ชุดหนังสือ การสำรวจองคความรูเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย àÃ×่ͧ
á¹Ç¤Ô´Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂÒ¡ÃËÇÁ: »ÃÐʺ¡Òó ¨Ò¡μ‹Ò§»ÃÐà·È áÅÐá¹Ç¤Ô´ã¹»ÃÐà·Èä·Â ISBN: 978-616-7374-23-9
ที่ปรึกษา : นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย ยุวดี คาดการณไกล บรรณาธิการ : ปกปอง จันวิทย กองบรรณาธิการ : สกลฤทธิ์ จันทรพุม ภัทชา ดวงกลัด หนังสือชุดนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการการสำรวจ องคความรูเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย โดยคณะทำงานเครือขายวิชาการเพื่อการปฏิรูป คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป จัดพิมพและเผยแพรโดย สำนักงานปฏิรูป (สปร.) 126/146 ชั้น 4 อาคาร 10 ชั้น สถาบันบำราศนราดูร ซอยติวานนท 14 ถนนติวานนท อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท 0 2965 9531-3 โทรสาร 0 2965 9534 www.reform.or.th
á¹Ç¤Ô´Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂÒ¡ÃËÇÁ:
»ÃÐʺ¡Òó ¨Ò¡μ‹Ò§»ÃÐà·È áÅÐá¹Ç¤Ô´ã¹»ÃÐà·Èä·Â โดย ชล บุนนาค คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร Ph.D. Researcher Institute for Environmental Studies Faculty of Earth and Life Sciences (FALW) VU University Amsterdam
º·¹Ó แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม (CommonPool Resources) เปนแนวคิดที่ไดรับการพิสูจนแลววา มีความสำคัญอยางยิ่งในโลกและในประเทศไทย เห็นได จากการทีคณะ ่ กรรมการรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร ได เลือก Elinor Ostrom นัก วิชาการ ชั้น แนว หนา ใน ประเด็น นี้ ขึ้น รับ รางวัล โน เบล สาขา เศรษฐศาสตร ใน ป 2009 นอกจากนี้ ประเด็นนี้มีความสำคัญมากยิ่งขึ้น
4
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ในระดับโลกเนื่องดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่ง เปน สมบัติ สาธารณะ ใน ระดับ โลก และ ความ จำกัด ของทรัพยากรที่มีมากขึ้นทุกขณะในหลายพื้นที่ ความ จำกัดสวนหนึ่งอาจมาจากความตองการที่มากเกินกวา ทรัพยากรที่มีอยู ในขณะเดียวกันความจำกัดก็อาจมา จากการดูแลทรัพยากรทีไม ่ ดีพอจนทำใหระบบทรัพยากร (Resource System) ที่ทำการผลิตทรัพยากรนั้นเสื่อม สภาพลง การจัดการทรัพยากรที่ดี ซึ่งสงผลจำกัดความ ตองการใชทรัพยากรใหเหมาะสมกับความสามารถใน การผลิตทรัพยากรของระบบการผลิตทรัพยากร หรือ การเพิม่ ความสามารถในการผลิตของระบบทรัพยากร จึง เปนสิง่ ทีจำเป ่ นเพือ่ ใหทรัพยากรสามารถถูกใชประโยชน ไดอยางยั่งยืน ความจำกัดของทรัพยากรดังกลาวก็เกิดขึน้ เชนกัน ใน ประเทศไทย ทรัพยากร สวน หนึ่ง เปน ทรัพยากร ที่ เกี่ยวของ กับวิถี ชีวิต และ ความ เปน อยู ของ ผูคน จำนวน มาก โดยเฉพาะผูมีรายไดนอยที่มีที่ดินทางการเกษตร ไม มาก และ พึ่งพา ทรัพยากรธรรมชาติ ใกล ตัว ใน ดาน
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
5
อาหารและรายไดบางสวน ทรัพยากรดังกลาวไดแก ปา หรือปาชายเลน ที่ดินทำกิน ทรัพยากรน้ำ เปนตน ใน อดีต ประเทศไทยใชวิธจัี ดการทรัพยากรเหลานีอย ้ างนอย 3 ลักษณะ คือ 1) รัฐเปนผูจัดการดูแลทรัพยากรรวม เหลานีเ้ อง เชน มีการจัดตัง้ เขตปาสงวนเพือ่ อนุรกั ษปาไม และทรัพยากรอืน่ ๆ ภายในปา โดยกันมิใหมีผูใด เขาไปใช ประโยชนใดๆ จากปาไดเลย เปนตน 2) รัฐใหสัมปทาน กับเอกชนในการใชประโยชนและดูแลทรัพยากร 3) ผู ใชทรัพยากรเปน ผูกำหนดกติกาในการใชและการดูแล ทรัพยากรเหลานั้นเอง เชน กรณีของปาชุมชน หรือการ จัดการน้ำระหวางหมูบานที่ใชแหลงน้ำรวมกัน อยางไร ก็ ดี ใน ปจจุบัน ผล การ ดำเนิน การ เพื่อ จัดการทรัพยากรและอนุรักษของ 2 วิธีแรกนั้นเปนที่ ประจักษแลววาไมมประสิ ี ทธิภาพในการดูแลและจัดการ ทรัพยากรดังที่เห็นไดจากการเสื่อมโทรมลงของสภาพ แวดลอม และ ทรัพยากร ใน ประเทศไทย เชน พื้นที่ ปา สภาพน้ำ เปนตน การจัดการในลักษณะที่ 3 นั้นยังไมได รับการยอมรับอยางเปนทางการจากภาครัฐมากนัก และ
6
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
มักนำไปสูการ เกิดขอพิพาทระหวางภาครัฐและชาวบาน บอยครั้ง เนื่องจากปญหาเรื่องการทับซอนระหวางที่ดิน ทำกินหรือบริเวณทรัพยากรที่ชาวบานใชดำรงชีวิตกับ พืน้ ทีถู่ กประกาศใหเปนของรัฐ เชน เขตปาสงวน เปนตน หรือมีการใหโฉนดทีด่ นิ กับเอกชนรายอืน่ ทับซอนกับพืน้ ที่ ดังกลาว ปญหานีส้ งผลตอความสามารถในการดำรงชีวติ ของ ชาว บาน และ เกี่ยว โยง กับ ประเด็น ความ เปน ธรรม ในสังคม ปจจุบันปญหาเหลานี้ก็ยังคงอยู ภาครัฐยังคง ไม สามารถหา วิธี การ จัดการ ทรัพยากร ที่ เหมาะ สม คือ สามารถ ตอบ ทั้ง โจทย เรื่อง การ อนุรักษ และ โจทย เรื่อง ความเปนธรรมและความเหลื่อมล้ำในสังคมได องค ความ รู ใน การ จัดการ สมบัติ สาธารณะ จึง มี ความ จำเปน อยาง ยิ่ง เพื่อ รักษา ทรัพยากรธรรมชาติ อัน เปน สมบัติ สาธารณะ ให ยัง ดำรง อยู ได และ เพื่อ ให ชาวบานทีเป ่ นผูใช และพึง่ พิงทรัพยากรธรรมชาติสามารถ ใชทรัพยากรดังกลาวเพื่อยังชีพไดอยางยั่งยืน ซึ่งจะเปน จุดเริ่มที่จะลดความเหลื่อมล้ำและสรางความเปนธรรม ในสังคมใหมากขึ้นได ความเขาใจและการประยุกตใช
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
7
องคความรูดานนี้อยางเหมาะสมของภาคสวนตางๆ ที่ เกี่ยวของนาจะทำใหการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอัน เปนทรัพยากรรวมนั้นเปนไปอยางเปนธรรม สันติ และ ยั่งยืนได รายงานนี้มีจุดมุงหมายเพื่อสรางฐานองคความรู เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร เพื่อเปนขอมูลและองค ความ รู ให ภาค สวน ที่ เกี่ยวของ ทำความ เขาใจ และ นำ ไปประยุกตใช โดยจะทำการสำรวจสภาพแนวคิดและ ประสบการณ จาก ต า ง ประเทศ และ สถานการณ และ สภาพปญหาในประเทศไทย อยางไรก็ดี ในบทความนี้ จะ ไม กลาว ถึง ประเด็น เรื่อง ความ เปน ธรรม และ ความ เหลื่อมล้ำในสังคมที่เกี่ยวของกับประเด็นความไมเปน ธรรมในการ ถือครองสิทธิ์เหนือทรัพยากร เพราะเปน อีกประเด็นหนึ่งที่เปนประเด็นใหญและมีความสำคัญที่ สำคัญไดรับการพิจารณาศึกษาเปนการเฉพาะแยกไป จากบทความนี้ บทความนี้จะเรียงลำดับหัวขอการนำเสนอดังนี้ สองหัวขอแรกจะพิจารณาแนวคิดของ Elinor Ostrom
8
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
เจาของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตรจากการเปนผูน ำ ในการพัฒนากรอบการวิเคราะหเกีย่ วกับพฤติกรรมรวม หมูที่เกิดขึ้นดวยตนเอง (Self-Organizing Collective Action) ในการจัดการทรัพยากรรวม (Common-Pool Resources) ผลงานของเธอในป 1990 อันเปนหนังสือ เลมหลักที่นำมาสูการไดรับรางวัลโนเบล และผลงานใน ป 2010 อันเปนปาฐกถาที่เธอกลาวในพิธีมอบรางวัล โนเบล เปนงานที่มีพื้นฐานมาจากการสำรวจกรณีศึกษา จาก ทวีป ตางๆ ทั่ว โลก และ นำ กรณี ตางๆ เหลานั้น มาสกัดเพือ่ หากรอบการวิเคราะหและทฤษฎีเพือ่ อธิบาย พฤติกรรมการจัดการทรัพยากร ผูเขียนเห็นวามีความ เหมาะ สม ที่ จะ นำ มา เปน ฐาน องค ความ รู สำหรับ การ จัดการทรัพยากรรวมในประเทศไทย หัวขอที่ 1 กลาว ถึงองคความรูดั้งเดิมในการจัดการทรัพยากรรวมและ แนวคิดของ Ostrom ที่ไมเห็นดวยกับองคความรูเดิม ดังกลาว และองคความรูใหม ที่ Ostrom นำเสนอ หัวขอ ที่ 2 นำเสนอประสบการณจากตางประเทศ โดยเฉพาะ หลักการจัดการทรัพยากรรวมที่ Ostrom สกัดไดจากการ
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
9
ศึกษากรณีศึกษาตางๆ ทั่วโลก ในตอนทายของหัวขอนี้ ไดนำเสนอแนวการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร รวมในปจจุบันใหทราบกันพอสังเขปอีกดวย จาก นั้ น หั ว ข อ ที่ 3 จะ นำ เสนอ แนวคิ ด การ จัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทยโดยพยายามสรุป แนวคิด การ จัดการ ทรัพยากร ดัง กลาว จาก การ สำรวจ ขอเขียนเชิงวิชาการ ทั้งวิทยานิพนธ บทความวิชาการ หรือบทความที่อยูบนเว็บไซตขององคกรที่ทำงานเกี่ยว กับการจัดการทรัพยากร รวมถึงขาวตางๆ จากนั้นจึง นำ แนวคิด ดังกลาว มา เปรียบ เทียบ กับ แนวคิด จากตาง ประเทศในหัวขอกอนเพือ่ พิจารณาวามีความเหมือนหรือ ตางกันอยางไร เกี่ยวของกันอยางไร อนึ่ง การจัดการ ทรัพยากร ชุมชน กับ การ จัดการ ทรัพยากร รวม นั้น ไมใช สิ่ง เดียวกัน แต เหตุ ที่ เรียก แนวคิด จาก การ สำรวจ งาน วิชาการในประเทศไทยวาเปนการจัดการทรัพยากรชุมชน ก็เพราะวา งานแทบทั้งหมดที่ไมใชงานเชิงเทคนิคเกี่ยว กับการชลประทาน วิศวกรรม หรือผังเมืองจะมุงเนนไป ที่การจัดการทรัพยากรโดยชุมชน ตางจากงานลักษณะ
10
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
นี้ในตางประเทศที่จะมีการศึกษาการจัดการทรัพยากร รวมเขตชุมชนเมืองหรือเขตอุตสาหกรรมโดยความรวม มือ ของ กลุม ผู ใช ทรัพยากร ดวย พูด อีกอยาง หนึ่ง ก็ คือ ในบทความนี้แนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชน ก็คือ แนวคิดการจัดการทรัพยากรรวมที่มีชุมชนเปนตัวละคร หลักในการจัดการทรัพยากรนั่นเอง หัวขอที่สี่ เปนการ สรุปและตั้งขอสังเกตและขอเสนอแนะเกี่ยวกับแนวคิด การจัดการทรัพยากรรวมในประเทศไทย การศึกษาเพิ่ม เติม และแนวทางในการนำแนวคิดที่ไดนำเสนอมาไปใช พอสังเขป
1. ·ŒÒ·ÒÂͧ¤ ¤ÇÒÁÃÙŒ´Ñ้§à´ÔÁ㹡ÒèѴ¡Òà ·ÃѾÂÒ¡Ã Elinor Ostrom เปนนักวิชาการในสาขาระบบการ จัดการทางเศรษฐกิจ (Economic Governance) ประจำ อยูที่ Indiana University และ Arizona State Univer-
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
11
sity ประเทศสหรัฐอเมริกา เว็บไซตอยางเปนทางการ ของรางวัลโนเบลสรุปใจความสำคัญของคุณประโยชนที่ Ostrom มีตอวงวิชาการเศรษฐศาสตรวา เธอได ‘ทาทาย องคความรูดั ง้ เดิมโดยการแสดงใหเห็นวาระบบกรรมสิทธิ์ ชุ ม ชน สามารถ จั ด การ ทรั พ ยากร ร ว ม ได สำเร็ จ โดย ปราศจากการควบคุมโดยอำนาจจากสวนกลาง หรือการ ทำใหทรัพยากรรวมกลายเปนทรัพยสนิ เอกชนไดอยางไร’ (Nobelprize.org) เนื้อหาในหัวขอนี้จะนำเสนอแนวคิด การจัดการทรัพยากรรวมของ Ostrom เพื่อใหเกิดความ เขาใจในแนวคิดดังกลาว โดยนำเสนอใหเห็นวา องคความ รูดั้งเดิมคืออะไร และสิ่งที่เธอนำเสนอนั้นคืออะไร 1.1 ÅѡɳТͧ·ÃѾÂÒ¡ÃËÇÁ (Common-Pool Resources)
ในทางเศรษฐศาสตร สินคาที่ไดรับการพิจารณา อยู บ อ ย ครั้ ง ใน ทฤษฎี ทาง เศรษฐศาสตร คื อ สิ น ค า เอกชน (Private Goods) และสินคาสาธารณะ (Public
12
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
Goods) สิ น ค า เอกชน คื อ สิ น ค า ที่ มี ลั ก ษณะ สำคั ญ 2 ประการคือเปนสินคาที่สามารถกีดกันได (Excludable) และ ต อ ง มี การ แข ง ขั น กั น เพื่ อ ให ได มา ซึ่ ง การ บริ โ ภค (Rivalrous) เพราะ การ บริ โ ภค สิ น ค้ า หน่ ว ย หนึ่ ง จะ ลด ความสามารถในการบริโภคของคนถัดไปเนื่องจาก จำนวนสินคาลดนอยลง ลักษณะ 2 ประการนี้ทำให สินคาเอกชนสามารถถูกจัดสรรโดยตลาดได เพราะผู ผลิต สามารถ ขาย สินคา ให แก ผู ซื้อ และ กีดกัน ผู ที่ ไม ได ซื้อออกจากการบริโภคได ผูบริโภคก็ตองแขงขันกันและ แสดง ความ ยินดี จาย เพื่อ ให ได มา ซึ่ง สินคา หากอยู ใน ตลาดแขงขันสมบูรณ ราคาที่แสดงในตลาดก็จะแสดง ตนทุนที่แทจริงของสินคาและระดับความยินดีจายของ ผูบริโภค สวน สินคา สาธารณะ มี ลักษณะ ตรง กัน ขาม กับ สินคาเอกชน กลาวคือ ไมสามารถกีดกันได (Non-excludable) และไมจำเปนตองแขงขันเพื่อใหไดมาซึ่งการ บริโภค (Non-rivalrous) ลักษณะดังกลาวทำใหตลาดลม
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
13
เหลว (Market Failure) คือ ไมมการ ี ผลิตและแลกเปลีย่ น ซื้อขายกันโดยเอกชน เพราะผูผลิตขาดแรงจูงใจในการ ผลิต เนือ่ งจาก เมือ่ ผลิตแลวไมสามารถกีดกันคนทีไม ่ ซือ้ จากการบริโภคได ผูบริโภคก็ไมยินดีจาย เพราะสามารถ บริโภคฟรีได ตัวอยางของสินคาสาธารณะ เชน บริการ การปองกันประเทศ สภาพแวดลอมทีดี่ เปนตน เมือ่ เปน เชนนี้รัฐจึงตองเขาแทรกแซงดวยการเปน ผูผลิตสินคา สาธารณะนีเอง ้ และบังคับใหเอกชนรับภาระรายจายผาน กลไกภาษีและกลไกอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ทรัพยากรรวม (Common-pool Resources) เปน ประเภท ของ สินคา ทาง เศรษฐศาสตร อีก ลักษณะ หนึ่ง มีลักษณะบางประการเหมือนสินคาเอกชน และ บางประการเหมือนสินคาสาธารณะ กลาวคือ ทรัพยากร รวมมีลักษณะกีดกันไดยากมาก เนื่องจากขอบเขตของ ทรัพยากรมีขนาดใหญ (แตใชวาจะเปนไปไมได ขึ้นอยู กับ กติกา การ ใช และ เทคโนโลยี) ใน ขณะ เดียวกัน ตัว ทรัพยากรเองมีลักษณะตองแขงขันเพื่อใหไดมาซึ่งการ บริโภค (Rivalrous) ยิง่ บริโภคหรือเก็บเกีย่ วมาก จำนวน
14
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ทรัพยากรทีใช ่ ไดก็จะนอยลงเรือ่ ยๆ (ในงานของ Ostrom ใชคำวา Subtractability คือเมื่อใชแลวสามารถลดลง ได) ตัวอยางของทรัพยากรรวม ไดแก ปาและทรัพยากร จากปา ปลาชนิดตางๆ น้ำ เปนตน ฉะนั้น ปญหาอัน เกิดจากการที่มีผูใชทรัพยากรมากไป และปญหาการใช ทรัพยากรเกินพอดี จึงเปนปญหาของการใชประโยชน ในทรัพยากรรวม ขณะเดียวกัน ผูใชก็ไมมีแรงจูงใจที่จะ ดูแลรักษา เพราะไมสามารถกีดกันคนอืน่ ทีไม ่ ไดรวมแบง ปนตนทุนการดูแลรักษาจากการใชทรัพยากรได อนึ่ง จุดสำคัญที่แบงแยกทรัพยากรรวมกับสินคาสาธารณะก็ คือปญหาการใชทรัพยากรเกินพอดีนั่นเอง เพราะสินคา สาธารณะนั้น คน สามารถ บริโภค รวม กัน ได ใน ขณะ ที่ ทรัพยากรรวมนัน้ เมือ่ มีคนบริโภคตัวทรัพยากรแลวทำให ทรัพยากรที่เหลืออยูลดลง อนึง่ Ostrom (1990)ไดชีประเด็ ้ นทีน่ าสนใจเอาไว วา ผูคนมักจะสับสนระหวางทรัพยากรรวม (Commonpool resources) กับทรัพยากรทีเป ่ นกรรมสิทธิส์ วนรวม (Common Property Resources) กลาวคือ ทรัพยากร
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
15
รวมเปนสินคาทางเศรษฐศาสตรที่มีลักษณะเฉพาะดังที่ ไดกลาวไปแลว ในขณะที่คำวากรรมสิทธิ์สวนรวมเปน เรื่องของกรรมสิทธิ์เหนือสินคานั้น คือ สินคาเอกชนอาจ จะอยูภาย ใตกรรมสิทธิส์ วนรวมก็ได หรือ ทรัพยากรรวม อาจจะตกเปนกรรมสิทธิ์ของเอกชนก็ไดเชนกัน การเอา สองคำนี้มารวมกันเปน ‘ทรัพยากรที่เปนกรรมสิทธิ์สวน รวม’ อาจทำใหสับสนเมื่อตองการวิเคราะหทรัพยากร รวมที่อยูภายใตระบบกรรมสิทธิ์ประเภทอื่นดวย
1.2 ÍÐää×ͤÇÒÁÃÙŒ´Ñ้§à´ÔÁà¡Õ่ÂǡѺ¡ÒèѴ¡Òà ·ÃѾÂÒ¡Ã
ความรูดั ง้ เดิมเกีย่ วกับการจัดการทรัพยากรอยูบน ฐานความเชือ่ ทีว่ า หากปลอยใหทรัพยากรธรรมชาติถูกใช ไปโดยไมมีการควบคุมจากรัฐ หรือมีการมอบกรรมสิทธิ์ เหนือทรัพยากรนั้นใหแกเอกชน ทรัพยากรธรรมชาตินั้น จะถูกใชจนหมดสิ้นเพราะไมมีใครสนใจดูแลรักษา และ
16
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ผูใ ชแตละคนก็จะพยายามใชประโยชนจากทรัพยากรนัน้ ใหมากที่สุดเทาที่เปนไปได เพราะไมรูวาหากเฝารอถึง อนาคตแลว วันขางหนาจะมีทรัพยากรนัน้ ใหใชประโยชน อีกหรือไม แนวคิดนี้เรียกสั้นๆ วา ‘โศกนาฏกรรมของ ทรัพยากรรวม’ (The Tragedy of the Commons) ผู ที่ นำ เสนอ แนวคิด นี้ จน เปน ที่ สนใจ และ อางอิง กันอยางกวางขวางคือ Garrett Hardin ในป 1968 Hardin ยกตัวอยางคลาสสิกของกรณีทุงหญาเลี้ยงสัตว ที่เปดกวางใหทุกคนเขามาใชได (Open Access to All) หลักการเบื้องตนของเรื่องนี้ก็คือ คนเลี้ยงสัตวแตละคน จะไดประโยชนโดยตรงจากทุงหญา แตจะตองแบกรับ ตนทุนจากการใหสัตวเขามากินหญามากเกินไปในภาย หลัง เพราะทุง หญาเสือ่ มสภาพลงจากการถูกใชประโยชน ซึ่งคนเลี้ยงสัตวทุกคนตองแบกรับตนทุนดังกลาวเทาๆ กัน ฉะนั้น หากเราสมมุติวาคนเลี้ยงสัตวมีเหตุมีผลทาง เศรษฐศาสตร ก็ยอมนำสัตวเขามากินหญาใหมากที่สุด เทาที่จะเปนไปไดกอนที่ทุงหญาจะเสื่อมโทรมลง ทาย ที่สุด ทุงหญาก็ถูกใชประโยชนเกินศักยภาพที่ทุงหญาจะ
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
17
รับไหว และเสื่อมสภาพลงอยางรวดเร็วเกินควร มิใชเพียง Hardin เทานัน้ ทีเห็ ่ นแนวโนมของการใช ทรัพยากรจะเปนไปในลักษณะนี้ นักปรัชญาในอดีตอยาง เชน Aristotle หรือ Thomas Hobbs หรือนักวิชาการ ใน ชวง ทศวรรษ ที่ 1970-80 ก็ มี ความ เห็น ในทำนอง เดียวกัน กลาวคือ หากมีคนจำนวนหนึ่งสามารถเขาถึง ทรัพยากร รวม ได อยาง เสรี ปริมาณ ทรัพยากร ที่ ถูก ใช ประโยชนจะมากเกินกวาระดับที่เหมาะสมและนำไปสู การสูญสลายของทรัพยากรนั้นเปนแน (Clark 1976, 1980; Dasgupta and Heal 1979; Gordon 1954 อางอิงจาก Ostrom 1990) นอกจากนี้ แนวคิดนี้ถูกนำ ไปใชอธิบายปรากฏการณตางๆ ทีเป ่ นโศกนาฏกรรมของ ทรัพยากรชนิดตางๆ เชน ฝน ไมฟน จนถึงปญหาความ รวมมือระหวางประเทศ คำ อธิบาย ทาง เศรษฐศาสตร ของ ปรากฏการณ นี้มักใชทฤษฎีเกม (Game Theory) กรณี Prisoner Dilemma (PD) กลาวคือ ในสถานการณทีผู่ ต องหา 2 คน ที่รวมมือกันกระทำความผิดและถูกตำรวจสืบสวนแบบ
18
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
แยกหอง แตละคนมีทางเลือก 2 ทาง คือ จะสารภาพ หรือไมสารภาพ ทางเลือกที่ดีที่สุดคือ ไมสารภาพทั้งคู เพราะตำรวจจะไมสามารถเอาเรือ่ งไดหรืออยางนอยก็ได รับโทษสถานเบา แตถาหากคนใดคนหนึ่งสารภาพ คนที่ สารภาพจะไดรับโทษสถานเบาในขณะคนที่ไมสารภาพ จะไดรับโทษอยางหนัก และหากสารภาพทัง้ คู ก็จะไดรับ โทษหนักเชนกัน แตนอยกวากรณีทีไม ่ สารภาพแตอีกฝาย หนึ่งสารภาพ ในกรณีที่ตางฝายไมสามารถสื่อสารกันได ตางฝายตางตองเลือกที่จะสารภาพแนนอน เพราะตาง ฝายตางไมรูวาอีกฝายจะสารภาพหรือไม หากตนเลือก ที่จะไมสารภาพอาจไดรับโทษหนักได เมื่อทั้งสองฝาย สารภาพ ทั้งคูก็ตองรับโทษสถานหนัก แทนที่จะไดรับ โทษสถานเบาหากไมสารภาพทั้งคู ใน กรณี การ จัดสรร ทรัพยากร รวม Hardin ยก ตัวอยางวา สมมุติวามีคนเลี้ยงสัตว 2 คน แตละคนมีฝูง สัตวของตน ทุงหญามีศักยภาพในการรองรับฝกสัตวได L ตัว ฉะนั้น ถาใหพอดี แตละคนควรจะเลี้ยงสัตว L/2 ตัว ไดผลผลิตคนละ 10 หนวย ก็จะทำใหสามารถใช
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
19
ทุง หญานีเลี ้ ย้ งสัตวไดตอไปเรือ่ ยๆ แตหากคนหนึง่ เลือกที่ จะเลีย้ ง L/2 ตัว แตอีกคนกลับเพิม่ จำนวนมากขึน้ เรือ่ ยๆ ประโยชน ก็ จะ ตก อยู กับ คน นั้น สมมุติ วา 11 หนวย ในขณะที่คนที่เลี้ยง L/2 ก็จะไมไดประโยชน พรอมทั้ง เสียทุงหญาไปดวย สมมุติวา −1 หนวย และทายที่สุด หากทัง้ สองคนตางเลือกทีจะ ่ เลีย้ งสัตวมากทีส่ ดุ ทีเป ่ นไป ได ทั้งสองคนจะไมไดผลผลิตอะไรเลย (0 หนวย) หาก คนเลีย้ งสัตวทัง้ สองคนไมสามารถเจรจาตกลงกันได ตาง คนตางยอมเลีย้ งสัตวใหมากทีส่ ดุ เพราะไมรวู าอีกฝายจะ หักหลังดวยการเลี้ยงสัตวเพิ่มมากขึ้นหรือไมและเทาใด สิง่ นีถื้ อเปน ความขัดกันของความมีเหตุมีผล (Dilemma of Rationality) คือ การกระทำอยางมีเหตุมีผลในระดับ ปจเจกกลายเปนความไมมีเหตุผลเลยหากมองในระดับ สังคมสวนรวม ซึ่งทางเลือกที่มีเหตุมีผล ไดแก แตละคน เลือกเลี้ยงสัตว L/2 ตัว สาร ที่มา จาก แนวคิด นี้ ทำให ผู กำหนด นโยบาย หลงเขาใจวา ไมควรปลอยใหทรัพยากรเปนทรัพยสิน สาธารณะไดเลย เพราะปจเจกชนจะตกอยูภาย ใตกับดัก
20
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ของความมีเหตุมีผลและจะใชประโยชนจากทรัพยากรจน สูญไปอยางแนนอน วิธีการเดียวสำหรับการดูแลจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติคือ การแทรกแซงและควบคุมจาก ภายนอก ผานกลไกอยางนอย 2 ประการ คือ 1) การ ดูแลควบคุมโดยตรงจากรัฐ หรือ 2) การใหสัมปทาน กับเอกชน สำหรับวิธีการแรก การควบคุมโดยรัฐนั้นมาจาก ความเชื่อที่วาหากเราปลอยใหปจเจกชน ผูใชทรัพยากร ทำการใชทรัพยากรโดยไมมีการควบคุม ทรัพยากรจะ ถูก ใช จน หมด สิ้น ฉะนั้น รัฐ ควร จะ มี บทบาท เปน แรง บังคับจากภายนอกใหปจเจกชนเลือกทางเลือกทีถู่ กตอง และลงโทษหากมีการทำผิดกติกา อยางไรก็ดี แนวคิดนี้ อยูบนฐานความเชื่อวารัฐมีขอมูลสมบูรณและสามารถ บังคับใชกฎกติกาไดอยางแมนยำและทั่วถึง ซึ่งในความ เปน จริง แลว หา เปน เชน นั้น ไม เพราะ รัฐ คอน ขาง ออน ประสิทธิภาพ ใน การ บังคับ ใช กติกา และ ใน บาง กรณี กลับลงโทษคนที่ทำตามกติกา ในขณะที่ไมสามารถจับ และ ลงโทษ คน ที่ ไม ทำตา มก ติ กา ได ทาย ที่สุด แลว จึง
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
21
ไมมี คน ทำตา มก ติ กา และ ทรัพยากร ก็ ตก อยู ใน สภาพ เปดกวาง ไมมีกรรมสิทธิ์ และจบลงดวยโศกนาฏกรรม ขางตนเชนเดิม สวน วิธี การ ที่ สอง หรือ การ ให สัมปทาน นั้น ก็ คือ การที่รัฐแกปญหาของทรัพยากรรวมโดยการทำให กลาย เปน สินคา เอกชน โดย การ มอบ สิทธิ์ ให แก เอกชน หนึ่ง (บุคคล หรือบริษัทเอกชน) ใหทำการใชประโยชน และ ดูแล รักษา ไป เลย โดย เชื่อวา เมื่อ กลาย เปน สินคา ของเอกชนแลว เอกชนจะมีแรงจูงใจในการดูแลรักษา ระบบทรัพยากรนั้นใหอยูในสภาพดี การใหสัมปทานมี ขอดีตรงที่ตัดปญหาของทรัพยากรรวมไปได แตขอเสีย คือ หากธรรมชาติของทรัพยากรรวมมีความไมแนนอน ก็เปนหนาที่ของเอกชนที่จะตองแขงกับธรรมชาติแทน เชน ทุง หญาเลีย้ งสัตวถูกแบงเปนสองสวนใหคนเลีย้ งสัตว แตละคน แตทุงเลี้ยงสัตวนี้บางฤดูฝงหนึ่งมีหญา ฝงหนึ่ง แหงแลงสลับกันไป ถาปไหนรายใดโชครายที่พื้นที่ของ ตนแหงแลงก็อาจขาดทุนจนไมสามารถเลี้ยงสัตวไดอีก นอกจากนี้ ประสบการณจริงในประเทศตางๆ ก็พิสูจน
22
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ใหเห็นแลววา การใหสัมปทาน หรือแมแตการดูแลโดย รัฐเอง ก็ไมไดชวยใหการอนุรักษทรัพยากรรวมเปนไป อยางมีประสิทธิภาพแตอยางใด
1.3 ÁØÁÁͧãËÁ‹áÅÐÊÔ่§·Õ่à¡Ô´¢Ö้¹¨ÃÔ§ã¹ÀҤʹÒÁ
องค ความ รู ดั้ ง เดิ ม นั้ น ตั้ ง อยู บน ข อ สมมุ ติ บาง ประการของวิชาเศรษฐศาสตร ไดแก ความมีเหตุมีผล ในทางเศรษฐศาสตร (Rationality) ความสมบูรณของ ขอมูลขาวสาร (Perfect Information) ความสัมพันธ ของการกระทำของผูคน รวมถึงความแนนอนคงที่ของ สภาพ แวดลอม (Certainty) เปนตน กลาว โดย สรุป องค ความ รู ดั้งเดิม ดาน นี้ เชื่อ วา ผู ใช ทรัพยากร มี เหตุ มี ผล ใน ทาง เศรษฐศาสตร หาก การก ระ ทำ ใด ทำให ได ประโยชนมากกวาตนทุน เขายอมเลือกทีจะ ่ กระทำสิง่ นัน้ การกระทำของแตละคนแยกขาดออกจากกันไมสัมพันธ กัน ขอมูลขาวสารมีความสมบูรณ สภาพแวดลอมที่คน
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
23
เหลานี้อาศัยและกระทำการตางๆ นั้นมีความแนนอน หากพิจารณาภายใตเงือ่ นไขเหลานี้ โศกนาฏกรรม ของทรัพยากรรวมก็จะเกิดขึน้ ปจเจกชนผูใช ทรัพยากรจะ ไมสามารถหลุดออกจากกับดักของความขัดกันของความ มีเหตุมีผลได การแทรกแซงจากภายนอกไมวาจะจากรัฐ นักวิชาการ หรือนักพัฒนา จึงเปนสิ่งจำเปน การควบคุม ดูแลจากรัฐก็จะเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและสามารถ บังคับใชกฎกติกาการใชทรัพยากรไดอยางมีประสิทธิภาพ เอกชนที่ไดรับสัมปทานก็จะใชประโยชนจากทรัพยากร และดูแลระบบทรัพยากรตามที่ไดสัญญากันไว อยางไรก็ดี ตลอดชวงเวลาที่ผานมา นักวิชาการ จำนวนมากในหลากหลายสาขาใหความสนใจศึกษาวา แทจริงแลว ผูใชทรัพยากรตกอยูภายใตกับดักของความ มี เหตุ มี ผล จริง หรือ ไม งาน ศึกษา จำนวน มาก เกี่ยว กับ การจัดการทรัพยากรขนาดเล็กและขนาดกลางพบวา ใน หลายกรณี ผูใชทรัพยากรสามารถจัดการทรัพยากรรวม ไดอยางมีประสิทธิภาพ Schlager (1994 อางอิงจาก Ostrom 2010) และการจัดการทรัพยากรโดยภาครัฐ
24
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
จะ มี ประสิทธิภาพ ต่ำ กวา การ จัดการ โดย องคกร ชุมชน Blomquist และคณะ (1994 อางอิงจาก Ostrom 2010) พบวา โครงสรางการจัดการทรัพยากรรวมที่ออกแบบ โดยผูใช เองมีแนวโนมทีจะ ่ มีประสิทธิภาพมากกวาเชนกัน อยางไรก็ดี เนือ่ งจากกรณีศึกษาเหลานีกระจั ้ ดกระจายอยู ตามสาขาตางๆ และไมมการ ี รวบรวม กรณีโศกนาฏกรรม จึงไดรับความสนใจมากกวา จนกระทั่งหลังป 1986 หลังการประชุมวิชาการของ National Academy of Sciences ในสหรัฐอเมริกาในหัวขอเกี่ยวกับการจัดการ ทรัพยากรกรรมสิทธิร์ วม (Panel on Common Property Resource Management) ทีมของ Ostrom ที่ Indiana University จึงไดทำการรวบรวมกรณีศึกษาเหลานี้จาก หลากหลายสาขาและสังเคราะหกรณีศึกษาเหลานี้ งาน ของ Ostrom ก็อยูบนฐานของชุดขอมูลนี้เชนกัน Ostrom (1990) เห็นวาสภาพความเปนจริงเชิง ประจักษแตกตางอยางมากกับองคความรูดั้งเดิมเพราะ องคความรูดั้งเดิมนั้นมีขอสมมุติเกี่ยวกับปจเจกชนและ สถานการณที่ปจเจกชนเผชิญที่แคบเกินไป กลาวคือ ผู
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
25
ใช ทรัพยากร อยู ใน สภาพ แวดลอม ที่ ไม แนนอน มี การ เปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ พวกเขายังมีเหตุ มีผลจำกัด เนื่องจาก มีความรูเกี่ยวกับสภาพแวดลอม และผูใช ทรัพยากรคนอืน่ อยางจำกัด แตเพราะวาพวกเขา เรียนรูได และพยายามทีจะ ่ หาทางออกทีดี่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เมือ่ มีโอกาส ฉะนั้น ผูใชทรัพยากรในชุมชนเดียวกันและอยู กับทรัพยากรมานานยอมมีความรูเกี่ยวกับสภาพพื้นที่ และ ผูคน ที่ มาก พอ จะ มี แนว โนม ที่ จะ สามารถ จัดการ ทรัพยากร รวม ได อยาง มี ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ขึ้น อยู กับ สถานการณที่ผูใชทรัพยากรเหลานั้นกำลังเผชิญอยูดวย หากพวกเขากำลังเผชิญสภาวะวิกฤติทางดานเศรษฐกิจ สังคมเปนการสวนตัว เขาอาจตัดสินใจไมดูแลทรัพยากร และเลือกทางเลือกทีจะ ่ ใชทรัพยากรอยางสิน้ เปลืองแทน ก็ได หรือพูดอีกอยางหนึ่งคือ ถาอัตราคิดลด (Discount Rate) ในการใชทรัพยากรของผูใชทรัพยากรสูงขึ้นก็อาจ จะ ทำให พวก เขา เลือก ที่ จะ ใช ทรัพยากร อยาง ไม ยั่งยืน แทนที่ จะ รวม กัน ใช ประโยชน จาก ทรัพยากร ใน แบบ ที่ ยั่งยืนกวา
26
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
นอกจากนี้ ผูใชทรัพยากรยังมีพฤติกรรมที่มีแนว โนมจะปฏิบัติตามบรรทัดฐาน (Norm) ของชุมชนที่ตน อยู ดวย บรรทัดฐาน เปน มาตรการ ที่ กำกับ พฤติกรรม ของผูใชทรัพยากรวาสิ่งใดคือสิ่งที่ถูก ควรทำ ควรอยูใน ชุดทางเลือกของการกระทำที่จะเลือกทำ สิ่งใดเปนสิ่งที่ ผิด ไมควรทำ ไมควรอยูในชุดทางเลือกของการกระทำ เลย การมีพฤติกรรมที่สอดคลองกับบรรทัดฐานนี้ทำให เห็นวาหากมีการตัง้ กฎกติกาบางอยางขึน้ และชุมชนผูใช ทรัพยากรนัน้ มีบรรทัดฐานทีให ่ ความสำคัญกับการรักษา คำพูด ปฏิบตั ตาม ิ กติกา ก็มีความเปนไปไดวาหากกติกา ที่รางขึ้นมามีประสิทธิภาพในการจัดการทรัพยากร การ จัดการนั้นก็มีโอกาสที่จะสัมฤทธิ์ผลมาก แตหากชุมชน มีบรรทัดฐานในแบบทีหา ่ ประโยชนใสตัวและฉวยโอกาส ก็ยากที่การจัดการทรัพยากรจะสัมฤทธิ์ผลได เมื่อผูใช ทรัพยากรปฏิบัติตามกฎเปนเวลานานเขามีโอกาสที่จะ รับเอากติกานั้นเขามาเปนบรรทัดฐานภายในตัวของเขา (Internal Norm) อยางไรก็ดี เปนความจริงที่ในทุกๆ สังคม ยอม มี ทั้งคน ดี และ คน ไม ดี กลไก การ ตรวจ ตรา
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
27
(Monitoring) และการลงโทษทางสังคม (Social Sanction) จึงมีบทบาทมากในการทำใหการจัดการทรัพยากร มีประสิทธิภาพ พูดอีกแบบหนึ่งคือ Ostrom ไดขยายขอสมมุติ เกี่ยวกับพฤติกรรมของผูใชทรัพยากรใหกวางขึ้นไปกวา ขอ สมมุติ เกี่ยว กับ พฤติกรรม มนุษย ใน เศรษฐศาสตร กระแสหลักมาตรฐาน โดยการตัดสินใจทำสิ่งตางๆ ของ ปจเจกชนมิไดเปน ผลมาจากการเทียบกันระหวางผลได และ ตนทุน ที่ เปน เงื่อนไข และ อัตรา คิด ลด สวน บุคคล เทานั้น ยังมีบรรทัดฐานภายใน และการเรียนรูจากผล ของการกระทำที่จะชวยทำใหขอมูลเกี่ยวกับตนทุนและ ผล ไดที่ คาด หวัง ได จาก การก ระ ทำ ชัดเจน ขึ้น หรือ นำ ไปสูการสรางทางเลือกใหมที่จะใหผลดีกวาไดดวย ดัง แผนภาพที่ 1 ที่แสดงขางลางนี้
28
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
á¼¹ÀÒ¾·Õ่ 1: กระบวนการตัดสินใจของปจเจกชน External world Internal world
Expected benefits
Choice of strategies
Internal norms Discount rate
Outcomes
Expected costs
·Õ่ÁÒ: Ostrom 1990 หนา 37
การ ทดลอง ใน หอง ทดลอง และ ภาค สนาม จริงๆ ก็พบวา ปจเจกชนสามารถแกไขปญหาความขัดกันของ ความมีเหตุมีผลได การสื่อสารกันตอหนาเพื่อนัดแนะ หรือตกลงกติกามีสวนชวยในการแกไขปญหานี้ นอกจาก นี้ ผูเขารวมการทดลองยังยินดีแบงทรัพยากรสวนหนึ่ง เพื่อการตรวจตราดูแลและลงโทษใหความรวมมือเปน
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
29
ไป ตาม ที่ ตกลง กัน อีก ดวย หาก ผู เขา รวม การ ทดลอง มี ลักษณะ ตาม ขอ สมมุติ ของ องค ความ รู ดั้งเดิม ยอม มี พฤติกรรมในทางตรงกันขาม คือไมยินดีแบงทรัพยากร เพื่อ ตรวจ ตรา และ จะ หัก หลัง ตั้งแต เริ่ม ตน Ostrom (2010) เห็นวา พฤติกรรมแบบ Prisoner Dilemma (PD) นั้นเปนเพียงกรณีพิเศษที่จะเกิดขึ้นเมื่อปจเจกชน ไมรูจักกันและไมสามารถสื่อสารกันได ซึ่งหากพวกเขา สามารถ สื่อสาร กัน ได เขา ยอม สามารถ ออกแบบ และ สรางขอตกลงที่จะทำใหพวกเขาไดผลประโยชนรวมกัน เพิ่มขึ้นได ยิ่งไปกวานั้นการทดลองภาคสนามยังพบวา การ บังคับ ใช กติกา ที่มา จาก ภายนอก จะ มี ผล ลด ความ รวมมือกันโดยสมัครใจของชุมชนอีกดวย สภาพแวดลอมที่ผูใชทรัพยากรเผชิญยังมีความ สลับซับซอนและมีความเชื่อมโยงกันทั้งในเชิงนิเวศและ ในเชิงสังคม การกระทำหนึ่งๆ ของผูใชทรัพยากรยอม สงผลกระทบกับบริบทตางๆ ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ระบบทรัพยากร และตัวทรัพยากรเอง จาก แผนภาพ ที่ 2 การ ปฏิ สั ม พั น ธ และ ผลลั พ ธ ของ ผู ใช
30
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ทรัพยากรจะสงผลตอทั้งระบบทรัพยากร (Resource System) ตัวทรัพยากร (Resource Unit) ระบบการ จัดการ และตัวผูใช สิ่งตางๆ เหลานี้จะสงผลยอนกลับ ไปทีการ ่ ปฏิสมั พันธและผลลัพธของการกระทำนัน้ ๆ ใน ขณะเดียวกันการปฏิสัมพันธและผลของการกระทำนี้ยัง มีความเชื่อมโยงกับบริบทที่ใหญกวานั้นคือ ระบบนิเวศ ที่ทรัพยากรตั้งอยูหรือเกี่ยวของดวย และบริบททางดาน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ซึง่ ความเปลีย่ นแปลงในบริบท ที่ใหญกวาทั้งสองนี้ก็ยอมสงผลตอการจัดการทรัพยากร อยางเลี่ยงไมได
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
31
á¼¹ÀÒ¾·Õ่ 2: สถานการณการจัดการทรัพยากรตั้งอยู
ในระบบนิเวศและสังคมที่กวางกวา Social, economics, and political settings (S)
Resource system (RS)
Governance system (GS)
Action Situation Interactions (I)
Outcomes (O)
Users (U)
Resource units (RU)
Feedback
Direct casual link Related ecosystems (ECO)
·Õ่ÁÒ: Ostrom 2010 หนา 663
จากมุมมองใหมดังกลาวทำให Ostrom (1990, 2010) ย้ำวา การจัดการทรัพยากรนั้นสามารถเปนไป ได และมีประสิทธิภาพดีกวา หากการจัดการและกฎ กติกาในการจัดการนัน้ ดำเนินการโดยผูใช ทรัพยากรอยาง
32
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
สมัครใจเอง ทั้งนี้เนื่องจากในความเปนจริง คนสามารถ รวมมือกันเพื่อใหบรรลุเปาหมายรวมที่ดีสำหรับทุกฝาย ไดหากมีโอกาสไดคุยกัน และเนื่องจากผูใชทรัพยากร มี ความ รู ใน เชิง พื้นที่ ของ ระบบ นิเวศ และ รูจัก กับ ผู ใช ทรัพยากรคนอื่น ทำใหสามารถออกแบบกติกาที่เปนที่ ยอมรับและเหมาะกับบริบทในพื้นที่ดวย อย า งไร ก็ ดี ไม จำเป น เสมอ ไป ที่ การ จั ด การ ทรัพยากรโดยชุมชนจะตองมีประสิทธิภาพหรือสัมฤทธิ์ ผลเสมอไป การจัดการทรัพยากรโดยชุมชนทีล่ มเหลวก็มี ใหเห็นไมนอย สิ่งที่ Ostrom ศึกษาก็คือ อะไรเปนปจจัย ทีทำให ่ การจัดการทรัพยากรโดยชุมชนผูใช ทรัพยากรนัน้ สำเร็จและดำรงอยูไดนาน อันจะเปนประเด็นหลักใน หัวขอถัดไป อนึ่ง คุณูปการของ Ostrom ในเชิงวิชาการ นัน้ มิใชเพียงกรอบการวิเคราะหและบทเรียนทีได ่ จากการ เรียนรูกรณีศึกษาที่จะกลาวตอไปนี้เทานั้น แตเธอยังได เสนอกรอบการวิเคราะหและคาดการณการเปลีย่ นแปลง เชิง สถาบัน (Institutional Change) ของ ชุมชน ผู ใช ทรัพยากร และประเด็นดานวิธีวิทยา (Methodology)
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
33
เอา ไว อีก ดวย อยางไร ก็ ดี บทความ นี้ จะ ไม พิจารณา ใน 2 ประเด็นหลังเนื่องจากเปนประเด็นที่เกี่ยวของกับ นักวิชาการที่จะทำการศึกษาเรื่องนี้มากกวาจะที่จะเปน ประโยชนในเชิงการใหความรูทั่วไปและเชิงนโยบาย
2. »ÃÐʺ¡Òó ¨Ò¡μ‹Ò§»ÃÐà·È Ostrom ไดศึกษาชุมชนผูใช ทรัพยากรจำนวนมาก จากทั่วโลกพรอมสกัดบทเรียนเปนองคความรูที่สำคัญ ผูเขียนขอนำเอาองคความรูและหลักการที่ Ostrom ได นำเสนอไวในหนังสือและบทความของเธอในป 1990 และ 2010 มานำเสนอ โดยจะกลาวถึงความรูพื้นฐาน เกี่ยว กับ การ จัดการ ทรัพยากร ตาม ดวย ความ เขาใจ เกี่ยว กับ ระดับ ตางๆ ของ กฎ กติกา ที่ เกี่ยวของ กับ การ จัดการทรัพยากร ประเภทของกรรมสิทธิ์ในการจัดการ ทรัพยากร และหลักการในการออกแบบกติกาวาดวย การจัดการทรัพยากร ซึง่ เปนบทเรียนสรุปจากกรณีศึกษา
34
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ตางๆ ในตอนทายจะกลาวถึงแนวโนมของการศึกษาดาน นี้ ซึ่งกำลังมุงไปใหความสำคัญกับเรื่องความสามารถใน การกลับสูสภาพ เดิม (Resilience) และความสามารถใน การปรับตัว (Adaptive Capacity)
2.1 Åѡɳо×้¹°Ò¹áÅÐμÑÇÅФ÷Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº ·ÃѾÂÒ¡ÃËÇÁáÅСÒèѴ¡ÒÃ
ทรัพยากรรวมที่ Ostrom สนใจศึกษาและกลาว ถึงในรายงานนี้เปนทรัพยากรรวมที่สามารถเกิดขึ้นใหม ได (Renewable) ตัวทฤษฎีไมไดพูดถึงทรัพยากรที่ใช แลวหมดไป (Non-renewable) ทีด่ นิ ทำกินและปาชุมชน จัดอยูในสวนของทรัพยากรรวมที่เกิดขึ้นใหมได กลาว คือ ที่ดินทำกินนั้นเปนทรัพยากรที่เกิดขึ้นใหม ไดหาก พิจารณาในแงของหนาดินและสารอาหารที่จำเปนตอ การเจริญเติบโตของพืช หรือพูดรวมๆ คือผลิตภาพของ ผืนดินในการสรางผลิตผลทางการเกษตรนัน่ เอง สวนปา
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
35
นั้นคอนขางชัดเจนวาเปนทรัพยากรรวมที่เกิดขึ้นใหม ลั ก ษณะ สำคั ญ ประการ หนึ่ ง ที่ เกี่ ย วข อ ง กั บ ทรัพยากร รวม ที่ เกิด ขึ้น ใหม ได และ เกี่ยวของ กับ การ จัดการทรัพยากร ก็คือ ทรัพยากรรวมมีองคประกอบ สำคัญ 2 ประการ คือ ระบบทรัพยากร (Resource System) กับตัวทรัพยากรเองที่คนเก็บเกี่ยวไปใชเพื่อ การบริโภค (Resource Unit) ระบบทรัพยากรมีลักษณะ เปน Stock ของทรัพยากรที่จะตองดำรงอยูเพื่อใหเกิด การผลิตตัวทรัพยากรออกมาได เชน จำนวนปลาในฝูง ทีจะ ่ ทำใหอัตราการเกิดของปลาคงทีหรื ่ อเพิม่ ขึน้ ปาชาย เลนและพืชทีเกี ่ ย่ วของทีจะ ่ เปนระบบอนุบาลใหชาวบาน สามารถเก็บเกี่ยวไมฟนและสัตวน้ำตางๆ ในบริเวณปา ชายเลน สวนตัวทรัพยากรมีลักษณะเปน Flow ทีม่ าจาก ระบบทรัพยากร สวนนีคื้ อสวนทีชาว ่ บานจะเก็บเกีย่ ว ยก ตัวอยางเชน ในกรณีของปาชายเลน การทีชาว ่ บานไปรวม กันดูแลรักษา ปกรัว้ แตงกิง่ คือการดูแลระบบทรัพยากร ในขณะทีการ ่ กำหนดกติกาการเก็บเกีย่ วเปนเรือ่ งของการ กำหนดกติกาทีเกี ่ ย่ วกับตัวทรัพยากร ระบบทรัพยากรกับ
36
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ตัวทรัพยากรไมจำเปนจะตองเปนสิ่งเดียวกันก็ได ผูที่เกี่ยวของกับการจัดการและใชประโยชนจาก ทรัพยากร รวม มี อยู หลาย ตำแหนง แตละ ตำแหนง มี บทบาทแตกตางกันไป บางคนอาจจะมีหลายบทบาท ก็ได บทบาทดังกลาวเชน - ‘ผูใช’ (Appropriator) ในที่นี้หมายถึงผูเก็บเกี่ยว ตัวทรัพยากรไปเพือ่ ใชประโยชน อาจจะหมายถึงคนเลีย้ ง สัตว ชาวประมง ผูใชน้ำชลประทาน หรือใครก็ตามที่ใช ตัวทรัพยากรจากระบบทรัพยากร ผูใชทรัพยากรอาจใช ทรัพยากรทีเก็ ่ บเกีย่ วไดเพือ่ การบริโภคหรือการผลิตของ ตน หรือจะถายโอนกรรมสิทธิให ์ แกคนอืน่ ตอไป ขอบเขต ของผูใช ทรัพยากรในทฤษฎีของ Ostrom นีไม ้ ครอบคลุม ถึงผูใชทรัพยากรที่มีอำนาจในตลาดสินคาและบริการ หรือมีผลตอสิ่งแวดลอมนอกบริบทของทรัพยากรรวม ที่พิจารณา - ‘ผูจัดการ’ (Provider) คือ ผูเปนเจาภาพจัดการ ใหเกิดการจัดการทรัพยากร อาจจะเปนผูใชเอง เปนรัฐ เปน NGO ทีเป ่ นผูประสาน งานใหเกิดการออกกฎกติกา
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
37
การบำรุงรักษาระบบทรัพยากร - ‘ผูผลิต’ (Producer) คือ ผูทำหนาที่จริงในการ สราง ซอม ทำนุบำรุงระบบทรัพยากร ผูจัดการและผูใช อาจจะเปนคนคนเดียวกันหรือไมก็ได สิ่ง ที่ ควร เนน ย้ำ ก็ คือ ผู ใช ทรัพยากร สามารถ ใช ระบบ ทรัพยากร รวม กัน ได เชน ชาว บาน ทั้ง หมูบาน สามารถ ใช ป า ชุ ม ชน ร ว ม กั น ได แต ไม สามารถ ใช ตั ว ทรัพยากรรวมกันได เชน ถานาย ก ตัดไมไปทำฟนแลว ไมที่ถูกตัดไปนั้นก็ถูกใชไปแลว นาย ข ไมสามารถตัดไม ตนนั้นมาทำฟนไดอีก เนือ่ งจากตัวทรัพยากรนัน้ ไมสามารถถูกผลิตออก มาไดหากไมมีระบบทรัพยากร ฉะนั้น การดูแลรักษา ระบบทรัพยากรจึงเปนสิง่ สำคัญทีควร ่ ทำ อยางไรก็ดี คน ยอมขาดแรงจูงใจที่จะดูแลรักษาระบบทรัพยากร หาก ไมสามารถกีดกันคนที่ไมไดมี สวนรวมกับการแบงเบา ภาระการดูแลรักษาจากการใชทรัพยากรในระบบได ใน แงนี้ระบบทรัพยากรมีลักษณะเหมือนสินคาสาธารณะ ใน ระดับ ชุมชน ที่ เผชิญ ปญหา การ กีดกัน ผู ใช ประโยชน
38
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ในขณะเดียวกัน ตัวทรัพยากรที่ถูกใชประโยชนก็จำเปน ตองมีการจัดการที่เปนธรรมเชนกัน เพราะเนื่องจากตัว ทรัพยากรจะมีลักษณะเหมือนกับสินคาเอกชนมากกวา การ จัดสรร ตัว ทรัพยากร ที่ ไม เปน ธรรม ก็ สง ผล ตอ แรง จูงใจของผูใช ทรัพยากรในการมีสวนรวมบำรุงรักษาระบบ ทรัพยากรเชนกัน แตกลไกในการจัดสรรตัวทรัพยากรก็มี ความแตกตางกันไปตามลักษณะภูมิสังคม
2.2 ¡®¡μÔ¡Ò㹡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂҡêØÁª¹
จากกรณีศึกษาตางๆ พบวา กติกาในการจัดการ ทรัพยากรชุมชนนั้นมีความซับซอนในตัวของมัน กลาว คือ กติกามีอยูอยางนอย 3 ระดับ ไดแก 1) กติการะดับปฏิบัติการ (Operational Rules) คือ กติกาทีผู่ ใช ทรัพยากรจะตองเผชิญทุกๆ วัน เปนกติกา ที่กำหนดวา ผูใชทรัพยากรสามารถใชเครื่องมืออะไรใน การใชประโยชนจากทรัพยากร ใชประโยชนไดเมื่อใด ใน
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
39
ปริมาณเทาไร เปนตน 2) กติกากำกับทางเลือกรวม (Collective-Choice Rules) เปนก ติ กา ที่ ใช โดย ผู ใช ทรัพยากร ผู มี อำนาจ ภายนอก หรือเจาหนาทีใน ่ การออกนโยบายวาทรัพยากร จะถูกบริหารจัดการอยางไร กติการะดับนี้จะมีผลทาง ออมตอกติกาในระดับปฏิบัติการ 3) กติการะดับธรรมนูญ (Constitutional Rules) เปนกติกาที่กำหนดวาใครบางที่มีสิทธิ์เขามามีสวนรวม ในการกำหนดกติกากำกับทางเลือกรวมบาง และกติกา ที่ใชในการออกแบบและสรางกติกากำกับทางเลือกรวม นอกจากนี้ ยังมีผลทางออมเชนกัน ลักษณะของสิทธิ์ที่สืบเนื่องมาจากกติกาขางตน นัน้ จากกรณีศึกษาตางๆ Ostrom พบวาสามารถจำแนก สิทธิ์ในการจัดการทรัพยากรออกเปน 5 ประเภท ดังนี้ 1) สิทธิ์ในการเขาใชทรัพยากร (Access) 2) สิทธิ์ในการใชประโยชนจากระบบทรัพยากร (Withdrawal) 3) สิทธิในการจัดการ (Management) คือ สิทธิ์
40
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ทีอนุ ่ ญาตใหผูมี สิทธิสามารถ ์ ปรับเปลีย่ นสภาพของระบบ ทรัพยากรได รวมถึงกำหนดรูปแบบการใชประโยชนจาก ทรัพยากรดวย 4) สิทธิ์ ใน การ กีดกัน (Exclusion) คือ สิทธิ์ ที่ กำหนด ว า ใคร สามารถ เข า ใช ประโยชน จาก ระบบ ทรัพยากรไดหรือไมได 5) สิทธิ์ในการขายหรือใหยืมสิทธิ์ทั้ง 4 ประเภท กอนหนานี้ ซึ่งสิทธิแตละประเภทนั้น ผูกำหนดอาจไม จำเปนตองเปนกลุมเดียวกันก็ได เชน สิทธิบางประเภท ชุมชนอาจเปน ผูกำหนด ในขณะที่สิทธิอีกประเภทอาจ ถูกกำหนดโดยเจาหนาที่ รัฐ เปนตน
2.3 ËÅÑ¡¡ÒÃÍ͡Ẻ¡μÔ¡Ò㹡ÒèѴ¡Òà ·ÃѾÂÒ¡Ã (Design Principle)
Ostrom พยายาม ค น หา กฎ กติ ก า สากล บาง ประการจากกรณีศึกษาเพื่ออธิบายวา เพราะเหตุใดการ
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
41
จัดการทรัพยากรของชุมชนผูใชทรัพยากรในพื้นที่ตางๆ จึงประสบความสำเร็จ อยางไรก็ดี ความพยายามไมเปน ผล เธอจึงเปลีย่ นโจทยมาทำความเขาใจและหาลักษณะ รวม ใน เชิง สถาบัน ของ ชุมชน ผู ใช ทรัพยากร ที่ ประสบ ความสำเร็จในการจัดการทรัพยากร ซึ่งมีลักษณะคงทน ถาวรและยั่งยืน ลักษณะรวมที่วานี้ เรียกวา หลักการ ออกแบบกติกา (Design Principle) เธอนำเสนอหลักนี้ ใน Ostrom (1990 และ 2005) และไดรับการพัฒนาตอ จากนักวิชาการรุน หลัง (Cox, Arnold, and VillamayorTomas 2009 - อางอิงจาก Ostrom 2010 หนา 653) หลักการออกแบบกติกามีทั้งสิ้น 8 ประการ ไดแก ประการแรก ความชัดเจนของขอบเขต (Boundaries) ขอบเขตในที่นี้มี 2 สวนคือ 1) ขอบเขตเกี่ยวกับผูใช คือ ชุมชนที่ประสบความสำเร็จในการจัดการทรัพยากร สามารถแยกแยะกันเองในชุมชนไดวาใครคือคนที่มีหรือ ไมมสิี ทธิใน ์ ทรัพยากรนัน้ และ 2) ขอบเขตของทรัพยากร คือ ทรัพยากรที่ถูกจัดการนั้นมีขอบเขตชัดเจน สามารถ แยกแยะไดระหวางขอบเขตของระบบทรัพยากรที่ชุมชน
42
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ดูแลกับระบบนิเวศเชิงสังคมที่ใหญกวานั้น ประการที่สอง ความสอดคลอง (Congruence) มี 2 สวนเชนกัน คือ 1) ความสอดคลองระหวางกติกา วาดวยการใชประโยชนจากทรัพยากร และบำรุงรักษา ระบบทรัพยากรกับเงื่อนไขทางสังคมและสิ่งแวดลอมใน พื้นที่ 2) ความสอดคลองกันระหวางประโยชนที่สมาชิก จะไดตองสอดคลองกับตนทุนที่ลงไปดวย ประการที่สาม คนสวนใหญที่ไดรับผลจากการ จัดการ ทรัพยากร มี สิทธิ์ รวม ตัดสิน ใจ และ ปรับปรุง กฎ กติกา ใน การ จัดการ ทรัพยากร (Collective Choice Arrangements) ประการที่สี่ การสอดสองดูแล (Monitoring) มี 2 สวนดังนี้คือ 1) มีการสอดสองดูแลพฤติกรรมการ ใช ประโยชน จาก ทรัพยากร และ การ บำรุง รักษา ระบบ ทรัพยากรของผูใช ทรัพยากรวาเปนไปตามกติกาทีวาง ่ ไว หรือไม และ 2) มีการสอดสองดูแลสภาพของทรัพยากร อยางสม่ำเสมอ ประการที่หา การลงโทษอยางคอยเปนคอยไป
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
43
(Graduated Sanctions) คือ หากสอดสองดูแลแลว พบผูกระทำผิด การลงโทษในครั้งแรกๆ จะคอนขางเบา มาก ในขณะที่การลงโทษผูกระทำผิดละเมิดกฎซ้ำซาก จะมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ประการ ที่ หก มี กลไก ใน การ จั ด การ ความ ขั ด แยง (Conflict Resolution Mechanisms) ชุมชนที่ ประสบความสำเร็จในการจัดการทรัพยากรจะมีกลไก ในการจัดการความขัดแยงระหวางผูใช กันเองหรือผูใช กับ เจาหนาที่รัฐที่รวดเร็วและมีตนทุนต่ำ ประการ ที่ เจ็ด รัฐบาล รับ รู และ ให สิทธิ์ แก ผู ใช ทรัพยากรในการวางกติกาการใชและจัดการทรัพยากร (Minimal Recognition of Rights) ประการที่แปด กติกาและการจัดการทรัพยากร เชื่อมโยงและสอดคลองกับระบบที่ใหญกวา (Nested Enterprises) ทั้งนี้เนื่องจากระบบทรัพยากรและการ จัดการทรัพยากรเองก็ตัง้ อยูและ เชือ่ มโยงกับระบบนิเวศ เชิงสังคมที่ใหญกวานั้น ระบบการจัดการและกติกาจึง จำเปนตองสอดคลองกับระบบที่ใหญกวา
44
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
จะ เห็ น ได ว า หลั ก การ 2 ข อ แรก สะท อ น ว า การ จัดการ ทรัพยากร ที่ ประสบ ความ สำเร็จ จะ มี ความ ชัดเจนในแงของผูใชและทรัพยากรที่จะถูกดูแล มีความ เหมาะสมกับสภาพของทรัพยากรและเปนธรรมกับผูใช ทรัพยากรที่เปนทั้งผูดูแลและผูไดรับผลประโยชนจาก ทรัพยากร ปจจัยที่ทำใหเกิดสิ่งเหลานี้ไดคือ ความรูทอง ถิ่น ซึ่งผูใชทรัพยากรมีเกี่ยวกับระบบทรัพยากรและผูใช ทรัพยากรคนอื่นๆ นั่นเอง หลัก การ ขอ 3 ที่ ให ผู ใช มี สวน รวม ใน การ ปรับ กฎกติกาสะทอนวา ชุมชนที่ประสบความสำเร็จในการ จัดการเปดโอกาสใหผูใชทรัพยากรใชความรูที่มีในการ ปรับกติกาใหมีความชัดเจน เหมาะสมและเปนธรรม หลัก การขอ 3 นี้เชื่อมโยงกับหลักการขอ 7 คือการไดรับการ ยอมรับจากรัฐ หากรัฐไมยอมรับสิทธิ์และไมเปดโอกาส ใหผูใช กำหนดกติกาไดเอง จะทำใหการจัดการทรัพยากร ไม สามารถ ปรับ ตัว ได ตาม การ เปลี่ยนแปลง ของ สภาพ เศรษฐกิจและสังคม ณ ขณะนั้น ซึ่งจุดนี้เปนสาเหตุให ชุมชนหลายแหงทีเคย ่ จัดการทรัพยากรไดดีประสบความ
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
45
ลมเหลวในภายหลัง (Ostrom 1990 บทที่ 5) กติกาขอ 4 ถึง 6 เกี่ยวของกับการสอดสองดูแล การลงโทษ และกลไกในการจัดการความขัดแยง ซึง่ แสดง ใหเห็นวา การทีคน ่ จะตัดสินใจรวมกันลงมือลงแรงบริหาร จัดการทรัพยากรรวมนั้นตองเกิดจากความเชื่อใจกันวา อีกฝายหนึ่งจะไมผิดสัญญา กติกา 3 ขอนี้ทำใหคนใน ชุมชน สามารถ เชื่อ ใจ กัน ได วา สมาชิก จะ ทำตา มกติ กา และเนื่องดวยผูคุมกติกามักเปน ผูใชดวยกันและมีความ รูเกี่ยวกับผูใชคนอื่นๆ หากมีการละเมิดกติกาขึ้นครั้ง แรก ซึ่งอาจจะเกิดจากเหตุจำเปนในชีวิตบางประการ การลงโทษแบบคอยเปนคอยไปก็จะทำใหผูละเมิ ดภายใต ในเงื่อนไขเชนนี้ไมเดือดรอนจนเกินไปอีกดวย กลไกการ จัดการความขัดแยงทีต่ นทุนต่ำยังทำใหการตรวจตราและ ลงโทษผูละเมิ ดกฎเปนไปไดโดยงาย นอกจากนี้ หากเกิด ความขัดแยงขึ้นก็จะไมทำใหบานปลายจนกระทบความ สัมพันธในชุมชนและความไวเนื้อเชื่อใจกัน กรณีศึกษาที่การจัดการทรัพยากรประสบความ สำเร็ จ และ คงทน ต อ การ เปลี่ ย นแปลง ภายนอก นั้ น มี
46
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ลักษณะกฎกติกาที่สอดคลองกับหลักการขางตนทุกขอ ในขณะที่ กรณีศึกษาทีขาด ่ กลไกการจัดการความขัดแยง ไมไดรับการยอมรับจากรัฐ และไมไดเชื่อมโยงกับระบบ นิเวศ เชิง สังคมที่ ใหญ กวา จะมี ความ เปราะบาง ตอ การ เปลี่ยนแปลงและเสี่ยงตอการลมสลาย สวนกรณีศึกษา ที่ลมเหลวมีลักษณะสอดคลองกับหลักการขางตนเพียง 1 หรือ 2 ขอเทานั้น (Ostrom 1990; ตาราง 5.2 หนา 180) ขอสังเกตที่ผูเขียนเห็นวานาสนใจก็คือ แมในกรณี ศึกษาที่การจัดการทรัพยากรไดรับการยอมรับจากรัฐ มี กลไกการจัดการความขัดแยงที่ดี และผูใชทรัพยากรมี สวนรวมกับการ กำหนดกติกา แตขาดความชัดเจนใน เรื่องของพื้นที่และสมาชิก กติกาที่สอดคลองกับสภาพ แวดลอม การกระจายผลประโยชนที่เปนธรรม และการ ตรวจตราและลงโทษทีมี่ ประสิทธิภาพ ก็สามารถลมเหลว ไดเชนกัน
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
47
2.4 á¹Ç⹌Á¡ÒÃÈÖ¡ÉÒàÃ×่ͧ¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂҡà ËÇÁã¹»˜¨¨ØºÑ¹
ในป 2003 Ostrom ไดเขียนบทความชิน้ หนึง่ รวม กับ Thomas Dietz และ Paul C. Stern เรือ่ ง Struggle to Govern the Commons ลงในวารสารวิชาการ Science บทความ นี้ เปน หนึ่ง ใน บทความ ที่ มี ผู อางอิง มาก ที่สุด บทความหนึ่งเมื่อคนหาบทความวิชาการใน Google Scholar ดวยคำสำคัญ Adaptive Capacity (ความ สามารถในการปรับตัว) และ Resilience (ความยืดหยุน หรือความสามารถในการคืนสูสภาพปกติ) การศึกษา ในชวงหลังจากบทความนี้ตีพิมพ วงวิชาการเรื่องการ จัดการทรัพยากรรวมหันมาใหความสำคัญกับประเด็น ศึกษาวา ชุมชน ผูใชทรัพยากรจะสามารถรักษาระบบ การจัดการของตนเอาไวในสภาพแวดลอมทางนิเวศเชิง สังคมที่ผัน ผวนเชนปจจุบันไดอยางไร ยกตัวอยางเชน International Human Dimensions Program on Global
48
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
Environmental Change (IHDP) เครือขายนานาชาติที่ ศึกษาเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของ กับมนุษยไดทำการวิจัยอยางเปนระบบโดยอาศัยความ รวม มือ จาก นัก วิจัย ใน สถาบันวิจัย และ มหาวิทยาลัย หลายแหงทั่วโลก ก็ถือเอาเรื่อง Adaptive Capacity และ Resilience เปนหนึ่งวิธีคิดพื้นฐานในประเด็นที่ เกี่ยวกับสถาบันการจัดการสิ่งแวดลอม (โครงการวิจัย Institutional Dimensions of Global Environmental Change (IDGEC) ตีพิมพในป 2008 (Young, King and Schroeder 2008) และโครงการที่กำลังดำเนินอยู ในปจจุบนั คือ โครงการวิจยั Earth System Governance (Biermann et al. 2009) ผูเขียนเห็นวาควรนำประเด็น เรื่องนี้รวมไวในรายงานนี้ดวยพอสังเขป โดยสรุปเนื้อหา ของบทความที่ไดอางถึงขางตน ในสวนที่เกี่ยวของกับ ประเด็นเชิงนโยบาย ประเด็นหลักของการศึกษานีก็้ คือ นักวิชาการเริม่ ตระหนักวาความสำเร็จของการจัดการทรัพยากรรวมมี โอกาสเกิดขึ้นนอย มีเพียงบางพื้นที่เทานั้นที่มีลักษณะ
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
49
ตรง ตาม เงื่อนไข แหง ความ สำเร็จ เชน การ สอด สอง ดูแลการใช และการไดมาซึ่งขอมูลเกี่ยวกับสภาพของ ทรัพยากรมีตนทุนต่ำ การเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรและ การเปลี่ยนแปลงในเชิงประชากร เทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคมที่เกี่ยวของกับผูใชทรัพยากรเปนไปในอัตราที่ ไมเร็วเกินไป ทุนทางสังคมยังคงสามารถดำรงอยูได มี ตนทุนในการกีดกันคนภายนอกต่ำ และผูใชสนับสนุน และทำตามกติกา นอกจากนี้ ความกดดันทางเศรษฐกิจ ที่มาจากภายนอกชุมชน เชน ความตองการของตลาด โลกตอทรัพยากรรวมชนิดหนึ่งเพิ่มสูงขึ้น เปนตน หรือ กติกาหรือเงือ่ นไขทางเศรษฐกิจโดยรอบทีเปลี ่ ย่ นไปก็สง ผลรบกวน ทำใหการรักษาระบบการจัดการทรัพยากร ของชุมชนผูใชทรัพยากรเปนไปไดยาก ฉะนั้น ประเด็น ทีสำคั ่ ญตอจากประเด็นศึกษาวาดวยปจจัยทีทำให ่ ชุมชน ผูใช ทรัพยากรหนึง่ ๆ สามารถจัดการทรัพยากรไดสำเร็จ คือประเด็นศึกษาวาดวยปจจัยทีทำให ่ ชุมชนสามารถปรับ ตัวและอยูรอดในระบบนิเวศเชิงสังคมที่ซับซอนตอไปได ซึ่งไดแก
50
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
1) ระบบ การ จัดการ ตอง มี ขอมูล ที่ ดี เกี่ยว กับ ระบบ ทรัพยากร และ รู วา ตัว ระบบ ได รับ ผลก ระ ทบ จากการปฏิสัมพันธกับมนุษยอยางไร มีความ ผัน ผวน อยางไร นอกจากนี้ ยังตองมีขอมูลเกี่ยวกับคานิยมของ ผูใชทรัพยากรในภาพรวมดวย ทั้งนี้ในการปรับตัวอาจ จำเปน จะ ตอง เลือก ละทิ้ง บาง สิ่ง ที่ เคย ทำ มา การ รู วา คนใหความสำคัญกับอะไรทำใหผูจัดการระบบสามารถ ตัดสินใจไดดีขึ้น 2) ระบบ การ จัดการ ตอง สามารถ จัดการ ความ ขัดแยงที่จะเกิดขึ้นได ความขัดแยงเปนเรื่องที่เลี่ยงไมได เมือ่ จำเปนตองมีการเลือกใชทรัพยากรในสภาพแวดลอม หนึ่งๆ เพราะความตองการของผูใชอาจขัดกัน ระบบ ตองสามารถจัดการความขัดแยงไดดวยตนทุนที่ต่ำ และ หากเปนไปได แตละฝายอาจจะสามารถเรียนรูรวมกัน และชวยกันหาทางออกในการปรับระบบใหดำรงอยูตอ ไปไดดวย อนึ่ง การใชอำนาจรัฐอาจไมสามารถแกไขขอ ขัดแยงได ทางออกหนึ่งๆ จะมีความเหมาะสมกับบริบท หนึง่ ๆ ผูจั ดการทรัพยากรอาจจะตองทดลองหาทางออก
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
51
หลายๆ ทางเพื่อใหไดทางออกที่เหมาะสม 3) ระบบ ตอง เหนี่ยว นำ ให เกิด การ ปฏิบัติ ตาม กฎ ให ได ซึ่ง ใน สวน นี้ จำเปน ตอง อาศัย การ จัดการ ที่ มี ประสิทธิภาพ การ เหนี่ยว นำ ให ปฏิบัติ ตาม กฎ ทำได หลายวิธี ทัง้ วิธการ ี สัง่ การและควบคุม (Command and Control) โดยรัฐ ซึ่งจะมีประสิทธิภาพหากองคกรของ รัฐมีทรัพยากรที่เพียงพอและแรงจูงใจที่จะบังคับใชกฎ นั้น ในหลายบริบท วิธีการนี้ขาดประสิทธิภาพ การใช เครื่องมือทางการเงินและกลไกตลาดก็เปนอีกแนวทาง หนึ่ง ที่ สราง แรง จูงใจ ให ผู ใช ทรัพยากร ปฏิบัติ ตาม ได อยางไร ก็ดี วิธีการนี้ใชไดกับสิ่งที่สามารถซื้อขายแลก เปลี่ยน กัน ได เทานั้น เชน สิทธิ์ ใน การ ปลอย มลภาวะ เปนตน แตทรัพยากรรวมอีกหลายอยางจำเปนตองใช ระบบการจัดการชุมชนเขามาชวย บริบททีต่ างกันมีความ เหมาะสมที่จะใชระบบการจัดการแบบตางๆ ขางตนใน สัดสวนที่แตกตางกัน 4) ระบบตองไดรับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชิงเทคโนโลยีและสถาบันอยางสม่ำเสมอ ทัง้ นีเนื ้ อ่ งจาก
52
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
เทคโนโลยี ใน การ ใช ทรัพยากร พัฒนา ขึ้น อยาง ไม หยุด ยั้ ง ระบบ การ จั ด การ ทรั พ ยากร จึ ง มี ความ จำเป น ที่ จะ ตอง รู เทา ทัน และ สามารถ ปรับ ตัว ให เหมาะ สม กับ เทคโนโลยี การ ใช ทรัพยากร ที่ พัฒนา ขึ้น ดวย อาจ จะ ตอง นำ เทคโนโลยี ใหมๆ เขา มา ชวย ใน การ ดูแล รักษา ทรัพยากร กติกาจำเปนตองปรับปรุงอยางตอเนื่องเพื่อ ใหครอบคลุมการใชเทคโนโลยีใหมๆ ดังกลาว 5) ระบบ ตองเต รี ยม ตัว รับมือ การ เปลี่ยนแปลง โดยเปดใหกติกามีความยืดหยุนมากกวามีความเขมงวด แมวาในบางบริบทอาจจะไมเหมาะสมในระยะสั้น แต ใน ระยะ ยาว การ มี กติกา ที่ ยืดหยุน จะ ทำให ระบบ การ จัดการสามารถปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดลอมไดสะดวกขึ้น เพือ่ ใหไดมาซึง่ เงือ่ นไขทีจำเป ่ น 5 ประการขางตน บทความนี้ไดนำเสนอยุทธศาสตร 3 ประการ ไดแก ประการแรก ควรจะมีการกระตุนใหเกิดการแลก เปลีย่ นเรียนรูระหว างผูใช ทรัพยากร นักวิทยาศาสตร ภาค รัฐ และผูอื่นที่เกี่ยวของกับการจัดการระบบทรัพยากร
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
53
ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในพื้นที่และการปฏิสัมพันธ กันระหวางคนกับระบบสิง่ แวดลอมนัน้ มีความสำคัญและ ควรนำมาใชในการแลกเปลีย่ นเรียนรู การสนทนาเหลานี้ จะเปนการสรางทุนสังคมใหเกิดขึน้ ระหวางผูเกี ย่ วของ ซึง่ จะเปนปจจัยทำใหระบบทรัพยากรพรอมที่จะปรับตัว ประการ ที่ สอง การ ออกแบบ โครงสราง สถาบัน (Institutional Arrangement) ที่รองรับกับความซับซอน ของระบบและเชื่อมโยงกับสถาบันอื่นๆ และระบบนิเวศ ที่เกี่ยวของ ประการที่สาม รูปแบบการจัดการไมจำเปนตอง มี เพียง แบบ เดียว แต อาจ เปนการ ผสม ผสาน ระหวาง การจัดการโดยชุมชนกับกลไกตลาด หรือแบบรวมศูนย เหมือนกลไกของรัฐ แตเปาประสงคก็คือทำใหผูใชมีแรง จูงใจทีจะ ่ ปฏิบตั ตาม ิ กติกา แบงปนขอมูลความรู และชวย กันสอดสองดูแลทรัพยากรและการใชทรัพยากร
54
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
3. á¹Ç¤Ô´¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂÒ¡ÃËÇÁ ã¹»ÃÐà·Èä·ÂáÅСÒÃà»ÃÕºà·Õº¡Ñº á¹Ç¤Ô´¨Ò¡μ‹Ò§»ÃÐà·È แนวคิดการจัดการทรัพยากรรวมในประเทศไทย นั้ น มี อยู อย า ง น อ ย 2 แนวคิ ด ที่ กำลั ง ดำเนิ น อยู ใน สังคมไทย แนวคิดหนึ่งเชื่อวาการจัดการทรัพยากรที่มี ประสิทธิภาพคือการทำใหทรัพยากรอยูภาย ใตกรรมสิทธิ์ ไมของรัฐก็ของเอกชน อีกกระแสหนึ่งคือ การจัดการ ทรัพยากรโดยชุมชน ทรัพยากรเปนกรรมสิทธิ์รวมของ ชุมชน กระแส แรก มี ความ สอดคลอง กับ แนวคิด ดั้งเดิม ของการจัดการทรัพยากร ตัวอยางที่เห็นไดชัด เชน การ ประกาศเขตปาสงวนอนุรักษพันธุสัตวปา และพื้นที่ปา ของรัฐอืน่ ๆ ระบบชลประทาน การใหสัมปทานปาไมกับ บริษัทเอกชน เปนตน อยางไรก็ดี แนวคิดนี้ไดรับความ นิยมในสังคมนอยลงไปมากแลว เพราะไดพิสูจนชัดวา
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
55
ในหลายกรณี เชนการดูแลทรัพยากรปาชายเลน วาการ ดำเนินการของรัฐไมมีประสิทธิภาพมากพอ และการให สัมปทานกับเอกชนก็ทำใหสภาพปาชายเลนเสื่อมโทรม เนื่องจาก รัฐ ไมมี ทรัพยากร และ แรง จูงใจ มาก พอที่ จะ บังคับ สัญญา สัมปทาน ให เอกชน ดูแล ทรัพยากร ตาม สัญญา ในขณะเดียวกัน กระแสการจัดการทรัพยากร โดยชุมชนก็มีความสำคัญขึ้นเปนลำดับ ทั้งนี้เนื่องจาก ประสบการณในหลายพื้นที่พิสูจนใหเห็นแลววา ชุมชน สามารถจัดการทรัพยากรไดอยางมีประสิทธิภาพ ทัง้ ใน แงการดูแลทรัพยากร (ชาญยุทธ สุดทองคง และพรเทพ วิรัชวงศ 2548, Sahirathai 1998, Sudtongkong and Webb 2008) และการกระจายผลประโยชนจาก ทรัพยากร (เบญจภา ชุติมา 2546) การจัดการทรัพยากรแตละประเภทนั้นมีสัดสวน แนวคิดที่ไดรับความนิยมแตกตางกัน ยกตัวอยางเชน กรณี การ จัดการ ปา สัดสวน ความ นิยม ใน กระแส การ จัดการทรัพยากรโดยชุมชนมีมากกวากระแสการจัดการ โดยรัฐ ความนิยมดังกลาวเห็นไดจากการเคลื่อนไหวใน
56
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
วงกวางของเครือขายปาชุมชนทั่วประเทศ นักวิชาการ และ นัก พัฒนา จำนวน มาก สนับสนุน แนวคิด ปา ชุมชน และการลดบทบาทของรัฐจากทีรวม ่ ศูนยอำนาจการดูแล ปาไวแตเพียงองคกรเดียวมากระจายลงไปสูทองถิ่นโดย เฉพาะในระดับชุมชนใหมากขึ้น (สำรวม บุญลน 2553, ผูจั ดการ 2551) ในขณะทีประเด็ ่ นเรือ่ งการจัดการน้ำ ยัง ใหความสำคัญของภาครัฐอยู (ทินกร เหลือลน 2548, วรศักดิ์ บุญพวง คมศักดิ์ สุระผัด และนัฐพงศ สิทธิวงศ 2544) พรอมกับรูปแบบการจัดการน้ำโดยชุมชนผูใช น้ำ (เบญจภา ชุติมา 2546) ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขนาด (Scale) ของพื้นที่ที่พิจารณา อยางไรก็ดีการใชเครื่องมือในการ จัดการ ทรัพยากร ที่ ไม เหมาะ กับ ขนาด พื้นที่ และสภาพ ปญหาก็อาจเปนบอเกิดของปญหาใหมได (ดวงพร ภูแ กว 2548) ในกรณีของการจัดการทรัพยากรชายฝงทะเล หรือทรัพยากรทางน้ำ ความรวมมือของชุมชนกับรัฐนั้น เปนปจจัยที่ทำใหการจัดการและดูแลทรัพยากรประสบ ความสำเร็จได ความรวมมือของรัฐกับชุมชนมีรูปแบบ ตั้งแต รัฐ ยอมรับ กติกา ของ ชุมชน และ รัฐ ให ความ ชวย
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
57
เหลือในการบังคับใชกฎเมื่อมีเหตุขัดแยงที่เกี่ยวของกับ กฎหมาย (ชาญยุทธ สุดทองคง และพรเทพ วิรัชวงศ 2548, สุภาพ สังขไพฑูรย 2548) ความแตกตางทางดานแนวคิดเกีย่ วกับการจัดการ ทรัพยากรรวมเปนหนึง่ ในสาเหตุสำคัญของความขัดแยง ระหวางรัฐกับผูใชทรัพยากรในทองถิ่นหนึ่งๆ แมทั้งภาค รัฐและเอกชนจะเริ่มเห็นความสำคัญของการรวมมือกัน ในดานตางๆ ในการอนุรกั ษทรัพยากร และไดรวมมือกัน แลวในหลายพืน้ ที่ แตก็ยังมีอีกหลายพืน้ ทีที่ ยั่ งคงมีความ ขัดแยงอยูและสภาพปญหาก็แตกตางกันตามลักษณะ ของ ทรัพยากร อีก ดวย (ตัวอยาง งาน เพื่อ ความ เขาใจ เรื่องความขัดแยงในการจัดการทรัพยากร เชน งานของ เลิศชาย ศิริชัย 2548 และ 2549 เปนตน) ถึงแมวาการจัดการทรัพยากรรวมในประเทศไทย จะมีอยู 2 แนวทางดังที่ไดกลาวไปแลว หัวขอนี้จะให ความ สนใจ เฉพาะ แนวคิด ที่ เนน การ จัดการ ทรัพยากร โดยชุมชนมากกวา เพราะแนวคิดการจัดการทรัพยากร โดยรัฐนั้นมีลักษณะไมตางกันมากกับความรูดั้งเดิมใน
58
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
การจัดการทรัพยากรที่ไดนำเสนอไปแลวขางตน กลาว คือ อยูบนฐานคิดที่เชื่อวาคนไมสามารถรวมมือกันใน การดูแลรักษาหรือจัดการการใชทรัพยากรรวมได แตจะ แยงกันใชทรัพยากรจนกระทั่งทรัพยากรหมดหรือเสื่อม สภาพไป รัฐจึงตองเขามาทำหนาที่จัดการดวย นอกจาก นี้ แนวคิดการจัดการทรัพยากรโดยชุมชนในประเทศไทย ยังมีความนาสนใจเปนพิเศษ เพราะมีที่มาที่ไปและราย ละเอียดบางประการทีแตก ่ ตางจากแนวคิดของ Ostrom ที่ไดนำเสนอไปแลวในหัวขอที่ 1 และ 2 หัวขอนี้จะนำเสนอแนวคิดการจัดการทรัพยากร รวมในประเทศไทยที่สรุปไดจากการสำรวจขอมูลและ งานวิชาการตางๆ ทัง้ วิทยานิพนธ บทความวิชาการ และ บทความตามเว็บไซตขององคกรที่ดำเนินการเกี่ยวกับ การจัดการทรัพยากรรวมตางๆ ครอบคลุมการจัดการปา น้ำ ที่ดิน และทรัพยากรชายฝงทะเล อยางไรก็ดี เนื่อง ดวยความจำกัดของพืน้ ทีนำ ่ เสนอ หัวขอนีจะ ้ ไมสรุปและ นำเสนอเนื้อหาของแตละงาน แตจะนำเสนอความคิด เกีย่ วกับแนวคิดการจัดการทรัพยากรรวมในประเทศไทย
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
59
ที่สรุปไดจากงานวิชาการเหลานั้น (หัวขอ 3.1) พรอม ทั้งจะทำการเปรียบเทียบแนวคิดดังกลาวกับแนวคิดการ จัดการทรัพยากรรวมจากตางประเทศทีได ่ นำเสนอไปใน หัวขอกอน (หัวขอ 3.2)
3.1 á¹Ç¤Ô´¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂÒ¡Ãâ´ÂªØÁª¹ã¹ »ÃÐà·Èä·Â
แนวคิ ด การ จั ด การ ทรั พ ยากร โดย ชุ ม ชน ใน ประเทศไทย ไม ได มี การ ศึกษา เชิง ทฤษฎี ในวง วิชาการ หาก แต เกิด ขึ้น และ พัฒนา จาก การ ปฏิบัติ จริง ใน พื้นที่ ของชาวบานและหนวยงานทั้งภาครัฐและองคกรพัฒนา เอกชน (Non-governmental Organizations) จากการ ปฏิบัติ ตางๆ เหลา นั้น เรา สามารถ สืบ สาว ไป ถึง ฐาน ความคิดอันเปนทีม่ าของกิจกรรมเหลานัน้ ได ซึง่ เปนหนึง่ ในทางเลือกของการอธิบายแนวคิดการจัดการทรัพยากร โดยชุมชนในประเทศไทย
60
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ลักษณะสำคัญของแนวคิดดังกลาวคือ มีเรื่องวิถี ชีวิต ของ ชาว บาน และ การ แก ปญหา ความ ยากจน เปน แกนกลาง และเชื่อมโยงกับเรื่องวัฒนธรรมชุมชนทอง ถิ่น การมีสวนรวมของสมาชิกชุมชน การสรางเครือขาย แลกเปลี่ยนเรียนรู เศรษฐกิจพอเพียง และสิทธิชุมชน การ เยียวยา ปญหา ความ ยากจน และ รักษา วิถี ชีวิต ของ ชาวบานดูจะเปนจุดประสงคหลักของการที่ชุมชนจะเขา มามีสวนรวมกับการจัดการทรัพยากรที่มีอยูในพื้นที่ ซึ่ง ชุมชนก็ไดใชประโยชนจากทรัพยากรในการดำรงชีวติ ใน ขณะเดียวกันก็ตองดูแลระบบทรัพยากรใหอยูในสภาพ ดีเชนกัน เพื่อใชประโยชนจากทรัพยากรดังกลาวตอไป (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2546) เปนไปได มากวาแนวคิดดังกลาวไดรับอิทธิพลมาจากองคกรพัฒนา เอกชนตางๆ ที่เนนเรื่องการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็งเพื่อ แก ปญหา ความ ยากจน เชน มูลนิธิ พัฒนา ชนบท แหง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป หรือสภาคาทอลิก แหงประเทศไทย เปนตน (อานันท กาญจนพันธุ 2543) เครือ่ งมือทีองค ่ กรพัฒนาเอกชนใชตัง้ แตชวงทีทำ ่ ประเด็น
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
61
แกไข ปญหา ความ ยากจน แต ยัง ไม ได เชื่อม โยง ถึง เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คือเรื่องวัฒนธรรม ชุมชนทองถิ่น และการสรางเครือขายแลกเปลี่ยนเรียนรู ในขณะเดียวกันแนวคิดการทำเกษตรยั่งยืนและเกษตร ผสม ผสานตางๆ ได ประสาน เขา กับ แนวคิด เศรษฐกิจ พอเพียงที่ถูกนำเสนอในสังคมไทยในชวง 10 ปใหหลัง นี้ไดเปนอยางดี á¼¹ÀÒ¾·Õ่ 3: แนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนใน
ประเทศไทย ÊÔ·¸ÔªØÁª¹
ÇѲ¹¸ÃÃÁªØÁª¹·ŒÍ§¶Ô่¹
»˜ÞËÒ¤ÇÒÁÂÒ¡¨¹ áÅзÃѾÂҡøÃÃÁªÒμÔ
¡ÒÃÁÕʋǹËÇÁ
àÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§
¡ÒÃáÅ¡à»ÅÕ่¹àÃÕ¹ÃÙŒ
62
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
แนวคิดเรือ่ งวัฒนธรรมชุมชนทองถิน่ เปนแนวคิดที่ มีความเกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม และการแกปญหาความยากจน การสงเสริม เรื่องวัฒนธรรมทองถิ่นสงผลเรื่องอัตลักษณของชุมชน เมื่อคนในชุมชนมีความภูมิใจในอัตลักษณของตน และ รูส กึ วามีเรือ่ งราวทีเป ่ นภูมหลั ิ งรวมกัน ชุมชนจะสามารถ รวม ตัว กัน ได งาย ขึ้น ดวย ความ รูสึก เปน พวก เดียวกัน และ ควร ชวย เหลือ เกื้อกูล กัน ฉลาด ชาย รมิ ตา นนท อานันท กาญจนพันธุ และสัณฐิตา กาญจนพันธุ (2536) ยั ง มอง เรื่ อ ง วั ฒนธรรม ชุ ม ชน ท อ ง ถิ่ น ใน การ จั ด การ ทรัพยากรเปนเรื่องของมุมมองตอโลกที่มีลักษณะเปน องครวมและเปนธรรมชาติ มีการปฏิสัมพันธอยางเปน ระบบ และ ซับ ซอน มุม มอง ดัง กลาว เปน ฐาน การ มอง ความสัมพันธและวิธีการปฏิสัมพันธระหวางคนกับคน และคนกับสิ่งแวดลอม ซึ่งฉลาดชายและคณะ (2536) มองวา วิถีชีวิตแบบพออยูพอกิน และมุงรักษาความ อุดมสมบูรณของระบบทรัพยากรรอบๆ เปนผลมาจาก มุมมองตอโลกดังกลาว นอกจากนี้ มุมมองดังกลาวยัง
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
63
เปนฐานของการพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวของกับ ธรรมชาติ ของ ระบบ ทรัพยากร และ ทรัพยากร ใน พื้นที่ ซึ่งแมจะไมไดผานกระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร แบบมาตรฐาน การทีองค ่ ความรูเหล านีผ้ านกาลเวลามา และยังสามารถใชไดก็อาจเปนเครือ่ งยืนยันความถูกตอง ขององคความรูเหลานี้ระดับหนึ่ง การ มี ส ว น ร ว ม เป น แนวคิ ด สำคั ญ อี ก ประการ หนึ่งที่มาพรอมกับแนวปฏิบัติขององคกรพัฒนาเอกชน ตั้งแตชวงมุงเนนการแกปญหาความยากจนและสงเสริม ชุมชนเขมแข็ง (ดิเรก เครือจันลิ 2545) การมีสวนรวม ที่วานี้ครอบคลุมตั้งแตการเปนสมาชิกชุมชนและปฏิบัติ ตาม กติกา ของ ชุมชน รวม ลงแรง และ สละ เวลา ใน การ ดำเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของกับกิจกรรมอนุรักษ และมี สวนรวมในการกำหนดกฎกติกาและการตัดสินใจทีสำคั ่ ญ เกี่ยวกับการดำเนินการเพื่ออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในชุมชน หากเปนไปได ชุมชนควรจะมี สวนรวมในการเขาไปกำหนดนโยบายระดับภูมิภาคหรือ ระดับชาติทีจะ ่ สงผลตอการจัดการทรัพยากรของเขาดวย
64
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
การมีสวนรวมของสมาชิกชุมชนในการจัดการทรัพยากร ระดับชุมชน และการมีสวนรวมของชุมชนในการกำหนด กติการะดับภูมิภาคและระดับชาติ จะทำใหเกิดความ รูสึก เปน เจาของ และ กระตุน ให เกิด ความ รวม มือ และ ปฏิบัติตามกติกามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การมีสวนรวม ยังชวยใหการจัดการทรัพยากรใชประโยชนจากภูมปิ ญ ญา ทองถิ่นไดเต็มที่อีกดวย ผานกลไกการเรียนรูชุมชน การเรียนรูชุ มชนเปนอีกแนวคิดทีเป ่ นองคประกอบ หนึง่ ของการจัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทย เปน ทัง้ เครือ่ งมือในการเรียนรู และเครือ่ งมือในการสรางการมี สวนรวมของชุมชน การเรียนรูชุ มชนมักจะทำเปนลักษณะ ของเครือขายเรียนรูรวมกันระดับปจเจกชนในหมูบาน โดยการทำเวทีและมีวิทยากรกระบวนการทัง้ ทีเป ่ นคนใน หมูบ า นหรือเจาหนาทีจาก ่ องคกรพัฒนาเอกชนเขาไปจัด กระบวนการ บาง แหง จะ เปน ลักษณะ ของ การ ทำ วิจัย ชุมชน ซึ่งสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ใหการ สนับสนุน ซึ่ง การ วิจัย ใน ลักษณะ นี้ มัก จะ ดึง เอา คนใน
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
65
ชุมชนเขามามีสวนรวมดวย นอกจากนี้ ยังมีเครือขาย เรียนรูในระดับระหวางหมูบาน และขามพื้นที่ในระดับ จั ง หวั ด และ ระดั บ ประเทศ อี ก ด ว ย เครื อ ข า ย เรี ย น รู ระหวางหมูบานนั้นมีประโยชนทั้งในแงการแลกเปลี่ยน ประสบการณ และ วิธี การ แก ปญหา ที่ ตน เผชิญ ใน พื้นที่ และ ใน แง ของ การ ให กำลัง ใจ กัน และ กัน ใน การ ทำงาน สิ่งแวดลอม ตอ ไป การ มี เครือ ขาย ระหวาง หมูบาน ยัง ทำใหการบริหารจัดการระบบทรัพยากรที่มีความเชื่อม โยงกันเปนไปอยางมีประสิทธิภาพดวย ยกตัวอยางเชน เครือขายชุมชนบริเวณลุมน้ำปะเหลียน ซึ่งเปนเครือขาย ของหมูบานกวา 40 หมูบาน ประสานงานโดยสมาคม หยาดฝน เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู ตลอดแมน้ำปะเหลียน ตั้งแตเขตปาตนน้ำ ที่ราบลุมน้ำ จืดปาสาคู ที่ราบลุมน้ำกรอยปาชายเลน และเขตชายฝง ทะเล เปนตน (ปทมาวดี ซูซูกิ และชล บุนนาค 2549) ใน ระดับ ประเทศ ก็ มี การ จัด ทำ เวที ใน ลักษณะ สมัชชา ที่ รวบรวม เอา เครือ ขาย ชาว บาน นัก วิชาการ ขาราชการ สมัชชาทีเพิ ่ ง่ เกิดขึน้ คือ สมัชชาปาชุมชนระดับ
66
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ประเทศ ซึ่งในเวทีก็มีการพูดคุยถึงสถานการณโลกและ สิง่ ทีเครื ่ อขายและคนทีทำงาน ่ เกีย่ วกับการจัดการปาควร จะเตรียมพรอมรับมือเชนกัน (ThaiNGO.org 2551) แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเปนอีกแนวคิดหนึง่ ทีมั่ ก จะมาคูกับการจัดการทรัพยากรชุมชน แตเดิมการแกไข ปญหาความยากจนขององคกรพัฒนาเอกชนมักจะดึง เอาวิธีการทำการเกษตรแบบยังชีพ เกษตรอินทรีย และ เกษตรผสมผสานแบบตางๆ เขามาเปนเครื่องมือในการ จัดการ กับปญหาความยากจน โดยมุงเนนใหชาวบาน สามารถพึ่งตนเองไดกอน ตอมาหลังจากแนวความคิด เศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดถูก นำเสนอและเปนทีรู่ จ กั แนวคิดนีก็้ กลายเปนแนวคิดทีเป ่ น ฐานของการปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรชุมชนตอมา เศรษฐกิจพอเพียงเปนเสมือนฐานคิดทีครอบคลุ ่ ม เกษตร แบบ ยังชีพ ที่ กลาว ขาง ตน เอา ไว ดวย ใน ขณะ เดียวกันก็ไดนำเสนอและใหความสำคัญกับปจจัยอื่นที่ จะ เปน ประโยชน ตอ การ ปฏิบัติ ตน ของ ชาว บาน ใน การ ดำรงชีวิตและการจัดการทรัพยากร เชน เรื่องของความ
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
67
มีเหตุมีผล ความพอประมาณ การเตรียมพรอมกับความ เสีย่ งและเหตุไมคาดฝน (มีภูมคิ มุ กัน) พรอมทัง้ เนนเรือ่ ง ของคุณธรรมและการใชความรูอีกดวย (อภิชัย พันธเสน 2549, อภีษฎา คุณาพรธรรม 2551) ในทางหนึ่งเรา อาจมองไดวา ชาวบานสวนหนึง่ ทีสามารถ ่ บริหารจัดการ ทรัพยากรไดเปนอยางดี และใชชีวิตรวมกับธรรมชาติได อยางกลมกลืน ก็ดำเนินวิถชีี วติ สอดคลองกับวิถเศรษฐกิ ี จ พอเพียงอยูแล ว แตการทีมี่ แนวคิดนีสรุ ้ ปเปนหลักการให เห็นชัดเจนมากขึน้ ก็สามารถเปนเครือ่ งชวยเตือนชาวบาน เกี่ยวกับสิ่งที่ควรพิจารณาได งานวิชาการบางชิน้ เชือ่ มโยงการจัดการทรัพยากร ชุมชน กับ เรื่อง สิทธิ มนุษย ชน และ สิทธิ ชุมชน ใน แง ที่ วา ชุมชน ควร จะ มี สิทธิ เขา ถึง ฐาน ทรัพยากร ที่ ตน ดูแล มา หลาย ชั่ ว คน และ ใช ฐาน ทรั พ ยากร ใน การ ดำรง ชีวิต ประเด็นนี้กลายเปนประเด็นสำคัญในการจัดการ ทรัพยากร ชุมชน เพราะ วา ชาว บาน จำนวน มาก ได รับ ผลกระทบจากปญหาที่ดินทำกินมีกรรมสิทธิ์ทับซอนกับ ทีด่ นิ ของรัฐ โดยเฉพาะทีด่ นิ ปาสงวน เขตรักษาพันธุสั ตว
68
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ปา และเขตอื่นๆ เกี่ยวกับการอนุรักษปาไม หรือในบาง กรณีโฉนดที่ดินที่ราชการออกใหเอกชนกลับไปทับกับ พืน้ ทีทำ ่ กินทีชุ่ มชนหนึง่ ใชสอยมาหลายชัว่ คน สิทธิชุมชน มีความสำคัญตอการจัดการทรัพยากรชุมชนที่มุงใชการ จัดการทรัพยากรเปนเครื่องมือในการอนุรักษทรัพยากร และแกปญหาความยากจน ทั้งนี้เปนเพราะชุมชนตองมี สิทธิ์ที่จะใชประโยชนจากทรัพยากรที่เขาดูแล เขาจึงมี แรงจูงใจที่จะรวมกันดูแลทรัพยากรนั้น ยิ่งถาทำใหเขา ไดประโยชนโดยตรง เชน เปนแหลงรายไดยังชีพสำคัญ ชาวบานก็จะชวยกันดูแลทรัพยากรโดยไมจำเปนตองมี การจางวานใดๆ (เพ็ญพิชญา เตียว 2546, ปทมาวดี ซูซูกิ และชล บุนนาค 2549) นอกจากนี้ สิทธิชุมชนยังเปนเครื่องสนับสนุนให ชุมชนสามารถจัดการทรัพยากรที่เขาดูแลไดอยางเต็ม ที่ อีก ดวย เพราะ เขา มี สิทธิ ที่ จะ บังคับ ใช กติกา ชุมชน เหนือทรัพยากรนั้นๆ ไดอยางเต็มที่ หากชุมชนไมได รับสิทธิที่เปนทางการจากรัฐ เขาจะไมสามารถบังคับ ใชกติกานั้นกับคนนอกชุมชนไดและไมสามารถปองกัน
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
69
การเขามาหาประโยชนแบบไมยั่งยืนจากคนนอกชุมชน ได การไมสามารถบังคับใชกติกานั้นมิไดสงผลตอสภาพ ของ ทรัพยากร เทานั้น แต ยัง สง ผล ตอ การ ตัดสิน ใจ ที่ จะทำตามกติกาของสมาชิกในชุมชนอีกดวย กลาวคือ สมาชิกในชุมชนจะมีแรงจูงใจในการทำตามกติกานอยลง เพราะเห็นวาชุมชนชวยกันดูแลไป คนอื่นที่ไมเกี่ยวของ ก็ยังเขามาใชไดอยูดี สงผลใหอาจเกิดการตัดสินใจที่จะ ใชประโยชนจากทรัพยากรเพียงอยางเดียวโดยไมชวย ลงแรงได (Free Riding Problem) ในบางพื้นที่การเขา มาของเอกชนภายนอกทำใหชุมชนรวมตัวกันเพือ่ ตอตาน และขับไลคนนอกซึ่งอาจนำไปสูการใชความรุนแรงได เนือ่ งจากกลไกของรัฐไมยอมรับสิทธิชุมชน ทำใหการยุติ ขอขัดแยงไมสามารถทำผานกระบวนการตามกฎหมาย ได แตหากชุมชนมีสิทธิเหนือทรัพยากรดังกลาว เขาจะ สามารถ ใช กระบวนการ ทาง กฎหมาย ใน การ ยุติ ขอ ขัด แยงไดงายขึ้น ความพยายามผลักดันพระราชบัญญัติปา ชุมชนที่เคลื่อนไหวขึ้นมาจากเครือขายชาวบานเอง หรือ เสียงสนับสนุนนโยบายโฉนดชุมชนของรัฐบาลในชวงนีน้ า
70
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
จะเปนตัวสะทอนถึงความสำคัญของสิทธิชุมชนในการ จัดการทรัพยากรไดเปนอยางดี โดย สรุป แลว แนวคิด การ จัดการ ทรัพยากร โดย ชุมชน ใน ประเทศไทย เปน แนวคิด ที่ มี รากฐาน มา จาก กิจกรรม การ พัฒนา เพื่อ แกไข ปญหา ความ ยากจน ของ ชาวบานในพืน้ ทีใกล ่ เคียงระบบทรัพยากรหนึง่ ๆ และเพือ่ ดูแลรักษาระบบทรัพยากรนั้นดวย แนวคิด วัฒนธรรม ชุมชนทองถิน่ การมีสวนรวม การเรียนรูชุ มชน เศรษฐกิจ พอเพียง และสิทธิชุมชน เปนแนวคิดที่เปนฐานของการ ปฏิบัติในการอนุรักษทรัพยากรของชุมชนและเครือขาย ที่จัดการทรัพยากรชุมชน ในหัวขอถัดไป แนวคิดการ จัดการทรัพยากรรวมในตางประเทศจะถูกนำมาเปรียบ เทียบกับแนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชน 2 แนวคิด นีมี้ จุดรวมหลายประการ แตในขณะเดียวกันก็มีจุดทีต่ าง กันเชนกันเนื่องดวยบริบทที่ตางกัน การนำ 2 แนวคิดนี้ มาเปรียบเทียบกันจะชวยใหเรามองทัง้ 2 แนวคิดไดรอบ ดานมากขึ้น
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
71
3.2 à»ÃÕºà·Õºá¹Ç¤Ô´¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂҡà ËÇÁã¹μ‹Ò§»ÃÐà·ÈáÅÐá¹Ç¤Ô´¡ÒèѴ¡Òà ·ÃѾÂҡêØÁª¹ã¹»ÃÐà·Èä·Â
แนวคิด การ จัดการ ทรัพยากร รวม ของ Ostrom มีทั้งความแตกตางและความเหมือนกันกับแนวคิดการ จัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทย จุดเริ่มของทั้ง 2 แนวคิด มี ความ แตกตาง กัน ทำให แนวคิด ที่ ถูก สรุป ออกมาหรือสะทอนออกมาในกิจกรรมที่สำคัญในการ จัดการทรัพยากรมีความแตกตางกัน อยางไรก็ดี ในความ แตกตางนัน้ ก็มีความสอดคลองกันในหลายประการแมจะ มีการใชคำหรือจัดหมวดหมูแตกตางกันก็ตาม จุดเริ่มของแนวคิดการจัดการทรัพยากรรวมของ Ostrom มาจากจุดประสงคทางวิชาการที่ตองการจะ ทำความเขาใจปรากฏการณทีเกิ ่ ดขึน้ จริงในโลก ซึง่ ขัดกับ ทฤษฎีดัง้ เดิมทางสังคมศาสตรทีอธิ ่ บายพฤติกรรมมนุษย ในขณะแนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทย เกิดขึ้นจากบทเรียนและประสบการณขององคกรพัฒนา
72
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
เอกชนและชาวบานทีดำเนิ ่ นการจัดการทรัพยากรชุมชน มาเปนเวลานาน ผนวกกับลักษณะปญหาทีองค ่ กรพัฒนา เอกชนตองการจะแกไขเยียวยาดวย ความแตกตางดานจุดเริม่ ตนของแนวคิดทำใหการ มุงเนนใหความสำคัญแตกตางกัน แนวคิดของ Ostrom จะเนนการอธิบายพฤติกรรมการรวมมือในการจัดการ ทรั พ ยากร ร ว ม พร อ ม ทั้ ง ถก เถี ย ง กั บ แนวคิ ด ดั้ ง เดิ ม ที่ อธิบาย วาการ รวม มือ กัน ใน การ จัดการ ทรัพยากร รวม ของ ผู ใช ทรัพยากร นั้น เปน ไป ไม ได นอกจาก นี้ เธอ ยัง พยายามอธิบายวา สถาบันการจัดการทรัพยากรรวมที่ ประสบความสำเร็จมีลักษณะเปนเชนไร แนวคิดของการ จัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทยในอีกทางหนึ่งจะ เนนไปในทางแนวคิดพื้นฐานที่จะทำใหเปาหมายทั้งการ จัดการทรัพยากรและการแกปญหาความยากจนสามารถ บรรลุไปได แนวคิดตางๆ ที่ไดนำเสนอไปในหัวขอที่แลว เปน เสมือน เครื่อง มือ ใน ทาง ปฏิบัติ เพื่อ ใหการ จัดการ ทรัพยากรของชาวบานเกิดขึน้ และดำเนินไปได พรอมทัง้ บรรลุเปาหมายไปในเวลาเดียวกัน
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
73
á¼¹ÀÒ¾·Õ่ 4: ความเกีย่ วเนือ่ งกันของแนวคิดการจัดการ
ทรัพยากรชุมชนในประเทศไทย และ หลักการออกแบบ กติกาในการจัดการทรัพยากรของ Ostrom Ostrom’s Design Principles á¹Ç¤Ô´¡ÒèѴ¡Òà ·ÃѾÂҡêØÁª¹ã¹»ÃÐà·Èä·Â
• Boundaries • Congruence
• ÇѲ¹¸ÃÃÁªØÁª¹·ŒÍ§¶Ô่¹ • Collective Choice Arrangement • ¡ÒÃÁÕʋǹËÇÁ • Monitoring • à¤Ã×Í¢‹ÒÂáÅ¡à»ÅÕ่¹àÃÕ¹ÃÙŒ • Graduated Sanction • àÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§ • Conflict Resolution Mechanism • ÊÔ·¸ÔªØÁª¹
• Minimal Recognition of Rights • Nested Enterprises
หาก นำ หลัก การ ออกแบบ กติกา ใน การ จัดการ ทรัพยากร (Design Principle) ที่นำเสนอไปในหัวขอที่ 2.3 มาเชือ่ มโยงกับแนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนใน ประเทศไทยจะพบวา แนวคิดของประเทศไทยมีลักษณะ เป น เหมื อ น เครื่ อ ง มื อ ที่ ทำให ลั ก ษณะ และ กติ ก า การ จัดการทรัพยากรชุมชนดำเนินไปตามหลักการออกแบบ
74
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
กติกาดังกลาว วัฒนธรรม ชุมชน ทอง ถิ่น ซึ่ง ครอบคลุม ถึง เรื่อง อัต ลักษณ การ เอื้อเฟอ เผื่อ แผ ทุน สังคม วัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่น องคความรูและภูมิปญญาชาวบาน นา จะมีสวนชวยใหการกำหนดเขตของทรัพยากรและผูที จะ ่ มีสิทธิใชทรัพยากรมีความชัดเจน (Boundaries) กติกา ที่กำหนดขึ้นมีความสอดคลองกับลักษณะทางธรรมชาติ ของทรัพยากร (Congruence) นอกจากนัน้ ยังอาจมีสวน ชวยในกลไกการจัดการความขัดแยง (Conflict Resolution Mechanism) และการลงโทษแบบคอยเปนคอยไป (Graduated Sanctions) ผานทุนสังคมที่มีในชุมชนได กลไก การ มี ส ว น ร ว ม จะ ช ว ย เติ ม เต็ ม หลั ก การ ออกแบบ ที่ เกี่ยวของ กับ ความ สอดคลอง ของ กติกา กับ ลักษณะทางธรรมชาติ (Congruence) การมีสวนรวมใน การกำหนดกติกา (Collective Choice Arrangement) การสอดสองดูแลทรัพยากร (Monitoring) และสงเสริม กลไกการจัดการความขัดแยงใหมีความเปนธรรมมากขึน้ (Conflict Resolution Mechanism)
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
75
เครื อ ข า ย แลก เปลี่ ย น เรี ย น รู เป น กลไก ส ง ผ า น ขอมูลทีจำเป ่ นเพือ่ ทำใหกติกาสอดคลองกับลักษณะของ ธรรมชาติของทรัพยากรและผูใช มากขึน้ (Congruence) ใน ขณะ เดียวกัน ก็ สง เสริม โครงสราง กติกา ให มี ความ สอดคลองและเชื่อมโยงกับระบบที่ใหญกวา (Nested Enterprises) ตัวอยาง ที่ เห็น ได ชัด คือ เครือ ขาย แลก เปลีย่ นเรียนรูระดั บลุม น้ำ หรือสมัชชาปาชุมชนระดับชาติ ที่เชื่อมประสานชาวบาน NGO นักวิชาการ ขาราชการ และ ภาค เอกชน ที่ เกี่ยวของ มา แลก เปลี่ยน เรียน รู และ กำหนดทิศทางรวมกัน เปนตน สวน แนวคิด และ การ ผลัก ดัน เรื่อง สิทธิ ชุมชน จะ มีสวนสำคัญที่จะทำใหชุมชนไดรับการยอมรับในกติกา ชุมชนจากรัฐ (Minimal Recognition of Rights) จุดหนึ่งที่มีความแตกตางชัดเจนและดูจะหาจุด เชื่อม โยง ได ลำบาก ระหวาง แนวคิด ของ Ostrom กับ แนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทยก็คือ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เรา อาจม อง ได วา แนวคิด เศรษฐกิจพอเพียงทีเน ่ นเรือ่ งการใชความรูและ ภูมคิ มุ กัน
76
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
อาจ มี ความ เชื่อม โยง กับ ประเด็น เรื่อง โครงสราง กติกา ที่ สอดคลอง เชื่อม โยง กับ ระบบ ที่ ใหญ กวา (Nested Enterprise) ได แตก็ไมชัดเจนนัก จุดที่ผูเขียนคิดวามี ความชัดเจนทีแนวคิ ่ ดเศรษฐกิจพอเพียงมีอิทธิพลตอการ จัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทยคือการทีเศรษฐกิ ่ จ พอเพียงเปนแนวคิดที่เปนฐานของการผลิตและบริโภค เพื่อใหตนเองอยูได (หลักเรื่องความพอประมาณและ ความมีเหตุผล) โดยไมเบียดเบียนคนหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ (เงือ่ นไขคุณธรรม) มิใชบริโภคเพือ่ ใหไดความพอใจสูงสุด หรือมุงใชประโยชนจากทรัพยากรโดยคำนึงถึงแตรายได สูงสุดหรือกำไรสูงสุดสวนตน ในแงนี้เศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวคิดที่มีอิทธิพลตอบรรทัดฐานภายในตัวของผูใช ทรัพยากรใหใชประโยชนจากทรัพยากรอยางพอดี เทา ที่จำเปน ซึ่งหากผูใชทรัพยากรมีวิธีคิดเชนนี้ก็จะทำให ปญหาการละเมิดกติกา และใชทรัพยากรจนเกินพอดี แกไขไดงายขึ้นหรือเปนปญหานอยลง นอกจากนี้ ยังจะ สงผลตอการแกไขปญหาความยากจนอีกดวย เพราะ เศรษฐกิจพอเพียงสงเสริมพฤติกรรมการกินอยูที่มุงให
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
77
สามารถ ยังชีพ ได กอน แลว จึง คอย พัฒนา ไป ใน ระดับ ที่ กาวหนามากขึ้น สงผลใหรายจายของครัวเรือนลดลง และเพิ่มโอกาสที่จะมีเงินเก็บเพื่อใชลงทุนหรือใชในยาม ฉุกเฉินไดมากขึ้น ความแตกตางอีกจุดหนึง่ จากการสำรวจงานศึกษา ตางๆ คือ แนวคิด การ จัดการ ทรัพยากร ชุมชน ใน เมือง ไทย ขาด การ ตั้ง คำถาม และ ศึกษา อยาง ลึก ซึ้ง เกี่ยว กับ แนวคิดการจัดการทรัพยากรแบบดั้งเดิมในประเทศไทย วามีลักษณะเปนอยางไร ขอเสียเปนอยางไร ทั้งในทาง ปฏิบตั และ ิ ทางทฤษฎี จึงอาจทำใหขาดขอมูลความรูที จะ ่ นำไปคัดคานการดำเนินนโยบายจัดการทรัพยากรแบบ เดิม ในขณะเดียวกัน การศึกษาการจัดการทรัพยากร ชุมชน ยัง มี แนว โนม จะ เนน ย้ำ ถึง ความ สำเร็จ ของ การ จัดการทรัพยากรโดยชุมชน แตละเลยกรณีที่การจัดการ ลมเหลว ทำใหอาจไมสามารถชี้ชัดไปไดวา เหตุใดบาง กรณีการจัดการโดยชุมชนจึงลมเหลว และปจจัยที่ทำให ลมเหลวคืออะไร ทำอยางไรจึงจะปองกันความลมเหลว ได กระทัง่ การศึกษาในระดับกรณีศึกษา (Case Studies)
78
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
ก็ยังหาไดยากยิง่ จึงทำใหการสรุปในระดับแนวคิดยิง่ เปน ไปไดยากยิ่งขึ้น สิ่งนี้ตางจากแนวคิดของ Ostrom ที่มา จากการศึกษากรณีศึกษาที่หลากหลาย ทั้งที่สำเร็จและ ลมเหลว โดย สรุป แลว แนวคิด การ จัดการ ทรัพยากร โดย ชุมชนในประเทศไทย แมจะมีความแตกตางจากแนวคิด ของ Ostrom อยูในบางระดับ แตโดยสาระสำคัญแลวก็ มีความสอดคลองกับแนวคิดที่ Ostrom นำเสนอ โดย เฉพาะ ใน เชิง ของ แนวคิด ที่ เกี่ยวของ กับ วิธี การ จัดการ ทรั พ ยากร หนึ่ ง ๆ แนวคิ ด ของ ไทย จะ มี ลั ก ษณะ เป น เครื่องมือเพื่อนำไปสูลักษณะของกติกาที่สงผลใหการ จัดการ ทรัพยากร ประสบ ความ สำเร็จ ตาม ที่ Ostrom นำ เสนอ ความ แตก ตาง ดัง กลาว เกิด จาก จุด ประสงค ของ การ พัฒนา แนวคิด และ แนว ปฏิบัติ เกี่ยว กับจัดการ ทรั พ ยากร นั้ น ไม เหมื อ น กั น ดั ง ที่ กล า ว มา แล ว ข อ ดี ประการหนึ่งของแนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนใน ประเทศไทยคือ แนวคิดดังกลาวสามารถเปนฐานสำหรับ การปฏิบตั จริ ิ งทัง้ ในระดับชุมชนและระดับปจเจกชน (สืบ
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
79
เนื่องจากแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง) อยางไรก็ดี ในแง การศึกษาเกีย่ วกับแนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนใน ประเทศไทยควรจะมีการศึกษากรณีทีล่ มเหลวและปจจัย ทีส่ งผลตอความลมเหลวนัน้ ใหมากขึน้ เพือ่ เปนประโยชน ในการกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแล และสนับสนุนการจัดการทรัพยากรโดยชุมชนตอไป
4. ¢ŒÍÊѧà¡μáÅТŒÍàʹÍá¹Ð ขอสังเกตประการหนึ่งจากการศึกษางานวิชาการ ในประเทศไทยที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรรวมนั้น เมื่อประเด็นมีความเกี่ยวของกับระดับชุมชน ชุมชนมัก จะถูกชูโรงใหเปนตัวละครหลักที่มีความสำคัญอยางยิ่ง เสมือนสันนิษฐานไวตัง้ แตตนแลววา หากใหชุมชนจัดการ ทรัพยากรดวยตนเองแลว จะเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เพราะพวกเขาไดดำเนินการจัดการทรัพยากรนั้นๆ มา นานแลว และเปนวิถีชีวิตของเขา
80
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
อยางไรก็ดี เมื่อไดศึกษางานของ Ostrom และ งานทีเกี ่ ย่ วของกับสถาบันดานการจัดการทรัพยากรและ สิง่ แวดลอมในปจจุบนั แลว พบวา การฝากความคาดหวัง ไวกับชุมชนเพียงสถาบันเดียวคอนขางมีความเสี่ยงตอ การที่ชุมชนอาจจะไมสามารถปรับตัวไดดีพอในโลกที่ สภาพสิง่ แวดลอมและบริบทเชิงสังคมเศรษฐกิจการเมือง มีการเปลีย่ นแปลงอยูอย างตอเนือ่ ง การพิจารณาบทบาท ของตัวละครอื่นๆ ในการจัดการทรัพยากรเปนสิ่งที่งาน วิชาการไทยควรจะใหความสำคัญมากขึ้น และควรจะ พิจารณา ถึง ลักษณะ ของ โครงสราง สถาบัน การ จัดการ สิง่ แวดลอมทีมี่ ความเชือ่ มโยงกันทัง้ ในระดับเดียวกันและ ตางระดับกันใหมากขึ้น เพื่อใหทราบถึงลักษณะที่ควร จะเปนและแนวปฏิบัติที่ควรจะทำเพื่อทำใหการจัดการ สิ่งแวดลอมโดยเฉพาะในระดับทองถิ่นสามารถปรับตัว ใหทันกับสถานการณโลกที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วได นอกจาก นี้ จาก บท เรียน จาก ตาง ประเทศ พบ วา การจัดการทรัพยากรรวมหนึ่งๆ ไมจำเปนจะตอง มี วิ ธี การ จั ด การ เพี ย ง แบบ เดี ยว เท า นั้ น แต สามารถ
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
81
ผสม ผสานระหวาง ระบบ ตลาด การ ทำงาน รวม กัน ใน ชุมชน หรือระบบการแนวตั้งแบบรัฐ เขาไวดวยกันให เหมาะกับลักษณะการจัดการทรัพยากรประเภทหนึ่งๆ ในพื้นที่หนึ่งๆ ได ผูเขียนคิดวาการศึกษาประเด็นนี้ ใน ประเทศไทย ยัง มี อยู นอย มาก งาน สวน ใหญ มัก จะ คอนขางใหความสำคัญกับชุมชนมากเปนพิเศษ งานศึกษาในบางพื้นที่ เชน กรณีหมูบานแหลม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ที่ทำการอนุรักษหอยนางรม และปาชายเลน (ปทมาวดีและชล 2549) ก็มีวิธีการ จัดการทรัพยากรและกระจายผลประโยชนของทรัพยากร ผานกลไกหลายลักษณะ ยกตัวอยางเชน การบำรุงรักษา แนวเขตอนุรกั ษหอยนางรม การทำนุบำรุงปาชายเลนโดย การแตงสางปลูกเสริม และการสอดสองดูแลทรัพยากร และการใชทรัพยากรจะเปนลักษณะการทำงานรวมกันใน ชุมชน ในขณะที่เมื่อถึงวันจับหอยนางรมประจำป (บาง ปจัดเปนเทศกาลหอยนางรม) คณะกรรมการอนุรักษ หอยนางรมจะจับหอยนางรมขึ้นมาและขายทั้งแบบสด และ แปรรูป ใน ราคา ถูก ให แก ชาว บาน เปน หลัก ใน แง
82
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
นี้คณะ กรรมการ อนุรักษฯใชกลไกตลาด ใน การ จัดสรร หอย ให คนใน หมูบาน ไดรู ถึง ประโยชน ของ การอนุรักษ หอยนางรม เงินที่ไดจากการขายหอยประจำปจะถูกนำ มาใชเปนกองทุนสวัสดิการสังคมของหมูบาน ใหทุนการ ศึกษา ชวยงานศพ และกิจกรรมอืน่ ๆ ของหมูบ า น โดยมี กรรมการพิจารณาจัดสรรทุนเปนกรณีๆ ไป ซึ่งอาจมอง ไดวาเปนการใชกลไกแบบแนวตั้งแบบรัฐ เปนตน หากมี การศึกษามากขึน้ กรณีเหลานีก็้ อาจสามารถเปนบทเรียน ทีจะ ่ เปนประโยชนในเชิงวิชาการ ในการกำหนดนโยบาย หรือในทางปฏิบัติในทองถิ่นอื่นๆ ตอไป อยางไรก็ดี แมจะยังไมไดมีการศึกษาตามที่ตั้งขอ สังเกตไวขางตน แนวคิดของ Ostrom และแนวคิดการ จัดการทรัพยากรชุมชนที่ถูกนำเสนอไวในบทความนี้ก็ อาจสามารถนำไปพัฒนาและใชประโยชนในเชิงนโยบาย และ ใน การ ปฏิบัติ ได หลัก การ ออกแบบ กติกา ใน การ จัดการทรัพยากร (Design Principles - หัวขอ 2.3) สามารถนำมาปรับใชเปนมาตรวัดหรือขอเสนอแนะเกีย่ ว กับลักษณะพืน้ ฐานของลักษณะกติกาทีควร ่ จะเปนในการ
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
83
จัดการทรัพยากรหนึ่งๆ ในพื้นที่หนึ่งๆ ได การจำแนก ประเภทของสิทธิ์ (หัวขอ 2.2) ทำใหเห็นไดวาสิทธิแต ์ ละ แบบอาจจะมีผูใหสิทธิ์หรือรับรองสิทธิ์แตกตางกันก็ได เชน สิทธิ์ประเภทหนึ่งอาจใหชุมชนตัดสินใจปรับเปลี่ยน หรือมอบสิทธิ์นั้นใหแกผูใชทรัพยากรไดเอง ในขณะที่ สิทธิประเภท ์ อืน่ อาจจะจำเปนตองผานการกลัน่ กรองของ คณะกรรมการรวมหลายฝาย เชน นักวิชาการ องคกร พัฒนาเอกชน ขาราชการ เครือขายชุมชนอื่นๆ เปนตน การจำแนกแยกแยะประเภทสิทธิ์ลักษณะนี้อาจชวยให ประเด็น ขัด แยง ระหวาง รัฐ กับ ชุมชน เกี่ยว กับ สิทธิ์ ของ ชุมชนในการจัดการทรัพยากรมีความชัดเจนและหาจุด ทีลงตั ่ วไดงายขึน้ ก็ได เพราะคำถามจะเปลีย่ นจาก ‘จะให สิทธิชุ์ มชนในการจัดการหรือไม’ มาเปน ‘สิทธิส์ วนไหนจะ ใหแกชุมชนและสิทธิส์ วนไหนจะตองมีการกลัน่ กรองและ พิจารณาจากรัฐหรือหนวยงานอื่นๆ ประกอบดวย’ ในทายที่สุด งานของ Ostrom และการจัดการ ทรัพยากรรวมที่ประสบความสำเร็จทั้งในประเทศไทย และ ตาง ประเทศ เปน สิ่ง ที่ ทำให โลก ยัง มี ความ หวัง อยู
84
ชล บุนนาค
แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:
วา แนวคิดที่เชื่อวา คนไมสามารถรวมมือกันได มุงแต หาประโยชนจากการลงแรงของคนอื่น และใชประโยชน จากทรัพยากรรวมอยางไมยั้งคิดจนกระทั่งสูญสิ้นไป ไม เปนจริงเสมอไป หากผูใชทรัพยากรสามารถสื่อสารกัน และ ตกลง กติกา เพื่อ ประโยชน ใน ระยะ ยาว รวม กัน ได การจัดการอนุรักษและใชประโยชนจากระบบทรัพยากร อยางยั่งยืนก็สามารถเปนไปได ระบบตลาดและกลไก รัฐไมจำเปนตองเปนผูรายในการจัดการทรัพยากรเสมอ ไป ในขณะเดียวกันวิธีการทำงานแบบชุมชนก็ไมจำเปน ตองเปนพระเอกเสมอไป บทเรียนจากตางประเทศและ ในประเทศไทย เอง ตาง ชี้ ให เห็นวา การ เลือก ใช เครื่อง มือ หรือ สวน ผสม ของ เครื่อง มือ แบบ ตางๆ ให เหมาะ กับ บริบท เชิง นิเวศ และ สังคม และ ผูคน ของ แตละ พื้นที่ จะ ชวย ใหการ จัดการ ทรัพยากร รวม และ การก ระ จาย ผล ประโยชน ของ การ จัดการ ทรัพยากร เปน ไป อยาง มี ประสิทธิภาพและเปนธรรมมากขึน้ ความรวมมือของภาค สวนตางๆ ไมเฉพาะชุมชนผูใชทรัพยากร แตรวมถึงนัก วิชาการ ขาราชการ องคกรพัฒนาเอกชน และภาคเอกชน
ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย
85
ทีเกี ่ ย่ วของ จะทำใหการจัดการทรัพยากรเปนไปไดอยาง ยัง่ ยืนและสามารถปรับตัวใหเขากับการเปลีย่ นแปลงของ โลกยุคในปจจุบันได
ºÃóҹءÃÁ ÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉ Biermann, Frank, Mitchele M. Betsill, Joyeeta Gupta, Norichika Kanie, Louis Lebel, Diana Liverman, Heike Schroeder, and Bernd Siebenhüner. 2009. Earth System Governance: People, Places and the Planet. Science and Implementation Plan of the Earth System Governance Project. , Earth System Governance Report 1, IHDP Report 20 Bonn, IHDP: The Earth System Governance Project. Dietz, Thomas, Elinor Ostrom, and Paul C. Stern. 2003. “The Struggle to Govern the Commons”. Science, Special section: Tragedy of the Commons?-Review. Vol. 302. p.1907-1012.
Hardin, Garrett. 1968. “The Tragedy of the Commons”. Science, 162(3859): 1243-48. Ostrom, Elinor. 1990. Governing the Commons: The Evolution of Institutions for Collective Action. Cambridge, UK: Cambridge University Press. Ostrom, Elinor. 2005. Understanding Institutional Diversity. Princeton, NJ: Princeton University Press. Ostrom, Elinor. 2010. “Beyond Markets and States: Polycentric Governance of Complex Economic Systems.” American Economic Review. Vol. 100 (June 2010) p.641-672 Sathirathai, Suthawan. 1998. “Economic Valuation of Mangroves and the Role of Local Communities in
the Conservation of Natural Resources: Case Study of Surat Thani, South of Thailand. Research Report.” http://203.116.43.77/publications/research1/ACF9E. html Sudtongkong, Chanyut, and Edward L. Webb. 2008. “Outcome of State- vs. Community-Based Mangrove Management in Southern Thailand”. Ecology and Society. Vol.13 Issue 2. Young, Oran R., Leslie A. King, and Heike Schroeder. 2008. Institutions and Environmental Change: Principal Findings, Applications, and Research Frontiers. Cambridge, US: MIT Press.
ÀÒÉÒä·Â ฉลาด ชาย รมิ ตา นนท, อานันท กาญ จน พันธ, สัณฐ ตา กาญ จน พันธุ. 2536. รายงาน การ วิจัย เรื่อง ปา ชุมชน ใน ประเทศไทย: แนวทางการพัฒนา, เลม 2. กรุงเทพมหานคร: สถาบันชุมชนทองถิ่นพัฒนา ชาญยุทธ สุดทองคง และพรเทพ วิรชั วงศ. 2548. การจัดการ ทรัพยากรชายฝง โดยชุมชน กรณีศึกษาปาชายเลนชุมชนบาน ทุงตะเซะ จังหวัดตรัง. รายงานวิจัย: คณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี การ ประมง มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ราช มงคล ศรีวิชัย ดวงพร ภูแกว 2548. การจัดการทรัพยากรน้ำ: กรณีศึกษา บาน ปง ไคร อำเภอ แมริม จังหวัด เชียงใหม. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตร มหา บัณฑิต สาขา วิชาการ จัดการ มนุษย กับ สิ่งแวดลอม, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
ดิเรก เครือจินลิ 2545. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติของ เครือขายลุมน้ำแมแรก ตำบลทาผา อำเภอแมแจม จังหวัด เชียงใหม. วิทยานิพนธ ศึกษา ศาสตร มหา บัณฑิต สาขา วิชาการศึกษานอกระบบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ทินกร เหลือลน. 2548. การจัดการทรัพยากรน้ำลุมน้ำลำ เซบายตอนบน. วิทยานิพนธ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมชลประทาน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. เบญจภา ชุติมา. 2546. การจัดการทรัพยากรน้ำในระดับลุม น้ำและการกระจายประโยชนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรลุม น้ำแมวาง จังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหา บัณฑิต (เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ปทมาวดี ซูซูกิ และชล บุนนาค 2552. โครงสรางอำนาจ ในการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของไทย. ใน เศรษฐศาสตรการเมืองและสถาบันสำนักทาพระจันทร. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ Openbooks.
วรศักดิ์ บุญพวง, คมศักดิ์ สุระผัด และ นัฐพงศ สิทธิวงศ. 2544. การจัดการทรัพยากรน้ำผิวดินเพือ่ การอุปโภคบริโภค ในลุมน้ำแควนอย. การศึกษาคนควาดวยตนเอง วท.ม. (การ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม) มหาวิทยาลัย นเรศวร เลิศ ชาย ศิริชัย 2548. การ เคลื่อนไหว ของ ประชาชน กับ อำนาจในการจัดการทรัพยากร เอกสารประกอบการสัมมนา เวทีนโยบายสาธารณะเพื่อการจัดการทรัพยากรอยางเปน ธรรม และ ยั่ง ยืน: กรณี การ จัดการ พื้นที่ ชุม น้ำ วัน ที่ 19 ธันวาคม 2548 โรงแรมเกษศิริ จ.ศรีสะเกษ เลิ ศ ชาย ศิ ริ ชั ย 2549. ขบวนการ เคลื่ อ นไหว เพื่ อ สร า ง เศรษฐกิจแบบพอเพียงของชุมชนในเขต ปาชายเลนลุมน้ำ ปะเหลียน จังหวัด ตรัง. เอกสาร ทาง วิชาการ เสนอ มูลนิธิ ธรรมรัฐ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2546. สรุปการประชุม สัมมนา “การเมืองภาคประชาชนกับความเปนธรรมทางสังคม และการแกไขปญหาความยากจน” วันเสารที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546 ณ หอประชุมแหงชาติสิริกิติ์ จัดโดยสำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย เว็บไซต http://www.tdri.or.th/ poverty/4.TRF.pdf (ดูเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ 2554) สุภาพ สังขไพฑูรย 2548 อภีษฎา คุณาพรธรรม. 2551. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่ง แวดลอม ของ เครือ ขาย องคกร ชุมชน: กรณี ศึกษา กลุม อนุรักษ และ พัฒนา ปา ชาย เลน บาน เปร็ ด ใน จังหวัด ตราด. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. อานันท กาญจนพันธุ (บรรณาธิการ) 2543. “พลวัตของ ชุมชนในการจัดการทรัพยากร สถานการณในประเทศไทย”. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
อภิชยั พันธเสน (บรรณาธิการ) 2549. สังเคราะหองคความรู เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย พิมพครั้งที่ 3 àÇ็ºä«μ áÅТ‹ÒÇ "Elinor Ostrom - Biographical". Nobelprize.org. 10 Mar 2011 http://nobelprize.org/nobel_prizes/economics/ laureates/2009/ostrom.html ผู้ จั ด การ. 2551. “สสส.หนุ น “ป่ า ชุ ม ชน” ยั่ ง ยื น ” หนังสือพิมพ์ผู้จัดการออนไลน์. http://www.thaihealth. or.th/healthcontent/article/5679 เพ็ญพิชญา เตียว. 2546. “ธนาคารไขกุง กามกรามสรางการมีสวน รวมในชุมชน” หนังสือพิมพไทยรัฐ. ประจำวันที่ 13 ตุลาคม 2546. http://www.environnet.in.th/index.php?view=article&catid=2 6&id=69&format=pdf&option=com_content&Itemid=19
สำรวม บุญลน. 2553. “ปาชุมชนตนแบบเฉลิมพระเกียรติ เมื่อทองถิ่นขอมีบทบาทกับการอนุรักษ” หนังสือพิมพคมชัด ลึก, ภูมิภาค-ประชาคมทองถิ่น: ขาวทั่วไป. วันพฤหัสบดี ที่ 9 กันยายน 2553. http://www.komchadluek. net/detail/20100909/72573/ป า ชุ ม ชน ต น แบบ เฉลิมพระเกียรติ เมื่อ ทอง ถิ่น ขอ มี บทบาท กับ การ อนุรักษ. html “สมั ช ชา ป า ชุ ม ชน ทาง เลื อ ก ทาง รอด ของ สั ง คม ไทย”. ThaiNGO.org 29 ตุลาคม 2551 http://www.thaingo. org/story/thidamon_recorf2.htm
ดำเนินการผลิต เปนไท พับลิชชิ่ง 0 2736 9918 waymagazine@yahoo.com