รายงานการประชุม การระดมสมอง “ประเด็นสวัสดิ การสังคม” ครัง้ ที่ 2 วันอังคารที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ณ ห้องประชุม 1 ชัน้ 34 สานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ---------------------------------------------------รายนามผูเ้ ข้าร่วมการประชุม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.
นายแพทย์สมศักดิ ์ ดร.สมเกียรติ ดร.สมชัย รศ.ดร.ณรงค์ คุณ ยุวดี คุณ สกลฤทธิ ์ ผศ.ดร.จิตติ คุณอรพิน คุณ ชิงชัย คุณ พบสุข คุณ รังสรร คุณ ณัฏฐ์บรรจง
ชุณหรัศมิ ์ ตัง้ กิจวานิช จิตสุชน เพ็ชรประเสริฐ คาดการณ์ไกล จันทร์พุ่ม มงคลชัยอรัญญา นิมลภูษติ ชิดเจริญ ช่าชอง มันคง ่ เดชวิรยิ ะชาติ
มูลนิธสิ าธารณสุขแห่งชาติ สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สานักส่งเสริมการปฏิรปู เพื่อคุณภาพเพื่อชีวติ เกษตรกรฯ งานพัฒนาคุณภาพชีวติ แรงงานนอกระบบ (สสส.) สานักงานปลัด กระทรวงการพัฒนาสังคม มูลนิธสิ าธารณสุขแห่งชาติ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
เริม่ ประชุมเวลา 17.30 น. นายแพทย์สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ กล่าวถึงทีม่ าของการจัดประชุม ระดมความเห็นเพื่อเป็ นข้อเสนอในการ ปฏิรปู ประเทศไทย ซึง่ จากการรวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูลทีผ่ ่านมา พบว่า ในการปฏิรูปประเทศไทย มีประเด็นหลัก ทีต่ อ้ งดาเนินการอยู่ทงั ้ สิน้ 5 ประเด็น ได้แก่ 1. ทีด่ นิ และทรัพยากรธรรมชาติ 2. สวัสดิการสังคม 3. ความยุตธิ รรรม และการคอร์รปั ชัน่ 4. การกระจายอานาจ 5. ระบบสือ่ ดัง นัน้ การประชุ ม ระดมความเห็น ในวัน นี้ คือ ประเด็น สวัสดิก ารสัง คม ถือ เป็ น ประเด็น หลัก และมีผู้ ทาการศึกษาวิเคราะห์ไว้ค่อนข้างมาก แต่อย่างไรก็ตาม พบว่ามีกลุ่มคน 3 กลุ่ม ทีม่ ขี อ้ เสนอชัดเจน จึงได้เชิญมา ประชุมระดมความคิดเห็นในวันนี้ ได้แก่ 1. สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) 2. Informal Sector 3. รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ -1-
จากนัน้ ผูเ้ ข้าร่วมประชุมได้นาเสนอรายงานการ และความก้าวหน้าของการศึกษา และข้อมูล แนวความคิด เกีย่ วกับประเด็นสวัสดิการสังคม ดังนี้ 1.การนาเสนอผลการวิ จยั ประเด็นสวัสดิ การ ดร. สมชัย จิ ตสุชน : สถาบันวิ จยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ได้นาเสนอดังนี้ การศึกษาวิจยั เรื่อง “การออกแบบระบบสวัสดิการถ้วนหน้าภายใน ปี พ.ศ. 2560” แนวทางในการศึกษา (1) คนไทยต้องการสวัสดิการอะไรบ้าง ให้ใครให้เท่าไหร่ (2) ศึกษาจากต่างประเทศ ว่าต่างประเทศให้สวัสดิการอะไรบ้าง และอะไรทีป่ ระเทศไทยได้ทาแล้ว และ ควรทาในอนาคต
แนวทางศึกษา 3 Welfare levels
4 Pillars Welfare System (ลักษณะ)
(ระดับ)
ระบบปั จจุบนั
Who
(ถ้วนหน้า/เจาะจง)
•ดูแลครรภ์ •เด็กเล็ก •นักเรี ยน •นักศึกษา •คนทางาน •คนแก่ •คนป่ วย •พิการ •ตาย
What Welfare
People Need/Priority
(ประชาเสวนา, กรรมการ จังหวัด, analysis)
= สวัสดิการถ้วนหน้า 2560
Welfare Society Concept: by Whom, How
รัฐ
ธุรกิจ
ชุมชน
NGOs
ครอบ ครัว
นอกจากนี้ มีการตัง้ โจทย์ในการศึกษาที่สาคัฐคือ ประเด็นของ “รัฐสวัสดิการ” (รัฐดูแลอย่างเดียว) กับ “สัง คมสวัสดิก าร” (ทุ ก ภาคส่ว นร่ ว มรับ ผิด ชอบ) ซึ่ง ประเด็น นี้ พบว่ า นายกรัฐ มนตรีเ องก็ไ ม่ เ ห็น ด้ว ยกับ “รัฐ สวัสดิการ” แต่เห็นด้วยกับ “สังคมสวัสดิการ” คือ สังคมทุกภาคส่วนต้องช่วยกันดูแล ทัง้ เรื่องงบประมาณ เรื่องการ บริหารจัดการ ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ หรือแม้แต่ภาคประชาชน รวมไปถึงการจัดการสวัสดิการทีม่ อี ยู่ เช่น ระบบประกันสังคม เพื่อให้เกิดกลไกลในการดาเนินงานทีม่ คี วามยังยื ่ น
-2-
ผลการศึกษา ▪ ระดับของสวัสดิ การ สามารถแบ่งได้ 3 ระดับ (1) สวัสดิการสังคมพืน้ ฐาน = ถ้วนหน้า (2) สวัสดิการสังคมส่วนเพิม่ : กรณีทวไป ั ่ เช่น ข้าราชการได้รบั สวัสดิการมากกว่าคนทัวไป ่ (3) สวัสดิการสังคมส่วนเพิม่ : ให้กบั คนจนและผูด้ อ้ ยโอกาส เช่น ค่าเดินทางสาหรับนักเรียนยากจน จากการศึกษาสวัสดิการของต่างประเทศ พบว่า สิง่ ทีต่ ่างประเทศดาเนินการ ประเทศไทยก็ได้ดาเนินการ ทัง้ หมดแล้ว เพียงแต่ยงั ไม่เป็ นแบบถ้วนหน้า เช่น ประกันสังคม ฐานครอบคลุม แต่วธิ กี ารไม่ สวัสดิการสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ระบบ ได้แก่ สวัสดิการหลักและสวัสดิการรอง สามารถอธิบายได้ดงั นี้ - สวัสดิการหลัก ได้แก่ กลุ่ม High Demand / High Priority ผลกระทบสูงหรือถาวร เช่น การศึกษา หรือ ฝึกอาชีพ รักษาพยาบาล จัดทาแล้ว ประกันรายได้ จาพวกว่างงาน หรือหัวหน้าครอบครัวเสียชีวติ ยัง ไม่ชดั เจน - สวัสดิการรอง คือ พวกข้อหัวเลีย้ วหัวตาย เป็ นพวกทีเ่ กิดไม่บ่อย มีอยู่แล้วแต่ยงั ไม่ครอบคลุม ▪ Priority ความต้องการสวัสดิ การสังคม ผลการสารวจความต้องการของประชาชน พบว่า ประชาชน ต้องการสวัสดิการโดยเรียงตามลาดับความสาคัญได้ดงั นี้ (1) การศึกษา (2) การรักษาพยาบาล (3) เบีย้ ผูส้ งู อายุ คนพิการ (4) การฝึกฝีมอื แรงงาน (พบจากการสารวจข้อมูลในจังหวัดใหญ่ ๆ ซึง่ เป็ นประเด็นทีน่ ่าสนใจมาก) ▪ ความยังยื ่ นของระบบสวัสดิ การ อุปสรรค/ข้อจากัด (1) ประเทศไทยเก็บภาษีได้น้อย (2) การเก็บภาษีของประเทศไทยขัดกับหลักความเสมอภาคทางภาษี นัน่ คือ คนมีรายได้เท่ากันควร เสียภาษีเท่ากัน ข้อเสนอ (1) การขยายฐานภาษี โดยเฉพาะภาษีรายได้ ทัง้ ในแง่ของการเพิม่ เงินให้รฐั บาลและเพื่อเพิม่ ความ เป็ นธรรมให้กบั สังคม (2) การเก็บภาษีทรัพย์สนิ มีศกั ยภาพมาก ความเห็นและข้อเสนอของที่ประชุม (1) Timing ขณะนี้เป็ นช่วงเวลาทีด่ ี เนื่องจากรัฐบาลกาลังให้ความสนใจในการดาเนินการเรื่องสวัสดิการสังคม และ ครม.ได้มมี ติเรื่อง “สังคมสวัสดิการ โดยให้ ปี 2560 มีสวัสดิการถ้วนหน้า” (2) ในเดือนสิงหาคม จะมีการสัมมนาระดมความเห็น เรื่องสังคมสวัสดิการ เพื่อให้แนวทางการดาเนิ นการของ รัฐบาลเป็ นรูปธรรมมากขึน้ โดยจะระดมความเห็นในประเด็นสาคัญได้แก่ ▪ โครงการอะไรทีค่ วรดาเนินการ ▪ งบประมาณเท่าไหร่
-3-
(3)
(4)
(5)
(6)
▪ ต้องเก็บภาษีอะไรเพิม่ ประเทศไทยมีกฎหมายทีแ่ บ่งสวัสดิการสังคมไว้แล้ว 7 ประเภท ได้แก่ การศึกษา สาธารณสุข การมีรายได้ และมีงานทา ทีอ่ ยู่อาศัย นันทการและสิง่ แวดล้อม การสงเคราะห์ (ผูม้ ปี ญั หาเดือดร้อน) ความเป็ นธรรม (ความเป็ นธรรมจากกระบวนการยุตธิ รรม) แต่รฐั ไม่ได้ดาเนินการตามกฎหมายทัง้ หมด ดังนัน้ หากจะทา ให้ครอบคลุมทัง้ 7 ประเภท จะทาให้งานด้านการจัดสวัสดิการเยอะขึน้ แต่อย่างไรก็ตามหากทาเป็ นระบบ ให้ดี มีวธิ กี ารบริหารจัดการทีด่ ี เช่นเรื่องทาเรื่อง โฉนดทีด่ นิ หากทาให้ดอี าจส่งผลดีต่อ welfare ด้านอื่น การทาสวัสดิการสังคม ต้องมองว่าเป็ นเรื่องทีเ่ ป็ น “พลวัต” กล่าวคือ ต้องดาเนินการให้สอดคล้องกับบริบท สังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลง เช่น เรื่องเด็กแวนท์ เรื่องเด็กทีเ่ ข้ามาเรียนในเมืองแล้วตัง้ ครรภ์ ดังนัน้ สิง่ สาคัญคือ รัฐต้องทาในเรื่องด่วน/สาคัญของแต่ละยุคสมัย เช่น ในสวัสดิการเรื่องสุขภาพ ขณะนี้ ประชาชนเสนอให้ ตรวจทัง้ ร่างกายและสุขภาพจิตด้วย แสดงให้เห็นว่าปญั หาเพิม่ มากขึน้ และเป็ นพลวัตมากขึน้ ความยัง่ ยื น ของระบบสวัส ดิ ก าร คื อ การจัด สวัส ดิ ก ารสัง คมให้ ค วบคู่ ไ ปกั บ การบริ ห ารจัด การ ทรัพยากรธรรมชาติทด่ี ี และรวมทัง้ การสนับสนุ นให้มีทุนทางสังคม (social capital) ทัง้ ในชุมชนและใน โรงงาน กล่าวคือ แทนที่รฐั จะใช้เงินของรัฐไปสร้าง welfare เอง ก็ให้ partner ที่เกิดจากการมี social capital ที่เข้มแข็ง เช่น ให้ธุรกิจจัด welfare ให้พนักงานแล้วนามาลดหย่อนภาษี ซึ่งอาจธุรกิจอาจ ดาเนินการได้ดกี ว่ารัฐ ต้องพิจารณา Capability ของภาครัฐ คือทัง้ demand supply รวมทัง้ ดูความเป็ นไปได้ให้มองเป็ น evolution เช่น ความสามารถในการจัดเก็บภาษีทจ่ี ะสามารถเพิม่ GDP นัน้ ความเป็ นไปได้อาจแค่ 1-2%
ข้อเสนอ : รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ เสนอแนวทางการจัดทาข้อเสนอในประเด็นสวัสดิการสังคม ว่าให้ ระดมความเห็นในประเด็นสาคัญ ได้แก่ ▪ สวัสดิการอะไรบ้างทีม่ อี ยู่แล้ว ดีอยู่แล้ว ▪ สวัสดิการทีม่ อี ยู่แล้วแต่ยงั ไม่ดี ▪ สวัสดิการทีค่ วรมี แต่ยงั ไม่มเี ลย นายแพทย์สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ กล่าวสรุปดังนี้ แนวทางการทางานของเครือข่ายวิชาการว่า ในบางเรื่องมี เจ้าภาพทีเ่ คลื่อนไหวชัดเจนแล้ว ก็อาจปล่อยให้ดาเนินการต่อไปได้เลย แต่บางเรื่องทีย่ งั เป็ นประเด็นทีถ่ กเถียง และ มีขอ้ เสนอหลายแนวทาง เครือข่ายวิชาการก็อาจดาเนินการจัดทาคู่ขนานได้ คุณอรพิ น นิ มลภูษิต และ ผศ.ดร.จิ ตติ มงคลชัยอรัญญา งานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบ (สสส.): ประเด็นแรงงานนอกระบบ ได้นาเสนอดังนี้ การศึกษาและจัดทาข้อเสนอเรื่องแรงงานนอกระบบ ประเด็นสาคัญคือ “ความมันคงด้ ่ านอาชีพและรายได้” ซึง่ ครอบคลุมใน 3 ประเด็น ได้แก่ (1) การจัดการอาชีพ (2) สุขภาพความปลอดภัย (3) หลักประกันในยามไม่สามารถทางานได้ จากนัน้ จึงนาเสนอข้อมูลของประเด็นต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วเนื่องกับสวัสดิการแรงงานนอกระบบ ดังนี้
-4-
การขยายประกันสังคมแรงงานนอกระบบ ขณะนี้รฐั บาลได้รบั หลักการในประเด็นดังกล่าว และได้มรี ่างพระราชกฤษฎีกาได้ออกมาแล้ว แต่ร่างนี้ไม่มี รัฐร่วมจ่าย ทาให้เราไม่เอาด้วย เพราะเห็นว่าไม่ใช่สงิ่ ทีส่ อดคล้องกับสิง่ ที่ได้จดั ทาเป็ นข้อเสนอมาตลอด ดัง นั น้ จึง ได้เ สนอร่ า งพรบ. ให้ร ัฐ ร่ ว มจ่ า ยไม่ เ กิน กึ่ง หนึ่ ง เพื่อ ให้เ ป็ น พรบ.ฉบับ ใหม่ (แก้ไ ข พรบ. ประกันสังคม มาตรา 40) เสนอให้มรี ะบบการจัดการใหม่ คือ ให้มกี ารจัดตัง้ องค์กรอิสระดาเนินการเรื่องประกันสังคม และให้มกี องทุน ประกันสังคมทีเ่ ป็ นอิสระจากกระทรวงแรงงาน ซึง่ จะทาให้สามารถออกแบบทิศทางการประกันสังคมได้ เพราะทีจ่ ริง แล้วงานประกันสังคมเป็ นงานใหญ่มาก เท่ากับงานของกระทรวงหนึ่ง ข้อจากัดในการดาเนินการ ประการหนึ่ง คือ ข้อมูลแรงงานนอกระบบไม่ชดั เจน เพราะมีทงั ้ กลุ่มทีร่ ายได้เกิน มาตรฐานค่อนข้างมาก เช่น หมอ วิศวกร ยังไม่สามารถคลีค่ ลายคาถามได้น้ไี ด้ว่าจานวนแรงงานนอกระบบเท่าไหร่ท่ี ไม่ได้รบั ความคุม้ ครอง จึงทาให้การประกันสังคมแรงงานนอกระบบนัน้ เป็ นระบบสมัครใจ ระบบบริการ โดยเฉพาะเรือ่ งหลักประกันสุขภาพ(สปสช.) แรงงานนอกระบบ 47 ล้านคนใช้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า แต่ระบบความปลอดภัย และอาชีวะ อนามัย ยังไม่มี และไม่ครอบคลุม (cover) ทุกคน เนื่องจากไม่มขี อ้ มูลผูป้ ระกันตนทีช่ ดั เจน ความเป็ นธรรม : เกษตรพันธะสัญญา โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกร ซึ่งได้รบั ผลกระทบทีเ่ กิดจากสัญญาที่ไม่เป็ นธรรม อันเนื่องจากไม่สามารถรับรู้ และต่อรองเรื่องปจั จัยการผลิตได้ ข้อเสนอ (ซึง่ ต้องอาศัยกลุ่มวิชาการช่วยอย่างมาก) ได้แก่ ▪ แนวทางการสร้าง buffer ระหว่างเกษตรกรและการทาสัญญา เพราะต้องอาศัยวิชาการกับการสื่อสาร ในกลุ่มเกษตรกร เพื่อลดการเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง ▪ การจัดตัง้ กองทุนความเสีย่ ง ซึ่งควรเป็ นองค์กรอิสระดูแล ไม่ควรอยู่ภายใต้กระทรวงเกษตรฯ ทัง้ นี้ เพราะเกษตรกรต้องแบกรับความเสีย่ ง ทีเ่ กิดขึน้ จากปจั จัยการผลิต และภัย กลไกการทางาน เนื่องจากแรงงานนอกระบบส่วนใหญ่อยู่ในท้องถิน่ จึงเสนอให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เป็ นกลไกหลักใน การพัฒนาและจัดการร่วมกับแรงงานนอกระบบ โดย ▪ ใช้รปู แบบของ “ห่วงโซ่การผลิตกับ cluster” โดยให้ทอ้ งถิน่ มีสว่ นร่วมในการจัดการ ▪ ท้องถิน่ ทีอ่ ยู่ในเขตเมือง : เป็ นมองระบบภาษีแบบการจัดการร่วม สามารถเกือ้ หนุ นคุณภาพชีวติ และ คนทางาน สวัสดิการและการจัดการด้านอาชีพ (ปจั จุบนั ท้องถิน่ มีงบประมาณด้านนี้ 1-2 ล้านบาท แต่ ยังไม่มรี ะบบ/กลไกการสนับสนุนช่วยเหลือชัดเจน) นายแพทย์สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ กล่าวสรุปดังนี้ ทีมทางานกาลังนึกถึงกฎหมายอย่างน้อย 3 ฉบับ ประการ แรกคือ กฎหมายระบบประกันสังคมแบบทีเ่ ป็ นอยู่ภายใต้การจัดการใหม่ ประการทีส่ องคือ กฎหมายการรองรับสิง่ ที่ เรียกว่าความเป็ นธรรม เกีย่ วกับพันธะสัญญา และประการทีส่ าม คือ องค์กรใหม่ทจ่ี ะมาดูแลเรื่องชีวอนามัย ในการคิดเรื่องนี้ มีแนวคิดไปถึงเรื่องกองทุนพัฒนาอาชีพหลักระดับท้องถิ่น เพื่อให้ท้องถิ่นนาเงินมาตัง้ กองทุนเพื่อพัฒนาอาชีพในชุมชนได้ เนื่องจากมีขอ้ จากัดเรื่องกฎหมาย จึงยังไม่สามารถดาเนินการได้
-5-
รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ: ความยังยื ่ นของระบบสวัสดิ การสังคม ได้นาเสนอดังนี้ สังคมสวัสดิ การ (Welfare Society) การจัดสวัสดิการทีย่ งยื ั ่ นและมีประสิทธิภาพ สิง่ สาคัญคือ “social capacity building” ส่งเสริมให้มกี าร รวมกลุ่มของประชาชน เพื่อสร้างความเข้มแข็งของประชาชน ภาคประชาสังคม เพราะจะทาให้รฐั ลดภาระลงมาก เพราะสังคมที่เข้มแข็งและมีศกั ยภาพจะสามารถเป็ น social partner ที่สามาระดาเนินการสร้างสังคมสวัสดิการ ร่วมกันไปกับรัฐและทุกภาคส่วน ในการดาเนินการเรื่องสวัสดิการสังคม สิง่ สาคัญคือเราต้องสร้าง Unity ทางความคิดให้เกิดขึน้ นอกจากนี้ หากจะทาให้ “สังคมสวัสดิการ” บรรลุเป้าหมาย ต้องดาเนินการดังนี้ (1) สร้างความยุตธิ รรมทางสังคม จะสร้างให้เกิดขึน้ ได้ต้องมี social capacity building = การสร้างความ เข้มแข็งของชุมชน (2) จัดให้มี Social Basic Right 15 ประการ (3) สร้างศักยภาพสังคม เพื่อให้เกิดเป็ น social partner ดาเนินการจัดสวัสดิการสังคมร่วมกันระหว่าง รัฐ ชุมชน ธุรกิจเอกชน ช่วยลดภาระจากรัฐได้ รูปแบบของสวัสดิ การ ▪ บริการสังคม รัฐให้เป็ นหลัก ▪ ประกันสังคม รัฐ + ธุรกิจ (รัฐเป็ น regulator ธุรกิจ เป็ นผูป้ ฏิบตั )ิ ▪ สงเคราะห์สงั คม รัฐ ธุรกิจ องค์กรการกุศล ชุมชน และครอบครัว ทัง้ นี้ สวัสดิการขัน้ ต่า / พืน้ ฐาน เรียกว่า “social safety net” = ให้ถว้ นหน้าได้ แรงงานนอกระบบ แรงงานนอกระบบมี 2 ประเภท (1) ทางานให้ตวั เอง (self employ) (2) ลูกจ้างทีก่ ฎหมายเอือ้ มไปไม่ถงึ (Informal Employee) ดังนัน้ เมื่อจัดให้เกษตรกรเป็ น self employ จึงมีแรงงานนอกระบบจานวนมาก แต่อย่างไรก็ตาม เกษตรกร นัน้ รัฐบาลให้ความช่วยเหลือมากอยู่ แล้ว เช่น การช่วยเหลือเรื่องโอกาสใน การเข้าถึงทุน เช่น ธกส. กองทุนหมู่บ้าน สหกรณ์ ฯลฯ จึงกล่าวได้ว่ามีสงิ่ ที่รฐั ช่วยเหลือมากอยู่แล้ว ดังนัน้ ถ้า ระบบบริหารจัดการให้ดอี าจไม่ตอ้ งใช้งบในการจัดสวัสดิการเพื่อเกษตรกรมากนัก (Repackage) แรงงานนอกระบบที่ควรให้ความสาคัญ คือกลุ่ม Informal Employee ซึง่ มี 2 กลุ่ม (1) Semi-Employee (2) ลูกจ้างทีไ่ ม่มคี วามแน่นอนเลย/ลูกจ้างเร่ร่อนภาคเกษตร คนงานตัดอ้อย กรีดยาง ประมง ** ควรเน้นให้ความสาคัญมากเพราะเข้าถึงทุนและสวัสดิการไม่ได้เหมือนเกษตรกร
-6-
2. ข้อวิ พากษ์ “รัฐสวัสดิ การ VS. สังคมสวัสดิ การ” ของที่ประชุม ▪ รัฐสวัสดิ การ : ไม่มที างเป็ นไปได้ ทัง้ นี้เนื่องจากเงื่อนไขการจัดสวัสดิการ ต้องมีภาษีเพียงพอ (สวีเดน 22% ไทย 7%) การจัดสวัสดิการที่ แท้จริง หมายถึง ประชาชนต้องควักกระเป๋า โดยใช้ภาษีจา้ งรัฐให้ทาแทน ดังนัน้ สังคมไทยประชาชนไม่พร้อมจะจ้างรัฐ และรัฐเองทาตัวไม่น่าไว้วางใจเพราะคอร์รปั ชันมาก ่ ▪ สังคมสวัสดิ การ : เป็ นไปได้ เพราะไม่จาเป็ นต้องพึง่ งบประมาณจากรัฐอย่างเดียว โดยรัฐ ทาหน้าทีเ่ ป็ น Regulator เท่านัน้ แต่สงิ่ สาคัญคือ social capacity และเข้าถึงความเป็ นธรรมทางสังคม (social justice) ** สิง่ สาคัญคือต้องคิด Social Partner ร่วมดาเนินการกับรัฐให้ได้ เน้น pillar 4 คือ social partner เช่น การเป็ น partner ร่วมกับภาคเอกชน โดย ขณะนี้ สมาคมธนาคาร สภาอุตสาหกรรม และสภาหอการค้า เห็นร่วมกันแล้วว่าควรยกค่าจ้างขัน้ ต่ าขึน้ ไป เพื่อให้ ระบบโดยรวมดีขน้ึ ความเท่าเทียมทางสังคม ประกอบด้วย 4 ประการ (1) รายได้ (2) สิทธิทางโอกาส (3) อานาจ ** สาคัญทีส่ ดุ และต้องสร้าง social capacity (4) ศักดิศรี ์ การทาสวัสดิการสังคมให้สาเร็จ คือ “การปรับเปลีย่ นดุลยภาพทางสังคม” โดยสร้าง social capacity เสริม พลังอานาจให้ประชาชน (ทา Social Balance Adjustment: SoBA) ข้อเสนอ สวัสดิการสังคม คือ การสร้างสังคมให้คนมีความเป็ นอยู่ทด่ี ี (Well being) ดังนัน้ จึงมี ข้อเสนอ “สวัสดิการ สังคม 3 ฐาน” (1) ฐานสิทธิ ให้แรงงานใช้เป็ นหลัก (2) ฐานทรัพยากร บริหารจัดการทรัพยากรให้เกีย่ วเนื่องกับการจัดสวัสดิการสังคม เช่น เรื่องโฉนดชุมชน (3) ฐานนวัตกรรม สนับสนุ นการคิดค้นของชาวบ้านและคนงานที่มีแนวคิดการจัดสวัสดิการ/การดูแล ตนเองอย่างเข้มแข็ง 3. ความเห็นและข้อเสนอของที่ประชุม ข้อมูลเกีย่ วกับแรงงานนอกระบบ โดยเฉพาะเกษตรกร ปจั จุบนั ยังไม่ชดั เจน ไม่สามารถเชื่อถือและนามา อ้างอิงได้ อย่างไรก็ตาม เห็นด้วยว่างบประมาณสาหรับเกษตรกรที่รฐั ให้นัน้ มีจานวนมากแล้ว หากบริหารจัดการ ใหม่ให้ดจี ะมีความเพียงพอ ยกตัวอย่างเช่น เรื่องเกษตรอินทรีย์ ซึง่ ใช้งบประมาณกว่า 630 ล้าน แต่ 500 กว่าล้าน หมดไปกับการซื้อปุ๋ย การจัดอบรม ฯลฯ ซึ่งไม่เกิดประโยชน์ อย่างแท้จริง แต่ชุมชนในจังหวัดสุรินทร์ซ่งึ ทาเรื่อง เกษตรอินทรีย์มานานมากและมีพลังชุมชน กลับไม่ได้รบั งบประมาณจากส่วนนี้แม้แต่ น้อย ทัง้ ที่หากรัฐให้เงิน สนับสนุนอาจนาไปจัดสวัสดิการชุมชนเองได้ดกี ว่า
-7-
นายแพทย์สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ กล่าวสรุป ดังนี้ (1) เรื่องแรงงานนอกระบบ มีขอ้ เสนอชัดเจนแล้ว ดังนัน้ ขอให้ส่งเอกสารให้คณะทางานเพื่อรวบรวมและจัดทา เป็ นข้อเสนอ (คุณอรพิน นิมลภูษติ ) (2) แนวคิดสวัสดิการสังคม เป็ นแนวคิดทีก่ ารดาเนินงานต้องเกีย่ วเนื่องกับเรื่องอื่น ทัง้ สังคมประชาธิปไตย การ มีสว่ นร่วม ความยุตธิ รรมในสังคม (3) ประเด็นเรื่อง repackage ระบบการช่วยเหลือเกษตรกร เป็ นประเด็นที่น่าสนใจ (มีเงินเท่าเดิมแต่เปลีย่ น ระบบการจัดการใหม่/เปลีย่ นวิธกี ารใช้ = คล้ายเรื่องทีเ่ คยปฏิรปู ระบบสาธารณสุข)
นัดประชุมครังต่ ้ อไป ประชุม Core Team เครือข่ายวิชาการการพัฒนาปฏิรปู ประเทศไทย วันจันทร์ท่ี 12 กรกฎาคม 2553 เวลา 17.30 น. ณ ห้องประชุม ชัน้ 35 สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ปิ ดการประชุม เวลา 19.30 น.
น.ส.พบสุข ช่าชอง / นายสกลฤทธิ ์ จันทร์พมุ่ (ผูบ้ นั ทึกการประชุม)
-8-