วิชา การเขียนภาพฉายwww

Page 1

วิชา การเขียนภาพฉาย รหัส 2301-2206


ผู้สอน : อ.ราตรี พรหมแท่น ศษบ.ศิลปะประยุกต์(ออกแบบผลิตภัณฑ์) คอม.เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม E-mail : id_sign999@windowslive.com



เครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ 1 ชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ 1.1 โต๊ะเขียนแบบและกระดานเขียนแบบ 2. อุปกรณ์ที่ใช้ขีดเส้น 2.1 ไม้ที 2.2 บรรทัดสามเหลีย่ ม 2.3 บรรทัดมาตราส่วน 3. อุปกรณ์เขียนส่วนโค้ง 3.1 วงเวียน 3.2 วงเวียนถ่ายขนาด 3.3 บรรทัดเขียนส่วนโค้ง (Curves) 4. กระดาษเขียนแบบ


เครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ 5. ดินสอเขียนแบบ 5.1ดินสอชนิดเปลือกไม้ 5.2ดินสอชนิดเปลี่ยนไส้ได้ 6.ปากกาเขียนแบบ 7.อุปกรณ์ทาความสะอาด 7.1แปรงปัด 7.2 ยางลบ 7.3 แผ่นกันลบ


1.1 โต๊ะเขียนแบบและกระดานเขียนแบบ • การเขียนแบบทางอุตสาหกรรมขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่จะใช้ โต๊ะเขียนแบบซึ่งมีโครงสร้างแตกต่างกันไป แล้วแต่บริษัท ผู้ออกแบบ แต่โดยทั่วไปจะมีความสูงเป็นมาตรฐานเดียวกัน หรือ บางชนิดอาจปรับความสูงให้เหมาะสมกับการใช้งานได้ พื้นโต๊ะจะ เรียบเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขอบด้านข้างตรงและได้ฉาก มีขนาด ต่างกัน ที่นิยมใช้มากที่สุดคือ 500 x 600 มม. กระดานเขียนแบบ ส่วนมากใช้สาหรับงานสนาม แต่ก็ใช้ในโรงเรียนบ้างเหมือนกัน ใน กรณีที่ไม่มโี ต๊ะเขียนแบบ



2.1 ไม้ที เป็นเครื่องมือที่สาคัญในการเขียนแบบ ไม้ที มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนหัว และ ส่วนใบ ทาจากไม้เนือ้ แข็ง หรือ พลาสติกใส ทั้ง 2 ส่วน จะยึดตั้งฉากกัน ไม้ที ใช้สาหรับขีดเส้นในแนวนอน และใช้ประกอบกับฉากสามเหลี่ยม ขีดเส้นในแนวตั้งฉาก และขีด เส้นเอียงทามุมต่า


2.2 บรรทัดสามเหลี่ยม โดยทั่วไปทาจากพลาสติกใส เพื่อจะได้มองเห็นส่วนอื่นๆ ของ แบบได้อย่างชัดเจน บรรทัดสามเหลี่ยมใช้สาหรับขีดเส้นดิ่งและ เส้นเอนทามุมต่างๆ ปกติจะใช้คู่กับ ไม้ที มี 2 แบบ คือ แบบ ตายตัว ซึ่งมีค่ามุม 45-90-45 องศา กับค่ามุม 30-90-60 องศา และแบบปรับมุมต่างๆ ได้


2.3 บรรทัดมาตราส่วน ใช้วัดขนาด มีความยาวต่างกัน ตั้งแต่ 150, 300, 400, และ 600 มิลลิเมตร มีมาตราส่วนต่างๆ เพื่อใช้เขียนรูปได้ หลายขนาด คือ - มาตราส่วนขนาดเท่าของจริง 1 : 1 - มาตราส่วนย่อ 1 : 2, 1 : 5, 1 : 10, 1 : 100, 1 : 1000 เป็นต้น - มาตราส่วนขยาย 2 : 1, 5 : 1, 10 : 1, 100 : 1, 1000 : 1 เป็นต้น มาตราส่วนเท่าของจริง, มาตราส่วนย่อ, หรือมาตราส่าน ขยาย จะนาไปใช้งานในแต่ละประเภทไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะงาน


3. อุปกรณ์เขียนส่วนโค้ง อุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนส่วนโค้งมีหลายแบบขึ้นอยู่กับลักษณะ งานและการนาไปใช้ เช่น วงเวียน แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ วง เวียนที่ใช้เขียนส่วนโค้ง และวงเวียนที่ใช้ถ่ายขนาด เป็นต้น 3.1 วงเวียน เป็นอุปกรณ์สาหรับเขียนวงกลม หรือส่วนโค้ง วง เวียนมีหลายแบบ ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน


3.2 วงเวียนถ่ายขนาด เป็นวงเวียนที่มีปลายแหลม 2 ข้าง วงเวียนชนิดนี้ใช้สาหรับถ่าย ขนาด ที่วัดขนาดจากฟุตเหล็ก หรือฉากสามเหลี่ยม แล้วนาไปถ่าย ลงบนแบบทาให้สามารถแบ่งเส้นตรง แบ่งวงกลม ให้มีขนาดเท่าๆ กันได้สะดวกและรวดเร็วง่ายต่อการเขียนแบบ


3.3 บรรทัดเขียนส่วนโค้ง (Curves) เป็นอุปกรณ์ที่ชว่ ยในการเขียนส่วนโค้งชนิดหนึ่ง การใช้ บรรทัดส่วนโค้งจะต้องใช้ส่วนโค้งของบรรทัดสัมผัสจุด อย่างน้อย 3 จุด เพื่อให้ได้ส่วนโค้งที่ดี มีความต่อเนื่อง ซึ่งต่างกับการใช้วง เวียนที่มีระยะรัศมีเท่ากันทุกจุดของเส้นโค้งนั้นๆ แผ่นโค้งนี้ให้ ความสะดวกในการทางานสูง ซึ่งผู้ใช้เองก็ต้องระมัดระวังในการใช้ งานให้ดี หมุนปรับให้ได้ตาแหน่ง ก่อนที่จะทาการลากเส้นโค้งนั้น แผ่นเขียนโค้งและการเขียนโค้งโดยใช้แผ่นเขียนโค้งในรูปแบบต่าง


4. กระดาษเขียนแบบ กระดาษเขียนแบบที่นิยมใช้ในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ระบบนิว้ และ ระบบมิลลิเมตร ต่อมาได้ปรับปรุงให้เป็น ระบบสากล โดยใช้ระบบ ISO (International System Organization) ซึ่งยอมรับทั้งระบบอเมริกันและยุโรป นอกจากนั้น ประเทศไทยยังได้ผลิตมาตรฐานเป็น (มอก.) โดการ เขียนแบบทั่วไปทางเครื่องกลซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับมาตรฐาน ISO ซึ่งมาตรฐานของกระดาษในระบบต่างๆ ได้แสดงไว้ใน


ขนาดกระดาษเขียนแบบ เมตริก (มิลลิเมตร)

อังกฤษ (นิว้ )

ขนาด A0

กว้าง x ยาว 814 x 1,189

ขนาด E

กว้าง x ยาว 34 x 34

A1

594 x 841

D

22 x 34

A2

420 x 594

C

17 x 22

A3

297 x 420

B

11 x 17

A4

210 x 297

A

8.50 x 11

A5

148 x 210

-

5.83 x 8.27

A6

105 x 148

-

4.13 x 5.83


กระดาษเขียนแบบขนาด A0 ขนาด 841 x 1189 ม.ม. สามารถ แบ่งได้เป็นขนาด A1 จานวน 2 แผ่น และถ้านากระดาษ A1 มาแบ่ง จะได้กระดาษ A2 จานวน 2 แผ่น ........... ดังนั้น สามารถแบ่ง กระดาษได้จนถึง A6


• ตารางรายการ เป็นตารางบอกรายละเอียดของชิ้นงานแต่ละชิ้นที่ ประกอบกันหลายชิ้น เช่น จานวนที่ใช้ ชื่อชิ้นงาน ขนาดวัสดุ ประเภทของวัสดุที่ใช้ หมายเลขแบบ ผู้เขียน และผู้ตรวจ สามารถ จาแนกได้ตามลักษณะการใช้งานในสถานศึกษา หรือสถาน ประกอบการ


แสดงตารางประกอบแบบ


5. ดินสอเขียนแบบ เป็นเครื่องมือที่ใช้ขีดเส้นบนกระดาษเขียนแบบ เพื่อแสดงรูปร่างต่างๆ ให้เป็นแบบที่ใช้งาน ดินสอเขียนแบบสามารถแบ่งได้เป็นหลายชนิดคือ

5.1 ดินสอชนิดเปลือกไม้ 5.2 ดินสอชนิดเปลี่ยนไส้ได้ จะเป็นดินสอที่มีโครงด้ามเป็นโลหะ หรือพลาสติก และใส่ไส้ดินสอ อยู่ข้างใน ดินสอชนิดนี้จะมีการออกแบบมาใช้งานไว้มากมาย หลายชนิด


เกรดใส้ดินสอ แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ 3 เกรด คือ - ดินสอที่มีไส้แข็งมาก (Hard) - ดินสอที่มีไส้แข็งปานกลาง (Medium) - ดินสอแบบไส้อ่อน (Soft) 1. ดินสอที่มีไส้แข็งมาก (Hard) มีตั้งแต่ เบอร์ 9H-4H ใช้สาหรับขีดเส้นร่างรูปเส้นที่ใช้เขียนต้องเป็นเส้นบาง เช่น ร่างรูป เส้นบอกขนาด และเส้นช่วยบอกขนาด


2. ดินสอที่มีไส้ แข็งปานกลาง (Medium) มีต้ งั แต่ เบอร์ 3HB ใช้สาหรับใช้สาหรับงานเขียนแบบงานสาเร็ จรู ป เช่น เส้น ขอบชิ้นงาน เส้นแสดงแนวตัด และสัญลักษณ์แนวเชื่อม


3. ดินสอแบบไส้ อ่อน (Soft) มีต้ งั แต่ เบอร์ 2B-7B ใช้ในงาย ศิลปะ วาดภาพ แรเงา ไม่เหมาะที่จะนามาใช้ในการเขียนแบบ


ลักษณะปลายดินสอที่ใช้ในงานเขียนแบบ


6. ปากกาเขียนแบบ ปากกาเขียนแบบในปัจจุบันนิยมใช้ปากกาเขียนแบบหมึกซึม ขนาดความโตของปากกาเขียนแบบจะมีขนาดเท่าขนาดของเส้น มาตรฐานสากลที่ใช้ในงานเขียนแบบ


7. อุปกรณ์ทาความสะอาด แบบงานที่มีคุณภาพนั้น นอกจากจะเขียนได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ได้มาตรฐานแล้วนั้น แบบงานจะต้องสะอาด ดังนั้นอุปกรณ์ทา ความสะอาดจึงมีความจาเป็นมาก เช่น 7.1 แปรงปัด เป็นแปรงขนอ่อนใช้สาหรับปัดฝุ่นบนกระดาษเขียน แบบ และปัดเศษยางลบ


7.2 ยางลบ ใช้สาหรับลบงาน มีลักษณะเป็นยางอ่อนซึ่งจะไม่ทาให้ กระดาษเป็นขุยหรือเป็นรอย

7.3 แผ่นกันลบ ทาจากโลหะบางเบา เจาะรูไว้หลายลักษณะ ใช้กัน ลบตรงบริเวณที่ขีดเส้นผิดพลาด


2 การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ 1. การติดกระดาษเขียนแบบ การติดกระดาษเขียนแบบควรติดด้วยเทปสาหรับติดกระดาษ โดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการแกะแบบ และป้องกันมุมของ กระดาษเสียหายเนื่องจากการแกะแบบ การติดกระดาษควรจัด กระดาษให้ขนานกับโต๊ะเขียนแบบ โดยใช้ ไม้ที เป็นเครื่อง ตรวจสอบความขนานของกระดาษ จากนั้นใช้เทปติดกระดาษที่ มุมบนทั้งสองข้าง แล้วเลื่อนไม้ทีลงไปข้างล่าง ซึ่งไม้ทีจะช่วยกด กระดาษให้เรียบกับพื้นโต๊ะ จากนั้นจึงใช้เทปติดมุมกระดาษ ข้างล่างทั้งสองข้าง


จัดกระดาษให้ขนานกับไม้ที ติดเทปยึดกระดาษเขียน แบบ


2. การใช้ไม้ที ประกอบการขีดเส้นด้วยบรรทัดสามเหลี่ยม การขีดเส้นตรงในแนวนอนจะใช้ไม้ทีแนบกับขอบโต๊ะเขียน แบบ พร้อมทั้งหมุนดินสอช้าๆ ขณะลาดเส้น ดินสอจะเอียงทามุม 60 องศา กับกระดาษเขียนแบบ

การขีดเส้ นตรงในแนวนอน


การขีดเส้นตรงในแนวดิ่ง


ลักษณะ วิธีการใช้ไม้ทีและบรรทัดสามเหลี่ยมประกอบการขีดเส้น


3. การใช้วงเวียน เขียนวงกลมหรือส่วนโค้ง วิธีการเขียนวงกลมหรือส่วนโค้ง ให้ปรับขาวงเวียนข้างที่เป็น เหล็กแหลมยาวกว่าข้างที่เป็นไส้เล็กน้อย เพราะปลายแหลมต้อง ปรับจมลงในกระดาษ เมื่อปรับได้รัศมีที่ต้องการแล้ว ให้จับด้านวง เวียนด้วยนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ หมุนวงเวียนตามเข็มนาฬิกา และ ให้เอนวงเวียนไปในทิศทางของการลากเส้นเล็กน้อย พยายามหมุน วงเวียนเพียงครั้งเดียว เพื่อให้ได้เส้นที่คมและสมบูรณ์


การใช้วงเวียนเขียนส่วนโค้ง


การใช้วงเวียนวัดระยะหรือดิไวเดอร์ ต้องระวังอย่ากดแรง เกินไป เพราะจะทาให้เกิดรูที่ไม่เรียบร้อยบนกระดาษ และจะทา ให้วงเวียนถ่างออกเสียระยะอีกด้วย การหมุนดิไวเดอร์ควรหมุนสลับข้างซ้ายขวาของเส้นตรง เพื่อ หักล้างความคลาดเคลื่อนสะสมใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.