อาจารย์ ดร.ธรรมจัก ร พรหมพ้ ว ย
สาขาวิชานาฏกรรมไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
4
มหรสพในเรอื สมโภชพระแก้ว พระบาง ที่เชิญมาจากเมืองเว ียงจันทน์ ณ วัดแจ้ง ในสมัยกรุงธนบุร ี
สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตรย์ิ ศึก (ทองด้วง) ปราบดาภิเษก แล้วย้ายราชธานี สถาปนาราชวงศ์จก ั รี
พ.ศ.๒๓๒๕
5
2325
2352
2367
2394
2411
2468 2489 2453 2478
2559
ภาพโดย สิทธิศักดิ์ สาครสินธุ์
รัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พ.ศ.๒๓๒๕-๒๓๕๒
แม่บท
กรุงรัตนโกสินทร์ • • • • • •
กลอนตารารา กรุงศรอยุ ี ธยา สมุดภาพพระตารารา รัชกาลที่ ๑ (วังหลวง วังหน้า) จิตรกรรมลายเส้น รัชกาลที่ ๓ จิตรกรรมลายเส้น รัชกาลที่ ๖ พ.ศ.๒๔๖๖ ภาพถ่าย รัชกาลที่ ๖ พ.ศ.๒๔๖๖ กระบวนรา “แม่บทใหญ่” ปลายรัชกาลที่ ๗ พ.ศ.๒๔๗๘
นาฏกรรมรัชกาลที่ ๑
• บ้านเมืองยังติดการพระราชสงคราม เช่น สงครามเก้าทัพ
• สมโภชปืนใหญ่นารายณ์สังหาร มีโขนข้าหลวงเดิม เล่นกลางแปลง ที่สนามโรงละครหลังวัดพระแก้ว • สมโภชพระนคร มีละครผู้หญิง
• สมโภชถวายพระเพลิงพระบรมอัฐส ิ มเด็จพระปฐมบรมมหาชนก มีโขนชักรอกโรงใหญ่ ทั้งวังหลวง วังหน้า แล้วเล่นกลางแปลง ลากปืนบาเหรยี่ มมายิงกัน • สมโภชวัดพระแก้ว สมโภชวัดโพธิ์ (ทาเครอื่ งโขนใหม่ทั้งหมด)
• โสกันต์เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี
• ฉลองพระศรศากยมุ ี นี ที่จะเชิญไปวัดสุทัศน์เทพวราราม 12
ปืนนารายณ์สังหาร
พิกัด โรงละครหลังวัดพระศรรัี ตนศาสดาราม ปัจจุบันคือ สนามหน้าศาลาสหทัยสมาคม
16
17
โขนในงานถวายพระเพลิงพระบรมอัฐ ิ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี)
18
เหมือนเมื่อครัง้ บ้านเมืองยังดี
19
มหรสพสมโภช
การละเล่นในพระราชพิธี ไม้สูง
ร้านหอกร้านดาบ
นาฏกรรมในพระราชพิธี
ราเสนงในพระราชพิธต ี รปวาย ี
ราเสนง
โล้ชิงช้า
ในพระราชพิธต ี รปวายตร ี ยัี มพวาย
นาลิวัน
พระยายืนชิงช้า นัง ่ ในโรงชมรม
โมงครุม ่ ในพระราชพิธรี ช ั มงคล ณ พระราชวังกรุงศรอยุ ี ธยา
พระราชพิธจ ี องเปรยงลดชุ ี ดลอยโคม
พระราชนิพนธ์
ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก • รามเกียรติ์ ๑๑๖ เล่มสมุดไทย • อุณรุท ๑๘ เล่มสมุดไทย • ดาหลัง ๓๒ เล่มสมุดไทย • อิเหนา ๓๘ เล่มสมุดไทย
26
จิตรกรรม เรอื่ งรามเกียรติ์ พระระเบียงวัดพระศรรัี ตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง
งานประดับมุก เรอื่ งรามเกียรติ์
วัดพระเชตุพนว ิมลมังคลาราม
บุคคลสาคัญ เจ้านาย
• สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหรรัิ กษ์
• สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตร ี
• สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร (ร.๒) ครูละคร
• นายทองอยู่ พระ
• นายรุง่ นาง
• นายบุญยัง พระ – สร้างวัดละครทา • นายบุญมี นาง
• ละครหลวงจากกรุงธนบุร ี • เจ้าจอมบุนนาก สีดา • เจ้าจอมภู่ สีดา • เจ้าคุณจอมมารดาศร ี สีดา (เจ้าคุณพี)
• ละครหลวงในรัชกาลที่ ๑ • เจ้าจอมมารดาอิม ่ อิเหนา • เจ้าจอมมารดาป้อม สีดา • เจ้าจอมมารดาอัมพา กัญจะหนา • เจ้าจอมมารดาลูกจันทน์เล็ก • ฯลฯ 29
ฉากลายรดน้าในพระที่นง ั่ พุทไธสวรรย์ พระราชวังบวรสถานมงคล ตู้พระธรรมลายรดน้า ธิดามาร นางตัณหา นางราคะ นางอรดี ร่ายราต่อหน้าพระพุทธเจ้า
รัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พ.ศ.๒๓๕๒-๒๓๖๗
จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ ความบันเทิงในสวนขวา พระราชฐานฝ่ายใน มุขกระสันด้านหอพระธาตุมณเฑียร พระบรมมหาราชวัง
ยุคทองแห่งศิลปวัฒนธรรมกรุงรัตนโกสินทร์ 32
หนังพระนครไหว
นาฏกรรมรัชกาลที่ ๒ • การกาหนดแบบแผนกระบวนราละครหลวง • การสร้างบทละครใน ละครนอกแบบหลวง • งานพระเมรุพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ • สมโภชวัดอรุณฯ วัดราชโอรสฯ • ฉลองพระพุทธบุษยรัตน์ฯ (พระแก้วขาว) • สมโภชช้างเผือก
34
ราฝรัง่ คู่
ฉลองพระพุทธบุษยรัตน์จก ั รพรรดิพม ิ ลมัย
สมโภชช้างเผือก
37
พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย • ละครนอก (แบบหลวง)
• ละครใน
• รามเกียรติ์ แก้ไขของรัชกาลที่ ๑ • อิเหนา ทรงพระราชนิพนธ์ใหม่ทง ั้ เรอื่ ง
✢ ✢
สถานที่สาคัญ โรงละครต้นสน
โรงละครหลังวัดพระศรรัี ตนศาสดาราม
• • • • • •
✢
สังข์ทอง ไกรทอง คาว ี ไชยเชษฐ์ มณีพช ิ ย ั สังข์ศิลป์ชย ั (ร.๓ ทรง)
สวนขวา
38
อิเหนา ภาพประกอบโคลงพระราชพงศาวดาร เรอื่ ง อิเหนา ตอน สึกชี
40
รัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห ่ วั พ.ศ.๒๓๖๗-๒๓๙๔
ในราชสานัก
นอกราชสานัก
ทรงเอาพระทัยใส่เรื่อง ศาสนาและการค้ามากกว่า นาฏกรรม
รูปแบบนาฏกรรมของหลวงกระจายตัว สู่วังนอกและบ้านขุนนาง
ละครหลวง ในรัชกาลที่ ๑ และ ๒ ยังคงอยู่ในราชสานัก
เจ้าประเทศราช เจ้านายและ เสนาบดี มีละครตามเกียรติยศได้
นาฏกรรมสาหรับ พระราชพิธี ยังคงดาเนินไป ตามปกติ
ความบันเทิงและมหรสพ ของราษฎรมีมากขึ้น โดยเฉพาะ วัดที่สร้างขึ้นในรัชกาล
มิทรงหวงห้ามให้ผู้อื่นมีละคร แต่ ก็มิได้ทรงสนับสนุน
รายได้จากโรงบ่อนและโรงหวย ทาให้มีจานวนมหรสพเพิ่มมากขึ้น
สมุดตารารา ฉบับคัดลอก เมื่อรัชกาลที่ ๓
ภาพจับ
45
บุคคลสาคัญ • วังหน้า
• เสนาบดี
• วังนอก
• ขุนนาง (ไทย, จีน)
• เจ้าประเทศราช
เจ้านาย
ขุนนาง
กว ี
ละคร อาชีพ
• แต่งบทละคร
•ครูทองอยู่
• บอกบทละคร
•เจ้ากรับ
•นายบุญยัง
การกระจายตัวของแหล่งนาฏกรรมในพระนคร
47
โรงบ่อน
สิบสองภาษา
49
แอ่วลาว เป่าแคน (หมอลา)
มะโย่ง
แอ่วลาว เป่าแคน ลาวแพน ฟ้อนแพน
51
รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั พระสยามเทวมหามกุฏว ิทยมหาราช พ.ศ.๒๓๙๔-๒๔๑๑
นาฏกรรมรัชกาลที่ ๔ • ละครหลวงรัชกาลที่ ๔
• ประกาศว่าด้วยละครผู้หญิง พ.ศ.๒๓๙๔ • ภาษีโขนละคร พ.ศ.๒๔๐๒
• ประกาศมิให้เล่นแอ่วลาว พ.ศ.๒๔๐๘
• ทรงสร้างพระราชวังสาหรับเสด็จประพาส พระราชวังสราญรมย์ สระปทุมวัน พระนครคีร ี นครปฐม พระนารายณ์ราชนิเวศน์ ลพบุร ี พระราชวังจันทรเกษม อยุธยา • จาอวดสวดศพ ละครเสภา ละครชาตร ี ละครชาตรของหลวง ี (พระองคเจ้า ปัทมราช) • ละครผสมสามัคคี (เจ้าคุณมหินทรฯ)
53
ละครหลวงในรัชกาลที่ ๔
เจ้าจอมมารดาเขียน เจ้าจอมมารดาวาด เจ้าจอมมารดาสุ่น
54
ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด รัชกาลที่ ๔) แมว อิเหนา ละครหลวงในรัชกาลที่ ๔
55
56
ละครมีชื่อในรัชกาลที่ ๔ • ละครผู้หญิงของหลวง
• ละครกรมหมื่นมเหศวรศิวว ิลาศ • ละครพระองค์เจ้าดวงประภา (พระองค์ต้ย ุ วังหน้า) • ละครเจ้าพระยาศรสุี รยวงศ์ ิ
• ละครชาตรของหลวง ี (พระองค์เจ้าปัทมราช)
• ละครกุมปนี
• ละครเจ้าจอมมารดาจัน ในรัชกาลที่ ๔
• ละครพระยาสีหราชฤทธิไกร (เสือ) • ละครขุนยี่สาน วังหน้า • ละครจางวางเผือก
• ละครนายนวล (บุตรเจ้ากรับ) • ละครนายเนตร นายต่าย • ละครนายทับ ล่าสา
• ละครชาตรนายหนู ี
• ละครตาเสือ เล่นมะโย่ง ดาหลัง 57
ละครนอก เรอื่ ง สุวรรณหงส์ จิตรกรรมพระที่นง ั่ ทรงผนวช (เขียนในรัชกาลที่ ๕)
จิตรกรรม วัดปทุมวนาราม
ละครชาวบ้าน
ละครเจ้ากรับ
60
61
62
พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว • รามเกียรติ์
• พระรามเดินดง
• อิเหนา
• อุณากรรณ
• ยุขน ั
• บทเบิกโรง นารายณ์ปราบบนนทุก • บทเบิกโรง พระรามเข้าสวนพิราพ • บทเบิกโรง ต้นไม้ทองเง ิน • บทราโคม • บทโมงครุม ่ • บทกุลาตีไม้ 63
64
รัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั พ.ศ.๒๔๑๑-๒๔๕๓
การเล่นแต่งแฟนซี ตามอย่างความนิยมในโลกตะวันตก
นาฏกรรมรัชกาลที่ ๕ • สมโภชช้างเผือก • ฉลองพระนคร ๑๐๐ ปี • เสด็จนิวต ั ิ พ.ศ.๒๔๔๐ อิเหนา รุน ่ ใหญ่ • ละครหลวงรุน ่ เล็ก • บทจับระบาตลก • นิทราชาครติ • เงาะป่า
• ละครสมัคร (ละครพูด) ของสมเด็จพระบรมฯ • ละครพระยาราชสุภาวดี (เจ้าคุณมหินทรฯ) • ละครพระยาพิชัยสงคราม (อ่า)
• ละครพระองค์เจ้าสิงหนาทดุรงคฤทธิ์ • ละครเจ้าคุณจอมมารดาเอม
• ละครเจ้าพระยานรรัตนรามานิต (โต) ละครกลาย • ละครเจ้าคุณจอมมารดาแพ บุนนาค
• ละครกรมหมื่นนราธิปประพันธ์พงศ์
• ละครหม่อมเจ้าเต่า ในกรมพระเทเวศร์วช ั รนทร์ ิ
ช้างเผือกในรัชกาลที่ ๕ ที่พระที่นง ั่ อภิเษกดุสิต พระราชวังดุสิต
เจ้านายและข้าราชบรพารฝ่ ิ ายใน เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ ัว ในการเสด็จพระราชดาเนินนิวัติจากยุโรป พ.ศ. ๒๔๔๐ มีละครหลวงรุน ่ เล็ก แต่งเครอื่ งยืนเรยงเป็ ี นซุ้มรับเสด็จ หลังพระอุโบสถวัดพระศรรัี ตนศาสดาราม
ละครนอก เรอื่ ง สังข์ทอง ละครบรรดาศักดิ์กรฑาสโมสร ี เล่นรับเสด็จเสด็จนิวัติพระนคร พ.ศ. ๒๔๔๐ 70
นิทราชาครติ
72
พระราชนิพนธ์บทละคร เรอื่ ง เงาะป่า
73
จิตรกรรมในสมุดพระมาลัย มหรสพในงานพระศพ
75
โรงโขน
76
77
คุณหญิงนัฏกานุรก ั ษ์ (เทศ สุวรรณภารต)
พระยานัฏกานุรก ั ษ์ (ทองดี สุวรรณภารต)
นางตลับเล่นเป็นนางคันธมาลี ตอนแต่งตัวขึ้นเฝ้า จากละครนอก เรอื่ งคาว ี ละครคนแก่ บันทึกภาพในรัชกาลที่ ๕
79
ละครคนแก่
80
ละครดึกดาบรรพ์
สมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระยานรศรานุ ิ วัดติวงศ์ 81
เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์ว ิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร)
วังบ้านหม้อ ละครเจ้าคุณพระประยุรวงศ์ แสดงละครดึกดาบรรพ์ เรอื่ ง อิเหนา ตอน ตัดดอกไม้ฉายกรชิ
ละครบ้านปลายเนิน
ละครกรมพระนราฯ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
ยุคตื่นเพชร
84
เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธารง (เพ็ง เพ็ญกุล)
ละครเจ้าคุณมหินทรฯ
86
ละครเจ้าคุณมหินทรฯ
Siamese Theatre Prince Theatre
87
ลิเกทรงเครอื่ ง
88
ละครไทยไปยุโรป ค.ศ. 1900
90
จมืน ่ ไวยวรนาถ (บุศ บุศย์มหินทร์)
ละครบุศย์มหินทร์ พ.ศ. ๒๔๔๓
91
รัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ่ วั พ.ศ.๒๔๕๓-๒๔๖๘
อิทธิพลการแสดงละครตะวันตก ละครสมัคร (ละครพูด) 93
โรงละครทวีปัญญาสโมสร พระราชวังสราญรมย์
94
โขนสมัคร / โขนสมเด็จพระบรมฯ โขนบรรดาศักดิ์
ละครรา เรอื่ ง ศกุนตลา
ท้าวศรสุี นทรนาฏ (แก้ว พนมวัน) ครูละครหลวงในรัชกาลที่ ๖
การบันทึกท่ารา ณ วังวรดิศ พ.ศ. ๒๔๖๘
99
พระยานัฏกานุรก ั ษ์ บอกท่ารา
ละครพูด ละครพูดสลับลา ละครสังคีต
101
ละครพูดคากลอน เรอื่ ง พระร่วง ทรงแสดงเป็น นายมั่น ปืนยาว
โรงโขน โรงละครสวนมิสกวัน
ละครเจ้าคุณพระประยุรวงศ์ (แพ บุนนาค)
รัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห ่ วั พ.ศ.๒๔๖๘-๒๔๗๘
มหรสพสมโภชพระเศวตคชเดชน์ดิลก
ละครหลวง ในรัชกาลที่ ๗
107
ครูเจรญใจ ิ สุนทรวาทิน ละครหลวง รัชกาลที่ ๗ 108
คุณหญิงนัฏกานุรก ั ษ์ (เทศ สุวรรณภารต) ครูละครหลวงในรัชกาลที่ ๗
บ้านเจ้าพระยาวรวงศ์พิพัฒน์ (ม.ร.ว.เย็น อิศรเสนา) ถนนพระอาทิตย์ สถานที่ฝึกหัดโขนหลวง ในรัชกาลที่ ๗
โขนหลวงในรัชกาลที่ ๗ ชุด พรหมาสตร์ ณ โรงโขน สวนมิสกวัน
หอภาพยนตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ครูอาคม สายาคม โขนหลวงรัชกาลที่ ๗ แสดงท่ารา ฉุยฉายอินทรชิต
นาฏกรรม เพื่อการท่องเที่ยว 112
ละครรา ที่วด ั พระเชตุพนว ิมลมังคลาราม
113
114
ระบาสี่บท ณ สวนโรมัน โฮเต็ลพญาไท (พระราชวังพญาไท)
เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ สละราชสมบัติ พ.ศ. ๒๔๗๘ 116
รัชกาลที่ ๘ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐรามาธิบดินทร์ พ.ศ.๒๔๗๘-๒๔๘๙
การก่อตั้งโรงเรยนนาฏดุ ี รยางคศาสตร์ ิ (โรงเรยนศิ ี ลปากร, โรงเรยนนาฏศิ ี ลป, ว ิทยาลัยนาฏศิลป)
119
พลตร ี หลวงว ิจิตรวาทการ อธิบดีกรมศิลปากร คุณหญิงประภาพรรณ ว ิจิตรวาทการ
โรงละคอนศิลปากร
121
การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม ยุคจอมพล ป. พิบูลสงคราม • ห้ามเล่นเครอื่ งดนตรบางชนิ ี ด • ราวง • บัตรประจาตัวศิลปิน • การตรวจบทละคร
รัชกาลที่ ๙ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พ.ศ.๒๔๘๙-๒๕๕๙
นาฏกรรมรัชกาลที่ ๙
ทรงเป็นอัครศิลปิน ทรงเชี่ยวชาญศิลปะในหลายด้าน ทรงผูกพันกับงานนาฏกรรม
ทรงสนับสนุนพระราชโอรส พระราชธิดา ในกิจกรรมด้านดนตร ี นาฏศิลป์
การแสดงบัลเล่ต์ ชุด มโนห์รา ทรงพระราชนิพนธ์เพลงกินรสว ี ีท และทรงออกแบบและควบคุมการจัดสร้างฉากการแสดง
ทรงใช้นาฏกรรมในทางการทูต การรับรองพระราชอาคันตุกะ ศิลปะประจาชาติ
เสด็จพระราชดาเนินยังโรงละคร พระที่นงั่ อัมพรสถาน ทรงเป็นประธานในพิธต ี ่อท่าราเพลงองค์พระพิราพ พ.ศ. ๒๕๑๖
พระราชทานด้ายมงคลและพระราชทานครอบนายรงภักดี (เจียร จารุจรณ) โขนหลวงในรัชกาลที่ ๖
131
การบันทึกท่า ราพระแสงบนคอช้าง
ทอดพระเนตรการราโนรา โดยขุนอุปถัมภ์นรากร (พุ่ม เทวา)
ภาพยนตร์ส่วนพระองค์ การบันทึกท่าราเพลงหน้าพาทย์
สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงสนับสนุนศิลปะการแสดงโขน จนทาให้เกิด “โขนพระราชทาน”
สมเด็จพระบรมราชชนนีพน ั ปีหลวง ทรงใช้นาฏกรรมเพื่อสานสัมพันธ์ ทางการทูตและกับประชาชน
135
ว ิทยาลัยนาฏศิลป กองศิลปศึกษา
ครูลมุล ยมะคุปต์ ครูเฉลย ศุขะวณิช
โรงเรยนนาฏศิ ี ลป ว ิทยาลัยนาฏศิลป
กองการสังคีต กรมศิลปากร และโรงละครแห่งชาติ
ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
โขนกรมศิลปากร
รัชกาลที่ ๑๐ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห ่ วั พ.ศ.๒๕๕๙-ปัจจุบน ั
ทรงโขน ณ โรงเรยนจิ ี ตรลดา 143
โขนพระราชทาน
ขอขอบใจ