บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยแร่ พ.ศ. .... หลักการ เพือ่ ปรับปรุงกฎหมายเกีย่ วกับแร่ และกฎหมายเกีย่ วกับพิกดั อัตราค่าภาคหลวงแร่ เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน
ให้
เหตุผล โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบนั ได้ รับรองสิทธิการมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ จัดการ และการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และ พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์การบริหารจัดการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 กำาหนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร การปฏิบัติราชการ เพื่อการบริหารราชการอันก่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ราชการและ ประชาชน ประกอบกับพระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. 2510 และพระราชบัญญัตพิ กิ ดั อัตราค่าภาคหลวงแร่ พ.ศ. 2509 มีความซับซ้ อนและซ้ำ าซ้ อนก่อให้ เกิดความยุ่งยากและความล่าช้ าในการปฏิบัติงานของ เจ้ าหน้ าที่ จึงเห็นสมควรปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับแร่ เพื่อให้ เกิดความเหมาะสมในการบริหาร จัดการแร่อย่างยั่งยืนและมีเอกภาพ ให้ สอดคล้ องกับดุลยภาพทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้ อม เพื่อพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเกี่ยวกับแร่ให้ เป็ นปัจจัยด้ านการผลิตในกระบวนการ อุตสาหกรรมต่อเนื่อง เอื้อประโยชน์ต่อการลงทุนเพื่อเพิ่มทุนทางเศรษฐกิจและนำาไปสู่การเพิ่มราย ได้ ของประเทศ โดยเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูมีส่วนได้ เสียได้ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ จัดการ ตัดสินใจ และ ตรวจสอบการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และเพื่อกระจายอำานาจในการปฏิบตั ิหน้ าที่ ลด ขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ลดจำานวนเอกสารและค่าใช้ จ่ายอันไม่จาำ เป็ น เปิ ดโอกาสให้ มีการตรวจสอบการใช้ ดุลพินิจและการทำางานของ เจ้ าหน้ าที่ได้ ทุกขั้นตอน จึงจำาเป็ นต้ องตราพระ ราชบัญญัติน้ ี
2
-ร่างพระราชบัญญัตวิ ่ าด้ วยแร่ พ.ศ. .... ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ ไว้ ณ วันที่ พ.ศ. .... เป็ นปี ที่ .. ในรัชกาลปัจจุบนั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ ประกาศว่า โดยที่เป็ นการสมควรให้ มีกฎหมายว่าด้ วยแร่ พระราชบัญญัติน้ ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำากัดสิทธิ และเสรีภาพของ บุคคลซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบมาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้ กระทำาได้ โดยอาศัยอำานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติข้ นึ ไว้ โดยคำาแนะนำาและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ ีเรียกว่า “ พระราชบัญญัติว่าด้ วยแร่ พ.ศ. .... ” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ ีให้ ใช้ บังคับนับแต่วนั ถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็ นต้ นไป มาตรา ๓ ให้ ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติพิกดั อัตราค่าภาคหลวงแร่ พ.ศ. ๒๕๐๙ (๒) พระราชบัญญัติพิกดั อัตราค่าภาคหลวงแร่ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๐ (๓) พระราชบัญญัติพิกดั อัตราค่าภาคหลวงแร่ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ (๔) พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. ๒๕๑๐ (๕) พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๖ (๖) พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ (๗) พระราชกำาหนดแก้ ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. ๒๕๑๐ พ.ศ. ๒๕๒๖ (๘) พระราชกำาหนดแก้ไขเพิม่ เติมพระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. ๒๕๑๐ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
3
(๙) พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๔ (๑๐) พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ บรรดาบทบัญญัติ กฎและข้ อบังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้ แล้ วในพระราชบัญญัติน้ ี หรือซึ่งขัดหรือแย้ งกับบทแห่งพระราชบัญญัติน้ ี ให้ ใช้ พระราชบัญญัติน้ ีแทน มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัติน้ ี “แร่” หมายความว่า ทรัพยากรธรณีทเ่ี ป็ นอนินทรียวัตถุ มีสว่ นประกอบทางเคมีกบั ลักษณะ ทางฟิ สกิ ส์แน่นอนหรือเปลีย่ นแปลงได้เล็กน้อย ไม่วา่ จะต้องถลุงหรือหลอมก่อนใช้หรือไม่และหมายความ รวมตลอดถึงถ่านหิน หินน้ำ ามัน หินอ่อน โลหะและตะกรันทีไ่ ด้จากโลหกรรม น้ำ าเกลือใต้ ดิน หิน ซึ่ง ประกาศกระทรวงกำาหนดเป็ นหินประดับหรือหินอุตสาหกรรม และดิน ทราย ซึ่งประกาศกระทรวง กำาหนดเป็ นดิน ทราย เพื่ออุตสาหกรรม “น้ำ าเกลือใต้ดนิ ” หมายความว่า น้ำ าเกลือทีม่ อี ยูใ่ ต้ดนิ ตามธรรมชาติและมีความเข้มข้นของ เกลือในปริมาณมากกว่าที่กาำ หนดในประกาศกระทรวง “การบริหารจัดการแร่ ” หมายความว่า การจัดการทรัพยากรแร่ท่มี ีอยู่ตามธรรมชาติ และการประกอบกิจการแร่และการประกอบธุรกิจแร่ “การประกอบกิจการแร่” หมายความว่า การสำารวจแร่ การทำาเหมือง และการทำาเหมืองใต้ ดนิ “การประกอบธุรกิจแร่” หมายความว่า การแต่งแร่ การประกอบโลหกรรม การซื้อแร่ การ ขายแร่ การขนแร่ การครอบครองแร่ การเก็บแร่ การนำาแร่เข้ าในราชอาณาจักร การส่งแร่ออกนอก ราชอาณาจักร “สำารวจแร่ ” หมายความว่า การกระทำาด้ วยวิธกี ารอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายวิธี เพื่อ ให้ ร้ วู ่าในพื้นที่มีแร่อยู่หรือไม่เพียงใด “ทำาเหมือง” หมายความว่า การกระทำาแก่พ้ ืนที่เพื่อให้ ได้ มาซึ่งแร่ ด้ วยวิธกี ารอย่างใด อย่างหนึง่ หรือหลายวิธี แต่ไม่รวมถึงการขุดหาแร่รายย่อยและการร่อนแร่ตามทีกำ่ าหนดในประกาศกระทรวง “ทำาเหมืองใต้ ดนิ ” หมายความว่า การทำาเหมืองด้ วยวิธกี ารเจาะเป็ นปล่อง หรืออุโมงค์ ลึกลงไปใต้ ผวิ ดิน เพื่อให้ ได้ มาซึ่งแร่ใต้ ผวิ ดิน “ขุดหาแร่รายย่อย” หมายความว่า การกระทำาแก่พ้ ืนที่ไม่ว่าจะเป็ นที่บกหรือที่น้ำาเพื่อ ให้ ได้ มาซึ่งแร่ โดยวิธกี ารใช้ แรงคน หรือใช้ เครื่องจักร ตามประเภท ชนิด และลักษณะที่กาำ หนดใน ประกาศกระทรวง “ร่อนแร่” หมายความว่า การกระทำาแก่พ้ ืนที่ไม่ว่าจะเป็ นที่บกหรือที่น้ำ าเพื่อให้ ได้ มาซึ่ง แร่โดยวิธกี ารใช้ แรงคน หรือใช้ เครื่องจักร ตามประเภท ชนิด และลักษณะที่กาำ หนดในประกาศ กระทรวง “แต่งแร่” หมายความว่า การกระทำาใดๆ เพื่อทำาให้ แร่สะอาดหรือเพื่อให้ แร่ท่ปี น กัน อยู่ต้งั แต่สองชนิดขึ้นไปแยกออกจากกัน ด้ วยกระบวนการทางฟิ สิกส์หรือทางเคมี หรือเพื่อลดขนาด ของแร่ หรือเพื่อคัดขนาดของแร่ ด้ วยวิธกี ารอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายวิธี แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
4
“โลหกรรม” หมายความว่า การทำาให้ แร่เป็ นโลหะหรือสารประกอบของโลหะด้ วยวิธกี าร ถลุงแร่ หรือวิธอี ่นื ใด “ซื้อแร่” หมายความว่า การรับโอนแร่ด้วยประการใดจากบุคคลอื่น นอกจากการตกทอด ทางมรดก “ขายแร่” หมายความว่า การโอนแร่ด้วยประการใดไปยังบุคคลอื่น “มีแร่ไว้ ในครอบครอง” หมายความว่า การมีไว้ การยึดถือ หรือการรับไว้ ด้วยประการใด ซึ่งแร่เพื่อตนเองหรือผู้อ่นื “เขตควบคุมแร่ ” หมายความว่า เขตพื้นที่ซ่งึ รัฐมนตรีประกาศเป็ นเขตควบคุมแร่ “เขตเหมืองแร่ ” หมายความว่า เขตพื้นที่ท่กี าำ หนดในประทานบัตร “อาชญาบัตรสำารวจแร่ ” หมายความว่า หนังสือสำาคัญที่ออกให้ เพื่อสำารวจแร่ภายในเขต ที่กาำ หนดในหนังสือสำาคัญนั้น “อาชญาบัตรพิเศษ” หมายความว่า หนังสือสำาคัญที่ออกให้ เพื่อสำารวจแร่ภายในพื้นที่ ที่กาำ หนดในหนังสือสำาคัญนั้น โดยมีผลประโยชน์ตอบแทนแก่รัฐ “ประทานบัตร” หมายความว่า หนังสือสำาคัญที่ออกให้ เพื่อทำาเหมืองในเขตที่กาำ หนดใน หนังสือสำาคัญนั้น “ใบอนุญาต” หมายความว่า ใบอนุญาตที่ออกให้ ตามพระราชบัญญัติน้ ี “ตะกรัน” หมายความว่า สารประกอบหรือสารพลอยได้ อ่นื ใดที่เกิดจากการประกอบ โลหกรรม “เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่” หมายความว่า อธิบดี และเจ้ าหน้ าที่ ที่ อธิบดีมอบหมายให้ ปฏิบตั ิหน้ าที่เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ “พนักงานเจ้ าหน้ าที่” หมายความว่า เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่และ เจ้ า พนักงานซึ่งรัฐมนตรีหรือผู้ซ่งึ รัฐมนตรีมอบหมายแต่งตั้งให้ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ ี และให้ ถือว่าเป็ นเจ้ าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และในการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ใี น ส่วนที่ เกี่ยวกับความผิดอาญาให้ ถอื ว่าพนักงานเจ้ าหน้ าที่เป็ นพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตำารวจ ตาม ประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา “อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผ้ รู ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา ๕ ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี เว้ นแต่ในหมวดที่ ๓ ส่วนที่ ๖ การบริหารจัดการแร่ในส่วนที่เป็ นอำานาจและหน้ าที่ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และให้มอี าำ นาจแต่งตัง้ พนักงานเจ้าหน้าที่ ออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ี การกำาหนดอัตราค่าธรรมเนียมต้ องไม่เกินอัตราตามบัญชีแนบท้ายพระราชบัญญัติน้ ี แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
5
กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ วให้ ใช้ บังคับได้
หมวด ๑ บททัว่ ไป ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา ๖ แร่เป็ นของรัฐ ผู้ใดจะสำารวจ ทำาเหมือง หรือขุดหาแร่ในที่ใด ไม่ว่าที่น้นั เป็ น ของตนเองหรือบุคคลอื่นต้ องปฏิบตั ิตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา ๗ การบริหารจัดการแร่ต้องเป็ นไปตามวัตถุประสงค์หลัก ดังนี้ (1) เพื่อประโยชน์แห่งรัฐ (2) เพื่อการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรแหล่งแร่ให้ สอดคล้ องกับดุลยภาพ ทาง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้ อม (3) เพื่อประโยชน์ทางด้ านเศรษฐกิจและสังคมของท้ องถิ่น (4) เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ในการบริหารจัดการแร่ตามวรรคหนึ่ง ต้ องคำานึงถึงการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครอง ส่วนท้ องถิ่นในการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการสิ่งแวดล้ อมอย่างสมดุลและยั่งยืน หมวด ๒ คณะกรรมการแร่ มาตรา ๘ ให้ มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการแร่ ” ประกอบด้ วยปลัด กระทรวงอุตสาหกรรมเป็ นประธาน อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ อธิบดีกรม ทรัพยากรธรณี อธิบดีกรมที่ดิน อธิบดีกรมป่ าไม้ อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุพ์ ืช อธิบดีกรมชลประทาน เลขาธิการสำานักงานการปฏิรูปที่ดนิ เพื่อเกษตรกรรม เลขาธิการสำานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เลขาธิการสภาการเหมืองแร่ หรือ ผู้ซ่งึ อธิบดี หรือเลขาธิการดังกล่าวมอบหมาย และผู้ทรงคุณวุฒิซ่งึ รัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกินสามคน เป็ นกรรมการ ผู้อาำ นวยการสำานักเหมืองแร่และสัมปทาน กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ หรือผู้ซ่งึ อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่มอบหมายเป็ นกรรมการและเลขานุการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิให้ แต่งตั้งจากผู้ซ่งึ มีความเชี่ยวชาญ ในด้ านการเหมืองแร่ ด้ านสิ่งแวดล้ อม และด้ านสังคมศาสตร์ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
6
มาตรา ๙ ให้ คณะกรรมการแร่มีหน้ าที่ในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) ให้ คาำ ปรึกษา คำาแนะนำา และความเห็นแก่รัฐมนตรีในการอนุญาตหรือไม่อนุญาต การต่ออายุ การโอน การเพิกถอน และการกำาหนดเงื่อนไขใดๆ เกี่ยวกับประทานบัตร (๒) เสนอแนะนโยบายการบริหารจัดการแร่ (2) เรื่องอื่นตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย (3) เรื่องอื่นตามที่กาำ หนดในพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา ๑๐ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่งึ รัฐมนตรีแต่งตั้งอยู่ในตำาแหน่งคราวละสองปี กรรมการซึ่งพ้ นจากตำาแหน่งตามวาระอาจได้ รับแต่งตั้งอีกได้ มาตรา ๑๑ นอกจากการพ้ นจากตำาแหน่งตามมาตรา ๑๐ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่ง รัฐมนตรีแต่งตั้งพ้ นจากตำาแหน่งก่อนถึงวาระเมื่อ (1) ตาย (๒) ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อรัฐมนตรี และให้ ถอื ว่าพ้ นจากตำาแหน่งนับแต่วัน ยื่นหนังสือลาออก (3) รัฐมนตรีให้ ออก (4) เป็ นบุคคลล้ มละลาย (5) เป็ นบุคคลไร้ ความสามารถหรือเสมือนไร้ ความสามารถ (6) ได้ รับโทษจำาคุกโดยคำาพิพากษาถึงที่สดุ ให้ จาำ คุก เว้ นแต่เป็ นโทษสำาหรับ ความผิดที่ได้ กระทำาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ เมื่อมีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำาแหน่งก่อนวาระรัฐมนตรีอาจแต่งตั้งผู้อ่นื แทนได้ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่งึ ได้ รับแต่งตั้งตามวรรคสองอยู่ในตำาแหน่งตามวาระของ กรรมการซึ่งตนแทน มาตรา ๑๒ การประชุมของคณะกรรมการต้ องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า กึ่งจำานวนของกรรมการทั้งหมดจึงเป็ นองค์ประชุม ถ้ าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมให้ กรรมการเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็ นประธาน ในที่ประชุม มาตรา ๑๓ การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ ถอื เสียงข้ างมาก กรรมการคนหนึ่งให้ มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้ าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ ประธานใน ที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็ นเสียงชี้ขาด มาตรา ๑๔ ในการปฏิบัติตามหน้ าที่ ถ้ าคณะกรรมการเห็นสมควรจะแต่งตั้ง อนุกรรมการเพื่อให้ ทาำ การใดๆ ตามที่มอบหมาย หรือจะเชิญบุคคลใดมาให้ ข้อเท็จจริงคำาอธิบาย คำา แนะนำาหรือความเห็นก็ให้ กระทำาได้ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
7
ให้ นาำ มาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๓ มาใช้ บังคับแก่การประชุมของคณะอนุกรรมการ โดยอนุโลม
หมวด ๓ การขอ การอนุ ญาต การแก้ไข และการเพิกถอนการอนุ ญาต การประกอบกิจการแร่และการประกอบธุรกิจแร่ ส่วนที่ ๑ การสำารวจแร่ มาตรา ๑๕ ห้ ามผู้ใดสำารวจแร่ในที่ใดไม่ว่าที่ซ่งึ สำารวจแร่น้ันจะเป็ นสิทธิของบุคคลใด หรือไม่ เว้ นแต่จะได้ รับอาชญาบัตรสำารวจแร่หรืออาชญาบัตรพิเศษจากอธิบดีหรือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบ หมาย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎกระทรวง ผู้ใดประสงค์จะสำารวจแร่ ให้ ย่นื ขอคำาขออาชญาบัตรสำารวจแร่ หรือคำาขออาชญาบัตร พิเศษต่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ การกำาหนดระยะเวลาการอนุญาตหรือไม่อนุญาต กำาหนดจำานวนเนื้อที่ การขอต่ออายุ การคืนพื้นที่ท่ไี ม่ประสงค์จะทำาการสำารวจ และอัตราค่าธรรมเนียม ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎกระทรวง อาชญาบัตรสำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ ให้ ใช้ ได้ เฉพาะตัวผู้ถอื อาชญาบัตรสำารวจแร่ หรืออาชญาบัตรพิเศษ และให้ ค้ ุมถึงลูกจ้ างของผู้ถอื อาชญาบัตรด้ วย มาตรา ๑๖ ในเขตเนื้อที่ซ่งึ ได้ มีผ้ ถู อื อาชญาบัตรสำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ หรือ ประทานบัตร ผู้อ่นื จะยื่นคำาขออาชญาบัตรสำารวจแร่หรืออาชญาบัตรพิเศษไม่ได้ มาตรา ๑๗ ให้ ผ้ ูถอื อาชญาบัตรสำารวจแร่ และอาชญาบัตรพิเศษเริ่มทำาการสำารวจแร่ รายงานการสำารวจแร่ และยื่นรายงานผลการสำารวจแร่ตามหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงื่อนไขที่อธิบดี กำาหนด มาตรา ๑๘ ผู้ถอื อาชญาบัตรสำารวจแร่ และผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษมีสทิ ธิ ดังนี้ (1) เข้ าไปในพื้นที่ท่ไี ด้ รับอนุญาตให้ สาำ รวจแร่โดยนำาเครื่องมือ เครื่องจักร ยาน พาหนะ และอุปกรณ์ท่จี าำ เป็ นในการสำารวจแร่เข้ าไปในพื้นที่น้นั ได้
แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
8
(2) ครอบครองหรือขนแร่ท่ไี ด้ จากการสำารวจเพื่อนำาไปตรวจสอบหรือวิเคราะห์ ตามชนิดและปริมาณที่กาำ หนดในอาชญาบัตรสำารวจแร่ หรืออาชญาบัตรพิเศษนั้น (3) ได้ รับการพิจารณาเพื่อออกประทานบัตรในพื้นที่ท่ไี ด้ ทาำ การสำารวจพบแร่ก่อน บุคคลอื่น หากพื้นที่น้นั เป็ นพื้นที่ท่อี ยู่ในเงื่อนไขที่จะอนุญาตได้ ตามกฎหมายการเข้ าไปในพื้นที่หรือ ทำาการสำารวจแร่ตาม (๑) หากพื้นที่น้ันเป็ นที่ดินกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมาย ที่ดนิ ของบุคคลอื่น หรือเป็ นที่ดนิ ที่มีการคุ้มครอง ต้ องได้ รับอนุญาตจากเจ้ าของที่ดนิ หรือหน่วยงานที่ ควบคุมดูแลพื้นที่น้ันก่อน มาตรา ๑๙ อาชญาบัตรสำารวจแร่ ผู้ย่ นื คำาขอจะขอได้ ไม่เกินคำาขอละสองพันห้ าร้ อยไร่ เว้ นแต่อาชญาบัตรสำารวจแร่ในทะเล การออกอาชญาบัตรสำารวจแร่ให้ แก่ผ้ ูขออาชญาบัตรสำารวจแร่ให้ ออกให้ รายละไม่เกิน ห้ าพันไร่ อาชญาบัตรสำารวจแร่ให้ มอี ายุไม่เกินสองปี นบั ตัง้ แต่วนั ออกและจะต่ออายุได้อกี คราวละไม่ เกินหนึ่งปี แต่ท้งั นี้อายุอาชญาบัตรสำารวจแร่รวมแล้ วไม่เกินสามปี มาตรา ๒๐ อาชญาบัตรสำารวจแร่ให้ ส้ นิ อายุในกรณีดงั ต่อไปนี้ (1) ผู้ถอื อาชญาบัตรสำารวจแร่ซ่งึ เป็ นบุคคลธรรมดาตาย (2) ผู้ถอื อาชญาบัตรสำารวจแร่เป็ นนิตบิ ุคคลสิ้นสภาพนิติบุคคล (3) ผู้ถอื อาชญาบัตรสำารวจแร่เป็ นบุคคลล้ มละลาย (4) ผู้ถอื อาชญาบัตรสำารวจแร่ขาดคุณสมบัติตามที่กาำ หนดในกฎกระทรวง (5) ผู้ถอื อาชญาบัตรสำารวจแร่ไม่ดาำ เนินการสำารวจแร่หรือไม่รายงานการสำารวจแร่ ภายในกำาหนดเวลาตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่อธิบดีกาำ หนด (6) ผู้ถอื อาชญาบัตรสำารวจแร่ขอคืนพื้นที่ท่ไี ม่ประสงค์จะสำารวจทั้งหมด (7) อธิบดีมีคาำ สั่งเพิกถอนอาชญาบัตรสำารวจแร่นับแต่วันรับแจ้ งคำาสั่งเพิกถอนนั้น (8) ครบกำาหนดอายุอาชญาบัตรสำารวจแร่และไม่อยู่ในระยะเวลาของการต่ออายุ อาชญาบัตรสำารวจแร่น้ัน มาตรา ๒๑ การยื่นคำาขออาชญาบัตรพิเศษต้ องกำาหนดข้ อผูกพันสำาหรับการสำารวจ โดยระบุจาำ นวนเงินที่จะใช้ จ่ายเพื่อการสำารวจสำาหรับแต่ละปี ตลอดอายุของอาชญาบัตรพิเศษและ ต้ องเสนอให้ ผลประโยชน์พิเศษเพื่อประโยชน์แก่รัฐตามหลักเกณฑ์ท่อี ธิบดีกาำ หนด และให้ ผล ประโยชน์พิเศษดังกล่าวมีผลผูกพันผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษต่อไปเมื่อผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษนั้นได้ รับ ประทานบัตรสำาหรับการทำาเหมืองในเขตพื้นที่ท่ตี นได้ รับอาชญาบัตรพิเศษนั้น คำาขออาชญาบัตรพิเศษแต่ละคำาขอให้ ขอได้ ไม่เกินเนื้อที่ท่สี ามารถดำาเนินการสำารวจ จน แล้ วเสร็จครบถ้ วนได้ ภายในห้ าปี ทั้งนี้ ให้ ขอได้ ไม่เกินคำาขอละหนึ่งหมื่นไร่ ยกเว้ นคำาขอ อาชญา บัตรพิเศษในทะเลให้ ขอได้ ไม่เกินคำาขอละห้ าแสนไร่ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
9
อาชญาบัตรพิเศษมีอายุห้าปี นับแต่วนั ออก ผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษต้ องปฏิบัตติ ามเงื่อนไขและข้ อผูกพันสำาหรับการสำารวจของ แต่ละปี ที่กาำ หนดไว้ ในอาชญาบัตรพิเศษ ถ้าผูถ้ อื อาชญาบัตรพิเศษได้ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขและข้อผูกพันตามวรรคสีข่ องแต่ละปี แล้ วผล การสำารวจในปี ที่ผ่านมาบ่งชี้ว่าแร่ชนิดที่ประสงค์จะเปิ ดการทำาเหมืองในเขตคำาขออาชญาบัตรพิเศษมี ไม่เพียงพอในเชิงพาณิชย์ท่จี ะเปิ ดการทำาเหมืองได้ บางส่วนหรือทั้งหมด ผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษอาจ ขอคืนอาชญาบัตรพิเศษหรือขอคืนพื้นที่บางส่วนก็ได้ โดยให้ อาชญาบัตรพิเศษนั้นสิ้นอายุหรือการคืน พื้นที่บางส่วนนั้นมีผลนับแต่วนั ที่ย่นื คำาขอ และให้ มีผลสิ้นข้ อผูกพันสำาหรับปี ที่เหลืออยู่หรือข้ อผูกพัน สำาหรับพื้นที่ส่วนที่คืนแล้ วแต่กรณี มาตรา ๒๒ การออกอาชญาบัตรพิเศษต้ องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่ กำาหนดในกฎกระทรวง ซึ่งต้ องระบุสาระสำาคัญดังต่อไปนี้ (1) เงื่อนไขและข้ อผูกพันสำาหรับการสำารวจ การขอคืนหรือการคืนพื้นที่บางส่วน หรือทั้งหมด การรายงานผลการสำารวจ การสิ้นสุดการสำารวจ (2) ปริมาณเงินที่สมั พันธ์กบั ปริมาณงานการสำารวจ สิทธิหักปริมาณเงินส่วนที่เกิน การคำานวณค่าใช้ จ่ายตามเงื่อนไขและข้ อผูกพัน (3) การกำาหนดวัน เวลา ที่มีผลผูกพันหรือการแล้ วเสร็จแต่ละขั้นตอนการปฏิบตั ิ มาตรา ๒๓ อาชญาบัตรพิเศษให้ ส้ นิ อายุในกรณีดังต่อไปนี้ (1) ผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษซึ่งเป็ นบุคคลธรรมดาตาย (2) ผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษเป็ นนิติบุคคลสิ้นสภาพนิติบุคคล (3) ผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษเป็ นบุคคลล้ มละลาย (4) ผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษขาดคุณสมบัติตามที่กาำ หนดในกฎกระทรวง (5) ผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษไม่ดาำ เนินการสำารวจแร่หรือไม่รายงานการสำารวจแร่ ภายในกำาหนดเวลาตามที่อธิบดีกาำ หนด (6) ผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษคืนพื้นที่อาชญาบัตรพิเศษ (7) อธิบดีมีคาำ สั่งเพิกถอนอาชญาบัตรพิเศษนั้นนับแต่วันรับแจ้ งคำาสั่งเพิกถอน การทีอ่ าชญาบัตรพิเศษสิน้ อายุตามมาตรานีไ้ ม่มผี ลทำาให้ขอ้ ผูกพันหรือหน้าทีข่ องผูถ้ อื อาชญาบัตรพิเศษที่จะ ต้ องปฏิบัติในช่วงข้ อผูกพันนั้นหลุดพ้ นไป เว้ นแต่อธิบดีจะสั่งเป็ นอย่างอื่น ส่วนที่ ๒ การทำาเหมือง
แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
10
มาตรา ๒๔ นอกจากการได้ มาซึ่งแร่ ตามมาตรา ๒๙ ห้ ามผู้ใดทำาเหมืองในที่ใดไม่ว่าที่ ซึ่งทำาเหมืองนั้นจะเป็ นสิทธิของบุคคลใดหรือไม่ เว้ นแต่จะได้ รับประทานบัตรจากรัฐมนตรีหรือ ผู้ ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมาย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎกระทรวง ผู้ใดประสงค์จะทำาเหมืองให้ ย่ นื ขอคำาขอประทานบัตรต่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ ประจำาท้องที่ การกำาหนดระยะเวลาการอนุญาตหรือไม่อนุญาต การให้ ต่ออายุ การโอน การรับช่วง การทำาเหมือง และอัตราค่าธรรมเนียมให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนด ใน กฎกระทรวง ประทานบัตรให้ ใช้ ได้ เฉพาะตัวผู้ถอื ประทานบัตร และให้ ค้ ุมถึงลูกจ้ างของผู้ถอื ประทานบัตรด้ วย มาตรา ๒๕ ประทานบัตรให้มอี ายุไม่เกินยีส่ บิ ห้าปี นบั แต่วนั ออก ในกรณีประทานบัตรใดได้ กำาหนดอายุไว้ ต่ำากว่ายี่สบิ ห้ าปี เมื่อผู้ถอื ประทานบัตรยื่นคำาขอต่ออายุก่อนครบกำาหนดไม่น้อยกว่า หนึ่งร้ อยแปดสิบวันต่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ รัฐมนตรีหรือผู้ซ่งึ รัฐมนตรีมอบ หมายจะต่ออายุประทานบัตรให้ อกี ก็ได้ แต่เมื่อรวมกำาหนดเวลาทั้งหมดต้ องไม่เกินยี่สบิ ห้ าปี เมื่อผู้ถอื ประทานบัตรได้ ย่ นื คำาขอต่ออายุตามความในวรรคหนึ่งแล้ ว แม้ ประทานบัตร จะสิ้นอายุแล้ วก็ให้ ผ้ ูน้นั ทำาเหมืองต่อไปได้ เสมือนเป็ นผู้ถอื ประทานบัตร ทั้งนี้จนกว่าเจ้ าพนักงาน อุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ได้ มีหนังสือแจ้ งการปฏิเสธของรัฐมนตรีไม่ต่ออายุประทานบัตรให้ ใน ระหว่างเวลานั้นก็ให้ ถอื ว่าสิทธิในการทำาเหมืองของผู้น้นั สิ้นสุดลงนับแต่วันที่ได้ รับแจ้ ง มาตรา ๒๖ ในเขตเนื้อที่ซ่งึ ได้ มีผ้ ถู อื อาชญาบัตรสำารวจแร่ หรืออาชญาบัตรพิเศษ ผู้อน่ื จะยื่นคำาขอประทานบัตรมิได้ เว้นแต่ผ้อู ่นื นั้นเป็ นผู้มกี รรมสิทธิห์ รือมีสทิ ธิครอบครองในทีด่ นิ นั้น ตาม ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๒๗ เพื่อประโยชน์ในด้ านความปลอดภัย ห้ ามออกประทานบัตรในลักษณะที่ ทำาให้ มีเขตเหมืองแร่ซ้อนกัน ในระดับความลึกที่ต่างกันไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน มาตรา ๒๘ ผู้ใดประสงค์จะขอทำาเหมืองแร่ให้ ย่ นื คำาขอประทานบัตรพร้ อมแสดงหลัก ฐานรายงานผลการสำารวจแร่ตามอาชญาบัตร หรือหลักฐานที่เชื่อถือได้ ว่ามีแร่ชนิดที่ประสงค์ จะเปิ ด การทำาเหมืองอยู่ในเขตคำาขอนั้นและมีมูลค่าแหล่งแร่เหมาะสมในเชิงพาณิชย์ตามแบบที่อธิบดี กำาหนด และผู้ย่นื คำาขอจะเสนอให้ ผลประโยชน์พิเศษเพื่อประโยชน์แก่รัฐในกรณีท่ไี ด้ รับ ประทาน บัตรตามหลักเกณฑ์ท่รี ัฐมนตรีกาำ หนดด้ วยก็ได้ การขอประทานบัตรจะขอได้ไม่เกินคำาขอละหกร้ อยยีส่ บิ ห้ าไร่ เว้นแต่การขอประทานบัตร ในทะเลจะขอได้ ไม่เกินคำาขอละห้ าหมื่นไร่ การขอประทานบัตรในเขตอาชญาบัตรพิเศษ จะขอได้ เขตหนึ่งไม่เกินคำาขอละ หนึ่ง พันสองร้ อยห้ าสิบไร่ เว้ นแต่เป็ นการขอประทานบัตรทำาเหมืองใต้ ดินและประทานบัตรในทะเล แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
11
ในกรณีเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ รัฐมนตรีโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรีจะกำาหนดเขต เหมืองแร่ให้ แก่ผ้ ูขอประทานบัตรสำาหรับทำาเหมือง เกินที่กาำ หนดในวรรคสองหรือวรรคสามก็ได้ สำาหรับการกำาหนดเขตเหมืองแร่ในทะเลตามวรรคสอง และวรรคสี่ต้องอยู่ภายใต้ เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) ถ้ าการขอประทานบัตรนั้นเป็ นผลจากการสำารวจแร่ตามอาชญาบัตรพิเศษ ซึ่ง ผู้ขอประทานบัตรได้ สาำ รวจตามเงื่อนไขของอาชญาบัตรพิเศษดังกล่าวจนพบแหล่งแร่ภายในพื้นที่ ที่สาำ รวจแร่ รัฐมนตรีต้องกำาหนดเขตเหมืองแร่ตามแหล่งแร่ และจำานวนพื้นที่ตามที่ผ้ ูขอระบุไว้ ใน คำาขอประทานบัตร (2) ถ้ าการขอประทานบัตรนั้นเป็ นกรณีอ่นื นอกจาก (๑) ให้ รัฐมนตรีกาำ หนด เขตเหมืองแร่ตามคำาแนะนำาของคณะกรรมการ การออกประทานบัตรตามบทบัญญัติน้ ี รัฐมนตรีจะกำาหนดเงื่อนไขใดๆ เป็ นพิเศษตาม ที่เห็นสมควรให้ ผ้ ูถอื ประทานบัตรปฏิบัติกไ็ ด้ กรณีท่ผี ้ ูย่นื คำาขอประทานบัตรขอทำาเหมืองเกินเนื้อที่ท่กี าำ หนดไว้ ในวรรคสองและ วรรคสามมีความประสงค์จะใช้ แร่ชนิดที่ขอนั้นเป็ นวัตถุดบิ สำาหรับโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานที่ ประกอบโลหกรรมของตนเอง หรือผู้ย่ นื คำาขอแสดงเหตุผลและความจำาเป็ นที่ต้องขอทำาเหมือง เกิน เนื้อที่ท่กี าำ หนดให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดไว้ ในกฎกระทรวง มาตรา ๒๙ ผู้ใดประสงค์ให้ ได้ มาซึ่งแร่ด้วยวิธกี ารขุดหาแร่รายย่อย หรือการร่อนแร่ ตามทีก่ าำ หนดในประกาศกระทรวง ต้ องจดทะเบียนต่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ ให้ รัฐมนตรีกาำ หนดชนิดแร่ ขนาดพื้นที่แหล่งแร่ คุณสมบัตขิ องผูข้ อจดทะเบียน การ ลงทะเบียน การเพิกถอนทะเบียน การเรียกเก็บ หรือยกเว้ นการเรียกเก็บค่าภาคหลวงแร่ และอัตราค่า ธรรมเนียมการขุดหาแร่รายย่อย การร่อนแร่ หรือวิธกี ารอื่นใด ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และ เงื่อนไขที่กาำ หนดในประกาศกระทรวง มาตรา ๓๐ เมื่อได้ กาำ หนดเขตเหมืองแร่แล้ ว ให้ เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ ประกาศการขอประทานบัตรของผูย้ น่ ื คำาขอ โดยปิ ดประกาศเป็ นระยะเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวันไว้ ในที่ เปิ ดเผย ณ สำานักงานที่เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ปฏิบัติงาน ที่ว่าการอำาเภอหรือที่ ว่าการกิ่งอำาเภอ และที่ทาำ การขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นซึ่งขอประทานบัตรแห่งละหนึง่ ฉบับ เพือ่ ให้ผม้ ู สี ว่ นได้เสียได้มโี อกาสโต้แย้ง คัดค้าน หรือแสดงความคิดเห็นต่อเจ้าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำา ท้ องที่ เมื่อพ้ นกำาหนดเวลาที่ปิดประกาศให้ เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ดาำ เนินการ สำาหรับคำาขอนั้นต่อไป ข้ อกำาหนดเกี่ยวกับวิธกี ารการโต้ แย้ ง การคัดค้ าน และการรับฟังข้ อคิดเห็น ให้ เป็ นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดไว้ ในประกาศกระทรวง
แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
12
มาตรา ๓๑ การเพิ่มหรือถอนชนิดของแร่ท่จี ะทำาเหมืองหรือเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มวิธี การทำาเหมือง แผนผังโครงการและเงื่อนไขที่กาำ หนดไว้ ในการออกประทานบัตรต้ องได้ รับอนุญาต จากอธิบดี มาตรา ๓๒ การปลูกสร้างอาคารเกีย่ วกับการทำาเหมือง การจัดตัง้ สถานทีเ่ พื่อการแต่งแร่ หรือการเก็บขังน้ำ าขุ่นข้ นหรือมูลดินทรายจะกระทำานอกเขตเหมืองแร่มิได้ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาต จากอธิบดีหรือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมาย ผู้ได้ รับอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ต้ องเสียค่าธรรมเนียมเพื่อใช้ เนื้อที่ในการนั้นเสมือนหนึ่ง การใช้ เนื้อที่ในการทำาเหมือง มาตรา ๓๓ ผู้ถอื ประทานบัตรต้ องทำาเหมืองตามแผนผังโครงการทำาเหมืองและต้ อง ปฏิบตั ิดังนี้ (1) ห้ ามทำาเหมืองใกล้ ทางหลวงหรือทางน้ำ าสาธารณะภายในระยะห้ าสิบเมตร (2) ห้ ามปิ ดกั้น ทำาลาย หรือกระทำาด้ วยประการใดให้ เป็ นการเสื่อมประโยชน์แก่ ทางหลวงหรือทางน้ำ าสาธารณะ (3) ห้ามทดน้ำ า หรือชักน้ำ าจากทางน้ำ าสาธารณะไม่วา่ จะอยูภ่ ายในหรือนอกเขตเหมืองแร่ (4) ห้ ามปล่อยน้ำ าขุ่นข้ นหรือนำามูลดินทรายหรือมูลแร่อนั เกิดจากการทำาเหมือง ออกนอกเขตเหมืองแร่ ในกรณีทม่ี เี หตุอนั สมควรเป็นเหตุให้มอิ าจปฏิบตั ติ ามวรรคหนึง่ ได้ ให้ผถ้ ู อื ประทานบัตร ยื่น คำาขออนุญาตการปฏิบัติตามวรรคหนึ่งต่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ นอกจากกรณีตามวรรคหนึ่ง ผู้ถอื ประทานบัตรต้ องทำาเหมืองโดยมีคนงานและเวลา ทำาการตามที่กาำ หนดในกฎกระทรวง ผู้ถอื ประทานบัตรอาจร่วมโครงการทำาเหมืองเป็ นเหมืองเดียวกันได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธี การ และเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎกระทรวง ถ้ าผู้ถอื ประทานบัตร ไม่สามารถทำาเหมืองตามวรรคสามได้ เนื่องจากมีเหตุขดั ข้ องอย่าง ใดอย่างหนึ่ง อาจขอหยุดการทำาเหมืองได้ โดยยื่นคำาขออนุญาตหยุดการทำาเหมืองต่อ เจ้ า พนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ และเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่จะอนุญาตให้ หยุดการทำาเหมืองได้ คราวละไม่เกินหนึ่งปี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎ กระทรวง มาตรา ๓๔ ผู้ถอื ประทานบัตรมีสทิ ธิดังนี้ (1) มีสทิ ธิในแร่ท่รี ะบุในประทานบัตรและแร่อ่นื ซึ่งเป็ นผลพลอยได้ จากการ ทำา เหมือง (2) ทำาการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อประโยชน์แก่การทำาเหมือง รวมถึงการปลูกสร้ าง อาคาร โรงแต่งแร่ หรือติดตั้งเครื่องมือ และอุปกรณ์การทำาเหมือง การแต่งแร่ (3) นำาคดีข้ นึ สู่ศาลในกรณีท่มี ีผ้ ูโต้ แย้ งหรือขัดขวางสิทธิในการทำาเหมือง แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
13
ความใน (๒) มิให้ใช้บงั คับกับผูถ้ อื ประทานบัตรทำาเหมืองใต้ดนิ เว้นแต่ผถ้ ู อื ประทานบัตรทำา เหมืองใต้ ดนิ มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดนิ ที่อยู่ในเขตพื้นที่ของประทานบัตร และสิทธิ ตามวรรคหนึ่งให้ มีแต่เฉพาะในเขตพื้นที่ท่มี ีกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองดังกล่าว มาตรา ๓๕ สิทธิตามประทานบัตรไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี เว้ นแต่ผ้ ูท่ยี ่ นื ฟ้ องต่อศาลเพื่อขอโอนประทานบัตรเป็ นผู้มีคุณสมบัติของผู้ถอื ประทานบัตร มาตรา ๓๖ ผู้ถอื ประทานบัตรอาจให้ ผ้อู น่ื รับช่วงการทำาเหมืองทัง้ หมดของเขตเหมืองแร่ได้ โดยได้ รับอนุญาตจากอธิบดีหรือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมาย ผู้รับช่วงการทำาเหมืองตามวรรคหนึ่งมีหน้ าที่และความรับผิดตามกฎหมายและให้ ผู้รบั ช่วงการทำาเหมืองนัน้ มีสทิ ธิหน้าทีแ่ ละความรับผิดตามกฎหมายเสมือนเป็ นผู้ถอื ประทานบัตรด้วย มาตรา ๓๗ ผู้ถอื ประทานบัตรผู้ใดประสงค์จะโอนประทานบัตรให้ แก่ผ้ ูอ่นื ให้ ผ้ ูถอื ประทานบัตรยื่นคำาขอต่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ การอนุญาตให้ โอนประทานบัตรจะกระทำาได้ ต่อเมื่อผู้ถอื ประทานบัตร หรือผู้รับโอน ประทานบัตรได้ ชาำ ระหนี้สนิ ที่ค้างชำาระตามพระราชบัญญัติน้ ีแก่เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ ประจำาท้องที่แล้ ว รัฐมนตรีหรือผู้ซ่งึ รัฐมนตรีมอบหมายเป็ นผู้อนุญาตให้ โอนประทานบัตร มาตรา ๓๘ ในกรณีผ้ ูถอื ประทานบัตรตาย ให้ ทายาทยื่นคำาขอต่อเจ้ าพนักงาน อุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ เพื่อรับโอนประทานบัตรโดยการตกทอดภายในเก้ าสิบวันนับแต่วนั ที่ ผู้ถอื ประทานบัตรตาย มิฉะนั้นให้ ถอื ว่าประทานบัตรนั้นสิ้นอายุเมื่อครบเก้ าสิบวันนั้น ในกรณีท่ที ายาทของผู้ถอื ประทานบัตร ยื่นคำาขอรับโอนประทานบัตรโดยการตกทอด ภายในกำาหนดระยะเวลาดังกล่าวในวรรคหนึง่ ก็ให้ผน้ ู น้ั ทำาเหมืองต่อไปได้เสมือนเป็ นผูถ้ อื ประทานบัตร แต่ถ้ารัฐมนตรีหรือผู้ซ่งึ รัฐมนตรีมอบหมายพิจารณาเห็นว่าทายาทนั้นไม่สมควรจะเป็ น ผูร้ บั โอน ประทานบัตรจะมีคาำ สัง่ ไม่อนุญาตให้รบั โอนก็ได้ ในกรณีเช่นนี้ให้ถอื ว่าสิทธิตามประทานบัตรนั้นสิ้นอายุนับ แต่วันรับแจ้ งคำาสั่งนั้นจากเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ ในกรณีท่ผี ้ ูถอื ประทานบัตรถูกศาลสั่งให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถหรือ เสมือน ไร้ ความสามารถ ให้ นาำ ความในสองวรรคก่อนมาใช้ บังคับแก่ผ้ ูอนุบาลหรือผู้พิทกั ษ์แล้ ว แต่กรณี โดยอนุโลม มาตรา ๓๙ ผู้ถอื ประทานบัตรสามารถคืนสิทธิตามประทานบัตรทัง้ หมดหรือบางส่วนได้ เมื่อผู้ถอื ประทานบัตรไม่มีหน้ าที่และข้ อผูกพันตามกฎหมายที่ต้องปฏิบตั ิและได้ ย่ นื คำาขอและ มอบ ประทานบัตรต่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ การคืนพื้นที่การทำาเหมืองตามบทบัญญัติน้ ีให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และ เงื่อนไขที่กาำ หนดในประกาศกระทรวง มาตรา ๔๐ ภายใต้ บังคับมาตรา ๔๑ สิทธิของผู้ถอื ประทานบัตรให้ ส้ นิ สุดในกรณีดังต่อ ไปนี้ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
14
(๑) ผู้ถอื ประทานบัตรซึ่งเป็ นนิติบุคคลสิ้นสภาพนิติบุคคล (๒) ผู้ถอื ประทานบัตรเป็ นบุคคลล้ มละลาย (๓) เมื่อผู้ถอื ประทานบัตรคืนประทานบัตรให้ ส้ นิ สิทธิสาำ หรับส่วนที่คืนสิทธิตามประทาน บัตรนั้น (๔) รัฐมนตรีมีคาำ สั่งเพิกถอนสิทธิของผู้ถอื ประทานบัตรนับแต่วันรับแจ้ งคำาสั่งนั้นจาก เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ (๕) สิ้นอายุตามที่กาำ หนดไว้ ในประทานบัตรนั้น มาตรา ๔๑ ประทานบัตรทีส่ ทิ ธิของผู้ถอื ประทานบัตรสิ้นสุดลงแล้ว แต่ประทานบัตรยัง มีอายุและมีผลบ่งชี้ว่ามีแร่เพียงพอในเชิงพาณิชย์ รัฐมนตรีมีอาำ นาจอนุญาตให้ ผ้ ูซ่งึ เสนอให้ ผล ประโยชน์พิเศษเพื่อประโยชน์แก่รัฐเข้ าสวมสิทธิการทำาเหมืองตามประทานบัตรนั้นและจะกำาหนด เงือ่ นไขใด ๆ ในการอนุญาตนี้กไ็ ด้ ทัง้ นี้ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทีร่ ฐั มนตรีกาำ หนด ผู้ได้ รับอนุญาตให้ สวมสิทธิการทำาเหมืองตามวรรคหนึ่ง มีสทิ ธิและหน้ าที่ความรับผิด ตามพระราชบัญญัติน้ ีตามอายุประทานบัตรเดิมที่เหลืออยู่ มาตรา ๔๒ เมื่อประทานบัตรใดสิ้นอายุให้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เว้ นแต่ในกรณี ผู้ถอื ประทานบัตรยื่นคำาขอต่ออายุและยังมิได้ มีการปฏิเสธของรัฐมนตรีแล้ วแต่กรณีตาม มาตรา ๒๕
ส่วนที่ ๓ การทำาเหมืองใต้ดิน มาตรา ๔๓ ให้ นาำ บทบัญญัติในหมวดอื่นแห่งพระราชบัญญัติน้ ีมาใช้ บังคับกับการ ทำา เหมืองใต้ ดนิ เท่าที่ไม่ขัด หรือแย้ งกับบทบัญญัติในหมวดนี้ มาตรา ๔๔ การทำาเหมืองใต้ ดนิ ที่ต่อเนื่องจากการทำาเหมืองในประทานบัตรตาม บทบัญญัติในหมวด ๓ ส่วนที่ ๒ และการทำาเหมืองดังกล่าวเป็ นการทำาเหมืองในที่ว่างหรือที่ดนิ ที่มี เอกสารสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองไม่อยู่ในบทบังคับตามหมวดนี้ มาตรา ๔๕ รัฐมนตรีมีอาำ นาจกำาหนดเขตเหมืองแร่ให้ แก่ผ้ ูขอประทานบัตรสำาหรับ ทำา เหมืองใต้ ดนิ ได้ ไม่เกินรายละหนึ่งหมื่นไร่ ในกรณีเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ รัฐมนตรีโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรีจะกำาหนดเขต เหมืองแร่ให้ แก่ผ้ ูขอประทานบัตรสำาหรับทำาเหมืองใต้ ดินเกินที่กาำ หนดในวรรคหนึ่งก็ได้ การกำาหนดเขตเหมืองแร่ตามวรรคหนึ่งและวรรคสองต้ องอยู่ภายใต้ เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
15
(1) ถ้ าการขอประทานบัตรนั้นเป็ นผลจากการสำารวจแร่ตามอาชญาบัตรพิเศษ ซึ่ง ผู้ขอประทานบัตรได้ สาำ รวจตามเงื่อนไขของอาชญาบัตรพิเศษดังกล่าวจนพบแหล่งแร่ภายในพื้นที่ท่ี สำารวจ รัฐมนตรีต้องกำาหนดเขตเหมืองแร่ตามแหล่งแร่ และจำานวนพื้นที่ตามที่ผ้ ูขอระบุไว้ ในคำาขอ ประทานบัตร (2) ถ้ าการขอประทานบัตรนั้นเป็ นกรณีอ่นื นอกจาก (๑) ให้ รัฐมนตรีกาำ หนด เขตเหมืองแร่ตามคำาแนะนำาของคณะกรรมการ การออกประทานบัตรตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง รัฐมนตรีจะกำาหนดเงื่อนไขใดๆ เป็ น พิเศษตามที่เห็นสมควรให้ ผ้ ูถอื ประทานบัตรปฏิบัตกิ ไ็ ด้ มาตรา ๔๖ การทำาเหมืองใต้ ดินต้ องทำาในระดับความลึกที่ปลอดภัยโดยพิจารณาจาก โครงสร้ างทางธรณีวิทยารวมทั้งวิธกี ารทำาเหมืองตามหลักวิศวกรรมเหมืองแร่ในแต่ละพื้นที่และ ความปลอดภัยของสิ่งมีชีวิต มาตรา ๔๗ การทำาเหมืองใต้ ดนิ ผ่านใต้ ดินของที่ดนิ ใดที่มิใช่ท่วี ่างหากอยู่ในระดับ ความ ลึกจากผิวดินไม่เกินหนึ่งร้ อยเมตร ผู้ย่ นื คำาขอประทานบัตรต้ องแสดงหลักฐานต่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ว่าผู้ขอจะมีสทิ ธิทาำ เหมืองในเขตที่ดนิ นั้นได้ มาตรา ๔๘ เขตเหมืองแร่ตามประทานบัตรทำาเหมืองใต้ ดนิ ต้ องไม่รุกล้ ำ าเข้ าไปในเขต อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่า หรือเขตห้ ามล่าสัตว์ป่า ในกรณีท่พี บว่าการทำาเหมืองใต้ ดินบริเวณใดในเขตเหมืองแร่จะส่งผลกระทบต่อ คุณภาพสิ่งแวดล้ อมอย่างสำาคัญโดยมิอาจแก้ ไขหรือฟื้ นฟูได้ ให้ รัฐมนตรีกาำ หนดเป็ นเงื่อนไขใน ประทานบัตรมิให้ ทาำ เหมืองใต้ ดนิ ในบริเวณนั้น
มาตรา ๔๙ การออกประทานบัตรทำาเหมืองใต้ ดนิ จะต้ องอยู่ภายใต้ เงื่อนไขต่อไปนี้ (1) ผู้ขอประทานบัตรเสนอคำาขอโดยถูกต้ องตามเงื่อนไขในมาตรา ๕๐ (2) รัฐมนตรีได้ ดาำ เนินการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่งโดยถูก ต้ อง (3)
รัฐมนตรีได้ กาำ หนดเงื่อนไขในประทานบัตรตามมาตรา ๕๑ วรรคสองโดยถูก
ต้ อง มาตรา ๕๐ คำาขอประทานบัตรทำาเหมืองใต้ ดนิ ต้ องประกอบด้ วยรายละเอียดการ ทำา เหมือง แผนผัง โครงการที่ครบถ้ วน ตามหลักเกณฑ์ท่รี ัฐมนตรีกาำ หนดในประกาศกระทรวงซึ่ง อย่าง น้ อยต้ องประกอบด้ วยข้ อมูลต่อไปนี้ (1) ข้ อมูลโดยสังเขปแสดงความลึกและมาตรการทางเทคนิคตามมาตรา ๔๖ (2) แผนที่แสดงเขตเหมืองแร่โดยสังเขปพร้ อมข้ อมูลประเมินผลกระทบต่อ คุณภาพสิ่งแวดล้ อมในบริเวณต่าง ๆ เพื่อประกอบการพิจารณาตามมาตรา ๔๘ วรรคสอง แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
16
(3) ข้ อมูลทางเทคนิคในวิธกี ารทำาเหมืองและแต่งแร่โดยสังเขปทั้งทางเลือก ทาง วิศวกรรมเหมืองแร่ท่มี ีอยู่โดยทั่วไป และทางเลือกที่ผ้ ูขอประทานบัตรเห็นสมควรจะนำามาใช้ พร้ อม เหตุผลของทางเลือกดังกล่าว (4) ข้ อมูล แผนผัง ขั้นตอน วิธกี ารในการทำาเหมือง การแต่งแร่ และการฟื้ นฟูพ้ ืนที่ ภายหลังการทำาเหมืองใต้ ดินโดยสังเขปที่แสดงถึงมาตรการในการลดผลกระทบ หรือรักษาไว้ ซ่งึ คุณภาพสิ่งแวดล้ อมที่เกี่ยวข้ อง ทั้งที่อาจกระทบต่อการดำารงอยู่ของธรรมชาติและชุมชน (5) ข้ อเสนอเพื่อการมีส่วนร่วมตรวจสอบการทำาเหมืองใต้ ดนิ ของตัวแทนผู้มี ส่วน ได้ เสียตามมาตรา ๕๓ (๒) ที่ระบุถงึ จำานวนกองทุนสนับสนุนและระเบียบการตรวจสอบการ ทำา เหมืองที่ผ้ ูขอประทานบัตรจะเสนอให้ ผ้ ูมีสทิ ธิตรวจสอบการทำาเหมืองได้ เข้ าร่วมตรวจสอบการ ทำา เหมืองตามที่ระบุไว้ ในมาตรา ๕๕ (6) เส้นทางขนส่ง และแหล่งน้ำ าที่จะใช้ ในโครงการทั้งที่มีอยู่แล้ วและที่จะพัฒนาขึ้น พร้ อมรายละเอียดการใช้ สอยตลอดโครงการที่เพียงพอจะประเมินให้ เห็นได้ ว่าการทำาเหมืองใต้ ดินใน โครงการจะไม่ส่งผลกระทบต่อการดำารงอยู่ของชุมชนและธรรมชาติ (7) ข้ อเสนอเอาประกันภัยความรับผิดตามมาตรา ๕๗ ที่ระบุถงึ วงเงินและระยะ เวลาเอาประกันไว้ โดยชัดเจน มาตรา ๕๑ เมื่อรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมของผู้ขอประทานบัตร ทำา เหมืองใต้ ดนิ ใดได้ รับความเห็นชอบตามกฎหมายว่าด้ วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อม แล้ วให้ รัฐมนตรีประมวลข้ อมูลต่อไปนี้ เข้ าสู่กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของ ผู้มีส่วนได้ เสีย ตามหลักเกณฑ์ท่กี าำ หนดไว้ ในกฎหมายหรือระเบียบราชการที่เกี่ยวข้ องแล้ วแต่กรณี เพื่อประกอบ การกำาหนดเงื่อนไขอันจำาเป็ นในประทานบัตรต่อไป (๑) ข้ อมูลโครงการที่ย่นื ประกอบคำาขอประทานบัตร ตามมาตรา ๕๐ (๒) รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมประกอบกับความเห็นของผู้พิจารณา รายงาน เมื่อกระบวนการรับฟังความคิดเห็นสิ้นสุดลงและได้ รับรายงานจากคณะกรรมการ จัดการรับฟังแล้ ว ให้ รัฐมนตรีพิจารณารายงานนั้นแล้ ววินิจฉัยกำาหนดเงื่อนไขในประทานบัตรไว้ ตามเกณฑ์ต่อไปนี้ (๑) เงื่อนไขในประทานบัตรต้ องครอบคลุมโครงการอย่างน้ อยในทุกรายการตามที่กาำ หนด ไว้ ในประกาศกระทรวงที่ออกประกาศตามมาตรา ๕๐ (๒) ในกรณีท่ปี รากฏความแตกต่างของข้ อมูลหรือความคิดเห็นในการรับฟัง ความคิด เห็นที่จัดขึ้นตามวรรคหนึ่ง ให้ รัฐมนตรีวนิ ิจฉัยให้ เป็ นที่ยุติ แต่หากพบว่ารายงานหรือข้ อมูลในปัญหา ใดยังไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ หรือการจัดรับฟังไม่ถูกต้ องหรือผิดพลาดในสาระสำาคัญ ก็ให้ ส่งั การแก้ ไขแล้ วแต่กรณี เพื่อวินิจฉัยให้ เป็ นที่ยุติต่อไป แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
17
(๓) นอกจากคำาวินิจฉัยของรัฐมนตรีตาม (๑) แล้ ว เงื่อนไขในประทานบัตรต้ องครอบคลุม ถึงรายละเอียดในโครงการทั้งหมดที่ผ้ ูขอประทานบัตรได้ เสนอไว้ ในรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้ อม รายงานประกอบคำาขอประทานบัตรตามมาตรา ๕๐ และให้ รวมถึงเงื่อนไขหรือมาตรการ เพิ่มเติมในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมด้ วย มาตรา ๕๒ การแก้ไขเงือ่ นไขในประทานบัตรทำาเหมืองใต้ดนิ ทีก่ าำ หนดขึ้นตามมาตรา ๕๑ ให้ นาำ บทบัญญัติในส่วนนี้มาใช้ บังคับโดยอนุโลม โดยให้ ถอื การรับฟังความคิดเห็นของผู้มีสทิ ธิตรวจ สอบการทำาเหมืองตามมาตรา ๕๕ วรรคหนึง่ เป็ นการรับฟังความคิดเห็นของผูม้ สี ว่ นได้ เสียโดยทั่วไปตาม ที่กาำ หนดไว้ ในมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง มาตรา ๕๓ เมื่อผู้ใดประสงค์จะขอประทานบัตรทำาเหมืองใต้ ดินรายใดเห็นสมควรให้ มี การปรึกษาเบื้องต้ นกับผู้มีส่วนได้ เสีย เพื่อพัฒนาโครงการทำาเหมืองใต้ ดินของตนโดยยื่นคำาขอต่อ อธิบดีเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการรับไปดำาเนินการจัดประชุมปรึกษา ตามขั้นตอนที่กาำ หนดในประกาศ กระทรวงโดยค่าใช้ จ่ายของผู้ขอ ประกาศกระทรวงตามวรรคหนึ่งให้ ระบุถงึ กฎเกณฑ์และขั้นตอนต่อไปนี้ (1) ความสมบูรณ์ของรายงานเบื้องต้ นที่จะนำาเข้ าสู่การปรึกษาจะต้ องประกอบด้ วย ข้ อมูลอันจำาเป็ นและประเด็นปัญหาโดยชัดเจน (2) หลักเกณฑ์รับรองกลุ่มหรือองค์กรอันเกิดจากการรวมตัวของผู้มีส่วนได้ เสียและ การได้ มาซึ่งตัวแทนที่จะเข้ าร่วมปรึกษา ที่ครอบคลุมทั้งกลุ่มกำานันผู้ใหญ่บ้าน กลุ่มผู้บริหารและ สมาชิกสภาขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น กลุ่มผู้มีสทิ ธิในที่ดนิ หรืออยู่อาศัยในเขตเหมืองแร่น้ัน (3) องค์ประกอบของคณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้ นซึ่งจะต้ องมี ตัวแทนราชการส่วนภูมิภาคที่เกี่ยวข้ อง และสถาบันอุดมศึกษาของรัฐร่วมอยู่ด้วย (4) ขั้นตอนการประชุมปรึกษา รวมทั้งการประกาศเชิญโดยทั่วไปให้ ผ้ ูมีส่วนได้ เสีย ส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุม การลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม และระยะเวลาล่วงหน้าทีใ่ ห้ แก่ผ้มู สี ว่ นได้เสีย ตามมาตรา ๕๓ (๒) ศึกษาข้ อมูลตามสมควร มาตรา ๕๔ เมื่อต้ องจัดให้ มีการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่งครั้งใด ให้ อธิบดีจดั ตั้งกองทุนขึ้นสนับสนุนโครงการศึกษาวิจัยของกลุ่มผู้มีส่วนได้ เสียในโครงการทำาเหมือง ใต้ ดินตามมาตรา ๕๓ (๒) โดยมีแหล่งเงินทุนมาจาก (1) ค่าใช้ จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ขอประทานบัตรตามอัตราที่กาำ หนดในประกาศ กระทรวง (2) เงินอุดหนุนจากกองทุนต่างๆ ทั้งจากภาครัฐและเอกชน อัตราค่าใช้ จ่ายตาม (๑) หลักเกณฑ์ วิธกี าร เงื่อนไขในการเสนอและรับรองโครงการและ ระเบียบการรับและจ่ายเงินสนับสนุนให้ เป็ นไปตามที่กาำ หนดในประกาศกระทรวง มาตรา ๕๕ ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ออกประทานบัตรทำาเหมืองใต้ ดนิ รายใด ให้ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
18
อธิบดีเรียกประชุมตัวแทนผู้มีส่วนได้ เสียตามมาตรา ๕๓ (๒) เพื่อตกลงกำาหนดตัวบุคคลผู้มีสทิ ธิ ตรวจสอบการทำาเหมืองตามระเบียบที่กาำ หนดไว้ ในเงื่อนไขประทานบัตร ให้ผถ้ ู อื ประทานบัตรจัดสรรเงินกองทุนสนับสนุนการจ้างผูเ้ ชีย่ วชาญเพือ่ ช่วยเหลือผู้มีสทิ ธิ ตรวจสอบเป็ นอัตราตามที่กาำ หนดไว้ ในเงื่อนไขประทานบัตร ภายในสามสิบวันนับแต่ได้ ผ้ ูมีสทิ ธิตรวจ สอบตามวรรคหนึ่ง เมื่อได้ รับแจ้ งสัญญาและรายละเอียดการว่าจ้ างผู้เชี่ยวชาญจากผู้มีสทิ ธิตรวจสอบแล้ ว ให้อธิบดีจา่ ยเงินค่าจ้างให้แก่ผเ้ ู ชีย่ วชาญได้ตอ่ เมือ่ ได้รบั คำารับรองในเนื้องานจากผูม้ สี ทิ ธิตรวจสอบแล้ว วาระการทำางานของผู้มีสทิ ธิตรวจสอบ เงื่อนไข และวิธกี ารเพิกถอนผู้มีสทิ ธิตรวจสอบ ที่ ประพฤติมิชอบโดยที่ประชุมตัวแทนผู้มีส่วนได้ เสียตามมาตรา ๕๓ (๒) การเก็บรักษากองทุน คุณสมบัติมาตรฐานของผู้เชี่ยวชาญ ลักษณะสัญญาว่าจ้ างผู้เชี่ยวชาญ และระเบียบการเบิกจ่ายให้ เป็ น ไปตามที่กาำ หนดในประกาศกระทรวง มาตรา ๕๖ การทำาเหมืองใต้ ดนิ บริเวณใดในเขตเหมืองแร่ในลักษณะดังต่อไปนี้ ถือ เป็ นการทำาให้เสียหาย ซึง่ สิทธิในอสังหาริมทรัพย์ในพื้นทีน่ น้ั ผูเ้ สียหายย่อมเรียกให้ผถ้ ู อื ประทานบัตรทำา เหมืองใต้ดนิ ระงับการกระทำาและจัดการแก้ไขตามทีจ่ าำ เป็ นเพื่อป้ องปัดภยันตรายอันอาจเกิดขึ้นได้ (1) การทำาเหมืองใต้ ดนิ ในระดับความลึกจากผิวดินน้ อยกว่าที่กาำ หนดไว้ ในเงื่อนไข ประทานบัตรทำาเหมืองใต้ ดิน และไม่เกินหนึ่งร้ อยเมตร (2) การทำาเหมืองใต้ ดนิ ไม่ว่าในระดับความลึกใดที่มีวิธกี ารทำาเหมืองตามหลัก วิศวกรรมเหมืองแร่เพือ่ ประกันความมัน่ คงของชัน้ ดิน ไม่เป็ นไปตามทีก่ าำ หนดไว้ในเงือ่ นไขประทานบัตรทำา เหมืองใต้ ดนิ มาตรา ๕๗ ในกรณีท่พี ้ ืนดินบริเวณใดในเขตเหมืองแร่ ประทานบัตรทำาเหมืองใต้ ดนิ ทรุดตัวลง จนเป็ นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่บคุ คล ทรัพย์สนิ หรือสิง่ แวดล้อมให้นาำ หลักความรับผิดต่อ ไปนี้มาใช้ บงั คับกับความเสียหายทั้งปวงที่เกิดขึ้น (1) ให้สนั นิษฐานไว้กอ่ นว่าการทรุดตัวของพื้นดินนัน้ เกิดขึ้นจากการทำาเหมืองใต้ดนิ (2) หากเป็นทีย่ ตุ วิ า่ การทำาเหมืองใต้ดนิ เป็ นต้นเหตุแห่งการทรุดตัวของพื้นทีด่ นิ นั้น ให้ ผ้ ู ถือประทานบัตรทำาเหมืองใต้ ดนิ และหน่วยงานของรัฐผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบการ ทำา เหมืองร่วมกันรับผิดต่อผู้เสียหายในทุกกรณี และหากหน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้ ชดใช้ ค่าเสียหายให้ แก่ผ้ ูเสียหายแล้ วให้ ใช้ สทิ ธิไล่เบี้ยต่อผู้ถอื ประทานบัตรทำาเหมืองใต้ ดินได้ ส่วนที่ ๔ การประกอบธุรกิจแร่ มาตรา ๕๘ ภายใต้ บังคับมาตรา ๖๑ ผู้ใดประสงค์จะประกอบธุรกิจแร่ให้ ย่นื คำาขอต่อเจ้ า พนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ ให้อธิบดีหรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีมอบหมายเป็ นผูอ้ อกใบอนุญาตประกอบธุรกิจแร่ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
19
หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขในการยื่นคำาขอ การพิจารณาอนุญาต การกำาหนดระยะ เวลาการพิจารณาอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดใน กฎกระทรวง ใบอนุญาตตามวรรคสองให้ ค้ ุมถึงลูกจ้ าง หรือตัวแทนของผู้รับใบอนุญาตด้ วย มาตรา ๕๙ ผู้ใดประสงค์จะแต่งแร่ต้องได้ รับใบอนุญาตแต่งแร่ เว้ นแต่เป็ นผู้ถอื ประทานบัตรซึ่งแต่งแร่ภายในเขตเหมืองแร่ การกำาหนดอายุ การต่ออายุ หรือการโอนกิจการแต่งแร่ การกำาหนดชนิดหรือเพิ่มหรือ ถอนชนิดแร่ ทั้งนี้ ให้ รวมถึงแร่นาำ เข้ ามาในราชอาณาจักร การเพิ่มหรือลดเขตแต่งแร่ การพักใช้ ใบ อนุญาตแต่งแร่ การเลิกประกอบกิจการแต่งแร่ การเพิกถอนใบอนุญาตแต่งแร่ตลอดจนค่า ธรรมเนียมต่างๆ เกี่ยวกับการแต่งแร่ ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎ กระทรวง มาตรา ๖๐ ผู้ใดประสงค์ประกอบโลหกรรมต้องได้รบั ใบอนุญาตประกอบโลหกรรม การขออนุญาตและการอนุญาต การกำาหนดอายุ การต่ออายุ การเพิมหรื ่ อลดเขตโลหกรรม การ โอน การพักใช้ ใบอนุญาตประกอบโลหกรรม การเลิกประกอบกิจการโลหกรรม การเพิกถอนใบ อนุญาตประกอบโลหกรรม ตลอดจนค่าธรรมเนียมต่างๆ เกี่ยวกับการประกอบโลหกรรม ให้ เป็ น ไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๑ ผู้ใดประสงค์ซ้ อื ขาย เก็บ ขนแร่ ขนมูลดินทราย การนำาแร่เข้ าในราช อาณาจักร การส่งแร่ออกนอกราชอาณาจักร ให้ ปฏิบัตติ ามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไข ที่ กำาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๒ ผู้ใดประสงค์มีแร่ไว้ ในครอบครองต้ องได้ รับใบอนุญาตครอบครองแร่ การครอบครองแร่ตามชนิด สภาพ และจำานวน ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และ เงื่อนไขที่กาำ หนดตามประกาศกระทรวง เว้ นแต่ (1) เป็ นแร่ท่ไี ด้ มาจากการสำารวจแร่เพื่อนำาไปวิเคราะห์ หรือวิจัยไม่เกินปริมาณ ที่ กำาหนดไว้ ในอาชญาบัตร (2) เป็ นแร่ท่ไี ด้ มาจากการทำาเหมืองในเขตเหมืองแร่ท่เี ก็บแร่น้ันไว้ (3) เป็ นแร่ท่มี ีไว้ ในครอบครองเพื่อการศึกษาหรือวิจัยของสถาบันวิจยั เอกชน ส่วน ราชการ องค์การของรัฐ หรือสถาบันการศึกษาที่ได้ รับอนุญาตเป็ นหนังสือจากอธิบดี (4) เป็ นแร่ท่อี ธิบดีหรือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมายอนุญาตเป็ นหนังสือให้ มีไว้ ในครอบ ครองเป็ นกรณีพิเศษเฉพาะราย มาตรา ๖๓ ในกรณีท่ไี ม่อนุญาต ไม่ออกใบอนุญาต หรือการอนุญาตและการออกใบ อนุญาตไม่เป็ นไปตามความประสงค์ของผู้ย่ นื คำาขอ ผู้ย่ นื คำาขอมีสทิ ธิอทุ ธรณ์เป็ นหนังสือต่อรัฐมนตรี ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้ รับหนังสือแจ้ งการไม่อนุญาตหรือไม่ออกใบอนุญาต คำาวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้ เป็ นที่สดุ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
20
ส่วนที่ ๕ การยกคำาขอ การแก้ไข การเพิกถอน การอนุ ญาตหรือใบอนุ ญาต และการออกใบแทน มาตรา ๖๔ เมื่อได้ รับคำาขออาชญาบัตรสำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ ประทานบัตรแล้ ว เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่เห็นว่าผู้ประกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่ละเลย เพิกเฉยไม่ปฏิบัตติ ามคำาสั่งของพนักงานเจ้ าหน้ าที่หรือกระทำาการฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติ แห่งพระราชบัญญัติน้ ใี ห้ รายงานอธิบดี และในกรณีเช่นนี้อธิบดีมีอาำ นาจยกเลิกคำาขออาชญาบัตร สำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ หรือประทานบัตรนั้นเสียได้ เมื่อได้ รับคำาขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจแร่แล้ ว เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ ประจำา ท้ องที่เห็นว่าผู้ประกอบธุรกิจแร่ละเลยเพิกเฉยไม่ปฏิบัติตามคำาสั่งของพนักงานเจ้ าหน้ าที่หรือ กระทำาการฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบัตติ ามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ ี ให้ เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ ประจำาท้องที่มีอาำ นาจยกเลิกคำาขอใบอนุญาตเสียได้ เมือ่ ได้มกี ารอนุญาตให้ประกอบกิจการแร่หรือธุรกิจแร่แล้ว ผูไ้ ด้รบั การอนุญาตไม่มารับ อาชญาบัตรสำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ ประทานบัตร หรือใบอนุญาตประกอบธุรกิจแร่ภายในระยะ เวลาที่กาำ หนดให้ ผ้ ูมอี าำ นาจในการอนุญาตยกเลิกการอนุญาตนั้นเสียได้ มาตรา ๖๕ เมื่อปรากฏในภายหลังว่าได้ อนุญาตหรือออกใบอนุญาตให้ ผ้ ูใดโดยคลาด เคลื่อนหรือสำาคัญผิดในข้ อเท็จจริงอันเป็ นสาระสำาคัญ หรือข้ อเท็จจริงที่ปรากฏในการอนุญาตหรือ ออกใบอนุญาตได้ เปลี่ยนแปลงไปภายหลังที่ได้ ออกใบอนุญาตแล้ ว ให้ รัฐมนตรีหรือผู้ซ่งึ รัฐมนตรี มอบหมาย หรืออธิบดีหรือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมายแล้ วแต่กรณีมีอาำ นาจแก้ ไขให้ ถูกต้ องได้ แต่ถ้าการ ปฏิบตั ิการให้ เป็ นไปตามการอนุญาตหรือใบอนุญาตดังกล่าว อาจก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ ทรัพยากรธรรมชาติ หรือทำาให้ ส่งิ แวดล้ อมเป็ นพิษหรือเป็ นอันตรายแก่ทรัพย์สนิ หรือสุขภาพของ ประชาชนให้ รัฐมนตรีหรือผู้ซ่งึ รัฐมนตรีมอบหมาย หรืออธิบดีหรือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมายมีอาำ นาจ สั่งเพิกถอนการอนุญาตหรือใบอนุญาตนั้นเสียได้ มาตรา ๖๖ เมื่อปรากฏว่าผู้ประกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่ผ้ ูใดฝ่ าฝื นหรือ ไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัตนิ ้ ี หรือกฎกระทรวง หรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้ รัฐมนตรีหรือผู้ซ่งึ รัฐมนตรีมอบหมาย หรืออธิบดีหรือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมายแล้ วแต่กรณีมอี าำ นาจ สั่งเพิกถอนการอนุญาตหรือใบอนุญาตได้ คำาสั่งเพิกถอนการอนุญาตหรือใบอนุญาต ให้ แจ้ งเป็ นหนังสือไปยังผู้ประกอบกิจการแร่ หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่ และให้ ถอื ว่าการอนุญาตหรือใบอนุญาตนั้นเป็ นการสิ้นอายุนับแต่วันได้ รับ แจ้ งคำาสั่งการเพิกถอนนั้น แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
21
มาตรา ๖๗ ผู้ถอื อาชญาบัตรสำารวจแร่ ผู้ถอื อาชญาบัตรพิเศษ หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่ ซึ่งถูกสั่งเพิกถอนการอนุญาตหรือใบอนุญาตตามมาตรา ๖๕ หรือ มาตรา ๖๖ มีสทิ ธิอทุ ธรณ์เป็ น หนังสือต่อรัฐมนตรี โดยยื่นอุทธรณ์ต่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ภายในสามสิบวัน นับแต่วนั ได้รบั แจ้งคำาสัง่ การเพิกถอน รัฐมนตรีมอี าำ นาจสัง่ ให้ ยกอุทธรณ์ หรือแก้ไขคำาสัง่ ของอธิบดีได้ คำาวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้ เป็ นที่สดุ การอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งไม่เป็ นการทุเลาการบังคับตามคำาสั่งเพิกถอนการอนุญาต มาตรา ๖๘ ถ้ าอาชญาบัตรสำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ ประทานบัตร หรือใบอนุญาต สูญหายหรือถูกทำาลายให้ผถ้ ู อื อาชญาบัตร ผูถ้ อื ประทานบัตร หรือผูร้ บั ใบอนุญาตยืน่ คำาขอรับใบแทน ต่อ เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ภายในสิบห้ าวันนับแต่วนั ที่ทราบการสูญหายหรือการ ถูก ทำาลาย ส่วนที่ ๖ การบริหารจัดการแร่ มาตรา ๖๙ ในการกระทำาของส่วนราชการที่มีภารกิจตามกฎหมายในการดำาเนินการเพื่อ ประโยชน์เกี่ยวกับบริหารจัดการแร่ การสำารวจ การทดลอง การศึกษา การวิเคราะห์ และการวิจัยเกี่ยว กับแร่มิให้ ตกอยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา ๗๐ เพื่อประโยชน์ในการดำาเนินการสำารวจ การทดลอง การศึกษา หรือการวิจัย เกี่ยวกับแร่ ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมโดยอนุมัติของคณะ รัฐมนตรีมีอาำ นาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำาหนดพื้นที่ใดๆ ให้ เป็ นเขตสำาหรับดำาเนินการสำารวจ การทดลอง การศึกษา หรือการวิจัยเกี่ยวกับแร่ได้ ภายในเขตที่กาำ หนดตามวรรคหนึ่งผู้ใดจะยื่นคำาขออาชญาบัตร หรือประทานบัตรไม่ได้ เว้ นแต่ในกรณีท่รี ัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมเห็นสมควรให้ ย่ นื คำาขอ ได้ เป็ นกรณีพิเศษโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อหมดความจำาเป็ นที่จะใช้ เขตพื้นที่เพื่อประโยชน์ดังกล่าวตามวรรคหนึ่งให้ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมประกาศยกเลิกในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๗๑ เพื่อประโยชน์ใดๆ ในการบริหารจัดการแร่ ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมประกาศในราชกิจจานุเบกษากำาหนดพื้นที่ซ่งึ ทางราชการได้ มี การดำาเนินการสำารวจ การทดลอง การศึกษา หรือการวิจัยเกี่ยวกับแร่ไว้ แล้ วเป็ นเขตสำาหรับการ ดำาเนินการ (๑) สงวนทรัพยากรแร่ โดยกำาหนดแผนการดำาเนินงานทีเ่ ป็ นประโยชน์ตอ่ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้ อมของท้องถิ่น และให้ มีการทบทวนแผนการดำาเนินงานทุกระยะห้ าปี แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
22
แผนการดำาเนินงานให้รวมถึง การจัดทำาแผนงาน การสิน้ สุดของแผนงาน การขึน้ ทะเบียนเป็ น พื้นที่อนุรักษ์ทรัพยากรแร่ช่ัวคราวหรือถาวร (๒) ในกรณีท่รี ัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมเห็นสมควร ให้ มีอาำ นาจกำาหนดพื้นที่ให้ เป็ นเขตแหล่งแร่ตามมาตรา ๗๒ และอาจนำาพื้นที่แหล่งแร่ดังกล่าวมาจัด ให้ มีการแข่งขันโดยเสรีด้วยวิธเี ปิ ดประมูลแหล่งแร่ มาตรา ๗๒ เพื่อประโยชน์แก่การบริหารจัดการแร่ด้านเศรษฐกิจของประเทศและการ ได้มาซึง่ ทรัพยากรแร่อนั มีคา่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมโดยอนุมตั ิ ของคณะรัฐมนตรีมอี าำ นาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กำาหนดพื้นที่ใดให้ เป็ นเขตแหล่งแร่เพื่อการ ทำา เหมืองได้ เป็ นอันดับแรกก่อนการสงวนหวงห้ ามหรือใช้ ประโยชน์อย่างอื่นในพื้นที่น้ันโดยพื้นที่ท่จี ะ กำาหนดให้ เป็ นเขตแหล่งแร่เพื่อการทำาเหมืองแร่ได้ ต้องเป็ นพื้นที่ดังต่อไปนี้ (1) มีแหล่งแร่อดุ มสมบูรณ์และมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง (2) มิใช่พ้ ืนที่ตามกฎหมายเฉพาะเรื่องห้ ามการเข้ าทำาประโยชน์ใดๆ โดยเด็ดขาด รวมถึงพื้นที่ตามกฎหมายว่าด้ วยเขตปลอดภัยและความมั่นคงแห่งชาติ มาตรา ๗๓ เพื่อประโยชน์แก่การอันเป็ นสาธารณูปโภค การป้ องกันประเทศหรือเพื่อ ประโยชน์สาธารณะอย่างอืน่ ของรัฐ ให้รฐั มนตรีโดยอนุมตั ขิ องคณะรัฐมนตรีมอี าำ นาจเรียกอาชญาบัตร สำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ หรือประทานบัตรมาแก้ ไข เปลี่ยนแปลงเนื้อที่ได้ ตามความจำาเป็ น หรือ เพิกถอนอาชญาบัตรสำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ หรือประทานบัตรได้ ในกรณีท่ไี ด้ มีการแก้ไข เปลี่ยนแปลงเนื้อที่ หรือเพิกถอนอาชญาบัตรสำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ ประทานบัตรตามวรรคหนึ่ง ให้ ผ้ ูถอื อาชญาบัตรสำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ หรือ ประทานบัตรมีสทิ ธิได้ รับเงินชดเชยความเสียหายตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎ กระทรวง มาตรา ๗๔ เพื่อประโยชน์แก่การบริหารจัดการแร่ภายในราชอาณาจักร การนำาแร่เข้ า ในราชอาณาจักร และการส่งแร่ออกนอกราชอาณาจักร เพื่อวัตถุประสงค์ใดๆ ที่ใช้ ในภาค อุตสาหกรรมให้ อยู่ภายใต้ บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ ี
หมวด ๔ หน้าที่ของผูป้ ระกอบกิจการแร่และผูป้ ระกอบธุรกิจแร่ มาตรา ๗๕ ผู้ประกอบกิจการแร่และผู้ประกอบธุรกิจแร่ต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและวิธี การที่กาำ หนดไว้ ในการอนุญาต และต้ องปฏิบัตติ ามกฎกระทรวงหรือประกาศกระทรวงที่ออกตามพ ระราชบัญญัติน้ ี แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
23
มาตรา ๗๖ ผู้ประกอบกิจการแร่และผู้ประกอบธุรกิจแร่ต้องชำาระค่าภาคหลวงแร่ ค่า ธรรมเนียม หรือเงินอื่นใดตามที่กาำ หนดตามพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา ๗๗ สำาหรับการทำาเหมือง ผู้ถอื ประทานบัตรต้ องทำาการปรับสภาพและฟื้ นฟู พื้นที่ท่เี ป็ นเงื่อนไขที่กาำ หนดไว้ ในการออกประทานบัตร การกำาหนดแผนฟื้ นฟูเพือ่ เป็ นเงือ่ นไขทีก่ าำ หนดไว้ในการออกประทานบัตรตามวรรคหนึง่ ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดในประกาศกระทรวง มาตรา ๗๘ ในการประกอบกิจการแร่หรือการประกอบธุรกิจแร่ ห้ ามผู้ประกอบกิจการ แร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่กระทำาหรือละเว้ นกระทำาการใดอันน่าจะเป็ นเหตุให้ แร่ท่มี ีพิษหรือสิ่งอื่นที่ มีพิษก่อให้ เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์สนิ หรือสิ่งแวดล้ อมที่เกินเกณฑ์หรือมาตรฐาน ที่ทางราชการกำาหนด มาตรา ๗๙ ในการประกอบกิจการแร่หรือการประกอบธุรกิจแร่ ถ้ าได้ พบโบราณวัตถุ ซากดึกดำาบรรพ์ หรือแร่พิเศษอันมีคุณค่าเกี่ยวกับการศึกษาในทางธรณีวิทยา นอกจากจะต้ องปฏิบัติ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเกี่ยวกับการเก็บได้ ซ่งึ วัตถุน้ันแล้ ว ผู้ประกอบกิจการแร่ หรือผู้ประกอบ ธุรกิจแร่จะต้ องแจ้ งการพบนั้นต่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่โดยพลัน หมวด ๕ พนักงานเจ้าหน้าที่ การกำากับดูแล และการรังวัด ส่วนที่ ๑ พนักงานเจ้าหน้าที่และการกำากับดูแล มาตรา ๘๐ เมื่อมีความจำาเป็ นที่จะต้ องควบคุมการประกอบกิจการแร่และการประกอบ ธุรกิจแร่ เพื่อประโยชน์ในการป้ องกันและปราบปรามการลักลอบการทำาเหมืองหรือลักลอบส่งแร่ ออกนอกราชอาณาจักร หรือเพื่อประโยชน์เกี่ยวกับความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ ความปลอดภัย ของประเทศและประโยชน์ของสาธารณชน รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมอี าำ นาจ ประกาศในราชกิจจานุเบกษากำาหนดให้ ท้องที่หนึ่งท้ องที่ใด รวมทั้งส่วนหนึ่งส่วนใดของน่านน้ำ าไทย เป็ นเขตควบคุมแร่สาำ หรับแร่ชนิดหนึ่งชนิดใดหรือหลายชนิดก็ได้ รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธกี าร หรือ มาตรการต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการควบคุม เมื่อหมดความจำาเป็ นที่จะต้ องมีเขตควบคุมแร่ตามวรรคหนึ่ง ให้ รัฐมนตรีประกาศ ยกเลิกในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๘๑ ในกรณีท่เี จ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่เห็นว่าการประกอบ กิจการแร่หรือธุรกิจแร่จะเป็ นอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์สนิ หรือสิ่งแวดล้ อม ให้ ส่งั เป็ น หนังสือแก่ผ้ ูประกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่ให้ เปลี่ยนแปลงหรือแก้ ไขวิธกี ารตามที่เห็นว่า จำาเป็ นเพื่อป้ องกันอันตรายนั้นได้ หรือสั่งเป็ นหนังสือให้ หยุดการประกอบการเสียทั้งสิ้นหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดได้ ตามที่เห็นสมควร แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
24
มาตรา ๘๒ พนักงานเจ้ าหน้ าที่สามารถเข้ าไปในเขตประกอบกิจการแร่หรือธุรกิจแร่เพื่อ ตรวจการประกอบกิจการแร่หรือธุรกิจแร่ได้ ทุกเวลา ให้ ผ้ ูครอบครองเขตการประกอบกิจการแร่หรือ ธุรกิจแร่น้นั อำานวยความสะดวกตามควรแก่กรณี และให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ส่งั เป็ นหนังสือแก่ ผู้ ประกอบกิจการแร่ หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่ให้ จดั การป้ องกันอันตรายอันอาจเกิดจากการประกอบ กิจการแร่หรือธุรกิจแร่ได้ มาตรา ๘๓ ในกรณีท่เี จ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ตรวจสอบการ ทำา เหมืองแล้ วเห็นว่าผู้ทาำ เหมืองรายใด มิได้ ทาำ เหมืองตามแผนฟื้ นฟูพ้ ืนที่อนั เป็ นเงื่อนไขที่กาำ หนดไว้ ใน การออกประทานบัตร ให้ เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่มีอาำ นาจสั่งการเพื่อให้ ผู้ทาำ เหมืองรายนั้นกระทำาการใดเพื่อให้ เป็ นไปตามแผนฟื้ นฟูท่กี าำ หนดไว้ น้ันได้ กรณีท่เี จ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ส่งั การเพื่อให้ ผ้ ูทาำ เหมืองกระทำาการใด เพื่อให้ เป็ นไปตามแผนฟื้ นฟูท่กี าำ หนดไว้ ตามวรรคหนึ่งแล้ วผู้ทาำ เหมืองไม่ปฏิบัตติ าม ให้ เจ้ าพนักงาน อุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่มีอาำ นาจเข้ าไปกระทำาการใดแทนผู้ทาำ เหมืองเพื่อให้ เป็ นไปตามแผน ฟื้ นฟูทก่ี าำ หนดไว้ได้ และกรณีเช่นนี้ผท้ ู าำ เหมืองเป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยทีเ่ จ้าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ ประจำาท้องที่ต้องจ่ายไปทั้งสิ้นพร้ อมทั้งเบี้ยปรับอีกหนึ่งเท่าของค่าใช้ จ่ายดังกล่าวด้ วย มาตรา ๘๔ ผู้ประกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่มีสทิ ธิอทุ ธรณ์คาำ สั่งของ เจ้ า พนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ตามมาตรา ๘๑ หรือคำาสั่งของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามมาตรา ๘๒ ต่อรัฐมนตรีโดยยืน่ อุทธรณ์ตอ่ เจ้าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องทีภ่ ายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ ทราบคำาสั่งตามแต่กรณี รัฐมนตรีมีอาำ นาจสั่งให้ ยกอุทธรณ์ หรือแก้ ไขคำาสั่งของ เจ้ าพนักงาน อุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่หรือของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ได้ ตามแต่กรณี คำาสัง่ ของรัฐมนตรี ให้เป็ นที่สุด การอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งไม่เป็ นการทุเลาการบังคับตามคำาสั่งของเจ้ าพนักงาน อุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่หรือพนักงานเจ้ าหน้ าที่ซ่งึ สั่งตามมาตรา ๘๑ หรือมาตรา ๘๒ มาตรา ๘๕ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ต้องมีบัตรประจำาตัวตามแบบที่กาำ หนดในกฎกระทรวง และในการปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ตี ้ องแสดงบัตรประจำาตัวเมื่อบุคคลที่เกี่ยวข้ องร้ องขอ
ส่วนที่ ๒ การรังวัด แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
25
มาตรา ๘๖ เมื่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ได้ รับจดทะเบียนคำาขอ อาชญาบัตรสำารวจแร่ หรืออาชญาบัตรพิเศษ หรือประทานบัตรแล้ วให้ กาำ หนดเขตพื้นที่อาชญาบัตร สำารวจแร่ หรืออาชญาบัตรพิเศษ หรือประทานบัตรโดยการรังวัดหรือวิธอี ่นื ก็ได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธี การ และเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎกระทรวง การกำาหนดเขตโดยการรังวัดหรือวิธอี ่นื ใดตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็ นหน้ าที่ของผู้ย่นื คำาขอ อาชญาบัตรสำารวจแร่ หรืออาชญาบัตรพิเศษ หรือประทานบัตร จัดหาช่างรังวัดเอกชนที่ข้ นึ ทะเบียน ไว้ ตามที่กาำ หนดในกฎกระทรวงดำาเนินการได้ โดยให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบความถูกต้ อง กรณีท่ไี ม่อาจดำาเนินการใดๆ ได้ ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองให้ อธิบดีส่งั ยกคำาขอ อาชญาบัตรสำารวจแร่ หรือคำาขออาชญาบัตรพิเศษ หรือคำาขอประทานบัตรเสียได้ มาตรา ๘๗ เพื่อประโยชน์แก่การรังวัด ให้ ผ้ ูย่ นื คำาอาชญาบัตรสำารวจแร่ หรือคำาขอ อาชญาบัตรพิเศษ หรือคำาขอประทานบัตร อำานวยความสะดวกตามควรแก่กรณี ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ คนงานของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ และช่างรังวัดเอกชนมีอาำ นาจ เข้ าไปในที่ดินของผู้มีสทิ ธิในที่ดินหรือผู้ครอบครองในเวลากลางวันได้ แต่จะต้ องแจ้ งให้ ผ้ ูมีสทิ ธิ ใน ที่ดนิ หรือผู้ครอบครองทราบเสียก่อน ทั้งนี้ ให้ รวมถึงผู้ย่ นื คำาขอ และให้ ผ้ ูมีสทิ ธิในที่ดินหรือ ผู้ ครอบครองที่ดนิ นั้นอำานวยความสะดวกตามควรแก่กรณี ในกรณีต้องสร้ างหมุดหลักฐานการแผนที่ในที่ดินของผู้ใด พนักงานเจ้ าหน้ าที่และคน งานของพนักงานเจ้ าหน้ าที่และช่างรังวัดเอกชนมีอาำ นาจสร้ างหมุดหลักฐานได้ ตามความจำาเป็ น ในการรังวัด เมื่อมีความจำาเป็ นและโดยสมควร พนักงานเจ้ าหน้ าที่และคนงานของ พนักงานเจ้ าหน้ าที่และช่างรังวัดเอกชนมีอาำ นาจที่จะขุด ตัดต้ นไม้ หรือรานกิ่งไม้ หรือกระทำาการ อย่างอื่นแก่ส่งิ ที่กดี ขวางต่อการรังวัดได้ เท่าที่จาำ เป็ น ทั้งนี้ให้ คาำ นึงถึงการที่จะให้ เจ้ าของได้ รับความ เสียหายน้ อยที่สดุ หลักหมายเขตเหมืองแร่ หรือหมุดหลักฐานการแผนที่ท่พี นักงานเจ้ าหน้ าที่ได้ ทาำ ไว้ ใน การรังวัดกำาหนดเขตการทำาเหมืองนั้น ถ้ ามีการสูญหาย ผู้ถอื ประทานบัตรมีหน้ าที่ต้องรับผิดสำาหรับ ค่าใช้จา่ ยทัง้ สิน้ ในการทีจ่ ะต้องมีการรังวัดทำาหลักหมายเขตเหมืองแร่ หรือหมุดหลักฐานการแผนทีใ่ หม่ มาตรา ๘๘ การกำาหนดเขตเหมืองแร่ ให้ ผ้ ูย่นื คำาขอประทานบัตรเป็ นผู้ออกค่าใช้ จ่ายใน การที่พนักงานเจ้ าหน้ าที่ต้องสร้ างหมุดหลักฐานการแผนที่หรือหลักหมายเขตเหมืองแร่ให้ ปรากฏ ชัดเจนเป็ นทีร่ ้โู ดยทัว่ กันและสามารถตรวจสอบได้ และจ่ายค่าชดเชยความเสียหายทีเ่ กิดจากการรังวัด มาตรา ๘๙ เมื่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ได้ จดั ทำาหลักหมายเขตเหมืองแร่ หรือหมุดหลักฐาน การแผนที่ตามพระราชบัญญัติน้ ีลงไว้ ในที่ใด ห้ ามมิให้ ผ้ ูใดทำาลาย ดัดแปลง เคลื่อนย้ าย ถอน หรือ ทำาให้ หลุดซึ่งหลักหมายเขตเหมืองแร่หรือหมุดหลักฐานการแผนที่น้ัน เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาต จาก เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ หมวด ๖ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
26
ค่ าภาคหลวงแร่ ค่ าธรรมเนียม เงินเพิม่ และเงินเพิม่ พิเศษ มาตรา ๙๐ ผู้ประกอบกิจการแร่และผู้ประกอบธุรกิจแร่ ต้ องชำาระค่าภาคหลวงแร่ ตาม พิกดั อัตราค่าภาคหลวงที่กาำ หนด ยกเว้ นแร่นาำ เข้ ามาในราชอาณาจักร การกำาหนดพิกดั อัตราค่าภาคหลวงแร่ตามวรรคหนึ่ง การกำาหนดราคาตลาดเพื่อการ เรียกเก็บค่าภาคหลวงแร่ และวิธกี ารชำาระค่าภาคหลวงแร่ ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และ เงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎกระทรวง การประกาศราคาตลาดของแร่แต่ละชนิดให้ เป็ นอำานาจของอธิบดี มาตรา ๙๑ ภายใต้ บังคับมาตรา ๙๐ ถ้ าผู้ประกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่ ไม่ ชำาระค่าภาคหลวงแร่ หรือเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่มีเหตุอนั ควรเชื่อว่า ผู้ประกอบ กิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่ชาำ ระค่าภาคหลวงแร่ไม่ถูกต้ องตามความเป็ นจริงให้ เจ้ าพนักงาน อุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่มีหนังสือเรียกให้ ผ้ปู ระกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่มาพบโดย กำาหนดเวลาล่วงหน้ าไม่น้อยกว่าเจ็ดวันนับแต่วนั ได้ รับหนังสือ ทัง้ นี้ การออกหนังสือเรียกดังกล่าว ต้ อง กระทำาภายในเก้าสิบวันนับแต่วนั ทีต่ ้ องชำาระค่าภาคหลวงแร่ เพื่อมาให้ การหรือแสดงหลักฐาน การ ชำาระค่าภาคหลวงแร่ เมื่อได้ จดั การตามวรรคหนึ่งและผู้ประกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่รับทราบ ความจริงแล้ ว หรือผู้ประกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่ไม่มาพบเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ ประจำาท้องทีต่ ามทีน่ ดั ไว้ ให้เจ้าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องทีม่ อี าำ นาจประเมินค่าภาคหลวงแร่ได้ ตามความจริง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎกระทรวง ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ผู้ประกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่มีหน้ าที่ต้องชำาระค่า ภาคหลวงแร่ให้ ถูกต้ องตามที่เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ประเมินภายในสามสิบวันนับ แต่วันได้ รับแจ้ งเป็ นหนังสือ และเมื่อพ้ นกำาหนดเวลาดังกล่าวผู้ประกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบ ธุรกิจแร่ทช่ี าำ ระค่าภาคหลวงแร่ไม่ถกู ต้องจะต้องรับผิดเสียเบี้ยปรับหนึง่ เท่าของจำานวนค่าภาคหลวงแร่ ท่ี ต้ องชำาระอีก และสำาหรับผู้ประกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่ทห่ี ลีกเลี่ยงไม่ชาำ ระ ค่าภาคหลวง แร่ต้องรับผิดเสียเบี้ยปรับสองเท่าของจำานวนค่าภาคหลวงแร่ท่ตี ้ องชำาระ มาตรา ๙๒ กรณีตามมาตรา ๙๑ ผู้ท่ตี ้ องชำาระค่าภาคหลวงแร่มีสทิ ธิอทุ ธรณ์ การ ประเมินต่อรัฐมนตรีโดยยื่นอุทธรณ์เป็ นหนังสือต่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ภายใน สิบห้ าวันนับแต่วันได้ รับการแจ้ งการประเมิน ในกรณีเช่นนี้รัฐมนตรีมอี าำ นาจสั่งให้ ยกอุทธรณ์ หรือ แก้ ไขคำาสั่งการประเมินของเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ คำาวินิจฉัยของรัฐมนตรีเป็ นที่สดุ การอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งไม่เป็ นการทุเลาการบังคับตามคำาสั่งแจ้ งการประเมินของ เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
27
มาตรา ๙๓ กรณีตามมาตรา ๙๑ ผู้ประกอบกิจการแร่และผู้ประกอบธุรกิจแร่รายใด ไม่ ชำาระค่าภาคหลวงแร่ตามทีเ่ จ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องทีป่ ระเมินภายในระยะเวลา ที่ กำาหนดให้ เสียเงินเพิ่มอีกร้ อยละหนึ่งจุดห้ าต่อเดือนทัง้ นี้ไม่รวมเบี้ยปรับ ในกรณีท่ผี ้ ูประกอบกิจการแร่และผู้ประกอบธุรกิจแร่ได้ ชาำ ระค่าภาคหลวงแร่ตามที่ เจ้ า พนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ประเมินครบถ้ วนภายในระยะเวลาสามสิบวันนับแต่วัน ที่ ครบกำาหนดตามมาตรา ๙๑ เงินเพิ่มตามวรรคหนึ่งให้ ลดลงเหลือร้ อยละศูนย์จุดเจ็ดห้ าต่อเดือน มาตรา ๙๔ ผู้ประกอบกิจการแร่และผู้ประกอบธุรกิจแร่ ต้ องเสียค่าธรรมเนียม พร้ อม กับการยื่นคำาขอและต้ องออกค่าใช้ จ่ายหรือวางเงินล่วงหน้ าเพื่อเป็ นค่าใช้ จ่ายในการจัดดำาเนินงาน ตามความจำาเป็ นอันควรแก่กรณี ในกรณีท่มี ีการสั่งยก ถอน หรือไม่อนุญาตตามคำาขอค่าธรรมเนียมใดที่ยังไม่ได้ จ่าย สำาหรับกิจการนั้น ให้ คืนแก่ผ้ ูย่นื คำาขอตามความเป็ นจริง มาตรา ๙๕ ค่าธรรมเนียมเพื่อใช้ เนื้อที่จากการประกอบกิจการแร่ ค่าผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษแก่รัฐ และเงินบำารุงพิเศษให้ ใช้ จ่ายในการฟื้ นฟูพ้ ืนที่ท่มี ีผลกระทบอันเกิดจากการ ทำา เหมืองแร่ และบำารุงท้องถิ่นในพื้นที่ท่มี ีการทำาเหมืองไม่ว่าจะเป็ นช่วงเวลาใด รวมถึงการดำาเนินการ ใดๆ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและส่งเสริมการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการแร่ให้ เกิด ประโยชน์สงู สุด การกำาหนดอัตราระบบการรับหรือจ่าย และการเก็บรักษาเงินตามวรรคหนึ่งให้ อยู่ใน ความรับผิดชอบของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ และเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร เงื่อนไข และอัตราที่กาำ หนดในประกาศกระทรวง เงินบำารุ งพิเศษตามวรรคหนึ่ง ให้กาำ หนดอัตราไม่เกินร้อยละสิ บของค่าภาคหลวงแร่ มาตรา ๙๖ กรณีท่ผี ้ ูประกอบกิจการแร่และผู้ประกอบธุรกิจแร่ ไม่ปฏิบตั ิตามข้อกำาหนด ใดๆ ตามมาตรา ๙๔ และมาตรา ๙๕ ให้กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เรียกให้ ผ้ ูถอื อาชญาบัตร ผู้ถอื ประทานบัตร หรือผู้รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติน้ ี ชำาระเงินเป็ นเงินเพิ่ม พิเศษอีกหนึ่งเท่าของเงินที่ต้องชำาระ มาตรา ๙๗ ค่าธรรมเนียมหรือเงินอื่นใด นอกจากค่าภาคหลวงแร่ อันพึงต้ องชำาระ ตามพระราชบัญญัติน้ ี เมื่อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ได้ บอกกล่าวเป็ นหนังสือแล้ ว และ ไม่ชาำ ระภายในเก้ าสิบวันนับแต่วันรับคำาบอกกล่าว ให้ เจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ อธิบดี หรือรัฐมนตรี มีอาำ นาจสั่งเพิกถอนอาชญาบัตรสำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ ประทานบัตร และ ใบอนุญาตได้ แล้ วแต่กรณี บรรดาค่าธรรมเนียมหรือเงินอื่นใดตามพระราชบัญญัติน้ ีท่คี ้ างจ่ายอยู่ใน ความ รับผิดชอบของเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่จังหวัดใด หรือกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่ ถ้ าผู้มีสทิ ธิมิได้ เรียกเอาภายในห้ าปี นับแต่ได้ รับแจ้ งเป็ นหนังสือจากอธิบดีหรือเจ้ า พนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ให้ ตกเป็ นของแผ่นดิน แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
28
หมวด ๗ การพัฒนาและส่ งเสริม มาตรา ๙๘ ผู้ประกอบกิจการแร่ ผู้ประกอบธุรกิจแร่ ที่สามารถบริหารจัดการ ทรัพยากรแร่ให้ เกิดดุลยภาพทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้ อม อาจได้ รับสิทธิประโยชน์ ในการลดหย่อน หรือยกเว้ นค่าธรรมเนียม หรือคืนค่าภาคหลวงแร่ รวมถึงการบริการอื่นๆ ทั้งนี้ ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎกระทรวง หมวด ๘ ความรับผิด มาตรา ๙๙ ผู้ประกอบกิจการแร่ ผู้ประกอบธุรกิจแร่ต้องรับผิดชอบต่อการกระทำา ของ ตนต่อความเสียหาย หรือเดือดร้ อนรำาคาญใดอันเกิดขึ้นแก่บุคคล ทรัพย์สนิ หรือสิ่งแวดล้ อม ในกรณีท่เี กิดความเสียหายขึ้นในเขตที่ได้ รับอนุญาตให้ สนั นิษฐานไว้ ก่อนว่า ความ เสียหายนั้นเกิดจากการกระทำาของผู้ประกอบกิจการแร่ ผู้ประกอบธุรกิจแร่ หมวด ๙ บทกำาหนดโทษ มาตรา ๑๐๐ ผู้ใดสำารวจแร่โดยไม่ได้ รับอนุญาตตามมาตรา ๑๕ ต้ องระวางโทษจำา คุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ผู้ใดฝ่ าฝื นคำาสั่งเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ซ่งึ สั่งการภายหลังจาก มีคาำ สั่งห้ ามทำาการสำารวจต่อไป ต้ องระวางโทษปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๐๑ ผู้ใดทำาเหมือง ทำาเหมืองใต้ ดนิ โดยไม่ได้ รับอนุญาต ต้ องระวางโทษจำา คุกตั้งแต่สามปี ถึงห้ าปี หรือปรับตั้งแต่สองแสนบาทถึงหนึ่งล้ านบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ผูใ้ ดทำาเหมืองตามมาตรา ๒๙ โดยมิได้แจ้งจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ ประจำาท้องที่ ต้ องระวางโทษจำาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ผู้ใดฝ่ าฝื นคำาสั่งเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ซ่งึ สั่งการภายหลังจากมี คาำ สัง่ ห้ามทำาเหมืองต่อไปตามวรรคหนึง่ และวรรคสอง ต้องระวางโทษปรับอีกวันละไม่เกินหนึง่ หมืน่ บาท มาตรา ๑๐๒ ผู้ประกอบกิจการแร่ผ้ ูใดฝ่ าฝื นมาตรา ๗๕ ต้ องระวางโทษปรับตั้งแต่ หนึ่งหมื่นบาทถึงสองแสนบาท และรัฐมนตรีหรืออธิบดีแล้ วแต่กรณีมอี าำ นาจเพิกถอนการอนุญาตนั้น เสียได้ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
29
ผู้ประกอบกิจการแร่ผ้ ูใดฝ่ าฝื นคำาสั่งเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ ซึ่งสั่งการภายหลังจากมีคาำ สั่งให้ ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร หรือเงื่อนไขที่กาำ หนดไว้ ในการอนุญาต ประกอบกิจการแร่ตามวรรคหนึ่ง ต้ องระวางโทษปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๐๓ ผู้ใดครอบครองแร่โดยไม่ได้ รับอนุญาตตามมาตรา ๖๒ ต้ องระวาง โทษจำาคุกตั้งแต่หกเดือนถึงหนึ่งปี หรือปรับตั้งแต่หนึ่งเท่าถึงห้ าเท่าของมูลค่าแร่ตามราคาที่กาำ หนด เป็ นพิกดั อัตราค่าภาคหลวงแร่ท่ใี ช้ บงั คับอยู่ในวันกระทำาความผิด และรัฐมนตรีมีอาำ นาจเพิกถอน อาชญาบัตรสำารวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษ ประทานบัตร หรือใบอนุญาตประกอบกิจการแร่ หรือ การ อนุญาตใดๆ ตามพระราชบัญญัติน้ ีเสียได้ มาตรา ๑๐๔ ผู้ใดประกอบธุรกิจแร่โดยไม่ได้ รับอนุญาตตามมาตรา ๕๘ ต้ องระวาง โทษปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงสองแสนบาท ผู้ใดฝ่ าฝื นคำาสั่งเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ซ่งึ สั่งการภายหลังจากมีคาำ สั่งห้ ามประกอบธุรกิจแร่ต่อไปตามวรรคหนึ่ง ต้ องระวางโทษปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๐๕ ผู้ประกอบธุรกิจแร่ผ้ ูใดฝ่ าฝื นมาตรา ๗๕ ต้ องระวางโทษปรับตั้งแต่ หนึ่งหมื่นบาทถึงห้ าแสนบาทและอธิบดีมอี าำ นาจเพิกถอนการอนุญาตนั้นเสียได้ ผู้ประกอบธุรกิจแร่ผ้ ูใดฝ่ าฝื นคำาสั่งเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ซ่งึ สั่ง การภายหลังจากมีคาำ สั่งให้ ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร หรือเงื่อนไขที่กาำ หนดไว้ ในการอนุญาต ประกอบธุรกิจแร่ตามวรรคหนึ่ง ต้ องระวางโทษปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๐๖ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อาำ นวยความสะดวกหรือไม่ปฏิบัตติ ามคำาสั่ง ของ พนักงานเจ้าหน้าทีต่ ามมาตรา ๘๑ และมาตรา ๘๒ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท และถ้ าการก ระทำาความผิดดังกล่าวเป็ นการกระทำาของผู้ประกอบกิจการแร่หรือผู้ประกอบธุรกิจแร่รัฐมนตรีหรือ อธิบดีแล้ วแต่กรณีมีอาำ นาจเพิกถอนการอนุญาตได้ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อาำ นวยความสะดวกหรือไม่ปฏิบตั ิตามคำาสั่งของพนักงานเจ้ า หน้ าที่ตามมาตรา ๘๗ ถ้ าการกระทำานั้นไม่ถงึ เป็ นการกระทำาความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท ผู้ใดทำาลาย ดัดแปลง เคลื่อนย้ าย ถอน หรือทำาให้ หลุดซึ่งหลักหมายเขตเหมืองแร่ หรือหมุดหลักฐานการแผนที่โดยไม่ได้ รับอนุญาตจากเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำาท้ องที่ ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๐๗ ถ้ าการกระทำาความผิดตามมาตรา ๑๐๐ ถึงมาตรา ๑๐๕ เป็ นการ กระทำาในเขตควบคุมแร่ต้องระวางโทษสองเท่าของโทษที่กาำ หนดนั้นๆ มาตรา ๑๐๘ ผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา ๖๘ ต้องรับผิดค่าปรับไม่เกินหนึง่ พันบาท มาตรา ๑๐๙ ผูใ้ ดฝ่ าฝืนมาตรา ๗๙ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึง่ หมืน่ บาท มาตรา ๑๑๐ การกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีท่ตี ้ องระวางโทษปรับ ไม่ เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอาำ นาจเปรียบเทียบได้ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
30
มาตรา ๑๑๑ บรรดาแร่ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ สัตว์พาหนะ ยานพาหนะ หรือ เครื่องจักรกลใดๆ ที่บุคคลได้ มา หรือได้ ใช้ ในการกระทำาความผิด หรือมีไว้ เนื่องในการกระทำาความ ผิด หรือได้ เป็ นอุปกรณ์ให้ ได้ รับผลในการกระทำาความผิดตามมาตรา ๑๐๐ มาตรา ๑๐๑ มาตรา ๑๐๓ หรือมาตรา ๑๐๔ ให้ ริบเสียทั้งสิ้นไม่ว่าจะมีผ้ ูถูกลงโทษตามคำาพิพากษาหรือไม่ ให้ พนักงานอัยการร้ องขอให้ ศาลสั่งริบทรัพย์สนิ ตามวรรคหนึ่ง และเมื่อพนักงาน อัยการได้ ร้องขอต่อศาลแล้ ว ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ปิดประกาศไว้ ท่สี าำ นักงานเจ้ าพนักงาน อุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่ท่ยี ึดหรืออายัดของกลางนั้น และให้ ประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันที่มี จำาหน่ายในท้องถิ่นอย่างน้ อยสองวันติดต่อกัน เพื่อให้ บุคคลซึ่งอาจอ้ างว่าเป็ นเจ้ าของมายื่นคำาร้ องขอ เข้ามาในคดีกอ่ นมีคาำ พิพากษาของศาลชัน้ ต้น ทัง้ นี้ ไม่วา่ ในคดีดงั กล่าวจะปรากฏตัวบุคคลซึง่ อาจเชือ่ ว่าเป็ น เจ้ าของหรือไม่กต็ าม การประกาศในหนังสือพิมพ์ตามวรรคสอง หากอธิบดีเห็นว่าราคาของกลางไม่ค้ ุมกับ ค่าประกาศหนังสือพิมพ์ให้ มีอาำ นาจงดการประกาศในหนังสือพิมพ์ได้ ในกรณีท่ไี ม่มีผ้ ูใดอ้างตัวเป็ นเจ้ าของก่อนมีคาำ พิพากษาของศาลชั้นต้ น หรือมีเจ้ าของแต่ เจ้ าของไม่สามารถพิสจู น์ให้ ศาลเชื่อว่าตนไม่มีโอกาสทราบหรือไม่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่าจะมีการกระ ทำาความผิดดังกล่าว อีกทั้งตนได้ ใช้ ความระมัดระวังตามสมควรแล้ วที่จะป้ องกันมิให้ มีการกระ ทำาความผิดเช่นนั้นเกิดขึ้น หรือไม่สามารถพิสจู น์ให้ ศาลเชื่อได้ ว่าตนไม่มีโอกาสทราบหรือไม่มี เหตุผล อันควรสงสัยว่าจะมีการนำาทรัพย์สนิ ดังกล่าวไปใช้ในการกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ้ ี ให้ ศาลสั่ง ริบทรัพย์สนิ ดังกล่าวได้ เมื่อพ้ นกำาหนดสามสิบวันนับแต่วนั แรกของวันประกาศในหนังสือพิมพ์ราย วันตามวรรคสอง หรือนับแต่วันปิ ดประกาศกรณีมิได้ ประกาศในหนังสือพิมพ์ตามวรรคสาม และใน กรณีน้ ีมิให้ นาำ มาตรา ๓๖ แห่งประมวลกฎหมายอาญามาใช้ บงั คับ มาตรา ๑๑๒ ในกรณีความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ้ ีให้ อธิบดีมีอาำ นาจสั่งจ่ายเงิน สินบน แก่ผน้ ู าำ จับและเงินรางวัลแก่ผจ้ ู บั ตามระเบียบทีร่ ฐั มนตรีกาำ หนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในอัตรา รวมกันไม่เกินร้ อยละห้ าสิบห้ าของจำานวนเงินค่าขายของกลางหรือเงินค่าปรับแล้ วแต่กรณี ในการ กำาหนดอัตราเงินสินบนหรือเงินรางวัล รัฐมนตรีจะกำาหนดให้ จ่ายเงินสินบนและเงินรางวัลสำาหรับ กรณีท่ปี รากฏตัวผู้ต้องหาและหรือมีผ้ ูกระทำาความผิดที่ต้องคำาพิพากษาถึงที่สดุ ให้ ได้ รับโทษ ทาง อาญามากกว่าการจ่ายเงินสินบนและเงินรางวัลในกรณีท่ไี ม่ปรากฏตัวผู้ต้องหาและหรือไม่มีผ้ ูกระทำา ความผิดที่ต้องคำาพิพากษาถึงที่สดุ ก็ได้ เงินสินบนและเงินรางวัลตามวรรคหนึ่ง ให้ อธิบดีจ่ายจากเงินขายของกลางที่ศาลสั่งริบ หรือจ่ายจากเงินค่าปรับทีช่ าำ ระต่อศาลในกรณีทศ่ี าลมิได้สง่ั ริบของกลางหรือของกลางไม่อาจจำาหน่ายได้ หรือจ่ายจากเงินค่าปรับที่มีการเปรียบเทียบ หรือจากเงินขายของกลางที่ผ้ ูต้องหายกให้ ในกรณีท่คี ดี เป็ นอันระงับโดยการเปรียบเทียบปรับหรือจ่ายจากเงินขายของกลางที่ตกเป็ นของแผ่นดินตาม มาตรา ๑๑๖ และในกรณีทค่ี ดีเป็ นอันระงับโดยเปรียบเทียบปรับ อธิบดีอาจมอบหมายให้ เจ้าพนักงานผู้ มีอาำ นาจเปรียบเทียบเป็ นผู้สง่ั จ่าย โดยจะกำาหนดเงือ่ นไขอย่างใดอย่างหนึง่ หรือไม่กไ็ ด้ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
31
มาตรา ๑๑๓ ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอาำ นาจยึดหรืออายัดบรรดาแร่ท่มี ีไว้ เนื่องในการก ระทำาความผิด และเครื่องมือ เครื่องใช้ สัตว์พาหนะ ยานพาหนะ หรือเครื่องจักรกลใดๆ ที่บุคคลได้ มาหรือได้ ใช้ ในการกระทำาความผิด หรือมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าได้ ใช้ ในการกระทำาความผิด หรือ เป็ นอุปกรณ์ให้ ได้ รับผลในการกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ไี ว้ เพื่อเป็ นหลักฐานในการ พิจารณาคดีได้ จนกว่าจะมีคาำ สั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดีหรือจนกว่าคดีจะถึงที่สดุ ทั้งนี้ ไม่ว่าทรัพย์สนิ นั้น จะเป็ นของผู้กระทำาความผิดหรือของผู้มีเหตุอนั ควรสงสัยว่าเป็ นผู้กระทำาความผิดหรือไม่ และเมื่อได้ มีการฟ้ องคดี ให้ นาำ ความในมาตรา ๑๑๑ วรรคสองและวรรคสี่มาใช้ บังคับ ในกรณีท่มี ีคาำ สั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี ถ้ าเจ้ าของหรือผู้ครอบครองมิได้ ร้องขอรับ ทรัพย์สนิ คืนภายในกำาหนดหกเดือนนับแต่วันทราบหรือถือว่าได้ ทราบคำาสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี ให้ ทรัพย์สนิ นั้นตกเป็ นของแผ่นดิน ทั้งนี้ เว้ นแต่อธิบดีจะใช้ อาำ นาจประกาศหาตัวบุคคลที่เป็ นเจ้ าของ หรือผู้ครอบครองตามมาตรา ๑๑๖ มาตรา ๑๑๔ ในกรณีทรัพย์สนิ ที่ยึดไว้ ตามมาตรา ๑๑๓ วรรคหนึ่ง มิใช่เป็ นของผู้ กระทำาความผิดหรือของผู้มีเหตุอนั ควรสงสัยว่าเป็ นผู้กระทำาความผิดให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่โดย อนุมัติรัฐมนตรีคนื ทรัพย์สนิ หรือเงินแล้ วแต่กรณี ให้ แก่เจ้ าของก่อนถึงกำาหนดตามมาตรา ๑๑๓ วรรคหนึ่งได้ ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) เมื่อทรัพย์สนิ นั้นไม่จาำ เป็ นต้ องใช้ เป็ นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีท่เี ป็ น เหตุให้ ทรัพย์สนิ นั้นถูกยึด หรือ (2) เมื่อผู้กระทำาความผิดหรือผู้มีเหตุอนั ควรสงสัยว่าเป็ นผู้กระทำาความผิดได้ ทรัพย์สนิ นั้นมาจากผู้เป็ นเจ้ าของโดยการกระทำาความผิดทางอาญา มาตรา ๑๑๕ ถ้ าทรัพย์สนิ และของกลางที่ยึดหรืออายัดไว้ ตาม มาตรา ๑๑๓ หรือมาตรา ๑๑๖ จะเป็ นการเสี่ยงต่อความเสียหาย หรือค่าใช้ จ่ายในการเก็บรักษาจะเกินค่าของทรัพย์สนิ อธิบดี อาจดำาเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดการขายหรือจำาหน่ายทรัพย์สนิ หรือของกลางก่อนครบกำาหนดเวลาตาม มาตรา ๑๑๓ วรรคสอง หรือมาตรา ๑๑๖ วรรคสอง แล้ วแต่กรณี เมื่อได้ เงินเป็ นสุทธิเท่าใดให้ ยึดไว้ แทนทรัพย์สนิ หรือของกลางนั้น หรือ (2) ถ้ าการนำาทรัพย์สนิ หรือของกลางที่ยดึ หรืออายัดไว้ ไปใช้ ประโยชน์จะเป็ นการ บรรเทาความเสียหายหรือค่าใช้ จ่ายในการเก็บรักษาก็ให้ นาำ ทรัพย์สนิ หรือของกลางนั้นไปใช้ เพื่อ ประโยชน์ของทางราชการได้ ตามระเบียบที่อธิบดีกาำ หนด ก่อนที่จะสั่งดำาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ อธิบดีหรือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมายประกาศใน หนังสือ พิมพ์รายวันที่มีจาำ หน่ายในท้องถิ่นอย่างน้ อยสองวันติดต่อกัน เพื่อให้ เจ้ าของหรือ ผู้ ครอบครองโดยชอบด้ วยกฎหมายทราบเจ้ าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้ วยกฎหมายมีสทิ ธิย่ นื แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
32
คำาร้ องขอรับทรัพย์สนิ หรือของกลางดังกล่าวไปเก็บรักษาด้ วยตนเองได้ ภายในระยะเวลาที่พนักงาน เจ้ าหน้ าที่กาำ หนด ซึ่งต้ องไม่น้อยกว่าสิบห้ าวันนับแต่วนั แรกที่ประกาศในหนังสือพิมพ์ และถ้ าเจ้ าของ หรือผู้ครอบครองทำาสัญญาไว้ กบั กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ว่าจะเก็บรักษาทรัพย์สนิ หรือของกลางดังกล่าวโดยปฏิบัตติ ามหลักเกณฑ์และวิธกี าร รวมทั้งจัดหาประกันหรือหลักประกันให้ แก่ทางราชการตามเงื่อนไขที่กาำ หนดในกฎกระทรวง ก็ให้ อธิบดีมอบทรัพย์สนิ หรือของกลางดังกล่าว ให้ เจ้ าของหรือผู้ครอบครองเป็ นผู้เก็บรักษาไว้ แต่ห้ามมิให้ เจ้ าของหรือผู้ครอบครองนำาทรัพย์สนิ หรือของกลางดังกล่าวไปใช้ หรือแสวงหาประโยชน์ไม่ว่าด้ วยประการใดๆ ในกรณีท่ไี ม่ปรากฏตัวเจ้ าของหรือผู้ครอบครองมาขอรับทรัพย์สนิ หรือของกลางไป เก็บ รักษาหรือปรากฏเจ้ าของหรือผู้ครอบครองแต่บุคคลดังกล่าวไม่ยอมทำาสัญญาตามเงื่อนไขที่กาำ หนด ในกฎกระทรวงให้ อธิบดีส่งั ดำาเนินการตามวรรคหนึ่งได้ หรือในกรณีท่มี ีการทำาสัญญาแต่เจ้ าของหรือ ผู้ครอบครองปฏิบัติผดิ สัญญาหรือไม่ปฏิบัตติ ามเงื่อนไขที่กาำ หนดไว้ ในสัญญา ให้ อธิบดีเรียก ทรัพย์สนิ หรือของกลางดังกล่าวคืนจากเจ้ าของหรือผู้ครอบครอง และมีอาำ นาจสั่งให้ ดาำ เนินการบังคับ ตามสัญญาประกันและดำาเนินการตามวรรคหนึ่งได้ หลักเกณฑ์และวิธกี ารในการดำาเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) และ (๒) ให้ เป็ นไปตามที่ กำาหนดในกฎกระทรวง และในกรณีเช่นนี้เจ้ าของหรือผู้ครอบครองจะฟ้ องเรียกค่าเสียหายหรือค่า ตอบแทนใดๆ จากทางราชการอันเนื่องมาจากการดำาเนินการหรือการนำาทรัพย์สนิ หรือของกลาง ที่ ยึดหรืออายัดไปใช้ ประโยชน์ของทางราชการดังกล่าวมิได้ มาตรา ๑๑๖ ในกรณีทม่ี กี ารยึดของกลางทีต่ ้องสงสัยในการกระทำาความผิดโดย ไม่ ปรากฏตัวเจ้าของหรือผูค้ รอบครอง ให้พนักงานเจ้าหน้าทีผ่ ย้ ู ดึ ส่งมอบของกลางให้แก่เจ้าพนักงานอุตสาหกรรม แร่ประจำาท้องที่หรือเจ้ าหน้ าที่ท่อี ธิบดีกาำ หนดเพื่อเก็บรักษาไว้ และให้ อธิบดีหรือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบ หมายมีอาำ นาจประกาศหาตัวเจ้ าของหรือผู้ครอบครองเพื่อให้ บุคคลดังกล่าวไปแสดงหลักฐานเพื่อ ขอรับของกลางคืน การประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้ ปิดประกาศไว้ ท่สี าำ นักงานเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ ประจำาท้องที่ท่มี ีการยึดของกลางนั้น และให้ ประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันที่มีจาำ หน่ายในท้ องถิ่น อย่างน้ อยสองวันติดต่อกัน เจ้ าของหรือผู้ครอบครองมีสทิ ธิท่จี ะไปแสดงตัวต่อเจ้ าพนักงาน อุตสาหกรรมแร่ประจำาท้องที่หรือเจ้ าหน้ าที่ท่อี ธิบดีระบุไว้ ในประกาศ เพื่อขอรับของกลางคืนภายใน กำาหนดสามสิบวันนับแต่วันแรกที่มีประกาศในหนังสือพิมพ์ ในกรณีท่ไี ม่มีผ้ ูใดแสดงตัวเป็ นเจ้ าของหรือผู้ครอบครองเพื่อขอรับของกลางคืนภายใน กำาหนดเวลาตามวรรคสอง ให้ ของกลางนั้นตกเป็ นของแผ่นดิน แต่ถ้ามีบุคคลใดแสดงตัวเป็ นเจ้ าของ หรือผู้ครอบครองและขอรับของกลางคืนภายในกำาหนดเวลา ให้ อธิบดีหรือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมาย ดำาเนินการตามกฎหมายต่อไป ในกรณีท่ปี รากฏว่าผู้ท่แี สดงตัวเป็ นเจ้ าของหรือผู้ครอบครองตามวรรคหนึ่งเป็ นบุคคล ที่พนักงานอัยการได้ พิจารณาแล้ วและมีคาำ สั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี หรือเป็ นบุคคลที่ปรากฏหลักฐาน แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
33
ในขณะสอบสวนแล้ วว่ามิใช่เป็ นผู้ร้ เู ห็นเป็ นใจในการกระทำาความผิดหรือมิใช่เจ้ าของหรือ ผู้ ครอบครอง ให้ อธิบดีมีหนังสือแจ้ งให้ บุคคลดังกล่าวดำาเนินการใช้ สทิ ธิฟ้องร้ องต่อศาลเพื่อขอรับของ กลางคืนภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ รับหนังสือแจ้ งจากอธิบดี หากมิได้ ใช้ สทิ ธิฟ้องร้ องต่อศาล ภายในกำาหนดเวลาดังกล่าว ให้ ถอื ว่าบุคคลนั้นมิใช่เจ้ าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สนิ นั้น
หมวด ๑๐ บทเฉพาะกาล มาตรา ๑๑๗ ในระหว่างที่ยังมิได้ ออกกฎกระทรวงหรือประกาศตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้ บรรดากฎกระทรวงและประกาศที่ได้ ออกตามกฎหมายแร่และพิกดั อัตราค่าภาคหลวงแร่ และใช้ บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตนิ ้ ีประกาศในราชกิจจานุเบกษาคงใช้ บังคับต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้ ง กับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา ๑๑๘ บรรดาคำาขอทุกประเภทที่ได้ ย่ นื ไว้ ก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ ีใช้ บังคับให้ ถือว่าเป็ นคำาขอตามพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา ๑๑๙ บรรดาอาชญาบัตร ประทานบัตร หรือใบอนุญาต ที่ได้ ออกให้ ตาม กฎหมายที่ถูกยกเลิกตามมาตรา ๓ ก่อนวันที่พระราชบัญญัตนิ ้ ีใช้ บังคับ ให้ ถอื ว่าเป็ นอาชญาบัตร ประทานบัตร หรือใบอนุญาตออกตามพระราชบัญญัติน้ ีจนกว่าจะสิ้นอายุ บรรดาข้ อผูกพันตามสัญญาสัมปทานซึ่งมีอยู่กบั รัฐบาลไทยโดยกระทรวงอุตสาหกรรม และกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ ีมีผลใช้ บังคับ ให้ มีผลใช้ บังคับต่อไปตามข้ อผูกพันแห่งสัญญาสัมปทานนั้นๆ ทั้งนี้ จนกว่าผลการใช้ บังคับตามสัญญา สัมปทานจะสิ้นสุดลง ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ................................. นายกรัฐมนตรี
แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
34
บัญชีอตั ราค่าธรรมเนียม เลขลำาดับ
รายการ
อัตราค่าธรรมเนียม
๑.
ค่าธรรมเนียมออกอาชญาบัตร ประทานบัตร และใบอนุญาต ฉบับละ (๑) ค่าอาชญาบัตรสำารวจแร่
๕๐,๐๐๐ บาท
(๒) ค่าอาชญาบัตรพิเศษ
ฉบับละ
๑๐๐,๐๐๐ บาท
(๓) ค่าประทานบัตร (๔) ค่าใบอนุญาต ก. ใบอนุญาตแต่งแร่ ข. ใบอนุญาตประกอบโลหกรรม ค. ใบอนุญาตอื่น ๆ ตามพระราชบัญญัติน้ ี
ฉบับละ
๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ฉบับละ ฉบับละ ฉบับละ
๕๐,๐๐๐ บาท ๒๐๐,๐๐๐ บาท ๕๐,๐๐๐ บาท
ปี ละ
๕๐ บาท
(๕) ค่าใช้ เนื้อที่ ก. ค่าใช้ เนื้อที่ตามอาชญาบัตรสำารวจแร่ หรือ อาชญาบัตรพิเศษทุก ๑ ไร่ หรือเศษของ ๑ ไร่
ปี ละ
๒๐๐ บาท
ฉบับละ ไร่ละ
๑๐๐ บาท ๕๐ บาท
(๓) ค่าหลักเขตเหมืองแร่
หลักละ
๒๕๐ บาท
(๔) ค่าไต่สวน
เรื่องละ
๕๐๐ บาท
ข. ค่าใช้ เนื้อที่ตามประทานบัตรทุก ๑ ไร่ หรือ เศษ ของ ๑ ไร่ ๒.
๓.
ค่าธรรมเนียมรังวัด (๑) ค่าเขียนหรือจำาลองแผนที่ (๒) ค่ารังวัดตามจำานวนเนื้อที่ทุก ๑ ไร่ หรือ ของ ๑ ไร่
เศษ
ค่าธรรมเนียมต่ออายุ โอนสิทธิการสำารวจ การทำาเหมือง ใบอนุญาต
และ
(๑) ค่าต่ออายุอาชญาบัตรสำารวจแร่
ฉบับละ
๕๐,๐๐๐ บาท
(๒) ค่าต่ออายุประทานบัตร
ฉบับละ
๑,๐๐๐,๐๐๐บาท
แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
35
(๓) ค่าต่ออายุใบอนุญาตแต่งแร่ เลขลำาดับ
๔.
ฉบับละ
รายการ
อัตราค่าธรรมเนียม
(๔) ค่าต่ออายุใบอนุญาตประกอบโลหกรรม
ฉบับละ
๒๐๐,๐๐๐ บาท
(๕) ค่าโอนประทานบัตร
ฉบับละ
๑๐๐,๐๐๐ บาท
(๖) ค่าตอบแทนการโอนสิทธิตามประทานบัตร
ร้ อยละ
๕
(๗) ค่าโอนใบอนุญาตแต่งแร่
ฉบับละ
๕,๐๐๐ บาท
(๘) ค่าโอนใบอนุญาตประกอบโลหกรรม
ฉบับละ
๒๐,๐๐๐ บาท
(๙) ค่าโอนใบอนุญาตอื่น ๆ ตามพระราชบัญญัติน้ ี
ฉบับละ
๕,๐๐๐ บาท
(๑) ค่าคัดสำาเนาหรือถ่ายเอกสาร
ฉบับละ
๑๐ บาท
(๒) ค่ารับรองสำาเนาเอกสาร
ฉบับละ
๕๐ บาท
ปี ละ
๕๐๐ บาท
ค่าธรรมเนียมเบ็ดเตล็ด
(๓) ค่าหยุดการทำาเหมืองทุก ๑ ไร่ หรือเศษของ ๑ ไร่ (๔) ค่านำามูลดินทรายออกนอกเขตเหมืองแร่
๕.
๕๐,๐๐๐ บาท
ลูกบาศก์เมตรละ ๒๐ บาท
(๕) ค่าใบแทนอาชญาบัตร ประทานบัตรหรือใบอนุญาต
ฉบับละ
๕๐๐ บาท
(๖) ค่าเพิ่มหรือลดเขตแต่งแร่
ฉบับละ
๕,๐๐๐ บาท
(๗) ค่าเพิ่มหรือลดเขตโลหกรรม
ฉบับละ
๒๐,๐๐๐ บาท
ค่าตรวจสอบ ทดลอง หรือวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างหนึ่ง ๆ แร่หรือธาตุหรือรายการละ
๑๐,๐๐๐ บาท
แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
36
ร่างพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยแร่ พ.ศ. ....
สำานักกฎหมาย กลุ่มที่ปรึกษากฎหมาย กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
37
กระทรวงอุตสาหกรรม 27 กุมภาพันธ์ 2552
แก้ไขตามข้อสังเกตของมติที่ประชุมคณะ กรรมการกลัน่ กรอง เรื่ องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘