:: Newsletter 1Q 2016 ::

Page 1

Page 1

INSIDE THIS ISSUE: Editor ’ s Note

3

Financial Result Q1/59

4

Crude Oil Price

6

CSR

9

CG Corner

11

IR Calendar

13

Special Point of Interest 

ผลการดาเนินงานไตร มาสที่ 1/2559

สถานการณ์ราคาน้ามัน และปจั จจัยทีส่ ่งผล กระทบต่อราคาน้ามัน

ความรับผิดชอบต่อสังคม ของเครือไทยออยล์

CG Corner


T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

Page 2


T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

Page 3

บ ท บ ร ร ณ า ธิ ก า ร สวัสดีค่ะ ท่านนักลงทุนและผู้สนใจทุกท่าน TOP-IR E-Newsletter เป็นอีกหนึ่งช่องทาง ที่บริษัทฯ ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อกลาง และอีกช่องทางการในการสื่อสารให้นัก

เชื่อมั่นใน ผลการดาเนินงาน

ลงทุนและผู้สนใจรับทราบข้อมูลธุรกิจและ กิจการของบริษัทฯ และท่านยังสามารถ เข้าถึงข้อมูลได้อย่างง่ายดายและเปี่ยมไป

เตรียมความพร้อม

ด้วยสาระข้อมูลต่างๆไม่ว่าจะเป็น รายงาน

“ T OP-IR E-Newsletter

และพัฒนาศักยภาพ

สถานการณ์น้ามันในปัจจุบัน ผลสรุปการ

บุคลากร

เป็นสือ ่ กลางและอีกช่อง

ดาเนินงานรายไตรมาส โครงการ CSR

ทางการสือ ่ สารนักลงทุน และผูส ้ นใจรับทราบข้อมูล ธุรกิจและกิจการของ บริษท ั ฯ”

รวมถึง IR Calendar สาหรับท่านที่ต้องการ ข้อมูลเพิ่มเติม ท่านสามารถเข้าชม website ได้ที่ www.thaioilgroup.com หน้านักลงทุน

สร้างความเชื่อมั่น

สัมพันธ์ ซึ่งจะมีข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูล

ในสินค้าและ

ทางการเงิน ข่าวสารและกิจกรรมต่างๆ ของ บริษัทฯ อีกทั้งท่านสามารถชม VDO การ

บริการ

แถลงผลการดาเนินงานรายไตรมาสของ บริษัทฯ ผ่าน webcast ได้อีกด้วยค่ะ ทั้งนี้ หากท่านมีข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะ/

เป็นที่ไว้วางใจ

ปรับปรุง กรุณาติดต่อแผนกนักลงทุนสัมพันธ์

ของสังคมและ

( T OP - IR ) หมายเลขโทรศัพท์ 02-797-

สิ่งแวดล้อม

2961 หรืออีเมลล์มาที่ ir@thaioilgroup.com ได้ทุกวันทาการค่ะ บริษัทฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านนักลงทุน และผู้สนใจจะได้รับประโยชน์จาก TOP-IR E- Newsletter ที่เราได้จัดทาขึ้นและ ท่านสามารถพบกับข่าวสารของไทยออยล์ ใน TOP – IR E-Newsletter ได้เป็นประจา ในทุกไตรมาสนะคะ

ขอบคุณค่ะ กองบรรณาธิการ


Page 4

T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

ผ ล ก า ร ดา เ นิ น ง า น ไ ต ร ม า ส 1 ปี 2 5 5 9 Q1/59 ปริมา วัต ุดบิ ทีป่ ้ อนเข้าสู่กระบวนการผลิตของกลุ่ม (kbd)

Q4/58

+/(-)

Q1/58

+/(-)

299

308

(9)

299

-

8.3 7.3

10.7 7.5

(2.4) (0.2)

8.9 7.4

(0.6) (0.1)

(1)

กาไรขัน้ ต้นจากการผลิตของกลุ่ม (US$/bbl) : ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ามัน : รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ามัน

Q1/59 รายได้จากการขาย

/(

)

(

71,366

(14,576)

27

1,053

(1,026)

76

(49)

6,653 687 (805) (363) 4,726

6,348 318 (659) (566) 3,749

305 369 (146) 203 977

6,209 676 (956) (354) 4,498

444 11 151 (9) 228

2.32

1.84

0.48

2.20

0.12

5,037

7,915

(2,878)

3,499

1,538

Q1/59 35.81 35.41

Q4/58 35.99 36.25

+/(-) (0.18) (0.84)

Q1/58 32.79 32.70

)

หมายเหตุ

)

+/(-)

(11,656)

ไม่รวมผลกระทบสต๊อกน้ ามันและ การปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือทีจ่ ะได้รบั (2)

( อัตราแลกเปลีย่ นเ ลีย่ อัตราแลกเปลีย่ น สิน้ งวด

Q1/58

68,446

EBITDA กาไร / (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ นสุทธิ ต้นทุนทางการเงิน ค่าใ จ้ ่ายภาษีเงินได้ /( ) )

+/(-)

56,790

กาไร / (ขาดทุน) จากอนุ นั ธเ อ่ื ประกันความเสีย่ งสุทธิ

/(

Q4/58

+/(-) 3.02 2.71

(1) กาไรขัน้ ต้นจากการผลิตของกลุ่ม (Gross Integrated Margin) เป็ นกาไรขัน้ ต้นจากการผลิตรวมของ TOP, TPX และ TLB (2) ไม่รวมผลกาไร / (ขาดทุน) จากสต๊อกน้ามันก่อนภาษีและรายการปรับลด / กลับรายการมูลค่าสินค้าคงเหลือให้เท่ามูลค่าสุทธิทจ่ี ะได้รบั ก่อนภาษี

ผลการดาเนินงาน Q1/59 เทียบกับ Q4/58 เครือไทยออยล์มีรายได้จากการขาย 56,790 ล้านบาท ลดลง 11,656 ล้านบาท จาก ราคาขายผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปปรับตัวลดลงตามราคาน้ามันดิบ

และปริมาณวัตถุดิบที่ป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิตของกลุ่มที่ลดลง

โดยภาพรวมตลาดน้ามันสาเร็จรูปอ่อนตัวลงจากส่วนต่างราคาน้ามันอากาศยาน/น้ามันก๊าด

และส่วนต่างราคาน้ามันดีเซลกับ

ราคาน้ามันดิบดูไบที่ปรับลดลงค่อนข้างมาก เนื่องจากอุปทานที่ล้นตลาด รวมถึงสภาพอากาศทัว ่ โลกทีห ่ นาวน้อยกว่าปกติ ทาให้ ความต้องการใช้น้ามันเพือ ่ ทาความร้อนอยู่ในระดับต่า อย่างไรก็ตาม ส่วนต่างราคาน้ามันเบนซินกับราคาน้ามันดิบดูไบยังคง ใกล้เคียงกับไตรมาสที่ผา่ นมา ในขณะที่สว ่ นต่างราคาน้ามันเตากับราคาน้ามันดิบดูไบปรับเพิ่มขึ้น ด้านตลาดสารอะโรเมติกส์ ปรับตัวดีขึ้น เนื่องจากโรงอะโรเมติกส์ในจีนและสิงคโปร์หยุดดาเนินการผลิตกะทันหัน ประกอบกับแรงหนุนจากอุปสงค์ที่ปรับตัว ดีขึ้นตามธุรกิจปลายน้าทั้งสารพีทีเอและสารสไตรีนโมโนเมอร์ อย่างไรก็ตาม ตลาดน้ามันหล่อลื่นพื้นฐานและยางมะตอยอ่อนตัว ลงจากอุปสงค์ที่เบาบางในช่วงเทศกาลตรุษจีน และแรงกดดันจากอุปทานส่วนเพิม ่ ที่จะเข้ามาในตลาด ทาให้ใน Q1/59 เครือ ไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ามันอยู่ที่ 8.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลง 2.4 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลจาก Q4/58


Page 5

T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

ผ ล ก า ร ดา เ นิ น ง า น ไ ต ร ม า ส 1 ปี 2 5 5 9 อย่างไรก็ดี เครือไทยออยล์มผ ี ลขาดทุนจากสต๊อกน้ามัน 947 ล้านบาท ลดลง 2,306 ล้านบาทจาก Q 4 / 5 8 และมีการกลับ รายการ ปรับลดมูลค่าทางบัญชีของสินค้าคงเหลือให้เท่ามูลค่าสุทธิทจ ี่ ะได้รับจานวน 636 ล้านบาท ซึ่งเพิม ่ ขึ้น 1,549 ล้านบาท เมื่อรวมกาไรจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยงสุทธิ 27 ล้านบาท เครือไทยออยล์จะมี EBITDA 6,653 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 305 ล้านบาท นอกจากนี้ เครือไทยออยล์มีกาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ 687 ล้านบาท เพิม ่ ขึ้น 369 ล้านบาท จากค่าเงินบาท ณ สิ้น Q1/59 ที่แข็งค่าขึ้น 0.84 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ จากสิ้นปีที่ผ่านมา เมื่อหักต้นทุนทางการเงิน 805 ล้านบาท และค่าใช้จา่ ย ภาษีเงินได้ 363 ล้านบาท ส่งผลให้เครือไทยออยล์มีกาไรสุทธิ 4,726 ล้านบาท หรือคิดเป็นกาไร 2.32 บาทต่อหุ้น เพิม ่ ขึ้น 977 ล้านบาท จาก Q4/58 เมื่อเทียบกับ Q 1 / 5 8 เครือไทยออยล์มรี ายได้จากการขายลดลง 14,576 ล้านบาท จากระดับราคาน้ามันและราคาผลิตภัณฑ์ สาเร็จรูปที่ปรับตัวลง โดยเครือไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ามันลดลง 0.6 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากส่วนต่างราคาน้ามันอากาศยาน/น้ามันก๊าด ส่วนต่างราคาน้ามันดีเซล และส่วนต่างราคาน้ามันเตากับ ราคาน้ามันดิบดูไบที่ปรับลดลงมาก

แม้วา่ ส่วนต่างราคาน้ามันเบนซินกับราคาน้ามันดิบดูไบ

ส่วนต่างราคาสารอะโรเมติกส์กับ

ราคา ULG95 และส่วนต่างราคาน้ามันหล่อลื่นพื้นฐานกับราคาน้ามันเตาจะสูงขึ้นก็ตาม ทั้งนี้ ใน Q1/59 เครือไทยออยล์มีผล ขาดทุนจากสต๊อกน้ามันลดลง 326 ล้านบาท และมีการกลับรายการปรับลดมูลค่าทางบัญชีของสินค้าคงเหลือให้เท่ามูลค่าสุทธิที่ จะได้รับและกาไรจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสีย ่ งสุทธิลดลง 1,636 ล้านบาท และ 49 ล้านบาทตามลาดับ ในภาพรวมเครือ ไทยออยล์มี EBITDA เพิ่มขึน ้ 444 ล้านบาท หากรวมกับกาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิที่เพิ่มขึ้น 11 ล้านบาท และหักต้นทุน ทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้แล้ว เครือไทยออยล์จะมีกาไรสุทธิเพิ่มขึ้น 228 ล้านบาท จาก Q1/58


T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

Page 6

C R U D E O I L P R I C E : ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า น้า มั น ไ ต ร ม า ส 1 / 5 9 ราคาน้ามันดิบใน Q1/59 ปรับลดลงจาก Q4/58 และ Q1/58 โดยแตะระดั บ ต่ าสุ ด ในรอบ 13 ปี เนื่ อ งจาก ได้รับแรงกดดันจากความกังวลต่อปริมาณการส่งออก น้ ามั น ดิ บ จากอิ ห ร่ า นที่ มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น หลั ง จาก อิ ห ร่ า นได้ รั บ การผ่ อ นปรนมาตรการคว่ าบาตรทาง เศรษฐกิ จ จากชาติ ม หาอ านาจในวั น ที่ 16 ม.ค. 59 นอกจากนี้ ตลาดยั ง ถู ก กดดั น หลั ง จากตลาดหุ้ น จี น ปรั บ ตั ว ลดลงอย่ า งหนั ก จนต้ อ งท า “เซอร์ กิ ต เบรก เกอร์” หรือมาตรการหยุดการซื้อขายชั่วคราวเป็นครั้ง แรก ประกอบกับปริมาณน้ามันดิบคงคลังของสหรัฐฯ ที่ ปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนแตะระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ที่ 534.8 ล้านบาร์เรล อย่างไรก็ดี ตลาดฟื้นตัวได้ในช่วงครึ่งหลัง ของไตรมาส เนื่องจากได้รับแรงหนุนจากความคาดหวังต่อการหารือระหว่างผู้ผลิตน้ามันดิบทั้งในและนอกกลุ่มโอเปกเพื่อ รักษาเสถีย รภาพของตลาดน้ ามั นดิ บ โดยกลุ่ มผู้ ผลิ ตน้ ามันดิบมีการจั ดประชุม นัด พิ เศษในวั นที่ 17 เม.ย. 59 ณ กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ เพื่อหารือเกี่ยวกับการตรึงกาลังการผลิตน้ามันดิบที่ระดับเดียวกับเดือน ม.ค. 59 นอกจากนี้ ตลาดยังได้รับแรง หนุนจากปริมาณการผลิตน้ามันดิบของสหรัฐฯ ที่ชะลอตัวลงสู่ระดับ 9.0 ล้านบาร์เรลต่อวันในเดือน มี .ค. 59 โดยลดลงจาก ระดับสูงสุดที่ 9.6 ล้านบาร์เรลต่อวันในเดือน มิ .ย. 58 เนื่องจากผู้ผลิตน้ามันดิบในสหรัฐฯ ชะลอกาลังการขุดเจาะและผลิต น้ ามั นดิ บลง หลั งจากประสบกั บ ภาวะขาดทุ นจากราคาน้ ามั นดิ บที่ ต กต่ า ประกอบกั บค่ า เงิ นดอลล่ า ร์ ส หรั ฐ ฯ ที่ อ่ อ นค่ า ลง หลังจากธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ในระดับเดิมที่ 0.25 – 0.50% เนื่องจากกังวลต่อภาวะ เศรษฐกิจโลกที่ยังไม่แน่นอน โดยการอ่อนค่าลงของสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ ส่งผลให้น้ามันดิบซึ่งซื้อขายในสกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐฯมีราคาถูกลงและยังส่งแรงหนุนต่อกาลังซื้อของประเทศผู้นาเข้าน้ามันดิบ ส่วนต่างราคาน้ามันเบนซินกับราคาน้ามันดิบดูไบใน Q1/59 ปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับ Q4/58 และเพิ่มขึ้นค่อนข้างมาก จาก Q1/58 เนื่องจากได้รับแรงหนุนจากอุปสงค์น้ามันเบนซินในภูมิภาคเอเชียและสหรัฐฯ ที่ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องตาม ราคาขายปลีกที่ยังอยู่ในระดับต่า ในขณะที่ส่วนต่างราคาน้ามันอากาศยาน/น้ามันก๊าดกับราคาน้ามันดิบดูไบ และส่วนต่าง ราคาน้ามันดีเซลกับราคาน้ามันดิบดูไบปรับลดลงค่อนข้างมากจาก Q4/58 และ Q1/58 หลังถูกกดดันจากอุปสงค์น้ามันเพื่อใช้ ทาความร้อนที่เพิ่มขึ้นน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ เนื่องจากสภาพอากาศทั่วโลกหนาวน้อยกว่าปกติ ประกอบกับอุปทานน้ามัน อากาศยาน/น้ามันก๊าดและน้ามันดีเซลที่เพิ่มขึ้น หลังโรงกลั่นส่วนใหญ่เพิ่มกาลังการผลิตขึ้นเพื่อรองรับอุปสงค์น้ามันเบนซินที่ เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ตลาดยังได้รับแรงกดดันจากจีนและตะวันออกกลางที่เพิ่มปริมาณการส่งออกอย่างต่อเนื่อง สาหรับส่วนต่าง ราคาน้ามันเตากับราคาน้ามันดิบดูไบใน Q1/59 ปรับลดลงจาก Q1/58 ค่อนข้างมาก เนื่องจากอุปสงค์น้ามันเตาในจีนและ ญี่ปุ่นปรับตัวลดลงอย่างมาก หลังรัฐบาลจีนอนุญาตให้โรงกลั่นน้ามันเอกชนนาเข้าน้ามันดิบเพื่อกลั่นแทนน้ามันเตาได้ และ ญี่ปุ่นที่มีการเปิดดาเนินการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์รวมทั้งสิ้นแล้ว 2 แห่ง อย่างไรก็ตาม ส่วนต่างราคาปรับตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ ไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากอุปสงค์น้ามันเตาเพื่อใช้ในการเดินเรือปรับตัวสูงขึ้นตามราคาที่ยังคงอยู่ในระดับต่า ประกอบกับ อุปทานในตลาดสิงคโปร์ที่ค่อนข้างตึงตัว เนื่องจากอุปทานจากทางตะวันตกเข้ามายังตลาดเอเชียช้ากว่าที่คาดการณ์ไว้


T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

Page 7

ส ถ า น ก า ร ณ์ น้า มั น เ ดื อ น มิ . ย . 2 5 5 9 “ ตลาดน้ามันดิบถูกกดดัน จากอุปทานน้ามันดิบทีม ่ แ ี นวโน้มสูงขึน ้ และแรงซือ ้ ขายทีเ่ บาบางลง” ส รุ ป ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า น้า มั น ใ น ช่ ว ง ที่ ผ่ า น ม า ราคาน้ามันดิบเวสต์เท็กซัสในสัปดาห์ที่ผ่านมาปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.35 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปิดที่ 48.99 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในขณะที่ราคาน้ามันดิบเบรนท์ปรับเพิ่มขึ้น 1.94 เหรียญสหรัฐฯ ปิดที่ 50.35 เหรียญสหรัฐฯ ส่วนราคาน้ามันดิบดูไบปิดเฉลี่ยอยู่ที่ 47 เหรียญสหรัฐฯ โดยตลาดได้รับแรงหนุนจากเหตุการณ์ประท้วงของสหภาพแรงงานของนอร์เวย์ที่ปฎิบัติการในแท่นขุดเจาะน้ามันดิบ และก๊าซธรรมชาติ นอกจากนี้ ยังได้รับแรงหนุนจากปริมาณน้ามันดิบคงคลังสหรัฐฯ ที่ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ตลาด ได้รับแรงกดดันจากความกังวลต่อผลกระทบทางเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้น หลังจากสหราชอาณาจักรลงมติขอแยกตัวออกจากสหภาพ ยุโรป (Brexit ) นอกจากนี้ Brexit ยังส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 3 เดือนครึ่ง และส่ง ผลกดดันต่อราคาน้ามันดิบอย่างต่อเนื่อง

ไทยออยล์ คาดราคาน้ ามันดิบเวสต์ เท็กซัสในสัปดาห์ น้ีจะเคลื่อนไหวที่กรอบ 46 – 51 เหรียญสหรั ฐฯ ต่ อบาร์ เรล ส่ วนน้ ามันดิบเบรนท์ เคลื่อนไหวที่กรอบ 46 –51 เหรียญสหรั ฐฯ ต่ อบาร์ เรล แ น ว โ น้ ม ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า น้า มั น ดิ บ ( 4 - 8 ก . ค . 5 9 ) ราคาน้ามันดิบในสัปดาห์นี้คาดว่าจะยังคงได้รับแรงกดดัน จากแรงซื้อขายที่เบาบางลงในช่วงวันชาติของอเมริกาวันที่ 4 ก.ค. รวมถึง อุปทานน้ามันดิบจากไนจีเรียและแคนาดาที่มีแนวโน้มปรับตัวสูงมากขึ้น หลังข้อตกลงเพื่อหยุดพักรบและสงบศึกชั่วคราวกับกลุ่ม Niger Delta Avengers ( NDA ) เป็นเวลา 30 วัน ส่งผลให้รัฐบาลสามารถทาการซ่อมแซมท่อขนส่งน้ามันดิบได้ นอกจากนี้ ราคาน้ามันดิบ ที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้ผู้ผลิตน้ามันดิบในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในแหล่งผลิตที่มีต้นทุนต่า อาทิ Permian และ Bakken เริ่มกลับมา เพิ่มปริมาณแท่นขุดเจาะมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ราคาน้ามันดิบยังคงได้รับแรงหนุนจาก ปริมาณน้ามันดิบคงคลังสหรัฐฯ ที่ปรับลดลง ต่อเนื่องกว่า 6 สัปดาห์ ต่อเนื่องกัน และ การประท้วงในนอร์เวย์ของกลุ่มสหภาพแรงงาน ที่มีแนวโน้มส่งผลกระทบต่อกาลังการผลิตของ ประเทศ


T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

Page 8

ปัจจัยสาคัญทีค ่ าดว่าจะส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ราคาน้ามัน : กรกฎาคม 2559 

ราคาน้ามันดิบที่ปรับสูงขึ้นแถวระดับ 50 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่งผลให้ผู้ผลิตน้ามันดิบในสหรัฐฯ เริ่มกลับมาขุดเจาะและ ผลิตน้ามันดิบเพิ่มเติม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากหลุมน้ามันที่ขุดไว้แล้ว (Drilled but Uncompleted หรือ DUC ) เนื่องจากผู้ผลิต บางรายเริ่มคุ้มทุนที่จะกลับมาดาเนินการผลิตใหม่ นอกจากนี้ผู้ผลิตน้ามันดิบ Shale Oil รายใหญ่ๆ ก็เตรียมเพิ่มปริมาณการขุด เจาะในเร็วๆนี้ โดยจานวนแท่นขุดเจาะน้ามันดิบในสหรัฐฯ สาหรับสัปดาห์สิ้นสุด ณ วันที่ 1 ก.ค. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 11 แท่น มาอยู่ที่ ระดับ 341 แท่น

จับตาสถานการณ์ผลิตน้ามันดิบของไนจีเรีย หลังปริมาณการผลิตปรับเพิ่มขึ้นจากระดับต่าสุดในรอบ 30 ปีที่ราว 1.34 ล้าน บาร์เรลต่อวัน มาอยู่ที่ระดับ 1.8-1.9 ล้านบาร์เรลต่อวัน หลังล่าสุดรัฐบาลไนจีเรียออกมาประกาศว่าทางรัฐบาลสามารถบรรลุ ข้อตกลงเพื่อหยุดพักรบและสงบศึกชั่วคราวกับกลุ่ม Niger Delta Avengers ( NDA ) เป็นเวลา 30 วัน ทาให้บริษัทน้ามัน สามารถซ่อมแซมท่อขนส่งน้ามันดิบและส่งผลให้ปริมาณการผลิตปรับเพิ่มขึ้น โดยทางรัฐบาลตั้งเป้าว่าจะสามารถเพิ่มปริมาณ การผลิตไปสู่ระดับปกติได้ภายในสิ้นเดือน ก.ค. นี้ อย่างไรก็ตาม ปริมาณการผลิตของไนจีเรียยังมีโอกาสปรับลดลง เนื่องจาก กลุ่ม Niger Delta Avengers ( N DA ) ยังคงเดินหน้าโจมตีต่อเนื่องและปฎิเสธการเจรจากับรัฐบาล

ปริมาณน้ามันดิบคงคลังสหรัฐฯ มีแนวโน้มปรับตัวลดลงต่อเนื่อง หลังโรงกลั่นน้ามันในสหรัฐฯ เพิ่มกาลังการกลั่นมากขึ้นเพื่อ รองรับความต้องใช้น้ามันในช่วงฤดูกาลขับขี่ โดยสานักงานสารสนเทศด้านพลังงานของสหรัฐฯ (EIA ) รายงานตัวเลขปริมาณ น้ามันดิบคงคลังของสหรัฐฯ สิ้นสุด ณ วันที่ 24 มิ.ย. ปรับลดลง 4 ล้านบาร์เรล ซึ่งเป็นการปรับลดลงเป็นสัปดาห์ที่หกติดต่อกัน สู่ระดับ 526.6 ล้านบาร์เรล ในขณะที่ปริมาณน้ามันดิบคงคลัง ณ จุดส่งมอบ คุชชิ่ง โอกลาโฮมา ปรับลดลง 0.9 ล้านบาร์เรล สู่ระดับ 64.2 ล้านบาร์เรล

จับตาสถานการณ์ในประเทศอังกฤษ หลังจานวนชาวอังกฤษที่ต้องการให้สหราชอาณาจักรแยกตัวออกจากสหภาพยุโรปมีมาก กว่าจานวนชาวอังกฤษที่ต้องการให้สหราชอาณาจักรอยู่ในสหภาพยุโรป โดยประเด็นดังกล่าวสร้างความกังวลต่อตลาดการเงิน อย่างไรก็ตาม แม้ว่าประเทศสมาชิกในกลุ่มสหภาพยุโรปจะเรียกร้องให้อังกฤษประกาศเจตน์จานงอย่างเป็นทางการในการ ถอนตัวออกจาก EU ด้วยการใช้มาตรา 50 ของสนธิสัญญาลิสบอน แต่ นาย เดวิด คาเมรอน นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของ อังกฤษ ประกาศว่าจะยังคงไม่ประกาศใช้มาตรา 50 จนกว่าจะมีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 2 ก.ย.

ตลาดยังคงกังวลต่อผลกระทบของการลงประชามติให้สหราชอาณาจักรแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป(Brexit ) ขณะที่ผลการ ลงประชามติดังกล่าว กดดันให้นักลงทุนเทขายเงินปอนด์สเตอร์ลิงและสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อโยกย้ายเงินลงทุนไปซื้อ เงินดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดความเสี่ยง ส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ มีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นแตะระดับสูงสุดใน รอบ 3เดือนครึ่ง และถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลกดดันต่อราคาน้ามันดิบอย่างต่อเนื่อง

ตัวเลขเศรษฐกิจที่น่าติดตามในสัปดาห์นี้ ได้แก่ ดัชนีราคาผู้ผลิตยูโรโซน ดัชนีภาคบริการจีน ยอดค้าปลีกจีน จานวนผู้ขอรับ สวัสดิการว่างงานครั้งแรกสหรัฐฯ อัตราการว่างงานสหรัฐฯ และการจ้างงานนอกภาคการเกษตรสหรัฐฯ


Page 9

T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

ความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์ โครงการ “ สุขภาพชุมชน ด้วยน้าดี เปลีย ่ นของเสียอินทรีย์ เป็นพลังงานหุงต้มครัวเรือน” ณ เกาะหมากน้อย จ.พังงา

เมื่อเร็วๆนีแ ้ ผนกกิจการเพื่อสังคมนาพนักงานจิตอาสาเครือไทยออยล์ ร่วมทากิจกรรมในโครงการ “ สุขภาพชุมชน ด้วยน้าดี เปลีย ่ นของเสียอินทรีย์ เป็นพลังงานหุงต้มครัวเรือน” ณ เกาะหมากน้อย จ.พังงา ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคมทีด ่ าเนินโครงการอย่างต่อเนือ ่ งมาตั้งแต่ปี 2555 โดยเครือไทยออยล์ร่วมกับมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง และชาวชุมชนเกาะ หมากน้อย ภารกิจครั้งนีค ้ ือการไปช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตและลดค่าใช้จา่ ยต่างๆของชุมชน โดยแบ่งพนักงานเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุม ่ ที่ 1 และ 2 ติดตัง้ ระบบปัม ๊ น้าพลังงานแสงอาทิตย์และระบบกรองน้าสะอาดจานวน 4 จุด และเก็บส่วนประกอบสาหรับ ใช้ทาเครือ ่ ง กรองน้าดืม ่ สะอาด เพื่อให้ชุมชนได้ใช้นาบริ ้ โภคอย่างสะอาดและปลอดภัย ซึ่งทั้ง 4 จุดนั้นเป็นจุดที่มีชาวบ้าน ใช้งานเป็นจานวนมาก และมีช่างประจาบ่อทีส ่ ามารถคอยดูแลรักษาอุปกรณ์ตา่ งๆ ได้ กลุม ่ ที่ 3 ซ่อมบารุงระบบผลิตก๊าซชีวภาพและติดตัง้ ตัวดูดซับก๊าซจากหินศิลาแลง (หินทะเล) ซึ่งทีมนิสต ิ อาสา ม.ทักษิณ ได้ทาการวิจัยประสิทธิภาพการกรองก๊าซทีส ่ ามารถดูดซับก๊าซไข่เน่าได้เป็นอย่างดี กลุม ่ ที่ 4 จัดทาลานกีฬามวยไทย ต้านภัยยาเสพติด โรงเรียนเกาะหมากน้อย และบริจาคอุปกรณ์กฬ ี าต่อยมวย เพื่อส่งเสริม สุขภาพเยาวชนบนเกาะให้ห่างไกลยาเสพติด เครือไทยออยล์มุ่งเน้นการพัฒนาโครงการด้านพลังงานเพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองจากทรัพยากรในท้องถิ่น ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนในทุกขั้นตอนการทางานซึ่งเป็นหัวใจหลัก ให้โครงการเติบโตได้อย่าง ยั่งยืนและเป็นประโยชน์ต่อชุมชนอย่างแท้จริง


T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

Page 10

ความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์ เครือไทยออยล์รว ่ มฟืน ้ ฟูปะการังหมูเ่ กาะสีชงั จ.ชลบุรี

เมื่อเร็วๆนี้ คุณเทอดชาติ ผดุงรัตน์ ผู้จด ั การฝ่ายกิจการสัมพันธ์ บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) นาพนักงาน จิตอาสาและนักดาน้าเครือไทยออยล์ ร่วมกิจกรรม รวมพลคนสีชงั ฟืน ้ ฟูปะการังให้ยงั่ ยืน ครัง้ ที่ 4 ณ สะพานท่าเทียบเรือ ศุลกากร อ.เกาะสีชัง จ.ชลบุรี ซึ่งจัดโดย โครงการความร่วมมือในการเพาะเลีย ้ งขยายพันธุป ์ ะการังและการฟืน ้ ฟูแนว ปะการัง บริเวณหมูเ่ กาะสีชงั ร่วมกับ เทศบาลตาบลเกาะสีชัง อาเภอเกาะสีชัง และชุมชน เพื่อรณรงค์ให้เยาวชนชุมชน ชาวเกาะสีชัง และประชาชนทั่วไป ช่วยกันอนุรก ั ษ์และฟืน ้ ฟูปะการัง ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลที่สาคัญ โดย ร่วมกันจัดนิทรรศการ นาเกมเกี่ยวกับพลังงานไปให้ความรูแ ้ ละมอบทุนการศึกษาให้กับเยาวชนที่ชนะการประกวดวาด ภาพ รวมถึงการนาปะการังที่อนุบาลไว้ลงไปฟื้นฟูตามแนวปะการังที่เสือ ่ มโทรม พร้อมกันนี้ ยังได้นานักท่องเที่ยวดาน้า ศึกษาเรียนรู้เรื่องปะการังใต้ท้องทะเลอีกด้วย โครงการความร่วมมือในการเพาะเลี้ยงขยายพันธุป ์ ะการังและการฟื้นฟูแนวปะการัง บริเวณหมู่เกาะสีชัง ถือเป็น ความร่วมมือระหว่างเครือไทยออยล์ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง สถาบันวิจย ั ทรัพยากรทางน้า และคณะ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดยดาเนินการอย่างต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 5 ตลอดระยะเวลา 5 ปี ของการดาเนิน โครงการฯ ส่งผลให้วันนี้ระบบนิเวศท้องทะเลไทยรอบๆหมู่เกาะสีชังโดยเฉพาะ ปะการังกว่าร้อยละ 50 ฟื้นตัวขึ้น นอกจากการเพาะเลี้ยงปะการังจากฝีมือนักวิจัยของจุฬาลงกรณ์ และการดูแลตัวอ่อน ปะการังจนแข็งแรงจากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) แล้ว สิ่งสาคัญอีกอย่างที่ขาดไม่ได้ คือ ชุมชนคนใน ท้องถิ่น รวมถึงนักท่องเที่ยวได้ตระหนักถึงความสาคัญของการอนุรก ั ษ์และช่วยกันดูแลรักษาปะการัง ให้คงอยูถ ่ งึ รุ่นลูก หลานต่อไป “การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถือเป็นภารกิจสาคัญของเครือไทยออยล์ที่ตอกย้าเจตนารมณ์การทา CSR แบบยั่งยืน โครงการความร่วมมือในการเพาะเลี้ยงขยายพันธุแ ์ ละฟืน ้ ฟูแนวปะการัง บริเวณหมู่เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี เป็นโครงการ ที่เครือไทยออยล์ร่วมมือกับหลายภาคส่วนช่วยกันดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางทะเลโดยเฉพาะอย่างยิ่งปะการังรอบๆ หมู่เกาะสีชังให้กลับคืนสู่ความอุดมสมบูรณ์อก ี ครั้ง”


Page 11

T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

CG Corner ( C orporate Governance: การกากับดูแลกิจการ ) มาตรการป้องกันการใช้ขอ ้ มูลภายใน เมื่อต้นปีที่ผ่านมา ท่านผูถ ้ ือหุ้นคงได้ยินข่าวเรื่องการใช้ข้อมูลภายในซื้อหุ้น (Insider Trading ) ของกรรมการ และผูบ ้ ริหารระดับสูงของบริษัทจดทะเบียนไทยขนาดใหญ่ที่อาศัยข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคา หุ้นที่ยังไม่เปิดเผยต่อประชาชนในการซื้อหุ้น เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 241 แห่ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ ซึ่งสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้เปรียบเทียบปรับไปแล้วนั้น เนื่องจากการใช้ข้อมูลภายใน (Inside Information ) เป็นเรื่องหนึ่งของหลักการกากับดูแลกิจการ (CG ) ในเรื่อง การปฏิบัตต ิ ่อผูถ ้ ือหุ้นอย่างเท่าเทียม บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) "บริษัทฯ” ซึ่งเป็นบริษท ั จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ จึงให้ความสาคัญกับเรื่องดังกล่าวเป็นอย่างมาก และมีการกาหนดนโยบายและแนวปฏิบต ั ิเกีย ่ วกับการป้องกัน การใช้ข้อมูลภายในทีช ่ ัดเจน

เพือ ่ ส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัตต ิ ่อผูถ ้ ือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

และไม่นาข้อมูลภายในไปใช้

ในทางที่ผด ิ โดยสรุปนโยบายและแนวปฏิบัติ ดังนี้ -

บริษัทฯ

มีการกาหนด

"จรรยาบรรณว่าด้วยการรักษาความลับและการใช้ขอ ้ มูลภายใน"

บรรจุอยู่ในคูม ่ ือ

หลักการกากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานปฏิบัตต ิ ามอย่างเคร่งครัด โดยกาหนดให้พนักงานทุกระดับของบริษท ั ฯ ต้องไม่นาข้อมูลที่เป็นความลับไปใช้ เพื่อประโยชน์สว ่ นตนหรือบุคคล อื่น และ รักษาข้อมูลภายในและเอกสารที่ไม่สามารถเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก

อันนาไปสูก ่ ารแสวงหาประโยชน์

เพื่อตนเองหรือ ครอบครัว หรือพวกพ้องในทางมิชอบ เช่น ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น ความลับทางการค้า หรือสูตรการประดิษฐ์ ในลาดับขัน ้ ต่างๆ

คิดค้นต่างๆ เป็นต้น และมอบหมายให้เป็นหน้าทีแ ่ ละความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชา ที่จะต้องควบคุมดูแลไม่ให้มีการรั่วไหลของข้อมูลและข่าวสารที่สาคัญของบริษท ั ฯ

ภายนอก โดยบุคลากรในสายบังคับ

ออกสู่

บัญชาของตน ก่อนการเผยแพร่ข้อมูลอย่างเป็นทางการของบริษท ั ฯ

- แจ้งกฎเกณฑ์และนโยบายทีเ่ กีย ่ วข้องกับการดูแลการใช้ขอ ้ มูลภายในให้กรรมการ ผูบ ้ ริหารและพนักงานได้รบ ั ทราบอย่างสม่าเสมอ ผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ การแจ้งผ่านในการประชุมต่างๆ เช่น การแจ้งวาระประธาน แจ้ง เพื่อทราบในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกครั้ง การอบรมด้านการกากับดูแลกิจการ บทความในวารสาร ภายในองค์กร เป็นต้น เพื่อให้มั่นใจว่ากฎเกณฑ์ และนโยบายเป็นที่รบ ั ทราบและปฏิบัติตาม - มีการจัดทา “สัญญารักษาความลับส่วนบุคคล (Personal Non-disclosure agreement ) ” ระหว่างบริษท ั ฯ กับ ผูบ ้ ริหารและพนักงานทีเ่ กีย ่ วข้องกับโครงการทีอ ่ ยู่ระหว่างการดาเนินการและยังไม่มีการเปิดเผยต่อสาธารณะให้ ระมัดระวังการใช้ข้อมูลที่มีนย ั สาคัญเหล่านัน ้ - กาหนดให้กรรมการและผูบ ้ ริหารระดับสูง (ตั้งแต่รองกรรมการผู้จด ั การใหญ่ขึ้นไป รวมถึงผู้จัดการฝ่ายในสาย งานบัญชีและการเงิน) มีหน้าทีร่ ายงานการถือครองหลักทรัพย์เมือ ่ เข้าดารงตาแหน่งเป็นครัง้ แรก และหลังจากทีม ่ ี การเปลีย ่ นแปลง (ซื้อ ขาย หรือโอนหลักทรัพย์) ทุกครั้ง ภายใน 3 วันทาการ ต่อ ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ


T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

Page 12

มาตรการป้องกันการใช้ขอ ้ มูลภายใน (ต่อ) นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีการติดตามการดูแลเรื่องการใช้ขอ ้ มูลภายใน โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้กาหนดนโยบายให้กรรมการและผูบ ้ ริหารต้องรายงานให้ทป ี่ ระชุมคณะกรรมการทราบถึงข้อมูลการถือหลักทรัพย์ทก ุ ครัง้ ทีม ่ ก ี ารประชุม และมีการเปิดเผยข้อมูลการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผูบ ้ ริหารระดับสูงดังกล่าว โดยแสดงจานวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปีก่อนหน้า ถึงสิ้นปีปัจจุบัน และที่มีการซื้อขายระหว่างปีไว้ในรายงานประจาปี - ส่งหนังสือแจ้งเตือนขอความร่วมมือจากกรรมการ และผู้บริหารในการงดซื้อ ขาย หรือโอนหลักทรัพย์ล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน ก่อนการรายงานผลการดาเนินงานต่อ ตลท. ในแต่ละไตรมาส เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ของบริษท ั ฯ ว่าด้วยนโยบายด้านการซื้อหรือขายหลักทรัพย์และความเท่าเทียมกันในเรื่องการเข้าถึงข้อมูลบริษท ั ฯ จากนโยบายและแนวปฏิบต ั ท ิ ี่หลากหลายข้างต้น ผูถ ้ ือหุน ้ จึงมั่นใจได้ว่า บริษท ั ฯ มีแนวปฏิบต ั ิที่ชด ั เจน เป็น รูปธรรมในการดาเนินการเพื่อป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน อันเป็นอีกส่วนหนึ่งที่ส่งเสริมให้เกิดการกากับดูแลกิจการทีด ่ ี ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจของบริษัทฯ ที่กล่าวว่า "มุ่งเน้นหลักการกากับดูแลกิจการที่ดแ ี ละยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อ สังคม" นัน ่ เอง


Page 13

T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

IR CALENDAR ปฏิทน ิ - นักลงทุนสัมพันธ์ มิถน ุ ายน - กรกฎาคม 2559 วันที่

เหตุการณ์สาคัญ

3 มิถุนายน

Roadshow ประเทศสิงคโปร์ จัดโดย dbTisco

6-10 มิถุนายน

Roadshow ประเทศอังกฤษ - ฝรั่งเศส - เยอรมนี จัดโดย บล. ซีไอเอ็มบี

27-29 มิถุนายน

Roadshow ประเทศญี่ปุ่น จัดโดย บล. กรุงศรี

30 มิถุนายน - 1 กรกฎาคม

โครงการผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมกิจการเครือไทยออยล์ 2 รอบ รอบละ 100 ท่าน

18 - 21 กรกฎาคม

Roadshow ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดโดย SET & MBKET

25 - 26 กรกฎาคม

Roadshow ประเทศฮ่องกงและสิงคโปร์ จัดโดย บล. บัวหลวง และ Morgan Stanley


T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 1 7

TOP-IR 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอม

Page 14

DISCLAIMER

เพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถ.วิภาวดีรังสิต จตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ : 02-797-2961 แฟ็กซ์ : 02-797-2977

บริษัทฯ มีจุดมุ่งหมายสาคัญ เพี่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท ไทยออยล์ จากัด ( มหาชน) ( บริษัทฯ) สาหรับบุคคลทั่วไปที่เกี่ยวข้อง โดยข้อมูลที่ปรากฏอยู่ใน TOP IR E-Newsletter นี้ ห้ามมิให้ มีการคัดลอก ดัดแปลง ทาซ้า หรือ เลียนแบบ โดยเด็ดขาด เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากบริษัทฯ ก่อนเท่านั้น หากมีข้อสงสัย โปรดติดต่อแผนกนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท ไทยออยล์ จากัด ( มหาชน)

www.thaioilgroup.com

หากท่านใดมีข้อเสนอแนะ / ต้องการสอบถามข้อมูล สามารถติดต่อได้ที่

THAI OIL PUBLIC COMPANY LIMITED

E-mail

ir@thaioilgroup.com

Tel

662-797-2961

Fax

662-797-2977


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.