เอกสารประกอบการจัดงาน
สวัสดิการชุมชนรากฐานการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน วันที่ 11 มกราคม 2553 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
จัดโดย คณะกรรมการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนแหงชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย กระทรวงมหาดไทย สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน) เครือขายสวัสดิการชุมชน 5 ภาค
1
พิมพครัง้ ที่ 1 จำนวนพิมพ บรรณาธิการ
: มกราคม 2553 : 1,200 เลม : พรรณทิพย เพชรมาก อุดมศรี ศิรลิ กั ษณาพร กองบรรณาธิการ : ประยงค อุปเสน เสาวลักษณ สมสุข ชาญณรงค วงควิชัย อรอนงค พลอยวิเลิศ ไชยพัฒน วรรณสุทธิ์ ดวงมณี เครือ่ งรอน จิรยิ า เรืองฉาย เรียบเรียง : ชาญณรงค วงควิชัย ปกและรูปเลม : สุวฒ ั น กิขนุ ทด พิเชษฐ นิยม ดำเนินการผลิต : สวนพัฒนากระบวนการเรียนรแู ละองคความรู สวนประชาสัมพันธ จัดพิมพโดย : สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน) 912 ถนนนวมินทร แขวงคลองจัน่ เขตบางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท 0-2378-8300-9 โทรสาร 0-2378-8321 E-mail : codi@codi.or.th
2
คำนำ ผูนำองคกรชุมชนในพื้นที่ทั่วประเทศเปนผูสรางรูปธรรมของกองทุนสวัสดิการชุมชนในรูปแบบ ตางๆ ที่เปนกองทุนของชุมชน โดยชุมชนและเพื่อชุมชน บางกลุมไดดำเนินการมายาวนานกวาสอง ทศวรรษ โดยในชวงป 2547 เปนตนมา องคกรชุมชนทีท่ ำงานดานสวัสดิการไดเชือ่ มโยงเปนเครือขาย การเรียนรู เพือ่ สงเสริมการจัดตัง้ กองทุนสวัสดิการชุมชนใหกวางขวางมากขึน้ ตามลำดับ รวมทัง้ การผลักดันงานสวัสดิการชุมชนในเชิงนโยบายทีต่ อ เนือ่ งเรือ่ ยมา นับตัง้ แตป 2548 ทีร่ ฐั บาล เริ่มสนับสนุนงบประมาณเพื่อจัดสวัสดิการชุมชน ผานศูนยอำนวยการตอสูเพื่อเอาชนะความยากจน แหงชาติ (ศตจ.) จากนัน้ มาขอเสนอของภาคประชาชนไดรบั การตอบรับจากระดับนโยบายมากขึน้ เปน ลำดับ จนกระทัง่ รัฐบาลชุดปจจุบนั ไดประกาศสวัสดิการชุมชนใหเปนวาระแหงชาติ และจัดสรรงบประมาณ จำนวน 727.3 ลานบาท ใหดำเนินโครงการสนับสนุนสวัสดิการชุมชน เพือ่ สมทบงบประมาณและพัฒนา กองทุนทีจ่ ดั ตัง้ แลว และสงเสริมจัดตัง้ กองทุนใหม เอกสารประกอบการจัดงาน “สวัสดิการชุมชน รากฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน” ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล วันที่ 11 มกราคม 2553 ซึง่ เปนวันทีอ่ งคกรสวัสดิการชุมชนจาก 400 แหงทัว่ ประเทศ เดินทางมารวมงานและรับมอบเงินสมทบจากรัฐบาล จะเปนหลักฐานและตัวอยางของการสรางงาน สวัสดิการชุมชน ทีด่ ำเนินการขับเคลือ่ นดวยกลไกของประชาชนในทุกระดับ โดยมีหนวยงานระดับชาติ และระดับทองถิน่ เปนผสู นับสนุน ตัวอยางการทำงานของขบวนสวัสดิการชุมชนในระดับจังหวัด และพื้นที่รูปธรรมของกองทุน สวัสดิการชุมชนระดับตำบลที่ปรากฏในเอกสารฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของกองทุนสวัสดิการชุมชน ที่ไดจัดตั้งแลวทั่วประเทศ จำนวน 3,154 กองทุน ซึ่งมีสมาชิกเขารวมจาก 21,795 หมูบาน จำนวน 1,044,318 คน มีเงินกองทุนรวม 617.7 ลานบาท จึงเปนขอมูลสวนหนึง่ ในการทำงานพัฒนาของภาค ประชาชน ทีม่ งุ หวังการสรางหลักประกันและการชวยเหลือเกือ้ กูลกันของคนในชุมชนทองถิน่ อยางยัง่ ยืน ตอไป คณะผจู ดั ทำ 8 มกราคม 2552
3
สารบัญ สวนที่ 1 : โครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน สวัสดิการชุมชน..เริม่ ตนจากชุมชนสกู ารสนับสนุนในระดับนโยบายจากรัฐ โครงสรางโครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน ภาพรวมการดำเนินงานสวัสดิการชุมชน โครงการตนกลาคุณธรรมสวัสดิการชุมชน : การพัฒนาขบวนการเรียนรเู พือ่ พัฒนา คุณภาพกองทุนสวัสดิการชุมชน
12
สวนที่ 2 : กรณีศกึ ษาพืน้ ทีร่ ปู ธรรมสวัสดิการระดับจังหวัด สวัสดิการชุมชนจังหวัดพะเยา สวัสดิการชุมชนจังหวัดนครศรีธรรมราช สวัสดิการชุมชนจังหวัดสงขลา สวัสดิการชุมชนจังหวัดรอยเอ็ด สวัสดิการชุมชนจังหวัดราชบุรี สวัสดิการชุมชนจังหวัดปราจีนบุรี สวัสดิการชุมชนจังหวัดสมุทรปราการ
14 15 19 22 25 28 31 34
สวนที่ 3 : กรณีศกึ ษาพืน้ ทีร่ ปู ธรรมสวัสดิการชุมชนระดับตำบล
37
ภาคเหนือ - กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลหนองหลม อำเภอดอกคำใต จังหวัดพะเยา - กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลบานเสด็จ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง - กองทุนสวัสดิการจากฐานผดู อ ยโอกาสตำบลแมสลองนอก อ.แมฟา หลวง จ.เชียงราย
38 38 41 43
ภาคใต - กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลกะปาง อำเภอทงุ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช - กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลหนองตรุด อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
45 45 47
4
6 7 10 11
ภาคกลางตอนบนและตะวันตก - กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลปากแพรก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี - กองทุนสวัสดิการตำบลวิหารขาว อำเภอทาชาง จังหวัดสิงหบรุ ี
49 49 52
ภาคกรุงเทพฯ ปริมณฑลและภาคตะวันออก - กองทุนสวัสดิการตำบลทงุ โพธิ์ อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี - กองทุนสวัสดิการ ตำบลบางบอ อำเภอบางบอ จังหวัดสมุทรปราการ
54 54 57
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - สวัสดิการชุมชนตำบลเปอย อำเภอลืออำนาจ จังหวัดอำนาจเจริญ - สวัสดิการชุมชนตำบลบานขาม อำเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ
60 60 63
ภาคผนวก - ภาพรวมการดำเนินงานสวัสดิการชุมชน - ขอมูลกองทุนสวัสดิการชุมชน ภาคกรุงเทพฯ ปริมณฑล - ขอมูลกองทุนสวัสดิการชุมชน ภาคกลางตอนบนและตะวันตก - ขอมูลกองทุนสวัสดิการชุมชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - ขอมูลกองทุนสวัสดิการชุมชน ภาคใต - ขอมูลกองทุนสวัสดิการชุมชน ภาคเหนือ
65 66 67 68 69 70 71
5
สวนที่ 1: โครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน
6
สวัสดิการชุมชน...เริม่ ตนจากชุมชนสกู ารสนับสนุนในระดับนโยบายจากรัฐ เปนแรงงานนอกระบบ เกษตรกร คนยากจน ไมสามารถเขาสูระบบที่มีอยูได จากขอมูลของ สำนักงานสถิติแหงชาติป 2549 ระบุวา จาก ประชากรวัยแรงงาน 50.4 ลานคน เปนผมู งี านทำ 35.5 ลานคน แยกเปนแรงงานในระบบ 13.7 ลาน คน แรงงานนอกระบบ 21.8 ลานคน หรือรอยละ 61.41 ซึง่ ถาเทียบจากจำนวนแลวประชากรกลมุ นี้ จะมี ป ระมาณ 50 ล า นคนที่ ไ ม ไ ด อ ยู ใ นระบบ สวัสดิการจากระบบประกันสังคมและภาครัฐ แม จะไดรบั สวัสดิการพืน้ ฐานจากรัฐบางสวนแตกถ็ อื วา เปนกลมุ ทีข่ าดหลักประกันความมัน่ คงในชีวติ จนกระทั่ ง เมื่ อ ประเทศไทยประสบป ญ หา วิกฤตเศรษฐกิจเมือ่ ป พ.ศ. 2540 สงผลกระทบ ตอชีวติ ความเปนอยขู องประชาชนอยางกวางขวาง ปราชญชาวบาน แกนนำชุมชน และหนวยงานที่
ระบบสวั ส ดิ ก ารของสั ง คมไทยในอดี ต ที่ มี ลั ก ษณะเป น ชุ ม ชนสวั ส ดิ ก าร บ า นและวั ด มี บทบาทสำคัญในการดูแลเรื่องการจัดสวัสดิการ ครอบคลุมปจจัยสีข่ องชุมชน ตอมารัฐบาลกลางมี บทบาทในการจัดสวัสดิการ ซึ่งชวงแรกเปนการ จัดใหเฉพาะผทู จี่ ำเปนตองไดรบั การสงเคราะหตาม ระเบียบหลักเกณฑของหนวยงาน โดยมีเจาหนาที่ เป น ผู พิ จ ารณา สู ก ารจั ด สวั ส ดิ ก ารโดยรั ฐ ที่ ครอบคลุมกลมุ เปาหมายทีก่ วางขึน้ เชน พ.ร.บ. การประกันสังคม ทำใหแรงงานในระบบสามารถ ไดรับสวัสดิการอยางทั่วถึง ในชวงที่เศรษฐกิจ เติบโต ภาคเอกชนไดมบี ทบาทในการจัดสวัสดิการ ดานตางๆ มากขึน้ โดยมีระบบการประกันรูปแบบ ตางๆ อยางหลากหลาย ซึ่งผูที่สามารถเขาถึง ก็เปนกลมุ ผมู รี ายไดปานกลาง รายไดสงู แตคนที่
7
เกีย่ วของ ไดทบทวนสรุปบทเรียนเกีย่ วกับระบบ การคมุ ครองทางสังคม (Social Safety Net) ทีม่ ี อยใู นสังคมไทยก็พบวา ความเปนเครือญาติ ทุน ทางสังคมในดานตางๆ ในชุมชน สามารถชวย รองรับการแกปญหาจากภายนอกไดเปนอยางดี ทำใหมีการรวมตัวกันฟนฟูระบบคุณคาทุนทาง สังคมทีม่ อี ยมู าชวยเหลือเกือ้ กูลกันในลักษณะของ การจัดสวัสดิการชุมชนจากฐานทุนดานตางๆ ทีม่ ี อยู ข องชุ ม ชน เช น การจั ด สวั ส ดิ ก ารจากฐาน กลุมออมทรัพย องคกรการเงิน วิสาหกิจชุมชน กิจกรรมทางศาสนา การจัดการทรัพยากร ฯลฯ เมือ่ ไดมกี ารสัมมนาแลกเปลีย่ นเรียนรซู งึ่ กันและกัน ในชวงป 2547 ทำใหเกิดแนวทางการจัดสวัสดิการ ชุมชนที่มีการคิดคนรวมกันมากขึ้น นำไปสูการ จัดตัง้ กองทุนสวัสดิการชุมชนระดับตำบลทีเ่ นนให มีการสมทบงบประมาณจากสามฝาย คื อ ทุ น ที่ ม าจากการออมของสมาชิ ก ในชุ ม ชน ทั้ ง ใน รู ป แบบออมทรั พ ย เ ดิ ม หรื อ สั จ จะลดรายจ า ย วันละบาท การสมทบจากรัฐโดยผานชองทาง สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน และการสมทบจาก องคกรปกครองสวนทองถิ่น ทำใหเกิดกองทุน สวัสดิการชุมชนขึน้ อยางกวางขวาง ในป 2550 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ พั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย (นาย ไพบูลย วัฒนศิริธรรม) ไดจัดตั้งคณะกรรมการ สนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชนทองถิน่ ระดับชาติ คณะอนุกรรมการสวัสดิการชุมชนทองถิ่นระดับ จั ง หวั ด ทุ ก จั ง หวั ด และรั ฐ บาลจั ด งบประมาณ สนับสนุนการขับเคลื่อนขยายการจัดตั้งกองทุน สวัสดิการชุมชนตำบล และสมทบงบประมาณใน การจัดสวัสดิการชุมชน ทำใหเกิดกองทุนสวัสดิการ
ชุ ม ชนตำบลขึ้ น ประมาณ 3,000 ตำบล การ ดำเนินการของกองทุนมีการจัดสวัสดิการสำหรับ สมาชิ ก และผู ย ากลำบากในชุ มชน ครอบคลุม ตัง้ แตการเกิด แก เจ็บ ตาย เชน รับขวัญเด็ก เกิดใหม ทุนการศึกษา คาใชจายยามเจ็บปวย พัฒนาอาชีพ บำนาญ ฌาปนกิจ และสวัสดิการ ดานตางๆ ทั้งนี้เปนไปตามขอตกลงรวมกันและ ความพรอมของแตละกองทุน คุณคาสำคัญที่ได จากการจัดสวัสดิการโดยชุมชนคือการทำใหเกิด ความรัก ความสมานฉันท การชวยเหลือเกือ้ กูล กันในชุมชน ฟน ฟูระบบคุณคาเดิมของสังคมไทย การทำงานรวมกันของชุมชนทองถิ่น เกิดเปน เครือขายสวัสดิการชุมชนในระดับจังหวัดและระดับ ชาติที่มีบทบาทสำคัญในการขยายการจัดตั้งกอง ทุนสวัสดิการชุมชนในพื้นที่ใหมและการพัฒนา คุณภาพกองทุนสวัสดิการชุมชนในพืน้ ทีเ่ ดิม ขบวนองคกรชุมชนไดเสนอการจัดสวัสดิการ ชุมชนตอนายกรัฐมนตรี (นายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ) เมือ่ วันที่ 15 มกราคม 2552 ซึง่ รัฐบาลไดใหความ สำคัญและยืนยันนโยบายสนับสนุนการจัดสวัสดิการ ชุมชน โดยจะพิจารณางบประมาณสนับสนุนในป 2553 ในหลักการสมทบ 1:1:1 (ชุมชน : องคกร ปกครองสวนทองถิน่ : รัฐบาล) และไดมกี ารจัดตัง้ คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน ภายใตคณะกรรมการเสริมสรางความเขมแข็งของ ชุมชนแหงชาติทมี่ คี ณ ุ หญิงสุพตั รา มาศดิตถ เปน ประธาน ไดพฒ ั นาโครงการสนับสนุนจัดสวัสดิการ ชุมชนขึน้ มา จากนั้ น ได มี ก ารจั ด สั ม มนาขบวนองค ก ร สวัสดิการชุมชนทั่วประเทศที่จังหวัดสงขลา ซึ่ง นายกรั ฐ มนตรี ไ ด ป ระกาศนโยบายสนั บ สนุ น
8
การจั ด สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน โดยรั ฐ บาลได จั ด สรร งบประมาณในป 2553 สนับสนุนจำนวน 727.3 ลานบาท แตงตั้งคณะกรรมการสงเสริมพัฒนา การจัดสวัสดิการชุมชนในระดับชาติโดยนายก รัฐมนตรีเปนประธาน จัดกลไกการทำงานสนับ สนุนการจัดสวัสดิการชุมชนขึ้นตามโครงสราง ตามแผนภูมิ สาระสำคัญของนโยบายรัฐบาลในเรื่องนี้คือ รัฐบาลจะหนุนเสริมในกรณีที่ภาคประชาชนไดมี การดำเนินการจนมั่นใจวาแนวทางที่ดำเนินการ จะนำไปสกู ารสราง “ระบบสวัสดิการโดยชุมชน” ใน ระยะยาว รัฐบาลจึงจะสนับสนุนงบประมาณสมทบ เพือ่ เสริมใหกองทุนสวัสดิการชุมชนมีความเขมแข็ง ยิ่งขึ้นและไดใชในการดำเนินการจัดสวัสดิการ ชุ ม ชน ตั้ ง แต เ กิ ด จนตายให ค รอบคลุ ม ตามที่ ประชาชนตองการมากขึน้ ซึง่ คณะกรรมการสนับ สนุ น การขั บ เคลื่ อ นสวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนจั ง หวั ด ที่ มี ผูวาราชการจังหวัดหรือผูแทนเปนประธาน ผนู ำ องคกรสวัสดิการชุมชนเปนรองประธาน และผนู ำ สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนเป น เลขานุ ก ารร ว มกั บ พั ฒ นา สังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด จะชวย กันทำงานเพือ่ รวมกับองคกรภาคประชาชนในการ พั ฒ นากองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนทุ ก กองทุ น และ กองทุนทีจ่ ะจัดตัง้ ใหมใหมรี ะบบการบริหารจัดการ ที่ดี ประสานกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและ สรางความเขาใจกับองคกรที่เกี่ยวของเพื่อใหการ ดำเนินงานของกองทุนสวัสดิการตำบลหรือเทศบาล มีการจัดสวัสดิการครอบคลุมมากยิ่งขึ้น รวมทั้ง การประสานใหสถาบันการศึกษาเขามาดำเนินการ ประเมินผลและติดตามการดำเนินงาน เพื่ อ ที่ จะชวยใหภาคประชาชนไดเรียนรูและปรับวิธีการ
บริหารกองทุน ซึ่งนายกรัฐมนตรีไดเนนย้ำในการประชุม คณะกรรมการสงเสริมพัฒนาการจัดสวัสดิการ ชุมชนเมือ่ วันที่ 21 ธันวาคม 2552 โดยไดมกี าร ถายทอดสดไปที่คณะกรรมการระดับจังหวัดทุก จังหวัดวา กรรมการที่มาจากผูแทนหนวยงาน ราชการซึง่ ไดทำงานรวมกับภาคประชาชนอยแู ลว นัน้ ใหชว ยเอือ้ อำนวยใหภาคประชาชนไดดำเนิน การกิจการของชุมชนตนเอง ชวยประสานงานกับ ภาคส ว นต า งๆ ในพื้ น ที่ และจัดกิจกรรมแลก เปลีย่ นเรียนรใู หกองทุนสวัสดิการชุมชนตางพืน้ ที่ ไดเอาประสบการณมาปรับปรุงการบริหารจัดการ กองทุนของตนเอง และสนับสนุนหรือกระตนุ ใหมี การจัดตั้งกองทุนใหมขึ้นในชุมชนที่มีความพรอม ในสวนองคกรปกครองสวนทองถิน่ ขอใหเชือ่ มัน่ ได วา “กองทุนสวัสดิการชุมชน” เปนรูปแบบและวิธี การหนึง่ ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน ตามภารกิจที่กำหนดไวในกฎหมายการกระจาย อำนาจ รัฐบาลอยรู ะหวางการทำใหเรือ่ งการสมทบ งบประมาณใหแกกองทุนสวัสดิการโดยทองถิ่นมี ความถูกตองตามกฎระเบียบโดยเร็ว และหากมี ปญหาใดๆ ในพืน้ ทีข่ อใหปรึกษาทานผวู า ราชการ จังหวัดในการรวมกันหาทางออก จุ ด เปลี่ ย นที่ สำคัญของการจัดสวัสดิการชุมชนคือการที่งาน พั ฒ นาที่ ม าจากการคิ ด ริ เ ริ่ ม และขยายผลจาก ชุมชนตนแบบสชู มุ ชนใหมดว ยการเรียนรใู นแนวราบ ขับเคลื่อนขบวนสวัสดิการชุมชนโดยเครือขาย สวัสดิการชุมชนเปนแกนหลัก มาสูการจัดกลไก โครงสราง การทำงานรวมกันระหวางชุมชนกับ หนวยงานรัฐในฐานะหนุ สวนการพัฒนา
9
โครงสรางโครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน
โครงสรางการดําเนินงาน คณะกรรมการสงเสริมพัฒนา การจัดสวัสดิการชุมชน พอช. หนวยงานดําเนินโครงการ
คณะอนุกรรมการโครงการฯ (กลไกภายใน พอช.)
คณะกรรมการสนับสนุนการ ขับเคลื่อนสวัสดิการชุมชนจังหวัด และกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการ สวัสดิการชุมชนตําบล/ทองถิ่น
คณะกรรมการ สวัสดิการชุมชนตําบล/ทองถิ่น คณะกรรมการ สวัสดิการชุมชนตําบล/ทองถิ่น
10
ภาพรวมผลการดำเนินงานสวัสดิการชุมชนทีผ่ า นมา ผลการขับเคลื่อนสวัสดิการชุมชนโดยเครือ ขายสวัสดิการชุมชนในชวงทีผ่ า นมา สามารถรวบ รวมขอมูลรายชื่อกองทุนสวัสดิการชุมชนที่มีการ จัดตัง้ แลว 3,154 กองทุน โดยเปนกองทุนทีม่ ขี อ มูล ชัดเจนแลว 2,990 กองทุน ครอบคลุม 21,795 หมบู า น การกระจายตัวสวนใหญอยใู นภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 974 กองทุน หรือรอยละ 32.6 รองลง มาคือภาคเหนือ 619 กองทุน หรือรอยละ 20.7 ภาคใต 512 กองทุน หรือรอยละ 17.12 แตเมือ่ เทียบจากฐานจำนวนสมาชิกแลว จำนวนสมาชิก ภาคใตมีจำนวนใกลเคียงกับภาคตะวันออกเฉียง เหนือ และมีเงินทุนจากชุมชนรวมแลวมากกวา ภาคต า งๆ โดยภาคใต มี จำนวนสมาชิ ก รวม
ทัง้ หมด 1,044,318 ราย เงินกองทุนทีเ่ ปนเงินทุน หรือเงินออมของชุมชนรวม 617.72 ลานบาท ซึ่ ง ที่ ม าของเงิ น กองทุ น มาจากเงิ น ของชุ ม ชน รอยละ 73 เงินสมทบจากรัฐบาลที่ผานสถาบัน พัฒนาองคกรชุมชน 163.67 ลานบาท หรือรอยละ 20 เงินสมทบจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น 35.77 ลานบาท หรือรอยละ 4 และเงินจากแหลง อืน่ ๆ 23.17 ลานบาท หรือรอยละ 3 สมาชิกทีไ่ ด รับสวัสดิการโดยตรงแลว 17,331 ราย เปนสมาชิก ทั่ ว ไป 14,863 ราย เด็ก คนชราและผูพิการ/ ดอยโอกาส 2,468 ราย (ขอมูลสมาชิก เงินกองทุน และจำนวนผรู บั สวัสดิการบางกลมุ ยังไมไดปรับให เปนปจจุบนั )
ภาพรวมการดำเนินงานสวัสดิการชุมชน Ýćîüî
ÝĞćîüîĀöĎŠïšćî
ÿöćßĉÖ
ÖĂÜìčî×ĂÜßčößî
ÖćøÿöìïđÜĉîÖĂÜìčî(ïćì)
* ÝĞćîüîñĎšøĆïñúðøąē÷ßîŤ
õćÙ ÖĂÜìčî ìĆĚÜĀöé
đךćøŠüö
ÖŠĂêĆĚÜ
ðŦÝÝčïĆî
ÖŠĂêĆĚÜ
ÖĂÜìčî
Ăðì.
óĂß.
ĂČęîė
ÿöćßĉÖ ìĆęüĕð
óĉÖćø/ đéĘÖ Ùîßøć éšĂ÷ēĂÖćÿ
ÖøčÜđìóĒúąêąüĆîĂĂÖ
341
6,198
2,473
10,820
87,192
2,050,297
93,164,429
1,127,000
18,876,064
2,079,854
4,723
17
107
-
ÖúćÜïîĒúąêąüĆîêÖ
544
12,589
4,522
12,178
164,002
2,329,824
99,502,295
6,212,964
29,813,882
6,050,305 1,431
88
366
91
êąüĆîĂĂÖđÞĊ÷ÜđĀîČĂ
974
33,117
8,215
14,010
294,471
14,960,510 120,339,540 18,303,499 51,871,147
1,521,418
2,204
273
60
12
Ĕêš
512
8,660
2,475
24,243
272,803
4,364,466
181,668,523 2,829,358
30,277,239
2,270,112
3,229
379
462
122
đĀîČĂ
619
14,515
4,110
23,862
225,850
8,567,128
123,047,436 7,302,870
32,834,784
11,256,076 3,276
185
266
40
2,990
75,079
85,113
1,044,318 32,272,225 617,722,223 35,775,691 163,673,116 23,177,765 14,863
942
1,261
øüöìĆĚÜĀöé
21,795
ךĂöú è
หมายเหตุ
*จำนวนผรู บั ผลประโยชนเปนจำนวนตามทีม่ รี ายงานผลการดำเนินงานมายัง พอช. *อปท. = องคกรปกครองสวนทองถิน่ /เทศบาล
กราฟแสดงจำนวนเงินกองทุนชุมชน
11
265
โครงการตนกลาคุณธรรมสวัสดิการชุมชน : การพัฒนาขบวนการเรียนรู เพือ่ พัฒนาคุณภาพกองทุนสวัสดิการชุมชน ในชวงที่รัฐบาลไดมีนโยบายสนับสนุนการ จัดสวัสดิการทัง้ ในสวนของการสมทบงบประมาณ ไปที่กองทุนสวัสดิการชุมชนที่จัดแลวครบหนึ่ง ปและมีคุณภาพตามหลักเกณฑที่กำหนด และ ส ง เสริ ม การจั ด ตั้ ง กองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนใหม ใหครอบคลุมมากขึ้นนั้น ในสวนของเครือขาย สวัสดิการชุมชน โดยเฉพาะตำบลทีม่ บี ทบาทเปน สถานทีศ่ กึ ษาดูงานสวัสดิการชุมชนของพืน้ ทีใ่ หม ซึ่ ง ทำหน า ที่ ศู น ย เ รี ย นรู โ ดยธรรมชาติ อ ยู แ ล ว ไดรว มกับนักวิชาการทีไ่ ดมกี ารศึกษาวิจยั เรือ่ งนีม้ า ตอเนื่องเชน หนวยจัดการความรอู งคกรการเงิน ชุมชน ฯลฯ ในการที่จะชวยกันพัฒนากระบวน การเรียนรูเรื่องสวัสดิการชุมชน เพื่อใหผูที่จะจัด ตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนหรือผูที่ไปมีบทบาท สนับสนุนไดเขาใจฐานคิดอุดมการณ การบริหาร จัดการ เพือ่ พัฒนาคุณภาพสวัสดิการชุมชน โดย ในชวงแรกไดมีการเสนอจัดตั้งวิทยาลัยสวัสดิการ ชุ ม ชนขึ้ น มา พอดี กั บ ช ว งที่ รั ฐ บาลได มี ก าร โครงการตนกลาอาชีพทีเ่ พิม่ ประเภทตนกลาอาชีพ พิเศษทีห่ นวยงานสามารถเสนอโครงการฝกอบรม เพื่อการสนับสนุนการทำงานตามนโยบายรัฐบาล ในบางด า นขึ้ น มาได เ ครื อ ข า ยนั ก วิ ช าการและ สวัสดิการชุมชนจึงไดรว มกันเสนอโครงการตนกลา คุณธรรมสวัสดิการชุมชนขึ้นมา โครงการตนกลาคุณธรรมสวัสดิการชุมชน มีวตั ถุประสงคเพือ่ ปรับฐานความเขาใจถึงปรัชญา แนวคิด และทิศทางในอนาคตของการจัดสวัสดิการ ชุมชน เพิ่มศักยภาพคณะกรรมการและสมาชิก
12
กองทุนสวัสดิการชุมชน ในการบริหารจัดการ และพัฒนากองทุนสวัสดิการชุมชน ใหผูเขาฝก อบรมสามารถนำไปสนับสนุนงานสวัสดิการชุมชน ในระดับตำบลและจังหวัดได ซึง่ หลังจากผานการ ฝกอบรมทางโครงการจะมีคาตอบแทนรายเดือน สำหรับงานที่ไปดำเนินการเดือนละ 4,500 บาท ชวงเวลาไมเกินสามเดือน ซึง่ งานทีค่ าดวาผผู า น การฝกอบรมจะไปชวยสนับสนุนงานในระดับพืน้ ที่ ไดแก การสงเสริมจัดตัง้ กองทุนสวัสดิการชุมชน ในพืน้ ทีใ่ หม การบริหารจัดการกองทุนสวัสดิการ ชุมชน การจัดทำขอมูล บัญชี การเชือ่ มโยงงาน พัฒนาในระดับพืน้ ที่ ฯลฯ หลักสูตรในการฝกอบรม 7 คืน 8 วัน เนือ้ หา ประกอบดวย ฐานคิดสวัสดิการ ตนแบบสวัสดิการ บนฐานองคกรการเงินชุมชน การบริหารจัดการ โดยเน น ความพอเพี ย งและระบบฐานข อ มู ล หลั ก คิ ด /เป า หมาย กลไกอนุ มั ติ หลั ก เกณฑ โครงการสนับสนุนสวัสดิการชุมชน บทบาทตน กลาและแผนงาน 3 เดือน โดยมีการฝกปฏิบัติ ธรรม ศึ ก ษาดู ง าน แลกเปลี่ ย นประสบการณ ตลอดการฝกปฏิบัติจากตัวอยางและจากกองทุน ตนเอง โดยมี ศู น ย เ รี ย นรู ที่ เ ป น ศู น ย ฝ ก อบรม 10 ศูนย ไดแก วัดปายาง จ.นครศรีธรรมราช บางขุนไทร จ.เพชรบุรี หนองสาหราย กาญจนบุรี เครือขายสัจจะฯ จ.จั น ทบุ รี เครือขายสัจจะฯ จ.ตราด บานขาม จ.ชัยภูมิ จ.สุรนิ ทร จ.อุดรธานี จ.กำแพงเพชร ศู น ย ร ว ม น้ำ ใ จ ด อ ก คำ ใ ต จ.พะเยา
สนั สนับบสนุ สนุนนการจั การจัดดสวั สวัสสดิดิกการชุ ารชุมมชน ชน ตตนนกล า คุ ณ ธรรมสวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน กลาคุณธรรมสวัสดิการชุมชน เสริมหนุน สมทบ สมทบ ๑๑ ตตออ ๑๑ ตตออ ๑๑ ๒๒.๔ลานบาท ๑,๑๔๐คน ๓๐๔ศูนยเรียนรู
ศูนยฝกอบรม
๗๒๗.๓ลานบาท ๕,๑๐๐กองทุน
๑๐
คณะกรรมการจังหวัด ตนกลาจังหวัด
หลักสูตร7คืน8วัน -เนื้อหา -กระบวนการ
ตนกลาจังหวัด ๓ คน (ทีมเลขาคณะกรรมการจังหวัด)
ตนกลาตําบล กองทุนตนแบบ ๔กองทุน
ตนกลาตําบล ๑๒ คน จากกองทุนตนแบบจํานวน ๔ กองทุนๆละ ๓ คน
กองทุนสวัสดิการชุมชน โครงการสนั โครงการสนับบสนุ สนุนนการจั การจัดดสวั สวัสสดิดิกการชุ ารชุมมชน ชน ตตนนกล กลาาคุคุณณธรรมสวั ธรรมสวัสสดิดิกการชุ ารชุมมชน ชน ตามแนวทางสมทบ ตามแนวทางสมทบ ๑๑ ตตออ ๑๑ ตตออ ๑๑ หลักสูตร ตัวชี้วัด -เนื้อหา ๓๐๔ศูนยเรียนรู ๔.หลักคิด
-กระบวนการ
ตนกลา๑,๑๔๐คน
ศูนยฝกอบรม
๑.ฐานคิด สวัสดิการ
เปาหมาย กลไกอนุมัติ หลักเกณฑ โครงการฯ
๒.ตนแบบ สวัสดิการบนฐาน คณะกรรมการจังหวัด องคกรการเงินชุมชน ๙๑๒คน ตนกลาจังหวัด ตนกลาตําบลตนแบบ ๒๒๘คน ๕.บทบาทตนกลา ๓.การบริหารจัดการกองทุนฯ คุณธรรม และแผนงาน ๓ เดือน -ความพอเพียง กองทุนสวัสดิการชุมชน -ระบบฐานขอมูล
13
สวนที่ 2: กรณีศกึ ษาพืน้ ทีร่ ปู ธรรมสวัสดิการระดับจังหวัด
14
สวัสดิการชุมชน จังหวัดพะเยา “กวานพะเยาแหลงชีวติ ศักดิส์ ทิ ธิพ์ ระเจาตนหลวง บวงสรวงพอขุนงำเมือง งามลือเรือ่ งดอยบุษราคัม” ในป 2550 -2551 จังหวัดพะเยามีกระบวน การขับเคลื่อนกองทุนสวัสดิการชุมชนในพื้นที่ ทัง้ หมด 15 ตำบล ซึง่ มีเกณฑการคัดเลือกตำบล เปนพืน้ ทีท่ เี่ คยขับเคลือ่ นงานดานพัฒนาชุมชนเขม แข็งมากอน และมีฐานแกนนำ/องคกรชุมชนที่ ทำงานมาแลวหลายป สงผลใหมกี ารจัดตัง้ กองทุน สวัสดิการชุมชน 32 ตำบล และในป 2552 เพิม่ อี ก 15 ตำบล รวมเป น 47 ตำบลในป จ จุ บั น กระบวนการขับเคลือ่ นสวัสดิการชุมชนอยบู นฐาน งานเดิมที่มีอยูแลว และอาศัยหลักเกณเบื้องตน เชน กลไกของคณะกรรมการในพืน้ ทีห่ รือจำนวน สมาชิกชวยพิจารณากองทุนสวัสดิการทีเ่ ขามารวม ป 2552 จังหวัดพะเยาไดเขารวมโครงการ สนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน ภายใตงบประมาณ โครงการไทยเข ม แข็ ง ที่ ส นั บ สนุ น เรื่ อ งการจั ด สวัสดิการชุมชนทั้งประเทศจำนวน 727.3 ลาน บาท ที่เนนกระบวนการมีสวนรวมในการบริหาร
จั ด การกองทุ น สวั ส ดิ ก าร ภายใต แ นวคิ ด การ ทำงาน “ภาคราชการ : องคกรปกครองสวน ทองถิน่ : ภาคประชาชน” ทีต่ อ งเปนผขู บั เคลือ่ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนให อ อกดอกผล และมี พั ฒ นา สังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดเปนกอง เลขาหรือคอยอำนวยในการพัฒนาระบบใหเกิด ความยัง่ ยืนและประสานงานรวมกัน ทัง้ นีไ้ ดมกี าร รวมพัฒนายุทธศาสตรระดับจังหวัดทีเ่ ปนหลักการ สำคัญ ดังนี้ 1. ใหชุมชนทองถิ่นเปน “เจาของกองทุน สวัสดิการ” บริหารจัดการโดยชุมชน 2. หนุนเสริมใหเกิดการเชื่อมโยงเปนกลไก การขับเคลือ่ นระดับจังหวัด 3. พัฒนาสวัสดิการชุมชนรวมกับหนวยงาน ภาคี และขบวน ศจพ.จังหวัด 4. เปลี่ ย นการทำงานให ชุ ม ชนเป น หลั ก หนวยงานใหการสนับสนุน
15
5. เชือ่ มโยงและบูรณาการกองทุน/ทุนตางๆ ที่มีอยูในชุมชนทองถิ่น ใหเปนกองทุนสวัสดิการ ชุมชนทองถิน่ โดยการรวมทุนชุมชน ทุนทองถิน่ และทุนจากสวนกลาง 6. บูรณาการการพัฒนาชุมชนเขมแข็ง โดย มีสวัสดิการเปนเครื่องมือ และสภาองคกรชุมชน เปนกลไก
เปาหมายสวัสดิการชุมชนคนพะเยา จากการจัดสวัสดิการชุมชนคนพะเยาที่ผาน มาจนถึงปจจุบนั มีจดุ มงุ หวังเพือ่ ใหเกิดระบบการ จัดสวัสดิการพื้นฐานโดยชุมชนเปนหลักดูแลรวม กับทองถิ่น รวมถึงสังคมที่มีความเอื้ออาทรและ
หวงใยกัน “ภายใตแนวคิดสังคมไมทอดทิง้ กัน” ที่ผานมากระบวนการสวัสดิการสังคมไดเขาไป ประสานใหเกิดความรวมมือในการทำงานดาน อื่นๆ อาทิ การเกษตร ทรัพยากรสิ่งแวดลอม เปนตน แสดงถึงการเขาไปในกระบวนการตางๆ อย า งเป น กลไกเครื อ ข า ย ภายใต เ ครื อ ข า ย สวัสดิการจังหวัดพะเยา ทั้งนี้ทิศทางตอไปของ โครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน คื อ การประสานความรวมมือและเปนเจาของรวมกัน อยางมีการพัฒนาและคอยเปนคอยไป ชุมชนเปน แกนหลั ก ในการดำเนิ น การ โดยมี แ ผนที่ นำทาง คือ
Road Map สวัสดิการชุมชนทองถิ่น ป 50 - 54 งบสวัสดิการ 3,000 ลานบาท ป 50 500
พม. 300
การสงเคราะห
ป 51 500
ขบวน 200
ป 52 800
- 2 แสน/จังหวัด
- 55,000 /ตําบล
เกิด แก เจ็บ ตาย
16
ป 53
สวัสดิการสาม -พม. -ทองถิ่น -ขบวนชาวบาน
ป 54
สวัสดิการ 3 ประสาน (จังหวัดพะเยา) : “ภาคราชการ : องคกรปกครองสวนทองถิน่ : ภาคประชาชน” แนวทางการเคลือ่ นสวัสดิการจังหวัดพะเยา 1 จังหวัดพะเยามีแนวทางการขับเคลื่อนงาน สวัสดิการชุมชนสวัสดิการสังคมสูความยั่งยืน 3 ประสาน ดังนัน้ ขบวนการเคลือ่ นสวัสดิการภายใต การดำเนิ น งานของโครงการสนั บ สนุ น การจั ด สวัสดิการชุมชน จึงมงุ เนนทิศทางดังตอไปนีเ้ พือ่ ไปสจู ดุ หมายสวัสดิการสังคมอยางยัง่ ยืน โดยเปน แนวทางการดำเนินงานเรื่องสวัสดิการสังคมแนว ทางหลัก จากการสั ม ภาษณ พั ฒ นาสั ง คมและความ มั่นคงของมนุษยจังหวัดพะเยา2 ไดกำหนดแนว ทางการประสานและความรวมมือ คือเนนกลไก ความรวมมือของคณะกรรมการฯ ระดับจังหวัดใน การประชุมเพือ่ ประสานความรวมมือในงานภารกิจ โดยตรงของหนวยงานและจะเสริมทีมงานชุดเล็ก เปนทีมสหวิทยาการในการติดตามและสนับสนุน พืน้ ที่ (เนนทีมทีม่ าจากทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน องคกร ปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาชน) และมี การปฏิบัติงานในพื้นที่อยางตอเนื่องอยางนอย 2 เดือน/ครัง้ และเสริมสรางความรวมมือกับสถาบัน การศึกษา นักวิชาการในการพัฒนาฐานขอมูล การจั ด สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน การถอดองค ค วามรู งานวิจัยและถอดบทเรียน ซึ่ ง ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด
พะเยามีทีมงานจากมหาวิทยาลัยนเรศวรพะเยา และมหาวิทยาลัยพายัพเชียงใหม เปนภาคีรวม เปนตน รวมถึงเปนการกระตนุ หนุนเสริม การทำงาน ที่ ผ า นมา พมจ. ภายใต พ.ร.บ. ส ง เสริ ม การ จัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 ซึง่ จังหวัดมีกลไก ทีเ่ ปนคณะกรรมการ และงบประมาณทีเ่ ปนกองทุน สงเสริมการสวัสดิการสังคม จะเปนเครื่องมือที่ สำคัญในการดำเนินงานรวมกับโครงการสวัสดิการ ชุ ม ชนเพื่ อ ให บ รรลุ ก ารจั ด สวั ส ดิ ก าร คื อ ให มี การบูรณาการกลไกของคณะกรรมการ กสจ. โดย ใหมีเครือขายกองทุนสวัสดิการชุมชนเปนคณะ กรรมการ เพื่อสามารถผลักกันนโยบายและงบ ประมาณกองทุนในการพัฒนาระบบสวัสดิการ ชุมชนใหมีความเข็มแข็ง และพัฒนาการทำงาน เรื่องสวัสดิการกับกลุมผูดอยโอกาสที่เปนผูไดรับ ผลกระทบจากเอดส บุคคลไรสญ ั ชาติ คนพิการ ยากไร หรื อ บุ ค คลเร ร อ น และอื่ น ๆ ซึ่ ง เป น ประชาชนในพืน้ ทีต่ ำบลทุกพืน้ ทีส่ ามารถเขารวมได ทัง้ นีจ้ งั หวัดพะเยา ภาครัฐ : องคกรปกครองสวน ทองถิน่ : ภาคประชาชน ไดกำหนดทิศทางรวมกัน ดังนี้
สัมภาษณ ครูมกุ ดา อินตะสาร ทีป่ รึกษาสวัสดิการสังคมจังหวัดพะเยา และคณะอนุกรรมการโครงการสนับสนุนการ จัดสวัสดิการชุมชน 5 มกราคม 2553 2 การสัมภาษณ พัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยจงั หวัดพะเยา โดยการประสานงานผานคุณราณี วงคประจวบ ลาภ เจาหนาที่ พมจ. พะเยา วันที่ 5 มกราคม 2553 1
17
- สงเสริมและพัฒนากลไกคณะกรรมการ สนั บ สนุ น การจั ด สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนท อ งถิ่ น และ คณะอนุกรรมการสวัสดิการชุมชนทองถิ่นในการ ขับเคลือ่ นและขยายผลการดำเนินงาน - พั ฒ นายกระดั บ องค ค วามรู ก ารพั ฒ นา สวั ส ดิ ก ารที่ ห ลากหลายและศั ก ยภาพพื้ น ที่ สวัสดิการชุมชน - ประสานความรวมมือกับหนวยงานภาคี ทั้งในระดับสวนกลางและพื้นที่ ในการสนับสนุน สงเสริมการพัฒนาและขยายผลการจัดสวัสดิการ ชุมชนทองถิน่ - พั ฒ นาระบบการติ ด ตามการรายงาน ผลการดำเนิ น งาน งานข อ มู ล ให ส ามารถ
สนับสนุนการทำงานใหกับระบบสวัสดิการชุมชน ทุกระดับ - ประสานและเชือ่ มโยงแผนพัฒนาสวัสดิการ ชุ ม ชนท อ งถิ่ น ในแต ล ะพื้ น ที่ ใ ห เ ป น แผนพั ฒ นา ทองถิน่ ดังนั้นขบวนสวัสดิการสังคมจังหวัดพะเยา จึงเปนสวัสดิการสังคม 3 ประสาน หรือสวัสดิการ สังคม 3 ขา ที่มีการประสานงานและมีทิศทาง ในการพั ฒ นาไปพร อ มกั น อย า งยั่ ง ยื น และเป น ระบบอยางแทจริง “ภายใตแนวคิดสวัสดิการ คนพะเยา พวกเราไมทอดทิง้ กัน”
ขอมูลสวัสดิการสังคมจังหวัดพะเยา การขับเคลื่อนงานสวัสดิการชุมชนชุมชนจังหวัดพะเยาเริ่มดำเนินการตั้งแตป 2548 โดยมี คณะทำงานสงเสริมสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชนของจังหวัดเปนผขู บั เคลือ่ นในการจัดตัง้ ซึง่ เริม่ ปแรกมีการจัดตัง้ เพียง 1 ตำบล เพือ่ เปนตำบลตนแบบทีน่ ำผลการดำเนินงานมาเปนบทเรียน ณ ปจจุบันมีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนใน จ.พะเยาแลว รวม 47 ตำบล และใน ป 2553 คณะทำงานจึงมีการกำหนดแผนในการขยายพื้นที่การจัดตั้งใหม พัฒนากองทุนที่ จัดตัง้ แลว การเชือ่ มโยงการทำงานกับภาคีตา งๆ การจัดระบบขอมูล และการประชาสัมพันธงาน สวัสดิการชุมชน
18
สวัสดิการชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช “เมืองประวัตศิ าสตร พระธาตุทองคำ ชืน่ ฉ่ำธรรมชาติ แรธาตุอดุ ม เครือ่ งถมสามกษัตริย มากวัดมากศิลป ครบสิน้ กงุ ปู” จ.นครศรีธรรมราชเมืองมากดวยวัฒนธรรม และความอุดมสมบูรณ และการชวยเหลือเกือ้ กูล กันจนพัฒนาเปนเครือขายทางสังคมหรือเครือขาย องคกรชุมชน ซึ่งไดฟนฟูระบบสวัสดิการชุมชน เพือ่ ใหสามารถเปนหลักประกันความมัน่ คงในการ ดำรงชีวติ บนฐานของการพึง่ ตนเอง การชวยเหลือ เกื้ อ กู ล กั น และกั น ของคนในชุ ม ชน โดยคนใน ชุมชนสามารถดูแลกันเองไดอยางทัว่ ถึง ในชวงป 2547-2549 รัฐบาลไดเล็งเห็น ความสำคัญในการจัดระบบสวัสดิการชุมชนทองถิน่ ในป 2549 ไดสนับสนุนการพัฒนาสวัสดิการชุมชน ใน 8 พืน้ ที่ (ตำบล) ผานกลไกศูนยประสานงาน เครือขายองคกรชุมชน ภาคประชาชน สนับสนุน การตอสูเพื่อเอาชนะความยากจน (ศตจ.ปชช.) และเกิดการขับเคลือ่ นงานสวัสดิการชุมชนเพือ่ ให เกิดความยัง่ ยืนอยางตอเนือ่ ง ป3 2550 ถึงปจจุบัน ไดขยายพื้นที่ปฏิบัติ การเปน 20 ตำบล และเกิดการยกระดับสวัสดิการ ชุมชนสูนโยบายการจัดสวัสดิการสังคม โดยมี เปาหมายเพื่อขยายใหครอบคลุมทุกตำบลของ จังหวัดนครศรีธรรมราช ในป 2553 อยางเปน รูปธรรม การดำเนินงานที่ผานมา ไดเกิดการ 3
ทำงานที่เปนรูปธรรม โดยอาศัยหลักการ การ ประสานพลัง สามประสาน คื อ ภาครั ฐ ภาค ประชาชน และองค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น รวมถึงโครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชนที่ กำลังดำเนินการ ภายใตงบประมาณ 727.3 ลานบาท นั้ น ยิ่ ง เห็ น แนวทางการดำเนิ น งานและการ ประสานงานกั น มากขึ้ น อย า งชั ด เจน นั บ เป น ปรากฎการณหนึ่งที่เปนการผลักดันกระบวนการ สวัสดิการชุมชน
ยุทธศาสตรสวัสดิการสูแนวทาง ปฏิบตั ิ ผลัก : ขับเคลือ่ น : ประสาน การดำเนินภายใตแนวทางและโครงสราง 3 ประสาน และจัดสวัสดิการชุมชนทองถิ่น เปน การวางแผนและแนวทางไปสกู ารสรางความมัน่ คง ในชีวิตที่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วทั้งจังหวัดนั้น เพื่อ พัฒนาขบวนสวัสดิการจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งแตละทองถิ่นอาจมีระบบและรูปแบบที่หลาก หลายตามความตองการที่สอดคลองกับวิถีชีวิต ของชุมชน แตสามารถสรุปหลอมรวมกลายเปน ยุทธศาสตรทสี่ ำคัญได ดังนี้
สัมภาษณ คุณสงา ทองคำ ประธานเครือขายสวัสดิการชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช
19
ÙèąÖøøöÖćøÿüĆÿéĉÖćøÝĆÜĀüĆé
Ăðì. (Ăïê. ĂïÝ. ÝĆÜĀüĆé)
õćÙøĆå (Ăćìĉ óöÝ,) ñĎšÿîĆïÿîčî
ÙčèÖøøöÖćøÿüĆÿéĉÖćøÿĆÜÙö đ×ê (đ×êúčŠöîĚĞć)
ñĎšĂĞćîü÷Öćø
ÙèąÖøøöÖćøÿüĆÿéĉÖćøÿĆÜÙö øąéĆïêĞćïú õćÙðøąßćßî õćÙðøąßćÿĆÜÙö ñĎšðãĉïĆêĉ
ÖćøÝĆéÖćø 3 øąéĆï
3 ðøąÿćî
ēÙøÜÖćøÿîĆïÿîčîÖćøÝĆéÿüĆÿéĉÖćøßčößî Ý.îÙøýøĊíøøöøćß
ÙèąÖøøöÖćø ÖúĆîę ÖøĂÜÿüĆÿéĉÖćø
ÙèąÖøøöÖćøÿîĆïÿîčî ÖćøéĞćđîĉîÜćîÿüĆÿéĉÖćøÿĆÜÙö
1. สงเสริมกระบวนการมีสว นรวม ภาคีภาค รัฐฯ ภาคประชาชน ชุมชนทองถิ่น เปนเจาของ มีการบริหารจัดการโดยชุมชน 2.ส ง เสริ ม การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ของคน องคกรและภาคีการทำงานที่ “หนวยงานสวนกลาง” เปนหลักและเปนการ “สงเคราะห” เฉพาะกลุม องคกร มาเปนการดำเนินงานโดยชุมชนเปนหลัก 3.ใชการจัดสวัสดิการเปนเครื่องมือในการ พัฒนาคน/ชุมชนทองถิน่
20
ÙèąÖøøöÖćøêĉéêćö ðøąđöĉîñúÿüĆÿéĉÖćøÿĆÜÙö
เปาหมายสวัสดิการชาวนครศรีฯ สู ค วามเป น จริ ง ภายใต โ ครงการ สนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน จากยุ ท ธศาสตร ก ารขั บ เคลื่ อ นงาน และ ขบวนการ 3 ประสาน 3 ระดับ เปาหมายแผนการ ปฏิบตั กิ ารสวัสดิการชุมชนทองถิน่ ป 2551 – 2553 จึงมีความชัดเจนมากขึน้ และเพือ่ กำหนดทิศทาง ไวอยางชัดเจนและเปนรูปธรรมในการพัฒนาการ
ทำงานเรื่องสวัสดิการชุมชนตอไป มุงเนนการ ดำเนินการเพือ่ ใหเกิดระบบโครงขายคมุ ครองทาง สังคม ใหเกิดคุณภาพเปนการสรางความรู ความ สามารถ เกิดกลไกการจัดการสวัสดิการพัฒนารวม กันของชุมชนทองถิน่ พัฒนาความรใู หเกิดรูปแบบ การจัดการทีช่ มุ ชนมีสว นรวม ใหเกิดการพัฒนาที่ ตอเนือ่ งยัง่ ยืน หรือ 5 เกิด 1. เกิดการจัดระบบสวัสดิการพืน้ บานโดย ชุมชนเปนหลักในการดูแลรวมกับทองถิน่ 2. เกิดการฟนระบบความสัมพันธ ความ
เ อื้ อ อ า ท ร ข อ ง สั ง ค ม ใ ห เ กิ ด ก า ร ดู แ ล แ ล ะ ชวยเหลือซึง่ กันและกัน 3. เกิดการขยายผลการจัดสวัสดิการในรูป แบบที่หลากหลาย 4. เกิ ด กลไกการจั ด สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนใน ทุกระดับ ชุมชน/ตำบล/จังหวัด 5. เกิดการเชื่อมโยงแผนพัฒนาสวัสดิการ รวมกับแผนทองถิ่นอยางบูรณาการ สวัสดิการ ชุมชนคนนครศรีฯ คงยั่งยืนและเปนไปตามแผน ทีต่ งั้ ไว สสู งั คมนครศรีธรรมราชคนไมทอดทิง้ กัน
ĒñîÜćîđðŜćĀöć÷ÖćøðäĉïĆêĉÖćøÝĆÜĀüĆéîÙøýøĊíøøöøćß ðŘ 2549 8 êĞćïú
ðŘ 2550 20 êĞćïú
ðŘ 2551 46 êĞćïú
ðŘ 2552 49 êĞćïú
“จังหวัดนครศรีธรรมราช สวัสดิการชุมชน คนไมทอดทิง้ กัน”
21
ðŘ 2553 49 êĞćïú
สวัสดิการชุมชน จังหวัดสงขลา “หุนสวนทางสังคม เปนมากกวาการใหกับการรับ แตเปนการรวมแรง และรวมใจ เพือ่ สรางสรรคระบบสวัสดิการเพือ่ ชุมชนและเปนของชุมชนทุกคน”
สวัสดิการเปนสิ่งที่ทุกคนจะตองเขาถึงและ จะตองไดรบั 4 เนือ่ งจากเปนสิทธิพนื้ ฐานทางสังคม การมีสวัสดิการเปนการสรางหลักประกันเพือ่ ความ มั่นคง และความเปนอยูที่ดีขึ้นของคนในสังคม การจั ด สวั ส ดิ ก ารในสั ง คมยั ง ไม ค รอบคลุ ม และ ไมทวั่ ถึง โดยเฉพาะอยางยิง่ ชาวไร ชาวนา แมคา รายยอย แรงงานนอกระบบในชนบท ยังขาด สวัสดิการ หรือที่มีอยูก็ยังไมเพียงพอและยังไม ทัว่ ถึง ทำใหระบบสวัสดิการเปนการพึง่ ตนเองใน ระบบครอบครัวและญาติพนี่ อ ง จากสถานการณ ดั ง กล า ว จึ ง ส ง ผลผลั ก ดั น ให ภ าคประชาชน ตองชวยเหลือตนเอง โดยการจัดสวัสดิการภาค ประชาชนขึน้ เอง ทีผ่ า นมา ชุมชนจากหลายพืน้ ทีใ่ น จ.สงขลา มีการจัดสวัสดิการชุมชน โดยนำดอกผลจากกลมุ องค ก รการเงิ น ชุ ม ชนมาจั ด ตั้ ง เป น กองทุ น สวัสดิการ ตอมาครูชบ ยอดแกว ผนู ำแนวคิด กองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน ได ท ดลองโครงการ ออมทรัพยวันละ 1 บาทที่โรงเรียนวัดน้ำขาวใน เมื่ อ ป พ.ศ. 2522 เพื่ อ แก ป ญ หาเด็ ก นั ก เรี ย น ที่ไมมีอาหารกลางวันกิน และไมมีชุดนักเรียนใส 4
และแกปญ หาหนีส้ นิ ใหกบั ครูไดในระดับหนึง่ ทำให ในโรงเรียนวัดน้ำขาวในมีกองทุนสวัสดิการจากการ ออมทรัพยวันละ 1 บาทสำเร็จ ป พ.ศ. 2526 ถูกเรียกรองจากคนในชุมชนตำบลน้ำขาวทีป่ ระสบ ปญหาความยากจน จึงไดคิดทดลองโครงการ กลุมสัจจะออมทรัพยแบบพัฒนาครบวงจรชีวิต 11 กลมุ ทัง้ 11 หมบู า นของตำบลน้ำขาว โดยมี หลักเกณฑวา ไดกำไรมาเทาใด 50% ปนผลตาม ผูถือหุน 50% ตั้งกองทุนเพื่อจัดสวัสดิการใหแก สมาชิ ก ป จ จุ บั น มี ก ลุ ม เพิ่ ม ขึ้ น เป น 21 กลุ ม ประสบความสำเร็จ จากประสบการณทผี่ า นมาถึง ปจจุบนั ไดพบวา กลมุ องคกรการเงินสวนใหญให ความสำคัญในเรือ่ งกองทุนสวัสดิการนอย มักเนน ในเรื่องการปนผล อีกทั้งจากประสบการณการ ตัง้ กลมุ ออมทรัพย พบจุดดอยคือ มีการกยู มื เงิน มาก การจัดสวัสดิการของกลุมตองใชเวลาเนื่อง จากตองรอใหมีเงินสวัสดิการที่มากพอ ซึ่งสวน ใหญใชเวลาอยางนอย 1 ป จากเหตุผลดังกลาว จึงมีการพัฒนาแนวคิดและนวัตกรรม เกิดการ ดำเนินงานสัจจะลดรายจายวันละ 1 บาท เพื่อ ทำกองทุนสวัสดิการชุมชน
สัมภาษณ คุณโมขศักดิ์ ยอดแกว และผทู เี่ กีย่ วของ 5 มกราคม 2553
22
แนวคิดสัจจะลดรายจายวันละ 1 บาท เพือ่ ทำกองทุนสวัสดิการชุมชน 30% úÜìčîüĉÿćĀÖĉÝ * íčøÖĉÝßčößî ÖćøýċÖþć
ÿĆÝÝąüĆîúą 1 ïćì ìĞćÿüĆÿéĉÖćø 100%*
20% đðŨîÖĂÜìčî
50% ÝŠć÷ÿüĆÿéĉÖćø 9 đøČęĂÜ
đÖĉé ĒÖŠ đÝĘï êć÷ ìčîÖćøýċÖþć ÙîéšĂ÷ēĂÖćÿ ÿüĆÿéĉÖćøÙîìĞćÜćî ÿüĆÿéĉÖćøđÜĉîÖĎš ÿüĆÿéĉÖćøđÜĉîòćÖêć÷ÝŠć÷ĔĀš
จากกระแสความตองการของภาคประชาชน ทีต่ อ งการสวัสดิการภาคประชาชน ตลอดจนความ เห็นพองตองกันของทุกภาคสวนในจังหวัดสงขลาที่ จะขับเคลื่อน “โครงการสัจจะลดรายจายวันละ 1 บาท เพือ่ ทำกองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสงขลา” ใหเปนนโยบายสาธารณะภายใตแผนยุทธศาสตร การพัฒนาของจังหวัดสงขลา ภาคสวนตางๆ ทัง้ พัฒนาสังคมจังหวัด องคกรปกครองสวนทองถิน่ และผนู ำชุมชนแกนนำชาวบาน ผแู ทนภาคประชา สังคม ตางใชแนวทางกองทุนสัจจะลดรายจายวัน ละ 1 บาท เพื่อทำกองทุนสวัสดิการชุมชนสราง การบริ ห ารจั ด การแบบมี ส ว นร ว มเพื่ อ ขบวน สวัสดิการสังคมคนสงขลา จนเกิดเปนรูปธรรม ไดถกู กำหนดเปนนโยบายภายใตแผนยุทธศาสตร การพั ฒ นาจั ง หวั ด สงขลา และมี ก ารแต ง ตั้ ง คณะกรรมการ (คำสัง่ จังหวัดสงขลาที่ 223/2548) ซึง่ มีผลใหเกิดความรวมมือในการเขารวมเปนภาคี ของโครงการ ทั้งจากหนวยงานราชการ และ องคกรปกครองสวนทองถิน่ คือ องคการบริหาร สวนตำบล และองคการบริหารสวนจังหวัด นับเปน ปลายทางหนึง่ เทานัน้
ณ ปจจุบนั โครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการ ชุมชน ซึ่งเปนการตอบสนองการจัดสวัสดิการ สังคมในประเทศไทยใหเกิดความเข็มแข็ง เพิ่ม ระบบสวั ส ดิ ก ารเป น การให อ ย า งมี คุ ณ ค า และ รับอยางมีศักดิ์ศรี ภายใตโครงการไทยเขมแข็ง 727.3 ลานบาท ยิ่งเปนเสมือนหนึ่งเครื่องมือใน การสรางการประสานงานใหเกิดความแนบแนน มากขึ้ น ทั้ ง ภาครั ฐ ภาคประชาชน และภาคี ชาวบาน ขบวนสวัสดิการ รวมถึงพัฒนากลไก รูปแบบที่มีความชัดเจนในการบริหารงานในการ บริหารงานโครงการดังกลาว โดยใชโครงสราง มูลนิธิ ดร.ครูชบ-ปราณี ยอดแกว ทีเ่ ปนรูปแบบ ที่รวมทั้งผูแทนประชาชน ภาครัฐ และองคกร ปกครองสวนทองถิ่น (เขามาบริหารงานและจัด ขบวนจังหวัดเพือ่ จัดการรูปแบบดังกลาว) แสดงถึง ความรวมไมรวมมือและการกาวไปขางหนาของ ทุ ก ส ว นอย า งหนั ก แน น มากขึ้ น เพราะมุ ง หวั ง สิ่งเดียวกันคือ “หุนสวนสวัสดิการสังคมเพื่อ ชุมชนชาวสงขลา”
23
ขอมูลสวัสดิการสังคม จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา มี 107 ตำบล 33 เทศบาล รวม 140 อปท. ขณะนีไ้ ดรว มจัดตัง้ กองทุนสัจจะ ลดรายจายวันละ 1 บาทฯ แลว 101 ตำบล 31 เทศบาล รวม 132 กองทุนฯ มีสมาชิกเขารวม โครงการฯ จำนวน 123,480 คน มีการจัดสวัสดิการ 9 เรือ่ ง (เกิด เจ็บ ตาย อืน่ ๆ) ไปแลวเปนเงิน 34,117,447 บาท เหลือเงิน กองทุน จำนวนเงิน 64,173,328 บาท ไดรบั สมทบจากสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน จำนวนเงิน 7,400,000 บาท จากองคกรปกครองสวนทองถิน่ จำนวนเงิน 468,000 บาท (ขอมูล ณ 16 พ.ย.52) มีการจดทะเบียนเปนสมาคมสวัสดิการภาคประชาชนสงขลาเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2549 มีการ ประชุมคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ทุกวันที่ 9 ของเดือน และประชุมตัวแทนตำบล/เทศบาล ทุกวันที่ 16 ของเดือน ในจังหวัดสงขลามีหุนสวนสนับสนุนสวัสดิการชุมชน 1/1/1/ คือจาก รัฐบาล องคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคประชาชน การจัดสวัสดิการชุมชนจังหวัดสงขลานำไป สกู ารเกิดสังคมดี คนมีความสุข และเปนหนุ สวนทางสังคม
ĀčšîÿŠüîìćÜÿĆÜÙö
đÙøČĂ׊ć÷ÿĆÝÝąúéøć÷ÝŠć÷üĆîúą 1 ïćìđóČęĂìĞćÿüĆÿéĉÖćøõćÙðøąßćßîÿÜ×úć ÖĂÜìčîêĞćïú/đìýïćú
đÙøČĂ׊ć÷ÝĆÜĀüĆé
ÜïïøĉĀćøÝĆéÖćøÖúčŠö/đÙøČĂ׊ć÷
öĎúîĉíĉ éø. ÙøĎßï-ðøćèĊ
ÖøøöÖćø ÿöćÙöÿüĆÿéĉÖćø ĂĞćđõĂ õćÙðøąßćßîÝĆÜĀüĆé
đÙøČĂ׊ć÷ÝĆÜĀüĆé 50 ïćì:1,500 ïćì
ÖøøöÖćø ÖĂÜìčîÿüĆÿéĉÖćøêĞćïú ÿĆÝÝąúéøć÷ÝŠć÷ ìĞćïčâ 1 ïćì
3.3 ÖĂÜìčîÿüĆÿéĉÖćøêĞćïú ÿĆÝÝąúéøć÷ÝŠć÷ìĞćïčâ 1 ïćì
ÖúčŠö÷ŠĂ÷ 1 êŠĂ 50
130 µ :1,50
ĀöĎŠïšćî
8.7
®¤¼n oµ
ÿöćßĉÖ 5
nµ¤µ · Á º° ¨³ 1 µ
ÿöćßĉÖ
Model จากเอกสารประกอบตนกลาสวัสดิการชุมชน ภีม ภควเมธี และ ทิพวัลย สีจนั ทร
24
5
สวัสดิการชุมชน จังหวัดรอยเอ็ด กอราง สรางขาย ขยายกองทุนสวัสดิการชุมชน สวัสดิการชุมชนจังหวัดรอยเอ็ดเริ่มตนจาก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุ ษ ย มี น โยบายการจั ด ตั้ ง กองทุ น สวั ส ดิ ก าร สำหรับผสู งู อายุ โดยพัฒนาสังคมและความมัน่ คง ของมนุษยจงั หวัดรอยเอ็ด (พมจ.) จัดทำโครงการ เสนองบประมาณเพื่อสนับสนุนการจัดตั้งกองทุน สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ร อ ยเอ็ ด ซึ่ ง ขณะนั้นในชุมชนมีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ รูปแบบอืน่ อยกู อ นหนานัน้ แลว 24 กองทุน เชน กองทุ น สวั ส ดิ ก าร ต.อาจสามารถ จ.ร อ ยเอ็ ด โดยมีนางโพสพ โพธิ์บุปผา เปนแกนนำการ จัดตั้งกองทุนจากเงินกำไรการดำเนินงานกองทุน หมู บ า นและชุ ม ชนเมื อ ง (กองทุ น เงิ น ล า น) และกองทุนสวัสดิการ ต.หินกอง อ.สุวรรณภูมิ จ.รอยเอ็ด โดยมีนางทองเพชร แสงสงค เปน แกนนำในการจัดตัง้ กองทุนสวัสดิการ ดำเนินการ โดยองคกรการเงิน เปนตน ในป พ.ศ.2548 แกนนำชาวบ า นร ว มกั บ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด รอยเอ็ดศึกษาดูงานการจัดการกองทุนสวัสดิการ ตำบลน้ำขาว (ออมวันละ 1 บาท) อ.เมือง จ.สงขลา โดยมีนายชบ ยอดแกว เปนแกนนำการจัดตั้ง กองทุน ทำใหแกนนำชาวบานและ พมจ. ที่มี แนวคิ ด ในการจั ด สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนในจั ง หวั ด ร อ ยเอ็ ด ร ว มกั น โดยเริ่มจากการพัฒนาความ เข ม แข็ ง กองทุ น สวั ส ดิ ก ารระดั บ ตำบลด ว ยการ
พูดคุย แลกเปลี่ยน การเปดเวทีชวนคิดชวนทำ เรียนรูรวมกันในชุมชน ซึ่งวิธีการดังกลาวทำให ชาวบานสามารถบอกปญหาและความตองการที่ แท จ ริ ง ได จากนั้ น จึ ง มี ก ารจั ด เวที แ ลกเปลี่ ย น ระดับจังหวัดโดยเชิญตัวแทนทุกตำบลในจังหวัด รอยเอ็ด ประกอบดวย องคการบริหารสวนตำบล (อบต.) ผนู ำชุมชน แกนนำชาวบาน เขารวมแลก เปลีย่ นประสบการณ ใชนโยบายการแกไขปญหา ความยากจนของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย เปนเครื่องมือในการเชิญ หนวยงานราชการและสวนที่เกี่ยวของเขารวม เช น พัฒนาชุมชน เทศบาล องคการบริหาร สวนจังหวัด การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอั ธ ยาศั ย และศู น ย พั ฒ นาสั ง คมประจำ จังหวัด ทั้งนี้ยังจัดตั้งหนวยงานราชการดังกลาว เปนทีป่ รึกษา และจัดตัง้ องคการบริหารสวนตำบล เปนกองเลขานุการกองทุนสวัสดิการ เพื่อหนุน เสริมขบวนกองทุนสวัสดิการชาวบานใหเกิดความ ยืดหยุนในการทำงาน โดยมีชาวบานเปนแกน หลักในการรวมคิด รวมทำ และผลักดันใหเกิด กองทุนสวัสดิการชาวบานระดับจังหวัดขึน้ ภายหลังเวทีแลกเปลี่ยนมีผูแจงความจำนง เขารวมโครงการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชน จำนวน 17 ตำบล ประกอบดวย อ.เมือง 14 ตำบล อ.จังหาร 2 ตำบล และ อ.อาจสามารถ 1 ตำบล แล ว จึ ง มี ก ารจั ด เวที ส ร า งความเข า ใจเรื่ อ งการ
25
จั ด การกองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน โดยแกนนำ ชาวบ า นเป น ผู นำเสนอการดำเนิ น การกองทุ น สวัสดิการรูปแบบตางๆ พรอมทั้งแลกเปลี่ยนและ วางแผนการดำเนินงานระดับตำบลทัง้ 17 ตำบล ซึง่ การจัดเวทีแลกเปลีย่ นทัง้ ระดับจังหวัดและระดับ ตำบลไดรบั งบประมาณสนับสนุนจาก พมจ. หลั ง จากที่ มี ก ารจั ด ตั้ ง กองทุ น สวั ส ดิ ก าร ชุมชนจากการสนับสนุนงบประมาณโดย พมจ. ทั้งหมด 24 ตำบล จึงมีการขยายแนวคิดไปยัง พื้นที่ตำบลอื่น โดยไดรับงบประมาณสนับสนุน จากสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน) มีการจัดระบบกองทุนสวัสดิการชาวบานระดับ จังหวัด โดยแบงโซนการรับผิดชอบ 5 โซนๆ ละ 4 อำเภอ แตละโซนมีตวั แทนประสานงาน 1 คน เพื่อติดตอประสานงานกับภาครัฐ เผยแพรขอมูล ทั้ ง ภายในและภายนอกโซน วิ เ คราะห แ ละ สั ง เคราะห ข อ มู ล สรุ ป บทเรี ย น และขยายผล กองทุ น สวั ส ดิ ก ารให มี ค วามเข ม แข็ ง และเป น รูปธรรม ดานโครงสรางการจัดการระบบสวัสดิการ ชุมชน มีการคัดเลือกคณะกรรมการกลางระดับ จังหวัด จากตัวแทนตำบลตนแบบตำบลละ 2 คน เพือ่ ทำงานรวมกับตัวแทนประสานงานทัง้ 5 โซน โดยมี ก ารแบ ง บทบาทหน า ที่ ก ารเป น วิ ท ยากร เชื่ อ มประสานเครื อ ข า ยและภาคี ภ าครั ฐ เพื่ อ ผลั ก ดั น เข า เป น แผนยุ ท ธศาสตร ร ะดั บ จั ง หวั ด เชื่อมประสานงานระดับตำบลเพื่อขยายแนวคิด และหนุนเสริมการขยายกองทุนสวัสดิการ พรอม ทั้งลงพื้นที่ทำความเขาใจกับชาวบานและจัดทำ รายงานความคื บ หน า ให ค ณะกรรมการระดั บ จั ง หวั ด รั บ ทราบเพื่ อ ดำเนิ น การต อ ไป ส ว น
26
คณะกรรมการกองทุ น สวั ส ดิ ก ารแต ล ะกองทุ น มีบทบาทในการสือ่ สารขอมูลสถานะของกองทุนให กับสมาชิก ทัง้ ขอมูลการจัดการและขอมูลเกีย่ วกับ ระเบี ย บ ข อ บั ง คั บ หรื อ นโยบายเกี่ ย วกั บ การ จั ด สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนจากภาครั ฐ โดยกองทุ น สวัสดิการตำบลจัดประชุมคณะกรรมการกองทุน วันที่ 15 ของทุกเดือน ด า นการขยายกองทุ น สวั ส ดิ ก ารจั ง หวั ด รอยเอ็ด ในป พ.ศ.2552 เกิดการจัดตั้งกองทุน สวัสดิการชุมชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดรอยเอ็ดทัง้ สิน้ 105 กองทุน (ตำบล) มีเงินหมุนเวียนกวา 65 ลานบาท และครอบคลุมการจัดสวัสดิการใหกบั ประชาชนใน พืน้ ทีก่ วา 1 แสนคน กองทุนสวัสดิการชุมชนที่ใชชาวบานเปน แกนหลัก ทำใหเกิดผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญในการ ดำเนิ น การคื อ กลุ ม ผู ด อ ยโอกาสในสั ง คมมี ชองทางในการเขาถึงสวัสดิการมากขึ้น โดยการ ดูแลจากกลุมชาวบานในชุมชน ซึ่งมีความเขาใจ ในบริบทของชุมชนตนเองเปนอยางดี เนื่องจาก ภาครัฐมีขอจำกัดดานงบประมาณและบุคลากร ซึ่งไมสามารถสรางความเขมแข็งใหกับกองทุน สวัสดิการทุกกองทุนอยางทัว่ ถึงได อีกทัง้ การผลัก ดันสวัสดิการระดับตำบลเปนยุทธศาสตรระดับ จังหวัด ถือวาเปนแนวการสรางยุทธศาสตรที่ใช ชุมชนเปนตัวตั้งที่ดีอีกแนวทางหนึ่ง เนื่องจาก ชุ ม ชนเป น ตั ว เชื่ อ มโยงการทำงานของภาครั ฐ หลายสวนใหสามารถทำงานแบบบูรณาการ เห็น ไดจากการรวมขยายกองทุนสวัสดิการชุมชนของ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด องคการบริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวน ตำบล และภาคีอนื่ เปนตน
ภาพรวมการขับเคลือ่ นสวัสดิการชุมชนจังหวัดรอยเอ็ด ¥» ¦·Á¦·É¤Â ª · µ¦ ´ ´Ê ° » ª´ · µ¦ »¤
¡¤. Ã¥ µ¥ ° » ª´ · µ¦ ¼o¼ °µ¥»
¡° .
¡¤ .
Ä ¦¼   ε µª oµ µ¦°°¤ ª´ · µ¦ ª´ · µ¦ ª´ ¨³ ° » Á · ¨oµ ° r ¦ µ¦Á · 1 . ¥» n°¦¼ ¨Å ° » ª´ · µ¦ »¤ ¦³ ´ ´ ®ª´
£µ nª ¸ÉÁ ¸É¥ª o° x ° . x ¡´ µ »¤ x Á « µ¨ x « .
¼o ε »¤
Áª ¸¦oµ ªµ¤Á oµÄ
e ¡.«.2548
³ ¦¦¤ µ¦ ¦³ ´ ´ ®ª´
´ ´Ê ° » o  24 ° »
¼o ¦³µ µ »¤ 5
³ ε µ ¦³ ´ ε ¨
¥» ¥µ¥Á ¦º° nµ¥ ª´ · µ¦ »¤ à 1
à 2
à 3
à 4
à 5
e ¡.«.2552 x 105 ° » x Á · ®¤» Áª¸¥ 64,542,653 µ x ¦° ¨»¤ ¦³ µ ¦ 98,965
ηϬ ϔ μ χ
ε ¨ Á ¦º° nµ¥
ηϬ ϔ μ χ
ε ¨ Á ¦º° nµ¥
27
ηϬ ϔ μ χ
ε ¨ Á ¦º° nµ¥
ε ¨ Á ¦º° nµ¥
สวัสดิการชุมชน จังหวัดราชบุรี ราชบุรี ดินแดนวัฒนธรรมลุมน้ำแมกลอง และสายหมอกแหงขุนเขาตะนาวศรี เปนจังหวัด หนึ่ ง ในภาคกลางด า นตะวั น ตกมี ภู มิ ป ระเทศ หลากหลายจากพื้ น ที่ราบต่ำ ลุ ม แมน้ำ แมกลอง อันอุดมดวยแหลงเพาะปลูกพืชผักผลไมเศรษฐกิจ นานาชนิดสพู นื้ ทีส่ งู ทิวเทือกเขาตะนาวศรีทอดตัว ยาวทางทิศตะวันตกจรดชายแดนไทย-พมา การขับเคลือ่ นการจัดสวัสดิการชุมชนจังหวัด ราชบุรเี ริม่ ดำเนินการตัง้ แตป พ.ศ. 2549 ปจจุบนั มีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนแลว จำนวน 59 ตำบล/เทศบาล มีสมาชิก รวม 21,022 ราย เงินกองทุนสวัสดิการ รวม 18,367,402.82 บาท แยกเปนเงินออมจากสมาชิก 15,307,402.82 บาท เงินสมทบจากหนวยงานอื่น 3,060,000 บาท สวัสดิการที่จัดไปแลว ไดแก สวัสดิการรับขวัญ เด็กเกิดใหม สวัสดิการเจ็บปวย สวัสดิการผสู งู อายุ สวัสดิการเสียชีวติ สวัสดิการการศึกษา สวัสดิการ เงิ น กู สวั ส ดิ ก ารคนทำงาน สวั ส ดิ ก ารผู ด อ ย โอกาส และสวัสดิการสาธารณประโยชน ในป 2553 จังหวัดราชบุรไี ดจดั สรรงบประมาณ สนับสนุนการสงเสริมการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ ชุมชนระดับตำบล โดยใชเงินจากกองทุนสงเสริม การจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดราชบุรี เปนเงิน 636,610 บาท ในพืน้ ทีใ่ หม 20 ตำบล และยังได ผลักดันใหโครงการการสงเสริมการจัดตั้งกองทุน สวัสดิการชุมชนเปนโครงการเชิงประเด็นของป งบประมาณ 2553 ในทีป่ ระชุมคณะอนุกรรมการ
28
ส ง เสริ ม การจั ด สวั ส ดิ ก ารสั ง คมจั ง หวั ด ราชบุ รี เพื่อขอเงินงบประมาณของกองทุนสงเสริมการ จั ด สวั ส ดิ ก ารสั ง คมจั ง หวั ด มาดำเนิ น การในป 2554 จำนวน 600,000 บาท เพื่อดำเนินการ ขับเคลือ่ นและขยายพืน้ ทีเ่ ปาหมายใหม สวนในเรือ่ งของการประสานงาน ทางพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด รวมกับ คณะกรรมการสงเสริมพัฒนาการจัดสวัสดิการ ชุมชนจังหวัดราชบุรี จัดประชุมชี้แจง เพื่อทำ ความเขาใจกับเทศบาลและองคการบริหารสวน ตำบลทุกแหง รวมไปถึงภาคประชาชน เพื่อให เกิดการทำงานในการขับเคลือ่ นการจัดตัง้ กองทุน สวัสดิการชุมชนใหเปนไปในแนวทางเดียวกันและ ใหเกิดความเขาใจแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในการสนับสนุนงบประมาณในการจัดตัง้ กองทุนฯ ทำใหการขับเคลือ่ นสวัสดิการชุมชนจังหวัดราชบุรี มีกลไกการทำงานในรูปของคณะทำงานสนับสนุน การขับเคลื่อนสวัสดิการชุมชนจังหวัด ซึ่ ง มี ทั้ ง ภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาค ประชาชน รวมกันกำหนดแนวทาง แผนงาน โดยประสานเครือขายกองทุนสวัสดิการ หนวย งานภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรปกครอง สวนทองถิ่น เพื่อบูรณาการการสงเสริมการจัด สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนร ว มกั น พร อ มทั้ ง พิ จ ารณา คุณสมบัติกองทุนสวัสดิการชุมชนที่จัดตั้งแลวที่ เสนอขอรับเงินสมทบกองทุนฯ และรวมกันติดตาม ประเมินผล และสงเสริมองคความรูเพื่อพัฒนา
กองทุ น ให มี ค วามเข ม แข็ ง และยั่ ง ยื น สามารถ จัดสวัสดิการใหกับคนในชุมชนได โดยลดการ พึ่งพาจากภาครัฐ ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได ก็ถอื วาการดำเนินงานในเรือ่ งสวัสดิการชุมชนของ หนวยงานภาครัฐประสบผลสำเร็จ การจัดสวัสดิการชุมชนเปนกระบวนการของ ชุมชนที่จะสรางหลักประกันความมั่นคงของคน ในชุมชนทองถิ่น เปนสวัสดิการแบบพึ่งตนเองที่ ชุมชนรวมกันคิด รวมกันสรางระบบ รวมบริหาร จัดการ และรวมรับผลประโยชน รวมเปนเจาของ รวมกัน การใหความชวยเหลือกันและกันฉันท ญาติมติ ร ใหความรักความเอือ้ อาทรตอกัน การ ดูแลเอาใจใสซงึ่ กันและกัน เปนระบบสวัสดิการที่ ดูแลชุมชนไดอยางครอบคลุมตั้งแตเกิดจนตาย ชวยเหลือดูแลคนทุกเพศ ทุกวัยในชุมชนไดอยาง ทั่ ว ถึ ง หากกองทุ น สวั ส ดิก ารชุ ม ชนเข ม แข็ ง ก็ สามารถดูแลผูดอยโอกาสที่ไมสามารถชวยเหลือ ตนเองได เชน ผูสูงอายุ เด็กถูกทอดทิ้ง และ คนพิการมีความเดือดรอน ก็สามารถใหความ ชวยเหลือไดทนั ตอเหตุการณ หากเกินศักยภาพ ของกองทุนฯ สามารถประสานเชือ่ มกับหนวยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวของในการใหความชวยเหลือ ซึ่ง หากชุมชนทองถิ่นมีระบบสวัสดิการชุมชนที่ดูแล ประชาชนไดอยางทัว่ ถึง จะลดภาระคาใชจา ยของ รัฐบาลในดานนี้ เพือ่ นำไปพัฒนาประเทศดานอืน่ ตอไป นายวันชัย ธีระสัตยกุล นายกองคการ บริหารสวนจังหวัดราชบุรี มองวาเรื่องสวัสดิการ ชุมชนเปนเรือ่ งสำคัญทีท่ อ งถิน่ ตองใหความรวมมือ เพื่อใหประชาชนไดมีหลักประกันและเกิดความ มั่นใจในศักดิ์ศรีและความเปนมนุษย สามารถ
ดำรงชีวติ อยใู นชุมชนไดอยางมีความสุข องคการ บริหารสวนจังหวัดราชบุรี จึงไดมกี ารบริหารงาน 6 ดาน เพือ่ ดำเนินการชวยเหลือประชาชนทีอ่ ยใู น ชุ ม ชนต า งๆ คื อ ด า นสั ง คม การศึ ก ษาและ วั ฒ นธรรม ด า นเศรษฐกิ จ และการท อ งเที่ ย ว ด า นโครงสร า งพื้ น ฐาน ด า นสาธารณสุ ข และ กีฬา ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และดานการเมืองการบริหาร ซึ่ ง นโยบายทั้ ง 6 ด า นนั้ น ได ส นั บ สนุ น การจั ด สวั ส ดิ ก ารให กั บ ชุ ม ชนในภาพรวมทั้ ง จังหวัด และเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตของ ประชาชน เพือ่ มงุ เนนการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของ ประชาชนใหมคี วามอยดู ี กินดี มีรายได มีอาชีพ โดยคำนึงถึงความตองการของประชาชนในจังหวัด เชน การฝกอาชีพ การดูแลผูสูงอายุ ผูพิการ และผดู อ ยโอกาสทางสังคม พรอมทัง้ ใหประชาชน เขามามีสว นรวมในการดำเนินการ ปจจุบนั บทบาท อำนาจ และหนาที่ของทองถิ่นที่ตองใหการสนับ สนุนทุกภาคสวนตามความตองการของประชาชน โดยมีการประสานงานทั้งระดับลางและระดับบน พรอมรับฟงขอเสนอแนะจากประชาชน ดังนัน้ การ สนับสนุนจึงตองเปนการประสานความรวมมือใน ระดับกวาง โดยมงุ เนนใหชมุ ชนและประชาชนเปน ผูจัดการ การดำเนิ น งานโครงการสวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน คนในชุมชนตองรูและเขาใจในเรื่องของสวัสดิการ ชุมชนกอนวามีจุดมุงหมายอยางไร และคนใน ชุมชนนัน้ ๆ ตองใหความรวมมือ เพราะการสราง สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนเกิ ด จากคนในชุ ม ชนที่ ร ว มกั น สรางขึน้ โดยมีกฎระเบียบและกติการวมกัน ดังนัน้ ทุกคนตองถือปฏิบัติรวมกันโดยไมแบงแยกหรือ
29
เลือกปฏิบัติจึงจะทำใหชุมชนนั้นมีความเขมแข็ง มีความรักความสามัคคี มีความเห็นอกเห็นใจ และมีความปรารถนาทีด่ ตี อ กัน นายสาโรจน มูลพวก รองประธานคณะ กรรมการสงเสริมพัฒนาการจัดสวัสดิการชุมชน จังหวัดราชบุรี กลาววา การจัดสวัสดิการชุมชน ตองเริ่มจากการพึ่งพาตนเอง ชุมชนตองสราง ตนเองกอน ใหชาวบานไดคิดเองทำเอง ระเบิด ตั ว เองจากข า งใน ชาวบ า นต อ งมองทะลุ เ รื่ อ ง สวั ส ดิ ก าร ทำให เ กิ ด พลั ง เมื่ อ ชาวบ า นเห็ น ประโยชนของสวัสดิการก็จะเขามามากขึน้ สำหรับ ทิศทางการขับเคลื่อนภายในจังหวัดราชบุรีนั้น เปนการใชชมุ ชนตนแบบขยายไปสตู ำบลขางเคียง
30
จากพีส่ นู อ งคอยๆ ดำเนินการขยายไปเรือ่ ยๆ โดย เนนคุณภาพมากกวาปริมาณ สวนบทบาทการมีสว นรวมของผนู ำชาวบาน จะเปนการเลาประสบการณใหฟง บางพื้นที่ก็จะ เชิญผูนำชุมชนไปเลาประสบการณแลกเปลี่ยน เรียนรกู นั “ไม อ ยากให มี ก ารตั้ ง กองทุ น มากเกิ น ไป เพราะบางชุ ม ชนก อ ตั้ ง กองทุ น เพื่ อ ที่ จ ะได งบประมาณมาหนุนเสริม งบประมาณทีไ่ ดรบั อาจ เป น ดาบสองคม อนาคตถ า ไม มี ง บประมาณ มาหนุนเสริม กองทุนก็จะลมสลายได จึงอยาก ใหคนและเงินโตไปพรอมๆ กัน”
สวัสดิการชุมชน จังหวัดปราจีนบุรี 6 สวัสดิการชุมชน ฐานคิด ฐานการปฏิบตั กิ ารแกไขปญหาใหกบั คนในชุมชน ประมาณป 2548 – 2549 ชาวบานจากกลมุ องคกร เครือขายองคกรชุมชนจังหวัดปราจีนบุรี ไดรวมกันคิดระบบการแกไขปญหาใหกับตนเอง เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของตนเองใหดขี นึ้ โดย เฉพาะปญหาที่เกี่ยวของกับการผลิตขาว ไมวา จะเปนราคาขาวที่ตกต่ำ ซึ่งสวนทางกับราคาปุย ทีน่ บั วันจะทวีความรุนแรงราคาพงุ สูงขึน้ ไปเรือ่ ยๆ เปนตน ดังนั้น “สวัสดิการชุมชน” จึงไดเขามา เปนประเด็นงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนใน พืน้ ที่ โดยมีสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการ มหาชน) หรื อ พอช.เข า มาเป น พี่ เ ลี้ ย งในการ ขับเคลือ่ นงานสวัสดิการชุมชนดังกลาว หลังจากทีเ่ ครือขายองคกรชุมชนทัว่ ประเทศ ไดจดั สัมมนา “มหกรรมสวัสดิการชุมชนแกจน อยางยัง่ ยืน” ที่มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ไดทำใหแนวคิดการขับเคลือ่ นงานสวัสดิการชุมชน คึ ก คั ก มากขึ้ น แต ล ะจั ง หวั ด รวมถึ ง จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี ก็ ไ ด ตั้ ง “คณะกรรมการสวัสดิการ ชุมชนระดับจังหวัด” ขึ้น โดยมีแนวทางในการ ทำงานทีส่ ำคัญ ดังนี้ 1. เปนเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรกู นั และกัน และ ติดตามความกาวหนาการขับเคลือ่ นงานสวัสดิการ ชุมชนในจังหวัด 2. เปนเวทีเชื่อมโยงการทำงานรวมกันของ เครือขายองคกรชุมชน เพือ่ ใหเกิดแผนการพัฒนา 6
ในระดับจังหวัดทีค่ รอบคลุมทุกพืน้ ที่ และผลักดัน งานสวัสดิการกับหนวยงานภาคีในทองถิน่ 3. ขับเคลือ่ นพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ทัง้ ทีเ่ ปนพืน้ ที่ ที่จัดตั้งเปนพื้นที่หรือตำบลสวัสดิการแลว และ พืน้ ทีใ่ หมทกี่ ำลังขยายผลตอเนือ่ ง
จัดสวัสดิการที่สอดคลอง คุณภาพ ชีวติ คนในชุมชนทีด่ ขี นึ้ การมีคณะกรรมการสวัสดิการชุมชนระดับ จังหวัด และมีแนวทางการทำงานทีเ่ ขาใจตรงกัน ของคนทำงาน ทำใหจังหวัดปราจีนบุรีเกิดการ จัดสวัสดิการชุมชนที่เปนเอกลักษณของตนเอง อยู 2 รูปแบบ คือ รูปแบบทีห่ นึง่ สวัสดิการทีม่ าจากฐานกลมุ องค ก รต า งๆ ในพื้ น ที่ เช น กลุ ม ออมทรั พ ย กลมุ อาชีพ เปนตน รวมตัวกันทำงานเพือ่ พัฒนา อาชีพ และนำเงินมาออมรวมกัน แลวจึงนำเงิน จำนวนดั ง กล า วจากสมาชิ ก นั้ น ไปช ว ยสมาชิ ก แบงภาระของสมาชิกภายใตสวัสดิการที่เรียกวา “สวัสดิการเงินก”ู ทีท่ กุ คนทีเ่ ปนสมาชิกสามารถใช ประโยชนรว มได คิดดอกเบีย้ เล็กๆ นอยๆ เพือ่ ให กองทุนสามารถเคลือ่ นไหวไปได เมือ่ ไดกำไรสวน หนึ่งจึงนำมาจัดสรรเปนสวัสดิการคุณภาพชีวิต อืน่ ๆ ตอบแทนใหแกสมาชิก เชน สวัสดิการการ
สัมภาษณผปู ระสานงานกองทุนสวัสดิการชุมชน นายธัญญา แสงสวรรค วันที่ 6 มกราคม 2553
31
รักษาพยาบาล สวัสดิการการคลอดบุตร สวัสดิ การสำหรั บ ผู สู ง อายุ ผู ด อ ยโอกาสในชุ ม ชน เปนตน หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา “สวัสดิการ เกิ ด แก เจ็ บ ตาย” พื้ น ที่ รู ป ธรรมที่ มี ก ารจั ด สวัสดิการรูปแบบนี้ เชน ตำบลดงขีเ้ หล็ก ตำบล ทงุ โพธิ์ เปนตน รู ป แบบที่ ส อง สวั ส ดิ ก ารที่ ม าจากฐาน สมาชิกรายคนที่มาจากหมูบานตางๆ ในพื้ น ที่ รวมตัวกันขึน้ จนกลายมาเปนสวัสดิการชุมชนระดับ ตำบล ซึง่ รูปแบบการจัดสวัสดิการก็จะมีลกั ษณะ คลายคลึงกับการจัดสวัสดิการที่มาจากฐานกลุม องคกร ทัง้ นีจ้ ะแตกตางกันทีพ่ นื้ ทีใ่ ด หรือกลมุ ใด จะเลือกจัดสวัสดิการแบบไหนใหกบั สมาชิกทีส่ อด คลองกับการดำรงชีวติ และความตองการทีจ่ ำเปน ของสมาชิก พื้นที่รูปธรรมที่มีการจัดสวัสดิการ รูปแบบนี้ เชน ตำบลบุพราหมณ อำเภอนาดี เปนตน ป 2550-2551 การขับเคลือ่ นงานสวัสดิการ ชุมชนไดเกิดพืน้ ทีข่ ยายผลออกไปเรือ่ ยๆ ปจจุบนั มี พ้ื น ที่ รู ป ธรรมแล ว ประมาณ 29 พื้ น ที่ / ตำบล และกำลังขยายผลเพิ่มเติมอีก 27 พื้นที่/ตำบล โดยใชโครงสรางกลไกการทำงานทีม่ สี ว นรวมจาก หนวยงานภายในจังหวัด ท อ งถิ่ น และชุมชน เขามารวมมือกันทำงาน เชน พมจ. อบจ. พอช. เปนตน ซึง่ การรวมมือการทำงานจากหลายฝายนี้ เองที่ทำใหพื้นที่ไดรับการหนุนเสริมทรัพยากร ทีจ่ ำเปนตอการขับเคลือ่ นงานอยางตอเนือ่ ง ไมวา จะเปนงบประมาณทีล่ งในระดับพืน้ ที่ 55,000 บาท หรืองบประมาณหนุนเสริมในระดับจังหวัดๆ ละ 200,000 บาท
32
รัฐหนุน ประชาชนเสริม เพิ่มความ เขมแข็งใหกบั ชุมชน ป 2552 - 2553 สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนระดั บ จังหวัดปราจีนบุรี นอกจากจะขยายผลดานพื้นที่ การทำงานแลว ยังขยายผลในดานความรวมมือ กับหนวยงานของรัฐเพิม่ มากขึน้ ทัง้ นี้ สวนหนึง่ มาจากการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชนของ รัฐบาลที่เปดโอกาสใหประชาชนไดมีพื้นที่การ ทำงานทางสังคม และเขาถึงแหลงงบประมาณ เพิม่ มากขึน้ โดยประกาศเปนนโยบายทีท่ กุ จังหวัด ตองดำเนินการผานกลไก ทีเ่ รียกวา “คณะกรรม การสนับสนุนการขับเคลื่อนสวัสดิการชุมชน ระดับจังหวัด” ทีม่ อี งคประกอบจากหนวยงานทัง้ ภาครัฐ ทองถิน่ และชุมชน ภายใตคณะกรรมการฯ ดังกลาว เกิดความ รวมมือในการทำงานรวมกันอยางชัดเจนมากขึ้น ซึง่ อาจจะเรียกวาเปนกลไก 3 ประสาน ผนึกกำลัง สรางสวัสดิการชุมชนใหเขมแข็งยั่งยืน ซึ่งการ ทำงานนอกจากจะสนับสนุนใหเปนไปตามบทบาท หนาทีท่ ตี่ อ งรับผิดชอบตามขอกำหนดจากรัฐบาล แลว สิง่ ทีค่ ณะกรรมการฯ ไดดำเนินการนอกเหนือ และผลักดันใหเกิดประโยชนตอชุมชนที่ชัดเจน คือ หนวยงานของรัฐ และทองถิน่ นอกจากการ ร ว มเป น คณะกรรมการร ว มแล ว ยั ง มี บ ทบาท สำคัญในเรื่องการเปนวิทยากรใหความรูเกี่ยวกับ การจัดสวัสดิการที่ครอบคลุมทั่วถึงใหกับสมาชิก การเอื้ออำนวยสถานที่การทำงานใหกับชุมชนที่ เปนหลักแหลงมั่นคง และสมทบงบประมาณใน การดำเนิ น การจั ด สวั ส ดิ ก าร ตลอดจนการนำ
แผนการจัดสวัสดิการชุมชนบรรจุไวในแผนของ หน ว ยงาน และมี แ ผนปฏิ บั ติ ก ารหนุ น เสริ ม ที่ ชัดเจนในแตละปดว ย ในสวนของชาวบานเอง บทบาทที่สำคัญที่ ถือเปนกำลังหลักในการขับเคลือ่ นงานสวัสดิการใน พืน้ ที่ คือ การวิเคราะหพนื้ ทีเ่ พือ่ ใหคณะกรรมการฯ ไดเห็นความเปนไปไดในการจัดสวัสดิการ และ ความตองการที่แทจริงของชาวบาน ตลอดจน การนำเสนอแนวทางการทำงานที่ เ กิ ด จาก
ประสบการณการทำงานของตนเอง เพือ่ เปนทาง เลือกใหแกคณะกรรมการฯ ไดคน หาแนวทางการ หนุนเสริมการทำงานใหกับพื้นที่ไดตรงจุด เชน แนวทางการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการระดับจังหวัด เพื่ อ เป น สวั ส ดิ ก ารในการเชื่ อ มโยงการทำงาน ของทุกพืน้ ที/่ ตำบล ไดมโี อกาสแลกเปลีย่ นเรียนรู ซึ่งกันและกัน โดยไมสงผลกระทบตอสวัสดิการ เดิมทีแ่ ตละพืน้ ที/่ ตำบลไดจดั สรรไวแลว เปนตน
โครงสรางคณะกรรมการสนับสนุนการขับเคลือ่ นสวัสดิการชุมชนระดับจังหวัดปราจีนบุรี ¼oªnµ¦µ µ¦ ´ ®ª´ ®¦º°¦° ¼oªnµ¦µ µ¦ ´ ®ª´ ( ¦³ µ )
¼o ¡ºÊ ¸/É Îµ ¨ª´ · µ¦ »¤ (¦° ¦³ µ )
- ¡¤ . - ¼o ¡ºÊ ¸/É Îµ ¨ ª´ · µ¦ »¤ (Á¨ µ » µ¦¦nª¤)
³ ¦¦¤ µ¦
 ε »¤ 10-12 ´ Á¨º° ¤µ µ ¡ºÊ ¸/É Îµ ¨ ª´ · µ¦ »¤ ¸É¤¸°¥¼nÄ ´ ®ª´
® nª¥ µ Ä ´ ®ª´ - ¡¤ . - ¡´ µ »¤ - « . - ° . - µ µ¦ » - ° . - ²¨²
33
¼o ¦ » ª» · oµ ª´ · µ¦
สวัสดิการชุมชน จังหวัดสมุทรปราการ 7 จังหวัดสมุทรปราการ แบงการปกครองออก เปน 6 อำเภอ ประกอบไปดวย อำเภอเมือง สมุทรปราการ อำเภอบางบ อ อำเภอบางพลี อำเภอพระประแดง อำเภอพระสมุทรเจดีย และ อำเภอบางเสาธง รวมทั้งหมด 50 ตำบล 405 หมู บ า น 1 องค ก ารบริ ห ารส ว นจั ง หวั ด 17 เทศบาล และ 31 องคการบริหารสวนตำบล
สวัสดิการชุมชน เกิดเพราะความ ตองการเพือ่ การแกไขปญหา ถึงแมวาชาวสมุทรปราการจะมาจากหลาก หลายพืน้ ที่ ทัง้ ทีย่ า ยเขามาปกหลักอยอู าศัย และ ยายมาทำงานชั่วคราว แตในขณะเดียวกันก็มี ชาวบานดั้งเดิมที่อาศัยอยูในพื้นที่มานาน โดย เฉพาะในพื้นที่เทศบาล ชาวบานกลุมเล็กๆ ได รวมตั ว กั น จั ด ตั้ ง ขึ้ น เป น กลุ ม ออมทรั พ ย เ ล็ ก ๆ โดยใชชื่อวา “กลุมออมทรัพยสำโรงใต” เริ่ ม กอตัง้ เมือ่ ประมาณป 2539 ดวยการสนับสนุนทาง ดานความรู และวิธกี ารจากสถาบันพัฒนาองคกร ชุมชน (องคการมหาชน) หรือ พอช. หรือเดิมใน อดีตเรียกวา สำนักงานพัฒนาชุมชนเมือง เพื่อ นำเงิ น ที่ เ ป น รายได ร ายวั น ส ว นหนึ่ ง ของแต ล ะ คนมาออมรวมกัน แลวนำเงินจากการออมนัน้ มา จัดสวัสดิการใหกับสมาชิก ชวยเหลือกันและกัน ในยามขาดแคลน เปนทัง้ สวัสดิการเงินกยู มื และ สวัสดิการชวยเหลือยามเจ็บไขไดปวย จากกลุม 7
เล็กๆ ดังกลาว สวัสดิการชุมชนจึงเริ่มขยายผล ขยายพืน้ ทีอ่ อกไปเรือ่ ยๆ ป 2549 จากการจั ด สวั ส ดิ ก ารที่ เ กิ ด ขึ้ น ของกลมุ เล็กๆ ไดยกระดับขึน้ เปนสวัสดิการชุมชน ระดั บ ตำบล บริ ห ารจั ด การโดยคณะกรรมการ สวัสดิการชุมชนที่คัดเลือกมาจากกลุมออมทรัพย และกลมุ ตางๆ ทีม่ อี ยพู นื้ ที่ เชน กลมุ พัฒนาทีอ่ ยู อาศัย กลุมอาชีพตางๆ กลุมผูสูงอายุ เปนตน ซึ่ ง ทำให ก ารดำเนิ น งานเริ่ ม เป น จริ ง เป น จั ง ขึ้ น เมื่ อ มี ง บประมาณจากภาครั ฐ ลงมาสมทบการ จัดสวัสดิการผสู งู อายุในพืน้ ทีต่ ำบล แนวคิดการขับเคลื่อนงานสวัสดิการชุมชน ของจังหวัดสมุทรปราการเริ่มมีขึ้น และไดจัดตั้ง “คณะกรรมการสวัสดิการชุมชนระดับจังหวัด” ขึน้ โดยมีแนวทางในการทำงานทีส่ ำคัญ ดังนี้ 1. เปนเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรกู นั และกัน และ ติดตามความกาวหนาการขับเคลือ่ นงานสวัสดิการ ชุมชนในจังหวัด 2. เปนเวทีเชื่อมโยงการทำงานรวมกันของ เครือขายองคกรชุมชน เพือ่ ใหเกิดแผนการพัฒนา ในระดับจังหวัดทีค่ รอบคลุมทุกพืน้ ที่ และผลักดัน งานสวัสดิการกับหนวยงานภาคีในทองถิน่ 3. ขับเคลือ่ นพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ทัง้ ทีเ่ ปนพืน้ ทีท่ ี่ จัดตัง้ เปนพืน้ ทีห่ รือตำบลสวัสดิการแลว และพืน้ ที่ ใหมทกี่ ำลังขยายผลตอเนือ่ ง
สัมภาษณ นายภูหะพัฒน มัง่ มี ประธานเครือขายสวัสดิการตำบลบางบอ จังหวัดสมุทรปราการ 6 มกราคม 2553
34
จัดสวัสดิการเพื่อใหคุณภาพชีวิต ซึง่ รูปแบบการจัดสวัสดิการก็จะมีลกั ษณะคลายคลึง กับการจัดสวัสดิการที่มาจากฐานกลุม องคกร คนในชุมชนทีด่ ขี นึ้ การมีคณะกรรมการสวัสดิการชุมชนระดับ จั ง หวั ด ทำให ก ารขั บ เคลื่ อ นงานในพื้ น ที่ สมุทรปราการขยายผลเต็มพื้นที่ 6 อำเภอ 61 เทศบาล/ทองถิน่ และมีแนวทางการทำงานทีเ่ ขา ใจตรงกั น ของคนทำงาน ทำให จั ง หวั ด สมุ ท ร ปราการเกิดการจัดสวัสดิการชุมชนใน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบทีห่ นึง่ สวัสดิการทีม่ าจากฐานกลมุ องคกรตางๆ ในพืน้ ที่ เชน กลมุ ออมทรัพย กลมุ อาชีพ กลมุ พัฒนาทีอ่ ยอู าศัย เปนตน รวมตัวกัน ทำงานเพือ่ พัฒนาอาชีพ และนำเงินมาออมรวมกัน แลวจึงนำเงินจำนวนดังกลาวจากสมาชิกนัน้ ไปชวย สมาชิกแบงภาระของสมาชิกภายใตสวัสดิการที่ เรียกวา “สวัสดิการเงินก”ู ทีท่ กุ คนทีเ่ ปนสมาชิก สามารถใชประโยชนรวมได คิดดอกเบี้ยเล็กๆ นอยๆ เพื่อใหกองทุนสามารถเคลื่อนไหวไปได เมือ่ ไดกำไรสวนหนึง่ จึงนำมาจัดสรรเปนสวัสดิการ คุณภาพชีวิตอื่นๆ ตอบแทนใหแกสมาชิก เชน สวั ส ดิ ก ารการรั ก ษาพยาบาล สวั ส ดิ ก ารการ คลอดบุตร สวั ส ดิ ก ารสำหรั บ ผู สู ง อายุ ผู ด อ ย โอกาสในชุมชน เปนตน หรือเรียกอีกอยางหนึง่ วา “สวัสดิการเกิด แก เจ็บ ตาย” พื้นที่รูปธรรม ที่มีการจัดสวัสดิการรูปแบบนี้ เชน กองทุนบาง น้ำผึ้ง กลุมออมทรัพยสำโรงใต กองทุนบางพลี นอย เปนตน รู ป แบบที่ ส อง สวั ส ดิ ก ารที่ ม าจากฐาน สมาชิกรายคนที่มาจากหมูบานตางๆ ในพื้นที่ รวมตัวกันนำเงินมาออมเพื่อจัดสวัสดิการรวมกัน
ทัง้ นีจ้ ะแตกตางกันทีพ่ นื้ ทีใ่ ด หรือกลมุ ใดจะเลือก จัดสวัสดิการแบบไหนใหกบั สมาชิกทีส่ อดคลองกับ การดำรงชีวิต และความตองการที่จำเปนของ สมาชิก แตไมมีการจัดสวัสดิการรูปแบบใดที่ขึ้น มาจากสมาชิกรายเดีย่ วๆ ทีต่ า งคนตางมาโดยไม มีกลุมรองรับ พื้นที่รูปธรรมที่มีการจัดสวัสดิการ รูปแบบนี้ เชน กองทุนบางบอ เปนตน
รัฐหนุน ประชาชนเสริม เพิม่ ความ เขมแข็งใหกบั ชุมชน ป 2552 - 2553 สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนระดั บ จังหวัดปราจีนบุรี นอกจากจะขยายผลดานพื้นที่ การทำงานแลว ยังขยายผลในดานความรวมมือ กั บ หน ว ยงานของรั ฐ เพิ่ ม มากขึ้ น โดยรั ฐ บาล นายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ ไดประกาศเปนนโยบาย สนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชนในทุกจังหวัด และ จั ด ตั้ ง กลไกการทำงาน “คณะกรรมการสนับ สนุ น การขั บ เคลื่ อ นสวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนระดั บ จังหวัด” โดยมีองคประกอบจากหนวยงานทั้ง ภาครัฐ ทองถิน่ เชน พัฒนาการจังหวัด แรงงาน จังหวัด พมจ. สาธารณสุข อบจ. ศูนยพัฒนา สังคมฯ สวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัด มหาวิทยาลัยหัวเฉียว เทศบาล เปนตน และชุมชน เขามาทำงานรวมกัน แตมบี ทบาทหนาทีท่ แี่ ตกตาง กันออกไปเพือ่ หนุนเสริมการทำงานของชาวบาน บทบาทของหนวยงานของรัฐ และทองถิ่น ทีส่ ำคัญคือ รวมเปนคณะกรรมการ เปนวิทยากร ใหความรเู กีย่ วกับการจัดสวัสดิการ การเอือ้ อำนวย
35
สถานทีก่ ารทำงานใหกบั ชุมชน สมทบงบประมาณ ในการดำเนินการจัดสวัสดิการ ตลอดจนการนำ แผนการจัดสวัสดิการชุมชนบรรจุไวในแผนของ หน ว ยงาน และมี ก ารสมทบงบประมาณอย า ง ชัดเจนทุกป บทบาทที่ สำคั ญ ของชาวบ า น คื อ การ วิเคราะหพนื้ ทีเ่ พือ่ ใหคณะกรรมการฯ ไดเห็นความ เปนไปไดในการจัดสวัสดิการและความตองการที่ แท จ ริ ง ของชาวบ า น ตลอดจนการนำเสนอ แนวทางการทำงานที่เกิดจากประสบการณการ ทำงานของตนเอง เพื่ อ เป น ทางเลื อ กให แ ก คณะกรรมการฯ ไดคนหาแนวทางการหนุนเสริม การทำงานใหกับพื้นที่ไดตรงจุด เชน แนวทาง การจัดตัง้ กองทุนสวัสดิการระดับจังหวัด เพือ่ เปน สวัสดิการในการเชือ่ มโยงการทำงานของทุกพืน้ ที/่ ตำบล ไดมโี อกาสแลกเปลีย่ นเรียนรซู งึ่ กันและกัน โดยไมสง ผลกระทบตอสวัสดิการเดิมทีแ่ ตละพืน้ ที/่ ตำบลไดจัดสรรไวแลว
36
แนวทางการทำงานที่คณะกรรมการฯ ได ตกลงเพื่อทำงานรวมกัน คือ หนวยงานของรัฐ ในทองถิ่นเปนผูขับเคลื่อนงานหลักในระดับพื้นที่ ในสวนของคณะกรรมการระดับจังหวัด ชวยกัน ดูภาพรวมเชิงบริหารและเชิงนโยบาย และแตงตัง้ คณะอนุกรรมการฯ เพือ่ ปฏิบตั กิ ารในระดับพืน้ ที่ ทัง้ นีภ้ ายใตบทบาทการทำงานรวมกันในเรือ่ งการ วางแผน สงเสริมสนับสนุนพืน้ ทีส่ วัสดิการทีจ่ ดั ตัง้ เรียบรอยแลว และพืน้ ทีส่ วัสดิการทีก่ ำลังขยายผล รวมทั้งการแกไขปญหาขอติดขัดตางๆ ที่เกิดขึ้น ระหวางการทำงาน สำหรับแผนการพัฒนาพื้นที่สวัสดิการของ จังหวัดสมุทรปราการ เนนในเรื่องการพัฒนาเชิง คุ ณ ภาพให เ กิ ด ขึ้ น เช น การพั ฒ นาการจั ด สวัสดิการใหรอบดาน ครอบคลุมทุกมิติ สมดุล กับการดำรงชีวิตของสมาชิก การบริหารจัดการ ที่ดีภายในกองทุน และการขยายผลใหเต็มพื้นที่ ทุกหมูบานในทุกตำบล
สวนที่ 3: กรณีศกึ ษาพืน้ ทีร่ ปู ธรรมสวัสดิการชุมชน ระดับตำบล
37
ภาคเหนือ กองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลหนองหลม อำเภอดอกคำใต จังหวัดพะเยา ขอมูลทัว่ ไป ตำบลหนองหลม กอตัง้ เมือ่ ป 2518 แยกมา จากตำบลบานปน อ.ดอกคำใต จ.พะเยา ใน ปจจุบนั มี 9 หมบู า น มีประชากรทัง้ สิน้ 5,934 คน หรือ 1,763 ครัวเรือน สวนใหญประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เชน ปลูกขาวโพด ขาว ทำสวน ลำไย สวนยางพารา ฯลฯ และเลีย้ งสัตว ในชุมชน มีทั้งคนไทยพื้นราบ และชนเผา เชน มง เยา มูเซอ จึงมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม
การกอเกิดของกองทุนสวัสดิการ
8
กองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนตำบลหนองหล ม ได ริ เ ริ่ ม มาจากการทำธนาคารหมู บ า น โดยมี เครือขายศูนยรวมน้ำใจธนาคารหมบู า น ซึง่ อยใู น พื้ น ที่ 4 ตำบล ประกอบดวย ตำบลคื อ เวี ย ง ตำบลบานปน ตำบลหนองหลม และตำบลบานถ้ำ ไดรว มกันจัดตัง้ ธนาคารหมบู า นขึน้ ในป พ.ศ.2535 จนถึงปจจุบนั โดยมีอาจารยมกุ ดา อินตะสาร (ที่ ปรึกษาเครือขายศูนยรวมน้ำใจธนาคารหมูบาน) ไดรวมกันคิด เรียนรูรวมกันกับชาวบานในพื้นที่ เพื่อคิดหาแนวทางในการสรางสวัสดิการใหกับ ชาวบานอยางยั่งยืน แลวไดมีการนำเอาดอกเบี้ย จากการทำธนาคารมาจัดสวัสดิการใหกับสมาชิก 8
µ ° r ¦ µ¦Á · »¤ ¦¼  °°¤¤ ª n° ´Ê 5 ¡§« · µ¥ 2550 ª¤µ · Á¦·É¤Â¦ 965 ¦µ¥ { » ´ 2,500 ¦µ¥ ªÁ · » Á¦·É¤Â¦ 193,000 µ { » ´ 1,200,000 µ
แต ว า สมาชิ ก ได รั บ สวั ส ดิ ก ารไม ทั่ ว ถึ ง และ ไม ค รอบคลุ ม จึ ง ทำให ค ณะกรรมการกองทุ น สวัสดิการมีแนวคิดในการพัฒนาระบบสวัสดิการ ใหม โดยเกิดจากรากฐานของการทำสวัสดิการ ของแตละหมบู า น เพือ่ สนองตอความตองการของ สมาชิกจึงไดมีการประชุมประชาคมทุกหมูบาน และรวมหาแนวทางระดมความคิด เพื่ อ แก ไ ข ปญหาเรือ่ งสวัสดิการใหครอบคลุมตัง้ แตเกิดจนถึง การเสียชีวติ ซึง่ ปจจุบนั มีสมาชิกทัง้ หมด 965 คน กองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลหนองหลม ไดมผี คู ดิ ริเริม่ รวมกันทำงานและประสานโครงการ อย า งต อ เนื่ อ งกั บ องค ก รต า งๆ เพื่ อ ขอรั บ การ สนับสนุนใหกองทุนเขมแข็งตอไป ซึ่งผูริเริ่มและ ผลักดันโครงการไดเห็นความสำคัญของกองทุน
สัมภาษณ ผปู ระสานงานกองทุนสวัสดิการหนองหลม นายสมิง ธรรมปญญา
38
สวัสดิการโดยริเริม่ จากผนู ำทีส่ ำคัญ คือ นายศิรริ บั เลิศคำ นายกองคการบริหารสวนตำบลหนองหลม, นายสำราญ จันตะวงค รองนายกองคการบริหาร สวนตำบลหนองหลม, นายสมิง ธรรมปญญา ประธานกองทุนฯ, นายธีระเดช พินจิ รองประธาน กองทุนฯ และผนู ำชุมชน/ผนู ำทองถิน่ ทุกคน
การบริหารจัดการกองทุน คณะกรรมการกองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน มี ทั้ ง หมด 14 คน ประกอบด ว ย ประธาน รองประธาน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ เหรัญญิก และผชู ว ยประชาสัมพันธ และกรรมการ อีก 3 คน นอกจากนีย้ งั มีคณะอนุกรรมการดำเนิน งานกองทุนสวัสดิการชุมชนระดับหมบู า น จำนวน 8 หมบู า นๆ ละ 6 คน ทำใหมเี ครือขายคนทำงาน ทัง้ ในระดับตำบลและหมบู า น แหลงทีม่ าของเงินทุน มาจากสมาชิกกองทุน สมทบ คนละ 200 บาท คาสมัครคนละ 20 บาท โดยเปดรับสมาชิกตัง้ แตเด็กแรกเกิด ตองเปนคน ทีอ่ ยใู นตำบลคือเวียง จะใชวธิ สี มทบกองทุนดวย เงินสด หรือจะใหหกั จากบัญชีเงินออมของธนาคาร หมบู า นก็ได นอกจากนีท้ างกองทุนฯ ยังไดรบั เงิน สมทบจาก พอช. 40,000 บาท จาก อบต. หนองหลม ปละ 100,000 บาท และจากเครือขาย ศู น ย ร วมน้ำ ใจธนาคารหมู บ า น รวมสมทบอีก 40,000 บาท
ดอกผลการจัดสวัสดิการชุมชน กองทุนสวัสดิการชุมชน มีการจัดสวัสดิการ ประเภทต า งๆ และมี ผู ไ ด รั บ ประโยชน จ าก สวัสดิการไปแลว ดังนี้
• กรณีเกิด รับขวัญเด็กแรกเกิด คนละ 500 บาท มีสมาชิกไดรับสวัสดิการแลว 5 ราย รวม เปนเงิน 2,500 บาท • กรณีเจ็บปวย จะไดรบั การชวยเหลือ เมือ่ เปนสมาชิกครบ 90 วัน เขาโรงพยาบาล นอน รักษาตัวชดเชยวันละ 100 บาท ไมเกิน 2,000 บาท ต อ ป มีสมาชิกไดรับสวัสดิการแลว 121 ราย รวมเปนเงิน 61,700 บาท • กรณีเสียชีวติ เมือ่ เปนสมาชิกครบ 180 วัน ไดรับ 3,000 บาท ครบ 1 ป ไดรับ 5,000 บาท ครบ 2 ป ไดรบั 10,000 บาท ครบ 3 ป ไดรบั 15,000 บาท และครบ 4 ป ไดรบั 20,000 บาท มีสมาชิกไดรบั สวัสดิการแลว 10 ราย รวมเปนเงิน 30,000 บาท
ผลการเปลีย่ นแปลงการจัดสวัสดิการ ชุมชน 1. เกิดความสามัคคีในชุมชน มีความชวย เหลือซึง่ กันและกัน 2. สมาชิกมีความเอือ้ อาทรตอกันในชุมชน 3. ทำใหชมุ ชนเกิดการเรียนรใู นระบบบริหาร จัดการในดานการเงินและดานสุขภาพ 4. มีเครือขายเชือ่ มโยงใน 4 ตำบล 5. เกิดความภาคภูมิใจในการมีสวนรวมใน การจัดตั้งกองทุน 6. ทุกภาคสวนในชุมชนมีสวนรวมในการ แกไขทางดานสุขภาพ 7. มีความชัดเจน สะดวก รวดเร็ว ในดาน ใหรับบริการ
39
8. มีการรวมกลมุ และมีขอ มูลพืน้ ฐานสำหรับ การรับบริการขัน้ ตอไป
การเสริมสรางความเขมแข็งสวัสดิการ ชุมชนคนหนองหลม 1. จัดอบรม/ศึกษาดูงาน ของคณะกรรมการ เรือ่ งบทบาทหนาที่ 2. รณรงค ห าแนวทางแก ไ ขทุ ก กลุ ม อายุ เนนการสรางเสริมสุขภาพอยางพอเพียง ยั่งยืน การมีสว นรวม 3. เผยแพรประชาสัมพันธดา นกองทุน โดย จั ดทำแผ น พั บ ประชาสั ม พั น ธ การทำ เวที
40
ประชาคมทุกเวทีการประชุม นอกจากนัน้ ยังมีการ ประชาสัมพันธผา นเสียงตามสายของหมบู า น 4. สรางความเชือ่ มัน่ ใหกบั สมาชิกโดยแสดง งบบัญชีรบั – จาย และสามารถตรวจสอบบัญชีเปน ปจจุบนั 5. จัดทำขอมูลใหเปนปจจุบนั 6. จัดหางบประมาณ เชน จัดผาปาสามัคคี ขอรับบริจาคจากนายทุน 7. เชิญชวนลูกสมาชิกตัง้ แตแรกเกิด – ผสู งู อายุ ผปู ระสานงาน สมิง ธรรมปญญา 084-949-8167
กองทุนสวัสดิการชุมชน 9 ตำบลบานเสด็จ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง åćîđÙøČĂ׊ć÷ÙøĂïÙøĆü ¦¼  ¼¦ µ µ¦ ° » ª n° ´Ê 25 ¡§¬£µ ¤ 2549 ª¤µ · 3,976 ¦µ¥ ªÁ · » 205,317 µ
ขอมูลทัว่ ไป ตำบลบานเสด็จ ตั้งอยู อ.เมือง จ.ลำปาง แบงการปกครองออกเปน 17 หมบู า น มีจำนวน 3,976 ครัวเรือน มีประชากรทัง้ สิน้ 11,407 โดย เฉลีย่ มีความหนาแนน 121.63 คน/ตร.กม. ประชากร สวนใหญประกอบอาชีพการเกษตรและรับจาง ทัว่ ไป ซึง่ สภาพความเปนอยโู ดยทัว่ ไป ครอบครัว ทีม่ รี ายไดผา นเกณฑมาตรฐานขัน้ ต่ำ 20,000 บาท ตอครอบครัวตอป จากสภาพดังกลาว จึงไดมกี ารตัง้ ศูนยพฒ ั นา ครอบครัวในชุมชนชือ่ ยอวา “ศพค.” เปนศูนยกลาง ในการรวมตัวของสมาชิกในชุมชน มีเปาหมาย เพื่อสรางความรักความเสมอภาครวมกันภายใน บาน นำมาซึง่ ความอบอนุ และสันติสขุ ในครอบครัว ภายใตวิสัยทัศน “ครอบครัวอบอนุ ชุมชนเขม แข็งเปนแหลงรวมใจใสใจสุขภาพ” และพันธกิจ “เปนศูนยรวมใจ สรางสายใยครอบครัว” และ เป น ที่ ม าของการเชื่ อ มโยงสู ก ารจั ด ตั้ ง กองทุ น สวัสดิการชุมชนตำบลบานเสด็จ
ครอบครัวในลักษณะบูรณาการจากทุกภาคสวนใน สังคม มีการบริหารจัดการโดยชุมชน เปดโอกาส ใหสมาชิกในชุมชนไดเรียนรแู ละมีสว นรวมในการ พัฒนาสถาบันครอบครัว นำไปสคู วามเขมแข็งของ ชุมชน โดยมีสมาชิกเริม่ แรกทีร่ วมตัวกันเปนเครือ ขายทัง้ หมด 3,976 ครัวเรือนๆ ละ 1 คน มีหมบู า น เขารวม 17 หมบู า น และมีทนุ ในการดำเนินงาน จำนวน 205,317 บาท แบงเปนทุนสมทบจาก สมาชิกที่รวมกันจัดผาปาครอบครัว 15,317 คน เงินสมทบจากองคการบริหารสวนตำบล 170,000 บาท เงินสมทบจาก พมจ. ลำปาง 20,000 บาท โดยกลุมเปาหมายหลักที่ใหการชวยเหลือ ไดแก เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ คนพิการ ผูดอยโอกาส ผปู ว ย/ผตู ดิ เชือ้ HIV บุรษุ และสตรี
การกอเกิดของกองทุน กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลบานเสด็จ เริม่ กอตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2549 ภายใต หลักการทำงานที่เปนสาธารณกุศลไมแสวงหา ผลกำไร และมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาสถาบัน 9
การบริหารจัดการกองทุน คณะกรรมการกองทุนประกอบดวย 17 คน ที่มาจากตัวแทนหมูบานตางๆ มีองคประกอบ ได แ ก ประธาน 1 คน รองประธาน 2 คน
สัมภาษณ คุณกรรณิการ เกสร ผปู ระสานงานกองทุนสวัสดิการบานเสด็จ
41
เลขานุการ 1 คน เหรัญญิกและผูชวย 2 คน ประชาสัมพันธและผชู ว ย 2 คน ปฏิคมและผชู ว ย 2 คน นายทะเบียนและผูชวย 2 คน กรรมการ 5 คน คณะกรรมการที่ปรึกษา จำนวน 5 คน ซึง่ เปนตัวแทนจากหนวยงานในทองถิน่ รู ป แบบการจั ด สวั ส ดิ ก าร เพื่ อ สนั บ สนุ น การจัดสวัสดิการชุมชน เกิด-แก-เจ็บ-ตาย สงเสริม กิจกรรมดานสังคม ไดแก โครงการเสริมสราง ครอบครัวอบอนุ โครงการกีฬาครอบครัวสัมพันธ โครงการครอบครัวคุณธรรมสังคมเขมแข็งเทิดไท องคราชันย (พาลูกจูงหลานเขาวัด) โครงการสง เสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โครงการสง เสริมอาชีพ โครงการสงเสริมการจัดสวัสดิการ สังคม วิธกี ารดำเนินงาน คือ การใชกลไกกระบวน การประชาสังคมเพือ่ การขับเคลือ่ นการดำเนินงาน
ผลการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ เกิดผูนำที่เขมแข็งและขึ้นรูปเปนคณะกรรม การบริหารที่เปนระบบ มีการบริหารจัดการที่มี ความเปนอิสระในการทำงาน ประชาชนมีสว นรวม ในการดำเนินงาน มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน มีการเชือ่ มโยงของเนือ้ งานจากฐานครอบครัวไปสู งานดานอืน่ ๆ ทัง้ ระดับหมบู า นและตำบล มีการ ดำเนิ น งานตามแผนการรณรงค จั ด ตั้ ง กองทุ น สวัสดิการชุมชนวันละ 1 บาท โดยมีแนวทาง คือ µ¦ ¦· µ¦ ´ µ¦ ° »  n Á } - 40 % - 30 % Á } ° » »¦ · »¤ - 20 % Á } ° » ¨µ - 5 % Á } ° » » £µ¡ »¤ - 5 % Á } ° » ¼o¼ °µ¥»
° » ¦ ª ¦ ¸ª· (Á ·  n Á È µ¥)
° » ª´ · µ¦ ε µ
การสรางและพัฒนาเครือขายระดับตำบลและระดับ หมบู า น การประสานเครือขายครอบครัว หนวย งานภาครัฐและเอกชน และการติดตามผลการ ดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนดในแผนงานและ โครงการ
° » ª´ · µ¦ »¤
¤ 5 µ /Á º°
¤ 100 µ /Á º°
¤ ª´ ¨³ 1 µ
¤µ ·
° » Á¡ºÉ° µ¦ ¦µ£µ¡
¤µ ·
ผปู šระสานงาน กรรณิการŤ เกสร 081-024-3739
42
¤µ ·
กองทุนสวัสดิการจากฐานผดู อ ยโอกาส 10 กรณีศกึ ษา ตำบลแมสลองนอก อ.แมฟา หลวง จ.เชียงราย (กองทุนสวัสดิการเพือ่ พีน่ อ งชนเผา) ตองระดมทุนตางๆ ที่มีอยูในชุมชน เพื่อเกิดการ บูรณาการกองทุนตางๆ ทีม่ อี ยใู นชุมชน นำกำไร ทั้งหมดจากกลุมสัจจะออมทรัพยสินเชื่อเพื่อการ พัฒนาแบบองครวมโดยมารวมกับ “ออมทรัพย วันละบาท” ของสมาชิก โดยการจัดการกองทุน เบื้ อ งต น เป น ดั ง นี้ สนั บ สนุ น แผนแม บ ทชุ ม ชน 20,700 บาท และโครงการฟน ฟูทอ งถิน่ อีก 18,000 บาท นอกจากนี้ อบต.สมทบ 20,000 บาท และ พอช. สมทบ 50,000 บาท รวมทุนไวทเี่ ดียวกัน เพือ่ จัดสวัสดิการ
ขอมูลจำเพาะ กองทุนสวัสดิการแมสลองนอก • การกอตั้ง ปกอ ตัง้ ป 2545 • สมาชิกเริ่มแรก 176 ราย • สมาชิกปจจุบัน 672 ราย • เงินทุนเริม่ แรก 242,151 บาท • เงินทุนปจจุบนั 500,000 บาท • รู ป แบบการบริ ห าร มี ค ณะกรรมการ จำนวน 15 ทาน โดยเปนผูแทนจากกลุม บาน (ปอกบาน) ตางๆ ทีส่ ง ตัวแทนเขามา เปนกรรมการกองทุน
ระบบการจัดการกองทุน
พัฒนาการกองทุนสวัสดิการแมสลอง ตำบลแมสลองนอก เปนชุมชนชาวเขาหลาย เผาอยรู ว มกัน ไมวา จะเปนไทยใหญ ลีซอ อาขา มูเซอ ชาวจีน ฯลฯ ซึ่งคนชายขอบเหลานี้ไม สามารถเขาถึงสวัสดิการของรัฐและหนวยงาน ตางๆ ได แตทุนวัฒนธรรมคือฐานการดำรงอยูที่ ยังคงมีวถิ ชี วี ติ ทีเ่ กือ้ กูลและดูแลกันอยู ในขณะเดี ย วกั น การรวมกลุ ม กั น เพื่ อ จั ด สวัสดิการ เพือ่ ชวยเหลือและดูแลกันและกัน โดย เฉพาะกลุมคนจนและผูดอยโอกาส รวมถึงพี่นอง ชนเผาทีย่ งั เขาไมถงึ ระบบสวัสดิการของรัฐ จำเปน
ในป 254511 มีสมาชิกโดยประมาณ 500 กวา คน และตอมาลาออกไปจำนวน 100 คน ทัง้ นีใ้ น ปจจุบนั กองทุนสวัสดิการแมสลองนอกในป 2552 มีการขยายตัวของสมาชิกเปน 672 คน รูปแบบมี การออมแบบรายเดื อ น รายงวด หรื อ รายป (365 บาท) โดยเงินทุนนำมาแบงเปนสัดสวนดังนี้ • งบสวัสดิการ 30% • งบบริหารจัดการ 30% • งบประชุม/กระบวนการเรียนรู 40 %
พรรณทิพย เพชรมาก และคณะ. ภาพรวมความคืบหนาผลการขับเคลือ่ นกองทุนสวัสดิการชุมชน 2548-2549 และบทบาทหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน), 2550. 11 สัมภาษณ คุณภูมพิ ฒ ั น คงวารินทร ผปู ระสานงานกองทุนสวัสดิการแมสลองนอก จ.เชียงราย (วันที่ 17 พฤศจิกายน 2552) 10
43
จากเกิดแกเจ็บตายสพู นี่ อ งชนเผา สำหรั บ ประเภทสวั ส ดิ ก ารของสมาชิ ก นั้ น ทางกองทุนจะออก “บัตรเขียว” ใหกบั สมาชิกไว ใช บ ริ ก ารโรงพยาบาล คลิ นิ ก ตำบล/หมู บ า น เนือ่ งจากชาวบานสวนใหญเปนชนเผา (ซึง่ จะเปน ผูถือบัตรสี และเปนผูที่ไมมีเลข 13 หลัก จึงไม สามารถเขาถึงบริการของรัฐและบริการสุขภาพ) โดยนับเปนการจัดสวัสดิการหนึง่ ทีส่ ามารถจัดการ ใหพี่นองชนเผาจัดสวัสดิการและเขาถึงบริการ สุ ข ภาพได ด ว ยตนเอง หลั ก การของกองทุ น สวัสดิการ คือ กรณีเจ็บปวยสามารถเบิกไดไม เกิน 5 เทาของเงินออมสมาชิก และยังมีสวัสดิการ ผสู งู อายุ เมือ่ อายุครบ 60 ปจะไดรบั เบีย้ ยังชีพปละ 1,000 บาท รวมถึงมีแผนงานการประสานงานกับ อบต. เพือ่ จะมีการขยายฐานเรือ่ งเบีย้ ยังชีพของผสู งู อายุ ในกรณีการเสียชีวติ จะไดรบั เงินชวยเหลือ 5 เทาของเงินออมของสมาชิก (อยางต่ำ 365 บาท ตอป 5 ปรวมเปนเงิน 1,825 บาท 5 เทาเปน เงินทัง้ สิน้ 9,125 บาท)
ชวยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชน พัฒนาระบบตอไป เรื่องการชวยเหลือพี่นองที่ไมมีเลข 13 หลัก มี การอบรมและใหความรู รวมถึงการประสานงาน ความรวมมือกับหนวยงานรัฐอืน่ ๆ แสดงใหเห็นถึง วัฒนธรรมการใหของคนในชุมชนทีข่ ยายฐานทีเ่ ริม่ จากการทำงานสวัสดิการและพัฒนาไปสคู วามรวม มืออืน่ ๆ บทสงทายกองทุนสวัสดิการแมสลองนี้ ใน การออมจะเป น ลั ก ษณะการออมแบบผู ก พั น ถาเปนสมาชิกแคปเดียวจะเลือกใชสวัสดิการได เรือ่ งเดียว แตถา ครบ 5 ปจะสามารถใชสวัสดิการ ไดทุกประเภท ถาหากลาออกก็จะไดรับเงินออม คืน ดังนัน้ สมาชิกโดยสวนใหญจงึ ไมมกี ารออกแต เปนการรวมตัวกันอยางตอเนื่อง โดยถือวาเปน การจัดสวัสดิการในรอบชีวติ คือการจัดสวัสดิการ ตั้งแตการดำรงอยูจนเสียชีวิต ทั้งนี้การเติบโต ตอไปตองดูอยางตอเนื่อง เพราะถือวาเปนการ จัดสวัสดิการโดยประชาชนเพื่อประชาชน และ ผดู อ ยโอกาสอยางเขาถึงและเทาเทียม
กองทุนสวัสดิการสูการเปลี่ยนแปลง ชุมชน
ผปู ระสานงาน ภูมพิ ฒ ั น คงวารินทร โทร.053-765-343
กองทุนสวัสดิการทีไ่ ดมกี ารจัดการตอชุมชน ที่สงผลตอเรื่องการดำรงวิถีชีวิตตั้งแตเกิดแกเจ็บ ตายแลว ยังสงผลตอคนในชุมชนพัฒนาเปนความ
44
ภาคใต กองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลกะปาง อำเภอทงุ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช ขอมูลทัว่ ไป ตำบลกะปาง เปน 1 ใน 13 ตำบลของอำเภอ ทุ ง สง ประกอบดวย 9 หมูบาน จากการเก็บ ข อ มู ล ชุ ม ชนเมื่ อ ป 2546 มี ก ารจั ด สวั ส ดิ ก าร ที่ ชั ด เจนอยู 2 หมู บ า น ชาวบ า นส ว นใหญ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกยางพารา ผัก และผลไม แตทำนานอยมาก ทำผลผลิตเพือ่ ขาย 85% เหลือไวบริโภคเพียง 15% จึงมีรายไดหลัก มาจากสวนนี้
ทีม่ า/การกอเกิดของกองทุน สวัสดิการ 12 ในปจจุบนั วิถชี วี ติ ของชาวบานสวนใหญมกี าร เปลี่ยนแปลงเกือบ 100% แรงงานจากโรงงาน อุ ต สาหกรรมเข า มาทดแทนแรงงานธรรมชาติ ซ้ำรายแรงงานธรรมชาติกำลังจะหมดไป การปลูก หรือการทำสวนยางพารา ผลไมพชื ผักตางๆ จาก การไหววานหรือลงแขก กลับเปลี่ยนเปนการวา จางกันในชุมชน ซึง่ จะเห็นการเปลีย่ นแปลงอยาง ชัดเจนอีกอยางหนึ่งก็คือ หญิงชายที่อายุต่ำกวา 30 ปลงมาแทบจะไมนงุ โสรง ผาซิน่ แตงตัวกัน ตามกระแสนิ ย มที่ เ ห็ น ในสื่ อ ต า งๆ นอกจากนี้ ชาวบานยังมีวธิ คี ดิ หวังพึง่ ราชการอยมู าก 12
µ ° r ¦ µ¦Á · ¨³ »¦ · »¤ ¦¼  °°¤ ¦´¡¥r ª n° ´Ê 10 ¤¸ µ ¤ 2546 ª¤µ · Á¦·É¤Â¦ 780 ¦µ¥ { » ´ 1,000 ¦µ¥ ªÁ · » Á¦·É¤Â¦ 7,800 µ { » ´ 2,300,000 µ (Á · °°¤ ¦´¡¥r ´Ê ε ¨)
หลังวิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำป 2540 ภายใน ตำบลเริม่ เปลีย่ นแปลง เพราะคิดกันวาหากนัง่ รอ ใหคนอื่นมาชวยไมไดอีกแลว และยิ่งเห็นญาติพี่ นองลำบากยากเข็ญอีกตอไปไมได จึงไดมแี กนนำ ทีต่ นื่ ตัวในการหาแนวทางพึง่ ตนเองขึน้ ดวยการ พูดคุยกันในชุมชนกับกลมุ คนทีส่ นใจ โดยการจัด เวทีเล็กๆ เพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรู จึงไดขอ คิดเห็น เกิดขึน้ และจากประสบการณควบคไู ปกับการกิน การใชในชีวติ ประจำวัน ชุมชนเริม่ ทำแผนแมบท ชุมชนมาตั้งแตป 2544 จนถึงปจจุบั น ทำให ชุ ม ชนเกิดการเรียนรูลองผิดลองถูกอยูหลายครั้ง จนกระทั่งได มี ก ารยกเอาแผนแม บ ทชุ ม ชนมา
สัมภาษณผปู ระสานงานกองทุน นายอุดร จำปาทอง 5 มกราคม 2553
45
ทบทวนกันอีกครั้งในชวงตนป 2545 จึงนำมาสู การทำกิจกรรมออมทรัพย โดยเริ่มจากธนาคาร หมบู า น หมทู ี่ 1 มาจากฐานธุรกิจชุมชน สมาชิก ระดมเงินออม และมีการจัดสวัสดิการชุมชนขึน้ มา
การบริหารจัดการกองทุน ธนาคารหมบู า น หมทู ี่ 1 และหมทู ี่ 7 เปน พื้ น ที่ นำร อ งที่ คิ ด ทำกิ จ กรรมออมทรั พ ย แ ละ สวัสดิการชุมชนกอนหมอู นื่ ๆ ในตำบล ในชวงตน (ป 2545) ไดรา งระเบียบกองทุนสวัสดิการชุมชนขึน้ โดยมีแกนนำชุมชนตามหมูบานตางๆ มาทำงาน รวมกัน แหลงที่มาของเงินทุนนั้นมาจากสมาชิก สมทบครอบครัวละ 100 บาท และผลกำไรจาก ธุรกิจชุมชนอีกรอยละ 15 ตอมาในชวงตนป 2546 ไดเปดยุทธศาสตรเชิงรุกขยายผลไปสกู ลมุ /องคกร ตางๆ ในชุมชนอยางตอเนือ่ ง และมีการแลกเปลีย่ น ความคิดในการจัดทำกองทุนสวัสดิการชุมชนระดับ ตำบลขึน้ มา ในเดือนมีนาคม 2546 ไดมขี อ สรุปจากการ จัดเก็บขอมูล กลมุ /องคกร พรอมดวยสถานภาพ ทางการเงินของแตละกลุม และการจัดสวัสดิการ ของแตละกลมุ /องคกร วามีเรือ่ งอะไรบาง มีเงิน กองทุนสวัสดิการเทาใด ดังนัน้ เมือ่ ขอมูลพรอมจึง ไดมกี ารรวมกลมุ /องคกร พรอมดวยทุนทีม่ อี ยใู น กลมุ /องคกร ไดจดั ตัง้ คณะทำงานขึน้ มาขับเคลือ่ น งาน โดยมี น ายเจริ ญ สุ ด รั ก ษ และนายอุ ด ร จำปาทอง เปนแกนนำ เชื่อมประสานกับเครือ ข า ยภาคประชาชนดวยกั น คณะกรรมการชุด ปจจุบนั มีทงั้ หมด 14 คน มาจากกลมุ ออมทรัพย ธนาคารหมูบาน และกองทุนหมูบาน โดยมีนาย สวัสดิ์ สมหมาย เปนประธานกรรมการกองทุน
46
สวัสดิการ มีรองประธานฝายตรวจสอบ และฝาย บริหาร ประชาสัมพันธ เหรัญญิก เลขานุการ และนายอภินันท ชนะภัย นายก อบต. เปนที่ ปรึกษา กองทุนสวัสดิการตำบลกะปางมีแหลงที่ มาเงินทุนจากการออมสมทบของสมาชิก จาก ธุรกิจชุมชนแตละหมบู า น การสมทบขององคการ บริหารสวนทองถิน่ และการบริจาคของเอกชน
ผลการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ กองทุนสวัสดิการชุมชน ถือเปนทีภ่ าคภูมใิ จ ของพี่นองชาวตำบลกะปาง โดยเฉพาะแกนนำ ตำบลไดมกี ารตืน่ ตัวในเรือ่ งงานสวัสดิการขึน้ ตาม ลำดับ และจะมีการเชื่อมโยงในระดับอำเภอและ จังหวัดตอไป การเปลีย่ นแปลงทีเ่ ริม่ มาตัง้ แตชว ง กอตั้งกองทุนสวัสดิการ เดิมใชชื่อวา “กองทุน ฌาปนกิ จ ” จนถึ ง ป จ จุ บั น สมาชิ ก ได ร ว มรั บ ผลประโยชน และไดขยายผล ชวยกันเผยแพร สรางความเขาใจกับบุคคลอืน่ ๆ ทีไ่ มไดเปนสมาชิก ตอไป ซึง่ ไดมผี สู นใจและสมัครเขารวมเปนสมาชิก เพิม่ ขึน้ แมวา จะมีปญ หาอุปสรรคทีเ่ กิดจากความ ไมเขาใจของคนบางกลุม แตคณะทำงานก็ไดไป ทำความเขาใจ และใหการเรียนรเู กีย่ วกับสวัสดิการ จนเปนที่พอใจ และเขาใจงานสวัสดิการมากขึ้น นอกจากนี้ ค ณะกรรมการได ทำความเข า ใจกั บ สมาชิก โดยมีแผนที่จะใหครอบคลุมสวัสดิการ ทุกดาน จึงไดเปลี่ยนชื่อเปน “กองทุนสวัสดิการ ตำบล” และไดพยายามขยายเปนศูนยการเรียนรู เพือ่ ขยายผลไปยังตำบลขางเคียงตอไป ผปู ระสานงาน อุดร จำปาทอง 086-283-6054
กองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลหนองตรุด อำเภอเมือง จังหวัดตรัง การกอเกิดของกองทุนสวัสดิการ เดิมทีตำบลหนองตรุด มีการจัดสวัสดิการ ฌาปนกิจศพของตำบล ชวยเหลือกันยามเสียชีวติ เพียงเทานัน้ ตอมาทางเจาหนาที่ พอช. และ พม. จ.ตรัง ไดเขามาสงเสริมสนับสนุนความรเู กีย่ วกับ การจั ด สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน ที่ ไ ม ใ ช เ พี ย งการจั ด สวัสดิการประเภทใดประเภทหนึง่ โดยเฉพาะ แต เปนการจัดสวัสดิการทีค่ รอบคลุมตัง้ แตเกิดจนตาย รวมถึงครอบคลุมการชวยเหลือดูแลคนพิการและ ผูดอยโอกาสในชุมชนดวย ทางแกนนำชุมชน จึงเกิดความสนใจ ไดไปศึกษาดูงานที่กองทุน สวัสดิการชุมชนตำบลทาขาม อ.หาดใหญ จ.สงขลา หลังจากนั้นก็ไดกลับมาประชุมเพื่อจัดตั้งคณะทำ งานกองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลหนองตรุด โดย เชิญผูนำและแกนนำชุมชนทั้งหมดในตำบลมา เขารวมประชุม เพื่อหาแนวทางชวยเหลือ ดูแล สมาชิกบนพืน้ ฐานเรือ่ งการจัดการเศรษฐกิจชุมชน ครัวเรือนใหเกิดความยัง่ ยืนอยางเปนรูปธรรม
การบริหารจัดการกองทุน กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลหนองตรุดเกิด ขึน้ อยางเต็มตัว เมือ่ วันที่ 29 สิงหาคม 2550 จาก ชวงเริ่มตนจนถึงปจจุบันครบหนึ่งปผานมา มี สมาชิกเพิม่ ขึน้ จากทุกหมบู า นในตำบล และมีเงิน กองทุนเพิ่มขึ้นเกือบเทาตัว รวม 122,200 บาท
µ ° r ¦ µ¦Á · ¨³ µ¦ ´ µ¦ ¦´¡¥µ ¦ ¦¼  ¼¦ µ µ¦ ° » ª n° ´Ê 29 · ®µ ¤ 2550 ª¤µ · Á¦·É¤Â¦ 477 ¦µ¥ { » ´ 690 ¦µ¥ ªÁ · » Á¦·É¤Â¦ 69,000 µ { » ´ 122,200 µ
ซึง่ มาจากผลกำไรธนาคารหมบู า น และกลมุ ออม ทรัพยจำนวน 9 กลมุ รวมเปนเงิน 90,000 บาท นอกจากนีย้ งั ไดเก็บเงินสมทบเพิม่ เมือ่ มีสมาชิก เสี ย ชี วิ ต ศพละ 20 บาท และ อบต. สมทบ กองทุนใหอกี 50,000 บาท คณะทำงานกองทุนสวัสดิการชุมชนมีทงั้ หมด 18 คน มาจากตัวแทนกลุมองคกรในตำบล 9 หมบู า นๆ ละ 2 คน มีการแบงบทบาทหนาทีเ่ พือ่ การทำงานทีส่ อดคลองกับพืน้ ที่ ซึง่ ประกอบดวย ประธาน,รองประธาน, เลขานุการ, ผชู ว ยเลขานุการ, เหรัญญิก, กรรมการบริหารกองทุน และมี อบต. เปนทีป่ รึกษากองทุน สมาชิกกองทุนสวัสดิการทั้งหมดจะตองเปน สมาชิกธนาคารหมูบาน หรือกลุมออมทรัพยใน ตำบลทุกคน เพือ่ ใหสมาชิกไดมเี งินออมและรจู กั
47
วินัยในการออมเงิน ยกเวนกรณีผูดอยโอกาส หรือผูเปราะบาง กองทุนจะชวยเหลือในการเขา รวมเปนสมาชิก กำหนดการฝากสงเงินรายเดือน มีการสือ่ สารกับสมาชิกในรูปแบบการจัดทำเอกสาร รายเดื อ นแจ ง ให ส มาชิ ก ทราบ, ประชุ ม คณะ กรรมการทุกๆ เดือน และประชุมสมาชิกทุก 3 เดื อ น ใช ร ะบบลงไปในพื้ น ที่ ประชาสั ม พั น ธ โดยใช เ สี ย งตามสาย ติ ด ประกาศในการรั บ สมาชิกใหม และชองทางอืน่ ๆ
ผลการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ ชุมชนมีกองทุนสวัสดิการของตนเองแลว ไดนำไปสกู ระบวนการบริหารจัดการทีด่ ี ชาวบาน มีการออมเงินกันมากขึน้ อยางเห็นไดชดั และสราง ภูมิคุมกันใหกับชุมชน มีการแบงปนชวยเหลือ เอือ้ เฟอ เผือ่ แผกนั ภายใตกลมุ องคกรชุมชนทีเ่ กิด การบูรณาการกองทุน สูกระบวนการแกปญหา ทุกเรื่อง เชน การบริโภคที่ปลอดภัยตอสุขภาพ จากสารเคมี การสรางครอบครัวที่พอเพียงตาม วิ ถี ดั้ ง เดิ ม โดยเลี้ ย งปลาในบ อ ดิ น การปลูกผัก สวนครัวตามริมรัว้ บานเพือ่ การบริโภคในครัวเรือน โดยมีการจัดสวัสดิการใหกับสมาชิก ตั้งแตเรื่อง รับขวัญเด็กแรกเกิด, คารักษาพยาบาล, กองทุน การศึกษาสำหรับเยาวชน, ใหความรเู รือ่ งเศรษฐกิจ
48
พอเพียง, ตรวจสุขภาพประจำปผูสูงอายุ และ กรณีสมาชิกประสบภัยพิบตั ิ นอกจากนีก้ องทุนสวัสดิการชุมชนยังไดเชือ่ ม โยงกับกลมุ และเครือขายใน 3 ประเด็นงานพัฒนา ไดแก ดานองคกรการเงินชุมชน บูรณาการทุน จากทุกธนาคารหมูบาน ดานการพัฒนาอาชีพ เชือ่ มโยงกิจกรรมกับกลมุ ปลูกผัก กลมุ เลีย้ งปลา และกลุ ม เลี้ ย งโค ด า นการจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม เชือ่ มโยงกับเครือขาย ลุ ม น้ำ ตรั ง ทั้ ง สาย ตั้ ง แต ต อนบนถึ ง ตอนล า ง ครอบคลุมหลายอำเภอ อีกทั้งรวมกิจกรรมการ แก ไ ขป ญ หาน้ำ ท ว ม และฟ น ฟู สิ่ ง แวดล อ ม จ.ตรัง สามารถประสานความรวมมือ ทำงาน รวมกับ อบจ. อบต. และหนวยงานเอกชนตางๆ ทำใหการจัดสวัสดิการของตำบลหนองตรุดนั้น เปนมากกวาการจัดสวัสดิการเกิด แก เจ็บ ตาย หากแตยังครอบคลุมถึงวิถีชีวิต การดูแลเกื้อกูล กั น ระหว า งคนกั บ ธรรมชาติ มี ก ารบู ร ณาการ คนทำงาน หนวยงานในพืน้ ที่ และบูรณาการทุน ชุมชน เพือ่ ใหเกิดความยัง่ ยืนตลอดไป ผปู ระสานงาน วิจารณ พลอินทร 087-263-7759
ภาคกลางตอนบนและตะวันตก กองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลปากแพรก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ขอมูลทัว่ ไป ตำบลปากแพรก เปนตำบลที่ตั้งอยูในเขต การปกครองของอำเภอเมืองกาญจนบุรี มีจำนวน หมูบานทั้งสิ้น 13 หมูบาน ไดแก บานลิ้นชาง, บ า นเขาแหลม, บ า นเขาตอง, บ า นวั ง สารภี , บานหัวนา, บานปายุบ, บานเขาเม็งอมรเมศร, บ า นห ว ยน้ำ ใส, บ า นหั ว เขา, บ า นหั ว นาล า ง, บานพรางนิมติ , บานลมุ ดงกระเบา, บานเขาเม็ง พัฒนา
การกอเกิดของกองทุนสวัสดิการ จากแนวคิ ด สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน ที่ มุ ง มั่ น จะแกไขปญหาความยากจนอยางยัง่ ยืน การขยาย ผลจากสวัสดิการสวนกลางสูจังหวัด ผูนำชุมชน สนใจที่จะเขารวมขบวนการดังกลาวจึงไดเริ่มตน รวบรวมอาสาสมัครในตำบล เชน อาสาสมัคร ประชาสงเคราะห อาสาสมัครดูแลคนปญญาออน อาสาสมัครดูแลผสู งู อายุ และอาสาสมัครสาธารณสุข รวมตัวกันจัดการดำเนินการ เนื่องจากในตำบล มี ทุ น ทางสั ง คมมาก เช น กองทุ น หมู บ า น ร า นค า ชุ ม ชน กลุ ม ออมทรั พ ย กลุ ม สมุ น ไพร กลุม OTOP กลุมดอกไมประดิษฐ ซึ่งสามารถ เอื้ออาทรตอกันได โดยเฉพาะองคการบริหาร
o°¤¼¨ ° » ª´ · µ¦ »¤ ε ¨ µ ¡¦ ª n° ´Ê 2 ¤ ¦µ ¤ 2547 ª¤µ · Á¦·É¤Â¦ 295 ¦µ¥ ª { » ´ 558 ¦µ¥ ªÁ · » Á¦·É¤Â¦ 10,950 µ ª { » ´ 100,550 µ
สวนตำบลใหการสนับสนุนในการเขาแผนตั้งแต ป 2550 เปนตนมา เริม่ ตนทำการประชาสัมพันธใหประชาชนใน หมูบานไดมีความเขาใจ และรับสมัครสมาชิก โดยเริ่มจากอาสาสมัครกอน จึงขยายตอไปยัง หมู บ า นอื่ น ๆ คณะกรรมการรั บ สมาชิ ก ที่ เ ป น คนในกลมุ อายุระหวาง 18-70 ป และมีการขยาย ฐานสมาชิกโดยคณะกรรมการกองทุนไดเขารวม กับกองทุนหมูบาน ทุนทางสังคม และองคการ บริหารสวนตำบล กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบล ปากแพรก
การบริหารจัดการกองทุน การบริหารจัดการกองทุนภายใตกฎระเบียบ ของกองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลปากแพรก
49
กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลปากแพรก
มีคณะกรรมการ 7 ฝาย คือ 1.ฝายบัญชีเงินฝาก/ ผูเปดบัญชีและเบิกจาย 2.ฝายการเงินและบัญชี 3. ฝายเลขานุการ 4.ฝายตรวจสอบ 5.ฝายทะเบียน 6.ฝายประชาสัมพันธ 7.ฝายประสานงาน และ 8.ทีป่ รึกษา ไดแก นายก อบต. พมจ.กาญจนบุรี สาธารณสุข พัฒนาชุมชน และประธานกองทุน หมบู า นทัง้ 13 หมบู า น ประเภทของสวั ส ดิ ก ารที่ จั ด ให กั บ สมาชิ ก มีดงั นี้ - สมาชิ ก เกิ ด ใหม เยี่ ย มแม 200 บาท ทำขวัญลูกฝากออมทรัพยให 500 บาท - สมาชิกปวยเยีย่ มไข 300 บาท - ผสู งู อายุไมมญ ี าติ เยีย่ มไข 300 บาท - อาสาสมัครดูแลผสู งู อายุเฝาคืนละ 100 บาท ปจจุบนั มีอาสาสมัคร 12 คน ผลัดเปลีย่ นกันดูแล
50
- ผพู กิ าร ผดู อ ยโอกาส ปวยเยีย่ ม 200 บาท โดยไมตอ งเปนสมาชิก - เด็กติดเชื้อ/ผูปวยติดเชื้อเขาโรงพยาบาล เยีย่ ม 200 บาท - สมาชิ ก เสี ย ชี วิ ต สวั ส ดิ ก ารสงเคราะห ครอบครัว 5,000 บาท - เปนสมาชิกครบ 60 วัน จึงมีสทิ ธิรบั บริการ ได สำหรับผสู งู อายุ ผดู อ ยโอกาส ผตู ดิ เชือ้ ไม ตองเปนสมาชิก ผลการดำเนินงานในชวงปทผี่ า นมา กองทุน สวัสดิการชุมชนตำบลปากแพรกมีการชวยเหลือ ดูแลคนที่เปนสมาชิกและครอบคลุมไปถึงผูพิการ ผดู อ ยโอกาส ผตู ดิ เชือ้ HIV ในตำบล มีการประสาน กับกลมุ กิจกรรมตางๆ ในตำบลใหเขามามีสว นรวม เกิดการเรียนรรู ว มกันกับเครือขายจังหวัด
สิง่ ทีจ่ ะดำเนินการตอไป -
ขยายฐานการจัดสวัสดิการใหครอบคลุมและทัว่ ถึง พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการในดานการเรียนรูใหมากขึ้น ประสานภาคีทเี่ กีย่ วของใหมสี ว นรวมทีเ่ ปนรูปธรรมมากขึน้ มีการสงเสริมอาชีพ วัฒนธรรม และภูมปิ ญ ญาทองถิน่ บริหารกองทุนอยภู ายใตระเบียบของกองทุน ใหทนุ การศึกษากับเด็กนักเรียนทีด่ อ ยโอกาส และเด็กทีเ่ รียนดีแตยากจน เชือ่ มโยงสวัสดิการผสู งู อายุ และสวัสดิการอืน่ ๆ ใหเปนขบวนเดียวกันในตำบล โดยบูรณาการ สวัสดิการตางๆ และกลุมออมทรัพย ประกันความเสี่ยงใหรวมกันเปนสวัสดิการพึ่งตนเองได ระดับหนึง่ ผปู ระสานงาน นางวิเชียร บัวซอน เลขที่ 10 หมู 10 เทศบาลตำบลปากแพรก ตำบลปากแพรก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี โทร.089-5517804
51
กองทุนสวัสดิการ ตำบลวิหารขาว อำเภอทาชาง จังหวัดสิงหบรุ ี ขอมูลทัว่ ไป ตำบลปากแพรก แบงการปกครองเปน 5 หมบู า น มีวดั 1 วัด คือ วัดวิหารขาว โรงเรียน 1 โรงเรียน คือ โรงเรียนวิหารขาว มีสถานีอนามัย 1 แหง คือ สถานีอนามัยตำบลวิหารขาว สมาชิก กองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลวิหารขาว ครอบ คลุมทุกหมบู า น
การกอเกิดของกองทุนสวัสดิการ กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลวิหารขาว เกิดจากความตองการของชุมชนที่เกิดจากการ จัดเวทีประชาคมของชาวบานวิหารขาว เพือ่ ชวย เหลือสมาชิกในเรือ่ ง เกิด แก เจ็บ ตาย โดย สมาชิ ก ร ว มกั น ออมวั น ละบาท ในการจั ด เวที ประชาคม มีคณะกรรมการเครือขายระดับจังหวัด ระดับอำเภอ รวมชี้แจงรายละเอียด การจัดตั้ง กองทุนสวัสดิการชุมชน ชาวบานวิหารขาวเห็นดี และกลมุ ทำงานในหมบู า นรวมสนับสนุน เกิดการ รวมตัวกันจึงเกิดเปนกองทุนสวัสดิการชาวบาน ตำบลวิหารขาวขึน้ เมือ่ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548
การบริหารจัดการกองทุน เมื่อชาวบานสวนใหญเห็นชอบเรื่องการจัด สวัสดิการ เกิด แก เจ็บ ตาย ก็มีการเสนอ
52
ךĂöĎúÿëćîąÖĂÜìčî ª n° ´Ê 15 ¡§¬£µ ¤ 2548 ª¤µ · Á¦·É¤Â¦ 276 ¦µ¥ { » ´ 476 ¦µ¥ ª Á · ° » { » ´ 380,000 µ
ę
คณะกรรมการขึน้ มา โดยคณะกรรมการมี 14 คน แบงออกเปนหมลู ะ 2 -3 คน เมือ่ ไดคณะกรรมการ หมลู ะ 3 คณะ รวม 5 หมู มีทงั้ หมด 14 คน ประกอบดวย ประธาน รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก มีการประชุมแตงตั้งตำแหนงกันตาม ความเหมาะสม ตามความสามารถของแตละคน โดยมีพันตรีวิเชียร นาคสุข เปนประธานกองทุน สวัสดิการชุมชน ในการดำเนินงาน จะประชุมคณะกรรมการ เดือนละ 1 ครัง้ โดยเหรัญญิกรายงานสถานการณ การเงิน/การเยีย่ มสมาชิก ใครบาง ปวย เกิด ตาย ในการเยีย่ มสมาชิกทีป่ ว ย คณะกรรมการแตละหมู จะเปนผรู บั ผิดชอบ ถาสมาชิกเสียชีวติ คณะกรรม การทุกคนจะไปรวมงานมอบการชวยเหลือเบือ้ งตน การสมทบกองทุนสวัสดิการชุมชน มาจาก 1) กออมสมทบวั 2) สมาชิ อบต.ให การสนับสนุนละบาท การดำเนินกิจกรรม
ผิดชอบอยางเดนชัด จนปจจุบันการดำเนินงาน เขาสปู ท ี่ 3 สมาชิกจะเพิม่ ขึน้ ทุกป และไมมสี มาชิก ลาออก แสดงวาประชาชนชาววิหารขาวเริ่มเห็น ความสำคัญในอนาคต คิดวาประชาชนทุกคนใน ตำบลวิ ห ารขาวต อ งสมั ค รเป น สมาชิ ก กองทุ น สวัสดิการครบ 100%
ของกองทุนสวัสดิการชุมชนตั้งแตป 2549 ถึง ปจจุบนั รวม 80,000 บาท 3) กองทุนหมบู า นใหการสนับสนุน หมบู า น ละ 1,000 บาท 4) สมาชิกเมือ่ เสียชีวติ จะไดคา ทำศพ 20,000 บาท ญาติ จ ะบริ จ าคเงิ น ส ว นหนึ่ ง เพื่ อ สมทบ กองทุน เพื่อใหกองทุนเติบโตขึ้น มีความมั่นคง อยดู กี บั ประชาชนชาววิหารขาวตลอดไป
สิง่ ทีก่ องทุนคิดจะทำเปนการตอไป กองทุนสวัสดิการชาวบานตำบลวิหารขาวจะมี ความมัน่ คงและมีความยัง่ ยืนตลอดไป จะพยายาม คงรากฐานการบริหารงานใหมั่นคง และเปนที่ ยอมรับของทุกฝาย และจะเปนแหลงเรียนรูเรื่อง สวัสดิการชุมชนโดยชุมชน เพื่อชุมชน ในอนาคตประชาชนตำบลวิหารขาว จะตอง เปนสมาชิกทุกคนในการจัดสวัสดิการ เกิด แก เจ็บ ตาย แลวเมือ่ กองทุนโตขึน้ ๆ จะมีสวัสดิการ อยางอื่นอีก เปนสวัสดิการบุตรสมาชิกในดาน การศึกษา ดานสาธารณะตางๆ นอกเหนือจาก สวัสดิการผดู อ ยโอกาส/ผสู งู อายุทกี่ องทุนสวัสดิการ ชุมชนตำบลวิหารขาวดำเนินอยแู ลว
ผลการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ แรกเริม่ ดำเนินกิจกรรมกองทุนสวัสดิการ ชุมชนมีสมาชิก 276 คน โดยความสมัครใจ และ สมาชิกเพิ่มขึ้นทุกป ปจจุบันมีสมาชิก 476 คน กองทุนกำลังเจริญเติบโตอยางชาๆ การบริหาร ของคณะกรรมการเปนแบบโปรงใส พรอมให สมาชิกตรวจสอบทุกเวลา มีการประชุมสมาชิก เพื่อชี้แจงเรื่องสถานการณการเงิน/สมาชิก/การ ชวยเหลือตางๆ ใหสมาชิกรวมตรวจสอบ การ ทำงานของคณะกรรมการเพื่ อ สร า งศรั ท ธา/ ความมัน่ คง เปนการปูพนื้ ฐานใหเกิดความมัน่ คง อยไู ดดว ยตนเอง
สภาพปญหาและการแกไข สิง่ ทีไ่ ดเรียนรู ป ญ หาจากการดำเนิ น กิ จ การครั้ ง แรก สมาชิ ก ยั ง ป ว ย เพราะยั ง ไม มี ค วามมั่ น ใจ ว า กองทุนสวัสดิการชาวบานจะมั่นคงยั่งยืนหรือไม โดยคณะกรรมการทีร่ ว มงานนีพ้ ยายามสรางความ มัน่ ใจ สรางศรัทธา บริหารงานดวยความโปรงใส พรอมรับการตรวจสอบ มีการแบงหนาทีค่ วามรับ
53
ผปู ระสานงาน นางสุรางค ศรีแจมดี โทร.08-6107-0234 ที่ทำการกองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลวิหารขาว 107 ม. 2 ต.วิหารขาว อ.ทาชาง จ.สิงหบรุ ี
ภาคกรุงเทพฯ ปริมณฑลและตะวันออก กองทุนสวัสดิการ ตำบลทงุ โพธิ์ อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี ขอมูลทัว่ ไป ตำบลทงุ โพธิเ์ ปน 1 ใน 6 ตำบลของอำเภอ นาดี จังหวัดปราจีนบุรี ประกอบดวย 7 หมบู า น มีพื้นที่ 86,875 ไร กวารอยละ 60 เปนพื้นที่ เกษตรกรรม ลักษณะพื้นที่ลาดชันและเนินเขา กวารอยละ 70 ประชากรในพื้นที่จริงประมาณ 5,800 คน 1,800 ครั ว เรื อ น อั ต ราส ว นชาย/ หญิงใกลเคียงกัน ชาวทงุ โพธิม์ อี าชีพเกษตรกรรม รอยละ 65 คาขายประมาณรอยละ 15 สวนที่ เหลือเปนอาชีพรับจางในโรงงานอุตสาหกรรม รั บ จ า งทั่ ว ไป และรั บ ราชการเป น ส ว นน อ ย ในตำบลมีโรงเรียนระดับมัธยม 1 แหง โรงเรียน ระดับประถม 4 แหง สถานีอนามัย 2 แหง และมี วัด/สำนักสงฆ 8 แหง
การกอเกิดของกองทุนสวัสดิการ จากแผนชุมชนพึ่งตนเองเพื่อเอาชนะความ ยากจนตำบลทงุ โพธิพ์ บวา ชาวบานกวารอยละ 80 ไมมรี ะบบสวัสดิการใดๆ การสงเคราะหชว ยเหลือ คนด อ ยโอกาส คนพิ ก าร ผู สู ง อายุ ไ ม ทั่ ว ถึ ง มี ช าวบ า นจำนวนมากไม ส ามารถเข า ถึ ง ระบบ สวัสดิการ สวนระบบสงเคราะหที่ทางหนวยงาน อื่ น ๆ จั ด ให ไ ม ค รอบคลุ ม 9 อย า งของระบบ สวัสดิการเชน เกิด แก เจ็บ ตาย ทุนการศึกษา
54
µ ° r ¦ µ¦Á · »¤ ¦¼  °°¤ª´ ¨³ µ ª n° ´Ê 2 »¨µ ¤ 2549 ª¤µ · { » ´ 1,550 ¦µ¥ ªÁ · » { » ´ 350,000 µ
ทุนประกอบอาชีพ สวัสดิการคนทำงาน ผูดอย โอกาส และสวัสดิการเงินฝาก ซึง่ คนในชุมชนมี ความตองการสิ่งเหลานี้ การจัดสวัสดิการชุมชน ตำบลทงุ โพธิจ์ งึ เริม่ มาจากการไปศึกษาเรียนรพู นื้ ที่ ตนแบบตำบลดอนยอ จังหวัดนครนายก โดยแกน นำกองทุนหมบู า น 7 หมบู า น แลวรวมหารือรวม กันกวา 3 เดือน สามารถจัดตั้งคณะทำงานและ ร า งระเบี ย บชั่ ว คราวได ประกอบดวยตัวแทน หมบู า นละ 3 – 4 คน ปจจุบนั มีคณะกรรมการทัง้ หมด 8 คน โดยมีนายศิรพิ งษ ฉายวัฒนะ เปน ประธานกองทุน ในชวงจัดกระบวนการ ชุมชนมี แหลงขอมูลหลักไดจากคณะทำงานทีเ่ ชือ่ มประสาน กับสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (พอช.) จากนัน้ ได จัดตั้งกองทุนสวัสดิการจากฐานกลุมออมทรัพย และกองทุนหมบู า น ในชวงเริ่มตน ไดมีการจุดประกาย สราง ความเขาใจกับผนู ำชุมชนในเรือ่ งแนวคิดสวัสดิการ
ชุมชน ที่ตองการใหสมาชิกไดรับการดูแลตั้งแต เกิดจนตาย โดยลดรายจายเพือ่ ออมวันละ 1 บาท เพื่อนำมาจัดสวัสดิการดูแลทุกขสุขซึ่งกันและกัน และใหเขาใจแนวคิดวาเปน “การใหอยางมีคณ ุ คา รับอยางมีศกั ดิศ์ รี” จากนัน้ เปนเวทีการใหความรู โดยผนู ำชุมชนเปนกระบอกเสียงพูดคุยกับชาวบาน ใหเขาใจและเห็นถึงความจำเปนของการสราง สวัสดิการดูแลกันเอง ขัน้ ตอนนีต้ อ งคุยใหถงึ ตนตอ เพือ่ ใหชาวบานเขาใจอยางทีเ่ ราเขาใจวา ทำไมเรา ตองมาจัดสวัสดิการกันเอง มีกองทุนแลวจะเกิด ประโยชนกบั ตัวเองและลูกหลาน หา ขัน้ ตอนการติดตามประเมินผลเพือ่ แกปญ หลั ง การเริ่ ม จั ด ตั้ ง “กองทุนสวัสดิการชุมชน วันละ 1 บาทตำบลทุงโพธิ์” ไดมีการทบทวน ปญหาอุปสรรค ระบบเอกสาร ระบบการสือ่ สาร ระบบการจัดเก็บรวบรวมเงินออม ระบบการจัด ทำบั ญ ชี ใ นระยะเริ่ ม แรกจนถึ ง ระยะ 180 วั น ทบทวนเหตุผลของการเพิ่มหรือลดของสมาชิก การเสริมสรางความเขาใจเรือ่ งสวัสดิการชาวบาน เพือ่ ใหครอบคลุมทัว่ ทัง้ ตำบล การตรวจสอบและ ปรับปรุงขบวนการใหเหมาะสมและสะดวกในการ บริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด
การจัดสวัสดิการทีเ่ กิดขึน้
การจัดสวัสดิการของตำบลทุงโพธิ์ ไดจัด สวัสดิการทัง้ หมด 9 เรือ่ ง ไดแก • สวัสดิการยามแกชรา มีคาเลี้ยงชีพเมื่อ ยามชราอายุ 60 ปขนึ้ ไป • สวัสดิการรักษาพยาบาล กรณีเจ็บปวย นอนโรงพยาบาล ไดคืนละ 100 บาท จายปละ ไมเกิน 10 คืน รวม 1,000 บาท ถาสมาชิกมีฐานะ
ค อ นข า งลำบาก คณะกรรมการก็ จ ะร ว มกั น พิจารณาการจัดสวัสดิการทีเ่ พิม่ มากขึน้ กวาเกณฑ ที่กำหนด • สวัสดิการเพือ่ การศึกษา จัดเงินกองทุนให สมาชิกไปจายคาเทอมใหกับบุตรไดคนละ 1,000 บาท ตามกลมุ เปาหมายทีค่ ณะะกรรมการรวมกัน ดู โดยไมจำกัดวาครอบครัวนัน้ จะมีบตุ รกีค่ น • สวัสดิการเพือ่ การประกอบอาชีพ คณะกรรม การจะสรรหาอาจารย หรือผมู คี วามรมู าฝกอบรม อาชีพใหแกสมาชิก • สวัสดิการผดู อ ยโอกาส กองทุนจะจายเงิน เขากองทุนแทนผดู อ ยโอกาส ทุนละ 1,000-1,500 บาท • สวั ส ดิ ก ารคนทำงาน จ า ยค า ตอบแทน คนทำงาน เชน จายเงินออมเพื่อสวัสดิการแทน หรือจายเปนคาน้ำมันยานพาหนะเมื่อคณะกรรม การเดินทางทำงานในพืน้ ที่ • สวั ส ดิ ก ารเงิ น กู ยื ม ให ส ถาบั น การเงิ น (ซึ่ ง เป น กลุ ม ที่ เ กิ ด มาจากกองทุ น สวั ส ดิ ก ารอี ก ทีหนึง่ ) ทีม่ ใี นตำบลยืมไปเปนกองทุนหมุนเวียนให สมาชิกกยู มื โดยคิดดอกเบีย้ รอยละ 1 ตอป • สวั ส ดิ ก ารการเสี ย ชี วิ ต กรณี เ สี ย ชี วิ ต กองทุนใหพวงหรีด 300 บาท เปนเจาภาพงานศพ 400 บาท (ใสซองใหกบั พระสงฆทมี่ าสวดอภิธรรม) เมือ่ เปนสมาชิกในระหวาง 6 เดือนถึง 1 ป จาย คาทำศพ 5,000 บาท ครบ 1 ป จายคาทำศพ 10,000 บาท ครบ 3 ป จายคาทำศพ 15,000 บาท • สวัสดิการการเกิด กรณีคลอดบุตร ใหคา ทำขวัญเด็กแรกเกิด 500 บาท โดยเปดบัญชีเปน ทุนการศึกษา แมไดสวัสดิการอีก 500 บาท และ เบิกคานอนโรงพยาบาลไดคนื ละ 100 บาท ไมเกิน
55
3 คืน
สิง่ ทีจ่ ะดำเนินการตอไป ยุทธศาสตรของตำบลทงุ โพธิ์ คือ การสราง คน สรางอาชีพ รักษาสิ่งแวดลอม และฟนฟู วัฒนธรรม โดยมีเปาหมายจะทำกิจกรรม 6 กองทุน/ กลมุ ไดแก กองทุนน้ำดืม่ สะอาดของชุมชนเพือ่ ชุมชน กองทุนกลาไม/พันธุพืชของชุมชน เพื่อ ชุมชน กองทุนสวัสดิการชาวบาน กองทุนขาว ชุมชนเพื่อชุมชน กองทุนปุยอินทรียชีวภาพของ
ชุมชนเพือ่ ชุมชน และกลมุ คนจนทายบาน ชุมชน สามารถขับเคลื่อนงานโดยศูนยคุณธรรมตำบล กองทุนสวัสดิการชุมชน สภาวัฒนธรรม และสภา เยาวชน และมีภาคีรวมพัฒนากองทุนสวัสดิการ ชุมชน ไดแก อบต. พอช. พมจ. ศพส. เปนตน ผปู ระสานงาน นายไชยยศ โนจิตต หมายเลขโทรศัพท 087-142-5324
“พัฒนาคน โดยการจัดการความรู พัฒนาอาชีพ โดยกิจกรรมลดรายจายเพิม่ รายได ฟน ฟูทรัพยากร โดยเกษตรอินทรีย”
56
กองทุนสวัสดิการตำบลบางบอ อำเภอบางบอ จังหวัดสมุทรปราการ ตำบลบางบอ จังหวัดสมุทรปราการ ถือเปน ตำบลที่มีชื่อเสียงโดงดังเรื่องความอรอยของปลา สลิดแดดเดียว จนตลาดคาขายคึกคักไปดวยลูกคา ทัง้ ขาจรและขาประจำตองแวะซือ้ เปนของฝากหาก มีโอกาสไดผา นไป ซึง่ รสชาติของความอรอยนีเ้ อง ที่ยังคงยึดครองตลาดปลาสลิดแดดเดียวไดอยาง เหนียวแนนและตอเนือ่ งมานาน หากยอนมองดูความจริงแลว หาใชวิถีชีวิต ทองถิ่นที่สืบทอดกันมาตั้งแตบรรพบุรุษไม มัน เปนเพียงการปรับอาชีพใหสอดคลองกับสภาพ ความเปลี่ยนแปลงและภาวะทางสังคมมากกวา ซึ่งจากที่เคยทำนาขาวแลวมาเลี้ยงปลาสลิดและ ทำนากุง จึงเปลี่ยนสภาพพื้นที่ทางการเกษตร จากเดิมอยางสิ้นเชิงและขยายเปนวงกวางตาม กระแสสังคม ท า ยที่ สุ ด ก็ ล ม สลายด ว ยโรคภั ย ทางเกษตรเชิ ง เดี่ ย วและกลไกของตลาด ทำ หั ถ ตกรรมในครั ว เรื อ น โดยเฉพาะเครื่ อ งมื อ จับปลา พึ่งพาเอื้ออาทร อันเปนการดำรงชีพที่ เรียบงายเปนเอกลักษณของตนเอง นายภูหะพัฒน มัง่ มี หรือทีช่ าวบานเรียกวา “พีภ่ ”ู ประธานชุมชน บานคลองกันยา ผูจุดประกายพี่นองใหลุกขึ้นสู ดวยลำแขงของคนในชุมชน พีภ่ บู อกวา เมือ่ กอนการแปลงสภาพนาขาว เปนนากุง เลี้ยงปลา ก็มแี ตทำใหชาวบานจนลง และเปนหนีม้ ากขึน้ คนสวนใหญจงึ ไปทำงานโรงงาน เพราะไมมเี งินลงทุนแลว สวนทีเ่ หลือจึงมาคิดหา
ทางออกเพื่ อ มี ร ายได แ ละปลดหนี้ จึ ง มี ก าร รวมกลมุ กันขึน้ ครัง้ แรก มีสมาชิก 70 ครอบครัว เก็บเงินกันคนละ 100 บาท เพือ่ เปนกองทุนในการ ประกอบอาชีพ ตอมาไดจดั ตัง้ เปน “กองทุนหมุน เวี ย น” เป น แกนกลางในการรวมทุ น กู ยื ม ไป ประกอบอาชีพ เงินดอกผลนำไปจัดสวัสดิการให กับสมาชิก
กองทุนสวัสดิการชุมชนทองถิน่ เปนคำตอบสุดทาย ภาพการช ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล กั น เด น ชั ด เป น รูปธรรมมากขึน้ ดังนัน้ จากบทเรียนทีค่ น พบความ เปนจริงของสังคม จึงไดระดมความคิดจัดตัง้ เปน กลมุ ออมทรัพยขนึ้ โดยเริม่ จากบานคลองกันยาที่ มี ค วามเดื อ ดร อ นด า นที่ ดิ น และที่ อ ยู อ าศั ย ซึ่ ง คนส ว นใหญ เ ช า ที่ ดิ น ของเอกชนและกรม ชลประทานสรางที่อยูอาศัย จึงตั้งเปนกลุมออม ทรั พ ย เ พื่ อ สร า งบ า น เมื่ อ มี เ งิ น พอจึ ง ได เ สนอ สินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัยตอสถาบันพัฒนาองคกร ชุมชน เมือ่ ชุมชนขางเคียงทีม่ ปี ญ หาแบบเดียวกัน เห็นเขาจึงทำตาม จนขยายเปนเครือขายในตำบล บางบอกวา 16 ชุมชน 11 หมบู า น อยางไรก็ตาม ชุมชนไมไดมุงหวังเพียงให ชุมชนมีที่อยูอาศัยและเพื่อมีทุนในการประกอบ อาชีพเทานั้น จึงไดจัดตั้งเปนกองทุนสวัสดิการ วันละ 1 บาท ภาคประชาชนตำบลบางบอ จัดตัง้
57
ขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2548 โดยแยกออก จากกลมุ ออมทรัพยเดิมทีม่ อี ยแู ลว จากนัน้ จึงเปด รับสมาชิกใหม โดยจายคาสมัคร 50 บาท และ จายคาบำรุง 20 บาทตอป เพือ่ นำไปจัดสวัสดิการ ตั้ ง แต เ กิ ด จนตาย เพื่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น ใน อนาคตใหมีความมั่นคงในชีวิต จากมีผูเขารวม เปนสมาชิกเพียง 70 คน ปจจุบนั มีสมาชิก 207 คน เงินออมกวา 100,000 บาท ดานการบริหารการ จัดการกองทุนจะอยภู ายใตคณะกรรมการ 15 คน โดยสมาชิกเลือกเปนตัวแทนทัง้ 16 ชุมชน โดยมี ประธาน รองประธาน เลขานุ ก าร เหรั ญ ญิ ก บัญชี นายทะเบียน ประชาสัมพันธ และตำแหนง อื่ น ๆ ตามที่ ค ณะกรรมการเห็ น สมควร เมื่ อ สมาชิกสมทบเงินครบ 365 บาท ครบ 6 เดือน ขึน้ ไป คณะกรรมการจะนำเงินนัน้ มาจัดสวัสดิการ รวมกัน การรั บ ฝากเงิ น สวั ส ดิ ก าร จะให ค ณะ กรรมการแตละชุมชนเก็บเงินกับสมาชิกเพือ่ นำมา สงทีส่ ว นกลาง จากนัน้ จึงเริม่ ใหสวัสดิการสำหรับ สมาชิก 5 ประเภท ดังนี้ • สวัสดิการเกิด เมื่อสมาชิกคลอดบุตรจะ ไดรับเงินสงเคราะหในการคลอดบุตรพักฟนใน การนอนโรงพยาบาล คืนละ 200 บาท ไมเกิน 5 คืน บุตรจะไดเงินรับขวัญ 500 บาท โดยจาย ใหเปนกองทุนสวัสดิการสำหรับเด็ก • สวัสดิการบำนาญชราภาพ (ผู สู ง อายุ ) โดยจายเงินบำนาญใหสมาชิกมีอายุครบ 60 ป จนกระทั่งเสียชีวิต เชน เปนสมาชิกครบ 10 ป มีอายุครบ 60 ปไดรบั เงินบำนาญเดือนละ 200 บาท เปนสมาชิกครบ 15 ป มีอายุครบ 60 ปไดรบั เงิน บำนาญเดือนละ 300 บาท เปนสมาชิกครบ 60 ป
58
มีอายุครบ 60 ป ไดรบั เงินบำนาญเดือนละ 1,200 บาท ทั้งนี้ใหนำหลักฐานแสดงถึงอายุการเปน สมาชิ ก กองทุ น หรื อ หลั ก ฐานการบำนาญ ชราภาพ ประกอบคำรองขอรับเงินสิทธิประโยชน การชราภาพ และทางกองทุนสวัสดิการฯ จะหัก คาบริหารจัดการ ณ ทีจ่ า ย 3% ของยอดเงินทีไ่ ดรบั • สวัสดิการเจ็บ สมาชิกเจ็บปวยไข เปน ผู ป ว ยนอก จะได รั บ เงิ น สงเคราะห ค า รั ก ษา พยาบาลของโรงพยาบาล/คลินิก ตามความเปน จริง โดยไมเกินครัง้ ละ 300 บาท ตอครัง้ ตอเดือน สมาชิ ก เจ็ บ ป ว ยไข เ ป น ผู ป ว ยในจะได รั บ เงิ น สงเคราะหคารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลหรือ คลินกิ ตามความเปนจริงแตไมเกินครัง้ ละ 500 บาท สมาชิกจะไดรบั เงินสงเคราะหคา นอนโรงพยาบาล คืนละ 200 บาท ไมเกิน 5 คืน • สวัสดิการเสียชีวิต จายคาทำศพใหตาม อายุการเปนสมาชิก เชน เปนสมาชิกครบ 5 เดือน จะไดรบั เงินสงเคราะหศพ 10,000 บาท เปนสมาชิก ครบ 1 ป จะไดรบั เงินสงเคราะหศพ 12,000 บาท และเปนสมาชิกครบ 20 ปขนึ้ ไปจะไดรบั สวัสดิการ 30,000 บาท เปนตน ทั้งนี้ใหญาติของสมาชิก ที่เสียชีวิตนำหลักฐานใบมรณะบัตรมาประกอบ คำรองขอรับเงินสิทธิประโยชนการเสียชีวิต และ ทางกองทุนจะหักคาบริหารจัดการ ณ ทีจ่ า ย 3% ของยอดเงินทีไ่ ดรบั • สวัสดิการเพือ่ การศึกษา เมือ่ เปนสมาชิก ตัง้ แตแรกเกิดจนถึงเขาเรียนตามเกณฑการศึกษา ภาคบังคับ หรือมีอายุการเปนสมาชิกกองทุน 7 ป ไดรบั เงินสวัสดิการการศึกษาปละ 300 บาท เปน สมาชิกตั้งแตแรกเกิดจนถึงเขาเรียนตามเกณฑ การศึกษาภาคบังคับหรือมีอายุการเปนสมาชิก
กองทุน 10 ป ไดรบั เงินสวัสดิการการศึกษาปละ 500 บาท และเมือ่ เปนสมาชิกตัง้ แตแรกเกิดจนถึง เขาเรียนตามเกณฑการศึกษาภาคบังคับหรือมีอายุ การเปนสมาชิกกองทุน 13 ป ไดรบั เงินสวัสดิการ การศึกษาปละ 700 บาท ทัง้ นีใ้ หนำหลักฐานแสดง ถึงอายุการเปนสมาชิกกองทุนสวัสดิการฯ และ หลักฐานการศึกษาประกอบคำรองขอรับเงินสิทธิ ประโยชนทุนการศึกษา
ออมทรัพย 16 ชุมชน กลุมอาชีพ กลุมแมบาน เป น ต น แตสวนใหญเนนหนักเรื่องกลุมอาชีพ เพราะเปนรายไดที่จะนำมาเลี้ยงครอบครัว สวน ผลกำไรที่ไดจากกลุมตางๆ เมื่อปนผลกันแลว สวนกำไรที่เหลือจะหักออก 3% เพื่อเขากองทุน สวัสดิการชุมชน
บูรณาการทุนเพือ่ ความเขมแข็ง และยัง่ ยืน
เทศบาล และ อบต. ใหการสนับสนุนขอมูล และสถานที่ในการจัดประชุม เพื่อสนับสนุนการ จัดสวัสดิการใหหลากหลาย และครอบคลุมพื้นที่ ทุกภาคสวน เนื่องจากหนวยงานดังกลาวมีการ จัดสวัสดิการผสู งู อายุ คนพิการ และผดู อ ยโอกาส อยูแลว นอกจากนี้ยังไดสนับสนุนกลุมอาชีพที่ บริ ห ารจั ด การโดยชุ ม ชนเอง โดยดำเนิ น การ บรรจุเขาเปนแผนงบประมาณประจำป ในสวน ของ พมจ. ให ค วามร ว มมื อ ในการหนุ น เสริ ม งบประมาณ ด า นองค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น หนวยงานราชการไดสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนา กลุมออมทรัพย กองทุนสวัสดิการในรูปลักษณะ การสนับสนุนโครงการ กิจกรรมตางๆ เปนตน สิ่งสำคัญที่เปนหัวใจของการจัดสวัสดิการชุมชน ตำบลบางบอ คือ การเชือ่ มโยงกองทุนสวัสดิการ ชุมชนระดับตำบล เพื่อเชื่อมโยงประโยชน และ แลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันของสมาชิก และ คนในพืน้ ทีต่ ำบลบางบอดวยกันเอง ตลอดจนเปน พื้นที่ศึกษาใหกับคนในชุมชนอื่นๆ ไดมีโอกาส เขามารวมเรียนรรู ว มกัน
คณะกรรมการไดมีแนวคิดในการบูรณาการ เงินทุนออมทรัพย เพือ่ ขยายมาสกู ารจัดสวัสดิการ ใหกับสมาชิก เพื่อใหมีเงินทุนหมุนเวียนใหเพียง พอในการจัดสวัสดิการประกอบอาชีพ แลวปลอย เงินกูปลอดดอกเบี้ยเพื่อการศึกษา เงินชวยเหลือ สมาชิกผเู สียชีวติ เพิม่ ขึน้ การดูแลชวยเหลือเกื้อกูลของสมาชิกและ ผดู อ ยโอกาสในชุมชน สังคม ตัง้ แตเกิดจนตาย ของตำบลบางบอ ไดสงเสริมสนับสนุนการจัด สวัสดิการ และพัฒนาระบบชวยเหลือเกือ้ กูลรวม กั น ระหวางองคกรชุมชนและองคกรปกครอง ท อ งถิ่ น ภายใตการดำเนินงานโดยชุมชนใหมี บทบาทสำคัญ และเชื่อมโยงกับระบบของหนวย งานราชการ และรณรงค เ ผยแพร ก ารสร า ง จิตสำนึกของคนในชุมชนใหตระหนักรวู ถิ พี อเพียง ตอการพึ่งตนเอง และความชวยเหลือเอื้ออาทร ซึ่งกันและกันในชุมชน สงเสริมใหลดคาใชจาย หารายไดเพิม่ ดวยการประหยัดเก็บออม ผลทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ บูรณาการกองทุนแลว สมาชิก มีการทำกิจกรรมกันแบบหลากหลาย อาทิ กลุ ม
การประสานพลังความรวมมือ จากราษฎร และรัฐ
59
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวัสดิการชุมชนตำบลเปอย อำเภอลืออำนาจ จังหวัดอำนาจเจริญ ตำบลเปอยซึง่ เปนพืน้ ทีอ่ ยใู นเขตการปกครอง ของอำเภอลื อ อำนาจ จั ง หวั ด อำนาจเจริ ญ มี จำนวนหมู บ า นทั้ ง สิ้ น 13 หมู บ า น ชาวบ า น สวนใหญมอี าชีพทำนาตามฤดูกาล ปลูกขาวหอม มะลิ และขาวเหนียว สวนอาชีพรองไดแก เย็บผา ทอผ า และค า ขาย ส ว นสภาพทางสั ง คมเป น ชนบท สมาชิกในชุมชนอยกู นั แบบครอบครัวใหญ นับถือศาสนาพุทธและศาสนาคริสต วิถีชีวิตของ คนตำบลเปอยในอดีต บาน วัด โรงเรียน เปน สถานที่ ที่ ทำให ค นในชุ ม ชนมี ค วามผู ก พั น เกีย่ วรอยผคู นในชุมชนเขามารวมกัน พระครูอดุ ม โพธิกจิ เจาอาวาสวัดโพธิศ์ ลิ า ใชวดั เปนเครือ่ งมือ ในการสรางพลังชุมชนใหกลับคืนมา การเริ่มตน การฟน คืนชีวติ ชุมชนจึงเริม่ ขึน้ จากการรวมกันตัง้ กลมุ สัจจะธรรมออมทรัพย ในกลมุ ผเู ฒาผแู กทมี่ า ทำบุญตักบาตรในวัดเมื่อประมาณป พ.ศ.2533 ซึง่ มีสมาชิกแรกเริม่ จำนวน 56 คน เงินทุน 4,100 บาท โดยตั้งกลุมเพื่อออมเงินและกูเงินเปนหลัก นอกจากนัน้ ยังตัง้ ขึน้ เพือ่ สรางรูปธรรมจากคำสอน ของพระสงฆ โดยใชการตั้งกลุมสัจจะธรรมออม ทรัพยเปนเครือ่ งมือในการทำใหคำสอนของพระใน วัดมีความชัดเจนยิ่งขึ้น และเปนการโยงคนใน ตำบลเขามาหากัน ทำใหคนในตำบลมารวมกัน
60
อยางตอเนื่อง มีการทำแผนชุมชน และทำงาน รวมกับภาคีพัฒนานอกชุมชนมากยิ่งขึ้น ทำให ชุมชนมีการทำกิจกรรมรวมกลุมกันจำนวนมาก มายทั้งตำบล เชน เครือขายสัจจะสะสมทรัพย ตำบลเปอย กองบุญสัจจะสวัสดิการไทบาน ราน ค า ชุ ม ชน กองทุ น วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ปุ ย อิ น ทรี ย สหกรณเครดิตยูเนี่ยน กลุมเย็บกระเปา กลุ ม ทอผา ชมรมผสู งู อายุ เปนตน การทำแผนชุ ม ชนทำให แ กนนำเริ่ ม มี ก าร สำรวจขอมูลรายรับ-รายจายของคนในหมูบาน สภาพปญหาและหนี้สินของคนในหมูบานแตละ แหงผลจากการทำแผนชุมชนครั้งนี้ พระครูอุดม โพธิกจิ เจาอาวาสวัดโพธิศ์ ลิ า และแกนนำชุมชน ได ร ว มกั น ขยายแนวคิ ด เรื่ อ งการออมทรั พ ย อันนำไปสูการขยายกลุมสัจจะสะสมทรัพยระดับ หมู บ า นเพิ่ ม ขึ้ น 4 หมู บ า น และในระหว า งป 2543 – 2544 ไดมกี ารขยายใหมกี ลมุ สัจจะสะสม ทรัพยครบทุกหมูบาน รวมทั้งสิ้น 13 กลุม มี จำนวนสมาชิกทัง้ หมด 1,819 คน มีเงินหมุนเวียน 7,163,857 บาท และไดรวมกันเปนเครือขายเรียก ว า “เครือขายกลุมสัจจะสะสมทรัพยอำเภอ ลืออำนาจ” เพือ่ การแลกเปลีย่ นเรียนรู และเพือ่ ชวยกันพัฒนาระบบบริหารจัดการของกลมุ
การดำเนินงานของกลมุ สัจจะฯ ใชสถานทีม่ า ทำกิจกรรมรวมกันทีว่ ดั โพธิศ์ ลิ า โดยแตละหมบู า น จะมาเป ด รั บ ฝากเงิ น จากสมาชิ ก ที่ วั ด โพธิ์ ศิ ล า พรอมๆ กัน เพื่อรับฝากเงินและพิจารณาเงินกู มีการกำหนดระเบียบปฏิบัติรวมกัน จะแตกตาง กันบางเกี่ยวกับการกูยืมเงินซึ่งขึ้นอยูกับความ เหมาะสมของแตละหมบู า น โดยแตละกลมุ จะมีการ จัดสรรรายไดทเี่ กิดจากการปลอยเงินกอู อกเปน 2 สวน คือ 1) ปนผลคืนใหกบั สมาชิกและคาใชจา ย ในกลมุ รอยละ 50 ของรายไดทงั้ หมด 2) จัดสรร เพื่อเปนกองทุนสวัสดิการชวยเหลือสมาชิกตั้งแต เกิดจนกระทัง่ ตาย รอยละ 50 ของรายไดเครือขาย สัจจะสะสมทรัพยฯ จึงเปนหนทางอันนำไปสูเปา หมายของการฟน ฟูความสัมพันธของคนในชุมชน การดูแลกัน และการรวมพลังเพื่อรวมกันแกไข ปญหาของชุมชนอยางเปนรูปธรรม องคกรปกครองสวนทองถิน่ (อบต.) ใหการ สนับสนุนการทำกิจกรรมของเครือขายสัจจะสะสม ทรัพยฯ โดยเปนลักษณะของการสนับสนุนทุน หมุนเวียนใหกบั กลมุ ในหมบู า นในกรณีทกี่ ลมุ มีการ เสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนจาก อบต. ตัวอยางเชน กลมุ สัจจะสะสมทรัพยหมทู ี่ 6 มีการ เสนอโครงการขอรับการสนับสนุนทุนหมุนเวียน เพือ่ การประกอบอาชีพของสมาชิกทำใหไดรบั เงิน สนั บ สนุ น จำนวน 60,000 บาท แต ยั ง ไม ค รบ ทุกกลุม ในการจัดสวัสดิการโดยชุมชนในตำบลเปอย มีการดำเนินการทุกหมบู า นเพราะมีการจัดสรรเงิน รายไดจากการดำเนินงานของกลุมออมทรัพยมา เปนกองทุนจัดสวัสดิการชวยเหลือสมาชิกอยาง ครบวงจรชีวติ และเปนการจัดตัง้ กองบุญเพือ่ ชวย
เหลือสมาชิกครอบคลุมทั้งตำบล สมาชิกจะตอง ออมเงินเขากองบุญสวัสดิการคนละ 30 บาท/ เดือน การรับฝากเงินออมบุญสวัสดิการจะเปดทำ การทุกวันที่ 9 ของทุกเดือน โดยสมาชิกจะตองมา ออมบุญรวมกันทีว่ ดั โพธิศ์ ลิ า ระเบี ย บการช ว ยเหลื อ สมาชิ ก กองทุ น สมาชิกที่เจ็บปวยนอนโรงพยาบาล สมาชิ ก ที่ คลอดบุตร สมาชิกทีเ่ สียชีวติ ชวยเหลือสวัสดิการ ดานทุนการศึกษา ผูดอยโอกาส และผูยากไร ผพู กิ าร ติดเชือ้ HIV ในชุมชน กิจกรรมชวยเหลือ ทุนสงเสริมประกอบอาชีพ จัดซือ้ ปยุ นำมาปลอยกู ให กั บ สมาชิ ก ตามความต อ งการของสมาชิ ก กองบุญโดยทำสัญญากยู มื คิดคาบำรุงกระสอบละ 30 บาท ปจจุบนั กองบุญสวัสดิการตำบลเปอยมี สมาชิกกองบุญจำนวน 2,666 คน และเงินหมุน เวียนในกองบุญกวา 1,630,706 บาท การจัดสวัสดิการชวยเหลือซึง่ กันและกันของ คนในตำบลเปอย นอกจากกลมุ สัจจะสะสมทรัพย และกองบุญสัจจะสวัสดิการไทบานแลว ยังมีศนู ย เมตตาธรรมซึง่ ตัง้ อยใู นวัดโพธิศ์ ลิ า เปนศูนยทตี่ งั้ ขึ้นเพื่อใหความชวยเหลือผูที่ไดรับผลกระทบจาก ผตู ดิ เชือ้ HIV ผปู ว ยเรือ้ รัง ผดู อ ยโอกาสทีไ่ มได รับการชวยเหลือจากรัฐบาล สืบเนือ่ งมาจากการได รั บ การสนั บ สนุ น จากสำนั ก งานเพื่ อ การลงทุ น ทางสั ง คมในการจั ด สวั ส ดิ ก ารช ว ยเหลื อ ผู ด อ ย โอกาส ในการดำเนินกิจกรรม คณะกรรมการได ทำโครงการเสนอของบประมาณสนับสนุนจาก อบต. นอกจากนี้ ยั ง ได รั บ การสนั บ สนุ น งบ ประมาณจากสำนักงานควบคุมโรคที่ 7 จังหวัด อุบลราชธานี (สคร.) ประมาณ 60,000 บาท อยู ระหวางการเสนอโครงการขอรับการสนับสนุนจาก
61
ยูนิเซฟ เพื่อมาชวยเหลือผูดอยโอกาสในตำบล โดยการอบรมใหความรูดูแลตนเองของผูปวยที่ ติดเชือ้ HIV และการลงพืน้ ทีเ่ ยีย่ มครอบครัวเพือ่ ให กำลั ง ใจและช ว ยเหลื อ เด็ ก ที่ ไ ด รั บ ผลกระทบ
62
ปละ 1,000 บาท สวนการชวยเหลือผพู กิ าร ไดมี การมอบเงินชวยเหลือคนละ 500 บาท/ป ผปู ระสานงาน มงคล มุทาไร 081-068-2755
สวัสดิการชุมชน ตำบลบานขาม อำเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ ตำบลบานขาม อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ มีจำนวนครัวเรือนกวา 200 ครอบครัว ประชากร กวา 1,000 คน สวนใหญมีอาชีพทำนาปละครั้ง โดยอาศัยน้ำฝนจากธรรมชาติและเขื่อนลำคันฉู ทำให มี ร ายได ห ลั ก เป น รายป ในช ว งฤดู แ ล ง สวนใหญจะออกไปทำงานรับจางทั่วไปในอำเภอ หรือพืน้ ทีใ่ กลเคียง ความสัมพันธของคนในชุมชน เปนเครือญาติกัน อยูกันอยางพี่อยางนอง เปน ชุ ม ชนชาวพุ ท ธ มี วั ด เป น ศู น ย ร วมจิ ต ใจของ ชาวบาน สวนการเมืองการปกครอง มีผใู หญบา น และคณะกรรมการหมูบานเปนแกนนำสำคัญใน ชุมชนเหมือนกับวิถชี วี ติ ของชาวอีสานทัว่ ไป เดิ ม ชุ ม ชนบ า นขามมี ก ารจั ด ตั้ ง กองทุ น ประมาณ 11 กองทุน แตละกองทุนแยกสวนกัน อยางชัดเจน เมื่อป 2546 จึงไดนำกองทุนมา บู ร ณาการร ว มกั น เพื่ อ ให ช าวบ า นได ร ว มคิ ด ร ว มทำ เข า ถึ ง และสามารถแก ไ ขป ญ หาให ชาวบานไดจริงๆ จึงเปนที่มาของการบูรณาการ ทุนมารวมเปนกอนเดียวกัน โดยกองทุนสวัสดิการ ชุมชนเปนหนึง่ ในกองทุนนัน้ ดวย ในอดีตกองทุนของตำบลบานขามมีการชวย เหลือสมาชิกในกองทุน โดยกรณีที่ไปพบแพทย จะไดรบั สวัสดิการคาหองพยาบาลคืนละ 100 บาท แตเปนครอบครัวและเบิกไดไมเกิน 3 ครัง้ ครัง้ ละ 300 บาท พบว า จากสถิ ติ ท่ี เ ก็ บ ไว มี ค นป ว ย ประมาณ 6 คนตอเดือน จนเกิดเปนความภาคภูมิ
ใจที่ มี ส วั ส ดิ ก ารดู แ ลกั น แต เ มื่ อ มี ค นป ว ยเพิ่ ม มากขึน้ จึงกังวลวาหากเอากลมุ สวัสดิการชุมชนมา แปะไวกับกลุมออมทรัพยอยางเดียว หากกลุม ออมทรั พ ย ล ม กลุ ม สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนต อ งล ม ตามอยางแนนอน ดั ง นั้ น จึ ง เกิ ด โครงการที่ ใ ห สมาชิ ก ลดรายจ า ยลงวั น ละ 1 บาทเพื่ อ มาจั ด สวั ส ดิ ก ารร ว มกั น ในป 2548 โดยนำผลกำไร จากกลุ ม ออมทรั พ ย ที่ ไ ด ตั้ ง กั น มาก อ นหน า นั้ น จำนวน 20,000 บาท มากอตัง้ กองทุนสวัสดิการ ชุมชนเมื่อวันที่ 7 มกราคม 2548 มีสมาชิกแรก เริม่ 350 คนมีเงินออมรวม 39,185 บาท ผสู มัครเปนสมาชิกกองทุนสวัสดิการตองเสีย คาสมัครรายละ 15 บาท โดยสมาชิกสามารถออม เงินเพือ่ สวัสดิการได 2 รูปแบบ คือ ประเภทรายป สมาชิกที่พรอมดานการเงิน โดยสงเงินลวงหนา เป น รายป 365 บาท และออมเป น รายเดื อ น สมาชิกสงเปนเดือนๆ ละ 30-31 บาท กองทุนสวัสดิการจัดสรรเงินกองทุนออกเปน 3 สวน คือ 50 เปอรเซ็นตจัดสวัสดิการใหกับ สมาชิก 20 เปอรเซ็นเปนกองทุน และอีก 30 เปอรเซ็นตเปนเงินลงทุนธุรกิจและการศึกษา โดย มีสวัสดิการที่จัดใหกับสมาชิก ดังนี้ • เกิด ใหลูกที่เกิดใหม 500 บาท แมนอน โรงพยาบาลไดคืนละ 100 บาท ไมเกิน 5 คืน ปละไมเกิน 2,000 บาท • แก สัจจะครบ 15 ป อายุ 60 ป ไดบำนาญ
63
เดือนละ 200 บาท • เจ็บ นอนโรงพยาบาลไดคนื ละ 100 บาท ไมเกิน 10 คืน • ตาย สัจจะ 180 วัน ไดคา ทำศพ 2,500 บาท สัจจะ 365 วัน ไดคา ทำศพ 5,000 บาท สัจจะ 730 วัน ไดคา ทำศพ 10,000 บาท หลังจากนัน้ จะเพิม่ ใหปล ะ 1,000 บาท แตไม เกิน 20,000 บาท โดยสวัสดิการที่จัดใหกับสมาชิกจะมีความ ตางกันระหวางคนทีเ่ ปนสมาชิกกองทุนสวัสดิการ ชุมชน และคนทีไ่ มไดเปนสมาชิกสวัสดิการชุมชน (แตเปนสมาชิกกองทุนบูรณาการ) เชน สวัสดิการ เจ็บปวย คนทีเ่ ปนสมาชิกกองทุนสวัสดิการจะได รับความชวยเหลือคารักษาพยาบาลคืนละ 100 บาท ไมเกิน 10 คืนตอป สำหรับคนที่ไมไดเปน สมาชิกกองทุนสวัสดิการไดรับความชวยเหลือ คารักษาพยาบาลคืนละ 50 บาท ไมเกิน 10 คืน ตอป เปนตน สำหรับการบริหารกองทุน มีคณะกรรมการ ยอยแตละกองทุน โดยมีผูรับผิดชอบกลุมละ 9 คนคัดเลือกจากหลากหลายอาชีพ เชน ขาราชการ บำนาญ อบต. พระสงฆ นอกนัน้ เปนคนในชุมชน ทีถ่ กู คัดเลือกมาเปนตัวแทน ซึง่ ไมมคี า ตอบแทนให กับคณะกรรมการ เนื่องจากคณะกรรมการแตละ คนตองเปนผูที่มีจิตสาธารณะ และตองเขาใจวา การจัดตัง้ สวัสดิการชุมชนเปนการทำงานเพือ่ สังคม และการใหคือหัวใจของสวัสดิการชุมชน ในสวน ขององคการบริหารสวนตำบลบานขาม มีการสนับ สนุนใหชาวบานทำแผนพัฒนาชุมชนเรื่องการจัด สวัสดิการชุมชนเสนอมายัง อบต. เพือ่ จัดทำแผน พั ฒ นาชุ ม ชนระดั บ ตำบล ทั้ ง นี้ มี ก ารสมทบงบ
64
ประมาณใหกบั กองทุนสวัสดิการชุมชนรวมเปนเงิน 200,000 บาทแลว ประทุม บุญรัตน รองประธานกลุมกองทุน สวัสดิการชุมชน กลาววา “มีการจัดสวัสดิการแก สมาชิกอยู 11 ประเภท ไดแก การเกิด ทำขวัญ บุตร 500 บาท แมนอนโรงพยาบาลใหคนื ละ 100 บาท แก (เมือ่ กองทุนฯมีอายุ 15 ป) เดือนละ 200 บาท เจ็บนอนโรงพยาบาลคืนละ 200 บาท ปละ ไมเกิน 10 คืน ตาย (เมือ่ ออม 180 วันขึน้ ไป) 2,500 บาท ไมเกิน 20,000 บาท ทุนการศึกษาตามระดับ ชั้ น ผูพิการเดือนละ 200 บาท ผูสูงอายุมีการ เยี่ยมประจำป ยืมประกอบอาชีพ 5,000 บาท ยืมจัดงาน 10,000 บาท ยืมสงสถาบันการเงินไม เกิน 50,000 บาท ทุนฉุกเฉินไมเกิน 4,000 บาท นีค่ อื รูปแบบการใหสวัสดิการชุมชน” ป จ จุ บั น ชุ ม ชนกองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนมี สมาชิก 786 คน เงินกองทุน 1,121,237 บาท ซึง่ ผลลัพธของการจัดตัง้ กองทุนสวัสดิการชุมชนไมได มีเพียงการชวยเหลือกันดานเงินทองเทานัน้ แตกอ ใหเกิดความสมัครสมานสามัคคี ความเอื้ออาทร ความเปนพี่เปนนองกัน เปนหวงกันมากยิ่งขึ้น ทำใหวฒ ั นธรรมทีถ่ กู ลืมไปเริม่ กลับคืนมา จะเห็น วาพอมีคนปวยก็จะมีการไปเยี่ยม ไปใหกำลังใจ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ คือ เมือ่ กอนคนเหลานีร้ อ รับอยางเดียว พอเรามาทำตรงนี้ก็เปลี่ยนวิธีคิด จากคนที่ไดรับอยางเดียวมาเปนคนให มันก็เริ่ม เปลีย่ นวิธคี ดิ ของคน จากคนเห็นแกตวั มาเห็นแก ประโยชนสว นรวม ผปู ระสานงาน ประจวบ แตงทรัพย โทร.081-976-7182
ภาคผนวก
65
75,079
619
2,990
đĀîČĂ
øüöìĆĚÜĀöé
14,515
512
Ĕêš
974
êąüĆîĂĂÖđÞĊ÷ÜđĀîČĂ
66
หมายเหตุ
8,660
33,117
12,589
544
6,198
ìĆĚÜĀöé
ÖúćÜïîĒúąêąüĆîêÖ
ÖĂÜìčî
85,113
23,862
24,243
14,010
12,178
10,820
ÖŠĂêĆĚÜ
99,502,295
93,164,429
ÖĂÜìčî
6,212,964
1,127,000
Ăðì.
29,813,882
18,876,064
óĂß.
8,567,128
4,364,466 123,047,436 7,302,870
181,668,523 2,829,358
32,834,784
30,277,239
14,960,510 120,339,540 18,303,499 51,871,147
2,329,824
2,050,297
ÖŠĂêĆĚÜ 4,723
ÿöćßĉÖ ìĆęüĕð
3,229
2,204
11,256,076 3,276
2,270,112
1,521,418
6,050,305 1,431
2,079,854
ĂČęîė
ÖćøÿöìïđÜĉîÖĂÜìčî(ïćì)
1,044,318 32,272,225 617,722,223 35,775,691 163,673,116 23,177,765 14,863
225,850
272,803
294,471
164,002
87,192
ðŦÝÝčïĆî
ÿöćßĉÖ
ÝĞćîüîđÜĉî ÖĂÜìčî×ĂÜßčößî
ภาพรวมการดำเนินงานสวัสดิการชุมชน
กราฟแสดงจำนวนเงินกองทุนชุมชน
*จำนวนผรู บั ผลประโยชนเปนจำนวนตามทีม่ รี ายงานผลการดำเนินงานมายัง พอช. *อปท. = องคกรปกครองสวนทองถิน่ /เทศบาล
21,795
4,110
2,475
8,215
4,522
2,473
đךćøŠüö
ÝĞćîüîĀöĎŠïšćî
341
õćÙ
ÝĞćîüî
ÖøčÜđìóĒúąêąüĆîĂĂÖ
66 942
185
379
273
88
17
1,261
266
462
60
366
107
40 265
122
12
91
-
óĉÖćø/ đéĘÖ Ùîßøć éšĂ÷ēĂÖćÿ
* ÝĞćîüîñĎšøĆïñúðøąē÷ßîŤ
67
67
° » ª´ · µ¦
Á¦·É¤ ´ ´Ê ¦³Á£
° » ª´ · µ¦ »¤ ¦ª¤®¨´ ª´ » ¦°
14
¡¥ 51 °°¤ª´ ¨³ µ µ¥ ¦³ ª Á¤ ¦³· r à ¦.086-3296206 ° » µ · 15 Á ¦µ³®r »¤ Á µ · ¤2 1 44 °°¤ª´ ¨³ µ µ  °¦»  ¦ Êε¦´ ¬r à ¦.087-8272014 ¦ª¤ ´Ê ®¤
4
3 120
-
117
244
-
-
5 50 °°¤ª´ ¨³ µ 3 µ¥ ·¡ r ¦µ ª´ r à ¦.081-8601839 15 ¤ 51 °°¤ª´ ¨³ µ 12 Á £µ¬¸Á ¦· µ¥ ¦¦¤«´ ·Í ¤µ ¦ Á £µ¬¸Á ¦· ¦» Á ¡² à ¦.081-3426821 7 51 °°¤ª´ ¨³ µ 13 Á µ ° o°¥ µ µª o°¤¨³¤¼¨ ¡´ r¡· · Á µ ° o°¥ ¦» Á ¡² à ¦.081-3426821
° » ª´ · µ¦ »¤ ®¤¼n oµ 𬠴¤2
11
-
110
3,352
686
196,575
-
-
-
150
100
-
119
-
-
825,396
47,501
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
423,939
3,956
-
445,000
25,000
25,000
25,000
25,000
25,000
25,000
20,000
25,000
25,000
25,000
25,000
50,000
25,000
50,000
50,000
479,939
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
373,939
106,000
µ¦¤ Á · ° » ( µ ) ° . ¡° . °ºÉ Ç
350,000
ε ª ®¤¼n oµ ¤µ · ε ª Á · ° » ° »¤ ´Ê ®¤ Á oµ¦nª¤ n° ´Ê { » ´ n° ´Ê ° »
¦» Á ¡ 8 50 205 18,000 1 Á ®¨´ ¸É 4 ¡ 48 °°¤ª´ ¨³ µ 68 µ¥»¦ ´¥ » · Á¨ ¸É 304/1042  ª ¨µ µ Á Á ®¨´ ¸É ´ ®ª´ ¦» Á ¡² ° » ª´ · µ¦ 12 194 584 178,575 2 £µ ¦³ µ ª´ ¨³ 1 48 °°¤ª´ ¨³ µ 49 1 µ Á µ ºÉ° µ¥ ªµ¥ µ Á¨ ¸É 293 Á µ ºÉ°  ª µ ºÉ° ´ ®ª´ ¦» Á ¡² à ¦.081-7260147, 02-5858466 °°¤ ¦´¡¥r 8 102 e 2546 3 Á ¨° Á ¥ » ¦³£µ ª·Á«¬§ ·Í  ª ¨° Á ¥ Á ¨° Á ¥ ¦» Á ¡ à ¦.02-2497788 11 187 1 48 °°¤ª´ ¨³ µ 4 Á ·  µ » ¸ ° ε Á ·  ¦» Á ¡² °°¤ª´ ¨³ µ 6 363 e 49 5 Á µ Á µ¥ ¦³£µ  ¦³ ´ Á µ Á ¦» Á ¡² Á¤¥ 51 °°¤ª´ ¨³ µ 5 100 6 Á µ ° µ ·¦µ ´ ¦r ¦· ¼¦ r Á µ ° ¦» Á ¡² 7 140 22 ¤ 51 °°¤ª´ ¨³ µ 7 Á µ ¡¨´ µ » ´ µ » ¦¤´¥ Á µ ¡¨´ ¦» Á ¡² 12 120 22 ¤ 51 °°¤ ¦´¡¥r 8 Á µ » Á ¸¥ µ ¡´ ·¡¥r » ¦ µ Á µ » Á ¸¥ ¦» Á ¡² 16 286 28 48 °°¤ª´ ¨³ µ 9 Á » ´ ¦ µ¥ ε ª² ε µ Á » ´ ¦ ¦» Á ¡² à ¦.087-7065199 °°¤ª´ ¨³ µ 3 100 10  ª ¨·É ´ - ´ ¡¦³ 51 µ ¨´ µª´¨¥r µ¥  ª ¨·É ´ - ´ ¡¦³ ¦» Á ¡² à ¦.081-5809474
¸É
o°¤¼¨ ° » ª´ · µ¦ »¤ £µ ¦» Á ¡Â¨³ ¦·¤ ¨
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ε ª ¼o¦´ ¨ ¦³Ã¥ r Á È ¦µ ¡· µ¦/ o°¥Ã° µ
¤µ · ´ÉªÅ
¥µ¥¤µ · Ä®o ¦° ¨»¤
¥µ¥¤µ · Ä®o ¦° ¨»¤
¥µ¥¤µ · Ä®o ¦° ¨»¤
¥µ¥¤µ · Ä®o ¦° ¨»¤
¥µ¥¤µ · Ä®o ¦° ¨»¤
¥µ¥¤µ · Ä®o ¦° ¨»¤
¥µ¥¤µ · Ä®o ¦° ¨»¤
¥µ¥ µ µ¦ ´ ª´ · µ¦
¥µ¥ µ µ¦ ´ ª´ · µ¦
Á ¥Â¡¦n ¦³ µ´¤¡´ r
¥µ¥¡ºÊ ¸ÉÄ®o ¦° ¨»¤
¥µ¥¡ºÊ ¸ÉÄ®o ¦° ¨»¤
¥µ¥ µ µ¦ ´ ª´ · µ¦
µ¦ ¥µ¥ ¼n · ¦¦¤°ºÉ
364
1,129
1,452
973
513
1,007
435
975
959
284
930
698
290
33
46
46
32
22
24
25
54
39
15
36
42
37
· ®r »¦¸
¨¡ »¦¸
¦³ »¦¸
°nµ °
»¡¦¦ »¦¸
¦³ ª ²
¦µ »¦¸
µ »¦¸
¤» ¦ ¦µ¤
¦ ¤
Á¡ ¦ »¦¸
¤» ¦µ ¦
¦ª¤ ´Ê ®¤
12,589
642
33
°» ´¥ µ ¸
544
1,433
30
¦ª¦¦ r
68
°¥» ¥µ
505
´Ê ®¤
4,522
263
305
322
118
338
531
201
178
150
234
296
421
251
308
283
323
Á oµ¦nª¤
ε ª ®¤¼n oµ
30
° »
ε ª
´¥ µ
´ ®ª´
68 89,500
60,000
25,000
n° ´Ê
8,339
11,582
11,744
7,712
14,393
22,482
9,937
6,357
3,938
5,950
6,867
12,413
-
7,600
54,200
76,002
378,650
173,950
28,450
-
-
61,000
88,695
21,740
9,874 1,265,037
12,902
9,883
9,629
{ » ´
12,178 164,002 2,329,824
-
200
188
116
1,242
231
3,474
-
-
82
243
195
2,075
1,500
2,132
500
n° ´Ê
¤µ ·
104,000
° .
99,502,295
4,595,881
1,862,277
5,318,915
1,926,426
5,516,527
18,274,512
5,012,280
2,364,494
1,304,963
3,236,077
3,719,033
19,795,008
7,844,760
6,638,158
2,135,000
2,285,000
2,070,000
1,071,000
2,400,000
2,896,332
1,495,000
1,065,000
1,185,000
1,735,000
2,295,000
1,967,550
2,115,000
1,860,000
6,212,964 29,813,882
76,786
391,000
402,200
-
140,578
980,000
545,000
-
-
148,000
180,000
506,800
106,000
690,600
1,574,000
1,665,000
¡° .
6,050,305
681,355
225,000
397,710
481,627
1,975,786
180,922
621,905
-
-
-
208,000
250,000
245,000
326,000
380,000
77,000
°ºÉ Ç
µ¦¤ Á · ° » ( µ )
10,144,693 1,942,000
1,948,291
° »
ε ª Á · ° » ° »¤
o°¤¼¨ ° » ª´ · µ¦ »¤ £µ ¨µ ° ¨³ ³ª´
59
1,431
-
-
58
54
512
194
55
-
-
32
21
94
324
-
28
¤µ · ´ÉªÅ
-
88
8
10
10
21
7
4
14
14
-
-
-
-
-
-
Á È
20
366
-
-
-
179
10
5
73
13
7
24
-
-
-
-
35
-
-
-
24
9
91
58 -
-
-
-
-
-
-
-
-
-
¡· µ¦/ ¦µ o°¥Ã° µ
ε ª ¼o¦´ ¨ ¦³Ã¥ r
°» ¨¦µ µ ¸ ® ° ´ª¨Îµ£¼ ¦¡ ¤ »¦· ¦r ¥Ã ¦ «¦¸³Á ¬ »¦¸¦´¤¥r ¨ ¦ °  n ¤®µµ¦ µ¤ µ¯· »r °Îµ µ Á ¦· ¤» µ®µ¦ Á¨¥ ¦o°¥Á°È ´¥£¼¤· ¦¦µ ¸¤µ ® ° µ¥ °» ¦ µ ¸ ¦ª¤ ´Ê ®¤
´ ®ª´
69
69
¤µ · ε ª ε ª ®¤¼n oµ ° » ´Ê ®¤ Á oµ¦nª¤ n° ´Ê { » ´ 47 2,700 372 10,387 39 687 402 683 8,024 39 1,123 435 12,656 30 2,119 295 1,163 12,805 33 885 181 4,302 50 2,633 350 9,351 68 2,544 473 2,764 21,284 50 1,514 491 8,473 95 2,331 679 651 46,501 82 1,944 1,012 2,017 35,619 32 1,585 194 577 8,381 44 607 410 1,654 12,601 48 526 444 150 6,994 78 916 394 670 16,727 90 2,444 802 2,291 37,592 42 1,617 301 11,008 54 3,743 494 11,438 34 1,302 281 721 10,428 19 1,897 205 669 9,900 974 33,117 8,215 14,010 294,471
ε ª Á · ° » ° »¤ n° ´Ê ° » { » ´ 7,114,797 161,415 1,989,136 4,700,379 12,642,187 18,543,331 9,209,531 784,861 7,016,089 4,916,233 124,600 20,014,158 583,937 12,228,350 35,940 3,858,966 64,040 1,833,961 53,000 546,230 88,600 1,785,447 384,180 12,648,944 6,981,805 1,903,241 26,530 4,004,781 11,220 1,044,161 14,960,510 120,339,540
µ¦¤ Á · ° » ( µ ) ε ª ¼o¦´ ¨ ¦³Ã¥ r ° . ¡° . °ºÉ Ç ¤µ · ´ÉªÅ Á È ¦µ ¡· µ¦/ o°¥Ã° µ 1,448,500 2,434,000 386,434 500,000 2,240,000 53 17 27 112,000 2,145,000 250,000 1,516,430 7 4 459,052 1,375,000 207,724 713,757 2,750,000 155,000 3,480,000 100,000 38 1 75,000 2,725,430 2,618,490 4,998,772 58,500 643 89 20 10 5,945,000 4,247,500 553,000 1,880,000 20,740 76 5 182,000 2,450,000 2,900 197 22 1 436,500 2,655,000 57,000 1 1 333,900 4,425,031 16,100 35 6 1 4,012,800 4,700,000 107,020 1,036 124 13 402,500 2,176,500 20,000 2,819,000 530,000 106,000 1,786,212 15,000 118 4 1,067,272 18,303,499 51,871,147 1,521,418 2,204 273 60 12
o°¤¼¨ ° » ª´ · µ¦ »¤ £µ ³ª´ °° Á ¸¥ Á® º°
¦³ ¸É ¦«¦¸ ¦¦¤¦µ ¨µ ¡´ ¨» ¦´ ¡´ µ £¼Á È »¦µ¬ ¦r µ ¸ ¦³ ° { µ ¸ »¤¡¦ ¼¨ ¦µ ·ªµ ¥³¨µ ¦ª¤ ´Ê ®¤
´ ®ª´
70
70
35 69 120 42 41 15 14 30 20 42 27 23 30 4 512
ε ª ° » ¤µ ·
´Ê ®¤ Á oµ¦nª¤ n° ´Ê { » ´ n° ´Ê ° » ° . ¡° . °ºÉ Ç 389 133 1,245 19,350 213,606 4,773,800 220,000 1,868,264 359,912 1,551 531 1,450 29,888 403,814 40,923,421 110,000 4,155,000 998,844 1,023 708 7,858 115,604 1,635,071 50,758,822 333,800 7,070,321 197,206 670 267 1,209 22,070 58,610 23,476,905 42,000 2,445,000 396,631 723 204 837 10,388 106,154 23,506,683 605,000 2,402,059 55,163 321 100 1,233 9,437 412,100 7,987,723 992,000 1,110,700 103 93 101 4,437 32,000 3,563,395 925,000 59,050 1,066 147 3,194 12,819 389,480 6,186,649 95,000 1,821,000 56,200 178 81 3,041 6,336 236,083 1,821,413 20,958 1,270,000 139,571 642 4 913 8,612 73,890 4,695,568 110,000 2,270,000 285 743 143 2,165 3,832,786 70,000 1,629,133 279 64 2,396 23,135 708,608 2,841,638 190,600 1,465,762 7,250 593 6,252 6,578,320 40,000 1,645,000 379 766 2,310 95,050 721,400 200,000 8,660 2,475 24,243 272,803 4,364,466 181,668,523 2,829,358 30,277,239 2,270,112
ε ª ®¤¼n oµ
o°¤¼¨ ° » ª´ · µ¦ »¤ £µ Ä o ε ª Á · µ¦¤ Á · ° » ( µ ) ° » ° »¤
ε ª ¼o¦´ ¨ ¦³Ã¥ r ¤µ · ¡· µ¦/ ´ÉªÅ Á È ¦µ o°¥Ã° µ 341 10 7 14 853 144 59 65 2 11 32 590 9 104 22 63 78 190 44 158 24 25 10 1,099 79 61 60 33 5 3,229 379 462 122
ε ª Á · ° » ° »¤
o°¤¼¨ ° » ª´ · µ¦ »¤ £µ Á® º°
´ ®ª´
µ¦¤ Á · ° » ( µ ) ε ª ¼o¦´ ¨ ¦³Ã¥ r ¤µ · ε ª ε ª ®¤¼n oµ ¡· µ¦/ ° » ¤µ · ´ÉªÅ Á È ¦µ o°¥Ã° µ ´Ê ®¤ Á oµ¦nª¤ n° ´Ê { » ´ n° ´Ê ° » ° . ¡° . °ºÉ Ç 576 354 573 22,977 53,370 3,920,591 1,626,000 2,660,000 354,293 660 2 ¨Îµ¡¼ 47 Á ¸¥ ¦µ¥ 43 1,752 327 870 11,587 282,071 6,468,957 290,000 2,075,000 641,439 44 3 68 Á ¸¥ Ä®¤n 43 2,066 236 699 29,002 134,890 35,028,774 609,500 1,589,493 486,421 31 2 ¨Îµ µ 58 967 504 6,119 19,354 4,408,744 13,111,077 2,215,000 3,640,000 4,718,240 1,609 65 1 ¤n±n° ° 22 415 108 33 6,873 13,073 848,160 157,120 1,340,000 100,054 19 1 °» ¦ · r 36 613 139 127 6,773 46,355 7,419,502 350,000 1,890,000 94,194 5 1 ¡·¬ »Ã¨ 34 1,048 312 708 10,930 21,948 4,860,376 40,000 1,295,000 300,830 188 4 ¡· · ¦ 38 888 311 1,516 10,850 873,792 11,936,080 70,000 2,080,000 806,464 18 164 36 Á¡ ¦ ¼¦ r 64 1,430 308 334 15,117 10,320 9,545,815 70,000 3,358,300 639,318 95 11 3 2 ¡¦n 35 708 187 1,207 6,340 14,400 2,466,345 1,941,991 51,540 6 5 ¡³Á¥µ 48 805 214 6,176 29,239 767,575 8,681,728 960,000 2,685,000 135,000 317 13 nµ 34 889 336 300 15,260 3,000 4,153,985 105,000 1,810,000 1,121,000 34 4 »Ã ´¥ 43 843 202 2,292 17,409 1,221,260 4,800,929 200,000 2,580,000 1,047,225 146 30 26 µ 39 559 262 620 8,277 237,762 2,063,198 540,250 2,240,000 37,800 ε¡ Á¡ ¦ 35 956 310 2,288 15,862 478,568 7,741,920 70,000 1,650,000 722,258 122 26 5 1 ¦ª¤ ´Ê ®¤ 619 14,515 4,110 23,862 225,850 8,567,128 123,047,436 7,302,870 32,834,784 11,256,076 3,276 185 266 40
71
71
สำนักงานใหญสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน) เลขที่ 912 ถนนนวมินทร แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร. 0-2378-8300-9 โทรสาร 0-2378-8321 E-mail : codi@codi.or.th หรือ http://www.codi.or.th
72