©ºÑº¾ÔàÈÉ
By COMM.ARTS PIM
·ÔÈ·Ò§
Dec
ÇÒÃÊÒÃÈÒʵÃ
onv erg en
ce
t s i l a i c pe
S
Digita
e c en
g r e v n o C
d e l l -ski
i t l u M
l Ana
log
Content
03 05 07 09 11 18 21 23 26 29
ภูมิทัศน์ส่อื การปรับตัวของ กองบรรณาธิการ โมเดลการปรับตัวของสื่อ Cross Media สัมนายุ ทธศาสตร์สู่การ พัฒนาวารสารศาสตร์ ปฏิรูปสื่อ สงครามเนื้อหา ข่าวบนดิจิทัลทีวี แนวทางการพัฒนา นักข่าวรุ่นใหม่ การปรับหลักสูตร
The Prototype
บทบรรณาธิการ เทคโนโลยีการสื่อสารที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบอย่างรุ นแรงต่อ ภูมิทัศน์ส่ือ และการบริโภคของผู ้รับสาร วิชาชี พสื่อมวลชนเป็นหนึ่งวิชาชี พที่ได้รับผลกระ ทบจากการเปลี่ยนแปลงนีโ้ ดยตรง ท�ำให้มกี ลุม่ นักวิชาการ และนักวิชาชี พสื่อสารมวลชนรวม ตัวกันในนาม กลุ่ม “วารสารศาสตร์แห่งอนาคต” บนเครือข่ายสังคม เพื่อแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และข้อมู ลข่าวสารที่จะเป็นประโยชน์ต่อการท�ำงานในวิชาชี พสื่อมวลชนที่ต้องปรับให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์ส่ือ จากจุ ดเริ่มต้นเล็กๆพัฒนาไปสู่ความร่วมมือหลาก หลายรู ปแบบ รวมทัง้ การจัดสัมมนา “ยุ ทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์” เพื่อประชุ ม เครือข่ายวิชาการวิชาชี พสื่อมวลชน อันเป็นการเปิ ดพื้นที่อย่างเป็นทางการในการร่วมกัน ศึกษาค้นคว้า แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสร้างองค์ความรู ้เพื่อเป็นแนวทางในการปรับตัว ขององค์กรสื่อ นักวิชาชี พสื่อ ตลอดจนการเรียนการสอนวารสารศาสตร์ โดยมีสมาคมนัก ข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติเป็นแม่งานหลักที่ประสาน ความร่วมมือจากองค์กรภาคีมากมาย ทัง้ สถาบันการศึกษา สมาคม และองค์กรวิชาชี พ มาท�ำงานร่วมกัน ภายใต้การสนับสนับสนุนของ สสส. นับตัง้ แต่ครัง้ แรกที่มกี ารจัดสัมมนายุ ทธศาสตร์อนาคตวารสารศาสตร์เมื่อ 30 มีนาคม 2555 ที่สถาบันการจัดการปั ญญาภิวัฒน์ จนถึงครั้งที่ 10 ที่มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อ 19 พฤษภาคม 2558 การศึกษาวิจัย ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ บทเรียนจากองค์กร ต่างๆ ได้ถูกรวบรวม ต่อยอด สร้างองค์ความรู ้มากมาย ที่สามารถเป็นแนวทางทัง้ ในการ ปรับคน ปรับงาน ปรับองค์กร ปรับการเรียนการสอนในสาขาวารสารศาสตร์ส่อื สารมวลชน ได้ในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตามในช่ วง 3-4 ปี ท่ผี ่านมาสถานการณ์ส่อื เปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก โดยเฉพาะเมื่อทีวดี จิ ทิ ลั เข้ามามีบทบาทส�ำคัญในเวทีส่ือสารมวลชน ถึงเวลาที่เราจะต้องย้อน กลับมามองกระบวนการทัง้ หมดอีกครัง้ หนึ่ง และตัง้ ค�ำถามว่า ทิศทางการปรับตัวขององค์กร สื่อที่เน้น “การหลอมรวมทางเทคโนโลยี” เป็นจริงหรือไม่อย่างไร การปรับโครงสร้างองค์กร การพัฒนากระบวนการท�ำข่าวแบบข้ามสื่อ และการพัฒนานักข่าวให้เป็นนักข่าวหลากทักษะ กองบรรณาธิการแบบคอนเวอร์เจ้นท์ เป็นสิ่งที่ท�ำได้จริง หรือไม่? และเมื่อทุกองค์กรปรับ ตัวกับเทคโนโลยีท่เี ปลี่ยนแปลงได้แล้ว การแข่งขันและการอยู ร่ อดต่อจากนีจ้ ะสูก้ นั ด้วยวิธใี ด? The Prototype by CA@PIM ฉบับพิเศษนี้ รวบรวมองค์ความรู ้จากงานสัมมนา ยุ ทธศาสต์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์ทัง้ 10 ครัง้ ที่ผ่านมา ตลอดจนมุ มมอง ความคิดเห็น ของนักวิชาการและนักวิชาชี พวารสารศาสตร์หลายท่าน อันจะเป็นแนวทางเพื่อใช้ในการ สัมมนา “ยุ ทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์” ครัง้ ที่ 11 ในหัวข้อ “ถอดบทเรียนคอน เวอร์เจ้นท์ จากอดีต สู่อนาคต” ในวันศุกร์ท่ี 27 พฤศจิกายน ณ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ต่อไป
เป็ น หนั ง สื อ พิ ม พ์ ฝึ กปฏิ บั ติ ข องนั ก ศึ ก ษาสาขาวารสารศาสตร์ ค อนเวอร์ เ จ้ น ท์ คณะนิ เ ทศศาสตร์ ส ถาบั น การจั ด การปั ญญาภิ วั ฒ น์ โทรศัพท์ 02-832-0966 ที่ปรึกษา ดร. สุดารัตน์ ดิษยวรรธนะ จันทราวัฒนากุล อ.จักร์กฤษ เพิ่มพู ล อ.สกุลศรี ศรีสารคาม อ.ภัทราวดี ธีเลอร์ นฑากร เขียวชอุ ่ม บรรณาธิการบริหาร อุ ทุมพร พัดไสว บรรณาธิการข่าวและบทความ ชนัญญา ดอกรัก บรรณาธิการคอลัมม์Hilight ธัญวรัตน์ คงถาวร บรรณาธิการฝ่ ายจัดการ ชั ยพิพัฒน์ บางศิริ บรรณาธิการภาพและฝ่ ายศิลป์ พรทิพย์ อุ ทัศ กองบรรณาธิการข่าว ณัฐนิช เผ่าดี. ศศิภา รักษา ภั ก ดี . สายฝน พนาไพศาลกุ ล . อภิ ส รา รั ก วาริ น ทร์ . สุ ว รรณา พลั บ จุ ้ ย . ภานุ ม าส ดอกแก้ ว . กรองกมล ปี ติ ภ พ. อมรเทพ รั ต น ส า น ส์ สุ น ท ร . ศุ ภ ก ฤ ต ดี พ ล ง า ม . น ที พั น ธ์ ธ ร ร ม ศี ล บั ญ ญั ติ . จี ร นั น ท์ แ ก้ ว น� ำ . ธั ญ ญ า อุ ต ธ ร ร ม ชั ย . สุ นั น ท า เฉลิมทิพย์. กวินณา คงสระ. กัญญารัตน์ อ่อนสลุง. พรนภา สวัสดี. กมลชนก บุ ญเพ็ง. ปาริฉัตร มุ สิราช. อารีรัตน์ คุมสุข. นงนุช พุ ดขาว. สุริ คงกะพันธ์. สัญลักษณ์ ยานาหมอ. กรชนก ศรีสุข. ปั ทมาพร โพจันทร์. จารุ วรรณ ศรีไพร. วิภาวี ศรีบุญเรือง. ทศพร ศิริวิทย์. ปาณิสรา บุ ญม่วง. อรสา อ�่ำบัว. กาญจน์ณัฏฐา สุทธิโพธิ์. อรอนงค์ วงศ์สิงหกุล. ศิริแพร วิเศษภัย. ศรันย์ฤทธิ์ ธานี. สิรินันท์ ปวงอินชั ย. ทนงศักดิ์ บุ ญประคม. และ ณิชกานต์ ปิ่ นทอง.
3
สุนันทา เฉลิมทิพย์, ชนัญญา ดอกรัก เขียน
จุ ดเปลี่ยน “ภูมิทัศน์ส่อื ”
สื่อสังคมออนไลน์ ท้าทาย สื่อเก่า “ภูมิทัศน์สือ่ ใหม่ จะน�ำไปสู่ การท�ำข่าวแบบมีส่วนร่วม ระหว่ า งสื่ อ กั บ ประชาชน มากยิง่ ขึน้ องค์กรข่าวต้อง เลือกระดับการปฏิสัมพันธ์ และสร้างกระบวนการการมี ส่วนร่วม”
ภู
“ มทิ ศั น์ส่อื ที่เปลี่ยนไป ไม่ได้สง่ ผลต่อสื่อมวลชนมากนักเพียงแต่ว่า สื่อต้องปรับตัวในการท�ำงานพัฒนา การเล่าเรื่องให้แตกต่างจากประชาชน ทั่วไป แสดงความเป็นมืออาชี พให้มากขึ้น กว่าเดิม” ก า ร เ กิ ด ขึ้ น ข อ ง สื่ อใ ห ม่ อย่าง “สื่อสังคมออนไลน์” ได้เข้ามา มี บ ทบาทในการก� ำ หนดข้ อ มู ล ข่ า วสาร ท� ำให้ ส่ื อ มวลชนยุ คเก่ า ต่ า งต้ อ งปรั บ ตั วในการท�ำ งานและ กระบวนการสื่ อ สาร โดยสร้ า ง ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม เพื่อเข้าถึงผู ้รับสารให้มากขึ้น ดร.มานะ ตรีรยาภิวฒ ั น์ คณบดี คณะนิ เ ทศศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย หอการค้ าไทย เล่ า ถึ ง ภู มิ ทั ศ น์ ส่ื อ ที่เปลี่ยนไปให้เห็นภาพอย่างชั ดเจน ว่ า จากเดิ ม มี ช่ องทางการน�ำ เสนอ
ดร.มานะ ตรีรยาภิวัฒน์
ข่าวสารเพียงไม่ก่ีช่องทาง สื่ออาชี พ เ ท่ า นั้ น ที่ เ ป็ น ผู ้ ที่ ก� ำ ห น ด ว า ร ะ ของข่าวสาร อย่างเช่ น สื่อโทรทัศน์ ที่ถูกจ�ำกัดให้มีอยู ่ประมาณ 5-6 ช่ อง คือ ช่ อง 3 5 7 9 10 11 ITV หรือที่เปลี่ยนชื่ อมาเป็น Thai PBS ต่ อ มาก็ เ ริ่ ม มี ที วี ดิ จิ ทั ล ซึ่ งจะมี ทัง้ หมด 48 ช่ อง และมีเคเบิ้ลทีวี ทีวี ดาวเทียม รวมทัง้ สื่อทีวบี นอินเทอร์เน็ต อย่าง You Tube TV Line TV และ ทีวีออนไลน์อีกด้วย ขณะที่ธุรกิจสื่อหนังสือพิมพ์เอง ก็ยงั ต้องอาศัยการปรับตัวเพื่อหลอมรวม กั บ สื่ ออื่ น ไม่ ว่ า จะเป็ น สื่ อใหม่ อย่ า งเว็ บไซต์ หรื อ สื่ อ ที วี ดิ จิ ทั ล เพื่อความอยู ร่ อด เพราะยอดคนอ่าน ไม่ได้มากเหมือนเมื่อก่อน “ทุกวันนี้ ภู มิ ทั ศ น์ สื่ อ เ ป ลี่ ย นไ ป ม า ก จ า ก การหลอมรวมสื่อในเชิ งของเทคโนโลยี
จึ ง ท� ำให้ เ กิ ด สื่ อใหม่ ขึ้ น มามากมาย ทั้ ง สื่ อ ออนไลน์ ที วี ดิ จิ ทั ล ผู ้ รั บ สาร จะเจอกับช่ องทางการน�ำเสนอข่าวสาร เป็นพัน เป็นหมื่น เป็นแสนช่ องทาง และก็ ยังมีมากขึ้นเรื่อยๆ” ดร.มานะ กล่าว ปั จจุ บันเราอยู ่ในยุ คที่ผู้รับสาร เข้ามามีสว่ นร่วมใน “กระบวนการสื่อข่าว” โอกาสของผู เ้ สพสื่อก็จะต่างจากเดิม คื อ จากที่ เมื่ อก่ อ นประชาชน รอรับข่าวสารจากสื่อเพียงอย่างเดียว แต่ทุกวันนี้เทคโนโลยีท่ีมีการพัฒนา ท� ำใ ห้ เ กิ ด สื่ อ สั ง ค ม อ อ นไ ล น์ หรือโซเชี ยลมีเดีย ผู ้รับสารสามารถ แลกเปลี่ยนความคิดและมีสว่ นร่วมกัน ในการแบ่งปั นข่าวสารผ่านสมาร์ทโฟน หรื อ เครื่ อ งมื อ การสื่ อ สารต่ า งๆ ได้มากขึ้น ผู ้เสพสื่ อหรือผู ้รับสาร ในวั น นี้ จึ ง กลายเป็ น ผู ้ ท่ี ส่ ง ข้ อ มู ล ข่าวสารให้กับสื่อวิชาชี พไปในตัว
4
“อย่ า งกรณี ข่ า วเหนี ย วไก่ ข่าวเรื่องนีถ้ งึ ครู องั คณาแน่หรือเรื่อง ที่ มี ก ารล้ อ เลี ย น วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ตามสื่อออนไลน์หรือสื่อโซเชี ยลมีเดีย เช่ น ในกระทูพ้ นั ทิปก็มาจากประชาชนทั่วไป ที่ มี ส มาร์ ท โฟนและสามารถเข้ า ถึ ง สื่อโซเชี ยลมีเดียได้ ที่นำ� เสนอเรื่องราว ให้กบั สื่อกระแสหลัก นี่คอื ปรากฏการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นไปในภาวะที่ ภู มิ ทั ศ น์ ส่ื อ มีการเปลี่ยนแปลง” ดร.มานะ กล่าว ส�ำหรับสิ่งที่สะท้อนการปรับตัว ของสื่ อกระแสหลั ก อยู ่ ใ นขณะนี้ คื อ มี ก ารท� ำ งานร่ ว มกั น ระหว่ า ง สื่อเก่ากับสื่อใหม่ เช่ น ในสื่อสิ่งพิมพ์ ก็เริ่มที่หันมาผลิตเนื้อหาในสื่อดิจิทัล และสื่อออนไลน์ มีการท�ำงานร่วมกัน จากหลายๆสื่ อ หรื อ แม้ ก ระทั่ ง คนที่ เ คยเป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ข้ อ มู ล ข่ า วสาร ในข่าวทีวี ก็ต้องหันมาให้ความสนใจ กับผู บ้ ริโภคสื่อ โดยมีการใช้เครื่องมือ ของสื่อออนไลน์ เพื่อดึงการมีสว่ นร่วม ของผู ้ รั บ สาร ซึ่ งก็ เ ป็ น สิ่ งที่ สื่ อ หันมาให้ความสนใจกับผู ้บริโภคสื่อ ม า ก ก ว่ าใ น อ ดี ต แ ล ะ พ ย า ย า ม ดึงให้เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
จ า ก ก า ร ค า ด ก า ร ณ์ แ น ว โ น้ ม ภูมิทัศน์การท�ำงานของสื่อ คณบดี คณะนิ เ ทศศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย หอการค้ าไทย มองว่ า อาจจะเกิ ด การท�ำงานร่วมกันระหว่างสื่อมืออาชี พ กับสื่อพลเมืองอย่ า งประชาชนทั่ วไป โดยให้ ผู้ รั บ สารเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มใน กระบวนการท�ำข่าวมากขึ้น ที่จากเดิม เป็นเพียงแค่ผู้เสพข่าวเท่านัน้ ก็ดึงมา ร่วมเป็นผู ้ก�ำหนดวาระข่าวสารด้วย หรือสามารถมีสว่ นร่วมง่ายๆ โดยกา รกดไลค์ กดแชร์ หรือแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นร่วมกัน ดร.มานะ ยั ง กล่ า วอี ก ว่ า ใ น ก า ร ป รั บ ภู มิ ทั ศ น์ สื่ อ ค รั้ ง นี้ ไม่ ไ ด้ ส่ ง ผลกระทบกั บ คนในอาชี พ สื่ อ ม วลชน ม าก นั ก เ พี ย ง แต่ ว่ า “นั ก ข่ า วมื อ อาชี พ ต้ อ งแสดง ความเป็ น มื อ อาชี พมากขึ้ น เพื่ อ แสดงให้เห็นว่าเหนือกว่าสื่อพลเมือง ทั่วไปอย่างไร ทัง้ ในด้านการเล่าเรื่อง ด้านการท�ำงาน เพราะถ้าไม่มกี ารพัฒนา ให้เห็นถึงความแตกต่าง ประชาชน ทั่วไปก็จะสามารถมาแทนที่ได้” จะเห็นได้วา่ การเปลี่ยนแปลงภูมทิ ศั น์ สื่อจะมีการปรับเปลี่ยนตามสภาพแวดล้อม
ของสั ง คม แต่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ ส่ ง ผลเสี ย ต่ อ สื่ อ มวลชน เพี ย งแค่ ก ระตุ้ น ให้ส่อื มวลชนมีการปรับเปลี่ยนการน�ำเสนอ ข่ า วสารให้ เ ข้ า ถึ ง ประชาชนมากขึ้ น และยังท�ำให้แวดวงการท�ำงานของสื่อ มี ก ารพั ฒ นาไปในทิ ศ ทางที่ ดี แ ละ มีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้น
5
อารีรัตน์ คุมสุข, พรนภา สวัสดี เขียน เสริมสุข กษัติประดิษฐ์
“อภิวฒ ั น์คนข่าว พร้อม ก้าวสูแ่ พล็ตฟอร์มใหม่”
ในอดีต สื่อหลักที่คนใช้รับ
ข่ า วสารคื อ หนั ง สื อ พิ ม พ์ แ ละ โทรทัศน์ แต่เมื่อพฤติกรรมการรับ สารของผู ้บริโภคเปลี่ยนไป จึงส่ง ผลให้ส่อื หลักในอดีต ถูกลดบทบาท ลงไปอย่างเห็นได้ชัด ปั จจัยส�ำคัญอีกประการ คือ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทาง ด้านเทคโนโลยีและอินเทอร์เน็ตเริ่ม แพร่หลายมากขึน้ จึงท�ำให้ ผู บ้ ริโภค เลื อ กใช้ ช่ องทางที่ จะรั บ รู ้ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร ที่ มี ค วามสะดวกสบาย สื่ อ ต่ า งๆจึ ง ต้ อ งมี ก ารปรั บ ตั ว เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของผู ้ บริโภคในหลายๆ ด้าน
“สร้างคนข่าว” คือ หัวใจ ช่ องเกิดใหม่
สื่อโทรทัศน์ เข้าถึงง่าย ได้รับ ความนิยม มีการแข่งขันสูงคุณภาพ ต้ อ งดี น� ำ เสนอเนื้ อ หาด้ ว ยความ ถูกต้อง คุณภาพคนข่าวยิ่งส�ำคัญ ต้ อ งเก่ ง ประสบการณ์ เพื่ อ เป็ น จุ ดขายให้กับสถานี เสริมสุข กษัติประดิษฐ์ หัวหน้า กองบรรณาธิการข่าวนิวทีวี กล่าวว่า นิวทีวเี ป็นช่ องทีวดี จิ ทิ ลั ช่ องเล็ก ซึ่ งมี ก� ำ ลั ง คนจ� ำ นวนหนึ่ ง หากเที ย บกั บ ช่ องอื่นๆ จึงมีการปรับในแง่เนื้อหาที่ เน้นคุณภาพ และสร้างความน่าสนใจ ให้ กั บ ข่ า วได้ เน้ น การท� ำ รายงาน พิ เ ศษมากขึ้ น เพื่ อ ผลั ก ดั น การ น�ำเสนอข่าวอย่างต่อเนื่อง
ส� ำ หรั บ ช่ องที วี ใ หม่ เมื่ อ สื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง การพั ฒ นา บุ คลากรจึงเป็นส่วนส�ำคัญของการ ท�ำงานที่มีคุณภาพ การที่จะท�ำให้ ช่ องเป็นที่รูจ้ กั ได้ ต้องอาศัยบุ คลากร ที่มคี ณ ุ ภาพ เช่ น การเลือกผู ป้ ระกาศ ข่าวที่มีประสบการณ์และเป็นที่รู้จัก ของประชาชน เป็นส่วนหนึ่งในการ เพิ่มคุณค่าให้องค์กร “การที่จะเลือกคนเข้ามาท�ำงาน นั้น ไม่ได้เลือกจากความสามารถ เท่ า นั้ น แต่ เ ลื อ กจากความสนใจ ในการท� ำ งานของบุ คคลมากกว่ า ถ้ า องค์ ก รข่ า วได้ ค นมี คุ ณ ภาพ มี ค วามสนใจ มี ค วามหลากหลาย ติ ด ตามสถานการณ์ และต่ อ ยอด ประเด็น เสริมมุ มมอง ท�ำให้น�ำเสนอ ข่าวได้แตกต่างจากองค์กรอื่น ก็จะ กลายเป็นจุ ดเด่น จุ ดขายของช่ องได้ ดั ง นั้ น การมี นั ก ข่ า วที่ เก่ ง อยู ่ ในองค์กร โดยเฉพาะองค์กรข่าวที่ เริ่มต้นใหม่ก็เป็ นส่วนส�ำคัญในการ สร้างองค์กร เป็นการเพิ่มคุณค่าให้ กับช่ องทีวี” เสริมสุข กล่าว ทั้ ง นี้ ในการจะไปถึ ง จุ ดที่ องค์กรข่าวสามารถแข่งขัน อยู ่รอด และยกระดับคุณภาพได้ในภูมทิ ศั น์ส่อื ยุ คหลอมรวม องค์กรต้องมีการปรับ ตัวในหลายประเด็น โดยหลักๆ คือ การท�ำองค์กรข่าวให้เหมาะสมกับการ ขั บ เคลื่ อ นตามนโยบายของช่ อง การพัฒนาบุ คคลากรข่าว และการ วางระบบในการท� ำ งานที่ จ ะเข้ า ถึ ง กลุ่ ม ผู ้ รั บ สารที่ ห ลากหลาย ซึ่ ง ทัง้ หมดของการสร้างและปรับองค์กร ยังมีปัจจัยอุ ปสรรคทั้งงบประมาณ คน และการสร้างวัฒนธรรมองค์กร ที่มีทิศทางร่วมกัน
6
สื่อเก่าปรับตัวสู่ส่ือใหม่
“สื่อออนไลน์เป็ นจุ ดแข็งที่สุด ขององค์กรและอนาคตของวงการ สื่ อ ด้ ว ย เพราะทุ ก วั น นี้ ตั ว เลข ของคนเมื อ งที่ เ สพสื่ อ ประมาณ 7 ชั่ วโมงครึ่งต่อวัน ร้อยละ 70 ใช้เวลาอยู ่กับสื่อออนไลน์” วริษฐ์ ลิ้มทองกุล ผู ้อ�ำนวยการ เว็ บไซต์ ASTV Manager online กล่าวว่า “ ออนไลน์ เปรียบเสมือน กระทะข่ า วซึ่ งเป็ น ศู น ย์ ร วมข้ อ มู ล ข่าวสารทุกอย่าง สามารถตอบโจทย์ และแก้ไขปั ญหาในเรื่องของเวลาที่เรา สามารถย้อนกลับไปอ่านข่าวเมื่อใด ก็ได้ และในเรื่องของช่ องว่างในการ รั บ รู ้ ข่ า วสาร เพี ย งแค่ ต้ อ งอาศั ย อินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการเข้าถึง ข้อมู ลข่าวสารนัน้ ๆ “ อนาคต การท�ำงานข่าวจะต้อง มีการเจาะลึกมากขึน้ ต้องเป็นประเด็น ที่ แ ตกต่ า งและมี จุ ดขายที่ น่ า สนใจ
สื่อ
มากกว่าสื่ออื่น ในส่วนของการฝึ ก ทีมงาน ต้องพิจารณาตัง้ แต่การรับ คนเข้ า ท� ำ งาน คั ด เลื อ กรั บ คนที่ มี ความสนใจในงานด้ า นข่ า วจริ ง ๆ ในส่วนของงบประมาณและอุ ปกรณ์ ที่ ยั ง ขาด ทาง ASTV พร้ อ มจะ สนับสนุนในส่วนที่จ�ำเป็นอื่นๆ “ผมจะไม่ถามว่าอยากท�ำอะไร เพราะเข้ามาแล้วต้องรู ้ว่าอยากเป็น อะไร ไม่ใช่ ให้ถาม แล้วตอบว่าท�ำอะไร ก็ได้” วริษฐ์กล่าว ส่วนเรื่องของการปรับองค์กร เพื่อไปสู่การแข่งขันเพื่อการอยู ่รอด ของสื่อในยุ คนี้ ASTV manager online ให้ความส�ำคัญกับการสร้าง ความเชี่ ยวชาญเฉพาะด้ า นให้ กั บ ค นใ น อ ง ค์ ก ร เ พื่ อ น� ำไ ป สู่ ความเชี่ ยวชาญและสามารถสร้ า ง จุ ดแข็งในการขับเคลื่อนนโยบายของ องค์กรต่อไปได้ “เริ่ มต้ น จากรั บ คนที่ สนใจ ในส่วนที่เค้าท�ำงานจริง ส่งเสริมให้มี
การอบรมพัฒนาทักษะ สนับสนุน เวลาและอุ ปกรณ์ มี ง บประมาณ ในการจั ด การ ใช้ โ อกาสในการ ท�ำงานเป็นการพัฒนาคนให้สามารถ ท� ำ งานได้ ใ นสภาวะแวดล้ อ มที่ แตกต่างกัน ให้มีทงั้ ความเฉพาะและ ความยืดหยุ ่นในการท�ำงานในแต่ละ สถานการณ์ให้มากที่สุด”
อรสา อ�่ำบัว, กรชนก ศรีสุข เขียน
่ เทคโนโลยีบนพื้นทีข่าว ่ ่ กับยุ คสมัยทีเปลียนแปลง
เทคโนโลยีท่ีก้าวไกล ก�ำลัง กลายเป็ นตัวช่ วยหลักในการเชื่ อม ความสัมพันธ์ระหว่างสื่อกับผูรับสาร ้ เข้ า ด้ ว ยกั น ตั้ง แต่ ก ระบวนการ ท�ำข่าว ตลอดจนการเผยแพร่ขา่ ว ที่ในปั จจุ บันผู ้รับสารสามารถหัน มาท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น สื่ อได้ โ ดยเพี ย ง การน�ำเทคโนโลยีมาเป็ นเครื่องมือ ในการสื่อข่าว “การปรับตัว” เป็นพัฒนาการ ส�ำคัญของความอยู ่รอดในยุ คสมัย สื่อสังคมออนไลน์ หรือสื่อโซเชี ยล มีเดียของ “องค์กรสื่อ” ต้องพัฒนา ให้กา้ วทันโลก แก้ไขปรับปรุ ง เพิ่มและ ลดรู ป แบบการน� ำ เสนอข่ า วต่ า งๆ ให้เหมาะสมกับบริบท
คืนเรทติง้ ให้ “สื่อเก่า” ปรับ โครงร่างสร้างความนิยม
วี ร ะ ศั ก ดิ์ พ ง ศ์ อั ก ษ ร บรรณาธิ ก ารบริ ห ารเนชั่ นที วี กล่ า วว่ า ในยุ ค ที่ ส่ื อใหม่ มี บ ทบาท ในงานข่าวมากขึน้ จึงท�ำให้ส่อื มวลชน จ ะ ต้ อ ง ป รั บ ตั ว เ พื่ อใ ห้ อ ยู ่ ร อ ด ในแวดวงวารสารศาสตร์อย่างยั่งยืน โดยการเน้ น พั ฒ นารู ปแบบการ น�ำเสนอให้สอดคล้องกับพฤติกรรม ของผู ้ รั บ สารที่ เ ปลี่ ย นไป ในขณะ เดียวกันองค์กรสื่อจะต้องคิดหาแนว นโยบายรู ปแบบใหม่เพื่อให้สอดคล้อง กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
7
เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ พั ฒ น า ห ล า ย รู ปแบบ ต้องถูกน�ำมาประยุ กต์ใช้กับ งานข่าวให้เหมาะสม วีระศักดิ์มองว่า เทคโนโลยีสมัยใหม่สามารถตอบโจทย์ การท�ำงานข่าวได้ดีเช่ นการรายงาน สดผ่ า นแอพพลิ เ คชั่ น ที่ ส ามารถ รั บ ชมแบบ Real time ผ่ า น Smart Phone ได้และเชื่ อมต่อเป็น เ ค รื อ ข่ า ยใ ห้ ถ่ า ย ท อ ด ส ด ผ่ า น ทวิตเตอร์และเฟซบุ ก๊ ซึ่ งเป็นช่ องทาง สามารถส่งสารได้อย่างรวดเร็วและ สอดรั บ กั บ พฤติ ก รรมการเปิ ดรั บ ข่าวสารของผู ้อ่านในปั จจุ บัน “นักข่าวทีวี บางทีรายงานสด ผ่านทวิตเตอร์ เฟซบุ ๊ก ปั จจุ บัน เทคโนโลยีต่างๆ มันตอบโจทย์ ได้หมดท�ำให้การความยุ ่งยาก และขีดจ�ำกัดของการสื่อสาร หมดไป เข้ า ถึ ง คนผ่ า นการ ท� ำ ข่ า วแบบข้ า มสื่ อได้ ทั นใจ ผู ้รับสารมากขึ้น” วีระศักดิ์กล่าว จากอดีตที่หนังสือพิมพ์เป็นการ น�ำเสนอเพียงข้อความและภาพข่าว จะต้องมีความแปลกใหม่และกระชั บ ใส่ลงไปเพื่อให้ผู้อ่านข่าวเข้าใจง่าย เพื่อให้ส่ืออยู ่รอด “วิธีการเล่าเรื่อง” เป็นส่วนที่ส�ำคัญที่สุด สื่ อ จึ ง ต้ อ งมี ก ารปรั บ วิ ธี ก าร เล่ า เรื่ อ งโดยท� ำให้ เ นื้ อ หากระชั บ มากยิ่ ง ขึ้ น ทั้ ง ยั ง ต้ อ งหาวิ ธี ก าร เล่าเรื่องในรู ปแบบใหม่ๆ เช่ น การน�ำ
อินโฟกราฟิ กเข้ามาใช้ในการอธิบาย เรื่องที่มีความซั บซ้อนให้เข้าใจง่ายขึ้น วีระศักดิ์ พงศ์อักษร
8
อศินา พรวศิน
ต่อ ยอด “คนข่าว” ท้าเทคโนโลยี ดิ จิ ทัล อศินา พรวศิน บรรณาธิการ
โซเชี ยลมิเดียและรองบรรณาธิการ ข่ า วไอที เ นชั่ น กล่ า วว่ า ทั ก ษะ ในการน� ำ เสนอของนั ก ข่ า วจะต้ อ ง อัพเดทและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จึง จะท� ำให้ อ งค์ ก รพั ฒ นาได้ อ ย่ า ง ก้าวไกล บุ คลากรในองค์ ก รสื่ อ จ� ำ เป็ น ต้ อ ง ป รั บ ตั ว เ อ งใ ห้ มี ทั้ ง ทั ก ษ ะ การใช้ อุ ปกรณ์ ท� ำ งานข่ า วและ การสร้างสรรค์เนื้อหาข่าวควบคู่ไป ด้วยกัน “เราไม่แยกเลยนะว่าปลายทางข่าว จะไปเจอผู ้บริโภคในแพลตฟอร์มไหน ถ้ า ตั ว นั ก ข่ า ว มี ค ว า ม พ ร้ อ ม ในเรื่องการท�ำข่าวและทักษะการใช้ เทคโนโลยีอุปกรณ์ต่างๆ ยิ่งถ้าเรา เรี ย นรู ้ เ ราก็ จ ะมี แ ต้ ม ที่ เ ป็ น ต่ อ กั บ นักข่าวด้วยกัน”
เมื่ อนั ก ข่ า วมี ทั ก ษะการใช้ อุ ปกรณ์ ใ นการท� ำ ข่ า ว ทั้ ง การใช้ กล้ อ งในการถ่ า ยภาพ การใช้ สมาร์ ท โฟนในการน� ำ เสนอข่ า ว การเรียนรู ้แอพลิเคชั่ นใหม่ๆ ท�ำให้ สามารถต่ อ ยอดการท� ำ ข่ า วไปได้ ไกลขึ้ น เป็ น ปั จจั ย ที่ ส� ำ คั ญ ต่ อ การ ปรับตัวให้ส่ืออยู ่รอดได้ ควบคู่ไปกับ ทั ก ษะการสร้ า งสรรค์ เ นื้ อ หาข่ า ว ซึ่ งน� ำ ประเด็ น ที่ อ ยู ่ ใ นความสนใจ โดยการเปิ ดพื้นที่บนสื่อสังคม ไม่ว่า จะเป็นการเปิ ดรับข้อมู ลจากผู ้รับสาร และน�ำมาต่อยอด ท�ำให้ผู้รับสารรู ้สึก ถึ ง การมี ส่ ว นร่ ว มในการท� ำ ข่ า ว นอกจากนี้นักข่าวเองต้องมีการคิด ประเด็นให้แตกต่างจากรู ปแบบเดิม เพื่อสร้างเนื้อหาที่ดึงดูดผู ้รับสารทั้ง เป็นประโยชน์ต่อองค์กรและนักข่าว เองด้วย “ที่ส�ำคัญที่สุดก็คือตัวนักข่าว เองจะต้ อ งพร้ อ มเก็ บ ทุ ก อย่ า ง ทุกรู ปแบบทัง้ ที่เป็นเอกสาร เป็น text เป็นภาพนิ่ง และวีดีโอ” อศินากล่าว
อย่างไรก็ตาม การน�ำเสนอข่าว จะต้ อ งควบคู่ ไ ปกั บ เทคโนโลยี ที่เปลี่ยนแปลงอยู ่ตลอด เนื่องจาก ปั จจัยบวกของเทคโนโลยีท่ ีสามารถ สร้างพืน้ ที่ปฏิสมั พันธ์ระหว่างสื่อและ ผู ้ รั บ สารให้ ส ามารถแลกเปลี่ ยน ความเห็น เมื่อเทคโนโลยีก้าวไกลสื่อ จึงมีหน้าที่ปรับตัวตามเพื่อสร้างชิ้ น ข่าวที่มีคุณภาพส�ำหรับผู ้รับสาร
ชนัญญา ดอกรัก เขียน
9
บนเส้นขนานธุรกิจ - อุ ดมการณ์
ทางเลือกของสื่อยุ ค Convergence ขณะที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ท�ำให้หลายองค์กรสื่อต้องเร่งปรับรู ปแบบการท�ำงาน โดยน�ำเสนอข่าวสารผ่านช่ องทางที่หลากหลายเพื่อเข้าถึงผู ้ชมให้ได้มากที่สุด
“ก
ารท�ำข่าวข้ามสื่อ” เป็นการ ท�ำงานร่วมกันของกองบรรณาธิการ ที่จะต้องพัฒนาคุณภาพเนื้อหาข่าว ให้ครอบคลุมผู ้รับสารได้ทุกช่ องทาง ข่ า วจึ งไม่ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย งข้ อ เท็ จ จริ ง เท่านั้น แต่ยังเป็นภาพสะท้อนของ องค์ ก รข่ า วที่ จะต้ อ งตอบโจทย์ พฤติ ก รรมการรั บ สารที่ เ ปลี่ ย นไป ของผู ้บริโภคด้วยเช่ นกัน "การพัฒนาเนื้อหา" คือหัวใจ ของการท�ำข่าวข้ามสื่อ ซึ่ งการพัฒนา รู ปแบบการน�ำเสนอจะเปลี่ยนไปตาม ธรรมชาติ ข องสื่ อแต่ ล ะประเภท หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ เว็บไซต์ และโซเชี ยลมี เ ดี ย โดยแยกกั น
จั ด เ ต รี ย ม เ นื้ อ ห า ก ล า ย ม า เ ป็ น การท� ำ งานเพี ย งครั้ ง เดี ย วต้ อ ง สามารถใช้ได้กับทุกสื่อ” นั่นหมายถึง เนื้อหาที่จัดเตรียมไว้สามารถน�ำเสนอ ข้ า มสื่ อได้ เ ช่ น รายงานข่ า วที่ อ อก อากาศทางโทรทั ศ น์ ส ามารถน� ำไป ต่ อ ยอดในรายการวิ ท ยุ ได้ ห รื อ “การท� ำ อิ น โฟกราฟิ ก” ขึ้ น เพื่ อ น�ำเสนอบนช่ องทางโซเชี ยลมีเดียหรือ น�ำภาพไปใช้ในหนังสือพิมพ์ได้เช่ นกัน สื่ อ กระแสหลั ก เมื่ อ ก้ า วเข้ า สู่ ยุ ค ธุ รกิ จ ข้ า มสื่ อ อย่ า งเต็ ม รู ป แบบ หลายองค์กรต่างตระหนักถึงภาวะที่ ผู ้รับสารมีทางเลือกในการติดตาม ข่ า ว ส า ร ที่ ห ล า ก ห ล า ย ม า ก ขึ้ น
เกิดการแข่งขัน ผู ้รับสารส่วนใหญ่ เลือกเนื้อหาสื่อจากประเด็นที่โดนใจ มากที่สุด ดังนัน้ องค์กรที่มีประเด็น น่ า สนใจมากที่ สุ ด ย่ อ มเป็ น จุ ดขาย ส� ำ คั ญ ที่ จะท� ำให้ อ งค์ ก รสื่ อนั้ น อยู ่รอดได้ในยุ คปั จจุ บัน เริ่มจากส�ำนักข่าวเครือเนชั่ น ที่ บ ร ร ณ า ธิ ก า ร บ ริ ห า ร อ ย่ า ง วี ร ะศั ก ดิ์ พงษ์ อั ก ษร อธิ บ ายว่ า การท�ำข่าวข้ามสื่อนัน้ เน้นการสร้าง บุ คลากรที่มีความสามารถรอบด้าน นักข่าว 1 คนต้องท�ำหน้าที่ให้เหมือน บก.ข่ า วต้ อ งมี ก ารตรวจสอบข้ อ มู ล ก่ อ นส่ ง เข้ า กองบก.ไม่ ว่ า นั ก ข่ า ว สื่อไหนต้องสามารถรายงานสดผ่าน
10 ลักษณะการน�ำเสนอข่าวของแต่ละสื่อ เช่ น โทรทัศน์ เว็บไซต์ และโซเชี ยลมีเดีย จะเป็ น ลั ก ษณะของการโคลนนิ่ ง ซึ่ งหมายถึงสื่อโทรทัศน์น�ำเสนอข่าว ในประเด็ น อะไรทุ ก สื่ อในเครื อ ก็ จ ะ วีระศักดิ์ พงษ์อักษร น� ำ เสนอในประเด็ น นั้ น ๆ เช่ นกั น อาจมี ก ารต่ อ ยอดประเด็ น เพิ่ ม เติ ม ส่ ว นใหญ่ ก็ น� ำ เนื้ อ หาจากสื่ อ หลั ก “ถ้ า อาศั ย การโปรโมททางหนั ง สื อ พิ ม พ์ คื อ โทรทั ศ น์ ม าปรั บให้ เ หมาะสม อย่างเดียว คนก็จะรู ้จักค่อนข้างน้อย อาจเป็นเพราะ กับสื่อแต่ละแบบ ปั จจุ บันคนไม่อ่านหนังสือพิมพ์ ดังนั้นการน�ำเสนอ ่ น�ำเสนอผ่านโทรทัศน์ ประเด็ น ที ่ เนื้อหาผ่านออนไลน์ จะท�ำให้คนเห็นโลโก้องค์กรสือ จะต้ อ งเด่ น และแตกต่ า งเน้ น ข่ า ว มากยิ่งขึ้น นับเป็นโอกาสในการสร้างภาพจดจ�ำ เ ชิ ง ลึ ก ที่ มี เ นื้ อ ห า ร อ บ ด้ า นใ ช้ ณศักดิ์ อัจจิมาธร อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ทั้ ง ภ า พ เ สี ย ง “การโคลนนิ่งไม่เป็นปั ญหา เนื่องจากผู ร้ บั สาร แ ล ะ อิ น โ ฟ ก ร า ฟิ ก ทั้ งใ น ส่ ว น ไม่ได้รบั สาร พร้อมกันทุกสื่อแต่โดยลักษณะของสื่อ ของเว็บไซต์ก็จะเชื่ อมโยงกันเช่ นกัน แต่ละสื่อนั้นมันสามารถสนับสนุนกันได้เว็บไซต์จะมี แ ม้ ช่ อ ง ท า ง ก า ร น� ำ เ ส น อ ลักษณะการน�ำข่าวทีวีมาสร้างซ�้ ำสื่อโซเซี ยลจะเน้น ข่ า วสารจะเพิ่ ม มากขึ้ นในสายตา การน�ำเสนอข่าวที่เป็นกระแสให้ผู้รับสารเข้าถึงง่าย ผู ้ รั บ ส า ร แ ต่ ยั ง มี มุ ม ม อ ง ที่ ว่ า และ “ตรงจุ ด” “สื่อไทยต้องการสร้างข่าวคุณภาพ ณฐา จิรอนันตกุล หรือเพียงแค่ต้องการเข้าถึงกลุ่มเป้า หมายให้ได้มากที่สุดเท่านัน้ ” ในส่วนนี้ ช่ องทางโซเชี ยลมีเดียทั้ง ทวิตเตอร์ และเศรษฐกิจ ส่วนออนไลน์จะไม่เล่น คงต้องพิจารณากันต่อไป และเฟซบุ ๊คเพื่อตอบโจทย์เทคโนโลยี ประเด็นเกี่ยวกับธุ รกิจ ส่วนใหญ่จะ ทั้งนี้การปรับตัวเข้าสู่ยุคดิจิทัล สร้ า งความท้ า ทายให้ กั บ สื่ อทุ ก ที่ เ ปลี่ ย นแปลงโดยจุ ดยื น ของเนชั่ น ร า ย ง า น ค ว า ม คื บ ห น้ า ข อ ง ประเภทในด้าน “คุณค่าข่าว” และ คือ "ข่าวคุณภาพ" ที่น�ำเสนอเนื้อหา เหตุ ก ารณ์ ปั จจุ บั น หรื อ เป็ น เรื่ อ งที่ ที่ มี คุ ณ ค่ า ข่ า วสะท้ อ นอารมณ์ แ ละ ต่ อ ยอดจากกระแสสั ง คมที่ ผู้ ค น “ความน่าเชื่ อถือ” จึงเป็นสิ่งส�ำคัญ ที่สุดในการน�ำเสนอข่าว องค์กรสื่ อ ความรู ้สึกของคนดูได้โดยไม่ละเมิด ให้ความสนใจมากเป็นพิเศษ ทั้ ง สื่ อ กระแสหลั ก และสื่ อ ทางเลื อ ก สิ ท ธิ แ ละผิ ด หลั ก จรรยาบรรณ โพสต์ทูเดย์จะเน้นเล่าเรื่องที่ใช้ วิชาชี พสื่อนั่นเอง ภาษาเข้าใจง่ายมากกว่า การพาดหัว ควรต้ อ งตระหนั ก เป็ น อย่ า งยิ่ ง เพื่ อ ขณะที่ ณศั ก ดิ์ อั จ จิ ม าธร สื่ อ อื่ น ๆ เ น้ น เ ป็ น ภ า ษ า วั ย รุ ่ น ก้าวเข้าสู่“การท�ำข่าวข้ามสื่ ออย่างมี คุณภาพ” หั ว หน้ า ผู ้ ส่ื อ ข่ า วโพสต์ ทู เ ดย์ ดิ จิ ทั ล มีคลิปวีดโี อประกอบ แต่หนังสือพิมพ์ ก ล่ า ว ว่ า อ ง ค์ ก ร โ พ ส ต์ ทู เ ด ย์ จะเน้ น เนื้ อ หายาว แต่ จ บภายใน มี ก ารน� ำ เสนอเนื้ อ หาระหว่ า งสื่ อ 1 ตอนและใช้ภาพประกอบเพียงภาพ หนั ง สื อ พิ ม พ์ กั บ ออนไลน์ ท่ี ต่ า งกั น เดียวเท่านัน้ เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายของคนอ่าน การท� ำ ข่ าวข้ ามสื่อ ของสถานี 2 สื่อนีเ้ ป็นคนละกลุ่ม หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ PPTV ณฐา จิรอนันตกุล จะให้ความส�ำคัญกับข่าวเชิ งตัวเลข บรรณาธิการ New Media เผยว่า “เนื้อหาที่น�ำเสนอได้หลากหลายแพล็ตฟอร์ม คื อ คอนเทนต์ ที่ อยู ่ ใ นความสนใจของสั ง คม การน�ำเสนอต้องต่างกันกัน เพราะผู ้บริโภคนิยม ต่างกัน”
ธัญวรัตน์ คงถาวร, ปั ทมาพร โพธ์จันทร์ เขียน
สัมมนายุ ทธศาสตร์ สู่การพัฒนา 5 ด้าน
11
่ ่ เพือความยังยืน วารสารศาสตร์
12
เ
นื่องจากสื่อในยุ คปั จจุ บันก้าว เข้าสูภ่ าวะการหลอมรวมสื่อในแง่ของ เทคโนโลยีท่ี ใช้ในองค์กรที่ ขยาย ครอบคลุ ม ธุ รกิ จ สื่ อ หลากหลาย ประเภทในเวลาเดียวกัน การร่วมมือ กันระหว่างองค์กรในลักษณะพึ่งพา อาศัยกัน และงานข่าวที่ มีเนือ้ หาออก หลากหลายช่ องทาง เป็นแนวโน้มที่ชี้ ให้ เ ห็ น ว่ า องค์ ก รต้ อ งการนั ก ข่ า ว ที่ ป รั บ ตั วได้ ดี มี ทั ก ษะหลากหลาย ในขณะที่ ก องบรรณาธิ ก ารข่ า วก็ ต้องปรับตัวเพื่อใช้ทรัพยากรที่มีอยู ่ ให้ คุ้ ม ค่ า แต่ ล ดต้ น ทุ น มากที่ สุ ด เพื่ อ รั ก ษาทั้ ง คุ ณ ภาพตามหน้ า ที่ สื่อมวลชน และหาทางอยู ่รอดทาง ธุ รกิจ ช่ วงเวลาเปลี่ยนผ่านนี้ แต่ละ องค์กรสื่อมีนโยบายการหลอมรวม
การท� ำ งานทั้ งในแง่ การบริ ห าร จัดการงานข่าว การหลอมรวมการ ใช้เทคโนโลยีท่หี ลากหลาย และรู ปแบบ การรายงานข่ า วและการจั ด การ เนื้ อ หาแบบหลากแพล็ ต ฟอร์ ม ไปจนถึงการเปิ ดพื้นที่ให้กับนักข่าว ภาคประชาชน จากจุ ดของความเปลี่ยนแปลง ที่รวดเร็ว และท่ามกลางฝุ่ นตลบของ ความสั บ สนในทิ ศ ทางการปรั บ ตั ว นักวิชาการและวิชาชี พเริ่มต้นล้อมวง กลุ่ ม เล็ ก ๆ คุ ย กั น เพื่ อ แลกเปลี่ ย น ความเห็ น หาวิ ธี ว่ า จะท� ำ พั ฒ นา องค์ความรู ้ จะมีช่องทางแลกเปลี่ยน และช่ วยกันท�ำให้วารสารศาสตร์ไม่ ตายไปจากสังคมอย่างไร...กลุ่มเล็กๆ เริ่มต้นด้วยกันตั้งกลุ่มเฟสบุ ๊คในชื่ อ “กลุ่ม วารสารศาสตร์แห่งอนาคต”
เพื่ อให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ความรู แ้ ละ ประสบการณ์ เสมือนเป็น เวที แห่งการพบปะพู ดคุยกัน ระหว่าง นั ก วิ ช าการและนั ก วิ ช าชี พ ที่ เ ป็ น เครื อ ข่ า ยเดี ย วกั น จนวั น นี้ ก ลุ่ ม พู ดคุย นี้มีสมาชิ กแล้วมากกว่า 800 คน จากพื้ น ที่ การแลกเปลี่ ยน กลุ่มนักวิชาการและวิชาชี พที่เริ่มต้น รวมตัวกันเป็นกลุ่มที่มีจ�ำนวนผู ้เข้า ร่วมช่ วยกันด�ำเนินการเพิ่มขึน้ ภายใต้ ชื่ อ “คณะท�ำงานยุ ทธศาสตร์เพื่อ วารสารศาสตร์แห่งอนาคต” และได้ จั ด งานสั ม มนายุ ทธศาสตร์ เ พื่ อ อนาคตวารสารศาสตร์ครัง้ แรกขึ้นที่ สถาบันการจัดการปั ญญาภิวัฒน์ ถื อ เป็ น การรวมตั ว ของนั ก วิ ช าชี พ และวิ ช าการเพื่ อ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้
13
หาทางพัฒนาวารสารศาสตร์ไทย ร่ ว มกั น เป็ น รู ป ธรรมมากขึ้ น และ ด�ำเนินการต่อเนื่องมาได้ถึงครัง้ ที่ 11 ด้ ว ยความสนั บ สนุ น ของสมาคม นักข่าว สภาการหนังสือพิมพ์ และ ส ถ า บั น อิ ศ ร า มู ล นิ ธิ พั ฒ น า สื่อมวลชนแห่งประเทศไทย นอกจากนั้น สมาคมนักข่าว สภาการหนังสือพิมพ์ และสถาบัน อิศรา มู ลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่ง ประเทศไทย ก็ยงั มีโครงการต่างๆซึ่ ง ช่ วยส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู ้ ทางด้านวารสารศาสตร์ และพัฒนา บุ คลากรเพื่อความแข็งแกร่งให้กับ วิ ช าชี พวารสารศาสตร์ อาทิ การสนั บ สนุ น เงิ น ทุ น วิ จั ย แหล่ ง ตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ ได้แก่ “วารสารอิ ศ ราปริ ทั ศ น์ ” รวมถึ ง
โครงการศึ ก ษาดู ง านให้ กั บ นั ก วิ ช า ก า รไ ด้ ฝึ ก ง า น แ ล ะ เ รี ย น รู ้ กระบวนการท�ำงานจากวิชาชี พ องค์ความรู ้ท่ีได้จากการสะสม จากหลายช่่ องทาง จนน� ำไปสู่ การพั ฒ นาเป็ น “ต� ำ ราหลั ก และ แ น ว คิ ด ว า ร ส า ร ศ า ส ต ร์ คอนเวอร์ เ จนซ์ ” เล่ ม แรกอย่ า ง สมบู รณ์ ซึ่ งโครงการต� ำ รายั ง มี โครงการที่จะพัฒนาเนื้อหาลงราย ละเอียดในแต่ละประเด็น เพื่อประโยชน์ ข อ ง ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า วิ ช า ชี พ ต่ อไ ป ด้ ว ย ความร่วมมือทัง้ หมดถูกออกแบบเชิ ง บู ร ณ า ก า รใ ห้ เ ป็ น โ ค ร ง ส ร้ า ง เครือข่ายนักวิชาการและวิชาชี พไว้ ด้ ว ยกั น และรวบรวมองค์ ค วามรู ้ เพื่อเผยแพร่อย่างเป็นระบบ เพื่อการ
พั ฒ นาวารสารศาสตร์ ไ ทยให้ อ ยู ่ อย่ า งยั่ งยื น และสร้ า งประโยชน์ ให้สังคมได้จริง ทิ ศ ทางวารสารศาสตร์ ใ น อนาคต ที่ถอดบทเรียนจากการสัมมนา ป ร ะ ชุ ม เ ค รื อ ข่ า ย นั ก วิ ช า ก า ร นั ก วิ ช าชี พ สื่ อ มวลชน และประชุ ม สั ม มนายุ ทธศาสตร์ เ พื่ อ อนาคต วารสารศาสตร์ ครัง้ ที่ 1-10 ที่ผา่ นมา ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ไ ด้ เ ป็ น ทิ ศ ท า ง วารสารศาสตร์เป็น 5 ด้านได้ดังนี้
1.การพัฒนาบุ คลากรข่าว การประชุ มสัมมนายุ ทธศาสตร์ เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์ในหลายครัง้ ที่ผา่ นมาได้มกี ารกล่าวถึงการพัฒนา ด้ า นบุ คลากรข่ า ว เพื่ อให้ นั ก ข่ า ว
14
สามารถปรับตัวรับมือกับพฤติกรรม ของผู ้ รั บ สารที่ เปลี่ ยนไปได้ อี ก ทั้ ง ในปั จ จุ บั น มี ก ารเกิ ด ขึ้ น ของนั ก ข่ า ว พลเมือง (Citizen Reporter) ซึ่ ง เป็ น กลุ่ ม คนที่ มี บ ทบาทเหมื อ นกั บ นักข่าวภาคสนามโดยน�ำเสนอข้อมู ล ผ่านช่ องทางต่างๆ บนสื่อออนไลน์ ซึ่ งการประชุ มสัมมนายุ ทธศาสตร์เพื่อ อนาคตวารสารศาสตร์ ครัง้ ที่ 1 ในหัวข้อ “รุ ก รับ ร่วมสร้าง อนาคตทางวิชาการ/ วิชาชี พ” ได้มีการกล่าวถึงการพัฒนา บุ คลากรข่าว ในด้านการผนวกความร่วม มื อ กั น ระหว่ า งนั ก ข่ า วและนั ก ข่ า ว พลเมื อ ง ในแง่ ข องการผลิ ต และ เผยแพร่ร่วมกัน ท�ำให้เนื้อหาข่าวมี รายละเอี ย ดที่ ลึ ก และกว้ า งมากขึ้ น ทัง้ นี้ นักข่าวในยุ คปั จจุ บัน จ�ำเป็นต้องเป็น มากกว่ า นั ก ข่ า ว ต้ อ งมี เ ชี่ ยวชาญ (Epertist) โดยการค�ำนึงถึงคุณภาพ ข่าวบนความรวดเร็วของสื่อออนไลน์ ในขณะเดียวกันต้องสามารถให้รายละเอียด ข อ ง ข่ า วไ ด้ ใ น มิ ติ ลึ ก ม า ก ขึ้ น การพัฒนาโดยการเพิ่มความ สามารถในทักษะที่หลากหลายของ บุ คลากรข่าว คือ การพัฒนานักข่าว ให้มที กั ษะในการท�ำงานที่หลากหลาย ในกระบวนการสื่อข่าว (Multi-skilled reporter) และแนวทางการพัฒนา ตนเองของผู ้ ส่ ื อ ข่ า ว เพื่ อ รองรั บ การเข้าสู่ประชาคมอาเซี ยนซึ่ งมีการ พู ดถึงเรื่องนี้ในการประชุ มสัมมนาฯ ครัง้ ที่ 6 ในหัวข้อ “วิชาการวิชาชี พ สื่อสู่มวลชนอาเซี ยน” อีกด้วย การพัฒนาการศึกษาหลักสูตร วารสารศาสตร์ ใ นสถานศึ ก ษา เป็นอีกหนึ่งประเด็นที่มีการกล่าวถึง ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม สั ม ม น า ฯ เ ช่ น การพั ฒ นาการเรี ย นการสอน เ พื่ อ ส ร้ า ง นั ก วิ เ ค ร า ะ ห์ ข่ า ว
ในยุ คดิ จิ ทั ล ให้ ส ามารถน� ำ เสนอ ข้อมู ลข่าวสารได้ทุกๆช่ องทาง หรือ การเป็น Content Curator ในการ ค้ น หาข้ อ มู ล ข่ า วสาร น� ำ มาสรุ ป แยกแยะ ตรวจสอบ และการเพิ่ ม คุณค่าให้กับข่าวก่อนน�ำเสนอ รวมถึง มี ก ารกล่ า วถึ ง การเป็ น Julian Assange แห่ง Wikileaks โดยสอน ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ในการท�ำข่าวเจาะและการคิดนอกกรอบ มากขึ้ น เพราะคุ ณ สมบั ติ ข องสื่ อ ที่เปลี่ยนไป รู ปแบบการเรียนการสอน แบบเดิม จึงไม่ตอบโจทย์การท�ำงาน จ ริ ง ข อ ง บั ณ ฑิ ตใ น ยุ ค ส มั ย นี้
การเรี ย นการสอนจึ ง ต้ อ งมุ ่ งให้ บั ณ ฑิ ต เป็ น บุ คลากรที่ ดี ใ นวิ ช าชี พ และมีความเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงที่ เกิ ด ขึ้ น การปรั บ ตั ว ด้ า นหลั ก สู ต ร จึ ง ควรเริ่ ม จากการเพิ่ ม การสอน เกี่ยวกับสื่อใหม่มากขึ้น
2.การพัฒนาองค์กร และ กองบรรณาธิการ ก า ร ท� ำ ข่ า ว ห นึ่ ง ก อ ง บรรณาธิการหลากหลายสื่อ เป็นการ ผสมผสานกระบวนการท�ำงานร่วม
กั น ทั้ ง การใช้ เ ครื่ อ งมื อ เทคโนโลยี บุ คลากรและพื้ น ที่ ใ นการเผยแพร่ เนื้อหา เพื่อต้องการเข้าถึงผู ้รับสาร ให้ได้มากที่สุด การประชุ มสัมมนายุ ทธศาสตร์ เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์ ครัง้ ที่ 1 ไ ด้ มี ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร พั ฒ น า ก อ ง บรรณาธิการสู่การเป็ น Convergence Newsroom ซึ่ งองค์กรสื่อ ต่ า งมี ก ารปรั บ โครงสร้ า งของ กองบรรณาธิการให้มีความหลาก หลายมากขึ้น มีการน�ำเสนอเนื้อหา ที่ เ ชื่ อ ม โ ย ง กั น จ า ก สื่ อ เ ดิ ม อย่างหนังสือพิมพ์ สื่อวิทยุ โทรทัศน์ สู่ ส่ื อใหม่ อ ย่ า งสื่ อ สั ง คมออนไลน์ และโซเชี ยลมีเดีย ลักษณะการปรับตัวของกอง บรรณาธิ ก าร จึ ง มี ทั้ ง การช่ วย โปรโมทเนือ้ หาจากสื่อหนึ่งผ่านอีกสื่อ เป็ น การบอกต่ อ เนื้ อ หาให้ ผู้ อ่ า นไป ติ ด ตามผ่ า นสื่ อต่ า งๆ ภายใน เครือ และการ Cloning ที่ส่อื หนึ่งน�ำ เนื้ อ หาของอี ก สื่ อไปเผยแพร่ ซ้� ำ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารแบ่ ง ปั นข้ อ มู ล ระหว่างกัน แต่ก็ยังมีการเลือกข้อมู ล ที่ต้องการแบ่งปั นด้วย ขณะเดียวกัน ก็มีทีมงานของแต่ละสื่อที่มีการต่อย อดประเด็นและผลิตเนื้อหาที่แตกต่าง กันไปตามความเฉพาะ และกลุ่มเป้า หมายของแต่ละสื่อ จะเห็นได้วา่ การท�ำงานร่วมกัน ของกองบรรณาธิการ ไม่มีรูปแบบ ตายตัวแน่นอนที่จะเป็นแบบแผนให้ทกุ แห่งปฏิบัติเหมือนกัน แต่ขึ้นอยู ่กับ ลักษณะผู ร้ บั สาร ความต้องการของ ผู ้บริโภคข่าว และวัฒนธรรมองค์กร ข่าวที่ท�ำให้รูปแบบการหลอมรวมสื่อ ของแต่ละองค์กรมีความแตกต่างกัน
3.การพัฒนาเทคโนโลยี
การเกิดขึน้ ของสื่อใหม่มคี วามหมาย ค ร อ บ ค ลุ ม ถึ ง ก า ร เ กิ ด ขึ้ น ของเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีเครือข่าย หรื อ เทคโนโลยี ส ารสนเทศด้ ว ย โดยการเกิดขึน้ ของเทคโนโลยีท่กี ล่าวมานี้ ได้ เ พิ่ มศั ก ยภาพในการสื่ อสาร ของมนุษย์ในการสร้างปฏิสัมพันธ์ โดยไม่ต้องพบปะกันซึ่ งหน้า นอกจาก ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับคนทั่วไปแล้ว ความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี นี้ ยังช่ วยปรับการท�ำงานของนักข่าว ให้คล่องตัวและทันต่อเหตุการณ์มากขึน้ เช่ น จากในอดีตต้องใช้คนจ�ำนวนมาก ในการท�ำข่าว แต่ปัจจุ บันเพียงใช้คน น้ อ ยลง เพี ย งมี ส มาร์ ท โฟนและ อินเทอร์เน็ตก็สามารถท�ำข่าวได้อย่าง ง่ายดาย ส� ำ หรั บ โปรแกรมที่ มี ค วามทั น สมั ย ท�ำให้กระบวนการน�ำเสนอข่าวสารเป็น เรื่องง่ายขึ้น เช่ น การท�ำ Infographic ประกอบข่ า ว ซึ่ งเป็ น รู ป แบบหนึ่ ง ในการใช้ โปรแกรมและเทคโนโลยี สมัยใหม่ในการสร้างความเข้าใจแก่ ผู ้รับสารส�ำหรับข่าวที่มีรายละเอียด มากและยากต่อการเข้าใจ นอกจาก นี้เทคโนโลยียังมีส่วนในการพัฒนา เนื้อหาข่าวมากขึ้นเช่ นกัน เนื่องจาก ผู ค้ นมีพฤติกรรมการรับสารและเผยแพร่ ข้ อ มู ลผ่ า นโซเชี ยลมี เ ดี ย มากขึ้ น แต่ เ นื้ อ หาข้ อ มู ลที่ เ ป็ น ความจริ ง และตรวจสอบที่มาที่ไปของข่าวได้นนั้ มีน้อย องค์กรข่าวหลายที่ค�ำนึงถึง ประโยชน์ จ ากเทคโนโลยี เ หล่ า นี้ โดยการสร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มกั บ ประชาชนทั่วไป ที่ใช้ส่อื โซเชี ยลมีเดีย
15
และเป็ น บุ คคลที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ ง กับเหตุการณ์ ในแง่ผูท้ ่เี ห็นเหตุการณ์ หรื อ คนที่ มี ก ารรายงานข่ า วผ่ า น สื่อออนไลน์ โดยมีการแบ่งปั นข้อมู ล รู ป ภ า พ จ า ก ส ถ า น ก า ร ณ์ จ ริ ง การรายงานสถานการณ์ เช่ น การอัพเดททวิตเตอร์ของผู ้ใช้แบบ Live-tweet และอาจมีการน�ำเนื้อหา บางส่วนจากกลุ่มคนในโลกออนไลน์ มาใช้ ใ นการรายงานข่ า วซึ่ งเป็ น อีกหนึ่งช่ องทางของการใช้เทคโนโลยี เพื่อสร้างปฏิสมั พันธ์ระหว่างผู ร้ บั สาร และองค์กร อีกทัง้ ยังเป็นการเพิ่มมิติ ของข่าวในด้านเนื้อหาที่กว้างขึ้นหรือ
เป็นลักษณะของข่าวเจาะลึกได้อีกด้วย การน�ำความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ในกระบวนการสื่อข่าว ขององค์กรข่าวในปั จจุ บัน สามารถ ตอบโจทย์ผูร้ บั สารได้ ทัง้ ในเรื่องความเร็ว ของข้อมู ล ความใกล้ชิดกับผู ้รับสาร เนื่ อ งจากมี ก ารน� ำ ข้ อ มู ล บางส่ ว น มาจากผู อ้ ยู ใ่ นเหตุการณ์จริง อีกทัง้ เป็นการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่าง ผู ้รับสารและองค์กรด้วย นอกจาก การใช้เทคโนโลยีเพื่อให้ได้มาซึ่ งข้อมู ล ข่าวสารในการรายงานข่าวร่วมกับ ผู ้ รั บ ส า ร แ ล้ ว ภ า ยใ น อ ง ค์ ก ร
16 อาจมีการใช้เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุน การหลอมรวม (Technical convergence) มีการรวบรวมข้อมู ลข่าวสารไว้ในส่วนกลาง เพื่อให้แต่ละส่วนขององค์กรสามารถ ดึ ง ข้ อ มู ลไ ป ใ ช้ ไ ด้ ใ น ทุ ก ส่ ว น เ พื่ อ การเผยแพร่ในทุกช่ องทางขององค์กร ซึ่ งจะท� ำให้ เ กิ ด การแบ่ ง ปั นและ แ ล ก เ ป ลี่ ย น ข้ อ มู ล ท� ำใ ห้ เ กิ ด การใช้ ประโยชน์จากข่าวและข้อมู ล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.การพัฒนาด้านธุรกิจ ในยุ คที่เทคโนโลยีมคี วามก้าวหน้า ธุ รกิ จ สื่ อ ต้ อ งมี ก ารปรั บ ตั ว เช่ นกั น โดยเฉพาะธุ รกิจสื่อเก่า เมื่อผู อ้ า่ นลด ลงหันไปบริโภคสื่ออื่น องค์กรสื่อสิ่ง พิมพ์หันไปท�ำหนังสือพิมพ์ฉบับฟรี สื่อโทรทัศน์ดิจิทัล และลงทุนมากขึ้น ในสื่ อ อนไลน์ เพื่ อ ตอบรสนิ ย ม ผู ร้ บั สารที่เปลี่ยนไป เพิ่มช่ องทางการ เข้าถึงผู ้รับสารให้ม ากขึ้น รวมทั้ง การกระจายความเสี่ยงเพื่อความอยู ่ รอดทางธุ รกิจ ในปั จจุ บันองค์กรข่าวส่วนมาก มีการผสมผสานการหารายได้ 2 รู ป แ บ บ คื อ ก า ร ข า ย เ นื้ อ ห า แ ล ะ ขายโฆษณา การพัฒนาด้านธุ รกิจ ขององค์ ก รโดยการเพิ่ ม ช่ องทาง ในการน� ำ เสนอ และการพั ฒ นา ในด้ า นบุ คลากรข่ า ว ทั้ งในแง่ ก ารปรั บ รู ป แ บ บ ก า ร ท� ำ ง า นใ น ลั ก ษ ณ ะ ความร่วมมือในการท�ำงานร่วมกัน ของนั ก ข่ า ว และการเพิ่ ม ทั ก ษะ ความสามารถแก่นักข่าว ซึ่ งเป็นการ ให้ความส�ำคัญกับการสร้างคุณภาพ ของเนื้อหาข่าว เพื่อให้องค์กรข่าว ได้ รั บ ความน่ า เชื่ อถื อ จากผู ้ บ ริ โ ภค
และเมื่อภายในองค์กรมีความหลาก หลายของช่ องทางในการน� ำ เสนอ การท�ำธุ รกิจแบบกระจายความเสี่ยง (business diversification) โดยไม่ ลงทุนกับสื่อใดสื่อหนึ่ง จึงเป็นอีกหนึ่ง กลยุ ทธ์ ท่ี อ งค์ ก รต้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง เพื่ อ ความอยู ่รอดของธุ รกิจ
5 . ก า ร พั ฒ น า ด้ า น จริยธรรม ใ น ก า ร พั ฒ น า ทั้ ง ใ น ด้ า น บุ คลากรข่ า ว ด้ า นองค์ ก รสื่ อ ด้ า นเทคโนโลยี หรื อ ด้ า นธุ รกิ จ ในสื่อยุ คดิจิทัล สิ่งที่ส�ำคัญไม่แพ้กัน คื อ ก า ร พั ฒ น า ด้ า น จ ริ ย ธ ร ร ม ที่ ใ นยุ คคุ ณ ภาพความน่ า เชื่ อถื อ ของข่าวสวนทางกับความต้องการ อยู ่ ร อดทางธุ รกิ จ น� ำ มาซึ่ งสิ่ ง ที่ จะคอยก�ำกับการท�ำงานของนักข่าว และองค์กรให้เป็นไปในทางที่ดี นั่นคือ การค� ำ นึ ง ถึ ง เรื่ อ งของจริ ย ธรรม ทั้งต่อบุ คลากรข่าว และต่อองค์กร ข่าว ในการรายงานข่าวของนักข่าว ในยุ คปั จจุ บัน มีการเขียนเนื้อหาข่าว ด้วยการใช้ถ้อยค�ำที่สร้างบาดแผล ซ�้ ำเติ มให้ แ ก่ ผู้ เ คราะห์ ร้ า ย หรื อ ผู ้ ท่ี มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ เหตุ ก ารณ์ หรื อ การเสนอภาพที่ ไ ม่ เ หมาะสม สูส่ าธารณะชน ละเมิดสิทธิสว่ นบุ คคล สร้ า งความเคยชิ นให้ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ผู ้รับสาร ในด้านความรุ นแรงหรือ การสร้างความเกลียดชั งขึน้ ในสังคม โดยวาทกรรมแห่ ง ความเกลี ย ดชั ง ในหน้ า หนั ง สื อ พิ ม พ์ นอกจากนี้ การรายงานข่ า วต้ อ งตระหนั ก ถึ ง
ในแง่ของการให้ขอ้ มู ลที่ถกู ต้องครบถ้วน ตรงไปตรงมา และการเปิ ดโอกาส ให้ ทุ ก ฝ่ ายที่ เกี่ ยวข้ อ งได้ ชี้ แจง โดยเท่าเทียมกัน ที่ส�ำคัญคือแหล่ง ที่ ม าของข้ อ มู ล ต้ อ งมี ค วามชั ด เจน ห า ก เ ป็ น บุ ค ค ล ต้ อ ง มี ก า ร ร ะ บุ ชื่ อแหล่งข่าว ให้ถูกต้องครบถ้วน อ้างอิงแหล่งที่มาเช่ นกัน ซึ่ งจริยธรรม ในการสื่ อ ข่ า วและการเขี ย นข่ า ว ของนักข่าวนั้น เป็นเรื่องที่นักข่าว ต้ อ งใช้ วิ จ ารณญาณและส� ำ นึ ก ภ า ย ใ น ตั ว ข อ ง นั ก ข่ า ว เ อ ง การชั่งน�้ำหนักระหว่างความเหมาะสม กับสิทธิเสรีภาพที่ได้รับ ด้วยเหตุว่า
17 การท�ำผิดจริยธรรมจะไม่มีก�ำหนดบท ลงโทษไว้อย่างชั ดเจน ในขณะเดี ย วกั น จริ ย ธรรม ขององค์กรข่าวในเรื่องการซื้ อขาย โฆษณาเพื่อหารายได้ให้กับองค์กร สามารถพบมากขึ้ นในปั จจุ บั น จากการขยายช่ องทางการน�ำเสนอข่าว ของแต่ละองค์กร เป็นสิ่งที่น�ำมาซึ่ ง การก้าวข้ามเรื่องจริยธรรมเมื่อการขาย โฆษณาอันเป็นหนึ่งปั จจัยส�ำคัญใน การหารายได้เข้าสูอ่ งค์กร ความเอนเอียง และการบิดเบือนเนือ้ หา ในการเสนอข่าว เพื่อผลประโยชน์ทางธุ รกิจจึงเพิ่ ม มากขึ้น เพราะฉะนัน้ การสร้างสมดุล
ให้เกิดขึน้ ระหว่างข่าวกับโฆษณาแฝง และการเป็นอิสระจากนายทุน จึงเป็น สิง่ ทีอ่ งค์กรต้องตระหนัก ให้ความส�ำคัญ และพั ฒ นาแก้ ไ ขให้ ม ากขึ้ น ในยุ คที่ ผู ้ รั บ สารมี บ ทบาทเพิ่ มขึ้ นในการ ตรวจสอบสื่อ จากข้ อ มู ล การสรุ ป ภาพรวม การประชุ มสั ม มนายุ ทธศาสตร์ เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์ท่ีผา่ นมา ทัง้ 10 ครัง้ ท�ำให้มองเห็นความพยายาม ในการพั ฒ นา เรี ย นรู ้ แ ละปรั บ ตั ว ให้ เ ท่ า ทั น เทคโนโลยี ท่ ี มี ก ารเติ บ โต อย่างต่อเนื่อง ทัง้ การพัฒนาทรัพยากร บุ ค ค ล ที่ จ ะ ต้ อ ง ป รั บ เ ป ลี่ ย น
ทั้ งในแง่ ข อง แนวคิ ด การท� ำ ข่ า ว ในรู ป แบบใหม่ การพั ฒ นาทั ก ษะ เฉพาะตั ว อี ก ทั้ ง องค์ ก รข่ า วต้ อ ง ปรั บ เปลี่ ย นนโยบายให้ ส อดคล้ อ ง กับการท�ำงานของบุ คลากรที่เปลี่ยนไป การตอบสนองความต้ อ งการ ของผู ้ รั บ สารที่ เปลี่ ยนไป รวมถึ ง การพั ฒ นาธุ รกิ จ โดยสร้ า งข่ า วใน หลากหลายรู ปแบบและเหมาะสม ในแต่ละช่ องทาง แต่อย่างไรก็ตาม ในการปรับตัวนั้นจะต้องด�ำเนินอยู ่ ภายใต้กรอบจริยธรรม เพอ่ ื ความน่านับถือ แ ล ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง ว ง ก า ร วารสารศาสตร์ในอนาคต
18
"ปฏฺิวัติคนข่าว อภิวัฒน์ส่ือ" จุ ดยืนวิชาชี พ เพื่ อ สั ง คม” “1 ทศวรรษหรือภายใน 10 ปี ต่อจาก
นี้ ต้องปฏิรูปสื่อ ให้ส่ืออยู ่คู่สังคม ท�ำเพื่อสังคม สื่อมวลชนไทยต้อง มีมาตรฐานมีคณ ุ ภาพเพื่อประโยชน์ สาธารณะบนพื้ น ฐานและควบคู่ กั บ จ ริ ย ธ ร ร ม เ ป็ น ที่ เ ชื่ อ ถื อ ทั้ งใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ น า น า ช า ติ รวมถึงประชาชนมีสทิ ธิ์รบั รูใ้ นการ เข้าถึง” ประดิษฐ์ เรืองดิษฐ์ อดีตสมาชิิ ก สภาปฏิรูปด้านสื่อมวลชน เผยถึง ที่มาที่ไปของการปฏิรฺ ู ปสื่อว่า ที่ผ่าน มาสื่อมักถูกกลุ่มเคลื่อนไหวทางการ เมื อ งเข้ า มาแทรกแซง จนท� ำให้ ถู ก มองว่ ากลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ งของ การสร้างความขัดแย้ง ก่อความวุ ่นวาย ในสังคม อาจพู ดได้ว่า สื่อมวลชนทุก แขนงยังท�ำหน้าที่ ในการให้ข้อมู ล ข่าวสารและความรู ้ แก่ประชาชนได้ ไม่เต็มที่นัก แ ล ะ นี่ คื อ จุ ด เ ริ่ ม ต้ น ข อ ง การปฏิ รู ปสื่ อเพื่ อให้ ส่ื อด� ำ เนิ น บทบาทหน้ า ที่ อั น พึ ง ประสงค์ ไ ด้ อย่ า งสมบู รณ์ ม ากขึ้ นในบริ บ ท และสภาพสั ง คมที่ เปลี่ ยนแปลง ตลอดเวลา “จริงๆ แล้วปั ญหาสื่อมวลชน คื อ อะไร แล้ ว ปฏิ รู ป สื่ อ ครั้ ง นี้ ว าง ขอบเขตไว้ขนาดไหน การประชุ มครัง้ แรกจึงมีการเถียงกันว่า สื่อมวลชน คืออะไรเพราะวันนี้มันเปลี่ยนไปแล้ว ทุกคนเป็นสื่อได้หรือคนเขียนบล็อก
เปิ ดทวิ ต เตอร์ เล่ น เฟซบุ ๊ ค และ เครือข่ายสังคมออนไลน์ต่างๆ อีก มากมาย แบบนีเ้ รียกว่าเป็นสื่อมวลชน หรื อไม่ ” อดี ต สมาชิ กสภาปฏิ รู ป ด้านสื่อมวลชน ทัง้ ค�ำถามที่ตอ้ งการ ค�ำตอบ หลั ง จากวิ ช าชี พสื่ อ มวลชน ถู ก วิ พ า ก ษ์ วิ จ า ร ณ์ ก า ร ว า ง ยุ ทธศาสตร์ เ พื่ อ การปฏิฺ รู ป สื่ อ จึ ง เกิ ด ขึ้ น 3 ยุ ท ธศาสตร์ ตี ก รอบ วิชาชี พสื่อ จากปั ญหาและข้อถกเถียงที่เกิด ขึ้น จึงน�ำไปสู่ 3 ยุ ทธศาสตร์หลัก
แห่งการปฏิรฺ ู ปสื่อมวลชน >> : ยุ ทธศาสตร์ท่ี 1 เสรีภาพบน ความรับผิดชอบ เสรีภาพเป็นพืน้ ฐานส�ำคัญของ สังคมไทย ในการแสดงความคิดเห็น การแสดงออกผ่านกระบวนการคิด การเขียน สื่ อ มวลชน ต้ อ งตระหนั ก ถึ ง คุณค่าในการได้มาซึ่ งข้อมู ล จะต้อง มีกระบวนการตรวจสอบข้อเท็จจริง อย่างรอบด้าน เพื่อรักษาประโยชน์ ของสาธารณะ และรักษาไว้ซ่ึ งความ
กาญจ์ณัฏฐา สุทธิโพธิ, ชนัญญา ดอกรัก เขียน
ประดิษฐ์ เรืองดิษฐ์
ถูกต้องของบ้านเมือง ที่ส�ำคัญต้อง แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม >> : ยุ ทธศาสตร์ท่ี 2 การป้องกัน การแทรกแซงสื่อโดยรัฐ สื่อมวลชน จ�ำเป็นต้องมีความ อิสระจากรัฐและนายทุน เพราะที่ผา่ น มาสื่อมวลชนถูกรัฐและกลุ่มนายทุน แทรกแซง มีค�ำสั่งห้ามน�ำเสนอข่าว ด้านลบที่สง่ ผลกระทบต่อคนกลุม่ นัน้ จึงท�ำให้ส่ือมวลชนน�ำเสนอข่าวได้ไม่ เต็มที่ แต่ปัจจุ บันได้มีการพัฒนาเป็น สื่อที่มขี นาดใหญ่และมีเสรีภาพในการ
ท�ำธุ รกิจข่าวมากขึ้น การปฏิรูปสื่อจึงมีการผลักดัน พรบ. การโฆษณาภาครัฐเพื่อควบคุม การใช้เงินของรัฐในการซื้ อพื้นที่ส่ือ โดยมีขอ้ ห้ามส�ำคัญ คือ ใครจะใช้เงิน แผ่นดินต้อง “ไม่มีสภาพและชื่ อเสียง เป็นนักการเมือง เน้นให้ขอ้ มู ลข่าวสาร เป็นหลัก” และต้องเปิ ดเผยว่า “ใช้เงิน ส่วนนัน้ ไปท�ำอะไร ท�ำอะไรไปบ้างแล้ว และต้องมีการรายงานต่อรัฐสภาด้วย เพื่อป้องกันการใช้สิทธิ์ไปซื้ อสื่อที่น�ำ ไปสู่การทุจริตคอรัปชั่ น”
19
>> : ยุ ทธศาสตร์ท่ี 3 มีกลไกการ ก� ำ กั บ ด้ า นจริ ย ธรรม ควบคุ ม กันเอง สังคมเกิดความสับสนระหว่าง “สื่อแท้” กับ “สื่อเทียม” เนื่องจากเกิด ปั ญ ห า ก า ร ล ะ เ มิ ด จ ริ ย ธ ร ร ม การละเมิดสิทธิของผู ้อ่ืน 18 ปี ที่ ผ่ า นมา สภาการ หนังสือพิมพ์แห่งชาติก็ถูกวิจารณ์ ว่ าไม่ ส ามารถก� ำ กั บ กั น เองได้ ก าร ปฏิฺ รู ป สื่ อ ครั้ ง นี้ จึ ง สร้ า งกลไกการ ก�ำกับด้านจริยธรรมที่มปี ระสิทธิภาพ แ ล ะ ท� ำใ ห้ สื่ อ มี ก า ร ก� ำ กั บ ด้ า น จริยธรรมกันเอง ทั้ ง นี้ จึ ง มี ก ารตั้ ง ข้ อ บั ง คั บ จริยธรรมส�ำหรับก�ำกับกันเองขึ้นมา 3 ระดับ ดังนี้ 1.องค์ ก รสื่ อ ทุ ก แขนงต้ อ งมี กลไกเพื่อดูแลกันเองด้านจริยธรรม มี ก า ร รั บ เ รื่ อ ง ร้ อ ง เ รี ย น ด้ า น จริ ย ธรรม และมี ก รรมการเพื่ อ พิ จ า ร ณ า สื่ อ ที่ ไ ป ล ะ เ มิ ด ด้ า น จริยธรรม 2.ระดับสภาวิชาชี พ ไม่วา่ จะเป็น สภาหรื อ สมาคมต่ า งๆ ควรมี การส่ ง เสริ มให้ มี ก ารรวมตั ว กั น แต่ละพื้นที่ตามภูมิภาคของแต่ละสื่อ และตั้ ง คณะกรรมด้ า นจริ ย ธรรม ที่คอยไต่สวนอย่างเปิ ดเผยให้สังคม ได้รับรู ้ การปฏิรูปครัง้ นี้ จึงควรส่ง เสริ มให้ มี อ งค์ ก รระดั บ วิ ช าชี พมา ก�ำกับด้านจริยธรรมของสื่อ 3.หากองค์กรระดับวิชาชี พไม่ สามารถท�ำงานได้อย่างเป็นรู ปธรรม ควรมีการรวมองค์กรขนาดใหญ่หรือ มีกฏหมายรองรับเพื่อร่วมกันก�ำกับ ดูแลและป้องกันปั ญหาที่เป็นช่ องโหว่ ของการท�ำงานด้านสื่อ
20
“ ค ว ร เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ภาคประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมในการ ตรวจสอบสื่อด้วย เพราะประชาชน ยั งไม่ มี ก ารตื่ น ตั วในเรื่ อ งนี้ ม ากนั ก ค ว ร มี ร า ย ก า ร รู ้ เ ท่ า ทั น สื่ อ มีการให้ความรู ้เรื่องการรู ้เท่าทันสื่อ ให้มากขึ้น” ประดิษฐ์ กล่าว 3 ยุ ทธศาสตร์ ท่ี ก ล่ า วมานี้ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า องค์ ก รคุ้ ม ครอง ผู ้ บ ริ โ ภคด้ า นสื่ อมี ค วามจ� ำ เป็ น อย่างมาก ก็จะท�ำให้มีการร้องเรียน เกี่ยวกับการท�ำงานของสื่อมวลชน ถ้ามีองค์กรแบบนี้เกิดขึ้นก็จะท�ำให้ สื่อระมัดระวังในการลงข่าวมากขึ้น ขณะเดี ย วกั น ถ้ า สื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ข อง ตัวเอง อย่างสุจริตและตรงไปตรงมา ก็จะท�ำให้ประเทศพัฒนามากยิ่งขึ้น การจึ ง ต้ อ งปฎิ รู ปสื่ อ เริ่ มต้ น ที่ “คนข่าว” หรือ “ นั ก ข่ า ว ” เ ป็ น ตั ว ขั บ เคลื่ อ นส� ำ คั ญในการพั ฒ นา คุณภาพของเนื้อหาข่าว ก่อนที่จะ ปฏิฺรูปสื่อได้ นักข่าวต้องมีคุณภาพ มี ค ว า ม รู ้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร อ ธิ บ า ย ป ร ะ เ ด็ น แ ล ะ ปรากฎการณ์ในสังคม การท�ำข่าว อย่างสร้างสรรค์ จึงเป็นหัวใจส�ำคัญ ของการท�ำงานด้านข่าว ทัง้ การคิด ประเด็น สัมภาษณ์และการน�ำเสนอ “ นั ก ข่ า ว คุ ณ ภ า พ ต้ อ ง สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ มู ลที่ มี คุ ณ ภาพ การท�ำข่าวที่ดี จะต้องมีข้อมู ลที่ลึก และรอบด้ า นเพื่ อ ถ่ า ยทอดให้ กั บ ผู ้ บ ริ โ ภค อี ก ทั้ ง ยั ง ต้ อ งช่ วยให้ ประชาชนใช้ ส่ื อ เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ที่ ส ร้ า งสรรค์ ข องสั ง คมได้ ดั ง นั้ น การปฏิฺรูปสื่อ จึงเน้นที่การพัฒนา บุ คลากรด้วย เพื่อให้คนที่มีความรู ้ ความรอบคอบและความสามารถใน การย่อยข้อมู ลให้คนอื่นอ่านได้อย่าง
เข้ าใจได้ เ ป็ น คนที่วิ เ คราะห์ แ ละมอง ภาพรวมทุกอย่างให้เป็นการท�ำข่าว เชิ งลึกได้”
องค์ ก รสื่ อกั บ นายทุ น : ค ว า ม อ ยู ่ ร อ ด บ น ธรรมาภิบาล
อ ง ค์ ก ร ที่ ท� ำ ง า น ร่ ว ม กั น ระหว่าง “องค์กรสื่อ” กับ “องค์กร ธุ รกิจ” มีนายทุนเป็นผู ้ประกอบการ ซึ่ งสิ่งที่นักวิชาชี พสื่อคาดหวัง คือ ความอิ ส ระในการเลื อ กข่ า วเพื่ อ น�ำเสนอ “ที่ผ่านมากองบรรณาธิการ ข่าวไม่มีความอิสระในการเลือกข่าว มาเสนอให้ ป ระชาชนได้ รั บ รู ้ เ พราะ นายทุนจะไม่เลือกท�ำข่าวที่เจาะลึก
ห รื อ มี ร า ย ล ะ เ อี ย ด สู ง เ พ ร า ะ เสียค่าใช้จ่ายเยอะจริงๆแล้วนายทุน ต้องมีธรรมาภิบาลเพื่อ สื่อที่คณ ุ เป็น เจ้าของอยู ่ ให้ผู้ประกอบวิชาชี พสื่อ มี ค วามอิ ส ระในการน� ำ เสนอข้ อ มู ล ข่าวสาร การปฏริฺ ู ปสื่อจึงควรส่งเสริม ให้ผู้ผลิตสื่อมีอิสระ ในการน�ำเสนอ ข่ า ว และมี ท างเลื อ กมากขึ้ น ...“ นี่ คื อ สิ่ ง ที่ ก ระบวนการปฏิฺ รู ป จะท� ำ ทั้ ง หมดเพื่ อผลิ ต ข่ า วสารที่ ดี สู่ ประชาชน สื่ อเป็ น ตั ว เชื่ อมของข้ อ มู ล ข่าวสาร ให้คนทุกคนได้รับรู ้ แล้วจะ ท� ำ อย่ า งไรให้ ส่ื อ กลั บ มาน� ำ เสนอ ข้ อ มู ลที่ ดี ไม่ ถู ก วิ พ ากวิ จ ารณ์ ไม่ตกต�่ำ การปฏิรูปสื่อ คือ การดึงความ น่าเชื่ อถือของสื่อกลับมา เพื่อท�ำให้ ประชาชนหันกลับมาสนใจและกลับมา อ่านสื่อมากยิ่งขึ้น ความน่าเชื่ อถือ ของสื่อจึงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญมาก อีกมิติท่ีส�ำคัญในการปฏิรูปสื่อ คือ ท�ำให้ส่อื เป็น “โรงเรียนของสังคม” หรือสื่อเป็นแหล่งเรียนรู ้ท่ีสร้างสรรค์ ของสังคม ประสานสังคม สื่อสร้าง สันติ เพื่อสื่อทางเลือก และมีกองทุน ที่สนับสนุนการด�ำเนินงานเพื่อให้การ ท�ำงานของสื่อเป็นไปอย่างอิสระเพื่อ ประโยชน์ต่อสังคม ทัง้ หมดนี้ คือ แผนการปฏิรฺ ู ป สื่ อ และทั ศ นะจากอดี ต สมาชิ ก สภา ปฏิ รู ป ด้ า นสื่ อ มวลชน ที่ ค นท� ำ สื่ อ นอกจากจะต้องรับฟั งแล้ว ยังต้อง น�ำมาปฏิบัติตามเพื่อแก้ปัญหาร่วม กันอีกด้วย
อุ ทุมพร พัดไสว เขียน
“สงครามเนือ้ หา” สื่อหลัก
21
และ สื่อทางเลือก
ฐิติชัย อัฏฏะวัชระ
สื่อ
หลักมีปัญหาในเรื่องของ การปรับตัวทัง้ ทรัพยากรบุ คคล ช่ อง ทางสื่อสาร การใช้เครื่องมือต่างๆ แต่เพราะมีทัศนคติและวัฒนธรรม ดั้งเดิมจึงท�ำให้การเปลี่ยนแปลงนั้น ท�ำได้ช้าได้เมื่อเทียบกับสื่อทางเลือกที่ มีการปรับตัวให้สามารถเชื่ อมโยงเข้า กับผู ้บริโภคได้มากขึ้น
สื่ออาชี พ-สื่อทางเลือก
ฐิติชัย อัฏฏะวัชระ อาจารย์ พิ เ ศ ษ ด้ า น ว า ร ส า ร ศ า ส ต ร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ จั น ทรเกษม ที่ปรึกษาชมรมนักข่าวสายเทคโนโลยี สารสนเทศ กล่าวว่า จากการที่ส่อื ทางเลือกเริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น สื่อหลักจึงได้รบั ผลกระทบจากการที่ ผู ้อ่านเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค สื่อ และเกิด ความเข้าใจผิดเนื่องจาก เข้าใจว่าเนื้อหาของสื่อหลักมีเนื้อหา เดียวกับสื่อทางเลือกมีลลี าเสนอมากกว่า สื่อทางเลือก
“ผู ค้ นเริม่ หมดศรัทธากับ สื่อ หลั กในยุ ค นี ้ เพราะ ไม่มีการค้นหาความเป็น จริง ได้เพียงแต่คัดลอก เนือ้ หาจากทีอ่ ืน่ มาเพียง เท่านัน้ ต่างจากสือ่ ทาง เลื อ กที่ผู้ บ ริ โ ภคกลั บให้ ความเชื่ อมัน่ มากกว่า” ในแง่ของเนือ้ หาการกลั่นกรอง ข้อมู ลในงานข่าว สื่อหลักจะมีความ รอบคอบมากกว่ า เพราะมี ก รอบ วิ ช าชี พและกรอบจรรยาบรรณ จริยธรรมเป็นตัวก�ำหนดการท�ำงาน เนื่องจากต้องมีความรับผิดชอบ แต่ สื่อทางเลือกกลับไม่ได้สนใจในส่วนนี้่ เพราะฉะนัน้ สื่อทางเลือกจึงมีโอกาส ละเมิดสิทธิ์บุคคล ของคนที่้เป็นข่าว มากกว่าสื่อหลักนั่นเอง
ในทางกลับกันสื่ อทางเลือกมี ข้อดีท่สี ามารถน�ำเสนอเนือ้ หาที่เข้าถึง กลุ่ ม ผู ้ อ่ า นได้ ง่ า ยกว่ า สื่ อหลั ก เนื่องจากคนรุ ่นใหม่ต้องการเนื้อหา และภาษาที่อา่ นเข้าใจง่าย จึงท�ำให้ส่อื ทางเลือกเติบโตเร็วมาก แต่ส่อื หลักไม่ ได้ พั ฒ นารู ปแบบการน� ำ เสนอ ให้ทันต่อยุ คสมัย ทัง้ ในแง่ของภาษา และวิ ธี ก ารเล่ า เรื่ อ งที่ เ ข้ า ถึ ง ผู ้ อ่ า น มากขึ้น ทั้งนี้ยังมีการเปลี่ ยนแปลงอีก อย่างคือนักข่าวเองได้มกี ารผันตัวไป ท� ำ งานกั บ สื่ อทางเลื อ กมากขึ้ น แล้ ว สร้ า งรู ป แบบข่ า วที่ เ ฉพาะทาง มากขึ้ น เช่ น มี ก ารเพิ่ ม โต๊ ะ ข่ า ว การเมื อ ง โต๊ ะ ข่ า วเศรษฐกิ จ เพื่ อให้ เ ข้ า ถึ ง กลุ่ ม คนมากขึ้ น เมื่ อ คู่ แ ข่ ง มากขึ้ น สื่ อ หลั ก จะปรั บ ตั ว อย่างไร คงต้องติดตามต่อไป
22
จักรพงษ์ คงมาลัย
เ มื่ อ สื่ อ อ ย่ า ง ส นุ ก ออนไลน์หันมาท�ำคอน เทนต์เอง
จั ก ร พ ง ษ์
ค ง ม า ลั ย หั ว หน้ า ฝ่ ายธุ รกิ จ เนื้ อ หา บริ ษั ท สนุกออนไลน์ จ�ำกัด กล่าวถึงที่มา ของเนือ้ หาข่าวของบริษทั ว่า สามารถ แบ่งโครงสร้างออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกคือ ส่วนที่สร้างเนื้อหาเอง โดยกองบรรณาธิการสนุกออนไลน์ เป็ น ผู ้ จั ด ท� ำ ซึ่ งจะมี ผู้ ดู แ ลเนื้ อ หา ในแต่ละคอนเทนต์ คิดเป็นร้อยละ 60 ส่วนที่สองคือ ผู ใ้ ช้บริการเป็นผู ส้ ร้าง เช่ นการตัง้ กระทู้ การโหวต ผลโพล คิดเป็นร้อยละ 10 และส่วนที่สามคือ พันธมิตรต่างๆ เช่ น ผู ้ท่เี ขียนบล็อก เขี ย นเว็ บไซต์ ต่ า งๆที่ ท� ำ การขอ ลิ ข สิ ท ธิ์ เ พื่ อ มาน� ำ เสนอบนเว็ บไซต์ คิดเป็นร้อยละ 30 เพิ่มขึ้น จากเมื่อ ก่อนสนุกออนไลน์ได้ท�ำคอนเทนต์ เพี ย งร้ อ ยละ 20 และน� ำ มาจาก พันธมิตรถึงร้อยละ 80 เท่านัน้
“สนุกออนไลน์ไม่ได้มองว่า ตัว เองต้องแข่งกับสื่อหลักเนื่องจากเรา สร้างมาเพื่อเป็นพาร์ทเนอร์กับเขา เพราะว่าคอนเทนต์ของสนุกออนไลน์ ส่วนใหญ่จะท�ำเอง มีเพียงร้อยละ 30 เท่านั้นที่น�ำคอนเท็นต์มาจากพาร์ท เนอร์” ส�ำหรับข้อมู ลที่ถกู สร้างโดยผู ใ้ ช้ บริการ เช่ น กระทู้ต่างๆ บนเว็บไซต์ ทางสนุกออนไลน์จะน�ำเนื้อหาไปเผย แพร่ทางสื่อโทรทัศน์ วิทยุ เนื่องจาก สนุกออนไลน์ไม่ได้มองว่าตนเองเป็น เว็ บไซต์ ธ รรมดา แต่ ก ลั บ มองว่ า ตนเองเป็นเว็บไซต์ในยุ คดิจิทัลที่ตอบ โจทย์พฤติกรรมของผู ้รับสาร “สนุกออนไลน์สามารถเข้าถึงได้ หลายช่ องทางทั้ ง โมบายเว็ บ และ แอพพลิเคชั น ท�ำมาเพื่อให้อ่านข่าว ง่ายขึ้นและให้ผู้ใช้บริการแชร์เนื้อหา ได้สะดวก เนื่องจากสังคมอยู ่ในยุ ค แชร์ข้อมู ล ในส่วนของการแข่งขัน ส�ำหรับตลาดออนไลน์เป็นการแข่งขัน ที่ ต้ อ งท� ำ คอนเทนต์ ใ ห้ อ อกมาให้ ดี ที่สุดโดยการส่งต่อคอนเทนต์จ�ำเป็น
ที่จะต้องให้ผูค้ นเห็นเป็นจ�ำนวนมาก เพื่ อให้ แ น่ ใ จว่ า รู ป แบบธุ รกิ จ ของ ส นุ ก อ อ น ไ ล น์ ยั ง ค ง อ ยู ่ ต่อได้” จักรพงษ์กล่าว เนื่องจากพฤติกรรมผู ้อ่านใน อดี ต จะเลื อ กอ่ า นบทความ และ รับชมวิดโี อผ่านคอมพิวเตอร์ แต่ใน ยุ คปั จจุ บันผู อ้ า่ นใช้โทรศัพท์ในการ เสพสื่อมากขึน้ สนุกออนไลน์จงึ ปรับ เปลี่ยนโครงสร้างองค์กรให้สามารถ เข้าถึงผู ้อ่านได้มากขึ้น เช่ น มีการ เปลี่ยนย่อหน้าใหม่ ท�ำให้ผูอ้ า่ นในจอ ขนาดเล็กสามารถอ่านบทความได้ ง่าย ทัง้ ยังดูวิดิโอได้เร็วขึ้นอีกด้วย “เราก�ำลังจะเห็นการต่อสูก้ นั ใน เชิ งปริมาณเนื้อหา ที่แข่งกันเข้าถึง ผู ้อ่าน ส่วนคุณภาพ คือสิ่งที่แต่ละ สื่ อ ต้ อ ง พิ สู จ น์ ฝี มื อ ต่ อ สั ง ค ม กันต่อไป”
ปาณิสรา บุ ญม่วง, สุวรรณา พลับจุ ้ย เขียน
23
เปิ ดศึก “ดิจทิ ลั ทีว”ี ทางเลือกข่าวคุณภาพ ตอบโจทย์ประโยชน์สังคม
พัชระ สารพิมพา
ข
ณะนีห้ ลายฝ่ ายก�ำลังตื่นตัว กั บ การก้ า วเข้ า สู่ “ยุ คของที วี ดิจิทัล” ผู ้รับสารมีช่องทางในการ เข้าถึงข้อมู ลข่าวสารให้เลือกมาก ขึ้น การน�ำเสนอข่าวและรายการ ข่าวเป็นจุ ดขายหนึ่งในการดึงคนดู เ ข้ า สู่ ที วี ดิ จิ ทั ล ส่ ง ผ ลใ ห้ เ กิ ด ยุ ทธศาสตร์ในการแข่งขันของกอง บรรณาธิการข่าว และการปรับตัว ขององค์กรข่าวขนาดเล็ก ซึ่ งอาจ เป็ น ความหวั ง ของวงการสาร ศาสตร์ไทย
คุณภาพ และความน่าเชื่ อ ถืออาวุ ธของสงครามข่าว
โทรทั ศ น์ ทุ ก ช่ องยั ง ต้ อ งมี การน�ำเสนอข่าว ดังนัน้ การแข่งขันจึง เกิดขึ้นทุกรู ปแบบ เพื่อที่จะดึงคนเข้า
มาดู ช่ องของตั ว เองให้ ม ากที่ สุ ด “ท�ำอย่างไรให้ถึงมือคนดู” คือค�ำพู ด ของพัชระ สารพิมพา ประธานเจ้า หน้าที่บริหารส�ำนักข่าวสปริงนิวส์ ที่ ส ะท้ อ นสภาพภู มิ ทั ศ น์ ส่ ือ มิ ติ ข อง ผู ้รับสารที่ท�ำให้องค์กรข่าวสื่อหลัก อย่างโทรทัศน์ต้องปรับตัวสูง. สปริงนิวส์ ถือเป็นสถานีข่าว อย่างเต็มตัว ที่สามารถจัดสรรเวลา การออกอากาศข่าวได้อย่างอิสระ ถึงแม้ กสทช. ก�ำหนดว่าช่ องข่าวจะ ต้องมีข่าว ร้อยละ50 ขึ้นไป แต่สปิ ริง นิวส์ตงั้ เป้าการท�ำข่าว 100เปอร์เซนต์ หรื อให้ ใ กล้ เ คี ย งมากที่ สุ ด เพราะ ต้ อ งการเป็ น ช่ องข่ าวอย่ างแท้ จริ ง ของประเทศ “จุ ดเด่นของสปิ งนิวส์ของเรา รายงานข่ า วได้ ต ลอดเพราะว่ า ผั ง รายการของเราเป็นผังรายการที่มีผู้ ร่ ว ม ผ ลิ ต จ า ก บุ ค ค ล ภ า ย น อ ก
น้อยมาก ดังนั้นมีความยืดหยุ ่นใน การปรับรายการเพื่อสอดคล้องกับ การรายงานข่าวที่ทันต่อเหตุการณ์ ตลอดเวลา โดยพิจารณาว่าสมควร ที่ ป ระชาชนจะรั บ รู ้ แ ละจั ด สรรเวลา การน� ำ เสนอข่ า วอย่ า งเหมาะสม เ ป็ น จุ ด ข า ย ที่ สู้ กั บ ช่ อ ง อื่ น ที่ ไ ม่ สามารถปรับผังรายการ ยืดหยุ ่น เรื่องเวลาการน�ำเสนอข่าวได้เท่าเรา” พัชระ กล่าว
24
เส ถี ย ร
วิริยะพรรณพงศา ผู ้ อ� ำ นวยการแผนกรายการข่ า ว PPTV สะท้อนมุ มมองการแข่งขันของ คนข่าวว่า ธุ รกิจสื่อ ทีวีดิจิทัล เป็น อีกสิ่งหนึ่งที่มกี ารแข่งขันกันอย่างเข้ม ข้น ซึ่ งจะน�ำไปสูก่ ารคิดเชิ งสร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ จะมีเป้าหมายว่าสถานี โทรทัศน์จะยืนหยัดความอยู ่รอดที่มี ความรับผิดชอบต่อสังคมหรือหวัง สร้ า งเรตติ้ ง โดยไม่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู ่ กั บ วิ สั ย ทั ศ น์ ข อง สถานี นั้น ๆว่ าไปในทิ ศ ทางใด โดย สถานการณ์จะบีบบังคับให้ผลิตหรือ สร้างอยู ่ตลอดเวลา “สมรภู มิ ข่ า วที วี ดิ จิ ทั ล อยู ่ ใ น ภาวะที่มีแข่งขัน ที่สูงมากเนื่อ งจาก เทคโนโลยี ท่ี เ ปลี่ ย นแปลงไปอย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ป ร ะ ช า ช น มี ตั ว เ ลื อ ก ที่ หลากหลายการแข่งขันจะน�ำไปสู่จุด เปลี่ยนสถานีท่ีไม่มีคุณภาพก�ำลังจะ หายไป” ส่ ว นการน� ำ เสนอข่ า วแบบ ล่ อ แ ห ล ม เ พื่ อ ก ร ะ ตุ้ น ย อ ดไ ล ค์ คุ ณ เสถี ย รได้ ใ ห้ ค วามคิ ด เห็ น ว่ า “การตัดสินใจสร้างความน่าสนใจให้ กั บ หั ว ข่ า วเพื่อ ดึ ง ความน่ า สนใจใน การสร้างเรทติ้งเพื่อเพิ่มยอดวิวเป็น ล้านถือเป็นความเสี่ยงหากสังคมรู ท้ นั สักพักผู ้อ่านก็จะจ�ำนวนลดลงอย่าง เห็นได้ชัด” วั น นี้ ส่ื ออยู ่ ท่ า มกลางการ แข่งขันสูงและกับดักทางข้อมู ลที่มเี ป็น ทั้งข้อมู ลที่เป็นความจริงและไม่เป็น จริงอยู ่มากในโลกออนไลน์ ฉะนัน้ สื่อ เองต้องมีการกรองข้อมู ลเพื่อท�ำการ คัดเลือกข่าวก่อนน�ำเสนอเสมอ “ ข่ า วไม่ มื อ อ า ชี พ พ อ ห รื อ กระบวนการคุณหลวมๆโอกาสที่คณ ุ
จะพลาดในสนามนีส้ งู ความน่าเชื่ อถือ สั่งสมมาเป็น 10 ปี พลาดทีเดียวมัน หายไปหมดเลย “คิดว่าหลังจากนี้จะ มีการแข่งขันกันในแง่ความน่าเชื่ อถือ สื่ อไหนจะน่ า เชื่ อถื อ เป็ น ที่ ไ ว้ ว างใจ ของประชาชนมากกว่ากันสื่อนั้นจะ อยู ่ได้ในสมรภูมิการแข่งขัน” เนื้อหา ที่ตอบโจทย์คนส่งถึงมือคนด้วยสื่อ หลากแพลตฟอร์ม นายเสถียร วิริยะพรรณพงศา จาก PPTV ยอมรับว่า ความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีกลายเป็นอุ ปสรรคของ คนท�ำข่าวทีวีดิจิทัล ผู ้ประกอบการ หรือคนท�ำข่าว จะต้องมีโจทย์ท่ียาก ขึน้ สถานีท่กี ระบวนการไม่มคี ณ ุ ภาพ จะอยู ่ในตลาดล�ำบาก สถานีท่ีไม่มี ความเป็นมืออาชี พมากพอ หรือเป็น
สื่อที่ไม่มีการพัฒนา น�ำเสนอเนื้อหา ที่ไม่ดี ไม่เป็นประโยชน์จริงๆอันนีก้ อ็ ยู ่ ยากเช่ นกัน “เมื่อพฤติกรรมผู ร้ บั สารเปลี่ยน ไป จากดู โ ทรทั ศ น์ แ บบเก่ า ที่เ ป็ น ตู้ สี่เหลี่ยม แต่เดี๋ยวนี้โทรทัศน์กลายมา อยู ใ่ นเครื่องมือเทคโนโลยีสมาร์ทโฟน โน๊ตบุ ๊คมากขึ้น คนท�ำข่าวต้องเข้าใจ การเปลี่ยนแปลงแพลตฟอร์มของสื่อ ในยุ ค ปั จจุ บั น และคนท� ำ ข่ า วต้ อ ง เข้าใจพฤติกรรมของผู บ้ ริโภค เพราะ จะท�ำให้รูว้ า่ ผลิตข่าวยังไงให้ผูอ้ า่ นได้ ประโยชน์ ทัง้ เรื่องใกล้ตัว เรื่องที่ส่ง กระทบและเรื่องที่ปุถุชนสนใจ ซึ่ งเป็น โจทย์ท่ยี ากกว่าคนท�ำข่าวโทรทัศน์ใน ยุ คก่อน” พัชระยังกล่าวอีกว่า “ ค นไ ม่
25
“การแข่งขันทีส่ ูงจะท�ำให้ทีวี แต่ละช่ องมีคุณภาพ และเป็น มืออาชี พมากขึน้ สังคมจะ เป็นคนตัดสินว่า ใครจะชนะ ในสงครามข่าว”
นายเสถียร วิริยะพรรณพงศา
ค่ อ ยดู ที วี ส่ ว นใหญ่ จ ะอยู ่ ใ นโลก ออนไลน์ สื่อก็ตอ้ งเข้าถึงตรงนัน้ ให้ได้ น�ำเสนอข่าวผ่านออนไลน์เพื่อไปถึง มือของทุกๆคน ถึงแม้สมัยนีท้ กุ คนจะ เป็นสื่อได้ แต่จะท�ำข่าวยังไงให้รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นย�ำ นั่นคือหน้าที่ของ สื่ออาชี พอย่างแท้จริง” นอกจากนี้กลไกของตลาดจะ ท�ำให้เกิดรู ปแบบเนือ้ หาข่าวใหม่ๆ เพื่อ ให้ขายได้ คนอยากดู และตอบโจทย์ อุ ด ม ก า ร ณ์ เ ส ถี ย ร ม อ ง ว่ า คนข่าวต้องรู จ้ กั คัด เลือกและน�ำเสนอ “ธรรมชาติของการแข่งขัน ถ้า สินค้าเหมือนกันหมด พอถึงจุ ดๆนึง ต้องมีเจ้าไหนสักเจ้า ที่เปลี่ยนแปลง โปรดักส์ เปลี่ยนแปลงแพ็กเกจ สิ่งที่ ยากส�ำหรับคนท�ำข่าว คือ ข่าวสารที่
หลั่งไหลรอบตัว ทีวีคัดเลือกข่าวมา น� ำ เสนอจะต้ อ งผ่ า นกระบวนการ ตรวจสอบที่แน่ชัดและมีความลึกของ ข่ า วพอสมควร เพราะฉะนั้ น สิ่ ง ที่ สถานีข่าวหรือว่าฝ่ ายข่าวทีวีดิจิทัล ท� ำใ น ก า ร ต ร ว จ เ ช็ ค ข้ อ มู ลใ ห้ มี ประสิทธิภาพ เช็คว่าข้อมู ลที่ไหลมา ในแต่ ล ะวั น เป็ น เรื่ อ งจริ ง หรื อไม่ ผ่ า น แ ห ล่ ง ข่ า ว ที่ เ ชื่ อ ถื อไ ด้ ในการให้ข้อมู ล” อย่างไรก็ตามสังคมยังคงตั้ง ค� ำ ถามและมองหาสื่ อ ที่ ต อบโจทย์ บทบาทสื่อตามหลักปรัชญาของการ ท�ำข่าว คือการมีเสรีภาพในการน�ำ เสนอข่ า ว แต่ เ สรี ภ าพต้ อ งไม่ ไ ร้ ขอบเขต แม้ จ ะมี ก ารแข่ ง ขั น สู ง อย่างไรก็ตาม ช่ องข่าวก็ต้องอยู ่บน
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง สั ง ค ม และต้ อ งสามารถเป็ น ที่ พึ งในการ ตรวจสอบข้อมู ล การเข้าถึง และน�ำ เสนอข้ อ มู ลเชิ งลึ ก การอธิ บ าย ปรากฎการณ์ ซึ่ งจะเป็นสิ่งที่ผูร้ บั สาร ต้ อ ง ก า ร ม า กใ น ภ า ว ะ ที่ ข้ อ มู ล ข่าวสารล้น “อีก 2-3 ปี อนาคตของข่าว ทีวดี จิ ทิ ลั สถานีขา่ วที่ตงั้ หลักเรื่อง การสร้างกระบวนการในการรับ ข่ า วและการตรวจสอบเช็ ค ข่ า ว ก่อนน�ำเสนอสู่สาธารณะได้ คือ การยกระดับคุณภาพของข่าว ถ้า มองในแง่บวกการแข่งขันที่มันสูง มากนี้จะท�ำให้ทีวีแต่ละช่ องแข่งกัน ท�ำงานที่มีคุณภาพมากขึ้น และ จ า ก ป ริ ม า ณ มั น ก็ จ ะ คั ด เ อ า คุ ณ ภาพเท่ า นั้ น ที่ จ ะอยู ่ ร อดใน ตลาดข่าว ถ้าไม่เป็นมืออาชี พอาจ จะอยู ่ได้ในระยะสัน้ ” สุดท้ายคุณภาพความน่าเชื่ อถือ และการตอบโจทย์ ผู้ รั บ สารในเชิ ง ประโยชน์ของการรับข้อมู ลข่าวสาร คือการตัดสินผู ้ชนะในสงครามข่าว นั่นเอง
26
ชนัญญา ดอกรัก เขียน
ยุ ค ประสงค์ เลิศรัตนวิสุทธิ์
“ผู ้รับสารเป็ นใหญ่”
สื่อรุ ่นใหม่ต้อง ท�ำได้เหนือกว่า!! ใคร ๆ ก็เป็น “ผู ส้ ง่ สาร” ได้ แต่ไม่ใช่ ทกุ คนที่จะเป็น “สื่อ” ได้
ในยุ คที่ผู้รับสาร กลายเป็นใหญ่ จึง
ท�ำให้วงการสื่อมวลชนต่างต้องเร่ง พัฒนาศักยภาพบุ คลากรด้านข่าว รวมไปถึงเด็กรุ ่นใหม่ท่ีก�ำลังจะก้าว เข้าสู่วิชาชี พในอีกไม่ช้านี้ให้มีข้อแตก ต่าง และมีทกั ษะในการปล่อยข่าวสาร ออกสูส่ าธารณะที่เหนือกว่าคนทั่วไป ที่อยู ่บนสังคมออนไลน์ สื่ อ มวลชนตั ว จริ ง ต้ อ งปรั บ จากคนที่ ก ลั่ น กรองข่ า วสารเพื่ อ น� ำ เสนอสู่ ส าธารณะมาเป็ น คน ท� ำ ห น้ า ที่ ใ น ก า ร ท� ำ ข่ า ว ที่ กระจัดกระจายแล้วแพร่หลายอย่าง บ้าคลั่งในโลกออนไลน์ ให้มีความ น่าเชื่ อถือ ถ้าคุณเป็นมืออาชี พคุณ ก็ ต้ อ ง ต ร ว จ ส อ บ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ไ ป ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ลใ ห้ เ ป็ น ร ะ บ บ ให้มคี วามชัดเจน เพราะเป็นทางรอด เดียวที่จะท�ำให้คนคิดว่าพวกคุณ คือ สื่อสารมวลชน “ประสงค์ เลิ ศ รั ต นวิ สุ ท ธิ์ ” ผู ้อ�ำนวยการสถาบันอิศรา กล่าวถึง ปั ญหาและอุ ปสรรคส� ำ หรั บ การ ท� ำ งานของบุ คลากรด้ า นข่ า วใน วงการสื่อมวลชนที่ควรต้องพัฒนา
27 ว่าจริง ๆ แล้วคนในวิชาชี พเองก็ยัง ขาดความรู ้รอบตัว ทั้งในเรื่องของ กฏหมายที่เกี่ยวกับสิทธิเด็ก พื้นหลัง ข้อมู ลของประเด็นที่จะท�ำ ทักษะด้าน การเขี ย น การตั้ ง ค� ำ ถามที่ ยั งไม่ ตอบโจทย์กับบทบาทหน้าที่ของสื่อ กระแสหลักที่ควรจะมี ดั ง นั้ น เพื่ อ จั ด การปั ญหานี้ ส ถ า บั น อิ ศ ร า มู ล นิ ธิ พั ฒ น า สื่ อ มวลชนแห่ ง ประเทศไทยจึ ง มี ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ด้ า น ข่ า ว โดยเน้นอบรมในเรื่อ งกฏหมายและ การให้ความรู ้ในมิติต่างๆ “ให้คนจากตัวอย่างจากข่าว ที่ ท� ำ จริ ง ๆ เช่ นการอบรมนั ก ข่ า ว ยู นิ เ ซฟ ผมเคยเปิ ดคลิ ป ให้ ค นอื่ น ดูการท�ำงานของนักข่าวชื่ อดัง ซึ่ ง ทุกคนไม่รู้เลยว่าเกิดอะไรขึ้น ขณะที่ เขาก�ำลังละเมิดสิทธิเด็ก ละเมิดสิทธิ มนุ ษ ยชน นั ก ข่ า วด้ ว ยกั น เองไม่ รู้ นิสิต นักศึกษาด้านวารสารศาสตร์ ก็ไม่รู้ วิชาชี พเราอ่อนเรื่องนี้มาก “ การอบรมจึงเป็นกระบวนการ ที่พยายามเน้นให้เกิดการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น เพื่อที่จะท�ำให้บุคลากร ด้านข่าวรวมไปถึงเด็กรุ ่นใหม่ท่ ีก�ำลัง จะก้าวเข้าสู่วิชาชี พรู ้ถึงกระบวนการ และวิธีการท�ำข่าวที่ถูกต้อง จากนัน้ ส า ม า ร ถ น� ำ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ที่ ดี มี คุ ณ ภาพไปให้ ป ระชาชนได้ เ สพ ได้อ่าน ได้ดู และได้เห็นข้อเท็จจริง ที่เกิดขึ้นในสังคม ส�ำหรับการอบรมในแต่ละครั้ง จะมีทั้งการอบรมผู ้ประกอบวิชาชี พ ในระดับ บก.ข่าว นักข่าววิชาชี พ รวมไปถึ ง นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาที่ เรี ย น ท า ง ด้ า น ว า ร ส า ร ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สื่อสารมวลชนจ�ำนวนเฉลี่ยครั้งละ
ประมาณ 30-40 คน โดยมีวิทยากร หลากหลายด้าน ไม่ใช่ ว่าด้านข่าว อย่างเดียว แต่มีผู้เชี่ ยวชาญ ด้าน ต่างๆ มาให้ความรู ้ “นั ก ข่ า วรุ ่ นใหม่ ร วมไปถึ ง ผู ้ ประกอบวิชาชี พสื่อมวลชน จะต้องมี พื้นฐานที่ส�ำคัญ นั่นก็คือ ความรู ้ รอบตัวที่จะต้องรู ใ้ ห้ลกึ รู ใ้ ห้กว้างและ รู ้ให้ได้ทุกเรื่อง ส่วนการใช้เครื่องมือ เทคโนโลยีนั้น สามารถเรียนรู ้กันได้ ด้วยตัวเอง” สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์ แห่งประเทศไทยก็ตระหนักถึงปั ญหา การท� ำ หน้ า ที่ ของสื่ อในปั จจุ บั น ที่ต้องแข่งขันกับความรวดเร็ว จึง จั ด อบรมพั ฒ นาศั ก ยภาพของ บุ คลากรด้ า นข่ า ว เน้ น ปลู ก ฝั ง ความเป็ น คนข่ า ว ที่ ต้ อ งสามารถ ท�ำข่าวให้ครบถ้วน รอบด้าน และ ที่ส�ำคัญ แม้ภูมิทัศน์ส่ ือจะเปลี่ยนไป เรื่ อ งของจริ ย ธรรม การท� ำ งาน บนความรั บ ผิ ด ชอบ จะเป็ น สิ่ ง ที่ สะท้อนถึงคุณสมบัติของสื่อมวลชน การอบรมโดยสมาคมฯ จั ด ท� ำให้ กั บ ทั้ ง นั ก ข่ า ว แ ล ะ นั ก ศึ ก ษ า ด้านนิเทศศาสตร์เพื่อเป็นแรงเสริม ในการพัฒนาคนข่าวที่ดีสู่วงการ “วันชั ย วงศ์มีชัย” นายก สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่ง ประเทศไทย กล่าวถึงวิธีการอบรม นักข่าวและเด็กรุ ่นใหม่ท่ีก�ำลังจะก้าว เข้าสูว่ ชิ าชี พด้านข่าว ว่า ทางสมาคม นักข่าวฯ จัดกิจกรรมให้ตง้ั แต่ระดับ ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ที่ เ รี ย น ท า ง ด้ า น นิเทศศาสตร์วารสารศาสตร์ ซึ่ งก�ำลัง จะก้าวเข้าสู่แวดวงวิชาชี พสื่อ ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น โ ค ร ง ก า ร “พิราบน้อย” ทางสมาคมจะให้โควตา
กับสถาบันการศึกษา สถาบันละ2 คน ถ้ า หากนั ก ศึ ก ษาคณะอื่ น ที่ ส นใจ ก็ ส ามารถเข้ า ร่ ว มได้ เ ช่ นกั น โดย จะต้ อ งส่ ง เรี ย งความซึ่ งแต่ ล ะปี จะมี หั ว ข้ อ เกี่ ย วกั บ เป้ าหมายของ การอยากเป็นนักข่าว ใน 1 รุ ่นจะ คัดเลือกเพียง 30-40 คนเท่านั้น ที่ ผ่ า นมามี ก ารอบรมไปมากกว่ า 10 รุ ่นแล้ว ส� ำ ห รั บ ก า ร อ บ ร ม จ ะ เ น้ น เรื่องของกระบวนการในการท�ำข่าว ที่ ถู ก ต้ อ ง เรี ย นรู ้ ก ารแก้ ปั ญหา จากการถ่ า ยทอดประสบการณ์ ของนักข่าวรุ ่นเก่า โดยเปิ ดโอกาส ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ ล งพื้ น ที่ ท� ำ ข่ า วจริ ง และต้องน�ำเสนอได้หลากหลายแพล็ต ฟอร์ม ทั้งในเชิ งของหนังสือพิมพ์ โทรทั ศ น์ และเว็ บไซต์ หลั ง จาก นักศึกษาผ่านการอบรมก็จะต้องท�ำ ข่าวมาส่ง เพื่อเป็นการสะท้อนให้เห็น ว่า สิ่งที่พวกเขาได้รับไปน�ำไปปรับ ใช้ได้มากน้อยแค่ไหนต่อสังคม ต่อมานักข่าวรุ น่ ใหม่ท่มี อี ายุ การ ท�ำงานอยู ่ท่ีประมาณ 1-5 ปี ที่น�ำ ปั ญหาที่เกิดขึน้ ในระหว่างการท�ำงาน ของนักข่าวส่วนใหญ่ เช่ น ปั ญหาใน เรื่ อ งของการท� ำ ข่ า วในเชิ ง สื บ สวน สอบสวน มาปรับปรุ งให้สอดคล้อง กั บ การแก้ ไ ขได้ อ ย่ า งตรงจุ ด เช่ น โครงการอบรมนักข่าวใหม่ หรือเรียก อีกอย่างหนึ่งว่า “ชุ มนุมนักข่าว” โดย จะเน้น ไปเรื่องของการพัฒนาทักษะ ให้กบั นักข่าวที่เพิ่งเข้ามาในวงการสื่อ ให้ มี ค วามสามารถที่ ห ลากหลาย สามารถผลิตข่าวได้อย่างครบถ้วน และรอบด้าน อีกทัง้ ยังเน้นการสร้าง ความเป็นคนข่าวที่มีจริยธรรมและ
28 มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในการท� ำ งาน ให้กับนักข่าวรุ ่นนี้อีกด้วย นอกจากโครงการพิราบน้อย และชุ มนุ ม นั ก ข่ า วแล้ ว ก็ ยั ง มี การเข้าค่ายอบรมนักข่าวไอที นักข่าว สิ่งแวดล้อมประมาณ 3-4 วัน ที่ น�ำเอานักข่าวในสังกัดของสมาคมที่ มี ป ระสบการณ์ แ ละความสามารถ มาเป็นเทรนเนอร์ โดยการถ่ายทอด บทเรียน และจุ ดประกายความคิด ต่าง ๆ ให้กบั นักศึกษา ตลอดจนการ จ�ำลองสถานการณ์ตา่ งๆ เพื่อแสดง ให้เห็นถึง วิธีการท�ำข่าว การแก้ไข ปั ญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ และเมื่อ นักศึกษาได้ผ่านการอบรมในส่วนนี้ แล้ว ก็จะมีการตัง้ กลุ่มให้ไปลงพื้นที่ ท� ำ ข่ า ว แ ล ะ ผ ลิ ต ข่ า ว อ อ ก ม า ให้ได้หลากหลายแพล็ตฟอร์ม จากการอบรมและพั ฒ นา บุ คลากรด้ า นข่ า วของทางสมาคม นักข่าวฯ ที่ผ่านมา พบว่าทัง้ นักข่าว รุ ่นเก่า นักข่าวรุ ่นใหม่ และนักศึกษา ที่เรียนทางด้านวิชาชี พข่าวส่วนใหญ่ ยังขาดความรอบรู แ้ ละความเข้าใจใน เรื่องที่จะท�ำ ยิ่งในยุ ค ที่ตอ้ งการ ความรวดเร็ ว นั ก ข่ า วจึ ง มี เ วลาค้ น คว้ า ข้อมู ลน้อย จึง ท� ำให้ เ หมื อ น กั บ ว่ า การท� ำ ข่าว
ในแต่ ล ะครั้ ง นั ก ข่ า วท� ำ การบ้ า นไป น้อย ข้อมู ลบางอย่างที่สืบค้นมาเกิด ความผิดพลาด อีกทัง้ ยังขาดทักษะ การตั้งค�ำถามที่ค่อนข้างคลุมเครือ เข้าใจยาก จนบางครั้งคนที่ติดตาม ข้อมู ลต�ำหนิอยู ่บ่อยครั้งว่า มักจะ ถามค�ำถามพื้น ๆ ค�ำถามที่เหมือน กับลมพัดใบไม้ไหว เช่ น“รู ส้ กึ อย่างไร” น้ อ ยคนที่ จ ะสามารถขุ ด คุ้ ย ข้ อ มู ล ค้นหาความจริง จากแหล่งข่าวออก มา เพื่อให้ได้ข้อมู ลที่ชัดเจน ไม่ใช่ ว่า แหล่ ง ข่ า วพู ดอะไรมาแล้ ว เชื่ อหมด ไม่ รู้ ว่ า เนื้ อ หาที่ เขาพู ดมาหมาย ความว่าอย่างไร ไ ม่ เ ข้ า ใ จ เนื้อหาที่แท้ จริง
ของข่ า วนั้ น การสั ม ภาษณ์ แ บบนี้ ถือว่าล้มเหลว คนที่อยากจะเป็ นนักข่าวคุณ ต้องกระตือรือร้น หมัน่ ท�ำการบ้าน ใส่ใจงานที่ทำ� เปิ ดหูเปิ ดตาให้กว้าง ที่ ส� ำ คั ญ ต้ อ งอยากรู ้ อยากเห็ น จากนั้น ขวนขวายหาความจริ ง เรื่องนัน้ ๆให้เต็มที่
นายวันชั ย วงศ์มีชัย
29
นงนุช พุ ดขาว, กวินณา คงสระ เขียน
หลักสูตรนิเทศฯ ตองเปนแรงขับเคลื่อน นักนิเทศศาสตรรุนใหม
ด้
วยความที่เทคโนโลยีถกู พัฒนาให้ล้ำ� สมั ย และบุ ค ลากรถู ก ผลิ ต ขึ้ น เพื่ อ รองรั บ ความต้องการของธุรกิจสื่อเพราะองค์กร สื่อเลือกหาบุ คคลที่มคี วามสามารถรอบด้าน เข้ามาท�ำงานในวิชาชี พ หลักสูตรและการ เรี ย นการสอนนิ เ ทศศาสตร์ แ ละสื่ อ สาร มวลชนก็ต้องปรับตัวตามให้ทัน ออกแบบ หลักสูตรนิเทศศาสตร์ ต้องกล้าแตกต่าง บรรยงค์ สุ ว รรณผ่ อ ง ประธานกรรมการ จริยธรรมวิชาชี พสมาคมนักข่าว วิทยุ โทรทัศน์ ไทย และกรรมการควบคุมจริยธรรมสมาคมนัก ข่า วนักหนังสือ พิม พ์แห่งประเทศไทย เล่ าถึ ง ประสบการณ์ท่เี คยสอนและมีสว่ นร่วมในการปรับ หลักสูตรของสถาบันการศึกษาในต่างจังหวัด ว่า แท้ท่จี ริงแล้วหลักสูตรเป็นเพียงภาพที่สวยหรู ถ้า หากบุ คลากรทางการศึ ก ษาหรื อ อาจารย์ ไ ม่ พร้อมที่จะสอน แม้หลักสูตรจะมีคุณภาพก็จะไม่ เกิดผลกับผู เ้ รียน นอกจากนีก้ ารพัฒนาหลักสูตร ก็ไม่จำ� เป็นต้องในรู ปแบบเดิม เพราะจะต้องท�ำให้ เป็นไปในลักษณะของสื่อหลอมรวมมากขึ้น เพื่อ ตอบสนองอุ ปกรณ์ปลายทางของผู ้รับสาร เมื่อ เป็ นเช่ นนี้สถาบันการศึกษาจึงต้องมีการปรับ หลักสูตร ให้สามารถตอบโจทย์อุปกรณ์ปลาย ทางที่อยู ่ในมือของผู ้รับสารได้ด้วย
บรรยงค์ สุวรรณผ่อง
30
ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ค ว ร พัฒนาตามเอกลักษณ์ และพิจารณา ให้สอดคล้องกับตลาด ซึ่ งหมายถึง ตลาดย่อยๆ ในแต่ละจังหวัด แต่ละ พื้นที่ด้วย คณะนิเทศศาสตร์ยังมีอีก หลายสาขา หลักสูตรต้องมีความ ยืดหยุ น่ ตามปั จจัยข้อจ�ำกัดของแต่ละ สถาบันด้วย แต่ภายใต้ข้อจ�ำกัดนั้น ควรมี ก ารออกแบบการสร้ า งคน วารสารศาสตร์ท่ีชัดเจนในแบบของ แต่ละหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรไม่จ�ำเป็น ต้องในรู ปแบบเดิมๆ เพราะจะต้อง ท�ำให้เป็นลักษณะของสื่อหลอมรวม มากขึ้ น เพื่ อ ตอบสนองอุ ปกรณ์ ปลายทางของผู ร้ บั สาร เมื่อเป็นเช่ นนี้ สถาบันการศึกษาจึงต้องมีการปรับ หลั ก สู ต ร ให้ ส ามารถตอบโจทย์ อุ ปกรณ์ ป ลายทางที่ อ ยู ่ ใ นมื อ ของ ผู ้รับสารได้ด้วย” ทัง้ นีก้ ารเตรียมบุ คลากรที่ใช้ใน การสอน หากเป็นอาจารย์ประจ�ำควร จะเตรี ย มความพร้ อ มและพั ฒ นา ตนเองเพื่อมีความรู ้เพียงพอส�ำหรับ การสอนและปรับปรุ งวิธกี ารสอนให้มี คุณภาพ
หลักสูตรต้องช่ วยท�ำลาย “กรอบข้ อ จ� ำ กั ด ” เพื่ อ สร้างคนสื่อ
อาจารย์ จ เลิ ศ เจษฎาวั ล ย์ ค ณ บ ดี ค ณ ะ สื่ อ ส า ร ม ว ล ช น มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กล่าวถึง บริ บ ทของการที่ บุ คลากรอาจารย์ ควรมีส่วนร่วมท�ำลาย”กรอบ”ที่ติด มากั บ ผู ้ เ รี ย นแล้ ว จะได้ นั ก สื่ อ สาร มวลชนที่แตกต่างจากที่อ่นื และแม้วา่ รามค�ำแหงจะเป็นมหาวิทยาลัยเปิ ด
อ.จเลิศ เจษฎาวัลย์
ผศ.อุ ษณีย์
แต่ ก ารเรี ยนการสอนพยายามเปิ ด โอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนนอกต�ำรา เสริมความคิด และน�ำให้เขาสามารถ พั ฒ นาความเป็ น คนสื่ อได้ ใ นแบบ ของตัวเอง “การเรี ย นโดยยึ ด ติ ด ต� ำ รา เป็นสิ่งที่ไม่ได้เสริมสร้างให้ผู้เรียนมี ความคิดสร้างสรรค์ เพราะต�ำราเป็น สิ่งที่เข้าใจยาก แต่หากเมื่อใดที่ผูเ้ รียน สามารถคิด และวิเคราะห์ได้ด้วยตัว เอง ผู ้เรียนก็จะสามารถออกจาก กรอบในตัวเองได้ เพื่อมุ ่งสู่การเป็น คนสื่ อ ที่ แ ตกต่ า ง” การมุ ่ งไปที่ จุ ด เล็กๆของผู ้เรียนแล้วค่อยๆดึงตัวตน ที่แท้จริงออกมา ผ่านความกล้าคิด กล้าท�ำ กล้าที่จะปฏิวัติตัวเอง ซึ่ งน�ำ ไปสู่การปฏิวัติส่ ือ และกลายเป็นคน สื่อที่มีคุณภาพ เพื่อต้องการให้เห็น ถึงความแตกต่าง ที่ไม่ใช่ วฒ ั นธรรม การเลียนแบบ “เราพยายามสร้างจุ ดแข็งจาก ระบบการเรียนที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติ ด้วยตัวเอง ท�ำให้มีประสบการณ์ใน การเรียนรู ้ได้มาจากสังคมภายนอก
ศิริสุนทรไพบู ลย์
และหลักสูตรที่มีการเปลี่ยนแปลงใน แต่ละครั้งมาจากนักวิชาการและนัก วิชาชี พสื่อที่เข้ามาช่ วยวิเคราะห์ร่วม กับเครือข่ายทางอาจารย์” อย่างไรก็ตาม อาจารย์จเลิศ เสริมด้วยว่า สิ่งที่จ�ำเป็นจะต้องปรับ ในหลักสูตรใหม่ก็คือ หาทางออกให้ กับผู ้เรียนนิเทศศาสตร์ หรือสื่อสาร มวลชน ที่จะเข้ามาเรียนในวันข้างหน้า "อยากให้คนที่มาเรียนสื่อเข้ามา ด้วยความกระหายในการเรียนรู ้ และ เมื่อผู ้เรียนเข้ามาแล้วสิ่งที่บุคลากร ต้องท�ำคือ ท�ำให้ผู้เรียนเรียนด้วย ความสนุก การเรียนการสอนจึงต้อง เป็นไปแบบสมัยใหม่ การปล่อยให้ผู้ เรียนออกไปเรียนรู โ้ ลกภายนอก อาทิ ให้ไปดูหนัง ให้ไปท่องเที่ยว ให้ไปอ่าน หนังสือ เป็นต้น และเมื่อผู ้เรียนมีส่งิ ที่อยากจะพู ด จึงต้องกลับมาเล่าใน สิ่ ง ที่ ไ ด้ ไ ปสั ม ผั ส มา ถึ ง จะท� ำให้ หลักสูตรนัน้ มีความสนุกมากขึน้ เพื่อ ให้นกั ศึกษาเปลี่ยนจากจ�ำเป็นคิด และ ไปสู่การวิเคราะห์เป็น”
สร้างนิเทศศาสตร์รุ่นใหม่ ที่ ร อ บ ด้ า น แ ต่ มี “เอกลักษณ์” ผศ.อุ ษณีย์ ศิริสุนทรไพบู ลย์ ในฐานะ รองประธานสาขาวิ ช า นิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต กล่าวว่า นิ เ ทศศาสตร์ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต เน้ น สอนเกี่ ย วกั บ การเป็ น นั ก นิเทศศาสตร์ท่ีมีความสามารถหลาย รู ปแบบ เมื่อจบหลักสูตรไปแล้วควรจะ เขียนข่าวหนังสือพิมพ์ ผลิตรายการ วิทยุ โทรทัศน์ หรือแม้กระทั่งการ ท�ำงานโฆษณาได้ด้วย ปั ญหาจากผู ้เรียนที่เกิดความ สั บ สนเกี่ ย วกั บ ความสามารถของ ตนเอง บางคนไม่รู้ว่าถนัดสิ่งไหน หรือท�ำอะไรได้บ้าง ขณะที่เรื่องของ ภาวะเศรษฐกิจที่ท�ำให้นักศึกษาบาง คนที่ มี ปั ญหาทางด้ า นการเงิ น เลิ ก เรียนเพื่อไปท�ำงานอีกด้วย ดังนั้น การเรียนที่ทำ� ให้เขามีความสามารถที่ รอบด้าน มีเอกลักษณ์เฉพาะที่ตอบ โจทย์ความต้องการของตลาดงาน ก็ มีโอกาสช่ วยเขาให้พัฒนาตนเองและ ได้งานท�ำ ส�ำหรับทิศทางในอนาคตของ หลักสูตรก�ำลังจะปรับหลักสูตรใหม่ใน ปี 2559 ตามหลักเกณฑ์ของ สกอ. ที่ต้องเปลี่ยนหลักสูตรทุก 5 ปี โดยมี การส�ำรวจ ท�ำวิจัยศึกษาความคิด เห็นจากบุ คลที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร นิเทศศาสตร์ นักศึกษาที่เรียนปั จจุ บนั และจบไปแล้ ว หรื อ จากนั ก เรี ย นที่ ต้ อ งการศึ ก ษาต่ อ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภัฏภูเก็ต รวมไปถึงผู ้ประกอบ การในท้องถิ่น เพื่อน�ำมาประมวล
ข้ อ มู ล น� ำไปสู่ ก ารเปลี่ ย นแปลงของ หลั ก สู ต ร ซึ่ งจะเป็ น การสร้ า งนั ก นิเทศศาสตร์ท่ีมีความรอบด้าน แต่มี เอกลักษณ์เฉพาะที่ตามโจทย์ความ ต้องการของตลาดท้องถิ่นด้วย “จากผลการวิจัย พบว่า บุ คคลที่ วิ ช าชี พ ต้ อ งการคื อ คนที่ มี ค วาม สามารถหลากหลาย รอบด้าน ซึ่ ง รายวิชาบางตัวอาจต้องปรับเปลี่ยน เพื่อให้นักศึกษามีความรู ้และทันสมัย ยิ่งขึ้น เนื่ องจากจังหวัดภูเก็ตเป็ น แหล่งท่องเที่ยว ภาษาอังกฤษจึงมี ความส� ำ คั ญ ที่ ต้ อ งเรี ย นควบคู่ ไ ป ด้วย”
ฝึ กประสบการณ์ ควบคู่ ทฤษฎี ตอบโจทย์วิชาชี พ
ความต้ อ งการของวิ ช าชี พ นิเทศศาสตร์ในยุ คหลากแพลตฟอร์ม คือต้องการคนท�ำงานที่ท�ำได้หลาย อย่ า ง และมี ค วามสามารถพิ เ ศษ เฉพาะด้ ว ย ปั ญหาของคนเรี ย น นิเทศศาสตร์คือ เรามีศาสตร์การ เรียนรู ้ มีรายละเอียดเฉพาะของสาขา วิ ช าหลายด้ า น ทั้ ง เชิ งการคิ ด วิเคราะห์ ผลิต และน�ำเสนอ ซึ่ งจาก การส�ำรวจวิชาชี พ องค์กรต่างๆ ก็ ต้องการนักนิเทศศาสตร์รุน่ ให้ท่ีทำ� ได้ ทั้ง หมด แต่ ปั ญหาคื อ ถ้ า ท� ำได้ ทุ ก อย่ า ง ความเฉพาะ ความชอบ เอกลักษณ์ของแต่ละคนจะถูกดึงออก มาให้ชัดเจนอย่างไร หลักสูตรแบบ Work-based Learning ของคณะนิเทศศาสตร์ปัญญาภิวฒ ั น์ ที่ผู้เรียนฝึ กงาน 6 ครัง้ ตลอดการ เรียน 4 ปี และเป็นการฝึ กงานที่ไม่ ซ�้ ำกัน เป็นโอกาสให้ได้คน้ หาเพื่อรู จ้ กั
31
อ.สกุลศรี ศรีสารคาม
ต้องพัฒนาตัวเองเพิ่มอย่างไรเพื่อให้ ไปถึงจุ ดนัน้ ได้ “เราไม่อยากได้เป็ดคือท�ำเป็นทุก อย่ า งแต่ ไ ม่ ลึ ก คนชอบบอกว่ า นิเทศศาสตร์เป็นแบบนัน้ หรือบอกว่า ใครๆ ก็ท�ำงานนิเทศศาสตร์ได้ แต่ หลักสูตรต้องสร้างนักนิเทศศาสตร์ท่ ี มีความสามารถเฉพาะ และเอาความ สามารถนั้ นไปใช้ ใ นการขั บ เคลื่ อ น สั ง คมให้ ดี ขึ้ นได้ ใ นแบบของเขาได้ นั่ น คื อ สิ่ ง ที่ ก ารเรี ย นพร้ อ มปฏิ บั ติ ที่สัมผัสโลกท�ำงาน และสังคมจริง จะหล่อหลอมคนนิเทศที่เข้าใจสังคม และพร้อมท�ำงานเพื่อสังคม”
“หลั ก สู ต รนิ เ ทศศาสตร์ ไ ม่ จ�ำเป็นต้องเหมือนกัน แต่ละที่ ต้องหาเอกลักษณ์ ซึ่ งมีเป้า หมายร่วมกันคือผลักดัน การ สร้างคนสื่อที่มีคุณภาพเข้าสู้ ตลาดวิชาชี พ”
อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม หัวหน้าสาขา คณะนิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปั ญญาภิวัฒน์