Page 1
E-
V o l. 1 2
Q u a r te r 4 / 2 0 1 4
INSIDE THIS ISSUE:
Editor’s Note
3
Crude Oil Price
4
Financial Result
7
CSR
10
CG Corner
12
IR Calendar
14
บริษท ั ไทยออยล์ จ้ากัด (มหาชน) มุง่ มัน ่ ด้าเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน Special points of interest: สถานการณ์ราคาน้ามัน ปัจจัยส้าคัญที่จะส่งผล กระทบต่อสถานการณ์ ราคาน้ามัน ผลการด้าเนินงานไตรมาส
โดยการบริหารความเสีย ่ งด้านสิง่ แวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล ผ่านการ จัดท้าแผนแม่บทด้านความยัง่ ยืน 5 ปี และน้าระบบบริหารจัดการความเป็นเลิศ มาใช้ เพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่าบริษท ั ฯ ได้ดา้ เนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการเปิดเผย การด้าเนินงานด้านความยัง่ ยืนผ่านรายงานความยัง่ ยืนตามกรอบ การรายงานสากล ( G R I G4 ) และตอบสนองต่อความคาดหวังของ ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทุกกลุ่ม
ที่ 4/2557 และปี 2557 ความรับผิดชอบต่อสังคม ของเครือไทยออยล์ CG Corner
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จ้า กั ด ( ม ห า ช น ) THAI OIL PUBLIC COMPANY LIMITED
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 12
Page 2
Page 3
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 12
บ ท บ ร ร ณ า ธิ ก า ร สวัสดีค่ะ ท่านนักลงทุนและผู้สนใจทุกท่าน TOP-IR E-Newsletter เป็นอีกหนึ่งช่องทาง ที่บริษัทฯ ได้จัดท้าขึนเพื่อใช้เป็นสื่อกลาง และอีกช่องทางการในการสื่อสารให้นัก
เชื่อมัน่ ใน ผลการดาเนินงาน
ลงทุนและผู้สนใจรับทราบข้อมูลธุรกิจและ กิจการของบริษัทฯ และท่านยังสามารถ เข้าถึงข้อมูลได้อย่างง่ายดายและเปี่ยมไป ด้วยสาระข้อมูลต่างๆไม่ว่าจะเป็น รายงาน
“ T OP-IR E-Newsletter
สถานการณ์น้ามันในปัจจุบัน ผลสรุปการ
เป็นสือ ่ กลางและอีกช่อง
ด้าเนินงานรายไตรมาส โครงการ CSR
ทางการสือ ่ สารนักลงทุน และผูส ้ นใจรับทราบข้อมูล ธุรกิจและกิจการของ บริษท ั ฯ”
เตรี ยมความพร้อม และพัฒนาศักยภาพ บุคลากร
รวมถึง IR Calendar ส้าหรับท่านที่ต้องการ ข้อมูลเพิ่มเติม ท่านสามารถเข้าชม website ได้ที่ www.thaioilgroup.com หน้านักลงทุน สัมพันธ์ ซึ่งจะมีข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูล ทางการเงิน ข่าวสารและกิจกรรมต่างๆ ของ บริษัทฯ อีกทังท่านสามารถชม VDO การ
สร้างความเชื่ อมัน่ ในสิ นค้าและ บริ การ
แถลงผลการด้าเนินงานรายไตรมาสของ บริษัทฯ ผ่าน webcast ได้อีกด้วยค่ะ ทังนี หากท่านมีข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะ/ ปรับปรุง กรุณาติดต่อแผนกนักลงทุนสัมพันธ์ ( T OP - IR ) หมายเลขโทรศัพท์ 02-7972961 หรืออีเมลล์มาที่ ir@thaioilgroup.com ได้ทุกวันท้าการค่ะ บริษัทฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านนักลงทุน และผู้สนใจจะได้รับประโยชน์จาก TOP-IR E- Newsletter ที่เราได้จัดท้าขึนและ ท่านสามารถพบกับข่าวสารของไทยออยล์ ใน TOP – IR E-Newsletter ได้เป็นประจ้า ในทุกไตรมาสนะคะ
ขอบคุณค่ะ กองบรรณาธิการ
เป็ นที่ไว้วางใจ ของสังคมและ สิ่ งแวดล้อม
Page 4
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 12
C R U D E O I L P R I C E : ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า นา้ มั น ไ ต ร ม า ส 4 / 5 7 US$/bbl
Dubai
ULG95
GO
HSFO
140 120
105
100
97 80 60 40
Q1/56
Q2
Q3
Q4
Q1/57
Q2
Q3
Q4
ราคาน้ามันดิบใน Q4/57 ปรับลดลงจากทัง Q3/57 และ Q4/56 ทังนีราคาน้ามันดิบดูไบมีการปรับลดลงมากเป็น ประวัติการณ์และลงมาสู่ระดับต่้าสุดในรอบ 6 ปี ที่ราคาเฉลี่ย 60.2 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในเดือน ธันวาคม 2557 สาเหตุหลักมาจากอุปทานน้ามันดิบที่ล้นตลาดจากประเทศทังในและนอกกลุ่มโอเปก โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้ามันดิบชนิด เบาจากชันหินดินดาน (shale oil) ของสหรัฐฯ ประกอบกับการตัดสินใจคงก้าลังการผลิตของกลุ่มโอเปกเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมา ส่งผลให้อุปทานน้ามันดิบของโลกมีแนวโน้มที่จะล้นตลาดอย่างต่อเนื่อง นอกจากนีราคา น้ามั นดิ บยั งได้รั บแรงกดดัน จากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ ยังซบเซา ส่ งผลให้อุ ปสงค์ การใช้ข ยายตั วในระดั บต่้ า รวมถึ ง ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ที่แข็งค่าขึนมากเมื่อเทียบกับสกุลเงินอื่นๆ ส่งผลให้นักลงทุนมีการโยกย้ายเงินลงทุนจากตลาด สินค้า โภคภั ณฑ์ไปลงทุ นในตลาดปริวรรตเงิ นตราเพิ่มมากขึน ปั จจัยต่ างๆ เหล่ านีส่งผลให้ราคาน้ามั นลดลงกว่ า 30 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลภายใน Q4/57 ส่วนต่างราคาระหว่างน้ามันเบนซินกับราคาน้ามันดิบดูไบใน Q4/57 ปรับเพิ่มขึนมากเมื่อเทียบกับ Q4/56 และทรง ตัวต่อเนื่องเมื่อเทียบกับ Q3/57 เป็นผลมาจากอุปทานที่ตึงตัวจากการปิดซ่อมบ้ารุงฉุกเฉินของโรงกลั่นในภูมิภาคทังโรง กลั่นในญี่ปุ่นและโรงกลั่นในไต้หวัน รวมถึงฐานราคาน้ามันดิบที่อยู่ในระดับต่้าส่งผลให้อุปสงค์ปรับตัวดีขึน ส้าหรับส่วน ต่างระหว่างราคาน้ามันเครื่องบิน /น้ามันก๊าดกับราคาน้ามันดิบดูไบใน Q4/57 ค่อนข้างทรงตัวเมื่อเทียบกับ Q4/56 แต่ ปรับเพิ่มขึนเมื่อเทียบกับ Q3/57 เนื่องจากได้แรงหนุนจากความต้องการใช้น้ามันในช่วงฤดูหนาวและฤดูกาลท่องเที่ยว ในช่วงปลายปี ในขณะที่ส่วนต่างราคาน้ามันดีเซลกับราคาน้ามันดิบดูไบปรับตัวเพิ่มขึนเมื่อเทียบกับ Q3/57 แต่ลดลง เมื่ อ เที ย บกั บ Q4/56 เนื่ อ งจากอุ ป สงค์ ในภู มิภ าคที่ อ่ อ นตั ว ลงจากมาตรการลดการอุ ด หนุ น ราคาน้า มั น ส้ า เร็ จรู ป ของ ภูมิภาค เช่น อินโดนีเซียและมาเลเซีย ประกอบกับอุปทานที่มากขึนจากโรงกลั่นใหม่ในจีน อินเดียและตะวันออกกลาง อย่างไรก็ตามส่วนต่างราคาน้ามันเตากับราคาน้ามันดิบดูไบปรับเพิ่มขึนต่อเนื่องจาก Q3/57 และปรับเพิ่มขึนอย่างมาก เมื่อเทียบกับ Q4/56 ทังนีได้รับแรงหนุนจากราคาน้ามันดิบดูไบที่ปรับตัวลงมากกว่า 50% เมื่อเทียบกับช่วงกลางปี 57 และความต้องการใช้น้ามันเตาส้าหรับการขนส่งทางเรือที่เพิ่มมากขึนในช่วงปลายปี
Page 5
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 12
“ไ ท ย อ อ ย ล์ ค า ด ร า ค า
ส ถ า น ก า ร ณ์ นา้ มั น เ ดื อ น มี . ค . 2 5 5 8
น้ า มั น ดิ บ เ ว ส ต์ เ ท็ ก ซั ส ในสัปดาห์นีจะเคลื่อนไหว ที่ ก รอบ 42 - 57 เหรี ย ญ
แนวโน้มสถานการณ์ราคานา้ มันดิบ ( 23 - 27 มี.ค. 58 ) ราคาน้ามันดิบสัปดาห์นียังคงผันผวน โดยตลาดยังคงจับตาการเจรจาระหว่าง
สหรั ฐ ฯ ต่ อ บาร์ เ รล ส่ ว น
อิหร่านกับชาติมหาอ้านาจทังหกเพื่อหาข้อตกลงเรื่องการจ้ากัดศักยภาพด้านนิวเคลียร์
น้ า มั น ดิ บ เ บ ร น ท์
ของอิ หร่ า น ที่มาถึ งช่ ว งหั ว เลี ยวหั ว ต่ อ ส้ าคั ญ ก่ อ นจะถึ งก้ า หนดเส้ น ตายปลายเดื อ น
เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ใ น ก ร อ บ
มี.ค. นี อย่างไร ก็ดี ตลาดยังคงได้รับแรงกดดันจากอุปทานน้ามันดิบที่ยังคงล้นตลาด
52 - 57 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่อบาร์เรล ”
โดยเฉพาะ อย่างยิ่งจากฝั่งผู้ผลิตนอกกลุ่มโอเปก รวมถึงนอกจากนี อุปสงค์น้ามันดิบที่ อาจจะปรับตัวลดลงในช่วงไตรมาส 2 เนื่องจาก เริ่มเข้าสู่ฤดูกาลปิดซ่อมบ้ารุงประจ้าปี ของโรงกลั่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอเชีย
ปัจจัยส้าคัญทีจ ่ ะส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ราคานา้ มันในสัปดาห์นี: ( 23 - 27 มี.ค. 58)
จับตาการเจรจาระหว่างอิหร่านกับชาติมหาอ้านาจทังหก ซึ่งจะต้องบรรลุและได้ข้อตกลงฉบับสมบูรณ์ภายในวันที่ 1 ก.ค. 58 โดยการเจรจามีจุดมุ่งหมายเพื่อจ้ากัดศักยภาพด้านนิวเคลียร์ของอิหร่าน แลกกับการผ่อนปรนมาตรการ คว่้าบาตรการน้าเข้านา้ มันดิบของอิหร่าน ซึ่งล่าสุดอิหร่านยังไม่สามารถส่งออกนา้ มันดิบอีกราว 1 ล้านบาร์เรลต่อวัน ได้ ทังนีสหรัฐฯ และกลุ่มชาติมหาอ้านาจ ได้ยื่นข้อเสนอให้อิหร่านยอมรับเงื่อนไขการควบคุมโครงการนิวเคลียร์เป็น ระยะเวลา 10 ปี เพื่อแลกกับการผ่อนปรนมาตรการคว่้าบาตร อย่างไรก็ตาม ทังสองฝ่ายพยายามบรรลุข้อตกลงให้ ได้ตามทีก ่ ้าหนดไว้ หลังจากเลื่อนก้าหนดเส้นตายไปแล้วสองครังในเดือนก.ค. และ พ.ย. 57 ซึ่งการต่ออายุการ เจรจาออกไปอีกครังคงท้าได้ยากมาก เนื่องจากความกดดันภายในของทังสหรัฐฯ และอิหร่าน
อุปทานน้ามันดิบยังคงล้นตลาดอย่างต่อเนือ ่ ง โดยเฉพาะฝั่งผู้ผลิตนอกกลุ่มโอเปก โดยล่าสุดปริมาณน้ามันดิบคงคลัง ของสหรัฐฯเพิ่มขึนสูงสุดเป็นประวัติการณ์ ในรอบ 80 ปี ในช่วงกลางเดือน มี.ค. ทีผ ่ ่านมา โดยยังไม่มีสัญญาณว่าจะ ปรับตัวลดลง ซึ่งอาจส่งผลให้จ้านวนถังเก็บนา้ มันดิบของสหรัฐฯ ไม่เพียงพอกับอุปทานทีเ่ พิ่มขึนอย่างต่อเนื่องใน ระยะใกล้นี นอกจากนี บริษท ั ผู้ให้บริการเช่าคลังนา้ มัน ณ จุดส่งมอบ คุชชิ่ง โอกลาโฮมา คาดการณ์วา่ นา้ มันดิบใน คงคลัง ณ จุดส่งมอบนีจะเต็มถังในช่วงเดือน เม.ย. หรือ กลาง พ.ค. 58 เช่นเดียวกับ ส้านักงานพลังงานสากล (IEA ) ที่คาดการณ์ว่าสถานการณ์อุปทานน้ามันดิบล้นตลาดจะกดดันไปถึงช่วงกลางปี 58 จนกว่าตลาดจะสมดุล
อุปสงค์นา้ มันดิบมีแนวโน้มปรับตัวลดลงในเดือน มี.ค. นี หลังโรงกลั่นน้ามันทัว ่ โลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอเชีย เริ่ม เข้าสู่ฤดูกาลปิดซ่อมบ้ารุงโรงกลั่น ในช่วงไตรมาส 2 ซึ่งถือเป็นปัจจัยส้าคัญที่กดดันราคาน้ามันดิบในช่วงนี
คณะกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ (FOMC ) - ธนาคารกลางของสหรัฐฯ (FED) ส่งสัญญาณว่ามีความเป็นไป ได้ที่จะปรับขึนอัตราดอกเบียนโยบายในช่วงกลางปี หลังจากคงอัตราดอกเบียระดับต่้าทีร่ ้อยละ 0 - 0.25 มานานกว่า 6 ปี อย่างไรก็ดี FED ย้าว่าจะยังไม่เร่งรีบขึนอัตราดอกเบีย เนือ ่ งจากยังรอประเมินข้อมูลเศรษฐกิจล่าสุดก่อน โดยเฉพาะการฟื้นตัวเพิ่มเติมในตลาดแรงงาน ทังนีการตัดสินใจปรับเพิ่มอัตราดอกเบียนโยบายจะส่งผลให้ค่าเงิน ดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึน ซึ่งจะกดดันราคาน้ามันดิบให้ปรับตัวลดลงได้
ติดตามตัวเลขเศรษฐกิจ ซึ่งได้แก่ จีดีพี Q4/57 ดัชนีราคาผู้บริโภค ดัชนีภาคการผลิต (Market PMI ) และความ เชื่อมั่นผู้บริโภคสหรัฐฯ ดัชนีภาคบริการ และดัชนีภาคการผลิตยูโรโซน และดัชนีภาคการผลิตจีน (HSBC PMI )
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 12
Page 6
ส รุ ป ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า นา้ มั น ใ น สั ป ด า ห์ ที่ ผ่ า น ม า ( 1 6 - 2 0 มี . ค . 5 8 ) ราคาน้ า มั น ดิ บ เวสต์ เ ท็ ก ซั ส ในสั ป ดาห์ ที่ ผ่ า นมาปรั บ ลดลง 0.88 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ บาร์ เ รล ปิ ด ที่ 43.96 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ บาร์ เ รล ขณะที่ ร าคาน้ า มั น ดิ บ เบรนท์ ป รั บ ลดลง 0.24 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ บาร์ เ รล ปิ ด ที่ 54.43 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่วนราคาน้ามันดิบดูไบลดลงเฉลี่ยอยู่ที่ 52 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ราคาน้ามันดิบในสัปดาห์ที่ผ่านมาปรับลดลง โดยราคาน้ามันดิบได้รับแรงกดดันจากค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ที่แ ข็ งค่ า ขึ นสู งสุ ด ในรอบ 12 ปี รวมทั งความกั งวลต่ อ อุ ป ทานน้ า มั น ดิ บ ที่ ล้นตลาด หลั งลิ เ บี ย วางแผนที่ จ ะส่ งออก น้ามันดิบเพิ่มมากกว่า 1.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากท่าเรือ Hariga และ Zueitina ทางตะวันออกของประเทศ ประกอบ กั บ ความกั ง วลที่ อิ ห ร่ า นจะส่ ง ออกน้ า มั น ดิ บ ได้ เ พิ่ ม ขึ น หากมาตรการคว่้ า บาตรโครงการนิ ว เคลี ย ร์ จ ากประเทศ มหาอ้ า นาจทางตะวั น ตกยุ ติ ล ง นอกจากนี ส้ า นั ก งานสารสนเทศด้ า นพลั งงานของสหรั ฐ ฯ (EIA) รายงานตั ว เลข ปริ มาณน้ า มั น ดิ บ คงคลั ง ของสหรั ฐ ฯ ที่ เ พิ่ มสู ง ขึ นแตะระดั บ สู งสุ ด เป็ น ประวั ติ ก ารณ์ ซึ่ งยั ง คงกดดั น ราคาน้ า มั น ดิ บ ต่อเนื่อง
Page 7
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 12
ผ ล ก า ร ด้า เ นิ น ง า น ไ ต ร ม า ส 4 ปี 2 5 5 7 แ ล ะ ปี 2 5 5 7 ล้านบาท ปริมาณวัตถุดบิ ทีป่ ้ อนเข้าสู่กระบวนการผลิตของ กลุ่ม (kbd) กาไรขัน้ ต้นจากการผลิตของกลุม่ (1) (US$/bbl) : ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน : รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน
ล้านบาท
Q4/57
Q3/57
+/(-)
Q4/56
+/(-)
2557
2556
+/(-)
308
246
62
289
19
281
294
(13)
8.0
5.5
2.5
4.9
3.1
6.2
6.8
(0.6)
(3.2)
0.5
(3.7)
6.4
(9.6)
1.9
7.6
(5.7)
Q4/57
Q3/57
Q4/56(2)
+/(-)
(ปรับปรุงใหม่)
+/(-)
2557
2556(2) (ปรับปรุงใหม่)
+/(-)
รายได้จากการขาย
88,545
88,254
291
107,952
(19,407)
390,090
414,575
(24,485)
EBITDA
(5,373)
(545)
(4,828)
4,257
(9,630)
2,651
22,337
(19,686)
(992)
(1,004)
12
(968)
(24)
(3,966)
(3,786)
(180)
(548)
561
(1,109)
(1,815)
1,267
996
(3,111)
4,107
ต้นทุนทางการเงิน กาไร / (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ น รายได้ / (ค่าใช้จา่ ย) ภาษีเงินได้ กาไร / (ขาดทุน) สุทธิ
1,451
118
1,333
(217)
1,668
920
(1,160)
2,080
(6,479)
(2,175)
(4,304)
10
(6,489)
(4,026)
9,316
(13,342)
กาไร / (ขาดทุน) สุทธิ ต่อหุ้น (บาท)
(3.18)
(1.07)
(2.11)
0.00
(3.18)
(1.97)
4.57
(6.54)
อัตราแลกเปลี่ยน (บาทต่อเหรียญสหรัฐ) อัตราแลกเปลีย่ นเฉลีย่ อัตราแลกเปลีย่ น ณ สิน้ งวด
Q4/57
Q3/57
+/(-)
Q4/56
+/(-)
2557
2556
+/(-)
32.85
32.24
0.61
31.83
1.02
32.62
30.87
1.75
33.11
32.52
0.59
32.95
0.16
33.11
32.95
0.16
หมายเหตุ (1) ก้าไรขันต้นจากการผลิตของกลุ่ม (Gross Integrated Margin ) เป็นก้าไรขันต้นจากการผลิตรวมของ TOP, TPX และ TLB ( 2 ) ปรับปรุงใหม่ เนื่องจากตังแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 เครือไทยออยล์ถือปฏิบัติตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 (TFRIC4 ) เรื่อง การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่
ใน Q4/57 เทียบกับ Q3/57 เครือไทยออยล์มีปริมาณวัตถุดบ ิ ป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิตของกลุ่ม 308,000 บาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึน 25% จากไตรมาสก่อน เนื่องจากใน Q3/57 มีการหยุดซ่อมบ้ารุงใหญ่ตามแผนในหน่วยกลั่นนา้ มัน ดิบหน่วยที่ 3 (Crude Distillation Unit - 3: CDU-3 ) หน่วยเพิ่มออกเทนด้วยสารเร่งปฏิกิริยาหน่วยที่ 1 (Continuous Catalyst Regeneration Platformer Unit - 1: CCR-1 ) และหน่วยย่อยอื่นๆ เป็นเวลา 46 วัน รวมทังหน่วยผลิตสารอะ โรเมติกส์ตังแต่กลางเดือนมิถน ุ ายนถึงปลายเดือนกรกฎาคม 2557 หลังจากการซ่อมบ้ารุงใหญ่สินสุดลงเครือไทยออยล์ได้ ด้าเนินการผลิตเต็มที่เพือ ่ รองรับความต้องการใช้น้ามันในช่วงปลายปี แม้ว่าเครือไทยออยล์จะสามารถจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์ ได้เพิม ่ ขึนจาก Q3/57 แต่จากราคานา้ มันดิบในตลาดโลกปรับลดลงอย่างมากจากความกังวลด้านอุปทานที่ล้นตลาด ท้าให้ รายได้จากการขายเพิ่มขึนเล็กน้อย ส้าหรับก้าไรขันต้นจากการกลั่นไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ามันมีการปรับตัวเพิ่มขึน เนื่องจากส่วนต่างราคานา้ มันส้าเร็จรูปและนา้ มันดิบเพิ่มขึนทุกชนิดจากการที่โรงกลั่นในภูมภ ิ าคมีการหยุดซ่อมบ้ารุง ประกอบกับต้นทุนน้ามันดิบปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องใน Q4/57 อย่างไรก็ตาม ราคานา้ มันดิบดูไบปรับลดลงสู่ระดับต่้าสุด ในรอบ 6 ปี โดยราคาปิด ณ สิน Q4/57 อยู่ที่ 60.2 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับลดลงอย่างมากจาก ณ สิน Q3/57 ถึง 36.2 เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล ท้าให้เกิดผลขาดทุนจากสต๊อกน้ามันในไตรมาส
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 12
Page 8
ผ ล ก า ร ด้า เ นิ น ง า น ไ ต ร ม า ส 4 แ ล ะ ปี 2 5 5 7 ในส่วนของธุรกิจผลิตสารอะโรมาติกส์ ตลาดสารอะโรเมติกส์ถูกกดดันจากทังอุปสงค์ที่ลดลงจากผู้ผลิตโพลีเอ สเตอร์และสารพีทีเอหลังจากที่เศรษฐกิจจีนชะลอตัว ขณะที่มีอุปทานเพิ่มขึนจากโรงงานแห่งใหม่เริ่มด้าเนินการผลิตสาร พาราไซลีนและเบนซีนเข้าสู่ตลาด ท้าให้ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบปรับลดลงมากจาก Q3/57 ในส่วนของ ธุรกิจน้ามันหล่อลื่นพืนฐาน ตลาดน้ามันหล่อลื่นพืนฐานมีอุปทานเพิ่มขึนจากโรงกลั่นน้ามันหล่อลื่นพืนฐานกรุ๊ป 2 ท้าให้ เกิ ด การแข่ งขัน ด้ านราคาอย่ า งรุ น แรงระหว่า งน้า มั นหล่ อ ลื่น พื นฐานกรุ๊ ป 1 และกรุ๊ ป 2 ส่ งผลให้ร าคาน้ ามั น หล่ อ ลื่ น พืนฐานอ่อนตัวลง จากปัจจัยข้างต้น ส่งผลให้ก้าไรขันต้นจากการผลิตของกลุ่มไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ามันเพิ่ม ขึนมาอยู่ที่ 8.0 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อรวมผลขาดทุนจากจากสต๊อกน้ามันท้าให้ก้าไรขันต้นจากการผลิตของ กลุ่มติดลบ 3.2 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่งผลให้เครือไทยออยล์มี EBITDA ใน Q4/57 ติดลบ 5,373 ล้านบาท ซึ่ง รวมผลก้าไรจากการประกันความเสี่ยงสุทธิ 328 ล้านบาท ทังนี เครือไทยออยล์มีขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 548 ล้าน บาท เนื่องจากค่าเงินบาทอ่อนค่าลงจาก ณ สินไตรมาสก่อน 0.59 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ ทังนีการขาดทุนในไตรมาสท้า ให้มีการบันทึกภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจากการขาดทุนทางภาษีจ้านวน 1,451 ล้านบาท ส่งผลให้เครือไทยออยล์มีผล ขาดทุนสุทธิ 6,479 ล้านบาทใน Q4/57 หรือคิดเป็นขาดทุนสุทธิต่อหุ้น 3.18 บาท ส้ า หรั บ ผลการด้ า เนิ น งานของ Q4/57 เมื่ อ เที ย บกั บ Q4/56 นั น เครื อ ไทยออยล์ มีร ายได้ จ ากการขายลดลง 19,407 ล้ า นบาท สาเหตุ ห ลั ก จากระดั บ ราคาน้ า มั น ส้ า เร็ จ รู ป ปรั บ ลดลง รวมถึ ง ราคาสารอะโรเมติ ก ส์ แ ละราคา น้ามันหล่อลื่นพืนฐานก็ปรับตัวลดลงเช่นกัน อย่างไรก็ดีส่วนต่างราคาน้ามันส้าเร็จรูปและราคาน้ามันดิบที่ปรับเพิ่มขึนท้า ให้ก้าไรขันต้นจากการผลิตของกลุ่มไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ามันเพิ่มขึน 3.1 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อรวมผล ขาดทุนจากสต๊อกน้ามันซึ่งเป็นผลจากราคาน้ามันดิบที่ปรับลดลงมากใน Q4/57 ท้าให้เครือไทยออยล์มีก้าไรขันต้นจาก การผลิ ต ของกลุ่ มรวมผลกระทบจากสต๊ อ กน้ า มั นลดลงถึ ง 9.6 เหรี ย ญสหรั ฐฯ ต่อ บาร์ เ รล ส่ งผลให้ เ ครื อ ไทยออยล์ มี EBITDA และมีก้าไรสุทธิลดลง 9,630 ล้านบาท และ 6,489 ล้านบาท ตามล้าดับ ส้าหรับผลการด้าเนินงานปี 2557 เทียบกับ 2556 เครือไทยออยล์มีรายได้จากการขายลดลง 24,485 ล้านบาท สาเหตุหลักจากปริมาณวัตถุดิบที่ป้อนเข้าสู่กระบวนการกลั่นลดลงจากการหยุดซ่อมบ้ารุงใหญ่ของโรงกลัน ่ นา้ มันและโรง ผลิตสารอะโรมาติกส์และระดับราคาผลิตภัณฑ์ที่ปรับลดลงจากปีก่อน ทังนี จากส่วนต่างราคาสารพาราไซลีนและ ULG 95 ที่ปรับลดลงกว่า 200 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ส่งผลให้เครือไทยออยล์มีก้าไรขันต้นจากการผลิตรวมของกลุ่มไม่รวม ผลกระทบจากสต็อกน้ามันอยู่ที่ 6.2 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลง 0.6 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล อย่างไรก็ตาม จาก การที่ราคาน้ามันในตลาดโลกอ่อนตัวลงตังแต่ช่วงหลังของปี 2557 โดยราคาน้ามันดิบดูไบได้ปรับลดลงมาสู่ระดับต่้าสุด ในรอบ 6 ปีในเดือนธันวาคม 2557 ท้าให้มีผลขาดทุนจากสต็อกน้ามัน 4.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล หรือ 14,439 ล้าน บาท และมีรายการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือให้เท่ามูลค่าสุทธิที่จะได้รับจ้านวน 2,451 ล้านบาท โดยก้าไรขันต้นจาก การผลิตของกลุ่มรวมผลขาดทุนจากสต็อกน้ามันปรับลดลงมาอยู่ที่ 1.9 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 12
Page 9
ผ ล ก า ร ด้า เ นิ น ง า น ไ ต ร ม า ส 4 แ ล ะ ปี 2 5 5 7 อย่างไรก็ดีเครือไทยออยล์ได้มีการบริหารความเสี่ยงด้านราคาอย่างมีประสิทธิภาพท้าให้มีก้าไรจากอนุพันธ์ เพื่อ ประกันความเสีย ่ งสุทธิ 2,218 ล้านบาท เพิ่มขึน 926 ล้านบาท ดังนัน เครือไทยออยล์จึงมี EBITDA ลดลง 19,686 ล้านบาท เป็น 2,651 ล้านบาท นอกจากนี เครือไทยออยล์มีต้นทุนทางการเงิน 3,966 ล้านบาท และมีกา้ ไร จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ 996 ล้านบาท ทังนีบริษท ั ฯ บันทึกภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจากการขาดทุนทางภาษีจ้านวน 920 ล้านบาท ดังนัน จึงท้าให้ในปี 2557 เครือไทยออยล์มีขาดทุนสุทธิ 4,026 ล้านบาทหรือขาดทุนสุทธิต่อหุน ้ 1.97 บาท
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 11
Page 10
ความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์
ไทยออยล์รบ ั มอบโล่เกียรติยศในโอกาสได้รบ ั คัดเลือกให้เป็นสมาชิก DJSI ประจ้าปี 2557 คุณอธิคม เติบศิริ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จด ั การใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จ้ากัด (มหาชน) รับมอบ โล่เกียรติยศจาก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี โดยมีนายสถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์ ประธานกรรมการตลาดหลัก ทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมแสดงความยินดีในโอกาสทีไ ่ ทยออยล์ได้รับการคัดเลือกให้เป็นสมาชิก DJSI ประจ้าปี 2557 พร้อมทังยังเป็น ผู้นา้ ด้านความยั่งยืนในกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานของโลกอีกด้วย
เครือไทยออยล์มอบเงินสนับสนุนงานทันตกรรมโรงพยาบาลแหลมฉบัง อ้าเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี คุณอธิคม เติบศิริ ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ บริษท ั ไทยออยล์ จ้ากัด (มหาชน) มอบเงิน สนับสนุนจ้านวน 2,231,650 บาท ให้กับโรงพยาบาลแหลมฉบัง อ้าเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยมีนายแพทย์ ราเมศร์ อ้าไพพิศ ผู้อา้ นวยการโรงพยาบาลแหลมฉบัง เป็นผู้รับมอบ ณ ศูนย์สุขภาพและการเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์ เพื่อชุมชน ส้าหรับด้าเนิน “ โครงการเสริมสร้างสุขภาพเชิงรุกเพือ ่ ชุมชนละแวกโรงกลัน ่ ” วัตถุประสงค์เพื่อร่วมพัฒนา สุขภาวะชุมชน ด้านทันตสุขภาพ ซึ่งเครือไทยออยล์ได้กอ ่ ตังคลินิกทันตกรรมเพือ ่ ให้บริการทันตกรรมขันพืนฐาน เช่น การขูด หินปูน อุดฟัน เคลือบฟลูออไรด์ และเคลือบหลุมร่องฟัน แก่เด็กนักเรียนรอบเครือไทยออยล์ มาตังแต่เดือน มิ.ย. 2553 และนับตังแต่ก่อตัง จนถึงเดือน ธ.ค 2557 ให้บริการตรวจรักษาไปแล้ว รวมทังสิน 18,613 ครัง นอกจากนี เครือไทยออยล์ยังด้าเนินโครงการโรงเรียนส่งเสริมทันตสุขภาพรอบโรงกลั่น มุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน เรื่องทันตสุขภาพ ให้กบ ั นักเรียน ด้วยการแนะน้าดูแลเด็กนักเรียนให้แปรงฟันหลังอาหาร และให้ความรู้เรื่องวิธก ี ารดูแล ช่องปากที่ถก ู วิธี ส่งผลให้สข ุ ภาพฟันของเด็กนักเรียนจาก 8 โรงเรียนรอบเครือไทยออยล์ที่เข้าร่วมโครงการ
Page 11
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 11
ความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์ เครือไทยออยล์รบ ั “ E S G 100 Certificate” คุณอธิคม เติบศิริ ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ บริษท ั ไทยออยล์ จ้ากัด (มหาชน) รับ “ E SG 100 Certificate ” จาก ดร.พิพฒ ั น์ ยอดพฤติการ ผูอ ้ า้ นวยการ สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะที่เป็น 1 ใน 100 บริษัทในประเทศไทยจดทะเบียนที่มีการด้าเนินงานโดดเด่น ด้านการ ส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ( Environmental, Social and Governance : ESG ) จากการประเมินบริษท ั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยทังหมด 567 บริษัท
เครือไทยออยล์รว่ มฟืน ้ ฟูปะการัง บริเวณหมูเ่ กาะสีชัง จ.ชลบุรี คุณวิโรจน์ มีนะพันธ์ ผูช ้ ว่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ - ด้านก้ากับกิจการองค์กรบริษท ั ไทยออยล์ จ้ากัด (มหาชน) น้าพนักงานจิตอาสาและนักด้าน้าเครือไทยออยล์ ร่วมกิจกรรมวันรวมพลคนสีชัง ฟืน ้ ฟูปะการังให้ยั่งยืน ครังที่ 3 ณ สะพานท่าเทียบเรือศุลกากร อ.เกาะสีชัง จ.ชลบุรี ซึ่งจัดโดย โครงการความร่วมมือในการเพาะเลียงขยายพันธุป ์ ะการัง และการฟืน ้ ฟูแนวปะการัง บริเวณหมู่เกาะสีชัง ร่วมกับ เทศบาลต้าบลเกาะสีชัง อ้าเภอเกาะสีชัง และชุมชน เพื่อรณรงค์ ให้เยาวชน ชุมชนชาวเกาะสีชัง และประชาชนทัว ่ ไป ช่วยกันอนุรักษ์และฟื้นฟูปะการัง ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติ ทางทะเลทีส ่ ้าคัญโดยร่วมกันออกบูธนิทรรศการน้าเกมเกี่ยวกับพลังงานไปให้ความรู้กับเยาวชนบนเกาะสีชัง มอบทุน การศึกษาให้กับเยาวชนที่ ชนะการประกวด วาดภาพ จัดท้าแปลงอนุบาลปะการังและน้าไปติดตังวางแปลงพ่อแม่พันธุ์ ปะการังใต้ทะเล เพื่อฟื้นฟูบริเวณแนวปะการังที่เสื่อมโทรม พร้อมกันนียังได้นา้ นักท่องเที่ยวด้านา้ ศึกษาเรียนรู้เรือ ่ ง ปะการังใต้ทอ ้ งทะเลอีกด้วย โครงการความร่วมมือในการเพาะเลียงขยายพันธุ์ปะการังและการฟื้นฟูแนวปะการัง บริเวณหมู่เกาะสีชัง ถือเป็น ความร่วมมือระหว่างเครือไทยออยล์ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง สถาบันวิจย ั ทรัพยากรทางนา้ และคณะ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดยด้าเนินการอย่างต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 4 โดยเครือไทยออยล์เชื่อว่าการอนุรักษ์ และการฟืน ้ ฟูแนวปะการัง เป็นมาตรการที่สา้ คัญที่จะท้าให้ทรัพยากรแนวปะการังของหมู่เกาะสีชังสมบูรณ์อยู่ได้ กอปรกับการอนุรก ั ษ์และฟืน ้ ฟู คงอยู่อย่างยั่งยืน
โดยความร่วมมือร่วมใจของชุมชนจะท้าให้ทรัพยากรธรรมชาติอันมีค่าของพวกเขา
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 11
Page 12
CG Corner ( C orporate Governance: การก้ากับดูแลกิจการ ) มาตรการการร้องเรียนและการแจ้งเบาะแส ในปี 2557 ที่ผา่ นมา เครือไทยออยล์ มีการปรับปรุงมาตรฐานด้านการก้ากับดูแลกิจการหลายเรื่อง หนึ่งในเรื่อง ที่มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับท่านผู้ถือหุน ้ โดยตรง นั่นก็คือ "การปรับปรุงมาตรการการร้องเรียนและ การแจ้งเบาะแส" หรือ Whistleblower นั่นเอง CG Corner เชื่อว่าท่านผูถ ้ อ ื หุ้นอาจมีขอ ้ สงสัยต่างๆ เกีย ่ วกับช่องทางนี วันนีท่านจะได้รับค้าตอบอย่างแน่นอนค่ะ ค้าถาม: ใครสามารถแจ้งเรือ ่ งร้องเรียนหรือเบาะแสได้บา้ ง : ผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มของบริษท ั ฯ หรือบุคคลภายนอกที่พบเห็นหรือทราบเบาะแส รวมถึงบุคคลที่ ได้รับผลกระทบจากเรื่องร้องเรียนดังกล่าว ค้าถาม : ช่องทางนีรับเรื่องร้องเรียนและแจ้งเบาะแส ประเภทไหนบ้าง : ช่องทางนี รับเรื่องร้องเรียนและแจ้งเบาะแส 2 ประเภท ได้แก่ - การกระท้าทีฝ ่ ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบของรัฐ หลักการ/นโยบายCG จรรยาบรรณ และระเบียบข้อบังคับ ของบริษท ั ฯ - การกระท้าทีอ ่ าจส่อถึงการทุจริต ค้าถาม : แจ้งเรื่องร้องเรียนและเบาะแส ได้ที่ไหน อย่างไรบ้าง : ผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแส โดยระบุให้ชด ั เจนว่าเป็นเอกสารลับ ผ่าน ช่องทาง ดังต่อไปนี ประธานกรรมการ หรือประธานคณะกรรมการก้ากับดูแลกิจการ หรือ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ หรือประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ หรือ เลขานุการบริษท ั ฯ บริษัท ไทยออยล์ จ้ากัด (มหาชน) เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคาร เอ ชัน 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900 cgcoordinate@thaioilgroup.com (ผู้จัดการแผนกจรรยาบรรณและบรรษัทภิบาลเป็นผู้รับเรื่องเพื่อส่งต่อให้ผู้รับเรื่องร้องเรียนข้างต้น) +66(0) 2797-2900 หรือ +66(0) 2797-2999 หรือ +66(0) 2299-0000 ต่อ 7440-7442 +66 ( 0 ) 2797-2976
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 11
Page 13
ค้าถาม: เมื่อได้รับเรื่องร้องเรียนแล้ว มีขันตอนการด้าเนินการอย่างไร : ขันตอนการด้าเนินการตามแผนผัง ดังนี
ค้าถาม: ผู้แจ้งจะได้รับความคุ้มครองหรือไม่ อย่างไร : มาตรการที่ปรับปรุงใหม่นี มีการระบุอย่างชัดเจนว่า ผู้แจ้งเรื่อง/เบาะแสจะได้รับการคุ้มครองที่เหมาะสม และเป็นธรรมจากบริษัทฯ เช่น ไม่มีการเปลี่ยนแปลงต้าแหน่งงาน ลักษณะงาน สถานที่ท้างาน พักงาน ข่มขู่ รบกวน การปฏิบัติงาน เลิกจ้าง เป็นต้น และข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนจะเก็บรักษาเป็นความลับ ไม่เปิดเผยต่อผู้ไม่เกี่ยวข้อง เว้นแต่ที่จ้าเป็นต้องเปิดเผยตามข้อก้าหนดของกฎหมาย
....มาร่วมกันสอดส่องและแจ้งสิง่ ทีผ ่ ด ิ ปกติมายังช่องทางตามมาตรการการร้องเรียนและการแจ้งเบาะแสนะคะ…
Page 14
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 11
IR CALENDAR ปฏิทน ิ - นักลงทุนสัมพันธ์ มกราคม - มีนาคม 2558 วันที่
เหตุการณ์สา้ คัญ
27 - 28 มกราคม
Outbound Roadshow ประเทศฮ่องกง
5 กุมภาพันธ์
Inbound Roadshow J.P. Morgan's Thailand Conference 2015
20 กุมภาพันธ์
Analyst Meeting - Q4 & Full Year 2014
26 กุมภาพันธ์
Opportunity Day - Q4 & Full Year 2014
27 กุมภาพันธ์
Local Roadshow dbTISCO Thailand TOPPICKS Corporate Day
12 - 13 มีนาคม
Outbound Roadshow ประเทศสิงคโปร์
Page 15
T O P - IR E - N e wsl e tt er : V ol . 11
TOP-IR 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอม
DISCLAIMER
เพล็กซ์ อาคารเอ ชัน 11 ถ.วิภาวดีรังสิต จตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ : 02-797-2961 แฟ็กซ์ : 02-797-2977
บริษัทฯ มีจุดมุ่งหมายส้าคัญ เพี่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท ไทยออยล์ จ้ากัด ( มหาชน) ( บริษัทฯ) ส้าหรับบุคคลทั่วไปที่เกี่ยวข้อง โดยข้อมูลที่ปรากฏอยู่ใน TOP IR E-Newsletter นี ห้ามมิให้ มีการคัดลอก ดัดแปลง ท้าซ้า หรือ เลียนแบบ โดยเด็ดขาด เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากบริษัทฯ ก่อนเท่านัน หากมีข้อสงสัย โปรดติดต่อแผนกนักลงทุนสัมพันธ์
www.thaioilgroup.com
บริษัท ไทยออยล์ จ้ากัด ( มหาชน) หากท่านใดมีข้อเสนอแนะ / ต้องการสอบถามข้อมูล สามารถติดต่อได้ที่
THAI OIL PUBLIC COMPANY LIMITED
ir@thaioilgroup.com
Tel
662-797-2961
Fax
662-797-2977