การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ ระดับชาติ ครัง ้ ที่ 1 เรื่อง
งานสร้างสรรค์ดนตรีและนาฏกรรม ในวิถีวัฒนธรรมกับการอยู่ร่วมกันในอาเซียน
จัดโดย
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง
วันพุ ธที่ 11 - วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องศักดิ์ ผาสุขนิรน ั ต์ หอประชุมพ่ อขุนรามคําแหงมหาราช มหาวิทยาลัยรามคําแหง หัวหมาก
2
สารจากคณบดี การประชุมวิชาการและเผยแพรผลงานสรางสรรค ครั้งที่ 1 ภายใตหัวขอ ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมการอยูรวมกันใน อาเซี ย น ดำเนิ น การโดยคณะศิ ล ปกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย รามคำแหง มี ว ั ต ถุ ป ระสงค เ พื ่ อ เผยแพร ผ ลงานด า นสหวิ ท ยาการ งานสรางสรรคดนตรีและนาฏกรรมของอาจารย นักศึกษา และศิลปน อิสระ เสริมสรางเครือขายทางวิช าการศิลปะการแสดงดนตรี แ ละ นาฏกรรมให เข มแข็ ง ในระดั บชาติ โดยไดแ บ ง การนำเสนอผลงาน สรางสรรคออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมดนตรี และกลุมนาฏกรรม โดยจะนำเสนอในวันที่ 11-12 พฤษภาคม 2565 ตามลำดับ ณ หอง ศักดิ์ ผาสุขนิรันต หอประชุมพอขุนรามคำแหงมหาราช มหาวิทยาลัย รามคำแหง หัวหมาก กรุงเทพมหานคร การจัดงานครั้งนี้มีผูสนใจนำเสนอผลงานสรางสรรครวมทั้งสิ้น 13 ชิ้นงาน ซึ่งมาจากสถาบันการศึกษาที่ หลากหลาย อาทิ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มหาวิทยาลัย ราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มหาวิทยาลัยรามคำแหง และ โรงเรียนเซนตคาเบรียล กรุงเทพมหานคร และมีการจัดการปาฐกถาพิเศษจากผูทรงคุณวุฒิรับเชิญทั้งในดานดนตรีและ นาฏกรรม ไดแก เรื่อง วิถีดนตรีมุสลิม จากมหาสมุทรอินเดียสูเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเรื่อง โนรา วิถีชุมชน นาฏกรรม นอกจากนี้ผลงานสรางสรรคที่ผานการคัดเลือกจะถูกนําเสนอตอหนาคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ (Peer Review) และตีพิมพรายละเอียดผลงานในสูจิบัตรการจัดงาน (ในรูปแบบไฟล PDF) และไดรับเกียรติบัตรเมื่อผานการ นําเสนอผลงาน สุดทายนี้ ในนามของคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง ขอขอบคุณผูทรงคุณวุฒิปาฐกถารับเชิญ ผูทรงคุณวุฒิภายนอก ผูนำเสนอผลงาน ตลอดจนบุคลากรที่มีสวนเกี่ยวของทุกคน ที่เปนสวนสำคัญทำใหการประชุม วิชาการและเผยแพรผลงานสรางสรรคครั้งนี้เกิดขึ้น และหวังอยางยิ่งวาคณะศิลปกรรมศาสตร จะไดเปนสวนหนึ่งในการ ผลักดันผลงานสรางสรรคทางดานดนตรีและนาฏกรรมของประเทศไทยในโอกาสอื่น ๆ ตอไป
ขอขอบคุณ นางสาวอรอนงค อิงชำนิ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร
3
กําหนดการ การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ ระดับชาติ ครัง ้ ที่ 1 เรื่อง งานสร้างสรรค์ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวฒ ั นธรรมกับการอยู่ร่วมกันในอาเซียน
11 - 12 พฤษภาคม 2565 ณ หองศักดิ์ ผาสุขนิรันต หอประชุมพอขุนรามคำแหงมหาราช มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก วันพุ ธที่ 11 พฤษภาคม 2565 9.30 น. - ลงทะเบียน 10.00 น. - ประธานในพิธีกลาวเปดการประชุมวิชาการและเผยแพรผลงานสรางสรรค ครั้งที่ 1 เรื่อง “งานสรางสรรคดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยูรวมกันใน อาเซียน” 10.15 น. - การแสดงในพิธีเปดการประชุม และพักรับประทานอาหารวาง 10.30 น. - ปาฐกถาพิเศษดานดนตรี เรื่อง “วิถีดนตรีมุสลิม จากมหาสมุทรอินเดียสูเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต” โดย 1. ศาสตราจารย ดร. เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุรศักดิ์ จำนงคสาร คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3. ครูนักชาย จิเมฆ (ครูยูโซฟ) ผูเชี่ยวชาญดานดนตรีมุสลิมในภาคกลางของประเทศไทย 12.00 น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. - ปาฐกถาพิเศษ (ตอ) 14.30 น. - อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง มอบของที่ระลึกใหกับองคปาฐกถาและ ผูทรงคุณวุฒิตรวจพิจารณาผลงานสรางสรรค และรวมถายภาพเปนที่ระลึก - คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร กลาวเปดการนำเสนอผลงานสรางสรรคทางดานดนตรี
4
15.00 น.
16.00 น. 16.15 น. 17.00 น.
- การนำเสนอผลงานสรางสรรคทางดานดนตรีในวิถีวัฒนธรรมอาเซียน ผูทรงคุณวุฒิ พิจารณาผลงานสรางสรรคทางดานดนตรี โดย 1. ศาสตราจารย ดร.วีรชาติ เปรมานนท 2. ศาสตราจารย ดร.ขำคม พรประสิทธิ์ 3. รองศาสตราจารย ดร.มานพ วิสุทธิแพทย 4. รองศาสตราจารย ดร.พรประพิตร เผาสวัสดิ์ 5. ผูชวยศาสตราจารย ดร.รุจิภาส ภูธนัญนฤภัทร 6. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อนรรฆ จรัณยานนท - พักรับประทานอาหารวาง - การนำเสนอผลงานสรางสรรค (ตอ) - พิธีมอบเกียรติบัตรใหกับผูเขารวมเสนอผลงาน
5
วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม 2565 8.30 น. - ลงทะเบียน 8.50 น. - คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร กลาวเปดการประชุมวิชาการดานศิลปะการแสดง ใน หัวขอ “ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยูรวมกันในอาเซียน” 9.00 น. - ปาฐกถาพิเศษดานนาฏกรรม เรื่อง “โนรา วิถีชุมชนนาฏกรรม” โดย 1. ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร. สุรพล วิรุฬหรักษ นายกราชบัณฑิตยสภา 2. ศาสตราจารยพรรัตน ดำรุง ศาสตราจารยวิจัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ผูชวยศาสตราจารยธรรมนิตย นิคมรัตน ศิลปนแหงชาติ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ 10.15 น. - พักรับประทานอาหารวาง 10.30 น. - ปาฐกถาพิเศษ (ตอ) 12.15 น. - คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร มอบของที่ระลึกใหกับองคปาฐกถาและผูทรงคุณวุฒิ ตรวจพิจารณาผลงานสรางสรรค - พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. - คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร กลาวเปดการนำเสนอผลงานสรางสรรคทางดาน นาฏกรรม - การนำเสนอผลงานสรางสรรคทางดานนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมอาเซียน ผูทรงคุณวุฒิ พิจารณาผลงานสรางสรรคทางดานนาฏศิลป โดย 1. รองศาสตราจารยประภาศรี ศรีประดิษฐ 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ผกามาศ จิรจารุภัทร 3. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สรร ถวัลยวงศศรี 4. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธรากร จันทนะสาโร 14.30 น. - พักรับประทานอาหารวาง 14.45 น. - การนำเสนอผลงานสรางสรรค (ตอ) 16.30 น. - พิธีมอบเกียรติบัตรใหกับผูเขารวมเสนอผลงาน 17.00 น. - สิ้นสุดการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานสรางสรรค ------------------------------------------
6
ปาฐกถาพิ เศษด้านดนตรี เรื่อง
วิถีดนตรีมุสลิม จากมหาสมุทรอินเดียสูเอเชียตะวันออกเฉียงใต
7
ผูทรงคุณวุฒิดานดนตรี ศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมศักดิ์ พิ กุลศรี การศึกษา ค.บ. (ดนตรี) วิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยา M.Mus. (Musicology) M.Phil. (Musicology) Ph.D. (Musicology) ประสบการณดานบริหาร คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา คณะกรรมการวิชาชีพ กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา (2560 - 2562) กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ (2560 - 2562) กรรมการบริหาร วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กรรมการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด (2564 - ปจจุบัน) กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน (2564 - ปจจุบัน) ผลงานทางวิชาการ หนังสือ – ตำรา 9 เรื่อง วิจัย 5 เรื่อง บทความวิชาการกวา 100 เรื่อง รางวัลเกียรติคุณ - อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธดีเดน สภาวิจัยแหงชาติ - อาจารยดีเดนสาขาศิลปกรรมศาสตร ที่ประชุมประธานสภาพนักงานมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย - อาจารยดีเดนกองทุนเอกิ้นเลาเกเซนอนุสรณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ปจจุบัน : ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
8
ผูทรงคุณวุฒิดานดนตรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุรศักดิ์ จํานงค์สาร สาขาวิชาดุริยางคศาสตรไทยและเอเชีย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัติการศึกษา กศ.บ. ดุริยางคศาสตรไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศป.ม. มานุษยดุริยางควิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Ph.D. Ethnomusicology, Indonesia Institute of the Arts, Yogyakarta, Indonesia การศึกษาดานดนตรีอินโดนีเซีย กาเมลันบาหลี (Balinese Gamelan) กับ Prof. I Wayan Dia, กาเมลั น ชวา (Javanese Gamelan) กั บ อาจารย Sudarmanto และ อาจารย Pardiman Djoyonegoro กาเมลันสุระการตา (Javanese Gamelan, Surakarta Style) กับ K.R.T. Widodo Nagara (Teguh) กาเมลั น ยอกยาการ ต า (Javanese Gamelan, Yogyakarta Style) กั บ K.R.T. Purbodiningrat (Raden Mas Soejamto) ประวัติการทำงาน 2542 – ปจจุบัน 2562 – ปจจุบัน 2552 – 2554 2543 – 2544
อาจารยประจำสาขาวิชาดุริยางคศาสตรไทยและเอเชีย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประธานบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษาสาชาวิชาดุริยางคศาสตรไทยและเอเชีย หัวหนาสาขาวิชาดุริยางคศาสตรศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร อาจารยผูไดรับเชิญ คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยแหงชาติอินโดนีเซีย (UI)
9
ผูทรงคุณวุฒิดานดนตรี ครูนักชาย จิเมฆ (ครูยูโซ้ฟ) ครูนักชาย จิเมฆ (ครูยูโซฟ, ครูโซบ) เปนผูบรรเลง กลองรำมะนาใหกับวงลำตัดของหวังเตะ ศิลปนแหงชาติ โดย ครูยูโซฟไดเริ่มหัดตีกลองตั้งแตอายุได 14 ป จนกลายเปนผูที่ เชี่ยวชาญดานการตีกลองรำมะนาและการทำกลองรำมะนา ครู ย ู โ ซ ฟ ได เ ล า ประวั ต ิ ช ว งหนึ ่ ง ของท า นไว ว า “ผมหัดตีกลองรำมะนามาตั้งแตป พ.ศ.2520 เพราะที่บาน เลนกลองรำมะนา เลนมาตั้งแตสมัยทวด สมัยนั้นเขาเรียกวา ดิเกรเรียบ เปนภาษาอาหรับ ยังไมเรียกลำตัด เหมือนในสมัยนี้ เมื่อกอนสมัยเด็กหลังที่เรียนจบจากโรงเรียนสุเหราชั้น ป.4 ก็ไปเรียนตอที่จังหวัดนราธิวาส ดานศาสนา แตพอเกิดเหตุการณ 14 ตุลา 2516 เหตุการณบานเมืองไม ปกติ ก็กลับที่บาน เพราะฐานะเราไมคอยดี ชวงนั้นขาวยากหมากแพงก็เลยไปหัดรำมะนา” ปจจุบัน ครูยูโซฟเปนผูที่แตกฉานในศิลปะดนตรีที่ไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรมมุสลิมที่ถายทอด กันในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย และยังไดถายทอดศิลปะการตีกลองรำมะนาใหกับศิษยผูที่สนใจ ทั่วไป รวมถึงเผยแพรความรูเปนสาธารณะผานทางเพจ “นักชาย จิเมฆ – ครูโซบ” เปนวิทยากรผูให ความรูแกนักวิชาการ นักวิจัย มีขอมูลเปนที่ยอมรับ ทั้งยังเปนชางผูผลิตกลองรำมะนาไดมีคุณภาพเสียง ชั้นดี
10
ปาฐกถาพิ เศษด้านนาฏกรรม เรื่อง
โนรา วิถีชุมชนนาฏกรรม
11
ผูทรงคุณวุฒิดานนาฏกรรม ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. สุรพล วิรุฬห์รักษ์ ราชบัณฑิต นายกราชบัณฑิตยสภา Doctor of Philosophy (Drama and Theatre) University of Hawai'i พ.ศ. 2523 Master of Arts (Drama and Theatre) University of Washington พ.ศ. 2515 Master of Architecture University of Washington พ.ศ. 2514 สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2509 ประสบการณดานงานบริหาร 1. รองอธิการบดีฝายศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. รองอธิการบดี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 4. คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตั้งแตวันที่ 24 สิงหาคม 2531 23 สิงหาคม 2535 5. คณบดีคณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 6. นายกสภาสถาบันกันตนา 7. กรรมการสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตตรัง 8. กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย รางวัลที่ไดรับ รางวัลวิจัย 1. รางวัลผลงานวิจัยรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2544 2. รางวัลผลงานวิจัยแหงชาติ พ.ศ. 2545 3. รางวัลนักวิจัยดีเดนแหงชาติ สาขาปรัชญา พ.ศ. 2546 4. รางวัลผลงานวิจัยแหงชาติ พ.ศ. 2550
12
รางวัลอื่น ๆ 1. ประกาศนียบัตรวิทยากร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร 2. นักเรียนเกาดีเดน กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย 3. นิสิตเกาดีเดน คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 4. บุคคลดีเดน กระทรวงศึกษาธิการ 5. นักวิชาการสื่อสารมวลชนยอดเยี่ยม สมาคมชางภาพสื่อมวลชนแหงประเทศไทย ผลงานทางวิชาการ บทความวิชาการ 1. สุรพล วิรุฬหรักษ. (2557). นาฏยทฤษฎี. วารสารราชบัณฑิตยสถาน, 39(3), 103-136 2. สุรพล วิรุฬหรักษ. (2557). การจัดการการดำเนินชีวิต. คณะสถาปตยกรรมศาสตรและ ศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยพะเยา, 9 มิถุนายน 2557. การนำเสนองานในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 1. Surapone Virulrak. (2017). The Current Transmission Status of Mask Culture and Necessity of the Archive Project in Thailand, a paper presented at the International Mask Art and Culture, IMACO International Conference on The Current Transmission Status of World Mask Culture and Necessity of the Archive Project, 31st October to 3rd November 2017, Vientiane, Lao PDR. 2. Surapone Virulrak. (2015). The Folk Performing Arts in ASEAN. Keynote Speech at the International Conference on “The Performing Arts in ASEAN”, Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre, Bangkok, Thailand, 4 September 2015. 3. Surapone Virulrak. (2014). Thai Culture. a special lecture presentation for international air force personals, Air Force Base, Don Muang, Bangkok, 16 May 2014. 4. Surapone Virulrak. Khon. ICH Courier Vol. 15, (Knowledge & Publication Section International Information and Networking Centre for Intangible Cultural Heritage in the Asia-Pacific Region under the auspices of UNESCO (ICHCAP), 5. Surapone Virulrak. (2014). Historical Perspective of Dance Education in Thailand. a paper presentation at the International Conference on Dance Education, University of Malaya, Kuala Lumpur, Malaysia. 13 August, 2014.
13
6. Surapone Virulrak. (2013). New Possibilities of the Classic. A KeyNote Presentation at the Opening of the International Conference on “The Research Forum and Festival of Thai/ASEAN Contemporary Theatre (Our Root Right Now)” at the Faculty of Arts, Chulalongkorn University, Bangkok, 6 January, 2013. งานบริการวิชาการ 1. นายกราชบัณฑิตยสภา 2. ราชบัณฑิต สาขาวิชานาฏกรรม สำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสภา 3. ที่ปรึกษา สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ 4. ที่ปรึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทางวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 5. ประธานคณะที่ปรึกษากรรมการบริหารสมาพันธนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย 6. ประธานกรรมการอำนวยการหอภาพถายโบราณลานนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม 7. ประธานกรรมการ World Dance Alliance (Thailand) 8. ประธานกรรมการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขานาฏยศิลป ม. สงขลานครินทร 9. ผูทรงคุณวุฒิสาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปตยกรรมศาสตรและศิลปกรรมศาสตร ม. พะเยา 10. ประธานกรรมการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวิจัยทางศิลปกรรมศาสตร ม. มหาสารคาม 11. ประธานกรรมการหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัยทางศิลปกรรมศาสตร ม. มหาสารคาม 12. ประธานคณะกรรมการวิจัย กรมสงเสริมวัฒนธรรม 13. ผูอำนวยการโครงการศูนยพัฒนาบุคลากรดานแฟชั่น จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย BIFA 14. ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขานาฏยศิลปไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 15. ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขานาฏยศิลปไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 16. ผูอำนวยการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทางวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 17. ประธานหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
14
18. ประธานกรรมการพิจารณาผลงานวิชาการประจำคณะนิเทศศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 19. ประธานกรรมการพิจารณาผลงานวิชาการประจำคณะศิลปกรรมศาสตรจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 20. ประธานเครือขายอุดมศึกษาอาเซียนและยุโรป ASEA-UNINET 21. ประธานคณะทำงานอาเซียนประเทศไทย ดานศิลปะการแสดง 22. ประธานกรรมการ World Dance Alliance (Thailand) 23. ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ 24. ผูอำนวยการสถาบันการเรียนรูและสรางสรรค สบร (TCDC) 25. ผูอำนวยการพิพิธภัณฑเพื่อการเรียนรูแหงชาติ สบร (MUSE) 26. ที่ปรึกษากระทรวงวัฒนธรรม 27. อนุญาโตตุลาการ กรมทรัพยสินทางปญญา 28. ผูเชี่ยวชาญ คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 29. รักษาการนายกสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ ฯลฯ งานวิชาการในองคกรวิชาชีพ 1. สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ 2. สมาคมนักออกแบบผังเมืองและชุมชน 3. East West Center Alumni ประเทศไทย 4. ราชบัณฑิตยสภา 5. Group Creative Director, McCann Ericson (Thailand) Co., Ltd. 6. Managing Director, Design Direction (Interior Design) Co., Ltd. 7. Board of Directors, Gold Master Co., Ltd. 7. Board of Directors, Body Glove Co., Ltd. 8. Board of Directors, Wisdom Co., Ltd
15
ผูทรงคุณวุฒิดานนาฏกรรม ศาสตราจารย์พรรัตน์ ดํารุง ภาคีสมาชิก สาขาวิชานาฏกรรม ประเภทวิชาวิจิตรศิลป สำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสภา ประวัติการศึกษา - อั ก ษรศาสตรบั ณ ฑิ ต จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย (พ.ศ. 2519) - M. Ed Northwestern State University of Louisiana สหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2521) - ประกาศนียบั ตร การจัดการทางศิลปะ จาก New York University สหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2543) ประวัติการทำงานวิชาการ ศาสตราจารยวิจัย, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผลงานวิชาการ - วิจัยการแสดง : สรางสรรคงานวิจัยในสาขาศิลปการแสดงไทยรวมสมัย ทุนเมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย - งานวิจัยสรางสรรคทางศิลปะการแสดง : แนวคิดและกลวิธีวิจัยแบบปฏิบัติการ ทุนวิจัย คณะ อักษรศาสตร - ลังกาสิบโห : ขับขานคุณธรรมในรามเกียรติ์ไทลื้อ โครงการวิจัย กาวหนาจากรากแกว ทุน วิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย- กรายทา : การสราง งานรวมสมัยจากทารำโนรา ทุนวิจัยสำนัก ศิลปะรวมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - สีดา-ศรีราม โครงการวิจัย เรื่องเกาเลาใหม ทุนวิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย - ละครประยุกต : การใชละครเพื่อการพัฒนา - กลับบานเรา : ผูหญิงสองคนเขียนถึงสาวนอยที่ จากไป - การละครสำหรับเยาวชน - “ศิลปะการแสดง” ใน ดนตรีและศิลปะการแสดง หนังสือศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยใน ประเทศ ไทย. น. 123-129. พ.ศ. 2559
16
- “Cambodians Dancing beyond Borders: Three Contemporary Examples,” in Beyond the Apsara: Celebrating Dance in Cambodia. Stephanie Burridge and Fred Frumberg, eds. New Delhi: Routledge India. pp. 61-85. 2008. - “From Preserving National Forms to Reviving Traditions for the World: Some Recent Uses of Classical Dance from Mainland Southeast Asia,” in Urmimala Sarkar Munsi, ed. Dance: Transcending Borders. New Delhi: Tulika Books. pp. 20-35. 2008. - “Independent Dance Identities on the Loose: Some Mainland Southeast Asian Ways of Using Traditional Sources to Shape Distinctive Artistic Lives,” in Independence and Identity: Topics in Dance Studies edited by Mohd Anis Md. Nor & Joseph Gonzales. ASWARA. Kuala Lumpur, Malaysia. pp. 63-81 - “Translation and Making Meaning in Thai Khon Performance,” in Jennifer Lindsay, ed., Between Tongues: Translation and/of /in /Performance in Asia, National University of Singapore Press. - บทความ 16 เรื่องที่เกี่ยวของกับศิลปะการแสดงแบบประเพณี ใน Encyclopedia of Asian Theatre, Samuel L Leiter, ed. Greenwood Press เกียรติคุณที่ไดรับ - เมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย - อาจารยดีเดนสาขามนุษยศาสตรและศิลปกรรมศาสตร พ.ศ. 2558 ของประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย - ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศิลปะการแสดง จากมหาวิทยาลัยบูรพา (พ.ศ. 2557)
17
ผูทรงคุณวุฒิดานนาฏกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์ ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (โนรา) พ.ศ. 2564 อาจารยประจำสาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา การศึกษา พ.ศ.2531 การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ) ประถมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตสงขลา พ.ศ.2540 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม) นาฏยศิลปไทย คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประสบการณการทำงาน พ.ศ.2521 ครูโรงเรียน วัดใสประดู ที่จังหวัดพัทลุง พ.ศ.2525 ครูโรงเรียนบานกระทิง อำเภอนาทวี พ.ศ.2534 ครูโรงเรียนสาธิตสถาบันราชภัฏสงขลา พ.ศ.2540 อาจารยสาขานาฏศิลปและการละคร สถาบันราชภัฏสงขลา พ.ศ.2546 – ปจจุบัน อาจารยประจำสาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ทักษิณ วิทยาเขตสงขลา เปนผูทรงคุณวุฒิและคณะทำงานจัดทำขอมูลโนรามรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมเพื่อนำเสนอตอ องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติหรือ ยูเนสโก(UNESCO) ตอมายูเนสโก ไดประกาศขึ้นทะเบียน โนรา เปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมที่จับตองไมไดของมนุษยชาติในป พ.ศ. 2564 พัฒนาองคความรู สรางสรรคการแสดงโนราในรูปแบบใหม ๆ โดยเปนนักแสดง ผูประพันธ บทรอง ผูออกแบบและกำกับการแสดง นำไปเผยแพรในวาระสำคัญตาง ๆ ทั้งในและตางประเทศ เชน พ.ศ. 2556 การแสดงโนรารวมสมัย ชุด “ครู” ศิลปะการแสดงที่สรางสรรคขึ้นมาตามพระดำริ ของศาสตราจารย ดร.สมเด็จเจาฟาฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี กำกับการแสดงโดย
18
ภั ทราวดี มี ช ู ธ น ศิ ล ป น แห งชาติ ในงานสายสัมพัน ธส องแผน ดิน ไทย-จีน ครั้งที่ 6 ณ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน พ.ศ. 2556 การแสดงโนรารวมสมัย ชุดกรายทา “ชุดบิน” งานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 14 ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ.2556 ร ว มแสดงงานเทศกาลเต น รำนานาชาติ Tari ’14 ครั ้ ง ที ่ 9 Sibu International Dance Festival 201 รัฐซาราวัก สหพันธรัฐมาเลเซีย พ.ศ.2558 การแสดงโนรารวมสมัย เรื่องสังขทอง ตอน รจนาเลือกคู งานมหกรรมการแสดงละคร ภาคใตครั้งที่ 3 พ.ศ.2559 การแสดงโนราเทิดพระเกียรติ งาน “ใตรมพระบารมี 234 ป กรุงรัตนโกสินทร” ครูผูสอนและวิทยากรผูถายทอดองคความรูดานโนราใหแกนักเรียน นิสิต นักศึกษา รวมถึงผูสนใจ ทั่วไป โดยเผยแพรองคความรูผานทางสื่อสังคมออนไลน เชน FACEBOOK ภายใตชื่อ “ศาสตรโนรา ครู ธรรมนิตย นิคมรัตน” ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2545 โนราแขก การปรับเปลี่ย นการแสดงเพื่ อวัฒนธรรมชุ มชน โดย สำนักศิลปะและ วัฒนธรรม สถาบันราชภัฏสงขลา ที่ระลึกงานวัฒนธรรมสัมพันธ 45, ปที่พิมพ 11 สิงหาคม 2545 ผลิตผลงานทางวิชาการ บทความ งานวิจัย งานตีพิมพในวารสาร อยางตอเนื่อง รางวัลเกียรติคุณ ไดรับการเชิดชูเกียรติใหเปนบุคคลดีเดนทางดานศิลปวัฒนธรรม พ.ศ.2555 รางวัลราชมงคลสรรเสริญ พ.ศ.2559 รางวัลศิลปนดีเดนจังหวัดสงขลา พ.ศ.2560 รางวัลเพชรสยาม พ.ศ.2561 รางวัลปราชญไทยภาคใต พ.ศ.2562 รางวัลอนุสรณสงขลานครินทร ประเภทบุคคลอุทิศตนในการอนุรักษ และสืบสาน ศิลปะการแสดง โนราของภาคใต พ.ศ.2565 ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (โนรา) พุทธศักราช 2564
19
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานสร้างสรรค์ด้านดนตรี
ศาสตราจารย์ ดร.วีรชาติ เปรมานนท์ คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ศาสตราจารย์ ดร.ขําคม พรประสิทธิ์ คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
รองศาสตราจารย์ ดร.มานพ วิสุทธิแพทย์ ขาราชการบำนาญ
รองศาสตราจารย์ ดร.พรประพิ ตร์ เผ่าสวัสดิ์ คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุจิภาส ภูธนัญนฤภัทร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนรรฆ จรัณยานนท์ วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล
20
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานสร้างสรรค์ด้านนาฏกรรม
รองศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผกามาศ จิรจารุภัทร คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรร ถวัลย์วงศ์ศรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรากร จันทนะสาโร คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
21
ผลงานสร้างสรรค์ด้านดนตรี
22
เพลงสุวรรณภูมิ ผลงานสรางสรรค โดย
ผูชวยศาสตราจารยนิรันดร แจมอรุณ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค รูปแบบการประพันธเพลงขึ้นใหม บทเพลง มี 2 ทอน สำเนียงเขมรปนลาว ในบันไดเสียงฟาของ วงปพาทยไมนวม อัตราจังหวะสองชั้นและชั้นเดียว แนวคิดในการสรางสรรค เพื่อสะทอนภาพของดินแดนสุวรรณภูมิ ซึ่งเปนตนทางของ ชาวสยาม หรือคนไทย และประเทศ ไทย ผานทวงทำนองของบทเพลง และเพื่อประโยชนทางดานการศึกษา ตอยอดดานงานวิจัย เพื่อการฟง การขับกลอม และการประกอบระบำ รำ ฟอนกระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค
23
24
25
การสร้างสรรค์เพลงหนังตะลุง : เพลงดําเหนินในรูปแบบแซกโซโฟนดูเอท ผลงานสรางสรรค โดย
อาจารย ดร.ชุมชน สืบวงศ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค นำบทเพลงพื้นบานภาคใตที่ใชบรรเลงประกอบการแสดงหนังตะลุงชื่อเพลงดำเหนินมาเรียบเรียง และบรรเลงในรูปแบบแซกโซโฟนดูเอท (Creation of Pleng Nang Talung : Damneon in Saxophone Duet) แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค หนังตะลุงเปนศิลปะการแสดงพื้นบานภาคใต เปนการเลนเงาของรูปหนังไปพรอม ๆ กับเสียงขับ กลอนของนายหนังตะลุงที่ถายทอดเรื่องราว อารมณความรูสึกของตัวหนังผานหนาจอผาสีขาว พรอมกับมี ดนตรีที่ประโคมชวยเสริมใหเกิดความรูสึกคลอยตามทองเรื่อง เดิมการใชดนตรีประโคมหนังตะลุงมีที่มา แตโบราณ คือวงดนตรีประเภทเครื่องหา ประกอบดวย ทับ กลองตุก โหมง ฉิ่ง ป บทเพลงหนังตะลุงมี 3 รูปแบบ 1) เพลงโหมโรง 2) เพลงพิธีกรรม 3) เพลงประกอบการแสดง เพลงดำเหนินจัดเปนเพลงบรรเลงจัดอยูในเพลงประกอบการแสดงที่ใชในการดำเนินเรื่องตามเนื้อเรื่องของ หนังตะลุง เพลงดำเหนินเปนเพลงที่มีทว งทำนองและจังหวะที่นา ติดตามเปนอยางยิ่ง ผูสรางสรรคจึงมีความ สนใจสรางสรรคบทเพลงในรูปแบบดนตรีรวมสมัย ซึ่งเปนการนำบทเพลงพื้นบานภาคใตมาเรียบเรียงใน กระบวนแบบดนตรีตะวันตก ที่มีลีลาแซกโซโฟนดูเอท และการอิมโพรไวสในนรูปแบบดนตรีแจส ประกอบดวยเครื่องดนตรี ดังนี้ โซปราโน แซกโซโฟนและบาริโทน แซกโซโฟน โดยใชหลักการทางทฤษฎี ดนตรีตะวันตก การเคานเตอรพอยท และการอิมโพรไวสในดนตรีแจส
26
กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค การสรางสรรคเพลงหนังตะลุง : เพลงดำเหนินในรูปแบบแซกโซโฟนดูเอท 1. เก็บขอมูลทำนองเพลงดำเหนินจากดนตรีหนังตะลุงคณะพรอมนอยตะลุงสากล จังหวัดพัทลุง 2. ถอดโนตดนตรีสากล 3. เรียบเรียงบทเพลง 4. ฝกซอมการบรรเลง 5. นำเสนอผลงานสรางสรรคตอหนากรรมการผูทรงคุณวุฒิ องคประกอบของผลงานสรางสรรค นักดนตรี (นักแซกโซโฟน) จำนวน 2 ทาน อาจารย ดร.ชุมชน สืบวงศ (โซปราโน แซกโซโฟน) นายชวนินท สืบวงศ (บาริโทน แซกโซโฟน)
27
28
29
30
31
32
33
34
บทประพั นธ์เพลงเปลวเทียนนําทาง ครบรอบ 50 ป� มหาวิทยาลัยรามคําแหง ในรูปแบบดนตรีสมัยนิยม ผลงานการสรางสรรค โดย
ผูชวยศาสตราจารยธนพัฒน เกิดผล 1 อาจารย ดร.อนุวัฒน เขียวปราง 2 คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง 0
1
รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564 เปนวันคลายวันสถาปนามหาวิทยาลัยรามคำแหงครบรอบ 50 ป (นับตั้งแตกอตั้งในป พ.ศ.2514) ดวยมหาวิทยาลัยรามคำแหงนี้ถือวาเปนสถาบันทางการศึกษาที่มีบทบาท และความสำคัญตอการศึกษาทั้งในและตางประเทศมาอยางยาวนาน โดยเฉพาะการเสริมสรางความ เสมอภาคทางการศึกษาใหผูที่สนใจทุ กชวงวัย หรือผูที่สนใจแตอยูอาศัยในพื้น ที่หางไกลสามารถรั บ การศึกษาไดอยางทั่วถึงใหเกิดซึ่งความรูและคุณธรรมควบคูกันไปตามปณิธานของมหาวิทยาลัยรามคำแหง จากความสำคั ญ ข า งตนผู สรางสรรคจ ึงขอเปน สว นหนึ่งในการรว มบรรยายความสำคั ญ ของ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ดวยการประพันธบทเพลงเปลวเทียนนำทาง (ครบรอบ 50 ป มหาวิทยาลัย รามคำแหง) ซึ่งเปนผลงานสรางสรรคที่มีทวงทำนองที่ผูฟงสามารถจดจำไดสะดวก มีโครงสรางดนตรีที่มี การบงชี้อยางชัดเจน ตลอดจนเนื้อรองที่มีการใชฉันทลักษณการประพันธที่ยืดหยุนไปจากแบบแผน เพื่อใหสามารถตีความและจิน ตนาการตามไดงาย ผสมกับเสียงประสานในรูปแบบดนตรีแจสเพื ่ อให สอดคลองกับลีลาของบทเพลงในอุตสาหกรรมดนตรีสมัยนิยมยุคปจจุบันที่ไดรับความนิยมจากผูบริโภค อยางตอเนื่อง ดังนั้นผูสรางสรรคจึงเห็นถึงความสำคัญที่จะประพันธบทเพลงนี้ใหเปนบทเพลงที่ผู ฟง สามารถเขาสุนทรียภาพของบทเพลงไดงายตามที่กลาวมา โดยสามารถอรรถาธิบายในแตละทอนได ดังนี้ 1) ทอน Introduction เปนทอนนำเขาบทเพลงโดยการใช Motif ของทำนองทอน Chorus มาเปนทำนองของทอนนี้ เพื่อใหเกิดความคุนเคยเมื่อทำนองนี้ไดปรากฏขึ้นอีกครัง้ ในทอน Chorus ซี่งมีการกำหนดจุดที่สรางความ นาสนใจของการดำเนินคอรดหลายที่ เชน การเคลื่อนที่ของทำนอง Motif ที่ 3 ไดใชการดำเนินคอรดที่ เนนการเคลื่อนที่ต่ำลงดวยระยะครึ่งเสียงของเสียงประสานทุกโนตในคอรดดังตัวอยางภาพประกอบที่ 1
1 2
รองคณบดีฝายวิชาการและวิจยั คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง อาจารยประจำวิชาเอกดนตรีศกึ ษา ครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
35
ตัวอยางภาพประกอบที่ 1: แสดงการดำเนินคอรดประคองทำนอง Motif ที่ 3 ทอน Introduction 2) ทอน Verse เปนทอนบรรยายถึงที่มาของการกอตั้งมหาวิทยาลัยรามคำแหงขึ้นเพื่อเสริมสรางความเสมอภาค ทางการศึกษาทุกชวงอายุ และทุกพื้นที่ในประเทศ ซึ่งการประพันธในทอนนี้ผูสรางสรรค ไดก ำหนด ออกเปนทอน verse จำนวน 3 ทอน ที่ใชทำนองเดิมแตปรับเปลี่ยนคำรอง โดยในแตละทอนจะใชฉันท ลักษณแบบคลายขนบนิยมในการประพันธ กลาวคือการใชสัมผัสคลายและไมเครงครัดเหมือนกับกลอน แปด จำนวนคำมีการยืดหยุนที่ 5-12 คำตอวรรค ดังตัวอยางภาพประกอบที่ 2
ตัวอยางภาพประกอบที่ 2: แสดงการใชฉันทลักษณแบบคลายขนบนิยมในการประพันธคำรอง ทอน Verse 1 ทอน verse 3 ใชศิลปะการใชภาพพจน (อุปมาอุปไมย) คือ กลวิธีการพูดใหเห็นภาพ จะตองใช สำนวนโวหารและวิธีการอยางใดอยางหนึ่งมิใชวิธีการบอกเลาอยางตรงไปตรงมา 3 ที่วรรคที่ 1 และ 2 ดัง ประโยคที่กลาววา “เปนดั่งเสาเข็มยึดมาหาทศวรรษ เปนดั่งลมที่พัดพาความสำเร็จทุกแหงหน” นอกจากนี้ผูสรางสรรคยังไดกำหนดการดำเนินคอรดทอน Verse โดยใชการดำเนินคอรด II-V-I เปนหลัก มีการใชคอรดโดมินันทระดับสอง ไดแก คอรด V/II (A7-Dm7) ในหองที่ 15 มีการใชคอรดโคร มาติก ไดแก คอรด Ebmaj7 เพื่อรองรับกับทำนองในโนต Bb ในหองที่ 16-17 มีการใชคอรดโครมาติก ไดแก คอรด Db7 – Db˚7 – Fm(maj7)/C – Fm6 เพื่อตองการใหแนวเบสเคลื่อนลงครึ่งเสียงโดยใหแนว ทำนองยังคงเปนโนตในคอรด ดังตัวอยางภาพประกอบที่ 3 2
3 กุหลาบ มัลลิกะมาส. (2546). วรรณคดีวจิ ารณ. พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: รามคำแหง.
36
ตัวอยางภาพประกอบที่ 3: แสดงการดำเนินคอรดในทอน Verse 3) ทอน Pre-Chorus เปนทอนเชื่อมโยงเพื่อเขาสูทอน Chorus ซึ่งบรรยายถึงสาเหตุของบทบาทที่มหาวิทยาลัยนั้นมีตอ สังคม โดยใชฉันทลักษณแบบคลายขนบนิยมในการประพันธเชนเดียวกับทอน Verse ผูสรางสรรคยังไดกำหนดการดำเนินคอรดทอน Pre-chorus ในหองที่ 36-37 ใชการดำเนินคอรด II-V-I ในกุญแจเสียงเมเจอร (Dm7-G7-Cmaj7) หองที่ 38-39 ใชการดำเนินคอรด II-V-I ในกุญแจเสียงไม เนอร (Bm7b5-E7#9-Am7b13) หองที่ 41-42 มีการใชคอร ดโดมินัน ทร ะดับสอง ไดแก คอรด V/II (A/C#-Dm) และคอรด V/V (D/F#-G) โดยใชในรูปพลิกกลับครั้งที่ 1 เพื่อใหแนวเบสมีการเคลื่อนที่ ไป ขางหนาอยางตอเนื่อง ดังตัวอยางภาพประกอบที่ 4
37
ตัวอยางภาพประกอบที่ 4: แสดงการดำเนินคอรดในทอน Pre-Chorus 4) ทอน Chorus เปนทอนบรรยายถึงใจความสำคัญของเพลงที่แสดงถึงการเปนสถาบันการศึกษาที่อยูคูสังคมมา ยาวนานถึง 50 ป และแสดงถึงในมุงมั่นวาจะยังคงคุณคาแบบนี้ตอไปไมเปลี่ยนแปลง โดยในทอนนี ้ผู สรางสรรคไดใชฉันทลักษณพิเศษไมมีรูปแบบตายตัว กลาวคือกลอนที่มีจำนวนคำและสัมผัสที่ไมแนนอน ตลอดจนจำนวนวรรคภายในบทที่ไมแนนอนเชนกัน 4 โดยปกติหนึ่งบทจะมี 4 วรรค แตบทที่ 2 ของทอนนี้ มีกลอนจำนวน 3 วรรค ดังภาพประกอบที่ 5 3
ตัวอยางภาพประกอบที่ 5: แสดงการใช ใชฉันทลักษณพิเศษไมมีรูปแบบตายตัว ในทอน Chorus ทอน Chorus ยังใชศิลปะการใชภาพพจน (อุปลักษณ) คือ กลวิธีการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเปนอีก สิ่งหนึ่ง ที่วรรคที่ 2 ของบทที่ 2 “รามจะยังคงเปนเปลวเทียนสองแสงในหัวใจ” นอกจากนี้ผูสรางสรรคยังไดกำหนดการดำเนินคอรดทอน Chorus หองที่ 45-48 และหองที่ 5357 กำหนดคอรดโดยตองการใหแนวเบสเคลื่อนลงทีละขั้นเพื่อสวนทางกับแนวทำนองที่มีทิศทางเคลื่อนขึ้น หองที่ 48 และ 56 มีการใชคอรดโดมินันทระดับสอง ไดแก คอรด V/II (A7-Dm) และคอรด V/VI
4
กัษมาภรณ บุญศรี. (2563). รูปแบบการประพันธและการใชคำในวรรณกรรมเพลงของวงสาวสาวสาว. วารสารมนุษยศาสตร ฉบับบัณฑิตศึกษา ปที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563). มหาวิทยาลัยรามคำแหง
38
(E7b13/G#-Am) หองที่ 49 มีการใชคอรดโครมาติก คือ Fm6 ซึ่งเปนคอรด iv จากกุญแจเสียง C ไมเนอร ดังตัวอยางภาพประกอบที่ 6
ตัวอยางภาพประกอบที่ 6: แสดงการดำเนินคอรด ในทอน Chorus 5) ทอน Bridge เปนทอนบรรยายถึงภาพรวมของอุปสรรคที่มหาวิทยาลัยรามคำแหงไดประสบเจอมา แตสามารถ ที่รับมือและผานพนมาไดทุกครั้ง ซึ่งการเลาเรื่องที่มีจุดหักเหความรูสึกหรือความขัดแยง (Conflict) เปน ปญหาหลักที่ผลักดันเรื่องราว ซึ่งมักเปนเปาหมายหลักใหเกิดการกระทำและนำไปสูการบรรลุเปาหมาย หรือเอาชนะปญหา 5 ซึ่งนับวาเปนเสนหของการเขียนคำรองในรูปแบบบทเพลงสมัยนิยม นอกจากนี้ผูสรางสรรคยังไดกำหนดการดำเนินคอรดทอน Bridge ใชการดำเนินคอรด II-V-I เปน หลัก ไดแก หองที่ 72-73 เปนการดำเนินคอรด II-V (Dm7-G7) แลวใชคอรด III แทนที่คอรด I (คอรด Em7 แทน Cmaj7) และหองที่ 74-75 เปนการดำเนินคอรด II-bII(V)-I (Dm7-Db7(G7)-C6) โดยใชคอรด แทนขั้นคูทรัยโทน (Tritone substitution) (คอรด Db7 แทนที่คอรด G7) หองที่ 75 และ 77 มีการใช คอรดโดมินันทระดับสอง ไดแก คอรด V/IV (C7/Bb-Fmaj7) และ คอรด V/VI (E7/G#-Am) หองที่ 79 มี การใชคอรดโครมาติก ไดแก คอรด Bbmaj7 เพื่อรองรับกับทำนองในโนต D ดังตัวอยางภาพประกอบที่ 7 4
5
Docimo, K. & Lupiani, N. (2016). Plot Diagram and Narrative Arc.คนหาเมือ่ วันที่ 26 เมษายน 2565, จาก http://www.storyboardthat.com/articles/e/plot-diagram
39
ตัวอยางภาพประกอบที่ 7: แสดงการดำเนินคอรด ในทอน Bridge แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค บทประพันธเพลงเปลวเทียนนำทาง (ครบรอบ 50 ป มหาวิทยาลัยรามคำแหง) ในรูปแบบดนตรี สมัยนิยม มีแนวคิดหรือทฤษฎีที่ใชในการสรางสรรค ดังนี้ 1) โครงสรางดนตรีสมัยนิยม 2) ทำนองดนตรีสมัยนิยม 3) การใชเสียงประสานแบบดนตรีแจส 4) วรรณกรรมเพลง 1) โครงสรางดนตรีสมัยนิยม การกําหนดสวนตางๆ ในบทเพลงนิยมใชเปนตัวอักษรภาษาอังกฤษในการกําหนด เชน AABA เปนตน โดยตัวอักษรเปนตัวกำหนดทอนเพลงแตละทอนที่มีทำนองแตกตางกัน ในดนตรีปอปนิยมใชคําใน การกํ า หนดท อ นเพลง เช น verse, pre-chorus, chorus, bridge เป น ต น ซึ ่ ง ก็ ส ามารถใช ต ั ว อั ก ษร ภาษาอังกฤษ (ABCD…) ในการกําหนดทอนตางๆ เหลานี้ไดเชนกัน ทอนตางๆ ในบทเพลงปอปสวนใหญ สามารถจำแนกไดดังนี้ 1. ทอนนํา (intro) ทอนนี้อาจมีหรือไมมีก็ได สวนใหญจะเปนดนตรีบรรเลงเพื่อใช สรางอารมณ 2. ทอน verse เปนทอนที่มีความเขมขนนอยกวาทอนอื่นๆ ของเพลง สามารถใชตัวอักษร A ในการกําหนดสวนนี้ได 3. ทอน pre-chorus ใชขับเคลื่อนและ เสริมพลังในการไปยังทอน chorus 4. ทอน chorus เปนทอนที่มีพลังและความเขมขนมากที่สุด โดยทั่วไปทำนองในทอนนี้จะถูก นํามาซ้ำหลาย ครั้งเพื่อใหผูฟงเกิดความสนใจ เนื้อเพลงในทอนนี้คือใจความสำคัญของบทเพลงที่ตองการ สื่อสารซึ่งมักจะ สะทอนหรือเกี่ยวของกับชื่อของบทเพลง 5. ทอน bridge โดยทั่วไปจะเกิดขึ้นหลังจากทอน chorus รอบ
40
ที่สอง เพื่อสรางความแตกตางออกไปแลวหลังจากนั้นจึงคอยยอนกลับไปทอน verse หรือ chorus 6. ทอนดนตรีบรรเลงหรือโซโล (instrumental section or solo) บทเพลงรองหลายเพลง มีการบรรจุทอน ดนตรีบรรเลงหรือโซโลเพื่อเปลี่ยนจุดสนใจหรือสรางความนาตื่นตาตื่นใจใหแกผูฟง 6 2) ทำนองดนตรีสมัยนิยม ทำนองที่ดีตองมีการเคลื่อนไหว ไมหยุดยิ่ง โดยการเคลื่อนไหวสามารถเคลื่อนที่ไดตามจังหวะที่ สะทอนผานความสั้น-ยาวของตัวโนต และเคลื่อนที่ไดตามโทนเสียงที่สะทอนผานความสูง-ต่ำ ของตัวโนต หรือที่เรียกวา “Melodic contour” นอกจากการเคลื่อนที่ของทำนองแลวทำนองที่ดี ตองมีการซ้ำ motif เพื่อใหทำนองมีความนาจดจำ เฉกเชนเดียวกับผูพูดที่ดีมักมีการเนนย้ำประเด็นสำคัญ 7 3) การใชเสียงประสานแบบดนตรีแจส การใชเสียงประสานแบบดนตรีแจสทำใหอารมณของเพลงที่สื่อออกมา เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมซึ่งเปนผล จาก 1) การเพิ่มเสียงกระดางเพื่อเพิ่มความตึงเครียดและผอนคลายดวยเสียงที่กลมกลืน โดยการแทนที่ดวยคอรดใหมและคอรดที่มีการเกลา 2) การเพิ่มจุดสนใจโดยใหความชัดเจนกับ เสียงที่อยูนอกบันไดเสียงโทนิก 3) การเพิ่มเติมการดำเนินคอรดใหมากขึ้น หรือในบางกรณีอาจตองลดการ เดินเนินคอรดลงตามความเหมาะสม 4) การปรับเปลี่ยนการดำเนินของแนวเบส 8 4) วรรณกรรมเพลง “วรรณกรรมเพลงเปนวรรณกรรมรูปแบบหนึ่งที่มีสาระประเภทหนึ่งของวรรณกรรมไทย เพราะ เพลงจะเขาถึงประชาชนไดดีกวาวรรณกรรมประเภทอื่น ยิ่งนับวันวรรณกรรมเพลงก็ยิ่งจะมีบทบาทยิ่งขึ้น เนื่องจากผูแตงเพลงพยายามหยิบยกปญหาชีวิตความเปนอยูของคนทุกระดับทางเศรษฐกิจ การเมือง การ ประกอบอาชีพ ตลอดจนในวงการธุรกิจ ฯลฯ ออกมาตีแผไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูฟงก็สามารถจดจำได งาย อาจเปนเพราะเสียงดนตรีประกอบใหเกิดความสนุกสนาน ไมเครงเครียดกับความเปนอยูจริงๆ ที่ ประสบในชี ว ิ ตประจำวั น และผู เ ขีย นก็น ิย มใชภ าษางายๆ มักเปน รูป ธรรม”9 ผสมกับ การใชโ วหาร ภาพพจนดังนี้ ใชอุปมา อุปลักษณ บุคลาธิษฐาน อติพจน ปฏิปุจฉา ปฏิภาคพจนและ สัทพจน ซึ่งเพื่อเปน สื่อในการถายทอดอารมณ ความรูสึกนึกคิด และความฝนตางๆ ไปยังผูฟงหรือผูอาน 10 5
6
7
9
6
Harrison, Mark. (2009). All about Music Theory: A Fun and Simple Guide to Understanding Music. n.p.: Hal Leonard Michal Miller. (2005: 58-61). Music Composition. A member of penguin Group (USA). Alpha 8 Rochinski, Steve. Understanding Reharmonization. สืบคนเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2565 จาก www.amazonnaws.com/bm-marketingassets/handbooks/music-theory-handbook.pdf. 9 บุญยงค เกศเทศ. (2525: 47). วรรณกรรมวิเคราะห (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร 10 มัยลา ศรีโมรา. (2540). การวิเคราะหบทเพลงของสงา อารัมภีร. ปริญญานิพนธ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 7
41
กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค ผูสรางสรรคกำหนดวิธีการสรางสรรคเปน 5 กระบวนการดังนี้ 1. กำหนดปญหาเพื่อทำการสรางสรรค ผูสรางสรรคกำหนดปญหาของการสรางสรรคบทเพลง จากการพิจารณาถึงที่มาและความสำคัญของมหาวิทยาลัยรามคำแหงตั้งแตกอตั้งจนถึงปจจุบัน 2. ทบทวนแนวคิดและทฤษฎีที่ใชการสรางสรรคบทเพลง ผูสรางสรรคทบทวนแนวคิดและทฤษฎี ที่ใชการสรางสรรคบทเพลง ซึ่งประกอบไปดวย โครงสรางดนตรีสมัยนิยม ทำนองดนตรีสมัยนิยม การใช เสียงประสานแบบดนตรีแจส วรรณกรรมเพลง 3. กำหนดกรอบแนวคิดในการสรางสรรคบทเพลง
4. ดำเนิ น การสร า งสรรค บ ทเพลง ผูส รางสรรคดำเนินการประพัน ธเพลงเปลวเทียนนำทาง (ครบรอบ 50 ป มหาวิ ทยาลั ย รามคำแหง) ในรูป แบบดนตรีส มั ย นิย ม โดยการประพั น ธ ทำนองใหมี ความรูสึกฟงงาย นาจดจำ พรอมทั้งเรียบเรียงเสียงประสานแบบดนตรีแจส เชน การใชคอรดโครมาติก การใชเสียงประสานหาแนว ตลอดจนการใชทางเดินคอรดแบบ ii - V ผสมผสานกับการดำเนินคอรดใน ไดอาโทนิก ทั้งนี้การใชเสียงประสานแบบดนตรีแจสในการประดับทำนองแบบดนตรีสมัยนิยมเปนการ สงเสริมใหทำนองที่ถูกสรางสรรคขึ้นเพื่อใหแคฟงงายและนาจดจำมีพื้นผิวที่มีคุณคาทางการศึกษาดนตรี ขั้นสูงในระดับสากล 5. นำเสนอผลงานสรางสรรค ผูสรางสรรคไดนำงานสรางสรรคเผยแพรนำเสนอ ดังนี้ 1) เผยแพรผานสื่อสังคมออนไลนเว็บไซต www.YouTube.com 2) ในการประชุมวิชาการและเผยแพรงานสรางสรรคระดับชาติ ครั้งที่ 1 เรื่อง “งานสรางสรรค ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยูรวมกันในอาเซียน”
42
องคประกอบของผลงานสรางสรรค คำรอง บทประพันธเพลงเปลวเทียนนำทาง (ครบรอบ 50 ป มหาวิทยาลัยรามคำแหง) ในรูปแบบ ดนตรีสมัยนิยม เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา เฝาคอยผลักดันและเคลื่อนไหว โอกาสทางการศึกษาใหทุกคนไดเขาถึง สงตอความรูส ูแดนไกล
จึงถูกสรรคสรางมาเพื่อวงการศึกษาไทย ใหไดเปนมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม ใหทุกคนไดพึ่งไดเรียนรูทุกชวงวัย ครอบคลุมไปทั่วทุกถิ่นทั่วแดนไทยกวางไกลไปถึงสากล
43
เปนดั่งเสาเข็มยึดมาหาทศวรรษ แกไขปญหาใหผานพน
เปนดั่งลงที่พัดพาความสำเร็จทุกแหงหน อยูคูทุกขสุขในสังคมสมดั่งคำรามคูฟา
เพราะสังคมตองการก็เพราะสังคมรออยู จะขอเปนทุกอยางทุกหนทางที่จะเติมเต็มพลัง
รอคนเคียงคูสูพรอมไปดวยกัน เติมแตงภาพแหงความสำเร็จ
*จากวันนั้นจนวันนี้หาสิบปยังเกริกไกร ความรูคูคณ ุ ธรรมรับใชสังคมใหครบครัน กี่พรุงนี้จะเปลี่ยนจะนานแคไหนยังคงไมเปลี่ยนแปลง เห็นเสนทางนำชัยสูวันที่งดงาม
และจะยังกาวตอไปดวยใจมั่นคง เพื่อคงความมุงมั่นตามคําปณิธาน รามจะยังคงเปนเปลวเทียนสองแสงในหัวใจ
Instrument Solo อุปสรรคทีเ่ ขามาจะกี่ปญหาผานพนไดทุกคราว แมวันนี้จะมีบทเรียนเรื่องใหมจะหนักแคไหนเราพรอมที่จะรับมัน (*)
และจะเปนบทเรียนเพื่อพัฒนาและกาว รวมพลังแลวผานพนไปดวยกันเพื่อวันที่สดใส
44
โนตบทประพันธเพลงเปลวเทียนนำทาง (ครบรอบ 50 ป มหาวิทยาลัยรามคำแหง) ในรูปแบบ ดนตรีสมัยนิยม
45
46
47
48
ชเวดากอง จากระนาดไทยสู่ระนาดฝรัง ่ ผลงานสรางสรรค โดย
นายเลิศศักดิ์ รักสุจริต โรงเรียนเซนตคาเบรียล
รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค การเรียบเรียงเสียงประสานเพลงไทยบทเพลงชเวดากองสำหรับวงปพาทยไมแข็งเปนวงเครื่อง กระทบที่ประกอบไปดวยเครื่องตีกระทบที่มีระดับเสียงแนนอน (pitch percussion) ไดแก 1) กล็อคเคน สป ล (glockenspiel) 2) ไวบราโฟน (vibraphone) และ 3) มาริ ม บา (marimba) ซึ ่ ง ทั ้ ง สามชนิ ด มี ลักษณะของเสียงที่แตกตางกันออกไป และสรางบุคลิกแบบดนตรีตะวันตกไดเปนอยางดี มีความเปนสากล มากขึ้น โดยสามารถอธิบายในแตละทอนไดดังนี้ ทอนเปด (introduction) เปนรูปแบบวิธีการเริ่มบทเพลงแบบเดียวกันกับบทเพลงชเวดากอง เถาของครูบุญยงค เกตุคง และคงไวดวยลักษณะของการรับสงระหวางเครื่องดนตรีกับวง ผูสรางสรรคเลือกใชเครื่องไวบราโฟน และ มาริมบา ในการเลนทำนองในลักษณะของขั้นคู 8 เปนการพลิกกลับขั้นที่ 2 ของอารเปโจในบันไดเสียง C Major (ภาพประกอบที่ 1) สลับกับการพลิกกลับขั้นที่ 2 ของอารเปโจในบันไดเสียง D minor และคอย ๆ เพิ่มความกระชั้นของจังหวะไปเรื่อย ๆ กอนนำเขาสูแนวทำนองแรกของบทเพลง การรับสงระหวางการ เลนทำนองของไวบราโฟน และมาริมบาในทอนเปดนี้จะเปนการบรรเลงโดยมาริมบาเปนโมทีฟสั้น ๆ ใน กลุมโนตเขบ็ต 2 ชั้นกอน และจะถูกรับดวยการบรรเลงโมทีฟในแบบเดียวกันจากมาริมบาในอีกชวงเสียง หนึ ่ ง ซึ ่ งสำหรั บโมที ฟแรกที่ บรรเลงผูสรางสรรคป รับมาจากการใหส ัญ ญาณกลองจากเพลงตนฉบับ (ภาพประกอบที่ 2)
ภาพประกอบที่ 1 : ทำนองเปดในลักษณะของขั้นคู 8
49
ภาพประกอบที่ 2 : การรับสงของโมทีฟที่ปรับมาจากการใหสัญญาณกลองจากเพลงตนฉบับ
ตอเนื่องจากทอนเปด การประสานเสียงอยูบนบันไดเสียง C Major และ D minor โดยในทอนนี้ เปดดวยกลุมโนตโมทีฟที่บรรเลงขึ้นลงสลับไปมา (ภาพประกอบที่ 3) กอนที่จะนำเขาสูทอนตอไปโดยการ ใชกลุมโนตโครมาติกจาก C ลงมาเปน A เชื่อมเขาไปสูบันไดเสียง A minor (ภาพประกอบที่ 4) สำหรับ การประสานโมทีฟดังกลาวมีรูปแบบของจังหวะที่เลียนแบบมาจากจังหวะของกลองจากทำนองเพลง ตนฉบับเพื่อขับเคลื่อนเพลงในลักษณะเดียวกันกับวงปพาทยนั่นเอง (ภาพประกอบที่ 5) ภาพประกอบที่ 3a : โมทีฟทีบ่ รรเลงสลับไปมาระหวาง A และ G
ภาพประกอบที่ 3b : โมทีฟที่บรรเลงสลับไปมาระหวาง A และ G
ภาพประกอบที่ 4 : กลุมโนตโครมาติกจาก C – A เพื่อนำเขาสูบันไดเสียงใหม
50
ภาพประกอบที่ 5 : รูปแบบการประสานเสียง
เมื่อเขาสูบันไดเสียงไมเนอร ในชวงตอนนี้เปรียบเสมือนกับทอนเชื่อมในบันไดเสียงที่สัมพันธกัน (relative key) อย า ง C Major และ A minor เริ่มดว ยการบรรเลงอารเปโจในบัน ไดเสีย ง A minor แบบไลลงดวยโนตตัวดำโดยไวบราโฟน และสอดประสานดวยอารเปโจแบบไลขึ้นดวยกลุมโนตสามพยางค กอนที่จะเคลื่อนมาเปนกลุมโนตอารเปโจในคอรดที่ 5 ในบันไดเสียง C Major ซึ่งก็คือกลุมโนตในบันได เสียง G Major ที่จะสรางความหนักแนนใหกับการลงจบในบันไดเสียงหลักของเพลงอีกครั้ง ทอนทำนองหลัก (Theme) ชวงเริ่มตนของแนวทำนองหลักยังคงขับเคลื่อนอยูในบันไดเสียง C Major การดำเนินของแนวถูก เคลื่อนยายมาบรรเลงในแนวของมาริมบา บรรเลงในลักษณะของอารเปโจ กระทั่งถึงแนวทำนองหลักผู สรางสรรคไดยายมาบรรเลงในไวบราโฟนและมาริมบา สำหรับเสียงประสานเริ่มเพิ่มความเปนดนตรี ตะวันตกมากขึ้นจากการใชคอรดทบ 7 เพื่อสรางสีสันของบทเพลง (ภาพประกอบที่ 6)
ภาพประกอบที่ 6 : การประสานเสียงแบบตะวันตก
อีกทั้งยังเพิ่มการสอดประสานเแบบทำนองหลักและการแปรหลังจากที่เลนทำนองหลักไปแลว 1 รอบลงไปโดยทั้งทำนองหลักและทำนองแปรจะถูกบรรเลงพรอมกันดวย (ภาพประกอบที่ 7)
ภาพประกอบที่ 7 : การสอดประสานทำนองหลักและการแปรทำนอง
เขาสูทอนทำนองหลักที่สองซึ่งเปนทำนองที่รูจักกันจากบทเพลงพมาเขว หรือ เพลงชาง เปดดวย การนำเสนอทำนองหลั ก แบบเรี ย บง า ยก อ นที ่ จ ะแปรทำนองหลั ก ให ม ี ค วามกระชั ้ น มากยิ ่ ง ขึ้ น (ภาพประกอบที่ 8) โดยลักษณะของการเรียบเรียงหลังจากทอนทำนองหลักเปนตนไปจะมีรูปแบบที่
51
คลายคลึงกันจากขางตนจนถึงตอนจบของบทเพลงที่จะมีเรื่องของการแปรทำนองหลักใหมีความกระชั้น ขึ้นเหมือนกับการบรรเลงของวงปพาทยที่จะสรางการขับเคลื่อนบทเพลงใหมีความสนุกสนานมากยิ่งขึ้น
ภาพประกอบที่ 8 : การสอดประสานทำนองหลักและการแปรทำนอง
แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค ผลงานสรางสรรค “ชเวดากอง” เปนผลงานการเรียบเรียงเสียงประสานเพลงไทยสำหรับวงเครื่อง กระทบ (percussion ensemble) บทเพลงชเวดากองชั้ น เดีย วซึ่ งเปน เพลงทำนองเก าสำเนี ย งพม า ประเภทหนาทับมี 2 ทอน ทอนละ 8 จังหวะ มีชื่อวาเพลงพมาเขว โดยในภายหลังครูบุญยงค เกตุคงไดนำ ทำนองมาประพันธขยายเปนอัตราจังหวะสองชั้น และสามชั้น เรียบเรียงเปนเพลงเถา และเรียกชื่อใหมวา ชเวดากอง การเรียบเรียงบทเพลงผูสรางสรรคไดศึกษาเทคนิคการเรียบเรียงบทเพลงชเวดากองที่ถูกนำมา เรียบเรียงผสมผสานกับดนตรีตะวันตกของนักดนตรีชาวอเมริกันผูเชื่อมโยงดนตรีไทยสูสากล อาจารยบรูซ แกสตัน ศิลปนศิลปาธรกิตติคุณ สาขาคีตศิลป ประจำปพุทธศักราช 2552 การสรางสรรคบทเพลง ชเวดากองใชเทคนิคการประพันธและเรียบเรียงเสียงประสานบทเพลงตะวันตก อยูภายใตขอบเขตที่สำคัญ คือการรักษาแนวทำนองดนตรีไทยไวใหครบถวน มีแนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรคดังนี้ การรักษาแนวทำนองหลัก ในการเรียบเรียงบทเพลงชเวดากอง ผูสรางสรรคจะคงไวซึ่งการดำเนินของแนวทำนองหลักที่ครู บุญยงค เกตุคงไดประพันธไวอยางงดงาม เพียงแตจะมีการปรับลักษณะของจังหวะบางชวงบางตอนตาม แนววิธีการบันทึกโนตแบบดนตรีตะวันตก หรือการแปรทำนองแบบดนตรีตะวันตกเองซึ่งผูสรางสรรคกไ็ ด เรียบเรียงใหยังฟงเหมือนกับบทเพลงตนฉบับ
52
การประสานเสียงแบบดนตรีตะวันตก การประสานเสียงแบบตะวันตก รวมถึงการใสโนตสอดประสานแบบตะวันตกผูสรางสรรคไดนำ ทั้งแนวคิดของบทประพันธเพลงคลาสสิกสำหรับวงเครื่องกระทบ และบทเพลงประเภททำนองหลักและ การแปรมาใชเปนแนวทางในการตีความและสรางเปนแนวทางในการเรียบเรียงเสียงประสานใหกับบท เพลงชเวดากอง กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค ในการสรางสรรคผลงานเรียบเรียงบทเพลงชเวดากอง สำหรับวงเครื่องกระทบ ผูสรางสรรคได กำหนดวิธีการสรางสรรคเปนกระบวนการดังนี้ 1. พิจารณาเลือกบทเพลง ผูสรางสรรคเลือกบทเพลงที่มีความงายในดานของแนวทำนองเพื่อ นำมาสรางสรรคใหมีความนาสนใจในแงของการประสานเสียงมากยิ่งขึ้นโดยทำนองของบทเพลงจะตองไม ผิดเพี้ยนไปจากตนฉบับแตอยางใด 2. ทบทวนแนวคิดและทฤษฎีที่ใชในการสรางสรรคบทเพลง รวมถึงศึกษาบทเพลงชเวดากองที่ ถูกเรียบเรียงขึ้นโดยอาจารยบรูซ แกสตัน ศิลปนศิลปาธรกิตติคุณ สาขาคีตศิลป ประจำปพุทธศักราช 2552 ผูซึ่งใกลชิดกับครูบุญยงค เกตุคงและสรางสรรคบทเพลง ชเวดากองตั้งแตแรกเริ่ม สำหรับแนวคิด และทฤษฎีประกอบดวย โครงสรางของบทเพลงตะวันตก การเรียบเรียงเสียงประสาน และประวัติความ เปนมา รูปแบบวงของบทเพลงชเวดากอง เถา 3. กำหนดกรอบแนวคิดในการสรางสรรคบทเพลง 4. ดำเนินการสรางสรรคบทเพลง ผูสรางสรรคเรียบเรียงบทเพลงชเวดากองในรูปแบบวงเครื่อง กระทบสากล โดยยังคงไวซึ่งโครงสรางหลักของบทเพลง แนวทำนองหลักของบทเพลง แตเรียบเรียงเสียง ประสานใหเปนไปในทางดนตรีตะวันตก การดำเนินคอรดในไดอาโทนิกเพิ่มความนาสนใจใหกับบทเพลง และผสานสองวัฒนธรรมดนตรีไทยและดนตรีตะวันตกเขาดวยกันไดอยางลงตัว 5. นำเสนอผลงานสรางสรรค
53
องคประกอบของผลงานสรางสรรค
54
55
56
เพลงกัญชาไทย ผลงานสรางสรรค โดย
อาจารยวรพงศ อุยยก คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค ผลงานสรางสรรคครั้งนี้ เปนรูปแบบเพลงดนตรี ที่มีลักษณะเปนเพลงที่มีการขับรอง ประพันธ ทำนอง คำรอง และเรียบเรียงดนตรีขึ้นมาใหมทั้งหมดชื่อเพลง “กัญชาไทย” โดยไดแรงบันดาลใจมาจาก การที่ผูสรางสรรค ไดรับเชิญใหไปแสดงดนตรีในงานการบรรยายเรื่อง “กัญชากับการรักษามะเร็ ง” ณ ศูนยประชุมเพื่อสงเสริมการทองเที่ยว อำเภอแมสอด จังหวัดตาก วันที่ 20 กรกฎาคม 2562 จึงเกิดแรง บันดาลใจในการสรางสรรคผลงานเพลง เพื่อเปนตัวแทนประชาชนเปนการขอบคุณ วิทยากร บุคลากรทาง การแพทย ตลอดจนคณะกรรมการจัดงาน ที่มามอบความรูใหแกประชาชนผูเขารวมงาน โดยผูสรางสรรค ผลงาน มีความตั้งใจอยากบอกเลาถึงความหวังของผูปวยโรคนี้สามารถหายจากโรครายดวยการใชน้ำมัน กัญชาเพื่อรักษาโรค และความหวังของประชาชนที่จะไดรับความรูและสิทธิ์ในการปลูกกัญชาที่เปนพืช เศรษฐกิจอยางถูกกฎหมาย รู ป แบบผลงานสร างสรรค ช ิ ้ น นี ้ ได ว างกรอบแนวคิด ให ม ี ร ู ป แบบ เป น แบบเพลงสมั ย นิย ม (Popular Song) เพื่องายตอการเขาถึงบทเพลง โดยมีความยาว 3.59 นาที ทำนองเพลง ไดรับแรงบันดาล ใจมาจากการ “ซอ” ซึ่งเปนบทเพลงพื้นบานทางภาคเหนือ โดยจะเปนการขับรองเลาเรื่องราวของชาว ลานนาโดยใชเครื่องดนตรีพื้นบานทางภาคเหนือ มีลักษณะภาษาคำรองเปนภาษาทองถิ่นทางภาคเหนือ ในสวนของการเลือกใชเครื่องดนตรี ผูสรางสรรคไดกำหนดกรอบแนวคิดในการเรียบเรียงเสียง ประสาน โดยผูสรรคสรางเลือกใชเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดนตรีสากลและเครื่องดนตรีพื้นบานทาง ภาคเหนื อ เพื ่ อเป น การบรรยายบรรยากาศของบทเพลงนี้ใหเหมาะกับ คำรองและทำนองมากที่สุด สามารถเสนอรูปแบบผลงานเพลง “กัญชาไทย” ไดดังนี้
57
เพลง “กัญชาไทย” ทำนอง เมญาณี เทียบเทียม , อ.วรพงศ อุยยก คำรอง เมญาณี เทียบเทียม เรียบเรียง อ.มารค ใจเตย , อ.วรพงศ อุยยก ไวโอลิน อ.วรพงศ อุยยก เครื่องดนตรีพื้นเมือง อ.ภานุทัต อภิชนาธง
58
59
สรุปเปนแผนผังเพื่อใหดูงาย ขึ้นดังนี้ Introduction (Interlude) มีความยาว 4 หองเพลง Verse. 1 มีความยาว 8 หองเพลง Extension 1 หองเพลง Verse. 2 มีความยาว 8 หองเพลง Extension 1 หองเพลง Verse. 3 มีความยาว 8 หองเพลง Interlude (Music) มีความยาว 8 หองเพลง Verse. 4 มีความยาว 8 หองเพลง Extension 1 หองเพลง Verse. 5 มีความยาว 8 หองเพลง Extension 1 หองเพลง Verse. 6 มีความยาว 8 หองเพลง Refrain มีความยาว 8 หองเพลง Ending มีความยาว 4 หองเพลง ความยาวโดยรวมประมาณ 3.59 นาที
แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค ผูสรางสรรคมีแนวคิดในการสรางสรรคผลงานครั้งนี้สามารถนำเสนอไดดังนี้ 1. แนวคิดภาพรวม ผูสรางสรรคมีความตั้งใจใหผลงานชิ้นนี้มีความเปนเอกลักษณ เชน ทำนอง คำรอง ดนตรี เครื่อง ดนตรี และผูขับรอง ใหองคประกอบทั้งหลายมีความกลมกลืนกันมากที่สุด 2. แนวคิดดานคำรอง ผูสรางสรรคกำหนดแนวคิดในการนำไดรับ แรงบันดาลใจมาจากการ “ซอ” ซึ่งเปนบทเพลง พื้นบานทางภาคเหนือ โดยจะเปนการขับรองเลาเรื่องราวไปกับเครื่องดนตรีพื้นบานทางภาคเหนือ โดยใช ภาษาคำรองเปนภาษาทองถิ่นทางภาคเหนือ โดยความตั้งใจที่จะบอกเลาถึง ความหวังของผูปวยที่จะหาย จากการเจ็บปวยจากโรครายโดยใชน้ำมันกัญชาเพื่อรักษาโรค และความหวังของประชาชนที่จะไดรับ ความรูและสิทธิ์ในการปลูกกัญชาที่เปนพืชเศรษฐกิจอยางถูกกฎหมาย 3. แนวคิดดานทำนอง ผูสรางสรรคกำหนดแนวคิดในการนำไดรับ แรงบันดาลใจมาจากการ “ซอ” ซึ่งเปนบทเพลง พื้นบานทางภาคเหนือ แตมิไดใชทำนองเดียวกันแตอยางใดเปนการสรางทำนองขึ้นมาใหม โดยใหมีกลิ่น อายความเปนทำนองทางภาคเหนือ
60
4. แนวคิดทางดนตรี และเครื่องดนตรี กำหนดแนวคิดในการเลือกใชเครื่องดนตรีเครื่องดนตรี ไดกำหนดกรอบแนวคิดในการเรียบเรียง เสียงประสาน โดยผูสรรคสรางไดใชเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดนตรีสากลและเครื่องดนตรีพื้นบานทาง ภาคเหนือ เพื่อเปนการบรรยายบรรยากาศของบทเพลงนี้ใหเหมาะกับคำรองและทำนองมากที่สุด 5. แนวคิดดานการขับรอง ผูประพันธคำรองและผูขับรองโดย นางสาวเมญาณี เทียบเทียม ซึ่งเปนผูที่กำเนิดและอาศัยอยู ในทางภาคเหนือ ทำใหมีความคุนชินในการใชภาษาและการออกเสียงภาษาเหนืออยางดี จึงงายตอการ สื่อสาร ใหเพลงนี้ สงผานถึงผูฟงไดอยางดีตามวัตถุประสงคของผูสรางสรรค กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค ในการการสรางสรรคผลงานครังนี้ ผูสรางสรรคขอนำเสนอกระบวนการทางความคิด และเทคนิค ที่ใชในการสรางสรรคโดยขยายรายละเอียด ไดดังนี้ 1. ดานภาพรวม ยังคงพยายามสรางสรรคงานใหไดตามวัตถุประสงคตามกระบวนการที่วางไวทั้งหมด 2. แนวคิดดานคำรอง ผูสรางสรรคมีการใชแนวคิดที่ไดรับแรงบันดาลใจมาจากการ “ซอ” ซึ่งเปนบทเพลงพื้นบาน ทางภาคเหนือ โดยจะเปนการขับรองเลาเรื่องราวไปกับเครื่องดนตรีพื้นบานทางภาคเหนือ โดยใชภาษาคำ รองเปนภาษาทองถิ่นทางภาคเหนือ โดยใชหลักการของกลอนแปด ซึ่งในแตละวรรคจะมี 7 คำ หรือ 8 หรือ 9 คำก็อนุโลม ซึ่งเปนที่ยอมรับในแบบแผนในความเปนมาตรฐาน โดยมายึดหลักของความสั้นยาว ของตัวโนต เพื่อใหเกิดความเหมาะสมดังตัวอยางขางลางนี้ Verse.1 วันนี้ดีใจ ไดมาพบกั๋น ปอแมปนอง เฮาบคอยสบาย
วันนี้เบิกบาน จึงไดมาพรอมใจ ปูยาตายาย เฮาตุกใจเหลือเกิน
Verse.2 ขาววามี คนจะมาจวยเฮา ขาววามี คนดีเขามา
ขาววามี คนมาจวยฮักษา หมอเทวดา จะมาจวยเฮา
61
Verse. 3 จะเอาความฮู ตี้ดีมาฝาก จะเอาวิชา มาสอนฮื้อเฮา
จะเอาความยากจนไปจากเฮา หมดจากความเศรา ดวยน้ำมันกัญชา
คำรองใน 3 ทอนนี้ มีแบบแผนการประพันธแบบกลอนแปด แตละวรรคมี 7-9 คำตามแบบแผน โดยใน Verse.2 นอกเหนือจากสัมผัสแลว ยังมีการเลนคำดวยโดยในวรรคที่ 1,2 และ 3 จะขึ้นตนดวยคำ วา “ขาววามี” Verse.3 นอกเหนือจากสัมผัสแลว ยังมีการเลนคำดวยโดยในวรรคที่ 1,2และ3 จะขึ้นตน ดวยคำวา “จะเอา” เพื่อใหเกิดความไพเราะและการเนนย้ำเนื้อหาใหเปนที่จดจำ Verse. 4 กัญชาเขาวาบดี แตมาวันนี้ มันจวยฮักษา
ถูกสอนอยางนี้ แตโบราณนานมา โรคตางๆนาๆ ตี้วารายแรง
คำรองใน Verse. 4 ทอนนี้ มีการประพันธใหเปนแบบกลอนแปด แตละวรรคที่ 1 มีเพิยง 6 คำ เพื่อใหเกิดความแตกตาง เปรียบเสมือนเปนทอน Hook โดยใหจำนวนพยาคของคำรองไมเทากันเกินไป มี ผลทำใหทอนนี้มีความแตกตางจากทอนอื่นๆ แตยังคงความสมมาตรทางดนตรี ที่มีความยาวของหองเพลง ที่มีความสมมาตรกัน Verse. 5 อยากใจ หื้อมันถูกตอง หมูเฮา ทุกคนนั้นหนา
อยากใจ เอามาเปนยา ก็หวังพึ่งพา ตั๋วแทนคนไทย
คำรองในทอนนี้ มีแบบแผนการประพันธแบบกลอนแปด แตในวรรคที่ 1,2และ3 ใชเพียง 6 คำ เพื่อใหเกิดความแตกตางจากแบบแผนเดิมในทอนกอนหนากอนหนาโดยใน Verse.2 นอกเหนือจากสัมผัส แลว ยังมีการเลนคำดวยโดยในวรรคที่ 1และ2 จะขึ้นตนดวยคำวา “อยากใจ” เพื่อใหเกิดความไพเราะ และการเนนย้ำเนื้อหาใหเปนที่จดจำ Verse. 6 ชาวประชา นั้นมีความหวัง มาจวยฮักษา หื้อหายปวยไข
คนปวยก็ยัง คงมีมากมาย มาจวยคนไทย หื้อหายลำบาก
62
คำรองใน Verse. 6 ทอนนี้ มีแบบแผนการประพันธแบบกลอนแปด แตละวรรคมี 7-9 คำตาม แบบแผน Refrain มาจวยฮักษา หื้อหายปวยไข มาจวยฮักษา
มาจวยคนไทย หื้อหายลำบาก ดวยกัญชาไทย
คำรองใน Refrain ทอนนี้ เปนการนำเนื้อหาจากทอน Verse. 6 มาซ้ำเพื่อเนนย้ำถึงเนื้อหาที่ผู สรางสรรคอยากจะสื่อใหผูฟง เห็นถึงความสำคัญของเนื้อหาของบทเพลงโดยมาสรุปปดทาย ดวยคำ 3คำ สุดทายวา “กัญชาไทย” ซึ่งเปนชื่อเพลงนั่นเอง 3. แนวคิดดานทำนอง ผูสรางสรรคไดมีตั้งใจใหบทประพันธนี้ที่ไดรับแรงบันดาลใจมาจากการ “ซอ” ซึ่งเปนบทเพลง พื้นบานทางภาคเหนือ แตมิไดใชทำนองเดียวกันแตอยางใดเปนการสรางทำนองขึ้นมาใหม โดยใหมีกลิ่น อายความเปนทำนองทางภาคเหนือ จนไดขอสรุปวา บันไดเสียง Pentatonic ดูจะเหมาะสมที่สุด จึงได เริ่มเขียนเพลงนี้ โดยมีขั้นตอนพอสรุปไดดังนี้ 3.1 ศึกษาวิเคราะห ขอมูลเนื้อหาตางๆที่จะนำมาใช แตงเปนบทเพลงนี้ จนไดคำจำกัดความที่จะ ตั้งชื่อบทเพลงวา “กัญชาไทย” เปนตัวตั้ง 3.2 เลือกบันไดเสียงเพื่อใชประพันธทำนอง โดยใชบันไดเสียง Pentatonic ดูจะมีความเหมาะสม มีกลิ่นอายดนตรีทางภาคเหนือมากที่สุด และนาจะดูกลมกลืนกับคำรอง และใชคอรดงายๆ ในสไตลเพลง โฟลคซองเพื่อรองรับทำนองใหกลมกลืนที่สุด 3.3 สราง Motive ในวรรคแรกของ Verse. 1 และใน Verse. ตอๆไป นั้นจะใชปรับเปลี่ยนจาก เดิมใน Verse. 1 เพื่อใหเกิดความไพเราะและเหมาะสมกับคำในบทเพลง แตยังใชโครงสรางเดียวกัน โดย ที่จะเปนโครงสราง 8 บวก 1 เสมอ คือจะมีคำรอง 8 หองเพลง และจะตอดวยดนตรีอีก 1 หองเพลงเสมอ เพื่อใหผูฟงไมรูสึกเบื่อ เปนการสงตอไปหาทอนเพลงถัดไป และเพื่อใหผูฟงจดจำไดงายดังตัวอยางขางลางนี้ Verse. 1
63
Verse. 2
Verse. 3
Verse. 4
Verse. 5
Verse. 6
64
ใน Verse. 3 จริงๆก็ยังมีโครงสรางแบบ 8 หองเพลงบวก 1 หองเพลงอยู เพียงแตวาหองเพลงที่ ตอทายทอนนี้ จะเขาทอนบรรเลงดนตรี และในสวน Verse. 6 จะไมมี ดนตรีหนึ่งหองนั้นเพราะจะนำพา เขาไปทอน Refrain เลยนั้นเพื่อความกระชับและสรุปความไดอยางชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยผูสรางสรรค ตองการใหทำนองในการขับรองเปนแบบสำเนียงทางภาคเหนือมาที่สุด 4. แนวคิดทางดนตรี และเครื่องดนตรี มีการพิจารณาเลือกเครื่องดนตรีที่เปนเอกลักษณ สีสันของเพลงทางภาคเหนือ เชน สะลอ ซึง และผสมผสานกับ Violin Guitar เพื่อใหมีความเปนแบบเพลงสมัยนิยม (Popular Song) เพื่องายตอการ เข าถึ งบทเพลง และใชคอร ดขั ้ นพื้นฐานที่ส ามารถกลมกลืนกับ ทำนอง จากนั้น จึงคิดทำนองในสวน Introduction โดยจงใจสรางทำนองสวนนี้ใหลักษณะเปน Interlude ที่ไดประโยคเพลงใน Verse. 1 มา ขยายเพื่อเปนการย้ำเตือนผูฟงใหเคยชิน และจดจำไดดังตัวอยางขางลางนี้ Introduction
ในสวนทอน Interlude (Music) และทอน Ending ก็ไดใชวิธีการเดียวกัน Interlude (Music)
Ending
65
5. แนวคิดดานการขับรอง ในหัวขอนี้ผูประพันธคำรองและผูขับรองเปนทานเดียวกันคือ นางสาวเมญาณี เทียบเทียม ซึ่งเปน ผูที่กำเนิดและอาศัยอยูในทางภาคเหนือ ดวยมีภูมิลำเนาเปนชาว จ. ตากทำใหมีความคุนชินในการใช ภาษาและการออกเสียงภาษาเหนืออยางดี จึงงายตอการสื่อสารใหเพลงนี้ สงผานถึงผูฟงไดอยางดีตาม วัตถุประสงคของผูสรางสรรค สงผลทำใหบทเพลงนี้มีเอกลักษณสำเนียงและภาษาทางภาคเหนือได กลมกลืน องคประกอบของผลงานสรางสรรค ผูรวมงานสรางสรรคคผลงานเพลงนี้ ทำนอง เมญาณี เทียบเทียม , อ.วรพงศ อุยยก คำรอง เมญาณี เทียบเทียม ขับรอง เมญาณี เทียบเทียม เรียบเรียง อ.มารค ใบเตย , อ.วรพงศ อุยยก ไวโอลิน อ.วรพงศ อุยยก เครื่องดนตรีพื้นเมือง อ.ภานุทัต อภิชนาธง บันทึกเสียง อ.มารค ใบเตย
66
เพลง “กัญชาไทย” ทำนอง เมญาณี เทียบเทียม , อ.วรพงศ อุยยก คำรอง เมญาณี เทียบเทียม เรียบเรียง อ.มารค ใจเตย , อ.วรพงศ อุยยก ไวโอลิน อ.วรพงศ อุยยก เครื่องดนตรีพื้นเมือง อ.ภานุทัต อภิชนาธง
67
68
เพลง “กัญชาไทย” ทำนอง เมญาณี เทียบเทียม , อ.วรพงศ อุยยก คำรอง เมญาณี เทียบเทียม เรียบเรียง อ.มารค ใจเตย , อ.วรพงศ อุยยก ไวโอลิน อ.วรพงศ อุยยก เครื่องดนตรีพื้นเมือง อ.ภานุทัต อภิชนาธง
Verse.1 วันนี้ดีใจ ไดมาพบกั๋น ปอแมปนอง เฮาบคอยสบาย Verse.2 ขาววามี คนจะมาจวยเฮา ขาววามี คนดีเขามา Verse. 3 จะเอาความฮู ตี้ดีมาฝาก จะเอาวิชา มาสอนฮื้อเฮา Verse. 4 กัญชาเขาวาบดี แตมาวันนี้ มันจวยฮักษา Verse. 5 อยากใจ หื้อมันถูกตอง หมูเฮา ทุกคนนั้นหนา Verse. 6 ชาวประชา นั้นมีความหวัง มาจวยฮักษา หื้อหายปวยไข Refrain มาจวยฮักษา หื้อหายปวยไข มาจวยฮักษา
วันนี้เบิกบาน จึงไดมาพรอมใจ ปูยาตายาย เฮาตุกใจเหลือเกิน ขาววามี คนมาจวยฮักษา หมอเทวดา จะมาจวยเฮา จะเอาความยากจนไปจากเฮา หมดจากความเศรา ดวยน้ำมันกัญชา ถูกสอนอยางนี้ แตโบราณนานมา โรคตางๆนาๆ ตี้วารายแรง อยากใจ เอามาเปนยา ก็หวังพึ่งพา ตั๋วแทนคนไทย คนปวยก็ยัง คงมีมากมาย มาจวยคนไทย หื้อหายลำบาก มาจวยคนไทย หื้อหายลำบาก ดวยกัญชาไทย
69
เพลงลับแลไม่แลลับ ผลงานสรางสรรค โดย
อาจารยมนตรี นุชดอนไผ และอาจารยอมรรัตน กานตธัญลักษณ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค ผลงานสรางสรรคครั้งนี้ มีรูปแบบเพลงดนตรีมีลักษณะเปนเพลงมีการขับรอง ประพันธทำนอง คำรอง และเรียบเรียงดนตรีขึ้นมาใหมทั้งหมด ชื่อเพลง “ลับแลไมแลลับ” เพื่อใชในพิธีเปดพิพิธภัณฑเมือง ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2557 โดยไดรับงบประมาณสนับสนุนจากเทศบาลเมือง ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ รูปแบบงานสรางสรรคชิ้นนี้ วางกรอบแนวคิดใหมีรูปแบบเปนแบบเพลงสมัยนิยม (Popular song) เพื่องายตอการเขาถึงของคนหมูมาก ความยาวประมาณ 4 นาที เลือกใชทำนองที่มีสำเนียงแบบ ลานนา ใชภาษาของคำรองภาษาไทย ผสมผสานกับภาษาลานนาที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเมืองลับแล โดย นำเสนอความโดดเดนของเมืองลับแล ในสวนของการเลือกใชเครื่องดนตรี ไดกำหนดกรอบแนวคิดใหเปน เอกลักษณทางภาคเหนือ ในการขับรองไดสรรหาผูขับรองที่มีภูมิลำเนาเปนคนภาคเหนือ เพื่อการถายทอด สำเนียงภาษาของเสียงการขับรองที่เปนธรรมชาติใหกลมกลืนกับผลงานครั้งนี้ใหมากที่สุด สามารถเสนอ รูปแบบผลงานเพลง “ลับแลไมแลลับ” ไดดังนี้
70
71
72
สรุปเปนแผนผังเพื่อใหดูงายขึ้นดังนี้ Introduction (Interlude) มีความยาว 4 หองเพลง Verse. 1 มีความยาว 8 หองเพลง Extension 2 หองเพลง Verse. 2 มีความยาว 8 หองเพลง Hook. มีความยาว 8 หองเพลง Verse. 3 มีความยาว 8 หองเพลง Interlude (Music) มีความยาว 4 หองเพลง Verse. 2 มีความยาว 8 หองเพลง Hook. มีความยาว 8 หองเพลง Verse. 3 มีความยาว 8 หองเพลง Refrain (Ending) มีความยาว 2 หองเพลง ความยาวโดยรวม ประมาณ 4 นาที แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค ผูสรางสรรคมีแนวคิดในการสรางสรรคผลงานครั้งนี้สามารถนำเสนอไดดังนี้ 1. แนวคิดภาพรวม งานสรางสรรคควรตองมีภาพชัดเจน ใหเห็นถึงความเปนอัตลักษณของงานชิ้นนี้ เชน ทำนอง คำรอง ดนตรี เครื่องดนตรี และผูขับรอง ใหองคประกอบทั้งหลายมีความกลมกลืนกันมากที่สุด 2. แนวคิดดานคำรอง ผูสรางสรรคกำหนดแนวคิดในการนำบทการนำบทกลอนของอาจารยอมรรัตน กาตธัญลักษณ มาใสทำทำนองใหเกิดเปนเพลงสรางสรรค ดวยอาจารยอมรรัตนเปนผูที่ถือกำเนิดที่เมืองลับแล ไดชนะเลิศ จากประกวดแตงกลอนบทนี้มีเนื้อหาเมืองลับแล ในระดับชาติ ผูสรางสรรคจึงเกิดแนวคิดในการนำบท กลอนนี้มาประพันธทำนอง และบันทึกเสียงเพื่อเผยแพร โดยนำบทกลอนนี้มาใชเปนแนวคิ ดในการ สรางสรรคดานคำรองในครั้งนี้ 3. แนวคิดดานทำนอง ผูสรางสรรคมีแนวคิดวาบทเพลงนี้ควรเลือกใชบันไดเสียงที่สามารถบงบอกถึงลักษณะดนตรี ลานนาทางภาคเหนือ สรางสรรคใหเพลงมีเอกลักษณ
73
4. แนวคิดทางดนตรี และเครื่องดนตรี กำหนดแนวคิดในการเลือกใชเครื่องดนตรีพื้นบานทางภาคเหนือเปนสวนใหญบรรเลงรวมกับ เครื่องดนตรีตะวันตกบางสวน เพื่อใหมีความรวมสมัย 5. แนวคิดดานการขับรอง เรื่องแนวคิดนี้นับวามีความสำคัญไมนอยกวาที่กลาวมา เพราะเปนบทบาทหนาที่เรื่องการสื่อสาร งานสรางสรรคเพลงสูผูฟง สูสังคม จึงไดสรรหาผูขับรองบทเพลงนี้ที่ควรตองมีความสามารถในระดับ มาตรฐาน มี ค ุ ณ สมบั ต ิ ท ี ่ ม ี ภ ู ม ิ ล ำเนาเป น คนแถบภาคเหนื อ เพื ่ อ สามารถขั บ ร อ งบทเพลงนี ้ ไ ด ต าม วัตถุประสงคของผูสรางสรรค กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค ในการการสรางสรรคผลงานครังนี้ ผูสรางสรรคขอนำเสนอกระบวนการทางความคิด และเทคนิค ที่ใชในการสรางสรรคโดยขยายรายละเอียด ไดดังนี้ 1. ดานภาพรวม ยังคงพยายามสรางสรรคงานใหไดตามวัตถุประสงคตามกระบวนการที่วางไวทั้งหมด 2. แนวคิดดานคำรอง ผูสรางสรรคมีการใชแนวคิดที่จะสลายความสมดุลของบทกลอนที่มักนำมาทำเปนเพลงเปน สมมาตรของกลอนแปด ใหเกิดความไมสมดุล เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่แตกตางเชน กลอนแปด มีวรรคละ 8 คำ หรือ 7 หรือ 9 คำก็อนุโลม ซึ่งเปนที่ยอมรับในแบบแผนในความ เปนมาตรฐาน ผูสรางสรรคเพียงขอนำเสนอโดยการเปลี่ยนแปลงเรื่องควาวสมมาตรของพยางคทางภาษาใน บทกลอนใหไมเทากัน (การทำลายสมมาตร) โดยมายึดหลักของความสั้นยาวของตัวโนตที่อาจสามารถ สรางสมมาตรทางดนตรีที่มีความงามไดอีกทางหนึ่ง ของความไมเทากัน ดังตัวอยางขางลางนี้ Verse.1 มาเตอะอาย มาแอวเมืองลับแล เมืองลับแล เฮานี้มีสารพัน Verse.2 มาเตอะอาย มาแอวเมืองลับแล สาวลับแล บขี้จุไขละกัน
มาเตอะหนา มาแอวเมืองในฝน หากอายหัน อาจบอยากจากลับแล มาไขประแจเขาสูเมืองเมืองสวรรค หากอายหัน อาจบอยากจากลับแล
74
คำรองใน 2 ทอนนี้ มีแบบแผนการประพันธแบบกลอนแปด แตละวรรคมี 8-9 คำตามแบบแผน ดังนี้ Hook. พระศรีพนมาศ พระแทนศิลาอาสน คือทุเรียน เลื่องชื่อลือระบิล
แหลงไมกวาดตองกง อีกหลงหลิน อรอยลิ้นลางสาดรสชาติดี
คำรองในทอนนี้ วรรคที่ 1 มี 10 พยางค วรรคที่ 2, 3, และ 4 มีวรรคละ 8 พยางค แสดงใหเห็นถึงการทำลายสมมาตรของโครงสรางบทกลอนเพื่อตองการไมใหจำนวนพยางคของคำรอง เทากันเกินไป มีผลทำใหทอน Hook มีความแตกตางจากทอนอื่น ๆ แตยังคงความสมมาตรทางดนตรี ที่มี ความยาวของหองเพลงที่มีความสมมาตรกัน 3. แนวคิดดานทำนอง ผูสรางสรรคไดมีการลองผิดลองถูกในเรื่องการเลือกใชบันไดเสียงกับเพลงนี้ใหเหมาะสมหลาย ตอหลายครั้ง จนไดขอสรุปวา บันไดเสียง Pentatonic ดูจะเหมาะสมที่สุด จึงไดเริ่มเขียนเพลงนี้จากบท กลอนใหเปนบทเพลง “ลับแลไมแลลับ” โดยมีขั้นตอนพอสรุปไดดังนี้ 3.1 ศึกษาวิเคราะหบทกลอนเพื่อปรับบทกลอนใหเปนเพลง แบบเพลงสมับนิยม จากนั้น ตั้งชื่อเพลงใหเกิดแนวคิดรวบยอด โดยมีกลอนวรรคหนึ่งวา “...หากอายมาเมืองลับแลอยาแลลับ...” เปน วรรคที่ดลใจใหผูสรางสรรคคิดไดชื่อเพลงขึ้นมาไดวา “ลับแลไมแลลับ” 3.2 เลือกบันไดเสียงเพื่อใชประพันธทำนอง โดยการทดลองกับ บันไดเสียง Major บันได เสียง Natural Minor และบันไดเสียง Pentatonic จนไดขอสรุปเปนบันไดเสียง Pentatonic ดูจะมีความ เปนลานนามากกวา และนาจะดูกลมกลืนกับคำรอง 3.3 สราง Motive ในวรรคแรก ๆ ของ Verse 1 และ Verse 2 ใหมีความละมายคลาย หรือเหมือนกัน เพื่อใหผูฟงจดจำไดงายดังตัวอยางขางลางนี้
75
ในทอน Hook นอกจากคำรองมีการทำใหไมสมมาตรแลว ยังมีการสรางทำนองใหแตกตางจาก ทอน Verse เพื่อใหมีความโดดเดน ดังตัวอยางขางลางนี้
3.4 สรางทำนองการขับรองใหมีสำเนียงแบบเพลงทางภาคเหนือมากที่สุด โดยใชเทคนิคการรอง แบบเอื้อนเสียงนำเอาเครื่องหมาย Slur มาชวย และ Triplet note (Three-Note Groupings) มาชวย ตรงคำวา “ตองกง” “หลงหลิน” และคำวา “คือทุเรียน” ดังตัวอยางขางลางนี้
ผูสรางสรรคตองการใหทำนองในการขับรองเปนแบบสำเนียงทางภาคเหนือมากที่สุด 4. แนวคิดทางดนตรี และเครื่องดนตรี มีการพิจารณาเลือกเครื่องดนตรีที่เปนเอกลักษณ สีสันของเพลงลานนา เชน ซึง ขลุย ป รวมกับ คลาสสิกกีตาร เบส เครื่องหนัง มีการนำเอาเสียงกลองสะบัดชัยมาใชในชวง Introductionเปนตน และใชคอรดขั้นพื้นฐานที่สามารถกลมกลืนกับทำนอง จากนั้นจึงคิดทำนองในสวน Introductionโดยจงใจ สรางทำนองสวนนี้ใหลักษณะเปน Interlude ที่ลักษณะทำนองที่เปนลานนาและนำมาใชซ้ำอีก เพื่อเปน การย้ำเตือนผูฟงใหเคยชิน และจดจำไดดังตัวอยางขางลางนี้
76
5. แนวคิดดานการขับรอง ผูสรางสรรคพยายามสรรหาผูขับรองเพลงนี้ใหไดตามแนวคิดของผูสรางสรรค ดวยการลองผิด ลองถูกหลายคน จนไดตัดสินใจเลือกนักศึกษาชั้นปที่ 2 (พ.ศ. 2557) ชื่อ น.ส.เมญาณี เทียบเทียม เรียน วิชาเอกขับรอง ภาควิชาดนตรีสากล คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง เปนผูขับรองเพลงนี้ ดวยมีภูมิลำเนาเปนชาว จ. ตากไดมาขับรอง สงผลทำใหบทเพลงนี้มีเอกลักษณสำเนียงและภาษาทาง ภาคเหนือไดกลมกลืน องคประกอบของผลงานสรางสรรค ผูรวมงานสรางสรรคคผลงานเพลงนี้ ทำนองโดย มนตรี นุชดอนไผ คำรองโดย อมรรัตน กานตธัญลักษณ เรียบเรียงดนตรีโดย ธนาคม นวลนิรันดร / มนตรี นุชดอนไผ ขับรองโดย เมญาณี เทียบเทียม กีตารโดย มนตรี นุชดอนไผ ขลุย ป และซึงโดย อรัญ แสงเมือง ผสมเสียงโดย ธนาคม นวลนิรนั ดร บันทึกเสียง อมรสตูดิโอ
77
โนตเพลง เนื้อเพลง
78
79
ลับแลไมแลลับ คำรอง : อมรรัตน กานตธัญลักษณ ทำนอง : มนตรี นุชดอนไผ ดนตรี : ธนาคม นวลนิรันดร/มนตรี นุชดอนไผ ขับรอง : เมญาณี เทียบเทียม Verse.1 มาเตอะอาย มาแอวเมืองลับแล มาเตอะหนา มาแอวเมืองในฝน เมืองลับแล เฮานี้มีสารพัน หากอายหัน อาจบอยากจากลับแล Verse.2 มาเตอะอาย มาแอวเมืองลับแล เมืองลานนาเปนดั่งเมืองเมืองสวรรค สาวลับแล บขี้จุไขละกัน หากอายหัน อาจบอยากจากลับแล Hook. พระศรีพนมาศ พระแทนศิลาอาสน เมืองทุเรียน เลื่องชื่อลือระบิล
แหลงไมกวาดตองกง อีกหลงหลิน อรอยลิ้นลางสาดรสชาติดี
Verse.3 หากอายมา เมืองลับแลอยาแลลับ สาวลับแล บเคยลืมอายหนามน Refrain. หมูเฮาทุกคน รอฮับอายสูลับแล ลิงกผลงานสรางสรรค https://youtu.be/dL58Acwv2Ac
ขอหื้อกลับ มาเยือนอีกหน หมูเฮาทุกคน รออายมาแอวลับแล
80
เพลงอาเซียนสามัคคี ผลงานสรางสรรค โดย
ผูชวยศาสตราจารยภาณุภัค โมกขศักดิ์ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค รูปแบบการประพันธและเรียบเรียง เพลงไทยประเภทเพลงตับ ออกสำเนียงภาษาในภูมิภาค อาเซียน มี 10 สำเนียงภาษาหรื อ 10ประเทศในกลุ มอาเซี ยน คือ 1.สำเนียงลาว 2 .สำเนียงกัมพูช า 3. สำเนียงมาเลเซีย 4. สำเนียงพมา 5. สำเนียงอินโดนีเซีย 6.สำเนียงเนียงสิงคโปร 7. สำเนียงฟลิปปนส 8. สำเนียงบรูไน 9. สำเนียงเวียดนาม และสำเนียงไทย มีอัตราจังหวะสองชั้นและชั้นเดียว แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค การประพันธเพลงเพื่อการฟง จากบทเพลงที่ไดรับความนิยมกันอยางกวางขวางของแตละชาติใน กลุมอาเซียน 10 ประเทศ ทำมาประพันธรอยเรียงเปนเพลงประเภทเพลงตับ เพื่อใชบรรเลงดวยวงดนตรี ไทยและเครื่องดนตรีไทยระดับเสียงปกติ กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค 1. การคัดเลือกบทเพลงที่ไดรับความนิยมของชาติตาง ๆ ในกลุมประเทศอาเซียน 10 ประเทศ 2. นำเพลงที่ไดคัดเลือกมาศึกษาและถอดทำนองที่โดดเดนมาใชในการประพันธเพลง 3. ทำการเรียบเรียงทำนองเพลงที่คัดเลือกมาของแตละชาติที่มารองเรียนในระดับเสียงเดียวกัน และเรียบเรียงใหทำนองสะดวกแกเครื่องดนตรีไทยบรรเลง 4. แตงทำนองเชื่อมเพลงใหรอยเรียงกับเปนตับและแตงทำนองทางเปลี่ยนออกไป 10 สำเนียง ตามชาติในอาเซียน 5. ทดลองบรรเลงแกไขบทเพลงที่ไดเรียบเรียง และแสดงเผยแพร
81
องคประกอบของผลงานสรางสรรค
ลิงกการบรรเลงเพลงอาเซียนสามัคคี https://www.youtube.com/watch?v=-wRfTYzrL3c https://www.youtube.com/watch?v=CzEiFxabRJ
82
83
84
85
86
87
88
89
ผลงานสร้างสรรค์ด้านนาฏกรรม
90
ฟ�อนสาวม่านจกไก ผลงานสรางสรรค โดย
ผูชวยศาสตราจารย ดร.รัสวรรณ อดิศัยภารดี นายทีปกร จิตตอารีย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง
แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค แรงบันดาลใจ “ลานนา” นั้นเปนราชอาณาจักรของชาวยวนในอดีต ตั้งอยูบริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศ ไทย ตลอดจนดินแดนสิบสองปนนา ครอบคลุมแปดจังหวัดในปจจุบัน ไดแก จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ลำพูน ลำปาง พะเยา แพร นาน และแมฮองสอน (สรัสวดี อองสกุล. 2544) ซึ่งในสังคมลานนาแตล ะ จังหวัดก็มีอีกหลากหลายกลุมชาติพันธุอาศัยอยูรวมกันนอกจากชาวยวนหรือคนพื้นเมืองดั้งเดิม เชน ชาวไทลื้อ ไทใหญ ไทเขิน ที่ไดมีการอพยพโยกยายมาจากที่ตางๆ อาทิเชน จากดินแดนสิบสองปนนาทาง ใตสุดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ลาว รวมไปถึง เมืองชาน(พมา), ฉาน กลุมชนชาวไทใหญในพมา เปน ตน ซึ่งกลุมชนชาติพันธุเหลานี้เมื่อไดเขามาอาศัยสรางครอบครัวทำมาหากินในดินแดนลานนาก็มักจะ นำเอาศิลปวัฒนธรรมของกลุมชนชาติตนเองมาดวยทำใหดินแดนลานนานั้นเกิดความหลากหลายและ ความแตกตางทั้งทางดานภาษา วัฒนธรรม ประเพณี การแตงกาย ภูมิศาสตร รวมไปถึงวัฒนธรรมทางดาน อาหารการกิน ไกหรือสาหรายน้ำจืดถือไดวาเปนอาหารประจำฤดูหนาวและเปนที่นิยมของชาวบานในเขตอำเภอ ปว ทาวังผา เชียงกลาง ทุงชาง โดยจากการสังเกตเห็นถึงวิถีชีวิตชาวบานที่ไปเก็บไกตามริมน้ำมาตากไว ตามลานบาน ตลอดไปจนนำมาประกอบเปนอาหาร ซึ่งนับเปนตัวอยางวิถีชีวิตของชาวบานในภาคเหนือ ของประเทศไทย การดำรงชีวิตในภูมิประเทศที่เต็มไปดวยความสมบูรณของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ตางๆในเขตอาเซียน ผูสรางสรรคจึงเกิดแรงบันดาลใจ สรางสรรคผลงานการแสดงชุดนี้ขึ้นมาสอดรับกับ วิถีของ “ชาวนาน” กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค การแสดงสรางสรรคขึ้นเพื่อเปนการอนุรักษและสืบทอด นำเสนอวิถีชีวิตของชาวไทยลื้อในจังหวัด นาน โดยเฉพาะวิธีการทำไกยี โดยสื่อออกมาโดยการแสดงฟอนแบบพื้นเมืองรวมสมัย ในการแสดง มีการ ผสมผสานทารำลานนาแบบดั้งเดิมและการประดิษฐคิดทาใหม โดยการประดิษฐทารำสวนหนึ่งนั้น ไดนำ
91
รูปแบบมาจากแนวคิดทารำของอาจารย อริน พูนเกษม อาจารยกฤษณา กาญจนสุรกิจ และนำทารำของ นาฏศิลปพื้นเมืองลานนามาผสมผสานในการออกแบบทารำ โดยออกแบบการแสดงออกเปนสามชวง ดังนี้ ชวงที่ 1 ลองนานลำนำ สื่อถึงวิถีชีวิตของผูหญิงชาวไทยลื้อเมืองนาน ที่มีความผูกพันกับสายน้ำ ความอุดมสมบูรณของ ลำน้ำนาน โดยเริ่มตั้งแตตื่นมาแตงกายหวีเกลามวยผม นุงซิ่น พันหัวหรือเคียนหัวและเหน็บดอกไมหอม เพื่อจะไปเก็บไก ชวงที่ 2 วัฒนธรรมไทยลื้อ สื่อถึงกรรมวิธีการเก็บไกตั้งแตการลงน้ำ การตาวเอาหางไกนำมาสะบัด การปนไกเปนกอนจนถึง ขั้นตอนของการตากไก ชวงที่ 3 มวนใจ วิถีนันทบุรี จุมเย็น เลาถึงความสนุกสนานของหญิงสาวชาวนานหลังจากการเก็บไปเสร็จสิ้น องคประกอบของผลงานสรางสรรค นักแสดง ผูสรางสรรคใชนักแสดง จำนวน 5-6 คน 1. ชลลดา คงดี 2. อินทิรา อินทรโสภา 3. ชวพร สุภาพบุรุษ 4. ทีปกร จิตตอารีย 5. พัชรี เสารพูน ดนตรีประกอบการแสดง ดนตรีประกอบการแสดงงานสรางสรรคครั้งนี้มีการสรางสรรคบทเพลงขึ้นใหมโดยผูเชี่ยวชาญ ทางดานดนตรีไทย คือ อาจารยธีรวัฒน หมื่นทา อาจารยประจำสาขาดนตรีศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลป เชียงใหม สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม
92
ชวงที่ 1 ลองนานลำนำ - ซ.- รํ - - - รํ - ซ. - ซํ ---ซ
- ม - รํ ----ล-ซ ----
- ซ.- รํ ---- ซ. - ซํ ----
รัวนานลำ - ม - รํ - ซ.- รํ ---- ล - ซ - ซ. - ซํ ----
- ม – รํ
- ซ.- รํ
- ม - รํ
-ล-ซ
- ซ. - ซํ
-ล-ซ
จอยตั้งนาน สาย แมน้ำนาน มนตขับขาน เย็นใส นองเฮย จาวไตลื้อเครือใย ฮวมจกไก นานน้ำ สะหรี๋ เมืองนาน แต เนอ ชวงที่ 2 วัฒนธรรมไทลื้อ จกไก วรรคเชื่อม (เสียงกะโลก แทนเสียงน้ำ , เสียงกลอง และเสียงอุย แทนเสียงซัดสาดของน้ำ) -------
- - - ปอก - - - ปอก
- - - ปอก - - - ปอก - - ปะลอก - ปอก-ปอก
ทอน 1 ---- - ล ดํ ---ล --ดร
รํ ดํ ล ดํ --ลซ ซลมซ มรดล
- ล ดํ รํ -ฟลซ -มรด ซมซล
ดํ ม ร ด ฟ ซ ล ดํ ซ ล ดํ รํ ซ ล ดํ รํ
---- ล รํ ดํ -มซล -มซล
รํ ดํ ล ดํ - ล รํ ดํ ซมซร ซมซร
- ล ดํ รํ ซ ล ดํ รํ -มซล มรดล
ดํ ท ล ซ ดํ ท ล ซ ซมซร ดํ รํ ล ดํ
ทอน 2 ------- ดํ รํ ดํ - ดํ รํ ดํ
- ดํ รํ ดํ - ดํ รํ ดํ - ดํ รํ ล - ดํ รํ ล
- ดํ รํ ดํ - ดํ รํ ดํ
- ดํ รํ ล - ดํ รํ ล
- ปอก -ปอก
- ปอก -ปอก
- ปอก -ปอก
- ปอก -ปอก
- ปอก -ปอก
- ปอก -ปอก
- ปอก -ปอก
- ปอก -ปอก
- ปอก -ปอก
- ปอก -ปอก
- ปอก -ปอก
- ดํ รํ ซ
- ดํ รํ ล - ดํ รํ ซ
- ปอก -ปอก
- ดํ รํ ดํ
- ดํ รํ ดํ - ดํ รํ ดํ
-รมร
ดํ ล - ดํ
ชวงที่ 3 มวนใจ วิถี นันทบุรี จุมเย็น
- - - - - - - ปอก - - ปะลอก - ปอก-ปอก
- - ปะลอก - ปอก-ปอก ตึ่งตึ่งตึ่งตึ่ง - ปอก-อุย
93
วรรคเชื่อมเพลง ---ด ---ม ---ซ -ม-ซ ทอน 1 -มซล -มซล ทอน 2 - ซํ - ซํ - ซํ - ซํ
-ล-ซ -ม-ซ
---ซ -ม-ร
-ม-ซ ----
-ม-ซ ----
-ม-ร มรดร
----ด -ดดด กลับตน
ซ ล ดํ รํ ซ ล ดํ รํ
-มดร -มดร
มรดล มรดล
ซมซล ซมซล
ซ ล ดํ รํ ซ ล ดํ รํ
ด ม ด รํ ด ม ด รํ
ดํ ล รํ ดํ ดํ ล รํ ดํ
-ลมซ -ลมซ
-ดมร -ดมร
-มดร -มดร
ล ดํ ล รํ ล ดํ ล รํ
- ดํ - ซ - ดํ - ซ
มรมซ มรมซ
- ล - ดํ - ล - ดํ
- จบการแสดง – เครื่องแตงกาย การแตงกายของการแสดงชุดสาวมานจกไก ไดนำรูปแบบการแต งกายของชาวไทลื้ อในเขต อำเภอปว-ทาวังผา แบบดั้งเดิม มาดัดแปลงใหมีสีสันสดใสมากขึ้น จากเดิมชาวไทลื้อมักจะนิยมสวมใส เสื้อผาที่ยอมสีครามไปจนถึงสีดำ ทางผูสรางสรรคผลงานจึงมีแนวคิดปรับเปลี่ยนสีของเสื้อผาใหดูเหมาะ สำหรับการแสดงแตยังคงรูปแบบและความเปนเอกลักษณของชาวของชาวไทลื้อในเขตอำเภอปว-ทาวังผา เอาไว การแสดงชุดสาวมานจกไก เครื่องแตงกายประกอบดวย 1. เสื้อปดผากำมะหยี่ชมพูอมมวง 2. ผาซิ่นมานกาน 3. ผาพันหัวผาฝายดิบสีขาว ผาพันหัวลูกไมสีมวง 4. ถุงยามสีแดงเลือดหมู 5. ลานหู 6. ปนปกผมทองเหลือง 7. ดอกไมประดับผม 8. เข็มขัดทอง 9. เสนไหมสังเคราะหสีเขียว
94
95
นาฏรังสรรค์ ชุด เจินป�๋ ขี่ม้าทรง ผลงานสรางสรรค โดย
นายขรรคชัย หอมจันทร นายจีรศักดิ์ ศรีนวลสด นายวิศรุต คำถนอม นายอัยการ รุณเกตุ นายวีรกาญจณ บุบผา นางสาวแสงศิลป ฉ่ำเจริญ นางสาวพิมผกา ทวยดี มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค นาฏรังสรรคชุด เจินปขี่มาทรง ไดรับแรงบันดาลใจมากจาก ประเพณีฟอนผีมด ตำบลตนธงชัย อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง การแสดงสื่อถึงการบูชากราบไหว และการเขาทรงในพิธีประเพณีฟอน ผีมดของมาทรง ซึ่งในพิธี จะมีการรับขันและพรมน้ำขมิ้นสมปอย เพื่อปะพรมใหผีเขาสิงสูมาทรง และวิ่ง เขาปะรำพิธี รวมกันฟอนรำกันอยางสนุกสนาน จึงไดรังสรรคทารำจากทารำของมาทรงในพิธี และ ใชผาสี แดงเปนตัวแทนเลือดเนื้อของบรรพบุรุษ ซึ่งการแสดง จะแบงเปน 3 ชวง ชวงที่ 1 สื่อถึง การกราบไหว บูชาบรรพบุรุษ ชวงที่ 2 สื่อถึงการเขาทรงของผีมดในปะรำพิธี และชวงที่3 สื่อถึงวิญญาณผีบรรพบุรุษ ออกจากมาทรง แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค แนวคิดในการสรางสรรคผลงานนาฏศิลปที่มาจากประเพณีฟอนผีมด ตำบลตนธงชัย อำเภอเมือง ลำปาง จังหวัดลำปาง มารังสรรคผลงานทางดานนาฏศิลปโดยใชกระบวนทาทางการเขาทรงของผี มด ความเชื่อในปะรำพิธี และวัฒนธรรมการแตงกายพิธีฟอนผีมด ตลอดจนดนตรีที่บรรเลงในพิธี มาวิเคราะห สังเคราะห จนมาเปน นาฏรังสรรคชุด เจินปขี่มาทรง
96
กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค คณะผูสรางสรรคไดจัดทำตามกระบวนการและขั้นตอนของงานวิจัย โดยมีการรวบรวมขอมูลและ ประวัติความเปนมาการเขาทรงของผีมดในปะรำพิธี มีการออกแบบเครื่องแตงกาย ออกแบบทำนองเพลง และรังสรรคทารำขึ้นมาใหม มีการนำเสนอตออาจารยที่ปรึกษางานวิจัยและแกไขตามคำแนะนำ
องคประกอบของผลงานสรางสรรค รูปแบบการแสดง คณะผูสรางสรรคไดสรางสรรคการแสดงเปน 3 ชวง ดังนี้ ชวงที่ 1 การกราบไหวบูชาบรรพบุรุษ สื่อถึง การกราบไหวบูชาบรรพบุรุษ ชวงที่ 2 การเขาทรง สื่อถึงการเขาทรงของผีมดและฟอนรำในปะรำพิธี ชวงที่ 3 การออกจากทรง สื่อถึงวิญญาณผีบรรพบุรุษออกจากมาทรง
97
นักแสดง
ผูสรางสรรคใชนักแสดงผูหญิงทั้งหมด 7 คน โดยคํานึงถึงทักษะความสามารถทางนาฏศิลป ไทย และเลข 7 เปนตัวเลขมงคลความเชื่อของชาวลานนา ในพิธีฟอนผีมดของชาวตําบลตนธงชัย อําเภอเมือง ลําปาง จังหวัดลําปาง ใชผหู ญิงฟอนยึดตามพิธีในสมัยโบราณ ลีลาทารํา
ไดนําลักษณะลีลาทาทางการเขาทรงของผีมดในปะรําพิธี ประเพณีฟอนผีมดของมาทรง ตําบล ตนธงชัย อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง เพื่อเปนการสืบสานและอนุรักษประเพณีฟอนผีมด ของชาว บาน ตําบลตนธงชัย อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง จึงไดนําทาทางการเขาทรงในประเพณี ฟอนผีมด มารังสรรคเปนทารําในการแสดง ทํานองเพลงไดแนวคิดมาจากดนตรีที่นิยมบรรเลงในงาน พิธีประเพณี
98
ฟอนผีมดของชาวบาน ดนตรี
ดนตรีที่ใชในการแสดงจะมี 3 ชวง จังหวะกลาง จังหวะเร็ว และจังหวะชา ดนตรีที่ใชประกอบการ แสดง เปนการใชเครื่องดนตรีของวงปพาทยลานนา ที่เปนดนตรีพื้นเมืองของชาวลานนา ซึ่งจังหวะกลาง จะสื่อใหเห็นถึง มนตขลังของวิญญาณผีบรรพบุรุษที่คอยปกปกดูแลลูกหลาน จังหวะเร็ว จะสื่อใหเห็นถึง การเขาทรงของมาทรง มีการรายรําในพิธีเปนจังหวะที่มีความสนุกสนานของการฟอนรํา และจังหวะชา จะ สื่อใหเห็นถึงความนากลัวของการฟอนผีปนการรําที่มีความดุดันและแฝงไปดวยความนากลัวเนื่องดวยเปน การฟอนที่เกี่ยวกับผี เวลาที่ใชในการแสดง 6 นาที
99
เครื่องแตงกาย
คณะผูสรางสรรคไดนําการแตงกายของชาวลานนาเชียงแสนมารังสรรครวมกับเครื่องแตงกาย ของมาทรงในปะรําพิธี เพื่อใหมีความสวยงามและรวมสมัยมากยิ่งขึ้น การแตงกายประกอบไปดวย ผาพัน อก เสื้อผาอกแขนกระบอกสั้น ผาคลองคอ ผาพันศีรษะ ผาซิ่น และผาปาดเกิ่งตุมเกิ่ง ทรงผมรวบตึงสูง กลางศีรษะดานบนสวนเครื่องประดับมีลวดลายที่เปนเอกลักษณและลักษณะที่เปนดอกไมเพื่อสื่อถึงความ สวยงามของหญิงสาว และเปนดอกไมที่มีความหมายสื่อถึงความบริสุทธิ์และเปนดอกไมที่ทรงคุณคา
100
101
นาฏรังสรรค์ ชุด ท๊ะแท กระเหรีย ่ งโปว์ ผลงานสรางสรรค โดย
นางสาวชไมพร จันทรวิบูลย นางสาวสุพัตรตรา โพธิ์พรหม นางสาวปลายฟา เสมอสุข นายธนภัทร แผนจบก นางสาวสุจิตรา วรรณบวร นางสาวนิสายชล แสวงสุข นางสาวภัทรธิดา จารุกำเนิดกุล นายนุชัย นามอุษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
เนื้อหาของผลงานสรางสรรค ผลงานนาฏรังสรรค ชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาวิถีชีวิตและ ประเพณีกะเหรี่ยงโปวหมูบานหวยบง ตำบลนาเกียน อำเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม 2) เพื่อศึกษาประวัติ และกระบวนการทาทาง ขั้นตอนการทอผา ลวดลายบนผาทอมือกี่เอวกะเหรี่ยงโปวหมูบานหวยบง ตำบล นาเกียน อำเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม 3) เพื่อรังสรรคผลงานทางดานนาฏรังสรรคจากการทอผาทอมือ กี่เอวกะเหรี่ยงโปว ดนตรีทองถิ่น การแตงกาย ทรงผม และเครื่องประดับของชาวกะเหรี่ยงโปว หมูบาน หวยบง ตำบลนาเกียน อำเภออมก อย จังหวัดเชียงใหม ประกอบการแสดงนาฏรังสรรค ชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว วิถีชีวิตหลัก ๆ ของชาวกะเหรี่ยงโปว คือ การทอผาทอมือกี่เอวจะมีการเตรียมอุปกรณ ที่จะนำไป ทอ คือ ฝาย เริ่มจากการเก็บฝายแลวนำมาดีดเพื่อเอาเมล็ดออกจากนั้นนำมาตีเพื่อใหฝายฟู เพื่องายตอ การนำเอามาปนเปนเสนดาย เมื่อไดเสนดายตามที่ตองการแลวจึงนำมานวดกับน้ำขาวสุกแลวเอามาตาก ใหแหง จึงสามารถนำดายมากรอ เพื่อใหเกิดลวดลายตามที่ตองการ ตอมาขึ้นดาย หรือเรียกวาขึ้นเครื่อง ทอกี่เอว เปนการนำเอาเสนดายมาเรียงตอกันอยางมีระเบียบตามแนวนอน โดยพันรอบกับสวนประกอบ ของเครื่องทอ และเริ่มการทอ จนถึงวิธีการจกลายผา จนไดเปนผาผืนแลวนำมาประกบกันเปนชุด ไมมี เครื่องดนตรีประกอบจังหวะ การรังสรรคทารำ ทำนองเพลง เครื่องแตงกาย ทรงผม และเครื่องประดับประกอบการแสดง ชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว คณะผูสรางสรรคไดรังสรรคทารำโดยใชลักษณะทาทางการเคลื่อนไหวของวิธี และกระบวนการทอผา ของชาวกะเหรี่ยงโปว เนื่องจากไมมีทาทางที่ตายตัว คณะผูสรางสรรคจึงนำเอา
102
ทาทาง ของการทอผามาดัดแปลงเปนทาเพื่อความสวยงามและความเหมาะสมมากขึ้น ทำนองเพลงได แนวคิด มาจากดนตรีของชาวกะเหรี่ยงโปวที่มีอยูในชีวิตประจำวัน การบรรเลงดนตรีประกอบการแสดง จะใชจังหวะ 3 ชวง คือ ในชวงแรกจะเปนจังหวะปานกลาง ชวงกลางจะเปนจังหวะที่ชาลง และชวง สุดทายของเพลง ก็จะเปนจังหวะที่เร็วขึ้นจากตอนกลางเพลง ใชเวลาในการแสดง 6.30 นาที การแตงกาย ในการแสดง ชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว ในการแสดงจะใชผูแสดงเปนผูหญิงทั้งหมด เครื่องแตงกายจะมี 2 สี โดยแบงเปน ชุดที่ยังไมไดแตงงานเปนลักษณะชุดทรงกระสอบสีขาว สวนชุดที่แตงงานแลวจะมี 2 สวน คือ เสื้อและผาซิ่น ทรงผม รวบตึงตั้งโกะครอบเน็ตคลุมผมที่รังสรรคขึ้น และมีหนามาโพกศีรษะดวยผาที่มี สีสัน เครื่องประดับประกอบไปดวย ปนปกผม ตางหู สรอยคอ กำไลขอมือ กำไลตนแขนและขาหรือ เรียกวาคันไข สวมปอกขาและแขน แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค คณะผูสรางสรรคมีแนวคิดและแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานทางดานนาฏศิลป มาจาก การทอผาทอมือกี่เอวกะเหรี่ยงโปว เพื่อศึกษาวิถีชีวิตของชาวกะเหรี่ยงโปว และเพื่อศึกษาประวัติและ กระบวนการทาทางการทอผา รวมไปถึงเพื่อรังสรรคผลงานทางนาฏรังสรรคจากการดำเนินชีวิตและ ทาทางการทอผาทอมือกี่เอวกะเหรี่ยงโปว ตำบลนาเกียน อำเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค คณะผูสรางสรรคไดจัดทำตามกระบวนการและขั้นตอนของงานวิจัย โดยมีการรวบรวมขอมูล และประวัติความเปนมาการทอผาทอมือกี่เอวกะเหรี่ยงโปว มีการออกแบบเครื่องแตงกาย ออกแบบ ทำนองเพลงและรังสรรคทารำขึ้นมาใหม มีการนำเสนอตออาจารยที่ปรึกษางานวิจัย และแกไขตาม คำแนะนำ
103
104
องคประกอบของผลงานสรางสรรค รูปแบบการแสดง คณะผูสรางสรรคไดสรางสรรคการแสดงเปน 3 ชวง ดังนี้ ชวงที่ 1 สื่อถึงการเตรียมขั้นตอนการทอผาและวิธีการทอผา ชวงที่ 2 ไดออกมาเปนผาทอและโออวดลวดลายผาทอ สื่อถึงความงดงามของผืนผา ชวงที่ 3 สื่อถึงการนำไปใช บงบอกถึงสถานะแตละชวงวัยและออกไปเฉลิมฉลองอวด ความงามของลายผาและผสมผสานลีลาการกระทบไม นักแสดง นาฏรังสรรค ชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว ใชนักแสดงผูหญิงทั้งหมด 8 คน โดยแยกเปนผูหญิงที่ แตงงานแลว 4 คน และผูหญิงที่ยังไมไดแตงงาน 4 คน เพื่อสื่อใหเห็นถึงสถานะชวงวัยตามสีชุด
105
ลีลาทารำ คณะผูสรางสรรคศึกษาและเก็บขอมูลเกี่ยวกับทาทางการเก็บฝายและการทอผาทอมือกี่เอว กะเหรี่ยง โปว ตำบลนาเกียน อำเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม พบวาทาทางการทอผานั้นเปนทาทางใน แบบแผนการทอ ผา เปนการเคลื่อนไหวทาทางตามธรรมชาติ ซึ่งมีทาทางตั้งแตการเก็บฝาย การทอผาทอ มือกี่เอวกะเหรี่ยงโปว โดยผานกระบวนการทอผาแตละขั้นตอนจนเปนผืนผาที่สวมใส
ดนตรี เพลงประกอบการแสดงชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว เปนเพลงที่เรียบเรียงโดยวาที่รอยตรีวีรพร จุมใจ ไดแนวคิดมาจากการทอผาทอมือกี่เอวกะเหรี่ยงโปว จังหวัดเชียงใหม เปนการนำเอาเครื่องดนตรีพื้นบาน ของชาวกะเหรี่ยงมาผสมผสานกับเครื่องดนตรีสากล ใชเครื่องดนตรีประกอบดังนี้ คือ กลองกนยาว พิณ แตรอีกทั้งยังไดนำเอาเครื่องดนตรีชนิดอื่น ๆ มารวมบรรเลงดนตรีในการแสดงการทอผาทอมือกี่เอว กะเหรี่ยงโปว การแตงกาย จากการศึกษาการแตงกายและทรงผมของชาวกะเหรี่ยงโปว ประกอบการแสดง ชุ ด ท ะแท กะเหรี ่ ย งโปว คณะผู ส รางสรรคมีแนวคิดและรูป แบบการแตงกายและทรงผมของหญิ ง ชาวกะเหรี่ยงโปว พบวาการแตงกายของชาวกะเหรี่ยงโปว ในสมัยกอนนั้น เนื่องจากชาวกะเหรี่ยงโปว พบวาจะปลูกฝายในไรขาว และจะเก็บเกี่ยวดอกฝายที่แก เพื่อที่จะนำเอามาทอเสื้อผาเพื่อใชในการสวมใส และเสื้อผาจะมีเพียงคนละ 1-2 ชุด สลับใสในแตละวัน เนื่องดวยการจัดหาฝายสมัยนั้นหาไดยากเพราะมี ปริมาณนุนนอยทำใหระยะเวลาผลผลิตนุนมาทอเสื้อใสได 1 ผืน ตองใชระยะเวลานานเพราะตองเก็บ สะสมฝายที่เก็บเกี่ยวในแตละป เพื่อที่จะมีฝายเยอะเพียงพอที่จะนำมาทอเสื้อได1 ผืน เสื้อผาที่สวมใสจะ บงบอกสถานะของหญิงสาว และหญิงแมเรือน เชนเดียวกัน คือหญิงทุกวัยที่ยังไมไดแตงงานตองสวมชุด ยาวสีขาว แขนกุด ทรงกระสอบ (ไณ แอว ) ในตัวเสื้อจะมีลวดลายเล็กนอยตรงบริเวณอกและชวงเทา เมื่อ
106
แตงงานแลว จะตองเปลี่ยนมาสวมใสเสื้อพื้นสีดำผาหนาแคบ แขนกุด ตัวเสื้อครึ่งลางจะปกลวดลายเปน เสนตรงแนวนอนเปนชวง ๆ เปนทรงสีเหลี่ยม และใสซิ่นยาวถึงขอเทา มีการใสปอกขา ปอกแขน และใช ผาโพกศีรษะที่มีสีสันหลากหลายทั้ง 3 ชิ้นจะใสตลอดเวลาเพื่อปองกันแดด ฝน และแมลง ถาไมไดใสจะ รูสึกไมสบายตัวและรูสึกเหมือนขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งบนรางกายไปเพราะเปนชิ้นสวนหนึ่งของรางกายชนิดหนึ่ง ไปแลว
107
108
นาฏรังสรรค์ ชุด อันซอมโฎนตา ผลงานการสรางสรรค โดย
นายกันตพัฒน จุติพรพูติวัฒน นายภาณุพันธ กันหาทอง นายประสพโชค อุทุมภา นายบุญไพศาล หลักสิน นางสาวสิริวรรณ พุมสุวรรณ นางสาวสรินยา พันธสายออ นางสาวน้ำฟา บัวทิน นางสาวธันวาพร ดงไร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค นาฏรังสรรคชุด อันซอมโฎนตา คณะผูสรางสรรค ไดรับแรงบันดาลใจจาก การทำขาวตมมัดใน ประเพณีแซนโฎนตาของชาวบาน ตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว ที่มีความโดนเดน ในการใชใบมะพราวหอขาวตมมัด เนื่องจากในปจจุบันการหอขาวตมมัดดวยใบมะพราว ของชาวบานพื้นที่ ดังกลาว ลดนอยลง ทางคณะผูสรางสรรคจึงอยากจะสงเสริมการอนุรักษการทำขาวตมมัดดวยใบมะพราว ใหคงอยู คณะผูสรางสรรคจึงไดนำเอาขั้นตอนการทำขาวตมมัดในประเพณีแซนโฎนตา โดยนำขั้นตอน การทำขาวตมมัดมาใชเปนทาทางในการแสดง แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค คณะผูสรางสรรคมีแนวคิดและแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานทางดานนาฏศิลป มาจาก พิธีแซนโฎนตาและการทำขาวตมมัดที่จะนำมารวมงานพิธีแซนโฎนตาของชาวบาน ตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว เพื่อศึกษาประเพณีแซนโฎนตาและขั้นตอนการทำขาวตมมัด และเพื่อ ศึกษาเครื่ องแต งกายเครื่ องประดับ และดนตรีในประเพณีแซนโฎนตา รวมไปถึงเพื่อรังสรรคผ ลงาน ทางดานนาฏรังสรรค เปนชุดการแสดงอันซอมโฎนตา
109
กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค คณะผูสรางสรรคไดจัดทำตามกระบวนการและขั้นตอนของงานวิจัย โดยมีการรวบรวมขอมูลและ ประวัติความเปนมากรรมวิธีการทำขาวตมมัด มีการออกแบบเครื่องแตงกาย ออกแบบทำนองเพลงและ รังสรรคทารำขึ้นใหม มีการนำเสนอตออาจารยที่ปรึกษางานวิจัยและแกไขตามคำแนะนำ
110
รูปแบบการแสดง คณะผูสรางสรรคไดรังสรรคการแสดงเปน 3 ชวง ดังนี้ ชวงที่ 1 เปนการแสดงถึงเตรียมวัตถุดิบอุปกรณในการทำขาวตมมัด ชวงที่ 2 เปนการเเสดงถึงการหอขาวตมมัดดวยใบมะพราว ชวงที่ 3 เปนการเเสดงเฉลิมฉลองหลังจากทำขาวตมมัดเสร็จ นักแสดง
ผูสรางสรรคใชนักแสดงทั้งหมด 8 คน โดยคำนึงถึงทักษะความสามารถทางนาฏศิลปไทย
111
ลีลาทารำ
คณะผูรังสรรคไดนำลีลาทารำเรือมกันตรึม ลักษณะของการทำขาวตมมัด และพิธีแซนโฎนตา ของตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว เพื่ออนุรักษการหอขาวตมมัดดวยใบมะพราว ของชาวบานในตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว ดนตรี
ดนตรีที่ใชในการแสดงจะมี 3 ชวง จังหวะชา จังหวะกลาง และจังหวะเร็ว ดนตรีที่ใชประกอบการ แสดง ใชวงดนตรีมโหรีปางลาง และวงกันตรึม จังหวะชาสื่อถึง ลีลาการเตรียมวัตถุดิบ อุปกรณ ในการ ทำขาวตมมัด จังหวะกลาง จะสื่อใหเห็นถึง ขั้นตอนการหอขาวตมมัดดวยใบมะพราว จังหวะเร็ว สื่อใหเห็น ถึงการเฉลิมฉลองหลังการทำขาวตมมัดเสร็จ เวลาที่ใชในการแสดง 6.06 นาที
112
เครื่องแตงกาย
คณะผูสรางสรรคไดนำเครื่องแตงกายของชาวเขมรถิ่นไทยมารังสรรคเปนเครื่องแตงกายของ นักแสดง เครื่องประดับคณะผูสรางสรรคไดนำรูปแบบของขาวตมมัดมารังสรรคเปนเครื่องประดับชิ้น ตาง ๆ เชน สรอยคอ เข็มขัด กำไล สังวาลย ตางหู และดอกไมทัดเปนดอกแกว ซึ่งดอกแกวเปนดอกไม ประจำจังหวัดสระแกว
113
114
นังสําเพ็ ง ผลงานสรางสรรค โดย
นางสาวนภาพรรณ สำเร็จ นางสาวภัทราภรณ เลี้ยงรักษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.กชกร ชิตทวม มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา
รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค “นังสำเพ็ง” เปนผลงานสรางสรรคที่นำเสนอในรูปแบบนาฏยศิลปไทยรวมสมัย โดยมีการผนวก ทาทางการเคลื่อนไหวแบบนาฏยศิลปไทยเขากับทาทางในชีวิตประจำวันผสมผสานกันไปตลอดทั้งการ แสดง โดยเนื้อหากลาวถึงความงาม ความเปนอยู และความรูสึกที่ตกอยูในสภาวะจำยอมของหญิงโสเภณี ยานสำเพ็ง ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค “โสเภณี” เปนอาชีพที่เกาแกอาชีพหนึ่ง ความเปนมาของโสเภณีในอดีต เชื่อกันวาเริ่มตนจาก การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เชน สังคมอินเดียในอดีต ผูหญิงจะตองเสียสละพรหมจรรยเพื่อบูชา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ อีกทั้งในสังคมกรีกโรมันโบราณ ไดกลาวถึงโสเภณีที่อุทิศชีวิตและรางกายใหแกการบวงสรวง เทพเจาและไดรับการตอบแทนจากขายบริการเพื่อใหไดรับเงินมาเขาวิหารเทานั้น นอกจากนี้ในสังคมจีน โบราณ ผูหญิงที่มีอาชีพโสเภณีจะตองมีทักษะที่มากกวาแคการขายบริการทางเพศ พวกเธอจะตองเปน นักดนตรีและนักเตนระบำที่ไดรับการฝกมาอยางดีเพื่อมอบความสุขแกผูมาใชบริการ ซึ่งแมแตในประเทศ ไทยก็ไดมีการกลาวถึงโสเภณีตั้งแตสมัยอยุธยาตอนตน โรงโลกีย (สถานขายบริการทางเพศ) ในสมัยนั้น ตั้งอยูที่ตลาดบานจีนถึง 4 โรงดวยกันโดยมีพอคาชาวจีนเปนเจาของ ตอมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร มีการ จัดระเบียบตาง ๆ ยายชาวจีนไปอยูยานสำเพ็งทำใหยานนี้เปนยานชาวจีน ทำธุรกิจการคาขาย นอกจาก สำเพ็งจะมีธุรกิจรานคา โรงน้ำชา หรือรานอาหารภัตตาคารแลว ยังมีชื่อเสียงโดงดังในเรื่อง “โรงโลกีย” อีกดวย มีโรงโลกียขึ้นชื่อมากมาย และเปนสถานที่เดียวที่มีโรงโลกีย จนถึงขั้นขึ้นชื่อวาเปนยานเที่ยว กลางคืนที่โดงดังมากที่สุดในสมัยนั้น เริ่มมีการจดทะเบียนหญิงนครโสเภณีขึ้นเปนครั้งแรก พรอมกับมีการ เก็บภาษีการคาประเวณีตามธรรมเนียม เรียกวา “ภาษีบำรุงถนน” เพื่อนำเงินไปตัดถนน สะทอนใหเห็น ถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรมของไทยในอดีตวาอาชีพการคาขายบริการทางเพศในสังคมไทยมีมาเนิ่นนาน ตั้งแตสมัยอดีต
115
จากที่กลาวมาขางตนผูสรางสรรคผลงาน ไดนำวิถีชีวิตความเปนอยู ความงาม และความรูสึกของ หญิงโสเภณียานสำเพ็งในอดีตมาผนวกเขากับองคความรูทางดานการออกแบบสรางสรรคผลงานนาฏศิลป ในชื่อชุดการแสดง “นังสำเพ็ง” กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค ผูส รางสรรคไดกำหนดแนวคิดในการสรางสรรคผลงาน โดยนำเสนอในรูปแบบนาฏยศิลปไทย รวมสมัย โดยมีการผนวกทาทางการเคลื่อนไหวแบบนาฏยศิลปไทยเขากับทาทางในชีวิตประจำวัน ผสมผสานกันไปตลอดทั้งการแสดง การแสดงแบงออกเปน 2 ชวง ดังนี้ ชวงที่ 1 ความเปนอยูและความงามของหญิงโสเภณี การแสดงสื่อถึงหญิงโสเภณีกำลังแตงหนาและแตงกายใหตนเองเกิดความสวยงามเพื่อเตรียมตัว ออกมาพบเหลาบุรุษเพศ มีการออกแบบกระบวนทาทางการเคลื่อนไหวสื่อใหเห็นถึงการยั่วยวน สรางความดึงดูดสายตาบุรุษเพศและผูที่เขาใชบริการ ชวงที่ 2 ความงามที่แฝงไปดวยความเศรา การแสดงสื่อถึงหญิงโสเภณีคนหนึ่งที่ตกอยูสภาวะตองจำยอม โดยลักษณะทางกายภาพมีความ สวยงาม แตภายในจิตใจนั้นมีความทุกขทรมาน ทาทางการเคลื่อนไหวนั้นผูสรางสรรคไดออกแบบทาจาก การตีความอารมณความรูสึกเจ็บปวดจากการถูกกระทำ โดยมีการนำผาสไบหรือผาพาดไหลมาผูกมัดตัว นักแสดง องคประกอบของผลงานสรางสรรค นักแสดง ใชนักแสดงหญิง จำนวน 5 คน โดยเปนผูที่มีความสามารถทางดานนาฏยศิลปไทย มีรูปรางที่ สมสวน และสามารถแสดงความรูสึกผานสีหนาไดเปนอยางดี ประกอบดวย 1. นางสาวนภาพรรณ สำเร็จ 2. นางสาวอริสรา ชวนจิต 3. นางสาววรรณนิสา นอยสังวาลย 4. นางสาวธันยธรณ ทากันแกว 5. นางสาวณัฐกานต นิวงษา
116
ทาทาง มีการผนวกทาทางการเคลื่อนไหวแบบนาฏยศิลปไทยเขากับทาทางในชีวิตประจำวันผสมผสาน กันไปตลอดทั้งการแสดง เครื่องแตงกาย มีการออกแบบโดยศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการแตงกายและอางอิงข อมูลจากภาพถายของหญิ ง โสเภณียานสำเพ็งในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ประกอบดวย นุงโจงกระเบน พันผาพันอก ผาสไบ (ใชหมสไบ คลองคอ หรือคลองแขน) โดยใชผาสีฉูดฉาด ใชดอกไมทัดหรือปกปนแบบจีน และใสกำไลหยก ดนตรี/เพลง เปนเพลงที่ไดเรียบเรียงขึ้นใหมโดยใชดนตรีสังเคราะหผนวกเขากับเครื่องดนตรีจีนและไทย มีรายละเอียดดังนี้ ชวงที่ 1 ทำนองดนตรีใชเสียงฟลุต จังหวะปานกลางไมชาไปหรือเร็วไป เปนตัวเปดชวงแรก จากนั้นเปลี่ยนมาใชเครื่องดนตรีจีนอยางกูเจิง กรับไทย ผสมเขากับเสียงกระดิ่ง สื่อถึงความรูสึกชวนให หลงใหลในความงาม ชวงที่ 2 มีการใชเครื่องดนตรีจีนและไทย โดยใชเสียงกูเจิงและเสียงฉิ่ง สื่อถึงความรูสึกสน วุนวาย และความทนทุกขทรมาน ในตอนทายของชวงที่ 2 ใชเสียงเครื่องคียบอรด กูเจิง และฉาบจีน มาบรรเลง ทำนองเพลงใหคลายกับชวงแรกแตลดคียเพลงต่ำลงเพื่อสื่อถึงอารมณเศรามากยิ่งขึ้น
117
118
119
ระบําเชียงงาม ผลงงานสรางสรรค โดย
ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาลินี อาชายุทธการ คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค รู ป แบบนาฏยศิ ล ป ไ ทยผสมผสานพื ้ น เมื อ งน า นที ่ ส ะท อ นความงดงามของเมื อ งเชี ย งงาม ความเจริญรุงเรื องของบ านเมื อง รวมถึงความเจริญ ทางโลกและทางธรรมของชาวเชียงามนครน าน เฉกเชนสายน้ำนานที่ยังไหลไมขาดสาย แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค การออกแบบระบำเชียงงามนี้ แนวคิดในการสรางระบำไดแก ทฤษฎีนาฏยศาสตรเกี่ยวกับ ภาวะและรส ทฤษฎีการสรางจินตภาพของฮอโรวิส (Horowitz) ที่อธิบายความสัมพันธระหวางการสราง จินตภาพและรูปแบบของความคิด และทฤษฎีทัศนศิลป (The Theory of Visual Art) เกี่ยวกับการจัด องคประกอบ การจัดวางเพื่อใหเกิดความงามและนาสนใจ กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค การออกแบบระบำเชียงงาม มีกระบวนการในการสรางระบำโดยเริ่มจากการแตงบทรอง โดย อาจารยสมเจตน วิมลเกษม ประพันธเพลงขึ้นมาใหมโดย ศาสตราภิชาญ ปกรณ รอดชางเผื่อน จากนั้นจึง เปนการออกแบบระบำโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาลินี อาชายุทธการ ดังนั้นการออกแบบระบำจึงใช หลักการเดียวกับการแตงเพลงระบำ คือ เริ่มดวยเกริ่นนำเปนการเปดตัวระบำออกมา ตามดวยเพลงหลัก จะใชการตีบทตามควาหมายของเนื้อรองดวยทานาฏยศิลปไทยผสมผสานลักษณะบางประการของการ ฟอนนาน สวนทอนรับจะใชการเลนผาและการแปรแถวใหเกิดความนาสนใจดวยเพลงระบำใชการรองซ้ำ และรับถึง 2 เที่ยว ผูออกแบบระบำจึงนำเทคนิคการใชผามาสรางภาพจับกลุมใหสวยงาม สรางความ แตกตางจากเที่ยวแรก สุดทายเรงจังหวะเปนเพลงเร็วและจบลงดวยการทอดเพลงจับกลุม องคประกอบของผลงานสรางสรรค เครื่องแตงกาย แบบพื้นเมืองเหนือ(ซิ่นนาน) ใชผาคลองคอเปนอุปกรณประกอบการแสดง ผูแสดง จำนวน 8 คน
120
รายชื่อผูแสดงระบำเชียงงาม 1. นางสาวสกุลหญิง เฝากระโทก 2. นางสาววารินทิพย ศรีทา 3. นางสาวตีรณา โพธิสกุล 4. นางสาววรลักษณ ดีเเวน 5. นางสาวมัญชุสา เเกวผลึก 6. นางสาวธิยากร เรียนวงศา 7. นางสาวนัทรีญา วงศทรงศักดิ์ 8. นางสาวณัฐธันยา ฮาดิ คณะทำงาน 1. นายธัญวุฒิ พยายาม 2. นายธนาธิป บริพันธ 3. นางสาวกัญญณณัฐ สงากอง 4. นางสาวรินรดา เดชะดิลก 5. นางสาวณิชารัสมิ์ โนหลักหมื่น 6. นายอดิเทพ เดชพรหม 7. นางสาวปานวาด ขอเจริญ 8. นางสาวรมิดา เราอุปถัมภ 9. นางสาวจุธารัตน เกิดบานกอก
121
โครงการประชุมวิชาการและเผยแพร่งานสร้างสรรค์ ระดับชาติ ครั้งที่ ๑ เรื่อง “งานสร้างสรรค์ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยู่ร่วมกันในอาเซียน” ๑.หน่วยงานที่รับผิดชอบ : คณะศิลปกรรมศาสตร์ ๒. สถานภาพโครงการ : โครงการเดิม โครงการใหม่ โครงการต่อเนื่อง ๓. แผนงาน : จัดการศึกษาอุดมศึกษา ๔. กิจกรรม : กิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง กิจกรรมสนับสนุน กิจกรรมบูรณาการ กิจกรรม (โครงการจังหวัด) ๕. หลักการและเหตุผล : ตามที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ได้จัดทำยุทธศาสตร์อุ ดมศึกษาไทย ในการเตรียมความ พร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน โดยให้ความสำคัญต่อการจัดการอุดมศึกษา ทั้งนี้เพื่อเป็นการเปิดเสรีการค้า บริการด้านการศึกษา องค์ความรู้ ภาษาและวัฒนธรรมระหว่างกัน มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้มีการกำหนด แผนเพื่อส่งเสริมการเป็นประชาคมอาเซียน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มีหน้าที่จัดการ เรียนการสอนให้กับนักศึกษาทั้งภาคทฤษฎี ปฏิบัติ การทำวิจัยและการผลิตผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรี และ นาฏศิลป์เพื่อมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้และทักษะที่เป็ นเลิศ ส่งเสริมสนับสนุนให้คนไทยได้เรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรมของไทย มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถปรับตนให้เข้ากับสังคมปัจจุบัน วิชาการทางดนตรีและ นาฏศิลป์ มีบริบทหลายด้านที่สัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับ ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี วิถีความเชื่อ ศาสนา บริบท ทางสังคมรอบด้าน ดนตรีและนาฏศิลป์มีบทบาทที่สำคัญในการกล่อมเกลาจิตใจของมนุษย์ให้มีจิตใจสูงอีกทั้ง ช่วยสร้างสังคมให้เป็นสังคมที่ดีงาม การศึกษาด้านดนตรีและนาฏศิลป์ในปัจจุบันยังขาดเวทีการนำเสนอผลงาน การศึกษา ค้นคว้า วิจัย และงานสร้างสรรค์ทางดนตรีและนาฏศิลป์ เพื่อเป็นเวทีในการถ่ายทอด แลกเปลี่ยน ความรู ้ ท างด้ า นดนตรี แ ละนาฏศิ ล ป์ ใ นระดั บ ชาติ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม เผยแพร่ ส ู ่ ผ ู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ สถาบันการศึกษาทางด้านดนตรีและห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศอันจะก่อให้เกิดประโยชน์แก่สังคม ในวงกว้าง สร้างเครือข่ายทางวิชาการดนตรีและนาฏศิลป์ ในระดับชาติ อีกทั้งเป็นการสะท้อนอัตลักษณ์ในด้านสังคมของมหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีความหลากหลายทาง วัฒนธรรม มีนักศึกษาจากทั่วทุกภูมิภาคเข้ามาศึกษาร่วมกัน และมีแบบแผนทางวัฒนธรรมที่ เกี่ยวข้องและ เชื่อมโยงในประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มอาเซียน ศิลปะการแสดงทั้งดนตรีและนาฏกรรมบางประเภทมีลักษณะเป็น วัฒนธรรมร่วมอันสมควรที่จะได้เรียนรู้และสร้างความเข้าใจร่วมกัน เพื่อสร้างสันติภาพทางวัฒนธรรมในระดับ อาเซียน ซึ่งการจัดงานในครั้งนี้จ ะเป็น การนำเสนอในรูปแบบผลงานวิชาการและผลงานสร้างสรรค์ ด้ าน ศิลปะการแสดงที่มาจากแนวคิดวิถีวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในอาเซียนได้อย่างยั่งยืน
คณะศิลปกรรมศาสตร์
๒ ๖. ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของโครงการ คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัย
พันธกิจ (Mission) : พันธกิจที่ ๕ สนับสนุนและพัฒนาทักษะเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ (Strategy) : ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมขีดความสามารถ ในภูมิภาคอาเซียน เป้าประสงค์ (Goal) : เป้าประสงที่ ๑ เสริมสร้าง และพัฒนาทักษะเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถและความร่วมมือในประชาคม อาเซียน
พันธกิจ (Mission) : พันธกิจที่ ๕ สนับสนุนและพัฒนาทักษะเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ (Strategy) : ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมขีดความสามารถ ในภูมิภาคอาเซียน เป้าประสงค์ (Goal) : เป้าประสงที่ ๑ เสริมสร้าง และพัฒนาทักษะเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถและความร่วมมือในประชาคม อาเซียน
๗. วัตถุประสงค์ของโครงการ ๗.๑ เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการด้านสหวิทยาการ งานสร้างสรรค์ทางด้านดนตรีและนาฏกรรม จากผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการภายนอก และบุคลากรคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ๗.๒ เพื่อสร้างเครือข่ายทางวิชาการศิลปะการแสดงดนตรีและนาฏกรรมให้เข้มแข็งในระดับชาติ ๗.๓ เพื่อเผยแพร่ชื่อเสียงของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ให้เป็นที่รู้จักในฐานะ องค์กรสำคัญที่มีบทบาทในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ผลงานสร้างสรรค์ ทางด้านดนตรีและนาฏกรรมของชาติ ๘. ระยะเวลาดำเนินการ: ระยะเวลา ๑๑-๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ๙. สถานที่ดำเนินโครงการ : ชั้น ๓ อาคารสุโขทัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก ๑๐. วิธีดำเนินการ : ๑๐.๑ กำหนดคณะกรรมการดำเนินงาน ๑๐.๒ ประสานงานการประชุมวิชาการและการแสดงสร้างสรรค์ ๑๐.๓ เตรียมการแสดง ๑๐.๔ จัดการแสดง ๑๐.๕ สรุปและประเมินผลการปฏิบัติงาน ๑๑. วิทยากร : วิทยากรภายนอก (Keynote speaker) จำนวน ๖ ท่าน ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจผลงาน จำนวน ๑๐ ท่าน
๓ ๑๒. ผู้เข้าร่วมโครงการ : นักวิชาการ นักประพันธ์เพลง ครู อาจารย์ นิสิตนักศึกษา และผู้สนใจ จำนวน ๑๕๐ คน ๑๓. กิจกรรมย่อยของโครงการ ระยะเวลา รายละเอียดกิจกรรมย่อย (ปีงบประมาณ) ๑๓.๑ การประชุมวิชาการ ๑๓.๒ การแสดงผลงานสร้างสรรค์ จำนวน ๑๐ ชุด พ.ศ.๒๕๖๓ ๑๓.๓ การแสดงในพิธีเปิดการประชุมนานาชาติฯ กิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินโครงการ ม.ค.-ก.พ. ๒๕๖๕ มี.ค.-เม.ย. ๖๕ พ.ค. ๒๕๖๕
๑.จัดเตรียมโครงการและประชุม แจกแจง งาน ๒.ดำเนินการขออนุมัติโครงการและ ค่าใช้จ่าย ๓.ประสานงานวิทยากร ๔.จัดทำเอกสาร จดหมายต่าง ๆ ๕.จัดทำเอกสารประกอบการประชุม วิชาการ ๖.เตรียมความพร้อมของสถานที่จัด โครงการ ๗.จัดโครงการ ๘.สรุปประเมินผลโครงการ ๑๔. งบประมาณ : ๑๔.๑ แหล่งงบประมาณ งบคลัง งบรายได้ งบอื่น ๆ ๑๔.๒ กองทุน: กองทุนทั่วไป กองทุนเพื่อการศึกษา กองทุนวิจัย กองทุนบริการวิชาการ กองทุนกิจการนักศึกษา กองทุนสินทรัพย์ถาวร กองทุนพัฒนาบุคลากร กองทุนบริการสุขภาพ กองทุนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กองทุนสำรอง โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
๕ ๑๗. ผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ผลผลิต ๑. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการฯ ต่อ การจัดโครงการ ๒. จำนวนผลงานวิชาการและผลงานสร้างสรรค์ ที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการระดับชาติ ๓. การแสดงในพิธีเปิดการประชุมนานาชาติฯ ผลลัพธ์ ๑. เผยแพร่ชื่อเสียงของคณะศิลปกรรมศาสตร์
ตัวชี้วัด ๑. ค่าเฉลี่ยระดับความ พึงพอใจของผู้เข้าร่วม โครงการ ๒. จำนวนผลงานที่ นำเสนอในงานประชุม ๓. การแสดง ข่าวที่ปรากฏในสื่อต่าง ๆ
ค่าเป้าหมาย
ระยะเวลา (ปีงบประมาณ)
ระดับ ๓.๕๑ ๑๐ ชิ้น ๑ ชุด ๓ สื่อขึ้นไป
ปีงบประมาณ ๒๕๖๓
หลักเกณฑ์การเสนอผลงานสร้างสรรค์ ในการประชุมวิชาการและเผยแพร่งานสร้างสรรค์ระดับชาติ ครั้งที่ 1 เรื่อง “งานสร้างสรรค์ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยู่ร่วมกันในอาเซียน” 1. คุณสมบัติและประเภทของผลงาน 1.1 รับผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรีหรือนาฏกรรมจากอาจารย์ นักศึกษา และศิลปินอิสระ 1.2 ผลงานสร้างสรรค์จะนำเสนอต่อหน้าคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (peer review) ในแต่ละสาขา 1.3 เป็นผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรีหรือนาฏกรรมที่มีการอธิบายกระบวนการสร้างผลงานและ องค์ประกอบต่าง ๆ ครบถ้วน 1.4 ต้องไม่เป็นผลงานสร้างสรรค์ที่เคยนำเสนอหรือเผยแพร่ที่ใดมาก่อน 1.5 เสนอผลงานพร้อมเอกสารประกอบ 1.6 ไม่เสียค่าลงทะเบียนในการนำเสนอ 1.7 ผู้เข้าร่วมนำเสนอผลงานจะได้ลงพิมพ์รายละเอียดผลงานในสูจิบัตรการจัดงาน (ในรูปแบบ pdf) และได้รับเกียรติบัตรเมื่อผ่านการนำเสนอผลงาน 2. รูปแบบการเขียนเอกสารประกอบผลงาน พิมพ์เป็นภาษาไทยด้วยแบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาด 16 พอยต์ความยาวไม่เกิน 10 หน้ากระดาษ A4 ประกอบด้วย 2.1 ชื่อผลงาน เป็นภาษาไทย 2.2 ชื่อ นามสกุล สถานที่ทำงานหรือที่อยู่ ของเจ้าของผลงาน 2.3 แนวคิดหรือทฤษฎีในการสร้างสรรค์ 2.4 กระบวนการและ/หรือเทคนิค 2.5 รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงาน 2.6 ความยาวของผลงาน ไม่เกิน 10 นาที 2.7 องค์ประกอบของผลงาน (เช่น โน้ตเพลง การออกแบบเครื่องแต่งกาย ฯลฯ) โปรดระบุจำนวน นักดนตรี นักแสดงหรือคณะทำงานที่จะเข้าร่วมในวันนำเสนอผลงาน
-2– เอกสารนี้นำส่งพร้อมสื่อตัวอย่างหรือบันทึกการแสดง ดังนี้ ด้านดนตรี - ไฟล์เสียง ในรูปแบบ *.wave, *.mp3, *.mp4 หรือ - ลิงก์วิดีทัศน์ผลงานหรือการฝึกซ้อม (เช่นจาก youtube หรือแหล่งอื่น) ด้านนาฏกรรม - ไฟล์ภาพผลงานการแสดง ในรูปแบบ *.jpeg จำนวน 3 ภาพ (ความละเอียดไม่ต่ำกว่า 300 dpi) และ - ลิงก์วิดีทัศน์ผลงานหรือการฝึกซ้อม (เช่นจาก youtube หรือแหล่งอื่น) 3. กำหนดการ - กำหนดส่งเอกสารประกอบผลงานภายในวันเสาร์ที่ 30 เมษายน 2565 เวลา 24.00 น. มาที่ email: arjaree_s@rumail.ru.ac.th - กำหนดการเสนอผลงาน ด้านดนตรี วันพุธที่ 11 พฤษภาคม 2565 ตั้งแต่เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป ด้านนาฏกรรม วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม 2565 ตั้งแต่เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป สถานทีน่ ำเสนอผลงาน อาคารสุโขทัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก 4. ประสานงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาจารี สัมภวะผล โทร. 092-459-6358 อาจารย์อมรินทร์ หมอกอ่อน โทร. 082-018-5552 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โทร. 02-3108291 -----------------------------------------------
w b~e) s'.l ................. '/Je)eJ'Uir~~Vl':i -:ir1ru1ru~'11'H1.Jl~a-:i1u?1{1-:J?1':i':iA n7':ith~'Vl-ll'V1f11':i bba~ b~t.J bb vd~a-:J7'U?l{1-:J?l':i':iA 't ......... 'U· · · ······· .... q........ q .... ............. . . .. . .......... q.. .
.,
'
':i~\il'U'Vl~ fl{-:Jvi
®
M<D\i1-:J7'Uf11':ith~'Vl-ll'V7 n7':i bba~ b~ tJ bb vd ' "-:J1'U?l{1-:J?l':i':iA\i1'U\i1~ bba~'Ul!)n':i':il-l1'U1~1\ll.J'U6':i':iWl'\Jf11';j
\911 t.Jfl ru~l'i ffU m':il-l 1'17?1 \i11 lJVl71 Vlt.J7~tJ ':i7lJA7 bb Vl-:J ~a-:J7'U?l{1-:J?l':i':iA ';j~\il'U'Vl~ r1f-:i~
'9)
b~ e)-:J
eJ~11l-lfl'U1'UeJ1b'lit.J'U" zj-:J~f11Vl'U\i11~~\i1t'U1'U·fo~
®® -
®Iv
'W~~Jllfll-l lvcfbcf
b~ eJ ~f11 ':i~ 1 b'W 'U-:J l'U btl'U U\911 tJ fl11l-l b~ t.J'U{ eJ tJ bba ~~ tJ':i ~ ~Vl Jll'W
1
1
6
,Yu
~ -:J'V eJ eJ'Ui!~trVl':i-:J fl ru1 ru q
1
~'11':i ru1~ a-:Jl'U?I {1-:i ?l':i':i A'Vll-:J\911'U\i1'U\i1~ bba~'Ul!) ~au \il-:J~';j 1 t.J'Ull-l ~e) tJ-d ~vi':i-:ir1ru1ru~'11':iru1~a-:i1u?1{1-:i?1':i':iAvi1-:i\911u\i1u~~ 'IJ
'
'
®.
1'11?1\i111'11':itJ \i1':i.1':i'V1~ btJ':im'U'Uvi
h
1'11?1~':il\!1':itJ \i1':i.'V1fll-l 'W':itJ':i~~vii
.n.
':ieJ-:Jl'11?1\i1':i1'11':itJ \i1':i.m'U'W 1?1V15bb'WV1tJ
er'.
':ieJ-:Jl'11?1\i1':i1'11':itJ \i1':i.'W':itJ':i~~\i11 b~1?11?1~
ct.
~'ti1tJl'17?1\i1':i7'17':itJ \i1':i. i~m?I JJtit!C\J'U~Jl'Vl':i
b.
~'U1tJl'11?1\i1':i1'11':itJ \i1':i. eJ'U':i':i'J.J \!{rut.Jl'U'Uvi 'IJ
'
~Vl':i-:Jr) ru1ru~'17':iru 1 ~ a-:Jl'U?I { 1-:J ?I ':i':i AV11-:J(1)1'U'U1!) ~ au '91.
.
';je)-:Jl'11?1\i1':i1'11':itJtJ':i~Jl11'1~ r'l~tJ':i~~~~
iv. ~-d11.Jl'17?1\i1':i7'17':itJ \i1':i.~mml'1 ~':i\17':iJl'Vl':i 'IJ 'U
' •
'
Q,J
'
'
,c:,j
.n.
~'V1t.Jl'11?1\i1':i1'11':it.J \i1':i.?l':i':i mat.J1-:Jl'11'1':i 'IJ
er'.
~'U1tJl'11?1\i1':i1'11':itJ (i)';j 6':iln':i ~'UV1'U1?11b 'IJ
~
-
('U1t.J(5 ';j ';jlj~f1';j 'W':iVIUWltJ) ':i e:i-:ir1ru~~11.Ju~V11':i r1ru~~atJm':il-l1'17?1\i11
<u,~.,,1i1,il\Hfll e~,J,i'.l> I
"N\J~fl\N~~"tln,,1.1,i1t,fl1
'V
q
q
ลำดับการแสดงผลงานสร้างสรรค์ ในการประชุมวิชาการและเผยแพร่งานสร้างสรรค์ระดับชาติ ครั้งที่ 1 เรื่อง “งานสร้างสรรค์ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยู่ร่วมกันในอาเซียน” วันพุธที่ 11 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องศักดิ์ ผาสุขนิรันต์ หอประชุมพ่อขุนรามคำแหงมหาราช งานสร้างสรรค์ทางด้านดนตรี การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ทางด้านดนตรีในวิถีวัฒนธรรมอาเซียน ลำดับ 1.
เวลา
ชื่อผลงาน
เจ้าของผลงาน/
หน่วยงาน/สังกัด
ผลงานสร้างสรรค์ เพลงสุวรรณภูมิ
ผู้ประสานงาน ผศ.นิรันดร์ แจ่มอรุณ 099-411-7228
รูปแบบการ นำแสนอ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
คลิปบันทึก การแสดง
อ.ดร.ชุมชน สืบวงศ์ 096-687-1791
มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา
( 4 นาที)
การสร้างสรรค์เพลงหนังตะลุง : เพลงดำเหนินในรูปแบบแซกโซโฟน
แสดงสด นักแซกโซโฟน 2 คน
15.01 – 15.15 น.
บทประพันธ์เพลง เปลวเทียนนำทาง
อ.ดร.อนุวัฒน์ เขียวปรางและ ผศ.ธนพัฒน์ เกิดผล 089-167-9167
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต และมหาวิทยาลัยรามคำแหง
แสดงสด นักร้อง 3 คน
14.30 – 14.45 น. (6.05 นาที)
2.
3.
14.46 – 15.00 น.
(4.48 นาที)
ลำดับ 4.
เวลา 15.16 – 15.30 น.
ชื่อผลงาน
เจ้าของผลงาน/
หน่วยงาน/สังกัด
“ชเวดากอง" จากระนาดไทยสู่ระนาดฝรั่ง
ผู้ประสานงาน นายเลิศศักดิ์ รักสุจริต 088– 556 - 6935
รูปแบบการ นำแสนอ
โรงเรียนเซนต์คาเบรียล กรุงเทพฯ
คลิปบันทึก การแสดง แสดงสด นักร้อง 1 คน +กีตาร์ แสดงสด นักร้อง 1 คน +กีตาร์ คลิปบันทึก การแสดง
(7.15 นาที) 5.
15.31 – 15.45 น.
ผลงานสร้างสรรค์เพลง “กัญชาไทย”
อ.วรพงศ์ อุ่ยยก 095-5542628
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
งานสร้างสรรค์เพลง “ลับแลไม่แลลับ”
อ.มนตรี นุชดอนไผ่ 081-629-0420
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ผลงานสร้างสรรค์บทเพลง “อาเซียนสามัคคี”
ผศ.ภาณุภัค โมกขศักดิ์ 095-224-4631
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(3.59 นาที) 6.
15.46 – 16.00 น. (3.54 นาที)
7.
16.01 – 16.20 น. (19.31 นาที)
*ลำดับสุดท้าย คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒินำเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะโดยภาพรวม และเวลา 16.30 น. พิธมี อบเกียรติบัตรให้กับผู้เข้าร่วมเสนอผลงานทุกชุดการแสดง
วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องศักดิ์ ผาสุขนิรันต์ หอประชุมพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ผลงานสร้างสรรค์ทางด้านนาฏกรรม - การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ทางด้านนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมอาเซียน ลำดับ 1.
เวลา 13.00 – 13.20 น.
ชื่อผลงาน ฟ้อนสาวม่านจกไก
(การแสดง 8.00 นาที) 2.
13.21 – 13.41 น.
นาฎรังสรรค์ ชุด เจินปี๋ขี่ม้าทรง
(การแสดง 6.20 นาที) 3.
13.41 – 14.00 น.
นาฏรังสรรค์ ชุด ท๊ะแท กะเหรี่ยงโปว์
(การแสดง 8.48 นาที) 4.
14.01 – 14.20 น. (การแสดง 6.05 นาที)
นาฎรังสรรค์ ชุด อันซอมโฎนตา
เจ้าของผลงาน/ ผู้ประสานงาน ผศ.ดร.รัสวรรณ อดิศัยภารดี นายทีปกร จิตต์อารีย์ 064-963-9095 นายขรรค์ชัย หอมจันทร์ และคณะฯ 062-867-6336 นางสาวชไมพร จันทรวิบูลย์และ คณะฯ 062-471-1919 นายกันตพัฒน์ จุติพรพูติวัฒน์และ คณะฯ 083-555-4666
หน่วยงาน/สังกัด
รูปแบบการ นำแสนอ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
แสดงสด นักแสดง จำนวน 5 คน แสดงสด นักแสดง จำนวน 7 คน
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
แสดงสด นักแสดง จำนวน 8 คน แสดงสด นักแสดง จำนวน 8 คน
ลำดับ 5.
เวลา 14.21 – 14.41 น.
ชื่อผลงาน
เจ้าของผลงาน/
นังสำเพ็ง
ผู้ประสานงาน น.ส.นภาพรรณ สําเร็จ
(6.26 นาที)
น.ส.ภัทราภรณ์ เลี้ยงรักษา
หน่วยงาน/สังกัด
รูปแบบการ นำแสนอ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา
แสดงสด นักแสดง จำนวน 5 คน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แสดงสด นักแสดง จำนวน 8 คน
ผศ.ดร.กชกร ชิตท้วม 6.
15.01 – 15.20 น. (7.16 นาที)
ระบำเชียงงาม
061-9144519 ผศ.ดร.มาลินี อาชายุทธการ 081-616-2250
*ลำดับสุดท้าย คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒินำเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะโดยภาพรวม และ 16.30 น. พิธีมอบเกียรติบัตรให้กับผู้เข้าร่วมเสนอผลงานทุกชุดการแสดง