วารสารรายไตรมาส บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) TOP-IR : E-Newsletter
INSIDE THIS ISSUE: Editor ’ s Note
3
Crude Oil Price
4
Financial Result Q1/58
7
CSR
9
CG Corner
11
IR Calendar
12
Special points of interest: สถานการณ์ราคาน้ามัน ปัจจัยส้าคัญที่จะส่งผล กระทบต่อสถานการณ์ ราคาน้ามัน ผลการด้าเนินงานไตรมาส ที่ 2/2558 ความรับผิดชอบต่อสังคม ของเครือไทยออยล์ CG Corner
Page 1
ฉบับที่ 14
SUSTAINABILITY
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
Page 2
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
Page 3
บ ท บ ร ร ณ า ธิ ก า ร สวัสดีค่ะ ท่านนักลงทุนและผู้สนใจทุกท่าน TOP-IR E-Newsletter เป็นอีกหนึ่งช่องทาง ที่บริษัทฯ ได้จัดท้าขึนเพื่อใช้เป็นสื่อกลาง และอีกช่องทางการในการสื่อสารให้นัก
เชื่อมั่นใน ผลการด้าเนินงาน
ลงทุนและผู้สนใจรับทราบข้อมูลธุรกิจและ กิจการของบริษัทฯ และท่านยังสามารถ เข้าถึงข้อมูลได้อย่างง่ายดายและเปี่ยมไป
เตรียมความพร้อม
ด้วยสาระข้อมูลต่างๆไม่ว่าจะเป็น รายงาน
“ T OP-IR E-Newsletter
และพัฒนาศักยภาพ
สถานการณ์น้ามันในปัจจุบัน ผลสรุปการ
บุคลากร
เป็นสือ ่ กลางและอีกช่อง
ด้าเนินงานรายไตรมาส โครงการ CSR
ทางการสือ ่ สารนักลงทุน และผูส ้ นใจรับทราบข้อมูล ธุรกิจและกิจการของ บริษท ั ฯ”
รวมถึง IR Calendar ส้าหรับท่านที่ต้องการ ข้อมูลเพิ่มเติม ท่านสามารถเข้าชม website ได้ที่ www.thaioilgroup.com หน้านักลงทุน
สร้างความเชื่อมั่น
สัมพันธ์ ซึ่งจะมีข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูล
ในสินค้าและ
ทางการเงิน ข่าวสารและกิจกรรมต่างๆ ของ บริษัทฯ อีกทังท่านสามารถชม VDO การ
บริการ
แถลงผลการด้าเนินงานรายไตรมาสของ บริษัทฯ ผ่าน webcast ได้อีกด้วยค่ะ ทังนี หากท่านมีข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะ/
เป็นที่ไว้วางใจ
ปรับปรุง กรุณาติดต่อแผนกนักลงทุนสัมพันธ์
ของสังคมและ
( T OP - IR ) หมายเลขโทรศัพท์ 02-797-
สิ่งแวดล้อม
2961 หรืออีเมลล์มาที่ ir@thaioilgroup.com ได้ทุกวันท้าการค่ะ บริษัทฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านนักลงทุน และผู้สนใจจะได้รับประโยชน์จาก TOP-IR E- Newsletter ที่เราได้จัดท้าขึนและ ท่านสามารถพบกับข่าวสารของไทยออยล์ ใน TOP – IR E-Newsletter ได้เป็นประจ้า ในทุกไตรมาสนะคะ
ขอบคุณค่ะ กองบรรณาธิการ
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
Page 4
C R U D E O I L P R I C E : ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า นา้ มั น ไ ต ร ม า ส 2 / 5 8 ราคาน้ามันดิบใน Q2/58 ปรับเพิ่มขึนจาก Q1/58 แต่ ยั ง คงต่้ า กว่ า Q2/57 เนื่ อ งจากได้ รั บ แรงหนุ น จากการที่ผู้ผลิตน้ามันดิบของสหรัฐฯชะลอการขุด เจาะและผลิ ต น้ า มั น ดิ บ ออกไป เนื่ อ งจากได้ รั บ ผลกระทบจากภาวะราคาน้ า มั น ดิ บ ตกต่้ า ในช่ ว ง Q4/57 ถึง Q1/58 ประกอบกับปริมาณน้ามันดิบคง คลั ง สหรั ฐ ฯ ที่ ป รั บ ลดลง เนื่ อ งจากโรงกลั่ น ใน สหรั ฐ ฯ ปรั บ เพิ่ ม ก้ า ลั ง การกลั่ น หลั ง จากเสร็ จ สิ น การปิ ด ซ่ อ มบ้ า รุ ง ในช่ ว ง Q1/58 รวมถึ ง การเพิ่ ม อั ต ราการกลั่ น เพื่ อ ตอบสนองต่ อ อุ ป สงค์ ที่ เ พิ่ ม ขึ น ในช่ ว งฤดู ก าลขั บ ขี่ ข องสหรั ฐ ฯ (พฤษภาคมถึ ง กั น ยายน) นอกจากนี ความไม่ ส งบในเยเมนที่ ป ะทุ ขึ นหลั ง จาก ซาอุดิอาระเบียปฏิบัติการโจมตีทางอากาศต่อกลุ่มกบฏฮูธิ (Houthi) ทางตอนกลางและตอนใต้ของประเทศ สร้างความ กังวลต่อตลาดว่าปัญหาอาจจะบานปลายและส่งผลกระทบต่อการส่งออกและเส้นทางขนส่งน้ามันดิบในบริเวณดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ตลาดน้ามันดิบยังคงเผชิญกับภาวะอุปทานล้นตลาด หลังจากการประชุมโอเปกในวันที่ 5 มิถุนายน 2558 กลุ่มโอเปกมีมติคงอัตราการผลิตน้ามันดิบของกลุ่มที่ระดับ 30 ล้านบาร์เรลต่อวันต่อไป ส่ ว นต่ า งระหว่ า งราคาน้ า มั น เบนซิ น กั บ ราคาน้ า มั น ดิ บ ดู ไบใน Q2/58 ปรั บ เพิ่ มขึ นเมื่ อ เที ย บกั บ Q2/57 และ Q1/58 เนื่องจากได้รับแรงหนุ นจากอุปสงค์น้ามันเบนซินในภูมิภาคเอเชียที่ป รับตัวสูงขึนจากราคาขายปลีกที่อยู่ในระดับต่้ า ประกอบกับแรงซือของประเทศมุสลิมก่อนเข้าช่วงเทศกาลถือศีลอดของชาวมุสลิมที่เริ่มในวันที่ 18 มิถุนายน รวมทังอุป สงค์น้ามันเบนซินของสหรัฐฯ ที่ปรับตัวสูงขึนในช่วงฤดูกาลขับขี่ นอกจากนีอุปทานน้ามันเบนซินมีสภาวะที่ตึงตัวมากขึน เนื่องจากเป็นช่วงที่โรงกลั่นน้ามันหลายแห่งอยู่ระหว่างการปิดซ่อมบ้ารุง ส้าหรับส่วนต่างระหว่างราคาน้ามันอากาศยาน/ น้า มัน ก๊า ดและน้ ามั น ดีเ ซลเที ย บกั บราคาน้า มัน ดิบ ดู ไบใน Q2/58 ปรั บลดลงจากเมื่ อเทีย บกั บ Q1/58 และปรับ ลดลง เล็กน้อยเมื่ อเทียบกับ Q2/57 เนื่องจากอุปสงค์ ปรับลดลงหลังจากผ่านช่วงฤดูหนาวและฤดูกาลท่องเที่ยวในช่วงต้น ปี ในขณะที่อุปทานปรับเพิ่มขึนจากโรงกลั่นน้ามันใหม่ขนาดใหญ่ 2 แห่งในตะวันออกกลางที่เริ่มด้าเนินการผลิต ส้าหรับ ส่วนต่า งระหว่ างราคาน้ามั นเตากั บราคาน้ามัน ดิบดูไบปรับลดลงจากไตรมาส Q1/58 หลั งมีอุปทานน้า มันเตาจากฝั่ ง ตะวั น ตกที่ เ ข้ า มายั งเอเชี ย ในระดั บ ที่ ค่ อ นข้ า งสู งเมื่ อ เที ย บกั บ ไตรมาสก่ อ นหน้ า ค่ อ นข้ า งมาก หลั งจากค่ า การกลั่ น ที่ ค่อนข้างสูงส่งผลให้โรงกลั่นน้ามันในตะวันตกเพิ่มก้าลังการผลิตสูงมากขึน อย่างไรก็ตามหากเทียบกับ Q2/57 ส่วนต่าง ระหว่างราคาน้ามันเตากับราคาน้ามันดิบดูไบปรับตัวสูงขึนค่อนข้างมาก สืบเนื่องจากราคาน้ามันเตาที่ลดลงตามราคา น้ามันดิบส่งผลให้ความต้องการใช้น้ามันเตาโดยรวมในภูมิภาคปรับตัวสูงมากขึน
Page 5
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
ส ถ า น ก า ร ณ์ นา้ มั น เ ดื อ น ส . ค . 2 5 5 8 ราคานา้ มันดิบถูกกดดันต่อเนือ ่ ง จากอุปสงค์ทล ี่ ดลงในภูมภ ิ าคฯ และภาวะอุปทานนา้ มันดิบล้นตลาด ส รุ ป ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า นา้ มั น ใ น สั ป ด า ห์ ที่ 1 7 - 2 1 ส . ค . 5 8 ราคาน้ามันดิบเวสต์เท็กซัสในสัปดาห์ที่ผา่ นมาปรับลดลง 2.05 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปิดที่ 40.45 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ขณะทีร่ าคาน้ามันดิบเบรนท์ปรับลดลง 3.57 เหรียญสหรัฐฯ ปิดที่ 45.46 เหรียญสหรัฐฯ ส่วนราคา น้ามันดิบดูไบปิดเฉลี่ยอยู่ที่ 46 เหรียญสหรัฐฯ โดยราคาน้ามันดิบได้รับแรงกดดันจากภาวะอุปทานนา้ มันดิบที่ยงั คงล้นตลาด หลังผู้ผลิตสหรัฐฯยังคงปริมาณการผลิตอยู่ในระดับสูง โดยในสัปดาห์ทผ ี่ ่านมายังคงมีการเพิ่มแท่นขุดเจาะต่อเนื่องเป็นเวลา กว่า
4
สัปดาห์ติดต่อกัน
แม้ว่าราคานา้ มันดิบจะเคลื่อนไหวอยู่ในระดับต่า้
ประกอบกับปริมาณน้ามันดิบคงคลังสหรัฐฯ
ในสัปดาห์สินสุดวันที่ 14 ส.ค. ปรับเพิ่มขึนสวนทางกับการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ว่าจะปรับลดลง หลังโรงกลั่นน้ามัน ในสหรัฐฯมีปริมาณการผลิตลดลง เนื่องจากโรงกลั่นแห่งหนึ่งทางตะวันตกของสหรัฐฯ หยุดด้าเนินการผลิตลงอย่างกะทันหัน
แ น ว โ น้ ม ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า นา้ มั น ดิ บ ( 2 4 - 2 8 พ . ค . 5 8 ) ราคาน้ามันดิบในสัปดาห์นีคาดว่าจะยังคงเคลื่อนไหวในระดับต่้า โดยได้รับแรงกดดันหลักจากอุปสงค์น้ามันดิบที่ มีแนวโน้มลดลงและ ความกังวลต่อภาวะอุป ทานน้ามันดิบล้ นตลาด เนื่องจากเศรษฐกิจ ของญี่ปุ่นและจี นเริ่มส่งสัญญาณ ชะลอตัว โดยล่าสุดอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของญี่ปุ่นหดตัวครังแรกในรอบ 3 ไตรมาส ขณะที่ เศรษฐกิจของจีนก็ชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่อง โดยจีนถือเป็นประเทศที่มีการบริโภคน้ามันสูงเป็นอันดับสองของโลก ส่งผลให้นักลงทุนกังวลว่าอุปสงค์น้ามันดิบและน้ามันส้าเร็จรูปจะหดตัวและส่งผลกดดันราคาน้ามันดิบ
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
Page 6
ปัจจัยส้าคัญทีจ ่ ะส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ราคานา้ มันในสัปดาห์นี: ( 24 - 28 ส.ค. 58 )
ติดตามทิศทางเศรษฐกิจของประเทศญีป ่ ุ่นหลังรัฐมนตรีนโยบายเศรษฐกิจและการเงินของญี่ปุ่นรายงานอัตราการ
เติบโตของผลิตภัณฑ์มวล รวมในประเทศ (GDP ) ประจ้าไตรมาส 2/58 ปรับลดลงร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นการหดตัวครังแรกในรอบ 3 ไตรมาส และชะลอตัวลงจากอัตราการเติบโตในไตรมาส 1 ทีร่ ้อยละ 4.5 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการบริโภคสินค้าและบริการภาคเอกชน และการประกาศปรับขึนภาษีมูลค่าเพิ่มก็เป็นปัจจัย ส้าคัญที่ส่งผลการใช้จ่ายของชาวญี่ปน ุ่ ปรับลดลง ขณะทีภ ่ าคการส่งออกหดตัวลงเช่นกันที่ ร้อยละ 0.3 อันเป็นผลมาจาก ปริมาณการส่งออกไปสหรัฐฯ และในเอเชียที่ชะลอตัวลง การที่เศรษฐกิจของญีป ่ ุ่นเริม ่ ส่งสัญญาณการชะลอตัว ส่งผลให้ ตลาดมีความกังวลยิ่งขึนต่อสถานการณ์เศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียที่อาจมีแนวโน้มชะลอตัวและส่งผลให้อุปสงค์ น้ามันดิบอาจปรับตัวลดลงได้
ติดตามทิศทางเศรษฐกิจของจีนที่ก้าลังเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวว่าจีนจะมีการออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐ
กิจเพิ่มเติมหรือไม่ อย่างไรก็ดี ล่าสุดคณะกรรมการบริหารกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF ) ตัดสินใจขยายระยะ เวลาการทบทวนการนาสกุลเงินหยวนเข้าสูต ่ ะกร้าสกุลเงิน SDR ( Special Drawing Right ) ออกไปอีก 9 เดือน จาก เดิมวันที่ 31 ธ.ค.2558 เป็นวันที่ 30 ก.ย.2559 โดย IMF ให้เหตุผลว่า ต้องการใช้เวลาเพิ่มเติมเพือ ่ พิจารณาประเด็นนี อีกครังหนึ่ง ซึ่งก่อนหน้านีรัฐบาลจีนได้พยายามส่งเสริมให้สกุลเงินหยวนมีบทบาทสาคัญในเวทีตลาดเงินโลกมากยิ่งขึน โดยผลักดันให้เงินสกุลหยวนกลายเป็นส่วนหนึ่งในสินทรัพย์ SDR ของ IMF เพิ่มขึนในตะกร้าสกุลเงินปัจจุบันที่ ประกอบด้วย เงินดอลลาร์สหรัฐฯ, เงินยูโร, เงินเยน และเงินปอนด์อังกฤษ เท่านัน
ตลาดยังคงกังวลต่อภาวะอุปทานนา้ มันดิบล้นตลาดที่มีแนวโน้มจะเพิ่มขึนอย่างต่อเนือ ่ ง อย่างไรก็ดี แม้ว่าราคา
น้ามันดิบจะเคลื่อนไหวอยู่ในระดับต่้า แต่จา้ นวนแท่นขุดเจาะน้ามันดิบยังเพิ่มขึนอย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุด Baker Hughes รายงานจ้านวนแท่นขุดเจาะน้ามันดิบ (สินสุดวันที่ 14 ส.ค.) ปรับเพิ่มขึนอีก 2 แท่น สู่ระดับ 672 แท่น ซึง่ ถือ เป็นสัญญาณบ่งชีว่าก้าลังผลิตของสหรัฐฯ ยังคงอยู่ในระดับสูง นอกจากนี ข้อมูลล่าสุดเปิดเผยอัตราการผลิตนา้ มันดิบ ในรัฐ North Dakota ของสหรัฐฯ ปรับเพิ่มขึน 8,500 บาร์เรลต่อวัน สู่ระดับ 1.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน ในเดือน มิ.ย.เป็น เดือนที่ 2 ติดต่อกัน
ปริมาณน้ามันดิบคงคลังของสหรัฐฯ ปรับเพิ่มขึนอย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุดส้านักงานสารสนเทศด้านพลังงานของ
สหรัฐฯ (EIA ) รายงานตัวเลขปริมาณน้ามันดิบคงคลังสหรัฐฯประจ้าสัปดาห์สินสุดวันที่ 14 ส.ค. 58 ว่าปรับเพิม ่ ขึน 2.6 ล้านบาร์เรล แตะทีร่ ะดับ 456.2 ล้านบาร์เรล ซึ่งสวนทางกับที่นก ั วิเคราะห์คาดการณ์ว่าจะปรับลดลง 777,000 บาร์เรล ทางด้านปริมาณนา้ มันดิบคงคลัง ณ จุดส่งมอบคุชชิ่ง โอกลาโฮมา ก็ปรับเพิ่มขึนเช่นกันที่ 326,000 บาร์เรล แตะที่ระดับ 57.4 ล้านบาร์เรล อย่างไรก็ดี EIA ได้ปรับลดคาดการณ์ปริมาณการผลิตนา้ มันดิบของสหรัฐฯ ในปี 2558 ลงร้อยละ 1.2 จากการคาดการณ์ครังก่อนหน้ามาอยูท ่ ี่ 9.36 ล้านบาร์เรลต่อวัน และปรับลดคาดการณ์ปี 2559 ลง 0.36 ล้านบาร์เรล ต่อวัน จากการคาดการณ์ครังก่อนหน้า มาอยูท ่ ี่ 8.96 ล้านบาร์เรลต่อวัน เนื่องจากราคานา้ มันดิบทีเ่ คลื่อนไหวในระดับ ต่้าอาจจะส่งผลให้แท่นขุดเจาะนา้ มันดิบปรับลดปริมาณการผลิตลงได้
แม้ว่าสถานการณ์ปัญหาหนีสินของกรีซจะเริ่มคลี่คลายลงไปบ้างแล้ว แต่ตลาดยังคงจับตาทิศทางเศรษฐกิจของกรีซ
อยูอ ่ ย่างต่อเนือ ่ ง โดยล่าสุดกองทุนกลไกรักษาเสถียรภาพยุโรป (ESM ) ได้อนุมัติขอ ้ ตกลงให้ความช่วยเหลือทางการ เงินต่อกรีซฉบับที่ 3 เมื่อวันที่ 19 ส.ค. ที่ผา่ นมา ท้าให้มีการจ่ายเงินกู้งวดแรกให้กบ ั กรีซจ้านวน 1.3 หมื่นล้านยูโรจาก จ้านวนเงินกูท ้ ังหมด 8.6 หมืน ่ ล้านยูโร ได้ทันเวลาก่อนทีก ่ รีซมีกาหนดต้องชาระหนี 3.2 พันล้านยูโรต่อธนาคารกลาง ยุโรป (ECB ) ในวันที่ 20 ส.ค.ที่ผา่ นมา
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
Page 7
ผ ล ก า ร ด้า เ นิ น ง า น ไ ต ร ม า ส 2 ปี 2 5 5 8
หมายเหตุ (1) ก้าไรขันต้นจากการผลิตของกลุ่ม (Gross Integrated Margin ) เป็นก้าไรขันต้นจากการผลิตรวมของ TOP, TPX และ TLB (2) ปรับปรุงผลกระทบต่องบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินรวม ที่ออกและปรับปรุงใหม่ตงแต่ ั วันที่ 1 มกราคม 2558 (3) รวมเงินปันผลรับจากบริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จ้ากัด จ้านวน 48 ล้านบาท
ใน Q2/58 ภาพรวมราคานา้ มันส้าเร็จรูปปรับสูงขึนตามราคาน้ามันดิบที่ได้รับแรงหนุนจากอุปทานส่วนเพิ่มที่ชะลอ ตัวลง รวมทังความต้องการใช้น้ามันส้าเร็จรูปทีข ่ ยายตัวต่อเนื่อง อีกทังยังมีความต้องการใช้น้ามันเบนซินที่สูงขึนในช่วง ฤดูกาลขับขี่ในสหรัฐฯ และจากความต้องการน้าเข้าที่เพิม ่ สูงขึนจากอินโดนีเซียช่วงก่อนเดือนถือศีลอด ซึ่งเป็นปัจจัยหนุน ให้ส่วนต่างราคานา้ มันเบนซินปรับตัวเพิ่มขึนมากจาก Q1/58 อย่างไรก็ดี ความต้องการใช้น้ามันดีเซลและน้ามันอากาศ ยาน/น้ามันก๊าดที่ลดลงหลังผ่านช่วงฤดูหนาว รวมทังอุปทานที่เพิ่มมากขึนจากโรงกลั่นใหม่ในภูมิภาค กดดันให้ส่วนต่าง ราคาน้ามันดีเซล น้ามันอากาศยาน/น้ามันก๊าดและน้ามันเตาปรับตัวลดลง ส้าหรับตลาดอะโรเมติกส์ ราคาสารพาราไซลีน และสารเบนซีนปรับตัวดีขึนจากไตรมาสก่อน เนื่องจากอุปสงค์ในภูมิภาคที่เพิ่มมากขึน รวมทังอุปทานที่ค่อนข้างจ้ากัด เนื่องจากโรงงานอะโรเมติกส์หลายแห่งหยุดซ่อมบ้ารุงตามฤดูกาล ในส่วนของตลาดน้ามันหล่อลื่นพืนฐานก็ได้รบ ั แรงหนุน จากความต้องการที่เพิ่มขึนจากการเปลี่ยนถ่ายนา้ มันเครื่องในฤดูร้อนของภาคเกษตรกรรมและอุปทานที่ค่อนข้างข้างตึงตัว เช่นเดียวกับยางมะตอยที่ได้รับแรงหนุนจากปริมาณน้าเข้าของจีนและเวียดนามที่เพิม ่ ขึน
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
Page 8
ผ ล ก า ร ด้า เ นิ น ง า น ไ ต ร ม า ส 2 ปี 2 5 5 8 จากภาพตลาดข้างต้น ส่งผลให้เครือไทยออยล์มีรายได้จากการขาย 79,036 ล้านบาท เพิ่มขึนร้อยละ 11 จาก Q1/58 เนื่องจากปริมาณจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์โดยรวมปรับเพิ่มขึนตามปริมาณวัตถุดิบที่ป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิตของ กลุ่ม รวมถึงราคาของผลิตภัณฑ์ส้าเร็จรูปที่ปรับเพิ่มขึน โดยมีก้าไรขันต้นจากการผลิตของกลุ่มไม่รวมผลกระทบจากส ต๊อ กน้ ามั นอยู่ที่ 9.0 เหรีย ญสหรั ฐฯ ต่อบาร์ เรล ทังนี ใน Q2/58 เครื อไทยออยล์ มีก้าไรจากสต๊อกน้า มัน 2,234 ล้า นบาท ขณะที่ ใน Q1/58 มี ผลขาดทุ นจากสต๊ อ กน้ า มั น 1,273 ล้ า นบาท ส่ งผลให้ EBITDA ของเครื อ ไทยออยล์ เ พิ่ ม ขึ นมาอยู่ ที่ 10,004 ล้านบาท ซึ่งรวมผลขาดทุนจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยงด้านราคาน้ามันสุทธิ 187 ล้านบาท ทังนี จากค่าเงิน บาทที่ อ่อนตัวลง 1.23 บาทต่อเหรียญสหรั ฐฯ จาก ณ สิน Q1/58 ท้าให้เครือไทยออยล์ มีผลขาดทุ นจากอัต ราแลกเปลี่ย น 1,179 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการแปลงค่าของหุ้นกู้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ เมื่อหักค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 361 ล้านบาท เครือไทยออยล์มีก้าไรสุทธิ 6,228 ล้านบาท หรือคิดเป็น 3.05 บาทต่อหุ้น
ส้าหรับผลการด้าเนินงานของ Q2/58 เทียบกับ Q2/57 เครือไทยออยล์มีรายได้จากการขายลดลงร้อยละ 22 เนื่องจากระดับราคาน้ามันและราคาผลิตภัณฑ์ส้าเร็จรูปที่ปรับลดลงอย่างมากจากช่วงเดียวกันของปีก่อน อย่างไรก็ตาม ปริมาณวัต ถุดิบที่ ป้อนเข้าสู่ กระบวนการผลิตของกลุ่ มใน Q2/58 ปรั บเพิ่มขึนร้ อยละ 12 เนื่ องจากในช่วงกลางเดือ น มิถุนายนถึงปลายเดือนกรกฎาคมของปีที่ผ่านมา เครือไทยออยล์หยุดซ่อมบ้ารุงใหญ่ตามแผนของหน่วยกลั่นน้ามันดิบ หน่ ว ยที่ 3 (Crude Distillation Unit – 3: CDU-3) หน่ ว ยเพิ่ ม ออกเทนด้ ว ยสารเร่ งปฏิ กิ ริ ย าหน่ ว ยที่ 1 (Continuous Catalyst Regeneration Platformer Unit – 1: CCR-1) และหน่ วยย่ อยอื่ นๆ รวมถึ งหน่ วยผลิ ตสารอะโรเมติกส์ โดย เครือไทยออยล์มีก้าไรขันต้นจากการผลิตของกลุ่มรวมผลกระทบจากสต๊อกน้ามันใน Q2/58 เพิ่มขึน 5.0 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากส่วนต่างราคาน้ามันเบนชินที่สูงขึนและต้นทุนพลังงานที่ลดลงท่ามกลางภาวะการณ์ราคาน้ามันดิบลด ต่้าลงอย่างมากในปี 2558 นอกจากนียังได้รับประโยชน์จากผลก้าไรจากสต๊อกน้ามันที่มากขึน ในขณะที่ บริษัทฯ ต้อง รับรู้ผลขาดทุนจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยงด้านราคาน้ามันสุทธิเพิ่มขึน 781 ล้านบาท ส่งผลให้เครือไทยออยล์มี EBITDA ปรับเพิ่มขึน 5,537 ล้านบาท นอกจากนี ใน Q2/58 ยังมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึน 1,469 ล้าน บาท จากค่าเงินบาทที่อ่อนตัวลง 1.33 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ ท้าให้เกิดผลขาดทุนจากการแปลงค่าของหุ้นกู้สกุลเงิน ดอลลาร์ ส หรั ฐ โดยหลั ง หัก ค่ า ใช้ จ่า ยภาษี เ งิ น ได้ แ ล้ ว เครื อ ไทยออยล์ มี ก้ า ไรสุ ท ธิ เ พิ่ ม ขึ น 4,158 ล้ า นบาท จากช่ ว ง เดียวกันของปีก่อน เมื่อเทียบผลการด้าเนินงาน 6M/58 กับ 6M/57 เครือไทยออยล์ยังคงมีรายได้จากการขายลดลงจากระดับราคา น้ามันและราคาผลิตภัณฑ์ส้าเร็จรูปที่ปรับลดลงอย่างมาก ขณะที่ปริมาณวัตถุดิบที่ป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิตของกลุม ่ ใน 6M/58 เพิ่มขึน เนื่องจากใน 6M/57 มีการหยุดซ่อมบ้ารุงใหญ่ตามแผนของเครือไทยออยล์ ทังนี เครือไทยออยล์มีก้าไร ขั นต้ น จากการผลิ ต ของกลุ่ มรวมผลกระทบจากสต๊ อ กน้ า มั น เพิ่ มขึ น 4.1 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ บาร์ เ รล และมี EBITDA เพิ่มขึน 7,644 ล้านบาท มาอยู่ที่ 16,213 ล้านบาท ซึ่งรวมผลขาดทุนจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยงสุทธิด้านราคา น้ามัน 111 ล้านบาทแล้ว ทังนี เมื่อรวมผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 503 ล้านบาท ต้นทุนทางการเงินและค่าใช้จ่าย ภาษีเงินได้แล้ว เครือไทยออยล์มีก้าไรสุทธิเพิ่มขึนเป็น 10,727 ล้านบาท เทียบกับ 4,538 ล้านบาทใน 6M/57
Page 9
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
ความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์ ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนรอบเครือไทยออยล์ โดย โครงการก่อสร้าง อาคารไทยออยล์ เพือ ่ โรงพยาบาลแหลมฉบัง
เมื่อวันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม 2558
คุณอธิคม เติบศิริ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท
ไทยออยล์ จ้ากัด (มหาชน) (กลาง) และนายแพทย์ราเมศร์ อ้าไพพิศ ผู้อ้านวยการโรงพยาบาลแหลมฉบัง (ที่ 3จากขวา) ร่วมลงนามบันทึกความร่วมมือในโครงการก่อสร้างอาคารไทยออยล์เพื่อโรงพยาบาลแหลมฉบัง ซึ่งเครือไทยออยล์สนับสนุน การก่อสร้างเพื่อใช้เป็นอาคารอุบต ั ิเหตุและฉุกเฉิน 5 ชัน ขนาดพืนที่ใช้สอย 5,000 ตารางเมตร นอกจากนีอาคารไทยออยล์ ยังเป็นศูนย์ในการให้บริการและขยายพืนที่รก ั ษาพยาบาลแก่ประชาชน
ในพืนทีเ่ ทศบาลนครแหลมฉบังและพืนที่ใกล้เคียง
โดยมี คุณจินดา ถนอมรอด นายกเทศมนตรีนครแหลมฉบัง (ที่ 2จากขวา) และผูบ ้ ริหารบริษัท ไทยออยล์ จ้ากัด (มหาชน) ร่วมเป็นสักขีพยาน ในการนี เครือไทยออยล์ ก้าหนดให้มีพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารไทยออยล์ ในวันศุกร์ที่ 28 สิงหาคม 2558 ณ สถานทีก ่ ่อสร้างอาคาร ไทยออยล์ เพื่อโรงพยาบาลแหลมฉบัง ต้าบลทุ่งสุขลา อ้าเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
Page 10
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
ความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์ เครือไทยออยล์.. สานต่อปณิธาน เพิ่มโอกาสและศักยภาพด้านการศึกษา ให้เยาวชนรอบเครือไทยออยล์
เนื่องในโอกาสวันสถาปนาบริษัทครบรอบ 54 ปี บริษัท ไทยอยอล์ จ้ากัด (มหาชน) เครือไทยออยล์ได้จัดพิธีมอบทุน การศึกษา และกองทุนเครือไทยออยล์เพื่อสถาบันการศึกษา ประจ้าปี 2558 ขึน เมื่อวันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม ที่ผ่านมา ณ ศาลาประชาคมอ่าวอุดม อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี โดยมี คุณอธิคม เติบศิริ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จ้ากัด (มหาชน) เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยนายกเทศมนตรีนครแหลมฉบัง ประธานที่ปรึกษาคณะ ผู้บริหารเทศบาลนครแหลมฉบัง ผูช ้ ่วยรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ปลัดอ้าเภอศรีราชา ผู้แทนส้านักงานเขตพืนทีก ่ ารศึกษาประถมศึกษาชลบุรี
เขต
3
คณะผู้บริหารเครือไทยออยล์
ผู้บริหารสถานศึกษา
ประธานและคณะกรรมการชุมชน คณาจารย์ นักเรียนและนิสต ิ ที่ได้รับทุนการศึกษาเข้าร่วมพิธอ ี ย่างพร้อมเพรียง เครือไทยออยล์ ประกอบด้วย บริษัท ไทยออยล์ จ้ากัด (มหาชน) บริษท ั ไทยลู้บเบส จ้ากัด (มหาชน) และบริษท ั ไทยพาราไซลีน จ้ากัด ได้จัดสรรงบประมาณ เป็นเงินทังสิน 1,696,000 บาท นอกจากนันยังมี องค์กรทางสังคมของ พนักงานเครือไทยออยล์ อีก 4 องค์กร ประกอบด้วย สมาคมศิษย์เก่าไทยออยล์ สหกรณ์ออมทรัพย์ ไทยออยล์ จ้ากัด สหภาพแรงงานโรงกลั่นนา้ มันไทย และชมรมชาวใต้เครือไทยออยล์ ได้รว ่ มสมทบเงินอีกจ้านวน 50,000 บาทรวมเป็นเงิน ทังสิน 1,746,000 บาท โดยเงินทังหมดนี ได้จัดสรรเป็นทุนการศึกษาแบบปีต่อปีและแบบต่อเนือ ่ ง ทังระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และระดับ อุดมศึกษา รวมทังสิน 215 ทุน ให้แก่ เยาวชนและนิสิตที่มีความประพฤติดี มีความกระตือรือร้น ขยันหมั่นเพียรในการ ศึกษาเล่าเรียนมีภูมิล้าเนาและการศึกษาอยู่ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบังและอ้าเภอศรีราชา และอีกส่วนหนึ่งจัดเป็น กองทุนเพื่อการศึกษาให้แก่สถาบันต่างๆที่ตังอยู่ในเขตอ้าเภอศรีราชาและเทศบาลนครแหลมฉบังเอาไว้ใช้ในกิจกรรมการ ศึกษาต่างๆของสถาบัน
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
Page 11
CG Corner ( C orporate Governance: การก้ากับดูแลกิจการ ) REACT+E บริษัท ไทยออยล์ จ้ากัด (มหาชน) ด้าเนินธุรกิจด้วยการมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพในการด้าเนินธุรกิจ เชิงบูรณาการด้านการกลั่นน้ามันและปิโตรเคมีที่มีการก้ากับดูแลกิจการและการบริหารจัดการที่ดี ดังนันเพื่อให้พนักงาน ทุกคนยึดมั่นในการท้างานตามหลักการก้ากับดูแลกิจการอย่างมีจรรยาบรรณธุรกิจ นอกจากบริษัทฯ ก้าหนดนโยบาย การก้ากับดูแลกิจการ การจัดท้าคู่มือ การจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมแล้ว บริษัทฯ ยังได้ก้าหนด "หลักการก้ากับดูแล กิจการ" REACT+E เพื่อให้จดจ้าได้ง่าย ส่งเสริมให้เกิดการน้าไปใช้เป็นส่วนหนึ่งในการท้างานทุกๆ วัน โดยแต่ละ ตัวอักษรมีความหมายที่ลึกซึงซ่อนอยู่ตามตารางด้านล่างนีค่ะ
จะเห็นได้ว่า "หลักการก้ากับดูแลกิจการ" REACT+E เป็นหลักการที่ส่งเสริมวิธก ี ารท้างานของคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานให้ปฏิบัติหน้าทีข ่ องตนอย่างมีจริยธรรม (Ethics ) โปร่งใส (Transparency ) และด้วยความ รับผิดชอบ
(Responsibility )
ที่ครอบคลุมไปถึงการรับผิดชอบต่อการตัดสินใจของตนเอง
(Accountability )
มี
วิสัยทัศน์ ในการพัฒนาองค์กรในระยะยาว (Creation of Long Term Value ) โดยค้านึงถึงการปฏิบต ั ิต่อผูม ้ ีส่วนได้ เสียทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียม (Equitable Treatment ) นั่นเอง
Page 12
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
IR CALENDAR ปฏิทน ิ - นักลงทุนสัมพันธ์ กรกฎาคม - สิงหาคม 2558 วันที่
เหตุการณ์สา้ คัญ
2 และ 3 กรกฎาคม
กิจกรรมพาผู้ถอ ื หุ้นเยี่ยมชมกิจการ ( S hareholders Site Visit )
6 - 7 กรกฎาคม
Roadshow ประเทศญี่ปุ่น จัดโดย Krungsri Securities
8 - 10 กรกฎาคม
Roadshow ประเทศสหรัฐฯ จัดโดย Phatra Securities
14 กรกฎาคม
PTT Group Day จัดโดย Nomura
18 สิงหาคม
Analyst Meeting: Performance Q2/15
24 สิงหาคม
Opportunity Day: Performance Q2/15
Page 13
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 4
TOP-IR 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอม
DISCLAIMER
เพล็กซ์ อาคารเอ ชัน 11 ถ.วิภาวดีรังสิต จตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ : 02-797-2961 แฟ็กซ์ : 02-797-2977
บริษัทฯ มีจุดมุ่งหมายส้าคัญ เพี่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท ไทยออยล์ จ้ากัด ( มหาชน) ( บริษัทฯ) ส้าหรับบุคคลทั่วไปที่เกี่ยวข้อง โดยข้อมูลที่ปรากฏอยู่ใน TOP IR E-Newsletter นี ห้ามมิให้ มีการคัดลอก ดัดแปลง ท้าซ้า หรือ เลียนแบบ โดยเด็ดขาด เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากบริษัทฯ ก่อนเท่านัน หากมีข้อสงสัย โปรดติดต่อแผนกนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท ไทยออยล์ จ้ากัด ( มหาชน)
www.thaioilgroup.com
หากท่านใดมีข้อเสนอแนะ / ต้องการสอบถามข้อมูล สามารถติดต่อได้ที่
THAI OIL PUBLIC COMPANY LIMITED
ir@thaioilgroup.com
Tel
662-797-2961
Fax
662-797-2977