บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จ ำ กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 5 7
พลังขับเคลื่อน สู ความยั่งยืน มิติ เศรษฐกิจ
มิ ติ สังคม
มิ ติ สิง่ แวดล อม
วิสัยทัศน
บริษัท ไทยออยล จำกัด (มหาชน) มุ งที่จะเป นผผู นำในการดำเนนินธุ รกิจเชิงบูรณาการ ดด านการกลั่นน้ำมันและป โตรเคมีที่ต อเนื่อง อย ยางครบวงจรในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
พันธกิจ
+ เป นหนึ่งในองค กรชั้นนำในด านผลการดำเนินงาน และผลตอบแทนการลงทุน + ก าวสูส องค กรแห งความเป ปนเลิศ ส งเสริมการทำงานเป ปนทีม มมุ งสร างสรรค สิ่งใหมม บนพื้นฐานแหห งความเชื่อมั่นระหว างกัน เพืพื่อการเติบโตทที่ยั่งยืน + มมุ งเน นหลักการกำกับดดูแลกกิจการที่ดี และยึยดมั่นในความรับผผิดชอบต อสังคม
ผู ลงทุนสามารถศึกษาข อมูลของบริษัทฯ เพิ่มเติมได จากแบบแสดงรายการข อมูลประจำป (แบบ 56-1) ของบริษัทฯ ที่แสดงไว ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต ของบริษัทฯ www.thaioilgroup.com
ส า ร บั ญ 002
ข อมูลสําคัญทางการเงิน
074
โครงสร างฝ ายจัดการ
004
สารจากคณะกรรมการบริษัทฯ
076
ฝ ายจัดการบริษัทฯ
014
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
080
ข อมูลหลักทรัพย และผู ถือหุ น และโครงสร างการจัดการ
016
รายงานของคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค าตอบแทน
098
ป จจัยเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงองค กร
018
รายงานของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ
102
การควบคุมภายในของบริษัทฯ
020
รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
104
รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการ
022
วิสัยทัศน พันธกิจ และกลยุทธ ในการดําเนินงานของเครือไทยออยล
133
ความรับผิดชอบต อสังคมของเครือไทยออยล
023
สรุปความสําเร็จในการดําเนินการ ป 2557
134
ข อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ
028
ประมวลเหตุการณ สําคัญป 2557
142
โครงสร างธุรกิจของเครือไทยออยล
032
สรุปภาวะตลาดป 2557 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข งขันในอนาคต
144
โครงสร างรายได
044
กระบวนการผลิต การพัฒนาการผลิต และการบริหารจัดการด านคุณภาพ ความมั่นคง อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล อม
146
คําอธิบายและการวิเคราะห ฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานของฝ ายจัดการ
054
โครงการในอนาคต
150
รายการระหว างกัน
058
การบริหารศักยภาพองค กร
156
รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต อรายงานทางการเงิน
060
คณะกรรมการบริษัทฯ
157
งบการเงิน
002
аЄЪ аЄ£аЄі аЄ©аЄ± аЄЧ аєД аЄЧ аЄҐ аЄ≠ аЄ≠ аЄҐ аЄ•¬П аЄИаєН аЄ≤ аЄБаЄ± аЄФ ( аЄ° аЄЂ аЄ≤ аЄК аЄЩ ) аЄ£ аЄ≤ аЄҐ аЄЗ аЄ≤ аЄЩ аЄЫ аЄ£ аЄ∞ аЄИаєН аЄ≤ аЄЫ¬В 2 5 5 7
аЄВ¬М аЄ≠ аЄ°аЄє аЄ• аЄ™аєН аЄ≤ аЄДаЄ± аЄН аЄЧ аЄ≤ аЄЗ аЄБ аЄ≤ аЄ£ аєА аЄЗаЄі аЄЩ
01
аЄВ¬М аЄ≠ аЄ°аЄє аЄ• аЄ™аєН аЄ≤ аЄДаЄ± аЄН аЄЧ аЄ≤ аЄЗ аЄБ аЄ≤ аЄ£ аєА аЄЗаЄі аЄЩ .8 '5 " &ƒШ ' + % )ƒХ 6 6
' 6 & E ƒХ 6 6 ' 6 & )ƒХ 6 6
.ƒФ + 1 ƒХ= ; 1 /< ƒХ ' + % )ƒХ 6 6
7 E ' ¬Г | 6 < } .< 8 )ƒХ 6 6
147,148
154,568
170,676 208,662
2553 2
2554 4
318,391
446,241
2553
2554
2555
2556
2557
75,570
85,034
90,724
94,981
87,039
2553
2554
2555
2556
2557
8,956
14,853
12,320
9,316
(4,026)
2553 2
2554
2555
2556
2555
2556
447,432 414,575
192,802
2557 7
390,090
2557
003
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ข อ มู ล สํ า คั ญ ท า ง ก า ร เ งิ น
2556 (1)
2557
2555
2554 (2)
2553 (3)
) 6' 7A 8 6 รายได้จากการขาย EBITDA กำไร / (ขาดทุน) สุทธิ กำไร / (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น
ล้านบาท ” ” บาท/หุ้น
390,090
414,575
447,432
446,241
3 1 8 ,3 9 1
ล้านบาท ” ”
2,651
22,337
20,350
28,760
1 7 ,3 8 1
(4,026)
9,316
12,320
14,853
8 ,9 5 6
(1.97)
4.57
6.04
7.28
4 .3 9
192,802
208,662
170,676
154,568
1 4 7 ,1 4 8
105,763
113,681
79,952
69,534
7 1 ,5 7 8
87,039
94,981
90,724
85,034
7 5 ,5 7 0
0.7
5.9
8.7
13.5
9 .7
2.7
2.6
2.9
3.1
2 .7
0.4
0.3
0.2
0.3
0 .4
(4.6)
10.4
14.8
19.7
1 3 .0
(2.0)
4.9
7.6
9.9
6 .3
6 4 6'A è สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม
15 '6.Ĕ+ 6 6'A è อัตราส่วนความสามารถชำระดอกเบี้ย อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม
เท่า ” ” ร้อยละ ”
ĕ1%=).7 5gD )6 < ราคาปิดของหุ้นเฉลี่ยทั้งปี มูลค่าตลาดรวม เงินปันผล อัตราผลตอบแทนเงินปันผล (5) มูลค่าหุ้นตามบัญชี
บาท/หุ้น ล้านบาท บาท/หุ้น ร้อยละ บาท/หุ้น
50.40
64.60
65.10
69.80
4 9 .9 0
1 02,817
131,786
132,806
142,394
1 5 9 ,6 3 2
1.16
(4)
2.30
2.70
3.30
2 .0 0
2.3
3.6
4.1
4.7
4 .0
40.54
44.57
42.42
38.96
3 5 .0 1
/%6&A/ <
(1) งบการเงินประจำปี 2556 ปรับปรุงใหม่ ตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (TFRIC 4) เรือ่ ง การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ (2) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ได้มีการจัดประเภทรายการใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการนำเสนอในงบการเงินปี 2555 (3) ปรับปรุงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีตามมาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์ของพนักงาน (4) รวมเงินปันผลระหว่างกาล สำหรับผลประกอบการ 6 เดือนแรกของปี 2557 จำนวน 0.56 บาท/หุ้น ซึ่งจ่ายเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 และคงเหลือเป็นเงินปันผลที่จะจ่ายอีกจำนวน 0.60 บาท/หุ้น โดยจะนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี 2558 เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป (5) คำนวณจากราคาปิดของหุ้นเฉลี่ยทั้งปี
004
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ส า ร จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
สารจาก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
02
น า ย คุ รุ จิ ต น า ค ร ท ร ร พ
ประธานกรรมการ บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น)
น า ย อ ธิ ค ม เ ติ บ ศิ ริ
ป ร ะ ธ า น เ จ า ห น า ที่ บ ริ ห า ร แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ผู จั ด ก า ร ใ ห ญ บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น)
เ รี ย น ท า น ผู ถื อ หุ น คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กําหนดนโยบายและเป้าหมายการบริหารจัดการ ธุรกิจ เพื่อขับเคลื่อนเครือไทยออยล์ โดยมุ่งเน้นความสมดุลทั้งมิติทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ภายใต้หลักธรรมาภิบาล และตอบสนอง ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มด้วยความเป็นธรรม ทั้งนี้ เพื่อให้ไทยออยล์เติบโต อย่ า งมี คุ ณ ภาพด้ ว ยความยั่ ง ยื น และสามารถสนั บ สนุ น ความมั่ น คง ด้านพลังงานให้กับประเทศ การได้รับการรับรองให้เป็นสมาชิกของ Dow Jones Sustainability Indices หรือ DJSI ซึ่งมีมาตรฐานได้รับการยอมรับในระดับโลกเกี่ยวกับการประเมิน ด้ า นความยั่ ง ยื น เป็ น ปี ที่ ส องติ ด ต่ อ กั น ถื อ เสมื อ นเป็ น เครื่ อ งยื น ยั น ถึ ง
ความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจตามทิศทางดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในปี 2557 ทีผ่ า่ นมา นอกจากจะได้รบั การรับรองให้เป็นสมาชิกของ DJSI แล้ว ไทยออยล์ยงั ได้รบั การจัดอันดับ ให้เป็นผูน้ าํ ด้านความยัง่ ยืนในอุตสาหกรรม นํ้ า มั น และก๊ า ซของโลกอี ก ด้ ว ย ความภาคภู มิ ใจนี้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ ความสําเร็จ และรางวัลต่างๆ ที่ไทยออยล์ได้รับในรอบปี 2557 ทั้งในระดับ ประเทศ และระดับสากล ซึ่งท่านผู้ถือหุ้นจะได้รับทราบรายละเอียดใน รายงานประจําปีนี้ แสดงถึงความมุ่งมั่น ทุ่มเท และการประสานความ ร่วมมือกันของคณะกรรมการบริษัทฯ ฝ่ายจัดการ และพนักงานทุกคนที่ พร้อมผลักดัน ขับเคลื่อนไทยออยล์ไปสู่ความสําเร็จในระดับสูงยิ่งๆ ขึ้นไป
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ปี 2557 ที่ผ่านมานับเป็นอีกปีหนึ่งที่สถานการณ์ราคานํ้ามันดิบมีความ ผันผวนมาก โดยราคานํ้ามันดิบดูไบมีการปรับตัวเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ ที่ค่อนข้างกว้างระหว่าง 55 – 111 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยมีสาเหตุ มาจากปั จ จั ย หลายประการ ทั้ ง ความกั ง วั ล เกี่ ย วกั บ การชะลอตั ว ของ เศรษฐกิจของประเทศจีน มาตรการปรับลดงบประมาณกระตุ้นเศรษฐกิจ (QE ) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ปัญหาความไม่สงบ และความขัดแย้ง ทางการเมืองในตะวันออกกลาง และประเทศยูเครน ภาวะอุปทานนํา้ มันดิบ ล้นตลาดทั้งในและนอกกลุ่มประเทศโอเปก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การผลิต นํ้ามันดิบชนิดเบาจากชั้นหินดินดาน (Shale Oil ) ของประเทศสหรัฐอเมริกา รวมทั้งการตัดสินใจคงกําลังการผลิตนํ้ามันดิบของกลุ่มประเทศโอเปก เมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายน ที่ ผ่ า นมา ส่ ง ผลให้ ร าคานํ้ า มั น ดิ บ ดู ไ บเฉลี่ ย เดื อ นธั น วาคม 2557 ปรั บ ลดลงจากราคาเฉลี่ ย เดื อ นธั น วาคม 2556 ที่ 108 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล มาปิดตัวที่ 60 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และด้ ว ยปั จ จั ย ภายนอกที่ ไ ม่ ส ามารถควบคุ ม ได้ นี้ ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท ฯ มีผลขาดทุนจากสต๊อกนํ้ามันสูงถึง 16,890 ล้านบาท คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายจัดการได้ตระหนักเป็นอย่างดีถึงสภาวะ อุตสาหกรรมนํ้ามันและอะโรมาติกส์ที่ไม่เอื้ออํานวยและท้าทายดังกล่าว ประกอบกับอุปสงค์ที่ลดลงจากภาวะการชะลอตัวของสภาพเศรษฐกิจ บริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ กํ า หนดมาตรการหลายประการ เพื่ อ ลดผลกระทบต่ อ ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ อาทิ การเร่งรัดการซ่อมบํารุงโรงกลั่นให้ แล้วเสร็จเร็วขึ้น การบริหารความเสี่ยงสินค้าคงคลัง ทั้งในด้านราคาและ ปริมาณอย่างเหมาะสม รวมถึงการแสวงหาโอกาสในการประกันความเสี่ยง ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ การปรับแต่งสภาวะการเดินเครื่องโรงกลั่นและ การดําเนินงานต่างๆ เพื่อเพิ่มรายได้และลดค่าใช้จ่าย เป็นต้น ผลส่วนหนึ่ง จากมาตรการดังกล่าวทําให้ไทยออยล์ยังสามารถรักษาระดับกําไรจาก การดํ า เนิ น งานที่ ไ ม่ นั บ รวมภาระขาดทุ น จากสต๊ อ กนํ้ า มั น ได้ ป ระมาณ 12,864 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม หากนําผลการขาดทุนจากสต๊อกนํ้ามัน มาคํ า นวณรวมตามมาตรฐานทางบั ญ ชี จึ ง ทํ า ให้ ไ ทยออยล์ มี ผ ลการ ดําเนินงานคิดเป็นผลขาดทุนจํานวน 4,026 ล้านบาท แม้ภาวะการขยายตัวของอุตสาหกรรมและสภาพเศรษฐกิจโดยทั่วไปจะ ยังเปราะบาง ไทยออยล์ยังคงใช้จุดเด่นจากประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการต้นทุน เป็นกําลังหลักเพื่อเดินหน้าขับเคลื่อนผลักดันดําเนินโครงการ เชิงกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อวางรากฐานการดําเนินธุรกิจในอนาคต เพื่อรองรับ ภาวะความผันผวนของราคาผลิตภัณฑ์ และเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันยิ่งขึ้น โดยหลายโครงการได้แล้วเสร็จและสร้างผลประโยชน์ ให้เกิดแล้วในปี 2557 ได้แก่ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
005
ส า ร จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
ของหน่วยกลั่นนํ้ามันดิบที่ 3 โครงการปรับปรุงหน่วยกลั่นสุญญากาศที่ 2 โครงการขยายกําลังการผลิตธุรกิจสารละลายของบริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด โครงการขยายกองเรือรับส่งลูกเรือและสัมภาระ (Crew Boat ) ของ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด เป็นต้น ส่วนโครงการที่อยู่ระหว่างดําเนินการ ก็มีความคืบหน้าเป็นไปตามแผนงานที่กําหนดไว้ด้วยดี เช่น โครงการ โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก (SPP ) โครงการผลิตสาร LAB (Linear Alkyl Benzene ) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ รวมถึงโครงการขยายธุรกิจไปสู่ตลาดอาเซียน ก็มคี วามคืบหน้าไปเป็นลําดับเช่นกัน โครงการต่างๆ ซึง่ อยูร่ ะหว่างดําเนินการ เหล่านี้ เมื่อแล้วเสร็จจะมีส่วนช่วยสนับสนุนการดําเนินธุรกิจของไทยออยล์ ให้มีความมั่นคงขึ้น จากการมีอุตสาหกรรมที่หลากหลายและสามารถ ขยายตลาดได้ทั้งภายในประเทศและสู่ภูมิภาคที่มีศักยภาพสูง ควบคูไ่ ปกับเป้าหมายในเชิงธุรกิจ คณะกรรมการบริษทั ฯ ยังคงให้ความสําคัญ กับการดําเนินธุรกิจ โดยคํานึงถึงความปลอดภัยและใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม โดยสถิติด้านความปลอดภัยของไทยออยล์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทุกปี การจัดทําโครงการเพื่ออนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งกิจกรรมเพื่อ ตอบแทนสังคม ทั้งในระดับชุมชนบริเวณโรงกลั่น ที่อําเภอศรีราชา จังหวัด ชลบุรี โดยมีศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นศูนย์กลางการดําเนิน กิจกรรมร่วมกับชุมชน ทั้งทางด้านการศึกษา สุขภาพ วัฒนธรรมประเพณี นอกจากนั้น ยังได้นําความรู้ ประสบการณ์ด้านวิศวกรรม และพลังงานของ บุคลากรไทยออยล์ไปต่อยอด พัฒนาชุมชนไกลระดับประเทศ ซึ่งระบบ สาธารณูปโภคของรัฐ ยังไม่สามารถเข้าถึงได้ เช่น โครงการผลิตก๊าซชีวภาพ จากของเสียในการผลิตยางแผ่น และของเสียจากครัวเรือน และส่งเสริมการ ปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชนที่เกาะหมากน้อย จังหวัด พังงา โครงการโรงไฟฟ้าพลังนํ้า ชุมชนบ้านแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น ความสําเร็จของโครงการต่างๆ เหล่านี้ส่วนหนึ่งเป็นผลจากความร่วมมือ ร่วมใจของพนักงานจิตอาสาของไทยออยล์ที่มีจิตสํานึกต้องการแบ่งปัน และตอบแทนคืนกลับสู่สังคม ซึ่งเป็นวัฒนธรรมองค์กรที่ดีของไทยออยล์ คณะกรรมการบริษัทฯ มีความปรารถนาเป็นอย่างยิ่ง และพร้อมที่จะให้การ สนับสนุนกับฝ่ายจัดการทีจ่ ะขับเคลือ่ น และผลักดันไทยออยล์ให้เป็นองค์กร ชั้นนําของภูมิภาค และเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและ เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ พร้อมๆ ไปกับการสร้าง ผลตอบแทนที่ดีอย่างยั่งยืนให้กับผู้ถือหุ้น ปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกส่วน อย่างเป็นธรรม ภายใต้หลักธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม ในท้ายนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น นักลงทุน ลูกค้า คู่ค้า สถาบันการเงิน องค์กรและหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ที่มอบความไว้ วางใจและสนับสนุนการดําเนินธุรกิจของไทยออยล์ด้วยดีเสมอมา
006
T O P р╕Ьр╕╣┬М р╕Щр╣Н р╕▓ р╕Ф┬М р╕▓ р╕Щ р╕Д р╕з р╕▓ р╕б р╕вр╕▒р╣И р╕З р╕вр╕╖ р╕Щ р╕В р╕н р╕З р╕Б р╕ер╕╕┬Л р╕б р╕нр╕╕ р╕Х р╕к р╕▓ р╕л р╕Б р╕г р╕г р╕б р╕Ю р╕ер╕▒ р╕З р╕З р╕▓ р╕Щ
р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕йр╕▒ р╕Ч р╣Д р╕Ч р╕в р╕н р╕н р╕в р╕е┬П р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Бр╕▒ р╕Ф ( р╕б р╕л р╕▓ р╕К р╕Щ ) р╕г р╕▓ р╕в р╕З р╕▓ р╕Щ р╕Ы р╕г р╕░ р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Ы┬В 2 5 5 7
'├и -5 E & 1 1 & )─Ш 7 5 } % / 6 ~
3,395 '├и-5 4A 9& 5I+C) D < )<─Ф%1< .6/ ''% E ─Х'5 A 8gA ─Х6'─Ф+% 6' '4A%8 ─Х6 +6%&5I &; 6 ┬Щ┬Я┬и┬Ю
007
р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕йр╕▒ р╕Ч р╣Д р╕Ч р╕в р╕н р╕н р╕в р╕е┬П р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Бр╕▒ р╕Ф ( р╕б р╕л р╕▓ р╕К р╕Щ ) р╕г р╕▓ р╕в р╕З р╕▓ р╕Щ р╕Ы р╕г р╕░ р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Ы┬В 2 5 5 7
T O P р╕Ьр╕╣┬М р╕Щр╣Н р╕▓ р╕Ф┬М р╕▓ р╕Щ р╕Д р╕з р╕▓ р╕б р╕вр╕▒р╣И р╕З р╕вр╕╖ р╕Щ р╕В р╕н р╕З р╕Б р╕ер╕╕┬Л р╕б р╕нр╕╕ р╕Х р╕к р╕▓ р╕л р╕Б р╕г р╕г р╕б р╕Ю р╕ер╕▒ р╕З р╕З р╕▓ р╕Щ
─Х= 7 ─Х6 +6%&5I &; 1 )<─Ф%1< .6/ ''%")5
6 '├и-5 E &11&)─Ш 7 5 }%/6 ~ E ─Х'5 6' '4 6,D/─ХA ─Ы .%6 8 1 5 9 +6%&5I &; 6+C .─Ш /'├л1 ┬Щ├Д├М ┬Я├Д├Г┬║├И ┬и├К├И├Й┬╢┬╛├Г┬╢┬╖┬╛├Б┬╛├Й├О ┬Ю├Г┬╣┬╛┬╕┬║├И ┬П ┬Щ┬Я┬и┬Ю '4 7 ─М ┬З┬К┬К┬М ─Ф1A ;I1 A ─Ы ─М 9I ┬З C &E ─Х'5 6' '4A%8 A ─Ы 9I ┬Ж 1 C) D )<─Ф %1< .6/ ''%")5
6 }┬Ъ├Г┬║├З┬╝├О ┬Ю├Г┬╣├К├И├Й├З├О ┬Ь├З├Д├К├Е ┬б┬║┬╢┬╣┬║├З~ 6 5J /% ┬З┬Е┬О '├и-5 5I+C) 1 6 9J ┬з├Д┬╖┬║┬╕├Д┬и┬Ц┬в :I A ─Ы . 6 5 5 15 5 +6%&5I &; 9IE ─Х'5 6'&1%'5 D '4 5 .6 ) &5 '4 6,D '6& 6 +6%&5I &; '4 7 ─М)─Ф6.< D/─Х E &11&)─Ш1&=─Ф D '4 5 A/'├й&g 1 }┬Ь├Д├Б┬╣ ┬Ш├Б┬╢├И├И~ '+% 5J A ─Ы =─Х 7D 1< .6/ ''% = ─Х )8 J7%5 B)4 ─Ц6 }┬д┬╛├Б ┬╢├Г┬╣ ┬Ь┬╢├И ┬Ю├Г┬╣├К├И├Й├З├О ┬б┬║┬╢┬╣┬║├З~ E &11&)─Ш%─Ф< %5I 7A 8 <' 8 1&─Ф6 &5I &; C & 6' '├и/6' +6%A.9I& ─Х6 .8├╕ B+ )─Х1% .5 %B)4 ''%6$8 6) ─Ф6 6' 5 7B B%─Ф ─Х6 +6%&5I &; ┬К ─М B)4 7'4 '├и/6' 5 6' +6%A ─Ы A)8,%6D ─Х A"├╖I1D/─Х%5I D +─Ф6 '├и-5 3 E ─Х 7A 8 6 1&─Ф6 %9 '4.8 8$6" %9 6'A ─Л A & 6' 7A 8 6 ─Х6 +6%&5I &; ─Ф6 '6& 6 +6%&5I &; 6% '1 6''6& 6 .6 ) }┬Ь┬з┬Ю ┬Ь┬Й~ B)4 1 . 1 ─Ф1 +6% 6 /+5 1 =─Х%9 .─Ф+ E ─ХA.9& < )<─Ф%
008
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
มิ ติ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
%8 8 A ,'- 8 ")5 6 B
)8 A1 6 1) 6 +5 < 8 5J 6 J71ĕ1& 6 J7 6) %5 .7 4/)5
< ' 8 J 7 %5 /)Ĕ 1 ); I "÷ J 6
< ' 8 6' .Ĕ
B)41; I G
< ' 8 6' )5I J 7 %5 C' )5I J7%5 6 D/gĔ 9I.< D '4A , %9 7)5 6' )5I 8 A ě 'ĕ1&)4 1 'è%6 6' )5I 5J /% D '4A , )8 $5 Ę '4 1 ĕ+& Ė6 /< ĕ% J7%5 A 8 J7%5 16 6,&6 J7%5 9A ) J7%5 A 6 A ě ĕ
<' 8 .Ĕ J7%5 8 )8 $5 Ę ċC 'A)9&%B)4 ċC 'A %9 6 A'ë1B)4 6 Ĕ1
< ' 8 E##Đ 6
)8 B)4 7/ Ĕ6& '4B.E 6B)4E1 J7 '4B.E##Đ
)8 J7%5 /)Ĕ1);I "÷J 6 A"÷I1D ĕA ě .Ĕ+ '4 1 /)5 1 J7%5 /)Ĕ1);I )8 J7%5 &6 %)"ô- I7 :I A ě .Ĕ+ '4 1 1 )8 $5 Ę&6 8 Ĕ6 G A Ĕ &6 ' & Ę C &%9&6 %4 1& A ě )8 $5 Ę")1&E ĕ
009
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
มิ ติ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
< ' 8 ċ C 'A %9 )8 .6'14C'%6 8 .Ę :I A ě .6' 5J ĕ 1 6' )8 A.ĕ D&C")9A1.A 1'Ę + ")6. 8 ¥ © )8 .6' ¡ :I A ě .6' 5J ĕ .7/'5 )8 $5 Ę 7 +6%.416 A Ĕ 5 #1
< ' 8 .6' 7)4)6&
)8 B)4 7/ Ĕ6&.6' 7)4)6& D ĕA ě .Ĕ+ '4 1 D 1< .6/ ''% 6' )8 .9
%8 8 A , ' - 8 A 'ë1E &11&)Ę%<Ĕ A ĕ .'ĕ6 6'A 8 C 6 A,'- 8 1 1 Ę ' Ĕ 6 6' 'è / 6' 5 6' +6%A.9I &
B)4 6' 'è / 6' 6') < C & 7 : : ę 5 & ĕ6 +6%&5I &; )1 .6&C Ĕ 1< 6 A"÷I1.'ĕ6
) 7E'.= .< "÷J 6 1 ''%6$8 6)1 Ę '
010
р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕йр╕▒ р╕Ч р╣Д р╕Ч р╕в р╕н р╕н р╕в р╕е┬П р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Бр╕▒ р╕Ф ( р╕б р╕л р╕▓ р╕К р╕Щ ) р╕г р╕▓ р╕в р╕З р╕▓ р╕Щ р╕Ы р╕г р╕░ р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Ы┬В 2 5 5 7
р╕бр╕┤ р╕Хр╕┤ р╕кр╕▒ р╕З р╕Д р╕б
%8 8 . 5 %
,= &─Ш .< $6"B)4 6'A'├й & '─Х = A '├л 1 E &11&)─Ш A "├╖I1 < %
6 "5 6 <% '├и A + C' )5I
011
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
มิ ติ สั ง ค ม
6' 7 +6%'=ĕ B)4 '4. 6' Ę ĕ6 ")5
6 E "5 6 <% :I 1&=Ĕ/Ĕ6 E ) 6 '4 .6 6' = C$
%8 8 .5 % A 'ë 1 E &11&)Ę D 6 4 =ĕ )8 ")5 6 5 J 7 1
$=%8$6 A1A 9& A'6%<Ĕ %5I "5 6 <' 8 D/ĕA 'ègA 8 C 1 &Ĕ 6 &5 I &; + =Ĕ 5 6' .'ĕ6 +6%A ;I 1 %5I 6'&1%'5 B)4 +6%E+ĕ + 6 D 6 < % B)4.5 % ĕ+& 6' =B)A16D D.Ĕ Ĕ1.8ø B+ )ĕ1%B)4 +6% )1 $5& 1 < % "'ĕ 1 %D /ĕ +6% Ĕ + &A/); 1 .5 % ĕ + & +6% 5J D 'è "÷J 6 B + 8 6'A 8 C 'Ĕ + % 5 '4/+Ĕ6 1< .6/ ''% <% B)4.8 ø B+ )ĕ1%$6&D ĕB + 8 ä < % 1 &= Ĕ E ĕ A 'ë 1 E & 1 1 & )Ę 1 &= Ĕ E ĕ A ' 6 1 &= Ĕ 'Ĕ + % 5 A "÷ I 1 "5 6 .5 % 1 &Ĕ 6 &5 I &; å C &%<Ĕ A ĕ 6'& '4 5 < $6" 9+è 5J D <% D )ĕ B)4E ) .Ĕ A.'è%.< $6+4 9I 9 "5 6 ĕ6 6',: -6 A.'è % .'ĕ 6 ,5 &$6" D < % B)4"5 6 6'D ĕ ")5 6 B 6 '5 "&6 ' ĕ 1 8ø 1&Ĕ 6 %9 '4.8 8$6" A"÷I1 &6&C1 6. ĕ6 ")5
6 E .=Ĕ <% D "÷ J 9/I 6Ĕ E ) .'ĕ6 '4 + 6'A'é& '=" ĕ 5 6'Ĕ+% 5 '4/+Ĕ6 <% "5 %8 ' B)4A 'ë1E &11&)Ę '+% 5J
D/ĕ +6%.7 5 g Ĕ 1 6'.'ĕ 6 è .7 : 6' 7 6 A"÷I1.5 % 1 " 5 6
012
มิ ติ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม
%8 8 . 8ø B+ )ĕ 1 %
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
013
р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕йр╕▒ р╕Ч р╣Д р╕Ч р╕в р╕н р╕н р╕в р╕е┬П р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Бр╕▒ р╕Ф ( р╕б р╕л р╕▓ р╕К р╕Щ ) р╕г р╕▓ р╕в р╕З р╕▓ р╕Щ р╕Ы р╕г р╕░ р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Ы┬В 2 5 5 7
р╕бр╕┤ р╕Хр╕┤ р╕кр╕┤р╣И р╕З р╣Б р╕з р╕Ф р╕е┬М р╕н р╕б
%8 8 .8├╕ B + )─Х 1 % A '├л1E &11&)─Ш%<─Ф A ─Х 6'D ─Х '5"&6 '1&─Ф6 %9 ├и .7 : B)4A.'├и%.'─Х6 .8├╕ B+ )─Х1% 9I )1 $5& ─Ф6 6'A"├┤├╕% '4.8 8$6"D '4 + 6' )8 B)4%<─Ф A ─Х 6'"5 6 < $6" 1 )8 $5 ─Ш A"├╖1I ) ) '4 6 .8├╕ B+ )─Х1%B)4A.'├и%.'─Х6
C1 6.D 6'B ─Ф 5 1 <' 8 D 1 6
014
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
03
รายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ
เ รี ย น ท า น ผู ถื อ หุ น
ที่เป็นสาระสําคัญ และได้รับคําชี้แจงจากผู้สอบบัญชี ฝ่ายจัดการ รระดับสูง ผลการสอบทานรายงานทางการเงิน พบว่า บริษัทฯ มีการ จัดทํารายงานทางการเงินอย่างถูกต้องครบถ้วน เชื่อถือได้ รวมทั้ง เเปิิ ด เผยข้ อ มู ล ในงบการเงิ น อย่ า งเพี ย งพอเพื่ อ เป็ น ประโยชน์ ต่ อ นักลงทุนหรือผู้ใช้งบการเงิน การบันทึกบัญชีเป็นไปตามมาตรฐาน กการบัญชีสากล (IFRS ) ซึ่งผู้สอบบัญชีได้รายงานความเห็นอย่าง ไไม่มีเงื่อนไข ในการประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการ เข้าร่วมประชุม ได้มีการปรึกษาหารือกันอย่างเป็นอิสระถึงข้อมูล เข ที่ มี ส าระสํ า คั ญ และระบบการควบคุ ม ภายในที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การตรวจสอบงบการเงิ น รวมทั้ ง อุ ป สรรคปั ญ หาในระหว่ า งการ ตรวจสอบ ซึ่งผู้สอบบัญชีแจ้งว่า ไม่พบข้อสังเกตที่เป็นสาระสําคัญ ผลการประเมินการควบคุมมีความเหมาะสม ไม่พบการปกปิดข้อมูล
คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ ซึ่ ง เป็ น ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละมี ป ระสบการณ์ ด้ า นบั ญ ชี ด้ า นการเงิ น ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านกฎหมาย ด้านธุรกิจอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และพลังงาน มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะสามารถปฏิบัติ หน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินตามข้อกําหนด ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ประกอบด้วย นายจุ ล สิ ง ห์ วสั น ตสิ ง ห์ ดํ า รงตํ า แหน่ ง ประธานคณะกรรมการ และกรรมการอิสระอีก 2 ท่าน ได้แก่ นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร และ นายสุวิทย์ เมษินทรีย์ เป็นกรรมการ
2. สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจจะมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทย และคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ผลการสอบทานรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น พบว่ า บริษัทฯ ได้ดําเนินการตามเงื่อนไขการค้าทั่วไป มีความเป็นธรรม สมเหตุ ส มผล และไม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด การถ่ า ยเทผลประโยชน์ และ เป็นประโยชน์สูงสุดต่อการดําเนินงานของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น เป็ น สํ า คั ญ รวมทั้ ง สอบทานการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วให้ มี ความถูกต้องและครบถ้วน
คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องกับ ข้อกําหนดและแนวทางปฏิบัติที่ดีสําหรับคณะกรรมการตรวจสอบ ของ ก.ล.ต. และ ตลท. ในปี 2557 มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งสิ้น 12 ครั้ง โดยได้มีการหารือร่วมกับฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชีในวาระทีเ่ กีย่ วข้อง นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม 1 ครั้ง ซึ่งสรุปสาระสําคัญในการปฏิบัติหน้าที่ในรอบปี 2557 มีดังนี้
3. สอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานระบบการบริ ห ารความเสี่ ย ง เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ มี ก ระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ หมาะสมและมี ก ารปรั บ ปรุ ง ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งของ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ผลการสอบทานพบว่ า บริ ษั ท ฯ ได้ มี การปรับโครงสร้างการบริหารความเสี่ยง โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ประกอบด้วย ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์และโครงการลงทุน ความเสี่ยง ด้ า นปฏิ บั ติ ก าร และการจั ด การความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ ทั้ ง นี้ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห ารความเสี่ ย งให้ ค รบมุ ม มอง สามารถตอบสนองต่ อ พลวั ต รการเปลี่ ย นแปลงภายนอกที่ ส่ ง ผล ต่อการดําเนินธุรกิจ และสอดคล้องกับเป้าหมายและแผนเชิงกลยุทธ์
นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ รวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
1. สอบทานรายงานทางการเงิ น คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานข้อมูลที่สําคัญของรายงานทางการเงิน ทั้งรายไตรมาส และงบการเงินประจําปี 2557 ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ในประเด็น
015
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ทั้งระยะสั้นและระยะยาว อันจะนํามาซึ่งการสร้างมูลค่าเพิ่มและ การเติบโตอย่างยั่งยืนแก่เครือไทยออยล์ โดยมีการเสริมสร้างการ ตระหนั ก รู้ ถึ ง ความเสี่ ย ง พั ฒ นากระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย ง ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งมีการนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสนับสนุน การดํ า เนิ น การบริ ห ารความเสี่ ย ง ครอบคลุ ม ทุ ก หน่ ว ยงานของ เครือไทยออยล์ 4. สอบทานระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ ประจําปี 2557 เพื่อให้มั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดําเนินงาน ของบริษัทฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กําหนดไว้ ทั้งนี้ บริษัทฯ มีการ ประเมินการควบคุมภายในโดยให้ฝ่ายจัดการทําการประเมินการ ควบคุ ม ภายในโดยใช้ แ บบประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบการ ควบคุมภายในตามกรอบแนวทางปฏิบัติด้านการควบคุมภายในของ
The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO ) ผลการประเมิน พบว่า บริษัทฯ มีระบบการ ควบคุมภายในที่ดีและเหมาะสมเพียงพอกับการดําเนินธุรกิจ ทําให้ สามารถปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล ซึ่งผลการประเมินได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทฯ 5. การกํากับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบ ได้กํากับดูแลให้แผนกตรวจสอบระบบงานภายใน มีความเป็นอิสระ โดยให้รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ สอบทานและอนุมัติ แผนการตรวจสอบภายในประจําปี กํากับดูแลการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ให้ เ ป็ น ไปตามแผนงาน และให้ ข้ อ แนะนํ า ในการดํ า เนิ น การของ แผนกตรวจสอบฯ รวมทั้ ง ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านประจํ า ปี ของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน 6. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย คณะกรรมการตรวจสอบ ได้สอบทานให้บริษัทฯ ดําเนินกิจการต่างๆ อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกําหนดของ ก.ล.ต. และ ตลท. และกฎหมายอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ บริษัทฯ อย่างเคร่งครัด ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องข้างต้น
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
7. การพิ จ ารณาเสนอแต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี แ ละค่ า สอบบั ญ ชี ประจําปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาคัดเลือกผูส้ อบบัญชี โดยพิ จ ารณาจากความเป็ น อิ ส ระของผู้ ส อบบั ญ ชี ทั ก ษะความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการตรวจสอบธุรกิจพลังงาน รวมถึงค่าตอบแทนการสอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อนําเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้น ประจํ า ปี 2558 พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี จ ากบริ ษั ท เคพี เ อ็ ม จี ภู มิ ไชย สอบบั ญ ชี จํ า กั ด โดย นายวิ นิ จ ศิ ล ามงคล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3378 หรือ นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4068 หรือ นายไวโรจน์ จินดามณีพิทักษ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3565 หรือ นายวัยวัฒน์ กอสมานชัยกิจ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 6333 เป็นผู้สอบบัญชีบริษัทฯ ประจําปี 2558 และพิจารณาอนุมัติค่าสอบบัญชีประจําปี 2558 ของบริษัทฯ เป็นเงิน 2.54 ล้านบาท โดยสรุป ในปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทฯ ได้ให้ความสําคัญต่อการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการจัดทํางบการเงินแสดงข้อมูลอันเป็นสาระสําคัญและเชื่อถือได้ สอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการเปิดเผยข้อมูล รายการระหว่างกันที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่างเพียงพอ มีระบบการกํากับดูแลกิจการที่ดี มีระบบการบริหาร ความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่เหมาะสมและรัดกุมเพียงพอ รวมทั้งมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง กับการดําเนินธุรกิจอย่างถูกต้อง ครบถ้วน
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2558 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
(นายจุลสิิงห์์ วสัันตสิสิงห์) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
016
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ พิ จ า ร ณ า ค า ต อ บ แ ท น
04
รายงานของคณะกรรมการ ส ร ร ห า แ ล ะ พิ จ า ร ณ า ค า ต อ บ แ ท น
พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต ประธานคณะกรรมการสรรหา หา และพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) หาชน)
เ รี ย น ท า น ผู ถื อ หุ น คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน (“คณะกรรมการสรรหาฯ”) ตามแนวทางการกํากับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท จดทะเบี ย น และได้ อ นุ มั ติ ก ฎบั ต ร คณะกรรมการสรรหาฯ เพื่อเป็นกรอบในการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้ง กําหนดองค์ประกอบและคุณสมบัติของกรรมการสรรหาฯ ไว้อย่าง ชัดเจน ซึ่งประกอบด้วย กรรมการบริษัทฯ จํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยส่วนใหญ่ต้องเป็นกรรมการอิสระ และไม่เป็นประธานกรรมการ หรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร อีกทั้งต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ มีความรูค้ วามเข้าใจถึงคุณสมบัติ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ของตน และสามารถอุทิศเวลาอย่างเพียงพอในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่ อ ให้ ก ารดํ า เนิ น งานของคณะกรรมการสรรหาฯ สํ า เร็ จ ตาม วัตถุประสงค์ คณะกรรมการสรรหาฯ ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรฯ ในการพิจารณา หลักเกณฑ์ แนวทาง และกระบวนการสรรหา รวมถึงพิจารณากําหนด ค่ า ตอบแทนที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ กรรมการบริ ษั ท ฯ และกรรมการ ชุดย่อยคณะต่างๆ เพื่อนําเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนที่จะนําเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติเป็นประจําทุกปี รวมถึงพิจารณาค่าตอบแทนของ ผู้บริหารสูงสุดของบริษัทฯ เพื่อนําเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ
คณ คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนชุ ด ปั จ จุ บั น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557) ประกอบด้วย 1. พล.อ. พ จิระเดช โมกขะสมิต ประธานคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) 2. นนายถาวร พานิชพันธ์
กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ)
3. นนายณัฐชาติ จารุจินดา
กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน (กรรมการ)
4. นายทศพร ศิริสัมพันธ์
กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ)
การประชุมในปี 2557 และผลการปฏิบัติงาน ในรอบปี 2557 คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ได้ ป ฏิ บั ติ ง านตามที่ กํ า หนดไว้ ใ นกฎบั ต รฯ อย่ า งครบถ้ ว น โดยมี การประชุ ม ทั้ ง สิ้ น 5 ครั้ ง และกรรมการเข้ า ร่ ว มประชุ ม คิ ด เป็ น ร้อยละ 100 ทั้งปี โดยข้อมูลการเข้าประชุมแสดงในหน้า 89 - 90 สรุปสาระสําคัญของการประชุม มีดังนี้ 1. ประเมินผลการปฏิบัติงานและพิจารณากําหนดอัตราการปรับขึ้น เงินเดือนที่สะท้อนผลการปฏิบัติงานจริงตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ ให้ แ ก่ ป ระธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ของบริษัทฯ 2. สรรหาและกลั่ น กรองบุ ค คลที่ เ หมาะสมเพื่ อ นํ า เสนอต่ อ คณะกรรมการบริษัทฯ ก่อนเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณา แต่งตั้งเป็นกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระ ประจําปี 2557 3. กําหนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2557 โดยใช้ หลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนอย่างเหมาะสมกับหน้าที่ ความรั บ ผิ ด ชอบของกรรมการ โดยเชื่ อ มโยงค่ า ตอบแทนกั บ ผลการดําเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ และอัตราส่วนการจ่าย
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
เงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้น ตลอดจนเทียบเคียงกับบริษัทจดทะเบียน ในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน 4. สรรหาและคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมนําเสนอให้คณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนกรรมการที่ขอลาออก ระหว่างกาล 5. สรรหาและคั ด เลื อ กบุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมจากภายใน และภายนอกองค์ ก รเพื่ อ เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิจารณาอนุมัติแต่งตั้งเข้าดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ที่ว่างลง 6. สรรหาและคัดเลือกกรรมการบริษัทฯ เข้าเป็นกรรมการชุดย่อย ประกอบด้ ว ย กรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน กรรมการตรวจสอบ กรรมการกํากับดูแลกิจการ และกรรมการ บริหารความเสี่ยง และนําเสนอรายชื่อต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาแต่งตั้งแทนตําแหน่งที่ว่างลงเมื่อมีกรรมการ ลาออก/ครบวาระ และแต่งตั้งเพิ่มเติมเพื่อความเหมาะสม 7. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเป็นผู้เสนอ วาระและรายชื่อบุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการบริษัทฯ ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2558 อย่างน้อย 3 เดือน ล่วงหน้า โดยมีระยะเวลาตั้งแต่ 25 กันยายน – 31 ธันวาคม 2557 ผ่านช่องทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ
วันที่ 15 มกราคม 2558 ในนามคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
(พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต) ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
017
ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ พิ จ า ร ณ า ค า ต อ บ แ ท น
018
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
05
รายงานของคณะกรรมการ กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร. ทศพร ศพร ศิรสิ มั พันธ์ ประธานคณะกรรมการกํากับดู บดูแลกิจการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) หาชน)
เ รี ย น ท า น ผู ถื อ หุ น การดําเนินธุรกิจโดยยึดมั่นหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี เป็นหนึ่งใน นโยบายและพันธกิจของไทยออยล์ ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ฯ ฝ่ายจัดการ ตลอดจนพนักงานไทยออยล์ทุกคน ตระหนักถึงความสําคัญ และ ยึดมั่นมาโดยตลอด ทั้งนี้ เพื่อบรรลุเจตนารมณ์ที่จะนําพาไทยออยล์ สู่การเป็นองค์กรแห่งความยั่งยืนในที่สุด และเพื่อให้การดําเนินการ ต่างๆ เป็นไปตามแนวทางดังกล่าว คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้ แต่งตั้งคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการขึ้น ประกอบด้วยกรรมการ จํ า นวน 3 ท่ า น ได้ แ ก่ กระผม นายทศพร ศิ ริ สั ม พั น ธ์ ทํ า หน้ า ที่ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ นายยงยุทธ จันทรโรทัย และนายพรายพล คุ้มทรัพย์ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ทําหน้าที่ในการกําหนด นโยบายและแนวปฏิบัติด้านการกํากับดูแลกิจการ มาตรฐานจริยธรรม ทางธุรกิจ และติดตามดูแลการดําเนินธุรกิจ ตลอดจนการบริหาร กิจการของบริษัทฯ ให้ดําเนินไปบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล รวมถึงสนับสนุนและให้คําแนะนําในการประเมินระดับมาตรฐาน การกํากับดูแลกิจการจากหน่วยงานภายนอกเพื่อให้เกิดการยอมรับ ในระดับสากล และส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ค่านิยมในการ ปฏิ บั ติ ง านตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การให้ แ ก่ ฝ่ า ยจั ด การและ พนักงานทุกระดับ เพื่อพัฒนาสู่การเป็นวัฒนธรรมองค์กร สําหรับในปี 2557 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการมีการประชุม ร่วมกันทั้งสิ้น 5 ครั้ง และได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กําหนดไว้ในกฎบัตร คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ โดยได้มีการ พิจารณาอนุมัติ และให้ความเห็นชอบกิจกรรมและแผนงานด้านการ กํากับดูแลกิจการที่สําคัญ สรุปได้ดังต่อไปนี้
1. พิจารณาให้ความเห็นชอบแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับมาตรการ ต่อต้านการคอร์รัปชั่นและหลักฐานอ้างอิงประกอบ เพื่อขอรับการ รับรองเป็ ร นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริต โดยบริษัทฯ ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกเรียบร้อยแล้ว การ เมื่อเดือนเมษายน 2557 2. พิจารณาให้ความเห็นชอบร่างแก้ไขคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ และจริยธรรมธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งได้มีการปรับปรุง แก้ไขหลักเกณฑ์ และ และแนวปฏิบัติต่างๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านการกํากับดูแล และ กิ จ กการที่ มี ก ารพั ฒ นาเปลี่ ย นแปลงไป ได้ แ ก่ หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ล กิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียน ซึ่งจัดทําโดยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (ตลท.) หลักเกณฑ์การประเมินการสํารวจการกํากับ ดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียน (CGR ) โดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD ) และการประเมินด้านความยั่งยืน Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) เป็นต้น 3. พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบแนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การประชุ ม คณะกรรมการบริษัทฯ ในการพิจารณาระเบียบวาระที่กรรมการมีส่วน ได้เสียและแนวปฏิบัติสําหรับการพิจารณาระเบียบวาระลับ 4. พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักการ ในกรณีผู้บริหารและพนักงาน ได้ รั บ เชิ ญ ให้ ไ ปดํ า รงตํ า แหน่ ง ต่ า งๆ ในบริ ษั ท หน่ ว ยงาน หรื อ องค์กรอื่นๆ ของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ 5. พิจารณาให้ความเห็นชอบแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2557 โดยบริษัทฯ ได้ปรับปรุงแก้ไข แบบประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะและคณะกรรมการชุดย่อย ให้มีความชัดเจน ครอบคลุมการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ชุดย่อย และหน้าที่ความรับผิดชอบตามที่ระบุไว้ในกฎบัตร และ เห็นชอบให้บริษัทฯ เปิดเผยผลการประเมินคณะกรรมการชุดย่อย ทั้ง 4 คณะ ในรายงานประจําปีของบริษัทฯ 6. พิจารณาอนุมัติแผนการดําเนินกิจกรรมด้านการกํากับดูแลกิจการ ประจํ า ปี 2558 เพื่ อ ให้ ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ เป็ น ไปโดย สอดคล้องกับหลักการกํากับดูแลกิจการ และเพื่อพัฒนาการกํากับ ดูแลกิจการของบริษัทฯ ให้เทียบเท่าระดับสากล ส่งเสริมให้เกิด ความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม กระตุ้นและปลูกฝัง ค่านิยมแก่พนักงานทุกคนในการปฏิบัติงานตามหลักการกํากับดูแล กิจการและจริยธรรมธุรกิจอย่างเคร่งครัด
019
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ในรอบปี 2557 บริษัทฯ ยังได้ดําเนินงานตามแผนงานซึ่งได้รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ด้วยการจัดกิจกรรม เพื่อกระตุ้นและเน้นยํ้าจิตสํานึกด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณธุ ร กิ จ ให้ กั บ พนั ก งาน และดํ า เนิ น โครงการต่ า งๆ ที่ ครอบคลุมผู้มีส่วนได้เสียในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ทุกกลุ่ม เพื่ อ พั ฒ นาและยกระดั บ มาตรฐานการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ อาทิ การจัดทําแนวทางปฏิบัติของคู่ค้าเครือไทยออยล์ (Thaioil Group Suppliers Code of Conduct ) เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกัน ระหว่างเครือไทยออยล์และคู่ค้าในการดําเนินธุรกิจบนหลักแห่ง ความยั่งยืน และสื่อสารไปยังคู่ค้าผ่านช่องทางต่างๆ คณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการ ฝ่ายจัดการและพนักงานเครือไทยออยล์ยังได้ร่วม จัดกิจกรรม PTT Group CG Day 2014 ซึ่งบริษัทในกลุ่ม ปตท. ร่วมกัน จัดขึ้น เพื่อกระตุ้นให้พนักงานตระหนักถึงความสําคัญและประโยชน์ ของการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ และเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ อย่ า ง สร้างสรรค์ในการต่อต้านคอร์รัปชั่นของกลุ่ม ปตท. เป็นต้น ผลจากความมุ่งมั่นและความตั้งใจในการปฏิบัติงานตามหลักการ กํากับดูแลกิจการ ส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับการยอมรับจากองค์กร สถาบัน บริษัท และหน่วยงานต่างๆ ทั้งในระดับนานาชาติและระดับ ประเทศอย่างมากมายในปี 2557
ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ >>
ได้รับการยอมรับด้านความยั่งยืนในระดับโลก จากการประกาศ เป็นสมาชิก Dow Jones Sustainability Indices (DJSI ) ประจําปี 2557 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ด้วยคะแนนสูงสุด เป็นอันดับหนึ่งของโลก ในกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงาน (Energy Industry Group Leader )
>>
รางวัล “The Strongest Adherence to CG ” จากการประกาศ ผลสํารวจ The 4th Annual Southeast Asia Institutional Investor Corporate Award ประจําปี 2557 ทีท่ าํ การสํารวจกลุม่ นักลงทุนและ นักวิเคราะห์จากบริษัทชั้นนําในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยนิ ต ยสาร Alpha Southeast Asia ซึ่ ง เป็ น นิ ต ยสารชั้ น นํ า ด้านการเงินการลงทุนระดับนานาชาติ
>>
รางวัล “The Assets Excellence in Management and Corporate Governance Awards 2014” ในระดับ Platinum ซึ่งจัดโดยนิตยสาร The Assets นิตยสารการเงินชั้นนําแห่งเอเชีย
>>
รางวัล “Asia’s Outstanding Company on Corporate Governance” ต่อเนื่องกันเป็นปีที่ 2 จากโครงการ Corporate Governance Asia Recognition Awards 2014 ซึ่ ง จั ด โดยนิ ต ยสาร Corporate
Governance Asia
ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ >>
ได้ รั บ การรั บ รองเป็ น สมาชิ ก ในโครงการแนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (Private Sector Collective Action Coalition against Corruption : CAC)
>>
รางวัลเกียรติยศแห่งความสําเร็จ (SET Award of Honor ) ในด้าน การรายงานบรรษัทภิบาลและด้านความรับผิดชอบต่อสังคมที่มี ความเป็นเลิศต่อเนื่อง ปี 2555 - 2557 ในงาน SET Awards 2014 ดําเนินการโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
>>
ได้รับการประเมินด้านการกํากับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียน ประจําปี 2557 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2014) ซึ่งดําเนินการโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD ) ในระดับ “ดีเลิศ” ซึ่งเป็นระดับสูงสุด เป็นปีที่ 6 ติดต่อกัน
>>
ประกาศเกียรติคุณองค์กรที่มีผลงานด้านการพัฒนาสังคม สาขา องค์กร CSR ที่มีความเป็นเลิศ จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์
>>
ได้ รั บ การประเมิ น ให้ เ ป็ น หนึ่ ง ใน 19 บริ ษั ท จดทะเบี ย นใน ประเทศไทยที่ มี ค วามโดดเด่ น ด้ า นการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ ตามเกณฑ์ ASEAN CG Scorecard
ความสําเร็จดังกล่าวข้างต้น เป็นเครือ่ งยืนยันได้เป็นอย่างดีถงึ มาตรฐาน ด้านการกํากับดูแลกิจการและจริยธรรมของไทยออยล์ และการ ประสานความร่วมมือในการปฏิบัติ พัฒนา ส่งเสริม เพื่อยกระดับ การดําเนินธุรกิจภายใต้หลักการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการ บริษทั ฯ ฝ่ายจัดการ และพนักงาน ควบคูไ่ ปกับความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม และด้วยปัจจัยสําคัญต่างๆ เหล่านี้ คณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการมีความเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า ไทยออยล์จะสามารถ บรรลุ เ ป้ า หมายในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ และเติ บ โตอย่ า งมี คุ ณ ภาพ อั น จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ท่ า นผู้ ถื อ หุ้ น ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย สั ง คมและ ประเทศชาติ และนําพาไทยออยล์สู่องค์กรแห่งความยั่งยืนในที่สุด วันที่ 8 มกราคม 2558 ในนามคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ
(ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์) ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
020
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง
06
รายงานของคณะกรรมการ บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง
นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) หาชน)
เ รี ย น ท า น ผู ถื อ หุ น เพื่ อ เป็ น การสนั บ สนุ น คณะกรรมการ บริ ษั ท ไทยออยล์ จํ า กั ด (มหาชน) ในการกํากับดูแลการบริหารจัดการความเสี่ยงขององค์กร ให้ ส ามารถบรรลุ เ ป้ า หมายทางธุ ร กิ จ ที่ ตั้ ง ไว้ สร้ า งความมั่ น ใจ และความน่ า เชื่ อ ถื อ ให้ กั บ ผู้ ล งทุ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในการ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งประกอบด้วยกรรมการผู้มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ตลอดจนมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจ ในการดําเนินธุรกิจ จํานวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (กรรมการอิสระ) 2. นายทวารัฐ สูตะบุตร
กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการ)
3. นายอธิคม เติบศิริ
กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่)
ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ย ง ใ น ป 2 5 5 7 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ทําหน้าที่กําหนดและทบทวน กรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กร นโยบายและกระบวนการบริหาร
ความเสี่ ย งตามบทบาทหน้ า ที่ ใ นกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ยงและให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางในการบริหารจัดการ ความเสี่ยงให้เหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องต่อทิศทางกลยุทธ์การดําเนินงานและแผนธุรกิจ รวมทั้ง สนับสนุนและพัฒนาการบริหารความเสี่ยงในทุกระดับทั่วทั้งองค์กร อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากลเพื่อให้เกิด เป็ น วั ฒ นธรรมองค์ ก ร สํ า หรั บ ในปี 2557 คณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ยงได้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 10 ครั้ง สรุปสาระสําคัญของ การประชุมได้ดังนี้ 1. รั บ ทราบและเห็ น ชอบก่ อ นนํ า เสนอคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เรื่ อ งผลการประเมิ น กระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งของ เครือไทยออยล์ ประจําปี 2556 โดยบริษัทที่ปรึกษา Ernst & Young รวมถึ ง ความเสี่ ย งองค์ ก รของเครื อ ไทยออยล์ ประจํ า ปี 2557 แผนการดําเนินงานการบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ ปี 2557 แผนการบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ ( Business Continuity Management ) ของเครือไทยออยล์ ปี 2557 รายงาน ผลการปฏิบัติงานการบริหารความเสี่ยง ประจําปี 2557 และ แผนงานบริหารความเสี่ยง ประจําปี 2558 2. รั บ ทราบและเห็ น ชอบก่ อ นนํ า เสนอคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เรื่ อ งผลการประเมิ น ความเสี่ ย งและผลกระทบต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ จากแนวความคิ ด การปฏิ รู ป พลั ง งาน และ การประชุมจาก World Economic Forum ’s Global Risks 2014 3. พิจารณาและให้ความเห็นชอบก่อนนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ ในการแก้ ไขและกํ า หนดเพิ่ ม เติ ม กรอบการบริ ห ารความเสี่ ย ง ด้านราคาผลิตภัณฑ์และนํ้ามันดิบ การแก้ไขราคาเป้าหมายการ บริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นราคาส่ ว นต่ า งระหว่ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ นํ้ามันดิบสําหรับปี 2558 และสําหรับปี 2558 - 2559 กรอบกลยุทธ์ การบริหารความเสี่ยงด้านราคานํ้ามันและแนวทางในการบริหาร ความเสี่ยงสําหรับนํ้ามันดิบคงคลังเดือนธันวาคม 2557 เพื่อรองรับ ความผันผวนของราคานํ้ามันดิบและส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
4. พิจารณาและให้ความเห็นชอบก่อนนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ ในแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงของโครงการลงทุนสําคัญ ต่างๆ ของบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ 5. พิจารณาและให้ความเห็นชอบก่อนนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ ในประเด็นความเสี่ยงของการออกและเสนอขายหุ้นกู้สกุลบาท ภายในประเทศและการขยายวงเงิ น ให้ กู้ ยื ม และวงเงิ น กู้ ยื ม กับบริษัทในเครือฯ (Intercompany Loan ) 6. รับทราบและให้คําแนะนําแผนการดําเนินงาน แผนการลงทุน และการบริหารความเสี่ยงของบริษัทในเครือฯ 7. ให้คําแนะนําเพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาการบริหารความเสี่ยง ขององค์กรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น โดยสรุป คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีความเห็นว่า ในรอบปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้พัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงขององค์กร ให้ ค รอบคลุ ม ปั จ จั ย เสี่ ย งทุ ก ด้ า น มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งและสอดคล้ อ งกั บ สภาวการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป โดยมี การประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเป็นประจําและ มีการประชุมรอบพิเศษเพื่อพิจารณาความเสี่ยงที่สําคัญและเร่งด่วน อย่างทันท่วงที ซึ่งทําให้เกิดประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง ของเครือไทยออยล์ โดยบริษัทฯ ได้มีการบริหารจัดการความเสี่ยง ที่สําคัญระดับองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสม และควบคุม ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
วันที่ 23 มกราคม 2558 ในนามคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
(นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
021
ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง
022
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
วิ สั ย ทั ศ น พั น ธ กิ จ แ ล ะ ก ล ยุ ท ธ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล
07
วิ สั ย ทั ศ น พั น ธ กิ จ แ ล ะ ก ล ยุ ท ธ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล
เครือไทยออยล์มีวิสัยทัศน์ที่จะเป็นผู้นำในการดำเนิน ธุรกิจเชิงบูรณาการด้านการกลั่นนํ้ามันและปิโตรเคมี ที่ต่อเนื่องอย่างครบวงจรในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมีพันธกิจหลัก คือ
01 A ě / : I D 1 Ę ' 5 J 7 D ĕ 6 ) 6 ' 7 A 8 6 B ) 4 ) 1 B 6 ' ) <
เครือไทยออยล์เป็นองค์กรทีม่ งุ่ เน้นกลยุทธ์ (Strategy - Focused Organization) มีการทบทวนวิสยั ทัศน์และทิศทางการดำเนินธุรกิจอย่างสมํา่ เสมอ เพือ่ พัฒนา ศักยภาพและเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ ควบคูไ่ ปกับ การสร้างความเติบโตทางธุรกิจและเตรียมความพร้อมในการเผชิญกับ ความท้าทายใหม่ๆ และการแข่งขันที่มีแนวโน้มทวีความเข้มข้นขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ เครือไทยออยล์ได้มีการกำหนดแนวทางการเติบโตอย่างยั่งยืนผ่าน 3 กลยุทธ์หลัก ดังนี้
1. )&< Ę ĕ6 6' 8 5 8 6 1&Ĕ6 %9 '4.8 8$6" | ¿´Á°Ã¸¾½°» Ç´²»»´½²´} A"÷1I %< Ĕ A"ô%ø ) 7E' 1 'è- 5 3 |£ Á¾µ¸Ã ½·°½²´¼´½Ã} โดยเน้นด้านการผลิตอย่างต่อเนื่อง (Reliability) การวางแผนการผลิต อย่างมีประสิทธิภาพ (Efficiency) สามารถยืดหยุ่นการผลิตและการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตอบสนองความต้องการของลูกค้า (Flexibility) และ รักษาระดับต้นทุนให้แข่งขันได้ เพื่อมุ่งสู่การเป็นบริษัทที่มีความน่าเชื่อถือ มากที่สุด (The Most Reliable Company)
02
ä )&< Ę ĕ6 6'A 8 C | Á¾Æ÷ Ç´²Äø¾½}
A "÷ I 1 ĕ 6 + .= Ĕ 1 Ę ' B /Ĕ + 6 % A ě A )8 , .Ĕ A . 'è % 6 ' 7 6 A ě 9 % %< Ĕ . 'ĕ 6 . ' ' Ę .8 ø D / %Ĕ "÷ J 6 + 6 % A ; I 1 %5 I ' 4 / +Ĕ 6 5 A "÷ I 1 6 ' A 8 C 9 I &5 I &;
ซึ่งมุ่งเน้นการลงทุนที่จะสร้างความเจริญเติบโตในด้านที่บริษัทฯ มีความ เชี่ยวชาญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและ ต่อยอดธุรกิจที่บริษัทฯ มีอยู่โดยการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ รวมทั้งขยาย การเติ บ โตในต่ า งประเทศ 3 ประเทศหลั ก ได้ แ ก่ ประเทศอิ น โดนี เซี ย เวียดนาม และสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เพื่อขยายฐานลูกค้าที่เป็น อุ ต สาหกรรมต่ า งประเทศ ทำให้ เ พิ ่ ม ผลการดำเนิ น งานและศั ก ยภาพ การแข่งขันระยะยาวของเครือไทยออยล์
03
3. )&< Ę 6ĕ 6'"5 61 Ę 'B)4 < )6 ' A"÷1I 6' 7A 8 <' 8 B)4 6'A 'ègA 8 C 1&Ĕ6 &5 I &; | ĸ½´Â Dz´»»´½²´ z ¢ÄÂ𸽰±¸»¸ÃÈ} เน้นการเสริมสร้างความพร้อมขององค์กร ทั้งในด้านการบริหาร Portfolio
%< Ĕ A ĕ / )5 6 ' 7 5 = B ) 8 6 ' 9 I 9 B ) 4 &: %5 I D + 6 % '5 8 1 Ĕ 1 .5 % B ) 4 .8 ø B + )ĕ 1 %
การศึกษาวิจยั และพัฒนาธุรกิจใหม่ การบริหารบุคลากรโดยเน้นทีค่ วามพร้อม ทักษะ ความรู้ความสามารถ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถที่จะขับเคลื่อนองค์กร ไปสู่ความสำเร็จ อีกทั้งรองรับการเติบโตธุรกิจในต่างประเทศและธุรกิจใหม่ ตามแนวทางของการบริหารความยั่งยืน ซึ่งมุ่งเน้นทั้งประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
023
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
08
ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ป 2 5 5 7
ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ป 2 5 5 7
6' 'è/6' <' 8 $6&D ĕB + 8 ĕ6 +6%&5I &; E &11&)Ę 7A 8 <' 8 C &%9 6'"5 6'4 6' 'è/6' 5 6' 9I%<Ĕ A ĕ +6%A ě A)8, B)4%9 '4.8 8$6" ĕ6 A,'- 8 .5 % B)4.8ø B+ )ĕ1% .1 )ĕ1 5 ĕ1 7/ B)4%6 ' 6' +6% )1 $5& B)4%9 6' 'è/6' +6%A.9I& 1&Ĕ6 A ě '4 7D/ĕ.6%6' A 8 C E ĕ1&Ĕ6 &5I &; .'ĕ6 +6%A ;I1%5I B Ĕ"5 %8 'D 6' 7 <' 8 B)4.'ĕ6 +6% )1 $5&B Ĕ <% '1 C' )5I .Ĕ )D/ĕ 'è-5 3 E ĕ'5 6' 5 A);1 A ĕ6A ě .%6 8 ¾Æ ¾½´Â ¢ÄÂ𸽰±¸»¸ÃÈ ½³¸²´Â | ¢ } D )<Ĕ% ¼´Á¶¸½¶ °Áº´Ã Ĕ1A ;I1 A ě Č 9I ä D Č äçç B)4E ĕ'5 6' '4 6,D ¡¾±´²¾¢ ¨´°Á±¾¾º D/ĕA ě =ĕ 7 ĕ6 +6%&5I &; D )<Ĕ%1< .6/ ''% =ĕ )8 J7%5 B)4 Ė6 A ě Č 9I ä 8 Ĕ1 5 A Ĕ 5
1. ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร เ ป น ผู นํ า ด า น ก า ร บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ อ ย า ง ยั่ง ยื น ใ น ส า ข า พ ลั ง ง า น จ า ก ก า ร ไ ด รั บ ก า ร คั ด เ ลื อ ก เ ข า เ ป น ส ม า ชิ ก D o w J o n e s S u s t a i n a b i l i t y I n d i c e s ( D J S I ) ใ น ก ลุ ม E m e r g i n g M a r k e t s ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ต อ เ นื่ อ ง เ ป น ป ที่ ส อ ง โ ด ย มี ค ะ แ น น สู ง สุ ด ใ น ก ลุ ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม พ ลั ง ง า น ข อ ง โ ล ก ท่ามกลางความท้าทายจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวลดลงและ ราคานํ้ามันดิบที่ปรับลดลงอย่างมาก เครือไทยออยล์นําประสบการณ์ และความชํานาญกว่าครึ่งศตวรรษในธุรกิจพลังงานมาใช้เพื่อรักษา การดําเนินการผลิตที่เป็นเลิศ ทั้งยังสามารถดําเนินธุรกิจได้อย่างเต็ม ประสิทธิภาพภายใต้มาตรฐานการกํากับดูแลกิจการที่เป็นที่ยอมรับ ในระดับโลก ควบคู่ไปกับการสานต่อเจตนารมณ์เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อม สังคม ชุมชน ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ปี 2557 เป็นอีกหนึ่งปีแห่งความภาคภูมิใจที่เครือไทยออยล์ได้รับ คัดเลือกเข้าเป็นสมาชิก DJSI ในกลุ่ม Emerging Markets เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน โดยมีคะแนนสูงสุดในกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานของโลก
ซึ่ ง เป็ น บทพิ สู จ น์ ค วามสามารถขององค์ ก รในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ผ่ า นการพั ฒ นาระบบการบริ ห ารจั ด การที่ มุ่ ง เน้ น ความเป็ น เลิ ศ และประสิทธิภาพ ทั้งในมิติด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม ตลอดจนสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ กํ า หนดและความปลอดภั ย รวมทั้ ง มี การบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อการดําเนินงานของบริษัทฯ ให้แก่ พันธมิตรในการทําธุรกิจ นักลงทุนและสถาบันการเงิน รวมถึงเป็น ที่ยอมรับในระดับสากล นอกจากนี้ ไทยออยล์ยังได้รับการประกาศใน RobecoSAM Yearbook ซึ่งเป็นผู้ประเมินความยั่งยืนให้แก่ DJSI ให้เป็นผู้นําด้านความยั่งยืน ในอุตสาหกรรมผู้ผลิตนํ้ามันและก๊าซ (Oil & Gas Industry Leader ) ด้วยคะแนนสูงสุดจากบริษัทผู้ผลิตนํ้ามันและก๊าซทั้งสิ้น 135 บริษัท ทั่วโลก โดยไทยออยล์เป็นเพียงรายเดียวที่ได้รับการประเมินในระดับ สูงสุดหรือ Gold Class ด้านความยั่งยืนในอุตสาหกรรมดังกล่าว เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน
024
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ป 2 5 5 7
2. ความสําเร็จในการบริหารและดําเนินกิจการ ท ามกลาง กําลังการกลั่นได้ร้อยละ 98 ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของโรงกลั่นในประเทศ ค ว า ม ผั น ผ ว น ข อ ง ร า ค า นํ้า มั น ดิ บ แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ที่สู ง ขึ้น และภูมิภาค และที่สําคัญ เครือไทยออยล์ยังเป็นผู้ผลิตนํ้ามันเชื้อเพลิง ในอุตสาหกรรมป โตรเลียม อะโรมาติกส และนํ้ามันหล อลื่น หลักของประเทศ โดยมีสัดส่วนการจําหน่ายในประเทศถึงร้อยละ 31 ในปี 2557 เครือไทยออยล์ยังมุ่งเน้นความเป็นเลิศในการบริหาร การผลิตและการตอบสนองความต้องการของลูกค้า และมีการบริหาร ความเสี่ยงอย่างเข้มแข็ง เพื่อรองรับสภาวะเศรษฐกิจโลกและราคา นํา้ มันดิบทีผ่ นั ผวน โดยในครึง่ หลังของปีปรับลดลงกว่า 40 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนื่องจากอุปทานนํ้ามันดิบโลกที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ จากการผลิตนํ้ามันดิบจากหินดินดาน (Shale Oil ) และก๊าซธรรมชาติ จากหินดินดาน (Shale Gas) ของสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้เกิดการขาดทุน สต็อกนํ้ามัน ขณะที่ตลาดปิโตรเลียมและอะโรมาติกส์ยังได้รับแรง กดดันจากผู้ประกอบการรายใหม่ที่เข้ามาในตลาด ส่งผลให้ส่วนต่าง ระหว่างราคาผลิตภัณฑ์และราคาวัตถุดิบลดลง ทําให้เครือไทยออยล์ มีกําไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มรวมผลกระทบจากการขาดทุน สต๊อกนํ้ามัน (Accounting Gross Integrated Margin : Accounting GIM) อยู่ที่ 1.9 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล อย่างไรก็ดี จากความมุ่งมั่นในการดําเนินธุรกิจที่เน้นความเป็นเลิศ ในการปฎิบัติงาน (Operational Excellence ) ประกอบกับความสําเร็จ ที่สําคัญของปี คือ การปิดซ่อมบํารุงโรงกลั่นครั้งใหญ่ที่พนักงาน เครือไทยออยล์ร่วมมือทํางานซ่อมบํารุงโดยใช้เวลาเพียง 46 วัน จากระยะเวลาตามแผนที่ 55 วัน รวมทั้งการมุ่งเน้นลูกค้า การบริหาร ด้ า นพาณิ ช ย์ ( Customer Focus ) และการบริ ห ารความเสี่ ย ง ด้ า นราคาอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ทํ า ให้ ส ามารถลดผลกระทบจาก ขาดทุนสต๊อกนํ้ามันได้บางส่วน ส่งผลให้เครือไทยออยล์มีการใช้
6' 7A 8 7 6' )8 9IA ě A)8, Operational Excellence
ของความต้องการใช้นํ้ามันสําเร็จรูปรวมในประเทศ ปัจจัยเหล่านี้ ส่งผลให้ผลประกอบการโดยรวมที่ไม่รวมผลกระทบจากขาดทุน สต๊อกนํ้ามันเป็นไปตามแผนงานที่วางไว้
3. ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ผ ลิ ต ที่เ ป น เ ลิ ศ จ า ก ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ บ บ บู ร ณ า ก า ร เครื อ ไทยออยล์ ยั ง คงมุ่ ง เน้ น การบริ ห ารจั ด การแบบบู ร ณาการ เป็นกลุ่ม (Group Integration ) อย่างต่อเนื่องระหว่างธุรกิจการกลั่น ธุรกิจอะโรมาติกส์ และธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน เพื่อให้การทํางาน เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผ่านการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Operational Excellence ) ที่มุ่งเน้นการวางแผนการผลิตระหว่างหน่วยงานต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ (Effi ciency ) ต่อเนื่อง (Reliability ) และมีความ ยืดหยุ่น (Flexibility ) เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด ทําให้ เครือไทยออยล์สามารถผลิตผลิตภัณฑ์นํ้ามันสําเร็จรูปและผลิตภัณฑ์ ปิ โ ตรเคมี อ ะโรมาติ ก ส์ ขั้ น ต้ น ที่ มี ร าคาและคุ ณ ภาพสู ง ได้ ม ากกว่ า โรงกลั่นแบบพื้นฐาน การเพิ่มมูลค่ากําไรขั้นต้น (Margin Improvement ) ยังเป็นกลยุทธ์ สําคัญของเครือไทยออยล์ ซึ่งในปีที่ผ่านมา สามารถเพิ่มกําไรขั้นต้น ได้ประมาณ 0.57 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่วนใหญ่มาจากการกลั่น Unconventional Crude ที่หลากหลายขึ้น ซึ่งเป็นประโยชน์ที่เกิดขึ้น จากการปรับปรุงหน่วยกลั่นสุญญากาศที่ 2 (HVU - 2) การเพิ่ม
B%ĕ 4 '4. 5 .$6+4 6' 5 + 1 '6 6 J7%5 8 B)4 6'B Ĕ 5 9I'< B'
E &11&)Ę&5 %<Ĕ %5I A 8 / ĕ6 8 5 8 6 1&Ĕ6 %9 '4.8 8$6" Ĕ1A ;I1 B)4&; /&<Ĕ .6%6' 1 . 1 +6% ĕ1 6' )6 B)4 '5 5+A ĕ6 5 . 6 6' Ę 9IA )9I& B )
1&=Ĕ )1 A+)6 .Ĕ )D/ĕ E &11&)Ę&5 A ě =ĕ )8 J7%5 A ;J1A")8 /)5 1 '4A , .6%6' A"ôø%%=) Ĕ6 7E' 5J ĕ | °Á¶¸½ ¼¿Á¾Å´¼´½Ã} 6 6' )5I E ĕ
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานของหน่วยกลัน่ นํา้ มันดิบที่ 3 (CDU – 3) การลดเวลาซ่ อ มบํ า รุ ง หน่ ว ยกลั่ น ในช่ ว งการซ่ อ มบํ า รุ ง ครั้ ง ใหญ่ ตามแผน การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพตอบสนองความต้องการของลูกค้า เช่น การนําเข้าวัตถุดิบ Long Residue จากแหล่งใหม่ ทําให้สามารถผลิตนํ้ามันหล่อลื่น พื้นฐานได้เพิ่มมากขึ้น และการผลิตและจําหน่ายนํ้ามันยางสะอาด (TDAE) ปริมาณมากขึ้น ส่งผลให้เครือไทยออยล์จัดอยู่ในกลุ่มโรงกลั่น ชั้นนําของโลก ทั้งทางด้านความพร้อมของหน่วยผลิต (Operational Availability ) ด้านการใช้พลังงาน (Energy Intensity Index ) ที่ลดลง อย่างต่อเนื่อง และการรักษาระดับต้นทุนให้แข่งขันได้ นอกจากนี้ ไทยออยล์ยังได้ปลูกฝังให้พนักงานทุกคนมีความยึดมั่น เรื่องความปลอดภัย (Safety ) เป็นค่านิยมหลักในการดําเนินงาน โดยมีสถิติด้านความปลอดภัยอยู่ในระดับดีเยี่ยม คือ มีอัตราความถี่ ของการบาดเจ็บที่ต้องเข้ารับการรักษาพยาบาลทางการแพทย์ (Total Record Case Frequency ) อยู่ในกลุ่มร้อยละ 10 อันดับแรกของ อุตสาหกรรมปิโตรเลียมและก๊าซที่ประกาศโดย The International Association of Oil & Gas Producers (IOGP) เป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มศักยภาพให้ถึงขีดสุด เครือไทยออยล์ยังได้ร่วมกับบริษัท ในกลุ่ม ปตท. ในการบริหารรวมกันเป็นกลุ่ม เช่น การประชุมหารือ แนวโน้ ม ทางธุ ร กิ จ และราคา รวมทั้ ง มี โ ครงการ Operational Excellence ภายในกลุ่ม ปตท. เป็นต้น โดยทุกความร่วมมือตั้งอยู่บน พื้นฐานเชิงพาณิชย์
025
ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ป 2 5 5 7
ไปยังภูมิภาคใหม่ทั้งในอาเซียน ยุโรปและอเมริกา ส่งผลให้ผลคะแนน Customer Satisfaction ในปีนี้เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 93 ในด้านการบริหารความเสีย่ ง เครือไทยออยล์มกี ารยกระดับการบริหาร ความเสี่ ย งองค์ ก รให้ ค รอบคลุ ม การดํ า เนิ น งานใน 3 มิ ติ ได้ แ ก่ การบริ ห ารความเสี่ ย งและกลยุ ท ธ์ ก ารลงทุ น ( Strategic Risk ) การบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก าร ( Operational Risk ) และ การจัดการความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuity Management) และมีการขยายผลการกํากับดูแลอย่างเป็นระบบภายใต้กรอบการ ดํ า เนิ น การเดี ย วกั น ไปยั ง บริ ษั ท ในเครื อ ฯ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ในการปฏิบัติงาน ตลอดจนเตรียมพร้อมรองรับการขยายธุรกิจสู่ระดับ สากลและรองรับความไม่แน่นอนต่างๆ เช่น ความผันผวนของราคา นํ้ามัน ภัยธรรมชาติ การก่อการร้าย เป็นต้น ซึ่งในปี 2557 ความสําเร็จ จากการบริหารความเสี่ยงด้านราคานํ้ามัน (Oil Price Hedging ) เพื่ อ ลดผลกระทบจากความผั น ผวนของราคานํ้ า มั น ช่ ว ยเพิ่ ม ผลประกอบการเครือไทยออยล์ได้ถึง 2,218 ล้านบาท
5. ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ข อ ง โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม แ ผ น กลยุทธ อย างต อเนื่อง
4. ก ล ยุ ท ธ ก า ร ต ล า ด เ ชิ ง รุ ก แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง
เครือไทยออยล์ยงั คงเป็นองค์กรทีม่ ุง่ เน้นกลยุทธ์ (Strategy - Focused Organization ) และมีการทบทวนกลยุทธ์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งในปีที่ ผ่านมา สถานการณ์ตลาดที่ผันผวนและการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น ทําให้ การทบทวนกลยุทธ์ต้องมีความชัดเจน พร้อมตอบสนองต่อปัจจัย แวดล้อมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การเป็ น ผู้ นํ า ด้ า นการกลั่ น และปิ โ ตรเคมี ใ นภู มิ ภ าค ทั้ ง ทางด้ า น ผลประกอบการ การเติบโตทางธุรกิจ และความยั่งยืนในระยะยาว
เครือไทยออยล์ให้ความสําคัญกับการบริหารจัดการด้านกลยุทธ์ ทางการตลาด โดยหัวใจสําคัญของความสําเร็จ คือ การบริหารความ สั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ ลู ก ค้ า ทั้ ง ลู ก ค้ า ในประเทศและต่ า งประเทศ จากคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ดีตรงตามมาตรฐาน การจัดส่งที่ตรงเวลา ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ การบริการและแก้ไขปัญหาให้แก่ ลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว แม่นยํา ประกอบกับมาตรฐานความปลอดภัย ในการรับสินค้า ทําให้มีสัดส่วนการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ อยู่ที่ร้อยละ 83 ของกําลังการผลิต นอกจากนี้ เครือไทยออยล์ยังให้ ความสําคัญกับการพัฒนาเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยในปีที่ผ่านมา ได้มีการผลิตนํ้ามันดีเซลเกรดยูโร 5 เพื่อนําไปผสม เป็นนํ้ามันดีเซล Hyforce ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) การให้ บริการการสั่งซื้อสินค้าผ่านระบบออนไลน์ (e - ordering) ซึ่งช่วยเพิ่ม ความคล่องตัวและลดระยะเวลาการทําธุรกรรม ทั้งยังมีการเปิดตลาด
ในปี 2557 เครือไทยออยล์มีโครงการที่ดําเนินการแล้วเสร็จตามแผน 5 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการการปรับปรุงคุณภาพก๊าซทิ้ง (Emission Improvement Project ) เพื่อลดความเข้มข้นของซัลเฟอร์ออกไซด์ (SO x) ให้น้อยกว่า 500 ส่วนในล้านส่วนปริมาตร 2) การปรับปรุง หน่วยกลั่นสุญญากาศที่ 2 (HVU - 2) เพื่อเพิ่มความสามารถการแยก นํ้ า มั น เตาชนิ ด เบาและนํ า ไปเพิ่ ม คุ ณ ค่ า เป็ น นํ้ า มั น สํ า เร็ จ รู ป เช่ น นํ้ามันเบนซินและนํ้ามันดีเซล สามารถเพิ่มกําไรขั้นต้นได้กว่า 0.40 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล 3) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ พลังงานของหน่วยกลั่นนํ้ามันดิบที่ 3 (CDU - 3 Preheat Train ) สามารถประหยัดเชื้อเพลิงได้ถึงร้อยละ 15 หรือประมาณ 20 เมกะวัตต์ และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่า 23,000 ตันต่อปี 4) การขยายกําลังการผลิตธุรกิจสารละลายของบริษทั ศักดิไ์ ชยสิทธิ จํากัด
026
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ป 2 5 5 7
จาก 76,000 เป็น 141,000 ตันต่อปี และ 5) การจัดซื้อเรือสนับสนุน แท่นขุดเจาะกลางทะเล (Crew Boat) ของบริษทั ไทยออยล์มารีน จํากัด เพิ่มอีก 3 ลํา นอกจากนี้ ยังมีโครงการที่อยู่ระหว่างดําเนินการ ได้แก่ โครงการ เพิ่มมูลค่าสารเบนซีน เพื่อผลิตสาร LAB (Linear Alkyl Benzene ) ของบริษทั ลาบิกซ์ จํากัด ซึง่ เป็นการร่วมทุนของบริษทั ไทยพาราไซลีน จํากัด กับ บริษัท มิตซุย แอนด์ คัมปนี จํากัด (Mitsui ) โดยกระบวน การผลิตจะเชื่อมต่อเข้ากับโครงสร้างการผลิตของเครือไทยออยล์ ทําให้สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกันได้อย่างเต็มที่ ซึ่งคาดว่า จะสามารถ ดําเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2558 การลงทุนด้านโลจิสติกส์และสาธารณูปโภค ได้แก่ โครงการขยาย ขีดความสามารถในการจ่ายผลิตภัณฑ์พาราไซลีนและ JP - 8 ในพื้นที่ ศรีราชา และโครงการขยายสถานีจ่ายนํ้ามันไทยออยล์ ซึ่งอยู่ระหว่าง การก่อสร้างและจะเริ่มดําเนินการในปี 2559 ด้านธุรกิจโรงไฟฟ้า บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด อยู่ระหว่างการก่อสร้าง โรงไฟฟ้าแห่งใหม่ภายใต้โครงการผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP ) 239 เมกะวัตต์ โดยมีกําหนดการจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ในปี 2559 ขณะที่ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (GPSC ) ได้ยื่นแบบคําขอ อนุ ญ าตเสนอขายหลั ก ทรั พ ย์ ต่ อ ประชาชนเป็ น ครั้ ง แรก ( IPO ) เพื่อเพิ่มทุนในการขยายธุรกิจและคาดว่าจะเสนอขายต่อประชาชน ได้ในปี 2558 ด้านการขยายงานในต่างประเทศ เครือไทยออยล์ได้ยื่นข้อเสนอ การปรับปรุงโรงกลั่น Thanlyin ในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ร่วมกับบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) โดยคาดว่า รัฐบาลสาธารณรัฐ แห่งสหภาพเมียนมาร์ จะประกาศผลในต้นปี 2558 นอกจากนี้ ยังมี โครงการเพิ่มมูลค่าไขพาราฟินร่วมกับ Pertamina Persero ในประเทศ อินโดนีเซีย ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการศึกษาเพื่อการลงทุนขั้นสุดท้าย นอกจากนี้ เครื อ ไทยออยล์ ยั ง มุ่ ง เน้ น การเสริ ม สร้ า งความยั่ ง ยื น ในระยะยาว ผ่ า นโครงการการบริ ห ารพอร์ ท การลงทุ น เพื่ อ เพิ่ ม สั ด ส่ ว นธุ ร กิ จ ใหม่ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ แนวโน้ ม อุ ต สาหกรรมและ การเปลี่ยนแปลงการใช้พลังงานในอนาคต รวมทั้งโครงการด้าน สายงานสนับสนุน ทั้งด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านการเงินการคลัง ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และนวัตกรรมด้าน งานวิจัย เพื่อให้เกิดความสมดุลของการเติบโตและสร้างความเชื่อมั่น ให้กับผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย
6. ค ว า ม เ ป น เ ลิ ศ ด า น ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต อ สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร ดู แ ล ผู มี ส ว น ไ ด เ สี ย นอกจากความมุ่งมั่นสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ (High Performance Organization ) แล้ว ผู้บริหารระดับสูงยังส่งเสริมให้เครือไทยออยล์ เป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจน มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผ่านกระบวนการทางธุรกิจและกิจกรรมต่างๆ ทําให้ได้รับการยอมรับจากภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมในวงกว้าง ส่งผลให้เครือไทยออยล์ได้รับการจัดอันดับจาก Platts Top 250 Global Energy Company Ranking ประจําปี 2557 ให้อยู่ในอันดับ 52 ในภูมิภาคเอเชีย และอันดับที่ 165 ของโลก นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัล จากนิตยสาร Alpha Southeast Asia ซึ่งเป็นนิตยสารด้านการลงทุน สถาบันฉบับแรกและฉบับเดียวที่เน้นเรื่องการธนาคารและตลาดทุน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึง 4 ด้าน คือ รางวัลยึดมั่นหลักบรรษัทภิบาลสูงสุด (Strongest Adherence to Corporate Governance) >> รางวัลทีมนักลงทุนสัมพันธ์ที่มีการพัฒนาดีที่สุด (Most Improved Investor Relations) >> รางวั ล ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมเชิ ง กลยุ ท ธ์ ที่ ดี ที่ สุ ด ( Best Strategic Corporate Social Responsibility) >> รางวัลชนะเลิศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านพันธกิจ สูค่ วามยัง่ ยืนด้านพลังงาน (Strongest Commitment to Sustainable Energy in Southeast Asia ) >>
นอกจากนี้ เครือไทยออยล์ยังตระหนักและให้ความสําคัญด้านความ ปลอดภัยทั้งกับพนักงานผู้ปฎิบัติงานและชุมชนโดยรอบ ส่งผลให้ สถิติความปลอดภัยของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) อยู่ใน ระดับชั้นนําของโลก อีกทั้งบริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) ยังได้ รั บ มอบโล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณ โครงการรณรงค์ ล ดสถิ ติ อุ บั ติ เ หตุ จากการทํางานให้เป็นศูนย์ (Zero Accident Award ) ประจําปี 2557 เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน เครือไทยออยล์มีความเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า การเติบโตอย่างยั่งยืน นั้นต้องเคียงคู่ไปพร้อมกับการพัฒนาชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม ผ่านการบริหารงานอย่างมีเป้าหมาย ภายใต้การกํากับดูแลกิจการ ทีด่ แี ละมีจริยธรรม ส่งผลให้เครือไทยออยล์ได้รบั รางวัลจากหน่วยงาน และองค์กรชั้นนําต่างๆ ในรอบปีที่ผ่านมา อาทิ >>
รางวัลด้านความรับผิดชอบต่อสังคมยอดเยี่ยม (Best Corporate Social Responsibility Awards) รางวัลด้านการรายงานบรรษัทภิบาล
027
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ป 2 5 5 7
''%6$8 6)B)4 +6%'5 8 1 Ĕ1.5 %
4 ''% 6' 'è-5 3 B)4 =ĕ 'è/6' 1 E &11&)Ę.Ĕ A.'è%D/ĕA 'ë1E &11&)ĘA ě 1 Ę ' 9I%9 +6%'5 8 1 Ĕ1.5 %B)4.8ø B+ )ĕ1% %9 6'"5 61&Ĕ6 &5I &; Ĕ6 '4 + 6' 6
<' 8 B)4 8 ''% Ĕ6 G 1 6 9J &5 .Ĕ A.'è%D/ĕ '4/ 5 B)4D/ĕ +6%.7 5g ĕ6 +6% )1 $5& 1 5J " 5 6 =ĕ 8 5 8 6 B)4 <% C &'1 Ĕ6 6' 'è/6' 6 1&Ĕ6 %9A Đ6/%6& $6&D ĕ 6' 7 5 =B) 8 6' 9I 9B)4%9 'è& ''%
ยอดเยี่ยม (TOP Corporate Governance Report Awards ) ที่มี ความเป็นเลิศต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 และรางวัลด้านนักลงทุนสัมพันธ์ ดี เ ด่ น ในงาน SET Awards ซึ่ ง จั ด ขึ้ น โดยตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย >> ได้รับการประกาศให้เป็นหนึ่งในบริษัทจดทะเบียนไทยที่ได้รับการ ประเมินด้านการกํากับดูแลกิจการจากการจัดอันดับ ASEAN CG Scorecard โดยมีผลการประเมินการกํากับดูแลกิจการของบริษัท จดทะเบียน ประจําปี 2557 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2014) ซึ่งดําเนินการโดยสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD ) ในระดับ “ดีเลิศ” ซึ่งเป็นระดับ สูงสุดเป็นปีที่ 6 ติดต่อกัน >> รางวัลความเป็นเลิศด้าน Corporate Governance ระดับภูมิภาค จาก Alpha Southeast Asia นิตยสาร The Assets และนิตยสาร
Corporate Governance Asia รางวั ล รายงานความยั่ ง ยื น ประจํ า ปี 2557 รางวั ล ดี เ ยี่ ย ม โดย CSR Club สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ร่วมกับสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และสถาบันไทยพัฒน์ >> CSR Recognition ประจําปี 2557 เพื่อประกาศเกียรติคุณให้กับ บริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ และดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ซึ่ ง จั ด ขึ้ น โดยตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยและสถาบันธุรกิจเพื่อสังคม >> รางวัล CSR - DIW Continuous ประจําปี 2557 เพื่อส่งเสริมศักยภาพ โรงงานมุ่งสู่การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อ สังคมอย่างยั่งยืน (CSR - DIW ) โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม >>
รางวัลองค์กร CSR ที่มีความเป็นเลิศ จากกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ >> ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition against Corruption : CAC ) >>
นอกจากนี้ เครือไทยออยล์ยังได้รับยกย่องให้เป็นผู้นําในระดับเอเชีย จากงานประกาศรางวัล Asian Excellence Recognition Awards ครั้งที่ 4 ประจําปี 2557 จัดขึ้นโดยนิตยสาร Corporate Governance Asia สื่อชั้นนําของฮ่องกงและเอเชียที่มุ่งเสนอประเด็นด้านเศรษฐกิจ และการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ทัง้ นี้ ไทยออยล์ได้รบั รางวัล 2 สาขา ได้แก่ >> รางวัลซีอีโอยอดเยี่ยมแห่งเอเชีย (Asia ’s Best CEO (Investor Relations)) >> รางวั ล นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ย อดเยี่ ย มแห่ ง เอเชี ย ( Best Investor Relations by Company) ซึ่งนับเป็นปีที่ 2 ที่ไทยออยล์ได้รับมอบรางวัลเกียรติยศดังกล่าว จากความโดดเด่นในการยึดมั่นมาตรฐานสูงสุดของการเปิดเผยข้อมูล ความโปร่งใสและเป็นธรรม อีกทั้งยังได้รับการประเมิน 100 คะแนน เต็มจากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย ในโครงการประเมินคุณภาพ การจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2557 เครือไทยออยล์มีความมุ่งมั่นในการนําองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญ ในการเป็นผูน้ าํ ด้านพลังงานกว่าครึง่ ศตวรรษ ประกอบกับการดําเนินการ ที่ เ ป็ น เป็ น เลิ ศ และการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เ ยี่ ย ม พร้ อ มความ รับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ชุมชน และการสร้างความพึงพอใจ สูงสุดของผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อมุ่งที่จะพัฒนาธุรกิจของเครือไทยออยล์ ให้มีความแข็งแกร่งเติบโตต่อไปเป็นองค์กร 100 ปี เคียงคู่กับสังคม และประเทศไทยอย่างยั่งยืน
028
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ สํ า คั ญ ป 2 5 5 7
09
ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ สํ า คั ญ ป 2 5 5 7 01 ม ก ร า ค ม ไ ท ย อ อ ย ล Thailand TOP Company Awards 2014 บริษัทฯ ได้รับรางวัลในงาน Thailand TOP Company Awards 2014 สาขา Top Management Award ซึ่งจัดขึ้นโดยนิตยสาร Business+ สื่อชั้นนําสําหรับภาคธุรกิจของไทย ร่วมกับมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เพื่ อ ยกย่ อ งองค์ ก รธุ ร กิ จ ที่ มี ผ ลการดํ า เนิ น งานยอดเยี่ ย มในด้ า นต่ า งๆ รวมถึ ง เพื่ อ เป็ น ต้ น แบบและ แรงบันดาลใจในการพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน และการบริหารจัดการที่โดดเด่นในด้านต่างๆ
02 กุ ม ภ า พั น ธ ไ ท ย อ อ ย ล ได้รบั รางวัลระดับ Gold Class Sustainability Award 2014 บริษทั ฯ ได้รบั การประกาศจาก RobecoSAM ซึ่งเป็นผู้ทําการประเมินความยั่งยืนให้กับ DJSI ให้เป็นผู้นําด้านความยั่งยืนในกลุ่ม ธุ ร กิ จ นํ้ า มั น และก๊ า ซ ระดั บ Gold Class ซึ่งถือเป็นเหรียญรางวัลระดับสูงสุดจาก รางวัล Sustainability Award 2014 และ ถือเป็นบริษัทแรกในกลุ่ม ปตท. ที่ได้รับการ จัดอันดับในระดับสูงสุด
03 มี น า ค ม ไ ท ย อ อ ย ล กั บ พั น ธมิ ต รทางการเงิ น ออกหุ้ น กู้ ในประเทศมู ล ค่ า 15,000 ล้ า นบาท ด้วยยอดจองซือ้ สูงกว่า เกือบ 4.29 เท่า บริ ษั ท ฯ ดํ า เนิ น การออกและเสนอขาย “หุ้นกู้บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2557” วงเงินรวมทั้งสิ้น 15,000 ล้ า นบาท ซึ่ ง เป็ น หุ้ น กู้ ช นิ ด ระบุ ชื่ อ ผู้ ถื อ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน และ ไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ โดยแบ่งเป็น 4 ชุด ชุ ด ที่ 1 อายุ หุ้ น กู้ 3 ปี จํ า นวน 2,000 ล้านบาท ชุดที่ 2 อายุหุ้นกู้ 5 ปี จํานวน 3,000 ล้ า นบาท ชุ ด ที่ 3 อายุ หุ้ น กู้ 7 ปี จํานวน 3,000 ล้านบาท และชุดที่ 4 อายุ หุ้นกู้ 10 ปี จํานวน 7,000 ล้านบาท หุ้นกู้ ดังกล่าวได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ จากบริษัท ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) จํากัด ที่ระดับ “AA -(tha )” การเสนอขาย หุ้ น กู้ ใ นครั้ ง นี้ ไ ด้ เ สนอขายให้ แ ก่ ผู้ ล งทุ น สถาบัน และ/หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่
029
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ สํ า คั ญ ป 2 5 5 7
04 เ ม ษ า ย น ไ ท ย อ อ ย ล ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 บริษัทฯ ได้จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจํา ปี 2557 ขึ้ น ในวั น ที่ 2 เมษายน 2557 โดยมี ผู้ ถื อ หุ้ น ให้ ค วามสนใจเข้ า ร่ ว มการประชุ ม จํ า นวนมาก พร้ อ มทั้ ง เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับผลการดําเนินงาน ของบริษัทฯ ในประเด็นต่างๆ สะท้อนถึงความ โปร่ ง ใสของการดํ า เนิ น งาน และเสริ ม สร้ า ง ความมั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้นในการลงทุนในหุ้น ของบริษัทฯ ต่อไป
Asian Excellence Recognition Awards 2014 นิตยสาร Corporate Governance Asia สื่อชั้นนําของฮ่องกงและเอเชีย จัดงานประกาศรางวัล Asian Excellence Recognition Awards ครั้งที่ 4 ประจําปี 2557 ซึ่งไทยออยล์ได้รับยกย่องให้เป็น ผู้นําในระดับเอเชีย และได้รับรางวัล 2 สาขา ได้แก่ • รางวัลซีอโี อยอดเยีย่ มแห่งเอเชียด้านนักลงทุนสัมพันธ์ (Asia’s Best CEO (Investor Relations)) พิ จ ารณาจากการบริ ห ารองค์ ก รสู่ ค วามสํ า เร็ จ ด้ า นผลประกอบการและการเติ บ โตทางธุ ร กิ จ ในปีที่ผ่านมา รวมถึงความโดดเด่นในการปฏิบัติงานโดยยึดหลักความสมดุล ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้วยหลักธรรมาภิบาลและตอบสนองผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างเป็นธรรม • รางวัลนักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยี่ยมแห่งเอเชีย (Best Investor Relations by Company) ถือเป็นปีที่ 2 ที่ไทยออยล์ได้รับมอบรางวัลเกียรติยศดังกล่าว โดยพิจารณาจากความโดดเด่น ในการยึดมาตรฐานสูงสุดของการเปิดเผยข้อมูล ความโปร่งใสและเป็นธรรม นอกเหนือจาก การรายงานที่เป็นไปตามข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อยกย่องให้เป็น แบบอย่างขององค์กรจากภาคพื้นเอเชียที่มีความเป็นเลิศด้านการสื่อสารข้อมูลไปยังนักลงทุน และผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ไทยออยล์ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการ ทุจริต บริษัทฯ เป็น 1 ในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพียง 14 บริษัท ณ ขณะนั้น ที่ ผ่ า นการรั บ รองให้ เ ป็ น สมาชิ ก แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต (Collective Action Coalition against Corruption : CAC) โดยบริษัทฯ ได้นําเสนอข้อมูล พร้อมแสดง หลักฐานประกอบต่างๆ เกี่ยวกับนโยบายในการดําเนินธุรกิจ มาตรการ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตลอดจนระบบการควบคุมภายใน ฯลฯ ตามแบบประเมิน ซึ่งกําหนดโดยคณะกรรมการแนวร่วม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต
05 พ ฤ ษ ภ า ค ม บ จ. ศั ก ดิ์ ไ ช ย สิ ท ธิ ขยายกําลังการผลิต บจ. ศั ก ดิ์ ไชยสิ ท ธิ ขยายกํ า ลั ง การผลิ ต สารทํ า ละลายประเภทไฮโดรคาร์ บ อน จาก 76,000 ตันต่อปี เป็น 141,000 ตัน ต่ อ ปี เพื่ อ รองรั บ อุ ป สงค์ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จาก ทั้ ง ในประเทศและในภู มิ ภ าค โดยได้ เริ่ ม ดําเนินการเชิงพาณิชย์ เมือ่ วันที่ 11 พฤษภาคม 2557
ไ ท ย อ อ ย ล รางวัล IR ยอดเยี่ยม จาก IAA Awards for Listed Companies 2013 บริษัทฯ ได้รับรางวัล IR ยอดเยี่ยมในกลุ่ม อุ ต สาหกรรมทรั พ ยากร จากงาน IAA Awards for Listed Companies 2013 โดยได้ รั บ คะแนนโหวตเข้ า มาเป็ น จํ า นวนมาก จากบรรดานักวิเคราะห์และผูจ้ ดั การกองทุน Best Investor Relations 2013 โดย นิตยสาร FinanceAsia บริษัทฯ ได้รับการประกาศจาก FinanceAsia สื่อการเงินทรงอิทธิพลแห่งเอเชีย ให้เป็น บริษัทที่มีผลงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ที่ดี ที่สุดในประเทศไทย ประจําปี 2556 (Best Investor Relations) และยังได้รับการยกย่อง ให้อยู่ในกลุ่มผู้นําของประเทศที่มีผลงาน โดดเด่นในอีก 3 สาขา ได้แก่ ด้านธรรมาภิบาล ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม และนโยบาย ผลตอบแทนต่อนักลงทุน
030
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ สํ า คั ญ ป 2 5 5 7
06
มิ ถุ น า ย น
ไ ท ย อ อ ย ล ปิดซ่อมบํารุงรักษาหน่วยกลั่นนํ้ามันดิบหน่วย ที่ 3 ครั้งใหญ่ตามวาระ บริษัทฯ หยุดการเดินเครื่องหน่วยกลั่นนํ้ามันดิบ หน่วยที่ 3 (Crude Distillation Unit - 3 : CDU - 3) และหน่ ว ยผลิ ต หลั ก อื่ น ๆ ในระหว่ า งเดื อ น มิถนุ ายน – เดือนกรกฎาคม 2557 เป็นเวลาทัง้ สิน้ 46 วัน ซึ่งเร็วกว่าแผนที่วางไว้ที่ 55 วัน ทั้งนี้ เพื่อตรวจซ่อมบํารุงรักษา CDU - 3 หน่วยแตกโมเลกุล ด้วยสารเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ไฮโดรเจนร่วม (Hydrocracking Unit - 1 : HCU - 1) หน่วยเพิ่มออกเทน ด้วยสารเร่งปฏิกิริยา (Continuous Catalyst Regeneration Platformer Unit - 1 : CCR - 1) และหน่วยผลิตสารอะโรมาติกส์ของบริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด ครั้งใหญ่ตามวาระ และเชื่อมต่อ โครงการปรับปรุงที่แล้วเสร็จ ได้แก่ โครงการปรับปรุงหน่วยกลั่นสุญญากาศที่ 2 และโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานของ CDU - 3 (CDU -3 Preheat Train ) ทั้งนี้ หน่วยผลิตอื่นๆ ยังคงดําเนินการตามปกติ ได้รบั การประกาศเป็นหนึง่ ในบริษทั จดทะเบียนไทยทีไ่ ด้รบั การประเมินด้านการกํากับดูแลกิจการ จากการจัดอันดับ ASEAN CG Scorecard สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ในฐานะหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายจากสํานักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. ให้เป็นผู้รับผิดชอบทําการประเมินการกํากับดูแลบริษัทจดทะเบียนไทย ได้เปิดเผยผลสํารวจการกํากับกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN CG Scorecard ) ประจําปี 2556 / 2557 โดยบริษัทฯ ได้รับการประกาศให้เป็นหนึ่งใน Top 50 Publicly Listed Companies - Thailand และได้รับการจัดให้อยู่ในกลุ่มคะแนนสูงสุด (90 คะแนนขึ้นไป)
09 กั น ย า ย น ไ ท ย อ อ ย ล ประกาศจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล บริ ษั ท ฯ จ่ า ยเงิ น ปั น ผลระหว่ า งกาล สําหรับปี 2557 ให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ จํานวน 2,040,027,873 หุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.56 บาท หรือคิดเป็นจํานวนเงินประมาณ 1,142 ล้านบาท รับ 4 รางวัลเกียรติยศจากผลสํารวจโดย นิตยสาร Alpha Asia บริษัทฯ ได้รับรางวัล ในงาน 4th Annual
Southeast Asia Institutional Investor and Corporate Awards 2014 ซึ่งจัดขึ้นโดย นิตยสาร Alpha Asia นิตยสารด้านการเงิน การลงทุ น ระดั บ นานาชาติ รวมทั้ ง สิ้ น 4 รางวัล โดยแบ่งออกเป็น รางวัลระดับ ภูมิภาค 1 รางวัล คือ รางวัลชนะเลิศระดับ ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ด้ า น พั น ธกิ จ สู่ ค วามยั่ ง ยื น ด้ า นพลั ง งาน (Strongest Commitment to Sustainable Energy in Southeast Asia ) และรางวัล ระดับประเทศจํานวน 3 รางวัล ได้แก่ รางวัล ยึดมั่นหลักบรรษัทภิบาลสูงสุด (Strongest Adherence to Corporate Governance ) รางวัลทีมนักลงทุนสัมพันธ์ที่มีการพัฒนา ดีที่สุด (Most Improved Investor Relations) และรางวัลความรับผิดชอบต่อสังคมเชิง กลยุทธ์ที่ดีที่สุด (Best Strategic Corporate Social Responsibility)
Dow Jones Sustainability Indices 2014 บริษัทฯ ได้รับการยอมรับด้านความยั่งยืน ในระดับโลก จากการประกาศเป็นสมาชิก Dow Jones Sustainability Indices ประจําปี 2014 ต่ อ เนื่ อ งเป็ น ปี ที่ 2 ด้ ว ยคะแนน สู ง สุ ด เป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ของโลกในกลุ่ ม อุตสาหกรรมพลังงาน
PTT Group CG Day 2557
08 สิ ง ห า ค ม ไ ท ย อ อ ย ล โครงการผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมกิจการ ประจําปี 2557 บริษัทฯ จัดโครงการเยี่ยมชมกิจการ ประจําปี 2557 ให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ จํานวน 2 รอบ รอบละ 100 ท่าน โดยกิจกรรมดังกล่าวเป็นกิจกรรมที่บริษัทฯ จัดขึ้นเป็นประจําทุกปี เพื่อให้ผู้ถือหุ้น มีความเข้าใจในธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ ทั้งยังเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับผู้ถือหุ้น ตลอดจนสะท้อนให้เห็นถึงการดําเนินงานที่โปร่งใส และวิสัยทัศน์ของผู้บริหารในการนําพาองค์กร ให้เติบโตอย่างยั่งยืน ประชุมกําหนดทิศทางกลยุทธ์และแนวทางในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และฝ่ า ยจั ด การร่ ว มประชุ ม เพื่ อ กํ า หนดทิ ศ ทางการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ และ แผนกลยุทธ์ระยะยาว บริษัทฯ ได้จัดให้มีการประชุมนี้เป็นประจําทุกปี เพื่อนําข้อคิดเห็นและนโยบาย จากคณะกรรมการบริษัทฯ ไปเป็นแนวทางในการจัดทําแผนธุรกิจและแผนงบประมาณประจําปี
บริ ษั ท ฯ ในกลุ่ ม ปตท. ร่ ว มจั ด กิ จ กรรม PTT Group CG Day ประจําปี 2557 ขึ้น ภายใต้แนวคิด “The Power is in your hand – ร่วมมือ รวมพลัง ต้านภัยคอร์รัปชั่น” โดยมี ผู้บริหารระดับสูงและผู้แทนคณะกรรมการ กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การของทุ ก บริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. ได้ให้เกียรติเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว เพื่ อ แสดงถึ ง เจตนารมณ์ ข องกลุ่ ม ปตท. ในการนํ า หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี มาใช้ในการปฏิบตั งิ าน และเป็นการส่งเสริม ให้พนักงานในกลุ่ม ปตท. มีความรู้ความ เข้ า ใจในหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ตลอดจนเป็ น องค์ ก รต้ น แบบที่ ดี ใ ห้ กั บ สั ง คมในการขั บ เคลื่ อ นการรณรงค์ แ ละ ต่อต้านคอร์รัปชั่นภายในองค์กร
031
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
10
ตุ ล า ค ม
ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ สํ า คั ญ ป 2 5 5 7
11 พ ฤ ศ จิ ก า ย น
ไ ท ย อ อ ย ล
ไ ท ย อ อ ย ล
จัดปฐมนิเทศให้กับคณะกรรมการบริษัทฯ บริษัทฯ ได้จัดปฐมนิเทศให้กับกรรมการใหม่ของบริษัทฯ เพื่อให้ข้อมูลธุรกิจ รวมถึงทิศทาง กลยุทธ์ และแนวทางในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ อันจะเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์ และให้ความเห็นในเรื่องต่างๆ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง อันจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ
Sustainability Report Awards 2014 บริษัทฯ ได้รับรางวัลดีเยี่ยม ด้านรายงานความยั่งยืน (Sustainability Report Awards) ปี 2557 โดย CSR Club สมาคมบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทย ร่ ว มกั บ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และสถาบันไทยพัฒน์
รางวัลองค์กร CSR ที่มีความเป็นเลิศ จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ บริษัทฯ ได้รับรางวัลองค์กร CSR ที่มีความเป็นเลิศ จาก พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เนื่องใน โอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวง พม. ครบรอบ 12 ปี ณ ห้องประชุมกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
CSR Recognition 2014 บริษทั ฯ ได้รบั รางวัล CSR Recognition 2014 ซึง่ จัดขึน้ โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อประกาศ เกียรติคุณให้กับบริษัทจดทะเบียนที่ให้ความสําคัญ และดําเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม
SET Awards 2014 CSR - DIW Continuous Awards 2557 บริษัทฯ ได้รับรางวัล CSR – DIW Continuous Award 2557 ใน “โครงการส่งเสริมศักยภาพ โรงงานมุ่ ง สู่ ก ารพั ฒ นาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมอย่ า งยั่ ง ยื น ประจําปี 2557 หรือ CSR - DIW Awards ” จัดโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากมี การปฏิบัติผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CSR - DIW และมีการดําเนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง
Platts Top 250 Global Energy Company Ranking for 2014 บริษัทฯ ได้รับรางวัล Platts Top 250 Global Energy Company Ranking for 2014 โดยในปีนี้ บริษัทฯ อยู่ในอันดับที่ 52 ในภูมิภาคเอเชีย และอันดับที่ 165 ของโลก ซึ่งเป็นการจัดอันดับ จากบริษทั พลังงานทัว่ โลก โดยพิจารณาจากมูลค่าสินทรัพย์ รายได้ ผลกําไร และผลตอบแทน การลงทุน
Governance Asia Recognition Awards: Best of Asia 2014 บริษัทฯ ได้รับ 2 รางวัล ในงาน The 10th Corporate Governance Asia Recognition Awards : Best of Asia 2014 ซึ่งจัดโดยนิตยสาร Corporate Governance Asia นิตยสารชั้นนําด้าน ธรรมาภิบาลที่มีชื่อเสียงในภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ 1) รางวัล Asian Corporate Directors Recognition Award 2014 และ 2) รางวัล Asia’s Outstanding Company on Corporate Governance ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบให้กับผู้บริหารสูงสุดและองค์กรที่มีความมุ่งมั่นอย่าง ต่อเนื่องในการพัฒนาการกํากับดูแลกิจการที่ดี และเป็นส่วนสําคัญในการสนับสนุน ให้องค์กรเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนในระดับภูมิภาคเอเชีย
บริษัทฯ รับรางวัลเกียรติยศแห่งความสําเร็จ “SET Awards of Honor ” ในงานประกาศผลรางวั ล SET Awards 2014 ได้แก่ รางวัลด้านความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คมยอดเยี่ ย ม ( Best Corporate Social Responsibility Awards ) และด้ า นการรายงาน บรรษัทภิบาลดีเยี่ยม (Top Corporate Governance Report Awards ) ต่อเนื่อง 3 ปีซ้อน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 - 2557 นอกจากนี้ ยั ง ได้ รั บ รางวั ล บริ ษั ท จดทะเบียนด้านนักลงทุนสัมพันธ์ดีเด่นอีกด้วย
The Asset Corporate Awards 2014 – Platinum Award บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ รางวั ล บริ ษั ท ที่ มี ค วามโดดเด่ น (All - Round Excellence) ด้านการจัดการ การกํากับ ดูแลกิจการ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ จ ากโครงการ The Asset
Excellence in Management and Corporate Governance Awards ประจํ า ปี 2557 ซึ่ ง จั ด ขึ้ น โดยนิ ต ยสาร The Asset นิ ต ยสารการเงิ น ชั้ น นํ า แห่งเอเชีย
032
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
10
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ ต ล า ด แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โ ล ก ป 2 5 5 7 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF ) คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจโลก ในปี 2557 ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 3.3 หรือปรับเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2556 ที่ ข ยายตั ว อยู่ ที่ ร้ อ ยละ 3.2 ทั้ ง นี้ แรงหนุ น ส่วนใหญ่มาจากการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ทีต่ ลาดแรงงาน ปรับตัวดีขึ้นอย่างชัดเจน โดยอัตราการว่างงานลดลงตํ่าสุดในรอบ 6 ปี ประมาณร้อยละ 5.8 รวมถึงการลงทุนภาคเอกชน ในส่วนที่ ไม่รวมการลงทุนภาคที่อยู่อาศัย มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ ค่ า เงิ น ดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ แข็ ง ตั ว อย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ และยั ง ส่ ง ผลให้ ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา (Fed) ตัดสินใจยุตกิ ารส่งเงินเข้าซือ้ พันธบัตร รัฐบาลที่มีสินทรัพย์คํ้าประกันมูลค่า 85,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อเดือน ที่เริ่มมีมาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2551 ลงในการประชุม วันที่ 28 - 29 ตุลาคม 2557 ด้วย อย่างไรก็ตาม ขณะที่เศรษฐกิจ สหรัฐอเมริกากําลังฟื้นตัวดีขึ้น แต่เศรษฐกิจยูโรโซนยังคงอ่อนแอ โดยในช่ ว งไตรมาสที่ 3 ยู โรโซนต้ อ งเผชิ ญ กั บ ภาวะการว่ า งงาน
ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น แตะระดั บ สู ง ถึ ง ร้ อ ยละ 11.6 ประกอบกั บ ภาวะเงิ น ฝื ด ที่ ยั ง คงกดดั น อั ต ราการเติ บ โตของเศรษฐกิ จ และผลกระทบจาก ปัญหาความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย - ยูเครนที่กระทบความเชื่อมั่น ของนักลงทุน สําหรับอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจจีนในปี 2557 ยั ง คงชะลอตั ว หลั ง จากจี น ดํ า เนิ น นโยบายปฏิ รู ป โครงสร้ า งทาง เศรษฐกิจเพือ่ สร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาประเทศ และการชะลอตัว ของการผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรมจี น อย่ า งไรก็ ต าม รั ฐ บาลจี น ได้ ดําเนินมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจในปี 2557 ได้แก่ มาตรการด้านภาษี และการเงินเฉพาะกลุ่มที่ชัดเจน (Targeted Measures) เพื่อช่วยเหลือ ธุ ร กิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม ( SMEs ) และผู้ มี ร ายได้ น้ อ ย การลดอั ต ราดอกเบี้ ย เงิ น กู้ การปล่ อ ยเงิ น กู้ แ ก่ ภ าคเกษตรและ ธนาคารรายใหญ่ ข องรั ฐ บาล 5 แห่ ง ในอั ต ราดอกเบี้ ย ที่ ตํ่ า และ การลงทุ น ในพลั ง งานทดแทนและโครงสร้ า งพื้ น ฐานเพื่ อ สาธารณูปโภค ซึ่งมาตรการเหล่านี้ส่งผลให้เศรษฐกิจจีนชะลอตัวลง ไม่มากนัก
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น ดิ บ แ ล ะ นํ้ า มั น สํ า เ ร็ จ รู ป ป 2 5 5 7 ราคานํ้ามันดิบในปี 2557 มีการเคลื่อนไหวที่ผันผวนมาก โดยราคา นํ้ามันดิบดูไบเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบกว้างที่ 55 - 111 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และมีราคาเฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ 97 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับลดลงจากราคาเฉลี่ยในปี 2556 ที่ 106 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยราคานํ้ า มั น ดิ บ ในช่ ว งต้ น ปี ป รั บ ลดลงจากปลายปี 2556 เนื่องจากความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจจีนที่ชะลอตัวลง โดย GDP ไตรมาสที่ 1 ของจีนปรับตัวลดลงแตะระดับตํ่าสุดในรอบ 18 เดือน ที่ ร้อ ยละ 7.4 ประกอบกั บ การที่ส หรั ฐ อเมริ ก าตั ด สิ น ใจปรั บ ลด วงเงินมาตรการการกระตุ้ น เศรษฐกิ จ ( QE ) ลงมาอยู่ ที่ 55,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อเดือน จากเดิม 85,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่ อ เดื อ น ทํ า ให้ ต ลาดกั ง วลว่ า อาจกระทบภาพรวมเศรษฐกิ จ สหรัฐอเมริกา เนื่องจากหลายฝ่ายยังมองว่า เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา นั้ น อาจยั ง ไม่ แข็ ง แกร่ ง เต็ ม ที่ ซึ่ ง หากเศรษฐกิ จ ของสองประเทศ ยั ก ษ์ ใ หญ่ ต กอยู่ ใ นภาวะที่ ไ ม่ ดี นั ก ก็ อ าจส่ ง ผลให้ ภ าพรวม อุ ป สงค์ นํ้ า มั น โลกมี แ นวโน้ ม ปรั บ ลดลง นอกจากนี้ การบรรลุ ข้อตกลงในการผ่อนปรนมาตรการควํ่าบาตรต่อโครงการนิวเคลียร์ อิ ห ร่ า นชั่ ว คราวเป็ น เวลา 6 เดื อ น นั บ จากเดื อ นมกราคม 2557 ทําให้อิหร่านสามารถส่งออกนํ้ามันดิบได้ราว 1 ล้านบาร์เรลต่อวัน กดดั น ราคานํ้ า มั น อย่ า งไรก็ ดี เหตุ ก ารณ์ ก ารแบ่ ง แยกดิ น แดน ในยู เ ครน รวมถึ ง การปิ ด ท่ า เรื อ ส่ ง ออกนํ้ า มั น ดิ บ ในลิ เ บี ย ทํ า ให้ การส่ ง ออกนํ้ า มั น ดิ บ ของประเทศลดลง ส่ ง แรงหนุ น ให้ ร าคา นํ้ามันดิบปรับลดลงไม่มากนัก
033
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
ในไตรมาสที่ 2 ราคานํ้ามันดิบดีดตัวกลับมาเพิ่มขึ้นอีกครั้ง หลังปัญหา ความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติในอิรักปะทุขึ้น โดยกลุ่มรัฐอิสลามแห่ง อิรัก (IS ) ได้บุกเข้ายึดเมืองหลักทางภาคเหนือ รวมไปถึงโรงกลั่น นํ้ามันดิบขนาดใหญ่ของอิรัก และเข้าควบคุมท่อส่งออกหลายแห่ง ตลาดจึงเกิดความกังวลว่า อาจเกิดปัญหาต่อการส่งออกนํ้ามันดิบ ของอิรัก ซึ่งถือเป็นประเทศที่ผลิตและส่งออกนํ้ามันดิบอันดับต้นๆ ของโลก ขณะที่ เ หตุ ก ารณ์ ค วามรุ น แรงในลิ เ บี ย และยู เ ครนยั ง คง ยื ด เยื้ อ โดยกลุ่ ม กบฏในลิ เ บี ย ยั ง คงปั ก หลั ก ปิ ด ท่ า เรื อ ขนส่ ง นํ้ามันดิบ ส่งผลให้กําลังการผลิตนํ้ามันดิบของลิเบียในไตรมาสที่ 2 ปรับลดลงมาอยู่ที่ 250,000 บาร์เรลต่อวัน จากเดิมที่ผลิตได้ราว 500,000 บาร์เรลต่อวันในช่วงต้นปี นอกจากนี้ หลายฝ่ายกังวลว่า การส่ ง ออกนํ้ า มั น ดิ บ และก๊ า ซธรรมชาติ ข องรั ส เซี ย อาจได้ รั บ ผลกระทบ หลังจากสหรัฐอเมริกาและยุโรปตัดสินใจออกมาตรการ ควํ่ า บาตรทางเศรษฐกิ จ และอายั ด วี ซ่ า รายบุ ค คลต่ อ รั ส เซี ย จากเหตุ ก ารณ์ ค วามขั ด แย้ ง ระหว่ า งรั ฐ บาลยู เ ครนและกลุ่ ม กบฏ แบ่ ง แยกดิ น แดนฝั ก ใฝ่ รั ส เซี ย อี ก ทั้ ง การเริ่ ม ต้ น ฤดู ก าลปิ ด ซ่ อ ม บํ า รุ ง แหล่ ง นํ้ า มั น ดิ บ หลั ก บริ เวณทะเลเหนื อ ในเดื อ นกรกฎาคม สร้ า งความกั ง วลต่ อ ภาวะอุ ป ทานตึ ง ตั ว ในตลาดนํ้ า มั น โลก เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ดี ปริมาณนํ้ามันดิบคงคลังสหรัฐอเมริกา ที่ปรับเพิ่มขึ้นสูงเป็นประวัติการณ์ อันเป็นผลมาจากการปิดซ่อม บํารุงโรงกลั่นตามกําหนด รวมไปถึงตัวเลข GDP ของสหรัฐอเมริกา ที่ถดถอยร้อยละ 2.9 ยังคงกดดันราคานํ้ามันดิบไม่ให้ปรับเพิ่มขึ้น มากนัก
034
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
ราคานํา้ มันดิบในไตรมาสที่ 3 ปรับลดลงอีกครัง้ เมือ่ เทียบกับไตรมาสที่ 2 หลังตลาดคลายความกังวลเรื่องอุปทานนํ้ามันดิบตึงตัวลง เนื่องจาก เหตุการณ์ความไม่สงบต่างๆ ส่อเค้าคลี่คลายลง ประกอบกับความ รุ น แรงในอิ รั ก และยู เ ครนไม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ กํ า ลั ง การผลิ ต และ การส่งออกนํ้ามันดิบของประเทศอย่างที่ตลาดเคยกังวล โดยการ ผลิตนํ้ามันดิบของอิรักในเดือนกันยายนปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ราว 3.25 ล้านบาร์เรลต่อวัน ขณะเดียวกัน การเจรจาเปิดท่าเรือส่งออก นํ้ า มั น ดิ บ ของลิ เ บี ย ที่ เ ป็ น ผลสํ า เร็ จ ทํ า ให้ ลิ เ บี ย กลั บ มาส่ ง ออกได้ มากขึ้นอีกครั้ง และทําให้การผลิตนํ้ามันดิบของลิเบียปรับเพิ่มขึ้น มากถึง 650,000 บาร์เรลต่อวัน มาอยู่ที่ระดับ 900,000 บาร์เรลต่อวัน ในเดือนกันยายน นอกจากนี้ สถาบันพลังงานหลักของโลก 3 แห่ง (สํานักงานพลังงานสากล (IEA ) สํานักงานข้อมูลสารสนเทศด้าน พลังงานของสหรัฐฯ (EIA ) และองค์การกลุ่มประเทศผู้ส่งนํ้ามันออก (โอเปก : OPEC )) ยังออกมาแสดงมุมมองต่ออุปสงค์น้ํามันดิบโลก ในปี 2557 และปี 2558 ว่า ไม่น่าจะเติบโตมากนัก โดย IEA ออกมา ปรับลดคาดการณ์อุปสงค์นํ้ามันดิบโลกของปี 2557 และ 2558 ว่าจะ ขยายตัวเพียงระดับ 0.7 และ 1.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน ตามลําดับ เนื่ อ งจากเศรษฐกิ จ ของผู้ บ ริ โ ภคนํ้ า มั น หลั ก ในโลกอย่ า งจี น และ ยุ โรปจะเติ บ โตไม่ ม ากนั ก ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การที่ IMF ออกมา ปรับลดคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลกปี 2557 และปี 2558 ลงมาอยู่ที่ร้อยละ 3.3 และร้อยละ 3.8 ตามลําดับเช่นกัน สําหรับไตรมาสสุดท้ายของปี ราคานํ้ามันดิบดูไบมีการปรับลดลง มากเป็นประวัติการณ์ โดยลงมาแตะระดับตํ่าสุดในรอบ 6 ปีที่ 55.4 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในช่วงครึ่งเดือนหลังของเดือนธันวาคม ทั้งนี้ สาเหตุหลักมาจากอุปทานนํ้ามันดิบที่ล้นตลาดจากประเทศ ทัง้ ในและนอกกลุม่ โอเปก โดยเฉพาะอย่างยิง่ นํา้ มันดิบชนิดเบาจากชัน้ หินดินดาน (Shale Oil ) ของสหรัฐอเมริกา ประกอบกับการตัดสินใจ คงกําลังการผลิตของกลุม่ โอเปกเมือ่ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 ทีผ่ า่ นมา ส่งผลให้ตลาดกังวลว่า อุปทานนํ้ามันดิบโลกจะมีแนวโน้มล้นตลาด ต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ ราคานํ้ า มั น ดิ บ ยั ง ได้ รั บ แรงกดดั น จากภาวะ เศรษฐกิจโลกที่ยังซบเซา ส่งผลให้อุปสงค์การใช้ลดลง รวมถึงหลังจาก นักลงทุนมีการโยกย้ายเงินลงทุนจากตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ไปลงทุน ในตลาดปริวรรตเงินตราเพิ่มมากขึ้น ทําให้ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นมากเมื่อเทียบกับสกุลเงินอื่นๆ ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ส่งผลให้ ราคานํา้ มันร่วงลงราว 30 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลภายในเวลา 3 เดือน
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ราคานํ้ามันสําเร็จรูปในปี 2557 ปรับลดลงต่อเนื่องตามราคานํ้ามันดิบ ส่วนต่างระหว่างราคานํ้ามันเบนซินกับนํ้ามันดิบโดยเฉลี่ยปรับตัวเพิ่ม ขึ้นมากเมื่อเทียบกับปี 2556 ทั้งนี้เป็นผลมาจากการหยุดดําเนินการ ของหน่วยผลิตนํ้ามันเบนซินในภูมิภาคอย่างกะทันหัน ประกอบกับ อุปสงค์นํ้ามันเบนซินของสหรัฐอเมริกาที่เพิ่มสูงขึ้น ทําให้ส่วนต่าง ราคานํ้ า มั น เบนซิ น กั บ นํ้ า มั น ดิ บ ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น โดยส่ ว นต่ า งราคา นํ้ามันก๊าด นํ้ามันอากาศยาน นํ้ามันดีเซล และนํ้ามันเตาเทียบกับ นํ้ามันดิบ ถือว่าปรับตัวลดลงจากปีก่อน สาเหตุหลักมาจากอัตรา การเติบโตทางเศรษฐกิจของภูมิภาคที่ชะลอตัวลง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประเทศผู้ บ ริ โ ภคนํ้ า มั น หลั ก อย่ า งจี น ส่ ง ผลให้ อุ ป สงค์ ข อง นํ้ามันสําเร็จรูปเบาบางลง และยังทําให้ปริมาณนํ้ามันสําเร็จรูปคงคลัง ที่สิงคโปร์อยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงตลอดทั้งปีอีกด้วย นอกจากนี้ ส่ ว นต่ า งของราคานํ้ า มั น สํ า เร็ จ รู ป โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ส่ ว นต่ า ง ราคานํ้ามันก๊าด นํ้ามันอากาศยาน และนํ้ามันดีเซลกับราคานํ้ามันดิบ ดูไบ ยังได้รับแรงกดดันอย่างต่อเนื่องจากการส่งออกของจีนและ อิ น เดี ย ที่ ป รั บ ตั ว สู ง ขึ้ น หลั ง โรงกลั่ น ใหม่ ห ลายแห่ ง ในประเทศ เริ่ ม เปิ ด ดํ า เนิ น การในช่ ว งต้ น ปี ประกอบกั บ อุ ป สงค์ จ ากยุ โรปที่ ปรับตัวลดลงจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ทําให้โรงกลั่นในอินเดีย และตะวันออกกลางไม่สามารถส่งออกนํ้ามันสําเร็จรูปไปยังตลาด ดั ง กล่ า วได้ ม ากนั ก จึ ง ทํ า ให้ ต้ อ งขนส่ ง นํ้ า มั น ดั ง กล่ า วมาแข่ ง ขั น ในตลาดเอเชียมากขึ้น
ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น สํ า เ ร็ จ รู ป ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ป 2557 ภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2557 สามารถขยายตัวได้เพียงร้อยละ 0.7 เท่านั้น หลังถูกกดดันจากปัญหาความไม่สงบทางการเมืองในช่วง ไตรมาสแรกของปี ส่งผลให้การบริโภคและการลงทุนของภาครัฐ และเอกชนหดตั ว ลงอย่ า งมาก เนื่ อ งจากภาครั ฐ บาลไม่ ส ามารถ เบิ ก จ่ า ยงบลงทุ น ได้ ประกอบกั บ การส่ ง ออกในส่ ว นของสิ น ค้ า อุตสาหกรรมและเกษตรกรรมยังปรับตัวลดลง เนื่องจากเศรษฐกิจ ของประเทศคู่ ค้ า ที่ สํ า คั ญ ได้ แ ก่ จี น ญี่ ปุ่ น และกลุ่ ม ยู โรโซน ยั ง คงอยู่ ใ นภาวะอ่ อ นแอ รวมถึ ง การท่ อ งเที่ ย วที่ ป รั บ ตั ว ลดลง หลังนักท่องเที่ยวต่างชาติยังคงกังวลกับสถานการณ์ในประเทศไทย จากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและการประกาศใช้กฎอัยการศึก ในประเทศ อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี เศรษฐกิจ ของไทยคาดว่า จะขยายตัวในอัตราที่สูงจากการกระตุ้นเศรษฐกิจ
035
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
+ 6 % ĕ 1 6 ' D ĕ NJ 6 %5 .N 6 A 'H '= D ' 4 A , Č ä ç ç Ě6 ďC 'A)9&%A/)+ NJ6%5 A 8 '+%A1 6 1) NJ6%5 16 6,&6 NJ6%5 9A ) '+%E C1 9A ) 1,000
912 897 903 910 894
900
NJ6%5 A 6
851 855 885 932 846 843 838
800 700 600 500 400 300 200 100 0
พันบาร์เรล ต่อวัน
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ที่มา : กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน
'è % 6 6 ' )5I 1 C ' )5I .N 6 A 'H '= D ' 4 A , Č ä ç ç 6 6
A1.C Ę
E116'Ĝ"õ 9
"õ 9 9 C ) 1) A %8 1)
. 6'Ĝ E &11&)Ĝ ďC 'A)9&%
1,000 800 600 400 200 0
พันบาร์เรล ต่อวัน
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ที่มา : กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน
.5 .Ĕ + 'è % 6 6 ' )5I 1
C ' )5I NJ 6 %5 $ 6 & D ' 4 A , D Č ä ç ç 9 % 6 6 14%A1.C Ę
18% E116'Ĝ"õ 9
E &11&)Ĝ 28 %
"õ 9 9 C ) 1) A %8 1) 16 % . 6'Ĝ 15 % ďC 'A)9&%
ที่มา : กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน
ของรั ฐ บาลอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ผ่ า นการให้ เ งิ น ช่ ว ยเหลื อ ชาวนา การเร่งเบิกจ่ายงบประมาณปี 2557 ในส่วนทีเ่ หลืออยูแ่ ละงบประมาณ ปี 2558 โดยเฉพาะงบลงทุน ประกอบกับการส่งออกที่เริ่มกลับมา ฟื้ น ตั ว มากขึ้ น ตามเศรษฐกิ จ ของสหรั ฐ อเมริ ก า ทํ า ให้ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ป ระเมิ น ว่ า ภาพรวม เศรษฐกิจไทยในปี 2557 คาดว่า จะขยายตัวที่ระดับร้อยละ 1.0 (รายงานภาวะเศรษฐกิจไทย สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและ สั ง คมแห่ ง ชาติ 18 พฤศจิ ก ายน 2557) ซึ่ ง โดยรวมแล้ ว จะพบว่ า เศรษฐกิ จ ของไทยมี ก ารเติ บ โตตํ่ า ที่ สุ ด เมื่ อ เที ย บกั บ ประเทศ เศรษฐกิจขนาดใหญ่ในอาเซียน อาทิ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และ ฟิลิปปินส์ ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.8 ร้อยละ 5.7 และร้อยละ 6.4 ตามลําดับ สําหรับความต้องการใช้นํ้ามันสําเร็จรูปภายในประเทศในปี 2557 ขยายตัวจากปีก่อนหน้าเพียงร้อยละ 0.6 เท่านั้น สาเหตุหลักเนื่องจาก เศรษฐกิจในปี 2557 ที่ชะลอตัว โดยปริมาณการใช้นํ้ามันเบนซิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 จากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของการใช้แก๊สโซฮอล์ E20 และ E85 อั น เป็ น ผลมาจากปริ ม าณรถยนต์ ที่ มี จํ า นวนเพิ่ ม สูงขึ้น ปริมาณการใช้นํ้ามันดีเซลปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 จาก ระดั บ ราคาขายปลี ก ที่ ป รั บ ลดลงต่ อ เนื่ อ ง ปริ ม าณความต้ อ งการ ใช้นํ้ามันอากาศยานและนํ้ามันเตาปรับตัวลดลงร้อยละ 1.0 และ ร้อยละ 3.9 ตามลําดับ เนื่องจากนักท่องเที่ยวต่างชาติยังคงกังวล กับการใช้กฎอัยการศึกของประเทศไทย จึงทําให้เดินทางเข้ามา ในประเทศน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ สําหรับภาคอุตสาหกรรมและ โรงไฟฟ้ า ได้ หั น ไปใช้ ก๊ า ซธรรมชาติ ใ นการผลิ ต ไฟฟ้ า มากขึ้ น หลังราคาก๊าซธรรมชาติถูกกว่าราคานํ้ามันเตา สําหรับปริมาณการผลิตในปี 2557 พบว่า โรงกลั่นในประเทศมีปริมาณ การกลั่นนํ้ามันโดยเฉลี่ย 936,400 บาร์เรลต่อวัน ลดลงจากช่วงเวลา เดียวกันของปีก่อนหน้าที่ระดับ 967,785 บาร์เรลต่อวัน เนื่องจากใน ปีนี้มีการปิดซ่อมบํารุงประจําปีของโรงกลั่นค่อนข้างมาก โดยหาก พิจารณาสัดส่วนปริมาณการกลั่น ไทยออยล์ยังมีสัดส่วนการผลิต สู ง ที่ สุ ด ในประเทศ ซึ่ ง คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 28 ของปริ ม าณการกลั่ น รวมทั้งหมดของประเทศ
036
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
ภ า ว ะ ต ล า ด อ ะ โ ร ม า ติ ก ส ป 2 5 5 7 ตลาดสารพาราไซลีนในปี 2557 ปรับลดลงตํา่ กว่าปี 2556 ค่อนข้างมาก เนื่องจากอุปทานที่เพิ่มขึ้นจากโรงผลิตสารพาราไซลีนใหม่ในเอเชีย ที่มีกําลังการผลิตรวมสูงถึง 6.5 ล้านตันต่อปี ซึ่งสูงขึ้นกว่าปีก่อน หน้าถึง 3.6 ล้านตันต่อปี ส่งผลให้ภาพรวมสารพาราไซลีนเกิดภาวะ อุ ป ทานล้ น ตลาด นอกจากนี้ เศรษฐกิ จ จี น ที่ ช ะลอตั ว ลง ทํ า ให้ อัตราการเติบโตของอุปสงค์สารโพลีเอสเตอร์ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรม ปลายนํ้าของสารพาราไซลีน ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 4.3 ซึ่งตํ่ากว่า ปีก่อนหน้าที่ร้อยละ 7.7 เป็นเหตุให้ผู้ผลิตสาร PTA ซึ่งเป็นสารตั้งต้น ของอุ ต สาหกรรมโพลี เ อสเตอร์ ล ดกํ า ลั ง การผลิ ต ลง จึ ง ส่ ง ผลให้ ความต้องการสารพาราไซลีนจึงปรับลดลงตามไปด้วย ตลาดสารพาราไซลีนอยูใ่ นภาวะถูกกดดันอย่างหนักจากการเริม่ ดําเนิน การผลิตของโรงอะโรมาติกส์แห่งใหม่ในจีน ซาอุดิอาระเบีย เกาหลีใต้ อินเดีย สิงคโปร์ และแอลจีเรีย ประกอบกับโรงอะโรมาติกส์ในจีนและ เกาหลีใต้ ซึ่งมีกําลังการผลิตรวม 2.3 ล้านตันต่อปี เริ่มกลับมาดําเนิน การผลิตอีกครั้ง นอกจากนี้ ราคานํ้ามันดิบที่ปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง ในช่วงท้ายปี ทําให้ผู้ผลิต PTA ชะลอการซื้อ กดดันราคาพาราไซลีน อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม โรงอะโรมาติกส์แห่งใหม่ที่คาซัคสถาน ซึ่งมีกําลังการผลิต 469,000 ตันต่อปี ได้เลื่อนการเปิดดําเนินการผลิต ออกไปเป็นปี 2558 ประกอบกับผู้ผลิตสารพาราไซลีนที่มีต้นทุน การผลิตสูงในเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และอินโดนีเซีย ได้ลดกําลังการผลิตลง ทั้งยังมีผู้ผลิตหลายรายหยุดซ่อมบํารุง จึงช่วยลดปัญหาอุปทาน ส่วนเกินในตลาดลงไปได้บ้าง ตลาดสารเบนซีนในปี 2557 ค่อนข้างทรงตัวเมื่อเทียบกับปี 2556 เนื่องจากได้รับแรงสนับสนุนจากอุปสงค์ของสหรัฐอเมริกาที่มีความ ต้องการนําเข้าสารเบนซีนจากเอเชียอย่างต่อเนื่อง หลังโรงโอเลฟินส์ ในสหรัฐอเมริกาใช้สารตั้งต้นที่เบาขึ้น เช่น อีเทน และก๊าซแอลพีจี จึงทําให้ปริมาณสารเบนซีน ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ถูกผลิตออกมา น้อยลง ประกอบกับตลาดสารสไตรีนโมโนเมอร์และสารฟีนอลที่ใช้ สารเบนซีนเป็นสารตั้งต้นในการผลิตมีการเติบโตค่อนข้างดีในช่วง ครึ่ ง ปี แรกตามทิ ศ ทางของเศรษฐกิ จ โลก อย่ า งไรก็ ต าม ในช่ ว ง ครึ่งปีหลังมีอุปทานสารเบนซีนเพิ่มขึ้นค่อนข้างมาก เนื่องจากมี โรงอะโรมาติกส์รายใหม่ในเอเชีย ซึ่งมีกําลังการผลิตรวม 2.6 ล้านตัน ต่ อ ปี เริ่ ม ดํ า เนิ น การผลิ ต เต็ ม ที่ ประกอบกั บ ในช่ ว งปลายปี
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
อุปสงค์ของผลิตภัณฑ์ปลายนํ้า เช่น สไตรีนโมโนเมอร์และฟีนอล ซบเซาตามทิศทางเศรษฐกิจจีนที่ชะลอตัวลง ทําให้ราคาผลิตภัณฑ์ ปลายนํ้าลดลงอย่างหนัก ราคานํ้ามันดิบที่ปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง อี ก ทั้ ง ผู้ ผ ลิ ต หลายรายเกิ ด ภาวะขาดทุ น ทํ า ให้ ค วามต้ อ งการ สารเบนซี น ปรั บ ลดลงอย่ า งมาก นอกจากนี้ การที่ โรงโอเลฟิ น ส์ กลั บ ไปใช้ ส ารแนฟทาเป็ น สารตั้ ง ต้ น แทนก๊ า ซแอลพี จี ใ นช่ ว ง ฤดู ห นาว ส่ ง ผลให้ ไ ด้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลอยได้ เ ป็ น สารอะโรมาติ ก ส์ โดยเฉพาะสารเบนซี น เพิ่ ม ขึ้ น ถื อ เป็ น อี ก ปั จ จั ย ที่ ก ดดั น ให้ ภาวะอุปทานเพิม่ ขึน้ อีกด้วย ส่งผลให้สว่ นต่างระหว่างราคาสารเบนซีน และนํ้ ามันเบนซิ น 95 ปรั บตั วลดลงอย่างหนั กในช่ วงสิ้ นปี ทั้งนี้ ราคาสารเบนซีนในระยะยาวจะได้รับผลกระทบไปด้วย หากราคา นํ้ า มั น ดิ บ ยั ง คงปรั บ ลดลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เนื่ อ งจากสหรั ฐ อเมริ ก า อาจหันไปใช้สารตั้งต้นที่หนักขึ้น ทําให้ได้สารเบนซีนเป็นผลิตภัณฑ์ พลอยได้มากขึ้น
ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น ห ล อ ลื่ น พื้ น ฐ า น แ ล ะ ย า ง ม ะ ต อ ย ป 2 5 5 7 ตลาดนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานในปี 2557 ทรงตัวจากปี 2556 โดยสภาพ ตลาดในช่วงครึ่งปีแรกได้รับแรงหนุนจากอุปสงค์ที่ดีในช่วงไตรมาส ที่ 2 ซึ่งเป็นฤดูการเปลี่ยนถ่ายนํ้ามันหล่อลื่น โดยเฉพาะจากภาค เกษตรกรรม ประกอบกับสภาพอุปทานที่ตึงตัว หลังโรงกลั่นนํ้ามัน หล่อลื่นพื้นฐานในประเทศจีนและอินเดียปิดซ่อมบํารุง ส่งผลให้ ผู้ ผ ลิ ต นํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น เพิ่ ม ปริ ม าณการซื้ อ เพื่ อ เพิ่ ม นํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น พื้นฐานคงคลังให้เพียงพอกับความต้องการ อย่างไรก็ตาม ในช่วงครึ่ง ปีหลัง อุปสงค์เริ่มปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ต้นไตรมาสที่ 3 เนื่องจากภูมิภาคเอเชียเริ่มเข้าสู่ฤดูฝน นอกจากนี้ ตลาดยังได้รับแรง กดดั น จากสภาวะอุ ป ทานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หลั ง โรงกลั่ น นํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น พื้นฐาน กรุ๊ป 2 ในประเทศสหรัฐอเมริกาและเกาหลีใต้ ซึ่งมีกําลัง การผลิตรวม 1.85 ล้านตันต่อปี เริ่มเปิดดําเนินการตั้งแต่ช่วงต้น ไตรมาสที่ 3 จึ ง เกิ ด การแข่ ง ขั น ทางราคาระหว่ า งนํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น พื้นฐาน กรุ๊ป 1 และ 2 ทั้งนี้ ตลาดในช่วงปลายปียังได้รับแรงกดดัน จากราคานํ้ามันดิบที่อ่อนตัวลง ทําให้ราคานํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ทั้ง 2 กรุ๊ปปรับลดลง อย่างไรก็ดี ส่วนต่างราคานํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน เทียบราคานํ้ามันเตายังคงอยู่ในระดับทรงตัวจากปี 2556 เนื่องจาก ได้รับแรงหนุนจากราคานํ้ามันเตาที่ปรับลดลงอย่างมาก
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ตลาดยางมะตอยในปี 2557 ปรั บ ตั ว ลดลงเล็ ก น้ อ ยจากปี 2556 เนื่องจากอุปสงค์ตั้งแต่ช่วงไตรมาสที่ 1-3 อ่อนตัวลง โดยเฉพาะ อุปสงค์จากประเทศจีนและอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นผู้นําเข้ายางมะตอย สองอันดับแรกของภูมิภาค สภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาของประเทศจีน ส่ ง ผลให้ รั ฐ บาลยั ง คงนโยบายรั ด เข็ ม ขั ด ขณะที่ ค่ า เงิ น รู เ ปี ย ห์ ที่ อ่อนตัวลงของประเทศอินโดนีเซียเป็นเหตุให้รัฐบาลชะลอการนําเข้า ยางมะตอย หลังสิ้นสุดโครงการสร้างถนนในช่วงกลางเดือนมกราคม อุ ป สงค์ ที่ ป รั บ ตั ว ลดลงทํ า ให้ ผู้ ผ ลิ ต ยางมะตอยมี สิ น ค้ า คงคลั ง อยู่ในระดับสูงและพยายามปรับลดราคาลงเพื่อเพิ่มแรงจูงใจให้กับ ผู้ซื้อ อย่างไรก็ตาม อุปสงค์ภายในภูมิภาคปรับตัวดีขึ้นในช่วงปลายปี หลั ง ประเทศอิ น โดนี เซี ย และเวี ย ดนามนํ า เข้ า ยางมะตอยเพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ เร่ ง รั ด การดํ า เนิ น การสร้ า งและปรั บ ปรุ ง ถนนในประเทศให้ เสร็จสิน้ ก่อนช่วงวันหยุดในเทศกาลปีใหม่ ประกอบกับราคานํา้ มันเตา ที่ปรับลดลงมากตามราคานํ้ามันดิบ ทําให้ราคายางมะตอยอยู่ใน ระดับที่สูงกว่าราคานํ้ามันเตาในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี และราคา เฉลี่ยทั้งปีปรับลดลงไม่มากนัก
ภ า ว ะ ต ล า ด ส า ร ทํ า ล ะ ล า ย ป 2 5 5 7 สําหรับความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ตัวทําละลายภายในประเทศนั้น โดยภาพรวมหดตัวลงตามสภาพเศรษฐกิจของประเทศและปัญหา ทางการเมือง ทําให้อุปสงค์ในประเทศชะลอตัวลงจากการบริโภคภาค เอกชน รวมทั้งการส่งออกก็มีอัตราการส่งออกลดลง ขณะเดียวกัน ยอดขายที่ส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศที่คาดว่าจะสามารถชดเชย ความต้ อ งการภายในประเทศที่ ห ดตั ว ลงได้ กลั บ ไม่ เ ป็ น ไปตาม แผนการตลาดที่วางไว้ เช่น มีการลดภาษีการนําเข้าประเทศอินเดียลง เป็ น เหตุ ใ ห้ ค วามสามารถในการแข่ ง ขั น ของไทยลดลง และการ ตั้งกําแพงภาษีของผลิตภัณฑ์บางตัวของประเทศจีน ส่งผลให้ผู้ที่จะ นําเข้าไปจีนต้องปรับเปลี่ยนการส่งออกมายังภูมิภาคอาเซียนแทน รวมทั้ ง มี ผู้ ผ ลิ ต รายใหม่ ห รื อ รายเดิ ม แต่ เ พิ่ ม กํ า ลั ง การผลิ ต เช่ น ผู้ผลิตจากเกาหลี จีน โรมาเนีย เป็นต้น ทําให้อุปทานมีมากเกิน อุปสงค์ นอกจากนี้ ราคาและอุปสงค์ของผลิตภัณฑ์โทลูอีนและไซลีน ลดลงตามอุปสงค์ของผลิตภัณฑ์พาราไซลีนทั้งภายในประเทศและ ต่างประเทศที่ยังหดตัวลง ขณะที่อุปทานยังคงเหมือนเดิม จึงเกิดภาวะ ล้นตลาดในประเทศ การแข่งขันทางด้านราคาจึงเพิ่มสูงขึ้น จากเดิม คาดการณ์ว่า สถานการณ์ภายในประเทศจะเริ่มดีขึ้นในช่วงปลายปี แต่ ก ลั บ พบว่ า ราคานํ้ า มั น ดิ บ ปรั บ ลดลงอย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ ทํ า ให้
037
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
ความต้ อ งการใช้ ส ารละลายไม่ ดี ขึ้ น เนื่ อ งจากผู้ ผ ลิ ต เกรงว่ า ราคาของนํ้ามันดิบจะปรับลดลงไปอีกจึงชะลอการผลิตลง ทําให้ การเติ บ โตของสารทํ า ละลายในปี 2557 หดตั ว ลงเมื่ อ เที ย บกั บ ปีที่ผ่านมา
ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ข น ส ง นํ้ า มั น ป 2 5 5 7 ตลาดเรือขนส่งนํ้ามัน ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีในปี 2557 เติบโตอยู่ในเกณฑ์ดี เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีการนําเข้านํ้ามัน เพิ่ ม ขึ้ น ทํ า ให้ ค วามต้ อ งการขนส่ ง ยั ง มี อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อั ต ราการ ใช้งานของเรือขนส่งนํ้ามัน ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีของ บริษัทฯ อยู่ที่ระดับร้อยละ 92 ถึงแม้ว่าในปีนี้ จะมีปริมาณเรือจากจีน ที่เศรษฐกิจชะลอตัว เข้ามาแข่งขันในภูมิภาคนี้มากขึ้น แต่เนื่องจาก ปริมาณความต้องการใช้เรือที่เติบโตดีในภูมิภาค ทําให้ค่าขนส่งใน ปีนี้อยู่ที่ระดับเดียวกับค่าขนส่งในปีที่แล้ว ทั้งนี้ ในช่วงปลายปี 2557 ที่ ผ่ า นมา ถึ ง แม้ ว่ า ราคานํ้ า มั น ดิ บ จะตกลงอย่ า งรุ น แรง แต่ ร าคา ขนส่ ง เรื อ VLCC กลั บ ทรงตั ว และมี แ นวโน้ ม สู ง ขึ้ น จากความ ต้ อ งการตามฤดู ก าลและความต้ อ งการใช้ เรื อ ในการเก็ บ นํ้ า มั น ที่ เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ อัตราการใช้เรือใหญ่ในการถ่ายโอนนํ้ามันจาก เรือหนึ่งไปอีกเรือหนึ่ง (Ship-to-Ship: STS) ก็มีความต้องการกลับมา อยู่ในระดับสูง เนื่องจากเรือส่วนหนึ่งได้ถูกไปใช้เป็นคลังลอยนํ้า (Floating Storage ) ทําให้ปริมาณเรือในตลาดน้อยลงเช่นเดียวกัน สภาวะตลาดเรือสนับสนุนอุตสาหกรรมสํารวจและผลิตปิโตรเลียม (Crew Boat ) ในปี 2557 เติบโตอยู่ในเกณฑ์ดี เนื่องจากบริษัทสํารวจ และผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทยให้การสนับสนุนผู้ประกอบการเรือ Crew Boat ในประเทศมากขึ้น จึงทําให้อัตราการใช้งานเรือ Crew Boat ของเครื อ ไทยออยล์ อยู่ ที่ ร ะดั บ ร้ อ ยละ 89.3 ทั้ ง ยั ง มี ความต้องการเรือจากบริษัทสํารวจและผลิตปิโตรเลียมทั้งในประเทศ และต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง
ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ อ ท า น อ ล ป 2 5 5 7 ในปี 2557 ปริ ม าณความต้ อ งการใช้ เ อทานอลสํ า หรั บ ผสมเป็ น แก๊สโซฮอล์ภายในประเทศปรับตัวสูงขึ้น เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า โดยปริมาณการใช้เอทานอลในปี 2557 อยู่ที่ระดับ 3.25 ล้านลิตร ต่อวัน ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 25.0 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ซึ่งเป็น ผลมาจากการใช้นํ้ามันกลุ่มแก๊สโซฮอล์ โดยเฉพาะนํ้ามันแก๊สโซฮอล์
038
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
E 20 และ E 85 นอกจากนี้ จํานวนรถยนต์ใหม่ที่ใช้นํ้ามันแก๊สโซฮอล์ ได้ออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น รวมทั้งจํานวนสถานีบริการนํ้ามันแก๊สโซฮอล์ E 20 และ E 85 ที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ยังคงเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ ส่งผลให้การใช้เอทานอลปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ ในปี 2557 มี ก ารขยายโรงงานเอทานอลเพื่ อ เพิ่ ม กํ า ลั ง การผลิ ต 1 โรงงาน ทําให้กําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 0.27 ล้านลิตรต่อวัน และ มี กํ า ลั ง การผลิ ต รวมทั้ ง หมด 4.22 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น โดยแบ่ ง เป็ น โรงงานผลิ ต เอทานอลจากมั น สํ า ปะหลั ง 1.28 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น ผลิ ต จากนํ้ า อ้ อ ย 0.23 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น และผลิ ต จากกากนํ้ า ตาล 2.71 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น อย่ า งไรก็ ต าม ภายหลั ง นโยบายกํ า หนด ให้ บ ริ ษั ท นํ้ า มั น รั บ ซื้ อ เอทานอลที่ ผ ลิ ต จากกากนํ้ า ตาลและ มั น สํ า ปะหลั ง ในสั ด ส่ ว น 62:38 สิ้ น สุ ด ลง ทํ า ให้ ค วามต้ อ งการ เอทานอลที่ ผ ลิ ต จากกากนํ้ า ตาลมี ม ากกว่ า เอทานอลที่ ผ ลิ ต จาก มันสําปะหลัง โดยเฉลี่ยในปี 2557 มีการผลิตเอทานอลระหว่าง กากนํ้าตาลและมันสําปะหลังเป็นสัดส่วน 68 : 32 สําหรับราคาเอทานอลในปี 2557 มีการปรับตัวสูงขึ้นเมื่อเปรียบ เทียบกับปีก่อนหน้า โดยเฉพาะเอทานอลที่ผลิตจากกากนํ้าตาล เนื่องจากปริมาณอุปสงค์ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเอทานอล จากมันสําปะหลังปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 มาอยู่ที่ระดับ 27 - 29 บาทต่อลิตร ขณะที่ราคาเอทานอลจากกากนํ้าตาลปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 13.3 มาอยู่ที่ระดับ 23 - 26 บาทต่อลิตร โดยมีสาเหตุหลัก มาจากการสิ้นสุดลงของนโยบายสนับสนุนให้บริษัทนํ้ามันรับซื้อ เอทานอลที่ ผ ลิ ต จากกากนํ้ า ตาลและมั น สํ า ปะหลั ง ในสั ด ส่ ว น 62 : 38 ส่งผลให้ผู้ค้านํ้ามันหันมาซื้อเอทานอลจากกากนํ้าตาลใน สัดส่วนที่เพิ่มสูงขึ้น
ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ฟ ฟ า ป 2 5 5 7 หลั ง จากที่ รั ฐ บาลได้ อ อกนโยบายกระตุ้ น เศรษฐกิ จ ทํ า ให้ ส ภาพ เศรษฐกิจของประเทศไทยทยอยฟื้นตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ ปริมาณความต้องการไฟฟ้าผลิตและซื้อ (กฟผ. ผลิตได้และซื้อจาก เอกชน) ปี 2557 เติบโตจากปีก่อนหน้าร้อยละ 2.35 โดยที่ปริมาณ ความต้องการไฟฟ้าสูงสุดของปี 2557 เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2557 อยู่ที่ 26,942 เมกะวัตต์ สูงขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ 1.29
ในปี 2557 ปรากฏช่วงเวลาที่มีการหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติจากพม่า แหล่งบงกช และแหล่ง JDA - A 18 รวมถึงเกิดเหตุการณ์ปริมาณ การผลิตที่ลดลงจากแหล่งก๊าซธรรมชาติเยตากุนในประเทศพม่า และปริมาณสํารอง LNG มีอยู่ในระดับตํ่า อย่างไรก็ตาม ด้วยความ สามารถของระบบส่งปัจจุบัน ทําให้ไทยสามารถเดินเครื่องโรงไฟฟ้า ทดแทนได้ด้วยปริมาณนํ้ามันเตาและนํ้ามันดีเซล 132.6 ล้านลิตร และ 15.5 ล้านลิตร ตามลําดับ เพื่อรักษาความมั่นคงของระบบ ไฟฟ้า และต้องซื้อไฟฟ้าจากประเทศมาเลเซียซึ่งมีราคาเทียบเท่า การผลิตไฟฟ้าด้วยนํ้ามันดีเซล
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 8 ภ า ว ะ ต ล า ด แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โ ล ก ป 2 5 5 8 IMF คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจโลกในปี 2558 จะขยายตัวในอัตรา ร้ อ ยละ 3.8 (รายงาน ณ เดื อ นตุ ล าคม 2557) ปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น จาก ประมาณการปี 2557 ที่ ร้ อ ยละ 3.3 โดยเศรษฐกิ จ ของประเทศ ที่พัฒนาแล้วในปี 2558 จะเติบโตที่ร้อยละ 2.3 ขณะที่เศรษฐกิจ ของประเทศที่ กํ า ลั ง พั ฒ นาอย่ า งเช่ น จี น อิ น เดี ย และประเทศ อื่ น ๆ ในภู มิ ภ าคเอเชี ย เติ บ โตอยู่ ที่ ร้ อ ยละ 5.0 อย่ า งไรก็ ต าม เศรษฐกิ จ โลกยั ง คงมี ค วามเสี่ ย งที่ จ ะขยายตั ว ได้ น้ อ ยกว่ า ที่คาดการณ์ไว้ เนื่องจากยังมีปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบให้เศรษฐกิจ ของแต่ละประเทศมีความไม่แน่นอน ดังนี้ สหรั ฐ อเมริ ก า : ตลาดยั ง จั บ ตามองการฟื้ น ตั ว ที่ แข็ ง แกร่ ง ของ สหรัฐอเมริกาว่า จะปรับตัวได้ดีขึ้นต่อเนื่องหรือไม่ หลังจากได้รับ แรงขั บ เคลื่ อ นจากตลาดแรงงานที่ ป รั บ ตั ว ดี ขึ้ น อย่ า งชั ด เจน โดยอัตราการว่างงานที่ลดลงต่อเนื่องจนแตะระดับตํ่าที่สุดในรอบ 6 ปี ที่ ร้ อ ยละ 5.8 ประกอบกั บ การลงทุ น ภาคเอกชนที่ ข ยายตั ว ต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี การปรับตัวที่ดีขึ้นของเศรษฐกิจอาจเป็นปัจจัย ที่ทําให้ Fed ค่อยๆ ปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงกลางปี 2558 หลั ง มี ม ติ ยุ ติ ก ารอั ด ฉี ด เงิ น เข้ า ซื้ อ พั น ธบั ต รที่ มี สิ น ทรั พ ย์ เป็นประกันไปแล้วเมื่อเดือนตุลาคม 2557 ยูโรโซน : ในปี 2558 IMF คาดว่า เศรษฐกิจของยูโรโซนอาจฟื้นตัว ได้อย่างช้าๆ ที่ร้อยละ 1.3 โดยได้รับผลกระทบจากอัตราการว่างงาน ที่ สู ง ขึ้ น อย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ รวมถึ ง ภาวะเงิ น เฟ้ อ ที่ อ ยู่ ใ นระดั บ ตํ่ า
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ต่อเนื่อง ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการลดลงของราคานํ้ามันดิบ ในตลาดโลก นอกจากนี้ การฟื้ น ตั ว ทางเศรษฐกิ จ ยั ง มี ข้ อ จํ า กั ด จากการลงทุนภาคเอกชนที่ฟื้นตัวอย่างช้าๆ และข้อจํากัดในการ ดําเนินมาตรการทางการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ผลกระทบ จากการควํ่าบาตรรัสเซียของกลุ่มประเทศในยูโรโซน รวมถึงปัญหา ความขัดแย้งและความไม่สงบในภูมิภาคอาจส่งผลกระทบต่อความ เชื่อมั่นต่อการลงทุนในภูมิภาคด้วย อย่างไรก็ดี หลายฝ่ายมองว่า ธนาคารกลางยุโรปอาจมีการใช้แผนกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม ได้แก่ การออกนโยบายผ่อนปรนเชิงปริมาณ (QE) เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของ ภูมิภาคและหลีกเลี่ยงภาวะเงินฝืดที่อาจเกิดขึ้นได้ จีน : ในปี 2558 อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจจีนอาจชะลอตัว เล็กน้อย โดย IMF คาดว่า เศรษฐกิจจีนจะขยายตัวลดลงจากร้อยละ 7.4 ในปี 2557 เป็นร้อยละ 7.1 ในปี 2558 ทั้งนี้ IMF มองว่า การเติบโต ที่ช้าลงเป็นผลกระทบจากการดําเนินนโยบายปฏิรูปโครงสร้างทาง เศรษฐกิจเพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกและสร้างสมดุลเพิ่มการลงทุน ในการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม จีนได้ออกนโยบายเพื่อกระตุ้น เศรษฐกิจในระยะสัน้ ได้แก่ มาตรการผ่อนคลายทางภาษีเพือ่ สนับสนุน SMEs การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐ การลดดอกเบี้ย สินเชื่อ และการลดอัตราเงินสํารองตามกฎหมาย (Required Reserve Ratio ) ให้แก่ธนาคารพาณิชย์ เพื่อหนุนให้เศรษฐกิจของประเทศ ยังคงมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง
039
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
อุปทานนํ้ามันดิบ : อุปทานนํ้ามันดิบโลกในปี 2558 ถือว่ามีการ ขยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง โดยสํานักงานพลังงานสากล (IEA) ได้คาดการณ์วา่ อุปทานนํ้ามันดิบจากผู้ผลิตนอกกลุ่มโอเปกในปี 2558 (รายงาน ณ เดือนธันวาคม 2557) จะเฉลี่ยอยู่ที่ 57.84 ล้านบาร์เรลต่อวัน ปรับเพิ่มขึ้น 1.31 ล้านบาร์เรลต่อวันจากปี 2557 โดยอุปทานนํ้ามันดิบ ส่วนใหญ่มาจากการผลิต Shale Oil ในสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตาม ราคานํ้ามันดิบที่ตกตํ่าอาจส่งผลให้การผลิต รวมถึงการลงทุนด้าน Shale Oil ในสหรัฐอเมริกาชะลอตัว นอกจากนี้ IEA ได้คาดการณ์ว่า ในปี 2558 รั ส เซี ย จะผลิ ต นํ้ า มั น ดิ บลดลง 70,000 บาร์เรลต่อวัน ประกอบกั บ โอเปกได้ ป รั บ ลดคาดการณ์ อุ ป สงค์ นํ้ า มั น ดิ บ ของ กลุ่มโอเปกในปี 2558 ลดลงเหลือ 28.92 ล้านบาร์เรลต่อวัน ถือเป็น ระดับตํ่าที่สุดนับตั้งแต่ปี 2546 อุปสงค์นํ้ามันสําเร็จรูป : IEA ปรับลดคาดการณ์อุปสงค์นํ้ามันดิบโลก ปี 2558 ลง โดยมองว่า จะขยายตัวที่ระดับ 900,000 บาร์เรลต่อวัน มาอยู่ ที่ 93.3 ล้ า นบาร์ เรลต่ อ วั น บนสมมติ ฐ านการใช้ นํ้ า มั น ใน รั ส เซี ย และประเทศพั ฒ นาแล้ ว ปรั บ ตั ว ลดลง เหตุ จ ากความ เปราะบางในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ค่าจ้างแรงงานที่เพิ่มขึ้น และ แรงกดดันจากภาวะเงินฝืด ขณะที่จีนซึ่งเป็นผู้บริโภคนํ้ามันรายใหญ่ เป็นอันดับสองของโลก อาจมีความต้องการใช้นํ้ามันที่ไม่สูงมากนัก หลังภาพรวมเศรษฐกิจของประเทศเติบโตด้วยอัตราที่ลดน้อยลง อย่างไรก็ดี ในปี 2558 ความต้องการใช้ในประเทศกําลังพัฒนา เช่น อิ น เดี ย มี แ นวโน้ ม ปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น ตามการเติ บ โตของเศรษฐกิ จ ของ ประเทศ
ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น ดิ บ แ ล ะ นํ้ า มั น สํ า เ ร็ จ รู ป ใ น ต ล า ด โ ล ก กําลังการผลิตของโรงกลั่นในภูมิภาค : ในปี 2558 กําลังการผลิต ป 2 5 5 8 ในปี 2558 คาดว่า ราคานํ้ามันดิบดูไบจะมีราคาเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ ประมาณ 53 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ซึ่งถือว่าปรับลดลงอย่างมาก จากราคาเฉลี่ยในปี 2557 ที่ประมาณ 97 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนื่องจากมีแนวโน้มว่า อัตราการขยายตัวของอุปทานจะเพิ่มขึ้น สูงกว่าอัตราการขยายตัวของอุปสงค์ ส่งผลให้เกิดภาวะอุปทาน นํ้ามันดิบล้นตลาดมากขึ้น โดยอุปทานนํ้ามันดิบที่เพิ่มขึ้นนั้นมาจาก ผู้ผลิตทั้งในและนอกกลุ่มโอเปก ในปี 2558 คาดว่า อิหร่านและลิเบีย จะกลับมาผลิตได้เพิ่มขึ้น ขณะที่อุปทานนํ้ามันดิบจากสหรัฐอเมริกา คาดว่าจะยังคงอยู่ในระดับสูง ประกอบกับเศรษฐกิจโลกที่ถึงแม้จะ ฟืน้ ตัวดีขน้ึ แต่ยงั คงเปราะบาง ส่งผลให้อปุ สงค์นา้ํ มันดิบยังคงอ่อนตัว
ส่วนเพิ่มในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ส่วนใหญ่ยังคงมาจากจีนและอินเดีย ราว 0.18 ล้านบาร์เรลต่อวัน ขณะเดียวกัน กําลังการผลิตส่วนเพิ่ม ในตะวันออกกลางก็ปรับเพิ่มสูงขึ้นมาก โดยมีกําลังการผลิตส่วน เพิ่มอีกราว 0.6 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นโรงกลั่นใหม่ ในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และซาอุดิอาระเบีย สถานการณ์ ก ารเมื อ งระหว่ า งประเทศในตะวั น ออกกลาง : การเจรจาระหว่างอิหร่านและชาติมหาอํานาจ 6 ชาติ ซึ่งจะจัดขึ้น ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2558 หากอิหร่านยอมยุติการพัฒนาสมรรถนะ แร่ ยู เรเนี ย มไม่ ใ ห้ ไ ปถึ ง ระดั บ ที่ จ ะสามารถนํ า ไปผลิ ต เป็ น อาวุ ธ นิวเคลียร์ได้ เพื่อแลกกับการลดทอนมาตรการควํ่าบาตรการนําเข้า
040
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
นํ้ า มั น ดิ บ ของอิ ห ร่ า น จะทํ า ให้ อิ ห ร่ า นสามารถกลั บ มาส่ ง ออก นํ้ามันดิบได้ตามปกติ อย่างไรก็ตาม การที่อิหร่านจะกลับมาส่งออก นํ้ามันได้เต็มที่อีกครั้ง ยังคงต้องอาศัยเวลาในการฟื้นฟูอุปกรณ์และ เครื่องจักรต่างๆ เพื่อที่จะทําให้นํ้ามันดิบราว 1 ล้านบาร์เรลต่อวัน กลั บ มาสู่ ต ลาดเหมื อ นช่ ว งก่ อ นถู ก ควํ่ า บาตรจากชาติ ต ะวั น ตก ขณะที่ เ หตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบในลิ เ บี ย ยั ง คงมี อ ยู่ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง กลุ่มกบฏยังเข้าปิดแหล่งนํ้ามันดิบหลักอย่าง El Sharara และ El Feel ท่ า มกลางความพยายามที่ จ ะเปิ ด ดํ า เนิ น การและการเพิ่ ม กํ า ลั ง การผลิตของแหล่งนํ้ามันต่างๆ ซึ่งในปี 2558 ลิเบียมีแนวโน้มจะ สามารถส่ ง ออกนํ้ า มั น ดิ บ ได้ เ พิ่ ม ขึ้ น ในส่ ว นของอิ รั ก ก็ ยั ง มี ก าร ก่อความไม่สงบจากกลุ่มกบฏ IS แต่คาดว่าจะไม่ส่งผลกระทบต่อ การส่งออกนํ้ามันดิบของอิรักแต่อย่างใด ขณะที่ผลกระทบจากการ ที่โอเปกตัดสินใจคงกําลังการผลิตเอาไว้ อาจทําให้ประเทศผู้ส่งออก นํ้ามันในกลุ่ม โดยเฉพาะอิหร่าน เวเนซุเอลา และไนจีเรีย ได้รับ ผลกระทบอย่างหนักจากราคานํ้ามันดิบที่อยู่ในระดับตํ่า ซํ้าเติม สภาวะเศรษฐกิจของบางประเทศที่มีความเปราะบางอยู่แล้ว อาจส่ง ผลให้เกิดความไม่สงบภายในประเทศขึ้นได้ ฤดูกาลและภัยธรรมชาติ : นอกจากความต้องการใช้นํ้ามันแต่ละ ประเภทในแต่ ล ะฤดู ก าลจะมากน้ อ ยต่ า งกั น แล้ ว ภั ย พิ บั ติ ท าง ธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น อยู่ บ่ อ ยครั้ ง ในปั จ จุ บั น ยั ง คงส่ ง ผลต่ อ ราคา นํ้ า มั น ด้ ว ย ไม่ ว่ า จะเป็ น พายุ เ ฮอริ เ คนในมหาสมุ ท รแอตแลนติ ก ที่มักจะสร้างความเสียหายให้กับแหล่งผลิตนํ้ามันดิบและโรงกลั่น ในแถบอ่ า วเม็ ก ซิ โ ก รวมถึ ง พายุ ห มุ น เขตร้ อ น หรื อ พายุ ไ ต้ ฝุ่ น ใน มหาสมุทรแปซิฟิกหรือทะเลจีนใต้ ซึ่งอาจจะสร้างความเสียหาย ให้แก่โรงกลั่นในประเทศแถบเอเชียแปซิฟิก กฎหมายและระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ต่ า งๆ : การที่ รั ฐ บาลของ หลายประเทศทั่ ว โลก เช่ น อี ยิ ป ต์ คู เวต จี น อิ น เดี ย อิ น โดนี เซี ย มาเลเซีย และไทย เริ่มปรับลดนโยบายอุดหนุนราคาพลังงาน มีส่วน กดดันให้อุปสงค์นํ้ามันสําเร็จรูปปรับตัวลดลง ประกอบกับในปัจจุบัน หลายประเทศทั่วโลกได้ตระหนักถึงการใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับ สิ่ ง แวดล้ อ มเพิ่ ม มากขึ้ น จึ ง ทํ า ให้ มี ห ลายประเทศออกนโยบาย สนั บ สนุ น การใช้ พ ลั ง งานทดแทนเพื่ อ แก้ ปั ญ หาโลกร้ อ น ทั้ ง ใน สหรัฐอเมริกา ยุโรป หรือแม้แต่หลายๆ ประเทศในเอเชีย ก็มีการบังคับ สัดส่วนการใช้เอทานอลในนํ้ามันเบนซินและไบโอดีเซลในนํ้ามัน ดีเซลเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นอินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ หรือ แม้แต่ประเทศไทยเองก็ตาม
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น สํ า เ ร็ จ รู ป ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ป 2 5 5 8 สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติคาดการณ์ว่า เศรษฐกิ จ ไทยในปี 2558 จะมี แ นวโน้ ม การขยายตั ว อยู่ ร ะหว่ า ง ร้อยละ 3.5 – 4.5 (รายงานภาวะเศรษฐกิจไทย สํานักงานคณะกรรมการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 18 พฤศจิกายน 2557) โดยมีปัจจัย สนับสนุนหลักมาจากการใช้จ่ายและการลงทุนของภาครัฐ ที่คาดว่า จะปรับตัวดีขึ้นจากการเร่งเบิกจ่ายงบลงทุน การดําเนินโครงการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง และการใช้นโยบาย กระตุ้ น เศรษฐกิ จ อาทิ การให้ เ งิ น ช่ ว ยเหลื อ ชาวนา เป็ น ต้ น นอกจากนั้น ในรายงานเดือนตุลาคม 2557 ของ IMF คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจโลกจะขยายตัวมากขึ้นจากในปีนี้ที่ร้อยละ 3.3 เป็นร้อยละ 3.8 จะช่วยสนับสนุนให้การส่งออกสินค้าและการท่องเที่ยวของ ประเทศไทยกลั บ มาฟื้ น ตั ว ดี ขึ้ น อี ก ครั้ ง ในปี ห น้ า ในส่ ว นของ ภาคเอกชน การใช้ จ่ า ยเพื่ อ การอุ ป โภคบริ โ ภคจะฟื้ น ตั ว ขึ้ น จาก ปีก่อนหน้า ตามความเชื่อมั่นของภาคเอกชนที่ปรับตัวดีขึ้น และ กําลังซื้อของประชาชนที่เพิ่มมากขึ้นจากรายได้ที่สูงขึ้นเล็กน้อย รวมถึ ง ราคานํ้ า มั น ที่ ป รั บ ตั ว ลดลงอย่ า งมาก ขณะที่ ก ารลงทุ น ภาคเอกชนจะปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องตามการอนุมัติการส่งเสริม การลงทุนของบีโอไอ อย่างไรก็ตาม ในปีหน้าเศรษฐกิจไทยยังคง มีความเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนและอัตรา แลกเปลี่ยนที่ผันผวนมากขึ้น เนื่องจาก Fed มีแนวโน้มที่จะปรับขึ้น อัตราดอกเบี้ยนโยบายจากระดับปัจจุบันที่ร้อยละ 0.25 ประกอบกับ ความเสี่ ย งที่ เ ศรษฐกิ จ ของประเทศในกลุ่ ม ยุ โรป ญี่ ปุ่ น และจี น จะเติบโตน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ ทําให้การส่งออกและการท่องเที่ยว อาจจะเติบโตน้อยกว่าที่คาดการณ์ได้ สําหรับภาพรวมทิศทางการใช้นํ้ามันสําเร็จรูปในประเทศ คาดว่า ในปี 2558 อุปสงค์ของนํ้ามันสําเร็จรูปจะขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับปี 2557 จากเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น จากร้อยละ 1.0 เป็นร้อยละ 3.5 - 4.5 โดยมีสาเหตุหลักจากการ ใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น และการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว ทั้งนี้หาก พิจารณาการใช้นํ้ามันรายประเภทจะพบว่า นํ้ามันดีเซลจะขยายตัว ร้อยละ 1.1 นํ้ามันเบนซินจะขยายตัวร้อยละ 4.0 การใช้ก๊าซแอลพีจี จะขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.9 และนํ้ามันอากาศยานจะขยายตัวร้อยละ 3.2 สําหรับปัจจัยที่จําเป็นต้องจับตามองในปี 2558 คือ การปฏิรูป พลังงาน ที่มีวัตถุประสงค์ให้ราคาพลังงานสะท้อนต้นทุนที่แท้จริง ทั้งนี้ จากแนวโน้มคาดว่า จะส่งผลให้ราคาขายปลีกในกลุ่มของ ก๊าซแอลพีจีปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งอาจจะกระทบกับปริมาณความต้องการ ใช้ในระยะสั้นได้
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ภ า ว ะ ต ล า ด อ ะ โ ร ม า ติ ก ส ป 2 5 5 8 ตลาดสารพาราไซลีนในปี 2558 มีแนวโน้มทรงตัวในระดับตํา่ เนือ่ งจาก คาดว่า อุปสงค์ของอุตสาหกรรมโพลีเอสเตอร์ทั่วโลกจะเติบโตลดลง เหลือเพียงร้อยละ 4.0 ซึ่งเป็นระดับที่ตํ่ากว่าปี 2557 ที่ร้อยละ 5.2 เนือ่ งจากประเทศจีน ซึง่ เป็นผูบ้ ริโภคสารพาราไซลีนสูงทีส่ ดุ มีเศรษฐกิจ ที่ชะลอตัวลง นอกจากนี้ ตลาดยังถูกกดดันจากอุปทานที่เพิ่มขึ้น จากโรงผลิตสารพาราไซลีนใหม่ กําลังการผลิตรวม 3.4 ล้านตันต่อปี ในคาซั ค สถาน จี น อิ น เดี ย และการขยายกํ า ลั ง การผลิ ต ในไทย อย่างไรก็ตาม ตลาดสารพาราไซลีนจะได้รับแรงสนับสนุนจากการเปิด ดําเนินการผลิตของโรงงานพีทีเอแห่งใหม่ในจีน อินเดีย และไต้หวัน ซึ่ ง มี กํ า ลั ง การผลิ ต รวม 5.6 ล้ า นตั น ต่ อ ปี (คิ ด เป็ น ความต้ อ งการ สารตัง้ ต้นพาราไซลีน 3.7 ล้านตันต่อปี) นอกจากนี้ ผูผ้ ลิตสารพาราไซลีน ที่มีต้นทุนสูง มีแนวโน้มจะลดกําลังการผลิตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะช่วย ลดปริมาณสารพาราไซลีนส่วนเกินในตลาด ตลาดสารเบนซีนในปี 2558 มีแนวโน้มถูกกดดัน เนือ่ งจากสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้นําเข้าสารเบนซีนรายใหญ่ของเอเชีย อาจลดการนําเข้า สารเบนซีนลง หลังภาวะราคานํ้ามันดิบที่อ่อนตัวลงทําให้ผู้ผลิต ก๊ า ซจากหิ น ดิ น ดาน ( Shale Gas ) อาจลดกํ า ลั ง การผลิ ต และ เป็ น เหตุ ใ ห้ ผู้ ผ ลิ ต โอเลฟิ น ส์ เ ปลี่ ย นกลั บ ไปใช้ ส ารตั้ ง ต้ น ที่ หนักขึ้น เช่น แนฟทา ส่งผลให้ได้สารเบนซีนเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ เพิ่ ม มากขึ้ น นอกจากนี้ เศรษฐกิ จ ประเทศจี น ที่ ช ะลอตั ว ลง อาจส่งผลกระทบต่อความต้องการสารเบนซีน เนือ่ งจากจีนเป็นผูผ้ ลิต สารสไตรีนโมโนเมอร์ที่ใช้สารเบนซีนเป็นสารตั้งต้นรายใหญ่ที่สุด ของโลก อย่างไรก็ตาม ความต้องการสารเบนซีนโลกยังคงเติบโต ที่ร้อยละ 3.3 เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ที่ร้อยละ 2.3 เนื่องจากการผลิต ด้ า นอุ ต สาหกรรม เช่ น อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ของเล่ น บรรจุ ภั ณ ฑ์ เฟอร์ นิ เจอร์ และเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า มี แ นวโน้ ม ที่ ยั ง เติ บ โตต่ อ เนื่ อ ง ช่ ว ยหนุ น ให้ อุ ป สงค์ ข องอุ ต สาหกรรมปลายนํ้ า ปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น และ ส่งผลให้ความต้องการสารเบนซีนปรับตัวดีขึ้นตามไปด้วย
ภ า ว ะ ต ล า ด นํ้ า มั น ห ล อ ลื่ น พื้ น ฐ า น แ ล ะ ย า ง ม ะ ต อ ย ป 2 5 5 8 ในปี 2558 ตลาดนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานคาดว่า จะเกิดการแข่งขัน ทางราคาต่อเนื่องจากครึ่งปีหลังของปี 2557 เนื่องจากคาดว่า อุปสงค์ นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานทั่วโลกจะเติบโตเพียงร้อยละ 1.1 หรือประมาณ 400,000 ตันต่อปี ในขณะที่อุปทานจะปรับเพิ่มขึ้นจากโรงกลั่นใหม่
041
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
ในประเทศจีน เซอร์เบีย และเวียดนาม ที่มีกําลังการผลิตรวม 1.28 ล้ า นตั น ต่ อ ปี ประกอบกั บ มี อุ ป ทานส่ ว นเกิ น จากโรงกลั่ น นํ้ า มั น หล่อลื่นพื้นฐาน กรุ๊ป 2 จากประเทศสหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต้ และ โรงกลั่นนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน กรุ๊ป 3 ที่เริ่มเดือนเครื่องในปี 2557 กําลังการผลิตรวม 3.5 ล้านตันต่อปี ส่งผลให้ผู้ผลิตนํ้ามันหล่อลื่น พื้นฐาน กรุ๊ป 2 มีแนวโน้มที่จะเข้ามาแข่งขันทางราคาอย่างต่อเนื่อง เพื่ อ จู ง ใจให้ ผู้ ผ ลิ ต นํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น หั น มาใช้ นํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐาน กรุ๊ป 2 มากขึ้น อย่างไรก็ตาม คาดว่า ผู้ผลิตนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน กรุ๊ป 2 จะไม่สามารถลดราคาให้ตํ่ากว่าราคานํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน กรุ๊ป 1 ได้มากนัก เนื่องจากต้นทุนวัตถุดิบที่สูงกว่าโรงกลั่นนํ้ามัน หล่อลื่นพื้นฐาน กรุ๊ป 1 ส่งผลให้กําไรเริ่มไม่คุ้มทุน ทําให้ผู้ผลิตนํ้ามัน หล่อลื่นพื้นฐาน กรุ๊ป 2 อาจต้องปรับลดกําลังการผลิตลง ส่งผลให้ ราคานํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานปรับตัวลดลงจากปี 2557 ไม่มากนัก ในปี 2558 คาดการณ์ว่า ตลาดยางมะตอยในภูมิภาค จะมีการเติบโต จากอุปสงค์ทด่ี ขี องหลายประเทศในภูมภิ าค ตามโครงการพัฒนาถนน และโครงสร้างพืน้ ฐานทางการคมนาคม เพือ่ รองรับการเข้าสูป่ ระชาคม อาเซียนในช่วงปลายปี 2558 ทําให้ประเทศต่างๆ ภายในภูมิภาค มี แ นวโน้ ม ในการส่ ง ออกยางมะตอยน้ อ ยลง เพื่ อ รองรั บ ความ ต้องการใช้ภายในประเทศ ส่งผลให้อุปทานในภูมิภาคมีแนวโน้ม ตึงตัวมากขึ้น ขณะที่ความต้องการใช้ยางมะตอยภายในประเทศ มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นมากเช่นกัน เนื่องจากรัฐบาลมีโครงการพัฒนา โครงสร้ า งพื้ น ฐานทางการคมนาคมขนส่ ง ในปี 2558 - 2566 จึ ง คาดการณ์ ว่ า ราคายางมะตอยจะยั ง ทรงตั ว ในระดั บ เดี ย วกั บ ปี 2557 ในขณะที่ส่วนต่างราคายางมะตอยเทียบราคานํ้ามันเตา ปรับตัวดีขึ้นจากราคานํ้ามันดิบที่อ่อนตัวลง
ภ า ว ะ ต ล า ด ส า ร ทํ า ล ะ ล า ย ป 2 5 5 8 สําหรับปี 2558 คาดว่า อุปสงค์ของสารละลายโดยรวม จะปรับตัว เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ที่ ผ่ า นมา ในอั ต ราร้ อ ยละ 3 - 4 ตามการฟื้ น ตั ว ของสภาพเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะอย่างยิง่ เศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ที่ เ ริ่ ม ส่ ง สั ญ ญาณบวกในช่ ว งปลายปี 2557 ส่ ว นอุ ป สงค์ ข อง สารละลายในภูมิภาคเอเชียก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน แต่ก็ไม่สามารถรองรับ อุปทานที่เพิ่มขึ้นได้ทั้งหมด โดยเฉพาะในตลาดขนาดใหญ่อย่าง ประเทศจี น ซึ่ ง มี ลั ก ษณะการเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ แบบถดถอย เนื่ อ งจากรั ฐ บาลต้ อ งการควบคุ ม อั ต ราการเติ บ โตของประเทศ
042
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
ให้เติบโตอย่างมั่นคง ทําให้อุปทานที่มีในประเทศมากเกินความ ต้องการ จึงจําเป็นต้องมีการส่งออกไปยังประเทศอื่นแทน ขณะ เดียวกัน ประเทศจีนได้ตั้งกําแพงภาษีนําเข้าใหม่เพื่อปกป้องผู้ผลิต ภายในประเทศ ทําให้ประเทศที่อยู่ใกล้เคียง เช่น ประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และไต้หวัน ซึ่งพึ่งพาตลาดประเทศจีนเป็นส่วนใหญ่ จําเป็น ต้องส่งผลิตภัณฑ์ไปยังประเทศอื่นๆ แทน โดยเฉพาะประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ประเทศไทย และอินโดนีเซีย เป็นต้น เพื่อชดเชยตลาดที่หายไป ส่งผลให้เกิดสภาพการแข่งขันที่ สูงขึ้นในภูมิภาค นอกจากนี้ ตลาดที่มีขนาดใหญ่อย่างประเทศอินเดีย ก็ไม่สามารถรองรับอุปทานที่มีมากได้ทั้งหมด เพราะนอกจากอุปทาน ที่มีอยู่ในภูมิภาคเอเชียแล้ว ยังมีอุปทานจากฝั่งตะวันออกกลางและ ยุโรปเข้ามาในตลาดภูมิภาคเอเชียเพิ่มขึ้นเช่นกัน เนื่องจากวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตของฝั่งยุโรปมีต้นทุนที่ถูกลง อันเนื่องมาจากการใช้ก๊าซ จากหินดินดาน (Shale Gas ) จากสหรัฐอเมริกา รวมทั้งการได้เปรียบ เรื่องค่าขนส่งเมื่อเปรียบเทียบกับการส่งสินค้าจากฝั่งเอเชียไปประเทศ อินเดีย สรุปโดยรวมแล้ว คาดว่า ตลาดของสารละลายในภูมิภาค เอเชียจะมีอัตราการเติบโตประมาณร้อยละ 4 - 5 โดยเฉลี่ย สําหรับประเทศไทย อุปสงค์เริ่มปรับตัวดีขึ้นหลังจากเกิดเหตุการณ์ ทางการเมืองในช่วงต้นปีของปี 2557 และคาดว่า อัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิ จ ภายในประเทศในปี 2558 จะอยู่ ที่ ร้ อ ยละ 4 - 5 โดยประมาณ อย่างไรก็ตาม อุปทานของผลิตภัณฑ์บางกลุ่มจะมี เพิ่ ม ขึ้ น จากการนํ า เข้ า มาจากภู มิ ภ าคเอเชี ย เหนื อ เช่ น จี น ญี่ ปุ่ น เกาหลี และไต้ ห วั น เป็ น ต้ น เนื่ อ งมาจากเหตุ ผ ลข้ า งต้ น ดั ง นั้ น การแข่ ง ขั น ในประเทศย่ อ มสู ง ขึ้ น ตามไปด้ ว ย ทั้ ง นี้ คาดว่ า อั ต รา การเติบโตของธุรกิจสารละลายจะอยู่ที่ร้อยละ 4 - 5 โดยประมาณ
ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ข น ส ง นํ้ า มั น ป 2 5 5 8 ภาวะตลาดเรือ VLCC ในปี 2558 จากการคาดการณ์ ว่ า โรงกลั่ น ในภู มิ ภ าคจะมี กํ า ลั ง การผลิตเพิ่มขึ้นอีกราว 3 - 4 ล้านบาร์เรลต่อวันภายในปี 2563 จึงเป็นปัจจัยสนับสนุนให้ความต้องการใช้เรือ VLCC ทั้งในประเทศ และในภูมิภาคสูงขึ้น โดยประมาณการความต้องการใช้เรือ VLCC ในอี ก 5 ปี ข้ า งหน้ า จะเพิ่ ม เฉลี่ ย เพี ย งประมาณร้ อ ยละ 3 ต่ อ ปี อย่างไรก็ดี คาดการณ์ว่าในระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ตลาดเรือ VLCC ได้ผ่านช่วงที่ค่าขนส่งตํ่าที่สุดมาแล้วในช่วงระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา และมีโอกาสที่จะปรับตัวสูงขึ้นเป็นลําดับ
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ภาวะตลาดเรือ AFRAMAX จากความต้องการใช้นํ้ามันภายในประเทศและภูมิภาคที่มีแนวโน้ม เพิ่มสูงขึ้นทุกปี ทําให้ความต้องการการขนส่งนํ้ามันดิบและนํ้ามัน สําเร็จรูปในภูมิภาคยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจาก ความต้องการใช้เรือ AFRAMAX เพื่อขนส่งนํ้ามันแล้ว ยังมีความ ต้องการใช้เรือเพื่อเป็นคลังลอยนํ้าอีกด้วย อย่างไรก็ตาม จํานวนของ การสั่งต่อเรือชนิดนี้ใหม่ในตลาดมีเพิ่มขึ้นน้อย และส่วนหนึ่งถูก สั่งต่อเพื่อทดแทนเรือเก่า ทําให้จํานวนเรือชนิดนี้ในตลาดมีอัตรา การเติบโตตํ่า จึงคาดว่า ค่าขนส่งในอนาคตของเรือชนิดนี้น่าจะมี แนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น ภาวะตลาดเรือเคมี การขนส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี ภ ายในประเทศมี ก ารเติ บ โต อย่างต่อเนื่อง จากความต้องการใช้งานของบริษัทในกลุ่ม ปตท. เพื่อใช้ในการขนส่งสินค้าภายในประเทศ และส่งออกไปยังประเทศ ต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศเพื่อนบ้านที่มี การเติบโตและมีความต้องการใช้เรืออีกมาก ภาวะตลาดเรือ Crew Boat ความต้องการใช้เรือ Crew Boat ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อสนับสนุนการสํารวจและขุดเจาะนํ้ามันดิบมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ปั จ จุ บั น บริ ษั ท สํ า รวจและขุ ด เจาะนํ้ า มั น ในประเทศไทยต่ า งให้ การสนั บ สนุ น ผู้ ป ระกอบการเรื อ Crew Boat ที่ มี สั ญ ชาติ ไ ทย เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารทดแทนการว่ า จ้ า งเรื อ ของบริ ษั ท ต่ า งชาติ ม ากขึ้ น ประกอบกั บ ธุ ร กิ จ นี้ มี ก ารเติ บ โตดี จึ ง เป็ น โอกาสดี ใ นการขยาย การลงทุน
ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ อ ท า น อ ล ป 2 5 5 8 ปริ ม าณความต้ อ งการใช้ เ อทานอลในประเทศปี 2558 คาดว่ า จะปรับขึ้นมาอยู่ที่ระดับประมาณ 3.6 ล้านลิตรต่อวัน เนื่องจาก ความต้ อ งการใช้ นํ้ า มั น แก๊ ส โซฮอล์ E 20 และ E 85 ที่ มี แ นวโน้ ม เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุหลักมาจากนโยบายส่งเสริมการใช้ นํ้ามันแก๊สโซฮอล์ของภาครัฐ ผ่านการใช้กลไกในการปรับโครงสร้าง ราคาขายปลีก นอกจากนัน้ การปรับตัวเพิม่ ขึน้ ของปริมาณรถยนต์ใหม่ และจํานวนสถานีบริการนํ้ามันแก๊สโซฮอล์ E 20 และ E 85 ยังเป็น อีกปัจจัยที่ส่งผลให้การใช้เอทานอลมีการเติบโตอย่างมีนัยสําคัญ
043
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ป 2 5 5 7 ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น อ น า ค ต
ในปี 2558 คาดว่า จะมีโรงงานเอทานอลใหม่ที่จะสร้างเสร็จอีก 3 โรง โดยจะเป็นโรงงานเอทานอลที่ผลิตจากมันสําปะหลังจํานวน 2 โรงงาน รวมกํ า ลั ง การผลิ ต 0.4 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น และโรงงาน เอทานอลที่ผลิตจากกากนํ้าตาลจํานวน 1 โรงงาน กําลังการผลิต 0.1 ล้านลิตรต่อวัน รวมทั้งสิ้นจะมีกําลังการผลิตเพิ่ม 0.5 ล้านลิตร ต่อวัน ซึ่งจะทําให้กําลังการผลิตเอทานอลรวมในประเทศเพิ่มขึ้น เป็นประมาณ 4.72 ล้านลิตรต่อวัน ขณะที่สภาวะราคาเอทานอล ในปี 2558 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า เนื่องจาก คาดว่าราคาวัตถุดิบหลักจะปรับตัวสูงขึ้น ทั้งนี้ ตลาดคาดการณ์ว่า ในฤดูกาลผลิตปี 2557/2558 ปริมาณผลผลิตอ้อยจะปรับตัวลดลง จากสภาวะที่ แ ห้ ง แล้ ง ซึ่ ง จะทํ า ให้ มี ก ากนํ้ า ตาลออกมาสู่ ต ลาด ค่ อ นข้ า งน้ อ ย และส่ ง ผลให้ ร าคาเอทานอลจากกากนํ้ า ตาล มี แ นวโน้ ม จะเพิ่ ม สู ง ขึ้ น ขณะที่ ร าคามั น สํ า ปะหลั ง มี แ นวโน้ ม เพิ่มสูงขึ้นเช่นกันในปี 2558 เนื่องจากความต้องการใช้มันสําปะหลัง ที่คาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้นจากอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และอุตสาหกรรม ผลิตเอทานอลทั้งในและต่างประเทศ
ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ฟ ฟ า ป 2 5 5 8 ในปี 2558 คาดการณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดที่ 27,646 เมกะวัตต์ เติบโตจากปีก่อนหน้าร้อยละ 2.61 โดยมีกําลังผลิตสํารองพึ่งได้ของ ระบบถึงร้อยละ 22.7 สูงขึ้นจากการที่มีโรงไฟฟ้าใหม่เข้าจ่ายไฟฟ้าใน ปี 2557 ได้แก่ โรงไฟฟ้าวังน้อย ชุดที่ 4 โรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ 2 และ โรงไฟฟ้ากัลฟ์หนองแซง ชุดที่ 1 และ 2 และคาดการณ์ปริมาณความ ต้องการไฟฟ้าผลิตและซื้อปี 2558 ที่ 184,509 เมกะวัตต์ เติบโตจาก ปีก่อนหน้าร้อยละ 3.88 โดยก๊าซธรรมชาติยังคงเป็นเชื้อเพลิงหลัก ในการผลิ ต ไฟฟ้ า โดยมี สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 67.0 สํ า หรั บ เชื้ อ เพลิ ง รองลงมา ได้แก่ ถ่านหิน พลังนํ้า พลังงานทดแทน และไฟฟ้าจาก มาเลเซี ย มี สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 21.1 ร้ อ ยละ 8.6 ร้ อ ยละ 2.6 และ ร้อยละ 0.1 ตามลําดับ และมีแผนใช้นํ้ามันคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 0.6 โดยยั ง มี ค วามจํ า เป็ น ต้ อ งเดิ น เครื่ อ งโรงไฟฟ้ า กระบี่ แ ละ สุราษฎร์ธานี เพื่อรักษาความมั่นคงระบบไฟฟ้าภาคใต้ เนื่องจาก ปี 2558 ปริมาณการผลิตก๊าซธรรมชาติทั้งจากพม่า และแหล่ง JDA มี แ นวโน้ ม ลดลง อี ก ทั้ ง มี แ ผนหยุ ด จ่ า ยก๊ า ซธรรมชาติ จ ากแหล่ ง JDA - A 18 ในวั น ที่ 7 - 13 มิ ถุ น ายน 2558 และวั น ที่ 30 สิ ง หาคม - 8 กั น ยายน 2558 แต่ ส ถานการณ์ ก ารใช้ นํ้ า มั น เพื่อผลิตไฟฟ้าในปี 2558 ดีกว่าปี 2557 เนื่องจากมีโรงไฟฟ้าใหม่ ที่สามารถผลิตไฟฟ้ากว่า 3,000 เมกะวัตต์ ดังตารางต่อไปนี้
แผนโรงไฟฟ้าเข้าใหม่ในปี 2558 ปี 2558
โรงไฟฟ้า
เชื้อเพลิง
เมกะวัตต์
ที่ตั้ง (ภาค)
มิถุนายน มิถุนายน พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม – ธันวาคม
หงสา หน่วยที่ 1 กัลฟ์อุทัย ชุดที่ 1 หงสา หน่วยที่ 2 กัลฟ์อุทัย ชุดที่ 2 โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก (SPP )
ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติ
491 800 491 800 450
เหนือ กลาง เหนือ กลาง นครหลวง, ตะวันออกและตะวันตก
044
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม
11
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม CDU - 3) โดยการออกแบบและติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ แ ลกเปลี่ ย น ÜC ' 6'A"ôø % '4.8 8 $ 6" 6'D ĕ ")5
6 1 / Ĕ+& )5I J7%5 8 9I 3 | ¤ Ú å} 7D/ĕ E &11&)Ę.6%6' '4/&5 A ;J1A")8 E ĕ%6 +Ĕ6A 8% :
'ĕ1&)4 ä A"ôø% 'è%6 6' )8 J7%5 16 6,&6 B)4 NJ 6 %5 9 A ) '+% :
.6%6' A 8 A 'ë I 1 9I 7)5 6' )8 9.I = +Ĕ6 9I11 B E+ĕ E ĕ : 'ĕ1&)4 ç Ý
ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ป โ ต ร เ ค มี ในปี 2557 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) กลั่นนํ้ามันดิบและ วัตถุดิบอื่น โดยมีกําลังการกลั่นรวม 269,000 บาร์เรลต่อวัน คิดเป็น ร้อยละ 98 ของกําลังการกลั่นสูงสุด ขณะที่บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) สามารถเดินเครื่องหน่วยผลิตที่ 245,000 ตันต่อปี คิดเป็น ร้อยละ 92 ของกําลังการผลิตสูงสุด และบริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด สามารถเดินเครื่องหน่วยผลิตที่ 684,000 ตันต่อปี คิดเป็น ร้อยละ 82 ของกําลังการผลิตสูงสุด โดยทั้ง 3 บริษัทดําเนินการผลิต ภายใต้แผนการผลิตร่วมกันเพื่อประสิทธิผลสูงสุด ปี นี้ ไทยออยล์ มี ก ารหยุ ด เดิ น เครื่ อ งจั ก รในเดื อ นมิ ถุ น ายนและ กรกฎาคม เพื่อตรวจสอบและซ่อมบํารุงหน่วยผลิตต่างๆ ซึ่งสามารถ ดํ า เนิ น การได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเร็ ว กว่ า แผนที่ กํ า หนดไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในหน่วยกลั่นนํ้ามันดิบที่ 3 ซึ่งเป็นหน่วยกลั่น ที่มีกําลังการผลิตสูงสุด เพื่อให้โรงกลั่นสามารถกลับมาดําเนินการ กลั่ น ได้ ต ามปกติ แ ละสนองต่ อ ความต้ อ งการนํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ได้ โดยเร็ว นอกจากนี้ เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพของเครือไทยออยล์ ให้มีความสามารถในการแข่งขันอยู่เสมอ เครือไทยออยล์ยังได้ดําเนิน โครงการต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยผลิตและการปฏิบัติการ ด้านการผลิต เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยสามารถสรุปกิจกรรม ต่างๆ ได้ดังนี้ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) >> ซ่ อ มบํ า รุ ง ใหญ่ แ ละดํ า เนิ น โครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พลังงานของหน่วยกลั่นนํ้ามันดิบที่ 3 (Crude Distillation Unit – 3 :
ความร้ อ นใหม่ จํ า นวน 15 ตั ว รวมทั้ ง จั ด เรี ย งลํ า ดั บ อุ ป กรณ์ แลกเปลี่ยนความร้อนใหม่ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความร้อน อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ซึ่ ง ได้ ม าจากการศึ ก ษาร่ ว มกั บ มหาวิทยาลัยที่ใช้แนวคิดใหม่ ถือเป็นนวัตกรรมด้านการออกแบบ ระบบถ่ายเทความร้อนชั้นสูง รวมทั้งมีการเปลี่ยนท่อแลกเปลี่ยน ความร้อนส่วนบน (Convection Bank ) และฉนวนผนังของเตา ให้ความร้อนนํ้ามันดิบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยน ความร้ อ น และเปลี่ ย นถาดกลั่ น ภายในหอกลั่ น เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพในการกลั่น หลังจากเสร็จสิ้นการซ่อมบํารุงและ การดําเนินโครงการดังกล่าว หน่วยกลั่นนํ้ามันดิบที่ 3 สามารถ กลั บ มาทํ า งานได้ เ ต็ ม กํ า ลั ง การผลิ ต และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ขึ้ น โดยสามารถประหยัดเชื้อเพลิงได้ถึงร้อยละ 26 หรือประมาณ 26,000 ตั น เชื้ อ เพลิ ง ต่ อ ปี ซึ่ ง มากกว่ า ที่ ไ ด้ ว างแผนไว้ ทั้ ง ยั ง สามารถผลิตนํ้ามันอากาศยาน ที่มีมูลค่าสูงได้เพิ่มขึ้น ประมาณ 5 ล้านลิตรต่อเดือน และกลั่นแยกนํ้ามันดีเซลออกจากนํ้ามันหนัก ได้ ม ากขึ้ น ประมาณ 4 ล้ า นลิ ต รต่ อ เดื อ นอี ก ด้ ว ย นอกจากนั้ น การลดการใช้เชื้อเพลิงในหน่วยกลั่นนํ้ามันดิบที่ 3 และเพิ่มปริมาณ การผลิตนํ้ามันอากาศยานและนํ้ามันดีเซลส่งผลให้กําไรขั้นต้นจาก การกลั่น (Gross Refi nery Margin ) ปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 0.14 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล นอกจากนี้ ในกรณีที่โรงกลั่นต้องการ กํ า ลั ง การผลิ ต ที่ สู ง มากขึ้ น หน่ ว ยกลั่ น นํ้ า มั น ดิ บ ที่ 3 สามารถ ทํางานที่กําลังการผลิตที่สูงมากขึ้นกว่าที่ออกแบบไว้ถึงร้อยละ 5.7 ซึ่งจะช่วยเพิ่มผลกําไรให้กับโรงกลั่นได้เป็นอย่างมาก >> ซ่อมบํารุงใหญ่หน่วยกลัน ่ นํา้ มันดิบที่ 1 (Crude Distillation Unit – 1 : CDU – 1) และหน่วยกลั่นสุญญากาศที่ 1 (High Vacuum Unit – 1 : HVU – 1) เพื่อทําการกําจัดตะกรัน (Coke) ออกจากท่อนํ้ามันดิบ ในเตา เพื่ อ ให้ ส ามารถกลั บ มาเดิ น เครื่ อ งได้ เ ต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนี้ ยังทําการเปลี่ยนพื้นของเตาที่หมดอายุการใช้งาน >> หยุดเดินเครื่องหน่วยกําจัดกํามะถันจากนํ้ามันดีเซล เพื่อทําการ เปลี่ ย นตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย าใหม่ แ ทนตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย าเดิ ม ที่ ห มดอายุ การใช้งานตามรอบปกติ เพื่อให้สามารถกลับมาดําเนินการผลิต ได้เต็มประสิทธิภาพ >> ซ่อมบํารุงใหญ่และดําเนินการโครงการเคลือบผิวด้านนอกของ ท่อนํ้ามันทั้งหมดด้วยสารเซรามิกในเตาให้ความร้อนของหน่วย
045
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
เพิ่ ม ค่ า ออกเทนด้ ว ยสารเร่ ง ปฏิ กิ ริ ย า ( Continuous Catalyst Regeneration Platformer Unit : CCR – 1) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการถ่ายเทความร้อนขึ้นประมาณร้อยละ 3 >>
ซ่อมบํารุงใหญ่หน่วยกลั่นสุญญากาศที่ 3 (High Vacuum Unit - 3 : HVU – 3) โดยเปลีย่ นท่อแลกเปลีย่ นความร้อนส่วนบน (Convection Bank ) ของเตาให้ความร้อนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทําให้สามารถ ลดการใช้เชื้อเพลิงและเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์ คิดเป็นมูลค่าเพิ่ม 34 ล้านบาทต่อปี
>>
ติดตั้งระบบ Real Time Optimization (RTO ) ซึ่งเป็นระบบควบคุม กระบวนการผลิตที่มีเทคโนโลยีขั้นสูงสุดในการเพิ่มประสิทธิผล เพิ่มเติมอีก 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยกลั่นเพิ่มมูลค่านํ้ามันเตาด้วย สารเร่งปฏิกริ ยิ าโดยใช้ไฮโดรเจนร่วมที่ 1 (Hydrocracking Unit - 1 : HCU - 1) เพื่อเพิ่มปริมาณนํ้ามันอากาศยานและนํ้ามันดีเซล และ หน่วยเพิ่มคุณค่านํ้ามันเตาด้วยสารเร่งปฏิกิริยา (Fluid Catalytic Cracking Unit : FCCU) เพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตนํ้ามันเบนซิน
>>
ดําเนินการโครงการเพิ่มปริมาณการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติใน โรงกลั่น (Increase NG Consumption for Refi nery Project : NGLN ) ประกอบด้วยสถานีจ่ายก๊าซธรรมชาติและท่อส่งใหม่ สามารถรองรับความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติจากโครงการใหม่ที่ จะเกิดขึ้นในอนาคต เพิ่มเสถียรภาพแก่ระบบพลังงานในโรงกลั่น รวมทั้ ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง หั ว เผาก๊ า ซของเตาเผาจํ า นวน 37 เตา เป็นชนิด Low NO X สามารถลดการปล่อยสารมลพิษทางอากาศ ซึ่ ง โครงการนี้ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม ภายใต้ ม าตรการส่ ง เสริ ม การลงทุน เพื่อการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน หรือ การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากสํานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI )
>>
>>
ปรั บ เปลี่ ย นชนิ ด ของนํ้ า ที่ ใช้ ป้ อ นหม้ อ ต้ ม ไอนํ้ า จากการกลั่ น นํ้าทะเลที่มีต้นทุนการผลิตสูงมาเป็นการใช้นํ้าดิบ ซึ่งมีต้นทุน ที่ ถู ก กว่ า มาก ส่ ง ผลให้ ต้ น ทุ น ในการผลิ ต ลดลงคิ ด เป็ น มู ล ค่ า 40 ล้านบาทต่อปี เดินเครื่องโครงการ Emission Improvement Project (EIP ) ตั้งแต่ ต้นปี เพือ่ ปรับปรุงคุณภาพก๊าซทิง้ โดยเปลีย่ นก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ เป็นกํามะถัน ซึ่งทําได้มากถึงร้อยละ 99.8 เพื่อให้ปริมาณก๊าซ ต่างๆ ที่ปล่อยออกสู่บรรยากาศมีคุณภาพดีกว่าค่ามาตรฐานที่ กฎหมายกําหนด โดยมีปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่ปล่อย ออกสู่บรรยากาศน้อยกว่า 250 ส่วนในล้านส่วนปริมาตร (ppm ) ซึ่งตํ่ากว่ามาตรฐานที่กฎหมายกําหนดไว้ที่ 500 ส่วนในล้านส่วน ปริ ม าตร นอกจากนี้ ยั ง สามารถรองรั บ การกลั่ น นํ้ า มั น ดิ บ ที่ มี กํามะถันสูงในอนาคตได้อีกด้วย ซึ่งจะส่งผลให้ต้นทุนวัตถุดิบตํ่าลง
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม
>>
เดิ น เครื่ อ งโครงการปรั บ ปรุ ง หน่ ว ยกลั่ น สุ ญ ญากาศหน่ ว ยที่ 2 (High Vacuum Unit – 2 Revamp Project ) ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม โดยนําเทคโนโลยี Deep cut จากเชลล์ โกลบอล โซลูชันส์ (Shell Global Solutions ) มาใช้ เป็นการนํานํ้ามันหนักจากหน่วยกลั่น นํ้ามันสุญญากาศที่ 2 มาเข้าหน่วย HVU - 2 / DC ทําให้สามารถ ผลิ ต นํ้ า มั น ดี เซลได้ ม ากขึ้ น ส่ ง ผลให้ กํ า ไรขั้ น ต้ น จากการกลั่ น (Gross Refi nery Margin ) ปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 0.47 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
>>
หยุดซ่อมบํารุงหน่วยเพิ่มมูลค่านํ้ามันเตาด้วยสารเร่งปฏิกิริยา โดยใช้ไฮโดรเจนร่วมที่ 1 (Hydrocracking Unit - 1 : HCU - 1) และ เปลี่ยนตัวเร่งปฏิกิริยาทําให้สามารถผลิตนํ้ามันอากาศยานและ ดี เซลได้ เ พิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 3 คิ ด เป็ น ผลกํ า ไรจนถึ ง สิ้ น ปี ป ระมาณ 435 ล้านบาท ทั้งยังมีการดําเนินโครงการปรับปรุงหน่วยกลั่นนี้ ให้สามารถรองรับนํ้ามันดิบราคาถูกที่มีไนโตรเจนสูงขึ้นได้ด้วย
บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) >> ได้ รั บ รางวั ล Zero Accident Award เป็ น ปี ที่ 5 ติ ด ต่ อ กั น จาก กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน >>
พัฒนาและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ Mild Extract Solvate (MES) ซึ่งเป็นนํ้ามันยางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยสามารถจําหน่ายได้ ในเดือนมิถุนายน
>>
หยุดการผลิตเป็นเวลา 12 วันในเดือนกันยายน เพื่อดําเนินการ ติดตั้งอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนเพิ่มเติม 2 ตัวที่หน่วยแยก แอสฟัลท์ (Propane Deasphalting Unit : PDA ) และถือโอกาส ทําความสะอาดอุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อนเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ซึ่งทําได้ตามแผนงานที่กําหนดและสามารถประหยัดพลังงานจาก อุปกรณ์ที่ติดตั้งใหม่ได้ 3 เมกะวัตต์ หรือคิดเป็นเงิน 41 ล้านบาท ต่อปี
บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด >> หยุดซ่อมบํารุงใหญ่ เพื่อให้สามารถดําเนินการผลิตได้เต็มกําลัง การผลิต >>
เปลี่ ย นหั ว เผาเชื้ อ เพลิ ง ในเตาให้ ค วามร้ อ นชนิ ด Low NO X ทําให้ปริมาณก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ (NO X) ในก๊าซทิ้งลดลงจาก 115 ส่วนในล้านส่วนปริมาตร เหลือเพียง 27 ส่วนในล้านส่วน ปริมาตร
>>
ปรับปรุงประสิทธิภาพเชิงพลังงาน โดยนําอุปกรณ์แลกเปลี่ยน ความร้อนที่ไม่ใช้งานกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งช่วยลดการสูญเสียความ ร้อนในกระบวนการกลั่น ทําให้ประหยัดพลังงานได้ 1 เมกะวัตต์
046
р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕йр╕▒ р╕Ч р╣Д р╕Ч р╕в р╕н р╕н р╕в р╕е┬П р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Бр╕▒ р╕Ф ( р╕б р╕л р╕▓ р╕К р╕Щ ) р╕г р╕▓ р╕в р╕З р╕▓ р╕Щ р╕Ы р╕г р╕░ р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Ы┬В 2 5 5 7
р╕Б р╕г р╕░ р╕Ъ р╕з р╕Щ р╕Б р╕▓ р╕г р╕Ь р╕ер╕┤ р╕Х р╕Б р╕▓ р╕г р╕Юр╕▒ р╕Т р╕Щ р╕▓ р╕Б р╕▓ р╕г р╕Ь р╕ер╕┤ р╕Х р╣Б р╕е р╕░ р╕Б р╕▓ р╕г р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕л р╕▓ р╕г р╕Ир╕▒ р╕Ф р╕Б р╕▓ р╕г р╕Ф┬М р╕▓ р╕Щ р╕Др╕╕ р╕У р╕а р╕▓ р╕Ю р╕Д р╕з р╕▓ р╕б р╕бр╕▒р╣И р╕Щ р╕Д р╕З р╕н р╕▓ р╕Кр╕╡ р╕з р╕н р╕Щ р╕▓ р╕бр╕▒ р╕в р╣Б р╕е р╕░ р╕кр╕┤р╣И р╕З р╣Б р╕з р╕Ф р╕е┬М р╕н р╕б
' 4 + 6 ' )8 )8 $5 ─Ш ─Л C ' A )9 & % .N 6 A 'H '= 6 NJ 6 %5 8 B ) 4 +5 < 8 1;I G ' + % : ' 4 + 6 ' )8 ─Л C ' A %9 B ) 4 6 ' )8 NJ 6 %5 / )─Ф 1 );I "├╖J 6 1 A '├л 1 E & 1 1 & )─Ш
FUEL GAS
ADIP
LPG
ISOM
HDT-1
PLATFORM
HDT-2 CCR-1 HDT-3 PREMIUM
CCR-2 CCG HDS CDU-1
REGULAR
CRUDE CDU-2
JET
KMT CDU-3
KEROSENE FCCU HDS-1
HVU-1 HMU-1
HVU-2/DC
LONG RESIDUE
HDS-2 AGO
HMU-2
HVU-3
TCU
HDS-3
HCU-1
DIESEL
HCU-2
FUEL OIL ADIP
SRU-1/2 SRU-3/4 SRU-5
р╕гр╕╣р╕Ыр╕Чр╕╡р╣И 1 р╣Бр╕кр╕Фр╕Зр╣Бр╕Ьр╕Щр╕Ьр╕▒р╕Зр╕Вр╕нр╕Зр╕лр╕Щр╣Ир╕зр╕вр╕Ьр╕ер╕┤р╕Х (Flow Diagram) р╕ар╕▓р╕вр╣Гр╕Щр╣Вр╕гр╕Зр╕Бр╕ер╕▒р╣Ир╕Щр╣Др╕Чр╕вр╕нр╕нр╕вр╕ер╣М
SULPHUR
047
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม
SI M PLI F I ED ARO MATI C S CONFIGURATION
D IS T ILL ATION
QU AL IT Y IMPR OVE ME NT
U PGR ADING
P RODUCT
By products
ED Sulfolane BT Franct. I
Benzene Mixed Xylene
Platformate
CCR
Toluene
Benzene
MX
MX
PX
Paraxylene
By products
By products
PX Max BT Franct. II
Imported Toluene
MX
รูปที่ 2 แสดงแผนผังของหน่วยผลิต (Flow Diagram) ของบริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด ซึ่งทำการผลิตสารอะโรมาติกส์ เพื่อเป็นวัตถุดิบป้อนอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นปลายต่อไป
SIMPLIFIED LUBE CONFIGURATION
D IS T IL L AT IO N
QU AL IT Y IMPR OVE ME NT
PR O DUCT
VGO / Extract / Slack Wax
60/150SN
60/150VGO Import Long Residue
VDU
500SN
500VGO
MPU
HFU
Base oil
SDU 150BS
DAO Hydrocracker Bottom
Slack Wax Vacuum Residue
Sulphur
PDA
Extract
TDAE 2 nd Extract
รูปที่ 3 แสดงแผนผังของหน่วยผลิต (Flow Diagram) ของบริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) ซึ่งทำการผลิตน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน
TDAE
Bitumen
Slack Wax
Sulphur
Extract
TDAE
Bitumen
048
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม
) 6' )Ĕ1& Ė6 A'ë1 '4 %6 +Ĕ6
88,000 5 6'Ę 1 E 11 E Ę
6' 7A 8 C ' 6'1 <'5 -Ę")5
6 A"÷I1 '5 '< / Ĕ+& )8 D/ĕ%9 '4.8 8$6" 7D/ĕ.6%6' '4/&5 A ;J1A")8 E ĕ%6 +Ĕ6 ç A% 4+5 Ę /'ë1%6 +Ĕ6 ä )ĕ6 6 Ĕ1 Č B)4) 6' )Ĕ1& Ė6 A'ë1 '4 E ĕ%6 +Ĕ6 5 6'Ę 1 E 11 E Ę Ĕ1 Č
การวัดผลการดําเนินงานด้านการกลั่น ผลการดําเนินงานของไทยออยล์ ในปี 2557 ไทยออยล์ยังคงรักษา สมรรถนะด้านการกลั่นนํ้ามันได้เป็นอย่างดี โดยมีสถิติด้านความ ปลอดภัยอยู่ในระดับชั้นนําของกลุ่มธุรกิจการกลั่นและปิโตรเคมี ในด้านความพร้อมในการผลิต บริษัทฯ สามารถรักษาสมรรถนะ ด้านความพร้อมของหน่วยกลั่นโดยรวม (Plant Availability ) ได้เป็น ที่น่าพอใจ โดยในปีนี้ มีการหยุดหน่วยผลิตประจําปีเพื่อตรวจสอบ และซ่อมแซม ซึ่งสามารถกลับมาดําเนินการกลั่นได้ตามปกติเร็วกว่า แผนที่วางไว้ ในด้านประสิทธิภาพการผลิต บริษัทฯ มีการดําเนินโครงการเพื่อเพิ่ม กําไรให้กับบริษัทฯ (Margin Improvement ) ซึ่งประสบผลสําเร็จ กว่ า เป้ า หมายอย่ า งมาก ทั้ ง นี้ กํ า ไรเพิ่ ม เติ ม หลั ก ๆ มาจากการที่ บริษัทฯ สามารถดําเนินการกลั่นได้มากขึ้น เมื่อทําการซ่อมบํารุง เสร็ จ เร็ ว กว่ า แผนที่ ว างไว้ ม าก ทั้ ง ยั ง เพิ่ ม ความสามารถในการ กลั่นนํ้ามันดิบราคาถูกที่มีความหนักมากขึ้นหรือมีปริมาณไนโตรเจน สู ง ขึ้ น หลั ง จากดํ า เนิ น โครงการปรั บ ปรุ ง หน่ ว ยกลั่ น สุ ญ ญากาศ หน่วยที่ 2 และโครงการปรับปรุงหน่วยเพิ่มมูลค่านํ้ามันเตาด้วยสาร เร่งปฏิกิริยาโดยใช้ไฮโดรเจนร่วมที่ 1 นอกจากนั้น ยังมีโครงการ ด้านประสิทธิภาพเชิงพลังงาน ซึ่งในปีนี้ บริษัทฯ ได้ดําเนินโครงการ อนุรักษ์พลังงานต่างๆ กว่า 20 โครงการ เพื่อปรับปรุงหน่วยผลิต ต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทําให้สามารถประหยัดเชื้อเพลิง ที่ใช้ในกระบวนการผลิตได้มากกว่า 50 เมกะวัตต์ หรือมากกว่า 620 ล้านบาทต่อปี และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่า 88,000 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ต่อปี
ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม เครื อ ไทยออยล์ ไ ด้ ว างแนวทางการบริ ห ารจั ด การด้ า นคุ ณ ภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม การจัดการ พลังงาน และความรับผิดชอบต่อสังคม โดยการนําระบบมาตรฐาน สากล (ISO System ) มาพัฒนาใช้ดังนี้ 1. ระบบบริหารงานด้านคุณภาพ ตามมาตรฐาน มอก. 9001 2. ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐาน มอก. 14001 3. ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตามมาตรฐาน มอก. 18001 4. Occupational Health and Safety Management System BS OHSAS 18001 5. ระบบการจัดการเชิงบูรณาการ (IMS : Integrated Management Systems) 6. ระบบการจัดการว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบ (ISO /IEC 17025) 7. มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม CSR (ISO 26000) ภายใต้ โครงการ CSR - DIW 8. ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของข้อมูล (ISO /IEC 27001) 9. ระบบการจัดการพลังงาน ISO 50001 ตั้งแต่ปี 2539 จวบจนถึงปัจจุบัน บริษัทฯ ยังคงรักษาและพัฒนา ระบบการจั ด การทุ ก ระบบอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยมี น โยบายคุ ณ ภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม การจัดการ พลังงาน และความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์ครอบคลุม กระบวนการต่างๆ ดังนี้ >>
ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพเพื่ อ ตอบสนองความคาดหวั ง และ ความพึ ง พอใจแก่ ลู ก ค้ า ด้ ว ยระบบการจั ด การที่ ไ ด้ ม าตรฐาน สอดคล้องตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับของราชการ มาตรฐาน และข้อกําหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
>>
วางแผนการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ ควบคุมและจัดทํา แผนลดความเสี่ยงที่เกิดจากการปฏิบัติงาน ทั้งในด้านกายภาพ (Physical ) เคมี (Chemical ) ชีวภาพ (Biological ) และจิตสังคม ( Psychosocial ) เพื่ อ ป้ อ งกั น อุ บั ติ ก ารณ์ ที่ อ าจส่ ง ผลให้ เ กิ ด ผลกระทบต่อธุรกิจ การบาดเจ็บและความเจ็บป่วยของผูป้ ฏิบตั งิ าน
049
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน ตลอดจนให้ความสําคัญ ด้านการใช้แรงงานอย่างเหมาะสม >>
กําหนดเป้าหมายและนําไปปฏิบัติ เพื่อควบคุมและลดผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นจากกระบวนการดําเนินธุรกิจตามมาตรฐานสากล ครอบคลุ ม ด้ า นอาชี ว อนามั ย ความปลอดภั ย สิ่ ง แวดล้ อ ม ความรับผิดชอบต่อลูกค้า สังคมและชุมชน ประสิทธิภาพการ ใช้พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การป้องกันการ รั่วไหลของนํ้ามันและสารเคมี การบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า พร้อมทั้งมีการทบทวน ติดตามและตรวจสอบเพื่อปรับปรุงพัฒนา อย่างต่อเนื่อง
>>
สนั บ สนุ น ด้ า นทรั พ ยากรและสารสนเทศอย่ า งเพี ย งพอในการ ปฏิ บั ติ ต ามนโยบายคุ ณ ภาพ ความมั่ น คง ความปลอดภั ย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม การจัดการพลังงาน และความรับผิดชอบ ต่อสังคม
>>
ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารพั ฒ นา ทบทวน และปรั บ ปรุ ง แก้ ไขนโยบาย และระเบี ย บวิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ ห้ ส ามารถรองรั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ การเปลี่ยนแปลงของกฎหมาย การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี สถานการณ์สง่ิ แวดล้อม และสภาพสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนือ่ ง
ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังคงมุ่งมั่นที่จะนําระบบการจัดการต่างๆ ที่เหมาะสม มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป การจัดการด้านความมั่นคง บริษัทฯ ดําเนินมาตรการรักษาความมั่นคง เพื่อปกป้องคุ้มครอง บุคลากร ทรัพย์สิน ข้อมูล และภาพลักษณ์ของเครือไทยออยล์ให้ ปลอดจากภัยคุกคามด้านความมั่นคงที่อาจเกิดขึ้น ทั้งจากปัจจัย ภายในและภายนอกองค์ ก รอย่ า งเข้ ม งวด ตามการจํ า แนกระดั บ ความเสี่ ย ง โดยยึ ด ถื อ ตามแนวนโยบายคุ ณ ภาพ ความมั่ น คง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม การจัดการพลังงาน และ ความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์ ซึ่งเป็นหน้าที่ของ ฝ่ า ยจั ด การและพนั ก งานทุ ก คนที่ จ ะร่ ว มมื อ กั น ยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ต าม ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนอย่างเคร่งครัด ได้แก่ >>
กํ า หนดและทบทวนแผนการดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ มาตรการ ด้านความมั่นคงให้สอดคล้องกับภัยคุกคาม เชื่อมโยงแผนและ สนธิกําลังกับเครือข่ายด้านการข่าว (ภาครัฐและเอกชน) และ
หน่ ว ยงานสนั บ สนุ น จากภายนอก ตลอดจนฝึ ก ซ้ อ มฯ ให้ กั บ ที ม ปฏิ บั ติ ก ารตอบโต้ เ หตุ ฉุ ก เฉิ น เพื่ อ ประเมิ น และปรั บ ปรุ ง แผนงานให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด >>
ควบคุ ม และส่ ง เสริ ม การปฏิ บั ติ ต ามคู่ มื อ ความมั่ น คงปลอดภั ย สํ า หรั บ พนั ก งานเครื อ ไทยออยล์ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการ ดําเนินชีวิตให้ปลอดภัย ทั้งในและนอกเวลาปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย อาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย สํ า หรั บ พนั ก งาน ชุ ม ชน และ ผู้ รั บ เหมา ตลอดจนผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ถื อ เป็ น ความสํ า คั ญ สู ง สุ ด ในการบริ ห ารจั ด การด้ า นอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย ซึ่งผลการดําเนินการตลอดเวลาที่ผ่านมาถือว่า ไทยออยล์อยู่ในระดับ ผู้นําของอุตสาหกรรมเดียวกันของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม เพื่อ รักษาตําแหน่งผู้นํานี้ไว้ บริษัทฯ ได้มีการปรับปรุงกระบวนการ พัฒนา และยกระดับการดําเนินงานอย่างต่อเนือ่ งผ่านแผนงาน 5 ปี อาชีวอนามัย (Occupational Health ) ความปลอดภัยของบุคคล (Personal Safety ) ความปลอดภัยของกระบวนการผลิต (Process Safety ) การจัดการ เหตุฉุกเฉินและภาวะวิกฤติ (Emergency and Crisis Management ) การดํ า เนิ น งานตามแผนงาน 5 ปี ค รอบคลุ ม ด้ า นอาชี ว อนามั ย ความปลอดภัย การจัดการเหตุฉุกเฉินและภาวะวิกฤติ และภาวะผู้นํา ความปลอดภั ย ( Safety Leadership ) นั้ น บริ ษั ท ฯ มี ก ารจั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานเฉพาะเพื่ อ ควบคุ ม และผลั ก ดั น การดํ า เนิ น งานตาม แผนงานฯ ตลอดจนมี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการอาชี ว อนามั ย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน อันประกอบด้วย ตั ว แทนจากพนั ก งานระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารไม่ ตํ่ า กว่ า ร้ อ ยละ 50 ของคณะกรรมการทั้งหมด (ไม่รวมประธานคณะกรรมการ) ซึ่งกําหนด ให้มีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อแจ้งข่าวสาร ติดตาม ความก้าวหน้าของการดําเนินงานและแผนการดําเนินงานในอนาคต เป็นต้น บริษัทฯ ได้พัฒนาและยกระดับระบบการบริหารจัดการและผลการ ดําเนินงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย ป้องกันและระงับอัคคีภยั อย่างต่อเนื่องผ่านการปรับปรุงกระบวนการทํางาน (Work Process Improvement ) เพื่อให้ระบบการจัดการและกระบวนการทํางานมี ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ผลการดํ า เนิ น งานที่ เ ป็ น เลิ ศ
050
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม
นอกจากนี้ ยังมีการเสริมสร้างความเป็นเลิศในการเป็นผู้นําและ ทั ก ษะด้ า นอาชี ว อนามั ย ความปลอดภั ย การจั ด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น และภาวะวิ ก ฤติ ผ่ า นโปรแกรมการพั ฒ นาความรู้ ค วามสามารถ ของบุคลากรต่างๆ ซึ่งเป็นการตอกยํ้าความสําคัญและปลูกฝังให้ เกิดเป็นวัฒนธรรมแก่พนักงานทุกคน ตลอดจนป้องกันอุบัติการณ์ ร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้นได้
>>
ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชนรอบโรงกลั่ น ฯ จนนํ า ไปสู่ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น แต่บริษัทฯ ก็ยังคงให้ความสําคัญกับประเด็นดังกล่าว เนื่องจาก บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ ชุ ม ชนในแง่ เ ป็ น ผู้ ใ ห้ ใ บอนุ ญ าต ในการดําเนินกิจการของบริษัท (License to Operate ) จึงเน้นการ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงรุกหรือเชิงป้องกันที่แหล่งกําเนิด และมีการรณรงค์และเสริมสร้างจิตสํานึกทางด้านสิ่งแวดล้อม (3R : Reuse Reduce Recycle ) อย่างต่อเนื่อง
ในรอบปี 2557 ไทยออยล์ ไ ด้ มี ก ารดํ า เนิ น การด้ า นอาชี ว อนามั ย ที่สําคัญ ได้แก่ 1. การบริหารจัดการผูร้ บั เหมา (Contractor Safety Management) บริษัทฯ ได้จัดทํากลยุทธ์ Safe White Green เพื่อให้ผู้รับเหมามี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด การด้ า นความปลอดภั ย ( Safe ) ความมั่ น คง (White ) และสิ่งแวดล้อม (Green ) โดยมีเป้าหมายของโครงการว่า อุบัติเหตุต้องเป็นศูนย์ ไม่มีสิ่งเสพติดหรือการกระทําผิดกฎหมาย และทุ ก กิ จ กรรมต้ อ งไม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มหรื อ สร้ า ง ความเดือดร้อนรําคาญต่อชุมชน >>
SAFE : มุง่ เน้นการพัฒนาและยกระดับจิตสํานึก (SSHE awareness) และภาวะผู้นําความปลอดภัย (Safety Leadership ) ในการทํางาน ผ่านโครงการ Safety Leadership ซึ่งเป็นหนึ่งในแผนระยะยาว 5 ปี (QMOS 5 Years Road Map ) และได้กําหนดเป็นแผนการ ดําเนินงานประจําปี (Safety Leadership Initiative Charter ) ซึ่งมีการตรวจติดตามและทบทวนประสิทธิผลการดําเนินงาน อย่างสมํ่าเสมอ
>>
GREEN : แม้ปัจจุบัน จะไม่มีประเด็นปัญหาหรืออุปสรรคด้าน
2. ภาวะผู้นําความปลอดภัย (Safety Leadership ) มุ่งเน้นการ พัฒนาและยกระดับจิตสํานึก และภาวะผู้นําความปลอดภัยรายบุคคล เพื่อนําไปสู่วัฒนธรรมความปลอดภัยขององค์กรในที่สุด >>
ฝ่ายจัดการเข้าเยี่ยมผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ (Management Walk and Talk ) เป็นประจําทุกสัปดาห์ โดยมุ่งเน้นการสร้างขวัญและ กําลังใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งเน้นยํ้านโยบาย Safe White Green พร้ อ มรั บ ฟั ง และติ ด ตามประเด็ น ปั ญ หาและอุ ป สรรค ด้านความปลอดภัยในการทํางาน
>>
จัดทําบทความด้านความปลอดภัยฯ (Voice of Safety ) เพื่อให้ ความรู้แก่พนักงานและผู้รับเหมาผ่านทางระบบกระจายเสียง เป็นประจําทุกวัน เวลา 13.00 น.
>>
รายงานเหตุ ก ารณ์ ที่ มี ศั ก ยภาพก่ อ ให้ เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ ( Potential Incident Report : PIR ) โดยมุ่งเน้นที่การกระทําที่ไม่ปลอดภัย เพื่อปรับปรุงแก้ไขก่อนเกิดเหตุ
>>
พูดคุยเกี่ยวกับประเด็นเรื่องความปลอดภัยฯ (Toolbox Talk ) โดยหั ว หน้ า งาน (ทั้ ง พนั ก งานและผู้ รั บ เหมา) ที่ บ ริ เวณพื้ น ที่ ปฏิบัติงาน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน
>>
ให้ ข้ อ มู ล ข่ า วสารความปลอดภั ย และบทเรี ย นจากอุ บั ติ เ หตุ ในการทํ า งานที่ เ คยเกิ ด ขึ้ น ทั้ ง ภายในและภายนอกเครื อ ฯ ผ่าน QSHE Newsletter และวารสารอัคนี เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อเสริมสร้างจิตสํานึกและภาวะผู้นํา ความปลอดภัยในการทํางาน
WHITE : กําหนดนโยบายและให้ผู้รับเหมามีส่วนร่วมในการ ให้ความรู้ รณรงค์ เฝ้าระวังและคัดกรองการใช้สารเสพติดของ ผู้รับเหมาตั้งแต่ต้นทาง โดยจัดให้มีโครงการรณรงค์การป้องกันการ ใช้สารเสพติดผ่านโครงการ Security Awareness นอกจากนี้ ยังได้กําหนดมาตรการป้องปรามเพิ่มเติม โดยร่วมกับเจ้าหน้าที่ ราชการในพื้ น ที่ ทํ า การสุ่ ม ตรวจสอบสารเสพติ ด ในตั ว บุ ค คล (Urine Test ) อย่างต่อเนื่อง สําหรับผู้ที่พบสารเสพติดในร่างกาย (รายใหม่) เครือฯ ยังคงให้โอกาสในการปรับปรุงแก้ไขโดยเข้าสู่ โครงการ ลด ละ เลิก สิ่งเสพติด สําหรับรายที่ตรวจพบสารเสพติด ในร่ า งการซํ้ า จะห้ า มบุ ค คลดั ง กล่ า วเข้ า มาทํ า งานในเครื อ ฯ ตลอดไป พร้ อ มมอบตั ว ให้ เจ้ า หน้ า ที่ ร าชการดํ า เนิ น การตาม ข้อกําหนดกฎหมายต่อไป ซึ่งในกรณีนี้ ที่ผ่านมายังไม่เกิดขึ้น
3. อาชีวอนามัย (Occupational Health ) นําโครงการการประเมิน ปัจจัยเสี่ยงด้านการยศาสตร์สําหรับพนักงานที่ทํางานในสํานักงาน
051
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
)1 $5& %5I
.8ø B+ )ĕ1% E &11&)Ę E ĕ"5 6B)4& '4 5 '4 6' 'è/6' 5 6'B)4 ) 6' 7A 8 6 ĕ6 16 9+1 6%5& +6% )1 $5& Đ1 5 B)4'4 5 15 9$5&1&Ĕ6 Ĕ1A ;I1
Ĕ6 6' '5 '< '4 + 6' 7 6 A"÷I1D/ĕ%9 '4.8 8$6".= .< B)4 6'"5 6 +6%'=ĕ +6%.6%6' 1 < )6 ' Ĕ6 G :I A ě 6' 1 &J7 +6%.7 5gB)4 )= !ę D/ĕA 8 A ě +5 ''%
(Ergonomics approaches for office work) เข้ามาใช้กับพนักงานใหม่ ที่ปฏิบัติงานในอาคารสํานักงาน โดยดําเนินการ ดังนี้ >>
ทบทวนความเป็ น ปั จ จุ บั น ของคู่ มื อ การวิ นิ จ ฉั ย รายงานการ เจ็บป่วยเนื่องจากการทํางาน และวิธีปฏิบัติอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
>>
จัดทําคู่มือ Fit for work
>>
ประเมินปัจจัยเสี่ยงด้านการยศาสตร์สําหรับพนักงานที่ทํางาน ในสํานักงาน พร้อมให้คําแนะนําเป็นรายบุคคล
>>
ติดตามและรายงานผลการประเมินปัจจัยเสี่ยงด้านการยศาสตร์ ของพนักงานที่มีการประเมินในปีที่ผ่านมา
4. การบริหารจัดการเหตุฉุกเฉินและภาวะวิกฤต (Emergency and Crisis Management ) เป็นปีแห่งการบูรณาการแผนฉุกเฉิน ซึ่งได้ ทําการศึกษาจากทีมปฏิบัติการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน โดยดําเนินการ ดังนี้ >>
ประเมิ น ข้ อ ดี - ข้ อ ด้ อ ยของการบู ร ณาการแผนฉุ ก เฉิ น และ ทีมปฏิบัติการฯ
>>
ทบทวนแผนฉุ ก เฉิ น โครงสร้ า ง และบทบาทหน้ า ที่ ข อง ทีมปฏิบัติการฯ
>>
ทบทวนข่ายการสื่อสารระหว่างศูนย์ต่างๆ
>>
จั ด ซื้ อ อุ ป กรณ์ ดั บ เพลิ ง ใหม่ ท ดแทนของเดิ ม ที่ เ สื่ อ มสภาพ ตามอายุ
>>
จัดซื้อนํ้ายาโฟมใหม่ 80,000 ลิตร
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม
>>
เพิ่มข่ายและช่องทางในการสื่อสาร
>>
อบรมและฝึ ก ซ้ อ ม Table Top Exercise ให้ ที ม ปฏิ บั ติ ก ารฯ เพื่ อ ทบทวนบทบาทหน้ า ที่ รวมถึ ง ทดสอบความพร้ อ มของ แผนฉุกเฉินและข่ายการสื่อสาร ก่อนที่จะประกาศใช้งานจริง
การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เครื อ ไทยออยล์ ใช้ จุ ด แข็ ง และประสบการณ์ ค วามเชี่ ย วชาญด้ า น พลังงานที่สั่งสมมากว่า 50 ปี ในการกําหนดกรอบการบริหารจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อมที่คํานึงถึงดุลยภาพด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และ เศรษฐกิจ (Triple Bottom Line ) ขึ้นภายใต้แผนแม่บทด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Master Plan ปี 2555 - 2559) เพื่อให้สามารถ ตอบสนองความท้าทายจากผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ ที่สําคัญ อาทิ ชุมชน และหน่วยงานอนุญาต เป็นต้น โดยประกอบด้วยโครงการพัฒนา 9 แผนงาน อันได้แก่ 1. Governance Structure เครื อ ไทยออยล์ ยั ง คงใช้ แ นวทาง ISO 14001 กํากับและพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง ซึ่งในปัจจุบันได้นําเอากรอบการพัฒนาอุตสาหกรรม เชิงนิเวศน์ (Eco Industry ) ของ Global Reporting Initiative (GRI ) และ Dow Jones Sustainability Indices ( DJSI ) มาประยุ ก ต์ เพื่ อ วางแนวทางในการดํ า เนิ น การให้ ค รอบคลุ ม มุ ม มองผู้ มี ส่ ว น ได้เสียต่างๆ ตลอดจนประยุกต์ใช้มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม CSR (ISO 26000) ภายใต้โครงการ CSR - DIW 2. Technical Procedures เพื่ อ ให้ ก ารจั ด การด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็นไปตามจรรยาบรรณเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติต่อชุมชน สังคม และสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยไม่ ก ระทํ า การใดๆ ที่ ส่ ง ผลเสี ย หายต่ อ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม บริษัทฯ ได้ดําเนินการปลูกฝัง จิตสํานึกความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมให้แก่พนักงาน ทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนได้กําหนดหลักการกํากับกิจการ ในส่วนนโยบายคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม การจัดการพลังงาน และความรับผิดชอบต่อสังคมของ เครือไทยออยล์ ซึ่งได้ดําเนินการและสื่อสารนโยบายฯ ผ่านช่องทาง ต่างๆ อาทิ CG e - learning การอบรมพนักงานใหม่ระหว่างการ ปฐมนิ เ ทศ การให้ ค วามรู้ แ ละฝึ ก อบรมด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มต่ า งๆ
052
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม
การอบรมหลักสูตร STA .1 – Safety , Security and Environment in Refi nery การจัดกิจกรรมในสัปดาห์ QSSHE การจัดส่งพนักงาน เข้ารับการอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม หลักสูตรด้านการ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เป็ น ต้ น รวมทั้ ง ผลั ก ดั น เพื่ อ นํ า ไปสู่ ก ารปฏิ บั ติ แ ละสื่ อ สารตาม ข้อกําหนดของ ISO - 14001 ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การจัดการ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มได้ ถู ก พั ฒ นาสู่ ค วามเป็ น เลิ ศ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และสามารถถ่ า ยทอดจากรุ่ น สู่ รุ่ น ผ่ า นระบบ KM ( Knowledge Management ) ตามหลักการที่เรียกว่า COSSAI 5 ขั้นตอน ได้แก่ การรวบรวม (Capture ) การจัดหมวดหมู่ (Organize ) การจัดเก็บ (Store ) การแบ่งปัน (Share ) การนําไปใช้ (Apply ) และการนําไป ต่อยอดความคิด (Innovate ) 3. Climate Strategy เครือไทยออยล์ให้ความสําคัญต่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะเชื้อเพลิงและพลังงาน โดยมีการจัดตั้ง คณะทํางาน Energy and Loss Committee (E & L ) เพื่อวางแผน ดําเนินงาน ติดตามตรวจสอบ และหาแนวทางปรับปรุงพัฒนาด้าน การจัดการพลังงานอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้จัดทําแผน แม่บทการจัดการพลังงานระยะ 10 ปี (2553 – 2562) โดยมีการกําหนด เป้าหมายเพื่อก้าวขึ้นสู่ 1st Quartile ของกลุ่มโรงกลั่นในภูมิภาค เอเชียแปซิฟิกในด้านการใช้พลังงาน อันส่งผลโดยตรงต่อสภาพ บรรยากาศโลก คือ การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก 4. Water Resource Management การบริหารจัดการทรัพยากร นํ้ า อย่ า งเป็ น ระบบ เพื่ อ ลดความเสี่ ย งจากการขาดแคลนนํ้ า ใน กระบวนการผลิ ต และป้ อ งกั น ความขั ด แย้ ง กั บ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ ตลอดจนมี ค วามพร้ อ มในการรายงานปริ ม าณการใช้ นํ้ า ต่ อ สาธารณชน ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ นอกจากนี้ เครือไทยออยล์ยัง ได้วางกรอบการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการนํ้า ทั้งในส่วนการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้นํ้าในกระบวนการผลิตและ การใช้ ท รั พ ยากรนํ้ า อย่ า งคุ้ ม ค่ า ซึ่ ง ขณะนี้ อ ยู่ ร ะหว่ า งการศึ ก ษา ออกแบบโครงการ 5. Eco - Effi ciency Performance นอกจากการดูแลและปฏิบัติตาม มาตรการป้องกันและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมตามที่กําหนดไว้ ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA ) และการดํ า เนิ น การตามกฎหมาย
ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งครบถ้ ว นแล้ ว เครื อ ไทยออยล์ ยั ง คํ า นึ ง ถึ ง การปรับปรุงกระบวนการผลิตต่างๆ อันใส่ใจต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้แก่ >>
มลภาวะทางอากาศ ซึ่งเริ่มเข้าสู่กระบวนการจัดการตั้งแต่การ ออกแบบ การวางแผนซ่อมบํารุง การควบคุมปริมาณกํามะถัน ในเชื้ อ เพลิ ง ตั้ ง แต่ ต้ น ทาง การเลื อ กใช้ อุ ป กรณ์ แ ละกระบวน การผลิตที่สะอาด การควบคุมอัตราการระบายและการตรวจวัด อย่างต่อเนื่อง
>>
มลภาวะทางนํ้า ซึ่งได้รับการบริหารจัดการตั้งแต่การลดปริมาณ และแยกสายการบําบัดตั้งแต่ต้นทางตามหลักการ 3R (Reduce Reuse Recycle ) อันเป็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า รวมไปถึงการควบคุมระบบบําบัดนํ้าเสียอย่างมีประสิทธิภาพ
>>
กากอุตสาหกรรม มีการบริหารจัดการภายใต้รูปแบบการบริหาร จัดการตั้งแต่การจัดทําบัญชี (Inventory ) การลดปริมาณกาก อุตสาหกรรมตั้งแต่ต้นทางตามหลักการ 3 R (Reduce Reuse Recycle) ตลอดจนการควบคุมการจัดเก็บ การขนส่ง และส่งกําจัด กากอุ ต สาหกรรมอย่ า งปลอดภั ย ซึ่ ง เป็ น ไปตามกฎหมายและ ถูกต้องตามหลักวิชาการ
6. Biodiversity จากมุมมองของความรับผิดชอบต่อถิ่นที่อยู่อาศัย และทรั พ ยากรธรรมชาติ โ ดยรอบโรงกลั่ น เครื อ ไทยออยล์ ยั ง คง ดํ า เนิ น การอย่ า งต่ อ เนื่ อ งภายใต้ ก ารวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มของโครงการ EIA โดยกํ า หนดเป็ น มาตรการติ ด ตาม ตรวจสอบผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง 7. Supplier and Contractor Program การบริหารจัดการคู่ค้า และผู้ รั บ เหมาเป็ น ปั จ จั ย หลั ก ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ต่ อ ความยั่ ง ยื น ของ เครือไทยออยล์ ทัง้ ยังเป็นการแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมในการ บริหารจัดการผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมจากการดําเนินงาน ของคู่ค้าและผู้รับเหมา ดังนั้น บริษัทฯ จึงกําหนดให้มีแนวปฏิบัติ สําหรับคู่ค้าและผู้รับเหมาในด้านสิ่งแวดล้อม (รวมถึงด้านสังคม) ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุนให้คู่ค้าและผู้รับเหมามีการดําเนินงาน ตามข้อกําหนดของเครือไทยออยล์ รวมทั้งยังได้เข้าร่วมกับโครงการ CSR - DIW อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ แสดงเจตจํ า นงที่ ชั ด เจนด้ า น ความรับผิดชอบต่อสังคม
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
053
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม มั่ น ค ง อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม
8. Environmental Audit จากการดําเนินการภายใต้กรอบการบริหาร จัดการด้านสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) อย่างจริงจังและปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง ทําให้เครือไทยออยล์ไม่มีข้อบกพร่องหลัก (NC Major = 0) จากการตรวจสอบโดยสํ า นั ก งานรั บ รองมาตรฐานอุ ต สาหกรรม (สรอ.) รวมทั้งอยู่ระหว่างวางแนวทางการ Audit และ Assurance รายงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามแนวทาง Global Reporting Initiative (GRI)
การจัดส่งพนักงานเข้ารับการอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ทั้ ง ภายในและภายนอกองค์ ก ร การอบรมหลั ก สู ต รผู้ จั ด การ/ ผู้ ค ว บ คุ ม / ผู้ ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จํ า ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม ม ล พิ ษ นํ้ า / กากอุ ต สาหกรรม / อากาศ การอบรมหลั ก สู ต รด้ า นการอนุ รั ก ษ์ พลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยส่ ง วิ ศ วกรที่ รั บ ผิ ด ชอบหน่ ว ยผลิ ต ต่างๆ เข้ารับการอบรมด้านเทคนิคของกระบวนการผลิตจากบริษัท เจ้าของเทคโนโลยีกว่า 20 หลักสูตร เป็นต้น
9. Management Information Solutions เพื่อให้เกิดการบริหาร จัดการอย่างยั่งยืน เครือไทยออยล์อยู่ระหว่างศึกษาแนวทางการวาง รูปแบบฐานข้อมูลทางด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อต่อยอดไปสู่การบริหาร จัดการในระดับสากล อาทิ Environmental Dashboard , LCA /LCI , CO2 Foot Print , Water Foot Print เป็นต้น
นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการนําระบบรับรองคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อม และระบบบริ ห ารงานชั้ น นํ า มาใช้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อาทิ ระบบ ISO - 14001 ระบบ ISO - 26001 ผ่านโครงการ CSR - DIW เป็นต้น รวมทั้ ง มี ก ารกระตุ้ น จิ ต สํ า นึ ก ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มให้ กั บ พนั ก งานอย่ า งสมํ่ า เสมอ ได้ แ ก่ การตรวจสอบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ในพืน้ ทีก่ ารผลิต การรณรงค์การใช้ทรัพยากรในสํานักงานอย่างคุม้ ค่า ไม่ว่าจะเป็นการปิดไฟฟ้าแสงสว่างในห้องประชุมเมื่อเลิกใช้งาน การควบคุมอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศในสํานักงานให้เหมาะสม การประหยัดนํ้าประปา การสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์แทน การใช้กระดาษพิมพ์ เป็นต้น
การดํ า เนิ น การภายใต้ ก รอบของ Environmental Master Plan ปี 2555 - 2559 มีการทบทวน (Management Review ) เพื่อนําไป สู่กระบวนการปรับปรุงเป็นประจําทุกปี ซึ่งถือเป็นส่วนสําคัญในการ สนับสนุนวิสัยทัศน์และพันธกิจที่ยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งเป็นการสร้างความพึงพอใจและความผูกพันแก่ผู้มีส่วนได้เสีย อันนําไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนของเครือไทยออยล์ต่อไป การให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงานเรื่องสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้กําหนดจรรยาบรรณเกี่ยวกับแนวปฏิบัติต่อชุมชนสังคม และสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยจะไม่ ก ระทํ า การใดๆ ที่ ส่ ง ผลเสี ย หายต่ อ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม พร้อมทั้งจะปลูกฝังจิตสํานึก ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นในบริษัทฯ และ พนักงานทุกระดับอย่างต่อเนื่อง โดยได้กําหนดแนวปฏิบัติที่ชัดเจนใน การให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ซึ่งมอบหมายให้ฝ่ายบริหารคุณภาพองค์กรเป็นผู้รับผิดชอบหลัก ในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่มุ่งเน้นในการสื่อสารนโยบาย ด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทฯ และการให้ความรู้แก่พนักงานตั้งแต่ เริ่มต้นเข้าทํางานใหม่ในช่วงระหว่างการปฐมนิเทศ โดยเฉพาะกับ พนั ก งานสายปฏิ บั ติ ก าร ช่ า งเทคนิ ค และวิ ศ วกร ซึ่ ง จะเป็ น ผู้ ที่ ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องโดยตรงกับการดูแลผลกระทบและการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม ได้แก่ การอบรมหลักสูตร STA .1 – Safety , Security and Environment in Refi nery การจัดกิจกรรมสัปดาห์ QSSHE
ผลของการดําเนินกิจกรรมต่างๆ นี้จะถูกรายงานให้กับผู้บริหาร เป็นประจํา ซึ่งในแต่ละปีจะมีกระบวนการทบทวน (Management Review ) อันนํามาซึ่งการกําหนดแนวทางการปรับปรุง รวมทั้งการ กําหนดแผนงานประจําปี และสื่อสารให้พนักงานรับทราบและนําไป สู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผลต่อไป
054
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
โครงการในอนาคต
12
โครงการ ในอนาคต บริ ษั ท ฯ วางแผนกลยุ ท ธ์ ก ารลงทุ น ของเครื อ ไทยออยล์ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่ อ สร้ า งความเจริ ญ เติ บ โตอย่ า งมั่ น คง ยั่ ง ยื น มุ่ ง สู่ ก ารเป็ น ผู้ นํ า ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เชิ ง บู ร ณาการด้ า นการกลั่ น และปิ โ ตรเคมี ที่ ต่ อ เนื่ อ งอย่ า งครบวงจรในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟิ ก เพื่อเตรียมพร้อมการก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC ) อันจะเป็นการขยายขอบเขตตลาด เปิดกว้างการลงทุน ตลอดจน โอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น บริ ษั ท ฯ มุ่ ง เน้ น แผนการลงทุ น เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ดิ ม ตลอดจนการผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค การขยายกําลังการผลิต การลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และศักยภาพในการแข่งขัน เช่น การพัฒนาธุรกิจขนส่งผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี รวมถึงโลจิสติกส์ การขยายการลงทุนไปสู่ ต่างประเทศ ตลอดจนการปรับรูปแบบการดําเนินธุรกิจให้เหมาะสม กับสภาพตลาดที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประโยชน์ โดยรวมสูงสุด
มุ ง สู ก า ร เ ป น ผู นํ า ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ เ ชิ ง บู ร ณ า ก า ร ด า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ป โ ต ร เ ค มี ที่ ต อ เ นื่ อ ง อ ย า ง ค ร บ ว ง จ ร ใ น ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย แ ป ซิ ฟิ ก เ พื่ อ เ ต รี ย ม พ ร อ ม ก า ร ก า ว เ ข า สู ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น ( A E C )
โครงการที่อยู ระหว างดําเนินการ โครงการผลิตสาร LAB ของบริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด และบริษัท มิตซุย แอนด์ คัมปนี จํากัด ได้ร่วมกันจัดตั้งบริษัท ลาบิกซ์ จํากัด ขึ้นเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2556 โดยมีสัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ 75 และร้อยละ 25 ตามลําดับ เพื่อประกอบธุรกิจผลิตสาร LAB (Linear Alkyl Benzene ) ขนาดกําลัง การผลิ ต 100,000 ตั น ต่ อ ปี เป็ น แห่ ง แรกในประเทศไทย โดยใช้ สารเบนซีน และนํา้ มัน Kerosene ซึง่ เป็นผลิตภัณฑ์จากเครือไทยออยล์ เป็นวัตถุดิบหลัก สาร LAB ที่ผลิตขึ้นนี้เป็นส่วนประกอบหลักในการ ผลิตสารซักล้าง บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด ได้เลือกใช้กระบวนการผลิตที่ ทันสมัยที่สุดและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของ UOP Limited Liability Company โดยเชื่อมต่อกระบวนการผลิตทั้งหมดเข้ากับกระบวนการ ผลิ ต หลั ก ของเครื อ ไทยออยล์ ทํ า ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในการ ดํ า เนิ น การสู ง สุ ด เพื่ อ เพิ่ ม ความสามารถในการแข่ ง ขั น โดยใช้ เงินลงทุนประมาณ 12,000 ล้านบาท
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
055
โครงการในอนาคต
โครงการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ในพื้นที่ศรีราชา บริษัทฯ ได้ศึกษาโครงการพัฒนาระบบการขนส่ง และโลจิสติกส์ ในพื้นที่ศรีราชา ร่วมกับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) โดยแบ่ง การศึกษาออกเป็น 2 โครงการย่อย กล่าวคือ 1. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจ่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามันอากาศยาน และสารพาราไซลีน โดยการปรับปรุงระบบท่อส่งเพื่อเพิ่มช่องทาง จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามันอากาศยานไปยังสถานีจ่ายผลิตภัณฑ์ ทางรถของบริษทั ชลบุรเี ทอร์มนิ ลั จํากัด และการจ่ายสารพาราไซลีน ลงเรือขนาดใหญ่ (10,000 ตันบรรทุก) ที่ท่าเรือของคลัง ปตท. ศรีราชา โครงการดังกล่าวช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นในส่วนช่องทาง การจ่ายผลิตภัณฑ์ และยังสามารถลดต้นทุนในการขนส่งได้อีกด้วย โดยมีมูลค่าการลงทุนในส่วนของบริษัทฯ รวม 172 ล้านบาท คาดว่ า โครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการจ่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ นํ้ า มั น อากาศยานจะแล้วเสร็จในปี 2558 และโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจ่ายสารพาราไซลีนจะแล้วเสร็จในปี 2559 สาร LAB ที่ผลิตขึ้นนี้จะสามารถทดแทนการนําเข้าของประเทศไทย ซึ่งสูงถึงประมาณ 72,000 ตันต่อปี บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด ยังสามารถ ส่งออกผลิตภัณฑ์จากกําลังการผลิตส่วนที่เหลือไปยังภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งขณะนี้ยังเป็นผู้นําเข้าสุทธิ เนื่องจากปัจจุบัน มีโรงงานผลิตสาร LAB เพียงแห่งเดียวในภูมิภาคนี้ ซึ่งไม่เพียงพอ ต่อความต้องการที่ปรับเพิ่มขึ้นทุกปีตามการเติบโตทางเศรษฐกิจ บริษัทฯ เชื่อมั่นว่า โครงการผลิตสาร LAB นี้จะช่วยเสริมศักยภาพ ของประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกสารซักล้าง ให้กับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขณะนี้ โครงการอยู่ ร ะหว่ า งการดํ า เนิ น การก่ อ สร้ า ง และคาดว่ า จะแล้ ว เสร็ จ ภายในปี 2558 เพื่ อ รองรั บ การเปิ ด ตลาดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC )
2. โครงการขยายสถานีจ่ายผลิตภัณฑ์ทางรถของบริษัทฯ เพื่อเพิ่ม กํ า ลั ง การจ่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างรถจาก 10 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น เป็ น 15 ล้านลิตรต่อวัน ซึ่งนอกจากจะช่วยรองรับความต้องการที่เพิ่ม ขึ้นในอนาคตแล้ว ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจ่ายนํ้ามันให้มี ความรวดเร็วและคล่องตัวเพิ่มขึ้นอีกด้วย โดยใช้เงินลงทุนในส่วน ของบริษัทฯ ราว 1,840 ล้านบาท และคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2559 โครงการก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า ระบบ Cogeneration หรื อ SPP โครงการใหม่ บริษัทฯ มีกลยุทธ์กระจายความเสี่ยงการลงทุนจากการดําเนินธุรกิจ โรงกลั่นนํ้ามันและปิโตรเคมี ซึ่งวัฏจักรธุรกิจมีความผันผวน ไปยัง ธุ ร กิ จ ผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ มี โ ครงสร้ า งรายได้ ที่ แ น่ น อน มี ค วามเสี่ ย งตํ่ า และยั ง ช่ ว ยเสริ ม ความมั่ น คงในการจั ด หาไฟฟ้ า และไอนํ้ า ของ เครือไทยออยล์อีกด้วย โดยในปี 2554 บริษัทฯ ได้ผ่านการคัดเลือก เป็นผู้ผลิตไฟฟ้าภายใต้โครงการผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (Small Power Producer : SPP ) ในระบบ Cogeneration ประเภทสัญญาระยะยาว หรื อ ประเภท Firm ขนาดกํ า ลั ง การผลิ ต 90 เมกะวั ต ต์ จํ า นวน 2 โครงการ เงินลงทุนโครงการคิดเป็นมูลค่าประมาณ 12,000 ล้านบาท
056
โครงการในอนาคต
โครงการฯ อยู่ระหว่างดําเนินการก่อสร้าง โดยมีความคืบหน้ากว่า ร้อยละ 40 และมีกําหนดจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ภายในวันที่ 1 เมษายน 2559 สํ า หรั บ โครงการที่ 1 และวั น ที่ 1 มิ ถุ น ายน 2559 สํ า หรั บ โครงการที่ 2 โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากกากมันสําปะหลังของบริษัท เอ็นพี ไบโอ เอนเนอร์ยี จํากัด บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด ได้จัดตั้งบริษัท เอ็นพี ไบโอ เอนเนอร์ยี จํากัด ขึ้น เพื่อผลิตก๊าซชีวภาพจากกากมันสําปะหลัง จากกระบวนการผลิ ต เอทานอล และจากกระบวนการผลิ ต แป้งมันสําปะหลังของบริษัท อุบลเกษตรพลังงาน จํากัด เพื่อใช้เป็น เชื้อเพลิงในการผลิตไอนํ้าสําหรับการผลิตเอทานอล และใช้ในเตาอบ ลมร้อนของโรงงานผลิตแป้งมันสําปะหลัง ขณะนี้ โครงการอยู่ระหว่าง การก่อสร้าง และคาดว่าจะแล้วเสร็จในไตรมาส 2 ปี 2558 บริ ษั ท เอ็ น พี ไบโอ เอนเนอร์ ยี จํ า กั ด มี แ ผนงานในอนาคตที่ จ ะ เข้าร่วมโครงการผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (Very Small Power Plant : VSPP) ขนาดกําลังการผลิต 5 - 6 เมกกะวัตต์ เพื่อผลิตและจําหน่าย ไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งจะได้รับสิทธิ อัตราส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder ) อีกด้วย โครงการขยายกองเรือของบริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริ ษั ท ไทยออยล์ ม ารี น จํ า กั ด มุ่ ง เน้ น ที่ จ ะเป็ น ผู้ นํ า ด้ า นกองเรื อ ในกลุ่ม ปตท. และในระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เพื่อรองรับการ ขยายตั ว ของตลาดพลั ง งาน ปิ โ ตรเลี ย มและปิ โ ตรเคมี โดยเน้ น การลงทุนทั้งในเรือขนาดใหญ่ เช่น เรือ VLCC และเรือ AFRAMAX ตลอดจนเรื อ ขนาดเล็ ก Crew Boat เพื่ อ สนั บ สนุ น การบริ ห าร จัดการด้านโลจิสติกส์ในกลุ่ม ปตท. โดยเฉพาะเมื่อก้าวเข้าสู่การ เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC ) ตลอดจนสนับสนุนแผน กลยุทธ์ในการขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศ (Step - Out ) ของ เครือไทยออยล์ ในปี 2558 บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด ยังคงมีแผนการลงทุน ในการจั ด หาเรื อ ต่ า งๆ เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ เสริ ม ศั ก ยภาพของกองเรื อ พร้อมเป็นฐานสําคัญในการสนับสนุนการเติบโตของกลุ่ม ปตท. และ เครือไทยออยล์อย่างยั่งยืน อีกทั้งเป็นส่วนสําคัญที่สนับสนุนการ
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ขนส่งนํ้ามันและก๊าซของกลุ่ม ปตท. เพื่อความมั่นคงของพลังงาน ไทยอีกด้วย
โครงการที่อยู ระหว างการศึกษาความเป นไปได โครงการเพิ่มมูลค่านํ้ามันหนัก การเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ทั้ ง ในประเทศและภู มิ ภ าค ส่ ง ผลให้ ความต้องการใช้นํ้ามันสําเร็จรูปในภาคขนส่ง และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เครือไทยออยล์จึงมีแนวคิดศึกษาโครงการ เพิ่มมูลค่านํ้ามันหนัก (Residue ) เพื่อนํานํ้ามันเตาที่มีมูลค่าตํ่ามา ผลิตให้เป็นผลิตภัณฑ์อื่นที่มีมูลค่าสูงขึ้น โดยการศึกษาครอบคลุม การติดตั้งหน่วยแตกตัวโมเลกุลหน่วยใหม่ (Cracking Unit ) การติดตั้ง หน่ ว ยผลิ ต ต่ อ เนื่ อ งอื่ น ๆ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพนํ้ า มั น ตลอดจน การปรับปรุงกระบวนการผลิตเดิมให้เหมาะสม ขณะนี้ การศึกษา ความเป็ น ไปได้ เ บื้ อ งต้ น ได้ แ ล้ ว เสร็ จ และอยู่ ร ะหว่ า งการเตรี ย ม การออกแบบทางวิศวกรรมเบื้องต้น โครงการขยายธุรกิจด้านสารทําละลาย จากความมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้นําด้านธุรกิจสารทําละลายในภูมิภาค เอเชียแปซิฟิค ภายหลังจากโครงการขยายกําลังการผลิตของบริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด ซึ่งเป็นผู้ผลิตสารทําละลายขนาดกําลังการผลิต ใหญ่ ที่ สุ ด ของประเทศ แล้ ว เสร็ จ ในปี 2557 บริ ษั ท ฯ มี แ ผนงาน ต่อเนื่องที่จะพัฒนาสารทําละลายชนิดใหม่เพื่อรองรับความต้องการ ของตลาด โดยมุ่งเน้นกลุ่มผลิตภัณฑ์พิเศษ (Niche Product ) และ กลุ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง มี แ ผนงานที่ จ ะ ขยายฐานการจัดจําหน่ายไปยังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่มีอัตรา เติบโตสูงเพิ่มเติม โครงการผลิตไขพาราฟินที่ประเทศอินโดนีเซีย บริษัทฯ ได้ศึกษาโอกาสในการขยายธุรกิจเข้าสู่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่ ง เป็ น ประเทศที่ มี จํ า นวนประชากร ขนาดเศรษฐกิ จ และอั ต รา การเติบโตทางเศรษฐกิจสูงสุดในภูมิภาค โดยผ่านพันธมิตรทางธุรกิจ คือ Pertamina Persero บริษัทนํ้ามันแห่งชาติของประเทศอินโดนีเซีย ในการเพิ่มมูลค่าไขพาราฟิน (Slack Wax) ที่ผลิตได้จากโรงกลั่นนํ้ามัน หน่วยที่ 4 ที่เมือง Cilacap ไปเป็นไขพาราฟินชนิดแข็ง (Hard Wax ) ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมผลิตผ้าบาติก เทียนไข เฟอร์นิเจอร์
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
และอื่นๆ ขณะนี้ การออกแบบเบื้องต้นได้แล้วเสร็จ และอยู่ระหว่าง การประเมินโครงการโดยละเอียด ก่อนการตัดสินใจลงทุน โครงการปรับปรุงโรงกลั่นนํ้ามัน Thanlyin ในประเทศสาธารณรัฐ แห่งสหภาพเมียนมาร์ บริ ษั ท ฯ ได้ ยื่ น ข้ อ เสนอเข้ า ร่ ว มทุ น ปรั บ ปรุ ง โรงกลั่ น Thanlyin กับหน่วยงานธุรกิจการกลั่นนํ้ามันของรัฐบาลประเทศสาธารณรัฐ แห่งสหภาพเมียนมาร์ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเปิดช่องทางเข้าไป ทําธุรกิจในประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ โดยใช้ความรู้ ประสบการณ์ที่มีอยู่เข้าไปทําการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงกลั่น นํ้ามันเดิมให้สามารถดําเนินการผลิตนํ้ามันสําเร็จรูป เพื่อตอบสนอง ความต้องการภายในประเทศที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ภายหลังการ เปิดประเทศ เป็นตัวนําร่อง ซึ่งโรงกลั่น Thanlyin เดิมเป็นโรงกลั่น ขนาดกําลังการผลิต 20,000 บาร์เรลต่อวัน ตั้งอยู่ใกล้กรุงย่างกุ้ง ซึ่งเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจที่สําคัญ และเป็นตลาดนํ้ามันสําเร็จรูปหลัก ของประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ บริษัทฯ มีความสนใจในโครงการ Thanlyin เนื่องจากได้เล็งเห็น ศั ก ยภาพการเติ บ โตด้ า นตลาดพลั ง งานของประเทศสาธารณรั ฐ แห่งสหภาพเมียนมาร์ และเป็นธุรกิจที่บริษัทฯ มีความรู้ ความชํานาญ เป็นอย่างดี บริษัทฯ ได้ร่วมมือกับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ในการยืน่ ข้อเสนอเพือ่ ร่วมทุนปรับปรุงโรงกลัน่ Thanlyin กับหน่วยงาน ภาครัฐ ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ขณะนี้ อยู่ระหว่าง รอผลการพิจารณาคัดเลือก โดยคาดว่าจะทราบผลการยื่นข้อเสนอ ภายในไตรมาส 1 ปี 2558
057
โครงการในอนาคต
การร่วมลงทุนในโครงการ Thanlyin ดังกล่าวอาจเป็นการลงทุน ขนาดเล็ ก ในเบื้ อ งต้ น แต่ เ ป็ น แผนกลยุ ท ธ์ ที่ สํ า คั ญ ของบริ ษั ท ฯ ในการก้าวเข้าสู่ตลาดการค้าและการลงทุนในประเทศสาธารณรัฐ แห่งสหภาพเมียนมาร์อย่างมั่นคง อันจะเป็นรากฐานสู่การต่อยอด ขยายธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ ที่เหมาะสม รวมถึงการขยายกําลังการผลิต หรือสร้างโรงกลั่นใหม่ในอนาคต โครงการขยายธุรกิจอื่นๆ ภายใต้ภาวะการแข่งขันทางธุรกิจในปัจจุบัน การขยายธุรกิจ หรือ การหารูปแบบการทําธุรกิจใหม่ๆ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ มีความจําเป็นในการสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรเป็นอย่างมาก บริษัทฯ จึงมีแผนงานที่จะขยายธุรกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศ ทั้งด้วยการแสวงหาพันธมิตรทางธุรกิจ ตลอดจนการเข้าซื้อกิจการ (Merger & Acquisition : M & A ) โดยมุ่งเน้นธุรกิจที่จะสามารถสร้าง มูลค่าเพิ่ม (Value Added) รวมถึงการมองหาธุรกิจ หรือรูปแบบการทํา ธุรกิจใหม่ๆ โดยต่อยอดจากความรู้ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ ของเครือไทยออยล์เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้นําในธุรกิจอย่างยั่งยืนต่อไป
058
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ก า ร บ ริ ห า ร ศั ก ย ภ า พ อ ง ค ก ร
13
ก า ร บ ริ ห า ร ศั ก ย ภ า พ อ ง ค ก ร ศั ก ย ภ า พ บุ ค ค ล ข อ ง อ ง ค กร ไทยย ไทยออยล เชื่อมั่นในคุณภาพของบุคลากรและมุ งส งเสริมความสามารถเพื่อสร าง ศักยภาพอันไร ขีดจํากัดให กับพนักงาน ผ านแบบจําลองการบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล (HR Model) ซึ่งเป นรากฐานในการกําหนดกรอบแนวทาง นโย นโยบาย และแนวปฏิบัติต างๆ ด านทรัพยากรบุคคล โดยคํานึงถึงความสอดคล อง กับความต องการทางธุรกิจ และความพึงพอใจและความผูกพันกับองค กรของพนักงาน เพื่อให ไทยออยล สามารถเป นนายจ างในดวงใจ (Employer of Choice) ที่มีคุณสมบัติ ขอ ของ The Best Employer ได อย างเต็มภาคภูมิ
ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล ความสํ า เร็ จ ตามการดํ า เนิ น กลยุ ท ธ์ อ งค์ ก ร ทั้ ง ในระยะสั้ น และ ระยะยาวตามแผนธุรกิจที่กําหนดไว้ เกิดขึ้นเพราะเครือไทยออยล์ เชื่อมั่นในคุณภาพของพนักงาน โดยบริษัทฯ ได้มุ่งเน้นและให้ความ สําคัญกับการเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรบุคคล ทั้งในด้าน ขีดความสามารถของพนักงาน และจํานวนอัตรากําลังคนที่สอดคล้อง กั บ ความต้ อ งการขององค์ ก รอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ความ เป็ น เลิ ศ และรองรั บ การเติ บ โตที่ ยั่ ง ยื น ขององค์ ก ร โดยในปี นี้ บริษัทฯ ได้กําหนดตัวแบบการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของเครือไทยออยล์ (HR Model ) ซึ่งเป็นรากฐานในการกําหนด กรอบแนวทาง นโยบาย และแนวปฏิ บั ติ ด้ า นทรั พ ยากรบุ ค คล ของเครื อ ไทยออยล์ ใ ห้ เ ป็ น ระบบและเชื่ อ มโยงกั บ นโยบาย และกลยุทธ์ขององค์กรอย่างชัดเจน บริษัทฯ ได้ยกระดับความพร้อมด้านขีดความสามารถของพนักงาน โดยการพัฒนาพนักงานทุกระดับตามแบบแผนการพัฒนาพนักงาน เครือไทยออยล์ (Development Journey ) เพื่อให้มั่นใจว่า พนักงาน มีความพร้อม ทั้งในตําแหน่งงานปัจจุบันและสายอาชีพที่จะเติบโต ในอนาคต รวมทั้งบริษัทฯ ได้พิจารณาทบทวนและปรับปรุงสมรรถนะ ตามบทบาทหน้าที่ (Functional Competency ) ให้สอดคล้องกับ
โครงสร้างองค์กรและขอบเขตงานที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนกําหนด แนวทางการพัฒนาของแต่ละสมรรถนะที่ชัดเจนมากขึ้น สําหรับ ความพร้อมด้านอัตรากําลังคน บริษัทฯ ได้มีการพิจารณาทบทวน โครงสร้ า งองค์ ก รอย่ า งสมํ่ า เสมอ เพื่ อ ให้ ส อดรั บ กั บ กลยุ ท ธ์ แ ละ แผนดําเนินงานของเครือไทยออยล์ พร้อมทั้งกําหนดความต้องการ ด้านอัตรากําลังของแต่ละหน่วยงานอย่างชัดเจน อันนําไปสูก่ ารบริหาร และการเติบโตในสายอาชีพของพนักงาน (Career Management ) และการสรรหาบุคลากรใหม่ (Recruitment ) อย่างเหมาะสม สําหรับแผนสืบทอดตําแหน่งงาน (Succession Planning ) บริษัทฯ ได้ มี ก ารประเมิ น ความพร้ อ มของพนั ก งานที่ เ ป็ น ผู้ สื บ ทอด ตํ า แหน่ ง งาน ( Successor ) ในระดั บ ฝ่ า ยจั ด การอย่ า งครบถ้ ว น เพื่อกําหนดแผนพัฒนาเป็นรายบุคคล รวมทั้งบริษัทฯ ได้ดําเนินการ ตามแผนสื บ ทอดตํ า แหน่ ง งานได้ สํ า เร็ จ เกิ น กว่ า ร้ อ ยละ 90 และ ได้ดําเนินการพิจารณาทบทวนแผนสืบทอดตําแหน่งงานประจําปี เป็นที่เรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดทําระบบการบริหาร พนั ก งานเครื อ ไทยออยล์ ที่ มี ศั ก ยภาพสู ง ( Talent Management System ) ซึ่ ง เป็ น ระบบที่ มุ่ ง เน้ น การพั ฒ นาและรั ก ษาพนั ก งาน ที่ มี ศั ก ยภาพสู ง ให้ อ ยู่ กั บ องค์ ก รผ่ า นกระบวนการต่ า งๆ อาทิ
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
การมอบหมายงานโครงการพิเศษต่างๆ การพัฒนาเพื่อให้สามารถ เจริญเติบโตในสายอาชีพอย่างเต็มศักยภาพเพื่อสนับสนุนการเติบโต ที่ยั่งยืนขององค์กร นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังคงมุ่งเน้นให้พนักงาน รั ก ษ์ อ งค์ ก ร ตั้ ง แต่ พ นั ก งานเข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ขององค์ ก รผ่ า น โปรแกรมที่ เรี ย กว่ า Employee Engagement Program รวมถึ ง ระหว่างการทํางาน บริษัทฯ มีระบบพี่เลี้ยงที่เป็นผู้ให้คําแนะนํา ในการทํางานและการใช้ชีวิตในเครือไทยออยล์ การสร้างบรรยากาศ การทํางานแบบพี่น้อง การส่งเสริมวัฒนธรรม POSITIVE ในองค์กร รวมทั้ ง กิ จ กรรมต่ า งๆ ของบริ ษั ท ฯ และของแต่ ล ะหน่ ว ยงานที่ สนับสนุนและยกระดับความผูกพันของพนักงานให้ดีขึ้น ในการรองรับการขยายธุรกิจสู่ต่างประเทศตามแผนกลยุทธ์เติบโต ขององค์กร บริษัทฯ ได้จัดทําระบบงานทรัพยากรบุคคลระหว่าง ประเทศ (International HR System ) ที่ครอบคลุมทุกส่วนของการ บริ ห ารและพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลสํ า หรั บ ธุ ร กิ จ เครื อ ไทยออยล์ ในต่างประเทศ โดยมีการกําหนดกรอบนโยบาย และแนวปฏิบัติ พร้ อ มทั้ ง ค่ า ตอบแทนและสวั ส ดิ ก าร ( Overseas Package ) อย่ า งชั ด เจน นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ จั ด ทํ า ระบบเพื่ อ เตรี ย ม ความพร้ อ มให้ กั บ พนั ก งานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ ไ ปปฏิ บั ติ ง าน ในต่างประเทศ (Mobility Pool ) โดยมีการออกแบบเครื่องมือและ วิธีการประเมิน (Assessment Method ) และแนวทางการพัฒนา ( Development Solution ) เพื่ อ ให้ มี ค วามพร้ อ มในการทํ า งาน ในต่างประเทศ (International Assignment Readiness ) ทั้งก่อน และระหว่างการไปปฏิบัติงาน บริษัทฯ ยังได้นําผลสํารวจความผูกพันของพนักงานเครือไทยออยล์ ที่ ผ่ า นมา มากํ า หนดเป็ น แผนดํ า เนิ น การเพื่ อ หาโอกาสในการ ยกระดั บ ค่ า ความพึ ง พอใจและความผู ก พั น ของพนั ก งานอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ ง ยั ง ได้ ทํ า การศึ ก ษารายละเอี ย ดการเป็ น นายจ้ า ง ในดวงใจ (Employer of Choice ) เพื่อพิจารณากําหนดแนวทางใน การเป็น The Best Employer ซึ่งจะเป็นแนวทางการสร้างองค์กรที่ ยั่งยืนอย่างเหมาะสมต่อไป
059
ก า ร บ ริ ห า ร ศั ก ย ภ า พ อ ง ค ก ร
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล สุ ข ภ า พ อ ง ค ก ร ( O r g a n i z a t i o n a l Health Check) สุ ข ภาพองค์ ก รที่ แข็ ง แกร่ ง เป็ น สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ จ ะทํ า ให้ อ งค์ ก รเติ บ โต และยืนหยัดได้อย่างยั่งยืน ไทยออยล์ได้ให้ความใส่ใจในการพัฒนา สุขภาพขององค์กรอย่างจริงจัง และกําหนดให้เป็นหนึ่งในกลยุทธ์ หลักมาตั้งแต่ปี 2556 โดยมีการจัดทําโครงการพัฒนาสุขภาพองค์กร อย่างต่อเนื่อง ในปี 2557 ที่ผ่านมา ฝ่ายจัดการทุกระดับ รวมถึง พนักงานทุกคน ได้ร่วมกันปรับปรุงและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับ องค์กรผ่านโครงการที่กลั่นกรองมาจากความคิดจํานวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการ One Team One Pride (OTOP ) ที่มุ่งเน้นกิจกรรมที่ พนักงานต้องการพัฒนาร่วมกันภายในฝ่าย โครงการ Trust and Care ที่ผลักดันให้คนในองค์กรมีความเชื่อใจและห่วงใยกันภายใต้ค่านิยม POSITIVE และท้ายสุดคือ โครงการ Performance Management System Execution (PMS Execution ) ซึ่งส่งเสริมให้พนักงาน มีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินผลงาน ตั้งแต่การกําหนดเป้าหมาย ในการปฏิบัติงาน จนถึงการอ่านผลการปฏิบัติงานแบบสื่อสาร 2 ทาง ให้ครบร้อยละ 100 ทั้งบริษัทฯ เพื่ อ ยื น ยั น ถึ ง ความสํ า เร็ จ ของโครงการพั ฒ นาสุ ข ภาพองค์ ก ร ไทยออยล์จึงได้ทําการประเมินผ่านแบบสํารวจสุขภาพองค์กร หรือ Organizational Health Index Survey (OHI Survey) อย่างเต็มรูปแบบ อี ก ครั้ ง เมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2557 ผลการสํ า รวจ OHI พบว่ า องค์ ป ระกอบของ OHI ทั้ ง 9 มิ ติ ได้ แ ก่ ทิ ศ ทางขององค์ ก ร ความเป็ น ผู้ นํ า วั ฒ นธรรมและค่ า นิ ย ม หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ การประสานงานและการควบคุ ม ความสามารถขององค์ ก ร แรงจูงใจ ความสัมพันธ์กับภายนอก และนวัตกรรมและการเรียนรู้ อยู่ในระดับ Top Quartile ทั้งหมด เมื่อเทียบกับองค์กรในระดับโลก (Global Benchmark ) ผลลัพธ์ดังกล่าวช่วยสะท้อนให้เห็นถึงความ แข็งแกร่งของไทยออยล์ที่มาจากภายในอย่างแท้จริง
060
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
14
คณะกรรมการ บ ริ ษั ท ฯ
นายคุรุจิต นาครทรรพ กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (แต่งตั้ง 12 กันยายน 2557) และประธานกรรมการ (เลือกตั้ง 26 กันยายน 2557) อายุ 59 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม (with Special Distinction ) University of Oklahoma ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม University of Oklahoma ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม University of Oklahoma ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP ) 64/2007 >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP ) 32/2010 >> หลักสูตร Role of Compensation Committee (RCC ) 12/2011 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 51 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT ) รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการการค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย >> หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) รุ่นที่ 2 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 13 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 1 สถาบันวิทยาการพลังงาน >> หลักสูตรภูมิพลังแผ่นดินสําหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2551 - 2553 อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน 2553 – ก.ค. 2557 รองปลัดกระทรวงพลังงาน ก.ค. - ก.ย. 2557 อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน ต.ค. 2557 – ปัจจุบัน รองปลัดกระทรวงพลังงาน
ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (2) >> ประธานกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
061
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (แต่งตั้ง 29 พฤศจิกายน 2556) และประธานคณะกรรมการตรวจสอบบ (เลือกตั้ง 8 พฤษภาคม 2557) อายุ 64 ปี
ประวัติการศึกษา >> นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา >> Master of Comparative Law (MCL .) University of IIIinois ประเทศสหรัฐอเมริกา >> นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง >> นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยโยนก >> ประกาศนียบัตร Harvard Business School ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 35/2003 >> หลักสูตร Finance for Non - Finance Director (FND ) 7/2003 >> หลักสูตร Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS ) 1/2006 >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP ) 17/2007 >> หลักสูตร DCP Refresher Course 1/2008 >> หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP ) 4/2012 ประวัติการอบรมอื่นๆ >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. 388) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร. 8) วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 5 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 1 สถาบันวิทยาการพลังงาน >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT ) รุ่นที่ 5 >> หลักสูตรภูมิพลังแผ่นดินสําหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2548 - 2552 รองอัยการสูงสุด สํานักอัยการสูงสุด 2552 - 2556 อัยการสูงสุด สํานักอัยการสูงสุด 2553 - 2556 กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2553 - 2556 กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2553 - 2557 กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 2554 - ปัจจุบัน นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตําแหน่งที่สําคัญอื่น 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด (4) >> กรรมการอิสระ และประธานกรรมการสรรหา บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (มหาชน) >> กรรมการอิสระ และประธานกรรมการ บริษัท อควา คอร์เปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท ทีพีไอ โพลีน จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ธนชาตประกันภัย จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (5) >> นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> ศาสตราจารย์พิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> กรรมการกฤษฎีกา >> กรรมการบริหารทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. รัฐวิสาหกิจ
- ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
- ไม่มี
- ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
062
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร
นายสุวิทย์ เมษินทรีย์ นา
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (แต่งตั้ง 20 กันยายน 2556) และกรรมการตรวจสอบ (แต่งตั้ง 20 กันยายน 2556) อายุ 60 ปี
กรร กรรมการอิ สระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (แต่งตั้ง 12 กันยายน 2557) และกรรมการตรวจสอบ และ (แต่งตั้ง 26 กันยายน 2557) อายุ 53 ปี อาย
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาการเงินการธนาคาร (เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ >> Master of Development Studies สาขาวิชา Economic Policy and Planning Institute of Social Studies, Rotterdam Erasmus University ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP ) 40/2005 >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 72/2006 >> หลักสูตร Finance for Non - Finance Director (FND ) 28/2006 >> หลักสูตร Financial Statements for Director (FSD ) 10/2010 >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP ) 39/2012 >> หลักสูตร The Role of Chairman Program (RCP ) 28/2012 >> หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP ) 4/2012 >> หลักสูตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG ) 3/2012 >> หลักสูตร Anti - Corruption for Executive Program (ACEP ) 10/2014 >> หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP ) 15/2014 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 41 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน >> หลักสูตร Strategic Thinking and Executive Action , Kellogg Executive Program, Northwestern University ประเทศสหรัฐอเมริกา >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 19 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง (วปอ.มส.) รุ่นที่ 1 สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 12 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT ) รุ่นที่ 5 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการพลังงาน >> หลักสูตรนักบริหารระดับสูง ธรรมศาสตร์เพื่อสังคม (นมธ.) รุ่นที่ 4 ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2550 - 2552 กรรมการบริหารสํารอง ธนาคารโลก กรุงวอชิงตัน ดี ซี สหรัฐอเมริกา 2552 รองผู้อํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 2552 - 2554 ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) 2554 - 2555 ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง 2555 - 2557 ผู้อํานวยการสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - ไม่มี 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด - ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจํากระทรวงการคลัง 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล >> ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ >> ปริญญาเอก การตลาด Kellogg Graduate School of Management , Northwestern University ประเทศสหรัฐอเมริกา
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 12/2002 >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP ) 60/2006 >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP ) 37/2011 >> หลักสูตร DCP Refresher 2006 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ
- ไม่มี
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2551 – ปัจจุบัน ผู้อํานวยการ Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จํากัด (มหาชน) 2552 - ปัจจุบัน กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จํากัด (มหาชน) 2554 – เม.ย. 2557 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท บัตรกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ก.ค. 2554 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท อาหารสยาม จํากัด (มหาชน) 2554 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท จี แคปปิตอล จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (4) >> กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท นํ้ามันพืชไทย จํากัด (มหาชน) >> กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จํากัด (มหาชน) >> กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท อาหารสยาม จํากัด (มหาชน) >> กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท จี แคปปิตอล จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด - ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
063
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต
นายณัฐชาติ จารุจินดา
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (ต่อวาระ 2 เมษายน 2556) และประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (เลือกตั้ง 10 เมษายน 2557) อายุ 60 ปี
กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (ต่อวาระ 2 เมษายน 2556) และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (แต่งตั้ง 24 มกราคม 2557) อายุ 60 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 24 >> วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.)
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ >> ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP ) 16/2004
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 129/2010
ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ หลักสูตรชั้นนายพัน ประเทศออสเตรเลีย Fort Benning ประเทศสหรัฐอเมริกา
>>
ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ หลักสูตร Program for Global Leadership (PGL), Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา >> หลักสูตร Oxford Energy Seminar ประเทศอังกฤษ >> หลักสูตร Break through Program for Senior Executives (BPSE ) สถาบัน IMD International ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 20 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาลัยตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 15 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการพลังงาน
>> >>
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2551 รองแม่ทัพภาคที่ 1 กองทัพบก 2552 แม่ทัพน้อยที่ 1 กองทัพบก 2553 รองเสนาธิการทหารบก 2555 ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก 2556 - 2557 ประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก ปัจจุบัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไมด้า ลิสซิ่ง จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด - ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> ประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2548 – 2552 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธุรกิจก๊าซธรรมชาติสําหรับยานยนต์ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2552 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2553 – 2554 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์องค์กร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2554 – 2556 ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2556 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ าร กลุม่ ธุรกิจปิโตรเลียมขัน้ ต้นและก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (2) >> ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด (1) >> กรรมการ บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (3) >> ประธานกลุ่ม Water Resource Management : TBCSD >> ประธานชมรมพลังไทยใจอาสา >> ประธานชมรมเดิน - วิ่ง เพื่อสุขภาพ ปตท. 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
064
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายถาวร พานิชพันธ์
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิรรสัิสมั พันธ์ ศา
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (แต่งตั้ง 29 พฤศจิกายน 2556) และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (แต่งตั้ง 25 เมษายน 2557) อายุ 64 ปี
กร กรรมการอิ สระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (แต่งตั้ง 25 พฤษภาคม 2555) (แต ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ปร าร (เลือกตั้ง 31 สิงหาคม 2556) และกรรมการสรรหา แล และพิ แล จารณาค่าตอบแทน (แต่ (แตงตั้ง 26 กันยายน 2557) อายุ อา 54 ปี
ประวัติการศึกษา >> นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา >> นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติการศึกษา >> รัฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> Master of Public Administration, Pi Alpha Alpha (National Honor Society for Public Affairs and Administration), Northern Illinois University ประเทศสหรัฐอเมริกา >> Ph .D . สาขาการวิเคราะห์นโยบาย การบริหารรัฐกิจและการเมืองเปรียบเทียบ Northern Illinois University ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS ) 8/2007 >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 108/2008 >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP ) 73/2008 >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP ) 22/2008 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. 4313) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร. 14) วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2550 - 2556 รองอัยการสูงสุด 2554 - ปัจจุบัน กรรมการผูท้ รงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 2553 - ปัจจุบัน กรรมการกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน 2553 - ปัจจุบัน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านกฎหมาย) สถาบันคุ้มครองเงินฝาก ปัจจุบัน อัยการอาวุโส ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (4) >> อัยการอาวุโส >> กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน >> กรรมการกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน >> กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านกฎหมาย) สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 5. รัฐวิสาหกิจ
- ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 80/2006 >> หลักสูตร Finance for Non - Finance Director (FND ) 30/2006 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 10 >> หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บยส.) รุ่นที่ 15 สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 4 สถาบันวิทยาการพลังงาน >> หลักสูตร Corporate Governance : Effectiveness and Accountability in the Boardroom, Kellogg School of Management, Northwestern University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2555 - 2556 กรรมการอิสระ ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) 2556 - 2557 กรรมการอิสระ และประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ปตท.จํากัด (มหาชน) 2556 - 2557 กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี และส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสังคม บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) 2545 - 2556 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 2556 - 2557 เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชนจํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (4) >> ประธานกรรมการอิสระติดตามและประเมินผล สภาพัฒนาการเมือง >> กรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล สถาบันพระปกเกล้า >> ที่ปรึกษาสถาบันเพื่อการยุติธรรม (องค์การมหาชน) >> กรรมการอํานวยการ สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA ) 5. รัฐวิสาหกิจ
– ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
– ไม่มี – ไม่มี – ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
065
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายพรายพล คุ้มทรัพย์
นนายยงยุทธ จันทรโรทัย
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (แต่งตั้ง 12 กันยายน 2557) และกรรมการกํากับดูแลกิจการ (แต่งตั้ง 26 กันยายน 2557) อายุ 67 ปี
กร กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (แต่งตั้ง 2 เมษายน 2557) (แ และกรรมการกํากับดูแลกิจการ แล (แต่งตั้ง 25 เมษายน 2557) (แ อายุ 55 ปี อา
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต University of Western Australia ประเทศออสเตรเลีย >> ปริญญาโท เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ >> ปริญญาเอก เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต Yale University ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP ) 52/2006 >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 91/2007 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ
- ไม่มี
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2515 – 2555 อาจารย์ประจํา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2551 – 2554 คณะกรรมการนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย 2553 คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจของนายกรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) 2536 – 2557 คณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ปัจจุบัน นักวิชาการอิสระ และผู้ช่วยรัฐมนตรีประจํากระทรวงพลังงาน ปัจจุบัน สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) - ไม่มี ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 59 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 52 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 13 ก.ค. 2554 ผู้อํานวยการสํานักวิชาการพลังงานภาค 3 1 ม.ค. 2555 ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านยุทธศาสตร์พลังงาน ราชการบริหารส่วนกลาง 16 ม.ค. 2555 ผูอ้ าํ นวยการสํานักประสานการมีสว่ นร่วมของภาคประชาชน 18 มี.ค. 2556 – 31 ต.ค. 2556 หัวหน้าสํานักงาน (ผู้อํานวยการ) สํานักงานรัฐมนตรี กระทรวงพลังงาน 1 พ.ย. 2556 – 16 พ.ย. 2557 ผู้ช่วยปลัดกระทรวงพลังงาน 17 พ.ย. 2557 – ปัจจุบัน รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชนจํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
066
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
นายทวารัฐ สูตะบุตร
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (ต่อวาระ 2 เมษายน 2556) และประธานคณะกรรมการบริหารความเสี ามเสี่ยง (เลือกตั้ง 29 พฤษภาคม 2556) อายุ 61 ปี
กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (แต่งตั้ง 12 กันยายน 2557) และกรรมการบริหารความเสี่ยง (แต่งตั้ง 26 กันยายน 2557) อายุ 45 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> MBA , Industrial Management , University of Tennessee ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (Soil Mechanics ) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) >> ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Civil & Environmental Engineering ) สถาบันเทคโนโลยีแห่งมลรัฐแมสซาซูเซตต์ (MIT) ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 18/2002 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 16 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 115/2009
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2547 - 7 พ.ย. 2555 กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 2549 - 2553 กรรมการอิสระ บริษัท อินโดรามาโพลีเมอร์ส จํากัด (มหาชน) 2550 - 2552 ประธานสมาคมธนาคารอาเซียน 2550 - 2553 ประธานสมาคมธนาคารไทย 2550 - 2553 กรรมการ บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท) 2550 - 2553 กรรมการ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ส.ค. 2555 - ก.พ. 2556 กรรมการอิสระ บริษัท ซีพีออลล์ จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (4) >> กรรมการอิสระ บริษัท ซินเน็ค (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) >> กรรมการอิสระ บริษัท อินโดรามาเวนเจอร์ส จํากัด (มหาชน) >> ประธานกรรมการ บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ และกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชนจํากัด (1) >> กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท บางกอกกล๊าส จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด (1) >> รองประธาน คณะกรรมการบริหารการเงิน บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์ จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ หลักสูตร Advanced Management Program (AMP) สถาบัน INSEAD ประเทศฝรั่งเศส (ทุนพัฒนาข้าราชการสํานักงาน ก.พ.) >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT ) รุ่นที่ 6 สถาบันวิทยาการการค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย >> หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP ) รุ่นที่ 9 สถาบันวิทยาการตลาดทุน >> หลักสูตรนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 61 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน >> หลักสูตรนักบริหารพลังงานระดับสูง รุ่นที่ 2 กระทรวงพลังงาน >> หลักสูตรผู้นําคลื่นลูกใหม่ รุ่นที่ 3 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน >> Infrastructure in a Market Economics , Harvard University , Cambridge ประเทศสหรัฐอเมริกา >>
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2549 - 2550 รองโฆษกกระทรวงพลังงาน 2549 - 2552 ผู้อํานวยการสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงพลังงาน 2550 - 2552 ผู้อํานวยการส่วนสื่อสารและการยอมรับสาธารณะ สํานักพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ กระทรวงพลังงาน 2550 - 2552 โฆษกกระทรวงพลังงาน 2552 - ก.ย. 2557 รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ต.ค. 2557 - ปัจจุบัน รองปลัดกระทรวงพลังงาน ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> ที่ปรึกษาคณะกรรมการสถาบันอาคารเขียวไทยแห่งประเทศไทย 5. รัฐวิสาหกิจ
- ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
067
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (แต่งตั้ง 26 กันยายน 2557) อายุ 54 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ >> ปริญญาโท เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 85/2007 >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP ) 93/2011 >> หลักสูตร Financial Statements for Director (FSD ) 12/2011 >> หลักสูตร Chartered Director Class (CDC ) 6/2012 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ระดับผู้บริหาร รุ่นที่ 1 กรมกิจการพลเรือนทหารบก >> หลักสูตรวิทยาลัยการทัพอากาศ (วทอ.) รุ่นที่ 35 >> หลักสูตร Senior Executive Program (SEP ) รุ่นที่ 20 สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> หลักสูตร Advanced Senior Executive Program (ASEP ), Kellogg & Sasin , Chicago ประเทศสหรัฐอเมริกา >> หลักสูตร PTT Executive Leadership , General Electric , GE , New York ประเทศสหรัฐอเมริกา >> หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสําหรับ นักบริหารระดับสูง (ปศส.) รุ่นที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า >> หลักสูตร Leadership Excellence through Awareness and Practice (LEAP ) สถาบัน INSEAD >> หลักสูตร LDP III Leadership Development Program รุ่นที่ 1/2557 >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 57 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2552 - 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผน บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) 2553 - 2555 กรรมการผู้จัดการ บริษัท นํ้ามัน ไออาร์พีซี จํากัด 2553 - 2555 กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย เอบีเอส จํากัด 2554 - 2555 รักษาการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายแผนธุรกิจองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) 2554 - 2556 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจท่าเรือ และบริหารจัดการทรัพย์สิน บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) 2555 - 2556 รักษาการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) 2556 - ต.ค. 2557 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) ต.ค. 2557 – ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์องค์กร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)
ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์องค์กร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด (2) >> ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. กรีนเอ็นเนอร์ยี่ จํากัด >> กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ
- ไม่มี - ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
- ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
068
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายอธิคม เติบศิริ กรรมการ (เป็นผู้บริหาร) (แต่งตั้ง 12 กันยายน 2557) กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการคณะกรรมการ (แต่งตั้ง 26 กันยายน 2557) อายุ 52 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาบัญชี (วิชาเอกบัญชีต้นทุนและการบริหารการเงิน) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ >> ปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขาการเงินและการค้าระหว่างประเทศ เกียรตินิยมระดับ High Distinction, Armstrong University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 125/2009 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐ เอกชน และการเมือง (วปม.) รุ่นที่ 5 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรวิทยาการตลาดทุน สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 17 >> หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง (วปอ.มส.) รุ่นที่ 1 สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> Executive Education Program , Harvard Business School , Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2552 - 2554 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายแผนธุรกิจองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) 2554 - 2556 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) 2556 - ก.ย. 2557 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ต.ค. 2557 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียม ขั้นปลาย บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชนจํากัด (2) >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด (9) >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (10) >> กรรมการสถาบันพลาสติก อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ (องค์กรหรือสถานสาธารณกุศล) >> กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการอํานวยการศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยี ปิโตรเคมีและวัสดุ สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจยั ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> กรรมการผู้แทนบริษัทฯ สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย >> กรรมการสถาบันพลังงานเพื่อการอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย >> กรรมการกํากับการจัดทํากรอบนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีวัสดุของประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ >> กรรมการมูลนิธินิคมอุตสาหกรรมไทย >> กรรมการมูลนิธิสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระยอง >> กรรมการมูลนิธิโรงเรียนวิทยาศาสตร์ระยอง >> กรรมการบริหารสถาบันวิทยาการพลังงาน >> กรรมการบริหารสมาคมว่ายนํ้าแห่งประเทศไทย 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
069
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายณอคุณ สิทธิพงศ์
นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานกรรมการ (ลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2557) อายุ 61 ปี
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (ครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจํา ปี 2557) อายุ 68 ปี
ประวัติการศึกษา >> วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> M .Sc . (Mechanical Engineering ), Oregon State University ประเทศสหรัฐอเมริกา >> Ph .D . (Mechanical Engineering ), Oregon State University ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น >> ปริญญาโท วิศวกรรมโยธา Lamar University, Texas ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP ) 21/2009 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 47 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 4 หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 2 สถาบันวิทยาการพลังงาน
>> >> >>
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP ) 27/2004 >> หลักสูตร Finance for Non - Finance Director (FND ) 24/2005 >> หลักสูตร Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS ) 5/2006 >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP ) 22/2008 >> หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP ) 26/2011 >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 166/2012 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2546 - 2553 รองปลัดกระทรวงพลังงาน 2553 - 2556 ปลัดกระทรวงพลังงาน 2554 - 2556 ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2554 - 2557 ประธานกรรมการ บริษทั ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 2555 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด (1) >> กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> ประธานคณะกรรมการองค์การซีเกรฝ่ายไทย (CIGRE ) 5. รัฐวิสาหกิจ
- ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
- ไม่มี
- ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
- ไม่มี
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2547 - 2555 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ฟอร์จูน พาร์ท อินดัสตรี้ จํากัด (มหาชน) 2549 - 2554 ประธานกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2549 - 2554 ประธานกรรมการกลุ่มบริษัท เทเลเดต้า (กรุงเทพฯ) จํากัด 2549 - 2554 กรรมการสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น 2549 - 2556 กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 2551 - 2555 ประธานกรรมการ บริษัท พีเออี (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2551 - 2556 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยโรตารี่ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (3) >> ประธานกรรมการ บริษัท สยามโกลบอลเฮ้าส์ จํากัด (มหาชน) >> ประธานกรรมการ บริษัท ซีออยล์ จํากัด (มหาชน) >> รองประธานกรรมการ บริษัท เอเซียกรีน เอนเนอจี จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด (3) >> ประธานกรรมการ บริษัท อีโค่ไลท์ติ้ง จํากัด >> กรรมการอิสระและประธานกรรมการสรรหา บริษัท ซาคารี รีซอร์สเซส จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท เอเซียไบโอแมส จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
070
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์
นายธนวัฒน์ อัมพุนันท์
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการตรวจสอบ (ลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2557) อายุ 59 ปี
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการตรวจสอบ (ลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2557) อายุ 43 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ >> ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง >> ปริญญาโท บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ >> ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการศึกษา >> วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยรังสิต >> การจัดการภาครัฐและเอกชนมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ >> รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> Advanced Audit Committee Program (AACP ) 16/2014 >> Director Certifi cation Program (DCP ) 176/2013 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 19 >> หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บยส.) รุ่นที่ 18 สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม >> หลักสูตรการกํากับดูแลกิจการสําหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชน รุ่นที่ 12 สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูง >> หลักสูตรโครงการพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ศูนย์ให้คําปรึกษาและพัฒนาผู้บริหารทางธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ
Copenhagen Business School หลักสูตรนักบริหารการคลัง สถาบันวิทยาการเศรษฐกิจและการคลัง หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตร HR Management Berkeley University of America >> หลักสูตร Strategic Advisor สําหรับผู้บริหาร Kellogg University ประเทศสหรัฐอเมริกา >> >>
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี ต.ค. 2551 ผู้อํานวยการ สํานักบริหารกลาง กรมสรรพากร พ.ย. 2555 รองอธิบดี กรมสรรพากร เม.ย. 2557 – ปัจจุบัน ที่ปรึกษาด้านพัฒนาฐานภาษี กรมสรรพากร ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด (1) >> กรรมการ บริษัท บริหารสินทรัพย์สุขุมวิท จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ (1) >> กรรมการ โรงงานไพ่ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
- ไม่มี - ไม่มี
- ไม่มี
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Audit Committee Program (ACP ) 40/2012 >> หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP ) 9/2012 >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 155/2012 >> หลักสูตร Financial Statements for Director (FSD ) 15/2012 >> หลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE ) 14/2012 >> หลักสูตร Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR ) 16/2012 >> หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM ) 8/2012 >> หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA ) 13/2012 >> หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) 13/2012 >> หลักสูตร How to Develop a Risk Management Plan (HRP ) 1/2012 >> หลักสูตร How to Measure the Success of Corporate Strategy (HMS ) 1/2012 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ
- ไม่มี
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2545 - 2554 กรรมการผู้จัดการ บริษัท คอมเมอชัลอะไลอันซ์ จํากัด 2546 - 2550 กรรมการและผู้อํานวยการ บริษัท หาดสวยฟ้าใส จํากัด 2554 - 2555 กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - ไม่มี 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด (1) >> กรรมการ บริษัท แอร์ อินเตอร์ ทรานสปอร์ต จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ (1) >> ประธานกรรมการบริหารและกรรมการ บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จํากัด (สังกัดกระทรวงการคลัง) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
071
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์
พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (ครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจํา ปี 2557) อายุ 64 ปี
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (ลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2557) อายุ 64 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง >> ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ประวัติการศึกษา >> วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า >> วิทยาลัยการทัพบก >> รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 125/2009 >> หลักสูตร Financial Statements for Director (FSD ) 6/2009 >> หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC ) 14/2012 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 15 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร. 8) วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า >> หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรให้เป็นนักบริหารมืออาชีพ โดยสถาบันวิจยั นโยบายเศรษฐกิจ การคลัง ร่วมกับ The Kellogg School of Management และ The Maxwell School of >>
Citizenship and Public Affairs หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บยส.) รุ่นที่ 12 สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม >> หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง (วปอ.มส.3) สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >>
ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 16 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตร Anti - Corruption for Executive Program (ACEP ) 10/2014 ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2548 - 2550 ผู้บัญชาการ มณฑลทหารบกที่ 22 จังหวัดอุบลราชธานี 2550 - 2552 ที่ปรึกษากองทัพบก ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ (1) >> ที่ปรึกษา คณะกรรมการฝ่ายกิจการสัมพันธ์ โรงงานยาสูบแห่งประเทศไทย
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2550 - 2552 รองอธิบดีกรมศุลกากร 2552 - 2554 ที่ปรึกษาด้านพัฒนาระบบควบคุมทางศุลกากร กรมศุลกากร ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน บริษัท เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด - ไม่มี 3. บริษัทจํากัด - ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> ที่ปรึกษาประจําสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 158/2012 >> หลักสูตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG ) 3/2012 >> หลักสูตร Financial Statements for Director (FSD ) 17/2012
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
072
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว
นายสมเกียรติ หัตถโกศล
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการกํากับดูแลกิจการ (ลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2557) อายุ 60 ปี
กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) (ลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2557) อายุ 64 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยตํารวจ (นรต.รุ่น 29) >> ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ Pennsylvania State University ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) - ไม่มี
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 158/2012
ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 42 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT ) รุ่นที่ 5 สถาบันวิทยาการการค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย >> หลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสูง สถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง >> หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บยส.) รุ่นที่ 15 สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 5 >> วิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ 33
ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2550 ผู้ช่วย ผบ.ตร. และปฏิบัติหน้าที่ ผบ.ศปก.ตร.สน. (จว.ยะลา) 2552 ที่ปรึกษา (สบ 10) (ด้านความมั่นคงและกิจการพิเศษ) 2552 กรรมการ องค์การตลาด กระทรวงมหาดไทย 2553 กรรมการ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2553 – 2555 รองผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ 2554 – 2555 เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2555 - 2557 ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ พ.ค. 2557 – ปัจจุบัน รองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ / หัวหน้าฝ่ายกิจการพิเศษ ก.ย. 2557 – ปัจจุบัน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (2) >> รองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ / หัวหน้าฝ่ายกิจการพิเศษ >> รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 5. รัฐวิสาหกิจ
- ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
- ไม่มี
ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2547 - 2555 กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 2549 - 2552 กรรมการ บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด 2549 - 2555 กรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด 2550 - 2554 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ จํากัด 2551 - 2553 รองกรรมการอํานวยการ- ด้านธุรกิจ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) 2551 - 2556 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด 2551 - 2556 กรรมการ บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด 2551 - 2556 ประธานกรรมการ บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด 2551 - 2556 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด 2552 - 2553 ผู้อํานวยการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) 2552 - 2556 กรรมการ TOP Solvent (Vietnam) Limited Liability 2553 - 2556 กรรมการ บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด (3) >> รองประธาน บริษัท ไทยโตไกคาร์บอนโปรดักท์ จํากัด >> กรรมการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด >> กรรมการ บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
- ไม่มี - ไม่มี
- ไม่มี - ไม่มี 0.0519% - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี
073
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการ (ผู้บริหาร) (ลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2557) อายุ 60 ปี
ประวัติการศึกษา >> วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> Master of Science (Mechanical Engineering ), Texas A &I University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> หลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP ) 82/2006 >> หลักสูตร Finance for Non - Finance Directors (FND ) 30/2006 ประวัตกิ ารอบรมอืน่ ๆ >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT ) รุ่นที่ 2 สถาบันวิทยาการการค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 11 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง Leadership Development Program >> “Enhancing Competitiveness ”, International Institute for Management Development (IMD) >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่น 5/2557 สถาบันวิทยาการพลังงาน ประวัตกิ ารทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2549 – 2551 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานธุรกิจการค้า บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และกรรมการผู้จัดการ บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) 2551 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 2551 – 2554 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 2554 – 2555 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 2555 – 2557 ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งทีส่ าํ คัญอืน่ 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด (1) >> ประธานคณะกรรมการบริษัท เอ็ช.เอ็ม.ซี. โปลีเมอส์ จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (3) >> รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย >> ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย >> คณะทํางานพลังงานภาคเอกชน กระทรวงพลังงาน 5. รัฐวิสาหกิจ
- ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้เสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
0.0020 - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี
- ไม่มี - ไม่มี
074
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
โ ค ร ง ส ร า ง ฝ า ย จั ด ก า ร
โ ค ร ง ส ร า ง ฝ า ย จั ด ก า ร
15
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ''% 6'17 +& 6' v ''% 6'17 +& 6' ''% 6'17 +& 6' TM ''% 6'17 +& 6' y ''% 6'17 +& 6' y ''% 6'17 +& 6' TP ''% 6'17 +& 6' uv} ''% 6' =ę 5 6' ''% 6' =ę 5 6' u w
'1 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 )&< Ĝ1 Ĝ ' .% 5& + ,Ę+5 ,6 Ę
=ę 5 6'!ē6&+6 B )&< Ĝ
$5 ') 6 . Ĕ6B.
=ę 5 6'!ē6&"5 6 <' 8
'1 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 6'A è B)4 5g 9 'è, 6 '4/6' ĕ6,:
=ę 5 6'!ē6&+6 B 6'A è
,8'è"' %/5 'è&+ ,Ę
=ę 5 6'!ē6& 5g 9
+ "' 9'$6"E".8
'4"ô 1 A 9&%
=ę 5 6'!ē6& 'è/6' +6%A.9I&
)&< Ĝ1 Ĝ '
6' 9 % 6 < )8
$5 ') 6 . Ĕ6B. |'5 -6 6'}
=ę 5 6'!ē6& 6' )5
'1 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 6'"6 8 &Ĝ1 Ĝ ' +è- < + ,Ę.% =' Ę
=ę 5 6'!ē6&+6 B 6'"6 8 &Ĝ
5 ' 6" ,Ę +5 6 ' |'5 -6 6'}
=ę 5 6'!ē6& 6'"6 8 &Ĝ
15 'é&Ę 9&6$' Ę
=ę 5 6'!ē6& 'è/6' 5"")6&A
5 ' 6" ,Ę +5 6 '
=ę Ę+& ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 6' )8 C ,) "ô% 4C 5&
=ę 5 6'!ē6& )8 ę6 6' )5I
5 8 ''% '4 7 è /%6&A/ < ã ç äççä >> 8 5, Ę '1 +6 8 & <) E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I £ £ ã äççä >> A 1 6 8 < '5 Ę E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I £¢ £¢ ã ã äçç >> " -Ę"5 <Ę 1%'+è+5 Ę E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I £ B)4 £ § ã ã äçç >> +èC' Ę + ,Ę. 8'&6 < E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I £ ¢ £ ¢ ã ã äçç >> )ĕ6/6g C 7 6g+è &Ę E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I ¢ ãã äçç >> .< 6 8 %5 &6 Ę E ĕ'5 %1 /%6&D/ĕ E 8 5 8 6 9I §
=ę 5 6'!ē6& )8 ę6 ďC 'A %9 B)4)=ę A .
" -Ę"5 <Ę 1%'+è+5 Ę
075
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
โ ค ร ง ส ร า ง ฝ า ย จั ด ก า ร
4 ''% 6' 'è-5 3
'4 6 A ę6/ ę6 9I 'è/6' B)4 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ 1 8 % A 8 ,8'è 4 ''% 6' '+ .1 =ę 5 6' '+ .1 '4 6 $6&D
'1 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 6' )5I B)4 ďC 'A %9 1$8 5 Ę .<$5 ' < '
'1 ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 'è/6',5 &$6"1 Ĝ ' 1 8 % A 8 ,8'è |'5 -6 6'}
=ę 5 6'!ē6& '5"&6 ' < )
+èC' Ę + ,Ę. 8'&6 <
=ę 5 6'!ē6&"5 61 Ĝ '
17") .8 /Ę,5 6
=ę 5 6'!ē6& 5 ;J1 5 ę6
6)9 6)% ) |'5 -6 6'}
=ę Ę+& ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 '4.8 8$6" 6' )8 E% 'é A'éI&+A 4
=ę 5 6'!ē6&+è,+ ''%
.<' 5& B. .7'6g
=ę 5 6'!ē6&"5 6.8 '5"&Ĝ
.%A 9&' 8 ' '4 5 <)
=ę 5 6'!ē6&A C C)&9
'<Ĕ $6 5 'Ę =A 9&' 8 |'5 -6 6'}
=ę 5 6'!ē6& 'è/6' < $6"1 Ĝ '
'4A.'è A'èø%+6 8 &Ę
=ę 5 6'!ē6& +5 ''% B)4 6' 'è/6' +6%&5I &; .5 8 +6. .8'è
=ę Ę+& ''% 6' =ę 5 6'D/gĘ ę6 7 5 8 6'1 Ĝ ' +èC' Ę %9 4"5 Ę |'5 -6 6'}
=ę 5 6'!ē6& 8 6'.5%"5 Ĝ
+èC' Ę %9 4"5 Ę |'5 -6 6'}
=ę 5 6'!ē6& 8 6'1 Ĝ '
$6 <%6, = 6 8 5& <) 6'
076
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
16
ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
01
02
03
04
05
06
07
08
01 / นายอธิคม เติบศิริ
05 / นายอภินันท์ สุภัตรบุตร
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ / รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านบริหารศักยภาพองค์กร (รักษาการ)
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี
06 / นายโกศล พิมทะโนทัย 02 / นางปริศนา ประหารข้าศึก
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการผลิต
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการเงินและบัญชี
07 / นายไมตรี เรี่ยวเดชะ 03 / นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการพาณิชย์องค์กร
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านประสิทธิภาพการผลิต / กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด / กรรมการอํานวยการ บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด
04 / นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกลยุทธ์องค์กร
08 / นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกํากับกิจการองค์กร (รักษาการ) / ผู้จัดการฝ่ายกิจการสัมพันธ์ (รักษาการ)
077
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
09
10
11
12
13
14
15
16
09 / นายกล้าหาญ โตชํานาญวิทย์
13 / นางสาวดวงพร ธีรภาพไพสิฐ
ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการฝ่ายศักยภาพองค์กร บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (มหาชน)
ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
14 / นางดารณี มนธาตุผลิน 10 / นายจีราวัฒน์ พัฒนสมสิทธิ์
ผู้จัดการฝ่ายการคลัง
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด
15 / นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์ 11 / นายฉัตรฐาพงศ์ วังธนากร ผู้จัดการฝ่ายบริหารซัพพลายเชน / ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการพาณิชย์ (รักษาการ)
ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการ บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด
16 / นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล 12 / นายชาลี บาลมงคล ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง (รักษาการ)
ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด
078
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
17
18
19
20
21
22
23
24
17 / นายบัณฑิต ธรรมประจําจิต
21 / นางสาวภัทรลดา สง่าแสง
ผู้จัดการฝ่ายผลิต - ด้านการกลั่น
ผู้จัดการฝ่ายวางแผนกลยุทธ์ / ผู้จัดการฝ่ายบริหารความเสี่ยงกลยุทธ์องค์กร (รักษาการ)
18 / นางประพิณ ทองเนียม ผู้จัดการฝ่ายบัญชี
22 / นางภาณุมาศ ชูชาติชัยกุลการ ผู้จัดการฝ่ายกิจการองค์กร
19 / นายประเสริฐ เริ่มวานิชย์ ผู้จัดการฝ่ายบริหารคุณภาพองค์กร
23 / นายวิโรจน์ วงศ์สถิรยาคุณ
20 / นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์
ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล / ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด
ผู้จัดการฝ่ายผลิต - ด้านปิโตรเคมีและลู้บเบส / ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) / ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด
24 / นางรุ่งนภา จันทร์ชูเกียรติ ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยี (รักษาการ)
079
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
25
26
27
28
29
30
31
32
25 / นายศรัณย์ หะรินสุต
29 / นายสุชาติ มัณยานนท์
กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด
ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด
26 / นางสาวศิริพร มหัจฉริยวงศ์
30 / นายสุรชัย แสงสําราญ
ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการเงิน
ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม
27 / นายสมเกียรติ ขจรประดับกุล
31 / นางสาวอัจฉรีย์ ตียาภรณ์
ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์
ผู้จัดการฝ่ายการพาณิชย์
28 / นายสันติ วาสนสิริ
32 / นายอําพล สิงห์ศักดา
ผู้จัดการฝ่ายนวัตกรรมและการบริหารความยั่งยืน
ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาองค์กร
080
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
17
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น จํ า น ว น ทุ น จ ด ท ะ เ บี ย น แ ล ะ ทุ น ชํ า ร ะ แ ล ว หุ้นสามัญ ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้น วันที่ 31 ตุลาคม 2557 บริษัทฯ มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 20,400,278,730 บาท เป็นทุนชําระแล้วจํานวน
20,400,278,730 บาท โดยเป็นหุ้นสามัญทั้งสิ้น 2,040,027,873 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท
ผู ถื อ หุ น รายชื่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ 10 รายแรก ณ วั น ที่ 31 ตุ ล าคม 2557 มีดังนี้
รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 ลําดับแรก(1) 1 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)(2) 2 THE HONGKONG AND SHANGHAI BANKING CORPORATION LIMITED ,
FUND SERVICES DEPARTMENT STATE STREET BANK EUROPE LIMITED STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY THE BANK OF NEW YORK MELLON JX Holdings, Inc. HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD CHASE NOMINEES LIMITED 15 GIC PRIVATE LIMITED - C
3 4 5 6 7 8 9 10 บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) รวม
จํานวนหุ้น
สัดส่วนการถือหุ้น
1,001,647,483 60,816,660
49.10% 2.98%
60,202,193 50,097,945 36,488,706 36,137,200 32,980,721 25,562,954 17,427,500 16,900,000 1,338,261,362
2.95% 2.46% 1.79% 1.77% 1.62% 1.25% 0.85% 0.83% 65.60%
หมายเหตุ: (1) ไม่นับรวมผู้ถือหุ้นบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการลงทุนของผู้ลงทุน โดยเฉพาะชาวต่างประเทศ ให้สามารถลงทุนในหุน้ สามัญของบริษทั จดทะเบียนได้โดยไม่ตดิ เรือ่ งเพดานการถือครองหลักทรัพย์ของชาวต่างชาติ (Foreign Limit) ซึ่งไม่มีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมของบริษัทจดทะเบียน (2) บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ในฐานะที่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ มีส่วนในการกําหนดนโยบายการจัดการและการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยผ่าน ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งนี้ มีกรรมการที่เป็นกรรมการ และ/หรือ ผู้บริหารของ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) จํานวน 3 คน จากจํานวน กรรมการบริษัทฯ ทั้งหมด 14 คน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
081
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ก า ร อ อ ก ห ลั ก ท รั พ ย อื่ น หุ้นกู้ บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ ชนิดไม่มีหลักประกัน 3 ชุด จํานวนรวม 1,350 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งจะครบกําหนดชําระ คืนเงินต้นปี 2558 จํานวน 350 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ปี 2566 จํานวน 500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และปี 2586 จํานวน 500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้สกุลเงินบาทชนิดไม่มีหลักประกันและไม่ด้อย สิทธิ 4 ชุด จํานวนรวม 28,000 ล้านบาท ซึ่งจะครบกําหนดไถ่ถอน ปี 2560 จํานวน 4,500 ล้านบาท ปี 2562 จํานวน 3,000 ล้านบาท ปี 2564 จํานวน 3,000 ล้านบาท ปี 2565 จํานวน 3,000 ล้านบาท ปี 2567 จํานวน 7,000 ล้านบาท และปี 2570 จํานวน 7,500 ล้านบาท
น โ ย บ า ย ก า ร จ า ย เ งิ น ป น ผ ล บริ ษั ท ฯ มี น โยบายจ่ า ยเงิ น ปั น ผลในอั ต ราไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ25 ของกําไรสุทธิของงบการเงินรวม ภายหลังจากการหักทุนสํารองต่างๆ ทุกประเภทตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษัทฯ การพิจารณา การจ่ายเงินปันผลขึ้นอยู่กับกระแสเงินสดและแผนการลงทุนของ บริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ ในแต่ละปี ตามความจําเป็นและความ เหมาะสมอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ เห็นสมควร โดยจะต้อง ได้ รั บ อนุ มั ติ จากที่ ประชุ ม ผู้ ถื อหุ้ นในแต่ ละปี เว้ นแต่ เป็ นการจ่ า ย
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
เงินปันผลระหว่างกาล ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ มีอํานาจอนุมัติให้ จ่ายเงินปันผลได้เป็นครั้งคราว เมื่อเห็นว่าบริษัทฯ มีผลกําไรสมควร จะทําเช่นนั้น แล้วให้รายงานการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลดังกล่าว ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป สํ า หรั บ นโยบายการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลของบริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ คณะกรรมการของบริษัทย่อยจะพิจารณาให้ความเห็นชอบ และ เสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทนั้นๆ อนุมัติในแต่ละปีเช่นกัน โดยจะพิจารณาการจ่ายเงินปันผลจากแผนการลงทุนตามความจําเป็น และความเหมาะสมอื่นๆ เช่น ความเพียงพอของกระแสเงินสดของ บริษัทย่อย หลังจากหักสํารองเงินตามที่กฎหมายกําหนดแล้ว
ข อ มู ล ก า ร จ า ย เ งิ น ป น ผ ล ย อ น ห ลั ง ปี
2552 2553 2554 2555 2556
อัตรากําไรสุทธิต่อหุ้น (บาท/หุ้น)
5.91 4.39 7.28 6.04 5.09
อัตราเงินปันผลต่อหุ้น (บาท/หุ้น)
2.55 2.00 3.30 2.70 2.30
อัตราการจ่ายเงินปันผล ต่อกําไรสุทธิ (%)
43.0 45.0 45.0 45.0 45.0
082
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
>>
โครงสร้ า งการจั ด การของบริ ษั ท ไทยออยล์ จํ า กั ด (มหาชน) ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัทฯ >> คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย ที่ ช่ ว ยกลั่ น กรองเรื่ อ งที่ สํ า คั ญ ซึ่ ง ได้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จํ า นวน 4 คณะ ได้ แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่าตอบแทน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง >>
ฝ่ า ยจั ด การ โดยมี ป ระธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ เป็นผู้บริหารสูงสุดของบริษัทฯ
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริษัทฯ มีกรรมการจํานวน 14 คน ประกอบด้วย >> กรรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารจํ า นวน 13 คน โดยในจํ า นวนนี้ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จํานวน 8 คน >> กรรมการที่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารจํ า นวน 1 คน คื อ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่
รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบด้วย ชื่อ – สกุล
ตําแหน่ง
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
1. นายคุรุจิต นาครทรรพ
กรรมการ ประธานกรรมการ
12 กันยายน 2557 26 กันยายน 2557
2. นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
29 พฤศจิกายน 2556 8 พฤษภาคม 2557
3. นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
20 กันยายน 2556 20 กันยายน 2556
4. นายสุวิทย์ เมษินทรีย์
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
12 กันยายน 2557 26 กันยายน 2557
5. พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
2 เมษายน 2556 (ต่อวาระ) 10 เมษายน 2557
6. นายณัฐชาติ จารุจินดา
กรรมการ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
2 เมษายน 2556 (ต่อวาระ) 24 มกราคม 2557
7. นายถาวร พานิชพันธ์
กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
29 พฤศจิกายน 2556 25 เมษายน 2557
8. นายทศพร ศิริสัมพันธ์
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
25 พฤษภาคม 2555 31 สิงหาคม 2556 26 กันยายน 2557
9. นายพรายพล คุ้มทรัพย์
กรรมการอิสระ กรรมการกํากับดูแลกิจการ
12 กันยายน 2557 26 กันยายน 2557
10. นายยงยุทธ จันทรโรทัย
กรรมการ กรรมการกํากับดูแลกิจการ
2 เมษายน 2557 25 เมษายน 2557
083
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ชื่อ – สกุล
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
ตําแหน่ง
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
11. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
2 เมษายน 2556 (ต่อวาระ) 29 พฤษภาคม 2556
12. นายทวารัฐ สูตะบุตร
กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง
12 กันยายน 2557 26 กันยายน 2557
13. นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร
กรรมการ
26 กันยายน 2557
14. นายอธิคม เติบศิริ
กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ / เลขานุการคณะกรรมการ
12 กันยายน 2557 26 กันยายน 2557 26 กันยายน 2557
รายชื่อกรรมการที่ลาออก/ครบวาระในปี 2557 ชื่อ – สกุล
ตําแหน่ง
เหตุผลที่ออก
1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ
ลาออกจากการดํารงตําแหน่ง กรรมการบริษัทฯ และประธานกรรมการ มีผลวันที่ 16 มิถุนายน 2557
2. นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
ครบวาระในการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจําปี 2557 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2557
3. นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
ลาออกจากการดํารงตําแหน่ง กรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 1 กันยายน 2557
4. นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
ลาออกจากการดํารงตําแหน่ง กรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 1 กันยายน 2557
5. นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
ครบวาระในการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจําปี 2557 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2557
6. พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี
กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
ลาออกจากการดํารงตําแหน่ง กรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 1 กันยายน 2557
7. พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว
กรรมการอิสระ กรรมการกํากับดูแลกิจการ
ลาออกจากการดํารงตําแหน่ง กรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 29 สิงหาคม 2557
084
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
ชื่อ – สกุล
ตําแหน่ง
เหตุผลที่ออก
8. นายสมเกียรติ หัตถโกศล
กรรมการ
ลาออกจากการดํารงตําแหน่ง กรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 1 กันยายน 2557
9. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล
กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง
ลาออกจากการดํารงตําแหน่ง กรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 31 ธันวาคม 2557
รายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ของกรรมการ และผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั ฯ ในปี 2557 (รวมคูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ) ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
รายชื่อคณะกรรมการ
จํานวนหุ้นที่ถือ / เปลี่ยนแปลง 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557
จํานวนหุ้น เพิ่ม (ลด) ระหว่างปี
1. นายคุรุจิต นาครทรรพ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
N /A N /A
-
-
2. นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
3. นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
4. นายสุวิทย์ เมษินทรีย์ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
N /A N /A
-
-
5. พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
6. นายณัฐชาติ จารุจินดา - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
7. นายถาวร พานิชพันธ์ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
8. นายทศพร ศิริสัมพันธ์ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
9. นายพรายพล คุ้มทรัพย์ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
N /A N /A
10,000
-
10. นายยงยุทธ จันทรโรทัย - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
085
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
รายชื่อคณะกรรมการ
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
จํานวนหุ้นที่ถือ / เปลี่ยนแปลง 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557
จํานวนหุ้น เพิ่ม (ลด) ระหว่างปี
11. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
12. นายทวารัฐ สูตะบุตร - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
-
14. นายอธิคม เติบศิริ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
N /A N /A N /A N /A N /A N /A
-
-
กรรมการที่ลาออกระหว่างปี 2557 1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
2. นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
3. นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
4. พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
5. พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
6. นายสมเกียรติ หัตถโกศล - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
1,058,900 -
N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A
N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A N /A
7. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
30,000 -
40,000 -
10,000 -
กรรมการที่ครบวาระปี 2557 (2 เมษายน 2557) 1. นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
2. นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์ - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
N /A N /A N /A N /A
N /A N /A N /A N /A
13. นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
หมายเหตุ: N/A หมายถึง ไม่มีข้อมูลเนื่องจากกรรมการได้รับการแต่งตั้งเข้าดํารงตําแหน่ง ลาออกจากตําแหน่งระหว่างปี หรือครบวาระในปี 2557
086
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
รายชื่อคณะกรรมการ
จํานวนหุ้นที่ถือ / เปลี่ยนแปลง 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557
ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ 1. นายอธิคม เติบศิริ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ / รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ – ด้านบริหารศักยภาพองค์กร - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
จํานวนหุ้น เพิ่ม (ลด) ระหว่างปี
-
-
-
-
-
-
2. นางปริศนา ประหารข้าศึก รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ – ด้านการเงินและบัญชี - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
-
-
-
3. นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ – ด้านการพาณิชย์องค์กร - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
8,000
5,000
-
-
-
-
-
-
253,200
253,200
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
7. นางประพิณ ทองเนียม ผู้จัดการฝ่ายบัญชี - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
50,000
-
(50,000)
-
-
-
8. นางสาวศิริพร มหัจฉริยวงศ์ ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการเงิน - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
18,000
18,000
-
-
-
-
4. นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ – ด้านกลยุทธ์องค์กร - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 5. นายอภินันท์ สุภัตรบุตร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ – ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 6. นางดารณี มนธาตุผลิน ผู้จัดการฝ่ายการคลัง - คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
(3,000)
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท ฯ กํ า หนดให้ ค ณะกรรมการของบริ ษั ท จะต้ อ ง ประกอบด้ ว ย กรรมการอย่ า งน้ อ ยห้ า (5) คน และไม่ เ กิ น สิ บ ห้ า (15) คน โดยกรรมการไม่ น้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจํ า นวนกรรมการ ทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย และกรรมการจะเป็นผู้ถือหุ้น ของบริษัทหรือไม่ก็ได้
087
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
ถ้าจํานวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออก โดยจํานวนใกล้ที่สุดกับจํานวนหนึ่งในสาม (1/3) และกรรมการที่ พ้นจากตําแหน่ง อาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามารับตําแหน่งอีกได้ โดยกรรมการที่ จ ะต้ อ งออกจากตํ า แหน่ ง ในปี แรกและปี ที่ ส อง ภายหลังจากจดทะเบียนแปรสภาพบริษัทฯ นั้น ให้ใช้วิธีจับสลาก กั น ว่ า ผู้ ใ ดจะออก ส่ ว นปี ห ลั ง ๆ ต่ อ ไปให้ ก รรมการคนที่ อ ยู่ ใ น ตําแหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตําแหน่ง
ก า ร แ ต ง ตั้ ง แ ล ะ ก า ร พ น จ า ก ตํ า แ ห น ง ข อ ง ก ร ร ม ก า ร 2. นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการจะพ้นจาก บ ริ ษั ท ฯ ข้อบังคับบริษัทฯ มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการแต่งตั้ง ถอดถอน หรือ พ้นจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ สรุปสาระสําคัญได้ดังนี้ การแต่งตั้งกรรมการ ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับ 1 หุ้นต่อ 1 เสียง 2. ผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ล ะคนจะใช้ ค ะแนนเสี ย งที่ มี อ ยู่ ทั้ ง หมดตามข้ อ 1 เลือกตั้งบุคคลคนเดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะ แบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุ ค คลซึ่ ง ได้ รั บ คะแนนเสี ย งสู ง สุ ด ตามลํ า ดั บ ลงมาเป็ น ผู้ ไ ด้ รั บ เลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึง เลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลําดับ ถั ด ลงมามี ค ะแนนเสี ย งเท่ า กั น เกิ น จํ า นวนกรรมการที่ จ ะพึ ง มี ให้ประธานที่ประชุมเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด
ตําแหน่งเมื่อตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้าม ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยบริ ษั ท มหาชนจํ า กั ด และ/หรื อ กฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น ลงมติให้ออก หรือศาลมีคําสั่งให้ออก
3. กรรมการคนใดจะลาออกจากตําแหน่ง ให้ยื่นใบลาออกต่อบริษัทฯ โดยการลาออกนั้นจะมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึงบริษัทฯ ทั้งนี้ กรรมการซึ่งลาออกจะแจ้งการลาออกของตนให้นายทะเบียน ทราบด้วยก็ได้ 4. ในการลงมติให้กรรมการคนใดออกจากตําแหน่งก่อนถึงคราวออก ตามวาระให้ถือคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจํานวน ผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุม และมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
ตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติเห็นชอบ ให้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเข้า รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการล่วงหน้าก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจํ า ปี ตามหลั ก เกณฑ์ ก ารสรรหากรรมการของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ ในรอบปี 2557 ไม่ มี ผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ยเสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ เข้ า รั บ การเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ (รายละเอียดอยู่ในหัวข้อนโยบาย การกํากับดูแลกิจการ หน้า 104 )
5. ในกรณีที่ตําแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราว ออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติ และ ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัดและ กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ เข้าเป็นกรรมการ แทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของ กรรมการผู้นั้นจะเหลือน้อยกว่าสอง (2) เดือน โดยบุคคลซึ่งเข้าเป็น กรรมการแทนดังกล่าวจะอยู่ในตําแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระ ที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนเข้ามาแทน มติของคณะกรรมการ จะต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวน กรรมการที่ยังเหลืออยู่
การถอดถอน และการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการบริษัทฯ 1. ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจาก ตําแหน่งจํานวนหนึ่งในสาม (1/3) ของจํานวนกรรมการในขณะนั้น
กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ตามข้อบังคับบริษัทฯ ได้กําหนดให้กรรมการผู้มีอํานาจผูกพันบริษัท คือ กรรมการสองคน ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสําคัญ
088
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
ของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการมีอํานาจพิจารณากําหนดและแก้ไข ชื่อกรรมการซึ่งมีอํานาจผูกพันบริษัทฯ ได้ คณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 ได้มีมติกําหนดชื่อและจํานวนกรรมการซึ่งมีอํานาจ ลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ คือ นายยงยุทธ จันทรโรทัย นายณัฐชาติ จารุจินดา และนายอธิคม เติบศิริ กรรมการสองในสามคนนี้ลงลายมือ ชื่อร่วมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัทฯ ขอบเขตอํานาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ฯ ตามข้อบังคับของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ มีอํานาจและหน้าที่ ในการดําเนินกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมายวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นโดยยึดหลัก “ข้อพึงปฏิบัติที่ดี สําหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน” ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยกําหนด ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวังรักษา ผลประโยชน์ของบริษัทฯ และเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น ดั ง นั้ น บริ ษั ท ฯ จึ ง กํ า หนดบทบาทหน้ า ที่ แ ละหลั ก ปฏิ บั ติ ข อง คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อเป็นแบบอย่างให้พนักงานทุกระดับยึดมั่น เป็ น แนวทางในการปฏิ บั ติ ง าน และเพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ แ ก่ ผู้ถือหุ้น และนักลงทุนทั่วไป ดังนี้ 1. ทบทวนและให้ความเห็นชอบในการดําเนินงานใดๆ ที่กฎหมาย กําหนด 2. ประเมิ น ผลงานของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้ จั ด การใหญ่ เ ป็ น ประจํ า ทุ ก ปี แ ละกํ า หนดค่ า ตอบแทน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ 3. การกําหนดวิสัยทัศน์ของกิจการและรับผิดชอบต่อผลประกอบการ และการปฏิบัติงานผู้บริหาร ด้วยความตั้งใจ และความระมัดระวัง ในการปฏิบัติงาน 4. ทบทวนและให้ความเห็นชอบกลยุทธ์และนโยบายที่สําคัญ รวมถึง วัตถุประสงค์ เป้าหมายทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงาน และ งบประมาณ รวมทั้งกํากับ ควบคุม ดูแลให้ฝ่ายจัดการดําเนินงาน ตามนโยบาย และแผนที่ กํ า หนดไว้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
5. ให้ความมั่นใจว่าระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการ สอบบัญชีมีความเชื่อถือได้ รวมทั้งดูแลให้มีกระบวนการในการ ประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบ ภายในให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมถึงการรายงาน การเงินและการติดตามผล 6. ให้ มี ก ารกํ า หนดนโยบายด้ า นการบริ ห ารความเสี่ ย ง ( Risk Management Policy ) ให้ครอบคลุมทั้งองค์กร โดยให้ฝ่ายจัดการ เป็นผู้ปฏิบัติตามนโยบายและรายงานผลการบริหารความเสี่ยงต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ โดยการรายงานผ่านคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงเป็นประจําทุกไตรมาส บริษัทฯ จัดให้มีการประเมิน ประสิ ท ธิ ผ ลของการจั ด การความเสี่ ย งอย่ า งน้ อ ยปี ล ะ 1 ครั้ ง ให้ความสําคัญกับสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าและรายการผิดปกติ ทั้งหลาย 7. สอดส่องดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ระหว่ า งผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ของบริ ษั ท ฯ กํ า หนด แนวทางในการทํารายการที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ เพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยรวมเป็นสําคัญ โดยที่ ผู้มีส่วนได้เสียไม่ควรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ กําหนดขั้นตอน การดํ า เนิ น การและการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของรายการที่ อ าจมี ความขัดแย้งของผลประโยชน์ให้ถูกต้องครบถ้วน 8. ส่ ง เสริ ม ให้ จั ด ทํ า จรรยาบรรณธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนเข้าใจถึงมาตรฐาน ด้านจริยธรรมที่บริษัทฯ ใช้ในการดําเนินธุรกิจ โดยคณะกรรมการ จะติดตามให้มีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณดังกล่าวอย่างจริงจัง 9. แต่งตั้งเลขานุการบริษัทฯ เพื่อทําหน้าที่ให้คําแนะนําด้านกฎหมาย และกฏเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการจะต้องทราบ และปฏิบัติ หน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ รวมทั้งประสานงาน ให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ รวมทั้งหน้าที่และความ รับผิดชอบอื่นๆ ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ
กรรมการ / ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / กรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการ / กรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง / ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ / เลขานุการคณะกรรมการ
นายคุรุจิต นาครทรรพ (1) นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ (2) นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร (3) นายสุวิทย์ เมษินทรีย์ (4) พลเอกจิระเดช โมกขะสมิต (5)
นายพรายพล คุ้มทรัพย์ (9) นายยงยุทธ จันทรโรทัย (10) นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ (11) นายทวารัฐ สูตะบุตร (12) นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร (13) นายอธิคม เติบศิริ (14)
กรรมการที่ลาออกระหว่างปี 2557 1 นายณอคุณ สิทธิพงศ์ กรรมการ / ประธานกรรมการ (ลาออก 16 มิถุนายน 2557) 2 นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ (ลาออก 1 กันยายน 2557) 3 นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ (ลาออก 1 กันยายน 2557) 4 พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (ลาออก 1 กันยายน 2557) 5 พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว กรรมการอิสระ / กรรมการกํากับดูแลกิจการ (ลาออก 29 สิงหาคม 2557) 6 นายสมเกียรติ หัตถโกศล กรรมการ (ลาออก 1 กันยายน 2557) 7 นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง (ลาออก 31 ธันวาคม 2557)
9 10 11 12 13 14
6 นายณัฐชาติ จารุจินดา (6) 7 นายถาวร พานิชพันธ์ (7) 8 นายทศพร ศิริสัมพันธ์ (8)
1 2 3 4 5
ตําแหน่ง
ชื่อ - นามสกุล
1/1 1/1
13/13
1/1
1/1
8/8
6/7
7/8
1/1
9/9
7/8
N/A N/A 1/1 N/A N/A N/A
1/1 1/1 1/1
N/A
9/10
3/3
10/10 2/3
7/7
5/5
1/2
2/2 3/3
2/2 5/5
4/5
3/3
4/4 2/2
5/5
N/A 1/1 1/1 N/A 1/1
ประชุม ผูถ้ อื หุน้ (AGM) ประชุม 1 ครั้ง
1/1
12/12 10/12 3/3
ประชุม 10 ครั้ง
คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง
5/5
4/4 10/10 12/13 4/4 3/3 4/4
12/13 13/13 13/13
4/4 13/13 13/13 4/4 11/13
ประชุม คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ สรรหาและพิจารณา กํากับดูแล บริษทั ฯ ค่าตอบแทน กิจการ ประชุม 13 ครั้ง ประชุม 12 ครั้ง ประชุม 5 ครั้ง ประชุม 5 ครั้ง
การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการชุดย่อย และประชุมผู้ถือหุ้น ในปี 2557
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
089
ตําแหน่ง
3/3 3/3
4/4 2/2
ประชุม คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ สรรหาและพิจารณา กํากับดูแล บริษทั ฯ ค่าตอบแทน กิจการ ประชุม 13 ครั้ง ประชุม 12 ครั้ง ประชุม 5 ครั้ง ประชุม 5 ครั้ง
ประชุม 10 ครั้ง
คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง
1/1 1/1
ประชุม ผูถ้ อื หุน้ (AGM) ประชุม 1 ครั้ง
หมายเหตุ: (1) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 9/2557 เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 และได้รับเลือกเป็นประธานกรรมการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 (2) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 11/2556 เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 และได้รับเลือกเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครั้งที่ 5/2557 เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2557 (3) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 9/2556 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 9/2556 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556 (4) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 9/2557 เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 (5) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2556 (ต่อวาระ) เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2556 และได้รับเลือกเป็นประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ในการประชุมคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2557 (6) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2556 (ต่อวาระ) เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2556 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2557 (7) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 11/2556 เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2557 (8) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2555 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2555 ได้รับเลือกเป็นประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ในการประชุมคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2556 และได้ รับแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 (9) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 9/2557 เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการกํากับดูแลกิจการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 (10) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2557 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการกํากับดูแลกิจการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2557 (11) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2556 (ต่อวาระ) เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2556 และได้รับเลือกเป็นประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ในการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2556 (12) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 9/2557 เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 (13) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 (14) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 9/2557 เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 และได้รับแต่งตั้งเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และกรรมการบริหารความเสี่ยง ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557
กรรมการที่ครบวาระปี 2557 (2 เมษายน 2557) 1 นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2 นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
ชื่อ - นามสกุล
090
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
//
//
//
//
//
//
//
//
//
21 นายวิโรจน์ มีนะพันธ์
22 นายกล้าหาญ โตชํานาญวิทย์
23 นายจีราวัฒน์ พัฒนสมสิทธิ์
24 นายฉัตรฐาพงศ์ วังธนากร
25 นายชาลี บาลมงคล
26 นางสาวดวงพร ธีรภาพไพสิฐ
27 นางดารณี มนธาตุผลิน*
ü
ü
20 นายไมตรี เรี่ยวเดชะ
ü
13 นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร
19 นายโกศล พิมทะโนทัย
ü
12 นายทวารัฐ สูตะบุตร
//
ü
11 นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
18 นายอภินันท์ สุภัตรบุตร*
ü
10 นายยงยุทธ จันทรโรทัย
//
ü
9 นายพรายพล คุ้มทรัพย์
17 นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์
ü
8 นายทศพร ศิริสัมพันธ์
//
ü
7 นายถาวร พานิชพันธ์
16 นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์
ü
6 นายณัฐชาติ จารุจินดา
ü
ü
5 พลเอกจิระเดช โมกขะสมิต
//
ü
4 นายสุวิทย์ เมษินทรีย์
15 นางปริศนา ประหารข้าศึก
ü
3 นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร
v
ü
2 นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์
บจ. ไทย พาราไซลีน
14 นายอธิคม เติบศิริ
v
ไทยออยล์
1 นายคุรุจิต นาครทรรพ
รายชือ่
ü
ü
ü
v
บมจ. ไทย ลูบ้ เบส
ü
ü
v
ü
ü
ü
ü
v
ü
ü
v
ü
ü
v
ü
ü
v
บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ มารีน เอนเนอร์ยี โซลเว้นท์ เอทานอล เพาเวอร์ เซอร์วสิ
บริษทั ย่อย
ü
ü
v
บจ. ท็อป เอสพีพี
ü
ü
v
ü
ü
v
ü
ü
บจ. บจ. ท็อป ศักดิ์ (1) โซลเว้นท์ ไชยสิทธิ (2)
ü
v
ü
ü
ü
TOP บจ. Solvent ทรัพย์ทพิ ย์ (4) Vietnam LLC. (3)
Thaioil บจ. Marine ท๊อป International มารีไทม์ Pte. Ltd. (5) เซอร์วสิ (6)
บริษทั ย่อยทางอ้อม
ตารางแสดงข้อมูลการดํารงตําแหน่งของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอํานาจควบคุม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ü
v
บจ. ลาบิกซ์ (7)
กิจการทีค่ วบคุมร่วมกัน ของบริษทั ย่อย TOP-NTL บจ. TOP- NYK บจ. Pte. Ltd. ( 8) ท็อป MarineOne พีทที ี ( 10) นอติคอล Pte. Ltd. ไอซีที สตาร์ (9) โซลูชน่ั ส์
ü
ü
ü
ü
ü
ü ü
ü
บริษทั ที่ เกีย่ วข้องกัน บจ. บมจ. บจ. บจ. บจ. บจ. พีทที ี โกลบอล แม่สอด อุบล ทอม ชิพ ท่อส่ง เอนเนอร์ย่ี เพาเวอร์ พลังงาน ไบโอ แมนเนจเมนท์ ปิโตรเลียม โซลูชน่ั ส์ ซินเนอร์ย่ี สะอาด (11) เอทานอล (12) (ประเทศไทย) (13) ไทย บริษทั ร่วม
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
091
//
//
//
//
//
//
//
//
//
//
//
//
//
33 นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์
34 นางสาวภัทรลดา สง่าแสง
35 นางภาณุมาศ ชูชาติชัยกุลการ
36 นายวิโรจน์ วงศ์สถิรยาคุณ
37 นางรุ่งนภา จันทร์ชูเกียรติ
38 นายศรัณย์ หะรินสุต
39 นางสาวศิริพร มหัจฉริยวงศ์
40 นายสมเกียรติ ขจรประดับกุล
41 นายสันติ วาสนสิริ
42 นายสุชาติ มัณยานนท์
43 นายสุรชัย แสงสําราญ
44 นางสาวอัจฉรีย์ ตียาภรณ์
45 นายอําพล สิงห์ศักดา
(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)
บจ. ไทย พาราไซลีน
= กรรมการ
บมจ. ไทย ลูบ้ เบส
บจ. ท็อป เอสพีพี
ü
(8) (9) (10) (11) (12) (13)
ü
บจ. บจ. ท็อป ศักดิ์ โซลเว้นท์ (1) ไชยสิทธิ (2)
= ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฯ กรรมการอํานวยการ หรือ กรรมการผู้จัดการ
ü
ü
ü
บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไทยออยล์ มารีน เอนเนอร์ยี โซลเว้นท์ เอทานอล เพาเวอร์ เซอร์วสิ
บจ. ท็อป โซลเว้นท์ เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ โดย บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 100 บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ โดย บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 80.5 TOP Solvent Vietnam LLC. เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ โดย บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 100 บจ. ทรัพย์ทิพย์ เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยออยล์ เอทานอล โดย บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ถือหุ้นร้อยละ 50 Thaioil Marine International Pte. Ltd. เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยออยล์มารีน โดย บจ. ไทยออยล์มารีน ถือหุ้นร้อยละ 100 บจ. ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยออยล์มารีน โดย บจ. ไทยออยล์มารีน ถือหุ้นร้อยละ 55 บจ. ลาบิกซ์ เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยพาราไซลีน โดย บจ. ไทยพาราไซลีน ถือหุ้นร้อยละ 75
* ครบกําหนดเกษียณอายุวันที่ 31 ธันวาคม 2557
= ประธานกรรมการ
//
32 นายประเสริฐ เริ่มวานิชย์
หมายเหตุ
//
//
31 นางประพิณ ทองเนียม
//
29 นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล
30 นายบัณฑิต ธรรมประจําจิต
//
ไทยออยล์
28 นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์
รายชือ่
บริษทั ย่อย
ü
ü
ü
Thaioil บจ. Marine ท๊อป International มารีไทม์ Pte. Ltd. (5) เซอร์วสิ (6)
ü
บจ. ลาบิกซ์ (7)
ü
ü
ü
ü
กิจการทีค่ วบคุมร่วมกัน ของบริษทั ย่อย TOP-NTL บจ. TOP- NYK บจ. Pte. Ltd. ( 8) ท็อป MarineOne พีทที ี นอติคอล Pte. Ltd. ( 10) ไอซีที สตาร์ (9) โซลูชน่ั ส์
ü
บจ. ท็อป นอติคอล สตาร์ เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของ บจ. ไทยออยล์มารีน โดย บจ. ไทยออยล์มารีน ถือหุ้นร้อยละ 35
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
บจ. แม่สอดพลังงานสะอาด เป็นบริษัทร่วมของ บจ. ไทยออยล์ เอทานอล โดย บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ถือหุ้นร้อยละ 30 บจ. อุบล ไบโอ เอทานอล เป็นบริษัทร่วมของ บจ. ไทยออยล์ เอทานอล โดย บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ถือหุ้นร้อยละ 21.3 บจ. ทอม ชิพ แมนเนจเม้นท์ (ประเทศไทย) เป็นบริษัทร่วมของ บจ. ไทยออยล์มารีน โดย บจ. ไทยออยล์มารีน ถือหุ้นร้อยละ 33.3
TOP - NYK MarineOne Pte. Ltd. เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของ Thaioil Marine International Pte. Ltd. (TOMI) โดย TOMI ถือหุ้นร้อยละ 50
ü
ü
บริษทั ที่ เกีย่ วข้องกัน บจ. บมจ. บจ. บจ. บจ. บจ. พีทที ี โกลบอล แม่สอด อุบล ทอม ชิพ ท่อส่ง เอนเนอร์ย่ี เพาเวอร์ พลังงาน ไบโอ แมนเนจเมนท์ ปิโตรเลียม โซลูชน่ั ส์ ซินเนอร์ย่ี สะอาด (11) เอทานอล (12) (ประเทศไทย) (13) ไทย บริษทั ร่วม
TOP - NTL Pte . Ltd. เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของ บจ. ไทยออยล์มารีน โดย บจ. ไทยออยล์มารีน ถือหุ้นร้อยละ 50
= ผู้บริหาร
ü
TOP บจ. Solvent ทรัพย์ทพิ ย์ (4) Vietnam LLC. (3)
บริษทั ย่อยทางอ้อม
092 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
093
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
ฝ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ รายชื่อฝ่ายจัดการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังต่อไปนี้ ชื่อ - นามสกุล 1. นายอธิคม เติบศิริ 2. 3. 4. 5. 6. 7.
นางปริศนา ประหารข้าศึก นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ นายอภินันท์ สุภัตรบุตร นายโกศล พิมทะโนทัย นายไมตรี เรี่ยวเดชะ
8. นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.
นายกล้าหาญ โตชํานาญวิทย์ นายจีราวัฒน์ พัฒนสมสิทธิ์ นายฉัตรฐาพงศ์ วังธนากร นายชาลี บาลมงคล นางสาวดวงพร ธีรภาพไพสิฐ นางดารณี มนธาตุผลิน นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์ นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล นายบัณฑิต ธรรมประจําจิต นางประพิณ ทองเนียม นายประเสริฐ เริ่มวานิชย์ นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์
21. นางสาวภัทรลดา สง่าแสง 22. นางภาณุมาศ ชูชาติชัยกุลการ 23. นายวิโรจน์ วงศ์สถิรยาคุณ 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32.
นางรุ่งนภา จันทร์ชูเกียรติ นายศรัณย์ หะรินสุต นางสาวศิริพร มหัจฉริยวงศ์ นายสมเกียรติ ขจรประดับกุล นายสันติ วาสนสิริ นายสุชาติ มัณยานนท์ นายสุรชัย แสงสําราญ นางสาวอัจฉรีย์ ตียาภรณ์ นายอําพล สิงห์ศักดา
ตําแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านบริหารศักยภาพองค์กร (รักษาการ) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการเงินและบัญชี รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการพาณิชย์องค์กร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกลยุทธ์องค์กร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านการผลิต ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านประสิทธิภาพการผลิต กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด กรรมการอํานวยการ บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกํากับกิจการองค์กร (รักษาการ) ผู้จัดการฝ่ายกิจการสัมพันธ์ (รักษาการ) ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการฝ่ายศักยภาพองค์กร บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด ผู้จัดการฝ่ายบริหารซัพพลายเชนและผู้จัดการฝ่ายวางแผนการพาณิชย์ (รักษาการ) ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง (รักษาการ) ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ผู้จัดการฝ่ายการคลัง ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการ บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด ผู้จัดการฝ่ายผลิต - ด้านการกลั่น ผู้จัดการฝ่ายบัญชี ผู้จัดการฝ่ายบริหารคุณภาพองค์กร ผู้จัดการฝ่ายผลิต-ด้านปิโตรเคมีและลู้บเบส ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด ผู้จัดการฝ่ายวางแผนกลยุทธ์ ผู้จัดการฝ่ายบริหารความเสี่ยงกลยุทธ์องค์กร (รักษาการ) ผู้จัดการฝ่ายกิจการองค์กร ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยี (รักษาการ) กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการเงิน ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์ ผู้จัดการฝ่ายนวัตกรรมและการบริหารความยั่งยืน ผู้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม ผู้จัดการฝ่ายการพาณิชย์ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาองค์กร
094
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
เ ล ข า นุ ก า ร บ ริ ษั ท ฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งเลขานุการบริษัทฯ ขึ้น เพื่อทําหน้าที่ รับผิดชอบในการดูแล และให้คําแนะนําแก่คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารในด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการ ต้องทราบ และปฏิบัติ รวมถึงการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และรับผิดชอบการจัดประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และการประชุม ผูถ้ อื หุน้ ติดตามและประสานงานให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมติคณะกรรมการ บริษัทฯ และผู้ถือหุ้น อีกทั้งการรักษาเอกสารสําคัญของบริษัทฯ ตามข้ อ กํ า หนดทางกฎหมาย โดยได้ ม อบหมายให้ บุ ค คลผู้ ดํ า รง ตําแหน่งผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกํากับกิจการองค์กร ปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการบริษัทฯ ซึ่งปัจจุบัน นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ เป็นผู้ดํารงตําแหน่งดังกล่าว ประวัติโดยย่อ ดังนี้ ชื่อ - นามสกุล นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ วุฒิการศึกษา วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการทํางาน 2544 - 2546
ผู้จัดการฝ่ายกิจการองค์กร บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 2546 - 2547 ผู้จัดการฝ่ายการเงิน บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 2548 - 2549 ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาธุรกิจและแผนกลยุทธ์ 2549 - 2550 ผู้จัดการฝ่ายวางแผนกลยุทธ์ 2550 - เม.ย. 2552 ผู้จัดการฝ่าย - กิจการพิเศษ ได้รับมอบหมาย ให้ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด 2552 - ธ.ค. 2555 ผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการอํานวยการ และเลขานุการบริษัทฯ 1 ม.ค. 2556 - ปัจจุบนั ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านกํากับกิจการองค์กร (รักษาการ) และเลขานุการบริษัทฯ ประวัติการอบรมด้านเลขานุการบริษัท มิ.ย. 2552 หลักสูตร Company Secretary Program (CSP 31/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD ) Director Certification Program 2557 (DCP 185/2014)
หัวหน้างานตรวจสอบภายใน : ผู้จัดการแผนกตรวจสอบระบบงาน ภายใน ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2549 ครั้งที่ 5/2549 ได้แต่งตั้งนางสาวหัสยา นิพัทธ์วรนันท์ ให้ดํารง ตํ า แหน่ ง หั ว หน้ า หน่ ว ยงานตรวจสอบภายในของบริ ษั ท ฯ โดยมี คุณสมบัติที่เหมาะสม ดังนี้ >>
ปฏิบัติงานในองค์กรในหลายหน่วยงานเป็นระยะเวลา 23 ปี และ มี ป ระสบการณ์ ใ นการปฏิ บั ติ ง านด้ า นการตรวจสอบภายใน ในธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ เป็ น ระยะเวลา 16 ปี และมี ค วามเข้ า ใจ ในกิจกรรมและการดําเนินงานของบริษัทฯ
>>
ได้รับวุฒิบัตรสากลด้านการตรวจสอบภายใน Certifi ed Internal Auditor (CIA ) จากสมาคมผู้ตรวจสอบภายในสหรัฐอเมริกา (The Institute of Internal Auditors : IIA ) เมื่อปี 2550 ทั้งยังได้รับการ พัฒนาความรู้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องทุกปี
>>
สามารถกํ า กั บ ดู แ ลงานด้ า นการตรวจสอบภายในได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ตอบสนองเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ขององค์กรที่กําหนด
ทั้ ง นี้ การพิ จ ารณาและอนุ มั ติ แต่ ง ตั้ ง ถอดถอน โยกย้ า ยผู้ ดํ า รง ตําแหน่งหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ จะต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งทําการประเมินผล การปฏิบัติงานประจําปีของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตาม ที่ได้กําหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ประวัติโดยย่อ ดังนี้ ชื่อ - นามสกุล นางสาวหัสยา นิพัทธ์วรนันท์ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วุฒิบัตร Certifi ed Internal Auditor (CIA ) สมาคมผู้ตรวจสอบภายในสหรัฐอเมริกา (The Institute of Internal Auditors ) ประวัติการทํางาน 2535 - 2536 ผู้จัดการสหกรณ์ออมทรัพย์ไทยออยล์ จํากัด 2537 - 2538 สมุห์บัญชี - งานบัญชีแยกประเภท 2539 - 2541 ผู้ประสานงานด้านบริหารสัญญา 2542 - 2547 ผู้ตรวจสอบระบบงานภายใน 2548 - 2557 ผู้จัดการแผนกตรวจสอบระบบงานภายใน
095
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
ประวัติการอบรมงานด้านงานตรวจสอบภายใน : กลยุทธ์การบริหารงานตรวจสอบภายใน
เบี้ยประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ (เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม) ประธานกรรมการ(1) 18,750 บาท/ครั้ง (1) รองประธานกรรมการ (ถ้ามี) 16,875 บาท/ครั้ง กรรมการ 15,000 บาท/ครั้ง
Audit and Control Strategy for Management Internal Audit Best Practices มาตรฐานการบัญชีใหม่ IFRS
ค่าตอบแทนอื่นๆ
การควบคุมภายในเพื่อการจัดทํารายงานทางการเงิน Risk Management / Internal Control / Control Self Assessment Consulting : Activities, Skills & Attitudes รู้ทันการทุจริต Corporate Fraud Controls & Investigation
ค า ต อ บ แ ท น ข อ ง ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู บ ริ ห า ร ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 ได้มีมติอนุมัติค่าตอบแทน กรรมการบริ ษั ท ฯ และกรรมการเฉพาะเรื่ อ งเป็ น รายเดื อ น และ เบี้ยประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ รวมทั้งอนุมัติเงินโบนัสซึ่งสะท้อน จากผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ดังนี้ องค์ประกอบค่าตอบแทน ปี 2557 ค่าตอบแทนรายเดือนกรรมการบริษัทฯ ประธานกรรมการ (1) รองประธานกรรมการ (ถ้ามี)(1) กรรมการ โบนัสกรรมการทั้งคณะ (2) ค่าตอบแทนกรรมการเฉพาะเรื่อง (ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง) ประธานกรรมการ (1) กรรมการ
(บาท / เดือน) 75,000 67,500 60,000 31 ล้านบาท / ปี
31,250 25,000
- ไม่มี -
หมายเหตุ: (1) ประธานกรรมการบริษัทฯ และประธานคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ได้รับ ค่าตอบแทนสูงกว่ากรรมการในอัตราร้อยละ 25 และรองประธานกรรมการ (ถ้ามี) ได้รับค่าตอบแทนสูงกว่ากรรมการในอัตราร้อยละ 12.5 (2) โบนัสสําหรับกรรมการที่ดํารงตําแหน่งในปี 2556 รวมทั้งกรรมการที่ ครบวาระหรือออกระหว่างปี 2556 โดยจัดสรรตามระยะเวลาการดํารง ตําแหน่งของกรรมการแต่ละคน และให้ประธานกรรมการบริษัทฯ ได้รับ ค่าตอบแทนสูงกว่ากรรมการในอัตราร้อยละ 25
สรุปค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ปี 2557 จํานวน 26 ราย ซึ่งรวม กรรมการที่ปฏิบัติหน้าที่ระหว่างปี 2557 เป็นระยะเวลา 12 เดือน สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และกรรมการที่ครบวาระ/ลาออก ระหว่างปี 2557 เท่ากับ 16.90 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยค่าตอบแทน รายเดือนสําหรับกรรมการบริษทั ฯ จํานวน 10.62 ล้านบาท ค่าตอบแทน รายเดื อ นสํ า หรั บ กรรมการชุ ด ย่ อ ย จํ า นวน 4.31 ล้ า นบาท และ เบี้ยประชุม 1.99 ล้านบาท ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ในรูปเงิน โบนัสสําหรับผลการดําเนินงานปี 2557 จํานวน 31 ล้านบาท ซึ่งเป็น ไปตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2557 โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมประการต่างๆ และเปรียบเทียบ กับองค์กรที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันและมีขนาดธุรกิจใกล้เคียงกัน ตลอดจนผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ผลงานและบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ และสภาวการณ์ของธุรกิจ โดยรวม
นายคุรุจิต นาครทรรพ นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร นายสุวิทย์ เมษินทรีย์ พลเอกจิระเดช โมกขะสมิต นายณัฐชาติ จารุจินดา (4) นายถาวร พานิชพันธ์ (3) นายทศพร ศิริสัมพันธ์ (5)
นายพรายพล คุ้มทรัพย์ นายยงยุทธ จันทรโรทัย นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ นายทวารัฐ สูตะบุตร นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร นายอธิคม เติบศิริ
1 2 3 4 5 6 7 8
9 10 11 12 13 14
กรรมการ / ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / กรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการ / กรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง / ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ / เลขานุการคณะกรรมการ
ตําแหน่ง
1,110,255
10,602,258
1,215,827
-
95,833 -
-
200,000
-
354,375 281,452 205,000 79,167
933,414
-
-
197,581 -
-
79,167 205,000 -
76,667 375,000
1,049,194
-
-
299,194
-
375,000 79,167 75,000
220,833 -
คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ สรรหาและ กํากับดูแล บริหาร พิจารณา กิจการ ความเสี่ยง ค่าตอบแทน
16,898,448
-
279,833 279,833 -
716,774 555,000 1,167,258
450,000 461,000 721,667 740,000
357,167 891,000 1,245,000 357,167 225,000 353,000
325,500 1,218,589 1,170,000 357,167 1,194,375 1,357,285 1,151,667 1,324,167
31,000,000
1,051,598.46 1,494,687.69
2,156,367.62 2,156,367.62 1,039,782.74
2,156,367.62 2,156,367.62 2,156,367.62
2,156,367.62 2,156,367.62
2,695,459.53
2,156,367.62 -
194,959.27 608,509.22 2,156,367.62 2,156,367.62 194,959.27 2,156,367.62
(จ่ายในเดือนเมษายน 2557)
ค่าตอบแทน เงินโบนัสสําหรับ รวม ผลการดําเนินงาน ปี 2556 (1)
(บาท)
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
หมายเหตุ: (1) เงินโบนัสสําหรับผลการดําเนินงานปี 2556 ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 วันที่ 2 เมษายน 2557 ซึ่งจ่ายให้กรรมการบริษัทฯ ในวันที่ 24 เมษายน 2557 (2) บริษัทฯ ได้จัดรถสําหรับการปฏิบัติหน้าที่ให้กับประธานกรรมการใช้ในขณะดํารงตําแหน่ง เพื่ออํานวยความสะดวกในการปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น (3) ครบวาระเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2557 และได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอีกวาระหนึ่ง และได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาฯ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2557 (4) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาฯ เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2557 และลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 (5) ได้รับเลือกเป็นประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2556 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาฯ เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557
-
-
95,833 -
474,194 480,000 718,065
45,000 75,000 150,000
105,000 181,667 -
-
348,589 300,000 79,167 -
184,000 184,000 -
412,500 296,000 480,000 480,000
218,000 536,000 720,000 218,000 180,000 218,000
265,500 720,000 720,000 218,000 720,000 720,000 720,000 720,000
คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัทฯ ตรวจสอบ
37,500 60,000 60,000 60,000
60,000 150,000 150,000 60,000 45,000 60,000
60,000 150,000 150,000 60,000 120,000 135,000 150,000 150,000
เบี้ยประชุม
กรรมการที่ครบวาระ / ลาออกระหว่างปี 2556 (รับเงินโบนัสสําหรับผลการดําเนินงานปี 2556) 1 นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2 นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 3 นายชัยเกษม นิติสิริ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (ลาออก 26 มิถุนายน 2556) 4 นายสมชัย สัจจพงษ์ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ (ลาออก 28 มิถุนายน 2556) 5 นายสมชาย พูลสวัสดิ์ กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (ลาออก 11 กันยายน 2556) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,987,500
กรรมการที่ลาออกระหว่างปี 2557 1 นายณอคุณ สิทธิพงศ์ กรรมการ / ประธานกรรมการ (ลาออก 16 มิถุนายน 2557) 2 นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ (ลาออก 1 กันยายน 2557) 3 นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ (ลาออก 1 กันยายน 2557) 4 พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (ลาออก 1 กันยายน 2557) 5 พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว กรรมการอิสระ / กรรมการกํากับดูแลกิจการ (ลาออก 29 สิงหาคม 2557) 6 นายสมเกียรติ หัตถโกศล กรรมการ (ลาออก 1 กันยายน 2557) 7 นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง (ลาออก 31 ธันวาคม 2557)
(2)
ลําดับ ชื่อ - นามสกุล
ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2557
096 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค่าตอบแทนผู้บริหารบริษัทฯ รอบปีบัญชี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 รวม 25 ราย เท่ากับ 190.37 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นค่าตอบแทนในรูปเงินเดือนและ เบี้ยเลี้ยงจํานวน 129.41 ล้านบาท เงินรางวัลพิเศษจํานวน 27.74 ล้านบาท เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจํานวน 14.39 ล้านบาท และเงินบําเหน็จเมื่อออกจากงาน จํานวน 11.70 ล้านบาทและอื่นๆ 7.13 ล้านบาท หมายเหตุ >> ค่าตอบแทนของผูบ ้ ริหารบริษทั ฯ 25 ราย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ไม่รวม ผู้บริหารที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทอื่นๆ ดังนี้ นายกล้าหาญ โตชํานาญวิทย์ นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์ นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์ นายสุชาติ มัณยานนท์ นายวิโรจน์ วงศ์สถิรยาคุณ (แบ่งตามสัดส่วนไปบริหารงานบริษัท ในเครือฯ)
097
ข อ มู ล ห ลั ก ท รั พ ย แ ล ะ ผู ถื อ หุ น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร จั ด ก า ร
098
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ป จ จั ย เ สี่ ย ง แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค ก ร
18
ป จ จั ย เ สี่ ย ง แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค ก ร
ค ว า ม เ ป น ม า ไทยออยล์มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาการบริหารความเสี่ยงองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM ) อย่างต่อเนื่อง โดยได้กําหนด โครงสร้ า งฝ่ า ยบริ ห ารความเสี่ ย งกลยุ ท ธ์ อ งค์ ก ร ( Corporate Strategic Risk Department ) ที่ครอบคลุมการบริหารความเสี่ยง ทั้งเครือไทยออยล์ เชื่อมต่อการบริหารความเสี่ยงกับกระบวนการ จั ด ทํ า แผนกลยุ ท ธ์ การลงทุ น และการปฏิ บั ติ ก ารในทุ ก ๆ ด้ า น ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กรทั้งระยะสั้น กลางและ ระยะยาว สอดคล้องกับแผนการเจริญเติบโตของเครือไทยออยล์ และได้ เ พิ่ ม เติ ม บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถในการบริ ห าร ความเสี่ ย ง เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การดํ า เนิ น งานบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ ป็ น มาตรฐานเดียวกัน ครบถ้วนในทุกกระบวนการสําคัญและสอดคล้อง กับนโยบายและโครงสร้างบริหารความเสี่ยง โดยได้มีการกําหนด แผนบริหารความเสี่ยงและกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่มีการ ประเมิน / ระบุปัจจัยเสี่ยงทั้งภายในและภายนอกในการประเมินและ วิเคราะห์ความเสี่ยงสําคัญ อีกทั้งส่งเสริมให้มีการกําหนดมาตรการ แผนรองรั บ และป้ อ งกั น ในแต่ ล ะความเสี่ ย งโดยมี ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ เพื่อบริหารจัดการความเสี่ยงที่ระบุได้ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ทั้งนี้ ได้มีการติดตามผลการบริหารความเสี่ยงและกําหนดใช้ดัชนี ชี้วัดประสิทธิผลของมาตรการบริหารความเสี่ยง (Key Risk Indicator: KRI ) เพื่อสรุปผลการบริหารความเสี่ยงสําคัญของเครือไทยออยล์ รายงานต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยง (Risk Management Steering Committee : RMSC) ซึ่งมีผู้บริหารระดับสูง ของเครื อ ไทยออยล์ เ ป็ น กรรมการ และคณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ยง (Risk Management Committee : RMC) ที่ได้รับการแต่งตั้ง จากคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทําหน้าที่กําหนดกรอบการบริหาร ความเสี่ยงและกํากับดูแลให้มีการดําเนินงานด้านบริหารความเสี่ยง ทั่วทั้งองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กร เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ อ งค์ ก รบรรลุ ค วามสํ า เร็ จ ตามแผนกลยุ ท ธ์ แ ละ เป้าหมายองค์กร นอกจากนี้ ไทยออยล์ได้เตรียมพร้อมรับสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน ในปั จ จุ บั น และมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะทวี ค วามรุ น แรงยิ่ ง ขึ้ น ในอนาคต ซึ่ ง อาจจะส่ ง ผลกระทบให้ ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ หยุ ด ชะงั ก โดยมี
การดําเนินการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management : BCM ) ต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา ซึ่งได้มีการจัดทําแผน บริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management Plan : BCP) ครบทุกกระบวนการสําคัญและได้ประกาศเปลี่ยนแปลง คณะทํางานบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจเครือไทยออยล์ (Business Continuity Management Taskforce ) เพื่อสนับสนุนการบริหาร ความต่ อ เนื่ อ งฯ ให้ ส ามารถดํ า เนิ น การได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สอดคล้ อ งกั บ มาตรฐานสากล บรรลุ ต ามนโยบายและเป้ า หมาย ที่ กํ า หนด ซึ่ ง จะมี ก ารกํ า หนดสถานการณ์ เ พิ่ ม เติ ม เพื่ อ ทํ า การ ฝึกซ้อมแผนฯ (BCP ) ร่วมกับการฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินของโรงกลั่น ให้ ค รบถ้ ว นในปี 2558 อี ก ทั้ ง ได้ ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานทุ ก คนใน ทุกหน่วยงานมีความรู้และทัศนคติที่จะพัฒนาศักยภาพในการบริหาร ความเสี่ยงและการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ให้เกิดความพร้อม ในการบริ ห ารความเสี่ ย ง ในทุ ก ๆ ด้ า น ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห าร ความเสี่ยงกลยุทธ์องค์กรมีความครบถ้วนตามหลักมาตรฐานสากล จึ ง ได้ จั ด ให้ มี ก ารตรวจประเมิ น กระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย ง โดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อปรับปรุงเพิ่มเติม ในการบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ให้คงระดับเทียบเท่า บริษัทชั้นนําในประเทศ เตรียมความพร้อมในการที่จะขยายธุรกิจ ออกไปสู่ต่างประเทศตามแผนการเจริญเติบโตของเครือไทยออยล์ สร้างความมั่นใจในการบริหารความเสี่ยงขององค์กร และสอดคล้อง กับหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance )
ค ว า ม เ สี่ ย ง ร ะ ดั บ อ ง ค ก ร แ ล ะ ม า ต ร ก า ร ห รื อ แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง ไทยออยล์ ไ ด้ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารติ ด ตามทบทวนความเสี่ ย งและ ประสิทธิผลของมาตรการบริหารความเสี่ยงขององค์กรอย่างเป็น ระบบและได้ นํ า เสนอความเสี่ ย งของเครื อ ไทยออยล์ ใ นปี 2557 และมาตรการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งผลการติดตามการบริหาร ความเสี่ยงสําคัญตามดัชนีชี้วัดประสิทธิผลของมาตรการบริหาร ความเสี่ยง (KRI) ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงให้ความเห็นชอบ ก่อนนําเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งความเสี่ยงสําคัญของ เครือไทยออยล์ได้ถูกจัดกลุ่มแบ่งเป็น 5 ด้าน จํานวน 10 ความเสี่ยง พร้อมทั้งกําหนดมาตรการหรือแผนงาน ป้องกันหรือลดผลกระทบ
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
จากความเสี่ยงดังกล่าว เพื่อให้การดําเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมาย ขององค์กร ดังนี้
ค ว า ม เ สี่ ย ง ท า ง ด า น ก ล ยุ ท ธ ( S t r a t e g i c R i s k ) 1. ความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด จากผลกระทบของการเปลี่ ย นแปลง นโยบายรัฐบาล ระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายต่างๆ (Government Policy, Law and Regulations Risk) การปรับเปลี่ยนนโยบายรัฐบาล ระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายต่างๆ อาจส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานและการลงทุนขยายงานหรือ การลงทุนในโครงการใหม่ตามแผนกลยุทธ์ของไทยออยล์ ดังนั้น ไทยออยล์ จึ ง ได้ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ ในการติ ด ตาม วิ เ คราะห์ ก าร เปลี่ยนแปลงดังกล่าวอย่างใกล้ชิด โดยกําหนดให้มีการประสานงาน ติ ด ตามและให้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ จ ะประกาศ เปลี่ ย นแปลงระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ และกฎหมายใหม่ ๆ โดยเฉพาะ กฎหมายที่เกี่ยวกับสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ สอดคล้องกับนโยบาย ระเบียบข้อบังคับและ กฏหมายใหม่ที่กําหนด 2. ความเสี่ ย งจากการกํ า หนดกลยุ ท ธ์ ที่ ไ ม่ ส ามารถสร้ า งการ เจริญเติบโตที่ยั่งยืนได้ (Strategic Direction Risk ) ไทยออยล์ได้ตระหนักถึงความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในประเทศและต่างประเทศและ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี จึงได้กําหนดกลยุทธ์ที่ตอบรับกับ การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยกําหนดเป็น กลยุทธ์ TOP (Thaioil Profi t Recovery ) เป็นกลยุทธ์ที่เน้นการสร้าง ความแข็งแกร่งในธุรกิจที่บริษัทฯ ดําเนินการอยู่ กลยุทธ์ GET (Growth Execution ) เป็นกลยุทธ์ที่ขับเคลื่อนการเติบโตไปในธุรกิจเดิมหรือ เข้าสูธ่ รุ กิจใหม่ๆ ทีม่ กี ารเติบโตทีด่ ี กลยุทธ์ BEST (Business Excellency and Sustainability) เป็นกลยุทธ์ที่เสาะหาธุรกิจใหม่ๆ ที่จะมีการเติบโต อย่ า งยั่ ง ยื น ในอนาคตข้ า งหน้ า จาก TOP GET BEST Strategy ได้กําหนดเป็นแผนการกระจายความเสี่ยงการลงทุน (TOP Group Portfolio Management ) เพื่อให้บริษัทฯ สามารถพัฒนาและเติบโต ได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้มีการประกาศใช้นโยบาย การบริหารจัดการบริษัทในกลุ่มไทยออยล์ (TOP Group Affi liates Management ) เพื่อให้มีการกํากับดูแลแนวทางการดําเนินกลยุทธ์ และธุรกิจระยะยาวของเครือไทยออยล์ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเกิดประโยชน์สูงสุดตามเป้าหมายที่วางไว้
099
ป จ จั ย เ สี่ ย ง แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค ก ร
3. ความเสี่ยงจากการที่ไม่สามารถดําเนินการขยายงานและลงทุน ได้สําเร็จตามแผนกลยุทธ์ (Strategic Execution Risk ) ไทยออยล์ลงทุนและการขยายกิจการตามแผนกลยุทธ์ในการสร้าง ความเจริญเติบโตและสร้างความยั่งยืน โดยได้เพิ่มการวิเคราะห์ ความเสีย่ งในการลงทุนใหม่ เพือ่ ให้ได้ผลตอบแทนของการลงทุนตาม กลยุทธ์ ตั้งแต่เริ่มต้นวิเคราะห์โครงการ และผลตอบแทนการลงทุน ผ่านคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและคณะกรรมการขับเคลื่อน การเจริ ญ เติ บ โตและการลงทุ น ของเครื อ ไทยออยล์ ( Top Group Growth and Investment Steering Committee ) และได้ประกาศใช้ นโยบายการลงทุนในลักษณะการควบรวมกิจการของเครือไทยออยล์ เพื่ อ พิ จ ารณากลั่ น กรองโครงการและการลงทุ น ในธุ ร กิ จ ตาม หลักเกณฑ์มาตรฐาน มีความโปร่งใส สอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาล เพิ่มเติมกระบวนการลงทุน (TOP Group Investment Management ) ซึ่งเป็นกระบวนการสําหรับพิจารณา กลั่นกรอง และการตัดสินใจ ลงทุนตามหลักเกณฑ์มาตรฐานก่อนที่จะนําเสนอคณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย งและคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิ จ ารณาเห็ น ชอบ เพื่อลดความเสี่ยงจากการลงทุนและรักษาผลประโยชน์ พร้อมทั้ง สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียในการตัดสินใจ ในการลงทุนโครงการและการขยายธุรกิจที่สร้างการเจริญเติบโตของ เครือไทยออยล์
ค ว า ม เ สี่ ย ง ท า ง ด า น ต ล า ด ( M a r k e t i n g R i s k ) 4. ความเสีย่ งจากความผันผวนของราคานํา้ มันดิบและส่วนต่างราคา ผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปในตลาดโลก (Oil Price Fluctuate & Margin Decrease Risk) ในปัจจุบัน ราคานํ้ามันดิบและส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป ซึ่ ง เป็ น ปั จ จั ย สํ า คั ญ ส่ ง ผลต่ อ ความสามารถในการทํ า กํ า ไรของ บริษัทฯ ยังคงมีความผันผวนรุนแรงอย่างต่อเนื่องและทําให้การ คาดการณ์ ล่ ว งหน้ า ยากยิ่ ง ขึ้ น ไทยออยล์ จึ ง ได้ เ พิ่ ม การติ ด ตาม วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ทางการตลาดและกํ า หนดกลยุ ท ธ์ แ ละมาตรการ ทางการตลาด รวมทั้งวางแผนการผลิต การขายและการบริหาร สินค้าคงคลังร่วมกันทั้งเครือไทยออยล์และในกลุ่ม ปตท. นอกจากนี้ ไทยออยล์ ไ ด้ ป รั บ กลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นราคา ( Oil Hedging ) ในเชิงรุกมากขึ้น ทั้งในด้านการป้องกันความเสี่ยงจาก ส่วนต่างราคา (Crack Spread ) และความเสี่ยงของราคานํ้ามันและ สินค้าคงเหลือ (Stock Loss ) โดยได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ
100
ป จ จั ย เ สี่ ย ง แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค ก ร
บริหารความเสีย่ งด้านราคา (Hedging Steering Committee) ทําหน้าที่ กลั่ น กรองและร่ ว มพิ จ ารณาแผนกลยุ ท ธ์ และเป้ า หมายในการ ทํ า ธุ ร กรรมบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นราคาภายใต้ ก รอบการบริ ห าร ความเสี่ยงด้านราคาที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย ง ก่ อ นเสนอขออนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ อย่างสมํ่าเสมอ เพื่อลดผลกระทบจากความเสี่ยงดังกล่าวให้มาก ที่สุด ทําให้ไทยออยล์สามารถรักษากําไรขั้นต้นรวมของกลุ่ม (Gross Integrated Margins : GIM) ได้ตามเป้าหมาย นอกจากนี้ เพื่อรองรับ ความผันผวนด้านราคาดังกล่าว ไทยออยล์ได้ดําเนินกลยุทธ์ระดม ความคิดในการหาแผนงานที่สร้างกําไรส่วนเพิ่ม รวมทั้งควบคุม ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน เช่น การลดการสูญเสียเพื่อประหยัด ค่าพลังงาน กลยุทธ์ราคาขาย และการบริหารสินค้าคงคลัง 5. ความเสีย่ งจากการจัดหาวัตถุดบิ (Feedstock Interruption Risk) จากสถานการณ์ทางการเมือง ความไม่สงบในประเทศต่างๆ และ ภัยทางธรรมชาติที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น ทําให้การขนส่งนํ้ามันดิบ มี ร ะดั บ ความเสี่ ย งเพิ่ ม มากขึ้ น และส่ ง ผลให้ ก ารจั ด หานํ้ า มั น ดิ บ ในปริมาณและราคาที่กําหนดตามแผนการผลิตยากยิ่งขึ้น ไทยออยล์ จึงได้เพิ่มเติมการติดตามสถานการณ์และวิเคราะห์ข้อมูลของตลาด ศึกษาและค้นหาแหล่งนํ้ามันดิบใหม่ๆ เพื่อนําเข้ามาเป็นวัตถุดิบ ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ในเครื อ ฯ รวมทั้ ง เป็ น นํ้ า มั น ดิ บ สํ า รอง นอกเหนือจากการปรับปรุงประสิทธิภาพในการกลั่นเพื่อให้รองรับ นํ้ามันดิบจากแหล่งใหม่และประสานความร่วมมือในกลุ่มโรงกลั่น ของกลุ่ม ปตท. ในเรื่องของการวางแผนจัดหาและบริหารจัดการให้ มีนํ้ามันดิบเพียงพอในการกลั่นและในราคาที่เหมาะสมได้ตามแผน 6. ความผันผวนของความต้องการใช้นํ้ามันสําเร็จรูป (Demand Fluctuation) ปัจจัยเสี่ยงสําคัญต่อความต้องการใช้นํ้ามันสําเร็จรูปที่ผันผวนและ ไม่สามารถเติบโตได้ตามการคาดการณ์ เนื่องจากปัจจัยภายนอก ต่างๆ อาทิ ภาวะเศรษฐกิจโลกและประเทศไทย การเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะในส่วนที่ช่วยประหยัดการใช้พลังงาน นโยบายพลั ง งานทดแทน ไทยออยล์ จึ ง จํ า เป็ น ที่ จ ะต้ อ งปรั บ กลยุ ท ธ์ ท างการตลาด โดยการมุ่ ง เน้ น คุ ณ ภาพสิ น ค้ า และบริ ก าร รวมทั้ ง เร่ ง ขยายตลาดไปสู่ ต ลาดใหม่ ใ นภู มิ ภ าคใกล้ เ คี ย งอย่ า ง ต่อเนื่อง เพื่อสร้างความพึงพอใจ ความสะดวกและความคล่องตัว ทางการขายผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดให้กับลูกค้า ทั้งนี้ ได้เริ่มโครงการ
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
การปรับปรุงการจ่ายผลิตภัณฑ์ทางรถและขยายความร่วมมือใน การใช้คลังนํ้ามันของ ปตท.และคงต่อเนื่องความร่วมมือกับกลุ่ม โรงกลั่นอื่นๆ และหน่วยงานราชการเพื่อประสิทธิภาพในการขาย ผลิตภัณฑ์ทั้งในประเทศ ตลาดอินโดจีน ตลาดส่งออกอื่นๆ และ บริหารผลิตภัณฑ์ส่วนเกิน (Surplus Management )
ค ว า ม เ สี่ ย ง ด า น ก า ร เ งิ น ( F i n a n c i a l R i s k ) 7. ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (Foreign Exchange Risk ) ความผันผวนของค่าเงินบาทต่อเงินเหรียญสหรัฐฯ มีผลกระทบต่อ ผลการดําเนินงานของไทยออยล์ เนือ่ งจากการชําระต้นทุนในการผลิต ที่ สํ า คั ญ คื อ นํ้ า มั น ดิ บ หรื อ วั ต ถุ ดิ บ ชํ า ระเป็ น เงิ น เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ไทยออยล์จึงได้จัดโครงสร้างหนี้ของเครือไทยออยล์ให้มีสัดส่วน เงินสกุลเหรียญสหรัฐฯ อยู่ในระดับที่เหมาะสมกับโครงสร้างรายได้ (Natural Hedge ) ตลอดจนทํารายการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้าสําหรับธุรกรรมการค้า การเบิกเงินกู้และการชําระคืนเงินกู้ ให้เหมาะสมกับภาระรับจ่ายจริง (Forward Contracts ) เช่นเดียวกับ ปีที่ผ่านมา 8. ความเสี่ยงการจัดหาเงินทุนไม่เพียงพอสําหรับการดําเนินงาน ตามแผนกลยุทธ์ (Funding Risk ) ปั ญ หาวิ ก ฤติ ห นี้ ข องประเทศในทวี ป ยุ โรปและภาวะเศรษฐกิ จ ชะลอตั ว ของประเทศจี น ส่ ง ผลกระทบต่ อ แผนการลงทุ น และ แผนการจั ด หาเงิ น ทุ น ของเครื อ ไทยออยล์ บริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ บ ริ ห าร ให้มีการกระจายฐานเงินกู้ผ่านทั้งตลาดเงินและตลาดทุน โดยล่าสุด ในเดือนมกราคม 2557 ได้มีการออกหุ้นกู้สกุลบาท อายุ 3 ปี 5 ปี 7 ปี และ 10 ปี รวม 15,000 ล้านบาท เพือ่ นํามาใช้ในการปรับวงเงินกู้ การ เพิ่มสภาพคล่องและการลงทุนของเครือไทยออยล์ตามนโยบายการ ลงทุนของเครือไทยออยล์ที่มีการจัดลําดับความสําคัญของโครงการ ลงทุ น และการจั ด โครงสร้ า งเงิ น ลงทุ น เพื่ อ การเติ บ โตในอนาคต อย่างมั่นคง พร้อมทั้งมีการติดตามความเคลื่อนไหวของตลาดเงิน และตลาดทุนอย่างใกล้ชิด การวางแผนการเงินล่วงหน้าเพื่อจ่าย ชําระคืนเงินกู้ที่ครบกําหนด ตลอดจนการพัฒนาการใช้เครื่องมือทาง การเงิน (Derivatives) ต่างๆ และเน้นความร่วมมือทางการเงินในกลุ่ม ปตท. อย่างต่อเนื่อง ทําให้ไทยออยล์มีความเชื่อมั่นว่า จะสามารถ จัดหาเงินทุนตามแผนได้ด้วยต้นทุนทางการเงินที่เหมาะสม
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
101
ป จ จั ย เ สี่ ย ง แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค ก ร
ค ว า ม เ สี่ ย ง ด า น ก า ร ผ ลิ ต ( O p e r a t i o n s R i s k )
ค ว า ม เ สี่ ย ง ด า น บ ริ ห า ร อ ง ค ก ร ( C o r p o r a t e R i s k )
9. สถานการณ์รุนแรงที่มีผลต่อการดําเนินธุรกิจหรือทําให้ธุรกิจ หยุดชะงัก (Business Disruption ) ไทยออยล์มุ่งเน้นการเตรียมพร้อมในการบริหารความต่อเนื่องทาง ธุรกิจ (Business Continuity Management : BCM ) อย่างต่อเนื่อง โดยได้ กํ า หนดแผนบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ ( Business Continuity Management Plan : BCP) ครบทุกกระบวนการสําคัญทาง ธุรกิจ และทําการฝึกซ้อมแผนฯ ต่อจากการฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินของ โรงกลั่น โดยจะกําหนดสถานการณ์ร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้นที่สํานักงาน กรุงเทพและทําการซ้อมแผนให้ครบตรงตามมาตรฐานสากล (ISO 22300) ทั้งนี้ นอกเหนือจากมาตรการป้องกันของโรงกลั่น การดําเนิน กิ จ กรรมด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ( Corporate Social Responsibility : CSR ) และการสร้างเครือข่ายชุมชนสัมพันธ์อย่าง ต่อเนื่องแล้ว ได้มีการพิจารณาการทําประกันภัยแบบประกันความ สูญเสียจากการหยุดชะงักของธุรกิจ (Business Interruption ) รวมทั้ง ได้สานต่อนโยบายประสานความร่วมมือกับหน่วยงานราชการ ทหาร และท้องถิ่นในการรักษาความปลอดภัยและความมั่นคงและเข้าร่วม ประชุมเพื่อหาแนวทางป้องกันร่วมกันในกลุ่ม ปตท. พร้อมทั้งดําเนิน การเชื่อมโยงแผนฉุกเฉินของเครือไทยออยล์กับแผนของจังหวัด เพื่อรองรับหากเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อพัฒนามาตรการเพิ่มเติม จากแผนบริหารความเสี่ยงที่มีอยู่ โดยมีเป้าหมายให้การดําเนินธุรกิจ สามารถดํ า เนิ น ไปได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง สามารถส่ ง มอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ให้ลูกค้าได้ตามที่สัญญา พร้อมกับดูแลปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน รวมทั้งชุมชนและสิ่งแวดล้อม
10. ความเสี่ยงจากอัตรากําลังและความสามารถของบุคลากร ไม่ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการทางธุ ร กิ จ ( Human Resource Capability Risk) ไทยออยล์ได้ปรับแผนกลยุทธ์ทั้งระยะสั้นและระยะยาวเพื่อสร้าง ความเจริญเติบโตในอนาคต ซึ่งได้มีการระบุความต้องการกําลังคน ที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถตรงตามความต้ อ งการของธุ ร กิ จ ควบคู่ ไปด้วย และได้ดําเนินการตามกระบวนการสรรหา เร่งการพัฒนา บุคลากรตามกระบวนการกําหนดกลยุทธ์และแผนกลยุทธ์ระยะยาว รวมทั้งทบทวนโครงสร้างองค์กรและวิเคราะห์แผนความต้องการ อั ต รากํ า ลั ง คน และแผนพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ ส อดคล้ อ งกั บ การ เจริญเติบโตตามแผนกลยุทธ์ในระยะยาว ปรับปรุงกระบวนการสรรหา บุคลากรให้มีประสิทธิภาพ จัดการประชุมผู้บริหารเพื่อพิจารณา คัดเลือกผู้สืบทอดตําแหน่งงานและพัฒนาตามแผน เพื่อบูรณาการ ทิศทางและกลยุทธ์ทางธุรกิจและอัตรากําลังของเครือไทยออยล์ อย่างสมํ่าเสมอ จากการที่ ไ ทยออยล์ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ การดํ า เนิ น การบริ ห าร ความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ภายใต้กรอบและโครงสร้างการบริหาร ความเสี่ยง รวมทั้งนโยบายบริหารความเสี่ยงองค์กร ทําให้มั่นใจ ได้ว่า กระบวนการบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ดําเนินไป อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพตามมาตรฐานสากล สามารถป้ อ งกั น และ ลดผลกระทบจากความเสี่ยงต่างๆ ได้ ถือเป็นกระบวนการที่สําคัญที่ จะผลักดันให้องค์กรประสบความสําเร็จก้าวพ้นวิกฤติหรืออุปสรรค ต่างๆ พร้อมทั้งสร้างโอกาสให้องค์กรสามารถดําเนินธุรกิจได้สําเร็จ ตามเป้ า หมายและแผนกลยุ ท ธ์ ที่ กํ า หนดไว้ แ ละสร้ า งความมั่ น ใจ ให้กับผู้ถือหุ้น
102
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ
19
ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ให้ความสําคัญต่อการควบคุม ภายในที่ดีอย่างต่อเนื่อง โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบสอบทานการประเมินระบบการควบคุม ภายในและทบทวนความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายใน เป็นประจําทุกปี เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน ที่เพียงพอและเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ การดูแลรักษาทรัพย์สิน รวมทั้งมีการจัดทําบัญชี รายงานที่ถูกต้อง น่ า เชื่ อ ถื อ และมี ก ารปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและกฎระเบี ย บต่ า งๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นต่อ ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุม ภายในที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการดําเนินธุรกิจ ซึ่งพิจารณา องค์ประกอบการควบคุมภายในทั้ง 5 ด้าน สรุปสาระสําคัญดังนี้
1. ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น อ ง ค ก ร บริษัทฯ มีสภาพแวดล้อมของการควบคุมภายในที่ดี เหมาะสมและ เพียงพอต่อการดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจภายใต้หลักการ กํากับดูแลที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ โดยได้จัดทํานโยบายการกํากับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละจรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร กํ า หนดบทบาท หน้ า ที่ ความรั บ ผิ ด ชอบ และจรรยาบรรณของ คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน จรรยาบรรณว่าด้วยการขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ และมาตรการการแจ้ ง เบาะแสเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร โดยได้ จั ด ทํ า ระบบการรายงานในรู ป แบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ให้ ฝ่ า ยจั ด การและพนั ก งานทุ ก คนรายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย ของตนเป็นประจําทุกปี กําหนดกระบวนการติดตามและประเมินผล การปฏิบัติตามคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ โดยได้เข้ารับการประเมินการกํากับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียน เพื่อเป็นการพัฒนา สนับสนุน และส่งเสริมการดําเนินธุรกิจตาม หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเป็นอิสระจากผู้บริหาร โดยมีหน้าที่ กํากับดูแลและพัฒนาการดําเนินการด้านการควบคุมภายใน ดูแล ให้มีการกําหนดเป้าหมายการดําเนินธุรกิจที่ชัดเจนและวัดผลได้ ตลอดจนพั ฒ นากระบวนการวางแผนเชิ ง กลยุ ท ธ์ เพื่ อ ให้ ทั น ต่ อ สถานการณ์และเหมาะสมต่อสภาพธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งติดตามความก้าวหน้าในการดําเนินการอย่างสมํ่าเสมอ
บริษัทฯ ได้จัดโครงสร้างขององค์กร โดยแบ่งแยกสายการบังคับบัญชา มีการกําหนดอํานาจการอนุมัติ รวมทั้งจัดทํานโยบายและระเบียบ วิธีปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานที่มี ประสิทธิภาพและการถ่วงดุลอํานาจหน้าทีค่ วามรับผิดชอบทีเ่ หมาะสม ภายใต้การกํากับดูแลของคณะกรรมการบริษัทฯ บริษัทฯ ได้กําหนดนโยบายและแนวปฏิบัติด้านทรัพยากรบุคคลของ บริษทั ฯ ด้วยการเชือ่ มโยงกับนโยบายและกลยุทธ์ขององค์กรอย่างเป็น ระบบ เพือ่ ให้กระบวนการสรรหา พัฒนา บริหารการเติบโตในสายอาชีพ การรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ การบริหารผลตอบแทน รวมทั้ ง การประเมิ น ความพร้ อ มของพนั ก งานที่ เ ป็ น ผู้ สื บ ทอด (Successor ) เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการทางธุรกิจ
2. ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ สี่ ย ง บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสํ า คั ญ และจั ด ให้ มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งทั่ ว ทั้ ง องค์กร โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย งทํ า หน้ า ที่ กํ า หนดนโยบายและกํ า กั บ ดู แ ลให้ การบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษั ท ฯ เป็ น ไปอย่ า งเหมาะสมและ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมถึ ง มี ก ารนํ า การบริ ห ารความเสี่ ย งไปปฏิ บั ติ อย่างจริงจัง เพื่อให้มั่นใจในการบรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ บริษัทฯ มีการจัดทําแผนงานที่ครอบคลุมการประเมินปัจจัยเสี่ยง ทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ การดําเนินงาน การลงทุ น การขยายธุ ร กิ จ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย เทคโนโลยี สารสนเทศ และความเสี่ยงจากการทุจริตที่อาจมีผลกระทบต่อการ ดําเนินธุรกิจทั้งระดับองค์กร สายงาน และหน่วยงานต่างๆ ทบทวน แผนงาน ติดตามทุกหน่วยงานให้มีการดําเนินการตามมาตรการเพื่อ ลดความเสี่ยงที่กําหนด มีการติดตามสภาพแวดล้อมและวิเคราะห์ ปัจจัยที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงใหม่ๆ ที่สําคัญที่ส่งผลกระทบต่อ ธุรกิจ โดยได้ดําเนินการตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงร่วมกับ ทุ ก หน่ ว ยงานและบริ ษั ท ในเครื อ ฯ เพื่ อ ระบุ ค วามเสี่ ย ง กํ า หนด มาตรการบริหารความเสี่ยง กําหนดขอบเขตความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite ) รวมทั้งกําหนดและติดตามตัววัดความเสี่ยงที่สําคัญ (Key Risk Indicators : KRIs ) เพื่อนําเสนอความเสี่ยงและมาตรการ บริหารความเสี่ยงตามโครงสร้างการรายงานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการบริษัทฯ
103
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มอบหมายให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบ สอบทานรายงานทางการเงิน กําหนดระเบียบและพิจารณาการใช้ นโยบายบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไปและเหมาะสม กับลักษณะธุรกิจของบริษัทฯ โดยกําหนดให้มีการรายงาน การอนุมัติ การใช้และการเปลีย่ นแปลงนโยบายบัญชีอย่างเป็นระบบ คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ประชุมหารือร่วมกับฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีอย่างสมํ่าเสมอ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม รวมทั้งเชิญฝ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมหารือเมื่อมีวาระที่เกี่ยวข้อง
3. ก า ร ค ว บ คุ ม ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น บริษัทฯ มีการกําหนดระเบียบ นโยบาย วิธีปฏิบัติงานด้านต่างๆ รวมทั้งระเบียบการกําหนดอํานาจการอนุมัติรายการธุรกิจ ซึ่งกําหนด ขอบเขตอํ า นาจหน้ า ที่ วงเงิ น อนุ มั ติ ข องผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน ในระดับต่างๆ ในการอนุมัติรายการธุรกิจไว้อย่างชัดเจนและเป็น ลายลักษณ์อักษร โดยพิจารณาการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ ออกจากกั น เป็ น การตรวจสอบซึ่ ง กั น และกั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ คล่ อ งตั ว ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ และมี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ เหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้กําหนดกระบวนการในการพิจารณา อนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกันไว้อย่างชัดเจน โดยรายการที่เกี่ยวโยงกัน จะต้ อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบและ ที่ประชุมผู้บริหารระดับสูง ก่อนนําเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ บริษัทฯ ได้กําหนดนโยบายการบริหารจัดการบริษัทในกลุ่มไทยออยล์ (TOP Group Affi liates Management : TAM ) เพื่อให้การบริหารงาน ของบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน พิจารณา การตัดสินใจที่สําคัญต่างๆ ร่วมกัน รวมทั้งติดตามดูแลการดําเนินงาน ของบริษัทในเครือฯ หรือบริษัทร่วมอย่างสมํ่าเสมอ ซึ่งได้มอบหมาย ให้ฝ่ายจัดการของบริษัทฯ เข้าไปทําหน้าที่บริหารจัดการในตําแหน่ง กรรมการอํานวยการหรือกรรมการผู้จัดการ และได้แต่งตั้งผู้แทน เข้าไปดํารงตําแหน่งกรรมการในบริษัทในเครือฯ และบริษัทร่วม ทําให้บริษัทฯ มีส่วนร่วมในการกําหนดนโยบาย ได้รับทราบข้อมูล และติ ด ตามผลการดํ า เนิ น งานได้ เ ป็ น ระยะๆ ตามดั ช นี วั ด ผล การดําเนินงานที่สําคัญ
4. ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร ข อ มู ล บริษัทฯ ให้ความสําคัญต่อระบบข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร ข้อมูลที่สนับสนุนการปฏิบัติงาน การดําเนินการ การบริหารจัดการ การรายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบเพื่อช่วยในการตัดสินใจ
ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ
ของคณะกรรมการและฝ่ายจัดการของบริษัทฯ และเพื่อสนับสนุนให้ การควบคุมภายในสามารถดําเนินการได้อย่างมีประสิทธิผล บริษัทฯ ได้กําหนดนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้ง ระเบียบปฏิบัติในด้านความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารไว้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดเก็บ เอกสารทางบัญชีไว้เป็นหมวดหมู่ครบถ้วน สอดคล้องกับระยะเวลา ที่กฎหมายกําหนด บริษัทฯ ได้ดําเนินการให้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้รับข้อมูลที่สําคัญ อย่างเพียงพอเพื่อประกอบการพิจารณา โดยได้มีการจัดส่งเอกสาร ประกอบการประชุมล่วงหน้า บริษัทฯ จัดให้มีช่องทางการสื่อสารภายในองค์กร โดยบุคลากร ภายในองค์กรได้รับข้อมูลข่าวสารผ่านระบบ Intranet และ e -mail นอกจากนี้ ยังจัดให้มีการสื่อสารระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ ส่วนช่องทางการ สื่อสารภายนอกองค์กร บริษัทฯ มีการเปิดเผยให้แก่ผู้มีส่วนได้เสีย ผ่ า นช่ อ งทางต่ า งๆ ได้ แ ก่ เว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ โดยหน่ ว ยงาน ที่ทําหน้าที่สื่อสารข้อมูล ประกอบด้วยหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ หน่ ว ยงานประชาสั ม พั น ธ์ แ ละภาพลั ก ษณ์ อ งค์ ก ร หน่ ว ยงาน จรรยาบรรณและบรรษัทภิบาล นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดให้มีช่องทางการร้องเรียนและการแจ้งเบาะแส เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้พนักงานและบุคคลภายนอกรายงาน หรือให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการกระทําผิดกฎหมายหรือระเบียบ ปฏิบัติต่างๆ การทุจริต การกระทําใดๆ ที่แสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้ โดยชอบด้วยกฎหมาย
5. ร ะ บ บ ก า ร ติ ด ต า ม บริษัทฯ กําหนดให้เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหาร ทุกระดับในการดูแลและตรวจสอบระบบการทํางานภายในหน่วยงาน ของตนให้มีประสิทธิภาพและถูกต้องตามนโยบาย ข้อกําหนด และ ระเบียบการปฏิบัติงาน โดยมีระบบการควบคุมภายในที่รัดกุม ทั้งนี้ หน่วยงานตรวจสอบระบบงานภายในจะเป็นผูส้ นับสนุน ให้คาํ ปรึกษา สอบทานระบบการควบคุ ม ภายในขององค์ ก ร และรายงานผล การปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบอย่ า งเป็ น อิสระและตรงไปตรงมา ซึ่งฝ่ายจัดการจะได้รับทราบข้อเสนอแนะ ในรายงานผลการตรวจสอบและกําหนดให้มีการแก้ไขปรับปรุงอย่าง เหมาะสม โดยหน่ ว ยงานตรวจสอบระบบงานภายในจะติ ด ตาม ความคืบหน้าของการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องจนแล้วเสร็จ
104
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
20
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) มีความเชื่อมั่นว่า การดําเนินธุรกิจ ด้วยความเป็นธรรม โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ มีผู้นําองค์กร ที่มีวิสัยทัศน์ และความรับผิดชอบ ควบคู่ไปกับการยึดแนวทางการ ดําเนินงานตามหลักการกํากับดูแลกิจการ ตามที่ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (ตลท.) และคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กําหนด ย่อมเป็นรากฐานที่สําคัญในการ สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ลงทุน และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ซึ่งเป็น ส่วนสําคัญในการส่งเสริมให้เกิดความยั่งยืนของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ให้ความสําคัญต่อนโยบายและการปฏิบัติตาม หลักการกํากับดูแลกิจการมาตลอด โดยกําหนดให้การยึดมั่นต่อ หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีเป็นหนึ่งในพันธกิจขององค์กร และ ได้มีการจัดทําแผนการพัฒนาด้านการกํากับดูแลกิจการเป็นประจํา ทุกปี เพื่อให้แนวปฏิบัติของบริษัทฯ เป็นไปตามมาตรฐานสากล นโยบายและหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ มีรายละเอียด ต่อไปนี้
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร บริษัทฯ ได้จัดทํานโยบายกํากับดูแลกิจการเป็นลายลักษณ์อักษร อย่างชัดเจน ตั้งแต่ปี 2544 ซึ่งบริษัทฯ กําหนดให้เป็นหน้าที่และ ความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนของ บริษทั ฯ และบริษทั ในเครือฯ ทีจ่ ะต้องรับทราบและปฏิบตั ติ ามนโยบายฯ บริษัทฯ จะดําเนินการทบทวนนโยบาย หลักการ และแนวปฏิบัติ ด้านกํากับดูแลกิจการอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ ของบริษัทฯ และแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัท จดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นโยบายกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ฯ มี ก ารปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ล่ า สุ ด ในปี 2556 และต่อมาในปี 2557 บริษัทฯ ได้มีการทบทวนปรับปรุง แก้ ไขหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การและแนวปฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งโดย แบ่งหมวดหมู่เนื้อหาให้ชัดเจน ครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการ ที่สําคัญ และบริษัทฯ ได้ทําการเผยแพร่นโยบายการกํากับดูแลกิจการ หลั ก การ และแนวปฏิ บั ติ ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ ที่ www .thaioilgroup .com เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สนใจสามารถศึกษา และดาวน์โหลดได้ นโยบายการกํากับดูแลกิจการ มีดังนี้
บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะเป็นบริษัทชั้นนําของภูมิภาค สร้างความ น่าเชื่อถือให้กับผู้ลงทุน และผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการดําเนินธุรกิจ เพิ่มมูลค่าขององค์กรและส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ ด้ ว ยการบริ ห ารจั ด การธุ ร กิ จ ด้ ว ยความเป็ น ธรรม สุ จ ริ ต โปร่ ง ใส ตามหลักการกํากับดูแลกิจการอันเป็นสากล และเป็นคุณค่าพื้นฐาน ขององค์กรชั้นนํา ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้กําหนดนโยบายการกํากับดูแล กิจการ เพื่อเป็นกรอบในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน จะปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเทและรับผิดชอบอย่างเต็มความสามารถ เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และยึดมั่นคู่มือหลักการกํากับ ดู แ ลกิ จ การและจรรยาบรรณธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ เป็ น แนวทาง ด้วยความเข้าใจ เชื่อมั่น และศรัทธา โดยถือป็นกิจวัตรจนเป็น วัฒนธรรมที่ดีขององค์กร 2. คณะกรรมการบริ ษั ท มี บ ทบาทสํ า คั ญ ร่ ว มกั บ ผู้ บ ริ ห ารในการ กําหนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ นโยบาย และแผนงานที่สําคัญของ บริษัทฯ รวมทั้งการจัดโครงสร้างการบริหารงานที่สอดคล้องและ สัมพันธ์กันอย่างเป็นธรรมระหว่างคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และผู้ถือหุ้น และมีการวางแนวทางการบริหารจัดการ และการ ดําเนินธุรกิจที่มีความเหมาะสม 3. คณะกรรมการบริ ษั ท และผู้ บ ริ ห าร จะต้ อ งเป็ น ผู้ นํ า ในเรื่ อ ง จริ ย ธรรม และเป็ น ตั ว อย่ า งในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความ ซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม โปร่งใสตรวจสอบได้ ตามแนวปฏิบัติ ด้านจริยธรรมของบริษัทฯ 4. คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน จะยึดมั่น ในความเป็ น ธรรมโดยปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทุ ก ฝ่ า ย อย่างเท่าเทียมกัน พร้อมทั้งดูแลสอดส่อง ควบคุมและป้องกัน การตัดสินใจหรือการกระทําใดๆ ที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 5. การปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ถือเป็น ดัชนีชี้วัดที่สําคัญในการประเมินผลการบริหารจัดการทางธุรกิจ ของคณะกรรมการบริ ษั ท กั บ ผู้ บ ริ ห าร และการประเมิ น ผล การปฏิบัติงานของพนักงานทุกคน
105
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
1. มีความสํานึกรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยขีดความสามารถ และประสิทธิภาพที่เพียงพอ (Responsibility )
ความรู้และประสบการณ์เพียงพอในการสอบทานความน่าเชื่อถือ ของงบการเงิน เพื่อทําหน้าที่สอบทานการดําเนินงานของบริษัทฯ รายการทางการเงิ น ระบบการควบคุ ม ภายใน พิ จ ารณารายการ ระหว่างกัน และรายงานความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี รวมทั้ง การพิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้ง
2. ปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม อย่ า งเท่ า เที ย มกั น ด้ ว ยความ เป็นธรรม (Equitable Treatment )
คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบด้วย กรรมการอิสระที่ไม่เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ จํานวน 3 คน ดังนี้
3. มีความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการกระทําของตนเองและ ของผู้อื่นที่อยู่ในความรับผิดชอบของตนสามารถชี้แจงและอธิบาย การตัดสินใจนั้นได้ (Accountability )
ชื่อ - นามสกุล
ตําแหน่ง
1. นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์
4. มี วิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ แ ก่ อ งค์ ก รในระยะยาว (Creation of Long Term Value )
2. นายสุวิทย์ เมษินทรีย์ 3. นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (อิสระ) กรรมการตรวจสอบ(อิสระ) กรรมการตรวจสอบ(อิสระ) ซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ ด้านบัญชีและการเงินเพียงพอ ในการสอบทานความน่าเชื่อถือ ของงบการเงิน
หลักการกํากับดูแลกิจการ บริษทั ฯ ได้กาํ หนดหลักการกํากับดูแลกิจการ เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ผู้บริหาร และพนักงาน ยึดเป็นแนวทางปฏิบัติ ดังนี้
5. มีความโปร่งใสในการดําเนินงานที่สามารถตรวจสอบได้ และ เปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใสแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง (Transparency ) 6. มีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ (Ethics )
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ชุ ด ย อ ย คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยต่ า งๆ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และคณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย ง เพื่ อ กลั่ น กรองและกํ า กั บ ดู แ ลการดํ า เนิ น งาน ของบริษัทฯ เฉพาะเรื่องและให้เป็นไปตามกฎระเบียบและข้อบังคับ ของ ก.ล.ต. และ ตลท. ทั้งนี้ เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ บริษัทฯ มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด บริษัทฯ ได้จัดให้ มีกฎบัตรของคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เพื่อกําหนดองค์ประกอบ คุณสมบัติ และหน้าที่ความรับผิดชอบต่างๆ ซึ่งได้เปิดเผยกฎบัตร ดังกล่าวในเว็บไซต์บริษัทฯ ด้วย คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2557 ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบประกอบ ด้วยกรรมการที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ก.ล.ต. และตลท. กําหนด และเป็นกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 3 คน โดยอย่างน้อย 1 คน ที่มี
โดยมี น างสาวหั ส ยา นิ พั ท ธ์ ว รนั น ท์ ผู้ จั ด การแผนกตรวจสอบ ระบบงานภายใน ซึ่งเป็นหัวหน้าของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ของบริษัทฯ ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานรายงานทางการเงิ น เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า มี ค วามถู ก ต้ อ ง และเชื่อถือได้ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอโดยการ ประสานงานกับผู้สอบบัญชีภายนอกและผู้บริหารที่รับผิดชอบ จัดทํารายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและประจําปี 2. สอบทานให้บริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ มีระบบการควบคุม ภายใน (Internal Control ) ระบบการตรวจสอบภายใน และระบบ การบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และอาจ เสนอแนะให้มีการสอบทานหรือตรวจสอบรายการใดที่เห็นว่า จํ า เป็ น และเป็ น สิ่ ง สํ า คั ญ พร้ อ มทั้ ง ให้ ข้ อ เสนอแนะเกี่ ย วกั บ การปรับปรุงแก้ไขระบบการควบคุมภายในระบบการบริหาร ความเสี่ ย งและรายงานผลการสอบทานเสนอคณะกรรมการ บริษัทฯ
106
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
3. สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อกําหนดของตลท. นโยบายกฎระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ
11. จั ด ทํ า รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบลงนามโดย ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและเปิดเผยไว้ในรายงานประจํา ปีของบริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ที่ตลท. กําหนด
4. สอบทานหลั ก ฐานหากมี ข้ อ สงสั ย เกี่ ย วกั บ การดํ า เนิ น การ ที่ อ าจมี ผ ลกระทบอย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ ต่ อ ฐานะการเงิ น และ ผลการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ หรื อ มี ค วามขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ หรือการฝ่าฝืนกฎหมายและข้อกําหนดที่เกี่ยวข้อง ที่อาจมีผลกระทบต่อการดําเนินงานของบริษัทฯ
12. คณะกรรมการตรวจสอบอาจแสวงหาความเห็นที่เป็นอิสระจาก ที่ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นใด เมื่อเห็นว่าจําเป็นด้วยค่าใช้จ่ายของ บริ ษั ท ฯ โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ การดํ า เนิ น การว่ า จ้ า งให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บข้ อ กํ า หนดของ บริษัทฯ
5. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ในกรณีที่เกิดรายการ ที่เกี่ยวโยง หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เป็นไปตามกฎหมายและข้อกําหนดของตลท. ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจ ว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 6. พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระ เพื่อทําหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาเสนอ ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีโดยคํานึงถึงความน่าเชื่อถือความ เพียงพอของทรัพยากร และปริมาณงานตรวจสอบของสํานักงาน ตรวจสอบบัญชีนั้น รวมถึงประสบการณ์ของบุคลากรที่ได้รับ มอบหมายให้ทําการตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ รวมทั้งเข้าร่วม ประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 7. สอบทานความถูกต้องและประสิทธิผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับรายงานการเงินและการควบคุมภายใน 8. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบรายงานทางการเงินให้ทัดเทียมกับ มาตรฐานบัญชีสากล
13. ประธานกรรมการตรวจสอบหรื อ กรรมการตรวจสอบต้ อ ง เข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เพื่อชี้แจงในเรื่องเกี่ยวกับ คณะกรรมการตรวจสอบหรือการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 14. พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ 15. ปฏิ บั ติ ง านอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในรอบปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้ กล่าวไว้ในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ หน้า 14 2) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน ซึ่งต้องประกอบด้วยกรรมการ จํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยส่วนใหญ่ตอ้ งเป็นกรรมการอิสระ และต้องไม่เป็นประธานกรรมการ หรือประธานเจ้าหน้าที่บริหารฯ และมีคุณสมบัติตามที่ระบุในกฎบัตร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จํานวน 4 คน ดังนี้ ชื่อ - นามสกุล
9. สอบทานแผนงานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตามวิธีการและ มาตรฐานที่ยอมรับโดยทั่วไป 10. พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายในรวมถึง ให้ คํ า แนะนํ า ในเรื่ อ งงบประมาณและกํ า ลั ง พลของแผนก ตรวจสอบระบบงานภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการ พิจารณาแต่งตั้งโยกย้ายเลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน และประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปีของผู้จัดการแผนก ตรวจสอบระบบงานภายใน
ตําแหน่ง
1. พล.อ. จิระเดช โมกขะสมิต ประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ) 2. นายถาวร พานิชพันธ์ กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ) 3. นายณัฐชาติ จารุจินดา กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 4. นายทศพร ศิริสัมพันธ์ กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ)
107
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
โดยมีนายวิโรจน์ มีนะพันธ์ (รักษาการ) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ด้านกํากับกิจการองค์กร ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
ในรอบปี 2557 คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้กล่าวไว้ในรายงานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน หน้า 16
อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน หน้าที่ด้านการสรรหา 1. กําหนดวิธีการและหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการ
3) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารของ บริษัทฯ จํานวนอย่างน้อย 3 คน โดยส่วนใหญ่เป็นกรรมการอิสระ และมีคุณสมบัติตามที่ระบุในกฎบัตรคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ
2. กําหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะดํารงตําแหน่งกรรมการโดยคํานึงถึง ทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้านที่เป็นประโยชน์ต่อ บริษัทฯ การอุทิศเวลาและความพยายามในการปฏิบัติหน้าที่ของ กรรมการ 3. สรรหาคั ด เลื อ กผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ ส มควรได้ รั บ การเสนอชื่ อ เป็ น กรรมการเพื่ อ เสนอความเห็ น ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และ ขออนุมัติต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 4. สนับสนุนให้บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอรายชื่อ บุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการบริษัทฯ
คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบ ด้วยกรรมการ จํานวน 3 คน ดังนี้ ชื่อ - นามสกุล
ตําแหน่ง
1. นายทศพร ศิริสัมพันธ์
ประธานคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการ (อิสระ) กรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการกํากับดูแลกิจการ (อิสระ)
2. นายยงยุทธ จันทรโรทัย 3. นายพรายพล คุ้มทรัพย์
5. ทบทวนแผนการสืบทอดตําแหน่งของผู้บริหารสูงสุด พร้อมทั้ง รายชื่อผู้ที่อยู่ในเกณฑ์เหมาะสมที่จะได้รับการพิจารณาสืบทอด ตําแหน่งเป็นประจําทุกปี
โดยมีนายวิโรจน์ มีนะพันธ์ (รักษาการ) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ด้านกํากับกิจการองค์กร ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการกํากับ ดูแลกิจการ
6. คัดเลือกกรรมการบริษัทฯ ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการ ในคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อนําเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาแต่งตั้งเมื่อมีตําแหน่งว่างลง
อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ 1. กําหนดนโยบายการพัฒนาแนวทางปฏิบัติด้านการกํากับดูแล กิ จ การที่ ดี ต ามมาตรฐานสากลอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ใช้ เ ป็ น หลักปฏิบัติของบริษัทฯ และบริษัทในเครือสืบต่อไป
หน้าที่ด้านการพิจารณาค่าตอบแทน 1. เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับโครงสร้างและ องค์ประกอบค่าตอบแทนสําหรับกรรมการเป็นประจําทุกปี
2. กํ า หนดนโยบายพร้ อ มทั้ ง สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารประเมิ น ระดั บ มาตรฐานการกํากับดูแลกิจการภายในองค์กรด้วยตนเอง รวมทั้ง เข้ า รั บ การตรวจประเมิ น จากองค์ ก รภายนอกที่ มี ชื่ อ เสี ย งและ เป็นที่ยอมรับทั่วไปเป็นประจํา
2. เสนอหลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนอย่างเหมาะสมกับหน้าที่ ความรับผิดชอบของกรรมการโดยเชื่อมโยงค่าตอบแทนกับผลการ ดําเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ เพื่อให้สามารถจูงใจและรักษา กรรมการที่ มี ค วามสามารถมี คุ ณ ภาพและศั ก ยภาพ ทั้ ง นี้ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้พิจารณาเพื่อให้ความเห็นชอบ ก่อนนําเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปีเพื่อขออนุมัติ 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานและพิจารณาค่าตอบแทนที่เหมาะสม ให้แก่ผู้บริหารสูงสุด
3. กํากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามหลักการ กํากับดูแลกิจการที่ดีของสถาบันกํากับฯ ได้แก่ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ 4. พิ จ ารณาทบทวนนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ฯ อย่างสมํ่าเสมอเพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติของสากล และข้อเสนอแนะของสถาบันกํากับฯ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
108
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
5. สนับสนุนให้มีการเผยแพร่วัฒนธรรมในการกํากับดูแลกิจการที่ดี ให้เป็นที่เข้าใจของผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ และให้มีผล ในทางปฏิบัติทั้งในบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ 6. ให้ คํ า ปรึ ก ษาแก่ ค ณะทํ า งานเพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มในการ เข้ารับการจัดอันดับการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยหน่วยงานกลาง ภายนอกองค์กรอย่างน้อย 1 ครั้งทุกๆ 3 ปี 7. พิจารณาและให้ความเห็นชอบแบบประเมินและผลการประเมิน การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ นํ า เสนอต่ อ คณะกรรมการบริษัทฯ ต่อไป 8. รับผิดชอบต่อการอื่นใดที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในรอบปี 2557 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการได้ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามที่ได้กล่าวไว้ในรายงานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ หน้า 18 4) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งต้องประกอบด้วยกรรมการบริษัทฯ จํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เ ป็ น กรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งโดยตํ า แหน่ ง และมี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ระบุในกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. กําหนดและทบทวนกรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กรที่เหมาะสม กับการดําเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามมาตรฐาน สากล รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ที่สอดคล้องต่อทิศทางกลยุทธ์การดําเนินงานและแผนธุรกิจ 2. กําหนดและทบทวนปรับปรุงนโยบายและกระบวนการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร รวมทั้งกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ให้สอดคล้องกับกรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กร เพื่อให้มี ประสิ ท ธิ ผ ลและมี ค วามเพี ย งพอสอดคล้ อ งตามสภาวการณ์ ที่เปลี่ยนแปลง 3. สนั บ สนุ น และพั ฒ นาการบริ ห ารความเสี่ ย งในทุ ก ระดั บ ทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ร รวมทั้ ง เครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และมี ประสิทธิภาพรวมถึงส่งเสริมวัฒนธรรมบริหารความเสี่ยง 4. กํากับดูแลติดตามและสอบทานการรายงานการบริหารความเสี่ยง ที่สําคัญ พร้อมทั้งให้คําแนะนําเพื่อให้มั่นใจว่ามีการบริหารจัดการ ความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ และสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงต่างๆ ให้ความเสี่ยง อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ สอดคล้องกับนโยบายบริหารความเสี่ยง องค์กร
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบ ด้วยกรรมการจํานวน 3 คน ดังนี้
5. รายงานผลการบริหารความเสี่ยงที่สําคัญให้คณะกรรมการบริษัทฯ รั บ ทราบในกรณี ที่ มี ปั จ จั ย หรื อ เหตุ ก ารณ์ ที่ สํ า คั ญ ซึ่ ง อาจมี ผลกระทบต่ อ บริ ษั ท ฯ อย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ ต้ อ งรายงานต่ อ คณะกรรมการบริษัทฯเพื่อพิจารณาโดยเร็วที่สุด
ชื่อ - นามสกุล
ตําแหน่ง
6. รับผิดชอบต่อการอื่นใดที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย
1. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
ประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง (อิสระ) กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง
ในรอบปี 2557 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามที่ได้กล่าวไว้ในรายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง หน้า 20
2. นายทวารัฐ สูตะบุตร 3. นายอธิคม เติบศิริ
โดยมี น ายสมชั ย วงศ์ วั ฒ นศานต์ รองกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ด้านกลยุทธ์องค์กร ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และนายสมบูรณ์ ช่วยกอบลาภ ผู้จัดการแผนกบริหาร ความเสี่ ย งกลยุ ท ธ์ แ ละการลงทุ น ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ผู้ ช่ ว ยเลขานุ ก าร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ แ ต ง ตั้ง ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ สู ง คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ บริษัทฯ มีแนวปฏิบัติซึ่งได้กําหนดไว้ ในคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ ในหมวดที่ 5 ความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทฯ กล่าวคือ คณะกรรมการบริษัทฯ ต้อง ประกอบด้วยผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่สามารถ เอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัทฯ ได้เป็นอย่างดี มีความทุ่มเท และให้เวลา อย่างเต็มที่ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบ และควรมีภาวะ
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
109
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ผู้นํา มีวิสัยทัศน์ มีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ และดูแลให้มี ระบบงานที่ให้ความเชื่อมั่นได้ว่ากิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ ได้ดําเนิน ไปในลักษณะที่ถูกต้องตามกฎหมายและมีจริยธรรม
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกําหนดให้กรรมการบริษัทฯ สามารถดํารง ตํ า แหน่ ง กรรมการของบริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ไ ด้ ไม่เกิน 5 บริษัท
คณะกรรมการบริษัทฯ ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ถือหุ้นด้วยกระบวนการ ที่ โ ปร่ ง ใส เพื่ อ มาเป็ น ผู้ กํ า กั บ แนวทางดํ า เนิ น การของบริ ษั ท ฯ เป็นผู้แต่งตั้งฝ่ายจัดการที่รับผิดชอบการดําเนินธุรกิจ และแต่งตั้ง คณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ ง เพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบเฉพาะเรื่ อ งที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย ซึ่ ง สาระสํ า คั ญ สํ า หรั บ แนวปฏิ บั ติ ใ นการสรรหาและ แต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูง มีดังต่อไปนี้
วิธีการสรรหาแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูงสุด การคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสม เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ แทนกรรมการที่ออกตามวาระ บริษัทฯ จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น รายย่ อ ยเสนอรายชื่ อ บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตามคุณสมบัติที่บริษัทฯ กําหนด เพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็นกรรมการบริษัทฯ โดยจะประกาศเชิญชวน ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ล่วงหน้าอย่างน้อย 90 วันก่อนวันประชุม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น เสนอรายชื่ อ และประวั ติ บุ ค คลเข้ า มายั ง บริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ ได้กําหนดสัดส่วนของการถือหุ้นขั้นตํ่า สําหรับ ผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเสนอชื่อกรรมการล่วงหน้า โดยต้องถือหุ้นรวมกัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ
โครงสร้างของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วย กรรมการจํานวนไม่น้อยกว่า 5 คน และไม่เกิน 15 คน ตามที่กําหนดในข้อบังคับของบริษัทฯ โดยมี คุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม พ.ร.บ. บริษัทมหาชนจํากัด คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยบุคคลที่มีความสามารถ ได้รับ ความเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป และต้องมีความหลากหลาย ของทักษะ ประกอบด้วย ทักษะทางด้านอุตสาหกรรม ด้านบัญชี การเงิน ด้านธุรกิจ ด้านการจัดการ ด้านการตลาดระหว่างประเทศ ด้านกลยุทธ์ ด้านการบริหารวิกฤติ ด้านกฎหมาย และด้านการกํากับ ดูแลกิจการ และต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ และมีจํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน เพื่อให้กรรมการ ที่เป็นอิสระมีจํานวนเพียงพอที่จะสามารถตรวจสอบถ่วงดุลการ ทํางานของคณะกรรมการบริษัทฯ และการดําเนินงานของฝ่ายจัดการ ได้ ซึ่งปัจจุบันจํานวนกรรมการอิสระของบริษัทฯ มีจํานวนครบถ้วน และเกินกว่าที่กฎหมายกําหนด คณะกรรมการบริษัทฯ มีจํานวน 14 คน ประกอบด้วย กรรมการที่เป็น ผู้บริหาร จํานวน 1 คน และกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร จํานวน 13 คน โดยในจํานวนนี้ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จํานวน 8 คน โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ทําหน้าที่สรรหาและคัดเลือกกรรมการ และผู้บริหารสูงสุด ในกรณีที่ตําแหน่งว่างลง และสําหรับรายชื่อ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แสดงไว้ในหัวข้อคณะกรรมการบริษัทฯ หน้า 60 นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กําหนดนโยบายเกี่ยวกับ การกํ า หนดจํ า นวนบริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ ก รรมการสามารถดํ า รง ตําแหน่งกรรมการ เพื่อให้บริษัทฯ ได้รับประโยชน์สูงสุดในการที่ กรรมการบริ ษั ท ฯสามารถทุ่ ม เทเวลาสํ า หรั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้
จากนั้นคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จะทําการ คัดเลือกและเสนอชื่อผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมตามกฎหมาย และ หลั ก เกณฑ์ ที่ กํ า หนด โดยพิ จ ารณาจากประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถที่จะเป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ เพื่อให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้พิจารณา เมื่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติเห็นชอบแล้ว บริ ษั ท ฯ จะเสนอชื่ อ บุ ค คลดั ง กล่ า วเพื่ อ ขออนุ มั ติ เ ลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการบริษัทฯ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น โดยขอมติที่ประชุม ผู้ถือหุ้นให้ถือคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และ มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน รวมทั้ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่ า ตอบแทน คั ด เลื อ กกรรมการบริ ษั ท ฯ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสม เป็นกรรมการในคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง แทนตําแหน่งกรรมการ เฉพาะเรื่ อ งที่ ว่ า งลง หลั ง จากการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ประจํ า ปี และ นําเสนอรายชื่อต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา อนุมัติแต่งตั้งต่อไป ในกรณีที่ตําแหน่งว่างลง เนื่องจากเหตุอื่นที่มิใช่การครบวาระออก จากตําแหน่ง ให้คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คัดเลือกและเสนอชื่อผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมตามกฎหมายและ หลักเกณฑ์ที่กําหนดเข้าเป็นกรรมการแทน ให้คณะกรรมการบริษัทฯ เลื อ กบุ ค คลเข้ า เป็ น กรรมการแทนในการประชุ ม คณะกรรมการ โดยบุ ค คลซึ่ ง เข้ า เป็ น กรรมการแทนดั ง กล่ า วจะอยู่ ใ นตํ า แหน่ ง กรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนเข้ามา แทนที่
110
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ส่วนการคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสม เข้าดํารงตําแหน่งผู้บริหารระดับ สู ง สุ ด นั้ น คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เป็ น ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง ฝ่ า ยบริ ห ารเพื่ อ รับผิดชอบการดําเนินธุรกิจ โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน จะพิจารณาหลักเกณฑ์และกระบวนการสรรหาบุคคลที่ มีคุณสมบัติเหมาะสมในการดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เพื่ อ เสนอแก่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ รวมถึงทบทวนแผนการสืบทอดตําแหน่ง พร้อมทั้งรายชื่อผู้ที่อยู่ใน เกณฑ์เหมาะสมที่จะได้รับการพิจารณาสืบทอดตําแหน่ง คุณสมบัติกรรมการอิสระ กรรมการอิ ส ระ จะต้ อ งมี ค วามเป็ น อิ ส ระจากผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรือกลุ่มของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และผู้บริหารของบริษัทฯ มีความ สามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ทางการเงิ น และทางธุ ร กิ จ บริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง ธุรกิจอื่นอย่างเพียงพอ เพื่อที่จะแสดงความคิดเห็นอย่างเสรีในการ ปกป้ อ งผลประโยชน์ ข องผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ย เข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ อย่ า งสมํ่ า เสมอ รวมทั้ ง มี ห น้ า ที่ ใ นการ จัดทํารายงานรับรองความเป็นอิสระของตนเมื่อได้รับการแต่งตั้ง และเปิดเผยข้อมูลความเป็นอิสระในรายงานประจําปีของบริษัทฯ โดยกรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน ตามที่คณะกรรมการ กํากับตลาดทุนกําหนด และตามที่บริษัทฯ กําหนด ดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของ ผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมในการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจํา หรือผู้มีอํานาจควบคุม ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลําดับ เดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 3. ไม่ เ ป็ น บุ ค คลที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างสายโลหิ ต หรื อ โดยการ จดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะ ได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจควบคุม ของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุม
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณ อย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือ ผู้มีอํานาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทํารายการ ทางการค้าที่กระทําเป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือ ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือ ให้ กู้ ยื ม คํ้ า ประกั น การให้ สิ น ทรั พ ย์ เ ป็ น หลั ก ประกั น หนี้ สิ น รวมถึงพฤติการณ์อื่นทํานองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทฯ หรือ คู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องชําระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทฯ หรือตั้งแต่ 20 ล้านบาท ขึ้นไป แล้วแต่จํานวนใดจะตํ่ากว่า ทั้งนี้การคํานวณภาระหนี้ ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการคํานวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยง กันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณา ภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่าง 1 ปีก่อน วันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอํานาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของ สํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุม ของบริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าว มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้ บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้ รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุม ของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอํานาจควบคุม หรือ หุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 7. ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ตั ว แทนของ กรรมการของบริ ษั ท ฯ ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง เป็ น ผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
111
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่ มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วน ที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา หรือถือหุ้นเกิน ร้อยละ 1 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันที่ มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย
การบริหารจัดการบริษัทในกลุ่มไทยออยล์ หน้าที่ของผู้แทนบริษัทฯ ในการบริ ห ารกิ จ การบริ ษั ท ในกลุ่ ม ไทยออยล์ และหน้ า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบในการดําเนินการตามนโยบายการบริหารจัดการ บริ ษั ท ในกลุ่ ม ไทยออยล์ ซึ่ ง นโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ และ นโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายที่บริษัทฯ ในเครือไทยออยล์ ต้องนําไปปฎิบัติตามแนวทางการบริหารจัดการ บริษัทในกลุ่มไทยออยล์ที่กําหนดไว้
9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทําให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ เกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทฯ
การเข้าทํารายการระหว่างกัน หรือการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่ง ทรัพย์สินของบริษัทฯ บริ ษั ท ฯ มี น โยบายการเข้ า ทํ า รายการระหว่ า งกั น โดยจะปฏิ บั ติ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ ก.ล.ต. รวมทั้งเป็นไปตามมาตรฐาน การบัญชี ทั้งนี้ บริษัทฯ จัดให้คณะกรรมการตรวจสอบให้ความเห็น เกี่ยวกับความเหมาะสมของรายการดังกล่าว หากคณะกรรมการ ตรวจสอบไม่มีความชํานาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่ เกิ ด ขึ้ น บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ บุ ค คลที่ มี ค วามรู้ แ ละความชํ า นาญพิ เ ศษ เป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน โดยความความเห็น ที่ ไ ด้ นั้ น จะนํ า ไปประกอบการพิ จ ารณาอนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการ บริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้นผ่านการประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี
10. กรรมการอิสระของบริษัทฯ มีวาระการดํารงตําแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้กรรมการอิสระและกรรมการซึ่งไม่ได้เป็น ผู้บริหาร ได้มีโอกาสประชุมปรึกษาหารือระหว่างกันเองอย่างเป็น อิสระ สําหรับการเสนอแนะความคิดเห็นต่างๆ เพื่อพัฒนาการปฏิบัติ หน้าที่ของกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายจัดการ บริษัทฯ จึงได้กําหนด ให้มีการประชุมกรรมการอิสระอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และการประชุม คณะกรรมการโดยไม่มีฝ่ายจัดการอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ในกรณีที่บริษัทฯ หรือบริษัทย่อย* ของบริษัทฯ มีรายการระหว่างกัน หรื อ การได้ ม าหรื อ จํ า หน่ า ยไปซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น ที่ สํ า คั ญ ของบริ ษั ท ฯ ไ ท ย อ อ ย ล สําหรับการกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทในเครือไทยออยล์นั้น คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ แ ต่ ง ตั้ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ไปดํารง ตํ า แหน่ ง กรรมการบริ ษั ท ย่ อ ยที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ 100 โดยประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ข อง บริษัทฯ จะเข้าไปดํารงตําแหน่งประธานกรรมการ หรือกรรมการ ในคณะกรรมการบริษัทในเครือฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดทํานโยบายการบริหารจัดการบริษัทใน กลุ่มไทยออยล์ (TOP Group Affi liates Management : TAM ) เพื่อ เป็นแนวทางให้บุคลากรที่บริษัทฯ มอบหมายให้เป็นผู้แทนบริษัทฯ ไปดูแลและบริหารจัดการบริษัทในเครือไทยออยล์ยึดถือเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติงาน และเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการดําเนินธุรกิจ ของบริษัทในเครือไทยออยล์เป็นไปในในทิศทางเดียวกัน อันจะ ช่วยสร้างความได้เปรียบเชิงแข่งขัน สามารถบรรลุเป้าหมายระยะยาว และเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง นโยบายดั ง กล่ า วประกอบไปด้ ว ย
ตามหลักเกณฑ์ของ ตลท. บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามที่ ตลท. กําหนดไว้ ในเรื่ อ งดั ง กล่ า ว โดยขอความเห็ น ชอบจากผู้ ถื อ หุ้ น ในการตกลง เข้าทํารายการระหว่างกัน หรือการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สิน ที่สําคัญของบริษัทฯ โดยต้องมีคะแนนเสียงไม่ตํ่ากว่าสามในสี่ของ จํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบฉันทะของผู้ถือหุ้น ที่ ม าประชุ ม และมี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งลงคะแนน โดยไม่ นั บ คะแนน ในส่วนของผู้ถือหุ้นที่มีส่วนได้เสีย (* บริษัทซึ่งบริษัทฯเข้าถือหุ้นไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่า ร้อยละ 50 ของทุนชําระแล้วของบริษัทนั้น) การสื่อสารและส่งเสริมหลักการกํากับดูแลกิจการให้พนักงาน ในบริษัทในเครือไทยออยล์ นโยบายกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ได้กําหนดให้เป็นหน้าที่และ ความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนทั้งของ บริษทั ฯ และบริษทั ในเครือฯ ทีจ่ ะต้องรับทราบและปฏิบตั ติ ามนโยบาย ดังกล่าว รวมถึงจรรยาบรรณ นโยบายสําคัญ และระเบียบวิธีปฏิบัติ
112
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับหลักการกํากับดูแลกิจการ เพื่อให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ดาํ เนินกิจกรรมต่างๆ เพือ่ เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจ และเน้นยํ้าถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการให้แก่พนักงาน ทุกระดับของบริษัทฯ และบริษัทในเครือไทยออยล์ ดังนี้ >>
จั ด ทํ า คู่ มื อ หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การและจรรยาบรรณธุ ร กิ จ เพื่ อ แจกจ่ า ยแก่ ก รรมการ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน ซึ่ ง ต้ อ งทํ า การศึ ก ษารายละเอี ย ด และลงนามรั บ ทราบและยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ส่งกลับมายังฝ่ายกิจการองค์กร
>>
จัดทําระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (CG e -learning ) ให้พนักงาน ทุกระดับของบริษัทฯ และบริษัทในเครือไทยออยล์สามารถเข้าไป ศึกษาเรียนรู้หลักการการกํากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ
>>
บรรยายเรื่องการกํากับดูแลกิจการให้กับพนักงานใหม่ ผ่านการ ปฐมนิเทศพนักงานใหม่
>>
บรรจุหัวข้อการกํากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ เป็นหนึ่ง ในหัวข้ออบรมในหลักสูตรพัฒนาผู้บริหารระดับกลาง (Leadership Development Program ) ซึ่ ง เป็ น หลั ก สู ต รที่ จั ด ขึ้ น สํ า หรั บ ผู้จัดการแผนก
>>
เผยแพร่บทความ ผ่านทางวารสารอัคนี (วารสารสื่อสารภายใน องค์ ก ร) และข่ า วสารเกี่ ย วกั บ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การและ จรรยาบรรณธุรกิจผ่าน e -newspaper แก่พนักงานทุกระดับของ บริษัทฯ และบริษัทในเครือไทยออยล์
>>
ร่วมจัดกิจกรรม PTT Group CG Day กับบริษัทในกลุ่มปตท. ซึ่งจัดเป็นประจําทุกปี โดยมีผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ เข้าร่วม
นอกจากเหนื อ จากการสื่ อ สารผ่ า นช่ อ งทางต่ า งๆ แล้ ว บริ ษั ท ฯ ได้จัดทํา “แบบรายงานความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์” (Confl ict of Interest Disclosure Electronic Form ) สําหรับพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทในเครือไทยออยล์ เข้าไป รายงานความขัดแย้งทางผลประโยชน์เป็นประจําทุกปี หรือเมื่อ เกิดเหตุ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้พนักงานมีความโปร่งใส ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรมและนิ ติ ธ รรม และมี ค วาม รับผิดชอบต่อการกระทําของตน ตลอดจนการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการดําเนินงานด้วยความโปร่งใส และเป็นธรรม สอดคล้องกับ
หลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ซึ่งผลของการรายงานความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ประจําปี 2557 ของพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทในเครือไทยออยล์ พบว่าไม่มีกรณีที่มีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ต่อบริษัทฯ สําหรับการสื่อสารภายนอกบริษัทฯ นั้น นอกจากการเผยแพร่ข้อมูล ด้านการกํากับดูแลกิจการผ่านทางเว็บไซต์บริษัทฯ แล้ว ยังมีการ เผยแพร่นโยบาย หลักการและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการกํากับดูแล กิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ และนโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น ช่องทางในการร้องเรียนและการแจ้งเบาะแส ผ่านการสื่อสารในการ จัดงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้เสีย อาทิ การประชุมร่วมกับ นักวิเคราะห์ งามสัมมนาคู่ค้า เป็นต้น และผ่านการบรรยายแก่บุคคล ภายนอก ซึง่ ผูบ้ ริหารได้รบั เชิญไปบรรยาย เพือ่ ถ่ายทอดประสบการณ์ เกี่ ย วกั บ แนวทางการดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ รวมถึงการนําเสนอข่าวและบทสัมภาษณ์เกี่ยวกับการกํากับดูแล กิจการของบริษัทฯ ทางหนังสือพิมพ์และนิตยสารต่างๆ
ก า ร ดู แ ล เ รื่ อ ง ก า ร ใ ช ข อ มู ล ภ า ย ใ น เนื่ อ งจากการป้ อ งกั น ข้ อ มู ล ภายในมี ค วามสํ า คั ญ อย่ า งยิ่ ง ต่ อ ความสํ า เร็ จ ของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ก ารให้ ข้ อ มู ล ข่ า วสารต่ อ บุ ค คล ภายนอกเป็ น ไปในแนวทางที่ จ ะไม่ เ กิ ด ผลเสี ย หายต่ อ ธุ ร กิ จ และ ชื่อเสียงของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงเห็นความสําคัญในการดูแลการใช้ ข้อมูลภายในมาโดยตลอด โดยได้มีการกําหนดให้มีจรรยาบรรณ ด้านการรักษาความลับและการใช้ข้อมูลภายใน ไว้ในคู่มือหลักการ กํากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อเป็นแนวทาง ในการดําเนินธุรกิจ สําหรับคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ยึดถือปฏิบัติ ดังนี้ 1. บุ ค ลากรของบริ ษั ท ฯ ควรรั ก ษาข้ อ มู ล ภายในและเอกสารที่ ไม่สามารถเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก อันนําไปสู่การแสวงหา ผลประโยชน์ เพื่อตนเองหรือครอบครัว หรือพวกพ้องในทางมิชอบ เช่ น ข้ อ มู ล ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ราคาหุ้ น ความลั บ ทางการค้ า สูตรการประดิษฐ์คิดค้นต่างๆ ซึ่งถือเป็นสิทธิของบริษัทฯ 2. บุ ค ลากรของบริ ษั ท ฯ จะไม่ นํ า ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ความลั บ ไปใช้ เพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือบุคคลอื่น 3. บุ ค ลากรของบริ ษั ท ฯ ที่ ไ ด้ รั บ ข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คลต้ อ งเก็ บ รั ก ษา หรือใช้ข้อมูลดังกล่าวอย่างระมัดระวัง
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
113
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
4. บริษัทฯ กําหนดให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคู่สัญญาและข้อตกลงที่มี ไว้ กั บ คู่ สั ญ ญา ถื อ เป็ น ความลั บ ที่ ไ ม่ อ าจเปิ ด เผยให้ บุ ค คลอื่ น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากบริษัทฯ และคู่สัญญาเท่านั้น
ซื้ อ หรื อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ แ ละความเท่ า เที ย มกั น ในเรื่ อ งการเข้ า ถึ ง ข้อมูลบริษัทฯ
5. บริษัทฯ ควรจัดให้มีมาตรการและระบบควบคุมดูแลข้อมูลบริษัทฯ ภายในฝ่ายหรือแผนกของตนอย่างรัดกุม เพื่อป้องกันไม่ให้ข้อมูล ภายในที่ สํ า คั ญ ของบริ ษั ท ฯ เปิ ด เผยออกสู่ ภ ายนอกก่ อ นการ เผยแพร่ อ ย่ า งเป็ น ทางการ โดยให้ ถื อ ว่ า มาตรการและระบบ ควบคุมนี้เป็นส่วนหนึ่งของมาตรการควบคุมความเสี่ยงที่สําคัญ ของบริษัทฯ ด้วย
1) ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fees ) บริษัทฯ บริษัทย่อย และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงานกลุ่มบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ สํานักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีที่ผ่านมา จํานวน 6,303,000 บาท (หกล้านสามแสนสามพันบาทถ้วน)
ค า ต อ บ แ ท น ข อ ง ผู ส อ บ บั ญ ชี
6. บริษัทฯ มอบหมายให้เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บังคับ บัญชาในลําดับขั้นต่างๆ ที่จะต้องควบคุมดูแลไม่ให้มีการรั่วไหล ของข้ อ มู ล และข่ า วสารที่ สํ า คั ญ ของบริ ษั ท ฯ ออกสู่ ภ ายนอก โดยพนักงานในสายบังคับบัญชาของตนก่อนการเผยแพร่ข้อมูล อย่างเป็นทางการของบริษัทฯ
2) ค่าบริการอื่นๆ (Non -Audit Fees ) บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนค่าบริการอื่นๆ ซึ่งได้แก่ การตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขของบัตรส่งเสริมการลงทุนและ ค่าธรรมเนียมในการจัดทํา Letter of Comfort และ Accounting Comments ให้แก่สํานักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีที่ ผ่านมา จํานวน 795,000 บาท (เจ็ดแสนเก้าหมื่นห้าพันบาทถ้วน)
7. การใช้ข้อมูลภายในร่วมกันของบุคลากรจะต้องอยู่ในกรอบหน้าที่ และความรับผิดชอบเท่าที่บุคลากรพึงได้รับมอบหมายเท่านั้น
ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ใ น ป 2 5 5 7
8. บุ ค ลากรของบริ ษั ท ฯ จะไม่ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ความลั บ ของ บริษัทฯ แม้พ้นสภาพหรือสิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่ไปแล้ว สําหรับกรรมการและผู้บริหารนั้น จะมีการทํารายงานการถือครอง หลักทรัพย์ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย หรือโอนหลักทรัพย์ต่อ ก.ล.ต. ตามประกาศสํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ และกําหนดให้กรรมการและผู้บริหารต้องรายงาน ให้ที่ประชุมคณะกรรมการทราบถึงข้อมูลการถือหลักทรัพย์ทุกครั้ง ที่มีการประชุม และมีการเปิดเผยข้อมูลการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ในแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และรายงานประจําปีในหัวข้อ รายงาน การถือหลักทรัพย์ของกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหาร หน้า 84 - 86 นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง มี แ นวปฏิ บั ติ ที่ ส่ ง เสริ ม การกํ า กั บ ดู แ ล ด้านการใช้ข้อมูลภายในโดยการจัดส่งหนังสือแจ้งเตือนขอความ ร่ ว มมื อ จากกรรมการ และผู้ บ ริ ห ารในการงดซื้ อ ขาย หรื อ โอน หลั ก ทรั พ ย์ ล่ ว งหน้ า อย่ า งน้ อ ย 1 เดื อ นก่ อ นการรายงานผลการ ดําเนินงานต่อตลาดหลักทรัพย์ในแต่ละไตรมาส เพื่อให้เป็นไปตาม หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ว่าด้วยนโยบายด้านการ
บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบัติตามหลักการกํากับ ดูแลกิจการ จึงได้มีการกําหนดนโยบาย และหลักการกํากับดูแล กิจการ รวมถึงจัดทําคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ ซึ่งมีการกําหนด หลักการ แนวปฏิบัติและจรรยาบรรณต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน (สามารถ ดาวน์โหลดที่ www .thaioilgroup .com ) และในปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ดําเนินการตามหลักการกํากับดูแลกิจการอย่างเคร่งครัด สรุปได้ 5 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นมีสิทธิในความเป็นเจ้าของโดยควบคุมบริษัทฯ ผ่านการ แต่งตั้งคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ทําหน้าที่แทนตน บริษัทฯ จึงคํานึงถึง สิทธิของผู้ถือหุ้น โดยการให้ความสําคัญและส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้น ได้มีโอกาสใช้สิทธิขั้นพื้นฐานทางกฎหมายต่างๆ ที่ผู้ถือหุ้นพึงได้รับ อาทิ สิทธิในการเข้าร่วมการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น การเสนอวาระ การประชุม และชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุม การเลือกตั้งหรือถอดถอน กรรมการ การพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ การพิจารณาส่วนแบ่ง ในผลกําไร (เงินปันผล) การได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างเพียงพอ เป็นต้น นอกจากสิทธิพื้นฐานทางกฎหมายต่างๆ แล้ว บริษัทฯ ยังเอาใจใส่ ผู้ถือหุ้นมากกว่าที่กฎหมายกําหนดไว้ อาทิ การจัดให้ผู้ถือหุ้นรายย่อย
114
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
นักวิเคราะห์ และนักลงทุนเยี่ยมชมกิจการ การให้ข้อมูลที่สําคัญ ผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ การส่งจดหมายข่าวอิเล็กทรอนิกส์ให้กับ ผู้ถือหุ้นรายย่อย เป็นต้น บริ ษั ท ฯ กํ า หนดให้ มี ก ารประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น ประจํ า ทุ ก ปี โดยจะจัดขึ้นภายใน 4 เดือนนับตั้งแต่วันสิ้นรอบปีบัญชีของบริษัทฯ อย่ า งไรก็ ต ามหากมี ค วามจํ า เป็ น เร่ ง ด่ ว นที่ จ ะต้ อ งพิ จ ารณาวาระ พิ เ ศษในเรื่ อ งที่ อ าจกระทบหรื อ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ผลประโยชน์ ข อง ผู้ถือหุ้น ซึ่งจําเป็นต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ บริษัทฯ สามารถเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นได้เป็นกรณีไป โดย ในปี 2557 บริษัทฯ ได้จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 ขึ้นเมื่อวันพุธที่ 2 เมษายน 2557 ณ ห้องจัดงาน Exhibit Hall 101-102 ชั้น 1 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม รวม 1,752 คน แบ่งเป็นผู้ถือหุ้นที่มาด้วยตนเอง 1,338 คน และ ผ่านการมอบฉันทะ 414 คน โดยมีจํานวนหุ้นที่ถือรวมกันได้ ทั้งหมด 1,428,208,586 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 70 ของจํานวนหุ้นทั้งหมดของ บริษัทฯ ซึ่งในการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นทุกครั้ง บริษัทฯ ได้ปฏิบัติ ตามแนวทางของโครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น (AGM Checklists ) จัดทําขึ้นโดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย เพื่อให้การจัดงานมีมาตรฐานเป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการ ดังนี้ การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นก่อนวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น >> เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอระเบียบวาระการประชุมและเสนอชื่อ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย หลั ก เกณฑ์ และข้อบังคับของบริษัทฯ เพื่อเข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็น กรรมการของบริษัทฯ โดยชี้แจงรายละเอียดและวิธีการผ่านทาง เว็ บ ไซต์ บ ริ ษั ท ฯ 3 เดื อ นก่ อ นวั น สิ้ น สุ ด รอบบั ญ ชี รวมถึ ง ส่งหนังสือถึงตลาดหลักทรัพย์ฯ ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2556 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2557 สําหรับปี 2557 ไม่มีผู้ถือหุ้นรายใด เสนอระเบียบวาระการประชุม และเสนอชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อรับ การพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ >>
เผยแพร่ข้อมูลหนังสือเชิญประชุม ประจําปี 2557 ผ่านทางเว็บไซต์ ล่วงหน้าก่อนการประชุม 30 วันก่อนที่จะจัดส่งเอกสารดังกล่าว ให้ผู้ถือหุ้น ซึ่งจัดทําทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยหนังสือ เชิ ญ ประชุ ม ประกอบด้ ว ย หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ระเบี ย บวาระ การประชุม ข้อมูลประกอบการพิจารณาระเบียบวาระ พร้อม ความเห็นของคณะกรรมการในแต่ละวาระ รายงานการประชุม
ครั้งที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังชี้แจงเงื่อนไขวิธีการลงทะเบียนและ การมอบฉันทะ พร้อมทั้งแนบแบบฟอร์มลงทะเบียน หนังสือมอบ ฉันทะทุกแบบ ประกอบด้วยแบบ ก แบบ ข และแบบ ค (สําหรับ ผู้ถือหุ้นต่างประเทศที่แต่งตั้งคัสโตเดียนในประเทศไทยเท่านั้น) ตามที่กระทรวงพาณิชย์กําหนด รายชื่อกรรมการอิสระของบริษัทฯ ที่เป็นตัวแทนในการรับมอบฉันทะ แผนที่ของสถานที่จัดประชุม รายงานประจําปี และรายงานความยั่งยืน ประจําปี 2556 ในรูปแบบ ซีดีรอม แบบฟอร์มขอรับรายงานประจําปี และ/หรือ รายงาน ความยั่ ง ยื น แบบรู ป เล่ ม รวมทั้ ง รายละเอี ย ดและแบบตอบรั บ เข้าร่วมโครงการเยี่ยมชมกิจการบริษัทฯ >>
จัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี พร้อมทั้งเอกสาร ประกอบการประชุ ม ต่ า งๆ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ล่ ว งหน้ า 21 วั น ก่ อ น วันประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสศึกษาวาระการประชุมล่วงหน้า และพิจารณาข้อมูลข่าวสารในจดหมายเชิญประชุม เพื่อนํามาใช้ ตัดสินใจในการลงมติที่เพียงพอ ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส พร้อมทั้ง ประกาศลงหนั ง สื อ พิ ม พ์ ทั้ ง ฉบั บ ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ ติดต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุมอย่างน้อย 3 วัน เพื่อเป็นการ บอกกล่าวการเรียกประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้า เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นเตรียมตัวมาร่วมประชุม
>>
ในกรณีที่มีการเพิ่มวาระการประชุมซึ่งจะปฏิบัติในกรณีจําเป็น เร่งด่วนเพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทฯ เท่านั้น บริษัทฯ จะแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า และจะจัดส่งหนังสือนัดประชุม ไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุม รวมทั้งเผยแพร่ข้อมูลประกอบ วาระการประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้าไว้ในเว็บไซต์ก่อนจัดส่งเอกสาร
การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นในวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น จัดให้มีสถานที่จัดการประชุมที่สะดวกต่อการเดินทางมาเข้าร่วม ประชุมผู้ถือหุ้นที่อยู่ในกรุงเทพมหานครหรือจังหวัดใกล้เคียง และมีขนาดเพียงพอรองรับจํานวนผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะ และการจั ด ทํ า แผนรองรั บ กรณี เ กิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น ณ วั น ประชุ ม เพื่อเพิ่มความมั่นใจและรักษาความปลอดภัยให้กับผู้ถือหุ้นทุกราย
>>
>>
อํานวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นในวันประชุมอย่างเท่าเทียมกัน ทั้งผู้ถือหุ้นรายใหญ่และผู้ถือหุ้นรายย่อย รวมถึงนักลงทุนสถาบัน โดยบริ ษั ท ฯ จะเปิ ด ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถลงทะเบี ย นก่ อ นเวลา ประชุม 2 ชั่วโมง และแม้จะพ้นเวลาลงทะเบียนแล้ว ก็ยังเปิดโอกาส ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ป ระสงค์ จ ะเข้ า ร่ ว มประชุ ม สามารถลงทะเบี ย น
115
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
เข้าร่วมประชุมได้โดยไม่เสียสิทธิ และมีการจัดเจ้าหน้าที่ต้อนรับ และให้ข้อมูลในการตรวจเอกสารและลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วม ประชุ ม และมี ก ารจั ด เตรี ย มของว่ า งและเครื่ อ งดื่ ม ไว้ รั บ รอง ผู้ถือหุ้นอย่างเพียงพอ >>
>>
>>
>>
นํ า ระบบบาร์ โ ค้ ด ซึ่ ง แสดงเลขทะเบี ย นผู้ ถื อ หุ้ น ในแบบฟอร์ ม ลงทะเบี ย น มาใช้ ใ นการลงทะเบี ย นและการลงคะแนนเสี ย ง เพื่ อ ความถู ก ต้ อ ง สะดวกและรวดเร็ ว ในการลงทะเบี ย น และ การนับคะแนนเสียง บริษัทฯ ได้จัดทําใบลงคะแนนเสียงแยกแต่ละวาระสําหรับการ ลงคะแนนเสียง เพื่อความสะดวกในการลงและนับคะแนนเสียง ซึ่งเมื่อลงคะแนนเสียงเสร็จสิ้นจะนํามารวมกับคะแนนเสียงที่ได้ ลงไว้ในหนังสือมอบฉันทะ เพื่อรวมคะแนนและประกาศคะแนน รวมทันทีในวันประชุม บริษัทฯ ไม่กระทําการใดๆ ที่มีลักษณะเป็นการจํากัดสิทธิในการ เข้าร่วมประชุมของผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นทุกคนย่อมมีสิทธิเข้าร่วม ประชุมผู้ถือหุ้นตลอดระยะเวลาการประชุม และเปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นซักถาม ตลอดจนแสดงความคิดเห็นต่างๆ ได้อย่างอิสระ เมื่อถึงเวลาเริ่มประชุม กรรมการเข้าร่วมประชุมอย่างพร้อมเพรียง รวมทั้ ง ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ตลอดจนผู้ ส อบบั ญ ชี และที่ ป รึ ก ษา กฎหมายอิสระ โดยก่อนเริ่มประชุม ประธานที่ประชุมจะเป็น ผู้ ชี้ แ จงหลั ก เกณฑ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การประชุ ม ทั้ ง หมด อาทิ การเปิ ด ประชุ ม และการออกเสี ย งลงคะแนน รวมทั้ ง วิ ธี ก าร นับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่จะต้องลงมติในแต่ละวาระตาม ข้อบังคับของบริษัทฯ
>>
บริ ษั ท ฯ จะระบุ ก ารมี ส่ ว นได้ เ สี ย ของกรรมการไว้ ใ นหนั ง สื อ เชิญประชุมฯ และในการประชุมผู้ถือหุ้น หากกรรมการ ท่านใด มีส่วนได้เสีย หรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการพิจารณาวาระใด ประธาน ที่ประชุมจะแจ้งให้ผู้เข้าร่วมประชุมทราบก่อนการพิจารณาวาระ โดยกรรมการที่มีส่วนได้เสียนั้นจะไม่เข้าร่วมประชุมในวาระนั้นๆ
>>
บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นอาสาทําหน้าที่เป็นสักขีพยาน ในการนั บ คะแนนเสี ย ง เพื่ อ ความโปร่ ง ใสในการดํ า เนิ น การ รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสอบถามเกี่ยวกับกระบวนการและ วิธีการลงคะแนนเสียง
>>
สนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถใช้สิทธิในการดูแลรักษา ผลประโยชน์ ข องตน โดยการซั ก ถาม แสดงความคิ ด เห็ น
ให้ข้อเสนอแนะและออกเสียงร่วมกันกันตัดสินใจในเรื่องที่สําคัญ ต่างๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อบริษัทฯ ในที่ประชุมผู้ถือหุ้น เช่น การแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการ การเสนอชื่อบุคคลเพื่อเป็น กรรมการอิ ส ระ การอนุ มั ติ ผู้ ส อบบั ญ ชี การจั ด สรรเงิ น ปั น ผล การลดทุ น หรื อ เพิ่ ม ทุ น การกํ า หนดหรื อ การแก้ ไขข้ อ บั ง คั บ บริคณสนธิ และการอนุมัติรายการพิเศษ เป็นต้น >>
จัดให้มีการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นผ่าน การตอบแบบประเมิ น จากผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ นํ า ข้ อ มู ล มาใช้ ใ นการ พั ฒ นาการจั ด ประชุ ม ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพที่ ดี ขึ้ น โปร่ ง ใส และ เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น
>>
มีการจัดแสดงนิทรรศการเพื่อแสดงข้อมูลที่สําคัญของบริษัทฯ บริเวณโดยรอบงานประชุมสามัญผู้ถือหุ้น รวมทั้งจัดมุมนักลงทุน สัมพันธ์ ซึ่งมีเจ้าหน้าที่นักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัทฯ คอยต้อนรับ และตอบข้อซักถามต่างๆ แก่ผู้ถือหุ้น
การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นหลังวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น >> บริษัทฯ ได้เปิดเผยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นพร้อมผลการลงคะแนน เสียงในวันทําการถัดไปจากวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น โดยแจ้งเป็น จดหมายข่าวไปยังตลาดหลักทรัพย์ฯ ผ่านระบบ Electronic Listed Company Information Disclosure (ELCID ) ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (ตลท.) และเปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ด้วย >>
บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ทํ า รายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น แจ้ ง ต่ อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ภายใน 14 วันหลัง วันประชุมตามข้อกําหนดของตลท. และเผยแพร่บนั ทึกรายละเอียด การประชุ ม อย่ า งครบถ้ ว นเหมาะสมตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ล กิจการ ประกอบด้วย บันทึกรายงานการประชุม การออกเสียงและ ข้ อ ซั ก ถามของผู้ ถื อ หุ้ น ในแต่ ล ะวาระอย่ า งละเอี ย ด พร้ อ มทั้ ง เผยแพร่วีดิทัศน์การประชุมให้ผู้ถือหุ้นรับทราบบนเว็บไซต์บริษัทฯ (www .thaioilgroup .com )
จากการนํ า ข้ อ เสนอแนะ และความคิ ด เห็ น ที่ ไ ด้ รั บ จากผู้ ถื อ หุ้ น ในการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น มาพิจารณา และหาแนวทางการปรับปรุง เพื่อพัฒนาการจัดการประชุมสามัญ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท ฯ ได้ รั บ คะแนนเต็ ม 100 คะแนน จากการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ในโครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น (AGM Checklists) ประจําปี 2557 ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย
116
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน >> บริษัทฯ ให้ความสําคัญต่อผู้ถือหุ้นทุกราย โดยไม่คํานึงถึงเพศ อายุ สีผิว เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา ความเชื่อ ความคิดเห็นทางการเมือง หรื อ ความพิ ก าร บริ ษั ท ฯ มี แ นวปฏิ บั ติ ใ นการกํ า กั บ ดู แ ล เพื่ อ ปกป้ อ งสิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐานของผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งเท่ า เที ย มกั น และเป็นธรรม สร้างความมั่นใจในการลงทุนกับบริษัทฯ อาทิ การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิเสนอระเบียบวาระการประชุม และเสนอชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ บริ ษั ท ฯ อย่ า งน้ อ ย 3 เดื อ นก่ อ นการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น โดยบริ ษั ท ฯ เผยแพร่ ห ลั ก เกณฑ์ และขั้ น ตอนการใช้ สิ ท ธิ ดังกล่าวไว้อย่างชัดเจนให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่านทางระบบ ELCID ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (ตลท.) และเว็ บ ไซต์ ของบริษัทฯ โดยผู้ถือหุ้นที่จะเสนอระเบียบวาระการประชุมและ เสนอชื่ อ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ต้ อ งเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น คนหนึ่ ง หรื อ หลายคน ซึ่งถือหุ้นและมีสิทธิออกเสียงนับรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ >>
บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุม และลงมติแทนผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นจะได้รับเอกสารและคําแนะนํา ในการมอบฉันทะพร้อมจดหมายเชิญประชุม ผู้รับมอบฉันทะ ที่ถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อยื่นหนังสือมอบฉันทะให้กรรมการ ในที่ประชุมแล้วย่อมมีสิทธิเข้าร่วมประชุมและลงมติเช่นเดียวกับ ผู้ถือหุ้นทุกประการ ผู้ถือหุ้นอาจมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ ของบริษัทฯ มาประชุมและลงมติแทนก็ได้ ผู้ถือหุ้นจะได้รับประวัติ ข้ อ มู ล การทํ า งาน และรายงานความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ในการพิจารณาวาระต่างๆ ของกรรมการอิสระแต่ละท่านอย่าง ครบถ้วนเหมาะสมเพื่อประกอบการพิจารณา
>>
บริษัทฯ ดําเนินการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นตามลําดับระเบียบวาระ ที่ ไ ด้ แ จ้ ง ไว้ ใ นหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ที่ ส่ ง ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ล่ ว งหน้ า โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงลําดับวาระดังกล่าว และไม่มีนโยบาย เพิ่มระเบียบวาระในที่ประชุมโดนไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า
>>
จัดสรรเวลาประชุมอย่างเพียงพอ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น มีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นและตั้งคําถาม ในที่ประชุม และได้ใช้สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถออกเสี ย งในทุ ก วาระการประชุ ม ผ่ า นบั ต ร ลงคะแนนเสียงที่บริษัทฯ ได้แจกให้ในวันประชุม และเพื่ออํานวย
ความสะดวกผู้ ถื อ หุ้ น ชาวต่ า งชาติ บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด เจ้ า หน้ า ที่ เพื่อแปลภาษาสําหรับการถามตอบข้อซักถามและแสดงความคิด เห็นของผู้ถือหุ้นที่เป็นชาวต่างชาติด้วย >>
กรรมการและผู้ บ ริ ห ารที่ เ กี่ ย วข้ อ งจะเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่อแสดงความคิดเห็นและตอบคําถามตลอดการประชุม รวม ทั้งได้บันทึกประเด็นซักถามและข้อคิดเห็นที่สําคัญไว้ในรายงาน การประชุมเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ภายหลัง
นอกจากนี้ เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียม บริษัทฯ ได้กําหนดจรรยาบรรณด้านการรักษาข้อมูลความลับและการใช้ข้อมูล ภายใน และจรรยาบรรณด้านความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ไว้ในคู่มือ หลักการกํากับดูแลกิจการซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้ผ่านทางเว็บไซต์ ของบริษัทฯ หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรมด้วยการปฏิบัติต่อผู้มีส่วน ได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน โดยการดูแลและคํานึงถึงผู้มีส่วน ได้เสียทุกกลุ่ม คํานึงถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียตามกฎหมายหรือ ข้อตกลงที่มีกับบริษัทฯ และได้กําหนดแนวทางการปฏิบัติต่อผู้มีส่วน ได้เสียแต่ละกลุ่มไว้อย่างชัดเจนใน “คู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ” (ซึ่ ง สามารถดาวน์ โ หลดได้ ที่ www . thaioilgroup . com / th / cg ) เพื่อให้บุคลากรทุกระดับ ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติโดยถือเป็นภาระหน้าที่ ที่สําคัญของทุกคน โดยในปี 2557 ที่ผ่านมาได้ดําเนินงานตามแผนงาน ด้วยการจัดกิจกรรมและโครงการต่างๆ แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม สรุปได้ดังนี้ การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์ บริษัทฯ ในฐานะตัวแทนของผู้ถือหุ้น มีความมุ่งมั่นในการดําเนิน ธุรกิจอย่างโปร่งใส เป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้นทั้งรายใหญ่และรายย่อย มี ร ะบบบั ญ ชี แ ละการเงิ น ที่ มี ค วามเชื่ อ ถื อ ได้ โดยคํ า นึ ง ถึ ง การ เจริ ญ เติ บ โตของบริ ษั ท ฯ ในระยะยาวและผลตอบแทนในระดั บ ที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง รายงานสถานะและผลการดําเนินงาน ของบริษัทฯ ต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน สมํ่าเสมอ และครบถ้วน ตามความเป็นจริง และไม่ดําเนินการใดๆ ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัทฯ ไม่แสวงหาประโยชน์ให้ ตนเอง และไม่เปิดเผยข้อมูลลับต่อบุคคลภายนอก
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ในปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้สื่อสารผลการดําเนินงาน ตลอดจน ข้อมูลต่างๆ กับนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ อย่างสมํ่าเสมอผ่าน กิ จ กรรมต่ า งๆ เช่ น การจั ด ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ยและนั ก ลงทุ น เข้ า เยี่ยมชมโรงกลั่นและพบปะผู้บริหาร เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ เป็นประจําทุกปี นําวิดีโอการประชุม ผู้ถือหุ้นเผยแพร่ทางเว็บไซต์บริษัทฯ การจัดประชุมร่วมกับนักลงทุน และนักวิเคราะห์ทุกสิ้นไตรมาส (Analyst Meeting ) เพื่อรายงาน ผลการดําเนินงาน การพบปะนักลงทุนในกิจกรรม Opportunity Day ของตลาดหลักทรัพย์ทุกไตรมาส การจัดทํา Investor Relations Webpage และจดหมายข่าวอิเล็กทรอนิกส์ด้านนักลงทุนสัมพันธ์ รวมถึงรายงานสถานการณ์นํ้ามัน และรายงานข่าวสารเกี่ยวกับสภาวะ อุตสาหกรรมของบริษัทฯ ที่เกิดขึ้นเมื่อมีเหตุการณ์สําคัญ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได้ ร่ ว มจั ด นิ ท รรศการในงานของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย ซึ่งจัดเป็นประจําทุกปี เพื่อส่งเสริมความรู้ให้แก่ นักลงทุน เช่น งาน SET in the City และงาน Money Expo เป็นต้น ลูกค้า บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าด้วยการส่งมอบ ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามความต้องการของลูกค้า ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง หรือเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อลูกค้าอย่างโปร่งใสและเท่าเทียมกัน ครบถ้วน ถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์ และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง จัดให้มี ช่องทางการสื่อสารเพื่อให้ลูกค้าระบุข้อร้องเรียนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ให้ความสําคัญในการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับของลูกค้าอย่าง สมํ่าเสมอ อีกทั้งไม่นําข้อมูลดังกล่าวมาใช้เพื่อผลประโยชน์ของ ตนเอง และ/หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ และไม่กําหนดเงื่อนไขการค้าที่ ไม่เป็นธรรมต่อลูกค้า ในปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ปฎิบัติตามสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์อย่าง เคร่งครัด และส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามสัญญาซื้อขาย รวมถึง ใบรับรองคุณภาพที่ถูกต้องให้กับลูกค้า ตลอดจนเปิดโอกาสให้ลูกค้า สามารถเข้าร่วมเป็นพยานการตรวจสอบเครื่องมือวัดปริมาณสินค้า และสํารวจความพึงพอใจของลูกค้าเป็นประจําทุกปี โดยเมื่อได้สรุป ผลการประเมินแล้ว จะมีการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการการปรับปรุง ความพึงพอใจของลูกค้า เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบถึง ผลการประเมิน และนําไปปรับปรุงพัฒนาต่อไปในอนาคต รวมถึง มีการสื่อสารนโยบายกํากับดูแลกิจการเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อลูกค้า และจัดทําเว็บไซต์สําหรับรับข้อร้องเรียนจากลูกค้าโดยเฉพาะ ซึ่งเป็น
117
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
อีกหนึ่งช่องทางในการรับข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียนจากลูกค้า โดยข้อมูลดังกล่าวจะเชื่อมโยงกับระบบการจัดการข้อเสนอแนะและ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น ( Customer Relations Management – Voice of Customers (CRM -VOC Management )) ที่ช่วยเพิ่มความรวดเร็ว ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ จั ด ทํ า แผนธุ ร กิ จ ร่ ว มกั บ ลู ก ค้ า เพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า และบริษัทฯ สามารถเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน โดยการนําความ ต้องการของลูกค้ามาทําแผนการลงทุน เช่น การขยายสถานีจ่าย นํ้ า มั น ทางรถยนต์ ( Lorry ) เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการส่ ง มอบ ผลิตภัณฑ์ เป็นต้น คู่ค้า บริษัทฯ คํานึงถึงความเสมอภาคและความซื่อสัตย์ในการดําเนินธุรกิจ และผลประโยชน์ ร่ ว มกั น กั บ คู่ ค้ า โดยไม่ เรี ย กร้ อ ง ไม่ รั บ ไม่ จ่ า ย ผลประโยชน์ใดๆ ทางการค้ากับคู่ค้า ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง และเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อคู่ค้าอย่างเคร่งครัด เก็บรักษาข้อมูลที่เป็น ความลับของคู่ค้าอย่างสมํ่าเสมอ และไม่นําข้อมูลดังกล่าวมาใช้เพื่อ ผลประโยชน์ของตนเอง และ/หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เว้นแต่ได้รับ ความยินยอมจากคู่ค้า รวมถึงมีการทบทวนปรับปรุงกระบวนการ จัดซือ้ /จัดจ้างของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือฯ ระเบียบและหลักเกณฑ์ การแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคา เพื่อให้การดําเนินการด้าน การจัดซื้อจัดจ้างงานทั่วไป และโครงการขนาดใหญ่เป็นไปอย่าง มีระบบ มีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยยึดหลักธรรมมาภิบาลและโปร่งใสตรวจสอบได้ ในปี 2557 บริษัทฯ ได้จัดทําแนวทางปฏิบัติของคู่ค้าเครือไทยออยล์ (Thaioil Group Suppliers Code of Conduct ) เพื่อเสริมสร้างความ เข้าใจร่วมกันระหว่างเครือไทยออยล์และคู่ค้าในการดําเนินธุรกิจ บนหลั ก แห่ ง ความยั่ ง ยื น โดยได้ ทํ า การสื่ อ สารแนวทางดั ง กล่ า ว พร้อมกับนโยบายการต่อต้านคอร์รปั ชัน่ ทิศทางการบริหารจัดการงาน จัดหาสินค้า สื่อสารภาพรวมและแนะนําการใช้ระบบ e-Procurement และเรื่ อ งอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ผ่ า นการได้ จั ด งานสั ม มนาคู่ ค้ า ( e - Procurement Supplier Summit ) ตลอดจนสื่ อ สารผ่ า นการ จัดกิจกรรมสานสัมพันธ์กับคู่ค้า ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ทบทวนปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้างของ บริษทั ฯ และบริษทั ในเครือฯ รวมถึงระเบียบและหลักเกณฑ์การแต่งตัง้
118
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
คณะกรรมการประกวดราคาอย่างสมํ่าเสมอเป็นประจําทุกปี เพื่อให้ กระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้างของบริษัทฯ มีความโปร่งใส มีระบบการ ตรวจสอบและถ่วงดุลอย่างเหมาะสม และเพื่อให้มั่นใจว่าคู่ค้าของ บริษัทฯ ทุกรายจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม เสมอภาค และ เป็นธรรม โดยในปีนี้ บริษัทฯ ได้พัฒนากระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ให้ เ ป็ น ระบบ e - Procurement เพื่ อ เพิ่ ม ความคล่ อ งตั ว ในการ ดําเนินการ เพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการสรรหา สร้างความ ปลอดภัยให้แก่ข้อมูลการสรรหาสินค้า และบริการมากขึ้น
สภาพแวดล้อมการทํางานที่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของ พนักงาน ถูกสุขอนามัยตามมาตรฐานสากล ปลอดจากยาเสพติด และปฏิบัติต่อพนักงานทุกคนโดยเสมอภาคกัน >>
สรรหา คั ด เลื อ ก และจ้ า งงาน จะดํ า เนิ น การบนพื้ น ฐานของ ความเสมอภาพและเปิดโอกาสแก่ผู้สมัครทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน โดยพิ จ ารณาบุ ค คลที่ มี ค วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมีคุณธรรม เหมาะสมกับตําแหน่งงาน ใบพรรณาลักษณะงาน (Job Description ) และมีทัศนคติที่สอดคล้องกับค่านิยมองค์กร
เพื่อหลีกเลี่ยงและป้องกันเหตุปัจจัยที่จะนําไปสู่การกระทําที่ขัดต่อ นโยบายของบริษัทฯ ในการที่จะปฏิบัติต่อลูกค้า และคู่ค้าทุกราย อยู่บนพื้นฐานของความเป็นธรรมและเสมอภาค บริษัทฯ ได้ริเริ่ม แนวปฏิ บั ติ ที่ จ ะมี ห นั ง สื อ ไปยั ง ลู ก ค้ า และคู่ ค้ า ทุ ก ราย ในการขอ ความร่วมมืองดให้ของขวัญ ของกํานัลที่มีมูลค่าสูง ตลอดจนการ จัดงานเลี้ยงรับรองแก่พนักงานทุกระดับของบริษัทฯ และบริษัท ในเครือฯ ในช่วงเทศกาลขึ้นปีใหม่
>>
ให้ ผ ลตอบแทนที่ เ ป็ น ธรรมและเหมาะสม ตามความรู้ ความ สามารถ ความรับผิดชอบ และผลการปฏิบัติงานของพนักงาน แต่ละคน
>>
การแต่งตั้ง การโยกย้าย รวมทั้งการให้รางวัลและการลงโทษ พนักงานต้องกระทําด้วยความเสมอภาค บริสุทธิ์ใจ และตั้งอยู่บน พื้นฐานของความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสม รวมทั้ง การกระทําหรือการปฏิเสธของพนักงานนั้นๆ
เจ้าหนี้ บริษัทฯ ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง และเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้อย่าง เคร่งครัด โปร่งใส รายงานฐานะทางการเงินของบริษัทฯ แก่เจ้าหนี้ ด้วยความซื่อสัตย์ ถูกต้อง และตรงเวลาอย่างสมํ่าเสมอ และในกรณี ที่จะไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไข จะรีบแจ้งและเจรจากับเจ้าหนี้ เป็นการล่วงหน้า เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิด ความเสียหาย
>>
ปฏิบัติต่อพนักงานบนพื้นฐานแห่งความยุติธรรม และให้ความ สําคัญต่อการพัฒนา การถ่ายทอดความรู้ และความสามารถของ พนักงาน โดยให้โอกาสกับพนักงานอย่างทั่วถึงและสมํ่าเสมอ
>>
รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากพนักงานทุกระดับอย่าง ทั่วถึงและสมํ่าเสมอ
>>
บริหารงานโดยหลีกเลี่ยงการกระทําใดๆ ที่ไม่เป็นธรรม ซึ่งอาจมี ผลกระทบต่อความมั่นคงในหน้าที่การงานของพนักงาน
>>
ปฏิ บั ติ ต่ อ พนั ก งานด้ ว ยความสุ ภ าพและให้ ค วามเคารพต่ อ ความเป็นปัจเจกชนและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
>>
มีช่องทางให้พนักงานแจ้งเรื่องที่ส่อไปในทางผิดทางระเบียบวินัย และกฎหมายได้
>>
ส่งเสริมให้พนักงานเข้าใจในเรื่องจรรยาบรรณและบทบาทหน้าที่ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด พฤติ ก รรมที่ อ ยู่ ใ นกรอบของจรรยาบรรณ อย่างทั่วถึง
>>
ส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการกําหนดทิศทางในการทํางาน รวมถึงการแก้ไขปัญหาของหน่วยงานและบริษัทฯ โดยรวม
>>
จั ด ให้ มี ช่ อ งทางให้ พ นั ก งานสามารถแจ้ ง เรื่ อ งที่ ส่ อ ไปในทาง ไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและกฎระเบี ย บของรั ฐ หรื อ หลั ก การ
ในการปฏิบัติต่อเจ้าหนี้นั้น บริษัทฯ ได้จัดให้มีเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ โดยตรงในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ เจ้ า หนี้ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า เจ้ า หนี้ แต่ละรายจะได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างเท่าเทียมกัน พนักงาน พนักงานคือทรัพยากรที่มีค่า และมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อบริษัทฯ บริ ษั ท ฯ จึ ง มุ่ ง มั่ น พั ฒ นา เสริ ม สร้ า งวั ฒ นธรรม และบรรยากาศ การทํ า งานที่ ดี รวมทั้ ง การส่ ง เสริ ม การทํ า งานเป็ น ที ม เพื่ อ สร้ า ง ความมั่นใจและเป็นขวัญกําลังใจให้แก่พนักงานในการปฏิบัติงาน กับบริษัทฯ ด้วยความมั่นคงในอาชีพ โดยมีแนวปฏิบัติ คือ >>
ปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนสากลอย่างเคร่งครัดทั้งในระดับ ประเทศและระดับสากล รวมถึงกฎหมายแรงงานและข้อบังคับ ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พนั ก งานอย่ า งเคร่ ง ครั ด โดยจั ด ให้ มี
119
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ จรรยาบรรณธุ ร กิ จ นโยบาย และระเบี ย บ ข้อบังคับของบริษัทฯ หรือการส่อทุจริต รวมถึงมีการให้ความ คุ้ ม ครองผู้ แ จ้ ง เรื่ อ งร้ อ งเรี ย นหรื อ ผู้ แ จ้ ง เบาะแส และบุ ค คล ที่เกี่ยวข้องไม่ให้ได้รับผลทางลบจากการร้องเรียน ในปี 2557 บริษัทฯ ได้มีการดําเนินการตามแผนงานด้านการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้พนักงานมีความพร้อม มีความสุข สามารถ สร้างแรงจูงใจสามารถสร้างสรรค์ผลงานที่ดีสู่องค์กร ตามรายละเอียด ที่ปรากฎในหัวข้อบริหารศักยภาพองค์กร หน้า 58 ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ มีนโยบายอย่างชัดเจนในการดําเนินธุรกิจ โดยคํานึงถึง การเติบโตอย่างยั่งยืนและปลอดภัย ไปพร้อมกับชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจตามหลักการกํากับดูแลกิจการ ควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม โดยคํานึงถึงความปลอดภัย ของชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตประชาชน รวมถึง ให้ความสําคัญกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อประโยชน์ ต่อชนรุ่นหลัง ตลอดจนส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีแนวปฏิบัติ คือ >>
ในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ บริษัทฯ จะคํานึงถึง ทางเลือกที่มีผลกระทบต่อความเสียหายของสังคม สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้น้อยที่สุด และไม่กระทําการใดๆ ที่ส่งผลเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมเกินกว่า ที่กฎหมายกําหนด
>>
ส่งเสริมการใช้และการอนุรักษ์ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมและชนรุ่นหลัง
>>
ไม่สนับสนุนกิจกรรมใดๆ ที่เป็นภัยต่อสังคม หรือศีลธรรมอันดีงาม และ/หรือ เป็นการส่งเสริมอบายมุข
>>
รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ และจัดให้มีระบบร้องทุกข์ ในเรื่องที่อาจมีผลกระทบต่อชุมชน ดําเนินการตรวจสอบสาเหตุ ปรับปรุงแก้ไข และแจ้งผลการดําเนินงานให้ผู้ร้องทุกข์ทราบใน เวลาอันควร อันส่งเสริมให้บริษัทฯ และชุมชนเอื้อประโยชน์ซึ่งกัน และกัน และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน
>>
ส่งเสริมให้พนักงานได้รับการฝึกอบรมความรู้ด้านการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการปลูกฝังจิตสํานึกของความรับผิดชอบ
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นในหมู่พนักงานทุกระดับอย่าง ต่อเนื่องและจริงจัง >>
ปฏิ บั ติ แ ละให้ ค วามร่ ว มมื อ หรื อ ควบคุ ม ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ อ ย่ า ง เคร่ ง ครั ด ตามเจตนารมณ์ ข องกฎหมายและกฎระเบี ย บที่ อ อก โดยหน่วยงานที่กํากับดูแล
>>
ให้ ค วามสนั บ สนุ น กิ จ กรรมของชุ ม ชนและสั ง คม โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ชุมชนทีอ่ ยูร่ อบสถานประกอบการของบริษทั ฯ เพือ่ มุง่ เน้น ให้เกิดการพัฒนาสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการสนับสนุน การศึกษาแก่เยาวชนและกิจกรรมสาธารณประโยชน์ อาทิ กิจกรรม ด้านการแพทย์และสาธารณสุข การศึกษาแก่คนในชุมชน การกีฬา การส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นต้น โดยคํานึงถึงความเหมาะสม และประโยชน์ที่สังคมและชุมชนจะได้รับอย่างยั่งยืน
>>
ให้การตอบสนองอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพต่อเหตุการณ์ ที่มีผลกระทบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจาก การดําเนินงานของบริษัทฯ โดยให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่กับ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
>>
ดําเนินธุรกิจตามมาตรฐานคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม และการจัดการพลังงาน รวมถึงการ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ประโยชน์ต่อชนรุ่นหลัง
ในปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ดําเนินโครงการต่างๆ ที่ช่วยเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนบริเวณรอบโรงกลั่น ซึ่งครอบคลุมกิจกรรม ทั้ ง ทางด้ า นสาธารณสุ ข การศึ ก ษา วั ฒ นธรรม และสิ่ ง แวดล้ อ ม ผ่านศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชนของบริษัทฯ ซึ่งตั้งอยู่ที่อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยในปีนี้ได้ริเริ่มโครงการ ใหม่ซึ่งอยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นได้ไป ได้แก่ โครงการพัฒนา ระบบนิเวศเขาภูไบ และโครงการแหล่งอนุบาลสัตว์นํ้า เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้นําความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ด้านพลังงาน เข้าร่วมพัฒนาสังคมระดับประเทศ ผ่านโครงการต่างๆ เช่น “โครงการโรงไฟฟ้าพลังนํ้า บ้านแม่โจ้” ตั้งอยู่ที่ อําเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโครงการพัฒนาด้านพลังงาน เพื่อเสริมสร้าง ความมั่นคงของกระแสไฟฟ้าสําหรับชุมชน รวมถึงการสร้างแหล่ง ศึกษาเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และส่งเสริมการทําเกษตร ปลอดสารเคมี เพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนอย่าง
120
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ต่อเนื่อง “โครงการจัดการของเสียจากการผลิตยางแผ่นและของเสีย จากครัวเรือนด้วยระบบบ่อหมักก๊าชชีวภาพ (ระยะที่ 2)” ทีเ่ กาะหมากน้อย จั ง หวั ด พั ง งา เป็ น โครงการส่ ง เสริ ม การปลู ก ผั ก ปลอดสารเคมี เพือ่ สุขภาวะทีด่ ขี องชุมชน ร่วมกับมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ และสร้าง “เกาะต้นแบบ ด้านพลังงานชุมชนที่ยั่งยืน” ที่มีระบบก๊าซชีวภาพใช้ทั่วทั้งเกาะ และมีความหลากหลายด้านการใช้พลังงานอย่างครบวงจร โครงการ บริ ห ารจั ด การเพื่ อ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง “สร้ า งคลอง สร้ า งคน (ระยะที่ 3)” จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นโครงการจัดสร้างแหล่งนํ้าสําหรับ การทํ า การเกษตรตามแนวปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ส่งเสริมพัฒนาผู้นําชุมชนให้มีทักษะในการบริหารจัดการแหล่งนํ้า การวางแผนการผลิตทางการเกษตร และพัฒนาทักษะการบริหาร จัดการโครงการทั้งด้านการวางแผนโครงการ และประเมินงบประมาณ การบริหารการเงิน การควบคุมการก่อสร้าง เป็นต้น หน่วยราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้อง บริษัทฯ ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดต่อกฎหมายที่เกี่ยวข้องในด้านต่างๆ ทั้งสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย แรงงาน การจัดการด้าน ภาษีอากรและบัญชี ฯลฯ รวมทั้งประกาศต่างๆ ของทางราชการ ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยพนักงานทุกระดับ จะต้ อ งศึ ก ษาและทํ า ความเข้ า ใจในกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ ปฏิบัติงานของตนเองและไม่ดําเนินการใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมายนั้นๆ รวมถึงไม่ให้การช่วยเหลือ สนับสนุนการกระทําที่เป็นการหลีกเลี่ยง หรือฝ่าฝืนการปฏิบัติ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมุ่งมั่นในการปลูกจิต สํ า นึ ก ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ระเบี ย บ และข้อบังคับของบริษัทฯ ให้เกิดขึ้นในหมู่พนักงานทุกระดับอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง และยั ง สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี โ ดยให้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ หน่วยราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการให้ข้อมูล เพื่อประโยชน์ ของประเทศและส่วนรวมเสมอมา ในการปฏิบัติต่อหน่วยราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้องนั้น บริษัทฯ จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ความสอดคล้ อ งกั บ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในด้านต่างๆ รวมถึงการติดตามการประกาศบังคับใช้กฎหมายใหม่ ซึ่ ง ดํ า เนิ น การควบคู่ ไ ปกั บ การปลู ก ฝั ง จิ ต สํ า นึ ก ความรั บ ผิ ด ชอบ ต่อการปฏิบัติตามกฎหมายให้กับพนักงานอย่างสมํ่าเสมอ รวมถึง การให้ ค วามร่ ว มมื อ แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ความรู้ แ ละประสบการณ์ ในการดําเนินธุรกิจ เมื่อได้รับการขอความอนุเคราะห์
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
คู่แข่งทางการค้า บริ ษั ท ฯ ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามต่ อ คู่ แข่ ง ทางการค้ า ตามกรอบกติ ก าของ การแข่งขันอย่างเสรี และเป็นธรรม โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการ ได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรมต่อทั้งสองฝ่าย ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็น ความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริต หรือไม่เหมาะสม และไม่ทําลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทาง เสื่อมเสียโดยปราศจากข้อมูลความจริง รวมทั้งไม่ทําความตกลงใดๆ กับคู่แข่งหรือบุคคลใด ที่มีลักษณะเป็นการลดหรือจํากัดการแข่งขัน ทางการค้า นอกจากนี้ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย อย่างเท่าเทียม บริษัทฯ ได้กําหนดนโยบายและจรรยาบรรณต่างๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ นโยบายคุ ณ ภาพ ความมั่ น คง ความปลอดภั ย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม การจัดการพลังงาน และความรับผิดชอบ ต่อสังคม จรรยาบรรณด้านการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน สากล จรรยาบรรณด้านการเคารพทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ เป็นต้น ซึ่งสามารถดาวน์โหลดผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น บริษัทฯ มุ่งมั่นในการดําเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรม สุจริต โปร่งใส รับผิดชอบต่อสังคม จึงตระหนักว่า การคอร์รัปชั่นถือเป็นอุปสรรค สําคัญต่อการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว บริษัทฯ จึงกําหนดแนวปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นในจรรยาบรรณธุรกิจของ บริ ษั ท ฯ เช่ น จรรยาบรรณว่ า ด้ ว ยการขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ จรรยาบรรณว่ า ด้ ว ยการรั ก ษาความลั บ และการใช้ ข้ อ มู ล ภายใน จรรยาบรรณว่าด้วยการให้ หรือรับของขวัญ หรือทรัพย์สิน หรือ ประโยชน์อื่นใด เป็นต้น โดยห้ามมิให้พนักงานทุกคนเรียกรับของ ขวัญ หรือทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่ส่อไปในทางจูงใจให้ปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในทางมิชอบ หรือการกระทําใดๆ ที่อาจ นําไปสู่การแสวงหาผลประโยชน์เพื่อตนเองหรือครอบครัว อีกทั้ง ยั ง มี ก ารกํ า หนดจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และ พนั ก งาน เพื่ อ เป็ น แนวทางในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ดี สํ า หรั บ คณะกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน ยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ซึ่ ง มุ่ ง เน้ น หลั ก การสํ า คั ญ ของการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่วนได้เสียอย่างเสมอภาค เป็นธรรม ตรวจสอบได้ (รายละเอียด ตามคู่ มื อ หลั ก การกํ า กั บ ดูแลกิจการ ซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้ท่ี www.thaioilgroup.com/th/cg )
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
นอกจากการกํ า หนดจรรยาบรรณที่ เ กี่ ย วข้ อ งแล้ ว ในปี 2553 ไทยออยล์ได้แสดงเจตนารมณ์เข้าร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition against Corruption ) ดํ า เนิ น การโดยสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริ ษั ท ไทย หอการค้ า ไทย หอการค้ า แห่ ง ชาติ สมาคมบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทย สมาคมธนาคารไทย และสภาอุ ต สาหกรรม แห่งประเทศไทย ในปี 2555 บริษัทฯ ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกภาคีข้อตกลงโลกแห่ง สหประชาชาติ (United Nations Global Compact : UNGC ) ซึ่งจะ ทําให้บริษัทฯ สามารถนําหลักการทั้ง 10 ประการของ “ข้อตกลงโลก แห่งสหประชาชาติ” ซึ่งได้รับการยอมรับในระดับสากลในการส่งเสริม ธรรมาภิบาลด้านสิทธิมนุษยชน แรงงาน สิ่งแวดล้อม และการต่อต้าน การทุจริต มาประยุกต์ใช้ในการดําเนินธุรกิจ ในปี 2556 บริษัทฯ ได้มีการจัดทํานโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น โดยได้กําหนดคํานิยาม บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ แนวปฏิบัติ ตลอดจนมาตรการในการดําเนินการ เกี่ยวกับการกํากับดูแลและ ควบคุมการเกิดคอร์รัปชั่นภายในองค์กร เพื่อแสดงให้เห็นถึงความ มุ่งมั่นอย่างเป็นรูปธรรมในการดําเนินธุรกิจ ด้วยความเป็นธรรม สุจริต โปร่งใส รับผิดชอบต่อสังคม และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มตาม หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณของบริษัทฯ ทั้งนี้ บริ ษั ท ฯ จั ด ทํ า นโยบายดั ง กล่ า ว โดยได้ รั บ ความเห็ น ชอบจาก คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งได้สื่อสารนโยบายดังกล่าวไปยังพนักงานทุกคน ผ่านทางหนังสือ เวียน วารสารสื่อสารภายใน รวมถึงการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ และได้ ทํ า การจั ด ส่ ง หนั ง สื อ แจ้ ง นโยบายฯ ไปยั ง ลู ก ค้ า และคู่ ค้ า รวมถึงได้ประกาศนโยบายดังกล่าวผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ สําหรับ เผยแพร่แก่สาธารณชนที่สนใจอีกด้วย (สามารถดาวน์โหลดได้ที่ www .thaioilgroup .com /th /cg ) โดยนโยบายดังกล่าว มีเนื้อความ ดังต่อไปนี้
นโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น บริษัทฯ ยึดมั่นในการดําเนินธุรกิจ ด้วยความเป็นธรรม สุจริต โปร่งใส รับผิดชอบต่อสังคม และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มตามหลักการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณของบริษัทฯ และตามหลักการสากล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม และสนับสนุน
121
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
การเติบโตอย่างยัง่ ยืนให้กบั บริษทั ฯ บริษทั ฯ ตระหนักว่า การคอร์รปั ชัน่ ถือเป็นอุปสรรคสําคัญต่อการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว รวมทั้งเป็น ปัญหาต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ดังนั้นในปี 2553 บริษัทฯ จึงได้ร่วมลงนามแสดงเจตนารมณ์เข้าร่วมโครงการ “แนวร่วม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต” เพื่อให้บรรลุเจตนารมณ์ดังกล่าว บริษัทฯ จึงได้จัดทํานโยบายการ ต่อต้านคอร์รัปชั่น พร้อมทั้งกําหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ แนวปฏิบัติ ตลอดจนมาตรการในการดําเนินการ ดังนี้ คํานิยามตามนโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น การคอร์รัปชั่น (Corruption) หมายถึง การกระทําการใดๆ ไม่ว่าจะเป็น การนําเสนอ (offering ) การให้คํามั่นสัญญา (promising ) การขอ (soliciting ) การเรียกร้อง (demanding ) การให้หรือรับ (giving or accepting ) ทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใด กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือบุคคลอื่นใดที่ทําธุรกิจกับบริษัทฯ ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือ ทางอ้อม เพื่อให้บุคคลดังกล่าวปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าหรื อ รั ก ษาไว้ ซึ่ ง ผลประโยชน์ อื่ น ใดที่ ไ ม่ เ หมาะสม ทางธุรกิจ ยกเว้นกรณีที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ขนบธรรมเนียม ประเพณีท้องถิ่น หรือจารีตทางการค้า ให้กระทําได้ การช่ ว ยเหลื อ ทางการเมื อ ง ( Political Contribution ) หมายถึ ง การช่วยเหลือไม่วา่ จะเป็นทางด้านการเงินหรือในรูปแบบอืน่ (in – kind) เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการเมือง เช่น การให้สิ่งของหรือบริการ การโฆษณาส่ ง เสริ ม หรื อ สนั บ สนุ น พรรคการเมื อ งการซื้ อ บั ต ร เข้าชมงานที่จัดเพื่อระดมทุน หรือบริจาคเงินให้แก่องค์กรที่มีความ สัมพันธ์ใกล้ชิดกับพรรคการเมือง เป็นต้น นโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน จะไม่กระทําหรือยอมรับ การคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบไม่ว่ากรณีใดๆ โดยครอบคลุมถึงธุรกิจของ บริษัทฯ ในทุกประเทศและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ โดยบริษัทฯ ได้ กํ า หนดแนวปฏิ บั ติ มาตรการดํ า เนิ น การ และบทบาทหน้ า ที่ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ ตลอดจนจั ด ให้ มี ก ารสอบทาน และทบทวนการ ปฏิบัติตามนโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่นนี้อย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ ระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
122
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ นอกเหนือจากการปฏิบัติตามนโยบาย แนวปฏิบัติ และมาตรการต่างๆ โดยเคร่งครัดแล้ว บริษัทฯ ได้กําหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ บริษัท คณะกรรมการชุดย่อย และฝ่ายจัดการ ดังนี้
แนวปฏิบัติ 1. การดํ า เนิ น การตามนโยบายนี้ ใ ห้ ใช้ แ นวปฏิ บั ติ ต ามที่ บ ริ ษั ท ฯ ได้กําหนดไว้ในคู่มือการกํากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณ รวมทั้ง ระเบียบข้อบังคับ และคู่มือการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องของบริษัทฯ
1. คณะกรรมการบริษัท มีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการ กําหนดนโยบาย กํากับดูแล ติดตาม รวมทั้ง จัดสรรทรัพยากร ที่ เ พี ย งพอและเหมาะสม เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ จะบรรลุ วัตถุประสงค์ของการนํานโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่นนี้ไปปฏิบัติ
2. ในการดําเนินการในเรื่องที่มีความเสี่ยงสูงกับการเกิดคอร์รัปชั่น บริษัทฯ กําหนดให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน จะต้อง ปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องต่อไปนี้ด้วยความระมัดระวัง
2. คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ มีบทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ในการทบทวนนโยบายตามความจําเป็น เพื่อให้สอดคล้องกับ การเปลี่ ย นแปลงของธุ ร กิ จ ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง และให้ความเห็นชอบการแก้ไขปรับปรุงเพื่อเสนอ ขออนุ มั ติ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท รวมถึ ง ให้ ค วามเห็ น และ ข้อแนะนําที่เป็นประโยชน์ต่อฝ่ายจัดการในการจัดทําแผนงาน และการนํามาตรการไปปฏิบัติ 3. คณะกรรมการตรวจสอบ มีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ในการสอบทานการดําเนินกิจการของบริษัทฯ ตามมาตรการ ต่อต้านคอร์รัปชั่น รวมทั้งรายงานทางการเงิน ระบบการควบคุม ภายใน และงานตรวจสอบภายใน เพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานต่างๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องตาม กฎหมาย สอดคล้ อ งตามระเบี ย บปฏิ บั ติ และมาตรฐานทาง จริยธรรมที่ดี 4. ฝ่ า ยจั ด การ มี บ ทบาทหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบในการนํ า นโยบายฯ ไปปฏิบัติ สนับสนุนทรัพยากรสื่อสารและส่งเสริมให้ พนักงานทุกระดับ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความรู้ความ เข้าใจในนโยบายแนวปฏิบัติและมาตรการส่งเสริมและสนับสนุน ให้บริษัทในเครือฯ พิจารณานํานโยบายและมาตรการต่อต้าน คอร์รัปชั่นนี้ไปใช้หรือประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม ตลอดจน นํ า ความเห็ น และข้ อ แนะนํ า ของคณะกรรมการบริ ษั ท และ คณะกรรมการชุดย่อยไปปฏิบัติ รวมถึงการทบทวนความเหมาะสม ของระบบและมาตรการต่างๆ การรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะกรรมการชุดย่อยตามบทบาทหน้าที่และความ รับผิดชอบ
2.1 ความเป็นกลางและการช่วยเหลือทางการเมือง (Political contribution) บริษัทฯ มีนโยบายเป็นกลางทางการเมือง โดยจะไม่ให้การ สนับสนุน หรือการกระทําอันเป็นการฝักใฝ่พรรคการเมืองฯ ทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม ซึ่ ง รวมถึ ง การใช้ ท รั พ ยากรของ บริษัทฯ ในกิจกรรมที่จะทําให้บริษัทฯสูญเสียความเป็นกลาง ทางการเมือง และ/หรือ ได้รับความเสียหายจากการเข้าไปมี ส่วนเกี่ยวข้องในกิจกรรมดังกล่าว 2.2 การบริ จ าคเพื่ อ การกุ ศ ล และเงิ น สนั บ สนุ น ( Charitable contribution and Sponsorship) บริ ษั ท ฯ มี น โยบายที่ จ ะควบคุ ม ดู แ ลการบริ จ าคเพื่ อ การ กุศลหรือการให้เงินสนับสนุนในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้มั่นใจ ว่าการดําเนินกิจกรรมดังกล่าวจะไม่เป็นช่องทางให้เกิดการ คอร์รัปชั่น โดยการกําหนดขั้นตอนและการควบคุมที่ชัดเจน รัดกุมและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถสอบทานและ ติดตามเอกสารหลักฐานต่างๆ ได้ 2.3 การให้ของขวัญ การเลี้ยงรับรองและค่าใช้จ่ายอื่น (Gifts , Hospitality and Expenses) บริษัทฯ กําหนดให้ การให้ มอบหรือรับของขวัญ ของกํานัล และการเลี้ยงรับรอง ต้องเป็นไปตามการกระทําในวิสัยที่ สมควร ตามขนบธรรมเนี ย มประเพณี ป ฏิ บั ติ แต่ ต้ อ งไม่ มี มูลค่าเกินสมควรและไม่เป็นการกระทําเพื่อจูงใจให้ปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติ ซึ่งอาจนําไปสู่ปัญหาการทุจริตและ คอร์รัปชั่น มาตรการดําเนินการ 1. กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ต้องปฏิบัติตามนโยบาย และมาตรการต่อต้านคอร์รัปชั่น หลักการกํากับดูแลกิจการและ
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
จรรยาบรรณของบริษัทฯ โดยต้องไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับเรื่อง คอร์รัปชั่น ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม พนักงาน ไม่ควรละเลยหรือเพิกเฉย เมื่อพบเห็นหรือมีข้อสงสัย เกี่ยวกับการกระทําที่เข้าข่ายคอร์รัปชั่น โดยต้องแจ้งให้ผู้บังคับ บั ญ ชา หรื อ บุ ค คลที่ รั บ ผิ ด ชอบทราบ หรื อ ผ่ า นช่ อ งทางการ รายงานที่ กํ า หนดไว้ และให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการตรวจสอบ ข้อเท็จจริงต่างๆ ตามที่กําหนดไว้ในระเบียบบริษัทฯ บริ ษั ท ฯ จะให้ ค วามเป็ น ธรรมและความคุ้ ม ครองพนั ก งานที่ ปฏิเสธหรือแจ้งเรื่องคอร์รัปชั่นที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของบริษัทฯ โดยจะไม่ลดตําแหน่ง ลงโทษ หรือให้ผลทางลบ และบริษัทฯ จะดําเนินการตามมาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียน หรือผู้ให้ความ ร่วมมือในการรายงานการคอร์รัปชั่นโดยเคร่งครัด ตามที่กําหนด ในนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติด้านบุคคล และ/หรือ มาตรการ การร้องเรียนและการแจ้งเบาะแสของบริษัทฯ ผู้ที่กระทําการคอร์รัปชั่น เป็นการกระทําผิดจรรยาบรรณของ บริษัทฯ จะต้องได้รับการพิจารณาทางวินัยตามระเบียบบริษัทฯ ที่กําหนดไว้ และอาจจะได้รับโทษตามกฎหมาย หากการกระทํา นั้นผิดกฎหมาย บริษัทฯ สื่อสารนโยบายและมาตรการต่อต้านคอร์รัปชั่น รวมทั้ง ช่องทางการแจ้งเบาะแส ข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะภายใน บริ ษั ท ฯ ผ่ า นวิ ธี ก ารต่ า งๆ เช่ น การปฐมนิ เ ทศกรรมการและ พนักงาน ระบบอินทราเน็ต หรือจดหมายข่าว เป็นต้น เพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจในการนํานโยบายนี้ไปปฏิบัติ บริษัทฯ สื่อสารนโยบายและมาตรการต่อต้านคอร์รัปชั่น รวมทั้ง ช่องทางการแจ้งเบาะแส ข้อร้องเรียน หรือข้อเสนอแนะให้แก่ สาธารณชน และผูม้ สี ว่ นได้เสีย ผ่านวิธกี ารต่างๆ เช่น เว็บไซต์ของ บริษัทฯ รายงานประจําปี เป็นต้น บริษัทฯ จัดให้มีการบริหารความเสี่ยงด้านคอร์รัปชั่น โดยมีการ ประเมินความเสี่ยง จัดลําดับความสําคัญ และกําหนดมาตรการ ที่เหมาะสม รวมทั้งติดตามความก้าวหน้าของมาตรการที่ได้ ดําเนินไปแล้ว บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ก ระบวนการบริ ห ารงานบุ ค คลที่ ส ะท้ อ นถึ ง ความมุ่งมั่นต่อนโยบายและมาตรการต่อต้านคอร์รัปชั่น ตั้งแต่ การคัดเลือกบุคลากร การฝึกอบรม การประเมินผลงาน การให้ ผลตอบแทน การเลื่อนตําแหน่ง การจัดโครงสร้างองค์กรให้มีการ
123
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
แบ่งแยกหน้าที่งานอย่างเหมาะสมให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุล ตลอดจนการดําเนินการเพื่อให้มั่นใจว่ามีทรัพยากรและบุคลากร ที่มีทักษะเพียงพอและเหมาะสมต่อการนํานโยบายนี้ไปปฏิบัติ 9. บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ร ะเบี ย บกํ า หนดอํ า นาจอนุ มั ติ ร ายการธุ ร กิ จ ( Corporate Authorization Procedure ) ที่ ชั ด เจน รั ด กุ ม มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ 10. บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในซึ่ ง ครอบคลุ ม ด้ า น การเงิน การบัญชี การเก็บบันทึกข้อมูล รวมถึงกระบวนการอื่น ภายในบริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องกับมาตรการต่อต้านคอร์รัปชั่น และ มีการสื่อสารผลการควบคุมภายในให้บุคลากรที่รับผิดชอบทราบ 11. บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ก ารตรวจสอบระบบงานภายใน ครอบคลุ ม กิจกรรมที่สําคัญของบริษัทฯ อาทิเช่น การดําเนินงานด้านพาณิชย์ การจัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น เพื่อให้มั่นใจว่า ระบบการควบคุมภายใน จะบรรลุเป้าหมายที่กําหนดไว้ รวมทั้งตรวจสอบการปฏิบัติงาน ว่าเป็นตามระเบียบวิธีปฏิบัติงาน ข้อกําหนด กฎระเบียบ และ ให้คําแนะนําในการพัฒนาปรับปรุงระบบการปฎิบัติงานให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งนี้ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการทําแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับ มาตรการต่อต้านคอร์รัปชั่น บริษัทฯ ได้ให้กรรมการ และพนักงาน ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมสัมมนาเกี่ยวกับแนวทางการประเมินตนเอง และ เข้าอบรมหลักสูตร Anti -Corruption for Executive Program (ACEP ) และ Anti -Corruption : The Practical Guide (ACPG ) ซึ่งจัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD ) ในปี 2557 บริษัทฯ ได้จัดทําแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับมาตรการ ต่อต้านคอร์รัปชั่น พร้อมทั้งแสดงหลักฐานประกอบต่างๆ เกี่ยวกับ นโยบายในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ มาตรการขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง าน ตลอดจนระบบควบคุ ม ภายใน นํ า ไปยื่ น เสนอต่ อ คณะกรรมการ แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต เพื่อขอรับการรับรองเป็นสมาชิกในโครงการแนวร่วมปฏิบัติของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (CAC ) ซึ่งได้รับการรับรองเป็น Certifi ed Company เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2557 ซึ่งการรับรองดังกล่าว ถือเป็นการยืนยันถึงความมุ่งมั่นในการดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส โดยการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการทํางานให้มีความโปร่งใส อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อั น เป็ น การส่ ง เสริ ม ภาพลั ก ษณ์ ที่ ดี และยั ง สร้ า ง ความเชื่อมั่นให้กับผู้มีส่วนได้เสียด้วย
124
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
การติดตามดูแลให้มีการปฏิบัติ บริษัทฯ กําหนดให้เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานทุ ก คนที่ จ ะต้ อ งรั บ ทราบ และปฏิ บั ติ ต าม นโยบายและข้อกําหนดที่มีอยู่ในคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ และจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ อีกทั้งผู้บริหารทุกระดับจะต้อง ดูแลรับผิดชอบ และถือเป็นเรื่องสําคัญในการส่งเสริมให้พนักงาน ภายใต้การบังคับบัญชามีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตามคู่มือ หลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด บริษัทฯ จะไม่ดําเนินการใดๆ ที่ผิดกฎหมาย หรือขัดกับหลักการ กํากับดูแลกิจการ และจรรยาบรรณธุรกิจ หากกรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานกระทําผิดหลักการกํากับดูแลกิจการตามที่กําหนดไว้ จะได้รับโทษทางวินัยอย่างเคร่งครัด และหากมีการกระทําที่เชื่อได้ว่า ทําผิดกฎหมายกฎเกณฑ์ ระเบียบ และข้อบังคับของภาครัฐ บริษัทฯ จะส่งเรื่องให้เจ้าหน้าที่รัฐดําเนินการต่อไป หากพนักงานทุกระดับ ของบริษัทฯ ประสบปัญหาในการตัดสินใจ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับ จรรยาบรรณธุรกิจที่มิได้กําหนดไว้ในจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ ได้กําหนดแนวทางการพิจารณาโดยให้ตั้งคําถามเกี่ยวกับ การกระทํานั้นกับตนเอง ดังต่อไปนี้ 1) การกระทํานั้นขัดต่อกฎหมายหรือไม่ 2) การกระทํ า นั้ น ขั ด ต่ อ นโยบาย หรื อ จรรยาบรรณ หรื อ ส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของบริษัทฯ หรือไม่ 3) การกระทํ า นั้ น ส่ ง ผลเสี ย ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ของบริ ษั ท ฯ อย่างร้ายแรงหรือไม่ 4) การกระทํานั้นเป็นที่ยอมรับ และสามารถเปิดเผยต่อสังคม ได้หรือไม่ ทั้งนี้ หากพนักงานพบการกระทําผิดกฎหมาย และ/หรือ หลักการ กํากับดูแลกิจการ ให้แจ้งข้อร้องเรียนหรือข้อกล่าวหาไปยังช่องทาง ต่างๆ ตามที่ระบุไว้ในมาตรการการร้องเรียนและการแจ้งเบาะแสะ บริษัทฯ จะดําเนินการตรวจสอบโดยไม่เปิดเผยชื่อผู้แจ้งเบาะแส เพื่ อ คุ้ ม ครองผลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น กั บ ผู้ แจ้ ง ข้ อ ร้ อ งเรี ย นหรื อ ข้อกล่าวหาดังกล่าว มาตรการการร้องเรียนและการแจ้งเบาะแส บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ให้ มี ช่ อ งทางการร้ อ งเรี ย นและการแจ้ ง เบาะแส ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การรับเรื่องร้องเรียน การตรวจสอบข้อเท็จจริง และการสรุปผล รวมถึงการคุ้มครองผู้แจ้งเรื่องและบุคคลที่เกี่ยวข้อง
เพื่อรับเรื่องร้องเรียน หรือข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วน ได้เสียที่ได้รับผลกระทบ หรือมีความเสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบจาก การดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ หรือจากการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ เกี่ยวกับการกระทําผิดกฎหมาย หรือจรรยาบรรณ รวมถึงพฤติกรรมที่อาจส่อถึงการทุจริต ซึ่งในปี 2557 บริษัทฯ ได้ทําการปรับปรุงมาตรการการร้องเรียนและการแจ้ง เบาะแส เพื่อให้มีแนวทางที่ชัดเจนในการรับเรื่องร้องเรียนและการ แจ้งเบาะแส รวมถึงเพิ่มความมั่นใจให้แก่ผู้แจ้งเบาะแส ผ่านแนวทาง การให้ความคุ้มครองผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแส และบุคคล ที่เกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้เสีย พนักงาน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง หรือบุคคลภายนอก ที่พบเห็นหรือทราบเบาะแส รวมถึงบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากการ ดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ หรือจากการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ ที่ ฝ่ า ฝื น หรื อ ไม่ ป ฏิ บั ติ ต าม กฎหมายและกฎระเบี ย บของรั ฐ หรื อ หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ จรรยาบรรณธุ ร กิ จ นโยบาย และระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ รวมถึงการกระทําที่อาจส่อถึงการทุจริต สามารถร้องเรียนเรื่องแจ้ง เบาแสะเข้ามาได้ ทั้งนี้ บริษัทฯ ส่งเสริมให้ผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนเปิดเผย ตัวตนให้ทราบ และให้ข้อมูลหลักฐานที่ชัดเจนเพียงพอ ผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแส โดยระบุให้ ชัดเจนว่าเป็นเอกสารลับ ผ่านช่องทาง ดังต่อไปนี้ ประธานกรรมการ / ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ / ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ / เลขานุการบริษทั ฯ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900
cgcoordinate@thaioilgroup.com (ผู้จัดการแผนกจรรยาบรรณและบรรษัทภิบาลเป็นผู้รับเรื่อง เพื่อส่งต่อให้ผู้รับเรื่องร้องเรียนข้างต้น) โทรศัพท์ 0-2797-2900 หรือ 0-2797-2999 หรือ 0-2299-0000 ต่อ 7440-7442 โทรสาร 0-2797-2973
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
บริษัทฯ ได้กําหนดกระบวนการการร้องเรียนและการแจ้งเบาะแสไว้ อย่างชัดเจน ซึ่งจะมีการเผยแพร่ในคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ และจรรยาบรรณธุรกิจ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4 และในเว็บไซต์ของ บริษัทฯ โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ 1. หากเรื่ อ งร้ อ งเรี ย นเป็ น การกระทํ า ที่ ฝ่ า ฝื น หรื อ ไม่ ป ฏิ บั ติ ต าม นโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติด้านบุคคลให้นําส่งผู้จัดการฝ่าย ทรัพยากรบุคคล 2. หากเรื่ อ งร้ อ งเรี ย นเป็ น การกระทํ า ที่ ฝ่ า ฝื น หรื อ ไม่ ป ฏิ บั ติ ต าม กฎหมายและกฎระเบียบของรัฐ นโยบายและหลักการกํากับดูแล กิจการ จรรยาบรรณธุรกิจ และระเบียบข้อบังคับของบริษัทฯ ให้นําส่งเลขานุการบริษัทฯ 3. หากเรือ่ งร้องเรียนเป็นการกระทําทีอ่ าจส่อถึงการทุจริต ซึง่ หมายถึง การกระทํ า ใดๆ เพื่ อ แสดงหาประโยชน์ ที่ มิ ค วรได้ โ ดยชอบ ด้ ว ยกฎหมายสํ า หรั บ ตนเองหรื อ ผู้ อื่ น เช่ น การยั ก ยอกทรั พ ย์ การคอร์รปั ชัน่ การฉ้อโกง เป็นต้น ให้นาํ ส่งคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee ) หรือผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบระบบงานภายใน องค์กร 4. ในกรณีที่เรื่องร้องเรียนตาม (1) (2) และ (3) เป็นเรื่องที่ซับซ้อนหรือ เกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน ให้นําส่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ข้ อ เท็ จ จริ ง ( Investigation Committee ) สํ า หรั บ ดํ า เนิ น การ ตรวจสอบเรื่องดังกล่าว 5. จากนั้นให้แจ้งการรับเรื่องร้องเรียนดังกล่าวไปยัง ผู้จัดการแผนก จรรยาบรรณและบรรษัทภิบาล เพื่อลงทะเบียนเรื่องร้องเรียน บั น ทึ ก ข้ อ มู ล สํ า หรั บ ติ ด ตามความคื บ หน้ า การดํ า เนิ น การ ข้อร้องเรียนนั้นๆ อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่พบว่ามีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบของบริษัทฯ หรือกระทําการทุจริตจะต้องได้รับการ พิจารณาโทษทางวินัยตามระเบียบบริษัทฯ ที่กําหนดไว้ และ/หรือ อาจจะได้รับโทษตามกฎหมาย หากการกระทํานั้นผิดกฎหมาย การให้ความคุ้มครองผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแส และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง ผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแสจะได้รับการคุ้มครองที่เหมาะสม และเป็นธรรมจากบริษัทฯ เช่น ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตําแหน่งงาน
125
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ลักษณะงาน สถานที่ทํางาน พักงาน ข่มขู่ รบกวนการปฏิบัติงาน เลิกจ้าง หรือการกระทําอื่นใดที่ไม่เป็นธรรมแก่ผู้แจ้งเรื่องร้องเรียน หรื อ ผู้ แจ้ ง เบาะแสดั ง กล่ า ว สํ า หรั บ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น บริ ษั ท ฯ จะเก็ บ รั ก ษาเป็ น ความลั บ ไม่ เ ปิ ด เผยต่ อ ผู้ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ ง เว้นแต่ที่จําเป็นต้องเปิดเผยตามข้อกําหนดของกฎหมาย บุคคลที่เกี่ยวข้องที่ได้รับทราบเรื่องหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ร้องเรียน จะต้องรักษาข้อมูลให้เป็นความลับ และไม่เปิดเผยต่อ บุคคลอื่น เว้นแต่ที่จําเป็นต้องเปิดเผยตามข้อกําหนดของกฎหมาย หากมีการจงใจฝ่าฝืนนําข้อมูลออกไปเปิดเผย บริษัทฯ จะดําเนินการ ลงโทษตามระเบียบข้อบังคับของบริษัทฯ และ/หรือ ดําเนินการทาง กฎหมาย แล้วแต่กรณี โดยในปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่พบข้อร้องเรียนจากการดําเนินงาน ที่ไม่สอดคล้องตามกฎหมาย ไม่มีการจ่ายค่าปรับ หนี้สินที่ไม่เป็น ตัวเงิน และไม่พบกรณีคอร์รัปชั่น หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสาร และสารสนเทศต่างๆ จึงมีการกําหนดแนวทางในการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสารและสารสนเทศทั้งทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงินอย่าง ถูกต้องตามกฎหมายกําหนด และมีความเชื่อถือได้ เพียงพอ รวดเร็ว และเท่าเทียมกันในการเข้าถึงข้อมูลของทุกกลุ่ม ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ โดยได้มีการดําเนินการดังนี้ การรายงานข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการ และการถือหลักทรัพย์ ของกรรมการและผู้บริหาร ข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการจะถูกเปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) รายงานประจําปี (แบบ56-2) และ ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ทั้งนี้ กรรมการและผู้บริหารมีหน้าที่รายงาน การถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ เ มื่ อ เข้ า ดํ า รงตํ า แหน่ ง เป็ น ครั้ ง แรก และ เมื่ อ มี ก ารซื้ อ ขาย หรื อ โอนหลั ก ทรั พ ย์ เพื่ อ รายงานต่ อ ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่ ง พ.ร.บ.หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และต้ อ งรายงานให้ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการทราบทุ ก ครั้ ง ที่ มี การประชุม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีแนวปฏิบัติสําคัญที่จะส่งเสริม การกํากับดูแลการใช้ข้อมูลภายในได้เป็นอย่างดี โดยบริษัทฯ จะจัดส่ง หนังสือแจ้งเตือนขอความร่วมมือจากกรรมการ และผู้บริหารในการ งดซื้อ ขาย หรือโอนหลักทรัพย์ ล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือนก่อนการ รายงานผลการดําเนินงานต่อตลาดหลักทรัพย์ในแต่ละไตรมาส ทั้งนี้
126
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
บริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดนโยบายให้ มี ก ารรายงานการซื้ อ ขาย และ การถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ฯ ทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม โดยคณะกรรมการและผู้บริหาร นอกจากนี้ กรรมการและผู้บริหารจะต้องรายงานการเปลี่ยนแปลง การมีส่วนได้เสียของตนต่อบริษัทฯ เป็นประจําทุกไตรมาส และ จะต้องจัดทํารายงานใหม่ทุกปี โดยข้อมูลดังกล่าวจะเก็บไว้ใช้ภายใน บริษัทฯ เท่านั้น เพื่อให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุ น ที่ ทจ. 2/2552 เรื่ อ งการรายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย ของ กรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง การรายงานข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ในการเปิดเผยสารสนเทศ ที่เป็นข้อมูลสําคัญของบริษัทฯ รวมถึง รายงานทางการเงิน และสารสนเทศเรื่องอื่นๆ ตามเกณฑ์ที่ ตลท. และก.ล.ต. กําหนด อย่างถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน โปร่งใส ด้วยภาษา ที่กระชับ เข้าใจง่าย มีการเปิดเผยสารสนเทศที่สําคัญ ทั้งด้านบวกและ ด้านลบ และผ่านการพิจารณากลั่นกรองตามขั้นตอนที่กําหนด เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นและผู้ที่มีส่วนได้เสียได้รับสารสนเทศอย่างเท่าเทียมกันตามที่ กําหนดโดยกฎหมายข้อบังคับของบริษัทฯ โดยมีการเผยแพร่ข้อมูล สารสนเทศผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้ >> ระบบอิเล็กทรอนิกส์ของ ตลท. และ ก.ล.ต. >> เว็บไซต์ของบริษัทฯ (www .thaioilgroup .com ) >> แบบแสดงรายงานข้ อ มู ล ประจํ า ปี (แบบ 56-1) และรายงาน ประจําปี (แบบ 56-2) >> สื่อสาธารณะต่างๆ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร โทรทัศน์ และ วารสารของบริษัทฯ >> การให้ข้อมูลต่อผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ และนักลงทุน ที่มาเยี่ยมชม กิจการ และพบปะกับผู้บริหาร >> การเดินทางไปให้ขอ ้ มูลแก่นกั ลงทุน ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ >> การจั ด กิ จ กรรมดู แ ลนั ก ลงทุ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในตลาดทุ น เช่น งาน SET in the City และงาน Money Expo >> การจัดส่งหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นผ่านทางไปรษณีย์ >> การจัดทํา e -news เพื่อรายงานผลการดําเนินงานรายไตรมาส และประกาศทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ >> การจัดแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน ถึงผลการดําเนินงานและฐานะ การเงินของบริษัทฯ รวมถึงแผนธุรกิจ และโครงการสําคัญของ
บริ ษั ท ฯ รวมถึ ง ภาวะอุ ต สาหกรรมและการแข่ ง ขั น ในอนาคต ซึ่งในปีที่ 2557 ผ่านมาได้ จัดทั้งสิ้น 2 ครั้ง การเปิดเผยข้อมูลบนเว็บไซต์ บริษัทฯ ได้จัดทําเว็บไซต์ (www .thaioilgroup .com ) เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นั ก ลงทุ น และผู้ ที่ ส นใจอื่ น ๆ สามารถสื บ ค้ น ข้ อ มู ล ที่ เ ปิ ด เผยต่ อ สาธารณะได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว บริษัทฯ ได้นําเสนอข้อมูลสําคัญ ต่างๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ดังนี้ >>
ข้อมูลบริษัทฯ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้างธุรกิจ และผลิตภัณฑ์ โครงสร้างองค์กร เป็นต้น
>>
การกํากับดูแลกิจการ ประกอบด้วย หลักการกํากับดูแลกิจการ จรรยาบรรณเครือไทยออยล์ คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการ ชุดย่อย ผู้บริหารและฝ่ายจัดการ กฎบัตรและคณะกรรมการชุดย่อย เป็นต้น
>>
นักลงทุนสัมพันธ์ ประกอบด้วย ข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลราคา หลักทรัพย์ ข้อมูลผู้ถือหุ้น กิจกรรมและเอกสารนําเสนอ เป็นต้น
>>
ความรับผิดชอบต่อสังคม ประกอบด้วย นโยบายการดําเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม กิจกรรม สื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ ข่าวสาร เป็นต้น
>>
ข่าวบริษัทฯ ประกอบด้วย ภาพข่าว ข่าวสัมภาษณ์ผู้บริหาร โฆษณา บทความจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นต้น
การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ ได้จัดทํารายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อ รายงานทางการเงิ น แสดงควบคู่ กั บ รายงานของผู้ ส อบบั ญ ชี ใ น รายงานประจําปี และมีมาตรการป้องกันการใช้ประโยชน์จากข้อมูล ภายใน โดยกําหนดให้พนักงานทุกระดับของบริษัทฯ ต้องไม่นําข้อมูล ที่เป็นความลับไปใช้ เพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือบุคคลอื่น และรักษา ข้อมูลภายในและเอกสารที่ไม่สามารถเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก อั น นํ า ไปสู่ ก ารแสดงหาประโยชน์ เพื่ อ ตนเองหรื อ ครอบครั ว หรือพวกพ้องในทางมิชอบ เช่น ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น ความลั บ ทางการค้ า หรื อ สู ต รการประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น ต่ า งๆ เป็ น ต้ น พนักงานที่เปิดเผยข้อมูลและข่าวสารที่สําคัญของบริษัทฯ ออกสู่ บุคคลภายนอก โดยมิได้รับความเห็นชอบจากประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่จะได้รับพิจารณามาตรการทางวินัย ตามระเบียบของบริษัทฯ และอาจถูกดําเนินคดีตามกฎหมายอีกด้วย
127
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
นักลงทุนสัมพันธ์ บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก และให้ ค วามสํ า คั ญ อย่ า งยิ่ ง ในการบริ ห าร ความสั ม พั น ธ์ กั บ นั ก ลงทุ น โดยมุ่ ง เน้ น ถึ ง การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ย ความรั บ ผิ ด ชอบ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต มุ่ ง มั่ น ทุ่ ม เท ความถู ก ต้ อ ง ความเพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา เพื่อให้นักลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้เกี่ยวข้องได้รับสารสนเทศอย่างเพียงพอ ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และเท่าเทียมกัน บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ห น่ ว ยงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลาง ในการดําเนินกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ในเชิงรุก ทําหน้าที่ติดต่อ สื่อสารกับผู้ถือหุ้นและนักลงทุน ซึ่งถือเป็นช่องทางอีกหนึ่งช่องทาง สําคัญที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารกับนักลงทุน นักวิเคราะห์ และ ผู้ที่เกี่ยวข้อง อันเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และทัศนคติที่ดีต่อ นักลงทุน ผ่านกิจกรรมและช่องทางการเผยแพร่ที่หลากหลาย อาทิ >>
จัดประชุมร่วมกับนักวิเคราะห์ นักลงทุน และนักลงทุนรายย่อย (Analyst Meeting ) ทุกไตรมาส
>>
กิ จ กรรมบริ ษั ท จดทะเบี ย นพบผู้ ล งทุ น ( Opportunity Day ) ของตลท. เพื่อรายงานผลการดําเนินงานทุกไตรมาส
>>
จัดมุมนักลงทุนสัมพันธ์ IR Corner ในงานประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจํ า ปี 2557 เพื่ อ จั ด ให้ มี นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ใ ห้ ข้ อ มู ล และ ตอบข้อซักถามแก่ผู้ถือหุ้นที่มาร่วมงาน
>>
การจัดให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยและนักลงทุนเข้าเยี่ยมชมโรงกลั่นและ พบปะผู้บริหารเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ
>>
จัดนิทรรศการส่งเสริมความรู้ให้แก่นักลงทุนในงานที่ตลท. จัดเป็น ประจําทุกปี เช่น งาน SET in the City และงาน Money Expo
>>
จัดทําวารสารรายไตรมาส บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ( TOP-IR e-newstetter ) เพื่ อ รายงานผลการดํ า เนิ น งาน การวิเคราะห์สถานการณ์นํ้ามัน การดําเนินการเกี่ยวกับความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ โดยเผยแพร่ ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ เป็นประจําทุกไตรมาส
โดยหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์จะมีการรายงานผลการดําเนินงาน ด้านนักลงทุนสัมพันธ์ ให้คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ รับทราบ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนสามารถสอบถาม
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ข้ อ มู ล มายั ง ฝ่ า ยนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ข องบริ ษั ท ฯ โดยติ ด ต่ อ ผ่ า น ช่องทาง ดังต่อไปนี้ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคาร เอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900
ir@thaioilgroup.com โทรศัพท์ 0-2797-2961 (สายตรง) หรือ 0-2797-2999 หรือ 0-22299-0000 ต่ อ 7372-7374 โทรสาร 0-2797-2976 หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ มีบทบาทสําคัญในฐานะเป็นตัวแทนของ ผู้ ถื อ หุ้ น ในการกํ า หนดวิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ แผนกลยุ ท ธ์ และ งบประมาณให้ฝ่ายจัดการดําเนินงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในการ ดําเนินกิจการ และควบคุมดูแลการดําเนินงานของฝ่ายจัดการให้ เป็นไปตามนโยบายที่ได้มอบหมายไว้ ด้วยความยุติธรรม โปร่งใส สอดคล้ อ งกั บ กฎหมาย ข้ อ บั ง คั บ และนโยบายต่ า งๆ รวมถึ ง จรรยาบรรณธุรกิจ ด้วยเหตุนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ จะได้รับการ แต่งตั้งจากผู้ถือหุ้นด้วยกระบวนการที่โปร่งใส ทุกท่านจึงต้องเป็น ผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่สามารถเอื้อประโยชน์ ให้แก่บริษัทฯ มีความทุ่มเท ให้เวลาอย่างเต็มที่ในการปฏิบัติหน้าที่ มีภาวะผู้นํา มีวิสัยทัศน์ มีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ สามารถ ดูแลให้มีระบบงานที่ให้ความเชื่อมั่นได้ว่ากิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ ได้ดําเนินไปในลักษณะที่ถูกต้องตามกฎหมายและมีจริยธรรม และ ต้องเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการของบริษัทฯ โดยจัดให้มีระบบแบ่งแยก หน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการและฝ่ายจัดการที่ชัดเจน ทั้ ง นี้ รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ โครงสร้ า งกรรมการ อั น ประกอบด้ ว ย องค์ประกอบและคุณลักษณะของกรรมการ วิธีการสรรหากรรมการ คุณสมบัติกรรมการอิสระ การสรรหาและแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงสุด ได้ ก ล่ า วไว้ ใ นหั ว ข้ อ การสรรหาและแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการและ ผู้บริหารระดับสูงสุด หน้า 109 - 110
128
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
การประชุมคณะกรรมการ การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะมี ก ารกํ า หนดขึ้ น เป็ น การ ล่วงหน้าในแต่ละปี เพื่อให้กรรมการสามารถจัดเวลาและเข้าร่วม ประชุมได้ โดยประธานกรรมการเป็นผู้ให้ความเห็นชอบในการบรรจุ วาระการประชุม โดยจะปรึกษาหารือกับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประกอบกับการพิจารณาตามคําขอของ กรรมการที่จะบรรจุเรื่องอื่นที่สําคัญเป็นวาระการพิจารณาในการ ประชุมแต่ละครั้ง โดยบริษัทฯ จะจัดส่งเอกสารประกอบการประชุม ให้กรรมการพิจารณาล่วงหน้าเพื่อที่จะมีเวลาเพียงพอในการศึกษา พิจารณาและตัดสินใจอย่างถูกต้องในเรื่องต่างๆ ทั้งนี้ ในข้อบังคับของบริษัทฯ กําหนดให้คณะกรรมการจะต้องประชุม กันอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง และกรรมการบริษัทฯ ต้องมาประชุม อย่างน้อยกึ่งหนึ่งจึงจะเป็นองค์ประชุม โดยอาจมีการประชุมพิเศษ เพิม่ เติมตามความจําเป็น โดยในปี 2557 มีการจัดประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ ทั้งหมด 13 ครั้ง การประชุมกรรมการอิสระ 1 ครั้ง และ การประชุมกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร โดยไม่มีฝ่ายจัดการ 1 ครั้ง และมี ก ารจั ด ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ให้ แ ก่ ก รรมการเพื่ อ พิ จ ารณา ล่ ว งหน้ า อย่ า งน้ อ ย 7 วั น ก่ อ นวั น ประชุ ม เว้ น แต่ ใ นกรณี จํ า เป็ น รี บ ด่ ว น เพื่ อ ให้ ก รรมการมี เ วลาที่ จ ะศึ ก ษา พิ จ ารณา และ ตั ด สิ น ใจอย่ า งถู ก ต้ อ งในเรื่ อ งต่ า งๆ อย่ า งพอเพี ย ง และสามารถ จัดเวลาการเข้าร่วมประชุมได้ ซึ่งในการประชุมทุกคราวจะมีการ กํ า หนดวาระการประชุ ม ที่ ชั ด เจน ในขณะที่ ดํ า เนิ น การประชุ ม คณะกรรมการบริษัทฯ กรรมการทุกคนสามารถอภิปรายและแสดง ความคิดเห็นได้อย่างเปิดเผย และมีแนวปฏิบัติสําหรับการพิจารณา วาระที่กรรมการมีส่วนได้เสียและระเบียบวาระลับอย่างชัดเจน มีการ จดบันทึกการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ผลการประชุม และ ความคิ ด เห็ น ของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะต้ อ งมี ค วามชั ด เจน เพื่อใช้อ้างอิง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังส่งเสริมให้ผู้บริหารระดับสูงเข้า ร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให้สารสนเทศรายละเอียด เพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวข้อง และเพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ รู้จัก ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ การพิ จ ารณาแผนการ สืบทอดตําแหน่ง อํานาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ มีอํานาจอนุมัติการดําเนินการต่างๆ ของ บริษัทฯ ภายใต้ขอบเขตที่กําหนดตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษัทฯ
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
และมติ ข องที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น มี ก ารกํ า หนดกรอบอํ า นาจการ อนุมัติระหว่างคณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายจัดการในเรื่องต่างๆ อย่างชัดเจน เช่น ด้านการบริหารงานบุคคล การเงิน การบัญชี เป็นต้น นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบ วิสัยทัศน์ พันธกิจและกลยุทธ์ในการดําเนินงานของบริษัทฯ ผ่าน การประชุม Strategic Thinking Session (STS ) ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจํา ทุกปี เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารระดับสูงร่วมกัน ทบทวนแผนกลยุ ท ธ์ ข องเครื อ ไทยออยล์ ทั้ ง แผนระยะสั้ น และ ระยะยาว ให้ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ ทิ ศ ทางการดํ า เนิ น กิ จ การ สถานการณ์ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต และยังให้ความเห็น และอนุมัติแผนธุรกิจและงบประมาณประจําปี และอนุมัติในประเด็น สํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ ทิ ศ ทางและนโยบายในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ เครือไทยออยล์อีกด้วย การกําหนดค่าตอบแทนของกรรมการ บริ ษั ท ฯ มี น โยบายกํ า หนดค่ า ตอบแทนของกรรมการ ให้ อ ยู่ ใ น ระดับที่สามารถจูงใจ และอยู่ในระดับที่เทียบเคียงกับบริษัทที่อยู่ใน อุตสาหกรรมเดียวกัน โดยการพิจารณาจะเชื่อมโยงกับผลงานและ ความรับผิดชอบของกรรมการ รวมทั้งผลการดําเนินงานของบริษัทฯ และผลประโยชน์ที่สร้างให้กับผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ คณะกรรมการที่ได้รับ มอบหมายให้มีหน้าที่และความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นเป็นพิเศษจะได้รับ ค่าตอบแทนเพิ่ม และเชื่อมโยงกับระดับความรับผิดชอบที่ได้รับมอบ หมายนั้น ผู้ที่เป็นประธานอาจได้รับค่าตอบแทนเพิ่มจากที่กรรมการ ได้รับ โดยทุกปีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะเป็น ผู้กําหนดค่าตอบแทนดังกล่าว นําเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อ ขอความเห็นชอบก่อนนําเสนอที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอนุมัติต่อไป สําหรับรายละเอียดการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ ในปี 2557 ตามที่ ไ ด้ ก ล่ า วถึ ง แล้ ว ในหั ว ข้ อ ข้ อ มู ล หลั ก ทรั พ ย์ แ ละผู้ ถื อ หุ้ น และโครงสร้างการจัดการ หน้า 80 การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ บริษัทฯ กําหนดให้มีการประเมินคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจํา ทุกปี โดยได้จัดทําการประเมินใน 3 รูปแบบ คือ 1) แบบประเมินตนเอง 2) แบบประเมินทั้งคณะและคณะกรรมการชุดย่อย 3) แบบประเมินรายบุคคล (ประเมินกรรมการท่านอื่น)
129
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
โดยแบบฟอร์มการประเมินครอบคลุมประเด็น สําคัญดังนี้ 1) นโยบายคณะกรรมการ (Board Policy ) 2) โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ ( Board Composition and Qualifi cation) 3) การจัดเตรียมและดําเนินการประชุม (Board Meeting ) 4) แนวปฏิบัติ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Practices , Roles , Duties and Responsibilities of the Board ) ซึ่งประกอบด้วยเรื่องความพร้อมของคณะกรรมการ การจัดการ ความเสี่ยงและการควบคุมภายใน การดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ การติดตามรายงานทางการเงิน การดําเนินงาน การสรรหา การพิจารณาค่าตอบแทน และการประเมินผลงาน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ในการให้ความเห็นชอบแบบประเมินดังกล่าวเป็นประจํา ทุกปี ทั้งนี้ เพื่อให้แบบประเมินมีความสมบูรณ์ ครบถ้วน สอดคล้อง กั บ ความเหมาะสมของสภาวการณ์ ใ นขณะนั้ น ๆ โดยในปี 2557 คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การได้ เ ห็ น ชอบให้ บ ริ ษั ท ฯ เปิ ด เผย ผลการประเมินคณะกรรมการชุดย่อยทั้ง 4 คณะ ในรายงานประจําปี ของบริษัทฯ และได้ปรับปรุงแก้ไขแบบประเมินผลคณะกรรมการ ทั้งคณะและคณะกรรมการชุดย่อย ให้มีความชัดเจน ครอบคลุมการ ปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อย และหน้าที่ความรับผิดชอบ ตามที่ระบุไว้ในกฎบัตร เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การประเมิน การสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย (Corporate Governance Report ) ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย (IOD ) และการประเมิน ASEAN CG Scorecard โดยจัดทําหลักเกณฑ์การประเมินผล คิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็ม ในแต่ละข้อทั้งหมด ดังนี้ มากกว่าร้อยละ 85 มากกว่าร้อยละ 75 มากกว่าร้อยละ 65 มากกว่าร้อยละ 50 ตํ่ากว่าร้อยละ 50
= = = = =
ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
ผลการประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2557 สรุปได้ดังนี้
ตารางแสดงผลการประเมินการปฏิบัติงาน 2557 ของคณะกรรมการบริษัทฯ (%) แบบที่ 1 : ประเมินรายบุคคล (ประเมินตนเอง) 98 แบบที่ 2 : ประเมินทั้งคณะ 97 : ประเมินคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ 98 : ประเมินคณะกรรมการตรวจสอบ 99 : ประเมินคณะกรรมการสรรหา 98 และพิจารณาค่าตอบแทน : ประเมินคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 98 แบบที่ 3 : ประเมินรายบุคคล (ประเมิน 99 กรรมการท่านอื่น) โดยบริษัทฯ จะใช้วิธีการจับสลาก เพื่อสุ่มเลือกกรรมการผู้ประเมิน และผู้ถูกประเมิน
เกณฑ์ ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
สรุปโดยรวมจากการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริษัทฯ ประจําปี 2557 พบว่ามีผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริษัทฯ โดยรวมอยู่ในระดับ “ร้อยละ 98” ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” จากนั้น บริษัทฯ ได้นําเรียนผลประเมินและข้อคิดเห็นต่างๆ ต่อที่ ประชุมคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อร่วมกันสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการให้ดียิ่งขึ้น ต่อไป นอกจากนี้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ยั ง มี ส่ ว นร่ ว มในการอธิ บ ายถึ ง ความคาดหวั ง ของตนเองที่ จ ะ ได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการอีกด้วย การประเมินผลการปฏิบัติงานและการกําหนดค่าตอบแทนของ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทฯ จัดทําการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่ บริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ทุ ก สิ้ น ปี โดยคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผู้ทําการประเมิน และนําเสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขอความเห็นชอบ บริษัทฯ ได้กําหนด เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็น 3 ส่วน (นํ้าหนักการประเมินในแต่ละ ส่วนมีสัดส่วนที่ต่างกัน) ดังนี้ ส่วนที่ 1 - การประเมินผลจากดัชนีชี้วัดผลการดําเนินงาน (Corporate KPI ) ส่วนที่ 2 - การประเมินด้านความเป็นผู้นํา (Leadership Competency )
130
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ส่วนที่ 3 - การประเมินด้านการบริหารงบประมาณและโครงการต่างๆ (Budget and Project Management ) ผลการประเมิ น ดั ง กล่ า วจะถู ก นํ า ไปพิ จ ารณากํ า หนดอั ต ราการ ปรับขึ้นเงินเดือนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการ ใหญ่ และนําเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ ต่อไป อย่างไรก็ตาม สรุปผลการประเมินการปฏิบัติงานของประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ถื อ เป็ น ข้ อ มู ล ลั บ เฉพาะบุคคล จึงไม่สามารถเปิดเผยได้ โดยการกํ า หนดค่ า ตอบแทนของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่นั้น บริษัทฯ มีนโยบายกําหนดค่าตอบแทน ของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ให้อยู่ใน ระดับที่สามารถจูงใจ และอยู่ในระดับที่เทียบเคียงกับบริษัทที่อยู่ใน อุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น โดยคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่ า ตอบแทนเป็ น ผู้ ป ระเมิ น ผลงานประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เ ป็ น ประจํ า ทุ ก ปี เพื่ อ นํ า ไปใช้ ใ นการ พิ จ ารณากํ า หนดค่ า ตอบแทนของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ โดยใช้ บ รรทั ด ฐานที่ ไ ด้ ต กลงกั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ล่ ว งหน้ า ถึ ง เกณฑ์ ก ารประเมิ น ที่ เ ป็ น รู ป ธรรม ตามแนวทางที่ ไ ด้ ก ล่ า วไป ข้ า งต้ น ผลประเมิ น ข้ า งต้ น จะเสนอให้ ค ณะกรรมการพิ จ ารณา ให้ ค วามเห็ น ชอบ และหลั ง จากคณะกรรมการเห็ น ชอบ ประธานกรรมการเป็ น ผู้ สื่ อ สารผลการพิ จ ารณาให้ ป ระธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ทราบ การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ทํ า เอกสารปฐมนิ เ ทศสํ า หรั บ กรรมการใหม่ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลสําคัญต่างๆ อาทิ ลักษณะการประกอบธุรกิจ แนวทางการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ แผนกลยุ ท ธ์ นโยบาย และหลั ก การ กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ จริ ย ธรรมธุ ร กิ จ เป็ น ต้ น รวมถึ ง มี ก ารจั ด การ ปฐมนิ เ ทศให้ แ ก่ ก รรมการใหม่ ด้ ว ยการรั บ ฟั ง การบรรยายจาก ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ แ ละ ผู้บริหารระดับสูง เกี่ยวกับลักษณะการประกอบธุรกิจและแนวทาง การดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ และข้อมูลที่จําเป็นและมีประโยชน์ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ โดยบริษัทฯ มีนโยบายสนับสนุนให้กรรมการ บริษัทฯ เข้าอบรมหลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD ) หรือหลักสูตรและการสัมมนาอื่นๆ เพื่อเป็นการ เพิ่มพูนความรู้ พัฒนา สนับสนุน และส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการบริษัทฯ
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ ได้ส่งเสริมและสนับสนุนการฝึกอบรมและให้ความรู้ในเรื่อง หลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ให้กับกรรมการ กรรมการ เฉพาะเรื่อง ผู้บริหาร เลขานุการบริษัท เป็นต้น เพื่อเป็นการเสริมสร้าง และพัฒนาการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง และมีการพัฒนาผู้บริหาร อย่างต่อเนื่องเพื่อเตรียมความพร้อมสําหรับการหมุนเวียนตําแหน่ง ภายในองค์ ก ร ตั้ ง แต่ ผู้ จั ด การแผนก ผู้ จั ด การส่ ว น ผู้ จั ด การฝ่ า ย รวมทั้ ง เตรี ย มความพร้ อ มสํ า หรั บ การสื บ ทอดตํ า แหน่ ง ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป โดยจัดให้มีการประเมินศักยภาพผู้บริหารระดับสูง รวมถึงจัดให้มีระบบพี่เลี้ยง (Mentoring Program ) เพื่อพัฒนาความ พร้อมในการปฏิบัติงานระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป และสําหรับการ สืบทอดตําแหน่งผู้บริหารระดับสูง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังคัดเลือก ผู้ จั ด การฝ่ า ยขึ้ น ไปตามหลั ก เกณฑ์ ข องโครงการ GLDP ( Group Leadership Development Programme ) ของปตท. เพื่อรับการ ประเมินความสามารถ ความพร้อม จุดแข็งจุดอ่อน เป็นรายบุคคล โดยผู้ประเมินอิสระ และมีการจัดทําแผนพัฒนาผู้บริหารเฉพาะบุคคล โดยสรุ ป ในปี 2557 บริ ษั ท ฯ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี สํ า หรั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นตามตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยกําหนดอย่างครบถ้วน ยกเว้นเรื่องต่อไปนี้ เช่น การลงคะแนนเสียงแบบสะสม (Cumulative Voting ) เนื่องจาก ตามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ หมวดที่ 5 ข้ อ 17 ระบุ ใ ห้ ผู้ ถื อ หุ้ น มี คะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้น ต่อหนึ่งเสียง โดยผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้ คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตามจํานวนหุ้นที่มี เลือกตั้งบุคคลเดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใด มากน้ อ งเพี ย งใดไม่ ไ ด้ และจํ า นวนกรรมการบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง ตาม หลักการกํากับดูแลกิจการ กําหนดให้คณะกรรมการควรประกอบด้วย กรรมการจํานวน 5 - 12 คน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการ บริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการ 14 ท่าน ซึ่งเป็นไปตามที่กําหนดใน ข้อบังคับของบริษัทฯ หมวดที่ 5 ข้อ 16 ซึ่งกําหนดไว้ว่า ให้กรรมการ มี จํ า นวนไม่ น้ อ ยกว่ า 5 คน และไม่ เ กิ น 15 คน เพื่ อ ให้ มี จํ า นวน คณะกรรมการที่ เ หมาะสมกั บ ขนาดและความซั บ ซ้ อ นของธุ ร กิ จ ประกอบด้ ว ยบุ ค คลที่ มี ค วามสามารถ ได้ รั บ ความเชื่ อ ถื อ เป็ น ที่ ยอมรับโดยทั่วไป และต้องมีความหลากหลายของทักษะ อาทิ ทักษะ ทางด้านอุตสาหกรรม ด้านบัญชีการเงิน ด้านธุรกิจ ด้านการจัดการ ด้านกลยุทธ์ ด้านกฎหมาย ด้านการกํากับดูแลกิจการ เป็นต้น
กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการและกรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระและกรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการและกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ กรรมการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง และประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่
5 พลเอกจิระเดช โมกขะสมิต
2 นายวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์
กรรมการที่ครบวาระปี 2557 1 นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกําจร
7 นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล
6 นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์
5 พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี
3 นายสมเกียรติ หัตถโกศล 4 พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว
2 นายธนวัฒน์ อัมพุนันทน์
กรรมการที่ลาออกระหว่างปี 2557 1 นายณอคุณ สิทธิพงศ์
12 นายทวารัฐ สูตะบุตร 13 นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร 14 นายอธิคม เติบศิริ
9 นายยงยุทธ จันทรโรทัย 10 นายพรายพล คุ้มทรัพย์ 11 นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
8 นายทศพร ศิริสัมพันธ์
7 นายณัฐชาติ จารุจินดา
กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
กรรมการ (ลาออก 1 กันยายน 2557) กรรมการอิสระและกรรมการกํากับดูแลกิจการ (ลาออก 29 สิงหาคม 2557) กรรมการอิสระและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (ลาออก 1 กันยายน 2557) กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ (ลาออก 1 กันยายน 2557) กรรมการบริหารความเสี่ยง (ลาออก 31 ธันวาคม 2557)
กรรมการและประธานกรรมการ (ลาออก 16 มิถุนายน 2557) กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ (ลาออก 1 กันยายน 2557)
กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ
3 นายสุวิทย์ เมษินทรีย์ 4 นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร
6 นายถาวร พานิชพันธ์
กรรมการและประธานกรรมการ กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
ตําแหน่ง
1 นายคุรุจิต นาครทรรพ 2 นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์
กรรมการ
DCP 125/2009
DCP 166/2012
DCP 82/2006
DCP 176/2013
DCP 158/2012
DCP 158/2012
DCP 155/2012
DCP 115/2009 DCP 85/2007 DCP 125/2009
DCP 91/2007 DCP 18/2002
DCP 80/2006
DCP 129/2010
DCP 108/2008
DCP 12/2002 DCP 72/2006
DCP 35/2003
Director Certification Program (DCP)
DAP 27/2004
DAP 93/2011
DAP 52/2006
DAP 73/2008
DAP 16/2004
DAP 60/2006 DAP 40/2005
DAP 64/2007
Director Accreditation Program (DAP)
ACP 22/2008
ACP 40/2012
ACP 22/2008
ACP 37/2011 ACP 39/2012
ACP 32/2010 ACP 17/2007
Audit Committee Program (ACP)
RCC 14/2012
RCC 12/2011
RNG 3/2012
RNG 3/2012
Role of the Role of the Nomination and Compensation Governance Committee Committee (RCC) (RNG)
กรรมการบริษัทฯ ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรจากสถาบันส่งเสริมกรรมการบริษัทไทย (IOD) ดังนี้
RCP 26/2011
RCP 21/2009
RCP 28/2012
Role of the Chairman Program (RCP)
FSD 6/2009
FSD 17/2012
FSD 15/2012
FSD12/2011
FSD 10/2010
Financial Statements for Directors (FSD)
FND 24/2005 UFS 5/2006
FND 30/2006
AACP 16/2014
ACEP 10/2014
AACP 9/2012 SFE 14/2012 MFR 16/2012 MFM 8/2012 MIA 13/2012 MIR 13/2012 HRP 1/2012 HMS 1/2012
CDC 6/2012
FND 30/2006
UFS 8/2007
FND 7/2003 UFS 1/2006 DCP Refresher 1/2008 FGP 4/2012 DCP-Refresher 2006 FND 28/2006 FGP 4/2012 ACEP 10/2104 ACCP 10/2014
Others
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
131
132
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ห ลั ก สู ต ร อื่ น ๆ ใ น ป 2 5 5 7 ลําดับ ชื่อ-สกุล
ตําแหน่ง
หลักสูตรที่อบรมปี 2557 หลักสูตร Anti - Corruption for Executive Program (ACEP ) 10/2014 >> หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP ) 15/2014
1
นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
>>
2
นายทศพร ศิริสัมพันธ์
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
>>
3
นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร
กรรมการ
>>
4
พล.อ. ไตรศักดิ์ อินทรรัสมี กรรมการอิสระ และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (ลาออก 1 กันายน 2557)
>>
หลักสูตร Anti - Corruption for Executive Program (ACEP ) 10/2014
5
นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ (ลาออก 1 กันยายน 2557)
>>
หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP ) 16/2014
6
นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการ และกรรมการบริหารความเสี่ยง (ลาออก 31 ธันวาคม 2557)
>>
หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 5 สถาบันวิทยาการพลังงาน
หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 4 สถาบันวิทยาการพลังงาน >> หลักสูตร Corporate Governance : Effectiveness and Accountability in the Boardroom, Kellogg School of Management, Northwestern University ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตร LDP III Leadership Development Program รุ่น 1/2557 >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 57 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
р╕Ъ р╕гр╕┤ р╕йр╕▒ р╕Ч р╣Д р╕Ч р╕в р╕н р╕н р╕в р╕е┬П р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Бр╕▒ р╕Ф ( р╕б р╕л р╕▓ р╕К р╕Щ ) р╕г р╕▓ р╕в р╕З р╕▓ р╕Щ р╕Ы р╕г р╕░ р╕Ир╣Н р╕▓ р╕Ы┬В 2 5 5 7
21
р╕Д р╕з р╕▓ р╕б р╕гр╕▒ р╕Ъ р╕Ьр╕┤ р╕Ф р╕К р╕н р╕Ъ р╕Х┬Л р╕н р╕кр╕▒ р╕З р╕Д р╕б р╕В р╕н р╕З р╣А р╕Д р╕гр╕╖ р╕н р╣Д р╕Ч р╕в р╕н р╕н р╕в р╕е┬П
'├и-5 3 E ─ХA ─Л A & 6' 7A 8 6 9IB. : +6%'5 8 1 ─Ф 1 .5 %B)4.8├╕ B+ )─Х 1 % 1 A '├л 1 E &11&)─Ш E +─Х D '6& 6 +6%&5I &; }┬и├К├И├Й┬╢┬╛├Г┬╢┬╖┬╛├Б┬╛├Й├О ┬з┬║├Е├Д├З├Й~ '4 7 ─М ┬З┬К┬К┬М D 6' 5 7'6& 6 +6%&5I &; '4 7 ─М ┬З┬К┬К┬М '├и - 5 3 E ─Х 5 A);1 A ;J1/6 6%/)5 6' 7/ A ;J1/6 }┬в┬╢├Й┬║├З┬╛┬╢├Б┬╛├Й├О ┬Ц├И├И┬║├И├И├В┬║├Г├Й~ 1 ┬Ь├Б├Д┬╖┬╢├Б ┬з┬║├Е├Д├З├Й┬╛├Г┬╝ ┬Ю├Г┬╛├Й┬╛┬╢├Й┬╛├Л┬║ }┬Ь┬з┬Ю~ '<─Ф 9I ┬Й :I A ─Ы %6 ' 6 .6 ) ─Х6 6''6& 6 B + 6 B)4 ) 6' 7A 8 6 ─Х6 A,'- 8 .5 % B)4.8 ├╕ B+ )─Х1% 5 )─Ф6.< + =─Ф 5 B + 6 6''6& 6 ─Х 1 %= ) A"├┤├╕ % A 8 % A 9I & + 5 1< .6/ ''% J7%5 B)4 ─Ц6 }┬д┬╛├Б ┬╢├Г┬╣ ┬Ь┬╢├И ┬и┬║┬╕├Й├Д├З ┬и├К├Е├Е├Б┬║├В┬║├Г├Й~ C &A ─Л A & ─Х 1 %= ) D '4 5 ' ─Х + }┬Ш├Д├В├Е├З┬║┬╜┬║├Г├И┬╛├Л┬║~ 6%%6 ' 6 9I 7/ E+─Х "'─Х1% 5J 7A. 1 +6% ─Х6+/ ─Х6 D 6' 8 5 8 6%/)5 .6 ) ┬Ж┬Е '4 6' 1 ─Х 1 ) C) B/─Ф ./ '4 6 6 8 }┬к├Г┬╛├Й┬║┬╣ ┬г┬╢├Й┬╛├Д├Г├И ┬Ь├Б├Д┬╖┬╢├Б ┬Ш├Д├В├Е┬╢┬╕├Й ┬П ┬к┬г┬Ь┬Ш~
133
р╕Д р╕з р╕▓ р╕б р╕гр╕▒ р╕Ъ р╕Ьр╕┤ р╕Ф р╕К р╕н р╕Ъ р╕Х┬Л р╕н р╕кр╕▒ р╕З р╕Д р╕б р╕В р╕н р╕З р╣А р╕Д р╕гр╕╖ р╕н р╣Д р╕Ч р╕в р╕н р╕н р╕в р╕е┬П
134
ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ
22
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ
ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ชื่อย่อ
TOP
เลขทะเบียนบริษัทฯ
0107547000711
ประเภทธุรกิจ
บริ ษั ท ฯ เป็ น ผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ การกลั่ น และจํ า หน่ า ยนํ้ า มั น ปิ โ ตรเลี ย มที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในประเทศ ซึ่ ง ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น ในปี พ.ศ. 2504 เป็นโรงกลั่นที่มีประสิทธิภาพสูงสุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมีธุรกิจหลักคือ การกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียม ปัจจุบัน มีกําลังการผลิต 275,000 บาร์เรลต่อวัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังประกอบธุรกิจ อื่ น ๆ ในบริ ษั ท ย่ อ ย ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยธุ ร กิ จ การผลิ ต สารอะโรมาติ ก ส์ และสารตั้ ง ต้ น สํ า หรั บ การผลิ ต สารทําความสะอาด เช่น ผงซักฟอก ธุรกิจการผลิตนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งและ บริการจัดเก็บนํ้ามันดิบ นํ้ามันปิโตรเลียม และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีทางเรือและทางท่อ ธุรกิจด้านการบริหาร จัดการเรือ ธุรกิจพลังงานทดแทน ธุรกิจสารทําละลาย และธุรกิจให้บริการด้านการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร สําหรับเครือไทยออยล์
ทุนจดทะเบียน
20,400,278,730 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดจํานวน 2,040,027,873 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท
จํานวนพนักงาน
770 คน (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557)
สถานที่ตั้ง
สํานักงานกรุงเทพฯ เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย โทรศัพท์ : 0-2797-2999, 0-2797-2900, 0-2299-0000 โทรสาร : 0-2797-2970 สํานักงานศรีราชาและโรงกลั่นนํ้ามัน 42/1 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท กม.ที่ 124 ตําบลทุ่งสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 ประเทศไทย โทรศัพท์ : 0-3840-8500, 0-3835-9000 โทรสาร : 0-3835-1554, 0-3835-1444
เว็บไซต์
www.thaioilgroup.com
แผนกนักลงทุนสัมพันธ์
โทรศัพท์ : 0-2797-2961 E-mail : ir @thaioilgroup.com
0107539000090
เลขทะเบียน
ลงทุนในธุรกิจผลิต 1,250,000,000 ผลิตภัณฑ์สารทําละลาย บาท และเคมีภัณฑ์
0105551116050
บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970
4,654,965,000 บาท
ผลิตและจําหน่ายสาร LAB (สารตั้งต้น สําหรับการผลิต สารทําความสะอาด เช่น ผงซักฟอกและ ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง)
2,572,414,160 บาท
1,757,890,730 บาท
สามัญ
สามัญ
สามัญ
สามัญ
ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น
0105556110246
ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี อะโรมาติกส์ขั้นต้น
ผลิตและจําหน่าย นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน
ประเภทธุรกิจ
บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2974
ธุรกิจปิโตรเคมี บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด 0105539103288 เลขที่ 105/12 หมูท่ ่ี 2 ถนนสุขมุ วิท ตําบลทุง่ สุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : 0-3835-1317-9, 0-3835-1878 โทรสาร : 0-3835-1320
ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970
ชื่อและที่อยู่บริษัท
ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ที่ ไ ท ย อ อ ย ล ถื อ หุ น
125,000,000
465,496,500
257,241,416
175,789,073
จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)
10 บาท/หุ้น
10 บาท/หุ้น
10 บาท/หุ้น
10 บาท/หุ้น
มูลค่าหุ้น
100
75 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยพาราไซลีน)
100
100
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ
135
จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ สารทําละลายและ เคมีภัณฑ์
ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์สารทําละลาย ประเภทไฮโดรคาร์บอน
0105551116491
0105527011880
บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0003, 0-2797-2993 โทรสาร : 0-2797-2983
บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0003, 0-2797-2993 โทรสาร : 0-2797-2983
180,000,000 บาท
1,200,000,000 บาท
ธุรกิจผลิตไฟฟ้า บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970
โทรศัพท์ : +84-83827-9030-4 โทรสาร : +84-83827-9035
0105539103296
เป็นผู้ผลิตไฟฟ้า รายเล็ก (SPP )
เวียดนาม
2,810,000,000 บาท
สามัญ
สามัญ
สามัญ
สามัญ
ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น
TOP Solvent (Vietnam) Limited Liability 472043000745 จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ 178,000,000,000 Go Dau Industrial Zones, Long Thanh District, (จดทะเบียน สารทําละลายและ ดองเวียดนาม Dong Nai Province, Vietnam ทีป่ ระเทศเวียดนาม) เคมีภัณฑ์ในประเทศ
ประเภทธุรกิจ
เลขทะเบียน
ชื่อและที่อยู่บริษัท
281,000,000
17,800,000
1,800,000
120,000,000
จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)
10 บาท/หุ้น
10,000 ดอง เวียดนาม/ หุ้น
100 บาท/หุ้น
10 บาท/หุ้น
มูลค่าหุ้น
73.99
100 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ท็อป โซลเว้นท์)
80.52 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ท็อป โซลเว้นท์)
100 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์)
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
136
ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
เลขทะเบียน
โทรศัพท์ : +65-6734-6540 โทรสาร : +65-6734-3397, +65-6734-5801
ลงทุนในธุรกิจ ให้บริการขนส่ง นํ้ามันดิบและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ทางเรือ
Thaioil Marine International Private Limited 201021606H 391A Orchard Road #12 - 01104, #12 - 05 & (จดทะเบียน 12 - 10 Ngee Ann City Tower A , ที่ประเทศสิงคโปร์) Singapore 238873
เป็นผู้ผลิตไฟฟ้า รายเล็ก (SPP )
ให้บริการขนส่งนํ้ามัน ปิโตรเลียมและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ทางเรือ
0105556198933
ดําเนินธุรกิจไฟฟ้า รวมทั้งการลงทุนและ พัฒนาโครงการด้าน ธุรกิจไฟฟ้าในอนาคต
ประเภทธุรกิจ
0105541047578
ธุรกิจขนส่งนํ้ามัน บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด เลขที่ 223/97 อาคารคันทรี่ คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 22 ถนนสรรพาวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : 0-2361-7500 โทรสาร : 0-2361-7498-9
บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2974
บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จํากัด (มหาชน) 0105556004811 เลขที่ 555/2 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 02-140-4600 โทรสาร : 02-140-4601
ชื่อและที่อยู่บริษัท
9,000,000 เหรียญสหรัฐฯ
970,000,000 บาท
3,500,000,000 บาท
11,237,256,000 บาท
สามัญ
สามัญ
สามัญ
สามัญ
ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น
9,000,000
97,000,000
350,000,000
1,123,725,600
จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)
100
100
11.88 (และ ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ เพาเวอร์ 27.71)
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
1 100 เหรียญ (ถือหุ้นผ่าน สหรัฐฯ/หุ้น บจ. ไทยออยล์ มารีน)
10 บาท/หุ้น
10 บาท/หุ้น
10 บาท/หุ้น
มูลค่าหุ้น
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ
137
เลขทะเบียน
ประเภทธุรกิจ
ให้บริการบริหาร จัดการเรือ และพัฒนา กองเรือในระดับสากล และเป็นที่ปรึกษา และ พัฒนาบุคลากรด้านการ ปฏิบัติการ ด้านเทคนิค และด้านคุณภาพ ในธุรกิจขนส่งทางเรือ
0105551087343
201202478W บริษัทจัดการกองทุน (จดทะเบียน ธุรกิจ ที่ประเทศสิงคโปร์)
บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 88 ซอยบางนา - ตราด 30 ถนนบางนา - ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : 0-2331-0080-5 โทรสาร : 0-2331-0086
TOP - NTL Private Limited 5 Temasek Boulevard #11 - 02 Suntec Tower Five Singapore 038985
20,000 เหรียญสิงคโปร์
3,000,000 บาท
180,000,000 บาท
18,000,000 เหรียญสหรัฐฯ
สามัญ
สามัญ
สามัญ
สามัญ
ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น
20,000
30,000
1,800,000
18,000,000
จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
33.3 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ มารีน)
55 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ มารีน)
1 50 เหรียญ (ถือหุ้นผ่าน สิงคโปร์/หุ้น บจ. ไทยออยล์ มารีน)
100 บาท/หุ้น
100 บาท/หุ้น
International Pte. Ltd.)
1 50 เหรียญ (ถือหุ้นผ่าน สหรัฐฯ/หุ้น Thaioil Marine
มูลค่าหุ้น
ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ
โทรศัพท์ : +65-6361-0383 โทรสาร : +65-6361-0377
ให้บริการเดินเรือ รับส่งลูกเรือและ สัมภาระทางทะเล ในอ่าวไทย
0115554017087
ทางเรือ
บริษัท ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส จํากัด เลขที่ 223/97 อาคารคันทรี่ คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 22 ถนนสรรพาวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : 0-2361-7500 โทรสาร : 0-2361-7498-9
โทรศัพท์ : +65-6290-8405 โทรสาร : +65-6293-2080
TOP - NYK MarineOne Private Limited 201104774G ให้บริการขนส่ง 1 Harbourfront Place #13 - 01, (จดทะเบียน นํ้ามันดิบและ Harbourfront Tower One, Singapore 098633 ที่ประเทศสิงคโปร์) ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
ชื่อและที่อยู่บริษัท
138 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ให้บริการจัดเก็บและ ขนส่งนํ้ามันดิบ ฟีดสต๊อกและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม โดยเรือขนาดใหญ่
0105556123275
บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970
ธุรกิจอื่นๆ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970 ให้บริการ บริหารจัดการ ด้านการสรรหาและ คัดเลือกบุคคลากร
ลงทุนในธุรกิจ เอทานอล และ ผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม พลังงานทางเลือก
0105550078006
0105551121754
บริการขนส่งผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมสําเร็จรูป ทางท่อ
ประเภทธุรกิจ
เลขทะเบียน
บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด 0105534002696 เลขที่ 2/8 หมู่ 11 ถนนลําลูกกา ตําบลลาดสวาย อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150 โทรศัพท์ : 0-2991-9130-59 โทรสาร : 0-2533-2186
บริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จํากัด เลขที่ 88 ซอยบางนา - ตราด 30 ถนนบางนา - ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : 0-2331-0080-5 โทรสาร : 0-2331-0086
ชื่อและที่อยู่บริษัท
1,450,000,000 บาท
40,000,000 บาท
8,479,000,000 บาท
150,000,000 บาท
สามัญ
สามัญ
สามัญ
สามัญ
ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น
145,000,000
4,000,000
84,790,000
1,500,000
จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)
10 บาท/หุ้น
10 บาท/หุ้น
100 บาท/หุ้น
100 บาท/หุ้น
มูลค่าหุ้น
100
100
9.19
TOP - NTL)
35 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ มารีน) 30 (ถือหุ้นผ่าน
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ
139
ผลิตและจําหน่าย เอทานอลจาก มันสําปะหลัง
ผลิตและจําหน่าย เอทานอลจากอ้อย และกากนํ้าตาล
ผลิตและจําหน่าย เอทานอลจาก มันสําปะหลัง และกากนํ้าตาล ให้บริการด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
ให้บริการคําปรึกษา และอื่นๆ ด้านเทคนิค วิศวกรรม
0105549129891
0345550000315
0105549076496
0105554075621
บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด เลขที่ 191/18 - 25 อาคารซีทีไอ ทาวเวอร์ ชั้น 26 - 27 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2656-7761-3 โทรสาร : 0-2251-1138
บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด เลขที่ 333 หมู่ที่ 9 ตําบลนาดี อําเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี โทรศัพท์ : 045-252-777 โทรสาร : 045-252-776
บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 4 - 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2140-2000 โทรสาร : 0-2140-2999
บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด เลขที่ 555 อาคาร 2 สํานักงานใหญ่ ชั้น 7 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2537-3645 โทรสาร : 0-2537-3685
ประเภทธุรกิจ
0105539017543
เลขทะเบียน
บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด เลขที่ 68 ซอยสันติภาพ ถนนทรัพย์ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0-2233-0444-5 โทรสาร : 0-2233-0441
ชื่อและที่อยู่บริษัท
สามัญ
สามัญ
สามัญ
สามัญ
สามัญ
1,500,000
15,000,000
2,740,000
67,500,000
8,000,000
จํานวนหุ้น จําหน่ายแล้ว (หุ้น)
100 บาท/หุ้น
10 บาท/หุ้น
1,000 บาท/หุ้น
10 บาท/หุ้น
100 บาท/หุ้น
มูลค่าหุ้น
20
20
21.28 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ เอทานอล)
30 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ เอทานอล)
50 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ เอทานอล)
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ
150,000,000 บาท
150,000,000 บาท
2,740,000,000 บาท
675,000,000 บาท
800,000,000 บาท
ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น
140 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
141
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ข อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ ฯ
บุ ค ค ล อ า ง อิ ง นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2800, 0-2229-2888 (Call center )
ผู้สอบบัญชี บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ชั้น 51 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ 1 เลขที่ 195 ถนนสาธรใต้ กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 0-2677-2000 โทรสาร : 0-2677-2222
นายทะเบียนหุ้นกู้และตัวแทนชําระเงิน ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) Head of Marketing & Sales Investor Services เลขที่ 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-1830 โทรสาร : 0-2299-1028
อื่นๆ (กรณีการแจ้งใบหุ้นสูญหาย / การเปลี่ยนแปลงข้อมูลผู้ถือหุ้น และงานให้บริการผู้ถือหุ้นอื่นๆ)
ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) Head of Marketing & Sales Investor Services เลขที่ 333 อาคารตรีทิพย์ ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0-2230-1477, 0-2230-1478 โทรสาร : 0-2626-4545-6 ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) Head of Marketing & Sales Investor Services เลขที่ 400/22 อาคารสํานักพหลโยธิน ถนนสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2470-6662 โทรสาร : 0-2273-2279
Counter Service ชั้น 1 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2888 (Call center ) หรือ ส่วนบริการผู้ออกหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2870-80 โทรสาร : 0-2654-5642, 0-2654-5645
142
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
โ ค ร ง ส ร า ง ธุ ร กิ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล
โ ค ร ง ส ร า ง ธุ ร กิ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล
23
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
<' 8 6' )5I J7%5
<' 8 ċC 'A %9B)4 J7%5 /)Ĕ1);I "÷J 6 )((
% E &11&)Ę
)((
E &"6'6E )9
7)5 6' )5I 275,000 บาร์เรล/วัน
% E &)= ĕ A .
.6'14C'%6 8 .Ĝ กำลังการผลิต : "6'6E )9 527,000 ตัน/ปี %8 ĜE )9 52,000 ตัน/ปี A 9 259,000 ตัน/ปี '+% 838,000 ตัน/ปี
B") #1'ĜA% 1.8 ล้านตัน/ปี
J7%5 /)Ę1);I "÷J 6 กำลังการผลิต : J7%5 /)Ę1);I "÷J 6 267,015 ตัน/ปี &6 %4 1& 350,000 ตัน/ปี J7%5 &6 %)"ô- I7 67,520 ตัน/ปี
*- บจ. มิตซุย แอนด์ คัมปนี
/- )6 8 Ę ผลิตและจำหน่ายสาร LAB กำลังการผลิต : 100,000 ตัน/ปี เริ่มดำเนินการเชิงพาณิชย์ : ปี 2558
)(( E &11&)Ę C )A+ĕ Ę )((
H1 C )A+ĕ Ę จัดจำหน่ายสารทำละลายในประเทศไทย 0(&-
,5 8ME &.8 8 กำลังการผลิต : 141,000 ตัน/ปี
<' 8 /)5
)((
H1 C )A+ę Ĝ A+é& 6% จัดจำหน่ายสารทำละลาย ในประเทศเวียดนาม
A.'è%.'ĕ6 '6&E ĕ
143
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
โ ค ร ง ส ร า ง ธุ ร กิ จ ข อ ง เ ค รื อ ไ ท ย อ อ ย ล
บริษัทฯ เป็นผู้ประกอบธุรกิจการกลั่นและจำหน่ายนํ้ามันปิโตรเลียมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2504 เป็นโรงกลั่นที่มีประสิทธิภาพ สูงสุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมีธุรกิจหลักคือ การกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียม ปัจจุบัน มีกำลังการผลิต 275,000 บาร์เรลต่อวัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังประกอบธุรกิจอื่นๆ ในบริษัทย่อย ซึ่งประกอบด้วยธุรกิจการผลิตสารอะโรมาติกส์ และสารตั้งต้น สำหรับการผลิตผลิตภัณฑ์สารทำความสะอาด เช่น ผงซักฟอก ธุรกิจการผลิตนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งและ บริการจัดเก็บนํ้ามันดิบ นํ้ามันปิโตรเลียม และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ทางเรือและทางท่อ ธุรกิจด้านการบริหารจัดการเรือ ธุรกิจพลังงานทดแทน ธุรกิจสารทำละลายและเคมีภัณฑ์ และธุรกิจการให้บริการด้านบริหารจัดการ ด้านการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร
<' 8 E##Đ6 /,
*. บมจ. ปตท.
E &11&)Ę A "6A+1'Ę 6&E##Ĕ6B)4E1 J7D/ę )<Ę% ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม (ก๊าซธรรมชาติ) กำลังการผลิต : ไฟฟ้า 118 เมกะวัตต์ ไอน้ำ 168 ตัน/ชั่วโมง
)(( H1 A1."õ"õ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก(SPP) 2 โรง กำลังการผลิตรวม : 239 เมกะวัตต์ เริ่มดำเนินการเชิงพาณิชย์ : ปี 2559
บมจ. ปตท. +(&) บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล +(&+ */&/ % C ) 1) A"6A+1'Ę 8 A 1'Ę&9I ))&1 ธุรกิจผลิตไฟฟ้าของกลุ่ม ปตท.
กำลังการผลิต : ไฟฟ้า 1,038 เมกะวัตต์ ไอน้ำ 1,340 ตัน/ชั่วโมง กำลังการผลิตรวม : 1,357 เมกะวัตต์
<' 8 .Ĕ B)4 <' 8 1;I G )((
E &11&)Ę % 6'é A'ë1 .Ę ďC 'A)9&% ďC 'A %9 )7 กำลังการขนส่งรวม : 51,250 ตันบรรทุก
)((
E &11&)Ę A1 6 1) +-
+-
กลุ่มมิตรผล
บมจ.ผาแดงอินดัสทรี
B%Ę.1 ")5
6 .416
A'ë1 .Ę J7%5 8 6 D/gĘ )7 กำลังการขนส่งรวม : 881,500 ตันบรรทุก
+( เอทานอลจากอ้อย
A'ë1'5 .Ę )= A'ë1 .5%$6'4 åå )7 กำลังการขนส่ง : 120 ตันบรรทุกต่อลำ
-( เอทานอลจากมันสำปะหลัง
A'ë1 6 D/gĘ )7 A"÷I1 7A 8 <' 8 D/ę 'è 6' 5 A H .Ę J7%5 8 #í . Ě1 B)4 )8 $5 Ĝ ďC 'A)9&% กำลังการขนส่งรวม : 200,000 ตันบรรทุก D/ę 'è 6' 6 ę6 6' 'è/6' 5 6'A'ë1 B)4"5 6 1 A'ë1
กำลังการผลิต : 230,000 ลิตร/วัน
'5"&Ĝ 8"&Ĝ
กำลังการผลิต : 200,000 ลิตร/วัน -/&,
อื่นๆ
*)&+
บมจ. บางจากปิโตรเลียม
1< ) E C1 A1 6 1)
*)&+ เอทานอลจากมันสำปะหลังและกากนํา้ ตาล กำลังการผลิต : 400,000 ลิตร/วัน
E &11&)Ę A1 A 1'Ę&9 )(( A 1'Ę+è. ดำเนินธุรกิจให้บริการด้านการสรรหา และคัดเลือกบุคลากร
,(&, บมจ.ปตท. -(&, อื่นๆ
1&* Ĕ1.Ĕ ċC 'A)9&%E & ท่อขนส่งปิโตรเลียม กำลังการขนส่ง : 26,000 ล้านลิตร/ปี
0( กลุ่ม ปตท.
"õ 9 9 A1 A 1'Ę&9I C )= 5I .Ę ดำเนินธุรกิจที่ปรึกษาบริการ ด้านเทคนิควิศวกรรม
*(
0( กลุ่ม ปตท.
"õ 9 9 E1 9 9 C )= 5I .Ę ให้บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร
A"ôø% +6%%5I D '6&E ĕ
. 5 . < ĕ6 6' )6 B)4A"ôø% '4.8 8$6"D 6' 7A 8 6
*(
144
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
โ ค ร ง ส ร า ง ร า ย ไ ด
24
โ ค ร ง ส ร า ง ร า ย ไ ด
บริษัทฯ มีรายได้จากธุรกิจกลั่นนํ้ามันเป็นหลัก นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีรายได้จากธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ธุรกิจปิโตรเคมี ธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและเคมีภัณฑ์ และอื่นๆ โดยมีรายละเอียดปรากฏตามตารางแสดงรายได้ดังต่อไปนี้ (จํานวนเงิน หน่วย : ล้านบาท)
รอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2556 2557 ดําเนิน % การถือหุน้ (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) การโดย (3) ของบริษัทฯ จํานวนเงิน % จํานวนเงิน % จํานวนเงิน ก. ขายสุทธิ 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน 2. ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน 3. ธุรกิจปิโตรเคมี 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า (5) 5. ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและเคมีภัณฑ์ 6 ธุรกิจสารทําละลาย (4) 7. ธุรกิจเอทานอล (4) 8. อื่นๆ หัก รายการระหว่างกัน รวม
%
TOP TLB TPX TP/IPT TM Thaioil Solvent TET TES
100 100 74/24 100 100 100 100
434,850 29,089 67,861 15,949 1,233 9,856 615 377 (113,573) 446,257
96 6 15 4 2 (25) 98
409,229 26,954 64,520 5,416 1,231 9,781 1,505 516 (104,577) 414,575
98 6 15 2 3 (25) 99
389,779 26,560 56,711 5,219 1,199 9,822 1,703 561 (101,465) 390,090
99 7 15 1 2 (26) 98
TOP TPX
100
892 (2) 890
-
1,292 1,292
-
2,218 2,218
1 1
ค. กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ (1) 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน TOP 2. ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน TLB 3. ธุรกิจปิโตรเคมี TPX 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า (5) TP/IPT/TOP SPP 5. ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและเคมีภัณฑ์ TM (4) 6. ธุรกิจสารทําละลาย Thaioil Solvent รวม
100 100 74/24/100 100 100
1,927 16 10 24 3 7 1,987
1 1
-
-
872 38 27 35 3 21 996
-
ข. กําไรจากอนุพันธ์เพื่อประกัน ความเสี่ยงสุทธิ 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน 2. ธุรกิจปิโตรเคมี รวม
145
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
โ ค ร ง ส ร า ง ร า ย ไ ด
(จํานวนเงิน หน่วย : ล้านบาท)
รอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2556 2557 ดําเนิน % การถือหุน้ (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) การโดย (3) ของบริษัทฯ จํานวนเงิน % จํานวนเงิน % จํานวนเงิน ง. รายได้อื่น (2) 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน 2. ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน 3. ธุรกิจปิโตรเคมี 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า (5) 5. ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและเคมีภัณฑ์ 6. ธุรกิจสารทําละลาย (4) 7. ธุรกิจเอทานอล (4) 8. อื่นๆ หัก รายการระหว่างกัน รวม รวมรายได้ (ก – ง)
TOP TLB TPX TP/IPT TM Thaioil Sovent TET TES
100 100 74/24 100 100 100 100
2,047 376 406 919 23 21 24 (1,649) 2,167 451,301
1 1 100
3,086 166 444 35 26 20 24 24 (1,751) 2,074 417,941
1 1 100
3,222 138 393 23 16 23 22 1 (1,753) 2,085 395,389
% 1 1 100
หมายเหตุ (1) ปี 2556 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ (2) ได้แก่ ดอกเบี้ยรับ เงินชดเชยภาษีสินค้าส่งออก รายได้จากการให้บริการแก่บริษัทในเครือฯ ค่าเช่าที่ดิน ค่าบริการใช้ทุ่นผูกเรือนํ้าลึก ค่าเช่าถังเก็บนํ้ามัน เป็นต้น (3) TOP หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) TLB หมายถึง บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) TPX หมายถึง บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด ถือหุ้นตามสัดส่วนในบริษัท ลาบิกซ์ จํากัด TP หมายถึง บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด ซึ่งบริษัทฯ เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นจากเดิมร้อยละ 55 เป็นร้อยละ 74 เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2555 IPT หมายถึง บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อม ผ่าน TP ร้อยละ 56 และถือหุ้นทางตรงอีกร้อยละ 24 จนถึงเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด และบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด ถูกควบรวมเป็นบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด TOP SPP หมายถึง บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด TM หมายถึง บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด ซึ่งถือหุ้นตามสัดส่วนในบริษัท Thaioil Marine International Pte. Ltd. และบริษัท ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส จํากัด Thaioil Solvent หมายถึง บริษทั ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด ซึง่ ถือหุน้ ตามสัดส่วนในบริษทั ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด บริษทั ศักดิไ์ ชยสิทธิ จํากัด และ TOP Solvent (Vietnam) LLC. TET หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด ซึ่งถือหุ้นตามสัดส่วนในบริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด TES หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด (4) ปี 2555 ได้ปรับปรุงย้อนหลังการนําเสนอส่วนงานใหม่ คือ ส่วนงานธุรกิจสารทําละลาย และส่วนงานธุรกิจเอทานอล ซึ่งนําเสนอแยกออกจากส่วนงานธุรกิจปิโตรเคมี และธุรกิจอื่นๆ (5) ปรับปรุงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีโดยปรับปรุงย้อนหลังในงบการเงินของบริษัทในกลุ่มธุรกิจผลิตไฟฟ้า
146
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ฝ า ย จั ด ก า ร
25
คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ฝ า ย จั ด ก า ร
ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น – ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม
2557
2556(1)
+/-
เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
6.2
6.8
(0.6)
เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ล้านบาท ล้านบาท EBITDA ล้านบาท ต้นทุนทางการเงิน ล้านบาท กําไร / (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน ล้านบาท รายได้ / (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้ ล้านบาท กําไร (ขาดทุน) สุทธิ ล้านบาท กําไร (ขาดทุน) สุทธิ บาทต่อหุ้น ผลกระทบจากสต๊อกนํ้ามัน ล้านบาท รายการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือให้เท่ามูลค่าสุทธิที่จะได้รับ (NRV ) ล้านบาท กําไรสุทธิไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกนํ้ามันและ NRV ล้านบาท
1.9 390,090 2,218 2,651 (3,966) 996 920 (4,026) (1.97) (14,439) (2,451) 12,864
7.6 414,575 1,292 22,337 (3,786) (3,111) (1,160) 9,316 4.57 2,624 0 6,692
(5.7) (24,485) 926 (19,686) (180) 4,107 2,080 (13,342) (6.54) (17,063) (2,451) 6,172
กําไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่ม ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกนํ้ามัน (2) กําไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่ม รวมผลกระทบจากสต๊อกนํ้ามัน (2) รายได้จากการขาย กําไรจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยง
หมายเหตุ (1) งบการเงินประจําปี 2556 ปรับปรุงใหม่ เนื่องจากตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 เครือไทยออยล์ถือปฏิบัติตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (TFRIC 4) เรื่องการประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ (2) กําไรขั้นต้นจากการผลิตรวมของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) (TOP) บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด (TPX) และ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) (TLB)
ในปี 2557 เครือไทยออยล์มุ่งเน้นการดําเนินธุรกิจที่เน้นความเป็นเลิศ ในการปฏิบัติงาน (Operational Excellence ) ประกอบกับมีการ ปิดซ่อมบํารุงใหญ่ของโรงกลั่นและโรงผลิตสารอะโรมาติกส์ ซึ่งสําเร็จ ลุล่วงลงด้วยดี การซ่อมบํารุงดังกล่าวทําให้ปริมาณวัตถุดิบป้อน เข้าสู่กระบวนการผลิตของกลุ่มลดลงจากปีก่อน 13,000 บาร์เรล ต่ อ วั น มาอยู่ ที่ 281,000 บาร์ เรลต่ อ วั น นอกจากนี้ ระดั บ ราคา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ ป รั บ ลดลงจากปี ก่ อ น เนื่ อ งจากภาวะเศรษฐกิ จ โลก ชะลอตั ว ส่ ง ผลให้ อุ ป สงค์ ก ารใช้ นํ้ า มั น สํ า เร็ จ รู ป ลดลง ทั้ ง ยั ง มี ความกังวลเกี่ยวกับอุปทานจะล้นตลาดอีกด้วย ส่งผลให้มีรายได้จาก การขาย 390,090 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 6 จากปีก่อน นอกจากนี้ ตลาดสารอะโรมาติกส์ยงั ได้รบั ผลกระทบจากอุปทานทีเ่ พิม่ เข้ามาใหม่ ในตลาดอย่างต่อเนื่อง ขณะที่อุปสงค์จากผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ปลายนํ้า กลับลดลงจากภาวะเศรษฐกิจจีนที่ชะลอตัวลง ทําให้ส่วนต่างราคา สารพาราไซลีนและนํ้ามันเบนซิน 95 ปรับลดลง ขณะที่ตลาดนํ้ามัน หล่อลื่นพื้นฐานยังคงได้รับแรงกดดันจากอุปทานที่เพิ่มขึ้น ทําให้เกิด การแข่งขันด้านราคาระหว่างนํา้ มันหล่อลืน่ พืน้ ฐาน กรุป๊ 1 และกรุป๊ 2 ตั้งแต่ช่วงกลางปีที่ผ่านมา ปัจจัยข้างต้นส่งผลให้เครือไทยออยล์ มีกําไรขั้นต้นจากการผลิตรวมของกลุ่มไม่รวมผลกระทบจากสต๊อก
นํ้ามันอยู่ที่ 6.2 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลง 0.6 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล อย่างไรก็ตาม จากการที่ราคานํ้ามันในตลาดโลกอ่อนตัวลง ตั้งแต่ช่วงหลังของปี 2557 โดยราคานํ้ามันดิบดูไบปรับลดลงมา สู่ระดับตํ่าสุดในรอบ 6 ปีในเดือนธันวาคม 2557 ทําให้มีผลขาดทุน จากสต๊อกนํ้ามัน 4.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล หรือ 14,439 ล้านบาท และมี ร ายการปรั บ ลดมู ล ค่ า สิ น ค้ า คงเหลื อ ให้ เ ท่ า มู ล ค่ า สุ ท ธิ ที่ จ ะ ได้รับจํานวน 2,451 ล้านบาท โดยกําไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่ม รวมผลขาดทุนจากสต๊อกนํ้ามันปรับลดลงมาอยู่ที่ 1.9 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล อย่างไรก็ดี เครือไทยออยล์ได้มีการบริหารความเสี่ยงด้าน ราคาอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ทํ า ให้ มี กํ า ไรจากอนุ พั น ธ์ เ พื่ อ ประกั น ความเสี่ ย งสุ ท ธิ 2,218 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 926 ล้ า นบาท ดั ง นั้ น เครือไทยออยล์จึงมี EBITDA ลดลง 19,686 ล้านบาท เป็น 2,651 ล้านบาท นอกจากนี้ เครือไทยออยล์มีต้นทุนทางการเงิน 3,966 ล้านบาท และมีกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ 996 ล้านบาท ทั้งนี้ บริษัทฯ บันทึกภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจากการขาดทุนทางภาษีจํานวน 920 ล้านบาท จึงทําให้ในปี 2557 เครือไทยออยล์ขาดทุนสุทธิ 4,026 ล้านบาทหรือขาดทุนสุทธิต่อหุ้น 1.97 บาท
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น แ ย ก ร า ย บ ริ ษั ท บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) (TOP ) มีการใช้กําลังการกลั่น ร้ อ ยละ 98 คิ ด เป็ น ปริ ม าณวั ต ถุ ดิ บ ที่ ป้ อ นเข้ า สู่ ก ระบวนการผลิ ต 269,000 บาร์ เรลต่ อ วั น โดยมี ก ารหยุ ด ซ่ อ มบํ า รุ ง ใหญ่ ต ามแผน ในหน่วยกลั่นนํ้ามันดิบที่ 3 (Crude Distillation Unit - 3 : CDU - 3) หน่วยเพิ่มออกเทนด้วยสารเร่งปฏิกิริยาหน่วยที่ 1 (Continuous Catalyst Regeneration Platformer Unit - 1 : CCR - 1) และ หน่วยย่อยอื่นๆ เป็นเวลา 46 วัน ประกอบกับราคานํ้ามันสําเร็จรูป ได้ อ่ อ นตั ว ลงจากปี ก่ อ น ทํ า ให้ ร ายได้ จ ากการขายลดลง 19,450 ล้านบาท มาอยู่ที่ 389,779 ล้านบาท โดยมีกําไรขั้นต้นจากการกลั่น ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกนํ้ามัน 5.7 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้น 1.4 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล อย่างไรก็ตาม ราคานํ้ามันดิบ ได้อ่อนตัวลงอย่างมากในช่วงครึ่งปีหลัง ทําให้ TOP มีผลขาดทุน จากสต๊อกนํ้ามันอยู่ที่ 4.5 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่งผลให้ EBITDA ติดลบ 721 ล้านบาท ทั้งนี้ TOP มีกําไรจากอนุพันธ์เพื่อประกัน ความเสี่ยง 2,218 ล้านบาท กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 873 ล้านบาท และกํ า ไรจากการกลั บ รายการด้ อ ยค่ า ของที่ ดิ น 386 ล้ า นบาท ส่งผลให้ TOP มีกําไรสุทธิก่อนเงินปันผลรับลดลง 8,042 ล้านบาท มาอยู่ที่ขาดทุนสุทธิก่อนเงินปันผลรับ 5,030 ล้านบาท (เมื่อรวม เงินปันผลรับจะมีกําไรสุทธิ 934 ล้านบาท) สําหรับปี 2557 บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด (TPX) มีอัตราการผลิตสารอะโรมาติกส์ ร้อยละ 82 โดยมีรายได้จากการขาย 56,711 ล้านบาท ลดลง 7,808 ล้ า นบาท เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ก่ อ น สาเหตุ จ ากส่ ว นต่ า งราคาของ สารอะโรมาติกส์กับนํ้ามันเบนซิน 95 ลดลงจากอุปทานที่ล้นตลาด จากโรงผลิตแห่งใหม่ ประกอบกับอุปสงค์ที่ชะลอตัวลงตามเศรษฐกิจ ของจี น ทํ า ให้ Product to Feed Margin ปรั บ ตั ว ลดลงถึ ง 101 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ส่งผลให้ EBITDA ติดลบ 211 ล้านบาท และ มีขาดทุนสุทธิ 1,309 ล้านบาท สําหรับ LABIX (TPX ถือหุ้นในสัดส่วน ร้อยละ 75) อยู่ในระหว่างดําเนินการก่อสร้าง โดยในปี 2557 LABIX มีค่าใช้จ่ายดําเนินงาน 33 ล้านบาท มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 85 ล้ า นบาท และมี ต้ น ทุ น ทางการเงิ น สุ ท ธิ 92 ล้ า นบาท ดั ง นั้ น ในปี 2557 LABIX จึ ง มี ผ ลขาดทุ น สุ ท ธิ 211 ล้ า นบาท เมื่ อ รวม ผลการดําเนินงานของ LABIX ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ทําให้กลุ่มธุรกิจ ผลิตสารอะโรมาติกส์มี EBITDA ติดลบ 244 ล้านบาท และมีผล ขาดทุนสุทธิ 1,467 ล้านบาท บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) (TLB ) มีอัตราการใช้กําลัง การผลิตนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานร้อยละ 92 โดยมีรายได้จากการขาย 26,560 ล้านบาท ลดลง 394 ล้านบาทจากปีก่อน เนื่องจากราคาขาย
147
คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ฝ า ย จั ด ก า ร
ของนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานที่ปรับตัวลดลงจากอุปทานของนํ้ามัน หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐาน กรุ๊ ป 2 ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น มากจนทํ า ให้ เ กิ ด การแข่ ง ขั น ทางด้านราคาอย่างรุนแรงกับนํา้ มันหล่อลืน่ พืน้ ฐาน กรุป๊ 1 และยังเป็น ปัจจัยกดดันให้ Product to Feed Margin อ่อนตัวลง 32 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน มาอยู่ที่ 112 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ทําให้มี EBITDA 1,757 ล้านบาท ลดลง 582 ล้านบาท เมื่อหักค่าใช้จ่ายดําเนินงานและ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ทําให้ในปี 2557 TLB มีกําไรสุทธิ 1,112 ล้านบาท ลดลง 556 ล้านบาทจากปีก่อน บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด (TP ) มีอัตราการใช้กําลังการผลิต ร้อยละ 89 โดยมีรายได้จากการขาย 5,219 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 87 ล้านบาทจากปี 2556 และมี EBITDA 696 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 55 ล้ า นบาท ทั้ ง นี้ TP มี กํ า ไรสุ ท ธิ โ ดยไม่ ร วมส่ ว นแบ่ ง กํ า ไรจากการ ลงทุนใน GPSC จํานวน 368 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเพียง 11 ล้านบาท จากปีก่อน เนื่องจาก TP มีต้นทุนทางการเงินสูงขึ้น 43 ล้านบาท ทั้งนี้ เครือไทยออยล์บันทึกส่วนแบ่งกําไรจากการลงทุนใน GPSC เฉพาะส่วนของกลุ่มบริษัทสําหรับปี 2557 รวม 591 ล้านบาท ซึ่งสูง กว่าปีก่อน 123 ล้านบาท ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 เครือไทยออยล์ได้นําการตีความ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (TFRIC 4) เรื่อง การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ มาถือปฎิบัติ และได้ปรับปรุงผลกระทบดังกล่าวย้อนหลัง จากเดิมที่เครือไทยออยล์ รายงานกําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนเฉพาะส่วนของกลุ่มบริษัท ในปีก่อนจํานวน 450 ล้านบาท เป็นขาดทุนจากการจําหน่ายเงิน ลงทุนเฉพาะส่วนของกลุ่มบริษัทจํานวน 749 ล้านบาท บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด (Thaioil Solvent ) มีอัตรา การผลิตสารละลายร้อยละ 91 (เริ่มคํานวณโดยใช้กําลังการผลิต ติดตั้งใหม่ที่ 141,000 ตันต่อปี ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2557) ลดลง จากร้อยละ 130 ในปี 2556 ซึ่งคํานวณจากกําลังการผลิตติดตั้งเดิมที่ 76,000 ตันต่อปี ทั้งนี้ กลุ่มธุรกิจมีรายได้จากการขายรวม 9,822 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2556 จํานวน 41 ล้านบาท เนื่องจากราคาขาย สารละลายเฉลี่ยต่อหน่วยที่ปรับเพิ่มขึ้นจากปีก่อน อย่างไรก็ตาม จากอั ต รากํ า ไรขั้ น ต้ น ที่ ล ดลงในปี 2557 ประกอบกั บ มี ร ายการ ปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับจํานวน 22 ล้านบาท ส่งผลให้กลุ่มธุรกิจมี EBITDA 406 ล้านบาท ลดลง 94 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา เมื่อรวมค่าเสื่อมราคาที่เพิ่มขึ้น 24 ล้ า นบาท และต้ น ทุ น ทางการเงิ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เล็ ก น้ อ ย ขณะที่ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ลดลง 33 ล้านบาท กลุ่มธุรกิจไทยออยล์ โซลเว้นท์ มีกําไรสุทธิ 153 ล้านบาท ลดลง 79 ล้านบาทจากปี 2556
148
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ฝ า ย จั ด ก า ร
บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด (TM ) มีอัตราการใช้เรือร้อยละ 92 โดยมีรายได้จากการให้บริการรวม 1,199 ล้านบาท ลดลง 32 ล้านบาท จากจํ า นวนเรื อ ที่ ล ดลง ส่ ง ผลให้ EBITDA ลดลง 73 ล้ า นบาท นอกจากนี้ TM มีส่วนแบ่งผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมรวม 28 ล้านบาท โดยมีเหตุผลหลักมาจากการเข้าอู่แห้งของเรือ VLCC ในปีนี้ เมื่อหักต้นทุนทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ และค่าเสื่อม ราคา TM มีกําไรสุทธิรวม 98 ล้านบาท ลดลง 20 ล้านบาทจากปีก่อน บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด (TET ) TET รับรู้รายได้จาก การขายรวม 1,703 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 198 ล้านบาทจากปี 2556 ตามปริมาณจําหน่ายเอทานอลที่สูงขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการขยายตัว
ของจํานวนสถานีบริการนํ้ามันและปริมาณรถยนต์รุ่นใหม่ที่สามารถ รองรั บ แก๊ ส โซฮอล์ ป ระเภท E 20 และ E 85 ช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ ความต้ อ งการใช้ แ ก๊ ส โซฮอล์ ใ นประเทศเพิ่ ม ขึ้ น จากปี ก่ อ น อย่างไรก็ตาม จากอัตรากําไรขั้นต้นที่ลดลง ทําให้ TET มี EBITDA 292 ล้านบาท ลดลง 56 ล้านบาทจากปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ TET มี ส่ ว นแบ่ ง ขาดทุ น จากการลงทุ น ในบริ ษั ท ร่ ว มทั้ ง สองแห่ ง รวม จํ า นวน 4 ล้ า นบาทในปี 2557 เมื่ อ เที ย บกั บ ส่ ว นแบ่ ง กํ า ไรจาก การลงทุนรวมจํานวน 32 ล้านบาทในปี 2556 เมื่อหักต้นทุนทาง การเงินรวม 61 ล้านบาทแล้ว ทําให้ TET มีกําไรสุทธิ 57 ล้านบาท ลดลง 57 ล้านบาทจากปีก่อน
วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น - ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ฐานะการเงิน (ล้านบาท) สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม
สินทรัพย์รวม ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2557 บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยมี สิ น ทรั พ ย์ รวมทั้งสิ้น 192,802 ล้านบาท ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จํานวน 15,860 ล้านบาท สาเหตุหลักจากสินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ ลดลง จากลูกหนี้การค้าลดลง 12,606 ล้านบาท และสินค้าคงเหลือลดลง 19,975 ล้านบาท ตามราคานํ้ามันดิบและนํ้ามันสําเร็จรูปที่อ่อนตัว ลง ขณะที่สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้นจากที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ จํานวน 13,531 ล้านบาทจากการลงทุนในโครงการต่างๆ และมี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น 1,306 ล้านบาท หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 105,763 ล้านบาท ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จํานวน 7,918 ล้านบาท สาเหตุหลักเกิดจากเจ้าหนี้การค้าและภาษีเงินได้ค้างจ่าย ลดลง 13,743 ล้านบาทและ 573 ล้านบาท ตามลําดับ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนี้เงินกู้ระยะยาวและหุ้นกู้ (รวมส่วนที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งปี) เพิ่มขึ้น 5,404 ล้านบาท จากการที่บริษัทฯ
31 ธันวาคม 2557
31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่)
+/-
192,802 105,763 87,039
208,662 113,681 94,981
(15,860) (7,918) (7,942)
ได้ออกหุ้นกู้จํานวน 15,000 ล้านบาท เพื่อใช้เป็นเงินลงทุน และ/หรือ เงินทุนหมุนเวียน และบริษัทฯ ได้ชําระหนี้หุ้นกู้ที่ครบกําหนดในเดือน กุมภาพันธ์ 2557 จํานวน 12,000 ล้านบาท อีกทั้ง บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด ได้กู้ยืมเงิน จํานวน 2,564 ล้านบาท เพื่อใช้ในโครงการก่อสร้างโรงงาน และบริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด ได้กู้ยืมเงินอีกจํานวน 178 ล้านบาท เพื่อใช้ในการขยายโรงงาน ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีส่วนของผู้ถือหุ้น รวมทั้งสิ้น 87,039 ล้านบาท ลดลง 7,942 ล้านบาท จาก ณ วันที่ 31 ธั น วาคม 2556 เนื่ อ งจากผลขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ รวมจากผลการ ดําเนินงานปี 2557 จํานวน 3,700 ล้านบาท และเงินปันผลจ่ายของ บริษัทฯ และบริษัทในเครือฯ รวม 4,242 ล้านบาท
วิ เ ค ร า ะ ห ก ร ะ แ ส เ งิ น ส ด แ ล ะ อั ต ร า ส ว น ท า ง ก า ร เ งิ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินสดและ รายการเทียบเท่าเงินสดจํานวน 16,237 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสด
149
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ฝ า ย จั ด ก า ร
ได้ ม าจากกิ จ กรรมดํ า เนิ น งานจํ า นวน 24,432 ล้ า นบาท และมี กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุนจํานวน 20,346 ล้านบาท จากการ ซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จํานวน 18,679 ล้านบาท แบ่งเป็นการ ลงทุนของบริษัทฯ จํานวน 8,919 ล้านบาท โดยมีโครงการหลัก เช่น โครงการจัดซื้อที่ดิน โครงการ Emission Improvement โครงการ CDU - 3 Crude Preheat Train Improvement โครงการ HVU - 2 Revamp โครงการเพิ่มปริมาณการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติในโรงกลั่น เป็นต้น นอกจากนี้ ยังเป็นการลงทุนของบริษัทย่อยอีก 9,760 ล้านบาท ในโครงการผลิตสาร LAB และโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก แห่งใหม่ (New SPPs ) เป็นต้น ทั้งนี้ มีการซื้อเงินลงทุนชั่วคราว 1,734 ล้านบาท และมีเงินสดรับจากการจําหน่ายเรือไทยออยล์ 12 จํานวน 251 ล้านบาท
ในขณะที่กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 3,075 ล้านบาท เป็นการจ่ายต้นทุนทางการเงิน 3,818 ล้านบาท จ่ายเงินปันผล 4,242 ล้านบาท และเงินสดรับสุทธิจากเงินกู้ยืมระยะยาวและหุ้นกู้ 5,152 ล้านบาท จากรายการกระแสเงินสดจากกิจกรรมข้างต้น ทําให้บริษัทฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ย มี เ งิ น สดและรายการเที ย บเท่ า เงิ น สดเพิ่ ม ขึ้ น 1,011 ล้ า นบาท นอกจากนี้ ยั ง มี ผ ลขาดทุ น จากอั ต ราแลกเปลี่ ย นของ เงินตราต่างประเทศคงเหลือสิ้นปีเป็นจํานวน 77 ล้านบาท ดังนั้น บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจึ ง มี เ งิ น สดและรายการเที ย บเท่ า เงิ น สด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวน 16,237 ล้านบาท
อั ต ร า ส ว น ท า ง ก า ร เ งิ น
2557
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทํากําไร อัตราส่วนความสามารถการทํากําไร อัตราส่วนกําไรสุทธิ
2556 (ปรับปรุงใหม่)
+/-
(%) (%)
1 (1)
6 2
(5) (3)
อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว
(เท่า) (เท่า)
2.7 1.8
2.6 1.5
0.1 0.3
อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
(เท่า) (เท่า) (เท่า) (%) (เท่า)
1.2 0.9 0.7 48 0.4
1.2 0.8 5.9 44 0.3
0.1 (5.2) 4 0.1
หมายเหตุ อัตราส่วนความสามารถการทํากําไร (%) อัตราส่วนกําไรสุทธิ (ขาดทุนสุทธิ) (%) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) หนี้เงินกู้ระยะยาว อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (เท่า) อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว (%) เงินทุนระยะยาว อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) หนี้สินสุทธิ
= = = = = = = = = = = =
EBITDA / รายได้จากการขาย กําไรสุทธิ (ขาดทุนสุทธิ) / รายได้รวม สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด + เงินลงทุนชั่วคราว + ลูกหนี้การค้า) / หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินรวม / ส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้เงินกู้ระยะยาว / ส่วนของผู้ถือหุ้น เงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงิน + หุ้นกู้ (รวมส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี) EBITDA / ต้นทุนทางการเงิน หนี้เงินกู้ระยะยาว / เงินทุนระยะยาว หนี้เงินกู้ระยะยาว + ส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินสุทธิ / ส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย – เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด – เงินลงทุนชั่วคราว
150
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น
รายการ ร ะ ห ว า ง กั น
26
สําหรับรอบบัญชีปี 2557 บริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบริษัทย่อย และบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน โดยมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และ/หรือมีกรรมการร่วมกัน สามารถพิจารณาได้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษัทฯ รายการระหว่างกันได้กําหนดขึ้นโดยใช้ ราคาตลาด หรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญา หากไม่มีราคาตลาดรองรับ โดยความสัมพันธ์กับบริษัทต่างๆ มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
ชื่อบริษัท
ความสัมพันธ์กับบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
บมจ. ปตท.
>>
บจ. ไทยพาราไซลีน
>>
เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยถือหุ้นบริษัทฯ อยู่ร้อยละ 49.10
บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 มีกรรมการร่วมกัน คือ นายอธิคม เติบศิริ >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ไทยพาราไซลีน คือ นางปริศนา ประหารข้าศึก นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ นายโกศล พิมทะโนทัย และนายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์ >>
บมจ. ไทยลู้บเบส
บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 มีกรรมการร่วมกัน คือ นายอธิคม เติบศิริ >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บมจ. ไทยลู้บเบส คือ นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ นายอภินันท์ สุภัตรบุตร นายไมตรี เรี่ยวเดชะ และนายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์ >> >>
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 26.01 >> บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 73.99 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ นายอธิคม เติบศิริ >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ คือ นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ นายโกศล พิมทะโนทัย นายไมตรี เรี่ยวเดชะ และนายบัณฑิต ธรรมประจําจิต
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์
>>
บจ. ท็อป โซลเว้นท์
>>
บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ
>>
บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 100 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ นายอธิคม เติบศิริ >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ท็อป โซลเว้นท์ คือ นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ นางสาวภัทรลดา สง่าแสง และนายเทอดชาติ ผดุงรัตน์ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 80.52 >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ คือ นางปริศนา ประหารข้าศึก นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ นายอภินันท์ สุภัตรบุตร นายไมตรี เรี่ยวเดชะ และนายเทอดชาติ ผดุงรัตน์
151
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น
ชื่อบริษัท
TOP Solvent (Vietnam) LLC.
ความสัมพันธ์กับบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 >> >>
บจ. ทรัพย์ทิพย์
>> >>
บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 100 มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน TOP Solvent (Vietnam ) LLC . คือ นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ นางดารณี มนธาตุผลิน และนายเทอดชาติ ผดุงรัตน์ บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ถือหุ้นร้อยละ 50 มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ทรัพย์ทิพย์ คือ นางปริศนา ประหารข้าศึก นายวิษณุ วงศ์สมบูรณ์ และนายไมตรี เรี่ยวเดชะ
บจ. ไทยออยล์มารีน ถือหุ้นร้อยละ 55 >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส คือ นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล
บจ. ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส
>>
บจ. พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์
>>
บมจ. สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง
>>
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 36
บมจ. ไออาร์พีซี
>>
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 38.51
บมจ. บางจากปิโตรเลียม
>>
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 27.22
บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล
>>
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 48.89
PTT International Trading Pte. Ltd.
>>
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 100
บมจ. ปตท. สํารวจ และผลิตปิโตรเลียม
>>
บจ. พีทีที ฟีนอล
>>
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 40 >> บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 20 >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ คือ นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 65.29 >> มีกรรมการร่วมกันคือ นายณัฐชาติ จารุจินดา บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้นร้อยละ 100
152
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ / ห รื อ บ ริ ษั ท ย อ ย กั บ ผู ถื อ หุ น ร า ย ใ ห ญ ข อ ง บ ริ ษั ทฯ รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บมจ. ปตท. ชื่อบริษัท บมจ. ปตท.
ลักษณะรายการ
มูลค่าในปี 2557 หน่วย (ล้านบาท)
รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์นํ้ามัน : บริษัทฯ ได้ทําสัญญาจัดหานํ้ามันดิบและรับซื้อ ผลิตภัณฑ์นํ้ามันสําเร็จรูป (POCSA ) กับ บมจ. ปตท. โดย บมจ. ปตท. และบริษัทฯ ตกลงที่จะซื้อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสําเร็จรูป ณ ราคาตลาด ตามขั้นตอน การกําหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ ข้อกําหนด และเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญา
167,635
ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันและก๊าซธรรมชาติ : บริษัทฯ ได้ทําสัญญา จัดหานํ้ามันดิบและรับซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันสําเร็จรูป (POCSA ) กับ บมจ. ปตท. โดย บมจ. ปตท. และบริษัทฯ ตกลงที่จะซื้อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสําเร็จรูป ณ ราคาตลาด ตามขั้นตอนการกําหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ ข้อกําหนด และเงื่อนไข ตามที่ระบุไว้ในสัญญา >> บริษัทฯ ได้ทําสัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 10 ปี (2557 – 2566) และระยะเวลา 15 ปี (2550 - 2565) เพื่อจัดหาก๊าซธรรมชาติสําหรับใช้ในโรงกลั่นของ บริษัทฯ ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาดตามปกติของธุรกิจ
147,574
>>
>>
รายการระหว่างบริษัทย่อยของบริษัทฯ กับ บมจ. ปตท. ชื่อบริษัท บจ. ไทยพาราไซลีน
บมจ. ไทยลู้บเบส
ลักษณะรายการ รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอะโรมาติกส์ให้ บมจ. ปตท. เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ >> ค่าใช้จ่ายซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามัน เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ >>
รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานให้ บมจ. ปตท. เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ >> บมจ. ไทยลู้บเบส ได้ทําสัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 5 ปี ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาดตามปกติของธุรกิจ >>
มูลค่าในปี 2557 หน่วย (ล้านบาท) 357 486 4,564 830
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์
>>
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทําสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 25 ปี (2541 - 2565) ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาดตามปกติของธุรกิจ
3,325
บจ. ทรัพย์ทิพย์
>>
บจ. ทรัพย์ทิพย์ ได้ทําสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์เอทานอลกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 10 ปี (2554 - 2564) ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาดตามปกติของธุรกิจ
947
153
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ กั บ บ ริ ษั ท ย อ ย ( ที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ น น อ ย ก ว า ร อ ย ล ะ 1 0 0 ) ห รื อ บ ริ ษั ท ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ชื่อบริษัท
ลักษณะรายการ
มูลค่าในปี 2557 หน่วย (ล้านบาท)
บริษัทฯ ได้ทําสัญญาให้บริการเดินเครื่องจักรบํารุงรักษา ซ่อมแซม และให้บริการ สนับสนุนอื่น และจัดหาวัตถุดิบ และอะไหล่ รวมไปถึงนํ้ามันเชื้อเพลิงสํารอง ระยะเวลา 24 ปี นับจากวันที่ 1 เมษายน 2541 โดยค่าบริการเป็นราคาตามต้นทุน บวกกําไรส่วนเพิ่มตามปกติธุรกิจ >> บริษัทฯ ได้ทําสัญญาให้ใช้ประโยชน์ในระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน กับ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ระยะเวลา 24 ปี นับแต่วันที่ 1 เมษายน 2541 โดย บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ จะต้องจ่ายค่าใช้ประโยชน์ในระบบสาธารณูปโภค ทุกๆ เดือนในอัตราร้อยละ 2 ของรายได้รายเดือนของ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์
1,031
>>
บริษัทฯ ได้ทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้ากับ บจ.ไทยออยล์เพาเวอร์ ระยะเวลา 25 ปี (2541 - 2565) ตามปริมาณที่ตกลงไว้ โดยราคาค่าไฟฟ้า และค่าพลังงานไอนํ้าเป็นไปตามราคาตลาด
2,142
บมจ. ไออาร์พีซี
>>
รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามันให้กับ บมจ. ไออาร์พีซี เป็นครั้งคราว ตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
616
บจ. พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์
>>
ค่าใช้จ่ายตามสัญญาเพื่อใช้บริการให้คําแนะนําทางด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงาน และปิโตรเคมี โดยค่าบริการเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา ซึ่งสัญญามีกําหนดระยะเวลา 5 ปี
117
บมจ. บางจาก ปิโตรเลียม
>>
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์
บมจ. สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง
>>
รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามันให้กับ บมจ. บางจากปิโตรเลียม เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ >> บริษัทฯ ได้ทําสัญญาเพื่อให้บริการรับวัตถุดิบของ บมจ. บางจากปิโตรเลียม จากทุ่นรับนํ้ามันดิบของบริษัทฯ โดยค่าบริการเป็นไปตามราคาตลาด และเงื่อนไขไม่แตกต่าง จากบุคคลอื่น ซึ่งสัญญามีกําหนดระยะเวลา 15 ปี
8,948
>>
ค่าใช้จ่ายการจัดซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันจาก บมจ. บางจากปิโตรเลียม เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
1,657
>>
รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามันให้กับ บมจ. สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
1,147
>>
ค่าใช้จ่ายการจัดซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันจาก บมจ. สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
1,106
154
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น
ชื่อบริษัท
PTT International Trading Pte. Ltd .
ลักษณะรายการ
>>
รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามันให้กับ PTT International Trading Pte . Ltd . เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
>>
ค่าใช้จ่ายการจัดซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันจาก PTT International Trading Pte . Ltd . เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
มูลค่าในปี 2557 หน่วย (ล้านบาท) 2,693
120
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น ข อ ง บ ริ ษั ท ย อ ย ห รื อ บ ริ ษั ท ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ บ ริ ษั ท ย อ ย ห รื อ บ ริ ษั ท ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ชื่อบริษัท
ชื่อบริษัทที่ทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกัน
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์
บจ. ไทยพาราไซลีน
>>
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และพลังงานไอนํ้ากับ บจ.ไทยพาราไซลีน ระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดปี พ.ศ. 2565 เพื่อจําหน่ายไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้า โดยราคาเป็นไปตามราคาตลาด
1,295
บมจ. ไทยลู้บเบส
>>
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และพลังงานไอนํ้ากับ บมจ. ไทยลู้บเบส ระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดปี พ.ศ. 2565 เพื่อจําหน่ายไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้า โดยราคาเป็นไปตามราคาตลาด
740
บมจ. ไออาร์พีซี
>>
ซื้อผลิตภัณฑ์พลอยได้ เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
740
บมจ. บางจาก ปิโตรเลียม
>>
ขายผลิตภัณฑ์นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน เป็นครั้งคราว ตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
349
PTT International Trading Pte . Ltd .
>>
ซื้อวัตถุดิบ เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
2,546
บมจ. ไออาร์พีซี
>>
ขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอะโรมาติกส์ เป็นครั้งคราว ตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
2,003
PTT International Trading Pte . Ltd .
>>
ขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอะโรมาติกส์ เป็นครั้งคราว ตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
2,400
บมจ. ไทยลู้บเบส
บจ. ไทยพาราไซลีน
ลักษณะรายการ
มูลค่าในปี 2557 หน่วย (ล้านบาท)
155
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ชื่อบริษัท
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น
ชื่อบริษัทที่ทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกัน
ลักษณะรายการ
มูลค่าในปี 2557 หน่วย (ล้านบาท)
บมจ. ไออาร์พีซี
>>
ซื้อผลิตภัณฑ์โซลเว้นท์ เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
1,954
บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล
>>
ขายผลิตภัณฑ์โซลเว้นท์ เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
166
บจ. พีทีที ฟีนอล
>>
ซื้อผลิตภัณฑ์โซลเว้นท์ เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
141
บมจ. ไออาร์พีซี
>>
บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ ได้ทําสัญญาจํานวน 3 ฉบับเพื่อซื้อวัตถุดิบ กับ บมจ. ไออาร์พีซี ตามปริมาณที่ตกลง โดยกําหนดราคา อ้างอิงราคาตลาด สัญญากําหนดระยะเวลา 1 ปี ซึ่งจะสิ้นสุด ปี พ.ศ. 2557
590
บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล
>>
บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ ได้ทําสัญญาเพื่อซื้อวัตถุดิบกับ บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ตามปริมาณที่ตกลง โดยกําหนดราคาอ้างอิงราคาตลาด สัญญาจะดําเนินต่อไป จนกระทั่งฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะยกเลิกสัญญาด้วยการแจ้ง เป็นลายลักษณ์อักษร
TOP Solvent (Vietnam) บมจ. ไออาร์พีซี LLC.
>>
ซื้อผลิตภัณฑ์โซลเว้นท์ เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
บจ. ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส
>>
บจ. ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส ได้ทําสัญญาให้บริการ 107 ขนส่งลูกเรือและสัมภาระกับ บมจ. ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้ มีกําหนดระยะเวลา 3 ปี และ 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี พ.ศ. 2559 และ 2560
บจ. ท็อป โซลเว้นท์
บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ
บมจ. ปตท. สํารวจ และผลิตปิโตรเลียม
2,249
552
156
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ร า ย ง า น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต อ ร า ย ง า น ท า ง ก า ร เ งิ น
27
ร า ย ง า น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต อ ร า ย ง า น ท า ง ก า ร เ งิ น
งบการเงินของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และงบการเงินรวม ของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ได้จัดทําขึ้น ตามข้ อ กํ า หนดพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจํ า กั ด พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ พ.ศ. 2535 และ ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2554 ออกตามความในมาตรา 11 วรรคสามแห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 โดยปฏิ บั ติ ต ามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ประกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ คณะกรรมการบริษัทฯ รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษัทฯ ที่จัดทําขึ้น เพื่อให้มีความมั่นใจว่า ได้แสดงฐานะการเงิน ผลการ
ดําเนินงาน และกระแสเงินสดถูกต้องในสาระสําคัญ จัดให้มีระบบ การควบคุ ม ภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล มี ก ารบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ทางบั ญ ชี ที่ ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น และเพี ย งพอที่ จ ะดํ า รงรั ก ษาไว้ ซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น รวมทั้งป้องกันการทุจริตและการดําเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระ สําคัญ ในการจัดทํารายงานทางการเงินได้มีการพิจารณาเลือกใช้ นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดยสมํ่าเสมอและเป็นไป ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมทั้งได้มีการเปิดเผยข้อมูล สําคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งผู้สอบบัญชี ได้แสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และงบการเงิ น รวมของบริ ษั ท ไทยออยล์ จํ า กั ด (มหาชน) และ บริษัทย่อย ไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
(นายคุรุจิต นาครทรรพ) ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
(นายอธิคม เติบศิริ) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
157
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
28
ง บ ก า ร เ งิ น
ร า ย ง า น ข อ ง ผู ส อ บ บั ญ ชี รั บ อ นุ ญ า ต
เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) และของ เฉพาะบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) (บริษัท) ตามลําดับ ซึ่งประกอบ ด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุนเฉพาะ กิจการ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะ กิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการ เปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวม และงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึง หมายเหตุซึ่งประกอบด้วยสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญและเรื่องอื่น ๆ ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ บ ริ ห ารต่ อ งบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิจการ ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ ผู้บริหารพิจารณาว่าจําเป็นเพื่อให้สามารถจัดทํางบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสําคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกําหนด ให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกําหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและ ปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบเพื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามเชื่ อ มั่ น อย่ า งสมเหตุ ส มผลว่ า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการปราศจากการแสดงข้อมูลที่ ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสําคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐาน การสอบบัญชีเกี่ยวกับจํานวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึง การประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น สาระสําคัญของงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุม ภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดทําและการนําเสนองบการเงินโดยถูกต้อง ตามที่ ค วรของกิ จ การ เพื่ อ ออกแบบวิ ธี ก ารตรวจสอบที่ เ หมาะสม
กับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อ ประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึง การประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และ ความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดทําขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการนําเสนองบการเงินโดยรวม ข้ า พเจ้ า เชื่ อ ว่ า หลั ก ฐานการสอบบั ญ ชี ที่ ข ้ า พเจ้ า ได้ รั บ เพี ย งพอและ เหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของกลุ่มบริษัท และบริษัท ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ผลการดําเนินงานรวม และผลการดําเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแส เงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควร ในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น โดยมิได้แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไข ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 3 ซึ่งได้อธิบายถึงผลกระทบต่อกลุ่มบริษัทจาก การนํานโยบายการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 ตัวเลขเปรียบเทียบที่นํามาแสดงนี้นํามาจากงบการเงินที่ตรวจสอบแล้ว ณ วันที่และสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และหลังจากปรับปรุง รายการตามที่ได้อธิบายไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3
(นายวินิจ ศิลามงคล) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3378 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 12 กุมภาพันธ์ 2558
158
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(บาท)
สินทรัพย์
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ครบกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ลูกหนี้อื่น เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ ภาษีเงินได้นิติบุคคลจ่ายล่วงหน้า ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน ลูกหนี้กองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิง สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย รวมสินทรัพย์หมุนเวียน
หมายเหตุ
7, 20 8, 20 6, 9
6, 10 6 6, 11
12
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
31 ธันวาคม 2557
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2556
1 มกราคม 2556
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2557 2556
16,237,064,742 15,302,596,629 10,459,746,357 13,586,762,421 9,074,889,657 30,245,500,000 28,512,000,000 17,862,427,375 30,000,000,000 28,500,000,000 16,140,531,085 28,746,177,747 27,089,542,903 16,416,897,099 28,289,142,388 1,555,425,918
1,322,847,554
490,725,405 1,655,525,414
1,488,814,059
1,282,403,394
90,000,000 90,000,000 90,000,000 4,013,000,000 2,923,000,000 28,533,477,165 48,508,807,787 40,004,178,949 24,037,584,154 42,361,363,192 603,627,570 9,014,978 19,965,214 586,215,565 1,517,027,817 2,815,542,729 1,468,247,238 426,160,943 2,075,108,135 523,025,041 1,318,657,423 1,732,088,139 523,025,041 1,318,657,423 17,828,345 250,280,999 95,463,507,683 126,875,925,846 100,872,446,994 91,078,459,282 115,824,564,189
159
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(บาท)
สินทรัพย์
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
หมายเหตุ
13 14 14 8
31 ธันวาคม 2557
12,010,688,806 419,025,830 942,588,787 15 88,143,439 6, 16, 20 78,998,627,130 17 1,951,698,909 18 1,480,495,132 19 1,447,266,014 97,338,534,047 192,802,041,730
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2556
1 มกราคม 2556
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2557 2556
- 14,545,419,002 11,920,419,002 11,299,350,345 945,772,980 1,260,604,927 1,260,604,927 422,154,069 339,557,501 940,260,153 1,001,921,900 942,588,787 940,260,153 - 7,894,561,015 82,382,568 82,382,568 1,084,976,420 777,696,716 65,467,628,690 58,759,609,982 41,158,670,025 36,558,279,054 1,970,634,442 1,713,297,540 420,360,228 432,423,608 174,316,076 29,477,674 1,446,643,130 142,535,935 1,429,628,152 1,318,628,510 1,108,961,134 1,106,778,144 81,786,354,495 72,085,209,670 61,968,223,653 53,138,997,539 208,662,280,341 172,957,656,664 153,046,682,935 168,963,561,728
160
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(บาท)
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุ
หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้น 20 เจ้าหนี้การค้า 6, 21 เจ้าหนี้อื่น 6, 22 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6, 20 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี 7, 8, 16, 20 หุ้นกู้ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี 20 ภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย ภาษีเงินได้ค้างจ่าย รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน
31 ธันวาคม 2557
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2556
1 มกราคม 2556
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2557 2556
497,425,000 663,559,344 607,500,000 17,811,088,274 31,554,321,436 26,614,728,223 18,458,980,224 32,138,993,360 3,929,537,412 3,298,064,678 2,242,489,559 2,653,583,779 2,853,632,501 - 3,760,194,092 5,836,250,522 749,272,200 484,646,300 1,277,572,897 11,588,926,378 12,329,716,612 2,750,000,000 11,588,926,378 12,329,716,612 882,683,472 496,947,661 617,591,787 882,683,472 496,947,661 175,777,454 748,349,343 1,061,369,341 182,445,481 35,634,710,190 49,575,605,374 35,171,251,807 37,344,367,945 53,837,986,137
7, 8, 16, 20 6,531,308,933 4,314,378,700 6,375,980,419 20 60,733,974,498 57,070,452,017 35,786,183,962 60,733,974,498 57,070,452,017 18 549,518,282 23 2,783,862,422 2,635,001,299 2,472,747,809 2,585,823,751 2,454,850,874 78,878,059 85,552,880 53,167,300 309,135,524 263,591,066 70,128,023,912 64,105,384,896 45,237,597,772 63,628,933,773 59,788,893,957 105,762,734,102 113,680,990,270 80,408,849,579 100,973,301,718 113,626,880,094
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
161
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(บาท)
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารองตามกฎหมาย อื่นๆ ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุ
31 ธันวาคม 2557
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2556
1 มกราคม 2556
(ปรับปรุงใหม่)
(ปรับปรุงใหม่)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2557 2556
24 20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730 20,400,278,730 25
2,456,261,491
25
2,040,027,873 244,500,000 57,865,280,420 (305,010,714) 82,701,337,800 4,337,969,828 87,039,307,628 192,802,041,730
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
2,456,261,491
2,456,261,491
2,456,261,491
2,456,261,491
2,040,027,873 2,040,027,873 2,040,027,873 244,500,000 244,500,000 244,500,000 66,088,838,825 62,889,013,516 27,019,170,488 (302,952,030) (300,961,134) (86,857,365) 90,926,954,889 87,729,120,476 52,073,381,217 4,054,335,182 4,819,686,609 94,981,290,071 92,548,807,085 52,073,381,217 208,662,280,341 172,957,656,664 153,046,682,935
2,040,027,873 244,500,000 30,286,676,370 (91,062,830) 55,336,681,634 55,336,681,634 168,963,561,728
162
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
งบกําไรขาดทุน บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(บาท)
หมายเหตุ
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ กําไร (ขาดทุน) ขั้นต้น เงินปันผลรับ กําไรจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยงสุทธิ กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ขาดทุนจากการขายเงินลงทุน ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน กําไร (ขาดทุน) ก่อนต้นทุนทางการเงิน และค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กําไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กลับรายการ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้ กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี
6, 33 6, 11 6, 13, 14
6, 27 6 6, 28 5 14
6, 31 32
ส่วนของกําไร (ขาดทุน) สําหรับปีที่เป็นของ ส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
34
390,090,026,361 414,575,049,743 389,779,023,806 409,228,916,094 (394,149,820,301) (397,541,617,883) (396,303,124,662) (401,089,756,322) (4,059,793,940) 17,033,431,860 (6,524,100,856) 8,139,159,772 5,963,349,892 3,039,021,349 2,218,486,563 1,292,127,100 2,218,486,563 1,292,127,100 995,932,550 (3,111,428,545) 872,666,907 (3,411,994,680) 2,084,565,735 2,073,890,848 3,222,204,711 3,085,563,854 (477,885,846) (477,276,026) (345,238,892) (403,318,666) (2,163,337,715) (2,104,837,135) (2,074,658,675) (1,891,289,773) (897,492,566) 743,635,080
676,154,123
-
-
(658,397,573) (3,966,025,581) (4,624,423,154) 920,208,172 (3,704,214,982)
14,484,569,659 (3,786,253,098) 10,698,316,561 (1,160,359,565) 9,537,956,996
3,332,709,650 (3,745,925,180) (413,215,530) 1,346,753,797 933,538,267
9,849,268,956 (3,766,202,306) 6,083,066,650 (32,186,229) 6,050,880,421
(4,025,892,302) 321,677,320 (3,704,214,982)
9,316,234,030 221,722,966 9,537,956,996
933,538,267 933,538,267
6,050,880,421 6,050,880,421
(1.97)
4.57
0.46
2.97
163
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(บาท)
หมายเหตุ
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมสุทธิ ของเงินลงทุนเผื่อขาย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน กําไรจากการประมาณการตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับ โครงการผลประโยชน์พนักงาน ส่วนแบ่งกําไรเบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วม กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปี - สุทธิจากภาษี กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ส่วนของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมที่เป็นของ ส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
23
(3,704,214,982)
9,537,956,996
933,538,267
6,050,880,421
4,205,465 (6,368,581)
(61,044,833) 58,936,603
4,205,465 -
(61,044,833) -
6,773,254 104,432
117,334
-
-
4,714,570 (3,699,500,412)
(1,990,896) 9,535,966,100
4,205,465 937,743,732
(61,044,833) 5,989,835,588
(4,024,572,940) 325,072,528 (3,699,500,412)
9,314,243,134 221,722,966 9,535,966,100
937,743,732 937,743,732
5,989,835,588 5,989,835,588
อื่นๆ
-
-
-
-
-
–
-
-
–
รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับปี
–
-
-
-
-
-
–
-
-
-
-
-
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000
-
-
66,088,838,825
9,316,234,030
9,316,234,030 -
-
-
-
(6,116,408,721)
62,889,013,516
1,194,167,411
61,694,846,105 -
(91,062,830)
(61,044,833)
(61,044,833)
-
-
-
-
(84,211,151)
58,936,603
58,936,603
-
-
-
-
(30,017,997) (143,147,754)
-
(30,017,997) (143,147,754)
รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น
-
1,194,167,411
630,816,712
1,824,984,123
–
-
-
-
-
-
9,314,243,134
9,316,234,030 (1,990,896)
221,722,966
221,722,966 -
- 1,204,241,250
- 1,217,460,257
9,535,966,100
9,537,956,996 (1,990,896)
1,204,241,250
1,217,460,257
- (3,255,644,595) (3,255,644,595)
(6,116,408,721) (153,131,305) (6,269,540,026)
117,334 (127,795,383) 90,926,954,889 4,054,335,182 94,981,290,071
117,334
117,334
-
-
-
-
– (127,795,383) 87,729,120,476 4,819,686,609 92,548,807,085
-
– (127,795,383) 86,534,953,065 4,188,869,897 90,723,822,962
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ส่วนขาดทุนจาก ส่วนของ การเปลี่ยนแปลง ผลต่างจาก ส่วนแบ่งกําไร การเปลี่ยนแปลง ส่วนได้เสีย ในมูลค่ายุติธรรม การแปลงค่า เบ็ดเสร็จอื่น สัดส่วนการถือหุ้น รวมส่วน ที่ไม่มีอํานาจ ยังไม่ได้จัดสรร ของเงินลงทุน งบการเงิน ในบริษัทร่วม ในบริษัทย่อย ของบริษัทใหญ่ ควบคุม
องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น
งบการเงินรวม
(บาท)
ง บ ก า ร เ งิ น
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
ทุนสํารอง ตามกฎหมาย
20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000
-
เงินปันผล 35 การลดลงของส่วนได้เสียที่ไม่มี อํานาจควบคุมจากการจําหน่าย เงินลงทุนในบริษัทย่อย 5 การเพิ่มขึ้นของส่วนได้เสียที่ไม่มี อํานาจควบคุมจากการลงทุน ในบริษัทร่วม 5 การเพิ่มขึ้นของส่วนได้เสียที่ไม่มี อํานาจควบคุมจากการลงทุน ในบริษัทย่อย 5 กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับปี กําไรสําหรับปี - ปรับปรุงใหม่ กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ปรับปรุงใหม่
ส่วนเกิน มูลค่า หุ้นสามัญ
กําไรสะสม
20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000
ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ หมายเหตุ ชําระแล้ว
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ตามที่ รายงานในงวดก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี 3
29
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส วนของผู ถือหุ น
164 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
-
-
–
รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จ สําหรับปี
อื่นๆ
-
-
–
-
-
–
-
-
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000
–
-
-
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ทุนสํารอง ตามกฎหมาย
20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000
-
เงินปันผล 35 กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับปี กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ปรับปรุงใหม่
ส่วนเกิน มูลค่า หุ้นสามัญ
กําไรสะสม
20,400,278,730 2,456,261,491 2,040,027,873 244,500,000
ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ หมายเหตุ ชําระแล้ว
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ตามที่ รายงานในงวดก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี 3
29 องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น
งบการเงินรวม
57,865,280,420
(4,022,514,256)
(4,025,892,302) 3,378,046
(4,201,044,149)
66,088,838,825
116,874,555
65,971,964,270
(86,857,365)
4,205,465
4,205,465
-
(91,062,830)
-
(91,062,830)
(90,579,732)
(6,368,581)
(6,368,581)
-
(84,211,151)
-
(84,211,151)
รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น
(บาท)
-
116,874,555
26,012,659
142,887,214
–
-
-
(4,024,572,940)
(4,025,892,302) 1,319,362
(4,201,044,149)
325,072,528 (3,699,500,412)
321,677,320 (3,704,214,982) 3,395,208 4,714,570
(41,437,882) (4,242,482,031)
221,766 (127,795,383) 82,701,337,800 4,337,969,828 87,039,307,628
104,432
104,432
-
117,334 (127,795,383) 90,926,954,889 4,054,335,182 94,981,290,071
-
117,334 (127,795,383) 90,810,080,334 4,028,322,523 94,838,402,857
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ส่วนขาดทุนจาก ส่วนของ การเปลี่ยนแปลง ผลต่างจาก ส่วนแบ่งกําไร การเปลี่ยนแปลง ส่วนได้เสีย ในมูลค่ายุติธรรม การแปลงค่า เบ็ดเสร็จอื่น สัดส่วนการถือหุ้น รวมส่วน ที่ไม่มีอํานาจ ยังไม่ได้จัดสรร ของเงินลงทุน งบการเงิน ในบริษัทร่วม ในบริษัทย่อย ของบริษัทใหญ่ ควบคุม
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส วนของผู ถือหุ น
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ง บ ก า ร เ งิ น
165
20,400,278,730
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
2,456,261,491
2,040,027,873
–
-
2,040,027,873 -
ทุนสํารอง ตามกฎหมาย
244,500,000
–
-
244,500,000 -
อื่นๆ
กําไรสะสม
30,286,676,370
6,050,880,421
6,050,880,421 -
30,352,204,670 (6,116,408,721)
(91,062,830)
(61,044,833)
(61,044,833)
(30,017,997) -
55,336,681,634
5,989,835,588
6,050,880,421 (61,044,833)
55,463,254,767 (6,116,408,721)
องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผู้ถือหุ้น การเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรม รวมส่วน ยังไม่ได้จัดสรร ของเงินลงทุน ของผู้ถือหุ้น
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(บาท)
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
–
รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับปี
–
-
-
35
2,456,261,491 -
ส่วนเกิน มูลค่า หุ้นสามัญ
20,400,278,730 -
หมายเหตุ
ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ชําระแล้ว
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เงินปันผล กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับปี กําไรสําหรับปี ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
29
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส วนของผู ถือหุ น
166 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
20,400,278,730
–
รวมกําไรเบ็ดเสร็จสําหรับปี 2,456,261,491
–
-
-
35
2,456,261,491 -
ส่วนเกิน มูลค่า หุ้นสามัญ
20,400,278,730 -
หมายเหตุ
ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ชําระแล้ว
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 เงินปันผล กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับปี กําไรสําหรับปี กําไรเบ็ดเสร็จอื่น
29
2,040,027,873
–
-
2,040,027,873 -
ทุนสํารอง ตามกฎหมาย
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส วนของผู ถือหุ น
244,500,000
–
-
244,500,000 -
อื่นๆ
กําไรสะสม
27,019,170,488
933,538,267
933,538,267 -
30,286,676,370 (4,201,044,149)
(86,857,365)
4,205,465
4,205,465
(91,062,830) -
52,073,381,217
937,743,732
933,538,267 4,205,465
55,336,681,634 (4,201,044,149)
องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผู้ถือหุ้น การเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรม รวมส่วน ยังไม่ได้จัดสรร ของเงินลงทุน ของผู้ถือหุ้น
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(บาท)
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ง บ ก า ร เ งิ น
167
168
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
งบกระแสเงินสด บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(บาท)
หมายเหตุ
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี รายการปรับปรุง ค่าเผื่อการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ ให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ต้นทุนทางการเงิน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน เงินปันผลรับ ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ ที่ถือไว้เพื่อขาย ขาดทุนจากการจําหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน ขาดทุนจากการขายเงินลงทุน การรับรู้รายได้ค่าธรรมเนียมการเช่าที่ดิน และอื่นๆ รับล่วงหน้า ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
(3,704,214,982)
9,537,956,996
933,538,267
6,050,880,421
2,652,358,234 6,512,315,359 3,966,025,581
31,941,713 6,032,951,504 3,786,253,098
2,451,358,964 4,291,592,005 3,745,925,180
3,820,395,696 3,766,202,306
384,069,720
3,996,183,839
335,113,368
4,048,155,522
(743,635,080) -
(676,154,123) -
(5,963,349,892)
(3,039,021,349)
-
107,704,767
-
-
28,720,094
18,916,369
31,975,734
19,847,210
15, 16 5
(385,519,689) -
897,492,566
(385,519,689) -
209,911
32
(26,434,287) (920,208,172) 7,763,476,778
(11,184,954) 1,160,359,565 24,882,421,340
(135,125,663) (1,346,753,797) 3,958,754,477
(123,491,753) 32,186,229 14,575,364,193
30 31
14 6, 13, 14
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
12
169
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
งบกระแสเงินสด บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(บาท)
หมายเหตุ
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น ภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ รับคืนเงินภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
12,587,103,194 (5,129,285,414) 17,322,972,388 (25,782,719) (13,740,226,891) 194,175,022 385,735,810 157,884,849 19,516,053,017 (1,560,180,669) 6,476,894,184 24,432,766,532
(2,874,751,673) 11,857,563,256 (5,819,532,309) (2,724,399,420) (8,706,729,555) 15,872,420,073 (53,100,168) (1,579,755) 5,903,546,102 (13,678,312,156) (8,480,918) 327,616,466 (120,644,126) 385,735,810 151,043,602 249,382,956 13,353,772,295 16,247,181,707 (1,677,518,093) (726,014,444) 4,455,092,661 4,527,047,626 16,131,346,863 20,048,214,889
(2,431,667,590) (4,451,051,868) (8,721,754,207) (512,550) 5,717,302,747 (24,582,934) (120,644,126) 259,162,175 4,801,615,840 (776,315,461) 2,746,382,032 6,771,682,411
170
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
งบกระแสเงินสด บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(บาท)
หมายเหตุ
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับเงินปันผล ซื้อเงินลงทุนชั่วคราว เงินสดจ่ายสําหรับเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รับชําระคืนเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ายจากการลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดจ่ายจากการลงทุนในบริษัทร่วม เงินสดจ่ายจากการลงทุนในกิจการ ที่ควบคุมร่วมกัน ขายเงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินสดจ่ายสําหรับเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่ สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน เงินสดรับล่วงหน้าสําหรับสินทรัพย์ ที่ถือไว้เพื่อขาย ซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขายสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
(1,733,500,000) (11,129,258,636)
5,963,349,892 3,039,021,349 (1,500,000,000) (11,500,000,000)
6
-
-
(2,058,000,000)
(231,500,000)
6 5, 13 5, 14
-
(2,375,456,340)
968,000,000 (2,625,000,000) -
492,500,000 (875,000,000) (712,636,927)
5, 14
(37,500,000) 1,221,010
(38,045,000) 407,003
1,221,010
407,003
(53,591,355)
(61,249,195)
(53,591,355)
(61,249,195)
15
26,947,914 (18,679,324,673) (12,333,930,789) 13,419,864 3,836,975 250,849,339 (92,325,312) (396,570,494) (15,611,689) 60,846,613 (20,346,362,816) (26,242,471,949)
(4,977,142) (8,918,521,084) (8,521,718,165) 9,506,444 2,550,000 (29,856,102) (57,240,454) (8,242,891,195) (18,429,843,531)
171
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
งบกระแสเงินสด บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(บาท)
หมายเหตุ
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายต้นทุนทางการเงิน จ่ายเงินปันผล จ่ายชําระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้น เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้น จ่ายชําระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน 6 เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน 6 จ่ายชําระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ่ายชําระคืนหุ้นกู้ เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ เงินสดรับค่าหุ้นจากส่วนที่ไม่มี อํานาจควบคุมของบริษัทย่อย 5 เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของ เงินตราต่างประเทศคงเหลือสิ้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของบริษัทย่อย ลดลงจากการจําหน่ายเงินลงทุนในระหว่างปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี 7 รายการที่ไม่ใช่เงินสด เจ้าหนี้จากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
(3,818,037,109) (4,242,482,031) (771,845,697) 605,711,353
(3,067,799,060) (6,269,540,026) 56,059,344
(3,599,224,727) (4,201,044,149) -
(3,049,693,393) (6,116,408,721) -
-
-
(2,076,056,430)
-
816,276,097 (23,463,018,867) (15,193,550,000) (22,787,500,000) (14,960,750,000) 25,944,575,000 13,280,425,000 22,787,500,000 10,515,500,000 (12,329,716,612) (2,750,000,000) (12,329,716,612) (2,750,000,000) 15,000,000,000 29,356,029,346 15,000,000,000 29,356,029,346 (3,074,813,963)
1,204,241,250 16,615,865,854
(7,206,041,918)
13,810,953,329
1,011,589,753
6,504,740,768
4,599,281,776
2,152,792,209
(77,121,640)
216,833,895
(87,409,012)
183,207,993
15,302,596,629 16,237,064,742
(1,878,724,391) 10,459,746,357 15,302,596,629
9,074,889,657 13,586,762,421
6,738,889,455 9,074,889,657
1,011,497,177
743,289,232
82,650,293
673,574,845
172
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุ สารบัญ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดทํางบการเงิน การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สําคัญ การได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย
หมายเหตุ สารบัญ 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41
เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกินทุนและสํารอง ข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงาน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน ค่าใช้จ่าย (กลับรายการ) ภาษีเงินได้ สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน เงินปันผล เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น นโยบายประกันภัย เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้
173
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ คณะกรรมการได้อนุมัติให้ออกงบการเงินนี้เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2558
1 ข อมูลทั่วไป บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีสํานักงานและโรงกลั่นที่จดทะเบียนดังนี้ สํานักงานใหญ่ สํานักงานศรีราชาและโรงกลั่นนํ้ามัน
: เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 ประเทศไทย : เลขที่ 42/1 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท กม. 124 ตําบลทุ่งสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 ประเทศไทย
บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2547 บริษัทเป็นบริษัทในกลุ่มของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (“ปตท.”) ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และ ปตท. เป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของบริษัท โดยมีอัตราส่วนการถือหุ้นร้อยละ 49.1 ของทุนที่ออกและชําระแล้วของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (31 ธันวาคม 2556: ร้อยละ 49.1) บริษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการกลั่นนํ้ามันและการจําหน่ายนํ้ามัน รายละเอียดของบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้
ชื่อกิจการ บริษัทย่อยทางตรง บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด
ลักษณะธุรกิจ
ผลิตพาราไซลีน ผลิตและจําหน่ายนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ให้บริการขนส่งผลิตภัณฑ์นํ้ามันปิโตรเลียมและ ผลิตภัณฑ์เคมีเหลวทางเรือ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด ให้บริการบริหารงานด้านการจัดการและบริการอื่น บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด ลงทุนในธุรกิจผลิตภัณฑ์สารทําละลายและเคมีภัณฑ์ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด ลงทุนในธุรกิจเอทานอลและผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม พลังงานทางเลือก บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด ผลิตกระแสไฟฟ้าและไอนํ้า บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด ผลิตกระแสไฟฟ้าและไอนํ้า
ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง
ถือหุ้นร้อยละ 2557 2556
ไทย ไทย
99.99 99.99
99.99 99.99
ไทย ไทย ไทย
99.99 99.99 99.99
99.99 99.99 99.99
ไทย ไทย ไทย
99.99 73.99 99.99
99.99 73.99 99.99
174
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ชื่อกิจการ บริษัทย่อยทางอ้อม บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด TOP Solvent (Vietnam) LLC. บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด Thaioil Marine International Pte. Ltd. บริษัท ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส จํากัด บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด
ลักษณะธุรกิจ
ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง
จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์สารทําละลายและเคมีภัณฑ์ ไทย ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์สารทําละลายและเคมีภัณฑ์ ไทย จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์สารทําละลายและเคมีภัณฑ์ เวียดนาม ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์เอทานอล ไทย ลงทุนในธุรกิจให้บริการขนส่งนํ้ามันดิบและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทางเรือ สิงคโปร์ ให้บริการเดินเรือรับส่งลูกเรือและสัมภาระทางทะเล ในอ่าวไทย ไทย ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์สารลิเนียร์แอลคิลเบนซีน ไทย
ถือหุ้นร้อยละ 2557 2556
99.99 80.52 100.00 50.00
99.99 80.52 100.00 50.00
100.00
100.00
55.00 75.00
55.00 75.00
2 เกณฑ การจัดทํางบการเงิน (ก) เกณฑ์การถือปฏิบัติ งบการเงินนี้นําเสนอเพื่อวัตถุประสงค์ของการรายงานเพื่อใช้ในประเทศไทยและจัดทําเป็นภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษได้จัดทําขึ้น เพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงินที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพ บัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดําเนินงานของกลุ่มบริษัท และมีผล บังคับใช้ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4
เรื่อง การนําเสนองบการเงิน ผลประโยชน์ของพนักงาน การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่
ในเบื้องต้นการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ข้างต้นนั้น มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ของกลุ่มบริษัทในบางเรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็นสาระสําคัญต่องบการเงินได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3
175
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ข้างต้น สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับอื่นๆ ซึ่งมีผลบังคับสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป และไม่ได้มีการนํามาใช้ สําหรับการจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังกล่าวได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 41 (ข) เกณฑ์การวัดมูลค่า งบการเงินนี้จัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นที่กล่าวไว้ในนโยบายบัญชี (ค) สกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงานและนําเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จัดทําและแสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาทซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงานของบริษัท ข้อมูลทางการเงินทั้งหมดมีการปัดเศษ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็นหลักล้านบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น (ง) การประมาณการและใช้วิจารณญาณ ในการจัดทํางบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารต้องใช้วิจารณญาณ การประมาณและข้อสมมติฐานหลาย ประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการกําหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิด ขึ้นจริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทํางบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึกในงวด บัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับผลกระทบ ข้อมูลเกี่ยวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานที่สําคัญในการกําหนดนโยบายการบัญชีมีผลกระทบสําคัญต่อการรับรู้จํานวน เงินในงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 8 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 36
การได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน เงินลงทุนอื่น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน เครื่องมือทางการเงิน
176
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
3 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (ก) ภาพรวม ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 ผลจากการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ ดังที่กล่าวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 2 กลุ่มบริษัทได้เปลี่ยนนโยบายการบัญชีในส่วนที่มีผลกระทบต่องบการเงินของกลุ่มบริษัทอย่างเป็นสาระสําคัญดังนี้ • การนําเสนองบการเงิน • การบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์พนักงาน • การบัญชีสําหรับข้อตกลงที่มีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบ รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายการบัญชีใหม่ที่กลุ่มบริษัทถือปฏิบัติได้รวมอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 (ข) ถึง 3 (ง) ดังนี้ (ข) การนําเสนองบการเงิน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 กลุ่มบริษัทได้เริ่มแสดงรายได้และค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่รับรู้ในงวดในงบการเงินแยกเป็นสองงบ คือ งบกําไรขาดทุน และงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการบัญชีของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ข้อมูลเปรียบเทียบได้มีการนําเสนอใหม่เพื่อให้เป็นไป ตามการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงการนําเสนองบการเงินเท่านั้น ไม่มี ผลกระทบต่อกําไรหรือกําไรต่อหุ้น (ค) การบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์พนักงาน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 กลุ่มบริษัทจะรับรู้กําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่นทันที และยกเลิกวิธีการบันทึกในกําไรขาดทุน การเปลี่ยนนโยบายการบัญชีนี้ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสําคัญต่อกลุ่มบริษัท (ง) การบัญชีสําหรับข้อตกลงที่มีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 กลุ่มบริษัทถือปฏิบัติตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 (TFRIC 4) การประเมินว่าข้อตกลง ประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ TFRIC 4 กําหนดให้ประเมินข้อตกลงซึ่งไม่ได้มีรูปแบบของสัญญาเช่าตามกฎหมาย แต่มีการให้สิทธิในการใช้สินทรัพย์ตามระยะเวลาที่กําหนด และมีการให้ผลตอบแทนในลักษณะของการจ่ายคืนครั้งเดียวหรือหลายครั้ง โดย TFRIC 4 ให้แนวทางในการพิจารณาว่าข้อตกลงเป็นสัญญาเช่า หรือมีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบหรือไม่ ซึ่งหากเป็นสัญญาเช่าก็ต้องถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาเช่า หาก ข้อตกลงดังกล่าวมีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบ กรณีนี้ TFRIC 4 กําหนดให้นํามาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาเช่า มาถือปฏิบัติกับ ส่วนประกอบที่เป็นสัญญาเช่าในการจัดประเภทรายการและการบันทึกบัญชี
177
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ผู้บริหารได้ทบทวนข้อตกลงของกลุ่มบริษัทแล้ว และพิจารณาว่าการนํา TFRIC 4 มาถือปฏิบัตินั้นมีผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน และกําไร สะสมของกลุ่มบริษัท เนื่องจากบริษัทร่วมแห่งหนึ่ง (บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด) มีสัญญาขายกระแสไฟฟ้ากับกิจการแห่งหนึ่ง ที่เข้าเงื่อนไขว่าเป็นข้อตกลงที่ประกอบไปด้วยสัญญาเช่าการเงิน ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีนี้จะปรับปรุงย้อนหลังในงบการ เงินโดยผลกระทบที่มีต่องบการเงินรวมของกลุ่มบริษัท สรุปได้ดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม* ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 2556 งบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินเพิ่มขึ้น เงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ลดลง หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีเพิ่มขึ้น กําไรสะสมยังไม่ได้จัดสรรเพิ่มขึ้น ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมเพิ่มขึ้น
143 117 26
8,385 (6,104) 456 1,194 631
* เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 กลุ่มบริษัทได้ตัดจําหน่ายเงินลงทุนใน IPT และบันทึกเงินลงทุนใน GPSC เป็นเงินลงทุนในบริษัทร่วมตามวิธีส่วนได้เสีย ในงบการเงินรวม โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 เพิ่มเติม (ล้านบาท)
งบการเงินรวม สําหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบกําไรขาดทุน รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการลดลง ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการลดลง รายได้อื่นเพิ่มขึ้น ขาดทุนจากการจําหน่ายเงินลงทุนเพิ่มขึ้น ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น กําไรสําหรับปีลดลง กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานลดลง (บาท)
(24) (14) 19 1,466 143 2 (1,316) (0.52)
178
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
4 นโยบายการบัญชีที่สําคัญ นโยบายการบัญชีที่นําเสนอดังต่อไปนี้ได้ถือปฏิบัติโดยสมํ่าเสมอสําหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน ยกเว้นที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 3 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี (ก) เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วย งบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) และส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน การรวมธุรกิจ กลุ่มบริษัทจะบันทึกบัญชีโดยปฏิบัติตามวิธีซื้อสําหรับการรวมธุรกิจ ยกเว้นในกรณีที่เป็นการรวมกิจการหรือธุรกิจที่อยู่ภายใต้การควบคุม เดียวกัน ค่าความนิยม ถูกวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ โดยวัดจากมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ซึ่งรวมถึงการรับรู้จํานวนส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจ ควบคุมในผู้ถูกซื้อ หักด้วยมูลค่าสุทธิ (มูลค่ายุติธรรม) ของสินทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาซึ่งวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้วัดด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอนไป หนี้สินที่กลุ่มบริษัทก่อขึ้นเพื่อจ่ายชําระให้แก่เจ้าของเดิม และส่วนได้เสียใน ส่วนของเจ้าของที่ออกโดยกลุ่มบริษัท สิ่งตอบแทนที่โอนให้รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและโครงการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ที่ออกแทนโครงการของผู้ถูกซื้อเมื่อรวมธุรกิจ หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของบริษัทที่ถูกซื้อจากการรวมธุรกิจ รับรู้เมื่อหนี้สินนั้นเป็นหนี้สิน ณ ปัจจุบัน และเป็นหนี้สินที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ ในอดีต และสามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมตามอัตราส่วนได้เสียในสินทรัพย์สุทธิที่ได้มาจากผู้ถูกซื้อ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อที่เกิดขึ้นซึ่งเป็นผลมาจากการรวมธุรกิจ เช่น ค่าที่ปรึกษากฎหมาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพและค่าที่ปรึกษาอื่นๆ ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น บริษัทย่อย บริษัทย่อยเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริษัทมีอํานาจควบคุมทั้งทางตรงหรือทางอ้อมใน การกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการนั้น เพื่อได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมของบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัท ย่อยได้รวมอยู่ในงบการเงินรวมนับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนตามความจําเป็นเพื่อให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัทผลขาดทุนในบริษัทย่อยจะต้อง ถูกปันส่วนไปยังส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมแม้ว่าการปันส่วนดังกล่าวจะทําให้ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
179
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
การสูญเสียอํานาจควบคุม เมื่อมีการสูญเสียอํานาจควบคุมกลุ่มบริษัทตัดรายการสินทรัพย์และหนี้สินในบริษัทย่อย ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมและส่วนประกอบ อื่นในส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยนั้น กําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียอํานาจควบคุมในบริษัทย่อยรับรู้ในกําไรหรือขาดทุน ส่วนได้เสียในบริษัทย่อยเดิมที่ยังคงเหลืออยู่ให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียอํานาจควบคุม และจัดประเภทเงินลงทุนเป็น เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียหรือเป็นสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ขึ้นอยู่กับระดับของอิทธิพลที่คงเหลืออยู่ บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญโดยมีอํานาจเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินและ การดําเนินงานแต่ไม่ถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญถูกสันนิษฐานว่ามีอยู่เมื่อกลุ่มบริษัทมีอํานาจใน การออกเสียงในกิจการอื่นตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 50 กิจการที่ควบคุมร่วมกันเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีส่วนร่วมในการควบคุมกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจตามที่ตกลงไว้ในสัญญาและได้รับความเห็นชอบ เป็นเอกฉันท์ในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ทางการเงินและการดําเนินงาน งบการเงินรวมของกลุ่มบริษัทได้รวมส่วนแบ่งกําไรหรือขาดทุนของบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันตามวิธีส่วนได้เสียนับจากวันที่มี อิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญหรือมีส่วนร่วมในการควบคุมจนถึงวันที่การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญหรือมีส่วนร่วมในการควบคุมสิ้นสุดลง เมื่อ ผลขาดทุนที่กลุ่มบริษัทได้รับปันส่วนจากบริษัทร่วมหรือกิจการที่ควบคุมร่วมกันมีจํานวนเกินกว่าเงินลงทุนในบริษัทร่วมหรือกิจการที่ควบคุม ร่วมกัน เงินลงทุนจะถูกทอนลงจนเป็นศูนย์และหยุดรับรู้ส่วนผลขาดทุน เว้นแต่กรณีที่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรืออนุมานหรือ ยินยอมที่จะชําระภาระผูกพันของบริษัทร่วมหรือกิจการที่ควบคุมร่วมกัน การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงที่เกิดจากรายการระหว่างกิจการในกลุ่ม ถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม กําไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงที่เกิดจากรายการกับบริษัทร่วมถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่มบริษัท มีส่วนได้เสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกําไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่เท่าที่เมื่อไม่มี หลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น (ข) เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงานของแต่ละบริษัทในกลุ่มบริษัทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงานโดยใช้อัตราแลก เปลี่ยน ณ วันนั้น ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่าได้รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน
180
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สินทรัพย์และหนี้สินที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็นสกุลเงิน ที่ใช้ในการดําเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ หน่วยงานในต่างประเทศ สินทรัพย์และหนี้สินของหน่วยงานในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน ค่าความนิยมและรายการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อหน่วยงานในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน รายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยงานในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยในระหว่างงวด ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่าบันทึกในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและแสดงเป็นรายการผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนในส่วน ของผู้ถือหุ้นจนกว่ามีการจําหน่ายเงินลงทุนนั้นออกไป (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ได้ถูกนํามาใช้เพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ อัตราดอกเบี้ย และราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่เกิดจากกิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน เครื่องมือทาง การเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ไม่ได้มีไว้เพื่อค้า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ที่ไม่เข้าเงื่อนไขการกําหนดให้เป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงถือ เป็นรายการเพื่อค้า การป้องกันความเสี่ยงจากรายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่จะมีในอนาคต สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเป็นเครื่องมือทางการเงินที่ใช้ในการป้องกันความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน โดยกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนในอนาคตที่สินทรัพย์หรือหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่จะได้รับหรือต้องจ่ายชําระ สัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้าจะรับรู้ในงบการเงิน ณ วันทําสัญญา ค่าธรรมเนียมส่วนเกินหรือส่วนลดที่เกิดขึ้นจากการทําสัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้าจะตัดจําหน่ายตลอดอายุของสัญญา สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราและอัตราดอกเบี้ย สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราและอัตราดอกเบี้ยเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยในอนาคต สินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่มีการป้องกันความเสี่ยงโดยสัญญาแลกเปลี่ยน แปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ ใช้ในการดําเนินงาน โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่กําหนดไว้ในสัญญาและจะถูกวัดค่า ณ วันที่รายงานด้วยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น ผลต่างจาก อัตราแลกเปลี่ยนจะถูกบันทึกในกําไรหรือขาดทุน ส่วนผลต่างที่ได้รับหรือจ่ายตามสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยบันทึกปรับปรุงกับดอกเบี้ย จ่ายของภาระหนี้สินทางการเงินที่ได้รับการป้องกันความเสี่ยงในกําไรหรือขาดทุน
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
181
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคานํ้ามัน ผลต่างระหว่างราคาคงที่ที่กําหนดในสัญญาและราคาตลาดที่เกิดขึ้นจริงบันทึกในกําไรหรือขาดทุนเมื่อครบกําหนดสัญญา (ง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวันและออมทรัพย์ และเงินลงทุนระยะ สั้นที่มีสภาพคล่องสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะต้องชําระคืนเมื่อทวงถามถือเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (จ) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการชําระหนี้ในอนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะ ถูกตัดจําหน่ายออกจากบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ (ฉ) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า ต้นทุนของสินค้าคํานวณโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก ต้นทุนสินค้าประกอบด้วย ต้นทุนสินค้าที่ซื้อ ต้นทุนในการแปลงสภาพ และต้นทุนอื่น เพื่อให้สินค้าอยู่ในสถานที่ตั้งและสภาพปัจจุบัน ในกรณีของสินค้าสําเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุนสินค้ารวมการปันส่วนของ ค่าโสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสม โดยคํานึงถึงระดับกําลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการดําเนินธุรกิจปกติหักด้วยประมาณการต้นทุนที่จะผลิตให้เสร็จและพร้อมที่จะ ขาย (ช) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่คาดว่ามูลค่าตามบัญชีที่จะได้รับคืนส่วนใหญ่มาจากการขายมากกว่ามาจากการใช้สินทรัพย์นั้นต่อไป จัดเป็นประเภท สินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย สินทรัพย์วัดมูลค่าด้วยจํานวนที่ตํ่ากว่าระหว่างมูลค่าตามบัญชีกับมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ผลขาดทุน จากการด้อยค่าสําหรับการลดมูลค่าในครั้งแรกและผลกําไรและขาดทุนจากการจากการวัดมูลค่าในภายหลังรับรู้ในกําไรหรือขาดทุน ผลกําไร รับรู้ไม่เกินยอดผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสมที่เคยรับรู้
182
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ซ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการที่ควบคุมร่วมกัน และบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการที่ควบคุมร่วมกัน และบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุน ส่วน การบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันในงบการเงินรวมใช้วิธีส่วนได้เสีย การเปลี่ยนแปลงส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัทย่อยโดยที่ไม่ได้ทําให้กลุ่มบริษัทสูญเสียอํานาจในการควบคุม กลุ่มบริษัทบันทึกรายการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นรายการในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น ตราสารหนี้ซึ่งกลุ่มบริษัทตั้งใจและสามารถถือจนกว่าครบกําหนดจัดประเภทเป็นเงินลงทุนที่ถือจนครบกําหนด และแสดงในราคาทุน ตัดจําหน่ายหักด้วยขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อมากับมูลค่าไถ่ถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจ่ายโดย วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไว้จนครบกําหนดจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์ เผื่อขายและแสดงในมูลค่ายุติธรรม กําไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์ได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรง ยกเว้นขาดทุนจาก การด้อยค่าของเงินลงทุนและกําไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจะรับรู้ในกําไรหรือขาดทุน เมื่อมีการจําหน่ายเงินลงทุนจะรับรู้ผลกําไรหรือ ขาดทุนที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรงเข้าในกําไรหรือขาดทุน เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า การจําหน่ายเงินลงทุน เมื่อมีการจําหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจํานวนเงินสุทธิที่ได้รับและมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงกําไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวข้องที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในกําไรหรือขาดทุน ในกรณีที่กลุ่มบริษัทจําหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การคํานวณต้นทุนสําหรับเงินลงทุนที่จําหน่ายไปและเงินลงทุนที่ยังถืออยู่ใช้ วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก (ฌ) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนได้แก่อสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่าหรือจากมูลค่าที่เพิ่มขึ้นหรือทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ ไม่ได้มีไว้เพื่อขายตามปกติธุรกิจหรือใช้ในการผลิตหรือจัดหาสินค้าหรือให้บริการหรือใช้ในการบริหารงาน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนแสดงในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
183
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ต้นทุนรวมค่าใช้จ่ายทางตรงเพื่อให้ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ต้นทุนการก่อสร้างที่กิจการก่อสร้างเองรวมถึงต้นทุนวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรงและต้นทุนทางตรงอื่นเพื่อให้อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและรวมถึงต้นทุนการกู้ยืม (ญ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรง ที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสินทรัพย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสินทรัพย์รวมถึงต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินทรัพย์เพื่อให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุน ในการรื้อถอน การขนย้าย การบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์และต้นทุนการกู้ยืม นอกจากนี้ต้นทุนอาจรวมถึงกําไรหรือขาดทุนจาก การป้องกันความเสี่ยงกระแสเงินสดจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เป็นเงินตราต่างประเทศซึ่งถูกโอนจากกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น สําหรับเครื่องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ซึ่งไม่สามารถทํางานได้โดยปราศจากลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์นั้นถือว่าลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ดังกล่าว เป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันกลุ่มบริษัทได้บันทึกแต่ละส่วนประกอบ ที่มีนัยสําคัญแยกต่างหากจากกัน กําไรหรือขาดทุนจากการจําหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจําหน่ายกับมูลค่าตามบัญชี ของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยรับรู้สุทธิในกําไรหรือขาดทุนเมื่อสินทรัพย์ถูกขาย การจัดประเภทไปยังอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการใช้งานจากอสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้ใช้งานไปยังอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน มูลค่าตามบัญชี ณ วันที่มีการจัดประเภท ใหม่ถือเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ต่อไป ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ต้นทุนในการเปลี่ยนแทนส่วนประกอบจะรับรู้เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ถ้ามีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริษัทจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการนั้นได้อย่าง น่าเชื่อถือ ชิ้นส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจําหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการซ่อมบํารุงที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกิดขึ้น เป็นประจําจะรับรู้ในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาคํานวณจากมูลค่าเสื่อมสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ์ ซึ่งประกอบด้วยราคาทุนของสินทรัพย์หรือต้นทุนในการเปลี่ยน แทนอื่นหักด้วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์
184
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในกําไรหรือขาดทุน คํานวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณของส่วนประกอบของ สินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ อาคาร ส่วนปรับปรุงสินทรัพย์ที่เช่า โรงกลั่นนํ้ามันและอุปกรณ์ (เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2537 บริษัทคิด ค่าเสื่อมราคาโรงกลั่นนํ้ามันตามอายุการใช้งานโดยประมาณที่เหลืออยู่) โรงกลั่นนํ้ามันหล่อลื่นขั้นพื้นฐานและอุปกรณ์ โรงผลิตพาราไซลีน โรงผลิตกระแสไฟฟ้า ระบบสายส่งไฟฟ้า เครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์โรงงาน เรือบรรทุกนํ้ามันและผลิตภัณฑ์เคมีเหลว และเรือขนส่งผู้โดยสาร เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง เครื่องใช้สํานักงานและอื่นๆ ยานพาหนะ
10 - 25 ปี 5 - 20 ปี 20 - 35 16 - 20 10 - 25 20 - 25 25 3 - 20 10 - 25 5 - 10 5
ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี
กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบปีบัญชีและปรับปรุง ตามความเหมาะสม (ฏ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม ค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อกิจการของบริษัทย่อยรับรู้ในสินทรัพย์ไม่มีตัวตน การรับรู้มูลค่าเริ่มแรกของค่าความนิยม ได้อธิบายใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน 4 (ก) ภายหลังจากการรับรู้เริ่มแรก ค่าความนิยมจะถูกวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนหักผลขาดทุนจากการด้อยค่า สะสม สําหรับตราสารทุน – การบัญชีด้านผู้ลงทุนมูลค่าตามบัญชีของค่าความนิยมให้รวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน และผลขาดทุน จากการด้อยค่าในเงินลงทุนต้องไม่ถูกปันส่วนให้สินทรัพย์ใด ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนรวมถึงค่าความนิยม ฐานข้อมูลลูกค้า ฐานข้อมูลลูกค้าแสดงในราคาทุนหักผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม
185
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ค่าสิทธิและคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ ค่าสิทธิและคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจํากัดแสดงในราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและผลขาดทุน จากการด้อยค่าสะสม รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการจะรับรู้เป็นสินทรัพย์เมื่อก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็นสินทรัพย์ที่สามารถระบุได้ ที่เกี่ยวข้องนั้น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมถึงค่าความนิยมและตราผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นภายในรับรู้ในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าตัดจําหน่าย ค่าตัดจําหน่ายคํานวณโดยนําราคาทุนของสินทรัพย์หรือจํานวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจําหน่ายรับรู้ในกําไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มีตัวตนซึ่งไม่รวมค่าความนิยม โดยเริ่มตัดจําหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนเมื่อสินทรัพย์นั้นพร้อมที่จะให้ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์แสดงได้ดังนี้ ค่าสิทธิ คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
10 - 20 ปี 5 - 10 ปี
วิธีการตัดจําหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ และ มูลค่าคงเหลือ จะได้รับการทบทวนทุกสิ้นรอบปีบัญชีและปรับปรุงตาม ความเหมาะสม (ฏ) ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากค่าใช้จ่ายนั้นๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไปตามอายุของ สัญญาที่เกี่ยวข้อง (ฐ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้จะทํา การประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน สําหรับค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอนหรือ ยังไม่พร้อมใช้งาน จะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทุกปีในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะ ได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในกําไรหรือขาดทุน
186
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีความชัดเจนว่าสินทรัพย์ดังกล่าวมี การด้อยค่า ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในกําไรหรือขาดทุนโดยไม่ต้องปรับกับยอดสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าว ยอดขาดทุนที่บันทึกในกําไรหรือขาดทุนเป็นผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อกับมูลค่ายุติธรรมในปัจจุบันของสินทรัพย์หักขาดทุนจากการด้อยค่า ของสินทรัพย์ทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรู้แล้วในกําไรหรือขาดทุน การคํานวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษัทที่ถือไว้จนกว่าจะครบกําหนดและลูกหนี้ที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายคํานวณ โดยการหามูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคต คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง สําหรับลูกหนี้ระยะสั้นไม่มี การคิดลด มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ทางการเงินสําหรับหลักทรัพย์เผื่อขายคํานวณโดยอ้างอิงถึงมูลค่ายุติธรรม มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินหมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์หรือมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หักต้นทุนในการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคต จะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนคํานึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลา และความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ สําหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่นจะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับ คืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกกลับรายการเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้น สัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ สําหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายและตราสารหนี้ที่ จัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกบันทึกในกําไรหรือขาดทุน ส่วนสินทรัพย์ทางการเงินที่เป็นตราสารทุนที่จัดประเภท เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกรับรู้โดยตรงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมจะไม่มีการปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน อื่นๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการคํานวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าที่มูลค่า ตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรือค่าตัดจําหน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจาก การด้อยค่ามาก่อน (ฑ) ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้เป็นผลต่างระหว่างจํานวนเงินที่ได้รับจากการขายหุ้นกู้และยอดเงินเมื่อถึงกําหนดชําระบันทึกในกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุ การกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
187
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ฒ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยแสดงในราคาทุน (ณ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ด) ผลประโยชน์พนักงาน โครงการสมทบเงิน โครงการสมทบเงินเป็นโครงการผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงานซึ่งกิจการจ่ายสมทบเป็นจํานวนเงินที่แน่นอนไปอีกกิจการหนึ่งแยก ต่างหาก (กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ) และจะไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายสมทบเพิ่มเติม ภาระผูกพัน ในการสมทบเข้าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายพนักงานในกําไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานทํางานให้กับกิจการ โครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้เป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการสมทบเงิน ภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริษัท จากโครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ถูกคํานวณแยกต่างหากเป็นรายโครงการจากการประมาณผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการทํางาน ของพนักงานในปัจจุบันและในงวดก่อน ๆ ผลประโยชน์ดังกล่าวได้มีการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน ทั้งนี้ได้สุทธิจากต้นทุน บริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้และมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ อัตราคิดลดเป็นอัตรา ณ วันที่รายงานจากพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งมีระยะเวลา ครบกําหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุ่มบริษัทและมีสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินของผลประโยชน์ที่คาดว่าจะจ่าย การคํานวณ จัดทําโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ได้รับอนุญาต โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการ เมื่อมีการเพิ่มผลประโยชน์ในโครงการผลประโยชน์ สัดส่วนที่เพิ่มขึ้นของผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนบริการในอดีตของพนักงานรับรู้ ในกําไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาถัวเฉลี่ยจนถึงวันที่ผลประโยชน์นั้นเป็นสิทธิขาด ผลประโยชน์ที่เป็นสิทธิขาดจะรับรู้เป็น ค่าใช้จ่ายในกําไรหรือขาดทุนทันที กลุ่มบริษัทรับรู้กําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริษัทที่เป็นผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานเป็นผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการทํางานของพนักงานใน ปัจจุบันและงวดก่อน ซึ่งผลประโยชน์นี้ได้คิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็นมูลค่าปัจจุบันและสุทธิจากมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง อัตราคิดลดเป็นอัตรา ณ วันที่รายงานจากพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งมีระยะเวลาครบกําหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุ่มบริษัท การคํานวณจัดทําโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ได้รับอนุญาต โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการ กําไรขาดทุนจากการประมาณการ ตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยรับรู้ในกําไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น
188
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกลุ่มบริษัทแสดงเจตนาผูกพันอย่างชัดเจนเกี่ยวกับการเลิกจ้าง และไม่มีความเป็นไปได้ที่จะ ยกเลิก มีรายละเอียดอย่างเป็นทางการทั้งการเลิกจ้างก่อนวันเกษียณตามปกติหรือการสนับสนุนการออกจากงานโดยสมัครใจ ผลประโยชน์ เมื่อเลิกจ้างรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกลุ่มบริษัทเสนอให้มีการออกจากงานโดยสมัครใจและมีความเป็นไปได้ที่จะได้รับการตอบรับข้อเสนอนั้น และสามารถประมาณจํานวนของการยอมรับข้อเสนอได้อย่างสมเหตุสมผล มีการคิดลดกระแสเงินสดหากระยะเวลาการจ่ายผลประโยชน์เกิน กว่า 12 เดือนนับจากวันที่รายงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานวัดมูลค่าโดยมิได้คิดลดกระแสเงินสดและรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายพนักงานในกําไรหรือขาดทุนใน รอบระยะเวลาที่พนักงานได้ทํางานให้กับกิจการ หนี้สินรับรู้ด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายชําระสําหรับการจ่ายผลประโยชน์ระยะสั้นที่เป็นเงินสด หากกลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมาย หรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายอันเป็นผลมาจากการที่พนักงานได้ทํางานให้ในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่าง สมเหตุสมผล (ต) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้น อันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ ในอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชําระภาระหนี้สินดังกล่าว และสามารถประมาณ จํานวนภาระหนี้สินได้อย่างน่าเชื่อถือ ประมาณการหนี้สินจะพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตราคิดลดใน ตลาดปัจจุบันก่อนคํานึงถึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจํานวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน (ถ) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีขายอื่นๆ และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า การขายสินค้าและให้บริการ รายได้รับรู้ในกําไรหรือขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าที่มีนัยสําคัญไปให้กับผู้ซื้อแล้ว และจะไม่รับ รู้รายได้ถ้าผู้บริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรือมีความไม่แน่นอนที่มีนัยสําคัญในการได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ จากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ไม่อาจวัดมูลค่าของจํานวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ หรือมีความเป็นไปได้ค่อนข้าง แน่นอนที่จะต้องรับคืนสินค้า รายได้จากการให้บริการรับรู้เมื่อมีการให้บริการ รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าเช่าจากสินทรัพย์เพื่อการลงทุนรับรู้ในกําไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
189
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ดอกเบี้ยรับและเงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในกําไรหรือขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับบันทึกในกําไรหรือขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล ซึ่ง ตามปกติในกรณีเงินปันผลที่จะได้รับจากหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดจะพิจารณาจากวันที่มีการประกาศสิทธิการรับเงินปันผล (ท) ค่าใช้จ่าย สัญญาเช่าดําเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงานบันทึกในกําไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าซ่อมแซมและค่าบํารุงรักษา รายจ่ายในการซ่อมแซมและบํารุงรักษาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในกําไรหรือขาดทุนในงวดที่เกิดรายจ่ายนั้น ส่วนรายจ่ายที่มีลักษณะเป็นรายจ่าย ฝ่ายทุนได้บันทึกรวมไว้ในอาคารและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วยดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในทํานองเดียวกัน ต้นทุนการกู้ยืมที่ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มา การก่อสร้างหรือการผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รับรู้ในกําไรหรือขาดทุนในงวดที่ค่าใช้จ่ายดังกล่าว เกิดขึ้น (ธ) ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้จากกําไรหรือขาดทุนสําหรับปีประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันคือ ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายชําระหรือได้รับชําระ โดยคํานวณจากกําไรหรือขาดทุนประจําปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้ อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีบันทึกโดยคํานวณจากผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินและจํานวน ที่ใช้เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะไม่ถูกรับรู้เมื่อเกิดจากผลแตกต่างชั่วคราวต่อไปนี้ การรับรู้ค่าความนิยมใน ครั้งแรก การรับรู้สินทรัพย์หรือหนี้สินในครั้งแรกซึ่งเป็นรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและรายการนั้นไม่มีผลกระทบต่อกําไรขาดทุนทางบัญชี หรือกําไรขาดทุนทางภาษี และผลแตกต่างที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกันหากเป็นไปได้ว่าจะไม่มีการกลับ รายการในอนาคตอันใกล้ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีวัดมูลค่าโดยใช้อัตราภาษีที่คาดว่าจะใช้กับผลแตกต่างชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการ โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน การวัดมูลค่าของภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีต้องสะท้อนถึงผลกระทบทางภาษีที่จะเกิดจากลักษณะวิธีการที่กลุ่มบริษัทคาดว่าจะได้รับผล ประโยชน์จากสินทรัพย์หรือจะจ่ายชําระหนี้สินตามมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน
190
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ในการกําหนดมูลค่าของภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กลุ่มบริษัทคํานึงถึงผลกระทบของสถานการณ์ทางภาษีที่ ไม่แน่นอนและอาจทําให้จํานวนภาษีที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ต้องชําระ กลุ่มบริษัทเชื่อว่าได้ตั้งภาษีเงินได้ค้างจ่ายเพียงพอสําหรับ ภาษีเงินได้ที่จะจ่ายในอนาคต ซึ่งเกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณ์ ในอดีต การประเมินนี้อยู่บนพื้นฐานการประมาณการและข้อสมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆ อาจจะทําให้กลุ่มบริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยู่กับความเพียงพอของภาษีเงินได้ค้างจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงใน ภาษีเงินได้ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้เมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมายที่จะนําสินทรัพย์ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้นี้ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงาน เดียวกันสําหรับหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วยภาษีต่างกัน สําหรับหน่วยภาษีต่างกันนั้นกิจการมีความตั้งใจจะจ่ายชําระหนี้สินและสินทรัพย์ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันด้วยยอดสุทธิหรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพย์และจ่ายชําระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่ากําไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมีจํานวนเพียงพอกับ การใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลง เท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริง (น) รายงานทางการเงินจําแนกตามส่วนงาน ผลการดําเนินงานของส่วนงานที่รายงานต่อผู้มีอํานาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดําเนินงาน จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึ้นจากส่วนงานดําเนินงาน นั้นโดยตรงหรือรายการที่ได้รับการปันส่วนอย่างสมเหตุสมผล
5 การได มาซึ่งบริษัทย อย บริษัทร วมและกิจการที่ควบคุมร วมกัน บริษัทย่อย TOP SPP เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2556 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด โดยบริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.99 บริษัทดังกล่าวมีทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญจํานวน 350 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท รวมทุนจดทะเบียนหุ้นสามัญ 3,500 ล้านบาท โดยเรียกชําระค่าหุ้นครั้งแรกร้อยละ 25 ของมูลค่าที่ตราไว้ คิดเป็นจํานวน 875 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2557 บริษัทได้ชําระค่าหุ้นส่วนที่เหลือจนเต็มจํานวนตามสัดส่วน การถือหุ้น คิดเป็นจํานวน 2,625 ล้านบาท รวมเงินลงทุนทั้งสิ้นจํานวน 3,500 ล้านบาท
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
191
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
LABIX เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2556 บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด) ได้ลงทุนในบริษัท ลาบิกซ์ จํากัด ร่วมกับบริษัท มิตซุยแอนด์ คัมปนี จํากัด โดยบริษัทย่อยถือหุ้นร้อยละ 75 บริษัทดังกล่าวมีทุนจดทะเบียนหุ้นสามัญจํานวน 465 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท รวมทุน จดทะเบียนหุ้นสามัญ 4,655 ล้านบาท โดยเรียกชําระค่าหุ้นครั้งแรกร้อยละ 40 ของมูลค่าที่ตราไว้ คิดเป็นจํานวน 1,396 ล้านบาท ต่อมาเมื่อ วันที่ 20 ธันวาคม 2556 บริษัทย่อยได้ชําระค่าหุ้นส่วนที่เหลือจนเต็มจํานวนตามสัดส่วนการถือหุ้น คิดเป็นจํานวน 2,095 ล้านบาท รวมเงิน ลงทุนทั้งสิ้นจํานวน 3,491 ล้านบาท บริษัทร่วม GPSC เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด (“IPT”) กับบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด (“PTTUT”) ได้จดทะเบียนควบ บริษัทกับกระทรวงพาณิชย์ และจดทะเบียนบริษัทใหม่เป็นบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (“GPSC”) ภายใต้การควบรวมบริษัทดังกล่าว กลุ่มบริษัทในฐานะผู้ถือหุ้นเดิมของ IPT ได้แลกหุ้นสามัญทั้งหมดที่ถือใน IPT เป็นหุ้นสามัญที่ออกใหม่ โดย GPSC เป็นผลให้กลุ่มบริษัทได้ถือหุ้นใน GPSC ทั้งทางตรงโดยบริษัท (ร้อยละ 11.88) และทางอ้อมผ่านบริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด (ร้อยละ 27.71) ทั้งนี้จากการแลกหุ้นดังกล่าว กลุ่มบริษัทได้ตัดจําหน่ายเงินลงทุนใน IPT และบันทึกเงินลงทุนใน GPSC เป็นเงินลงทุนใน บริษัทร่วมตามวิธีส่วนได้ส่วนเสียในงบการเงินรวม สําหรับงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัทบันทึกเงินลงทุนใน GPSC ด้วยวิธีราคาทุน โดยบันทึกเงินลงทุนเริ่มแรกใน GPSC ด้วยมูลค่าตามบัญชี ของเงินลงทุนใน IPT ณ วันที่เกิดการควบรวมบริษัท สําหรับงบการเงินรวม กลุ่มบริษัทบันทึกเงินลงทุนใน GPSC เป็นเงินลงทุนในบริษัทร่วมตามวิธีส่วนได้เสีย โดยบันทึกเงินลงทุนเริ่มแรกใน GPSC ด้วยมูลค่ายุติธรรมของหุ้นของ GPSC ที่ได้รับ ณ วันควบรวมบริษัท และรับรู้ผลแตกต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมในหุ้นของ GPSC ที่ได้รับ กับส่วนได้เสียใน IPT ของกลุ่มบริษัท ณ วันควบรวมบริษัทดังกล่าว เป็นกําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนซึ่งรวมอยู่ในงบกําไรขาดทุนรวม ทั้งนี้ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2557 กลุ่มบริษัทได้นําการตีความตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง การประเมินว่าข้อตกลง ประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ มาถือปฎิบัติ และได้ปรับปรุงผลกระทบย้อนหลัง ตามที่ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 (ง) โดยผลกระทบที่มีต่องบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีดังนี้
192
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ล้านบาท)
ตามที่รายงานในปีก่อน งบกําไรขาดทุน สําหรับงวดปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กําไร (ขาดทุน) จากการจําหน่ายเงินลงทุน
568
งบการเงินรวม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี
ปรับปรุงใหม่
(1,466)*
(898)**
* เป็นส่วนของกลุ่มบริษัทและเป็นส่วนของส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม จํานวน 1,199 ล้านบาท และจํานวน 267 ล้านบาท ตามลําดับ ** เป็นส่วนของกลุ่มบริษัทและเป็นส่วนของส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม จํานวน 749 ล้านบาท และจํานวน 149 ล้านบาท ตามลําดับ
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน TOP-NTL Shipping Trust ในระหว่างปี 2556 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหน่วยลงทุนของ TOP-NTL Shipping Trust ได้มีมติให้ออกหน่วยลงทุนเพิ่มเติม 2 ครั้ง รวมเป็นจํานวน 950,000 หน่วย ทั้งนี้ บริษัทย่อย (บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด)ได้ชําระค่าหน่วยลงทุนเพิ่มเติมดังกล่าวเต็มจํานวนตามสัดส่วนการถือหน่วย ลงทุน คิดเป็นจํานวน 475,000 เหรียญสิงคโปร์ หรือเทียบเท่า 12 ล้านบาท เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2556 และวันที่ 30 ตุลาคม 2556 ต่อมาเมื่อ วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหน่วยลงทุนได้มีมติให้ออกหน่วยลงทุนเพิ่มเติมจํานวน 864,400 หน่วย หรือคิดเป็นจํานวนเงิน เรียกชําระค่าหน่วยลงทุน 432,000 เหรียญสิงคโปร์หรือเทียบเท่า 11.25 ล้านบาท ซึ่งบริษัทย่อยได้ชําระค่าหน่วยลงทุนดังกล่าวเต็มจํานวนตาม สัดส่วนการถือหน่วยลงทุนเมื่อวันที่ 9 กรกฏาคม 2557 TOP Nautical Star เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2556 บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด (“TM”)) ได้ลงทุนในบริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จํากัด ร่วมกับ บริษัท นทลิน จํากัด (“นทลิน”) และ TOP-NTL Shipping Trust (“TOP-NTL”) ซึ่งถือหุ้นโดย TM และนทลิน ฝ่ายละร้อยละ 50 โดยสัดส่วนการ ถือหุ้นของ TM นทลิน และ TOP-NTL เท่ากับร้อยละ 35, 35 และ 30 ตามลําดับ บริษัทดังกล่าวมีทุนจดทะเบียนหุ้นสามัญจํานวน 1.5 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท รวมทุนจดทะเบียนหุ้นสามัญ 150 ล้านบาท โดยเรียกชําระค่าหุ้นครั้งแรกร้อยละ 25 ของมูลค่าที่ตราไว้และได้ชําระ ค่าหุ้นเพิ่มเติมอีกร้อยละ 25 เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2556 คิดเป็นเงินจํานวนที่ TM และ TOP-NTL ชําระค่าหุ้นทั้งสิ้น 26.25 ล้านบาทและ 22.50 ล้านบาทตามลําดับ ต่อมาเมื่อวันที่ 9 กรกฏาคม 2557 TM และ TOP-NTL ได้ชําระค่าหุ้นส่วนที่เหลือร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียน หรือ คิดเป็นจํานวนเงินเรียกชําระค่าหุ้น 26.25 ล้านบาทและ 22.50 ล้านบาท ตามลําดับ
193
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
6 บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้แก่ บุคคลหรือกิจการต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทโดยการเป็นผู้ถือหุ้น หรือมีผู้ถือหุ้นร่วมกัน หรือมีกรรมการร่วมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้กําหนดขึ้นโดยใช้ราคาตลาด หรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญา หากไม่มีราคาตลาดรองรับ ความสัมพันธ์ที่กลุ่มบริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมร่วมกันในกลุ่มบริษัท หรือเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัท ควบคุม หรือควบคุมร่วมกัน หรือเป็นบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุ่มบริษัท มีดังนี้
ชื่อกิจการ
ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง ลักษณะความสัมพันธ์
บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด TOP Solvent (Vietnam) LLC. บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด Thaioil Marine International Pte Ltd. บริษัท ท๊อป มารีไทม์ เซอร์วิส จํากัด บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด TOP-NTL Pte. Ltd. TOP-NTL Shipping Trust บริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จํากัด
ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย เวียดนาม ไทย สิงคโปร์ ไทย ไทย สิงคโปร์ สิงคโปร์ ไทย
TOP-NYK MarineOne Pte. Ltd.
สิงคโปร์
เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัทย่อย เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัทย่อย เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัทย่อย และ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัทย่อยทางอ้อม และ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ
194
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ชื่อกิจการ
ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง ลักษณะความสัมพันธ์
บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด ไทย บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด ไทย บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด* ไทย บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด ไทย บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด ไทย บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จํากัด ไทย PTT International Trading Pte. Ltd. สิงคโปร์ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด ไทย (มหาชน) บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จํากัด ไทย บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน) ไทย ไทย บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) ไทย บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) ไทย บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จํากัด ไทย บริษัท พีทีที ฟีนอล จํากัด ไทย บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด ไทย
เป็นบริษัทร่วมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นบริษัทร่วมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นบริษัทร่วมทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทร่วมทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นบริษัทร่วมทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นบริษัทร่วมทางอ้อมและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ เป็นบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกันและ/หรือมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ
* เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด เป็นบริษัทซึ่งเกิดจากการควบรวมบริษัทระหว่างบริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด และบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด
นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดังต่อไปนี้ รายการ
นโยบายการกําหนดราคา
รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ รายได้ค่าเช่า ซื้อสินค้าและสินทรัพย์ ดอกเบี้ยรับและดอกเบี้ยจ่าย รายได้เงินปันผล รายได้อื่นและค่าใช้จ่ายอื่น ค่าตอบแทนกรรมการ
ราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ ตามอัตราที่ตกลงกันตามสัญญา ตามสิทธิการได้รับเงินปันผล ราคาตามสัญญา ตามจํานวนที่ได้รับการอนุมัติโดยผู้ถือหุ้นของกลุ่มบริษัท
195
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายการที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 สรุปได้ดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ซื้อนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ ซื้อขายนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ เพื่อสํารองนํ้ามันตามกฎหมาย* รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น บริษัทย่อย รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ซื้อนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ ซื้อขายนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ เพื่อสํารองนํ้ามันตามกฎหมาย* ดอกเบี้ยรับ รายได้เงินปันผล รายได้ค่าเช่าที่ดิน รายได้อื่น ดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายอื่น ซื้อสินทรัพย์ กิจการที่ควบคุมร่วมกัน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
173,581 152,296
192,982 162,647
167,635 147,574
186,226 157,284
108 51
2,380 22 39
108 40
2,380 22 29
-
-
59,115 39,378
61,693 39,813
-
-
136 5,936 61 1,080 89 777 -
4,962 122 3,024 50 1,022 135 828 7
33 1,221
648
1,040
640
196
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 บริษัทร่วม รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ซื้อนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ ดอกเบี้ยรับ รายได้เงินปันผล รายได้ค่าเช่าที่ดิน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น ซื้อสินทรัพย์ กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ซื้อนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ ซื้อขายนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ เพื่อสํารองนํ้ามันตามกฎหมาย* รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าตอบแทนกรรมการ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
12 962 4 7 60 235 169
11 783 4 7 63 213 99
9 914 27 7 28 212 169
7 736 15 7 38 182 99
18,510 11,701
17,509 11,222
13,396 2,883
12,684 3,241
8 220
3,873 13 151
8 219
3,873 10 151
59
91
48
51
* รายการซื้อขายนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบเพื่อการรักษาระดับสํารองนํ้ามันตามที่กฎหมายกําหนดนี้เป็นรายการที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หลายแห่ง และได้ถูกกลับรายการในงบการเงินสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 แล้ว
197
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
6,337
12,436
6,096
11,566
บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด
-
-
3,599 579 39
5,709 573 53
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จํากัด
16
-
-
-
2
-
-
-
5 169 19 75 27 6,650 6,650 –
66 370 19 134 20 13,045 13,045 –
165 10,478 10,478 –
310 18,211 18,211 –
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)
บริษัทร่วม บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) PTT International Trading Pte. Ltd. บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับปี
198
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)
7
9
7
9
บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด บริษัท ลาบิกซ์ จํากัด
-
-
34 30 2 2 18 4 27 5 2 5 40
39 43 1 4 17 4 38 2 24
บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จํากัด
8 1 1 6 12
4 1 2 1
8 1 6 -
4 2 -
กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จํากัด รวม
2 37
2 19
2 193
2 189
199
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 บริษัทย่อย บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด บริษัทร่วม บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
-
-
2,498 455 1,060
2,486 437 -
90 90
90 90
4,013
2,923
อัตราดอกเบี้ยในระหว่างปี 2557 และ 2556 มีอัตราเท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะสั้นตามตลาดเงิน (MMR) แต่ไม่เกินอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ยืมขั้นตํ่า (MLR) ถัวเฉลี่ยของสถาบันการเงิน 5 แห่ง หักด้วยอัตราส่วนลด รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
90 90
90 90
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2,923 2,058 (968) 4,013
3,184 231 (492) 2,923
200
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
6,961
15,873
6,612
14,918
บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด
-
-
1,953 130 12 171 6 9
3,157 583 57 193 2 10
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จํากัด
23
-
-
-
บริษัทร่วม บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด
27 87 4
49 6 54 5
27 87 -
49 54 -
200 112 12 7,426
411 243 12 16,653
9,007
19,023
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)
กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัท พีทีที ฟีนอล จํากัด รวม
201
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)
2
4
-
3
บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด
-
-
2 13 44 1
2 3 5 107 -
บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จํากัด
44 25 12
63 -
44 25 -
60 -
กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จํากัด บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด รวม
1 8 4 96
1 16 3 87
1 8 4 142
1 16 3 200
202
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด รวม
–
–
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
178 3,465 117 3,760
2,171 3,481 184 5,836
อัตราดอกเบี้ยในระหว่างปี 2557 และ 2556 มีอัตราเท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะสั้นตามตลาดเงิน (MMR) แต่ไม่เกินอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ยืมขั้นตํ่า (MLR) ถัวเฉลี่ยของสถาบันการเงิน 5 แห่ง หักด้วยอัตราส่วนลด รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
–
–
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 5,836 2,076 3,760
5,020 816 5,836
สัญญาสําคัญที่ทํากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีสัญญาที่สําคัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันดังนี้ สัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์นํ้ามัน บริษัทมีสัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์นํ้ามันกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ นํ้ามันจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ในสัญญา จนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยกเลิกสัญญาด้วย การแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 6 เดือน
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
203
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์นํ้ามัน บริษัทมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์นํ้ามันกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายผลิตภัณฑ์จะเป็นไปตามที่กําหนด ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ในสัญญา จนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไว้ สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ บริษัทมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้กับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จะเป็นไป ตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับนี้มีระยะเวลา 13 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนกันยายน 2560 หรือจนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะตกลง ยินยอมยกเลิกสัญญาร่วมกัน สัญญาใช้บริการเทคโนโลยีและการสื่อสาร บริษัทมีสัญญาใช้บริการเทคโนโลยีและการสื่อสารกับบริษัทร่วมแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับนี้มี ระยะเวลา 4 ปี 6 เดือน ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558 และสามารถต่ออายุสัญญาได้ครั้งละ 5 ปี สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคานํ้ามัน บริษัทมีสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคานํ้ามันสําเร็จรูป และนํ้ามันดิบล่วงหน้ากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง (“คู่สัญญา”) โดยบริษัทหรือ คู่สัญญาดังกล่าวมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายส่วนต่างระหว่างราคาคงที่กับราคาลอยตัวสําหรับงวดนั้นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีปริมาณนํ้ามันภายใต้สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคานํ้ามันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวเป็นจํานวน 0.4 ล้านบาร์เรล (2556: 0.3 ล้านบาร์เรล) สัญญาจัดหานํ้ามันปิโตรเลียมดิบและซื้อนํ้ามันสําเร็จรูป บริษัทมีสัญญาจัดหานํ้ามันปิโตรเลียมดิบและซื้อนํ้ามันสําเร็จรูปกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดย (ก) บริษัทจะขายผลิตภัณฑ์นํ้ามัน ปิโตรเลียมซึ่งผลิตจากโรงกลั่น และบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวจะเป็นผู้รับซื้อในปริมาณร้อยละ 49.99 ของจํานวนการกลั่นที่ 270,000 บาร์เรล ต่อวัน และ (ข) บริษัทที่เกี่ยวข้องกันจะจัดหาและบริษัทจะรับซื้อนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและ/หรือวัตถุดิบเพื่อรองรับโรงกลั่นที่การผลิตร้อยละ 49.99 ของจํานวนการกลั่นที่ 270,000 บาร์เรลต่อวัน ระยะเวลาการจ่ายชําระค่านํ้ามันปิโตรเลียมดิบเป็นไปตามข้อตกลงที่ตกลงร่วมกัน สัญญาให้บริการรับวัตถุดิบผ่านทุ่นรับนํ้ามันดิบ บริษัทมีสัญญาให้บริการรับวัตถุดิบจากทุ่นรับนํ้ามันดิบกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง สัญญาฉบับนี้มีระยะเวลา 15 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2566 โดยบริษัทจะคิดค่าบริการตามที่กําหนดไว้ในสัญญา
204
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สัญญาการใช้บริการขนส่งนํ้ามันทางท่อ บริษัทมีสัญญาการใช้บริการขนส่งนํ้ามันทางท่อกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้ มีระยะเวลา 20 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2557 หรือเมื่อบรรลุตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ และสามารถต่ออายุสัญญาได้ สัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติ บริษัทและบริษัทย่อยสองแห่งมีสัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวจะจัดหา ก๊าซธรรมชาติให้กับบริษัทและบริษัทย่อยดังกล่าวตามปริมาณและราคาที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 5 ถึง 25 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในระหว่างปี 2559 ถึง 2566 สัญญาชดเชยต้นทุน บริษัทย่อยแห่งหนึ่งและบริษัทร่วมแห่งหนึ่งมีสัญญาชดเชยต้นทุนกับบริษัทเพื่อชดเชยต้นทุนการก่อสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติและเพื่อมีสิทธิใน การใช้ท่อส่งก๊าซดังกล่าว ท่อส่งนํ้า และการใช้ประโยชน์บนที่ดินสําหรับการก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าเพื่อเชื่อมโยงระบบของบริษัทย่อยและบริษัท ร่วมดังกล่าวกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาเหล่านั้น บริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังกล่าวตกลงที่จะ จ่ายชดเชยต้นทุนการลงทุนที่เกิดขึ้นให้กับบริษัทตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 25 ปี หรือ สิ้นสุดพร้อมกับสัญญาซื้อไฟฟ้าที่บริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังกล่าวทําไว้กับ กฟผ. แล้วแต่เวลาใดจะถึงก่อน สัญญาซื้อกระแสไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้า บริษัทย่อยหลายแห่ง (“ผู้ขาย”) มีสัญญาซื้อกระแสไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้ากับบริษัทและบริษัทย่อยสองแห่งเป็นเวลา 20 และ 25 ปี ซึ่งจะ สิ้นสุดในปี 2566 และ 2570 โดยผู้ขายจะขายกระแสไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้าให้กับบริษัทและบริษัทย่อยดังกล่าวในปริมาณและราคาที่ตกลง กันตามที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาบริการและจัดหา บริษัทย่อยหลายแห่งและบริษัทร่วมหนึ่งแห่งมีสัญญาบริการและจัดหากับบริษัท โดยบริษัทจะให้บริการเกี่ยวกับการดําเนินงาน การซ่อมแซม และบํารุงรักษา การบริหาร การควบคุมและการจัดการ การจัดซื้อจัดจ้าง การขนส่งนํ้ามันทางท่อ การบําบัดนํ้าเสียและสาธารณูปโภค การให้ บริการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การเงิน การบัญชี และทรัพยากรบุคคลแก่บริษัทย่อยและบริษัทร่วม ซึ่งบริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังกล่าว ตกลงที่จะจ่ายค่าธรรมเนียมให้กับบริษัทตามที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลา 3 ปี หรือ 24 ปี หรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญาเช่าที่ดิน ที่บริษัทย่อยแห่งหนึ่งทําไว้กับบริษัทแล้วแต่เวลาใดจะถึงก่อน หรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญาซื้อไฟฟ้าที่บริษัทร่วมทําไว้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาบริการและจัดหากับบริษัท โดยบริษัทย่อยจะให้บริการทางด้านทรัพยากรบุคคล ค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนด ไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะเวลา 2 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
205
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สัญญาเช่าที่ดิน บริษัทย่อยหลายแห่งและบริษัทร่วมแห่งหนึ่งมีสัญญาเช่าที่ดินกับบริษัท เพื่อเช่า/เช่าช่วงที่ดินบางแห่ง ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนกันยายน 2565 เดือนพฤษภาคม 2584 และเดือนสิงหาคม 2586 โดยมีค่าเช่ารวมสําหรับปี 2557 เป็นจํานวนเงิน 68 ล้านบาท และจะมีการปรับอัตราค่าเช่า ทุก 5 ปี บริษัทมีสัญญาเช่าที่ดินกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งเพื่อเช่าที่ดินบางแห่ง ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนสิงหาคม 2569 โดยมีค่าเช่ารวมสําหรับ ปี 2557 เป็นจํานวนเงิน 2.7 ล้านบาท หากบริษัทไม่แจ้งยกเลิกสัญญาภายใน 1 เดือนก่อนวันที่สัญญาจะสิ้นสุดลง สัญญาจะถูกต่ออายุออกไป อีก 15 ปี สัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันหลายแห่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคา ซื้อขายของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลา 1 ปี ถึง 15 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดใน ระหว่างปี 2558 ถึง 2560 สัญญาให้บริการให้คําแนะนําทางด้านเทคนิค บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการให้คําแนะนําด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงานและปิโตรเคมีกับบริษัทและบริษัทย่อยสามแห่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี จนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยกเลิกสัญญา ด้วยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน บริษัทร่วมแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการให้คําแนะนําด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงานและปิโตรเคมีกับบริษัท โดยค่าบริการจะเป็นตาม ที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนสิงหาคม 2559 และจะต่ออายุออกไปโดยอัตโนมัติอีก 5 ปี จนฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายใดจะยกเลิกสัญญาด้วยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน สัญญาให้บริการขนส่งทางเรือแบบเช่าเหมา บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการขนส่งทางเรือแบบเช่าเหมากับบริษัทและบริษัทย่อยอีกแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนด ไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีกําหนดระยะเวลา 1 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในระหว่างปี 2558 กิจการที่ควบคุมร่วมกันสองแห่งมีสัญญาให้บริการขนส่งทางเรือแบบเช่าเหมากับบริษัท โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีกําหนดระยะเวลา 10 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2564 ปี 2565 และปี 2567
206
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สัญญาให้บริการขนส่งลูกเรือและสัมภาระ บริษัทย่อยทางอ้อมแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการขนส่งลูกเรือและสัมภาระกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนด ไว้ในสัญญา สัญญานี้มีกําหนดระยะเวลา 3 ปี และ 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2559 และ 2560 และสามารถต่อสัญญาได้อีก 2 ปี โดยให้แจ้งคู่สัญญา อีกฝ่ายหนึ่งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วัน ก่อนวันที่สัญญาจะสิ้นสุดลง สัญญาเช่าพื้นที่สํานักงาน บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทําสัญญาเช่าพื้นที่สํานักงานกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยค่าเช่าจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้ ไม่ได้ระบุวันที่สิ้นสุดของสัญญา ดังนั้นการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญาจะดําเนินต่อไปจนกระทั่งฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะยกเลิกสัญญาด้วย การแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน บริษัทมีสัญญาเช่าพื้นที่และบริการสํานักงานกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยค่าเช่าและค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลา 3 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนพฤศจิกายน 2558 และสามารถต่ออายุสัญญาได้ครั้งละ 3 ปี สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์เอทานอล บริษัทร่วมแห่งหนึ่งมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์เอทานอลกับบริษัท โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายของผลิตภัณฑ์เอทานอลจะเป็นไป ตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับนี้สิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2556 ทั้งนี้จะต่ออายุออกไปโดยอัตโนมัติอีกครั้งละ 1 ปี จนกว่าคู่สัญญาฝ่าย หนึ่งฝ่ายใดแจ้งยกเลิกสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์เอทานอลกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายของ ผลิตภัณฑ์เอทานอลจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับนี้มีระยะเวลา 10 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนมิถุนายน 2564 และสามารถต่อ สัญญาได้โดยให้แจ้งคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 6 เดือน ก่อนวันที่สัญญาจะสิ้นสุดลง สัญญาบริการ บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการกับบริษัท โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลา 1 ปี ซึ่งจะ สิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558 บริษัทมีสัญญาให้บริการกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะเวลา 2 ปี 6 เดือน ซึ่งจะ สิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558 บริษัทมีสัญญาให้บริการกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยบริษัทจะให้บริการเกี่ยวกับการบริหาร การควบคุมและการจัดการ ค่าบริการจะเป็นไป ตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะเวลาไม่เกิน 27 เดือนหรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญาเช่าที่ดินที่บริษัทย่อยทําไว้กับบริษัทแล้วแต่เวลาใด จะถึงก่อน
207
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สัญญาให้บริการบริหารจัดการเรือ บริษัทร่วมทางอ้อมแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการบริหารจัดการเรือกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งโดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญา เหล่านี้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี จนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยกเลิกสัญญาด้วยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้า 3 เดือน สัญญาให้บริการถังเก็บนํ้ามันดิบ บริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการถังเก็บนํ้ามันดิบกับบริษัท โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะ เวลา 3 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนกันยายน 2559 บริษัทมีสัญญาให้บริการถังเก็บนํ้ามันดิบกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะ เวลา 1 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558 สัญญากู้ยืมเงิน บริษัทมีสัญญากู้ยืมเงินระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งเพื่อใช้บริหารสภาพคล่องของบริษัท ซึ่งเป็นวงเงินสินเชื่อระยะสั้นชนิดไม่ ผูกพันและไม่มีหลักประกันโดยมีวงเงินกู้ยืมและวงเงินให้กู้ยืมจํานวนวงละไม่เกิน 2,000 ล้านบาท ที่อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอัตราดอกเบี้ยระยะ สั้น BIBOR หรือ LIBOR บวกส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย โดยคํานึงถึงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะสั้น อัตราผลตอบแทนเงินลงทุนระยะสั้น และอันดับ ความน่าเชื่อถือของบริษัทและของคู่สัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลา 1 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558
7 เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์และกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทประจํา (ระยะสั้นกว่า 3 เดือนนับตั้งแต่วันที่ลงทุน) รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
3 12,230
2 13,801
1 9,582
1 7,574
4,004 16,237
1,500 15,303
4,004 13,587
1,500 9,075
208
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อื่นๆ รวม
10,941 5,187 109 16,237
9,808 5,478 17 15,303
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 8,878 4,709 13,587
4,044 5,031 9,075
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากกระแสรายวัน ที่นําไปเป็นหลักประกันวงเงินสินเชื่อตามที่กล่าวไว้ใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 20 จํานวนเงิน 309 ล้านบาท (2556:ไม่มี)
8 เงินลงทุนอื่น (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 เงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากธนาคารประเภทประจํา
เงินลงทุนระยะยาวอื่น ตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย ตราสารอื่นที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
30,246 30,246
28,512 28,512
30,000 30,000
28,500 28,500
163 779 942 31,188
161 779 940 29,452
163 779 942 30,942
161 779 940 29,440
เงินลงทุนอื่นทั้งหมดของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 เป็นสกุลเงินบาท
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
209
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เงินฝากธนาคารประเภทประจํา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีเงินฝากธนาคารประเภทประจําไปเป็นหลักประกันวงเงินสินเชื่อตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 20 จํานวนเงิน 246 ล้านบาท (2556:ไม่มี) ตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย ในปี 2550 บริษัทได้เข้าร่วมทําสัญญาการลงทุนในกองทุนเปิด เอ็มเอฟซี เอนเนอร์จี ฟันด์ กับบริษัทหลายแห่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระดม เงินลงทุนจากผู้ลงทุนสถาบันที่ต้องการลงทุนส่วนใหญ่ในธุรกิจหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน และต่อมาเมื่อเดือนพฤษภาคม 2557 กองทุน ได้เปลี่ยนชื่อกองทุนเป็นกองทุนเปิด คอร์ เฟล็กซิเบิล ฟันด์และให้ปรับนโยบายการลงทุนให้กองทุนสามารถลงทุนในหลักทรัพย์ของกลุ่ม อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ได้ ในการนี้ บริษัทผูกพันจองซื้อหน่วยลงทุนจํานวน 40 ล้านหน่วย ในราคาเท่ากับมูลค่า ที่ตราไว้หน่วยละ 10 บาท หรือคิดเป็นเงินลงทุน 400 ล้านบาท ในระหว่างปี 2557 และ 2556 กองทุนดังกล่าวได้มีการรับซื้อคืนหน่วยลงทุน แบบอัตโนมัติจํานวน 0.19 ล้านหน่วย และ 0.06 ล้านหน่วย หรือเป็นจํานวน 1.2 ล้านบาท และ 0.4 ล้านบาทตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทได้ลงทุนในหน่วยลงทุนแล้วจํานวน 25.0 ล้านหน่วย หรือคิดเป็นจํานวนเงินลงทุน 250 ล้านบาท โดยมูลค่า ยุติธรรมของเงินลงทุนในกองทุนนี้เป็นจํานวนเงิน 163 ล้านบาท (2556 : 161 ล้านบาท)
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด ขนส่งนํ้ามันทางท่อ
ประเภท ของธุรกิจ
ตราสารอื่นที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด
29
9.19
(ร้อยละ)
9.19
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ 2557 2556
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
8,479
8,479
779 779
(ล้านบาท)
779 779
งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนชําระแล้ว วิธีราคาทุน 2557 2556 2557 2556
–
–
เงินปันผลรับ 2557 2556
210
ง บ ก า ร เ งิ น
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
211
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
9 ลูกหนี้การค า (ล้านบาท)
หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น
6
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวม หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับปี
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
6,650 9,492 16,142
13,045 15,702 28,747
10,478 5,939 16,417
18,211 10,078 28,289
1 16,141
1 28,746
16,417
28,289
–
–
–
–
การวิเคราะห์อายุลูกหนี้การค้ามีดังนี้ (ล้านบาท)
หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ภายในกําหนดระยะเวลาการรับชําระหนี้ เกินกําหนดระยะเวลาการรับชําระหนี้ น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
6
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
6,641
13,040
10,478
18,211
5 1 3 6,650 6,650
5 13,045 13,045
10,478 10,478
18,211 18,211
212
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ล้านบาท)
กิจการอื่น ภายในกําหนดระยะเวลาการรับชําระหนี้ เกินกําหนดระยะเวลาการรับชําระหนี้ น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
9,465
15,682
5,939
10,078
23 1 1 2 9,492 1 9,491 16,141
13 2 2 3 15,702 1 15,701 28,746
5,939 5,939 16,417
10,078 10,078 28,289
โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัทมีระยะเวลาตั้งแต่ 15 วัน ถึง 90 วัน ยอดลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อื่นๆ รวม
11,281 4,659 201 16,141
20,843 7,621 282 28,746
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 13,188 3,229 16,417
23,307 4,982 28,289
213
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
10 ลูกหนี้อื่น (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้อื่น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน ส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี อื่นๆ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
616 686
510 335
460 805
363 466
44 209 1,555
42 436 1,323
44 180 1,489
42 411 1,282
11 สินค าคงเหลือ (ล้านบาท)
นํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ วัสดุ อะไหล่และของใช้สิ้นเปลือง ผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป และผลิตภัณฑ์กึ่งสําเร็จรูป สินค้าระหว่างทาง นํ้ามันปิโตรเลียมดิบ วัสดุ อะไหล่และของใช้สิ้นเปลือง
หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลงให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ สุทธิ
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
9,077 1,161 8,890
12,132 1,135 14,167
7,465 927 5,997
9,859 884 10,605
12,104 31,232
21,120 2 48,556
12,100 26,489
21,012 1 42,361
2,699 28,533
47 48,509
2,451 24,038
42,361
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 สินค้าคงเหลือข้างต้นของกลุ่มบริษัทและบริษัทได้รวมสินค้าคงเหลือที่ต้องสํารองไว้ตามกฎหมายเป็นจํานวนเงิน 8,438 ล้านบาท และ 7,947 ล้านบาท ตามลําดับ (2556: 15,244 ล้านบาท และ 14,548 ล้านบาท ตามลําดับ)
214
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
ต้นทุนของสินค้าคงเหลือที่บันทึกเป็น ค่าใช้จ่ายและได้รวมในบัญชีต้นทุนขาย - ต้นทุนขาย - การปรับลดมูลค่า สุทธิ
390,157 2,652 392,809
396,242 32 396,274
393,852 2,451 396,303
401,090 401,090
12 สินทรัพย ไม หมุนเวียนที่ถือไว เพื่อขาย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนถูกนําเสนอเป็นสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขายซึ่งเป็นไปตามข้อผูกมัดในการขายของผู้บริหารของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง บริษัท ย่อยได้เริ่มพยายามดําเนินการขายในปี 2556 และการขายเกิดขึ้นภายในเดือนมกราคม 2557 ผลขาดทุนจากการด้อยค่าจํานวน 108 ล้านบาท จากการวัดมูลค่าใหม่ของสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขายให้เป็นจํานวนที่ตํ่ากว่าระหว่างมูลค่าตาม บัญชีกับมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหารในงบกําไรขาดทุน (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 28) สินทรัพย์ที่จัดประเภทเป็นถือไว้เพื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังต่อไปนี้ (ล้านบาท)
หมายเหตุ สินทรัพย์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ – เรือบรรทุกนํ้ามันและผลิตภัณฑ์เคมีเหลว
16
งบการเงินรวม 2557 2556
–
250 250
215
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
13 เงินลงทุนในบริษัทย อย (ล้านบาท)
หมายเหตุ ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน จําหน่ายเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
5 5
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 11,920 2,625 14,545
11,533 875 (488) 11,920
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 73.99 99.99
99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 73.99 99.99
2,572 1,758 970 40 1,250 1,450 2,810 3,500 14,350
2,572 1,758 970 40 1,250 1,450 2,810 875 11,725
บริษัทไม่มีเงินลงทุนในบริษัทย่อยซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ดังนั้นจึงไม่มีราคาที่ต้องเปิดเผยต่อสาธารณชน
บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จํากัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด รวม
(ร้อยละ)
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนชําระแล้ว 2557 2556
เงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และเงินปันผลรับสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันเดียวกัน มีดังนี้
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
2,161 1,979 970 40 1,250 1,450 3,195 3,500 14,545
2,161 1,979 970 40 1,250 1,450 3,195 875 11,920
(ล้านบาท)
วิธีราคาทุน 2557 2556
3,087 2,637 48 60 104 5,936
450 2,109 49 416 3,024
เงินปันผลรับ 2557 2556
216
ง บ ก า ร เ งิ น
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
217
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
14 เงินลงทุนในบริษัทร วมและกิจการที่ควบคุมร วมกัน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 หมายเหตุ ณ วันที่ 1 มกราคม – ตามที่รายงาน ในงวดก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม – ปรับปรุงใหม่ ส่วนแบ่งกําไรสุทธิจากเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย การได้มาของบริษัทร่วมและกิจการ ที่ควบคุมร่วมกัน เงินปันผลรับ ผลต่างจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
3
5
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
11,579
1,286
1,261
60
143 11,722
1,286
1,261
60
744
676
-
-
38 (75) 1 12,430
9,749 (15) 26 11,722
1,261
1,201 1,261
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
50.00 50.00 35.00 50.00
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน TOP-NTL Pte. Ltd. TOP-NTL Shipping Trust บริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จํากัด TOP-NYK MarineOne Pte. Ltd.
รวม
33.33
33.33
1 48 150 548 747 15,702
3 14,955
150 150 11,237 675 2,740
1 26 75 548 650 15,605
3 14,955
150 150 11,237 675 2,740
ทุนชําระแล้ว 2557 2556
24 53 274 351 5,239
1 4,888
30 30 3,855 203 769
13 26 274 313 5,201
1 4,888
30 30 3,855 203 769
5 21 28 366 420 12,430
5 12,010
184 43 10,961 49 768
(ล้านบาท)
3 11 16 392 422 11,722
7 11,300
152 37 10,283 58 763
(ปรับปรุงใหม่)
วิธีส่วนได้เสีย 2557 2556
16 16 75
59
12 2 45 -
15
15
15 -
เงินปันผลรับ 2557 2556
ง บ ก า ร เ งิ น
50.00 50.00 35.00 50.00
20.00 20.00 39.59* 30.00 21.28
20.00 20.00 39.59* 30.00 21.28
บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จํากัด
(ร้อยละ)
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ 2557 2556
งบการเงินรวม วิธีราคาทุน 2557 2556
เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และเงินปันผลรับสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันเดียวกัน มีดังนี้
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
218 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
20.00 20.00 11.88*
150 150 11,237 11,537
150 150 11,237 11,537
งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนชําระแล้ว 2557 2556
30 30 1,201 1,261
30 30 1,201 1,261
(ล้านบาท)
วิธีราคาทุน 2557 2556
12 2 13 27
บริษัทไม่มีเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ดังนั้นจึงไม่มีราคาที่เปิดเผยต่อสาธารณชน
15 15
เงินปันผลรับ 2557 2556
* บริษัทและบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด) ถือหุ้นในบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด ในอัตราร้อยละ 11.88 และร้อยละ 27.71 ตามลําดับ
20.00 20.00 11.88*
(ร้อยละ)
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ 2557 2556
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด รวม
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ง บ ก า ร เ งิ น
219
220
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ซึ่งกลุ่มบริษัทบันทึกเงินลงทุน ในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสียโดยแสดงเป็นยอดรวมไม่ปรับปรุงตามสัดส่วนที่ถือหุ้นโดยกลุ่มบริษัท มีดังนี้ สัดส่วนความ เป็นเจ้าของ
สินทรัพย์ รวม
หนี้สิน รวม
(ร้อยละ)
ปี 2557 บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จํากัด
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน TOP-NTL Pte. Ltd. TOP-NTL Shipping Trust บริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จํากัด TOP-NYK MarineOne Pte. Ltd. รวม
รายได้ รวม
กําไร (ขาดทุน)
(ล้านบาท)
20 20 39.59* 30 21.28 33.33
2,531 426 44,004 2,025 6,974 113 56,073
1,598 209 16,846 1,862 4,202 99 24,816
3,017 569 23,502 1,860 3,485 68 32,501
226 39 1,928 (29) 24 (7) 2,181
50 50 35 50
12 133 890 1,948 59,056
2 92 810 1,217 26,937
15 25 507 330 33,378
4 (5) (42) (21) 2,117
221
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สัดส่วนความ เป็นเจ้าของ
สินทรัพย์ รวม
หนี้สิน รวม
(ร้อยละ)
ปี 2556 บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (ปรับปรุงใหม่) บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด บริษัท ทอม ชิพ แมนเนจเมนท์ (ประเทศไทย) จํากัด กิจการที่ควบคุมร่วมกัน TOP-NTL Pte. Ltd. TOP-NTL Shipping Trust บริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จํากัด TOP-NYK MarineOne Pte. Ltd. รวม
รายได้ รวม
กําไร (ขาดทุน)
(ล้านบาท)
20 20 39.59* 30 21.28 33.33
1,947 412 50,492 2,257 6,679 294 62,081
1,190 225 25,494 2,065 3,931 273 33,178
2,362 452 25,493 1,523 3,579 47 33,456
214 21 1,505 (8) 159 22 1,913
50 50 35 50
6 81 758 2,068 64,994
1 58 711 1,284 35,232
9 17 15 319 33,816
3 (4) (28) 57 1,941
222
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
15 อสังหาริมทรัพย เพื่อการลงทุน (ล้านบาท)
หมายเหตุ ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น โอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่ 1 มกราคม โอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ กลับรายการค่าเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม
16
16
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
88 88
88 88
844 252 1,096
679 5 160 844
(6) 6 –
(6) (6)
(66) (11) 66 (11)
(41) (25) (66)
82 88
82 82
778 1,085
638 778
อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประเมินราคาโดยบริษัทผู้ประเมินอิสระแห่งหนึ่ง โดยพิจารณาราคา ตลาดตามเกณฑ์ของสินทรัพย์ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบันและวิธีรายได้ ราคาประเมินสําหรับกลุ่มบริษัทและบริษัทเป็นจํานวน 240 ล้านบาท และ 1,726 ล้านบาท ตามลําดับ (2556: 217 ล้านบาท และ 1,071 ล้านบาทตามลําดับ) ทําให้ในปี 2557 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีการกลับรายการ ค่าเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่าเป็นจํานวน 6 และ 66 ล้านบาทตามลําดับ
(9) (2) -
-
3,786
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 1,799
1,656 1 153
-
-
3,748 115 (77)
1,656
3,748
อาคาร
ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 - ปรับปรุงใหม่ เพิ่มขึ้น โอน – สุทธิ โอนออกจากการจําหน่าย เงินลงทุนในบริษัทย่อย โอนไปสินทรัพย์ที่ถือไว้ เพื่อขาย (หมายเหตุ 12) จําหน่าย ผลต่างจากการแปลงค่าใน การจัดทํางบการเงินรวม
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 - ตามที่รายงานในงวดก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายบัญชี
ที่ดิน
–
-
-
(5)
5 -
-
5
85,183
-
(40)
-
83,914 230 1,079
-
83,914
ส่วน ปรับปรุง โรงกลั่น สินทรัพย์ นํ้ามันและ ที่เช่า อุปกรณ์
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ
29
23,045
-
-
-
23,003 42
-
23,003
โรงผลิต พาราไซลีน
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
5,404
-
-
-
5,368 36
(10,455)
15,823
โรงผลิต กระแส ไฟฟ้า
193
-
-
-
193 -
-
193
3,708
8
(2)
(257)
3,898 34 27
(1,113)
5,011
เครื่องจักร ระบบ เครื่องมือ สายส่ง และอุปกรณ์ ไฟฟ้า โรงงาน
งบการเงินรวม
3,157
-
(417) -
-
3,416 14 144
-
3,416
645
-
(1) (3)
(22)
621 38 12
-
621
30
-
(2)
(3)
35 -
-
35
รวม
9
(418) (49)
(319)
17,026 143,976
1
-
(23)
6,169 132,026 12,295 12,727 (1,416) -
- (11,568)
6,169 143,594
เรือบรรทุก เครื่อง นํ้ามันและ ตกแต่ง ผลิตภัณฑ์ ติดตั้ง เคมีเหลว และ เครื่องใช้ สินทรัพย์ เรือขนส่ง สํานักงาน ระหว่าง ผู้โดยสาร และอื่นๆ ยานพาหนะ ก่อสร้าง
(ล้านบาท)
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ง บ ก า ร เ งิ น
223
1,799 2 5 (1) 1,805
5,950
อาคาร
3,786 2,164 -
ที่ดิน
–
– 96,250
85,183 179 10,967 (79)
ส่วน ปรับปรุง โรงกลั่น สินทรัพย์ นํ้ามันและ ที่เช่า อุปกรณ์
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น โอน – สุทธิ จําหน่าย ผลต่างจากการแปลงค่าใน การจัดทํางบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
29
23,097
23,045 52 -
โรงผลิต พาราไซลีน
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
5,494
5,404 1 89 -
โรงผลิต กระแส ไฟฟ้า
193
193 (2) 4,813
3,708 20 1,114 (27)
เครื่องจักร ระบบ เครื่องมือ สายส่ง และอุปกรณ์ ไฟฟ้า โรงงาน
งบการเงินรวม
3,847
3,157 48 727 (85)
713
645 28 42 (2)
รวม
23
(3) 20,694 162,879
30 17,026 143,976 1 16,664 19,107 - (12,996) (8) (201)
เรือบรรทุก เครื่อง นํ้ามันและ ตกแต่ง ผลิตภัณฑ์ ติดตั้ง เคมีเหลว และ เครื่องใช้ สินทรัพย์ เรือขนส่ง สํานักงาน ระหว่าง ผู้โดยสาร และอื่นๆ ยานพาหนะ ก่อสร้าง
(ล้านบาท)
224
ง บ ก า ร เ งิ น
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
(5) (2) -
–
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 1,040
971 76
– -
-
-
ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 - ปรับปรุงใหม่ ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี โอนออกจากการจําหน่าย เงินลงทุนในบริษัทย่อย โอนไปสินทรัพย์ที่ถือไว้ เพื่อขาย (หมายเหตุ 12) จําหน่าย ผลต่างจากการแปลงค่าใน การจัดทํางบการเงินรวม
971
อาคาร
–
ที่ดิน
–
-
-
(3)
3 -
-
3
61,186
-
(18)
-
57,595 3,609
-
57,595
ส่วน ปรับปรุง โรงกลั่น สินทรัพย์ นํ้ามันและ ที่เช่า อุปกรณ์
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 - ตามที่รายงานในงวดก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายบัญชี
29
8,915
-
-
-
7,785 1,130
-
7,785
โรงผลิต พาราไซลีน
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
3,382
-
-
-
3,167 215
(5,012)
8,179
โรงผลิต กระแส ไฟฟ้า
133
-
-
-
126 7
-
126
2,191
2
(2)
(146)
2,106 231
(452)
2,558
เครื่องจักร ระบบ เครื่องมือ สายส่ง และอุปกรณ์ ไฟฟ้า โรงงาน
งบการเงินรวม
732
-
(60) -
-
622 170
-
622
513
-
(3)
(20)
475 61
-
475
23
-
(2)
(2)
23 4
-
23
–
-
-
-
– -
-
–
เรือบรรทุก เครื่อง นํ้ามันและ ตกแต่ง ผลิตภัณฑ์ ติดตั้ง เคมีเหลว และ เครื่องใช้ สินทรัพย์ เรือขนส่ง สํานักงาน ระหว่าง ผู้โดยสาร และอื่นๆ ยานพาหนะ ก่อสร้าง
78,115
2
(60) (27)
(176)
72,873 5,503
(5,464)
78,337
รวม
(ล้านบาท)
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ง บ ก า ร เ งิ น
225
391 (380) 11
3,357
3,395
5,939
ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 - ปรับปรุงใหม่
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 - ปรับปรุงใหม่
วันที่ 31 ธันวาคม 2557
– –
ที่ดิน
694
759 -
-
2
– -
– –
31,071
23,997
26,319
– -
61,186 4,031 (38) 65,179
13,053
14,130
15,218
– -
8,915 1,129 10,044
โรงผลิต พาราไซลีน
1,906
2,022
2,201
– -
3,382 206 3,588
โรงผลิต กระแส ไฟฟ้า
54
60
67
– -
133 6 139
2,399
1,515
1,790
2 2
2,191 248 (27) 2,412
เครื่องจักร ระบบ เครื่องมือ สายส่ง และอุปกรณ์ ไฟฟ้า โรงงาน
งบการเงินรวม
3,048
2,425
2,794
– -
732 152 (85) 799
135
132
146
– -
513 65 578
5
7
12
– -
23 2 (7) 18
20,694
17,026
6,169
– -
– –
เรือบรรทุก เครื่อง นํ้ามันและ ตกแต่ง ผลิตภัณฑ์ ติดตั้ง เคมีเหลว และ เครื่องใช้ สินทรัพย์ เรือขนส่ง สํานักงาน ระหว่าง ผู้โดยสาร และอื่นๆ ยานพาหนะ ก่อสร้าง
78,998
65,468
58,760
393 (380) 13
78,115 5,910 (157) 83,868
รวม
(ล้านบาท)
ง บ ก า ร เ งิ น
685
– -
1,040 71 1,111
อาคาร
ส่วน ปรับปรุง โรงกลั่น สินทรัพย์ นํ้ามันและ ที่เช่า อุปกรณ์
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
226 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น โอน – สุทธิ โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (หมายเหตุ 15) จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 821 3 824
(252) 3,831
-
(160) -
1,931 2,152 -
777 44
อาคาร
2,019 72 -
ที่ดิน
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เพิ่มขึ้น โอน – สุทธิ โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (หมายเหตุ 15) จําหน่าย
29
(78) 88,248
77,281 179 10,866
(40)
76,035 230 1,056
โรงกลั่นนํ้ามัน และอุปกรณ์
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
(25) 1,071
1,074 8 14
(2)
1,061 14 1
435
411 21 3
(2)
376 30 7
งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องจักร เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ ติดตั้ง และอุปกรณ์ เครื่องใช้สํานักงาน โรงงาน และอื่นๆ
(3) 4
7 -
-
7 -
ยานพาหนะ
8,177
13,096 5,967 (10,886)
-
5,571 8,633 (1,108)
สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง
(252) (106) 102,590
94,621 8,327 -
(160) (44)
85,846 8,979 -
รวม
(ล้านบาท)
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ง บ ก า ร เ งิ น
227
-
(25) 331 (11) (320) -
635 25 660
604 31 -
อาคาร
356
– –
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (หมายเหตุ 15) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 1 มกราคม 2557 โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (หมายเหตุ 15) กลับรายการค่าเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
– -
ที่ดิน
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย
29
-
-
-
-
-
-
820 50 (25) 845
774 48 (2)
-
-
-
-
317 47 364
273 46 (2)
งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องจักร เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ ติดตั้ง และอุปกรณ์ เครื่องใช้สํานักงาน โรงงาน และอื่นๆ
-
-
-
-
6 1 (3) 4
5 1 -
ยานพาหนะ
-
-
-
-
– –
– -
สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง
(11) (320) -
331
(25)
356
57,732 3,764 (65) 61,431
54,406 3,348 (22)
รวม
(ล้านบาท)
ง บ ก า ร เ งิ น
-
-
55,954 3,641 (37) 59,558
52,750 3,222 (18)
โรงกลั่นนํ้ามัน และอุปกรณ์
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
228 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
186 164
1,600 3,831
21,327 28,690
23,285
โรงกลั่นนํ้ามัน และอุปกรณ์
254 226
287
94 71
103
งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องจักร เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ ติดตั้ง และอุปกรณ์ เครื่องใช้สํานักงาน โรงงาน และอื่นๆ
1 –
2
ยานพาหนะ
13,096 8,177
5,571
สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง
36,558 41,159
31,084
รวม
(ล้านบาท)
ที่ดินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ประเมินราคาโดยบริษัทผู้ประเมินอิสระแห่งหนึ่ง โดยพิจารณาราคาตลาดตามเกณฑ์ของสินทรัพย์ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน ทําให้ใน ปี 2557 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีการกลับรายการค่าเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่าเป็นจํานวน 380 ล้านบาท และ 320 ล้านบาทตามลําดับ
บริษัทย่อยหลายแห่งได้จํานองที่ดิน อาคารและเครื่องจักร และเรือขนส่งผู้โดยสาร เพื่อเป็นหลักทรัพย์คํ้าประกันเงินกู้ยืมระยะยาวตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 20 ราคาตามบัญชีของที่ดิน อาคารและเครื่องจักร และเรือขนส่งผู้โดยสารดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจํานวนเงิน 2,095 ล้านบาท (2556: 1,806 ล้านบาท)
ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจํานวนแล้วแต่ยังคงใช้งานถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ในงบการเงิน รวมมีจํานวนเงิน 28,275 ล้านบาท (2556: 4,999 ล้านบาท) และในงบการเงินเฉพาะกิจการมีจํานวนเงิน 26,514 ล้านบาท (2556: 3,531 ล้านบาท)
173
อาคาร
1,663
ที่ดิน
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ง บ ก า ร เ งิ น
229
230
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
17 สินทรัพย ไม มีตัวตน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม ฐานข้อมูล ลูกค้า
ค่าสิทธิ
คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์
ค่าความ นิยม
รวม
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เพิ่มขึ้น โอนออกจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อย ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทํางบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทํางบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
1,420 290 1,710 69 1,779
498 40 (13) 525 24 549
205 205 205
614 33 647 (6) 641
2,737 330 (13) 33 3,087 93 (6) 3,174
ค่าตัดจําหน่าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี โอนออกจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
838 74 912 81 993
186 29 (10) 205 24 229
-
-
1,024 103 (10) 1,117 105 1,222
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
582 798 786
312 320 320
205 205 205
614 647 641
1,713 1,970 1,952
231
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ คอมพิวเตอร์ ค่าสิทธิ ซอฟท์แวร์
รวม
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
791 18 809 16 825
351 39 390 14 404
1,142 57 1,199 30 1,229
ค่าตัดจําหน่าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
653 24 677 24 701
69 21 90 18 108
722 45 767 42 809
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
138 132 124
282 300 296
420 432 420
232
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
18 ภาษีเงินได รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม สินทรัพย์
รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสุทธิ
หนี้สิน
2557
2556
2557
2556
1,741 (261) 1,480
594 (420) 174
(261) 261 –
(420) 420 – (ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์
รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสุทธิ
หนี้สิน
2557
2556
2557
2556
1,707 (260) 1,447
561 (418) 143
(260) 260 –
(418) 418 –
233
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรวมที่เกิดขึ้นในระหว่างปี 2557 และ 2556 มีดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม บันทึกเป็น (รายจ่าย)/รายได้ ใน ณ วันที่ 1 มกราคม 2557
งบกําไรขาดทุน (หมายเหตุ 32)
ส่วนของ ผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ผลประโยชน์พนักงาน ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ผลขาดทุนทางภาษียกไป อื่นๆ รวม
511 79 4 594
45 (77) 1,179 1,147
–
556 2 1,179 4 1,741
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา อื่นๆ รวม สุทธิ
(416) (4) (420) 174
160 (1) 159 1,306
– –
(256) (5) (261) 1,480
234
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ล้านบาท)
งบการเงินรวม บันทึกเป็น (รายจ่าย)/รายได้ ใน
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ผลประโยชน์พนักงาน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ค่าตัดจําหน่ายระบบสายส่งกระแสไฟฟ้า ที่โอนให้ กฟผ. ลูกหนี้อื่นจากการชนะคดีความ ถูกประเมินภาษีสรรพสามิต อื่นๆ รวม สุทธิ
โอนออกจากการ จําหน่ายเงินลงทุน ส่วนของ ในบริษัทย่อย ผู้ถือหุ้น (ปรับปรุงใหม่)
ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
งบกําไรขาดทุน (หมายเหตุ 32)
465 132 79 4 680
48 (1) 47
–
(2) (131) (133)
511 79 4 594
(577) (588)
161 (1)
-
589
(416) -
(5)
-
-
5
-
(29) (1) (1,200) (520)
29 (3) 186 233
– –
594 461
(4) (420) 174
235
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็น (รายจ่าย)/รายได้ ใน ณ วันที่ 1 มกราคม 2557
งบกําไรขาดทุน (หมายเหตุ 32)
ส่วนของ ผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ผลประโยชน์พนักงาน ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ผลขาดทุนทางภาษียกไป รวม
482 79 561
44 (77) 1,179 1,146
–
526 2 1,179 1,707
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา อื่นๆ รวม สุทธิ
(416) (2) (418) 143
160 (2) 158 1,304
– –
(256) (4) (260) 1,447
236
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็น (รายจ่าย)/รายได้ ใน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556
งบกําไรขาดทุน (หมายเหตุ 32)
ส่วนของ ผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ผลประโยชน์พนักงาน ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ รวม
435 79 514
47 47
–
482 79 561
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา อื่นๆ รวม สุทธิ
(577) (577) (63)
161 (2) 159 206
– –
(416) (2) (418) 143
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของขาดทุนสะสมทางภาษีที่มิได้รับรู้ในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เป็นจํานวนเงิน 422 ล้านบาท (2556: 104 ล้านบาท)
237
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
19 สินทรัพย ไม หมุนเวียนอื่น (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน ค่าสิทธิในการใช้ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ท่อส่งนํ้า และการใช้ประโยชน์บนที่ดินรอตัดบัญชี – สุทธิ ค่าธรรมเนียมการเช่าที่ดินและค่าธรรมเนียม การจดทะเบียนสัญญาเช่าที่ดินรอตัดบัญชี – สุทธิ ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีอื่นๆ – สุทธิ เงินมัดจําและอื่นๆ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
651
598
651
598
94
105
76
85
323 38 341 1,447
365 24 338 1,430
333 1 48 1,109
376 2 46 1,107
20 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (ล้านบาท)
หมายเหตุ ส่วนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้น - ส่วนที่มีหลักประกัน - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี - ส่วนที่มีหลักประกัน - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน หุ้นกู้ที่ไม่มีหลักประกัน
6
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
355 142 -
391 273 -
3,760
5,836
245 505 11,589 12,836
163 321 12,330 13,478
11,589 15,349
12,330 18,166
238
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - ส่วนที่มีหลักประกัน - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน หุ้นกู้ที่ไม่มีหลักประกัน รวม
3,654 2,877 60,734 67,265 80,101
911 3,404 57,070 61,385 74,863
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
60,734 60,734 76,083
57,070 57,070 75,236
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยแยกแสดงตามระยะเวลาครบกําหนดการจ่ายชําระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ได้ดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 ครบกําหนดภายในหนึ่งปี ครบกําหนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ครบกําหนดหลังจากห้าปี รวม
12,836 12,455 54,810 80,101
13,478 17,475 43,910 74,863
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 15,349 7,697 53,037 76,083
18,166 14,213 42,857 75,236
239
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยส่วนที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีรายละเอียดของหลักประกัน ซึ่งเป็นสินทรัพย์ดังนี้ (ล้านบาท)
หมายเหตุ เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝาก ออมทรัพย์และเงินฝากประจํา เงินลงทุนชั่วคราวในเงินฝากประจํา ที่ดิน อาคารและเครื่องจักรโรงผลิต กระแสไฟฟ้าและเรือขนส่งผู้โดยสาร - ราคาตามบัญชี รวม
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
7 8
309 246
-
-
-
16
2,095 2,650
1,806 1,806
–
–
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีวงเงินสินเชื่อระยะยาวซึ่งยังมิได้เบิกใช้เป็นจํานวนเงินรวม 20,216 ล้านบาท และ 14,323 ล้านบาท ตามลําดับ (2556: 23,340 ล้านบาท และ 14,290 ล้านบาท ตามลําดับ) ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อื่นๆ รวม
33,278 46,823 80,101
23,333 51,400 130 74,863
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 29,260 46,823 76,083
23,836 51,400 75,236
240
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 เงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ รวม
497 7,281 72,323 80,101
664 4,799 69,400 74,863
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 3,760 72,323 76,083
5,836 69,400 75,236
เงินกู้ยืมระยะยาว รายละเอียดของเงินกู้ยืมระยะยาวของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 บริษัทย่อย 1) วงเงินกู้ยืมจํานวน 565 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 3 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2553
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
275
325
-
-
1,125
1,275
-
-
3) วงเงินกู้ยืมจํานวน 324 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นรายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนเมษายน 2555
195
242
-
-
4) วงเงินกู้ยืมจํานวน 228 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นรายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2556
156
192
-
_
2) วงเงินกู้ยืมจํานวน 1,500 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 2555
241
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
5) วงเงินกู้ยืมจํานวน 365 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นรายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2557
344
242
-
-
6) วงเงินกู้ยืมจํานวน 365 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นรายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557
365
73
-
-
7) วงเงินกู้ยืมจํานวน 300 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 2558
300
300
-
-
8) วงเงินกู้ยืมจํานวน 1,200 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย FDR 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2557
829
1,200
-
-
9) วงเงินกู้ยืมจํานวน 1,800 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย FDR 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2558
1,128
950
-
-
10) วงเงินกู้ยืมจํานวน 3,875 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 3 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2559
1,282
-
-
-
11) วงเงินกู้ยืมจํานวน 3,875 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 3 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2559 รวม
1,282 7,281
4,799
-
-
242
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หุ้นกู้ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2557 บริษัทได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ให้กับนักลงทุนสถาบันและ/หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ วงเงินรวม 15,000 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ หุ้นกู้ชุดที่ 1 : จํานวนเงิน 2,000 ล้านบาท อายุหุ้นกู้ 3 ปี ซึ่งจะครบกําหนดไถ่ถอนในวันที่ 12 มีนาคม 2560 และมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 3.41 ต่อปี หุ้นกู้ชุดที่ 2 : จํานวนเงิน 3,000 ล้านบาท อายุหุ้นกู้ 5 ปี ซึ่งจะครบกําหนดไถ่ถอนในวันที่ 12 มีนาคม 2562 และมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 4.13 ต่อปี หุ้นกู้ชุดที่ 3 : จํานวนเงิน 3,000 ล้านบาท อายุหุ้นกู้ 7 ปี ซึ่งจะครบกําหนดไถ่ถอนในวันที่ 12 มีนาคม 2564 และมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 4.61 ต่อปี หุ้นกู้ชุดที่ 4 : จํานวนเงิน 7,000 ล้านบาท อายุหุ้นกู้ 10 ปี ซึ่งจะครบกําหนดไถ่ถอนในวันที่ 12 มีนาคม 2567 และมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 4.84 ต่อปี เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2556 บริษัทได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ให้กับนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ จํานวน 2 ชุด เป็นจํานวนเงินรวม 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ หุ้นกู้ชุดหนึ่งมีเงินต้นจํานวนเงิน 500 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา อายุหุ้นกู้ 10 ปี ซึ่งจะครบกําหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2566 และมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 3.625 ต่อปี และหุ้นกู้อีกชุดหนึ่งมีเงินต้นจํานวนเงิน 500 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา อายุหุ้นกู้ 30 ปี ซึ่งจะครบกําหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2586 และมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 4.875 ต่อปี รายละเอียดหุ้นกู้ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 หุ้นกู้ หัก ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ รวม
72,899 (576) 72,323
69,994 (594) 69,400
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 72,899 (576) 72,323
69,994 (594) 69,400
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย (Cross Currency Swap) กับสถาบันการเงินในประเทศ หลายแห่ง เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยของภาระหนี้สินทางการเงินระยะยาวสกุลเงินบาทเป็นจํานวน เงินรวม 2,500 ล้านบาท (2556: 7,000 ล้านบาท) โดยคู่สัญญามีข้อตกลงจะจ่ายชําระดอกเบี้ยและเงินต้นระหว่างกันตามเงื่อนไขและ ข้อกําหนดที่ระบุไว้ในสัญญา
243
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
21 เจ าหนี้การค า (ล้านบาท)
หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวม
6
งบการเงินรวม 2557 2556 7,426 10,385 17,811
16,653 14,901 31,554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 9,007 9,452 18,459
19,023 13,116 32,139
ยอดเจ้าหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา รวม
15,750 2,061 17,811
18,507 13,047 31,554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 16,525 1,934 18,459
19,266 12,873 32,139
22 เจ าหนี้อื่น (ล้านบาท)
ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานค้างจ่าย กองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิงค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่น อื่นๆ รวม
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
161 529 1,744 1,496 3,930
61 529 707 1,357 2,654
240 219 1,603 1,236 3,298
124 219 1,459 1,052 2,854
244
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
23 ภาระผูกพันของผลประโยชน พนักงาน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ (ล้านบาท)
ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 1 มกราคม ผลประโยชน์ที่จ่าย ต้นทุนบริการปัจจุบัน และดอกเบี้ย กําไรจากการประมาณตามหลักการคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่รับรู้ในปี ลดลงจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อย ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
2,635 (119) 275
2,473 (99) 271
2,455 (117) 248
2,305 (94) 244
(7) 2,784
(10) 2,635
2,586
2,455
ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในรายการต่อไปนี้ในงบกําไรขาดทุน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวม
198 1 76 275
194 1 76 271
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 176 72 248
172 72 244
ข้อสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (ร้อยละต่อปี) อัตราคิดลด การเพิ่มขึ้นของเงินเดือน อัตราการหมุนเวียนของพนักงาน อัตรามรณะ
อัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว 4.0-10.0 0.0-1.5 อ้างอิงตามตารางมรณะปีพ.ศ. 2551 (TMO08)
245
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
24 ทุนเรือนหุ น มูลค่าหุ้น ต่อหุ้น
2557 จํานวนหุ้น
(บาท)
2556 จํานวนเงิน
จํานวนหุ้น
จํานวนเงิน
(ล้านหุ้น/ ล้านบาท)
ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ
10
2,040
20,400
2,040
20,400
10
2,040
20,400
2,040
20,400
หุ้นที่ออกและชําระแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ
10
2,040
20,400
2,040
20,400
10
2,040
20,400
2,040
20,400
25 ส วนเกินทุนและสํารอง ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียนไว้ บริษัทต้องนําค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนสํารอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะนําไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนสํารอง (“สํารองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสํารองดังกล่าวมีจํานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ ทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมแสดงในส่วนของผู้ถือหุ้นประกอบด้วยผลรวมการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ ทางการเงินเผื่อขายจนกระทั่งมีการตัดรายการหรือเกิดการด้อยค่า
246
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
29
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินแสดงในส่วนของผู้ถือหุ้นประกอบด้วยผลต่างการแปลงค่าทั้งหมดจากงบการเงินของหน่วยงานใน ต่างประเทศ
26 ข อมูลทางการเงินจําแนกตามส วนงาน กลุ่มบริษัทได้นําเสนอข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงานโดยแสดงส่วนงานธุรกิจเป็นรูปแบบหลักในการรายงาน ส่วนงานดําเนินงาน พิจารณาจากระบบการบริหารจัดการและโครงสร้างการรายงานทางการเงินภายในที่ได้รายงานต่อผู้มีอํานาจการตัดสินใจสูงสุดด้านการดําเนิน งานของกลุ่มบริษัทเป็นเกณฑ์ในการกําหนดส่วนงาน ผลการดําเนินงาน สินทรัพย์และหนี้สินตามส่วนงาน รวมรายการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่วนงานหรือที่สามารถปันส่วนให้กับส่วนงานได้อย่าง สมเหตุสมผล ส่วนงานที่รายงาน กลุ่มบริษัทเสนอส่วนงานที่รายงานดังนี้ ส่วนงานที่ 1 ส่วนงานที่ 2 ส่วนงานที่ 3 ส่วนงานที่ 4 ส่วนงานที่ 5 ส่วนงานที่ 6 ส่วนงานที่ 7 ส่วนงานที่ 8
ธุรกิจโรงกลั่นนํ้ามัน ธุรกิจโรงกลั่นนํ้ามันหล่อลื่น ธุรกิจปิโตรเคมี ธุรกิจโรงผลิตกระแสไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและเคมีภัณฑ์ ธุรกิจสารทําละลาย ธุรกิจเอทานอล ธุรกิจอื่นๆ
เงินปันผลรับ กําไรจากอนุพันธ์เพื่อ ประกันความเสี่ยงสุทธิ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร
รายได้จากการขายสินค้า และการให้บริการ - ลูกค้าภายนอก - ระหว่างส่วนงาน ต้นทุนขายสินค้าและ ต้นทุนการให้บริการ กําไร (ขาดทุน) ขั้นต้น 38 138 (163) (102)
2,218 872 3,222 (345) (2,074)
(25,053) 1,507
(396,303) (6,524) 5,963
19,733 6,827
330,665 59,114
โรงกลั่น นํ้ามัน
โรงกลั่น นํ้ามัน หล่อลื่น
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนงานที่รายงาน
29
27 393 (68) (79)
-
(58,399) (1,688)
26,987 29,724
ปิโตรเคมี
35 23 (15)
-
(4,736) 483
1,043 4,176
3 16 (97)
-
(848) 351
623 576
21 23 (203) (207)
-
(9,129) 693
9,766 56
22 (26) (49)
-
(1,452) 252
1,273 431
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 โรงผลิต ขนส่ง กระแส นํ้ามันและ สารทํา ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
1 (24)
-
(493) 68
561
อื่นๆ
(1,753) 327 484
(5,963)
102,263 798
(101,465)
ตัดรายการ ระหว่างกัน
2,218 996 2,085 (478) (2,163)
-
(394,150) (4,060)
390,090 -
รวม
(ล้านบาท)
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ง บ ก า ร เ งิ น
247
(1,523) 3 (1,520)
1,418 (306) 1,112
1,112 1,112
ส่วนของกําไร (ขาดทุน) สําหรับปี ที่เป็นของส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี (1,467) (53) (1,520)
(1,415) (108)
1,418 -
1,125 1,125
1,200 (75) 1,125
1,249 (49)
723
98 50 148
148 148
245 (97)
(28)
153 20 173
214 (41) 173
327 (113)
-
57 77 134
134 134
195 (61)
(4)
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 โรงผลิต ขนส่ง กระแส นํ้ามันและ สารทํา ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล
37 37
45 (8) 37
45 -
-
อื่นๆ
(6,074) 228 (5,846)
(5,846) (5,846)
(6,054) 208
53
ตัดรายการ ระหว่างกัน
(4,026) 322 (3,704)
(4,624) 920 (3,704)
(658) (3,966)
744
รวม
(ล้านบาท)
ง บ ก า ร เ งิ น
933 933
-
ปิโตรเคมี
-
โรงกลั่น นํ้ามัน
โรงกลั่น นํ้ามัน หล่อลื่น
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุน ในบริษัทร่วมและกิจการ ที่ควบคุมร่วมกัน กําไร (ขาดทุน) ก่อนต้นทุนทาง การเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 3,332 ต้นทุนทางการเงิน (3,746) กําไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่าย ภาษีเงินได้ (414) กลับรายการ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้ 1,347 กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี 933
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
248 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
242 444 (79) (72) -
(24,783) 2,171 29 166 (232) (125) -
(401,090) 8,139
3,039 เงินปันผลรับ กําไรจากอนุพันธ์เพื่อ ประกันความเสี่ยงสุทธิ 1,292 กําไร (ขาดทุน) จากอัตรา แลกเปลี่ยนสุทธิ (3,412) รายได้อื่น 3,086 ค่าใช้จ่ายในการขาย (403) ค่าใช้จ่ายในการบริหาร (1,892) กําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุน -
(60,410) 4,110
21,175 5,779
33,185 31,335
ปิโตรเคมี
347,536 61,693
โรงกลั่น นํ้ามัน
โรงกลั่น นํ้ามัน หล่อลื่น
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายได้จากการขายสินค้า และการให้บริการ - ลูกค้าภายนอก - ระหว่างส่วนงาน ต้นทุนขายสินค้าและ ต้นทุนการให้บริการ กําไรขั้นต้น
29
2 35 (16) (898)
-
-
(4,995) 421
1,296 4,120
7 26 (202) -
-
-
(838) 393
548 683
21 20 (177) (209) -
-
-
(8,989) 792
9,702 79
24 (17) (53) 1
-
-
(1,220) 285
1,130 375
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) โรงผลิต ขนส่ง กระแส นํ้ามันและ สารทํา ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
24 (15) -
-
-
(442) 74
3 513
อื่นๆ
(1,751) 431 479 -
-
(3,039)
105,225 648
(104,577)
ตัดรายการ ระหว่างกัน
(3,111) 2,074 (477) (2,105) (897)
1,292
-
(397,542) 17,033
414,575 -
รวม
(ล้านบาท)
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ง บ ก า ร เ งิ น
249
2,009 (1) 2,008 (340) 1,668
9,849 (3,766) 6,083 (32) 6,051
6,051 6,051
ส่วนของกําไรสําหรับปี ที่เป็นของส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม กําไรสําหรับปี 4,004 10 4,014
4,645 4,645 (631) 4,014
-
ปิโตรเคมี
38 6 44
116 (6) 110 (66) 44
572
118 28 146
249 (102) 147 (1) 146
25
231 32 263
447 (110) 337 (74) 263
-
114 99 213
272 (59) 213 213
32
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) โรงผลิต ขนส่ง กระแส นํ้ามันและ สารทํา ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล
67 67
83 83 (16) 67
-
อื่นๆ
(2,975) 47 (2,928)
(3,185) 257 (2,928) (2,928)
47
ตัดรายการ ระหว่างกัน
9,316 222 9,538
14,485 (3,787) 10,698 (1,160) 9,538
676
รวม
(ล้านบาท)
ง บ ก า ร เ งิ น
1,668 1,668
-
-
โรงกลั่น นํ้ามัน
โรงกลั่น นํ้ามัน หล่อลื่น
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุน ในบริษัทร่วมและกิจการ ที่ควบคุมร่วมกัน กําไรก่อนต้นทุนทางการเงิน และค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กําไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไรสําหรับปี
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
250 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
โรงกลั่น นํ้ามัน หล่อลื่น 769 2,810 4,120 2,932 72 10,703 1,476
240 78 1,794
ลูกหนี้การค้า 16,417 สินค้าคงเหลือ 24,037 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 50,624 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 14,545 เงินลงทุนในบริษัทร่วม 1,261 เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 41,159 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 5,004 รวมสินทรัพย์ 153,047 18,459
11,589 7,296 60,734 2,895 100,973
เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงินที่ถึงกําหนด กําหนดชําระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
โรงกลั่น นํ้ามัน
29
547 2,564 34 6,902
3,757
3,466 828 1,660 20,123 750 26,827
ปิโตรเคมี
171 1,620 657 2,799
351
534 52 567 7,672 6,888 65 15,778
โรงผลิต กระแส ไฟฟ้า
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
340 171 2,145 15 2,722
51
124 37 594 5 419 3,161 8 4,348
158 2,615 970 47 4,248
458
1,473 586 930 2,181 1,598 6,768
80 993 195 7 1,295
20
108 224 204 817 1,554 3 2,910
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ขนส่ง นํ้ามันและ สารทํา เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล
38 161 199
-
44 86 167 297
อื่นๆ
(8,035) (374) (15,169)
(6,760)
(6,794) (41) (7,997) (14,545) 2,256 1,000 (1,755) (27,876)
ตัดรายการ ระหว่างกัน
749 11,589 5,485 6,531 60,734 2,863 105,763
17,812
16,141 28,533 50,788 12,011 419 78,998 5,912 192,802
รวม
(ล้านบาท)
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7 ง บ ก า ร เ งิ น
251
1,886 3,227 4,659 3,275 68 13,115 2,306
298 76 2,680
ลูกหนี้การค้า 28,289 สินค้าคงเหลือ 42,361 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 45,174 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 11,920 เงินลงทุนในบริษัทร่วม 1,261 เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 36,558 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 3,400 รวมสินทรัพย์ 168,963 32,139
12,330 9,369 57,070 2,719 113,627
เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงินที่ถึงกําหนด กําหนดชําระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน 453 37 6,620
6,130
6,345 1,740 5,621 16,678 769 31,153
ปิโตรเคมี
172 58 1,029 1,953
694
537 49 1,558 7,097 2,164 33 11,438
263 175 2,061 15 2,556
42
193 40 675 7 422 2,737 7 4,081
2,755 950 43 4,489
741
1,918 756 965 1,902 1,308 6,849
50 1,094 275 13 1,525
93
138 362 154 821 1,520 3 2,998
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) โรงผลิต ขนส่ง กระแส นํ้ามันและ สารทํา ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ละลาย เอทานอล
43 137 190
10
107 63 141 311
อื่นๆ
(9,039) (319) (19,959)
(10,601)
(10,667) (26) (8,975) (11,920) 2,113 634 (1,405) (30,246)
ตัดรายการ ระหว่างกัน
485 12,330 5,206 4,315 57,070 2,721 113,681
31,554
28,746 48,509 49,894 11,299 422 65,468 4,324 208,662
รวม
(ล้านบาท)
ง บ ก า ร เ งิ น
ลูกค้ารายใหญ่ รายได้จากลูกค้ารายหนึ่งของกลุ่มบริษัทเป็นเงินประมาณ 173,581 ล้านบาท (2556 : 192,982 ล้านบาท) จากรายได้จากการขายสินค้าและบริการของกลุ่มบริษัท
โรงกลั่น นํ้ามัน หล่อลื่น
บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
โรงกลั่น นํ้ามัน
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น
252 บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
253
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
27 รายได อื่น (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
ดอกเบี้ยรับ รายได้จากการให้เช่าที่ดิน รายได้ค่าบริการ กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า อื่นๆ รวม
1,082 38 52 386 527 2,085
1,596 18 50 410 2,074
1,157 79 1,160 386 440 3,222
1,634 68 1,075 309 3,086
28 ค าใช จ ายในการบริหาร (ล้านบาท)
ค่าที่ปรึกษาและกฎหมาย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ค่าเสื่อมราคา ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ อื่นๆ รวม
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
104 839 91 1,129 2,163
96 670 54 1,254 2,074
221 881 98 108 797 2,105
213 703 59 916 1,891
254
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
29 ค าใช จ ายผลประโยชน ตอบแทนพนักงาน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เงินสมทบกองทุนเงินบําเหน็จ อื่นๆ
พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เงินสมทบกองทุนเงินบําเหน็จ อื่นๆ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
199 18 12 76 305
204 19 14 137 374
146 14 12 66 238
156 16 14 95 281
1,861 124 149 443 2,577 2,882
1,830 117 141 379 2,467 2,841
1,258 97 149 312 1,816 2,054
1,289 94 141 300 1,824 2,105
กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงานของกลุ่มบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเข้าเป็นสมาชิกของ กองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราระหว่างร้อยละ 2 ถึงอัตราร้อยละ 15 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริษัทจ่ายเงินสมทบเป็น รายเดือนในอัตราระหว่างร้อยละ 2 ถึงอัตราร้อยละ 15 ของเงินเดือนของพนักงาน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพตามข้อกําหนดของกระทรวงการคลัง และจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต
255
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
30 ค าใช จ ายตามลักษณะ งบกําไรขาดทุนนี้ได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ สําหรับค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่สําคัญมีรายละเอียดดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
การเปลี่ยนแปลงในสินค้าสําเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิต ซื้อสินค้าและวัตถุดิบที่ใช้ไป ค่าก๊าซธรรมชาติใช้ไป ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ภาษีสรรพสามิต
6,488 347,614 8,105 2,881 6,512 15,140
(1,596) 362,347 7,506 2,841 6,033 14,491
5,622 361,286 3,950 2,054 4,292 15,140
(2,064) 375,403 3,177 2,105 3,820 14,491
31 ต นทุนทางการเงิน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
ดอกเบี้ยจ่ายที่เกี่ยวกับสถาบันการเงินและอื่นๆ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน
3,796 191 3,987
3,736 55 3,791
3,663 83 3,746
3,720 46 3,766
ส่วนที่บันทึกเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง สุทธิ
(21) 3,966
(5) 3,786
3,746
3,766
256
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
32 ค าใช จ าย (กลับรายการ) ภาษีเงินได (ล้านบาท)
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
ภาษีเงินได้ปัจจุบัน สําหรับปีปัจจุบัน ภาษีงวดก่อนๆ ที่บันทึกสูงไป ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชั่วคราว รวม
401 (15)
1,393 -
(43)
238 -
(1,306) (920)
(233) 1,160
(1,304) (1,347)
(206) 32
18
การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริง (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
กําไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ จํานวนภาษีเงินได้ตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี การใช้ขาดทุนทางภาษีที่เดิมไม่ได้บันทึก ภาษีงวดก่อนๆ ที่บันทึกสูงไป รวม
(4,624) (925) (30) 66 (16) (15) (920)
10,698 2,140 (1,156) 183 (7) 1,160
(413) (83) (1,283) 62 (43) (1,347)
6,083 1,217 (1,336) 151 32
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
257
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
การลดภาษีเงินได้นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 530 พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2554 ให้ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิเป็นระยะเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชีได้แก่ปี 2555 2556 และ 2557 จากอัตราร้อยละ 30 เหลืออัตราร้อยละ 23 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 และร้อยละ 20 ของกําไรสุทธิสําหรับสองรอบ ระยะเวลาบัญชีถัดมา (2556 และ 2557) ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และ 2557 ตามลําดับ พระราชกฤษฎีกาออกตามความใน ประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 577 พ.ศ. 2557 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 ขยายเวลาการลดอัตราภาษี เงินได้นิติบุคคลร้อยละ 20 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี 2558 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 กลุ่มบริษัทใช้อัตราภาษีเงินได้ที่ลดลงเหลือร้อยละ 20 ในการวัดมูลค่าสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ตามคําชี้แจงของสภาวิชาชีพบัญชีที่ออกในปี 2555
33 สิทธิประโยชน จากการส งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนอนุมัติให้บริษัทและบริษัทย่อยในประเทศบางแห่งได้รับสิทธิประโยชน์หลายประการในฐานะผู้ได้รับ การส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับการผลิตนํ้ามันเชื้อเพลิงสําเร็จรูป ผลิตกระแสไฟฟ้าและไอนํ้า การผลิตผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมี การผลิตผลิตภัณฑ์เคมี การผลิตเอทานอล การให้บริการขนส่งทางเรือ การให้บริการทุ่นรับนํ้ามันดิบกลาง ทะเล และเขตอุตสาหกรรม ซึ่งพอสรุปสาระสําคัญได้ดังนี้ (ก) ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีสําหรับเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ได้รับอนุมัติโดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (ข) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมเป็นระยะเวลา 3 ถึง 8 ปี นับแต่ วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้นหรือระยะเวลา 8 ปีนับจากวันที่มีรายได้ภายหลังจากการได้รับการส่งเสริม และ (ค) ให้ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 50 สําหรับกําไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีกําหนด เวลา 5 ปี นับแต่วันที่สิ้นสุดสิทธิประโยชน์ตามข้อ (ข) เนื่องจากเป็นกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน บริษัทและบริษัทย่อยดังกล่าวจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกําหนดตามที่ระบุไว้ใน บัตรส่งเสริมการลงทุน
258
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายได้ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสรุปได้ดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม
ขายต่างประเทศ ขายในประเทศ ตัดรายการระหว่างกัน รวมรายได้
กิจการ ที่ได้รับ การส่งเสริม
2557 กิจการ ที่ไม่ได้รับ การส่งเสริม
42,646 325,168
28,922 98,078
รวม
2556 (ปรับปรุงใหม่) กิจการ กิจการ ที่ได้รับ ที่ไม่ได้รับ การส่งเสริม การส่งเสริม
71,568 423,246 (104,724) 390,090
56,395 359,351
22,275 84,414
รวม 78,670 443,765 (107,860) 414,575 (ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ขายต่างประเทศ ขายในประเทศ รวมรายได้
กิจการ ที่ได้รับ การส่งเสริม
2557 กิจการ ที่ไม่ได้รับ การส่งเสริม
33,498 312,486
3,831 39,964
รวม 37,329 352,450 389,779
กิจการ ที่ได้รับ การส่งเสริม
2556 กิจการ ที่ไม่ได้รับ การส่งเสริม
40,986 333,774
3,530 30,939
รวม 44,516 364,713 409,229
259
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
34 กําไร (ขาดทุน) ต อหุ นขั้นพื้นฐาน กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐานสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 คํานวณจากกําไร (ขาดทุน) สําหรับปีที่เป็นส่วนของ บริษัทใหญ่และจํานวนหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้วในระหว่างปีตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก โดยแสดงการคํานวณดังนี้ (ล้านบาท/ล้านหุ้น)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
กําไร (ขาดทุน) สําหรับปีที่เป็นส่วนของบริษัทใหญ่ จํานวนหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้วในระหว่างปี ตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (ขั้นพื้นฐาน) (บาท)
(4,026)
9,316
934
6,051
2,040 (1.97)
2,040 4.57
2,040 0.46
2,040 2.97
35 เงินป นผล ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2557 คณะกรรมการของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลระหว่างกาล สําหรับปี 2557 ในอัตราหุ้นละ 0.56 บาท เป็นจํานวนเงินรวม 1,142 ล้านบาท เงินปันผลระหว่างกาลดังกล่าวได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัท แล้วในเดือนกันยายน 2557 ในการประชุมสามัญประจําปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2557 ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลสําหรับ ปี 2556 ในอัตราหุ้นละ 2.30 บาท เป็นจํานวนเงินรวม 4,692 ล้านบาท เงินปันผลสําหรับปีดังกล่าวได้รวมเงินปันผลระหว่างกาลในอัตรา หุ้นละ 0.80 บาท ซึ่งบริษัทได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนกันยายน 2556 ดังนั้นเงินปันผลที่จะต้องจ่ายเพิ่มอีกจึงเท่ากับอัตรา หุ้นละ 1.50 บาท คิดเป็นจํานวนเงินรวม 3,060 ล้านบาท ได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนเมษายน 2557 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2556 คณะกรรมการของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลระหว่างกาล สําหรับปี 2556 ในอัตราหุ้นละ 0.80 บาท เป็นจํานวนเงินรวม 1,632 ล้านบาท เงินปันผลระหว่างกาลดังกล่าวได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัท แล้วในเดือนกันยายน 2556 ในการประชุมสามัญประจําปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2556 ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลสําหรับ ปี 2555 ในอัตราหุ้นละ 2.70 บาท เป็นจํานวนเงินรวม 5,508 ล้านบาท เงินปันผลสําหรับปีดังกล่าวได้รวมเงินปันผลระหว่างกาลในอัตรา หุ้นละ 0.50 บาท ซึ่งบริษัทได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนกันยายน 2555 ดังนั้นเงินปันผลที่จะต้องจ่ายเพิ่มอีกจึงเท่ากับอัตรา หุ้นละ 2.20 บาท คิดเป็นจํานวนเงินรวม 4,488 ล้านบาท ได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนเมษายน 2556
260
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
36 เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และจาก การไม่ปฏิบัติตามข้อกําหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริษัทไม่มีการถือหรือออกเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์เพื่อการ เก็งกําไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนสําคัญของธุรกิจของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุลของระดับความเสี่ยงที่ยอมรับ ได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝ่ายบริหารได้มีการควบคุมกระบวนการการจัดการ ความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่าเกิดความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง การบริหารจัดการส่วนทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการส่วนทุนของกลุ่มบริษัทคือ เพื่อดํารงไว้ซึ่งความสามารถในการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างผลตอบแทน ต่อผู้ถือหุ้นของกลุ่มบริษัทและเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียอื่น ฝ่ายบริหารได้มีการกําหนดกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนการดําเนินธุรกิจของ กลุ่มบริษัทให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และมีผลประกอบการและฐานะการเงินที่ดีและแข็งแกร่งยิ่งขึ้น รวมทั้งการกําหนดนโยบายการจ่าย เงินปันผลและการบริหารเงินทุนเพื่อการดํารงไว้ซึ่งโครงสร้างของทุนและต้นทุนทางการเงินของทุนที่เหมาะสม ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยหมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งส่งผลกระทบต่อ การดําเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท ดังนั้นกลุ่มบริษัทจึงได้ทําสัญญาเพื่อป้องกันความเสี่ยงกับสถาบันการเงินหลายแห่งที่อยู่ใน อันดับการลงทุนที่น่าเชื่อถือเพื่อป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินให้กู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และระยะที่ครบกําหนดรับชําระมีดังนี้
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
งบการเงินรวม ภายใน 1 ปี
(ร้อยละต่อปี)
ปี 2557 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ ออมทรัพย์ของพนักงาน เงินให้กู้ยืมแก่พนักงาน รวม
หลังจาก 1 ปี
รวม
(ล้านบาท)
MLR หักอัตราส่วนลด
44
651
695
MMR หักอัตราส่วนลด
1 45
2 653
3 698
261
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
งบการเงินรวม ภายใน 1 ปี
(ร้อยละต่อปี)
ปี 2556 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ ออมทรัพย์ของพนักงาน เงินให้กู้ยืมแก่พนักงาน รวม
(ล้านบาท)
42
598
640
MMR หักอัตราส่วนลด
1 43
4 602
5 645
งบการเงินเฉพาะกิจการ ภายใน 1 ปี หลังจาก 1 ปี
(ร้อยละต่อปี)
ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ ออมทรัพย์ของพนักงาน รวม ปี 2556 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ ออมทรัพย์ของพนักงาน รวม
รวม
MLR หักอัตราส่วนลด
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ปี 2557 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย
หลังจาก 1 ปี
MMR แต่ไม่เกิน MLR ถัวเฉลี่ยของ ธนาคาร 5 แห่ง หักอัตราส่วนลด MLR หักอัตราส่วนลด
MMR แต่ไม่เกิน MLR ถัวเฉลี่ยของ ธนาคาร 5 แห่ง หักอัตราส่วนลด MLR หักอัตราส่วนลด
รวม
(ล้านบาท)
4,013
-
4,013
44
651
695
4,057
651
4,708
2,923
-
2,923
42
598
640
2,965
598
3,563
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และระยะเวลาที่ครบกําหนดชําระ ได้ เปิดเผยไว้แล้วในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 20
262
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งเกิดจากการซื้อวัตถุดิบและเงินกู้ยืมระยะยาวที่เป็นสกุลเงินต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทได้ทําสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าบางส่วน เพื่อป้องกันความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนในระยะสั้น ตามความเหมาะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นผลมาจากการมีสินทรัพย์และ หนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศดังนี้ (ล้านบาท)
หมายเหตุ เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น
สกุลอื่นๆ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น
7 9 20 21
7 9 20 21
ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง สัญญาซื้อขายเงินต่างประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
5,187 4,659 512 (46,823) (2,061) (318) (38,844)
5,478 7,621 186 (51,400) (13,047) (226) (51,388)
4,709 3,229 511 (46,823) (1,934) (67) (40,375)
5,031 4,982 186 (51,400) (12,873) (208) (54,282)
109 201 1 (2) (49) 260
17 282 4 (130) (46) 127
(49) (49)
2 (45) (43)
(38,584) 3,944 (34,640)
(51,261) (599) (51,860)
(40,424) 115 (40,309)
(54,325) (54,325)
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
263
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อคือ ความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถชําระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้เมื่อครบกําหนด เนื่องจาก กลุ่มบริษัทดําเนินธุรกิจกับลูกค้าที่เป็นบริษัทขนาดใหญ่ในกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและไฟฟ้า และกําหนดให้มีการวางหลักประกันชั้นดี สําหรับลูกค้าอื่นๆ ทําให้กลุ่มบริษัทไม่มีความเสี่ยงที่เป็นสาระสําคัญด้านสินเชื่อกับบริษัทใดบริษัทหนึ่งหรือในกลุ่มของบริษัท ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอต่อการ ดําเนินงานของกลุ่มบริษัท และเพื่อทําให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมหมายถึง จํานวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์หรือชําระหนี้สินกัน ในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และเต็มใจ ในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน กลุ่มบริษัทใช้วิธีการและสมมติฐานดังต่อไปนี้ในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้จะครบกําหนดในระยะเวลาอันสั้น มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่เป็นตราสารทุนประเภทเผื่อขาย พิจารณาโดยอ้างอิงกับมูลค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยลงทุน ณ วัน ที่ในรายงาน มูลค่ายุติธรรมของเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และเจ้าหนี้การค้าและอื่นๆ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคา ที่บันทึกไว้ในบัญชี เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้จะครบกําหนดในระยะเวลาอันสั้น มูลค่ายุติธรรมของเงินให้กู้ยืมระยะยาวและเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ซึ่งเป็นอัตราท้องตลาดมีราคาตามบัญชีใกล้เคียงกับ มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่ตราสารอนุพันธุ์ ซึ่งพิจารณาเพื่อวัตถุประสงค์ในการเปิดเผยในงบการเงิน คํานวณจากมูลค่า ปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตของเงินต้นและดอกเบี้ย และคิดลดโดยใช้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ณ วันที่ในรายงาน หรือใช้ราคาตลาด ณ วันที่รายงาน ในกรณีที่มีราคาตลาด
264
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มูลค่ายุติธรรมและมูลค่าตามบัญชีของหุ้นกู้ตามที่ปรากฏในงบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ (ล้านบาท)
งบการเงินรวม มูลค่ายุติธรรม มูลค่าตามบัญชี
งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่ายุติธรรม มูลค่าตามบัญชี
ปี 2557 หมุนเวียน หุ้นกู้
11,764
11,589
11,764
11,589
ไม่หมุนเวียน หุ้นกู้ รวม
62,487 74,251
60,734 72,323
62,487 74,251
60,734 72,323
ปี 2556 หมุนเวียน หุ้นกู้
11,753
12,330
11,753
12,330
ไม่หมุนเวียน หุ้นกู้ รวม
53,554 65,307
57,070 69,400
53,554 65,307
57,070 69,400
265
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
37 ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม เกี่ยวข องกัน (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2557 2556 ภาระผูกพันสําหรับรายจ่ายฝ่ายทุน สัญญาก่อสร้างโครงการ สัญญาค่าสิทธิ สัญญาอื่นๆ รวม ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าดําเนินงานที่ไม่สามารถยกเลิกได้ ภายในระยะเวลาหนึ่งปี ภายหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี ภายหลังจากห้าปี รวม ภาระผูกพันอื่นๆ สัญญารับบริการจัดการสินค้า สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า หนังสือคํ้าประกันจากสถาบันการเงิน สัญญาการสั่งซื้อนํ้ามันดิบ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
10,535 1,130 764 12,429
22,955 1,113 750 24,818
1,604 1,604
15,035 15,035
208 903 786 1,897
208 851 852 1,911
201 872 621 1,694
201 842 852 1,895
82 3,944 1,288 31,279 36,593
134 599 584 45,617 46,934
115 290 31,279 31,684
404 45,617 46,021
สัญญาซื้อกระแสไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (“กฟผ.”) มีสัญญาซื้อกระแสไฟฟ้ากับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเป็นระยะเวลา 25 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2566 โดยบริษัทย่อยดังกล่าวจะจําหน่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. ในปริมาณและราคาที่ตกลงกัน ในฐานะที่บริษัทย่อยดังกล่าวเป็นคู่สัญญากับ กฟผ. บริษัทย่อยจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกําหนดต่างๆ ที่กําหนดไว้ในสัญญา
266
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
38 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย ที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้นดังนี้ ก) บริษัทมีสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคานํ้ามันสําเร็จรูปและนํ้ามันดิบล่วงหน้ากับบริษัทต่างประเทศหลายแห่ง (“คู่สัญญา”) โดยบริษัท หรือคู่สัญญาดังกล่าวมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายส่วนต่างระหว่างราคาคงที่กับราคาลอยตัวสําหรับงวดนั้นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีปริมาณนํ้ามันภายใต้สัญญาดังกล่าวเป็นจํานวน 15.8 ล้านบาร์เรล (2556: 20.7 ล้านบาร์เรล) ข) บริษัทมีสัญญา Commodity Option กับบริษัทต่างประเทศหลายแห่ง (“คู่สัญญา”) โดยบริษัทหรือคู่สัญญาดังกล่าวมีภาระผูกพันที่จะ ต้องจ่ายส่วนต่างระหว่างราคาใช้สิทธิ (Strike Price) กับราคาลอยตัวของราคานํ้ามันดิบ (Floating Price) เมื่อครบกําหนดอายุสัญญา (Maturity Date) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทไม่มีปริมาณนํ้ามันดิบภายใต้สัญญาดังกล่าว (2556: 0.3 ล้านบาร์เรล)
39 นโยบายประกันภัย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทได้ทํากรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองความเสี่ยงทุกประเภทรวมถึงการชดเชยการสูญเสียรายได้กับกลุ่ม ผู้รับประกันและผู้รับประกันต่อ โดยมีวงเงินประกันรวม 9,513 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (2556: 9,242 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา) กรมธรรม์ ดังกล่าวมีการต่ออายุทุกปีโดยบริษัทย่อยบางแห่งได้โอนสิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยให้กับเจ้าหนี้ตามสัญญาเงินกู้
40 เหตุการณ ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2558 คณะกรรมการของบริษัทได้มีมติเห็นชอบให้เสนอที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินปันผลสําหรับปี 2557 ในอัตราหุ้นละ 1.16 บาท เป็นจํานวนเงินรวม 2,366 ล้านบาท เงินปันผล สําหรับปีดังกล่าวได้รวมเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 0.56 บาท ซึ่งบริษัทได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนกันยายน 2557 ดังนั้นเงินปันผลที่จะต้องจ่ายเพิ่มอีกจึงเท่ากับอัตราหุ้นละ 0.60 บาท คิดเป็นจํานวนเงินรวม 1,224 ล้านบาท โดยมีกําหนดการจ่ายเงินปันผล ให้กับผู้ถือหุ้นในวันที่ 29 เมษายน 2558 ทั้งนี้การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวขึ้นอยู่กับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทในวันที่ 3 เมษายน 2558
267
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
41 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม ได ใช มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่หลายฉบับได้มีการประกาศและยังไม่มีผลบังคับใช้และกลุ่มบริษัทไม่มีแผนที่จะ นํามาตรฐานการรายงานทางการเงินเหล่านี้มาใช้ก่อนวันถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่กําหนดให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปี ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
เรื่อง
ปีที่มีผลบังคับใช้
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557)
การนําเสนองบการเงิน
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557)
สินค้าคงเหลือ
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557)
งบกระแสเงินสด
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557)
นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557)
เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2557)
สัญญาก่อสร้าง
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557)
ภาษีเงินได้
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557)
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557)
สัญญาเช่า
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557)
รายได้
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557)
ผลประโยชน์ของพนักงาน
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2557)
การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2557)
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2557)
ต้นทุนการกู้ยืม
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2557)
การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
2558
268
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
เรื่อง
ปีที่มีผลบังคับใช้
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2557)
การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์ เมื่อออกจากงาน
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557)
เงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้า
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557)
การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2557)
กําไรต่อหุ้น
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2557)
งบการเงินระหว่างกาล
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2557)
การด้อยค่าของสินทรัพย์
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2557)
ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ท่ีอาจเกิดขึ้น
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2557)
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
2558
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2557)
อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
2558
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557)
การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์
2558
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2557)
การรวมธุรกิจ
2558
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557)
สัญญาประกันภัย
2559
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557)
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย และการดําเนินงานที่ยกเลิก
2558
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุง 2557)
การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่
2558
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557)
ส่วนงานดําเนินงาน
2558
มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10
งบการเงินรวม
2558
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11
การร่วมการงาน
2558
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12
การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น
2558
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13
การวัดมูลค่ายุติธรรม
2558
269
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
เรื่อง
ปีที่มีผลบังคับใช้
การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557)
ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไม่มีความเกี่ยวข้อง อย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน
2558
การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557)
สัญญาเช่าดําเนินงาน - สิ่งจูงใจให้แก่ผู้เช่า
2558
การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2557)
ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษี ของกิจการหรือของผู้ถือหุ้น
2558
การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557)
การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ทําขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย
2558
การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557)
การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ
2558
การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2557)
รายได้-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา
2558
การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2557)
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - ต้นทุนเว็บไซต์
2558
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557)
การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน
2558
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557)
การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่
2558
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557)
สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนรื้อถอน การบูรณะ และการปรับปรุงสภาพแวดล้อม
2558
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557)
การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง การรายงานทาง การเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง
2558
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557)
งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า
2558
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557)
ข้อตกลงสัมปทานบริการ
2558
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2557)
โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า
2558
270
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ง บ ก า ร เ งิ น
29
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
เรื่อง
ปีที่มีผลบังคับใช้
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14
ข้อจํากัดสินทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้อกําหนดเงินทุนขั้นตํ่าและปฏิสัมพันธ์ของรายการ เหล่านี้ สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน
2558
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557)
สัญญาสําหรับการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์
2558
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557)
การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ
2558
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557)
การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า
2558
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20
ต้นทุนการเปิดหน้าดินในช่วงการผลิตสําหรับเหมืองผิวดิน
2558
กลุ่มบริษัทได้ประเมินเบื้องต้นถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่องบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการ จากการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่เหล่านี้ ซึ่งคาดว่าจะมีผลกระทบอย่างมีสาระสําคัญต่องบการเงินในงวดที่ถือปฏิบัติ มาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่เหล่านั้นมีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 งบการเงินรวม (TFRS 10) และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 การเปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น (TFRS 12) TFRS 10 ให้หลักการการควบคุมเพิ่มเติมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการกําหนดว่ากิจการใดจะถูกนํามารวมในการจัดทํางบการเงินรวมหรือไม่ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นผลให้บริษัทใหญ่มีการควบคุมในกลุ่มบริษัทและต้องนํางบการเงินของกลุ่มบริษัทไปรวมในการจัดทํางบ การเงินรวมของบริษัทใหญ่ และตามแนวปฏิบัติที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหว่างปี 2552 กําหนดให้ไม่ต้องมีการประเมินมูลค่ายุติธรรม จากรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน ซึ่งส่งผลให้กลุ่มบริษัทต้องปรับปรุงรายการมูลค่ายุติธรรมจากการรวมธุรกิจในอดีตที่เคยรับรู้ใน งบการเงินตามวิธีซื้อธุรกิจให้เป็นไปตามวิธีเสมือนว่าเป็นวิธีการรวมส่วนได้เสีย TFRS 12 ได้นําข้อกําหนดในการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในบริษัทย่อย การร่วมการงาน บริษัทร่วม และกิจการอื่นที่ไม่ได้นํามาจัด ทํางบการเงินรวมเข้าไว้ด้วยกันเป็นมาตรฐานเดียว กลุ่มบริษัทอยู่ระหว่างการเปรียบเทียบข้อกําหนดในการเปิดเผยข้อมูลเหล่านี้กับการ เปิดเผยข้อมูลที่กิจการเปิดเผยในปัจจุบัน TFRS 12 กําหนดให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ ความเสี่ยง และผลกระทบทางการเงินของส่วนได้ เสียเหล่านี้
271
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
29
ง บ ก า ร เ งิ น
ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ผู้บริหารประมาณผลกระทบต่องบการเงินรวม ดังนี้ (ล้านบาท)
งบกําไรขาดทุนรวมสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการเพิ่มขึ้น ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมลดลง รวมขาดทุนสุทธิเพิ่มขึ้น ขาดทุนต่อหุ้นขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น (บาท)
21 114 135 0.07 (ล้านบาท)
งบแสดงฐานะการเงินรวม
เงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น ส่วนเกินจากการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน เพิ่มขึ้น กําไรสะสมเพิ่มขึ้น ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม เพิ่มขึ้น
31 ธันวาคม 2557
1 มกราคม 2557
684 121 331 364 110
798 142 331 478 131
272
ค าตอบแทนผู สอบบัญชี 2557
30
บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 7
ค าตอบแทนผู สอบบัญชี 2557
1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fees) บริษัทฯ บริษัทย่อย และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงานกลุ่มบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่สํานักงาน สอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีที่ผ่านมา จํานวน 6,303,000 บาท (หกล้านสามแสนสามพันบาทถ้วน) 2. ค่าบริการอื่น ๆ (Non-Audit Fees) บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนค่าบริการอื่นๆ ซึ่งได้แก่การตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขของบัตรส่งเสริมการลงทุน ให้แก่สํานักงาน สอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีที่ผ่านมา จํานวน 795,000 บาท (เจ็ดแสนเก้าหมื่นห้าพันบาทถ้วน)
Professionalism ท ำ ง า น อ ย า ง มื อ อ า ชี พ
Ownership and Commitment มี ค ว า ม รั ก ผู ก พั น แ ล ะ เ ป น เ จ า ข อ ง อ ง ค ก ร
Social Responsibility ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต อ สั ง ค ม
Integrity ค ว า ม ซื่ อ สั ต ย แ ล ะ ยึ ด มั่ น ใ น ค ว า ม ถู ก ต อ ง แ ล ะ เ ป น ธ ร ร ม
Teamwork and Collaboration ค ว า ม ร ว ม มื อ ท ำ ง า น เ ป น ที ม
Initiative ค ว า ม ริ เ ริ่ ม ส ร า ง ส ร ร ค
Vision Focus ก า ร มุ ง มั่ น ใ น วิ สั ย ทั ศ น
Excellence Striving ก า ร มุ ง มั่ น สู ค ว า ม เ ป น เ ลิ ศ
สํ า นั ก ง า น ก รุ ง เ ท พ
สํ า นั ก ง า น ศ รี ร า ช า แ ล ะ โ ร ง ก ลั่ น นํ้ า มั น
เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2797-2999, 0-2797-2900, 0-2299-0000 โทรสาร : 0-2797-2970
42/1 หมู่ที่1 ถนนสุขุมวิท กม.124 ตำบลทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : 0-3840-8500, 0-3835-9000 โทรสาร : 0-3835-1554, 0-3835-1444
www.thaioilgroup.com
www.thaioilgroup.com