Page 1
SUSTAINABILITY VALUE คุณค่ำสู่ควำมยั่งยืน บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหำชน) เป็นสมำชิก Down Jones Sustainablility Indices ของกลุ่มตลำดเกิดใหม่ใน อุตสำหกรรมกำรกลั่นและกำรตลำดน้ำมันและก๊ำซ ที่มีผลกำรดำเนินงำนด้ำน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อย่ำงยั่งยืน ในระดับสำกลต่อเนื่อง เป็นปีที่ห้ำ
RobecoSAM ได้ประกำศใน Sustainability Yearbook 2561 ให้บริษัท ไทยออยล์ จำกัด ผมหำชน) อยู่ในระดับเหรียญทอง (Gold Class) หรือระดับสูงสุดในอุตสำหกรรมกำรกลั่นและกำร ตลำดน้ำมันและก๊ำซทั่วโลก ต่อเนื่องเป็นปีที่ห้ำ
INSIDE THIS ISSUE: Editor’s Note Financial Result Q1/61
3 4
Oil Price CSR
8 10
CG Corner
12
IR Calendar
14
Special Point of Interest ผลการดาเนิ นงานไตรมาสที่ 1/2561 สถานการณ์ราคาน้ ามันและปั จจจัยที่ส่งผลกระทบ ความรับผิดชอบต่อสังคมของกลุ่มไทยออยล์ CG Corner
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 3
Page 2
Page 3
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 3
บทบรรณาธิ ก าร (E D I T O R ’ S N O T E ) สวัสดีค่ะ ท่านนักลงทุนและผูส้ นใจทุกท่าน TOP-IR E-Newsletter เป็ นอีกหนึ่งช่องทางที่บริ ษทั ฯ ได้จดั ทาขึ้นเพื่อใช้เป็ นสื่ อกลางและอีกช่องทางการในการสื่ อสารให้ นักลงทุนและผูส้ นใจรับทราบข้อมูลธุ รกิจและกิจการของกลุ่มไทยออยล์และท่านยังสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างง่ายดาย และเปี่ ยมไปด้วยสาระข้อมูลต่างๆไม่วา่ จะเป็ น รายงานสถานการณ์น้ ามันในปั จจุบนั ผลสรุ ปการดาเนินงานรายไตรมาส โครงการความรับผิดชอบทางสังคม (CSR) รวมถึงปฏิทินกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ IR Calendar สาหรับท่านที่ตอ้ งการ ทราบข้อมูลของกลุ่มไทยออยล์เพิ่มเติม สามารถเข้าชมได้ที่ www.thaioilgroup.com หน้านักลงทุนสัมพันธ์ ซึ่งจะมีขอ้ มูล ต่างๆ เช่น ข้อมูลทางการเงิน ข่าวสารและกิจกรรมต่างๆ อีกทั้งท่านยังสามารถรับชม VDO การแถลงผลการดาเนินงาน รายไตรมาสของบริ ษทั ฯผ่าน webcast ได้อีกด้วยค่ะ ทั้งนี้ หากท่านมีขอ้ สงสัย ข้อเสนอแนะ หรื อข้อปรับปรุ ง สามารถติดต่อมาที่ แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ (TOP - IR)
โทร. 02-797-2961
ir@thaioilgroup.com
บริ ษทั ฯ หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าข้อมูลใน TOP-IR E- Newsletter เราได้จดั ทาขึ้นจะเป็ นประโยชน์กบั ท่านนักลงทุน ทั้งนี้ ท่านสามารถพบกับข่าวสารของไทยออยล์ ใน TOP–IR E-Newsletter ได้เป็ นประจาในทุกไตรมาสนะคะ ขอบคุณค่ะ กองบรรณาธิการ
เชื่อมัน่ ในผลการดาเนินงาน
เตรี ยมความพร้อมและพัฒนา ศักยภาพบุคลากร
สร้างความเชื่อมัน่ ในสิ นค้า และบริ การ
เป็ นที่ไว้วางใจของสังคมและ สิ่ งแวดล้อม
Page 4
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 4
ผลการดาเนิ น งานไตรมาส 1 ปี 2561 ล้านบาท ปริ มาณวัตถุดิบที่ป้อนเข้าสู่ กระบวนการผลิตของกลุ่ม (kbd)
Q1/61
กาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่ม(1) (US$/bbl) : ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน : รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน ล้านบาท รายได้จากการขาย กาไร / (ขาดทุน) จากอนุพนั ธ์เพื่อประกันความเสี่ ยงสุ ทธิ
Q4/60 313
311
2
Q1/60 308
8.2 8.6
8.3 11.8
(0.1) (3.2)
9.4 9.3
Q1/61
+/(-)
Q4/60
+/(-)
Q1/60
+/(-) 5 (1.2) (0.7) +/(-)
91,617 102
89,443 (63)
2,174 165
87,596 (86)
4,021 188
EBITDA
7,359
10,810
(3,451)
9,548
(2,189)
กาไร / (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ
1,470
677
793
1,323
147
ต้นทุนทางการเงิน
(750)
(797)
47
(846)
96
ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
(1,209)
(1,711)
502
(1,461)
252
5,608
6,927
(1,319)
7,075
(1,467)
2.75
3.40
(0.65)
3.47
(0.72)
5,336
3,450
1,886
7,324
(1,988)
กาไรสุ ทธิ
กาไรสุ ทธิต่อหุ้น (บาท) กาไรสุ ทธิ ไม่ รวมผลกระทบสต๊ อกนา้ มันและ การปรับลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือน้ ามันที่จะได้รับ(2) อัตราแลกเปลีย่ น (บาทต่ อเหรียญสหรัฐฯ) อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย อัตราแลกเปลี่ยน ณ สิ้นงวด
Q1/61 31.71 31.41
Q4/60 33.11 32.85
+/(-) (1.40) (1.44)
Q1/60 35.28 34.61
+/(-) (3.57) (3.20)
หมายเหตุ (1) กาไรขัน้ ต้นจากการผลิตของกลุ่ม (Gross Integrated Margin) เป็ นกาไรขัน้ ต้นจากการผลิตรวมของโรงกลันไทยออยล์ ่ , บริษทั ไทยพาราไซลีน จากัด, บริษทั ลาบิกซ์ จากัด และบริษทั ไทยลูบ้ เบส จากัด (มหาชน) (2) ไม่รวมผลกาไร / (ขาดทุน) จากสต๊อกน้ามันก่อนภาษีและรายการปรับลด/กลับรายการมูลค่าสินค้าคงเหลือน้ามันให้เท่ากับมูลค่าสุทธิท่ีจะได้รบั ก่อนภาษี โดยรายการดังกล่าว บันทึกรวมอยู่ในรายการต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการในงบการเงิน
ใน Q1/61 เทียบกับ Q4/60 กลุ่มไทยออยล์มีรายได้จากการขาย 91,617 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,174 ล้านบาท ตามราคาขายผลิตภัณฑ์เฉลี่ยที่ เพิม่ ขึ้นตามราคาน้ ามันดิบและปริ มาณจาหน่ายผลิตภัณฑ์โดยรวมที่เพิม่ ขึ้นโดยกลุ่มไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มไม่รวม ผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน 8.2 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลงเล็กน้อยจากไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจาก Crude Premium ปรับเพิ่มขึ้นตาม อุปทานน้ ามันดิบที่ลดลงหลังจากกลุ่มโอเปกปรับลดกาลังการผลิต แม้วา่ ส่วนต่างราคาน้ ามันอากาศยาน/น้ ามันก๊าดและน้ ามันดีเซลจะปรับ เพิ่มขึ้นจากความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้นในช่วงฤดูหนาว ด้านตลาดสารอะโรเมติกส์ปรับตัวดีข้ ึน โดยตลาดสารพาราไซลีนได้รับแรงหนุนจาก อุปสงค์ที่ดีจากประเทศจีน จากนโยบายลดการนาเข้าขยะพลาสติกและขวด PET รวมถึงมีการเปิ ดดาเนินการของโรงผลิตพีทีเอแห่งใหม่ ด้วย ด้านตลาดสารตั้งต้นสาหรับผลิตภัณฑ์สารทาความสะอาดปรับตัวดีข้ นึ เนื่องจากอุปทานสาร LAB ในเอเชียโดยเฉพาะประเทศจีน ที่ ปรับลดลงจากการลดกาลังการผลิตของโรงผลิตสาร LAB ที่อยูใ่ นพื้นที่ควบคุมมลพิษ รวมถึงตลาดยังมีแรงหนุนจากอุปสงค์ในภูมิภาคที่ เพิ่มขึ้นหลังเทศกาลตรุ ษจีน ด้านตลาดน้ ามันหล่อลื่นพื้นฐานปรับตัวดีข้ นึ เช่นกัน เนื่องจากประเทศจีนมีการนาเข้าน้ ามันหล่อลื่นพื้นฐาน เพิ่มขึ้น ขณะที่อุปทานปรับตัวลดลงจากการปิ ดซ่อมบารุ งของโรงผลิตน้ ามันหล่อลื่นพื้นฐานกรุ๊ป 1 หลายแห่งในภูมิภาค อย่างไรก็ตาม
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 4
Page 5
ผลการดาเนิ น งานไตรมาส 1 ปี 2561 ตลาดยางมะตอยปรับตัวลงจากอุปสงค์ในภูมิภาคที่ยงั คงเบาบาง ทั้งนี้ จากราคาปิ ดของน้ ามันดิบดูไบที่สูงขึ้นเล็กน้อยจากไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้กลุ่มไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มรวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามันอยูท่ ี่ 8.6 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เทียบกับ11.8 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลใน Q4/60 และเมื่อรวมผลกาไรจากอนุพนั ธ์เพื่อประกันความเสี่ ยงสุทธิ 102 ล้านบาท ส่งผลให้กลุ่มไทยออยล์มี EBITDA 7,359 ล้านบาท ลดลง 3,451 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากผลกาไรจากสต็อกน้ ามันที่ลดลง ทั้งนี้ กลุ่มไทยออยล์มีกาไรจากอัตรา แลกเปลี่ยนสุทธิ 1,470 ล้านบาท เพิม่ ขึ้น 793 ล้านบาท จากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นมากจาก ณ สิ้นไตรมาสก่อน โดยส่วนใหญ่เกิดจากกาไร ทางบัญชีที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการแปลงค่าของเงินกูย้ มื สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เมื่อหักค่าเสื่ อมราคา ต้นทุนทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงิน ได้แล้ว ทาให้ใน Q1/61 กลุ่มไทยออยล์มีกาไรสุทธิ 5,608 ล้านบาท หรื อ 2.75 บาทต่อหุน้ ลดลง 1,319 ล้านบาทจาก Q4/60 เมื่อเทียบ Q1/61 กับ Q1/60 กลุ่มไทยออยล์มีรายได้จากการขายเพิ่มขึ้น 4,021 ล้านบาท จากราคาขายผลิตภัณฑ์เฉลี่ยที่ปรับตัวเพิม่ ขึ้นและ ปริ มาณวัตถุดิบที่ป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิตของกลุ่มเพิ่มขึ้น ทาให้ปริ มาณจาหน่ายผลิตภัณฑ์โดยรวมเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม กลุ่มไทยออยล์ มีกาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุม่ ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามันลดลง 1.2 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เป็ นผลจากกาไรขั้นต้นจากการ กลัน่ ที่ลดลงโดยได้รับแรงกดดันจาก Crude Premium ที่ปรับเพิ่มขึ้นมาก อีกทั้งส่วนต่างราคาน้ ามันเบนซินและน้ ามันเตา รวมถึงส่วนต่าง ราคาสารอะโรเมติกส์ปรับลดลง ส่งผลให้กลุ่มไทยออยล์มี EBITDA ลดลง 2,189 ล้านบาท ทั้งนี้ กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น 147 ล้าน บาท ขณะที่ตน้ ทุนทางการเงินลดลง 96 ล้านบาท เมื่อหักค่าเสื่ อมราคาและค่าใช้จ่ายภาษีเงินแล้ว ส่งผลให้กลุ่มไทยออยล์มีกาไรสุทธิลดลง 1,467 ล้านบาท
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 4
Page 6
O I L P R I C E : สถานการณ์ ราคาน้า มั น ไตรมาส 1 ปี 2561
ราคาน้ ามันดิบใน Q1/61 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก Q4/60 หลังตลาดน้ ามันดิบยังคงตึงตัวต่อเนื่ อง จากการร่ วมมือระหว่างผูผ้ ลิตทั้งในและนอกกลุ่ม โอเปกที่ได้ตกลงปรับลดกาลังผลิตรวมกันราว 1.8 ล้านบาร์เรลต่อวันไปจนถึงสิ้ นปี 2561 โดยกลุ่มโอเปกได้ปรับลดกาลังการผลิตลงมากกว่า ระดับที่ตกลงไว้ต้ งั แต่เดือนตุลาคมที่ผา่ นมา นาโดยซาอุดิอาระเบียและเวเนซุเอลาที่เผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจ ส่งผลให้ปริ มาณน้ ามันดิบคงคลัง ของกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (OECD Oil Stocks) ปรับลดลงมาอยูท่ ี่ระดับ 30 ล้านบาร์เรลเหนือระดับค่าเฉลี่ย 5 ปี ในเดือนกุมภาพันธ์ 2561 ซึ่ ง ลดลงจากเดิมที่ 340 ล้านบาร์เรลในเดือนมกราคม 2560 นอกจากนี้ ตลาดน้ ามันดิบยังได้รับแรงหนุนจากความตึงเครี ยดในภูมิภาคตะวันออก กลาง โดยเฉพาะอิหร่ านที่อาจเผชิ ญกับการคว่าบาตรอีกครั้ง หลังประธานาธิ บดี โดนัลด์ ทรัมป์ ต้องการให้ขอ้ ตกลงนิ วเคลียร์ ของอิหร่ านมี ความเข้มงวดมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ราคาน้ ามันดิบยังคงได้รับแรงกดดันจากปริ มาณการผลิตน้ ามันดิบของสหรัฐฯ ที่เพิ่มขึ้นมาแตะระดับ 10.4 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 16 จากต้นปี 2560 และคาดว่าปริ มาณการผลิตจะแตะระดับ 11.0 ล้านบาร์เรลต่อวันภายในปลายปี นี้ หลังผูผ้ ลิตน้ ามันดิบเพิ่มปริ มาณการขุดเจาะขึ้นมาแตะระดับสูงสุดในรอบ 3 ปี ตามราคาน้ ามันดิบที่ปรับตัวสูงขึ้น ส่ วนต่างราคาน้ ามันดีเซลกับราคาน้ ามันดิบดูไบใน Q1/61 ปรับตัวดีข้ ึนเมื่อเที ยบกับ Q4/60 และ Q1/60 จากแรงหนุ นของความต้องการใช้ น้ ามันดีเซลเพื่อทาความร้อนในช่วงฤดูหนาว ซึ่ งในฤดูหนาวที่ผ่านมามีอุณหภูมิต่ากว่าค่าเฉลี่ยในปี ก่อนๆ ประกอบกับอุปทานในตะวันออก กลางที่ปรับลดลงเนื่องจากโรงกลัน่ ขนาดใหญ่ในซาอุดิอาระเบีย 2 โรงปิ ดซ่อมบารุ ง นอกจากนี้ ส่ วนต่างราคาน้ ามันอากาศยาน/น้ ามันก๊าดกับ ราคาน้ ามันดิ บดูไบปรับตัวดี ข้ ึนเช่นกัน จากแรงหนุ นของอุปสงค์ที่เติบโตอย่างแข็งแกร่ งหลังอากาศในภูมิภาคเอเชี ยเหนื อหนาวกว่าปกติ รวมถึงการสัญจรทางอากาศปรับเพิ่มขึ้นในช่วงเทศกาลปี ใหม่และตรุ ษจีน อย่างไรก็ตาม ส่วนต่างราคาน้ ามันเบนซินกับราคาน้ ามันดิบดูไบใน Q1/61 ปรับลดลงจาก Q4/60 และ Q1/60 เนื่องจากอากาศหนาวส่งผลการให้การขับขี่บนท้องถนนน้อยลง อีกทั้งอุปทานที่ปรับเพิ่มขึ้นจากโรง กลัน่ ทัว่ โลกเพิ่มอัตราการกลัน่ เพื่อรองรับความต้องการใช้น้ ามันดี เซลและน้ ามันอากาศยาน/น้ ามันก๊าดเพื่อทาความร้อนในช่วงฤดูหนาว
สาหรับส่วนต่างราคาน้ ามันเตากับราคาน้ ามันดิบดูไบปรับลดลงจากแรงกดดันของอุปทานที่ลน้ ตลาด เนื่องจากราคาขายที่สูงขึ้นจูงใจให้ผขู ้ าย นาน้ ามันเตาในคลังออกมาขายจานวนมาก
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 4
Page 7
O I L P R I C E : สถานการณ์ ราคาน้า มั น ไตรมาส 1 ปี 2561 ใน Q1/61 โรงกลัน่ ไทยออยล์มีอตั ราการใช้กาลังการกลัน่ 113% และมีปริ มาณจาหน่ายผลิตภัณฑ์โดยรวมใกล้เคียงกับไตรมาสที่ผา่ นมา โดยมี สัดส่ วนการขายผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ 86% Indochina 9% และส่ งออก 5% โรงกลัน่ ไทยออยล์มีรายได้จากการขาย 94,533 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 564 ล้านบาทตามราคาขายเฉลี่ยที่ปรับเพิ่มขึ้นตามราคาน้ ามันดิบ อย่างไรก็ตาม แม้วา่ ส่ วนต่างราคาน้ ามันอากาศยาน/น้ ามันก๊าดและ ส่ วนต่างราคาน้ ามันดีเซลจะปรับเพิ่มขึ้น โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการกลัน่ ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน 5.7 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์ เรล ลดลง 0.3 เหรี ยญสหรั ฐฯ ต่อบาร์ เรลจาก Q4/60 สาเหตุจาก Crude Premium ที่ ปรับเพิ่มขึ้นเนื่ องจากอุปทานน้ ามันดิ บลดลง หลังจากกลุ่มโอเปกปรับลดกาลังการผลิต และส่วนต่างราคาน้ ามันเบนซินที่ปรับลดลง ทั้งนี้ ราคาน้ ามันดิบเฉลี่ยที่ปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยส่ งผล ให้โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรจาก สต๊อกน้ ามัน 0.4 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล หรื อ 381 ล้านบาท ซึ่งลดลง 2,960 ล้านบาท เมื่อรวมกาไรจาก อนุพนั ธ์เพื่อประกันความเสี่ ยงสุทธิ 110 ล้านบาท โรงกลัน่ ไทยออยล์มี EBITDA 4,528 ล้านบาท ลดลง 3,445 ล้านบาท นอกจากนี้ ค่าเงินบาท ที่แข็งค่าขึ้นจากสิ้ นปี ที่ผ่านมาทาให้โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุ ทธิ 1,371 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 729 ล้านบาทจากไตรมาส ก่อน เมื่อหักค่าเสื่ อมราคา ต้นทุนทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรสุ ทธิ 3,747 ล้านบาท ลดลง 2,119 ล้านบาท จาก Q4/60 (หากรวมเงินปั นผลรับในไตรมาสนี้ โรงกลัน่ ไทยออยล์จะมีกาไรสุทธิอยูท่ ี่ 5,986 ล้านบาท) เมื่อเทียบกับ Q1/60 โรงกลัน่ ไทยออยล์มีอตั ราการใช้กาลังการกลัน่ และปริ มาณจาหน่ายผลิตภัณฑ์โดยรวมเพิ่มขึ้นเล็กน้อย โดยโรงกลัน่ ไทย ออยล์มีรายได้จากการขายเพิ่มขึ้น 4,890 ล้านบาทจากราคาขายเฉลี่ยที่ปรับเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการกลัน่ ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามันลดลงค่อนข้างมากถึง 0.8 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล สาเหตุหลักจากราคาน้ ามันดิบและ Crude Premium ที่ ปรับเพิ่มขึ้นมาก โดยแม้ว่าใน Q1/61 โรงกลัน่ ไทยออยล์จะมีกาไรจากสต๊อกน้ ามัน 381 ล้านบาท ขณะที่มีผลขาดทุนจากสต๊อกน้ ามัน 181 ล้านบาทใน Q1/60 อีกทั้งมีกาไรจากอนุพนั ธ์เพื่อประกันความเสี่ ยงสุทธิและกาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้นเล็กน้อย 182 และ 188 ล้านบาท ตามลาดับ แต่โรงกลัน่ ไทยออยล์ยงั มี EBITDA ลดลง 1,197 ล้านบาท และมีกาไรสุทธิลดลง 745 ล้านบาทจาก Q1/60
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 4
Page 8
สถานการณ์ นา้ มั น เดื อ น พฤษภาคม 2561 “ สหรัฐฯ ควา่ บาตรผู้ผลิตนา้ มัน หนุนราคานา้ มันทรงตัวในระดับสู ง ” ส รุ ป ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า นา้ มั น ใ น ช่ ว ง ที่ ผ่ า น ม า ราคาน้ ามันดิบเวสต์เทกซัสในสัปดาห์ที่ผา่ นมาปรับตัวลดลง 3.40 ดอลลาร์ มาอยูท่ ี่ 67.88 ดอลลาร์ ต่อบาร์ เรล ในขณะที่ ราคา น้ ามันดิบเบรนท์ปรับลดลง 2.07 ดอลลาร์ มาอยูท่ ี่ 76.44 ดอลลาร์ ต่อบาร์ เรล ส่ วนราคาน้ ามันดิบดูไบปิ ดเฉลี่ยอยูท่ ี่ 75.59 ดอลลาร์ ต่อบาร์ เรล หลังได้รับแรงกดดันจากผูผ้ ลิตกลุ่มโอเปคและรัสเซี ยที่เพิ่มการผลิตเพื่อรองรับตลาดน้ ามันที่อยูใ่ นภาวะ ตึงตัว ประกอบกับ ราคาน้ ามันดิบได้รับแรงกดดันจากปริ มาณน้ ามันดิบคงคลังสหรัฐฯ ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นกว่า 5.8 ล้านบาร์ เรล จากสัปดาห์ก่อนหน้า สวนทางกับที่นกั วิเคราะห์คาดการณ์ไว้วา่ จะปรับลดลง 1.6 ล้านบาร์ เรล อย่างไรก็ดีความกังวลต่อ ปริ มาณการผลิตน้ ามันดิบของเวเนซุ เอลาที่มีแนวโน้มลดลงต่อเนื่อง หลังสหรัฐฯ ประกาศมาตรการคว่าบาตรเพิ่มเติมกับ เวเนซุเอลาเป็ นปั จจัยสนับสนุนราคา
ไทยออยล์คาดราคานา้ มันดิบเวสต์ เทกซัสในสั ปดาห์ นีจ้ ะเคลือ่ นไหวทีก่ รอบ 65 -70 ดอลลาร์ ต่อบาร์ เรล ส่ วนนา้ มันดิบเบรนท์ เคลือ่ นไหวทีก่ รอบ 74 -79 ดอลลาร์ ต่อบาร์ เรล
แ น ว โ น้ ม ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า นา้ มั น ดิ บ ( มิ ถุ น า ย น 2 5 6 1 ) ราคาน้ ามันดิบมีแนวโน้มทรงตัวอยูใ่ นระดับสู งอย่างต่อเนื่ อง โดยได้รับแรงหนุ นจากอุปทานน้ ามันดิบของโลก มีแนวโน้ม ตึงตัวมากขึ้น หลังความตึงเครี ยดระหว่างสหรัฐฯ กับอิหร่ านและเวเนซุ เอลา ทวีความรุ นแรงขึ้นหลังจากที่สหรัฐฯ ออกมาตรการ คว่าบาตรเพิ่มเติมต่อเวเนซุ เอลา นอกจากนี้ ราคายังได้รับแรงหนุ นจากโอเปคที่ยงั คงปรับลดกาลังผลิตในระดับสู ง ส่ งผลให้ ปริ มาณน้ ามันคงคลังของประเทศพัฒนาแล้วปรับลดลงมาใกล้ค่าเฉลี่ย 5 ปี อย่างไรก็ตาม ราคาน้ ามันดิบมีแนวโน้มเผชิญกับ แรง กดดันเพิ่มขึ้น หลังโอเปคกังวลว่าอุปทานน้ ามันดิบโลกอาจตึงตัวมากเกินไป โดยจะมีการพิจารณาปรับเพิ่มกาลังการผลิตในการ ประชุมวันที่ 22 มิ.ย.นี้ นอกจากนั้น กาลังการผลิตของสหรัฐฯ ได้ปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องแตะระดับเหนื อ 10.7 ล้านบาร์ เรล ต่อวัน ส่ งผลให้ราคาน้ ามันดิบยังคงขยับตัวอยูใ่ นกรอบที่จากัด
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 4
Page 9
ปัจจัยสาคัญที่คาดว่ าจะส่ งผลกระทบต่ อสถานการณ์ ราคานา้ มัน ในเดือน มิถุนายน 2561
ปริ มาณการผลิตน้ ามันดิบของประเทศเวเนซุ เอลาคาดจะปรับลดลงต่อเนื่ อง หลังการเลือกประธานาธิ บดีในวันที่ 20 พ.ค. ที่ผา่ นมา ประธานาธิ บดี Nicolas Maduro ยังสามารถครองชัยชนะต่อเนื่องเป็ นสมัยที่ 2 ได้ ส่ งผลให้สหรัฐฯ เพิ่มมาตรการ คว่าบาตรทางเศรษฐกิจและห้ามการซื้ อขายน้ ามันดิบกับเวเนซุ เอลา โดยมาตรการดังกล่าวทาให้เวเนซุ เอลาไม่สามารถเข้าถึง เงินทุน ส่ งผลให้ปริ มาณการผลิตมีแนวโน้มปรับลดลงต่อเนื่องและอาจปรับลดลงถึง 2 ล้านบาร์ เรลต่อวันภายในสิ้ นปี นี้ โดยปริ มาณการผลิตล่าสุ ดปรับลดลงกว่า 0.5 ล้านบาร์ เรลต่อวันจากต้นปี ก่อนหน้ามาอยูท่ ี่ระดับ 1.5 ล้านบาร์ เรลต่อวัน
การผลิตน้ ามันดิบในประเทศอิหร่ านมีแนวโน้มปรับลดลงกว่า 3 – 1.0 ล้านบาร์ เรลต่อวัน หลังสหรัฐฯ ถอนตัวจากข้อตกลง นิวเคลียร์ และประกาศบังคับใช้มาตรการคว่าบาตรต่ออิหร่ าน ซึ่ งส่ งผลให้อุปทานน้ ามันดิบตึงตัวเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ยุโรปได้ประกาศมาตรการ “Blocking Statute” เพื่อปกป้ องบริ ษทั ยุโรปที่ได้ลงทุนในอิหร่ านและอาจได้รับผลกระทบจาก การคว่าบาตรของสหรัฐฯ ในครั้งนี้ และยังเป็ นการปกป้ องให้อิหร่ านได้รับผลกระทบจากการคว่าบาตรอย่างจากัด เนื่องจาก บริ ษทั ยุโรปยังคงลงทุนในอิหร่ านได้อยู่ มาตรการนี้มีข้ ึนโดยพยายามที่จะรักษาข้อตกลงนิวเคลียร์ อิหร่ านไว้
จับตาการประชุมของผูผ้ ลิตกลุ่มโอเปคว่าจะมีการปรับเพิ่มกาลังการผลิตเพื่อรองรับอุปทานที่ตึงตัวหรื อไม่ หลังปริ มาณ น้ ามันคงคลังของกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วปรับลดลงอย่างมากมาอยูท่ ี่ระดับเหนือค่าเฉลี่ย 5 ปี เพียงแค่ 9 ล้านบาร์ เรล จาก การปรับลดกาลังการผลิตของกลุ่มโอเปคที่แตะระดับสู งสุ ดเป็ นประวัติการณ์ที่ 166 เปอร์ เซ็นต์ รวมถึงอุปทานที่มีแนวโน้ม ตึงตัวมากขึ้นจากเวเนซุ เอลาที่กาลังการผลิตปรับลดลงต่อเนื่อง และอิหร่ านที่เผชิ ญกับการคว่าบาตรของสหรัฐฯ ขณะที่ อุปสงค์น้ ามันที่มีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจโลกและคาดว่าจะแตะระดับ 100 ล้านบาร์ เรลต่อวัน ภายใน ไตรมาสสุ ดท้ายของปี นี้
การผลิตน้ ามันดิบของสหรัฐฯ ยังคงมีทิศทางปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง หลังราคาน้ ามันดิบทะยานสู งขึ้นเหนือระดับต้นทุนการ ผลิตของผูผ้ ลิตน้ ามันดิบในสหรัฐฯ ส่ งผลให้ผผู ้ ลิตเพิ่มการขุดเจาะและผลิตน้ ามันขึ้นต่อเนื่ องมาสู่ ระดับสู งสุ ดในรอบ 3 ปี นาโดยการเติบโตของผูผ้ ลิตน้ ามันดิบจากชั้นหิ นดินดาน (Shale Oil) ที่เพิ่มขึ้นแตะระดับสู งสุ ดเป็ นประวัติการณ์ที่ราว 2 ล้านบาร์ เรลต่อวันในเดือน มิ.ย. โดยสานักงานสารสนเทศด้านพลังงานสหรัฐฯ (EIA) รายงานปริ มาณการผลิตน้ ามันดิบ ของสหรัฐฯ ในสัปดาห์ล่าสุ ดอยูท่ ี่ระดับ 10.7 ล้านบาร์ เรลต่อวันและคาดจะแตะระดับ 11.0 ล้านบาร์ เรลต่อวันภายใน ไตรมาส 4 ของปี นี้
ปริ มาณน้ ามันดิบคงคลังสหรัฐฯ มีแนวโน้มปรับลดลง หลังปริ มาณการนาเข้าน้ ามันดิบของสหรัฐฯ คาดจะปรับลดลง ในขณะที่ความต้องการใช้น้ ามันของโรงกลัน่ มีแนวโน้มเพิม่ ขึ้นต่อเนื่ องเพื่อรองรับความต้องการใช้น้ ามันเพื่อการขับขี่ที่ ปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยปริ มาณการกลัน่ น้ ามันดิบสาหรับสัปดาห์สิ้นสุ ดวันที่ 18 พ.ค. ปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 7 จากสัปดาห์ก่อน มาอยูท่ ี่ร้อยละ 91.8 หรื อประมาณ 17.0 ล้านบาร์ เรลต่อวัน
ตัวเลขเศรษฐกิจที่น่าติดตามในสัปดาห์น้ ี ได้แก่ ดัชนีภาคการผลิตยูโรโซน (Markit PMI) ความเชื่ อมัน่ ผูบ้ ริ โภคของ ยูโรโซน การบริ โภคส่ วนบุคคลและการจ้างงานนอกภาคเกษตรสหรัฐฯ
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 4
Page 10
ความรับผิดชอบต่ อสั งคมของกลุ่มไทยออยล์ ไทยออยล์มอบเงินให้ กบั สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการการุณยเวศม์
คุณอธิคม เติบศิริ ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหารและกรรมการผู้จดั การใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) มอบเงินจานวน 1,000,000 บาท แก่ สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการการุณยเวศม์ อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี โดยมี คุณจิตรา เตมีศรีสุข ผู้ปกครองสถานคุ้มครองและพัฒนา คนพิการการุณยเวศม์ เป็ นผู้แทนในการรับมอบ ณ อาคารเอนกประสงค์ ชั้น 1 โรงกลัน่ ไทยออยล์ ศรีราชา เงินจานวนดังกล่าวเกิดจากการที่กลุ่มไทยออยล์ได้ร่วมแข่งขันกีฬาสี กลุ่ม ปตท. 2561 และได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 โดยคะแนน ได้ถูกแปรเปลี่ยนเป็ นเงินบริ จาค และกลุ่มไทยออยล์ได้ร่วมสมทบอีกจนเต็มจานวนดังกล่าว
ไทยออยล์มอบเงินสนับสนุน “อาคารอุบัตเิ หตุและฉุกเฉิน รพ.แหลมฉบัง” จากกิจกรรมลูกค้าสัมพันธ์
คุณฉัตรฐาพงศ์ วังธนากร รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ด้านการพาณิ ชย์องค์กร บริ ษทั ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) มอบเงินบริ จาคจากการ จัดกิจกรรมลูกค้าสัมพันธ์ “Willing to Give Happy to Share” จานวน 130,000 บาท ให้กบั “กองทุนสนับสนุน อาคารอุบตั ิเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลแหลมฉบัง” โดยมี นายแพทย์ราเมศร์ อาไพพิศ ผูอ้ านวยการโรงพยาบาลแหลมฉบัง เป็ นผูร้ ับมอบ ณ อาคารอุบตั ิเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลแหลมฉบัง อาเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 4
Page 11
ความรับผิดชอบต่ อสั งคมของกลุ่มไทยออยล์ ไทยออยล์สนับสนุนทุนการศึกษาระดับ ปริญญาตรี ประจาปี 2561
บริ ษ ัท ไทยออยล์ จ ากัด (มหาชน) เล็ง เห็ น ความส าคัญ ของการศึ ก ษา ซึ่ ง มี ส่ ว นส าคัญ ในการพัฒ นา ทรั พ ยากรบุ ค คลของประเทศ ให้มีความรู ้ ความสามารถและมี คุณภาพในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ จึ งจัดโครงการทุ นการศึ กษามาตั้งแต่ปี 2555 อย่างต่อเนื่ อง โดยในปี 2561 คุณวิโ รจน์ วงศ์ส ถิรยาคุณ ผูจ้ ดั การฝ่ ายอาวุโ สทรัพยากรบุคคล ผูแ้ ทนบริ ษทั ฯ ได้มอบทุนการศึกษาให้แก่มหาวิทยาลัยต่างๆ ดังนี้ • ม อ บ ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า จ า น ว น 1 2 0 , 0 0 0 บ า ท ใ ห้ แ ก่ ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม เ ค มี ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด แ ล ะ คณะวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนครเหนือ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อุดมเกีย รติ น น ท แ ก้ ว ค ณบ ดี ค ณะ วิ ศ วก ร ร ม ศ า ส ต ร์ เ ป็ น ผู ้ แ ท น ใ น กา ร รั บ ม อ บ ณ ห้ อ ง ป ร ะ ชุ ม ค ณะ วิ ศ วก ร ร ม 3 2 8 อ า ค า ร 8 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • มอบทุ น การศึ กษา จ านวน 120,000 บาท ให้ แก่ คณะวิ ศ วกรรมเคมี สาขาวิ ศ วกรรมระบบควบคุ ม และเครื่ องมื อ วั ด มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ าธนบุ รี โดย มี ศ าสตราจ ารย์ ดร.ชั ย จาตุ ร พิ ทั ก ษ์ กุ ล คณบดี ค ณะวิ ศ วกรรมศ าสต ร์ เป็ นผูแ้ ทนในการรับมอบ ณ ห้องประชุมสานักงานคณบดี 1 อาคารเรี ยนรวม 4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ไทยออยล์ ควง พีทีที บลูเวฟ พัฒนาทักษะฟุตซอลเยาวชนรอบโรงกลัน่
คุณสาวิตร จิตรประวัติ ผู้จดั การ-บริหารงานชุมชน บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) เป็ นตัวแทนเปิ ด โครงการพัฒนาทักษะด้ านกีฬา ฟุตซอลของเยาวชนรอบกลุ่มไทยออยล์ โดยมี คุณสันติ ศิริตนั หยง รองนายกเทศมนตรีนครแหลมฉบัง และประธานชุมชนรอบโรงกลัน่ ร่ วมเป็ นเกียรติมอบประกาศนียบัตรพร้อมของที่ระลึกให้กบั เยาวชนกว่า 60 คน ณ สนามมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา กิจกรรม ครั้งนี้จดั ขึ้น เพื่อสร้างเสริ มสุขอนามัยและยกระดับคุณภาพชีวติ เยาวชนในพื้นที่นครแหลมฉบัง โดยนานักฟุตซอลดาวเด่นระดับ ประเทศ อาทิ เตอร์ ปาณัสม์ กิตติภานุวงศ์ ท็อป คธาวุธ หาญคาภา และเนิส จิระวัฒน์ สอนวิเชียร มาแชร์ประสบการณ์ให้นอ้ งๆได้เกิดแรงบันดาลใจ และสานฝันด้านกีฬาต่อไปในอนาคต
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 4
Page 12
CG Corner (Corporate Governance: การกากับดูแลกิจการ ) CG Code 2017 หลักการกากับดูแลกิจการใหม่ กบั การสร้ างคุณค่ าให้ องค์ กรอย่ างยัง่ ยืน ไทยออยล์มงุ่ มัน่ ในการบริหารจัดการ โดยยึดถือปฏิบตั ติ ามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี หรือ Corporate Governance: CG สาหรับบริษทั จดทะเบียน ปี 2555 (SET CG 2012) ทีอ่ อกโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ซึ่งไทยออยล์มกี ารกาหนดนโยบายและแผนงานด้าน CG ตามจุดมุง่ หมาย เพือ่ สร้างความเชื่อมัน่ ให้แก่ผมู ้ สี ่วนได้เสียทุกกลุม่ โดยเฉพาะผูถ้ อื หุน้ และเมือ่ ต้นปี 2560 สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ออก “หลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี สาหรับบริษทั จดทะเบียน ปี 2560” (Corporate Governance Code: CG Code 2017)” เพือ่ เป็ นหลักปฏิบตั ิ ให้คณะกรรมการบริษทั ซึ่งเป็ นผูน้ าขององค์กร นาไปปรับใช้ในการกากับดูแลกิจการ
สาหรับ CG Code 2017 ใหม่น้ นั มีวตั ถุประสงค์เพิ่มเติมจาก SET CG 2012 คือ การเน้นการสร้างคุณค่าให้กิจการอย่างยัง่ ยืน ซึ่งมีการ กาหนด อย่างชัดเจนให้คณะกรรมการบริ ษทั หรื อบอร์ดควรกากับดูแลกิจการให้นาไปสู่ผล (Governance outcome) อย่างน้อย ดังต่อไปนี้
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 4
Page 13
CG Corner (Corporate Governance: การกากับดูแลกิจการ ) CG Code 2017 นี้ได้วางหลักปฏิบตั สิ าหรับคณะกรรมการ 8 ข้อ ดังนี้
คณะกรรมการบริ ษทั ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) จึงได้มอบหมายให้คณะกรรมการกากับดูแลกิจการ พิจารณาผลการประเมินการปฏิบตั ิ ตามหลักปฏิบตั ิใน CG Code 2017 แต่ละข้อของไทยออยล์ พบว่า ไทยออยล์มีการปฏิบตั ิได้อย่างเหมาะสม และมีแผนในการพัฒนา ให้สมบูรณ์ มากขึ้น ดังนั้น เมื่อต้นปี 2561 ได้มีการกาหนด “แนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการเข้ าร่ วมประชุมของคณะกรรมการบริษทั ฯ” ดังนี้ “กรรมการบริ ษทั ฯ มีหน้าที่เข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ อย่างสม่าเสมอ โดยกรรมการแต่ละคนควรเข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 75 ของการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ทั้งหมดที่ได้จดั ให้มีข้ นึ ในรอบปี ” เพือ่ ให้สอดคล้องกับ CG Code 2017 การปรับปรุ ง ดังกล่าว จะต้องนาไปบรรจุอยูใ่ นคู่มือหลักการกากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 4 และมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 เมษายน 2561 เป็ นต้นไป และมีประกาศผ่านเว็บไซต์บริ ษทั ฯ (www.thaioilgroup.com) เป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว หากผูถ้ ือหุน้ ท่านใดมีขอ้ แนะนา หรื อต้องการสอบถามข้อมูลข่าวสารต่างๆ เกี่ยวกับการกากับดูแลกิจการของไทยออยล์ สามารถติดต่อ โดยตรงได้ที่ cgcoordinate@thaioilgroup.com
Page 14
T O P - I R E- N e w sl e t t er : V o l . 2 4
IR CALENDAR ปฏิทิน - นักลงทุนสัมพันธ์ เมษายน - มิถุนายน 2561 วันที่
เหตุการณ์ สาคัญ
11 เมษายน
งานประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2561 (AGM)
15 พฤษภาคม
Analyst Meeting แถลงผลประกอบการไตรมาส 1/2561
23 พฤษภาคม
Opportunity Day (TH) สาหรับไตรมาส 1/2561
7 - 8 มิถุนายน
Roadshow in Hong Kong จัดโดย UBS Securities
13 มิถุนายน
Local Roadshow จัดโดย Krungsri Securities
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 4
TOP-IR 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถ.วิภาวดีรังสิ ต จตุจกั ร จตุจกั ร กทม. 10900 โทรศัพท์ : 02-797-2961 แฟ็ กซ์ : 02-229-0025
www.thaioilgroup.com
Page 15
D ISCLAIMER บริ ษทั ฯ มีจุดมุ่งหมายสาคัญ เพี่อเผยแพร่ ขอ้ มูลเกี่ยวกับ บริ ษทั ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) (บริ ษทั ฯ) ให้กบั บุคคลทัว่ ไปที่เกี่ยวข้อง โดยข้อมูลที่ปรากฏอยูใ่ น TOP IR E-Newsletter นี้ ห้ามมิให้มีการคัดลอก ดัดแปลง ทาซ้ า หรื อ เลียนแบบ โดยเด็ดขาด เว้นแต่ได้รับอนุ ญาตจากบริ ษทั ฯ ก่อนเท่านั้น หากมีขอ้ สงสัย โปรดติดต่อแผนกนักลงทุนสัมพันธ์ บริ ษทั ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) หากท่านใดมีขอ้ เสนอแนะ / ต้องการสอบถามข้อมูล สามารถติดต่อได้ที่
THAI OIL PUBLIC COMPANY LIMITED
ir@thaioilgroup.com
Tel
662-797-2961
Fax
662-229-0025