Page 1
Profitability Improvement
INSIDE THIS ISSUE: Editor’s Note Financial Result Q2/60
3
Oil Price CSR
6 10
CG Corner
13
IR Calendar
15
4
Special Point of Interest ผลการดาเนิ นงานไตรมาสที่ 2/2560 สถานการณ์ราคาน้ ามันและปั จจจัยที่ส่งผลกระทบ ความรับผิ ดชอบต่อสังคมของกลุ่มไทยออยล์ CG Corner
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
Page 2
Page 3
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
บทบรรณาธิ ก าร (E D I T O R ’ S N O T E ) สวัสดีค่ะ ท่านนักลงทุนและผูส้ นใจทุกท่าน TOP-IR E-Newsletter เป็ นอีกหนึ่งช่องทางที่บริ ษทั ฯ ได้จดั ทาขึ้นเพื่อใช้เป็ นสื่ อกลางและอีกช่องทางการในการสื่ อสารให้ นักลงทุนและผูส้ นใจรับทราบข้อมูลธุ รกิจและกิจการของกลุ่มไทยออยล์และท่านยังสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างง่ายดาย และเปี่ ยมไปด้วยสาระข้อมูลต่างๆไม่วา่ จะเป็ น รายงานสถานการณ์น้ ามันในปั จจุบนั ผลสรุ ปการดาเนินงานรายไตรมาส โครงการความรับผิดชอบทางสังคม (CSR) รวมถึงปฏิทินกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ IR Calendar สาหรับท่านที่ตอ้ งการ ทราบข้อมูลของกลุ่มไทยออยล์เพิ่มเติม สามารถเข้าชมได้ที่ www.thaioilgroup.com หน้านักลงทุนสัมพันธ์ ซึ่งจะมีขอ้ มูล ต่างๆ เช่น ข้อมูลทางการเงิน ข่าวสารและกิจกรรมต่างๆ อีกทั้งท่านยังสามารถรับชม VDO การแถลงผลการดาเนินงาน รายไตรมาสของบริ ษทั ฯผ่าน webcast ได้อีกด้วยค่ะ ทั้งนี้ หากท่านมีขอ้ สงสัย ข้อเสนอแนะ หรื อข้อปรับปรุ ง สามารถติดต่อมาที่ แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ (TOP - IR) โทร. 02-797-2961
ir@thaioilgroup.com
บริ ษทั ฯ หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าข้อมูลใน TOP-IR E- Newsletter เราได้จดั ทาขึ้นจะเป็ นประโยชน์กบั ท่านนักลงทุน ทั้งนี้ ท่านสามารถพบกับข่าวสารของไทยออยล์ ใน TOP–IR E-Newsletter ได้เป็ นประจาในทุกไตรมาสนะคะ ขอบคุณค่ะ กองบรรณาธิการ
เชื่อมัน่ ในผลการดาเนินงาน
เตรี ยมความพร้อมและพัฒนา ศักยภาพบุคลากร
สร้างความเชื่ อมัน่ ในสิ นค้า และบริ การ
เป็ นที่ไว้วางใจของสังคมและ สิ่ งแวดล้อม
Page 4
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
ผลการดาเนิ น งานไตรมาส 2 ปี 2560 ล้านบาท ปริ มาณวัตถุดิบที่ป้อนเข้าสู่ กระบวนการ ผลิตของกลุ่ม (kbd) กาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่ม(1) (US$/bbl) : ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน : รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน ล้านบาท รายได้จากการขาย กาไร / (ขาดทุน) จากอนุพนั ธ์เพื่อประกัน ความเสี่ ยงสุทธิ EBITDA กาไร / (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ต้นทุนทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไร/ (ขาดทุน) สุ ทธิ กาไร / (ขาดทุน) สุ ทธิต่อหุ้น (บาท) กาไรสุ ทธิ ไม่รวมผลกระทบสต๊อกน้ ามันและ การปรับลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือน้ ามันที่จะได้รับ(2) อัตราแลกเปลีย่ น (บาทต่ อเหรียญสหรัฐฯ) อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย อัตราแลกเปลี่ยน ณ สิ้นงวด
Q2/60
Q1/60
+/(-)
Q2/59
+/(-)
6M/60
6M/59
+/(-)
314
308
6
300
14
311
300
11
8.3 6.2
9.4 9.3
(1.1) (3.1)
6.9 11.1
1.4 (4.9)
8.9 7.7
7.6 9.2
1.3 (1.5)
Q2/60 80,053
Q1/60 87,596
+/(-) (7,543)
Q2/59 72,368
+/(-) 7,685
6M/60 167,649
6M/59 129,158
+/(-) 38,491
36 5,584 476 (830) (629) 3,250 1.59
(86) 9,548 1,323 (846) (1,461) 7,075 3.47
122 (3,964) (847) 16 832 (3,825) (1.87)
(147) 10,545 110 (866) (688) 7,753 3.80
183 (4,961) 366 36 59 (4,503) (2.21)
(50) 15,132 1,800 (1,676) (2,090) 10,324 5.06
(119) 17,198 798 (1,670) (1,051) 12,479 6.12
69 (2,066) 1,002 (6) (1,039) (2,155) (1.06)
5,473
7,324
(1,851)
3,391
2,082
12,797
8,429
4,368
Q2/60 34.45 34.15
Q1/60 35.28 34.61
+/(-) (0.83) (0.46)
Q2/59 35.45 35.34
+/(-) (1.00) (1.19)
6M/60 34.87 34.15
6M/59 35.64 35.34
+/(-) (0.77) (1.19)
หมายเหตุ (1) กาไรขัน้ ต้นจากการผลิตของกลุ่ม (Gross Integrated Margin) เป็ นกาไรขัน้ ต้นจากการผลิตรวมของโรงกลันไทยออยล์ ่ , บริษทั ไทยพาราไซลีน จากัด , บริษทั ลาบิกซ์ จากัด และบริษทั ไทยลูบ้ เบส จากัด (มหาชน) (2) ไม่รวมผลกาไร / (ขาดทุน) จากสต๊อกน้ ามันก่อนภาษีและรายการปรับลด / กลับรายการมูลค่าสินค้าคงเหลือน้ ามันให้เท่ากับมูลค่าสุทธิทจ่ี ะได้รบ ั ก่อน ภาษี โดยรายการดังกล่าวบันทึกรวมอยู่ในรายการต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการในงบการเงิน
ใน Q2/60 กลุ่มไทยออยล์มีรายได้จากการขาย 80,053 ล้านบาท ลดลง 7,543 ล้านบาทจาก Q1/60 เนื่องจากปริ มาณจาหน่ายผลิตภัณฑ์โดยรวม และราคาขายเฉลี่ยที่ลดลง โดยกลุ่มไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน 8.3 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรล ลดลง 1.1 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากส่วนต่างราคาน้ ามันสาเร็ จรู ปที่ปรับลดลงโดยเฉพาะน้ ามันเบนซิน น้ ามันอากาศยาน/ น้ ามันก๊าดและน้ ามันดีเซลจากอุปทานน้ ามันเบนซินในสหรัฐฯ ที่อยูใ่ นระดับสูงประกอบกับความต้องการใช้น้ ามันเพื่อทาความร้อนที่ปรับตัว ลดลงหลังสิ้นฤดูหนาว สาหรับส่วนต่างราคาสารอะโรเมติกส์ได้ปรับลดลงใน Q2/60 โดยเฉพาะสารเบนซีนที่ปรับลดลงมาสู่ระดับปกติ เนื่องจากโรงผลิตสารเบนซีนรายใหญ่ในสหรัฐฯ กลับมาดาเนินงานตามปกติหลังจากหยุดผลิตชัว่ คราวจากปั ญหาทางเทคนิคตั้งแต่ปลายปี 2559 นอกจากนี้ อุปทานยังเพิ่มขึ้นจากการเปิ ดดาเนินการผลิตของโรงอะโรเมติกส์แห่งใหม่ในภูมิภาค ขณะที่ปริ มาณสิ นค้าคงคลังของสาร เบนซีนและสารสไตรี นมอนอเมอร์ในประเทศจีนอยูใ่ นระดับสูง ด้านราคาของสารตั้งต้นสาหรับผลิตภัณฑ์สารทาความสะอาดก็ปรับตัวลดลง จากอุปสงค์ในภูมิภาคเอเชียที่ชะลอตัวลงจากมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดของประเทศอินเดียและเริ่ มเข้าสู่ฤดูฝนตั้งแต่เดือนพฤษภาคมที่ ผ่านมา สาหรับส่วนต่างราคาน้ ามันหล่อลื่นพื้นฐานปรับตัวดีข้ ึนจากอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นในช่วงฤดูร้อนและอุปทานตึงตัวหลังจากผูผ้ ลิตในเอเชีย หลายแห่งปิ ดซ่อมบารุ งประจาปี อย่างไรก็ตาม จากราคาปิ ดของน้ ามันดิบดูไบ ณ สิ้น Q2/60 ที่ปรับลดลง 4.7 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลจาก ราคาปิ ด ณ สิ้น Q1/60 ทาให้มีผลขาดทุนจากสต๊อกน้ ามันจานวน 2,076 ล้านบาทและมีรายการปรับลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือน้ ามันให้เท่ากับ
Page 5
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
ผลการดาเนิ น งานไตรมาส 2 ปี 2560 มูลค่าสุทธิที่จะได้รับจานวน 147 ล้านบาท เมื่อรวมกับผลกาไรจากอนุพนั ธ์เพื่อประกันความเสี่ ยงสุทธิ 36 ล้านบาท ส่งผลให้กลุ่มไทยออยล์มี EBITDA 5,584 ล้านบาท ลดลง 3,964 ล้านบาท ทั้งนี้ จากค่าเงินบาท ณ สิ้นไตรมาสที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับ ณ สิ้น Q1/60 ทาให้กลุ่มไทยออยล์ มีกาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ 476 ล้านบาท ทาให้เมื่อหักค่าเสื่ อมราคา ต้นทุนทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้แล้ว กลุ่มไทยออยล์มีกาไร สุทธิ 3,250 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นกาไรสุทธิ 1.59 บาทต่อหุน้ ลดลง 3,825 ล้านบาทจาก Q1/60 สาหรับผลการดาเนินงาน Q2/60 เทียบกับ Q2/59 กลุ่มไทยออยล์มีรายได้จากการขายเพิ่มขึ้น 7,685 ล้านบาท จากราคาขายผลิตภัณฑ์เฉลี่ยของ กลุ่มธุรกิจหลักที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นมากตามราคาน้ ามันดิบ โดยกลุ่มไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน เพิ่มขึ้น 1.4 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลจากกาไรขั้นต้นจากการกลัน่ เพิ่มขึ้นจาก Crude Premium ที่ปรับลดลง อีกทั้งส่วนต่างราคาน้ ามันดีเซลและ น้ ามันเตาก็ปรับเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม กลุ่มไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มรวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามันลดลง 4.9 เหรี ยญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล สาเหตุจากใน Q2/60 มีผลขาดทุนจากสต๊อกน้ ามัน 2,076 ล้านบาทเทียบกับผลกาไรจากสต๊อกน้ ามัน 4,106 ล้านบาทใน Q2/59 ทาให้กลุ่มไทยออยล์รับรู ้ EBITDA ลดลง 4,961 ล้านบาท และมีกาไรสุทธิลดลง 4,503 ล้านบาทจาก Q2/59 เมื่อเทียบผลการดาเนินงาน 6M/60 กับ 6M/59 กลุ่มไทยออยล์มีรายได้จากการขาย 167,649 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 38,491 ล้านบาท จากราคาขายเฉลี่ย ที่ปรับเพิ่มขึ้นตามระดับราคาน้ ามันดิบและปริ มาณขายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นโดยกลุ่มไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มไม่รวมผลกระทบ จากสต๊อกน้ ามัน 8.9 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้น 1.3 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากกาไรขั้นต้นจากการกลัน่ เพิ่มขึ้นซึ่งเป็ นผลของ Crude Premium ที่ลดลงและส่วนต่างราคาน้ ามันดีเซลและน้ ามันเตาปรับเพิ่มขึ้นประกอบกับส่วนต่างราคาสารเบนซีนกับน้ ามันเบนซิน 95 ที่ปรับ เพิ่มขึ้นตามความต้องการนาเข้าจากประเทศจีนที่เพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม กลุ่มไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มรวมผลกระทบจากส ต๊อกน้ ามัน 7.7 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลง 1.5 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนื่องจากมีผลขาดทุนจากสต๊อกน้ ามันจานวน 2,258 ล้านบาท และมีรายการปรับลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือน้ ามันให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 216 ล้านบาท ขณะที่ใน 6M/59 มีผลกาไรจากสต๊อกน้ ามัน จานวน 3,159 ล้านบาทและมีการกลับรายการปรับลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือน้ ามันให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 891 ล้านบาท ทาให้กลุม่ ไทยออยล์รับรู ้ EBITDA 15,132 ล้านบาท ลดลง 2,066 ล้านบาท ทั้งนี้ จากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นจาก ณ สิ้นปี 2559 ทาให้มีกาไรจากอัตรา แลกเปลี่ยน 1,800 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม กลุม่ ไทยออยล์มีคา่ ใช้จ่ายภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น 1,039 ล้านบาท เนื่องจากโรงกลัน่ ไทยออยล์ใช้สิทธิ ประโยชน์ทางภาษีจากโครงการปรับปรุ งเพื่อลดผลกระทบสิ่ งแวดล้อมหมดลง เมื่อหักค่าเสื่ อมราคา ต้นทุนทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ แล้ว กลุ่มไทยออยล์มีกาไรสุทธิ 10,324 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นกาไรสุทธิ 5.06 บาทต่อหุน้ นอกจากนี้ การเปิ ดดาเนินงานเชิงพาณิ ชย์ของ LABIX และ TOP SPP ตั้งแต่ Q1/59 และ Q2/59 ตามลาดับ ช่วยให้กลุ่มไทยออยล์มีผลการดาเนินงานเพิ่มขึ้นและธุรกิจผลิตเอทานอลยังมีผลการ ดาเนินงานที่ดีข้ ึนกว่าช่วงเดียวกันของปี ก่อนเป็ นอย่างมาก
เนื่องจากอัตรากาไรขั้นต้นที่สูงขึ้นจากราคาขายเฉลี่ยเอทานอลปรับตัวเพิ่มขึ้น
ประกอบกับราคามันสาปะหลังซึ่งเป็ นวัตถุดิบหลักลดลง ทั้งนี้ กลุ่มไทยออยล์มีกลยุทธ์ในการเพิ่มผลกาไรอย่างต่อเนื่องตามโครงการ Profitability Improvement ซึ่งแบ่งเป็ น 4 ด้านหลักๆ ได้แก่ การ บริ หารจัดการด้านการจัดหาวัตถุดิบและวางแผนพาณิ ชย์ (Supply and Marketing Management) การบริ หารจัดการด้านการผลิต (Hydrocarbon Management) โครงการ Transcendence โดยมีเป้ าหมายสาหรับปี 2560 ที่ 0.7 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล อีกทั้งยังมีการบริ หารจัดการด้าน ค่าใช้จ่าย (Orchestra Project) ด้วย
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
Page 6
O I L P R I C E : สถานการณ์ ราคาน้า มั น ไตรมาส 2 ปี 2560
ราคาน้ ามันดิ บใน Q2/60 ปรับตัวลดลงจาก Q1/60 จากปริ มาณการผลิตน้ ามันดิบของลิเบี ย ไนจีเรี ย และสหรัฐที่ปรับเพิ่มขึ้นเร็ วกว่าที่ตลาด คาดการณ์ไว้ หลังสถานการณ์ความไม่สงบในลิเบียและไนจีเรี ยคลี่คลายลง ประกอบกับผูผ้ ลิตน้ ามันดิบในสหรัฐฯ กลับมาดาเนินการผลิตมาก ขึ้นอีกครั้งหลังราคาน้ ามันดิบฟื้ นตัว โดยปริ มาณการผลิตน้ ามันดิบเฉลี่ยใน Q2/60 ของลิเบี ยและไนจีเรี ยปรับเพิ่มขึ้นรวมกันราว 160,000 บาร์เรลต่อวัน ในขณะเดียวกัน กาลังการผลิตน้ ามันดิบเฉลี่ยของสหรัฐฯ ปรับเพิม่ ขึ้นราว 170,000 บาร์เรลต่อวัน ซึ่ งส่ งผลให้ปริ มาณน้ ามันดิบ คงคลังของสหรัฐฯ ปรับลดลงน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ อย่างไรก็ตาม ราคาน้ ามันดิบใน Q2/60 ยังคงสู งกว่า Q2/59 เนื่ องจากผูผ้ ลิตทั้งในและ นอกกลุ่มโอเปกสามารถลดกาลังการผลิตได้ในระดับใกล้เคียงกับข้อตกลงที่จะปรับลดกาลังการผลิตลงรวมกันราว 1.8 ล้านบาร์ เรลต่อวัน นอกจากนี้ ผูผ้ ลิตทั้งในและนอกกลุ่มโอเปกยังตัดสิ นใจขยายระยะเวลาปรับลดกาลังการผลิตไปจนถึง Q1/61 จากเดิมที่ขอ้ ตกลงดังกล่าวจะ สิ้นสุดในเดือนมิถุนายน 2560 ส่ วนต่างราคาน้ ามันเบนซินกับน้ ามันดิบดูไบใน Q2/60 ปรับลดลงเมื่อเทียบกับ Q1/60 และ Q2/59 จากอุปทานน้ ามันเบนซิ นในสหรัฐฯ ที่อยู่ ในระดับสู ง ส่ งผลให้สหรัฐฯ ลดการนาเข้าน้ ามันเบนซิ นจากยุโรป อย่างไรก็ตาม อุปสงค์ในเอเชี ยและตะวันออกกลางยังคงเติบโตสู งขึ้น ต่อเนื่อง โดยเฉพาะจากอินเดียและอินโดนีเซีย รวมถึงสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ที่มีแรงซื้อเพิ่มขึ้นเนื่ องจากการปิ ดซ่อมบารุ งโรงกลัน่ ในประเทศ ในขณะที่ส่วนต่างราคาน้ ามันอากาศยาน/น้ ามันก๊าดกับน้ ามันดิบดูไบใน Q2/60 ปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับ Q1/60 และ Q2/59 จากแรงกดดัน ของอุปทานในภูมิภาคเอเชียและตะวันออกกลางที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับการส่งออกไปยังยุโรปปรับลดลง ส่ งผลให้น้ ามันส่ วนเกินดังกล่าว ถูกส่ งมาจาหน่ายในตลาดสิ งคโปร์ แทน สาหรับส่ วนต่างราคาน้ ามันดีเซลกับน้ ามันดิบดูไบใน Q2/60 ปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับ Q1/60 จาก ความต้องการใช้น้ ามันเพื่อทาความร้อนที่ปรับตัวลดลงหลังสิ้นสุดฤดูหนาว อย่างไรก็ตาม ส่วนต่างราคาปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก Q2/59 จากแรงซื้ อ ในภูมิภาคที่ ปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอินเดี ยและเวียดนามที่ โรงกลัน่ ในประเทศมีการปิ ดซ่ อมบารุ ง ทาให้ตอ้ งนาเข้าน้ ามันดี เซลมากขึ้ น ในขณะที่ส่วนต่างราคาน้ ามันเตากับน้ ามันดิบดูไบปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ Q1/60 และ Q2/59 จากอุปทานในภูมิภาคที่ตึงตัว หลังการส่ งออก จากฝั่งตะวันตกและตะวันออกกลางเข้ามายังตลาดสิ งคโปร์ ปรับลดลง เนื่ องจากการปิ ดซ่อมบารุ งของโรงกลัน่ ในยุโรปและรัสเซี ย และความ ต้องการใช้ในตะวันออกกลางที่สูงขึ้นในช่วงหน้าร้อน นอกจากนี้ อุปสงค์ในภาคการเดินเรื อยังคงเติบโตต่อเนื่อง อีกทั้งความต้องการใช้น้ ามัน
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
Page 7
O I L P R I C E : สถานการณ์ ราคาน้า มั น ไตรมาส 2 ปี 2560 ใน Q2/60 โรงกลัน่ ไทยออยล์มีอตั ราการใช้กาลังการกลัน่ 112% และมีปริ มาณจาหน่ายผลิตภัณฑ์โดยรวมลดลง 2% จาก Q1/60 ซึ่ งส่ วนหนึ่ ง เป็ นผลมาจากในไตรมาสที่แล้วโรงกลัน่ แห่ งหนึ่ งในประเทศหยุดซ่อมบารุ งตามแผน โดยในไตรมาสนี้ โรงกลัน่ ไทยออยล์มีสัดส่ วนการขาย ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ 86% Indochina 9% และส่ งออก 5% ทั้งนี้ โรงกลัน่ ไทยออยล์มีรายได้จากการขาย 82,706 ล้านบาท ลดลง 6,937 ล้านบาท ตามราคาขายเฉลี่ยที่ ปรับลดลง และมีกาไรขั้นต้นจากการกลัน่ ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน 6.1 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์ เรล ลดลง 0.4 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากส่วนต่างราคาน้ ามันสาเร็ จรู ปที่ปรับลดลง อย่างไรก็ตาม ราคาน้ ามันดิบที่ปรับลดลงใน Q2/60 ส่ งผล ให้โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการกลัน่ รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน 3.9 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์ เรล ลดลง 2.4 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรล เนื่องจากมีผลขาดทุนจากสต๊อกน้ ามัน 2.2 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล หรื อ 2,076 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 1,895 ล้านบาทจาก Q1/60 อีก ทั้งยังมีรายการปรับลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือน้ ามันให้เท่ากับมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับเพิ่มขึ้น 79 ล้านบาทเป็ น 147 ล้านบาท เมื่อรวมกาไรจาก อนุ พนั ธ์เพื่อประกันความเสี่ ยงสุ ทธิ 29 ล้านบาท โรงกลัน่ ไทยออยล์จึงมี EBITDA 2,628 ล้านบาท ลดลง 3,097 ล้านบาท ทั้งนี้ โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรจากอัตราแลกเปลี่ ยนสุ ทธิ 422 ล้านบาท ซึ่ งลดลง 761 ล้านบาทจากไตรมาสที่ ผ่านมา เมื่ อหักต้นทุนทางการเงิ น 721 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 319 ล้านบาท จึงทาให้ใน Q2/60 โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรสุทธิ 1,316 ล้านบาท ลดลง 3,176 ล้านบาทจาก Q1/60 (หากรวมเงินปั นผลรับในไตรมาสนี้ โรงกลัน่ ไทยออยล์จะมีกาไรสุทธิอยูท่ ี่ 1,583 ล้านบาท) เมื่อเทียบกับ Q2/59 โรงกลัน่ ไทยออยล์มีอตั ราการใช้กาลังการกลัน่ เพิ่มขึ้น 3% และมีรายได้จากการขายเพิ่มขึ้น 8,682 ล้านบาท จากราคาขาย เฉลี่ยที่ปรับเพิ่มขึ้นตามราคาน้ ามันดิบ โดยใน Q2/17 โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการกลัน่ ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามันเพิ่มขึ้น 1.7 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ซึ่งเป็ นผลมาจาก Crude Premium ที่ปรับลดลงมาก อีกทั้งส่วนต่างราคาน้ ามันดีเซลและน้ ามันเตาก็ปรับเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการกลัน่ รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามันลดลง 4.7 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนื่องจากมีผล ขาดทุนจากสต๊อกน้ ามัน 2,076 ล้านบาท เทียบกับกาไรจากสต๊อกน้ ามัน 4,106 ล้านบาทในช่วงเดียวกันของปี ที่แล้ว นอกจากนี้ ยังมีรายการ ปรับลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือน้ ามันให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 147 ล้านบาท ในขณะที่มีการกลับรายการปรับลดมูลค่าทางบัญชีของสิ นค้า คงเหลือให้เท่ามูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 256 ล้านบาทใน Q2/59 หากรวมกับผลขาดทุนจากอนุพนั ธ์เพื่อประกันความเสี่ ยงสุ ทธิ ที่เพิ่มขึ้น 176 ล้าน บาท โรงกลัน่ ไทยออยล์จึงรับรู ้ EBITDA ลดลง 4,778 ล้านบาท มาอยูท่ ี่ 2,628 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรจากอัตรา แลกเปลี่ยนสุทธิเพิ่มขึ้น 352 ล้านบาท ส่งผลให้ใน Q2/60 โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรสุทธิลดลง 4,339 ล้านบาทจาก Q2/59 หากเที ยบ 6M/60 กับ 6M/59 โรงกลัน่ ไทยออยล์มีรายได้จากการขาย 172,348 ล้านบาท เพิ่มขึ้ น 40,605 ล้านบาท จากปริ มาณจาหน่ าย ผลิตภัณฑ์โดยรวมที่เพิ่มขึ้น 3% และราคาขายเฉลี่ยที่ปรับเพิ่มขึ้นค่อนข้างมากตามราคาน้ ามันดิบ โดยโรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรขั้นต้นจากการ กลัน่ ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ ามัน 6.3 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์ เรล เพิ่มขึ้น 1.1 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์ เรล เนื่ องจาก Crude Premium ที่ ลดลง และส่วนต่างราคาน้ ามันดีเซลและน้ ามันเตาที่ปรับเพิ่มขึ้น อย่ า งไรก็ ต าม โรงกลั่ น ไทยออยล์ มี ผ ลขาดทุ น จากสต๊อกน้ ามัน 1.2 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล หรื อ 2,258 ล้านบาท เทียบกับกาไรจากสต๊อกน้ ามัน 1.7 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล หรื อ 3,159 ล้านบาทใน 6M/59 อีกทั้งยังมีการปรับลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือน้ ามันให้เท่ากับมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับจานวน 216 ล้านบาท ในขณะที่มีการกลับรายการปรับลด มูลค่าสิ นค้าคงเหลือน้ ามันให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 891 ล้านบาทในช่วงเดียวกันของปี ที่แล้ว เมื่อรวมกับกาไรจากอนุพนั ธ์เพื่อประกัน ความเสี่ ยงสุทธิ 42 ล้านบาท โรงกลัน่ ไทยออยล์รับรู ้ EBITDA 8,354 ล้านบาท ซึ่ งลดลง 3,059 ล้านบาท โดยใน 6M/60 โรงกลัน่ ไทยออยล์มี กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุ ทธิ 1,605 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 884 ล้านบาท แต่มีค่าใช้จ่ายภาษีเงิ นได้ 1,334 ล้านบาท ซึ่ งเพิ่มขึ้น 817 ล้านบาท เนื่องจากใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีจากโครงการปรับปรุ งเพื่อลดผลกระทบสิ่ งแวดล้อมหมดลง ส่ งผลให้โรงกลัน่ ไทยออยล์มีกาไรสุ ทธิ อยูท่ ี่ 5,808 ล้านบาท ลดลง 2,634 ล้านบาทจาก 6M/59 (หากรวมเงินปั นผลรับ ใน 6M/60 โรงกลัน่ ไทยออยล์จะมีกาไรสุทธิอยูท่ ี่ 13,560 ล้านบาท)
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
Page 8
สถานการณ์ นา้ มั น เดื อ น สิ งหาคม 2560 “ ราคานา้ มันดิบคาดจะปรับตัวลดลง จากผลกระทบของพายุ Harvey ” ส รุ ป ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า นา้ มั น ใ น ช่ ว ง ที่ ผ่ า น ม า ราคาน้ ามันดิบเวสต์เทกซัสในสัปดาห์ที่ผา่ นมาปรับลดลง 0.58 ดอลลาร์ มาอยูท่ ี่ 47.29 ดอลลาร์ ตอ่ บาร์ เรล ในขณะที่ราคา น้ ามันดิบเบรนท์ ปรับ เพิ่มขึ้น 0.34 ดอลลาร์ มาอยูท่ ี่ 52.75 ดอลลาร์ ต่อบาร์ เรล ส่ วนราคาน้ ามันดิบดูไบปิ ดเฉลี่ยอยูท่ ี่ 49 ดอลลาร์ ต่อบาร์ เรล หลังได้รับแรงกดดันจาก ความกังวลว่าความต้องการใช้น้ ามันในสหรัฐ จะปรับตัวลดลง เนื่ องจากโรงกลัน่ และท่อขนส่ งน้ ามันดิบหยุดดาเนินการจากผลกระทบของพายุ Harvey อย่างไรก็ตามราคาน้ ามันดิบยังได้รับแรงหนุ นจาก ปริ มาณน้ ามันดิบคงคลังสหรัฐในสัปดาห์ที่ผา่ นมาปรับลดลงมากกว่าที่ตลาดคาดไว้จากอัตราการกลัน่ ที่ปรับตัวสู งขึ้น อีกทั้ง ราคาน้ ามันดิบยังได้รับแรงหนุนจากค่าเงินดอลลาร์ ที่อ่อนค่าลง
ไทยออยล์คาดราคานา้ มันดิบเวสต์ เทกซัสในสั ปดาห์ นีจ้ ะเคลือ่ นไหวทีก่ รอบ 47-52 ดอลลาร์ ต่อบาร์ เรล ส่ วนนา้ มันดิบเบรนท์ เคลือ่ นไหวทีก่ รอบ 49-54 ดอลลาร์ ต่อบาร์ เรล
แ น ว โ น้ ม ส ถ า น ก า ร ณ์ ร า ค า นา้ มั น ดิ บ ( 4 - 8 กั น ย า ย น 2 5 6 0 ) คาดราคาน้ ามันดิบจะปรับตัวลดลงเล็กน้อย จากผลกระทบของพายุ Harvey ที่ทาให้ความต้องการใช้น้ ามันดิบของโรงกลัน่ และความต้องการใช้น้ ามันสาเร็ จรู ปเพื่อการคมนาคมในพื้นที่ปรับลดลง อย่างไรก็ตาม ราคาน้ ามันดิบคาดว่าจะได้รับแรงหนุน จากปริ มาณการผลิตน้ ามันดิบของลิเบียที่ปรับลดลง จากสถานการณ์ความไม่สงบภายในประเทศ ประกอบกับ จานวนแท่นขุด เจาะน้ ามันดิบในสหรัฐที่มีแนวโน้มปรับลดลง หลังพายุ Harvey ส่ งผลให้แหล่งผลิตน้ ามันดิบจากชั้นหิ นดินดาน (Shale oil) หยุดดาเนิ นการชัว่ คราว นอกจากนี้ ราคาน้ ามันดิบยังได้รับแรงหนุ นจากปริ มาณการส่ งออกน้ ามันดิบของผูผ้ ลิตน้ ามันดิบใน ตะวันออกกลางที่คาดว่าจะปรับลดลง
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
Page 9
ปัจจัยสาคัญที่คาดว่ าจะส่ งผลกระทบต่ อสถานการณ์ ราคานา้ มัน ในเดือน กันยายน 2560
การปรับลดลงของปริ มาณน้ ามันดิบคงคลังสหรัฐ คาดว่าจะชะลอตัว เนื่ องจากความต้องการใช้น้ ามันดิบเพื่อเข้ากลัน่ เป็ น น้ ามันสาเร็ จรู ปปรับตัวลดลง หลังพายุ Harvey ทาให้โรงกลัน่ น้ ามันดิบ ท่าขนส่ งน้ ามันดิบ แท่นขุดเจาะน้ ามันดิบและ ท่อขนส่ งน้ ามันหลายแห่งต้องหยุดดาเนิ นการชัว่ คราว นอกจากนี้ ยังมีโรงกลัน่ บางแห่งที่ไม่ได้ปิดชัว่ คราวแต่จาเป็ นต้อง ลดอัตราการกลัน่ ลง อย่างไรก็ตาม สานักงานสารสนเทศด้านพลังงานสหรัฐ (EIA) รายงานปริ มาณน้ ามันดิบคงคลัง สาหรับสัปดาห์สิ้นสุ ดวันที่ 25 ส.ค. 60 ปรับลดลงราว 5.4 ล้านบาร์ เรล มาอยูท่ ี่ระดับ 8 ล้านบาร์ เรล จากอัตราการกลัน่ ในโรงกลัน่ สหรัฐ ที่อยูใ่ นระดับสู ง ซึ่ งรายงานล่าสุ ดนี้เป็ นตัวเลขที่เกิดขึ้นก่อนการเคลื่อนตัวของพายุ Harvey
ติดตามพายุ Harvey ในอ่าวเม็กซิ โกที่เคลื่อนตัวเข้าชายฝั่งทางทะเลทิศใต้ของรัฐเท็กซัส ซึ่ งล่าสุ ดได้มีการปรับลดระดับ จากพายุโซนร้อนเป็ นพายุดีเปรสชันแล้ว ว่าจะส่ งผลกระทบต่อตลาดน้ ามันเป็ นระยะเวลานานหรื อไม่ หลังพายุดงั กล่าว ส่ งผลให้โรงกลัน่ น้ ามัน และแหล่งผลิตน้ ามันดิบบางแห่งในสหรัฐ หยุดดาเนินการ และความต้องการใช้น้ ามันสาเร็ จรู ป โดยเฉพาะน้ ามันเบนซิ นปรับตัวลดลง โดยล่าสุ ดมีรายงานว่าโรงกลัน่ ที่ตอ้ งหยุดดาเนินการมีกาลังการผลิตรวมกัน มากกว่า 4 ล้านบาร์ เรลต่อวัน ซึ่ งคิดเป็ นราวร้อยละ 24 ของกาลังการผลิตของโรงกลัน่ ในสหรัฐทั้งหมด
เมื่อเร็ วๆ นี้ รัฐบาลสหรัฐ ได้อนุญาตให้นาน้ ามันดิบในคลังสารองเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Petroleum Reserves หรื อ SPR) ออกมาใช้เป็ นครั้งแรกในรอบ 5 ปี โดยเมื่อวันศุกร์ ที่ผา่ นมา มีการดึงน้ ามันดิบออกมาอีก 3.5 ล้านบาร์ เรล เพิ่มเติม จาก 1 ล้านบาร์ เรลที่นาออกมาเพื่อส่ งให้โรงกลัน่ น้ ามันใน Louisiana ที่ยงั สามารถเปิ ดดาเนินการได้อยู่
จับตาสถานการณ์ความไม่สงบภายในประเทศลิเบีย ซึ่ งส่ งผลให้ปริ มาณการผลิตน้ ามันดิบของลิเบียปรับตัวลดลงราว 360,000 บาร์ เรลต่อวัน หลังล่าสุ ดผูก้ ่อความไม่สงบปิ ดท่อขนส่ งน้ ามันดิบ ส่ งผลให้แหล่งผลิตน้ ามันดิบทั้งหมด 3 แหล่ง ได้แก่ El Sharara, El Feel และ Hamada ต้องหยุดดาเนิ นการชัว่ คราว
จานวนแท่นขุดเจาะน้ ามันดิบของสหรัฐ มีแนวโน้มปรับตัวลดลง เนื่องจากพายุ Harvey ทาให้เกิดน้ าท่วมที่แหล่งผลิต Shale oil โดยเฉพาะแหล่งผลิต Eagle ford กาลังการผลิตราว 1.4 ล้านบาร์ เรลต่อวัน ซึ่ งเป็ นเหตุให้ตอ้ งหยุดดาเนินการ ชัว่ คราว โดยล่าสุ ด Baker Hughes รายงานจานวนแท่นขุดเจาะน้ ามันดิบของสหรัฐ ว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ปริ มาณการส่ งออกน้ ามันดิบของผูผ้ ลิตน้ ามันดิบในตะวันออกกลางคาดว่าจะปรับตัวลดลง โดยการปรับลดลงหลักๆ มาจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ หลังบริ ษทั น้ ามันแห่งชาติของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (ADNOC) แจ้งลูกค้าเกี่ยวกับการ ปรับลดปริ มาณการจัดจาหน่ายน้ ามันดิบลงราวร้อยละ 10 นอกจากนั้น มีรายงานจากสานักข่าวรอยเตอร์ สว่าการผลิต น้ ามันดิบเดือนส.ค.60 ของกลุ่มโอเปคปรับลดลง 170,000 บาร์ เรลต่อวันจากเดือนก่อนหน้า มาอยูท่ ี่ 83ล้านบาร์ เรลต่อวัน
ตัวเลขเศรษฐกิจที่น่าติดตามในสัปดาห์น้ ี ได้แก่ จีดีพี ไตรมาส 2/2560 ยูโรโซน ดัชนีภาคการบริ การสหรัฐ ดัชนีภาคการ บริ การยูโรโซนและยอดค้าปลีกยูโรโซน
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
Page 10
ความรับผิดชอบต่ อสั งคมของกลุ่มไทยออยล์ ไทยออยล์ จัดกิจกรรม CSR โครงการ วิง่ เอา มันส์ “เพือ่ น้ อง” ปี 3 ณ โรงเรียนบ้ านโค้ งประดู่ อ.เกาะจันทร์ จ.ชลบุรี
คุณบัณฑิต ธรรมประจาจิต รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่อาวุโสด้านการกลัน่ และปิ โตรเคมี บริ ษทั ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) คณะผูบ้ ริ หาร และพนักงานจิตอาสากลุ่มไทยออยล์ ส่ งมอบชุดกีฬาพร้อมร่ วมกิจกรรมใน โครงการ วิง่ เอา มันส์ “เพือ่ น้ อง” ปี 3 โดยในปี นี้พนักงานจิตอาสาได้นาความรู ้ ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมร่ วมพัฒนาโรงเรี ยนด้วยการ ติดตั้งระบบปั๊ มน้ าประปา ระบบกรองน้ าดื่ม ปรับปรุ งระบบไฟฟ้ าห้องสมุดและศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงมอบและ ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อปลูกฝังให้นอ้ งๆรักการเรี ยนรู ้และอยูอ่ ย่างพอเพียงได้อย่างมีความสุ ขพร้อมเลี้ยงอาหาร กลางวันแก่นกั เรี ยนอีกด้วย โครงการ วิง่ เอา มันส์ “เพือ่ น้ อง” เกิดขึ้นจากแนวปฏิบตั ิภายในองค์กรที่เล็งเห็นถึงความสาคัญด้านสุ ขภาพและ พลานามัยของพนักงานที่เปรี ยบเสมือนฟันเฟื องที่สาคัญในการขับเคลื่อนการดาเนิ นธุ รกิจขององค์กรให้ยงั่ ยืน จึงเริ่ มต้นจาก การชักชวนกัน “วิง่ ” ออกกาลังกาย กีฬาที่ทากันได้ง่ายๆและได้ประโยชน์ต่อสุ ขภาพ ต่อมาจึงได้ต่อยอดเจตนารมณ์ดว้ ยการ วิง่ สะสมระยะทาง เพื่อแลกเป็ นชุดกีฬาให้กบั น้องๆโรงเรี ยนในพื้นที่จงั หวัดชลบุรี
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
Page 11
ความรับผิดชอบต่ อสั งคมของกลุ่มไทยออยล์ ไทยออยล์ สมทบเงินสนับสนุนภาครัฐ 2.25 ล้ านบาท ช่ วยเหลือผู้ประสบภัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เมื่อวันที่ 4 สิ งหาคม 2560 พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรัฐมนตรี รับมอบเงินบริ จาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย ภาค ตะวันออกเ ฉี ยงเหนื อ ผ่านสานักนายกรัฐมนตรี ในรายการ “ประชารัฐร่ วมใจ ใต้ร่มพระบารมี” จานวน 42,187,494 บาท จาก พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน โดยในเงินจานวนดังกล่าว เป็ นเงินที่ไทยออยล์ ร่ วม สมทบจานวน 2,250,000 บาท โดย คุณภัทรลดา สง่ าแสง รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ ด้านการเงินและบัญชี บริษทั ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) และยังเป็ นผูแ้ ทนบริ ษทั มอบเงินดังกล่าวผ่าน คุณจิรชัย มูลทองโร่ ย ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ณ ตึกสันติ ไมตรี ทาเนียบรัฐบาล
บริษัทในกลุ่มไทยออยล์ ร่วมปลูกป่ าชายเลน
บริ ษทั ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) นาพนักงานจิตอาสากลุ่มไทยออยล์ ร่ วม กิจกรรม รวมพลคนสี ชงั ฟื้ นฟูปะการัง ให้ยงั่ ยืน ครั้งที่ 5 ณ สะพานท่าเทียบ เรื อศุลกากร อ.เกาะสี ชงั จ.ชลบุรี ภายใต้โครงการ“ความร่ วมมือในการเพาะเลี้ยงขยาย พันธุ์ปะการังและ การฟื้ นฟูแนวปะการัง บริ เวณหมู่เกาะสี ชงั ” ร่ วม กับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางน้ า คณะวิทยา ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เทศบาลตาบลเกาะสี ชงั อาเภอเกาะสี ชงั และชุมชน เพื่อรณรงค์ ให้เยาวชน ชุมชนชาวเกาะสี ชงั และ ประชาชนทัว่ ไป ช่วยกันอนุรักษ์และฟื้ นฟูปะการังให้มี ความอุดมสมบูรณ์ พร้อมพัฒนา ให้เป็ นชุมชนต้นแบบของการอนุรักษ์ปะการัง อย่างยัง่ ยืน โดยกลุ่ม ไทยออยล์ ดาเนินการอนุรักษ์และขยายพันธุ์ปะการังอย่าง ต่อเนื่ องตั้งแต่ปี 2555 ส่ งผลให้ ปะการังบริ เวณหมู่เกาะ สี ชงั มีความอุดมสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น และยังช่วยเสริ มสร้างความสมดุล ระบบนิเวศให้ยงั่ ยืนตลอดไป
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
Page 12
CG Corner (Corporate Governance: การกากับดูแลกิจการ ) ไทยออยล์ กบั ความมุ่งมัน่ ในการต่ อต้ านคอร์ รัปชั่น ไทยออยล์ยดึ มัน่ ในการดาเนิ นธุ รกิจด้วยความเป็ นธรรม สุ จริ ต โปร่ งใส รับผิดชอบต่อสังคมและผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุก กลุ่ม และตระหนักดีวา่ คอร์ รัปชัน่ เป็ นอุปสรรคสาคัญในการดาเนินธุ รกิจให้บรรลุเป้ าหมายอย่างยัง่ ยืน จึงได้พฒั นาปรับปรุ ง กระบวนการทางานและกาหนดให้มีระบบการควบคุมภายใน เพื่อลดโอกาสเกิดความเสี่ ยงทางด้านคอร์ รัปชัน่ ทั้งนี้ ไทยออยล์มีการดาเนินการที่เป็ นรู ปธรรมอันเป็ นการแสดงออกถึงความตั้งใจและมุ่งมัน่ เกี่ยวกับการต่อต้านคอร์ รัปชัน่ ตั้งแต่ ปี 2553 จนถึงปั จจุบนั ได้แก่ ปี 2553 - แสดงเจตนารมณ์เข้าร่ วมโครงการปฏิบตั ิแนวร่ วมของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการ ทุจริ ต (Collective Action Coalition against Corruption: CAC) ปี 2555 - เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกภาคีขอ้ ตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (United Nations Global Compact: UNGC) และนาหลักการทั้ง 10 ประการของ “ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ ซึ่ งได้รับ การยอมรับในระดับสากลในการส่ งเสริ มธรรมาภิบาลด้านสิ ทธิ มนุษยชน แรงงาน สิ่ งแวดล้อม และ การต่อต้านการทุจริ ต มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุ รกิจ ปี 2556 – ประกาศใช้ "นโยบายการต่อต้านคอร์ รัปชัน่ " ตามการอนุมตั ิของคณะกรรมการบริ ษทั ฯ “กรรมการบริ ษัทฯ ผู้บริ หารและพนักงานจะไม่ กระทาหรื อยอมรั บการคอร์ รัปชั่ นทุกรูปแบบไม่ ว่ากรณีใดๆ โดยครอบคลุมถึงธุรกิจของบริ ษทั ฯ ในทุกประเทศและทุกหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ อง ทัง้ นี้ บริ ษทั ฯ ได้ กาหนดแนวปฏิบัติ มาตรการดาเนินการและบทบาทหน้ าทีผ่ ้ รู ั บผิดชอบ ตลอดจนจัดให้ มีการสอบทานและทบทวนการปฏิบัติตามนโยบายการต่ อต้ านคอร์ รัปชั่ นนี้อย่างสม่าเสมอ เพือ่ ให้ สอดคล้ อง กับการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจระเบียบ ข้ อบังคับและกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้ อง” ปี 2557 - จัดทาแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับมาตรการต่อต้านคอร์ รัปชัน่ พร้อมทั้งแสดงหลักฐาน ประกอบต่างๆ เพื่อขอรับการรับรองเป็ นสมาชิกในโครงการแนวร่ วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านทุจริ ต (CAC) ซึ่งได้ รับการรับรองเป็ น CAC Certified Company เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2557 - จัดทาแนวทางปฏิบตั ิของคู่คา้ เครื อไทยออยล์ (Thaioil Group Suppliers Code of Conduct) ซึ่ งครอบคุลมประเด็นการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ ปี 2558 - เข้ าเป็ นสมาชิ กเครื อข่ ายหุ้นส่ วนต้ านทุจริตเพือ่ ประเทศไทย (Partnership Against Corruption for Thailand) หรื อ PACT Networking โดยสถาบันไทยพัฒน์
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
Page 13
CG Corner (Corporate Governance: การกากับดูแลกิจการ ) ปี 2558 (ต่ อ) - ผูบ้ ริ หารและตัวแทนพนักงานเข้าร่ วมงานแสดงพลังใน งาน "วันต่อต้านคอร์ รัปชัน่ แห่งชาติ 2558" 6 ก.ย. 58 และจัดบูท นิทรรศการภายในงานวันต่อต้านคอร์ รัปชัน่ สากล (ประเทศไทย) 8-9 ธ.ค. 58 - มีการบรรจุนโยบายการต่ อต้ านคอร์ รัปชั่ นในคู่มือหลักการกากับ ดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจซึ่ งมีการแจกจ่ายให้กบั กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคน ปี 2559 - เตรี ยมการ และจัดทาแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับการต่อต้าน คอร์ รัปชัน่ และหลักฐานประกอบการประเมิน เพื่อเข้ารับการรต่ออายุ การรับรอง (Recertification) เป็ นสมาชิกในโครงการแนวร่ วมปฏิบตั ิของ ภาค เอกชนไทยในการต่อต้านทุจริ ต (CAC) - เปิ ดใช้ CG e - learning ใหม่ (เวอร์ ชนั่ ที่ 3) ซึ่งมีการปรับปรุ ง เนื้อหานอกจากด้านการกากับดูแลกิจการ จรรยาบรรณธุ รกิจ ให้ ครอบคลุมถึงการต่อต้านคอร์ รัปชัน่ - ผูบ้ ริ หารและตัวแทนพนักงานเข้าร่ วมงานแสดงพลังในงาน "วันต่อต้านคอร์ รัปชัน่ แห่งชาติ 2559" จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “กรรมสนอง โกง” เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2559 ซึ่ งจัดขึ้นโดยองค์กรต่อต้านคอร์ รัปชัน่ (ประเทศไทย) ร่ วมกับภาครัฐและเอกชน ปี 2560 - ได้รับการต่ออายุการรับรองเป็ น CAC Certified Company เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2560 - ประกาศ "แนวปฏิบัติว่าด้ วยการให้ หรือรับของขวัญหรือทรัพย์สิน หรือประโยชน์ อนื่ ใด" เพื่อให้พนักงานทุกคนยึดถือปฏิบตั ิเป็ นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่ งมีการกาหนดแนวปฏิบตั ิและยกตัวอย่างที่ชดั เจน - ตัวแทนพนักงานเข้าร่ วมงานแสดงพลังในงาน "วันต่อต้านคอร์ รัปชัน่ แห่งชาติ 2560" เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2559 ซึ่ งจัดขึ้นโดยองค์กรต่อต้านคอร์ รัปชัน่ (ประเทศไทย) ร่ วมกับภาครัฐและเอกชน อย่างไรก็ตาม ไทยออยล์จะมุ่งมัน่ ต่อไปในการพัฒนาการดาเนินงานให้มี ความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม เพื่อ ลดและปิ ดโอกาสการเกิดคอร์ รัปชัน่ หากผูถ้ ือหุ ้นมีขอ้ แนะนา หรื อต้องการสอบถามข้อมูลข่าวสารต่างๆ เกี่ยวกับการ กากับดูแลกิจการของไทยออยล์ สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ cgcoordinate@thaioilgroup.com
Page 14
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
IR CALENDAR ปฏิทิน - นักลงทุนสัมพันธ์ กรกฎาคม - กันยายน 2560 วันที่
เหตุการณ์ สาคัญ
16 สิ งหาคม
Analyst Meeting แถลงผลประกอบการไตรมาส 2/60
18 สิ งหาคม
Opportunity Day (EN) สาหรับไตรมาส 2/60
22 สิ งหาคม
Opportunity Day (TH) สาหรับไตรมาส 2/60
30 สิ งหาคม
Local Conference : Thailand Focus 2017 จัดโดย SET / BoAML / Phatra Securities
4 - 5 กันยายน
Conference : Morgan Stanley Asia Corporate Day 2017 ประเทศสหราชอาณาจักร จัดโดย Morgan Stanley & Bualuang Securities
6 - 7 กันยายน
Conference : Deutsche Bank Global Emerging Markets (GEMs) One-on-One Conference ประเทศสหรัฐอเมริ กา จัดโดย dbTisco
T O P - I R E - N e w sl e t t er : V o l . 2 2
TOP-IR 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถ.วิภาวดีรังสิ ต จตุจกั ร จตุจกั ร กทม. 10900 โทรศัพท์ : 02-797-2961 แฟ็ กซ์ : 02-229-0025
www.thaioilgroup.com
Page 15
D ISCLAIMER บริ ษทั ฯ มีจุดมุ่งหมายสาคัญ เพี่อเผยแพร่ ขอ้ มูลเกี่ยวกับ บริ ษทั ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) (บริ ษทั ฯ) ให้กบั บุคคลทัว่ ไปที่เกี่ยวข้อง โดยข้อมูลที่ปรากฏอยูใ่ น TOP IR E-Newsletter นี้ ห้ามมิให้มีการคัดลอก ดัดแปลง ทาซ้ า หรื อ เลียนแบบ โดยเด็ดขาด เว้นแต่ได้รับอนุ ญาตจากบริ ษทั ฯ ก่อนเท่านั้น หากมีขอ้ สงสัย โปรดติดต่อแผนกนักลงทุนสัมพันธ์ บริ ษทั ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) หากท่านใดมีขอ้ เสนอแนะ / ต้องการสอบถามข้อมูล สามารถติดต่อได้ที่
THAI OIL PUBLIC COMPANY LIMITED
ir@thaioilgroup.com
Tel
662-797-2961
Fax
662-229-0025