9 minute read

Smart Production ความเป็น ไปได้ทีไม่สินสุด โดยไฮเดลเบิร์ก

82 NEWS “Smart Production ความเป็นไปได้ที ่ ไม่สิ ้ นสุด” ไฮเดลเบิร์กจัดแสดงโซลูชั ่ นบรรจุภัณฑ์แบบครบวงจร ที ่ ประเทศจีน ส�ำหรับตลาดเอเชีย

• ผู้เยี ่ ยมชมกว่า 100 คนจากทั ่ วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เข้าร่วมงาน Packaging Day ณ Print Media Center ที ่ นครเซี ่ ยงไฮ้ ประเทศจีน • โซลูชั ่ นส์บรรจุภัณฑ์แบบครบวงจรล่าสุดพร้อมเครื ่ องและ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ วัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ตลอดจนรูปแบบ การบริการได้ถูกน�ำเสนอในช่วงการสาธิตผลิตภัณฑ์ • หลังจากงาน Packaging Day งาน MK Open House ยังคงดึงดูดลูกค้าอย่างต่อเนื ่ องด้วยโซลูชั ่ นส์ล่าสุดของ การผลิตบรรจุภัณฑ์หลังการพิมพ์ ไฮเดลเบิร์กเอเชียแปซิฟิกจัดงาน Packaging Day ณ สถาบันสื่อ การพิมพ์ของไฮเดลเบิร์ก (Print Media Center) ที่ตั้งอยู่ในเขตชิงพู นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ภายใต้หัวข้อ “Smart Production - ความเป็นไปได้ที่ไม่สิ้นสุด” เมื่อวันที่ 10 กันยายน ที่ผ่านมา โดยมี ผู้เข้าชมงานกว่าร้อยคนจากทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเข้าร่วมงาน ซึ่งทุกท่านต่างให้ความสนใจอย่างมากในโซลูชั่นส์แบบบูรณาการ ของไฮเดลเบิร์กที่เครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ สามารถเชื่อมต่อการ ท�ำงานร่วมกันในทุกขั้นตอนการผลิตซึ่งตอบโจทย์ด้วยสามารถ ครอบคลุมถึงความต้องการที่เพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมที่ซึ่งค่าแรง ยังคงเพิ่มขึ้น ระยะเวลาการวิ่งเครื่องพิมพ์ลดลงอย่างต่อเนื่องและ เวลาของการผลิตก็สั้นลงตลอดเวลา เจ้าของแบรนด์ต่างๆ และกลุ่ม ต่างๆ ที่รวมตัวกันได้สร้างความเปลี่ยนแปลงไปทั่วโลกในเรื่องของ การเปลี่ยนแปลงลักษณะของงาน โดยผลิตภัณฑ์สิ่งพิมพ์มีรูปแบบ เพิ่มมากขึ้นและมีฟังก์ชั่นการท�ำงานพิมพ์ที่หลากหลายยิ่งขึ้น อาทิ การปรับแต่ง การก�ำหนดรุ่นและการพิมพ์แบบเฉพาะส่วนบุคคล ในงานไฮเดลเบิร์กได้เสนอกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายที่ท�ำงาน ด้วยระบบอัตโนมัติซึ่งสามารถเชื่อมต่อการท�ำงานร่วมกันได้ในทุก ขั้นตอนการผลิตได้อย่างครบวงจร “เราก�ำลังยกระดับคอนเซ็ปต์ Smart Print Shop อย่างต่อเนื่องและน�ำเสนอกระบวนการผลิต บรรจุภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าด้วยการผลิต กล่องแบบครบวงจรอย่างสมบูรณ์ หนึ่งในโซลูชั่นส์ส�ำหรับเรื่องนี้ คือแพลตฟอร์มเว็บแพ็คคลาวด์ของเราที่เรียกว่า “Boxuni” ซึ่งเปิดตัว เมื่อเร็วๆ นี้ โดยที่ บริษัท Xianjunlong Color Printing จ�ำกัด ผู้ผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เป็นลูกค้ารายแรกที่ร่วมเป็นพันธิตรกับ

Advertisement

1.

ไฮเดลเบิร์กผลิตงานบรรจุภัณฑ์อย่างครบวงจร โดยแพลตฟอร์ม ดังกล่าวนี้เชื่อมต่อโดยตรงทั้งกับเครื่องพิมพ์ นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ และผู้ซื้องานพิมพ์เข้าไว้ด้วยกัน” มร.โธมัส แฟรงค์ ประธาน กรรมการบริหารไฮเดลเบิร์กภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกกล่าวในระหว่าง การกล่าวต้อนรับ พริ้นเน็คท์เวิร์คโฟลว์ (Prinect workflow) เป็นรากฐานของ “Smart Print Shop” และเป็นจุดเริ่มต้นของการน�ำเสนอ ทั้งหมดในวันงาน “โรงพิมพ์บรรจุภัณฑ์จากภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ต่างประทับใจกับ Smart Packaging เวิร์คโฟลว์ แบบครบวงจร ของไฮเดลเบิร์ก ไฮไลท์ส�ำคัญในงาน ได้แก่ การออกแบบกล่อง อย่างรวดเร็วและง่ายดายหรือการแสดงตัวอย่างรูปแบบกล่อง 3 มิติ ที่น่าประทับใจพร้อมเอฟเฟคของกระบวนการหลังพิมพ์ เช่น การปั๊มนูน ตัวอย่างกล่องกระดาษที่พิมพ์บนเครื่องพิมพ์ดิจิทัลรุ่น Versafire ที่สามารถพิมพ์สีได้ใกล้เคียงกับระบบออฟเซต และส�ำหรับการ จัดแสดงการพิมพ์ระบบออฟเซตในงานได้จัดแสดงการพิมพ์แบบ ganging ซึ่งเป็นการพิมพ์รวมอาร์ตเวิร์คหลากรูปแบบบนเพลท เดียวกัน ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งการ ใช้เทคโนโลยี multicolor printing งานยากเหล่านี้ส�ำเร็จได้ด้วย โซลูชั่นส์เวิร์คโฟลว์แบบครบวงจรของไฮเดลเบิร์กซึ่งช่วยให้โรงพิมพ์ บรรจุภัณฑ์ผลิตงานได้เร็วขึ้น อัจฉริยะมากขึ้นและมีประสิทธิภาพ มากขึ้นกว่าเดิม” มร. ไบรอัน โคว ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ พริ้นเน็คท์ ในเอเชียแปซิฟิกกล่าวยืนยัน

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124 Chairman of the Supervisory Board / Vorsitzender des Aufsichtsrats: Dr. Siegfried Jaschinski Management Board / Vorstand: Rainer Hundsdörfer, Chairman / Vorsitzender · Dr. Ulrich Hermann · Dirk Kaliebe · Stephan Plenz Sitz der Gesellschaft / Registered Office: Heidelberg · Mannheim Registry Court / Amtsgericht Mannheim - Registergericht - HRB 330004 · USt.-IdNr. DE 143455661 Commerzbank AG Heidelberg IBAN: DE32 6724 0039 0192 2640 01 BIC: COBADEFF672 Deutsche Bank AG Heidelberg IBAN: DE22 6727 0003 0029 8000 01 BIC: DEUTDESM672

Press Information www.heidelberg.com

ด้วยเครื่องพิมพ์ Speedmaster CD 102-8 + L UV รุ่นใหม่ และการพิมพ์โดยหลักการแบบ push-to-stop และการพิมพ์ โดยใช้ระบบน�ำทางที่ได้แสดงให้เห็นไปแล้วครั้งแรกที่โรงงานชิงพู การพิมพ์โดยระบบน�ำทางนี้ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถเปลี่ยนแปลง งานที่ซับซ้อนได้อย่างง่ายดายด้วยการเปลี่ยนงานแบบอัตโนมัติ ผ่านซอฟต์แวร์ intelliguide บน Prinect Press Center XL 2 และ Wallscreen มร.ดั๊กลาส มูนนี่ ผู้รับผิดชอบในการพัฒนาธุรกิจ การพิมพ์ระบบออฟเซตป้อนแผ่นของไฮเดลเบิร์กในเอเชียแปซิฟิก กล่าวว่า “ในงานครั้งนี้เราได้เน้นให้เห็นถึงความยืดหยุ่นของ เครื่องพิมพ์รุ่น CD 102 ด้วยการใช้งานพิเศษเช่นการเคลือบงานด้วย เทคนิคต่างๆ แบบอินไลน์ที่ใช้เอฟเฟคต่างๆ ได้อย่างมากมาย อาทิ เอฟเฟค ลายนูน การเคลือบยูวี /การเคลือบแบบ drip-off และงาน หลากสีผ่านตัวอย่างงานพิมพ์กล่องช็อคโกแลตและบรรจุภัณฑ์ยา” เครื่องพิมพ์ Speedmaster CX 75 ที่จัดแสดงในงานเป็นเครื่องพิมพ์ ที่มีความสามารถที่หลากหลาย ใช้ผลิตตัวอย่างงานพิมพ์สองงานที่ แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับในการพิมพ์บรรจุภัณฑ์ด้วย การเปลี่ยนงานที่รวดเร็วและใช้งานง่าย แผ่นงานที่พิมพ์โดยเครื่องพิมพ์ CX 75 ได้รับการจับคู่สีเทียบกับแผ่นงานที่พิมพ์โดยเครื่องพิมพ์ ดิจิทัล Heidelberg Versafire ในการสาธิต นอกจากนั้น ได้มีการ สาธิตเครื่องพิมพ์ Speedmaster SX 74-4-P ซึ่งเป็นเครื่องพิมพ์ แบบกลับในตัวที่สมบูรณ์แบบใช้พิมพ์บรรจุภัณฑ์ยาแบบหนึ่งทับหนึ่ง หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนการพิมพ์ เครื่องปั๊มไดคัทรุ่น Promatrix 106 CS ของ Masterwork Group ได้ถูกใช้ไดคัทกล่องช็อคโกแลต ที่พิมพ์ออกมาเพื่อแสดงการเปลี่ยนงานที่รวดเร็วและผลผลิตสูง จากนั้นจึงตามด้วยเครื่องปะกาวกล่องรุ่น Diana Go และเครื่อง

ตรวจสอบคุณภาพงานรุ่น Diana Eye ของ Masterwork Group เพื่อเสร็จสิ้นกระบวนการผลิตงานบรรจุภัณฑ์อย่างสมบูรณ์ ผลิตภัณฑ์ในหน่วยธุรกิจหลักของ Heidelberg Lifecycle ที่เป็นอีกหนึ่งไฮไลท์ส�ำคัญในการสาธิต ลูกค้าได้เห็นภาพรวมของ เครือข่ายการมอบการบริการของไฮเดลเบิร์กที่ใหญ่ที่สุดด้วยการ มีบริษัทสาขาในทุกภูมิภาคของโลก เครือข่ายที่ใหญ่ที่สุดนี้ครอบคลุม ถึงระบบโลจิสติกส์ที่สามารถจัดส่งชิ้นส่วนอะไหล่ไปทั่วโลกได้อย่าง รวดเร็ว การมีช่างเทคนิคที่ผ่านการฝึกอบรมและมีทักษะสูง รวมทั้ง ประโยชน์ของการบริการระยะไกลและการตรวจสอบเครื่องและ อุปกรณ์ต่างๆ แบบการคาดการณ์ได้ล่วงหน้าเพื่อให้ใช้เวลาการผลิต ได้อย่างมีประโยชน์สูงสุดและรับประกันความน่าเชื่อถือของเครื่องพิมพ์ ได้อย่างน่าประทับใจมาก ตลอดจนผลิตภัณฑ์วัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ Saphira ที่หลากหลายต่างๆ ได้ถูกน�ำมาใช้สาธิตการผลิตงานต่างๆ รองรับงานพิมพ์ได้ทั้งงานพิมพ์ทั่วไป งานเคลือบยูวี และงานหลากสี ซับซ้อนบนกระดาษ แผ่นบอร์ดและฟอยด์ หมึก Saphira น�้ำยาเคลือบ ผ้ายาง แผ่นเพลทและเคมีภัณฑ์ล้วนท�ำงานร่วมกันได้อย่างดี ไร้ที่ติ เพื่อให้แน่ใจในการเปลี่ยนงานที่รวดเร็วและมีของเสียน้อยที่สุด ลูกค้าได้เห็นด้วยตาตัวเองถึงคุณภาพการพิมพ์ที่สมบูรณ์แบบที่ ผลิตภัณฑ์ Saphira เท่านั้นที่สามารถท�ำได้เมื่อท�ำงานร่วมกับ ซอฟต์แวร์พริ้นเน็คท์และเครื่องพิมพ์ Speedmaster ในวันต่อมาผู้เข้าร่วมงานมีโอกาสไปเยี่ยมชมงาน Open House ที่โรงงาน ของ Masterwork Group ที่เมืองเทียนจิน มีผู้เข้าชมทัวร์โรงงานและ ชมการน�ำเสนอเครื่อง Powermatrix 106 CSB และเครื่องอื่นๆ อาทิ MasterSet, Powermatrix 106 FC รวมถึง MasterDrive, Diana Easy 85 และ Diana Inspector, Digimatrix 60 FC และ Laser Cut 340

2.

3. 4.

1. มร.โธมัส แฟรงค์ ประธานกรรมการบริหาร ไฮเดลเบิร์กภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกกล่าว ต้อนรับผู้เข้าร่วมงานกว่า 100 คน 2. เริ ่ มต้นงานด้วยการน�ำเสนอ Prinect Smart Print Shop โดย มร. ไบรอัน โคว 3. Push-to-Stop และการพิมพ์ระบบน�ำทาง ได้น�ำมาจัดแสดงเป็นครังแรกที ่ โรงงาน ชิงพู ของไฮเดลเบิร์กด้วยเครื ่ องพิมพ์ Speedmaster CD 102-8+L UV รุ่นใหม่ 4. โซลูชั ่ นส์บรรจุภัณฑ์ล่าสุดของ Masterwork Group อาทิ Promatrix 106 CS, Diana Eye และ Diana Go สร้างความประทับใจ ให้กับลูกค้าอย่างมาก ค�ำอธิบายรูปภาพ สอบถามเพิ ่ มเติม โปรดติดต่อเจ้าหน้าที ่ ฝ่ายขาย โทร. 02 610 6100

สงผลงาน ภายในวันที่ 12 มีนาคม 2563

งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 14 “The Unity for Sustainability” เอกภาพเพื่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย

จากการที่สมาคมการพิมพ์ไทย ได้ริเริ่มจัด “การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ” ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2549 นั้น ได้สร้างความตื่นตัวให้กับอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งทางภาคเอกชนไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิตเครื่องจักร ทางการพิมพ์หรือผู้ผลิตวัสดุอุปกรณ์ทางการพิมพ์ และทางภาครัฐต่างก็ให้ความสนใจเข้าร่วมสนับสนุนในกิจกรรมนี้ อย่างต่อเนื่องในทุกๆ ปี ทั้งนี้เพราะผลที่ได้จาก “การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ” ท�าให้ประเทศไทยได้รับการยอมรับเป็น อย่างมากในด้านการยกระดับมาตรฐานคุณภาพสิ่งพิมพ์อีกทั้งผลงานที่ได้รับรางวัลจากการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติและ ถูกส่งไปแข่งขันสิ่งพิมพ์ระดับนานาชาติ หรือ Asian Print Awards 2019 ก็ประสบความส�าเร็จได้เป็นที่หนึ่งตลอดหลายปี ติดต่อกัน โดยเฉพาะปีที่ผ่านมาผลงานของประเทศไทย ได้รับเหรียญทอง 8 เหรียญ เหรียญเงิน 16 เหรียญ และเหรียญ ทองแดง 7 เหรียญ รวมเป็นจ�านวนทั้งสิ้น 31 เหรียญ ห่างจากที่ 2 กว่า 20 เหรียญ นับเป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่าคุณภาพ การพิมพ์ของโรงพิมพ์ในประเทศไทยมีความก้าวหน้าทัดเทียมกับนานาประเทศน�าพาซึ่งยอดการส่งออกสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ให้กับประเทศไทยสูงขึ้นเป็นล�าดับ ดังนั้น เพื่อเป็นการสานต่อความส�าเร็จที่ผ่านมา สมาคมการพิมพ์ไทย จึงได้จัด “การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 14” ขึ้นอีกครั้งในปี พ.ศ. 2563 นี้ ภายใต้แนวคิดว่า “The Unity for Sustainability” เอกภาพเพื่อความยั่งยืนของ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย ในปัจจุบันต้องยอมรับว่า ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสื่อสาร และ Social Media ท�าให้ระบบการด�าเนินธุรกิจทั้งภาคการผลิต และภาคการบริการ ต่างได้รับผลกระทบจากการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของผู้บริโภคในยุคดิจิตอลอย่างมากมาย จากที่คิดว่าการเปลี่ยนแปลงนี้จะเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป แต่กลับ กลายเป็นว่ากระแสความเปลี่ยนแปลงถาโถมเข้าใส่ธุรกิจและอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ท�าให้บางธุรกิจที่ปรับตัวไม่ทันต้อง ล้มหายตายจาก หรือต้องเลิกกิจการไป หรือเราอาจเรียกสิ่งนี้ว่า Digital Disruption อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ก็เช่นกัน ต้องเผชิญกับความท้าทายอย่างยิ่งกับกระแสการเปลี่ยนแปลงนี้ ทุกภาคส่วนของอุตสาหกรรมต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเอง โดยเฉพาะการที่ภาครัฐได้วางนโยบายเพื่อพัฒนาและผลักดัน ประเทศไทยสู่ยุค Thailand 4.0 เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม การพิมพ์ ทั้งผู้ผลิตเครื่องจักร ผู้พิมพ์ และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง จึงต้องปรับตัวในทุกๆ ด้าน ด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ ที่เฉียบคมและกล้าที่จะเปลี่ยนแปลง โดยมีการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐาน เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อตอบสนองความ ต้องการและ Life Style ของผู้บริโภคยุคใหม่ ที่มิได้มุ่งเน้นในเรื่องการพิมพ์ที่สวยงามและมีคุณภาพเท่านั้น แต่จ�าเป็นต้อง ปรับตัวมุ่งเน้นไปในเรื่องการออกแบบ (Design and Functional) การใส่ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) การสร้างมูลค่า เพิ่ม (High Value Added) ตลอดจนการใช้นวัตกรรม (Innovation) ทั้งด้าน Hardware และ Software เพื่อตอบโจทย์ ที่ท้าทายของลูกค้า การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 14 นี้ จึงได้เพิ่มประเภทการประกวดขึ้นมาอีก 3 ประเภทรางวัล ด้วยกันคือ ประเภทสิ่งพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing), ประเภทการออกแบบ (Graphic/Functional Appeal) และประเภท ความคิดสร้างสรรค์ (Creativeness) ส�าหรับการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวและพัฒนาความใฝ่รู้ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของอุตสาหกรรมการพิมพ์ 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา มาตรฐานงานพิมพ์ นวัตกรรมการพิมพ์ ซึ่งรวมถึงผลิตภัณฑ์และ กระบวนการ ผลิตอย่างต่อเนื่อง 3. เพื่อให้เกิดการตระหนักและให้ความส�าคัญในด้านคุณภาพชิ้นงาน เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจในการแข่งขันและ เตรียมพร้อมพัฒนาฝีมือสู่การแข่งขันในประชาคมอาเซียนและการแข่งขันในระดับโลก 4. เพื่อเป็นขวัญและก�าลังใจและยกย่องผู้ที่ได้รับรางวัลเกียรติยศนี้ สุดท้ายนี้สมาคมการพิมพ์ไทยและคณะกรรมการการจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 14 จึงขอเชิญชวน ผู้ประกอบการวิสาหกิจการพิมพ์ทั่วประเทศให้ร่วมกันส่งผลงานเข้าประกวดกันมากๆ เพื่อที่เราชาวอุตสาหกรรมการพิมพ์ จะได้ร่วมกันก้าวข้ามสู่อนาคตความเป็นผู้น�าทางด้านสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์อย่างเต็มภาคภูมิ

ผู้มีสิทธิส่งผลงานเข้าร่วมประกวด (Participants) • ผู้ผลิตสิ่งพิมพ์ (Printing Companies) • บริษัทโฆษณา (Advertising Agencies) • นักออกแบบสิ่งพิมพ์ • ผู้ผลิตงานก่อนการพิมพ์ (Prepress) และหลังการพิมพ์ (Postpress) • ผู้ซื้อสิ่งพิมพ์หรือผู้จ้างพิมพ์ • ผู้ที่มีส่วนร่วมในอุตสาหกรรมการพิมพ์ เช่น ผู้ค้าวัสดุ/อุปกรณ์การพิมพ์ เงื่อนไขการส่งผลงานเข้าร่วมประกวด (Conditions of Entry) 1. ผู้ส่งประกวดสามารถส่งชิ้นงานเข้าร่วมประกวดในนามบุคคล ห้างร้าน บริษัท นิติบุคคล หรือสมาคมที่เกี่ยวข้อกับธุรกิจ การพิมพ์โดยผู้ส่งประกวดจะต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับชิ้นงานนั้นๆ เช่น เจ้าของงาน ผู้จ้างผลิต ผู้ออกแบบ ผู้มีส่วนร่วมผลิต ในขั้นตอนต่างๆ 2. ชิ้นงานที่เข้าร่วมประกวดจะต้องผลิตทั้งกระบวนการในประเทศไทยและเพื่อการพาณิชย์เท่านั้น 3. ผู้ส่งประกวดจะต้องส่งผลงาน 3 ชิ้นต่อ 1 ประเภท (เผื่อเสียหาย) โดยกรอกใบลงทะเบียนให้ครบถ้วนทั้ง 2 ส่วนทุกข้อ (ข้อมูลส่วนที่ 1 ของผู้ส่งประกวด เช่น ชื่อหรือบริษัท จะถูกปิดเป็นความลับ และไม่เปิดเผยแก่คณะกรรมการตัดสิน) 4. ผู้ส่งประกวดสามารถส่งชิ้นงานเข้าร่วมประกวดได้มากกว่า 1 ชิ้นงานในทุกๆ ประเภท ส�าหรับชิ้นงานที่มีการส่งซ�้า จะถือว่าเป็นชิ้นงานเดียวเท่านั้น 5. ใบลงทะเบียน 1 ใบต่อ 1 ชิ้นงานต่อ 1 ประเภทประกวดเท่านั้น ถ้ามีความประสงค์จะส่งชิ้นงานใดเข้าประกวดมากกว่า 1 ประเภท ผู้ส่งประกวดจะต้องส่งชิ้นงานเพิ่ม และแยกกรอกใบลงทะเบียนตามประเภทที่ส่งเข้าร่วมประกวดเพิ่มให้ถูกต้อง เท่านั้น 6. ผลงานสิ่งพิมพ์ที่สร้างขึ้นไม่ว่าจะพิมพ์ด้วยระบบใดหรือใช้วัสดุในการพิมพ์ใดเพื่อใช้ในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ผลิตภัณฑ์ บริการ หรือบริษัทที่มีส่วนร่วมในอุตสาหกรรมการพิมพ์ โดยออกแบบเพื่อใช้ในโอกาสต่างๆ เช่น แผ่นพับ แนะน�าโรงพิมพ์ หนังสือแนะน�าร้านเพลท ปฏิทิน สมุดโน้ต แค็ตตาล๊อกกระดาษและ/หรือตัวอย่างงาน จะต้องส่งผลงาน เข้าประกวดในประเภท “สิ่งพิมพ์โฆษณาบริษัท หรือผลิตภัณฑ์ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ (Self Promotion)” เท่านั้น และชิ้นงานที่ส่งประกวดในประเภทนี้แล้ว ไม่สามารถส่งประกวดในประเภทอื่นได้อีก 7. ผลงานที่พิมพ์ด้วยระบบดิจิตอล สามารถเข้าร่วมประกวดได้ในประเภท Digital Printing Only และประเภท 7.1 งานพิมพ์ประเภทที่เป็นลักษณะเฉพาะ Specialty Categories 7.2 ฉลาก สติกเกอร์ ป้ายบรรจุหีบห่อ (Labels and Tags any process/any substrate) 7.3 งานออกแบบ Graphic/Functional Appeal 7.4 งานความคิดสร้างสรรค์ Creativeness 8. ค่าลงทะเบียนส่งเข้าร่วมการประกวดต่อ 1 ชิ้นงานต่อ 1 ประเภท ส�าหรับสมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย 200 บาท และส�าหรับผู้ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย 300 บาท 9. ชิ้นงานที่ส่งเข้าร่วมประกวดต้องเป็นงานที่ผลิตระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 12 มีนาคม 2563 และไม่ใช่ชิ้นงาน Reprint 10. ผู้สมัครสามารถส่งชิ้นงานได้ตั้งแต่บัดนี้ ถึง 12 มีนาคม 2563 ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนหรือส่งด้วยตนเอง ที่สมาคมการพิมพ์ไทย* 11. ชิ้นงานที่ได้รับรางวัล สมาคมการพิมพ์ไทยจะเป็นผู้รับผิดชอบการจัดส่งเข้าร่วมประกวดงานระดับนานาชาติ (ยกเว้นประเภทที่ไม่ได้มีการจัดประกวด) 12. ในแต่ละประเภทการประกวด ให้ส่งผลงานได้ไม่เกิน 10 ผลงาน หลักเกณฑ์การตัดสิน (Judging Criteria) 1. สมาคมการพิมพ์ไทยจะเป็นผู้คัดเลือกคณะกรรมการตัดสิน และค�าตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด 2. คณะกรรมการสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนประเภทประกวดของแต่ละชิ้นงานตามความเหมาะสม 3. ชิ้นงานแต่ละชิ้นจะได้รับการพิจารณาและประเมินตามคุณภาพการพิมพ์ ขั้นตอนในการผลิต ลักษณะการ ใช้งานและการออกแบบ 4. คณะกรรมการสงวนสิทธิ์ที่จะให้รางวัลมากกว่า 1 รางวัลในการประกวดบางประเภท และไม่ให้รางวัลในการ ประกวดบางประเภทที่ไม่มีชิ้นงานใดเหมาะสม

ประเภทการประกวด (Categories) Offset Printing Only (ระบบการพิมพ์แบบออฟเซ็ตเท่านั้น) 1. โปสเตอร์ และสิ่งพิมพ์ประเภทสื่อโฆษณา ณ จุดขาย เช่น ธงราว โมบาย ตัวตั้งแสดง แผ่นหรือตัวติดที่ชั้นวางของ (Posters and Point of Purchase,such as Mobile,Stands, Head Shelf, Wobblers-4ormorecolors) เป็นงานพิมพ์ 4 สี หรือมากกว่า โดยไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด และวัสดุ 2. ใบปลิว แผ่นปลิว แผ่นพับ แค็ตตาล๊อก จุลสาร อนุสาร จดหมายข่าว 16 หน้า หรือน้อยกว ่า โดยไม่รวมปก (Leaflets, Flyers, Folders, Brochures, Booklets, Catalogues, Newsletter - Up to 16 pages excluding cover - 4 or more colors) เป็นงานพิมพ์ 4 สี หรือมากกว่า โดยไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด และวัสดุ 3. แค็ตตาล๊อก จุลสาร อนุสาร จดหมายข่าว มากกว่า 16 หน้า โดยไม่รวมปก Brochures, Booklets, Catalogues, Newsletter - 4 or more colors (more than 16 pages excluding cover) เป็นงานพิมพ์ 4 สี หรือมากกว ่า โดยไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด และวัสดุ 4. การ์ด บัตรอวยพร นามบัตร สูจิบัตร บัตรเชิญในโอกาสต่างๆ (Cards, Greeting Cards, Name Cards and Invitation Cards) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีที่พิมพ์ 5. นิตยสาร วารสาร ที่พิมพ์ด้วยระบบป้อนแผ่น (Sheetfed Magazines and Journals-4ormorecolors) เป็นงานพิมพ์ 4 สีหรือมากกว่า 6. ปฏิทิน (Calendars) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และ จ�านวนสีที่พิมพ์ 7. งานพิมพ์หนังสือจ�านวนจ�ากัดและงานพิมพ์เลียนแบบ ภาพศิลป์ (Limited Edition Books and Art Reproductions) เป็นงานหนังสือหรืองานเลียนแบบภาพศิลป์ที่ผลิตไม่เกิน 2,000 เล่ม/ภาพ/ชุด โดยไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีที่พิมพ์ 8. หนังสือที่พิมพ์ 4 สีหรือมากกว่า (Book Printing - 4 or more colours) 9. บรรจุภัณฑ์ที่พิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทป้อนแผ่น(Packaging Sheetfed Offset) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสี ที่พิมพ์ การตัดสินใช้หลักเกณฑ์ในเรื่องการปกป้องผลิตภัณฑ์ การสื่อสารกับผู้ใช้งานโดยพิจารณาคุณภาพงานพิมพ์การใช้งาน และการออกแบบอย่างเท่าเทียมกัน โดยขอให้ส่งชิ้นผลงาน ทั้งแบบที่ขึ้นรูปส�าเร็จและแบบแผ่น (ก่อนขึ้นรูป) มาด้วย 9.1 Paperboard Cartons 9.2CarryBags 9.3PaperboardCups(mustalsoprovideoneconvertedcup) 10. งานพิมพ์จากเครื่องป้อนม้วน - กระดาษ 70 gsm และ มากกว่า (Web Offset - Stock 70 gsm and up) 11. งานพิมพ์จากเครื่องป้อนม้วน - กระดาษ 65 gsm หรือ น้อยกว่า (Web Offset - Stock 65 gsm and less)

Digital Printing Only(ระบบการพิมพ์แบบดิจิตอลไม่จ�ากัดรูปแบบ) 12. หนังสือ (Book Printing - 4 or more colors) งานพิมพ์ 4 สีหรือมากกว่า 13. ใบปลิว แผ่นพับ โบรชัวร์ Leaflets/Flyers/Folders/ Brochures (up to 16 pages excluding cover) โดยเป็น งานพิมพ์ไม่จ�ากัดจ�านวนสีพิมพ์จ�านวน 16 หน้าหรือ น้อยกว่า (ไม่รวมปก) 14. แค็ตตาล๊อค จุลสาร โบรชัวร์ (Catalogues / Booklets & Brochures) โดยเป็นงานพิมพ์ 4 สีหรือมากกว ่า และ จ�านวนหน้ามากกว่า 16 หน้าขึ้นไป (ไม่รวมปก) 15. ปฏิทินและหนังสือภาพ (Calendars & Photo Books) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีที่พิมพ์ (หนังสือ ภาพที่เกิดจากการถ่ายภาพบันทึกเหตุการ์ณส่วนตัวต่างๆ เช่นวันเกิด วันแต่งงาน หรือการท่องเที่ยว ฯลฯ) 16. การ์ดและบัตรเชิญ (Cards /Greeting Cards & Invitation Cards) โดยกรณีที่เป็นขนาดเล็กมากขอให้ติดกับฐานรอง ตอนส่งผลงานด้วย 17. โปสเตอร์ และสิ่งพิมพ์ประเภทสื่อโฆษณา (Posters / Showcards & Point of Sale Materials) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ โดยจ�านวนสีพิมพ์ 4 สีหรือมากกว่า 18. บรรจุภัณฑ์ (Digital-Packaging) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีที่พิมพ์ โดยการตัดสินใช้หลักเกณฑ์ในเรื่อง การปกป้องผลิตภัณฑ์ การสื่อสารกับผู้ใช้งาน โดยจะพิจารณา คุณภาพงานพิมพ์ การใช้งานและการออกแบบอย่างเท่าเทียม โดยขอให้ส่งชิ้นผลงานทั้งแบบที่ขึ้นรูปส�าเร็จและแบบแผ่น (ก่อนขึ้นรูป) มาประกอบการพิจารณาด้วย 19. งานพิมพ์ดิจิตอล Inkjet, งานพิมพ์ขนาดใหญ่และป้ายโฆษณา (Digital - Wide format - Signage indoor or Outdoor ผู้ส่งผลงานเข้าประกวด จะต้องส่งผลงานดังนี้ ก) งานพิมพ์เต็มขนาด หรือ ข) ส่ง CD/DVD ของงานพิมพ์ (ถ่ายจากสถานที่จริง) และ ตัวอย่างงานพิมพ์ 1 ตารางเมตร หรือ ค) ส่งแนวคิดและตัวอย่างงานพิมพ์ 1 ตารางเมตร การตัดสินจะให้ความส�าคัญเท่ากัน ของ เนื้อหาสาระ แนวคิด คุณภาพงานพิมพ์ และความสะดุดตา งานพิมพ์บรรจุภัณฑ์อ่อนตัว พิมพ์ด้วยระบบ Flexography Gravure ฉลาก สติกเกอร์ ป้ายบรรจุหีบห่อ (Label and Tags) 20. บรรจุภัณฑ์อ่อนตัวที่พิมพ์ด้วยระบบ Flexography (Flexible Packaging) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีที่พิมพ์ ผู้เข้าประกวดจะต้องส่งชิ้นงานเต็มหน้ากว้างของวัสดุที่ใช้พิมพ์ ยาวต่อเนื่องอย่างน้อย 5รอบโมพิมพ์พร้อมชิ้นงานขึ้นรูปแล้ว a. Paper substrate - Plain or Laminated b. Aluminium Foil - Plain or Laminated c. Polymer substrate (Plain, Metalised or Laminated) a) Surface print OR b) Reverse print d. Paperboardcups(mustalsoprovideoneconvertedcup) e. Pre-printed liner board for corrugated f. Post-Print on Corrugated substrates (5 รอบโมพิมพ์ ต่อเนื่อง (5Cylinders) พร้อมชิ้นงานขึ้นรูป cartons/boxes) 21. บรรจุภัณฑ์อ่อนตัวที่พิมพ์ด้วยระบบ Gravure (Flexible Packaging) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีที่พิมพ์ ผู้เข้าประกวดจะต้องส่งชิ้นงานเต็มหน้ากว้างของวัสดุที่ใช้พิมพ์ และยาวต่อเนื่องกันอย่างน้อย 5 รอบโมพิมพ์(5Cylinders) พันแกนกระดาษส่งมาพร้อมชิ้นงานที่ขึ้นรูปแล้ว a. Paper substrate - Plain or Laminated b. Aluminium Foil - Plain or Laminated c. Polymer substrate (Plain, Metalised or Laminated) a) Surface print OR b) Reverse print d. Paperboardcups(mustalsoprovideoneconvertedcup) e. Paperboard Cartons (mustalso provide one converted carton)

22. ฉลาก สติกเกอร์ ป้ายบรรจุหีบห่อ (Labels and Tags any process/any substrate) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุและจ�านวนสีที่พิมพ์ในกรณีพิมพ์ด้วยระบบป้อนแผ่น ผู้เข้าประกวดจะต้องส่งชิ้นงานทั้งแผ่นพิมพ์ 2 แผ่น Offset or Digital 2 full sheet และชิ้นงานส�าเร็จที่ไดคัทเป็นฉลาก สติกเกอร์หรือป้ายมาด้วย กรณีพิมพ์ด้วยระบบป้อนม้วน ผู้เข้าประกวดจะต้องส่งชิ้นงานเต็มหน้ากว้างของวัสดุที่ใช้พิมพ์ และยาวต่อเนื่องกันอย่างน้อย 5 รอบโมพิมพ์ (5 Cylinders) งานกระดาษลูกฟูก (Corrugated) 23. บรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกส�าหรับสินค้าผู้บริโภค (Retail Consumer Packaging) 24. งานส่งเสริมการขาย (Point of Purchase Corrugated) 25. งานออกแบบและพัฒนาต่อยอดความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้กระดาษลูกฟูก (Creative Corrugated Design Product) Specialty Categories (งานพิมพ์ประเภทที่เป็นลักษณ์เฉพาะ) 26. งานพิมพ์หลากชิ้นที่ใช้เป็นชุด (Multi-Piece Production & Campaigns) ประกอบด้วยงานตั้งแต่ 3 ชิ้นขึ้นไป 27. งานการประดับหรือตกแต่งหลังการพิมพ์ (Embellishment) งานตกแต่งบนงานพิมพ์ ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ เช่น ปั๊มฟอยล์ ปั๊มไดคัท งานเคลือบผิวแบบต่างๆ และงาน ประดับอื่นๆ ตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะส่ง ผลงานของท่านเข้าร่วมการประกวด 1. ขอให้คัดเลือกผลงานที่ดีที่สุด และกรอกข้อมูลในใบสมัครให้ ครบถ้วนสมบูรณ์ ตรวจสอบว่ารายละเอียดข้อมูลทุกอย่างรวมถึง ผลงานนั้นถูกต้องตามเงื่อนไขและประเภทการประกวดทุกประการ พึงระลึกว่าในกรณีที่ผลงานของท่านได้รับรางวัลใด ข้อมูลต่างๆ ที่ท่านจัดส่งมาจะได้รับการตีพิมพ์ในหนังสืองานประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติด้วย 2. แนบใบสมัครส่วนที่ 1 เข้ากับด้านหน้าของผลงาน 3. แนบใบสมัครส่วนที่ 2 เข้ากับด้านหลังของผลงาน หากผลงาน มีขนาดเล็กกว่าขนาดA4 หรือมีโอกาสสูงที่จะได้รับความเสียหาย ระหว่างการจัดส่งหรือการหยิบจับ ให้ท่านน�าผลงานติดเข้ากับ กระดาษที่ทนทานอีกชั้น แล้วจึงน�าใบสมัครส่วนที่2 นี้ติดลงบน ด้านหลังของกระดาษอีกทีหนึ่ง 4. หากมีการส่งผลงานมากกว่าหนึ่งห่อ ขอให้ระบุล�าดับที่ของ หีบห่อให้ชัดเจนด้วย เช่น ห่อที่ 1/2, ห่อที่ 2/2 เป็นต้น 5. ถ้าท่านต้องการผลงานที่ส่งเข้าประกวดคืน ขอให้ท่านระบุ ให้ชัดเจนในใบสมัคร 6. คณะกรรมการฯ จะต้องได้รับผลงานทั้งหมดที่ส่งเข้าประกวด ภายในวันที่ 12 มีนาคม 2563 หากส่งทางไปรษณีย์ลง ทะเบียน จะถือเอาวันที่ประทับตราไปรษณีย์เป็นส�าคัญ 7. ผู้สมัครสามารถส่งผลงานได้มากที่สุด 10 ผลงานต่อประเภท และยังสามารถส่งผลงานเข้าประกวดในประเภทที่แตกต่างกันได้ 8. ผู้สมัครสามารถใช้ใบสมัครที่ถ่ายส�าเนาได้ หากมีใบสมัคร ต้นฉบับไม่เพียงพอ 9. ตรวจสอบว่า ท่านได้กรอกรายละเอียดของข้อมูลในใบสมัคร ทุกช่องที่ทางคณะกรรมการฯ ระบุไว้หรือไม่

รางวัล (Prizes) 1. รางวัล Gold Award ส�าหรับผลงานชนะเลิศในแต่ละประเภท 2. รางวัล Silver Award ส�าหรับผลงานรองชนะเลิศอันดับ 1 ในแต่ละประเภท 3. รางวัล Bronze Award ส�าหรับผลงานรองชนะเลิศอันดับ 2 ในแต่ละประเภท 4. รางวัล Best of the Best Awards ในสาขาต่างๆ ได้แก่ • BEST IN SHEETFED OFFSET • BEST IN MORE THAN ONE PRODUCTION PROCESS • BEST CREATIVITY IN PRINTING APPLICATIONS & DESIGNS • BEST IN PACKAGING PRINTING AND CONVERTING PROCESSES • BEST IN DIGITAL PRINTING ช่วงเวลารับผลงานเข้าร่วมประกวด และวันตัดสิน (Schedules) ช่วงเวลารับผลงานเข้าร่วมประกวด: วันนี้ ถึง 12 มีนาคม 2563 วันประกาศผลและมอบรางวัล: กรกฏาคม 2563* สถานที่: ห้องคอนเวนชั่นฮอลล์บี โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์* จองที่นั่งได้ที่สมาคมการพิมพ์ไทย โทร. 0-2719-6685-7 *วัน เวลาและสถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ภายหลัง 28. นวัตกรรมทางการพิมพ์ (Innovation / Specialty Printing) งานพิมพ์ที่แสดงให้เห็นถึงนวัตกรรมใหม่ในการใช้เครื่องจักร ขั้นตอนการผลิตใหม่ วัสดุใหม่ หรือการประยุกต์ใช้แบบใหม่ๆ โดยผู้สมัครจะต้องอธิบายความหมายและให้รายละเอียด ประกอบด้วย 29. การพิมพ์ปรู๊ฟด้วยระบบดิจิตอล (Digital Color Proofing) งานพิมพ์ปรู๊ฟจากระบบดิจิตอลจะถูกเปรียบเทียบกับงานพิมพ์ จริงเพื่อดูความสามารถในการเทียบสี ในกรณีเป็นนิตยสาร จะต้องมีอย่างน้อย 8 หน้า และเป็นงานพิมพ์เพื่อการ พาณิชย์เท่านั้น 30. งานพิมพ์เพื่อประชาสัมพันธ์บริษัท หรือผลิตภัณฑ์ใน อุตสาหกรรมการพิมพ์ (Self Promotion) งานพิมพ์ที่ สร้างขึ้น เพื่อใช้ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์หรือบริษัทที่มี ส่วนร่วมในอุตสาหกรรมการพิมพ์และออกแบบในโอกาสต่างๆ เช่น แผ่นพับ หนังสือแนะน�าประวัติ ปฏิทิน สมุดโน้ต งานที่ส่งประกวดในประเภทนี้ไม่สามารถเข้าร่วมประกวด ในหัวข้ออื่นๆ ได้อีก 31. งานพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing) งานพิมพ์ที่ขึ้นรูปด้วย เครื่องพิมพ์ 3 มิติ ไม่จ�ากัดวัสดุ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติม จาก www.thaiprintawards/3dprinting) 32. งานออกแบบ (Graphic/Functional Appeal) หลักเกณฑ์ ให้ความส�าคัญกับการออกแบบสวยงาม สะดุดตา หน้าที่ ประโยชน์และความสะดวกในการใช้งานของชิ้นงาน 33. งานความคิดสร้างสรรค์ (Creativeness) หลักเกณฑ์ให้ ความส�าคัญกับเทคนิคในการสร้างสรรค์ชิ้นงานทั้งด้าน ความคิดแปลกใหม่ การน�าเสนอของชิ้นงาน

ใบสมัครงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 14 ส่วนที่ 1 หมายเลข (เฉพาะเจ้าหน้าที่) ..................................................... (ข้อมูลส่วนนี้จะไม่แสดงแก่ผู้ตัดสิน) ประเภทการประกวด ....................................................................................................................................................................... นามผู้ส่ง (ชื่อ/บริษัท/สมาคม) .......................................................................................................................................................... ผู้ติดต่อ.......................................................................................................................................................................................... ที่อยู่............................................................................................................................................................................................... โทร..............................................................................................แฟกซ์ ....................................................................................... Email...........................................................................................Website....................................................................................

ชื่อผู้พิมพ์....................................................................................................................................................................................... ชื่อเจ้าของงาน................................................................................................................................................................................ ชื่อผู้ออกแบบ ................................................................................................................................................................................. ชื่อผู้แยกสี และผลิตเพลท (กรณีไม่ใช่ชื่อเดียวกับผู้พิมพ์) .................................................................................................................. ชื่อผู้ผลิตงานหลังการพิมพ์ (กรณีไม่ใช่ชื่อเดียวกับผู้พิมพ์)................................................................................................................. ชื่องาน.........................................................................................จ�านวนที่ผลิต ............................................................................. วัสดุที่ใช้ในการผลิต ยี่ห้อ และบริษัทผู้ค้า ......................................................................................................................................... ยี่ห้อเครื่องพิมพ์ที่ใช้ผลิต................................................................................................................................................................. *ผู้ส่งประกวดต้องกรอกข้อมูลใบสมัครโดยละเอียดให้ครบทุกข้อ

ลงชื่อ...........................................................................................วันที่..........................................................................................

โปรดฉีก

ส่วนที่ 2 หมายเลข (เฉพาะเจ้าหน้าที่) ..................................................... ข้อมูลส�าหรับการตัดสิน (กรุณาแนบส่วนนี้กับด้านหลังผลงาน) *ผู้ส่งประกวดต้องกรอกข้อมูลใบสมัครโดยละเอียดให้ครบทุกข้อ

ประเภทการประกวด .....................................................................จ�านวนที่ผลิต ............................................................................. (Category entered) (Quantity produced) จ�านวนสีที่พิมพ์.............................................................................จ�านวนเครื่องที่พิมพ์................................................................... (Number of ink colours) (Number of press passes) วิธีการพิมพ์ (ระบบและขั้นตอน) ..................................................................................................................................................... (Print Method and Process) ส�าหรับประเภทการประกวดที่ 11-12 โปรดระบุน้�าหนักแกรมกระดาษ รายละเอียดงานหลังการพิมพ์และเทคนิคอื่นๆ (เช่น วิธีการเข้าเล่ม งานปั๊ม/งานเคลือบ) .................................................................... (Embellishments, Finishing Processes, and etc.) ...................................................................................................................................................................................................... ค�าอธิบายเพิ่มเติมส�าหรับประเภทการประกวดที่ 26 ......................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... ส่งผลงาน ภายในวันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ สมาคมการพิมพ์ไทย

14 th

Thai Print Awards 2020 งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 14

ส่งผลงานภายในวันที่ 12 มีนาคม 2563 ที่สมาคมการพิมพ์ไทย

http://www.thaiprintawards.com/

311-311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688 email: thaiprint@thaiprint.org www.thaiprint.org

This article is from: