บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) รายงานประจำปี 2553
ANNIVERSARY
วิ สั ย ทั ศ น์ บ ริ ษั ท ไ ท ย อ อ ย ล์ จ ำ กั ด ( ม ห า ช น ) มุ่ ง ที่จ ะ เ ป็ น ผู้ น ำ ใ น ก า ร ด ำ เ นิ น ธุ ร กิ จ เ ชิ ง บู ร ณ า ก า ร ด้านก า ร ก ลั่ น น ้ำ มั น แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี ที่ ต่ อ เ นื่ อ ง อ ย่ า ง ค ร บ ว ง จ ร ใ น ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชีย แ ป ซิฟิ ก
พั น ธ กิ จ >> เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น อ ง ค์ ก ร ชั้ น น ำ ใ น ด้ า น ผลก า ร ด ำ เ นิ น ง า น แ ล ะ ผ ล ต อ บ แ ท น ก า ร ล ง ทุ น >> ก้ า ว สู่ อ ง ค์ ก ร แ ห่ ง ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ท ำ ง า น เ ป็ น ที ม มุ่ ง ส ร้ า ง ส ร ร ค์ สิ่ ง ใ ห ม่ บ น พื้ น ฐ า น แ ห่ ง ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ร ะ ห ว่ า ง กั น เ พื่ อ ก า ร เ ติ บ โ ต ที่ ยั่ ง ยื น >> มุ่ ง เ น้ น ห ลั ก ก า ร ก ำ กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี แ ล ะ ยึ ด มั่ น ใ น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม
สารบัญ
ก ลั่ น ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
สู่พลังงานที่เป็นมิตร
ระยะเวลา 50 ปีของไทยออยล์ ไม่ใช่เป็นเพียงตัวเลขที่พลิกผ่านหน้าปฏิทินไปในแต่ละปีเท่านั้น แต่เป็น 50 ปีของหน้า ประวั ต ิ ศ าสตร์ อ ั น ยาวนานด้ า นพลั ง งานไทย ที ่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยบทเรี ย นที ่ ง ดงามและน่ า จดจำต่ า งๆ มากมาย จากจุ ด เริ ่ ม ต้ น ในการเป็นบริษัทเอกชนที่มีวิสัยทัศน์ด้านอุตสาหกรรมพลังงาน สู่การยืนหยัดร่วมกับภาครัฐในการฝ่ามรสุมวิกฤติการณ์ น้ำมันครั้งใหญ่ของโลก เพื่อให้คนไทยได้เป็นอิสระและพึ่งพาตนเองได้ จนก้าวขึ้นสู่การเป็นบริษัทมหาชนที่สร้างย่างก้าว แห่งความสำเร็จอันน่าภาคภูมิใจจากระดับประเทศสู่ภาคพื้นเอเชียแปซิฟิกในปัจจุบัน แม้จะมีหลายครั้งที่ไทยออยล์ต้อง เผชิญอุปสรรคหรือวิกฤติ แต่ด้วยกำลังใจและความมุ่งมั่นของชาวไทยออยล์ ทำให้เราไม่เคยต้องล้มลงอย่างพ่ายแพ้แต่ กลับยืนหยัดลุกขึ้นอย่างเข้มแข็งได้ทุกครั้งไป ไทยออยล์รู้ซึ้งดีถึงคุณค่าของเวลาในอดีตที่ผ่านมา จึงได้กรองบทเรียนและ ประสบการณ์ต่างๆ เพื่อต่อยอดเป็นองค์ความรู้ใหม่ แล้วจึงเพิ่มมูลค่าด้วยวิสัยทัศน์อันเฉียบคม จนกลั่นเป็น “ประสบการณ์” อันล้ำค่า เพื่อใช้ในการปูทางสู่อนาคตที่มั่นคงให้แก่พลังงานของชาติ และสร้างความสำเร็จที่ยั่งยืนแก่แผ่นดินไทย
004
ข้ อ มู ล สํ า คั ญ ท า ง ก า ร เ งิ น
ข้อมูลสําคัญ
รายได้จากการขาย
ล้านบาท
ล้านบาท 2549
2550
2551
2552
2553
2549
2550
2551
2552
2550(1)
318,391
284,123
399,125
สินทรัพย์รวม
261,051
279,109
146,607
137,745
132,841
136,570
110,324
ทางการเงิน
2553
2553
2552
2551
กําไรสุทธิ กําไรต่อหุ้น
ล้านบาท ” ” บาท/หุ้น
318,391 17,432 8,999 4.41
284,123 21,393 12,062 5.91
399,125 7,949 224 0.11
261,051 28,959 19,118 9.37
279,109 24,577 17,659 8.66
ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ
ล้านบาท ” ”
146,607 69,770 76,837
137,745 66,058 71,687
132,841 69,261 63,580
136,570 64,733 71,837
110,324 50,158 60,166
ผลการดําเนินงาน รายได้จากการขาย
EBITDA
2549
005
ส่วนของผูถ้ อื หุน้ -สุทธิ
กำไรสุทธิ
ล้านบาท
ล้านบาท 2549
2550
2551
อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบี้ย อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ข้อมูลสําคัญในตลาดทุน ราคาปิดของหุ้น ณ วันสิ้นงวด มูลค่าตลาดรวม เงินปันผล อัตราผลตอบแทนเงินปันผล(3) มูลค่าหุ้นตามบัญชี
2552
224
8,999
12,062
19,118
17,659
76,837
71,687
63,580
71,837
60,166
ข้ อ มู ล สํ า คั ญ ท า ง ก า ร เ งิ น
2553
เท่า ” ” บาท/หุ้น ล้านบาท บาท/หุ้น ร้อยละ บาท/หุ้น
2549
2550
2551
2552
2553
2553
2552
2551
2550(1)
2549
9.7 2.7 0.4
10.1 2.7 0.5
3.8 1.8 0.7
16.8 1.9 0.4
12.8 2.6 0.4
42.75 87,211 2.55 6.3 35.14
23.60 48,145 2.75 11.7 31.17
86.50 176,462 4.50 5.2 35.21
52.50 107,101 3.50 6.7 29.49
78.25 159,632 2.00(2) 2.8 37.66
หมายเหตุ (1) ปี 2550 ปรับปรุงผลกระทบจากการเปลี่ยนนโยบายบัญชี การบันทึกเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ (2) รวมเงินปันผลระหว่างกาล สําหรับผลประกอบการ 6 เดือนแรกของปี 2553 จํานวน 0.60 บาท/หุ้น ซึ่งจ่ายเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2553 และคงเหลือเป็นเงินปันผล ที่จะจ่ายอีกจํานวน 1.40 บาท/หุ้น โดยจะนําเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2554 เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป (3) คํานวณจากราคาปิดของหุ้น ณ วันสิ้นงวด
006
สารจากคณะกรรมการ
สารจาก
คณะกรรมการ
ในท่ามกลางภาวะอุตสาหกรรมที่มีกําลังการผลิตใหม่ทยอยเข้าสู่ตลาดเป็นจํานวนมาก และความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์นํ้ามัน เชื้อเพลิงได้รับผลกระทบจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจซึ่งเพิ่งจะเริ่มฟื้นตัว ไทยออยล์และบริษัทในเครือยังคงมีผลการดําเนินงาน ในระดับที่น่าพึงพอใจเป็นอย่างยิ่งในปี 2553 โดยมีผลกําไรสุทธิจํานวน 8,999 ล้านบาท ผลการดําเนินงานที่โดดเด่นดังกล่าวเป็นผลมาจากนโยบายและแผนงานเชิงกลยุทธ์ต่างๆ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายจัดการได้ร่วมกัน พัฒนาและดําเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการขยายธุรกิจไปสู่อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมอะโรมาติกส์ นํ้ามัน หล่อลื่นพื้นฐาน และไฟฟ้า เพื่อลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงธุรกิจการกลั่นนํ้ามันเชื้อเพลิงแต่เพียงอย่างเดียว การบริหารจัดการธุรกิจภายใน เครือไทยออยล์ในรูปแบบบูรณาการ ด้วยการวางแผนการจัดหาวัตถุดิบการผลิต ตลอดจนการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ร่วมกัน เพื่อให้เกิดการ ประสานประโยชน์สร้างมูลค่าเพิ่ม (Synergy ) อย่างเต็มที่ การมุ่งเน้นการบริหารจัดการเชิงรุกด้วยการสื่อสารผลการดําเนินงาน และกําหนด แผนงานและเป้าหมายร่วมกันของหน่วยงานต่างๆ จากผู้บริหารระดับสูงสู่พนักงานผ่านการประชุมเชิงปฏิบัติการ Operational Excellence เป็นประจําทุกไตรมาส ซึ่งก่อให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ และแผนงานต่างๆ ที่มีส่วนสําคัญในการสนับสนุนผลประกอบการของเครือไทยออยล์ เช่น การจัดหานํ้ามันดิบชนิดใหม่ซึ่งมีราคาตํ่าเพื่อป้อนโรงกลั่น เป็นต้น ปี 2553 นับเป็นอีกปีหนึ่งที่ไทยออยล์ประสบความสําเร็จในการดําเนินกิจกรรมและโครงการต่างๆ อย่างมากมาย ทั้งในด้านธุรกิจและการ บริหารจัดการ อาทิเช่น การก่อสร้างโครงการผลิตนํ้ามันยางมลพิษตํ่า (TDAE ) ของ บมจ. ไทยลู้บเบส ได้แล้วเสร็จพร้อมดําเนินการเชิงพาณิชย์ ในต้นปี 2554 การจัดหาเรือบรรทุกนํ้ามันขนาด 96,000 ตันบรรทุกของ บจ. ไทยออยล์มารีน เข้าประจําในกองเรือ การเข้าร่วมลงทุนใน บจ. ทรัพย์ทิพย์ ซึ่งประกอบธุรกิจโรงงานผลิตเอทานอลจากมันสําปะหลัง การได้รับคัดเลือกจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยให้เป็น ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP ) จํานวน 2 โครงการ ในส่วนของการบริหารจัดการ ไทยออยล์ได้ดําเนินโครงการ Business Process Transformation เพื่อพัฒนาและปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานและสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยการนําซอฟต์แวร์ด้านการบริหารจัดการ SAP ECC Version 6.0 มาใช้ทดแทนระบบเดิม โครงการต่างๆ ที่กล่าวข้างต้น เป็นเพียงบางส่วนของกิจกรรมที่ไทยออยล์ได้ริเริ่มดําเนินการในปี 2553 ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ มีความมั่นใจเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นการวางรากฐานเพื่อสนับสนุนผลการดําเนินงานและเสริมสร้างศักยภาพในการ แข่งขันทางธุรกิจของเครือไทยออยล์ให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้นในอนาคต นอกเหนือจากมิติด้านการสร้างผลตอบแทนทางธุรกิจที่คุ้มค่าให้กับผู้ถือหุ้นแล้ว คณะกรรมการบริษัทฯ ยังคงมุ่งมั่นให้ความสําคัญและ ถือเป็นหนึ่งในนโยบายหลัก ในการนําแนวทางด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดีและการคํานึงถึงประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่าง
สารจากคณะกรรมการ
007
(นายพิชัย ชุณหวชิร)
(นายสุรงค์ บูลกุล)
ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
เป็นธรรมมายึดถือปฏิบัติและส่งเสริมให้เกิดเป็นวัฒนธรรมขึ้นภายในองค์กรผ่านกิจกรรมต่างๆ ตามรายละเอียดซึ่งแสดงในรายงานของ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีนโยบายทีช่ ดั เจนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR ) ทีจ่ ะใช้ความรู้ ความเชีย่ วชาญ และประสบการณ์ด้านพลังงานที่บุคลากรของไทยออยล์มีอยู่ ประสานเข้ากับความร่วมมือกับมูลนิธิและองค์กรต่างๆ ทั้งระดับประเทศและ สากล เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของชุมชนตามท้องถิ่นทุรกันดารต่างๆ ซึ่งนับเป็นการยกระดับโครงการด้าน CSR ของเครือไทยออยล์จาก ชุมชนบริเวณรอบโรงกลั่นซึ่งไทยออยล์ได้มุ่งเน้นให้ความสําคัญมาโดยตลอด สู่ระดับภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ และเพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง ในวาระที่ไทยออยล์ได้ก่อตั้งมาจนย่างเข้าสู่ปีที่ 50 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้การสนับสนุนโครงการพิเศษต่างๆ มากมายที่จะช่วยพัฒนา ความเป็นอยู่ของชุมชนบริเวณรอบโรงกลั่น ทั้งทางด้านการจัดสรรงบประมาณ รวมทั้งการให้คําแนะนํา ข้อคิดเห็นต่างๆ ที่เป็นประโยชน์แก่ ฝ่ายจัดการในการดําเนินโครงการ รางวัลในด้านต่างๆ ซึง่ ไทยออยล์ได้รบั จากสถาบันชัน้ นําของประเทศและระดับโลก อาทิเช่น รางวัล Platts Top 250 Global Energy Companies Awards 2010 ประเทศสิงคโปร์ การผ่านเข้ารอบสุดท้ายของการประกวดผลงานของบริษัทชั้นนําต่างๆ ในงาน Platts Global Energy Awards ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ในสาขา Downstream Operation of the Year (Operation Excellence ) และในสาขา Community Development Program of the Year รางวัลรายงานบรรษัทภิบาลดีเด่น (Top Corporate Governance Report Awards) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) การได้รับรางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ (Thailand Quality Class : TQC ) จากสํานักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ เป็นปีที่สองต่อ เนื่องจากปี 2552 แสดงให้เห็นเป็นอย่างดีถึงความมุ่งมั่นของคณะกรรมการบริษัทฯ ฝ่ายจัดการ และพนักงานทุกคนของเครือไทยออยล์ ในการที่จะพัฒนาองค์กรให้สู่ความเป็นเลิศในทุกๆ ด้าน ด้วยประสบการณ์บนเส้นทางสายพลังงานที่ไทยออยล์ได้สั่งสมมาอย่างยาวนาน เคียงคู่ประเทศ จนก้าวย่างเข้าสู่ปีที่ 50 จากกําลังการผลิตเริ่มต้นเพียง 35,000 บาร์เรลต่อวัน สู่วันนี้ ด้วยกําลังการผลิต 275,000 บาร์เรลต่อวัน และเป็นโรงกลั่นที่ทันสมัยชั้นนําระดับภูมิภาค ไทยออยล์ได้สั่งสมประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ และมีความพร้อมอย่างเต็มที่ที่จะก้าว ต่อไปข้างหน้า เพื่อตอบแทนความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างเป็นธรรม ในนามของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัทฯ ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น ผู้ร่วมทุน ลูกค้า คู่ค้า องค์กรและหน่วยงาน ราชการ สถาบันการเงินทัง้ ในและต่างประเทศ ทีใ่ ห้ความไว้วางใจ และสนับสนุนเครือไทยออยล์ดว้ ยดีเสมอมา คณะกรรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ขอให้คํามั่นว่าจะดําเนินธุรกิจด้วยการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ด้วยความโปร่งใส และยึดมั่นหลักการกํากับดูแลกิจการ ที่ดี ควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม พร้อมมุ่งมั่นพัฒนาศักยภาพของเครือไทยออยล์ให้เติบโตอย่างมั่นคง และยั่งยืนต่อไป
08 08
5 ทศวรรษ ที่ไทยออยล์กลั่นประสบการณ์จากความรู้ ความสามารถด้านพลังงาน จนกลาย เป็นองค์กรที่เปี่ยมศักยภาพทั้งด้านการผลิต การตลาด และการบริหารจัดการในอุตสาหกรรม พลังงานของประเทศ เรามุ่งมั่นที่จะนำสิ่งที่เรียนรู้จากทุกย่างก้าวจากอดีตมาสร้างความมั่นคง ทางพลังงานของไทยให้ยั่งยืนสืบไป
ทศวรรษที่ 1 ริเริ่มอย่างมุ่งมั่น รากฐานด้านพลังงานไทยถูกนับหนึ่งอย่างแท้จริง เมื่อ โรงกลั่นของไทยออยล์ได้เริ่มดำเนินงานใน พ.ศ.2504 ด้วยวิสัยทัศน์ด้านพลังงานที่เริ่มเดินทางไปพร้อมกับ การดูแลสิ่งแวดล้อมและชุมชนนับแต่วันนั้นเป็นต้นมา ทศวรรษที่ 2 เป็นส่วนหนึ่งของพลังงานไทย เพื่อไทย ก้าวสู่การเป็นองค์กรพลังงานที่โดดเด่น พร้อมกับภาระ ที่ยิ่งใหญ่ในการเสริมและสร้างความมั่นคงทางพลังงาน ของไทย ทศวรรษที่ 3 เติบโตอย่างภาคภูมิ ด้ ว ยศั ก ยภาพทางการผลิ ต และวิสัยทัศน์ทางธุรกิจ ผนวกกั บ การสนั บ สนุ น จากทุ ก ฝ่ า ย ทำให้ เ กิ ด การ เติบโตอย่างเต็มที่ในทุกๆ ด้านจนไทยออยล์ได้กลายเป็น เรือธงแห่งความสำเร็จด้านพลังงานไทย
ทศวรรษที่ 4 ค้นพบโอกาสในวิกฤติ ปัญหาเศรษฐกิจที่ถาโถมจากทั้งในประเทศและทั่วโลก ไม่สามารถทำให้ความมุ่งมั่นของบุคลากรไทยออยล์ ลดน้อยลง ความร่วมมือร่วมใจ รวมสมองและประสาน พลังจนฝ่าฟันวิกฤติมาได้อย่างสง่างาม บทเรียนอัน ล้ำค่าในอดีต ได้สร้างเกราะป้องกันที่เข็มแข็งที่สุดสำหรับ อนาคตให้เรา ทศวรรษที่ 5 ปูทางสู่อนาคต ถึงวันที่เราเข้มแข็งสูงสุดด้านการกลั่นน้ำมัน สามารถ คิดเพิ่มเติมค่าผลิตภัณฑ์ได้ไม่สิ้นสุด คิดและทำได้อย่าง ครบวงจร จนสามารถต่อยอดความรู้ความสามารถ ให้โลกได้ชื่นชม เราพร้อมที่จะพัฒนาสู่การเป็นองค์กร ชั้นนำด้านการกลั่นและปิโตรเคมีอย่างเต็มภาคภูมิ
0 09
ริเริ่มอย่างมุ่งมั่น
เติบโตอย่างภาคภูมิ เป็นส่วนหนึ่งของ พลังงานไทย เพื่อไทย
ค้นพบโอกาสในวิกฤติ
ปูทางสู่อนาคต
010 010 01
2530 ĻǰóĉíĊüćÜýĉúćùÖþŤÿøšćÜǰ50$ ǰ )$6
2531
2513 2504 ĻǰüĆîÖŠĂêĆĚÜǰ ïøĉþĆìǰēøÜÖúĆęîîĞĚćöĆîĕì÷ǰÝĈÖĆé ìčîÝéìąđïĊ÷îǰ ǰúšććîïćì îïćì
ĻǰóøąïćìÿöđéĘÝóøąđÝšćĂ÷ĎŠĀĆüĄǰ đÿéĘÝóøąøćßéĈđîĉîìĂéóøąđîêø ÖćøéĈđîĉîÜćîïøĉþĆìĄ ĻǰóĉíĊđðŗééĈđîĉîÖćøǰ50$ ǰđóČęĂđóĉęö กำลังการผลิตเป็น 65,000 บาร์เรลต่อวัน
ĻǰïøĉþĆìéĊđéŠîĔîðøąđõìĂčêÿćĀÖøøö ×îćéĔĀâŠìĊęöĊÿŠüîÿĈÙĆâĔîÖćøóĆçîć ðøąđìý
2532 ĻǰóĉíĊđðŗééĈđîĉîÖćøǰ50$ ǰ )$6 ǰ đóČęĂ×÷ć÷กำลังการผลิตเป็น 90,000 บาร์เรลต่อวัน ĻǰóĉíĊüćÜýĉúćùÖþŤǰ 50$ ǰ $%6
2 2528 ĻǰđðúĊę÷îßČęĂđðŨîǰïøĉþĆìǰĕì÷ĂĂ÷úŤǰ ÝĈÖĆé
2505 ĻǰóĉíĊüćÜýĉúćùÖþŤÿøšćÜǰ50$ ǰ กำลังการผลิต 35,000 บาร์เรลต่อวัน
2507 ĻǰóĉíĊđðŗééĈđîĉîÖćøǰ50$
2522 ĻǰøĆåïćúĂîčöĆêĉĔĀšǰ ðêì ǰđךćøŠüöìčî đóČęĂ×÷ć÷ÖĈúĆÜÖćøñúĉêđðŨîǰ ǰ ïćøŤđøúêŠĂüĆî
2523 ĻǰđóĉęöìčîđðŨîǰ ǰúšćîïćìǰĒúąǰðêì ǰ đךćëČĂĀčšîøšĂ÷úąǰ
2524 ĻǰēĂîìĊęéĉîǰ50$ ǰđðŨî×ĂÜøĆåïćú ĒúąđߊćöćéĈđîĉîÖćøêŠĂĕðĂĊÖǰ ǰðĊ
011 011 01
2534 ĻǰÿöđéĘÝóøąđìóøĆêîøćßÿčéćĄǰÿ÷ćöïøöøćßÖčöćøĊ đÿéĘÝóøąøćßéĈđîĉîìĂéóøąđîêøÖćøéĈđîĉîÜćî ïøĉþĆìĄǰĔîüćøąÙøïøĂïÖĉÝÖćøǰ ǰðŘ ĻǰÿëćîðøąÖĂïÖćøéĊđéŠîéšćîÙüćöðúĂéõĆ÷ ðøąđõìĂčêÿćĀÖøøö×îćéĔĀâŠ
2533 ĻǰøćÜüĆúēøÜÜćîéĊđéŠîéšćîÖćøðŜĂÜÖĆî ĂčïĆêĉõĆ÷ǰĒúąøćÜüĆúēøÜÜćîéĊđéŠî ðøąĀ÷ĆéóúĆÜÜćî
2537 Ļǰขยายกำลังการผลิตเป็น , บาร์เรลต่อวัน 220,000
2535
2538
ĻǰàČĚĂÙČîǰ50$ ǰÝćÖøĆåïćúǰ öĎúÙŠćøćüǰ ǰúšćîđĀøĊ÷âÿĀøĆåĄ
ĒúąÿĆââćđߊćìĊęéĉîĒúąĂćÙćøÝćÖøĆå
ĻǰóĉíĊđðŗééĈđîĉîÖćøǰ50$ ǰ $%6 ǰ óøšĂöüćÜýĉúćùÖþŤÿøšćÜǰ50$ ǰ )$6 ǰĒúąēøÜÖúĆęîîĞĚćöĆî ĀúŠĂúČęîóČĚîåćî ĻǰøćÜüĆúÖćøðäĉïĆêĉêćööćêøÖćø ÿĉęÜĒüéúšĂöéĊđéŠîðøąđõìĂčêÿćĀÖøøöǰ ðŘǰ ĻǰøćÜüĆúĂčêÿćĀÖøøöéĊđéŠîéšćîÖćø ïøĉĀćøÙüćöðúĂéõĆ÷ǰðŘǰ ǰ 1SJNFǰ.JOJTUFSǰ"XBSEǰ
2536 ĻǰóĉíĊđðŗéǰ50$ ǰ )$6 ǰĒúąĀîŠü÷ǰ $$3ǰขยายกำลังการผลิตเป็น 205,000 บาร์เรลต่อวัน ĻǰóĉíĊúÜîćöÿĆââćøŠüöìčîÝĆéêĆĚÜǰ ïøĉþĆìǰĕì÷úĎšïđïÿǰÝĈÖĆéǰđóČęĂðøąÖĂï ÖĉÝÖćøēøÜñúĉêîĞĚćöĆîĀúŠĂúČęîóČĚîåćî ĒĀŠÜĒøÖĔîðøąđìýĕì÷ ĻǰøćÜüĆúĂčêÿćĀÖøøöéĊđéŠîðøąđõì ÖćøïøĉĀćøÙüćöðúĂéõĆ÷ĔîÖćøìĈÜćî
01 012 12
2547 จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และแปร สภาพเป็น บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)
2540 ĻǰÿöđéĘÝóøąđìóøĆêîøćßÿčéćĄǰÿ÷ćö ïøöøćßÖčöćøĊǰ đÿéĘÝóøąøćßéĈđîĉîìøÜ ðøąÖĂïóĉíĊüćÜýĉúćùÖþŤÿøšćÜēøÜĕôôŜć ïÝ ǰñúĉêĕôôŜćĂĉÿøąǰ ðøąđìýĕì÷ ǰ ēøÜÜćîǰǰïÝ ǰĕì÷óćøćĕàúĊîǰ ĒúąđðŗéÖĉÝÖćøǰ ïöÝ ǰĕì÷úĎšïđïÿ ĻǰïÝ ǰñúĉêĕôôŜćĂĉÿøąǰ ðøąđìýĕì÷ ǰ úÜîćöĔîÿĆââćàČĚĂ×ć÷ĕôôŜćǰ 1PXFSǰ1VSDIBTFǰ"HSFFNFOU ǰ ×îćéǰ ǰđöÖąüĆêêŤǰ ÞïĆïĒøÖ×ĂÜĕì÷ ĻǰïÝ ǰĕì÷ĂĂ÷úŤđóćđüĂøŤǰúÜîćöĔîÿĆââć àČĚĂ×ć÷ÖøąĒÿĕôôŜćĔîēÙøÜÖćøñĎšñúĉê ĕôôŜćøć÷đúĘÖ
ĻǰÝĆéóĉíĊðŗéÖćøàČĚĂ×ć÷ĀčšîǰïöÝ ǰĕì÷úĎšïđïÿǰĒúą ïÝ ǰĕì÷óćøćĕàúĊîǰÙČîÿĎŠđĂÖõćóđÙøČĂĕì÷ĂĂ÷úŤ ĻǰøćÜüĆúǰ$PVOUSZǰ"XBSETǰ ǰ"TJBǰ.POFZǰ #FTUǰ%FBMǰPGǰUIFǰ:FBSǰGPSǰ*10ǰJOǰ5IBJMBOEǰÝćÖüćøÿćøǰ "TJBǰ.POFZ ĻǰøćÜüĆúǰ#FTUǰ&RVJUZǰ%FBMǰJOǰ"TJBǰÝćÖüćøÿćøǰ &VSPNPOFZǰ ĻǰøćÜüĆúǰ*'3ǰ"TJBĴTǰ5IBJǰ$BQJUBMǰ.BSLFUTǰ%FBMǰPGǰUIFǰ:FBSǰ ÝćÖüćøÿćøǰ*OUFSOBUJPOBMǰ'JOBODJBMǰ3FWJFXǰ *'3
ĻǰøćÜüĆúǰ#FTUǰ&RVJUZǰ%FBM ǰ#FTUǰ*10 ǰ#FTUǰ1SJWBUJ[BUJPO Ēúąǰ#FTUǰ5IBJMBOEǰ%FBMǰGPSǰUIFǰ:FBSǰ ǰÝćÖüćøÿćø ǰ'JOBODFǰ"TJB ĻǰøćÜüĆúǰ#FTUǰ%FBMǰ ǰ#FTUǰ*10ǰðøąÝĈðŘǰ ǰ ÝćÖüćøÿćøǰ5IFǰ"TTFU
2541
2543
2548
ĻǰõćüąüĉÖùêĉđýøþåÖĉÝǰĕì÷ĂĂ÷úŤ ðøąÖćýóĆÖßĈøąĀîĊĚĒúąđÝøÝć ðøĆïðøčÜēÙøÜÿøšćÜĀîĊĚ
ĻǰÝĆéìĈĒñîôŚŪîôĎÖĉÝÖćøïøĉþĆìĄ ĻǰÖúĆïÿĎŠÙüćöđðŨîĕìǰĀúĆÜóšîÖćø ôŚŪîôĎÖĉÝÖćø ĻǰđÖĊ÷øêĉÙčèǰĶ3FMJBCJMJUZǰ"XBSEķǰ ðøąÝĈðŘǰ ǰÝćÖïøĉþĆìǰđßúúŤ ēÖúïĂúǰēàúĎßĆęîÿŤ
Ļǰ#FTU ǰ&RVJ UZ ǰ% FB MǰJOǰ"TJB ǰ ðøąÝĈðŘǰ ǰ ĻǰøćÜüĆúéĊđéŠîéšćîĂîčøĆÖþŤóúĆÜÜćî ðøąđõìēøÜÖúĆęîîĞĚćöĆîĒúąđÙöĊǰ &OFSHZǰ"XBSET
Ļǰ#FTUǰ /FXMZǰ -JTUFEǰ $PNQBOZǰ PGǰ UIFǰ :FBS
2542 ĻǰĂčïĆêĉđĀêčìĊęđðŨîïìđøĊ÷îĒúą ðøąüĆêĉýćÿêøŤÖćøÿĎâđÿĊ÷ÙøĆĚÜĔĀ⊠ĻǰøćÜüĆúĂčêÿćĀÖøøöéĊđéŠîðøąđõì ÖćøøĆÖþćÙčèõćóÿĉęÜĒüéúšĂöǰ ðøąÝĈðŘǰ ǰ×ĂÜÖøąìøüÜ ĂčêÿćĀÖøøö ĻǰđÖĊ÷øêĉïĆêøÝćÖîĉê÷ÿćøđĂđßĊ÷üĊÙǰ ĔîåćîąïøĉþĆìǰìĊęöĊñúÖćøéĈđîĉîÜćî ðøąÝĈðŘǰ ǰĂĆîéĆïìĊęǰ ǰÝćÖǰ ǰïøĉþĆì×ĂÜõĎöĉõćÙđĂđßĊ÷ǰĒúą ĂĆîéĆïìĊęǰ ǰÝćÖǰ ǰïøĉþĆì÷ĆÖþŤĔĀ⊠Ĕîðøąđìýĕì÷
2545 Ļǰ&*"ǰ.POJUPSJOHǰ"XBSEǰðøąÝĈðŘǰ
0 13 01 013 3
2551 ĻǰïÝ ǰĕì÷óćøćĕàúĊîǰ×÷ć÷ÖĈúĆÜÖćøñúĉêđðŨîǰ ǰêĆîêŠĂðŘ Ļǰ4#.ǰ ǰ ǰđðŗéĔĀšïøĉÖćøđßĉÜóćèĉß÷ŤøĂÜøĆïđøČĂ Ļǰขยายกำลังการผลิตเป็นǰ275,000ǰบาร์เรลต่อวัน ïøøìčÖîĞĚćöĆîéĉï×îćéǰ ǰúšćîïćøŤđøú ĻǰïøĉþĆìÝéìąđïĊ÷î×îćéĔĀâŠĂĆîéĆïìĊęǰ ǰ Ļǰĕì÷ĂĂ÷úŤǰǰñúĉêîĞĚćöĆîéĊđàúöćêøåćîǰǰ&630ǰǰ*7ǰǰ ×ĂÜēúÖǰÝćÖîĉê÷ÿćøǰ'03#&4 đðŨîøć÷ĒøÖ×ĂÜðøąđìýǰÖŠĂîÖãĀöć÷ÖĈĀîéǰǰ ǰðŘ Ļǰ#FTUǰ.BOBHFEǰ$PNQBOZ Ļǰĕì÷ĂĂ÷úŤǰ úÜîćöÿĆââćàČĚĂ×ć÷ĀčšîøšĂ÷úąǰ ǰ øćÜüĆúǰ*OWFTUPSǰ3FMBUJPOTǰĂĆîéĆïìĊęǰ ǰĒúąǰ ×ĂÜǰïÝ ǰýĆÖéĉĝĕß÷ÿĉìíĉǰ ÖĆïǰï ǰ4IFMMǰ0WFSTFBTǰ øćÜüĆúǰ#FTUǰ$PSQPSBUFǰ(PWFSOBODFǰ *OWFTUNFOUǰ# 7 ǰĒúąǰïÝ ǰóĆçîÖĉÝđÙöĊǰ øüöìĆĚÜ ĂĆîéĆïìĊęǰ ǰ×ĂÜõĎöĉõćÙđĂđßĊ÷ÝćÖîĉê÷ÿćøǰ ÿĆââćàČĚĂ×ć÷ÿĉîìøĆó÷Ťǰ đóČęĂíčøÖĉÝÝĆéÝĈĀîŠć÷Ēúą 'JOBODFǰ"TJB Öćøêúćéÿćøúąúć÷Ĕîðøąđìýĕì÷ĒúąđüĊ÷éîćö ĻǰïÝ ǰĕì÷óćøćĕàúĊîǰøĆïøćÜüĆúǰ&*"ǰ.POJUPSJOHǰ ÖĆïǰï ǰ4IFMMǰ$PNQBOZǰPGǰ5IBJMBOEǰ-JNJUFEǰĒúąǰ "XBSETǰ ï ǰ4IFMMǰ7JFUOBNǰ-JNJUFEǰêćöúĈéĆï ĕôôćĂÿøąǰ ðøąđìýĕì÷ ǰøïøćÜüú ĻǰïÝ ǰñúĉêĕôôŜ ćĂĉÿøąǰ ðøąđìýĕì÷ ǰøĆïøćÜüĆúǰ PSJOHǰ"XBSET &*"ǰ.POJUPSJOHǰ"XBSETǰ
2550
2549 49 ĻǰïøĉþĆìÝéìąđïĊ÷îìĊęéĊìĊęÿčééĔîđĂđßĊ ĔîđĂđßĊ÷ ðŘǰ ǰ #FTUǰ/FXMZǰ-JTUFEǰ$PNQBOZǰ JOǰ"TJB ǰĒúąđðŨîĂÜÙŤÖøìĊęöĊÖćøóĆçîć ÿĎÜÿčéđðŨîĂĆîéĆïǰ ǰ×ĂÜđĂđßĊ÷ǰÿĈĀøĆï ðŘǰ ǰ .PTUǰ*NQSPWFEǰ$PNQBOJFTǰ JOǰ"TJBǰ ǰ UIǰ3BOLJOH
ĻǰïøĉþĆìÝéìąđïĊ÷î×îćéĔĀâŠǰ ǰ ĂĆîéĆïĒøÖ×ĂÜēúÖǰ øćÜüĆúǰ'PSCFTǰ (MPCBMǰ ǰðŘǰ
ĻǰÖúčŠöïøĉþĆììĊęöĊÖćøÖĈÖĆïéĎĒúÖĉÝÖćø ĔîđÖèæŤéĊöćÖǰðøąÝĈðŘǰ ĻǰøćÜüĆúǰ1MBUUTǰ5PQǰ ǰ(MPCBMǰ&OFSHZǰ $PNQBOJFTǰ"XBSETǰÿĈĀøĆïïøĉþĆìßĆĚîîĈ ĔîíčøÖĉÝóúĆÜÜćîĀöüéǰ1MBUUTǰ5PQǰ $PNQBOJFTǰJOǰ"TJBǰĂĆîéĆïìĊęǰ ǰ ×ĂÜđĂđßĊ÷ĒúąìĊęǰ ǰ×ĂÜēúÖ
2553 ĻǰïöÝ ǰĕì÷úĎšïđïÿǰðøąÿïÙüćöÿĈđøĘÝĔîÖćøóĆçîć ÿĎêøÖćøñúĉêîĞĚćöĆîĀúŠĂúČęîóČĚîåćîǰđÖøéǰ ǰ4/ ĻǰïÝ ǰĕì÷ĂĂ÷úŤǰ đĂìćîĂúǰúÜîćöÿĆââćøŠüöìčîÖĆïǰ ïÝ ǰìøĆó÷Ťìĉó÷Ťǰ đóČęĂúÜìčîĔîíčøÖĉÝđĂìćîĂú ĻǰóĉíĊđðŗéýĎî÷Ťÿč×õćóĒúąÖćøđøĊ÷îøĎšđÙøČĂĕì÷ĂĂ÷úŤ đóČęĂßčößî Ļǰĕì÷ĂĂ÷úŤǰ øĆïøćÜüĆúÖćøïøĉĀćøÿĎŠÙüćöđðŨîđúĉýǰ 5IBJMBOEǰ2VBMJUZǰ$MBTT ǰ52$
Ļǰĕì÷ĂĂ÷úŤǰ ĒúąǰïÝ ǰĕì÷óćøćĕàúĊîǰøĆïēúŠðøąÖćý đÖĊ÷øêĉÙčèēÙøÜÖćøǰ;FSPǰ"DDJEFOUǰ"XBSETǰøąéĆïēúŠìĂÜǰ ĒúąēúŠìĂÜĒéÜ ĻǰïÝ ǰĕì÷óćøćĕàúĊîǰǰøĆïöĂïēúŠĒúąđÖĊ÷øêĉïĆêøǰ$43ǰ ǰ%*8
2552 2551 25 ĻǰøćÜüĆúǰ"TJBOǰ&OFSHZǰ"XBSETǰ ǰ ĻǰøćÜüĆúǰ5IBJMBOEǰ&OFSHZǰ"XBSETǰ ĻǰøćÜüĆúǰ#FTUǰ$&0ǰ"XBSETǰ ǰÝćÖǰêúì ǰ ĒúąüćøÿćøÖćøđÜĉîíîćÙćø Ļǰĕì÷ĂĂ÷úŤǰ ĒúąǰïöÝ ǰĕì÷úĎšïđïÿǰøĆïēúŠ ĒúąđÖĊ÷øêĉïĆêøǰ$43ǰ ǰ%*8 Ļǰĕì÷ĂĂ÷úŤǰ ïöÝ ǰĕì÷úĎšïđïÿǰĒúąǰ ïÝ ñúĉêĕôôŜćĂĉÿøąǰ ðøąđìýĕì÷ ǰ øĆïøćÜüĆúǰ&*"ǰ.POJUPSJOHǰ"XBSETǰ ĻǰïÝ ǰñúĉêĕôôŜćĂĉÿøąǰ ðøąđìýĕì÷ ǰ ĕéšÙčèõćóöćêøåćîǰ*40ǰ Ļǰĕì÷ĂĂ÷úŤǰ ĒúąǰïöÝ ǰĕì÷úĎšïđïÿǰĕéšøĆï ēúŠðøąÖćýđÖĊ÷øêĉÙčèēÙøÜÖćøǰ;FSPǰ"DDJEFOUǰ "XBSET
Ļǰĕì÷ĂĂ÷úŤǰñúĉêĒúąÝĈĀîŠć÷îĞĚćöĆîđïîàĉîǰĂĂÖđìîǰ ǰĒúąǰ ǰöćêøåćîǰ&630ǰ*7ǰđðŨîøć÷ĒøÖǰĀøČĂÖŠĂî ÖĈĀîé×ĂÜõćÙøĆåëċÜǰ ǰðŘ ĻǰïöÝ ǰĕì÷úĎšïđïÿǰðøąÿïÙüćöÿĈđøĘÝĔîÖćøóĆçîć ÿĎêøÖćøñúĉê÷ćÜöąêĂ÷đÖøéĔĀöŠǰ ÙČĂǰ1PMZNFSǰ.PEJųFEǰ "TQIBMUǰĒúąǰ#JUVNFOǰ ĻǰïÝ ǰìĘĂðǰēàúđüšîìŤǰ đüĊ÷éîćö ǰđøĉęöĔĀšïøĉÖćøđßĉÜ óćèĉß÷ŤĂ÷ŠćÜđðŨîìćÜÖćø ĻǰïöÝ ǰĕì÷úĎšïđïÿǰøĆïøćÜüĆúÖćøïøĉĀćøÿĎŠÙüćöđðŨîđúĉýǰ 5IBJMBOEǰ2VBMJUZǰ$MBTT ǰ52$
Ļǰĕì÷ĂĂ÷úŤǰ ĒúąǰïÝ ǰĕì÷óćøćĕàúĊîǰøĆïēúŠðøąÖćý đÖĊ÷øêĉÙčèēÙøÜÖćøǰ;FSPǰ"DDJEFOUǰ"XBSETǰøąéĆïēúŠìĂÜǰ ĒúąēúŠìĂÜĒéÜ ĻǰïÝ ǰĕì÷óćøćĕàúĊîǰøĆïöĂïēúŠĒúąđÖĊ÷øêĉïĆêøǰ$43ǰ ǰ%*8ǰ ĻǰøćÜüĆúÙèąÖøøöÖćøĒĀŠÜðŘéĊđéŠîǰ #PBSEǰPGǰUIFǰ:FBSǰ"XBSET
ĻǰïÝ ǰĕì÷óćøćĕàúĊîǰĒúąǰïÝ ǰñúĉêĕôôŜćĂĉÿøąǰ ðøąđìýĕì÷
øĆïøćÜüĆúǰ&*"ǰ.POJUPSJOHǰ"XBSETǰ
01 014 14
ธุ ร กิ จ พลั ง งานจะมั ่ น คงยั ่ ง ยื น ได้ ด้ ว ยวิ ส ั ย ทั ศ น์ ท ี ่ ย าวไกลและการรู ้ ค ุ ณ ค่ า ของพลั ง งาน ไทยออยล์ ในฐานะผู้บุกเบิกธุรกิจโรงกลั่น ตระหนักดีว่าความหมายของ “พลังงาน” นั้นลึกซึ้งกว่าความหมายทาง กายภาพ หากยังหมายถึงพลังที่ขับเคลื่อนสังคมไทยให้เดินไปอย่างมั่นคงท่ามกลางวิกฤติการณ์ต่างๆ และพลังที่สร้างสรรค์รอยยิ้มแก่ชุมชนและสังคมอย่างไม่สิ้นสุด จากความเชี่ยวชาญผ่านประสบการณ์ ที ่ ย ่า งเข้า สู่ปีที่ 50 ย่อมเป็ นเครื่ องพิสู จน์ได้ว่ า เราสร้ างคุ ณค่าทางพลั งงานให้สั งคมไทยตลอดมา และ พร้อมนำพาสังคมสู่ความยั่งยืนตลอดไป
01 5 015
คิ ด เ พิ่ ม เ ติ ม ค่ า
ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส ร้ า ง มิ ต ร
พั ฒ น า ค น เ ก่ ง ส นั บ ส นุ น ค น ดี รู้ คุ ณ ต อ บ แ ท น สั ง ค ม
โครงสร้ า งทางธุ ร กิ จ การกลั ่ น ที ่ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ด้วยการเชื่อมโยงกระบวนการกลั่น เข้ากับการผลิตสารอะโรมาติกส์ และน้ ำ มั น หล่ อ ลื ่ น พื ้ น ฐานทำให้ เกิ ด มู ล ค่ า ส่ ว นเพิ ่ ม ต่ อ ยอดสาย ผลิตภัณฑ์ ควบคู่ไปกับการดูแล สิ ่ ง แวดล้ อ มและช่ ว ยเหลื อ สั ง คม อย่างสมดุล
เพิ ่ ม โอกาสใหม่ ๆ ทางธุ ร กิ จ โดย การขยายการบู ร ณาการจาก ในกลุ่ ม สู่ คู่ ค ้ า ภายนอก อี ก ทั ้ ง พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ทต่ี อบสนอง ความต้องการ จึงช่วยเพิ่มมูลค่า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละขยายฐานลู ก ค้ า ใหม่ได้
ค่ า นิ ย มขององค์ ก รมุ่ ง เน้ น ที่ จ ะทำให้ ทุกคนเป็นทั้งคนเก่งและคนดี ด้วยแนวคิด POSITIVE: >> Professionalism ทำงานอย่าง มืออาชีพ >> Ownership & Commitment มีความรัก ผูกพัน และเป็นเจ้าขององค์กร >> Social Responsibility ความรับผิดชอบต่อสังคม >> Integrity ความซื่อสัตย์ และยึดมั่น ในความถูกต้องเป็นธรรม >> Teamwork & Collaboration ความร่วมมือทำงานเป็นทีม >> Initiative ความริเริ่มสร้างสรรค์ >> Vision Focus ความมุง่ มัน่ ในวิสยั ทัศน์ >> Excellence Striving การมุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ
ไทยออยล์ให้ความสำคัญกับการ ตอบแทนชุมชนและสังคมเสมอมา นับจากชุมชนรอบโรงกลั่น จนถึง สังคมระดับประเทศ และนอกเหนือ ไปกว่านั้น ไทยออยล์ยังคงมุ่งมั่นที่ จะสร้างสรรค์พลังงานสะอาด เพื่อ สิ ่ ง แวดล้ อ มที ่ ด ี ข องสั ง คมไทย และพันธกิจที่มีต่อสังคมโลก
01 016 16
จากจุดเริ่มต้นที่โรงกลั่นไทยออยล์มีกำลังการผลิตเพียง 35,000 บาร์เรลต่อวัน จนกระทั่งวันนี้ที่เรา เพิ่มกำลังการผลิตเป็น 275,000 บาร์เรลต่อวัน เป็นเครื่องพิสูจน์ได้ถึงการเติบโตอย่างต่อเนื่องตลอด 5 ทศวรรษ และไม่ได้เป็นเพียงการขยายตัวเชิงปริมาณเท่านั้น แต่เรายังพัฒนาด้านคุณภาพอย่างเต็ม กำลัง จนทำให้วั นนี้ โ รงกลั่นไทยออยล์เป็ น โรงกลั่ น แบบคอมเพล็ กซ์ (Complex Refinery) ชั ้น นำ แห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และมีผลการดำเนินงานทั้งด้านธุรกิจ การบริหาร และการทำประโยชน์ เพื่อสังคมที่โดดเด่น เพราะประสบการณ์ 50 ปีบอกเราว่า “ผู้นำที่แท้จริง” ต้อง... >> นำวิถีและสร้างพลังคนภายในให้ร่วมมือและรวมใจเป็นหนึ่งเดียว >> นำความรู้และความคิดที่แตกต่างมาบูรณาการได้อย่างสร้างสรรค์ >> นำความคิดเพื่อสังคมมาสร้างสมดุลกับวิธีทางธุรกิจอย่างเหมาะสม ก้าวย่างอย่างผู้นำแบบไทยออยล์ จึงเป็นการก้าวหน้าไป “ด้วยกัน” อย่างยั่งยืน
01 7 017
คิ ด ร่ ว ม กั น
พั ฒ น า อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
ร า ง วั ล คุ ณ ภ า พ
เ ติ บ โ ต ด้ ว ย กั น
การบริหารงานเชิงบูรณาการที่ให้ ความสำคั ญ แก่ พ นั ก งานในการ เข้ า ร่ ว มวางแผนปฏิ บ ั ต ิ ก าร ทั ้ ง กระบวนการผลิต ตลอดจนระบบ สาธารณูปโภค ซึ่งได้รับการพิสูจน์ แล้ วว่าโครงการ Operational Excellence ทำให้เราสามารถ ทำงานได้ อ ย่ า งสอดประสาน ยื ด หยุ ่ น และคล่ อ งตั ว แม้ ใ นช่ ว ง ภาวะวิกฤติก็ตาม
เพื่อตอบรับการบริหารเชิงรุกและ เปี่ยมประสิทธิภาพ ไทยออยล์จึง พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบและ กระบวนการปฏิ บ ั ต ิง านต่ า งๆ ให้ สอดประสานกัน ทัง้ ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ บัญชี การคลัง งานซ่อม บำรุง และงานบุคคล ฯลฯ ให้ตอบ สนองสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลง อย่างรวดเร็วได้ทนั ท่วงที และรองรับ การขยายตัวของธุรกิจในวันหน้า
ระบบการบริหารทีด่ มี กี ารบูรณาการ กันอย่างมีประสิทธิภาพและบุคลากร ที่เปี่ยมความสามารถ นอกจากจะ ทำให้ธรุ กิจก้าวหน้าแล้ว ไทยออยล์ ยั ง ได้ ร ั บ การยอมรั บ และรั บ รอง ด้วย “รางวัลการบริหารสู่ความ เป็นเลิศ” ที่พวกเราชาวไทยออยล์ ทุ ก คนภาคภู ม ิ ใ จในความสำเร็ จ ครั้งนี้ ร่วมกัน
ไทยออยล์มีปณิธานมุ่งมั่นในการ ทำธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มาตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง ดังนั้นกระบวน การผลิตทุกขั้นตอนจึงได้รับการ ดูแลไม่ให้ส่งผลกระทบต่อชุมชน รอบด้าน ทัง้ ยังส่งเสริมและสนับสนุน เพื่อสร้างสังคมให้เข้มแข็ง และยัง ขยายธุ ร กิ จ พลั ง งานทางเลื อ ก เพื ่ อ รั ก ษาสิ ่ ง แวดล้ อ มให้ ย ั ่ ง ยื น นำประสบการณ์ที่สั่งสมมา 50 ปี ไปช่วยเหลือสังคมและสิ่งแวดล้อม ตามแนวทางแห่งความยั่งยืน
0 8 01 018
เมื่อประสบการณ์ที่สั่งสมยาวนานผสานเข้ากับความเชี่ยวชาญในธุรกิจด้านพลังงาน ทำให้เกิดศักยภาพ ในการตอบสนองความต้องการของตลาดได้กว้างไกลกว่าระดับประเทศ วันนี้ไทยออยล์ในฐานะผู้บุกเบิก อุตสาหกรรมพลังงานในประเทศ นำประสบการณ์ แนวคิด และความสามารถของบุคลากร พัฒนาธุรกิจ ด้วยเป้าหมายที่จะเป็นบริษัทชั้นนำในภูมิภาค
019 019 01
เดิ น ห น้ า อ ย่ า ง มี ก ล ยุ ท ธ์
ส ร้ า ง ส ร ร ค์ น วั ต ก ร ร ม ผ่ า น ก า ร บู ร ณ า ก า ร
คุ ณ ค่ า แ ห่ ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
คุ ณ ภ า พ ร ะ ดั บ ส า ก ล
เพื ่ อ ให้ ก ารเติ บ โตเป็ น ไปอย่ า ง ต่ อ เนื่องและมั่นคง ไทยออยล์จึง มุ่งเน้นการเป็นองค์กรเชิงกลยุทธ์ ที ่ ม องรอบทิ ศ และคิ ด รอบด้ า น สอดประสานเป้าหมายและแผนงาน ร่วมกันของชาวไทยออยล์ทุกคน
เพื ่ อ ตอบสนองความต้ อ งการ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท ี่ ห ลากหลาย และมี คุ ณ ภาพมากขึ ้ น ไทยออยล์ จ ึ ง ต้ อ งบู ร ณาการ และสรรค์ ส ร้ า ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ช นิ ด ใหม่ ๆ พร้ อ มทั ้ ง ริเริ่มธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อ ให้ค รอบคลุ ม การบริ ก ารลู ก ค้ า และคู่ค้าได้ครบวงจรมากขึ้น
ความเชี ่ ย วชาญในการผลิ ต การบริหารจัดการ ตลอดจนการ แก้ปัญหาภายใต้ภาวะวิกฤติ ทำให้ ประสบการณ์ ข องเรากลายเป็ น องค์ ค วามรู ้ ท ี ่ ม ี ค ุ ณ ค่ า ทางธุ ร กิ จ สามารถนำมาปรับใช้เชิงพาณิชย์ เพื่อพัฒนาและต่อยอดสร้างมูลค่า และศั ก ยภาพให้ ก ั บ องค์ ก รและ ประเทศ
ความมุ ่ ง มั ่ น ที ่ จ ะเป็ น ผู ้ น ำธุ ร กิ จ เชิงบูรณาการด้านการกลัน่ น้ำมัน และปิโตรเคมีที่ต่อเนื่องอย่างครบ วงจรในภูมิภาค ทำให้ประสิทธิผล ของงานได้เป็นที่ยอมรับและเชิดชู เกี ย รติ จ ากหลายหลากสถาบั น ทัง้ ด้านการผลิตการบริหารจัดการ จนถึงเรือ่ งของการดูแลสิง่ แวดล้อม
020 02 020
คุ ณ ลั ก ษณะพิ เ ศษขององค์ ก รเปี ่ ย มประสบการณ์ อ ย่ า งไทยออยล์ ก็ ค ื อ ความสามารถในการวิ เ คราะห์ แนวโน้มและภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมอย่างฉับไวและแม่นยำ และมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล เพราะธุรกิจ พลังงานในอนาคตจะไม่ยึดติดกับรูปแบบที่คุ้นเคยในปัจจุบัน ดังนั้น ผู้ที่พร้อมจะเปิดรับสิ่งใหม่ มีความคิด แง่บวกต่อการเปลี่ยนแปลง และมีความกล้าที่จะก้าวไกล จะเป็นผู้ที่จับทิศทางธุรกิจพลังงานได้ล่วงหน้า และ สร้างโอกาสได้ก่อนผู้อื่นเสมอ
021 021 02
ท า ง เ ลื อ ก แ ห่ ง อ น า ค ต
ส่ ง ต่ อ ไ ด้ ไ ม่ สิ้ น สุ ด
เ พื่ อ โ ล ก สี เ ขี ย ว
ในโลกยุ ค หน้ า พลั ง งานจาก “ไฮโดรคาร์บอน” จะไม่ใช่ทางเลือก เดี ย วของมนุ ษ ยชาติ ดั ง นั ้ น ไทยออยล์จึงต้องเตรียมพร้อมใน การศึกษา และริเริ่มธุรกิจพลังงาน ด้านอื่นๆ เพื่อปูทางความยั่งยืนให้ กับพลังงานไทย
เพราะเชื ่ อ ว่ า ประสบการณ์ ข อง รุ่ น พี ่ จ ะเป็ น บทเรี ย นลั ด อย่ า งดี แก่ ค นรุ่ น ถั ด ไป ไทยออยล์ จ ึ ง จั ด การองค์ ค วามรู ้ อ ย่ า งเป็ น ระบบ เพื ่ อ ให้ เ กิ ด การถ่ า ยทอด แลกเปลี ่ ย นจากรุ ่ น สู่ รุ่ น แบ่ ง ปั น ความรู ้ ป ระสบการณ์ เ พื ่ อ สร้ า ง อนาคตร่วมกัน
ไทยออยล์ใส่ใจในการเพิ่มมูลค่า และเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม และปรับปรุง กระบวนการผลิตอยู่เสมอ เพื่อลด ปริ ม าณมลภาวะที ่ ป ล่ อ ยออกสู ่ บรรยากาศ ซึ่งถือเป็นอีกแรงหนึ่ง ในการช่วยรักษาสภาพสิง่ แวดล้อม ให้สดใส
022
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
รายงานของคณะกรรมการ
ตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระจํานวน 3 ท่าน ได้แก่ 1. นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายชัยเกษม นิติสิริ กรรมการตรวจสอบ 3. นายอุทิศ ธรรมวาทิน กรรมการตรวจสอบ กรรมการทั้ง 3 ท่าน เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้านบัญชี ด้านการเงิน ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านกฎหมาย และด้านธุรกิจ อุตสาหกรรมปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และพลังงานเป็นอย่างดี ทั้งนี้ นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นบุคคลที่มี ความรูแ้ ละประสบการณ์ในด้านบัญชีการเงิน และมีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสมทีจ่ ะสามารถปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงิน ตามข้อกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ในรอบปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง และได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม 1 ครั้ง เพื่อปรึกษาหารือกันอย่างเป็นอิสระถึงประเด็นสําคัญๆ ในการจัดทํางบการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับผู้ใช้งบการเงิน รวมถึงรับทราบผลการปฏิบัติงานสอบบัญชี ข้อสังเกตที่ตรวจพบ ตลอดจนปัญหา และอุปสรรคระหว่างการปฏิบัติงานสอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องกับข้อกําหนดของ ก.ล.ต. และ ตลท. อย่างครบถ้วน ได้แก่ การสอบทานงบการเงิน การสอบทานการบริหารความเสี่ยง และ การสอบทานระบบการควบคุมภายใน ผลการสอบทานของคณะกรรมการตรวจสอบมีสาระสําคัญสรุปได้ ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจําปี 2553 ร่วมกับผู้บริหาร ระดับสูง และผู้สอบบัญชี เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ มีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องครบถ้วน เชื่อถือได้ มีการจัดทําเป็นไปตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองทั่วไป รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลในรายงานการเงินอย่างพอเพียง และทันเวลา เพื่อเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุน และผู้ใช้ งบการเงิน 2. สอบทานรายการระหว่างกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาสอบทานการเปิดเผยข้อมูลรายการระหว่างกันของบริษทั ฯ กับบริษทั ย่อย และบริษัทร่วม ซึ่งอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามประกาศของ ก.ล.ต. และ ตลท. ผลสอบทานพบว่าบริษัทฯ ได้ดําเนินการ ตามเงื่อนไขธุรกิจปกติ มีความเป็นธรรมสมเหตุสมผล และไม่ก่อให้เกิดการถ่ายเทผลประโยชน์ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่าง ครบถ้วนและเพียงพอ โดยยึดถือการปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3. สอบทานการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานแผนงานการบริหารความเสีย่ งประจําปี รวมถึงสอบทาน และติดตาม ความคืบหน้าของการบริหารความเสี่ยงที่มีผลต่อการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ทุกไตรมาส เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ ได้บริหารจัดการความเสี่ยง อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความเสีย่ งลดลงอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ ผลการสอบทานในปี 2553 พบว่าคณะกรรมการบริษทั ฯ และผูบ้ ริหารให้ความสําคัญ กับการบริหารความเสีย่ ง และดําเนินการตามแผนงานเพือ่ ลดความเสีย่ งทีส่ าํ คัญ และผลกระทบทีอ่ าจมีตอ่ การดําเนินธุรกิจของบริษทั ฯ อย่างครบถ้วน ในปี 2553 บริษัทฯ ได้ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาอิสระที่มีชื่อเสียงมาตรวจประเมินคุณภาพการบริหารงานความเสี่ยง ซึ่งได้ดําเนินการอย่างต่อเนื่อง เป็นเวลาติดต่อกัน 4 ปี ผลการประเมินคุณภาพการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ รวมถึงบริษทั ในเครือ ได้รบั การประเมินเป็นคะแนนทีร่ อ้ ยละ 88
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
023
4. สอบทานระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือในปี 2553 ต่อการสนับสนุนให้บริษัทฯ สามารถดําเนินงานบรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ โดยบริษัทฯ ได้ติดตามให้มี การแก้ไขปรับปรุงงานตามข้อเสนอแนะในรายงานการตรวจสอบ และข้อคิดเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง รวมถึงปรับปรุง แก้ไขระบบการควบคุมภายในให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการ ควบคุมภายในที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ 5. การกํากับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานแผนการตรวจสอบประจําปี 2553 รับทราบการปฏิบัติตามแผน สอบทานผลการตรวจสอบ โดยให้ขอ้ เสนอแนะและติดตามการดําเนินงานแก้ไขตามรายงานทีม่ นี ยั สําคัญ เพือ่ ก่อให้เกิดการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี นอกจากนี้ ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบได้เห็นชอบให้บริษัทฯ จัดจ้างบริษัทที่ปรึกษาที่มีชื่อเสียงรายหนึ่งเพื่อทําการตรวจประเมิน คุณภาพงานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน เปรียบเทียบกับมาตรฐานสากลวิชาชีพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน รวมทั้งเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพงานตรวจสอบภายในโดยอิงกับมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพตรวจสอบภายใน โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายใน (The Institute of Internal Auditors : IIA ) 6. สอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและกํากับให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกําหนดของ ก.ล.ต. และ ตลท. และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด 7. การพิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจําปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชี พิจารณาความเป็นอิสระของ ผู้สอบบัญชี และกําหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม และได้เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อนําเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจําปี 2554 เพื่อแต่งตั้ง บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด โดยนายวินิจ ศิลามงคล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3378 หรือนายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4068 หรือนายไวโรจน์ จินดามณีพิทักษ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3565 เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจําปี 2554
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
(นายมนู เลียวไพโรจน์) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
024
ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ พิ จ า ร ณ า ค่ า ต อ บ แ ท น
รายงานของคณะกรรมการ
สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ได้จัดให้มีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ตามแนวทางการกํากับกิจการที่ดี ของบริษัทจดทะเบียน ซึ่งประกอบด้วยกรรมการบริษัทฯ จํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยส่วนใหญ่ต้องเป็นกรรมการอิสระ และไม่เป็น ประธานกรรมการ หรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ตลอดจนมีความรู้ความเข้าใจถึง คุณสมบัติ หน้าที่ ความรับผิดชอบของตน และสามารถอุทิศเวลาอย่างเพียงพอในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้การดําเนินงานของคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนสําเร็จตามวัตถุประสงค์ โดยมีกรอบภาระหน้าที่ต้องปฏิบัติและคุณสมบัติของกรรมการสรรหาฯ ระบุไว้ใน กฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนอย่างชัดเจน คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ได้ทําหน้าที่พิจารณาหลักเกณฑ์ แนวทาง และกระบวนการสรรหา รวมถึงพิจารณากําหนด ค่าตอบแทนที่เหมาะสมสําหรับกรรมการของบริษัทฯ และกรรมการเฉพาะเรื่อง เพื่อนําเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ก่อนนําเสนอ ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติเป็นประจําทุกปี รวมถึงพิจารณาค่าตอบแทนของผู้บริหารสูงสุดบริษัทฯ เพื่อนําเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนชุดปัจจุบัน ได้แก่ 1. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ) 2. นางสาวพวงเพชร สารคุณ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ) 3. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
การประชุมในปี 2553 และผลการปฏิบัติงาน ในรอบปี 2553 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้ปฏิบตั งิ านตามทีก่ าํ หนดไว้ในกฎบัตรสรรหาฯ โดยครบถ้วน และมีการประชุม ทั้งสิ้น 3 ครั้ง คิดเป็น 100% ทั้งปี โดยข้อมูลการเข้าประชุมแสดงในหน้า 97 สรุปสาระสําคัญของการประชุมได้ดังนี้ 1. ประเมินผลการปฏิบัติงานและพิจารณากําหนดอัตราการปรับขึ้นเงินเดือนที่สะท้อนผลการปฏิบัติงานจริงตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ให้แก่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO ) โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเป็นผู้เสนอวาระและรายชื่อบุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการบริษัทฯ ก่อนการประชุมผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 3 เดือนล่วงหน้า ผ่านช่องทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ 3. สรรหาและกลัน่ กรองบุคคลทีเ่ หมาะสมเพือ่ นําเสนอให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ก่อนเสนอให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาแต่งตัง้ ให้เป็นกรรมการ แทนกรรมการที่ออกตามวาระ ประจําปี 2553 4. กําหนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2553 โดยใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนอย่างเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ ของกรรมการ โดยเชื่อมโยงค่าตอบแทนกับผลการดําเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ และเทียบเคียงกับบริษัทจดทะเบียนในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน ตลอดจนการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้น
ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ พิ จ า ร ณ า ค่ า ต อ บ แ ท น
025
5. สรรหาและคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมแทนรายชื่อกรรมการที่ขอถอนตัวก่อนเข้าขออนุมัติในการประชุมผู้ถือหุ้น 6. สรรหาและคัดเลือกกรรมการบริษัทฯ เข้าเป็นกรรมการเฉพาะเรื่อง ประกอบด้วยกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ ตรวจสอบ และกรรมการกํากับดูแลกิจการ และนําเสนอรายชือ่ ต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาแต่งตัง้ แทนตําแหน่งทีว่ า่ งลง 7. สรรหาและคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมนําเสนอให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนกรรมการที่ขอลาออกระหว่างปี 8. จัดให้มกี ารเลือกตัง้ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนใหม่ เนือ่ งจากประธานคณะกรรมการสรรหาฯ เดิม ได้ขอลาออกจาก การเป็นประธาน และทีป่ ระชุมคณะกรรมการสรรหาฯ ครัง้ ที่ 3/2553 เมือ่ วันที่ 4 มิถนุ ายน 2553 ได้มมี ติเห็นชอบให้นายกรพจน์ อัศวินวิจติ ร เข้าดํารงตําแหน่งเป็นประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน แทนนายนนทิกร กาญจนะจิตรา โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 4 มิถุนายน 2553 เป็นต้นไป
วันที่ 24 มกราคม 2554 ในนามคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
(นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร) ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
026
ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
รายงานของคณะกรรมการ
กํากับดูแลกิจการ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) มีความมุ่งมั่นที่จะเป็นบริษัทชั้นนําของภูมิภาค ด้วยการดําเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพผ่านการบริหาร จัดการที่เป็นเลิศ และการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ถือหุ้น โดยคํานึงถึงสิทธิ และปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่มอย่างเป็นธรรม คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความเห็นชอบในการจัดตั้งคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการขึ้น โดยกําหนดให้มีหน้าที่ในการจัดทํานโยบาย และ แนวทางการพัฒนา ตลอดจนติดตามดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี และส่งเสริมสนันสนุน การเผยแพร่หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีให้เป็นที่เข้าใจของพนักงานทุกระดับ เพื่อยึดถือปฏิบัติจนพัฒนาไปสู่วัฒนธรรมขององค์กรในที่สุด คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ประกอบด้วย 1. นายบรรพต หงษ์ทอง ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ (อิสระ) กรรมการกํากับดูแลกิจการ (อิสระ) 2. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ 3. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการกํากับดูแลกิจการ ในปี 2553 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง โดยมีผลการปฏิบัติภารกิจที่สําคัญตามบทบาท หน้าที่ และ ความรับผิดชอบ ซึ่งกําหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ สรุปได้ดังนี้ 1. ให้ความเห็นชอบการจัดทําคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ (ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3) โดยมีการปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัย และ สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ มาตรฐานของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD ) และได้มอบให้กับกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และพนักงานเครือไทยออยล์ เพื่อนําไปศึกษา และยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน 2. ให้ความเห็นชอบผลการประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2552 3. พิจารณา และให้ความเห็นชอบ การปรับปรุงแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2553 4. พิจารณาให้ความเห็น และอนุมัติแผนพัฒนาการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ประจําปี 2554 5. ให้คําแนะนําแนวทางในการจัดกิจกรรม Thaioil Group CG Day และการเข้าร่วมงาน PTT Group CG Day เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมกิจกรรม ด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดี 6. ให้คําแนะนําและข้อคิดเห็นเพื่อปรับปรุงแนวปฏิบัติด้านการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ในส่วนของกิจกรรมสําคัญอื่นๆ ซึ่งบริษัทฯ ได้ดําเนินการเพื่อส่งเสริม และสนับสนุนแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดี ได้แก่ การจัดให้มี การประชุมกรรมการอิสระรวม 2 ครั้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้กรรมการอิสระได้ประชุมหารือระหว่างกัน เพื่อเสนอแนะแนวทาง ที่จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ การดําเนินการปรับปรุงเว็บไซต์ของบริษัทฯ ในส่วนงานกํากับ ดูแลกิจการ เพื่อใช้เป็นช่องทางในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายโดยตรง และมีช่องทางในการเรียกร้องให้ชัดเจน มากยิ่งขึ้น มีแบบฟอร์มการร้องเรียนสําหรับดาวน์โหลด และมีการร้องเรียนผ่านระบบออนไลน์ และอีเมล นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ดําเนิน กิจกรรมและโครงการต่างๆ แบ่งตามกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย โดยสามารถสรุปสาระสําคัญได้ ดังนี้ กลุ่มผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ และเจ้าหนี้ บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมให้ผู้ถือหุ้น และนักลงทุนทั่วไปเยี่ยมชมโรงกลั่นเป็นประจําทุกปี เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในธุรกิจของบริษัทฯ จัดการประชุมเพื่อรายงานสรุปผลการดําเนินงานให้กับนักวิเคราะห์ และผู้แทนจาก สถาบันการเงิน ซึ่งบริษัทฯ มีสินเชื่ออยู่เป็นประจําทุกไตรมาส และเผยแพร่เทปบันทึกภาพการประชุมทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อเปิดโอกาส ให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงข้อมูลอย่างเท่าเทียมกัน
ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
027
กลุ่มพนักงาน บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรม Thaioil Group CG Day ขึ้นเป็นประจําทุกปี เพื่อกระตุ้น และส่งเสริมการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแล กิจการทีด่ ใี ห้กบั พนักงาน นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีโครงการปรับปรุงสือ่ การเรียนรูท้ างอิเล็กทรอนิกส์ดา้ นการกํากับดูแลกิจการ (CG E - Learning ) เพื่อให้มีเนื้อหาครอบคลุมจรรยาบรรณหลักในการดําเนินธุรกิจ และมีการพัฒนาระบบการใช้งาน และติดตามการเข้ารับการอบรมของ พนักงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เมื่อโครงการแล้วเสร็จ บริษัทฯ มีแผนงานให้พนักงานทุกระดับเข้ารับอบรมผ่านสื่อการเรียนรู้ดังกล่าว เพื่อทบทวนความรู้ และใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ในการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ เพื่อปลูกฝังหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีให้พนักงาน กลุ่มลูกค้า บริษัทฯ ได้ดําเนินการสํารวจความพึงพอใจของลูกค้าประจําทุกปี เพื่อนํามาปรับปรุงการให้บริการ นอกเหนือจากการจัดประชุม พบปะเยี่ยมเยียนลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างสมํ่าเสมอ กลุ่มคู่ค้า บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมสัมนาร่วมกับบริษัทฯ ผู้ส่งมอบและผู้รับเหมาในหัวข้อเรื่อง “CSR in Supply Chain 2010” เพื่อสนับสนุน และส่งเสริมให้คู่ค้าดําเนินงานตามแนวปฏิบัติด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (CSR ) โดยการจัดนิทรรศการให้ความรู้ด้าน CSR และจัดการเสวนาร่วมกับคู่ค้าถึงการดําเนินงาน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแนวการพัฒนาการดําเนินธุรกิจ โดยมีคู่ค้ากว่า 150 บริษัท เข้าร่วมประชุม กลุ่มชุมชนและสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้ดําเนินธุรกิจ โดยมีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน และสังคมตลอดมา ในปี 2553 บริษัทฯ ได้ดําเนิน กิจกรรม และโครงการพัฒนาชุมชนรอบโรงกลั่นต่างๆ อย่างต่อเนื่อง อาทิเช่นการออกหน่วยสาธารณสุขเคลื่อนที่ และการจัดกิจกรรมผ่าน ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน เช่น กองทุนการศึกษาไทยออยล์ โครงการความรู้คู่คุณธรรมสร้างผู้นําเยาวชน และ โครงการค่ายเยาวชนวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ ฯลฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังดําเนินโครงการด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น โครงการรณรงค์รักษา ชายหาด และจัดทําโครงการเพื่อควบคุมและลดมลภาวะในกระบวนการผลิต เป็นต้น นอกจากในระดับชุมชนแล้ว บริษัทฯ ยังได้ดําเนินโครงการ CSR ในระดับประเทศ โดยมีจุดประสงค์เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์ พลังงานภายใต้โครงการ “กลไกพลังงานสีเขียว” ที่บริษัทฯ ได้ดําเนินการร่วมกับมูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.) โดยประกอบไปด้วย โครงการหลัก คือ โครงการไฟฟ้าพลังนํ้าในชุมชน โครงการขยายสายส่งโรงไฟฟ้าพลังนํ้า และกิจกรรมติดตั้งเตานึ่งเมี่ยงเพื่อประหยัดพลังงาน ด้วยหลักการกํากับกิจการที่ดีที่บริษัทฯ ได้ยึดมั่นเป็นแนวทางในการดําเนินธุรกิจมาโดยตลอด รวมถึงกิจกรรมต่างๆ ซึ่งบริษัทฯ ได้ดําเนินการ เพื่อส่งเสริม และพัฒนาการกํากับดูแลกิจการ ส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัลรายงานบรรษัทภิบาลดีเด่น (Top Corporate Governance Report Awards) ในงาน SET Awards ประจําปี 2553 ซึง่ จัดโดย ตลท. และได้รบั การประเมินด้านรายงานการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ประจําปี 2553 ซึ่งจัดทําโดย IOD อยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ” คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และฝ่ายจัดการ ตลอดจนพนักงานทุกคนของบริษัทฯ มีความมุ่งมั่นอย่างเต็มที่ ที่จะพัฒนา ส่งเสริม ตลอดจนนําหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี และมีมาตรฐานมาใช้ในการบริหารจัดการและยึดถือ ปฏิบัติ เพื่อให้บริษัทฯ เป็นที่เชื่อถือยอมรับ และไว้วางใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนในอนาคต
วันที่ 24 มกราคม 2554 ในนามคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ
(นายบรรพต หงษ์ทอง) ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
028
ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ใ น ร อ บ ปี 2 5 5 3
สรุปความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ
ในรอบปี 2553 โครงสร้างธุรกิจการกลัน่ ทีส่ ร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน รวมทัง้ การเชือ่ มโยงกระบวนการผลิตนํา้ มันปิโตรเลียมเข้ากับ การผลิตสารอะโรมาติกส์ และนํา้ มันหล่อลืน่ พืน้ ฐาน ทําให้เกิดมูลค่าส่วนเพิม่ ของสายผลิตภัณฑ์ (Value Chain Enhancement) ในปี 2553 สภาวะเศรษฐกิจโลกเริ่มปรับตัวดีขึ้นภายหลังจากได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจจากสหรัฐอเมริกา และยุโรปเมื่อปลายปี 2551 ส่งผลให้ความต้องการใช้นํ้ามันสําเร็จรูปปรับเพิ่มขึ้น เช่นเดียวกับราคานํ้ามันดิบในตลาดโลกที่มีการปรับสูงขึ้นราว 14 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล อย่างไรก็ตาม กําลังการกลั่นใหม่ที่เริ่มทยอยเข้าสู่ตลาดในประเทศอินเดีย และจีนในปี 2552 ได้กลายเป็นปัจจัยกดดันค่าการกลั่น (Gross Refi nery Margin : GRM ) ในครึ่งแรกของปี 2553 ก่อนที่จะเริ่มปรับตัวดีขึ้นตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมในครึ่งหลังของปี โดยไทยออยล์มีกําไรขั้นต้นทางบัญชีซึ่งรวมผลกระทบจากราคาสต็อกนํ้ามันแล้ว (Accounting GRM ) อยู่ที่ 4.1 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในขณะเดียวกันในปีที่ผ่านมา การขยายตัวของเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย รวมทั้งยอดจําหน่ายรถยนต์ที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในประเทศจีน และ อินเดียก็ส่งผลดีต่อธุรกิจเกี่ยวเนื่องของไทยออยล์ อาทิ ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน และธุรกิจสารอะโรมาติกส์ จึงทําให้เครือไทยออยล์มีกําไร ขั้นต้นจากการผลิตรวม (Gross Integrated Margin : GIM ) อยู่ที่ 6.5 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ซึ่งเป็นระดับกําไรขั้นต้นที่ดีมากเมื่อเทียบกับ บริษัทอื่นๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานที่ไทยออยล์สามารถบริหารจัดการ ให้อยู่ในระดับเพียง 0.98 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลเท่านั้น ในปี 2553 ที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ยังคงบริหารจัดการแบบบูรณาการเป็นกลุ่ม (Group Integration ) โดยมุ่งเน้นด้านการวางแผนการผลิต และจําหน่ายผลิตภัณฑ์ร่วมกัน มุ่งเน้นการประสานประโยชน์ระหว่างกลุ่ม (Synergy ) รวมทั้งการดําเนินการด้านการเพิ่มมูลค่ากําไรขั้นต้น (Margin Improvement ) โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และรักษาระดับต้นทุนให้แข่งขันได้ ผ่านการรณรงค์ตามโครงการ Operational Excellence, the Next Level ทั้งนี้ ในปีที่ผ่านมา ไทยออยล์ดําเนินการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 95 ของกําลังการกลั่น 275,000 บาร์เรลต่อวัน โดยมุ่งเน้นดําเนินการผลิตหน่วยผลิตเชื่อมโยง อาทิ หน่วยผลิตสารอะโรมาติกส์ และนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม (Optimized Level ) คือ ร้อยละ 85 ของกําลังการผลิตสารอะโรมาติกส์ทั้งหมด 900,000 ตันต่อปี และร้อยละ 82 ของกําลังการผลิตนํ้ามัน หล่อลื่นพื้นฐาน 275,000 ตันต่อปี ทั้งนี้ เพื่อให้ได้มูลค่าส่วนเพิ่มของสายผลิตภัณฑ์ (Value Chain Enhancement ) สูงสุด อันจะส่งผล โดยตรงต่อผลการดําเนินงานรวมของเครือไทยออยล์ โดยในปี 2553 เครือไทยออยล์รายงานผลกําไรสุทธิรวม 8,999 ล้านบาท ซึ่งดีกว่า เป้าหมายที่วางไว้
การมุ่งเน้นและต่อยอดการบริหารจัดการ เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศอย่างต่อเนื่อง (Operational Excellence, the Next Level) ตลอดจนการเพิ่มประสิทธิภาพการขาย และการผลิตเพื่อเพิ่มผลกําไร (Margin Improvement) สืบเนือ่ งจากทีเ่ ครือไทยออยล์ประสบความสําเร็จในการบริหารจัดการเชิงบูรณาการผ่านโครงการ Operational Excellence มาแล้วในช่วงหลายปี ที่ผ่านมา ส่งผลให้ผลการดําเนินงานของเครือไทยออยล์ยังอยู่ในระดับที่น่าพอใจแม้ในยามเกิดวิกฤติการเงินของโลก หรือช่วงที่อุตสาหกรรม อยู่ในช่วงขาลง (Global Financial Crisis and Industry Downturn ) และในภาวะที่เศรษฐกิจโลก และภูมิภาคค่อยๆ ปรับตัวดีขึ้นตามลําดับ ไทยออยล์ก็ยังคงมุ่งเน้นให้ความสําคัญในเรื่องดังกล่าว โดยมุ่งเน้นการต่อยอดการบูรณาการ ทั้งในด้านการวางแผนการขายและการผลิต การปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคเพื่อพัฒนาความยืดหยุ่น และความคล่องตัวในการดําเนินงาน ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และ การลดต้นทุน ภายใต้คณะทํางานด้านการเพิ่มผลกําไร (Margin Improvement ) โดยกิจกรรมที่ช่วยเพิ่มผลกําไรให้แก่เครือไทยออยล์ในปี 2553 ที่สําคัญ ได้แก่ การจัดหานํ้ามันดิบชนิดใหม่ๆ ที่มีคุณภาพเหมาะสมในการกลั่นแต่มีราคาถูกกว่านํ้ามันดิบที่ใช้อยู่เป็นประจํา รวมทั้ง การพัฒนาระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อวางแผนการผลิตระดับโมเลกุลของสารไฮโดรคาร์บอน (Molecular Linear Program ) ระหว่าง โรงกลั่นไทยออยล์ และโรงงานอะโรมาติกส์ ซึ่งจะทําให้เครือไทยออยล์สามารถเลือกใช้นํ้ามันดิบ และวางแผนการกลั่นเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ สําเร็จรูป โดยพิจารณาถึงคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ไฮโดรคาร์บอนในระดับโมเลกุลเพื่อสร้างผลกําไรสูงสุด ในปี 2553 เครือไทยออยล์สามารถเพิ่มผลกําไรผ่านโครงการ Margin Improvement ได้ราว 0.48 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ใ น ร อ บ ปี 2 5 5 3
029
การขยายฐานคู่ค้า ลูกค้า ตลอดจนเพิ่มผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ โดยยังคงเป้าหมายในการเพิ่มอัตราความพึงพอใจ ของลูกค้าเป็นหลัก ไทยออยล์มวี ตั ถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ทจ่ี ะเพิม่ โอกาสใหม่ๆ ทางธุรกิจโดยขยายการบูรณาการจากในกลุม่ ไปสูค่ คู่ า้ ภายนอก ภายใต้โครงการ Supply Chain Management ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มมูลค่าส่วนเพิ่มให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทาน เช่น ในปี 2553 เครือไทยออยล์ได้ดําเนินการ ขยายฐานคู่ค้าหรือ Supplier รวมทั้งเพิ่มความร่วมมือระหว่างโรงกลั่นและคู่ค้า ซึ่งช่วยให้สามารถลดต้นทุนวัตถุดิบได้ นอกจากนี้ ในด้านลูกค้า เครือไทยออยล์ก็พยายามดําเนินการขยายฐานลูกค้าใหม่ๆ รวมทั้งกลุ่มลูกค้ารายย่อยอื่นๆ โดยยังคงมุ่งเน้นการให้บริการที่ดีเยี่ยมแก่ลูกค้า ปัจจุบนั ในปี 2553 นี้ ไทยออยล์ได้เริม่ พัฒนาระบบการสัง่ สินค้าทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Ordering) ควบคูไ่ ปกับการดําเนินโครงการพัฒนา กระบวนการทํางาน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวเนื่อง (Business Process Transformation: BPT) ซึ่งสามารถทําให้เครือไทยออยล์ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยเล็งเห็นถึงความต้องการและความพึงพอใจของลูกค้าเป็นหลัก นอกจากนี้ เครือไทยออยล์ก็ยังมุ่งพัฒนาและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมูลค่าสูงขึ้น และสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า อาทิเช่น นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานชนิด 900 SN และนํ้ามันยางมลพิษตํ่า (TRAE ) ของ บมจ. ไทยลู้บเบส และสารทําละลายชนิดพิเศษท็อปโซล A -150 ND และท็อปโซล X -2000 ของ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ สําหรับในด้านการปรับปรุงการให้บริการนั้น เครือไทยออยล์ได้ดําเนินการปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคเพื่อตอบสนอง และให้บริการ ลูกค้าให้คล่องตัวและหลากหลายมากขึ้น ต่อจากการก่อสร้างสถานีจ่ายนํ้ามันทางรถแห่งใหม่ที่แล้วเสร็จในปี 2551 ในปี 2553 ที่ผ่านมา บจ. ไทยออยล์มารีนได้จัดหาเรือขนาดประมาณ 96,000 ตันบรรทุก เพื่อขนส่งสินค้า และวัตถุดิบให้แก่ลูกค้าในกลุ่มและนอกกลุ่ม รวมทั้ง บจ. ท็อป โซลเว้นท์ที่ได้ย้ายคลังสินค้าจากช่องนนทรี ไปที่คลังพระประแดง ซึ่งทําให้สามารถตอบสนองความต้องการลูกค้าได้ดีขึ้น รวมทั้ง ช่วยลดค่าจัดเก็บ และค่าขนส่งอีกด้วย
การลงทุนในโครงการเชิงกลยุทธ์ด้าน Value Chain Enhancement พลังงานทางเลือก และ Energy Solutions มีความ ก้าวหน้าตามแผนงาน ช่วยเพิม่ รายได้ ลดความเสีย่ งทางธุรกิจ รวมทัง้ สร้างชือ่ เสียง และภาพลักษณ์ขององค์กรในระดับสากล ในปี 2553 ไทยออยล์ได้ศึกษาโอกาสทางธุรกิจใหม่ และพัฒนาโครงการเชิงกลยุทธ์ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ต่อยอดทาง ธุรกิจ รวมทั้งขยายธุรกิจในอนาคต โดยนอกเหนือจากโครงการด้านการปรับปรุงหน่วยกลั่นนํ้ามันแล้ว ไทยออยล์ยังได้ดําเนินโครงการลงทุน ต่างๆ ที่สร้างมูลค่าเพิ่มของสายผลิตภัณฑ์ ( Value Chain Enhancement ) โดยหนึ่งในนั้น ได้แก่ การดําเนินการก่อสร้างหน่วยผลิตสาร นํ้ามันยางมลพิษตํ่า (TDAE ) กําลังการผลิต 50,000 ตันต่อปี ของ บมจ. ไทยลู้บเบส เพื่อตอบสนองอุตสาหกรรมการผลิตยางรถยนต์ใน ประเทศยุโรป ซึ่งโครงการดําเนินการก่อสร้างได้แล้วเสร็จ และมีกําหนดเริ่มดําเนินการเชิงพาณิชย์ในต้นปี 2554 นี้ ในด้านพลังงานทางเลือก เครือไทยออยล์มีแนวทางที่จะพัฒนาธุรกิจผลิตเอทานอลจากพืชผลทางการเกษตร ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพที่จะ พัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเอทานอล เพือ่ ตอบสนองความต้องการในภูมภิ าค โดยนอกเหนือจากการเข้าร่วมทุนใน บจ. แม่สอดพลังงานสะอาด ซึง่ ดําเนินธุรกิจโรงงานผลิตเอทานอลจากนํา้ อ้อยขนาดกําลังการผลิต 200,000 ลิตรต่อวันแล้ว ในกลางปี 2553 ทีผ่ า่ นมา บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ได้เข้าร่วมทุนร้อยละ 50 ใน บจ. ทรัพย์ทพิ ย์ ซึง่ ประกอบธุรกิจโรงงานผลิตเอทานอลจากมันสําปะหลัง โดยมีกาํ ลังการผลิตเอทานอล 200,000 ลิตร ต่อวัน ทัง้ นี้ พันธมิตรร่วมทุนเป็นผูป้ ระกอบการทีม่ คี วามชํานาญในด้านการจัดหา และส่งออกมันสําปะหลังรายใหญ่ของประเทศ ทําให้โครงการ ดังกล่าวมีความน่าสนใจมาก และการลงทุนในครั้งนี้ส่งผลให้กลยุทธ์ด้านพลังงานทางเลือกของเครือไทยออยล์รุดหน้าตามแผนงานที่วางไว้ ธุรกิจที่ปรึกษาด้านพลังงานเป็นอีกหนึ่งโครงการเชิงกลยุทธ์ โดย บจ. ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ ได้เริ่มให้บริการแก่ลูกค้าในกลุ่ม ปตท. และเครือไทยออยล์ตง้ั แต่ปี 2552 โดยในปี 2553 บจ. ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชน่ั ส์ ได้ขยายฐานลูกค้าทัง้ ในและนอกกลุม่ รวมทัง้ ในต่างประเทศ และได้พัฒนา จดสิทธิบัตรระบบจัดการสัญญาณเตือนภัยความผิดปกติในกระบวนการผลิต (TES Alarm Management Solution : TEAMS ) ซึ่งจะเป็นการช่วยส่งเสริมชื่อเสียงของธุรกิจในฐานะที่ปรึกษาด้านพลังงานต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ บจ. ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ ยังเพิ่มทางเลือกในการให้บริการด้านต่างๆ แก่ลูกค้า จนทําให้มีจํานวนลูกค้าและประเภทของบริการเพิ่มมากขึ้น โดยให้บริการจํานวน 26 สัญญา ครอบคลุมบริการด้านต่างๆ อาทิเช่น
030
ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ใ น ร อ บ ปี 2 5 5 3
การประเมินเชิงเทคนิค (Technical Assessment & Due Diligence ) การประเมินระบบจัดการสัญญาณเตือนภัยความผิดปกติในกระบวนการผลิต (Alarm Assessment ) การประเมินระดับของความมั่นคงของ ระบบอุปกรณ์นิรภัย (Safety Integrity Level (SIL ) Assessment ) การทบทวนประเด็นความเสี่ยง (HAZOP Revalidation ) >> การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานและลดการสูญเสีย (Energy Effi ciency and Loss Control ) >> การบริหารโครงการ (Project Management ) >> จัดหลักสูตรอบรมด้านเทคนิค (Technical Training ) >> อื่นๆ เช่น การศึกษาโครงการคาร์บอนเครดิต (Carbon Credit ) การติดตามเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า (Water Management ) โครงการ เปลี่ยนของเสียจากภาคเกษตรกรรมมาใช้เป็นเอทานอล (Waste to Fuel Project ) >> >>
การดําเนินโครงการพัฒนากระบวนการทํางาน และปรับเปลี่ยนระบบประมวลผลทางบัญชีและพัฒนาสินทรัพย์ รวมทั้ง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวเนื่อง (Business Process Transformation: BPT) โดยคํานึงถึงการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการประมวลผลทางบัญชีและพัฒนาสินทรัพย์ของเครือไทยออยล์ เพื่อให้สอดคล้องกับการเจริญเติบโตทางธุรกิจ ในอนาคตด้วย ด้วยเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาระบบการทํางานและประมวลสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของ สภาพตลาด รวมทั้งการเจริญเติบโตทางธุรกิจของเครือไทยออยล์ ไทยออยล์จึงได้ดําเนินโครงการ Business Process Transformation (BPT ) เพื่อทําการพัฒนาและปรับปรุงระบบกระบวนการทํางานและข้อมูลสารสนเทศปัจจุบันให้ทันสมัย และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ครอบคลุมงาน ด้านบัญชี ด้านการคลัง ด้านการขายและจัดซื้อ ด้านงานพัสดุ ด้านการซ่อมบํารุง ด้านพัฒนาสินทรัพย์และโครงการ และด้านการบริหารงาน บุคคล โดยไทยออยล์ได้จัดตั้งคณะทํางานโครงการศึกษาการปรับปรุงระบบประมวลผลทางบัญชีและพัฒนาสินทรัพย์เพื่อดําเนินโครงการ ดังกล่าวให้แล้วเสร็จในปี 2553 ซึ่งการดําเนินโครงการดังกล่าวเป็นไปอย่างมุ่งมั่น จริงจัง และสนองความต้องการใช้งานของผู้ใช้งาน จึงสามารถทําให้ดําเนินโครงการจนแล้วเสร็จภายในเวลาเพียง 8 เดือน กล่าวคือ แล้วเสร็จในวันที่ 1 มกราคม 2554 ทั้งนี้ ระบบการประมวลผลนี้สามารถเอื้ออํานวยให้ไทยออยล์ประมวลผลทางบัญชีที่รองรับมาตรฐานบัญชีใหม่ (IFRS ) รวมทั้งสามารถเพิ่ม การเชื่อมต่อระหว่างกระบวนการงานด้านต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
การมุ่งสู่การนําองค์กรที่เป็นเลิศ เป็นผู้นําในธุรกิจ โดยการมุ่งเน้นการกํากับดูแลกิจการที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคม การนํากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (Strategy Execution) การบริหารความเสี่ยง และการพัฒนางานด้านคุณภาพระดับสากล ของเครือไทยออยล์ (TQM) ซึ่งรองรับการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนของเครือไทยออยล์ ด้านการนําองค์กรและการบริหารจัดการ ผู้บริหารระดับสูงของเครือไทยออยล์บริหารจัดการธุรกิจ โดยมีเป้าหมายในการขับเคลื่อนองค์กรให้ก้าวไปสู่ความเป็นผู้นําในระดับภูมิภาค โดยมุง่ เน้นด้านความเป็นเลิศในการบริหารงานทุกด้าน ความมุง่ มัน่ ดังกล่าวทําให้เครือไทยออยล์ประสบความสําเร็จในหลายด้าน มีผลประกอบการ ที่ดีตามความคาดหมายของผู้ถือหุ้น โดยคํานึงถึงประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มอย่างเป็นธรรม ตลอดจนได้รับการยอมรับจาก ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมในวงกว้าง เช่น การเป็นหนึ่งในผู้เข้ารอบสุดท้ายสําหรับรางวัล Business Leader of the Year Award 2010 จากสถานีโทรทัศน์ CNBC การได้รับรางวัล Platts Top 250 Global Energy Companies Awards 2010 จาก Platts ประเทศสิงคโปร์ โดยจากการจัดลําดับในด้านต่างๆ โดยเปรียบเทียบกับผู้ประกอบกิจการรายอื่นในระดับสากล เช่น ได้รับการจัดอันดับให้เป็นบริษัทชั้นนํา ที่มีการดําเนินงานด้านการกลั่นนํ้ามันและการตลาดโดดเด่นเป็นลําดับที่ 9 ในภูมิภาคเอเชีย หรืออันดับที่ 12 ของโลกในกลุ่มธุรกิจการผลิต นํ้ามันและก๊าซธรรมชาติ นอกจากนี้ หากประเมินด้านการดําเนินงานโดยภาพรวม โดยพิจารณาจากผลประกอบการทางการเงิน ได้แก่ มูลค่า สินทรัพย์ รายได้ ผลกําไร และผลตอบแทนการลงทุนแล้ว ในกลุ่มธุรกิจผลิตนํ้ามัน และก๊าซธรรมชาติ ไทยออยล์ยังได้รับการจัดอันดับให้ ติดอันดับที่ 36 ในภูมิภาคเอเชีย หรืออันดับที่ 137 ของโลกอีกด้วย
ส รุ ป ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ใ น ร อ บ ปี 2 5 5 3
031
ด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคม และการดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไทยออยล์ได้รับรางวัล Top Corporate Governance Report Awards จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ในงาน SET Awards 2010 รวมทั้ง ได้รับการประเมินด้านรายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD ) ในระดับ “ดีเลิศ” ซึ่งเป็น ระดับสูงสุด รวมทั้งได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้เข้ารอบสุดท้ายสําหรับรางวัล IR Excellence Awards จาก ตลท. ในงาน SET Awards 2010 และ จากนิตรสาร IR Magazine ประเทศ Singapore ซึ่งแสดงถึงความมุ่งมั่นของไทยออยล์ที่จะดูแลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทุกกลุ่ม อย่างเป็นธรรม ในปีที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ได้พัฒนายกระดับเป้าหมาย และกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมจากชุมชนรอบโรงกลั่นไทยออยล์ให้ ครอบคลุมทั้งประเทศ ส่งผลให้ได้รับการเสนอชื่อเพื่อเข้ารับรางวัลในสาขา Community Development Program of The Year จาก Platts ประเทศสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ บริษทั ในเครือ เช่น บจ. ไทยพาราไซลีน และ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) ก็ได้รบั รางวัล EIA Monitoring Awards 2009 ในฐานะที่ได้ปฏิบัติตามมาตรการในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมีการจัดการสิ่งแวดล้อมดีเด่นอีกด้วย ด้านการดําเนินกลยุทธ์ การบริหารความเสี่ยง และการเป็นองค์กรคุณภาพระดับสากล เครือไทยออยล์วางแนวทางการเป็นองค์กรที่มุ่งเน้นกลยุทธ์ (Strategy-Focused Organization : SFO ) โดยใช้ระบบ Balanced Scorecard , Performance Management และการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร ( Enterprise Risk Management ) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการสร้าง ความมั่นใจที่จะสนับสนุนให้องค์กรมีการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยแวดล้อมทางธุรกิจ ดังนั้นในปีที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ได้มีการพัฒนาระบบงานด้านต่างๆ ให้รองรับกลยุทธ์ โดยพัฒนาแนวคิดการสร้างความสอดคล้องของเป้าหมายและกิจกรรม ต่างๆ ในแนวราบ (Horizontal Alignment ) ผ่านโครงการ Key Focus Areas เพื่อผลักดันให้การดําเนินการด้านกลยุทธ์ของทุกหน่วยธุรกิจ และทุกหน่วยงานเป็นไปตามเป้าหมายทีว่ างไว้ ภายใต้กรอบการบริหารความเสีย่ งในลักษณะบูรณาการของเครืออย่างเหมาะสม การดําเนินการ ดังกล่าวถือเป็นนวัตกรรมด้านกระบวนการทีจ่ ะผลักดันให้เกิดความร่วมมือทัว่ ทัง้ องค์กรและส่งผลต่อความสําเร็จในการบริหารงานอย่างแท้จริง การมุง่ มัน่ สูค่ วามเป็นเลิศอย่างต่อเนือ่ งทําให้เครือไทยออยล์มกี ารบริหารจัดการทีเ่ ป็นระบบและเชือ่ มโยงกัน อันเป็นปัจจัยสําคัญไปการก้าวสูก่ าร เป็นองค์กรคุณภาพระดับสากล และส่งผลให้ไทยออยล์ได้รบั การคัดเลือกให้ได้รางวัลการบริหารสูค่ วามเป็นเลิศ (Thailand Quality Class : TQC ) จากสํานักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ เป็นปีที่สองต่อเนื่องจากปี 2552 รางวัลเหล่านี้เป็นเครื่องพิสูจน์เพื่อความรับผิดชอบที่มีต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ตลอดจนการส่งเสริมธรรมาภิบาลภายในเครือ ไทยออยล์ให้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร ซึ่งจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กรเครือไทยออยล์อย่างแท้จริง
รางวัลรายงานบรรษัทภิบาลดีเด่น จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
รางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ จากสํานักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
032
ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ์ส ํา คั ญ ใ น ปี 2553
ประมวลเหตุการณ์
สําคัญในปี 2553
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
บจ. ไทยพาราไซลีน และ บจ. ผลิต ไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) บจ. ไทยพาราไซลีน และ บจ. ผลิต ไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) รับรางวัล EIA Monitoring Awards 2009 ใน ฐานะที่ เ ป็ น สถานประกอบการที่ ปฏิบัติตามมาตรการในรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และมี ก ารจั ด การสภาพแวดล้ อ ม ดีเด่น ประจําปี 2552 จากสํานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ไทยออยล์ ไทยออยล์ รั บ รางวั ล การบริ ห ารสู่ ความเป็นเลิศ (Thailand Quality Class: TQC) ประจําปี 2552 ในฐานะที่เป็น องค์กรชั้นนําของไทยที่มีระบบการ บริหารจัดการองค์กรอย่างบูรณาการ และมีคุณภาพระดับมาตรฐานโลก
บจ. ไทยพาราไซลีน บจ. ไทยพาราไซลีน ได้ร่วมลงนาม สัญญา 2 ฉบับ กับผู้ดูแลลิขสิทธิ์ด้าน เทคโนโลยีการผลิตสารอะโรมาติกส์ ของบริ ษ ั ท ในเครื อ Exxon Mobil ทั้งหมด ได้แก่ สัญญาให้ใช้ลิขสิทธิ์
ไทยออยล์ ไทยออยล์ได้รับรางวัลให้เป็น 1 ใน 10 ของบริษัทในประเทศไทย และ ประเทศมาเลเชียที่มีการบริหารการ จัดการที่ดี (Best Managed Company) ประจําปี 2552 และได้รบั การจัดอันดับ ให้ เ ป็ น บริ ษั ท ที่ มี ก ารปฏิ บั ติ ต าม นโยบายการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลอย่ า ง ดีเยี่ยม (Most Committed to a Strong Dividend Policy) ในอันดับที่ 11 จาก นิตยสาร Finance Asia
บจ. ไทยออยล์ เอทานอล บจ. ไทยออยล์ เอทานอลลงนามใน บันทึกความเข้าใจ เพื่อเป็นแนวทาง ในการทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขายเอทานอล ระหว่าง บจ. ไทยออยล์ เอทานอล และ บมจ. ปตท.
บจ. ท็อป โซลเว้นท์ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ได้ลงนามใน สัญญาเช่า และให้บริการถังเก็บสินค้า สารเคมี ร่วมกับ บมจ. สยามเฆมี เพื่อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการจั ด เก็ บ แจกจ่ายสินค้า และเพื่อตอบสนอง ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ได้ ร วดเร็ ว และตรงตามความต้องการมากขึ้น
(Technology License Agreement) และสัญญาเช่าสารเร่งปฏิกิริยา (EM2300 Catalyst Lease Agreement)
ไทยออยล์ได้เสนอขายหุ้นกู้ชนิดระบุ ผู ้ ถ ือ หุ ้น ประเภทไม่ ด ้ อ ยสิ ท ธิ ไม่ ม ี ประกัน และไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นแก่ นักลงทุนแบบเฉพาะเจาะจงจํานวน 3,000 ล้านบาท ในนาม “หุ้นกู้บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)” บจ. ไทยออยล์ เอทานอล บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ได้ร่วม ลงนามในสัญญาซื้อขายหุ้น (Share
Sale and Purchase Agreement) และสัญญาผู้ถือหุ้น (Shareholders Agreement) กับ บจ. ทรัพย์ทิพย์ ซึ่ง ประกอบกิจการผลิตสารเอทานอล เพื่อผสมเป็นเชื้อเพลิง มีกําลังการ ผลิต 200,000 ลิตรต่อวัน เพื่อเป็น การขยายโอกาสทางธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง กับ ธุ ร กิ จ การกลั ่น รวมถึง เป็ น การ ลงทุนในด้านพลังงานทางเลือกอีกด้วย
ป ร ะ ม ว ล เ ห ตุ ก า ร ณ์ส ํา คั ญ ใ น ปี 2553
033
กรกฎาคม
กันยายน
พฤศจิกายน
ธันวาคม
บจ. ไทยพาราไซลีน บจ. ไทยพาราไซลีนได้เพิม่ เสถียรภาพ การผลิตด้วยการติดตัง้ หอนํา้ หล่อเย็น (Cooling Tower) ตัวใหม่ ซึ่งใช้ระยะ เวลาดําเนินการสร้าง 11 เดือน
ไทยออยล์ และ บมจ. ไทยลู้บเบส ไทยออยล์ และ บมจ. ไทยลู้บเบส ได้รับโล่รางวัลระดับทอง ในฐานะ สถานประกอบกิ จ การที่ ไ ม่ มี ก าร ประสบอุ บั ติ เ หตุ ถึ ง ขั้ น หยุ ด งาน ต่อเนื่อง ตั้งแต่ 10,000,000 ชั่วโมง การทํางานขึ้นไป และระดับเงินใน ฐานะสถานประกอบกิจการทีไ่ ม่มกี าร ประสบอุ บั ติเหตุ ถึงขั้ นหยุ ดงานต่ อ เนื่องตั้งแต่ 3,000,000 - 9,999,999 ชั่วโมงการทํางาน ตามลําดับ
ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไ ด้ รั บ รางวั ล รายงาน บรรษัทภิบาลดีเด่น (Top Corporate Governance Report Award) จาก ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (SET Awards) ตลอดจนได้รับการ เสนอชื่ อ เป็ น หนึ่ ง ในสามผู้ เข้ า รอบ สุดท้าย (Finalists) สําหรับรางวัลด้าน
ไทยออยล์ ไทยออยล์ ผ่า นเข้ า รอบสุ ด ท้ า ยของ การประกวดในงาน Platts Global Energy Awards ที ่ ป ระเทศสหรั ฐ อเมริกา ใน 2 ประเภท ได้แก่ รางวัล
บจ. ไทยออยล์มารีน บจ. ไทยออยล์ ม ารี น จั ด ซื ้ อ เรื อ ไทยออยล์ 12 ซึ ่ ง เป็ น เรื อ ขนส่ ง ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมขนาดประมาณ 96,000 ตันบรรทุกแบบเปลือก 2 ชั้น (Double Hull) ซึ่งเป็นเรือที่มีขนาด ใหญ่ที่สุดของ บจ. ไทยออยล์มารีน
IR Excellence
บมจ. ไทยลู้บเบส บมจ. ไทยลู้บเบสก่อสร้างโครงการ ผลิตนํ้ามันยางมลพิษตํ่า (TDAE) แล้ว เสร็จ พร้อมสําหรับกระบวนการเดิน เครื่องเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์
สิงหาคม บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ได้ลงนามใน สัญญารับการสนับสนุนจากกองทุน เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ภายใต้ “โครงการส่งเสริมการจัดการ ด้านการใช้พลังงานโดยวิธีประกวด ราคา” (Demand Side Management by Bidding Mechanism: DSM) จาก สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)
Downstream Operation of the Year (Operation Excellence) และ Community Development Program of the Year
ไทยออยล์ได้รับรางวัล Platts Top 250 Global Energy Companies จาก Platts ประเทศสิงคโปร์ สถานี โ ทรทั ศ น์ CNBC เสนอชื ่ อ คุณสุรงค์ บูลกุล ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร เป็นผู้เข้ารอบสุดท้ายในการ ประกวดรางวัล Business Leader of
the Year Award 2010
034
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ปี 2 5 5 3
สรุปภาวะตลาด
ปี 2553 ภาวะตลาดและเศรษฐกิจโลกในปี 2553 เศรษฐกิจโลกในปี 2553 กลับมาขยายตัวอีกครั้งด้วยอัตราร้อยละ 4.8 (กองทุนการเงินระหว่างประเทศ วันที่ 6 ตุลาคม 2553) โดยเฉพาะ ในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2553 ที่เศรษฐกิจทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ยุโรป และจีน มีการขยายตัวอย่างมาก ซึ่งเป็นผลมาจาก นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล และการอัดฉีดเงินจํานวนมากเข้าสู่ระบบเพื่อสร้างสภาพคล่องให้ตลาด อย่างไรก็ตาม อัตราการฟื้นตัว ของเศรษฐกิจโลกเริ่มชะลอตัวลงในช่วงไตรมาสที่ 2 เนื่องมาจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลต่างๆ สิ้นสุดลง รวมทั้งเกิดปัญหา วิกฤติหนี้สาธารณะในยุโรป นอกจากนี้ มาตรการของจีนในการที่จะลดความร้อนแรงของเศรษฐกิจ และภาวะฟองสบู่ในภาคอสังหาริมทรัพย์ โดยผ่านการจํากัดการปล่อยสินเชื่อในประเทศ ได้ส่งผลทําให้เศรษฐกิจจีนมีการขยายตัวช้าลงเช่นกัน ส่วนในสหรัฐอเมริกา การฟืน้ ตัวทางเศรษฐกิจยังคงมีความเปราะบาง และปัญหาการว่างงานทีย่ งั คงอยูใ่ นระดับสูง ส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ ในการประชุมวันที่ 3 พฤศจิกายน 2553 ได้ตดั สินใจอัดฉีดเงินเข้าสูร่ ะบบอีกครัง้ ด้วยวงเงินถึง 600,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพือ่ เป็นการกระตุน้ เศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาไม่ให้กลับไปหดตัวอีก ซึ่งจากมาตรการดังกล่าว ได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งอ่อนค่าลง อย่างมากเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นๆ
ภาวะตลาดนํ้ามันดิบและนํ้ามันสําเร็จรูปในปี 2553 ราคานํ้ามันดิบในปี 2553 ปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยมีการเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 68-92 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ย อยู่ที่ 78 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับเพิ่มขึ้นจากราคาเฉลี่ยในปี 2552 ที่ 62 เหรียญสหรัฐฯ โดยปัจจัยพื้นฐานมีการเปลี่ยนแปลง และ ทําให้ราคานํ้ามันปรับตัวสูงขึ้น จากความต้องการใช้นํ้ามันโลกที่กลับมาขยายตัวอีกครั้งตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ขณะที่กลุ่มประเทศ ในโอเปคยังคงร่วมกันทําหน้าที่ในการรักษากําลังการผลิตไม่ให้สูงเกินไปไว้ได้เป็นอย่างดี ซึ่งทําให้ปริมาณนํ้ามันดิบที่ออกสู่ตลาดมีจํากัด นอกจากนี้ นักลงทุนได้กลับเข้ามาลงทุนในตลาดนํา้ มันอีกครัง้ จากความมัน่ ใจต่อภาวะเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้ราคานํา้ มันดิบในช่วงไตรมาสที่ 1 ปรับตัวสูงขึน้ อย่างไรก็ตาม ราคานํา้ มันดิบได้ปรับตัวลดลงในช่วงไตรมาสที่ 2 จากภาวะเศรษฐกิจโลกทีเ่ ริม่ ชะลอตัวลง รวมทัง้ ปัญหาวิกฤติหนี้ และมาตรการชะลอความร้อนแรงของเศรษฐกิจจีน ส่งผลให้นกั ลงทุนหันออกมาจากตลาดนํา้ มันมาลงทุนในตลาดเงินทีม่ คี วามเสีย่ งตํา่ กว่าแทน ส่วนในช่วงไตรมาสที่ 3 ราคานํ้ามันดิบปรับตัวเพิ่มขึ้นอีกครั้งเนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับอุปทานนํ้ามันดิบในอนาคต จากปัญหานํ้ามัน รั่วไหลจากแท่นขุดเจาะแห่งหนึ่งในอ่าวเม็กซิโก ทําให้มีการนํามาตรการห้ามการขุดเจาะนํ้ามันในบริเวณชายฝั่งมาบังคับใช้ รวมทั้งมีการ ออกกฎระเบียบเข้มงวดในเรื่องมาตรฐานความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น แต่ราคายังคงถูกกดดันจากปริมาณนํ้ามันคงคลังของสหรัฐฯ ที่ทําสถิติ สูงสุดเป็นประวัติการณ์ ทําให้ราคาในขณะนั้นยังคงอยู่ตํ่ากว่าระดับ 80 เหรียญสหรัฐฯ จากนั้น ราคานํ้ามันได้ปรับตัวสูงขึ้นมาทําสถิติสูงสุด ในรอบ 26 เดือน ที่ระดับเหนือ 90 เหรียญสหรัฐฯ ในช่วงไตรมาสที่ 4 จากค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ที่อ่อนค่าลง และสภาพคล่องในตลาด ที่มีมากขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากมาตรการอัดฉีดเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ รอบที่ 2 จึงทําให้นักลงทุนหันมาลงทุนในตลาดนํ้ามัน รวมทั้ง ทองคําเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มสูงขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ ราคานํ้ามันดิบยังได้รับแรงหนุนจาก ราคานํ้ามันสําเร็จรูปที่ปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากความต้องการใช้นํ้ามันดีเซลเพื่อทําความร้อนที่เพิ่มสูงขึ้นมากทั้งในสหรัฐอเมริกา และยุโรป จากสภาพอากาศที่หนาวเย็นกว่าปกติ ส่วนราคานํ้ามันสําเร็จรูปในปี 2553 ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามราคานํ้ามันดิบ โดยตลาดนํ้ามันสําเร็จรูปโดยรวมปรับตัวสูงขึ้นจากความต้องการใช้ นํ้ามันในทุกภาคอุตสาหกรรมที่ปรับตัวสูงขึ้นตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้ปริมาณนํ้ามันสําเร็จรูปคงคลังทั่วโลกที่อยู่ในระดับสูง มาตั้งแต่ปลายปี 2552 เริ่มปรับตัวลดลง ประกอบกับการปิดซ่อมบํารุงโรงกลั่นชั่วคราวในหลายๆ ประเทศ เหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ปี 2 5 5 3
035
ในชิลี การประท้วงท่าขนส่งนํ้ามันและโรงกลั่นนํ้ามันเป็นเวลานานถึง 1 เดือนในฝรั่งเศส ส่งผลกระทบต่อปริมาณการผลิตของโรงกลั่น และ ทําให้ประเทศที่ประสบปัญหาเหล่านี้ต้องมีการนําเข้าผลิตภัณฑ์นํ้ามันเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ อากาศที่หนาวจัดในสหรัฐอเมริกา และยุโรป ส่งผลให้ความต้องการใช้นํ้ามันดีเซลเพื่อทําความร้อนปรับตัวสูงขึ้นมากในช่วงปลายปี จากปัจจัยพื้นฐานที่ปรับตัวดีขึ้นนั้น จึงทําให้ส่วนต่าง ระหว่างราคานามั และนามั ้ามันดิบในปีนี้อยู่ในระดับที่สูงกว่าปีก่อนมาก งราคานํ้ามันสํสาเร็ าเร็จรูป และนํ
ราคาน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูป ที่ตลาดสิงคโปร์ ปี 2552 และ 2553
2552
2553
110 100 90 80 70 60 50 40 30
เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
น้ำมันอากาศยาน น้ำมันดีเซล น้ำมันเบนซิน น้ำมันดิบดูไบ น้ำมันเตา
ภาวะตลาดนํ้ามันสําเร็จรูรปในประเทศไทยปี ปในประเทศไทยปี 2553 ภาวะเศรษฐกิจไทยในปี 2553 เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเศรษฐกิจไทยสามารถขยายตัวได้ถึงร้อยละ 7.9 (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2553) โดยได้รับแรงสนับสนุนหลักจากการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจโลก และราคาสินค้าเกษตรที่ปรับตัวสูงขึ้น ส่งผลให้ทั้งภาคการผลิต การส่งออก การลงทุน และการบริโภคของภาคเอกชน รวมทั้ง การเดินทางท่องเที่ยวปรับตัวดีขึ้น ซึ่งสภาพเศรษฐกิจที่ปรับตัวดีขึ้นดังกล่าว ส่งผลให้ปริมาณความต้องการนํ้ามันสําเร็จรูปในประเทศโดยรวม ปรับเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 1.9 โดยปริมาณการใช้นํ้ามันอากาศยานปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8 ส่วนปริมาณการใช้ก๊าซหุงต้มปรับเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 10.8 ในขณะที่นํ้ามันเตาปรับลดลงร้อยละ 4.2 อย่างไรก็ดี ราคานํ้ามันในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ส่งผลให้ราคา ขายปลีกนํ้ามันหน้าสถานีบริการในประเทศปี 2553 อยู่สูงกว่าปี 2552 ค่อนข้างมาก และถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่กดดันปริมาณความต้องการ ใช้นํ้ามันเบนซิน และดีเซลภายในประเทศ โดยการใช้นํ้ามันเบนซินลดลงร้อยละ 1.4 ส่วนการใช้นํ้ามันดีเซลทรงตัวเมื่อเทียบกับปี 2552
036
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ปี 2 5 5 3
ความต้องการใช้น้ำมันสำเร็จรูปในประเทศ ปี 2552 และ 2553 บาร์เรลต่อวัน
2552
2553
800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
น้ำมันเตา
น้ำมันดีเซล
น้ำมันอากาศยาน
น้ำมันเบนซิน
ก๊าซหุงต้ม
ที่มา: สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน
ในปี 2553 โรงกลั่นภายในประเทศกลั่นนํ้ามันในปริมาณเฉลี่ย 961,000 บาร์เรลต่อวัน ซึ่งปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 จากปี 2552 เนื่องจากการ ฟื้นตัวของสภาพเศรษฐกิจโดยรวมส่งผลให้ปริมาณความต้องการใช้นํ้ามันในประเทศปรับสูงขึ้น และค่าการกลั่นของโรงกลั่นนํ้ามันในประเทศ ปรับตัวดีขึ้น ทั้งนี้ ไทยออยล์ยังคงมีสัดส่วนการกลั่นเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 27 ของปริมาณการกลั่นรวมของทั้งประเทศ
ภาวะตลาดอะโรมาติกส์ในปี 2553 ตลาดอะโรมาติกส์ในปี 2553 มีความผันผวนอย่างมาก โดยในช่วงครึ่งแรกของปี ตลาดได้รับแรงกดดันจากอุปทานที่ล้นตลาด เนื่องจากมี การขยายและเพิ่มกําลังการผลิต ทั้งในจีน ไทย สิงคโปร์ และตะวันออกกลางตั้งแต่ปี 2552 ซึ่งคิดเป็นอุปทานส่วนเพิ่มของสารอะโรมาติกส์ โดยรวมถึง 10.5 ล้านตันต่อปี โดยเป็นสารพาราไซลีน 5.3 ล้านตันต่อปี สารเบนซีน 3 ล้านตันต่อปี และสารโทลูอีน 2.2 ล้านตันต่อปี จากสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้ราคาอะโรมาติกส์ปรับตัวลดลงอย่างมาก จนไปแตะระดับตํ่าสุดของปีในเดือนกรกฎาคม เป็นเหตุให้ โรงอะโรมาติกส์หลายแห่งที่มีต้นทุนการผลิตสูง เช่น โรงผลิตในญี่ปุ่น และไต้หวัน จําเป็นต้องลดกําลังการผลิต หรือตัดสินใจปรับแผน หยุดการผลิตเพื่อซ่อมบํารุงแทนในช่วงที่ราคาผลิตภัณฑ์ตกตํ่า อย่างไรก็ตาม ราคาอะโรมาติกส์ในช่วงครึ่งปีหลังมีการปรับตัวดีขึ้นอย่างมาก โดยสถานการณ์อุปทานล้นตลาดเริ่มคลี่คลายจากความพยายาม ของผู้ผลิตในภูมิภาคที่ต้องการจะควบคุมปริมาณผลิต อีกทั้งปัจจัยภายนอกอื่นๆ ที่เข้ามามีผลกระทบทําให้ปริมาณสารอะโรมาติกส์ในตลาด ปรับลดน้อยลง ได้แก่ การปรับกระบวนการผลิตของโรงอะโรมาติกส์หลายแห่งในประเทศอิหร่านเพื่อหันไปผลิตนํ้ามันเบนซินไว้ใช้ในประเทศ แทนเพื่อชดเชยการนําเข้า หลังจากถูกมาตรการควํ่าบาตรจากนานาประเทศทําให้ไม่สามารถนําเข้านํ้ามันเบนซินได้ ประกอบกับในช่วงเวลา ไล่เลี่ยกันนั้น มีโรงอะโรมาติกส์หลายแห่งประสบปัญหาทําให้ต้องหยุดการผลิตไป ในขณะที่มีความต้องการผลิตภัณฑ์อะโรมาติกส์เพิ่มขึ้นมาก
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ปี 2 5 5 3
037
สัดส่วนปริมาณการกลั่นของโรงกลั่นในประเทศปี 2553 อื่นๆ 1% บางจาก 9%
ไทยออยล์
27%
เอสโซ่ 13% พีทีทีเออาร์
15%
ไออาร์พีซี
18% สตาร์ปิโตรเลียม
17% ที่มา: สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน
ตามฤดูกาล เพื่อนําไปผลิตเป็นสินค้าสําหรับช่วงเทศกาลคริสต์มาส และปีใหม่ นอกจากนี้ ปัญหาการขาดแคลนเส้นใยฝ้ายในตลาดโลก ส่งผล ให้ราคาฝ้ายปรับตัวขึน้ ทําสถิตสิ งู สุดเป็นประวัตกิ ารณ์ ทําให้ผผู้ ลิตสิง่ ทอต้องหันมาใช้เส้นใยโพลีเอสเตอร์ซง่ึ มีสารพาราไซลีนเป็นส่วนผสมหลัก มากขึ้นแทน อีกทั้งยังมีความต้องการสารพาราไซลีนส่วนเพิ่มจากโรงพีทีเอใหม่ ที่มีกําลังการผลิตรวม 6 แสนตันที่ขึ้นมาในช่วงปลายปี จากสถานการณ์ตลาดพาราไซลีนทีด่ มี าก ประกอบกับราคาวัตถุดบิ ทีส่ งู ขึน้ ช่วยหนุนให้ราคาผลิตภัณฑ์อะโรมาติกส์ตวั อืน่ ๆ ปรับสูงขึน้ ตามไปด้วย
ภาวะตลาดนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานและยางมะตอยในปี 2553 จากการที่เศรษฐกิจโลกกลับมาขยายตัวอีกครั้ง ส่งผลให้ความต้องการใช้นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออก เฉียงเหนือ นําโดยจีน ที่มีความต้องการใช้นํ้ามันหล่อลื่นสําหรับภาคการเกษตร และอุตสาหกรรมยานยนต์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ อุปทานมีอยู่ค่อนข้างจํากัด เนื่องจากโรงกลั่นนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานในภูมิภาคประสบปัญหา และได้ทําการหยุดการผลิต ได้แก่ โรงกลั่นนํ้ามัน หล่อลื่นพื้นฐานในอินโดนีเซีย ซึ่งได้หยุดการผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2553 และโรงกลั่นนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานในไต้หวัน ที่หยุดการผลิตไป ในเดือนกรกฎาคม 2553 จึงทําให้อุปทานของนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานไม่เพียงพอต่อความต้องการ จากปัจจัยพื้นฐานดังกล่าว ส่งผลให้ราคา ของนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานปรับเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ต้นปี 2553 เป็นต้นมา ส่วนความต้องการใช้ยางมะตอยในปี 2553 ในภูมิภาคอยู่ในระดับที่สูงมาก เนื่องจากแผนกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ภายในภูมิภาค ส่งผลให้ราคาของยางมะตอยปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีราคาสูงกว่าราคานํ้ามันเตานับตั้งแต่ต้นปี 2553 เป็นต้นมา (ปกติราคา ยางมะตอยจะตํ่ากว่าราคานํ้ามันเตา) ถึงแม้ว่าจะเกิดภาวะนํ้าท่วม และฝนตกหนักเป็นช่วงเวลานานในช่วงครึ่งปีหลัง แต่ความต้องการใช้ ยางมะตอยในภูมิภาคก็ยังคงมีอยู่มากโดยเฉพาะจากจีน ซึ่งเป็นผลมาจากการลงทุนโครงการต่างๆ ของภาครัฐ
038
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ปี 2 5 5 3
ภาวะตลาดสารทําละลายในประเทศในปี 2553 ตลาดสารทําละลายในปี 2553 มีการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ทําให้อุปสงค์ของการใช้สารทําละลายใน อุตสาหกรรมต่างๆ เพิม่ ขึน้ มากกว่าร้อยละ 15 เมือ่ เทียบกับปีกอ่ น ซึง่ ในไตรมาสที่ 1 อุปสงค์มกี ารขยายตัวมากกว่าร้อยละ 20 โดยอุตสาหกรรม รถยนต์ และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เช่น อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วน ยางรถยนต์ เพื่อการส่งออกของไทยเติบโตอย่างมาก รวมทั้งการผลิต ในภาคอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สื่อสาร มีการเติบโตเพิ่มขึ้นเช่นกัน สําหรับการบริโภคภายในประเทศ ในไตรมาสที่ 1 มีทิศทางเดียวกับการส่งออก แต่ตลาดสารทําละลายได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมือง รวมทั้งปัญหา เรื่องสิ่งแวดล้อม และการชุมนุมรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดในไตรมาสที่ 2 ทําให้อุตสาหกรรมต่างๆ ไม่สามารถดําเนินการผลิตได้ตาม เป้าหมาย การส่งออกมีปัญหา ทําให้ยอดการใช้สารทําละลายลดลง เมื่อเหตุการณ์สงบลง และปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อมเริ่มคลี่คลายใน ไตรมาสที่ 3 ทําให้อุปสงค์ของสารทําละลายปรับเพิ่มขึ้นมาใกล้เคียงกับไตรมาสที่ 1 ส่วนในไตรมาสที่ 4 ผู้ผลิตเพื่อการส่งออกเริ่มประสบ ปัญหาจากการแข็งค่าของเงินบาท ประกอบกับปัญหานํ้าท่วมในหลายๆ จังหวัด ส่งผลให้อุปสงค์ในช่วงปลายปีปรับลดลงอีกครั้ง สําหรับด้านอุปทานในปี 2553 พบว่าการผลิตสารทําละลายภายในประเทศมีเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากมีการขยายกําลังการผลิตของโรงงานผลิต ในประเทศจากหลายโครงการ ทําให้ผลิตภัณฑ์สารทําละลายบางชนิดมีมากเกินความต้องการสําหรับตลาดภายในประเทศ ส่งผลให้เกิดการ แข่งขันในประเทศเป็นไปอย่างเข้มข้น
ภาวะอุตสาหกรรมการขนส่งผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปทางนํ้าในปี 2553 ตลาดเรือขนส่งนํา้ มันสําเร็จรูปและผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมีโดยรวมในปี 2553 ปรับตัวดีขน้ึ จากปีกอ่ น ตามการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลก และปริมาณ การค้าภายในภูมิภาคที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะจากจีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และไต้หวัน ที่มีการนําเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีในระดับที่ ค่อนข้างสูง ประกอบกับสภาวะตลาด และราคาผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมีทป่ี รับตัวดีขน้ึ ส่งผลให้มคี วามต้องการใช้เรือประเภทผนัง 2 ชัน้ (Double Hull ) มากขึ้นด้วย ทําให้อัตราค่าระวางเรือโดยเฉลี่ยในช่วงครึ่งแรกของปีปรับเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 10-15 เมื่อเทียบจากปี 2552 ส่วนในช่วงกลางปี อัตราค่าระวางเรือโดยเฉลี่ยปรับตัวลดลงตามสภาวะตลาดปิโตรเคมีที่ซบเซาในขณะนั้น ก่อนที่จะปรับตัวดีขึ้นค่อนข้างมาก ในครึ่งหลังของปี จากความต้องการจ้างเรือเพื่อขนส่งนํ้ามันสําเร็จรูปและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีที่เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของตลาด และระดับ ราคาของผลิตภัณฑ์ทั้งสองกลุ่มที่อยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูง
ภาวะตลาดเอทานอลในปี 2553 ในปี 2553 ปริมาณความต้องการใช้เอทานอลสําหรับเป็นเชื้อเพลิงในการผสมเป็นแก๊สโซฮอล์ภายในประเทศยังคงอยู่ที่ระดับประมาณ 1.2 ล้านลิตรต่อวัน ซึ่งใกล้เคียงกับปริมาณการใช้ในปี 2552 แม้ว่าภาครัฐจะผลักดันให้มีการใช้เอทานอลอย่างต่อเนื่องด้วยมาตรการทางด้าน การกําหนดภาษีเพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคหันไปใช้นํ้ามันแก๊สโซฮอล์เพิ่มขึ้นก็ตาม ส่วนทางด้านกําลังการผลิตของโรงงานเอทานอลในปี 2553 ปรับเพิ่มขึ้น 150,000 ลิตรต่อวัน มาอยู่ที่ 2.93 ล้านลิตรต่อวัน แต่ปริมาณการผลิต เอทานอลจริงมีอยู่เพียง 1.2-1.3 ล้านลิตรต่อวัน ส่วนที่เกินจากความต้องการของตลาดเพียงเล็กน้อยนั้นมีการนําส่งออก คิดเป็นประมาณ 0.14 ล้านลิตรต่อวัน หรือร้อยละ 10 ของปริมาณการขายเอทานอลทั้งหมดในประเทศ ส่วนราคาเฉลี่ยเอทานอลในปี 2553 ปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 23.4 บาทต่อลิตร จาก 20 บาทในปี 2552 เนื่องจากราคาวัตถุดิบที่ปรับตัวสูงขึ้น จากปัญหาความแปรปรวนของสภาพอากาศ ฝนทิ้งช่วง ภาวะแห้งแล้ง รวมถึงปัญหาศัตรูพืชและโรคระบาด ซึ่งส่งผลให้ผลผลิตพืชที่ใช้เป็น วัตถุดิบมีจํานวนลดลง โดยเฉพาะมันสําปะหลังที่ลดลงร้อยละ 29.1 และอ้อยที่ลดลงร้อยละ 5.3
ส รุ ป ภ า ว ะ ต ล า ด ปี 2 5 5 3
039
ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าในปี 2553 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าในประเทศปี 2553 ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปี 2552 ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ทั้งทางด้านการบริโภค การลงทุน ภาคเอกชน และการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม โดยปริมาณการใช้ไฟฟ้าสะสมเฉลี่ยต่อเดือนในปี 2553 (ช่วงระยะเวลา 10 เดือน) อยู่ที่ ประมาณ 12,500 กิกะวัตต์ต่อชั่วโมง ซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากถึงร้อยละ 10.9 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2552 โดยภาคอุตสาหกรรม ยังคงเป็นภาคที่มีการใช้ไฟ้ฟ้ามากที่สุด คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 45 ตามมาด้วยภาคธุรกิจ และภาคที่อยู่อาศัย ทางด้านปริมาณการผลิตไฟฟ้าในประเทศปี 2553 ปรับตัวสูงขึ้นในทิศทางเดียวกันกับปริมาณการใช้ไฟฟ้า โดยปริมาณการผลิตไฟฟ้าเฉลี่ย ต่อเดือนในปี 2553 อยู่ที่ประมาณ 13,800 กิกะวัตต์ต่อชั่วโมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.2 จากปี 2552 โดยแบ่งออกเป็นการผลิตของการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ร้อยละ 45 ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP ) ร้อยละ 42 ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP ) ร้อยละ 8 และนําเข้าจากประเทศเพื่อนบ้านร้อยละ 5 โดยก๊าซธรรมชาติยังคงเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตไฟฟ้าของประเทศ โดยมีสัดส่วนคิดเป็น ร้อยละ 72 ส่วนเชื้อเพลิงอื่นๆ ได้แก่ ถ่านหินและลิกไนต์ มีสัดส่วนร้อยละ 19 พลังนํ้า ร้อยละ 3 นํ้ามันเตา ร้อยละ 0.4 นําเข้า ร้อยละ 5 และ แหล่งอื่นๆ ร้อยละ 2 ส่วนค่าไฟฟ้าผันแปรอัตโนมัติ (ค่าเอฟที) ในปี 2553 ทรงตัวตั้งแต่ปี 2552 ที่ 92.55 สตางค์ต่อหน่วย
040
ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข่ ง ขั น ใ น อ น า ค ต
ภาวะอุตสาหกรรมและ
การแข่งขันในอนาคต ภาวะตลาดและเศรษฐกิจโลกในปี 2554 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF ) คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจโลกในปี 2554 จะยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องในอัตราร้อยละ 4.2 โดยเศรษฐกิจ ของประเทศที่พัฒนาแล้วจะขยายตัวที่ประมาณร้อยละ 2.2 ในขณะที่ประเทศที่กําลังพัฒนา นําโดยจีนและอินเดียจะเติบโตในอัตราที่มากกว่า ที่ประมาณร้อยละ 6.4 โดย IMF มองว่าจีนจะยังคงเป็นกําลังสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียและของโลกในปี 2554 ให้เติบโตอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจโลกอาจขยายตัวได้น้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ เนื่องจากยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จําเป็นต้องได้รับการแก้ไข ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาอัตราการว่างงานในประเทศที่พัฒนาแล้วที่ยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูง ปัญหาหนี้สาธารณะของสหภาพยุโรป และปัญหาฟองสบู่ใน ภาคอสังหาริมทรัพย์ของจีน ดังนั้น รัฐบาลต่างๆ ทั่วโลกน่าจะต้องดําเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนปรนต่อเนื่องไปอีกระยะหนึ่ง เช่น การคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายระดับตํ่า หรือการอัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบโดยการเข้าซื้อพันธบัตรรัฐบาล เพื่อให้เศรษฐกิจโลกสามารถกลับไปสู่ การฟื้นตัวอย่างยั่งยืนในอนาคต
ภาวะตลาดนํ้ามันดิบและนํ้ามันสําเร็จรูปในปี 2554 ในปี 2554 คาดว่าราคานํ้ามันดิบดูไบจะยังคงผันผวน และมีราคาเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 85 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับสูงขึ้นจากราคาเฉลี่ย ในปี 2553 ที่ประมาณ 78 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนื่องจากความต้องการใช้นํ้ามันของโลกมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นตามเศรษฐกิจโลกที่ ขยายตัว ซึ่งส่งผลให้ปริมาณนํ้ามันคงคลังทั่วโลกที่อยู่ในระดับสูงมาตลอดนับจากปี 2552 ปรับลดลง ประกอบกับโอเปคจะยังคงควบคุม ปริมาณการผลิตนํ้ามันดิบเพื่อรักษาสมดุลของตลาด และระดับราคานํ้ามันไว้ โดยปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ ได้แก่ การเคลื่อนย้ายเงินลงทุน ปัญหาการเมืองระหว่างประเทศ กฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่เข้มงวดมากขึ้น ความผันผวนของฤดูกาลและภัยธรรมชาติ จะเป็น ปัจจัยที่ส่งผลให้ราคานํ้ามันในปี 2554 ปรับเพิ่มสูงขึ้น และมีความผันผวนต่อเนื่อง อุปสงค์นํ้ามันสําเร็จรูป: แนวโน้มความต้องการใช้นํ้ามันของโลกในปี 2554 ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยสํานักงานพลังงานสากล (IEA ) ประมาณการความต้องการใช้นํ้ามันของโลกในปี 2554 จะเฉลี่ยอยู่ที่ 89.0 ล้านบาร์เรลต่อวัน ปรับเพิ่มขึ้น 1.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากปี 2553 โดยกว่าครึง่ ของความต้องการใช้สว่ นทีเ่ พิม่ ขึน้ นัน้ มาจากภูมภิ าคเอเชีย นําโดยจีน และอินเดีย ส่วนความต้องการใช้จากกลุม่ ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่นอาจจะกลับไปหดตัวอีกครั้ง เนื่องจากประสิทธิภาพการใช้นํ้ามันที่สูงขึ้นและการสนับสนุนพลังงาน ทดแทนของภาครัฐ อุปทานนํ้ามันดิบ: ในปี 2554 อุปทานนํ้ามันดิบของกลุ่มนอกโอเปคมีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่มาจากแหล่งผลิตในละตินอเมริกา และกลุ่มประเทศอดีตสหภาพโซเวียต รวมทั้งอุปทานก๊าซธรรมชาติของกลุ่มโอเปคที่จะปรับเพิ่มขึ้นเช่นกัน ซึ่งส่วนเพิ่มนี้สามารถรองรับ ความต้องการใช้นํ้ามันของโลกที่จะปรับเพิ่มขึ้นในปี 2554 ได้เพียงพอ ดังนั้น ความต้องการนํ้ามันดิบจากกลุ่มโอเปค ในปี 2554 น่าจะอยู่ ในระดับใกล้เคียงกับปี 2553 และกําลังการผลิตส่วนเกินของโอเปคจะยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูง ซึ่งปัจจัยนี้จะกดดันราคาในปี 2554 ไม่ให้ ปรับเพิ่มขึ้นมากนัก ปริมาณนํ้ามันคงคลัง: ปริมาณนํ้ามันคงคลังทั่วโลกในปี 2554 น่าจะยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูง แต่จะค่อยๆ ปรับตัวลดลงจากความต้องการ ใช้นํ้ามันที่ปรับตัวสูงขึ้น และกลับมาสู่ระดับปกติได้ในช่วงครึ่งหลังของปี ในขณะที่ปริมาณนํ้ามันสํารองนอกชายฝั่งก็มีแนวโน้มปรับตัวลดลง หลังจากปริมาณการใช้นํ้ามันดีเซลเพื่อทําความร้อนปรับสูงขึ้นมากในช่วงฤดูหนาว
ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข่ ง ขั น ใ น อ น า ค ต
041
กําลังการผลิตของโรงกลั่นในภูมิภาค: ในปี 2554 คาดว่าจะมีกําลังการผลิตของโรงกลั่นในภูมิภาคปรับเพิ่มขึ้นเพียง 120,000 บาร์เรลต่อวัน โดยจะมาจากจีน อินเดีย และปากีสถาน ซึ่งกําลังการผลิตส่วนเพิ่มนี้มีปริมาณตํ่ากว่าที่ได้ประมาณการไว้ในปีก่อนหน้ามาก เนื่องจากมี โรงกลั่นบางแห่งเลื่อนกําหนดการเปิดเดินเครื่องออกไป และมีโรงกลั่นบางแห่งในญี่ปุ่น และจีน (กําลังการผลิตรวม 420,000 บาร์เรลต่อวัน) มีแผนที่จะปิดตัวลงในปี 2554 ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะช่วยผ่อนคลายแรงกดดันด้านอุปทานส่วนเกินของโรงกลั่นในภูมิภาคลงได้ การเคลื่อนย้ายเงินลงทุน: ในปี 2554 คาดว่านักลงทุนจะยังคงเคลื่อนย้ายเงินลงทุนมายังตลาดนํ้ามันเพิ่มขึ้น เนื่องจากสภาพคล่องในตลาด ที่ปรับเพิ่มขึ้น หลังจากการอัดฉีดเงินจํานวนมากถึง 600,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2553 ถึงเดือนมิถุนายน 2554 นอกจากนี้ ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มีแนวโน้มอ่อนค่า จะสร้างแรงจูงใจให้มีการลงทุนในสินค้าโภคภัณฑ์ ซึ่งรวมถึง ผลิตภัณฑ์นํ้ามัน เพื่อป้องกันความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ด้วยปัจจัยพื้นฐานของตลาดนํ้ามันที่ไม่ได้สนับสนุนให้ราคาอยู่ในระดับที่สูง มากจนเกินไป ความไม่มั่นใจเกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจโลก และปัญหาหนี้ในยุโรป อาจทําให้นักลงทุนเทขายนํ้ามัน และหันไปลงทุนในค่าเงิน ดอลลาร์สหรัฐฯ พันธบัตรรัฐบาล หรือทองคําที่มีความเสี่ยงตํ่ากว่า สถานการณ์การเมืองภายในประเทศผู้ผลิตนํ้ามันดิบ: ปัญหาโครงการนิวเคลียร์ของอิหร่านกับชาติตะวันตก และเหตุการณ์ความไม่สงบ ภายในประเทศของไนจีเรียน่าจะยังคงดําเนินต่อไปในปี 2554 แต่ไม่น่าจะส่งผลกระทบรุนแรงต่อราคานํ้ามันเหมือนเช่นในอดีต เนื่องจาก ปัจจุบัน กลุ่มโอเปคมีกําลังการผลิตส่วนเกินจํานวนมาก และมีความพร้อมจะเพิ่มกําลังผลิตเพื่อทดแทนส่วนที่หายไปได้ทันที ฤดูกาลและภัยธรรมชาติ: ส่งผลให้ราคานํ้ามันในแต่ละฤดูกาลมีความผันผวนที่แตกต่างกัน เนื่องจากความต้องการใช้นํ้ามันแต่ละประเภท แตกต่างกันไปตามฤดูกาล เช่น การใช้นํ้ามันเบนซินจะปรับสูงขึ้นในช่วงฤดูท่องเที่ยวหน้าร้อนของสหรัฐฯ ส่วนการใช้นํ้ามันดีเซลเพื่อทํา ความร้อนจะปรับสูงขึ้นในช่วงฤดูหนาว ส่วนฤดูกาลเฮอริเคนในมหาสมุทรแอตแลนติกอาจจะส่งผลกระทบต่อกําลังการผลิตนํ้ามันดิบของ สหรัฐฯ ในบริเวณอ่าวเม็กซิโก ซึ่งจะทําให้ราคานํ้ามันปรับตัวสูงขึ้นได้ นอกจากนี้ ภัยธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้นจะส่งผลให้ราคานํ้ามันผันผวน อย่างมาก เนื่องจากการผลิตและความต้องการใช้นํ้ามันอาจจะหยุดชะงักลง กฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่างๆ: แนวโน้มการบังคับใช้กฎหมายการปฏิรูปทางการเงินของสหรัฐฯ และแผนการปฏิรูปการขุดเจาะ นํ้ามันบริเวณทะเลลึกของสหรัฐฯ ซึ่งเป็นผลมาจากการรั่วไหลของนํ้ามันครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์ในอ่าวเม็กซิโก รวมทั้งนโยบายส่งเสริม การใช้พลังงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และการสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน อาจจะส่งผลกระทบต่อทั้งความต้องการใช้นํ้ามันและ ปริมาณการผลิตนํ้ามันในอนาคต
ภาวะตลาดนํ้ามันในประเทศปี 2554 สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลังคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2554 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวอยู่ในกรอบร้อยละ 4-5 (ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2553) โดยได้รับแรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายภายในประเทศ และเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากปี 2553 อย่างไรก็ดี การแข็งค่าของเงินบาท และทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายยังคงเป็นความเสี่ยงหลักสําหรับเศรษฐกิจในปี 2554 สําหรับทิศทางการใช้นํ้ามันสําเร็จรูปโดยรวมในประเทศในปี 2554 คาดว่าจะปรับเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 1-2 จากปี 2553 โดยเฉพาะความ ต้องการใช้กา๊ ซหุงต้มยังคงขยายตัวสูงทีร่ ะดับประมาณร้อยละ 8-10 จากนโยบายภาครัฐทีย่ งั คงตรึงราคาขายปลีกก๊าซหุงต้มภายในประเทศในราคา ตํ่ากว่าราคาตลาดโลก ในขณะที่ความต้องการใช้นํ้ามันสําเร็จรูปชนิดอื่นๆ คาดว่าจะกลับเข้าสู่การขยายตัวในอัตราปกติ โดยนํ้ามันเบนซิน และดีเซลคาดว่าจะขยายตัวเพียงเล็กน้อยจากปี 2553 เนื่องจากราคาขายปลีกที่จะปรับสูงขึ้นตามราคาตลาดโลก และผลจากการสนับสนุน พลังงานทดแทนจากภาครัฐ ส่วนนํ้ามันอากาศยาน และนํ้ามันเตาจะขยายตัวประมาณร้อยละ 4 และร้อยละ 3 ตามลําดับ
042
ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข่ ง ขั น ใ น อ น า ค ต
ด้านปริมาณการผลิตนํ้ามันสําเร็จรูปในประเทศมีแนวโน้มที่จะทรงตัว และอาจปรับลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบจากปี 2553 เนื่องจากโรงกลั่น นํ้ามันหลายโรงมีกําหนดการที่จะหยุดหรือปรับลดกําลังการผลิตบางส่วนเพื่อทําการเชื่อมต่อกับหน่วยผลิตใหม่สําหรับการผลิตนํ้ามัน เบนซิน และนํ้ามันดีเซลที่มีคุณภาพสูงตามมาตรฐาน EURO IV ที่จะเริ่มบังคับใช้ตามกฎหมายตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 เป็นต้นไป
ภาวะตลาดอะโรมาติกส์ในปี 2554 ในปี 2554 จะยังคงมีโรงผลิตอะโรมาติกส์แห่งใหม่เข้ามาในตลาดอย่างต่อเนื่องจากประเทศเกาหลีใต้ และประเทศจีน คิดเป็นกําลังการผลิต สารพาราไซลีนส่วนเพิม่ รวมกว่า 1.9 ล้านตันต่อปี นอกจากนี้ มาตรฐานนํา้ มันเบนซินใหม่ (MSAT II ) ในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึง่ จะเริม่ บังคับใช้ ในปี 2554 ซึ่งกําหนดให้มีองค์ประกอบของสารเบนซีนในเนื้อนํ้ามันมีไม่เกินร้อยละ 0.62 (โดยปริมาตร) ปรับลดลงจากเดิมที่ร้อยละ 1 (โดย ปริมาตร) ส่งผลให้จะมีปริมาณสารเบนซีนในตลาดเพิ่มมากขึ้นประมาณ 5-7 แสนตันต่อปี และลดปริมาณความต้องการนําเข้าสารเบนซีน ของสหรัฐอเมริกาลง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีอุปทานใหม่เกิดขึ้นพอสมควรในปี 2554 การเติบโตของเศรษฐกิจโลกจะมีส่วนช่วยเพิ่มปริมาณอุปสงค์ในตลาดอย่าง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะกําลังการผลิตใหม่ของโรงผลิตสินค้าปลายนํ้าจะช่วยเข้ามาลดอุปทานส่วนเกินในตลาดได้ และหนุนให้ส่วนต่างระหว่าง ราคาผลิตภัณฑ์อะโรมาติกส์ และราคาวัตถุดิบปรับตัวสูงขึ้นในปี 2554
ภาวะตลาดนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานและยางมะตอยในปี 2554 คาดว่าอุปสงค์โดยรวมของตลาดนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานยังอยู่ในทิศทางที่ดี จากปัจจัยสนับสนุนในหลายๆ ด้าน ได้แก่ อุปสงค์ที่ยังคงเพิ่มขึ้น ของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะจีน และอินเดียที่ภาคอุตสาหกรรมยานยนต์มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ความต้องการของนํ้ามันหล่อลื่น พื้นฐานเพิ่มขึ้นตามไปด้วย อย่างไรก็ตาม ในปี 2554 อุปทานภายในภูมิภาคมีแนวโน้มปรับเพิ่มมากขึ้น หลังจากโรงกลั่นในอินโดนีเซีย และ ไต้หวันที่ได้หยุดทําการผลิตไปในปี 2553 เนื่องจากไฟไหม้ คาดว่าจะกลับมาดําเนินการผลิตได้ ซึ่งจะเป็นปัจจัยหลักกดดันต่อตลาดนํ้ามัน หล่อลื่นพื้นฐานในปี 2554 และทําให้ส่วนต่างราคาของนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานกับนํ้ามันเตาซึ่งเป็นวัตถุดิบปรับลดลงมาสู่ระดับปกติ ในส่วนของยางมะตอย คาดว่าอุปสงค์จะยังอยู่ในระดับสูงต่อเนื่องจากปี 2553 จากแผนกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในภูมิภาค และ โครงการต่างๆ ที่เลื่อนมาจากช่วงปลายปี 2553 เนื่องจากอุทกภัยที่เกิดขึ้นในหลายๆ ประเทศ รวมทั้งจีน ซึ่งยังคงมีความต้องการใช้ ยางมะตอยมากที่สุดในภูมิภาคนี้
ภาวะตลาดสารทําละลายในปี 2554 ตลาดสารทําละลายในปี 2554 มีแนวโน้มปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้น เนื่องจากคาดว่าเศรษฐกิจทั่วโลกยังคงขยายตัวต่อเนื่อง โดยประเทศใน เอเชียเป็นกลุ่มที่มีการขยายตัวสูงสุด ซึ่งจะส่งผลทําให้ความต้องการใช้สารทําละลายในอุตสาหกรรมต่างๆ มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นตามการ เติบโตของการบริโภค ในประเทศไทย ความต้องการในส่วนการผลิตสําหรับภาคอุตสาหกรรมสี กาว เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากการ ปรับปรุง ซ่อมแซม ที่อยู่อาศัย ถนน รถยนต์ รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ หลังจากเกิดปัญหานํ้าท่วมช่วงปลายปี 2553
ภาวะอุตสาหกรรมการขนส่งนํ้ามันสําเร็จรูปและปิโตรเคมีในปี 2554 ภาวะโดยรวมของตลาดเรือขนส่งนํ้ามันมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นในปี 2554 ตามปริมาณการนําเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์นํ้ามันสําเร็จรูป และ ปิโตรเคมีในภูมภิ าคทีม่ แี นวโน้มสูงขึน้ ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก และของภูมภิ าคเอเชีย โดยเฉพาะจากจีน ซึง่ ยังคงมีอตั ราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับสูง ซึ่งจะทําให้ความต้องการใช้เรือเพื่อขนส่งผลิตภัณฑ์นํ้ามันสําเร็จรูป และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีปรับเพิ่มสูงขึ้น
ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข่ ง ขั น ใ น อ น า ค ต
043
นอกเหนือจากปริมาณความต้องการใช้เรือที่เพิ่มขึ้นแล้ว จํานวนเรือที่พร้อมที่จะให้บริการในภูมิภาคกลับมีแนวโน้มที่จะลดลง อันเนื่องมาจาก การขยายตัวของเส้นทางการค้าระหว่างภูมิภาคตะวันออกกลางและจีน และระหว่างกลุ่มประเทศตะวันตกและภูมิภาคเอเชีย ซึ่งจะส่งผลให้เรือ ที่ถูกว่าจ้างให้บรรทุกสินค้าในเส้นทางดังกล่าวต้องใช้ระยะเวลาเดินทางนานขึ้น ส่งผลให้กลับมารับสินค้าภายในภูมิภาคได้ช้าลง ซึ่งจะทําให้ อุปทานเรือทีม่ อี ยูใ่ นตลาดจรปรับลดลง อีกทัง้ กฎระเบียบของท่าเรือในการขนส่งผลิตภัณฑ์นา้ํ มันสําเร็จรูปและปิโตรเคมีทม่ี คี วามเข้มงวดมากขึน้ จะส่งผลทําให้อัตราค่าขนส่งในปีหน้ามีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นไปอีก
ภาวะตลาดเอทานอลในปี 2554 คาดว่าปริมาณความต้องการเอทานอลภายในประเทศปี 2554 จะขยายตัวเล็กน้อย มาอยู่ที่ประมาณ 1.5 ล้านลิตรต่อวัน จากประมาณ 1.2 ล้านลิตรต่อวันในปี 2553 เนื่องจากราคานํ้ามันในตลาดโลกที่มีแนวโน้มสูงขึ้น และนโยบายสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทนจากภาครัฐ ในปี 2554 มีโรงงานเอทานอลใหม่เปิดดําเนินงาน 4 โรง ซึ่งคิดเป็นกําลังการผลิตรวม 1.6 ล้านลิตรต่อวัน ทําให้กําลังการผลิตเอทานอลรวม ในประเทศเพิ่มขึ้นเป็น 4.6 ล้านลิตรต่อวัน อย่างไรก็ดี ปริมาณการผลิตจริงนั้นยังคงขึ้นอยู่กับปริมาณความต้องการภายในประเทศ และราคา วัตถุดิบเป็นหลัก โดยผลผลิตเอทานอลบางส่วนจะจัดเก็บเป็นสต็อกของผู้ผลิต และผู้ประกอบการนํ้ามัน และเพื่อส่งออก สําหรับราคาเอทานอลคาดว่าจะปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากวัตถุดิบในการผลิตได้รับผลกระทบต่อเนื่องจากปัญหาภัยธรรมชาติ ทั้งภัยนํ้าท่วมและ ภัยแล้งจากปี 2553 โดยเฉพาะปริมาณผลผลิตมันสําปะหลังที่ลดลงอย่างมาก ในขณะที่ราคากากนํ้าตาลจะยังคงทรงตัวเนื่องจากผลผลิตอ้อย ได้รับผลกระทบเพียงเล็กน้อย
ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าในปี 2554 ความต้องการพลังงานไฟฟ้าในประเทศในปี 2554 มีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 เมื่อเทียบจากปี 2553 ตามการคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ ในประเทศที่ปรับตัวดีขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การใช้ไฟฟ้าในภาคอุตสหกรรม และภาคธุรกิจขยายตัวสูงขึ้นต่อเนื่องจากปี 2553 นอกจากนี้ การขยายตัวของปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้ายังได้รับแรงสนับสนุนจากแนวโน้มการดําเนินนโยบายตรึงราคาค่าไฟฟ้าผันแปรอัตโนมัติ (ค่าเอฟที) ต่อไป เพื่อเร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจ และบรรเทาปัญหาความเดือนร้อนของประชาชนที่ได้รับผลกระทบด้านพลังงาน ส่วนทางด้านกําลังการผลิตไฟฟ้าในปี 2554 คาดว่าจะปรับเพิ่มขึ้น 1,643 เมกะวัตต์ เนื่องจากมีการก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้า 7 โรง และ การปลดโรงไฟฟ้า 1 โรง
044
โครงการในอนาคต
โครงการ
ในอนาคต ไทยออยล์วางแผนกลยุทธ์การลงทุนของเครือไทยออยล์ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเสริมศักยภาพในการดําเนินธุรกิจให้มีการเจริญเติบโต อย่างยั่งยืน ตลอดจนเพิ่มเสถียรภาพเพื่อรองรับความผันผวนของอุตสาหกรรมนํ้ามันและปิโตรเคมีในอนาคต โดยมุ่งเน้นการเพิ่มมูลค่าของ ผลิตภัณฑ์ การขยายงานในธุรกิจปิโตรเคมี การผลิตนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง นอกจากนี้ ยังมีการลงทุนเพิ่มเติมในธุรกิจ ไฟฟ้า และพลังงานทดแทน เพื่อก้าวสู่การเป็นกลุ่มบริษัทพลังงานชั้นนําในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
โครงการที่อยู่ระหว่างดําเนินการ โครงการผลิตนํ้ามันสําเร็จรูปตามมาตราฐาน EURO IV ไทยออยล์ได้เริ่มโครงการผลิตนํ้ามันสําเร็จรูปมาตรฐาน EURO IV ในปี 2550 เพื่อรองรับมาตรฐานใหม่ที่จะบังคับใช้ในปี 2555 และสามารถ ผลิตนํ้ามันดีเซล และนํ้ามันเบนซิน 95 และ 91 ตามมาตรฐาน EURO IV ได้ตั้งแต่ปี 2551 ก่อนการบังคับใช้ถึง 4 ปี ซึ่งแสดงให้เห็นถึง ความพร้อมในการตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการดูแลสภาวะแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในส่วนของนํ้ามันแก๊สโซฮอล์ ไทยออยล์ได้สร้างหน่วยลดกํามะถันในองค์ประกอบนํ้ามันเบนซินจาก Catalytic Cracking Gasoline (CCG ) เพื่อลดปริมาณกํามะถันในนํ้ามันแก๊สโซฮอล์ให้ตรงตามมาตรฐาน EURO IV ซึ่งเงินลงทุนของโครงการคิดเป็นมูลค่าประมาณ 1,600 ล้านบาท ในขณะนีก้ าํ ลังอยูใ่ นระหว่างดําเนินการก่อสร้าง คาดว่าจะแล้วเสร็จในไตรมาสที่ 3 ของปี 2554 ซึง่ จะทําให้ไทยออยล์สามารถผลิต และจําหน่าย นํ้ามันดีเซล และนํ้ามันเบนซินทุกชนิดได้ตามมาตรฐาน EURO IV ทั้งหมด ก่อนการบังคับใช้ของรัฐบาล โครงการผลิตสาร TDAE ของ บมจ. ไทยลู้บเบส แม้ว่า บมจ. ไทยลู้บเบสจะสามารถผลิตสาร Treated Distillate Aromatic Extract (TDAE ) หรือนํ้ามันยางมลพิษตํ่า ในเชิงพาณิชย์ได้ในระยะ เวลาหนึง่ แล้ว แต่เนือ่ งจากความต้องการ TDAE มีสงู ขึน้ มาก เพือ่ นําไปใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตยางรถยนต์มาตรฐานสูง ดังนัน้ บมจ. ไทยลูบ้ เบส จึงเพิ่มการผลิต TDAE ในโครงการเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์นํ้ามันยาง (Extract ) โดยการลดปริมาณสารอะโรมาติกส์หนัก (Poly Cyclic Aromatic: PCA) ให้ตํ่ากว่าร้อยละ 3 โครงการผลิตสาร TDAE มีมูลค่าเงินลงทุนของโครงการประมาณ 800 ล้านบาท ขณะนี้ โครงการกําลัง อยู่ในระหว่างการดําเนินการก่อสร้าง หลังโครงการแล้วเสร็จในไตรมาสที่ 1 ปี 2554 บมจ. ไทยลู้บเบสจะสามารถผลิตสาร TDAE เพิ่มขึ้นอีก 50,000 ตัน / ปี โครงการขยายกองเรือของ บจ. ไทยออยล์มารีน บจ. ไทยออยล์มารีนมีแผนงานจัดซื้อเรือขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีเพื่อรองรับความต้องการขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและ ปิโตรเคมีของบริษัทในกลุ่ม ปตท. ที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2553 ที่ผ่านมา บจ.ไทยออยล์มารีนได้จัดซื้อเรือขนส่งนํ้ามันดิบ (Aframax ) ขนาด 96,000 ตันบรรทุก (DWT ) จํานวน 1 ลํา เพื่อขนส่งวัตถุดิบให้กับ บมจ.ไทยลู้บเบส โดยการซื้อเรือขนส่งนํ้ามันดิบในครั้งนี้ ทําให้ บจ.ไทยออยล์มารีน มีความสามารถในการขนส่งทั้งหมดเพิ่มขึ้นจากประมาณ 53,000 ตันบรรทุก เป็นประมาณ 152,500 ตันบรรทุก นอกจากนี้ บจ.ไทยออยล์มารีนยังมีแผนในการจัดหาเรือขนส่งนํ้ามันดิบเพื่อรองรับการขนส่งนํ้ามันดิบของบริษัทในกลุ่ม ปตท. เพื่อทดแทน การจ้างเรือในตลาดจรที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งถือเป็นการเสริมสร้างความมั่นคงในการขนส่งนํ้ามันดิบให้แก่บริษัทในกลุ่ม ปตท. โครงการปรับปรุงผลิตภัณฑ์สารอะโรมาติกส์ให้มีมูลค่าสูงขึ้นของ บจ. ไทยพาราไซลีน บจ. ไทยพาราไซลีนมีโครงการปรับปรุงหน่วยผลิต Tatoray เดิมให้เป็นหน่วย Selective Toluene Disproportion (STDP ) เพื่อเพิ่มมูลค่าของ สารโทลูอีนให้เป็นสารพาราไซลีน และสารเบนซีน โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 1,400 ล้านบาท ขณะนี้อยู่ระหว่างการออกแบบทางวิศวกรรม และคาดว่าจะแล้วเสร็จราวไตรมาส 4 ปี 2555 หลังโครงการแล้วเสร็จ กําลังการผลิตสารพาราไซลีน และสารเบนซีนจะเพิ่มขึ้นเป็น 527 และ 259 พันตันต่อปี (KMTA ) ตามลําดับ
โครงการในอนาคต
045
โครงการร่วมลงทุนในโรงงานผลิตเอทานอล ไทยออยล์ได้จัดตั้ง บจ. ไทยออยล์ เอทานอล เพื่อให้ดําเนินธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับเอทานอลได้อย่างคล่องตัว และมีประสิทธิภาพ โดยใน ขั้นต้น บจ. ไทยออยล์ เอทานอลได้ซื้อหุ้นร้อยละ 50 ใน บจ.ทรัพย์ทิพย์ ซึ่งดําเนินธุรกิจผลิตเอทานอลจากมันสําปะหลังขนาดกําลังการผลิต 200,000 ลิตรต่อวัน บจ. ทรัพย์ทิพย์ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บจ. ทรัพย์สถาพร เป็นบริษัทที่มีศักยภาพแข็งแกร่งด้านวัตถุดิบ กล่าวคือ เป็น 1 ใน 5 ของผู้ส่งออก มันสําปะหลังรายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีความเชี่ยวชาญในการจัดซื้อมันเส้นเพื่อการส่งออกมานานกว่า 30 ปี และมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ ในวงการส่งออกมันสําปะหลัง นอกจากนี้ บจ.ทรัพย์ทิพย์มีคลังเก็บวัตถุดิบขนาด 200,000 ตัน เพียงพอสําหรับการผลิตตลอดปี และมีถังเก็บ เอทานอลขนาด 2 ล้านลิตร จํานวน 3 ถัง รวม 6 ล้านลิตร ซึ่งถือเป็นจุดแข็งทางด้านอุปทาน (Supply ) สําหรับทางด้านอุปสงค์ (Demand ) นั้น ไทยออยล์อยูใ่ นกลุม่ บริษทั ปตท. ซึง่ มีฐานการตลาดนํา้ มันสําเร็จรูปขนาดใหญ่ทส่ี ดุ ในประเทศ มีความพร้อมด้านการบริหารจัดการ ซึง่ เอือ้ ต่อ การเป็นพันธมิตรด้านธุรกิจของ บจ. ไทยออยล์ เอทานอล และ บจ. ทรัพย์ทิพย์ เป็นการเสริมแรงให้ทั้งคู่สามารถเติบโตไปในธุรกิจพลังงาน ร่วมกัน โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าแห่งใหม่ภายใต้โครงการผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP ) ระบบ Cogeneration รัฐบาลได้มีนโยบายสนับสนุนให้เอกชนเข้ามามีบทบาท และร่วมลงทุนในธุรกิจการผลิตและจําหน่ายไฟฟ้าในรูปแบบผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP ) ซึ่งเป็นการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพด้วยระบบ Cogeneration โดยตามมติเห็นชอบของคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแห่งชาติในปี 2552 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้ออกระเบียบรับซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กระบบ Cogeneration ประเภทสัญญา Firm สําหรับการจัดหาไฟฟ้าช่วงปี 2558–2564 ปริมาณ 2,000 เมกะวัตต์ ไทยออยล์ได้ยื่นข้อเสนอขายไฟฟ้า และได้รับการคัดเลือกให้ขายไฟฟ้าภายใต้โครงการผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กจํานวน 2 โครงการ โครงการละ 90 เมกะวัตต์ โดยโครงการทั้ง 2 มีกําหนดกําหนดจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ (Commercial Operation Date : COD ) ในปี 2558
โครงการที่อยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นได้ โครงการศึกษาการส่งออกเอทานอล ไทยออยล์ได้ร่วมกับ The Oriental Scientific Instrument Import & Export (Group) Corp. (OSIC) ซึ่งเป็นหน่วยงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์จีน ทําหน้าที่ในการนําเข้าเอทานอล ทําการศึกษาความเป็นไปได้ในการร่วมส่งออกเอทานอลไปยังประเทศจีน เนื่องจากในปัจจุบัน ความต้องการ เอทานอลในประเทศมีจํากัด และมีกําลังการผลิตติดตั้งส่วนเกินอยู่เป็นจํานวนมาก การขยายตลาดเอทานอลสู่ต่างประเทศจะช่วยพัฒนา อุตสาหกรรมของประเทศโดยรวม และทําให้สามารถใช้กําลังการผลิตเอทานอลอย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งจะทําให้ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย ลดลง และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก โครงการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานของ บมจ. ไทยลู้บเบส ปัจจุบัน บมจ. ไทยลู้บเบสเป็นผู้ผลิตนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน (Lube Base Oil ) กลุ่ม 1 ซึ่งใช้ในการผลิตนํ้ามันหล่อลื่น (Lubricant ) เกรดมาตรฐาน แต่จากความต้องการนํ้ามันหล่อลื่นคุณภาพสูงในเกรดกึ่งสังเคราะห์ และสังเคราะห์ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งจากภาคยานยนต์ และ ภาคอุตสาหกรรม บมจ. ไทยลู้บเบสจึงได้ศึกษาแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยละเอียด เพื่อเพิ่มคุณภาพของนํ้ามัน หล่อลื่นพื้นฐานให้สูงขึ้น พร้อมรองรับมาตรฐานเครื่องยนต์ และสิ่งแวดล้อมที่จะเข้มงวดขึ้น
046
โครงการในอนาคต
โครงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์สารอะโรมาติกส์ของ บจ. ไทยพาราไซลีน บจ. ไทยพาราไซลีนมีแผนงานศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตสารอนุพันธ์ของเบนซีน (Benzene Derivative ) ร่วมกับพันธมิตรทางธุรกิจ เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์เบนซีนให้สูงขึ้น อีกทั้งเป็นการเปิดโอกาสทางธุรกิจใหม่เข้าสู่อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นกลาง และขั้นปลายอีกด้วย โครงการประสานความร่วมมือทางด้านธุรกิจไฟฟ้าของบริษัทในกลุ่ม ปตท. ปัจจุบนั บริษทั ในกลุม่ ปตท. ได้มกี ารขยายธุรกิจของกลุม่ อย่างต่อเนือ่ ง และมีการลงทุนในธุรกิจไฟฟ้าเพือ่ สร้างความมัน่ คงของพลังงานทีใ่ ช้ใน กระบวนการผลิต อีกทั้งยังสามารถนําไฟฟ้าส่วนที่เหลือขายให้กับ กฟผ. เพื่อเสริมความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้าให้กับประเทศอีกด้วย ด้วยวิสัยทัศน์ดังกล่าว ไทยออยล์ได้ก้าวสู่ธุรกิจไปในธุรกิจไฟฟ้าครั้งแรกในปี 2541 โดยลงทุนในธุรกิจโรงไฟฟ้าเอกชนขนาดเล็ก (SPP ) ขนาด 118 เมกะวัตต์ เพื่อขายให้ กฟผ. จํานวน 41 เมกะวัตต์ เพื่อเสริมศักยภาพด้านพลังงานของกลุ่ม และลงทุนในโรงไฟฟ้าเอกชนขนาดใหญ่ (IPP ) ขนาด 700 เมกะวัตต์ เพื่อสร้างความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศ ปัจจุบัน ไทยออยล์ได้สั่งสมประสบการณ์ในการบริหาร จัดการธุรกิจไฟฟ้ามาเป็นระยะเวลากว่า 10 ปี และให้ความร่วมมือประสานงานกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการ ปรับโครงสร้างธุรกิจไฟฟ้าของกลุ่มเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการลดต้นทุน และการใช้ทรัพยากรบุคคลอย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งจะ ช่วยเพิ่มมูลค่าของธุรกิจไฟฟ้าของกลุ่มในระยะยาว นอกจากนั้น ยังสามารถเปิดโอกาสการลงทุนร่วมกันในธุรกิจโรงไฟฟ้าต่างประเทศเพื่อ ขยายตลาด รวมถึงยังช่วยเสริมความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจเหมืองถ่านหินของ บมจ. ปตท. อีกด้วย
ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี
047
การดําเนินงาน
ด้านการกลั่นและปิโตรเคมี การดําเนินงานด้านการกลั่นและปิโตรเคมี ในปี 2553 นี้ ไทยออยล์สามารถกลั่นนํ้ามันดิบและวัตถุดิบอื่นที่กําลังการกลั่นเฉลี่ย 260,823 บาร์เรลต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 94.8 ของกําลัง การกลั่นสูงสุด ขณะที่ บมจ. ไทยลู้บเบส สามารถเดินเครื่องหน่วยผลิตนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานที่ 226,825 ตันต่อปี คิดเป็นร้อยละ 82 ของกําลัง การผลิตสูงสุด และ บจ. ไทยพาราไซลีน สามารถเดินเครื่องหน่วยผลิตที่ 765,900 ตันต่อปี คิดเป็นร้อยละ 85.1 ของกําลังการผลิตสูงสุด ตามแผนการผลิตร่วมกับไทยออยล์ ซึ่งให้มูลค่าส่วนเพิ่มของสายผลิตภัณฑ์ (Value Chain Enhancement ) สูงสุด การดําเนินงานด้านการกลั่น ในปี 2553 ไทยออยล์ได้ดําเนินการกลั่นนํ้ามันดิบและวัตถุดิบอื่นๆ รวมทั้งสิ้นเฉลี่ย 260,316 บาร์เรลต่อวันหรือคิดเป็นร้อยละ 94.7 ของกําลัง การกลั่นสูงสุด โดยโรงกลั่นไทยออยล์ได้ดําเนินการหยุดตรวจสอบและซ่อมบํารุงหน่วยกลั่นบางหน่วยตามแผนที่กําหนดไว้ เพื่อให้โรงกลั่น สามารถสนองต่อความต้องการใช้นํ้ามันเชื้อเพลิงในประเทศเป็นหลักภายใต้ปัจจัยด้านราคาทั้งนํ้ามันดิบและผลิตภัณฑ์นํ้ามันเชื้อเพลิง สําเร็จรูปที่มีความผันผวนสูง แสดงให้เห็นถึงขีดความสามารถของไทยออยล์ในการกลั่นที่มีประสิทธิภาพสูง (Complex Refi nery ) และดํารง ความเป็นผู้นําในด้านการกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียมที่มีมาตรฐานระดับสากลในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เพือ่ พัฒนาศักยภาพของเครือไทยออยล์ให้มคี วามพร้อมและสามารถแข่งขันได้อยูเ่ สมอ ในปี 2553 นี้ เครือไทยออยล์ได้ทาํ การเพิม่ ประสิทธิภาพ หน่วยการผลิต การวางแผนการผลิตและการขาย รวมถึงการปรับปรุงพัฒนาสมรรถนะ ตรวจสอบ ซ่อมบํารุงเครื่องจักรอุปกรณ์ของหน่วยผลิต อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการปฏิบัติการด้านการผลิตเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดังนี้ ไทยออยล์ >> มุ่งเน้นการใช้พลังงานให้เกิดประสิทธิภาพและลดการสูญเสียปริมาณนํ้ามันอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ส่งผลให้ดัชนีการใช้พลังงานและการ สูญเสียปีนี้ดีกว่าเป้าหมายอย่างมีนัยสําคัญและดีที่สุดตั้งแต่เริ่มกิจการ (Corrected Energy and Loss Index : CEL = 97.3) ซึ่งเป็นผลจาก การลดการสูญเสียปริมาณนํ้ามัน การติดตั้งเครื่องกําเนิดไอนํ้าความดันตํ่าโดยใช้ความร้อนสูญเปล่าของก๊าซไอเสียจากเครื่องกําเนิดไฟฟ้า (Gas Turbine ) จํานวน 2 ตัว การพัฒนาระบบ Online Optimization เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านการประหยัดพลังงานที่หน่วยผลิตพลังงาน (Utilities ) และเพิ่มประสิทธิภาพเตาเผาและอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนของหน่วยผลิตต่างๆ >> พัฒนาระบบ Online Optimization สําหรับหน่วยกลั่นนํ้ามันดิบ หน่วยกลั่นสูญญากาศ และหน่วยผลิตพลังงาน เพื่อเป็นการเพิ่มปริมาณ ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงและลดต้นทุนการผลิตพลังงานที่ใช้ในกระบวนการผลิต >> พัฒนาและจดสิทธิบัตรระบบจัดการสัญญาณเตือนความผิดปกติในกระบวนการผลิต (TES Alarm Management Solution : TEAMS ) >> ดําเนินการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มกําไรขั้นต้น (Margin Improvement ) ที่ 0.48 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล (ประมาณ 1,452 ล้านบาท) จากการเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยกลั่นและการวางแผนการขายการผลิต อาทิ การนํานํ้ามันดิบชนิดใหม่ที่มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ สูงกว่าเข้ามากลั่น การปรับปรุงประสิทธิภาพแบบจําลองการผลิตของหน่วยผลิตสารอะโรมาติกส์ เป็นต้น >> ให้ความสําคัญต่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ โดยได้ทําการปรับปรุงหัวเผาเชื้อเพลิงเครื่องกําเนิดไฟฟ้า (Gas Turbine ) เป็นชนิด ที่ก่อให้เกิดค่าออกไซด์ของไนโตรเจนที่ตํ่า (Dry Low NOx Burner ) และติดตั้งระบบดักจับไอระเหยนํ้ามันที่ระบบบําบัดนํ้าทิ้ง
048
ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี
บมจ. ไทยลู้บเบส >> พัฒนาและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ใหม่สองชนิด คือ 900 SN และ TRAE เพื่อขยายตลาด โดยสามารถจําหน่าย 900 SN ได้ตั้งแต่เดือนมีนาคม และ TRAE ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน >> ดําเนินโครงการก่อสร้างหน่วย MPU ใหม่เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ TDAE แล้วเสร็จตามกําหนดการในปลายปี 2553 ซึ่งทําให้ได้ผลิตภัณฑ์ TDAE เพิ่มขึ้นประมาณ 50,000 ตันต่อปี บจ. ไทยพาราไซลีน >> ด้วยวิธีการทําความสะอาดเตาเผาโดยไม่ต้องหยุดการผลิต (Furnace Online Cleaning ) ทําให้สามารถเพิ่มอัตราการผลิตจากร้อยละ 104 ไปเป็นร้อยละ 108 ในช่วงเดือนมกราคมถึงมิถุนายน โดยการนําเข้าสารมิกส์ไซลีนเพื่อผลิตสารพาราไซลีนเพิ่ม >> รักษาสภาพความพร้อมของหน่วยผลิตได้สูงถึงร้อยละ 99.8 เมื่อเทียบกับเป้าที่ตั้งไว้ร้อยละ 99.0 โดยการปรับปรุงระบบสายดินของอุปกรณ์ ควบคุม และเพิ่มประสิทธิภาพของระบบเพิ่มความปลอดภัย (Safeguarding System ) >> ก่อสร้างหอนํ้าหล่อเย็นใหม่ ทําให้มีนํ้าหล่อเย็นเพียงพอสําหรับใช้ในกระบวนการผลิตและลดความเสี่ยงในการหยุดเดินเครื่องจากการขาด นํ้าหล่อเย็น >> ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตจนทําให้สามารถลดการใช้พลังงานในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อะโรมาติกส์ได้ดีกว่าเป้าหมาย อีกร้อยละ 5
ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี
กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสําเร็จรูปจากนํ้ามันดิบและวัตถุดิบอื่นๆ รวมถึงกระบวนการผลิตปิโตรเคมีและ การผลตนามนหลอลนของบรษทในเครอไทยออยล การผลิ ตนํ้ามันหล่อลื่นของบริษัทในเครือไทยออยล์
FUEL GAS
ADIP
ISOM
LPG
HDT-1
HDT-2 PLATFORM CCR-1
Crude HDT-3
PREMIUM CCR-2
CDU-1
REGULAR CDU-2
CDU-3
JET
KMT
KEROSENE
HVU-1
HDS-1
FCCU HMU-1
Long Residue
HDS-2
HVU-2 HMU-2 HVU-3
HCU-1
HDS-3
TCU
AGO
DIESEL
HCU-2
FUEL OIL ADIP
SRU-1/2
SRU-3/4
แสดงแผนผังของหน่วยผลิต (Flow Diagram ) ภายในโรงกลั่นของไทยออยล์
SULPHUR
049
ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี
C5 5
L P Lt. Plat a
050
Une e xtr tract tr ract a ed ed To Tol
M MX
H2
O ga Off gass
Off ga gass
Lig g ht h t NA A tto o Mog Mo ogas og a as
LP LPG
Bz Pro oduc d t
Tol Pro r duc ductt
Arom matic at s Fraction Frac tio atio tion at n Unit Unit
Sulfolan Sulf olane olan ane and a d Bz-Tol an Bz -To -Tol Tol Frac rac c tion o Uni Un nt
Tatora Ta Tat or y U nit ora it
C layy Cla
TPX X co compl mpl mp p ex
Toll to Sulfo Sulfo lfolan lan ane an e pX Pro roduc du t duc
Iso so o mar
H2 2 Cla l y
S rrip St Str ip pper
Off ga gas as
C7 C C7 Co ol
He vie Hea viess C10 0 tto o FO
X le Xy Xyl len e ne Re R err un un C Co ol
Pa ex Par
C 9A C9A t o Mog to Mogas ass
Tol Col
Sulfol Sul f ane fol
Bzz Co l B
Sta St ab bilillizzze b er er
S ri Str rip pper p err pe
Tatora Tat o y ora
Sep Se epa p ar a rat atto orr o
Xyl X Xy yle yl y len en ne C Co ol o ((E Ex E x st 6 xis 60 0 st sta ag e) age
Tol To oll Col ol ( Ex (E (Ex x st Re xis Re eff S Sp pttt)) p
Lt. L t.. R ef ef S Sp plit lil tttte er
Cla ay Reffor ormate orm ate t
C4-C7 to Sulfolane
แสดงแผนผังของหน่วยผลิต (Flow Diagram ) ของ บจ. ไทยพาราไซลีน ซึ่งทําการผลิตสารอะโรมาติกส์เพื่อเป็นวัตถุดิบป้อนอุตสาหกรรม ปิโตรเคมีีขั้นปปลายต่่อไป
ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี
Sour So our Wat ae err
SW S SWS S
SRU
SUL SULP UL LP HUR HU
ADIP
S So Sou Sour G Ga Gas
TOP Ligh Lig gh h t Ga G a s Oil Oi Ol
Long Residue
60 VGO
60 RF
60 HTRF
150 VGO
150 RF
150 HTRF
V DU VD VDU
M PU MP MPU 500 VGO
TOP
DAO
HFU FU FU 500 RF
500 HTRF
BS RF
BSHTRF
DAE (500 EXT) Vacuum Residue
S DU SDU U
TDAE
60 SN
+
150 SN
+
500 SN
+
150 BS
+
SLACK WAX
+ TOP
NAPHTHA
TOP
PDA A TDAE
H&R Liquid Propane
EXTRACT
+
BITUMEN
+
B BU BBU
แสดงแผนผังของหน่วยผลิต (Flow Diagram ) ของ บมจ. ไทยลู้บเบส ซึ่งทําการผลิตนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน
051
052
ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี
การวัดผลการดําเนินงานด้านการกลั่น สืบเนื่องจากบริษัท Shell Global Solutions International (SGSI ) ซึ่งเป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านเทคนิคให้แก่ไทยออยล์ ได้หยุดทํารายงาน ผลการดําเนินงานด้านการกลั่นประจําปี โดยเริ่มตั้งแต่ในรอบปีที่ผ่านมา จึงทําให้ไทยออยล์ไม่สามารถแสดงผลการดําเนินงานด้านการกลั่น เชิงเปรียบเทียบกับโรงกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียมในกลุ่มโรงกลั่น Shell ในปีดังกล่าวได้ อย่างไรก็ตาม เพื่อแสดงให้เห็นสมรรถนะด้านต่างๆ ของ โรงกลั่นไทยออยล์ในรอบปีที่ผ่านมา เปรียบเทียบกับผลการศึกษาเปรียบเทียบครั้งก่อนหน้านี้ โดยอาศัยข้อมูลที่ทําการศึกษาเปรียบเทียบ ผลการดําเนินงานด้านการกลั่นระหว่างกลุ่มโรงกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งทําการศึกษาเปรียบเทียบทุกๆ 2 ปี ผ่านทาง บริษัท Solomon Associates ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่าไทยออยล์มีผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดสําคัญๆ ดังแสดงผลในแผนภูมิใยแมงมุม (Spider Chart ) ตามรููปด้านล่าง
Process Utilzation
การวัดผลการดำเนินงานด้านการกลั่น พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2551
Total OpEx UEDC Basis
Operational Availability
Total OpEx EDC Basis
Ordered Distribution
Ell
VEI
Non-Energy OpEx
1 st Quartile 2 nd Quartile 3
rd
Quartile
4 th Quartile
Personnel Index
Maintenance Index Maintenance Workforce
เปรียบเทียบผลการดําเนินงานของโรงกลั่นไทยออยล์ ปี 2553 กับปี 2551 (โดยอิงค่า Quartile Result ของกลุ่มโรงกลั่นในเอเชีย แปซิฟิกที่ร่วมโครงการศึกษาในปี 2551) เมือ่ พิจารณาจากแนวโน้มของผลการดําเนินงานด้านการกลัน่ ฯ เปรียบเทียบระหว่างปี 2553 กับปี 2551 พบว่าค่าใช้จา่ ยดําเนินการของโรงกลัน่ (Operating Expense: Opex ) รวมถึงค่าใช้จ่ายซ่อมบํารุง (Maintenance Index ) ยังคงจัดอยู่ในกลุ่มที่มีผลการดําเนินงานที่ดี (1st Quartile ) ประสิทธิภาพด้านการใช้พลังงานของไทยออยล์ (Energy Intensity Index ) ในปีนี้ดีขึ้น เมื่อเทียบกับผลการศึกษาก่อนหน้านี้ ส่วนดัชนีด้าน บุคลากร (Personnel Index ) รวมถึงแรงงานด้านซ่อมบํารุง (Maintenance Workforce ) ของไทยออยล์มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เมื่อเปรียบเทียบกับผลการศึกษาครั้งที่แล้ว เนื่องจากไทยออยล์ได้พัฒนาวิธีการรายงานข้อมูลด้านบุคลากรอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับ ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการผลิต
ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี
053
* Quartile หมายถึงการแบ่งจํานวนของกลุ่มโรงกลั่น ที่มีการเรียงลําดับ (Ordered Distribution ) ออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กัน ตามที่ Solomon Associates กําหนดให้ 1st Quartile (สีเขียว) หมายถึงกลุ่มตัวอย่างที่มีผลการดําเนินงาน ในระดับที่ดี 2nd Quartile (สีเหลือง) หมายถึงกลุ่มตัวอย่างที่มีผลการดําเนินงาน ในระดับค่อนข้างดี 3rd Quartile (สีส้ม) หมายถึงกลุ่มตัวอย่างที่มีผลการดําเนินงาน ในระดับค่อนข้างตํ่า 4th Quartile (สีแดง) หมายถึงกลุ่มตัวอย่างที่มีผลการดําเนินงาน ในระดับตํ่า
การดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม เครือไทยออยล์มีการดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม ที่มุ่งมั่นสร้างสมดุลให้เกิดขึ้นระหว่างการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม การพัฒนาธุรกิจ และ พัฒนาสังคมมาโดยตลอด เพือ่ ให้เป็นองค์กรธุรกิจทีเ่ ป็นเลิศ และยัง่ ยืนในระดับเอเชียแปซิฟกิ ดูแล เอาใจใส่ตอ่ การผลิตผลิตภัณฑ์ การดําเนินการ ในทุกระบบให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงประสิทธิภาพการเผาไหม้ ลดการปล่อยสารที่มีผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศโลก ดูแลสภาพ แวดล้อมในการทํางาน บริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน และเป็นระบบ ทั้งหมดนี้เป็นความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการ ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดและครบวงจร โดยนําศักยภาพด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมของบริษัทในเครือไทยออยล์ มาบูรณาการ ในการต่อยอดเป็นโครงการด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนในพื้นที่ ดูแลเอาใจใส่ต่อผลิตภัณฑ์ และการดําเนินการในทุกระบบให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เอาใจใส่การผลิตผลิตภัณฑ์โดยสร้างหน่วยผลิตนํ้ามันเบนซินออกเทน 95 และ 91 มาตรฐาน EURO IV เพื่อผลิตนํ้ามันเบนซินมาตรฐาน EURO IV ซึง่ ลดปริมาณกํามะถันในนํา้ มันเบนซินลงได้ถงึ 10 เท่า และสร้างหน่วยผลิตนํา้ มันยางมลพิษตํา่ ซึง่ ช่วยลดปริมาณการแพร่กระจายสาร เจือปนอันตรายที่เกิดจากการสึกหรอของยางรถยนต์ เอาใจใส่ต่อระบบการดําเนินการ โดยสร้างหน่วยเปลี่ยนก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์เป็นกํามะถัน ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ (Tail Gas Treating Unit: TGTU และ Sulphur Recovery Unit: SRU) เพิม่ เติม สร้างหน่วยเปลีย่ นไอระเหยนํา้ มันให้กลายเป็นนํา้ มัน (Vapour Recovery Unit: VRU) เพื่อควบคุมมิให้มีไอระเหยนํ้ามันระเหยออกสู่บรรยากาศในขณะจ่ายผลิตภัณฑ์ ปรับปรุงประสิทธิภาพการเผาไหม้ ช่วยลดการปล่อยสารที่เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก มุ่งมั่นใช้ทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตอย่างคุ้มค่า เพื่อลดการเกิดมลภาวะต่างๆ ให้เหลือน้อยที่สุด โดยกําหนดเป้าหมายการใช้ พลังงานในกระบวนการผลิตก้าวเข้าสู่ 1st Quartile จากการเปรียบเทียบโดย Solomon Associates ซึ่งเป็นสถาบันที่ได้รับการยอมรับในระดับ สากล นอกจากนี้ ยังได้เตรียมแผนงานนําโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการเผาไหม้หลากหลายโครงการ เข้าสู่ “การพัฒนาโครงการกลไก การพัฒนาที่สะอาด: Clean Development Mechanism ” เพื่อแสดงถึงการดําเนินงานที่ช่วยอนุรักษ์พลังงาน และรักษาสภาพภูมิอากาศโลก ดูแลสภาพแวดล้อมในการทํางานด้วยระบบจัดการสารอินทรีย์ระเหยง่ายทุกพื้นที่ มีการจัดการ และเข้าร่วมโครงการจัดการสารอินทรีย์ระเหยง่ายกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยตรวจวัด เฝ้าระวัง ป้องกัน บํารุงรักษา และ ปรับแต่งเครื่องจักรอุปกรณ์ให้สามารถระงับการปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายทุกพื้นที่ เช่น อุปกรณ์ในกระบวนการผลิต ถังเก็บผลิตภัณฑ์ การขนถ่ายผลิตภัณฑ์ ระบบการเผาไหม้ และระบบบําบัดนํ้าทิ้ง เพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ดีในการทํางานของพนักงาน และชุมชนรอบกลุ่ม ไทยออยล์
054
ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี
บริหารจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เป็นระบบ ดําเนินโครงการ “5 Years Environmental Master Plan ” เพิ่มศักยภาพในการบริหารทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยรับฟังความเห็นของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในทุกภาคส่วน และนํามาปรับแผนงานด้านสิ่งแวดล้อมของเครือไทยออยล์ เพื่อให้การจัดการสิ่งแวดล้อมในพื้นที่สอดคล้อง กับทุกความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่จะอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนในพื้นที่ ดําเนินโครงการ “ศึกษาคุณภาพดิน และคุณภาพนํ้าใต้ดินในพื้นที่” จากมาตรฐานการจัดการของเครือไทยออยล์มีการป้องกัน และเฝ้าระวัง การปนเปื้อนของสารเคมี หรือนํ้ามัน ลงสู่พื้นดิน และตรวจติดตามนํ้าผิวดิน เนื่องจากสภาพปัจจุบันของพื้นที่โดยรอบ ได้พัฒนาไปสู่เขต อุตสาหกรรม และแหล่งชุมชนที่หนาแน่น จึงพิจารณาทําการศึกษาเพื่อทราบสภาพแวดล้อมปัจจุบัน และกําหนดมาตรการเฝ้าระวังพื้นที่ของ เครือไทยออยล์ และพื้นที่โดยรอบในอนาคต ซึ่งถือเป็นโครงการเชิงรุกที่สนับสนุนความยั่งยืนทางด้านความรับผิดชอบต่อสังคมในภาพรวม ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ZERO Discharge นํานํ้าทิ้งกลับมาผ่านกระบวนการกรองสารปนเปื้อน และนํากลับมาใช้ใหม่ (Reverse Osmosis) เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรนํ้าอย่างคุ้มค่า และลดการใช้นํ้าอุปโภคจากแหล่งนํ้าในพื้นที่ รวมทั้งจัดทําโครงการส่งนํ้าที่ผ่านการบําบัด จนได้คุณภาพตามมาตรฐานเพื่อใช้เป็นสาธารณประโยชน์ พัฒนาทักษะชุมชน ผ่านศักยภาพด้านสิ่งแวดล้อมเครือไทยออยล์ ไทยออยล์มุ่งเน้นการดําเนินธุรกิจควบคู่ไปกับการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ด้วยโครงการ “Zero Waste ” ที่ส่งเสริมให้ชุมชนมีความรู้ และสร้างแนวความคิดในการนํารวบรวมสิ่งที่ไม่ใช้งานแล้ว มาพัฒนาให้เป็นประโยชน์ อย่างเป็นรูปธรรม ผ่านการแนะนําจากนักวิชาการ ในพื้นที่ และการส่งเสริมของเครือไทยออยล์
การบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ก้าวสู่ปีที่ 50 ของการดําเนินธุรกิจ ไทยออยล์ยังคงมุ่งมั่นเสริมสร้างจิตสํานึกของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาวัฒนธรรมความปลอดภัย (Safety Culture ) ขององค์กรอย่างยั่งยืน โดยได้ประยุกต์ระบบการบริหารจัดการความปลอดภัย Enhanced Safety Management (ESM ) ตามมาตรฐานสากล มาบูรณาการกับระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (มอก.18001 และ OSHAS -18001) โดยกําหนดให้มี ดัชนีชี้วัด (Key Performance Indicators ) ด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย ป้องกัน และระงับอัคคีภัยประจําปี ในการวัดผลลัพธ์จากการ ดําเนินงาน โดยกําหนดมิติของการวัดครอบคลุมตัวชี้นําสถิติ และตัวชี้วัดผลลัพธ์สถิติด้านความปลอดภัย (Leading and Lagging Safety Indicators) ทั้งในเชิงปริมาณ และคุณภาพ ซึ่งสะท้อนองค์รวมของการบริหารจัดการความปลอดภัยฯ โดยภาพรวมการดําเนินงานด้านความปลอดภัยของบริษัทฯ มีสถิติความปลอดภัยอยู่ในระดับดีกว่าค่าเฉลี่ยเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มโรงกลั่น SGSI (Shell Global Solutions International Benchmarking) โดยในปี 2553 มีการดําเนินกิจการสําคัญ ดังนี้ 1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการระบบการบริหารจัดการคุณภาพ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย ความมั่นคง และสิ่งแวดล้อม (QSSHE Workshop ) ทบทวน 5- year KPI Master Plan ของไทยออยล์ โดยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจาก SGSI (Shell Global Solutions International ) เพื่อค้นหาประเด็น การพัฒนา (GAPs ) และโอกาสในการพัฒนา (Area for Improvement ) ระบบการบริหารจัดการฯ ตลอดจนทบทวนแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบตั กิ าร และเป้าหมายทั้งในระยะสั้น และระยะยาว ตาม 5- year KPI Master Plan
ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร ก ลั่ น แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี
055
2. รณรงค์ให้มีการรายงานเหตุการณ์ที่มีศักยภาพก่อให้เกิดการสูญเสีย (Potential Incident Report : PIR ) โดยมุ่งเน้นให้พนักงานไทยออยล์ และพนักงานผู้รับเหมา รายงานเหตุการณ์ PIR ซึ่งเป็นเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นแล้ว แต่ยังไม่ส่งผลต่อการบาดเจ็บต่อผู้ปฏิบัติงานหรือทรัพย์สิน เสียหาย เช่น การกระทําและสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Act & Unsafe Condition ) และรวมถึงการรายงานเหตุเกือบเกิดอุบัติเหตุ (Near -miss ) โดยไทยออยล์ได้กําหนดให้ใช้จํานวนการรายงาน PIR เป็นตัวชี้นําทางสถิติ (Leading Indicator ) และเป็นข้อมูลเชิงรุกในการ ป้องกันอุบตั เิ หตุ การรณรงค์ดงั กล่าวเป็นการเสริมสร้างจิตสํานึกด้านความปลอดภัยในการทํางานให้แก่บคุ ลากรทัง้ องค์กร เพือ่ พัฒนาวัฒนธรรม ความปลอดภัย (Safety Culture ) อย่างยั่งยืน 3. บูรณาการระบบการบริหารจัดการเหตุฉุกเฉินเครือไทยออยล์ (TOP Group Emergency Management ) โดยจัดทําระเบียบวิธีปฏิบัติการ รองรับเหตุฉุกเฉินสําหรับเครือไทยออยล์ (TOP Group Emergency Response Procedure ) ให้สอดคล้อง สนับสนุนซึ่งกันและกัน มีการ รวมศูนย์ทรัพยากร (บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์) เครือข่ายการสื่อสาร ตลอดจนปรับปรุงแผนรองรับเหตุฉุกเฉินล่วงหน้า (Pre -Fire & Pre -Incident Planning) โดยในรอบปีที่ผ่านมา มีการฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม และทบทวนแผนรองรับเหตุฉุกเฉิน สําหรับบริษัทในเครือไทยออยล์ ประกอบด้วยการฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินประจําปี การฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินเชิงปฏิบัติงานของเครือไทยออยล์ (TOP Group Table Top Exercise ) การฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินร่วมกับหน่วยงานที่อยู่ในกลุ่มสัญญาคู่ความร่วมมือ การฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินร่วมกับ หน่วยงานราชการ เช่น ฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินจังหวัดชลบุรี การฝึกซ้อมป้องกันท่าเทียบเรือในพื้นที่รับผิดชอบของทัพเรือภาคที่ 1 ภายใต้รหัส NSP-EX 2010 (Naval Security Port Exercise 2010) เป็นต้น 4. รับรางวัล Zero Accident Awards จากกระทรวงแรงงาน โดยได้รับมอบประกาศเกียรติคุณโครงการรณรงค์ลดสถิติอุบัติเหตุจากการทํางาน ให้เป็นศูนย์ โล่รางวัลประเภททอง 2 ปีติดต่อกัน ในฐานะสถานประกอบการที่ปราศจากอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานต่อเนื่องตั้งแต่ 10,000,000 ชั่วโมงการทํางานขึ้นไป นับเป็นโรงกลั่นนํ้ามันแห่งแรกในประเทศไทยที่ได้รับมอบประกาศเกียรติคุณดังกล่าว ถือเป็นรางวัลที่แสดงให้เห็นถึง ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบตามมาตรฐานการบริหารจัดการความปลอดภัย 5. การให้การสนับสนุนหน่วยงานราชการและหน่วยงานภายนอก ตามนโยบายให้การสนับสนุนข้อมูล ความรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ด้านความปลอดภัย ป้องกัน และระงับอัคคีภัยอย่างต่อเนื่อง บุคลากรของไทยออยล์ ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านได้รับเชิญเป็นวิทยากร ฝึกอบรม บรรยาย สาธิต เกี่ยวกับความปลอดภัย ป้องกัน และระงับอัคคีภัย ร่วมเป็นคณะกรรมการร่างข้อกําหนด กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย ป้องกัน และระงับอัคคีภัย ผู้บริหารของไทยออยล์ได้รับเชิญจากสถาบัน IESG (Oil Industry Environment Safety Group Association) ให้ทําหน้าที่เป็นประธานคณะอนุกรรมการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน ในกลุ่มอุตสาหกรรมนํ้ามัน (Inland Emergency Response Sub Committee: IERSC) นอกจากนี้ ไทยออยล์ยังเป็นศูนย์รวมทางด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการบริหารงานด้าน อาชีวอนามัย ความปลอดภัย ป้องกัน และระงับอัคคีภัย ซึ่งมีหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถานศึกษาทั้งในและต่างประเทศเข้าเยี่ยมชม กิจการอย่างสมํ่าเสมอ
056
บุ ค ล า ก ร ไ ท ย อ อ ย ล์
บุคลากรไทยออยล์
ANNIVERSARY
สิ่งที่สำคัญที่สุดที่ทำให้องค์กรก้าวมาถึงจุดปัจจุบัน คือชาวไทยออยล์ ผู้ที่เดินทางร่วมกันจากจุดเริ่มต้นผ่านจุดเปลี่ยน เห็นการ เติบโต ร่วมฝ่าฟันอุปสรรค และสร้างความสำเร็จด้วยกัน จากทัศนคติเชิงบวกที่พร้อมจะเปิดรับความคิดและการเรียนรู้ใหม่ๆ มีความยืดหยุ่นต่อการปรับตัว แต่ก็เล็งเห็นเป้าหมายเดียวกันผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นมาตลอดเวลา 50 ปี จนถึงวันนี้สำหรับชาวไทยออยล์แล้ว ความภูมิใจในองค์กรคือปัจจัยที่ผลักดันและสร้างแรงบันดาลใจให้พวกเราสร้างสรรค์ บันทึกบทใหม่ให้กับอุตสาหกรรมพลังงานของไทย ให้เป็นประสบการณ์ที่ดีแก่ทั้งตนเอง และสู่ชาวไทยออยล์รุ่นต่อๆ ไป
บุ ค ล า ก ร ไ ท ย อ อ ย ล์
057
สิ่งที่สำคัญที่สุดในกระบวนการกลั่นประสบการณ์คือ “ชาวไทยออยล์ ”
เ ร า ทุ ก ค น คื อ ส่ ว น สํ า คั ญ ข อ ง ไ ท ย อ อ ย ล์
เ ร า คื อ ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ ชั้ น แ น ว ห น้ า
เ ร า ภู มิ ใ จ ใ นทุ ก ๆ สิ่ ง ที่ เ ร า ล ง มื อ ท ำ
เราทุกคนมุ่งมั่นที่จะพัฒนา กระบวนการทำงาน เพื่อให้ มีประสิทธิภาพสูงสุด
ทุกสิ่งที่เราลงมือทำไปนั้น การยืนหยัดอย่างมั่นคงของ ผ่านกระบวนการคิดวางแผน พวกเรามาจากความผูกพัน และดำเนินงานอย่างดีที่สุด ต่อองค์กรและประสบการณ์ อันยาวนาน
เ ร า คิ ด แ ล ะ ท ำ เ พื่ อ อ น า ค ต เราร่วมมือร่วมใจทำงาน เพื่อไทยออยล์ ชุมชนและ สิ่งแวดล้อมอย่างดีที่สุด
058
ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า อ ง ค์ ก ร
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
และการพัฒนาองค์กร การเสริมสร้างและพัฒนาความสามารถบุคลากร ไทยออยล์ร่วมกับบริษัทที่ปรึกษาชั้นนําจัดทําตัวแบบการพัฒนาบุคลากร หรือ Success Profi le สําหรับพนักงานทุกระดับ ประกอบด้วย สมรรถนะความสามารถ (Competency ) ความรู้ระดับองค์กร (Organizational Knowledge ) ประสบการณ์ในงาน (Work Experience ) และ คุณลักษณะส่วนบุคคล (Personal Attribute ) เพื่อใช้กําหนดทิศทางสําหรับการวัดประเมินและเตรียมความพร้อมของบุคลากรในการรองรับ ความต้องการของธุรกิจทั้งปัจจุบันและอนาคต รวมถึงสามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันนําไป สู่ความเป็นเลิศด้านการปฏิบัติการ (Operational Excellence ) และเป็นองค์กรที่มีประสิทธิผลสูง (High Performance Organization : HPO ) เช่น นํา Success Profi le มาเป็นกรอบในการทําการประเมินความพร้อมบุคลากรเทียบกับความต้องการในระดับงานที่สูงขึ้นไป ที่เรียกว่า การทํา Assessment Center เป็นต้น นอกจากนี้ ยังนํา Success Profi le มาต่อยอดเพื่อทําโมเดลการเติบโต (Career Model ) ของกลุ่มอาชีพต่างๆ (Job Family ) ทั้งที่เติบโตตาม สายงานในกลุ่มอาชีพหนึ่งๆ และที่สามารถเติบโตข้ามสายงานและหรือข้ามกลุ่มอาชีพ ส่งผลให้การพัฒนาความสามารถบุคลากรมีเป้าหมาย ที่ชัดเจนและตอบสนองทั้งความต้องการทางธุรกิจและการเจริญเติบโตในหน้าที่การงานของบุคลากร ไทยออยล์ได้จัดทําแผนอาชีพและแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Career Plan and Individual Development Plan ) ของพนักงานครอบคลุม ทั้งองค์กร โดยพิจารณาทั้งในส่วนที่เป็นสมรรถนะความสามารถเฉพาะงาน สมรรถนะความสามารถหลัก และสมรรถนะความสามารถด้าน การเป็นผู้นํา (Functional , Core and Leadership Competencies ) ที่เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบในงานปัจจุบัน (Current Job ) และ โอกาสหน้าที่งานในอนาคต (Future Job ) ที่จะเติบโตไปได้ นอกจากนี้ ไทยออยล์ได้กําหนดแนวทางการพัฒนาเฉพาะสําหรับพนักงานในกลุ่ม ต่างๆ ตามความต้องการเชิงกลยุทธ์และจุดมุ่งเน้นสําคัญที่แตกต่างกันไป เช่น กลุ่มผู้นํา กลุ่มผู้มีศักยภาพสูง กลุ่มพนักงานระดับปฏิบัติการ โดยทีไ่ ทยออยล์ได้บรู ณาการวิธกี ารในการพัฒนาตามสัดส่วนโมเดล 10: 20: 70 ได้แก่ การเรียนหรือฝึกอบรมตามโปรแกรม การรับการถ่ายทอด ความรู้และประสบการณ์จากผู้อื่น เช่น หัวหน้างาน พี่เลี้ยง และการฝึกฝนในการปฏิบัติงานจริง
การเตรียมความพร้อมของบุคลากร ไทยออยล์เตรียมความพร้อมของบุคลากรสําหรับความต้องการในปัจจุบนั และอนาคต โดยการบริหารระบบและเครือ่ งมือต่างๆ เช่น การเตรียม ความพร้อมสําหรับความต้องการในปัจจุบัน ไทยออยล์ใช้ระบบการบริหารจัดการผลงาน โดยมุ่งเน้นให้ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับได้มี ส่วนร่วมและเข้าใจถึงทิศทางเป้าหมายขององค์กร ผลงานที่คาดหวัง และความสําเร็จของแต่ละคนจะเป็นส่วนหนึ่งของความสําเร็จขององค์กร โดยมีการระดมความคิดและร่วมกันกําหนดเป้าหมายและแผนดําเนินการ (Action Plan ) ทั้งในระดับองค์กร ระดับฝ่าย ระดับแผนก และระดับ บุคคล โดยหัวหน้างานและพนักงานจะร่วมกันติดตามความก้าวหน้าของการดําเนินการตามแผนงานที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง หัวหน้างานเป็น ผู้ให้ข้อคิดเห็น (Feedback ) แนะนํา สอนงาน และสนับสนุนพนักงานในการที่จะผลักดันและส่งเสริมวิธีการและพฤติกรรมเพื่อปรับปรุง ผลงานให้ดีขึ้น การวัดผลการปฏิบัติงานกําหนดให้มีปีละ 2 ครั้ง คือรอบการประเมินกลางปี และรอบการประเมินปลายปี ทั้งผลสําเร็จของ ตัวชี้วัดหลัก หรือ KPI และระดับสมรรถนะความสามารถของพนักงาน สําหรับผู้บริหารระดับกลางขึ้นไปจะได้รับการประเมินสมรรถนะ ความสามารถหลักและความเป็นผู้นํา (Core and Leadership Competencies ) แบบ 360 องศา โดยผลจากการประเมินจะนําวางแผน เพื่อพัฒนาปรับปรุงผลงานและสมรรถนะความสามารถของพนักงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง สําหรับการเตรียมความพร้อมเพื่อความต้องการในอนาคต ไทยออยล์ใช้การประเมินในรูปแบบ Assessment Center เพื่อประเมินสมรรถนะ ความสามารถสําหรับระดับงานที่สูงขึ้นไปกว่าในปัจจุบัน ทั้งนี้ ได้ดําเนินการสําหรับผู้บริหารระดับกลางขึ้นไปเรียบร้อยแล้ว
ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า อ ง ค์ ก ร
059
นอกจากนี้ สําหรับผู้บริหารระดับกลางขึ้นไป ซึ่งถือเป็นกลุ่มผู้นําขององค์กร ไทยออยล์ยังใช้ระบบ Strength Finder เพื่อค้นหาจุดแข็ง หรือ Strength ของแต่ละคน สําหรับนํามาต่อยอดในการพัฒนา ควบคู่ไปกับการใช้ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring) ด้วย สําหรับการเตรียมความพร้อมในด้านอัตรากําลัง ไทยออยล์ได้ร่วมกับบริษัทที่ปรึกษาชั้นนําพยากรณ์อัตรากําลังเพื่อรองรับธุรกิจในรอบ 10 ปีนับจากปัจจุบัน โดยแบ่งเป็นอัตรากําลังสําหรับกลุ่มผู้บริหารและกลุ่มพนักงาน เพื่อนํามากําหนดกลยุทธ์ในการบริหารอัตรากําลัง การวางแผนความก้าวหน้าของพนักงานปัจจุบัน การสรรหาคัดเลือกบุคลากรจากภายนอก และการพัฒนาบุคลากร ทั้งนี้ กลยุทธ์ในการ บริหารอัตรากําลังจะสนับสนุนการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและเทียบเคียงได้กับข้อมูลขององค์กรชั้นนําในอุตสาหกรรม เดียวกันจากทั่วโลก (Benchmark Information ) หนึ่งในเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้บริหารทุกระดับสามารถบริหารจัดการและเตรียมความของทรัพยากรบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพก็คือ ระบบ สารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล โดยไทยออยล์ได้นําระบบคอมพิวเตอร์การบริหารงานรุ่นใหม่ คือ SAP ECC Version 6.0 มาใช้และได้มีการ ทบทวน และปรับปรุงกระบวนการและระบบงานด้านการบริหารและพัฒนาบุคลากรผ่านระบบ SAP ดังกล่าว เพื่อให้มีประสิทธิภาพ และ ความรวดเร็วสูงขึ้น รวมทั้งเอื้อประโยชน์ให้ผู้บริหารตามสายงานสามารถใช้งานระบบและเข้าถึงข้อมูลในการบริหารจัดการได้อย่างสะดวก (Manager Self Services : MSS ) และช่วยให้พนักงานสามารถเข้าถึงข้อมูลที่จําเป็น (Employee Self Services : ESS ) อันจะช่วยเสริมสร้าง และปรับปรุงระบบบริหารบุคคลให้ดียิ่งขึ้น และยกระดับความมั่นใจให้กับพนักงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องในอีกทางหนึ่ง
การบูรณาการศักยภาพและความผูกพันของบุคลากร ไทยออยล์ตระหนักว่าความผูกพันของพนักงานเป็นส่วนสําคัญอย่างยิ่งที่จะผลักดันให้พนักงานมีความทุ่มเทและอุทิศตนในการทํางาน ซึ่งจะส่งผลให้ไทยออยล์มีความเป็นเลิศ และมีผลประกอบการที่บรรลุตามเป้าหมาย และภารกิจที่วางไว้ ไทยออยล์จึงได้ให้ความเอาใจใส่ ดูแลพนักงานอย่างต่อเนื่องโดยส่งเสริมบรรยากาศการทํางานที่มีความสุข ให้พนักงานมีโอกาสก้าวหน้าในการทํางาน มีสวัสดิการที่เหมาะสม และชีวิตครอบครัวที่อบอุ่น พนักงานของไทยออยล์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกําหนดนโยบาย การบริการ และสิทธิประโยชน์ต่างๆ ผ่านสาย บังคับบัญชา และคณะกรรมการ Joint Advisory Committee ( JAC ) ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นคณะกรรมการลูกจ้าง มีการกําหนดการบริการ และ สิทธิประโยชน์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งองค์กร ขณะเดียวกันออกแบบให้มีความเหมาะสมกับความต้องการและความคาดหวังของพนักงาน ตามกลุ่มและสภาพการทํางานที่แตกต่างกัน ไทยออยล์ได้มีการจัดตั้งสหกรณ์ออมทรัพย์ ร้านสหกรณ์ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพเพื่อสร้างความ มั่นคงในชีวิตให้พนักงาน และจัดสร้างสโมสรให้ดําเนินกิจกรรมด้านการออกกําลังกาย นันทนาการ ศาสนาและวัฒนธรรม สําหรับพนักงาน และครอบครัวให้มีสังคมที่อบอุ่นและน่าอยู่ เพื่อให้ไทยออยล์มั่นใจได้ว่าพนักงานมีความรักความผูกพันกับองค์กร และได้สะท้อนความคิดเห็น ในด้านต่างๆ เพื่อนํามาปรับปรุงแก้ไขและยกระดับความผูกพันของพนักงานให้สูงขึ้น จึงได้ดําเนินการสํารวจความผูกพันของพนักงานเป็น ประจําทุกปี ผลการสํารวจจะสะท้อนกลับมาเป็นข้อมูลเพือ่ ให้ไทยออยล์ได้ทาํ การปรับปรุงการทํางานในเรือ่ งต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การดําเนินการ ดังกล่าวทําให้พนักงานมีระดับความผูกพันต่อองค์กรเกินร้อยละ 82 สูงกว่าบริษัทชั้นนําในเอเชียแปซิฟิก และพนักงานเกือบทั้งหมดทํางาน กับไทยออยล์จนเกษียณอายุ ทําให้ไทยออยล์มีอัตราลาออกของพนักงานตํ่ามาก ไม่เกินร้อยละ 0.25 ซึ่งตํ่ากว่าบริษัทชั้นนําอย่างมาก การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM ) จัดเป็นหนึ่งในวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ขององค์กร โดยมุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้และ พัฒนาพนักงานเพื่อเอาชนะความท้าทายเชิงกลยุทธ์ พัฒนาบุคลากรให้ทันต่อการขยายธุรกิจ และก้าวสู่ Learning Organization การรวบรวม และถ่ายทอดความรู้ของบุคลากรดําเนินการผ่านระบบ KM ที่เรียกว่า COSSAI Model 5 ขั้นตอน ได้แก่ การรวบรวม (Capture ) การจัด หมวดหมู่ (Organize ) การจัดเก็บ (Store ) การแบ่งปัน (Share ) และการนําไปใช้ (Apply ) รวมทั้งการนําไปต่อยอดความคิด (Innovate ) โดยมี
060
ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า อ ง ค์ ก ร
คณะกรรมการ KM Governance ที่เป็นตัวแทนแต่ละฝ่าย ร่วมรับผิดชอบในการดําเนินการตามระบบ KM เพื่อให้การจัดการความรู้พัฒนา ไปในทิศทางเดียวกันและสอดรับกันทั้งองค์กร โดยมุ่งเน้นไปในเรื่องการสร้างฐานข้อมูลองค์ความรู้ขององค์กร (Corporate Knowledge Base – KM Portal ) การส่งเสริมวัฒนธรรมการแลกเปลีย่ นเรียนรูใ้ นเครือไทยออยล์ผา่ นกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรม Together We Share และกิจกรรม KM Smile Award เพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และขยายขีดความสามารถทั้งในระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์กร หนึ่งในคุณค่าอันยิ่งใหญ่ของกลุ่มไทยออยล์ที่สั่งสมเป็นรากแก้วแห่งความสําเร็จตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาเกือบ 50 ปี ก็คือค่านิยมองค์กร ซึ่งได้มีการตั้งนิยามขึ้นเมื่อปี 2550 อันได้แก่ POSITIVE ซึ่งเป็นพื้นฐานของการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็ง เป็นรากฐานสําคัญในการ พัฒนาสมรรถนะความสามารถหลักของพนักงานที่สอดคล้องกับการขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ที่กําหนดไว้ ค่านิยม ของเรา คือ ทํางานอย่างมืออาชีพ มีความรักผูกพัน และมีความเป็นเจ้าขององค์กร ร่วมรับผิดชอบต่อสังคม ความซื่อสัตย์และยึดมั่นในความ ถูกต้องเป็นธรรม ความร่วมมือทํางานเป็นทีม ความริเริ่มสร้างสรรค์ มุ่งมั่นในวิสัยทัศน์ ร่วมมุ่งสู่ความเป็นเลิศ ทั้งนี้มีความสอดคล้องกับ ค่านิยมกลุ่มปตท. คือ SPIRIT ซึ่งช่วยสนับสนุนให้เกิดวิถีทางการทํางานร่วมกันของบริษัทในกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของความ ไว้วางใจกัน อันเนื่องมาจากการมีวัตถุประสงค์เดียวกัน
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม ข อ ง ไ ท ย อ อ ย ล์
061
ความรับผิดชอบต่อสังคม
ของไทยออยล์ ไทยออยล์ได้กําหนดวิสัยทัศน์ที่จะดําเนินธุรกิจเชิงบูรณาการด้านการกลั่นนํ้ามัน และปิโตรเคมีอย่างครบวงจรในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เพื่อการ เติบโตอย่างยั่งยืน และสร้างความพึงพอใจแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเหมาะสม โดยคํานึงถึงดุลยภาพด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมโดยรวม ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (CSR ) ของไทยออยล์ ในฐานะบริษัทผลิตพลังงานชั้นนําของภูมิภาคเอเชีย มุ่งมั่นพัฒนาธุรกิจ ให้เติบโตอย่างยั่งยืน ควบคู่การดูแลเอาใจใส่ต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของชุมชนและให้ความช่วยเหลือสังคมด้วยความตั้งใจจริง ด้วยการใช้จดุ แข็งและประสบการณ์ความเชีย่ วชาญด้านพลังงานของบริษทั ฯ ทีส่ ง่ั สมมาเกือบ 50 ปี มาใช้ทาํ งานด้าน CSR ให้เป็นประโยชน์ ต่อสังคมทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ โดยมุ่งดําเนินนโยบายด้าน CSR ทั้งในระดับมิติชุมชนรอบโรงกลั่นควบคู่กับมิติระดับประเทศ ในท้องถิ่นที่สาธารณูปโภคของรัฐไม่สามารถเข้าถึง โดยเน้นการนําพลังงานที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์ แทนการปล่อยทิ้งไป โดยสูญเปล่า อิงกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงทีใ่ ช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิน่ ให้มากทีส่ ดุ รวมถึงการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีเป้าหมายให้ชุมชนในพื้นที่ห่างไกลที่ขาดโอกาสทางสังคมได้มีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเองเพื่อยกระดับความ เป็นอยู่ทางสังคมหรือคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และกลยุทธ์หลักที่เราใช้ในการดําเนินงานด้าน CSR ของไทยออยล์ มี 5 ประการ ได้แก่ 1. นําจุดแข็งและประสบการณ์ความเชี่ยวชาญด้านพลังงานที่ยาวนานไปทําโครงการด้าน CSR ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมตามพันธะสัญญา ที่ว่า “ก้าวสู่ 50 ปีไทยออยล์ กลั่นพลังงานที่เป็นมิตร กลั่นความคิดเพื่อสังคม” 2. ทําโครงการ CSR ร่วมกับสถาบันหรือหน่วยงานที่เป็นผู้นําความคิดของสังคม เช่น โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย และองค์กรไม่แสวงหากําไร (NGOs ) เช่น มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.) 3. ลดปัญหาภาวะโลกร้อนที่เกิดจากการพัฒนาที่ไม่สมดุล ผ่านกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Machanism ) 4. เน้นการทํากิจกรรมหรือโครงการ CSR กับชุมชนในเชิงลึกยิ่งขึ้น 5. สร้างสํานึกจิตสาธารณะในพนักงาน และกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมในโครงการจิตอาสา รวมทั้งการบูรณาการงานด้าน CSR ให้เป็น ส่วนหนึ่งของการทํางาน
062
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม ข อ ง ไ ท ย อ อ ย ล์
ภายใต้ปณิธานและความมุ่งมั่นในการพัฒนาธุรกิจให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ควบคู่กับการดูแลเอาใจใส่ต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย รวมถึงการช่วยเหลือเกื้อกูลสังคมด้วยความจริงใจ เครือไทยออยล์จึงนําประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถและความเชี่ยวชาญด้านพลังงาน ที่สั่งสมมาเกือบ 50 ปี ไปสร้างประโยชน์ให้กับสังคมทั้งในระดับชุมชนรอบโรงกลั่น และชุมชนที่อยู่ห่างไกลจากระบบสาธารณูปโภคด้าน พลังงานของรัฐ โดยมีกรอบการดําเนินงานหลัก 4 ประการ คือ
Workplace - Staff Participation การเริ่มต้นจากภายในองค์กรโดยการกระตุ้นให้พนักงานมีจิตสํานึกและมีส่วนร่วม (จิตอาสา) เพื่อช่วยเหลือ สังคมและดําเนินโครงการตามแนวนโยบาย CSR ของไทยออยล์ได้ Environment - Clean Energy Leader นอกจากมุ่งเน้นการดูแลสิ่งแวดล้อมและสังคมให้มีความสมดุลกันกับกิจการแล้ว ยังเป็นผู้นํา ในการผลิต “พลังงานที่สะอาดกว่าให้สังคม” โดยใช้เทคโนโลยีขั้นสูงสุดและคิดค้นผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อลดสภาวะโลกร้อน
Community - Strength Focused ขยายจุดแข็งความรับผิดชอบที่มีต่อชุมชนออกไปอย่างต่อเนื่องและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน เพื่อให้ชุมชนได้เรียนรู้ร่วมกันเพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีความเป็นอยู่อย่างยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง บนรากฐานของการเติบโตร่วมกัน อย่างสมดุล และยั่งยืน
Market Place - Integrated CSR to Thaioil Way นําจุดแข็งและความเชี่ยวชาญไปบูรณาการให้เกิดความยั่งยืนในสังคม ผู้มีส่วนได้เสีย และนําการบริหารแบบยั่งยืนมาประยุกต์ใช้ในองค์กร เพื่อสร้างคุณค่าร่วมกัน ในการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันไปสู่ภายนอก
แผนงานและโครงการ CSR ที่จะดําเนินการ ในปี 2554 เครือไทยออยล์ มีเป้าหมายที่จะทําโครงการพัฒนาชุมชนให้ครบทุกภาคของประเทศ โดยเป็นโครงการที่ใช้ความรู้ ประสบการณ์ด้านพลังงาน ขององค์กรที่ได้สั่งสมมาเกือบ 50 ปี เพื่อให้ชุมชนได้ประโยชน์โดยตรงและโดยทันที ที่สําคัญต้องเป็นโครงการที่ชุมชนกับพนักงานมีส่วน ร่วมกันพัฒนา เพือ่ ให้เกิดการเรียนรูร้ ว่ มกันและความยัง่ ยืนของโครงการ โดยเครือไทยออยล์ จะเป็นผูร้ ว่ มสนับสนุนทางด้านการเงิน เทคโนโลยี และร่วมติดตามตรวจสอบความคืบหน้า โดยมีโครงการหรือการดําเนินงานดังนี้
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม ข อ ง ไ ท ย อ อ ย ล์
063
ชุมชนรอบโรงกลั่น 1. โครงการสร้างอาคารฉุกเฉินไทยออยล์ 50 ปี ณ โรงพยาบาลอ่าวอุดม ศรีราชา 2. โครงการศูนย์วิจัยและพัฒนาด้านพลังงานทดแทน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3. โครงการจัดทําแผนที่สุขภาพ (สํารวจข้อมูลสุขภาพชุมชน) ร่วมกับโรงพยาบาลอ่าวอุดม และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
>>
>>
1.
2. 3. 4. 5.
ชุมชนระดับประเทศ สานต่อโครงการ “กลไกพลังงานสีเขียว” ที่ดําเนินการร่วมกับมูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม อาทิ • โครงการโรงไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดเล็ก • โครงการผลิตไฟฟ้าชีวมวลสําหรับสถานีอนามัยในพื้นที่ห่างไกล • โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ณ บ้านนเรศ ตําบลดอนเจดีย์ อําเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี • โครงการขยายสายส่งโรงไฟฟ้าพลังนํ้าห้วยปูลิงไปยัง โรงเรียนบ้านขุนยะ จังหวัดเชียงใหม่ • โครงการสร้างอาคารเรียนให้โรงเรียนบ้านขุนยะและบริจาคครุภัณฑ์ โครงการสร้างเมืองพลังงานสะอาดอย่างยั่งยืนถวายในหลวง ที่อําเภออุ้มผาง จังหวัดตาก ร่วมกับกระทรวงพลังงาน และมูลนิธิพลังงาน เพื่อสิ่งแวดล้อม โครงการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนชุมชน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ร่วมกับสํานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP ) การพัฒนาโครงการพลังงานหมุนเวียนเชิงพาณิชย์ ร่วมกับหน่วยงานอืน่ ๆ เช่น สถาบันทางการศึกษา NGOs ขยายโครงการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนชุมชนและสนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ
โครงการ CSR ที่ดําเนินการแล้วเสร็จ ในปี 2553 นอกเหนือจากกิจกรรม CSR ในกระบวนการทํางานด้วยนวัตกรรมทางเทคโนโลยีขั้นสูงสุด ที่คํานึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การบริหาร จัดการสิ่งแวดล้อม โครงการพัฒนาระบบนิเวศวิทยาเขาภูไบ ตลอดจนเป็นผู้นําด้านผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว งานด้าน CSR ของเครือไทยออยล์ ยังขยายออกสู่รอบรั้วองค์กรและสังคมในระดับประเทศ โดยสามารถแบ่งเป็น 2 ระดับ ดังนี้
064
ชุมชนรอบโรงกลั่น 1. โครงการด้านสุขภาพ พลานามัยและคุณภาพชีวิตที่ดี : ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน พัฒนาจากโครงการ ออกหน่วยสาธารณสุขและทันตกรรมเคลื่อนที่ ที่ดําเนินการต่อเนื่องยาวนาน ร่วมกับโรงพยาบาลอ่าวอุดม และเทศบาล โดยขยาย ขอบเขตสู่การสร้างเสริมทักษะความรู้ต่างๆ ให้กับท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน
>>
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารได้กล่าวไว้ว่า “เกือบ 50 ปีที่ไทยออยล์และชุมชนรอบโรงกลั่นอยู่ร่วมกันฉันมิตร เป็นรั้วให้แก่กันและกัน ไทยออยล์ปรารถนาจะให้ศูนย์ฯ แห่งนี้ เป็นเสมือนบ้านแห่งที่ 2 ของชาวบ้าน เขาเข้ามาเยี่ยมเยียน มาดูแล ให้คําแนะนําได้ทุกเมื่อ เหมือนบ้านของเขาเอง อุ่นใจได้ว่าลูกหลานของเขาจะได้บ่มเพาะอยู่ในบรรยากาศที่เอื้อต่อการพัฒนาด้านสุขภาพ จิตใจและปัญญา” 2. โครงการด้านการศึกษาและสนับสนุนการเรียนรู้ : กองทุนการศึกษาไทยออยล์ ห้องสมุดมีชีวิต (ร่วมกับ TK Park ) โครงการความรู้คู่ คุณธรรม สร้างผู้นําเยาวชน โครงการค่ายเยาวชนวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ 3. โครงการด้านสิ่งแวดล้อม : โครงการรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อม การศึกษาโครงการการผลิตไบโอดีเซลจากนํ้ามันพืชใช้แล้ว ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 4. โครงการด้านศาสนา ประเพณีและวัฒนธรรม : กิจกรรมตามวันสําคัญทางศาสนาและประเพณี 5. โครงการด้านการพัฒนาศักยภาพของชุมชน : โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชน กิจกรรมทัศนวิชาการการจัดการแบบ ไร้ของเสีย (Zero Waste Education Tour ) 6. โครงการด้านการสร้างความสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วม : โครงการเราคิดร่วมกัน เราทําร่วมกัน โครงการเปิดบ้านสานใจ เยาวชนไทย สู่โรงกลั่น โครงการยุวทูตไทยออยล์
065
ชุมชนระดับประเทศ โครงการความร่วมมือกับเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยยึดแนวนโยบายการดําเนินงานด้าน CSR ของเครือไทยออยล์ คือนําจุดแข็ง และความเชี่ยวชาญด้านพลังงานมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม มุ่งเน้นการนําพลังงานที่มีอยู่ตามธรรมชาติในพื้นที่ห่างไกลมาผลิตไฟฟ้า และการสนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ >>
1. โครงการ “กลไกพลังงานสีเขียว” ดําเนินงานร่วมกับมูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม • โครงการโรงไฟฟ้าพลังนํา้ ชุมชนห้วยปูลงิ อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ : ช่วยให้ชาวบ้านในพืน้ ทีห่ า่ งไกลจากระบบสาธารณูปโภคของรัฐ มีไฟฟ้าใช้จากโรงไฟฟ้าพลังนํ้าชุมชน • โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพเตานึ่งเมี่ยง อําเภอเมืองปาน จังหวัดลําปาง : โครงการที่ช่วยประหยัดพลังงานและส่งเสริมสภาพแวดล้อม ลดการใช้ไม้ฟืนลงถึงร้อยละ 60 ลดการตัดต้นไม้ได้กว่า 4,800 ต้นต่อปี และยังได้จัดกิจกรรมพนักงานจิตอาสาร่วมติดตั้งเตานึ่งเมี่ยงกับ ชาวบ้านในชุมชน • โครงการโรงไฟฟ้าพลังนํ้าที่วัดและวนอุทยานนํ้าตกจําปาทอง : จัดกิจกรรมทอดผ้าป่าโรงไฟฟ้าพลังนํ้า • โครงการโรงไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดจิ๋ว ที่บ้านเปียน จังหวัดเชียงใหม่ และ • โครงการโรงไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดจิ๋ว ที่กรมทหารพรานที่ 31 อําเภอคลองลาน จังหวัดกําแพงเพชร มีแนวนโยบายส่งเสริมการเลี้ยงปลา เศรษฐกิจในพื้นที่ 2. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ในระดับประเทศ • การมอบทุนการศึกษาและกองทุนสถาบัน : กองทุนสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรีฯ ในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทุน “บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ในมูลนิธิอานันทมหิดล” • ความร่วมมือทางด้านการศึกษากับสถาบันต่างๆ : โครงการทักษะวิศวกรรมเคมี (ChEPS ) (ร่วมกับมหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี) กองทุนการศึกษา บริษัท ไทยออยล์ เพื่อรําลึก ศ.ดร.ปราโมทย์ ไชยเวช (ร่วมกับมูลนิธิวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย)
066
ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร สู่ ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ
ระบบบริหารจัดการ
สู่ความเป็นเลิศ รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA ) เพื่อพัฒนาองค์กรให้ก้าวสู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน โดยใช้เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA Criteria ) เป็นกรอบการบริหารจัดการสู่ความ เป็นเลิศที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล และเป็นรางวัลเกียรติยศสูงสุดของประเทศไทย ด้วยศักยภาพของไทยออยล์ที่ได้รับการพัฒนา มาอย่างต่อเนื่อง กอปรกับความมุ่งมั่นอย่างจริงจังทําให้ไทยออยล์ได้รับรางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ (TQC ) ในปี 2552 จากการเสนอ รายงานเข้ารับการตรวจประเมินโดยสํานักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติเป็นครั้งแรก และยังคงสามารถรักษาระดับคุณภาพไว้ได้ จึงได้รับรางวัล TQC อีกครั้งจากการเสนอรายงานเข้ารับการตรวจประเมินครั้งที่ 2 1. การจัดทํารายงานวิธีการและผลการดําเนินการ TQA Application Report ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เป็นรายงานที่แสดงภาพรวมการบริหารจัดการอย่างสอดประสานในมิติต่างๆ เทียบกับมุมมองตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ โดยมี สาระสําคัญเกี่ยวกับ >> โครงร่างองค์กรทีบ ่ ง่ บอกถึงตัวตนขององค์กรในภาพรวมและปัจจัยต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นคุณลักษณะทีส่ าํ คัญ สภาวการณ์เชิงกลยุทธ์ขององค์กร ซึ่งเป็นโจทย์ตัวตั้งที่สําคัญในการกําหนดนโยบายและทิศทางขององค์กร >> การร้อยเรียงเครื่องมือและรูปแบบการบริหารองค์กร ได้แก่ การนําองค์กร การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นลูกค้า การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้นบุคลากร และการจัดการกระบวนการ เพื่อเป็นการแสดงความสัมพันธ์และบูรณาการของเครื่องมือ หลากชนิดที่นํามาสนับสนุนให้องค์กรมุ่งสู่การบริหารจัดการที่เป็นเลิศ >> ผลลัพธ์สําคัญที่เกิดขึ้นจากการบริหารองค์กรในด้านต่างๆ แสดงให้เห็นถึงระดับ (Level ) แนวโน้ม (Trend ) การเปรียบเทียบ (Comparison ) และความสอดคล้อง (Integration ) ของตัววัดผลขององค์กร ซึ่งจะนําเข้าสู่กระบวนการพัฒนาเครื่องมือ และระบบการบริหารจัดการอย่าง ต่อเนื่องจนได้ผลลัพธ์ 2. การตรวจประเมินตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เป็นการประเมินความสอดคล้องตามเกณฑ์ฯ เพื่อแสวงหาจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงการบริหารจัดการองค์กรเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ โดยนําผลการตรวจประเมินมาจัดทําเป็นโครงการพัฒนา อาทิเช่น
Operational Excellence เป็นการพัฒนาต่อยอดการปฏิบัติงาน
Key Focus Area (5 Yrs KPI) เป็นการร่วมมือระหว่าง
สู่ความเป็นเลิศ
สายปฏิบัติการด้านต่างๆ ในการผลักดันแผนงานเพื่อบรรลุ เป้าหมาย 5 ปี ด้วยการมีส่วนร่วมของพนักงานทุกระดับ
CG Excellence เป็นการส่งเสริมความโดดเด่นด้านธรรมาภิบาล
Proactive CSR Strategy เป็นการกําหนดกลยุทธ์ด้านบริหาร
ให้ยั่งยืน
จัดการเชิงรุก เพื่อพัฒนาความร่วมมือกับสังคมและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียอย่างยั่งยืน
Enhanced STS Process and Alignment เป็นการพัฒนา
Enterprise Risk Management เป็นการบริหารจัดการความเสี่ยง
ศักยภาพด้านการวางกลยุทธ์อย่างสอดประสานทั้งแนวตั้ง และแนวระนาบ
ขององค์กรโดยรวม เพื่อความมั่นคงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
Work System Verification & Improvement (ICT , BPT and External Alliances) เป็นการพัฒนาระบบการบริหารงานภายใน
Enhance HR System เป็นการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
และการแสวงหาพันธมิตรเพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการทางธุรกิจ
ทรัพยากรบุคคล
ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร สู่ ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ
067
ไทยออยล์ยังคงมุ่งมั่นที่จะพัฒนาระบบการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน โดยอาศัยการร่วมแรงร่วมใจจากพนักงานทุกคน รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เป็นเพียงกระจกสะท้อนระดับคุณภาพของการบริหารจัดการขององค์กรตามเกณฑ์การประเมิน เพื่อได้แนวคิดในการพัฒนาองค์กรให้ก้าวเดิน ไปข้างหน้าอย่างมีคุณภาพสู่ความยั่งยืนอย่างมั่นคง
Operational Excellence Operational Excellence คือ กระบวนการกําหนดกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจเชิงบูรณาการด้านการซือ้ การขาย และการผลิตของเครือไทยออยล์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายกําไรสุทธิจากผลประกอบการในแต่ละปี
Operational Excellence ได้เริม่ ดําเนินการในปี 2551 ขับเคลือ่ นโดยผูบ้ ริหารระดับสูง ให้มกี ารกําหนดกลยุทธ์เชิงบูรณาการทางธุรกิจ โดยติดตาม ความเคลื่อนไหว และแนวโน้มของอุตสาหกรรมนํ้ามัน ปิโตรเคมี และธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เพื่ออํานวยประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้านการซื้อนํ้ามันดิบ การขายผลิตภัณฑ์ และการผลิตโดยผสมผสานความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Initiatives ) ของพนักงานทุกระดับ และ เสริมสร้าง Commitment ของผู้บริหารระดับกลางในองค์กรให้มุ่งมั่นพยายามผลักดันผลงาน เพิ่มความเชื่อมโยงของหน่วยงานต่างๆ ภายใน องค์กร โดยผ่านการทํางานแบบ Cross Function จนส่งผลให้องค์กรสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่วางไว้ บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ Operational Excellence เป็นประจําทุกไตรมาส โดยในไตรมาสแรกนําเสนอถึงภาพรวมของ เศรษฐกิจโลกและประเทศไทย สภาพตลาดนํ้ามันโลก และอะโรมาติกส์ เพื่อนําไปกําหนดและปรับกลยุทธ์ของฝ่ายจัดซื้อวัตถุดิบ ฝ่ายขาย ผลิตภัณฑ์ และฝ่ายผลิตให้เกิดความมั่นใจว่าสามารถบรรลุถึงเป้าหมายตามที่วางแผนไว้ ส่วนไตรมาสที่ 2 ถึงไตรมาสที่ 4 เป็นการติดตามผล และปรับแผนปฏิบัติการให้มีความเหมาะสมตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยในปี 2553 บริษัทฯ จัด Operational Excellence Workshop ทั้งสิ้น 4 ครั้ง โดยแต่ละครั้งมีผู้บริหารระดับสูง ระดับกลาง และผู้แทนสหภาพ จํานวนประมาณ 300 คน เข้าร่วมประชุมหลังจาก Workshop แล้ว ผู้บริหารได้ถ่ายทอดสื่อสารสาระสําคัญของกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ ไปยังพนักงานทุกคนโดยผู้จัดการฝ่าย และสายงานบังคับบัญชา เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน และเกิดความมุ่งมั่นในการดําเนินงานให้เกิด ผลสัมฤทธิ์อย่างแท้จริง จากการประเมินผลการจัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร Operational Excellence พบว่าก่อให้เกิดกระบวนการพัฒนาระบบงาน โดยแบ่งเป็น การเรียนรู้ นําไปสู่ความเข้าใจร่วมกันของพนักงาน และการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ซึ่งเป็นแรงผลักดันให้เกิดการพัฒนา แนวคิดใหม่ ๆ ส่วนในด้านเศรษฐกิจ บริษัทฯ ได้ตั้งเป้าหมายของกําไรไว้ที่ 7,052 ล้านบาทในไตรมาสแรก เมื่อเข้าสู่ช่วงไตรมาสที่ 4 พบว่า กําไรที่ได้นั้นเข้าใกล้เป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ในช่วงต้นปี ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นผลจากการทํา Operational Excellence ที่ตอกยํ้าให้เห็นถึงความสําเร็จ ที่เกิดจากทุกความร่วมมือของแต่ละหน่วยที่ได้ร่วมกันดําเนินมา ทั้งนี้ ไทยออยล์ยังคงมุ่งมั่นพัฒนากระบวนการ Operational Excellence เพื่อให้เครือไทยออยล์เติบโตได้อย่างยั่งยืนและมั่นคงสืบไป
Key Focus Area (KFA) สืบเนื่องจากการกําหนดกลยุทธ์ Operational Excellence ไทยออยล์ได้ริเริ่มพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน เพื่อส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับ มีส่วนร่วมในการกําหนดหัวข้อเรื่องสําคัญ (Key Focus Area : KFA ) โดยในไตรมาสที่ 4 ปี 2552 มีตัวแทนของพนักงานในทุกส่วนงานเข้า ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ (KFA Workshop ) ติดต่อกันรวม 16 ครั้ง เพื่อกําหนดประเด็นที่บุคลากรเล็งเห็นร่วมกันว่ามีความสําคัญต่อการ ยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน และนําไปบรรจุไว้ในแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ และเป้าหมาย 5 ปี (5 Year KPI Master Plan ) ประจําปี
068
ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร สู่ ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ
2553-2557 ขึ้น ซึ่งเป็นแผนที่นําทางให้องค์กรก้าวเดินอย่างมั่นคงต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพจนบรรลุเป้าหมายที่กําหนดไว้ KFA สําหรับปี 2553 ประกอบด้วยประเด็นหัวข้อสําคัญ ดังนี้ >> >> >> >> >> >> >> >>
KFA 1 : ความวางใจได้ของอุปกรณ์ KFA 2 : การจัดการทรัพยากรมนุษย์ KFA 3 : การบริหารจัดการคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและความมั่นคง KFA 4 : การเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพ KFA 5 : การจัดการต้นทุน KFA 6 : การปรับปรุงกระบวนการทํางาน KFA 7 : การเติบโตของรายได้ KFA 8 : ความรับผิดชอบขององค์กรต่อสังคม
ผู้บริหารระดับสูงได้ประกาศใช้ 5 Year KPI Master Plan ประจําปี 2553-2557 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 และได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อถ่ายทอดแผนปฏิบัติงานให้พนักงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างจิตสํานึก (Awareness ) สร้างความเข้าใจ (Understanding ) และส่งเสริมการ ปฏิบัติตามแผนงานที่กําหนด (Practice ) อย่างทั่วถึงทั้งองค์กร ผู้บริหารระดับสูงได้กําหนดให้มีการปรับปรุง 5 Year KPI Master Plan ไว้ในปฏิทินการปฏิบัติงานเป็นประจําในช่วงไตรมาสที่ 3-4 ทุกปี ตามกระบวนการ Plan -Do -Check -Act (P -D -C -A ) เพื่อให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และสอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กรที่มีความ ท้าทายแตกต่างกันไปในแต่ละปี โดยในปี 2554 ได้กําหนดให้มี Key Focus Area รวมทั้งสิ้น 12 ประเด็น โดยเพิ่มเติมจากปี 2553 อีก 4 ประเด็น คือ KFA 9 : การสร้างนวัตกรรม (Innovation ), KFA 10 : ห่วงโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain Integration ), KFA 11 : การบริหารความเสี่ยงเชิง บูรณาการ (Enterprise Risk Management ) และ KFA 12 : การมุง่ เน้นลูกค้า (Customer Focus ) เพือ่ สนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมาย Operational Excellence ที่มีความท้าทายมากยิ่งขึ้น ผลจากการกําหนด KFA และจัดทํา 5 Year KPI Master Plan เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานร่วมกันในปี 2553 พบว่าการถ่ายทอดเป้าหมาย องค์กรไปสู่พนักงานระดับปฏิบัติการทุกคนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ พนักงานมีความเข้าใจและปฏิบัติงานสอดคล้องในทิศทางเดียวกัน สนับสนุนและส่งเสริมการปฏิบัติตามค่านิยม POSITIVE ขององค์กรอย่างเป็นรูปธรรม และพนักงานทุกคนมีส่วนร่วมในการกําหนดเป้าหมาย และแผนงานระดับปฏิบัติการยกระดับจิตสํานึกของความเป็นเจ้าของในเป้าหมายที่แต่ละคนได้รับ และร่วมกันผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ที่ประสบ ผลสําเร็จ บรรลุเป้าหมายขององค์กรในปี 2553 อย่างภาคภูมิใจ
ระบบการจัดการแบบบูรณาการ (Integrated Management System: ISO 9001/ISO 14001/TIS 18001/BS OHSAS 18001 และระบบการจัดการว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบ (ISO /IEC 17025)) ระบบการจั ด การแบบบู ร ณาการและระบบการจั ด การว่ า ด้ ว ยความสามารถของห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทดสอบเป็ น พื้ น ฐานของการกํ า หนด กระบวนการทํางานของไทยออยล์ ด้านคุณภาพ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม ที่ไทยออยล์ได้นํามาพัฒนาใช้อย่างต่อเนื่อง และเป็นรูปธรรมตั้งแต่ปี 2539 จนถึงปัจจุบัน จนได้รับความไว้วางใจ และความเชื่อถือจากหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน รวมถึงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียอื่นๆ โดยมุ่งเน้นให้มีการพัฒนาคุณภาพการจัดการอย่างเป็นระบบ ได้แก่ การจัดทํา นําไปปฏิบัติ รักษาไว้ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ในปี 2553 นี้ ไทยออยล์ได้รับการตรวจติดตามผลการดําเนินงานตามมาตรฐานจากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) ด้านระบบการ
ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร สู่ ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ
069
จัดการแบบบูรณาการ ISO 9001/ISO 14001/TIS 18001/BS OHSAS 18001 และจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ด้านระบบการจัดการว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบ (ISO /IEC 17025) ผลการตรวจติดตามดังกล่าวไม่พบข้อบกพร่องใดๆ อันจะนําไปสู่การปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตามที่กําหนด ทั้งนี้บริษัทฯ ได้นําข้อกําหนดของระบบการจัดการแบบบูรณาการดังกล่างข้างต้น มาสร้าง นวัตกรรมของระบบการทํางานร่วมกับเครือไทยออยล์ กล่าวคือ 1. จัดทําระบบการรายงานข้อบกพร่อง (Nonconformities and Potential Nonconformities ) ซึ่งเรียกว่าระบบ OFI Online (Opportunity for Improvement: OFI) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานรายงานการปฏิบัติงานและเหตุการณ์ต่างๆ ที่พบว่าไม่เป็นไปตามที่กําหนด หรือมีแนวโน้ม อันอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการทํางาน ทั้งในด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม ความมั่นคง และความสามารถของห้องปฏิบตั กิ ารทดสอบ โดยขยายขอบข่ายการใช้งานระบบ OFI Online ไปยัง บจ. ไทยพาราไซลีน และ บมจ. ไทยลูบ้ เบส แล้วอีกด้วย 2. ร่วมกับ บจ. ไทยพาราไซลีน ในการรักษา และปรับปรุงระบบการจัดการแบบบูรณาการ และระบบจัดการว่าด้วยความสามารถของห้อง ปฏิบัติการทดสอบอย่างต่อเนื่อง จัดกิจกรรม QSHS Day 2010 “Commitment to Excellent QSHS ” โดยการมีส่วนร่วมของพนักงานในเครือไทยออยล์ และพนักงานของ บริษัทคู่ค้า/คู่ความร่วมมือที่ทํางานให้แก่เครือไทยออยล์ เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเหล่านั้นตระหนักถึงประโยชน์ของระบบการจัดการฯ โดยมี พิธีมอบรางวัลให้แก่พนักงานที่แสดงภาวะผู้นําและปฏิบัติงานดีเด่นในด้านการจัดการต่างๆ
โครงการ Business Process Transformation (BPT) โครงการ Business Process Transformation (BPT ) เกิดจากวิสัยทัศน์ของฝ่ายจัดการของเครือไทยออยล์ในการปรับปรุงกระบวนการทํางาน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อรองรับการขยายธุรกิจ และเพื่อเชื่อมโยงการปฏิบัติงานกับบริษัทในเครือ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงในส่วนหลักๆ ดังนี้ >> >> >>
การนําระบบ SAP ECC Version 6.0 มาทดแทน SAP Version 4.7 ที่มีการใช้งานมานานกว่า 10 ปี การปรับเปลี่ยนซอฟต์แวร์ในระบบซ่อมบํารุงจาก PACER เป็นระบบ Plant Maintenance (PM ) การปรับปรุงระบบประมวลผลทางบัญชี เพื่อรองรับรูปแบบการรายงานบัญชีตามมาตรฐาน IFRS
โครงการ BPT ได้เลือกใช้ระบบ SAP ECC Version 6.0 เข้ามาช่วยในการปรับเปลี่ยนกระบวนการทํางาน เนื่องจากซอฟต์แวร์ดังกล่าวเป็นที่ นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย และได้รับการยอมรับจากองค์กรชั้นนําต่างๆ ทั่วโลก เนื่องจากเป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถเชื่อมโยงระบบงานหลาย ระบบเข้ามาเป็นหนึ่งเดียวกัน ทั้งยังสามารถพัฒนาระบบได้อย่างต่อเนื่อง ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานเพิ่มเติม ลดระยะเวลาใน การปฏิบัติงาน รวมทั้งลดปริมาณเอกสารและรายงาน ซึ่งถือเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึง ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้น โครงการ BPT ได้เริ่มดําเนินงานตั้งแต่เดือนเมษายน 2553 และจะสามารถเปิดใช้ระบบในขั้นแรกได้ภายในวันที่ 1 มกราคม 2554 และ จะทําการเปิดใช้ทั้งระบบอย่างสมบูรณ์ได้ภายในเดือนมิถุนายน 2554
070
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
คณะกรรมการ
บริษัทฯ
นายพิชัย ชุณหวชิร ประธานกรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 61 ปี
ประวัติการศึกษา บัญชีบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ MBA (Business Administration), Indiana University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาบริหารการเงิน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 13 >> ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 2918 >> >> >> >> >>
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 49/2549) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 110/2551) ประวัติการอบรมอื่นๆ ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท. รุน่ ที่ 5)
>>
ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2544-2550 รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) 2546-2551 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) 2539-2552 กรรมการ บริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) 2543-2552 ประธานกรรมการ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด 2548-2552 กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 2550-2552 กรรมการ บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2551-2552 ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (5) >> กรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด (1) >> กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด (2) >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด >> กรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (3) >> กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ >> กรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยมหิดล >> อุปนายกและประธานคณะกรรมการวิชาชีพบัญชีดา้ นการบัญชีบริหาร สภาวิชาชีพบัญชี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายมนู เลียวไพโรจน์
นายชัยเกษม นิติสิริ
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ อายุ 67 ปี
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการตรวจสอบ อายุ 62 ปี
ประวัติการศึกษา เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ M.Sc. (Economics), University of Kentucky ประเทศสหรัฐอเมริกา Ph.D. บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประกาศนียบัตรการพัฒนาอุตสาหกรรม ศูนย์อบรมนาโงยา ประเทศญี่ปุ่น วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 34
>> >> >> >> >>
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of Chairman Program (RCP 3/2544) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 30/2546) ประวัติการอบรมอื่นๆ
- ไม่มี
ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2547-2552 ประธานกรรมการบริหาร สํานักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) 2548–2550 กรรมการ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 2548–2551 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) 2548–2552 กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (4) >> ประธานกรรมการ บริษัท เออาร์ไอพี จํากัด (มหาชน) >> ประธานกรรมการ บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) >> ประธานกรรมการ บริษัท นํ้าตาลขอนแก่น จํากัด (มหาชน) >> ประธานกรรมการ บริษัท เชอร์วูดเคมิคอล จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด (1) >> กรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 5 (ด้านกฎหมายการค้าและอุตสาหกรรม) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
– ไม่มี
0.0015 - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี
071
ประวัติการศึกษา >> นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา >> LL .M . Columbia University โดยทุนรัฐบาล ตามความต้องการของกรมอัยการ (สํานักงานอัยการสูงสุด) และทุนของมูลนิธิ Starr ประเทศสหรัฐอเมริกา >> นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง >> นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ >> ศาสตราจารย์พิเศษ ในสาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 8/2544) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of Chairman Program (RCP 16/2550) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD 5/2552) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> นักบริหารงานยุติธรรมระดับสูง (อส.) รุ่นที่ 1 >> วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 38 >> นักบริหารระดับสูง (ก.พ.) หลักสูตรที่ 1 รุ่นที่ 14 >> การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร. 9) รุน ่ ที่ 9 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 5 >> Cert . in International Procurement , Georgetown University (2524) >> หลักสูตร “การกํากับดูแลกิจการสําหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชน” รุ่นที่ 6 สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ สถาบันพระปกเกล้า ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2546 รองอัยการสูงสุด 2550 อัยการสูงสุด สํานักงานอัยการสูงสุด ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด – ไม่มี 3. บริษัทจํากัด – ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (7) >> อัยการอาวุโส (ที่ปรึกษาอัยการสูงสุด) >> กรรมการและประธานกรรมการบริหาร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ >> กรรมการกฤษฎีกา >> กรรมการสภามหาวิทยาลัยโยนก >> กรรมการสภามหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น >> กรรมการในคณะกรรมการตํารวจ >> ที่ปรึกษาประธานกรรมการ บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน - ไม่มี ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง - ไม่มี
072
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายอุทิศ ธรรมวาทิน
นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการตรวจสอบ อายุ 61 ปี
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 54 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ >> ปริญญาโทบริหารธุรกิจ, University of Southern California ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ปริญญาบัตรหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปอ. รุ่น 39), วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ประวัติการศึกษา >> นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ >> เนติบัณฑิตไทย เนติบัณฑิตยสภา >> นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเบริกเลย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา >> วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 399 >> NIDA -Wharton Executive Leadership Program , Wharton School , University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 3/2543) ประวัติการอบรมอื่นๆ หลักสูตรนักบริหารระดับสูง สํานักงาน ก.พ. หลักสูตรที่ 1 รุ่นที่ 11 หลักสูตร Customs International Executive Management Program (CIEMP) ณ ประเทศออสเตรเลีย >> Mini Master of Management สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ >> หลักสูตร EVM (Economic Value Management ) สํานักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจร่วมกับบริษัท สเติร์น สจ๊วต (ประเทศไทย) จํากัด >> หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นที่ 11 วิทยาลัยการยุติธรรม สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม >> >>
ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2549–2551 รองปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและ หนี้สินสํานักงานปลัดกระทรวงการคลัง 2551-1 ตุลาคม 2552 อธิบดีกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (2) >> ประธานกรรมการ บริษท ั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท ไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด (1) >> กรรมการ บริษัท แพน-ราชเทวี กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด (1) >> ที่ปรึกษา บริษัท ทุนลดาวัลย์ จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ – ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 72/2551) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 134/2553) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC 11/2553) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท. รุ่น 5) >> ประกาศนียบัตรชั้นสูงหลักสูตรการเมืองการปกครองในระบบประชาธิปไตย สําหรับนักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2547-2550 ผู้อํานวยการธนาคารออมสิน 2550-2551 กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) 2550-2552 ที่ปรึกษาภาคการเงินเศรษฐกิจฐานราก องค์การสหประชาชาติ ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (2) >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ จํากัด (มหาชน) >> ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บลจ. เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด (1) >> ประธานกรรมการ บลจ. ซีไอเอ็มบี - พรินซิเพิล จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (2) >> ที่ปรึกษาคณะกรรมการ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย >> ประธานกรรมการ กองทุนเปิดเอ็มเอฟซีเอ็นเนอร์จี ฟันด์ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
- ไม่มี
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นางสาวพวงเพชร สารคุณ
นายเทวินทร์ วงศ์วานิช
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 64 ปี
กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 52 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ >> หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่น 43 ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 131/2553) ประวัติการอบรมอื่นๆ หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง สถาบันจิตวิทยา รุ่นที่ 45 หลักสูตรนักบริหารระดับสูง สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน รุ่นที่ 1/4 หลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือรุ่น 27
>> >> >>
ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2542–2550 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 2543–2550 รองเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา 2545–2550 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมการสภาที่ปรึกษาแรงงานแห่งชาติ รุ่นที่ 13 และรุ่นที่ 14 2549–2550 สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 2549–2551 กรรมการผังเมือง คณะกรรมการผังเมือง 2550–2552 ที่ปรึกษากฎหมาย (ตําแหน่งเทียบเท่ารองเลขาธิการ) สํานักพระราชวัง ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ – ไม่มี 2 บริษัทมหาชน จํากัด – ไม่มี 3. บริษัทจํากัด – ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (4) >> กรรมการกฤษฎีกา คณะกรรมการกฤษฎีกา >> ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน >> กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร >> กรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
073
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเคมี เกียรตินยิ มอันดับ 1) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> ปริญญาโทวิศวกรรมเคมี Rice University , Texas, ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ปริญญาโทวิศวกรรมปิโตรเลียม University of Houston , Texas ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 21/2545) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD 6/2552) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> โครงการอบรมผู้บริหารระดับสูงจากสถาบันศศินทร์ จุฬาฯ (S .E .P . รุ่น 7) >> โครงการอบรมผู้นําสากล (Program for Global Leadership – PGL รุ่น 3) Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา >> หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับผู้บริหารระดับสูง (ปปร. รุ่น 10) สถาบันพระปกเกล้า >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท. รุ่น 6) >> หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ. รุ่น 22) ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2547–2551 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ พัฒนาธุรกิจองค์กร, บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) 2551–2552 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). 2552–2553 ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน และรักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2553–ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (3) >> กรรมการ และกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ และกรรมการกําหนดค่าตอบแทน บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด – ไม่มี 3. บริษัทจํากัด (2) >> ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด >> กรรมการ บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (2) >> สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิอาวุโส สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD ) >> ประธาน สมาคมจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA ) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
074
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายบรรพต หงษ์ทอง
นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการ อายุ 63 ปี
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการกํากับดูแลกิจการ อายุ 57 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี (Economics ), Northeastern University ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ปริญญาโท (Economics Development), Northeastern University ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> ปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทนเนสซี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) - ไม่มี
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 18/2545)
ประวัติการอบรมอื่นๆ >> ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท. รุ่นที่ 9)
>>
ประวัติการอบรมอื่นๆ หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 16
ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2550 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รัฐสภา 2551-2552 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษท ั แกรนด์ คาแนล แลนด์ จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด (1) >> ทีป ่ รึกษาคณะกรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด (1) >> กรรมการ บริษัท เอเวอร์กรีน พลัส จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (7) >> ที่ปรึกษาปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ >> ที่ปรึกษากรมหม่อนไหม >> ที่ปรึกษาคณะกรรมการสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย >> กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน >> ที่ปรึกษาการดําเนินงานของกรมพัฒนาที่ดิน >> ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจําคณะกรรมาธิการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภา >> อนุกรรมการสรรหาและพัฒนาบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2550-2552 ประธานสมาคมธนาคารอาเซียน 2549-2553 กรรมการอิสระ บริษัท อินโดรามาโพลีเมอร์ส จํากัด (มหาชน) 2550-2553 ประธานสมาคมธนาคารไทย 2550-2553 กรรมการ บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท) 2550-2553 กรรมการ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 2547-ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> กรรมการและกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ
– ไม่มี – ไม่มี – ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายปรัชญา ภิญญาวัธน์
พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว
กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการกํากับดูแลกิจการ อายุ 58 ปี
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 56 ปี
ประวัติการศึกษา ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) Stanford University ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาเอกวิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) University of Texas at Austin ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ปริญญาบัตรหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 14/2545) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท. รุน่ ที่ 7) ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2547–2550 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2551–ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย และรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่หน่วยธุรกิจนํา้ มัน บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (4) >> ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย และรองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจนํ้ามัน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ กรรมการกํากับดูแลกิจการ และประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ กรรมการสรรหา และประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด (2) >> กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด (9) >> ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จํากัด >> กรรมการ บริษัท ระยองโอเลฟินส์ จํากัด >> กรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ – ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน - ไม่มี ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง - ไม่มี >> >> >>
075
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตร์บณ ั ฑิต (รป.บ. (ตร.)) โรงเรียนนายร้อยตํารวจ (นรต. รุน่ 29) >> ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม. (พัฒนาสังคม)) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ >> ปริญญาบัตรหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 42 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) - ไม่มี ประวัติการอบรมอื่นๆ >> หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นที่ 15 วิทยาลัยการยุติธรรม >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 5 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท. 5) >> วิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ 33 >> สัมมนาการบริหารวิกฤตการณ์สําหรับเจ้าหน้าที่ระดับสูง ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา >> สัมมนาการรักษาความปลอดภัยระบบการขนส่งมวลชน ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ประชุมเชิงปฏิบัติการฝ่ายบริหารเพื่อการต่อต้านการก่อการร้าย ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2549 ผู้ช่วย ผบ.ตร. รักษาราชการแทน ผบช.ภ. 9 และปฏิบัติหน้าที่ ผบ.ศปก.ตร.สน. (จว. ยะลา) 2550 ผู้ช่วย ผบ.ตร. และปฏิบัติหน้าที่ ผบ.ศปก.ตร.สน. (จว. ยะลา) 2552 ที่ปรึกษา (สบ 10) (ด้านความมั่นคงและกิจการพิเศษ) 2553–ปัจจุบัน รองผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> กรรมการ บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด (1) >> กรรมการ บริษัท บ่อทองวินด์ฟาร์ม จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (2) >> กรรมการ องค์การตลาด กระทรวงมหาดไทย >> กรรมการ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
– ไม่มี
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
076
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายนริศ ชัยสูตร
พลโทธวัชชัย สมุทรสาคร
กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 55 ปี
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 58 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรีทางเศรษฐศาสตร์ (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ >> ปริญญาโททางเศรษฐศาสตร์ (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ >> ปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ University of Hawaii ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัติการศึกษา >> วิทยาศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า >> พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 32/2548) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Finance for Non -Finance Director (FND 19/2548) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 82/2549) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> >> >>
Certificate in Population Studies, University of Hawaii, ประเทศสหรัฐอเมริกา วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 39 ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาลัยตลาดทุน (วตท. 4)
ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2549-2550 ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง 2551-2552 หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง 2552-2553 รองปลัดกระทรวงการคลัง 2553-ปัจจุบัน ผู้อํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> รักษาการประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. รัฐวิสาหกิจ (1) >> ประธานกรรมการธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (13) >> กรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน >> กรรมการ คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ >> กรรมการ คณะกรรมการกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ >> กรรมการ คณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย >> ประธานสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ >> ประธานชมรมศิษย์เก่าอีสเวสเซนเตอร์ และฮาวายในประเทศไทย >> ประธานคณะกรรมการสเปเชียลโอลิมปิคแห่งประเทศไทย >> นายกสมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ >> ประธานคณะกรรมการสถาบันคุ้มครองเงินฝาก >> กรรมการบริษัทไทยพรอสเพอริตี้ แอ็ดไวซอรี่ จํากัด >> กรรมการแผนกธรรมศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล >> กรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ >> นายกสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนทิวไผ่งาม สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 138/2553) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Financial Statement for Directors (FSD 9/2553) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ 63 สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง >> หลักสูตรครูทําการรบ ณ ประเทศออสเตรเลีย >> วิทยาลัยการทัพบก ชุดที่ 41 สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง >> วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร 2548 สถาบันป้องกันประเทศ >> สถาบันพระปกเกล้า หลักสูตร การเสริมสร้างสังคมสันติสุข รุ่น 1 >> วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงชั้นสูง รุ่น 1 ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2548 ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 6 2550 รองแม่ทัพภาคที่ 2 2552 แม่ทัพน้อยที่ 2 2553 แม่ทัพภาคที่ 2
– ไม่มี
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. รัฐวิสาหกิจ 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายสุรงค์ บูลกุล
นายสมนึก กยาวัฒนกิจ
กรรมการ (เป็นผู้บริหาร) และเลขานุการ คณะกรรมการบริษัทฯ อายุ 55 ปี
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานกรรมการ (ครบวาระในการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553) อายุ 50 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ สาขา Industrial Engineering and Operations Research, Syracuse University ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร์ สาขา Operations Research , Cornell University ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ปริญญาโทบริหารธุรกิจ Cornell University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 121/2552) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> PMD , Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ประกาศนียบัตรหลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สําหรับนักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า (ปปร. 8) >> หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. รุ่น 4919) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาลัยการตลาดทุน (หลักสูตร วตท. รุ่นที่ 10) ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2548-2551 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่การค้าระหว่างประเทศ บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) 2551-2552 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัด ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีขั้นปลาย บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด (1) >> กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด (12) >> ประธานกรรมการ บริษัท PTT International Trading DMCC >> ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. ค้าสากล จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด >> กรรมการ บริษัท ปตท. กรีนเอ็นเนอร์ยี่ จํากัด >> กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จํากัด >> กรรมการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด >> กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด >> กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ จํากัด >> กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด >> กรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด >> กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด >> กรรมการ บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> คณะกรรมการอํานวยการ สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ 0.0032 การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน - ไม่มี ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง - ไม่มี
077
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >>
Master of Science in Operation Research Florida Institute of Technology
ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 2546) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 59/2548) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of Chairman Program (RCP 19/2551) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> ประกาศนียบัตรหลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหาร ระดับสูง รุ่นที่ 8 สถาบันพระปกเกล้า >> ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นที่ 11 วิทยาลัยการยุติธรรม สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม >> ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท. รุ่นที่ 9) ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2545–2551 กรรมการ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) 2548–2549 ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการการลงทุนและบริหารความเสี่ยง โรงงานยาสูบ 2551 กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) 2552 ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด 2551-2553 ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (1) >> กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้อํานวยการ กลุ่มบริษัท ตงฮั้วคอมมูนิเคชั่นส์ จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด – ไม่มี 3. บริษัท จํากัด (8) >> ประธานกรรมการ บริษัท อินเตอร์เนต เวนเจอร์ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ที.ซี.เอ็กซ์ซิบิชั่น เซอร์วิส จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท วี.อาร์.วัน เรดิโอ จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท บางกอกรัตนโกสินทร์การพิมพ์ จํากัด >> กรรมการอํานวยการ บริษัท สาครและบุตร จํากัด >> กรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด >> กรรมการ บริษัท อิตัลสยาม มอเตอร์ เซลล์ จํากัด >> กรรมการ บริษัท บางปะอิน กอล์ฟ จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (2) >> กรรมการ สภาหนังสือพิมพ์แห่งชาติ >> ประธานบริหาร มูลนิธิบรรณพิภพ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน - ไม่มี ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง - ไม่มี
078
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และประธานคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการ (ครบวาระในการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553) อายุ 56 ปี
กรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (ครบวาระในการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553) อายุ 59 ปี
ประวัติการศึกษา >> โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 12 >> โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 23 >> หลักสูตรชั้นนายร้อย รุ่นที่ 51 >> หลักสูตรชั้นนายพัน รุ่นที่ 38 >> โรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลักประจําชุดที่ 63 >> วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐร่วมเอกชน 5020 ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 104/2551) ประวัติการอบรมอื่นๆ
ประวัติการศึกษา ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทบริหารธุรกิจ, UTAH STATE UNIVERSITY, ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี >> วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 10 >> >> >> >> >>
- ไม่มี
ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 26/2547)
ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2549-2551 แม่ทัพภาคที่ 1 (มทภ. 1) 2551-2552 เสนาธิการทหารบก กองทัพบก 2550–2553 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) 2552-2553 รองผู้บัญชาการทหารบก กองทัพบก ปัจจุบัน ผู้บัญชาการทหารบก กองทัพบก
ประวัติการอบรมอื่นๆ >> ประกาศนียบัตร Advanced Management Program (AMP 155), Harvard Business School, ประเทศสหรัฐอเมริกา >> ประกาศนียบัตรหลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหาร ระดับสูง รุ่น 6 สถาบันพระปกเกล้า >> ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท. รุ่นที่ 3)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ 2533 เหรียญรามมาลา เข็มกล้ากลางสมร 2542 ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ต.จ.ว.) 2545 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) 2548 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) 2551 มหาวชิรมงกุฎไทย (ม.ว.ม.) 2553 มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2546–2550 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2550–2553 กรรมการและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
ตําแหน่งที่สําคัญ อื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ
– – – –
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (5) >> ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) >> ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) >> รองประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) >> รองประธานกรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) >> กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด (1) >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทจํากัด (2) >> ประธานกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด >> ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ – ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา
นายนนทิกร กาญจนะจิตรา
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการตรวจสอบ (ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2553) อายุ 59 ปี
กรรมการอิสระ (ไม่เป็นผู้บริหาร) และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน (ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี 2553) อายุ 55 ปี
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ >> ปริญญาโทวิศวกรรมปิโตรเลียม New Mexico Institute of Mining and Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Audit Committee Continuing and Development Program (ACP 24/2551) ประวัติการอบรมอื่นๆ ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท. รุ่นที่ 8) >> ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 48 ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2548-2550 กรรมการ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 2548-2551 อธิบดี กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน 2551-2552 รองปลัดกระทรวง กระทรวงพลังงาน 2551-2553 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (2) >> ประธานกรรมการ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) >> กรรมการและกรรมการกําหนดค่าตอบแทน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด – ไม่มี 3. บริษัทจํากัด – ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (1) >> อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน -
ประวัติการศึกษา >> ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ >> ปริญญาโท MPA, Middle Tennessee State University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certifi cation Program (DCP 102/2551) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Audit Committee Program (ACP 22/2551) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD 1/2551) >> ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC 6/2551) ประวัติการอบรมอื่นๆ >> หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 48 >> หลักสูตรนักบริหารระดับสูง สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน รุ่นที่ 41 >> หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 9
>>
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
079
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ประวัติการทํางานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2546–2549 ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาระบบจําแนกตําแหน่งและค่าตอบแทน สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน 2549–2551 ที่ปรึกษาระบบราชการ สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน 2551–2553 รองเลขาธิการ ก.พ. สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน 2551–2553 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) 2552–2553 กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เอเชี่ยน พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด (มหาชน) 2552–2553 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท อินเตอร์ลิงค์ คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งที่สําคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (3) >> ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) >> กรรมการอิสระ และประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน บริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน) >> กรรมการอิสระ กรรมการบรรษัทภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม ประธานกรรมการ สรรหาและกําหนดค่าตอบแทนและประธานกรรมการวางแผนพัฒนาบุคลากรของ ธนาคาร บริษัท ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จํากัด – ไม่มี 3. บริษัทจํากัด – ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ (4) >> เลขาธิการ ก.พ. >> กรรมการสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น >> อาจารย์พิเศษประจําคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย >> ผูท ้ รงคุณวุฒดิ า้ นการบริหารงานบุคคลในส่วนราชการต่างๆ เช่น สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ กรมทรัพยากรนํา้ บาดาล สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระทําผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง
-
ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
/
3 นายอุทิศ ธรรมวาทิน
4 นายปรัชญา ภิญญาวัธน์
5 นายนริศ ชัยสูตร
6 นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
7 นายชัยเกษม นิติสิริ
8 นางสาวพวงเพชร สารคุณ
9 นายบรรพต หงษ์ทอง
10 นายเทวินทร์ วงศ์วานิช
11 พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว
12 นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร
13 พลโทธวัชชัย สมุทรสาคร
14 นายสุรงค์ บูลกุล
//
//
//
//
//
//
//
//
//
//
16 นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล
17 นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต
18 นายณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร
19 นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์
20 นายสุพล ทับทิมจรูญ
21 นายอภินันท์ สุภัตรบุตร
22 นายไมตรี เรี่ยวเดชะ
23 นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์
24 นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล
25 นายสมชาย จิรานันตรัตน์
15 นายสมเกียรติ หัตถโกศล
//
2 นายมนู เลียวไพโรจน์
(1)
ไทยออยล์
1 นายพิชัย ชุณหวชิร
รายชื่อ
/ /
/
/
/
บจ. บจ. บจ. ไทยออยล์ ผลิตไฟฟ้า ไทยออยล์ เพาเวอร์ อิสระ มารีน (ประเทศไทย)
บมจ. ไทย ลูบ้ เบส
บจ. ไทยพารา ไซลีน
/
บจ. ศักดิ์ ไชยสิทธิ **
บจ. ท็อป โซลเว้นท์ *
/
บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์
บจ. ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชน่ั ส์
บริษทั ย่อย
ตารางแสดงข้อมูลการดํารงตําแหน่งของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอํานาจควบคุม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
บจ. ท็อป โซลเว้นท์ เวียดนาม ***
/
บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. ไทยออยล์ ทรัพย์ทพิ ย์ ท่อส่ง พีทที ี ไอซีที แม่สอด เอทานอล **** ปิโตรเลียม โซลูชน่ั ส์ พลังงาน สะอาด
080
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
//
//
//
//
//
//
//
//
//
//
//
//
//
29 นางสาวดวงพร ธีรภาพไพสิฐ
30 นายบัณฑิต ธรรมประจําจิต
31 นางประพิณ ทองเนียม
32 นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์
33 นายพรอินทร์ แม้นมาลัย
34 นางสาวภัทรลดา สง่าแสง
35 นางภาวนา ศุภวิไล
36 นายยุทธนา ภาสุรปัญญา
37 นายวัชระ มัทนพจนารถ
38 นายวิโรจน์ มีนะพันธ์
39 นางสาวศิริพร มหัจฉริยวงศ์
40 นายสันติ วาสนศิริ
41 นายสุชาติ มัณยานนท์
= กรรมการ
//
* ** *** ****
บจ. บจ. บจ. ไทยออยล์ ผลิตไฟฟ้า ไทยออยล์ เพาเวอร์ อิสระ มารีน (ประเทศไทย)
/
บจ. ท็อป โซลเว้นท์ เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ซึ่ง บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 80.52 บจ. ท็อป โซลเว้นท์ เวียดนาม เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ซึ่ง บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ถือหุ้นร้อยละ 100 บจ. ทรัพย์ทิพย์ เป็นบริษัทย่อยของ บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ซึ่ง บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ถือหุ้นร้อยละ 50
บจ. ท็อป โซลเว้นท์ *
// = ผู้บริหาร
บริษทั ย่อย บจ. บจ. ไทยออยล์ ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลเว้นท์ โซลูชน่ั ส์
/ = กรรมการอํานวยการ หรือ กรรมการผู้จัดการ หรือ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
บมจ. ไทย ลูบ้ เบส
(1) ครบกําหนดเกษียณอายุวันที่ 31 ธันวาคม 2553 (2) ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานกับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2549 (3) ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานกับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553
หมายเหตุ: = ประธานกรรมการ
44 นางอัจฉรีย์ ตียาภรณ์
43 นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ
42 นายสุพล เฉลิมเกียรติกุล
//
//
28 นายดนุ เบญจพลชัย
//
//
27 นายโกศล พิมทะโนทัย
(3)
//
26 นายกล้าหาญ โตชํานาญวิทย์(2)
(1)
ไทยออยล์
รายชื่อ
บจ. ไทยพารา ไซลีน
/
บจ. ศักดิ์ ไชยสิทธิ **
บจ. ท็อป โซลเว้นท์ เวียดนาม ***
บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. ไทยออยล์ ทรัพย์ทพิ ย์ ท่อส่ง พีทที ี ไอซีที แม่สอด เอทานอล **** ปิโตรเลียม โซลูชน่ั ส์ พลังงาน สะอาด
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ 081
082
โ ค ร ง ส ร้ า ง อ ง ค์ ก ร
โครงสร้างองค์กร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
คณะกรรมการตรวจสอบ
ผู้จัดการแผนกตรวจสอบระบบงานภายใน
ผู้อำนวยการใหญ่ สมเกียรติ หัตถโกศล
รองกรรมการอำนวยการ การอำนวยการ ด้าานธรกิ นธุรกิจ สมเกียรติ หัตถโกศล (รักษาการ)
รองกรรมการอ รองกรรมการอำนวยการ ด้านการ นการเงิน วิรัตน์ เอื้อนฤมิต
กรรมมกา กรรม ก รอ ร ำน ำ วยยกา การร กรรม กร รมกา รม การอ รอำน ำนวย ำน วยกา กร กา กรรรมมกา การอ รอำน ำนนวย วยกา การร กา กรรม กร รมกา การอ กา รอำน ำนวย ำน ว กา วย กร กรรม กร ร กา รม การอ รออำน ำนวย วยกา วย การร กา กรรรม ร กาารผ ร จัจดก ู้จดการ ั าร กรรม กร รมมกา ก รอ ร ำน ำ วยยกา กร ก รม กร รมกา การอ รอำน ำนวย วยกา วย การร กา
TLBB TL TX TP TMM IPPT TP TS TS TT TE TESS TE
- อภิภนันันนท น ์ สุสภัภุ ัตรบุ นท ตรบุตร ตร ตร - สุพล ทับท บั ทิทมิจร จรูญ ู - นิทัศน์ ครอ รองว งววาน านิชิยกกุล - ไม ไ ตร ตรี เร เรียว ย่ี วเดดชะ - ไม ไมตร ต ี เร ตร เรียว ่ียวเด ยวเด เดชะ ชะ - เเทอ ทออดช ดชาต าติิ ผด าต ผดุงุรัตน ตน์ ตน์ - สมช มชาย าย จจิริานนันตร ตรัตัน์์ - ภาว าวนา นา ศุภวิวไล ไล
ผูผ้จ้ัดกาารฝ รฝ่ายพพัฒนา นาธุธรก ธุธรก รกิ ุ จิ ดวงพ ดว งพรร ธธีรภ งพ รี ภาพ า ไพสิ ไพพสิฐ
ผูู้จัดกา ก รฝฝ่ายบ ยบัญ ั ชีี ป ะพพิณ ทอองงเน ปร เนียีม
ผูผู้จัดกกาารฝฝ่ายกการ ารพา พ ณิ พา ณชย ช ์องค งค์ก์ร อัจฉ จั ฉรีรย์ยย์์ ตตียีาภรณ จฉรี าภภรณ รณ์์
ผูผ้จัดกา การฝ รฝ่า่ยว รฝ ยวางงแผผนก น ลย ลยุทุธ์ ภัทร ทรลดดา สง่ ทรลด สงงา่แสง แสสง
ผู้จัดกา การฝ ร ่ายก รฝ ย าร ารคล คลังั คล ศิริริ พร พิ ร มมหัหัจฉ จั ฉริยว ยิ วงศศ์
ผูผ้จู ัดกา ก รฝฝ่ายว ยวาง า แผ แผนน กกาารพ รพาณ าณิ าณ ณชิย์อง องค์คกร องค์ กร พงษ์ษพัพนธ พง พันธธ์ุ อมร มรวิววัวัฒน ฒน์ ฒน์
หมายเหตุ >> คุณกล้าหาญ ต. ผู้จัดการฝ่าย (SA-5) ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานที่ PTT >> คุณอรรถวุฒิ ว. ผู้จัดการฝ่าย (SA-8) ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานที่ PTT
โ ค ร ง ส ร้ า ง อ ง ค์ ก ร
083
คณะกรรมการบริษัทฯ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สุรงค์ บูลกุล
รองกรรมการอำนวยการ ด้านโรงกลั่น ชัยวัฒน์ ดำรงค์มงคลกุล
ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการร ด้านโรงกลั่น ณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร
ผู้จัดกา ก รฝ ร ่ายพ ย ัฒนา น สินท นทรัพย พย์ พย์ พรอิอนท พร อินท ิ ร์ร แม้มนม นทร์ นมาล าลัยั าล
ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการ ด้านบริหารองค์กร สมชัย วงศ์วัฒนศานต์
ผู้จัดกา การฝ การฝ รฝ่า่ยเ ยเทค ทคโน ทค โนโล โน โลยี โล ลยีย บับณฑิ ั ฑติ ธรรรมป ณ ณฑ มประ ระจำจิ จำจิจต จำ จิ ต
ผูผ้จ้ดั กา การฝ รฝฝ่ายททรัพยาก พั ยาก พย ากรบ รบุคุคคล รบ โกศล โก ศล พิมทะ ทะโน ะโน โนทั นทัทย
ผผู้จู ัดการฝ กาารฝฝ่ายผ ยผลิลิลต ยุยทธ ุทธนา ภภาส าสสุรปัปญญ ญญ ญา
ผู้จัดกา การฝ รฝฝา่ยพ รฝ่ ยพัฒ ั นา น อง องค์ค์กร กรแล กรแล และะ ปรับัปร ปร ปรุงุกร กระบ ะบบวน ว กา การท ร ำงงาน รท า สันต นติ วา นติ วาสน สนสิสิสริริ สน
ผู้จัดกา การฝ รฝฝ่ายผ ย ลตภ ลิตภ ิ ภัณฑ์ ฑแล และค แล ะคุณภา ะค ภพ ณ งค ณร งค์ฤ์ทธ ท ิ์ ถาววรว รวิวศิิษฐพ ฐพรร ((รรักษา ษ กกาาร) าร) ร
ผู้จัดกา ก รฝ รฝ่ายว ยวิศิวก วกรร รม รร สุสชา ุชาติต มัณยา ชาติ ยานน นนนท์ท์ นนท์
ผูผ้จ้ัดกาารฝฝ่ายบ ยบริริรหา หาารคุ รคณ รค ุ ภา ภ พอ พองค ง ์กร งค ดนุุ เบ ดน เ ญจ ญจพล พ ชัชยั พล
ผูผ้จู ัดกา การฝ รฝ่า่ย รฝ สำนันันกก สำ กกกรร รรมก มการ มก ารอำ าร อำนว อำ นวยก นว ยการ ยก วิวโร โรจน โร จนน์ มีนะ นะพัพนธ นธ์์ นธ
084
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
โครงสร้างการถือหุ้น
และการจัดการ โครงสร้างการถือหุ้น หลักทรัพย์ของบริษัทฯ หุ้นสามัญ ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุน้ เพือ่ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาล วันที่ 28 กันยายน 2553 บริษทั ฯ มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 20,400,278,730 บาท และทุนชําระแล้วจํานวน 20,400,278,730 บาท เป็นหุ้นสามัญทั้งสิ้น 2,040,027,873 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท หุ้นกู้ บริษัทฯ ได้มีการออกหุ้นกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ ชนิดไม่มีหลักประกัน จํานวน 350 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อายุของหุ้นกู้ 10 ปี ประเภทชําระคืน เงินต้นครั้งเดียว ซึ่งจะครบกําหนดชําระคืนเงินต้นในวันที่ 9 มิถุนายน 2558 และหุ้นกู้สกุลเงินบาทชนิดไม่มีหลักประกันและไม่ด้อยสิทธิ 4 ชุด จํานวนรวม 20,750 ล้านบาท ซึ่งจะครบกําหนดไถ่ถอนปี 2556 จํานวน 2,750 ล้านบาท ปี 2555 จํานวน 3,000 ล้านบาท ปี 2557 จํานวน 12,000 ล้านบาท และปี 2565 จํานวน 3,000 ล้านบาท
ผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ณ วันที่ 28 กันยายน 2553 โดยนับรวมการถือหุ้นตามมาตรา 258 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มีดังนี้ รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 อันดับแรก(1) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
บริษัท ปตท.จํากัด (มหาชน)(2) HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD
NIPPON OIL CORPORATION STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY CHASE NOMINEES LIMITED 17 STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR LONDON NORBAX INC .,13 CHASE NOMINEES LIMITED 15 บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) CHASE NOMINEES LIMITED 1 รวม
จํานวนหุ้น
สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)
1,001,647,483 56,365,636 36,137,200 34,397,532 28,714,200 28,532,200 24,245,600 23,113,200 18,000,000 15,428,138 1,266,581,189
49.10 2.76 1.77 1.69 1.41 1.40 1.19 1.13 0.88 0.76 62.09
หมายเหตุ: (1) ไม่นับรวมผู้ถือหุ้นบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการลงทุนของผู้ลงทุน โดยเฉพาะชาวต่างประเทศ ให้สามารถลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนได้โดยไม่ติดเรื่องเพดานการถือครองหลักทรัพย์ของชาวต่างชาติ (Foreign Limit) ซึ่งไม่มีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมของบริษัทจดทะเบียน (2) บมจ. ปตท. ในฐานะที่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ มีส่วนในการกําหนดนโยบายการจัดการและการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งนี้ มีกรรมการที่เป็นกรรมการ และ/หรือ ผู้บริหารของ บมจ. ปตท. จํานวน 5 คน จากจํานวนกรรมการบริษัทฯ ทั้งหมด 14 คน ณ สิ้นปี 2553
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
085
นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของกําไรสุทธิของงบการเงินรวม ภายหลังจากการหักทุนสํารองต่างๆ ทุกประเภทตามที่ได้กําหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัทฯ และตามกฎหมาย โดยการพิจารณาการจ่ายเงินปันผลขึ้นอยู่กับกระแสเงินสดของ บริษัทฯ และแผนการลงทุนของบริษัทฯ และบริษัทในเครือในแต่ละปี ตามความจําเป็นและความเหมาะสมอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ เห็นสมควร โดยจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นในแต่ละปี เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ มีอาํ นาจอนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลได้เป็นครัง้ คราว เมือ่ เห็นว่าบริษทั ฯ มีผลกําไรสมควรจะทําเช่นนัน้ แล้วให้รายงานการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ดังกล่าวให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป สําหรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยของบริษัทฯ คณะกรรมการของบริษัทย่อยจะพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเสนอให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติในแต่ละปีเช่นกัน โดยจะพิจารณาการจ่ายเงินปันผลจากแผนการลงทุนตามความจําเป็นและความเหมาะสมอื่นๆ เช่น ความเพียงพอของกระแสเงินสดของบริษัทย่อยหลังจากหักสํารองเงินตามที่กฎหมายกําหนดแล้ว
086
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ประกอบด้วย >> คณะกรรมการบริษัทฯ >> คณะกรรมการเฉพาะเรือ ่ ง ทีช่ ว่ ยกลัน่ กรองในเรือ่ งทีส่ าํ คัญ ซึง่ ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ จํานวน 3 คณะ คือ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ และอีกหนึง่ คณะ มาจากฝ่ายจัดการบริษทั ฯ คือ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง >> ฝ่ายจัดการ โดยมีประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เป็นผู้บริหารสูงสุดของบริษัทฯ
คณะกรรมการบริษัทฯ ปัจจุบัน คณะกรรมการบริษัทฯ มีกรรมการจํานวน 14 คน ประกอบด้วย >> กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร จํานวน 13 คน โดยในจํานวนนี้ประกอบด้วย กรรมการอิสระ จํานวน 9 คน >> กรรมการที่เป็นผู้บริหาร จํานวน 1 คน คือ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วย ชื่อ - นามสกุล
ตําแหน่ง
วันที่ได้รับแต่งตั้ง
1. นายพิชัย ชุณหวชิร
กรรมการ ประธานกรรมการ
3 เมษายน 2552
2. นายมนู เลียวไพโรจน์
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
3 เมษายน 2552
3. นายชัยเกษม นิติสิริ
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
4 เมษายน 2551
4. นายอุทิศ ธรรมวาทิน
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
3 เมษายน 2552
5. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
2 เมษายน 2553
6. นางสาวพวงเพชร สารคุณ
กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
4 เมษายน 2551
7. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช
กรรมการ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
2 เมษายน 2553
8. นายบรรพต หงษ์ทอง
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ
1 ตุลาคม 2551
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
ชื่อ - นามสกุล
ตําแหน่ง
วันที่ได้รับแต่งตั้ง
9. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
กรรมการอิสระ กรรมการกํากับดูแลกิจการ
2 เมษายน 2553
10. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์
กรรมการ กรรมการกํากับดูแลกิจการ
3 เมษายน 2552
11. นายนริศ ชัยสูตร
กรรมการ
3 เมษายน 2552
12. พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว
กรรมการอิสระ
2 เมษายน 2553
13. พลโทธวัชชัย สมุทรสาคร
กรรมการอิสระ
25 มิถุนายน 2553
14. นายสุรงค์ บูลกุล
กรรมการ เลขานุการคณะกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
1 ตุลาคม 2552
รายชื่อกรรมการที่ครบวาระและออกระหว่างปี 2553 ได้แก่ ชื่อ - นามสกุล
เหตุผลที่ออก
1. นายสมนึก กยาวัฒนกิจ (กรรมการอิสระและประธานกรรมการ)
ครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2553 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2553
2. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ (กรรมการและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน)
ครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2553 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2553
3. พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา (กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ)
ครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2553 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2553
4. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา (กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ)
ลาออกจากการดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ มีผลตั้งแต่วันที่ 3 มิถุนายน 2553
5. นายนนทิกร กาญจนะจิตรา (กรรมการอิสระและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน)
ลาออกจากการดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ มีผลตั้งแต่วันที่ 5 สิงหาคม 2553
087
088
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
รายงานการถือหลักทรัพย์ของกรรมการบริษัทฯ ในปี 2552 และ 2553 ชื่อ - นามสกุล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.
จํานวนหุ้น (หุ้น) 31 ธ.ค. 52 31 ธ.ค. 53
นายพิชัย ชุณหวชิร นายมนู เลียวไพโรจน์ นายชัยเกษม นิติสิริ นายอุทิศ ธรรมวาทิน นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร นางสาวพวงเพชร สารคุณ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายบรรพต หงษ์ทอง นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายนริศ ชัยสูตร พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว พลโทธวัชชัย สมุทรสาคร นายสุรงค์ บูลกุล
1,000 31,000 64,700
1,000 31,000 64,700
จํานวนหุ้น เพิ่ม (ลด) ระหว่างปี -
1. องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ข้อบังคับบริษัทฯ กําหนดให้คณะกรรมการของบริษัทจะต้องประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อยห้าคน และไม่เกินสิบห้าคน โดยกรรมการ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย และกรรมการจะเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทหรือไม่ก็ได้
2. การแต่งตั้งและการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการบริษัทฯ ข้อบังคับบริษัทฯ มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการแต่งตั้ง ถอดถอน หรือพ้นจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ สรุปสาระสําคัญได้ดังนี้ การแต่งตั้งกรรมการ ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับ 1 หุ้นต่อ 1 เสียง (2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียง ให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป็นผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งใน ครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมี ให้ประธานที่ประชุม เป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
089
ตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติเห็นชอบให้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเข้ารับการ เลือกตั้งเป็นกรรมการล่วงหน้าก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี ตามหลักเกณฑ์การสรรหากรรมการของบริษัทฯ ซึ่งปีที่ผ่านมา ไม่มี ผูถ้ อื หุน้ รายย่อยรายใดเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้ารับการเลือกตัง้ เป็นกรรมการ (รายละเอียดอยูใ่ นหัวข้อนโยบายการกํากับดูแลกิจการ หน้า 118-119 การถอดถอน และการพ้นจากตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ >> ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตําแหน่งจํานวนหนึ่งในสามของจํานวนกรรมการในขณะนั้น ถ้าจํานวน กรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจํานวนใกล้ที่สุดกับจํานวนหนึ่งในสาม และกรรมการที่พ้นจากตําแหน่ง อาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามารับตําแหน่งอีกได้ โดยกรรมการที่จะต้องออกจากตําแหน่งในปีแรกและปีที่สองภายหลังจากจดทะเบียน แปรสภาพบริษัทฯ นั้น ให้ใช้วิธีจับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในตําแหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจาก ตําแหน่ง >> นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการจะพ้นจากตําแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตาม กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัด และ/หรือกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออก หรือ ศาลมีคําสั่งให้ออก >> กรรมการคนใดจะลาออกจากตําแหน่ง ให้ยื่นใบลาออกต่อบริษัทฯ โดยการลาออกนั้นจะมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึงบริษัทฯ ทั้งนี้ กรรมการซึ่งลาออกจะแจ้งการลาออกของตนให้นายทะเบียนทราบด้วยก็ได้ >> ในการลงมติให้กรรมการคนใดออกจากตําแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระให้ถือคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนผู้ถือหุ้น ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจํานวนหุน้ ทีถ่ อื โดยผูถ้ อื หุน้ ทีม่ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง ลงคะแนน >> ในกรณีที่ตําแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติ และไม่มี ลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัดและกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เข้าเป็นกรรมการแทน ในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการผู้นั้นจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน โดยบุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทน ดังกล่าวจะอยู่ในตําแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนเข้ามาแทน มติของคณะกรรมการจะต้องประกอบด้วย คะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่
3. กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ตามข้อบังคับบริษัทฯ ได้กําหนดให้กรรมการผู้มีอํานาจผูกพันบริษัท คือ กรรมการสองคน ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสําคัญของ บริษัทฯ โดยคณะกรรมการมีอํานาจพิจารณากําหนดและแก้ไขชื่อกรรมการซึ่งมีอํานาจผูกพันบริษัทฯ ได้ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 4/2553 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2553 ได้มีมติกําหนดชื่อและจํานวนกรรมการ ซึ่งมีอํานาจ ลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ คือ นายพิชัย ชุณหวชิร นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายมนู เลียวไพโรจน์ นายสุรงค์ บูลกุล กรรมการสองในสี่คนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัทฯ
4. ขอบเขตอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่ในการจัดการบริษัทฯ ตลอดจนปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่สําคัญของคณะกรรมการ สรุปได้ดังนี้
090
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
หน้าที่ตามข้อบังคับบริษัทฯ >> จัดการดําเนินกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ และเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น >> เลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ ในกรณีที่คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาเห็นสมควร จะเลือกกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคน เป็นรองประธานกรรมการก็ได้ โดยรองประธานกรรมการมีหน้าที่ตามข้อบังคับในกิจการซึ่งประธานกรรมการมอบหมาย >> กําหนดการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง และอาจมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจําเป็น ในปี 2553 บริษัทฯ ได้มีนโยบายจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจําทุกเดือน เว้นแต่มีเหตุสําคัญและจําเป็นในการยกเลิก ประชุมเท่านั้น โดยมีการจัดประชุมรวมทั้งสิ้น 8 ครั้ง (รายละเอียดการเข้าประชุมของคณะกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2553 หน้า 97) หน้าที่ตามการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ >> ทบทวนและให้ความเห็นชอบในการดําเนินงานใดๆ ที่กฎหมายกําหนด >> ทบทวนและกําหนดวิสัยทัศน์ร่วมกับฝ่ายจัดการ โดยมุ่งเน้นประโยชน์กับบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มของบริษัทฯ ด้วยความตั้งใจและความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน >> ทบทวนและให้ความเห็นชอบแผนกลยุทธ์และนโยบายที่สําคัญ รวมถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงาน และ งบประมาณ รวมทั้งกํากับ ควบคุม ดูแลให้ฝ่ายจัดการดําเนินงานตามนโยบายและแผนที่กําหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล >> พิจารณาผลการประเมินการปฏิบัติงาน และกําหนดค่าตอบแทนของผู้บริหารสูงสุด โดยผ่านความเห็นของคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน >> มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบดําเนินการสอบทานระบบบัญชีและการรายงานทางการเงิน รวมทั้ง ดูแลให้มีกระบวนการในการ ประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีรายงานทางการเงินที่น่าเชื่อถือ >> มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบดําเนินการสอบทานนโยบายด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Policy ) ให้ครอบคลุม ทั้งองค์กร โดยให้ฝ่ายจัดการเป็นผู้ปฏิบัติตามนโยบายและรายงานให้ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทราบทุกครั้ง >> สอดส่องดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ กําหนดแนวทาง ในการทํารายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยรวมเป็นสําคัญ กําหนดขั้นตอนการ ดําเนินการและการเปิดเผยข้อมูลของรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้ถูกต้องครบถ้วน >> กําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ และจรรยาบรรณทางธุรกิจเป็นลายลักษณ์อักษร และให้ความเห็นชอบนโยบายดังกล่าว โดยบริษัทฯ จะนําเสนอให้มีการทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการและประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวปีละ 1 ครั้ง
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
091
คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ เพื่อกลั่นกรองและกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทฯ เฉพาะเรื่อง ทั้งนี้ เพื่อให้ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด และให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ และข้อบังคับของ ก.ล.ต. และ ตลท. คณะกรรมการเฉพาะเรื่องของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีดังต่อไปนี้
1. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ ก.ล.ต. และ ตลท. กําหนด เพื่อทําหน้าที่สอบทาน การดําเนินงานของบริษัทฯ รายการทางการเงิน ระบบการควบคุมภายใน คัดเลือกผู้ตรวจสอบบัญชี รวมทั้งพิจารณารายการระหว่างกัน โดยกรรมการตรวจสอบทุกท่านเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถทําหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการอิสระที่ไม่เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ จํานวน 3 คน ดังนี้ ชื่อ - นามสกุล 1. นายมนู เลียวไพโรจน์ 2. นายชัยเกษม นิติสิริ 3. นายอุทิศ ธรรมวาทิน
ตําแหน่ง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (อิสระ) (มีความเชี่ยวชาญด้านบัญชีและการเงิน) กรรมการตรวจสอบ (อิสระ) กรรมการตรวจสอบ (อิสระ)
โดยมี นางสาวหัสยา นิพัทธ์วรนันท์ ผู้จัดการแผนกตรวจสอบระบบงานภายใน ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานรายงานทางการเงินเพื่อให้มั่นใจว่ามีความถูกต้อง และเชื่อถือได้ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ โดยการประสานงาน กับผู้สอบบัญชีภายนอก และผู้บริหารที่รับผิดชอบจัดทํารายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาส และประจําปี 2. สอบทานให้บริษัทฯ และบริษัทในเครือ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control ) ระบบการตรวจสอบภายใน และระบบการบริหาร ความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และอาจเสนอแนะให้มีการสอบทานหรือตรวจสอบรายการใดที่เห็นว่าจําเป็น และเป็นสิ่งสําคัญ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุงแก้ไขระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง และรายงานผลการสอบทาน เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ 3. สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อกําหนดของ ตลท. นโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ 4. สอบทานหลักฐานหากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการดําเนินการที่อาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานของ บริษัทฯ หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือการฝ่าฝืนกฎหมาย และข้อกําหนดที่เกี่ยวข้อง ที่อาจมีผลกระทบต่อการดําเนินงาน ของบริษัทฯ 5. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยง หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์เป็นไปตาม กฎหมาย และข้อกําหนดของ ตลท. ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ
092
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
6. พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทําหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาเสนอค่าตอบแทน ของผู้สอบบัญชี โดยคํานึงถึงความน่าเชื่อถือ ความเพียงพอของทรัพยากร และปริมาณงานตรวจสอบของสํานักงานตรวจสอบบัญชีนั้น รวมถึงประสบการณ์ของบุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ทําการตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มี ฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 7. สอบทานความถูกต้อง และประสิทธิผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับรายงานการเงิน และการควบคุมภายใน 8. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบรายงานทางการเงินให้ทัดเทียมกับมาตรฐานบัญชีสากล 9. สอบทานแผนงานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตามวิธีการ และมาตรฐานที่ยอมรับโดยทั่วไป 10. พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน รวมถึงให้คําแนะนําในเรื่องงบประมาณ และกําลังพลของแผนกตรวจสอบ ระบบงานภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน และประเมิน ผลการปฏิบัติงานประจําปีของผู้จัดการแผนกตรวจสอบระบบงานภายใน 11. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และเปิดเผยไว้ในรายงานประจําปีของบริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ที่ ตลท. กําหนด 12. คณะกรรมการตรวจสอบอาจแสวงหาความเห็นที่เป็นอิสระจากที่ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นใดเมื่อเห็นว่าจําเป็นด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งนี้ การดําเนินการว่าจ้างให้เป็นไปตามระเบียบข้อกําหนดของบริษัทฯ 13. ประธานกรรมการตรวจสอบ หรือกรรมการตรวจสอบ ต้องเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เพื่อชี้แจงในเรื่องเกี่ยวกับคณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 14. พิจารณาทบทวน และปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ 15. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในรอบปีที่ผ่านมา คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจําปี 2553 ร่วมกับฝ่ายบริหาร ผู้จัดการแผนกตรวจสอบระบบงานภายใน และ ผูส้ อบบัญชี เพือ่ ให้แน่ใจว่าระบบบัญชี และรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ ถูกต้อง เชือ่ ถือได้ และเปิดเผยข้อมูลสําคัญครบถ้วน เพียงพอ และทันเวลา เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2. สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายในทีด่ เี พียงพอ และมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไป 3. สอบทานการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของ ตลท. หรือกฎหมาย อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ โดยเฉพาะในกรณีที่มีรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อให้มีความเป็นธรรมสมเหตุสมผล และไม่ก่อให้เกิดการถ่ายเทผลประโยชน์ 5. พิจารณาแผนงานการตรวจสอบประจําปี และสอบทานรายงานผลการตรวจสอบของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ พร้อมทั้งให้คําแนะนํา เพื่อการปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 6. ประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปีของผู้จัดการแผนกตรวจสอบระบบงานภายใน 7. พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
093
8. ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีรับอนุญาตฯ ของบริษัทฯ โดยไม่มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม เพื่อรับทราบผลการปฏิบัติงานสอบบัญชี ข้อสังเกต ที่ตรวจพบ ปัญหา และอุปสรรคระหว่างการปฏิบัติงานสอบบัญชี 9. ทบทวนรายงานการบริหารความเสี่ยงทุกไตรมาส 10. สอบทานการปรับปรุงการบันทึกบัญชีของบริษัทฯ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานบัญชีสากล (IFRS ) 11. เห็นชอบให้บริษัทฯ จัดจ้างบริษัทผู้ประเมินอิสระภายนอกที่มีชื่อเสียงรายหนึ่ง มาประเมินคุณภาพงานตรวจสอบภายใน ผลการประเมิน พบว่า การปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบภายในเป็นไปตามมาตรฐานจรรยาบรรรณวิชาชีพตามมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ผู้ประเมินอิสระ ภายนอก ได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อให้หน่วยงานตรวจสอบภายในพัฒนาปรับปรุงกระบวนการทํางานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงาน มากขึ้น
2. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ซึ่งปัจจุบันประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารของ บริษัทฯ จํานวน 3 คน โดยส่วนใหญ่ต้องเป็นกรรมการอิสระและต้องไม่เป็นประธานกรรมการ หรือ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีดังนี้ ชื่อ - นามสกุล 1. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร 2. นางสาวพวงเพชร สารคุณ 3. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช
ตําแหน่ง ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ) กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (อิสระ) กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
โดยมีนายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ ผู้ช่วยกรรมการอํานวยการ-ด้านบริหารองค์กร ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน หน้าที่ด้านการสรรหา 1. กําหนดวิธีการและหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการ 2. กําหนดคุณสมบัตขิ องผูท้ จ่ี ะดํารงตําแหน่งกรรมการ โดยคํานึงถึงทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้านทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ การอุทิศเวลา และความพยายามในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ 3. สรรหาคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการเพื่อเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และขออนุมัติต่อ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 4. สนับสนุนให้บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอรายชื่อบุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการบริษัทฯ 5. ทบทวนแผนการสืบทอดตําแหน่งของผู้บริหารสูงสุด พร้อมทั้งรายชื่อผู้ที่อยู่ในเกณฑ์เหมาะสมที่จะได้รับการพิจารณาสืบทอดตําแหน่ง เป็นประจําทุกปี 6. คัดเลือกกรรมการบริษทั ฯ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเป็นกรรมการในคณะกรรมการเฉพาะเรือ่ งเพือ่ นําเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาแต่งตั้งเมื่อมีตําแหน่งว่างลง
094
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
หน้าที่ด้านการพิจารณาค่าตอบแทน 1. เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับโครงสร้างและองค์ประกอบค่าตอบแทนสําหรับกรรมการเป็นประจําทุกปี 2. เสนอหลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนอย่างเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ โดยเชื่อมโยงค่าตอบแทนกับผลการ ดําเนินงานโดยรวมของบริษทั ฯ เพือ่ ให้สามารถจูงใจและรักษากรรมการทีม่ คี วามสามารถ มีคณ ุ ภาพ และศักยภาพ ทัง้ นี้ ให้คณะกรรมการ บริษัทฯ เป็นผู้พิจารณาเพื่อให้ความเห็นชอบก่อนนําเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปีเพื่อขออนุมัติ 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานและพิจารณาค่าตอบแทนที่เหมาะสมให้แก่ผู้บริหารสูงสุด ในรอบปี 2553 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้กล่าวไว้ในรายงานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน หน้า 24
3. คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ซึ่งปัจจุบันประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ จํานวน 3 คน โดยกรรมการส่วนใหญ่ต้องเป็นกรรมการอิสระ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีดังนี้ ชื่อ - นามสกุล 1. นายบรรพต หงษ์ทอง 2. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ 3. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์
ตําแหน่ง ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ (อิสระ) กรรมการกํากับดูแลกิจการ (อิสระ) กรรมการกํากับดูแลกิจการ
โดยมี นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายสํานักกรรมการอํานวยการ และเลขานุการบริษทั ฯ ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ 1. กําหนดนโยบายการพัฒนาแนวทางปฏิบัติด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดีตามมาตรฐานสากลอย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติของ บริษัทฯ และบริษัทในเครือสืบต่อไป 2. กําหนดนโยบายพร้อมทัง้ สนับสนุนให้มกี ารประเมินระดับมาตรฐานการกํากับดูแลกิจการภายในองค์กรด้วยตนเอง รวมทัง้ เข้ารับการตรวจ ประเมินจากองค์กรภายนอกที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับทั่วไปเป็นประจํา 3. กํากับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ขี องสถาบันกํากับฯ ได้แก่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 4. พิจารณาทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษทั ฯ อย่างสมํา่ํ เสมอ เพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบตั ขิ องสากล และข้อเสนอแนะ ของสถาบันกํากับฯ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. สนับสนุนให้มีการเผยแพร่วัฒนธรรมในการกํากับดูแลกิจการที่ดีให้เป็นที่เข้าใจของผู้บริหารและพนักงานทุกระดับและให้มีผลในทาง ปฏิบัติทั้งในบริษัทฯ และบริษัทในเครือ 6. ให้คําปรึกษาแก่คณะทํางานเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้ารับการจัดอันดับการกํากับดูแลกิจการที่ดีโดยหน่วยงานกลางภายนอก องค์กรอย่างน้อย 1 ครั้ง ทุกๆ 3 ปี
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
095
7. พิจารณาและให้ความเห็นชอบแบบประเมิน และผลการประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ ต่อไป 8. รับผิดชอบต่อการอื่นใดที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในรอบปีที่ผ่านมา คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ได้ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามที่ได้กล่าวไว้ในรายงานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ หน้า 26
4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของเครือไทยออยล์ ประกอบด้วยคณะกรรมการขับเคลือ่ นงานบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Steering Committee : RMSC) และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเฉพาะด้าน (RMC Discipline) โดยมีบทบาท หน้าที่ที่สอดคล้องต่อเนื่องกันเพื่อ ให้มั่นใจว่า เครือไทยออยล์มีการบริหารความเสี่ยงอย่างครบถ้วนในทุกๆ กิจกรรมหลัก โดยมีการพิจารณาความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกัน รวมทั้ง มีการพิจารณากําหนดแผนงานเพื่อลดหรือรองรับผลกระทบจากความเสี่ยง (Mitigation Plan ) ที่เชี่อมโยงกันของทุกบริษัทในเครือไทยออยล์ เพื่อมั่นใจว่าการบริหารความเสี่ยงขององค์กรมีการดําเนินการอย่างมีประสิทธิผล และต่อเนื่อง เป็นกิจการที่มีความยั่งยืน คณะกรรมการขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ (RMSC) บริษัทฯ ได้จัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงของเครือไทยออยล์ เพื่อทําหน้าที่ในการส่งเสริมกิจกรรมบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ให้ดําเนินไปอย่างมีประสิทธิผล และต่อเนื่อง อีกทั้งสนับสนุนให้มี การปลูกฝังแนวคิดในการบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของงานและปฏิบัติให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร ส่งให้การดําเนินธุรกิจบรรลุผลสําเร็จ ตามเป้าหมายที่กําหนด บทบาทและหน้าที่ มีดังนี้ 1. ส่งเสริมให้การบริหารความเสี่ยงมีการเชื่อมโยงทั้งเครือไทยออยล์ ตามแผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหาร ความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ ให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็นไปตามเป้าหมาย และได้รับการรับรองจากผู้ตรวจประเมินจากภายนอก 2. พิจารณาความเสีย่ งสําคัญด้านต่างๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั และส่งเสริมให้มกี ารปรับปรุงมาตรการในการบริหารความเสีย่ ง ด้านต่างๆ ในระดับองค์กรอย่างต่อเนื่อง และสนับสนุนให้มีการใช้เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการบริหารระบบข้อมูลความเสี่ยง เพื่อ เพิ่มความถูกต้องของข้อมูลและสามารถใช้ในการตัดสินใจของผู้บริหารในเวลาที่เหมาะสม 3. สนับสนุนการเชื่อมโยงการบริหารความเสี่ยงกับการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานทุกระดับเพื่อให้เกิดเป็นวัฒนธรรมของ องค์กร 4. สนับสนุนให้มีการจัดอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ และความเข้าใจในเรื่องของการบริหารความเสี่ยงและการกําหนดมาตรการควบคุมให้กับ พนักงานทุกคนในเครือไทยออยล์ ซึ่งจะนําไปสู่การพัฒนาการบริหารความเสี่ยงอย่างยั่งยืนจนเกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเฉพาะด้าน (Risk Management Committee - Discipline: RMC Discipline) เพื่อส่งเสริมการบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ให้พัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ได้จัดตั้งคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงเฉพาะด้าน ได้แก่ ด้านสนับสนุนการตลาด ด้านโรงกลั่น ด้านวางแผนกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจ ด้านการเงิน และด้านบริหาร องค์กร มีหน้าที่ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานให้มีการกําหนดมาตรการในการบริหารความเสี่ยงที่ต่อเนื่อง เชื่อมโยงทุกกิจกรรมที่ปฏิบัติ เกี่ยวข้องกัน สมาชิกในคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเฉพาะด้าน ประกอบด้วย ฝ่ายจัดการและพนักงานจากส่วนงานที่เกี่ยวข้องของเครือ ไทยออยล์
096
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
บทบาทและหน้าที่ มีดังนี้ 1. พิจารณาความเสี่ยงและมาตรการควบคุมหรือแผนลดระดับความเสี่ยง (Mitigation Plan ) ที่ผู้จัดการฝ่ายนําเสนอเพื่อการบริหารความ เสี่ยงเฉพาะด้าน (Discipline ) ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน สอดคล้องกับเป้าหมายธุรกิจของเครือไทยออยล์ 2. กรณีทม่ี คี วามเสีย่ งลักษณะ Cross Function ประธานของแต่ละกลุม่ บริหารความเสีย่ งจะเป็นผูป้ ระสานงานกับประธานของกลุม่ ทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อหาข้อสรุปและนําเสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยง (RMSC ) 3. รายงานความเสี่ยงและความคืบหน้าของแผนการดําเนินงานด้านบริหารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยง (RMSC ) 4. ทบทวนทะเบียนความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของทั้งกลุ่มที่มีผลกระทบต่อเป้าหมายของการดําเนินธุรกิจของเครือไทยออยล์ ในรอบปีที่ผ่านมาคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเฉพาะด้านได้ปฏิบัติหน้าที่ในการบริหารความเสี่ยงได้เชื่อมโยงทั้งเครือไทยออยล์ โดยมี การนําเสนอผลการบริหารความเสี่ยง และมาตรการจัดการ หรือรองรับผลกระทบจากความเสี่ยงต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ อย่างสมํํ่าเสมอ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ และให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน รวมทั้ง รายงานผลการบริหารความเสี่ยงให้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้รับทราบอย่างสมํํ ่าเสมอ จึงสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงได้ตามแผน รวมทั้งบริหารมาตรการลดผลกระทบจากความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประกอบการเป็นไปตามเป้าหมาย
นายพิชัย ชุณหวชิร (1) นายมนู เลียวไพโรจน์ นายชัยเกษม นิติสิริ นายอุทิศ ธรรมวาทิน นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร (2) (4) นางสาวพวงเพชร สารคุณ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช (2) นายบรรพต หงษ์ทอง (7) นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ (6) นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายนริศ ชัยสูตร พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว (2) พลโทธวัชชัย สมุทรสาคร (5) นายสุรงค์ บูลกุล
1/1
6/6 6/6 5/6
จํานวน 3 คน ประชุม 6 ครั้ง
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
3/3
2/2
1/1 3/3 1/1
คณะกรรมการสรรหา และพิจารณา ค่าตอบแทน จํานวน 3 คน ประชุม 3 ครั้ง
1/1
3/3 3/3 3/3
คณะกรรมการ กํากับดูแล กิจการ จํานวน 3 คน ประชุม 3 ครั้ง
หมายเหตุ: (1) ได้รับแต่งตั้งให้กลับเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ อีกวาระหนึ่งในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553 วันที่ 2 เมษายน 2553 และได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2553 วันที่ 8 เมษายน 2553 (2) ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ ในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553 วันที่ 2 เมษายน 2553 และกรรมการลําดับที่ 5 และ 7 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2553 วันที่ 23 เมษายน 2553 อีกตําแหน่งหนึ่ง (3) ลาออกจากการดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ และกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2553 (4) ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (NRC) ในการประชุมคณะกรรมการ NRC ครั้งที่ 3/2553 วันที่ 4 มิถุนายน 2553 (5) ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ แทนนายไกรฤทธิ์ นิลคูหา ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2553 วันที่ 25 มิถุนายน 2553 (6) ได้รับแต่งตั้งให้กลับเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ อีกวาระหนึ่งในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553 วันที่ 2 เมษายน 2553 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ CG ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2553 วันที่ 25 มิถุนายน 2553 (7) ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ (CG) ในการประชุมคณะกรรมการ CG ครั้งที่ 2/2553 วันที่ 29 กรกฎาคม 2553 (8) ครบวาระการดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553 วันที่ 2 เมษายน 2553 (9) ลาออกจากการดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2553
1/2 2/2 1/2 3/4 4/5
ประชุม คณะกรรมการ บริษัทฯ จํานวน 14 คน ประชุม 8 ครั้ง กรรมการและประธานกรรมการ 8/8 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 8/8 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 7/8 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 5/8 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 6/6 กรรมการอิสระและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 8/8 กรรมการและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 5/6 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ 5/8 กรรมการอิสระและกรรมการกํากับดูแลกิจการ 7/8 กรรมการและกรรมการกํากับดูแลกิจการ 8/8 กรรมการ 7/8 กรรมการอิสระ 4/6 กรรมการอิสระ 3/3 กรรมการ เลขานุการคณะกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 8/8
ตําแหน่ง
กรรมการที่ครบวาระและออกระหว่างปี 2553 กรรมการอิสระและประธานกรรมการ 1 นายสมนึก กยาวัฒนกิจ (8) กรรมการและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2 นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ (8) (8) กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ 3 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 4 นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา (3) กรรมการและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 5 นายนนทิกร กาญจนะจิตรา (9)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
ชื่อ - นามสกุล
การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ในปี 2553
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร 097
098
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
เลขานุการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งเลขานุการบริษัทฯ ขึ้น เพื่อทําหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลและให้คําแนะนําแก่คณะกรรมการบริษัทฯ และ ผู้บริหารในด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการต้องทราบและปฏิบัติ รวมถึงการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และรับผิดชอบ การจัดประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และการประชุมผู้ถือหุ้น ติดตามและประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการบริษัทฯ และ ผู้ถือหุ้น อีกทั้งการรักษาเอกสารสําคัญของบริษัทฯ ตามข้อกําหนดทางกฎหมาย โดยได้มอบหมายให้บุคคลผู้ดํารงตําแหน่งผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการอํานวยการ ปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการบริษัทฯ ซึ่งปัจจุบัน คือ นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ ประวัติโดยย่อ ดังนี้ ชื่อ-นามสกุล วุฒิการศึกษา ประวัติการทํางาน : 2544-2546 2546-2547 2548-2549 2549-2550 2550-2552 2552-ปัจจุบัน
นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้จัดการฝ่ายกิจการองค์กร บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่ายการเงิน บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจและแผนกลยุทธ์ ผู้จัดการฝ่ายวางแผนกลยุทธ์ ผู้จัดการฝ่าย - กิจการพิเศษ ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่กรรมการอํานวยการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด ผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการอํานวยการ และเลขานุการบริษัทฯ
การบริหารจัดการ ขอบเขตอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัทฯ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ทําหน้าที่เกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจตามปกติของบริษัทฯ โดยบริหารงานตามแผนและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์ สุจริต และรักษาผลประโยชน์สูงสุด แก่บริษัทฯ และผู้ถือหุ้น ไม่ทําการใดที่มีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชน์ในลักษณะขัดแย้งกับบริษัทฯ และบริษัทย่อยของบริษัทฯ โดยหน้าที่ และความรับผิดชอบประกอบด้วย 1. จัดทําและเสนอแผนธุรกิจ ตลอดจนกําหนดแผนกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ แก่คณะกรรมการบริษัทฯ 2. จัดหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของบริษัทฯ ให้แก่คณะกรรมการบริษัทฯ รวมถึงข้อมูลอื่นที่คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องการ 3. บริหารงานของบริษัทฯ ตามแผนธุรกิจและกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ 4. จัดโครงสร้างและบริหารจัดการองค์กรตามแนวทางที่คณะกรรมการบริษัทฯ ให้คําแนะนํา 5. สนับสนุนและผลักดันให้เกิดค่านิยมองค์กร (Corporate Value: POSITIVE) เพื่อสนับสนุนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนกลยุทธ์ของบริษัทฯ 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ 7. มอบอํานาจช่วง และ/หรือ มอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนได้ โดยอยู่ในขอบเขตที่เป็นไปตามระเบียบ ข้อกําหนด หรือคําสั่งที่คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือบริษัทฯ ได้กําหนดไว้ 8. จัดทําและเสนอรายงานการดําเนินงานของบริษัทฯ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ในเรื่องที่สําคัญอย่างสมํํ่าเสมอ รวมถึงการจัดทํารายงาน เรื่องอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องการ 9. เป็นตัวแทนของบริษัทฯ ในการติดต่อกับบุคคลภายนอก
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
099
การเข้าทํารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินของบริษัทฯ ในกรณีที่บริษัทฯ หรือบริษัทย่อย* ของบริษัทฯ มีรายการที่เป็นรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่สําคัญของ บริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ของ ตลท. บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามที่ ตลท. กําหนดไว้ในเรื่องดังกล่าว โดยขอความเห็นชอบของผู้ถือหุ้นในการตกลง เข้าทํารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่สําคัญของบริษัทฯ โดยมีคะแนนเสียงไม่ตํ่ากว่าสามในสี่ของจํานวน เสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบฉันทะของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน โดยไม่นับส่วนของผู้ถือหุ้นที่มีส่วนได้เสีย (* บริษัทซึ่งบริษัทฯ เข้าถือหุ้นไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 50 ของทุนชําระแล้วของบริษัทนั้น)
ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553 ได้มีมติกําหนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ และกรรมการเฉพาะเรื่องเป็นรายเดือน รวมทั้งการให้ เงินโบนัส ซึ่งสะท้อนจากผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ดังนี้ องค์ประกอบค่าตอบแทน
ปี 2553
ค่าตอบแทนประจําเดือน ประธานกรรมการ(1) กรรมการ โบนัสกรรมการทั้งคณะ(2)
(บาทต่อเดือน) 75,000 60,000 36 ล้านบาท
ค่าตอบแทนกรรมการเฉพาะเรื่อง (ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ) องค์ประกอบค่าตอบแทน
ปี 2553
ค่าตอบแทนประจําเดือน ประธานกรรมการ(1) กรรมการ
(บาทต่อเดือน) 31,250 25,000
หมายเหตุ: (1) ประธานกรรมการบริษัทฯ และประธานคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ได้รับค่าตอบแทนสูงกว่ากรรมการในอัตราร้อยละ 25 (2) โบนัสสําหรับกรรมการที่ดํารงตําแหน่งในปี 2552 และกรรมการที่ครบวาระหรือออกระหว่างปี 2552 โดยจัดสรรตามระยะเวลาการดํารงตําแหน่งของ กรรมการแต่ละคน และให้ประธานกรรมการบริษัทฯ ได้รับค่าตอบแทนสูงกว่ากรรมการ ในอัตราร้อยละ 25
สรุปค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ รวม 19 ราย ซึ่งรวมกรรมการที่ปฏิบัติหน้าที่ระหว่างปี 2553 ระยะเวลา 12 เดือน สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และกรรมการที่ครบวาระและออกระหว่างปี 2553 เท่ากับ 13.68 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วย ค่าตอบแทนรายเดือนสําหรับ กรรมการบริษัทฯ จํานวน 10.63 ล้านบาท และค่าตอบแทนรายเดือนสําหรับกรรมการชุดย่อย จํานวน 3.05 ล้านบาท ค่าตอบแทนกรรมการ บริษัทฯ ในรูปเงินโบนัสสําหรับผลการดําเนินงานปี 2552 จํานวน 36 ล้านบาท ซึ่งเป็นไปตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2553 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2553 โดยพิจารณาจากผลการดําเนินงานของบริษัทฯ และจากการที่กรรมการได้เสียสละและทุ่มเทในการปฏิบัติงาน ให้กับบริษัทฯ ตลอดปี 2552 จนสามารถฝ่าวิกฤติการณ์เศรษฐกิจมาได้ด้วยดี
ชื่อ - นามสกุล
ตําแหน่ง
คณะกรรมการ บริษัทฯ
248,750 300,000 205,833 76,667 207,083
1,038,333
375,000 300,000 300,000 76,667 -
1,051,667
957,917
95,833 -
331,250 230,834 300,000 -
กรรมการเฉพาะเรื่อง คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ สรรหาและ กํากับดูแล พิจารณา กิจการ ค่าตอบแทน
13,681,417
230,000 260,667 279,833 382,667 627,083
851,500 1,095,000 1,020,000 1,020,000 784,750 1,020,000 741,833 1,051,250 950,834 1,020,000 720,000 536,000 370,000 720,000
601,482.14 601,482.14 601,482.14 1,765,641.14 36,000,000
2,950,819.67 2,360,655.74 2,360,655.74 2,360,655.74 2,360,655.74
2,360,655.74 1,759,173.59 2,360,655.74 1,759,173.59 2,360,655.74 2,360,655.74 2,360,655.74 2,360,655.74 1,759,173.59 595,014.60
ค่าตอบแทน เงินรางวัลพิเศษ (1) รวม สําหรับ ผลประกอบการ ปี 2552
หมายเหตุ: (1) เงินรางวัลพิเศษ สําหรับผลการดําเนินงานปี 2552 ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553 วันที่ 2 เมษายน 2553 ซึ่งจ่ายในเดือนเมษายน 2553 (2) ได้รับแต่งตั้งให้กลับเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ อีกวาระหนึ่งในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553 วันที่ 2 เมษายน 2553 และได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2553 วันที่ 8 เมษายน 2553 (3) ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ ในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553 วันที่ 2 เมษายน 2553 และกรรมการลําดับที่ 5 และ 7 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2553 วันที่ 23 เมษายน 2553 อีกตําแหน่งหนึ่ง (4) ลาออกจากการดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ และกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2553 (5) ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (NRC) ในการประชุมคณะกรรมการ NRC ครั้งที่ 3/2553 วันที่ 4 มิถุนายน 2553 (6) ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ แทนนายไกรฤทธิ์ นิลคูหา ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2553 วันที่ 25 มิถุนายน 2553 (7) ได้รับแต่งตั้งให้กลับเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ อีกวาระหนึ่งในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553 วันที่ 2 เมษายน 2553 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ CG ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2553 วันที่ 25 มิถุนายน 2553 (8) ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ (CG) ในการประชุมคณะกรรมการ CG ครั้งที่ 2/2553 วันที่ 29 กรกฎาคม 2553 (9) ครบวาระการดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553 วันที่ 2 เมษายน 2553 (10) ลาออกจากการดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2553 (11) ครบวาระการดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2552 วันที่ 3 เมษายน 2552
1 นายพิชัย ชุณหวชิร (2) กรรมการและประธานกรรมการ 851,500 2 นายมนู เลียวไพโรจน์ กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 720,000 3 นายชัยเกษม นิติสิริ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 720,000 4 นายอุทิศ ธรรมวาทิน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 720,000 5 นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร (3) (5) กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 536,000 6 นางสาวพวงเพชร สารคุณ กรรมการอิสระและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 720,000 กรรมการและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 536,000 7 นายเทวินทร์ วงศ์วานิช (3) กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ 720,000 8 นายบรรพต หงษ์ทอง (8) กรรมการอิสระและกรรมการกํากับดูแลกิจการ 720,000 9 นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ (7) 10 นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการและกรรมการกํากับดูแลกิจการ 720,000 11 นายนริศ ชัยสูตร กรรมการ 720,000 536,000 12 พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว (3) กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ 370,000 13 พลโทธวัชชัย สมุทรสาคร (6) 14 นายสุรงค์ บูลกุล กรรมการ เลขานุการคณะกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 720,000 กรรมการที่ครบวาระและออกระหว่างปี 2553 กรรมการอิสระและประธานกรรมการ 230,000 1 นายสมนึก กยาวัฒนกิจ (9) กรรมการและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 184,000 2 นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ (9) 184,000 3 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา (9) กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 306,000 4 นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา (4) 420,000 5 นายนนทิกร กาญจนะจิตรา (10) กรรมการและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการที่ครบวาระและออกระหว่างปี 2552 (รับเงินรางวัลพิเศษสําหรับผลการดําเนินงานปี 2552) กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 1 นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช (11) กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2 นายนิพัทธ พุกกะณะสุต (11) 3 นายนิตย์ จันทรมังคละศรี (11) กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการและกรรมการอํานวยการ 4 นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์ (11) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 10,633,500
ลําดับ
ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2553
100
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ถื อ หุ้ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
101
ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหารบริษัทฯ รอบปีบัญชี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 รวม 19 ราย เท่ากับ 176.79 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นค่าตอบแทนในรูปเงินเดือนและเบี้ยเลี้ยง จํานวน 120.44 ล้านบาท เงินรางวัลพิเศษจํานวน 29.83 ล้านบาท เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจํานวน 11.61 ล้านบาท และเงินบําเหน็จ เมื่อออกจากงาน จํานวน 14.91 ล้านบาท หมายเหตุ >> ค่าตอบแทนของผู้บริหารบริษัทฯ 19 ราย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ไม่รวม ผู้บริหารที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทอื่นๆ ดังนี้ นายไมตรี เรี่ยวเดชะ นายบวร วงศ์สินอุดม นายกล้าหาญ โตชํานาญวิทย์ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายอภินันท์ สุภัตรบุตร นางภาวนา ศุภวิไล นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล นายสุพล ทับทิมจรูญ นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์ ค่าตอบแทนอื่นๆ ผู้บริหารบริษัทฯ ที่เป็นสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจะได้รับอัตราสมทบร้อยละ 15 ของอัตราเงินเดือน ตามระเบียบข้อบังคับกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพซึ่งถือปฏิบัติโดยทั่วไปของบริษัทฯ
102
ฝ่ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
ฝ่ายจัดการ
บริษัทฯ
รงค์ บูลกุล 01 นายสุ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
ยรติ หัตถโกศล 02 นายสมเกี ผู้อํานวยการใหญ่
07 นายสุพล ทับทิมจรูญ
06 นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์
05 นายณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร
04 นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต
03 นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล
02 นายสมเกียรติ หัตถโกศล
01 นายสุรงค์ บูลกุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล 03 นายชั รองกรรมการอํานวยการ - ด้านโรงกลั่น
รองกรรมการอํานวยการ - ด้านธุรกิจ (รักษาการ)
รัตน์ เอื้อนฤมิต 04 นายวิ รองกรรมการอํานวยการ - ด้านการเงิน
ฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร 05 นายณรงค์ ผู้ช่วยกรรมการอํานวยการ - ด้านโรงกลั่น ผู้จัดการฝ่ายผลิตภัณฑ์และคุณภาพ (รักษาการ)
พล ทับทิมจรูญ 07 นายสุ ผู้ช่วยกรรมการอํานวยการ - ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการอํานวยการ บจ. ไทยพาราไซลีน
ย วงศ์วัฒนศานต์ 06 นายสมชั ผู้ช่วยกรรมการอํานวยการ - ด้านบริหารองค์กร
นันท์ สุภัตรบุตร 08 นายอภิ ผู้ช่วยกรรมการอํานวยการ - ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการอํานวยการ บมจ. ไทยลู้บเบส
ธีรภาพไพสิฐ 11 ผูนางสาวดวงพร ้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
เรี่ยวเดชะ 09 ผูนายไมตรี ้ช่วยกรรมการอํานวยการ - ปฏิบัติหน้าที่
103
14 นายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล
13 นายเทอดชาติ ผดุงรัตน์
12 นายดนุ เบญจพลชัย
11 นางสาวดวงพร ธีรภาพไพสิฐ
10 นายโกศล พิมทะโนทัย
09 นายไมตรี เรี่ยวเดชะ
08 นายอภินันท์ สุภัตรบุตร
ฝ่ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
พิมทะโนทัย 10 ผูนายโกศล ้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล
กรรมการอํานวยการ บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) และ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์
เบญจพลชัย 12 ผูนายดนุ ้จัดการฝ่ายบริหารคุณภาพองค์กร
ผดุงรัตน์ 13 ผูนายเทอดชาติ ้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการอํานวยการ บจ. ท็อป โซลเว้นท์
ทัศน์ ครองวานิชยกุล 14 ผูนายนิ ้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการอํานวยการ บจ. ไทยออยล์มารีน
21 นายยุทธนา ภาสุรปัญญา
20 นางภาวนา ศุภวิไล
19 นางสาวภัทรลดา สง่าแสง
18 นายพรอินทร์ แม้นมาลัย
17 นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์
ฝ่ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
16 นางประพิณ ทองเนียม
15 นายบัณฑิต ธรรมประจําจิต
104
ณฑิต ธรรมประจําจิต 15 ผูนายบั ้จัดการฝ่ายเทคโนโลยี
ณ ทองเนียม 16 ผูนางประพิ ้จัดการฝ่ายบัญชี
พันธุ์ อมรวิวัฒน์ 17 ผูนายพงษ์ ้จัดการฝ่ายวางแผนการพาณิชย์องค์กร
นทร์ แม้นมาลัย 18 ผูนายพรอิ ้จัดการฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์
ทรลดา สง่าแสง 19 ผูนางสาวภั ้จัดการฝ่ายวางแผนกลยุทธ์
ศุภวิไล 20 ผูนางภาวนา ้จัดการฝ่าย - ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการอํานวยการ บจ. ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์
ทธนา ภาสุรปัญญา 21 ผูนายยุ ้จัดการฝ่ายผลิต
29 นางสาวอัจฉรีย์ ตียาภรณ์
28 นายสุพล เฉลิมเกียรติกุล
27 นายสุชาติ มัณยานนท์
26 นายสันติ วาสนสิริ
25 นายสมชาย จิรานันตรัตน์
24 นางสาวศิริพร มหัจฉริยวงศ์
23 นายวิโรจน์ มีนะพันธ์
22 นายวัชระ มัทนพจนารถ
ฝ่ า ย จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ
โรจน์ มีนะพันธ์ ชระ มัทนพจนารถ 23 ผูนายวิ 22 ผูนายวั ้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการอํานวยการ ้จัดการฝ่ายบริหารทั่วไป บจ. ท็อป โซลเว้นท์
ริพร มหัจฉริยวงศ์ 24 ผูนางสาวศิ ้จัดการฝ่ายการคลัง
นายสมชาย จิรานันตรัตน์ นายสันติ วาสนสิริ 25 กรรมการอํ 26 านวยการ บจ. ไทยออยล์ เอทานอล ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาองค์กรและ
ชาติ มัณยานนท์ 27 ผูนายสุ ้จัดการฝ่ายวิศวกรรม
ปรับปรุงกระบวนการทํางาน
นายสุพล เฉลิมเกียรติกุล 28 กรรมการผู ้จัดการ บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ
จฉรีย์ ตียาภรณ์ 29 ผูนางสาวอั ้จัดการฝ่ายการพาณิชย์องค์กร
105
106
ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค์ ก ร
การบริหาร
ความเสี่ยงองค์กร ความเป็นมา ไทยออยล์ตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กําหนดไว้ ภายใต้ปัจจัยภายในและ ภายนอกที่มีความเปลี่ยนแปลง และอาจส่งผลกระทบต่อองค์กร ไทยออยล์จึงได้กําหนดนโยบายบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ให้เป็น แนวทางปฏิบัติแก่ทุกบริษัทในเครือ เพื่อเชื่อมโยงการจัดการให้เป็นไปตามมาตรฐานเดียวกัน โดยมีคณะกรรมการขับเคลื่อนงานบริหาร ความเสี่ยง (Risk Management Steering Committee : RMSC ) ซึ่งประกอบด้วยคณะผู้บริหารระดับสูงของเครือไทยออยล์ ให้การสนับสนุน ส่งเสริม และให้คําแนะนํา รวมถึงติดตามความคืบหน้า และให้ความเห็นชอบความเสี่ยงและมาตรการควบคุมความเสี่ยง ซึ่งพิจารณาและ นําเสนอโดยคณะกรรมการความเสี่ยงเฉพาะด้าน (RMC Discipline ) ว่าการบริหารความเสี่ยงมีความเหมาะสม ครบถ้วน และเพียงพอตาม นโยบายที่กําหนดไว้ โดยไทยออยล์ได้มีการรายงานผลการบริหารความเสี่ยงสําคัญที่อาจมีผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจต่อคณะกรรมการ ไทยออยล์ และรายงานความก้าวหน้าของการบริหารความเสีย่ งองค์กรต่อคณะกรรมการตรวจสอบของไทยออยล์ (Audit Committee ) เป็นประจํา ทุกไตรมาส รวมทั้งมีการประสานงานระหว่างแผนกบริหารความเสี่ยงและแผนกตรวจสอบภายใน (Internal Audit ) ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความเสี่ยงสําคัญเพื่อวางแผนตรวจสอบมาตรการบริหารความเสี่ยงตามที่กําหนดไว้ ไทยออยล์ได้ส่งเสริมให้พนักงานทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารความเสี่ยง โดยจัดประชุม สัมนา อบรม และจัดกิจกรรมส่งเสริม การบริหารความเสี่ยงให้แก่พนักงานในเครือไทยออยล์ นอกจากนี้ ไทยออยล์ยังได้จัดให้มีการประเมินระดับคุณภาพการบริหารความเสี่ยง ของเครือไทยออยล์ โดยบริษัท Ernst & Young Corporate Services Limited (E &Y ) ซึ่งในปี 2553 เครือไทยออยล์ได้รับผลการตรวจประเมิน เป็นคะแนนที่ร้อยละ 88 ซึ่งสามารถบรรลุเป้าหมายที่กําหนดไว้ที่ระดับไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 87
ความเสี่ยงระดับองค์กรและมาตรการหรือแผนการจัดการความเสี่ยง ปัจจุบนั ความเสีย่ งสําคัญขององค์กร ประกอบด้วยความเสีย่ งใน 5 ด้านหลัก ซึง่ เกีย่ วข้องกับการดําเนินธุรกิจของไทยออยล์ จํานวน 14 ความเสีย่ ง โดยมีมาตรการสําคัญทีไ่ ทยออยล์ คาดว่าจะสามารถผลกระทบต่อจากความเสีย่ งดังกล่าวลง เพือ่ ให้การดําเนินงานบรรลุความสําเร็จตามเป้าหมาย ดังนี้
ความเสี่ยงทางด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) 1. การเปลี่ยนแปลงระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับไทยออยล์ รวมถึงการมีผลบังคับใช้ของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่มีผลสืบเนื่องมาจากกฎหมายสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะผลกระทบจากการบังคับใช้มาตรา 67 วรรค 2 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 การเปลี่ยนแปลงนโยบายหรือการเพิ่มมาตรการ กฎ ระเบียบของภาครัฐโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการบังคับใช้มาตรา 67 วรรค 2 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มีผลโดยตรงต่อการกําหนดแนวปฏิบตั แิ ละการลงทุนขยายธุรกิจของไทยออยล์ เนือ่ งจากไทยออยล์มนี โยบาย ที่ชัดเจนในการดําเนินธุรกิจที่จะต้องสอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐ และเป็นไปตามกฎหมาย ประกาศ และระเบียบต่างๆ ฯลฯ ไทยออยล์ มีการเฝ้าระวัง ติดตาม ไม่ให้การดําเนินการของบริษทั ฯ ทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและชุมชน ไทยออยล์จงึ ได้เน้นการมีปฏิสมั พันธ์ทด่ี ี และ การมีสว่ นร่วมของชุมชน การให้ความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ โดยให้ขอ้ มูลเพือ่ ประกอบการพิจารณากฎหมายหรือระเบียบใหม่ๆ นอกจากนี้ ยังจัดให้มีการเตรียมพร้อมและป้องกันไม่ให้การดําเนินธุรกิจและโครงการของไทยออยล์ส่งผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม โดยโครงการ ทุกโครงการของเครือไทยออยล์จะมีการกําหนดแนวทางปฏิบัติไว้ล่วงหน้าให้สอดคล้องกับกฎหมายที่จะมีผลบังคับใช้รวมทั้งการให้ความรู้แก่ บุคลากรของไทยออยล์ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และมีการประสานงานภายในของกลุ่มผู้ประกอบอุตสาหกรรมโรงกลั่นในการ วางแผนรองรับผลกระทบในทุกๆ ด้านที่อาจจะเกิดขึ้น 2. การดําเนินการตามกลยุทธ์ไม่เป็นไปตามแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาว ในการนําแผนกลยุทธ์มาปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมนั้น ไทยออยล์จะมีการติดตามความก้าวหน้าของแผนกลยุทธ์ โครงการเชิงกลยุทธ์ และ
ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค์ ก ร
107
การศึกษา เพื่อพัฒนาธุรกิจใหม่ผ่านการประชุม Strategic Thinking Session (STS ) และคณะกรรมการขับเคลื่อนการเจริญเติบโตขององค์กร (Growth Steering Committee ) อย่างต่อเนือ่ ง มีการพิจารณาความเพียงพอของทรัพยากร ทัง้ ทางด้านการเงิน ด้านบุคลากร และอืน่ ๆ รวมทัง้ กํ า หนดผู้ รั บ ผิ ด ชอบโครงการอย่ า งชั ด เจนโดยมี ห น่ ว ยงานพั ฒ นาธุ ร กิ จ เป็ น หน่ ว ยงานกลางเพื่ อ ประสานงานกั บ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบโครงการ และหน่วยงานวางแผนกลยุทธ์ นอกจากนี้ ไทยออยล์ยงั มีระบบติดตามและรายงานผลการดําเนินงานเทียบกับเป้าหมายระดับองค์กรเป็นประจํา ทุกเดือน และมีหน่วยงานบริหารความเสี่ยงที่ทําหน้าที่ติดตาม ทบทวนความก้าวหน้าของกิจกรรมการบริหารความเสี่ยงร่วมกับทุกหน่วยงาน เพื่อให้มั่นใจว่าแผนกลยุทธ์ขององค์กรจะบรรลุเป้าหมายที่กําหนดไว้ 3. ความเสี่ยงก่อนและหลังการซื้อกิจการอื่นทําให้ผลตอบแทนไม่เป็นไปตามเป้าหมาย การขยายกิจการไปสูธ่ รุ กิจใหม่เพือ่ กระจาย และลดความเสีย่ งจากการพึง่ พิงธุรกิจหลักของไทยออยล์ จัดเป็นหนึง่ ในกลยุทธ์ทส่ี าํ คัญขององค์กร และเพิ่มผลกําไร อย่างไรก็ตาม ไทยออยล์อาจประสบกับปัญหาและอุปสรรคในธุรกิจที่ไทยออยล์ไม่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ทําให้ เกิดความเสี่ยงที่ผลตอบแทนจะไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ ไทยออยล์จึงกําหนดให้มีการวิเคราะห์การลงทุนทั้งในและต่างประเทศ โดยละเอียด โดยพิจารณาถึงปัจจัยทางการเมือง การเงิน และเศรษฐกิจ การพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานพัฒนาธุรกิจ การว่าจ้างที่ปรึกษา ทางการเงินและทีป่ รึกษาทางกฎหมายทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในธุรกิจนัน้ ๆ และการจัดตัง้ บริษทั ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชน่ั ส์ จํากัด ซึง่ ประกอบด้วย บุคลากรที่มีความรู้ ความชํานาญ ประสบการณ์ ในหลากหลายสาขา และผ่านการปฏิบัติงานที่ไทยออยล์มาเป็นระยะเวลานาน เพื่อให้เป็น ศูนย์กลางในการสนับสนุนการวิเคราะห์โครงการเพื่อสร้างความมั่นใจในผลตอบแทนการลงทุนให้เป็นไปตามเป้าหมาย
ความเสี่ยงทางด้านธุรกิจ/ตลาด (Business and Commercial Risk) 4. ความผันผวนของราคานํ้ามันในตลาดโลก ความผันผวนของราคานํา้ มันในตลาดโลกยังคงเป็นตัวแปรสําคัญทีส่ ง่ ผลกระทบต่อรายได้และผลกําไรของอุตสาหกรรมการกลัน่ นํา้ มัน ไทยออยล์ จึงจัดให้มกี ารติดตามความเคลือ่ นไหวของตลาดอย่างใกล้ชดิ เพือ่ ให้ขอ้ มูลทีใ่ ช้ในการคาดการณ์และวางแผนการผลิตและการขายมีประสิทธิภาพ และแม่นยํา เพื่อลดผลกระทบต่อผลการดําเนินงานได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ไทยออยล์ได้พัฒนาบุคลากรของหน่วยงานวางแผนการพาณิชย์ เน้นการวิเคราะห์ตลาดและแนวโน้มราคานํา้ มันเพือ่ สนับสนุนงานด้านการวางแผนการผลิต/ขาย และการวางแผนการซือ้ วัตถุดบิ และการบริหาร ความเสีย่ งด้านราคา พร้อมทัง้ มีแนวปฏิบตั เิ พือ่ การบริหารสินค้าคงคลังอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังได้นาํ แนวความคิดทีไ่ ด้รบั จากการสัมมนา Operational Excellence และโครงการเพิม่ ประสิทธิภาพในการจัดการไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon Management Review: HMR) มาดําเนินการ เพื่อเพิ่มกําไรขั้นต้นรวมของกลุ่ม (Gross Integrated Margins : GIM ) รวมถึงการลดต้นทุนในการจัดหาวัตถุดิบ ค่าขนส่ง และการผลิต 5. การปรับตัวลดลงของความต้องการใช้นํ้ามัน ผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจ ภัยธรรมชาติและความไม่มน่ั คงทางการเมืองจะส่งผลกระทบต่ออุปทานหรือความต้องการผลิตภัณฑ์ของลูกค้า ไทยออยล์จงึ ได้วางมาตรการเพือ่ รองรับผลกระทบจากปัจจัยเสีย่ งดังกล่าวโดยมีการบริหารจัดการภายในเครือแบบบูรณาการ การขยายตลาดไปสู่ ประเทศในภูมภิ าคใกล้เคียง เช่น ตลาดอินโดจีน การผลิตผลิตภัณฑ์พเิ ศษ (Specialty Product) เช่น นํา้ มันยางมลพิษตํา่ (TDAE) การพัฒนาคุณภาพ การให้บริการลูกค้าเพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยการขยายช่องทางการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เช่น การก่อสร้างสถานีจา่ ยนํา้ มัน ทางรถแห่งใหม่ซง่ึ มีประสิทธิภาพสูง เพือ่ เพิม่ ความสะดวกและความคล่องตัวในการขายผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดให้กบั ลูกค้า ตลอดจนประสานงาน กับกลุ่มโรงกลั่นอื่นเพื่อบริหารการจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ส่วนที่เกินจากความต้องการภายในประเทศ (Surplus Management ) 6. ความเสี่ยงจากการจัดหาวัตถุดิบ จากปริมาณนํา้ มันดิบทีม่ อี ยูจ่ าํ กัด และมาตรการของกลุม่ ประเทศผูส้ ง่ ออกนํา้ มันดิบ (โอเปค) ทีจ่ าํ กัดปริมาณนํา้ มันดิบทีอ่ อกสูต่ ลาด โดยเฉพาะ ปริมาณนํ้ามันดิบจากแหล่งตะวันออกกลางที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับกระบวนการผลิตของไทยออยล์และเครือไทยออยล์ ประกอบกับ ความต้องการนํ้ามันดิบของโรงกลั่นใหม่อื่นๆ ซึ่งเกิดขึ้นในภูมิภาค ทําให้ไทยออยล์อาจจะมีความยากลําบากเพิ่มขึ้นในการจัดหานํ้ามันดิบ
108
ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค์ ก ร
ที่มีคุณภาพในปริมาณตามความต้องการ ดังนั้น ไทยออยล์จึงมีมาตรการต่างๆ เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตให้สามารถกลั่นนํ้ามันดิบได้ หลากหลายชนิดมากขึ้น รวมทั้งมีการประสานงานกับ บมจ. ปตท. ในการจัดหาและวางแผนการจัดหานํ้ามันดิบและจัดทําสัญญาซื้อระยะยาว ในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อให้มั่นใจว่าปริมาณนํ้ามันดิบมีเพียงพอต่อการผลิตตามแผนที่วางไว้ 7. พัฒนาการและการเปลื่ยนแปลงของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สร้างโอกาสและทางเลือกใหม่ให้กับผู้บริโภคได้เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ได้หลากหลายมากขึ้น และอาจจะส่งผล กระทบต่อความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของไทยออยล์และเครือไทยออยล์ ไทยออยล์มีแผนกลยุทธ์ที่จะผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ขึ้นเพื่อ ตอบสนองแนวโน้มความต้องการของตลาด เช่น โครงการผลิตนํ้ามันยางมลพิษตํ่า (TDAE ) ที่เป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทางทวีปยุโรป นอกจากนี้ ยังอยู่ในระหว่างการศึกษาโครงการผลิตผลิตภัณฑ์พิเศษ (Specialty Product ) นํา้ มันหล่อลืน่ พืน้ ฐานกลุม่ 2 และ 3 (Group II /III ) ยางมะตอยชนิดพิเศษ และ Wax เป็นต้น รวมทัง้ มีโครงการความร่วมมือกับสถาบันปิโตรเลียม แห่งประเทศไทย (PTIT ) สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. และสถาบันการศึกษาชั้นนําเพื่อการศึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ ต่อยอดจาก ผลิตภัณฑ์ปัจจุบันของไทยออยล์ เพื่อการตอบสนองความต้องการของลูกค้า
ความเสี่ยงด้านการผลิต (Operations Risk) 8. การเกิดเหตุขัดข้องจนทําให้ต้องหยุดการผลิต การดําเนินการผลิตอย่างต่อเนือ่ งถือว่าเป็นปัจจัยสําคัญทีจ่ ะทําให้ไทยออยล์มรี ายได้หรือผลตอบแทนตามเป้าหมายทีก่ าํ หนดไว้ ไทยออยล์จงึ ให้ ความสําคัญต่อการบริหารจัดการในประเด็นนีเ้ ป็นอย่างมาก นอกจากเป้าหมายทีจ่ ะดําเนินการผลิตอย่างต่อเนือ่ งแล้ว ไทยออยล์ยงั ให้ความสําคัญ กับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ไทยออยล์มีการจัดทําแผนงานสําหรับการดูแลการซ่อมบํารุงรักษาเครื่องจักร และอุปกรณ์ เพื่อให้เครื่องจักรมีความพร้อมในการใช้งาน เพื่อป้องกันการชํารุดหรือเสียหายกระทันหันซึ่งจะเป็นเหตุให้เกิดผลกระทบต่อ กระบวนการผลิต นอกจากนัน้ ยังเป็นการยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ ลดค่าใช้จา่ ยในการจัดซือ้ อุปกรณ์ทดแทน นอกจากนี้ ยังได้นาํ ระบบการ ควบคุมการผลิตขั้นสูงมาใช้ในการควบคุมการเดินเครื่องจักรและกระบวนการผลิต รวมถึงระบบเตือนภัยและความปลอดภัยต่างๆ เพื่อรองรับ การเกิดเหตุฉุกเฉิน นอกเหนือจากการจัดให้มีแผนการฝึกซ้อมเป็นประจําร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก และการฝึกอบรม พนักงาน ไทยออยล์ยังได้จัดทําแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management ) เพื่อรองรับในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ ที่คาดไม่ถึงและสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้มีส่วนได้เสียว่าไทยออยล์จะยังสามารถดําเนินธุรกิจต่อไปได้ 9. ความเสี่ยงที่เกิดจากกรณีเกิดเหตุวินาศกรรม ประท้วง ความเสีย่ งจากการประท้วงปิดโรงกลัน่ หรือปิดเส้นทางการขนส่งผลิตภัณฑ์จะส่งผลกระทบต่อรายได้ของไทยออยล์ ไทยออยล์ได้จดั ทําแผนงาน และกําหนดมาตรการเพือ่ บริหารจัดการผลกระทบดังกล่าว ประกอบด้วยการร่วมมือกับหน่วยงานราชการในการรับข่าวสารความมัน่ คง ปฏิบตั ิ ตามแผนงานสื่อสารระหว่างเหตุการณ์ฉุกเฉิน (Crisis Communication Management ) และมีการฝึกซ้อมอย่างต่อเนื่อง การปรับปรุงระบบ รักษาความมั่นคงและความปลอดภัย เช่น การติดตั้งกล้องวงจรปิดเพิ่มเติม การร่วมมือกับชุมชนบริเวณรอบๆ โรงกลั่นในการดูแลและเฝ้า ระวังเหตุการณ์ผิดปกติ ส่วนมาตการเพื่อรองรับผลกระทบทางด้านการตลาดได้จัดทําบันทึกความเข้าใจ (MOU ) ในกลุ่มโรงกลั่น ปตท. และ สภาอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังได้จัดให้มีการทําแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management ) เพื่อรองรับในกรณี ที่เกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
ความเสี่ยงด้านบริหารองค์กร (Corporate Risk) 10. ความเสีย่ งจากการทีไ่ ทยออยล์ไม่สามารถพัฒนาบุคลากรทีม่ คี วามรู้ ความสามารถและประสบการณ์ให้เพียงพอต่อการดําเนินธุรกิจ ในปัจจุบันและการขยายตัวในอนาคต เพื่อรองรับความเสี่ยงดังกล่าว ไทยออยล์ได้จัดทําแผนงานเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถให้กับพนักงานทั้งเครือไทยออยล์ มีการจัดทํา
ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค์ ก ร
109
แผนอาชีพและแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Career Plan & Individual Development Plan ) นอกจากนี้ ยังได้ดําเนินการจัดทําแผนการ สืบทอดตําแหน่ง (Succession Plan ) และบรรจุพนักงานใหม่ที่มีประสบการณ์ในการทํางาน รวมทั้งการหมุนเวียนการทํางานของพนักงาน ในเครือไทยออยล์เพื่อรองรับการเจริญเติบโตของเครือไทยออยล์และการเกษียณอายุของพนักงานที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นการเสริมสร้าง ความมั่นใจว่าเครือไทยออยล์จะสามารถดําเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง 11. ความเสีย่ งจากกรณีชมุ ชนยืน่ ข้อร้องเรียนต่อหน่วยงานราชการหรือสือ่ ต่างๆ หรือประท้วงจนมีผลให้ธรุ กิจหยุดชะงักหรือเสียชือ่ เสียง ในการดําเนินธุรกิจโดยเฉพาะอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เช่นเครือไทยออยล์ ฝ่ายจัดการของไทยออยล์ได้ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติมาตลอด ในการ มุง่ เน้นให้ความสําคัญต่อการรักษาสภาพสิง่ แวดล้อมและสังคม โดยเฉพาะการป้องกันผลกระทบต่อความเป็นอยูข่ องชุมชน เพราะอาจจะเป็นปัจจัย ส่งผลให้ชมุ ชนร้องเรียน ฟ้องร้องเป็นผลให้ภาพลักษณ์ของไทยออยล์เสียหาย หรืออาจจะรุนแรงถึงการถูกสัง่ ปิดดําเนินกิจการ เครือไทยออยล์ เล็งเห็นถึงความสําคัญของประเด็นดังกล่าว จึงมุง่ เน้นนโยบายชุมชนสัมพันธ์เชิงรุกโดยสร้างสัมพันธภาพทีด่ กี บั ชุมชนทุกกลุม่ อย่างเท่าเทียมกัน และต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ชุมชน รวมทัง้ การจัดตัง้ ศูนย์การเรียนรูใ้ นชุมชนเพือ่ เป็นศูนย์กลางพัฒนาความสัมพันธ์และการสือ่ สาร ระหว่างไทยออยล์ และชุมชน แต่อย่างไรก็ตามในกรณีที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน ไทยออยล์จะดําเนินการตามแผนการ สื่อสารในช่วงสถานการณ์ฉุกเฉิน (Crisis Communication Management ) เพื่อป้องกันการเกิดข่าวลือหรือภาพพจน์เชิงลบต่อองค์กร
ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) 12. ความผันผวนของค่าเงินบาท การเปลีย่ นแปลงค่าเงินบาทต่อเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐฯ จะมีผลกระทบทัง้ ทางตรงและทางอ้อมต่อผลการดําเนินงานและของไทยออยล์ เพือ่ ลด ผลกระทบจากความผันผวนค่าเงินบาท ไทยออยล์ได้จัดโครงสร้างเงินกู้ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับผลการดําเนินงานของไทยออยล์ ซึง่ อิงกับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ (Natural Hedging ) นอกจากนี้ ยังกําหนดมาตรการต่างๆ ทีจ่ ะสนุบสนุนการบริหารความเสีย่ งทางด้านการเงิน (Financial Risk Management ) ได้แก่ การบริหารจัดการด้านการเงินแบบองค์รวมทั้งเครือไทยออยล์ ตลอดจนการทําสัญญาซื้อขายเงินสกุล ต่างประเทศล่วงหน้า (Forward ) โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน 13. ความเสี่ยงด้านสินเชื่อการค้ากับคู่ค้า จากผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจโลกและการล่มสลายของสถาบันการเงินหลายแห่งในภูมภิ าคต่างๆ รวมทัง้ สภาพคล่องของธนาคารหรือสถาบัน การเงิน อาจส่งผลให้ไทยออยล์มีความเสี่ยงที่จะไม่ได้รับชําระเงินค่าสินค้า ไทยออยล์ได้กําหนดมาตรการต่างๆ ขึ้นเพื่อติดตามสถานะและ ความน่าเชื่อถือทางการเงินของลูกค้าและสถาบันทางการเงินที่เครือไทยออยล์ มีธุรกรรมด้วยอย่างใกล้ชิด มีการจัดตั้งคณะกรรมการสินเชื่อ ั ญาทีเ่ กีย่ วข้อง 2) กําหนดระดับความเสีย่ ง (Credit Committee) เพือ่ พิจารณา 1) กําหนดวงเงินสินเชือ่ เพือ่ ชําระค่าผลิตภัณฑ์ของลูกค้า และคูส่ ญ ของคู่สัญญาในระดับที่เหมาะสม 3) รายงานผลการติดตามอย่างสมํ่าเสมอ 14. ผลตอบแทนการลงทุนไม่เป็นไปตามเป้าหมาย เนื่องจากไทยออยล์และเครือไทยออยล์มีแผนกลยุทธ์ที่จะขยายธุรกิจในอนาคตหลายโครงการ เพื่อให้อัตราการเติบโตของเครือไทยออยล์ เป็นไปอย่างต่อเนื่อง และสร้างมูลค่าให้กับธุรกิจในภาพรวม แม้ว่าเครือไทยออยล์จะมีการติดตามและบริหารความเสี่ยงของแต่ละโครงการ อย่างใกล้ชดิ แต่การใช้เงินลงทุนดังกล่าวอาจจะคลาดเคลือ่ นไปจากแผนทีว่ างไว้เนือ่ งจากมีหลายปัจจัยทีน่ อกเหนือการควบคุม เช่น ความผันผวน ทางเศรษฐกิจของโลก การเปลี่ยนแปลงของนโยบายในด้านต่างๆ ของประเทศที่ไทยออยล์ไปลงทุน นอกเหนือจากมาตรการที่ไทยออยล์ ได้กําหนดให้มีการปฏิบัติตามนโยบายทางการเงินอย่างเคร่งครัดแล้ว ไทยออยล์ยังได้กําหนดให้มีการประเมินความเสี่ยงในการลงทุน รวมทั้งมี หน่วยงานวิเคราะห์ผลการลงทุนเทียบแผนงาน (Post Mortem Analysis) เพือ่ นําประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั มาปรับปรุงการบริหารจัดการในอนาคตต่อไป
110
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
นโยบาย
การกํากับดูแลกิจการ บริษัทฯ ยึดถือแนวปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กําหนด รวมทั้งมุ่งมั่นเพื่อที่จะยกระดับการกํากับดูแลกิจการให้ทัดเทียมกับมาตรฐานสากลอย่าง ต่อเนือ่ ง จากการทีค่ ณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ในเครือไทยออยล์ ให้ความสําคัญต่อการปฏิบตั ติ ามแนวหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดีมาโดยตลอด ส่งผลให้ในปี 2553 บริษัทฯ ได้รับผลคะแนน การตรวจประเมินด้านการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2010) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD ) ร่วมกับ ก.ล.ต. และ ตลท. ในระดับคะแนนที่ 95 คะแนน ซึ่งเป็นคะแนนสูงสุดในกลุ่มบริษัท SET 50 อยู่ในเกณฑ์ ดีเลิศ โดยทางสถาบัน IOD ได้พัฒนาหลักเกณฑ์ที่ใช้ ในการพิจารณา โดยอิงหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ Organization for Economic Cooperation and Development (OECD ) และหลัก การกํากับดูแลกิจการทีด่ สี าํ หรับบริษทั จดทะเบียน ปี 2549 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจากนี้ ในการตรวจประเมินคุณภาพการ จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น โดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย (TIA ) บริษัทฯ ได้รับคะแนนการประเมินการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2553 ที่ระดับ 97 คะแนนจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม บริษัทฯ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมให้บริษัทฯ เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจเชิงบูรณาการด้านการกลั่นนํ้ามันและปิโตรเคมี ที่มีการกํากับดูแลกิจการและการบริหารจัดการที่ดี โดยมุ่งเน้นการสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มโดยรวม มีคุณธรรม ความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ โดยบริษัทฯได้กําหนดนโยบายด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ยึดเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้ 1. มีความสํานึกรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ 2. การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียมกันด้วยความเป็นธรรม 3. ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการกระทําของตนเอง สามารถชี้แจงและอธิบายการตัดสินใจนั้นได้ 4. การมีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กรในระยะยาว 5. ความโปร่งใสในการดําเนินงานที่สามารถตรวจสอบได้ และเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใสแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง 6. การมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ โดยมีโครงสร้างการบริหารที่มีความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และผู้ถือหุ้นอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม บริษัทฯ ได้กําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจนในคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ (Corporate Governance Manual หรือ CG Manual) กฎบัตรคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ (CG Board Charter ) โดยคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ (คณะกรรมการ CG ) ทําหน้าที่สนับสนุนคณะกรรมการบริษัทฯ ในการกําหนดนโยบาย CG โดยได้เริ่มร่างข้อกําหนด CG ครั้งแรกตั้งแต่ปี 2544 มีการปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง และ CG Manual ฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้มีความสมบูรณ์ ครบถ้วน ทันสมัย และครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ตลท. และ ก.ล.ต. ที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงที่ผ่านมา เพื่อใช้เป็นสื่อ ในการเผยแพร่นโยบายด้าน CG ให้แก่คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานบริษัทฯ ในเรื่องข้อกําหนดต่างๆ ในการดําเนินธุรกิจตามหลักการ กํากับดูแลกิจการทีด่ ี โดยยึดมัน่ ในการดําเนินงานด้วยความโปร่งใส มีคณ ุ ธรรม มีความสุจริต สามารถตรวจสอบได้ และเพือ่ ส่งเสริมให้พนักงาน มีความเชื่อมั่นในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ มากยิ่งขึ้น โดยคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน จะต้องลงนามรับคู่มือเก็บไว้เป็นหลักฐาน เพื่อรับทราบและนําไปปฏิบัติ ทั้งนี้ สําหรับผู้ถือหุ้น หรือนักลงทุนทั่วไปสามารถดาวน์โหลดข้อมูล CG Manual ได้จากเว็บไซต์ของบริษัทฯ (www .thaioilgroup .com ) นอกจากนี้ บริษัทฯ กําลังดําเนินการปรับปรุงสื่อการเรียนรู้หลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (CG E -Learning ) โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จในกลางปี 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย สอดคล้องต่อบริบทขององค์กรและสิ่งแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไป และครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการ และหลักจรรยาบรรณในการดําเนินงานของบริษัทฯ ทั้งนี้เพื่อใช้ในการปฐมนิเทศ
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
111
พนักงานเข้าใหม่ สามารถเข้าไปเรียนรู้เรื่องนโยบาย CG ของบริษัทฯ และเพื่อให้ผู้บริหารและพนักงาน สามารถเข้าไปทบทวนความรู้ความ เข้าใจด้านการกํากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณด้วยตัวเองผ่านระบบ Intranet ภายในบริษัทฯ และเมื่อผ่านการทดสอบหลักสูตรจะได้รับ ประกาศนียบัตรรับรอง ในส่วนของกิจกรรมส่งเสริมทางด้าน CG บริษัทฯ จะมีการจัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้าน CG ภายในบริษัทฯ และ เข้าร่วมกิจกรรมงาน PTT Group CG Day ของบริษัทในกลุ่ม ปตท. เป็นประจําทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้พนักงานยึดถือหลักการ กํากับดูแลกิจการเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน อันส่งผลให้เกิดเป็นวัฒนธรรมขององค์กร และสนับสนุนให้มีการเติบโตอย่างยั่งยืน
ชาวไทยออยล์ทุกคนตระหนักถึงความรับผิดชอบในการประกอบธุรกิจการกลั่นและปิโตรเคมี ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่ต้องพึ่งพาและดูแล ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเป็นอย่างดี จึงให้ความสําคัญกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและมีกระบวนการ จัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อป้องกันและลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ปลูกฝังแนวคิดและการปฏิบัติของ บุคลากร โดยมุง่ เน้นกระบวนการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ เป็นรากฐานทีส่ าํ คัญยิง่ ต่อการเติบโต อย่างแข็งแกร่ง มัน่ คง และยัง่ ยืนขององค์กร
การปฏิบัติตามการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ในปี 2553 หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ตระหนักและให้ความสําคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น จึงได้กําหนดนโยบายในการคํานึงถึงสิทธิผู้ถือหุ้น ส่งเสริมการใช้สิทธิและไม่ละเมิด สิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้ 1. การจัดประชุมผู้ถือหุ้น >> กําหนดให้มก ี ารประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เป็นประจําทุกปี ภายใน 4 เดือนนับแต่วนั สิน้ รอบปีบญ ั ชีของบริษทั ฯ และหากมีความจําเป็นเร่งด่วนทีจ่ ะ ต้องพิจารณาวาระพิเศษที่อาจเป็นเรื่องที่กระทบหรือเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ซึ่งจําเป็นต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทฯ สามารถเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นได้เป็นกรณีไป 2. การส่งหนังสือเชิญประชุมล่วงหน้า >> เผยแพร่ข้อมูลหนังสือเชิญประชุม ระเบียบวาระการประชุมผู้ถือหุ้น พร้อมความเห็นของคณะกรรมการ หนังสือมอบฉันทะทุกแบบ ประกอบด้วยแบบ ก แบบ ข และ แบบ ค (สําหรับผู้ถือหุ้นต่างประเทศที่แต่งตั้งคัสโตเดียนในประเทศไทยเท่านั้น) ตามที่กระทรวงพาณิชย์ กําหนด รวมทั้ง ข้อมูลประกอบการพิจารณาระเบียบวาระ ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 30 วัน ก่อนที่จะจัดส่งเอกสารเชิญประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้น >> จัดทําหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี โดยระบุสถานที่ วัน เวลา ประชุมให้ชัดเจน พร้อมทั้งรายละเอียดระเบียบวาระการประชุม ข้อมูลสําคัญและจําเป็นประกอบการพิจารณา ความเห็นคณะกรรมการ รายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา รายงานประจําปี หนังสือมอบ ฉันทะและระบุวิธีการมอบฉันทะให้ชัดเจน และเอกสารประกอบการประชุมอื่นๆ โดยจัดส่งให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าอย่างน้อย 14 วันก่อน วันประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับข้อมูลข่าวสารเพื่อการตัดสินใจในการลงมติอย่างเพียงพอ ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส พร้อมทั้ง ประกาศลงในหนังสือพิมพ์ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษเป็นเวลา 3 วัน ติดต่อกัน ก่อนวันประชุมอย่างน้อย 3 วัน เพื่อเป็นการบอก กล่าวการเรียกประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าสําหรับให้ผู้ถือหุ้นเตรียมตัวมาร่วมประชุม >> ในกรณีที่มีการเพิ่มวาระการประชุมจะมีการแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบ ในกรณีจําเป็นรีบด่วนเพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทฯ และ จะส่งหนังสือนัดประชุมไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนวันประชุมรวมทั้งจะเผยแพร่ข้อมูลประกอบวาระการประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้าไว้ในเว็บไซต์ ก่อนจัดส่งเอกสาร
112
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
3. การอํานวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้น >> อํานวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นในวันประชุมอย่างเท่าเทียมกัน โดยจัดเจ้าหน้าที่ต้อนรับและให้ข้อมูลในการตรวจเอกสารและลงทะเบียน เพื่อเข้าร่วมประชุมอย่างเพียงพอ โดยบริษัทฯ จะเปิดให้ผู้ถือหุ้นสามารถรับการลงทะเบียนก่อนเวลาประชุม 2 ชั่วโมง และได้นําระบบ บาร์โค้ด (Bar Code ) มาใช้ในการลงทะเบียนเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการลงทะเบียน นอกจากนี้ ได้จัดให้มีสถานที่จัดการประชุม ที่มีขนาดเพียงพอรองรับจํานวนผู้ถือหุ้น อยู่ในกรุงเทพมหานครหรือจังหวัดใกล้เคียง และมีแผนรองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ณ วันประชุม เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นและรักษาความปลอดภัยให้กับผู้ถือหุ้นทุกราย 4. การดําเนินการประชุมผู้ถือหุ้น >> บริษัทฯ ไม่กระทําการใดๆ ที่มีลักษณะเป็นการจํากัดสิทธิในการเข้าร่วมประชุมของผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นทุกคนย่อมมีสิทธิเข้าร่วมประชุม ผู้ถือหุ้นตลอดระยะเวลาการประชุม >> ก่อนเริ่มประชุมทุกครั้ง ประธานที่ประชุมจะเป็นผู้ชี้แจงหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการประชุมทั้งหมด อาทิเช่น การเปิดประชุม และการ ออกเสียงลงคะแนน รวมทั้งวิธีการนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่จะต้องลงมติในแต่ละวาระตามข้อบังคับของบริษัทฯ >> สนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถใช้สิทธิในการดูแลรักษาผลประโยชน์ของตน โดยการซักถาม แสดงความเห็น ให้ข้อเสนอแนะและ ออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นใช้สิทธิร่วมตัดสินใจในเรื่องที่สําคัญต่างๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อบริษัทฯ เช่น การแต่งตั้งหรือถอดถอน กรรมการ การเสนอชื่อบุคคลเพื่อเป็นกรรมการอิสระ การอนุมัติผู้สอบบัญชี การจัดสรรเงินปันผล การลดทุนหรือเพิ่มทุน การกําหนดหรือ การแก้ไขข้อบังคับ บริคณห์สนธิ และการอนุมัติรายการพิเศษ เป็นต้น 5. แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการรายงานความขัดแย้งของผลประโยชน์ บริษัทฯ ได้ระบุการมีส่วนได้เสียของกรรมการไว้ในหนังสือเชิญประชุมฯ และในการประชุมผู้ถือหุ้น หากกรรมการท่านใดมีส่วนได้เสีย หรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการพิจารณาวาระใด ประธานที่ประชุมจะแจ้งให้ผู้เข้าร่วมประชุมทราบก่อนการพิจารณาวาระ โดยกรรมการท่าน ที่มีส่วนได้เสียนั้นจะไม่ร่วมประชุม และงดออกเสียงในวาระนั้นๆ
>>
6. การดําเนินการหลังการประชุมผู้ถือหุ้น >> บริษัทฯ ได้จัดทํารายงานการประชุมผู้ถือหุ้นแจ้งต่อ ตลท. ภายใน 14 วันหลังวันประชุม ตามข้อกําหนดของ ตลท. และเผยแพร่บันทึก รายละเอียดการประชุมอย่างครบถ้วนเหมาะสม ประกอบด้วย การบันทึกรายงานการประชุม การออกเสียงและข้อซักถามของผู้ถือหุ้นใน แต่ละวาระอย่างละเอียด พร้อมทั้ง เผยแพร่วีดิทัศน์การประชุมให้ผู้ถือหุ้นรับทราบบนเว็บไซต์บริษัทฯ (www .thaioilgroup .com )
หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน >>
>>
บริษัทฯ ให้ความสําคัญต่อผู้ถือหุ้นทุกราย โดยไม่คํานึงถึง เพศ อายุ สีผิว เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา ความเชื่อ ความคิดเห็นทางการเมือง หรือความพิการ บริษทั ฯ มีแนวปฏิบตั ใิ นการกํากับดูแล เพือ่ ปกป้องสิทธิขน้ั พืน้ ฐานของผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม สร้างความ มั่นใจในการลงทุนกับบริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิเสนอระเบียบวาระการประชุม และเสนอชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเข้ารับการเลือกตั้ง เป็นกรรมการบริษัทฯ อย่างน้อย 90 วันก่อนงานประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และเผยแพร่หลักเกณฑ์การใช้สิทธิดังกล่าวผ่านทางเว็บไซต์ของ บริษัทฯ ผู้ถือหุ้นมีสิทธิมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุม และลงมติแทนผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นมีสิทธิได้รับเอกสารและคําแนะนําในการมอบฉันทะ ผู้รับ มอบฉันทะที่ถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อยื่นหนังสือมอบฉันทะให้กรรมการในที่ประชุมแล้วย่อมมีสิทธิเข้าร่วมประชุมและลงมติเช่นเดียวกับ
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
>>
>>
>>
>>
>>
>>
113
ผู้ถือหุ้นทุกประการ ผู้ถือหุ้นอาจมอบฉันทะให้กรรมการอิสระของบริษัทฯ มาประชุมและลงมติแทนก็ได้ ผู้ถือหุ้นมีสิทธิได้รับประวัติและ ข้อมูลการทํางานของกรรมการอิสระแต่ละท่านที่ครบถ้วนเหมาะสมในการพิจารณา ดําเนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามลําดับระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุม และมีนโยบายที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระในที่ประชุม โดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า จัดสรรเวลาประชุมอย่างเพียงพอ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็น และตั้งคําถามในที่ ประชุมและได้ใช้สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล ผู้ถือหุ้นสามารถออกเสียงในทุกวาระการประชุมผ่านบัตรลงคะแนนเสียงที่ บริษัทฯ ได้แจกให้ในวันประชุม กรรมการและผู้บริหารที่เกี่ยวข้องจะเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อตอบคําถามในที่ประชุม รวมทั้งได้บันทึกประเด็นซักถามและข้อคิดเห็นที่ สําคัญไว้ในรายงานการประชุมเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นลงทะเบียนด้วยระบบบาร์โค้ดล่วงหน้าก่อนการประชุม 2 ชั่วโมง และแม้จะพ้นเวลาลงทะเบียนแล้ว ก็ยังเปิดโอกาส ให้ผู้ถือหุ้นที่ประสงค์จะร่วมประชุม สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้โดยไม่เสียสิทธิ เปิดเผยข้อมูลทีเ่ ป็นปัจจุบนั ผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ฯ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้รบั ทราบข้อมูลข่าวสารสําคัญของบริษทั ฯ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง รวมถึง สารสนเทศที่บริษัทฯ เปิดเผยตามข้อกําหนดต่างๆ โดยภายหลังจากการเปิดเผยต่อ ตลท. แล้ว ได้นําข้อมูลเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บริษทั ฯ มีมาตรการป้องกันการใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายใน ตามรายละเอียดทีก่ าํ หนดไว้ในหมวดที่ 4 “การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส”
หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บริษัทฯ ได้มีการดูแลและคํานึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม โดยคํานึงถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามกฎหมายหรือข้อตกลงที่มีกับบริษัทฯ และได้กําหนดแนวทางการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มไว้อย่างชัดเจนใน “คู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ” เพื่อให้บุคลากรทุกระดับ ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติโดยถือเป็นภาระหน้าที่ที่สําคัญของทุกคนดังนี้ 1. การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มหลักของบริษัทฯ ต่อผู้ถือหุ้น บริษัทฯ มุ่งมั่นเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นในการดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส มีระบบบัญชีและการเงินที่มีความเชื่อถือได้ สร้างความพึงพอใจสูงสุด ให้กับผู้ถือหุ้น โดยคํานึงถึงการเจริญเติบโตของบริษัทฯ ในระยะยาวและผลตอบแทนในระดับที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง โดยคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ตลอดจนตัดสินใจดําเนินการใดๆ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ และเป็นธรรมต่อ ผู้ถือหุ้นทั้งรายใหญ่และรายย่อย และเพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างเต็มความสามารถ ไม่ดําเนินการใดๆ ในลักษณะที่อาจ ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัทฯ ไม่แสวงหาประโยชน์ให้ตนเอง และไม่เปิดเผยข้อมูลลับต่อบุคคลภายนอก ต่อลูกค้า สร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้าโดยการส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามความต้องการของลูกค้า เปิดเผยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการบริการอย่าง ครบถ้วน ถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง จัดให้มีช่องทางการสื่อสารเพื่อให้ลูกค้าร้องเรียนเกี่ยวกับคุณภาพผลิตภัณฑ์ ไม่กําหนดเงื่อนไขการค้าที่ไม่เป็นธรรมต่อลูกค้า ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง หรือเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อลูกค้าอย่างโปร่งใสและเท่าเทียมกัน และให้ความสําคัญในการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับของลูกค้าอย่างสมํ่าเสมอ และไม่นําข้อมูลดังกล่าวมาใช้เพื่อผลประโยชน์ของตนเอง และ/หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
114
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ต่อคู่ค้า คู่แข่งทางการค้า และเจ้าหนี้ คํานึงถึงความเสมอภาคและความซื่อสัตย์ในการดําเนินธุรกิจและผลประโยชน์ร่วมกันกับคู่ค้า โดยปฏิบัติตามกฎหมายและกติกาต่างๆ อย่าง เคร่งครัดและมีจรรยาบรรณที่ดีทางธุรกิจ ในการแข่งขันทางธุรกิจ บริษัทฯ ยึดถือกติกาการแข่งขันที่เป็นธรรม โดยมีแนวทางปฏิบัติดังนี้ >> คู่ค้า : ไม่เรียกร้อง ไม่รับ ไม่จ่ายผลประโยชน์ใดๆ ทางการค้ากับคู่ค้าโดยไม่สุจริต และปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง และเงื่อนไขต่างๆ ที่มี ต่อคู่ค้าอย่างเคร่งครัด ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขได้ จะรีบแจ้งให้คู่ค้าทราบล่วงหน้า เพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไข ปัญหาด้วยหลักแห่งความสมเหตุสมผล >> คู่แข่งทางการค้า : ประพฤติปฏิบัติตามกรอบกติกาของการแข่งขันที่เป็นธรรม และตั้งอยู่บนพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรม ต่อทั้งสองฝ่าย ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสม และไม่ทําลายชื่อเสียงของ คู่แข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทางเสื่อมเสียโดยปราศจากข้อมูลความจริง >> เจ้าหนี้ : ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง และเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้โดยเคร่งครัด รายงานฐานะทางการเงินของบริษัทฯ แก่เจ้าหนี้ด้วยความ ซื่อสัตย์ ถูกต้อง และตรงเวลาให้แก่เจ้าหนี้อย่างสมํ่าเสมอ และแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบล่วงหน้า หากไม่สามารถปฏิบัติตามข้อผูกพันในสัญญา เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหาย ต่อพนักงาน พัฒนา เสริมสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศการทํางานที่ดี รวมทั้งการส่งเสริมการทํางานเป็นทีม เพื่อสร้างความมั่นใจและเป็นขวัญกําลังใจ ให้แก่พนักงานในการปฏิบัติงานกับบริษัทฯ ด้วยความมั่นคงในอาชีพ โดยมีแนวปฏิบัติ คือ >> ให้ผลตอบแทนที่เป็นธรรม และเหมาะสมตามความรู้ ความสามารถ ความรับผิดชอบ และผลการปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละคน >> ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมการทํางานให้มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน >> การแต่งตั้ง การโยกย้าย รวมทั้งการให้รางวัลและการลงโทษพนักงานต้องกระทําด้วยความเสมอภาค บริสุทธิ์ใจ และตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสม รวมทั้งการกระทํา หรือการปฏิบัติของพนักงานนั้นๆ >> ปฏิบัติต่อพนักงานบนพื้นฐานแห่งความยุติธรรม และให้ความสําคัญต่อการพัฒนา การถ่ายทอดความรู้ และความสามารถของพนักงาน โดยให้โอกาสกับพนักงานอย่างทั่วถึงและสมํ่าเสมอ >> รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากพนักงานทุกระดับอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค >> ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานอย่างเคร่งครัด >> บริหารงานโดยหลีกเลี่ยงการกระทําใดๆ ที่ไม่เป็นธรรม ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อความมั่นคงในหน้าที่การงานของพนักงาน >> ปฏิบัติต่อพนักงานด้วยความสุภาพและให้ความเคารพต่อความเป็นปัจเจกชนและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ >> มีช่องทางให้พนักงานเข้าแจ้งเรื่องที่ส่อไปในทางผิดระเบียบวินัย และกฎหมายได้ >> ส่งเสริมให้พนักงานเข้าใจในเรื่องจรรยาบรรณและบทบาทหน้าที่ เพื่อส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมที่อยู่ในกรอบของจรรยาบรรณอย่างทั่วถึง >> ส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการกําหนดทิศทางในการทํางาน รวมถึงการแก้ไขปัญหาของหน่วยงาน และบริษัทฯ โดยรวม ต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม คํานึงถึงความปลอดภัยของสังคม สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตประชาชน รวมถึงให้ความสําคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อ ประโยชน์ต่อชนรุ่นหลังตลอดจนส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยบริษัทฯ กําหนดแนวทาง ปฏิบัติดังนี้ >> ในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ บริษัทฯ จะคํานึงถึงทางเลือกที่มีผลกระทบต่อความเสียหายของสังคม สิ่งแวดล้อมและ คุณภาพชีวิตของประชาชนให้น้อยที่สุด
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
>> >> >> >>
>> >>
>>
>>
115
ไม่กระทําการใดๆ ที่ส่งผลเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมเกินกว่าที่กฎหมายกําหนด ส่งเสริมการใช้และการอนุรักษ์พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมและชนรุ่นหลัง ไม่สนับสนุนกิจกรรมใดๆ ที่เป็นภัยต่อสังคม หรือศีลธรรมอันดีงาม และ/หรือ เป็นการส่งเสริมอบายมุข จัดให้มีระบบการร้องทุกข์ในเรื่องที่อาจมีผลกระทบต่อชุมชน ดําเนินการตรวจสอบหาสาเหตุและปรับปรุงแก้ไขและแจ้งผลการดําเนินการ ให้ผู้ร้องทุกข์ทราบในเวลาอันควร ปลูกฝังจิตสํานึกของความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นในหมู่พนักงานทุกระดับอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ปฏิบัติและให้ความร่วมมือ หรือควบคุมให้มีการปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตามเจตนารมณ์ของกฎหมายและกฎระเบียบที่ออกโดยหน่วยงานที่ กํากับดูแล ให้ความสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนและสังคม โดยมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการสนับสนุนการศึกษาแก่ เยาวชนและกิจกรรมสาธารณประโยชน์ ให้การตอบสนองอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพต่อเหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากการดําเนินงาน ของบริษัทฯ โดยให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่กับเจ้าหน้าที่ภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ต่อหน่วยราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดต่อกฎหมายที่เกี่ยวข้องในด้านต่างๆ ทั้งสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย แรงงาน การจัดการด้านภาษีอากร และบัญชี ฯลฯ รวมทั้งประกาศต่างๆ ของทางราชการที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยพนักงานทุกระดับ จะต้องศึกษาและ ทําความเข้าใจในกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของตนเองและไม่ดําเนินการใดๆ อันเป็นการขัดต่อกฎหมายนั้นๆ อีกทั้งผู้บังคับ บัญชาควรจัดให้มีข้อมูลด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้อ้างอิงและคอยติดตามปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ พนักงานและผู้ปฏิบัติงานควรมี โอกาสเข้าถึงข้อมูลโดยสะดวกบริษัทฯ มุ่งมั่นปลูกฝังจิตสํานึกของความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ/ข้อบังคับของ บริษัทฯ ให้เกิดขึ้นในหมู่พนักงานทุกระดับอย่างต่อเนื่อง และมุ่งมั่นสร้างความสัมพันธ์ที่ดีโดยให้ความร่วมมือกับหน่วยราชการและองค์กร ที่เกี่ยวข้องในการให้ข้อมูล เพื่อประโยชน์ของประเทศและส่วนรวม 2. การติดตามดูแลให้มีการปฏิบัติ บริษัทฯ กําหนดให้เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนที่จะต้องรับทราบ และปฏิบัติตามนโยบายและ ข้อกําหนดที่มีอยู่ในคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ อีกทั้งผู้บริหารทุกระดับจะต้องดูแลรับผิดชอบ และถือเป็นเรื่องสําคัญในการ ส่งเสริมให้พนักงานภายใต้การบังคับบัญชามีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตามคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด บริษัทฯ จะไม่ดําเนินการใดๆ ที่ผิดกฎหมาย หรือขัดกับหลักการกํากับดูแลกิจการ หากกรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานกระทําผิดหลักการ กํากับดูแลกิจการตามที่กําหนดไว้จะได้รับโทษทางวินัยอย่างเคร่งครัด และหากมีการกระทําที่เชื่อได้ว่าทําผิดกฎหมาย กฎเกณฑ์ ระเบียบ และ ข้อบังคับของภาครัฐ บริษัทฯ จะส่งเรื่องให้เจ้าหน้าที่รัฐดําเนินการต่อไป หากพนักงานทุกระดับของบริษัทฯ ประสบปัญหาในการตัดสินใจ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับจรรยาบรรณธุรกิจที่มิได้กําหนดไว้ในจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ ให้ตั้งคําถามเกี่ยวกับการกระทํานั้นกับตนเอง ดังต่อไปนี้ 1) การกระทํานั้นขัดต่อกฎหมายหรือไม่ 2) การกระทํานั้นขัดต่อนโยบาย หรือจรรยาบรรณ หรือส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของบริษัทฯ หรือไม่ 3) การกระทํานั้นส่งผลเสียต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทฯ อย่างร้ายแรงหรือไม่
116
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
ทั้งนี้ หากพนักงานพบการกระทําผิดกฎหมาย และ/หรือ หลักการกํากับดูแลกิจการ ให้แจ้งข้อร้องเรียนหรือข้อกล่าวหาไปยังสํานักกรรมการ อํานวยการของบริษัทฯ บริษัทฯ จะดําเนินการตรวจสอบโดยไม่เปิดเผยชื่อผู้แจ้งเบาะแส เพื่อคุ้มครองผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้แจ้งข้อ ร้องเรียนหรือข้อกล่าวหาดังกล่าว 3. มาตรการการแจ้งเบาะแส และกลไกคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส บริษทั ฯ กําหนดให้ผบู้ ริหารทุกระดับในองค์กร จะต้องดูแลรับผิดชอบและถือเป็นเรือ่ งสําคัญทีจ่ ะดําเนินการให้พนักงานภายใต้สายบังคับบัญชา ของตนทราบ เข้าใจ และปฏิบัติตามคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ อย่างจริงจัง ผู้ที่กระทําผิดจริยธรรมที่กําหนดไว้ จะได้รับ โทษทางวินัยอย่างเคร่งครัด เพื่อให้มีการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกันและมีความเป็นธรรมตามหลักการกํากับดูแล กิจการ บริษัทฯ ได้จัดให้มีช่องทางรับแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียน หรือข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะใดที่แสดงว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับ ผลกระทบ หรือมีความเสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบอันจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มจากการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ หรือจากการปฏิบัติของพนักงานของบริษัทฯ เกี่ยวกับการกระทําผิดกฎหมายหรือจรรยาบรรณ รวมถึงพฤติกรรมที่อาจส่อถึงการทุจริต การปฏิบตั อิ ย่างไม่เท่าเทียมกัน หรือการกระทําทีข่ าดความระมัดระวังและขาดความรอบคอบ โดยการแจ้งเบาะแสโดยตรงหรือส่งจดหมายมาที่ สํานักกรรมการอํานวยการ แผนกสํานักงานองค์กร บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900 e
☎
cgcoordinate@thaioilgroup.com โทร. +66(0) 2797-2900 หรือ +66(0) 2797-2999 หรือ +66(0) 2299-0000 ต่อ 7312-7315 โทรสาร +66(0) 2797-2973
DOWNLOAD
CG Manual at www.thaioilgroup.com
ทั้งนี้ บริษัทฯ จะดําเนินการตรวจสอบตามขั้นตอนและบันทึกการสอบสวนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยไม่เปิดเผยชื่อผู้แจ้งเบาะแส รวมทั้ง ดําเนินการจัดเก็บข้อมูลการร้องเรียนเป็นความลับ เพื่อคุ้มครองผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้แจ้งข้อร้องเรียนดังกล่าว
หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 1. การรายงานข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการ และการถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหาร ข้อมูลค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารจะถูกเปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) รายงานประจําปี (แบบ 56-2) และในเว็บไซต์ของบริษัทฯ กรรมการและผู้บริหารมีหน้าที่รายงานการถือครองหลักทรัพย์ทุกครั้งที่มี การซื้อ ขาย หรือโอนหลักทรัพย์ต่อ ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ซึ่งนับเป็นอีกหนึ่งมาตรการสําคัญที่จะส่งเสริมการกํากับดูแลการใช้ข้อมูลภายในได้เป็นอย่างดี
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
117
โดยบริษัทฯ จะจัดส่งจดหมายแจ้งขอความร่วมมือในการงดซื้อ ขาย หรือโอนหลักทรัพย์ก่อนล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือนก่อนสิ้นงวดบัญชี ในแต่ละไตรมาส นอกจากนี้ กรรมการและผู้บริหารจะต้องรายงานการเปลี่ยนแปลงการมีส่วนได้เสียของตนต่อบริษัทฯ เป็นประจําทุกไตรมาส และจะปรับปรุงข้อมูลทุกปี โดยข้อมูลดังกล่าวจะเก็บไว้ใช้ภายในบริษัทฯ เท่านั้น เพื่อให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 2/2552 เรื่องการรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง 2. การรายงานข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯ บริษัทฯ ให้ความสําคัญกับการเปิดเผยสารสนเทศ ที่เป็นข้อมูลสําคัญของบริษัทฯ รวมถึงรายงานทางการเงิน ข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน และสารสนเทศเรื่องอื่นๆ ตามเกณฑ์ที่ ตลท. และ ก.ล.ต. กําหนด อย่างถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน โปร่งใส ด้วยภาษาที่กระชับ เข้าใจง่าย มีการเปิดเผยสารสนเทศที่สําคัญทั้งด้านบวกและด้านลบ และผ่านการพิจารณากลั่นกรองตามขั้นตอนที่กําหนด รวมทั้งรายงานนโยบายและ โครงสร้างการกํากับดูแลกิจการไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) รายงานประจําปี (แบบ 56-2) และในเว็บไซต์ของ บริษัทฯ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับสารสนเทศอย่างเท่าเทียมกันตามที่กําหนดโดยกฎหมาย ข้อบังคับของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดทํารายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินแสดงควบคู่กับรายงาน ของผู้สอบบัญชีในรายงานประจําปี นอกจากนี้ บริษัทฯ มีมาตรการป้องกันการใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายใน โดยกําหนดให้พนักงานทุก ระดับของบริษัทฯ ต้องไม่นําข้อมูลที่เป็นความลับไปใช้ เพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือบุคคลอื่น และรักษาข้อมูลภายในและเอกสารที่ไม่สามารถ เปิดเผยต่อบุคคลภายนอก อันนําไปสู่การแสวงหาผลประโยชน์ เพื่อตนเองหรือครอบครัว หรือพวกพ้องในทางมิชอบ เช่น ข้อมูลที่มีผลกระทบ ต่อราคาหุ้นความลับทางการค้า หรือสูตรการประดิษฐ์คิดค้นต่างๆ เป็นต้น พนักงานที่เปิดเผยข้อมูลและข่าวสารที่สําคัญของบริษัทฯ ออกสู่ บุคคลภายนอก โดยมิได้รับความเห็นชอบจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จะถูกพิจารณาบทลงโทษทางวินัยตามระเบียบของบริษัทฯ และ อาจถูกดําเนินคดีตามกฎหมายอีกด้วย 3. นักลงทุนสัมพันธ์ บริษัทฯ ได้ให้ความสําคัญอย่างสูงต่อการบริหารความสัมพันธ์กับนักลงทุน ซึ่งจะมุ่งเน้นถึงการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ สุจริต มุง่ มัน่ ทุม่ เท ความถูกต้อง คุณภาพ ความเพียงพอ เชือ่ ถือได้ และทันเวลา เพือ่ ให้นกั ลงทุน นักวิเคราะห์ และผูเ้ กีย่ วข้องได้รบั สารสนเทศ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และเท่าเทียมกัน บริษัทฯ จัดให้มีแผนกนักลงทุนสัมพันธ์เพื่อเป็นศูนย์กลางในการดําเนินกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ในเชิงรุกเพื่อให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติของ องค์กรสากลชั้นนํา เพื่อส่งเสริมให้ช่องทางในการสื่อสารกับนักลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นไปโดยมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้ง เปิดโอกาสให้นักลงทุนได้ซักถามตลอดจนรับทราบข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ผ่านหลากหลายช่องทาง เช่น การจัด Road Show และ สัมมนากับนักลงทุนและนักวิเคราะห์ทั้งในและต่างประเทศ การประชุมร่วมกับนักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ทุกไตรมาส รายงานผล การดําเนินงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ การทําสรุปผลการดําเนินงานเผยแพร่ใน Webcast บน Website ของบริษัทฯ การจัดให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยและนักลงทุนเข้าเยี่ยมชมกิจการโรงกลั่นและพบปะผู้บริหาร เพื่อเสริมสร้างความรู้ความ เข้าใจในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจนการจัดบู้ทนิทรรศการส่งเสริมให้ความรู้แก่นักลงทุนในงานที่ ตลท. จัดเป็นประจําทุกปี เช่น งาน SET in the City และ Money Expo ซึ่งผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนสามารถสอบถามข้อมูลมายังฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัทฯ โดยติดต่อได้ 3 วิธี ดังนี้ 1) โทรศัพท์สายตรง +66(0) 2797-2961 2) ทางอีเมล ir @thaioilgroup .com 3) ทางเว็บไซต์บริษัทฯ หมวดข้อมูลนักลงทุน www .thaioilgroup .com
118
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสร้างคณะกรรมการ องค์ประกอบและคุณลักษณะของกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ทําหน้าที่สรรหาและคัดเลือกกรรมการและผู้บริหาร สูงสุดในกรณีที่ตําแหน่งว่างลง องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ต้องมีจํานวนสัดส่วนของกรรมการที่เป็นเป็นอิสระเพียงพอที่จะ สามารถตรวจสอบถ่วงดุลการทํางานของคณะกรรมการบริษัทฯ และการดําเนินงานของฝ่ายจัดการ ทั้งนี้ กรรมการบริษัทฯ ต้องมีความ หลากหลายของทักษะ ประกอบด้วยทักษะทางด้านอุตสาหกรรม ด้านบัญชีการเงิน ด้านธุรกิจ ด้านการจัดการ ด้านการตลาดระหว่างประเทศ ด้านกลยุทธ์ ด้านการบริหารวิกฤติ ด้านกฎหมาย และด้านการกํากับดูแลกิจการ โดยประกอบด้วยผู้มีความรู้ในธุรกิจของบริษัทฯ อย่างน้อย 3 คน ด้านกฎหมายอย่างน้อย 1 คน และด้านบัญชีการเงินอย่างน้อย 1 คน ซึ่งคณะกรรมการต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะและมีจํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน ซึ่งปัจจุบันจํานวนกรรมการอิสระของบริษัทฯ มีจํานวนครบถ้วน และเกินกว่า ที่กฎหมายกําหนดไว้ ปัจุบัน คณะกรรมการบริษัทฯ มีจํานวน 14 ท่าน ประกอบด้วยกรรรมการที่เป็นผู้บริหาร จํานวน 1 ท่าน และกรรมการ ที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร จํานวน 13 ท่าน สําหรับรายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และเลขานุการบริษัท ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วในหมวดโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ หน้า 88-98 วิธีสรรหากรรมการ การคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัทฯ แทนกรรมการที่ออกตามวาระ กระทําโดยบริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น เสนอรายชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตามคุณสมบัติที่บริษัทฯ กําหนด เพื่อเข้ารับการ คัดเลือกเป็นกรรมการบริษัทฯ โดยจะประกาศเชิญชวนในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ให้ผู้ถือหุ้นเสนอรายชื่อและประวัติบุคคลเข้ามายังบริษัทฯ และ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะทําการคัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมตามกฎหมายและหลักเกณฑ์ ที่กําหนด โดยพิจารณาจากประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถที่จะเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณา เมื่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติเห็นชอบแล้ว บริษัทฯ จะเสนอรายชื่อบุคคลดังกล่าวเพื่อขออนุมัติเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยขอมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้ถือคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน รวมทั้ง คัดเลือกกรรมการบริษัทฯ ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการในคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง แทนตําแหน่งกรรมการเฉพาะเรื่องที่ว่างลง หลังการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี และนําเสนอรายชื่อต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติแต่งตั้งต่อไป คุณสมบัติกรรมการอิสระ กรรมการอิสระจะต้องมีความเป็นอิสระจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ กลุ่มของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และผู้บริหารของบริษัทฯ มีความสามารถเข้าถึง ข้อมูลทางการเงินและทางธุรกิจบริษัทฯ รวมทั้งธุรกิจอื่นอย่างเพียงพอ เพื่อที่จะแสดงความคิดเห็นอย่างเสรีในการปกป้องผลประโยชน์ของ ผู้ถือหุ้นรายย่อยเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างสมํ่าเสมอ รวมทั้ง มีหน้าที่ในการจัดทํารายงานรับรองความเป็นอิสระของตน เมื่อได้รับการแต่งตั้ง และเปิดเผยข้อมูลความเป็นอิสระในรายงานประจําปีของบริษัทฯ กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กําหนด ดังนี้ 1) ถือหุ้นไม่เกิน 1% ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดในบริษัทฯ บริษัทย่อย หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง 2) ไม่เป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมในการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้รบั เงินเดือนประจํา ผูม้ อี าํ นาจควบคุมของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย หรือบริษัทที่เกี่ยวข้องในช่วง 2 ปีก่อน
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
119
3) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจ ควบคุม ของบริษัทฯ บริษัทย่อยหรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง 4) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ ในช่วง 2 ปีก่อนหน้า ทั้งในด้านการให้บริการทางวิชาชีพ เช่น ไม่เป็นผู้สอบบัญชี ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพที่ให้บริการเกิน 2 ล้านบาท ด้านการค้าและธุรกิจ เช่น ไม่มีธุรกรรมกับบริษัทฯ ที่เป็นนัยสําคัญ 5) ไม่เป็นตัวแทนของกรรมการ ผู้ถือหุ้น และผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 6) ไม่มีลักษณะอื่นที่ทําให้ไม่สามารถให้ความเห็นเป็นอิสระ 7) สามารถมีส่วนร่วมตัดสินใจในการดําเนินงานในรูปแบบขององค์คณะ 8) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันกับบริษัทฯ บริษัทย่อย หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง ไม่ถือหุ้นเกิน 1% และเป็น กรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจํา ผู้มีอํานาจควบคุมในกิจการดังกล่าว เพื่อเป็นการส่งเสริมให้กรรมการอิสระได้มีโอกาสประชุมปรึกษาหารือระหว่างกันเองอย่างเป็นอิสระ สําหรับการเสนอแนะความคิดเห็น และ กําหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ จึงได้กําหนดให้มีการประชุมกรรมการอิสระอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 2. การกําหนดค่าตอบแทนของกรรมการ บริษัทฯ มีนโยบายกําหนดค่าตอบแทนของกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารให้อยู่ในระดับที่สามารถจูงใจและอยู่ในระดับที่เทียบเคียง กับบริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยการพิจารณาจะเชื่อมโยงกับผลงานและความรับผิดชอบของกรรมการ รวมทั้งผลการดําเนินงาน ของบริษัทฯ ทั้งนี้ คณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่และความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นเป็นพิเศษจะได้รับค่าตอบแทนเพิ่ม และเชื่อมโยง กับระดับความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายนั้น ผู้ที่เป็นประธานอาจได้รับค่าตอบแทนเพิ่มจากที่กรรมการได้รับ โดยทุกปีคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะเป็นผู้กําหนดค่าตอบแทนดังกล่าว นําเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขอความเห็นชอบก่อนนําเสนอ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอนุมัติต่อไป สําหรับรายละเอียดการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการและผู้บริหาร ในปี 2553 ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วใน หมวดโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ หน้า 100 3. การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ บริษัทฯ ได้ทําการประเมินคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจําทุกปี ในปี 2553 ได้จัดทําการประเมินใน 3 รูปแบบ คือ 1) แบบประเมินตนเอง 2) แบบประเมินทั้งคณะ และ 3) แบบประเมินรายบุคคล (ประเมินกรรมการท่านอื่น) นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ปรับปรุงแบบฟอร์มการประเมินใหม่ให้ครอบคลุมประเด็นสําคัญเพิ่มเติมดังนี้ 1) นโยบายคณะกรรมการ (Board Policy ) 2) โครงสร้างของคณะกรรมการ (Board Composition ) 3) การจัดเตรียมและดําเนินการประชุม (Board Meeting ) และ 4) แนวปฏิบัติของคณะกรรมการ (Board Practices ) ซึ่งประกอบด้วย เรื่องความพร้อมของคณะกรรมการ การจัดการความเสี่ยงและการ ควบคุมภายใน การดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การติดตามรายงานทางการเงิน การดําเนินงานการสรรหา การพิจารณา ค่าตอบแทน และการประเมินผลงาน โดยจัดทําหลักเกณฑ์การประเมินผล คิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็มในแต่ละข้อทั้งหมด ดังนี้
120
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
มากกว่าร้อยละ 85 มากกว่าร้อยละ 75 มากกว่าร้อยละ 65 มากกว่าร้อยละ 50 ตํ่ากว่าร้อยละ 50
= = = = =
ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
ผลการประเมิน ประจําปี 2553 สรุปได้ดังนี้ ตารางเปรียบเทียบผลการประเมิน การปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ แบบที่ 1: ประเมินรายบุคคล (ประเมินตนเอง) แบบที่ 2: ประเมินทั้งคณะ แบบที่ 3: ประเมินรายบุคคล (ประเมินกรรมการท่านอื่น) คะแนนเฉลี่ย
2552 (%)
2553 (%)
เพิ่ม / (ลด) (%)
97 97 96 97
97 95 98 97
(2) 2 -
สรุปโดยรวมจากการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2553 พบว่ามีผลการปฏิบัติงานอยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยจากการประเมิน ทั้ง 3 แบบ ประมาณ “ร้อยละ 97” บริษัทฯ ได้นําเรียนผลประเมินและข้อคิดเห็นต่างๆ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการและคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อร่วมกัน สนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการให้ดียิ่งขึ้นต่อไป นอกจากนี้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารยังมีส่วนร่วมในการอธิบายถึงความคาดหวัง ของตนเองที่จะได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการอีกด้วย 4. การประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทฯ จัดทําการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหารทุกสิ้นปี โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผู้ ทําการประเมิน และนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขอความเห็นชอบ ทั้งนี้ สรุปผลการประเมินการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่ บริหารถือเป็นข้อมูลลับเฉพาะบุคคล ไม่สามารถเปิดเผยได้ สําหรับการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประจําปี 2553 ได้กําหนดเกณฑ์การประเมินฯ เป็น 3 ส่วน และให้นํ้าหนักการประเมินในแต่ละระดับในสัดส่วนที่แตกต่างกัน โดยมีคะแนนรวมเท่ากับ 100 คะแนน ดังนี้ ส่วนที่ 1 การประเมินผลจากดัชนีชี้วัดผลการดําเนินงาน (Corporate KPI ) 60 คะแนน ส่วนที่ 2 การประเมินด้านความเป็นผู้นํา (Leadership Competency ) 30 คะแนน ส่วนที่ 3 การประเมินด้านการบริหารงบประมาณและโครงการต่างๆ (Budget and Project Management ) 10 คะแนน ผลการประเมินดังกล่าวจะถูกนําไปพิจารณากําหนดอัตราการปรับขึ้นเงินเดือนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและนําเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
121
5. การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษทั ฯ ได้สง่ เสริมและสนับสนุนการฝึกอบรมและให้ความรูใ้ นเรือ่ งหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษทั ฯ ให้กบั กรรมการ กรรมการเฉพาะเรือ่ ง ผู้บริหาร เลขานุการบริษัทฯ เป็นต้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างและพัฒนาการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง และมีการพัฒนาผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมความพร้อมสําหรับการหมุนเวียนตําแหน่งภายในองค์กร รวมทั้ง เตรียมความพร้อมสําหรับการสืบทอดตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร โดยจัดให้มีการประเมินศักยภาพผู้บริหารระดับผู้ช่วยกรรมการอํานวยการ (Currently Estimated Potential: CEP ) และประเมิน ผลการปฏิบัติงานโดยใช้ KPI และ Competency Assessment 360 Degree ตามระบบ Performance Management System (PMS) ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ส่งผู้บริหารระดับผู้ช่วยกรรมการอํานวยการเข้า Executive Pool ของ ปตท. ตามโครงการ GLD (Group Leadership Development ) เพื่อรับการประเมินความสามารถ ความพร้อม จุดแข็งจุดอ่อน เป็นรายบุคคล โดยผู้ประเมินอิสระ และมีการจัดทําแผนพัฒนาผู้บริหารเฉพาะ บุคคล (Individual Development Plan: IDP ) ตามผลที่ได้รับจากการประเมินความพร้อม อีกทั้ง จัดให้มีระบบพี่เลี้ยง (Mentoring Program ) เพื่อพัฒนาความพร้อมในการปฏิบัติงานระดับผู้บริหารอาวุโส หรือตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เมื่อถึงเวลาสรรหาผู้สืบทอดตําแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัทฯ จะพิจารณาผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการสรรหาและคัดเลือกจากภายนอก หรือ ผู้บริหารระดับผู้ช่วยกรรมการ อํานวยการ หรือ ผู้บริหารระดับอาวุโสที่มีความพร้อม เข้าสู่กระบวนการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดทําเอกสารปฐมนิเทศสําหรับกรรมการใหม่ เพื่อเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการจัดปฐมนิเทศ แนะนําลักษณะประกอบธุรกิจและแนวทางการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ให้แก่กรรมการใหม่ และสนับสนุนให้กรรมการบริษัทฯ เข้ารับการ อบรมหลักสูตรกรรมการจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD ) อีกด้วย 6. การประชุมคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ จะมีการกําหนดขึ้นเป็นการล่วงหน้าในแต่ละปี เพื่อให้กรรมการสามารถจัดเวลาและเข้าร่วมประชุมได้ โดยประธานกรรมการเป็นผู้ให้ความเห็นชอบในการบรรจุวาระการประชุม โดยจะปรึกษาหารือกับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประกอบกับ การพิจารณาตามคําขอของกรรมการ ที่จะบรรจุเรื่องอื่นที่สําคัญเป็นวาระการพิจารณาในการประชุมแต่ละครั้ง โดยบริษัทฯ จะจัดส่งเอกสาร ประกอบการประชุมให้กรรมการพิจารณาล่วงหน้า เพื่อที่จะมีเวลาเพียงพอในการศึกษาพิจารณาและตัดสินใจอย่างถูกต้องในเรื่องต่างๆ ข้อบังคับของบริษัทฯ กําหนดให้คณะกรรมการจะต้องประชุมกันอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง โดยต้องมีกรรมการเข้าร่วมประชุมอย่างน้อย กึ่งหนึ่งจึงจะครบองค์ประชุม และอาจมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจําเป็น ตามแนวปฏิบัติปกติบริษัทฯ จะจัดประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ 2 เดือนต่อครั้งโดยในปี 2553 มีการจัดประชุมทั้งหมด 8 ครั้ง และมีการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่กรรมการเพื่อพิจารณาก่อน การประชุมล่วงหน้าอย่างน้อยเจ็ดวันก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจําเป็นรีบด่วน เพื่อให้กรรมการมีเวลาที่จะศึกษา พิจารณา และตัดสินใจ อย่างถูกต้องในเรื่องต่างๆ อย่างพอเพียง และสามารถจัดเวลาเข้าร่วมประชุมได้ และเพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทฯ ซึ่งในการ ประชุมทุกคราวจะมีการกําหนดวาระการประชุมที่ชัดเจน โดยในการประชุมคณะกรรมการ กรรมการทุกคนสามารถอภิปรายและแสดงความ คิดเห็นได้อย่างเปิดเผย และมีการจดบันทึกการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ผลการประชุม และความคิดเห็นของคณะกรรมการบริษัทฯ จะต้องมีความชัดเจน เพื่อใช้อ้างอิง ในปี 2553 มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง โดยการเข้าร่วมประชุม ของคณะกรรมการบริษัทฯ แต่ละครั้งมีกรรมการเข้าร่วมการประชุมครบองค์ประชุม โดยมีรายละเอียดตามตารางการเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ประจําปี 2553 รายละเอียดในหัวข้อโครงสร้างและการจัดการ หน้า 97
122
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
7. คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง คณะกรรมการบริษัทฯ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่องตามกฎหมาย คือ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน และคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ โดยผ่านกระบวนการพิจารณาสรรหาของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ทั้งนี้ประธานเจ้าหน้าที่บริหารมีบทบาทในการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ เพื่อช่วยศึกษาและพิจารณากลั่นกรองงาน ที่สําคัญ และเพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ในปีพ.ศ. 2553 คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ เป็นกรรมการอิสระทั้ง 3 ท่าน มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯ ว่าด้วยคุณสมบัติและขอบเขต การดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบกําหนดไว้ โดยจะปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบและถ่วงดุลการบริหารกิจการต่างๆ ของบริษัทฯ เพื่อให้ เกิดความถูกต้อง เป็นธรรม และเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นทุกคน สําหรับรายชื่อคณะกรรมการฯ บทบาทหน้าที่และความ รับผิดชอบ ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วในหัวข้อโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ หน้า 91-93 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จํานวน 3 ท่าน (เป็นกรรมการอิสระ 2 ท่านโดยมีประธานคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ) สําหรับรายชื่อคณะกรรมการฯ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วในหัวข้อ โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ หน้า 93-94 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ จํานวน 3 ท่าน (เป็นกรรมการอิสระ 2 ท่าน โดยมีประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการเป็นกรรมการ อิสระ) สําหรับรายชื่อคณะกรรมการฯ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วในหัวข้อโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ หน้า 94-95 กรรมการอิสระ จํานวน 9 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 64.29 ของกรรมการทั้งคณะ สิ้นสุด ณ ปี 2553 สําหรับรายชื่อคณะกรรมการฯ และคุณสมบัติ ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วใน หัวข้อโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ หน้า 86 และหั ว ข้ อ นโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ หน้ า 118-119 คณะกรรมการขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยงเครือไทยออยล์ ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ จํานวน 12 ท่าน สําหรับ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วในหัวข้อโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ หน้า 95 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเฉพาะด้าน ประกอบด้วยผู้บริหารระดับฝ่ายและพนักงานในส่วนงานที่เกี่ยวข้องตามสายงาน สําหรับ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่ได้กล่าวถึงแล้วใน หัวข้อโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ หน้า 95-96
8 9 10 11 12 13 14
7
6
3 4 5
ตําแหน่ง
กรรมการอิสระและประธานกรรมการ RCP 3/2001 กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ RCP 16/2007 นายชัยเกษม นิติสิริ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ นายอุทิศ ธรรมวาทิน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน นางสาวพวงเพชร สารคุณ กรรมการอิสระและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน นายเทวินทร์ วงศ์วานิช กรรมการและกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน นายบรรพต หงษ์ทอง กรรมการอิสระและประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการและกรรมการกํากับดูแลกิจการ นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ กรรมการอิสระและกรรมการกํากับดูแลกิจการ พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว กรรมการอิสระ นายนริศ ชัยสูตร กรรมการ พลโทธวัชชัย สมุทรสาคร กรรมการอิสระ นายสุรงค์ บูลกุล กรรมการและเลขานุการ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)
1 นายพิชัย ชุณหวชิร 2 นายมนู เลียวไพโรจน์
กรรมการ
Role of Chairman Program (RCP )
DCP 82/2006 DCP 138/2010 DCP 121/2009
DCP 14/2002 DCP 18/2002
DCP 21/2002
DCP 131/2010
DAP 32/2005
DAP 72/2008
DAP 49/2006
DCP 110/2008 DCP 30/2003 DCP 8/2001 DCP 3/2000 DCP 134/2010
Directors Accreditation Program (DAP )
Directors Certification Program (DCP )
Audit Committee Program (ACP )
FSD 19/2005 FSD 9/2010
FSD 6/2009
FSD 5/2009
Financial Statement for Directors (FSD )
ตารางสรุปการเข้าอบรมของคณะกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2553 (หลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD))
RCC 11/2010
Role of Compensation Committee (RCC )
น โ ย บ า ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร 123
124
ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ
การควบคุมภายใน
ของบริษัทฯ บริษัทฯ เชื่อมั่นว่าระบบการควบคุมภายในที่ดีจะช่วยสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริหารขององค์กร ว่าการบริหารและการปฏิบัติงานจะสามารถ บรรลุเป้าหมาย และก่อให้เกิดผลลัพธ์ของการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้ให้ความสําคัญในด้านการ กํากับดูแลให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดี โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นกรรมการอิสระทําหน้าที่สอบทานระบบการ ควบคุมภายในให้มีความเพียงพอและเหมาะสม มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการดําเนินงาน ทั้งในด้านการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และคุ้มค่า ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ซํ้าซ้อน ลดความเสี่ยงหรือผลเสียหายในด้านต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น มีข้อมูลและรายงานทางการเงิน ที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ รวมทั้งการปฏิบัติตามนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ได้มอบหมายให้ผู้บริหารของ ทุกหน่วยงานมีหน้าที่กําหนดการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมสําหรับการดําเนินงาน รวมทั้งตรวจสอบระบบการทํางานภายใน ส่วนงานของตนให้มีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุนให้การดําเนินงานของบริษัทฯ บรรลุตามวัตถุประสงค์ บริษัทฯ ถือเกณฑ์พิจารณาระดับความเพียงพอของการควบคุมภายในอิงตามมาตรฐานสากล (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission: COSO) โดยแผนกตรวจสอบระบบงานภายในมีหน้าทีใ่ นการตรวจสอบและประเมินความเพียงพอและประสิทธิผล ของการควบคุมภายในของกระบวนการสําคัญทางธุรกิจ และตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามระบบเพือ่ นําไปสูก่ ารปรับปรุงมาตรฐานการควบคุมภายใน ของเครือไทยออยล์ และรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง ผลการประเมิน สรุปได้ดังนี้
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment) บริษัทฯ ได้ดําเนินการเพื่อส่งเสริมกิจกรรมด้านสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี ดังนี้ กําหนดนโยบายและกลยุทธ์การดําเนินงานชัดเจน และถ่ายทอดลงสู่พนักงานทุกระดับเพื่อให้การปฏิบัติงานมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน >> กําหนดโครงสร้างองค์กรที่เหมาะสม มีสายการบังคับบัญชาและความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานภายในที่ชัดเจนสอดคล้องกับเป้าหมาย และลักษณะการดําเนินธุรกิจของบริษัทในเครือไทยออยล์ >> กําหนดคุณลักษณะงานเฉพาะตําแหน่ง (Job Description ) ของบุคลากรทุกตําแหน่งหน้าที่ และระดับความรู้ ความสามารถ และทักษะที่ จําเป็นต้องใช้ในแต่ละงานอย่างชัดเจน >> มีการประเมินความรู้ ความชํานาญ และผลการปฏิบัติงานของพนักงานอย่างชัดเจน รวมทั้งมีการจัดทําแผนพัฒนา และให้การฝึกอบรม พนักงานทุกระดับ (Individual Development Plan : IDP ) เพื่อให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ >> กําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีเป็นลายลักษณ์อักษร และจัดทําคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance Manual ) และจรรยาบรรณเครือไทยออยล์ (Code of Conduct Thaioil Group ) ซึ่งในปี 2553 บริษัทฯ ได้ปรับปรุงคู่มือฯ ฉบับใหม่ เพื่อให้สอดคล้อง กับกฎเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ที่มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไป และจัดส่งให้พนักงานทุกคนเพื่อศึกษาทําความเข้าใจ และใช้เป็นแนวทาง ในการปฏิบัติตามนโยบายที่กําหนด >>
2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจภายใต้การเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่ ส่งผลกระทบโดยตรงและโดยอ้อมต่อองค์กร บริษัทฯ จึงได้นําระบบการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐานสากลมาประยุกต์ใช้ ซึ่งประกอบด้วย การดําเนินการทบทวน ติดตามผลการบริหารความเสี่ยงของทุกหน่วยงานในเครือไทยออยล์อย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับสถานการณ์ที่ เปลีย่ นแปลง พร้อมทัง้ กําหนดผูร้ บั ผิดชอบและจัดทํามาตรการรองรับอย่างครบถ้วน มีการรายงานผลการบริหารความเสีย่ งและความก้าวหน้า ต่อผู้บริหารเป็นประจําอย่างต่อเนื่อง และดําเนินการจัดทําระบบฐานข้อมูลใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติของกระบวนการบริหาร ความเสี่ยง รวมทั้งสะดวกต่อการใช้งานสําหรับพนักงานทั้งเครือไทยออยล์ นอกจากนี้ ยังมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมงานบริหารความเสี่ยง
ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ
125
และจัดให้มีผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาดําเนินการประเมินระดับคุณภาพงานบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ จากการดําเนินการด้าน การบริหารความเสีย่ งดังกล่าว ทําให้บริษทั ฯ มีความมัน่ ใจว่าบริษทั ฯ จะสามารถบรรลุผลการดําเนินงานตามแผนธุรกิจ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และดัชนีวดั ผลการดําเนินงาน (Corporate KPIs ) ตามทีไ่ ด้กาํ หนดโดยสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามภาพรวมของเครือไทยออยล์ ที่กําหนดไว้ และพนักงานมีการนําแนวทางการบริหารความเสี่ยงมาปฏิบัติอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง จนกระทั่งทําให้การบริหารความเสี่ยง เกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กรตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงของเครือไทยออยล์ สําหรับรายละเอียดงานด้านการบริหารความเสี่ยง ได้แสดงไว้ ในหัวข้อเรื่อง “การบริหารความเสี่ยงองค์กร” หน้า 106
3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) บริษัทฯ ได้กําหนดกิจกรรมการควบคุมทั้งในลักษณะการป้องกันการผิดพลาด (Preventive Control ) และการควบคุมเพื่อค้นพบข้อผิดพลาด (Detective Control) ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในทางปฏิบตั ิ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้การดําเนินกิจการของบริษทั ฯ เป็นไปอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงต่อความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากกิจกรรมการดําเนินงาน ดังนี้ การกําหนดนโยบาย แผนปฏิบัติงาน แผนงบประมาณ ระเบียบวิธีปฏิบัติงาน ไว้ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร จัดแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบงานที่สําคัญไว้ชัดเจนเพื่อลดความเสี่ยงจากความผิดพลาดหรือความเสียหาย >> กระจายอํานาจความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานแต่ละระดับไว้ชัดเจนในระเบียบกรอบอํานาจอนุมัติรายการธุรกิจ (Corporate Authorization Procedures) เพื่อให้มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม และมีความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน >> มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบเป้าหมายที่กําหนดกับผลการปฏิบัติงานจริงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบปัญหาและหาแนวทางแก้ไข >> มีการควบคุมทรัพย์สินที่มีตัวตนและเอกสารสําคัญต่างๆ เช่น เครื่องจักรในหน่วยผลิต อุปกรณ์เครื่องใช้สํานักงาน เงินสด โฉนดที่ดิน และเอกสารสิทธิที่สําคัญอื่นๆ โดยให้ผู้รับผิดชอบในการดูแลทรัพย์สินแต่ละหมวดจัดทําทะเบียนคุมทรัพย์สิน และมีการสุ่มตรวจนับ ความมีอยู่จริง >> >>
4. ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication) บริษัทฯ ให้ความสําคัญต่อระบบสารสนเทศและการสื่อสาร โดยจัดให้มีกระบวนการประมวลผลข้อมูลอย่างเป็นระบบ และควบคุมระบบ สารสนเทศทั้งในด้านการเข้าถึงข้อมูล และการนําข้อมูลไปใช้ในทางที่ไม่ควร นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดให้มีระบบข้อมูลและช่องทางการสื่อสาร ทั้งภายในและภายนอกองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านความครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา เพียงพอต่อการตัดสินใจ และ ปฏิบัติตามกฎหมาย โดยบริษัทฯ ได้ดําเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และจัดเก็บข้อมูลจราจร ทางคอมพิวเตอร์ตามประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในปี 2553 บริษัทฯ ยังได้เริ่มทําโครงการ Business Process Transformation (BPT ) โดยปรับปรุงระบบ Enterprise Resource Planning (ERP ) ของบริษัทฯ จาก SAP Version 4.7 เป็น SAP ECC Version 6.0 โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการดังต่อไปนี้ เพื่อจัดให้มีการปรับปรุงกระบวนการทํางานใหม่ให้มีประสิทธิภาพ และรองรับการขยายธุรกิจ และเชื่อมโยงการทํางานกับบริษัทในเครือ ไทยออยล์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และเปลี่ยนระบบซ่อมบํารุงรักษาเครื่องจักรโดยในปัจจุบันใช้ระบบ PACER >> นําระบบ SAP ECC Version 6.0 มาทดแทน SAP Version 4.7 ซึ่งใช้มาตั้งแต่ปี 2546 จนถึงปัจจุบัน และจะหมดการให้บริการแก้ไขปัญหา ในปี 2555 >> ปรับปรุงระบบประมวลผลทางบัญชีและระบบงานสารสนเทศหลักเพื่อรองรับรูปแบบรายงานบัญชีตามมาตรฐานบัญชี IFRS (International Financial Reporting Standard) ในปี 2554 >>
126
ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ
ทั้งนี้ โครงการ BPT ได้เริ่มต้นตั้งแต่เดือนเมษายน 2553 และจะสามารถเปิดใช้ระบบในขั้นแรกได้ภายในวันที่ 1 มกราคม 2554 และคาดว่า จะแล้วเสร็จทั้งโครงการภายในสิ้นเดือนมิถุนายน 2554
5. การติดตามและประเมินผล (Monitoring & Evaluation) บริษัทฯ มีกระบวนการติดตามผลการดําเนินงานเพื่อช่วยสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายการดําเนินธุรกิจ ตามเป้าหมาย KPI ที่ตั้งไว้ทั้งระดับ องค์กร ระดับฝ่าย และระดับแผนก ใน 4 มุมมอง ได้แก่ มุมมองด้านการเงิน ด้านผู้มีส่วนได้เสีย ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้ ตามแนวทางของระบบ Balanced Scorecard บริษทั ฯ ได้ตดิ ตามผลอย่างต่อเนือ่ งจากการรายงานในทีป่ ระชุมฝ่ายจัดการทีจ่ ดั เป็นประจําทุกเดือน นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัด Operational Excellence Workshop ทุกไตรมาส เพื่อขับเคลื่อนให้การดําเนินการในทุกฝ่ายโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการตลาด การเงิน และการผลิต เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นเลิศ สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของบริษัทฯ โดยดําเนินการตาม 4 ขัน้ ตอนในวงจร “Plan -Do -Check -Act ” ซึง่ ประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบตั ิ การติดตาม/ตรวจสอบ และการทบทวน นอกจากนี้ การวางแผนการตรวจสอบประจําปีโดยแผนกตรวจสอบระบบงานภายในจะเน้นการตรวจสอบให้ครอบคลุมกระบวนการปฏิบตั งิ าน ที่มีความเสี่ยงสําคัญ ประเด็นสําคัญต่างๆ ที่ตรวจพบ จะรายงานให้ผู้บริหารของหน่วยรับตรวจทราบเพื่อการปรับปรุงแก้ไขงาน เพื่อให้บริษัทฯ มั่นใจว่าหน่วยงานต่างๆ มีการปฏิบัติงานในเรื่องการควบคุมภายในอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ และมีกิจกรรมควบคุมที่เพียงพอ เหมาะสม ทั้งนี้ จะมีการรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบและผู้บริหารระดับสูงทราบ สําหรับการตรวจติดตาม และ ประเมินผลจากภายนอก จะดําเนินการตามมาตรฐาน ISO 9001, ISO 14001 และ OHSAS /TIS 18001
6. การสอบทานการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายในปี 2553 ซึ่งโดยภาพรวมสรุปได้ว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่มี ประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอที่จะสามารถป้องกันหรือลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ซึ่งสอดคล้องกับความเห็นของผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ
ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ
127
ข้อมูลทั่วไปของ
บริษัทฯ และบริษัทในเครือ ข้อมูลทั่วไปของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ชื่อย่อ เลขทะเบียนบริษัทฯ
TOP
ประเภทธุรกิจ
ประกอบธุรกิจโรงกลั่นนํ้ามันที่มีกระบวนการผลิตที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูง เพื่อผลิตและจําหน่ายนํ้ามัน ปิโตรเลียมสําเร็จรูปป้อนตลาดในประเทศเป็นส่วนใหญ่ ทั้งยังขยายการลงทุนให้ครอบคลุมการผลิตผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมี นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน เอทานอล ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์สารทําละลายและเคมีภัณฑ์ รวมถึง การลงทุนในธุรกิจไฟฟ้า ตลอดจนธุรกิจขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีทางเรือ ธุรกิจขนส่งผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมสําเร็จรูปทางท่อ และธุรกิจให้คําปรึกษาทางด้านพลังงาน
ทุนจดทะเบียน
20,400,278,730 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดจํานวน 2,040,027,873 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท
จํานวนพนักงาน
877 คน (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553)
สถานที่ตั้ง สํานักงานกรุงเทพฯ
0107547000711
เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2797-2999, 0-2797-2900, 0-2299-0000 โทรสาร : 0-2797-2970
สํานักงานศรีราชา และโรงกลั่นนํ้ามัน
42/1 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท กม.ที่ 124 ตําบลทุ่งสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : 0-3840-8500, 0-3835-9000 โทรสาร : 0-3835-1554, 0-3835-1444
เว็บไซต์
http://www .thaioilgroup.com
แผนกนักลงทุนสัมพันธ์
โทรศัพท์ : 0-2797-2961 E -mail : ir @thaioilgroup.com
0105551116050
0105551116491
บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0003, 0-2797-2993 โทรสาร : 0-2797-2983
0105539103288
0107539000090
เลขทะเบียน
บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970
ธุรกิจปิโตรเคมี บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด 105/12 หมู่ที่ 2 ถนนสุขุมวิท ตําบลทุ่งสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : 0-3835-1317-9, 0-3835-1878 โทรสาร : 0-3835-1320
ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970
ชื่อและที่อยู่บริษัท
ข้อมูลทั่วไปของบริษัทที่ไทยออยล์ถือหุ้น
2,572,414,160
1,757,890,730
จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์์ สารทําละลายและ เคมีภัณฑ์
1,200,000,000
สามัญ
สามัญ
สามัญ
สามัญ
120,000,000
125,000,000
257,241,416
175,789,073
10
10
10
10
ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น จํานวนหุ้น มูลค่าหุ้น (บาท) (จําหน่ายแล้ว) (บาท/หุ้น)
ลงทุนในธุรกิจ 1,250,000,000 ผลิตภัณฑ์สารทําละลาย และเคมีภัณฑ์
ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี อะโรมาติกส์ขั้นต้น
ผลิตและจําหน่าย นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน
ประเภทธุรกิจ
100 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์)
100
100
100
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
128
ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ
0105527011880
เลขทะเบียน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970
ธุรกิจผลิตไฟฟ้า บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970 0105539126962
0105539103296
บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ (เวียดนาม) 472043000745 ไลอะบิลิตี้ จํากัด TOP Solvent (Vietnam) LLC. Go Dau Industrial Zones, Long Thanh District, Dong Nai Province, Vietnam โทรศัพท์ : +84-83827-9030-4 โทรสาร : +84-83827-9035
บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0003, 0-2797-2993 โทรสาร : 0-2797-2983
ชื่อและที่อยู่บริษัท
180,000,000
ดําเนินธุรกิจผู้ผลิต ไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP )
ดําเนินธุรกิจผู้ผลิต ไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP )
1,771,000,000
2,810,000,000
สามัญ
สามัญ
สามัญ
สามัญ
177,100,000
281,000,000
17,800,000
1,800,000
10
10
18.5
100
ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น จํานวนหุ้น มูลค่าหุ้น (บาท) (จําหน่ายแล้ว) (บาท/หุ้น)
จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ 178,000,000,000 สารทําละลายและ (VND ) เคมีภัณฑ์ในประเทศ หรือ เวียดนาม 330,000,000
ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์สารทําละลาย ประเภทไฮโดรคาร์บอน
ประเภทธุรกิจ
24
55
100 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ท็อป โซลเว้นท์)
80.52 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ท็อป โซลเว้นท์)
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ 129
บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970
ธุรกิจอื่นๆ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2299-0000, 0-2797-2999 โทรสาร : 0-2797-2970
บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด เลขที่ 2/8 หมู่ 11 ถนนลําลูกกา ตําบลลาดสวาย อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150 โทรศัพท์ : 0-2991-9130-59 โทรสาร : 0-2533-2186
ธุรกิจขนส่งนํ้ามัน บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด เลขที่ 2/84 หมู่ที่ 15 ถนนทางรถไฟสายเก่า แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : 0-2331-0080-5 โทรสาร : 0-2331-0086
ชื่อและที่อยู่บริษัท
ธุรกิจที่ปรึกษา ด้านพลังงาน
ลงทุนในธุรกิจ เอทานอล
0105551121754
บริการขนส่งผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมสําเร็จรูป ทางท่อ
ขนส่งนํ้ามันปิโตรเลียม และผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีทางเรือ
ประเภทธุรกิจ
0105550078006
0105534002696
0105541047578
เลขทะเบียน
670,000,000
40,000,000
8,479,000,000
630,000,000
สามัญ
สามัญ
สามัญ
สามัญ
67,000,000
4,000,000
84,790,000
63,000,000
10
10
100
10
ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น จํานวนหุ้น มูลค่าหุ้น (บาท) (จําหน่ายแล้ว) (บาท/หุ้น)
100
100
9
100
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
130
ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ
0105539017543
0105549129891
0105549076496
บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด เลขที่ 191/18-25 อาคารซีทีไอ ทาวเวอร์ ชั้น 26-27 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2656-7761-3 โทรสาร : 0-2251-1138
บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 4-5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2140-2000 โทรสาร : 0-2140-2999
เลขทะเบียน
บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด 68 ซอยสันติภาพ ถนนทรัพย์ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0-2233-0444-5 โทรสาร : 0-2233-0441
ชื่อและที่อยู่บริษัท
ให้บริการด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
ผลิตเอทานอลจาก นํ้าอ้อย
ผลิตเอทานอลจาก มันสําปะหลัง
ประเภทธุรกิจ
150,000,000
675,000,000
800,000,000
67,500,000
15,000,000
สามัญ
8,000,000
สามัญ
สามัญ
10
10
100
ทุนจดทะเบียน ชนิดของหุ้น จํานวนหุ้น มูลค่าหุ้น (บาท) (จําหน่ายแล้ว) (บาท/หุ้น)
20
30 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ เอทานอล)
50 (ถือหุ้นผ่าน บจ. ไทยออยล์ เอทานอล)
สัดส่วน การถือหุ้น (%)
ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ 131
132
ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ใ น เ ค รื อ
บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2888 (Call center ) นายทะเบียนหุ้นกู้และตัวแทนชําระเงิน ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) Head of Marketing & Sales Investor Services เลขที่ 393 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0-2230-6295, 0-2230-5647 โทรสาร : 0-2230-6093 ผู้สอบบัญชี บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ชั้น 22 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ 195 ถนนสาธรใต้ กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 0-2677-2000 โทรสาร : 0-2677-2222
อืน่ ๆ (กรณีการแจ้งใบหุน้ สูญหาย / การเปลีย่ นแปลงข้อมูลผูถ้ อื หุน้ และงานให้บริการผู้ถือหุ้นอื่นๆ)
Counter Service บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ชั้น 1 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2888 (Call center ) หรือ ส่วนบริการผู้ออกหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 2/7 หมู่ที่ 7 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 0-2596-9302-10 โทรสาร : 0-2832-4994-6
133
ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ
ลักษณะ
การประกอบธุรกิจ บริษทั ฯ เป็นผูป้ ระกอบธุรกิจการกลัน่ และจําหน่ายนํา้ มันปิโตรเลียมทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในประเทศ ซึง่ ก่อตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2504 เป็นโรงกลัน่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ สูงสุดแห่งหนึง่ ในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ในปัจจุบนั มีกาํ ลังการผลิตนํา้ มันปิโตรเลียม 275,000 บาร์เรลต่อวันซึง่ เป็นธุรกิจหลักของบริษทั ฯ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังประกอบธุรกิจอืน่ ๆ ในบริษทั ย่อย ซึง่ ประกอบด้วย ธุรกิจการผลิตสารพาราไซลีน ธุรกิจการผลิตนํา้ มันหล่อลืน่ พืน้ ฐาน ธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีทางเรือและทางท่อ ธุรกิจพลังงานทดแทน ธุรกิจสารทําละลาย และธุรกิจที่ปรึกษาด้านพลังงาน
โครงสร้างธุรกิจของเครือไทยออยล์ ธุรกิจการกลั่นนํ้ามัน
ธุรกิจปิโตรเคมีและนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน
ธุรกิจไฟฟ้า J-Power 19%
100%
บมจ. ไทยออยล์ (TOP) กําลังการกลั่น : 275,000 บาร์เรลต่อวัน
100%
บจ. ไทยพาราไซลีน (TPX) สารอะโรมาติกส์ กําลังการผลิต : พาราไซลีน 489,000 ตัน /ปี มิกซ์ไซลีน 90,000 ตัน/ปี เบนซีน 177,000 ตัน /ปี โทลูอีน 144,000 ตัน /ปี รวม 900,000 ตัน /ปี
ปตท. 26%
55%
บมจ. ไทยลู้บเบส (TLB) นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน กําลังการผลิต : นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน 270,000 ตัน /ปี ยางมะตอย 400,000 ตัน /ปี
ธุรกิจขนส่งและธุรกิจอื่นๆ
บจ. ไทยออยล์ เพาเวอร์ (TP) ขายไฟฟ้าและไอนํ้า ให้กลุ่ม โครงการผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายเล็ก โรงไฟฟ้าพลังงาน ความร้อนร่วม (ก๊าซธรรมชาติ) ไฟฟ้า 118 เมกะวัตต์ ไอนํ้า 168 ตัน /ชั่วโมง
100%
100%
บจ. ไทยออยล์มารีน (TM) เรือขนส่งนํ้ามัน / ปิโตรเลียม กําลังการผลิต : 152,500 ตันบรรทุก 9%
บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ ผ่าน บจ. ท็อป โซลเว้นท์ (TS) 80.52%
จัดจําหน่ายสาร ทําละลายในประเทศไทย 100%
บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ (SAKC) กําลังการผลิต : 100,000 ตัน /ปี
บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) (IPT)
ท่อขนส่งปิโตรเลียม กําลังการขนส่ง : 26,000 ล้านลิตร/ปี
โครงการผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายใหญ่ โรงไฟฟ้าพลังงาน ความร้อนร่วม (ก๊าซธรรมชาติ) ไฟฟ้า 700 เมกะวัตต์
บจ. ท็อป โซลเว้นท์ (เวียดนาม)
บจ. พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ (PTT ICT)
จัดจําหน่ายสาร ทําละลายในเวียดนาม กลุ่ม ปตท. 80%
ธุรกิจหลัก
เสริมสร้างรายได้
เพิ่มความมั่นคง ในรายได้
ผาแดง 35%
30%
บจ. แม่สอดพลังงาน สะอาด (MCE) เอทานอลจากอ้อย กําลังการผลิต : 200,000 ลิตร/วัน บจ. ท่อส่ง ปิโตรเลียมไทย (THAP)
ปตท. 20% ไทยออยล์ 24%
กลุ่มมิตรผล 35%
อื่นๆ 60% ปตท. 31%
56% 100%
บจ. ไทยออยล์ เอทานอล (TET)
20%
50% บจ. ทรัพย์ทิพย์ (SAP) เอทานอลจาก มันสําปะหลัง กําลังการผลิต : 200,000 ลิตร/วัน 100%
บจ. ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ (TES) ดําเนินธุรกิจที่ปรึกษา ด้านพลังงาน
สนับสนุนด้านการตลาด และเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงาน
134
โ ค ร ง ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้
โครงสร้าง
รายได้ บริษัทฯ มีรายได้จากธุรกิจกลั่นนํ้ามันเป็นหลัก นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีรายได้จากธุรกิจกลั่นนํ้ามันหล่อลื่น ธุรกิจปิโตรเคมี ธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี และอื่นๆ โดยมีรายละเอียดปรากฏตามตารางแสดงรายได้ดังต่อไปนี้ (จํานวนเงิน หน่วย: ล้านบาท)
ดําเนิน % การถือหุน้ 2551 (5) การโดย ของบริษัทฯ จํานวนเงิน ก. ขายสุทธิ 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน TOP 2. ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน TLB (4) TPX/Thaioil Solvent 3. ธุรกิจปิโตรเคมี 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า TP/IPT TM 5. ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 6. อื่นๆ TES/TET หัก รายการระหว่างกัน รวม ข. ค่าความนิยมติดลบ จากการซื้อธุรกิจ 1. อื่นๆ
TES/TET
ค. กําไรจากอนุพันธ์เพื่อประกัน ความเสี่ยงสุทธิ (1) 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน TOP (4) 2. ธุรกิจปิโตรเคมี TPX/Thaioil Solvent รวม ง. กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ (2) 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน TOP 2. ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน TLB 3. ธุรกิจปิโตรเคมี (4) TPX/Thaioil Solvent 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า TP/IPT TM 5. ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 6. อื่นๆ TES/TET รวม
รอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2553 % จํานวนเงิน % จํานวนเงิน
%
100 100/100 55/24 100
399,735 22,213 52,606 14,353 984
99 6 13 4 -
274,325 16,981 49,365 14,231 968
95 6 17 5 -
310,027 20,523 54,295 7,406 1,045
96 6 17 2 -
100/100
(90,766) 399,125
(23) 99
25 (71,772) 284,123
(25) 98
740 (75,645) 318,391
(23) 98
100/100
-
-
-
-
77
-
100/100
-
-
-
-
548 (20) 528
-
100 100/100 55/24 100
-
-
1,480 3 17 72 3
1 -
2,620 8 (27) 122 (2)
1 -
100/100
-
-
1,575
1
1 2,722
1
โ ค ร ง ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้
135
(จํานวนเงิน หน่วย: ล้านบาท)
ดําเนิน % การถือหุน้ 2551 (5) การโดย ของบริษัทฯ จํานวนเงิน จ. รายได้อื่น (3) 1. ธุรกิจกลั่นนํ้ามัน TOP 2. ธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน TLB (4) 3. ธุรกิจปิโตรเคมี TPX/Thaioil Solvent 4. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า TP/IPT 5. ธุรกิจขนส่งนํ้ามัน TM และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 6. อื่นๆ TES/TET หัก รายการระหว่างกัน รวม รวมรายได้ (ก – จ)
รอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2553 % จํานวนเงิน % จํานวนเงิน
%
100 100/100 55/24 100
2,977 159 285 63 16
1 -
2,331 151 329 41 10
1 -
3,059 121 325 680 3
1 -
100/100
(1,225) 2,275 401,400
1 100
(1,167) 1,695 287,393
1 100
11 (1,565) 2,634 324,352
1 100
หมายเหตุ (1) ปี 2551 และ 2552 ขาดทุนจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยงสุทธิ (2) ปี 2551 ขาดทุนสุทธิจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (3) ได้แก่ ดอกเบี้ยรับ เงินชดเชยภาษีสินค้าส่งออก รายได้จากการให้บริการแก่บริษัทในเครือ ค่าเช่าที่ดิน ค่าบริการใช้ทุ่นผูกเรือนํ้าลึก ค่าเช่าถังนํ้ามัน ค่าบริการใช้สถานีจ่าย นํ้ามันทางรถ เงินชดเชยนํ้ามันมาตรฐานยูโร IV เป็นต้น (4) ธุรกิจปิโตรเคมี ประกอบด้วย ธุรกิจผลิตสารพาราไซลีนและผลิตภัณฑ์โซลเว้นท์ (5) TOP หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) TLB หมายถึง บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) TPX หมายถึง บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด TP หมายถึง บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด IPT หมายถึง บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อม โดย TP ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 56 และบริษัทฯ ถือหุ้นทางตรงอีกร้อยละ 24 TM หมายถึง บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด Thaioil Solvent หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด TES หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ จํากัด TET หมายถึง บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด
136
คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น
คําอธิบายและการวิเคราะห์
ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน ความต้องการใช้นํ้ามันโลกกลับมาขยายตัวอีกครั้งในปี 2553 ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและกลุ่มประเทศโอเปคยังคงรักษาระดับ กําลังการผลิตไว้ ประกอบกับอุปทานของธุรกิจนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานมีอยู่จํากัด ในขณะที่อุปสงค์ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากความต้องการใช้ของ ประเทศจีนที่เพิ่มขึ้นเป็นหลัก ทําให้ราคานํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้บริษัทฯ มีกําไรขั้นต้นจากการผลิตของ กลุ่ม (Gross Integrated Margin ) ไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกนํ้ามันในปี 2553 อยู่ที่ 5.7 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้น 1.4 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลเทียบกับปีก่อน
ผลการดําเนินงาน – งบการเงินรวม กําไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มไม่รวมผลกระทบ จากสต๊อกนํ้ามัน (1) กําไรขั้นต้นจากการผลิตของกลุ่มรวมผลกระทบ จากสต๊อกนํ้ามัน (1) รายได้จากการขาย
EBITDA กําไรสุทธิ (2) กําไรสุทธิต่อหุ้น
2553
2552
เปลี่ยนแปลง
เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
5.7
4.3
+1.4
เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท บาท
6.5 318,391 17,432 8,999 4.41
6.1 284,123 21,393 12,062 5.91
+0.4 +34,268 -3,961 -3,063 -1.50
หมายเหตุ (1) เป็นกําไรขั้นต้นจากการผลิตรวมของบริษัทฯ (TOP ) บจ.ไทยพาราไซลีน (TPX ) และ บมจ.ไทยลู้บเบส (TLB ) (2) หากไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกนํ้ามัน ในปี 2553 จะมีกําไรสุทธิเท่ากับ 7,042 ล้านบาท และในปี 2552 มีกําไรสุทธิ 5,651 ล้านบาท
บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายจํานวน 318,391 ล้านบาทในปี 2553 เพิ่มขึ้น 34,268 ล้านบาทจากปีก่อน เนื่องจากระดับราคา ที่เพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม ราคาปิดของนํ้ามันดิบดูไบ ณ สิ้นปี 2553 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสิ้นปีก่อน 14 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในขณะที่ ราคาปิดของปี 2552 เพิ่มขึ้นจากสิ้นปีก่อน 23 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่งผลให้ผลกระทบจากสต๊อกนํ้ามันในปี 2553 ตํ่ากว่าปี 2552 ทําให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยมี EBITDA จํานวน 17,432 ล้านบาท ลดลง 3,961 ล้านบาทจากปีก่อน มีกําไรสุทธิ 8,999 ล้านบาท ลดลง 3,063 ล้านบาทจากปีก่อน และมีกําไรต่อหุ้นในปี 2553 อยู่ที่ 4.41 บาท
ผลการดําเนินงานแยกรายบริษัท ในปี 2553 บริษัทฯ (TOP ) มีรายได้จากการขายจํานวน 310,027 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 35,702 ล้านบาทจากปีก่อนเนื่องจากราคานํ้ามันปรับตัว สูงขึ้น โดยราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ยอยู่ที่ 78 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับเพิ่มขึ้น 16 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลจากปีก่อน และมี EBITDA จํานวน 8,818 ล้านบาท นอกจากนี้ TOP ยังมีกําไรจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยงสุทธิ 548 ล้านบาท กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ 2,620 ล้านบาท ต้นทุนทางการเงิน 1,644 ล้านบาทและภาระภาษีเงินได้ 1,733 ล้านบาท ดังนั้น TOP มีกําไรสุทธิ (ไม่รวมเงินปันผลรับ) 4,364 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,083 ล้านบาทจากปีก่อน
คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น
137
บจ. ไทยพาราไซลีน (TPX ) มีรายได้จากการขายเท่ากับ 48,378 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,810 ล้านบาทจากปีก่อนตามระดับราคาของผลิตภัณฑ์ ที่ปรับตัวสูงขึ้น ในขณะที่ Product to Feed Margin ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 112 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เนื่องมาจากตลาดอะโรมาติกส์มี อุปทานล้นตลาดทําให้ราคาลดลงเป็นอย่างมาก ก่อนที่จะเริ่มฟื้นตัวในช่วงครึ่งหลังของปี อีกทั้งราคาวัตถุดิบที่ปรับตัวสูงขึ้นมาก ส่งผลให้มี EBITDA จํานวน 4,348 ล้านบาท โดยมีต้นทุนทางการเงิน 92 ล้านบาท และมีภาระภาษีเงินได้ 457 ล้านบาท ส่งผลให้มีกําไรสุทธิ 2,697 ล้านบาท ลดลง 4,394 ล้านบาทจากปีก่อน บมจ. ไทยลู้บเบส (TLB ) มีรายได้จากการขาย 20,524 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3,543 ล้านบาท จากความต้องการใช้นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานได้ ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับโรงกลั่นนํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานในภูมิภาค เช่น อินโดนีเซีย และไต้หวัน ประสบปัญหาและต้องหยุดผลิต ทําให้ระดับราคานํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานปรับตัวเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 36 นอกจากนี้ EBITDA ยังเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 2,560 ล้านบาท และเมื่อรวม ภาระภาษีเงินได้ 661 ล้านบาท ทําให้ TLB มีกําไรสุทธิ 1,538 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 532 ล้านบาทจากปีก่อน บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) (IPT ) มีรายได้จากการขายจํานวน 3,588 ล้านบาท เนื่องจาก IPT ได้หยุดดําเนินการผลิตเพื่อซ่อมแซม เครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ากังหันไอนํา้ ทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุตง้ั แต่วนั ที่ 27 เมษายน 2553 และสามารถกลับมาดําเนินการผลิตได้อกี ครัง้ ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 โดยมีค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม 982 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม IPT ได้รับชดเชยค่าสินไหมทดแทนจากเหตุการณ์ดังกล่าวจากบริษัท ประกันภัย ทําให้ IPT มีกําไรสุทธิ 27 ล้านบาท บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ (TP ) มีรายได้จากการขายและ EBITDA เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 3,824 ล้านบาท และ 620 ล้านบาทตามลําดับ มีภาระภาษี เงินได้ 106 ล้านบาท ส่งผลให้ TP มีกําไรสุทธิ 286 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 46 ล้านบาทเมื่อเทียบกับปีก่อน นอกจากนี้ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) (TOP ) ได้ผ่านการพิจารณาและคัดเลือกจาก กฟผ. ให้เป็นผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก ประเภทสัญญา Firm ระบบ cogeneration พ.ศ. 2553 จํานวน 2 โครงการ โดยมีขนาดกําลังการผลิตไฟฟ้ารวม 220 เมกะวัตต์ (โดย กฟผ. จะรับซื้อที่ 180 เมกะวัตต์) และโรงไฟฟ้าฯ มีสถานที่ตั้งอยู่ที่โรงกลั่นไทยออยล์ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี บจ. ไทยออยล์มารีน (TM ) ได้รับมอบเรือไทยออยล์ 12 เรือขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมขนาดประมาณ 96,000 ตันบรรทุกเข้ามาประจํากองเรือ และเริ่มดําเนินการเชิงพาณิชย์ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2553 เป็นต้นมา ทําให้รายได้จากการให้บริการเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 1,045 ล้านบาท อย่างไร ก็ตาม EBITDA กลับปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 235 ล้านบาทเนื่องจาก TM มีค่าใช้จ่ายซ่อมบํารุงเรือเพิ่มขึ้น ดังนั้นในปี 2553 TM จึงมีกําไรสุทธิ 6 ล้านบาท ลดลง 20 ล้านบาทเมื่อเทียบกับปีก่อน บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ (Thaioil Solvent) มีอตั ราการผลิตสารทําละลาย 93% เพิม่ ขึน้ 16% จากปีกอ่ น โดยมีรายได้จากการขายสารทําละลาย 7,435 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,863 ล้านบาท และมี EBITDA 493 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 115 ล้านบาท โดยมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 120 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 108 ล้านบาทจากปีก่อน เมื่อรวมค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานและภาระภาษีเงินได้ ทําให้ Thaioil Solvent มีกําไรสุทธิ 124 ล้านบาท ลดลง 33 ล้านบาทเมื่อเทียบกับปีก่อน บจ. ไทยออยล์ เอทานอล (TET ) มีรายได้จากการลงทุนและ EBITDA จํานวน 703 ล้านบาท และ 163 ล้านบาท ตามลําดับ โดยมีส่วนแบ่ง ขาดทุนจากการลงทุนในบริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด จํานวน 72 ล้านบาท ทั้งนี้จากการลงทุนในบริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด ในเดือน มิถุนายน 2553 ทําให้ TET รับรู้ค่าความนิยมติดลบจากการซื้อธุรกิจ (Negative Goodwill ) เป็นรายได้จํานวน 77 ล้านบาท เมื่อรวมค่าใช้จ่าย ดําเนินงาน ต้นทุนทางการเงิน และภาระภาษีเงินได้แล้ว ส่งผลให้มีกําไรสุทธิ 37 ล้านบาท
138
คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น
วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน - งบการเงินรวม ฐานะทางการเงิน (ล้านบาท) สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ
31 ธ.ค. 53
31 ธ.ค. 52
+/-
146,607 69,770 76,837
137,745 66,058 71,687
+8,862 +3,712 +5,150
สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 146,607 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากวันที่ 31 ธันวาคม 2552 จํานวน 8,862 ล้านบาท สาเหตุหลักจากเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นและสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 69,770 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากวันที่ 31 ธันวาคม 2552 จํานวน 3,712 ล้านบาท เนื่องจากหนี้สินหมุนเวียนและเงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น ในเดือนเมษายน บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน แก่นักลงทุนแบบเฉพาะเจาะจงไม่เกิน 10 ราย จํานวน 3,000 ล้านบาท มีอายุ 12 ปี เพื่อนํามาใช้ในการลงทุนและเพื่อเพิ่มเสถียรภาพและสภาพคล่องทางการเงินให้แก่บริษัทฯ ในระยะยาว ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิรวมทั้งสิ้น 76,837 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 5,150 ล้านบาท จากวันที่ 31 ธันวาคม 2552 สาเหตุหลักจากผลการดําเนินงานที่มีกําไรสุทธิ 8,999 ล้านบาท หักเงินปันผลจ่ายจํานวนรวม 4,419 ล้านบาท
วิเคราะห์กระแสเงินสดและอัตราส่วนทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดจํานวน 13,217 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสดจาก กิจกรรมดังต่อไปนี้ กระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดําเนินงานจํานวน 13,536 ล้านบาท ประกอบด้วยกําไรสุทธิปรับปรุงด้วยรายการกระทบยอดเป็นเงินสดรับ จากกิจกรรมดําเนินงานจํานวน 18,809 ล้านบาท และมีกระแสเงินสดจ่ายจากการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดําเนินงานจํานวน 5,273 ล้านบาท สาเหตุหลักเกิดจากสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้นตามระดับราคานํ้ามันที่ปรับตัวสูงขึ้น และการจ่ายภาษีเงินได้ กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุนมีจํานวน 4,030 ล้านบาท สาเหตุหลักจากเงินสดจ่ายจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ 3,187 ล้านบาท เงินสดจ่ายสําหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย 584 ล้านบาท และซื้อเงินลงทุนชั่วคราว 197 ล้านบาท
คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น
139
กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินมีจํานวน 4,907 ล้านบาท ประกอบด้วยการจ่ายเงินปันผล 4,419 ล้านบาท จ่ายชําระคืนเงินกู้ยืม ระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงิน 3,460 ล้านบาท เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 1,699 ล้านบาท และการออก หุ้นกู้จํานวน 3,000 ล้านบาท โดยมีต้นทุนทางการเงิน 1,727 ล้านบาท
อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
(เท่า) (เท่า) (%) (เท่า) (เท่า) (เท่า)
ปี 2553
ปี 2552
2.7 9.7 36 0.6 0.9 0.4
2.7 10.1 37 0.6 0.9 0.5
140
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว่ า ง กั น
รายการ
ระหว่างกัน สําหรับรอบบัญชีปี 2553 บริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบริษัทย่อย และบุคคลที่เกี่ยวข้องกันโดยมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และ/หรือมีกรรมการร่วมกัน สามารถพิจารณาได้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษทั ฯ รายการระหว่างกันได้กาํ หนดขึน้ โดยใช้ราคาตลาด หรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ โดยความสัมพันธ์กับบริษัทต่างๆ มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
ชื่อบริษัท
ความสัมพันธ์กับบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
บมจ. ปตท.
เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยถือหุ้นบริษัทฯ อยู่ร้อยละ 49.10 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ นายพิชัย ชุณหวชิร, นายนริศ ชัยสูตร และนายชัยเกษม นิติสิริ
บจ. ไทยพาราไซลีน
บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 มีกรรมการร่วมกัน คือ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ และนายสุรงค์ บูลกุล >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ไทยพาราไซลีน คือ นายสมเกียรติ หัตถโกศล และนายสุพล ทับทิมจรูญ
>>
>> >>
บมจ. ไทยลู้บเบส
บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์, นายพิชัย ชุณหวชิร และนายสุรงค์ บูลกุล >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บมจ. ไทยลู้บเบส คือ นายสมเกียรติ หัตถโกศล นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล และนายอภินันท์ สุภัตรบุตร
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์
>>
บจ. ไทยออยล์มารีน
>>
>>
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 26 >> บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 54.99 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ นายมนู เลียวไพโรจน์, นายพิชัย ชุณหวชิร และนายสุรงค์ บูลกุล >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ คือ นายยุทธนา ภาสุรปัญญา และนายไมตรี เรี่ยวเดชะ บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 มีกรรมการร่วมกัน คือ นายสุรงค์ บูลกุล >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ไทยออยล์มารีน คือ นายสมเกียรติ หัตถโกศล, นายพงษ์พันธุ์ อมรวิวัฒน์, นายวิโรจน์ มีนะพันธ์ และนายนิทัศน์ ครองวานิชยกุล >>
บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย)
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 20 >> บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 24 >> บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ (ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 54.99) ถือหุ้นร้อยละ 56 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ นายสุรงค์ บูลกุล >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ คือ นายสมเกียรติ หัตถโกศล, นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล และนายไมตรี เรี่ยวเดชะ >>
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว่ า ง กั น
ชื่อบริษัท
141
ความสัมพันธ์กับบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
บจ. ท็อป โซลเว้นท์
>>
บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ
>>
บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 >> มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ท็อป โซลเว้นท์ คือ นายสมเกียรติ หัตถโกศล, นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล และนายเทอดชาติ ผดุงรัตน์
>>
บมจ. ไออาร์พีซี
>> >>
บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 80.52 มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการใน บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ คือ นายสมเกียรติ หัตถโกศล, นายชัยวัฒน์ ดํารงค์มงคลกุล, นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต, นายณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ และนายเทอดชาติ ผดุงรัตน์ บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 36.68 มีกรรมการร่วมกัน คือ นายพิชัย ชุณหวชิร และนายปรัชญา ภิญญาวัธน์
บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น
>>
บมจ. บางจากปิโตรเลียม
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 28.46 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ นายพิชัย ชุณหวชิร
บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 48.65 >> มีกรรมการร่วมกัน คือ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ >>
รายการระหว่างกันของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อยกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บมจ. ปตท. ชื่อบริษัท
บมจ. ปตท.
ลักษณะรายการ
มูลค่าในปี 2553 หน่วย (ล้านบาท)
>>
รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์นํ้ามัน: บริษัทฯ ได้ทําสัญญาจัดหานํ้ามันดิบและรับซื้อ ผลิตภัณฑ์นํ้ามันสําเร็จรูป (POCSA ) กับ บมจ. ปตท. โดย บมจ. ปตท. และบริษัทฯ ตกลงที่จะซื้อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสําเร็จรูป ณ ราคาตลาด ตามขั้นตอน การกําหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ ข้อกําหนด และเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญา
161,355
>>
ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันและก๊าซธรรมชาติ: บริษัทฯ ได้ทําสัญญา จัดหานํ้ามันดิบและรับซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันสําเร็จรูป (POCSA ) กับ บมจ. ปตท. โดย บมจ. ปตท. และบริษัทฯ ตกลงที่จะซื้อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสําเร็จรูป ณ ราคาตลาด ตามขั้นตอนการกําหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ ข้อกําหนด และ เงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญา
114,342
142
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว่ า ง กั น
ชื่อบริษัท
ลักษณะรายการ
>>
บริษัทฯ ได้ทําสัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 8 ปี (2549-2556) และระยะเวลา 15 ปี (2550-2564) เพื่อจัดหาก๊าซธรรมชาติสําหรับใช้ในโรงกลั่นของ บริษัทฯ ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาดตามปกติของธุรกิจ
>>
บริษัทฯ ได้ทําสัญญาซื้อขายราคานํ้ามันล่วงหน้า กับ บมจ. ปตท. เป็นครั้งคราว ตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ ในปี 2553 บริษัทฯ มีผลกําไรจากสัญญาแลกเปลี่ยน ส่วนต่างราคานํ้ามันสุทธิ
มูลค่าในปี 2553 หน่วย (ล้านบาท)
134
รายการระหว่างบริษัทย่อยของบริษัทฯ กับ บมจ. ปตท. ชื่อบริษัท
ลักษณะรายการ
มูลค่าในปี 2553 หน่วย (ล้านบาท)
บจ. ไทยพาราไซลีน
>>
รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอะโรมาติกส์ให้ บมจ. ปตท.
997
บมจ. ไทยลู้บเบส
>>
รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐานให้ บมจ. ปตท.
4,246
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์
>>
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทําสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 25 ปี (2541-2565) ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาดตามปกติของธุรกิจ
2,060
บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย)
>>
บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) ได้ทําสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ บมจ. ปตท. ระยะเวลา 25 ปี (2542-2567) ตามปริมาณในสัญญาและราคาตลาดตามปกติของธุรกิจ
3,016
บจ. ไทยออยล์มารีน
>>
ค่าใช้จ่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามัน
127
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว่ า ง กั น
143
รายการระหว่างกันของบริษัทฯ กับบริษัทย่อย (ที่บริษัทฯ ถือหุ้นน้อยกว่าร้อยละ 100) หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง ชื่อบริษัท
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์
บมจ. ไออาร์พีซี
บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น
บมจ. บางจากปิโตรเลียม
ลักษณะรายการ
มูลค่าในปี 2553 หน่วย (ล้านบาท)
บริษัทฯ ได้ทําสัญญาให้บริการเดินเครื่องจักรบํารุงรักษา ซ่อมแซม และให้บริการ สนับสนุนอื่น และจัดหาวัตถุดิบ และอะไหล่ รวมไปถึงนํ้ามันเชื้อเพลิงสํารอง ระยะเวลา 24 ปี นับจากวันที่ 1 เมษายน 2541 โดยค่าบริการเป็นราคาตามต้นทุน บวกกําไรส่วนเพิ่มตามปกติธุรกิจ >> บริษท ั ฯ ได้ทาํ สัญญาให้ใช้ประโยชน์ในระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน กับ บจ. ไทยออยล์ เพาเวอร์ ระยะเวลา 24 ปี นับแต่วันที่ 1 เมษายน 2541 โดย บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ จะต้องจ่ายค่าใช้ประโยชน์ในระบบสาธารณูปโภคทุกๆ เดือนในอัตราร้อยละ 2 ของรายได้รายเดือนของ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์
1,100
>>
บริษัทฯ ได้ทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้ากับ บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ระยะเวลา 25 ปี (2541-2565) ตามปริมาณที่ตกลงไว้ โดยราคาค่าไฟฟ้าและ ค่าพลังงานไอนํ้าเป็นไปตามราคาตลาด
1,439
>>
รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามันให้กับ บมจ. ไออาร์พีซี เป็นครั้งคราว ตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
610
>>
ค่าใช้จ่ายการจัดซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันจาก บมจ. ไออาร์พีซี เป็นครั้งคราวตามปกติ ธุรกิจของบริษัทฯ
488
>>
รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์นํ้ามันให้กับ บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
156
>>
ค่าใช้จ่ายการจัดซื้อผลิตภัณฑ์นํ้ามันจาก บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น เป็นครั้งคราวตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
137
บริษัทฯ เข้าทําสัญญาแลกเปลี่ยนลองเรสสิดิว (Long Residue ) และนํ้ามันเตากับ บมจ. บางจากปิโตรเลียม การจ่ายเงินจะหักกลบลบหนี้ตามราคาที่ระบุในสัญญา >> บริษัทฯ ได้ทําสัญญาเพื่อให้บริการรับวัตถุดิบของ บมจ. บางจากปิโตรเลียมจาก ทุ่นรับนํ้ามันดิบของบริษัทฯ โดยค่าบริการเป็นไปตามราคาตลาดและเงื่อนไข ไม่แตกต่างจากบุคคลอื่น สัญญามีกําหนดระยะเวลา 15 ปี
6,206
>>
>>
144
ร า ย ก า ร ร ะ ห ว่ า ง กั น
รายการระหว่างกันของบริษัทย่อยหรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง กับบริษัทย่อยหรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง ชื่อบริษัท
ชื่อบริษัทที่ทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกัน
ลักษณะรายการ
มูลค่าในปี 2553 หน่วย (ล้านบาท)
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์
บจ. ไทยพาราไซลีน
>>
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและ พลังงานไอนํ้ากับ บจ. ไทยพาราไซลีน ระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดปี พ.ศ. 2565 เพื่อจําหน่ายไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้า โดยราคาเป็นไปตามราคาตลาด
1,040
บมจ. ไทยลู้บเบส
>>
บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ ได้ทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและ พลังงานไอนํ้ากับ บมจ. ไทยลู้บเบส ระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดปี พ.ศ. 2565 เพื่อจําหน่ายไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้า โดยราคาเป็นไปตามราคาตลาด
548
บมจ. ไทยลู้บเบส
บมจ. ไออาร์พีซี
>>
ซื้อผลิตภัณฑ์พลอยได้
863
บจ. ไทยพาราไซลีน
บมจ. ไออาร์พีซี
>>
ขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอะโรมาติกส์
1,786
>>
ซื้อผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอะโรมาติกส์
944
บจ. ท็อป โซลเว้นท์
บมจ. ไออาร์พีซี
>>
ซื้อผลิตภัณฑ์สารทําละลาย
781
บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ
บมจ. ไออาร์พีซี
>>
บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ ได้ทําสัญญาจํานวน 2 ฉบับเพื่อซื้อ วัตถุดิบกับ บมจ. ไออาร์พีซี ตามปริมาณที่ตกลง โดยกําหนดราคาอ้างอิงราคาตลาด สัญญากําหนด ระยะเวลา 3 ปี นับจากวันที่ 1 เมษายน 2550 และ 30 ตุลาคม 2550
404
บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น
>>
บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ ได้ทําสัญญาเพื่อซื้อวัตถุดิบกับ บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น ตามปริมาณ ที่ตกลง โดยกําหนดราคาอ้างอิงราคาตลาด สัญญา กําหนดระยะเวลา 5 ปี นับจากวันที่ 1 มีนาคม 2548 >> บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ ได้ทําสัญญาเพื่อซื้อวัตถุดิบกับ บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น ตามปริมาณ ที่ตกลง โดยกําหนดราคาอ้างอิงราคาตลาด นับจาก วันที่ 1 มีนาคม 2548
1,630
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน
145
รายงานความรับผิดชอบของ
คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน “งบการเงินของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ที่นํามาจัดทํางบการเงินรวม ได้จัดทําขึ้นตามข้อกําหนดพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และประกาศกรมทะเบียนการค้า วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2544 ออกตามความ ในมาตรา 11 วรรคสามแห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 โดยปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ที่กําหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี คณะกรรมการบริษัทฯ รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษัท ที่จัดทําขึ้นเพื่อให้มีความมั่นใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน รายได้ ค่าใช้จ่าย และกระแสเงินสดอย่างเป็นจริงและสมเหตุผล จัดให้มีระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีที่ถูกต้องครบถ้วน และเพียงพอที่จะดํารงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน รวมทั้งป้องกันการทุจริตและการดําเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสําคัญ ในการจัดทํารายงาน ทางการเงินได้มีการพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบัติโดยสม่ําเสมอและเป็นไปตามมาตรฐานบัญชีที่รับรองโดย ทั่วไป รวมทั้งได้มีการเปิดเผยข้อมูลสําคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งผู้สอบบัญชีได้แสดงความเห็นต่องบการเงิน ของ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ไว้ในรายงานของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต”
(นายพิชัย ชุณหวชิร) ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
(นายสุรงค์ บูลกุล) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
146
ร า ย ง า น ข อ ง ผู้ ส อ บ บั ญ ชี รั บ อ นุ ญ า ต
147
รายงานของ
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และงบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุน เฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมและงบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวม และงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงิน เหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกําหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความ เชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสําคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบ หลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจํานวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้ และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสําคัญซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทําขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของ การแสดงรายการที่นําเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสําหรับ แต่ละปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
(นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4068 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 21 กุมภาพันธ์ 2554
148
ง บ ก า ร เ งิ น
งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : บาท
งบการเงินรวม สินทรัพย์
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
หมายเหตุ
2553
2552
6, 17 7, 17 5, 8
13,216,886,070 817,659,755 19,130,256,372
8,618,114,654 619,978,540 20,190,732,812
10,796,419,127 17,879,578,516
5,675,290,263 17,583,298,131
5 5, 9
32,994,880,978 232,322,067 5,613,816,556 2,717,871,281 74,723,693,079
28,936,590,245 218,313,384 4,667,682,904 1,220,001,142 64,471,413,681
4,596,500,000 28,225,633,234 208,649,768 5,042,935,647 1,398,980,658 68,148,696,950
4,007,500,000 24,546,077,830 213,162,875 4,296,684,955 899,707,382 57,221,721,436
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ ภาษีเงินได้นิติบุคคลจ่ายล่วงหน้า ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
5, 10
11 12 7 5, 13, 17 14 15 16
8,763,387,002 8,313,387,002 129,844,023 202,310,745 30,000,000 30,000,000 1,001,035,825 1,012,335,174 1,001,035,825 1,012,335,174 66,939,326,501 67,784,536,506 31,627,049,342 34,375,979,165 1,472,049,832 1,542,188,523 277,763,558 235,912,659 238,954,398 324,957,605 221,391,882 319,337,859 2,102,358,438 2,406,957,050 1,745,428,191 2,003,703,103 71,883,569,017 73,273,285,603 43,666,055,800 46,290,654,962 146,607,262,096 137,744,699,284 111,814,752,750 103,512,376,398
ง บ ก า ร เ งิ น
149
งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : บาท
งบการเงินรวม หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
หมายเหตุ
2553
2552
17 5, 18
460,000,000 18,983,698,593
1,300,000,000 18,108,349,029
200,000,000 19,423,801,049
1,300,000,000 16,992,551,665
5, 17
-
-
2,997,517,664
3,165,670,801
6, 7, 13, 17
2,501,757,668 1,030,467,396 2,149,558,721 2,248,397,078 27,373,879,456
2,144,962,498 757,541,010 448,435,776 1,538,362,723 24,297,651,036
592,700,000 1,030,467,396 1,495,779,860 1,246,794,928 26,987,060,897
296,350,000 757,541,010 1,384,294,876 23,896,408,352
9,880,473,926 31,181,141,879 1,171,263,557 162,929,572 42,395,808,934 69,769,688,390
10,381,953,489 29,607,517,284 1,329,503,487 441,199,191 41,760,173,451 66,057,824,487
6,537,950,000 31,181,141,879 1,150,316,097 305,245,324 39,174,653,300 66,161,714,197
5,630,650,000 29,607,517,284 1,302,371,118 597,844,359 37,138,382,761 61,034,791,113
5, 19
6, 7, 13, 17 17 15
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
150
ง บ ก า ร เ งิ น
งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : บาท
งบการเงินรวม หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุ
ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ผลขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน กําไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารองตามกฎหมาย อื่นๆ ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
20,400,278,730 20,400,278,730
20,400,278,730 20,400,278,730
20,400,278,730 20,400,278,730
20,400,278,730 20,400,278,730
2,456,261,491
2,456,261,491
2,456,261,491
2,456,261,491
(30,715,798) (80,811,191)
(19,604,723) (4,575,198)
(30,904,072) -
(19,604,723) -
20
21
21
2,040,027,873 2,040,027,873 2,040,027,873 2,040,027,873 244,500,000 244,500,000 244,500,000 244,500,000 46,387,683,525 41,671,653,809 20,542,874,531 17,356,121,914 71,417,224,630 66,788,541,982 45,653,038,553 42,477,585,285 5,420,349,076 4,898,332,815 76,837,573,706 71,686,874,797 45,653,038,553 42,477,585,285 146,607,262,096 137,744,699,284 111,814,752,750 103,512,376,398
ง บ ก า ร เ งิ น
151
งบกําไรขาดทุน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : บาท
งบการเงินรวม หมายเหตุ
2553
2552
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
รายได้ รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ เงินปันผลรับ ค่าความนิยมติดลบจากการซื้อธุรกิจ กําไรจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยงสุทธิ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายได้อื่น รวมรายได้
5, 29 318,390,526,170 284,123,035,628 310,026,968,863 274,324,864,770 5, 11 3,104,910,661 5,804,912,223 4 76,809,865 527,656,107 547,686,550 2,722,471,734 1,574,988,023 2,620,386,577 1,480,332,855 5, 23 2,634,384,335 1,695,248,457 3,059,322,167 2,331,676,970 324,351,848,211 287,393,272,108 319,359,274,818 283,941,786,818
ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร ขาดทุนจากอนุพันธ์เพื่อประกันความเสี่ยงสุทธิ รวมค่าใช้จ่าย ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม
5, 9 308,346,776,605 269,014,692,068 307,209,283,951 270,382,778,647 5 200,717,173 200,596,508 450,008,553 383,206,730 5, 24 1,331,435,451 937,149,274 626,963,554 557,317,514 5, 25 352,272,986 278,744,922 226,799,451 174,650,213 360,961,300 360,961,300 310,231,202,215 270,792,144,072 308,513,055,509 271,858,914,404 12 72,466,722 26,887,524 -
กําไรก่อนต้นทุนทางการเงิน และค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กําไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไรสําหรับปี
5, 27 28
ส่วนของกําไรสําหรับปีที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัท ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กําไรสําหรับปี กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
30
14,048,179,274 1,796,302,722 12,251,876,552 3,042,344,569 9,209,531,983
16,574,240,512 2,114,723,892 14,459,516,620 2,004,749,154 12,454,767,466
10,846,219,309 1,643,738,848 9,202,480,461 1,733,136,645 7,469,343,816
12,082,872,414 1,872,759,954 10,210,112,460 1,123,934,028 9,086,178,432
8,998,620,915 210,911,068 9,209,531,983
12,061,537,927 393,229,539 12,454,767,466
7,469,343,816 7,469,343,816
9,086,178,432 9,086,178,432
4.41
5.91
3.66
4.45
31
-
(4,575,198)
(4,575,198) (4,575,198) -
(8,665,472) -
(8,665,472) (8,665,472) (19,604,723)
-
-
-
-
20,400,278,730 2,456,261,491
(4,575,198) 2,040,027,873
-
-
- 2,040,027,873
ทุนสํารอง ตามกฎหมาย
(10,939,251)
ผลต่างจาก การแปลงค่า งบการเงิน
20,400,278,730 2,456,261,491
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ผลขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง การเปลี่ยนแปลงใน มูลค่ายุติธรรมที่รับรู้ใน ส่วนของผู้ถือหุ้น ผลต่างจากการแปลงค่า งบการเงิน รวมค่าใช้จ่ายของรายการ ที่รับรู้โดยตรงใน ส่วนของผู้ถือหุ้น กําไรสําหรับปี รวมส่วนของรายได้ และค่าใช้จ่ายที่รับรู้ เงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
หมายเหตุ
ส่วนเกิน การเปลีย่ นแปลง มูลค่า ในมูลค่ายุตธิ รรม หุน้ สามัญ ของเงินลงทุน
ส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย
รวมส่วน ของผูถ้ อื หุน้
-
-
(4,575,198)
(8,665,472)
(4,575,198)
(8,665,472)
(13,240,670) 393,229,539 12,454,767,466
-
-
244,500,000 41,671,653,809 66,788,541,982 4,898,332,815 71,686,874,797
- 12,061,537,927 12,048,297,257 393,229,539 12,441,526,796 - (4,181,756,830) (4,181,756,830) (152,314,274) (4,334,071,104)
(13,240,670) - 12,061,537,927 12,061,537,927
-
-
244,500,000 33,791,872,712 58,922,001,555 4,657,417,550 63,579,419,105
อืน่ ๆ ยังไม่ได้จดั สรร
กําไรสะสม รวมส่วน ของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกและ ชําระแล้ว
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น หน่วย : บาท
ง บ ก า ร เ งิ น
งบการเงินรวม
152
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ทุนสํารอง ตามกฎหมาย
(76,235,993)
(76,235,993) -
(80,811,191) 2,040,027,873
(11,111,075)
(11,111,075) (30,715,798)
-
-
-
-
(76,235,993)
-
-
-
(4,575,198) 2,040,027,873
ผลต่างจาก การแปลงค่า งบการเงิน
รวมส่วน ของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั
ส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย
รวมส่วน ของผูถ้ อื หุน้
หน่วย : บาท
-
-
-
(87,347,068)
(76,235,993)
(11,111,075)
447,095,100 210,911,068
188,274
-
188,274
447,095,100 9,209,531,983
(87,158,794)
(76,235,993)
(10,922,801)
244,500,000 46,387,683,525 71,417,224,630 5,420,349,076 76,837,573,706
- 8,998,620,915 8,911,273,847 658,194,442 9,569,468,289 - (4,282,591,199) (4,282,591,199) (136,178,181) (4,418,769,380)
- 8,998,620,915 8,998,620,915
-
-
-
244,500,000 41,671,653,809 66,788,541,982 4,898,332,815 71,686,874,797
อืน่ ๆ ยังไม่ได้จดั สรร
กําไรสะสม
งบการเงินรวม
(11,111,075)
(19,604,723)
ส่วนเกิน การเปลีย่ นแปลง มูลค่า ในมูลค่ายุตธิ รรม หุน้ สามัญ ของเงินลงทุน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 20,400,278,730 2,456,261,491 ผลกําไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง การเปลี่ยนแปลงใน มูลค่ายุติธรรมที่รับรู้ใน ส่วนของผู้ถือหุ้น ผลต่างจากการแปลงค่า งบการเงิน รวมค่าใช้จ่ายของรายการ ที่รับรู้โดยตรงใน ส่วนของผู้ถือหุ้น การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเนื่องจาก การซื้อหุ้นบริษัทย่อย 4 กําไรสําหรับปี รวมส่วนของรายได้ และค่าใช้จ่ายที่รับรู้ เงินปันผล 31 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 20,400,278,730 2,456,261,491
หมายเหตุ
ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกและ ชําระแล้ว
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
ง บ ก า ร เ งิ น 153
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ผลขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น รวมค่าใช้จ่ายของรายการที่รับรู้ โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น กําไรสําหรับปี รวมส่วนของรายได้และค่าใช้จ่ายที่รับรู้ เงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 31
หมายเหตุ 2,456,261,491
2,456,261,491
20,400,278,730
20,400,278,730
ส่วนเกิน มูลค่า หุ้นสามัญ 2,040,027,873
2,040,027,873
(8,665,472) (8,665,472) (8,665,472) (19,604,723)
ทุนสํารอง ตามกฎหมาย
(10,939,251)
การเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุน
244,500,000
-
244,500,000
อื่นๆ
กําไรสะสม
9,086,178,432 9,086,178,432 (4,181,756,830) 17,356,121,914
-
12,451,700,312
ยังไม่ได้จัดสรร
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ชําระแล้ว
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
(8,665,472) 9,086,178,432 9,077,512,960 (4,181,756,830) 42,477,585,285
(8,665,472)
37,581,829,155
รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น ของบริษัท
หน่วย : บาท
ง บ ก า ร เ งิ น
งบการเงินเฉพาะกิจการ
154
31
หมายเหตุ
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ผลขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น รวมค่าใช้จ่ายของรายการที่รับรู้ โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น กําไรสําหรับปี รวมส่วนของรายได้และค่าใช้จ่ายที่รับรู้ เงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
2,456,261,491
2,456,261,491
20,400,278,730
ส่วนเกิน มูลค่า หุ้นสามัญ
20,400,278,730
ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ชําระแล้ว
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
2,040,027,873
2,040,027,873
(11,299,349) (11,299,349) (11,299,349) (30,904,072)
ทุนสํารอง ตามกฎหมาย
(19,604,723)
การเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
244,500,000
-
244,500,000
อื่นๆ
กําไรสะสม
7,469,343,816 7,469,343,816 (4,282,591,199) 20,542,874,531
-
17,356,121,914
ยังไม่ได้จัดสรร
(11,299,349) 7,469,343,816 7,458,044,467 (4,282,591,199) 45,653,038,553
(11,299,349)
42,477,585,285
รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น ของบริษัท
หน่วย : บาท
ง บ ก า ร เ งิ น 155
156
ง บ ก า ร เ งิ น
งบกระแสเงินสด สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : บาท
งบการเงินรวม หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับปี รายการปรับปรุง กลับรายการค่าเผื่อขาดทุนจากการปรับลดมูลค่า สินค้าคงเหลือให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ต้นทุนทางการเงิน ค่าความนิยมติดลบจากการซื้อธุรกิจ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินปันผลรับ (กําไร) ขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ กําไรจากการขายสินทรัพย์รอการจําหน่าย การรับรู้รายได้ค่าธรรมเนียมการเช่าที่ดิน และอื่นๆ รับล่วงหน้า ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า ภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น จ่ายภาษีเงินได้ รับคืนภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
26 27 4 12 11
28
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
9,209,531,983
12,454,767,466
7,469,343,816
9,086,178,432
(254,133,105) 6,661,721,353 1,796,302,722 (76,809,865) (1,655,353,980) 72,466,722 -
(912,589,782) 6,552,677,115 2,114,723,892 (845,931,177) 26,887,524 -
(249,236,286) 4,077,932,526 1,643,738,848 (1,440,886,518) (3,104,910,661)
(639,037,701) 4,065,839,933 1,872,759,954 (683,834,165) (5,804,912,223)
23,536,032 -
(23,602,967) (60,232,256)
4,554,721 -
(482,801) -
(10,494,815) 3,042,344,569 18,809,111,616
(10,443,950) 2,004,749,154 21,301,005,019
(102,741,903) 1,733,136,645 10,030,931,188
(102,700,252) 1,123,934,028 8,917,745,205
1,139,433,606 (3,336,956,838) (2,680,215,772) (9,227,422) 934,742,432 272,926,386 140,195,496 (307,958,007) (1,436,649,404) 10,371,713 13,535,773,806
(4,840,424,030) (7,341,716,263) (436,258,551) (210,111,352) 2,482,531,862 595,526,125 222,828,654 73,279,129 (861,144,004) 4,350,000,616 15,335,517,205
(300,888,935) (3,430,319,117) (1,518,944,297) (21,481,342) 2,449,203,796 272,926,386 (112,100,971) (236,627,434) (291,634,271) 4,681,549 6,845,746,552
(5,507,178,731) (6,137,031,146) (772,290,476) (163,171,980) 2,676,653,575 595,526,125 325,980,846 82,126,689 (208,664,921) 4,350,000,000 4,159,695,186
ง บ ก า ร เ งิ น
157
งบกระแสเงินสด สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : บาท
งบการเงินรวม หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับเงินปันผล ซื้อเงินลงทุนชั่วคราว ซื้อเงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินสดจ่ายสําหรับเงินให้กู้ยืมระยะสั้น แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รับชําระคืนเงินให้กู้ยืมระยะสั้น แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ายจากการลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดจ่ายจากการซื้อกิจการ เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินสดจ่ายสําหรับเงินให้กู้ยืมระยะยาว แก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน เงินสดรับสําหรับเงินให้กู้ยืมระยะยาว แก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขายสินทรัพย์รอการจําหน่าย ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
(197,304,667) -
(80,877,443) (105,863,192)
3,104,910,661 -
5,804,912,223 (105,863,192)
5
-
-
(1,839,000,000)
(1,848,500,000)
5 11 4 12
(584,188,529) -
(1,154,082,128) -
1,250,000,000 (450,000,000) -
1,000,000,000 (219,000,000) 202,500,000
-
(10,065,996)
-
(10,065,996)
18,727,948 (3,221,837,617) 35,015,500 (88,904,778) 8,180,891 (4,030,311,252)
(1,353,382,258) 53,335,170 211,771,561 (21,179,875) (5,380,545) (2,465,724,706)
18,727,948 (788,296,494) 3,032,991 (68,110,929) 1,231,264,177
(673,108,162) 1,838,656 (18,313,783) 4,134,399,746
158
ง บ ก า ร เ งิ น
งบกระแสเงินสด สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : บาท
งบการเงินรวม หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายต้นทุนทางการเงิน จ่ายเงินปันผล จ่ายชําระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้น จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ่ายชําระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้น จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ่ายชําระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว จากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว จากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี รายการที่ไม่ใช่เงินสด เจ้าหนี้จากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
(1,727,084,260) (4,418,769,380) (1,260,000,000)
(2,069,849,949) (4,334,071,104) (6,730,286,724)
(1,608,787,529) (4,282,591,199) (1,100,000,000)
(1,776,560,126) (4,181,756,830) (6,730,286,724)
5
-
-
-
3,165,670,800
5
-
-
(168,153,137)
-
(2,199,837,498) (12,134,674,363)
(296,350,000)
(9,766,480,000)
1,699,000,000 1,001,000,000 3,000,000,000 12,000,000,000 (4,906,691,138) (12,267,882,140)
1,500,000,000 3,000,000,000 (2,955,881,865)
1,000,000,000 12,000,000,000 (6,289,412,880)
4,598,771,416 8,618,114,654 13,216,886,070
601,910,359 8,016,204,295 8,618,114,654
5,121,128,864 5,675,290,263 10,796,419,127
2,004,682,052 3,670,608,211 5,675,290,263
418,300,977
70,479,758
46,633,462
59,048,205
6
ง บ ก า ร เ งิ น
159
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุ สารบัญ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดทํางบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สําคัญ การซื้อกิจการ รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น
หมายเหตุ สารบัญ 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38
ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกินทุนและสํารอง ข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงาน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน เงินปันผล เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น นโยบายประกันภัย เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้ การจัดประเภทรายการใหม่
160
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ คณะกรรมการได้อนุมัติให้ออกงบการเงินนี้เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554
1 ข้อมูลทั่วไป บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีสํานักงานและโรงกลั่นที่จดทะเบียนดังนี้ สํานักงานใหญ่
: เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 ประเทศไทย สํานักงานศรีราชาและโรงกลั่นนํ้ามัน : เลขที่ 42/1 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท กม. 124 ตําบลทุ่งสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 ประเทศไทย
บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2547 บริษัทเป็นบริษัทในกลุ่มของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (“ปตท.”) ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และ ปตท. เป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของบริษัท โดยมีอัตราส่วนการถือหุ้นร้อยละ 49.1 ของทุนที่ออกและชําระแล้วของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 (31 ธันวาคม 2552: ร้อยละ 49.1) บริษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการกลั่นนํ้ามันและการจําหน่ายนํ้ามัน รายละเอียดของบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ ประเทศที่ ถือหุ้นร้อยละ ชื่อกิจการ ลักษณะธุรกิจ กิจการจัดตั้ง 2553 2552 บริษัทย่อยทางตรง บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด
บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด
บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด
ผลิตพาราไซลีน
ไทย
99.99
99.99
ผลิตและจําหน่าย นํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน
ไทย
99.99
99.99
ให้บริการขนส่งผลิตภัณฑ์ นํ้ามันปิโตรเลียมและ ผลิตภัณฑ์เคมีเหลวทางเรือ
ไทย
99.99
99.99
ผลิตกระแสไฟฟ้าและ ให้คําปรึกษาด้านพลังงาน
ไทย
99.99
99.99
ลงทุนในธุรกิจผลิตภัณฑ์ โซลเว้นท์และปิโตรเคมี
ไทย
99.99
99.99
ลงทุนในธุรกิจเอทานอล และผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม พลังงานทางเลือก
ไทย
99.99
99.99
ผลิตกระแสไฟฟ้าและไอนํ้า
ไทย
54.99
54.99
ง บ ก า ร เ งิ น
161
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ชื่อกิจการ
ลักษณะธุรกิจ
ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง
ถือหุ้นร้อยละ 2553 2552
บริษัทย่อยทางอ้อม บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด
จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ โซลเว้นท์และปิโตรเคมี
ไทย
99.99
99.99
บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด
ผลิตกระแสไฟฟ้า
ไทย
80.00*
80.00*
บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด
ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ โซลเว้นท์และปิโตรเคมี
ไทย
80.52
80.52
100.00
100.00
50.00
-
TOP Solvent (Vietnam) LLC. บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด
จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ โซลเว้นท์และปิโตรเคมี ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ เอทานอล
เวียดนาม ไทย
* บริษทั และบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ (บริษทั ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด) ถือหุน้ ในบริษทั ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด ในอัตราร้อยละ 24 และร้อยละ 56 ตามลําดับ
2 เกณฑ์การจัดทํางบการเงิน งบการเงินนี้นําเสนอเพื่อวัตถุประสงค์ของการรายงานเพื่อใช้ในประเทศไทยและจัดทําเป็นภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษได้จัดทําขึ้น เพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงินที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย งบการเงินนีจ้ ดั ทําขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงการตีความและแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีทป่ี ระกาศใช้ โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง และ จัดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย บริษัทและบริษัทย่อยในประเทศได้ใช้แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) เพื่อจัดทําและนําเสนองบการเงิน การใช้แม่บทการบัญชีฉบับที่ ปรับปรุงใหม่นี้ (มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553) ไม่มีผลกระทบที่เป็นสาระสําคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหว่างปี 2553 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งยังไม่มี ผลบังคับในปัจจุบันและไม่ได้มีการนํามาใช้สําหรับการจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ได้ออก และปรับปรุงใหม่ที่มีความเกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อยในประเทศได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 37 งบการเงินนี้จัดทําและแสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาท และมีการปัดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็นหลักพันบาท เว้นแต่ ที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น งบการเงินนี้ได้จัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นที่กล่าวไว้ในนโยบายการบัญชี ในการจัดทํางบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารต้องใช้การประมาณและข้อสมมติฐาน หลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการกําหนดนโยบายและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่ เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้
162
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทํางบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึกในงวด บัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับผลกระทบ ข้อมูลเกีย่ วกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานทีส่ าํ คัญในการกําหนดนโยบายการบัญชีมผี ลกระทบสําคัญต่อการรับรูจ้ าํ นวนเงิน ในงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ
4 7 14 15 32
การซื้อกิจการ เงินลงทุนอื่น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เครื่องมือทางการเงิน
3 นโยบายการบัญชีที่สําคัญ (ก) เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วย งบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) และส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทใน บริษัทร่วม การรวมธุรกิจ การรวมธุรกิจบันทึกบัญชีโดยวิธีซื้อธุรกิจ ต้นทุนการซื้อธุรกิจบันทึกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ส่งมอบ ตราสารทุนที่ออก และ หนี้สินที่เกิดขึ้นจนถึงวันที่มีการแลกเปลี่ยน รวมถึงรายจ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อธุรกิจ บริษัทย่อย บริษัทย่อยเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริษัทมีอํานาจควบคุมทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการนั้นเพื่อได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมของบริษัทย่อย งบการเงินของ บริษัทย่อยได้รวมอยู่ในงบการเงินรวมนับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูก เปลี่ยนตามความจําเป็นเพื่อให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท บริษัทร่วม บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญโดยมีอํานาจเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงิน และการดําเนินงานแต่ไม่ถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญถูกสันนิษฐานว่ามีอยู่เมื่อกลุ่มบริษัทมี อํานาจในการออกเสียงในกิจการอื่นตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 50 งบการเงินรวมของกลุ่มบริษัทได้รวมส่วนแบ่งรายได้ ค่าใช้จ่าย และ การเคลื่อนไหวของส่วนของเจ้าของของบริษัทร่วมนับจากวันที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญจนถึงวันที่การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญ สิ้นสุดลง เมื่อผลขาดทุนที่กลุ่มบริษัทได้รับปันส่วนจากบริษัทร่วมมีจํานวนเกินกว่าเงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนจะถูกทอนลง จนเป็นศูนย์และหยุดรับรู้ส่วนผลขาดทุน เว้นแต่กรณีที่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรืออนุมานหรือยินยอมที่จะชําระภาระ ผูกพันของบริษัทร่วม
ง บ ก า ร เ งิ น
163
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงที่เกิดจากรายการระหว่างกิจการ ในกลุ่มถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม กําไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงที่เกิดจากรายการกับบริษัทร่วมถูกตัดรายการกับเงินลงทุน เท่าที่กลุ่มบริษัทมีส่วนได้เสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกําไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่เท่าที่เมื่อไม่มีหลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น (ข) เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงานแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่าบันทึกในงบกําไรขาดทุน สินทรัพย์และหนี้สินที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิมแปลงค่าเป็น เงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ กิจการในต่างประเทศ สินทรัพย์และหนี้สินของกิจการในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน ค่าความนิยมและรายการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อกิจการในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน รายได้และค่าใช้จ่ายของกิจการในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยในระหว่างงวด ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่าบันทึกไว้เป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของผู้ถือหุ้นจนกว่ามีการจําหน่ายเงินลงทุน นั้นออกไป ในกรณีของการลงทุนสุทธิในกิจการในต่างประเทศของกลุ่มบริษัท โดยในสาระสําคัญแล้วการลงทุนดังกล่าวมีลักษณะเป็นรายการที่เป็น ตัวเงิน ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งเกิดจากรายการที่เป็นตัวเงินและรายการป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องให้บันทึกไว้เป็นรายการ ต่างหากในส่วนของผู้ถือหุ้นจนกว่ามีการจําหน่ายเงินลงทุนนั้น (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ได้ถูกนํามาใช้เพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ อัตราดอกเบี้ย และราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่เกิดจากกิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน เครื่องมือ ทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ไม่ได้มีไว้เพื่อค้า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ที่ไม่เข้าเงื่อนไขการกําหนดให้เป็นเครื่องมือป้องกัน ความเสี่ยงถือเป็นรายการเพื่อค้า
164
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
การป้องกันความเสี่ยงจากรายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่จะมีในอนาคต สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากรายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่จะมีในอนาคต จะถูกวัดค่า ณ วันที่รายงานด้วยอัตราแลกเปลี่ยนในวันนั้น ผลต่างจากการวัดค่าจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุน สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราและอัตราดอกเบี้ย สินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน ณ วันที่รายงานที่มีการป้องกันความเสี่ยงโดยสัญญาแลกเปลี่ยนแปลงค่าโดยใช้อัตราแลก เปลี่ยนที่กําหนดไว้ในสัญญาแลกเปลี่ยนนั้นๆ ผลต่างจากการแปลงค่าบันทึกในงบกําไรขาดทุน ส่วนผลต่างที่ได้รับหรือจ่ายตามสัญญา แลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยบันทึกปรับปรุงกับดอกเบี้ยจ่ายของภาระหนี้สินทางการเงินที่ได้รับการป้องกันความเสี่ยงในงบกําไรขาดทุน สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคานํ้ามัน ผลต่างระหว่างราคาคงที่ที่กําหนดในสัญญาและราคาตลาดที่เกิดขึ้นจริงบันทึกในงบกําไรขาดทุนเมื่อครบกําหนดสัญญา (ง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวันและออมทรัพย์ และเงินลงทุน ระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึง่ จะต้องชําระคืนเมือ่ ทวงถามถือเป็นส่วนหนึง่ ของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (จ) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการชําระหนี้ในอนาคตของลูกค้า ลูกหนี้ จะถูกตัดจําหน่ายออกจากบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ (ฉ) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า ต้นทุนของสินค้าคํานวณโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก ต้นทุนสินค้าประกอบด้วย ต้นทุนสินค้าที่ซื้อ ต้นทุนในการแปลงสภาพและต้นทุน อื่น เพื่อให้สินค้าอยู่ในสถานที่และสภาพปัจจุบัน ในกรณีของสินค้าสําเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุนสินค้ารวมการ ปันส่วนของค่าโสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสม โดยคํานึงถึงระดับกําลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการดําเนินธุรกิจปกติหักด้วยประมาณการต้นทุนที่จะผลิตให้เสร็จและพร้อม ที่จะขาย (ช) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุน ส่วนการบันทึกบัญชีเงินลงทุน ในบริษัทร่วมในงบการเงินรวมใช้วิธีส่วนได้เสีย เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น ตราสารหนี้ซึ่งกลุ่มบริษัทตั้งใจและสามารถถือจนกว่าครบกําหนดจัดประเภทเป็นเงินลงทุนที่ถือจนครบกําหนด และแสดงในราคาทุน ตัดจําหน่ายหักด้วยขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อมากับมูลค่าไถ่ถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจ่าย โดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ
ง บ ก า ร เ งิ น
165
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไว้จนครบกําหนดจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์ เผื่อขายและแสดงในมูลค่ายุติธรรม กําไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์ได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรง ยกเว้นขาดทุนจาก การด้อยค่าของเงินลงทุนและกําไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจะรับรู้ในงบกําไรขาดทุน เมื่อมีการจําหน่ายเงินลงทุนจะรับรู้ผลกําไร หรือขาดทุนที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรงเข้าในงบกําไรขาดทุน เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า การจําหน่ายเงินลงทุน เมื่อมีการจําหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจํานวนเงินสุทธิที่ได้รับและมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงกําไรหรือขาดทุนจากการตีราคา หลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้องที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุน ในกรณีที่กลุ่มบริษัทจําหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การคํานวณต้นทุนสําหรับเงินลงทุนที่จําหน่ายไปและเงินลงทุนที่ยังถืออยู่ ใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก (ซ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าเสื่อมราคา ค่ า เสื่ อ มราคาบั น ทึ ก ในงบกํ า ไรขาดทุ น คํ า นวณโดยวิ ธีเ ส้ น ตรงตามเกณฑ์ อ ายุ ก ารใช้ ง านโดยประมาณของสิ น ทรั พ ย์ แ ต่ ล ะรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ อาคาร ส่วนปรับปรุงสินทรัพย์ที่เช่า โรงกลั่นนํ้ามันและอุปกรณ์ (เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2537 บริษัทคิด ค่าเสื่อมราคาโรงกลั่นนํ้ามันตามอายุการใช้งานโดยประมาณที่เหลืออยู่) โรงกลั่นนํ้ามันหล่อลื่นขั้นพื้นฐานและอุปกรณ์ โรงผลิตพาราไซลีน โรงผลิตกระแสไฟฟ้า ระบบสายส่งไฟฟ้า เครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์โรงงาน เรือบรรทุกนํ้ามันและผลิตภัณฑ์เคมีเหลว เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง เครื่องใช้สํานักงานและอื่นๆ ยานพาหนะ กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
10-25 ปี 5-20 ปี 20 ปี 16-20 ปี 10-25 ปี 25 ปี 20 ปี 3-20 ปี 10-25 ปี 5-10 ปี 5 ปี
166
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ฌ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม ค่าความนิยมจากการรวมธุรกิจได้แก่ ต้นทุนการได้มาของสินทรัพย์สทุ ธิทร่ี ะบุได้สว่ นทีเ่ กินกว่ามูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์สทุ ธินน้ั ค่าความ นิยมติดลบจากการรวมธุรกิจได้แก่ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ส่วนที่เกินกว่าต้นทุนการได้มาของสินทรัพย์สุทธินั้น ค่าความนิยมวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าความนิยมได้ถูกทดสอบการด้อยค่าตามที่อธิบายในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 3 (ฎ) ฐานข้อมูลลูกค้า ฐานข้อมูลลูกค้าแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าสิทธิและคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ ค่าสิทธิและคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจํากัดแสดงในราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและขาดทุน จากการด้อยค่า ค่าตัดจําหน่าย ค่าตัดจําหน่ายบันทึกในงบกําไรขาดทุนคํานวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจนับจากวัน ที่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจแสดงได้ดังนี้ ค่าสิทธิ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์
10 - 15 ปี 5 - 10 ปี
(ญ) ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากค่าใช้จ่ายนั้นๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไปตามอายุของ สัญญาที่เกี่ยวข้อง (ฎ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้จะ ทําการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของค่าความนิยมจะถูกประมาณ ณ ทุกวันที่รายงานหรือ เมื่อมีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที่ จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในงบกําไรขาดทุน เว้นแต่เมื่อมีการกลับรายการ การประเมินมูลค่าของสินทรัพย์เพิ่มของ สินทรัพย์ชิ้นเดียวกันที่เคยรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นและมีการด้อยค่าในเวลาต่อมา ในกรณีนี้ให้รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขายซึ่งได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นและมีความชัดเจนว่าสินทรัพย์ ดังกล่าวมีการด้อยค่า ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยไม่ต้องปรับกับยอดสินทรัพย์
ง บ ก า ร เ งิ น
167
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ทางการเงินดังกล่าว ยอดขาดทุนที่บันทึกในงบกําไรขาดทุนเป็นผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อกับมูลค่ายุติธรรมในปัจจุบันของสินทรัพย์ หักขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรู้แล้วในงบกําไรขาดทุน การคํานวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษัทที่ถือไว้จนกว่าจะครบกําหนดและลูกหนี้ที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจําหน่าย คํานวณโดยการหามูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตคิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง สําหรับลูกหนี้ ระยะสั้นไม่มีการคิดลด มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ทางการเงินสําหรับหลักทรัพย์เผื่อขายคํานวณโดยอ้างอิงถึงมูลค่ายุติธรรม มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินหมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์หรือมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์หักต้นทุนในการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่ จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนคํานึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาด ปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ สําหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น จะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกกลับรายการเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้น สัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ สําหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายและตราสารหนี้ ที่จัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุน ส่วนสินทรัพย์ทางการเงินที่เป็นตราสารทุนที่จัด ประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกรับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมจะไม่มีการปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทาง การเงินอื่นๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่า จะถูกกลับรายการหากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการคํานวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับ รายการเพียงเท่าที่มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรือค่าตัดจําหน่าย เสมือนหนึ่ง ไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน (ฏ) ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้เป็นผลต่างระหว่างจํานวนเงินที่ได้รับจากการขายหุ้นกู้และยอดเงินเมื่อถึงกําหนดชําระบันทึกในงบกําไรขาดทุน ตลอดอายุการกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ฐ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยแสดงในราคาทุน (ฑ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน
168
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(ฒ) ผลประโยชน์พนักงาน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน ข้อผูกพันตามกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงานจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนเมื่อมีการจ่ายเงินสมทบ กองทุนเงินบําเหน็จ ข้อผูกพันตามกองทุนเงินบําเหน็จจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนโดยคํานวณตามสูตรผลประโยชน์ที่บริษัทกําหนดไว้ ณ วันที่ ในรายงาน ซึ่งเงินผลประโยชน์นี้จะให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นๆ ครบเกษียณอายุ ทุพพลภาพ ถึงแก่กรรม หรือลาออกจากงาน (ณ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้ สิ น จะรั บ รู้ ก็ ต่ อ เมื่ อ กลุ่ ม บริ ษั ท มี ภ าระหนี้ สิ น ตามกฎหมายที่ เ กิ ด ขึ้ น ในปั จ จุ บั น หรื อ ที่ ก่ อ ตั ว ขึ้ น อั น เป็ น ผลมาจาก เหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชําระภาระหนี้สินดังกล่าว และ สามารถประมาณจํานวนภาระหนี้สินได้อย่างน่าเชื่อถือ ถ้าผลกระทบดังกล่าวมีจํานวนที่เป็นสาระสําคัญ ประมาณการหนี้สินจะพิจารณา จากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตราคิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนคํานึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจํานวนที่อาจ ประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน (ด) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีขายอื่นๆ และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า การขายสินค้าและให้บริการ รายได้รับรู้ในงบกําไรขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าที่มีนัยสําคัญไปให้กับผู้ซื้อแล้ว และจะ ไม่รับรู้รายได้ถ้าผู้บริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรือมีความไม่แน่นอนที่มีนัยสําคัญในการได้รับประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ไม่อาจวัดมูลค่าของจํานวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ หรือมีความ เป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนที่จะต้องรับคืนสินค้า รายได้จากการให้บริการรับรู้เมื่อมีการให้บริการ รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าเช่าจากสินทรัพย์เพื่อการลงทุนรับรู้ในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ดอกเบี้ยรับและเงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล ซึ่งตามปกติในกรณีเงินปันผลที่จะได้รับจากหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดจะพิจารณาจากวันที่มีการประกาศสิทธิการรับ เงินปันผล (ต) ค่าใช้จ่าย สัญญาเช่าดําเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงานบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกําไร ขาดทุนในรอบบัญชีที่มีรายการดังกล่าว
ง บ ก า ร เ งิ น
169
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ค่าซ่อมแซมและค่าบํารุงรักษา รายจ่ายในการซ่อมแซมและบํารุงรักษาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนในงวดที่เกิดรายจ่ายนั้น ส่วนรายจ่ายที่มีลักษณะเป็น รายจ่ายฝ่ายทุนได้บันทึกรวมไว้ในบัญชีอาคารและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในทํานองเดียวกันบันทึกในงบกําไรขาดทุนในงวดที่ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้น ยกเว้นในกรณีที่มีการบันทึก เป็นต้นทุนส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ อันเป็นผลมาจากการใช้เวลายาวนานในการจัดหา ก่อสร้าง หรือการผลิตสินทรัพย์ดังกล่าวก่อนที่จะ นํามาใช้เองหรือเพื่อขาย (ถ) ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้จากกําไรหรือขาดทุนสําหรับปีประกอบด้วย ภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน ภาษีเงินได้ปัจจุบันได้แก่ ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายชําระโดยคํานวณจากกําไรประจําปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่ คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี บั น ทึ ก โดยคํ า นวณจากผลแตกต่ า งชั่ ว คราวที่ เ กิ ด ขึ้ น ระหว่ า งมู ล ค่ า ตามบั ญ ชี ข องสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น และจํานวนที่ใช้เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะไม่ถูกรับรู้เมื่อเกิดจากผลแตกต่างชั่วคราวต่อไปนี้ การรับรู้ค่า ความนิยมในครั้งแรก การรับรู้สินทรัพย์หรือหนี้สินในครั้งแรกซึ่งเป็นรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและรายการนั้นไม่มีผลกระทบต่อกําไร ทางบัญชีหรือกําไรทางภาษี และผลแตกต่างที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยหากเป็นไปได้ว่าจะไม่มีการกลับรายการในอนาคต อันใกล้ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้อตั ราภาษีทค่ี าดว่าจะใช้กบั ผลแตกต่างชัว่ คราวเมือ่ มีการกลับรายการโดยอิงกับกฎหมาย ที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน สิ น ทรั พ ย์ ภ าษี เ งิน ได้ ร อการตัด บัญ ชีจ ะบั น ทึ ก ต่อ เมื่อ มีค วามเป็น ไปได้ค่ อ นข้ า งแน่น อนว่ า กํา ไรเพื่ อ เสีย ภาษีใ นอนาคตจะมีจํา นวน เพียงพอกับการใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและ จะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริง
4 การซื้อกิจการ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2553 บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด) ได้ซื้อหุ้นของบริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด (“กิจการที่ ถูกซื้อ”) ในอัตราร้อยละ 50 โดยสินทรัพย์สุทธิของกิจการที่ถูกซื้อ ณ วันที่ซื้อธุรกิจประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้
170
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : พันบาท
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ราคาทุนและ ค่าเสื่อมราคาสะสมของมูลค่าที่รับรู้มีจํานวนเงิน 1,767 ล้านบาท และ 93 ล้านบาท ตามลําดับ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เงินกู้ยืมที่มีดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์และหนี้สินสุทธิที่ระบุได้ หัก ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ค่าความนิยมติดลบจากการซื้อธุรกิจ สิ่งตอบแทนในการซื้อที่ได้จ่ายไป เงินสดที่ได้รับ เจ้าหนี้ค่าหุ้น กระแสเงินสดจ่ายสุทธิ
มูลค่าที่รับรู้
ปรับปรุง มูลค่ายุติธรรม
ยอดตามบัญชี
20,611 82,959 467,201 24,630
-
20,611 82,959 467,201 24,630
1,674,200 573 1,254 (985,000) (92) (45,223) (32,408) 1,208,705 (447,095) (76,810) 684,800 (20,611) (80,000) 584,189
314,514 314,514
1,359,686 573 1,254 (985,000) (92) (45,223) (32,408) 894,191
ผลการดําเนินงานสําหรับงวดระหว่างวันที่ 1 มิถนุ ายน 2553 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ของบริษทั ทรัพย์ทพิ ย์ จํากัด มีกาํ ไรสุทธิ 82 ล้านบาท
ง บ ก า ร เ งิ น
171
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2552 บริษัทย่อยทางอ้อมแห่งหนึ่ง (TOP Solvent (Vietnam ) LLC .) ได้ซื้อสินทรัพย์เพื่อดําเนินธุรกิจการจัดจําหน่าย ผลิตภัณฑ์โซลเว้นท์และปิโตรเคมีในประเทศเวียดนามจากบริษัท Shell Vietnam Limited (“กิจการที่ถูกซื้อ”) โดยสินทรัพย์ของกิจการที่ถูกซื้อ ณ วันที่ซื้อธุรกิจประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ หน่วย : พันบาท
มูลค่าที่รับรู้ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ ค่าความนิยมจากการซื้อธุรกิจ สิ่งตอบแทนในการซื้อที่ได้จ่ายไป
108,972 137,567 175,716 422,255 731,827 1,154,082
ปรับปรุง มูลค่ายุติธรรม
ยอดตามบัญชี
57,538 57,538
108,972 137,567 118,178 364,717
5 รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้แก่ บุคคลหรือกิจการต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทและบริษัทโดยการเป็นผู้ถือหุ้น หรือมีผู้ถือหุ้น ร่วมกัน หรือมีกรรมการร่วมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้กําหนดขึ้นโดยใช้ราคาตลาด หรือในราคาที่ตกลงกัน ตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ ความสัมพันธ์ทก่ี ลุม่ บริษทั มีกบั บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ซึง่ มีการควบคุม หรือควบคุมร่วมกันในกลุม่ บริษทั หรือเป็นกิจการทีก่ ลุม่ บริษทั ควบคุม หรือควบคุมร่วมกัน หรือเป็นบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุ่มบริษัท มีดังนี้
ชื่อกิจการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด
ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
ลักษณะความสัมพันธ์ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน
172
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ชื่อกิจการ บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด
TOP Solvent (Vietnam) LLC. บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด บริษัท ปตท. ค้าสากล จํากัด บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จํากัด บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัท พีทีที ฟีนอล จํากัด บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด
ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง ไทย เวียดนาม ไทย ไทย ไทย สิงคโปร์ ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
ลักษณะความสัมพันธ์ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทร่วมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทร่วมทางอ้อมและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกันและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน
นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดังต่อไปนี้ รายการ
นโยบายการกําหนดราคา
รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ รายได้ค่าเช่า ซื้อสินค้าและสินทรัพย์ ดอกเบี้ยรับและดอกเบี้ยจ่าย รายได้เงินปันผล รายได้อื่นและค่าใช้จ่ายอื่น ค่าตอบแทนกรรมการ
ราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไม่มี ราคาตลาดรองรับ ตามอัตราที่ตกลงกันตามสัญญา ตามสิทธิการได้รับเงินปันผล ราคาตามสัญญา ตามจํานวนที่ได้รับการอนุมัติโดยผู้ถือหุ้นของกลุ่มบริษัท
ง บ ก า ร เ งิ น
173
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายการที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได้ดังนี้ หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ซื้อนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ ซื้อขายนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ เพื่อสํารองนํ้ามันตามกฏหมาย* รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น บริษัทย่อย รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ซื้อนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ ซื้อขายนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ เพื่อสํารองนํ้ามันตามกฎหมาย* ซื้อสินทรัพย์ ดอกเบี้ยรับ รายได้เงินปันผล รายได้ค่าเช่าที่ดิน รายได้อื่น ดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายอื่น บริษัทร่วม ซื้อนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ ค่าใช้จ่ายอื่น ซื้อสินทรัพย์ กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ซื้อนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าตอบแทนกรรมการ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
166,819,489 119,610,218
147,393,743 134,987,205
161,355,263 114,342,425
142,190,255 123,950,427
178,103 28,038
1,582,800 44,845 477,999
178,048 26,921
1,582,800 44,834 468,426
-
-
42,668,749 30,885,003
40,082,137 29,648,241
-
-
3,642,040 5,519 200,327 3,104,911 48,399 931,858 38,338 452,223
357,440 14,795 139,908 5,804,912 48,395 674,545 19,445 343,403
25,364 40,177 2,437
43,082 8,592
25,364 40,177 2,437
43,082 8,592
8,966,814 5,215,067 6,497 78,881 101,299
11,650,331 2,577,503 20,424 62,697 90,229
6,972,521 624,478 4,421 78,881 50,009
9,737,480 301,960 20,424 62,697 39,499
* รายการซื้อขายนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบเพื่อการรักษาระดับสํารองนํ้ามันตามที่กฎหมายกําหนดนี้เป็นรายการที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันหลายแห่ง และได้ถูกกลับรายการในงบการเงินสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 แล้ว
174
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ปตท. ค้าสากล จํากัด บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จํากัด บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
8,588,692
7,655,683
8,417,865
7,403,113
-
-
4,210,395 172,422 48,761
3,242,357 126,065 65,417
246 120 76,333 605,515 1,390 197 9,272,493 9,272,493
801 124,289 548,958 1,432 2,404 8,333,567 8,333,567
605,167 13,454,610 13,454,610
548,632 11,385,584 11,385,584
ง บ ก า ร เ งิ น
175
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
348,051
10,137
68,982
9,124
-
-
55,642 67,373 3,056 2,282 3,662 1,562 80,156 1,480 1,170 64
22,780 23,726 3,046 5,788 17,339 162 23,233 404 2,559 79
7,302
15,375
7,302
15,375
140 3,692 359,185
25,512
140 3,692 296,563
123,615
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม บริษัทย่อย บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด รวม
2553
2552
-
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 1,882,500 2,559,000 155,000 4,596,500
1,622,500 2,385,000 4,007,500
อัตราดอกเบี้ยในระหว่างปี 2553 และ 2552 มีอัตราเท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะสั้นตามตลาดเงิน (MMR ) แต่ไม่เกินอัตราดอกเบี้ย เงินกู้ยืมขั้นตํ่า (MLR ) ถัวเฉลี่ยของสถาบันการเงิน 5 แห่ง หักด้วยอัตราส่วนลด
176
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
2553
2552
-
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 4,007,500 1,839,000 (1,250,000) 4,596,500
3,159,000 1,848,500 (1,000,000) 4,007,500
เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท พีทีที ฟีนอล จํากัด รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
9,448,320
10,996,439
8,417,178
9,413,470
-
-
2,572,527 346,485 128,777 1,988
2,025,225 166,960 97,294 1,150
102,112
55,901
1,728
-
103,376 7,747 9,661,555
110,720 11,163,060
11,468,683
11,704,099
ง บ ก า ร เ งิ น
177
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริษัทไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด บริษัทร่วม บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
39,168
362,181
38,539
361,501
-
-
29,289 38,835 2,032 18
268 12,519 33,353 9,138 5,290
16,311
24,428
16,311
24,428
5,989 61,468
2,748 389,357
5,989 131,013
2,748 449,245
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด รวม
2553
2552
-
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
1,113,216 1,863,729 20,573 2,997,518
1,063,392 2,064,811 37,468 3,165,671
อัตราดอกเบี้ยในระหว่างปี 2553 และ 2552 มีอัตราเท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะสั้นตามตลาดเงิน (MMR ) แต่ไม่เกินอัตราดอกเบี้ย เงินกู้ยืมขั้นตํ่า (MLR ) ถัวเฉลี่ยของสถาบันการเงิน 5 แห่ง หักด้วยอัตราส่วนลด
178
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
2553
2552
-
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 3,165,671 (168,153) 2,997,518
3,165,671 3,165,671
สัญญาสําคัญที่ทํากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 กลุ่มบริษัทมีสัญญาที่สําคัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันดังนี้ สัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์นํ้ามัน บริษัทมีสัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์นํ้ามันกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ นํ้ามันจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ในสัญญา จนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยกเลิกสัญญา ด้วยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 6 เดือน สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์นํ้ามัน บริษัทมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์นํ้ามันกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายผลิตภัณฑ์จะเป็นไปตามที่กําหนด ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ในสัญญา จนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไว้ สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ บริษัทมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้กับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จะเป็น ไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับนี้มีระยะเวลา 10 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนกันยายน 2557 หรือจนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะตกลง ยินยอมยกเลิกสัญญาร่วมกัน สัญญาใช้บริการเทคโนโลยีและการสื่อสาร บริษัทมีสัญญาใช้บริการเทคโนโลยีและการสื่อสารกับบริษัทร่วมแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับนี้มี ระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนมิถุนายน 2554 และสามารถต่ออายุสัญญาได้ครั้งละ 5 ปี สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคานํ้ามัน บริษัทมีสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคานํ้ามันสําเร็จรูป และนํ้ามันดิบล่วงหน้ากับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งและบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง (“คู่สัญญา”) โดยบริษัทหรือคู่สัญญาดังกล่าวมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายส่วนต่างระหว่างราคาคงที่กับราคาลอยตัวสําหรับงวดนั้นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีปริมาณนํ้ามันภายใต้สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคานํ้ามันกับบริษัทย่อยและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ดังกล่าวเป็นจํานวน 0.12 ล้านบาร์เรล และ 0.63 ล้านบาร์เรล ตามลําดับ (31 ธันวาคม 2552: 1.81 ล้านบาร์เรล กับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน)
ง บ ก า ร เ งิ น
179
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สัญญาจัดหานํ้ามันปิโตรเลียมดิบและซื้อนํ้ามันสําเร็จรูป บริษัทมีสัญญาจัดหานํ้ามันปิโตรเลียมดิบและซื้อนํ้ามันสําเร็จรูปกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดย (ก) บริษัทจะขายผลิตภัณฑ์นํ้ามัน ปิโตรเลียมซึ่งผลิตจากโรงกลั่น และบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวจะเป็นผู้รับซื้อในปริมาณร้อยละ 49.99 ของจํานวนการกลั่นที่ 270,000 บาร์เรลต่อวัน และ (ข) บริษัทที่เกี่ยวข้องกันจะจัดหาและบริษัทจะรับซื้อนํ้ามันปิโตรเลียมดิบและ/หรือวัตถุดิบเพื่อรองรับโรงกลั่นที่การผลิต ร้อยละ 49.99 ของจํานวนการกลั่นที่ 270,000 บาร์เรลต่อวัน ระยะเวลาการจ่ายชําระค่านํ้ามันปิโตรเลียมดิบเป็นไปตามข้อตกลงที่ตกลงร่วมกัน สัญญาให้บริการรับวัตถุดิบผ่านทุ่นรับนํ้ามันดิบ บริษัทมีสัญญากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งเพื่อให้บริการรับวัตถุดิบจากทุ่นรับนํ้ามันดิบ สัญญาฉบับนี้มีระยะเวลา 15 ปี ซึ่งจะสิ้นสุด ในปี 2566 โดยบริษัทจะคิดค่าบริการตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาบริการรับจ้างกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียมดิบ บริษัทมีสัญญาบริการรับจ้างกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียมดิบกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวจะเป็นผู้จัดหานํ้ามัน ปิโตรเลียมดิบให้กับบริษัท และบริษัทจะให้บริการรับจ้างกลั่นนํ้ามัน ในการนี้ บริษัทจะได้รับชําระหรือจ่ายชําระให้กับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ขึ้นอยู่กับค่าบริการรับจ้างกลั่นนํ้ามันสําหรับค่าการกลั่นในส่วนของผลต่างของมูลค่าสินค้าที่ขนออกไปสูงกว่าหรือตํ่ากว่ามูลค่าต้นทุนนํ้ามัน ปิโตรเลียมดิบที่หามาในเดือนเดียวกัน รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่นๆ และต้นทุนในการจัดหาเงิน (ถ้ามี) ที่เกิดขึ้นของทั้งสองฝ่าย สัญญาฉบับนี้ไม่ได้ ระบุวันที่สิ้นสุดของสัญญา สัญญาแลกเปลี่ยน Long Residue และนํ้ามันเตา บริษัทมีสัญญาแลกเปลี่ยน Long Residue และนํ้ามันเตากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งเพื่อนํา Long Residue ของบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ดังกล่าวเข้ากระบวนการกลั่นนํ้ามันของบริษัท โดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวจะรับนํ้ามันเตาที่ได้จากกระบวนการกลั่นเพื่อขายในตลาด สัญญาฉบับนี้จะสิ้นสุดเมื่อฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดขอยกเลิกสัญญาโดยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 90 วัน การจ่ายเงินจะหัก กลบลบหนี้ตามราคาที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาการใช้บริการขนส่งนํ้ามันทางท่อ บริษัทได้ทําสัญญาการใช้บริการขนส่งนํ้ามันทางท่อกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะเวลา 20 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2557 และสามารถต่ออายุสัญญาได้ สัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติ บริษัทและบริษัทย่อยสองแห่งมีสัญญาจัดหาก๊าซธรรมชาติกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวจะจัดหา ก๊าซธรรมชาติให้กับบริษัทและบริษัทย่อยดังกล่าวตามปริมาณและราคาที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 8 ถึง 25 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในระหว่างปี 2557 ถึง 2566 สัญญาชดเชยต้นทุน บริษัทย่อยหลายแห่งมีสัญญาชดเชยต้นทุนกับบริษัทเพื่อชดเชยต้นทุนการก่อสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติและเพื่อมีสิทธิในการใช้ท่อส่งก๊าซ ดังกล่าว ท่อส่งนํ้า และการใช้ประโยชน์บนที่ดินสําหรับการก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าเพื่อเชื่อมโยงระบบของบริษัทย่อยดังกล่าวกับการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาเหล่านั้น บริษัทย่อยดังกล่าวตกลงที่จะจ่ายชดเชยต้นทุนการลงทุนที่เกิดขึ้น ให้กับบริษัทตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 25 ปี หรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญาซื้อไฟฟ้าที่ บริษัทย่อยดังกล่าวทําไว้กับ กฟผ. แล้วแต่เวลาใดจะถึงก่อน
180
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
สัญญาซื้อไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้า บริษัทย่อยหลายแห่ง (“ผู้ขาย”) มีสัญญาซื้อไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้ากับบริษัทและบริษัทย่อยสองแห่งเป็นเวลา 20 และ 25 ปี ซึ่งจะสิ้นสุด ในปี 2566 และ 2570 โดยผู้ขายจะขายกระแสไฟฟ้าและพลังงานไอนํ้าให้กับบริษัทและบริษัทย่อยดังกล่าวในปริมาณและราคาที่ตกลงกัน ตามที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาบริการและจัดหา บริษัทย่อยหลายแห่งมีสัญญาบริการและจัดหากับบริษัท โดยบริษัทจะให้บริการเกี่ยวกับการดําเนินงาน การซ่อมแซมและบํารุงรักษา การบริหาร การควบคุมและการจัดการ การจัดซื้อจัดจ้าง การขนส่งนํ้ามันทางท่อ การบําบัดนํ้าเสียและสาธารณูปโภค การให้บริการทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ การเงิน การบัญชี และทรัพยากรบุคคลแก่บริษัทย่อย ซึ่งบริษัทย่อยดังกล่าวตกลงที่จะจ่ายค่าธรรมเนียมให้กับบริษัท ตามที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 3 ปี หรือ 24 ปี หรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญาเช่าที่ดินที่บริษัทย่อยแห่งหนึ่งทําไว้ กับบริษัทแล้วแต่เวลาใดจะถึงก่อน หรือสิ้นสุดพร้อมกับสัญญาซื้อไฟฟ้าที่บริษัทย่อยอีกแห่งหนึ่งทําไว้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สัญญาเช่าที่ดิน บริษัทย่อยหลายแห่งมีสัญญาเช่าที่ดินกับบริษัท เพื่อเช่า/เช่าช่วงที่ดินบางแห่ง ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนกันยายน 2565 โดยมีค่าเช่ารวมสําหรับ ปี 2553 เป็นจํานวนเงิน 48.4 ล้านบาท และจะมีการปรับอัตราค่าเช่าทุก 5 ปี สัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันหลายแห่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคา ซื้อขายของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลา 3 ถึง 15 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในระหว่าง ปี 2553 ถึง 2560 สัญญาให้บริการให้คําแนะนําทางด้านเทคนิค บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการให้คําแนะนําด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงานและปิโตรเคมีกับบริษัทและบริษัทย่อยสามแห่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีระยะเวลา 3 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในระหว่างปี 2554 และ 2556 สัญญาให้บริการขนส่งทางเรือแบบเช่าเหมา บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาให้บริการขนส่งทางเรือแบบเช่าเหมากับบริษัทและบริษัทย่อยอีกแห่งหนึ่ง โดยค่าบริการจะเป็นไปตามที่กําหนด ไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีกําหนดระยะเวลา 1 ปี และ 3 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2554 และ 2556 สัญญาเช่าพื้นที่สํานักงาน บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทําสัญญาเช่าพื้นที่สํานักงานกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งและบริษัทย่อยอีกแห่งหนึ่ง โดยค่าเช่าจะเป็นไปตามที่ กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้ไม่ได้ระบุวันที่สิ้นสุดของสัญญา ดังนั้นการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญาจะดําเนินต่อไปจนกระทั่ง ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะยกเลิกสัญญาด้วยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์เอทานอล บริษัทมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์เอทานอลกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยที่ปริมาณการซื้อขายและราคาซื้อขายของผลิตภัณฑ์เอทานอลจะเป็น ไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับนี้จะสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2553 และจะต่ออายุออกไปโดยอัตโนมัติอีกครั้งละ 1 ปี จนกว่าคู่สัญญา ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดแจ้งยกเลิกสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน
ง บ ก า ร เ งิ น
181
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
6 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ และกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทประจํา (ระยะสั้นกว่า 3 เดือนนับตั้งแต่วันที่ลงทุน) ตั๋วสัญญาใช้เงินสถาบันการเงิน ตั๋วแลกเงิน รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
2,298
1,856
581
580
8,725,331
7,329,210
6,795,836
5,674,708
489,257 4,000,000 13,216,886
1,236,942 50,107 8,618,115
2 4,000,000 10,796,419
2 5,675,290
ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อื่นๆ รวม
2553
2552
12,741,078 413,875 61,933 13,216,886
7,883,352 642,934 91,829 8,618,115
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 10,794,492 1,927 10,796,419
5,673,037 2,135 118 5,675,290
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้จํานําเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากกระแสรายวัน และเงินฝากประจําเป็นจํานวนเงินรวม 647 ล้านบาท (2552: 1,267 ล้านบาท) เพื่อเป็นการประกันวงเงินสินเชื่อตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 โดยบริษัทย่อย ดังกล่าวสามารถเบิกถอนเงินฝากเหล่านี้ได้เมื่อต้องการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในสัญญาเงินกู้ที่เกี่ยวข้อง
182
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
7 เงินลงทุนอื่น หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
เงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากธนาคารประเภทประจํา ตั๋วสัญญาใช้เงินสถาบันการเงิน ตราสารหนี้ที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย
เงินลงทุนระยะยาวอื่น ตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย ตราสารอื่นที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
326,228 300,894 190,538 817,660
455,115 164,864 619,979
-
-
221,539 779,497 1,001,036 1,818,696
232,838 779,497 1,012,335 1,632,314
221,539 779,497 1,001,036 1,001,036
232,838 779,497 1,012,335 1,012,335
เงินลงทุนอื่นทั้งหมดของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เป็นสกุลเงินบาท
เงินฝากธนาคารประเภทประจํา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ได้จาํ นําเงินฝากธนาคารประเภทประจําเป็นจํานวนเงินรวม 121 ล้านบาท (2552: 455 ล้านบาท) เพือ่ เป็นการประกันวงเงินสินเชือ่ ตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 โดยบริษทั ย่อยดังกล่าวสามารถเบิกถอนเงินฝากดังกล่าว ได้เมื่อต้องการ ตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย ในปี 2550 บริษัทได้เข้าร่วมทําสัญญาการลงทุนในกองทุนเปิด เอ็มเอฟซี เอนเนอร์จี ฟันด์ กับบริษัทหลายแห่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระดม เงินลงทุนจากผู้ลงทุนสถาบันที่ต้องการลงทุนส่วนใหญ่ในธุรกิจหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ในการนี้ บริษัทผูกพันจองซื้อหน่วยลงทุน จํานวน 40 ล้านหน่วย ในราคาเท่ากับมูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 10 บาท หรือคิดเป็นเงินลงทุน 400 ล้านบาท ในระหว่างปี 2552 บริษัทชําระเงิน ค่าหน่วยลงทุนเพิ่มเป็นจํานวน 10.59 ล้านหน่วย คิดเป็นจํานวนเงินรวม 105.9 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนในกองทุนนี้มีจํานวนเงิน 221.5 ล้านบาท (2552 : 232.8 ล้านบาท)
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด
ตราสารอื่นที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด
ขนส่งนํ้ามันทางท่อ
ประเภทของธุรกิจ
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
9.19
9.19
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ 2553 2552 (ร้อยละ) (ร้อยละ)
8,479,000
2553
8,479,000
2552
ทุนชําระแล้ว
779,497
779,497
2552
779,497
2553
วิธีราคาทุน
779,497
งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ
-
-
2553
-
-
2552
เงินปันผลรับ
หน่วย : พันบาท
ง บ ก า ร เ งิ น 183
184
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
8 ลูกหนี้การค้า หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น
5
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวม (กลับรายการ) หนี้สูญ และหนี้สงสัยจะสูญสําหรับปี
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
9,272,493 9,857,763 19,130,256 19,130,256
8,333,567 11,857,166 20,190,733 20,190,733
13,454,610 4,424,969 17,879,579 17,879,579
11,385,584 6,197,714 17,583,298 17,583,298
-
(1,290)
-
-
การวิเคราะห์อายุลูกหนี้การค้ามีดังนี้ หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ภายในกําหนดระยะเวลาการรับชําระหนี้ เกินกําหนดระยะเวลาการรับชําระหนี้ น้อยกว่า 3 เดือน 3–6 เดือน 6–12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
5
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
9,272,307
8,331,874
13,454,610
11,385,584
179 7 9,272,493 9,272,493
1,693 8,333,567 8,333,567
13,454,610 13,454,610
11,385,584 11,385,584
ง บ ก า ร เ งิ น
185
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
กิจการอื่น ภายในกําหนดระยะเวลาการรับชําระหนี้ เกินกําหนดระยะเวลาการรับชําระหนี้ น้อยกว่า 3 เดือน 3–6 เดือน 6–12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
9,727,221
11,762,874
4,424,969
6,197,714
10,549 11,812 16,859 91,322 9,857,763 9,857,763 19,130,256
6,653 5,437 23,914 58,288 11,857,166 11,857,166 20,190,733
4,424,969 4,424,969 17,879,579
6,197,714 6,197,714 17,583,298
โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัทมีระยะเวลาตั้งแต่ 15 วัน ถึง 90 วัน ลูกหนี้การค้ากิจการอื่นที่มียอดค้างชําระเกินกว่า 12 เดือน ของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้รวมลูกหนี้การค้ารัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่งเป็นจํานวนเงิน 91 ล้านบาท (2552: 58 ล้านบาท) ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทย่อยดังกล่าวอยู่ในระหว่างการเจรจากับลูกหนี้รัฐวิสาหกิจดังกล่าว และได้รับความเห็นทางกฏหมายว่าบริษัทย่อยจะได้รับชําระเงินจากลูกหนี้รัฐวิสาหกิจดังกล่าวเต็มจํานวน ดังนั้นบริษัทย่อยดังกล่าวจึงไม่ได้ บันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับมูลหนี้คงค้างดังกล่าว ยอดลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อื่นๆ รวม
2553
2552
15,926,600 3,005,415 198,241 19,130,256
15,433,934 4,587,994 168,805 20,190,733
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 16,715,637 1,163,942 17,879,579
14,264,147 3,319,151 17,583,298
186
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
9 สินค้าคงเหลือ หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
นํ้ามันปิโตรเลียมดิบและวัตถุดิบ วัสดุ อะไหล่และของใช้สิ้นเปลือง ผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป และผลิตภัณฑ์กึ่งสําเร็จรูป สินค้าระหว่างทาง นํ้ามันปิโตรเลียมดิบ วัสดุ อะไหล่และของใช้สิ้นเปลือง หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลงให้เท่ากับ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ สุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
14,679,442 1,195,148 9,488,203
11,324,636 1,178,288 7,222,639
12,773,084 804,927 7,014,390
9,403,067 826,472 5,099,471
7,633,232 32,996,025
9,452,995 13,309 29,191,867
7,633,232 28,225,633
9,452,995 13,309 24,795,314
(1,144) 32,994,881
(255,277) 28,936,590
28,225,633
(249,236) 24,546,078
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินค้าคงเหลือข้างต้นของกลุ่มบริษัทและบริษัทได้รวมสินค้าคงเหลือที่ต้องสํารองไว้ตามกฎหมายเป็นจํานวนเงิน 8,108 ล้านบาท และ 7,696 ล้านบาท ตามลําดับ (2552: 7,888 ล้านบาท และ 7,350 ล้านบาท ตามลําดับ) ต้นทุนของสินค้าคงเหลือที่บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายและได้รวมไว้ในบัญชีต้นทุนขายสินค้าสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีจํานวนเงิน 308,102 ล้านบาท (2552: 268,214 ล้านบาท) สําหรับงบการเงินรวม และ 307,209 ล้านบาท (2552: 270,383 ล้านบาท) สําหรับงบการเงิน เฉพาะกิจการ ในปี 2553 กลุ่มบริษัทและบริษัทรับรู้การปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นจํานวนเงิน 1 ล้านบาท สําหรับ กลุ่มบริษัท (2552: 255 ล้านบาท และ 249 ล้านบาท ตามลําดับ) และรับรู้การกลับรายการค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลงให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะ ได้รับเป็นจํานวนเงิน 255 ล้านบาท และ 249 ล้านบาท ตามลําดับ (2552: 1,168 ล้านบาท และ 888 ล้านบาท ตามลําดับ)
ง บ ก า ร เ งิ น
187
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
10 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้กองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิง ลูกหนี้บริษัทประกันภัย เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ ของพนักงานส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี อื่นๆ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
312,372 822,922 349,507 957,388
312,174 296,521 295,569 -
171,894 668,372 349,507 -
197,984 168,158 295,569 -
39,928 235,754 2,717,871
39,030 276,707 1,220,001
39,928 169,280 1,398,981
39,030 198,966 899,707
เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2553 เครื่องกําเนิดไฟฟ้ากังหันไอนํ้าของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้รับความเสียหายจากปัญหานํ้ามันหล่อลื่นรั่วไหล เนื่องจากท่อส่งนํ้ามันหล่อลื่นแตก ทําให้โรงไฟฟ้าต้องหยุดเดินเครื่องจักรทั้งหมด เครื่องกําเนิดไฟฟ้ากังหันไอนํ้าดังกล่าวได้รับการซ่อมแซม และโรงไฟฟ้าสามารถกลับมาเดินเครื่องการผลิตได้ตามปกติเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 บริษัทย่อยดังกล่าวได้ดําเนินการเรียกค่าสินไหม ทดแทนต่อความเสียหายของเครื่องจักรและความเสียหายจากธุรกิจหยุดชะงักจากบริษัทประกันภัยในประเทศแห่งหนึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทย่อยดังกล่าวมีลูกหนี้บริษัทประกันภัยจากการเรียกค่าสินไหมทดแทนนี้เป็นจํานวนเงิน 957 ล้านบาท
11 เงินลงทุนในบริษัทย่อย หน่วย : พันบาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
8,313,387 450,000 8,763,387
8,094,387 219,000 8,313,387
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัทย่อย บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด รวม 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 54.99 24.00
99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 54.99 24.00
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ 2553 2552 (ร้อยละ) (ร้อยละ)
2,572,414 1,757,891 630,000 40,000 1,250,000 670,000 2,810,000 1,771,000 11,501,305
2553
2552
2,572,414 1,757,891 630,000 40,000 1,250,000 220,000 2,810,000 1,771,000 11,051,305
ทุนชําระแล้ว
2,161,193 1,978,726 630,000 40,000 1,250,000 670,000 1,545,500 487,968 8,763,387
2553
2,161,193 1,978,726 630,000 40,000 1,250,000 220,000 1,545,500 487,968 8,313,387
วิธีราคาทุน
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
2,572,414 377,947 154,550 3,104,911
4,951,897 676,788 154,550 21,677 5,804,912
เงินปันผลรับ 2553 2552
หน่วย : พันบาท
ง บ ก า ร เ งิ น
เงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และเงินปันผลรับสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันเดียวกัน มีดังนี้
188
ง บ ก า ร เ งิ น
189
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
12 เงินลงทุนในบริษัทร่วม หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม
ณ วันที่ 1 มกราคม ส่วนแบ่งขาดทุนสุทธิจากเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
202,311
229,198
30,000
232,500
(72,467) 129,844
(26,887) 202,311
30,000
(202,500) 30,000
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด รวม
บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์จํากัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด รวม
20.00 30.00
20.00 30.00
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ 2553 2552 (ร้อยละ) (ร้อยละ) 150,000 675,000 825,000
20.00
20.00
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ 2553 2552 (ร้อยละ) (ร้อยละ)
150,000 675,000 825,000
ทุนชําระแล้ว 2553 2552 30,000 202,500 232,500
150,000 150,000
150,000 150,000
งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนชําระแล้ว 2553 2552
30,000 202,500 232,500
งบการเงินรวม วิธีราคาทุน 2553 2552
40,026 162,285 202,311
30,000 30,000
30,000 30,000
วิธีราคาทุน 2553 2552
39,611 90,233 129,844
วิธีส่วนได้เสีย 2553 2552
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
-
-
-
เงินปันผลรับ 2553 2552
หน่วย : พันบาท
-
เงินปันผลรับ 2553 2552
หน่วย : พันบาท
ง บ ก า ร เ งิ น
เงินลงทุนในบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และเงินปันผลรับสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันเดียวกัน มีดังนี้
190
ง บ ก า ร เ งิ น
191
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทร่วม ซึ่งกลุ่มบริษัทบันทึกเงินลงทุนในบริษัทร่วมดังกล่าวตามวิธี ส่วนได้เสียตามสัดส่วนที่ถือหุ้นโดยกลุ่มบริษัทมีดังนี้ หน่วย : พันบาท สัดส่วนความ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ กําไร เป็นเจ้าของ รวม รวม รวม (ขาดทุน) (ร้อยละ) ปี 2553 บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด รวม
20 30
1,322,437 2,580,742 3,903,179
1,124,381 2,279,966 3,404,347
1,180,528 682,786 1,863,314
(2,074) (240,173) (242,247)
ปี 2552 บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด รวม
20 30
881,824 2,767,497 3,649,321
681,693 2,226,546 2,908,239
853,498 340,716 1,194,214
(34,469) (66,643) (101,112)
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 2,625,422 1,053,636 ได้มาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุ 4) เพิ่มขึ้น โอน - สุทธิ 2,390 จําหน่าย (19) ผลต่างจากการแปลงค่าใน การจัดทํางบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 2,625,403 1,056,026 ได้มาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุ 4) 395,700 499,355 เพิ่มขึ้น 718,980 1,386 โอน - สุทธิ 72,643 จําหน่าย ผลต่างจากการแปลงค่าใน การจัดทํางบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 3,740,083 1,629,410
ที่ดิน
-
-
-
-
-
283,546 -
-
343,062 -
5,365 79,760,604 21,758,674 15,896,373
-
5,365 79,477,058 21,758,674 15,553,311
919,766 (4,045)
-
5,365 78,561,337 21,758,674 15,553,311
ส่วน ปรับปรุง สินทรัพย์ อาคาร ที่เช่า
969
175,716 4,751 107,490 (3,734)
-
1,163 466,723 (82,438)
845,307 167,462 550,230 (2,211)
500,694
-
9,763 22,004 (15,688)
484,615
561,852
9,018 11,362 405,819 142,977 (90,127) (102,199) - (24,719) 192,637 5,006,487 2,780,139
-
192,637 3,470,418 2,464,447
-
-
192,637 3,185,226 2,078,999
เครื่องจักร เครื่องมือ โรงกลั่น และ นํ้ามันและ โรงผลิต โรงผลิต ระบบ อุปกรณ์ อุปกรณ์ พาราไซลีน กระแสไฟฟ้า สายส่งไฟฟ้า โรงงาน
เครื่องตกแต่ง เรือบรรทุก ติดตั้ง นํ้ามันและ เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ สํานักงาน เคมีเหลว และอื่นๆ
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รวม
-
969
175,716 1,322,597 (109,838)
1,767,241 3,571,155 (203,811) - (24,719) 38,560 1,884,337 133,254,521
6,038 11,823 2,905 2,669,060 717 (1,798,994) (9,274) -
38,174 1,002,448 128,144,655
-
2,415 1,304,505 5,679 (1,524,052) (3,914) -
33,994 1,221,995 126,755,211
สินทรัพย์ ยาน ระหว่าง พาหนะ ก่อสร้าง
หน่วย : พันบาท
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวม
ง บ ก า ร เ งิ น
13 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
192
712,413 39,940 752,353 28,357 56,514 837,224 -
-
-
-
-
-
ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 397,176 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 397,176
ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ผลต่างจากการแปลงค่าใน การจัดทํางบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ได้มาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุ 4) ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ผลต่างจากการแปลงค่าใน การจัดทํางบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ที่ดิน
-
3,721,883 -
-
-
2,221 49,682,737
236 -
1,985 45,960,854
-
งบการเงินรวม
-
5,565,292
1,115,862 -
4,449,430
-
3,334,330 1,115,100 -
-
6,961,836
705,682 -
6,256,154
-
5,645,875 610,279 32
58,447 231,765 (1,948)
-
1,405
(355) 113,431 1,959,024
6,276 -
107,155 1,671,115
-
97,523 1,426,416 9,632 248,297 (3,630)
เครื่องจักร เครื่องมือ โรงกลั่น และ นํ้ามันและ โรงผลิต โรงผลิต ระบบ อุปกรณ์ อุปกรณ์ พาราไซลีน กระแสไฟฟ้า สายส่งไฟฟ้า โรงงาน
1,749 42,267,946 236 3,693,365 (457)
ส่วน ปรับปรุง สินทรัพย์ อาคาร ที่เช่า
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
-
419,452
118,362 (42,446)
343,536
-
289,086 111,847 (57,397)
-
349,104
2,513 44,695 (92,308)
394,204
-
360,239 47,808 (13,843)
เครื่องตกแต่ง เรือบรรทุก ติดตั้ง นํ้ามันและ เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ สํานักงาน เคมีเหลว และอื่นๆ
-
26,293
3,723 4,078 (7,665)
26,157
-
23,947 4,353 (2,143)
รวม
32
93,040 6,005,353 (144,367)
-
397,176 398,581
(355) - 65,916,614
-
- 59,962,943
-
- 54,159,524 - 5,880,857 - (77,470)
สินทรัพย์ ยาน ระหว่าง พาหนะ ก่อสร้าง
หน่วย : พันบาท
ง บ ก า ร เ งิ น 193
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 2,228,246 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 2,228,227 วันที่ 31 ธันวาคม 2553 3,342,907
ที่ดิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
3,616 36,293,391 18,424,344 3,380 33,516,204 17,309,244 3,144 30,077,867 16,193,382
341,223 303,673 792,186
9,297,157 8,934,537
9,907,436
85,482 1,799,303 2,120,911 79,206 3,046,058 2,360,687
95,114 1,758,810 1,789,913
106,490 212,748
124,376
เครื่องจักร เครื่องตกแต่ง ส่วน เครื่องมือ เรือบรรทุก ติดตั้ง ปรับปรุง โรงกลั่น และ นํ้ามันและ เครื่องใช้ สินทรัพย์ นํ้ามันและ โรงผลิต โรงผลิต ระบบ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ สํานักงาน อาคาร ที่เช่า อุปกรณ์ พาราไซลีน กระแสไฟฟ้า สายส่งไฟฟ้า โรงงาน เคมีเหลว และอื่นๆ
งบการเงินรวม
ง บ ก า ร เ งิ น
รวม
12,017 1,002,448 67,784,536 12,267 1,884,337 66,939,326
10,047 1,221,995 72,198,511
สินทรัพย์ ยาน ระหว่าง พาหนะ ก่อสร้าง
หน่วย : พันบาท
194
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น โอน - สุทธิ จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น โอน - สุทธิ จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
2,621,090 (19) 2,621,071 13,500 2,634,571
ที่ดิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
722,334 2,060 724,394 53,188 777,582
อาคาร 72,121,992 919,766 (4,045) 73,037,713 283,547 73,321,260
1,111,611 34,164 (3,734) 1,142,041 67,045 (360) 1,208,726
284,288 4,666 9,970 (257) 298,667 142,367 (92,388) 348,646
งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องจักร เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ ติดตั้งเครื่องใช้ โรงกลั่นนํ้ามัน และอุปกรณ์ สํานักงาน และอุปกรณ์ โรงงาน และอื่นๆ 15,309 2,664 (1,519) 16,454 717 (1,429) 15,742
ยานพาหนะ
865,639 644,109 (968,624) 541,124 761,241 (546,864) 755,501
สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง
77,742,263 648,775 (9,574) 78,381,464 774,741 (94,177) 79,062,028
รวม
หน่วย : พันบาท
ง บ ก า ร เ งิ น 195
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
2,223,914 2,223,895 2,237,395
397,176 397,176
-
ที่ดิน
211,329 189,742 219,612
-
511,005 23,647 534,652 23,318 557,970
อาคาร
33,330,457 30,867,771 27,743,936
-
38,791,535 3,378,864 (457) 42,169,942 3,407,382 45,577,324
525,344 496,992 509,467
-
586,267 62,411 (3,629) 645,049 54,570 (360) 699,259
58,962 51,483 156,885
-
225,326 22,066 (208) 247,184 30,514 (85,937) 191,761
4,919 4,972 4,253
-
10,390 1,408 (316) 11,482 1,436 (1,429) 11,489
ยานพาหนะ
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
865,639 541,124 755,501
-
-
สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องจักร เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ ติดตั้งเครื่องใช้ โรงกลั่นนํ้ามัน และอุปกรณ์ สํานักงาน และอุปกรณ์ โรงงาน และอื่นๆ
ง บ ก า ร เ งิ น
37,220,564 34,375,979 31,627,049
397,176 397,176
40,124,523 3,488,396 (4,610) 43,608,309 3,517,220 (87,726) 47,037,803
รวม
หน่วย : พันบาท
196
ง บ ก า ร เ งิ น
197
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจํานวนแล้วแต่ยังคงใช้งานถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ในงบการเงินรวมมีจํานวนเงิน 1,619 ล้านบาท (2552: 1,569 ล้านบาท) และในงบการเงินเฉพาะกิจการมีจํานวน เงิน 1,312 ล้านบาท (2552: 1,290 ล้านบาท) บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้จํานองโรงผลิตกระแสไฟฟ้า และบริษัทย่อยอีกแห่งหนึ่งได้จํานองที่ดิน อาคารและเครื่องจักรเพื่อเป็นหลักทรัพย์คํ้า ประกันเงินกู้ยืมระยะยาวตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 ราคาตามบัญชีของโรงผลิตกระแสไฟฟ้าและที่ดิน อาคาร และเครื่องจักรดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีจํานวนเงิน 6,194 ล้านบาท และ 1,144 ล้านบาท ตามลําดับ (2552: 6,618 ล้านบาท สําหรับโรงผลิตกระแสไฟฟ้า)
14 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม หมายเหตุ ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ได้มาจากการซื้อธุรกิจ เพิ่มขึ้น ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทํางบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทํางบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
คอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล ค่าสิทธิ ซอฟท์แวร์ ลูกค้า 1,168,450 2,501 1,170,951 4,976 1,175,927
174,734 18,679 193,413 83,929 277,342
205,359 205,359 205,359
ค่าตัดจําหน่าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
595,486 60,747 656,233 58,371 714,604
95,203 11,963 107,166 27,075 134,241
-
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
572,964 514,718 461,323
79,531 86,247 143,101
205,359 205,359 205,359
4
ค่าความ นิยม
รวม
- 1,548,543 731,827 731,827 21,180 4,038 4,038 735,865 2,305,588 88,905 (73,598) (73,598) 662,267 2,320,895 -
690,689 72,710 763,399 85,446 848,845
857,854 735,865 1,542,189 662,267 1,472,050
198
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ คอมพิวเตอร์ ค่าสิทธิ ซอฟท์แวร์
รวม
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
783,953 2,509 786,462 3,770 790,232
61,087 15,805 76,892 64,341 141,233
845,040 18,314 863,354 68,111 931,465
ค่าตัดจําหน่าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
570,129 22,289 592,418 19,988 612,406
29,606 5,417 35,023 6,272 41,295
599,735 27,706 627,441 26,260 653,701
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
213,824 194,044 177,826
31,481 41,869 99,938
245,305 235,913 277,764
15 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีภายหลังจากการนํามาหักกลบกันตามความเหมาะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ได้แสดงรวมไว้ในงบดุล โดยมีรายละเอียดดังนี้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สุทธิ
238,954 (1,171,264) (932,310)
324,958 (1,329,503) (1,004,545)
221,392 (1,150,316) (928,924)
319,338 (1,302,371) (983,033)
ง บ ก า ร เ งิ น
199
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหว่างปี 2553 และ 2552 มีดังนี้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม บันทึกเป็น (รายจ่าย) / รายได้ ใน
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กองทุนเงินบําเหน็จ ขาดทุนสะสมทางภาษี ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย ขาดทุนจากค่าสินไหมชดเชยความเสียหายต่อทรัพย์สิน อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา สํารองการประกันความเสี่ยงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและสัญญา ซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ค่าตัดจําหน่ายระบบสายส่งกระแสไฟฟ้าที่โอนให้ กฟผ. กําไรจากสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลงให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ อื่นๆ รวม สุทธิ
ณ วันที่ 1 มกราคม 2553
งบกําไร ขาดทุน (หมายเหตุ 28)
ส่วนของ ผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
96,056 78,410 119,153 28,782 2,557 324,958
6,183 (78,410) (28,782) 11,521 3,484 (86,004)
-
102,239 119,153 11,521 6,041 238,954
(1,287,082)
227,509
-
(1,059,573)
(15,289) (27,132) (1,329,503) (1,004,545)
7,705 6,384 (52,413) (30,746) (200) 158,239 72,235
-
(7,584) (20,748) (52,413) (30,746) (200) (1,171,264) (932,310)
200
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม บันทึกเป็น (รายจ่าย) / รายได้ ใน
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กองทุนเงินบําเหน็จ ขาดทุนสะสมทางภาษี ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา สํารองการประกันความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศและสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ค่าตัดจําหน่ายระบบสายส่งกระแสไฟฟ้าที่โอนให้ กฟผ. รวม สุทธิ
ณ วันที่ 1 มกราคม 2552
งบกําไร ขาดทุน (หมายเหตุ 28)
ส่วนของ ผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
99,519 1,261,275 119,153 67,395 2,790 1,550,132
(3,463) (1,182,865) (38,613) (233) (1,225,174)
-
96,056 78,410 119,153 28,782 2,557 324,958
(1,367,646)
80,564
-
(1,287,082)
(19,075) (33,517) (1,420,238) 129,894
3,786 6,385 90,735 (1,134,439)
-
(15,289) (27,132) (1,329,503) (1,004,545)
ง บ ก า ร เ งิ น
201
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็น (รายจ่าย) / รายได้ ใน
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กองทุนเงินบําเหน็จ ขาดทุนสะสมทางภาษี ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา สํารองการประกันความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศและสัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า กําไรจากสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลงให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ รวม สุทธิ
ณ วันที่ 1 มกราคม 2553
งบกําไร ขาดทุน (หมายเหตุ 28)
ส่วนของ ผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
96,056 72,790 119,153 28,782 2,557 319,338
6,183 (72,790) (28,782) (2,557) (97,946)
-
102,239 119,153 221,392
(1,287,082)
227,509
-
(1,059,573)
(15,289) (1,302,371) (983,033)
7,705 (52,413) (30,746) 152,055 54,109
-
(7,584) (52,413) (30,746) (1,150,316) (928,924)
202
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็น (รายจ่าย) / รายได้ ใน
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กองทุนเงินบําเหน็จ ขาดทุนสะสมทางภาษี ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคา สํารองการประกันความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศและสัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า รวม สุทธิ
ณ วันที่ 1 มกราคม 2552
งบกําไร ขาดทุน (หมายเหตุ 28)
ส่วนของ ผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
99,519 1,238,765 119,153 67,395 2,790 1,527,622
(3,463) (1,165,975) (38,613) (233) (1,208,284)
-
96,056 72,790 119,153 28,782 2,557 319,338
(1,367,646)
80,564
-
(1,287,082)
(19,075) (1,386,721) 140,901
3,786 84,350 (1,123,934)
-
(15,289) (1,302,371) (983,033)
ง บ ก า ร เ งิ น
203
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
16 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม
เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ของพนักงาน ระบบสายส่งไฟฟ้าที่โอนให้ กฟผ. - สุทธิ ค่าสิทธิในการใช้ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ท่อส่งนํ้า และการใช้ประโยชน์บนที่ดินรอตัดบัญชี - สุทธิ ค่าธรรมเนียมการเช่าที่ดินและค่าธรรมเนียม การจดทะเบียนสัญญาเช่าที่ดินรอตัดบัญชี - สุทธิ ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีอื่นๆ - สุทธิ เงินมัดจําและอื่นๆ รวม
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
527,425 69,161
546,153 90,441
527,425 -
546,153 -
222,391
240,061
111,331
120,120
505,435 643,781 134,165 2,102,358
548,627 861,819 119,856 2,406,957
505,435 557,551 43,686 1,745,428
548,627 747,542 41,261 2,003,703
17 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย งบการเงินรวม หมายเหตุ ส่วนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี - ส่วนที่มีหลักประกัน - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน
5
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
460,000 -
1,300,000 -
200,000 2,997,518
1,300,000 3,165,671
641,571 1,860,187 2,961,758
557,389 1,587,573 3,444,962
592,700 3,790,218
296,350 4,762,021
204
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบการเงินรวม
ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - ส่วนที่มีหลักประกัน - ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน หุ้นกู้ที่ไม่มีหลักประกัน รวม
2553
2552
1,821,280 8,059,193 31,181,142 41,061,615 44,023,373
2,026,281 8,355,673 29,607,517 39,989,471 43,434,433
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
6,537,950 31,181,142 37,719,092 41,509,310
5,630,650 29,607,517 35,238,167 40,000,188
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยแยกแสดงตามระยะเวลาครบกําหนดการจ่ายชําระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ได้ดังนี้ งบการเงินรวม
ครบกําหนดภายในหนึ่งปี ครบกําหนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ครบกําหนดหลังจากห้าปี รวม
2553
2552
2,961,758 33,894,465 7,167,150 44,023,373
3,444,962 25,006,958 14,982,513 43,434,433
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 3,790,218 30,551,942 7,167,150 41,509,310
4,762,021 20,255,654 14,982,513 40,000,188
ง บ ก า ร เ งิ น
205
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยส่วนที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีรายละเอียดของหลักประกันซึ่งเป็นสินทรัพย์ดังนี้ งบการเงินรวม หมายเหตุ เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝาก ออมทรัพย์และเงินฝากประจํา เงินลงทุนชั่วคราวในเงินฝากประจํา โรงผลิตกระแสไฟฟ้า - ราคาตามบัญชี ที่ดิน อาคารและเครื่องจักร - ราคาตามบัญชี รวม
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
6 7
646,856 121,019
1,266,851 455,115
-
-
13
6,193,823
6,617,606
-
-
13
1,144,478 8,106,176
8,339,572
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีวงเงินสินเชื่อระยะยาวซึ่งยังมิได้เบิกใช้เป็นจํานวนเงินรวม 6,235 ล้านบาท และ 6,200 ล้านบาท ตามลําดับ (2552: 6,902 ล้านบาท และ 6,703 ล้านบาท ตามลําดับ) ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา รวม
2553
2552
28,627,540 15,395,833 44,023,373
28,399,360 15,035,073 43,434,433
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 28,078,168 13,431,142 41,509,310
28,277,526 11,722,662 40,000,188
206
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบด้วย งบการเงินรวม
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ รวม
2553
2552
460,000 12,382,231 31,181,142 44,023,373
1,300,000 12,526,916 29,607,517 43,434,433
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 200,000 2,997,518 7,130,650 31,181,142 41,509,310
1,300,000 3,165,671 5,927,000 29,607,517 40,000,188
เงินกู้ยืมระยะยาว รายละเอียดของเงินกู้ยืมระยะยาวของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ งบการเงินรวม
บริษัท 1) วงเงินกู้ยืมร่วมจํานวน 4,927 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ย เท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (THBFIX) 6 เดือน บวกอัตรา ส่วนเพิ่ม โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 2553 2) วงเงินกู้ยืมร่วม - ย่อย จํานวน 1,000 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (THBFIX) 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 2553 3) วงเงินกู้ยืมแบบหมุนเวียนจํานวน 4,000 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (FDR) 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม และมีกําหนดชําระคืน เงินต้นทั้งจํานวนเมื่อสิ้นปีที่ 5 นับจากวันที่ในสัญญา
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
4,680,650
4,927,000
4,680,650
4,927,000
950,000
1,000,000
950,000
1,000,000
1,000,000
-
1,000,000
-
ง บ ก า ร เ งิ น
207
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบการเงินรวม
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
4) วงเงินกู้ยืมแบบหมุนเวียนจํานวน 1,700 ล้านบาท หรือเทียบเท่าสกุลเหรียญสหรัฐอเมริกา มีอัตรา ดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (FDR) 3 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม หรืออัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (LIBOR) 3 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม และมีกําหนดชําระคืน เงินต้นทั้งจํานวนเมื่อสิ้นปีที่ 5 นับจากวันที่ในสัญญา
500,000
-
500,000
-
บริษัทย่อย 5) วงเงินกู้ยืมจํานวน 200 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ย ระหว่างร้อยละ 4.00 ถึงร้อยละ 4.50 ต่อปี โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวดทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนธันวาคม 2553
175,000
1,000
-
-
6) วงเงินกู้ยืมจํานวน 40 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา มีอัตราดอกเบี้ย LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2543
484,741
630,116
-
-
7) วงเงินกู้ยืมจํานวน 1,000 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2543
409,406
481,052
-
-
8) วงเงินกู้ยืมจํานวน 920 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2543
374,287
439,787
-
-
9) วงเงินกู้ยืมจํานวน 371.4 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2543
148,227
174,167
-
-
208
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบการเงินรวม
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
69,970
91,500
-
-
441,220
767,049
-
-
12) วงเงินกู้ยืมจํานวน 2,625 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนเมษายน 2552
1,575,000
2,100,000
-
-
13) วงเงินกู้ยืมร่วมจํานวน 9,438 ล้านเยน มีอัตรา ดอกเบี้ย JPY LIBOR 3 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2552
1,038,730
1,915,245
-
-
535,000 12,382,231
12,526,916
7,130,650
5,927,000
10) วงเงินกู้ยืมจํานวน 308.6 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นรายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนธันวาคม 2542 11) วงเงินกู้ยืมจํานวน 144 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา มีอัตราดอกเบี้ย USD LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2543
14) วงเงินกู้ยืมจํานวน 565 ล้านบาท ดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกําหนดชําระคืนเป็นงวด ทุก 3 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2553 รวม
หุ้นกู้ ในปี 2552 บริษัทได้ออกหุ้นกู้อายุ 5 ปี เสนอขายต่อนักลงทุนทั่วไปและนักลงทุนสถาบันการเงินเป็นจํานวนเงิน 12,000 ล้านบาท มูลค่าที่ ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท โดยปีที่ 1 และปีที่ 2 มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.20 ต่อปี ปีที่ 3 และปีที่ 4 มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.30 ต่อปี และ ปีที่ 5 มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6.0 ต่อปี กําหนดจ่ายชําระดอกเบี้ยทุกวันที่ 13 กุมภาพันธ์ วันที่ 13 พฤษภาคม วันที่ 13 สิงหาคม และวันที่ 13 พฤศจิกายน ซึ่งจะครบกําหนดไถ่ถอนในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557
ง บ ก า ร เ งิ น
209
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ในปี 2553 บริษัทได้ออกหุ้นกู้อายุ 12 ปี เสนอขายต่อนักลงทุนสถาบันแบบเฉพาะเจาะจงไม่เกิน 10 ราย เป็นจํานวนเงิน 3,000 ล้านบาท มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท และมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.80 ต่อปี โดยมีกําหนดจ่ายชําระดอกเบี้ยทุกวันที่ 30 เมษายน และวันที่ 30 ตุลาคม ซึ่งจะครบกําหนดไถ่ถอนในวันที่ 30 เมษายน 2565 รายละเอียดหุ้นกู้ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ งบการเงินรวม
หุ้นกู้ หัก ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ รวม
2553
2552
31,187,344 (6,202) 31,181,142
29,615,734 (8,217) 29,607,517
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 31,187,344 (6,202) 31,181,142
29,615,734 (8,217) 29,607,517
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทและบริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย (Cross Currency Swap) กับสาขา ในประเทศของสถาบันการเงินต่างประเทศหลายแห่ง เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยของภาระหนี้สินทาง การเงินระยะยาวสกุลเงินบาทและสกุลเงินเยนเป็นจํานวนเงินรวม 3,000 ล้านบาท และ 9,438 ล้านเยน ตามลําดับ (31 ธันวาคม 2552: 3,000 ล้านบาท และ 9,438 ล้านเยน ตามลําดับ) โดยคู่สัญญามีข้อตกลงจะจ่ายชําระดอกเบี้ยและเงินต้นระหว่างกันตามเงื่อนไขและข้อกําหนดที่ ระบุไว้ในสัญญา
18 เจ้าหนี้การค้า งบการเงินรวม หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวม
5
2553
2552
9,661,555 9,322,144 18,983,699
11,163,060 6,945,289 18,108,349
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 11,468,683 7,955,118 19,423,801
11,704,099 5,288,453 16,992,552
210
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ยอดเจ้าหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อื่นๆ รวม
2553
2552
10,968,463 8,015,236 18,983,699
12,681,412 5,414,317 12,620 18,108,349
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
11,617,732 7,806,069 19,423,801
11,825,671 5,166,881 16,992,552
19 หนี้สินหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม
ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานค้างจ่าย กองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิงค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่น ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย อื่นๆ รวม
2553
2552
974,735 210,321 707,133 7,311 348,897 2,248,397
215,778 179,554 864,982 40,410 237,639 1,538,363
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
272,671 210,321 450,813 312,990 1,246,795
132,547 179,554 805,325 266,869 1,384,295
ง บ ก า ร เ งิ น
211
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
20 ทุนเรือนหุ้น (พันหุ้น/ พันบาท) 2552
2553 มูลค่าหุ้นต่อหุ้น (บาท)
จํานวนหุ้น
จํานวนเงิน
จํานวนหุ้น
จํานวนเงิน
ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ
10
2,040,028
20,400,279
2,040,028
20,400,279
10
2,040,028
20,400,279
2,040,028
20,400,279
หุ้นที่ออกและชําระแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ
10
2,040,028
20,400,279
2,040,028
20,400,279
10
2,040,028
20,400,279
2,040,028
20,400,279
21 ส่วนเกินทุนและสํารอง ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียนไว้ บริษัทต้องนําค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนสํารอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะนําไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนสํารอง (“สํารองตามกฎหมาย”) อย่าง น้อยร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสํารองดังกล่าวมีจํานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุน จดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมแสดงในส่วนของเจ้าของประกอบด้วยผลรวมการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ ทางการเงินเผื่อขายจนกระทั่งมีการตัดรายการหรือเกิดการด้อยค่า
212
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ผลต่ า งจากการแปลงค่ า งบการเงิ น แสดงในส่ ว นของเจ้ า ของประกอบด้ ว ยผลต่ า งการแปลงค่ า ทั้ ง หมดจากงบการเงิ น ของกิ จ การใน ต่างประเทศ
22 ข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงาน กลุ่มบริษัทได้นําเสนอข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงานธุรกิจเป็นรูปแบบหลักในการรายงาน ส่วนงานธุรกิจ พิจารณาจากระบบการบริหาร จัดการและโครงสร้างการรายงานทางการเงินภายในของกลุ่มบริษัทเป็นเกณฑ์ในการกําหนดส่วนงาน ผลได้ (เสีย) สินทรัพย์และหนี้สินตามส่วนงาน รวมรายการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่วนงานหรือที่สามารถปันส่วนให้กับส่วนงานได้อย่างสม เหตุสมผล ส่วนงานธุรกิจ กลุ่มบริษัทเสนอส่วนงานธุรกิจที่สําคัญ ดังนี้ ส่วนงานที่ 1 ส่วนงานที่ 2 ส่วนงานที่ 3 ส่วนงานที่ 4 ส่วนงานที่ 5 ส่วนงานที่ 6
ธุรกิจโรงกลั่นนํ้ามัน ธุรกิจโรงกลั่นนํ้ามันหล่อลื่น ธุรกิจปิโตรเคมี ธุรกิจโรงผลิตกระแสไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งนํ้ามันและเคมีภัณฑ์ ธุรกิจอื่นๆ
ส่วนแบ่งขาดทุนจาก เงินลงทุนในบริษัทร่วม
ต้นทุนขายสินค้าและ ต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร ขาดทุนจากอนุพันธ์เพื่อ ประกันความเสี่ยงสุทธิ รวมค่าใช้จ่าย
รายได้จากการขายสินค้า และการให้บริการ เงินปันผลรับ ค่าความนิยมติดลบ จากการซื้อธุรกิจ กําไรจากอนุพันธ์เพื่อ ประกันความเสี่ยงสุทธิ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน สุทธิ รายได้อื่น รวมรายได้
-
-
18,453
361 308,513 271,858
-
18,211 75 149 18
8 121 20,652
2,620 1,480 3,059 2,331 319,359 283,941
307,209 270,383 450 383 627 557 227 174
-
-
548
-
-
20,523 -
-
15,697
15,472 54 153 18
3 151 17,135
-
-
16,981 -
โรงกลั่น นํ้ามันหล่อลื่น 2553 2552
-
310,027 274,325 3,105 5,805
โรงกลั่น นํ้ามัน 2553 2552
ข้อมูลเกี่ยวกับผลได้ (เสีย) ตามส่วนงานธุรกิจ
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
-
-
49,365 -
-
50,990
50,436 282 239 33
-
42,139
41,691 212 203 33
(27) 17 325 329 54,573 49,711
(20)
-
54,295 -
ปิโตรเคมี 2553 2552
-
7,701
7,343 330 28
122 680 8,208
-
-
7,406 -
-
13,073
12,984 59 30
72 41 14,344
-
-
14,231 -
โรงผลิต กระแสไฟฟ้า 2553 2552
-
957
868 79 10
(2) 3 1,046
-
-
1,045 -
-
869
788 73 8
3 10 981
-
-
968 -
ขนส่งนํ้ามัน และเคมีภัณฑ์ 2553 2552
72
650
611 9 17 13
1 11 829
-
77
740 -
2553
อื่นๆ
2553
รวม 2552
หน่วย : ล้านบาท
-
-
-
-
528
77
-
-
20
1
7
73
27
361 20 (77,033) (72,864) 310,231 270,792
12 (76,331) (72,315) 308,347 269,015 (615) (448) 201 201 3 (110) (111) 1,331 937 5 23 10 352 278
- 2,722 1,575 - (1,565) (1,167) 2,634 1,695 25 (80,315) (78,744) 324,352 287,393
-
-
25 (75,645) (71,772) 318,391 284,123 - (3,105) (5,805) -
2552
ตัดรายการ ระหว่างกัน 2553 2552
ง บ ก า ร เ งิ น 213
9,086 9,086
ส่วนของกําไร (ขาดทุน) สําหรับปีที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัท ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี 1,538 1,538
2,199 661 1,538
10,210 1,124 9,086
7,469 7,469
2,199 -
12,083 1,873
กําไร (ขาดทุน) ก่อนต้นทุน ทางการเงินและค่าใช้จ่าย ภาษีเงินได้ 10,846 ต้นทุนทางการเงิน 1,644 กําไร (ขาดทุน) ก่อน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 9,202 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 1,733 กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี 7,469
1,006 1,006
1,438 432 1,006
1,438 -
2,820 29 2,849
3,374 525 2,849
3,583 209
7,248 28 7,276
7,362 86 7,276
7,572 210
ปิโตรเคมี 2553 2552
302 12 314
433 119 314
507 74
561 250 811
1,161 350 811
1,271 110
โรงผลิต กระแสไฟฟ้า 2553 2552
6 6
7 1 6
89 82
26 26
38 12 26
112 74
ขนส่งนํ้ามัน และเคมีภัณฑ์ 2553 2552
38 41 79
82 3 79
107 25
2553
อื่นๆ
(15) (15)
(15) (15)
(15) -
2552
2553
(3,174) (5,850) 129 115 (3,045) (5,735)
8,999 211 9,210
(3,045) (5,735) 12,252 - 3,042 (3,045) (5,735) 9,210
(3,283) (5,887) 14,048 (238) (152) 1,796
ตัดรายการ ระหว่างกัน 2553 2552
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
โรงกลั่น นํ้ามันหล่อลื่น 2553 2552
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
โรงกลั่น นํ้ามัน 2553 2552
ง บ ก า ร เ งิ น
2552
12,062 393 12,455
14,459 2,004 12,455
16,574 2,115
รวม
หน่วย : ล้านบาท
214
1,005
668 30 1,703
296 6,607 5,631 29,608 1,900 61,035
1,072 2,925 2,230 3,796 119 10,142
31 1,929
510
1,388
990 2,750 2,269 3,130 69 9,208
โรงกลั่น นํ้ามันหล่อลื่น 2553 2552
16,993
17,880 17,583 28,226 24,546 22,043 15,093 8,793 8,343 31,627 34,376 3,246 3,571 111,815 103,512
เจ้าหนี้การค้า 19,424 เงินกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงินที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งปี 593 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 6,970 เงินกู้ยืมระยะยาว จากสถาบันการเงิน 6,538 หุ้นกู้ 31,181 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 1,456 รวมหนี้สิน 66,162
ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทร่วม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์
โรงกลั่น นํ้ามัน 2553 2552
ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงินตามส่วนงานธุรกิจ
สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
1,396 37 10,535
1,217 2,950
4,935
6,363 1,481 2,849 18,075 1,289 30,057
2,724 33 10,373
1,291 2,564
3,761
5,220 1,395 2,878 18,797 1,414 29,704
ปิโตรเคมี 2553 2552
1,531 21 4,170
572 936
1,110
1,399 196 3,010 9,926 1,338 15,869
2,027 27 4,486
558 212
1,662
2,220 202 2,346 10,021 371 15,160
โรงผลิต กระแสไฟฟ้า 2553 2552
1,949
1,894
55
98 76 68 2,384 7 2,633
1,753
1,664
89
117 70 90 2,147 6 2,430
ขนส่งนํ้ามัน และเคมีภัณฑ์ 2553 2552
415 1,108
120 546
27
98 117 277 90 1,691 6 2,279
2553
อื่นๆ
(8,076) (7,514)
รวม 2552
2,502 5,888
10,382 29,608 1,770 66,058
2,145 4,045
18,108
19,130 20,191 32,995 28,937 22,599 15,343 130 202 66,939 67,801 4,814 5,271 146,607 137,745 (7,572) (5,791) 18,984
(5,955) (26) (7,357) (8,303) (670) (160) (22,471)
2553
- 9,880 - 31,181 (209) (221) 1,335 8 (15,857) (13,526) 69,770
2
6
16 (7,780) (26) 24 (7,878) 162 (8,753) (560) - (1,191) 202 (26,188)
2552
ตัดรายการ ระหว่างกัน 2553 2552
หน่วย : ล้านบาท
ง บ ก า ร เ งิ น 215
216
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
23 รายได้อื่น งบการเงินรวม
ดอกเบี้ยรับ รายได้จากการให้เช่าที่ดิน รายได้ค่าบริการ รายได้เงินชดเชยนํ้ามันมาตรฐานยูโร 4 รายได้เงินช่วยเหลือต้นทุนค่าปรับปรุง อุปกรณ์โรงผลิตกระแสไฟฟ้า รายได้ค่าสินไหมทดแทนจากการที่ ธุรกิจหยุดชะงัก อื่นๆ รวม
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
116,399 9,610 48,020 1,317,439
120,400 9,610 65,262 1,127,773
281,840 58,009 979,878 1,317,439
199,919 58,005 739,803 1,127,773
277,932
-
-
-
303,283 561,701 2,634,384
372,203 1,695,248
422,156 3,059,322
206,177 2,331,677
24 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร งบการเงินรวม
ค่าที่ปรึกษาและกฎหมาย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคคลากร ค่าเสื่อมราคา อื่นๆ รวม
2553
2552
86,919 384,157 359,957 500,402 1,331,435
46,661 337,160 71,027 482,301 937,149
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 59,134 258,411 23,713 285,706 626,964
22,550 229,388 13,606 291,774 557,318
ง บ ก า ร เ งิ น
217
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
25 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน งบการเงินรวม
ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เงินสมทบกองทุนเงินบําเหน็จ อื่นๆ
พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เงินสมทบกองทุนเงินบําเหน็จ อื่นๆ รวม
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
199,993 15,826 23,248 113,206 352,273
164,782 14,669 12,575 86,719 278,745
134,450 11,610 14,914 65,825 226,799
107,731 10,093 10,704 46,122 174,650
1,554,411 106,205 106,618 347,494 2,114,728 2,467,001
1,409,026 98,938 71,902 226,133 1,805,999 2,084,744
1,134,475 86,141 106,618 246,584 1,573,818 1,800,617
1,091,060 86,366 71,641 203,305 1,452,372 1,627,022
กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงานของกลุ่มบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเข้าเป็นสมาชิก ของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 2 ถึงอัตราร้อยละ 15 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริษัทจ่ายสมทบเป็นรายเดือน ในอัตราร้อยละ 2 ถึงอัตราร้อยละ 15 ของเงินเดือนของพนักงาน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตาม ข้อกําหนดของกระทรวงการคลัง และจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาตแห่งหนึ่ง บริษัทมีกองทุนเงินบําเหน็จเพื่อจ่ายเป็นผลประโยชน์แก่พนักงานทั้งหมดของบริษัทเมื่อออกจากงานหรือเกษียณอายุ บริษัทจะจ่ายเงิน บําเหน็จนี้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นๆ ครบเกษียณอายุ ทุพพลภาพ ถึงแก่กรรม หรือลาออกจากงาน ด้วยจํานวนซึ่งคํานวณตามสูตรของ ผลประโยชน์ที่กําหนดไว้โดยมีสมมติฐานว่าพนักงานทุกคนลาออก ณ วันที่รายงาน
218
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
26 ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ งบกําไรขาดทุนนี้ได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ สําหรับค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่สําคัญมีรายละเอียดดังนี้
งบการเงินรวม
การเปลี่ยนแปลงในสินค้าสําเร็จรูป และสินค้าระหว่างผลิต ซื้อสินค้าและวัตถุดิบที่ใช้ไป ค่าก๊าซธรรมชาติใช้ไป ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ภาษีสรรพสามิต
2553
2552
(2,453,939) 333,968,030 7,217,438 2,467,001 6,661,721 34,947,347
(2,145,096) 290,387,229 12,478,346 2,084,744 6,552,677 28,073,301
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
(2,132,295) 265,535,011 1,164,395 1,800,617 4,077,933 34,947,347
(1,582,520) 235,296,345 1,129,347 1,627,022 4,065,840 28,073,301
27 ต้นทุนทางการเงิน งบการเงินรวม
ดอกเบี้ยจ่ายที่เกี่ยวกับ สถาบันการเงินและอื่นๆ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ส่วนที่บันทึกเป็นต้นทุนของ สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง สุทธิ
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
1,744,167 52,867 1,797,034
2,057,799 56,925 2,114,724
1,600,547 43,192 1,643,739
1,824,803 47,957 1,872,760
731 1,796,303
2,114,724
1,643,739
1,872,760
ง บ ก า ร เ งิ น
219
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
28 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ งบการเงินรวม หมายเหตุ
ภาษีเงินได้ปัจจุบัน สําหรับปีปัจจุบัน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชั่วคราว รวม
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
3,114,580
870,310
1,787,246
-
(72,235) 3,042,345
1,134,439 2,004,749
(54,109) 1,733,137
1,123,934 1,123,934
15
การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริง งบการเงินรวม
กําไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ จํานวนภาษีเงินได้ตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล การลดภาษีเงินได้ รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี การใช้ขาดทุนทางภาษีที่เดิมไม่ได้บันทึก รวม
2553
2552
12,251,876 3,675,563 (15,000) (478,218) 21,601 (161,601) 3,042,345
14,459,517 4,337,855 (510,506) (1,535,842) 17,333 (304,091) 2,004,749
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
9,202,480 2,760,744 (15,000) (1,032,403) 19,796 1,733,137
10,210,112 3,063,034 (510,506) (1,440,669) 12,075 1,123,934
220
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
การลดภาษีเงินได้นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากรฉบับที่ 387 พ.ศ. 2544 ลงวันที่ 5 กันยายน 2544 ให้สิทธิ ทางภาษีแก่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 25 เป็น เวลาห้ารอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกันนับแต่รอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริ่มในหรือหลังวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับและยังได้รับสิทธิใน การลดภาษีเงินได้นิติบุคคลแห่งพระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากรฉบับที่ 475 แต่ไม่เกินรอบระยะเวลาบัญชี 2553 ที่สิ้นสุดใน หรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2553 พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากรฉบับที่ 475 พ.ศ. 2551 ให้สิทธิแก่บริษัทที่มีหลักทรัพย์ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยลดอัตราภาษีเงินได้จากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 25 สําหรับกําไรสุทธิเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 300 ล้านบาท เป็นเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกันนับแต่รอบระยะเวลาบัญชี แรกที่เริ่มในหรือหลัง 1 มกราคม 2551 บริษัทได้คํานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกําไรทางภาษีสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ในอัตราร้อยละ 25 สําหรับกําไรสุทธิเฉพาะ ส่วนที่ไม่เกิน 300 ล้านบาท และสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ในอัตราร้อยละ 25 อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยยังคงคํานวณภาษีเงินได้ นิติบุคคลสําหรับกําไรทางภาษีสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ในอัตราร้อยละ 30
29 สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนอนุมัติให้บริษัทและบริษัทย่อยในประเทศบางแห่งได้รับสิทธิประโยชน์หลายประการในฐานะผู้ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับการผลิตกระแสไฟฟ้าและไอนํ้า การผลิตผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมี การให้บริการขนส่งผลิตภัณฑ์นํ้ามันปิโตรเคมีและผลิตภัณฑ์เคมีเหลวทางเรือ การให้บริการทุ่นรับนํ้ามันดิบกลางทะเลและโครงการเขต อุตสาหกรรม ซึ่งพอสรุปสาระสําคัญได้ดังนี้ (ก) ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีสําหรับเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ได้รับอนุมัติโดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (ข) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมเป็นระยะเวลา 7 ถึง 8 ปี นับแต่วันที่ เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น และ (ค) ให้ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 50 สําหรับกําไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีกําหนดเวลา 5 ปี นับแต่วันที่สิ้นสุดสิทธิประโยชน์ตามข้อ (ข) เนื่องจากเป็นกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน บริษัทและบริษัทย่อยดังกล่าวจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกําหนดตามที่ระบุไว้ใน บัตรส่งเสริมการลงทุน
ง บ ก า ร เ งิ น
221
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายได้ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสรุปได้ดังนี้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม กิจการที่ ได้รับการ ส่งเสริม ขายต่างประเทศ ขายในประเทศ ตัดรายการระหว่างกัน รวมรายได้
2553 กิจการที่ ไม่ได้รับการ ส่งเสริม
5,481,673 57,148,458 24,790,738 311,207,088
รวม 62,630,131 335,997,826 (80,237,431) 318,390,526
กิจการที่ ได้รับการ ส่งเสริม
2552 กิจการที่ ไม่ได้รับการ ส่งเสริม
13,350,419 26,354,100
39,993,563 278,391,716
รวม 53,343,982 304,745,816 (73,966,762) 284,123,036 หน่วย : พันบาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ กิจการที่ ได้รับการ ส่งเสริม ขายต่างประเทศ ขายในประเทศ รวมรายได้
2553 กิจการที่ ไม่ได้รับการ ส่งเสริม
- 40,760,245 - 269,266,724
รวม 40,760,245 269,266,724 310,026,969
กิจการที่ ได้รับการ ส่งเสริม
2552 กิจการที่ ไม่ได้รับการ ส่งเสริม
-
37,360,861 236,964,004
รวม 37,360,861 236,964,004 274,324,865
222
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
30 กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานสําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 คํานวณจากกําไรสําหรับปีที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท และจํานวนหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้วในระหว่างปีตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก โดยแสดงการคํานวณดังนี้ งบการเงินรวม
กําไรสําหรับปีที่เป็นส่วนของ ผู้ถือหุ้นของบริษัท จํานวนหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้ว ในระหว่างปีตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)
หน่วย : พันบาท/พันหุ้น งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
8,998,621
12,061,538
7,469,344
9,086,178
2,040,028 4.41
2,040,028 5.91
2,040,028 3.66
2,040,028 4.45
31 เงินปันผล ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2553 คณะกรรมการของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลระหว่างกาล สําหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 ในอัตราหุ้นละ 0.60 บาท เป็นจํานวนเงินรวม 1,224 ล้านบาท เงินปันผลระหว่างกาล ดังกล่าวได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนตุลาคม 2553 ในการประชุมสามัญประจําปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2553 ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลสําหรับ ปี 2552 ในอัตราหุ้นละ 2.55 บาท เป็นจํานวนเงินรวม 5,202 ล้านบาท เงินปันผลสําหรับปีดังกล่าวได้รวมเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้น ละ 1.05 บาท ซึ่งบริษัทได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนกันยายน 2552 ดังนั้นเงินปันผลที่จะต้องจ่ายเพิ่มอีกจึงเท่ากับอัตราหุ้น ละ1.50 บาท คิดเป็นจํานวนเงินรวม 3,060 ล้านบาท เงินปันผลที่จะจ่ายอีกในอัตราหุ้นละ 1.50 บาท ดังกล่าวได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัท แล้วในเดือนเมษายน 2553 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2552 คณะกรรมการของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลระหว่างกาล สําหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2552 ในอัตราหุ้นละ 1.05 บาท เป็นจํานวนเงินรวม 2,142 ล้านบาท เงินปันผลระหว่างกาล ดังกล่าวได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนกันยายน2552 ในการประชุมสามัญประจําปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2552 ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้อนุมัติให้บริษัทจัดสรรเงินปันผลสําหรับ ปี 2551 ในอัตราหุ้นละ 2.75 บาท เป็นจํานวนเงินรวม 5,610 ล้านบาท เงินปันผลสําหรับปีดังกล่าวได้รวมเงินปันผลระหว่างกาลในอัตรา หุ้นละ 1.75 บาท ซึ่งบริษัทได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนกันยายน 2551 ดังนั้นเงินปันผลที่จะต้องจ่ายเพิ่มอีกจึงเท่ากับอัตรา หุ้นละ 1 บาท คิดเป็นจํานวนเงินรวม 2,040 ล้านบาท เงินปันผลที่จะจ่ายอีกในอัตราหุ้นละ 1 บาท ดังกล่าวได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัท แล้วในเดือนเมษายน 2552
ง บ ก า ร เ งิ น
223
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
32 เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และจาก การไม่ปฏิบัติตามข้อกําหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริษัทไม่มีการถือหรือออกเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์เพื่อการเก็ง กําไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนสําคัญของธุรกิจของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุลของระดับความเสี่ยงที่ ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝ่ายบริหารได้มีการควบคุมกระบวนการการ จัดการความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่าเกิดความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง การบริหารจัดการส่วนทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการส่วนทุนของกลุ่มบริษัทคือ เพื่อดํารงไว้ซึ่งความสามารถในการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างผล ตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นของกลุ่มบริษัทและเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียอื่น ผู้บริหารได้มีการกําหนดกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนการ ดําเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และมีผลประกอบการและฐานะการเงินที่ดีและแข็งแกร่งยิ่งขึ้น รวมทั้งการกําหนด นโยบายการจ่ายเงินปันผลและการบริหารเงินทุนเพื่อการดํารงไว้ซึ่งโครงสร้างของทุนและต้นทุนทางการเงินของทุนที่เหมาะสม ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยหมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อการดําเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท ดังนั้นกลุ่มบริษัทจึงได้ทําสัญญาเพื่อป้องกันความเสี่ยงกับสถาบันการเงินหลายแห่งที่อยู่ ในอันดับการลงทุนที่น่าเชื่อถือเพื่อป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย
224
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินให้กู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และระยะที่ครบกําหนดรับชําระมีดังนี้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี) ปี 2553 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ ออมทรัพย์ของพนักงาน เงินให้กู้ยืมแก่พนักงาน
MLR หักอัตรา ส่วนลด MMR หักอัตรา ส่วนลด
รวม ปี 2552 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ ออมทรัพย์ของพนักงาน เงินให้กู้ยืมแก่พนักงาน รวม
MLR หักอัตรา ส่วนลด 3.50- 4.25
ภายใน 1 ปี
หลังจาก 1 ปี
รวม
39,928
527,425
567,353
867 40,795
8,806 536,231
9,673 577,026
39,030 808 39,838
546,153 8,152 554,305
585,183 8,960 594,143
ง บ ก า ร เ งิ น
225
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี) ปี 2553 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย
ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ ออมทรัพย์ของพนักงาน รวม
MMR แต่ไม่เกิน MLR ถัวเฉลี่ย ของธนาคาร 5 แห่ง หักอัตราส่วนลด MLR หักอัตรา ส่วนลด
ภายใน 1 ปี
หลังจาก 1 ปี
รวม
4,596,500
-
4,596,500
39,928 4,636,428
527,425 527,425
567,353 5,163,853 หน่วย : พันบาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี) ปี 2552 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย
ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สหกรณ์ ออมทรัพย์ของพนักงาน รวม
MMR แต่ไม่เกิน MLR ถัวเฉลี่ย ของธนาคาร 5 แห่ง หักอัตราส่วนลด MLR หักอัตรา ส่วนลด
ภายใน 1 ปี
หลังจาก 1 ปี
รวม
4,007,500
-
4,007,500
39,030 4,046,530
546,153 546,153
585,183 4,592,683
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และระยะเวลาที่ครบกําหนดชําระ ได้ เปิดเผยไว้แล้วในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17
226
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งเกิดจากการซื้อวัตถุดิบและเงินกู้ยืมระยะยาวที่เป็นสกุลเงินต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทได้ทําสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าบางส่วน เพื่อป้องกันความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนในระยะสั้น ตามความเหมาะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นผลมาจากการมีสินทรัพย์และ หนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศดังนี้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2553 2552 2553 2552 เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น
สกุลอื่นๆ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น
ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง
6 8 17 18
6 8 18
413,875 3,005,415 195,433 (15,395,833) (8,015,236) (239,991) (20,036,337)
642,934 4,587,994 23,115 (15,035,073) (5,414,317) (33,919) (15,229,266)
1,927 1,163,942 195,433 (13,431,142) (7,806,069) (239,265) (20,115,174)
2,135 3,319,151 4,779 (11,722,662) (5,166,881) (19,483) (13,582,961)
61,933 198,241 (3,849) 256,325
91,829 168,805 (12,620) (24,656) 223,358
(3,011) (3,011)
118 (22,143) (22,025)
(19,780,012)
(15,005,908)
(20,118,185)
(13,604,986)
ง บ ก า ร เ งิ น
227
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อคือ ความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถชําระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้เมื่อครบกําหนด เนื่อง จากกลุ่มบริษัทดําเนินธุรกิจกับลูกค้าที่เป็นบริษัทขนาดใหญ่ในกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและไฟฟ้า และกําหนดให้มีการวางหลักประกัน ชั้นดีสําหรับลูกค้าอื่น ๆ ทําให้กลุ่มบริษัทไม่มีความเสี่ยงที่เป็นสาระสําคัญด้านสินเชื่อกับบริษัทใดบริษัทหนึ่งหรือในกลุ่มของบริษัท ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอต่อการ ดําเนินงานของกลุ่มบริษัท และเพื่อทําให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมหมายถึง จํานวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์หรือชําระหนี้สินกัน ในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และ เต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระ ในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน กลุ่มบริษัทใช้วิธีการและสมมติฐานดังต่อไปนี้ในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ระยะสั้นอื่น ๆ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้จะครบกําหนดในระยะเวลาอันสั้น มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่เป็นตราสารทุนประเภทเผื่อขาย พิจารณาโดยอ้างอิงกับมูลค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยลงทุน ณ วันที่ในรายงาน มูลค่ายุติธรรมของเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และเจ้าหนี้การค้าและอื่น ๆ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับ ราคาที่บันทึกไว้ในบัญชี เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้จะครบกําหนดในระยะเวลาอันสั้น มูลค่ายุติธรรมของเงินให้กู้ยืมระยะยาวและเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ซึ่งเป็นอัตราท้องตลาดมีราคาตามบัญชีใกล้เคียงกับ มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่ตราสารอนุพันธุ์ ซึ่งพิจารณาเพื่อวัตถุประสงค์ในการเปิดเผยในงบการเงิน คํานวณจากมูลค่า ปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตของเงินต้นและดอกเบี้ย และคิดลดโดยใช้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ณ วันที่ในรายงาน หรือใช้ราคา ตลาด ณ วันที่รายงาน ในกรณีที่มีราคาตลาด
228
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มูลค่ายุติธรรมและมูลค่าตามบัญชีของหุ้นกู้ตามที่ปรากฏในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ งบการเงินรวม มูลค่ายุติธรรม มูลค่าตามบัญชี
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่ายุติธรรม มูลค่าตามบัญชี
ปี 2553 ไม่หมุนเวียน หุ้นกู้ รวม
(32,625,725) (32,625,725)
(31,181,142) (31,181,142)
(32,625,725) (32,625,725)
(31,181,142) (31,181,142)
ปี 2552 ไม่หมุนเวียน หุ้นกู้ รวม
(30,478,518) (30,478,518)
(29,607,517) (29,607,517)
(30,478,518) (30,478,518)
(29,607,517) (29,607,517)
33 ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
2553
2552
ภาระผูกพันสําหรับรายจ่ายฝ่ายทุน สัญญาก่อสร้างโครงการ รวม
3,168,150 3,168,150
1,054,232 1,054,232
1,551,238 1,551,238
683,088 683,088
ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ที่ไม่สามารถยกเลิกได้ ภายในระยะเวลาหนึ่งปี ภายหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี ภายหลังจากห้าปี รวม
175,355 988,676 1,295,285 2,459,316
177,867 755,060 1,747,341 2,680,268
174,426 984,963 1,292,434 2,451,823
174,426 751,467 1,743,543 2,669,436
ง บ ก า ร เ งิ น
229
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบการเงินรวม
ภาระผูกพันอื่นๆ สัญญารับบริการด้านเทคนิค สัญญารับบริการจัดการสินค้า หนังสือคํ้าประกันจากสถาบันการเงิน สัญญาการสั่งซื้อนํ้ามันดิบ รวม
2553
2552
203,204 133,998 451,984 48,863,429 49,652,615
364,500 44,689 4,763,961 37,016,854 42,190,004
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
203,204 287,962 48,863,429 49,354,595
364,500 4,547,015 37,016,854 41,928,369
สัญญาบริการซ่อมบํารุงระยะยาว บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาจัดหาและบริการซ่อมบํารุงเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้ากับบริษัทในประเทศหลายแห่ง (“ผู้ให้บริการ”) โดยผู้ให้ บริการจะจัดหาและซ่อมแซมอะไหล่สําหรับการซ่อมบํารุงประจําปี และการซ่อมบํารุงตามตารางที่กําหนด ในการนี้ บริษัทย่อยมีภาระผูกพัน ที่จะต้องจ่ายชําระค่าอะไหล่และค่าบริการซ่อมบํารุงให้กับผู้ให้บริการดังกล่าวตามราคาที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้นับ จากวันที่ในสัญญาจนถึงเวลาของการซ่อมบํารุงใหญ่ครั้งที่ 2 หรือการซ่อมบํารุงประจําปีครั้งที่ 12 สัญญาซื้อกระแสไฟฟ้า บริษัทย่อยสองแห่งมีสัญญาซื้อกระแสไฟฟ้ากับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (“กฟผ.”) เป็นระยะเวลา 25 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2566 และ 2568 ตามลําดับ โดยบริษัทย่อยดังกล่าวจะจําหน่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. ในปริมาณและราคาที่ตกลงกัน ในฐานะที่บริษัทย่อย ดังกล่าวเป็นคู่สัญญากับ กฟผ. บริษัทย่อยจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกําหนดต่างๆ ที่กําหนดไว้ในสัญญา สัญญาบริการจัดการสินค้า บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาบริการจัดการสินค้ากับบริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งเป็นระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนพฤศจิกายน 2556 โดยบริษัทย่อยดังกล่าวมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายชําระค่าบริการให้กับบริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวเป็นรายไตรมาสในอัตราตามที่ ระบุไว้ในสัญญา ทั้งนี้บริษัทย่อยดังกล่าวสามารถบอกเลิกสัญญาได้ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 ปี สัญญาเช่าที่ดิน บริษทั ย่อยทางอ้อมแห่งหนึง่ มีสญ ั ญาเช่าทีด่ นิ ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (“การนิคมอุตสาหกรรม”) เป็นระยะเวลา 30 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือนมกราคม 2562 โดยบริษัทย่อยดังกล่าวมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายชําระค่าเช่าให้กับการนิคม อุตสาหกรรมเป็นรายปีในอัตราตามที่ระบุไว้ในสัญญา
230
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
34 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 กลุ่มบริษัทมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้นดังนี้ ก) บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีคดีความจากการถูกประเมินภาษีสรรพสามิต รวมทั้งเบี้ยปรับและเงินเพิ่มจากการนําเข้านํ้ามัน Reduced Crude บางเที่ยวเรือ โดยกรมศุลกากรและกรมสรรพสามิต เป็นจํานวนเงินรวม 253.7 ล้านบาท (ศาลภาษีอากรกลางได้มีคําพิพากษาให้บริษัท ย่อยดังกล่าวชนะคดีแล้ว) ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คดีดังกล่าวยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา ข) บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีคดีความจากการถูกประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลของกรมสรรพากรเกี่ยวกับการบันทึกรายได้สําหรับปี 2542 และ 2543 ที่มีผลต่อการใช้ประโยชน์ของผลขาดทุนสะสมยกมาทางภาษีในปีถัดมา (ศาลภาษีอากรกลางได้มีคําพิพากษาให้บริษัทย่อยดังกล่าว ชนะคดีแล้ว) ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คดีดังกล่าวยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา ค) บริษัทมีสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคานํ้ามันสําเร็จรูปและนํ้ามันดิบล่วงหน้ากับบริษัทต่างประเทศหลายแห่ง (“คู่สัญญา”) โดยบริษัท หรือคู่สัญญาดังกล่าวมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายส่วนต่างระหว่างราคาคงที่กับราคาลอยตัวสําหรับงวดนั้นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีปริมาณนํ้ามันภายใต้สัญญาดังกล่าวเป็นจํานวน 3.34 ล้านบาร์เรล (31 ธันวาคม 2552: 5.12 ล้านบาร์เรล)
35 นโยบายประกันภัย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 กลุ่มบริษัทได้ทํากรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองความเสี่ยงทุกประเภทรวมถึงการชดเชยการสูญเสียรายได้กับกลุ่ม ผู้รับประกันและผู้รับประกันต่อ โดยมีวงเงินประกันรวม 6,777 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (2552: 6,453 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา) กรมธรรม์ ดังกล่าวมีการต่ออายุทุกปีโดยบริษัทย่อยบางแห่งได้โอนสิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยให้กับเจ้าหนี้ตามสัญญาเงินกู้
36 เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 คณะกรรมการของบริษัทได้มีมติเห็นชอบให้เสนอที่ประชุมสามัญผู้ ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินปันผลสําหรับปี 2553 ในอัตราหุ้นละ 2.00 บาท เป็นจํานวนเงินรวม 4,080 ล้านบาท เงินปันผลสําหรับปี ดังกล่าวได้รวมเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 0.60 บาท ซึ่งบริษัทได้จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้วในเดือนตุลาคม 2553 ดังนั้น เงินปันผลที่จะต้องจ่ายเพิ่มอีกจึงเท่ากับอัตราหุ้นละ 1.40 บาท คิดเป็นจํานวนเงินรวม 2,856 ล้านบาท โดยมีกําหนดการจ่ายเงินปันผลให้ กับผู้ถือหุ้นในวันที่ 25 เมษายน 2554 ทั้งนี้การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวขึ้นอยู่กับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทในวันที่ 1 เมษายน 2554
37 มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้ บริษัทและบริษัทย่อยในประเทศยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังต่อไปนี้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยังไม่มีการบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังต่อไปนี้ กําหนดให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปีดังต่อไปนี้
ง บ ก า ร เ งิ น
231
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
มาตรฐานการบัญชี/ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552)
เรื่อง
ปีที่มีผลบังคับใช้
การนําเสนองบการเงิน สินค้าคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชีและข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญาก่อสร้าง ภาษีเงินได้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการ เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ต้นทุนการกู้ยืม การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทร่วม กําไรต่อหุ้น งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสินทรัพย์ ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน การรวมธุรกิจ
2554 2554 2554
2554 2554 2554 2554
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและ การดําเนินงานที่ยกเลิก
2554
2554 2554 2554 2556 2554 2554 2554 2554 2556 2556 2554 2554 2554 2554 2554 2554 2554
232
ง บ ก า ร เ งิ น
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ผู้บริหารได้พิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ ดังกล่าวต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแล้ว โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์ของพนักงานให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุ่มบริษัทจึงยังไม่ได้บันทึกบัญชีผลประโยชน์หลังออกจากงานภายใต้โครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ และผลประโยชน์ ระยะยาวอื่นจนกว่าจะเกิดค่าใช้จ่ายขึ้น มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดแนวทางปฏิบัติทางบัญชีดังนี้ (1) กิจการต้องทยอยรับรู้ค่าใช้จ่ายและประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงาน ตามระยะเวลาตั้งแต่วันที่พนักงานเริ่มให้บริการ ซึ่ง กําหนดให้มีข้อสมมติฐานในการคํานวณตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยเพื่อประเมินภาระผูกพันและค่าใช้จ่ายของผลประโยชน์ ระยะยาว รวมถึงกําหนดให้ใช้วิธีการคิดลดผลประโยชน์เนื่องจากกําหนดเวลาการจ่ายชําระผลประโยชน์ดังกล่าวจะเกิดขึ้นภายหลังจาก ที่พนักงานได้ให้บริการเป็นเวลานาน (2) อนุญาตให้กิจการบันทึกประมาณการหนี้สินที่คํานวณจากระยะเวลาที่พนักงานให้บริการก่อนวันที่มีผลบังคับใช้ได้ 4 ทางเลือก โดยกลุ่ม บริษัทเลือกวิธีปรับย้อนหลัง ณ วันที่นํามาตรฐานการบัญชีมาใช้ครั้งแรก ผู้บริหารได้ประเมินประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ซึ่งหนี้สินดังกล่าวจะมีผลทําให้หนี้สินของกลุ่มบริษัท และบริษัทเพิ่มขึ้นเป็นจํานวนเงิน 1,802 ล้านบาท และ 1,691 ล้านบาท ตามลําดับ และกําไรสะสม ณ วันเดียวกันของกลุ่มบริษัทและบริษัท ลดลงเป็นจํานวนเงิน 1,257 ล้านบาท และ 1,183 ล้านบาท ตามลําดับ
38 การจัดประเภทรายการใหม่ รายการบัญชีบางรายการในงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ได้จัดประเภทใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการแสดงรายการในงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม ก่อนการจัดประเภทใหม่ การจัดประเภทใหม่ หลังการจัดประเภทใหม่ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
67,801 790 3,143
(16) 752 (736)
-
67,785 1,542 2,407
ค่าตอบแทนผู้ ส อ บ บั ญ ชี 2553
233
ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี 2553
1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fees) บริษัทฯ บริษัทย่อย และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงานกลุ่มบริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่สํานักงาน สอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีที่ผ่านมา จํานวน 5,740,000 บาท (ห้าล้านเจ็ดแสนสี่หมื่นบาทถ้วน)
2. ค่าบริการอื่น ๆ (Non-Audit Fees) บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนการตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขของบัตรส่งเสริมการลงทุนให้แก่สํานักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบ บัญชีสังกัดในรอบปีที่ผ่านมา จํานวน 425,000 บาท (สี่แสนสองหมื่นห้าพันบาทถ้วน)
234
ศั พ ท์ เ ท ค นิ ค แ ล ะ คํ า นิ ย า ม
ศัพท์เทคนิคและคํานิยาม
นอกจากกําหนดไว้เป็นอย่างอื่นในรายงานประจําปี ให้คําดังต่อไปนี้มีความหมายดังนี้ กฟผ. ก.ล.ต.
หมายความถึง หมายความถึง
ตลท. ไทยออยล์ / บริษัทฯ / TOP บจ. ทรัพย์ทิพย์ / SAP บจ. ท่อส่งปิโตรเลียมไทย / THAP บจ. ท็อป โซลเว้นท์ / TS บจ. ท็อป โซลเว้นท์ (เวียดนาม) / TSV บจ. ไทยพาราไซลีน / TPX บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ / Thaioil Solvent บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์ / TP บจ. ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ / TES บจ. ไทยออยล์มารีน / TM บจ. ผลิตไฟฟ้าอิสระ / IPT บจ. แม่สอดพลังงานสะอาด / MCE บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ / SAKC บมจ. ไทยลู้บเบส / TLB บมจ. บางจากปิโตรเลียม บมจ. ปตท. / PTT บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น บมจ. ไออาร์พีซี สหรัฐฯ
หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง
CG
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จํากัด บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ (เวียดนาม) ไลอะบิลิตี้ จํากัด บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี โซลูชั่นส์ จํากัด บริษัท ไทยออยล์มารีน จํากัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จํากัด บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จํากัด บริษัท ไทยลู้บเบส จํากัด (มหาชน) บริษัท บางจากปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) สหรัฐอเมริกา Corporate Governance: หลักการกํากับดูแลกิจการ
ศั พ ท์ เ ท ค นิ ค แ ล ะ คํ า นิ ย า ม
CDU-3 DWT EBITDA
หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง
EIA
หมายความถึง
GDP GIM GRM HCU IDP IPP KPIs
หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง
Crude Distillation Unit 3: หน่วยกลั่นนํ้ามันดิบหน่วยที่ 3 Dead Weight ton: ตันบรรทุก กําไรก่อนดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และรายจ่ายตัดบัญชี Environmental Impact Assessment: การวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม Gross Domestic Product: อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ Gross Integrated Margin: กําไรขั้นต้นจากการผลิตรวม Gross Refinery Margin: กําไรจากการกลั่นขั้นต้น
Hydrocracking Unit Individual Development Plan : แผนการพัฒนาพนักงาน Independent Power Producer: ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระรายใหญ่ Key Performance Indicators: ดัชนีวัดผลการ ดําเนินงานที่สําคัญ
MPU RMIS
หมายความถึง หมายความถึง
Methyl Pyrolidone Unit Risk Management Information System: ระบบฐาน ข้อมูลความเสี่ยง
RMSC
หมายความถึง
Risk Management Steering Committee: คณะกรรมการ ขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ
SGSI SPP TDAE TQA
หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง หมายความถึง
235
Shell Global Solutions International Small Power Producer: ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก Treated Distillate Aromatic Extract : นํ้ามันยางคุณภาพตํ่า Thailand Quality Award: รางวัลคุณภาพแห่งชาติ
236
Te a m w o rk a n d Co lla b o ra t io n
ความร่วมมือทำงานเป็นทีม Own e rsh ip a n d C om m it m e n t Professional i s m
มีความรัก ผูกพัน และ เป็นเจ้าขององค์กร
Ex c e lle n ce S t riv in g
ทำงานอย่างมืออาชีพ
การมุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ
S oc i a l R e s pons i bi l i ty
ความรับผิดชอบต่อสังคม I nt e g rit y
ความซื่อสัตย์ และยึดมั่น ในความถูกต้องเป็นธรรม
V is io n F o c u s
การมุ่งมั่นในวิสัยทัศน์ I n it ia t iv e
ความริเริ่มสร้างสรรค์
ส ำ นั ก ง า น ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2797-2999, 0-2797-2900, 0-2299-0000 โทรสาร : 0-2797-2970
ส ำ นั ก ง า น ศ รี ร า ช า แ ล ะ โ ร ง ก ลั่ น น ้ำมั น 42/1 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท กม.124 ตำบลทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : 0-3840-8500, 0-3835-9000 โทรสาร : 0-3835-1554, 0-3835-1444 www.thaioilgroup.com