6 minute read
บทสัมภาษณ์ คุณหฤษฎ์ หิรัญญาภินันท์ / คุณคฑาวุธ เอือจงประสิทธิ มุมมองใหม่ในธุรกิจการพิมพ์ (New Perspective in Printing Business
การด�ำเนินธุรกิจในยุคปัจจุบันซึ่งเป็นยุคของ Digital Disruption ที่ต้องอาศัยการปรับตัวให้ทันเทคโนโลยี หลาย ๆ ที่อาจจะเป็น บริษัทที่บริหารแบบรุ่นต่อรุ่น จากรุ่นปู่ส่งต่อมารุ่นพ่อและส่ง ต่อมาถึงรุ่นลูก รับต่อกันมาเป็นมรดกตกทอด แต่ก็มีไม่น้อยที่ ปรับตัวและผันตัวเองให้ทันเทคโนโลยีโดยการ Start up ธุรกิจ ใหม่ๆ รวมไปถึงการต่อยอด เพิ่มไลน์ใหม่ที่มีความเกี่ยวเนื่อง กับธุรกิจเดิม ยกตัวอย่างเช่น 2 นักธุรกิจหนุ่ม คุณหฤษฎ์ หิรัญญาภินันท์ – บริษัท เธราพรินต์ จ�ำกัด และ คุณคทาวุธ เอื้อจงประสิทธิ์ – บริษัท อี พี ซี คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ที่มาถ่ายทอด เรื่องราวและแนะน�ำแนวทาง มุมมองใหม่ในธุรกิจการพิมพ์ เพื่อต่อยอดธุรกิจให้เหมาะกับกระแสโลกในปัจจุบัน ซึ่งเนื้อหา ทั้งหมดในบทความนี้มาจากการสัมมนา “มุมมองใหม่ในธุรกิจ การพิมพ์ (New Perspective in Printing Business” เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2563 ที่ผ่านมา
Advertisement
คุณหฤษฎ์ หิรัญญาภินันท์ (คนขวามือ) บริษัท เธราพรินต์ จ�ำกัด
แนวคิดในการด�ำเนินธุรกิจในยุคปัจจุบัน คุณหฤษฎ์ ได้เล่าให้ฟังว่า จากเดิมที่ครอบครัวมีธุรกิจด้าน การพิมพ์อยู่แล้ว และมีโอกาสได้เข้าไปเรียนรู้งานและมองเห็นว่า งานในปัจจุบันมีความแตกต่างจากสมัยก่อนซึ่งมาในรูปแบบ Print on Demand ซึ่งจ�ำนวนผลิตน้อย มากกว่าที่จะผลิต เพื่อสต๊อกสินค้าไว้ ท�ำให้เราเสียโอกาสในการรับงานจ�ำนวนน้อย จึงได้หันมาจับงานด้านดิจิทัลเพื่อรองรับงานในส่วนนี้ แต่ไม่ได้ คิดว่าจะต่อยอดจากธุรกิจของครอบครัวเนื่องจากบริษัทของ คุณพ่อ (คุณเรืองศักดิ์ หิรัญญาภินันท์ – บริษัท โคแพค จ�ำกัด) เป็นบริษัทที่ค่อนข้างใหญ่ ในเรื่องของเอกสารหรือการติดต่อ งานไม่สามารถท�ำให้เรียบร้อยได้ในเวลาเพียงวันหรือสองวัน จึงได้ตั้งบริษัทแยกออกมา ชื่อ บริษัท เธราพรินต์ จ�ำกัด ในการบริหารธุรกิจ คุณหฤษฎ์ไม่ได้ยึดหลักเกณฑ์อะไรที่ ตายตัวมากนัก แต่อาศัยการเรียนรู้ความเปลี่ยนแปลงจากลูกค้า หมายความว่า ดูแลลูกค้าด้วยตัวเองและเรียนรู้จากลูกค้า ไปเรื่อยๆ เก็บสถิติต่างๆ จากลูกค้าเพื่อน�ำมาหาประโยชน์จาก จุดนั้นโดยไม่ทิ้งโอกาสให้สูญเปล่า ยกตัวอย่างเช่น หากมีลูกค้า ติดต่อให้ท�ำงานชิ้นหนึ่งซึ่งบริษัทไม่ได้รับผลิต และมีอีกหลาย เจ้าที่ติดต่อเข้ามาในลักษณะเดียวกัน ตรงจุดนี้ต้องคิดแล้วว่าเรา จะทิ้งโอกาสตรงจุดนี้ไปอีกหลาย ๆ ครั้ง หรือจะเปิดรับโอกาสนี้ ส่วนคุณคฑาวุธ ได้เล่าถึงความเป็นมาให้ฟังว่า ตนเองเป็นคน ที่ค่อนข้างโชคดี หลังจากเรียนจบในปีที่เกิดภาวะวิกฤติต้มย�ำกุ้ง ซึ่งเป็นวิกฤติที่ถือว่าไม่ได้สาหัสมากนักหากเทียบกับในยุคปัจจุบัน ในอดีตเราเป็นผู้น�ำเข้าหลักรวมไปถึงค่าแรงยังไม่สูงเท่าตอนนี้ ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตสินค้าหลายอย่างในโลก แต่ใน
คุณคทาวุธ เอื ้ อจงประสิทธิ ์ บริษัท อี พี ซี คอร์ปอเรชั ่ น จ�ำกัด
ปัจจุบันหลายๆ อุตสาหกรรมเริ่มกระจายตัวไปตามประเทศ เพื่อนบ้าน เนื่องจากค่าแรงขั้นต�่ำถูกกว่าประเทศไทย เมื่อมองถึง จุดนี้ จึงตั้งค�ำถามกับตัวเองว่า จะแข่งกับเขาได้อย่างไรเมื่อ อุตสาหกรรมหลักๆ ของไทยถูกย้ายไปจนเกือบหมด และหา ค�ำตอบด้วยการท�ำในเรื่องที่ประเทศเพื่อนบ้านท�ำตามไม่ได้ จากประสบการณ์การท�ำงานกล้าการันตีได้เลยว่า สินค้าประเภท ฉลาก อย่างเช่น Nike, ADIDAS หรือบรรจุภัณฑ์ของแบรนด์ ต่างๆ ประเทศไทยได้รับการยอมรับมากกว่า จึงได้ตั้ง บริษัท Thai KK Tech (บริษัทร่วมลงทุนระหว่าง บริษัท Thai KK จ�ำกัด ผู้ผลิตสติ๊กเกอร์รายใหญ่ในบ้านเรา กับบริษัท อี พี ซี จ�ำกัด ตัวแทนจ�ำหน่ายกระดาษ ชั้นน�ำจากต่างประเทศ) มีความมุ่งมั่น ในการท�ำฉลากอัจฉริยะ Smart Label เป็นหลัก
มุมมองในการด�ำเนินธุรกิจในยุคปัจจุบันและอนาคต คุณหฤษฎ์แสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้ว่า หลายๆ คนอาจจะ มองว่าอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์อยู่ในช่วงขาลง แต่นั่นก็เป็นเพียงแค่ สิ่งพิมพ์ประเภท Commercial หรืองานพิมพ์โบรชัวร์ หนังสือ เท่านั้น แต่ยังมีงานบางประเภทที่ไม่เคยลดลง เป็นงานที่ให้ คุณค่ากับผู้รับ เช่น การ์ดแต่งงาน ที่นับสถิติแล้วจ�ำนวนการผลิต ไม่ได้ลดลงเมื่อเทียบกับสิ่งพิมพ์อื่นๆ เทคนิคการพิมพ์ที่น�ำมาใช้ ในการ์ดแต่งงานมีความซับซ้อนมากขึ้น ดังนั้น สิ่งที่ต้องการจะ สื่อคือ สิ่งที่ผู้จะใช้งานชิ้นนั้นๆ ต้องการคือ ไม่ต้องการงานที่ใช้ แล้วทิ้ง แต่ต้องการงานพิมพ์ที่มีคุณค่า ซึ่งการที่จะเราจะสร้าง คุณค่าให้กับงานพิมพ์นั้นเราต้องใช้เทคนิคการพิมพ์มากกว่า 1 ระบบ สิ่งเหล่านี้จะช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับงาน จึงอยากให้ โรงพิมพ์ไหนๆ ก็ตามที่พิมพ์แค่ระบบเดียวตระหนักว่าอาจจะ ต้องล�ำบากในอนาคต แต่หากยังไม่มีความพร้อมที่จะลงทุนเพิ่ม แนะน�ำว่าให้หา Partner ที่สามารถรองรับในจุดนี้เพื่อความ อยู่รอดของธุรกิจในอนาคต
ในมุมมองของคุณคฑาวุธมองว่า หลาย ๆ คนอาจจะมองว่า ธุรกิจการพิมพ์ในปัจจุบันเป็นช่วงขาลง แต่นี่คือช่วงเวลาส�ำคัญ ที่จะมีการเปลี่ยนแปลง การพิมพ์จะเข้าไปซึมซับอยู่ในธุรกิจ อื่นๆ ในอนาคตทุกอย่างรอบตัวจะมีการพิมพ์เข้าไปเกี่ยวข้อง เพียงแต่อาจจะมีในรูปแบบต่างๆ ที่เปลี่ยนไป ดังนั้น จึงไม่ควร เกาะติดลูกค้าเพียงอย่างเดียวแต่ต้องสังเกตทิศทางภาพรวม กระแสของโลก หรือแม้แต่เรื่องของสิ่งแวดล้อมเองก็เป็น เรื่องส�ำคัญที่ควรควรตระหนักถึง เนื่องจากกระแสในเรื่องของ รักษ์โลก การลดใช้พลาสติก หรือการใช้สิ่งของที่ส่งเสริมสุขภาพ จึงควรมองถึงโอกาสที่จะน�ำสิ่งต่างๆ เหล่านี้มาประยุกต์ใช้ ให้เข้ากับธุรกิจการพิมพ์ซึ่งมีหลายลู่ทาง ทั้งในปัจจุบันและ ต่อเนื่องไปจนถึงอนาคต
ธุรกิจสิ ่ งพิมพ์ควรปรับตัวอย่างไรต่อพฤติกรรม ของผู้บริโภคในปัจจุบัน คุณหฤษฎ์ แสดงความเห็นว่า อย่างที่ทราบกันดีว่าปัจจุบัน ธุรกิจสิ่งพิมพ์มีจ�ำนวนลดลง หมายความว่า ปริมาณการพิมพ์ ในแต่ละครั้งมีจ�ำนวนน้อยลง แต่ในทางกลับกันมีจ�ำนวนครั้ง ของการพิมพ์เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น จึงอยากแนะน�ำหลักง่ายๆ คือ การเพิ่มฝ่ายขาย ยกตัวอย่างเช่น หากบริษัทมีเครื่องพิมพ์ 3 เครื่อง อาจจะมีฝ่ายขาย 10 คน เพื่อรองรับปริมาณการพิมพ์ ที่มีจ�ำนวนครั้งมากขึ้น หมายถึงการสั่งงานในจ�ำนวนที่บ่อยครั้งขึ้น หากยังมีฝ่ายขายในจ�ำวนที่ไม่เพียงพอกับจ�ำนวนงานที่ต้อง รองรับ จะส่งผลให้เสียโอกาสตรงจุดนั้นได้ ถึงแม้จะมีค่าใช้จ่าย ที่เพิ่มขึ้น แต่สิ่งที่ได้รับกลับมานั้นสามารถชดเชยกับการลงทุน ตรงส่วนนี้ ทางด้านคุณคฑาวุธได้กล่าวว่า ไม่ว่าพฤติกรรมของผู้บริโภค จะเปลี่ยนไปมากแค่ไหน เราสามารถรับมือได้ด้วยการเปลี่ยน มุมมอง ทุกวันนี้การลงทุนในประเทศไทยมีช่องทางมากมาย เพียงแต่ต้องเข้าใจก่อนว่าทุกวันนี้เขาท�ำอะไรกัน แนวโน้มของ ธุรกิจสิ่งพิมพ์ก�ำลังเดินไปในทิศทางไหน จะต้องจับตรงนั้นให้ ได้แล้วน�ำมาปรับเปลี่ยนให้เข้ากับธุรกิจ
การเตรียมตัวรับมือกับธุรกิจสิ ่ งพิมพ์ ในอนาคต คุณหฤษฎ์แสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้ว่า ความเปลี่ยนแปลง ในโลกปัจจุบันเปลี่ยนไปเร็วมาก จนเราไม่สามารถกะเกณฑ์ ได้เลยว่า ในอีกปีสองปีข้างหน้าจะเกิดอะไรขึ้นมาบ้าง แต่สิ่งที่ควร ต้องท�ำเป็นอันดับแรกคือการรับรู้ข่าวสารให้มากที่สุด เมื่อรับมา แล้วต้องท�ำการกรองข่าว รับรู้ ตระหนักรู้ วิเคราะห์ และท�ำวิจัย ในจุดนี้จะช่วยให้เราคัดกรองข้อมูลได้รับรู้ข่าวสารที่มีความส�ำคัญ และเกี่ยวข้องกับธุรกิจของเรามากที่สุด ด้านคุณคฑาวุธได้กล่าวว่า ควรท�ำการศึกษาข้อมูลและ ท�ำความเข้าใจให้ถ่องแท้ว่าทิศทางของโลกก�ำลังด�ำเนินไป ในทิศทางใด จะช่วยเสริมสร้างโอกาสทองในการท�ำธุรกิจ การพิมพ์ในอนาคตได้
ไม่ว่าพฤติกรรมของผู้บริโภคจะ เปลี ่ ยนไปมากแค่ไหน เราสามารถ รับมือได้ด้วยการเปลี ่ ยนมุมมอง ทุกวันนีการลงทุนในประเทศไทย มีช่องทางมากมาย เพียงแต่ ต้องเข้าใจก่อนว่าทุกวันนีเขา ท�ำอะไรกัน แนวโน้มของธุรกิจ สิ ่ งพิมพ์ก�ำลังเดินไปในทิศทางไหน จะต้องจับตรงนันให้ได้แล้วน�ำมา ปรับเปลี ่ ยนให้เข้ากับธุรกิจ คุณคทาวุธ เอื ้ อจงประสิทธิ ์ บริษัท อี พี ซี คอร์ปอเรชั ่ น จ�ำกัด
สาระน่ารู้เกี ่ ยวกับการพิมพ์ออฟเซต การควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ ออฟเซต (1) ดร.อนันต์ ตันวิไลศิริ หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และสื ่ อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี anan.tanwilai@gmail.com
เครดิตภาพประกอบ https://www.tectindemexico.com/images/gal/08.jpg
การควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ออฟเซต เป็นสิ ่ งที ่ ส�ำคัญในการการผลิตงาน เพื ่ อให้ได้งานพิ มพ์ ที ่ มี คุณภาพที ่ เหมือนเดิม หรือใกล้เคียงกับต้นฉบับให้ มากที ่ สุด ไม่ว่าจะมีการเปลี ่ ยนแปลงสภาพแวดล้อมใน การพิ มพ์ ที ่ แตกต่างกัน ในบทความนีจะอธิบายถึง หลักการและปัจจัยต่างๆ ที ่ เราต้องท�ำการควบคุม รวมถึง เครื ่ องมือวัดต่างๆ ที ่ จ�ำเป็นในการควบคุมคุณภาพ เพื ่ อท�ำให้ผู้ผลิตงานพิมพ์ ได้มีความรู้ความเข้าใจต่อไป
ความหมายและหลักการของการควบคุมคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ (Quality Control, QC) คือ การควบคุม คุณภาพในการผลิตให้เป็นไปตามคุณสมบัติที่ก�ำหนดไว้ และ สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าสูงสุด ด้วยกระบวนการ การตรวจสอบจุดบกพร่องของผลิตภัณฑ์ เพื่อที่จะท�ำการแก้ไข ปรับปรุงเพื่อให้ผู้ผลิตสามารถท�ำการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ใกล้เคียงกับคุณสมบัติที่ตั้งไว้
เหตุผลที่เราต้องควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ เพราะการผลิต สิ่งพิมพ์ เป็นกระบวนการผลิตที่ต้องมีการท�ำซ�้ำ และมีปัจจัย ที่สามารถควบคุมได้ และควบคุมไม่ได้ จากสาเหตุนี้ จึงท�ำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพทางการพิมพ์ การควบคุม คุณภาพทางการพิมพ์จึงเป็นกระบวนการที่ใช้ในการตรวจสอบ และควบคุมให้การผลิตสิ่งพิมพ์ให้ได้ตามความต้องการของ ลูกค้า ส�ำหรับการผลิตสิ่งพิมพ์ คุณภาพงานพิมพ์ หมายถึง ความเหมือนของสิ่งพิมพ์ที่ได้จากการวัดหรือเปรียบเทียบ กับต้นฉบับ การควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ จึงเป็นการควบคุม กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ให้ได้สิ่งพิมพ์ที่มีคุณภาพตามต้นฉบับ ที่ต้องการนั้นเอง ดังนั้นในการควบคุณคุณภาพทางการพิมพ์ออฟเซต จึงจ�ำเป็น ต้องเข้าใจถึงคุณภาพงานพิมพ์ที่ลูกค้าต้องการ ปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพิมพ์ ตั้งแต่ขั้นตอนการท�ำแม่พิมพ์ คุณลักษณะในการพิมพ์ (Print Characteristic) การควบคุม ปัจจัยต่างๆ ทางการพิมพ์ รวมถึงเครื่องมือวัด และมาตรฐาน ทางการพิมพ์ที่ก�ำหนดโดยโรงพิมพ์ หรือมาจากการอ้างอิง มาจากมาตรฐานสากล
เครื ่ องมือที ่ ใช้ในการควบคุมคุณภาพ ทางการพิมพ์ออฟเซต ในการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ออฟเซต สิ่งที่ส�ำคัญคือ การใช้เครื่องมือในการควบคุณคุณภาพให้ถูกต้องและเหมาะสม กับลักษณะงานพิมพ์ เครื่องมือที่จ�ำเป็นในการควบคุมคุณภาพ ทางการพิมพ์ออฟเซต คือ แถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ (Colour bar, Control strip) และเครื่องมือวัดค่าความด�ำและ ค่าสี (Spectrodensitometer)
แถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ (Colour bar, Control strip) ลักษณะทั่วไปของแถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์จะเป็น ไฟล์ดิจิทัล ที่ประกอบด้วยแถบควบคุมต่างๆ ที่พิมพ์ด้วย แม่สีทางการพิมพ์ 4 สี คือ สีน�้ำเงินเขียว (cyan) สีม่วงแดง (magenta) สีเหลือง (yellow) และสีด�ำ (black) โดยปกติ แถบควมคุมคุณภาพทางการพิมพ์จะมีขนาดกว้างประมาณ 5 มิลลิเมตรและยาวประมาณ 75 เซนติเมตร การใช้งานแถบ ควบคุมคุณภาพสามารถใช้งานได้โดยผ่านการวางด้วยโปรแกรม วางหน้า โดยจะวางไว้ตามแนวด้านยาวบริเวณท้ายกระดาษ ที่พิมพ์โดยมีความยาวตลอดช่วงความยาวกระดาษและแนวนี้ จะอยู่ในแนวตามขวางของโมพิมพ์ เนื่องจากต้องการตรวจสอบ การปล่อยหมึกในแต่ละบริเวณของโมพิมพ์นั่นเอง เนื่องจากจุดประสงค์ในการใช้แถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์นั้น ต้องการพิมพ์แถบควบคุมนี้ลงบนกระดาษ เพื่อให้สามารถใช้ เครื่องวัดในการวัดค่าต่างๆ เช่น ค่าความด�ำ ขนาดของ เม็ดสกรีนเพื่อตรวจสอบความสม�่ำเสมอในการปล่อยหมึก สภาพของการปรับตั้งเครื่องพิมพ์และคุณภาพงานพิมพ์อื่นๆ ได้ แถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ที่ใช้กันทั่วไปมีหลายประเภท ที่นิยมกันแพร่หลายได้แก่ แถบควบคุมสีของ FOGRA และ URGA เป็นต้น แต่ละแบบมีข้อแตกต่างกันเล็กน้อย การเลือก ใช้ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน อาทิเช่น งานพิมพ์ 4 สี 6 สี แถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ จะมีจ�ำนวนช่องสี ที่ไม่เท่ากันนั้นเอง
การควบคุมคุณภาพ ทางการพิมพ์ออฟเซต สิ ่ งที ่ ส�ำคัญคือ การใช้เครื ่ องมือ ในการควบคุมคุณภาพ ให้ถูกต้องและเหมาะสมกับ ลักษณะงานพิมพ์ เครื ่ องมือ ที ่ จ�ำเป็นในการควบคุมคุณภาพ ทางการพิมพ์ออฟเซต คือ แถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ (Colour bar, Control strip) และเครื ่ องมือวัดค่าความด�ำและ ค่าสี (Spectrodensitometer)
Ink zone width (e.g. 32.5 mm)
ภาพที ่ 1 ตัวอย่างแถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ ที ่ มา: Handbook of Print Media
ส่วนประกอบของแถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ แถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์โดยทั่วไป แบ่งเป็นช่อง ๆ ตาม ลักษณะที่พิมพ์ออกมาดังนี้ คือ ช่องพื้นทึบ (solid element) ช่องสกรีน (screen หรือ tints) ช่องพิมพ์พร่า (slur) และ การพิมพ์ซ้อน (doubling) ช่องการพิมพ์ทับซ้อนทับสี (trapping หรือ overprint) ช่องเม็ดสกรีนบวม (dot gain) และเครื่องหมายกันเหลื่อม (register mark) 1. ช่องพื้นทึบ ช่องพื้นทึบจะเป็นช่องสี่เหลี่ยม จะพิมพ์หมึกเต็มพื้นที่ด้วยสีหมึก สีเดียวแต่ละสี คือ เหลือง (Y) ม่วงแดง (M) น�้ำเงินเขียว (C) และ ด�ำ (K) จะใช้เพื่อวัดความหนาในการปล่อยหมึกพิมพ์ และยังใช้ ส�ำหรับตรวจสอบความสม�่ำเสมอในการปล่อยหมึกกระจาย ตามแนวกว้างของกระดาษหรือโมพิมพ์ ปกติแถบควบคุม คุณภาพแบบต่างๆ ไม่ว่าแบบใดมักจะมีช่องพื้นทึบของแต่ละสีนี้ ห่างกันเป็นระยะๆ ในช่วงประมาณ 2 ถึง 3 นิ้ว ตลอดช่วง ความยาวของแถบควบคุมคุณภาพ
ภาพที ่ 2 ช่องพื ้ นทึบในแถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ ที ่ มา: Handbook of Print Media
2. ช่องสกรีน ช่องสกรีนเป็นช่องที่ใช้ส�ำหรับตรวจสอบการเกิดเม็ดสกรีนบวม (dot gain) และความเปรียบต่างการพิมพ์ (print contrast) ที่นิยมใช้กันอยู่ มี 2 แบบ ดังนี้ 1) แบบ 3 ช่อง จะมีเม็ดสกรีน 3 ขนาด คือ 25 เปอร์เซ็นต์ 50 เปอร์เซ็นต์ และ 75 เปอร์เซ็นต์ เพื่อใช้วัดทั้ง 3 ช่องของภาพ คือ ส่วนสว่าง (high light) ส่วนน�้ำหนักสีกลาง (middle tone) และส่วนเงา (shadow) ของภาพ จะพิมพ์ด้วยสีเดี่ยว แต่ละสีคือ C M Y K 2) แบบ 2 ช่อง จะมีเม็ดสกรีน 2 ขนาด คือ 40 เปอร์เซ็นต์ และ 80 เปอร์เซ็นต์ จะพิมพ์ด้วยสีเดี่ยวแต่ละสี คือ C M Y K จะเน้นการวัด 2 ช่อง คือ ส่วนน�้ำหนักสีกลางของภาพและ ส่วนเงา
80%40%70% 75%50%
ภาพที ่ 3 ช่องเม็ดสกรีนในแถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ ที ่ มา: Handbook of Print Media
CY CMMY 3. ช่องการพิมพ์ซ้อนทับสี ช่องการพิมพ์ซ้อนทับสี มีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมพื้นทึบ ซึ่งพิมพ์ด้วยหมึก 2 สีซ้อนทับกันทีละคู่จึงเกิดเป็นสีแดง (R) เขียว (G) และน�้ำเงิน (B) ใช้ส�ำหรับวัดค่าของการพิมพ์ซ้อนทับสี โดยใช้ในการตรวจสอบสีบนพิมพ์ทับสีข้างล่างได้สมบูรณ์เพียงใด มีปัญหาหมึกถอนผิวหมึกที่พิมพ์ไปก่อนหรือไม่
ภาพที ่ 4 ช่องการพิมพ์ซ้อนทับสีในแถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ ที ่ มา: Handbook of Print Media
4. ช่องสมดุลสีเทา ในแถบประกอบด้วยเปอร์เซ็นต์ของหมึกพิมพ์ 3 สีที่พิมพ์แล้ว รวมกันได้สีเทา เปรียบเทียบกับสีด�ำที่ 40% ใช้ในการตรวจสอบ การสร้างสีเทาของหมึกพิมพ์ 3 สี หากมีการปล่อยหมึกพิมพ์สี ใดมากเกินไป แถบจะแสดงสีไปทางสีนั้น ๆ
CMY B B CMY
ภาพที ่ 5 ช่องสมดุลในแถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ ที ่ มา: Handbook of Print Media
5. ช่องการพิมพ์พร่าและการพิมพ์ทับซ้อน ช่องวัดการพิมพ์พร่าและการพิมพ์ซ้อนเป็นช่องที่ใช้ส�ำหรับ ตรวจสอบว่าการพิมพ์เกิดปัญหาเงาซ้อน เงาเหลื่อมหรือไม่ ลักษณะของช่องวัดการพิมพ์พร่าและการพิมพ์ซ้อนที่นิยมใช้ กันจะมีลักษณะเป็นเส้นตรงที่เอียงในแนวต่าง ๆ กัน 3 แนว คือ แนวนอน แนวตั้ง และแนว 45 องศา ความละเอียดของเส้น คือ 120 เส้นต่อนิ้ว เมื่อพิมพ์ออกมาแล้วมองห่างจากภาพประมาณ 10 นิ้ว แล้วหากเห็นว่าความเข้มของช่องนี้เท่ากันสม�่ำเสมอ แสดงว่าไม่มีปัญหาการพิมพ์พร่าและการพิมพ์ทับซ้อน
ภาพที ่ 6 ช่องการพิมพ์พร่าและการพิมพ์ทับซ้อนในแถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ ที ่ มา: Handbook of Print Media
ความส�ำคัญของแถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ แถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้กัน โดยทั่วไปในการควบคุณคุณภาพทางการพิมพ์ออฟเซต จาก ภาพที่ 7 แสดงงานพิมพ์ที่มีแถบควบคุมคุณภาพการพิมพ์และ ไม่มีแถบคุณภาพทางการพิมพ์การที่พิมพ์แถบควบคุมฯ บริเวณ ท้ายกระดาษ อาจจะท�ำให้สิ้นเปลืองกระดาษที่ต้องใช้ ส่งผลต่อ ต้นทุนในการผลิตสิ่งพิมพ์ อย่างไรก็ตามข้อดีส�ำหรับการพิมพ์ แถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ คือ การที่ช่างพิมพ์สามารถ ตรวจสอบคุณภาพของงานพิมพ์ในระหว่างการพิมพ์งานได้อย่าง ถูกต้อง ซึ่งสามารถตรวจได้ด้วยสายตา หรือการใช้เครื่องมือวัด และสามารถใช้ในการหาคุณลักษณะของเครื่องพิมพ์ (Print Characteristic) ซึ่งเป็นสิ่งที่ส�ำคัญของขั้นตอนการท�ำระบบ การจัดการสี (Colour Management System)
งานพิมพ์ที่ไม่มีแถบควบคุมคุณภาพการพิมพ์
งานพิมพ์ที่มีแถบควบคุมคุณภาพการพิมพ์
ภาพที ่ 7 การเปรียบเทียบงานพิมพ์ที ่ มีและไม่มีแถบควบคุณคุณภาพทางการพิมพ์
งานการประกาศผลและมอบรางวัลเวทีประกวดคลิปวิดีโอ “คนรุ่นใหม่ไร้ Food Waste” เป็นปีที่ 2 กับแนวคิด “อวสาน……….อาหารถูกทิ้ง” ซึ่งเป็นการผนึกความร่วมมือ ระหว่าง บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด ร่วมกับ สาขามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในการด�ำเนิน โครงการจัดการประกวดคลิปวิดีโอ “คนรุ่นใหม่ไร้ Food Waste” เพื่อสร้างความตระหนักในเรื่องลดความสูญเปล่าทางอาหาร ในกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มีส่วนส�ำคัญในการร่วมสร้างการเปลี่ยนแปลง ในการลดความสูญเปล่าของอาหาร รวมถึงการเปลี่ยนแปลง เชิงพฤติกรรม โดยการแชร์ไอเดีย สร้างพลังผ่านวีดีโอคลิป ความยาว 3 นาที ซึ่งได้รับความสนใจจากนักเรียน นักศึกษา เป็นอย่างมากโดยในปีนี้มีน้องๆ นักเรียน นักศึกษาส่งผลงาน เข้าร่วมโครงการกว่า 360 ผลงาน นอกจากนี้ยังได้จัดกิจกรรม สร้างความตระหนักในเรื่องลดความสูญเปล่าทางอาหาร หรือ
FOOD WASTE ในสถาบันการศึกษาทั่วประเทศระหว่างการ เปิดรับผลงาน ภายในงานประกาศรางวัลการประกวดคลิปวิดีโอ “คนรุ่นใหม่ไร้ Food Waste” ปีที่ 2 ขึ้น จัดขึ้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2562 ณ โรงละครอักษรา คิงเพาเวอร์ กรุงเทพฯ โดยมีคณะผู้บริหาร ระดับสูงบริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด และผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ ประธานสาขาวิชามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เข้าร่วมงานในครั้งนี้ พร้อมกันนี้ ยังได้รับเกียรติจาก คุณสุปราณี ชนะชัย ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด และคุณสุรศักดิ์ ป้องศร ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ไทบ้านเดอะซีรีย์ ร่วมเสวนาในหัวข้อ “แรงบันดาลใจสร้างสรรค์ อาหารสร้างโลก” อีกทั้งยังได้รับเกียรติจากคุณวีรยุทธ ล้อทองพานิชย์ Executive Producer ร่วมสร้างแรงบันดาลใจ “เทคนิคการท�ำหนังสั้นสร้างสรรค์สังคมในยุคดิจิตอล”
ผลการประกวด คลิปวิดีโอ “คนรุ่นใหม่ไร้ food waste” ปีที ่ 2 1. ระดับอุดมศึกษา รางวัลรองชนะเลิศ • ผลงาน 3 Phak the Revenge of Vegetable ทีม Chakorn Studio มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 • ผลงาน กินไม่หมดใครเดือดร้อน ทีมแก๊งหมีขาว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 • ผลงาน The Request ทีม NOPCITY STUDIO มหาวิทยาลัยกรุงเทพ รางวัลชมเชย • ผลงาน Stop Food Waste กินไม่หมด แค่ห่อกลับ ทีม ProfessionalStudioมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา • ผลงาน ถ้ารักฉันก็กินฉันสิ ทีม ABOX AGENCY มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2. ระดับมัธยมศึกษา รางวัลรองชนะเลิศ • ผลงาน ค�ำเตือน! ขยะอาหาร ทีมใครขายไข่ไก่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 • ผลงาน Food Waste Chaos ทีม 80k production โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 • ผลงาน เธอ ฉัน และจานเปล่า ทีม คน-ธรรม-หนัง โรงเรียนแม่เจดีย์วิทยาคม รางวัลชมเชย • ผลงาน Hero ทีมหนาวนี้กอดใคร จะหนาวได้ไงแดด เมืองไทยร้อนขนาดนี้ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย • ผลงาน นายเป็นใคร ทีม MCTV Studio โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย