[Title will be auto-generated]

Page 1

คุณภาพสังคมไทย : สถานการณ์ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 12 เรื่องคุณภาพสังคมกับคุณภาพประชาธิปไตยไทย ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ 5 พฤศจิกายน 2553 1


เหตุผลของหัวข้ออภิปราย การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า • วิกฤตความขัดแย้งในสังคมไทย...อาจกล่าวได้ว่ามีผลมาจากปัญหา การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่ไม่คานึงถึงระดับความ เหมาะสมกับบริบทของประเทศ อาทิ การพัฒนาประเทศตาม แนวคิดเสรีนิยม หรือเศรษฐกิจทุกนิยมที่มุ่งพัฒนาเพื่อสร้างความ มั่งคั่งและรายได้ โดยใช้การเติบโตของรายได้ต่อหัว และการวัด ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเป็นตัวบ่งชี้มาตรฐานคุณภาพ ชีวิตของประชากร....

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

2


รูปที่ 1 แสดงว่ารายได้ต่อหัวของครัวเรือนต่ากว่า per capita GDP รายได้ประชาชาติตอ่ หัวและรายได้ครัวเรือนต่อหัว (บาทต่อคนต่อปี)

ดัชนีรายได้ครัวเรือนต่อคน และ GDP ต่อคน 700

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th GDP

160000 140000

รายได้ครัวเรือน

รายได้ครัวเรือน

GDP

600 500

120000

400

100000

300

80000 60000

200

40000

100

20000

0

0

2529

2533

2537

2541

2543

2545

2549

2551

2529 2533 2537 2541 2543 2545 2549 2551

3


• ระบบทุนนิยมไม่อาจรับใช้สังคมหรือสร้างความเป็นธรรมได้ หากปราศจาก “สถาบันนอกตลาด”รองรับ – สถาบันรองรับระบบการค้า : กรุงเวนิสเป็นศูนย์กลางการค้าใน ศตวรรษที่ 16 เพราะมีสถาบันและกฎเกณฑ์ต่างๆที่เคร่งครัด เช่น กฎหมายแพ่งพาณิชย์การไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้งทางการค้า การ กาหนดค่าจ้างที่เป็นธรรม การเก็บภาษีที่เคร่งครัด ฯลฯ – สถาบันสร้างเสถียรภาพ : วินัยการเงิน-การคลัง – สถาบันสร้างความเป็นธรรม : ระบบสวัสดิการพื้นฐานที่มีวินัยการ คลัง กฎหมายแข่งขันทางการค้า ฯลฯ

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

4


ประเด็นอภิปราย • สนง.สถิติแห่งชาติได้สารวจรายได้ -รายจ่ายครัวเรือนมาติดต่อกัน กว่า 30 ปี เราจึงมีฐานข้อมูลที่จะศึกษารายได้และสภาพชีวิตความ เป็นอยู่ของครัวเรือนไทย การวิศึกษานี้จะทาให้เรามีความรู้เพิ่มเติม จากการศึกษา GDP • บรรยายชีวิตความเป็นอยู่บางด้านของครัวเรือนไทย จากรายงาน วิจัย “ชีวิตคนไทยในรอบสองทศวรรษของการพัฒนา” เสนอต่อ สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มช. และสสส.

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

– เน้นเรื่องการศึกษา งานนอกระบบ และสวัสดิการ 5


ลาดับความ • การเปลี่ยนแปลงของลักษณะครัวเรือนไทยในรอบสองทศวรรษ • โอกาสการศึกษาของสมาชิกครัวเรือนไทย • การทางาน และอาชีพ • รายได้ การออม ทรัพย์สิน และหนี้สิน • เด็ก และคนชรา กับสวัสดิการสังคม

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

6


1. การเปลี่ยนแปลงของลักษณะครัวเรือนไทย ในรอบสองทศวรรษ (2529-52) • จานวนครัวเรือนขนาดครัวเรือน และอายุหัวหน้า

KPI CONGRESS12 – ครัวเรือนไทยเพิ่มขึ้นเร็วปีละ 5.1% จาก 11.9 ล้านครัวเรือนในปี 2529 เป็น4-6 19.8 ล้าNovember นครัวเรือน 2010 • จานวนครัวเรือนในเมืองเพิ่มเร็วกว่าชนบท kpi.ac.th – ขนาดครัวเรือนลดจาก 4.3 คน เหลือ 3.3 คนในระหว่าง ปี 2539-52 – อายุหัวหน้าครัวเรือนเพิ่มจาก 43 ปี เป็น 51 ปี ระหว่าง 2529-52 7


• ครัวเรือน 6 ประเภท รวม 19.7 ล้านครัวเรือน – อยู่คนเดียว 12.2 % – อยู่กับเพื่อน 3.3% – 1 รุ่น (สามี-ภรรยา) 16.5% – 2 รุ่น (สามี-ภรรยา-ลูก) 40.6% – 3 รุ่นและมากกว่า 20.4% – เด็กอยู่กับปู่ย่าตายาย (แหว่งกลาง skip generation) 6.9%

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

8


• ครัวเรือนที่เพิ่มมากที่สุด : (1) ครัวเรือนด็กอยู่กับปู่ย่า ตายาย หรือแหว่งกลาง (2) หนึ่งรุ่น (3) อยู่คนเดียว

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 • กรุงเทพฯ มีน้อkpi.ac.th ยที่สุด (1.2%)

– ครัวเรือนเด็กอยู่กับปู่ย่าตายาย มีมากที่สุดในชนบท – อิสาน (11%) และเหนือ (8%) มีครัวเรือนแหว่งกลาง มากที่สุด

9


จานวนครัวเรือน 6 ประเภท

9000000

2529

8000000 7000000 6000000 5000000 4000000 3000000

2000000 1000000

2531 2533

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

2535

2537 2539 2541 2542 2543 2544 2545 2547

0

คนเดียว

อยู่กับญาติ เพื่อน

1รุ่น

2 รุ่น

3 รุ่น

แหว่งกลาง

2549


• ครัวเรือนอยู่คนเดียว และอยู่กับเพื่อน ส่วนใหญ่มีหญิง เป็นหัวหน้า และอยู่ในเมือง

KPI CONGRESS12 – แต่ปี 2552 ครัวเรือนคนเดียวเริ่มมีผู้ชายเพิ่มขึ้น 4-6 November 2010 – ครัวเรือนอยู่คนเดียว และอยู่กบั เพื่อนส่วนใหญ่อยู่ในเมือง – แต่ในปี 2553 มีครัkpi.ac.th วเรือนคนเดียวในชนบทมีมากกว่าเมือง

(เพราะประชากรเมืองขยายตัวสู่ชานเมืองที่ยังเป็นชนบท) 11


ร้อยละของหัวครัวเรือนเพศหญิง ในแต่ละรุ่นตั้งแต่ ปี 2529-2552

32.96

39.04 37.59 38.75

25.93 20.58

19.47 15.48

7.20 3.02

10.00

14.49

20.00

2552

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th 28.84

30.00

2541

35.75 30.44 26.69

40.00

2529

62.63 59.23

50.00

55.46 57.84 53.28

60.00

65.66

70.00

0.00 อยู่คนเดียว

อยู่กับเพื่อน

1 รุ่น

2 รุ่น

3 รุ่น และ มากกว่า

แห่วงกลาง

รวม 12


สัดส่วนครัวเรือนในชนบท 60 50 40 30 20 10

54.7 42.1

KPI CONGRESS12 30.5 4-6 November 2010 kpi.ac.th 46.8

43.5

40.7

2529 2541

2552

0 อยู่คนเดียว

อยู่กับเพื่อน 13


• สมาชิกในครัวเรือน – นักเรียน (34%) และเด็กอายุต่ากว่า 15 ปี จานวนมาก ที่สุดอยู่ในครัวเรือน 2 รุน่ – ส่วนคนแก่ (37%) อยู่ในครัวเรือน 3 รุ่น ...การเลี้ยงดู คนชรา (หรือลูกที่แต่งงานแล้วและพึ่งพ่อแม่ ??) ยังเป็น ภาระหลักของครัวเรือนไทย

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

14


2. การศึกษา : ข่าวดี และข่าวร้าย

• ข่าวดี 1 : ระดับการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยดีขึ้น สัดส่วนแรงงานที่สาเร็จการศึกษาในระดับต่างๆ (2529-2552)

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

80% 60% 40% 20% 0% 2529

2531 2533 2535 2537 2539 ต่​่ากว่า ป.6 ป.6 มัธยมต่​่ากว่า ม.6

2541 ม.6

2543 2545 2547 2549 2551 อนุปริญญา/ปวส. ปริญญาตรีขึ้นไป

15


– ขณะที่สัดส่วนแรงงานที่จะต่ากว่าป.6 ลดจาก 68% เหลือ 31% ในปี 2529-52 – แรงงานจบมัธยม 6 เพิม่ จาก 4.5% เป็น 13.3% ในช่วง 2529-52 – แรงงานจบมหาวิทยาลัยเพิ่มจาก 2.7% เป็น 11.8% ในช่วง 2529-52 – การศึกษาเฉลี่ยของแรงงานเพิ่มจาก 5.3 ปี เป็น 8.2 ปี – แต่ข่าวร้าย คือ ความเหลื่อมล้าการศึกษาสูงขึ้น เพราะส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (SD) เพิ่มจาก 3.3 ปีเป็น 4.4 ปี ในช่วงปี 2529-2552

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

16


• ข่าวดี 2 : ช่องว่างการศึกษาระหว่างเมืองกับชนบทดีขึ้นทั้งชายและหญิง แนวโน้มการศึกษาเฉลี่ยของผู้ชายอายุ 25-29 ปี ในและนอกเขตเทศบาล 13.00 12.00 11.00

10.00 9.00 8.00 7.00 6.00

5.00

แนวโน้มการศึกษาเฉลี่ยของผู้หญิงอายุ 25-29 ปี ในเขตและนอกเขตเทศบาล

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th เมือง

ชนบท

4.00 2529 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2551

13.00 12.00 11.00 10.00 9.00 8.00 7.00 6.00 5.00 4.00

เมือง

ชนบท

2529 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2551

17


– หญิงมีการศึกษาสูงกว่าชายทั้งในเมืองและชนบท แนวโน้มการศึกษาเฉลี่ยของผู้ชายและผู้หญิง อายุ 25-29ปี ที่อยู่นอกเขตเทศบาล

แนวโน้มการศึกษาเฉลี่ยของผู้ชายและผู้หญิง อายุ 25-29ปี ที่อยู่ในเขตเทศบาล

13.00

13.00

12.00 11.00

10.00 9.00 8.00 7.00 6.00 5.00 4.00

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th หญิง

12.00

11.00 10.00

ชาย

หญิง

ชาย

9.00 8.00 7.00 6.00 5.00 4.00

2529 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2551

2529 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2551

18


• ข่าวไม่ดี 3 ข่าว – (1) ประชากรอายุ 10-25 ปี ที่คาดว่าจะเรียนถึง มหาวิทยาลัย มาจากครัวเรือนที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุด (7,700 บาทต่อเดือนเทียบกับ 4,500 บาท สาหรับ ครัวเรือนที่มีคนเรียนชั้นมัธยมปลาย)

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

19


ประมาณสัดส่วนของกลุ่มผู้ชายอายุ 10-25 ปี ในปี 2531 2542 และ 2552 ที่จะได้เข้าศึกษาสูงสุด ในระดับต่างๆ

ประมาณสัดส่วนของกลุ่มผู้หญิงอายุ 10-25 ปี ในปี2531 2542 และ 2552 ที่จะได้เข้าศึกษาสูงสุด ในระดับต่างๆ

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th 0.7

0.7

0.6

0.6

0.5

0.5

0.4

0.4 0.3

0.3

0.2

0.2

0.1

0.1

0

0

sch<=4

4<sch<=6

6<sch<=9

9<sch<=12

2531 2542 2552

12<sch<=14

sch>14

sch<=4

4<sch<=6

6<sch<=9

9<sch<=12

12<sch<=14

sch>14

2531 2542 2552

20


– ข่าวไม่ดี (2) ค่าจ้างของคนจบมหาวิทยาลัยและป.6 เพิ่มเร็ว ที่สุด ขณะที่คนจบมัธยม 6 มีค่าจ้างเพิ่มช้าที่สุด การเปลี่ยนแปลงของค่าจ้างเฉลี่ยต่อชั่วโมงที่แท้จริงของแรงงานตามกลุม่ การศึกษา Real Hourly Wage Index (2529=100)

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th 310 290 270 250 230 210 190 170 150 130 110 90

ประถม

ม.ปลาย

มหาวิทยาลัย

2529 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2551 21


– ผล คือ ค่าจ้างคนจบมหวิทยาลัยถ่างจากคนจบมัธยมมากขึ้นเป็น 160% ทั้งๆที่ อุปทานคนจบมหาวิทยาลัยเทียบกับมัธยมเพิ่มมากขึ้น ช่องว่างค่าจ้างระหว่างผู้จบ ปริญญาตรีต่อผู้จบมัธยมปีที่ 6 170% 160%

อุปทานเปรียบเทียบระหว่างผู้จบ ปริญญาตรีต่อผู้จบมัธยมปีที่ 6

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th 58%

Wage Gap

140% 130% 120%

Relative Supply

53%

150%

48%

43%

110%

38% 100% 90% 2529 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2551

33% 2529 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2551

22


– สาเหตุ : การเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงาน โดยเฉพาะ เทคโนโลยีทาให้นายจ้างยินดีจ่ายค่าจ้างคนจบมหาวิทยาลัย เพิ่มมากขึ้น : ความลาเอียงของการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยี – นัย : การสนับสนุนคนฐานล่างให้สามารถเรียนต่อได้โดยมี คุณภาพ

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

23


• ข่าวไม่ดี (3) : กระบวนการผลิตซ้า ซึ่งความยากจน และความเหลื่อมล้าในอนาคต เพราะปู่ย่าตายายที่เรียน KPI CONGRESS12 น้อยไม่สามารถสอนหนั งสือเด็กได้ เหตุผล 4 ข้อ

4-6 November 2010 • มีครัวเรือนทีเ่ ด็กอยู่กบั คนแก่อายุ 65 ปี เพิ่มขึ้นเป็นเกือบ 2 แสน kpi.ac.th ครัวเรือน (1%)

– (ก) จานวนครัวเรือนที่เด็กอยู่กับปู่ย่าตายาย เพิ่มขึ้นเป็น 7%

24


สัดส่วนครัวเรือนที่มีเฉพาะเด็กอยู่กับผู้สูงอายุ (65 ปี) ต่อครัวเรือนทั้งหมด 1.2% 1.0% 0.8% 0.6% 0.4% 0.2% 0.0%

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th เมือง

ชนบท

รวม

2531 2533 2535 2539 2543 2547 2549 2550 2551 2552 25


– (ข) เด็กมีโอกาสอยู่กับพ่อและแม่นอ้ ยลงจาก 65% (ในปี 2549 เหลือ 62% ในปี 2552 โดยเฉพาะในครัวเรือนยากจนมีเพียง 55% ที่เด็กอยู่ กับพ่อ-แม่

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

สัดส่วนเด็กจาแนกตามลักษณะการอยู่อาศัย(ต่อจานวนเด็กทั้งหมด) การอยู่อาศัยของเด็ก อยู่กับพ่อและแม่ อยู่กับพ่อคนเดียว อยู่กับแม่คนเดียว อยู่กับญาติ อยู่กับคนอื่น รวม

2549 65% 2% 14% 19% 1% 100%

2550 63% 2% 13% 22% 0% 100%

2551 62% 3% 14% 21% 0% 100%

2552 62% 3% 14% 21% 0% 100% 26


สัดส่วนเด็กที่ได้อยู่กับพ่อและแม่ในครัวเรือนที่ยากจนและไม่ยากจน ต่อเด็กในครัวเรือนที่จนและไม่จน 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10%

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th 65%

62%

63%

68%

60%

60%

63%

55%

0% 2549

2550

เด็กในครัวเรือนที่ไม่ยากจน

2551

2552

เด็กในครัวเรือนที่ยากจน 27


– (ค) เด็กในชนบทมีโอกาสอยู่กับพ่อและแม่นอ้ ยกว่าเด็กในเมือง สัดส่วนเด็กที่ได้อยู่กับพ่อและแม่ จาแนกตามเขตปกครอง

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

ต่อจานวนเด็กในแต่ละเขตการปกครอง

72% 70% 68% 66% 64% 62% 60% 58% 56% 54%

70%

69%

63%

2549

เมือง

68%

61%

2550

66%

60%

2551

ชนบท

60%

2552

28


– (ง) เด็กในครัวเรือนยากจนมีโอกาสเรียนต่อน้อยกว่าครัวเรือนไม่จน สัดส่วนเด็กที่ได้อยู่กับพ่อและแม่ จาแนกตามปกครอง

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

ต่อจานวนเด็กในแต่ละเขตการปกครอง

เมือง

75% 70%

70%

65%

69%

63%

60%

68%

61%

ชนบท

66%

60%

60%

55%

2549

2550

2551

2552

29


3. การทางานและอาชีพ : งานนอกระบบ เพิ่มมากขึ้น • อาชีพภาคเกษตรเป็นอาชีพที่มีแรงงานลดลง

KPI CONGRESS12 – อาชีพอื่นมีการจ้างงานเพิ่มขึ้น November 2010 ่มชะลอ – แต่อาชี4-6 พช่างและการผลิ ตภาคอุตสาหกรรมเริ ตัวหลังปี 2542 และลดลงในปี kpi.ac.th2551 เป็นต้นมา – ผู้ไม่มีงานทาเพิ่มมากขึ้น

30


สัดส่วนโครงสร้างอาชีพในครัวเรือนตั้งแต่ปี 2543 – 2552 60 50 40 30 20 10 0

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th 2529

2531

2533

2535

2537

2539

2541

2542

ที่มา :ข้อมูลการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สานักงานสถิติแห่งชาติ

31


• แรงงานนอกระบบ (เศรษฐกิจตามอัธยาศัย) มีมากที่สุด และยังมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วง 2549-51 แสดงสัดส่วนแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบตั้งแต่ปี 2549 - 2551 100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th 38.5

37.3

36.3

62.5

62.7

63.7

2549

2550

2551

ในระบบ

นอกระบบ

32


• แรงงานนอกระบบมีรายได้ต่ากว่าในระบบ แสดงรายได้ของครัวเรือนที่มีแรงงานนอกระบบเปรียบเทียบกับในระบบ 70 60 50 40 30

20 10 0

61.13

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th นอกระบบ

ในระบบ

32.21

29.92

24.38

23.04

11.73

11.33

3.86

0 - 10,000

10,001 - 20,000

20001 - 40000

40001 - 100000

0.64 1.77

> 100000

33


• ใครอยู่ในอาชีพในระบบ/นอกระบบ – คนในครัวเรือนตั้งแต่ 2 รุ่น และครัวเรือนเด็กกับปู่ย่า ตายายทางานนอกระบบ – ครัวเรือนคนเดียว อยู่กับเพื่อน และ 1 รุ่นจะทางาน ในระบบ

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

34


– แรงงานในระบบจะเป็น (1) คนอายุต่ากว่า 40 ปี (2) อยู่ในกทม./ภาคกลาง – นัย : (1) รัฐเก็บภาษีเงินได้น้อย (2) รัฐและเอกชนควรเริ่มหาทางเพิ่มงานใน “formal sector”

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

แสดงสัดส่วนแรงงานในและนอกระบบจาแนกตามช่วงอายุ

20 15 10 5 0 15-19

20-24

25-29

30-34

35-39

ในระบบ

40-44

45-49

50-54

55-59

60 ขึ้นไป

นอกระบบ 35


แสดงสัดส่วนแรงงานในระบบและนอกระบบในแต่ละภูมิภาค 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

กทม./ปริมณฑล

กลาง

ในระบบ

เหนือ

ตอ./น.

ใต้

นอกระบบ

36


4. รายได้ การออม ทรัพย์สินและหนี้สิน • ระหว่างปี 2529-52 รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนไทยเพิ่มขึ้นปีละ 4.9% ต่อปี รายจ่ายเพิ่ม 3.5% ต่อปี • ครัวเรือนที่มีรายได้ต่อหัว และรายจ่ายต่อหัวสูงสุด คือ ครัวเรือนอยู่คนเดียว

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th – ครัวเรือนเด็ก-ปู่ย่าตายาย มีรายได้และรายจ่ายต่อหัวต่าสุด

37


รายได้ต่อหัว ณ ราคาปี 2545 จาแนกตามประเภทครัวเรือน 10,000 9,000 8,000 7,000 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

2529 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2550 2552

รวม

คนเดียว

อยู่กับญาติ/เพื่อน

1 รุ่น

2 รุ่น

3 รุ่น

แหว่งกลาง 38


• การออมเพิ่มขึ้น 3.3 เท่าในช่วงปี 2531-52 – ครัวเรือนที่ไม่มีการออมลดจาก 45% เหลือ 25% (5 ล้าน ครัวเรือน) – แต่ครัวเรือนจนที่สุดยังมีการออมติดลบ

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

39


การออมและสัดส่วนของเงินออมต่อรายได้จาแนกตามกลุม่ รายได้ เงินออม (บาท/คน/เดือน)

สัดส่วนของเงินออมต่อรายได้ (%)

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

5,000

60

4,000

40

3,000

20

2,000

0

1,000

-20

0

กลุ่ม 1 (จนสุด)

กลุ่ม 2

กลุ่ม 4

กลุ่ม 5 (รวยสุด)

กลุ่ม 3

กลุ่ม 1 (จนสุด)

กลุ่ม 2

กลุ่ม 4

กลุ่ม 5 (รวยสุด)

2552

2550

2549

2547

2545

2543

2542

2541

2539

2537

2535

2533

-60 2531

2552

2550

2549

2547

2545

2543

2542

2541

2539

2537

2533

2531

-1,000

2535

-40

กลุ่ม 3

40


• ทรัพย์สิน – ครัวเรือนเกือบ 90% มีทรัพย์สินทางการเงินไม่เกิน 5 หมื่นบาท – แม้ครัวเรือนจนสุดจะมีทรัพย์สินการเงินเพิ่มขึ้นบ้าง แต่ครัวเรือน รวยสุดจะมีทรัพย์สินการเงินเพิ่มขึน้ มาก – ครัวเรือนรวยสุดมีทรัพย์สินจริง 1.2 ล้านบาทครัวเรือนจนสุดมี ทรัพย์สินจริง 0.36 ล้านบาท – ความเหลื่อมล้าด้านทรัพย์สินจึงรุนแรงกว่าความเหลื่อมล้าด้าน รายได้ – นัย : เก็บภาษีที่ดิน และภาษีมรดก

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

41


ร้อยละของครัวเรือนจาแนกตามมูลค่าทรัพย์สินจริง ร้อยละครัวเรือน 100

กลุ่มจนสุด

กลุ่มรวยสุด

ร้อยละครัวเรือน

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th 60 50

80

40

2549

60

30

2552

40

2549 2552

20

20

10

0

0 0.05

0.05-1.0

ทรัพย์สิน (ล้านบาท)

1.0+

0.05

0.05-1.0

1.0+

ทรัพย์สิน (ล้านบาท) 42


– หัวหน้าครัวเรือนที่มอี ายุ และการศึกษามากขึ้นจะมีทรัพย์สินมากขึ้น มูลค่าทรัพย์สินจริงของครัวเรือน จาแนกตามระดับการศึกษา (หน่วย: ล้านบาท) 1.20

1.00

0.80

มูลค่าทรัพย์สินจริงของครัวเรือน จาแนกตามอายุของหัวหน้าครัวเรือน

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th 0.70

0.60

0.50

0.40

0.60

0.30

0.40

0.20

0.20

0.10

0.00

0.00

15-19 20-24 25-29 30-34 35-44 45-54 55-65 >65

2549 2549

2550

2552

2550

2552

43


• หนี้สิน : คนที่มีหนี้สินมากเป็น “คนจน” หรือไม่

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

– คนจนที่มหี นี้สิน (7.3%) มีน้อยกว่าคนจนที่ไม่มี หนี้สิน (9.9%) และคนจนมีหนี้จานวนลดลง – เหตุผล : คนจนมากๆไม่สามารถกู้ยืมใครได้

44


สัดส่วนคนจน จาแนกตามหนี้สิน 25 20 15 10 5 0

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

9.9

2537

2552

20.2

17.4

16.0

17.0 17.8

19.6

21.8

15.5 14.6

13.7

2539

2541

2543

2545

12.2

10.7

2547

ไม่มีหนี้สิน

12.0

8.5

2549

10.0

7.8

2550

7.3

มีหนี้ 45


– แต่คนไทยกว่า 60% ของประชากรมีหนี้สิน และสัดส่วนคนมีหนี้เพิม่ จาก 41% ในปี 2537 – ภาคอีสานมีคนมีหนี้มากที่สดุ 72.5% – ปัจจุบันหนี้ส่วนใหญ่ (กว่า 94%) เป็นหนี้ในระบบ – นัยเชิงนโยบาย (1) : นโยบายพักชาระหนี้ แปลงหนี้นอกระบบเป็นในระบบ และให้กู้เพิ่มไม่ใช่การแก้ไขปัญหาหนี้ที่ได้ผล เพราะมีแต่จะสร้างปัญหาหนี้ให้ คนส่วนใหญ่ – (2) รัฐบาลยังจาเป็นต้องแก้ไขปัญหานี้นอกระบบหรือไม่ (ยกเว้นกรณีการทวง หนี้โหด และใช้ข้อกฎหมายเอาเปรียบผู้กู้) – (3) ภาคเอกชนและรัฐควรร่วมกันสร้างความรู้ให้ผู้กู้เกี่ยวกับ financial literacy และการบริหารรายได้-รายจ่ายแบบพอเพียง

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

46


5. เด็ก คนชรา กับสวัสดิการสังคม • ข่าวร้าย

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

– เด็กที่ได้อยู่กับพ่อและแม่มีแนวโน้มลดลงจาก 65% ในปี 2549 เหลือ 62% ในปี 2552 – เด็กชนบทโดยเฉพาะอีสานมีโอกาสอยูก่ ับพ่อและแม่น้อยกว่า เด็กในเมือง – เด็กในครัวเรือนยากจน (55%) มีโอกาสอยู่กับพ่อและแม่น้อย กว่าเด็กในครัวเรือนไม่ยากจน (63%) 47


ข่าวร้าย (ต่อ)

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

• โอกาสที่เด็กจะอยู่กับพ่อแม่ในครัวเรือนยากจนลดจาก 62%ของครัวเรือน ในปี 2549 เป็น 55% ในปี 2552 • สาเหตุ (1) พ่อแม่ทางานคนละจังหวัด 49% (2) พ่อแม่ แยกทาง 32% (3) พ่อหรือแม่เสียชีวิต 8% • นัยเชิงนโยบายการสร้างงานในชนบท 48


• ข่าวดี – รัฐเพิ่มเงินอุดหนุนโครงการอาหารกลางวันจาก 6 บาท/คนในปี 2542 เป็น 13 บาท/คนในปี 2552 – มีเด็กจานวนมากขึ้นที่ได้รับอาหารกลางวันฟรี

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

49


% ครัวเรือนที่มีเด็กได้รับอาหารกลางวันฟรี

% ของครัวเรือน 120 100 80 60 40 20

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

ชนบท

เมือง

0 2543

ที่มา : สสช.

2544

2545

2547

2548

2550

% 50


– ครัวเรือนที่มีเด็กได้รับสิทธิ์รักษาพยาบาลในการประกันสุขภาพถ้วนหน้าสูงขึ้น % ของครัวเรือน 200 150 100 50

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

0

เมือง

% 2545

ที่มา : สสช.

ชนบท

2547

2548

2550 51


• คนชรากับสวัสดิการสังคม – ครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุเพิ่มจาก 2.2 ล้านครัวเรือน (17%) ในปี 2531 เป็น 5.3 ล้านครัวเรือน (27%) ในปี 2552 – ภาคเหนือมีสัดส่วนครัวเรือนที่มีคนสูงอายุมากที่สุด (29%) – ส่วนภาคอีสานมีอัตราการเพิ่มของครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุ เร็ว ที่สุด (109% ระหว่างปี 2531-2552) – ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ (70%) ไม่ได้ทางาน

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

52


– ผู้สูงอายุที่ยังคงทางานอยู่ เพราะต้องหาเลี้ยงครอบครัว (49%) สุขภาพยังแข็งแรง (37%) ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ (6%) – มีครัวเรือนที่มีแต่ผู้สูงอายุอยู่ด้วยกันเพิ่มจาก 0.26 ล้าน ครัวเรือนในปี 2531 เป็น 1 ล้านครัวเรือน (6%) ในปี 2552 – ครัวเรือนเหล่านี้ส่วนใหญ่อยู่ในชนบท – ข้อกังวล 16% ของครัวเรือนที่มีแต่ผสู้ ูงอายุอาศัยอยู่ลาพัง และ เป็นคนจน – นัย : บทบาทของชุมชนกับการดูแลคนชรา

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

53


• ข่าวดี : เบี้ยยังชีพคนชรา และรักษาพยาบาล – คนชราที่ได้รับเบี้ยยังชีพ เพิม่ จาก 0.275 ล้านคนในปี 2545 เป็น 5.5 ล้านคน (57%) ในปี 2552 – มีคนชราทีม่ ีฐานะยากจนจานวน 69% ของผู้มีอายุ 60 ปี ที่ได้รับเบี้ยยังชีพ

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

54


ผู้ที่อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่ได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ต่อผู้ที่อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป

60% 50%

40% 30% 20% 10%

0%

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th 2545

2547

2549

สัดส่วนผู้ที่อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่ได้รับเบี้ยชีพผู้สูงอายุ

2550

2551

ล้านคน 6

5

4

3

2

1

-

2552

จานวนผู้ที่อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่ได้รับเบี้ยชีพผู้สูงอายุ

55


• การรักษาพยาบาลคนชรา – ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ (79%) ได้รับการรักษาพยาบาลจาก หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า รองลงมา คือ สิทธิของข้าราชการ (19%) ประกันสังคม (1%) ประกันเอกชน (1%) – แต่สิทธิประโยชน์ของสวัสดิการแต่ละระบบยังต่างกัน....จึงควรมี การปรับปรุงแก้ไข

KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th

56


ขอบคุณครับ KPI CONGRESS12 4-6 November 2010 kpi.ac.th 57


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.