนโยบายด้ า น พลังงาน ตลอดจนระเบียบปฏิบัติในการดำเนินธุรกิจและการกำกับ ดูแลกิจการที่ดี เป็นต้น 2. ปัจจัยเสี่ยงภายใน ประกอบด้วย ความไม่เป็นเอกภาพของ วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์กร กลยุทธ์และนโยบายบริหาร ธุรกิจ การด้อยประสิทธิภาพด้านความมัน่ คงปลอดภัยในกระบวนการ ปฏิบัติงาน การผลิต เทคโนโลยี และการสื่อสาร การใช้งานของ เครื่องจักรในกระบวนการผลิต การพัฒนาความรู้ความสามารถของ พนักงาน เป็นต้น ในปี 2550 บริษัทฯ ได้ดำเนินมาตรการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อลดระดับความเสี่ยงด้านต่างๆ ดังนี้
083
084
การบริหาร ความเสี่ยง
1. การวางแผนธุรกิจระยะยาว
บริษทั ฯ ได้กำหนดกลยุทธ์และแผนธุรกิจระยะยาวในช่วง 10 ปีขา้ งหน้า เพือ่ ให้บริษทั ฯ มีการลงทุนขยายงานและเจริญเติบโตอย่างมีเอกภาพ ขยายกำลั ง การผลิ ต รองรั บ ปริ ม าณความต้ อ งการใช้ น้ ำ มั น ใน ภูมิภาคที่เพิ่มขึ้น การลงทุนและร่วมทุนในโครงการด้านพลังงาน เพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้นชดเชยค่าการกลั่นที่มีแนวโน้มลดต่ำลงใน ช่วง 2-3 ปีข้างหน้า
2. การจัดหาน้ำมันดิบและวางแผนการผลิต
ความไม่สงบในประเทศต่างๆ และประเทศผูค้ า้ ส่งน้ำมันมีผลกระทบ ต่อปริมาณน้ำมันดิบในตลาดทีม่ คี ณุ ภาพตรงกับความต้องการ ส่งผล ให้นำ้ มันดิบมีราคาสูงขึน้ อย่างมาก การจัดหาน้ำมันดิบทีใ่ ช้ในการกลัน่ มีความยากลำบากขึน้ บริษทั ฯ จึงมีความเสีย่ งด้านการจัดหาน้ำมันดิบ และการวางแผนการผลิตเพื่อสามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้า ได้ทันเวลา ดังนั้นบริษัทฯ จึงร่วมมือกับโรงกลั่นในเครือปตท. เพื่อ กำหนดกลยุทธ์ในการจัดหาน้ำมันดิบและวางแผนการผลิตทีเ่ หมาะสม รวมทั้งพัฒนาเครื่องมือในการวิเคราะห์และคำนวณค่าการกลั่นที่ใช้ ในการวางแผนการผลิต
3. การบริหารด้านราคา
ในปัจจุบัน ราคาน้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป และค่าการกลั่นใน ตลาดโลกมีความผันผวนมากขึ้น เนื่องจากตลาดมีปริมาณการผลิต สำรองเหลืออยู่อย่างจำกัด ประกอบกับมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนใน ตลาดน้ำมันจากกลุม่ นักลงทุน และกองทุนน้ำมันอย่างมาก ซึง่ ส่งผล กระทบต่อการบริหารเงินทุนหมุนเวียนและผลการดำเนินงานของ บริษทั ฯ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงทำสัญญาซือ้ ขายอนุพนั ธ์ปโิ ตรเลียมล่วงหน้า (Commodity Hedging) ที่ใช้เป็นราคาอ้างอิงในการซื้อขายจริง โดยมีประเภทของสัญญาอนุพันธ์ที่ทางบริษัทฯ ได้จัดทำ ดังนี้ • การป้องกันความเสี่ยงผลกำไรจากค่าการกลั่น (Crack Spread Swap) เพื่อประกันผลต่างระหว่างราคาน้ำมันสำเร็จรูป และ น้ำมันดิบ ซึ่งเป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อค่าการกลั่นเบื้องต้น ของบริ ษั ท ฯ อาทิ เ ช่ น ประกั น ราคาน้ ำ มั น เบนซิ น น้ ำ มั น อากาศยาน น้ำมันดีเซล และน้ำมันเตา ที่สิงคโปร์เทียบกับ ราคาน้ำมันดิบดู ไบ • การป้องกันความเสีย่ งส่วนต่างราคาระหว่างเวลา (Time Spread Swap) เพื่อประกันส่วนต่างที่แน่นอนของราคาน้ำมันสำเร็จรูป หรือน้ำมันดิบชนิดเดียวกัน ในช่วงเวลาที่ต่างกัน ซึ่งเป็นการ ลดความเสี่ยงจากมูลค่าของปริมาณน้ำมันคงคลังที่ผันผวน อาทิเช่น ประกันส่วนต่างราคาน้ำมันดิบดูไบระหว่างเดือน เป็นต้น
4. การลงทุนโครงการใหม่
บริษทั ฯ ได้กำหนดกลยุทธ์การลงทุนในโครงการต่างๆ ในแผนธุรกิจ ระยะยาว เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มตามแนวโน้มของสภาพเศรษฐกิจและ การตลาด ในปี 2550 โครงการปรับปรุงกระบวนการผลิตทั้งในส่วน การผลิตของบริษัทฯ และบริษัทในเครือสำเร็จลุล่วงตามแผน เช่น โครงการขยายกำลังการผลิตของหน่วยกลัน่ CDU-3 โครงการก่อสร้าง ทุ่นรับน้ำมันดิบ SBM-2 และโครงการขยายกำลังการผลิตของ บจ. ไทยพาราไซลีน เป็นต้น
5. การพัฒนาบุคคลากรและการทดแทน
บริษัทฯ ได้สรรหาและพัฒนาพนักงานให้มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อ ทดแทนพนักงานที่เกษียณอายุอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของผู้บริหาร บริษัทฯ ได้ร่วมกับบริษัทต่างๆ ในกลุ่ม ปตท. ดำเนินโครงการ พัฒนาผู้บริหารของกลุ่ม (Group Leadership Development) เพื่อให้สามารถพัฒนาผู้บริหารรุ่นใหม่ทดแทนผู้บริหารปัจจุบันที่จะ ครบเกษียณอายุใน 2-3 ปีข้างหน้า ในส่วนของพนักงานทั่วไปนั้น พนักงานใหม่จะได้รับการฝึกฝนให้เกิดความชำนาญ และมีความ คุ้นเคยกับการปฏิบัติงานจริง เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุและ เกิดผลกระทบรุนแรงต่อผลประกอบการ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มุ่งเน้น ให้หัวหน้างานมีหน้าที่สอนงานและควบคุมการทำงานของพนักงาน ใหม่อย่างใกล้ชิด
6. การปรับโครงสร้างองค์กรและวัฒนธรรมองค์กร
บริษัทฯ ได้ออกแบบโครงสร้างองค์กรเพื่อสนับสนุนกลยุทธ์ในการ เป็นผูน้ ำทางด้านปิโตรเคมีและการกลัน่ ในภูมภิ าค และกำหนดแผน ดำเนินงานเพื่อปรับโครงสร้างองค์กร บทบาทของหน่วยงาน และ สายการบังคับบัญชาเพื่อให้การขยายธุรกิจดำเนินไปได้อย่างราบรื่น บริษัทฯ ได้ดำเนินการปรับเปลี่ยนค่านิยมองค์กรเป็น POSITIVE เพื่ อ ให้ ส ามารถตอบสนองวิ สั ย ทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ ขององค์ ก ร ในอนาคต เน้นประสิทธิภาพในด้านการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนให้ พนั ก งานสามารถปรั บ ตั ว รั บ การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ในภาวะ การแข่งขันที่ทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา บริษัทฯ ได้กำหนดแผนงานบริหารความเสี่ยงในปี 2551 โดย ครอบคลุ ม บริ ษั ท ในเครื อ ไทยออยล์ ทุ ก แห่ ง ซึ่ ง คณะกรรมการ ขับเคลื่อนฯ จะสนับสนุนให้ยกระดับคุณภาพการบริหารความเสี่ยง จนเกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กรตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
นโยบาย การกำกับดูแลกิจการ
นโยบายการกำกับ ดูแลกิจการ บริษท ั ฯ มีความมุง ่ มัน ่ ทีจ ่ ะเป็นบริษท ั ชัน ้ นำของประเทศ สร้างความน่าเชื่อถือให้กับผู้ลงทุนและผู้ที่มีส่วนได้ ส่วนเสียต่อการดำเนินธุรกิจ เพิ่มมูลค่าขององค์กร เสริมสร้างระบบการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ และ ส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ ด้วยการ บริหารจัดการธุรกิจตามหลักการกำกับดูแลกิจการ ที่ดีอันเป็นสากลและเป็นประโยชน์ต่อสังคมไทย เพื่อให้ สามารถบรรลุเป้าหมาย และดำรงรักษาความเป็นเลิศ ในคุณธรรมอันเป็นคุณค่าพื้นฐานขององค์กรชั้นนำ
บริษัทฯ จึงได้กำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการเพื่อเป็นกรอบ ในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ปฏิบตั ติ ามคูม่ อื หลักการกำกับดูแลกิจการของ บริษัทฯ ด้วยความเชื่อมั่น ศรัทธาและเข้าใจในหลักการกำกับดูแล กิจการที่ดี โดยนำหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ไป ปฏิบตั ิในการบริหารจัดการธุรกิจทุกระดับ โดยถือเป็นกิจวัตรจนเป็น วัฒนธรรมที่ดีขององค์กร ยึดมั่นในความเป็นธรรม ปฏิบัติต่อผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียอย่างเท่าเทียมกัน และปฏิบัติงานเพื่อผลประโยชน์ ของบริษทั ฯ อย่างเต็มความสามารถด้วยความสุจริตโปร่งใสทีส่ ามารถ ตรวจสอบได้ และเสนอแนะปรับปรุงนโยบายการกำกับดูแลกิจการ ของบริษทั ฯ เพือ่ ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับมาตรฐานการดำเนิน ธุรกิจและความต้องการของสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป และเป็นไปตาม มาตรฐานสากล ทั้งนี้ การปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการ ของบริษัทฯ ถือเป็นดัชนีชี้วัดที่สำคัญในการประเมินผลการบริหาร จัดการทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษัทฯ กับผู้บริหารและการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานทุกคน บริษทั ฯ ได้สง่ เสริมให้พนักงานได้รบั ความรู้ ความเข้าใจในเรือ่ งการ กำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance: GCG) และ จริยธรรมในการทำงาน จึงได้ทำการว่าจ้างบริษทั ทีป่ รึกษา ให้จดั ทำ ระบบหลักสูตรการเรียนรูผ้ า่ นสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ เรือ่ งการกำกับดูแล กิจการที่ดี (CG E-learning) ขึ้น เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงาน ทุกคนมีช่องทางในการเรียนรู้และทำความเข้าใจในสาระสำคัญ ที่ บ รรจุ ใ นคู่ มื อ หลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การโดยใช้ สื่ อวี ดิ ทั ศ น์ เ ป็ น ตัวประกอบหลักในการยกระดับความเข้าใจประเด็นสำคัญเกี่ยวกับ หลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี อีกทัง้ จัดให้มแี บบทดสอบความเข้าใจ
ในเรื่องดังกล่าว โดยการทดสอบผ่านระบบ Online Test ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้เปิดให้ฝ่ายจัดการและพนักงานทุกคน สามารถเข้าใช้ และเรียนรูร้ ะบบ CG E-learning เป็นครัง้ แรกเมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2550 ซึ่งพนักงานได้ให้ความสนใจเข้าเรียนรู้หลักสูตรเป็นอย่างดี ปัจจุบัน มีพนักงานที่จบหลักสูตรในระยะเวลา 7 เดือน จำนวน 517 คนคิดเป็น ร้อยละ 63 ของพนักงานทั้งหมด นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้นำระบบ CG E-Learning เข้าเป็นส่วนหนึ่งใน เนื้อหาการปฐมนิเทศพนักงานใหม่เพื่อให้พนักงานได้เรียนรู้วิธีการ ใช้ระบบเบื้องต้นและสามารถเรียนรู้ต่อด้วยตนเองให้เสร็จสมบูรณ์ ได้ภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีโครงการที่จะ ขยายระบบการเรียนรู้ CG E-Learning ไปยังบริษัทฯ ในเครือเพื่อ ให้พนักงานในเครือไทยออยล์ทุกคนมีโอกาสเรียนรู้ ศึกษา และทำ ความเข้าใจในหลักการกำกับดูแลกิจการทีบ่ ริษทั ฯ ยึดถือปฏิบตั ดิ ว้ ย ในเดือนสิงหาคม 2550 บริษัทฯ ได้ส่งมอบ “คู่มือหลักการกำกับ ดูแลกิจการ” (Corporate Governance : CG Manual) ฉบับ ปรับปรุงใหม่ ให้แก่คณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคน เพื่อศึกษาทำความเข้าใจแนวปฏิบัติในคู่มือดังกล่าว และลงนาม รับทราบนโยบายเรื่องต่างๆ เพื่อนำไปยึดถือปฏิบัติในการบริหาร จัดการงานประจำวันให้เกิดผลเป็นรูปธรรม บริษทั ฯ ได้ทำการปรับปรุง เนือ้ หาขึน้ ใหม่ให้มคี วามเป็นปัจจุบนั มากยิง่ ขึน้ โดยได้บรรจุวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจและค่านิยมองค์กร รวมทัง้ ได้เพิม่ นโยบายทีส่ ำคัญด้านต่างๆ เช่น นโยบายด้านการผลิตและการบริหารไฮโดรคาร์บอน นโยบาย ด้านวิศวกรรมและซ่อมบำรุงทรัพย์สิน เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้เผยแพร่คู่มือหลักการกำกับดูแลกิจการ ผ่านระบบสื่อสารภายใน บริษัทฯ (Intranet) รวมทั้งในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อให้พนักงาน ทุกคน บุคคลภายนอก และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย สามารถ ดาวน์โหลดคู่มือดังกล่าวมาศึกษาและใช้ประโยชน์ได้อีกด้วย ในเดือนกันยายน 2550 บริษัทฯ ได้จัดทำการประเมินตนเองเรื่อง การปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยใช้แบบประเมิน ของ ตลท. สรุปผลการประเมินได้วา่ บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามหลักการ กำกับดูแลกิจการทีด่ ีในเกือบทุกข้อ คิดเป็นคะแนนประเมินมากกว่า ร้อยละ 90 และในส่วนของข้อที่ต้องปรับปรุงนั้น คณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ได้ให้แนวทางและคำแนะนำในการ วางแผนการปฏิบัติงานสำหรับปีต่อไปเพื่อให้เกิดการปฏิบัติตาม หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีไว้อย่างครบถ้วนแล้ว ในเดือนตุลาคม 2550 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้เข้าร่วมโครงการ ประกาศเกียรติคุณ “คณะกรรมการแห่งปี 2549/50” ซึ่งจัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์
085
086
นโยบาย การกำกับดูแลกิจการ
แห่ ง ประเทศไทย สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย สมาคม ธนาคารไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียน และสภาธุรกิจตลาดทุน ซึง่ ในปีนคี้ ณะกรรมการบริษทั ฯ ได้รบั คัดเลือกให้เป็น “คณะกรรมการ แห่งปี - ดีเด่น” ประจำปี 2549/50” เพื่อยกระดับการกำกับดูแลกิจการให้ทัดเทียมกับสากล บริษัทฯ ได้ ยึดถือแนวปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ตามแนวทางที่ ตลท. กำหนดขึ้นใหม่ในปี 2549 ดังนี้
หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น
บริษัทฯ ตระหนักและให้ความสำคัญเรื่องสิทธิของผู้ถือหุ้น จึงได้ กำหนดนโยบายในการคำนึงถึงสิทธิผู้ถือหุ้น ส่งเสริมการใช้สิทธิ และไม่ละเมิดสิทธิของผูถ้ อื หุน้ รวมถึงการอำนวยความสะดวกในการ ใช้สิทธิเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นและออกเสียง และละเว้นการกระทำ ที่อาจจำกัดโอกาสดังกล่าว ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิ ในการดูแล รักษาผลประโยชน์ของตนโดยการซักถาม แสดงความเห็น ให้ข้อ เสนอแนะและออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ใช้สิทธิร่วมตัดสินใจ ในเรื่องที่สำคัญต่างๆ ที่จะมีผลกระทบต่อบริษัทฯ เช่น การแต่งตั้ง หรือถอดถอนกรรมการ การเสนอชื่อบุคคลเพื่อเป็นกรรมการอิสระ การอนุมตั ผิ สู้ อบบัญชี การจัดสรรเงินปันผล การลดทุนหรือเพิม่ ทุน การกำหนดหรือการแก้ไขข้อบังคับ บริคณห์สนธิ และการอนุมัติ รายการพิเศษ เป็นต้น บริษัทฯ จะประกาศผ่านทางเว็บไซต์ของ บริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น และเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น เสนอระเบียบวาระการประชุม และเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้าดำรง ตำแหน่งกรรมการบริษัทฯ ได้ล่วงหน้า ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นจะได้รับ ข้อมูลข่าวสารเพื่อการตัดสินใจในการลงมติอย่างเพียงพอ ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส เปิดเผยทันเวลา และสามารถตรวจสอบได้ โดยได้เผยแพร่ข้อมูลประกอบวาระการประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้า ไว้ในเว็บไซต์ก่อนจัดส่งเอกสารให้แก่ผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้จัดทำหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี โดย ระบุสถานที่ วัน เวลา ระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่จะเสนอ ต่อที่ประชุมพร้อมด้วยรายละเอียดตามสมควร โดยระบุชัดเจนว่า เป็นเรือ่ งทีจ่ ะเสนอเพือ่ ทราบ หรือเพือ่ พิจารณา แล้วแต่กรณี รวมทัง้ ความเห็นของคณะกรรมการในเรื่องดังกล่าว บริษัทฯ จะประกาศ ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น และ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอระเบียบวาระการประชุมและ รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ ได้ ล่วงหน้าอีกด้วย ในกรณีที่มีการเพิ่มวาระการประชุมจะมีการแจ้ง ให้ผู้ถือหุ้นทราบ เอกสารเชิญประชุมฯ จะถูกส่งให้ผู้ถือหุ้นทุกราย และนายทะเบียนทราบไม่น้อยกว่าสิบสี่ (14) วันก่อนวันประชุม
ในกรณี จ ำเป็ น รี บ ด่ ว นเพื่ อ รั ก ษาสิ ท ธิ ห รื อ ประโยชน์ ข องบริษัทฯ จะส่งหนังสือนัดประชุมไม่น้อยกว่าเจ็ด (7) วันก่อนวันประชุมก็ได้ และได้เผยแพร่ข้อมูลประกอบวาระการประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้า ไว้ในเว็บไซต์ก่อนจัดส่งเอกสาร
หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน
บริษัทฯ ให้ความสำคัญต่อผู้ถือหุ้นทุกราย โดยได้ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม เพื่อสร้างความมั่นใจในการลงทุน กับบริษัทฯ ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี บริษัทฯ เปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุมและออกเสียงลงมติ แทนกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองได้ โดย แสดงรายละเอียดเงื่อนไขการมอบฉันทะในการเข้าร่วมประชุมไว้ใน เอกสารเชิญประชุมฯ ในการประชุมมีการจัดสรรเวลาอย่างเพียงพอ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการแสดง ความคิดเห็น และตั้งคำถามในที่ประชุมและได้ใช้สิทธิในการแต่งตั้ง กรรมการเป็นรายคน ผูถ้ อื หุน้ สามารถออกเสียงในทุกวาระการประชุม ผ่านบัตรลงคะแนนเสียงทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจกให้ในวันประชุม กรรมการ และผู้บริหารที่เกี่ยวข้องจะเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อตอบคำถาม ในที่ประชุม รวมทั้งได้บันทึกประเด็นซักถามและข้อคิดเห็นที่สำคัญ ไว้ในรายงานการประชุมเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ บริษัทฯ มีมาตรการป้องกันการใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายใน ตาม รายละเอียดที่กำหนดไว้ในหมวดที่ 4 “การเปิดเผยข้อมูลและความ โปร่งใส”
หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
บริษัทฯ ได้มีการดูแลและคำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม โดย กำหนดแนวทางการปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย แต่ละกลุม่ ไว้อย่าง ชัดเจนใน “คูม่ อื หลักการกำกับดูแลกิจการ” เพือ่ ให้บคุ ลากรทุกระดับ ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติโดยถือเป็นภาระหน้าที่ที่สำคัญของทุกคนดังนี้ ต่อผู้ถือหุ้น - บริษัทฯ จะมุ่งมั่นเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้น ในการดำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส มีระบบ บั ญ ชี แ ละการเงิ น ที่ มี ค วามเชื่ อ ถื อ ได้ สร้ า งความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ให้ กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น โดยคำนึงถึงการเจริญเติบโตของบริษัทฯ ในระยะยาวและผลตอบแทนในระดั บ ที่ เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง ต่อลูกค้า - สร้างความพึงพอใจแก่ลกู ค้าโดยการส่งมอบ ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามความต้องการ ของลูกค้า
นโยบาย การกำกับดูแลกิจการ
ต่อคู่ค้า
- คำนึงถึงความเสมอภาคและความซื่อสัตย์ ในการดำเนินธุรกิจ และผลประโยชน์รว่ มกัน กับคูค่ า้ โดยปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกติกา ต่างๆ อย่างเคร่งครัดและมีจรรยาบรรณทีด่ ี ทางธุรกิจในการแข่งขันทางธุรกิจ ต่อพนักงาน - พัฒนา เสริมสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศ การทำงานที่ ดี รวมทั้ ง การส่ ง เสริ ม การ ทำงานเป็นทีม เพือ่ สร้างขวัญกำลังใจให้แก่ พนั ก งานในการปฏิ บั ติ ง านกั บ บริ ษั ท ฯ ด้วยความมั่นคงในอาชีพ ต่อชุมชน - คำนึงถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม และสิ่งแวดล้อม ให้ความสำคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อประโยชน์ ต่ อ ชนรุ่ น หลั ง ตลอดจนส่ ง เสริ ม การใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิด การพัฒนาอย่างยั่งยืน ต่อหน่วยราชการ - ถื อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด ต่ อ กฎหมายที่ และองค์กรที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวข้องในด้านต่างๆ ทั้ง สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย แรงงาน การจัดการด้าน ภาษีอากรและบัญชี ฯลฯ รวมทั้งประกาศ ต่างๆ ของทางราชการที่เกี่ยวข้องกับการ ดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ บริษทั ฯ กำหนดให้ผบู้ ริหารทุกระดับในองค์กร จะต้องดูแลรับผิดชอบ และถือเป็นเรื่องสำคัญที่จะดำเนินการให้พนักงานภายใต้สายบังคับ บัญชาของตนทราบ เข้าใจ และปฏิบัติตามคู่มือหลักการกำกับดูแล กิจการของบริษทั ฯ อย่างจริงจัง ผูท้ กี่ ระทำผิดจริยธรรมทีก่ ำหนดไว้ จะได้รับโทษทางวินัยอย่างเคร่งครัด หากพนักงานคนใดที่พบการ กระทำผิดกฎหมายและ/หรือจริยธรรมที่กำหนดไว้ ให้แจ้งข้อร้อง เรียนหรือข้อกล่าวหาไปยังประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ หรือ ประธานกรรมการตรวจสอบ หรือกรรมการอำนวยการของบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ จะดำเนินการตรวจสอบโดยไม่เปิดเผยชื่อผู้แจ้ง เบาะแส เพื่อคุ้มครองผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้แจ้งข้อร้องเรียน ดังกล่าว
หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโป่รงใส
บริษัทฯ ได้เปิดเผยสารสนเทศ ที่เป็นข้อมูลสำคัญของบริษัทฯ รวม ถึงรายงานทางการเงิน และสารสนเทศเรื่องอื่นๆ ที่มีความชัดเจน กะทัดรัด เข้าใจง่าย โปร่งใส ครบถ้วน เพียงพอ เชื่อถือได้ และ ทันเวลา รวมทัง้ รายงานนโยบายและโครงสร้างการกำกับดูแลกิจการ ไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) รายงานประจำปี (แบบ 56-2) และในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับสาร
สนเทศอย่างเท่าเทียมกัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดทำรายงาน ความรับผิดขอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินแสดง ควบคู่กับรายงานของผู้สอบบัญชีในรายงานประจำปี บริ ษั ท ฯ กำหนดให้ พ นั ก งานทุ ก คนจะต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้าที่เพื่อผล ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ เท่านัน้ การกระทำและการตัดสินใจใดๆ จะต้องปราศจากอิทธิพลของความต้องการส่วนตัว ครอบครัว ญาติ พี่น้อง หรือบุคคลอื่นที่รู้จักส่วนตัวเป็นการเฉพาะ โดยให้ปฏิบัติ ตามระเบียบวิธีของบริษัทฯ ด้วยมาตรฐานเดียวกัน บริษัทฯ มี มาตรการป้องกันการใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายใน โดยกำหนดให้ พนักงานทุกระดับของบริษัทฯ ต้องไม่นำข้อมูลภายในอันนำไปสู่ การแสวงหาผลประโยชน์เพื่อตนเองหรือครอบครัว หรือพวกพ้อง ในทางมิชอบ และรักษาข้อมูลและเอกสารที่ไม่พึงเปิดเผยต่อบุคคล ภายนอก ตัวอย่างเช่น การให้ข้อมูลกิจกรรมการดำเนินงาน หรือ แผนการในอนาคตของบริษัทฯ เป็นต้น การใช้ข้อมูลภายในร่วมกันของพนักงานจะต้องอยู่ในกรอบหน้าที่ และความรั บ ผิ ด ชอบเท่ า ที่ พ นั ก งานพึ ง ได้ รั บ มอบหมายเท่ า นั้ น นอกจากนั้ น การที่ ผู้ บ ริ ห ารต้ อ งมี ห น้ า ที่ ร ายงานการถื อ ครอง หลักทรัพย์ต่อ ก.ล.ต. ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย โอนหลักทรัพย์ นับเป็นมาตรการสำคัญที่จะส่งเสริมการกำกับดูแลการใช้ข้อมูล ภายในได้เป็นอย่างดี บริษทั ฯ กำหนดให้มรี ะบบการควบคุมภายในเพือ่ ป้องกันการรัว่ ไหล ของข้อมูลข่าวสารของบริษัทฯ ให้ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้าง ทุกหน่วยงานถือปฏิบัติ ดังนี้ 1. จัดให้มีมาตรการและระบบควบคุมดูแลข้อมูลบริษัทฯ ภายใน ฝ่าย/แผนกของตนอย่างรัดกุม เพื่อป้องกันไม่ให้ข้อมูลภายใน ที่สำคัญของบริษัทฯ เปิดเผยออกสู่ภายนอกก่อนการเผยแพร่ อย่างเป็นทางการ โดยให้ถือว่ามาตรการและระบบควบคุมนี้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของมาตรการควบคุ ม ความเสี่ ย งที่ ส ำคั ญ ของ บริษัทฯ ด้วย 2. ให้ ถื อ เป็ น หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาใน ลำดับขั้นต่างๆ จะต้องควบคุมดูแลไม่ให้มีการรั่วไหลของข้อมูล และข่าวสารที่สำคัญของบริษัทฯ ออกสู่ภายนอกโดยพนักงาน ในสายบังคับบัญชาของตน ก่อนการเผยแพร่ข้อมูลอย่างเป็น ทางการของบริษัทฯ พนักงานที่เปิดเผยข้อมูลและข่าวสารที่สำคัญของบริษัทฯ ออกสู่ บุคคลภายนอกโดยมิได้รับความเห็นชอบจากกรรมการอำนวยการ จะได้รับพิจารณามาตรการทางวินัยตามระเบียบของบริษัทฯ และ อาจถูกดำเนินคดีตามกฎหมายอีกด้วย
087
088
นโยบาย การกำกับดูแลกิจการ
นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญอย่างสูงต่อการบริหารความ สัมพันธ์กับนักลงทุน ซึ่งจะมุ่งเน้นถึงความถูกต้อง คุณภาพและ ความเพียงพอของข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ที่เปิดเผยให้แก่ นักลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้เกี่ยวข้องอย่างโปร่งใสและทั่วถึง โดยฝ่ายบริหารระดับสูงของบริษัทฯ จะมีการพบปะกับนักลงทุน และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์อย่างสม่ำเสมอ โดยจัดให้มีการประชุม เพื่อชี้แจงผลการดำเนินงานรายไตรมาสและรายปี การเดินทาง ไปเยี่ยม ร่วมประชุมสัมมนากับนักลงทุนและนักวิเคราะห์ทั้งในและ ต่างประเทศเพือ่ ให้เกิดความเข้าใจทีด่ ตี อ่ การบริหารงานของบริษทั ฯ ช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดี และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่าง ต่อเนื่อง บริษัทฯ ได้จัดให้มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์เพื่อเป็นศูนย์กลาง ในการดำเนินกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ในเชิงรุกเพื่อให้เป็นไปตาม แนวปฏิบัติขององค์กรสากลชั้นนำ เพื่อส่งเสริมให้ช่องทางในการ สื่อสารกับนักลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นไปโดยมี ประสิทธิภาพสูงสุด รวมทัง้ เปิดโอกาสให้นกั ลงทุนได้ซกั ถามตลอดจน รับทราบข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ผ่านหลากหลายช่องทาง เช่ น การประชุ ม ร่ ว มกั บ นั ก ลงทุ น และนั กวิ เ คราะห์ ห ลั ก ทรั พ ย์ การจัดเยี่ยมชมกิจการ การเปิดเผยข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์บริษัทฯ (www.thaioil.co.th) และการสื่ อ สารผ่ า นโทรศั พ ท์ ส ายตรง (0-2299-0124) ตลอดจนอีเมล์ (ir@thaioil.co.th) ที่สามารถ ติดต่อสื่อสารได้อย่างฉับไว เพื่อชี้แจงและตอบคำถามของนักลงทุน ได้ทันเวลา
หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
5.1 โครงสร้างคณะกรรมการ คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบด้วย กรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะและมีจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน กรรมการทุกท่านเป็นผู้มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม พ.ร.บ. บริษัทมหาชนจำกัด มีอายุไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ และเป็น ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการดำเนินธุรกิจ ทำหน้าที่กำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ เป้าหมาย ภารกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจนกำกับดูแลให้ฝ่าย จัดการบริหารงานให้เป็นไปตามนโยบายทีก่ ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลภายใต้กรอบของกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ ของบริ ษั ท ฯ และมติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ระมั ด ระวั ง ตามหลั ก การข้ อ พึ ง ปฏิ บั ติ ที่ ดี ทั้ ง นี้ คณะกรรมการของบริษัทฯ ภายใต้การนำของประธานกรรมการที่มี ภาวะผู้นำและสามารถควบคุมการดำเนินการของผู้บริหารได้อย่าง มีประสิทธิภาพ สามารถเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการ และความมั่นคงสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น
ผูท้ ดี่ ำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการอำนวยการ จะแยกบุคคลกัน มีผู้จัดการฝ่ายสำนักกรรมการอำนวยการปฏิบัติ หน้าทีเ่ ลขานุการบริษทั ฯ เพือ่ ให้คำแนะนำด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ ต่างๆ ทีค่ ณะกรรมการจะต้องทราบ และการปฏิบตั หิ น้าที่ในการดูแล กิจกรรมของคณะกรรมการรวมทั้งประสานงานให้มีการปฏิบัติตาม มติคณะกรรมการ ในปี 2550 คณะกรรมการบริษทั ฯ มีจำนวน 13 ท่าน1 ประกอบด้วย - กรรรมการที่เป็นผู้บริหาร จำนวน 1 ท่าน - กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร จำนวน 12 ท่าน สำหรับรายชือ่ คณะกรรมการบริษทั ฯ บทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการอำนวยการ ตามทีไ่ ด้กล่าวถึง แล้วในหมวดโครงสร้างการถือหุน้ และการจัดการ ข้อ 5 หน้า 74-75 และ ข้ อ 8 หน้า 81 หมายเหตุ : 1 นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ลาออกจากการดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทฯ เมื่อ วันที่ 20 ธันวาคม 2550 ดังนัน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คณะกรรมการ บริษัทฯ มีกรรมการจำนวน 12 ท่าน
5.2 คณะกรรมการชุดย่อย เพื่ อ ให้ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการมี ป ระสิ ท ธิ ภาพและ ประสิทธิผล คณะกรรมการได้จัดให้มีคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เพื่อช่วยศึกษาและกลั่นกรองงานตามความจำเป็น ในปี 2550 คณะกรรมการชุดย่อย ประกอบด้วย - คณะกรรมการตรวจสอบ เป็นกรรมการอิสระทั้ง 3 ท่าน2 มี คุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศ ตลท. ว่าด้วยคุณสมบัติและ ขอบเขตการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยจะ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต รวจสอบและถ่ ว งดุ ล การบริ ห ารกิ จ การต่ า งๆ ของบริษัทฯ เพื่อให้เกิดความถูกต้อง เป็นธรรม และเป็นไป เพื่ อ ผลประโยชน์ ข องผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก คนสู ง สุ ด สำหรั บ รายชื่ อ คณะกรรมการฯ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่ ได้กล่าวถึงแล้วในหมวดโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ ข้อ 6.1 หน้า 76
หมายเหตุ : 2 นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ลาออกจากการดำรงตำแหน่งกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2550 ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คณะกรรมการตรวจสอบ มีกรรมการจำนวน 2 ท่าน
นโยบาย การกำกับดูแลกิจการ
- คณะกรรมการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ จำนวน 3 ท่ า น เป็ น กรรมการอิสระ 2 ท่าน โดยมีประธานกรรมการกำกับดูแล กิ จ การเป็ น กรรมการอิ ส ระ สำหรั บ รายชื่ อ คณะกรรมการฯ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วใน หมวดโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ ข้อ 6.2 หน้า 77-78 - คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จำนวน 3 ท่าน เป็นกรรมการอิสระ 2 ท่านโดยมีประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ สำหรับรายชื่อ คณะกรรมการฯ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่ ได้กล่าวถึงแล้วในหมวดโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ ข้อ 6.3 หน้า 78-79 - กรรมการอิสระ จำนวน 9 ท่าน3 คิดเป็นร้อยละ 69 ของ กรรมการทั้งคณะ สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 สำหรับ รายชื่อคณะกรรมการฯ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่ ไ ด้ ก ล่ า วถึ ง แล้ ว ในหมวดโครงสร้ า งการถื อ หุ้ น และ การจัดการ ข้อ 5 หน้า 74-75 - คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ประกอบด้วยผูบ้ ริหารระดับฝ่าย ทุกฝ่าย จำนวน 18 ท่าน สำหรับบทบาทหน้าที่และความ รับผิดชอบ ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วในหมวดโครงสร้างการถือหุ้น และการจั ดการ ข้อ 6.4 หน้า 80
หมายเหตุ : 3 นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ลาออกจากการดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทฯ และ กรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2550 ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กรรมการอิสระมีจำนวน 8 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 67 ของ กรรมการทั้งคณะ
5.3 บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการมีภาวะผู้นำ วิสัยทัศน์ และมีความเป็นอิสระในการ ตัดสินใจเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยรวม คณะกรรมการได้จดั ให้มกี ารแบ่งแยกบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ระหว่างคณะกรรมการและฝ่ายจัดการที่ชัดเจน และดูแลให้มีระบบ งานที่ให้ความเชื่อมั่นว่ากิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ ได้ดำเนินไป ในลักษณะที่ถูกต้องตามกฎหมายและจริยธรรม คณะกรรมการทุกท่านมีความเข้าใจในหน้าที่ความรับผิดชอบของ กรรมการและลักษณะการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวังและรอบคอบ โดยคำนึงถึง ประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษั ท ฯ และเป็ น ธรรมต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก คน คณะกรรมการได้แสดงความคิดเห็นของตนอย่างเป็นอิสระ และ อุทิศเวลาเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบอย่างเต็มที่
สำหรั บ บทบาทหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ บริษัทฯ ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วในหมวดโครงสร้างการถือหุ้นและ การจัดการ ข้อ 5 หน้า 74-75 5.4 การประชุมคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการจะมีการกำหนดขึ้นเป็นการล่วงหน้า และ จะแจ้ ง ให้ กรรมการแต่ ล ะคนทราบกำหนดการดั ง กล่ า วเพื่ อ ให้ กรรมการสามารถจัดเวลาและเข้าร่วมประชุมได้ ประธานกรรมการ เป็นผู้ให้ความเห็นชอบในการจัดเรื่องที่จะบรรจุเข้าวาระการประชุม คณะกรรมการ โดยมีการปรึกษาหารือกับกรรมการอำนวยการ และพิ จ ารณาคำขอของกรรมการที่ จ ะบรรจุ เ รื่ อ งอื่ น ที่ ส ำคั ญ เป็นวาระการพิจารณาในการประชุมครั้งต่อไป กรรมการจะได้รับ เอกสารประกอบการประชุมล่วงหน้า โดยมีเวลาเพียงพอที่จะศึกษา พิจารณาและตัดสินใจอย่างถูกต้องในเรื่องต่างๆ ข้อบังคับของบริษัทฯ กำหนดให้คณะกรรมการจะต้องประชุมกัน อย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง และอาจมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตาม ความจำเป็น ตามแนวปฏิบัติปกติบริษัทฯ จะจัดประชุมคณะกรรม การบริษัทฯ 2 เดือนต่อครั้งโดยในปี 2550 มีการจัดประชุมทั้งสิ้น 7 ครั้ง และมีการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่กรรมการเพื่อ พิจารณาก่อนการประชุมล่วงหน้าอย่างน้อยเจ็ด (7) วัน ก่อนวัน ประชุม เว้นแต่ในกรณีจำเป็นรีบด่วนเพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ ของบริษัทฯ ซึ่งในการประชุมทุกคราวจะมีการกำหนดวาระการ ประชุมที่ชัดเจน มีเอกสารประกอบการประชุมที่ครบถ้วนเพียงพอ โดยจัดส่งให้กับคณะกรรมการล่วงหน้า เพื่อให้คณะกรรมการได้มี เวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม โดยในการ ประชุมคณะกรรมการ กรรมการทุกคนสามารถอภิปรายและแสดง ความคิดเห็นได้อย่างเปิดเผย ทั้งนี้ ตั้งแต่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2550 คณะกรรมการ บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการ ชุ ด ย่ อ ย โดยการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ แต่ ล ะครั้ ง มี กรรมการเข้ า ร่ ว มการประชุ ม ครบองค์ ป ระชุ ม โดยมี รายละเอียด ดังนี้
089
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ นายมนู เลียวไพโรจน์ นายพละ สุขเวช นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์(5) พลโทประยุทธ์ จันทร์โอชา(6) นายนิพัทธ พุกกะณะสุต นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายนิตย์ จันทรมังคละศรี นายพิชัย ชุณหวชิร นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์ (7)
กรรมการอิสระและประธานกรรมการ กรรมการอิสระและประธานคณะกรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระและกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ กรรมการและกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ 5/7 6/7 7/7 5/7 7/7
20 เมษายน 2549 20 เมษายน 2549 20 เมษายน 2549 20 เมษายน 2549 28 เมษายน 2548
6/7
5/7 5/7
10 เมษายน 2550 10 เมษายน 2550
10 เมษายน 2550
7/7
20 เมษายน 2549
2/7
7/7
10 เมษายน 2550
8 ธันวาคม 2547
7/7 6/7 6/7
28 เมษายน 2548 28 เมษายน 2548 28 เมษายน 2548
5/7
7/7
7/7
4/4
3/4
4/4
ประชุม ประชุม ประชุม คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหา บริษัทฯ ตรวจสอบ(2) และพิจารณาค่าตอบแทน(3) (7 ครั้ง/ปี) (7 ครั้ง/ปี) (4 ครั้ง/ปี)
หมายเหตุ: (1) นับจากวันที่ครบวาระและได้รับแต่งตั้งเข้าใหม่อีกวาระหนึ่ง หรือ ได้รับแต่งตั้งครั้งแรกในที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี (2) คณะกรรมการตรวจสอบ มีจำนวน 3 ท่าน ได้แก่ ลำดับที่ 2, 10 และ ลำดับที่ 14 โดยลำดับที่ 14 ดำรงตำแหน่งจนถึงวันที่ 20 ธันวาคม 2550 (3) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีจำนวน 3 ท่าน ได้แก่ ลำดับที่ 3, 4 และ 5 (4) คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ มีจำนวน 4 ท่าน ได้แก่ ลำดับที่ 6, 7 และ 9 และ ลำดับที่ 13 โดยลำดับที่ 13 ดำรงตำแหน่งจนถึงวันที่ 10 เมษายน 2550 (5) เข้าดำรงตำแหน่งแทน นายโอฬาร ไชยประวัติ ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี 2550 วันที่ 10 เมษายน 2580 (6) เข้าดำรงตำแหน่งแทน นายประพันธ์ นัยโกวิท ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี 2550 วันที่ 10 เมษายน 2580 (7) เข้าดำรงตำแหน่ง ในวันที่ 1 มกราคม 2549 แทน นายปิติ ยิ้มประเสริฐ (8) ครบวาระการดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทฯ และประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ประจำปี 2550 วันที่ 10 เมษายน 2550 (9) เข้าดำรงตำแหน่ง ในวันที่ 22 ธันวาคม 2549 แทนสมชัย วงศ์สวัสดิ์ และลาออกจากการดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทฯ และกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2550
กรรมการที่ครบวาระและลาออกระหว่างปี 2550 13 นายโอฬาร ไชยประวัต(8)ิ กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการกำกับด แู ลกิจการ (9) 14 นายณอคุณ สิทธิพงศ์ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ
(1) ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง วันที่เริ มวาระ
2/2
2/2 2/2
ประชุม คณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการ(4) (2 ครั้ง/ปี)
090 นโยบาย การกำกับดูแลกิจการ
นโยบาย การกำกับดูแลกิจการ
5.5 การประเมินผลคณะกรรมการบริษัทฯ บริษัทฯ จัดให้มีการประเมินผลคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อใช้เป็น กรอบในการตรวจสอบการปฏิบัติงานในหน้าที่ของคณะกรรมการ โดยสม่ำเสมอเป็นประจำทุกปี โดยได้กำหนดหลักเกณฑ์การประเมิน การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการเป็นบรรทัดฐานในการเปรียบเทียบ และวิเคราะห์ นอกจากนี้ ยังได้เปิดเผยผลประเมินการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบตั ติ ามหลักการกำกับดูแลกิจการในรายงานประจำปีดว้ ย คณะกรรมการบริษัทฯ เห็นชอบให้ใช้แบบประเมินคณะกรรมการ บริษัทฯ ซึ่งผ่านตรวจสอบจากคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ โดยแบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ แบบประเมินตนเอง แบบประเมินทัง้ คณะ และแบบประเมินกรรมการผูอ้ นื่ ซึง่ ครอบคลุม ประเด็นสำคัญ เช่น ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจการกระทำ ของตนเอง สามารถอธิบายการตัดสินใจได้ (Accountability), ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยขี ด ความสามารถและ ประสิทธิภาพที่เพียงพอ (Responsibility), การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ เสียอย่างเท่าเทียม เป็นธรรม และสามารถมีคำอธิบายได้ (Equitable Treatment), ความโปร่งใสในการดำเนินงานทีส่ ามารถตรวจสอบได้ และมีการเปิดเผยข้อมูล (Transparency), การมีวิสัยทัศน์ในการ สร้างมูลค่าเพิม่ แก่กจิ การในระยะยาว (Vision to Create Long Term Value), การมีจริยธรรมในการประกอบธุรกิจ (Ethics), นโยบาย คณะกรรมการ (Board Policy), โครงสร้างของคณะกรรมการ (Board Composition), การจัดเตรียมและดำเนินการประชุม (Board Meeting), แนวปฏิบัติของคณะกรรมการ (Board Practices), การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ (Board Duties) โดยมีเกณฑ์การ ประเมินผล คิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็มในแต่ละข้อทั้งหมด ดังนี้ มากกว่าร้อยละ 85 = ดีเยี่ยม มากกว่าร้อยละ 75 = ดีมาก มากกว่าร้อยละ 65 = ดี มากกว่าร้อยละ 50 = พอใช้ ต่ำกว่าร้อยละ 50 = ควรปรับปรุง ผลการประเมินสรุปได้ดังนี้ 1. แบบประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ คือ 1) ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การตั ด สิ น ใจการกระทำของตนเอง สามารถอธิบายการตัดสินใจได้ (Accountability) 2) ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้วยขีดความสามารถ และประสิทธิภาพที่เพียงพอ ( Responsibility) 3) การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียม เป็นธรรม และ สามารถมีคำอธิบายได้ (Equitable Treatment)
4) มีความโปร่งใสในการดำเนินงานที่สามารถตรวจสอบได้ และมีการเปิดเผยข้อมูล (Transparency) 5) การมีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่กิจการในระยะยาว (Vision to Create Long Term Value) 6) การมีจริยธรรม / จรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ (Ethics) สรุปผลการประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) ในภาพรวม 6 หัวข้อ เห็นว่ากรรมการส่วนใหญ่ถือปฏิบัติเป็น ส่วนใหญ่ และ ถือปฏิบตั เิ ป็นประจำ โดยมีคะแนนเฉลีย่ อยู่ในเกณฑ์ ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 94 2. แบบประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ ประกอบด้วย 5 หัวข้อ คือ 1) นโยบายคณะกรรมการ (Board Policy) 2) โครงสร้างของคณะกรรมการ (Board Composition) 3) การจัดเตรียมและดำเนินการประชุม (Board Meeting) 4) แนวปฏิบัติของคณะกรรมการ (Board Practices) 5) การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ (Board Duties) สรุปผลการประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ ในภาพรวม 5 หัวข้อ เห็นว่าการดำเนินการส่วนใหญ่อยู่ ในระดับดีมาก/เหมาะสมมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 87 3. แบบประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินกรรมการ ท่านอืน่ ) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ เช่นเดียวกันกับแบบประเมินผล คณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) ทัง้ นี้ เพือ่ ให้สามารถ นำผลการประเมินโดยกรรมการท่านอื่นไปใช้เปรียบเทียบกับ ผลการประเมินตนเองของกรรมการแต่ละท่านได้อย่างชัดเจน มากที่สุด สรุปผลการประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินกรรมการ ท่านอื่น) ในภาพรวม 6 หัวข้อ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 96 ผลคะแนนและข้อคิดเห็นของกรรมการในแต่ละหมวดจะนำไปใช้ เพื่ อ การปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการในปี ต่ อ ไป นอกจากนี้กรรมการอำนวยการยังมีส่วนร่วมในการอธิบายถึงความ คาดหวั ง ของตนเองที่ จ ะได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากคณะกรรมการ อีกด้วย
091
092
นโยบาย การกำกับดูแลกิจการ
5.6 ค่าตอบแทน บริ ษั ท ฯ มี น โยบายที่ จ ะกำหนดค่ า ตอบแทนของกรรมการและ กรรมการอำนวยการให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ ส ามารถจู ง ใจและรั ก ษา กรรมการที่มีคุณภาพตามที่ต้องการได้ หรืออยู่ ในระดับที่เทียบ เคียงได้กับที่ปฏิบัติในอุตสาหกรรม และจัดค่าตอบแทนในลักษณะ ที่เชื่อมโยงกับผลการดำเนินงานของบริษัทฯ โดยมีคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทนเป็ น ผู้พิ จารณาหลั กเกณฑ์ การ พิจารณาค่าตอบแทนและวิธีปฏิบัติ ในการจ่ายค่าตอบแทน และ เสนอผลการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและขออนุมัติในที่ประชุม ผู้ถือหุ้น
สำหรับรายละเอียดการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการและผูบ้ ริหาร ในปี 2550 ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วในหมวดโครงสร้างการถือหุ้นและ การจัดการ ข้อ 10.1 หน้า 82 5.7 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการฝึกอบรมและให้ความรู้แก่ ผูเ้ กีย่ วข้องในระบบการกำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ เช่น กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผู้บริหาร เลขานุการบริษัทฯ เป็นต้น เพื่อเป็น การเสริมสร้างและพัฒนาการปฏิบตั งิ านอย่างต่อเนือ่ ง และ บริษทั ฯ ได้จัดทำเอกสารปฐมนิเทศน์สำหรับกรรมการใหม่ เพื่อเป็นข้อมูล ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการจัดปฐมนิเทศแนะนำ ลักษณะการประกอบธุรกิจและแนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ให้แก่กรรมการใหม่ด้วย โดยกรรมการบริษัทฯ ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และหน่วยงานภายนอก ดังนี ้ กรรมการ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ นายมนู เลียวไพโรจน์ นายพละ สุขเวช นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ พลโทประยุทธ์ จันทร์โอชา นายนิพัทธ พุกกะณะสุต นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายนิตย์ จันทรมังคละศรี นายพิชัย ชุณหวชิร นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์
สรุปการเข้าอบรมของกรรมการบริษัทฯ ตามหลักสูตรของ IOD The Role Directors Directors Audit of Chairman Certification Accreditation Committee Program (RCP) Program (DCP) Program (DAP) Program (ACP) P P P P P P P
P
P P P
P
P
P
นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสนับสนุนการพัฒนากรรมการและผู้บริหาร ในรูปแบบของการศึกษาดูงานและการสัมมนาทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ตลอดจน การจัดอบรมภายในและการเข้าร่วมหลักสูตร อบรมโดยองค์กรภายนอก สำหรับหลักสูตรทีผ่ บู้ ริหารเข้ารับการอบรม มีอาทิเช่น ความเข้าใจเบือ้ งต้นเกีย่ วกับธุรกิจน้ำมันและความเปลีย่ น
P P P
P P
P
P
แปลงที่เกิดขึ้น, คุณภาพงบการเงินกับการสร้างความน่าเชื่อถือ ของกิจการ, Leadership Competency Assessment (360 องศา), Company Secretary, Finance for Non-Finance Director และ Understanding the Fundamental of Financial Statements เป็นต้น
การควบคุมภายใน ของบริษัทฯ
การควบคุมภายใน ของบริษัทฯ บริษท ั ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ให้ความสำคัญต่อ การควบคุมภายใน โดยกำหนดให้ทก ุ หน่วยงานยึดถือ แนวปฏิบต ั ท ิ ด ่ี ใี นการกำหนดการควบคุมภายในสำหรับ การดำเนินการทุกกระบวนการ คณะกรรมการบริษท ั ฯ ได้แต่งตัง ้ คณะกรรมการตรวจสอบทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตต ิ รง ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ทำหน้าทีใ่ นการสอบทานให้บริษท ั ฯ มีระบบการควบคุม ภายในที่เพียงพอเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจ และมี ประสิทธิผลประสิทธิภาพในการดำเนินงานทั้งในด้าน การใช้ทรัพยากร การดูแลทรัพย์สิน มีระบบบัญชีและ รายงานทางการเงินทีม ่ ค ี วามถูกต้องเชือ ่ ถือได้ รวมทัง ้ การปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของบริษท ั ฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเป็นอิสระในการ ตรวจสอบและประเมินประสิทธิภาพของระบบควบคุม ภายใน รวมทั้งการติดตามผลการบริหารความเสี่ยง ของบริษท ั ฯ และการกำกับดูแลกิจการทีด ่ ใี ห้เกิดขึน ้ ใน องค์กร
แผนกตรวจสอบระบบงานภายในทำหน้าที่ตรวจสอบและประเมิน ความเพี ย งพอและประสิ ท ธิ ผ ลของระบบควบคุ ม ภายในของ กระบวนการหลักทางธุรกิจของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ สอบทาน ความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายการ ทางการเงิน ประเมินระดับคุณภาพของการควบคุมการปฏิบัติงาน ภายในหน่วยงานต่างๆ ให้คำแนะนำในการปรับปรุงระบบงานแก่ ผู้ บ ริ ห ารหน่ ว ยงานให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับดำเนินการประเมินการควบคุม ตนเอง (Control Self Assessment) เพื่อพัฒนาให้การควบคุม ภายในมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งนี้ แผนกตรวจสอบฯ รายงานผล การตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบตามกำหนดไตรมาสละ 1 ครั้ง โดยถือเกณฑ์พิจารณาระดับความเพียงพอของการควบคุม ภายในตามมาตรฐาน COSO ดังนี้
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment)
บริษัทฯ ได้กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมขององค์กรที่ ชัดเจน กำหนดแผนกลยุทธ์ทางธุรกิจทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพื่อ
เป็นกรอบและทิศทางในการดำเนินงาน กำหนด KPI โดยพิจารณา ตัวชี้วัดโดยครบถ้วนทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเงิน ด้านผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ด้านการดำเนินงานภายใน และด้านการเรียนรู้และพัฒนา นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้พัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้ดัชนีชี้วัด KPI และ Competency สำหรับผู้บริหารระดับ หัวหน้าแผนกขึน้ ไป และส่งเสริมให้ผบู้ ริหารปฏิบตั งิ านให้สอดคล้อง กับนโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ตี ามทีบ่ ริษทั ฯ กำหนดไว้ รวมถึง จัดทำคูม่ อื หลักการกำกับดูแลกิจการเพือ่ ให้คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ เมื่อเดือนสิงหาคม 2550 บริษัทฯ ได้แจกคู่มือหลักการกำกับดูแลกิจการ (ฉบับปรับปรุงใหม่) ให้แก่พนักงานทุกระดับเพื่ออ่าน ทำความเข้าใจ และลงนามที่จะ ยึดถือปฏิบัติตามจรรยาบรรณ ข้อพึงปฏิบัติ และส่งคืนเอกสารที่ลง นามแล้วไปที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
บริ ษั ท ฯ ได้ ก ำหนดนโยบาย และกลยุ ท ธ์ ส ำคั ญ ในการบริ ห าร ความเสี่ยงโดยการเชื่อมโยงการบริหารความเสี่ยงเข้ากับแผนธุรกิจ ของบริษัทฯ และได้กำหนดมาตรการที่ใช้ในการบริหารความเสี่ยง เพื่อเพิ่มคุณภาพในการบริหารความเสี่ยง สร้างวัฒนธรรมองค์กร และส่งเสริมการบริหารจัดการความเสี่ยงในทุกหน่วยงานให้สำเร็จ ตาม Corporate KPI ตามที่ได้กำหนดไว้ บริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทำหน้าที่กำกับ ดูแลกระบวนการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของบริษัทฯ ให้ดำเนิน ไปอย่างมีประสิทธิผล จัดให้มีระบบการประเมินความเสี่ยงและการ ควบคุมความเสี่ยงทางธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ให้การสนับสนุน ผูบ้ ริหารในการบริหารความเสีย่ งอย่างเพียงพอ เหมาะสมกับสภาพ การดำเนินธุรกิจ และสามารถจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ ที่ ย อมรั บ ได้ เมื่ อ เดื อ นพฤษภาคม 2550 บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ และ บริษทั ในกลุม่ ไทยออยล์ (Risk Management Steering Committee : RMSC) คณะกรรมการฯ ประกอบด้วยผู้บริหารระดับรองกรรมการ อำนวยการ ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการ และกรรมการอำนวยการ ของบริษัทในกลุ่มไทยออยล์ เพื่อให้การสนับสนุนงานของคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง โดยทำหน้าที่ส่งเสริมให้การขับเคลื่อน งานบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ และบริษัทในกลุ่มไทยออยล์ ดำเนินไปในทิศทางเดียวกันและมีประสิทธิผลยิง่ ขึน้ รวมทัง้ สนับสนุน ให้การปลูกฝังงานบริหารความเสี่ยงเป็นวัฒนธรรมองค์กรสามารถ บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยัง ได้ ส นั บ สนุ น ให้ พ นั ก งานทุ ก คนนำกระบวนการบริ ห ารจั ด การ
093
094
การควบคุมภายใน ของบริษัทฯ
ความเสี่ ย งไปปฏิ บั ติ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น ประจำ โดยมี ห น่ ว ยงาน บริหารความเสี่ยงประสานงานกับผู้ประสานงานความเสี่ยงประจำ หน่วยงาน (Risk Co-Ordinator) ทำหน้าที่ในการติดตามความ คืบหน้าในการบริหารจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และรายงานผลต่ อ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น ประจำ ทุกเดือน ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะนำเสนอผล การบริหารจัดการความเสี่ยงให้กับคณะกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอำนวยการอย่างสม่ำเสมอ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2549 ถึง มิถุนายน 2550 บริษัทฯ ได้ว่า จ้างบริษัทที่ปรึกษาที่มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในธุรกิจปิโตรเลียม มาตรวจสอบระดับคุณภาพการบริหารความเสี่ยง (Gap Analysis) เพื่อนำไปกำหนดในแผนการบริหารความเสี่ยงทั้งระดับองค์กรและ ระดับกระบวนการได้ครบถ้วนในปี 2551
3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)
บริษทั ฯ ได้กำหนดนโยบายสำคัญในการดำเนินธุรกิจ ตามรายละเอียด ที่แสดงในคู่มือหลักการกำกับดูแลกิจการ เพื่อใช้เป็นแนวทางใน ดำเนินงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ อาทิเช่น นโยบาย ด้ า นคุ ณ ภาพ ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม นโยบายด้านการผลิตและการบริหารไฮโดรคาร์บอน นโยบายด้าน วิศวกรรมและซ่อมบำรุงทรัพย์สิน นโยบายรายการที่เกี่ยวข้องกัน และ นโยบายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เป็นต้น นอกจากนโยบายดังกล่าวข้างต้น บริษัทฯ ได้จัดทำระเบียบกำหนด อำนาจอนุมตั ริ ายการธุรกิจ (Corporate Authorization Procedures) เพื่อให้กรรมการอำนวยการ มอบอำนาจช่วงให้แก่ฝ่ายจัดการ และ พนักงานของบริษทั ฯ ในระดับต่างๆ ในการอนุมตั ริ ายการธุรกิจ ทัง้ นี้ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการดำเนินธุรกิจของแต่ละหน่วยงาน และเพื่อให้มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม โดยในภาพรวม บริ ษั ท ฯ มี กิ จ กรรมการควบคุ ม ที่ เ พี ย งพอ เหมาะสม และมี ประสิ ท ธิ ผ ล
4. ข้ อ มู ล สารสนเทศและการสื่ อ สาร (Information & Communication)
บริษัทฯ ได้จัดให้มีระบบสารสนเทศและช่องทางการสื่อสารทั้ง ภายในและภายนอกองค์กรที่มีความเหมาะสม เพื่อให้ทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้องได้รับข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา และเพียงพอต่อ การตัดสินใจ สำหรับช่องทางการสื่อสารภายใน พนักงานทุกคนจะ
ได้รบั ข้อมูลสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้องกับนโยบาย ระเบียบวิธปี ฏิบตั ติ า่ งๆ ทีใ่ ช้ในการปฏิบตั งิ านผ่านระบบ Intranet และผ่านการพบปะภายใน องค์กรในระดับต่างๆ ได้แก่ ผู้บริหารพบพนักงานปีละ 1 ครั้ง ฝ่ายจัดการพบผูจ้ ดั การแผนกหลังการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ทุกครั้ง และการประชุมร่วมกันระหว่างผู้แทนบริษัทฯ และคณะ กรรมการลูกจ้างทุก 2 เดือน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้กำหนดเป็น แนวปฏิบัติให้ผู้จัดการฝ่ายจัดประชุมฝ่ายเดือนละ 1 ครั้ง ด้านการ สือ่ สารข้อมูลกับบุคคลภายนอก บริษทั ฯ จัดให้มกี ารเผยแพร่ขอ้ มูล ผ่านทางเว็บไซต์ www.thaioil.co.th การเปิดเผยข้อมูลผ่านระบบ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งการจัดประชุมกับ นักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์รายไตรมาส และการแถลงข่าว ผ่านสื่อมวลชน
5. การติดตามและประเมินผล (Monitoring & Evaluation)
แผนกตรวจสอบระบบงานภายในจะดำเนินการตรวจสอบตามแผน การตรวจสอบประจำปี และรายงานผลการตรวจสอบ การติดตาม การบริ ห ารความเสี่ ย งต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบทุ ก ไตรมาส เพื่อพิจารณาว่าการดำเนินการสอบทานรายงานทางการเงินมีการ เปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วน ถูกต้อง การประเมิน ประสิทธิภาพของการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ได้ดำเนินการอย่างเหมาะสม มีการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงหรือ รายการทีม่ คี วามขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างโปร่งใส และสามารถ ตรวจสอบได้ ผลจากการตรวจสอบได้รายงานฝ่ายบริหารและผูบ้ ริหาร ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อนำไปพิจารณาปรับปรุงแก้ไข การปฏิบัติงานให้มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น
การสอบทานการควบคุมภายใน
คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงิน ระบบการควบคุม ภายในและการบริ ห ารความเสี่ ย งและการกำกั บ ดู แ ลกิ จการที่ดี ของบริษัทฯ ในปี 2550 แล้วปรากฏว่า ไม่พบประเด็นปัญหาหรือ ข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำคัญ ซึ่งโดยภาพรวมสรุปได้ว่า บริษัทฯ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลเหมาะสมเพี ย งพอ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ความเห็ น ของผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ ระบบ การควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอและเหมาะสมที่จะ สามารถป้องกันหรือลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้
รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน
รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน “งบการเงินของบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ที่นำมาจัดทำงบการเงินรวม ได้จัดทำขึ้นตามข้อกำหนดพระราช บัญญัติ บริษทั มหาชน จำกัด พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และประกาศกรมทะเบียนการค้า วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2544 ออกตามความ ในมาตรา 11 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 โดยปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน การบัญชีที่กำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี คณะกรรมการบริษทั ฯ รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ ที่จัดทำขึ้นเพื่อให้มีความมั่นใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน รายได้ ค่าใช้จ่าย และกระแสเงินสดอย่างเป็นจริงและสมเหตุผล จัดให้มี
ระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชี ที่ ถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นและเพี ย งพอที่ จ ะดำรงรั ก ษาไว้ ซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น รวมทั้งป้องกันการทุจริตและการดำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระ สำคัญ ในการจัดทำรายงานทางการเงินได้มีการพิจารณาเลือกใช้ นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบัติโดยสม่ำเสมอและเป็นไป ตามมาตรฐานบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป รวมทัง้ ได้มกี ารเปิดเผยข้อมูล สำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึง่ ผูส้ อบบัญชี ได้แสดงความเห็นต่องบการเงินของ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษทั ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต”
(นายเชิดพงษ์ สิริเวช)
(นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์)
ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)
กรรมการอำนวยการ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)
095
งบการเงิน
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 งบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและ งบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้อง และครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้า เป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าว จากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า งบการเงินรวม และงบการเงินของบริษัทสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ของบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่น ซึ่งแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขตามรายงาน ลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2550 และตามที่อธิบายไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 2 ข้อ 3 และ ข้อ 30 งบการเงินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ได้รับการปรับปรุงใหม่อันเป็นผลมาจากการ เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน และเรียกชื่อใหม่ว่า “งบการเงิน เฉพาะกิจการ” การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จากวิธีการตีราคาใหม่เป็นวิธีราคาทุน นอกจากนี้ ในงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสน้ิ สุดวันเดียวกัน บริษทั และบริษทั ย่อยได้มกี ารเปลีย่ นแปลงวิธกี ารตีราคาน้ำมันปิโตรเลียมดิบ และวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปและกึ่งสำเร็จรูปจากวิธีเข้าหลัง-ออกก่อน และ วิธีเข้าก่อน-ออกก่อนเป็นวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ข้าพเจ้า ได้ตรวจสอบรายการปรับปรุงซึ่งใช้กับการปรับปรุงงบการเงินประจำปี 2549 ใหม่ และข้าพเจ้าเห็นว่ารายการปรับปรุงดังกล่าวมีความเหมาะสม และได้ปรับปรุงโดยถูกต้องแล้ว ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป ซึง่ กำหนดให้ขา้ พเจ้าต้องวางแผน และปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบ รายการทั้งที่เป็นจำนวนเงิน และการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้ และประมาณการ เกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอ ในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน ของบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ โดยถูกต้องตามที่ควร ในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
(เทอดทอง เทพมังกร) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3787
บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด กรุงเทพมหานคร 15 กุมภาพันธ์ 2551
097
098
งบการเงิน
งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สินทรัพย์
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้บริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ค่าความนิยมติดลบ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
หมายเหตุ
2550
5, 15 6, 15 4, 7 4 4 8 9
10 6 11, 15 12 10 13 4, 14
รวมสินทรัพย์
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบการเงินรวม
(บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549 (ปรับปรุงใหม่)
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
4,213,003,996 547,128,118 22,960,940,709
6,525,429,668 456,910,727 18,754,250,172
1,110,786,175 21,181,925,386
1,393,331,570 16,434,350,229
309,256,360 32,801,759,820 2,144,298,002 62,976,387,005
13,342,149 20,655,541,403 2,552,211,154 48,957,685,273
460,431,083 1,518,000,000 29,568,885,877 1,312,524,732 55,152,553,253
71,827,105 18,163,811,601 2,022,140,539 38,085,461,044
144,983,720 16,977,929 71,439,750,951 28,346,781 (502,112,333) 209,436,730 2,749,016,971 74,086,400,749
44,366,812 59,293,522,297 51,916,607 (531,361,590) 210,998,367 2,297,158,517 61,366,601,010
6,989,637,032 16,977,929 37,789,018,608 26,926,413 209,436,730 2,121,657,617 47,153,654,329
8,238,421,192 34,369,039,984 50,564,717 210,998,367 1,787,913,351 44,656,937,611
137,062,787,754 110,324,286,283 102,306,207,582
82,742,398,655
งบการเงิน
งบดุล (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี เจ้าหนี้บริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน ภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน
หมายเหตุ
2550
15 4, 16
งบการเงินรวม
(บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549 (ปรับปรุงใหม่)
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
350,000,000 26,050,477,701
1,000,000,000 12,937,372,511
350,000,000 25,434,672,506
1,000,000,000 13,219,017,456
11, 15
1,099,636,060
1,133,370,227
295,620,000
-
4
302,011,200 671,449,655 2,063,819,262 2,008,900,220 32,546,294,098
27,385,484 821,750,619 669,860,108 2,438,815,371 19,028,554,320
306,179,020 671,449,655 1,775,620,774 1,204,860,267 30,038,402,222
26,201,987 821,750,619 441,268,782 2,186,829,026 17,695,067,870
13,510,571,026 17,348,898,612 1,502,606,359 268,931,641 32,631,007,638 65,177,301,736
11,150,880,499 18,167,917,718 1,582,479,047 228,062,812 31,129,340,076 50,157,894,396
4,631,380,000 17,348,898,612 1,462,705,817 464,130,503 23,907,114,932 53,945,517,154
6,766,542,000 18,167,917,718 1,536,194,458 430,074,865 26,900,729,041 44,595,796,911
26 17
11, 15 15 13 18
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
099
100
งบการเงิน
งบดุล (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุ
ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชำระแล้ว ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุ้น กำไรสะสม จัดสรรแล้ว สำรองตามกฎหมาย อื่น ๆ ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
2550
งบการเงินรวม
(บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549 (ปรับปรุงใหม่)
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
20,400,278,730 20,400,278,730
20,400,278,730 20,400,278,730
20,400,278,730 20,400,278,730
20,400,278,730 20,400,278,730
20
2,456,261,491
2,456,261,491
2,456,261,491
2,456,261,491
20
2,040,027,873 244,500,000 42,293,935,875 67,435,003,969 4,450,482,049 71,885,486,018
2,040,027,873 244,500,000 30,768,411,399 55,909,479,493 4,256,912,394 60,166,391,887
2,040,027,873 244,500,000 23,219,622,334 48,360,690,428 48,360,690,428
2,040,027,873 244,500,000 13,005,533,650 38,146,601,744 38,146,601,744
137,062,787,754 110,324,286,283 102,306,207,582
82,742,398,655
19
งบการเงิน
งบกำไรขาดทุน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุ
2550
(บาท)
งบการเงินรวม
2549 (ปรับปรุงใหม่)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
รายได้ รายได้จากการขายและการให้บริการ กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายได้อื่น รวมรายได้
21 4, 28 261,050,798,145 279,109,124,993 253,958,677,430 280,148,125,599 1,520,155,820 3,489,381,219 1,433,058,390 2,887,029,905 1,261,756,811 1,109,252,033 5,341,091,695 3,232,647,425 4, 22 263,832,710,776 283,707,758,245 260,732,827,515 286,267,802,929
ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายและต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย รวมค่าใช้จ่าย
21 4 235,450,026,442 259,032,298,215 235,396,177,241 271,411,035,559 4, 23 1,769,438,915 1,069,222,956 1,367,601,775 494,529,243
กำไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่าย ทางการเงินและภาษีเงินได้ ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายทางการเงิน ภาษีเงินได้ กำไรหลังภาษีเงินได้ กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย
10
4, 25 26
กำไรสุทธิ กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
27
633,093 633,187 237,220,098,450 260,102,154,358 236,763,779,016 271,905,564,802 26,612,612,326 (1,727,615,303) (5,307,793,616) 19,577,203,407 (401,574,407)
23,605,603,887 (1,916,724,527) (3,202,673,016) 18,486,206,344 (827,176,835)
23,969,048,499 14,362,238,127 (1,411,189,049) (1,393,652,625) (4,693,666,242) (2,823,605,046) 17,864,193,208 10,144,980,456 -
19,175,629,000
17,659,029,509
17,864,193,208
10,144,980,456
9.40
8.66
8.76
4.97
101
งบการเงิน
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส่วนเกินทุน หมายเหตุ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น สำหรับปี 2549 สำรองตามกฎหมาย กำไรสุทธิ เงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น สำหรับปี 2550 กำไรสุทธิ เงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ชำระแล้ว
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่)
การตีราคา สินทรัพย์
จัดสรรเป็น สำรองตาม กฎหมาย
(บาท) กำไรสะสม อื่น ๆ
ยังไม่ได้จัดสรร
รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น เฉพาะบริษัท
ส่วนของ ผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย
รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น
20,400,278,730 2,456,261,491 15,049,071,881 1,284,945,078 - (15,049,071,881) 20,400,278,730 2,456,261,491 - 1,284,945,078
244,500,000 23,831,083,809 63,266,140,989 3,586,313,278 66,852,454,267 - 233,520,241 (14,815,551,640) 1,484,806 (14,814,066,834) 244,500,000 24,064,604,050 48,450,589,349 3,587,798,084 52,038,387,433
20,400,278,730 2,456,261,491
- 755,082,795 - 2,040,027,873
- (755,082,795) - 17,659,029,509 17,659,029,509 827,176,835 18,486,206,344 - (10,200,139,365) (10,200,139,365) (158,062,525) (10,358,201,890) 244,500,000 30,768,411,399 55,909,479,493 4,256,912,394 60,166,391,887
30
20,400,278,730 2,456,261,491 12,574,529,649 2,040,027,873 - (12,574,529,649) 20,400,278,730 2,456,261,491 - 2,040,027,873
244,500,000 30,842,300,623 68,557,898,366 4,254,884,453 72,812,782,819 (73,889,224) (12,648,418,873) 2,027,941 (12,646,390,932) 244,500,000 30,768,411,399 55,909,479,493 4,256,912,394 60,166,391,887
29
20,400,278,730 2,456,261,491
- 19,175,629,000 19,175,629,000 401,574,407 19,577,203,407 - (7,650,104,524) (7,650,104,524) (208,004,752) (7,858,109,276) 244,500,000 42,293,935,875 67,435,003,969 4,450,482,049 71,885,486,018
30
20 29
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
- 2,040,027,873
102
งบการเงิน
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส่วนเกินทุน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นสำหรับปี 2549 สำรองตามกฏหมาย กำไรสุทธิ เงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นสำหรับปี 2550 กำไรสุทธิ เงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
(บาท) กำไรสะสม
การตีราคา สินทรัพย์
จัดสรรเป็น สำรองตาม กฎหมาย
20,400,278,730 20,400,278,730
2,456,261,491 15,049,071,881 - (15,049,071,881) 2,456,261,491 -
1,284,945,078 1,284,945,078
244,500,000 23,831,083,809 63,266,140,989 - (10,015,308,455) (25,064,380,336) 244,500,000 13,815,775,354 38,201,760,653
20,400,278,730
2,456,261,491
-
755,082,795 2,040,027,873
(755,082,795) - 10,144,980,456 10,144,980,456 - (10,200,139,365) (10,200,139,365) 244,500,000 13,005,533,650 38,146,601,744
30
20,400,278,730 20,400,278,730
2,456,261,491 12,574,529,649 - (12,574,529,649) 2,456,261,491 -
2,040,027,873 2,040,027,873
244,500,000 30,842,300,623 68,557,898,366 - (17,836,766,973) (30,411,296,622) 244,500,000 13,005,533,650 38,146,601,744
29
20,400,278,730
2,456,261,491
2,040,027,873
244,500,000
หมายเหตุ
30 20 29
ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ชำระแล้ว
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม่)
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น
-
อื่น ๆ
ยังไม่ได้จัดสรร
รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น เฉพาะบริษัท
17,864,193,208 17,864,193,208 (7,650,104,524) (7,650,104,524) 23,219,622,334 48,360,690,428
103
104
งบการเงิน
งบกระแสเงินสด สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสุทธิ รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ดอกเบี้ยจ่าย ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้น ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย เงินปันผลรับ กำไรจากการปรับมูลค่าสัญญาแลกเปลี่ยน ส่วนต่างราคาน้ำมันสำเร็จรูป และน้ำมันดิบล่วงหน้าสุทธิ ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง กำไรจากการปรับมูลค่าสัญญาแลกเปลี่ยน เงินตราที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง กำไรจากการลดทุนหุ้นบุริมสิทธิ ของบริษัทย่อย ขาดทุน (กำไร) จากการจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และสินทรัพย์อื่น การรับรู้ค่าธรรมเนียมการเช่าที่ดิน และรายได้อื่น ภาษีเงินได้ กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
2550
(บาท)
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549 (ปรับปรุงใหม่)
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
19,175,629,000
17,659,029,509
17,864,193,208
10,144,980,456
4,966,124,457
4,813,871,101
3,329,107,464
3,190,907,116
(935,742,079) 1,679,901,312 -
(2,676,212,717) 1,860,687,158 1,290,184
(838,264,869) 1,365,415,192 -
(2,236,020,766) 1,343,494,149 -
633,093 -
633,187 -
(2,253,187,231)
(1,688,989,857)
(69,251,117)
-
(69,251,117)
-
(114,175,982)
(80,661,130)
-
(80,661,130)
-
-
(1,528,403,529)
-
6,143,294
51,825,662
6,757,062
(8,218,841)
-
20,700,959
-
-
(21,453,133) 5,307,793,616 401,574,407 30,397,176,868
(30,886,185) 3,202,673,016 827,176,835 25,650,127,579
(188,357,090) 4,693,666,242 22,381,675,332
(187,933,440) 2,823,605,046 13,301,162,733
งบการเงิน
งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุ
การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินดำเนินงาน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้บริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้บริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
2550
(4,224,212,224) (70,319,623) (12,146,218,417) 251,291,293 (568,174,815) 13,117,384,451 61,674,598 (150,300,963) (23,380,765) 55,515,335 (3,998,024,100) 22,702,411,638
งบการเงินรวม
(บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549 (ปรับปรุงใหม่)
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
(937,463,617)
(4,758,547,074)
(227,660,700)
(3,357,393) (163,009,390) (745,789,295) (11,405,074,277) (278,393,726) 547,115,361 (372,722,932) (584,869,480) (653,940,793) 12,219,682,320
88,432,785 (777,309,676) (177,250,813) (311,061,554) (297,173,625)
23,671,943 458,847,689 (503,648,660) 86,174,234 (4,812,849,163) 17,910,655,866
54,590,955 (150,300,963) (29,326,629) 183,693,301 (3,431,241,256) 14,864,388,200
(40,580,442) 458,847,689 (440,000,387) 247,386,094 (4,635,274,061) 7,189,518,043
105
106
งบการเงิน
งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับเงินปันผล เงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น เงินให้กู้ด้อยสิทธิแก่บริษัทย่อยลดลง เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อยเพิ่มขึ้น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ ของพนักงานเพิ่มขึ้น เงินลงทุนระยะยาวเพิ่มขึ้น ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้อสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน เงินสดรับจากการลดทุนหุ้นบุริมสิทธิ ของบริษัทย่อย เงินสดจ่ายซื้อหุ้นในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
2550
(บาท)
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549 (ปรับปรุงใหม่)
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
(90,217,391) -
(35,423,678) -
2,253,187,231 (1,518,000,000)
1,688,989,857 136,065,946 -
(22,579,429) (16,977,929) (16,937,997,844) 2,518,519 (11,138,473)
(29,027,359) (8,278,170,086) 101,880,966 (9,392,699)
(22,579,429) (16,977,929) (7,067,496,686) 1,614,279 (10,735,395)
(29,027,359) (5,860,504,675) 99,942,961 (9,271,097)
-
-
2,918,437,689
-
(101,250,000) (17,177,642,547)
(45,000,000) (8,295,132,856)
(141,250,000) (3,603,800,240)
(45,000,000) (4,018,804,367)
งบการเงิน
งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายเงินปันผล เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน จ่ายชำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว จ่ายชำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี รายการที่ไม่ใช่เงินสด ค่าซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ส่วนที่ยังค้างชำระ
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
2550
งบการเงินรวม
2549 (ปรับปรุงใหม่)
(1,787,433,103) (2,292,245,164) (7,858,109,276) (10,358,201,890) -
5
1,000,000,000
(บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
(1,431,488,831) (1,371,185,052) (7,650,104,524) (10,200,139,365) -
1,000,000,000
(650,000,000) (650,000,000) 5,402,694,000 1,479,058,854 (2,944,346,384) (9,670,328,921) (1,811,540,000) 5,500,000,000 (7,837,194,763) (14,341,717,121) (11,543,133,355)
(4,117,460,000) 5,500,000,000 (9,188,784,417)
(2,312,425,672)
(4,726,194,111)
(282,545,395)
(6,018,070,741)
6,525,429,668
11,251,623,779
1,393,331,570
7,411,402,311
4,213,003,996
6,525,429,668
1,110,786,175
1,393,331,570
693,807,286
1,084,375,062
111,486,192
1,044,657,841
107
108
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกงบการเงินจากกรรมการเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2551
1 ข้อมูลทั่วไป บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทยในปี 2504 และมีที่อยู่จดทะเบียนดังนี้ สำนักงานใหญ่
: เลขที่ 123 อาคารซันทาวเวอร์สบี ชั้น 16 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
สำนักงานศรีราชาและ โรงกลั่นน้ำมัน
: เลขที่ 42/1 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท กม. 124 ตำบลทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย
บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อเดือนตุลาคม 2547 บริษัทเป็นบริษัทในกลุ่มของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (“ปตท.”) ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทยและเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัทซึ่งถือหุ้นร้อยละ 49.1 ของทุนที่ออกและชำระแล้ว บริษัทดำเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการกลั่นและจำหน่ายน้ำมัน รายละเอียดของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีดังนี้ ชื่อกิจการ บริษัทย่อยทางตรง บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี จำกัด
ลักษณะธุรกิจ
ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง
บริษัทถือหุ้นร้อยละ
2550
2549
ประเทศไทย
99.99
99.99
ผลิตพาราไซลีน ผลิตและจำหน่าย น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน ให้บริการขนส่งผลิตภัณฑ์ น้ำมันปิโตรเลียมและ ผลิตภัณฑ์เคมีเหลวทางเรือ ผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน้ำ
ประเทศไทย
99.99
99.99
ประเทศไทย ประเทศไทย
99.99 54.99
99.99 54.99
ผลิตกระแสไฟฟ้า ผลิตกระแสไฟฟ้า
ประเทศไทย ประเทศไทย
24.00 99.99
24.00 -
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ชื่อกิจการ
ลักษณะธุรกิจ
ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง
บริษัทย่อยทางอ้อม บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ท็อปไฟฟ้าอิสระ จำกัด
ผลิตกระแสไฟฟ้า ผลิตกระแสไฟฟ้า
ประเทศไทย ประเทศไทย
บริษทั ถือหุน้ ร้อยละ
2550
2549
56.00 99.99
56.00 -
2 เกณฑ์การจัดทำงบการเงิน งบการเงินนีน้ ำเสนอเพือ่ วัตถุประสงค์ของการรายงานเพือ่ ใช้ในประเทศไทย และจัดทำเป็นภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษได้จดั ทำขึน้ เพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงินที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย (“มาตรฐานการบัญชี”) รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้โดย สภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย ในระหว่างปี 2550 สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหม่ ซึ่งให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลา บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า การใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่เหล่านี้ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท สำหรับส่วน ได้เสียของเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้เปิดเผยไว้แล้วในหมายเหตุข้อ 30 นอกจากการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีดังกล่าวข้างต้น ในระหว่างปี 2550 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีใหม่ หลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับใช้สำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 และไม่ได้มีการนำมาใช้สำหรับ การจัดทำงบการเงินนี้ มาตรฐานการบัญชีที่ได้ออกและปรับปรุงใหม่เหล่านี้ได้เปิดเผยในหมายเหตุข้อ 36 งบการเงินนี้แสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาท และมีการปัดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็นหลักพันบาท ยกเว้นที่ระบุไว้ เป็นอย่างอื่น งบการเงินนี้ได้จัดทำขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นที่กล่าวไว้ในนโยบายการบัญชี
109
110
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ในการจัดทำงบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ผู้บริหารต้องใช้การประมาณและข้อสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการ กำหนดนโยบายและการรายงานจำนวนเงินที่เกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย การประมาณและข้อสมมติฐานมาจาก ประสบการณ์ ในอดีต และปัจจัยต่างๆ ที่ผู้บริหารมีความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลภายใต้สภาวการณ์ ซึ่งไม่อาจอาศัยข้อมูลจากแหล่งอื่น และนำไปสู่การตัดสินใจเกี่ยวกับการกำหนดจำนวนสินทรัพย์และหนี้สินนั้นๆ ดังนั้นผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทำงบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึก ในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวน หากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้นๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับ และงวด ในอนาคต หากการปรับประมาณการกระทบทั้งงวดปัจจุบันและอนาคต
3 นโยบายการบัญชีที่สำคัญ (ก) เกณฑ์ในการทำงบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท และบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) และส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วม รายการที่มีสาระสำคัญซึ่งเกิดขึ้นระหว่างบริษัทและบริษัทย่อยได้ถูกตัดรายการในการทำงบการเงินรวม บริษัทย่อย บริษัทย่อยเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อบริษัทมีอำนาจควบคุม ทั้งทางตรงหรือทางอ้อมในการกำหนด นโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของบริษัทนั้น เพื่อได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมของบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัทย่อยได้รวม อยู่ในงบการเงินรวม นับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง บริษัทร่วม บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญ โดยมีอำนาจเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงิน และการดำเนินงานแต่ไม่ถงึ ระดับทีจ่ ะควบคุมนโยบายดังกล่าว งบการเงินรวมของกลุม่ บริษทั ได้รวมส่วนแบ่งกำไรหรือขาดทุนของบริษทั ร่วม ตามวิธีส่วนได้เสีย นับจากวันที่มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญจนถึงวันที่การมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญสิ้นสุดลง เมื่อผลขาดทุนที่ กลุ่มบริษัทได้รับปันจากบริษัทร่วมมีจำนวนเกินกว่าเงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนจะถูกทอนลงจนเป็นศูนย์และหยุดรับรู้ส่วนผลขาดทุน เว้นแต่ กรณีที่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรืออนุมานหรือยินยอมที่จะชำระภาระผูกพันของบริษัทร่วม
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
การรวมธุรกิจ การรวมธุรกิจบันทึกบัญชีโดยวิธีซื้อธุรกิจ ต้นทุนการซื้อธุรกิจบันทึกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ส่งมอบตราสารทุนที่ออกและหนี้สิน ที่เกิดขึ้นจนถึง ณ วันที่มีการแลกเปลี่ยน รวมถึงรายจ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อธุรกิจ (ข) รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในงบดุล แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กำไร หรือขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในงบกำไรขาดทุน สินทรัพย์และหนี้สินที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ ได้ถูกนำมาใช้เพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ อัตราดอกเบีย้ และราคาสินค้าโภคภัณฑ์ทเ่ี กิดจากกิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน เครือ่ งมือทางการเงิน ที่เป็นตราสารอนุพันธ์ ไม่ได้มีไว้เพื่อค้า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ที่ไม่เข้าเงื่อนไขการกำหนดให้เป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง ถือเป็นรายการเพื่อค้า เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์จะถูกบันทึกบัญชีในขั้นแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการทำรายการดังกล่าว บันทึกในงบกำไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น การวัดมูลค่าใหม่ภายหลังการบันทึกครั้งแรกใช้มูลค่ายุติธรรม กำไรหรือขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ ให้เป็นมูลค่ายุตธิ รรมบันทึกในงบกำไรขาดทุน อย่างไรก็ตามหากตราสารอนุพนั ธ์เข้าเงือ่ นไขมีไว้เพือ่ เป็นเครือ่ งมือป้องกันความเสีย่ ง การบันทึก รายการกำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาจะขึ้นอยู่กับประเภทของรายการที่ได้รับการป้องกันความเสี่ยง (ดูนโยบายการบัญชีข้อ 3(ฆ)) มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยถือตามราคาอ้างอิงของคู่สัญญา ณ วันที่ในงบดุล ราคาอ้างอิงเหล่านั้นสามารถทดสอบ หาความสมเหตุสมผลได้ ด้วยการคิดลดประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ภายใต้ข้อกำหนดต่างๆ และวันสิ้นสุดของแต่ละสัญญา และ โดยการใช้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดของเครื่องมือทางการเงินที่คล้ายคลึงกัน ณ วันที่ในงบดุล มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราถูกคำนวณ โดยใช้เทคนิคการคิดมูลค่าซึ่งอ้างอิงราคาตลาดที่เกิดขึ้น ได้แก่จำนวนที่กลุ่มบริษัท ประมาณว่าจะได้รบั หรือจ่ายไปเมือ่ สิน้ สุดสัญญา ณ วันที่ในงบดุล โดยพิจารณาอัตราดอกเบีย้ ในปัจจุบนั อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ และระดับความน่าเชื่อถือของคู่สัญญาในปัจจุบัน
111
112
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มูลค่ายุตธิ รรมของสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าถือตามราคาตลาดของสัญญาล่วงหน้า ณ วันที่ในงบดุลถ้ามีราคาตลาด ในกรณีที่ ไม่มีราคาตลาด ให้ประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้าตามสัญญา กับราคาล่วงหน้าของสัญญาปัจจุบัน ณ วันที่ในงบดุลที่ครบกำหนดในวันเดียวกัน โดยใช้อัตราดอกเบี้ยประเภทที่ใช้กับธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล (ฆ) การป้องกันความเสี่ยง การป้องกันความเสี่ยงจากมูลค่ายุติธรรม ในกรณีท่ีเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ถูกใช้ในการป้องกันความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หนี้สิน หรือข้อผูกมัดแน่นอนที่ยังไม่มีการบันทึกบัญชี (หรือเฉพาะส่วนที่เจาะจงของสินทรัพย์ หนี้สิน หรือข้อผูกมัดแน่นอน) กำไรหรือขาดทุน จากการตีราคาตามมูลค่ายุติธรรมหรือองค์ประกอบที่เป็นเงินตราต่างประเทศของเครื่องมือทางการเงินที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงจะถูกบันทึกใน งบกำไรขาดทุน รายการที่ได้รับการป้องกันความเสี่ยงตีราคาตามมูลค่ายุติธรรมเพื่อให้สอดคล้องกับความเสี่ยงที่มีการป้องกัน กำไรหรือ ขาดทุนที่เกิดขึ้นถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน การป้องกันความเสี่ยงจากรายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่จะมีในอนาคต มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าถือตามราคาตลาดของสัญญาล่วงหน้า ณ วันที่ในงบดุล การป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัททำสัญญาป้องกันความเสี่ยงของอัตราดอกเบี้ยกับสถาบันการเงินหลายแห่งที่อยู่ในอันดับการลงทุนที่น่าเชื่อถือ เพื่อป้องกันความเสี่ยง จากอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ในระหว่างงวดถ้าอัตราดอกเบี้ย LIBOR ของเงินกู้ยืม สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาไม่เกินอัตราดอกเบี้ยที่ป้องกันความเสี่ยงไว้ บริษัทจะจ่ายดอกเบี้ยที่อัตราดอกเบี้ย LIBOR ของเงินกู้ยืมสกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา บริษัทได้จ่ายค่าธรรมเนียมแรกเริ่มและบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับสัญญาป้องกันความเสี่ยงของอัตราดอกเบี้ยรอตัด บัญชีและตัดจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญา บริษัทย่อยได้ทำสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยหลายฉบับกับสถาบันการเงินหลายแห่งในต่างประเทศ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตรา ดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ย LIBOR เป็นอัตราคงที่ บริษัทย่อยรับรู้และบันทึกผลต่างที่ได้รับหรือ จ่ายซึ่งเกิดจากสัญญาป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยโดยปรับปรุงกับดอกเบี้ยจ่ายของเงินกู้ยืมที่ได้รับการป้องกันความเสี่ยงนั้นใน งบกำไรขาดทุน การป้องกันความเสี่ยงจากส่วนต่างราคาน้ำมัน บริษัทเข้าทำสัญญา Crack Spread Swap ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพตลาด เพื่อกำหนดราคาน้ำมันดิบหรือผลต่างระหว่างราคาน้ำมันสำเร็จรูป ปิโตรเลียมและน้ำมันดิบ ผลต่างระหว่างราคาคงที่ที่กำหนดในสัญญาและราคาตลาดที่เกิดขึ้นจริงได้บันทึกเป็นกำไรหรือขาดทุนสำหรับ การดำเนินงานปีปัจจุบัน
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์และกระแสรายวัน และเงินลงทุน ระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึง่ จะต้องชำระคืน เมือ่ ทวงถามถือเป็นส่วนหนึง่ ของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (จ) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชำระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการชำระหนี้ในอนาคตของลูกค้า ลูกหนี้ จะถูกตัดจำหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ (ฉ) สินค้าคงเหลือ วัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ต้นทุนสินค้าประกอบด้วยต้นทุนที่ซื้อ ต้นทุนในการดัดแปลงหรือต้นทุนอื่นเพื่อให้สินค้าอยู่ในสถานที่และสภาพปัจจุบัน ในกรณีของสินค้า สำเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุนสินค้ารวมการปันส่วนของค่าโสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงระดับกำลังการผลิต ตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการดำเนินธุรกิจปกติหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการขาย น้ำมันปิโตรเลียมดิบ และวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปและกึ่งสำเร็จรูป น้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปและกึ่งสำเร็จรูปคำนวณโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก วิธีการบันทึกบัญชีดังกล่าว ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของบริษัทผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ซึ่งผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 30 วัสดุ อะไหล่ และของใช้สิ้นเปลือง ต้นทุนของวัสดุ อะไหล่ และของใช้สิ้นเปลืองคำนวณโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
113
114
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ช) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุน วิธีการบันทึกบัญชีดังกล่าว ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ซึ่งผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 30 ส่วนการบันทึกบัญชีเงินลงทุน ในบริษัทร่วมในงบการเงินรวมใช้วิธีส่วนได้เสีย เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น ตราสารหนี้ซึ่งกลุ่มบริษัทตั้งใจและสามารถถือจนกว่าครบกำหนด แสดงในราคาทุนตัดจำหน่ายหักด้วยขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน (ถ้ามี) ผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อมากับมูลค่าไถ่ถอนของตราสารหนี้ จะถูกตัดจ่ายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตลอดอายุของตราสารหนี้ ที่เหลือ ตราสารหนีแ้ ละตราสารทุนซึง่ เป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด นอกเหนือจากทีถ่ อื ไว้เพือ่ ค้าหรือตัง้ ใจถือไว้จนครบกำหนด จัดประเภท เป็นหลักทรัพย์เผื่อขายและแสดงในมูลค่ายุติธรรม กำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์ ได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรง ยกเว้นขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน และกำไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน จะรับรู้ในงบกำไรขาดทุน เมื่อมีการจำหน่ายเงินลงทุน จะรับรู้ผลกำไรหรือขาดทุนที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรงเข้าในงบกำไรขาดทุน เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า การจำหน่ายเงินลงทุน เมื่อมีการจำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจำนวนเงินสุทธิที่ได้รับและมูลค่าตามบัญชี จะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ในกรณีที่กลุ่มบริษัทจำหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การคำนวณต้นทุนสำหรับเงินลงทุนที่จำหน่ายไปและเงินลงทุนที่ยังถืออยู่ใช้วิธี ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (ซ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า วิธีการบันทึกบัญชีดังกล่าวถือเป็นการเปลี่ยน แปลงนโยบายการบัญชีของบริษัทซึ่งได้มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการตีราคา ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์จากวิธีการตีราคาใหม่เป็นวิธีราคาทุนเพื่อ ให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของบริษัทผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ซึ่งผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 30
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ค่าเสื่อมราคา ค่าเสือ่ มราคาบันทึกเป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธเี ส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์แต่ละรายการ (ยกเว้นค่าเสื่อมราคาโรงผลิตกระแสไฟฟ้าของบริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด ซึ่งคำนวณโดยวิธีผันแปรตามหน่วยผลิต) ประมาณการอายุ การใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ อาคาร ส่วนปรับปรุงสินทรัพย์ที่เช่า โรงกลั่นน้ำมันของบริษัท (เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2537 บริษัทคิดค่าเสื่อมราคา โรงกลั่นน้ำมันตามอายุการใช้งานโดยประมาณที่เหลืออยู่) โรงกลั่นน้ำมันหล่อลื่นขั้นพื้นฐานของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โรงผลิตพาราไซลีนของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โรงผลิตกระแสไฟฟ้าของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด) ระบบสายส่งไฟฟ้า เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์โรงงาน เรือบรรทุกน้ำมันและผลิตภัณฑ์เคมีเหลว เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง เครื่องใช้สำนักงานและอื่น ๆ ยานพาหนะ
10-25 ปี 5-20 ปี 20 ปี 16-20 ปี 10-25 ปี 25 ปี 20 ปี 5-20 ปี 9-14 ปี 5-10 ปี 5 ปี
กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาสำหรับสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง (ฌ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยมติดลบ ค่าความนิยมติดลบจากการรวมธุรกิจ ได้แก่ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ ส่วนที่เกินกว่าต้นทุนการได้มาของสินทรัพย์สุทธินั้น ค่าความนิยมติดลบแสดงในราคาทุนหักด้วยค่าตัดจำหน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าความนิยมติดลบที่เกิดจากการซื้อ หุ้นทุนในบริษัทย่อยได้รวมไว้ในเงินลงทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นๆ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่นๆ ที่กลุ่มบริษัทซื้อมาแสดงในราคาทุน หักค่าตัดจำหน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า (ถ้ามี)
115
116
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ค่าตัดจำหน่าย ค่าตัดจำหน่ายบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ของสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนแต่ละประเภท ยกเว้นในกรณีที่ไม่อาจคาดระยะเวลาสิ้นสุดของประโยชน์ที่จะได้รับ สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนจะไม่ถูกตัด จำหน่าย แต่จะได้รับการทดสอบว่าด้อยค่าหรือไม่ทุกวันที่ในงบดุล ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจแสดงได้ดังนี้ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ ค่าสิทธิ ค่าความนิยมติดลบ
5 ปี 10 - 15 ปี 20 ปี
ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากค่าใช้จ่ายนั้นๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไปตามอายุของ สัญญาที่เกี่ยวข้อง (ญ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลว่า มีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้จะทำการ ประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนที่มีอายุการใช้งานไม่จำกัดและสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนซึ่งยังไม่ได้ใช้ จะมีการทดสอบการด้อยค่าทุกปีและเมื่อมีข้อบ่งชี้ เรื่องการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะ ได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในงบกำไรขาดทุน เว้นแต่เมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลค่าของสินทรัพย์เพิ่มของสินทรัพย์ ชิ้นเดียวกันที่เคยรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นและมีการด้อยค่าในเวลาต่อมา ในกรณีนี้ให้รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีความชัดเจนว่าสินทรัพย์ดังกล่าว มีการด้อยค่า ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยไม่ต้องปรับกับยอดสินทรัพย์ทางการเงิน ดังกล่าว ยอดขาดทุนที่บันทึกในงบกำไรขาดทุนเป็นผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อกับมูลค่ายุติธรรมในปัจจุบันของสินทรัพย์ หักขาดทุนจาก การด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรู้แล้วในงบกำไรขาดทุน การคำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษัทที่ถือไว้จนกว่าจะครบกำหนด และลูกหนี้ที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจำหน่าย คำนวณ โดยการหามูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคต คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง สำหรับลูกหนี้ระยะสั้นไม่มี การคิดลด
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์อื่น หมายถึงราคาขายสุทธิของสินทรัพย์ หรือมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลด ก่อนคำนึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ สำหรับ สินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น ให้พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด เงินสดที่สินทรัพย์นั้นมีความเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของหลักทรัพย์ที่ถือไว้จนกว่าจะครบกำหนดจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการคำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเพื่อให้มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคา หรือค่าตัดจำหน่ายเสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน (ฎ) ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้เป็นผลต่างระหว่างจำนวนเงินที่ได้รับจากการขายหุ้นกู้และยอดเงินเมื่อถึงกำหนดชำระบันทึกในงบกำไรขาดทุนตลอดอายุ การกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ฏ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ฐ) ผลประโยชน์พนักงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงาน ข้อผูกพันตามกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนเมื่อมีการจ่ายเงินสมทบ กองทุนเงินบำเหน็จ ข้อผูกพันตามกองทุนเงินบำเหน็จจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนโดยคำนวณตามสูตรผลประโยชน์ที่บริษัทกำหนดไว้ ณ วันที่ใน งบดุล ซึ่งเงินผลประโยชน์นี้จะให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นๆ ครบเกษียณอายุ ทุพพลภาพ ถึงแก่กรรม หรือลาออกจากงาน
117
118
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ฑ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ในงบดุลก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้นอันเป็นผลมาจาก เหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชำระภาระหนี้สินดังกล่าว และสามารถ ประมาณจำนวนภาระหนีส้ นิ ได้อย่างน่าเชือ่ ถือ ถ้าผลกระทบดังกล่าวมีจำนวนทีเ่ ป็นสาระสำคัญ ประมาณการหนีส้ นิ พิจารณาจากการคิดลด กระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตราคิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนคำนึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจำนวนที่อาจประเมินได้ในตลาด ปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน (ฒ) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีขายอื่นๆ และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า การขายสินค้าและให้บริการ รายได้รับรู้ในงบกำไรขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าที่มีนัยสำคัญไปให้กับผู้ซื้อแล้ว และจะไม่รับรู้ รายได้ถ้าฝ่ายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรือมีความไม่แน่นอนที่มีนัยสำคัญในการได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ จากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ไม่อาจวัดมูลค่าของจำนวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ หรือมีความเป็นไปได้ค่อนข้าง แน่นอนที่จะต้องรับคืนสินค้า รายได้จากการให้บริการรับรู้เมื่อมีการให้บริการ รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าเช่าจากสินทรัพย์เพื่อการลงทุนรับรู้ในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ดอกเบี้ยรับและเงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล ซึ่งตามปกติในกรณีเงินปันผลที่จะได้รับจากหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด จะพิจารณาจากวันที่มีการประกาศสิทธิการรับปันผล (ณ) ค่าใช้จ่าย สัญญาเช่าดำเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดำเนินงานบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกำไร ขาดทุนในรอบบัญชีที่มีรายการดังกล่าว ค่าซ่อมแซมและค่าบำรุงรักษา รายจ่ายในการซ่อมแซมและบำรุงรักษา บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนในงวดที่เกิดรายจ่ายนั้น ส่วนรายจ่ายที่มีลักษณะเป็นรายจ่าย ฝ่ายทุนได้บันทึกรวมไว้ในบัญชีอาคารและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายจ่ายทางการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในทำนองเดียวกันบันทึกในงบกำไรขาดทุนในงวดที่ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้น ยกเว้นในกรณีที่มีการบันทึกเป็น ต้นทุนส่วนหนึ่งของสินทรัพย์อันเป็นผลมาจากการใช้เวลายาวนานในการจัดหา ก่อสร้าง หรือการผลิตสินทรัพย์ดังกล่าวก่อนที่จะนำมา ใช้เองหรือเพื่อขาย (ด) ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้จากกำไรหรือขาดทุนสำหรับปีประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน ภาษีเงินได้ปัจจุบันได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายชำระโดยคำนวณจากกำไรประจำปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้ ณ วันที่ในงบดุล ซึ่งเกี่ยวกับรอบบัญชีที่คำนวณภาษีเงินได้ ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทและบริษัทย่อยบางแห่งบันทึกบัญชีโดยวิธีหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี โดยคำนวณจากผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหว่าง มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สิน และจำนวนที่ใช้เพื่อความมุ่งหมายทางภาษีโดยผลต่างชั่วคราวต่อไปนี้ไม่ได้ถูกนำมาร่วมพิจารณา ได้แก่ ค่าความนิยมซึ่งไม่สามารถถือเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษี การรับรู้สินทรัพย์และหนี้สินในครั้งแรกซึ่งไม่กระทบต่อทั้งกำไรทางบัญชี หรือ กำไรทางภาษี และผลต่างที่เกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษัทย่อย หากเป็นไปได้ว่าจะไม่มีการกลับรายการในระยะเวลาอันใกล้ จำนวนภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีพิจารณาจากรายการที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจริง หรือมูลค่าหรือประโยชน์ของสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับและหนี้สินที่คาดว่าจะต้อง ชำระโดยใช้อัตราภาษีที่มีการประกาศใช้ ณ วันที่ในงบดุล สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่ากำไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมีจำนวนเพียงพอกับ การใช้ประโยชน์จากการตัง้ สินทรัพย์ดงั กล่าว สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกปรับลดลงเท่าทีป่ ระโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริง
4 รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ได้แก่ บุคคลหรือกิจการต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทและบริษัท โดยการเป็นผู้ถือหุ้น หรือมีผู้ถือหุ้น ร่วมกัน หรือมีกรรมการร่วมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้กำหนดขึ้นโดยใช้ราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตาม สัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ
119
120
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายละเอียดความสัมพันธ์ที่กลุ่มบริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมร่วมกันในบริษัท หรือเป็นกิจการ ที่บริษัทควบคุม หรือเป็นบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุ่มบริษัท ชื่อกิจการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี จำกัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่นจำกัด (มหาชน) (เกิดจากการควบรวมบริษัท อะโรเมติกส์ ประเทศไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัท โรงกลั่นน้ำมันระยอง จำกัด (มหาชน)) บริษทั บางจาก ปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) บริษทั ปตท. บริหารธุรกิจค้าปลีก จำกัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั ท็อปไฟฟ้าอิสระ จำกัด
ประเทศที่จัดตั้ง ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
ลักษณะความสัมพันธ์ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัทย่อยและ/หรือกรรมการร่วมกัน บริษัทย่อยและ/หรือกรรมการร่วมกัน บริษัทย่อยและ/หรือกรรมการร่วมกัน บริษัทย่อยและ/หรือกรรมการร่วมกัน บริษัทย่อยและ/หรือกรรมการร่วมกัน บริษัทร่วมและ/หรือกรรมการร่วมกัน บริษัทร่วมและ/หรือกรรมการร่วมกัน บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและ/หรือกรรมการร่วมกัน บริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่
ไทย ไทย ไทย
บริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัทย่อยของบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัทย่อยของบริษัทย่อยของบริษัท และ/หรือกรรมการร่วมกัน บริษัทย่อยของบริษัทย่อยของบริษัท และ/หรือกรรมการร่วมกัน
ไทย
นโยบายการกำหนดราคาสำหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดังต่อไปนี้ (1) รายได้จากการขายและการให้บริการ และซือ้ สินค้า กำหนดตามราคาตลาดหรือในราคาทีต่ กลงกัน ตามสัญญาหากไม่มรี าคาตลาดรองรับ (2) รายได้อื่น และค่าใช้จ่ายอื่น กำหนดราคาตามสัญญา (3) ค่าตอบแทนกรรมการ กำหนดตามที่ได้รับการอนุมัติโดยผู้ถือหุ้นของบริษัท
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายการที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 สรุปได้ดังนี้
2550
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายได้จากการขายและการให้บริการ ซื้อน้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ รายได้จากการจำหน่ายสินทรัพย์ถาวร รายได้อื่น ดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่าย ซื้อขายน้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ เพื่อสำรองน้ำมันตามกฏหมาย* บริษัทย่อย รายได้จากการขายและการให้บริการ ซื้อน้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ ซื้อขายน้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ เพื่อสำรองน้ำมันตามกฎหมาย* ดอกเบี้ยรับ รายได้เงินปันผล รายได้อื่น รายได้ค่าเช่าที่ดิน ดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่าย
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
146,951,943 122,814,070 18,208 685,786
158,450,090 126,417,323 105,000 14,560 6,641 12,821
143,539,700 113,616,619 18,123 684,802
155,481,804 118,139,261 105,000 14,540 6,641 11,934
3,729,550
2,197,680
3,729,550
2,197,680
-
-
30,153,732 29,120,601
38,770,292 32,852,446
-
-
2,151,750 15,357 2,253,187 638,579 39,311 15,503
1,810,000 1,022 1,688,990 1,061,899 37,746 2,214 26,774
121
122
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
2550
บริษัทร่วม ค่าใช้จ่าย กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการขายและการให้บริการ ซื้อน้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ ซื้อขายน้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ เพื่อสำรองน้ำมันตามกฎหมาย* รายได้อื่น รายได้จากการจำหน่ายสินทรัพย์ถาวร ค่าใช้จ่าย ค่าตอบแทนกรรมการ
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
40,109
16,514
40,109
16,514
17,962,348 2,904,596
13,059,860 2,414,106
16,530,493 2,376,675
11,816,034 2,410,627
7,169,468 10,683 500 82,829
2,192,530 11,337 60,212
7,169,468 10,683 500 82,829
2,192,530 11,337 60,212
90,472
111,515
62,020
61,539
* รายการซื้อขายน้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดยมีวัตถุประสงค์ ในการรักษาระดับสำรองน้ำมันตามกฎหมาย ซึ่งได้กลับรายการในงบการเงินสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีดังนี้ ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2550
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ปตท. บริหารธุรกิจค้าปลีก จำกัด บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
10,514,015
8,073,655
10,329,062
7,794,791
-
-
2,160,340 208,286 59,103
2,928,404 76,978 32,363
241,494 137,096 553,815 11,446,420 (266) 11,446,154
404,466 949,701 9,427,822 (266) 9,427,556
241,494 24,764 534,954 13,558,003 13,558,003
30,331 945,782 11,808,649 11,808,649
123
124
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ลูกหนี้บริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2550
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี จำกัด บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด บริษทั ท็อปไฟฟ้าอิสระ จำกัด บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด รวม
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
273,759
4,080
273,357
4,080
-
-
23,237 17,025 28,916 25,482 48,459 8,216 242
23,138 11,784 17,073 5,629 861 -
35,497 309,256
9,262 13,342
35,497 460,431
9,262 71,827
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
(พันบาท)
2550
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นบริษัทย่อย บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด (อัตราดอกเบี้ยในปี 2550 เท่ากับอัตราดอกเบี้ย เงินกู้ยืมระยะสั้นตามตลาดเงินแต่ไม่เกินอัตรา ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต่ำถัวเฉลี่ยของธนาคาร 5 แห่ง หักอัตราส่วนลด)
-
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
-
1,518,000
-
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีดังนี้ เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2550
เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวม
-
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
-
1,518,000 1,518,000
-
เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2550
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) รวม
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
17,140,340
8,323,271
16,040,108
6,655,321
-
-
117,834 1,658,170 316,486
152,992 2,172,438 215,899
110,523 17,250,863
60,754 168 8,384,193
66,925 18,199,523
60,754 9,257,404
125
126
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เจ้าหนี้บริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2550
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
256,696
4,972
255,723
2,375
-
-
1,882 3,259 -
1,187 227
บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด
39,840
15,602
39,840
15,602
กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด รวม
5,475 302,011
6,811 27,385
5,475 306,179
6,811 26,202
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด
สัญญาสำคัญที่ทำกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ก) สัญญาซื้อขายไฟฟ้าและพลังงานไอน้ำ ในปี 2540 และ 2541 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและพลังงานไอน้ำกับบริษัท และบริษัทย่อยสองแห่งเป็นเวลา 25 ปี โดยบริษัทย่อยจะจำหน่ายกระแสไฟฟ้าและพลังงานไอน้ำให้แก่บริษัทดังกล่าวในปริมาณและราคาที่ตกลงกัน ภายใต้เงื่อนไขข้อผูกพัน ที่จะต้องซื้อหรือชำระเงินอย่างน้อยเท่ากับปริมาณขั้นต่ำที่ถูกกำหนดตามสัญญา ในปี 2548 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญาซื้อขายพลังงานไอน้ำกับบริษัทเป็นเวลา 20 ปี โดยบริษัทย่อยดังกล่าวจะจำหน่ายพลังงานไอน้ำ ให้แก่บริษัทในปริมาณและราคาที่ตกลงกัน
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ข) สัญญาชดเชยต้นทุน ในปี 2541 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญากับบริษัท เพื่อชดเชยต้นทุนการก่อสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติ และเพื่อสิทธิในการใช้ท่อส่งก๊าซ ดังกล่าว ภายใต้เงื่อนไขของสัญญา บริษัทย่อยตกลงที่จะรับภาระต้นทุนการลงทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้น ซึ่งบริษัทได้ทดรองจ่ายไปก่อนตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญานี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 25 ปี หรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญาซื้อขายไฟฟ้าที่บริษัทย่อยทำไว้ กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แล้วแต่เวลาใดจะถึงก่อน ในปี 2541 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญากับบริษัทเป็นจำนวนสามฉบับ เพื่อชดเชยต้นทุนการก่อสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ท่อส่งน้ำ และ การใช้ประโยชน์บนที่ดินสำหรับการก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าเพื่อเชื่อมโยงระบบของบริษัทย่อยกับ กฟผ. ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาเหล่านี้ บริษัทย่อยตกลงที่จะชดเชยต้นทุนการลงทุนที่เกิดขึ้นตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 25 ปี หรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญาซื้อขายไฟฟ้าที่บริษัทย่อยทำไว้กับ กฟผ. แล้วแต่เวลาใดจะถึงก่อน (ค) สัญญาบริการและจัดหา ในปี 2540 และ 2541 บริษัทย่อยหลายแห่งได้ทำสัญญากับบริษัทโดยบริษัทจะให้บริการแก่บริษัทย่อยตามขอบเขต เงื่อนไขและข้อกำหนด ที่ระบุไว้ในสัญญา ซึ่งในส่วนที่สำคัญ ๆ ได้แก่ - การดำเนินงาน การบำรุงรักษาและการซ่อมแซมโรงผลิตกระแสไฟฟ้าให้สามารถผลิตไฟฟ้าและพลังงานไอน้ำให้กับลูกค้าของบริษัทย่อย - การบริหาร การควบคุมและการจัดการ รวมทั้งการตรวจสอบ การเก็บรักษาและการจัดซื้อจัดจ้าง วัตถุดิบ อะไหล่ และอุปกรณ์ที่จำเป็น ในการดำเนินงานและการบำรุงรักษาโรงงาน และ - การให้บริการสนับสนุนอื่น เช่น บริการทางด้านการเงินและบัญชี ทรัพยากรบุคคลรวมถึงการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร ตลอดจน การจัดบุคลากรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของบริษัทย่อย เพื่อเป็นการตอบแทนการให้บริการดังกล่าว บริษัทย่อยตกลงที่จะจ่ายค่าธรรมเนียมตามเงื่อนไขและข้อกำหนดที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญานี้ มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 24 ปี หรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญาเช่าที่ดินที่ทำกับบริษัทแล้วแต่เวลาใดจะถึงก่อน (ฆ) สัญญาเช่าที่ดิน ในปี 2540 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญากับบริษัทเพื่อเช่า/เช่าช่วงที่ดินบางแห่งเป็นเวลา 25 ปี 9 เดือน สิ้นสุดในปี 2565 โดยคิดค่าเช่า รวมต่อปีเป็นจำนวนเงิน 1.2 ล้านบาท ซึ่งจะมีการปรับอัตราค่าเช่าทุก 5 ปี ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาเช่าดังกล่าว บริษัทย่อยได้จ่ายเงิน มัดจำ และค่าธรรมเนียมแรกเริ่มแก่บริษัทเป็นเงินรวมประมาณ 16.1 ล้านบาท ในปี 2540 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญากับบริษัทเพื่อเช่าช่วงที่ดินบางส่วนเป็นเวลา 25 ปี 10 เดือน สิ้นสุดในปี 2565 โดยมีค่าเช่ารวม ต่อปีเป็นจำนวนเงิน 2.8 ล้านบาท ซึ่งจะมีการปรับอัตราค่าเช่าทุก 5 ปี ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาเช่าดังกล่าว บริษัทย่อยได้จ่ายเงินมัดจำ และค่าธรรมเนียมแรกเริ่มแก่บริษัทเป็นเงินรวมประมาณ 31.7 ล้านบาท
127
128
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ในปี 2538 บริษัทได้ทำสัญญากับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเพื่อเช่า/เช่าช่วงที่ดินบางส่วนเป็นเวลา 27 ปี 8 เดือน สิ้นสุดในปี 2565 โดยมีค่าเช่า รวมต่อปีเป็นจำนวนเงิน 8.6 ล้านบาท ซึ่งจะมีการปรับอัตราค่าเช่าทุก 5 ปี ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาเช่าดังกล่าว บริษัทย่อยได้จ่ายเงินมัดจำ และค่าธรรมเนียมแรกเริ่มแก่บริษัทเป็นเงินรวมประมาณ 116 ล้านบาท ในปี 2540 บริษัทได้ทำสัญญากับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเพื่อเช่า/เช่าช่วงที่ดินเป็นเวลา 25 ปี 10 เดือน สิ้นสุดในปี 2565 โดยมีค่าเช่ารวมต่อปี เป็นจำนวนเงิน 4.7 ล้านบาท ซึ่งจะมีการปรับอัตราค่าเช่าทุก 5 ปี ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาเช่าดังกล่าว บริษัทย่อยได้จ่ายเงินมัดจำ และ ค่าธรรมเนียมแก่บริษัทเป็นเงินรวมประมาณ 59.1 ล้านบาท (ง) สัญญาซื้อขายวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูป ในปี 2548 บริษัทได้ทำสัญญาซื้อขายวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูปกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยสัญญานี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2548 เป็นต้นไปจนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยกเลิกสัญญาด้วยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่าหกเดือน ปริมาณ การซื้อขาย และราคาซื้อขายของวัตถุดิบ และสินค้าสำเร็จรูปจะเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในสัญญา (จ) สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์พลอยได้ ในปี 2548 บริษัทได้ทำสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์พลอยได้กับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเป็นเวลา 10 ปีโดยสัญญานี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2547 เป็นต้นไป จนกว่าคู่สัญญาจะตกลงยินยอมยกเลิกสัญญาร่วมกัน ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายผลิตภัณฑ์พลอยได้จะเป็นไปตาม ที่กำหนดในสัญญา (ฉ) สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์น้ำมัน ในปี 2549 บริษัทได้ทำสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์น้ำมันกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเป็นจำนวนสองฉบับโดยสัญญานี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548 และวันที่ 1 มีนาคม 2549 เป็นต้นไป ทั้งนี้ สัญญาจะสิ้นสุดเมื่อคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนด ไว้ในสัญญา ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายผลิตภัณฑ์จะเป็นไปตามที่กำหนดในสัญญา (ช) สัญญาใช้บริการเทคโนโลยีและการสื่อสาร ในปี 2549 บริษัทได้ทำสัญญาใช้บริการเทคโนโลยีและการสื่อสารกับบริษัทร่วมแห่งหนึ่ง โดยสัญญานี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฏาคม 2549 มีกำหนดอายุ 5 ปี และสามารถต่อสัญญาได้อีกครั้งละ 5 ปี ค่าบริการจะเป็นไปตามที่กำหนดในสัญญา (ซ) สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน้ำมัน ในปี 2550 บริษัทได้ทำสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน้ำมันดิบ และส่วนต่างราคาน้ำมันสำเร็จรูปและน้ำมันดิบล่วงหน้าจำนวนหลาย รายการกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง ตามสัญญากำหนดให้บริษัทหรือบริษัทที่เกี่ยวข้องกันต้องจ่ายส่วนเกินส่วนขาดระหว่างราคาคงที่ กับราคาลอยตัวสำหรับงวดนั้นๆ
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ฌ) สัญญาจัดหาน้ำมันปิโตรเลียมดิบและซื้อน้ำมันสำเร็จรูป ในปี 2543 บริษัทได้ทำสัญญาจัดหาน้ำมันปิโตรเลียมดิบ และซื้อน้ำมันสำเร็จรูปกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งโดย (ก) บริษัทจะขาย ผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียมซึ่งผลิตจากโรงกลั่น และบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวจะเป็นผู้รับซื้อในปริมาณร้อยละ 49.99 ของการกลั่นที่ 220,000 บาร์เรลต่อวัน และ (ข) บริษัทที่เกี่ยวข้องกันจะจัดหาและบริษัทจะรับซื้อน้ำมันดิบ เพื่อรองรับโรงกลั่นที่การผลิตร้อยละ 49.99 ของการกลั่นที่ 220,000 บาร์เรลต่อวัน ระยะเวลาการจ่ายชำระค่าน้ำมันดิบเป็นไปตามข้อตกลงของทั้งสองฝ่าย เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2547 บริษัทและบริษัทที่เกี่ยวข้องกันได้แก้ไขสัญญาโดยจะเพิ่มเติมปริมาณซื้อขายเป็น 270,000 บาร์เรลต่อวัน ภายหลังการเพิ่มกำลังการผลิต ของหน่วยกลั่นน้ำมันดิบที่ 3 แล้วเสร็จ (ญ) สัญญาบริการรับจ้างกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมดิบ ในปี 2542 บริษัทได้ทำสัญญาบริการรับจ้างกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมดิบ กับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งโดยที่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันจะเป็น ผูจ้ ดั หาน้ำมันปิโตรเลียมดิบให้กบั บริษทั และบริษทั จะให้บริการรับจ้างกลัน่ น้ำมัน บริษทั จะได้รบั ชำระหรือจ่ายชำระให้กบั บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ขึ้นอยู่กับค่าบริการรับจ้างกลั่นน้ำมัน สำหรับค่าการกลั่นในส่วนของผลต่างของมูลค่าสินค้าที่ขนออกไปสูงกว่าหรือต่ำกว่ามูลค่าต้นทุนน้ำมัน ปิโตรเลียมดิบที่หามาในเดือนเดียวกัน รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่นบวกกับต้นทุนในการจัดหา (ถ้ามี) ที่เกิดขึ้นทั้งสองฝ่าย สัญญานี้ไม่ได้ระบุวันที่ สิ้นสุดของสัญญา (ฎ) สัญญาแลกเปลี่ยน Long Residue และน้ำมันเตา ในปี 2545 บริษัทได้ทำสัญญาแลกเปลี่ยน Long Residue และน้ำมันเตากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง เพื่อนำ Long Residue ของบริษัท ที่เกี่ยวข้องกันเข้าหน่วยการกลั่นน้ำมันของบริษัท โดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจะรับน้ำมันเตาที่ได้จากกระบวนการกลั่นเพื่อขายในตลาด สัญญา ไม่ได้ระบุวันที่สิ้นสุดของสัญญาจนกระทั่งฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดยกเลิกสัญญาด้วยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 90 วัน การจ่าย เงินจะหักกลบลบหนี้ตามราคาที่ระบุในสัญญา (ฏ) สัญญาให้บริการขนส่งน้ำมัน ในปี 2550 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญาให้บริการขนส่งน้ำมัน และเคมีภัณฑ์กับบริษัทย่อยสองแห่ง และบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง ตามปริมาณและราคาที่กำหนดในสัญญา สัญญากำหนดระยะเวลา 1 ปี (ฐ) สัญญาเช่าพื้นที่สำนักงาน ในปี 2545 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญาเช่าพื้นที่สำนักงานกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง เป็นระยะเวลา 3 ปี และสามารถต่ออายุ สัญญาครั้งละไม่เกิน 3 ปี โดยค่าเช่าต่อปีเป็นไปตามที่กำหนดในสัญญา
129
130
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ฑ) สัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติ ในปี 2540 2541 2549 และ 2550 บริษัทย่อยสองแห่งและบริษัททำสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง ระยะเวลา 25 ปี 8 ปี และ 15 ปี ตามลำดับ โดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจะจัดหาก๊าซธรรมชาติให้แก่บริษัทและบริษัทย่อยตามปริมาณและราคาที่ตกลง ในสัญญา
5 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 2550
เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ และกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทประจำ (ระยะสั้นกว่า 3 เดือนนับตั้งแต่ลงทุน) ตั๋วสัญญาใช้เงินสถาบันการเงิน รวม
(พันบาท)
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
1,904
2,671
368
1,022
4,211,096
5,242,759
1,110,418
1,392,310
4 4,213,004
1,280,000 6,525,430
1,110,786
1,393,332
ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ 2550
งบการเงินรวม
2549
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2550
2549
3,912,375 6,496,407 1,102,543 1,392,727 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา 300,585 28,774 8,243 356 44 249 249 อื่นๆ 4,213,004 6,525,430 1,110,786 1,393,332 รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากกระแสรายวัน และเงินฝากประจำของบริษัทย่อยหลายแห่ง เป็นจำนวนเงินรวม 288.5 ล้านบาท (2549 : 1,879.4 ล้านบาท) ได้จำนำเป็นประกันวงเงินสินเชื่อดังกล่าวไว้ ในหมายเหตุ 15 โดยบริษัทย่อยดังกล่าวสามารถ เบิกถอนเงินฝากนี้ได้เมื่อต้องการตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในสัญญาเงินกู้
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
6 เงินลงทุนอื่น 2550
เงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากธนาคารประเภทประจำ ตั๋วสัญญาใช้เงินสถาบันการเงิน เงินลงทุนระยะยาวอื่น ตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย ตราสารอื่นที่ไม่อยู่ในความต้องการ ของตลาด - สุทธิ รวม
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
289,766 257,362 547,128
204,613 252,298 456,911
-
-
16,978
-
16,978
-
16,978 564,106
456,911
16,978 16,978
-
เงินลงทุนชั่วคราว บริษัทย่อยหลายแห่งมีเงินลงทุนชั่วคราวซึ่งเป็นเงินฝากธนาคารประเภทประจำ และตั๋วสัญญาใช้เงินสถาบันการเงินในประเทศหลายแห่ง ที่ครบกำหนดชำระคืนเกิน 3 เดือน และไม่เกิน 1 ปี ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.75 ต่อปี ถึงร้อยละ 3.80 ต่อปี ในปี 2550 (2549 : อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.0 ต่อปีถึงร้อยละ 6.1 ต่อปี) เงินลงทุนชั่วคราวนี้ได้จำนำเป็นประกันวงเงินสินเชื่อของบริษัทย่อยดังที่กล่าวไว้ใน หมายเหตุ 15 โดยบริษัทย่อยสามารถไถ่ถอนเงินลงทุนชั่วคราวได้เมื่อต้องการ ตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย ในปี 2550 บริษัทได้เข้าร่วมทำสัญญาการลงทุนในกองทุนเปิด เอ็มเอฟซี เอนเนอร์จี ฟันด์ กับบริษัทหลายแห่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ระดมเงินลงทุนจากผูล้ งทุนสถาบันทีต่ อ้ งการลงทุนส่วนใหญ่ในธุรกิจหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับพลังงาน ในการนีบ้ ริษทั ผูกพันจองซือ้ หน่วยลงทุน จำนวน 40 ล้านหน่วย ในราคาเท่ากับมูลค่าที่ตราไว้ หน่วยละ 10 บาท ในสัดส่วนร้อยละ 16.98 หรือคิดเป็นเงินลงทุน 400 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทลงทุนในกองทุนนี้คิดเป็นเงิน 17 ล้านบาท
131
132
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ตราสารอื่นที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด
ประเภท สัดส่วนความเป็นเจ้าของ (ร้อยละ) ของธุรกิจ 2550 2549
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด ขนส่งน้ำมันทางท่อ หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน สุทธิ
9.19
2549
9.43 8,479,000 8,267,687
ประเภท สัดส่วนความเป็นเจ้าของ (ร้อยละ) ของธุรกิจ 2550 2549
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด ขนส่งน้ำมันทางท่อ หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน สุทธิ
2550
วิธีราคาทุน (พันบาท) 2550 2549
เงินปันผลรับ 2550
2549
งบการเงินรวม ทุนชำระแล้ว
779,497 779,497 779,497 779,497 (779,497) (779,497) - -
งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนชำระแล้ว วิธีราคาทุน (พันบาท) 2550 2549 2550 2549
-
-
เงินปันผลรับ 2550
2549
9.19
9.43 8,479,000 8,267,687
779,497 779,497 779,497 779,497 (779,497) (779,497) - -
-
-
บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด ในวันที่ 9 มกราคม 2547 บริษัทได้ซื้อหุ้นบุริมสิทธิจำนวน 1,129,453 หุ้น ของบริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด มูลค่าหุ้นละ 100 บาท มีมูลค่าเท่ากับ 113 ล้านบาท ในการประชุมผู้ถือหุ้นวิสามัญ เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2548 ของบริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด ผู้ถือหุ้นมีมติให้ทำการเพิ่มทุนเป็นเงิน 4,301.5 ล้านบาท โดยการออกหุ้นบุริมสิทธิใหม่ทั้งหมดจำนวน 43,015,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ทั้งนี้ บริษัทได้รับสิทธิซื้อหุ้น ดังกล่าวจำนวน 4,165,516 หุ้นเป็นจำนวนเงิน 416.55 ล้านบาท
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ในปี 2548 บริษัทได้พิจารณาตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษัทดังกล่าวเพิ่มขึ้นเป็นเงิน 529.5 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทดังกล่าว มีผลการดำเนินงานขาดทุนติดต่อกันเป็นระยะเวลาหลายปี ทำให้คา่ เผือ่ การด้อยค่ามียอดรวมทัง้ หมดเป็นเงิน 779.5 ล้านบาท ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2548 บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด ได้จ่ายคืนเงินจ่ายล่วงหน้าพร้อมดอกเบี้ยจำนวน 416.3 ล้านบาท ให้แก่บริษัท ดังนั้นบริษัท จึงกลับรายการค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าเป็นเงิน 250 ล้านบาท โดยบันทึกไว้สุทธิกับค่าเผื่อการด้อยค่าที่ตั้งเพิ่มดังกล่าว
7 ลูกหนี้การค้า
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ (กลับรายการ) หนี้สงสัยจะสูญ สำหรับปี
หมายเหตุ
2550
4
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
11,446,420 11,515,811 22,962,231 (1,290) 22,960,941
9,427,822 9,328,038 18,755,860 (1,610) 18,754,250
13,558,003 7,623,922 21,181,925 21,181,925
11,808,649 4,625,701 16,434,350 16,434,350
(320)
1,290
-
-
การวิเคราะห์อายุลูกหนี้การค้ามีดังนี้ 2550
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบกำหนดชำระ เกินกำหนดชำระ : น้อยกว่า 6 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
11,446,154
9,424,537
13,558,003
11,808,649
266 11,446,420 (266) 11,446,154
3,019 266 9,427,822 (266) 9,427,556
13,558,003 13,558,003
11,808,649 11,808,649
133
134
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
2550
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
11,166,341
9,296,963
7,320,497
4,625,701
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
310,773 9,214 29,483 11,515,811 (1,024) 11,514,787
12,639 3,671 14,765 9,328,038 (1,344) 9,326,694
303,425 7,623,922 7,623,922
4,625,701 4,625,701
รวม
22,960,941
18,754,250
21,181,925
16,434,350
กิจการอื่น ยังไม่ครบกำหนดชำระ เกินกำหนดชำระ : น้อยกว่า 3 เดือน 6-12 เดือน มากกว่า 12 เดือน
โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัทมีระยะเวลาตั้งแต่ 19 วัน ถึง 60 วัน ลูกหนี้การค้ากิจการอื่นที่มียอดค้างชำระเกินกว่า 12 เดือนได้รวมจำนวนเงินประมาณ 27.7 ล้านบาท (2549 : 13.4 ล้านบาท) ซึ่งค้างชำระ จากรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทย่อยอยู่ระหว่างการเจรจากับลูกหนี้รัฐวิสาหกิจดังกล่าว และได้รับความเห็น ทางกฏหมายว่าบริษัทย่อยดังกล่าวจะได้รับชำระจากลูกหนี้นี้เต็มจำนวน ดังนั้น บริษัทย่อยจึงมิได้บันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับหนี้ ดังกล่าว
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ยอดลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ 2550
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา รวม
17,228,115 5,732,826 22,960,941
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
15,714,568 3,039,682 18,754,250
16,962,489 4,219,436 21,181,925
14,694,593 1,739,757 16,434,350
8 สินค้าคงเหลือ 2550
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549 (ปรับปรุงใหม่)
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
น้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ วัสดุ อะไหล่และของใช้สิ้นเปลือง ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป และผลิตภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป น้ำมันดีเซลหมุนเร็วสำหรับโรงผลิตกระแสไฟฟ้า
11,408,651 1,010,958 7,686,830 13,389
8,075,063 918,949 5,217,150 13,634
9,737,477 709,526 6,439,951 -
7,099,678 660,649 3,972,740 -
สินค้าระหว่างทาง - น้ำมันปิโตรเลียมดิบ - วัสดุ อะไหล่และของใช้สิ้นเปลือง รวม
12,668,590 13,342 32,801,760
6,421,207 9,538 20,655,541
12,668,590 13,342 29,568,886
6,421,207 9,538 18,163,812
ในปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อยได้มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการตีราคาน้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปและกึ่งสำเร็จรูป จากวิธเี ข้าหลัง-ออกก่อน และ วิธเี ข้าก่อน-ออกก่อนเป็นวิธถี วั เฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก ผลของการเปลีย่ นแปลงดังกล่าวทำให้ยอดคงเหลือของน้ำมัน ปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปและกึ่งสำเร็จรูปในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้น 487.4 ล้านบาท และ 365.7 ล้านบาท ตามลำดับ (2549: 908.8 ล้านบาท และ 914.7 ล้านบาท ตามลำดับ) ซึ่งผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 30 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 สินค้าคงเหลือข้างต้นของบริษัทและบริษัทย่อยได้รวมสินค้าคงเหลือที่ต้องสำรองไว้ตามกฎหมาย จำนวน 8,586 ล้านบาท และ 392 ล้านบาท ตามลำดับ (2549: 6,524 ล้านบาท และ 451 ล้านบาท ตามลำดับ)
135
136
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
9 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 2550
ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ลูกหนี้จากการทำสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตรา เงินให้กู้ยืมแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี อื่นๆ รวม
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
906,158 349,928 292,957 365,386 -
509,695 394,006 312,276 1,148,057 80,661
313,165 235,229 210,610 365,386 -
423,474 228,359 72,080 1,148,057 80,661
35,651 194,218 2,144,298
34,037 73,480 2,552,212
35,651 152,484 1,312,525
34,037 35,473 2,022,141
10 เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม 2550
ณ วันที่ 1 มกราคม ส่วนแบ่งขาดทุนสุทธิจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ซื้อเงินลงทุน รับชำระคืนเงินค่าหุ้นบุริมสิทธิจากบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม
44,367 (633) 101,250 144,984
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
(633) 45,000 44,367
8,238,421 141,250 (1,390,034) 6,989,637
8,193,421 45,000 8,238,421
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 และเงินปันผลรับสำหรับแต่ละปีมีดังนี้ สัดส่วนความเป็นเจ้าของ (ร้อยละ) 2550 2549
บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท แม่สอดพลังงาน สะอาด จำกัด รวม
20.00 30.00
งบการเงินรวม วิธีราคาทุน
ทุนชำระแล้ว 2550
2549
20.00 150,000 150,000 30,000 30.00 387,500 50,000 116,250 537,500 200,000 146,250
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ (ร้อยละ) 2550 2549
บริษัทย่อย บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด - ถือหุ้นทางอ้อม โดยบริษัท ไทยออยล์ เพาเวอร์ จำกัด - ถือหุ้นทางตรง บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี จำกัด บริษัท ท็อปไฟฟ้าอิสระ จำกัด - ถือหุน้ ทางอ้อม โดยบริษทั ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี จำกัด บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด รวม
2550
วิธีส่วนได้เสีย
2549
(พันบาท)
เงินปันผลรับ
2550
2549
2550
2549
30,000 31,430 15,000 113,554 45,000 144,984
29,660 14,707 44,367
-
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม่) ทุนชำระแล้ว วิธีราคาทุน 2550
2549
2550
(พันบาท)
เงินปันผลรับ 2549
2550
2549
54.99
54.99 2,810,000 2,810,000 1,545,500 1,545,500 193,187 193,188
56.00 24.00 99.99 99.99 99.99 99.99
56.00 24.00 99.99 99.99 99.99 -
99.99
-
20.00 30.00
1,771,000 1,771,000 630,000 630,000 2,572,414 5,490,852 1,757,891 2,832,959 40,000 20,000
-
487,968 630,000 2,161,193 1,978,726 40,000 -
487,968 59,931 630,000 3,551,227 1,978,726 2,000,069 1,495,802 -
-
-
20.00 150,000 150,000 30,000 30,000 30.00 387,500 50,000 116,250 15,000 10,138,805 13,734,811 6,989,637 8,238,421 2,253,187 1,688,990
137
138
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทร่วม ซึ่งกลุ่มบริษัทบันทึกเงินลงทุนในบริษัทดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสีย แต่ไม่ได้ปรับปรุงให้แสดงข้อมูล ตามสัดส่วนที่ถือหุ้นโดยกลุ่มบริษัท สัดส่วน ความเป็นเจ้าของ
สินทรัพย์รวม
(ร้อยละ)
หนี้สิน รวม
รายได้ รวม
กำไร (ขาดทุน)
(พันบาท)
ปี 2550 บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด รวม
20 30
682,367 616,053 1,298,420
525,214 237,542 762,756
639,448 13,017 652,465
8,851 (8,011) 840
ปี 2549 บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด รวม
20 30
331,340 51,921 383,261
183,039 2,899 185,938
233,722 25 233,747
(1,699) (978) (2,677)
บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2547 บริษัทได้ทำสัญญาซื้อหุ้นในบริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด จากบริษัท ยูโนแคล เอเชีย - แปซิฟิค เวนเจอร์ จำกัด ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นเดิมเป็นจำนวน 42,504,000 หุ้น (คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 24 ของหุ้นทั้งหมด) ในราคา 12.8 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกา ต่อมาในวันที่ 11 มีนาคม 2548 บริษัทได้บรรลุเงื่อนไขทั้งหมดของสัญญาดังกล่าว บริษัทได้แสดงผลต่างของต้นทุน การซื้อที่ต่ำกว่ามูลค่ายุติธรรมจำนวนเงิน 585 ล้านบาทเป็นค่าความนิยมติดลบแสดงอยู่ในงบดุล และตัดจำหน่ายด้วยวิธีเส้นตรงตาม ประมาณอายุการใช้ประโยชน์ 20 ปี ในปี 2550 บริษัทบันทึกตัดจำหน่ายค่าความนิยมติดลบดังกล่าว เป็นจำนวนเงิน 29 ล้านบาท (2549: 29 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คงเหลือค่าความนิยมติดลบสุทธิจำนวนเงิน 502 ล้านบาท (2549: 531 ล้านบาท) บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด ที่ประชุมผู้ถือหุ้นวิสามัญเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2548 ของบริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด ผู้ถือหุ้นมีมติให้ลดทุนโดยการลดจำนวนหุ้น บุรมิ สิทธิทั้งหมดเป็นจำนวนเงิน 2,918 ล้านบาท (แบ่งเป็นหุ้นบุริมสิทธิจำนวน 291.8 ล้านหุ้น หุ้นละ 10 บาท) และเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2550 บริษัทย่อยได้จดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์ และจ่ายชำระคืนเงินค่าหุ้นบุริมสิทธิจำนวนเงิน 2,918 ล้านบาทแก่บริษัทซึ่งเป็นผู้ถือ หุ้นบุริมสิทธิ โดยราคาทุนของเงินลงทุนในหุ้นบุริมสิทธิดังกล่าวเป็นเงิน 1,390 ล้านบาท ดังนั้น บริษัทจึงได้รับรู้กำไรจากการรับชำระคืนเงิน ค่าหุ้นบุริมสิทธิจำนวนเงิน 1,528 ล้านบาท ในงบการเงินเฉพาะกิจการสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 (หมายเหตุ 22)
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) ตามที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2550 ที่ประชุมมีมติอนุมัติการยกเลิกหุ้นสามัญ ที่ยังไม่ได้ออกจำหน่ายจำนวน 90 บาท (แบ่งเป็น 9 หุ้น หุ้นละ 10 บาท) และอนุมัติการลดทุนจดทะเบียนของบริษัทจากจำนวน 2,832,959,060 บาท (แบ่งเป็น 283,295,906 หุ้น หุ้นละ 10 บาท) เป็น 1,757,890,730 บาท (แบ่งเป็น 175,789,073 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) และโอน ส่วนต่างที่เกิดจากทุนจดทะเบียนเดิมกับทุนจดทะเบียนใหม่เพื่อลดส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้นของบริษัทย่อยจำนวน 1,075,068,326 บาท เมื่อ วันที่ 18 กรกฎาคม 2550 บริษัทย่อยได้จดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์แล้ว บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2549 บริษัทลงทุนในทุนเรือนหุ้นของบริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด จำนวน 30 ล้านบาท สำหรับหุ้นสามัญจำนวน 3 ล้านหุ้น โดยมีมูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 20 ของทุนเรือนหุ้นของบริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2549 บริษัทได้เข้าทำสัญญาร่วมทุนกับบริษัท ผาแดงอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัท เพโทรกรีน จำกัด เพื่อ จัดตั้งบริษัทร่วมทุนภายใต้ชื่อ บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด เพื่อก่อสร้างและประกอบกิจการโรงงานผลิตเอทานอล โดยบริษัท ตกลงที่จะถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 30 หรือคิดเป็นเงินลงทุน 30 ล้านบาท เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2549 บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด เรียกชำระค่าหุ้นร้อยละ 50 ของมูลค่าที่ตราไว้ โดยบริษัทชำระค่าหุ้นเป็นจำนวนเงิน 15 ล้านบาท และเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2550 บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด ได้เรียกชำระค่าหุ้นส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 50 ของมูลค่าที่ตราไว้ โดยบริษัทชำระค่าหุ้นดังกล่าวเป็น จำนวนเงิน 15 ล้านบาทเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2550 ในการประชุมผู้ถือหุ้นวิสามัญเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2550 ของบริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด ผู้ถือหุ้นมีมติให้ทำการเพิ่มทุน เป็นเงิน 575 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญจำนวน 57.5 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท โดยบริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด ได้เรียกชำระค่าหุ้นร้อยละ 50 ของมูลค่าที่ตราไว้ของทุนที่จดทะเบียนเพิ่ม และบริษัทชำระค่าหุ้นเพิ่มทุนเป็นจำนวนเงิน 86.25 ล้านบาท ตามสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทร้อยละ 30
139
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
11 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (พันบาท)
ที่ดิน
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (หมายเหตุ 30) ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว เพิ่มขึ้น โอน – สุทธิ จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น โอน – สุทธิ จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
อาคาร
ส่วนปรับปรุง สินทรัพย์ โรงกลั่นน้ำมัน ที่เช่า และอุปกรณ์
โรงผลิต พาราไซลีน
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) เครื่องจักร เรือบรรทุก เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ น้ำมัน ติดตั้งเครื่องใช้ โรงผลิต ระบบ และอุปกรณ์ และผลิตภัณฑ์ สำนักงาน กระแสไฟฟ้า สายส่งไฟฟ้า โรงงาน เคมีเหลว และอื่น ๆ
2,655,370 1,030,866
4,795 94,649,634 8,606,680 15,553,311
(242,157) 2,413,213 290,530 (128,419) 2,575,324 - 2,575,324
- (32,291,462) 4,795 62,358,172 - 284,056 - (36,700) 4,795 62,605,528 - 8,587,570 - - 4,795 71,193,098
- 1,030,866 549 (49,454) 981,961 131,309 - 1,113,270
192,637 1,980,617
527,796
(448,422) - - - - 8,158,258 15,553,311 192,637 1,980,617 527,796 3,202 76,899 - - - (20,482) 8,158,258 15,553,311 192,637 2,040,236 527,796 51,220 22,903 7,058 99,611 1,081,379 - - (1,302) 8,209,478 15,553,311 192,637 2,161,448 1,616,233
ยานพาหนะ
งานระหว่าง ก่อสร้าง
รวม
428,641
22,971 2,428,004 128,081,322
- 428,641 8,442 38,753 (2,143) 473,693 15,198 56,488 (22,507) 522,872
- - (32,982,041) 22,971 2,428,004 95,099,281 4,230 8,787,389 9,093,793 556 (400,813) (5,177) - (242,375) 22,580 10,814,580 103,950,699 1 16,451,052 16,547,432 375 (10,068,251) (111,519) (1,046) - (24,855) 21,910 17,197,381 120,361,757
140
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (พันบาท)
ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (หมายเหตุ 30) ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี โอน – สุทธิ จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี โอน – สุทธิ จำหน่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
ที่ดิน
อาคาร
-
561,077
ส่วนปรับปรุง สินทรัพย์ โรงกลั่นน้ำมัน ที่เช่า และอุปกรณ์
โรงผลิต พาราไซลีน
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) เครื่องจักร เรือบรรทุก เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ น้ำมัน ติดตั้งเครื่องใช้ โรงผลิต ระบบ และอุปกรณ์ และผลิตภัณฑ์ สำนักงาน กระแสไฟฟ้า สายส่งไฟฟ้า โรงงาน เคมีเหลว และอื่น ๆ
1,100 49,250,027 1,628,696 3,688,817
68,628
- - - 561,077 43,181 - (25,615)
- (16,285,473) (23,381) - 1,100 32,964,554 1,605,315 3,688,817 207 2,820,546 431,132 682,619 - (15,132) - -
- 578,643 40,186 - - - 618,829
1,307 35,769,968 2,036,447 4,371,436 207 2,902,408 422,400 654,342 - - - - 1,514 38,672,376 2,458,847 5,025,778
397,176 397,176 2,178,148 2,178,148
- - 403,318 494,441
- -
- -
- -
- -
3,488 26,835,560 6,121,811 11,181,875 3,281 32,520,722 5,750,631 10,527,533
- - - - 68,628 646,966 170,567 353,312 9,632 198,816 37,189 25,711 - (20,380) (2,014)
- 14,047 3,686 (3,961)
- (16,308,854) - 40,074,383 - 4,252,719 - (67,102)
78,260 825,402 207,756 9,632 218,126 39,170 - (43,231) (396) 87,892 1,043,132 203,695
13,772 3,137 (805) 16,104
- 44,260,000 - 4,324,163 - (43,231) - (16,102) - 48,524,830
- -
114,377 1,214,834 320,040 104,745 1,118,316 1,412,538
353,312
รวม
- 56,383,237
- -
170,567
งานระหว่าง ก่อสร้าง
14,047
- -
646,966
ยานพาหนะ
377,009 34,555 (14,901) 396,663 - - 96,684 126,209
- -
-
397,176 397,176
8,808 10,814,580 59,293,523 5,806 17,197,381 71,439,751
141
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม่)
ที่ดิน
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (หมายเหตุ 30) ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว เพิ่มขึ้น โอน – สุทธิ จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น โอน – สุทธิ จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
2,594,657 (242,157) 2,352,500 286,198 (67,706) 2,570,992 - - 2,570,992
อาคาร
765,438 765,438 549 (49,454) 716,533 131,309 - 847,842
โรงกลั่นน้ำมัน และอุปกรณ์
88,437,150 (32,291,462) 56,145,688 284,056 56,429,744 8,587,570 65,017,314
เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ โรงงาน
918,504 - 918,504 23,337 (20,482) 921,359 17,905 (1,302) 937,962
เครื่องตกแต่ง ติดตั้งเครื่องใช้ สำนักงาน และอื่น ๆ
260,061 - 260,061 33,316 (1,066) 292,311 20,715 (22,143) 290,883
ยานพาหนะ
9,582 - 9,582 556 - 10,138 375 - 10,513
งานระหว่าง ก่อสร้าง
รวม
2,025,924 2,025,924 6,207,965 (341,814) 7,892,075 6,134,325 (8,757,874) 5,268,526
95,011,316 (32,533,619) 62,477,697 6,494,163 (138,708) 68,833,152 6,134,325 (23,445) 74,944,032
142
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(พันบาท)
ที่ดิน ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (หมายเหตุ 30) ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี โอน – สุทธิ จำหน่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี โอน – สุทธิ จำหน่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
อาคาร
โรงกลั่นน้ำมัน และอุปกรณ์
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม่) เครื่องจักร เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ ติดตั้งเครื่องใช้ และอุปกรณ์ สำนักงาน โรงงาน และอื่น ๆ
ยานพาหนะ
งานระหว่าง ก่อสร้าง
รวม
- -
455,833 46,675,319 (16,285,473) 455,833 30,389,846 30,197 2,518,840 (25,615) -
421,341 - 421,341 57,648 (20,381)
217,133 - 217,133 14,182 (989)
7,750 - 7,750 1,151 -
-
47,777,376 (16,285,473) 31,491,903 2,622,018 (46,985)
- -
460,415 32,908,686 27,201 2,601,240 - 487,616 35,509,926
458,608 59,787 (396) 517,999
230,326 16,817 (14,587) 232,556
8,901 839 - 9,740
-
34,066,936 2,705,884 (14,983) 36,757,837
- -
- -
-
397,176 397,176
7,892,075 5,268,526
34,369,040 37,789,019
397,176 397,176 2,173,816 2,173,816
- - 256,118 360,226
- - 23,521,058 29,507,388
- - 462,751 419,963
61,985 58,327
1,237 773
143
144
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ในปี 2550 บริษัทได้มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการตีราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์จากวิธีตีราคาใหม่เป็นวิธีราคาทุน ผลของการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวทำให้มูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ลดลง 14,844.6 ล้านบาท และ 14,419.6 ล้านบาท ตามลำดับ (2549: 16,686.5 ล้านบาท และ 16,248.1 ล้านบาท ตามลำดับ) ซึ่งผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 30 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้หักค่าเสื่อมราคาเต็มจำนวน แล้วแต่ยังคงใช้งาน ซึ่งบันทึกอยู่ในงบการเงินรวมเป็นจำนวนเงินรวมประมาณ 1,396 ล้านบาท และ 1,335 ล้านบาทตามลำดับ และบันทึก อยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการเป็นจำนวนเงินรวมประมาณ 1,158 ล้านบาท และ 1,122 ล้านบาท ตามลำดับ โรงผลิตกระแสไฟฟ้า และสินทรัพย์บางส่วนของบริษัทย่อยถูกจำนองเป็นหลักทรัพย์ที่ ใช้ค้ำประกันเงินกู้ยืมระยะยาว ตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุ 15
12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน งบการเงินรวม
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 เพิ่มขึ้น จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
(พันบาท)
ค่าสิทธิ
คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์
รวม
561,299 2,941 564,240 9,663 573,903
37,935 6,452 44,387 1,475 45,862
599,234 9,393 608,627 11,138 619,765
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบการเงินรวม
ค่าตัดจำหน่ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
ค่าสิทธิ
คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์
รวม
489,770 34,133 523,903 33,048 556,951
30,038 2,769 32,807 1,660 34,467
519,808 36,902 556,710 34,708 591,418
40,337 16,952
11,580 11,395
51,917 28,347
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 เพิ่มขึ้น จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
(พันบาท)
(พันบาท)
ค่าสิทธิ
คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์
รวม
560,460 2,941 563,401 9,663 573,064
29,728 6,330 36,058 1,072 37,130
590,188 9,271 599,459 10,735 610,194
145
146
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ค่าตัดจำหน่ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
(พันบาท)
ค่าสิทธิ
คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์
รวม
489,673 34,036 523,709 32,951 556,660
22,764 2,421 25,185 1,423 26,608
512,437 36,457 548,894 34,374 583,268
39,692 16,404
10,873 10,522
50,565 26,926
13 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีภายหลังจากการนำมาหักกลบกันตามความเหมาะสม ได้แสดงรวมไว้ในงบดุลโดยมี รายละเอียดดังนี้ (พันบาท)
2550
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สุทธิ
209,437 (1,502,607) (1,293,170)
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549 (ปรับปรุงใหม่)
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
210,998 (1,582,479) (1,371,481)
209,437 (1,462,706) (1,253,269)
210,998 (1,536,194) (1,325,196)
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหว่างปีมีดังนี้
ณ วันที่ 1 มกราคม 2550
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา สำรองการประกันความเสี่ยงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ระบบสายส่งไฟฟ้าโอนให้กฟผ.ตัดบัญชี กำไรจากการปรับสัญญาแลกเปลี่ยน เงินตราให้เป็นมูลค่ายุติธรรม กำไรสุทธิจากการปรับสัญญาแลกเปลี่ยน ส่วนต่างราคาน้ำมันสำเร็จรูปและ น้ำมันดิบล่วงหน้าให้เป็นมูลค่ายุตธิ รรม รวม สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กองทุนเงินบำเหน็จ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ อื่นๆ รวม สุทธิ
งบการเงินรวม บันทึกเป็นรายจ่าย (รายได้) ใน งบกำไร ขาดทุน ส่วนของ (หมายเหตุ 26) ผู้ถือหุ้น
(พันบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
(1,486,758)
64,540
-
(1,422,218)
(27,264) (46,285)
4,089 6,384
-
(23,175) (39,901)
(22,172)
22,172
-
-
(1,582,479)
(17,313) 79,872
-
(17,313) (1,502,607)
88,660 119,153 3,185 210,998
(1,616) 55 (1,561)
-
87,044 119,153 3,240 209,437
(1,371,481)
78,311
-
(1,293,170)
147
148
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(พันบาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม 2550
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา สำรองการประกันความเสี่ยงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า กำไรจากการปรับสัญญาแลกเปลี่ยน เงินตราให้เป็นมูลค่ายุติธรรม กำไรสุทธิจากการปรับสัญญาแลกเปลี่ยน ส่วนต่างราคาน้ำมันสำเร็จรูปและ น้ำมันดิบล่วงหน้าให้เป็นมูลค่ายุตธิ รรม รวม สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กองทุนเงินบำเหน็จ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ อื่นๆ รวม สุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็นรายจ่าย (รายได้) ใน งบกำไร ขาดทุน ส่วนของ (หมายเหตุ 26) ผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
(1,486,758)
64,540
-
(1,422,218)
(27,264)
4,089
-
(23,175)
(22,172)
22,172
-
-
(1,536,194)
(17,313) 73,488
-
(17,313) (1,462,706)
88,660 119,153 3,185 210,998
(1,616) 55 (1,561)
-
87,044 119,153 3,240 209,437
(1,325,196)
71,927
-
(1,253,269)
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(พันบาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม 2549
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา สำรองการประกันความเสี่ยงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ระบบสายส่งไฟฟ้าโอนให้กฟผ.ตัดบัญชี ส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์ กำไรจากการปรับสัญญาแลกเปลีย่ นเงินตรา ให้เป็นมูลค่ายุตธิ รรม รวม สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กองทุนเงินบำเหน็จ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็นต้นทุนของที่ดิน อื่นๆ รวม สุทธิ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (หมายเหตุ 30) ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว
งบการเงินรวม บันทึกเป็นรายจ่าย (รายได้) ใน งบกำไร ขาดทุน ส่วนของ (หมายเหตุ 26) ผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549
(1,542,353)
55,595
-
(1,486,758)
(31,353) (52,669) (1,199,074)
4,089 6,384 457,135
(1,103,137)
(27,264) (46,285) (1,845,076)
(2,825,449)
(22,172) 501,031
(1,103,137)
(22,172) (3,427,555)
72,361 119,153 12,410 2,630 206,554 (2,618,895) 1,199,074 (1,419,821)
16,299 (12,410) 555 4,444 505,475 (457,135) 48,340
(1,103,137) 1,103,137 -
88,660 119,153 3,185 210,998 (3,216,557) 1,845,076 (1,371,481)
149
150
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ณ วันที่ 1 มกราคม 2549
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา สำรองการประกันความเสี่ยงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์ กำไรจากการปรับสัญญาแลกเปลี่ยน เงินตราให้เป็นมูลค่ายุติธรรม รวม
- (2,772,780)
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กองทุนเงินบำเหน็จ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ อื่นๆ รวม สุทธิ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (หมายเหตุ 30) ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว
72,361 119,153 2,630 194,144 (2,578,636) 1,199,074 (1,379,562)
งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็นรายจ่าย (รายได้) ใน งบกำไร ขาดทุน ส่วนของ (หมายเหตุ 26) ผู้ถือหุ้น
(พันบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549
(1,542,353)
55,595
-
(1,486,758)
(31,353) (1,199,074)
4,089 457,135
(1,103,137)
(27,264) (1,845,076)
(22,172) 494,647
- (1,103,137)
(22,172) (3,381,270)
16,299 555 16,854 511,501 (457,135) 54,366
(1,103,137) 1,103,137 -
88,660 119,153 3,185 210,998 (3,170,272) 1,845,076 (1,325,196)
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
14 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 2550
เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน ระบบสายส่งไฟฟ้าที่โอนให้ กฟผ. - สุทธิ ค่าสิทธิในการใช้ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ท่อส่งน้ำ และการใช้ประโยชน์บนที่ดินรอตัดบัญชี - สุทธิ ค่าธรรมเนียมการเช่าที่ดินและค่าธรรมเนียม การจดทะเบียนสัญญาเช่าที่ดินรอตัดบัญชี - สุทธิ ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีสำหรับสัญญา ป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย - สุทธิ ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีอื่นๆ - สุทธิ ลูกหนี้จากการทำสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตรา สินทรัพย์รอการขาย - สุทธิ เงินมัดจำและอื่นๆ รวม
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
532,918 133,002
510,338 154,282
532,918 -
510,338 -
275,407
292,668
137,699
146,488
635,010
678,202
635,010
678,202
20,807 857,586 114,176 68,288 111,823 2,749,017
65,516 484,981 111,171 2,297,158
20,807 752,995 42,229 2,121,658
48,640 362,487 41,758 1,787,913
151
152
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
15 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 2550
ส่วนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี - ส่วนที่มีหลักประกัน - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - ส่วนที่มีหลักประกัน - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน หุ้นกู้ที่ไม่มีหลักประกัน รวม
งบการเงินรวม
(พันบาท)
2549
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2550
2549
350,000
1,000,000
350,000
1,000,000
804,016 295,620 1,099,636 1,449,636
1,133,370 1,133,370 2,133,370
295,620 295,620 645,620
1,000,000
3,425,352 10,085,219 13,510,571
4,384,338 6,766,542 11,150,880
4,631,380 4,631,380
6,766,542 6,766,542
17,348,899 30,859,470 32,309,106
18,167,918 29,318,798 31,452,168
17,348,899 21,980,279 22,625,899
18,167,918 24,934,460 25,934,460
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยแยกแสดงตามระยะเวลาครบกำหนดการจ่ายชำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ได้ดังนี้ 2550
ครบกำหนดภายในหนึ่งปี ครบกำหนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ครบกำหนดหลังจากห้าปี รวม
1,449,636 15,312,360 15,547,110 32,309,106
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
2,133,370 12,514,436 16,804,362 31,452,168
645,620 7,381,380 14,598,899 22,625,899
1,000,000 9,516,542 15,417,918 25,934,460
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยส่วนที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดของหลักประกันซึ่งเป็นสินทรัพย์ ดังนี้ 2550
เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝาก ออมทรัพย์และเงินฝากประจำ เงินลงทุนชั่วคราวในตั๋วสัญญาใช้เงิน โรงผลิตกระแสไฟฟ้า - ราคาตามบัญชี รวม
288,450 397,128 10,520,179 11,205,757
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
1,879,403 252,298 11,059,246 13,190,947
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีวงเงินสินเชื่อระยะยาวซึ่งยังมิได้เบิกใช้เป็นจำนวนเงินรวม 6,777 ล้านบาท และ 6,777 ล้านบาท ตามลำดับ (2549: 13,604.5 ล้านบาทและ 5,434.6 ล้านบาท ตามลำดับ) ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ 2550
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินเยน รวม
15,384,674 14,095,593 2,828,839 32,309,106
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
11,475,248 19,976,920 31,452,168
10,777,000 11,848,899 22,625,899
9,100,000 16,834,460 25,934,460
153
154
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
กลุ่มบริษัทมีรายละเอียดของเงินกู้ยืมระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม ดังนี้
บริษัท 1. 65 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ภายใต้วงเงินกู้ร่วม 65 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และ 2,600 ล้านบาท ในปี 2548 ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับ LIBOR บวก อัตราส่วนเพิ่มร้อยละ 1.18 และมีกำหนดชำระคืน เป็นงวดทุกงวด 6 เดือน จำนวนรวม 6 งวดเริ่ม ตั้งแต่เดือนกันยายน 2551 2. เงินบาทภายใต้วงเงินกู้ร่วม 65 ล้านเหรียญสหรัฐ อเมริกา และ 2,600 ล้านบาท ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ย เท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 6 เดือนบวก อัตราส่วนเพิ่มร้อยละ 2.75 ในปี 2549 และตั้งแต่ ปี 2550 อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ MLR หักอัตรา ส่วนลดร้อยละ1.625 สำหรับ 2 ปีแรก และมีอัตรา ดอกเบี้ยเท่ากับ MLR หักอัตราส่วนลดร้อยละ 1.25 สำหรับ 2 ปีที่เหลือ โดยมีกำหนดชำระคืนเป็นงวด ทุกงวด 6 เดือน จำนวนรวม 6 งวด เริ่มตั้งแต่เดือน กันยายน 2551 3. 50 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2549 ภายใต้วงเงินกู้แบบหมุนเวียน 200 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกาซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับ LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ่มร้อยละ 0.36 และมีกำหนดชำระ คืนเงินต้นทั้งจำนวนเมื่อสิ้นปีที่ 5 นับจากวันที่ ในสัญญา โดยในระหว่างอายุสัญญา บริษัทมีสิทธิ กำหนดเวลาจำนวนเงินกู้ที่เบิก และการชำระคืน เงินกู้ตลอดจนการเลือกงวดชำระดอกเบี้ยได้ตาม เงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา
หมายเหตุ
2550
15.1
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
-
2,355,002
-
2,355,002
15.1
4,927,000
2,600,000
4,927,000
2,600,000
15.1
-
1,811,540
-
1,811,540
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุ
บริษัทย่อย บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด เงินกู้ยืมในประเทศ - ส่วน A บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด เงินกู้ยืมในประเทศ - ส่วน A1 (24 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2550 และ 26.4 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2549) - ส่วน A2 - ส่วน A3 - ส่วน A5 - ส่วน E เงินกู้ยืมจากต่างประเทศ - ส่วน B (42.3 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2550 และ 60.3 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2549) บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด เงินกู้ยืมในประเทศ - ส่วน A1 เงินกู้ยืมจากต่างประเทศ - 9,438.4 ล้านเยน ในปี 2550 รวม หัก ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี สุทธิ
2550
(พันบาท)
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
450,235
681,493
-
-
813,240 614,109 561,430 222,341 134,559
956,493 675,520 617,573 244,574 156,088
-
-
1,433,454
2,185,967
-
-
15.4 ก
2,625,000
-
-
-
15.4 ข
2,828,839 14,610,207 (1,099,636) 13,510,571
12,284,250 (1,133,370) 11,150,880
4,927,000 (295,620) 4,631,380
6,766,542 (-) 6,766,542
15.2 15.3
15.4
155
156
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
15.1 บริษัท ในปี 2548 บริษัทได้เข้าทำสัญญาเงินกู้ร่วม 65 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และ 2,600 ล้านบาท และสัญญาเงินกู้แบบหมุนเวียน 200 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ลงวันที่ 3 มิถุนายน 2548 และออกหุ้นกู้อายุ 10 ปี ในราคาร้อยละ 99.884 ของมูลค่าที่ตราไว้ซึ่งมีมูลค่า 350 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 9 มิถุนายน 2558 โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.10 ต่อปี และมีกำหนดการจ่าย ชำระดอกเบี้ยทุกงวด 6 เดือน เริ่มตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม 2548 ซึ่งตามหนังสือชี้ชวนของหุ้นกู้และสัญญาเงินกู้ได้กำหนดเงื่อนไขบางประการ เกี่ยวกับการรักษาอัตราส่วนทางการเงินต่างๆ และอัตราถือหุ้นของผู้ถือหุ้นใหญ่ ในระหว่างปี 2549 บริษัทได้ชำระคืนหนี้เงินกู้จำนวนเงิน 100 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาตามสัญญาวงเงินกู้แบบหมุนเวียน 200 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (Revolving Credit Facility Agreement) ในปี 2549 บริษัทได้ออกหุ้นกู้อายุ 3 ปี และ 7 ปี เสนอขายต่อนักลงทุนสถาบัน เป็นจำนวนเงินรวม 5,500 ล้านบาท โดยมีมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1,000 บาท และมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.39 ต่อปี และร้อยละ 5.70 ต่อปี และมีกำหนดการจ่ายชำระดอกเบี้ยทุกวันที่ 30 เมษายน และวันที่ 31 ตุลาคม ซึ่งจะครบกำหนดไถ่ถอน ในวันที่ 31 ตุลาคม 2552 และ 2556 ตามลำดับ เพื่อนำมาใช้ในการดำเนินกิจการของบริษัท ในปี 2550 บริษัทได้ทำสัญญาแก้ไขสัญญาเงินกู้ระยะยาวเพื่อแปลงหนี้เงินกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาเป็นเงินกู้สกุลเงินบาท และปรับลด อัตราดอกเบี้ยจากสัญญาเงินกู้ฉบับเดิม จากอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 6 เดือนถัวเฉลี่ยบวกอัตราส่วนเพิ่มเป็นอัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด นอกจากนี้ ในระหว่างปี บริษัทได้ชำระคืนหนี้เงินกู้จำนวนเงิน 50 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาตามสัญญาวงเงินกู้แบบ หมุนเวียน 200 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (Revolving Credit Facility Agreement) ณ วันที่ 31 ธันวาคม หุ้นกู้มียอดคงเหลือดังนี้
2550
หุ้นกู้ หัก ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ สุทธิ
17,359,750 (10,851) 17,348,899
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
18,180,780 (12,862) 18,167,918
17,359,750 (10,851) 17,348,899
18,180,780 (12,862) 18,167,918
ตามที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2550 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติให้บริษัทออกและเสนอขายหุ้นกู้ให้แก่นักลงทุน ทั้งภายในและต่างประเทศในวงเงิน 500 ล้านเหรียญสหรัฐอมริกา หรือเทียบเท่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทยังมิได้ดำเนินการ ออกหุ้นกู้เพิ่มเติม
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
15.2 บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2546 บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด ได้ลงนามในสัญญาวงเงินสินเชื่อใหม่กับธนาคารในประเทศแห่งหนึ่งและ สถาบันการเงินในประเทศแห่งหนึ่งเพื่อขอใช้วงเงินสินเชื่อ สำหรับจ่ายชำระคืนเงินกู้ยืมและใช้ในการดำเนินงานทั่วไป ในเดือนมกราคม 2547 บริษัทได้ทำการเบิกถอนเงินกู้ส่วน A จากวงเงินสินเชื่อใหม่ดังกล่าวเพื่อจ่ายชำระคืนเงินกู้ยืมส่วนเดิม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เงินกู้ดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ เงินกู้ยืมในประเทศ ส่วน
สกุลเงิน
วงเงิน (ล้าน)
A
บาท
1,971
ชำระหนี้เงินกู้ ระยะยาวใน ประเทศ
B
บาท
200
วงเงินเงินกู้ระยะสั้น เพื่อใช้ในการ ดำเนินงานทั่วไป
-
อัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจำ 6 เดือน บวก 3.25
-
C
บาท
75
ค้ำประกัน การยกเลิกสัญญา ก่อนครบกำหนด
-
1.50
-
จุดประสงค์
ดอกเบี้ย ปี อัตรา (ร้อยละ)
1 – 2 4.00 3 – 9 อัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจำ 6 เดือน บวก 2.75
ระยะเวลาชำระคืน
งวดหกเดือนในจำนวนเงิน ที่แตกต่างกันเริ่มตั้งแต่ วันที่ 30 มีนาคม 2547
ในปี 2549 บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด ได้ชำระเงินกู้ยืมก่อนกำหนดเป็นจำนวนเงิน 204 ล้านบาท 15.3 บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2540 และวันที่ 21 มีนาคม 2540 บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด ได้ทำสัญญาหลักและสัญญาอื่น ทีเ่ กีย่ วข้องกับกลุม่ ธนาคารและสถาบันการเงินกลุม่ หนึง่ เพือ่ กูย้ มื เงินและขอใช้วงเงินเพือ่ ใช้ในการก่อสร้างโรงงานและใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน ของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เงินกู้ดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้
157
158
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เงินกู้ยืมในประเทศ วงเงิน (ล้าน)
จุดประสงค์
เหรียญสหรัฐ อเมริกา
40
ต้นทุนโครงการ
1-7 8-9 9-11 11-12 13-17
SIBOR บวกส่วนเพิ่มร้อยละ 1.375 SIBOR บวกส่วนเพิ่มร้อยละ 2.75 SIBOR บวกส่วนเพิ่มร้อยละ 1.625 LIBOR บวกส่วนเพิ่มร้อยละ 1.15 LIBOR บวกส่วนเพิ่มร้อยละ 1.25
งวดหกเดือนในจำนวนเงิน ที่แตกต่างกันเริ่มตั้งแต่ วันที่ 21 มีนาคม 2543
A2
บาท
1,000
ต้นทุนโครงการ
1-5 6-7 8-9 9-11 11-12 13-17
11.75 7.00 MLR MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.25 MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.625 MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.00
งวดหกเดือนในจำนวนเงิน ที่แตกต่างกันเริ่มตั้งแต่ วันที่ 21 มีนาคม 2543
A3
บาท
920
ต้นทุนโครงการ
1-4 5-8 9 9-11 11-12 13-17
MLR หักส่วนลดร้อยละ 0.375 MLR หักส่วนลดร้อยละ 0.25 MLR หักส่วนลดร้อยละ 0.125 MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.25 MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.625 MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.00
งวดหกเดือนในจำนวนเงิน ที่แตกต่างกันเริ่มตั้งแต่ วันที่ 21 มีนาคม 2543
A5
บาท
371.4
ต้นทุนโครงการ
1-4 5-8 9 9-11 11-12 13-17
MLR หักส่วนลดร้อยละ 0.375 MLR หักส่วนลดร้อยละ 0.25 MLR หักส่วนลดร้อยละ 0.125 MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.25 MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.625 MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.00
งวดหกเดือนในจำนวนเงิน ที่แตกต่างกันเริ่มตั้งแต่ วันที่ 21 มีนาคม 2543
D1
บาท
520
เงินทุนหมุนเวียน
1-17
MOR
-
ส่วน
สกุลเงิน
A1
ดอกเบี้ย ปี อัตรา (ร้อยละ)
ระยะเวลาชำระคืน
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
วงเงิน (ล้าน)
จุดประสงค์
บาท
60
เงินทุนหมุนเวียน
1-17
MOR
-
D3
บาท
20
1-17
1.50
-
E
บาท
308.6
วงเงินค้ำประกัน วงเงินสินเชื่อ ระบบสายส่งไฟฟ้า
1-4 5-8 9 9-11 11-12 13-17
MLR หักส่วนลดร้อยละ 0.375 MLR หักส่วนลดร้อยละ 0.25 MLR หักส่วนลดร้อยละ 0.125 MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.25 MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.625 MLR หักส่วนลดร้อยละ 1.00
รายเดือนในจำนวนเงิน ที่คงที่เริ่มตั้งแต่ วันที่ 1 ธันวาคม 2542
F1
บาท
620
MOR หักส่วนลด ร้อยละ 0.25 MOR
-
ส่วน
สกุลเงิน
D2
วงเงินสำรอง สำหรับส่วน A และ/หรือ ส่วน E
ดอกเบี้ย ปี อัตรา (ร้อยละ)
1-7 8-17
ระยะเวลาชำระคืน
-
เงินกู้ยืมจากต่างประเทศ ส่วน
สกุลเงิน
วงเงิน (ล้าน)
จุดประสงค์
ดอกเบี้ย ปี อัตรา (ร้อยละ)
B
เหรียญสหรัฐ อเมริกา
144
ต้นทุนโครงการ
1-3 4-15
LIBOR บวกส่วนเพิ่มร้อยละ 0.75 LIBOR บวกส่วนเพิ่มร้อยละ 0.95
F2
เหรียญสหรัฐ อเมริกา
32
วงเงินสำรอง สำหรับส่วน B
1-15
LIBOR บวกส่วนเพิ่มร้อยละ 0.95
ระยะเวลาชำระคืน
- MLR เป็นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขั้นต่ำถัวเฉลี่ยของธนาคารไทย 4 ธนาคาร - MOR เป็นอัตราดอกเบี้ยของเงินเบิกเกินบัญชีขั้นต่ำถัวเฉลี่ยของธนาคารไทย 3 ธนาคาร (เงินกู้ในส่วน D1) - MOR เป็นอัตราดอกเบี้ยของเงินเบิกเกินบัญชีขั้นต่ำของผู้ให้กู้แต่ละราย (เงินกู้ในส่วน D2 และ F1)
งวดหกเดือนในจำนวนเงิน ที่แตกต่างกันเริ่มตั้งแต่ วันที่ 21 มีนาคม 2543 -
159
160
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
15.4 บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด เงินกู้ยืมในประเทศ ในปี 2549 บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด ได้ทำสัญญากู้เงินกับสถาบันการเงินในประเทศสองแห่งดังนี้ ก) ส่วน A วงเงินกู้ยืม 2,625 ล้านบาท เพื่อใช้ในการโครงการขยาย มีอัตราดอกเบี้ย MLR-1.375% ต่อปี ซึ่งมีกำหนดการเบิกใช้ในปี 2550 - 2551 และมีกำหนดชำระคืนเป็นงวดงวดละเท่า ๆ กัน จำนวนรวม 10 งวดโดยเริ่มชำระงวดแรก วันที่ 30 เมษายน 2552 สิ้นสุดวันที่ 30 ตุลาคม 2556 ข) ส่วน B วงเงินทุนหมุนเวียนจำนวน 1,125 ล้านบาท เพื่อใช้ในการดำเนินงานมีอัตราดอกเบี้ย MLR-1.375% ต่อปี ซึ่งมีกำหนด การเบิกใช้ภายใน 7 ปี สิ้นสุดวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 เงินกู้ยืมจากต่างประเทศ ค) เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2549 บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด ได้ทำสัญญาเงินกู้ร่วมกับสถาบันการเงินต่างประเทศสองแห่งเพื่อใช้ใน โครงการขยายและเงินทุนหมุนเวียน จำนวน 9,438 ล้านเยน อัตราดอกเบี้ย LIBOR JPY 3 เดือน บวก 0.30% และจัดทำสัญญาแลกเปลี่ยน เงินตราเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นเงินเหรียญสหรัฐ เท่ากับ 80 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา อัตราดอกเบี้ย LIBOR USD 3 เดือน บวก0.40% ซึ่งมีกำหนดการเบิกใช้ในปี 2550 และมีกำหนดชำระคืนเป็นงวด ๆละเท่า ๆ กัน จำนวนรวม 7 งวดโดยเริ่มชำระงวดแรก วันที่ 16 มกราคม 2552 สิ้นสุดวันที่ 16 มกราคม 2555
16 เจ้าหนี้การค้า
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวม
หมายเหตุ
2550
4
17,250,863 8,799,615 26,050,478
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
8,384,193 4,553,180 12,937,373
18,199,523 7,235,149 25,434,672
9,257,404 3,961,613 13,219,017
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ยอดเจ้าหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้
2550
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อื่นๆ รวม
18,399,721 7,650,757 26,050,478
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
8,450,799 4,481,955 4,619 12,937,373
18,125,214 7,309,458 25,434,672
11,909,716 1,309,301 13,219,017
17 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 2550
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานค้างจ่าย กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่น ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย อื่นๆ รวม
228,853 216,310 954,207 14,039 595,491 2,008,900
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
206,132 504,772 1,337,792 67,670 322,449 2,438,815
114,747 216,310 637,489 236,314 1,204,860
91,831 504,772 1,277,129 313,097 2,186,829
161
162
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
18 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 2550
เงินมัดจำและค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า กองทุนเงินบำเหน็จ หนี้สินภายใต้แผนพื้นฟูกิจการสุทธิ จากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ซึ่งแสดงอยู่ในหนี้สินหมุนเวียนอื่น รวม
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
36,059 200,818
41,715 153,086
263,313 200,818
276,989 153,086
32,055 268,932
33,262 228,063
464,131
430,075
หนี้สินภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการสุทธิ จำนวนเงิน 32.1 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 (2549: 33.3 ล้านบาท) เป็นหนี้สินคงเหลือที่เกิด จากการปรับโครงสร้างหนี้ ภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ ลงวันที่ 16 ตุลาคม 2546 ของบริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) ซึ่งมีการกำหนดชำระ ตั้งแต่ 3 ปี ถึง 10 ปี โดยมีอัตราดอกเบี้ยตามที่ระบุไว้ ตามแผนการปรับโครงสร้างหนี้ดังกล่าว
19 ทุนเรือนหุ้น
มูลค่าหุ้น ต่อหุ้น (บาท)
จำนวนหุ้น
2550
จำนวนเงิน
จำนวนหุ้น
(พันหุ้น/ พันบาท)
2549
จำนวนเงิน
ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ
10
2,040,028
20,400,279
2,040,028
20,400,279
10
2,040,028
20,400,279
2,040,028
20,400,279
หุ้นที่ออกและชำระแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ
10
2,040,028
20,400,279
2,040,028
20,400,279
10
2,040,028
20,400,279
2,040,028
20,400,279
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
20 ส่วนเกินทุนและสำรองตามกฎหมาย ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียนไว้ บริษัทต้องนำค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนสำรอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ สำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนสำรอง (“สำรองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสำรองดังกล่าวมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ ทุนจดทะเบียน เงินสำรองนี้จะนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้
21 ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน กลุ่มบริษัทได้นำเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานธุรกิจ รูปแบบหลักในการรายงาน ส่วนงานธุรกิจ พิจารณาจากระบบการบริหาร การจัดการ และโครงสร้างการรายงานทางการเงินภายในของกลุ่มบริษัทเป็นเกณฑ์ในการกำหนดส่วนงาน ผลได้ (เสีย) สินทรัพย์และหนี้สินตามส่วนงานรวมรายการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่วนงานหรือที่สามารถปันส่วนให้กับส่วนงานได้อย่าง สมเหตุสมผล รายการที่ไม่สามารถปันส่วนได้ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ดอกเบี้ย หรือเงินปันผลทั้งส่วนของสินทรัพย์และรายได้ เงินให้กู้ยืม ที่มีดอกเบี้ย เงินกู้ยืมและค่าใช้จ่าย และสินทรัพย์และค่าใช้จ่ายของกิจการโดยรวม ส่วนงานธุรกิจ กลุ่มบริษัทเสนอส่วนงานธุรกิจที่สำคัญ ดังนี้ ส่วนงาน 1 โรงกลั่นน้ำมัน ส่วนงาน 2 โรงกลั่นน้ำมันหล่อลื่น ส่วนงาน 3 ปิโตรเคมี ส่วนงาน 4 โรงผลิตกระแสไฟฟ้า ส่วนงาน 5 ขนส่งน้ำมันและเคมีภัณฑ์
163
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ข้อมูลเกี่ยวกับผลได้ (เสีย) ตามส่วนงานธุรกิจ (ปรับปรุงใหม่) โรงกลั่นน้ำมัน 2550 2549
รายได้จากการขายและ 253,958,677 การให้บริการ กำไร(ขาดทุน)จาก อัตราแลกเปลี่ยน 1,433,058 เงินตราต่างประเทศ 5,341,092 รายได้อื่น 260,732,827 รวมรายได้ ต้นทุนขายและต้นทุนให้บริการ (235,396,177) ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (1,367,602) ส่วนแบ่งขาดทุนจาก เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย (236,763,779) รวมค่าใช้จ่าย กำไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายและ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน 23,969,048 และภาษีเงินได้ ดอกเบี้ยจ่ายและ (1,411,189) ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ภาษีเงินได้ (4,693,666) กำไรสุทธิส่วนของ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 17,864,193 กำไรสุทธิ
โรงกลั่นน้ำมันหล่อลื่น 2550 2549
2550
ปิโตรเคมี
2549
โรงผลิตกระแสไฟฟ้า 2550 2549
ขนส่งน้ำมันและเคมีภัณฑ์ 2550 2549
ตัดรายการระหว่างกัน 2550 2549
2550
(พันบาท) รวม 2549
280,148,126 21,582,189 17,647,116 33,246,919 41,603,888 12,202,605 11,820,032
731,137
518,041 (60,670,729) (72,628,078) 261,050,798 279,109,125
2,887,030 (23,101) (18,373) (80,402) 97,686 191,087 523,963 3,232,647 177,837 131,162 265,012 206,151 204,663 462,884 286,267,803 21,736,925 17,759,905 33,431,529 41,907,725 12,598,355 12,806,879 (271,411,036) (19,898,744) (14,953,489) (29,908,412) (35,968,741) (11,041,256) (10,100,796) (494,529) (223,650) (224,752) (114,159) (176,771) (108,311) (176,680)
(486) 4,010 734,661 (657,196) (59,624)
(925) - 1,520,156 3,489,381 4,053 (4,730,858) (2,927,645) 1,261,756 1,109,252 521,169 (65,401,587) (75,555,723) 263,832,710 283,707,758 (433,595) 61,451,759 73,835,358 (235,450,026) (259,032,299) (55,666) 103,907 59,175 (1,769,439) (1,069,223)
(271,905,565) (20,122,394) (15,178,241) (30,022,571) (36,145,512) (11,149,567) (10,277,476)
(716,820)
(633) (633) (633) (633) (489,261) 61,555,033 73,893,900 (237,220,098) (260,102,155)
14,362,238 1,614,531 2,581,664 3,408,958 5,762,213 1,448,788 2,529,403
17,841
31,908 (3,846,554) (1,661,823) 26,612,612 23,605,603
(1,393,653) (2,823,605)
(427,722) (210,045)
(4,749) -
(1,437) -
(275,873) (692,568) 724,325 1,199,068
13,092
- (125,701) (134,608) (401,574) (827,176) 30,471 (3,956,898) (1,794,008) 19,175,629 17,659,029
(148) (484,629)
(179) (169,023)
(7,795) -
(96,157) -
10,144,980 1,129,754 2,412,462 3,401,163 5,666,056
(319,091) (129,499)
15,357 -
2,423 (1,727,615) (1,916,725) - (5,307,794) (3,202,673)
164
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงิน ตามส่วนงานธุรกิจ (ปรับปรุงใหม่) โรงกลั่นน้ำมัน 2550 2549
ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนซึ่งบันทึก โดยวิธีส่วนได้เสีย ที่ดิน อาคารและ อุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อื่น รวมสินทรัพย์ เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน
โรงกลั่น น้ำมันหล่อลื่น 2550 2549
2550
ปิโตรเคมี
2549
โรงผลิตกระแสไฟฟ้า 2550 2549
21,181,925 16,434,350 1,149,039 1,137,750 2,998,843 4,677,234 2,180,761 2,148,748 29,568,886 18,163,812 2,475,185 1,845,891 506,544 422,205 187,741 175,759 4,401,742 3,487,300 1,981,792 1,780,867 882,844 1,837,405 1,498,576 2,455,412 6,989,637 8,238,421
-
-
-
-
-
-
ขนส่งน้ำมัน และเคมีภัณฑ์ 2550 2549
63,671 89,780 189,448 -
37,789,019 34,369,040 3,738,190 3,813,683 17,748,225 9,442,562 11,123,218 11,742,403 1,859,487 2,374,999 102,306,208 25,434,672 4,603,730 4,631,380 17,348,899 1,926,836 53,945,517
2,049,476 102,685 116,379 161,622 66,930 82,742,399 9,446,891 8,694,570 22,298,078 16,446,336 13,219,017 1,573,181 46,131 2,470,478 3,548,235 4,476,051 405,757 308,965 626,529 58,637 6,766,542 - 5,453,839 18,167,918 1,966,269 32,055 33,262 - 44,595,797 2,010,993 388,358 8,550,846 3,606,872
447,923 15,438,219 1,072,597 1,029,544 3,425,352 39,901 5,567,394
ตัดรายการ ระหว่างกัน 2550 2549
(พันบาท)
2550
รวม
2549
58,724 (4,613,298) (5,702,556) 22,960,941 18,754,250 74,251 (26,376) (26,376) 32,801,760 20,655,542 109,988 (1,740,716) (123,077) 7,213,686 9,547,895 - (6,844,653) (8,194,054) 384,731
(818,388)
144,984
44,367
(458,897) 71,439,751 59,293,522
488,101 69,220 988 (654,783) (693,163) 17,010,423 2,271,606 628,682 (14,698,214) (15,198,123) 1,719,228 33,096 22,621 (4,533,546) (5,617,859) 1,428,982 1,635,252 15,894 (1,804,996) (197,348) 4,384,338 269,844 - - (227,254) (458,833) 7,802,392 1,668,348 38,515 (6,565,796) (6,274,040)
2,501,666 137,062,788 26,050,478 6,495,816 13,510,571 17,348,899 1,771,538 65,177,302
2,028,711 110,324,287 12,937,373 6,091,181 11,150,880 18,167,918 1,810,542 50,157,894
165
166
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
22 รายได้อื่น หมายเหตุ
กำไรจากการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน ดอกเบี้ยรับ กำไรจากสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตรา รายได้จากการให้เช่าที่ดิน รายได้ค่าบริการอื่นๆให้แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินปันผลรับ กำไรจากการลดทุนหุ้นบุริมสิทธิของบริษัทย่อย ค่าความนิยมติดลบตัดจำหน่าย อื่นๆ รวม
10
2550
งบการเงินรวม
378,224 629,382 8,906 28,891 29,249 187,105 1,261,757
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
392,847 309,198 80,661 10,383 25,897 29,249 261,017 1,109,252
190,750 515,206 48,217 667,385 2,253,187 1,528,404 137,943 5,341,092
102,792 80,661 48,129 1,087,776 1,688,990 224,299 3,232,647
23 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 2550
ค่าที่ปรึกษาและกฎหมาย ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับพนักงาน ค่าเสื่อมราคา ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่าง ราคาน้ำมันสำเร็จรูปและน้ำมันดิบ ล่วงหน้าสุทธิ ขาดทุนจากการจำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อื่นๆ รวม
งบการเงินรวม
32,293 356,727 48,337
(พันบาท)
2549
2550
2549
43,731 333,893 142,069
27,912 241,544 11,971
17,356 222,261 12,378
838,597
-
6,757 240,821 1,367,602
242,534 494,529
838,597 6,143 487,342 1,769,439
งบการเงินเฉพาะกิจการ
51,826 497,704 1,069,223
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
24 ค่าใช้จ่ายพนักงาน 2550
เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เงินสมทบกองทุนเงินบำเหน็จ อื่นๆ รวม
1,337,518 97,791 107,770 282,968 1,826,047
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
1,303,618 64,892 168,271 213,648 1,750,429
1,083,079 82,349 107,770 178,119 1,451,317
1,007,048 51,815 168,271 186,976 1,414,110 (จำนวนคน)
จำนวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
1,201
1,166
790
765
กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สำหรับพนักงานของกลุ่มบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงาน ในการเป็นสมาชิกของ กองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ถึงอัตราร้อยละ 15 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุม่ บริษทั จ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 5 ถึงอัตราร้อยละ 15 ของเงินเดือนของพนักงาน ทุกเดือน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามข้อกำหนด ของกระทรวงการคลัง และจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต บริษัทมีกองทุนเงินบำเหน็จเพื่อจ่ายเป็นผลประโยชน์แก่พนักงานทั้งหมดของบริษัทเมื่อออกจากงานหรือเกษียณอายุ บริษัทจะจ่ายเงิน บำเหน็จนี้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้น ๆ ครบเกษียณอายุ ทุพพลภาพ ถึงแก่กรรมหรือลาออกจากงาน ด้วยจำนวนซึ่งคำนวณตามสูตร ของผลประโยชน์ที่กำหนดไว้โดยมีสมมติฐานว่าพนักงานทุกคนลาออก ณ วันที่ในงบดุล
167
168
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
25 ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายทางการเงิน หมายเหตุ
ดอกเบี้ยจ่ายที่เกี่ยวกับ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สถาบันการเงินและอื่นๆ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ส่วนที่บันทึกเป็นต้นทุนของ สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง สุทธิ
11
2550
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
1,815,967 55,037 1,871,004
6,641 1,854,047 56,037 1,916,725
1,365,415 45,774 1,411,189
8,450 1,335,044 50,158 1,393,652
(143,389) 1,727,615
1,916,725
1,411,189
1,393,652
26 ภาษีเงินได้ หมายเหตุ
ภาษีเงินได้ปัจจุบัน สำหรับปีปัจจุบัน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชั่วคราว รวม
2550
งบการเงินรวม
2549 (ปรับปรุงใหม่)
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
(5,386,104)
(3,251,013)
(4,765,593)
(2,877,971)
78,311 (5,307,793)
48,340 (3,202,673)
71,927 (4,693,666)
54,366 (2,823,605)
13
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริง อัตราภาษี
กำไรก่อนภาษีเงินได้ จำนวนภาษีเงินได้ตามอัตราภาษีเงินได้ การลดภาษีเงินได้ รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี การใช้ขาดทุนทางภาษีที่เดิมไม่ได้บันทึก รวม
งบการเงินรวม อัตราภาษี
(ร้อยละ)
(พันบาท)
30% (4.53%) (4.11%) 0.01% (0.04%) 21.33%
24,884,997 7,465,499 (1,127,893) (1,023,755) 3,737 (9,795) 5,307,793
การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริง
2550
(พันบาท)
30% (2.99%) (9.34%) 0.02% (2.92%) 14.77%
21,688,879 6,506,664 (648,429) (2,026,786) 4,889 (633,665) 3,202,673
อัตราภาษี
(ร้อยละ)
(พันบาท)
30% (5%) (4.21%) 0.02% 20.81%
22,557,859 6,767,358 (1,127,893) (949,144) 3,345 4,693,666
2549 (ปรับปรุงใหม่)
(ร้อยละ)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
อัตราภาษี
กำไรก่อนภาษีเงินได้ จำนวนภาษีเงินได้ตามอัตราภาษีเงินได้ การลดภาษีเงินได้ รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี รวม
2550
2549 (ปรับปรุงใหม่)
(ร้อยละ)
(พันบาท)
30% (5%) (3.26%) 0.04% 21.78%
12,968,586 3,890,576 (648,429) (423,372) 4,830 2,823,605
การลดภาษีเงินได้นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากร ฉบับที่ 387 พ.ศ. 2544 ลงวันที่ 5 กันยายน 2544 ให้สิทธิทางภาษีแก่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภายหลังวันที่ 6 กันยายน 2544 โดยลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล จากอัตราร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 25 เป็นเวลาห้ารอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกันนับแต่รอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริ่มในหรือหลังวันที่ พระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับ บริษัทได้คำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกำไรทางภาษีสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ในอัตราร้อยละ 25 อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยยังคงคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรทางภาษีสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน ในอัตรา ร้อยละ 30
169
170
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
27 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 คำนวณจากกำไรสุทธิในงบ กำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ จำนวนเงิน 19,176 ล้านบาท และ 17,864 ล้านบาท ตามลำดับ (2549 :17,659 ล้านบาท และ 10,145 ล้านบาท ตามลำดับ) และหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายแล้วระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 จำนวน 2,040,028 พันหุ้น (2549 : 2,040,028 พันหุ้น)
28 สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนอนุมัติให้บริษัทและบริษัทย่อยบางแห่งได้รับสิทธิประโยชน์หลายประการ ในฐานะผู้ได้รับการส่งเสริมการ ลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับการผลิตกระแสไฟฟ้า การผลิตผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมี การให้บริการขนส่ง ผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเคมีและผลิตภัณฑ์ เคมีเหลวทางเรือ ซึ่งพอสรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ ก) บริษัทและบริษัทย่อย 3 แห่งได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับการนำเข้าสำหรับเครื่องจักรและอุปกรณ์ตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ ข) บริษัทย่อย 4 แห่งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมเป็นระยะเวลา 8 ปี นับแต่วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น เนื่องจากเป็นกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน บริษัทและบริษัทย่อยดังกล่าวจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกำหนดตามที่ระบุไว้ใน บัตรส่งเสริมการลงทุน
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายได้ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสรุปได้ดังนี้ (พันบาท)
ขายต่างประเทศ ขายในประเทศ ตัดรายการระหว่างกัน รวมรายได้
กิจการที่ได้รับ การส่งเสริม
2550 กิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริม
5,168,215 37,024,720
24,143,202 255,391,779
งบการเงินรวม รวม 29,311,417 292,416,499 (60,677,117) 261,050,799
กิจการที่ได้รับ การส่งเสริม
2549 กิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริม
5,793,065 45,038,660
29,910,867 271,000,935
รวม 35,703,932 316,039,595 (72,634,402) 279,109,125
(พันบาท)
ขายต่างประเทศ ขายในประเทศ รวมรายได้
กิจการที่ได้รับ การส่งเสริม
2550 กิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริม
-
20,007,933 233,950,745
งบการเงินเฉพาะกิจการ รวม
กิจการที่ได้รับ การส่งเสริม
2549 กิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริม
20,007,933 233,950,745 253,958,678
-
27,124,971 253,023,155
รวม 27,124,971 253,023,155 280,148,126
171
172
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
29 เงินปันผลจ่าย ก) ในการประชุมคณะกรรมการของบริษทั เมือ่ วันที่ 14 กันยายน 2550 คณะกรรมการมีมติอนุมตั กิ ารจัดสรรกำไรเป็นเงินปันผลระหว่างกาล จากกำไรสุทธิสำหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2550 ในอัตราหุ้นละ 1.75 บาท เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 3,570 ล้านบาท เงินปันผล ดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในระหว่างปี 2550 ข) ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2550 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรกำไร เป็นเงินปันผลจากกำไรสุทธิของ ปี 2549 ในอัตราหุ้นละ 3.50 บาท เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 7,140 ล้านบาท สุทธิจากเงินปันผลระหว่างกาล ซึ่งจัดสรรจากกำไรสุทธิสำหรับงวด หกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2549 ในอัตราหุ้นละ 1.50 บาท เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 3,060 ล้านบาท ยอดสุทธิของเงินปันผลดังกล่าว จำนวนเงิน 4,080 ล้านบาท ได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในระหว่างปี 2550 ค) ในการประชุมสามัญประจำปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2549 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรกำไรจากกำไรสุทธิของ ปี 2548 เป็นเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 3.50 บาท เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 7,140 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในระหว่างปี 2549 ง) ในการประชุมกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2549 ที่ประชุมมีมติอนุมัติการจัดสรรกำไรจากกำไรสุทธิของงวดหกเดือน สิ้นสุด วันที่ 30 มิถุนายน 2549 เป็นเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 1.50 บาท เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 3,060 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้ จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในระหว่างปี 2549
30 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (ก) เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของบริษัทต่อไปนี้ไม่มีผลกระทบต่องบการเงินรวมของกลุ่มบริษัท จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อย หรือบริษัทร่วมในงบการเงินโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย ในระหว่างปี 2550 สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหม่ ซึ่งให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลา บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหม่เหล่านี้กำหนดให้บริษัทใหญ่ซึ่งมีเงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการที่ควบคุมร่วมกัน หรือบริษัทร่วมที่ไม่จัด จำแนกเป็นการลงทุนสำหรับ “การถือเพื่อขาย” บันทึกเงินลงทุนดังกล่าวตามวิธีราคาทุนหรือตามเกณฑ์การรับรู้และการวัดมูลค่าตราสาร ทางการเงิน (เมื่อมีการบังคับใช้) แทนวิธีส่วนได้เสียซึ่งใช้อยู่ในปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 บริษัทได้เปลี่ยนนโยบายการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย หรือบริษัทร่วม ในงบการเงินของบริษัท จากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีนี้ทำให้ต้องมีการปรับปรุงงบการเงินของบริษัทย้อนหลัง และงบการเงิน ของบริษัทสำหรับปี 2549 ที่นำไปแสดงในงบการเงินสำหรับปี 2550 เพื่อการเปรียบเทียบจึงได้รับการปรับปรุงใหม่ (ข) สินค้าคงเหลือ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของบริษัทต่อไปนี้มีผลกระทบต่อทั้งงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 บริษัทและบริษัทย่อยได้เปลี่ยนนโยบายการบัญชีการตีราคาน้ำมันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์ สำเร็จรูปและกึ่งสำเร็จรูปจากวิธีเข้าหลัง-ออกก่อนและวิธีเข้าก่อน-ออกก่อนเป็นวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก จากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีนี้ ทำให้ต้องมีการปรับปรุงงบการเงินของกลุ่มบริษัทย้อนหลัง และงบการเงินของกลุ่มบริษัทสำหรับปี 2549 ที่นำไปแสดงใน งบการเงินสำหรับปี 2550 เพื่อการเปรียบเทียบจึงได้รับการปรับปรุงใหม่ (ค) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของบริษัทต่อไปนี้มีผลกระทบต่อทั้งงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหว่างปี 2550 บริษัทได้เปลี่ยนนโยบายการบัญชีการตีราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์จากวิธีตีราคาใหม่เป็นวิธีราคาทุน จากการ เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีนี้ ทำให้ต้องมีการปรับปรุงงบการเงินของกลุ่มบริษัทย้อนหลัง และงบการเงินของกลุ่มบริษัทสำหรับปี 2549 ที่นำไปแสดงในงบการเงินสำหรับปี 2550 เพื่อการเปรียบเทียบจึงได้รับการปรับปรุงใหม่
173
174
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่จัดทำในระหว่างปี 2550 และ 2549 มีดังนี้ (พันบาท)
2550
งบการเงินรวม
2549
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กำไรสะสมเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นสุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
44,367 44,367
-
สินค้าคงเหลือ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กำไรสะสมเพิ่มขึ้น ภาษีเงินได้ค้างจ่ายเพิ่มขึ้น ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นสุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
20,168,136 351,152 134,225 2,028 487,405 20,655,541
19,000,931 671,922 235,414 1,485 908,821 19,909,752
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กำไรสะสมลดลง ส่วนเกินทุนจากการตีราคาลดลง ลดลงสุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
74,138,170 (425,042) (14,419,606) (14,844,648) 59,293,522
71,300,909 (438,402) (16,248,146) (16,686,548) 54,614,361
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(พันบาท)
2550
งบการเงินรวม
2549
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ลดลง ลดลงสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
3,427,555 (1,845,076) (1,845,076) 1,582,479
2,825,449 (1,199,074) (1,199,074) 1,626,375
กำไรสะสม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ต้นทุนขายลดลง ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ลดลง ภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
30,842,300 487,405 (425,041) (134,225) (2,028) (73,889) 30,768,411
23,831,084 908,821 (438,402) (235,414) (1,485) 233,520 24,064,604
กำไรสุทธิ กำไรสุทธิก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ต้นทุนสินค้าลดลง (เพิ่มขึ้น) ค่าเสื่อมราคาลดลง กลับรายการหนี้สินภาษีเงินได้ตัดบัญชี ภาษีเงินได้ลดลง (เพิ่มขึ้น) กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นสุทธิ กำไรสุทธิหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้น (บาท)
16,779,543 1,389,290 1,841,901 (457,135) (377,900) (70) 2,396,086 19,175,629 1.17
16,595,034 (421,416) 1,841,901 (457,135) 101,189 (543) 1,063,996 17,659,030 0.52
175
176
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กำไรสะสมลดลง ลดลงสุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
26,341,722 (18,103,301) (18,103,301) 8,238,421
18,887,994 (10,694,573) (10,694,573) 8,193,421
สินค้าคงเหลือ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กำไรสะสมเพิ่มขึ้น ภาษีเงินได้ค้างจ่ายเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นสุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
17,798,072 266,535 99,205 365,740 18,163,812
16,471,823 679,265 235,414 914,679 17,386,502
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ลดลง หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลง ลดลงสุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
48,788,646 (12,574,530) (1,845,076) (14,419,606) 34,369,040
46,836,764 (15,049,072) (1,199,074) (16,248,146) 30,588,618
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ลดลง ลดลงสุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
3,381,271 (1,845,076) (1,845,076) 1,536,195
2,772,780 (1,199,074) (1,199,074) 1,573,706
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549
กำไรสะสม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี รับเงินปันผลจากบริษัทย่อยและบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น ส่วนแบ่งกำไรสุทธิจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียลดลง ต้นทุนขายลดลง ภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น ลดลงสุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
30,842,300 2,237,642 (20,340,943) 365,740 (99,205) (17,836,766) 13,005,534
23,831,084 548,652 (11,243,225) 914,679 (235,414) (10,015,308) 13,815,776
กำไรสุทธิ กำไรสุทธิก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี รับเงินปันผลจากบริษัทย่อยและบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น ส่วนแบ่งกำไรสุทธิจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียลดลง ต้นทุนสินค้าลดลง (เพิ่มขึ้น) ค่าเสื่อมราคาลดลง กลับรายการหนี้สินภาษีเงินได้ตัดบัญชี ภาษีเงินได้ลดลง (เพิ่มขึ้น) เพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ กำไรสุทธิหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้น (ลดลง) (บาท)
16,653,778 2,253,187 (3,564,623) 1,537,934 1,828,540 (457,135) (387,488) 1,210,415 17,864,193 0.59
16,595,033 1,688,990 (9,097,718) (548,940) 1,828,540 (457,135) 136,210 (6,450,053) 10,144,980 (3.16)
177
178
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
31 เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากการดำเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย และอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และจาก การไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริษัทไม่มีการถือหรือออกเครื่องมือทางการที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เพื่อการเก็ง กำไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุลของระดับความเสี่ยงที่ยอมรับ ได้โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝ่ายบริหารได้มีการควบคุมกระบวนการการจัดการ ความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่าเกิดความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อการดำเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท ดังนั้น กลุ่มบริษัทจึงได้ทำสัญญาเพื่อป้องกันความเสี่ยงกับสถาบันการเงินหลายแห่งที่ อยู่ในอันดับการลงทุนที่น่าเชื่อถือ เพื่อป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินให้กู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกำหนดรับชำระมีดังนี้ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
งบการเงินรวม ภายใน 1 ปี หลังจาก 1 ปี
(ร้อยละต่อปี)
ปี 2550 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน รวม ปี 2549 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน รวม
รวม
(พันบาท)
MLR หัก อัตราส่วนลด
35,651 35,651
532,918 532,918
568,569 568,569
MLR หัก อัตราส่วนลด
34,037 34,037
510,338 510,338
544,375 544,375
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
งบการเงินเฉพาะกิจการ ภายใน 1 ปี หลังจาก 1 ปี
MMR แต่ไม่เกิน MLR ถัวเฉลี่ยของธนาคาร 5 แห่ง หัก อัตราส่วนลด
1,518,000
-
1,518,000
MLR หัก อัตราส่วนลด
35,651 1,553,651
532,918 532,918
568,569 2,086,569
MLR หัก อัตราส่วนลด
34,037 34,037
510,338 510,338
544,375 544,375
(ร้อยละต่อปี)
ปี 2550 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน รวม ปี 2549 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน รวม
(พันบาท)
รวม
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน และหุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 และระยะเวลาที่ครบกำหนดชำระ หรือกำหนดอัตราใหม่ ได้เปิดเผยแล้วไว้ในหมายเหตุ 15 ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งเกิดจากการซื้อสินค้าที่เป็นเงินตราต่างประเทศ เงินกู้ระยะยาวที่เป็นเงิน ตราต่างประเทศที่มีความเสี่ยงในการแปลงค่าจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ แต่เมื่อพิจารณาการดำเนินธุรกิจ ของบริษัทที่รายได้หลักเป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือเกิดจากการแปลงค่าจากเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาซึ่งสอดคล้องกับสัดส่วนของ ค่าใช้จ่ายของบริษัทที่มีลักษณะเดียวกัน เป็นการป้องกันความเสี่ยงโดยธรรมชาติต่อความเสี่ยงในการแปลงค่าเงินกู้ระยะยาวที่ส่วนใหญ่เป็น เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทได้ทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศบางส่วนล่วงหน้าเพื่อป้องกันความเสี่ยงของอัตรา แลกเปลี่ยนในระยะสั้นอันเกิดจากเงินรับ-จ่ายจากรายได้ และค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินตราต่างประเทศเกิดขึ้นไม่พร้อมกันด้วยตามความเหมาะสม
179
180
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นผลมาจากการมีสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงิน ตราต่างประเทศดังนี้ (พันบาท)
งบการเงินรวม
เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย สกุลอื่นๆ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ
หมายเหตุ
2550
2549
2550
2549
5 7
300,585 5,732,826 (7,650,757) (98,416) (14,095,593) (15,811,355)
28,774 3,039,682 191,294 (4,481,955) (313,000) (19,976,920) (21,512,125)
8,243 4,219,436 (7,309,458) (15,344) (11,848,899) (14,946,022)
356 1,739,757 (1,309,301) (313,000) (16,834,460) (16,716,648)
44 (53,105) (2,828,839) (2,881,900) (18,693,255) 114,176 (18,579,079)
249 105 (4,619) (148,538) (152,803) (21,664,928) 80,661 (21,584,267)
(47,911) (47,911) (14,993,933) (14,993,933)
249 105 (146,480) (146,126) (16,862,774) 80,661 (16,782,113)
16 15 5 16 15
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ คือ ความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถชำระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้ เมื่อครบกำหนด เนื่องจากกลุ่มบริษัทดำเนินธุรกิจกับลูกค้าที่เป็นบริษัทขนาดใหญ่ในกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและไฟฟ้า และกำหนดให้มีการวางหลัก ประกันชั้นดีสำหรับลูกค้าอื่นๆ ทำให้กลุ่มบริษัทไม่มีความเสี่ยงที่เป็นสาระสำคัญด้านสินเชื่อกับบริษัทใดบริษัทหนึ่งหรือในกลุ่มของบริษัท ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอต่อการ ดำเนินงานของกลุ่มบริษัท และเพื่อทำให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์หรือชำระหนี้สินกัน ในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระ ในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน กลุ่มบริษัทใช้วิธีการและสมมติฐานดังต่อไปนี้ในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้จะครบกำหนดในระยะเวลาอันสั้น มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่เป็นตราสารทุนประเภทเผื่อขาย พิจารณาโดยอ้างอิงกับมูลค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยลงทุน ณ วันที่ในงบดุล มูลค่ายุติธรรมของเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และเจ้าหนี้ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึก ในบัญชี เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้จะครบกำหนดในระยะเวลาอันสั้น มูลค่ายุติธรรมของเงินให้กู้ยืมระยะยาว และเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวซึ่งเป็นอัตราท้องตลาด มีราคาตามบัญชีใกล้เคียงกับ มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยถือตามราคาอ้างอิงของคู่สัญญา ณ วันที่ในงบดุล ราคาอ้างอิงเหล่านั้นสามารถทดสอบ หาความสมเหตุสมผลได้ ด้วยการคิดลดประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ภายใต้ข้อกำหนดต่างๆ และวันสิ้นสุดของแต่ละสัญญา และ โดยการใช้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดของเครื่องมือทางการเงินที่คล้ายคลึงกัน ณ วันที่ในงบดุล
181
182
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าถือตามราคาตลาดของสัญญาล่วงหน้า ณ วันที่ในงบดุล ถ้ามีราคาตลาด ในกรณีที่ไม่มีราคาตลาด ให้ประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้าตามสัญญา กับราคาล่วงหน้าของสัญญา ปัจจุบัน ณ วันที่ในงบดุลที่ครบกำหนดในวันเดียวกัน โดยใช้อัตราดอกเบี้ยประเภทที่ใช้กับธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่ตราสารอนุพันธุ์ ซึ่งพิจารณาเพื่อความมุ่งหมายในการเปิดเผยในงบการเงิน คำนวณจากมูลค่า ปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตของเงินต้นและดอกเบี้ย ซึ่งคิดลดโดยใช้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ณ วันที่ในงบดุล หรือใช้ราคาตลาด ณ วันที่ในงบดุล ถ้ามีราคาตลาด มูลค่ายุติธรรมทางการเงิน พร้อมทั้งมูลค่าตามบัญชีของหุ้นกู้ตามที่ปรากฏในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ (พันบาท)
งบการเงินรวม มูลค่ายุติธรรม มูลค่าตามบัญชี
งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่ายุติธรรม มูลค่าตามบัญชี
ปี 2550 ไม่หมุนเวียน หุ้นกู้
(16,866,887)
(17,348,899)
(16,866,887)
(17,348,899)
ปี 2549 ไม่หมุนเวียน หุ้นกู้
(18,315,030)
(18,167,918)
(18,315,030)
(18,167,918)
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
32 ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 2550
งบการเงินรวม
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2549
2550
2549
ภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ายทุน สัญญาก่อสร้างโครงการ รวม
1,923,909 1,923,909
13,742,512 13,742,512
1,329,680 1,329,680
5,858,512 5,858,512
ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าดำเนินงานที่ยกเลิกไม่ได้ ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี หลังจากห้าปี รวม
174,426 705,734 2,094,796 2,974,956
158,621 697,706 2,277,251 3,133,578
174,426 705,734 2,094,796 2,974,956
158,621 697,706 2,277,251 3,133,578
ภาระผูกพันอื่นๆ สัญญารับบริการด้านเทคนิค หนังสือค้ำประกันจากธนาคาร สัญญาการสั่งซื้อน้ำมันดิบ รวม
626,331 341,687 51,534 1,019,552
122,037 317,887 28,254 468,178
626,331 197,495 51,534 875,360
122,037 173,744 28,254 324,035
สัญญารับบริการซ่อมบำรุงเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า ในปี 2544 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญารับบริการซ่อมบำรุงเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าสองฉบับกับบริษัทสองแห่งคือ สัญญาจัดหาและ ซ่อมแซมอะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุง และสัญญาให้บริการซ่อมบำรุง โดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจะจัดหาและซ่อมแซมอะไหล่สำหรับการซ่อม บำรุงประจำปีและการซ่อมบำรุงตามตารางที่กำหนดตามลำดับ บริษัทย่อยจะต้องชำระค่าอะไหล่และค่าบริการซ่อมบำรุงตามราคาที่ระบุไว้ ในสัญญา สัญญาทั้งสองฉบับจะมีผลบังคับใช้นับจากวันที่ในสัญญา จนถึงเวลาของการซ่อมบำรุงใหญ่ครั้งที่ 2 หรือการซ่อมบำรุงประจำปี ครั้งที่ 12
183
184
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
33 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น ก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาป้องกันความเสี่ยงหลายฉบับกับสาขาประเทศไทยของธนาคารต่างประเทศ สองแห่งเพื่อที่จะลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาจำนวนเงิน 43.9 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกา ที่นำมาใช้ในการก่อสร้างโรงงาน ตลอดระยะเวลาของสัญญา บริษัทย่อยผูกพันที่จะได้รับหรือผูกพันที่จะต้องชดเชยให้ กับคู่สัญญาในกรณีที่อัตราดอกเบี้ยแตกต่างจากอัตราที่ตกลงกันทั้งนี้เป็นไปตามเงื่อนไขและข้อกำหนดที่ระบุไว้ในสัญญา อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยยังคงมีภาระหนี้สินต่อผู้ให้กู้ หากคู่สัญญาไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกำหนดในสัญญาดังกล่าวได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทมีภาระผูกพันภายใต้สัญญาการป้องกันความเสี่ยงของอัตราดอกเบี้ยที่มีการกำหนดอัตราสูงสุดที่ทำให้ สัญญาสิ้นสุดลงกับธนาคารต่างประเทศ 3 แห่ง เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมระยะยาวจำนวนเงิน 450 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเดิมมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวในอัตรา LIBOR บวกส่วนเพิ่มเป็นอัตราดอกเบี้ยสูงสุดที่ร้อยละ 6.0 และร้อยละ 6.5 ต่อปี โดยมี การชดเชยจากคู่สัญญาในอัตราไม่เกินอัตราดอกเบี้ยลอยตัวที่ร้อยละ 7.5 ต่อปี ในแต่ละงวดดอกเบี้ยตามสัญญาป้องกันความเสี่ยง บริษัท จะได้รับชดเชยจากคู่สัญญาสำหรับส่วนเกินของอัตราดอกเบี้ย LIBOR ในแต่ละงวดดอกเบี้ยที่พิจารณากับอัตราดอกเบี้ยสูงสุดเป็นระยะ เวลา 7 ถึง 10 ปี ค) ระหว่างปี 2545 และ 2544 กรมศุลกากรและกรมสรรพสามิต มีหนังสือถึงบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเพื่อแจ้งให้บริษัทย่อยชำระภาษี สรรพสามิตซึ่งรวมถึงเบี้ยปรับและเงินเพิ่มสำหรับการนำเข้าน้ำมัน Reduced Crude บางเที่ยวเรือเป็นจำนวนรวม 253.7 ล้านบาท ฝ่ายบริหารได้ย่นื หนังสือต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมสรรพสามิตเพื่ออุทธรณ์คำวินิจฉัยคำคัดค้านการประเมินภาษีสรรพสามิต อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2546 คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมสรรพสามิตได้มีคำวินิจฉัยให้ยกอุทธรณ์ทั้งหมด และให้ บริษัทย่อยชำระภาษีตามคำวินิจฉัยคำคัดค้านการประเมินภาษีสรรพสามิต เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2546 บริษัทย่อยได้ยื่นฟ้องกรม สรรพสามิต กรมศุลกากร และกรมสรรพากร (จำเลย) ต่อศาลภาษีอากรกลางเพื่อขอคืนภาษีสรรพสามิตที่กรมศุลกากรได้เรียกเก็บแล้ว และ ยกเลิกการประเมินของกรมสรรพสามิต เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2547 ศาลภาษีอากรกลางได้มีคำพิพากษาให้บริษัทย่อยชนะคดีและสั่งให้ จำเลยคืนเงินภาษีพร้อมดอกเบี้ยและคืนบัญชีค้ำประกันของธนาคารและให้เพิกถอนการอายัดเครื่องจักร จำเลยได้ยื่นขอขยายระยะเวลา อุทธรณ์ต่อศาล และศาลได้อนุญาตให้จำเลยขยายระยะเวลาอุทธรณ์ออกไปเป็นวันที่ 15 กันยายน 2547 เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2547 จำเลย ได้ยื่นอุทธรณ์คำพิพากษาของศาลภาษีอากรกลางต่อศาลฎีกาและขอทุเลาการบังคับคดีตามคำพิพากษา เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2547 ผู้บริหาร ได้ยื่นคำแก้อุทธรณ์และคำคัดค้านขอทุเลาการบังคับคดีต่อศาลฎีกา เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2548 กรมสรรพสามิตได้ขอถอนคำสั่งอายัด เครื่องจักร และบัญชีค้ำประกันของธนาคารดังกล่าวข้างต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ผลของเรื่องดังกล่าวยังอยู่ระหว่างการพิจารณาของ ศาลฎีกา ง) ระหว่างปี 2550 กรมสรรพากรมีคำวินิจฉัยอุทธรณ์ถึงบริษัทย่อย โดยระบุข้อพิจารณาประเด็นทางภาษีเกี่ยวกับการบันทึกรายได้ในปี 2542 และ 2543 ที่มีผลต่อการใช้ประโยชน์ของผลขาดทุนสะสมยกมาทางภาษีในปีถัดมา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ฝ่ายบริหารของบริษัทย่อย อยู่ระหว่างการดำเนินการโต้แย้ง โดยจะยื่นฟ้องเรื่องดังกล่าวต่อศาลภาษีอากรกลาง
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
34 นโยบายประกันภัย กลุ่มบริษัททำกรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองความเสี่ยงทุกประเภทรวมถึงการชดเชยการสูญเสียรายได้ (ALOP) กับกลุ่มผู้รับประกันและผู้รับ ประกันต่อโดยมีวงเงินประกันรวมประมาณ 5,636 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา กรมธรรม์ดังกล่าวมีการต่ออายุทุกปี โดยบริษัทย่อยบางแห่ง ได้โอนสิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยให้กับเจ้าหนี้ตามสัญญาเงินกู้
35 การเรียกค่าสินไหมทดแทน เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2549 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซเครื่องหนึ่งจาก 2 เครื่อง (CT1) ของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง ต้องหยุดเดินเครื่อง เนื่องจากเกิดไฟฟ้าลัดวงจรภายในหม้อแปลงไฟฟ้า (Step-up Transformer) เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2549 หม้อแปลงไฟฟ้าดังกล่าวได้รับ การซ่อมแซมและ CT1 ได้กลับเดินเครื่องตามปกติแล้ว ในระหว่างปี 2549 บริษัทย่อยได้รับชดเชยค่าสินไหมทดแทนจากเหตุการณ์ดังกล่าว กับบริษัทประกันภัยเป็นจำนวนเงิน 10.6 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (เป็นจำนวนเงินประมาณ 392.8 ล้านบาท) แบ่งเป็นค่าความเสียหายจาก ธุรกิจหยุดชะงักจำนวนเงิน 8.9 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (เป็นจำนวนเงินประมาณ 326.9 ล้านบาท) และเป็นค่าความเสียหายต่อสินทรัพย์ จำนวนเงิน 1.7 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (เป็นจำนวนเงินประมาณ 65.9 ล้านบาท)
36 มาตรฐานการบัญชีไทยที่ปรับปรุงใหม่ ณ วันที่ในงบดุล มาตรฐานการบัญชีต่อไปนี้ได้รับการประกาศแต่ยังไม่มีการบังคับใช้โดยกำหนดให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาเช่า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สินค้าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง นโยบายการบัญชีการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาก่อสร้าง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 51 เรื่อง สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน
37 การจัดประเภทบัญชีใหม่ รายการในงบการเงินของปี 2549 บางรายการได้จัดประเภทใหม่ให้สอดคล้องกับรายการในงบการเงินของ ปี 2550
185
186
งบการเงิน
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ปี 2550 1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fees) บริษัทฯ บริษัทย่อย และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานกลุ่มบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้ แก่สำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีที่ผ่านมา จำนวน 4,279,500 บาท (สี่ล้านสองแสนเจ็ดหมื่นเก้าพันห้าร้อยบาทถ้วน) 2. ค่าบริการอื่น ๆ (Non-Audit Fees) บริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนการตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขของบัตรส่งเสริมการลงทุน จำนวน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) ให้แก่สำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีที่ผ่านมา
งบการเงิน
ศัพท์เทคนิคและคำนิยาม
นอกจากกำหนดไว้เป็นอย่างอื่นในรายงานประจำปี ให้คำดังต่อไปนี้มีความหมายดังนี้ ก.ล.ต. หมายความถึง กฟผ. หมายความถึง กรอ. หมายความถึง ตลท. หมายความถึง บจ. ท่อส่งปิโตรเลียมไทย/THAPPLINE หมายความถึง บจ. ไทยพาราไซลีน / TPX หมายความถึง บจ. ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี / TEC หมายความถึง บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ / TP หมายความถึง บจ. ไทยออยล์มารีน / TM หมายความถึง บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ / IPT หมายความถึง บจ. เพโทรกรีน หมายความถึง บจ. แม่สอดพลังงานสะอาด หมายความถึง บมจ. ไทยลู้บเบส / TLB หมายความถึง บมจ. บางจากปิโตรเลียม หมายความถึง บมจ. ปตท. เคมิคอล หมายความถึง บมจ. ปตท. สผ. หมายความถึง บมจ. ปตท. หมายความถึง บมจ. ผาแดงอินดัสทรี หมายความถึง บมจ. มิตรผล หมายความถึง บริษัทฯ หมายความถึง มอก. หมายความถึง สผ. หมายความถึง สหรัฐฯ หมายความถึง ARC หมายความถึง CCR หมายความถึง CDU-3 หมายความถึง CEMS หมายความถึง CG หมายความถึง COSO หมายความถึง EBITDA หมายความถึง EIA หมายความถึง
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรมโรงงานอุตสาหกรรม ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี จำกัด บริษัทไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เพโทรกรีน จำกัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) บริษัท ผาแดงอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) บริษัท มิตรผล จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) มาตรฐานอุตสาหกรรม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สหรัฐอเมริกา บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จำกัด Continuous Catalyst Regeneration Platformer หน่วยกลั่นน้ำมันดิบหน่วยที่ 3 Continuous Emission Monitoring System : ระบบตรวจ คุณภาพอากาศจากปล่องแบบอัตโนมัติ Corporate Governance: หลักการกำกับดูแลกิจการ The Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission กำไรก่อนดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และรายจ่ายตัดบัญชี Environmental Impact Assessment : การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
187
188
งบการเงิน
Fitch Ratings หมายความถึง GDP หมายความถึง GLP/DIW หมายความถึง GRM หมายความถึง IMO หมายความถึง IPP หมายความถึง IRPC หมายความถึง KBD หมายความถึง KPIs หมายความถึง Moody’s หมายความถึง MTBE หมายความถึง MX หมายความถึง PCA หมายความถึง PMS หมายความถึง POSITIVE หมายความถึง PX หมายความถึง QSHE หมายความถึง RMIS หมายความถึง RMSC หมายความถึง S&P’s หมายความถึง SBM หมายความถึง SGS หมายความถึง SGSI หมายความถึง SPP หมายความถึง TDAE หมายความถึง
Fitch Ratings (Thailand) Limited : บริษัท ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) จำกัด อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ Good Laboratory Practice / Department of Industrial Works Gross Refinery Margin : กำไรจากการกลั่นขั้นต้น International Maritime Organization Independent Power Producer : ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระรายใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) พันบาร์เรลต่อวัน Key Performance Indicators : ดัชนีวัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ สถาบันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ Moody’s Investors Service Methyl Tertiary Butyl Ether Mixed Xylene : สารมิกซ์ ไซลีน Poly Cyclic Aromatic Performance Management System ค่านิยมองค์กร ประกอบด้วย P = Professionalism ทำงานอย่างมืออาชีพ O = Ownership and Commitment มีความรักผูกพันและเป็นเจ้าขององค์กร S = Social Responsibility ความรับผิดชอบต่อสังคม I = Integrity ความซื่อสัตย์และยึดมั่นในความถูกต้องเป็นธรรม T = Teamwork and Collaboration ความร่วมมือทำงานเป็นทีม I = Initiative ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ V = Vision Focus การมุ่งมั่นในวิสัยทัศน์ E = Excellence Striving การมุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ Paraxylene : สารพาราไซลีน Quality, Safety, Health and Environment : การดำเนินงานด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม Risk Management Information Systems : ระบบฐานข้อมูลความเสี่ยง Risk Management Steering Committee : คณะกรรมการ ขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ สถาบันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ Standard & Poor’s โครงการขยายทุ่นผูกเรือน้ำลึก (ทุ่นรับน้ำมันดิบ) Shell Global Solutions Shell Global Solutions International Small Power Producer : ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก Treated Distillate Extract Aromatic
TEAMWORK AND C O L L A B O R AT I O N
§«“¡√à«¡¡◊Õ∑”ß“π‡ªìπ∑’¡ SOCIAL RESPONSIBILITY
§«“¡√—∫º‘¥™Õ∫μàÕ —ߧ¡ E XC E L L E N C E STRIVING
°“√¡ÿàß¡—Ëπ Ÿà§«“¡‡ªìπ‡≈‘»
PROFESSIONALISM
∑”ß“πÕ¬à“ß¡◊ÕÕ“™’æ
VISION FOCUS
°“√¡ÿàß¡—Ëπ„π«‘ —¬∑—»πå
OWNERSHIP AND COMMITMENT
¡’§«“¡√—°ºŸ°æ—π·≈– ‡ªìπ‡®â“¢ÕßÕߧå°√
I N I T I AT I V E
§«“¡§‘¥√‘‡√‘Ë¡ √â“ß √√§å INTEGRITY
§«“¡´◊ËÕ —μ¬å·≈–¬÷¥¡—Ëπ „𧫓¡∂Ÿ°μâÕ߇ªìπ∏√√¡
”π—°ß“π°√ÿ߇∑æ¡À“π§√ :
‡≈¢∑’Ë 123 Õ“§“√´—π∑“«‡«Õ√å ∫’ ™—Èπ 16 ∂ππ«‘¿“«¥’√—ß ‘μ ·¢«ß®Õ¡æ≈ ‡¢μ®μÿ®—°√ °√ÿ߇∑æœ 10900 ‚∑√»—æ∑å 0-2299-0000, 0-2617-8300 ‚∑√ “√ 0-2299-0024 ”π—°ß“π»√’√“™“·≈–‚√ß°≈—ËππÈ”¡—π :
‡≈¢∑’Ë 42/1 À¡Ÿà∑’Ë 1 ∂ππ ÿ¢ÿ¡«‘∑ °¡. 124 μ”∫≈∑ÿàß ÿ¢≈“ Õ”‡¿Õ»√’√“™“ ®—ßÀ«—¥™≈∫ÿ√’ 20230 ‚∑√»—æ∑å 0-3840-8500, 0-3835-9000 ‚∑√ “√ 0-3835-1554, 0-3835-1444 TELEX : 85802 THAIOIL TH
w w w.thaioil.co.th